ISSN 2286-9085
Journal of Art and Design Rangsit University วารสารวิชาการ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
Journal of Art and Design Rangsit University
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555 ISSN: 2286-9085 เจาของ มหาวิทยาลัยรังสิต ผูจัดพิมพ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 เมืองเอก ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ :
ดร.อาทิตย อุไรรัตน ผศ.ดร.นเรฏฐ พันธราธร รศ.ดร.ชาติชาย ตระกูลรังสี นายอำนวยวุฒิ สาระศาลิน กองบรรณาธิการ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต รองอธิการบดีฝายวิชาการ ผูชวยอธิการบดีฝายวิชาการ คณบดี คณะดิจิทัลอารต
วัตถุประสงค
เพื่อสงเสริม สนับสนุน เผยแพรผลงานวิจัย/งานสรางสรรค และ ผลงานวิชาการทางศิลปะและการออกแบบ เชื่อมโยงวิชาการและ วิชาชีพ และเผยแพรองคความรู ใหเกิดประโยชนแกชุมชนและ สังคมสวนรวม ยกระดับมาตรฐานวารสารวิชาการ ศิลปะและ การออกแบบใหมีคุณภาพที่ไดรับการยอมรับในระดับสากล ผูทรงคุณวุฒิที่พิจารณาตรวจสอบความถูกตองของบทความ
นายกำจร แซเจียง
ศ.เกียรติคุณ อรศิริ ปาณินท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รศ.บุญสนอง รัตนสุนทรากุล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง รศ.ยงยุทธ รักษาศรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง รศ.รักศานต วิวัฒนสินอุดม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผศ.ดร.ชัยยศ อิษฏวรพันธ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.สินีนาถ เลิศไพรวัน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ดร.พีรดร แกวลาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รศ.สุวิทย รัตนานันท มหาวิทยาลัยรังสิต รศ.ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.ดร.กฤษณ ทองเลิศ มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.ปกรณ พรหมวิทกั ษ มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.สุรพงศ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์ มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.กิติสาร วาณิชยานนท มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.วัชรินทร จรุงจิตสุนทร มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.ธรรมศักดิ์ เอือ้ รักสกุล มหาวิทยาลัยรังสิต
ออกแบบปก
กำหนดการเผยแพร
ศ.วิโชค มุกดามณี รศ.ดร.นิยม วงศพงษคำ รศ.สน สีมาตรัง รศ.พิศประไพ สาระศาลิน ผศ.ดร.นฤพนธ ไชยยศ ผศ.ดร.พนิตนาฎ ชูฤกษ บรรณาธิการบริหาร
ดร.วราวรรณ สุวรรณผาติ ที่ปรึกษาคณะทำงาน
นายณัฐวุฒิ สีมันตร ผศ.สุวิชา เบญจพร นายสุชีพ กรรณสูต หัวหนาคณะทำงาน
นายสุเทพ โลหะจรูญ
มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต
ปละ 1 ฉบับ พิมพที่
ศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี
ขอเขียนหรือบทความวิชาการใดๆ ที่ไดพิมพเผยแพรในวารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต เปนความคิดเห็นเฉพาะตัวของผูเขียนและ กองบรรณาธฺการไมจำเปนตองเห็นดวย และไมมีขอผูกพันดวยประการใดๆ อนึ่งกองบรรณาธิการวารสารยินดีรับพิจารณาบทความจากนักวิชาการ นักศึกษา ตลอดจนผูอานและผูสนใจทั่วไป เพื่อนำลงตีพิมพ สำหรับบทความวิจัยและบทความวิชาการตองผานการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาที่เกี่ยวของ
บทบรรณาธิการ
วารสารคณะศิลปะและการออกแบบ ดำเนินการเพื่อสงเสริม สนับสนุน เผยแพรผลงานวิจัย ผลงาน สรางสรรค ผลงานวิชาการทางศิลปะและการออกแบบ เชื่อมโยงวิชาการและวิชาชีพ เผยแพรองคความรูใหเกิด ประโยชนแกชมุ ชนและสังคมสวนรวม กองบรรณาธิการไดเชิญผูเ ชีย่ วชาญใหครอบคลุมงานศิลปะและการออกแบบ ทุกสาขา เพื่อยกระดับมาตรฐานวารสารศิลปะและการออกแบบ ใหมีคุณภาพ ในโอกาสนี้ ขอขอบพระคุณทุกฝายทีม่ สี ว นรวม ทัง้ ผูเ สนอผลงาน ผูท รงคุณวุฒติ รวจสอบตนฉบับพรอมเสนอ ขอคิดเห็น ขอเสนอแนะที่มีประโยชน อันจะเปนขอมูลที่จะนำไปสูการพัฒนาเปนวารสารระดับชาติ หรือระดับ นานาชาติในโอกาสตอไป ดร.วราวรรณ สุวรรณผาติ บรรณาธิการบริหาร วารสารศิ ล ปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ การสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติดวยเทคนิคดินเยื่อกระดาษและสื่อผสม “กินรีเลนน้ำ”
1
การออกแบบเกมดิจิทัลเพื่อผูสูงอายุ
11
การออกแบบตัวพิมพเพื่อชวยลดตนทุนและวัตถุดิบในการพิมพ
19
การออกแบบบรรจุภัณฑพื้นถิ่นจังหวัดแพร
25
การออกแบบภาพยนตรเเอนิเมชันเพื่อแสดงอัตลักษณพื้นถิ่นเรื่อง พญาเม็งราย
37
การออกแบบวัสดุที่ถูกมองขาม นำมาเปลี่ยนแปลงใหเกิดคุณคาในรูปแบบใหม
45
การออกแบบอินเตอรเฟสเพื่อผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง
53
การออกแบบแอนิเมชัน กรณีศึกษาการใชชีวิตอยางมีความสุข
61
การออกแบบภาพยนตรแอนิเมชัน การแสดงทาทางและความรูสึกบนใบหนา
73
ตราสัญลักษณ ผาไหมนครชัยบุรินทร
81
สีและปจจัยเกี่ยวเนื่องในศิลปะบำบัดที่มีผลตอการลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุ
93
โลจนา มะโนทัย
ปฏิบัติ ปรียาวงศากุล, กัญชลิกา กัมปนานนท และ อนุชา โสภาคยวิจิตร ธนรัชฎ วชิรัคกุล, อนุชา โสภาคยวิจิตร และ ชัยนันท ชะอุมงาม
สลิลดา อุปรมัย, กัญชลิกา กัมปนานนท์ และ วัฒนพันธุ ครุฑะเสน
ชัยมงคล ธรรมทวีนันท, วัฒนพันธุ ครุฑะเสน และ ธนาทร เจียรกุล กฤษณพงศ รื่นเริง, เดวิด มารค เชเฟอร และ ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน
นันทิยา ยะประดิษฐ, ชลฤทธิ์ เหลืองจินดา และ ชัยนันท ชะอุมงาม
ภัทรวินท รัศมีแพทย์, พิศประไพ สาระศาลิน และ ชัยพร พานิชรุทติวงศ
เอกกมล เอกศรัณยชัย, พิศประไพ สาระศาลิน และ ชัยพร พานิชรุทติวงศ บำรุง อิศรกุล
ชลิดา รัชตะพงศธร, ธนาทร เจียรกุล และ วัฒนพันธ ครุฑะเสน
การสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติดวยเทคนิคดินเยื่อกระดาษ และสื่อผสม “กินรีเลนน้ำ” “Kinnarees’ Refreshing moment in the water” โลจนา มะโนทัย
Abstract
“Kinnarees’ Refreshing moment in the water”: The creative three dimension artwork from paper clay and mix media was created through an inspiration and impression of Thai literature entitled “Pra Suthon Kam Chan”. This well known story was beautifully written especially with the scene of Kinnaree Manorah spent her refreshing moment in the water among her six sisters in the midst of Himmapan jungle. This scene brought about her departure from homeland.
In presenting this artwork in from of technical paper, ideas, inspiration and procedure of using paper clay and mix media with unique from of sculptural technique are listed and recorded systematically. It is hope that this artwork will provide benefits to the public. In addition in the “Visual Arts Festival 2010” exhibition held on November 2010 at The Queen’s Gallery, the said artwork was shown. Keywords : 1. three dimension 2. paper clay 3. mix media 4. Kinnaree 5. Manorah
บทคัดยอ
การสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติดวยเทคนิคดินเยื่อกระดาษ และสื่อผสม “กินรีเลนน้ำ” นี้ผูสรางสรรคไดแรงบันดาลใจจาก วรรณคดีไทยเรื่องพระสุธน คำฉันท ในตอนที่กินรีมโนราหซึ่งเปนตัวละครเอกของเรื่องลงเลนน้ำกับพี่สาวทั้งหกในสระใหญกลางปา หิมพานต ซึง่ เปนเหตุใหตอ มานางตองพลัดพรากจากบานเมืองโดยกวีไดถา ยทอดเปนเรือ่ งราวอันเต็มไปดวยสุนทรียรส ทางวรรณกรรม และเปนที่รูจักกันแพรหลาย ในการนำเสนอผลงานในรูปแบบบทความทางวิชาการครั้งนี้ ผูสรางสรรคไดถายทอดแนวความคิด แรงบันดาลใจ ขั้นตอนการ ดำเนินงาน และกระบวนการสรางสรรคผลงานดวยวัสดุดนิ เยือ่ กระดาษ และสือ่ ผสม โดยนำเทคนิคทางประติมากรรมสรางงานขึน้ เปน งานสามมิติในลักษณะเฉพาะตน รวมทั้งบันทึกผลการสรางสรรคผลงานอยางเปนระบบ เพื่อนำเสนอตอผูที่สนใจ และสาธารณชน การสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติดวยเทคนิคดินเยื่อกระดาษ และสื่อผสม “กินรีเลนน้ำ” นี้ เปนผลงานที่เคยรวมแสดงใน งานนิทรรศการ “Visual Arts Festival 2010” ณ หอศิลปสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ คำสำคัญ : 1.งานศิลปะสามมิติ 2.
ดินเยื่อกระดาษ 3. สื่อผสม 4. กินรี 5. มโนราห
บทนำ
วรรณคดีไทยไดกลาวถึงเรื่องของกินรีไวหลายเรื่อง โดยกลาววากินรีนั้นเปนชาวหิมพานต และมีลักษณะพิเศษคือเปนครึ่ง มนุษย ครึ่งนก สามารถบินไปในอากาศไดอยางนกเมื่อสวมใสปกและหาง หากถอดปกและหางนั้นออกก็กลายรูปเปนมนุษยได วรรณคดีที่มีกินรีเปนตัวละครสำคัญนั้นมีการถายทอดเปนผลงาน จิตรกรรม ประติมากรรม นาฏกรรมหลายยุค หลายสมัย ใน สมัยปจจุบันยังไดผลิตเปนละครโทรทัศน รวมไปจนถึงเปนสปอตโฆษณานั่นคือเรื่องของกินรีมโนราหจากเรื่องพระสุธนคำฉันท หรือเปนที่รูจักกันมากในชื่อพระสุธน-มโนราห เนื่องจากวรรณคดีเรื่องนี้มีเนื้อหาครบทุกอรรถรส ประกอบกับรูปลักษณพิเศษของ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
หรือเปนที่รูจักกันมากในชื่อพระสุธน-มโนราห เนื่องจากวรรณคดีเรื่องนี้มีเนื้อหาครบทุกอรรถรส ประกอบกับรูปลักษณพิเศษของ กินรีเองก็เต็มไปดวยสีสัน และจินตนาการที่นาประทับใจ นี่เองจึงเปนที่มาของแรงบันดาลใจใหเกิดงานสรางสรรคเปนศิลปะ สามมิติดวยเทคนิคดินเยื่อกระดาษและสื่อผสม โดยผูสรางสรรคไดหยิบยกเอาตอนกินรีมโนราหลงเลนน้ำในสระใหญกลางปา หิมพานตพรอมดวยพี่สาวทั้งหกนางในชื่อผลงาน“กินรีเลนน้ำ” วัตถุประสงคของการสรางสรรค
1. เพื่อสงเสริมภูมิปญญาดานวรรณกรรมไทยใหเปนที่นิยมแพรหลาย 2. เพื่อนำเสนอ และพัฒนาผลงานที่สรางสรรคขึ้นดวยวัสดุดินเยื่อกระดาษและสื่อผสมในลักษณะงานศิลปะสามมิติโดยสอดคลอง เชื่อมโยงเขากับผลงานวรรณกรรม 3. เพื่อถายทอดความคิด ประสบการณ และทักษะของการแสดงออกดวยงานศิลปะสามมิติที่สรางสรรคขึ้นดวยวัสดุดินเยื่อกระดาษ และสื่อผสมอยางเปนระบบ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ไดถายทอดผลงานที่แสดงถึงความคิด และจินตนาการของตนที่มีตอภูมิปญญาดานวรรณกรรมของไทย 2. ไดพัฒนาแนวทางการสรางสรรคผลงานอยางตอเนื่อง ซึ่งนำไปสูการเผยแพรตอสาธารณชน 3. เปนแบบอยาง และเปนแนวทางในการสรางสรรคผลงานใหแกผูที่สนใจงานศิลปะสามมิติที่สรางสรรคขึ้นดวยวัสดุดินเยื่อกระดาษ และสื่อผสม การศึกษาเอกสาร และขอมูล
ผูสรางสรรคไดศึกษาขอมูลจากภาคเอกสาร และฐานขอมูล จากสือ่ อิเล็กทรอนิกส ไดแกขอ มูลจากวรรณคดีไทยเรือ่ งพระสุธน คำฉันท หรือพระสุธน-มโนราห ขอมูลจากเรื่องของกินรี ศึกษา ขอมูลภาพกินรีที่ปรากฎอยูบนภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภาพกินรี และมโนราหที่เปนงานจิตรกรรม ประติมากรรม รวมถึงภาพของ กินรีและมโนราหที่เผยแพรในศิลปะสาขาอื่น ๆ เชน นาฏศิลป บัลเลต รวมถึงงานสปอตโฆษณา เพื่อนำมาเปนขอมูลในการ สรางสรรคผลงาน
ขอบเขตของการสรางสรรค
การสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติดวยเทคนิคดินเยื่อ กระดาษและสือ่ ผสม “กินรีเลนน้ำ” มีขอบเขตการสรางสรรคดงั นี้ ดานเนื้อหา แสดงเนื้อหาภาพความงาม สุนทรียภาพ และความ รื่นรมยในขณะที่มโนราหและพี่สาวทั้งหกขณะลงเลนน้ำกลางสระ ใหญ ในปาหิมพานตตามจินตนาการของผูสรางสรรค ดานรูปแบบ เปนผลงานศิลปะสามมิติ ขนาด 45x45x33 ซม. จำนวน 1 ชิ้น ดานเทคนิค เปนผลงานศิลปะสามมิติที่ใชเทคนิคทางประติมากรรมมาสรางสรรคงาน โดยใชวสั ดุดนิ เยือ่ กระดาษ วัสดุสำเร็จรูป และวัสดุสังเคราะห 2
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
วัสดุที่ใชในการสรางสรรค อุปกรณสำหรับการปน และการขึ้นรูป
อุปกรณสำหรับการปน และการขึน้ รูปไดแก ดินเยือ่ กระดาษ (paper clay) ชุดเครือ่ งมือปน ดินทีท่ ำจากพลาสติก และสแตนเลส (การปนดวยวัสดุดินเยื่อกระดาษนั้นไมสามารถใชเครื่องมือปนทั่ว ไปได) แปนหมุน กรรไกรแบบบางเปนพิเศษ ทอพีวีซีเสนผาศูนย กลาง 1 นิ้ว ถุงพลาสติก ขนาด 40x28 ซม.สำหรับคลึงดิน ลวด อลูมิเนียมขนาด 3 มม.สำหรับทำโครง ขวดแกวขนาดตาง ๆ เพือ่ เปนฐานของกินรีแตละตัว พิมพหนา คัตเตอร กระดาษทราย น้ำเบอร 500 และ 600 กาวลาเทกซ อุปกรณลงสี
พูกันสีน้ำขนาดตาง ๆ สีน้ำ สีอะคริลิค สีอะคริลิคเนื้อ แมทาลิค สีอะคริลิคที่ใหพื้นผิวของหิน อุปกรณตกแตง
เสนไหมสำหรับทำผมสีตางๆ เพชรพลอยเทียม และกาว สำหรับติดเพชรพลอยเทียม เครื่องประดับสำเร็จรูป กระจกเงา เสนผาศูนยกลาง 33 ซม. ที่มาของความคิด และแรงบันดาลใจ
งานสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติ“กินรีเลนน้ำ” นี้ ผู สรางสรรคไดแรงบันดาลใจมาจากเรื่องของกินรีมโนราห ซึ่งเปน ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
เรื่องเลาเรื่องหนึ่งที่อยูในปญญาสชาดก หรือสุธนชาดกที่เลาตอ กันมาตั้งแตสมัยอยุธยาโดยพระยาอิศรานุภาพ (อน) เดิมคือพระ พิธสาลีกวีในสมัยรัชกาลที่ 4 ไดนำมาแตงเปนคำฉันท ชื่อพระ สุธนคำฉันท โดยใชฉันท 3 ชนิด และกาพย 2 ชนิด (เสนีย วิลาวรรณ, 2519: 239) ผูสรางสรรคไดเลือกหยิบยกเรื่องราวสวนตนเรื่อง คือตอนที่ มโนราห และพี่สาวทั้งหกพากันลงเลนน้ำในสระใหญกลางปา หิมพานตในคืนวันเพ็ญมาเปนแรงบันดาลใจ แลวถายทอดออก มาเปนผลงานสรางสรรคตามความคิด ความงามตามจินตนาการ สวนตน เนื้อเรื่องยอ
กินรีมโนราหเปนราชธิดาองคสุดทองในจำนวนเจ็ดนางของ ทาวประทุม และนางจันทกินรีซึ่งครองเมืองกินนรอยูที่เชิงเขา ไกรลาส ราชธิดาทัง้ เจ็ดชอบไปเลนน้ำในสระใหญกลางปาหิมพานต เปนประจำทุกวันเพ็ญ วันหนึ่งพรานบุญแหงเมืองอุดรปญจาเที่ยว ตามรอยสัตวมาจนถึงสระใหญซึ่งเต็มไปดวยบัวนานาชนิดที่สง กลิน่ หอมไปทัว่ พรานบุญนึกสงสัยจึงซักถามความเปนไปของสระ นี้จากษี ษีไดเลาไปถึงเรื่องนางกินรีลงเลนน้ำ พรานบุญจึง เฝาคอยดูพวกนางและคิดจับไปถวายพระสุธนราชโอรสทาว อาทิตยวงศแหงเมืองอุดรปญจา พรานบุญทราบวิธจี บั กินรีจากษี จึงเดินทางไปยืมบวงนาคบาศจากจิตรชมภูนาคราชที่ตนเคยชวย ชีวิตไว และใชบวงนั้นคลองเอาหัตถของมโนราหนองสุดทองที่มี รูปโฉมงดงามที่สุดไวได เมื่อนำนางไปถวายพระสุธน พระสุธน ก็พอพระทัยและนึกรักนางยิง่ นักจึงอภิเษกและครองคูอ ยางมีความ สุขมาระยะหนึง่ แตเกิดศึกมาประชิดเมือง พระสุธนออกทำศึกโดย ฝากมโนราหไวกบั พระบิดา พระมารดา ทาวอาทิตยวงศ ทรงสุบนิ ถึงการศึกซึ่งเปนนิมิตดี แตปุโรหิตของเมืองมีใจอาฆาตในเรื่องที่ พระสุธนจะยกตำแหนงปุโรหิตคนตอไปใหกบั ผูอ น่ื ทีไ่ มใชบตุ รของ ตน จึงแกลงทูลทาวอาทิตยวงศใหจดั เครือ่ งบูชายัญดวยสัตวสเ่ี ทา สองเทา มนุษย และคนธรรพ แตตดิ ขัดทีห่ าคนธรรพไมได ปุโรหิต จึงแนะใหนำมโนราหไปบูชายัญแทนเพื่อรักษาบานเมือง มโนราห จึงอุบายขอปกและหางของตนรายรำใหทาวอาทิตยวงศ และพระ นางจันทเทวีชมเปนครั้งสุดทาย ในขณะรายรำ มโนราหจึงถือ โอกาสบินหนีกลับไปเขาไกรลาสโดยแวะลงกลางทางเพื่อฝาก ธำมรงคและผาสไบของตนไวกบั ษี และขอใหชว ยหามพระสุธน ไมใหตามนางไปดวยมีภยันตรายใหญหลวงรออยู เมื่อพระสุธน ชนะศึกกลับมาไดทราบขาวของมโนราห จึงดั้นดนออกตามหา พระสุธนตองเผชิญกับภัยอันตรายดวยความยากลำบากอยูเจ็ดป เจ็ดเดือน เจ็ดวันจึงถึงเขาไกรลาส อีกทั้งยังตองผานดานการทด
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
สอบที่ยากยิ่งของทาวประทุมพระบิดาของมโนราห เรื่องจึงไดจบ ลง และครองคูอยูอยางมีความสุขอีกครั้งหนึ่ง การดำเนินการ และกระบวนการสรางสรรค
การดำเนินการและกระบวนการสรางสรรคมลี ำดับขัน้ ตอนดังนี้ การศึกษาและวิเคราะหขอมูล
ผูสรางสรรคไดศึกษา และวิเคราะหขอมูลเพื่อนำไปสูการ สรางสรรคงานโดยแบงเปนหัวขอ ดังนี้ ขอมูลความเปนมาของสุธนชาดก พระสุธนคำฉันท หรือ พระสุธน-มโนราห
สมฤทธิ์ ลือชัย (2553) กลาววา สุธนชาดกเปนเรื่องเลาที่อยู ในปญญาสชาดก สันนิษฐานกันวาแตงโดยพระภิกษุชาวเชียงใหม ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 20-21 ชาดกเรื่องนี้ไดรับความนิยมมา ตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน มีการเผยแพรลักษณะคำประพันธเปนบท ละครในสมัยอยุธยา เปนละครนอก เปนการประพันธประเภท คำฉันท (พระสุธนคำฉันทโดยพระยาอิศรานุภาพ (อน) ในสมัย รัชกาลที่ 4) อีกทั้งในสมัยรัตนโกสินทรนี้ยังไดมีการประดิษฐทา รำที่มีชื่อเสียงในชื่อ “มโนราหบูชายัญ” และ “มโนราหเลือกคู” โดยทานผูหญิงแผว สนิทวงศ ณ อยุธยา มีการสงตอเรื่องสุธนชาดกไปยังภาคใตในรูปแบบละครพื้น บาน ซึง่ เปนทีร่ จู กั กันดีในนาม “โนราห” สวนในภาคอีสานมีกลอน รำ และการประดิษฐทารำเรียก “เซิ้งมโนราหเลนน้ำ” ชาดกเรื่อง นี้ยังไปปรากฎที่เชียงตุง สิบสองปนนา และลาว โดยที่หนาวิหาร วัดธาตุหลวง เมืองหลวงพระบางยังมีภาพปูนปน พรานบุญขโมยปก และหางของมโนราหปรากฎอยู ในประเทศกัมพูชาก็นิยมสุธน ชาดกเชนกันโดยสันนิษฐานวาไดรับเรื่องนี้ผานทางความสัมพันธ ทางราชสำนัก และทางการเมืองในสมัยรัตนโกสินทร โดยทำเปน รูปแบบละครรำ และตอมาไดมีการผลิตขึ้นเปนภาพยนตรดวย สำหรับในประเทศไทยตั้งแตปพ.ศ. 2500 เปนตนมา พระ สุธนคำฉันท หรือเปนทีร่ จู กั กันดีในชือ่ “พระสุธน-มโนราห” มีการ ผลิตซ้ำในหลายรูปแบบเชนเมื่อพ.ศ. 2505 มีการแสดงบัลเลต มโนราหในพระบรมราชูปถัมภเพื่อจัดถวายแดสมเด็จพระเจากรุง เดนมารก และสมเด็จพระราชินีอินกริดทอดพระเนตร ซึ่งในการ นี้สมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระราชนิพนธเพลง ทรงแยก และเรียบเรียงเสียงประสานดวยพระองคเอง (มัลติพลาย, 2555) นอกจากนีย้ งั มีการสรางเปนภาพยนตร และละครโทรทัศน อีกทัง้ ปรากฎในการแสดงรูปแบบตาง ๆ เชน หุน กระบอก โมเดิรน ดานซ และลาสุดคือสปอตโฆษณาสินคาในโทรทัศน (สมฤทธิ์ ลือชัย, 2553) ซึ่งผูสรางสรรคจะไดกลาวถึงรูปลักษณนี้อีกครั้งใน บทตอไป วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
จิตรกร และประติมากรในสมัยปจจุบันก็ยังนิยมถายทอด ผลงานสรางสรรคที่ไดแรงบันดาลใจจากเรื่องของกินรี และ มโนราหเชนกัน เห็นไดจากงานจิตรกรรมหลาย ๆ ชุดของ จักรพันธุ โปษยกฤต ศิลปนแหงชาติสาขาทัศนศิลป การสราง สรรคประติมากรรมกินรีประดับสระน้ำวัดรองขุน จังหวัดเชียงราย (รูปที่ 4) และประติมากรรมมโนราห ที่สระมโนราห เมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ (รูปที่ 5) สวนรูปลักษณของกินรี และมโนราหที่ปรากฎใหเห็นใน รูปแบบอื่น ๆ อาทิเชน การออกแบบชุดกินรี บัลเลตมโนราหใน พระบรมราชูปถัมภ (รูปที่ 6) ออกแบบโดยนายปแอร บาลแมงค (มัลติพลาย, 2555) รูปลักษณมโนราห และพี่สาว (รูปที่ 7) จาก
รูปลักษณของกินรี และมโนราหในงานวิจิตรศิลป และงาน ประเภทอื่น ๆ
จากขอมูลในภาพจิตรกรรมฝาผนัง และขอมูลทางวรรณคดี ไดกลาวถึงรูปลักษณของกินรีวาเปนเพศหญิง (หากเปนเพศชาย จะเรียกวา กินนร) มีรูปเปนกึ่งมนุษย กึ่งนก ปกและหางนั้น สามารถถอดออก หรือสวมใสเพื่อบินไปไดอยางนก อาศัยอยูใน ปา หิมพานตเชิงเขาไกรลาส ซึ่งรูปของกินรีมักปรากฎใหเห็นใน งานวิจิตรศิลปเชน ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่วัดสุทัศนเทพวราราม วรมหาวิหาร (รูปที่ 1)และวัดดุสดิ าราม (รูปที่ 2) รูปประติมากรรม ประดับในสถานที่สำคัญ เชนรูปหลอโลหะกินนรและกินรีที่วัด พระศรีรัตนศาสดาราม (รูปที่ 3)
3
4
5
6
1
2 รูปที่ 1 ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ที่วัดสุทัศนเทพวรารามวรมหาวิหาร ที่มา:http://www.era.su.ac.th: 4 มีนาคม 2555 รูปที่ 2 ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ที่วัดดุสิดาราม ที่มา: http://www. reurnthai.com: 4 มีนาคม 2555 รูปที่ 3 ประติมากรรมหลอโลหะรูปกินนร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ที่มา: http://th.wikipedia.org: 4 มีนาคม 2555 รูปที่ 4 ประติมากรรมกินรีริมสระน้ำ วัดรองขุน จังหวัดเชียงราย ที่มา:http://touronthai.com: 4 มีนาคม 2555 รูปที่ 5 ประติมากรรมมโนราห ที่สระมโนราห เมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ ที่มา: http://www.oknation.net : 4 มีนาคม2555 รูปที่ 6 ชุดกินรีในบัลเลตมโนราห ที่มา:http://balladdrums.multiply.com : 19 มีนาคม 2555 รูปที่ 7 มโนราหและพี่สาวในละครโทรทัศนเรื่องพระสุธน-มโนราห ที่มา:http://www.thaifilm.com: 23 มีนาคม 2555 รูปที่ 8 ชุดกินรีในสปอตโฆษณาบรั่นดีรีเจนซี ที่มา: http://www.bloggang.com: 23 มีนาคม 2555 4
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
7
8 ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ละครโทรทัศนชุดพระสุธน-มโนราห (ไทยฟลมฟาวเดชั่น, 2550) และรูปที่ 8 เปนรูปลักษณของมโนราหจากสปอตโฆษณาโทรทัศน ของบรั่นดีรีเจนซี่ (บลอกแกงคดอทคอม, 2552) จากการวิเคราะหขอมูล ผูสรางสรรคจึงประมวลไดวารูป ลักษณของมโนราห และกินรีอาจแบงไดเปน 2 กลุม ใหญ ๆ กลุม แรกมีรูปลักษณตามคตินิยมที่มีการสืบทอดกันมา ดังที่ปรากฎใน ภาพจิตรกรรมไทย และประติมากรรมไทยประเพณี คือครึ่งบน เปนมนุษย ครึ่งลางเปนนก (รูปที่1-4) กลุมที่สอง มีรูปกายเปน มนุษย มีปก และหางเปนสวนประกอบเพื่อใหทราบวาเปนกินรี (รูปที่ 5-8) ซึ่งรูปลักษณในกลุมหลังนี้เปนขอมูลที่ผูสรางสรรคให ความสนใจ และนำมาประยุกตใชกับงานสรางสรรคในครั้งนี้
จะดื่มด่ำกับความงามอันนารื่นรมยของธรรมชาติรอบ ๆ ตัวใน สระใหญที่เต็มไปดวยกลิ่นหอมของดอกบัวนานาพันธุกลางปา หิมพานตในคืนวันเพ็ญ การรางเครื่องแตงกาย
ในการรางสวนของเสื้อผาและเครื่องประดับ ผูสรางสรรค ประยุกตขึ้นจากเครื่องแตงกายแบบไทยประเพณี สวนทรงผม และสีของผมนั้น ผูสรางสรรคตองการเพิ่มความเปน แฟนตาซี และไมยึดติดกับรูปแบบคตินิยมนัก จึงปลอยผมของกินรีใหยาว เปนลอนสยาย และมีสีผมหลากสีสันดังสีของขนนกเพื่อใหไดผล ที่แปลกตา สอดคลองเขากับจินตนาการสวนตน เทคนิคการขึ้นรูปวัสดุ
วัสดุที่ใชในครั้งนี้คือดินเยื่อกระดาษ (paper clay) เปนดิน สังเคราะหสำเร็จรูป ผลิตจากประเทศญี่ปุน ดินเยื่อกระดาษมี คุณสมบัติที่เหมาะสมในการทำงานสรางสรรคเพราะเนื้อดินนั้น คลายดินเหนียว หรือดินน้ำมัน เนื้อดินไมแตกราว หดตัวนอยไม ตองผานการอบหรือเผาอยางดินเซรามิกส เพียงทิง้ ใหสมั ผัสอากาศ ดินก็จะแหงสนิท สามารถเพิ่มเติมเนื้อดินไดแมดินนั้นจะเซ็ทตัว แลว เมื่อดินแหงก็สามารถตัดแตง แกะเซาะออกไดดวยมีด คัตเตอร จึงสามารถเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรือซอมแซมงานได ตลอดเวลา เมื่อดินแหงจะมีน้ำหนักเบาขึ้น และเนื่องจากเนื้อดิน มีสีขาว มีผิวคลายกระดาษจึงสามารถนำสีหลาย ๆ ประเภท รูปที่ 9 ภาพรางมโนราห และกลุมกินรี เชน สีนำ้ สีอะคริลคิ สีนำ้ มันหรือสีอน่ื ๆ ทีร่ ะบายลงผิวกระดาษ การดำเนินงานสรางสรรคการสรางภาพรางมโนราห ไดมาลงสีบนผิวงาน และกลุมกินรี
ในการสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติ “กินรีเลนน้ำ” นี้ผู สรางสรรคสมมุติใหรูปของมโนราหและกลุมกินรีพี่สาวมีรูปราง อยางมนุษยซึ่งตางจากกินรีในภาพภาพจิตรกรรมไทย และ ประติมากรรมไทยประเพณี แตยังคงรูปลักษณของกินรีไวเพียง แตปกโดยทำใหคลายกับปกนก ซึ่งปรากฎอยูเฉพาะแผนหลังของ มโนราหเทานั้นเพื่อชี้นำใหผูชมทราบวากินรีนี้คือมโนราห สวน การวางองคประกอบของภาพ ผูสรางสรรคไดจัดวางใหมโนราห ซึ่งเปนประธานของภาพนั่งบนโขดหินกลางภาพแลวรายลอมดวย กลุมกินรีพี่สาวซึ่งถูกจัดวางใหนั่งบนโขดหินที่ลดหลั่นลงไป (รูปที่ 9) ในการจัดวางองคประกอบของภาพนี้ ตองใหความสำคัญกับ มุมมองในแตละดานที่ตองมองเห็นภาพรวมไดอยางรอบตัว กินรี แตละนางตองมีความสอดประสานหรือมีความเชื่อมโยงระหวาง กัน ดวยอากัปกริยา หรือการทอดสายตา สำหรับอารมณที่สื่อ สะทอนในภาพนั้นมุงเนนอารมณผอนคลาย แสดงความพอใจที่ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
10
รูปที่ 10 ดินเยื่อกระดาษ และอุปกรณการปนทำดวยพลาสติก และ สแตนเลส ลวดอลูมิเนียม กรรไกรแบบบางพิเศษ พิมพหนา ขวดแกวที่ใชทำฐาน และกาวลาเทกซ
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
5
11 การทำโครงสราง และฐานของชิ้นงาน
การใชเทคนิคดินเยื่อกระดาษ จำเปนตองมีโครงซึ่งทำจาก ลวดไรสนิมอยางเชนลวดอลูมิเนียมเปนแกนในการขึ้นดิน หาก เปนรูปกินรีนั่ง แกนลวดตองสอดเขาไปในปากขวดแกว พันแถบ กระดาษรอบแกนลวดเพื่อยึดแกนลวดกับปากขวดใหแนนกอนจึง ขึ้นรูป (รูปที่ 11) หากเปนกินรีรูปยืน ตองใชแกนลวดยึดตรึงกับ ฐานไมกอนขึ้นรูป
12 การขึ้นรูปโขดหิน
สวนของโขดหิน คือสวนของขวดที่เปนฐานของรูป ซึ่งตอง หุมขวดดวยดินเยื่อกระดาษที่แผเปนแผนบาง ๆ กอน เพื่อชวย ยึดสวนฐานและชิ้นงานใหเปนเนื้อเดียวกัน จากนั้นขยำกระดาษ ใหเปนฟอรมของโขดหิน ใชเทปกาวกับกาวลาเทกซชวยยึดติด ระหวางกอนกระดาษกับขวดที่เปนฐาน จากนั้นหุมกระดาษดวย ดินเยื่อกระดาษที่แผเปนแผนบางอีกครั้งหนึ่ง (รูปที่ 11) ตกแตง ดวยเครื่องมือใหเกิดพื้นผิวของกอนหิน
เทคนิคการขึ้นรูป
ในการขึ้นรูปจะเริ่มปนตั้งแตสวนศีรษะ ลำตัว ขา และแขน คลายกับขัน้ ตอนการปน ดินเหนียว แตตา งกันตรงทีด่ นิ เยือ่ กระดาษ นั้นไมตองคอยพรมน้ำเพื่อกันดินแหง ในการปนใชวิธีการเพิ่มดิน พอกดินทีละนอย และใชนำ้ เพียงเล็กนอยคอยแตะใหเนือ้ ดินเชือ่ ม ติดเปนเนื้อเดียวกัน หากปนสวนแขน หรือขาตองใชลวดไรสนิม ขนาดเล็กทำเปนแกนอยูภายในดังรูปที่ 11 เพื่อเพิ่มความแข็งแรง ไมใหชิ้นสวนนั้นหลุดหักไดโดยงาย ในการเชื่อมตอดินนั้นตองใช กาวลาเท็กซแตมเพียงเล็กนอยเปนตัวเกาะยึดระหวางลำตัว แขน และ ขา ในผลงานศิลปะสามมิติ “กินรีเลนน้ำ” นี้ ผูส รางสรรคจะเริม่ ขึ้นรูปที่มโนราหกอนเพราะเปนประธานในภาพ จากนั้นจึงขึ้นรูป กินรีทอ่ี ยูล อ มรอบ โดยจัดวางตำแหนงใหลดหลัน่ กันตามภาพราง การปนนั้นเปนการปนแบบแยกสวนเพื่อใหงายตอการขึ้นรูปและ ลงสี เมือ่ ขึน้ รูปครบหมดทุกตัวแลวจึงนำมาประกอบเขากันอีกครัง้ หนึ่ง (รูปที่ 12) 6
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
การขึ้นรูปทรงของผา
การคลึงดินเยื่อกระดาษใหบางดังผืนผา ตองใชถุงพลาสติก ตัดดานขางและดานลางของถุงออก สอดดินแบน ๆ ที่แผดวย มือไวตรงกลาง แลวใชทอพีวีซีคลึงดินใหบาง นำมาจับเปนจีบ หรือทบใหไดลักษณะของผา การขึ้นรูปปก
รางรูปปกของมโนราหลงบนกระดาษ ตัดกระดาษแลวนำ มาทาบลงบนดินเยือ่ กระดาษทีค่ ลึงไวบาง ๆ ตัดดินตามกระดาษ จากนั้นจึงตกแตงดินเพิ่มเติมใหมีลักษณะของขนนกจากนั้นจึงรอ ใหดนิ แหง นำมาประกอบเขากับลำตัวนัน้ ใชซลิ โิ คน (epoxy putty) ชวยยึดติดเพื่อใหเกิดความแข็งแรง เมื่อซิลิโคนแหงแลวจึงใชดิน เยื่อกระดาษปนเปนขนนกปดทับรอยกาวอีกครั้งหนึ่ง (รูปที่ 13)
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
13
14
ขั้นตอนการขัดแตงผิวงาน
ใชกระดาษทรายน้ำเบอร 500 เกลาผิวงานกอน ในขั้นตอนนี้หาก พบวาผิวงานยังไมสม่ำเสมอก็สามารถเสริมดินได จากนั้นปลอยใหดิน แหงแลวจึงขัดใหเรียบเนียนอีกครั้งดวยกระดาษทรายน้ำเบอร 600 ขั้นตอนการลงสีการลงสีผิว
ใชสอี ะคริลคิ สีขาว ผสมกับสีนำ้ สีชมพูและสม แลวลดคาของสีดว ย สีน้ำสีฟาอีกเพียงเล็กนอย เพื่อไมใหสีผิวเปนสีชมพูจนเกินไป การลงสีเสื้อผา
ใชสอี ะคริลคิ ยีห่ อ Deco art ในกลุม Dazzling metallics สีตา ง ๆ แลวทับสีอกี ครัง้ หนึง่ ดวยสีอะคริลคิ Golden fluid acrylics ทีใ่ หพน้ื ผิวผา เปนประกายเหลือบสีทอง สีแดง สีมวง สีเขียว สีน้ำเงิน ซึ่งคุณลักษณะ ที่พิเศษของสีนี้จะใหความรูสึกราวกับวาวัสดุนั้นทำดวยผาไหม (ในรูปที่ 14 คือตัวอยางของสีดังกลาว) การลงสีโขดหิน
ใชสี Dancan: Granite stone สี pebble stone (รูปที่ 15) รอง พื้นใหเกิดพื้นผิวและสีของหินกอน แลวจึงแตงน้ำหนักของสีของโขดหิน ใหมีปริมาตรมากขึ้นดวยสีน้ำสีฟา สีน้ำเงิน ที่ผสมดวยสีน้ำตาล จาก นั้นจึงใชสีน้ำสีเขียวอมน้ำตาลแตงทับเปนบางสวนเพื่อใหคลายสีตะไคร เกาะโขดหิน จากนั้นจึงทากาวลาเทกซแลวโรยดวยผงหญาเทียมเพื่อให ดูเปนโขดหินที่สมจริงมากขึ้น
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
15 รูปที่ 11 แสดงการเตรียมสวนฐานการขึ้นรูป และการขึ้น รูปโขดหิน รูปที่ 12 เมื่อขึ้นรูปครบแลวจึงนำมาประกอบกันเปนกลุม รูปที่ 13 ในภาพเปนการประกอบปกมโนราหซึ่งตองใช ซิลิโคน (epoxy putty) ชวยในการยึดติดกับลำตัว ภาพ การรางตำแหนงเสื้อผา การเซาะไรผม และ การเขียนหนา รูปที่ 14 สี Deco art: Dazzling metallics และสี Golden fluid acrylics รูปที่ 15 สี Dancan: Granite stone
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
7
ขั้นตอนการตกแตงรายละเอียดสวนของผม
ผมของกินรีใชเสนผมสังเคราะห (รูปที่ 16) โดยเลือกสีที่ดู เปนแฟนซีอยางสีชมพู มวง ฟา เพื่อใหความรูสึกที่ดูคลายกับสี ของขนนกแทนสีดำ หรือน้ำตาลอยางสีผมคนทั่วไปทั้งนี้ก็เพื่อให เขากับจินตนาการของผูสรางสรรค ในการทำสวนของผม กอน 16 อื่นตองเจาะไรผมสวนหนาผากและรอยแสกผมเปนแนวยาวและ ลึกพอควรดวยมีดคัทเตอร (รูปที่ 13) เพื่อฝงเสนผมลงทีละกลุม ในการเตรียมเสนผมนั้นตองดึงผมออกมาทีละกลุมเพื่อพันผมกับ แกนซึ่งเปนขดลวด หรือหลอดกาแฟ (ขนาดของลอนผมขึ้นอยู กับแกนทีใ่ ชพนั ) นำผมทีพ่ นั แกนแลวไปแชในน้ำรอน 4 นาที แลว จึงนำไปแชน้ำเย็น จนเสนผมเย็นตัวลง นำขึ้นผึ่งใหแหงแกะออก จากแกนโดยปลายผมดานหนึ่งใชกาวอเนกประสงคยี่หอ Pritt หรือ UHO ยึดไมใหปลายผมหลุดเปนเสน ๆ แลวติดลงบนแนว ผมที่กรีดเปนรองไวแลว ใชกาวนี้ชวยยึดติดระหวางดินกับผมให อยูตัว แลวจึงตกแตงดวยเครื่องประดับ สวนของเครื่องประดับ
รูปที่ 16 ตัวอยางผมสำเร็จรูปที่ใช รูปที่ 17 กาวสำหรับติดเครื่องประดับ และตัวอยางอุปกรณที่ใชทำเครื่องประดับ
สรุป และวิเคราะหการสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติ ดวยเทคนิคดินเยือ่ กระดาษและสือ่ ผสม “กินรีเลนน้ำ”
ใชสรอยทองเทียมขนาดและรูปทรงตาง ๆ ตางหูขนาดเล็ก เพชรพลอยเทียมหลายขนาดมาตัดเปนชิ้นหรือรูปทรงที่ตองการ การสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติดวยเทคนิคดินเยื่อ แลวนำมาประกอบขึ้นใหมโดยใชกาวJewel-it ของ Aleene’s กระดาษและสื่อผสม “กินรีเลนน้ำ” นี้ไดรับแรงบันดาลใจจาก เปนตัวเชื่อมติดใหดูเปนเครื่องประดับแบบไทยประยุกต และดู วรรณคดีไทยเรื่องพระสุธนคำฉันท ตอนมโนราหและกลุมกินรีผู เปนแฟนซีบาง (รูปที่ 17) เปนพี่สาวลงเลนน้ำในสระใหญกลางปาหิมพานตในคืนวันเพ็ญ การวิเคราะหผลงานสรางสรรคในครั้งนี้มุงเนนการวิเคราะหเปน สวนของสระน้ำ 2 สวน คือ รูปทรง และเนื้อหา ซึ่งรายละเอียดในการวิเคราะห เนื่องจากในฉากนี้เปนการเลนน้ำของกลุมกินรี ผูสรางสรรค ประกอบดวย การวิเคราะหรปู แบบ การวิเคราะหและ สังเคราะห จึงใชกระจกเงาทรงกลมมาเปนสัญลักษณ หรือตัวแทนของสระน้ำ ทัศนธาตุ การวิเคราะหความเปนเอกภาพ และการวิเคราะห เพราะกระจกเงามีความใส และสรางเงาสะทอนคลายกับผิวน้ำได เทคนิค กอใหเกิดความรู ความเขาใจ ทราบถึงขอบกพรองของ แตเนื่องจากเงาสะทอนจากกระจกเงามีความคมชัดมากเกินไป งานซึ่งนำไปสูการพัฒนาผลงานสรางสรรคตอไป ผูส รางสรรคจงึ ใชกระดาษแกวสีรงุ กรุทบั ดานบนเพือ่ ลดเงาสะทอน จากการวิเคราะหผลงานศิลปะสามมิติดวยเทคนิคดินเยื่อ และพื้นผิวของกระดาษแกวสีรุงมีสวนชวยสงเสริมบรรยากาศของ กระดาษและสื่อผสม“กินรีเลนน้ำ” โดยใชหลักการวิเคราะหดัง ผลงานใหดูนุมนวล ใหความรูสึกราวกับภาพความฝนไดดี การ กลาว พบวา เลือกใชกระจกเงาทรงกลมเปนสวนของสระน้ำรวมทัง้ เปนฐานรอง รูปทรง ในดานรูปทรงนั้นใชการประสานกันอยางมีเอกภาพ รับงานนั้นใหความรูสึกวาไมหยุดนิ่ง สามารถมองดูไดผลงานได ของรูปทรง ที่วาง สี ลักษณะพื้นผิว ซึ่งสอดคลองกับการใชวัสดุ ทุกมุม ดินเยื่อกระดาษ และเทคนิคทางประติมากรรม เพื่อกอใหเกิด 8
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
รูปที่ 18 งานสำเร็จ ของผลงานสรางสรรคศิลปะสามมิติ “กินรีเลนน้ำ” ที่ใชเทคนิคดินเยื่อกระดาษ และสื่อผสม
ความงาม และสุนทรียภาพแกผูชมตามวัตถุประสงคของการ สรางสรรค โดยในดานรูปทรงนั้น รูปทรงของมโนราหซึ่งเปนสวน ประธานของภาพกับรูปทรงสวนรองของกลุมกินรี รวมทั้งรูปทรง ทีเ่ ปนสวนรายละเอียดในภาพคือกลุม ของโขดหินและดอกบัวมีการ ประสานกันอยางกลมกลืน มีจังหวะ มีการจัดวางชองวางที่ลด หลั่นกันทำใหความรูสึกในภาพเกิดความผอนคลาย สวนโครงสี ของภาพใหความรูสึกที่สดใส รื่นรมย และดูหรูหราจากอาภรณ ที่สวมใสแมโครงสีของภาพจะมีสีทั้งวรรณะอุน และวรรณะเย็น อยูรวมกันแตก็ไมเกิดความรูสึกขัดตา สวนของโขดหินซึ่งทำ หนาที่รองรับรูปทรงของกลุมกินรีทำหนาที่เชื่อมตอรูปทรงแตละ กลุม และยังทำหนาที่คลายดังเปนพื้นหลังนั้นมีพื้นผิวที่หยาบ เพื่อแสดงความเปนเนื้อหิน และมีสีสันที่คอนขางเขมเพื่อชวยขับ เนนรูปทรงของกลุมกินรีใหเดนชัดขึ้น เนื้อหา ในด า นเนื ้ อ หา เป น การนำเสนอสุ น ทรี ย รสจาก วรรณคดีไทย แลวถายทอดออกมาเปนความงามดวยงานศิลปกรรม ปญหาและขอเสนอแนะ
ในการสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติดวยเทคนิคดินเยื่อ กระดาษและสื่อผสม“กินรีเลนน้ำ” นี้พบวา ในการรางภาพผล งานสามมิติที่มีลักษณะเปนกลุมเชนนี้นั้น การทำภาพรางในแบบ สองมิติอาจไมเพียงพอกับการทำงานในลักษณะนี้ เพราะภาพ รางสองมิติไมอาจแสดงรายละเอียดในสวนที่เปนมิติใกล-ไกล
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
หรือแสดงความทับซอนกันของรูปทรงที่นำมาประกอบกันไดชัด เจน ดังนั้นการแกปญหาสวนนี้ ผูสรางสรรคจึงปนรูปทรงของทั้ง กลุม กินรีเปนแบบจำลองเล็ก ๆ ดวยดินน้ำมันกอน เพือ่ แกปญ หา การจัดวางมุมมองทีม่ คี วามทับซอน และมีความเชือ่ มโยงระหวาง รูปทรงของงานไดชัดเจน ใหมีความเปนเอกภาพไดงายขึ้น ปญหาอีกประการหนึ่งที่พบคือการใชสีอะคริลิคตางยี่หอกัน มาผสมสีรวมกันนั้นพบวาเกิดปญหาความไมเขากันของสวนประ กอบทางเคมีของสี ทำใหสีที่ระบายรวมกัน หรือทับซอนกันนั้น หลุดลอกเปนขุย จึงควรมีการทดสอบสีทจ่ี ะนำมาผสมรวมกันกอน ใชงานจริง ผลสรุปจากการสรางสรรคผลงานศิลปะสามมิติดวยเทคนิค ดิ น เยื ่ อ กระดาษและสื ่ อ ผสม“กิ น รี เ ล น น้ ำ ” นี ้ น ั บ ได ว า เป น ประสบการณทางศิลปะที่เปนประโยชนอยางยิ่งตอผูสรางสรรค โดยในอันดับแรกนั้น ผูสรางสรรคไดฝกฝนการจัดระบบความคิด การวางแผนการทำงาน การจัดลำดับขัน้ ตอนการทำงานกอนและ หลังอยางเปนระบบ ลำดับตอมาคือไดเรียนรูจากการแกปญหา ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในระหวางปฏิบัติงาน อีกทั้งการทำงานศิลปะ อยางสม่ำเสมอยังชวยใหผูสรางสรรคไดพัฒนาความคิด พัฒนา ทักษะฝมือใหกาวหนามากยิ่งขึ้น และประการสุดทายคือสามารถ นำขอมูล ความรู และประสบการณทางศิลปะในครั้งนี้มาถาย ทอด เผยแพรแกผูที่มีความสนใจสรางสรรคผลงานศิลปะดวย เทคนิคดินเยื่อกระดาษและสื่อผสมรวมทั้งสาธารณชนทั่วไป วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
9
บรรณานุกรม ชลูด นิ่มเสมอ. (2538). องคประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. ฝายคำ. (2547). นางในวรรณคดีจาก 22 วรรณคดีเอกของไทย. เชียงใหม: ธารปญญา. มาลัย. (2536). นางในวรรณคดี. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บวรสารการพิมพ. เสนีย วิลาวรรณ. (2519). ประวัติวรรณคดี. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. สื่ออิเล็กทรอนิกส กินรีสวีทบทเพลงพระราชนิพนธสำหรับบัลเลตมโนราห (2). [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 19 มีนาคม 2555. จาก http:// balladdrums. multiply.com/ journal/item/13?&show_interstitial=1&u=%2Fjournal%2Fitem ไทยฟลมฟาวเดชั่น. (2550). แฟนพันธุแทละครจักร ๆ วงศ ๆ. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 23 มีนาคม 2555. จาก http://www.thaifilm.com/forumDetail.asp?topicID=3335&page= 7&keywordบลอกแกงคดอทคอม. (2552). เพ็ญชมพู. (2553). สัตวประหลาด. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 4 มีนาคม 2555, จาก http://www. reurnthai.com/index.php?topic=3296.600มัลติพลาย. (2555). คีตมหาราชนิพนธ: เมืองโบราณ…เมืองในอดีต (2). [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 19 มีนาคม 2555. จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=500751 วัดรองขุน. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 4 มีนาคม 2555. จาก http:// touronthai.com/ gallery/placeview.php?place_id=2002003 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2554). กินรี. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 4 มีนาคม 2555. จาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B5 สมฤทธิ์ ลือชัย. (2533). บทความการแสดงทางวัฒนธรรม เอกสารประกอบการแสดงครั้งที่ 47 เรื่อง พระสุธน มโนราห จาก วรรณกรรมทองถิ่น สูนาฏศิลปสุวรรณภูมิ : สุธน-มโนราห. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 23 ธันวาคม 2554. จาก http://www. sac.or. th/main/article_detail.php?article_id=122&category_id=21 แหลงสารสนเทศอิเล็กทรอนิกสทางศิลปะในประเทศไทย. (2543). วัดสุทัศนเทพวรารามวรมหาวิหาร. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 4 มีนาคม 2555. จาก http://www. era. su. ac. th/Mural/sutouch/index.html#sutโอเคเนชั่นดอทคอม. (2552). Deep love to love is to give. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 23 มีนาคม 2555. จาก http://www. bloggang.com/ viewdiary. php?id= deeplove & group=6
10
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
การออกแบบเกมดิจิทัลเพื่อผูสูงอายุ Digital Game Design for Elders
ปฏิบัติ ปรียาวงศากุล1 กัญชลิกา กัมปนานนท2 และ อนุชา โสภาคยวิจิตร3
Abstract
The purpose of the research was to study the principles of interface design for digital games on the iPad which was appropriate for the elderly, in term of physical usage and game play understanding. The sample was an open-minded elderly people aged between 60-70 years old who graduated from not lower than high vocational level or understood basic English, enjoyed playing games, and was physically able to play digital game on the iPad.
This study was divided into three areas: 1) The iPad Technology; 2) The physical characteristics and behaviour of the elderly; 3) Interface design principles of digital games for recognition disabilities and the elderly. The study analyzed all three areas, tested 3 game series and collected information from target group in order to analyze and define interface design principles for digital games on the iPad which is suitable for the elderly. In the experimental procedure, the researcher classified game designing , based on the basic principles of interface design, into three categories: 1) A game set that was designed to meet the interface design principles, comprising six games. 2) A game set that did not match or was opposed to the interface design principles, comprising seven games. 3) A game with an interesting interface design aspects but not in accordance with the interface design principles. The sample was 20 people and every game was tested by at least 9 people. Data collection based on observing target group behaviour, recording data and answering questionnaires by the elderly. The analysis of the experimental data showed that the basic principles of interface design was in accordance with the behaviour of the majority of sample. However, conflicts on language usage and understanding play were found. Therefore, the researcher brought the experiment results together with the observation information to establish the principles of interface design for digital games on the iPad for the elderly and then had them reviewed by experts on game design, multimedia design and the elderly for additional comments and suggestions in order to build useful information on digital game designing on the iPad for game developers and graphic designers in the future. Keywords : 1. game for elders 2. interface design 1 2 3
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2554 อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทคัดยอ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการออกแบบอินเตอรเฟซเกมดิจิทัลสำหรับผูสูงอายุบนอุปกรณไอแพดที่เหมาะสม กับผูสูงอายุในชวงอายุ 60-70 ป ระดับการศึกษาไมต่ำกวา ปวส. หรือสามารถเขาใจภาษาอังกฤษระดับเบื้องตนได มีมุมมองเปด กวางในการรับสิ่งใหม ชอบเลนเกม และมีลักษณะทางกายภาพที่อำนวยตอการเลนเกมดิจิทัล ในการศึกษา จะแบงขอมูลออกเปน 3 ดาน ไดแก 1) เทคโนโลยีไอแพด 2) ลักษณะทางกายภาพและพฤติกรรมของผูสูงอายุ 3 ) หลักการออกแบบอินเตอรเฟซสำหรับผูบกพรองทางการรับรูและผูสูงอายุ โดยนำขอมูลทั้งสามดานมาวิเคราะหรวมกัน พรอมทำ การทดลองและเก็บขอมูลจริงจากกลุมตัวอยาง เพื่อวิเคราะหหาหลักการออกแบบอินเตอรเฟซเกมที่มีความเหมาะสมกับผูสูงอายุบน อุปกรณไอแพด ในขัน้ ตอนการทดลอง ผูว จิ ยั ไดจำแนกชุดเกมทีจ่ ะใชทดลองกับกลุม ตัวอยาง โดยอางอิงจากการวิเคราะหของขอมูลทัง้ สามดาน เปนหลักการออกแบบอินเตอรเฟซเบื้องตน ทำใหจำแนกชุดเกมออกไดเปน 3 ชุด ไดแก 1) ชุดเกมที่มีลักษณะการออกแบบตรงตามหลักการออกแบบอินเตอรเฟซ จำนวน 6 เกม 2) ชุดเกมที่มีลักษณะการออกแบบไมตรง หรือ ตรงขามกับหลักการออกแบบอินเตอรเฟซ จำนวน 7เกม 3) เกมที่มีลักษณะการออกแบบที่มีประเด็นที่นาสนใจ แตไมไดอยูในหลักการออกแบบอินเตอรเฟซ จำนวน 1 เกม จากนัน้ นำเกมทัง้ สามชุดไปทดลองกับกลุม ตัวอยางจำนวน 20 คน และกำหนดวาเกมทุกเกมจะตองถูกทดสอบโดยกลุม ตัวอยาง อยางนอย 9คน การเก็บขอมูลเนนสังเกตพฤติกรรมและบันทึกผล พรอมดวยการตอบแบบสอบถาม จากนั้นนำผลที่ไดทั้งหมดไป ประมวลหาคำตอบใหแกงานวิจัย ผลการวิเคราะหขอมูลจากการทดลอง พบวาหลักการออกแบบอินเตอรเฟซในเบื้องตนนั้น สอดคลองกับพฤติกรรมการใชงาน สวนใหญของผูสูงอายุจริง โดยพบขอขัดแยงที่มักเกี่ยวกับการใชภาษา และการเรียนรูวิธีเลน ผูวิจัยจึงนำผลดังกลาว พรอมขอมูล การสังเกตการณรว ม มาสังเคราะหเปนหลักการออกแบบอินเตอรเฟซเกมดิจทิ ลั เพือ่ ผูส งู อายุบนอุปกรณไอแพด โดยมีผเู ชีย่ วชาญจาก สาขาการออกแบบเกม การออกแบบมัลติมีเดีย และ ผูสูงอายุ อานพิจารณา ใหความเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อเปนขอมูล ในการออกแบบเกมดิจิทัลบนอุปกรณไอแพดสำหรับนักพัฒนาเกมและนักออกแบบกราฟกสำหรับเกมตอไป คำสำคัญ : 1.
เกมเพื่อผูสูงอายุ 2. การออกแบบอินเตอรเฟซ
คำนิยามศัพทเฉพาะ
1. ผูส งู อายุ ในทีน่ ห้ี มายถึง ผูท ม่ี อี ายุ 60-70 ป ทีม่ มี มุ มองเปดรับเทคโนโลยีและสิง่ ใหมและมีลกั ษณะทางกายภาพทีเ่ อือ้ อำนวย ตอการเลนเกม 2. เกมดิจิทัล (Digital Game) หมายถึง โปรแกรมบนอุปกรณไฟฟาที่ออกแบบเพื่อใหความสนุกเพลิดเพลินแกผูใช โดยสื่อสาร ผานทาง Graphic Interface บนหนาจอแสดงผลตาง ๆ เชน จอโทรทัศน จอคอมพิวเตอร โทรศัพทมอื ถือ หรือจอคอมพิวเตอรพกพา 3. ระบบการเลน (Game play) หมายถึง วิธีปฏิสัมพันธกับเกม เพื่อใหแกปญหาโจทย หรือเอาชนะฝายตรงขามในกติกาของ เกมนั้น ๆ 4. Graphic Interface (กราฟก อินเตอรเฟส) หมายถึง การใชภาพเปนตัวประสานกับผูใช (ใชตัวยอวา GUI (กุย) เปนวิธีการ ใหความสะดวกแกผูใชคอมพิวเตอร ใหติดตอสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอรโดยผานทางภาพ เชน ใชเมาสกดเลือกสัญรูป (icon) แทนการพิมพคำสั่ง หรือการเลือกคำสั่งตามรายการเลือกที่เรียกวา ระบบเมนู 5. Casual Game (แคชชวล เกม) หมายถึง เกมที่ไมตองใชเวลาในการเลนนาน ไมมีระบบเนื้อเรื่อง สามารถ เขาและออก เกมไดอยางรวดเร็ว ไมมีระบบการเลนซับซอน เขาใจงาย เกมในประเภทนี้ไดแกเกมแกปริศนาตาง ๆ อยางเกม Jigsaw หรือ เกม Tertris 6. Input หมายถึง การใสคำสั่งจากผูใชไปสูอุปกรณดิจิตอลผานชองทางตาง ๆ เชน การพิมพคียบอรด การคลิ๊กเมาส การ แตะทัชสกรีน 12
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
7. Interactive ระบบการปฏิสมั พันธตอบโต ระหวางผูเ ลนกับอุปกรณคอมพิวเตอร เชน ภาพเคลือ่ นไหว เสียง ลักษณะปุม ตาง ๆ ที่ตอบรับการกระทำตาง ๆ ของผูเลน 8. Casual Mode หมายถึง มักจะหมายถึงหมวดที่มีความงาย เลนหรือทำเพื่อฆาเวลา คำนี้มักปรากฏในการเลือกระดับความ ยากของเกม หรือ หมวดการเลนของเกม บทนำ
ในอนาคต จำนวนและสัดสวนของประชากรสูงอายุประเทศไทย มีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เนื่องมาจากอายุขัยเฉลี่ย ของประชากรประเทศไทยเพิม่ สูงขึน้ สถิตขิ อ มูลจากการคาดประมาณประชากรแสดงใหเห็นวา ในป พ.ศ. 2543 จะเพิม่ เปน 5.7 ลาน คนหรือรอยละ 9.19 ในป พ.ศ. 2548 เพิ่มเปน 6.6 ลานคนหรือรอยละ 10.2 และแนวโนมในป พ.ศ. 2553 ประชากรสูงอายุของ ประเทศไทยจะเพิม่ เปน 7.6 ลานคนหรือรอยละ 11.4 ของประชากรทัง้ หมด (สำนักงานสถิตแิ หงชาติ, การสำรวจสำมะโนครัว ประชากร ของประเทศไทย พศ.2530-2533) ในงานวิจัยของ Drews และ Water ในป 1986 เกี่ยวกับการฟนฟูการมองการเคลื่อนไหวและความจำ โดยจัดการทดลองใหผู สูงอายุกลุมหนึ่งไดเลนเกม Crytal Castle ภายในระยะเวลาที่กำหนดใหพรอมทั้งสังเกตการเปลี่ยนแปลงของผูสูงอายุ ซึ่งพบวา ผูสูง อายุเหลานี้มีการเคลื่อนไหวสอดคลองกับความคิดและความจำไดดีขึ้น และสามารถเลนเกมไดนานขึ้นเรื่อย ๆ มีสุขภาพจิตที่ดี อัน เปนสวนหนึง่ ของคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ผูส งู อายุบางคนทีเ่ ขารวมการทดลองครัง้ นีก้ ก็ ลับไปทำงานอดิเรกทีเ่ คยทิง้ ไป เชน ถักโครเชท นิตติง้ อีกดวย ซึ่งมีการรายงานอีกวาผูสูงอายุจะมีความมั่นใจในตัวเองมากขึ้นหลังจากไดเลนเกม จากประโยชนของเกม การเรียนรูการเขาถึงวิธีการเลนเพื่อใหไดผลนั้น การออกแบบอินเตอรเฟส เปนสวนสำคัญในการที่ ผูเลนจะติดตอสื่อสาร และเรียนรูกับซอฟทแวรโดยตรง ผานทางองคประกอบตางๆเชน ตัวอักษร สี ปุมเมนู การจัดวางหมวดหมู ของขอมูลและชุดคำสั่ง หากมีการออกแบบที่ดี ผูเลนสามารถเรียนรูวิธีการเลน จดจำวิธีการเลนได ทำใหเขาถึงซอฟทแวรเกมนั้น ๆ ไดอยางลื่นไหล วัตถุประสงคการวิจัย
เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบอินเตอรเฟซเกมดิจิทัลบนอุปกรณ ไอแพดที่เหมาะสมกับผูสูงอายุ
เนื้อหาของบทความวิจัย สวนที่ 1 ผลการวิจัย
หลักการออกแบบอินเตอรเฟซเกมดิจิทัลสำหรับผูสูงอายุบน อุปกรณไอแพด หลังจากการทดลองผูวิจัยนำผลการผลวิเคราะหมาเรียบ เรียงเปนหลักการออกแบบอินเตอรเฟซที่เหมาะกับผูสูงอายุ โดย แบงเปนหัวขอตางๆ ไดดังนี้ 1. การออกแบบระบบสอนการเลน (Tutorial) 2. การใชสี และความชัดเจนของภาพความชัดเจนของภาพ 3. การใชภาษา 4. การออกแบบปุม 5. การเคลื่อนไหวและการปฏิสัมพันธของอินเตอรเฟซ 6. การออกแบบหนาจอเมนู และลำดับการใชงานอินเตอรเฟซ เกมสำหรับผูสูงอายุ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
1. การออกแบบวิธีการสอนการเลน (tutorial)
วิธที ไ่ี ดผลทีส่ ดุ ของระบบสอนการเลนคือ การบรรยายวิธกี าร เลนในหนาจอขณะเลน จากวิธกี ารนีผ้ สู งู อายุจะเห็นชัดเจนวาควร จะทำอะไรในหนาจอนั้น และไมตองใชการตีความ เหมือนกรณี ที่ตองดูภาพประกอบการสอน ซึ่งเสี่ยงตอการตีความผิดของผูสูง อายุ และมีความชัดเจนกวาวิธีที่นำวิธีการสอนการเลนไปใสไวใน หนา Tutorial ทั้งหมดตางๆนำสายตาใหผูสูงอายุพิจารณาในสิ่ง ที่ตองการสื่ออยางชัดเจน เพราะการใชประโยคขอความเพียง อยางเดียวมีความเสี่ยงที่ผูสูงอายุจะรับสารไมได ทั้งเรื่องความรู ทางดานภาษา และสมาธิ ในการเรียนรูสวนบุคคล ซึ่งหากเปน ไปได การใชภาพเคลื่อนไหวประกอบวิธีการสอนก็มีสวนชวยให ผูสูงอายุรับรูไดงายขึ้น เชน ตองบังคับอยางไร ตองปาดนิ้ว หรือ แตะ อยางไร วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
13
ภาพที่ 1 การสอนการ เลนแบบบรรยายวิธีการ เลนในหนาจอขณะเลน ซึ่งควรใชกราฟก
ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการใชกราฟกสอนวิธีการเลนใหผูสูงอายุ การสอนวิ ธ ี ก ารเล น โดยใช ภ าพเคลื ่ อ นไหวตอนหน า จอ Loading ทุกเกมจะมีชวงเวลาที่ผูเลนจะตองรอนิ่งๆ นั่นคือหนา
Loading ผูว จิ ยั เสนอวา สามารถใชภาพเคลือ่ นไหวสัน้ ๆ เพือ่ บอก วาเกมนี้เลนอยางไร โดยเปนแอนิเมชันวนซ้ำ รอบละ 2 วินาที เพื่อใหผูสูงอายุไดมีขอมูลบางอยางเปนตัวชี้นำความคิดและทำ ความเขาใจวิธีการเลนได
ภาพที่ 2 ภาพการเคลื่อนไหวของเกมการใชภาพเคลื่อนไหวเขามาชวยในระหวางการรอ Loading สำหรับเกม Qbism แสดงถึงวิธีการเลนเกม โดยประกอบชิ้นสวนตางๆ ตามลำดับซายไปขวา และวนกลับไปเริ่ม ที่ภาพแรกซายใหม รูปละ 2 วินาที 2. การใชสี และความชัดเจนของภาพ 2.1 การเลือกใชคูสี
2.2 Contrast (การตัดกัน) ของสีContrast
จากการทดลอง หลักนิเทศศิลปสำหรับคนทั่วไปนั้น ยัง ที่มากเกินไปของน้ำหนัก จะมีผลตอสายตาผูสูงอายุ มีผู สามารถสรางความชัดเจนใหกบั ผูส งู อายุได ในฐานะการมองวัตถุ ทดลองบางคนใหความเห็นวา การมองใชสีขาวจาตรงกลางเดน หรือภาพ หากแตพิจารณาเลือกสีที่ใชในการกระตุนเตือน หรือ อยูกลางพื้นที่สีทึบเปนเวลานาน จะทำใหตาพรา ลาซึ่งแกปญหา ขอความแนะนำวิธีการเลน ใหเห็นอยางชัดเจน ไดโดยการใชภาพที่เปนโทนสีที่สบายตาอยาง ฟา และ น้ำเงิน การใชคูสีของตัวอักษรและพื้นหลังที่อานงาย สามารถเรียง ลำดับไดดังนี้ (อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. 2550) ลำดับที่ 1 ตัวอักษรสีดำบนพื้นสีเหลือง ภาพที่ 3 ภาพอินเตอรเฟซ ลำดับที่ 2 ตัวอักษรสีเหลืองบนพื้นสีดำ จากเกม Nonograms พื้นที่ ลำดับที่ 3 ตัวอักษรสีเขียวบนพื้นสีขาว สีขาวกลางจอที่สวนอื่นเปน สีทึบ นอกจากคอนทราสต ลำดับที่ 4 ตัวอักษรสีแดงบนพื้นสีขาว ของสีบนหนาจอเดียวกันแลว ลำดับที่ 5 ตัวอักษรสีดำบนพื้นสีขาว ควรระวังไปถึงสีที่จะเขามา ในหน า จอต อ ไปเช น การ ลำดับที่ 6 ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีน้ำเงิน เปลี่ยนหนาจอจากสีน้ำเงิน ลำดับที่ 7 ตัวอักษรสีน้ำเงินบนพื้นสีเหลือง ทึบมาเปนสีแดงจาหรือการ ใชแสงสวางวาบอยางรวดเร็ว ลำดับที่ 8 ตัวอักษรสีน้ำเงินบนพื้นสีขาว บนหน า จอ จะมี ผ ลเสี ย ที ่ ลำดับที่ 9 ตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีดำ อันตรายกับสายตาของผูสูง อายุ ลำดับที่ 10 ตัวอักษรสีเขียวบนพื้นสีเหลือง 14
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ขอเสนอแนะของการใชสี การใชสีที่สรางความพึงพอใจสำหรับผูสูงอายุ
แมวา เรื่องความพึงพอใจของสีจะเปนรสนิยมสวนตัวเสียสวนหนึ่ง หาก แตคะแนนความพึงพอใจดานสีของเกมที่มีสีสันสดใสฉูดฉาดใน การทดลองครั้งนี้ มีมากกวาเกมที่มีการใชสีคลุมโทน ขรึมทึบ หรือสีขาวเปนหลัก โดยเฉพาะเกมที่มีสีสันสดใสแตมีเทคนิคการ ไลน้ำหนักสีที่นุมนวล ทำใหรูสึกสบายตา ก็เปนวิธีที่ทำใหไดรับ ความพึงพอใจเปนอันมาก และไดรับคำชมอยางเปนพิเศษ
3. หลักการใชภาษาในการออกแบบอินเตอรเฟซเกมสำหรับ ผูสูงอายุ 3.1 การใชภาษา
หากไมสามารถแปลอินเตอรเฟซของเกมใหเปนภาษาไทยได ก็ควรลดความยากของภาษาลง และตัดสำเนียง การเลน หรือ ภาษาแสลงออกใหปกติและกระชับทีส่ ดุ จากการทดลอง ผูส งู อายุ เคยผานประสบการณการใชคอมพิวเตอรมาบาง คำวา Play ,Next ,Back ,Ok ,Cancel, Lose, Failed ,Win, Perfect, Try Again, Menu, Start, Pause เปนคำที่เขาใจไดงาย หากตอง การลดความเสีย่ งในเรือ่ งความไมเขาใจจากผูส งู อายุ ควรใชภาษา ที่อยูระดับปกติและงายที่สุดไวกอน
ภาพที่ 4 ภาพอินเตอรเฟซจากเกม Monster Burner มีการใชสีสัน สดใส แตเนนใหเกิดความกลมกลืน สบายตา ดวยเทคนิคการไลสี
3.2 รูปแบบตัวอักษร
ขอที่พึงพิจารณาของรูปแบบตัวอักษรสำหรับผูสูงอายุมีดังนี้ (International Organization for Standardizations 2008 :25) 3.3 ขนาด
ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (ศอ.) ไดวิจัยในหัวขอ การศึกษาการมองเห็นตัวอักษรไทยและ การจัดกลุม สีในคนไทย ทีม่ อี ายุระหวาง 18 - 25 ป และผูส งู อายุ ไทยที่มีอายุตั้งแต 60 ป (AP5303)โดยระบุวา ตัวอักษรที่อานได ในระดับปานกลางในระยะ 0.5 เมตรคือ 14 point สวนขนาด ที่อานไดดีคือ 44 point ซึ่งสอดคลองกับผลของการทดลองครั้งนี้ พื้นหลังก็มีผลกับขนาด สำหรับผูสูงอายุ จะอานขอความ ทีเ่ ปนสีขาวบนพืน้ ดำ ไดดกี วาสีดำบนพืน้ ขาว (Negative Polarity) ดังนั้นหากตองวางตัวอักษรบนพื้นดำ ควรทำใหมีลักษะหนาขึ้น (International Organization for Standardizations 2008 :25)
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ภาพที่ 5 ลักษณะกายวิภาคของตัวอักษร (Anatomy Of Typography) 1. ความหนาของเสน (Stroke Width) มีความสอดคลองกัน (อักษร D ในภาพ) 2. Counter Form เปนรูปทรงเปด-ปดของตัวอักษร ควรใหเห็นชัดเจน เชน ชองวางในตัวอักษร a หรือ e (อักษร F ในภาพ) 3. เห็น descender กับ ascender ชัดเจน (หาง j กับ h) (อักษร E,G ในภาพ) 4. เพิ่มความกวางของตัวอักษรเล็กนอย 5. เพิ่มความยาวของเสนในแนวนอนเชน แขนของตัว r หรือแขนของ ตัว t
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
15
ภาพที่ 6 ลักษณะการใชตัวอักษรบนพื้นขาวและดำ 4. การออกแบบปุมและ อินเตอรแอ็คทีฟ 4.1 ปุม
ในประเด็นเรือ่ งการออกแบบปุม กด มีเรือ่ งตองคำนึงถึงดังนี้
4.1.1 ลักษณะของปุม
โดยปกติแลว ปุมจะเชื่อมกับพฤติกรรมการ “กด” ดังนั้นรูปลักษณที่ผูเลนคาดหวัง และเขาใจไดงายประกอบดวย - ความนูน และการเปนระนาบที่มากกวาพื้นผิวบน หนาจอ - สีที่มีความแตกตางกันกับพื้นหลัง - ตัวอักษรขอความที่แสดงถึงที่หมาย หรือสัญลักษณ ที่บอกเลาการกระทำได นอกจากนี้ การออกแบบปุมที่แสดงถึงลักษณะการใชงาน ควรออกแบบอยางชัดเจน หากปุม active หรือ lock อยูก็ตอง ใชการเปลีย่ นแปลงของสีทช่ี ดั เจน หรืออาจจะเปลีย่ นภาพปุม ดวย ก็จะเขาใจไดงายกวา เชน ปุมที่ lock อยูก็จะมีรูปแมกุญแจวาง ทับไว
- ขนาดของปุม ควรมีเสนผาศูนยกลางมากกวา 1.5 เซนติเมตร และควรมีระยะหางกันอยางนอย 0.3 0.5 เซนติเมตร เนื่องจาก ความแมนยำของการ ควบคุมมือของผูสูงอายุลดลง และบางรายอาจมี อาการสั่นดวย - เนื่องดวยจอรับภาพที่จำกัด การวางขอความควร วางตรงกลางเชนเดียวกับปุม และใชความยาวของ ขอความใหสน้ั ทีส่ ดุ และแบงการนำเสนอขอมูลเปน สวนๆ ขอเสนอแนะของการออกแบบปุมสำหรับผูสูงอายุ 1. ความยืดหยุนของตำแหนงปุม ในบางสถานการณความ
สำคัญของปุมอาจจะเปลี่ยนไป ควรมีรูปแบบการแสดงปุมที่ยืด หยุน ได เชน หากผูส งู อายุไมสามารถแกปริศนาไดแลว เพราะทำ พลาด ผูออกแบบควรนำปุมเริ่มเลนใหม มาอยูในตำแหนงที่เดน ขึ้น ไมตองใหผูสูงอายุตองเสียเวลาโดยเปลาประโยชน 4.1.2 การใชงานปุม 2. การจัดหมวดหมูปุม ผูออกแบบสามารถลดปริมาณปุม 4.1.2.1 ลักษณะการใชงานปุมที่ บนหนาจอไดโดยการรวบปุมที่ใชงานประเภทเดียวกันเขาดวยกัน ไมเหมาะกับผูสูงอายุ เชน ปุมเกี่ยวกับการทำงานบนระบบออนไลน กับปุมลิงคตอไป การใช double tap (การกด 2 ครั้งเหมือน ยังเฟสบุคของเกม สามารถยุบรวมมาอยูดวยกันได double click) คือสิ่งที่มีปญหาที่สุดสำหรับผูสูงอายุ เนื่องจาก ผูสูงอายุไมสามารถจะกะความเร็ว หรือทำความเร็วใหไดตาม 5. การออกแบบการปฏิสัมพันธ (Interaction) ของ ที่อุปกรณกำหนด รวมไปถึงการใชงานบางประเภทที่อาศัย อินเตอรเฟซ ลักษณะการเคลื่อนไหวที่มีความละเอียดออนมาก เชน การใช ดวยความเสื่อมถอยทางกายภาพของผูสูงอายุ ผูออกแบบ นิ้วหมุน เล็ง ใน หรือการตะแคงiPad ในลักษณะเดียวกันเพื่อ ควรคำนึงถึงสิ่งตางๆ ดังนี้ ควบคุม อาจไมสามารถทำไดกบั ผูเ ลนทุกคน เพราะอาการมือสัน่ - การเปลี่ยนหนาจอหลังจากเลือกคำสั่ง ควรเคลื่อนไหว และความหนักของอุปกรณจะทำใหเกิดการลา ไปในทางเดียวกัน เชน กด next แลวเลื่อนไปทางขวา กด back 4.1.3 ตำแหนงปุม และ รูปแบบการวาง เลือ่ นไปทางซาย เพือ่ ใหลำดับหนาจอเมนูมคี วามเปนระบบระเบียบ - ปุมออกจากหนานั้น หรือ ถอยกลับ ควรวางไวตาม ผูเ ลนเกิดการเรียนรูแ ละ ควบคุมเกมได และลดความวิงเวียนจาก มุมตางๆของหนาจอ การเคลื่อนไหวที่สับสน - ตำแหนงปุมควรอยูที่ตำแหนงเดิมในทุกๆหนา - การปรากฏของขอความเพื่อบรรยายวิธีการเลนในหนาจอ - ควรจัดลำดับความสำคัญของปุม เชน ปุม Play ตางๆ ควรใหเวลาอยางต่ำในการอาน 8 วินาที ตอหนึ่งประโยค อยูกลางหนาจอหลัก สวนอื่นๆอยาง option หรือ กอนจะหายไป โดยการปรากฎของขอความใหมจะตองกระทำใน high score อยูตามริมขอบ ลักษณะทีส่ ามารถสังเกตเห็นไดชดั เจนวาเปนขอความทีข่ น้ึ มาใหม
16
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
มิใชขอความเดิม เชน การใชกรอบสีกระพริบหรือกราฟกนำสาย ตาอื่นๆ หรืออาจมีปุมกดเพื่อไปยังขอความถัดไป เพื่อใหผูสูง อายุสามารถใชเวลากับแตละขอความไดตามตองการ (Newell and others 2006 : 8) เพื่อเลี่ยงปญหาการอานไมทัน - การปรากฏของภาพหรือขอความปอบอัพ ควรใหความ สำคัญอยางชัดเจน เชน ใชเทคนิคการหรีแ่ สง ทำใหสว นประกอบ อืน่ ๆ ในหนาจอขณะนัน้ มืดลง เพือ่ เนนใหผสู งู อายุเบนความสนใจ ไปที่ปอบอัพนั้นๆ หากเปนไปไดควรมีปุมปดปอบอัพดังกลาว เชน ปุมกากบาท หรือปุม OK เพื่อปองกันผูสูงอายุแตะใน ตำแหนงหนาจออื่นๆ แลวปดปอบอัพไปโดยไมตั้งใจ - ควรหลีกเลี่ยงการออกแบบที่นำไปสูความวุนวายสับสน เชน แอนิเมชั่นที่ใชตกแตง ตัวอักษรกระพริบ พื้นหลังที่เปนลวด ลาย และสิ่งรบกวนอื่นๆ เชน ปุมโฆษณาที่มีความเคลื่อนไหว (Hawthorn 2000 : 5) - ควรหลีกเลี่ยงการใชตัวอักษรวิ่งทุกชนิด (Hawthorn 2000 : 5) 6. หลักการออกแบบหนาจอเมนู และลำดับการใชงาน สำหรับผูสูงอายุ
เลือกดาน (ตั้งคาปกติไวในดานที่เลนถึงดานลาสุด) และ Help ซึง่ หมวดนีจ้ ะถูกออกแบบสำหรับผูเ ลนสูงอายุโดยตรงสวน Normal Mode จึงจะมีสวน High Score, Credit, Network, Facebook หรือการใชงานสวนตางๆของเกมอยางอื่นมากขึ้น (โดยมีปุมสับ เปลี่ยนระหวางสองหมวดนี้ได) สวนที่ 2 การอภิปรายผล
จากการศึกษาครัง้ นี้ พบวา สิง่ สำคัญทีส่ ดุ ของการออกแบบ อินเตอรเฟซ คือ เกมมีการออกแบบ Information Design ใหผู เลนไดเขาใจจุดมุงหมายของเกม และเขาใจวิธีเลนเกม มากอน ความเหมาะสมในเรื่องตัวอักษร สี ปุม และการใชงานเมนูอื่นๆ มีหลายเกมที่มีการใชสี และการจัดวางองคประกอบหนา จอปุม เมนู ใชงานไดสะดวก มองเห็นชัด อานงาย แตผูสูงอายุ ไมสามารถเลนเกมนั้นได เพราะไมเขาใจวิธีเลนและจุดมุงหมาย อันเปนอุปสรรคในการเรียนรู จนรูสึกไมอยากเลน ดังนั้น จึงยก ความสำคัญเรื่องการออกแบบ Information Design ขึ้นมากอน เปนลำดับแรก เพราะมีความเชื่อมโยงกับการเรียนรูของผูสูงอายุ อันจะทำใหผูสูงอายุทราบวิธีเลน และสนุกกับเกมได อีกปจจัยหลักที่จะสงเสริมความเขาใจของผูเลนคือ จำนวน ขอมูลที่เขาไดรับ ตั้งแตเริ่มเลนเกม ทุกๆอยางที่ปรากฏในหนา จอของเกมนั้น สัมพันธกับการเรียนรูของผูสูงอายุ ถาทั้งหนา15จอ มีวัตถุอยูนอยมาก หรืออยางเดียว การเรียนรูในการใชงานสวน นั้นๆก็จะงาย ดังนั้นเกมบางเกมอาจจะไมตองเขียนวิธีเลนกำกับ ไวก็ได เพราะความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดพลาดถูกลดลงเหลือ นอยจนไมเกิดอุปสรรคกับการเรียนรู แตถาหนาจอมีวัตถุมากขึ้น ความเสี่ยงที่ผูสูงอายุจะทำผิดพลาดก็มากขึ้น
การออกแบบหนาจอเมนู ควรคำนึงถึงสองขอไดแก - ความรวดเร็วในการเขาเลนเกม ลดหนาจอตางๆ กอนถึง หนาเกมใหเหลือนอยทีส่ ดุ เทาทีจ่ ำเปน เพือ่ ลดการประมวลผลของ สมองไมใหเสียไปกับการเรียนรูว ธิ ใี ชหนาจอเมนู และใชเวลาใหได เกิดประโยชนอยางเต็มที่ (Yuexiao Zhao and others 2001 : 2) - ลดโอกาสการผิดพลาด แสดงปุมเทาที่จำเปน และ มีขอ ความกำกับวากำลังอยูในหนาไหน เพื่อแบงเบาภาระการจดจำ ของผูสูงอายุ ซึ่งรวมไปถึง การออกแบบพื้นหลังของหนาจอ สวนที่ 3 ขอเสนอแนะ Hawthorn (2000 : 8)
ขอเสนอแนะเพื่อการนำไปใชประโยชน
ในปจจุบนั มีแนวโนมวาอุปกรณประเภท Tablet จะถูกพัฒนา และวางขายมากขึ้น ในอนาคตนอกจากอุปกรณไอแพดซึ่ง การ หากเปนไปได ควรออกแบบระบบเมนูสำหรับผูสูงอายุ และ ออกแบบอินเตอรเฟซเกมดิจทิ ลั สำหรับผูส งู อายุบนอุปกรณไอแพด ผูเ ลนทัว่ ไปอยางชัดเจน เชน Casual Mode และ Normal Mode ยังสามารถใชไดกับอุปกรณที่มีขนาดสัดสวน 9 x 7 นิ้ว ในกรณีที่ Casual Mode จะไมมีหนาจอเมนูมากนัก นอกจากกดเลน ขนาดใหญกวานั้น ตองคำนึงถึงการออกแบบ การวางปุมที่ริม ขอบใหมากขึ้น เพื่อเลี่ยงปญหาการวางปุมเกินจากพื้นที่การรับรู ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการออกแบบหนาจอเมนูและลำดับการ ใชงานสำหรับผูสูงอายุ
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
17
ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป
สำหรับผูสนใจเรื่องการวิจัยเกี่ยวกับเกมสำหรับผูสูงอายุ บนอุปกรณ Tablet ลองหาความเปนไปไดในการปรับปรุง หรือ หาองคความรูในการออกแบบเกมที่มีการเลนแบบหลายคน (Multiplayer) เนื่องจากผูสูงที่มีอายุ 65 ขึ้นไป มีโอกาสจะตอง รับหนาที่เลี้ยงหลาน หรือเด็กเล็กของครอบครัว และการเลนเกม ก็เปนกิจกรรมอยางหนึ่งที่เด็กๆชอบ และสามารถเขาถึงผูใหญได กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธฉบับนีส้ ำเร็จลงไดดว ยความกรุณาอย16างดียง่ิ จาก อาจารยกญั ชลิกา กัมปนานนท และ อาจารยอนุชา โสภาคยวจิ ติ ร ที่ใหคำแนะนำ และใหขอคิดในงานวิจัย ตลอดจนการตรวจสอบ แกไขขอบกพรองๆตางๆของงานวิจัยตลอดระยะเวลาการศึกษา สุดทายนี้ ผูวิจัยขอนอมรำลึกถึงพระคุณของบิดา มารดา ครูบาอาจารย ที่ใหการสนับสนุนและเปนกำลังใจอยูเบื้องหลัง รวม ทั้งผูสูงอายุทุกทานที่ใหความรวมมือในการเก็บขอมูลเปนอยางดี
บรรณานุกรม เฉลียว ปยะชน. 2552. อายุแทไมใชตัวเลข. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพสุขภาพใจ, (อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. 2550). การออกแบบสิ่งพิมพ. กรุงเทพ, วิสคอมเซ็นเตอร, ตุลยา ตั้งศิริพัฒน. 2551. โรคทางตาในผูสูงอายุ. เขาถึงเมื่อ 10 มีนาคม 2554. จาก www.drtulaya.com/text/article.ppt. มัลลิกา สันตยายน และคณะ. 2553. การจำแนกสีของผูสูงอายุ. ใน เอกสารประกอบการนำเสนอผลวิจัยเรื่อง การศึกษาการมอง เห็นตัวอักษรไทยและการจัดกลุมสีในคนไทย ที่มีอายุระหวาง 18-25 ป และผูสูงอายุไทย ที่มีอายุตั้งแต 60 ป, หนา 36-41 กรุงเทพมหานคร : ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร. Hawthorn, D. 2004. “Possible implications of aging for interface designers.” Interacting with Computers 12 (2000) 507–528. Retrieved 12 January 2011. from www.elsevier.com/locate/intcom International Organization for Standardizationt. 2008. ISO/TR 22411:2008 Ergonomics data and guidelines for the application of ISO/IEC Guide 71 to products andservices to address the needs of older persons and persons with disabilities.ISO copyright office : Switzerland Newell, A. F., Carnmichael A., Gregor, P., Aim N. and Waller, A. 2002. “Informationtechnology for cognitive support.” The Human-Computer Interaction Handbook 2 (2002) pp. 464-481. Retrieved January 12, 2011. from http://www.computing.dundee.ac.uk/ Yuexiao Zhao and Enn Tyugu. 2001. “Towards a Personalized Browser for Elderly Users.” Retrieved 12 January 2011. from http://ui4all.ics.forth.gr
18
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
การออกแบบตัวพิมพเพื่อชวยลดตนทุนและวัตถุดิบในการพิมพ
Font Design for Reducing Capital Cost and Material In Printing Process ธนรัชฎ วชิรัคกุล1 อนุชา โสภาคยวิจิตร2 และ ชัยนันท ชะอุมงาม3
Abstract
An extensive research on “Font design for reducing capital cost and material in printing process” was an experimental research which was a design based research stands on hypothesis of space efficiency in type design can help reducing printing material. Moreover, it could lead to a solution in type design direction itself. This research was conducted by using a combination of inter collective evidence on type design including existing printing matter and an up to date massive number of typefaces in digital format (font) appended with actual countless printing test for spacing and reading exams, synthesized by professionals such as printing technicians, type designers and editorial journalists. Using in depth information and sentiments based on the real factors in printing process for the prove of cost and economic concern. The process was divided into four parts: 1) the search for target sample and existing case study; 2) the experimental process based on the existing data; 3) extensive interview with professional in each related field; and 4) design process based on the project research synthesis and legibility definition in type design theory. The outcome leads to a set of typeface that potentially help save some space and material count while still maintaining reading ability. The final product is a fully function of font file that can be used in an actual design process. Keywords : 1. Font 2. capital cost and material 3. printing process
บทคัดยอ
การวิจัยเรื่อง "การออกแบบตัวพิมพเพื่อลดตนทุนและวัตถุดิบในการพิมพ" เปนวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงคเพื่อวิจัยและ ออกแบบชุดตัวพิมพที่สามารถลดตนทุนและวัตถุดิบในการพิมพได เพื่อประโยชนตอองคกร หนวยงาน และวงการออกแบบสิ่งพิมพ พรอมกับเปนแนวทางในการศึกษาตอผูที่สนใจการออกแบบตัวพิมพประเภทอื่นๆ ดวย แหลงขอมูลที่ใชในการวิจัยมาจากการคนควาขอมูลภาคเอกสาร การศึกษากรณีศึกษาจากตัวพิมพแบบตัวเนื้อความที่มีใชและ จำหนายอยูในทองตลาดในปจจุบัน และการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบตัวพิมพ การวิเคราะหขอมูลแบงออกเปน 4 สวน คือวิเคราะหขอมูลภาคเอกสารและกรณีศึกษา จากนั้นนำขอมูลกรณีศึกษามาทดลอง และนำผลขอมูลที่ไดมาสรางแบบสัมภาษณเพื่อสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบตัวพิมพ นำขอมูลที่ไดมาทำการออกแบบและ นำไปทดสอบการอานกับผูเชี่ยวชาญดานการพิสูจนอักษร 1 2 3
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2554 อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร รศ.,อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
การสรุปจากการทดลองไดผลงานการออกแบบตัวพิมพทส่ี ามารถลดตนทุนและวัตถุดบิ ในการพิมพซง่ึ สามารถนำไปใชงานไดจริง และผลการทดลองประสิทธิภาพของตัวพิมพนี้ยังชี้ใหเห็นถึงความสามารถในการลดตนทุนและวัตถุดิบไดดวย คำสำคัญ : 1. ตัวพิมพ
2. ตนทุนและวัตถุดิบ 3. ระบบการพิมพ
บทนำ
การพิมพถือเปนหนึ่งในการประดิษฐคิดคนที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตรของมนุษยชาติ ประโยชนของสิ่งพิมพตอมนุษยมีมาก มายหลายอยาง วัตถุประสงคหลักของสิ่งพิมพคือการสื่อสารขอมูลไปยังผูรับสื่อ องคประกอบที่สำคัญที่สุดที่จะทำหนาที่หลักนี้คือ ตัวพิมพ (อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. 2550: 70) ปจจุบันการพิมพยังคงมีบทบาทอยูมาก โดยเฉพาะการนำเสนอขอมูลตางๆ ขององคกร หรือหนวยงาน แตดวยสภาพสังคม และเศรษฐกิจในปจจุบัน เกิดการแขงขันทางภาคธุรกิจอยางสูงการลดโครงสรางตนทุนและวัตถุดิบในการผลิต ถือเปนหนทางหนึ่งใน การชวยลดตนทุนใหแกองคกรหรือหนวยงานนั้นๆ ได (แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ, 2532) ผูวิจัยจึงเห็นวา การศึกษาถึงองคประกอบสำคัญของสิ่งพิมพ ซึ่งคือตัวพิมพครั้งนี้ หากมีการคิดคนและออกแบบตัวพิมพ ที่ สามารถชวยลดตนทุนและวัตถุดิบในการพิมพขึ้นมา จะเปนประโยชนแกหนวยงานหรือองคกรตางๆ ในการออกแบบสิ่งพิมพเพื่อ ใหสามารถประหยัดตนทุนและวัตถุดิบได วัตถุประสงคของการศึกษา
1. เพื่อทดลองออกแบบตัวพิมพที่สามารถลดตนทุนและวัตถุดิบในการพิมพได 2. เพื่อใหตัวพิมพดังกลาวเปนสวนสนับสนุนการลดตนทุนและวัตถุดิบในการพิมพได
ขั้นตอนการวิจัย
ในงานวิจัยนี้ผูวิจัยมุงศึกษาคนควาในสวนของกระบวนการ ออกแบบตัวพิมพที่จะชวยลดตนทุนและวัตถุดิบ โดยเริ่มจากการ พยายามตั้งสมมติฐานในการลดตนทุนและวัตถุดิบ ตัวพิมพหรือ FONT ในที่นี้หากพบเห็นทั่วไปอาจจะสงสัยกันวามันจะสามารถ ลดตนทุนและวัตถุดิบในการพิมพไดอยางไร ในกรณีที่ตัวพิมพ เหลานัน้ ถูกพิมพเปนประโยคสัน้ ๆ นัน้ เราอาจจะไมเห็นผลชัดเจน นัก แตลองนึกถึงการพิมพหนังสือจำนวนมากๆ ที่ใชจำนวนหนา กระดาษมากกวา 100 แผนขึ้นไป หากผูวิจัยสามารถออกแบบ ตัวพิมพที่สามารถลดการใชกระดาษหรือหมึกในการพิมพไดนั้น จะสามารถชวยลดการใชทรัพยากรไดมากขึน้ ผูว จิ ยั จะเนนศึกษา และทดลองจากขั้นตอนและกระบวนการพิมพในระบบออฟเซต เปนหลัก เนื่องจากวาเปนกระบวนการพิมพที่ใชกันในองคกรและ หนวยงานตางๆ อยางแพรหลาย หากสามารถลดตนทุนและวัตถุ ดิบในกระบวนการพิมพนี้ไปไดก็จะสามารถสงผลดีตอการลดตน ทุนและวัตถุดิบใหแกองคกรหรือหนวยงานนั้นๆ ขอยกตัวอยาง กรณีศึกษาที่เกี่ยวของ อยาง Eco Font เปนตัวพิมพที่สามารถ ลดการใชหมึกไปไดทำใหสามารถชวยลดการใชหมึกไดในแง ทรัพยากร แตในความเปนจริงแลวตัวพิมพ Eco Font เปนตัว
20
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
พิมพทม่ี คี วามกวางและใชเนือ้ ทีใ่ นการพิมพบนกระดาษสิน้ เปลือง กวาตัวพิมพธรรมดาทั่วไปเสียอีก ถึงแมจะประหยัดหมึกพิมพได แตนอยคนนักที่จะใหความสำคัญกับรายจายของหมึกพิมพ ซึ่ง ไมสามารถวัดออกมาเปนตัวเลขรายจายไดงาย - เนื่องจากมีตัว แปรมากมาย จากการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน ผูวิจัยเล็งเห็นถึงความ สำคัญของ กระดาษ เปนวัตถุดิบหลักที่จำเปนตอกระบวนการ พิมพมาก ถาจะวากันตามจริงแลวกระดาษสามารถจับตองได และมีการคิดราคาตอแผนหรือตอรีม จึงจะทดลองวาจะสามารถ ออกแบบตัวพิมพที่ลดการใชกระดาษไดหรือไม อยางไรก็ตามผู วิจัยไดตั้งสมมุติฐานเบื้องตนวา หากตัวพิมพถูกบีบใหแคบลง เล็กนอย จะสงผลใหใชเนื้อที่ในการพิมพนอยลงไดหรือไมในกรณี ที่ตัวพิมพถูกนำมาพิมพเนื้อความหลายๆ บรรทัด ซึ่งจากการ ศึกษาขอมูลเบื้องตนพบวา ผูวิจัยจำเปนตองรวบรวมขอมูลกรณี ศึกษาซึ่งเปนตัวพิมพที่นิยมใชสำหรับพิมพเนื้อความ (Text) ทั้ง หมดทุกแบบที่มีใชและจำหนายอยูในทองตลาดของประเทศไทย ในปจจุบันเพื่อนำมาศึกษาตามสมมติฐานที่ไดตั้งไว โดยรวบรวม มาไดจำนวน 82 แบบ จากนัน้ นำมาทดลองเบือ้ งตนโดยการพิมพ ทดสอบเพื่อดูขนาดการใชเนื้อที่ของตัวพิมพแตละตัว การทดลอง ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ภาพที่ 1 วิธีการเซาะลองหมึกหรือที่รูจักกันวา Ink Trap แกไขอาการบวมน้ำหมึก
จะกำหนดใหตัวพิมพเหลานั้นพิมพบทความขนาด เอ4 ดวยสวน สูงของตัวอักษรที่ 2 มม. ระยะหางบรรทัด 5 มม.จากนั้นเปรียบ เทียบจำนวนของบรรทัดที่ตัวพิมพแตละแบบใช โดยผูวิจัยจะคัด เลือกเฉพาะตัวพิมพที่ใชเนื้อที่ในการพิมพไดนอยที่สุด ซึ่งสรุป ออกมาได 13 แบบ จากนั้นนำขอมูลที่ไดไปออกแบบเครื่องมือ วิจัย คือแบบสัมภาษณ เพื่อใหผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบตัว พิมพจำนวน 6 ทาน ชวยยืนยันผลการทดลองพรอมกับเลือกตัว พิมพเพียง 3 แบบ จาก 13 แบบ ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากวาตัวพิมพบางตัว ใชเนือ้ ทีน่ อ ยตามสมมติฐานจริงแตกลับอานยากเนือ่ งจากตัวอักษร ถูกบีบจนแคบ เพราะในงานวิจัยนี้ตองการตัวพิมพที่ใชเนื้อที่นอย และยั ง คงประสิ ท ธิ ภ าพในการอ า นไว ไ ด นอกจากนี ้ ใ นแบบ สัมภาษณยังสอบถามถึงขอมูลเชิงลึกในการออกแบบตัวพิมพอีก ดวย จากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบตัวพิมพทั้ง 6 ทาน ไดแก คุณอนุทิน วงศสรรคกร, คุณศุภกิจ เฉลิมภาพ, คุ ณ เอกลั ก ษณ เพี ย รพนาเวช, คุ ณ ไพโรจน ธี ร ะประภา, คุณสมิชฌน สมันเลาะ, และคุณพัลลพ ทองสุข ผูว จิ ยั ไดตวั พิมพ ที่ผูเชี่ยวชาญเลือกออกมาทั้ง 3 แบบ ไดแก อันดับที่ 1 UPCDillenia อันดับที่ 2 UPC Angsana และอันดับที่ 3 UPC Pancy และผูวิจัยไดสรุปจากสถิติจำนวนการเลือกของผูเชี่ยวชาญมากที่ สุด นั้นคือ ตัวพิมพ UPC Dillenia ซึ่งมีการใชเนื้อที่แคบแต สามารถอานออกไดงายมาเปนตนแบบในการศึกษาการใชพื้นที่ และโครงสรางในการออกแบบตัวพิมพน้ี จากการทดลองออกแบบ ภายใตขอ มูลจากกรณีศกึ ษาและขอมูลเชิงลึกจากผูเ ชีย่ วชาญดาน การออกแบบตัวพิมพทั้ง 6 ทาน ผูวิจัยไดออกแบบตัวพิมพที่มี ลักษณะเปนตัวแบบ โมโนไลน (Monoline) คือมีเสนเทากัน ตลอดทั้งตัวอักษร และอยูในน้ำหนัก Book ซึ่งเปนน้ำหนักความ หนาขอตัวพิมพที่อยูระหวาง Light และ Regular ผูวิจัยยังหาขอ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
มูลตอไปอีกเพื่อนำมาพัฒนาตัวพิมพที่ทดลองออกแบบใหมี ประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ โดยนำการทดลองทีอ่ อกแบบมาผสมผสาน กับขอมูลกรณีศึกษาตัวพิมพจากตางประเทศ ผลที่ไดคือตัวพิมพ ทีผ่ วู จิ ยั ไดพฒั นาออกแบบจะสามารถพิมพลงบนกระดาษคุณภาพ ต่ำที่มีเนื้อหยาบราคาถูก อาทิเชน กระดาษปรูฟ เปนตน ปญหา เกิดจากเมื่อพิมพตัวพิมพลงบนกระดาษในลักษณะนี้ตัวพิมพจะ เกิดอาการบวมน้ำหมึกหรือหมึกลนออกจากตัวพิมพทำใหอานได ยาก โดยจากการศึกษาไดพบวิธีการเซาะลองหมึกหรือที่รูจักกัน วา Ink Trap โดยหมึกที่พิมพนั้นจะไมซึมลนตัวอักษรออกมา ตอมาผูวิจัยไดทำการทดสอบประสิทธิภาพของตัวพิมพโดย การพิมพหนังสือขนาด เอ5 เปนบทความจำนวน 100 หนา จำนวน 3 เลม ดังนี้ เลมที่ 1 เปนหนังสือที่ใชตัวพิมพ UPCDillenia พิมพ เลมที่ 2 เปนหนังสือทีใ่ ชตวั พิมพทท่ี ดลองออกแบบ ในขัน้ แรกทีย่ งั ไมมี Ink Trap และเลมที่ 3 เปนหนังสือทีใ่ ชตวั พิมพ ที่ทดลองออกแบบพัฒนาแบบสุดทายมี Ink Trap โดยนำหนังสือ ทั้ง 3 เลมไปใหผูเชี่ยวชาญดานการพิสูจนอักษรของสำนักพิมพ ไทยวัฒนาพานิช จำนวน 2 ทาน ไดแก คุณสุมาลี นิลตะจินดา และคุณพีรพงษ รุงจิรรัตน ทดลองอาน ผูเชี่ยวชาญทั้ง 2 ทาน ลงความเห็นตรงกันวาเลมที่ 3 ที่ใชตัวพิมพที่ทดลองออกแบบ พัฒนาแบบสุดทายมี Ink Trap สามารถอานไดงาย สบายตา นอกจากนีผ้ วู จิ ยั ยังไดนำตัวพิมพทท่ี ดลองออกแบบมาทดสอบคุณ ภาพการใชหมึกพิมพ โดยเปรียบเทียบกับตัวพิมพ UPC-Dillenia ทำใหทราบวา ตัวพิมพที่ทดลองออกแบบเมื่อเปรียบเทียบกับ UPC-Dillenia สามารถลดการใชหมึกพิมพไปไดประมาณ 2% ทดสอบโดยจากนำตัวพิมพทั้ง 2 แบบไปขยายใสตารางขนาด 0.5 มม. จำนวน 150 x 150 ชอง และดูจำนวนชองวาง / ชอง ทึบจากนั้นนำมาหาคาเฉลี่ยตอไป วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
21
ภาพที่ 2 ตัวพิมพที่ผูวิจัยทดลองออกแบบ
สวนขัน้ ตอนการทดสอบสุดทายคือการพิมพหนังสือทีเ่ ปนเนือ้ ความ ขนาด เอ5 จำนวน 1,000 เลมเพือ่ เปรียบเทียบตนทุน และ วัตถุดิบในการพิมพจากระบบการพิมพออฟเซต โดยแบงพิมพ หนังสือที่ใชตัวพิมพ UPC-Dillenia พิมพ จำนวน 500 เลม และ หนังสือที่ใชตัวพิมพที่ผูวิจัยทดลองออกแบบจำนวน 500 เลม ภายใตขอกำหนดที่เทากัน คือตัวอักษรสูง 2.6 มม. ระยะหาง บรรทัด 5.6 มม. ในขั้นตอนทำ Artwork ผูวิจัยพบวาหนังสือเลม ที่ใชตัวพิมพ UPC-Dillenia ใชหนากระดาษจำนวน 100 หนา ในขณะที่หนังสือเลมที่ผูวิจัยออกแบบใชเพียง 96 หนา ประหยัด ไปได 4 หนา หรือกระดาษขนาด เอ5 จำนวน 2 แผน ตอหนังสือ 1 เลม ถาหนังสือจำนวน 500 เลม จะประหยัดการใชกระดาษ ขนาด เอ5 ไปได 1,000 แผน อยางไรก็ตามหลังจากที่โรงพิมพ ตีราคาผูวิจัยยังพบอีกวา ตัวพิมพที่ทดลองออกแบบทำใหการ พิมพหนังสือครั้งนี้ลดตนทุนลงไปไดอีก เนื่องจากวาจำนวนหนา กระดาษที่ 96 หนาสามารถลงยกของเพลทตัด 2 พอดี 3 เพลท โดยใชตนทุนในการพิมพ 12,050 บาท ในขณะที่ UPC-Dillenia ใชจำนวนหนากระดาษ 100 หนาทำใหเกินเพลทตัด 2 ไปเล็ก นอย แตโรงพิมพก็จำเปนจะตองพิมพเพื่อใหไดครบตามจำนวน และกระดาษที่เหลือก็จำเปนตองทิ้ง ซึ่งทำใหสิ้นเปลืองอยางมาก
22
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ภาพที่ 3 ตัวพิมพที่ผูวิจัยทดลองออกแบบเมื่อนำมาพิมพเปนเนื้อความในหนังสือ
ใชตนทุนในการพิมพไป 13,400 บาท (ผูวิจัยสรุปราคาจากการตี ราคาพิมพหนังสือ 1,000 เลมนี้ จากโรงพิมพจำนวน 3 แหงใน เขตกรุงเทพฯ และตางจังหวัด) หากเปรียบเทียบกันจะพบวาการ ทดสอบนี้ ตัวพิมพที่ทดลองออกแบบสามารถลดตนทุนในการ พิมพไปได 1,350 บาท ตอจำนวน 500 เลม ถึงแมจะดูนอย แต ในกรณีพิมพในระบบอุตสาหกรรม หรือการพิมพจำนวนมากๆ ตัวพิมพนี้อาจเปนประโยชนที่จะชวยหนวยงานหรือองคกรนั้นๆ ลดตนทุนและวัตถุดิบได
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
อภิปรายผลการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีการดำเนินตามลำดับขั้นตอนตางๆ คือ การรวบรวมขอมูลเบื้องตนจากภาคเอกสาร กรณีศึกษา และ ขอมูลเชิงลึกจากสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบตัวพิมพ นำมาวิเคราะหเพื่อสรางผลงานออกแบบตัวพิมพเพื่อชวยลดตน ทุนและวัตถุดิบในการพิมพ จากนั้นนำไปใหผูเชี่ยวชาญดานการ พิสูจนอักษรทดสอบการอาน โดยขอมูลทั้งหมดในการวิจัยครั้งนี้ ที่ไดนำมาวิเคราะห สามารถอภิปรายผลไดดังนี้ 1. ผลการทดลองเรื่องการลดตนทุนและวัตถุดิบเปนไปตาม ภาพที่ 4 ตัวพิมพที่ผูวิจัยทดลองออกแบบเปรียบเทียบความกวางกับ UPC-Dillenia วัตถุประสงคและสมมติฐานของการวิจัย และยังพบวาตัวพิมพที่ ทดลองออกแบบมาดังกลาวยังสามารถอานไดอยางมีประสิทธิภาพ สรุปผลการวิจัย 2. ผลการทดลองออกแบบตัวพิมพเพือ่ ลดตนทุนและวัตถุดบิ การวิจัยเรื่อง "การออกแบบตัวพิมพเพื่อชวยลดตนทุนและ ในการพิมพ สามารถสรุปงานออกแบบมาเปนไฟลตัวพิมพแบบ วัตถุดบิ ในการพิมพ" ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค คือ เพือ่ ทดลองออกแบบ Open Type ที่สามารถนำไปใชงานบนคอมพิวเตอรได ตัวพิมพที่สามารถลดตนทุนและวัตถุดิบในการพิมพได และให ตัวพิมพดังกลาวเปนสวนสนับสนุนการลดตนทุนและวัตถุดิบใน ขอเสนอแนะ การพิมพในวงการออกแบบและอุตสาหกรรมการพิมพ โดยได จากการวิเคราะหขอ มูลในทุกสวนของการวิจยั รวมไปถึงการ ผลสรุปการวิจัยดังนี้ ทดลองออกแบบผูวิจัยพบประเด็นที่นาสนใจและนำมาเปนขอ 1.ผลงานทดลองการออกแบบตัวพิมพที่ชวยลดตนทุนและ เสนอแนะแกผูสนใจ ดังนี้ วัตถุดิบในการพิมพ ไดผลการทดลองออกแบบเปนตัวพิมพที่ใช 1. ถึงแมวาผลการวิจัยของการวิจัยในครั้งนี้จะสามารถตอบ งานบนคอมพิวเตอร และสามารถชวยลดตนทุนและวัตถุดิบใน วัตถุประสงคและสมมติฐานของการวิจัยได แตผูวิจัยก็คนพบตัว การพิมพได เชนสามารถลดการใชกระดาษ และสามารถใชพมิ พ แปรมากมาย เนื่องจากการพิมพสิ่งพิมพนั้นตองพึ่งพาการพิมพ บนกระดาษทีม่ คี ณุ ภาพต่ำโดยไมสญู เสียคุณภาพการอานได นอก จากโรงพิมพ หากนักออกแบบพยายามลดตนทุนและวัตถุดิบ จากนี้ยังสามารถลดการใชหมึกพิมพไดอีกดวย เพียงใดแตโรงพิมพไมไดเห็นคุณคาของการลดตนทุนและวัตถุดิบ 2. ผลจากการทดลองประสิทธิภาพของงานออกแบบแสดง ในการพิมพนั้น ก็จะไมสามารถประสบผลสำเร็จไดครบถวนและ ผลวา การวิจัยครั้งนี้สอดคลองกับสมมติฐานองการวิจัยคือ “ชุด มีประสิทธิภาพเพียงพอ ยกตัวอยางเชน หนายกของแทนพิมพ ตัวพิมพที่ทดลองออกแบบสามารถลดตนทุนและวัตถุดิบในการ หากงานออกแบบเกินจำนวนเพลทมานิดหนอยก็จำเปนตองขึ้น พิมพไดมากขึ้น” ตัวพิมพชุดดังกลาวจะเปนประโยชนตองาน เพลทใหม และกระดาษที่เหลือนั้นก็ตองทิ้งไป รวมทั้งโรงพิมพ ออกแบบสิ่งพิมพอื่นๆ ที่ตองใชตัวพิมพในจำนวนมาก และตอง จะคิดราคาในสวนที่ทิ้งไปดวย ซึ่งหากมีการรวมมือกันอยาง การลดตนทุนและวัตถุดิบในการผลิตได อีกทั้งยังเปนแนวทางใน บูรณาการระหวางนักออกแบบ บริษัท หางราน หรือโรงพิมพ การศึกษาสำหรับผูที่สนใจงานออกแบบเกี่ยวกับตัวพิมพอีกดวย ผูว จิ ยั เชือ่ วาการวิจยั ในครัง้ นีห้ รือการวิจยั ทีเ่ กีย่ วของจะประสบผล 3. ขอมูลเชิงลึกที่ผูวิจัยได มาจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ สำเร็จไดยิ่งขึ้น และจะเกิดการออกแบบที่ลดตนทุนและวัตถุดิบ ดานการออกแบบตัวพิมพ อาทิเชน หลักการหรือกระบวนการ ที่ไดผลอยางสมบูรณ ออกแบบตัวพิมพใหมีประสิทธิภาพ ความโคงเวาของตัวอักษรที 2. ผูวิจัยมีความเห็นวาตัวอักษรและตัวพิมพในภาษาไทยยัง สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการอานได เรื่องโครงสรางของตัว สามารถพัฒนาตอยอดในรูปแบบและสภาวะการใชงานตางๆ อักษรไทยและลาติน ฯลฯ ซึง่ สามารถนำมาเปนขอมูลการออกแบบ เพื่อแกไขปญหาและรองรับเทคโนโลยีที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ตัวพิมพ รวมไปถึงกรณีศึกษาตางๆ ที่ผูวิจัยไดแนะนำเชน ตัว ยกตัวอยางเชน ตัวพิมพที่สามารถชวยเพิ่มประสิทธิภาพการอาน พิมพ Ratina ตัวพิมพ Axel ตัวพิมพ ITC Weidemann เปนตน บนหนาจอคอมพิวเตอร เปนตน ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
23
กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธฉบับนี้สำเร็จลุลวงดวยดีดวยความอนุเคราะหจาก อ.อนุชา โสภาคยวิจิตร รศ. ชัยนันท ชะอุมงาม, อ.ธนาทร เจียรกุล, ผศ.วัฒนพันธุ ครุฑะเสน, อ.กัญชลิกา กัมปนานนท และคณาจารยทุกทานที่ไดใหโอกาสเขามามาศึกษาตอที่มหาวิทยาลัย แหงนี้ และขอขอบพระคุณที่ปรึกษาวิทยานิพนธ อ.อนุชา โสภาคยวิจิตร และ รองศาตราจารย ชัยนันท ชะอุมงาม ที่ไดเสีย สละเวลาและชี้แนะแนวทางในการทำวิทยานิพนธครั้งนี้เปนอยางมาก ขอขอบพระคุณในความอนุเคราะหขอมูลและความรูตอผูเชี่ยวชาญการออกแบบตัวพิมพ รายนามดังตอไปนี้ คุณอนุทิน วงศสรรคกร, คุณศุภกิจ เฉลิมภาพ, คุณเอกลักษณ เพียรพนาเวช, คุณไพโรจน ธีระประภา, คุณสมิชฌน สมันเลาะ, คุณพัลลพ ทองสุข และคุณปริญญา โรจนอารยานนท ขอขอบพระคุณคุณสุมาลี นิลตะจินดา และคุณพีรพงษ รุงจิรรัตน ผูเชี่ยวชาญดานการ พิสูจนอักษรในความอนุเคราะหรวมทั้ง คุณสถาวิทย ชา พี่ๆ เพื่อนๆ ที่รวมงานทุกทาน และที่สำคัญคือ บิดามารดา ครอบครัว ที่ใหกำลังใจและความชวยเหลือในทุกๆ ดาน และอีกหลายๆ ทานที่มิไดเอยนามไว ณ ที่นี้ บรรณานุกรม
กองแกว วีระประจักษ. 2526. 700 ป ลายสือไทย (อักขรวิทยาไทย ฉบับยอ). กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร กำธร สถิรกุล. 2515. หนังสือและตัวพิมพ. พระนคร: โรงพิมพคุรุสภา. ธวัช ปุณโณทก. 2543. วัฒนาการภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพไทยวัฒนาพานิช จำกัด. นันทนา วิวุฒิศักดิ์. 2529. หนังสือและการพิมพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพรุงวัฒนา. ประชา สุวีรานนท. 2549. แกะรอยตัวพิมพไทย. กรุงเทพฯ: เอสซี แมทซบอกซ. ปยฉัตร สมบัตศิ ริ นิ นั ท. 2545. บรรณาธิการ. ความรูเ บือ้ งตนเกีย่ วกับสือ่ วิง่ พิมพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ราชบัณฑิตสถาน. 2540. มาตรฐานโครงสรางตัวอักษรไทย. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตสถาน. วรพงษ วรชาติอุดมพงษ. 2545. อักษรประดิษฐ Lettering Design, กรุงเทพฯ: โสภณการพิมพ. ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกซและคอมพิวเตอรแหงชาติ. 2544 . แบบตัวพิมพไทย. ม.ป.ท. อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ. กรุงเทพฯ : วิสคอมเซ็นเตอร. Ellen Lupton. 2008. Indie Publishing How to Design and Publish Your Own Book. New Ellen Lupton. 2010. Thinking with Type. New York: Princeton Architectural Press. Erik Spiekermann, EM Ginger. 2002. Stop Stealing Sheep & Find Out How Type Works. California: Adobe Press. Jan Middendrop, Erik Spiekermann. 2007. Made with Font Font Type for independent minds. Berlin: Mark Batty Publisher. Jan Tholenaar. 2009. Type: A Visual History of Typefaces and Graphic Styles, Vol.1. New York: TASCHEN. Karen Cheng. 2006. Designing Type. New England: Yale University Press.
24
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
การออกแบบบรรจุภัณฑพื้นถิ่นจังหวัดแพร A Local Packaging Design of Phrae
สลิลดา อุปรมัย1 กัญชลิกา กัมปนานนท2 และ วัฒนพันธุ ครุฑะเสน3
Abstract
The purpose of this research was to study and analyze the art and culture of Phrae province in order to develop local product packaging patterns to be more outstanding and to be able to reflect the community identity as well as increase marketing benefits. Also, the research aimed to study the packaging design which could be made by local people using local materials and did not have to rely on industrial systems. 27 pieces of packaging models were made; 1) Packaging design for food products: Thai herbal sausage, crispy pork snack and chili dip. 2) Packaging design for consumer goods: traditional northern shirt, Teen Jok hand woven material and teak piggy bank. 3) Packaging design for decorative items which are Teen Jok hand woven table spread, animal carved teak wall clock and silver bowl. The design approval and satisfaction result were collected from evaluation surveys answered by 3 specialists and targeted groups and then was calculated for an average result. In conclusion, the research found that the overall community packaging design for Phrae was good which meant that the developing of community packaging design for community product was a high level positive. Since this research presented many types and forms of packaging design, it was hard to find a specific direction for design approach. Therefore, a suggestion was that the product type should be more specific in order to have the best results. Another issue was that some natural materials used in the packaging design did not have a fixed price which results in production costs. Also, some natural materials were not quite suitable for food packaging because they were expensive and had limitations which used in storing food. A suggestion was to do further study to find a way to solve possible problems in the future. The study found that the local fine arts of Phrae did not have a clear identity because Phrae is a small province in the North of Thailand which, in the past, was a colony of the Lanna Kingdom. Back then, many fine arts of the province were destroyed so it was hard to find a specific art identity when compared to the others provinces in the north. Therefore, the suggestion here was that a new and clear identity should be developed by way of further research in order to develop a new design approach that could be able to show a new and clear identity or image of the province. Keywords : 1. a local packaging 2. reflect identity of Phrae 3. a local materials 1 2 3
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2554 อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.,อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทคัดยอ
การวิจยั ครัง้ นี้ มีจดุ ประสงคเพือ่ ศึกษาและวิเคราะหองคความรูจ ากศิลปวัฒนธรรมจังหวัดแพร เพือ่ พัฒนารูปแบบของบรรจุภณั ฑ ผลิตภัณฑพื้นถิ่นหรือสินคาชุมชน จ.แพรใหมีความโดดเดน สามารถสะทอนเอกลักษณของทองถิ่นและชวยสงผลดีตอการตลาด อีก ทัง้ เพือ่ ศึกษาแนวทางการออกแบบบรรจุภณั ฑทพ่ี ฒั นาจากวัสดุในทองถิน่ ชาวบานสามารถผลิตไดเอง ไมตอ งพึง่ พาระบบอุตสาหกรรม ผลงานวิจัยมีบรรจุภัณฑตนแบบทั้งหมด 27 ชิ้น ไดแก 1. ผลิตภัณฑประเภทอาหาร ไดแก ไสอั่ว แคบหมู และน้ำพริก 2. ผลิตภัณฑประเภทของเครื่องใช ไดแก เสื้อหมอหอม ผาทอตีนจก และกระปุกออมสินไมสัก 3. ผลิตภัณฑประเภทของตกแตง ไดแก ชุดผาตีนจกตกแตงโตะอาหาร นาิกาไมสักแขวนผนังรูปสัตว และขันเงิน ผูวิจัยไดสำรวจการยอมรับและความพึงพอใจ ซึ่ง ไดนำไปประเมินกับผูเชี่ยวชาญและกลุมเปาหมายทั้งหมด 3 กลุม โดยการเก็บผลประเมินจากแบบสอบถามเพื่อหาคาเฉลี่ยที่ไดมา สรุปผลการทดลอง ผลการวิจัยพบวา การออกแบบบรรจุภัณฑพื้นถิ่นจังหวัดแพรทั้งหมดมีภาพรวม อยูในเกณฑดี ซึ่งหมายความวา การพัฒนารูปแบบของบรรจุภัณฑผลิตภัณฑพื้นถิ่น มีความพึงพอใจในเชิงบวก อยูในระดับมาก ขอเสนอแนะในงานวิจัยนั้น การวิจัยในครั้งนี้ไดนำเสนอการออกแบบบรรจุภัณฑใหมีความหลากหลายชนิด และหลากหลาย รูปแบบ ทำใหมีขอเสียในการออกแบบสรางสรรค หรือการวิจัยที่เดนชัด ควรเลือกเฉพาะเจาะจงลงไปในผลิตภัณฑใดผลิตภัณฑหนึ่ง เพือ่ ใหไดผลทีค่ รบถวน สมบูรณ และประสบผลสัมฤทธิใ์ นการวิจยั มากทีส่ ดุ อีกประเด็นก็คอื เรือ่ งของวัสดุธรรมชาติทน่ี ำมาออกแบบ บรรจุภณั ฑบางชนิด มีราคาทีไ่ มแนนอน ทำใหมผี ลตอการผลิต อีกทัง้ วัสดุธรรมชาตินน้ั ไมเหมาะสมทีจ่ ะนำมาทำบรรจุภณั ฑประเภท อาหาร เพราะมีตนทุนสูง และมีขอจำกัดที่ไมสอดคลองในการเก็บรักษาอาหาร ควรศึกษาแนวทางหรือลูทางเพื่อวางแผนการแกไข ปญหาในอนาคตไวดวย ผลการศึกษาพบวางานศิลปกรรมทองถิ่นจังหวัดแพร มีรูปแบบที่หาเอกลักษณไดคอนขางยาก เพราะวาจังหวัดแพรเปนจังหวัด เล็กๆแหงหนึ่งในภาคเหนือ ซึ่งในสมัยกอนถูกอาณาจักรลานนาลาอาณานิคมเปนเมืองขึ้น บานเมือง และงานศิลปกรรมถูกเผาถูก ทำลายไปเปนจำนวนมาก ทำใหงานศิลปกรรมที่แทจริงไมปรากฏใหเห็นอยางเดนชัดเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่นๆในภาคเหนือ ฉนั้นผู วิจยั แนะนำวา ถาหากมีผสู นใจทำวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ งนี้ ผูว จิ ยั ขอเสนอแนะวาการสรางเอกลักษณนน้ั อาจจำเปนตองถูกสรางสรรค หรือพัฒนาใหเกิดแนวทางใหมๆ ไดจากการตัวผูทำการวิจัยเอง ซึ่งเปนหนทางหนึ่งที่ชวยใหคนทั่วไปไดรูจักเอกลักษณในแนวใหม หรือสรางภาพลักษณใหมใหกับจังหวัดแพรไดมากขึ้น คำสำคัญ
1 บรรจุภัณฑพื้นถิ่น 2. สะทอนเอกลักษณจังหวัดแพร 3. วัสดุทองถิ่น
บทนำ
จังหวัดแพรเปนหนึ่งในจังหวัดทางภาคเหนือที่มีความสำคัญในลักษณะทางภูมิศาสตร คือ ตั้งอยูบนภาคเหนือตอนบนเปนประตู สูลานนา จังหวัดแพรเปนจังหวัดที่มีการดำรงชีวิตแบบเรียบงาย และมีความเปนชนบทสูง อีกทั้งเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมอันอุดมสมบูรณ การดำเนินชีวิตสวนใหญประชาชนนำทรัพยากรธรรมชาตินำมาใชใหเกิดประโยชนในการดำรงชีวิตอยาง เรียบงาย ยึดหลักการพึ่งตนเองใหพอมีพอกิน รวมทั้งรูจักใชอยางมีคุณคาทั้งการอนุรักษและสงเสริมในดานการพัฒนาทรัพยากรและ สิ่งแวดลอมภายในทองถิ่นใหมีลักษณะที่โดดเดน อันเห็นไดจากการจำหนายงานผลิตภัณฑทองถิ่นในปจจุบันที่มีหลากหลายและตอ เนื่อง แตสินคาที่ระลึกของจังหวัดแพร ยังไมมีเอกลักษณและชื่อเสียงที่โดดเดนและแตกตางจากจังหวัดอื่น ขาดการพัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑใหมีความหลากหลายเปนที่นาดึงดูดและถูกใจผูซื้อทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ รวมไปถึงการจัดวาง และการบรรจุหีบ หอสินคา ยังขาดความนาสนใจและความสวยงาม (มหาวิทยาลัยศิลปากร ม.ป.ป. : 33) ซึ่งสงผลใหตองมีการพัฒนาเพื่อสรางภาพ ลักษณที่ดี อันสะทอนถึงเอกลักษณของจังหวัดแพร ปจจุบนั ทางรัฐไดเขามาชวยสงเสริมและสรางภาพลักษณใหกบั ทางทองถิน่ จังหวัดแพร โดยพยายามผลักดันและ พัฒนาทรัพยากร ในทองถิ่นใหมีความหลากหลาย อยางไรก็ดีการพัฒนาผลิตภัณฑนั้นจำเปนตองทำควบคูไปกับการพัฒนาดานบรรจุภัณฑ เพื่อให เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดในดานการนำเสนอเอกลักษณของทองถิ่น อันจะนำไปสูการจดจำและสรางความประทับใจใหแกผูบริโภค สงผล ตอเนื่องไปยังประสิทธิภาพทางการตลาด 26
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วัตถุประสงคการวิจัย
1. เพื่อพัฒนารูปแบบของบรรจุภัณฑผลิตภัณฑพื้นถิ่นหรือสินคาชุมชน จ.แพรใหมีความโดดเดน สามารถสะทอนเอกลักษณ ของทองถิ่นและชวยสงผลดีตอการตลาด 2. เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑที่พัฒนาจากวัสดุในทองถิ่น ชาวบานสามารถผลิตไดเองโดยไมตองพึ่งพาระบบ อุตสาหกรรม วิธีการดำเนินการวิจัย
การทำวิจัยเรื่อง “การออกแบบบรรจุภัณฑพื้นถิ่นจังหวัดแพร” เปนลักษณะของงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ซึ่งใชวิธีการดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ที่มุงเนนการทำงานเชิงทดลองออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ ผลิตภัณฑทองถิ่น เปนการรวบรวมกอนนำมาสรางสรรค โดยที่วิจัยสื่อความคิดและเทคนิคการสรางสรรคใหผูอื่นเขาใจไดอยางมี ระบบ อันมีเนื้อหาในการศึกษาดังนี้ แหลงขอมูลที่ใชในการศึกษา
ขอมูลที่ใชในการศึกษาครั้งนี้มาจากแหลงขอมูล 2 ประเภท
ไดแก 1. แหลงขอมูลภาคเอกสาร เปนขอมูลที่ผูวิจัยเปนผูทำการ เก็บรวบรวมขอมูลจากหนังสือ นิตยสาร วารสาร สิ่งพิมพตางๆ รวมไปถึงรายงาน หนวยงานของรัฐบาล ผลงานวิจัยวิทยานิพนธ สำนักงานวิจัยและเว็บไซต โดยแบงเนื้อหาเปน 4 สวนคือ 1.1 ขอมูลเอกลักษณศิลปะ ประเพณีและวัฒนธรรม จังหวัดแพร 1.2 ขอมูลสินคาที่เปนเอกลักษณ จังหวัดแพร 1.3 ขอมูลวัสดุธรรมชาติในทองถิ่นที่มีศักยภาพและ คุณสมบัตอิ นั เหมาะกับการนำไปใชงานบรรจุภณั ฑ พนถิ่น จังหวัดแพร 1.4 ขอมูลการออกแบบบรรจุภัณฑจากวัสดุธรรมชาติ พื้นถิ่น 1.5 ขอมูลการใชเรขศิลปเพื่อแสดงภาพลักษณพื้นถิ่น 2. แหลงขอมูลภาคสนาม เปนขอมูลที่ผูวิจัยเปนผูทำการ เก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางดวยตนเอง ซึ่งเก็บรวบรวม ขอมูลโดยใชเครือ่ งมือแบบสอบถามและการสัมภาษณเชิงลึก การ สังเกตการณ เปนเครื่องมือที่สำคัญในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อ การศึกษาในครั้งนี้ โดยแบงเนื้อหาเปน 3 สวน คือ 2.1 แบบสอบถามเพื่อถามความคิดเห็นเบื้องตนจาก กลุมผูบริโภคผลิตภัณฑทองถิ่น จังหวัดแพร โดย ใชแบบสอบถามแบบปลายปดที่ผูวิจัยสรางขึ้น
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
2.2 สัมภาษณเชิงลึกกับเจาของผลิตภัณฑ หรือผู ประกอบการผลิตภัณฑทอ งถิน่ จังหวัดแพร และขอ จำกัดของผลินภัณฑที่อาจสงผลตอการออกแบบ บรรจุภัณฑ 2.3 สัมภาษณเชิงลึกกับผูประกอบการหรือเจาของ ผลิตภัณฑวสั ดุธรรมชาติในทองถิน่ ในดานศักยภาพ และคุณสมบัติอันเหมาะกับการนำไปใชงานบรรจุ ภัณฑพื้นถิ่นจังหวัดแพร 3. วิธกี ารรวบรวมขอมูล วิธกี ารรวบรวมขอมูลเพือ่ การศึกษา และพัฒนาบรรจุภัณฑผลิตภัณฑชุมชน ผูวิจัยไดทำการสำรวจ และเก็บขอมูลเปนลำดับขั้นตอน ตามลักษณะการวิจัยปฏิบัติการ จำนวน 6 ขั้นตอน ไดแก 3.1 วางแผน เริ่มจากการวางแผนโดยการกำหนด และหาแนวทางในการศึกษาและพัฒนาบรรจุภณั ฑ ขั้นตอนการศึกษารูปแบบของบรรจุผลิตภัณฑพื้น ถิ่นหรือสินคาชุมชน จ.แพร ใหมีความโดดเดน สามารถสะทอนเอกลักษณของทองถิ่น อีกทั้งยัง ใชวัสดุทองถิ่นซึ่งชาวบานสามารถผลิตไดเองโดย ไมตองพึ่งพาระบบอุตสาหกรรม 3.2 การศึกษาขอมูลภาคเอกสาร ขอมูลปฐมภูมิ ดังนี้ - ศึกษาคนควาขอมูลจากหนังสือ สิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส เอกสาร บทความ นิตยสารและงาน วิจัยที่เกี่ยวของ
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
27
- ใชระบบสืบคนขอมูลในเว็บไซต เพือ่ คนหาขอมูล ที่เกี่ยวของกับเนื้อหางานวิจัย 3.3 การศึกษาขอมูลภาคสนาม ขอมูลทุติยภูมิ แบง เปน 2 สวนดังนี้ 3.3.1 ขอมูลภาคสนามจากแบบสอบถามผูบริโภค เปนขอมูลจากประชากรที่ใชแบบสอบถามในการ สำรวจภาคสนามและเก็บขอมูลเบื้องตน เพื่อหา แนวทางในการกำหนดเลือกสินคาของฝากที่เปน เอกลักษณของจงหวัดแพร ในทรรศนะของคน ทองถิ่นและนักทองเที่ยว อันจะเปนขอมูลที่จะนำ ไปสูการออกแบบบรรจุภัณฑที่สะทอนเอกลักษณ ของทองถิ่นจังหวัดแพรตอไป โดยนำมาวิเคราะห ขอมูลเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาและออกแบบ บรรจุภัณฑ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ - ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก ผูบริโภคผลิต ภัณฑเพื่อศึกษาดานความตองการขั้นตนกอนการ ออกแบบ - กลุมตัวอยาง คือกลุมที่มีรายไดที่มีกำลังซื้อ ผลิตภัณฑทอ งถิน่ จังหวัดแพร เลือกสุม กลุม ตัวอยาง แบบโควตาจำนวน 100 คน โดยแบงเปน คนใน ทองถิ่น จำนวน 50 คน และ นักทองเที่ยวจำนวน 50 คน และเลือกแบบไมเฉพาะเจาะจง - เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนแบบสอบถามแบบ ปลายเปดและปลายปด เพื่อถามความคิดเห็นกลุม ผูบริโภคผลิตภัณฑ เมื่อไดผลการสำรวจสินคาที่เปนเอกลักษณทองถิ่นของ จังหวัดแพรที่ไดรับความนิยมมากที่สุด ในแตละประเภท จึงทำ การเลือกกลุมตัวอยางสินคาที่ไดรับความนิยมใน 3 อันดับแรก ของแตละประเภทเพื่อใชในการวิจัย - การเก็บรวบรวมขอมูล เปนการรวบรวมจากแบบสอบถาม ความคิดเห็นและความตองการของผูบริโภคผลิตภัณฑ เปนแบบ สอบถาม ซึ่งแบงออกเปน 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม เปนแบบ สอบถามปลายปด แบบตรวจสอบรายการ สถิตทิ ใ่ี ชในการประเมิน คือ คารอยละ (percentile) และ แบบสอบถามปลายเปด (open -ended) วิเคราะหขอมูล โดยสรุปรวบรวมขอมูลลำดับความคิด เห็นเปนความถี่และนำเสนอในรูปแบบของความเรียง 28
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นและความตองการของผูบริโภคที่มี ตอผลิตภัณฑทองถิ่นจังหวัดแพร เปนแบบสอบถามปลายปด แบบตรวจสอบรายการ มาตรสวนประมาณคาและแบบจัดอันดับ สถิติที่ใชในการประเมินคือ คารอยละ ตอนที่ 3 เปนความคิดเห็นของผูบริโภคเกี่ยวกับปญหาและ ขอเสนอแนะ ซึ่งเปนคำถามแบบปลายเปด (open-ended) วิเคราะหขอมูล โดยสรุปรวบรวมขอมลลำดับความคิดเห็นเปน ความถี่และนำเสนอในรูปแบบของความเรียง - วิเคราะหขอ มูลเพือ่ ใชในการกำหนดแนวทางการออกแบบ ดำเนินการวิเคราะหขอมูลจากการรวบรวมภาคเอกสารและผล การวิเคราะหขอ มูลสำรวจความคิดเห็นของกลุม ผูบ ริโภคผลิตภัณฑ นำมาเปนแนวคิดในการออกแบบ - สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คารอยละ % =
จำนวนคำตอบทั้งหมด x 100 จำนวนผูตอบทั้งหมด
3.3.2 ขอมูลภาคสนามจากการสัมภาษณเชิงลึกผู ประกอบการและผูเชี่ยวชาญในดานตาง ๆ ดังนี้ - ผูประกอบการผลิตภัณฑทองถิ่นทั่วไป เพื่อสอบ ถามผลิตภัณฑที่เปนเอกลักษณพื้นถิ่นจังหวัดแพร และขอจำกัดของผลิตภัณฑพื้นถิ่น จังหวัดแพร ที่ สงผลตอการออกแบบบรรจุภัณฑ ซึ่งมีเครื่องมือที่ ใชในการวิจัย เปนการสัมภาษณเชิงลึกแบบไมมี โครงสราง - ผูประกอบการวัสดุธรรมชาติ หรือผูที่มีประสบการณในการใชวัสดุธรรมชาติในการผลิต เพื่อสอบ ถามวัสดุธรรมชาติภายในทองถิ่น ที่มีศักยภาพและ คุณสมบัติตางๆ อันเหมาะกับการนำ ไปใชงาน บรรจุภัณฑพื้นถิ่น จังหวัดแพร เปนการสัมภาษณ เชิงลึกแบบไมมีโครงสราง 3.4 การสังเคราะหขอ มูลและสรางตนแบบบรรจุภณั ฑ 3.4.1 การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูล ทั้งภาค เอกสารและภาคสนามดังนี้ สวนที่ 1 วิเคราะหองคประกอบศิลปวัฒนธรรมทอง ถิ่นในจังหัดแพร สวนที่ 2 วิเคราะหวัสดุ และรูปแบบการนำวัสดุ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ธรรมชาติทองถิ่น มาทำเปนบรรจุภัณฑสำหรับ ผลิตภัณฑทองถิ่นจังหวัดแพร และผลการวิเคราะห ผลิตภัณฑทองถิ่นที่เปนเอกลักษณของจังหวัดแพร ในปจจุบัน 9 ชิ้น 3 ประเภท ไดแก - สินคาประเภทอาหาร ไดแก 1. ไสกรอก (ไสอั่ว) 2. แคบหมู 3. น้ำพริกตาแดง - สินคาประเภทของใช ไดแก1. ผาหมอหอม 2. ผา ทอตีนจก 3. กระปุกออมสินไมสัก - สินคาประเภทของตกแตง ไดแก 1. ผาตีนจก ชุดตกแตงโตะอาหาร 2. นาิกาไม สักแขวนผนัง 3.ขันเงิน ทั้งในแงตัวผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ อันจะเปนขอมูลที่จะ นำไปสูการออกแบบบรรจุภัณฑที่สะทอนเอกลักษณของทองถิ่น จังหวัดแพร 3.4.2 ออกแบบรางโครงสรางบรรจุภัณฑ โดยแตละ สินคาจะแบงลักษณะการออกแบบบรรจุภัณฑออก เปน 3 เงื่อนไข ไดแก 1. ราคาบรรจุภัณฑใหมใกลเคียงกับบรรจุภัณฑเดิม แตชวยใหเพิ่มราคาขาย 2. ราคาบรรจุภัณฑสูงกวาเดิม แตเพิ่มราคาขายได 3. บรรจุภัณฑ สามารถนำกลับมาใชใหมได ราคา ขายสูงขึ้น สามแนวทางในการออกแบบตอ 1 ผลิตภัณฑ ทัง้ หมด 27 ชิน้ โดยเริม่ จากการออกแบบโครงสรางหรือตัวบรรจุภณั ฑกอ น ซึง่ เปน การเสนอแนวความคิดสรางสรรคในขั้นตนหลายๆ แบบเมื่อได แบบร า งที ่ เ หมาะสมแล ว จึ ง ทดลองออกแบบกราฟ ก ลงบน บรรจุภัณฑซึ่งลักษณะลวดลายกราฟกนั้นเปนการดึงมาจากขอที่ ผานการวิเคราะหและสังเคราะหแลว 3.4.3 สรางตนแบบบรรจุภัณฑ เมื่อรางแบบเสร็จ แลว จึงนำไปสรางตนแบบบรรจุภัณฑ จากนั้นนำไป ใหผูเชี่ยวชาญ/ผูทรงคุณวุฒิ ผูมีประสบการณดาน ตางๆ และกลุมเปาหมาย(ผูบริโภค) ประเมินผล 3.4.4 เครื่องมือแบบประเมิน การสรางเครื่องมือ ประเมิน เพื่อนำไปใชประเมินผลการออกแบบตน แบบบรรจุภัณฑ แบงออกเปน 3 ประเภทไดแก - ผูเชี่ยวชาญ/ผูทรงคุณวุฒิ ผูมีประสบการณดาน บรรจุภัณฑ ประเมินเพื่อชี้วัดประสิทธิภาพที่มีตอ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
รูปแบบบรรจุภัณฑจากวัสดุธรรมชาติพื้นถิ่น โดยมี รายชื่อผูเชี่ยวชาญ ผูทรงคุณวุฒิ ผูมีประสบการณ ดานบรรจุภัณฑไมต่ำกวา 5 ป จำนวน 3 ทานดัง รายนามตอไปนี้ 1. นายวุฒิไกร ผาทอง นักออกแบบอิสระทองถิ่นจังหวัด แพร เปนกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดแพร และเจาของธุรกิจ หมอหอมธรรมชาติแพร รานแกววรรณา 2. นายศักดิจ์ ริ ะ เวียงเกา นักออกแบบและกรรมการผูจ ดั การ บริษทั บายศรี ครีเอชัน่ จำกัด เปนอาจารยพเิ ศษ คณะสถาปตยกรรม ออกแบบอุตสาหกรรม (สิ่งทอ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณลาดกระบัง และคณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาการสิ่งทอ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3. อาจารยวทิ ยา สุรยิ ะ ปจจุบนั ดำรงตำแหนงหัวหนาแผนก วิชาวิจิตรศิลป วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร เปนกรรมการผูทรง คุณวุฒสิ ภาวัฒนธรรมจังหวัดแพรและเปนศิลปนดีเดนจังหวัดแพร สาขาสถาปตยกรรม เคยไดรับรางวัลระดับภาค สาขาสถาปตยกรรมและประติมากรรมของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แหงชาติ 4. อาจารยจติ ติ วิรยิ ะประสิทธิ์ ปจจุบนั ดำรงตำแหนงหัวหนา แผนกวิชาออกแบบวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร (วิชาที่สอนออกแบบ กราฟก ออกแบบผลิตภัณฑ การถายภาพ) เปนวิทยากรพิเศษ ของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร 5. คุณเทวฤทธิ์ นาวารัตน Senior Designer บริษัท Bright Side ระยะเวลาในการทำงานไมต่ำกวา 5 ป - กลุมเปาหมาย (ผูบริโภค) กลุมที่มีกำลังซื้อผลิตภัณฑทองถิ่นจังหวัดแพรจำนวน 15 คน แบงออก เปนคนในทองถิ่นจำนวน 7 คน และนักทองเที่ยว จำนวน 8 คน ผูวิจัยไดทำการเก็บขอมูลดวยการ สนทนากลุม (Focus Group) เปนการสัมภาษณ แบบเจาะลึก (Depth Interview) แบบหนึ่ง เปน การสัมภาษณและสนทนาแบบเจาะประเด็นดวยการ เชิญผูรวมสนทนามารวมเปนกลุมอยางเจาะจงตาม คุณสมบัติที่นักวิจัยกำหนด แลวเปดโอกาสใหผูเขา รวมสนทนา โตตอบ ถกปญหา อภิปรายรวมกัน แลกเปลี่ยนทัศนะกันอยางกวางขวางในประเด็น ตางๆ โดยมีจุดมุงหมายเฉพาะเจาะจง เพื่อที่จะหา ขอมูลที่ถูกตองตรงประเด็นสำหรับตอบคำถามวิจัย วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
29
เรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ โดยเฉพาะ (วรรณี แกมเกตุ,2551,ม หนา 254-255) เพื่อประเมินผลดานการออกแบบ บรรจุภณั ฑทอ งถิน่ และภาพลักษณทส่ี ามารถสะทอน เอกลักษณความเปนจังหวัดแพรและ เพื่อสำรวจ ความพึงพอใจจากกลุมผูบริโภคผลิตภัณฑทองถิ่น จังหวัดแพร หลังจากการออกแบบ เขียนแบบและ สรางชิ้นงานเสร็จเปนบรรจุภัณฑตนแบบ 3.5 การประเมินผลการออกแบบ ในการประเมินผล การออกแบบเปนการนำเสนอรูปแบบบรรจุภัณฑตน แบบแกผเู ชีย่ วชาญในกลุม ตางๆ เพือ่ ประเมินคุณภาพ ของงาน พรอมทัง้ ใหคำเสนอแนะแนวทางในการแกไข ขอบกพรอง โดยใชแบบสอบถามและการสัมภาษณ ผูเชี่ยวชาญในแตละกลุม เพื่อนำผลมาวิเคราะหและ หาขอสรุป ซึ่งมีประเด็นในการวิเคราะหดังนี้การ ประเมินผลการสรางตนแบบ แบงเปน 3 สวน คือ 3.5.1 การนำเสนอผลการออกแบบบรรจุภัณฑแก ผูเชี่ยวชาญ/ผูทรงคุณวุฒิ ผูมีประสบการณดาน บรรจุภัณฑ เพือ่ เปนแนวทางในการพัฒนาบรรจุภณั ฑในดานรูปแบบของ โครงสรางและความเปนไปไดของโครงสรางบรรจุภัณฑ วัสดุที่ใช นำมาสูการอภิปราย วิเคราะหและสรุปผลโดยมีประเด็นในการ วิเคราะหดังนี้ - รูปแบบโครงสรางบรรจุภณั ฑ มีความเปนไปไดในการผลิต ไดจริงหรือไม - วัสดุธรรมชาติพื้นถิ่นที่ใชทำบรรจุภัณฑมีความเหมาะสม หรือไม แลวสามารถชวยลดตนทุนการผลิตหรือไม 3.5.2 การนำเสนอผลการออกแบบบรรจุภัณฑแก ผูเชี่ยวชาญ/ผูทรงคุณวุฒิ ผูมีประสบการณดาน การออกแบบ เพือ่ เปนแนวทางในการพัฒนาบรรจุภณั ฑในดานการออกแบบ ความสวยงามความเหมาะสมในดานราคาดังนี้ - การออกแบบบรรจุภณั ฑมลี กั ษณะสอดคลองกับผลิตภัณฑ ชุมชนจังหวัดแพร อันสะทอนเอกลักษณทองถิ่นใหทางจังหวัด หรือไม - ราคาผลิตภัณฑกับราคาตนทุนบรรจุภัณฑมีความเหมาะ สมหรือไม 30
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
- บรรจุภัณฑสรางแรงจูงใจใหผูบริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ ทองถิ่นจังหวัดแพรหรือไม 3.5.3 การนำเสนอผลการออกแบบบรรจุภัณฑแก กลุมเปาหมาย (ผูบริโภค) เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาบรรจุภัณฑในดานความพึง พอใจจากลุมผูบริโภคผลิตภัณฑพื้นถิ่นจังหวัดแพรดังนี้ - รูปแบบโครงสรางบรรจุภัณฑแนวทางใดที่ผูบริโภคพึงพอ ใจมากที่สุด - รูปแบบโครงสรางบรรจุภัณฑแนวทางใดชวยสะทอน เอกลักษณจังหวัดแพรไดมากที่สุด แบบสอบถามทั้ง 3 กลุม ตองถูกนำเสนอตอผูทรงคุณวุฒิ เพือ่ ตรวจสอบความเทีย่ งตรงเชิงเนือ้ หาและสำนวนภาษา นำแบบ สอบถามไปทดลองใช (try-out) กับกลุมที่ไมใชกลุมตัวอยางและ นำกลับมาปรับปรุงแกไขอีกครั้งหนึ่งจนไดฉบับสมบูรณดังนี้ - การตรวจสอบคุณภาพของเครือ่ งมือ การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือทั้งแบบสอบถามขอมลเบื้องตน เพื่อเปนแนวทางใน การออกแบบบรรจุภณั ฑ มีขน้ั ตอนการดำเนินการดังนี้ - การพิจารณาความเที่ยงตรงตามเนื้อหาโดยผูเชี่ยวชาญใน การหาความเที่ยงตรงของแบบสัมภษณที่วัดแตละจุดประสงค โดยใชเทคนิคการตรวจสอบความสอดคลองระหวางขอคำถามกับ สิ่งที่ตองการวัด (Index item of Congruent : IOC) ตามเนื้อหา จากผูเชี่ยวชาญ จำนวน 3 ทาน ดังรายนามตอไปนี้ 1. อาจารยทวี ขอถาวรวงศ หัวหนาสวนพัฒนาผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑบรรจุภัณฑ และการพิมพ สำนักพัฒนาอตุสาหกรรม กรมอุตสาหกรรม 2. นายศักดิจ์ ริ ะ เวียงเกา นักออกแบบและกรรมการผูจ ดั การ บริษัท บายศรีครีเอชั่น จำกัด เปนอาจารยพิเศษ คณะสถาปตยกรรม ออกแบบอุตสาหกรรม (สิ่งทอ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณลาดกระบังและคณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาการสิ่งทอ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3. อาจารยจติ ติ วิรยิ ะประสิทธิ์ ปจจุบนั ดำรงตำแหนงหัวหนา แผนกวิชาออกแบบวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร (วิชาที่สอนออกแบบ กราฟก ออกแบบผลิตภัณฑ การถายภาพ) เปนวิทยากรพิเศษ ของสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
3.6 สถิตทิ ใ่ี ชในการวิเคราะหขอ มูล ขัน ้ ตอนการวิเคราะหผลการประเมินและสถิตท ิ ใ่ี ชในงานวิจย ั โดยใหผปู ระเมินตอบแบบประเมินความคิดเห็น ซึง่ เลือกตอบ จากนัน้ ทำการวิเคราะหผลการประเมินและนำคำวิจารณ ตามระดับความคิดเห็นทีก่ ำหนดไว มี 5 ระดับ ดังนีค้ อื ดังกลาว มาหาแนวทางแกไข ปรับปรุงผลงานการออกแบบ ผลงานบรรจุภัณฑ และขอสรุป ขอเสนอแนะ โดยผูวิจัยได เห็นดวยมากที่สุด ใหคะแนน 5 คะแนน วิเคราะหสรุปและรายงานผลรวมของงานวิจัยตามสภาพจริง เห็นดวยมาก ใหคะแนน 4 คะแนน ทีป่ รากฏในการปฏิบตั กิ ารวิจยั รวมทัง้ เสนอแนะแนวความคิด เห็นดวยปานกลาง ใหคะแนน 3 คะแนน เพื่อใหตอบสนองกับวัตถุประสงคของงานวิจัยในครั้งนี้ เห็นดวยนอย เห็นดวยนอยที่สุด
ใหคะแนน ใหคะแนน
2 คะแนน 1 คะแนน
ซึง่ แปลความหมายของขอมูลโดยการใชสถิตคิ า เฉลีย่ ของคะแนน ( X ) ดังนี้ 4.50 - 5.00 3.50 - 4.49 2.50 - 3.49 1.50 - 2.49 1.00 - 1.49
หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง
ดีมาก ดี ปานกลาง นอย ควรปรับปรุง
การวิเคราะหขอมูล
ผูวิจัยไดนำขอมูลที่เก็บรวบรวมมาเขาสูกระบวนการวิเคราะห ขอมูล ดังนี้ 1. ผูว จิ ยั จะนำการตรวจสอบขอมูล (Editing) โดยตรวจสอบความ ถูกตองและสมบูรณของแบบสอบถามที่กลุมตัวอยางทำการตอบและ แยกแบบสอบถามที่ไมสมบูรณออก 2. ทำการลงรหัส (coding) นำแบบสอบถามที่ถูกตองเรียบรอย แลวนำมาลงรหัสตามที่กำหนดรหัสไวลวงหนา 3. นำขอมูลที่ลงรหัสแลวมาบันทึกลงในคอมพิวเตอรเพื่อทำการ ประมวลผลขอมูลโดยใชโปรแกรมสถิตสิ ำเร็จรูป SPSS 14.0 (Statistical Package for Social Sciences)
เนื้อหาของบทความวิจัย
จากการวิจัย สามารถสรุปออกมา เปนผลงานการออกแบบไดดังตอไปนี้ คือผลจากการสำรวจ ใน 100 คน (คนในทองถิ่น และนักทองเที่ยวจังหวัดแพร อยางละ 50 คน) ไดผลิตภัณฑทองถิ่นที่เปนเอกลักษณของ จังหวัดแพรในปจจุบัน ซึ่งไดรับความนิยมใน 3 อันดับแรก มากที่สุด จำนวน 9 ชิ้น 3 ประเภท ไดแก 1. ผลิตภัณฑ ประเภทอาหาร ได แ ก ไส อ ั ่ ว แคบหมู และน้ ำ พริ ก 2. ผลิตภัณฑประเภทของเครื่องใช ไดแก เสื้อหมอหอม ผา ทอตีนจก และกระปุกออมสินไมสัก 3. ผลิตภัณฑประเภท ของตกแตง ไดแก ชุดผาตีนจกตกแตงโตะอาหาร นาิกา ไมสักแขวนฝาผนังรูปสัตว และขันเงิน โดยแตละสินคาจะ แบงลักษณะการออกแบบบรรจุภัณฑ ออกเปน 3 เงื่อนไข รวมทั้งหมด 27 ชิ้น ไดแก 1. ราคาบรรจุภัณฑใหม ใกล เคียงกับบรรจุภณั ฑเดิม แตชว ยใหเพิม่ ราคาขายได 2. ราคา บรรจุภัณฑสูงกวาเดิม แตเพิ่มราคาขายได 3. บรรจุภั15 ณฑ สามารถนำกลับมาใชใหมได ราคาขายสูงขึ้น ไดขอสรุปจากผลการวิเคราะหขอมูลจากกลุมตัวอยาง 3 กลุม โดยใชแบบประเมินในการเก็บรวบรวมขอมูล แลวนำ มาแจกแจงหาคาเฉลี่ยความนิยมของบรรจุภัณฑที่ออกแบบ ขึ้น โดยคิดเปนรอยละและแปรผลออกมา ไดดังนี้ สวนที่ 1 ผลการวิจย ั
สถิติที่ใชในการวิจัย
สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก คาเฉลี่ย (Mean) เพื่อหา คาเฉลี่ยจากแบบสอบถามและหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพื่อวัดการกระจายของขอมูล
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
31
1. ไสอั่ว
2. แคบหมู
3. น้ำพริกตาแดง ผลิตภัณฑ
ผูเชี่ยวชาญดานบรรจุภัณฑ ( 2 คน)
ผูเชี่ยวชาญดานออกแบบ( 5 คน)
ผูซื้อ-ผูบริโภค( 15 คน)
ผลงานออกแบบบรรจุภัณฑ ประเภทผลิตภัณฑ อาหาร (ของกิน) แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
3.72
3.72
3.72
3.8
4.23
3.89
4.27
4.45
4.3
76%
76%
76%
76%
85%
78%
85.5%
89%
86%
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
4.06
4
4
4.09
3.85
4.49
4.29
4.3
4.61
81%
80%
80%
82%
77%
90%
85%
86%
92%
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
3.61
3.61
3.61
4.02
4.07
3.81
4.19
4.14
4.2
72%
72%
72%
80.5%
81.45%
76%
83.83%
82.6%
84%
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
1.ไสอั่ว คาเฉลี่ยคิดเปนรอยละ ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล) 2.แคบหมู คาเฉลี่ยคิดเปนรอยละ ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล) 3.น้ำพริกตาแดง คาเฉลี่ยคิดเปนรอยละ ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล)
32
ดี
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
1. ผาหมอหอม
2. ผาซิ่นตีนจก
3. กระปุกออมสินไมสัก
ผลิตภัณฑ
ผูเชี่ยวชาญดานบรรจุภัณฑ ( 2 คน)
ผูเชี่ยวชาญดานออกแบบ( 5 คน)
ผูซื้อ-ผูบริโภค( 15 คน)
ผลงานออกแบบบรรจุภัณฑ ประเภทผลิตภัณฑ ของใช (เครื่องใช) แบบที่ 1
1. ผาหมอหอม คาเฉลี่ยคิดเปนรอยละ ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล) 2. ผาซิ่นตีนจก เฉลี่ยคิดเปนรอยละ ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล) 3. ถังกระปุกออมสินไมสัก คาเฉลี่ยคิดเปนรอยละ ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล)
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
แบบที่ 2
แบบที่ 3
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
4
3.75
3.75
3.94
4.06
4.16
80%
75%
75%
79%
81%
ดี
ดี
ดี
ดี
43.94
3.88
3.94
79%
78%
79%
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
4.24
4.15
4.38
83%
85%
83%
88%
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
4.34
4.21
3.91
4.33
4.47
4.18
87%
84%
78%
87%
90%
84%
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
3.77
3.77
3.77
3.7
3.9
4.12
3.52
3.47
3.67
69%
69%
69%
68%
72%
76%
71%
70%
73%
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
33
1. ชุดผาแตงจก ตกแตงโตะอาหาร
2. นาิกาไมสักรูปสัตว
3. ขันเงิน
ผลิตภัณฑ
ผูเชี่ยวชาญดานบรรจุภัณฑ ( 2 คน)
ผูเชี่ยวชาญดานออกแบบ( 5 คน)
ผูซื้อ-ผูบริโภค( 15 คน)
ผลงานออกแบบบรรจุภัณฑ ประเภท ผลิตภัณฑ เพื่อการตกแตง (ของโชว ) แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
แบบที่ 1
แบบที่ 2
แบบที่ 3
1. ผาแตงจก ตกแตงโตะอาหาร 3.94
3.94
3.66
4.15
4.15
3.94
4.29
4.30
4.40
79%
73%
83%
83%
79%
85.8%
86%
88%
คาเฉลี่ยคิดเปนรอยละ ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล) 2. นาิกาไมสักรูปสัตว เฉลี่ยคิดเปนรอยละ ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล) 3. ขันเงิน คาเฉลี่ยคิดเปนรอยละ ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล)
34
79% ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
3.74
3.76
3.76
3.85
4.19
4.18
3.91
4.36
4.01
70%
71%
71%
77%
83.9%
83.6%
78%
88%
80%
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
3.92
3.82
3.87
4.11
3.85
3.56
4.26
4.14
4.24
85%
76%
77%
82%
72%
71%
85.16%
82%
85%
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
ดี
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
สรุปผลความนิยม และความเปนไปไดในการจำหนาย ของแตละแนวทางการออกแบบทั้ง 3 แนวทาง ไดดังนี้ แนวทางการออกแบบ 1. ราคาบรรจุภัณฑ ใหม
กลุมผูประเมิน
ใกลเคียงกับบรรจุภัณฑ เดิม
2. ราคาบรรจุภัณฑ สูงกวาเดิม
แตชวยใหเพิ่มราคาขายได
แตเพิ่มราคาขายได
3. บรรจุภัณฑ สามารถนำกลับ มาใชใหมได ราคาขายสูงขึ้น
1. ผูเชี่ยวชาญดานบรรจุภัณฑ ( 2 คน)
3.85
3.80
3.78
ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล)
ดี
ดี
ดี
คิดเปนรอยละ
76.7
75.11
74.66
คิดเปน %
76.7%
75.11%
74.66%
2. ผูเชี่ยวชาญดานออกแบบ( 5 คน)
4
4.05
4
ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล)
ดี
ดี
ดี
คิดเปนรอยละ
79.38
79.92
79.4
คิดเปน %
79.38%
79.92%
79.4%
4.14
4.19
4.22
ระดับผลเฉลี่ย (แปลผล)
ดี
ดี
ดี
คิดเปนรอยละ
82.92
84.06
84.44
คิดเปน %
82.92%
84.06%
84.44%
3. ผูซื้อ-ผูบริโภค ( 15 คน)
1. ราคาบรรจุภัณฑ ใหม ใกลเคียงกับบรรจุภัณฑ เดิม แตชวยใหเพิ่มราคาขายได (แนวทางที่ 1) - กลุมผูเชี่ยวชาญดานบรรจุภัณฑ : เห็นดวยในแนวทางนี้มากที่สุด คาเฉลี่ย 3.85 แปลผลอยูในระดับ ดี คิดเปนรอยละ 76.7 หรือ คิดเปน 76.7% 2. ราคาบรรจุภัณฑ สูงกวาเดิม แตเพิ่มราคาขายได (แนวทางที่ 2) - กลุมนักออกแบบ : เห็นดวยในแนวทางนี้มากที่สุด คาเฉลี่ย 4.05 แปลผลอยูในระดับ ดี คิดเปนรอยละ 79.92 หรือ คิดเปน 79.92% 3. บรรจุภัณฑ สามารถนำกลับมาใชใหมได ราคาขายสูงขึ้น (แนวทางที่ 3) - กลุมผูซื้อ : เห็นดวยในแนวทางนี้มากที่สุด คาเฉลี่ย 4.22 แปลผลอยูในระดับ ดี คิดเปนรอยละ 84.44 หรือ คิดเปน 84.44%
สวนที่ 2 การอภิปรายผล
จากผลสรุปภาพรวมพบวา การออกแบบบรรจุภัณฑพื้นถิ่นจังหวัดแพรทั้งหมดมีภาพรวม อยูใ นเกณฑดี มีความพึงพอใจในระดับมาก ซึง่ หมายความวา การพัฒนารูปแบบของบรรจุภณั ฑ ผลิตภัณฑพื้นถิ่นหรือสินคาชุมชน จังหวัดแพรใหมีความโดดเดน สามารถสะทอนเอกลักษณ ของทองถิ่นและชวยสงผลดีตอการตลาดอยูในระดับมาก หรือเกณฑดี อีกทั้งชาวบานสามารถ ผลิตไดเองโดยไมตองพึ่งพาระบบอุตสาหกรรม ซึ่งตอบตามวัตถุประสงคและสมมุติฐานที่ผูวิจัย ไดตั้งไว แตพบวาจากการนำแบบสอบถามไปใหกลุมประเมินทั้ง 3 กลุม พบวาความพึงพอใจ ในรูปแบบของงานออกแบบนัน้ แปรผันไปตามเพศ อายุ และการศึกษา ของแตละกลุม แตผวู จิ ยั เห็นวาเปนสิ่งที่ดี เพราะจะไดขอมูลในหลายๆ มุมมอง เพื่อนำไปพัฒนาและเปนประโยชนใน งานวิจัยตอไป ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
35
สวนที่ 3 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเพื่อการนำไปใชประโยชน
การพัฒนาบรรจุภัณฑที่ทำจากวัสดุธรรมชาติในประเภท อาหาร เปนเรือ่ งทีไ่ มเหมาะสม เพราะราคาผลิตภัณฑถกู ถาหาก ออกแบบบรรจุภัณฑที่ทำจากวัสดุธรรมชาติ อาจมีราคาสูงขึ้น ทำใหผลิตภัณฑเพิ่มราคาขายที่สูงขึ้นตาม แตถาหากตองการนำ มาออกแบบบรรจุภณั ฑประเภทอาหารจริงๆ ผูว จิ ยั แนะนำวาควร ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องของวัสดุธรรมชาติที่จะนำมาออกแบบ เพราะวัสดุดังกลาวมีขอจำกัด ที่อาจสงผลตอการเก็บรักษาของ อาหารมากกวาวัสดุประเภทอื่นๆ วัสดุธรรมชาติที่นำมาออกแบบบรรจุภัณฑบางชนิด มีราคา ทีไ่ มแนนอน ทำใหมผี ลตอการผลิต ซึง่ เปนสาเหตุหนึง่ ทีท่ ำใหวสั ดุ ดังกลาวอาจมีความไมเหมาะสมในการนำมาใชผลิตหรือออกแบบ บรรจุภัณฑในบางชวงฤดูกาล ฉะนั้นควรศึกษาเพื่อวางแผนแกไข ปญหาในอนาคตไวดวย ปญหาที่พบในงานวิจัยอีกประเด็นหนึ่งที่สำคัญ ไดแก เรื่อง ของราคา ทัง้ ราคาขายเดิม และราคาขายใหม ควรใหความสำคัญ ในการกำหนดตนทุนการผลิตที่เหมาะสม ผูซื้อยอมรับได ซึ่งไม สงกระทบตอตัวราคาผลิตภัณฑที่ขายอยูแลว
ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป
งานศิลปกรรมทองถิ่นจังหวัดแพร มีรูปแบบที่หาเอกลักษณ ไดคอนขางยาก ฉะนั้นผูวิจัยแนะนำวา ถาหากมีผูสนใจทำวิจัยที่ เกี่ยวของกับเรื่องนี้ ผูวิจัยขอเสนอแนะวาการสรางเอกลักษณนั้น อาจจำเปนตองถูกสรางสรรคใหเกิดแนวทางใหม ไดจากการตัว ผูทำการวิจัยเอง ซึ่งเปนหนทางหนึ่งที่ชวยใหคนทั่วไปไดรูจัก เอกลักษณหรือการสรางภาพลักษณใหมใหกับจังหวัดแพรได มากขึ้น การออกแบบบรรจุภัณฑใหมีความแปลกใหมและโดดเดน นั้น เปนเรื่องที่ยากตอการยอมรับของผูซื้อ ซึ่งจากการลงไป สัมภาษณแบบสนทนากลุม พบวาคนในทองถิ่นจังหวัดแพรบาง คน ไมสามารถยอมรับการออกแบบที่ผิดแปลกไปจากเดิมได โดยเฉพาะผูที่อยูในวัยกลางคน แต หากเปนวัยรุนจะพบวา มี ความตื่นเตน และแปลกใจตองานออกแบบเปนอยางมาก งานวิจยั ดังกลาวมีบรรจุภณั ฑหลากหลายประเภทและรูปแบบ ทำใหการวิเคราะหหรือวิจัยไมสามารถลงลึกไปไดมาก ฉะนั้นผู วิจยั เห็นวาควรเลือกเฉพาะเจาะจงลงไปในผลิตภัณฑใดผลิตภัณฑ หนึ่ง เพื่อใหไดผลที่ครบถวน สมบูรณ และประสบผลสัมฤทธิ์ ในการวิจัยมากที่สุด
กิตติกรรมประกาศ
วิจยั นีส้ ำเร็จลุลว งดวยดีจากความอนุเคราะหชแ้ี จงและใหคำปรึกษาจากคณาจารย กำลังใจจากพีๆ่ เพือ่ นๆ ปริญญาโท รุน ที่ 11 ในภาควิชาออกแบบนิเทศศิลปทุกทาน และสุดทายขอกราบขอบพระคุณคุณพอ คุณแม สำหรับกำลังใจที่มีใหเสมอมา อีกทั้งที่ให โอกาสทางการศึกษาของขาพเจา จนประสบความสำเร็จลุลวงไปไดดวยดี
บรรณานุกรม คำเกี้ยว เมืองเอกและคณะ. 2542. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตรเอกลักษณ และ ภูมิปญญาจังหวัดแพร. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว, มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2545. โครงการรักษาเอกลักษณของสถาปตยกรรมทองถิ่นและสิ่งแวดลอมเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวจังหวัดแพร. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., ม.ป.ป. ศูนยวัฒนธรรมจังหวัดแพร. 2540. หัตถกรรมพื้นบานเมืองแพร. แพร : เมืองแพรการพิมพ, สุวิทย อินทิพย. 2548. ออกแบบบรรจุภัณฑหัตถกรรม. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ.,
36
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
การออกแบบภาพยนตรแอนิเมชันเพื่อแสดงอัตลักษณพื้นถิ่นเรื่อง พญาเม็งราย Film Animation Design to Show Endemic on Phaya Meng Rai
ชัยมงคล ธรรมทวีนันท1 วัฒนพันธุ ครุฑะเสน2 และ ธนาทร เจียรกุล3
Abstract
This qualitative research aimed to study design film animation that showed the Lanna identity. The study covered three forms of identity: 1.) Personal Identity 2.) Social Identity 3.) Cultural Identity. The result revealed these three forms of identity reflected the identity of each side clearly. The designed animation was presented to experts and examiners: 1.) Personal identity presented through the Phaya Meng Rai was 78 %recognized by the costumes; 2.) Social identity was 48 % recognized by picture of landscape that show the cold feeling. Another was 42 % a picture of mountain. 3.) The highest was 71% recognized by cultural identity presented through Kong Sa Bud Chai and next is the cultured of Paktung 66 %. This research would be useful to designers, especially in animation. It can be applied to produce further creative designs. Keywords : 1. Identify, 2. Local, 3. Animation, 4. Lanna, 5. Phaya Meng Rai
บทคัดยอ
การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการออกแบบภาพยนตรแอนิเมชันที่แสดงถึงอัตลักษณพื้นถิ่น ลานนา ศึกษารูปแบบของการแสดงถึงอัตลักษณ โดยใชปจจัยการนำเสนอถึง อัตลักษณ 3 ดานไดแก 1. การนำเสนออัตลักษณ ปจเจกบุคคล 2. การนำเสนออัตลักษณทางสังคม 3. การนำเสนออัตลักษณทางวัฒนธรรม ผลการวิจัยพบวา เกณฑทั้ง 3 ดานที่นำ มาใชในการวิเคราะห ทำใหมีแนวทางในการออกแบบงานที่สื่อถึงอัตลักษณใหเห็นในแตละดานอยางชัดเจน งานแอนิเมชันที่ผูวิจัยไดทำการออกแบบ ไดนำเสนอแกผูเชี่ยวชาญและบุคคลทั่วไปแสดงใหเห็นวา 1) อัตลักษณสวนบุคคลนำเสนอผานพญาเม็งราย รับรูไดจากเครื่องแตงกายรอยละ 78 2) อัตลักษณดานสังคมรับรูจาก ภูมิประเทศภาพบรรยากาศหมอกไอเย็น แสดงถึงความหนาวเย็น รอยละ48 รองลงมาคือภาพ ทิวเขาสลับซับซอน รอยละ 42 3) อัตลักษณทางวัฒนธรรม นำเสนอผานประเพณีการตีกลองสะบัดชัย ผูค นรับรูไ ดมากสุดรอยละ 71 รองลงมาคือประเพณีการ ปกตุงรอยละ 66 งานวิจยั นีจ้ ะเปนประโยชนแกนกั ออกแบบ โดยเฉพาะงานแอนิเมชันสามารถนำแนวคิดของการวิจยั ไปตอยอดในการคิดสรางสรรค งานออกแบบที่ไดอยางลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น คำสำคัญ : 1.
อัตลักษณ, 2. พื้นถิ่น, 3. แอนิเมชัน, 4. ลานนา, 5. พญาเม็งราย
1 2 3
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2554 ผศ.,อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทนำ
ในการสรางสรรคงานออกแบบใดๆก็ตาม การคนหาตัวตน หรือการคนหารากเหงาแหงวัฒนธรรมเปนสิ่งจำเปน ยิ่งถาเราตอง การใหเขาถึงมากเทาไร เราตองขุดคนใหลึกมากเทานั้น (ธนญชัย ศรศรีวิชัย, สัมภาษณ, 31 ตุลาคม 2554) ปจจุบันภาพยนตร แอนิเมชันมีมากมายหลายรูปแบบ แตกตางกันตามแนวคิด และศิลปวัฒนธรรมของแตละเชือ้ ชาติ ซึง่ ทำใหการแสดงออกของตัวละคร มีลักษณะเฉพาะของตัวเอง ทั้งในเรื่องรูปราง รูปทรงสีสัน หรือลักษณะการเคลื่อนไหว แลวเคยสงสัยไหมวาเหตุใดงานแอนิเมชันที่ มาจากประเทศตะวันตก เชน เรื่องกังฟูแพนดา (Kung fu Panda 2008) มูหลาน (Mulan1998) จึงสามารถถายทอดงานที่มีความ เปนอัตลักษณแบบชาวตะวันออก ไดอยางลงตัว ประเทศไทย ถาเทียบกันตามสัดสวนถือวายังมีผลงานแอนิเมชันออกมาเปนจำนวนนอย ซึ่งในจำนวนนั้นเปนงานแอนิเมชันที่ เปนลักษณะไทย หรือรูปแบบที่เปนสากล ปจจุบันผลงานที่ไดพบเห็น โดยมากจะไมเจาะจงวาเปนงานแอนิเมชันลักษณะไทยในชวง ใด หรือรูปแบบไหน อีกทั้งงานแอนิเมชันที่เปนลักษณะภูมิภาค หรือทองถิ่นยังไมคอยไดพบเห็น จากการศึกษางานวิจัย เรื่องฉีกขนบแอนิเมชัน เอกลักษณของฮายาโอะ มิยาซากิ นักฝนแหงตะวันออก (นับทอง ทองใบ. 2550: 15) เกี่ยวกับภาพยนตรแอนิเมชันในประเทศไทยสวนใหญพบวา มักจะถูกมองเปนเพียงแคสื่อสำหรับเด็ก แตในความเปน จริงแลว เราสามารถถายทอดหรือสอดแทรกสิ่งตางๆซึ่งจะแสดงถึงอัตลักษณหรือตัวตนของเราผานงานแอนิเมชันได วิธีดำเนินงานวิจัยเรื่องการออกแบบภาพยนตรแอนิเมชันที่แสดงอัตลักษณพื้นถิ่น เรื่องพญาเม็งราย จะทำการศึกษาถึงรูปแบบ เพื่อวิเคราะห จำแนกประเภท จัดหมวดหมูของอัตลักษณพื้นถิ่น ที่ปรากฏในงานแอนิเมชัน โดยจะเลือกทำการศึกษาจากภาพยนตร แอนิเมชัน ทีม่ ภี าพลักษณทแ่ี สดงถึงอัตลักษณเฉพาะถิน่ อยางเดนชัด ทำการวิเคราะหถงึ บริบท องคประกอบทางสุนทรียภาพ แลวนำ แนวคิดทีไ่ ดจากการศึกษามานำเสนอโดยการออกแบบแอนิเมชันกรณีศกึ ษา เรือ่ งของพญาเม็งรายทีแสดงถึงอัตลักษณพน้ื ถิน่ แบบลานนา ซึ่งในปจจุบันงานวิจัยที่มุงศึกษาความมีอัตลักษณของสื่อแอนิเมชันยังมีไมมากนัก สิ่งที่เปนจุดออนของแอนิเมชันไทย ไมได อยูที่ลายเสน หรือเทคนิค แตกลับอยูที่ “เนื้อหา” ซึ่งก็คือการขาดความเขาใจในรากเหงาของวัฒนธรรมของสังคมนั่นเอง “ลายเสน ไมสำคัญเทาจิตวิญญาณในการนำเสนอ” (นับทอง ทองใบ. 2550: 15) จากงานวิจัยเรื่องฉีกขนบแอนิเมชัน เอกลักษณของฮายาโอะ มิยาซากิ นักฝนแหงตะวันออก (นับทอง ทองใบ. 2550.) บงบอก ถึงการนำเสนองานแอนิเมชันในบานเรายังมีปญหาในเรื่องของจิตวิญญาณของความตัวตนของเรา ยังสื่อถึงอัตลักษณ รากเหงาของ ตัวเราไมชัดเจน ซึ่งเรามักมุงเนนแตในดานเทคนิคการทำ การออกแบบตัวละคร วัตถุประสงคการวิจัย
1. เพื่อศึกษาถึงรูปแบบและแนวทางการนำเสนอ การแสดงออกถึงความเปนอัตลักษณพื้นถิ่น ที่ปรากฏในงานแอนิเมชัน 2. ศึกษาอัตลักษณพื้นถิ่นของลานนา
การศึกษาคนควาขอมูล
1.1 ขอมูลปฐมภูมิ ขอมูลภาคสนาม 1.1.1 ขอมูลการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบภาพยนตรแอนิเมชัน 1.1.2 ขอมูลการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญในดานศิลปกรรมพื้นถิ่นลานนาโดยบุคคลเหลานี้เปนผูมีประสบการณ มีความรู มี ความสามารถใหคำปรึกษาใหขอ มูลทีส่ ำคัญตอการศึกษาคนควา และมีประสบการณในสายอาชีพไมต่ำกวา 5 ป 1.2 ขอมูลทุติยภูมิ ขอมูลภาคเอกสาร และสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส ไดแก 1.2.1 ศึกษาเอกสารทฤษฏีเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมแบบลานนา 1.2.2 ศึกษาเอกสารทฤษฏีเรื่องอัตลักษณ 1.2.3 ศึกษาการทฤษฏีเรื่องการออกแบบภาพยนตรแอนิเมชัน 1.2.4 ขอมูลจากการศึกษาภาพยนตรแอนิเมชัน นำมาวิเคราะหสิ่งที่แสดงออกถึงความเปนอัตลักษณ โดยเลือกตัวอยาง ดังนี้ ภาพยนตรแอนิเมชันเปดตัวโอลิมปค 2008 ภาพยนตรแอนิเมชันเรือ่ ง กังฟูแพนดา (2008) มูห ลาน (1998) กานกลวย (2006) และเรื่องรามเกียรติ์ 38
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
3.3 ขั้นตอนการผลิต (Production) เมื่อไดภาพราง และ ขอเสนอแนะจากผูเชี่ยวชาญทั้งหมดแลว จึงนำมาผลิตจริงดวย 2.1 ขอมูลภาคเอกสาร วิเคราะหขอมูลในเชิงการสรางสรรคงานออกแบบโดยนำ กระบวนการทางคอมพิวเตอรผานโปรแกรมตางๆ เชน Flash, ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฏีแนวคิดเรื่องอัตลักษณ มาประมวล Photo Shop, Sony Vegas หารูปแบบและองคประกอบตางๆที่แสดงถึงอัตลักษณพื้นถิ่น ลานนา วิเคราะหสิ่งที่แสดงถึงอัตลักษณในงานแอนิเมชัน จาก การประเมินผลงานออกแบบ นำเสนอผลงานกรณีศกึ ษาตอผูเ ชีย่ วชาญ ตรวจสอบความคิด กลุมตัวอยางภาพยนตรแอนิเมชัน เห็นของงานวิจัยและงานออกแบบ โดยมีวิธีวัดผลและประเมิน 2.2 ขอมูลภาคสนามรวบรวมขอมูล ความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากผูเชี่ยวชาญในสาขา ผลงานการออกแบบดวยแบบสัมภาษณ และแบบสอบถามตอ ศิลปกรรมแบบลานนา และสาขาเกี่ยวกับภาพยนตรแอนิเมชัน ความคิดเห็น ตองานวิจัย นำผลงานใหกลุมบุคคลทั่วไปไดดู เพื่อทดสอบความรับรู ปรึ ก ษาในด า นการออกแบบจากผู เ ชี ่ ย วชาญ โดยใช ว ิ ธ ี ก าร สัมภาษณ (Interview) เพื่อใหไดแนวความคิด ขอคิดเห็นและ ตออัตลักษณดานตางๆ ประเมินผลดวยแบบแสดงความคิดเห็น ความรู ในเรือ่ งการแสดงออกถึงอัตลักษณ โดยเตรียมวัตถุประสงค ที่ชัดเจนในการสัมภาษณ ประเด็นคำถามตางๆที่เกี่ยวโยงถึงงาน ผลการศึกษาขอมูล ผูวิจัยไดศึกษารูปแบบอัตลักษณ จากงานวิจัยเกียวกับ วิจัย แนวคิ ด เรื ่ อ งอั ต ลั ก ษณ ใ นงานวิ จ ั ย ของ เชิ ญ ขวั ญ ภุ ช ฌงค (เชิญขวัญ ภุชฌงค. 2549.) แลวนำไปวิเคราะหเชื่อมโยงกับ สังเคราะหขอมูล และออกแบบงานกรณีศึกษา สังเคราะหขอมูลจากการศึกษาตามทฤษฏีตางๆ แลวนำ อัตลักษณ ที่ปรากฏในงานแอนิเมชัน จากแอนิเมชันตัวอยาง 5 มาผลิ ต งานกรณี ศ ึกษา เปนขั้นตอนการนำผลที่ไดจากการ เรื่องไดแก กังฟูแพนดา มูหลาน แอนิเมชันเปดตัวโอลิมปคป สังเคราะหขอมูลตางๆมาออกแบบงานแอนิเมชัน ตามขั้นตอน 2008 กานกลวย และรามเกียรติ์ การนำเสนอผูวิจัยไดแบง อัตลักษณในงานแอนิเมชันไว 3 ดานดังนี้ และกระบวนการออกแบบ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. การนำเสนออัตลักษณของปจเจกบุคคล 3.1 ขัน้ ตอนการวางแผน (Planning) เปนการศึกษารวบรวม (Personal Identity) วิเคราะหขอมูลและวัตถุประสงคของการออกแบบภาพยนตร คือลักษณะเฉพาะของบุคคลนัน้ ๆ ทีไ่ มซำ้ แบบใครในบุคคล แอนิเมชัน ที่ตองการสื่อถึงอัตลักษณแบบไหน 3.2 ขั้นตอนเตรียมการผลิต (Preproduction) นำขอมูลที่ หนึ่งอาจมีลักษณะโดดเดนไดหลายรูปแบบ อาจเปนบุคคลิกภาพ ไดมาสังเคราะห หารูปแบบที่เหมาะสมดวยการรางแบบ (Sketch ที่ซอนอยูภายในหรือเปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ้ำๆ กันบอยครั้งจน Design) แลวจัดทำเปนสตอรี่บอรด โดยในชวงนี้จะมีการนำแบบ เกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน กลายเปนเอกภาพของลักษณะ รางไปใหผูเชี่ยวชาญไดชวยใหขอเสนอแนะ และศึกษาความ เฉพาะตัวได เชนบุคคลที่เปนคนในประวัติศาสตร หรือในนิยาย เหมาะสมของโปรแกรมคอมพิวเตอรที่จะนำมาใชผลิต กอนที่จะ วรรณคดี โดยอาจเปนเทพเจา บุคคลสำคัญ ที่มีหรือไมมีตัวตน ในประวัติศาสตร ซึ่งบุคคลประเภทนี้จะเปนที่รูจักกันในกลุมคน ลงมือผลิตจริง การวิเคราะหขอมูล
ภาพที่ 1 ภาพเจาแมกวนอิม มีอัตลักษณปจเจกบุคคลที่เดนชัดซึ่งเปนเทพเจาของจีน ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
39
หรือกลุมชนชาตินั้นๆ ที่สามารถรับรูไดโดยผานอัตลักษณ ที่เปนรูปธรรม เชน ลักษณะโครงหนา ทาทาง เครื่องแตง กาย หรือในทางนามธรรมเชน ความดี ความเลว ผูวิจัยไดศึกษาจากภาพยนตรเปดตัวกีฬาโอลิมปคที่ ปกกิ่งป 2008 การนำเสนอสะทอนความคิดผานตัวละครที่ มีอตั ลักษณเฉพาะตัวอยางเดนชัด โครงหนาทีเ่ อิบอิม่ ดูใจดี เครื่องแตงกายสีขาวที่มีเอกลักษณในแบบของชนชาติจีน ซึ่งถาเปนคนจีน หรือคนในภูมิภาคเอเชียโดยมากจะรับรูได ทันทีวานี้คือเจาแมกวนอิม นอกจากนี้ ยังมีอัตลักษณของบุคคลที่เปนสัญลักษณ เปนบุคคลที่มีนัย โดยใชอัตลักษณของชนชาติ เชน ตัว ละครอยางโป (Kungfu Panda) การนำเอาวิชากังฟู ซึง่ เปน ศิลปะปองกันตัวประจำชาติ ทีเ่ ปนอัตลักษณของชนชาติจนี บวกกับสัตวประจำชาติอยางหมีแพนดา เปนสัญลักษณที่ เสมือนใหจีนตอสู ดวยความพยายาม และอดทน ผูวิจัยไดนำแนวคิดจากอัตลักษณในงานแอนิเมชัน มาเทียบกับเคียงเพื่อวิเคราะหอัตลักษณสวนบุคคล ของ ความเปนพื้นถิ่นแบบลานนาไดผลดังนี้ “ในแงประวัติศาสตร พญาเม็งรายเปนอัตลักษณของ ลานนาอยางแทจริง แมในประวัติศาสตรลานนาจะมีเจาผู ครองนครมากมาย แตก็ไมโดดเดนเทาพญาเม็งราย แมแต นักประวัติศาสตรถาจะศึกษาประวัติศาสตรลานนาตองเริ่ม จากพญาเม็งราย” (สน สีมาตรัง, สัมภาษณ, 29 พฤษภาคม 2554) พอขุนเม็งรายมหาราช หรือพญาเม็งรายเปนบุคคล ในประวัติศาสตรของชาวลานนา เปนผูสถาปนาอาณาจักร ลานนา ชาวลานนาไดสรางอนุสาวรียขึ้นในหลายจังหวัดใน ภาคเหนือ เชนที่จังหวัดเชียงราย เชียงใหม ดังนั้นในดาน อัตลักษณสวนบุคคล พญาเม็งรายจึงเปนการแสดงออกถึง อัตลักษณลานนาอยางเดนชัด 2. การนำเสนออัตลักษณทางสังคม (Social Identity) ประกอบด ว ยสถานภาพทางสั ง คมโดยที ่ เ ห็ น เป น รูปธรรม เชน อาชีพ ชนชั้น เพศ ชาติพันธุ หรือศาสนาที่ ปจเจกบุคคลนั้นสังกัดอยู และมีความเขาใจสิ่งตางๆ ตรง กันตั้งแตเรื่องทางวัตถุ เชน เครื่องแตงกาย ในดานที่เห็น เปนนามธรรมไดแก ความเปนชนชาติ ความนิยมชมชอบ ความศรัทธา 40
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
การนำเสนออัตลักษณ ปจเจกบุคคล อัตลักษณ ปจเจกบุคคล
รูปธรรม
นามธรรม
ผูหญิง หนาตาใจดี มีจุด แดงกลางหนาผาก ผิวขาว เสื้อผาสีขาว เกลาผม มีริ้ว ผาปดตรงมวยผม มีรัศมี แผกลางศีรษะ
ความดี ความนา เลื่อมใสศรัทธา ความมีเมตตา
มูหลาน (Mulan1998)
หญิงสาว สวมใสชุด นักรบแบบจีน ถือดาบ
มีความรักชาติ กลาหาญเสียสละ
โป (Kung fu Panda 2008)
หมีแพนดา กินจุ อืดอาด เชื่องชา สัตวประจำชาติ
กระตือรือรน ใฝเรียนรู
กานกลวย (2006)
ชางปา ตัวสีฟา สัตว ประจำชาติ ลวดลาย ไทยประดับเครื่องแตงตัว
จิตใจดี กลาหาญ
ทศกัณฑ (รามเกียรติ์)
ยักษ ตัวสีเขียว มีสิบหนา สิบมือ หนาตาดุราย
ความโหดเหี้ยม มาก ฤทธิ์เดช
เจาแมกวนอิม (แอนิเมชันเปดตัว โอลิมปค 2008)
ตารางที่ 1 การวิเคราะหสิ่งที่แสดงถึงอัตลักษณ สวนบุคคลที่ปรากฏในแอนิเมชัน
ภาพที่ 2 แพนดาอัตลักษณของจิตวิญญาณแหงชนชาติ
ภาพที่ 3 แสดงอัตลักษณทางสังคม ชนชั้นกษัตริย และอัตลักษณของชาวบาน
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ชาติพันธุ แสดงออกไดทางรูปราง หนาตา สีผิว ชาติพันธุ
ภาพที่ 4 แสดงอัตลักษณของชนชั้นกษัตริย และอัตลักษณของผูรับใช
ภาพที่ 5 ชาติพันธุที่แตกตาง สามารถแสดงออกถึงชนชั้นในสังคม
สิ่งที่บงบอกใหเห็นถึงอัตลักษณทางสังคม ในงานแอนิเมชัน แสดงออกได เชน อาชีพ ชนชั้น แสดงออกผานเสื้อผา เครื่องประดับ ที่อยู อาศัย บานเรือน ลักษณะรูปราง ทาทาง การศึกษางานแอนิเมชัน เรื่องกานกลวย สิ่งที่แสดงอัตลักษณทางสังคม ไดสอดแทรกอยู ใน เสื้อผาที่บงบอกถึงชนชั้นตางๆ ชาวบานจะเปนลักษณะการ นุง โจงกระเบนไมสวมเสือ้ ผา ถาเปนกษัตริยจ ะสวมเสือ้ ผาทีป่ ระดับ ประดาดวยลวดลายอันวิจิตร ลักษณะทาทางจะสงบนิ่งสุขุม นา เกรงขาม ตรงขามกับชาวบานที่จะเอะอะโวยวาย ไมสำรวม ทศกัณฑในอดีตชาติคือนนทกยักษผูต่ำตอย คอยลางเทา ใหเทวดา ลักษณะต่ำตอยนาสงสาร แตในจิตใจแฝงดวยความ อาฆาตมาดราย พออวตารเปนทศกัณฑมีอัตลักษณที่แสดงถึง ความหึกเหิม มีอำนาจ ดุดันกาวราว
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
สามารถแสดงถึงชนชัน้ ในสังคมไดดว ย แอนิเมชัน Kung fu Panda ใชสัตวชาติพันธุตางๆบงบอกถึงสถานะทางสังคม เชน เตา ในเรื่องเปนปรมาจารยผูเชี่ยวชาญกังฟู เตามีความ สำคัญมากในวัฒนธรรมจีนเปนอัตลักษณทส่ี อ่ื ถึงความเชือ่ งชาแต มัน่ คง มีอายุยนื ยาว รอบรูใ นทุกๆดาน แสดงออกถึงความอาวุโส ที่เปนที่เคารพนับถือ เสือ ในเรื่องเปนศิษยเอกของสำนัก แทนอัตลักษณที่สื่อถึง ความเกงกาจ ในวัฒนธรรมของจีน มักถูกนำมาใชเปนสัญลักษณ ของพละกำลังและอำนาจ ความกลาหาญและเขมแข็ง ภาพ ลักษณของเสือจึงมีอยูในบทเพลง บทกวี บทประพันธ ภาพ จิตรกรรม นวนิยาย และในวัฒนธรรมดานอื่นๆ กลายเปนสวน หนึ่งที่ขาดไมไดในอารยะธรรมจีน รูปแบบอัตลักษณทางสังคมนำเสนอผานรูปธรรมที่ฝงอยูใน ชีวิตประจำวัน ที่ไดผานการสั่งสมกันมาเปนเวลานานของกลุม คน จนเกิดเปนการรับรูรวมกัน ในดานนามธรรมไดสงผานแนว ความคิด ความเชื่อ และมีความเขาใจสิ่งตางๆผานทางศาสนา ที่คนในสังคมนับถือ เมื่อเทียบเคียงกับอัตลักษณที่ปรากฏเดนชัด ของสังคมลานนา จากการศึกษาภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังทีเ่ ลา เรื่องราววิถีชีวิต กิจวัตรประจำวัน โดยผูหญิงชาวบานมักมีอาชีพ ทอผา การหาบน้ำ คาขาย ตำขาว การแตงกาย ในเรื่องความ เชื่อ ความนิยมชมชอบ ความศรัทธา ชาวลานนานิยมนับถือ เรื่องผี มีความเชื่อในเรื่องของอาคมของขลัง 3. การนำเสนออัตลักษณทางวัฒนธรรม (Cultural Identity) คือสิ่งซึ่งเปนพฤติกรรมที่คนในหมูสรางขึ้น ดวยการเรียนรู จากกันและกัน ใชอยูในหมูพวกของตน แสดงออกผาน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม ระบบความเชื่อ และ สัญลักษณที่เปนที่รูกันในวัฒนธรรมนั้นๆ ในงานแอนิเมชัน อัตลักษณทางวัฒนธรรม แสดงออกดังนี้ ประเพณี เปนกิจกรรมที่มีการปฏิบัติสืบเนื่องกันมา เปน เอกลักษณและมีความสำคัญตอสังคม ประเพณีลว นไดรบั อิทธิพล มาจากสิง่ แวดลอมภายนอกทีเ่ ขาสูส งั คมรับเอาแบบปฏิบตั ทิ ห่ี ลาก หลายเขามาผสมผสานในการดำเนินชีวิต ในเรื่องมูหลาน ไดมี การนำเอาประเพณีการเคารพบรรพบุรุษของชาวจีน มีปายหลุม ศพของบรรพบุรุษ มาเปนฉากในการนำเสนอ แสดงใหเห็นถึง อัตลักษณของชาวจีน วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
41
ภาพที่ 6 แสดงอัตลักษณทางวัฒนธรรมการบูชาบรรพบุรุษ ที่แสดงความเชื่อแบบจีน
ศิลปะและการแสดงพื้นถิ่น คือสิ่งที่บุคคลในสังคมหรือ นำเอาฉากหลังทีเ่ ปนบรรยากาศภูเขาสูงทีม่ กี ลิน่ อายของภาพเขียน
วัฒนธรรมนั้นสรางสรรคขึ้น จากสิ่งแวดลอม ความเชื่อ ความ ศรัทธาตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในงานแอนิเมชันเรื่องมูหลานและกังฟู แพนดาไดมีฉากการรายรำวิชากังฟู นำเสนออัตลักษณของศิลปะ การตอสูในของจีนอยางชัดเจน สัญลักษณ ใชแทนความหมายของอีกสิ่งหนึ่ง สื่อความ หมายหรือแนวความคิดใหมนุษยในสังคมเขาใจไปในทางเดียวกัน อาจจะเปนรูปธรรมหรือนามธรรมก็ได ฉากพระนเรศวรทรงเห็น เศวตฉัตรบนทองฟากอนออกไปรบ แสดงถึงอัตลักษณของการ เชื่อแบบไทย เรื่องมูหลานใชมังกร เปนสิ่งที่ชาวจีนเคารพนับถือ เปนเทพเจาใชแทนสัญลักษณของบรรพชนที่คอยคุมครองมูหลาน การใชเตาหมายถึงการมีอายุยืน ความคงแกเรียน นำมาใชเปน ปรมาจารย ในเรื่องกังฟูแพนดา อวัจนภาษา คือการใชภาษาภาพสือ่ ความหมายตางๆ รวม ทั้งการสื่อความหมายแทนการรับรูจากชองทางอื่น เชนใชภาพ แทนเสียง แทนกลิ่น แทนรส แทนสัมผัส ในเรื่องมูหลานมีการ แสดงออกดวยทาทางการประสานมือ โคงคำนับ เปนอัตลักษณ แสดงความนอบนอมแบบชาวจีน สภาพแวดลอม ในการสรางฉากหลังประกอบภาพยนตร แอนิเมชัน มักนำอัตลักษณที่โดดเดนของศิลปะในแตละทองถิ่น มาประกอบเสมอ แอนิเมชันเปดตัวโอลิมปค 2008 ที่จีน ก็มีการ 42
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
แบบจีน รูปแบบอัตลักษณทางวัฒนธรรม เกิดจากการนำเสนอผาน กิจกรรมอันดีงามทีปฏิบัติสืบตอกันมาเปนเวลานาน จนเกิดเปน การรับรูรวมกัน ในดานนามธรรมไดสงผานแนวความคิด ความ เชือ่ และมีความเขาใจสิง่ ตางๆผานทางศาสนาทีค่ นในสังคมนับถือ การดำเนินการวิจัย
เมื่อไดสรุปประเด็นและแนวทางการนำเสนออัตลักษณดัง แลว จึงเริ่มในสวนการออกแบบงานแอนิเมชันพื้นถิ่น เรื่องพญา เม็งราย จัดทำเปนกรณีศึกษา โดยนำเสนอเปนเทคนิค Cut out Animation คือการสรางภาพจากการสแกน ถายภาพ แลวนำมา จัดวางในโปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อใหเกิดการเคลื่อนไหว นำ ภาพที่เลียนแบบจากจิตรกรรมฝาผนังลานนา จากวัดภูมินทร จ.นาน และวัดพระสิงห จ.เชียงใหม ซึ่งเปนหลักฐานที่หลงเหลือ อยูแ ละสือ่ ถึงความเปนอัตลักษณลา นนา ผูว จิ ยั ไดสอดแทรกศิลปะ ประเพณี การละเลนตางๆที่จะแสดงถึงอัตลักษณลานนา มูลเหตุที่ใชเทคนิคนำภาพจากจิตรกรรมฝาผนังมาใชเพราะ เปนภาพจดจำของคน จะทำใหสื่อความเปนลานนาไดมากยิ่งขึ้น โดยเสริมในดานอัตลักษณตางๆที่ไดศึกษามา สอดแทรกเขาไป ในเรื่องราวของพญาเม็งราย ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ภาพที่ 7 แสดงผลงานการออกแบบแอนิเมชัน
อภิปรายผล
การอภิปรายผลการวิจัย นำเสนอความเห็นเปน 3 สวนคือ ความเห็นจากผูเชี่ยวชาญดานงานแอนิเมชัน ผูเชี่ยวชาญดาน ศิลปวัฒนธรรมลานนา และความเห็นจากผูชมทั่วไปที่ไดรับชม แอนิเมชันกรณีศึกษา ผูเชี่ยวชาญดานงานแอนิเมชัน
โดยทั่วไปในดาน Production ถาเปนงานที่สื่อถึงอัตลักษณ หรือเปนงานยอนยุคมักมีการกำหนดกรอบไววาจะเปนการทำงาน ในแบบที่เรียกวายึดถือตามแบบของจริง กับอีกรูปแบบหนึ่งก็คือ การประยุกตลดทอนรูปแบบจริงใหรวมสมัย ถาเรามีแนวทางที่ ชัดเจนรูปแบบงานออกแบบงานสรางไปจนถึงตัวละคร ก็จะมี แนวทางในการออกแบบ ในสวนที่ผูวิจัยไดแบงหัวขอเรื่องอัตลักษณเปน 3 หมวด ทางผูเ ชีย่ วชาญเห็นดวยเพราะทำใหสามารถแบงการวิเคราะหงาน สราง และสามารถเชื่อมโยงและทราบถึงที่มา ที่ไปในแตละสวน ได เทียบเคียงถึงงานสรางของญี่ปุน ที่มีแอนิเมชันเปนวัฒนธรรม การหยิบจับเอาประเด็นวัฒนธรรมพื้นบานมาเลาเรื่องในแบบ แอนิเมชัน ใหทั้งความเจริญทางปญญา และนำพาจิตวิญญาณไป
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
พรอมกัน หากตองการสรางอัตลักษณในผลงานอยางถาวร ยอม ตองไมลืมตัวตน ตองศึกษารากเหงาอยางถองแท ในเรื่องแอนิเมชัน การนำภาพจิตรกรรมฝาผนังแบบลานา ทำใหไดอารมณของความมีอัตลักษณแบบลานนา ถาแตถาเปน ภาพที่เขียนขึ้นมาใหมอาจตัองอาศัยผูเชี่ยวชาญในการวาดภาพ ลักษณะนี้ ถาเพิ่มในเรื่องสื่อทางการไดยิน ถาสามารถทำไดจะ สื่อใหรับรูถึงความเปนลานนาไดมากกวานี้ เพราะการไดยินทวง 15 ทำนอง ผูคนจะรับรูได แมไมตองเห็นภาพ ผูเชี่ยวชาญดานศิลปวัฒนธรรมลานนา
ดานอัตลักษณปจเจกบุคคล ผูเชี่ยวชาญใหขอเสนอแนะวา ในเชิงประวัตศิ าสตรหากมองไกลเกินไป ใชขอ มูลในประวัตศิ าสตร ที่ไกลเกินไป ผูชมทั่วไปที่ไมใชคนพื้นถิ่นอาจเขาไมถึง การแยกการวิเคราะหเรื่องอัตลักษณ ผูเชี่ยวชาญโดยมาก เห็นดวยกับเกณฑที่นำมาใชเปนกรอบในการวิเคราะห เพราะทำ ใหมแี นวทางในการคิดงานเปนสวนๆแยกแยะใหเห็นในแตละดาน อยางชัดเจน ผูเชี่ยวชาญบางทานมองวา เนื่องจากพื้นที่ลานนา กินอาณาเขตหลายจังหวัด ดังนั้นวัฒนธรรมแตละจังหวัด ก็แตก ตางกันออกไป ควรจำกัดชวงเวลาของยุคสมัยใหชัดเจน
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
43
ผูชมทั่วไป
การรับชมผลงานแอนิเมชันกรณีศึกษาเรื่องพญาเม็งราย ให ผูช มทัว่ ไปทีเ่ ปนคนจากภูมภิ าคอืน่ 30 คน และผูช มทีม่ าจากภาค เหนือ 30 คน รวม 60คน พบวา ะรับรูได การนำเสนออัตลักษณปจเจกบุคคลผูชมจากภาคเหนือโดย มากจะรับรูได มีบางสวนที่ไมรับรูมากอน อันเนื่องมากจากเปน คนรุน ใหม ขาดการรับรูป ลูกฝงในเรือ่ งประวัตศิ าสตร สำหรับผูช ม จากภูมิภาคอื่น โดยมากไมเคยรับรู การรับรูถึงความเปนพญา เม็งรายสวนมากรับรูจากการแตงกาย ดานอัตลักษณทางสังคมที่แสดงออกทางสถาปตยกรรม และสภาพภูมิประเทศ การนำเสนอภาพหมอกบนเทือกเขาที่ หนาวเย็นสามารถสื่อถึงความเปนลานนาไดมากที่สุด รองลงมา คือภาพเทือกเขาที่สลับซับซอน สุดทายคือสภาพบานเมือง ตลาด การนำเสนอวิถีชีวิตในตลาด ดานอัตลักษณทางวัฒนธรรม ผูชมทั้งสองกลุมรับรูไดมากที่ สุดคือ การตีกลองสะบัดชัย เพราะเปนประเพณีที่มีเฉพาะลานนา เทานั้น รองลงมาคือการรับรูถึงประเพณีการปกตุง สุดทายคือ ภาพการแตงกายแบบหญิงลานนาโบราณ มีการเกลาผม เปน ภาพลักษณของหญิงสาวชาวลานนา
ขอเสนอแนะ
การนำเสนองานที่สื่อถึงอัตลักษณพื้นถิ่นในงานแอนิเมชันยัง ไมมีการทำวิจัยที่ลึกซึ้ง ในแงการศึกษาเชิงศิลปะและเนื้อหาบท อยางจริงจังมากนัก จึงยังมีแงมุมใหศึกษาวิจัยอีกมากมายดังนี้ 1. การศึกษาลงลึกไปในภาพยนตรแอนิเมชันจากญีป่ นุ เพราะ เปนประเทศทีส่ รางอัตลักษณของงานเพือ่ ตอบสนองกลุม เปาหมาย ทุกเพศทุกวัย มีการแขงขันสูง 2. การศึกษาเปรียบเทียบการนำเสนอของแอนิเมชันตาง วัฒนธรรม เชนแอนิเมชันที่แสดงอัตลักษณของฝงตะวันตกและ ฝงตะวันออก เพื่อใหเห็นความแตกตางทางความคิดในแตละ วัฒนธรรม หรือเปรียบเทียบงานจากอินเดีย เกาหลี ซึง่ เปนประเทศ ในแถบเอเชียดวยกัน 3. การศึกษาวิเคราะห วิธสี รางสรรคแอนิเมชันแบบไทย เปน สิ่งนาสนใจ เพราะบานเรามีการสรางแอนิเมชันออกมามาก แต ยังหาจุดยืนหรืออัตลักษณที่โดดเดนไมชัดเจน โดยเฉพาะดาน ศิลปะการสื่อถึงความเปนไทย นอกจากการศึ ก ษาในด า นแอนิ เ มชั น ผลการวิ จ ั ย จะมี ประโยชนในดานกรอบแนวคิดในการนำเสนอสิ่งที่สื่อถึงอัตลักษณ ในงานดานอืน่ ๆ สรางสรรคใหเห็นถึงคุณคาในงานออกแบบ หรือ ทุกองคประกอบของสื่อ โดยเฉพาะในแงมุมของศิลปะการออก แบบสื่อในสายนิเทศศาสตร
กิตติกรรมประกาศ
โครงการนี้เสร็จสิ้นไปดวยดีตองขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยวัฒนพันธุ ครุฑะเสน, อาจารยธนาธร เจียรกุล, รองศาสตรจารยสน สีมาตรัง อาจารยภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป ทานผูเ ชีย่ วชาญทุกๆทาน ทีก่ รุณาสละเวลาในการใหสมั ภาษณ และใหขอชี้แนะ
บรรณานุกรม เชิญขวัญ ภุชฌงค. 2549. การสื่อสารของกลุมซาไกที่ยายถิ่นฐานมาสูชุมชนเมืองในการปรับตัวและการแสดงอัตลักษณแหงชาติพันธุ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธนญชัย ศรศรีวิชัย. 2554. Thainess ในฐานะสินคาหรือโฆษณาชิ้นหนึ่ง. [ออนไลน].เขาถึงไดจาก : http://www.youtube.com/ watch?v=2uVrg5B4ctg. (วันที่คนขอมูล: 31ตุลาคม 2554). นับทอง ทองใบ. 2550. ฉีกขนบ แอนิเมชัน เอกลัษณของ ฮายาโอะ มิยาซากิ นักฝนแหงตะวันออก. กรุงเทพฯ : มูลนิธิเด็ก. ภานุพงษ เลาหสม. 2541. จิตรกรรมฝาผนังลานนา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพเมืองโบราณ. ศักดิ์ดา วิมลจันทร. 2551. อานการตูนใบ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพพื้นฐาน. สน สีมาตรัง. 2554, 29 พฤษภาคม. รองศาสตราจารย. สัมภาษณ.
44
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
การออกแบบวัสดุที่ถูกมองขาม นำมาเปลี่ยนแปลงใหเกิดคุณคาในรูปแบบใหม Using neglected materials in transformative ways
กฤษณพงศ รื่นเริง1 เดวิด มารค เชเฟอร2 และ ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน3
Abstract
This project utilizes “upcycling” as a way of dealing with material waste and “transformation” as a method of giving new life to used and discarded objects. Function, utility, lightness, and tectonics (material joinery) were at the core of this transformation of materials. Wood bases and intricate wood joinery (instead of mechanical fasteners) give strength to new furniture. The actual seat simply sits atop the wood base, making this a quick and easy way to assemble (and therefore disassemble) the furniture. The cabinet also slides neatly into its base, making fabrication and assembly easier. The pieces, in their light weight and joinery, give the user freedom to move them around as necessary. More important than the actual components or over aesthetic of the pieces are their ability to be used in different ways. This way of working is not only economical to manufacture, but encourages the user to be economical and deal with waste in an inventive manner as well. Keywords : 1. pcycling, 2. waste, 3. transformation, 4. joinery, 5. assembly and disassembly
บทคัดยอ
โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงคในการออกแบบเฟอรนิเจอรอัพไซคลิง (Upcycling) เพื่อลดปญหาการสรางขยะและใชแนวคิด เรื่อง “การเปลี่ยนแปลง” (Transforming) เพื่อสรางชีวิตใหมใหกับวัตถุที่ถูกทิ้ง จุดเดนของการแกปญหาในงานวิจัยชิ้นนี้คือเรื่องการใชงานไดจริงและความแข็งแรง การประกอบและการขนยายไดสะดวกและ การใสใจในรายละเอียด(details) โดยมีผลสรุปดังนี้ 1) การแกปญหาเรื่องความแข็งแรงในการรับน้ำหนัก ไดเลือกใชวัสดุไมเปนฐาน และเลือกการเขาเดือยแทนการใชน็อตและตะปู ทั้งนี้นอกจากเพิ่มความคงทนแลวผูใชยังสามารถถอดประกอบไดงาย 2)ในราย ละเอียดของการเชื่อมที่นั่งกับฐานคือการใชหลักการสวมอางเขากับโครงไมไดโดยงาย ในสวนตูใชหลักการสวมเขากับฐานไมที่มีรอง ไวรับขอบ ทำใหงายตอการติดตั้ง และยังมีความแข็งแรงเพราะแบบไดคำนึงถึงการสวมเขาอยางพอดี 3) การแกปญหาเรื่องการโยก ยาย หรือขนสงไดสะดวก ผูใชสามารถถอดออกเปนชิ้นสวนและสามารถประกอบชิ้นใหมไดโดยงายดาย ดังนั้นโดยสรุปที่เปนหัวใจหลักของการออกแบบ ไมไดอยูที่รูปแบบซึ่งอาจมีความคลายกันได แตงานวิจัยชิ้นนี้เนนการแกปญหา ที่สามารถตอบสนองการใชงานในหลายมิติและประการที่สำคัญที่สุดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมผูบริโภคใหเห็นคุณคาของวัตถุการ ประหยัด และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ คำสำคัญ : 1.
อัพไซคลิง, 2. ขยะ, 3. การเปลี่ยนแปลง, 4. งานกรอบประตูหนาตางไม, 5. การประกอบและการถอดประกอบ
1 2 3
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ปการศึกษา 2554 อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต รศ.,อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทนำ
ปญหาขยะนับเปนปญหาใหญอยางหนึ่งที่สังคมตองเผชิญในยุคปจจุบัน ในแตละวันมีของเหลือทิ้งเหลือใชที่เกิดจากการอุปโภค บริโภคและกิจกรรมตางๆเปนจำนวนมาก ซึ่งขยะในแตละประเภทมีขั้นตอนในการกำจัดขยะที่แตกตางกันบางฝงกลบ บางเผากำจัด ซึ่งแตละวิธีมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน ขยะบางประเภทสามารถสรางปญหาใหมนุษยและโลกในระยะยาวเพราะไม สามารถยอยสลายลงไดในระยะเวลาอันรวดเร็วแตตองใชเวลานานนับรอยปเพื่อการยอยสลาย อาทิ โฟมและประเภทพลาสติก เปนสิ่งที่รูกันดีอยูแลววาสิ่งตางๆสามารถนำมาใชประโยชนไดอีกแต บางครั้งอาจเกิดการมองขาม และไมไดใสใจเทาที่ควรจึง ทำใหจำนวนปริมาณของขยะตางๆเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในสังคม จริงอยูที่วัสดุหลายอยางสามารถนำมา รีไซเคิลใหมได แตกระบวนการใน การทำนั้นก็เกิดการสูญเสียพลังงาน และสรางมลภาวะ ปจจุบันในวงการผลิตเฟอรนิเจอรมีการแขงขันทางธุรกิจกันอยางสูง โดยรูปแบบของเฟอรนิเจอรตางๆ มีทั้งแบบที่ผลิตสำเร็จ รูปมาจากโรงงานคือไมสามารถถอดหรือประกอบไดและเฟอรนิเจอรแบบที่มาประกอบเอง ซึ่งแบบที่มาประกอบเองนั้นสวนใหญจะมี วัสดุและอุปกรณหลายชิ้นในการประกอบ อีกทั้งผูใชยังตองทำความเขาใจกับคูมือเพื่อทำการประกอบเฟอรนิเจอรชิ้นนั้น จึงอาจทำ ใหผูใชเกิดความยุงยากและใชเวลาในการถอดหรือการติดตั้งไมมากก็นอยขึ้นอยูกับทักษะของแตละผูใช ดังนั้นโครงการวิทยานิพนธนี้เกี่ยวกับวัสดุเหลือใชที่ถูกมองขามคุณคา นำมาเปลี่ยนแปลงใหเกิดรูปแบบที่มีเอกลักษณของ ผลิตภัณฑ โดยการที่นำวัสดุหนึ่งอยางมาบวกกับวัสดุอีกหนึ่งอยางที่มีลักษณะตางกันเมื่อนำมารวมกันจะไดเปนวัสดุชิ้นใหมที่มีการ ใชงาน (Function) แบบใหมตา งจากการใชงานแบบเดิม เนนการออกแบบทีค่ งไวซง่ึ เอกลักษณของ ของเกาเปนแกนหลัก และนำวัสดุ ชิน้ ทีส่ องเปนตัวเสริมโครงสรางของชิน้ งานเฟอรเจอรทส่ี ามารถติดตัง้ หรือถอดประกอบทีไ่ มยงุ ยากซับซอนและสะดวกในการเคลือ่ นยาย ใชสไตลในการออกแบบที่เรียบงาย ดูแลวสะอาดแตมีความใสใจในเรื่องลายละเอียดของชิ้นงาน เปนกระบวนการผลิตในแบบ craft และเปนกลไกหลักในเรื่องของการลดจำนวนเศษวัสดุเหลือใช ใหกลับมามีคุณคา มาใชประโยชนไดใหม เพื่อเปนการสงเสริมใหเห็น ถึงความสำคัญและเปนแนวทางในการพัฒนาตอยอดในอนาคต อัพไซคลิง (Upcycling) คือกระบวน การเปลี่ยนขยะหรือของไรประโยชนใหเปนวัตถุดิบ สำหรับผลิตสิ่งของใหมที่มีมูลคาหรือ คุณคาใชสอยมากกวาเดิม กลาวกันวาคำคำนี้ใชครั้งแรกโดยไรเนอร พิลซ ชาวเยอรมัน ในป 1994 ซึ่งเขาใหความเห็นวา กระบวน การที่ผูคนเรียกกันวารีไซเคิลนั้น ควรเรียกวา downcycle เพราะสิ่งที่ไดมักจะมีคุณคาและคุณภาพดอยลง แตกระบวนการที่เราตอง การคืออัพไซคลิงที่จะชวยเพิ่มคุณคาใหกับสิ่งนั้น แทรนซฟอรม (Transform) ซึ่งคือการนำวัสดุหนึ่งอยางบวกกับวัสดุอีกหนึ่งอยางที่แตกตางกันแลวกลายเปนวัสดุชิ้นใหมโดยที่ ฟงชั่นของการใชงานแตกตางไปจากเดิม กระบวนการคัดเลือกวัสดุที่ถูกมองขามจะใชวัสดุที่มีขนาดใหญ ที่มีความแข็งแรงทนทาน เพื่องายตอการออกแบบและคงสภาพ เดิมใหมากที่สุดจึงเลือกที่จะใชอางอาบน้ำเพราะตรงตามวัตถุประสงคในการออกแบบ อางอาบน้ำ มีอยูดวยกัน 3 ชนิดคือ อางอาบ น้ำแบบไฟเบอรกลาส อครีลิค และเหล็กปม วัสดุที่ใชในการผลิตอางอาบน้ำ
- เหล็กปม เปนวัสดุที่มีน้ำหนักเบา ราคาถูก สีที่เคลือบไมคงมน ลอกงาย ลื่น เปนสนิมได - Fiberglass ออกแบบรูปรางและสีไดตามตองการ ราคาปานกลาง สีที่เคลือบไมคงทน - Acrylic แข็งแกรง ทนทาน ดูแลรักษางาย ราคาคอนขางสูง สีเปนตังของอครีลิคเอง ไมลื่น ปองกันรอยขูดขีดไดดี - เหล็กเคลือบ Enamel มีน้ำหนักมาก แตจะคงทนและดูแลไดงายขนาดมีตั้งแต 1.40 เมตร ถึง 1.85 เมตรขนาดที่ไดรับความ นิยมคือ 1.70 เมตร ความกวางมีตง้ั แต 0.60 เมตร ถึง 1.30 เมตร ขนาดทีก่ วางมากๆ มักจะเปนอางระบบน้ำวน ขนาดทีไ่ ด รับความนิยมคือ 0.60 เมตรความสูงมีตั้งแต 0.38 เมตร ถึง 0.46 เมตรโดยขนาดที่ไดรับความนิยมคือ 0.38 เมตร
46
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ผลการวิจัย การทดลองครั้งแรก ลูกเทนนิสกับโครงเกาอี้เกา
การใชโครงเกาอี้หวายที่พังตรงที่นั่งที่ไมสามารถนั่งไดมา ประยุกตกับลูกเทนนิสที่ไมผานQCและลูกเทนนิสที่ไมใชแลวโดย ทำใหเปนเกาอีน้ ง่ั ทีใ่ ชลกู เทนนิสมารอยกันแทนหวาย ซึง่ ลูกเทนนิส กับโครงเกาอีเ้ กาเปนการอัพไซคลิง (Upcycling) แต ฟงชัน่ ยังคง เปนเกาอี้อยูเหมือนเดิม เหมือนเปนการซอมแซมเกาอี้เกามาก กวาจึง ยังไมตอบโจทยกับหัวขอ แทรนซฟอรม (Transform) จึงเกิดแรงบันดาลใจที่จะใชวัสดุที่มีขนาดใหญ เพื่องายตอ การออกแบบและคงสภาพเดิมใหมากที่สุด และวัสดุที่ใชคืออาง อาบน้ำซึง่ พบอางอาบน้ำทีบ่ า นของเพือ่ นเปนอางอาบน้ำทีม่ สี ภาพ สีแตกเปนสนิมชำรุดไมสามารถใชงานไดและคนสวนใหญจะคิด นำของทีม่ สี ภาพชำรุดไมสามารถใชงานไดนำไปทิง้ หรือขายซึง่ ถา นำไปขายก็จะไดมลู คาไมมากนัก อางอาบน้ำก็เปนวัสดุทม่ี ขี นาด ใหญที่สามารถนำมาพัฒนาไดตามวัตถุประสงคขางตน เมื่อ ไดอา งอาบน้ำเปนวัสดุหลักแลวจึงคิดหาวัสดุรองโดยการนำไมมา ทำเปนโครงสราง จะไดวัสดุชิ้นใหมออกมาและตรงกับการออก แบบจากแนวคิดการ แทรนซฟอรม (Transform) โดยมีแนวคิดที่ จะพัฒนาใหวสั ดุชน้ิ ใหมนม้ี คี วามสะดวกตอการขนสงและตอการ ประกอบไดงายขึ้น
รูปที่ 1 ลูกเทนนิสกับโครงเกาอี้เกา
การทดลองครั้งที่ 2
ในการออกแบบและผลิตเครื่องเรือนนั้นเราจำเปนที่จะตอง พิจารณาถึงลักษณะโครงสรางของเครือ่ งเรือนดูกอ นวาเปนอยางไร รูปแบบใด เชน ความสามารถทีจ่ ะถอดประกอบได สามารถทีจ่ ะ รับแรงหรือน้ำหนัก การผลิต รวมทั้งราคาเปนตน
รูปที่ 2 วัสดุที่จะใชในการออกแบบ
ขั้นตอนการเลือกอางอาบน้ำและรางแบบ
จากการศึกษาประเภทของอางอาบน้ำที่จะเลือกนำมาใชงานวัตถุดิบที่ใช ในการผลิตอางอาบน้ำ มีอยูดวยกัน 3 ชนิดคือ อางอาบน้ำแบบไฟเบอรกลาส อครีลิค และเหล็กปม โดยจากการทดลองอางอาบน้ำแบบไฟเบอรและอครีลิค จะมีคุณสมบัติตรงที่น้ำหนักเบามีความยืดหยุน แตเวลานำมัดตัดจะเกิดการ บิดเบีย้ วแตก ไมแข็งแรงพอทีจ่ ะเอามานัง่ และเสียรูปทรงไดงา ย สวนในปจจุบนั อางอาบน้ำเหล็กก็ไมเปนที่นิยมแลวคนมักนำมาทิ้งเนื่องจากสีที่เคลือบอางอาบ น้ำเหล็กไวไมคงทน ถลอกไดงาย ลื่นและเปนสนิมไดแตขอดีของอางอาบน้ำ แบบเหล็กเวลานำมาตัดแลวไมสูญเสียรูปทรงทั้งยังคงมีความแข็งแรงที่จะใช งานไดจริง ดวยเหตุนจ้ี งึ เลือกอางอาบน้ำแบบเหล็กมาใชในการทำชุดเฟอรนเิ จอร ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
47
ขั้นตอนตอไป คือการรางแบบของรูปทรงเฟอรนิเจอร ดังแสดง ในรูป Sketch ดานบน จากการรางแบบ จะเลือกรูปแบบ Sketch 2 เนือ่ งจากเปน การดัดแปลงอางอาบน้ำเหล็กนอยที่สุดและมีการใชประโยชน จากทุกสวนของอางอาบน้ำเหล็กและจากการมองภาพรวมของ เซ็ตเกาอี้จะมีการออกแบบใหเรียบงายเนนความซับซอนในเรื่อง ของการเก็บรายละเอียดของโครงสรางอีกทัง้ ภาพรวมยังดูมคี วาม ตอเนื่องจากชิ้นงานทั้งสามชิ้นหลักการที่เลือกไมมาทำโครง สรางนัน้ เพือ่ ใหมกี ารขัดแยงในตัววัสดุ ไมใหเกิดความกลมกลืน และไมยังสามารถเก็บรายละเอียดไดดี ถานำสแตนเลสหรือ เหล็กมาทำเปนโครงสรางจะมีภาพลักษณที่มีลักษณะแข็งดู กลมกลืนเนื่องจากเปนวัสดุชนิดเดียวกันอีกทั้งยังมีน้ำหนักคอน ขางมาก จึงเลือกโครงสรางที่ทำจากไมโดยการคิดโครงสรางที่ สามารถรับน้ำหนักไดดีมีความแข็งแรงมั่งคง โดยมีรูปทรงเปน รูปแบบในดานตางๆดังแสดงในรูปที่ 4 รูปแบบโครงสรางไม
หลักการที่ออกแบบโครงสรางไมใหมีลักษณะโปรงไมซับ ซอนเพื่อที่จะสามารถสอดรับเขากับอางอาบน้ำเหล็ก โดยไมจำ เปนตองใชวสั ดุมายึดเพือ่ เพิม่ ความคงทนแข็งแรงเพราะการสอด อางอาบน้ำเหล็กเขากับตัวโครงไมนั้นมีความแข็งแรงในตัวโครง สรางอยูแลวและความโปรงของรูปแบบจะไมไปบดบังการมองเห็นรูปทรงเสนสาย อางอาบน้ำเหล็กไดจากทุกมุมและเมือ่ นำมาวางเรียงกันสามตัวจะสามารถมองเห็น ไดชดั เจนวายังคงสภาพอางอาบน้ำเหล็กไวและขาเกาอีท้ ต่ี ง้ั ใจออกแบบเปนเหลีย่ ม เพราะตองการใหขัดกับขอบอางอาบน้ำเหล็กที่มีลักษณะโคงมน ดังแสดงรูปแบบ โครงสรางไมในรูปที่ 5 โดยเลือกรูปแบบที่เหมาะสมจากที่รูปแบบที่ไดออกแบบ ไว 6 แบบ 48
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
รูปที่ 3 ภาพราง
ภาพที่ 2 แพนดาอัตลักษณของจิตวิญญาณแหงชนชาติ
รูปที่ 4 การรางรูปแบบในดานตางๆ
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
รูปที่ 5 รูปแบบโครงสรางที่เหมาะสม
การออกแบบโครงสรางเพือ่ รองรับการสอดอางอาบน้ำเหล็กเขากับโครงไม - จุดเดนของการออกแบบโครงลักษณะนี้ เพื่อเนนการถอด หรือ ประกอบไดงายไมยุงยากซับซอนเหมาะกับผูใชทั่วไป สะดวกและ ลดภาระเรื่องน้ำหนักในการขนยาย - การออกแบบโครงสรางลักษณะนีจ้ ะแตกตางกับโครงสรางเฟอรนเิ จอร ทั่วๆ ไปในทองตลาดที่สวนมากมีการประกอบที่ตายตัวหรือการ ประกอบที่ยุงยากซับซอนและมีอุปกรณหลายชิ้นในการประกอบ - โครงสรางไมที่มีการถอดประกอบ แยกออกจากอางอาบน้ำเหล็ก ได ทำใหผูใชสามารถที่จะประกอบเองไดโดยงายและยังคงมีความ แข็งแรงในการใชงานโดยไมตองพึ่งพาอุปกรณ ฟตติ้ง (Fitting) ชนิดตางๆ เชน ตะปูเกลียว เปนตน รูปที่ 6 การเขาไมแบบขอตอเดือยไมตลอดทวีศักดิ์ อวมนอย, 2549: 55
เมื่อไดตัวที่นั่งของชุดเกาอี้แลว ขั้นตอนตอไปจะเปนการออกแบบ โครงสรางของขาเกาอี้ เพื่อทดลองหารูปแบบที่เหมาะสมที่สุด เพื่อที่จะนำ ไปพัฒนาในขั้นตอนตอไป ในการออกแบบโครงสรางเกาอี้นั้น ใชวิธีการเขาไมแบบขอตอเดือย ไมตลอด เปน วิธีการบากไมที่ใชทำโครงสรางมาขัดกันโดยใชกาวชวยใน การยึดขอตอใหแนนขึ้น ดังแสดงในรูปที่ 6 ในการออกแบบโครงสรางเกาอี้นั้น นอกจากจะใชวิธีการเขาไมแบบ ขอตอเดือยไมตลอดในการสรางโครงสรางแลวยังออกแบบโครงสรางให สามารถนำอางอาบน้ำเหล็กมาสวมเปนเกาอี้ได โดยไมใชอุปกรณอื่นมา ทำการยึด
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
49
รูปที่ 7 รูปแบบโครงสรางที่เหมาะสม
ขอดีของโครงสรางแบบใชสวม - สามารถถอดหรือประกอบไดงาย - เคลื่อนยายไดสะดวก - ชวยลดน้ำหนักในการขนยาย - โครงสรางในการทำไมซับซอน ในขัน้ ตอนตอไปจะนำโครงสรางของขาเกาอี้ ทีไ่ ดทำการราง รูปแบบเอาไว มาทำการตัดและเชือ่ มใหเปนโครงสรางทีไ่ ดทำการ เลือกรูปแบบไว ดังแสดงในรูปที่ 7 โครงสรางของเกาอี้ดานบนจะทำการปรับแตงโดยการเจรีย ขอบไมใหสามารถสอดรับกับขอบอางอาบน้ำเหล็ก เพือ่ ทีจ่ ะไดนำ อางอาบน้ำเหล็กที่ตัดรอไว มาใสกับโครงไมไดอยางพอดีโดยการ สอดวิธีนี้จึงไมตองใชอุปกรณในการยึด ดังแสดงในรูปที่ 8 ตัวทีน่ ง่ั ของเกาอีท้ ง้ั สามตัวนัน้ ไดทำการการพนสีแบบระบบ พนสีรถยนต (2K) เพื่อใหไดสีที่คงทนตอการใชงาน อีกทั้งสียังมี ความสวยเงางาม และในขัน้ ตอนตอไปจะนำตัวทีน่ ง่ั ของเกาอีแ้ ละ ขาเกาอี้ที่เสร็จสมบรูณแลวนำมาทำการประกอบกันพรอมใสขอบ ยางเพื่อปองกันความคมของอางอาบน้ำเหล็กที่ตัดทั้งยังติดแผน ยางรองขาเกาอี้เพื่อปองกันการขีดขวนบนพื้น ซึ่งเปนการเก็บราย ละเอียดใหงานมีความละเมียดมากขึ้น
50
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
รูปที่ 8 ขั้นตอนการประกอบเกาอี้พรอมเก็บรายละเอียด
รูปที่ 9 ชุดเกาอี้ในหองนั่งเลนจากอางอาบน้ำ
ผลจากการทดลอง อางอาบน้ำเหล็กหนึ่งอางสามารถสรางเปน เกาอี้ได 3 ตัว ดังตอไปนี้ จากรูปที่ 9 ดังแสดงขางตนจะแสดงใหเห็นถึง ชุดเกาอี้ใน หองนั่งเลนจากอางอาบน้ำเหล็ก เมื่อนำมาจัดวางแลวยังดูเรียบ งายเกินไป จึงเกิดความคิดวาอางอาบน้ำเหล็กนอกจากนำมา ประยุคตเปนชุดเกาอี้สำหรับในหองนั่งเลนแลวยังสามารถนำมา ทำเปนตูโชวสำหรับใสของ เพื่อใหเขากับชุดเกาอี้ อีกทั้งยังสราง ความรูสึกเหมือนหองนั่งเลนมากยิ่งขึ้น เมื่อไดแนวทางในการ ออกแบบเฟอรนิเจอรจากอางอาบน้ำเหล็กเพิ่มเติมแลว ขั้นตอน ตอไปจะเปนการออกแบบตูโ ชวสำหรับใสของจากอางอาบน้ำเหล็ก ดังแสดงในรูปที่ 10
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
รูปที่ 10 ตูโชวสำหรับใสของจากอางอาบน้ำ
ฐานรองตูโชวไดใชแนวความคิดในการออกแบบเดียวกับโครง สรางเกาอี้ ดังแสดงในรูปที่ 8 และรูปที่ 9 คือ การออกแบบให สามารถสวมอางอาบน้ำเหล็กเขากับฐานโดยไมตองดัดแปลงหรือใช วัสดุในการยึดจึงงายตอการถอด ประกอบหรือเคลื่อนยายสวนตัว บานตูจะใชการเจาะรูที่อางอาบน้ำเหล็กแลวใชน็อตเกลียวมายึด เพื่อรับน้ำหนักเนื่องจากเปนชั้นวางของจึงใชอุปกรณที่แข็งแรงมายึด ในการรับน้ำหนัก ผลจากการทดลองเพิ่มเติม ไดสรางชิ้นงานที่มีความกลมกลืน กับชุดเกาอี้ และชวยเติมเต็มบรรยากาศและใหความรูสึกเหมือน หองนั่งเลนมากขึ้น
15 รูปที่ 11 การทำฐานตูโชวสำหรับใสของจากอางอาบน้ำ
รูปที่ 12 ชุดเฟอรนิเจอรจากอางอาบน้ำ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
51
สรุปและอภิปรายผล
การอัพไซคลิง (Upcycling) ไมจำเปนตองเลือกใชแตวัสดุ เหลือใชมาผสมกันเทานั้น แตสามารถนำวัสดุเหลือใชมาผสมกับ วัสดุที่ยังใชไดอยูอีกดวย การแทรนซฟอรม (Transform) นั้นเปนการผสมผสานกัน ระหวางของสองอยางขึน้ ไป โดยการทีน่ ำวัสดุหนึง่ อยางมาบวกกับ วัสดุอีกหนึ่งอยาง ที่มีลักษณะตางกันเมื่อนำมารวมกันจะไดเปน วัสดุชิ้นใหมที่มีการใชงาน (Function) แบบใหมตางจากการใช งานแบบเดิม (เชน 1 + 1 ไมจำเปนตองใช 2 แตจะเปน 3 , 4 , 5 หรือ A , B ก็ได) ซึ่งการใชโครงเกาอี้หวายที่พังตรงที่นั่งมาประยุกตกับลูก เทนนิสที่ไมผานQCและลูกเทนนิสที่ไมใชแลว มารอยกันแทน หวายเปนทีร่ องนัง่ ซึง่ ลูกเทนนิสกับโครงเกาอีเ้ กา เปนการอัพไซคลิง (Upcycling) แต ฟงชั่นยังคงเปนเกาอี้อยูเหมือนเดิม เหมือนเปน การซ อ มแซมเก า อี ้ เ ก า มากกว า จึ ง ยั ง ไม ต อบโจทย ก ั บ หั ว ข อ แทรนซฟอรม (Transform) ซึ่งการที่เลือกใชอางอาบน้ำมาผสมกับไม นั้นเปนการ อัพไซคลิง (Upcycling) และอางอาบน้ำผสมกับไมนั้น ไดเปน เกาอีแ้ ละตูว างของ จึงตอบโจทยกบั การ แทรนซฟอรม (Transform) ทำใหการใชงานดาน (Function) เปลี่ยนไป เพราะฟงชั่นเดิมของ อางอาบน้ำคือการใชอาบและนอนแชนำ้ แตฟง ชัน่ ใหมของอางอาบ น้ำมาประยุกตใชกับไม จึงกลายเปนการใชงานดานการนั่งพักผอนและการเก็บของแทน ดังนั้นจุดประสงคหลักของความคิดในการสรางเฟอรนิเจอร ชุดนี้ คือการออกแบบในลักษณะการ อัพไซคลิง (Upcycling) ผสมผสานกับแนวคิด แทรนซฟอรม (Transform) คือ การเพิ่ม คุณคาใหกับวัตถุที่ถูกมองขามและนำวัตถุสองอยางที่มีความแตก ตางกันมาทำการเชื่อมโดยวิธีสวมสอดวัตถุ 2 ชิ้นใหพอดีกัน จึง เกิดเปนเฟอรนิเจอรชุดนี้ขึ้นมา โดยจะคำนึงถึงวัตถุที่ใชจะตองมี ความแข็งแรงพอที่จะรองรับน้ำหนักและการใชงานไดจริงและยัง มีจุดเดนในการออกแบบเกาอี้ ที่สามารถประกอบไดโดยไมใช น็อต ตะปู การเชื่อมหรือวัสดุอื่นในการยึด แตจะใชหลักในการ
เขาไมเพื่อชวยในเรื่องของความคงทนแข็งแรงอีกทั้งยังสามารถเก็ บรายละเอียดไดงายและใชหลักในการสอดอางอาบน้ำเหล็กเขา กับโครงไม วิธีนี้จึงงายตอการถอดหรือการประกอบ ซึ่งคนทั่วๆ ไปสามารถทำการถอดหรือประกอบไดเอง เปนการถอดหรือ ประกอบที่ไมยุงยากซับซอน ขนยายไดสะดวก สามารถลดภาระ เรื่องน้ำหนักในการขนยาย สวนตัวตูใชอางอาบน้ำเหล็กสวมเขา กับตัวฐานไมที่มีการออกแบบรองไวรองรับการสวมกับขอบอาง ขอเสนอแนะเพื่อการนำไปใชประโยชน
แนวความคิดนี้ยังสามารถนำไปพัฒนาเพื่อตอยอดเปน เฟอรนิเจอรที่ทำจากอางอาบน้ำเหล็กในชิ้นตอไปได และยัง เสริมสรางใหบุคคลเห็นคุณคาของสิ่งของ ทั้งยังสงเสริมงานฝมือ ที่ตองใชเวลาในการสราง ชวยลดปญหาเรื่องขยะ และยังสราง โอกาศในการตลาดจากจุดเดนของตัวสินคา และการออกแบบ ขอดีของกระบวนการสรางชิ้นงานชุดนี้ คือ - ประหยัดทุนทรัพย - ใชเวลาในการผลิตสั้นลง - เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม - ถอดและประกอบไดงาย - เคลื่อนยายสะดวกและลดภาระน้ำหนักในการเคลื่อนยาย - เพิ่มมูลคาสินคา กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบพระคุณ : คุณพอ คุณแมและครอบครัว ที่ใหการ สนับสนุนในทุกๆ ดานและเปนกำลังใจมาโดยตลอดจนจบการ ศึกษา ขอขอบพระคุณ : อาจารยทุกๆ ทานที่ใหคำปรึกษาและ คำแนะนำทีด่ ตี ลอดมาและขอขอบพระคุณพีช่ ตุ มิ า (พีต่ ยุ ) สำหรับ ความชวยเหลือดานเอกสารและขอมูลตางๆ สุดทายนี้ขอบคุณ ทุกๆ ทานที่มีสวนเกี่ยวของในการสรางผลงานวิทยานิพนธของ ขาพเจา กฤษณพงศ รื่นเริง ผูวิจัย
บรรณานุกรม ทวีศักดิ์ อวมนอย. 2549. การออกแบบเครื่องเรือน. พิมพครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพมหาวิทยาลัยรังสิต. วัฒนะ จูฑะวิภาต. 2549. ศิลปะและการออกแบบตกแตงภายใน. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ วิทยพัฒน. วิรัตน พิชญไพบูลย. 2527. การออกแบบเครื่องเรือนสมัยใหม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพจุฬา. 52
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
การออกแบบอินเตอรเฟสเพื่อผูพิการทางสายตาประเภทมองห็นเลือนราง Interface Design for Visually Impaired People
นันทิยา ยะประดิษฐ1 ชลฤทธิ์ เหลืองจินดา2 และ ชัยนันท ชอุมงาม3
Abstract
The objectives of this paper was to study the basic elements of art in order to design interface for the visually impaired categorized as vague. The sample was twenty one students who had visual disabilities with low vision case from Pattaya Redemptorist School For The Blind. The tools used in this research were tests, a questionnaire, and an interface design created by the researcher. Percentage, statistical mean and standard deviation were used to analyze the data. Keywords : 1. Interface design, 2. low vision
บทคัดยอ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาองคประกอบพื้นฐานทางเลขนศิลป เพื่อนำไปออกแบบอินเตอรเฟสเพื่อผูพิการทาง สายตาประเภทมองเห็นเลือนราง โดยมีกลุมตัวอยางเปนผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง จากโรงเรียนสอนคนตาบอด พระมหาไถพัทยาจำนวน 21 คนโดยทดสอบจากแบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้น การวิเคราะหขอมูล ใชสถิติรอยละ สถิติคาเฉลี่ย และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแก 1) แบบทดสอบความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทางการออกแบบที่มีตอรูปแบบตัวอักษรและ สัญลักษณในงานออกแบบนิเทศศิลป 2) แบบทดสอบ ความสามารถในการมองเห็นอินเตอรเฟสของผูพิการทางสายตาประเภทมอง เห็นเลือนราง 3) แบบประเมินความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 4) แบบประเมิน คูมือการออกแบบ อินเตอรเฟสเพื่อผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง คำสำคัญ : 1. อินเตอรเฟส
คือ สวนประกอบที่ใชในการออกแบเว็บไซตในดานการออกแบบกราฟก เพื่อการปฏิสัมพันธกับผูใชบริการ 2. ผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง คือบุคคลที่สูญเสียการเห็นไปบางสวน แตไมไดมีสายตาที่บอดสนิท ยังมีการ มองเห็นที่หลงเหลืออยู สามารถดำเนินชีวิตอยูรวมในสังคมและสื่อสารกับคนทั่วไปไดอยางปกติ
บทนำ
ผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง คือบุคคลที่สูญเสียการเห็นไปบางสวน แตไมไดมีสายตาที่บอดสนิท ยังมีการมอง เห็นที่หลงเหลืออยู แตการมองเห็นที่เลือนรางนั้น มีความจำเปนที่ตองใชสายตามากกวาคนปกติหลายเทา ปจจุบันนี้ผูพิการทางสาย ตาประเภทมองเห็นเลือนราง สามารถดำเนินชีวิตอยูรวมในสังคม สามารถสื่อสารและเรียนรวมกับคนทั่วไปไดอยางปกติ ผูพิการ ประเภทมองเห็นเลือนรางอาศัยดวงตาเพื่อการมองเห็นรับรูสิ่งตางๆรอบตัว เพื่อการสังเกต จดจำ และเรียนรูสิ่งแวดลอม ตลอดจน ศึกษาเลาเรียนเชนเดียวกับคนปกติได รวมทั้งการเรียนรูเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร การเขาถึงสื่อทางคอมพิวเตอร จะชวยใหคน
1 2 3
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2554 ดร.,อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร รศ.,อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
พิการมีสวนรวมทางสังคม สรางความเสมอภาคทางโอกาสแตการมองเห็นที่เลือนรางนั้น มีความจำเปนที่ตองใชสายตามากกวาคน ปกติหลายเทา สื่อทางคอมพิวเตอรที่ออกแบบดวยองคประกอบที่รองรับการใชงานจากผูพิการทางสายตาประเภทเห็นเลือนราง เชน ประเภทตัวอักษร ขนาดตัวอักษร สีตัวอักษร ขนาดภาพ การจัดวางภาพ สีพื้นหลัง จะสามารถทำใหผูพิการประเภทมองเห็นเลือน ราง มีประสิทธิผลในการใชงานไดมากขึ้น ทำใหขอจำกัดทางการรับรูหมดลงไป ผูพิการประเภทมองเห็นเลือนรางจะไดรับประโยชน และมีสิทธิในการรับรูขอมูลขาวสารอยางแทจริง วัตถุประสงค
1. เพือ่ ศึกษาองคประกอบพืน้ ฐานทางเลขนศิลป เพือ่ นำไปออกแบบอินเตอรเฟสเพือ่ ผูพ กิ ารทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง
วิธีการวิจัย
1. ศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของ 2. รวบรวมประเภทตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ แบงตามลักษณะตัวอักษร และสัญลักษณรูปรางพื้นฐานทางการออก แบบเลขศิลป แบงตามหลักการออกแบบเลขศิลปเบื้องตน ไดแก เสนตรง เสนโคง วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม อิสระ 3. นำแบบตัวอักษรและสัญลักษณทร่ี วบรวม ไปขอความอนุเคราะหจากผูเ ชีย่ วชาญทางการออกแบบ 6 ทาน ในการใหดลุ ยพินจิ คัดเลือกตัวแทนตัวอักษรและสัญลักษณ 4. นำตัวอักษรและสัญลักษณที่ไดคัดเลือก มาสรางแบบทดสอบ เพื่อศึกษาความ สามารถในการมองเห็น 5. นำแบบทดสอบไปตรวจสอบความเที่ยงตรง ผูเชี่ยวชาญทางดานการแพทย ดานจักษุแพทย 1 ทาน ผูเชี่ยวชาญดานการ ออกแบบ 6 ทาน 6. นำแบบทดสอบไปทดสอบกับกลุมตัวอยาง คือผูพิการทางสายตาประเภทมอง เห็นเลือนราง จากโรงเรียนสอนคนตาบอด พระมหาไถพัทยาจำนวน 21 คน โดยกำหนดระยะการทดสอบการมองเห็นหางจากจอคอมพิวเตอร 50 เซนติเมตร 7. นำผลที่ไดจากการทดสอบมาศึกษาวิเคราะหการใชตัวอักษรและสัญลักษณรูปรางพื้นฐาน ที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารกับ ผูพ กิ ารทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง นำขอมูลมาสรางคูม อื การออกแบบอินเตอรเฟสเพือ่ ผูพ กิ ารทางสายตาประเภทมอง เห็นเลือนราง 8. นำคูม อื ไปใหผเู ชีย่ วชาญทางดานการออกแบบ 6 ทาน ประเมินความพึงพอใจทีม่ ตี อ คูม อื การออกแบบอินเตอรเฟสเพือ่ ผูพ กิ าร ทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง 9. นำผลการประเมินและขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบ 6 ทาน มาปรับปรุงคูมือใหสมบูรณยิ่งขึ้น
วิธีดำเนินการวิจัย
กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก ผูพิการทางสาย ตาประเภทมองเห็นเลือนราง ระดับที่ 1 ที่สามารถอานหนังสือได 1.1 ระเบียบวิธีวิจัย ผูวิจัยใชระเบียบวิธีวิจัย แบบ การวิจัยประยุกต จากโรงเรียนสอนคนตาบอดพระมหาไถ พัทยา จำนวน 21 คน 2. ขอมูลที่ใชในการวิจัย (APPLIED RESEARCH) ซึ่งมุงนำผลวิจัยไปปรับปรุงการออกแบบ 2.1 ขอมูลประเภทเอกสาร แบงเนือ้ หาออกเปน 5 สวน อินเตอรเฟส เพื่อใหผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง ไดแก การออกแบบอินเตอรเฟส การออกแบบนิเทศศิลป โรคสาย สามารถรับรูขอมูลไดมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตาเลือนราง ทฤษฎีการรับรู และวิจัยที่เกี่ยวของ 1.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง 2.2 ขอมูลประเภทบุคคลไดแก ประชากรทีใ่ ชในการวิจยั ครัง้ นีไ้ ดแก ผูพ กิ ารทางสาย ตาประเภทมองเห็นเลือนราง ระดับที่ 1 ที่สามารถอานหนังสือได 1. ระเบียบวิธีวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง
54
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
2.2.1 ผูเชี่ยวชาญทางการแพทย พญ.สุมาลิน ตรัยไชยาพร จักษุแพทย 2.2.2 กลุมผูเชี่ยวชาญทางการออกแบบ ไดแก นัก ออกแบบที่มีประสบการณทางการออกแบบนิเทศศิลป จำนวน 6 ทาน ดังนี้ 1. นายไพโรจน ธีระประภา ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบตัวอักษร 2. นายพีรพล วังสริยวรรณ ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ multimedia 3. นายเทวฤทธิ์ นาวารัตน ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ multimedia 4. นางสาวรุจิสา เทพมงคล ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ multimedia 5. นางสาวอนงคนาฏ วิวัฒนานนท ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบหนังสือ 6. นางสาวธนกร มิ่งขวัญ ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ website 2.2.3 คุณครูโรงเรียนสอนคนตาบอดพระมหาไถพทั ยา 2.2.4 กลุมตัวอยาง คือ ผูพิการทางสายตาประเภท มองเห็นเลือนราง ระดับที่ 1 ทีส่ ามารถอานหนังสือได จากโรงเรียน สอนคนตาบอดพระมหาไถพัทยา จำนวน 21 คน
การสรางเครื่องมือในการวิจัย มีดังนี้ 1. นำแบบสอบถามไปขอความอนุเคราะหจากผูเชี่ยวชาญ ทางการออกแบบนิเทศศิลป จำนวน 6 ทาน ในการใชดุลยพินิจ เลือกชุดตัวอักษร และสัญลักษณ โดยนำผลรวมของความคิดเห็น ไปวิเคราะหดวยคารอยละ 2. นำแบบทดสอบการมองเห็นอินเตอรเฟส ไปขอความ อนุเคราะห จากจักษุแพทยและนักออกแบบ รวม 7 ทาน ในการ ใชดุลยพินิจตรวจสอบความเที่ยงตรง ประเมินแบบทดสอบ กอน นำแบบทดสอบไปใชจริง 3. นำขอเสนอแนะ มาปรับปรุงแบบทดสอบ และนำไป ทดสอบกับผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนรางที่โรงเรียน สอนคนตาบอดพระมหาไถพัทยา จำนวน 21 คน นำผลการ ทดสอบมาวิเคราะหผลโดยคาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน รายหัวขอ 4. นำคูมือการออกแบบอินเตอรเฟส เพื่อผูพิการทางสายตา ประเภทมองเห็นเลือนราง ที่ประกอบดวยการใชตัวอักษร ขนาด ประเภทตัวอักษร การใชสีกับตัวอักษร และความหนาบางของ สัญลักษณรูปราง ตัวอยางการออกแบบอินเตอรเฟส ไปขอความ อนุเคราะหผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบนิเทศศิลป จำนวน 6 ทาน ประเมินความพึงพอใจตอคูม อื การใชงาน โดยหาคาเฉลีย่ และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานรายหัวขอ
3. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
4. ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ มีจำนวน 4 ชุด ดังนี้ 4.1 รวบรวมขอมูล 3.1 แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเ ชีย่ วชาญทางการ 4.1.1 ขอมูลเอกสาร รวบรวมจาก หนังสือ บทความ ออกแบบที่มีตอรูปแบบชุดตัว อักษร และสัญลักษณรูปรางในงาน เอกสาร เว็บไซต และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษา แบงเปน ออกแบบนิเทศศิลป การออกแบบอินเตอรเฟส การออกแบบนิเทศศิลป และโรคสาย 3.2 แบบทดสอบความสามารถในการมองเห็น อินเตอรเฟส เปนการทดสอบความสามารถในการมองเห็น โดย ตาเลือนราง 4.1.2 ขอมูลบุคคล ดังนี้ มีความความสัมพันธระหวางระยะการมองเห็นจากจอคอมพิวเต 1. คุณครูโรงเรียนสอนคนตาบอดพระมหาไถพัทยา อรระยะหาง 50 เซนติเมตร กับขนาดตัวอักษร สี และความหนา 2. ผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนรางจาก บางของสัญลักษณรูปราง โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ 3.3 แบบประเมินความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ กับ 3. จักษุแพทย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 4. ผูเชียวชาญดานการออกแบบ 3.4 แบบประเมินความพึงพอใจของผูเ ชีย่ วชาญตอคูม อื การออกแบบอินเตอรเฟส เพื่อรองรับการใชงานจากผูพิการทาง สายตาประเภทมองเห็นเลือนราง
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
55
4.2 วิเคราะหขอมูล 4.3 ดำเนินการวิจัยดังนี้ 4.3.1 ศึกษาและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ 4.3.2 รวบรวมรูปแบบชุดตัวอักษร และสัญลักษณ รูปรางพื้นฐานที่ใชในงานออกแบบนิเทศศิลป นำมาคัดเลือกจัด กลุมตามประเภท 4.3.3 นำชุดตัวอักษร และสัญลักษณ ที่จัดกลุมตาม ประเภท ไปขอความอนุเคราะหจากผูเชี่ยวชาญจำนวน 6 ทาน ในการใหดุลยพินิจพิจารณาคัดเลือกตัวอักษร และสัญลักษณ 4.3.4 นำชุดตัวอักษรและสัญลักษณ ที่ไดจากการ คัดเลือกมาสรางแบบทดสอบ เพื่อนำไปทดสอบความสามารถใน การมองเห็น ความสัมพันธระหวางแบบตัวอักษร ขนาด สี ความ หนาบางของสัญลักษณ และระยะการมองเห็นจากจอคอมพิวเตอร ของผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง 4.3.5 นำแบบทดสอบไปตรวจสอบความเที่ยงตรง จากผูเชี่ยวชาญทั้ง 7 ทาน ไดแก จักษุแพทย 1 ทาน และนัก ออกแบบ 6 ทาน 4.3.6 นำแบบทดสอบไปทดสอบกับกลุม ตัวอยาง คือ ผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง ระดับที่ 1 โรงเรียน สอนคนตาบอดพระมหาไถพัทยา จำนวน 21 คน 4.3.7 นำผลที่ไดจากแบบทดสอบมาวิเคราะหผล และจัดทำคูมือการออกแบบอินเตอรเฟส เพื่อรองรับผูพิการทาง สายตาประเภทมองเห็นเลือนราง 4.3.8 นำคูมือการออกแบบอินเตอรเฟส เพื่อรองรับ ผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง ไปใหผูเชี่ยวชาญ ประเมินทางดานการออกแบบ 6 ทาน ความพึงพอใจ 4.3.9 นำผลการประเมินความพึงพอใจและขอเสนอ แนะ ของผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบ 6 ทาน มาปรับปรุง คูมือใหสมบูรณยิ่งขึ้น
( S.D. ) โดยมีเกณฑการวัดระดับความชัดเจนในการมองเห็น ดังนี้ คาเฉลี่ย
0.00 - 1.40 1.41 - 2.80 2.81 - 4.20 4.21 - 5.60 5.61 - 7.00
ระดับความชัดเจนในการมองเห็น
นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด
5.3 วิเคราะหระดับการประเมินของผูเชี่ยวชาญ ที่มี เกี่ยวกับแบบทดสอบและคูมือการออกแบบอินเตอรเฟส เพื่อรอง รับผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง โดยใชคาเฉลี่ย (x) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D. ) โดยมีเกณฑการวัด ระดับคุณภาพของแบบทดสอบและคูมือการออกแบบดังนี้ คาเฉลี่ย
1.00 - 1.80 1.81 - 2.60 2.60 - 3.40 3.41 - 4.20 4.21 - 5.00
ระดับคุณภาพของแบบทดสอบ
นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด
เนื้อหาบทความวิจัย ผลการวิจัย
1. ชุดตัวอักษร จากผลการวิจัยพบวา ตัวอักษรขนาดเล็กที่สุดที่ผูพิการทาง สายตาประเภทมองเห็นเลือนราง สามารถอานออกไดในระยะหาง จากจอคอมพิวเตอร 50 เซนติเมตร 1.1 ชุดตัวอักษรภาษาไทย 5. สถิติที่ใชในการวิจัย ชุดตัวอักษรภาษาไทย แบบมาตรฐาน ขนาด 64 pt 5.1 วิเคราะหขอมูลของผูเชี่ยวชาญทางดานการออก หรือตัวอักษรที่มีความสูงประมาณ0.91เซนติเมตร แบบในการคัดเลือกชุดตัวอักษร และสัญลักษณ ดวยสถิติคารอย ละ (Percentage) 5.2 วิเคราะหขอมูลจากการทดสอบความสามารถใน การมองเห็นชุดตัวอักษรและสัญลักษณรปู ราง ของผูพ กิ ารทางสาย ตาประเภทมองเห็นเลือนราง ดวยคาสถิติ รอยละ ( Percentage ) และประเมินความสามารถในการเห็นตัวอักษร บนพืน้ หลังทีม่ คี วาม เขมระดับสีตางๆ โดยใชคาเฉลี่ย (x) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาพที่ 1 ชุดตัวอักษร Cordia New ตัวอยางของชุดตัวอักษรภาษาไทยแบบมาตรฐาน
56
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
1.2 ชุดตัวอักษรภาษาอังกฤษ ชุดตัวอักษรภาษาอังกฤษ แบบ serif ขนาด 52 pt หรืออักษรที่มีความ สูงประมาณ 0.86 เซนติเมตร
ภาพที่ 2 ชุดตัวอักษร Time New Roman ตัวอยางชุดตัวอักษรภาษาอังกฤษแบบ serif
ชุดตัวอักษรแบบ san-serif ขนาด 48 pt หรืออักษรทีม่ คี วามสูงประมาณ 0.89 เซนติเมตร
ภาพที่ 3 ชุดตัวอักษร Tahoma ตัวอยางชุดตัวอักษรภาษาอังกฤษแบบ san-serif
ชุดตัวอักษรแบบ display ขนาด 68 pt หรืออักษรที่มีความสูงประมาณ 0.85 เซนติเมตร
ภาพที่ 4 ชุดตัวอักษร DB Erawan ตัวอยางชุดตัวอักษรภาษาอังกฤษแบบ script
2. ผลการทดสอบความสามารถในการมองเห็นเสนสัญลักษณ จากการวิจยั พบวา ระดับความหนาบางของเสนสัญลักษณแบบเสนตรง เสนโคง สามเหลีย่ ม สีเ่ หลีย่ ม วงกลม และแบบอิสระ ทีร่ ะดับบางทีส่ ดุ ทีผ่ พู กิ ารทางสายตา ประเภทมองเห็นเลือนราง สวนใหญสามารถมองเห็นไดชดั เจนคือ ขนาด 3 pt
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
57
ภาพที่ 5 แสดงขนาดความหนาบางของสัญลักษณ 1) เสนตรง 2 ) เสนโคง ) 3) วงกลม4) สามเหลี่ยม 5) สี่เหลี่ยม 6 ) อิสระ
ผลที่ไดจากการวิจัย
ผูวิจัยไดนำผลจากการศึกษาวิจัยนี้มาสรางเปนคูมือ "การออกแบบอินเตอรเฟสเพื่อผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง" ซึ่งประกอบไปดวยขอมูลการออกแบบพื้นฐาน คือ ประเภทตัวอักษร ขนาดตัวอักษร ความหนาบางของเสนสัญลักษณ อันจะเปน แนวทางออกแบบสำหรับนักออกแบบ ที่ตองการออกแบบเพื่อผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง ไดใชงานตอไป
ภาพที่ 6 แสดงภาพปกคูมือการออกแบบอินเตอรเฟสเพื่อผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง
อภิปรายผลการวิจัย
การวิจยั ครัง้ นีม้ ผี ลการวิจยั ตรงตามวัตถุประสงคในการศึกษาและตรงตามสมมุตฐิ านทีต่ ง้ั ไว โดยศึกษาทฤษฏีและงานวิจยั อืน่ ๆ ที่เกี่ยวของ นำมาวิเคราะหเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยครั้งนี้พบวา ปจจัยที่มีผลตอการมองเห็นอินเตอรเฟสของผูพิการทางสายตา ประเภทมองเห็นเลือนราง ไดแก ระยะการมองเห็น รูปแบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร สีตัวอักษร สีพื้นหลัง ความหนาบางของเสน สัญลักษณ ปจจัยทั้งหมดนี้เอื้อตอการมองเห็นที่ชัดเจนขึ้น สงผลตอประสิทธิภาพของงานออกแบบอินเตอรเฟส งานวิจัยนี้ เปนเพียง ตนแบบและสวนหนึง่ ของการออกแบบอินเตอรเฟสเพือ่ ผูพ กิ ารทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนรางแตในการศึกษาเบือ้ งตนครัง้ นีส้ ามารถ นำองคประกอบพื้นฐานเลขนศิลป ไปพัฒนาตอยอดใชในงานออกแบบอินเตอรเฟสได และอาจเปนแนวทางในการศึกษา และพัฒนา การออกแบบอินเตอรเฟส เพื่อผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนรางตอไปในอนาคต เพื่อความเสมอภาคทางสังคมของคน พิการได 58
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ขอเสนอแนะ
1. ผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนราง ตองใชรูป แบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร และขนาดของเสนรูปรางพื้นฐานที่ เอื้อตอการมองเห็นชัดเจนจะชวยใหงานออกแบบสามารถสื่อสาร ไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงควรมีการศึกษาการออกแบบ เว็บไซตหรือสื่อทางคอมพิวเตอรตอเนื่องไป ที่ออกแบบมาเพื่อ รองรับผูพิการทางสายตาประเภทมองเห็นเลือนรางโดยตรง เพื่อ พัฒนาศั ก ยภาพของผูพิการ และสนับสนุนสังคมแหงความ เทาเทียม 2. ดานรูปแบบของตัวอักษร ผูพ กิ ารทางสายตาประเภทมอง เห็นเลือนรางสามารถอานชุดตัวอักษร ไดเฉพาะแบบที่มีความคุน เคย จากแบบเรียนมาตรฐานที่ทางโรงเรียนเปนผูสอนเทานั้นหาก เปนชุดตัวอักษร ที่มีการออกแบบดัดแปลงใหสวยงามแตมีความ ซับซอนหรือดูผิดแปลกไปจากชุดตัวอักษรธรรมดา ผูพิการทาง สายตาประเภทมองเห็นเลือนรางจะไมสามารถอานออกได แมจะ มีขนาดใหญ ดังนั้นในการนำไปออกแบบจึงควรระวังในจุดนี้
กิตติกรรมประกาศ
ผูวิจัยขอขอบพระคุณคณาจารย สาขาวิชาการออกแบบ นิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูประสิทธิประสาทวิชาความรู ขอขอบพระคุณอาจารยทป่ี รึกษา อาจารยดร.ชลฤทธิ์ เหลืองจินดา ที่ชวยผลักดันใหคำปรึกษาและใหเวลาจนวิจัยนี้สำเร็จลุลวงได ผูว จิ ยั ขอขอบพระคุณ ผูเ ชีย่ วชาญทัง้ 7 ทาน ทีช่ ว ยใหคำแนะ นำ จนวิจัยบรรลุผล ขอบพระคุณโรงเรียนสอนคนตาบอดพระ มหาไถพัทยา ที่อนุญาตและใหความอนุเคราะหในการเก็บรวบ รวมขอมูลเปนอยางดี ขอขอบคุณเด็กนักเรียนผูพิการทางสายตา ประเภทมองเห็นเลือนราง ที่ใหความรวมมือในการทดสอบอยาง ดีทุกประการ ผูวิจัยขอบคุณพอและแม ที่สนับสนุนกำลังทรัพย และกำลัง ใจลูก เสมอมา
บรรณานุกรม ณรงค ล้ำดี. 2550. การออกแบบอินเตอรเฟส Interface Design. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ แอนด คอนชล ทองเจือ เขียดทอง. 2548. การออกแบบสัญลักษณ. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สิปประภา นิลวรรณ ศิริคูณและคณะ. 2553. ความรูเพื่อการดูแลรักษาตา. กรุงเทพ ฯ : เอช เอ็น การพิมพ ประชิด ทิณบุตร. 2530. การออกแบบกราฟค Graphic Design. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร 15 ปราโมทย แสงพลสิทธิ์. 2540. การออกแบบนิเทศศิลป1 Visual communication design 1. กรุงเทพฯ : คณะศิลปกรรมศาสตร มูลนิธิชวยคนตาบอดแหงประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ. 2540. ยิ้มสู . กรุงเทพฯ : เวอรโกอารตกิลด วรพงศ วรชาติอุดมพงศ. 2535. บทความรูทางดานการออกแบบพาณิชยศิลปออกแบบกราฟก. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร วรพงศ วรชาติอุดมพงศ. 2535. อักษรประดิษฐ Lettering Design. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร วิรุณ ตั้งเจริญ. 2526. การออกแบบ. กรุงเทพฯ : วิฌวลอารต ศิริพรณ ปเตอร. 2549. ออกแบบกราฟก Graphic Design. กรุงงเทพฯ : โอเดียนสโตร. ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ, ณัฐพล วงษคำชาง และภาคภูมิ คัมภีรพันธุ. (2549).ตำราสายตาเลือนรางการดูแลรักษาและฟนฟู.กรุงเทพ: ภาคจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เอื้อเอ็นดู ดิศกุล ณ อยุธยา. 2541. หลักของรูปทรงและการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ฮอรตัน,เจ. เคิรด และ เรนน ฟูลเลอร. 2543. คำแนะนำในการชวยเหลือคนตาบอดประเภทมองเห็นเลือนรางเพื่อใหทำสิ่งตางๆไดดีขึ้น. แปลโดย แฉลม แยมเอี่ยม. ม.ป.ท.
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
59
60
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
การออกแบบแอนิเมชัน กรณีศึกษาการใชชีวิตอยางมีความสุข Animation Designing about Joy of living
ภัทรวินท รัศมีแพทย1 พิศประไพ สาระศาลิน2 และ ชัยพร พานิชรุทติวงศ3
Abstract
The objectives of this thesis entitled “Animation Designing about joy of living” were to study the purpose of living. The human nature always to avoid all distress and wants happiness, but presently it’s a lot problem that inevitably canvas human distress. To deal with the pain to get the pleasure are different for everybody some can find happiness but the others can't, and theregore fall into distress. The experimentation is focusing on designing the identity of the charactor through the process of sketching, and spontaneous type of painting in order to express the feeling of joy and playfulness. Moreover, the environment of the overall animation were designed in harmonious with the content as much as possible. Keywords : 1. Animation, 2. happiness
บทคัดยอ
โครงการ การออกแบบแอนิเมชันศึกษากรณีการใชชีวิตอยางมีความสุข มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเรื่องความสุขและ จุดมุง หมายของชีวติ มนุษย ธรรมชาติของมนุษย ตองการหลีกหนีความทุกข แสวงหาความสุขอยูเ สมอ อยางไรก็ตามในสังคมปจจุบนั ไดเกิดปญหานานัปการสงผลใหผูคนตองตกอยูภายใตความทุกขอยางหลีกเลี่ยงไมได การจัดการกับความทุกขเพื่อใหไดมาซึ่งความ สุข ของแตละบุคคลก็แตกตางกันตามประสบการณ สภาพแวดลอม การอบรมเลีย้ งดู และลักษณะอุปนิสยั สวนบุคคล บางคนสามารถ เอาชนะความทุกขและคนพบความสุขที่ สวนบางคนก็ตกอยูในวังวนแหงความทุกขอยางไมสามารถหาทางออกได ผลการทดลองสรางแอนิเมชัน ศึกษากรณีการใชชีวิตอยางมีความสุขไดเลือกใชการออกแบบการเลาเรื่อง เพื่อใหผูดูทุกเพศทุก วัยสามารถเขาใจและสามารถสัมผัสถึงอารมณ และความรูสึกของความสุข โดยการศึกษาทดลอง เนนเรื่องการออกแบบคาแรกเตอร การสรางเอกลักษณะเฉพาะ เชน การใชลายเสนแบบสเก็ต การใชสีในลักษณะอิสระ เพื่อสรางความรูสึกสนุก และมีความสุข การ ออกแบบ บรรยากาศ และสีสัน ใหมีความสอดคลอง และประสานกลมกลืนกันกับเนื้อเรื่องใหมากที่สุด คำสำคัญ : 1. แอนิเมชัน, 2.
ความสุข
บทนำ
มนุษย เปนสัตวชนิดเดียวที่มีคุณสมบัติในการรูคิดสิ่งที่เกี่ยวกับระบบคุณคา และสิ่งที่เปนนามธรรม ซึ่งลักษณะพิเศษดังกลาวนี้ อาจเรียกไดวาเปนสิ่งที่ทำใหมนุษยแตกตางจากสัตวอยางสิ้นเชิง ระบบคุณคาดังกลาว ไดแก ความดี ความถูกตอง คุณธรรม รวม ถึงความสุข(รัญญา ธนกุลภารัชต 2547 : 10)
1 2 3
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอรอารต มหาวิทยาลัยรังสิต รศ.,อาจารยประจำหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอรอารต มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารยประจำหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอรอารต มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความสุขนั้น เมื่อมองตามทัศนะของคนในอดีตและปจจุบัน มักเกิดปญหาขึ้นมาวา เปนความรูสึกทางดานรางกาย หรือเปน ความรูสึกทางดานจิตใจ เมื่อปญหาเชนนี้เกิดขึ้นแลวจึงเปนสาเหตุใหตองถกเถียงหรือแสดงเหตุผล ทำใหเรื่องยืดยาวออกไป เนื่อง จากแนวคิดในเรื่องนี้มีความแตกตาง ทำใหเปนเรื่องไมมีที่สิ้นสุด แตอยางไรก็ดี ตางพยายามที่จะทำความเขาใจและคนหาความ จริงวา ความสุขคืออะไร เพราะความสุขเปนสิ่งสำคัญสำหรับมนุษยและมนุษยทุกคนลวนแตตองการความสุข เกลียดความทุกข ดวยกันทั้งสิ้น ดังนั้น การแสวงหาความสุขใหแกตนเอง จึงเปนกิจกรรมอันหนึ่งที่บังเกิดขึ้นตั้งแตเริ่มตนมีมนุษยเรื่อยมา จนกระทั่ง ถึงปจจุบันเพื่อตอบสนองความตองการของชีวิตเพราะมนุษยเปนสัตวที่มีอุดมคติในชีวิตซึ่งแตละคนลวนมีเปาหมายชีวิตที่แตกตางกัน ไปแตสิ่งสุดทายของเปาหมายนั้น เมื่อมองตามทัศนะของปรัชญาสุขนิยม คือ ความสุขนั่นเอง (พระมหาจรัญ คมภีโร 2547 : 1) ปจจุบันผูคนมีความทุกขกันมาก เพราะประสบกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ทำใหเกิดปญหานานัปการ เชน การถูกออกจากงาน ถูกลดเงินเดือน คาครองชีพสูง รายไดไมพอกับรายจาย เปนตน จึงกอเกิดความเครียด ความทุกขยากเดือดรอนตางๆ ดังที่ทราบ กันอยู ในยามวิกฤตเชนนี้ผูคนพยายามแสวงหาวิธีการ แนวทางหรือแสงสวางใหกันตนเอง บางคนก็พอทางสวาง บางคนยิ่งมืดบอด มองไมเห็นหนทาง ความเจริญและความเสื่อมเปนธรรมดาของโลก เศรษฐกิจตกต่ำเปนธรรมดาของโลก สิ่งที่สำคัญคือตองรักษาใจ ของตัวเองอยาใหตกต่ำไปตามเศรษฐกิจ (พระราชวรมุนี 2541 : 11) แอนิเมชัน(Animation) เปนสื่อที่มีความนาสนใจ, เปนสื่อที่เขาใจงาย และเปนสื่อขามวัฒนธรรมที่สามารถเขาถึงคนตางชาติ ตางภาษาที่มีวัฒนธรรมแตกตางกัน ใหมีความเขาใจรวมกันถึงสิ่งที่ปรากฎอยูในแอนิเมชัน ทั้งเนื้อหา เรื่องราว แมแตแนวคิดนาม ธรรมยังถูกถายทอดใหเขาใจไดงายเมื่อถูกสื่อสารเปน แอนิเมชัน ทั้งนี้โดยคุณสมบัติพิเศษของแอนิเมชัน ที่สามารถพรรณนาหรือ บรรยายกระบวนการที่ซับซอนใหเห็นไดอยางเขาใจงาย อีกทั้งยังเนนสวนที่สำคัญโดยสี หรือเสียง และใชจินตนาการอยางไมมีขอบ เขต จึงเสริมจินตนาการ และการตีความหมายที่เปนนามธรรมของผูชม(อนุชา เสรีสุชาติ 2548 : 1) ผูศึกษาจึงเกิดความสนใจที่จะนำสื่อดานแอนิเมชัน มาใชในการนำเสนอแอนิเมชั่น โดยสอดแทรกแงคิดใหผูชมเขาใจถึงการใช ชีวิตอยางมีความสุข แนวคิดในการขจัดความทุกข และสามารถใชชีวิตอยางมีความสุขตอไป เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
วัตถุประสงคของการศึกษาวิจัยนี้ เพื่อออกแบบและผลิตแอนิเมชันที่นำเสนอแงคิดในเชิงบวก ซึ่งทำไดยากในขณะที่ตนเองจม อยูในความคิดดานลบ โดยผลงานที่เกี่ยวของเพื่อเปนพื้นฐานและแนวทางในการวิจัย โดยมีเนื้อหาสาระที่สำคัญ ดังนี้ 1 แนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องความสุข แนวคิดที่เกี่ยวของกับ "ความสุข" สามารถประมวลได ดังนี้ 1.1 ความสุขในทัศนะของนักศาสนา และนักปรัชญาในซีกโลกตะวันออก 1.1.1 ความสุขตามแนวทางปรัชญาในสมัยกอนพุทธองคในยุคกอ นพุทธองค ผูค นตา งใหค วามสนใจในวิชาธรรมกันมาก ปรากฏมีเจาลัทธิตางๆ มากมาย ไดกําหนดความปรารถนาตอความเกิด ความตาย และสุขทุกขตาง ๆ เปนเหตุใหกลาวถึงสุขทุกข แตกตางกัน คือ สุขทุกขไมมีเหตุ ปจจัย สัตวจะไดสุขไดทุกขก็ไดเอง และ สุขทุกขมีเหตุปจจัย สัตวจะไดสุข และ ทุกขเพราะเหตุ ปจจัย จะเห็นไดวา "สุขทุกข" มีการกลาวถึงไวอยางชัดเจนตามปรัชญา พราหมณ ตั้งแตสมัยยุค กอนพุทธองค จนกลายเปนหนึ่งใน มูลเหตุจูงใจใหพระพุทธองคทรงออกผนวช 1.1.2 ความสุขในทัศนะของพุทธศาสนาความสุข มีความสําคัญมากตอการปฏิบัติธรรม พระพุทธศาสนา เนนย้ำถึง "โลกธรรม" กลาวคือ ธรรมที่ครอบงําสัตวโลกอยู และสัตวโลกยอม เปนไปตามธรรม อันประกอบดวย อารมณที่นาปรารถนา (อิฏฐารมณ) ไดแก ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ฯลฯ และอารมณที่ไมนาปรารถนา (อนิฏฐารมณ) ไดแก เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข ฯลฯ เมื่ออยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้น ใหพิจารณาวา ไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา อยายินดีในสวนที่นา ปรารถนาอยายินรายในสวนที่ไมนาปรารถนา (พระครูวิสุทธิสุตคุณ, 2550)
62
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
1.1.3 ความสุขในทัศนะของนักปรัชญา ตะวันออก :อินเดีย ปรัชญาตะวันออกมีมากมายหลายสํานักที่สําคัญ ไดแ ก ปรัชญายุคพระเวท ปรัชญาจารวาก และปรัชญาเซน เปนตน 1) ปรัชญายุคพระเวท (เริ่มตนประมาณ 1,000 ป กอน พุทธกาล) ในคัมภีรสุตตนิบาต พราหมณธัมมิกสูตร ไดพรรณนา ใหเห็นชีวิตความเปนอยูของนักปราชญไววา ปราชญโบราณเหลา นี้เปนนักพรต พวกเขาฝกการควบคุมตนเอง หลีกเลี่ยงความสุข ทางผัสสะทัง้ 5 ทรัพยส มบัตขิ องพวกเขามิไดประกอบดว ยฝูงสัตว เงินทองหรือขาวเปลือก แตประกอบดวยความบริสุทธิ์และ การ ศึกษาหาความรู (Dutt, Nalinaksha, 1960: 2) นักปรัชญายุคพระเวท มิไดใหความสําคัญกับความสุขทาง ผัสสะ แตมุงที่จะทําจิตของตนใหบริสุทธิ์และการศึกษาหาความรู อันเปนกิจกรรมทางปญญา จุดประสงคของการปฏิบัติ เปนไป เพื่อชีวิตหน็า กลาวคือ เมื่อรางกายดับจากโลกนี้ไปแลว ก็จะได ไปเกิดในสวรรค การปฏิบตั ิ ตา ง ๆ เชน การบําเพ็ญพรต ภาวนา การประกอบพิธีบูชายัญ การศึกษาคัมภีร พระเวท ฯลฯมีจุดมุง หมาย เพื่อทําใหวิญญาณบริสุทธิ์ โดยความสุขสูงสุดอยูที่การได ไปเกิดในสวรรค 2) ปรัชญาจารวาก เปนปรัชญาวัตถุนิยม (สันนิษฐานวาเปน ลัทธิที่ ขึ้นเกิด กอนพุทธศาสนา ในประเทศอินเดีย) คําสอนเนน ถึงในเรื่องความสุข ความสําราญทางโลก กลาวคือ สิ่งที่เรารับรู ทางประสาทสัมผัสเทานั้นที่เปนจริง สิ่งตาง ๆ ประกอบขึ้นจาก ธาตุ 4 (ดิน น้ำ ลม ไฟ) แมกระทั่งจิตหรือวิญญาณของมนุษย ไมมีโลกหนา ไมมีชีวิตหลังตาย ความสุขคือจุดหมายสูงสุดของ ชีวิต ความตายคือโมกษะ (หลุดพน) ในขณะที่มีชีวิตอยูจึงควร แสวงหาความสุข ความบันเทิงเริงรมยแกตัวเองใหมากที่สุด โดย เนนความสุขของแตละบุคคล (สุจิตรา ออนคอม, 2523: 21-22) 3) ปรัชญาเซน มีทัศนะเกี่ยวกับความสุขวา การที่บุคคล หมกมุนอยู กับความสุขความสําราญจะทําใหวิญญาณหรือชีวะ เสียสถานะดั้งเดิมของตนและตกอยูใตอํานาจของวัตถุ ซึ่งกรรม เปนตัวสรางขึ้นมาคุมขังชีวะไวกับภพ กรรมเปนวัตถุแทรกซึมอยู ในชีวะทั้งหมด และทําใหชีวะมีน้ำหนักตกลงสูระดับ โลกีย (ชีวะ มีพันธะ) ทําใหตองเวียนวายตายเกิดอีก จุดมุงหมายของชีวิตจึง ไดแกการทําตนใหพนจากกรรม (ชีวะเปนอิสระ) ดวยมรณกรรม ไดในที่สุด ชีวะที่เขาถึงความหลุดพนหรือโมกษะ จะไปพํานัก เสวยวิมุติสุขชั่วนิรันดร ณ นิวาสสถานของผูบริสุทธิ์ (สุทธศิลา) ซึ่งอยูยอดสุดของจักรวาล ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
1.2 ความสุขในทัศนะของนักปรัชญาตะวันตก นักปรัชญาตะวันตกมีทศั นะเกีย่ วกับความสุขใน 2 กลุม ใหญ กลาวคือ 1.2.1 กลุ มปญญานิยม (Intellectualism) ถือวา ความสุขมิไดเปนสิ่งที่ดีที่สุดและมิไดมีคาในตัวเอง คาของมันอยู ที่ มันเอื้ออํานวยใหสิ่งอีกสิ่งหนึ่งที่ ดีกวา (ปญญาหรือความรู) เกิดขึ้น เพราะถือวาปญญาหรือความรูเปนสิ่งดีที่สุดสําหรับมนุษย เปนจุดหมายของมนุษย สวนความสุขเปนเพียงวิถีที่จะนําไปสู จุดหมายเทานั้น โดยนักปรัชญาในยุคนี้ที่กลาวถึงความสุข ไดแก โสคราตีส (Socrates, 469-399 B.C.) เพลโต (Plato) และ อริสโตเติ้ล (Aristotle, 384-322 B.C.) เปนตน นักคิดฝายปญญานิยม ใหความสําคัญกับปญญา (ความ สามารถใน การใชเหตุผล เพื่อแสวงหาความจริง) หรือความรู วาเปนสิ่งดีสูงสุดและมีคาใน ตัวเอง ความสุขเปนเพียงวิถีที่จะนํา ไปสูกิจกรรมทางปญญา ซึ่งเปนสิ่งที่แยกมนุษยออกจากสัตว นัก คิดกลุมปญญานิยมที่ควรกลาวถึง คือ โสคราตีส เพลโต และ อริสโตเติ้ล 1.2.2 กลุม สุขนิยม (Hedonism) ถือวาความสุขเปนสิง่ ทีด่ ี ทีส่ ดุ และมีคา ในตัวเองการ กระทําตาง ๆของมนุษยมิไดเปนไปเพื่อคุณคาในตัวเองของการ กระทํานั้น แตเปนเพียงวิถี (Means) ที่จะนําไปสูจุดหมาย (End) คือ ความสุข โดยมีนักปรัชญาตะวันตกที่เปนตัวแทนของสุขนิยม ไดแก เอบีคิวรุส (Epicurus, 341-270 B.C.) เยอรเร มี เบ็นธัม (Jeremy Bentham 1748-1832) และจอหน สจวต มิลล (John Stuart Mill, 1806-1873) เปนตน สุขนิยม (Hedonism) แบงออกเปน 2 แบบ คือ1) 1) สุขนิยมแบบอัตนิยม (Egoistic Hedonism) เนนความสุข ของ แตละบุคคลเปนสําคัญ เชื่อวา ควรหาความสุขใหตัวเองให มากที่สุดโดยไมตอง คํานึงถึงผูอื่น หนาที่ที่พึงมีตอผูอื่น จะเปน ไปไดก็ตอเมื่อมันนําความสุขมาสูตัวเรา อาจจะโดยทางตรงหรือ ทางออม ถามันไมนําความสุขมาสูตัวเราเลยก็ไมจําเปนตองไป เกี่ยวของหรือสัมพันธกับผูอื่น (Ewing, 1975: 16) นักปรัชญาคน สําคัญในกลุมนี้ คือ เอบีคิวรุส 2) สุขนิยมสากล (Universalistic Hedonism) เนนความสุข ของทุก ๆ คนในสังคม (Ewing, 1975:35) ดังคําสอนของ เยอรเรมี เบ็นธัม (Jeremy Bentham,1748-1832) เปนนักปรัชญาชาว อังกฤษ เปนผูใหกําเนิด ลัทธิประโยชนนิยม (Utilitarianism) โดย
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
63
ในภายหลังจอหน สจวต มิลล (John Stuart Mill) ไดปรับปรุงให เปนระบบรัดกุมยิ่งขึ้น 2 การศึกษาเกีย่ วกับแอนิเมชัน แอนิเมชัน (Animation) หมายถึง กระบวนการที่เฟรม แตละเฟรมของภาพยนตร ถูกผลิตขึ้นตางหากจากกันทละเฟรม แลวนำมารอยเรียงเขาดวยกัน โดยการฉายตอเนือ่ งกัน ไมวา จาก วิธกี าร ใชคอมพิวเตอรกราฟก ถายภาพรูปวาด หรือรูปถายแตละ ขณะของหุนจำลองที่คอยๆขยับ เมือ่ นำภาพดังกลาวมาฉาย ดวย ความเร็วตัง้ แต 16 เฟรมตอวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนวาภาพ ดังกลาวเคลือ่ นไหวไดตอ เนือ่ งกันทัง้ นีเ้ นือ่ งจากการเห็นภาพติดตา แอนิเมชันอาศัยปรากฏการณทางชีววิทยาทเรียกวา “ความ ตอเนื่องของการมองเห็น” รวมกับการทำใหวัตถุมีการเคลื่อนที่ ที่ความเร็วระดับหนึ่ง จนตาของคนเรามองเห็นวาวัตถุนั้นมีการ เคลื่อนไหว แสดงใหเห็นวาเมื่อเปลี่ยนภาพไปเรื่อยๆ ตามลำดับ ความเร็วทีเ่ หมาะสม จะมองเห็นลูกบอลกระเดงขึน้ และตกลงมาที่ พื้น ภาพแตละภาพที่นำมาทำแอนนิเมชันเรียกวา “เฟรม (Frame)” การเปลี่ยนแปลงภาพที่มองเห็นดวยความรวดเร็วเปนหลัก การของแอนิเมชัน เชน การแสดงผลภาพในโทรทัศน 30 เฟรม ตอวินาที เปนความเร็วที่ทำใหมองเห็นการเคลื่อนไหวที่กลมกลืน แตถาเปนภาพยนตรจะบันทึกดวยอัตรา 24 เฟรมตอวินาที แลว ฉายภาพในโรงภาพยนตรดวยอัตรา 48 เฟรมตอวินาที ตาของ มนุษยก็จะเปนภาพมีการเคลื่อนไหว เปนตน ดังนั้นการแสดงผล ภาพที่มการเปลี่ยนแปลงรูปรางอยางกลมกลืนดวยความเร็วระดับ หนึ่งก็คือ การแสดงแอนิเมชัน 3 การศึกษาเกี่ยวกับ Digital Art 3.1 ความหมายของ Digital Art ในปจจุบัน เราเคยไดยินคำวา “ดิจิทัล” กันอยางแพร หลายทัว่ ไปทีส่ รางความเขาใจใหกบั ระบบทีแ่ ตกตางจากอดีตโดย ใชตัวเลขเปนตัวสื่อสารขอมูลที่มนุษยไดพัฒนาสูการนำมาใชให เกิดประโยชนในดานตางๆ สวนคำวา “อารต”หรือ “ศิลปะ” คือ สิ่งที่มนุษยสรางสรรคขึ้น มีคุณคาทางสุนทรียศาสตร ที่ใชสื่อใน การแสดงออกไดหลากหลายเทคนิค อยางไรก็ตามสามารถกลาว ไดวาดิจิทัลอารต คือ สื่อศิลปะที่มีปฏิสัมพันธ เขาถึงไดอยาง กวางขวาง โยกยายถายเทถึงกันได และเปลี่ยนแปลงไดงาย 3.2 ดิจิทัลอารต วิจิตรศิลป และ ออกแบบ วิจิตรศิลป (Fine Art) หรือ ทัศนศิลป (Visual Art) เปนมีหลายประเภท เชน จิตรกรรม วาดเสน ภาพพิมพ 64
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ประติมากรรม และการแสดงสดทางศิลปะ ไมรวมถึง ดนตรี เตน วรรณกรรม กราฟกดีไซน ในปจจุบันใชระบบดิจิทัลในการ ออกแบบ หรือคอมพิวเตอรในการออกแบบ เชน การออกแบบ 3 มิติ เปนกระบวนการที่รวมกันระหวาง ศิลปะ เทคโนโลยี ใน การสื่อสารความคิดของผูสรางงาน ที่นักออกแบบโดยสวนใหญ จะใชสื่อที่หลากหลาย เชน การวาด ระบายสี ภาพถาย เทนนิค พิเศษในการสรางสรรคภาพ รวมทั้งการสรางสรรคตัวอักษรเพื่อ ใชในงานทีวี ภาพยนตร หนังสือ นิตยสาร เมนู ภาพประกอบ บรรจุภณั ฑ เปนตน โดยการทำงานวิจติ รศิลป กับ การออกแบบ นั้นมีความแตกตางในดานการสื่อสาร วัตถุประสงคแตในการ สรางสรรคดิจิทัลอารตนั้น จะตองมีทั้งวิจิตรศิลปและการออก แบบที่รวมกัน การสรางสรรคงานดิจิทัลอารตดวยคอมพิวเตอร อาจจะ ไมไดใชดินสอ หรือพูกันในการวาดภาพ ผูใชอาจจะเขียนเสน โคง หรือวงกลมไมสวย และไมตองกังวลเพราะเครื่องมือใน โปรแกรมสามารถชวยใหทำงานไดงายขึ้นรวดเร็ว แกไขไดไม จำกัด แตดิจิทัลอารตก็ไมสามารถที่จะแยกเรื่องของพื้นฐานทาง ศิลปะความรูเรื่องของสุนทรียภาพ รวมถึงหลักการออกแบบดวย เพราะมีความสำคัญทั้งสองดาน ความเขาใจทางดานหลักการ สรางสรรคงานศิลปะเปนอยางดี และทักษะทางศิลปะจะชวย ใหการทำงาน สรางสรรคดิจิทัลอารตเปนไปไดดวยดี ความเขา ใจเรือ่ งแนวคิดของเครือ่ งมือและการรับรูข องมนุษยจะชวยใหการ สรางสรรคสามารถมีผลกระทบตอผูรับไดดี 3.3 Digital Painting คือ การวาดภาพรูปแบบใหมซึ่งตางจากการวาดภาพ ในแบบที่ใช สีน้ำ สีน้ำมัน ฯลฯ วาดลงกระดาษในปจจุบันเรา จะพบเห็นงานจิตรกรรมที่ทำดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรได คอน ขางบอย เชนสือ่ โฆษณาตัวเกมทีใ่ ชคอมพิวเตอรชว ยใน การเพนต (ลงสี)รูป โดยใชเครื่องมือดิจิตอลอยาง คอมพิวเตอร แท็บเล็ต (เมาทปากกา) และ ซอฟแวร ในการสรรสรางงานศิลปะบน คอมพิวเตอรซึ่งทุกโปรแกรมจะพยายามเลียนแบบการวาด ภาพ ใหเหมือนจริงผานหัวแปรงตางๆ และผลจากการใชสีแตละ ประเภทหัวแปรงแตละชนิดที่อยูในโปรแกรมตางๆ จะเปนตัว แทนของอุปกรณนั้นๆ เชน สีน้ำ สีน้ำมัน ถาน ปากกา พูกัน เปนตน นอกจากนี้ยังใหผลบางอยางไมซ้ำกันอีกดวย ซึ่งในโลก เรายุคสมัยปจจุบนั การลงสีคอมพิวเตอรยงั ใชในการสรางสรรค ผลงานการตูน หรือ เกมสตางๆ รวมทั้งโฆษณา และอีกมาก มาย ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ขั้นตอนการผลิต
1 ขั้นตอนกอนการผลิตแอนิเมชัน (Pre-Production) 1.1 การสรางเนื้อเรื่อง เนื้อหาของการสรางแอนิเมชันเรื่องนี้ เปนเรื่องเกี่ยวกับครอบครัวๆ หนึ่งที่ตองประสบชะตากรรมที่ตอง สูญเสียบุคคลในครอบครับอันเปนทีร่ กั ไป จนเหลือกันเพียงแคพน่ี อ งสองคน การดำเนินชีวติ ตอไปในอนาคตของพวก เขาทัง้ สองจึงมาถึงทางทีต่ อ งเลือกวา จะยึดติดอยูก บั อยูก บั ความทุกขทต่ี อ งสูญเสีย หรือเลือกที่จะมีความสุขกับการ ไดอยูและดูแลกันและกันกับอีกหนึ่งคนที่ยังเหลือ 1.2 การวางแผนบท นำแนวทางและขอสรุปที่ได มาเขียนบทเนื้อเรื่อง และบทภาพ (Beat Board) เพื่อกำหนดแนวทาง และ ขอบเขตการดำเนินเรื่องของแอนิเมชัน
รูปที่ 1 บทภาพ (Beat Board)
1.3 การออกแบบตัวละครและออกแบบฉาก การออกแบบตัวละคร ผูว จิ ยั ไดวเิ คราะหแนวทางการออกแบบบุคลิกลักษณะตัวละครใหมคี วามเรียบงาย เหมาะสำหรับผูร บั ชมทุกเพศทุกวัย โดยผลทีไ่ ดออกมาเปนตัวละครหลัก2ตัว ซึง่ แตละตัวมีขน้ั ตอนการออกแบบดังนี้ 1.3.1 การกำหนดลักษณะตัวละคร (Character Sheet) เปนขั้นตอนที่เกี่ยวกับออกแบบรูปรางรูปทรง และลักษณะนิสัยของตัวละครแตละตัว ลักษณะของ character sheetนั้น เปนดังรูปที่ 2 และรูปที่ 3
รูปที่ 2 Character Sheet เปนออกแบบรูปทรง และลักษณะนิสัยของตัวละครตัวที่ 1
รูปที่ 3 Character Sheetเปนออกแบบรูปทรง และลักษณะนิสัยของตัวละครตัวที่ 2
1.3.2 การกำหนดลักษณะตัวละครโดยรอบ (Turn Around Sheet)เปนขัน้ ตอนการออกแบบ และกำหนด ลักษณะของตัวละครโดยรอบ คือ เมื่อตัวละครเสร็จสมบูรณในขั้นตอนการทำ Character Sheet แลว นำตัวละคร ที่ได มากำหนดสัดสวน ในมุมตรง มุมเฉียงขาง มุมขาง มุมเฉียงหลัง และมุมตรงหลัง ดังรูปที่ 4 และรูปที่ 5
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
65
รูปที่ 4 Turn Around Sheet เปนการกำหนดลักษณะโดยรอบของตัวละครตัวที่ 1
รูปที่ 5 Turn Around Sheet เปนการกำหนดลักษณะโดยรอบของตัวละครตัวที่ 2
1.3.3 การกำหนดอัตราสวนระหวางตัวละคร (Model Sheet) ขัน้ ตอนนี้ เปนขัน้ ตอนทีจ่ ะกำหนดขนาด และอัตราสวนความแตกตางระหวางตัวละครแตละตัว โดย การนำตัวละครทุกตัวมาเขียนเรียงกันโดยวางตำแหนงของเทาในจุดเดียวกัน ดังในรูปที่ 6 1.3.4 การกำหนดสีหนาของตัวละคร (Facial Expression) ขั้นตอนนี้ เปนการออกแบบลักษณะการแสดง อารมณทางสีหนาของตัวละคร โดยเขียนใบหนาของตัวละคร ที่แสดงออกถึงอารมณของตัวละคร ใหสอดคลองกับรูปราง และลักษณะของตัวละคร ดังในรูปที่ 7 และรูปที่ 8 รูปภาพที่ 6 Model Sheet เทียบอัตราสวนระหวางตัวละคร
รูปที่ 7 Facial Expression ของตัวละครที่ 1
1.3.5 การกำหนดสีของตัวละคร (Color Key) เปนการนำตัวละครมาลงสีในคูสีที่แตกตาง กันจำนวนหลายรูป เพื่อเปรียบเทียบการใชสีของตัวละคร ใหไดสีที่เหมาะสมที่สุด 1.3.6 การออกแบบกระดานภาพนิ่ง (Storyboard) ขั้นตอนการออกแบบกระดานภาพนิ่ง เปนการ ออกแบบการวางลำดับฉาก การกำหนดการวางตัวละครการ จัดมุมกลองและการกระทำของตัวละครทั้งหมดใหเปนไป ตามลำดับของเนื้อเรื่องตั้งแตตนจนจบ เพื่อใหเห็นมุมมอง และบรรยากาศโดยรวม โดยการออกแบบกระดานภาพนิ่ง นั้นเปนดังรูปที่ 13 รูปที่ 14 รูปที่ 15 และรูปที่ 16
รูปที่ 8 Facial Expression ของตัวละครที่ 2
รูปที่ 9 Color Key ของตัวละครที่ 1 ชุดที่ 1 66
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
รูปที่ 10 Color Key ของตัวละครที่ 1 ชุดที่ 2 ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
รูปที่ 11 Color Key ของตัวละครที่ 2 ชุดที่ 1
รูปที่ 12 Color Key ของตัวละครที่ 2 ชุดที่ 2
รูปที่ 13 Storyboard ชุดที่ 1
รูปที่ 14 Storyboard ชุดที่ 2
15
รูปที่ 15 Storyboard ชุดที่ 3
รูปที่ 16 Storyboard ชุดที่ 4 ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
67
รูปที่ 17 Key Visual รูปที่ 1
รูปที่ 18 Key Visual รูปที่ 2
รูปที่ 19 ทดสอบการกำหนดระยะเวลา ภาพเดียว
รูปที่ 20 ทดสอบการกำหนดระยะเวลา นำหลายภาพมาประกอบกันเปนภาพ เคลื่อนไหวแสดงถึงการกาวเทาหนึ่งกาว
1.3.7 การออกแบบบรรยากาศโดยรวม (Key Visual) ขัน้ ตอนการออกแบบบรรยากาศโดยรวม เปนขัน้ ตอนที่จะออกแบบบรรยากาศและสีสันใหกับตัวงานโดยการ ออกแบบตองคำนึงถึงความเขากันกับเนือ้ หาของเรือ่ ง เพือ่ การ สื่อความหมายและสรางความนาสนใจใหกับแอนิเมชัน ดังใน รูปที่ 17 และรูปที่ 18 1.3.8 ออกแบบลักษณะการเคลื่อนไหว ทดสอบการเขียนภาพแบบเฟรมตอเฟรม เพือ่ ใช ในการคำนวนความถี่ในการขยับของภาพแตละภาพ ในขั้น ตอนproduction
รูปที่ 21 ทดสอบการกำหนดระยะเวลา นำหลายภาพมาประกอบกันเปนภาพ เคลื่อนไหวแสดงถึงการเดิน
68
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
รูปที่ 22 การวาดและลงสีดวยโปรแกรม Adobe Photoshop
2 ขั้นตอนการผลิตแอนิเมชัน (Production) 2.1 ขั้นตอนการวาด (Painting) ในขั้นตอนการวาด และลงสี จะสรางทีละขั้นตอน โดยคำนึงถึงรูปราง และลักษณะของตัวละครโดยใหออกมา ตรงตามแบบที่ออกแบบไว โดยผานเทคนิคการวาดและลงสีที่ เปนเอกลักษณเฉพาะ เพื่อสรางความรูสึกที่ประสานกลมกลืน กันกับเนื้อเรื่องใหมากที่สุด ผูว จิ ยั เลือกใชโปรแกรม Adobe Photoshop ทีเ่ ปน โปรแกรมสรางและตกแตงภาพซึ่งมีความยืดหยุนสูง และ สามารถชวยใหผูวิจัยใชเทคนิคไดอยางอิสระตามที่คิด แตละ ฉากภาพจะถูกแยกเปนชนิดเรียกวา Layer โดยจัดแบงอยาง ชัดเจนจัดเพือ่ ทีจ่ ะสามารถวางองคประกอบเคลือ่ นไหวไดอยาง อิสระในขั้นตอนตอๆไป ดังรูปที่ 22 2.2 การนำตัวละครมากำหนดการเคลื่นไหว (Animate) นำภาพที่ไดทั้งหมด มาทำการเรียงตอกันดวย โปรแกรม Adobe After Effects โดยเลือกอัตราความเร็วใน การขยับไวที่25frameตอวินาที เพิ่มลดความเร็วของการขยับ ของตัวละครเพือ่ ใหจงั หวะของงานดูลงตัว และจัดองคประกอบ ของภาพใหเขากับFrame ดังรูปที่ 23 ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
รูปที่ 23 การนำภาพตัวละครมากำหนดการเคลื่นดวยโปรแกรม Adobe After Effects
รูปที่ 24 การตัดตอดวยโปรแกรม Sony Vegas Pro
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
69
2.3 ขั้นตอนหลังการผลิตแอนิเมชัน (Post-Production) นำภาพและเสียงทั้งหมดที่เตรียมไวมาตัดตอโดยใชโปรแกรม Sony Vegas Pro โดยภาพจะถูกแยกเปนชนิดเรียกวา Layer นำมาซอนทับกันอีกที เชน ภาพตัวละครกับภาพฉากหลัง เพื่อทำใหสามารถแกไขทีละสวนไดงาย ตกแตงภาพใหดูสวยงาม ดวยเอฟเฟกตตางๆเขาไปเพิ่มเติม มีการเพิ่มลดความ เร็ว เพื่อใหจังหวะและเสียงเพลงมีความสอดคลองกัน ในการทำ Animation สวนใหญ ขั้นตอนกระบวนการ Production กับ Post-Production มักอยูในขั้นตอนเดียวกัน เพราะมีการกำหนดFrame ตายตัว ตามเสียงของบทพูดหรือเสียงดนตรี การตัดตอกระทำนอยมาก สวนใหญจึงเปน เรื่องของการผสมเสียงทั้งหมดเขาดวยกัน โดยขั้นตอนการตัดตอเปนดังรูปที่ 24 บทสรุปการวิจัย
เพื่อศึกษาและนำเสนอแอนิเมชั่นศึกษากรณีการใชชีวิต อยางมีความสุข ซึ่งความสุขนั้นถือเปนเปาหมายสูงสุดของมนุษย แตในทุกๆวันก็จะตองมีปญหาตางๆเกิดขึ้นมาก ซึ่งปญหาเหลา นัน้ เปนสิง่ ทีฉ่ ดุ รัง้ ผูค นใหตดิ อยูใ นความทุกข และทำใหไมสามารถ สัมผัสถึงความสุขที่ตองการ ในขั้นตอนการศึกษา ผูวิจัยไดเริ่มจากการทำการคนควา รวบรวม และศึกษาขอมูลเชิงเอกสารที่เกี่ยวของกับการศึกษาใน ครั้งนี้ อีกทั้งยังไดหาขอมูลทางดานทฤษฎีและเทคนิควิธีการสราง สื่อแอนิเมชัน 2 มิติ จากนั้นผูวิจัยไดนำขอมูลภาคเอกสารที่คน ควาและรวบรวมมาไดนน้ั มาศึกษาและวิเคราะห โดยใชหลักการ สรางแอนิเมชัน และหลักการเลาเรื่อง มาชวยในการนำเสนอขอ มูลเกี่ยวกับการใชชีวิตอยางมีความสุขหลังจากนั้นนำองคความรู ที่ไดจากการวิเคราะห จึงไดวางโครงเรื่อง แนวคิดหลักใหสอด คลองกับองคความรูและองคประกอบอื่นตามความเหมาะสม หลังจากนั้นจึงนำแนวคิดนั้นมาขยายความใหไดเนื้อเรื่องที่ สามารถนำไปเขียนบทภาพ ซึ่งเปนการกำหนดขอบเขตของตัว ละคร ฉาก และเนือ้ เรือ่ งโดยรวม จากนัน้ ทำการออกแบบตัวละคร และฉาก โดยละเอียด แลวนำตัวละครและฉากที่ไดออกมาสราง กระดานภาพนิง่ ซึง่ จะเปนตัวกำหนดมุมมองทัง้ หมดของแอนิเมชัน ชิ้นนี้ แลวจึงเริ่มลงมือเขียนภาพทีละภาพ เพื่อนำมาประกอบกัน ที่อัตรา 25 ภาพตอ 1 วินาที โดยในขั้นตอนนี้ผูวิจัยไดใชการวาด และลงสีในรูปแบบที่เปนเอกลักษณะของผูวิจัยเอง เพื่อใหงานที่ ไดออกมามีความสวยงามดึงดูดใจผูชม และสื่อใหผูชมเขาใจถึง เนือ้ เรือ่ งใหไดมากทีส่ ดุ หลังจากนัน้ นำรูปทีเ่ สร็จแลว มาประกอบ เขาดวยกันจนเปนผลงานแอนิเมชัน ในขั้นตอนนี้ยอมมีอุปสรรค เกิดขึ้นเสมอจึงตองปรับใหเขากับเหตุการณที่เกิดขึ้นอยางหลีก เลี่ยงไมได 70
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผลงานแอนิเมชันที่ออกมาเปนการนำเสนอแงคิดในเชิงบวก ซึ่งทำไดยากในขณะที่ตนเองจมอยูในความคิดดานลบ แตถาหาก เขาใจถึงความจริงของชีวิต รูจักปลอยวาง และมองเห็นถึงความ สำคัญของสิ่งรอบตัวหรือสิ่งตางๆที่มีความหมายกับตนเอง ก็จะ สามารถคนพบความสุขไดไมวาจะอยูในสถานการณไหนก็ตาม ขอเสนอแนะเพื่อพัฒนาตอไป
จากการศึกษาการสรางแอนิเมชัน ศึกษากรณีการใชชีวิต อยางมีความสุขผูวิจัยพบวาการสรางแอนิเมชัน นั้นประกอบดวย สิ่งสำคัญหลายอยางที่เปนสวนประกอบที่ทำใหแอนิเมชัน เรื่อง หนึ่งผลิตออกมาประสบความสำเร็จ ซึ่งขั้นตอนในการสราง แอนิเมชัน แบงออกเปน 3 สวน คือ Pre-Production ขั้นตอน กอนการผลิต, Production ขั้นตอนการผลิต, Post Production ขั้นตอนหลังการผลิต ซึ่งในขั้นตอนกอนการผลิต สิ่งที่ตองคำนึง ถึง เริ่มตั้งแตการศึกษาหาขอมูลเกี่ยวกับเรื่องราวที่จะเขียนขึ้นมา เปนเรื่องยอ ไดแก การกำหนดตัวละคร ขอมูลของตัวละคร กำหนดกลุม เปาหมาย กำหนดจุดประสงคของการสรางแอนิเมชัน ซึ่งขอมูลตางๆ นี้จำเปนอยางยิ่ง ที่ไดนำมาอางอิงประกอบกับ เรื่องราวที่ไดแตงขึ้นใหสมบูรณตอไป นอกจากนี้ ยังมีการเขียน บทแอนิเมชัน ซึ่งขั้นตอนนี้มีความซับซอนเพิ่มขึ้นตอจากเรื่องยอ บทแอนิเมชันชวยทำใหผูกำกับและฝายผลิตทำงานไดสะดวกขึ้น หลังจากนี้ ตองมีการออกแบบ ตัวละคร และฉาก เพื่อนำไป ประกอบในบทแอนิเมชัน มุมกลองตางๆ ทำSound และ ทำ Effect ตางๆ ขัน้ ตอนนีต้ อ งทำควบคูไ ปกับ Story Board จากนัน้ จึงเขาสูข น้ั ตอนของ Production ไดแก การวาดตัวละครและฉาก ทีละรูป การตัดตอภาพใหเขากับเสียง ซึ่งขั้นตอนทั้งหมดที่กลาว
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
มาจำเปนอยางยิ่งที่ตองมีความอดทน ความใสใจและความรอบ คอบในรายละเอียดของงาน ซึ่งสิ่งเหลานี้ ตองใสใจ มิฉะนั้นอาจ ทำใหยุงยากในการแกไขในภายหลังและ กลายเปนจุดบอดใน แอนิเมชันเรื่องนั้นๆ ในที่สุด ฉะนั้น การสรางแอนิเมชันใหออก มามีคุณภาพที่ดีนั้น ตองใชเวลามากพอสมควรในการผลิตความ ใสใจในรายละเอียดของงาน และที่สำคัญที่สุดคือตองมีใจรักใน งานดานแอนิเมชัน
นอกจากนั้นผูวิจัยไดนำความรูทางศิลปะมาผสมเขาไปกับ งานโดยการวาด การใชสี การจัดองคประกอบภาพ และการออก แบบที่ใหอารมณออกไปในทาง หนังสือนิทาน หรือภาพประกอบ เพือ่ ทำใหงานเกิดความนาสนใจยิง่ ขึน้ ในการวิจยั ครัง้ นี้ มีอปุ สรรค ตางๆ เชน การที่เปนแอนิเมชัน2มิติที่ใชมือวาดเปนหลักจึงทำให เกิดความคลาดเคลื่อนของอัตราสวนของตัวละครหรือฉากไดงาย กวาแอนิเมชัน3มิติ ที่สามารถใชตัวละครหรือฉากไดตั้งแตตนจน จบ จากการสรางครั้งเดียว
บรรณานุกรม ธรรมศักดิ์ เอื้อรักสกุล. การสรางภาพยนตร 2D แอนิเมชัน. กรุงเทพมหานคร : มีเดียอินเทลลิเจนซเทคโนโลยี, 2547. พระครูวิสุทธิสุตคุณ (สายชล สุภาจาโร). ประวัติพระพุทธรูปทองคํา. พิมพครั้งที่ 2.กรุงเทพมหานคร : วัดไตรมิตรวิทยาราม. (ซีดีรอม), 2550. พระมหาจรัญ คมภีโร (อับแสง). “การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องความสุขตามทัศนะปรัชญาสุขนิยมกับพระพุทธศาสนาเถรวาท.” วิทยานิพนธ ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (พุทธศาสนาและปรัชญา), มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547. พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).ปลุกปลอบใจในยามวิกฤต. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2541. รัญญา ธนกุลภารัชต. “ทัศนะเรื่องความสุขของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทกับสุขนิยมทางจริยศาสตร : การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ.” วิทยานิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ปรัชญาและศาสนา),มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,2547. สุจิตรา ออนคอม. “ทรรศนะเรื่องความสุขในพุทธปรัชญา.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2523. อนุชา เสรีสุชาติ. “การบริหารการผลิตภาพยนตรแอนิเมชั่น.” วิทยานิพนธปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารสื่อสารมวลชน), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2548 Dutt, Nalinaksha. Early Monistic Buddhism. Culcutta : Culcutta Oriental Press, 1960. Ewing, A.C. Ethics. Suffolk : The Chaucer Press, 1975.
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
71
72
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
การออกแบบภาพยนตรแอนิเมชัน การแสดงทาทางและความรูสึกบนใบหนา ANIMATION DESIGN EMPHASIS ON ACTION AND FACIAL EXPRESSION เอกกมล เอกศรัณยชย ั 1 พิศประไพ สาระศาลิน2 และ ชัยพร พานิชรุทติวงศ3
Abstract
Facial expressions and human emotions can be the first thing for human to communicate and understand without speaking. When we perceive through the expression of the messenger emotions such as fear, happiness, sadness would appear on the face. Facial expression is a universal language that human all over the world able to perceive without words. This research aims to study the communication of facial expressions and human gesture by presenting through 3D animation. So that the viewers will be able to understand the content as well as the feelings and emotions of the characters without using verbal. The results of the design research showed that by using 3D animation as a media, facial expressions can be understood through well designing of characters and its facial components such as word or subtitles. However, to be able to communicate effectively, there shall be some other elements added such as the gesture by hand, face, or positioning such as standing or sitting are important components as well, but the most important one in communication is facial expression. Keywords : Emotions Conveyed Through Facial Expressions
บทคัดยอ
การแสดงสีหนาและอารมณเปนเสมือนประตูบานแรกสำหรับมนุษยในการสื่อสาร โดยไมจำเปนตองอาศัยคำพูด เมื่อเรารับรู ผานสีหนาของผูสงสาร ความกลัว ความเศรา ความสุข จะปรากฎขึ้นมาชัดเจนบนใบหนา การแสดงสีหนาเปนภาษาสากล ที่มนุษย ทุกชาติทุกภาษา สามารถที่จะรับรูได อยางใกลเคียงกัน งานวิจัยชิ้นนี้ จึงมีวัตถุประสงคเพื่อที่จะศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารโดยการแสดงออกทางสีหนา (Facial Expression) และทาทาง ของมนุษย โดยนำมาถายทอดผานสื่อแอนนิเมชัน (Animation) 3 มิติ เปนการนำเสนอดวยการไมใชคำพูดที่ทำใหผูชมสามารถรับรู และเขาใจเนื้อหา ตลอดจนความรูสึกและอารมณของตัวละครได ผลการวิจัยพบวาในการศึกษาการออกแบบวิธีการถายทอดอารมณผานสีหนาของตัวละครสามารถสื่อสารกับคนดูไดเปนอยางดี โดยไมจำเปนตองมีคำพูด หรือคำบรรยายใดๆ อยางไรก็ตามการสื่อสารที่มีคุณภาพนั้น ควรมีองคประกอบอื่นๆเขามาเสริม เชน การแสดงทาทางประกอบผานมือ หนาตา ตลอดจนทาทาง เชน การยืนหรือการนัง่ มีสว นสำคัญเชนกัน แตประตูบานแรกทีส่ ำคัญใน การสื่อสารคือสีหนา คำสำคัญ : 1. ถายทอดอารมณผานสีหนา 1 2 3
นักศึกษาหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต คณะดิจิทัลอารต มหาวิทยารังสิต รศ.,รักษาการหัวหนาสาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต คณะดิจิทัลอารต มหาวิทยารังสิต อาจารยประจำสาขาวิชาคอมพิวเตอรอารต คณะดิจิทัลอารต มหาวิทยารังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทนำ
คำวาการสื่อสาร (Communication) ในพจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน ไดใหนิยาม ไววา “วิธีการนำถอยคำ ขอความ หรือ หนังสือเปนตน จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง” การสื่อสารมีมากมายหลายวิธี ไมวาจะเปน คำพูด สัญลักษณ ตัวหนังสือ และหนึ่งในการสื่อสารที่เปนสากลทั่วโลก ก็คือการแสดงออกดวยทาทางและสีหนา ซึ่งไมวาชนชาติใดก็ตามสามารถจะ รับรูและขาใจความรูสึกไดโดยไมตองอาศัยคำพูดหรือคำบรรยาย เชน เวลาดีใจเรามักจะยิ้ม หรือ หัวเราะ เวลาเสียใจคนเราก็จะ รองไห เปนตน คอลัมน Legend of Animation จาก นิตยสาร Anime ฉบับที่ 1 หัวขอการตูนไทยสายพันธุใหม กลาวไววาในปลายศตวรรษ ที่ 18 การกำเนิดของแอนิเมชันตะวันตกขึ้นมาและไดพัฒนาจนมีคุณภาพ ซึ่งนับเวลาเกือบ 200 ป แตในประเทศไทยเริ่มตนเมื่อ ประมาณ 60 ปทแ่ี ลว ตัวการตนู แอนิเมชันจะพบ ไดในงานโฆษณาทีวี เชน หนูหลอของยาหมองบริบรู ณปาลม ของ อาจารยสรรพสิริ วิริยสิริ ซึ่งเปนผูสรางแอนิเมชันคนแรกของไทย และยังมีหมีนอย จากนมตราหมี แมมดกับสโนวไวทของแปงน้ำควินนาอีกดวย อาจารยเสนห คลายเคลื่อน มีความคิดที่จะสรางแอนิเมชันเรื่องแรกในไทย แตตองลมไปเพราะกฎหมายควบคุมสื่อในสมัยนั้น และ 10 ปตอมา ป พ.ศ. 2498 อาจารย ปยุต เงากระจาง สามารถทำสำเร็จจนไดจากเรื่อง เหตุมหัศจรรยที่ใชประกอบภาพยนตร ทุรบุรุษทุย ของ ส.อาสนจินดา หลังจากนั้นมีโครงการแอนิเมชัน หนุมาน การตูนตอตานคอมมิวนิสต ที่ไดรับการสนับสนุนจาก อเมริกาแตก็ลมเหลว เพราะเหมือนจะไปเสียดสี จอมพล สฤษดิ์ ธนรัตน ผูนำในสมัยนั้นซึ่งเกิดปวอก ป พ.ศ. 2522 ภาพยนตรเรื่อง สุดสาครของ อาจารยปยุต เงากระจาง สรางเปนภาพยนตรการตูนเรื่องยาวเรื่องแรกของประเทศไทย และประสบความสำเร็จมาก พอสมควรในยุคนั้น ป พ.ศ. 2526 มีแอนิเมชันทางทีวีเรื่องแรกที่เปนฝมือคนไทยนั่นก็คือ ผีเสื้อแสนรัก ตอจากนั้นมี เด็กชายคำแพง หนูนอยเนรมิต เทพธิดาตะวัน จากับโจ เนื่องจากการทำแอนิเมชันนั้นตองใชตนทุนคอนขางสูง เลยทำใหแอนิเมชันในเมืองไทยนั้น คอยๆปดตัวลง ประมาณป พ.ศ. 2542 แอนิเมชันของคนไทยที่ทำทาวาจะตายไปแลว กลับมาฟนคืนชีพขึ้นมาอีกครั้ง จากความพยายามของ บริษัทบรอสคาสตไทย เทเลวิชั่น ไดนำการตูนที่ดัดแปลงจากวรรณคดีฝมือคนไทย ทั้ง ปลาบูทอง สังขทอง เงาะปา และโลกนิทาน และไดรับการตอบรับอยางดี จนในป พ.ศ. 2545 นาจะเรียกวาเปนปทองของแอนิเมชัน3มิติของคนไทยเลย โดยเฉพาะ ปงปอนด ดิ แอนิเมชัน และ สุดสาคร ซึ่งทั้ง 2 เรื่องก็สรางปรากฏการณในแงของการขายคาแร็คเตอรใชประกอบสินคา และ เพลงประกอบ จามะจะ ทิงจา ฮิตติดหูดวย รวมไปถึง การที่มีบริษัทในประเทศรับจางทำแอนิเมชันของญี่ปุนและอเมริกาหลายๆเรื่องอีกดวย และ กานกลวย แอนิเมชันของ บริษัทกันตนา ที่เขาฉายไปทั่วโลก
ภาพที่ 1 ภาพยนตรเรื่อง สุดสาครของ อาจารยปยุต เงากระจาง พ.ศ. 2522(อางอิง : http://www.oknation.net/blog/rukpong/2009/04/01/entry-1)
แตงานวิจัยดานสีหนาทาทางของคนไทยกับมีนอยอยางนาใจหาย และปญหาของเทคโนโลยีก็กาวไปขางหนาอยางรวดเร็ว จน ทำใหงานวิจัยหลายชิ้น ลาสมัยหรือหมดประโยชนไป ผูวิจัยจึงเห็นควรวา ถึงเวลาตองทำงานวิจัยดานนี้เพิ่ม เพื่อใหเปนประโยชนตอสังคม และสายงานดานแอนิเมชันในรุนตอๆไป 74
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ภาพที่ 2 ภาพยนตรเรื่อง ปงปอนด พ.ศ. 2545 จากบริษัท วิธิตา แอนิเมชั่น จำกัด (อางอิง : http://global.vithita.com/ips1.php)
วัตถุประสงคการวิจัย
เพือ่ ศึกษาคนควาและออกแบบตัวละคร (Character Design) ที่สามารถสื่อสารและแสดงความรูสึก โดยเนนการแสดงทาทาง (Action) และการแสดงออกบนใบหนา (Facial Expression) ผาน การเลาเรื่องตลก ที่ใหขอคิดแฝงไวตอผูรับสาร (Audience) การศึกษาคนควาขอมูล
ขอมูลจากสิ่งพิมพและสิ่งพิพอิเล็กทรอนิกส ไดแก 1. ศึกษาเอกสารทฤกษฏีเกีย่ วกับความหมายและความสำคัญ ของอารมณ 2. ศึกษาเอกสารทฤกษฏีเกี่ยวกับการแสดงออกทางอารมณ ผานทางสีหนาศึกษาการเลาเรื่องและขั้นตอนการทำการตูน แอนิเมชันจากหนังสือ ภาพยนตรแอนิเมชันตัวอยาง 2.1 เรือ่ ง ทอม กับ เจอรร ่ี (อังกฤษ: Tom And Jerry) เปนการตูนทีวีซีรีสของ Metro-Goldwyn-Mayer หรืออักษรยอ วา MGM สรางโดย ฮานา-บารเบรา สังกัด การตูนเน็ตเวิรค 2.2 ลูนยี ท นู เปนแอนิเมชันซีรสี ข องวอรเนอรบราเธอรส จากการแสดงละครภาพยนตรการตูนสั้น ถูกผลิตป ค.ศ. 1930 1969 ในชวงยุคทองของอเมริกันเคลื่อนไหวควบคูไปกับวอรเนอร บราเธอรสการตูนชุดอื่น ๆ แสดงละครเมโลดี้ 2.3 Presto หนังสัน้ ของพิกซารคอมพิวเตอร แอนิเมชัน ที่แสดงในโรงภาพยนตรกอนที่ภาพยนตรความยาวเรื่อง WALL-E Presto เปนเรื่องเกี่ยวกับนักมายากลพยายามที่จะดำเนินการ แสดงดวยความรวมมือของกระตายของเขาและแสดงความเคารพ กฎหมายที่เต็มไปดวยการตูนคลาสสิกเชนทอมและเจอรรี่และ ลูนียทูน Presto กำกับการแสดงโดยพิกซารอนิเมเตอรรุนเกาดั๊ก Sweetland ในการกำกับเรื่องแรกของเขา ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ภาพที่ 3 Tom And Jerry จาก Metro-Goldwyn-Mayer (อางอิง : http://stuffpoint.com/cartoons/image/167608cartoons-tom-and-jerry.jpg)
ภาพที่ 4 Looney Tune จาก Warner Bros. Entertainment Inc. (อางอิง http://www.dan-dare.org/FreeFun/Games/Cartoons MoviesTV/BugsBunny.htm)
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
75
2.4.4 One Man Band (2005) ภาพยนตรพิกซารแอนิเมชันสั้น ภาพยนตรเรื่องนี้สรางขึ้นมาในรอบปฐมทัศนโลกที่อานเนอซีอินเตอรเนชั่น แนลฟลมเฟสติวัล ครั้งที่ 29 แสดงในอานเนอซี ฝรั่งเศส และไดรับรางวัล แกรนดแพลทินัมรางวัลที่เทศกาลภาพยนตรในอนาคตในโบโลญา อิตาลี 3. ศึกษาวิธีการออกแบบตัวละคร ฉาก และของประกอบฉาก จาก หนังสือ The animator’s survival kit สิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส การวิเคราะหขอมูล
วิเคราะหขอมูลโดยการนำขอมูลเกี่ยวกับทฤษฏีเกี่ยวกับความหมาย และความสำคัญของอารมณ และทฤษฏีเกีย่ วกับการแสดงออกทางอารมณ ผานทางสีหนา มาประมวลหารูปแบบการแสดงออกทางสีหนาโดยผานเรือ่ ง ตลก อีกทั้งยังวิเคราะหการแสดงสีหนาทาทางผานตัวอยางภาพยนตร แอนิเมชัน ภาพที่ 6 One Man Band จาก Pixar Animation Studios (อางอิง http://www.amazon.com/One-Man-Band-PixarShort/dp/B0063NS1XQ)
ภาพที่ 7 ตัวอยาง Storyboard เรื่อง 9 โดย Tim Burton Productions สังเคราะหขอมูล และออกแบบงานกรณีศึกษา
สังเคราะหขอมูลจากการศึกษาการเลาเรื่องและขั้นตอนการทำการตูน แอนิเมชันแลวนำมาผลิตงานตามขั้นตอนดังนี้ 3.1. ขั้นตอนกอนการผลิต (Pre-Production) หรือขั้นตอนการเตรียมงาน วิเคราะหขอมูลสำหรับการเตรียมสรางงาน แอนิเมชัน เริ่มตั้งแตการเตรียมเนื้อเรื่องใหเปนภาพคราวๆ การวางแผนกลยุทธ การเตรียมงบประมาณและทรัพยากรตางๆ ที่ตอง ใชในการทำงาน การวางคอนเซ็ปต (Concept) และการพัฒนาแนวคิด (Idea) การวางหัวขอเรื่อง(Outline a topic) การกำหนด เรื่องราว (Storyline) การเขียนสคริปต การออกแบบลักษณะของตัวละคร (Character Design) การวาดการตูน (Drawing) การ กำหนดทิศทางของศิลปะ (Art Direction) การสรางสตอรี่บอรด (Storyboard) เรียกไดวาเปนขั้นตอนการเตรียมทุกสิ่งสำหรับนำมา ใชในการสรางงานแอนิเมชัน
76
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ภาพที่ 8 ขั้นตอนการทำงานบนโปรแกรม Adobe After Effect
ภาพที่ 9 แอนิเมชันเรื่อง Antmadillo
3.2 ขั้นตอนการผลิต (Production) เปนขั้นตอนการ เริม่ ลงมือทำงานแอนิเมชันจากการ สังเคราะหขอ มูล ออกมาเปน Storyboard เมื่อเขาสูขั้นตอนการผลิตซึ่งจะเริ่มจากการจัดวาง Layout โดยการทำแอนิเมติก (Create an animatic) การเตรียม และทดสอบเสียง (Sound & Testing) การกำหนดหลักการ เคลื่อนไหวของตัวละครและภาพ ไปจนถึงการทำแอนิเมชันสวน ตางๆ จนครบหมดทั้งเรื่อง 3.3 ขั้นตอนหลังการผลิต (Post-Production) เปน ขัน้ ตอนการปรับแตงเสียง การ ใส Title และ Credit การนำเสนอ ในรูปแบบไฟลวดี โี อ ซึง่ งานทีไ่ ดจากขัน้ ตอนนีจ้ ะเปนงานแอนิเมชัน ที่เสร็จสมบูรณ ผูศึกษาทดลองสรางตัวละครสามมิติที่สรางดวยโปรแกรม สามมิติ คือ โปรแกรมออโตเดส มายา (Autodesk Maya) เวอรชั่น 2013 และการใสเอฟเฟคดวยโปรแกรม อโดบี อาฟเตอร เอฟเฟค (Adobe After Effect) เวอรชั่น CS5
ผลการศึกษาขอมูล
ผลจากการวิจัยและทดลองสรางผลงานแอนิเมชัน 3 มิติ โครงการภาพยนตรขนาดสั้นเรื่อง Antmardillo ไดขอสรุปดังนี้ 1. การใหความสำคัญกับพื้นฐานในสรางแอนิเมชัน คือการ ออกแบบตัวละครใหมเี อกลักษณ และบุคคลิกทีช่ ดั เจน จะสามารถ เปนรากฐานทีด่ ซี ง่ึ ชวยในการตอยอดในการสรางเรือ่ งราวและการ แอนิเมตความเคลื่อนไหวของตัวละครไดอยางมีประสิทธิภาพ ลดทรัพยากร และเวลาในการทำงานได 2. การดึงบุคลิกของตัวละครในลักษณะสิ่งมีชีวิตอื่นที่ไมใช มนุษยนน้ั จะแสดงอาการทาทาง ใหผรู บั สารนัน้ เขาใจไดยาก โดย เฉพาะการแสดงอารมณทางสีหนา ในที่นี้ผูวิจัยจึงตองสรางการ รับรูใหมใหผูชม โดยการประยุกตใหสัตวเดิน 2 ขาเหมือนคน มี มือ 2 ขาง และมีกลามเนื้อใบหนาให ผสมผสานกับกลามเนื้อใบ หนาของมนุษย 3. จากการทดลองสรางภาพยนตรขนาดสั้นหนึ่งเรื่อง โดย อางอิงจากการเลาเรื่องตามอยางเรื่อง “Tom And Jerry” และ การประเมินผลงานออกแบบ เรือ่ ง “Looney Tunes” นัน้ ในการออกแบบตัวละคร พบวาการ นำผลงานใหผเู ชีย่ วชาญและกลุม บุคคลทัว่ ไปไดดเู พือ่ ทดสอบ เนนเฉพาะการใชอวัจนภาษาทาทาง และสีหนา ไมสามารถสื่อ วาผูชมไดรูสึกถึงอารมณตามการแสดงออกทางใบหนา ดั่งที่ได สารออกมาไดมากเทาทีอ่ ลั เบิรต เมหราเบีย้ น นักพฤติกรรมศาสตร ออกแบบไวหรือไม ประเมินผลดวยการแสดงความคิดเห็น กลาวอางไว (ภาษาทาทางสามารถแสดงออกไดมากถึงรอยละ 97) ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
77
ภาพที่ 10 ตัวละคร
4. จากการวิจัยพบวาในการสื่อสารและการสรางอารมณ ไมจำเปนตองมีคำพูดหรือคำบรรยายก็สามารถสือ่ สารไดเกือบจะ ครบถวน แตการเพิ่ม อวัจนภาษาสวนอื่นๆ นอกจากภาษา ทาทางมาเปนสวนเสริมดวย เชน การใชสี รูปแบบตัวอักษร ตัว หนังสือ และ มุมกลอง จะสามารถชวยสรางอารมณและสราง ความเขาใจแกผูชมไดมากขึ้น 5. นอกจากการออกแบบอวัจนภาษาทางใบหนาของตัวละคร ที่ดีแลว ยังจำเปนตองสรางความเคลื่อนไหวอยางสมจริงอีกดวย ซึ่งสวนนี้แอนิเมเตอรจำเปนตองใชประสบการณ การสังเกต ความรูความเขาใจ จึงควรฝกปฏิบัติและสังเกตจนเกิดความ ชำนาญ ขอเสนอแนะ
1. การออกแบบตัวละครใหมีการแสดงออกทาทางในรูป แบบของมนุษยนั้น ทำใหผลงานมีความเขาใจงาย นาสนใจ การลดทอนสัดสวนบางอยางจะชวยใหตัวละครมีความใกลชิด กับคนดูมากขึ้น รูสึกเขาใจ เห็นใจ เพราะมีบางสิ่งที่คลายกับคน ดู ยกตัวอยางเชน มด ในความเปนจริงแลว มดมีทั้งหมด 6 ขา และเดินแบบแนวระนาบ แตผูวิจัยไดตัดแขนออกทั้ง 2 ขาง และ กำหนดใหเดิน 2 ขาเหมือนคน
78
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
2. การเลาเรื่องที่ดีนั้นควรจะสรางเรื่องขึ้นมาเพื่อใหผูชมได ติดตาม และเอาใจชวยตัวละครใดตัวละครหนึ่ง ในทางจิตวิทยา นั้นผูคนสวนใหญมักจะเห็นใจคนที่ออนแอกวา และไมมีทางสู แตสูได และวิธีการจบเปนสิ่งที่สำคัญมาก ผูวิจัยไดนำเสนอการ จบแบบที่คนดูอยากใหจบ แตไปในทางที่คนดูคาดไมถึง 3. การออกแบบสีหนาทาทางนั้น มักเปนสิ่งที่ถูกมองขาม และใหความสำคัญนอย หลายคนคิดวาการใชตากับปากก็ สามารถแสดงอารมณไดแลว แตในความเปนจริงแลวการแสดง อารมณใหชัดเจน ที่สุด นั้นจำเปนตองมีองคประกอบอื่นๆดวย เชน คิ้ว ลิ้น หรือแมแตกลามเนื้อบนใบหนา หากสรางเครื่องมือ ทีใ่ ชควบคุมใบหนาไมดพี อ ตัวละครตัวก็จะดูไมสมจริง หรือสอด คลองกับสิ่งที่ตองการสื่อสารกับคนดู อันจะทำใหผูชมไมเกิด อารมณรวม และมีความเบื่อหนายได นอกจากนั้นในกระบวนการแอนิเมทจำเปนตองใชเวลาใน การดำเนินงาน ซึง่ มีรายละเอียดตางๆ จึงมีความจำเปนทีจ่ ะตอง มีผูชำนาญการในดานตางๆ ในบริษัทที่มีความเปนมืออาชีพสูง นัน้ จะแบงเปนฝาย ฝายโมเดล หรือฝายสรางสิง่ ของและตัวละคร ฝายจัดแสง ฝายจัดระบบ Render ฝาย Animate และ ฝาย Set up ซึ่งเปนฝายที่จำเปนอยางยิ่งใน การสรางตัวละครให สามารถแสดงอารมณไดมากที่สุด ซึ่งตองอาศัยผูเชี่ยวชาญดาน Facial Expression อีกดวย
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
บรรณานุกรม จำลอง ดิษยวณิช. คลายเครียด. เชียงใหม: ดารารัตนการพิมพ จำกัด, 2534. จำลอง ดิษยวณิช."ประสาทชีววิทยาของภาวะใกลตาย" วารสารสมาคมจิตแพทยแหงประเทศไทย.43(2541) : 84-103. ดนัย มวงแกว. Flash Cartoon Animation. นนทบุรี : ไอดีซีฯ , 2552. สมวรร ธนศรีพนิชชัย. “หลักการสราง Animation”. สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 2548. Allen, Eric, and Murdock, Kelly L. Body language advance 3D Character Rigging. Canada : Wiley Publishing Inc., 2008. Animation Collection. “Family Guy Character sheet.” [Online] available at : http://www.animationconnection.com/cat/family-guy/3, December 2013. “Face Facial Expression: A Primary Communication System” [Online] available at : http://face-and-emotion.com/dataface/expression/expression.jsp, December 2013. Williams, Richard. The animator’s survival kit. Singapore : Faber and Faber, 2001.
15
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
79
80
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ตราสัญลักษณ ผาไหมนครชัยบุรินทร Nakhonchaiburin Silk Logo บำรุง อิศรกุล
Abstract
The south eastern province groups of Thailand, Nakornchaiburin, and the local institutions have promoted their silk products together with local cultural tourism attractions. The group has held logo contest for Nakornchaiburin Silk. The procedures of design are 1). Gathered the information and data by 1.1) Collected general data 1.1.1) History of Nakronchaiburin 1.1.2) Symbolic involvement 1.1.3) Naga 1.1.4) Silk clothes. 1.2) The definition of key word - participation, old cultural and ancient art, contemporary, precious and aesthetic of Thai identity. 1.3) the concept of style and color design 1.3.1) the procedure of color selection 1.) Gold color presented precious product and the eastern wisdom which is accepted from westerners that gold color have influenced in many Thai lacquer wares and ancients 2.) Brown and Brick color which are the color of mural painting on ancient remains and Thai clothes. 1.3.2) the concept of using picture for communication 1.) Thai pattern represented Thai identity 2.) Naga characteristic can be reflected believe, knowledge and culture that related with Thai patterns. 3.) Fabric appearances are designed from Thai fine art paintings 1.3.3.) The concept of Typography guidance which related with Thai or Esarn identities 2.) Draft procedures 3.) Installation 4.) Presentation that approved by the committee The suggestion is the use of manual or guide book that should be provided to users in order to prevent objective misunderstanding บทคัดยอ
กลุม จังหวัดอีสานใตในนาม “นครชัยบุรนิ ทร” และหนวยงานหลายภาคสวนไดมกี ารสงเสริมการผลิตผาไหม ซึง่ เปนผลิตภัณฑ ทีม่ ชี อ่ื เสียงมาอยางยาวนาน ควบคูไ ปกับการพัฒนาใหเปนแหลงทองเทีย่ วทางวัฒนธรรม ไดจดั ใหมกี ารประกวดออกแบบตราสัญลักษณ ผลิตภัณฑผา ไหมนครชัยบุรนิ ทร โดยในการดำเนินการออกแบบเริม่ จากขัน้ ตอนในการออกแบบเริม่ จาก 1.ขัน้ ตอนในการรวบรวมขอมูล โดยรวบรวมจาก 1.1 ขอมูลทัว่ ไป ประกอบดวย 1.1.1 ความเปนมาของนครชัยบุรนิ ทร 1.1.2 ตราสัญลักษณทเ่ี กีย่ วของ 1.1.3 พญานาค 1.1.4 ผาไหม 1.2 การกำหนดคำสำคัญ ( Key Word ) ประกอบดวย ความรวมมือรวมใจ, ความเปนแหลงศิลปะวัฒนธรรมที่เกาแก, ความรวมสมัย, ความคุณคาและความงดงาม, ความเปนเอกลักษณไทย 1.3 แนวความคิดในการออกแบบทีเ่ กีย่ วของกับรูปแบบและสี 1.3.1 แนวทางในการเลือกใชสี คือ 1.สีทอง แสดงถึงคุณคาของผลิตภัณฑและแสดงนัยยะถึง ภูมปิ ญ ญาของตะวันออกทีช่ าวตะวันตก ใหการยอมรับ สีทองยังปรากฏอยูในสิ่งตางๆที่แสดงเอกลักษณไทย เชน ลายรดน้ำ โบราณสถาน เปนตน 2.โทนสีน้ำตาลและสีอิฐ นำมาจากสีของโบราณสถาน โทนสีของภาพจิตรกรรมไทย และโทนสีของผาไทย 1.3.2 แนวความคิดในการใชภาพเพื่อการสื่อ ความหมาย
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่มาของการประกวดตราสัญลักษณผลิตภัณฑผาไหมนครชัยบุรินทร
ในบทความนี้พยายามที่จะนำเสนอรายละเอียดของการประกวดตราสัญลักษณและแสดงใหเห็นขั้นตอนในการออกแบบเพื่อที่ จะสามารถนำไปใชเปนแนวทางในการจัดโครงการประกวดตราสัญลักษณของหนวยงานราชการในโอกาสตอไป โครงการประกวด ตราสัญลักษณผลิตภัณฑผาไหมนครชัยบุรินทรเปนตัวอยางหนึ่งที่จะแสดงใหเห็นกระบวนการคัดเลือกแบบตราสัญลักษณตั้งแตแนว ความคิดในการออกแบบจนถึงการคัดเลือกแบบที่เหมาะสม เนื่องจากปจจุบันเมื่อมีการจัดการประกวดตราสัญลักษณของหนวยงาน ราชการตางๆมักไมมีแนวทางและกฏเกณฑที่แนนอนจนทำใหตองมีการแกปญหาเฉพาะหนาอยูหลายครั้งนอกจากนี้บทความนี้ก็นาที่ จะลดปญหาของผูป ระกอบการทีม่ กั ไมเขาใจกระบวนการออกแบบตราสัญลักษณ ตัวอยางเชน มักจะนำความชอบมาใชในการตัดสิน งานออกแบบ หรือมีความเขาใจวาการออกแบบตราสัญลักษณคงไมใชเวลาในการออกแบบมาก เปนตน ในปจจุบันหนวยงานของราชการมีโครงการการสงเสริมการประกอบการในระดับ ทองถิ่นอยางตอเนื่องมีการพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑทอ งถิน่ และสงเสริมการตลาด และมีการประชาสัมพันธไปยังตางประเทศจนเปนทีย่ อมรับถึงคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ ไทยในระดับหนึ่ง ผลิตภัณฑผาไหมเปนอีกผลิตภัณฑหนึ่งที่ไดรับการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพมาอยางตอเนื่อง ทางภาคอีสานโดย เฉพาะกลุมจังหวัดอีสานใตไดมีการสงเสริมการผลิตผาไหม ซึ่งผาไหมเปนผลิตภัณฑที่มีการผลิตมาอยางยาวนานและมีชื่อเสียงเปน ที่ยอมรับของผูซื้อ ทางกลุมจังหวัดอีสานใต ที่ใชชื่อกลุมวา “นครชัยบุรินทร” และหนวยงานหลายภาคสวนไดรวมมือกันเพื่อที่จะ พัฒนา ผลิตภัณฑผาไหมนครชัยบุรินทรใหมีมาตรฐานมากยิ่งขึ้น รวมทั้งยังมีแนวคิดที่จะพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ควบคูไปดวย ในการดำเนินงานนั้น สวนหนึ่งของโครงการไดจัดใหมีการประกวดตราสัญลักษณของผลิตภัณฑผาไหมซึ่งโครงการนี้เกิดจาก ความรวมมือของกลุมจังหวัดอีสานใตซึ่งประกอบไปดวยจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดสุรินทร โดยในการประกวดไดกำหนดให1. ในตราสัญลักษณจะตองมีอักษรภาษาไทยคำวา “ นครชัยบุรินทร” ประกอบอยูในตราสัญลักษณ 2. ในตราสัญลักษณจะตองมีขอ ความภาษาอังกฤษคำวา “ Nakhonchaiburin” ประกอบอยูใ นตราสัญลักษณ 3. ตราสัญลักษณตอ งมี รายละเอียดเชิงสัญลักษณทส่ี ามารถสือ่ สารสูส าธารณชนเกีย่ วกับ “อัตลักษณไหมนครชัยบุรนิ ทรนครแหงภูมวิ ฒั นธรรมอันหลากหลาย หลอมรวมกันเปนหนึ่งสั่งสมภูมิปญญาบนฐานการผลิต ใชภูมิความรูบนบริบทอันอบอุนของชุมชนและวัฒนธรรมที่ยาวนานสอด ประสานกับเทคนิควิธีในการผลิตเสนไหมที่มีคุณภาพบรรจงทอและสรรสรางลวดลายในการมัดหมี่ไหมควบเสนตีเกลียวยกดอกและ ขิดจนกลายเปนแพรพรรณทีม่ คี ณุ คาทางความงามความเชือ่ และประโยชนใชสอยอันแฝงไปดวยภูมปิ ญ ญาอันงามล้ำของชาติพนั ธแหง นครชัยบุรินทรอูอารยธรรมแหงไหม”4.ตราสัญลักษณตองมีรายละเอียดเชิงสัญลักษณที่สามารถสื่อสารสูสาธารณชนเกี่ยวกับนครชัย บุรนิ ทรนครแหงภูมวิ ฒั นธรรมอันหลากหลายทีห่ ลอมรวมกันเปนหนึง่ และการสัง่ สมภูมปิ ญ ญาบนฐานการผลิตทีใ่ ชภมู คิ วามรูบ นบริบท อันอบอุนของชุมชนและวัฒนธรรมที่ยาวนานสอดประสานกับเทคนิค วิธีในการผลิตเสนไหมที่มีคุณภาพการบรรจงทอและสรรสราง ลวดลายในการมัดหมี่ควบเสนตีเกลียวยกดอกและขิดจนกลายเปนผลงานอันทรงคุณคาที่มีแฝงไปดวยความงามความเชื่อภูมิปญญา ของชาติพันธุนครชัยบุรินทรที่เปรียบเสมือนอูอารยธรรมแหงผาไหม5.ผลงานที่ไดรับการคัดเลือก 4 ผลงาน ตองนำเสนอผลงานตอ กรรมการอีกครั้ง 6.สำหรับเกณฑการใหคะแนนนั้นมีการใหรายละเอียดไว ดังนี้ 6.1 ความคิดสรางสรรค 20 คะแนน 6.2 ลายเสนและรูปรางในการสื่อความหมาย 20 คะแนน 6.3 สีและการสื่อความหมาย 10 คะแนน 6.4 ความงามและองคประกอบศิลป 20 คะแนน 6.5 ความงามสอดคลองกับอัตลักษณไหมนครชัยบุรินทร 30 คะแนน
82
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
กอนจะมาเปนตราสัญลักษณผลิตภัณผาไหม นครชัยบุรินทร
ในการออกแบบเริ่มจากการวิเคราะหรายละเอียดของขอกำหนด และรวบรวมขอมูลของสิ่งที่เกี่ยวของกับตัวผลิตภัณฑแลวจึง นำขอมูลที่ไดไปจัดทำแบบรางจนไดแบบที่เหมาะสม รายละเอียดของขั้นตอนในการออกแบบ ก็คือ 1. ขั้นตอนในการรวบรวมขอมูล
กอนที่จะทำการออกแบบตราสัญลักษณ ไดมีการรวบรวม ขอมูลที่มีความเกี่ยวของกับนครชัยบุรินทร ผาไหม และขอมูล อื่นๆที่สามารถเชื่อมโยงถึงความเปนอัตลักษณของไหมนครชัย บุรินทรเพื่อใชเปนกรอบความคิดในการออกแบบ สำหรับขั้นตอน ในการรวบรวมขอมูลนั้นสำหรับผูประกอบการแลวมักไมคอยให ความสำคัญ คงตองการที่จะเห็นผลงานเร็วๆไมตองเสียเวลา มากนัก ซึ่งแทจริงแลวขอมูลเปนสิ่งที่สำคัญมากตอนักออกแบบ เพื่อใชเปนกรอบแนวความคิดในการออกแบบ สำหรับขอมูลที่ใช ประกอบการออกแบบตราสัญลักษณผลิตภัณฑผาไหมนครชัย บุรินทร ประกอบดวย 1.1 ขอมูลทั่วไป เปนการรวบรวมขอมูลในสวนทีม่ คี วามเกีย่ วเนือ่ งกับผลิตภัณฑ ผาไหมชัยบุรินทร เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดทำแบบรางในขั้น ตอนถัดไป 1.1.1 ความเปนมาของนครชัยบุรินทร ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปลูกหมอนเลี้ยงไหมกันมาก โดยเฉพาะในภาคอีสานแตเสนไหมเปนเสนหยาบ จึงมีการสัง่ ไหม มาจากตางประเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงมีพระราชดำริที่จะอุดหนุนการทำไหมเพื่อที่จะไมตองสั่ง ไหมมาจากตางประเทศ ในปพ.ศ. 2444-2445 กระทรวงเกษตรใน สมัยนั้นไดนำคณะผูเชี่ยวชาญหมอนไหมจากประเทศญี่ปุนเขามา ทดลองปลูกหมอนเลี้ยงไหมและศึกษากรรมวิธีสาวไหม ในปพ.ศ. 2447 ไดมีการตั้งสาขากองชางไหมขึ้นที่ จังหวัดนครราชสีมา มี การตั้งโรงเรียนชางไหมที่ตำบลทุงศาลาแดงซึ่งตอมาไดมีการ ขยายไปยังจังหวัดอุบลราชธานี ,รอยเอ็ด, ชัยภูมิ, สุรินทร และ ศรีสะเกษสงผลใหประชาชนในภูมภิ าคนีม้ อี าชีพทีเ่ กีย่ วของผูกพัน กับการเลี้ยงไหมและทอผาไหม ในป พ.ศ. 2547 จังหวัดนครราชสีมา ไดดำเนินการจัดตั้ง กลุมอุตสาหกรรม และการพัฒนาเชื่อมโยงของกลุมอุตสาหกรรม ไหม ( Silk Cluster ) ขึ้นตามแผนยุทธศาสตร การพัฒนาจังหวัด นครราชสีมา มีดำเนินงานโดย ศูนยพัฒนากลุมอุตสาหกรรมใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง กรมอุตสาหกรรม กระทรวง ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
อุตสาหกรรม ในการดำเนินงานมุงเนนการพัฒนาอุตสาหกรรม ไหมแบบรวมกลุม (Cluster) นอกจากการพัฒนาไหมในจังหวัด นครราชสีมาแลว “กลุม จังหวัดนครชัยบุรนิ ทร” ก็ไดนำยุทธศาสตร ที่เกี่ยวของกับไหมมาใชในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม อีก ทั้งกลุมจังหวัดนครชัยบุรินทรเปนกลุมจังหวัดที่ประเทศไทยได กำหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาการทองเที่ยว ทั้งเชิงประวัติศาสตร วัฒนธรรม ธรรมชาติและวิถีชีวิต เนื่องจากลักษณะ ภูมิประเทศมีความเหมาะสม และมีศักยภาพที่พรอมตอการรอง รับนักทองเที่ยว ที่จะเดินทางเขามาทองเที่ยวในประเทศไทย 1.1.2 ตราสัญลักษณที่เกี่ยวของ สำหรับขอมูลในสวนนี้จะเปนการรวบรวมขอมูลของ ตราสัญลักษณทม่ี คี วามเกีย่ วของกับโครงการฯเพือ่ ใชเปนแนวทาง ในการกำหนดความคิดในการออกแบบ
ภาพตราสัญลักษณจังหวัดนครราชสีมา
ตราสัญลักษณประจำจังหวัดนครราชสีมา ตราสัญลักษณ เปนภาพอนุสาวรียทาวสุรนารี ประดิษฐาน อยูหนา ประตูชุมพล ประตูเมืองทางดานทิศตะวันตก คำขวัญ เมืองหญิงกลา ผาไหมดี หมี่โคราช ปราสาทหิน ดิน ดานเกวียน ตนไมประจำจังหวัด ตนสาธร
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
83
ภาพตราสัญลักษณเดิม ภาพตราสัญลักษณจังหวัดสุรินทร
ตราสัญลักษณจังหวัดสุรินทร ตราสัญลักษณเปนภาพพระอินทรทรงชางเอราวัณอยูหนา ปราสาทหินศีขรภูมิ (เดิมเรียกวาปราสาทหินบานระแงง) คำขวัญ ประจำจังหวัด สุรนิ ทรถน่ิ ชางใหญ ผาไหมงาม ประคำ สวย ร่ำรวยปราสาท ผักกาดหวาน ขาวสารหอม งามพรอม วัฒนธรรม ดอกไมประจำจังหวัด ดอกกันเกรา (Fagraea fragrans) ภาพตราสัญลักษณในปจจุบัน
ตราสัญลักษณจังหวัดศรีสะเกษตรา สัญลักษณเปนรูปปรางคกูมีดอกลำดวน 6 กลีบอยูเบื้องลาง (เดิมใชภาพปราสาทหินเขาพระวิหารเปนตราประจำจังหวัด มา เปลี่ยนเปนตราปจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2512 คำขวัญ รูปปรางคกูมีดอกลำดวน 6 กลีบอยูเบื้องลาง (เดิมใช ภาพปราสาทหินเขาพระวิหารเปนตราประจำจังหวัด มาเปลี่ยน เปนตราปจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2512 ดอกไมประจำจังหวัด ดอกลำดวน ภาพตราสัญลักษณจังหวัดชัยภูมิ
ตราสัญลักษณประจำจังหวัดชัยภูมิ ตราสัญลักษณเปนภาพธงสามชาย หมายถึงธงแหงชัยชนะ สงคราม เดิมผูครองนครไดเลือกภูมิประเทศเพื่อตั้งเปนเมือง พบ วาตรงจังหวัดนี้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ ทำเลเหมาะแกการสูรบปอง กันตัว จึงตั้งเมืองขึ้นและใหสัญลักษณเปนรูปธงสามแฉก คำขวัญ ทิวทัศนสวย รวยปาใหญ มีชางหลาย ดอกไมงาม ลือ นามวีรบุรุษ สุดยอดผาไหม พระใหญทวารวดี ดอกไมประจำจังหวัด ดอกกระเจียว 84
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ภาพตราสัญลักษณ นครชัยบุรินทร ตราสัญลักษณนครชัยบุรินทร
เปนตราสัญลักษณทเ่ี กีย่ วของกับการทองเทีย่ ว ตราสัญลักษณ มีองคประกอบของโบราณสถาน และลักษณะพืชพรรณตาม ธรรมชาติ นอกจากนี้ยังประกอบดวยลักษณะของลายสาน แสดง ถึงความเปนแหลงศิลปะวัฒนธรรมของภาคอีสาน เนื่องจากแตละจังหวัดมีเอกลักษณที่ไมเหมือนกัน และมี ความหลากหลาย ในการกำหนดกรอบแนวความคิดในการออก แบบตราสัญลักษณเพื่อใชในการดำเนินกิจกรรมรวมกัน จึงตอง พยายามหาความเชื่อมโยงของกลุมจังหวัดนครชัยบุรินทรในตรา สัญลักษณ โดยตองไมเนนไปที่จังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง 1.1.3 พญานาค พญานาค ถือไดวา เปนความเชื่อของคนอีสาน มี ความเกี่ยวของกับคนอีสานมาอยางชานานอนัญญา ปานจีน (2513) ไดกลาวถึง คติ ความเชื่อเรื่องพญานาคไวดังนี้ หลักฐาน สำคัญที่เปนรองรอยทางประวัติศาสตรไทย คือ สัญลักษณแหง นาค ( Naga Symbol ) ซึง่ มีความเชือ่ มโยงกับกลุม ชนทีต่ ง้ั รกราก และสรางอารยธรรมแถบลุมแมน้ำโขง มีความเชื่อวาพญานาคสามารถดลบันดาลใหเกิดสิ่ง ตางๆ อาทิเชน ความอุดมสมบูรณ หรือภัยพิบัติ มีเรื่องเลา คติ ความเชือ่ ทีเ่ กีย่ วของกับพญานาคมากมาย ในปจจุบนั ยังมีประเพณี การดูบั้งไฟพญานาคที่จัดขึ้นทุกป นอกจากนี้พญานาคยังปรากฏ อยูในสิ่งตางๆที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตของคนอีสาน เชนโบราณ สถาน สิ่งของเครื่องใช เปนตน 1.1.4 ผาไหม ผาไหมเปนผลิตภัณฑที่เปนที่รูจักและยอมรับในระดับ สากลและสรางชื่อเสียงใหประเทศมาชานาน ดร.ณัฏฐินี ทองดี ( 2555: เว็ปไซต ) หัวหนาโครงการสงเสริมการทองเที่ยวเสนทาง สายไหม ไดกลาววา ปจจุบันนักทองเที่ยวทราบวามีหมูบานผา ไหมที่มีชื่อเสียงวาอยูในพื้นที่ใดบาง แตไมสามารถเชื่อมโยงเสน ทางสายไหมของกลุมจังหวัดนครชัยบุรินทรเทาที่ควรจะเปน ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ภาพการกำหนดคำสำคัญ
จากขอมูลดังกลาวในการออกแบบตราสัญลักษณครั้งนี้จำเปนที่ จะตองสามารถสรางความเชือ่ งโยงของกลุม จังหวัดนครชัยบุรนิ ทร ใหปรากฏในตราสัญลักษณ 1.2 การกำหนดคำสำคัญ ( Key Word ) หลังจากรวบรวมขอมูลแลวจึงนำมาหา คำสำคัญ (Key Word) เพื่อใชเปนกรอบ และแนวทางในการออกแบบ ประกอบ ไปดวย - ความรวมมือรวมใจ เนื่องจากผาไหมนครชัยบุรินทร เปน ความรวมมือรวมใจในการที่จะพัฒนาผลิตภัณฑโดยจังหวัด นครราชสีมา จังหวัดบุรรี มั ย จังหวัดสุรนิ ทร และจังหวัดศรีสะเกษ และหนวยงานตางๆจากทุกภาคสวน - ความเปนแหลงศิลปะวัฒนธรรม และอารยะธรรมที่เกา แก ดินแดนอีสานนับวาเปนดินแดนทีม่ คี วามเกาแกเปนแหลงศิลปะ วัฒนธรรม โดยปรากฏอยูในประเพณี สถาปตยกรรมที่ยังหลง เหลือเปนหลักฐานทางประวัติศาสตร มีการผลิตผาไหมมานาน ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน - ความรวมสมัย ผาไหมนับวาเปนผลิตภัณฑที่มีกระบวน การผลิตและมีการแปรรูปเปนผลิตภัณฑตางๆ เปนที่ยอมรับใน คุณภาพทั้งในประเทศและในตางประเทศ - คุณคา และความงดงาม ผาไหมนับวาเปนผลิตภัณฑที่ เปนที่ยอมรับของชาวตางประเทศ นอกจากคุณภาพแลว ความ งดงาม และคุณคาของการผลิตที่เกิดจากฝมือ ภูมิปญญาก็นับ วาเปนที่ยอมรับดวยเชนเดียวกัน - ความเปนเอกลักษณไทย ผาไหมเปนผลิตภัณฑของไทยที่ สะทอนภูมิปญญา เอกลักษณทางศิลปะวัฒนธรรมที่เปนที่รับรูใน ระดับสากล วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
85
1.3 แนวความคิดในการออกแบบทีเ่ กีย่ วของกับรูปแบบและสี 1.3.1 แนวทางในการเลือกใชสีในการออกแบบมีการ ใชสีเปนองคประกอบในการออกแบบ โดยโครงสีที่จะประกอบอยู ในตราสัญลักษณ คือ 1. สีทอง แสดงถึงคุณคาของผลิตภัณฑ และแสดง นัยยะถึง ภูมิปญญาของตะวันออก ที่ชาวตะวันตกใหการยอมรับ สีทองยังปรากฏอยูในสิ่งตางๆที่แสดงเอกลักษณไทย เชน ลาย รดน้ำ โบราณสถาน เปนตน 2. โทนสีนำ้ ตาลและสีอฐิ นำมาจากสีของโบราณสถาน ที่สะทอนถึงความเปนแหลงศิลปะวัฒนธรรมที่เกาแกของไทย โทนสีของภาพจิตรกรรมไทย และโทนสีของผาไทย ที่แสดงถึง เอกลักษณไทยโดยใชโทนสีดังกลาวประกอบอยูในตราสัญลักษณ
86
ภาพโทนสีของโบราณสถาน
1.3.2 แนวความคิดในการใชภาพเพือ่ การสือ่ ความหมาย การหาแนวทางในการใชภาพเพื่อใชคลี่คลายประกอบ ในตราสัญลักษณนั้น ภาพที่ใชตองสามารถแสดงความเชื่อมโยง กลุมจังหวัดนครชัยบุรินทร ผาไหม และแสดงเอกลักษณไทยได อยางชัดเจน เนื่องจากผลิตภัณฑมีการจำหนายไปยังตางประเทศ ดวย โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. คลี่คลายจากลักษณะของลวดลายไทย ใชลายกนกเปน แนวทางในการออกแบบ โดยคลี่คลายใหเรียบงาย ตัดทอนราย ละเอียดของลวดลายแบบดั้งเดิม เพราะในการยอตราสัญลักษณ เพื่อใชงานในสื่อบางสื่อที่ตองการความคมชัดของภาพ อาทิเชน นามบัตร กระดาษเขียนจดหมาย หัวจดหมาย เปนตน จะไดราย ละเอียดของภาพที่ครบถวน 2. คลี่คลายจากลักษณะของพญานาค ซึ่งสามารถสะทอนถึง ความเชือ่ ภูมปิ ญ ญา และวัฒนธรรมทีม่ รี ว มกัน อีกทัง้ ลักษณะของ พญานาคยังปรากฏอยูในสิ่งตางๆที่เกี่ยวของกับศิลปะวัฒนธรรม ของภาคอีสานมาอยางชานาน โดยภาพที่ใชตองไมเปนภาพที่ แสดงลักษณะของพญานาคอยางเดนชัดโดยจะตัดทอนใหประสาน กับลักษณะของลวดลายไทย 3. ลักษณะของผา ใชลักษณะของผาในภาพจิตรกรรมไทย เปนแนวทางในการออกแบบ
ภาพการเลือกโทนสีในการออกแบบ
ภาพแนวความคิดในการใชภาพในการออกแบบ
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
3. การจัดทำผลงานจริง
1.3.3 แนวทางในการใชตวั อักษร เลือกใชแบบตัวอักษรทีม่ ลี กั ษณะทีใ่ หความรูส กึ ถึง ความเปน ไทย หรือศิลปะวัฒนธรรมอีสาน
ในการจัดทำผลงานเพื่อนำเสนอนั้นจะใชโปรแกรม Adobe Illustrator ในการคัดลอกลายเสนจากแบบราง หรือ ตัดทอนจากภาพจริงที่จะใชสื่อความหมายตางๆ โดยไดจัด ทำผลงานเพื่อนำเสนอ 3 ผลงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้
2. การจัดทำแบบราง
ในการจัดทำแบบราง ไดมกี ารทดลองรางแบบไวหลายแนวทางเชน - การนำตัวอักษร Q มาใชเปนองคประกอบ โดยตัวอักษร Q นำ มาจากคำวา "Ouality" เนือ่ งจากนัยยะของตัวอักษร Q เปนทีเ่ ขาใจใน ระดับสากลในเรื่องราวที่ตองการแสดงถึง คุณภาพ มาตรฐาน - การนำลวดลายไทยคลีค่ ลายประกอบในตราสัญลักษณ เพือ่ แสดง เอกลักษณไทย ภาพตราสัญลักษณแบบที่ 1 - การใช ล ั ก ษณะของโบราณสถานเป น องค ป ระกอบในตรา สัญลักษณแบบที่ 1 สัญลักษณ แสดงถึง ความเปนแหลงศิลปะวัฒนธรรมทีเ่ กาแก Q จากคำว า “Quality” โดยมี ภ าพโบราณสถาน - การใชลักษณะของริ้ว และรอยพับของผาเปนองคประกอบใน ประสานกับลักษณะของผาเปนองคประกอบแสดงถึงคุณคา ตราสัญลักษณ เพือ่ แสดงถึงตัวผลิตภัณฑคอื ผาไหม - การใชภาพมือประกอบในตราสัญลักษณ จะใชภาพมือทีป่ ระสาน และความเปนแหลงศิลปะวัฒนะธรรมทีเ่ กาแกของภาคอีสาน ลักษณะของเสนโคงที่โอบลอมแสดงถึง การพัฒนาคุณภาพ กันเพือ่ แสดงถึงความรวมมือรวมใจจากทุกภาคสวน ของผาไหมอยางตอเนื่อง
15
ภาพตราสัญลักษณแบบที่ 2
ภาพขั้นตอนการจัดทำแบบราง ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
สัญลักษณแบบที่ 2 ภายในตราสัญลักษณประกอบดวย ภาพโบราณสถาน ดอกลำดวน และผาแสดงถึง ความรวมมือรวมใจของกลุม จังหวัดนครชัยบุรินทรในการพัฒนาผลิตภัณฑผาไหมใหมี คุณภาพมาตรฐาน วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
87
ภาพตราสัญลักษณแบบที่ 3
ภาพการนำเสนอผลงานตอคณะกรรมการ
สัญลักษณแบบที่ 3 คลี่คลายจากลวดลายไทย และพญานาค ประสานกับ ลักษณะของผา โดยลักษณะของภาพใหความรูส กึ เคลือ่ นไหว เพื่อแสดงถึง การพัฒนาการดำเนินงานอยางตอเนื่อง 4. การนำเสนอผลงาน
หลังจากที่กรรมการไดมีการคัดเลือกผลงานจำนวน 4 ผลงานที่เขารอบสุดทาย เจาของทั้ง 4 ผลงานตองนำเสนอ ผลงานตอคณะกรรมการอีกครั้งโดยในการนำเสนอผลงานผู เขียนไดนำเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวของกับแนวความคิดในการ ออกแบบ ขั้นตอนในการออกแบบ โดยแบบที่ไดรับการคัด เลือกคือแบบที่ 3 โดยคณะกรรมการไดใหขอเสนอแนะใน การปรับแกแบบตราสัญลักษณดังนี้ 1. ใหเพิม่ ริว้ ผาใหมจี ำนวน ตามจำนวนของกลุม จังหวัด นครชัยบุรินทร 2. ข อ ความใต ภ าพสั ญ ลั ก ษณ ใ ห เ ปลี ่ ย นเป น คำว า "ไหมนครชัยบุรินทร" 3. ขอความใหเพิ่มเอกลักษณไทย เชน สระ หรือตัว อักษร ภาพแบบตราสัญลักษณที่มีการแกไข 4. ในตราสัญลักษณใหเพิ่มแถบเพื่อลดพื้นที่ของภาพ ในการปรับแกแบบตราสัญลักษณ นอกจากการแกไขตามขอเสนอ และสรางความตอเนื่องใหมากขึ้น 5. แบบตัวอักษรใหใชแบบตัวอักษรที่มีหัวและเปน แนะของคณะกรรมการแลวนัน้ ยังไดมกี ารทดลองจัดวางตำแหนงของสี 3 แนวทาง และรูปแบบของการสรางเอกลักษณในขอความ 2 แนวทาง ทางการ คณะกรรมการไดคดั เลือกตราสัญลักษณแบบที่ 1 เพือ่ นำไปใชตาม 6. ปรับรอยหยัก และรอยบากของลายไทยใหมีมุม วัตถุประสงคของโครงการ ในวาระตางๆ และในสื่อตางๆที่เกี่ยวของ แหลมมากขึ้น
88
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ภาพการยอขยาย ตราสัญลักษณ
ภาพตราสัญลักษณ จัดวางบนพื้นสีเขม
ภาพผลงานที่เสร็จสมบูรณ
ความหมายขององคประกอบในตราสัญลักษณ
ตราสัญลักษณคลี่คลายจากลักษณะของลวดลายไทยโดยใหความรูสึกถึง พญานาค ซึ่ง แสดงถึง เอกลักษณของภาคอีสาน และสะทอนถึงความเปนแหลงศิลปะวัฒนธรรม แหลง อารยธรรมที่เกาแกของไทย นอกจากนี้ยังคลี่คลายใหมีลักษณะของผาโดยลักษณะของริ้วผา ตามจำนวนของกลุม จังหวัดนครชัยบุรนิ ทร แสดงถึงความรวมมือรวมใจในการดำเนินโครงการ ลักษณะของภาพใหความรูสึกเคลื่อนไหว แสดงถึง การพัฒนาคุณภาพการผลิต การสราง มาตรฐานของไหมนครชัยบุรินทรอยางตอเนื่อง ตั้งแตการคัดสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพ จนถึง การขัน้ ตอนในการถักทอเสนไหม ขัน้ ตอนในการสรางลวดลาย จนเกิดเปนความงดงามทีป่ รากฏ อยูในผาไหมแตละผืนที่ทรงคุณคาทั้งความงามและแฝงไปดวยภูมิปญญาอันงามล้ำของชาติ พันธนครชัยบุรินทร สีน้ำตาลและสีทอง โดยสีทอง ไดรับแรงบันดาลใจจากสีเหลืองทองของ เสนไหม และสีทองที่ปรากฏในงานจิตรกรรมไทย และโบราณสถานตางๆ แสดงถึงภูมิปญญา ตะวันออก ความเจริญรุงเรือง ความเปนแหลงศิลปะวัฒนธรรมที่เกาแกของภาคอีสาน และ ความเปนอูอารยธรรมแหงไหมของนครชัยบุรินทร สวนสีน้ำตาลเปนโครงสีที่ปรากฏอยูใน โบราณสถานตางๆที่ปรากฏอยูในกลุมจังหวัดนครชัยบุรินทร แสดงถึงรากเหงา ภูมิปญญา และอารยธรรมที่เกาแกของนครชัยบุรินทร สำหรับในการนำตราสัญลักษณที่เสร็จสมบูรณไปใชงานนั้น ไดมีการนำเสนอผลงาน ตัวอยางที่ใชประกอบในสื่อตางๆ เพื่อใชเปนแนวทางในการนำไปใชดังนี้ - การยอขยาย เพื่อใหตราสัญลักษณสามารถใชงานไดหลายขนาด ไดมีการทดลองยอ ขยายและแกไขไมใหมีปญหาในการใชงาน - การใชงานในลักษณะภาพขาวดำ ใชน้ำหนักขาวดำ หรือน้ำหนักขาว เทา ดำ ตาม ความเหมาะสม - ในการจัดวางบนพื้นสีเขม ใชสีทอง หรือเจาะพื้นขาวบนพื้นสีเขม - การนำตราสัญลักษณประกอบบนสื่อตางๆ หากอยูบนพื้นสีเขมใหใชตราสัญลักษณ เปนสีทอง หากอยูบนพื้นสีขาวหรือสีออนใหใชสีตราสัญลักษณตามตนฉบับ - ในการนำตราสัญลักษณไปประกอบบนสือ่ สิง่ พิมพตา งๆนัน้ ใชโครงสีนำ้ ตาล และสีทอง เปนหลักโดยคำนึงถึงความชัดเจนในการมองเห็นเปนสำคัญ ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
89
ภาพการนำตราสัญลักษณไปประกอบบนสื่อตางๆ
ขอเสนอแนะ
ป จ จุ บ ั น มี ก ารผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ ต า งๆ ออกมามากมาย ผลิตภัณฑชนิดเดียวกันก็มีอีกหลากหลายตราสินคา การสราง ความนาเชื่อถือ ความจดจำ และภาพลักษณที่ดีตอผลิตภัณฑ จึงเปนสิ่งสำคัญ ตราสัญลักษณมีสวนชวยทำใหภาพลักษณ และ อัตลักษณของผลิตภัณฑมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น สำหรับความ คิดริเริม่ ในการจัดทำตราสัญลักษณผลิตภัณฑผา ไหมนครชัยบุรนิ ทร ของหนวยงานที่เกี่ยวของแสดงถึงวิสัยทัศนที่ดีในการริเริ่มที่จะ พัฒนาผลิตภัณฑ ในการควบรวมกลุมจังหวัดที่มีผลิตภัณฑ ภาพการนำตราสัญลักษณไปประกอบบนสื่อสิ่งพิมพ ประเภทเดียวกันก็นับวาเปนแนวคิดที่นาสนใจ เปนการรวมจุดดี จุดเดนของผลิตภัณฑผาไหมของกลุมจังหวัดอีสานใตเขาไวดวย กันภายใตชื่อผลิตภัณฑผาไหมนครชัยบุรินทร สำหรับการจัด โครงการประกวดตราสัญลักษณ หลังจากทีไ่ ดแบบตราสัญลักษณ แลวควรสรางความเขาใจตอผูผลิตสินคาใหมีความเขาใจรวมกัน ถึงวิธีการนำตราสัญลักษณไปใช ในปจจุบันปญหาที่เกิดขึ้นกับ การใชตราสัญลักษณของผลิตสินคา ของผูผ ลิตสินคาขนาดกลาง และขนาดยอม คือ ความไมเขาใจในการนำตราสัญลักษณไปใช ทำใหภาพลักษณของผลิตภัณฑลดลง เชน การจัดวางตรา สัญลักษณในสื่อตางๆไมไดมีการออกแบบไวเปนมาตรฐานเพื่อ การใชงานในสื่อตางๆ ในสถานะตางๆ ในการจัดพิมพที่จำกัด งบประมาณควรใชรูปแบบใด การใชงานที่เปนลักษณะ 3 มิติ ภาพการนำตราสัญลักษณไปประกอบกับการตกแตงรานจำหนายผลิตภัณฑ ควรใชในรูปแบบใด เปนตน เพราะฉนั้นการจัดทำคูมือในการใช - การนำตราสัญลักษณไปประกอบกับการตกแตงราน ตราสัญลักษณจงึ เปนสิง่ ทีส่ ำคัญมาก เพือ่ เปนการสรางภาพลักษณ จำหนายผลิตภัณฑ สามารถยอขยายตามพื้นที่ใชงาน ควรตรวจ ที่ดีใหกับผลิตภัณฑ อีกทั้งถาหากสามารถสรางความเขาใจใน สอบการใชสีใหตรงกับตราสัญลักษณตนฉบับ หรือผิดเพี้ยนให กระบวนการออกแบบตอผูประกอบการได เมื่อผูประกอบการจำ นอยที่สุด เพราะในวัสดุตางๆที่นำมาใชสีอาจไมตรงกับแบบ เปนตองรวมงานกับนักออกแบบครั้งใด ผลงานออกแบบทีไ่ ดกจ็ ะ เปนผลงานทีต่ รงตามวัตถุประสงคมากทีส่ ดุ 90
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ โครงการวิจัยเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเสนทางสายไหม นครชัยบุรินทร,มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา,2554 อนัญญา ปานจีน. การศึกษา คติ ความเชือ่ เรือ่ งพญานาค ในพืน้ ทีอ่ สี านตอนบน เพือ่ เสนอแนวทางสูก ารออกแบบสถาปตยกรรมภายในพิพธิ ภัณฑนาคา, วิทยานิพนธศิลปมหาบัณฑิต สาขาตกแตงภายใน มหาวิทยาลัยศิลปากร,2553 สื่ออิเลคทรอนิค ความเปนมาของนครชัยบุรินทร(ออนไลน).เขาถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ 2555 .เขาถึงไดจาก http://nakhonchaiburin.wordpress.com/ โครงการวิจัยเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเสนทางสายไหม นครชัยบุรินทร(ออนไลน).เขาถึงเมื่อ 22 กุมภาพันธ 2555 .เขาถึงไดจาก http://www.fms.nrru.ac.th/nakhonchaiburin/ ตามรอยผาไหมแดนอีสาน(ออนไลน).เขาถึงเมื่อ 24 กุมภาพันธ 2555 .เขาถึงไดจาก http://www.esanclick.com/news.php?No=12792 เปดเสนทางสายไหม 13.3 ลาน พัฒนาทองเที่ยวนครชัยบุรินทร(ออนไลน).เขาถึงเมื่อ 22 กุมภาพันธ 2555 .เขาถึงไดจาก http://www.koratdaily.com/home/2010-07-27-16-32-40/272-2010-11-06-03-57-55.html
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
91
92
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
สีและปจจัยเกี่ยวเนื่องในศิลปะบำบัดที่มีผลตอการลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุ
Colors and Factors Related to Art Therapy Influence in Reducing Depression in Elderly ชลิดา รัชตะพงศธร1 ธนาทร เจียรกุล2 และ วัฒนพันธ ครุฑะเสน3
Abstract
The purpose of this research was to study colors and related factors in art therapy that could reduce depression in the elderly. The sample was elderly people with depressive disorder early stage in a nursing home in Udonthani province. This research used the screening assessment: The Geriatric Depression Scale from Yesavage et al. The research procedure was based on previous research and field surveys for analysis. Both pre and post designing process were studied and analyzed to find out the design approach. The designed was presented to two different groups of experts. The two groups were 9 experts in medical profession and 9 experts in designing, to evaluate and give suggestions to the design of the media by using the questionnaire in order to study a suitable designing media, art therapy for primary data collection. Designing art therapy to decrease the level of depression in the elderly before consulting a physician was divided in to two parts: Expressing Box and media used in the art therapy activities. The analysis was to test the art therapy with the elderly and evaluate the data with the experts both in medical profession and design by collecting the data from the questionnaire to find the mean and give the conclusion to the research. It could be concluded that designing art therapy to reduce depression in the elderly before consulting a physician could help reduce depression in the elderly. The design of the Expression Box resulted in a high level. In addition, the design for the media in the art therapy activities: the Coloring activity, Face Drawing activity, Imagination from within activity and Blissful Box activity, the elderly satisfaction was at the highest level. บทคัดยอ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสีและปจจัยเกี่ยวเนื่องในศิลปะบำบัดที่มีผลตอการลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุ กลุมตัวอยาง ที่ใชในงานวิจัย คือ ผูสูงอายุที่มีภาวะซึมเศราระดับตนใน บานพักคนชรา จังหวัดอุดรธานี โดยคัดกรองจากแบบประเมินภาวะซึม เศราผูส งู อายุ Geriatric Depression Scale ของ Yesavage และคณะ เปนการวิจยั จากเอกสารและการออกภาคสนามเพือ่ เก็บขอมูล มาวิเคราะห และนำขอมูลที่ไดมาออกแบบสื่อศิลปะบำบัดเพื่อสรุปเปนขอมูล 1 2 3
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2554 อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร ผศ.,อาจารยประจำหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
แนวทางในการออกแบบ ผูวิจัยไดศึกษาและวิเคราะหขอมูลทั้งกอนและหลังการออกแบบสื่อ แลวนำเสนอผลงานการออกแบบ กับผูเชี่ยวชาญ 2 กลุม ไดแก 1) ผูเชี่ยวชาญทางดานการแพทย 3 ทาน 2) ผูเชี่ยวชาญทางดานการออกแบบ 9 ทาน เพื่อประเมินผล การออกแบบสื่อพรอมทั้งใหขอเสนอแนะ โดยใชแบบสอบถาม ซึ่งสามารถสรุปผลการออกแบบสื่อที่ใชในการทดสอบกับ ผูสูงอายุที่ มีภาวะซึมเศราในบานพักคนชรา จังหวัดอุดรธานี ที่มีภาวะซึมเศราระดับตน เพื่อศึกษาการออกแบบสื่อศิลปะบำบัดที่มีความเหมาะ สมในการเก็บขอมูลกับคนไขในเบื้องตนได งานออกแบบสื่อศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุกอนพบแพทย แบงออกเปน 2 สวน คือ 1) กลองระบายใจ 2) สื่อ ในกิจกรรมศิลปะบำบัด การวิเคราะหขอมูล โดยการนำสื่อศิลปะบำบัดที่ออกแบบไปทดสอบจริงกับผูสูงอายุ และนำไปประเมินกับผูเชี่ยวชาญทางดาน การแพทยและผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ โดยการเก็บผลประเมินจากแบบสอบถามเพื่อหาคาเฉลี่ยที่ไดมาสรุปผลการทดลอง ผลการวิจัยพบวา การออกแบบสื่อศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุสามารถลดภาวะซึมเศราระดับตนในผูสูงอายุได ขอสำคัญของการออกแบบสื่อกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุ คือ ตองเปนสื่อที่เขาใจงายที่สุด สีและปจจัย เกี่ยวเนื่องในการออกแบบจะขึ้นอยูกับความงามตามธรรมชาติของวัตถุแตละประเภทที่เลือกมาใชเปนสื่อในกิจกรรม ภาพที่เลือกใช ควรตระหนักถึงเงื่อนไขทางสังคมที่ปรากฏในสิ่งกอสราง เชน ภาพบาน เกาอี้ ภาพเหลานี้อาจจะชี้นำไปถึงปมของคนไขที่มีอยู ผูสูง อายุที่มีขอจำกัดทางดานสุขภาพรางกาย เชน สายตาไมดี กลามเนื้อมัดเล็กที่นิ้วมือไมสามารถใชงานได โรคปวดหลัง ไมสามารถ นั่งนานๆได ดังนั้นควรมีการศึกษาการออกแบบสื่อศิลปะบำบัดชนิดอื่นที่มีความเหมาะสมตอขอจำกัดตามโรคเหลานี้ตอไป และควร มีการศึกษาผลของสื่อศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศราผูสูงอายุในระยะยาว คำสำคัญ
สีและปจจัยเกี่ยวเนื่อง / ศิลปะเพื่อลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุ สื่อศิลปะบำบัด (Art Therapy) หมายถึง สื่อในกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุ ที่ผูวิจัยไดสรางขึ้นมาจาก กิจกรรมศิลปะบำบัดสำหรับชวยในการสื่อสารระหวางคนไขกับแพทย นักศิลปะบำบัด หรือนักจิตวิทยา โดยออกแบบใหสอดคลอง กับทางการแพทยในเบื้องตน มีทั้งหมด 4 ขั้นตอน โดยดำเนินการวันละขั้นตอน รวม 4 วัน ประกอบดวย, การสรางสัมพันธภาพ, การรูจักตนเอง, การเรียนรูสิ่งตาง ๆ รอบ ๆ ตัว, การไดเห็นคุณคาจากสิ่งตาง ๆ รอบตัว ภาวะซึมเศรา (Major depressive disorder) หมายถึง ภาวะซึมเศรา เปนการเจ็บปวยทางจิตใจชนิดหนึ่ง ซึ่งจะทำใหรูสึกไมมี ความสุข ซึมเศรา จิตใจหมนหมอง หมดความกระตือรือรน เบื่อหนาย แยกตัวเอง ชอบอยูเงียบๆ คนเดียว ทอแท บางครั้งมีความ รูสึกสิ้นหวัง มองชีวิตไมมีคุณคา มองตนเองไรคา เปนภาระตอคนอื่น ถามีอาการมาก จะมีความรูสึกเบื่อชีวิต คิดอยากตาย หรือ คิดฆาตัวตาย (รองศาสตราจารยแพทยหญิงอรพรรณ ทองแตง การวิจยั เพือ่ พัฒนาคูม อื สำรวจอารมณเศราดวยตัวเองในผูส งู อายุไทย) ผูสูงอายุ (Elderly) หมายถึง ผูที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ และไมมีระดับภาวะซึมเศราที่รุนแรง ที่อยูในบาน พักคนชรา จังหวัดอุดรธานี
บทเกริ่นนำ
ในชีวติ ประจำวันนอกจากการรับประทานอาหาร การดืม่ น้ำ การขับถาย เพื่อใหชีวิตของเราดำรงอยู ยังตองมีการทำงานและ ทีส่ ำคัญคือจะมีการพักผอน จากกิจกรรมมากมายทีใ่ หมคี วามสุข ทีส่ รางพลังในการดำเนินชีวติ ตอไป ซึง่ กิจกรรมตางๆเหลานัน้ เชน ดนตรี กีฬา งานศิลปะ ถาเราไมสามารถสรางสมดุลของการ ทำงานและการพักผอนได ก็จะมีผลทำใหเกิดภาวะที่สุขภาพจิต ผิดปกติ โดยทำใหเกิดโรคซึมเศราได ซึ่งการรักษาผูปวยจิตเวช 94
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
นั้นมีวิธีที่ตองใชสีจากศิลปะเขามาเกี่ยวของ สำหรับบรรยากาศ ภายในหองที่คนไขจิตเวช พักอาศัยอยูนั้นใหดูเปนธรรมชาติ มากที่สุด จากขอมูลของสำนักสงเสริมและพิทกั ษผสู งู อายุ ไดประมาณ การเรื่องจำนวนผูสูงอายุ ของประเทศไทยในชวงป 2547 - 2550 วามีอัตราเพิ่มสูงขึ้นทุกป มีอัตราเพิ่มเฉลี่ยเกือบ 2 แสนคนตอป นายแพทยเรวัต วิศรุตเวช อธิบดีกรมการแพทย เปดผลสำรวจ ประชากรในกลุมผูสูงอายุวา มีโอกาสเปนโรคซึมเศราไดมากกวา ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วัยอื่น โดยพบวาประมาณรอยละ 30 ของผูที่มีอายุมากกวา 60 ปขึ้นไป เคยมีประสบการณ ของการมีภาวะซึมเศรารุนแรง ที่สง ผลกระทบกระเทือนตอชีวิตประจำวันอยางนอย 1 ครั้ง นพ.เรวัต กลาววา รอยละ 90 ของผูสูงอายุที่มีภาวะซึมเศราจะมีอารมณ เศรา หรือหดหูอยางตอเนื่อง ประมาณรอยละ 60 - 70 ของผูสู อายุที่มีภาวะซึมเศราจะมีอาการวิตกกังวลรวมอยูดวยและรอยละ 80 - 90 ปญหาในเรื่องของการนอนไมหลับรวมอยูดวย ผูสูงอายุ เปนวัยที่ตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งทางรางกาย สังคมและจิตใจ โดยปญหาดานจิตใจของผูสูงอายุ สวนใหญจะ มีสาเหตุเกิดจากการรูสึกสูญเสียทั้งจากปจจัยภายนอกและปจจัย ภายใน เชน เสียบุคคลอันเปนที่รักทำใหเกิดความเหววา รูสึกวา ตนไมมีคาและความหมายในสังคม การถูกปลดเกษียณจากการ ทำงานทำใหเกิดความรูสึกสูญเสียอำนาจรูสึกขาดที่พึ่ง ซึ่งสาเหตุ ทั้งหมดนี้มีผลกระทบทำใหหมดความสุขของผูสูงอายุเกิดความรู สึก นอยใจ เบื่อหนายแยกตัวออกจากสังคม เกิดเปนภาวะซึม เศรา จนบางครั้งทำใหรูสึกอยากตายได บทบาทของกิจกรรมของศิลปะเพือ่ การบำบัด (Art Therapy) นั้นถือวามีความสำคัญ และนับเปนกิจกรรมหนึ่งของการทำจิต บำบัด (Psychotherapy) ที่ใชศิลปะเปนสื่อเพื่อชวยเหลือบุคคล ที่มีปญหาดานอารมณและจิตใจ ซึ่งหลักการของกิจกรรมศิลปะ บำบัด คือใชศิลปะเปนสื่อกลางในการแสดงออกและการปลด ปลอยอารมณ ความรูส กึ ความขัดแยง และปมตาง ๆ ทีซ่ อ นเรน อยูภายในสวนลึกของจิตใจ การดำเนินกิจกรรมศิลปะบำบัดกับผูส งู อายุ การเลือกใชสอ่ื และอุปกรณเปนสิง่ สำคัญทีค่ วรพิจารณา เพราะผูส งู อายุมขี อ จำกัด ในเรื่องสุขภาพรางกาย เชน เปนโรคขออักเสบทำใหการใชนิ้วมือ ถูกจำกัด เกิดความยากลำบากในการใชแรงกดกับดินสอหรือเปน โรคปวดหลัง ไมสามารถนั่งเปนเวลานานๆได กิจกรรมจึงไมควร ใชเวลาเกินครัง้ ละ 1 ชัว่ โมง ในสวนของการดำเนินกิจกรรมศิลปะ บำบัดในชวงแรกผูส งู อายุบางทานอาจจะแสดงอาการตอตานหรือ ไมอยากเปดเผยความรูส กึ ใด ๆ ไมเสนอความคิดเห็นตอกิจกรรม เชน การกำหนดหัวขอในแตละวัน หรือผูสูงอายุมักบอกวา “ทำ ไมเปน ทำไมได” ซึ่งบางสวนอาจเกิดจากการตอตาน หรือบาง สวนเกิดจากการที่ทำไมเปนจริง ๆ ผูบำบัดจึงตองเสนอวิธีการที่ หลากหลายในการทำกิจกรรม เพื่อเปนทางเลือกใหผูสูงอายุและ ใหกำลังใจเพื่อสรางความมั่นใจ และลดความประหมาโดยตลอด กิจกรรม ผูบำบัดจะย้ำใหผูสูงอายุเขาใจถึงหลักการของศิลปะ บำบัดวา ไมสำคัญที่ตัวผลงาน แตสำคัญที่กระบวนการภายใน ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
จิตใจในระหวางการทำกิจกรรม (ขวัญฤทัย อิ่มสมโภช, 2549 : 114 - 117) ในภาวะซึมเศรา นอกจากอารมณเศราแลว คนไขจะไมสน ใจกิจกรรมและสิง่ แวดลอมทีเ่ คยสนใจ ทัง้ ยังแยกตัวออกจากสังคม รูสึกวาตนเองไรคา ดังนั้น ผูทำวิจัยจึงมีความประสงคที่จะศึกษา เรือ่ งของสีและปจจัยเกีย่ วเนือ่ งในศิลปะบำบัดเพือ่ นำไปสูแ นวทาง การออกแบบสือ่ เพือ่ นำมากระตุน ใหคนไขซมึ เศราเกิดความสนใจ ในกิจกรรมศิลปะบำบัด ที่สามารถเก็บขอมูลเบื้องตนของคนไข เพื่อชวยในการรักษาตอไปในทางการแพทย วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลของสีและปจจัยเกี่ยวเนื่องในศิลปะบำบัด ที่มีอิทธิพลตอการลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุ 2. เพื่อศึกษาการออกแบบสื่อเชิงนิเทศศิลปที่สามารถลด ภาวะซึมเศราของผูสูงอายุในระดับตนได วิธีการดำเนินการวิจัย
การกำหนดประชากร และการเลือกกลุมตัวอยาง 1. ประชากรที่ใชในการวิจัย ไดแก ผูสูงอายุที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ที่อยูในบานพักคนชรา จังหวัดอุดรธานี มีจำนวนทั้ง หมด 23 คน 2. กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก ผูสูงอายุที่มีอายุตั้ง แต 60 ปขน้ึ ไป ทีอ่ ยูใ นบานพักคนชรา จังหวัดอุดรธานี ทีม่ ภี าวะ ซึมเศราในระดับตน จำนวน 15 คน ดวยวิธีการสุมแบบจำเพาะ เจาะจง (Purposive Sampling) การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลของการวิจัยครั้งนี้ ประกอบไปดวย แบบประเมินที่ประกอบดวยขอมูล 3 สวน และ แบบสอบถาม รวมทั้งเครื่องมือในการทดลอง ดังนี้ 1. แบบประเมิน โดยแบงออกเปน 3 สวน ดังนี้ 1.1 แบบประเมินระดับภาวะซึมเศรา ในผูสูงอายุ Geriatric Depression Scale ของ Yesavage และคณะ (อ า งถึ ง ใน ขวัญฤทัย อิ่มสมโภช 2549 : 41) เปนแบบวัดที่มีคาความเชื่อมั่น (Reliability) สูงมาก เทากับ 0.94 โดย อรวรรณ ลี่ทองอิน ได แปลคำถามเปนภาษาไทยและนำไปทดสอบหาคาความเชื่อมั่นได เชนเดียวกับตนฉบับ วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
95
Yesavage และคณะ ((อางถึงใน ขวัญฤทัย อิ่มสมโภช การแปลความหมายคาคะแนนเฉลี่ยการออกแบบสื่อเบื้อง 2549 : 41) ไดกำหนดคะแนนของระดับภาวะซึมเศราไวเปรียบ ตนเพื่อลดภาวะซึมเศราของผูสูงอายุ ซึ่งมีสูตรในการคำนวณ เทียบดังตอไปนี้ เพื่อหาชวงหางของขอมูลในแตะละชั้น (อันตรภาคชั้น) ดังนี้ (ธานินทร ศิลปจารุ 2553: 142) อันตรภาคชั้น
=
คาพิสัย จำนวนชั้น
1.2 แบบสอบถามเพื่อประเมินประสิทธิภาพของสื่อสำหรับ กลุมทดลอง และผูเชี่ยวชาญ 1.3 สือ่ ศิลปะบำบัดเพือ่ ลดภาวะซึมเศรา (ระดับตน) ในผูส งู อายุกอนพบแพทย 2. แบบสอบถาม โดยแบงออกเปน 2 สวน ดังนี้ 2.1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ขอมูลทั่วไปของ ผูสูงอายุ ประกอบดวย เพศ อายุ ภูมิลำเนา ศาสนา โรคประจำ ตัวหรือความผิดปกติ และขอมูลการเขารับบริการสวัสดิการผูสูง อายุ ขอมูลทัว่ ไปของผูเ ชีย่ วชาญ ประกอบดวย ตำแหนง สถานที่ ทำงาน และประสบการณในการทำงาน 2.2 ประเมินความคิดเห็นที่มีตอผลงานการออกแบบสื่อ เพื่อลดภาวะซึมเศราประกอบดวย 2 สวน ไดแก ผลงานการออก แบบกลองระบายใจ และผลงานการออกแบบสือ่ ในกิจกรรมศิลปะ บำบัด ประกอบดวย กิจกรรมการระบายสี กิจกรรมวาดหนาตัว เอง กิจกรรมสรางภาพจากภายในใจ และกิจกรรมกลองแหง ความสุข โดยเปนแบบสอบถามแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) มีเกณฑ 5 ระดับของลิเคอรท (Likert Scale) เปนการวัดขอมูลประเภทอันตรภาคชั้น (Interval Scale) ซึ่งมี เกณฑการใหคะแนนประกอบดวย ระดับของความคิดเห็น
96
คะแนน
มากที่สุด
5 คะแนน
มาก
4 คะแนน
ปานกลาง
3 คะแนน
นอย
2 คะแนน
นอยที่สุด
1 คะแนน
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
แทนคา
=
5-1 5
=
0.8
จากการแทนคาตามสูตรดังกลาวขางตน เห็นไดวาชวงหาง ของขอมูลในแตละ อันตรภาคชั้น (Interval Scale) มีคาเทากับ 0.8 ดังนั้น ระดับคะแนนเฉลี่ยการออกแบบสื่อเบื้องตนเพื่อลด ภาวะซึมเศราของผูสูงอายุ จึงแสดงผลได 5 ระดับ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย
แปลผล
4.21 – 5.00
มีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด
3.41 – 4.20
มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก
2.61 – 3.40
มีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง
1.81 – 2.60
มีความพึงพอใจอยูในระดับนอย
1.00 – 1.80
มีความพึงพอใจอยูในระดับนอยที่สุด
ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ
1. ศึกษาและวิเคราะหเกีย่ วกับสีและปจจัยเกีย่ วเนือ่ งในศิลปะ บำบัดจากกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุ ในปจจุบนั โดยการสัมภาษณแพทยทางจิตเวช นักศิลปะบำบัดนัก จิตวิทยา จากการรวบรวมขอมูลภาคเอกสาร จากบทความหนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2. ศึกษาและวิเคราะหขอมูลกิจกรรมศิลปะบำบัดที่มีอยูใน ปจจุบันและออกแบบกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศรา ในผูสูงอายุกอนพบแพทย โดยทำการตรวจสอบกับแพทยผูเชี่ยว ชาญและนำไปทดลองกับผูสูงอายุในสถานสงเคราะหจังหวัด อุดรธานี โดยมีอาจารยพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชและนัก ศึกษาพยาบาลภาควิชาจิตเวชมหาวิทยาลัยราชธานีวิทยาเขต อุดรธานีเปนผูรวมสังเกตุผลของกิจกรรม ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
3. ศึกษาและวิเคราะหหาผลจากกิจกรรมศิลปะบำบัด เพื่อ ลดภาวะซึมเศราในผูส งู อายุกอ นพบแพทยรว มกับอาจารยพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวชเพือ่ โดยเริม่ วิเคราะหจากการทำงานของผูส งู อายุ และอุปสรรค เปนฐานขอมูลสำหรับการออกแบบสื่อเพื่อให สอดคลองกับความตองการมากที่สุด 4. ศึกษาและวิเคราะหหลักการออกแบบสื่อที่จะสงเสริมการ ทำกิจกรรมศิลปะบำบัดกับผูสูงอายุที่มีภาวะซึมเศราในระดับตน และมีความเหมาะสมสำหรับความสามารถของผูสูงอายุ โดยการ ศึกษาขอมูลภาคเอกสาร จากหนังสือ บทความ งานวิจัยที่เกี่ยว ของ และนำมาวิเคราะหหาสวนที่จะนำมาออกแบบสื่อศิลปะ บำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุกอนพบแพทย 5. นำผลการวิเคราะหมาออกแบบสื่อศิลปะบำบัดเพื่อลด ภาวะซึมเศราในผูส งู อายุกอ นพบแพทยไปตรวจสอบกับผูเ ชีย่ วชาญ และนำมาปรับปรุงแกไขเพิ่มเติม 6. นำผลงานออกแบบที่ไดไปดำเนินการทดสอบกับผูสูงอายุ และสอบถามกับผูเ ชีย่ วชาญทีเ่ กีย่ วของเพือ่ หาประสิทธิผลของการ ออกแบบสื่อวาตรงกับสมมติฐานหรือไม โดยการสรางแบบสอบถาม 7. การตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ ผูว จิ ยั ไดนำแบบสอบถาม ที่สรางขึ้นไปตรวจสอบความเที่ยงตรง (Validity) ตามเนื้อหาจาก ผูเชี่ยวชาญ จำนวน 3 ทาน ดังนี้ 7.1 นางสาวศิริลักษณ เศวตวงษ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลพญาไท 7.2 นางสาวปนอนงค พรหมอารักษ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสมิติเวชศรีนครินทร 7.3 นายกอนกาล ติณสูลานนท Graphic Designer และ นักวาดภาพประกอบหลังจากนั้นนำมาหาคาดัชนีความสอด คลอง (IOC) R N
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
ผูวิจัยเลือกขอคำถามที่มีคา IOC มากกวา 0.5 มาใชเปน ขอคำถามจากผูเชี่ยวชาญ ทั้ง 3 ทานซึ่งไดตรวจสอบแบบสอบ ถามแลวเห็นวาแบบสอบถามทุกขอที่ผูวิจัยสรางขึ้นมีความเที่ยง ตรงของเนื้อหา ครอบคลุมในแตละดาน และครอบคลุมวัตถุ ประสงคของการวิจัย สวนขอที่มี IOC ต่ำกวา 0.5 ผูวิจัยไดนำ มาปรับปรุงแกไขตอไป ตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ โดยมี คาดัชนีความสอดคลองของแบบสอบถามอยูระหวาง 0.5 ถึง 1 8. นำแบบสอบถามฉบับสมบูรณไปสอบถามกับกลุม ตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูล
ผูวิจัยไดทำการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้ 1. ขอมูลที่ใชในการวิจัย ขอมูลที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ มีขั้น ตอนรวบรวมขอมูลมาจากแหลงขอมูล 2 ประเภท 1.1 ขอมูลประเภทเอกสาร และสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส แบงเนื้อหาที่ตองศึกษาไวเปน 2 สวน คือ 1.1.1 ขอมูลทางการแพทยในเรื่องของกิจกรรมศิลปะ บำบัดที่เกี่ยวกับการรักษาผูปวยจิตเวช โดยการสัมภาษณแพทย ทางจิตเวช นักศิลปะบำบัด รวบรวมขอมูลจากหนังสือ หรืองาน วิจัยที่เกี่ยวของ 1.1.2 ศึกษาและรวบรวมขอมูลและทฤษฎีเรื่องการ ออกแบบสื่อสำหรับผูสูงอายุ โดยการสัมภาษณจากนักวิชาการ จากการรวบรวมขอมูลจากหนังสือ หรืองานวิจัยที่เกี่ยวของ 1.2 ขอมูลประเภทบุคคล ศึกษาจากการเก็บขอมูล การออกแบบจากการทดสอบกิจกรรมศิลปะบำบัดกับกลุมเปา หมายและสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ จิตแพทย พยาบาล นักจิตวิทยา นักศิลปะบำบัด ผูดูแลผูสูงอายุ รวมถึงสัมภาษณผูเชี่ยวชาญที่ เกี่ยวกับการออกแบบ 2. วิธีการรวบรวมขอมูล 2.1 ขอมูลประเภทเอกสาร และสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส ซึ่งมีวิธีการศึกษา 2 วิธี ดังตอไปนี้ 2.1.1 ศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวของ จากเอกสารทาง วิชาการ หนังสือ จากหองสมุดของมหาวิทยาลัยตาง ๆ 2.1.2 คนควาขอมูลจากสือ่ อิเล็กทรอนิกส โดยใชระบบ สืบคนขอมูลในเว็บไซตตาง ๆ เพื่อคนหางานวิชาการ งานวิจัย ที่เกี่ยวของ
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
97
2.2 ขอมูลประเภทบุคคล ศึกษาโดยการสัมภาษณกับ กลุมทดลอง 3 กลุมดังนี้ 2.2.1 ผูเชี่ยวชาญทางดานศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะ ซึมเศราในผูสูงอายุ 1. ผศ.ดร.ศรีวิมล มโนเชียวพินิจ Ph.D. (Communication Disorders) ภาควิชาวิทยาศาสตรฟนฟู คณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล 2. พลเรือตรีวศิน บำรุงชีพ จิตแพทย โรงพยาบาลมนารมย กรรมการสมาคมจิตแพทย 3. นายอนุพันธุ พฤกพันธขจี ผูอำนวยการสถาบันศิลปะ บำบัดในแนวทางมนุษยปรัชญา 4. นางสาวฟสนิ ี แดงวัง นักจิตวิทยา รพ.สมิตเิ วชศรีนครินทร 5. นางสาววรัญญา วชิโรดม นักจิตวิทยาการปรึกษาวิชาชีพ 6. นางสาวพิมพนิต คอนดี นักจิตวิทยาการปรึกษาวิชาชีพ (กำลังศึกษาตอในระดับปริญญาเอก ทางดานศิลปะบำบัดสำหรับ ผูสูงอายุ,จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) 7. นายสัณหชาย โมสิกรัตน นักจิตวิทยาการปรึกษาวิชาชีพ 8. นายเสรี วงษวิไลวารินทร ประธานบานพักคนชรา เปน ผูเชี่ยวชาญโดยทำงานดานผูสูงอายุมา 36 ป 9. นางเจนจิรา เกียรติสินทรัพย พยาบาลวิชาชีพชำนาญ พิเศษ ภาควิชาสุขภาพจิตและจิตเวชศาสตร วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี 2.2.2 ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบนิเทศศิลป โดยคัด เลือกจากกลุมคณาจารย และนักออกแบบที่มีประสบการณทาง ดานการสอนและการทำงานดานเลขนศิลป ไมต่ำกวา 5 ป 1. อาจารยเพิม่ ศักดิ์ สุวรรณทัต อาจารยประจำมหาวิทยาลัย รั ง สิ ต 2. อาจารยอดิศักดิ์ สรอยสุริยา ศิลปน อาจารยพิเศษสอน วาดรูปใหผูสูงอายุ 3. คุณเทวฤทธิ์ นาวารัตน Senior Designer บริษัท Bright Side Co.,Ltd. 4. คุณพลชม เอี่ยมสำอางค Art Director Y&R Thailand บริษัท เดนทสุยังก แอนด รูบิแคม จำกัด 5. คุณกอนกาล ติณสูลานนท Senior Designer นักวาดภาพ ประกอบ บริษัท Orisma Technology Co.,Ltd. 6. คุณอนงคนาฏ วิวฒั นานนท Art Director บริษทั Lhamp Interactive Co.,Ltd. 98
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
7. คุณรุจิสา เทพมงคล นักออกแบบ Art Director บริษัท Tomogram Studio Co.,Ltd. 8. คุณสมชนะ กังวารจิตต Executive Creative Director บริษัท Prompt Design Co.,Ltd. นักออกแบบบรรจุภัณฑ เคยได รับรางวัลชนะเลิศระดับโลก ป 2554 9. คุณพนิช งามนิยม Art Director บริษัท Hub Ho Hin Bangkok 2.2.3 กลุม ทดลอง จากการศึกษาการออกแบบสือ่ ศิลปะ บำบัดเพือ่ ลดภาวะซึมเศราในผูส งู อายุทม่ี ภี าวะซึมเศราในระดับตน โดยทำการคัดเลือกผูสูงอายุที่มีภาวะซึมเศราระดับตนที่อาศัยอยู ในบานพักคนชรา จังหวัดอุดรธานี ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑใน การคัดเขาและเกณฑคดั ออก ตามจำนวนไว 30 คน แบงเปนกลุม ทดลองและกลุมควบคุมกลุมละ 15 คน เกณฑในการคัดเขา 1. ผูที่มีอายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ที่มีระดับซึมเศราเล็กนอย 2. สามารถอานเขียนภาษาไทย หรือสามารถเขาใจและสื่อ สารภาษาไทยไดเปนอยางดี 3. มีสติสัมปชัญญะสมบูรณ สามารถรับรูวัน เวลา สถานที่ และบุคคลไดดี 4. ไมมีปญหาดานการมองเห็น การไดยิน หรือไมมีโรคทาง กายที่เปนอุปสรรคในการเขารวมกิจกรรม หรือถามีโรคประจำตัว ใหปรึกษาแพทยวาจะไมเปนอุปสรรค 5. มีความยินยอมและเต็มใจใหความรวมมือในการศึกษา วิจัย เกณฑการคัดออก 1. ผูที่มีอาการหลงลืม 2. ผูท ม่ี ภี าวะซึมเศรา อยูใ นระดับซึมเศรารุนแรง โดยประเมิน จากแบบประเมินความซึมเศราระดับภาวะซึมเศราในผูสูงอายุ Geriatric Depression Scale ของ Yesavage และคณะ ได คะแนนตั้งแต 20 คะแนนขึ้นไป 3. ผูที่มีโรคทางจิตเวชหรืออยูในระหวางการใชยาทางจิตเวช สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูล ผูว จิ ยั ไดนำขอมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมาเขาสูก ระบวนการวิเคราะห ขอมูล ดังนี้
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
1. ผูวิจัยจะทำการตรวจสอบขอมูล (Editing) โดยตรวจสอบ ความถูกตองและสมบูรณของแบบสอบถามที่กลุมตัวอยางทำการ ตอบ และแยกแบบสอบถามที่ไมสมบูรณออก 2. ทำการลงรหัส (Coding) นำแบบสอบถามที่ถูกตองเรียบ รอยแลวนำมาลงรหัสตามที่กำหนดรหัสไวลวงหนา 3. นำขอมูลที่ลงรหัสแลวมาบันทึกลงในคอมพิวเตอร เพื่อทำ การประมวลผลขอมูลโดยใชโปรแกรมสถิติสำเร็จรูป SPSS 14.0 (Statistical Package for Social Sciences) สถิติที่ใชในการวิจัย
สถิตทิ ใ่ี ชในการวิเคราะหขอ มูล ไดแก คาเฉลีย่ (Mean) เพือ่ หาคาเฉลี่ยจากแบบสอบถาม และหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพื่อวัดการกระจายของขอมูล
เนื้อหาบทความวิจัย
ผลการศึกษา ผูสูงอายุที่มีภาวะซึมเศรานั้นจะมีอาการหลากหลาย และ สวนใหญจะไมรูตัว และบางคนไมสามารถสื่อสารออกมาเปนคำ พูดเพื่อบอกแพทยวามีอาการอยางไร จึงเปนการยากตอการบำบัด รักษา ดวยเหตุนใ้ี นเบือ้ งตนแพทยจงึ ตองใชกระบวนการทางศิลปะ บำบัดเพื่อคนหาปมจากสวนลึกในจิตใจของผูปวยในการบำบัด รักษา แตลักษณะทางกายภาพของผูสูงอายุที่เริ่มจะถดถอยนั้นทำ ใหเกิดปญหาในการทำศิลปะได การศึกษาวิจัยเรื่องสีและปจจัย เกี่ยวเนื่องในศิลปะบำบัดที่มีอิทธิพลตอการลดภาวะซึมเศราในผู สูงอายุโดยศึกษาและวิเคราะหผลของสีและปจจัยเกี่ยวเนื่องจาก ศิลปะบำบัดในการออกแบบสื่อเบื้องตนเพื่อลดภาวะซึมเศราในผู สูงอายุ ซึ่งจะเปนเพียงสื่อศิลปะบำบัดที่นำไปใชกับผูสูงอายุเพื่อ เก็บขอมูลคนไขกอ นพบแพทยเทานัน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ นำไป สูการออกแบบสื่อศิลปะบำบัดที่มีความเหมาะสมและสามารถลด ภาวะซึมเศราของผูสูงอายุไดตอไป กลุมตัวอยาง คือ ผูสูงอายุที่มี อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป ที่อยูในบานพักคนชรา จังหวัดอุดรธานี ที่ มีภาวะซึมเศราในระดับตน จำนวน 15 คน จากการศึกษาทฤษฎีศิลปะบำบัดที่มีอยูในปจจุบัน สามารถ แบงไดหลายแนวทาง หลากหลายวิธีการ กลาวคือกระบวนการ ทางศิลปะศึกษาอยางที่เราเคยเรียนมาตั้งแตเด็กจนโต เชน การ วาดรูประบายสี ทำงานประดิษฐ และกระบวนการเหลานี้นับเปน ปจจัยเกี่ยวเนื่องในศิลปะบำบัดที่สำคัญ และศิลปะบำบัดแนวทาง มนุษยปรัชญา เปนอีกแนวทางที่เนนกระบวนการที่ใชศิลปะเขาไป ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
บำบัดจิตใจสวนลึกของมนุษย ขอสังเกตุที่นาสนใจ คือ กระบวน การแนวทางมนุษยปรัชญาจะใชเทคนิคสีน้ำ เนื่องจากสีน้ำเปน สีที่สามารถซึมเขาหากันไดงายที่สุด เสมือนกับการทำใหสีไดซึม เขาสูจิตใจสวนลึกผูที่มาทำศิลปะบำบัดใหงายที่สุด สีน้ำเปนสีที่ มีความใส โปรง เบา สบาย สีน้ำที่มีความใสเหมือนกับสีที่ สามารถหายใจได โดยทีส่ นี ำ้ สามารถสรางสรรคเปนงานเลขนศิลป สิ่งแวดลอมที่สามารถบำบัดผูปวยได(ลาซัวรเพนติ้ง) คือการวาด สีน้ำในหองผูปวยในลักษณะที่ทำสีที่โปรงใสของสีน้ำวาดลงไปให ซอนกันเปนชั้นๆ จนทำใหรูสึกเสมือนวาสีนั้นสามารถหายใจได การลงสีจะไมลงสีใหทึบตัน ศิลปะบำบัดในแนวทางมนุษยปรัชญาโดยสวนใหญ นักศิลปะ บำบัดจะเลือกภาพทีม่ อี ยูจ ริงตามธรรมชาติ ภาพธรรมชาติสภาพ แวดลอมรอบๆตัวจากประสบการณใหผูปวยวาด เชน ภาพทอง ฟา สายรุง ตนไมในฤดูตางๆ ซึ่งธรรมชาติเหลานี้จะเปนสิ่งที่ สะทอนความคิด จินตนาการ ความฝน ความหลัง ของผูปวย ไดดี วิธีการวาดคือ เตรียมสีน้ำ พูกันเบอร 20 และกระดาษ 100 ปอดน ใหผูสูงอายุวาดเอง โดยที่จะไมเลือกใหวาดการตูนหรือ ภาพที่เปนภาพตัดทอนลายเสนแบบภาพกราฟกโดยเด็ดขาด เพราะภาพแบบกราฟกจะเปนภาพที่อยูในความฝน จินตนาการ ทำใหผูปวยโรคซึมเศราบางคนไมสามารถหลุดออกมาจากความ ฝน จากโลกของตน หรือไมสามารถอยูก บั ความเปนจริงในปจจุบนั ไดเลย จากวิธีการดังกลาว จะเปนการยากมากสำหรับผูสูงอายุ ที่ไมเคยวาดภาพสีน้ำ จะเกิดความไมมั่นใจที่จะวาด และไมยอม วาด จึงเปนที่มาของการออกแบบสื่อศิลปะบำบัดที่จะสามารถให 15 ผูสูงอายุมารวมทำกิจกรรมศิลปะบำบัดใหสะดวกและงายขึ้น เหมาะสมกับความสามารถทั้งทางกายภาพและทางดานจิตวิทยา ในงานวิจัยนี้ ดังนั้นผลการออกแบบสื่อในกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อลด ภาวะซึมเศราในผูสูงอายุในงานวิจัยนี้ ออกแบบจากขั้นตอนหลัก ในการทำศิลปะบำบัด ซึ่งเปนการรวบรวมสรุป และเทียบเคียง กับขั้นตอนการทำจิตบำบัด แบงเปนขั้นตอนหลัก “4 E” ดังนี้ 1) Established rapport (สรางสัมพันธภาพ) เปนขั้นแรก ของการบำบัด สรางสัมพันธภาพระหวางผูบำบัดกับผูรับการ บำบัด ซึง่ รวมถึงการประเมินสภาพปญหา และวางแผนการบำบัด รักษาดวย 2) Exploration (คนหาปญหา) เปนขัน้ ของการสำรวจ คนหา วิเคราะหปมปญหา ความขัดแยงภายในสวนลึกของจิตใจ วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
99
3) Experiencing (ทบทวนประสบการณ) เปนขั้น การบำบัด โดยดึงประสบการณแหงปญหาขึ้นมาจัดเรียง ปรับเปลี่ยน แกไขใหม ในมุมมองและสภาวะใหม 4) Empowerment (เสริมสรางพลังใจ) เปนขั้นสุด ทายของการบำบัด โดยเสริมสรางความภาคภูมิใจในตน เอง และใหโอกาสแหงการเปลี่ยนแปลง การออกแบบสื่อในกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะ ซึมเศราในผูส งู อายุในงานวิจยั นี้ จะแบงออกเปน 2 สวนคือ 1 กลองระบายใจ คือ เลมหนังสือที่ออกแบบเปน กลองที่รวบรวมกิจกรรมศิลปะบำบัด ทั้ง 4 กิจกรรม, เลม คูมือการใชกลองระบายใจ ที่อธิบายเรื่องที่เกี่ยวกับภาวะ ซึมเศราในผูสูงอายุ แบบประเมินภาวะซึมเศรา กระบวน การทางศิลปะบำบัด และวิธีการทำกิจกรรมศิลปะบำบัด ใหกบั ผูท ด่ี แู ลผูส งู อายุ จิตแพทย พยาบาล นักศิลปะบำบัด คนในบานพักคนชรา หรือรวมไปถึงผูที่ตองการใชกลอง ระบายใจกับผูสูงอายุ การออกแบบนั้นจะใชหลักการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ เฉพาะกิจ หลักการจัดองคประกอบก็จะออกแบบใหมี ลักษณะที่เหมาะสมกับการใชงานกับผูสูงอายุ คือ ใชแบบ อักษรที่มีหัว ขนาดเล็กที่สุด คือ 14 pt. ขนาดใหญที่สุด คือ 44 pt. ออกแบบเปน 2 สื่อในกิจกรรมศิลปะบำบัด คือ คือ การออกแบบ สื่อที่ใชในทุกกิจกรรมศิลปะบำบัดจากขั้นตอนหลัก 4E ดัง ตอไปนี้ คือ 2.1 กิจกรรมการระบายสีผลไม ออกแบบใหสอดคลอง กับหลักการ Established rapport ออกแบบเปนภาพ ประกอบรูปลายเสนสีน้ำเปนภาพโครงสรางผลไม และ เตรียมสีเทียนขนาดใหญใหระบายสีตามภาพ
100
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
2.2 กิจกรรมการสรางภาพปะติดหนาตัวเอง ออกแบบใหสอดคลองกับหลักการ Exploration ออกแบบเปนภาพสีน้ำที่เปนภาพทรงผมผูสูงอายุ 16 ภาพโครงหนา 3 แบบ ภาพตา และปาก ทำ เปนภาพปะติดโดยใชหนามเตยเปนตัวเชื่อมใหองคประกอบในภาพสามารถปะติดกันเปนหนาผูสูง อายุได และงายตอการทำกิจกรรม
2.3 กิจกรรมการสรางภาพจากภายในจิตใจ ออกแบบใหสอดคลองกับหลักการ Experiencing ออกแบบเปนภาพสีนำ้ สภาพแวดลอมทีเ่ ปนธรรมชาติจากขอมูลบานพักคนชรา เชน ตนไม ดอกไม สัตวเลี้ยง ทำเปนภาพปะติดโดยใชกาวสองหนาที่สามารถติดและดึงเขาออกไดและออกแบบกรอบ รูปภาพทุงหญาที่มีแสงพระอาทิตยใหผูสูงอายุไดสรางเปนภาพที่ตัวเองชอบ
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
101
2.4 กิจกรรมกลองแหงความสุข ออกแบบใหสอดคลองกับ หลักการ Empowerment ออกแบบรูปเลมกิจกรรมใหปกหลังมี ลักษณะที่พับทบกลับมาปกหนาแลวเตรียมเชือกสีใหผูกกลองให คลายกับกลองของขวัญทีผ่ สู งู อายุสรางสรรคขน้ึ มาเอง การสรุปผลการทดสอบและการประเมินผลงานออกแบบจาก ผูเชี่ยวชาญทางดานการแพทยและทางดานการออกแบบและผล การทดสอบผลงานออกแบบจากผูสูงอายุ มีผลปรากฎ ดังนี้ ผูเชี่ยวชาญดานศิลปะบำบัด, ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ, ผู สูงอายุ มีความพึงพอใจโดยรวมอยูในระดับมาก คือสามารถนำ สือ่ ศิลปะบำบัดจากงานวิจยั นีไ้ ปใชไดจริง การอภิปรายผล
จากผลการวิจัยเรื่องสีและปจจัยเกี่ยวเนื่องในศิลปะบำบัดที่ มีอิทธิพลตอการลดภาวะซึมเศราในผูสูงอายุโดยศึกษาจากการ ออกแบบสือ่ เบือ้ งตนเพือ่ ลดภาวะซึมเศราในผูส งู อายุกอ นพบแพทย ของกลุมตัวอยางสามารถอภิปรายผล ไดดังนี้ ขอสำคัญของการ ออกแบบสือ่ กิจกรรมศิลปะบำบัดเพือ่ ลดภาวะซึมเศราในผูส งู อายุ จะตองเปนสือ่ ทีเ่ ขาใจงายทีส่ ดุ ตอการนำไปสือ่ สารกับผูส งู อายุทม่ี ี ภาวะซึมเศรา ในการทดลองครั้งนี้ดานความสวยงามทางดานการออกแบบ จะขึน้ อยูก บั ความงามตามธรรมชาติของวัตถุตา งๆทีเ่ ลือกมาออก แบบ ดังนั้นการเลือกวาดภาพประกอบจึงเปนปจจัยที่สำคัญใน การออกแบบสื่อศิลปะบำบัดควรตระหนักถึงเงื่อนไขทางสังคมที่ ปรากฏในสิง่ กอสราง เชน ภาพบาน เกาอี้ ภาพเหลานีอ้ าจจะชีน้ ำ ไปถึงปมของคนไขที่มีอยูจนอาจจะทำใหคนไขมีอาการแยลงได ดังนั้นภาพประกอบสำหรับสื่อศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศรา ควรใชภาพจากธรรมชาติโดยอาจจะอางอิงจากทฤษฎีธรรมชาติ บำบัดดวย 102
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
การออกแบบจะตองออกแบบภาพประกอบที่ใหความรูสึกไป ในทางที่ดีตอผูสูงอายุที่ไดพบเห็นเพื่อเปนจุดนำใหเขามาเขารวม กิจกรรมจนจบตามวัตถุประสงค การทำกิจกรรมแตละครั้งผูดำเนินกิจกรรมควรเตรียมใจให พรอมสำหรับการไปทำกิจกรรมศิลปะบำบัดกับกลุมเปาหมายนี้ ซึ่งในบางครั้งปยจัยแวดลอมตางๆอาจจะสงผลตอการดำเนิน กิจกรรมดวย เชน อากาศหนาวผูสูงอายุจะมีความรูสึกวายังไม อยากทำอะไร วันที่ไปดำเนินกิจกรรมศิลปะบำบัดเปนวันที่มีคน ภายนอกเขาไปทีบ่ า นพักคนชราเพือ่ ทำกิจกรรมอืน่ พรอมกันทำให ผูส งู อายุเกิดความเหนือ่ ยลามากเกินไป การออกแบบสือ่ ศิลปะบำบัดในครัง้ นีส้ ามารถศึกษาแนวทาง การออกแบบสือ่ ทีส่ ามารถเก็บขอมูลของผูส งู อายุทม่ี ภี าวะซึมเศรา เพือ่ นำไปใชในการรักษาตอไปในทางการแพทยได โดยศึกษาจาก กรอบแนวคิดทางดานการออกแบบทีส่ อดคลองกับกิจกรรมศิลปะ บำบัด ในเรือ่ งของการ องคประกอบพืน้ ฐานทางดานการออกแบบ ออกแบบภาพประกอบสำหรับดำเนินกิจกรรม สี และวัสดุอปุ กรณ ในสวนขอมูลในการศึกษาการวิจยั ฉบับนี้ ได ขอเสนอแนะ
แบงเปน 2 ประเด็น คือ ขอเสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใชประโยชน
1. จากการวิจยั ครัง้ นีท้ ไ่ี ปศึกษาการออกแบบสือ่ ศิลปะบำบัด สำหรับผูสูงอายุที่มีภาวะซึมเศราที่บานพักคนชราจังหวัดอุดรธานี บางครั้งเรื่องวัฒนธรรมทองถิ่นจึงถือวามีผลตอพฤติกรรมการ สือ่ สารดวย เชน คนตางจังหวัดในบางพืน้ ทีถ่ กู สอนมาไมใหแสดง ออกทางความรูสึก จึงอาจจะมีผลทำใหการดำเนินกิจกรรมเปน ไปไดยาก
ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
2. การออกแบบสื่อศิลปะบำบัดกับผูสูงอายุนั้นจะตองมี ความชัดเจนสื่อสารงายที่สุด 3. เงื่อนไขทางสังคมที่ปรากฏในสิ่งกอสรางไมเหมาะกับการ ที่จะนำมาออกแบบเปนสื่อในกิจกรรมศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะ ซึมเศรา ควรใชภาพจากธรรมชาติเทานัน้ 4. เห็นคุณคาในตนเอง เห็นคุณคาสิ่งแวดลอมรอบๆตัว 5. การออกแบบสื่อในงานวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปใชกับผูที่ มีภาวะซึมเศราในระดับกลางได และหากจะศึกษาการออกแบบ สื่อเพื่อลดภาวะซึมเศราในระดับสูงขึ้น การเลือกวัสดุอุปกรณนับ วาเปนสิ่งที่สำคัญที่สุด เพื่อลดอันตรายของสื่อตอการทำรายตัว เองของคนไข เชน อันตรายของดินสอไม คือ คนไขสามารถนำ มาเปนอาวุธเพื่อทำรายผูอื่นได เปนตน 6. การออกแบบควรมีการแนะนำในเรื่องของการสรางความ สัมพันธอันดีของผูดำเนินกิจกรรมตอผูสูงอายุใหมาก โดยศึกษา ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อสรางสัมพันธภาพ (Rapport ของ Carl. Roger) เพราะเมื่อผูดำเนินกิจกรรมมีใจที่จะชวยเหลือคนไขแลว เมือ่ เกิดปญหาจากคนไขทม่ี ภี าวะอารมณไมปกติผดู ำเนินกิจกรรม จะไดสามารถปรับตัวเขาหาคนไขไดงายและสมบูรณมากขึ้น ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป
1. ควรมีการสงเสริมการออกแบบสื่อศิลปะบำบัดเพื่อลด ภาวะซึมเศราสำหรับผูสูงอายุตอไป เพื่อที่จะชวยใหผูสูงอายุเกิด การเห็นคุณคาในสิ่งรอบๆตัวเพื่อใหเกิดความสุขที่สูงขึ้น 2. จากการดำเนินกิจกรรมศิลปะบำบัดกับผูสูงอายุที่มีขอ จำกัดทางดานสุขภาพรางกาย เชน สายตาไมดี กลามเนือ้ มัดเล็ก ที่นิ้วมือไมสามารถใชงานได โรคปวดหลัง ไมสามารถนั่งนานๆ ได ดังนั้นควรมีการศึกษาการออกแบบสื่อที่มีความเหมาะสมตอ ขอจำกัดตามโรคเหลานี้ตอไป
3. ควรมีการศึกษาผลของสื่อศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึม เศราผูสูงอายุในระยะยาวในบานพักคนชราตอไป 4. ควรมีการศึกษาการออกแบบสื่อประเภทอื่นๆที่สามารถ ใชในการรวมทำกิจกรรมศิลปะบำบัดกับผูสูงอายุที่มีภาวะซึม เศราได 5. สือ่ ทีผ่ วู จิ ยั ไดออกแบบสามารถนำไปใชในการทำกิจกรรม ศิลปะบำบัดเพื่อลดภาวะซึมเศรากับผูสูงอายุไดดีกับผูสูงอายุที่ เปนผูหญิงเปนสวนใหญเนื่องจากในสถานสงเคราะหคนชราจะมี แตผหู ญิงและผูส งู อายุผชู ายสวนใหญไมพรอมทีจ่ ะเขารวมกิจกรรม ซึ่งอาจจะศึกษาตอไปวาสื่อที่ออกแบบในงานวิจัยครั้งนี้จะใหผล แตกตางกับผูสูงอายุผูชายหรือไม 6. ศิลปะบำบัดที่มีอยูในปจจุบันเปนการนำหลักการศิลปะ ของตางประเทศมาใชซึ่งบางครั้งอาจจะยังไมเหมาะสมกับ วัฒนธรรมของไทย และหากแยกยอยลงไปในแตละทองถิ่นแลว ศิลปะนัน้ มีหลากหลายมากประเด็นตอไปทีค่ วรศึกษา คือ ลักษณะ ของศิลปะแบบพื้นบานที่เหมาะกับการนำมาใชในศิลปะบำบัดกับ คนในแตละทองถิ่นในประเทศไทย กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธฉบับนีส้ ำเร็จลงไดดว ยความกรุณาอยางดียง่ิ จาก อาจารยธนาทร เจียรกุล และผศ.วัฒนพันธ ครุฑะเสน อาจารย ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ อาจารยเพิ่มศักดิ์ สุวรรณทัต, นายแพทย วศิน บำรุงชีพ ที่ไดสละเวลาและใหคำแนะนำแกผูวิจัย คุณ ความดีและคุณประโยชนจากวิทยานิพนธฉบับนีข้ อมอบแดบพุ การี คณาจารย และผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานที่มีสวนใหวิทยานิพนธ ฉบับนี้สำเร็จลุลวงไปไดดวยดี
บรรณานุกรม ขวัญฤทัย อิ่มสมโภช. (2549). ผลของศิลปะเพื่อการบำบัดตอการเพิ่มการเห็นคุณคาในตนเองของผูสูงอายุในศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคม ผูสูงอายุ บานบางแค.วิทยานิพนธหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสุขภาพจิต คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทวีศักดิ์ สิริรัตนเรขา. 2550. ศิลปะบำบัด ศาสตรและศิลปแหงการบำบัด . กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุ สภา. ลาดพราว, อนุพันธ พฤกษพันธขจี. (2551). ศิลปะบำบัด คืนสมดุลสูชีวิต. เอกสารประกอบการเสวนา ศูนยจิตปญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ. กรุงเทพ, วิสคอมเซ็นเตอร. Cattanach A editor.1999. Process in the arts therapies . London: Jessica Kingsley. Edwards D. 2004. Art therapy. London: SAGE publications. Malchiodi CA, editor.1999. Medical art therapy with children. London: Jessica Kingsley. Rosal M. 1995. Art therapy with children. Abbeygate Press: Isle of Palms, SC. ปที่ 1 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน 2555
วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
103
หลักเกณฑการเสนอบทความ วารสารศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 1. ความเปนมา
วารสารศิลปะและการออกแบบ มีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพร ความรูทางวิชาการ แกบุคคลทั่วไป ทั้งในแวดวงวิชาการ และ สังคมโดยรวม และเพื่อสงเสริม และสนับสนุนใหคณาจารย นักวิชาการ นักศึกษา และผูสนใจทั่วไปไดมีโอกาสเผยแพรผล งานวิชาการ ผลงานวิจัย/งานสรางสรรคทางสถาปตยกรรมและ ศิลปะทุกแขนง ตลอดจนแลกเปลี่ยนความรู ความคิด และการ ถกเถียงวิพากษวจิ ารณดา นศิลปะ และวัฒนธรรม โดยมีเปาหมาย เพื่อยกระดับมาตรฐานวารสาร ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สูความ เปนวารสารวิชาการชั้นนำดานศิลปะและการออกแบบ โดยมี กำหนดตีพิมพปละ 1 ฉบับ 2. ประเภทบทความ
บทความที่สามารถตีพิมพ ควรเปนบทความตอไปนี้ 2.1 บทความวิจัย (Research Article) หมายถึงบทความ ทีป่ ระมวลมาจากผลงานวิจยั ซึง่ มีรปู แบบการวิจยั ตามหลักวิชาการ มีการศึกษาคนควาอยางเปนระบบ โดยจะตองระบุถงึ วัตถุประสงค ทีช่ ดั เจน มีการศึกษาเอกสารหรือทฤษฎีทเ่ี กีย่ วของ มีวธิ กี ารศึกษา หรื อ การทดลองเพื ่ อ รวบรวมข อ มู ล สำหรั บ ใช ใ นการตี ค วาม วิเคราะหและสรุปผลการวิจัย เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคการวิจัย หรือไดมาซึ่งหลักการที่จะนำไปสูความกาวหนาทางวิชาการหรือ สามารถนำไปใชประโยชนได 2.2 บทความวิชาการ (Academic Article) หมายถึงบท ความที่เรียบเรียงจากการรวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ แลวนำ ไปเขียนในลักษณะวิเคราะห วิจารณ สังเคราะห หรือเสนอแนวคิด ใหมๆ บนพื้นฐานทางวิชาการ หรือเปนบทความที่เขียนขึ้นเพื่อ เปนความรูสำหรับผูสนใจทั่วไป ตัวอยางบทความประเภทนี้ได แก บทความปริทัศน (Review Article) บทความทางเทคนิค (Technical Article) บทความเชิงปฏิบัติในวิชาชีพ (Professional Practice) บทความวิจารณ-บทความแนะนำหนังสือ และบทความ อืน่ ๆ (Other Article) ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก บั ดุลยพินจิ ของกองบรรณาธิการ
3.3 ระบุชอ่ื บทความ ชือ่ -นามสกุลจริง ของผูเ ขียนบทความ พรอมวุฒิการศึกษา ตำแหนงและสถานที่ทำงานอยางชัดเจนเปน ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3.4 ตนฉบับบทความควรมีความยาวประมาณ 8-15 หนา กระดาษ A4 รวมเอกสารอางอิง ขนาดอักษร Cordia New ขนาด 16 point ใชคอมพิวเตอรพิมพ ตัวอักษรสีดำ พิมพใน กระดาษขาว ขนาดมาตรฐาน A4 ไมมเี สนบรรทัด การตัง้ คาหนา กระดาษ เวนขอบบน/ซาย 3.75 ซม. (1.5 นิว้ ) และขอบลาง/ขวา 2.5 ซม. (1 นิ้ว) 3.5 เปนบทความที่ไมเคยตีพิมพเผยแพรที่ใดมากอน 3.6 หากเปนงานแปลหรือเรียบเรียงจากภาษาตางประเทศ ตองมีหลักฐานการอนุญาตใหตีพิมพเปน ลายลักษณอักษรจาก เจาของลิขสิทธิ์ 3.7 บทความตองมีสาระสังเขป (บทคัดยอ) ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ มีความยาวรวมกันไมเกิน 1 หนา กระดาษ A4 4. องคประกอบของบทความ
4.1 บทความวิจัย ประกอบดวย 4.1.1 ชื่อเรื่อง กรณีเปนบทความภาษาไทย ชื่อเรื่อง ตองมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กลาวถึงที่มาของผลงาน เชน ความเปนมาแหลงทุนสนับสนุน และ/หรือผูจุดประกาย ความคิดบางอยาง เปนตน 4.1.2 ชื่อผูนิพนธ ชื่อเต็ม นามสกุลเต็ม ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตำแหนงทางวิชาการ (ถามี) หนวยงานที่ ทำงาน 4.1.3 บทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยให ภาษาอังกฤษขึ้นกอน ความยาวรวมกันทั้งหมด ไมเกิน 1 หนา แบงออกเปน 3 สวน คือ สวนที่ 1 วัตถุประสงคของการวิจัยและวิธีการดำเนิน งานหรือการวิเคราะห สวนที่ 2 ผลการศึกษาหรือผลการวิเคราะห สวนที่ 3 สรุปผลการศึกษาหรือผลการวิเคราะหมีขอ คนพบสำคัญอะไรบาง และเปนประโยชน 3. ลักษณะบทความ กับใครบาง ขอเสนอแนะ 3.1 บทความศิลปะและการออกแบบทุกแขนง ทัง้ วิจติ รศิลป 4.1.4 คำสำคัญ มีคำสำคัญภาษาไทยและ ภาษา ทัศนศิลป สถาปตยกรรมและการออกแบบ อังกฤษ 3-6 คำ 3.2 ภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ ในกรณีเปนภาษาอังกฤษ 4.1.5 บทนำ เขียนวัตถุประสงคของงานวิจัย ตรวจ ตองผานการตรวจสอบความถูกตองจากผูเชี่ยวชาญดานภาษา เอกสาร (Literature review) วิธีการดำเนินงานเฉพาะที่เกี่ยวของ กอนสงบทความมายังกองบรรณาธิการ กับงานในสวนสำคัญเทานั้น
4.1.6 เนือ้ หาบทความวิจยั เสนอแบงออกเปน 3 สวนคือ สวนที่ 1 ผลการวิจัย สวนที่ 2 สรุปและอภิปรายผล สวนที่ 3 ขอเสนอแนะเพื่อการนำไปใชประโยชน 4.1.7 กิตติกรรมประกาศ เปนการที่ผูเขียนขอบคุณ บุคคลที่มีสวนชวยเหลือ อำนวยความสะดวก จุดประกายความ คิดใหกับผูเขียนและ/หรือเปนแรงบันดาลใจ เปนแรงใจ เปนตน ความยาว 3-10 บรรทัด 4.1.8 เอกสารอางอิง และบรรณานุกรม ใหใชระบบ APA (วิธีเขียนใหดูตามตัวอยางขอ 8) 4.2 บทความสรางสรรค 4.2.1 ชื่อเรื่อง กรณีเปนบทความภาษาไทย ชื่อเรื่อง ตองมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กลาวถึงที่มาของผลงาน เชน ความเปนมาแหลงทุนสนับสนุน และ/หรือผูจุดประกาย ความคิดบางอยาง เปนตน 4.2.2 ชื่อผูนิพนธ ชื่อเต็ม นามสกุลเต็ม ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตำแหนงทางวิชาการ (ถามี) หนวยงานทีท่ ำงาน 4.2.3 บทคัดยอ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยให ภาษาอังกฤษขึ้นกอน ความยาวรวมกันทั้งหมด ไมเกิน 1 หนา 4.2.4 คำสำคั ญ มี ค ำสำคั ญ ภาษาไทยและภาษา อังกฤษ 3-6 คำ 4.2.5 บทนำ เขียนวัตถุประสงคในงานสรางสรรคและ แนวคิด ขอบเขตของการสรางสรรค ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 4.2.6 เนื้อหาเขียนการศึกษาเอกสารและขอมูล การ วิเคราะหขอมูล การดำเนินการสรางสรรค สรุป และอภิปราย ผลงานสรางสรรค ขอเสนอแนะ 4.2.7 กิตติกรรมประกาศ เปนการที่ผูเขียนขอบคุณ บุคคลที่มีสวนชวยเหลือ อำนวยความสะดวก จุดประกายความ คิดใหกับผูเขียนและ/หรือเปนแรงบันดาลใจ เปนแรงใจ เปนตน ความยาว 3-10 บรรทัด 4.2.8 เอกสารอางอิง และบรรณานุกรม ใหใชระบบ APA (วิธีเขียนใหดูตามตัวอยางขอ 8) 4.3 บทความวิชาการ และบทความปริทัศน ประกอบดวย 4.3.1 ชื่อเรื่อง กรณีเปนบทความภาษาไทย ชื่อเรื่อง ตองมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กลาวถึงที่มาของผลงาน เชน ความเปนมา และ/หรือแหลงทุนสนับสนุน ผูจุดประกาย ความคิดบางอยาง เปนตน 4.3.2 ชื่อผูนิพนธ ชื่อเต็ม นามสกุลเต็ม ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตำแหนงทางวิชาการ (ถามี) หนวยงานทีท่ ำงาน
4.3.3 บทคัดยอ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยให ภาษาอังกฤษขึ้นกอน ความยาวรวมกันทั้งหมด ไมเกิน 1 หนา 4.3.4 คำสำคั ญ มี ค ำสำคั ญ ภาษาไทยและภาษา อังกฤษ 3-6 คำ 4.3.5 บทนำ เขียนวัตถุประสงค ในประเด็นที่นำเสนอ 4.3.6 เนื้อหาบทความวิชาการ และบทความปริทัศน เสนอเนื้อหาที่ตองการนำเสนอ การแบง หัวขอยอยตางๆ และ ความยาวของบทความ 8-15 หนา กระดาษ A 4 4.3.7 ประเด็นอภิปราย เปนการนำเสนอประเด็นทีค่ วร นำมาถกเถียง และอภิปรายในวงกวาง เพือ่ เปนการตอยอดความ คิดใหเกิดองคความรูใ หม และเกิดความงอกงามทางวิชาการตอไป 4.3.8 บทสรุป เปนการสรุปขอเสนอจากผลงานวิชาการ 4.3.9 เอกสารอางอิง และบรรณานุกรม ใหใชระบบ APA (วิธีเขียนใหดูตามตัวอยางขอ 8) 5. การประเมินบทความ
5.1 บทความทุกฉบับ จะไดรับการตรวจสอบรูปแบบกอน ที่จะสงใหผูทรงคุณวุฒิประเมิน 5.2 บทความที ่ ผ า นการตรวจสอบรู ป แบบจะได ร ั บ การ ประเมินโดยผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะในสาขาวิชา นั้นๆจำนวนไมนอยกวา 2 ทานโดยไมเปดเผยชื่อผูเขียนบทความ 5.3 บรรณาธิการสงวนสิทธิ์ในการคัดเลือกและตอบรับการ ตีพิมพ ความรับผิดชอบใดๆ เกี่ยวกับการใชภาษา รูปแบบการ เขียน เนือ้ หาและความคิดเห็น ในบทความเปนของผูเ ขียนเทานัน้ บรรณาธิการผูพิมพไมตองรับผิดชอบ 5.4 บรรณาธิการขอสงวนลิขสิทธิ์ในการตรวจแกไขรูปแบบ บทความที่สงมาตีพิมพและอาจจะสงเรื่องคืนมายังผูเขียนใหเพิ่ม เติมหรือพิมพตนฉบับใหม แลวแตกรณี 5.5 เมื่อบทความไดรับการตีพิมพ ผูเขียนจะไดรับหนังสือ รับรองการตีพิมพบทความและวารสารวิชาการศิลปะและการ ออกแบบฉบับที่นำบทความลง ตีพิมพ 1 เลมตอหนึ่งบทความ 6. การสงบทความ
6.1 การแสดงความจำนงขอเสนอบทความ ผูเขียนตองจัด เตรียมบทความที่พิมพตามขอกำหนดของรูปแบบวารสารและ ขอมูลประกอบดวยตนฉบับบทความ 2 ชุด และแผนดิสกบันทึก ตนฉบับบทความ 1 แผน (CD) ในรูปแบบ MS Word และแบบ เสนอตนฉบับ จัดสงดวยตนเองหรือทางไปรษณียลงทะเบียนมาที่ บรรณาธิ ก าร วารสารศิ ล ปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต52/347 ถนนพหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุ ม ธานี 12000 โทรศั พ ท 02-9972222 ต อ 3628-9
โทรสาร 0-2997-2200 ตอ 3630 หรือทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ที่ e-mail : artdesign.journal.rsu@gmail.com 7. ระยะเวลาในการรับบทความ และการจัดทำวารสารตอป
เปดรับบทความตลอดป และจัดพิมพวารสารราย 12 เดือน ปละ 1 ฉบับ
8. ตัวอยางการอางอิงเอกสาร และบรรณานุกรม ระบบ APA (นาม-ป)
8.1 การอางอิงในเนื้อหา (In-text Citations) รูปแบบ (ชื่อผูแตง,
ปพิมพ:
เลขหนา)
*เครือ่ งหมาย " " ในทีน่ แ้ี สดงถึงการเวนระยะในการพิมพหรือเขียน
ประกอบดวย ชื่อผูแตง ปพิมพ และ/หรือ เลขหนา ไวในวงเล็บ ตอทายเนื้อหาที่นำมาใชอางอิง เชน (ศุภกิจ ไชยวิรัตน. 2542: 21) (เครือขายขอมูลกาญจนาภิเษก. 2547) (Harris. 1998 : 125-129) (Lee and Norman. 2003) การไมระบุเลขหนาใชใน 3 กรณี 1. เอกสารอิเล็กทรอนิกส 2. โสตทัศนวัสดุซึ่งไมมีเลขหนา 3. วัสดุสารสนเทศที่ผูทำรายงานอานทั้งเลมแลวสรุปเนื้อหาหรือแนวคิดมาอางอิง 8.2 การอางอิงทายเรื่อง รูปแบบ ผูแตง. ปพิมพ. ชื่อชุด.
ชื่อหนังสือ.
จำนวนเลม(ถามี).
หนังสือและลำดับที่(ถามี). สำนักพิมพหรือโรงพิมพ.
ครั้งที่พิมพ(ถามี).
สถานที่พิมพ:
*เครือ่ งหมาย " " ในทีน่ แ้ี สดงถึงการเวนระยะในการพิมพหรือเขียน
ประกอบดวย ผูแตง. ปพิมพ. ชื่อหนังสือ. จำนวนเลม(ถามี). ครั้งที่พิมพ(ถามี). ชื่อชุด. หนังสือและ ลำดับที่(ถามี). สถานที่พิมพ: สำนักพิมพหรือโรงพิมพ. การอางอิงจะเกี่ยวของกับบรรณานุกรมทายรายงาน คือ เมื่อทำอางอิงในเนื้อเรื่องแลว จะตองนำไปทำ บรรณานุกรมใหสอดคลองกัน ทุกรายการที่มีการอางอิงในเนื้อเรื่อง เชน การอางอิงในเนื้อเรื่อง เนื้อหาขอมูลที่ใชในบทความ (ศุภกิจ ไชยวิรัตน. 2542: 21) เนื้อหาขอมูลที่ใชในบทความ (สุภาพรรณ ณ บางชาง. 2535.) เนื้อหาขอมูลที่ใชในบทความ (Herren, R.V. 1994. ) จะไดบรรณานุกรมทายรายงาน คือ การอางอิงทายเรื่อง (บรรณานุกรม) ศุภกิจ ไชยวิรัตน. 2542. ประเพณีผีตาโขน: การละเลนพื้นบานของไทย. 10 เลม. ถึงปจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพนวการพิมพ. สุภาพรรณ ณ บางชาง. 2535. ขนบธรรมเนียมประเพณี. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: Herren, R.V. 1994. The Science of Animal Agriculture. Albany, NY: Delmar.
แบบเสนอต้นฉบับเพื่อลงตีพิมพ์ วารสารวิชาการ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 1. ชื่อเรื่อง ภาษาไทย…………………………………………………………………………………………………….…….. ภาษาอังกฤษ.............................................................................................................................................. 2. ชื่อ/สกุล เจ้าของบทความหรือผู้แทนส่งบทความ................................................................................ 3. สถานที่ติดต่อเจ้าของบทความหรือผู้แทนส่งบทความ…………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………............................ โทรศัพท์…………………..........\โทรสาร……............…………\E-mail…………………..........\ 4. ประเภทของต้นฉบับ (บทความด้านศิลปและการออกแบบ) บทความวิจัย สาขา……………………………..…............... บทความงานสร้างสรรค์ สาขา……………………………..………….... บทความวิชาการทาง สาขา……………………………………...…... บทความวิจารณ์หนังสือ บทความปริทรรศน์ อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………………………..………………………………………… 5. คำยินยอมในการนำส่งบทความ “ข้าพเจ้ายินดีให้กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต มีสิทธิ์ในการเลือกสรรหาผู้กลั่นกรองโดยอิสระ เพื่อพิจารณาต้นฉบับที่ข้าพเจ้า (และผู้แต่งร่วม) ส่งมาและยินยอมให้กองบรรณาธิการวารสาร สามารถตรวจแก้ไขต้นฉบับดังกล่าวได้ตามที่เห็นสมควร ” (กรุณาลงลายมือชื่อให้ครบทุกท่าน) ชื่อ – สกุล (ภาษาไทย)
ชื่อ – สกุล (ภาษาอังกฤษ)
หน่วยงาน
โทรศัพท์
ลงชื่อ.................................................... เจ้าของบทความหรือผู้แทนส่งบทความ (...........................................................) วันที่.. ......เดือน............... พ.ศ. ............. ..........................................................................................................................................................................................................................................
พร้อมนีผ้ ู้เขียนได้มอบ
ต้นฉบับของบทความ 2 ชุด แผ่นดิสก์บันทึกต้นฉบับของบทความ 1 แผ่น (CD) ในรูปแบบ MS Word อื่นๆ...................................................................................................
Faculty of Art And Design
Faculty of Architecture
Faculty of Digitl Art