Onlinethai re

Page 1


Program

วันที่ 1

วันพุธที่ 1 พฤศจิกายน 2560 17:00 ออกจากโรงแรมที่พัก ไปรับประทานอาหารค่ำ�ที่ไชน่าทาวน์ 20:30 กลับโรงแรม

วันที่ 2

วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน 2560 08:30 กล่าวเปิดประชุม โดย อน.วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการบริหาร นิตยสารโรตารีประเทศไทย 08:35 กล่าวต้อนรับ โดย อผภ.ดร.สุพงษ์ ชยุตสาหกิจ รองประธาน ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 08:40 แนะนำ�ผู้เข้าร่วมสัมมนา โดย อน.วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการบริหาร นิตยสารโรตารีประเทศไทย 09:00-09:30 ข้อมูลปัจจุบันการ สื่อสารของโรตารี โดย ดอนนา คอทเตอร์ เป้าหมาย: ความยั่งยืนมั่นคง

2 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560

09:30-10:30 แบบดิจิตัลหรือแบบ สิ่งพิมพ์? อนาคตของนิตยสารประจำ� ภาคพื้นทวีป


ผู้ดำ�เนินรายการ: อน.วาณิช โยธาวุธ เป้าหมาย: อนาคตของนิตยสาร

เป้าหมาย: ปัญหาท้าทายและความยั่งยืนมั่งคง

16:15-17:00 หัวข้อ/ข้อคิดการสัมมนา 10:30-10:45 พักเบรก 15 นาที บรรณาธิการฯ ปี 2561 โดย ดอนนา คอตเตอร์ 10:45-11:45 อภิปรายการประชุมสภา เป้าหมาย: การสัมมนาในอนาคต นิติบัญญัติโรตารี: จะยกเลิกข้อบังคับการ รับนิตยสารหรือไม่? -- ปิดการประชุมสำ�หรับวันนี้– ผู้ดำ�เนินรายการ: อผภ.สมภพ ธีระสานต์ 17:45 ออกจากโรงแรมไปรับประทานอาหารค่ำ� เป้าหมาย: อนาคต 18:30-20:00 อาหารค่ำ�กับผู้นำ�อาวุโสโรตารี 11:45-12:15 ระดมสมอง: ทำ�อย่างไร ประเทศไทย ให้การบอกรับสมาชิกนิตยสารเป็นสิ่งน่าพึง สุนทรพจน์โดย อดีตประธานโรตารีสากล ปรารถนา พิชัย รัตตกุล ผู้ดำ�เนินรายการ: อผภ.สมภพ ธีระสานต์ เป้าหมาย: ปัญหาท้าทาย และอนาคต นิตยสาร 12:15-13:15 รับประทานอาหารกลางวัน

วันที่ 3

13:15-14:15 วิธีการดีที่สุดของนิตยสาร ประจำ�ภาคพื้นทวีป ผู้ดำ�เนินรายการ: อน.วาณิช โยธาวุธ เป้าหมาย: ปัญหาท้าทายและความ ยั่งยืน มั่นคง

วันศุกร์ที่ 3 พฤศจิกายน

14:15-15:15 แบบสำ�รวจสมาชิกนิตยสาร ผู้ดำ�เนินรายการ: อผภ.สมภพ ธีระสานต์ เป้าหมาย: ปัญหาท้าทายและความ ยั่งยืน มั่นคง

ผู้ดำ�เนินรายการ: ดอนนา คอตเตอร์

15:15-15:30

พักเบรก 15 นาที

15:30-16:15 โรตารีจะสนับสนุน นิตยสารภาคพื้นทวีปมากยิ่งขึ้นอย่างไร? ผู้ดำ�เนินรายการ: อน.วาณิช โยธาวุธ

08:30 ออกเดินทางไป จ.กาญจนบุรี 9:30-12:00 ปรึกษาหารือ: ทำ�อย่างไรให้ กลุ่มนิตยสารฯ รวมตัวเป็นหนึ่งเดียวกันยิ่ง ขึ้น แนวคิดการเพิ่มสมาชิกนิตยสาร -- ปิดการประชุม–12:00 อาหารกลางวันบนแพล่องแม่น้ำ�แคว

ทัศนศึกษา พร้อมเครื่องดื่ม

16:00 เยี่ยมเมืองมัลลิกา 18:00-20:00 อาหารค่ำ�และลอยกระทง 20:00 เดินทางกลับกรุงเทพฯ


ส า น น์ พิชัย รัตตกุล ประธานโรตารีสากล ปี 2002-03 การต้อนรับที่น่าอบอุ่นมาก ยินดีต้อนรับสู่ดินแดนแห่งรอยยิ้ม ยินดีต้อนรับสู่กรุงเทพฯ ...เมืองเทวดา ในนามของมิตรโรแทเรียนกว่า 8,000 คนทั่วประเทศ ผมในฐานะโรแทเรียนคนหนึ่ง ขอกล่าวต้อนรับจากใจจริงมายังบรรณาธิการ นิตยสารภาคพื้นทวีปทุกท่าน ท่านได้เดินทางไกลจากบ้านของท่าน จาก ออสเตรเลีย อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน ฟิลิปปินส์และประเทศไทย เพื่อมา “ปรับ” ความรู้ ข องท่ า นและสิ่ ง ที่ ท่ า นได้ เ รี ย นรู้ ก่ อ นที่ จะแบ่งปันประสบการณ์ของท่านให้กันและกัน การเรี ย นรู้ จ ากกั น และกั น เพื่ อ จะสามารถรั บ ภาระมากขึ้น มีชีวิตชีวามากขึ้นและยังสามารถ ทำ�ให้ท่านเป็นนักสื่อสารที่ดียิ่งขึ้นด้วย ช่วงเวลา 3 วันที่ท่านพักอยู่ที่นี่จะมีความ หมายอย่างมากกับการทำ�งานในอนาคตของ ท่าน และผมเชื่อมั่นว่า ท่านไม่เพียงแต่จะกลับ ไปพร้อมกับสิ่งที่ท่านได้เรียนรู้ แต่ยังจะนำ� ความปรารถนาดีของมิตรโรแทเรียนชาวไทย กลับไปด้วย ขอพระเจ้าคุ้มครองทุกท่านเมื่อถึงเวลาต้อง จากกันด้วย

4 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


นรเศรษฐ ปัทมานันท์ กรรมการบริหารโรตารีสากล ปี 2005-07 ในโอกาสจั ด สั ม มนาบรรณาธิ ก าร นิ ต ย ส า ร โ ร ต า รี ภ า ค พื้ น เ อ เ ชี ย แ ป ซิ ฟิ ก ณ กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2560 เพื่อปรึกษาหารือเรื่องที่ สำ�คัญๆ ตั้งแต่ความมั่นคงยั่งยืน ปัญหาร่วม กัน และอนาคตของนิตยสารภาคพื้นทวีป ผม ขอกล่ า วต้ อ นรั บ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มการสั ม มนาทุ ก ๆ ท่านสู่การสัมมนาที่สำ�คัญครั้งนี้ ในการเป็นเจ้าภาพเป็นครั้งแรกนี้ ผม หวั ง ว่ า พวกเราชาวไทยจะพยายามทำ � งานให้ ดีที่สุด เพื่อให้การประชุมภาคพื้นทวีปนี้มี ประสิทธิผลและสัมฤทธิ์ผลทุกประการ ขอให้ ท่ า นพำ � นั ก ในประเทศไทยด้ ว ย ความสุข

รศ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ กรรมการบริหารโรตารีสากล ปี 2015-17 ดิฉันขอแสดงความยินดีอย่างจริงใจ ในการจัดสัมมนาบรรณาธิการนิตยสารโรตา รีภาคพื้นทวีปเอเชีย/แปซิฟิก ณ ศูนย์โรตารี ในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2560 ขอต้อนรับผู้เข้าร่วมการสัมมนาครั้ง สำ�คัญในกรุงเทพฯ ทุกท่าน ประสบการณ์และความมุ่งมั่นตั้งใจต่อการ สัมมนาครั้งนี้ของพวกท่าน จะสร้างความแตก ต่างให้กับการดำ�เนินงานของโรตารีสากลของ เราต่อไปอย่างแน่นอน ดิฉันเชื่อมั่นว่า การสัมมนาครั้งนี้จะสร้าง ผลผลิ ต ข้ อ คิ ด ต่ า งๆที่ ล้ำ � ค่ า ที่ จ ะไปบุ ก เบิ ก นวั ต กรรมใหม่ สำ � หรั บ โรแทเรี ย นและผู้ มิ ใ ช่ โรแทเรียนทั่วโลกต่อไป ขอส่งความปรารถนาดีสำ�หรับการสัมมนาที่ จะมีประโยชน์และช่วงเวลาแห่งความสุขระหว่าง การพำ�นักในกรุงเทพฯ ประเทศไทยด้วย


ส า น น์ อผภ.ชาญ จรรโลงเศวตกุล ประธาน ศูนย์โรตารีในประเทศไทย พวกเราชาวคณะศูนย์โรตารีในประเทศไทย และนิตยสารโรตารีประเทศไทย รู้สึกเป็น เกี ย รติ ใ นการต้ อ นรั บ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มการสั ม มนา บรรณาธิการนิตยสารภาคพื้นเอเชีย/แปซิฟิก ที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 1-3 พฤศจิกายน 2560 เราจะสร้างความคุ้นเคยมากยิ่งขึ้น มี มิตรภาพมากขึ้น ได้แลกเปลี่ยนข้อคิดกันมาก ขึ้น แสวงหาความร่วมมือกันและประสบผล สำ�เร็จอย่างดีตลอดการสัมมนาและต่อๆ ไป ขอขอบคุ ณ สำ � หรั บ การอุ ทิ ศ เวลา อันมีค่าและแบ่งปันข้อคิดต่างๆ ระหว่างการ สัมมนานี้ ผมหวังว่าทุกท่านจะมีความสุขกับ วัฒนธรรมไทย อาหารไทยและเครื่องดื่ม ขอ ให้ พั ก ผ่ อ นและปลอดภั ย ระหว่ า งการพำ � นั ก ของท่านในประเทศไทย พวกเราหวังว่าท่านจะ นำ�ประสบการณ์ของท่านจากการสัมมนาและ วัฒนธรรมไทย ไปแบ่งปันกับมิตรโรแทเรียน ในภาค/ประเทศของท่านต่อไป ขอส่งความปรารถนาดีมายังทุกท่าน และให้เดินทางกลับโดยปลอดภัยด้วย

6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


อน.วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการบริหาร นิตยสารโรตารีประเทศไทย โลกยุ ค ดิ จิ ต อลยุ ค ของการติ ด ต่ อ สื่อสารไร้สาย ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ทำ�ให้เรา ทุกคนสามารถพูดคุยกันได้มากขึ้น ได้ตลอด เวลาตามที่ใจต้องการเสียด้วยซ้ำ� โลกเสมื อ นจริ ง ทำ � ให้ ก ารพบปะกั น มี ความจำ�เป็นน้อยลง แต่ในท้ายที่สุดโลกเสมือน จริงก็มิใช่โลกแห่งความเป็นจริง อาจจะอำ�นวย ความสะดวกได้ในระดับหนึ่ง แต่ไม่สามารถ ทดแทนได้ทั้งหมด งานสั ม นาในครั้ ง นี้ จ ะมี ส่ ว นสำ � คั ญ ทำ�ให้บรรณาธิการในภูมิภาคนี้ ได้มีโอกาสได้ รู้จักมักคุ้น พบปะพูดคุยหารือกันในหลายๆ เรื่อง ในฐานะเจ้ า ภาพของการจั ด การ ประชุมและบรรณาธิการฯ คิดว่า หัวข้อที่จะมี การพูดคุยหารือ จะเป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นของนิตยสารฯ การประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์ ฯลฯ และหวังว่ามิตรภาพที่เกิดขึ้นจะทำ�ให้ ทุกฝ่ายได้เข้าใจกันและกัน และมีความร่วมมือ กันมากขึ้น ทางคณะทีมงานจัดการสัมนาในครั้งนี้ หวังใจว่าทุกท่านจะได้รับความประทับใจ ใน มิตรภาพของการเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย โรตารี

USA ดอนนา คอตเตอร์ ผู้ประสานงานคณะกรรมการและนิตยสาร ภาคพื้นทวีปฯ โรตารีสากล ดอนนาทำ � งานอย่ า งใกล้ ชิ ด กั บ ผู้ บริหารนิตยสารโรตารีภาคพื้นทวีป 32 ฉบับ พร้อมกับทีมงานนักสื่อสารระดับโลก ดอนนาให้บริการลูกค้าอย่างต่อเนื่องและอยู่ใน ทุกสถานการณ์ของการจัดพิมพ์นิตยสารภาค พื้นทวีปหลายฉบับ ดอนนายังปฏิบัติหน้าที่กับ เดวิด อเล็กซานเดอร์ ผู้ประสานงานคณะกรรมการ ฝ่ายสื่อสารและประธานฯ แบรด โฮเวิร์ด โดย ร่วมมือกับคณะผู้ทำ�งานของคณะกรรมการ ด้วย ตลอดจนจัดการประชุมต่างๆ ตลอดปี โรตารี ดอนนาเคยทำ�งานบริการลูกค้าให้กับ บริษัทโฆษณาและทำ�หน้าที่ผู้ประสานงานฝ่าย ครีเอทีฟด้วย


8 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560



Donna Cotter

(Regional Magazines Manager)

บันทึกการสัมมนา ผู้ร่วมการสัมมนา ผู้แทนนิตยสารฯ - วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการ (โรตารีประเทศไทย) ราชิดา ภากาต บรรณาธิการ (โรตารีนิวส์, อินเดีย) เคียวโกะ โนซากิ บรรณาธิการ (โรตารี-โน-โตะโมะ, ญี่ปุ่น) โยชิโอะ ชิมิซึ ประธาน (โรตารี-โน-โตะโมะ) จีไฮเอะ ลี บรรณาธิการ (โรตารีเกาหลี) อึนจุง คิม บรรณาธิการบริหาร (โรตารีเกาหลี) อูร์ซุลา “ชิต” ลีเชาโก บรรณาธิการบริหาร (ฟิลิปปินส์โรตารี) เบนิกโย “พิชอย” เอมีลีโอ รามิเรส ประธาน/ ผู้พิมพ์ (ฟิลิปปินส์ โรตารี) เจ.อันโตนิโย “โทนี่” กีล่า ประธาน บอร์ดผูบ ้ ริหาร (ฟิลป ิ ปินส์ โรตารี) แฮริสน ั จ็อง บรรณาธิการ บริหาร (ไต้หวัน โรตารี) และดอนนา ค็อทเตอร์ ผู้ประสานงาน นิตยสารภาคพื้นทวีป โรตารีสากล

ผู้ร่วมสัมมนา

สมภพ ธีระสานต์ (บก.ภาค 3330) ทนงศักดิ์ วิบูลย์มา (บก. ภาค 3350) ชาญ จรรโลงเศวตกุล (ประธานศูนย์โรตารีใน ประเทศไทย) สุพงษ์ ชยุตสหกิจ (รองประธานศูนย์โรตารีใน ประเทศไทย) ดนุชา ภูมิถาวร (ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์โรตารีฯ) อนุรักษ์ นภาวรรณ (กรรมการประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯ) ช�ำนาญ จันทร์เรือง (ผช.ผู้ประสานงานภาพลักษณ์โรตารี โซน 6 บี) พิเชษฐ์ รุจิรัตน์ (ผู้แปลภาษา โรตารีประเทศไทย) จันทนี เทียนวิจติ ร (ผูเ้ ขียนบทความ โรตารีประเทศไทย) จิตราพร “เล็ก” สันติธรรมเจริญ (ผช.บรรณาธิการ) (โรตารีประเทศไทย) ล่ามภาษา - อน. เจ ชุง (เกาหลี) - อน.จุน นากามุระ (ญี่ปุ่น)

10 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


บันทึกการประชุม - เริ่มการสัมมนาด้วยค�ำกล่าวต้อนรับของเจ้าภาพ นิตยสารโรตารี ประเทศไทย และศูนย์โรตารีในประเทศไทย ต่อด้วยการแนะน�ำผู้ร่วม การสัมมนาทุกคน - อัพเดทการสื่อสารของโรตารีปัจจุบัน เน้นเรื่องส�ำคัญคือ • ความส�ำเร็จในการรณรงค์กลุ่มผู้ปฏิบัติการกลุ่มใหม่ ด้วยการ ช่วยเหลือจากนิตยสารภาคพื้นทวีป • ความคาดหวังการเปลี่ยนแปลงเว็บไซท์ที่ก�ำลังจะมาถึง • การร่วมมือมากขึน ้ จากส�ำนักงานใหญ่ เอฟแวนสตัน รวมถึงเรือ่ ง เนื้อหาในภาษาต่างๆ ที่ใช้ในเว็บ rotary.org • การเฝ้าติดตามที่ดีขึ้น จะมีผลในการเสริมคุณค่าให้แก่นิตยสาร ภาคพื้นทวีป ในฐานะเป็นหนึ่งช่องทางการสื่อสาร • การเปลี่ยนแปลงที่จะมาถึงนิตยสาร The Rotarian ในไม่ช้านี้ • ความจ�ำเป็นที่ต้องมีความเข้มข้นในการสร้างภาพนิตยสารเพื่อ ขยายภาพลักษณ์โรตารี

และของโรตารีให้เป็นปัจจุบัน • ญี่ปุ่น ไต้หวัน ไทยและฟิลิปปินส์ปรับเปลี่ยนรูปแบบนิตยสารไป เร็วๆ นี้โดยมีเสียงตอบรับจากสมาชิกได้ผลดี - การอภิปรายเรื่องแบบส�ำรวจของสมาชิกนิตยสาร • ค�ำถามที่ว่า “ท�ำอย่างไรให้สมาชิกเลือกนิตยสารแบบตีพิมพ์?” พิจารณาว่าให้ใช้แบบส�ำรวจสอบถามผู้อ่านจะได้ค�ำตอบดีที่สุด ส�ำหรับค�ำถามนี้ • ที่อินเดียเคยใช้แบบสอบถาม “Survey Monkey” ราชิดาได้รับ ตัวเลขตอบคุณภาพของสาระเนื้อหา หัวข้อและการปรับปรุง อื่น ฯลฯ • นิตยสาร The Rotarian ใช้แบบสอบถามทุกครัง้ ทีต ่ อ้ งการข้อมูล หรือความต้องการจากผู้อ่าน ในสองสามฉบับหน้าก็จะมีให้ดูอีก แบบหนึ่ง เมื่อต้นปีที่ผ่านมาก็มีแบบส�ำรวจเกี่ยวกับโฆษณา ใน ปี 2558 ก็ได้ท�ำการส�ำรวจและมีผลตอบรับโดยรวมที่น่าพอใจ

- โรตารีสากลจะสนับสนุนนิตยสารภาคพืน ้ ทวีปให้ดกี ว่านีไ้ ด้อย่างไร? - อภิปรายนิตยสารแบบดิจิตัลกับแบบกระดาษพิมพ์ และการบังคับ • มีบทความระดับโลกมากขึ้น มิได้มีเรื่องจากอเมริกาเท่านั้น ใช้ข้อบังคับบอกรับนิตยสารในอนาคต • เพิ่มเรื่องอื่นๆ (เช่น เรื่องโตรอนโต มีเรื่องเกี่ยวกับเอเชีย/ร้าน • ทุกคนยอมรับว่าโลกดิจต ิ ลั ก�ำลังเร่งรัดให้สงิ่ ตีพมิ พ์กลายเป็นแบบ อาหาร/ ไชน่าทาวน์ ฯลฯ) ดิจิตัลมากขึ้น และมิใช่แบบ pdf นิ่งๆ เท่านั้น • การเพิม่ ภาษาอืน ่ ๆ ในบทความทีล่ งเว็บ rotary.org จะมีประโยชน์ • ข่าวสารในเว็บไซท์ ปรับให้เป็นปัจจุบันได้ง่ายและเร็วกว่าข่าวสาร ดีขึ้น ที่ตีพิมพ์ด้วยกระดาษ • มิใช่ว่าทุกคนจะสามารถรับข่าวสารทางออนไลน์หรืออินเตอร์เนท - ข้อคิดจากการสัมมนา • เชิญวิทยากรภายนอกมาพูดเรือ่ งนิตยสารดิจติ ลั กับแบบสิง่ พิมพ์ ได้ • ให้แก้ปัญหามากกว่าพูด • นิตยสารแบบดิจติ ลั และกระดาษพิมพ์จะต้องจัดท�ำไปด้วยกันโดยมี • รับฟังข้อมูลการแก้ปัญหาที่คล้ายๆ กัน เรื่องไม่รับนิตยสาร การเชื่อมต่อให้ผู้อ่านสามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมจากสิ่งพิมพ์ ไม่ช�ำระเงิน หรืออื่นๆ กระดาษ หรือแจ้งข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมทางเว็บไซท์แก่ผู้อ่าน นิตยสารแบบพิมพ์กระดาษด้วย - การบอกรับนิตยสารดิจิตัลมีเปอร์เซ็นต์เพียงเล็กน้อย ควรแปล ว่าอย่างไร? • อ้างอิง - สภานิติบัญญัติโรตารีและการสร้างผลผลิตที่น่าสนใจ หากว่าข้อบังคับให้รับนิตยสารถูกน�ำไปบรรจุในวาระประชุมสภา นิตบ ิ ญ ั ญัตป ิ ี 2562 คุณดอนนา จะรีบแจ้งให้คณะบรรณาธิการ ทราบ เมื่อมีการบรรจุญัตตินี้ในวาระประชุมสภาฯ เมื่อได้รับการ ยืนยันแล้ว • ท�ำอย่างไรให้นิตยสารเป็นที่ต้องการของสมาชิก โดยเฉพาะแบบสิ่ง พิมพ์ ค�ำถามนี้ควรให้สมาชิกผู้อ่านตอบแบบสอบถาม - ผู้แทนนิตยสาร เสนอข้อปฏิบัติที่ดีที่สุดส�ำหรับนิตยสารภาคพื้น ทวีป • การวางแผน – บางฉบับวางแผนล่วงหน้าหลายเดือนถึงหนึง่ ปี ฉบับ อืน่ ๆ อาจวางแผนเพียงสองสามเดือน เพือ่ ปรับปรุงข้อมูลในประเทศ


การต้อนรับและประสิทธิภาพ การสัมมนาบรรณาธิการนิตยสารโรตารี ภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ณ กรุงเทพฯ

เมื่อกลางเดือนสิงหาคมที่ผ่านมาคุณ ดอนนา ค็อทเตอร์ ผู้ประสานงานนิตยสาร โรตารีภาคพืน ้ ทวีปและการสือ่ สารระดับโลก ได้สง่ อีเมลถึงบรรณาธิการนิตยสารโรตารีในเอเชียและ แปซิฟกิ เชิญไปร่วมประชุมสัมมนาบรรณาธิการฯ ระหว่าง 1-3 พฤศจิกายน 2560 ณ กรุงเทพฯ ในนามของคุณเดวิด อเล็กซานเดอร์ หัวหน้ากลุม่ ผูต้ ด ิ ต่อสือ่ สารระดับโลกของโรตารีสากล ซึง่ ตัง้ ใจ จะมาร่วมการสัมมนานีด ้ ว้ ย แต่ทา่ นติดภารกิจใน นาทีสุดท้าย จึงไม่สามารถเดินทางมาได้ บรรณาธิการและประธานบอร์ดจาก ประเทศญี่ปุ่น อินเดีย ฟิลิปปินส์ เกาหลี ไต้หวัน และประเทศไทยเจ้าภาพมากกว่า 20 คน มารวม กันที่ศูนย์โรตารีฯ ชั้นที่ 32 อาคารโอเชียนทาว เวอร์ 2 เพื่อเริ่มโปรแกรมตามที่ก�ำหนดไว้อย่าง ดียิ่ง

ก่อนที่ผู้เข้าสัมมนาจะเดินทางมาถึง กรุงเทพฯ บก.บริหาร วานิช โยธาวุธ และกรรม การศู น ย์ ฯ ได้ เ ตรี ย มหั ว ข้ อ เนื้ อ หาที่ จ ะยกมา อภิปรายกัน จัดโปรแกรมทัศนศึกษา โรงแรม ที่พักและสิ่งอื่นๆ ไว้อย่างเรียบร้อย ตารางเวลา 3 วันมีความชัดเจน เข้าใจง่าย ท�ำให้ผมสะดวก สบายใจก่อนการเดินทางมาประเทศไทยด้วยซ�้ำ จึงขอถือโอกาสนีข้ อบคุณในความกรุณาของเจ้า ภาพ ส�ำหรับโรงแรมทีพ ่ ก ั 3 คืนและค่าใช้จา่ ยภาค สนามอืน ่ ๆ ผมเชือ่ ว่าแขกทีม่ าทุกๆ ท่านคงมีความ รู้สึกขอบคุณเช่นกัน ส�ำหรับการต้อนรับอย่าง อบอุ่นในฐานะเจ้าภาพเป็นอย่างยิ่ง พวกเราหวัง ว่าจะมีโอกาสตอบแทนท่านในอนาคตต่อไปด้วย การสัมมนาเริ่มขึ้นตั้งแต่ภาคเช้าจนถึง ช่วงบ่ายของวันที่ 1 พฤศจิกายน โดยผู้ด�ำเนิน การประชุมที่มีชีวิตชีวาและการเตรียมพร้อม

12 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


ที่ดีของบก.วาณิช เจ้าภาพและ อผภ.สมภพ ธีระสานต์ ภาค 3330 ท�ำให้พวกเราผ่านพ้นปัญหาที่เกือบทุกคนใน นิตยสารภาคพื้นทวีปประสบมา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องนิตยสาร แบบรูปเล่มหรือแบบดิจิตัล ที่จะเป็นปัญหาใหญ่ของเราใน อนาคตอันใกล้ หรือเป็นหัวข้อการบอกรับสมาชิกนิตยสาร หากมีการยกเลิกข้อบังคับในอนาคตแล้ว พวกเรานิตยสาร ภาคพืน ้ ทวีปจะท�ำอย่างไรดีทสี่ ด ุ พวกเรานิตยสารภาคพืน ้ ทวีปจะมีวถ ิ ท ี างรวมตัวกันมากกว่านีอ้ ย่างไร นิตยสารภาค พืน ้ ทวีปจะสามารถช่วยเพิม ่ สมาชิกภาพได้หรือไม่ อนาคต ของนิตยสารภาคพื้นทวีปเราจะเป็นอย่างไร เราควรจะร่วม งานในนิตยสารของกันและกันอย่างใกล้ชิดกว่านี้ได้อย่างไร และเราควรเตรียมการส�ำหรับการประชุมสัมมนาบรรณาธิ การฯ ระดับโลกที่จะจัดขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2561 กัน อย่างไรบ้าง ฯลฯ ขอเชิญพวกเราทุกคนช่วยกันพูดและออก ความเห็นด้วย บรรยากาศในที่สัมมนาเป็นไปอย่างอิสระ สบายๆ แต่จริงจังในสาระเนื้อหาทุกขั้นตอนการอภิปราย โดยส่วนตัวผมแล้วมีความพอใจมาก ที่มีโอกาสได้ร่วมแบ่ง ปันประสบการณ์หลากหลายจากผู้ร่วมงานทุกประเทศ ได้ เรียนรู้ประสบการณ์การท�ำงานของกันและกันโดยรวม ผมประทั บ ใจในการท�ำงานของศู น ย์ โ รตารี ฯ ที่ ก�ำหนดให้สมาชิกโรแทเรียนทุกคนในประเทศไทยช�ำระค่า บ�ำรุงนิตยสาร เพื่อสนับสนุน “นิตยสารโรตารีประเทศไทย รายสองเดือน” ซึ่งผมเห็นว่าเป็นเรื่องที่ดีมากท�ำให้ไม่ต้อง กังวลเรื่องการพัฒนานิตยสารให้เจริญยั่งยืนต่อไป กล่าว โดยรวมแล้ว การสัมมนาครัง้ นีม้ ป ี ระสิทธิภาพดีอย่างยิง่ และ ประสบผลส�ำเร็จมาก คล้ายการจัดอภิปรายในสถาบันการ ศึกษาและมีชว่ งเวลาพักทีเ่ หมาะสม มากกว่าการฟังบรรยาย หรือสัมมนาในชั้นเรียนทั่วไปในมุมมองของผม ยกเว้นช่วง น�ำเสนอข้อมูลปัจจุบันของโรตารีสากลและข้อคิดเห็นสาระ ที่มีประโยชน์มากของคุณดอนนา ค็อทเตอร์

ช่วงเย็นวันพฤหัสบดีที่ ๒ พฤศจิกายน ผู้ร่วม งานทุกคนได้รับเชิญไปงานเลี้ยงอาหารมื้อค�่ำที่ภัตตาคาร อาหารทะเล พร้อมกับผู้น�ำอาวุโสของโรตารีประเทศไทย เช่น อดีตกรรมการโรตารีสากล นรเศรษฐ ปัทมานันท์ และ ท่านเสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ และอดีตผูว้ า่ การภาคหลายท่าน น่าเสียดายทีเ่ ราพลาดโอกาสพบอดีตประธานโรตารีสากลที่ น่าเคารพ ท่านพิชัย รัตตกุล ซึ่งเดิมท่านตั้งใจจะมาร่วมงาน เลี้ยงกับพวกเราด้วย แต่บังเอิญท่านรู้สึกไม่สบาย ท�ำให้ไม่ สามารถมาได้ อย่างไรก็ดี ท่านนรเศรษฐ ได้ถ่ายทอดค�ำ กล่าวต้อนรับและความปรารถนาดีอย่างประทับใจของท่าน พิชัย รัตตกุล มายังพวกเราและสมาชิกครอบครัวในงานนี้ ท�ำให้พวกเราทุกคนรูส้ ก ึ ดีใจมากและอิม ่ อร่อยกับอาหารคำ�่ ร้อนๆ มื้อนี้อย่างยิ่ง เช้าวันรุ่งขึ้น ท้องฟ้าสว่างอากาศสดใส พวกเรา ทุกคนไปพบกันที่ตึกโอเชียนทาวเวอร์ 2 เพื่อเดินทางไป ทัศนศึกษาที่จงั หวัดกาญจนบุรี บ้านของท่านอผภ.สมภพ ธี ร ะสานต์ เราเดิ น ทางโดยรถบั ส ประมาณ 3 ชม.จาก กรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันตก ท่านบก.วาณิช ท�ำหน้าที่ กัปตันน�ำพวกเราร้องเพลงตลอดทาง จนถึงร้านอาหารแพ ธาราริมน�้ำแม่แคว พวกเราลงแพอาหารโดยมีเรือลากจูง ไปตามล�ำน�้ำเพื่อรับประทานอาหารเที่ยงแล้วร�ำวงกัน ด้วย ความสนุกสนานมาก สมาชิกในกลุ่มเราทุกคนล้วนใส่เสื้อ โปโลสีฟ้าที่คณะผู้จัดงานเตรียมให้พวกเราอย่างเหมาะสม ทุกคนทุกประเทศ เป็นของขวัญและเป็นความกรุณาของ เจ้าภาพแก่พวกเราทุกคน ต่อจากนัน ้ เราก็เดินทางไปเยีย่ มโรงพยาบาลประจ�ำ จังหวัดร่วมกิจกรรมซึง่ สโมสรโรตารีในท้องถิน ่ จัดกิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์ส�ำหรับผู้พิการและเด็กที่เจ็บป่วย แล้ว เราเดินทางต่อไปชมสะพานข้ามแม่น�้ำแควและเมืองโบราณ มัลลิกาที่มีชื่อเสียงระดับโลก ที่ระลึกถึงสงครามโลกครั้งที่


การต้อนรับและประสิทธิภาพ การสัมมนานิตยสารโรตารีภาคพื้นทวีปเอเซียแปซิฟิก ณ กรุงเทพฯ อน.แฮริสัน จ็อง, บรรณาธิการบริหาร, นิตยสารโรตารีไต้หวัน สองและเมืองมรดกไทยตามล�ำดับ ที่เมืองโบราณมัลลิกา เราต้องเปลีย ่ นเสือ้ ผ้าชุดไทยทุกคนส�ำหรับผ่านประตู ซึง่ ดู สนุกสนานแปลกตาดี สร้างความเป็นเอกภาพและมิตรภาพ เวลาเราถ่ายภาพหมู่ด้วยกัน การฟ้อนร�ำไทยโบราณนั้น ยิ่งใหญ่สวยงามน่าดูน่าชมมากที่สุด และการลอยกระทง ในล�ำธารหมู่บ้านก็เป็นที่ชื่นชอบของผู้มาเยือนทุกคน เรา สนุกสนานกันมากและก่อนปล่อยกระทงลงในล�ำธาร ทุก คนก็ได้ร่วมอธิษฐานกันด้วย

บรรณาธิการผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่านล้วนระดับ มือ อาชีพ ที่ให้เราได้รับทักษะประสบการณ์ของแต่ละท่าน มา แบ่งปันเรียนรู้ด้วยกัน ผมขอชื่นชมยกย่องมิตรสหาย ที่กรุงเทพฯ ทุกท่าน ในทุกความส�ำเร็จของการสัมมนา บรรณาธิการนิตยสารโรตารีประจ�ำภาคพื้นทวีปเอเชีย/ แปซิฟิกครั้งนี้

เมื่ อ กลั บ ถึ ง ไทเปแล้ ว ผมยั ง รู ้ สึ ก ตื่ น เต้ น กั บ ความทรงจ�ำที่น่าประทับใจกับการเดินทางไปกรุงเทพฯ เที่ยวนี้ ผมประทับใจกับผู้คนในประเทศไทย โดยเฉพาะ ผู้ดูแลเราช่วงเวลาสั้นๆ ในกรุงเทพฯ ในการต้อนรับอย่าง มีประสิทธิภาพ เราประทับใจในการช่วยเหลือที่น่ารักและ สนุกสนาน การสัมมนาก็จด ั ลุลว่ งไป ด้วยดี พร้อมเอกสาร ส�ำหรับการอภิปราย ท�ำให้เรามีโอกาสเตรียมตัวล่วงหน้า อย่างดียงิ่ เป็นการประหยัดเวลาและพลังงานอย่างมาก และ

14 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


การประชุมบรรณาธิการนิตยสาร ภาคพื้นทวีปที่กรุงเทพฯ

ราชิดา ภากาต (บรรณาธิการ)

การประชุมบรรณาธิการนิตยสารภาคพื้นทวีปที่กรุงเทพฯ ครอบครัว มีรูปเล่มน่าสนใจ มีภาพถ่ายที่สวยงาม และอาจหา

วิธีให้มีโฆษณาสินค้าที่มีชื่อเสียง เช่น นาฬิกาโรเล็กส์ รถยนต์ การประชุมบรรณาธิการนิตยสารโรตารีโลก ภาคพื้น ออดี ฯลฯ เป็นหัวข้อที่น�ำมาอภิปรายกัน ทวีปเอเชีย/แปซิฟก ิ ทุกสองปี ทีจ่ ด ั ขึน ้ ทีก ่ รุงเทพฯ ประเทศไทย ในปีนี้มีบรรณาธิการนิตยสารฯ จากฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น เกาหลี เจ้าภาพที่ยอดเยี่ยม ไต้หวันและอินเดียรวมประเทศไทยเจ้าภาพมาประชุมร่วมกัน สถานทีจ่ ด ั สัมมนาเป็นสิง่ ทีน ่ า่ ประทับใจทีเ่ ป็นศูนย์โรตา โดยคุณ ดอนนา ค็อทเตอร์ ผู้ประสานงาน บก.นิตยสารฯ รีในประเทศไทย บนถนนแยกจากถนนสุขุมวิทที่มีชื่อเสียงของ ภาคพื้นทวีปและคณะกรรมการฝ่ายสื่อสารจากโรตารีสากล กรุงเทพฯ ท�ำหน้าที่ประธานในที่ประชุมครั้งนี้ การสัมมนานี้จึงเป็นเวทีที่มี ทีมงานนิตยสารโรตารีประเทศไทยและศูนย์โรตารีฯ ประโยชน์ส�ำหรับบรรณาธิการของแต่ละประเทศได้มาแบ่งปัน เป็นเจ้าภาพที่ยอดเยี่ยมและงานเลี้ยงมือค�่ำส�ำหรับต้อนรับ ประสบการณ์การผลิตนิตยสารโรตารีในประเทศของตนให้ทุก บรรณาธิการภาคพืน้ ทวีป เป็นอาหารจีนทีด่ ที สี่ ดุ จาก ภัตตาคาร คนทราบ สมบูรณ์ซีฟู้ด ที่มีชื่อเสียงเป็นเอกลักษณ์ เป็นร้านอาหารหลัก หัวข้อหนึ่งที่ได้อภิปรายกันถึงอนาคตของรูปเล่มนิตยสาร ส�ำคัญของนักท่องเที่ยวชาวจีนที่มากรุงเทพฯ ต้องไปชิมให้ได้ ในยุคสมัยเทคโนโลยีดิจิตัล คุณวาณิช โยธาวุธ บก.บริหาร และภัตตาคารแสนยอด ซีฟู้ดก็เป็นอีกร้านหนึ่งที่จัดงานเลี้ยง นิตยสารโรตารีประเทศไทย ซึง่ มียอดพิมพ์มากกว่า 8,000 เล่ม อาหารค�่ำในคืนวันต่อมา ก็มีอาหารอร่อยมาก ส�ำหรับโรตารี 4 ภาคในประเทศไทย กัมพูชา ลาว และเมียนมาร์ ก�ำหนดออกเป็นรายสองเดือน กล่าวว่า “สถานการณ์ด้านการ ส�ำหรับการเดินทางไปทัศนศึกษาทีจ่ งั หวัดกาญจนบุรี ตลาดนิตยสารขณะนีน ้ า่ กลัวมาก นิตยสารในประเทศหลายเล่ม ไปชมสะพานข้ามแม่น�้ำแควที่มีชื่อเสียงระดับโลก ภาพยนตร์ ได้หยุดการผลิตและหายไปจากตลาดแล้ว” ฮอลลีวู้ดที่ท�ำเงินมากมายถ่ายท�ำที่นี่ ก่อนหน้านั้นเราได้ไป แต่ อ ย่ า งไรก็ ดี บรรณาธิ ก ารส่ ว นใหญ่ ยั ง รู ้ สึ ก ว่ า เยีย่ มชมโครงการบ�ำเพ็ญประโยชน์ส�ำหรับผูพ ้ ก ิ ารและเด็กในโรง นิตยสารในภาคพื้นทวีปแบบพิมพ์รูปเล่มยังจะต้องคงสถานะ พยาบาลประจ�ำจังหวัดทีน่ า่ ยกย่อง เราได้รบั ประทานอาหารกลาง ภาพเดิมต่อไปในภาคพื้นอาเชียนอีกระยะหนึ่ง แม้ว่าแบบดิจิตั วันบนแพอาหารล่องล�ำนำ�้ แควจัดโดยเจ้าภาพโรตารีกาญจนบุรี ลจะขยายตัวเพิ่มขึ้นก็ตาม ซึ่งคุณดอนนากล่าวเสริมว่า ต่อไป พวกเรามีโอกาสสนุกสนานเรียนรู้การร�ำวงแบบไทย ซึ่งเราต้อง นี้บรรณาธิการจะต้องพิจารณาปรับปรุงเสริมคุณค่านิตยสาร ยอมรับด้วยว่ามีรปู แบบพัฒนาจากระบ�ำพืน้ เมืองของคนอินเดีย แบบพิมพ์ให้ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกันก็ขยายการผลิตแบบดิจิตัล ด้วย ให้หลากหลายไปพร้อมกัน ทัศนศึกษาวันนีจ้ บลงในตอนค�ำ่ ทีเ่ มืองมัลลิกา ทีผ ่ เู้ ข้า การประชุมมีการอภิปรายที่หลากหลายในการท�ำให้ ชมต้องเปลีย่ นเสือ้ ผ้าเป็นชุดไทยพืน ้ เมืองทีต ่ อ้ งเสียค่าเช่าทีร่ วม นิตยสารน่าสนใจยิ่งขึ้นและมีเนื้อหาเหมาะส�ำหรับโรแทเรียนและ กับค่าจัดทัวร์ พาเราย้อนยุคกลับไปสูอ่ ดีต และเราอาจจะขอแลก


เปลี่ยนเงินเหรียญย้อนยุคได้จากร้านค้าในหมู่บ้าน เราสิ้นสุดค�่ำคืนที่น่าประทับใจด้วยการน�ำกระทง ดอกไม้น่ารักพร้อมธูปเทียนไปลอยที่แม่น�้ำแคว มีความรู้สึก คล้ายกับเวลาที่เราไปเยือนฝั่งแม่น�้ำคงคา ที่อินเดีย คุณดนุชา ภูมถิ าวร ผูอ้ �ำนวยการศูนย์โรตารีฯ ผูว้ างแผนการเดินทางครัง้ นี้ บอกกับเราว่า “ขอให้เราส่งความรูส้ ก ึ ด้านทีไ่ ม่ดท ี งั้ หลายให้ลอย ไปพร้อมกระทงของเรา เพื่อรอคอยรับสิ่งที่ดีกว่าเข้ามาแทนที่” แล้วเราจะขออะไรมากกว่านี้อีก? ที่กล่าวมานี้ทั้งหมด เป็นโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์ เพื่อแบ่งปันปัญหาและหาข้อยุติซึ่งกันและกัน มีการเดินทางที่ ท�ำให้ทุกคนสนุกสนาน โดยคณะผู้จัดที่ต้องเหน็ดเหนื่อยคอย จัดการให้เราอย่างสุดยอด สิ่งที่ยังคงระลึกถึงตลอดไปคือความอบอุ่นสง่างาม น่าประทับใจที่ทีมงานของไทยดูแลพวกเรา ทุกสิ่งเป็นไปด้วยดี ตัง้ แต่แรกเริม ่ ส�ำหรับตัวดิฉน ั แล้ว คุณดนุชา เป็นผูต ้ อบยืนยัน โรงแรมที่พักอย่างฉับไวรวดเร็ว เพราะจ�ำเป็นส�ำหรับคนอินเดีย เพื่อขอวีซ่ามาเมืองไทย ไม่ว่าจะเป็นที่ศูนย์โรตารีฯ หรือการ เดินทางสามชั่วโมงไปกาญจนบุรี คณะเจ้าหน้าที่ศูนย์โรตารีฯ

16 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560

โดยคุณดนุชา ผู้อ�ำนวยการศูนย์ฯ คุณกมลชนก ภิรมณ์ศิริ พรรณ รองผูอ้ �ำนวยการฯ คุณกุลวดี เดชปรีชาชัย คุณณรงค์ จันทน์ผาติ และคุณจิตราพร สันติธรรมเจริญ ได้ดูแลพวกเรา คอยบริการเครื่องดื่ม ถ่ายรูป ท�ำให้ทุกคนสะดวกสบาย ด้วย รอยยิม้ ทีส่ ภ ุ าพตลอดเวลา และแน่นอนส�ำหรับ คุณวาณิชทีท ่ �ำ หน้าที่เจ้าภาพและผู้น�ำทัศนศึกษาตลอดทางอย่างดีเยี่ยม ขอให้ ทุกท่านระลึกว่าพวกเรารูส้ ก ึ ประทับใจกับประเทศไทยทีส่ วยงาม ตลอดจนการต้อนรับที่อบอุ่นในหัวใจของเราตลอดไป ขอบคุณจากดวงใจ ราชิดา ภากาต บรรณาธิการนิตยสารโรตารีนิวส์ นิตยสารประจ�ำภาคพื้นทวีป ประเทศอินเดีย


ที่นี่ประเทศไทย

บรรณาธิการและเจ้าหน้าที่ระดับสูงของส�ำนักพิมพ์นต ิ ยสารโรตารีระดับโลก ได้รับการ ต้อนรับแบบเอกลักษณ์ไทยอย่างดียงิ่ ในการประชุมภาคพืน ้ ทวีป (สองปีครัง้ ) ณ กรุงเทพฯ เมือ่ เดือนก่อน คุณดอนนา คอทเตอร์ กรรมการผู้ประสานงานนิตยสารภาคพื้นทวีป ได้บินจาก เอฟแวนสตัน อิลลินอยส์ เพื่อมาด�ำเนินการประชุมสัมมนาที่ศูนย์โรตารีในประเทศไทย ใจกลาง กรุงเทพฯ และ ทุกคนเห็นด้วยว่าการประชุมมาราธอนทัง้ วันประสบความส�ำเร็จอย่างดียงิ่ ในด้าน ประสิทธิผลและการสร้างสรรค์ ตลอดจนการเดินทางท่องเทีย่ วเชิงธุรกิจในวันรุง่ ขึน ้ ต่อมาก็เป็น กิจกรรมที่มีการวางแผนไว้ทั้งก่อนและหลังการสัมมนาอย่างดีเยี่ยม


18 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


โรตารีประเทศไทยจัดอาหารจีนต้อนรับผู้แทน นิตยสารทั้ง 5 ฉบับ รวม 10 คน ได้แก่ โรตารีนิวส์/โรตารี สามาชาร์ (อินเดีย) โรตารี-โน-โตโมะ (ญีป ่ น ุ่ ) โรตารีเกาหลี โรตารีฟลิ ป ิ ปินส์และโรตารีไต้หวัน ส่วนโรตารีดาวน์อน ั เดอร์ จากออสเตรเลียมิได้มาประชุมในครั้งนี้ ในมื้ออาหารค�่ำนี้ อาหารจีน 10 อย่างต่างทยอยออกมาเหมือนไม่สิ้นสุด ท�ำให้ ผู้มาเยือนได้รับรสชาติอาหารของไทย (จีน) และดอนน่าผู้ เริ่มคุ้นเคยกับการใช้ตะเกียบเป็นครั้งแรก ขากลับไปที่พัก ผู้มาเยือนได้ไปนั่งรถชมเมืองจัด โดยโรแทเรียนชาวไทย อผภ.สมภพ ธีระสานต์ หนึ่งในสี่ บรรณาธิการโรตารีประเทศไทย ในรถคันทีห่ นึง่ ได้สร้างรอย ยิ้มแก่ทุกคนด้วยมุขตลกเกี่ยวกับกรุงเทพฯ ตลอดทาง การประชุมวันรุ่งขึ้น บรรดาผู้แทนฯ พยายามก้าว ข้ามสิง่ กีดขวางด้านภาษาท�ำให้การประชุมมีชวี ติ ชีวาขึน ้ โรตา รีเกาหลีและโรตารีโนะ-โตะ-โมะ (ญี่ปุ่น) ได้ใช้โรแทเรียนล่าม ภาษาของตนมาช่วยแปล ซึ่งพวกเขาได้มีแนวคิดเกี่ยวกับ อนาคตนิตยสารส่วนภูมิภาคแบบสิ่งพิมพ์ โดยชี้แจงและ แนะน�ำวิธกี ารท�ำให้นติ ยสารประจ�ำภูมภ ิ าคน่าสนใจแก่สมาชิก ผู้บอกรับ ด้วยการวางแผนแบ่งปันบทความและการจัดรูป แบบ สถานที่ประชุมที่กว้างขวาง สะดวกสบาย พร้อมมื้อ อาหารกลางวันอาหารไทยแบบกันเองโดยคณะเจ้าหน้าทีศ ่ น ู ย์ ที่น่ารักท�ำให้การประชุมผ่านไปอย่างรวดเร็วและมีข้อคิดที่ดี ต่างๆ ไว้อย่างไม่น่าเบื่อตลอดการประชุมทั้งวัน

(ตามเข็มนาฬิกา) (แถวยืน) รทร.จุน (ล่าม) / อผภ.อนุรักษ์ / โยชิโอ (ญี่ปุ่น) / อผภ. ช�ำนาญ / รทร.เจ (ล่าม) / วาณิช (ไทย) / แฮริสัน (ไต้หวัน) / อผภ. สมภพ / อน.ทนงศักดิ์ (ไทย) / อน.พิเชษฐ์ (ผู้แปลนิตยสารไทยฯ) /อผภ.โทนีและพิชอย (ฟิลิปปินส์) (แถวนั่ง) ดนุชา (ไทย) / ราชิดา (อินเดีย) / เคียวโกะ (ญี่ปุ่น) / ดอนน่า / คิม และลี (เกาหลี) / อผภ.ชิต ((ฟิลิปปินส์) / อน.จันทนี และน้องเล็ก (จิตราพร) (ไทย) - คิม หัวหน้าแผนกการเงิน (เกาหลี) / รทร.เจ (ล่าม) / บก.ลี - บก.แฮริสัน (ไต้หวัน) / ผช.บก.ทนงศักดิ์ (ไทย) - ดอนนา คอตเตอร์ น�ำเสนอแบบปกส�ำหรับนิตยสารโรตารีภาค พื้นทวีป - เคียวโกะ บก.โรตารี-โนะ-โตะโมะ (ญี่ปุ่น) / ล่ามญี่ปุ่น รทร.จุน / โยชิโอะ (ญี่ปุ่น)

ขนมกล้วยห่อใบตองปิ้ง

งานเลี้ยงอาหารค�่ำอย่างกันเองที่ภัตตาคารแสนยอด อาหารทะเล มีผู้น�ำโรตารีประเทศไทยมาร่วมงานเลี้ยง ด้วย น�ำโดยอดีตกรรมการโรตารีสากล นรเศรษฐ ปัทมานันท์ และรศ.ดร.เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ ส่วนท่าน อดีตประธานโรตารีสากล พิชัย รัตตกุล ไม่สามารถมา ร่วมงานเลีย้ งนีไ้ ด้เนือ่ งจากป่วยกะทันหัน แต่ทา่ นได้ฝาก สานน์ของท่านให้ทา่ นนรเศรษฐมาอ่านส�ำหรับพวกเรา วันรุ่งขึ้นเป็นงานวันลอยกระทงของจังหวัด กาญจนบุรี ถิ่นของท่าน อผภ.สมภพ มีประชาชนมา ลอยกระทงดอกไม้บชู าพระในแม่นำ�้ แคว การเดินทางมา จังหวัดกาญจนบุรีจากกรุงเทพฯ ใช้เวลาสามชั่วโมง มี สะพานข้ามแม่น�้ำแควที่มีช่ือเสียงระดับโลก ที่นี่ผู้แทน ทุกคนอยู่ในรถบัสได้รับการต้อนรับขับสู้ดั่งผู้โดยสาร ชั้นหนึ่งตลอดการเดินทางโดยคณะท�ำงานของศูนย์โร ตารีฯ โดยจัดเรื่องน�้ำดื่ม ผลไม้ น�้ำผลไม้ อาหารว่างแก่ ทุกคน เปรียบดังว่าใครไม่รบั ประทานจะท�ำผิดกฎหมาย ไทย มื้อกลางวันบนภัตตาคารลอยน�้ำ ล่องทวนน�้ำแคว


อาหารกล่องแบบไทยๆ ส�ำรับอาหารไทยมือ้ ค�ำ่ ก่อนลอยกระทงดอกไม้ ถวายพระ

ไประยะสั้นๆ จนเกือบถึงสะพานข้ามแม่น�้ำแควซึ่งถ่ายท�ำ เป็นภาพยนตร์อมตะ อาหารกลางวันมื้อนี้อร่อยรสจัด แบบไทย คณะเจ้าภาพโรแทเรียนได้สอนผู้มาเยือนให้ ร�ำวงด้วยเพลงลอยกระทง ทุกคนสนุกสนานกันและตื่น เต้นกับงานเลี้ยงอาหารค�่ำที่จะมาถึงในเวลาค�่ำ หลังอาหารกลางวันสนุกสนานกันบนแพแล้ว อผภ.สมภพ และมิตรโรแทเรียนจากสโมสรในพื้นที่ได้ น�ำคณะผู้แทนนิตยสารฯ ไปเยี่ยมชมโครงการโรตารี ส�ำหรับผูป้ ว่ ยเด็กในแผนกเด็กโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด โรแทเรียนได้สร้างห้องสมุดเล็กๆ ส�ำหรับผูป้ ว่ ยเด็กในโรง พยาบาลมานั่งอ่าน หรือยืมไปอ่านที่เตียงพยาบาล และ โรแทเรียนยังแวะมาเยี่ยมเยียนผู้ป่วยเด็กๆ เสมอ เพื่อ มาอ่านหนังสือให้ฟัง หรือสอนการฝีมือเด็ก เพื่อเรียนรู้ กิจกรรมระหว่างรอพักรักษา เราแวะทีร่ า้ นไอศกรีมแห่งหนึง่ เพือ่ ชดเชยอาการ คอแห้ง คัดจมูก แวะพักถ่ายรูปที่สะพานข้ามแม่น�้ำแคว

และแล้วก็เดินทางต่อไปยังเมืองมัลลิกา เพื่อไปลอยกระทงดอกไม้ ถวายพระจุดดึงดูดหลักของเมืองมัลลิกา หมู่บ้านที่สร้างขึ้นเพื่อ แสดงศิลปะฝีมือท้องถิ่น แสดงแบบสถาปัตยกรรมท้องถิ่นและมี อาหารค�่ำแบบไทยแท้ ร่วมกับการแสดงโชว์ ผูเ้ ข้าชมจะต้องเปลีย่ นชุดพืน ้ เมืองเพือ่ ผ่านประตูเข้าเมือง โดยมีเสื้อผ้าเตรียมไว้ให้พร้อมเครื่องประดับ สุภาพสตรีจะมีผู้ ช่วยชาวบ้านมาเลือกเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายให้ ผู้หญิงผมยาว จะมีผชู้ ว่ ยม้วนเกล้าผม เช่นเดียวกับคณะท�ำงานศูนย์โรตารีไทย หลังจากการถ่ายภาพและอาหารค�่ำมื้อใหญ่แล้ว ทุกคนก็เตรียม พร้อมรอคิวไปลอยกระทงดอกไม้ที่แม่น�้ำแคว ทุกคนได้รับกระทงดอกไม้มีเทียนจุดไว้ตรงกลาง มีค�ำ แนะน�ำให้ภาวนาขอพรพระพุทธเจ้าก่อนลอยกระทงในแม่น�้ำ ซึ่ง ทุกคนยินดีปฏิบัติตาม ทุกสิ่งที่ดีต้องมีวันสิ้นสุด และต้องอ�ำลาจากกันในที่สุด คุณดอนนาได้เขียนมาหลังจากนัน ้ ว่า “โปรแกรมและกิจกรรมงาน ฉลองได้มก ี ารจัดการอย่างดี เห็นถึงความเหน็ดเหนือ่ ยจากการเต รียมทุกสิ่งทุกอย่างที่จัดการได้ส�ำเร็จไปอย่างสง่างาม เป็นงานที่ ท้าทาย การสร้างสรรค์บรรยากาศที่ดี เรามีความรู้สึกที่ดีจาก ความร่วมมือและมิตรภาพที่ดี ณ กรุงเทพฯ” ผู้ร่วมงานจากศูนย์โรตารีฯ บก.บริหาร วาณิช โยธาวุธ อผภ.อนุรักษ์ นพวรรณ (ภาค 3360) อผภ.สมภพ ธีระสานต์ และอผภ.วิชัย มณีวัชรเกียรติ (ผู้ประสานงานมูลนิธิ โรตารีประจ�ำภาคพื้นทวีป) (ภาค 3330) ผู้สนับสนุนจากศูนย์ โรตารีฯ คุณดนุชา คุณกมลชนก คุณกุลวดี ผช.บก.จิตรา พร (เล็ก) และผู้ถ่ายภาพ คุณณรงค์ ขอบคุณมากจากกรุงมนิลา!

20 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560

(ตามเข็มนาฬิกา) ภาพจากโครงการโรตารีกาญจนบุรีที่ รพ.กาญจนบุรี ทีมจากฟิลิปปินส์ รูเมเลีย รามิเรส - อผภ.ชิต ลีเจาโก โทนีและแอนเจลา กวีล่า - พิชอย รามิเรส - ลี และ คิม จากโรตารีเกาหลี - ล่ามเกาหลี รทร.เจ และ อน.พิเชษฐ์ - อดีตกรรมการบริหารโรตารีสากล นรเศรษฐ และ รศ.ดร.เสาวลักษณ์ - บก.บริหาร โรตารีประเทศไทย วาณิช โยธาวุธ



ผู้ ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม

India * Rotary News

ราชิดา ภากาต บรรณาธิการ “โรตารีนิวส์” และ “โรตารี สัมมาชา”

Japan * Rotary-No

เคียวโกะ โนซากิ บรรณาธิการ “โรตารี-โน-โตโมะ”

Korea * Rotary Kor

ลี จีฮัยยิ บรรณาธิการ นิตยสาร “โรตารีเกาหลี”

22 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


s/Rotary Samachar ราชิดา ภากาต อดีตนักหนังสือพิมพ์ ยาวนานถึง 38 ปี เคยทำ�งานกับหนังสือพิมพ์ชั้นนำ� ของอินเดีย 2 ฉบับ “เดอะฮินดู” และ “เดอะอินเดีย นเอ็กส์เพรส” โดยเขียนบทความด้านการสืบสวน สัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง รวมถึงนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีด้วย ราชิดาทำ�งานกับนิตยสาร “โรตารีนิวส์” และ “โรตารีสัมมาชาร์” ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา เธอได้ นำ�การเปลี่ยนแปลงสู่นิตยสารหลายประการ ซึ่งได้ รับการต้อนรับจากผู้อ่านเป็นอย่างดี

o-Tomo โยชิโอะ ชิมมิสึ ดำ � ร ง ตำ � แ ห น่ ง ป ร ะ ธ า น คณะกรรมการนิ ต ยสาร “โรตารี-โนะ-โตโมะ” ตั้งแต่ กรกฎาคม 2558 เคียวโกะ โนซากิ เพิ่งจะเข้ามารับหน้าที่ บรรณาธิการนิตยสาร “โรตารี-โนะ-โตโมะ” เมื่อเดือนกรกฎาคม 2560 นี้

อผภ.โยชิโอะ ชิมมีสึ ประธานกรรมการฯ

rea คิม อุนจุง บรรณาธิการ บริหารฯ ดูแล/ประสานงาน กิ จ กรรมจั ด พิ ม พ์ นิ ต ยสาร รวมถึงวางแผนด้านบทความ บ ริ ห า ร ง า น แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ข่าวสาร ลี จิฮัยยิ ทำ�หน้าที่หลากหลายมาก รวม ถึงวางแผนงานนิตยสาร การถ่ายภาพ และงาน เขียนบทความในนิตยสาร “โรตารีเกาหลี”

คิม อุนจุง หัวหน้าฝ่ายบัญชีและการเงิน


ผู้ ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม

Philippines * Philip

อผภ.อูรสุลา คอนซูเอโล ลีชาวโค

บรรณาธิการบริหาร นิตยสาร “ฟิลิปปินส์โรตารี”

Taiwan * Taiwan R

อน.แฮริสัน จ็อง บรรณาธิการบริหาร นิตยสาร “ไต้หวันโรตารี”

Thailand * Rotary T

อน.วาณิช โยธาวุธ บรรณาธิการบริหาร “โรตารีประเทศไทย”

24 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560


ppine Rotary “ชิต” แอล.ลี ชาวโค ทำ�งานในหน้าที่ต่างๆ ให้กับนิตยสารฟิลิปปินส์โรตารีตั้งแต่ปี 2547 และรับตำ�แหน่ง บรรณาธิการบริหาร เมื่อเดือน มิถุนายน 2560 “ ชิ ต ” อ ดึ ต ผู้ ว่ า ก า ร ภ า ค แ ล ะ อ ดี ต ผู้ ป ระสานงานภาพลั ก ษณ์ โ รตารี เ ธอได้ นำ � ประสบการณ์นาน หลายปีจากอุตสาหกรรม หนั ง สื อ พิ ม พ์ ม าสู่ นิ ต ยสารโรตารี ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ปัจจุบันเธอยังเป็นบรรณาธิการนิตยสารที่มีสีสัน รายเดือน “Tatler” ของฟิลิปปินส์ด้วย

Rotary

อผภ.เบนิกโย เอมืลีโอ รามีเรส ประธานกรรมการ บอร์ดสำ�นักพิมพ์นิตยสาร

“แฮริสัน จ็อง” เริ่มงานกับนิตยสาร “ไต้หวันโรตารี” ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2558 เขาสนุกกับทีมงานของเขาที่มีประสบการณ์ สูง มีแนวคิดใหม่ๆ และพัฒนาสร้างสรรค์ แบบมืออาชีพ เพื่อการปรับปรุงสิ่งพิมพ์ของ โรตารีในไต้หวันต่อไป

Thailand บก.วาณิช โยธาวุธ (สร.แม่สาย ภาค 3360) เหนือสุดในสยาม ทำ�หน้าที่บรรณาธิการ สารสโมสรมานานหลายปี และยังเป็นบรรณาธิการ สารผู้ว่าการภาค 3360 อีกหลายสมัย วาณิช ทำ�หน้าที่กรรมการฝ่ายศิลป์ของนิตยสารโรตารี ประเทศไทยตั้งแต่ปี 2553 และเป็นบรรณาธิการ บริหารในเดือนกรกฎาคม 2559 โดยมีเป้าหมาย ที่จะทำ�ให้นิตยสารมีสมดุลทั้งรูปแบบสวยงามและ มีประโยชน์สำ�หรับปัญญาชน ขณะเดียวกันก็ สร้างแรงจูงใจผู้อ่านนิตยสารโรตารีให้มีส่วนร่วม กิจกรรมโรตารีด้วย

อผภ.เจ.แอนโตนีโอ กวีล่า ประธานบอร์ด ผู้บริหารนิตยสาร


บรรณาธิการนิตยสารโรตารีประเทศไทย ภาค 3330 อผภ.สมภพ ธีระสานต์ สโมสรโรตารีกาญจนบุรี เกิดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งรองนายกองค์การ บริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรี ประธาน กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ส ภาอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด กาญจนบุรี และยังเป็นอาจารย์พิเศษให้ แก่สถาบันการศึกษาต่าง ๆ เข้ามาเป็นสมาชิกสโมสรโรตารี กาญจนบุรีเป็นตั้งแต่ปี 2539 ดำ�รง ตำ�แหน่งผู้ว่าการภาค 3330 เมื่อปี 2555-56 ดำ�รงตำ�แหน่งงานหลากหลายในภาค ทั้งในด้านการ อบรม การส่งเสริมภาพลักษณ์ การประชาสัมพันธ์ และด้าน พัฒนาสมาชิกภาพ ปัจจุบันทำ�หน้าที่ International Assembly Training Leader ปี 2016 และ 2017 ปีนี้มุ่งมั่นเพื่อสร้างสรรค์งานประชาสัมพันธ์และเสริมสร้าง ภาพลักษณ์ภาค 3330 มีการตั้งเป้าหมาย การให้ความรู้และ สร้างทีมงานเครือข่ายที่เข้มแข็งมีประสิทธิภาพ

ภาค 3350 อน.ทนงศักดิ์ วิบูลย์มา สโมสรโรตารีสาทร สถาปนิก ผู้มากความสามารถทาง ดนตรี เป็นผู้ประพันธ์เนื้อเพลงโรตารี และจัดทำ�ซีดีเพลง Rotary Theme ประจำ�ปี ตั้งแต่ปี 2544-45 เป็นต้น มาจนถึงปีปัจจุบัน รับงานด้านครีเอทีฟ เอนเตอร์เทน และกำ�กับเวที งาน Bangkok RI Convention และ Bangkok Rotary Institute 2 ครั้ง เป็นนายกสโมสรโรตารีสาทร ปี 2545-46 ได้รับรางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ เป็นผู้ช่วยผู้ว่าการภาค 5 ครั้ง ปีนี้นอกจาก ตำ�แหน่งประธานคณะกรรมการเพลงโรตารีประจำ�ปี 2017-18 แล้วยังเป็นกรรมการจัดงานอบรมเยาวชนผู้นำ� RYLA ของ ภาค 3350 และกรรรมการฝ่ายอื่นๆ เทคโนโลยี ส ารสนเทศมี ค วามก้ า วหน้ า มากมายแต่ โรแทเรียนไทย ทำ�งานอาสาสมัครยังขาดความใส่ใจในการ บริหารจัดการ จัดระเบียบข้อมูลที่ล้ำ�ค่าที่มีอยู่มากมาย 87 ปี ของโรตารีประเทศไทย ควรพิจารณาปรับปรุงเรื่องนี้ให้มาก มิ ฉะนั้นประวัติศาสตร์หน้าใหม่ๆ ก็จะอยู่แต่ในความทรงจำ�ของ แต่ละท่าน เท่านั้น

ทั้ง 4 ภาค

ภาค 3340 อน.ภัทรวดี อภิวรรณศร สโมสรโรตารีแหลมฉบัง

ดำ�รงตำ�แหน่งนายกสโมสรโรตารี แหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ในปี 255960และยังเป็นประธานรุ่นในปีนี้อีกด้วย เพิ่งเข้ามารับตำ�แหน่งผู้ช่วย บ ร ร ณ า ธิ ก า ร นิ ต ย ส า ร โ ร ต า รี ประเทศไทยปีนี้เป็นปีแรก โดยท่าน ผู้ว่าการภาคขอให้มาช่วย โดยมี อน.กิจจา เตชะศิริธนะกุล เลขาภาค 3340 จากสโมสรโรตารีมูลริเวอร์ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นเรี่ยวแรงสำ�คัญในการประสาน ข้อมูลให้ ปีนี้มีเรื่องโครงการแก้มลิงที่หนองโนนต่ายเป็น โครงการสำ�คัญ และตั้งแต่น้ำ�ท่วมอีสานก็ยุ่งๆ กันไปหมด ปัจจุบันประกอบธุรกิจ นำ�เข้า-ส่งออกสินค้าจากจีน ภาค 3360 อน.ณรัทฐา สีน้ำ�เงิน สโมสรโรตารีแพร่

นายกสโมสรโรตารีแพร่ปี 255758 ผู้ที่มีส่วนสำ�คัญในการลดอายุ เฉลี่ยของสมาชิกในสโมสร จนได้รับ รางวัลสโมสรที่มีคนรุ่นใหม่ % สูงสุด ของภาค 3360 ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งประธาน โรทาแรคท์ภาค, ประธานอินเทอร์ แรคท์ภาค, กองเลขาภาค, กรรมการ My Rotary Trainer, กรรมการ Public Image และ SAA ภาค 3360 แต่ก็ยังเหลือเวลาให้ งานที่โรงเรียนกวดวิชาดรุณี

จิตราพร สันติธรรมเจริญ ผู้ช่วยบรรณาธิการ

ที่อยู่นิตยสารโรตารีประเทศไทย : ศูนย์โรตารีในประเทศไทย 75/82-83, อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร์ 2 ชั้น 32 ซอยวัฒนา ถ.อโศก เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110, ประเทศไทย

26 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560

โทร: 02-661-6720 แฟ๊กซ์: 02-661-6719 มือถือ: 085-822-4442 อีเมล: magazine@rotarythailand.org , เว๊บไซต์ www.rotarythailand.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.