รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ประจาปีการศึกษา 2553
(1 มิถุนายน 2553 – 31 พฤษภาคม 2554)
0B
คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 1
สารบัญ หน้า คานา อธิการบดี บทสรุปผู้บริหาร บทที่ 1 ส่วนนา 1.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ 1.2 ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมายและวัตถุประสงค์ 1.3 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร 1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร กรรมการสภาชุดปัจจุบัน 1.5 จานวนหลักสูตร และจานวนนิสิต 1.6 จานวนอาจารย์และบุคลากร 1.7 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ อาคารสถานที่ 1.8 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน 1.9 ตารางแสดงผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา
1 8 11 13 13 16 24 25 25
บทที่ 2 ส่วนสาคัญผลการประเมินตามตัวบ่งชี้ของ สกอ.
องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ
26
องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานิสิตนักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์เพิ่มเติม
32 79 91 112 139 157 177 182 188
บทที่ 3 ส่วนสรุปผลการประเมินและทิศทางการพัฒนา ตารางที่ ส 1. สรุปการประเมินรายตัวบ่งชี้
3.1 3.2 3.3 3.4 3.5
ตารางที่ ส 2. สรุปการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ ตารางที่ ส 3. สรุปการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ตารางที่ ส 4. สรุปการประเมินตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ ตารางที่ ส 5. สรุปผลการประเมินตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา ข้อสรุปตามองค์ประกอบคุณภาพทั้ง 9 ด้าน ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ และมุมมองด้านการบริหารจัดการ 2
3.6 วิธีปฏิบัติที่ดีและผลการดาเนินงานที่เป็นแบบอย่างที่ดีหรือนวัตกรรมที่สร้างขึ้น (ถ้ามี) ภาคผนวก ก. รายงานผลการประเมินของคณะกรรมการ ข. ข้อมูลพื้นฐาน (Common Data Set) ค. คณะผู้จัดทา SAR (Self Assessment Report)
3
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร ปีการศึกษา 2553 คณะศิลปะและการออกแบบ มีผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพการศึกษาทั้ง 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้ ได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ด้านการเรียนการสอน คณะฯ ได้ดาเนินการจัด การเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในระดับปริญญาตรี เพื่อเป็นการเสริมสร้างทั้งกระบวนการคิด และประสบการณ์จริงให้แก่นักศึกษา โดยกระบวนการเรียนรู้มีทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การทัศนศึกษา การเรียนรู้ใน studio การเรียนรู้นอกห้องเรียน การเรียนรู้ในห้อง lab และห้องปฎิบัติการ workshop ตลอดจน การฝึกงานวิชาชีพในภาคฤดูร้อน และการเข้าร่วมในโครงการสหกิจศึกษาของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ซึ่งเมื่อ รวมชั่วโมงปฎิบัติแล้ว จะมีมากกว่า 1000 ชั่วโมง เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกงานจริงในสานักงาน นอกจากนั้น ในกระบวนการเรียน การสอน ส่งเสริมให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การนาเสนอผลงานของนักศึกษาในชั้นเรียน ลดบทบาทของการบรรยาย โดยอาจารย์เป็นผู้คอยแนะนา เพื่อส่งเสริมศักยภาพและความคิดสร้างสรรค์ส่วนบุคคลของ นักศึกษาให้มากที่สุด ในปีการศึกษา 2555 คณะฯ ได้ดาเนินการทาแผนการส อนตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ขั้นต่า ทั้ง 5 ด้าน ของสานักงานมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (TQF)ครบทุกหลักสูตรในระดับปริญญาตรี นอกจากนั้น ในกระบวนการเรียนการสอน ได้มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่างๆ เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้การทางาน เป็นทีม และการทางานจริง โดยกิจกรรมเ หล่านี้ได้บูรณาการอยู่ในหลักสูตร และรายวิชาต่างๆ เช่น กิจกรรมจัดนิทรรศการใน รายวิชาต่างๆ อาทิ กิจกรรม c-work ของสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ กิจกรรม line-form colorของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 กิจกรรม duct-fun ของสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ ตลอดจนกิจกรรมการจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์สู่สาธารณชนนอกสถานที่ เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้ เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้การทางานเป็นทีม และการทางานจริง นอกจากนั้น คณะฯส่งเสริมให้นักศึกษาประกวดผลงานทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ เพื่อสร้างความภาคภูมิใจ และเป็นบันไดไปสู่การเป็น ทีย่ อมรับในวงการวิชาชีพแก่นักศึกษา โดยในปีการศึกษา 2553 มีผลงานนักศึกษาได้รับรางวัลชนะเลิศทั้งในระดับชาติ และ ระดับนานาชาติ ผลงานศิลปภาพถ่ายของนักศึกษาชั้นปีที่ 3สาขาวิชาศิลปภาพถ่ายได้รับรางวัลชนะเลิศในระดับนานาชาติ และผลงานอื่นๆในระดับปริญญาตรี และระดับปริญ ญาโท ได้รับรางวัลชนะเลิศในระดับชาติ และระดับมหาวิทยาลัยอีกหลาย รางวัล ในด้านการพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์การเรียนการสอน มหาวิทยาลัย ได้ส่งสริมทางด้านอุปกรณ์เครื่อง คอมพิวเตอร์Macintosh ในห้อง labใหม่ โดยนักศึกษาไปใช้ร่วมกัน ณ . อาคารดิจิทัล มัลติมีเดีย นอกจากนั้ น คณะฯได้ ดาเนินการจัดซื้อเครื่อง laser-cutter ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อให้นักศึกษา สามารถทดลอง และฝึกทักษะการผลิตงาน จริงด้วยตนเอง และสามารถสร้างสรรค์งานออกแบบให้เป็นรูปธรรม ทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท ด้านการปรับปรุงหลักสูตร ได้ มีการปรับปรุงหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ให้มีความทันสมัย ขึ้น โดยได้ดาเนินการเสร์จสิ้น และได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยเรียบร้อยแล้ว ในเนื้อหาของการปรับปรุง เน้นมาตรฐาน การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) และเน้นตามปรัชญาวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในการ สร้างมหาบัณฑิต โดยเสริมรายวิชาใหม่ที่เหมาะสม เพื่อสร้างนักออกแบบที่มีวิสัยทัศน์ และเป็นนักคิด ที่สามารถปฏิบัติจริงได้ ในด้านคุณธรรม และจริยธรรม เสริมรายวิชาที่เน้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงความสาคัญของการรักษาสิ่งแวดล้อ มในกระบวนการ ออกแบบ อันเป็นจรรยาบรรณที่สาคัญของวิชาชีพ นอกจากนั้น มีการ เสริมรายวิชาเพื่อบูรณาการความรู้ให้ผู้เรียนมีความ เข้าใจในมิติทางวัฒนธรรม เทคโนโลยี ธุรกิจ และการวิจัยในสายออกแบบให้มีความ เหมาะสม ต่อการประยุกต์ใช้ และการ 4
แก้ปัญหาการออกแบบ อีกทั้งได้ตัด รายวิชาที่ไม่จาเป็นออกไป รวมทั้งการเพิ่มหลักสูตรแผน ข .เพื่อเพิ่มทางเลือกแก่ผู้เรียนอีก ด้วย ในส่วนหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่อีก 5 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ สาขาวิชาศิลปภาพถ่าย สาขาวิชา ออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาวิชาออกแบบภายใน และสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ มี โครงการจะปรับปรุงใหม่ให้เสร็จสิ้นในปีการศึกษา 2554 ในส่วนสาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต ซึ่งเดิมเคยเป็นสาขาวิชาหนึ่งในคณะศิลปะ และการออกแบบ ได้รับนโยบายจากท่าน อธิการบดี ให้แยกออกไปเปิดเป็นคณะใหม่ เพื่อพัฒนาและขยายต่อไปเป็นคณะใหม่ ชื่อว่าคณะดิจิทัลอาร์ต ในส่วนการพัฒนาหลักสูตรทวิภาษาคณะฯได้มีการนาภาษาอังกฤษไปสอดแทรกในการเรียนการสอน ทั้งในระดับ ปริญญาตรี และระดับปริญญาโท โดยระดับปริญญาตรี มีการกาหนดรายวิชาที่ต้องสอนเป็นภาษาอังกฤษทุกหลักสูตร คณาจารย์ได้มีการใช้สื่อการสอนเป็นภาษาอังกฤษ การให้นักศึกษานาเสนอผลงานเป็นภาษ าอังกฤษ นอกจากนั้น คณะฯ ส่งเสริมให้มีอาจารย์ชาวต่างชาติร่วมสอนทั้งในระดับปริญญาตรี และโท ในส่วนหลักสูตรปริญญาโท มีโครงการที่จะพัฒนา ไปสู่หลักสูตรนานาชาติ ในปีการศึกษา 2555 ด้านความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ คณะฯมีนโยบายให้ทุกสาขาวิชาทาความร่วมมือกับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ โดย ในปีการศึกษา 2553 ผู้บริหารคณะ ฯ และคณาจารย์สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ได้นาทีม นักศึกษา เข้าร่วมทากิจกรรมทางวิชาการในรูปแบบกิจกรรม workshop ร่วมกับสถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundationซึ่งเป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงที่สุดในเอเซียทางด้าน Fashion Design โดยได้ทากิจกรรมทางวิชาการต่อเนื่องมาเป็น เวลา 3-4 ปี ในรูปแบบการแลกเปลี่ยนการแสดงนิทรรศการผลงานนักศึกษาระหว่าง 2สถาบัน และในปีการศึกษานี้ ได้มีการ หารือเพื่อพัฒนาไปสู่การเซ็นต์ MOUต่อไปในปีการศึกษา 2554 นอกจากนั้น โคร งการความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย Mikkeli Polytechnicประเทศฟินแลนด์ ซึ่งได้เซ็นต์ MOU เมื่อปีการศึกษา 2549 ในระดับมหาวิทยาลัย และทางมหาวิทยาลัย Mikkeli Polytechnic ได้ส่งนักศึกษามาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการทากิจกรรม workshop ร่วมกับนักศึกษาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ โดย ในปีการศึกษา 2553 ได้มีนักศึกษาจากมหาวิทยาลัย Mikelli มาศึกษาที่สาขาแฟชั่นดีไซน์ 1 คนในระยะเวลา 1ภาค การศึกษา นอกจากนั้น คณะผู้บริหาร และคณาจารย์จากมหาวิทยาลัย Dali ประเทศจีน ได้เข้าเยี่ยมชม คณะฯ และได้เซ็นต์ MOUเป็นที่เรียบร้อย โดยในขั้นตอนแรก เน้นก ารแลกเปลี่ยนความรู้ และผลงานทางวิชาการในรูปแบบการจัดนิทรรศการ แสดงผลงานของคณาจารย์ร่วมกันระหว่างสองสถาบัน และผู้บริหารสถาบัน Nabaและสถาบัน Domus Academyประเทศ อิตาลี ได้เข้าพบผู้บริหารของคณะฯ เพื่อหารือในแนวทางความร่วมมือทางวิชาการในอนาคต ต่อไป ด้านการวิจัย คณะฯ ได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายในมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น มีจานวน ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์เพิ่มขึ้นทั้งในส่วนของคณาจารย์เอง และในส่วนที่ทาวิจัยร่วมกับนักศึกษา ในงานศิลปนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ ทั้งในระดับปริญญาตรี และปริญญา โท ผลงานวิจัย มีการนาเสนอในที่ประชุมวิชาการเพิ่มขึ้น ผลงานของ นักศึกษาระดับปริญญาโททุกคนต้องนาเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ และได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิทยานิพนธ์ ก่อนจบการศึกษาทุกคน นอกจากนั้น จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายนอกมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น ในปี การศึกษา 2553มีผลงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์ได้รับคัดเลือกในโครงการครุศิลปะสร้างงานศิลป์กับศิลปินแห่งชาติ และ ได้รับทุนสนับสนุนจากหออัครศิลปินสถาบันวัฒนธรรมศึกษา สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ให้ไปจัดแสดง นิทรรศการ ณ. ประเทศสหรัฐอเมริการ่วมกับศิลปินที่เป็นคณาจารย์จากสถาบันต่างๆ
5
นอกจากนั้น คณาจารย์ในคณะฯได้รับทุนสนับสนุนทุนวิจัยจากหน่วยงานภายนอก เช่น โครงการพัฒนาการออกแบบ ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง จังหวัดราชบุรี ของสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสถาบันคีนันแห่ง เอเซีย โครงการประเภทออกแบบสร้างสรรค์อีกหลายโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนทั้งภายนอกและภายใน เช่น โครงการ ออกแบบสร้างสรรค์ ประเภทงานออกแบบสถาปัตยกรรม งานออกแบบภายใน งานออกแบบผลิตภัณฑ์ งานออกแบบนิเทศ ศิลป์ และงานออกแบบแฟชั่นดีไซน์ อีกหลายโครงการ โดยผลงานวิจัย และออกแบบสร้างสรรค์เหล่านี้ ได้มีการนาไปบูรณาการ ในชั้นเรียนในรูปแบบต่างๆ นอกจากนั้น ในส่วนการพัฒนาระบบภายในคณะฯ เพื่อส่งเสริมให้คณาจารย์ทาวิจัย ทางฝ่าย วิชาการของคณะฯ ได้จัดระบบทีมพี่เลี้ยงนักวิจัยรุ่นใหม่ทั้งภายใน และภายนอก เพื่อให้คาแนะนาปรึกษาแก่ผู้วิจัย รวมทั้ ง สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต ได้สนับสนุนค่าใช้จ่ายในด้าน การไปนาเสนอผลงานวิจัย และการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการใน ต่างประเทศอีกด้วย ด้านการบริการวิชาการแก่สังคมได้ดาเนินการให้บริการแก่สังคมและชุมชนอย่างต่อเนื่องในหลากหลายรูปแบบ และครอบคลุมทุกสาขาวิชา โดยคณาจารย์ในคณะฯได้รับเชิญเข้าร่วมเป็นกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพ อาจารย์พิเศษ ที่ ปรึกษาโครงการออกแบบ วิทยากรบรรยาย อบรม กรรมการตัดสินการประกวดให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชนอีก เป็นจานวนมากตลอดทั้งปี และยังมีกิจกรรมบริการทางวิชาการในรูปแบบกิจกรรมพัฒนานักศึกษา โดยอาจารย์และนักศึกษามี ส่วนร่วมกันในการดาเนินกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ และการ สร้างจิตสานึกนักศึกษาในการทาสิ่งที่ดีให้กับสังคม และชุมชน ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย เช่น โครงการนาทีมนักศึกษาปริญญาโท ร่วมกันออกแบบอุปกรณ์เครื่องเล่น ให้กับเด็กนักเรียน โรงเรียนวัดสหราชบารุง อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และมีเครื่องเล่นที่ชารุดและอาจ เป็นอันตรายต่อเด็กนักเรียน เป็นต้น ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม คณะฯ มีการสนับสนุน และส่งเสริมในรูปแบบการบูรณาการในการเรียนการ สอน ก ารวิจัย และการบริการวิชาการ มีการสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในทุก หลักสูตร มีการนานักศึกษาทัศนศึกษานอกสถานที่ รวมทั้งมีการส่งเสริมให้นักศึกษาทากิจกรรมการจัดนิทรรศการผลงานศิลป นิพนธ์ เพื่อแสดงผลงานของตนเองสู่สาธารณะชน ณ . สถานที่ต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของทุกหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบการเผยแพร่ผลงานศิลปะให้เป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณะชน ในปี การศึกษา 2553 อาจารย์ทาผลงานวิจัย และผลงานสร้างสรรค์ ที่เน้นการนาศิลปะไทยมาประยุกต์ให้ร่วม สมัย เช่น โครงการ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะไทยประเภทเบญจรงค์ให้มีความร่วมสมัยทั้งในวิธีคิด การนาเสนอ และการพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ของช่างฝีมือเบญจรงค์ไทยของหลักสูตรปริญญาโท และผลงานบริการวิชาการโครงการพัฒนาออกแบบผ้าทอ พื้นเมือง วัดนาหนอง จังหวัดราชบุรี ของสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ อันเป็นการช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน เป็นต้น นอกจากนั้น คณะฯส่งเสริมการจัดกิจกรรมประเพณีต่างๆ เช่น กิจกรรมไหว้ครู และครอบครู ฯลฯ การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัย และภายนอกมหาวิทยาลัย ด้านการพัฒนาบุคลากรมีอาจารย์ประจาที่ได้รับการสนับสนุนให้ศึกษาต่อเพิ่มในระดับปริญญาโทภายในประเทศ 1 คน ปริญญาเอกภายในประเทศ 2 คน และต่างประเทศ 1 คน เป็นจานวนรวมทั้งสิ้น 4 คนที่อยู่ในระหว่างการศึกษา และมี บุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับทุนศึกษาต่อในระดับปริญญาโท ภายในประเทศและสาเร็จการศึกษา จานวน 2 คน นอกจากนั้น 6
ในส่วนของการฝึกอบรม คณะฯมีการส่งเสริมให้บุคคลากร เข้าร่วมสัมมนาอบรมทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยตลอดทั้ง ปี และอย่างทั่วถึง จากการวิเคราะห์ผลการดาเนินงานพบว่า คณะฯ ยังมีส่วนที่ต้องเร่งรัดปรับปรุง เช่น การทาตาแหน่งทางวิชาการ การศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก การทาวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย การพัฒนาระบบบริหาร จัดการ การจัดการความรู้ การบริหารความเสี่ยง และการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ฯลฯ ทั้งนี้คณะฯ ได้รวบรวมข้อควร ปรับปรุงต่าง ๆ ดังกล่าวบรรจุในแผนพัฒนาของคณะฯ และจะดาเนินการผลักดันให้เกิ ดประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในปีการศึกษา ต่อไป
(รองศาสตราจารย์พิศประไพ สาระศาลิน) คณบดีคณะศิลปะและการออกแบบ 27 มิถุนายน 2554
7
บทที่ 1 ส่วนนา 1.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ตั้ง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ ประวัติความเป็นมาและสถานภาพปัจจุบัน 1. ประวัติความเป็นมาและสถานภาพปัจจุบัน ชื่อ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ตั้ง อาคารคุณหญิงพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต . 52/347 เมืองเอก ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จ.ปทุมธานี 12000 ประวัติความเป็นมา คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ก่อตั้งขึ้นโดยดาริของอธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยรังสิต (ดร. อาทิตย์ อุไรรัตน์) เมื่อปี พ.ศ.2530 โดยมีปณิธานแน่วแน่ที่จะผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาที่ตรงต่อความต้องการในการพัฒนา ประเทศและมีจุดมุ่งหมายที่จะผลิตบัณฑิตทีเ่ ป็นผู้ที่ได้รับการหล่อหลอมให้มีความพร้อมทั้งในด้านคุณภาพ คุณวุฒิ คุณธรรม และมั่นใจที่จะสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่บ้านเมืองและตนเอง ในขณะที่ประเทศกาลังเร่งรัดพัฒนาทางเศรษฐกิจและ สังคม มหาวิทยาลัยรังสิตจึงเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกของประเทศไทย ที่เปิดทาการสอนศิลปะและการออกแบบ เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายในมาตรฐานการศึกษาและความเป็นเลิศทางวิชาการ ปัจจุบันคณะศิลปะและการออกแบบ ดาเนินการเปิดการ เรียนการสอนมาแล้ว เป็นเวลา 22 ปี การพัฒนาหลักสูตรการศึกษา ปีการศึกษา 2530 คณะศิลปะและการออกแบบเปิดทาการสอนหลายสาขาวิชาทั้งในด้านศิลปะและการออกแบบ ซึ่งมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศโดยเปิดสอนหลักสูตรศิลปบัณฑิต 2 ภาควิชา ประกอบด้วย 8 สาขาวิชา คือ 1. ภาควิชาประยุกต์ศิลป์ ประกอบด้วย 4 สาขาวิชา - สาขาวิชาออกแบบภายใน - สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ - สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ - สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา 2. ภาควิชาวิจิตรศิลป์ ประกอบด้วย 4 สาขาวิชา - สาขาวิชาจิตรกรรม - สาขาวิชาประติมากรรม - สาขาวิชาศิลปภาพพิมพ์ - สาขาวิชาศิลปะภาพถ่าย
8
ในช่วงระยะเวลา 10 ปีแรก คณะศิลปะและการออกแบบเน้นการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ตลอดจนทักษะอย่างเต็มที่ เพื่อที่จะนาไปประกอบอาชีพ และเป็นที่ยอมรับของสังคมภายนอก ซึ่งบัณฑิตของคณะศิลปะและ การออกแบบหลายรุ่นที่ผ่านมา ได้สร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัยและประเทศชาติ ดังปรากฏในผลงานชนะเลิศการประกวด การออกแบบในสาขาวิชาต่างๆ ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติบ่อยครั้ง นอกจากนั้น บัณฑิตของคณะศิลปะและการ ออกแบบที่ได้ออกไปประกอบวิชาชีพกาลังก้าวไปสู่การเป็นผู้นาในวงการวิชาการในสถาบันการศึกษาต่างๆ และในวงการ วิชาชีพทั้งในและต่างประเทศ ปีการศึกษา 2539 คณะศิลปะและการออกแบบเริ่มดาเนินการพัฒนาบุคลากรและปรับปรุงการจัดการศึกษา ตลอดจนวัตถุประสงค์และแนวทางการจัดการ เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของ สังคมในปัจจุบัน โดยคณะฯ ได้เริ่มทาแผนพัฒนาในปีการศึกษา 2540-2544 และได้ดาเนินการบรรลุตามจุดประสงค์อย่าง ต่อเนื่อง ทางด้านหลักสูตรการเรียนการสอนของคณะศิลปะและการออกแบบ ได้มีการพัฒนาปรับปรุงอย่างสม่าเสมอโดย ต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัยและทันต่อการที่จะร่วมแก้ในสภาวะปัญหาอันวิกฤติต่างๆ ของโลกและของประเทศชาติ หลักสูตรใน ระดับปริญญาตรีที่ได้เปิดสอนในระยะเริ่มแรก คือ หลักสูตรสาขาวิชาศิลปภาพถ่าย หลักสูตรสาขาวิชาออกแบบภายใน หลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ และหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เปิดทางเลือกให้แก่นักศึกษาที่ มีความถนัดเฉพาะทางต่างกัน ปีการศึกษา 2541 เริ่มดาเนินการเปิดหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ปีการศึกษา 2542 เริ่มดาเนินการเปิดหลักสูตรสาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต ปีการศึกษา 2544 เริ่มดาเนินการเปิดหลักสูตรสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ การเปิดหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ หลักสูตรสาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต และหลักสูตร สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ทั้ง 3 หลักสูตร เป็นเปิดสอนแห่งแรกในประเทศไทย หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ มี ความโดดเด่นมุ่งเน้นการสร้างนักออกแบบที่เป็นนักคิด นักวิจัย เพื่อที่จะสามารถปฏิรูปการออกแบบของประเทศไทยให้มีความ ทัด เทียมนานาประเทศ ส่วนหลักสูตรสาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ตและสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ เป็นหลักสูตรที่ตอบสนองความ ต้องการของตลาดออกแบบในอนาคต และยังเป็นหลักสูตรที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติ นอกจากนี้คณะศิลปะและการออกแบบยังได้พัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านคุณวุฒิโดยสนับสนุน การศึกษาต่อและทางด้านตาแหน่งทางวิชาการ โดยผลักดันให้อาจารย์ขอตาแหน่งทางวิชาการ อีกทั้งทางคณะฯ ได้เพิ่ม ศักยภาพของอุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเรียนการสอน เช่น ห้องปฏิบัติคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติงานทางด้านแฟชั่นดีไซน์ และ อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อการสอนให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนจัดให้มีห้องนิทรรศการ เพื่อแสดงผลงานศิลปะ ปีการศึกษา 2549 คณะศิลปะและการออกแบบ ได้มีการปรับปรุงหลักสูตร 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ อาร์ต และสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ เพื่อแก้ปัญหาข้อบกพร่องและสร้างหลักสูตรให้มีความโดดเด่นชัดเจน และส่งเสริมให้บัณฑิตมี ความพร้อมในการออกไปประกอบวิชาชีพ ทั้งในด้านการเป็นนักออกแบบ และความเป็นผู้ประกอบการเอง นอกจากนั้นคณะได้ ดาเนินการเริ่มร่างหลักสูตรใหม่ คือ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต ปีการศึกษา 2550 เปิดดาเนินการหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต
9
ทาการการเปิดสอนเป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในศาสตร์การ สร้างคอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น ควบคู่ไปกับการผลิต การถ่ายทา ตลอดจนความรู้ด้านธุรกิจแอนิเมชั่น เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถในศาสตร์และมีความเป็นผู้นาในธุรกิจแอนิเมชั่น ปีการศึกษา 2551คณะศิลปะและการออกแบบ ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรศิลปบัณฑิตจานวน 4สาขาวิชา คือ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ สาขาวิชาศิลปภาพถ่าย สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ และสาขาวิชาออกแบบภายใน เพื่อ แก้ปัญหาข้อบกพร่องและสร้างหลักสูตรให้มีความชัดเจน สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและประเทศชาติ และสร้าง บัณฑิตที่มีความพร้อมในการประกอบวิชาชีพเป็นนักออกแบบและเป็นผู้ประกอบการเอง นอกจากนี้ยังมีการปรับปรุงหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ เพื่อมุ่งสร้างบัณฑิตที่มีกระบวนการ คิดและการจัดการวางแผนการออกแบบที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตที่แปรเปลี่ยนตามยุคสมัย เข้าใจถึงศาสตร์ในเชิงสังคมและ วัฒนธรรม และสามารถแสดงออกได้ถึงอัตลักษณ์ในกระแสวัฒนธรรมที่แปรเปลี่ยน ปีการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปบัณฑิต(ปรับปรุงใหม่) 6 สาขาวิชา หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิตสาขาวิชาการออกแบบ (ปรับปรุงใหม่) และหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิตสาขาวิชา คอมพิวเตอร์อาร์ต ต่อมาปลายปีการศึกษา 2552 มหาวิทยาลัยรังสิตมีนโยบายจัดตั้งคณะดิจิทัลอาร์ต โดยแยกสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ อาร์ต ออกมาจากคณะศิลปะและการออกแบบให้อยู่ภายใต้คณะดิจิทัลอาร์ต โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ มุ่งเน้นการสร้างแอนิ เมชั่นที่เป็นทั้ง 2D และ 3D ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการทรัพยากรบุคคลด้านอุตสาหกรรมภาพยนตร์และแอนิเมชั่นที่ ได้รับความนิยมไปทั่วโลก คณะดิจิทัลอาร์ตจะเปิดดาเนินการอย่างเป็นทางการในปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา 2553 คณะศิลปะและการออกแบบ ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปบัณฑิต(ปรับปรุงใหม่) 5 สาขาวิชาคือสาขาวิชาออกแบบภายใน สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ สาขาวิชาศิลปะ ภาพถ่าย และสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ จัดการเรียนการสอนหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิตสาขาวิชาการออกแบบ (ปรับปรุง ใหม่) โดยใช้กรอบมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดยทุกรายวิชาของหลักสูตรที่เปิดสอนได้มีการทา มคอ 3 และ มคอ 5 เพื่อเตรียมความพร้อมในการนาร่องตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย (Thailand Qualifications Framework for Higher Education) การพัฒนาระบบสหกิจศึกษา ในส่วนของนโยบายในการพัฒนาการเรียนการสอน คณะศิลปะและการออกแบบเล็งเห็นความสาคัญ ของการปฏิรูป การเรียนการสอนไปสู่การทางานผสมผสานประสบการณ์จริงในระบบสหกิจศึกษา จึงมีนโยบายให้นักศึกษาทุกคน มีโอกาส ผ่านการทางานประสบการณ์จริงในระหว่างศึกษาเล่าเรียน นอกเหนือจากการฝึกงานในภาคฤดูร้อนแล้ว ยังมีโครงการสหกิจ ศึกษาที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการ โดยไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการในฐานะพนักงานชั่วคราวเป็นเวลา 1 ภาคการศึกษา (4เดือน) ก่อนที่จะสาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2550 คณะศิลปะและการออกแบบ ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษากับสถานประกอบการ ภายนอกเป็นรุ่นที่ 2 มีจานวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 33 คน เป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาศิลปภาพถ่าย 29 คน สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ 2 คน และสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม2 คน 10
ปีการศึกษา 2551 คณะศิลปะและการออกแบบ ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษากับสถานประกอบการ ภายนอกเป็นรุ่นที่ 3 มีจานวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 46 คน เป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาศิลปภาพถ่าย 22 คน สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ 24 คน ปีการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบ ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษากับสถานประกอบการ ภายนอกเป็นรุ่นที่ 4 มีจานวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 13 คน เป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาศิลปภาพถ่าย 2 คน สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ 6 คน และสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ 5 คน ปีการศึกษา 2553 คณะศิลปะและการออกแบบ ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษากับสถานประกอบการ ภายนอกเป็นรุ่นที่ 5 มีจานวนนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 63คน เป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาศิลปภาพถ่าย32 คน สาขาวิชาออกแบบภายใน 9คน สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์5 คน และสาขาวิชาแฟชัน่ ดีไซน์ 16 คนและสาขาวิชาออกแบบ ผลิตภัณฑ์ 1 คน การร่วมมือด้านวิชาการกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ ช่วงปี พ.ศ.2540-2544 เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ เทคโนโลยี วัฒนธรรมและภาษา คณะศิลปะและ การออกแบบได้ทาหลักสูตร Twining Program โดยร่วมกับ มหาวิทยาลัย The University of the West of England (Bristol) ประเทศอังกฤษ ในหลักสูตรสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ และสาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต เพื่อเปิดทางเลือกให้นักศึกษามี โอกาสเทียบโอนไปศึกษาต่างประเทศเป็นเวลา 1 ปี โดยไม่สูญเสียหน่วยกิต ทั้งนี้นักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน จะได้รับ ประกาศนียบัตรจากมหาวิทยาลัยที่ร่วมสัญญา แต่หลักสูตรดังกล่าวยังไม่มีระดับความสาเร็จ เนื่องจากค่าใช้จ่ายสูง ปีการศึกษา 2547 คณะศิลปะและการออกแบบได้ดาเนินการทาความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัย Soongsil ประเทศเกาหลี โดยการลงนามระหว่างอธิการบดี เพื่อเปิดโอกาสให้สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ตและสาขาวิชา ออกแบบนิเทศศิลป์ ได้หาแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกับมหาวิทยาลัย Soongsil ต่อไป นอกจากนี้ยังได้ ดาเนินการทาความร่วมมือทางวิชาการกับ KAIST ประเทศเกาหลี ซึ่งมีความโดดเด่นด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยมีการแลกเปลี่ยนการบรรยายทางวิชาการ และการดูงานระหว่าง 2 สถาบัน ปีการศึกษา 2548 ทางฝ่ายวิชาการได้ร่วมมือกับศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์ กรมส่งเสริมการส่งออก และประเทศต่างๆ ในแถบเอเชียภูมิภาคในโครงการสัมมนาวิชาการ Asia Design Network Conference 2005 ซึ่งจัดโดย Japan Design Foundation ณ นครโอซากา ประเทศญี่ปุ่น โดยมีคณบดีและรองคณบดีฝ่ายวิชาการ เข้าร่วมสัมมนาและเป็นผู้แทนของ ประเทศไทยในการบรรยายทางวิชาการหัวข้อ “Thai Identity” ปีการศึกษา 2549 ได้ทาความร่วมมือในโครงการเดียวกัน ซึ่งได้มีการจัดสัมมนาทางวิชาการ Asia Design Network Conference 2006 ณ ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย Singapore Design Council ในครั้งนี้รองคณบดีฝ่ายวิชาการและ ผู้แทนอาจารย์ 1 ท่าน ได้ร่วมนาเสนอผลงานทางวิชาการของนักศึกษาในโครงการ “Design and Disaster”ร่วมกับ มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในแถบเอเชียภูมิภาค เช่น Tokyo University, Kwanjoa University และ Temasech University เป็นต้น ทั้งนี้ในลาดับต่อไป จะมีการนาผลงานของนักศึกษาไปจัดนิทรรศการและตีพิมพ์ในต่างประเทศอีกด้วย ปีการศึกษา 2550 หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ได้มีการประสานความร่วมมือในการจัดทา โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา จากมหาวิทยาลัย SEIBI ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกับ Singapore Design 11
Council ,uส่งผลงานนักศึกษาสาขาวิชาออกแบบภายใน สาขาวิชานิเทศศิลป์ และสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ เข้าร่วมนาเสนอใน โครงการ “Design and Disaster” ปีการศึกษา 2551 สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ได้มีการประสานความร่วมมือทางด้านวิชาการและงานวิจัยด้านสิ่งทอและ แฟชั่นกับสถาบันการศึกษาต่างประเทศ ได้แก่ สถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundationประเทศญี่ปุ่น , สถาบัน Bath School of Art and Design, Bath Spa University ประเทศอังกฤษ, มหาวิทยาลัย Mikkeli University of Applied Sciencesประเทศฟินแลนด์ และตัวแทนสถาบันการศึกษาแฟชั่นของประเทศฝรั่งเศส คณะศิลปะและการออกแบบได้ลงนาม MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัย Kookmin University ประเทศเกาหลี โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการ ได้แก่ กิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาและอาจารย์ การใช้ทรัพยากรทาง การศึกษา การประชุมวิชาการ และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยร่วมกัน นอกจากนี้คณะฯ ยังมีการ ประสานความร่วมมือทางด้านวิชาการและงานวิจัยกับสถาบันการศึกษาต่างประเทศอีกหลายแห่ง อาทิ สถาบัน Domus Academy ประเทศอิตาลี ปีการศึกษา 2552หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ร่วมทางานวิจัยและเป็นวิทยากรให้กับ Tama Art University ประเทศญี่ปุ่น และได้จัดนิทรรศการผลงานโปสเตอร์ Humor: Takashi Akiyama in Bangkok พร้อมการ บรรยายและสัมมนาปฏิบัติการกับนักออกแบบจากประเทศญี่ปุ่น 2 ท่าน คือ Pro.Takashi Akiyama จาก Tama Art University และ Prof.Kazuhiro Abe จาก Seibi Gakuen โดยได้รับทุนสนับสนุนจาก Japan Foundation Bangkok นอกจากนี้ยังมีการให้บริการวิชาการโดยการเป็นวิทยากรพิเศษอบรมการออกแบบแฟชั่นและงานประดิษฐ์ให้กับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศอีกด้วย คือ มหาวิทยาลัย Yarmouk University ประเทศจอร์แดน โดยความร่วมมือกับสถาน เอกอัครราชทูต ณ กรุงอัมมาน ประเทศจอร์แดน ปีการศึกษา 2553 ผู้บริหารคณะ ฯ และคณาจารย์สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ได้นาทีมนักศึกษา เข้าร่วมทากิจกรรมทาง วิชาการในรูปแบบกิจกรรม workshop ร่วมกับสถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundationซึ่งเป็นสถาบันที่มีชื่อเสียง ที่สุดในเอเซียทางด้าน Fashion Design นอกจากนั้น คณะผู้บริหาร และคณาจารย์จากมหาวิทยาลัย Dali ประเทศจีน ได้เข้า เยี่ยมชม คณะฯ และได้เซ็นต์ MOUเป็นที่เรียบร้อย โดยในขั้นตอนแรก เน้นการแลกเปลี่ยนความรู้ และผลงานทางวิชาการใน รูปแบบการจัดนิทรรศการแสดงผลงานของคณาจารย์ร่วมกันระหว่างสองสถาบัน และผู้บริหารสถาบัน Nabaและสถาบัน Domus Academyประเทศอิตาลี ได้เข้าพบผู้บริหารของคณะฯ เพื่อหารือในแนวทางความร่วมมือทางวิชาการในอนาคต ต่อไป
การแลกเปลี่ยนนักศึกษากับสถาบันในต่างประเทศ ปีการศึกษา 2548 มหาวิทยาลัยรังสิตได้ลงนาม MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัย FACH Hochschule Aachen ประเทศเยอรมนี โดยได้ส่งนักศึกษาแลกเปลี่ยนจานวน 1 คน เพื่อศึกษาในหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ณ มหาวิทยาลัยรังสิต ปีการศึกษา 2549 มหาวิทยาลัยรังสิตได้ลงนาม MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัย Mikkeli Polytechnic ประเทศ ฟินแลนด์ โดยได้มีโครงการในการส่งนักศึกษาแลกเปลี่ยนจานวน 1 คน เพื่อศึกษาในหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่น 12
ดีไซน์ ทั้งนี้ในลาดับต่อไป ทางคณะฯ มีโครงการที่จะส่งนักศึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรมกับมหาวิทยาลัย ดังกล่าว ปีการศึกษา 2550 มีการรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนระดับปริญญาตรี จานวน 1 คน คือ Miss Satu Holopaien จาก มหาวิทยาลัย Mikkeli University of Applied Sciencesประเทศฟินแลนด์ เข้าเรียนในสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ มหาวิทยาลัย รังสิต ภาคเรียนที่ 2 และ 3 ปีการศึกษา 2550 ปีการศึกษา 2551สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ได้นานักศึกษาชั้นปีที่ 2 จานวน 19 คน เดินทางไปเข้ากิจกรรม สัมมนาเชิง ปฏิบัติการ Fashion Design Workshop ณ สถาบัน Bunka Gakuen Educational Foundationประเทศญี่ปุ่น และมีการรับ นักศึกษาแลกเปลี่ยนระดับปริญญาตรี จานวน 3 คน จากมหาวิทยาลัย Mikkeli University of Applied Sciencesประเทศ ฟินแลนด์ เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Fashion Design Workshop ร่วมกับนักศึกษาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ณ มหาวิทยาลัยรังสิต จานวน 6 คน ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2551 สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ มีการรับนักศึกษาแลกเปลี่ยนระดับปริญญาตรี จานวน 2คน คือ Mr. Maurice Thome และ Mr. Marius Temming จากมหาวิทยาลัย University of Applied Sciences in Aachenประเทศเยอรมัน เข้าเรียน ในสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยรังสิต ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ ได้จัดกิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ร่วมกับวิทยากรจากประเทศ ญี่ปุ่น คือ Prof.Kazuhiro Abe จากมหาวิทยาลัย Seibi Gakuen Universityและ Mr.Masao kurozumi นักออกแบบจากบริษัท Cactus Design Inc. โดยมีนักศึกษาหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ จานวน 28 คน เข้าร่วมโครงการ ใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 ปีการศึกษา 2552สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ มีการจัดกิจกรรมนิทรรศการแลกเปลี่ยนการแสดงผลงานนักศึกษาด้าน แฟชั่นดีไซน์ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยรังสิตกับสถานบัน Bunka Gakuen Educational Foundationประเทศญี่ปุ่น โดยนา ผลงานของนักศึกษาแฟชั่นดีไซน์ของมหาวิทยาลัยรังสิต ไปจัดแสดงที่ Bunka Gakuen Fashion Resource Center ประเทศ ญี่ปุ่น และนาผลงานของนักศึกษาแฟชั่นดีไซน์ สถานบัน Bunka Gakuen Educational Foundationมาจัดแสดงที่หอศิลป์ อาคารคุณหญิงพัฒนา มหาวิทยาลัยรังสิต และวางแผนที่จะแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างทั้งสองสถาบันในอนาคต นอกจากนี้ทางสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ยังมีการดาเนินการติดต่อกับทางมหาวิทยาลัย Mikkeli University of Applied Sciencesประเทศฟินแลนด์อย่างต่อเนื่อง เพื่อแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างสถาบัน โดยมีกาหนดรับนักศึกษาของประเทศ ฟินแลนด์เข้าร่วมเป็นนักศึกษาแลกเปลี่ยนในปีการศึกษา 2553 จานวน 1คน ปีการศึกษา 2553โครงการความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย Mikkeli Polytechnicประเทศฟินแลนด์ ซึ่งได้เซ็นต์ MOU เมื่อปีการศึกษา 2549 ในระดับมหาวิทยาลัย และทางมหาวิทยาลัย Mikkeli Polytechnic ได้ส่งนักศึกษามาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการทากิจกรรม workshop ร่วมกับนักศึกษาสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ โดยในปีการศึกษา 2553 ได้มีนักศึกษาจาก มหาวิทยาลัย Mikelli มาศึกษาที่สาขาแฟชั่นดีไซน์ 1 คนในระยะเวลา 1ภาคการศึกษา การเปิดดาเนินการสอน ปีการศึกษา 2553 เปิดดาเนินการสอน รวมทั้งสิ้น 6 หลักสูตร ประกอบด้วยหลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 หลักสูตร และระดับปริญญาโท 1 หลักสูตร ดังนี้ ระดับปริญญาตรี เปิดสอนจานวน 5 หลักสูตร 13
1. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปภาพถ่าย 2. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน 3. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ 4. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ 5. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ระดับปริญญาโท เปิดสอนจานวน 1 หลักสูตร 1. หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ จานวนบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2530 –ปัจจุบัน คณะศิลปะและการออกแบบ มีผู้สาเร็จการศึกษาแล้วจานวน 20 รุ่น รวม ทั้งหมด 4,177คน มีจานวนบัณฑิตที่จบการศึกษาในปี 2553 จานวน 332 คน จานวนบุคลากร ปีการศึกษา 2553 บุคลากรของคณะศิลปะและการออกแบบประกอบด้วย ประกอบด้วย คณบดี 1 คน รองคณบดี 3 คน ผู้ช่วยคณบดี 1 คน หัวหน้าหมวด/สาขาวิชา/หลักสูตร 6 คน อาจารย์ประจา 48 คน รวมคณาจารย์ 59 คน และเจ้าหน้าที่ 13 คน รวมบุคลากรทั้งสิ้นจานวน 72 คน วุฒิการศึกษาของบุคลากร ปีการศึกษา 2553 วุฒิการศึกษาของบุคลากรสายอาจารย์ จานวนทั้งสิ้น 59 คน ประกอบด้วย อาจารย์ที่มีวุฒิ ปริญญาเอก 2 คน วุฒิปริญญาโท (คุณวุฒิสูงสุดสายศิลปะและการออกแบบ เทียบเท่าปริญญาเอก) 16 คน วุฒิปริญญาโท 23 คน และวุฒิปริญญาตรีจานวน 18 คน จานวนอาจารย์ที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ปีการศึกษา 2553 บุคลากรสายอาจารย์ จานวนทั้งสิ้น 59 คน มีผู้ที่ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์4 คน และ ตาแหน่งรองศาสตราจารย์ 1 คน รวมจานวนอาจารย์ที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการทั้งสิ้น 5 คน อาคารเรียนและสถานที่ อาคารเรียนและสถานที่ในการเรียนการสอนของคณะศิลปะและการออกแบบ อยู่ในอาคารคุณหญิงพัฒนา (อาคาร 8) และอาคารวิษณุรัตน์ (อาคาร 5)
14
1.2 ปรัชญา ปณิธาน เป้าหมายและวัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ คณะศิลปะและการออกแบบมีปณิธานแน่วแน่ ที่จะก้าวไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการทัดเทียมมหาวิทยาลัยชั้นนา ระดับนานาชาติ ในด้านการออกแบบ เพื่อผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้นาในการสร้างวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และจิตสานึกที่ดีแก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ อัตลักษณ์ การสร้างวัฒนธรรม Crafting Culture พันธกิจ คณะศิลปะและการออกแบบ มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิต เพื่อเป็นผู้นาในการสร้างวัฒนธรรมเข้าใจบทบาทของนัก ออกแบบ สามารถสร้างสรรค์ผลงานที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และจิตสานึกของมนุษย์ในทางที่ดีขึ้น กระบวนการ ออกแบบและการวิจัยสามารถบูรณาการเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมทั้งความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา โดยจะต้องตระหนักถึงความสาคัญของการทานุบารุงสิ่งแวดล้อม และการสืบสานอัตลักษณ์ทางศิลปะและวัฒนธรรม สามารถ แสวงหาความรู้ได้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่อง สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นในหลากหลายวัฒนธรรม เป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเสียสละเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก ยุทธศาสตร์ที่ 1 :การผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม และคุณภาพ สามารถเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน และเสริมสร้างการพัฒนา ที่ ยั่งยืนของประเทศ (ตัวบ่งชี้ 2.7) (ตัวบ่งชี้ที่ 16) เป้าประสงค์ 1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถ และมีความเป็นมืออาชีพ เข้าใจบทบาทของนักออกแบบ สามารถประยุกต์ ความรู้ และแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และเป็นผู้ที่ สามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วย ตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 2. ผลิตบัณฑิตให้มีการพัฒนาทางด้านสติปัญญา กระบวนการคิดและการออกแบบ และการพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ส่วนบุคคลอย่างเต็มศักยภาพ 3. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมต่างถิ่น กระบวนการวิจัย ธุรกิจ สามารถนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสมเพื่อพัฒนางานออกแบบโดยจะต้องคานึงถึงการ รักษาสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก
15
4. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้เชิงเป็นบูรณาการ มีความเข้าใจในความสัมพันธ์ของวิชาชีพอื่นๆที่เกี่ยวข้อง และสามารถ ทางานร่วมกับผู้อื่น 5. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ทางการสื่อสาร เช่น ทักษะการนาเสนอผลงานด้วยวาจา และผลงานทั้งความประณีตใน ฝีมือ และการนาเทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือ ตลอดจนส่งเสริมการเสริม ทักษะภาษาอังกฤษในกระบวนการเรียน การสอน เพื่อสามารเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน 6. ผลิตบัณฑิตที่มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรมจริยธรรม และเคารพในจรรณยาบรรณวิชาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 :การพัฒนางานวิจัย งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมที่มีคุณภาพ (ตัวบ่งชี้ 4.1) เป้าประสงค์ 1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรและนักศึกษา ทางานวิจัย ทางานออกแบบ และทางานสร้างสรรค์ที่มี คุณภาพ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เชิงวิชาการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของสังคม และประเทศชาติ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรและนักศึกษา ทาวิจัยเชิงบูรณาการร่วมกับคณะวิชา และสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณภาพ และสร้างนวัตกรรมใหม่ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรและนักศึกษาทาวิจัยร่วมกับหน่วยงานและชุมชนในจังหวัดใกล้เคียงและ จังหวัดอื่นๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 4. ส่งเสริมและสนับสนุนผลการทาวิจัยร่วมกับสถาบันในต่างประเทศ เพื่อพัฒนาบุคลากร นักศึกษา และองค์ ความรู้ทางวิชาการ 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการทาวิจัย การสร้างผลงานออกแบบ และผลงานสร้างสรรค์ที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ และสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 3 :การก้าวไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิคส์ (e-University) เป้าประสงค์ 1. พัฒนาบุคลากรและนักศึกษาเพื่อรองรับการก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิคส์ตามนโยบายมหาวิทยาลัย โดยกระบวนการเรียนการสอนมีการนาระบบ e-learning เข้ามาเสริมทั้งในและนอกชัน้ เรียนตามความเหมาะสม กับสายวิชาชีพออกแบบ ยุทธศาสตร์ที่ 4 :การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต สู่การเป็นสถาบันการศึกษานานาชาติที่มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล (Internationalization) เป้าประสงค์ 1. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนทุกสาขา ให้มีคุณภาพทัดเทียมมาตรฐานระดับสากล 2. ทาความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันอุดมศึกษาในต่างประเทศ โดยเริ่มจากสาขาวิชาที่มีความพร้อมจน ครบทุกสาขาวิชาภายในระยะเวลา 3-5 ปี 16
3.
พัฒนาบุคลากรและนักศึกษาให้มีโลกทัศน์ มีความเข้าใจวัฒนธรรมต่างถิ่น สามารถปรับตัวได้กับกระแส การเปลี่ยนแปลงของโลก ด้วยการดูงาน อบรม ตลอดจนจัดกิจกรรม workshop ต่างๆ ร่วมกับอาจารย์ นักศึกษา ต่างวัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์ที่ 5 :การพัฒนาคุณภาพ การให้บริการทางวิชาการแก่สังคม (ตัวบ่งชี้ 5.1) เป้าประสงค์ 1. ทาความร่วมมือกับองค์กร หน่วยงานของรัฐและเอกชน เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาสามารถบริการทาง วิชาการแก่ชุมชน และสังคมโดยเริ่มจากจังหวัดปทุมธานีและจังหวัดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการในรูปแบบการบรรยาย การอบรมการจัดนิทรรศการทั้งในและ ต่างประเทศ การทางานร่วมกับชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. ส่งเสริมการให้บริการทางวิชาการที่เกี่ยวกับวิชาชีพ เช่นการรับออกแบบในสาขาวิชาต่างๆ ทั้งในและนอก มหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะแก่บุคลากร และนักศึกษาในรูปแบบการทางานจริงอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 6 :การอนุรักษ์ ทานุบารุง และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม (ตัวบ่งชี้ 6.1) เป้าประสงค์ 1. ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรมไทย โดยบูรณาการในการเรียนการสอน และสามารถ นาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาพัฒนาการออกแบบให้ร่วมสมัย เพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทยให้สามารถเชิดชูใน ระดับประเทศ และระดับนานาชาติต่อไป 2. ส่งเสริมการอนุรักษ์ ทานุบารุง และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ในรูปแบบการทาวิจัย และการบริการวิชาการ 3. ส่งเสริมให้บุคลากรและนักศึกษามีความเข้าใจวัฒนธรรมต่างถิ่น โดยการทาความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ การดูงาน การจัดกิจกรรม workshop ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 7 :การพัฒนาสถาบันและบุคคลากร (ตัวบ่งชี้ 7.2) เป้าประสงค์ 1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการพัฒนาความรู้ ประสบการณ์ และทักษะในรูปแบบการศึกษาต่อ การทา วิจัย การอบรม การดูงานทั้งในและต่างประเทศ และการบริการทางวิชาการ เพื่อนาไปสู่การพัฒนาการเรียนการ สอน การพัฒนาการบริหารจัดการ การเงินและงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการพัฒนาระบบ ประกันคุณภาพ และการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึก สารธารณะ มีน้าใจเสียสละเพื่อองค์กรและ ส่วนรวม ในรูปแบบการอบรม การมอบรางวัล ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ 8 :การบริหารการเงินและงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ (Financial Viability) (ตัวบ่งชี้ 8.1) เป้าประสงค์ 1. มีระบบการบริหารการเงินและงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส 17
2. 3.
มีระบบและกลไกในการจัดสรรงบประมาณ การติดตามผลและการตรวจสอบ มีการจัดตั้งคณะทางาน เพื่อศึกษาและนาระบบการบริหารความเสี่ยงมาใช้ในการบริหารจัดการคณะฯ
ยุทธศาสตร์ที่ 9 :การพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะ พึงประสงค์ (ตัวบ่งชี้ 2.7) เป้าประสงค์ 1. ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่ง ครอบคลุมกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 2. ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้มีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของบัณฑิตที่รู้ความสามารถ และมี จรรยาบรรณในวิชาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 10:พัฒนาระบบประกันคุณภาพ (ตัวบ่งชี้ 9.1) เป้าประสงค์ 1. มีการประเมินคุณภาพการเรียนการสอนทุกสิ้นภาคการศึกษา โดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จากภายนอก ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยรังสิต และมีการนาผลการประเมินมาปรับปรุง และ พัฒนาการเรียนการสอน 2. มีการนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา มาพัฒนาคณะตามนโยบายของมหาวิทยาลัยรังสิต และ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย (Thailand Qualifications Framework for Higher Education) 1.3 โครงสร้างองค์กร และโครงสร้างการบริหาร คณะศิลปะและการออกแบบได้แบ่งหน่วยงานออกเป็น หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ และระดับ ปริญญาตรี ประกอบด้วยหน่วยงาน หมวดวิชาพื้นฐานคณะฯ สาขาวิชาศิลปภาพถ่าย สาขาวิชาออกแบบภายใน สาขาวิชา ออกแบบนิเทศศิลป์ สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ และสานักงานเลขานุการคณะฯ โดยมีผู้บริหารใน ระดับต่างๆ ดังนี้ คือ คณบดี รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้ช่วยคณบดี ผู้อานวยการหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ หัวหน้าหมวดวิชาพื้นฐาน หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบภายใน หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ หัวหน้าสาขาวิชาศิลปภาพถ่าย หัวหน้าสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ และเลขานุการคณะศิลปะและการออกแบบ
18
คณบดี คณะกรรมการประจาคณะศิลปะและการออกแบบ
รองคณบดีฝ่ายบริหาร -
คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง - คณะกรรมการสถานที่ อุปกรณ์การศึกษาและหอ ศิลป์ - คณะกรรมการ ประชาสัมพันธ์ แนะแนว และการจัดทา Website คณะ - คณะกรรมการรับสมัคร นักศึกษาใหม่
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ - คณะกรรมการพัฒนา หลักสูตรและการเรียนการ -
-
-
-
ผู้อานวยการ หลักสูตร
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา
ผู้ช่วยคณบดี
- คณะกรรมการอาจารย์ที่ปรึกษา - คณะกรรมการกิจกรรมและวินัย นักศึกษา - คณะกรรมการกิจการทุนนักศึกษา (ทุนเรียนดี)
สอน / MOU คณะกรรมการการจัดทาแผน คณะกรรมการสนับสนุนการ ทาวิจัยและการขอตาแหน่ง ทางวิชาการ คณะกรรมการตารางสอน คณะกรรมการสหกิจศึกษา คณะกรรมการเทียบโอนคณะ คณะทางานประกันคุณภาพ การศึกษา ปีการศึกษา 2553 คณะกรรมการการจัดการ
- ดูแลงานด้านกิจการ พิเศษ และงานแนะ แนว Websiteคณะ
ความรู้ KM (Knowledge Management) คณะกรรมการพิจารณา ผลงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ ดีเด่นของนักศึกษา ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ โครงการวารสารวิชาการ โครงการบรรยายวิชาการ โครงการฐานข้อมูลวิชาการ/ ห้องสมุด งานบริการวิชาการภายใน มหาวิทยาลัย
หัวหน้า หมวด
หัวหน้า สาขาวิชา
หัวหน้า สาขาวิชา
19
หัวหน้า สาขาวิชา
หัวหน้า สาขาวิชา
หัวหน้า สาขาวิชา
ศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ออกแบบ
วิชา พื้นฐาน คณะฯ
ศิลป ภาพถ่าย
ออกแบบ ภายใน
ออกแบบ นิเทศศิลป์
ออกแบบ ผลิตภัณฑ์
แฟชั่น ดีไซน์
1.4 รายชื่อผู้บริหาร กรรมการบริหาร กรรมการสภาชุดปัจจุบัน รายชื่อผู้บริหารและคณะกรรมการประจาคณะศิลปะและการออกแบบ ปีการศึกษา 2553
1 2 3 4 5. 6 7 8 9 10 11 12 13 14
รศ.พิศประไพ อ.วิชัย อ.สุชีพ อ.บุญญาณิศา อ.ดนุ อ.พจมาน ดร.วราวรรณ อ.เกรียงศักดิ์ อ.วิชัย ผศ.วัชรินทร์ อ.กาจร อ.สุริยา อ.สุขเกษม นางชฎารัตน์
สาระศาลิน เล็กอุทัย กรรณสูต อ.ตันติพิบูลย์ ภู่มาลี ธารณเจษฏา สุวรรณผาติ สุวรรณบูล เมฆเกิดชู จรุงจิตสุนทร แซ่เจียง ศรีสุภาพ อุยโต บุญถนอม
คณบดี รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผู้ช่วยคณบดี หัวหน้าหมวดวิชาพื้นฐาน หัวหน้าสาขาวิชาศิลปภาพถ่าย หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบภายใน หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ หัวหน้าสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ หัวหน้าสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ตัวแทนคณาจารย์ ตัวแทนคณาจารย์ เลขานุการคณะ
1.5 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ทั้งในและนอกทีต่ ั้ง (ถ้ามี) . โครงสร้างหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ระดับปริญญาตรี เปิดสอนจานวน 5 หลักสูตร 1. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปภาพถ่าย 2. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน 3. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ 20
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ
4. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ 5. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ระดับปริญญาโท เปิดสอนจานวน 1 หลักสูตร 1. หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ : มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างนักออกแบบที่มีฐานความรู้ความเข้าใจมนุษย์และสังคมทั้งในแง่ของกระบวนทรรศน์และในแง่ของการ แสดงออก 2. เพื่อสร้างนักออกแบบที่มีความสามารถในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม แล้วรวบยอดเป็นแนวคิดในการ ออกแบบเพื่อตอบสนองได้ 3. เพื่อสร้างนักออกแบบที่มีความคิดสร้างสรรค์ที่สามารถปรับตัวได้อยู่ตลอดเวลา และมีกระบวนความคิดที่เป็นระบบ 4. เพื่อสร้างนักออกแบบที่สามารถสื่อสารความคิดออกมาได้ชัดเจน สามารถผลักดันงานให้สาเร็จลุล่วงและเป็นไปได้ จริง 5. เพื่อสร้างฐานความรู้ในระดับงานวิจัยผ่านกระบวนการเรียนการสอนซึ่งเป็นรากฐานสาคัญของวิชาชีพนักออกแบบ หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปภาพถ่าย : มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างผลงานภาพถ่ายได้ทั้งในลักษณะของภาพถ่ายศิลปะ(Fine Arts Photography) ภาพถ่ายเพื่องานธุรกิจ (Commercial Photography) ตลอดจนมีความรู้ความสามารถในการควบคุมห้องปฏิบัติการทางการถ่ายภาพ และมี ความรู้ความสามารถในการผลิตงานภาพถ่ายด้วยเครื่องมืออุปกรณ์ในระบบดิจิตอล (Digital Photography) 2. เพื่อนักศึกษาจะได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ตลอดจนเทคนิคและ เทคโนโลยีต่างๆ ตั้งแต่ ระดับพื้นฐานจนถึงระดับสูง 3. เพื่อเป็นการเสริมสร้างทักษะพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนรู้จักการนาไปประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม 4. เพื่อให้สามารถสร้างสรรค์งานศิลปะที่มีคุณค่า และมีความพร้อมในการประกอบอาชีพต่อไปในอนาคต หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน : มีวัตถุประสงค์ 1. โครงสร้างหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการทางด้านความคิดสร้างสรรค์ส่วน บุคคลของนักศึกษา 2. นักศึกษาจะต้องได้รับการปลูกฝังและพัฒนาคุณธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ ความรับผิดชอบ ความเป็นที่ ไว้วางใจได้ ความมีประสิทธิภาพในการประกอบวิชาชีพ รวมทั้งพัฒนาทัศนคติและบุคลิกภาพ 3. นักศึกษาจะต้องได้รับการปูพื้นฐานทางความรู้ศิลปะและหลักการออกแบบพื้นฐานทางทฤษฏีการออกแบบ พื้น ฐานความรู้ทางประวัติศาสตร์ ความเข้าใจเกี่ยวกับจิตวิทยาและพฤติกรรมของมนุษย์ และความเข้าใจในศาสตร์อื่นๆ
21
4.
5. 6. 7. 8.
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะสามารถบูรณาการความรู้อย่างได้สัดส่วนสมดุล รวมทั้งได้รับการปลูกฝังให้ตระหนักถึง ความสาคัญของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการสืบสานศิลปวัฒนธรรม ซึ่งจะสอดแทรกในรายวิชาต่างๆ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้และเข้าใจหลักและกระบวนการออกแบบ ความรู้ทางทฤษฏีเกี่ยวกับการออกแบบภายใน ทักษะในการออกแบบ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติวิชาชีพได้จริง รวมทั้งได้รับการส่งเสริมให้มี ประสบการณ์ทางานจริงในระหว่างศึกษา นักศึกษาจะต้องได้รับการฝึกทักษะในการสื่อสารและสามารถนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิผล นักศึกษาจะต้องมีความสามารถในการออกแบบ อยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจงานระบบในอาคารและมี ความสามารถในการเลือกใช้วัสดุและผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับงานออกแบบภายในแต่ละประเภท นักศึกษาจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจทางด้านกฎหมาย กฎระเบียบและรหัสต่างๆ ตลอดจนมาตรฐานเกี่ยวกับการ ป้องกันสุขภาพ ความปลอดภัยของผู้ใช้อาคารและการคานึงถึงสังคมทุกระดับชั้น นักศึกษาจะต้องมีพื้นฐานความรู้ในการนาธุรกิจควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบัติวิชาชีพจากประสบการณ์จริงและการ ทางานเป็นทีม
หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ : มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างบัณฑิตในสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ให้เป็นนักคิดและนักออกแบบที่มีความเป็นผู้นา โดยสามารถบริหาร จัดการโครงการออกแบบ และสามารถทางานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อสร้างนักออกแบบที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อวิชาชีพและสังคม ตลอดจนตระหนักถึง ภาระหน้าที่ในการสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและการมีจิตสานึกที่ดีในการร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3. เพื่อนาองค์ความรู้ที่เรียนมาผลิตผลงานการออกแบบสื่อสารในด้านการออกแบบกราฟิก การออกแบบสื่อโฆษณา และการออกแบบมัลติมีเดีย โดยการใช้ภาพวาด ภาพถ่าย สัญลักษณ์ การใช้ตัวอักษร ภาพยนตร์ ภาพเคลื่อนไหว และการใช้โสตทัศนูปกรณ์ที่ทันสมัยในการนาเสนอผลงาน ตลอดจนหลักและกระบวนการคิดในการสื่อสารเนื้อหา เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจควบคู่ไปกับหลักและแนวทางในการดาเนินธุรกิจและประกอบอาชีพต่อไป หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ : มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีการพัฒนาทางความคิดสร้างสรรค์ส่วนบุคคล สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ตามศักยภาพ และความสนใจ 2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นนักออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีความสามารถในการค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ที่เป็นระบบ ควบคู่ไปกับความรู้ทางด้านธุรกิจออกแบบ 3. เพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพออกแบบผลิตภัณฑ์ หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ : มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ที่มีความรอบรู้และลึกซึ้งในศาสตร์ของแฟชั่นดีไซน์ และนาไปสู่ความมั่นใจใน การคิดสร้างสรรค์ด้วยตนเอง ทั้งนี้จะต้องมีแนวทางการปฏิบัติของนักวิจัยค้นคว้า ทดลอง ซึ่งสามารถพัฒนาไปสู่ 22
ความเป็นเลิศในการสร้างนวัตกรรมของผลงานการออกแบบ ประกอบกับมีความเชี่ยวชาญและรวดเร็วตรงกับความ ต้องการของธุรกิจแฟชั่น 2. เพื่อผลิตดีไซน์เนอร์ ที่มีความพร้อม (Mature) จะเป็นผู้นาในธุรกิจแฟชั่น และสามารถสร้างสรรค์ทางเลือกใหม่ใน ด้านเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายให้กับสังคม อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมธุรกิจแฟชั่นให้กับประเทศอีกด้วย จานวนนักศึกษา ในปีการศึกษา 2553 จานวนนักศึกษาของคณะศิลปะและการออกแบบ มีรายละเอียด ดังนี้ จานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 (รหัส 53) ชั้นปีที่ 2 (รหัส 52) ชั้นปีที่ 3(รหัส 51) ชั้นปีที่ 4(รหัส 50)
552 457 379 273 1,661
รวม จานวนนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการออกแบบ รหัส 52-53
คน คน คน คน คน
31 คน 31 คน 1,692 คน
รวม รวมทั้งสิ้น
1.6 จานวนอาจารย์และบุคลากร อาจารย์คณะศิลปะและการออกแบบ ในปีการศึกษา 2553 จานวนทั้งหมด 59 คน วุฒิการศึกษา ปริญญาเอก 2 คน ลาดับ ชื่อ-สกุล 1. ผศ.ดร.ชัยยศ อิษฏ์วรพันธุ์
2.
ดร.วราวรรณ สุวรรณผาติ
หน่วยงาน หลักสูตรศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชา การออกแบบ
หัวหน้าสาขาวิชา 23
วุฒิการศึกษา ศ.บ.(ประยุกต์ศิลป์ศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร Master of Engineering (History of Architecture) Waseda University, Tokyo, Japan Doctor of Architecture Wasseda University, Tokyo, Japan กศ.บ. (เทคโนโลยีการศึกษา)
ศิลปภาพถ่าย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ค.ม. (โสตทัศนศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Ed.D. (Administrative and Policy Studies) University of Pittsburgh, U.S.A.
หน่วยงาน คณบดี และผู้อานวยการ หลักสูตร
วุฒิการศึกษา ศ.บ. (มัณฑนศิลป์) มหาวิทยาลัยศิลปากร M.F.A. (Interior Design) University of Kansas, U.S.A B.Arch The University of Arizona M.FA. Cranbrook Academy of Art
วุฒิการศึกษา ปริญญาโท 39 คน ลาดับ ชื่อ-สกุล 1. รศ.พิศประไพ สาระศาลิน
2.
อาจารย์เดวิด เชเฟอร์
3
อาจารย์วิชัย เมฆเกิดชู
4
อาจารย์ดนยา เชี่ยววัฒกี
5
อาจารย์นิพล สมานมิตร
6 อาจารย์ไพลิน โภคทวี
7 อาจารย์อรพรรณ สาระศาลินเชเฟอร์
หลักสูตรศิลป มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ ออกแบบ หัวหน้าสาขาวิชา ศ.บ. (ภาพพิมพ์) ออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศป.ม. (คอมพิวเตอร์อาร์ต) มหาวิทยาลัยรังสิต หมวดวิชาพื้นฐาน ศ.บ. (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.ม. (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร หมวดวิชาพื้นฐาน ศ.บ. (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศป.ม. (การออกแบบ) มหาวิทยาลัยรังสิต ออกแบบภายใน สถ.บ. (สถาปัตยกรรมศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย M.F.A. (Interior Design) Savannah College of Art and Design, U.S.A. ออกแบบภายใน B.Arch The University of Arizona 24
8
อาจารย์เกรียงศักดิ์ สุวรรณบูล
9 อาจารย์สุเทพ โลหะจรูญ
10 อาจารย์ชุติมา พรรคอนันต์
11 อาจารย์ชนกมณฐ์ รักษาเกียรติ
12 อาจารย์ชินภัศร์ กันตะบุตร
13 อาจารย์บารุง อิศรกุล
14 อาจารย์วัชรี ศรีวิชัย
M.F.A. (Ceramics) Cranbrook Academy of Art ออกแบบภายใน สถ.บ. (ออกแบบภายใน) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Master of Science in Interiro-Environmental Design, Pratt Institute, USA. ออกแบบ ศ.บ.(ออกแบบนิเทศศิลป์) นิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศิลปมหาบัณฑิต ออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ออกแบบ ศ.บ. (มัณฑนศิลป์) นิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร M.F.A. (Graphic Design) George Washington University, U.S.A. ออกแบบ ศป.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป์) นิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยรังสิต M.F.A. (Computer Graphics Design) Rochester Institute of Technology, Rochester,NY, USA ออกแบบ ศ.ศ.บ.(ศิลปกรรม) นิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร M.F.A.(Computer Graphic) Pratt Institute, U.S.A. ออกแบบ ศ.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป์) นิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.ม.(สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ออกแบบผลิตภัณฑ์ วท.บ. (เทคโนโลยีเซรามิกส์) สถาบันราชภัฎพระนคร ศ.ม.(สาขาวิชาเครื่องเคลือบดินเผา) มหาวิทยาลัยศิลปากร 25
15 อาจารย์กิตติวัฒน์ โลหะการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ ศ.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศป.ม. (การออกแบบ) มหาวิทยาลัยรังสิต
16 อาจารย์บุญญานิศา อ.ตันติพิบูลย์
รองคณบดีฝ่าย กิจการนักศึกษา
17
อาจารย์บรรณนาท ไชยพาน
18
อาจารย์โลจนา มะโนทัย
19
อาจารย์วสันต์ ยอดอิ่ม
20
อาจารย์เกียรติศักดิ์ วันจรารัตน์
สถ.บ. (สถาปัตยกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยรังสิต ศ.ม. (นฤมิตศิลป์) คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CertificatedeL’institut Paris –Modeliste (France) 2004 สาขา Stylisme & Modelisme และสาขา Stylisme & Modelisme2005 Make-up สถาบันแต่งหน้า M.T.I. Make-upProfessional จาก M.A.C หลักสูตรศิลป ศ.บ. (มัณฑนศิลป์) มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิชาการ Master Industrial Design ออกแบบ Domus Academy, Milan, Italy หมวดวิชาพื้นฐาน ศ.บ. (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร คม. (ศิลปศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หมวดวิชาพื้นฐาน ศ.บ. (ประติมากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศษ.บ.(การศึกษานอกระบบ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ศศ.ม.(ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศิลปภาพถ่าย D.E.U.G. (Arts-Letters) U. Paris VIII., France Licence (Arts-plastiques) U. Paris VIII., France 26
21
อาจารย์สุขเกษม อุยโต
ศิลปภาพถ่าย
22
อาจารย์สุชีพ กรรณสูต
รองคณบดีฝ่าย วิชาการ
23
อาจารย์อาพรรณี สเตาะ
ศิลปภาพถ่าย
24
อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์
หัวหน้าสาขาวิชา ออกแบบภายใน
25
อาจารย์วิรุจน์ ไทยแช่ม
ออกแบบภายใน
26
อาจารย์สราวุธ ศรีทอง
ออกแบบภายใน
27
อาจารย์ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวัฒน์
ออกแบบภายใน 27
Maitrise (Arts-plastiques) เกียรตินิยมดีเยี่ยม U. Paris VII., France Cert. (Lab-photo), I.U.T. France น.บ. (นิติศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคาแหง กศ.ม. (เทคโนโลยีทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศป.บ.(ออกแบบนิเทศศิลป์) มหาวิทยาลัยรังสิต ศศ.ม.(เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศป.บ. (ศิลปภาพถ่าย) มหาวิทยาลัยรังสิต Fine Art Photography จาก Ministere de la Culture et de la Communication Ecole Nationale Superieure de la Photographic ประเทศฝรั่งเศส สถ.บ. (สถาปัตยกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยรังสิต สถ.ม.(ออกแบบผังเมือง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต M.A. (Interior Design) Central Saint Martins College of Art & Design. London,UK. ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต M.A. (3D in Design), The Design Academy Eindhoven, University in the Netherlands ศป.บ. (ออกแบบภายใน)
28
อาจารย์อริย์ธัช ฉัตรบูรณยนต์
29
อาจารย์วิษณุนาท กตัญญูทวีทิพย์
30
อาจารย์เพิ่มศักดิ์ สุวรรณทัต
31
อาจารย์สิรดา ศ.ไวยาวัจมัย
32
อาจารย์ดนุ ภู่มาลี
33
อาจารย์ศิริเพ็ญ ธนานันทกิจ
34
อาจารย์พัชรี รัตนพันธุ์
มหาวิทยาลัยรังสิต Master in Design Domus Academy, Milan, Italy ออกแบบภายใน ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต MA (Exhibition Design) Fashion Institute of Technology, New York, USA. ออกแบบ ศ.บ.(ออกแบบนิเทศศิลป์) นิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศศ.ม.(โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ออกแบบ ศป.บ. (เลขนศิลป์) นิเทศศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย M.A.(Graphic Design) Savannah College of Art and Design, GA. U.S.A ออกแบบ ศป.บ. (ออกแบบนิเทศศิลป์) นิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยรังสิต Postgraduate Certificate in Multimedia Design Swinburne University of Technology Melbourne Australia ออกแบบนิเทศศิลป์ ศอ.บ. (เทคโนโลยีการสื่อสารทางการศึกษา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีศอ.ม (ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ออกแบบ ศ.บ. (เครื่องเคลือบดินเผา) ผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ค.ม.(ศิลปศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกแบบ ศ.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ์) ผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 28
35
อาจารย์สุภาวดี จุ้ยศุขะ
36
อาจารย์เขต ศิริภักดี
37
อาจารย์สุปรียา สุธรรมธารีกุล
38
อาจารย์ลลิตา คงสาราญ
39
อาจารย์กาจร แซ่เจียง
ค.ม. (บริหารการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ออกแบบ ศป.บ. (ออกแบบผลิตภัณฑ์) ผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยรังสิต Postgraduate Diploma in Design University of Northumbria at Newcastle, U.K. M.A. (Fashion and Jewellery Design) เกียรตินิยมอันดับ 1 University of Northumbria at Newcastle, U.K. ออกแบบผลิตภัณฑ์ (ออ.บ.) สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master in Design, Domus Academy, Italy แฟชั่นดีไซน์ ค.บ. (ศิลปศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ค.ม. (โสตทัศนศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย M.A. (Educational Phychology) Keio University, Japan M.A.(Fashion Design) London College of Fashion, The London Institute. UK. แฟชั่นดีไซน์ ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต M.A. (Fiber Art) Savannah College of Art and Design หัวหน้าสาขาวิชา วท.บ. (คหกรรมศาสตร์) แฟชั่นดีไซน์ สาขาวิชาศิลป สัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คศ.ม. สาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องแต่งกาย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Cert.de Stylisme Modelisme Alliance Francaise de Bangkok
29
วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี 18 คน ลาดับ 1.
ชื่อ-สกุล อาจารย์วิชัย เล็กอุทัย
2.
อาจารย์พจมาน ธารณเจษฎา
3.
อาจารย์อนุพงศ์ สุทธะลักษณ์
หน่วยงาน รองคณบดี ฝ่ายบริหาร หัวหน้าหมวดวิชา พื้นฐาน หมวดวิชาพื้นฐาน
4.
อาจารย์สุริยา ศรีสุภาพ
หมวดวิชาพื้นฐาน
5.
อาจารย์อัจฉรา นาคลดา
หมวดวิชาพื้นฐาน
6.
อาจารย์เอกชัย สมบูรณ์
หมวดวิชาพื้นฐาน
7.
ผศ.สุรพงษ์ เอี่ยมพิชัยฤทธิ์
ศิลปภาพถ่าย
8.
อาจารย์อนันต์กิตติ์ จันทร์ไกร
ศิลปภาพถ่าย
9.
อาจารย์พิพัฒน์ ลิ้มประไพพงษ์
ศิลปภาพถ่าย
10.
อาจารย์พิสิษฐ์ โพธิ์แก้ว
ศิลปภาพถ่าย
11.
อาจารย์คงรัฐ สุนทรโรจน์พัฒนา
ออกแบบภายใน
12.
ผศ.วัชรินทร์ จรุงจิตสุนทร
หัวหน้าสาขาวิชา ออกแบบผลิตภัณฑ์
13.
ผศ.กิติสาร วาณิชยานนท์
ออกแบบผลิตภัณฑ์ สถ.บ. (ศิลปอุตสาหกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง 30
วุฒิการศึกษา ศ.บ. (มัณฑนศิลป์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ.(ภาพพิมพ์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ. (ภาพพิมพ์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ. (ภาพพิมพ์) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ. (ประยุกต์ศิลป์) มหาวิทยาลัยศิลปากร กศ.บ. (ศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน นศ.บ.(การโฆษณา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ค.บ. (เทคโนโลยีและนวัตกรรม) สถาบันราชภัฏพระนคร ศป.บ.(ศิลปภาพถ่าย) มหาวิทยาลัยรังสิต ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) เทคโนโลยีสารสนเทศฯ สถาบันราชภัฏจันทรเกษม ศ.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยศิลปากร ศ.บ.(ออกแบบผลิตภัณฑ์) มหาวิทยาลัยศิลปากร
14.
อาจารย์วรวรรณ โอริส
15.
อาจารย์อนัญญลัลน์ วัฒนะนุพงษ์
16.
อาจารย์ศิรวีร์ ศุกรวรรณ
17.
อาจารย์เสกสฤษฎ์ ธนประสิทธิกูล
18.
อาจารย์ลัดดาวัลย์ สารพัฒน์
ออกแบบผลิตภัณฑ์ ค.บ.(อุตสาหกรรมศึกษา) สถาบันราชภัฎพระนคร แฟชั่นดีไซน์ ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต Certificate ofHandcraft Tailoring, London College of Fashion, The London Institute แฟชั่นดีไซน์ ศป.บ. (ออกแบบภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต Certificate (mention bien) (StylismeModelisme) Linstitut Paris-Modeliste, Paris France Diplome homoloque niveau 3 (StylismeModelisme) LISAA (L’instutut superieure artappliqu) Paris France แฟชั่นดีไซน์ ร.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย B.A. (Fashion Design) Hogeschool voor de Kunsten Arnhem แฟชั่นดีไซน์ คศ.บ. (ผ้าและเครื่องแต่งกาย) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
บุคลากรสายสนับสนุนในปีการศึกษา 2553 จานวนทั้งหมด 13 คน
1.7 ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ อาคารสถานที่ อาคารสถานที่ ปัจจัยเกื้อหนุน และสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ในการเรียนการสอนของคณะศิลปะและการออกแบบ อยู่ในอาคารคุณหญิงพัฒนา (อาคาร 8) และ อาคารวิษณุรัตน์ (อาคาร 5) คณะศิลปะและการออกแบบ อาคาร 8 มีห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และบรรยากาศที่เอื้อต่อการศึกษา มีการแบ่ง พื้นที่ใช้สอยภายในอาคารโดยได้จัดแบ่งเป็นส่วน ทั้งนี้ ทุกสาขาวิชาใช้ห้องเรียนแบบบรรยายร่วมกับมหาวิทยาลัย และมี ห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น ศิลปภาพถ่าย ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ แฟชั่นดีไซน์ รวมทั้ง 31
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ชั้น 3 คณะดิจิทัลอาร์ต ซึ่งใช้ร่วมกันทุกสาขาวิชา นอกจากนั้น คณะศิลปะและการออกแบบมีห้อง แสดงผลงานนิทรรศการ หอศิลป์รังสิต เพื่อเผยแพร่ผลงานศิลปะและงานออกแบบของอาจารย์ – นักศึกษาทั้งคณะโดยใช้ ร่วมกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ งบประมาณ ในปีการศึกษา 2553 งบประมาณของคณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต เปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี ดังนี้ คือ รายรับ รายจ่าย หมวดเงินเดือน หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าใช้สอย หมวดค่าวัสดุ ครุภัณฑ์ โครงการ รวมรายจ่าย สรุป รายรับสูงกว่ารายจ่าย คิดเป็นร้อยละของรายรับ
ปี 2550 138,446,292.00
ปี 2551 137,298,350.00
ปี 2552 153,945,400.00
ปี 2553 123,309,550.00
27,728,666.00 6,214,275.00 2,481,941.00 493,782.00 3,860,875.00 64,787,539.00 53,934,161.00 45.42
29,135,110.00 7,582,900.00 1,208,500.00 747,856.00 4,581,000.00 40,789,548.00 97,656,744.00 70.53
31,201,062.00 10,048,145.56 1,760,038.00 595,750.00 8,475,600 43,255,366.00 94,042,984.00 68.50
28,000,000..00 4,623,800.00 4,998,940 6,336,950.00 43,959,690.00 79,349,810.00 64.35
หมายเหตุ ปีการศึกษา 2553 สาขาคอมพิวเตอร์อาร์ตและหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาคอมพิวเตอร์อาร์ตได้ย้ายไปตั้ง คณะดิจิตอลอาร์ต ทาให้รายรับและรายจ่ายลดลง 1.8 เอกลักษณ์หรือวัฒนธรรมของสถาบัน คณะศิลปะและการออกแบบ มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิต เพื่อเป็นผู้นาในการสร้างวัฒนธรรมเข้าใจบทบาทของนัก ออกแบบ สามารถสร้างสรรค์ผลงานที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และจิตสานึกของมนุษย์ในทางที่ดีขึ้น กระบวนการ ออกแบบและการวิจัยสามารถบูรณาการเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมทั้งความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา โดยจะต้องตระหนักถึงความสาคัญของการทานุบารุงสิ่งแวดล้อม และการสืบสานอัตลักษณ์ทางศิลปะและวัฒนธรรม สามารถ แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นในหลากหลายวัฒนธรรม เป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเสียสละเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก 1.9 ตารางแสดงผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินปีที่ผ่านมา จากผลการประเมินการตรวจประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2552 คณะศิลปะและการออกแบบต้อง ปรับปรุง เรือ่ ง การทาตาแหน่งทางวิชาการ การศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก การทาวิจัยและการ 32
เผยแพร่ผลงานวิจัย ทั้งนี้คณะฯ ได้รวบรวมข้อปรับปรุงต่าง ๆ ดังกล่าวบรรจุในแผนพัฒนาคณะฯ และในปีการศึกษา 2553 ได้ดาเนินการจัดสัมมนาบุคลากรคณะ เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านวิชาการ เรื่องการเร่งรัดเข้าสู่ตาแหน่งทาง วิชาการ ตลอดจนสนับสนุนให้บุคลากรศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และคณะจะดาเนินการผลักดันให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในปีการศึกษาต่อไป องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ
คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการ 6 หรือ มีการดาเนินการ 8 ข้อ 5 ข้อ 7 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับ นโยบายของสภาสถาบัน โดยการมีส่วน ร่วมของบุคลากรในสถาบัน และได้รับ ความเห็นชอบจากสภาสถาบัน โดยเป็น แผนที่เชื่อมโยงกับปรัชญาหรือปณิธาน และพระราชบัญญัติสถาบัน ตลอดจน สอดคล้องกับจุดเน้นของกลุ่มสถาบัน กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551 – 2565) และ แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2551 – 2554)
2
ผลดาเนินงาน คณะได้มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ ทั้ง 4 ด้าน ที่สอดคล้อง กับแผนกลยุทธ์ ภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย และ สอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนาของ ชาติ ครอบคลุมตามเกณฑ์มาตรฐาน
มีการถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ระดับสถาบัน คณะรับทราบแผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยรังสิต จากใน 33
หลักฐาน ศก.อ1.1.1001 แผน ยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ศก.1.1.1.002 แผน ยุทธศาสตร์คณะ ศิลปะและการ ออกแบบ ศก.1.1.1.003 แต่ง ตั้งกรรมการบริหาร คณะ ศก.1.1.1.004 รายงานทบทวน ปรัชญาครั้งที1่ -53 ศก.1.1.1.005 วิสัย
ไปสู่ทุกหน่วยงานภายใน
3
4
5
เว็บไซด์ของสานักงานวางแผน และคณะได้มีการ ถ่ายทอดแผน กลยุทธ์คณะฯ/แผนยุทธศาสตร์คณะฯ ตลอดจน วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ของ คณะฯ ประจาปีการศึกษา2553 ไปสู่บุคลากรและสาขาวิชา ต่างๆ ทางการประชุมคณะกรรมการประจา คณะศิลปะ และ การออกแบบ และผ่านทางเอกสาร มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธ์เป็น มีการแปลงแผนกลยุทธ์เป็นแผนปฏิบัติการประจาปี ที่ แผนปฏิบัติการประจาปีครบ 4 พันธกิจ ครอบคลุมพันธกิจทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านการเรียนการสอน การวิจัย การ บริการทางวิชาการ และการทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรม
มีตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ การประจา ปี และค่าเป้าหมายของแต่ ละตัวบ่งชี้ เพื่อวัดความสาเร็จของการ ดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์และ แผนปฏิบัติการประจาปี มีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ประจาปีครบ 4 พันธกิจ
มีการกาหนด เป้าหมาย ตัวบ่งชี้วัดความสาเร็จและ ผู้รับผิดชอบ ดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์
ทัศน์คณะ 53 ศก.อ1.1.1005 การ ประชุคณะกรรมการ ประจาคณะ
ศก.1.1.1.006 actionplan คณะ 53 ศก.1.1.1.007 วิเคราะห์แผนตาม พันธกิจ53 ศก.1.1.1.008 รายงานครั้งที่ 2-53 (จัดทาแผนกลยุทธ์) ศก.อ1.1.1.009 รายงานครั้งที่ 353 (จัดทาแผนกล ยุทธ์) ศก.1.1.1.006 actionplan คณะ 53 ศก.1.1.1.010 แต่งตั้งกรรมการแผน
คณะมีการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี โดย ศก.อ1.1.1.011 แผน ดาเนินการตามผังช่วงเวลาที่คณะจัดทาขึ้นเพื่อให้ทุกคน ช่วงเวลาดาเนินงาน เห็นภาพรวมในการปฏิบัติงานตลอดปีการศึกษา ปี53 ศก.1.1.1.012 รายงานผลการ ดาเนินการ 34
Actionplan 53 6
7
8
มีการติดตามผลการดาเนินงานตามตัว บ่งชี้ของแผนปฏิบัติการประจาปี อย่าง น้อยปีละ 2 ครั้ง และรายงานผลต่อ ผู้บริหารเพื่อพิจารณา
มีการดาเนินงานและสรุปผลการดาเนินงาน ตาม แผนปฏิบัติการทุกภาคการศึกษา โดยผ่านระบบ สารสนเทศไปยังหน่วยงานของสานักงานวางแผน มหาวิทยาลัย
ศก.1.1.1.013 รายงานการประชุม กรรมการคณะ ศก.1.1.1.014 รายง านครั้งที7่ -53 ศก.1.1.1.015 รายงานครั้งที8่ -53 มีการประเมินผลการดาเนินงานตามตัว คณะ ได้สรุปและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนกล ศก.1.1.1.016 บ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ อย่างน้อยปีละ 1 ยุทธ์แต่ละด้าน รายงานผลตามตัว ครั้ง และรายงานผลต่อผู้บริหารและสภา บ่งชี้ปี 53 สถาบันเพื่อพิจารณา มีการนาผลการพิจารณา ข้อคิดเห็น และ คณะได้ให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาเพื่อที่สาขาได้นา ศก.1.1.1.017 ข้อเสนอแนะของสภาสถาบันไปปรับปรุง ผลไปปรับปรุงแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี รายงานการปรับปรุง แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจาปี ในปีการศึกษา 2554ต่อไป แผน
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
5
8
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
5
8
5.00
บรรลุเป้าหมาย
35
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๑๖.๒ ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม ๕) หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนผู้สาเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้รับการประเมิน คุณลักษณะตามอัตลักษณ์ ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีคุณลักษณะตามอัต ลักษณ์ (คะแนนเต็ม ๕) จานวนผู้สาเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการประเมิน คุณลักษณะตามอัตลักษณ์ ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาโทที่มีคุณลักษณะตามอัต ลักษณ์ (คะแนนเต็ม ๕) จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการประเมินคุณลักษณะ ตามอัตลักษณ์ ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาเอกที่มีคุณลักษณะตามอัต ลักษณ์ (คะแนนเต็ม ๕) ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ (คะแนน เต็ม ๕) จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งหมด (ปีการศึกษาที่จัดเก็บ ข้อมูล) จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด (ปีการศึกษาที่จัดเก็บ 36
332
จานวนยืนยันของ สถาบัน 332
3.92
3.92
6
6
3.28
3.28
3.6
3.6
332
332
16
16
ข้อมูล) จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด (ปีการศึกษาทีจ่ ัดเก็บ ข้อมูล) ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ (คะแนนเต็ม ๕)=3.600 ผลการดาเนินงาน คณะได้มีการจัดทาแผนกลยุทธ์ ทั้ง 4 ด้าน ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ ภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย และสอดคล้องกับ เป้าหมายยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนาของชาติ ครอบคลุมตามเกณฑ์มาตรฐาน รายการหลักฐาน ศก.อ1.1.1001 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต ศก.อ1.1.1.002 แผนยุทธศาสตร์คณะศิลปะและการออกแบบ ศก.อ1.1.1.003 แต่งตั้งกรรมการบริหารคณะ ศก.อ1.1.1.004 รายงานทบทวนปรัชญาครั้งที1่ -53
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
3
ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต ที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ 3.60 (คะแนนเต็ม ๕)=3.600
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ 37
บรรลุเป้าหมาย
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
3
ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต ที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ 3.60 (คะแนนเต็ม ๕)=3.600
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 1 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะฯ มีปรัชญา ปณิธาน พันธกิจที่ชัดเจน และวางแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับ ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยทาให้สามารถดาเนินงานได้ตามแผนการปฏิบัติงานเป็นส่วนใหญ่
จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : CarWeakness วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) : คณะฯ มีการประชุม การติดตามผล และรายงานต่อคณะกรรมการบริหารคณะฯและ มหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง มีการวิเคราะห์และปรับปรุงกลยุทธ์ให้ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันและแนวโน้ม อนาคตและ มีคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ เป็นผู้รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายชัดเจน
38
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน 1. เกณฑ์ทั่วไป คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ
คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
2. เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 ค2 และ ง คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการครบ 5 ตามเกณฑ์ทั่วไป ตามเกณฑ์ทั่วไป ตามเกณฑ์ทั่วไป 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป และครบถ้วนตามเกณฑ์ มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่ม
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และ ปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่ กาหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่กาหนด
ผลดาเนินงาน คณะฯมีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และ ปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กาหนดโดยมี กรรมการกากับมาตรฐานวิชาการมาตรวจสอบผลการ เรียนการสอนทุกๆสิ้นภาคการศึกษาและมีกรรมการ 39
หลักฐาน ศก.อ2.2.1.001 แต่งตัง้ คณะ กรรมการกากับ
พัฒนาหลักสูตรให้ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและ มาตรฐานวิชาการ. ปรับปรุงเพื่อ ขอเปิดหลักสูตรใหม่ตามขั้นตอนการขอเปิด ศก.อ2.2.1.002 หลักสูตร กรรมการพัฒนา หลักสูตร ศก.อ2.2.1.003 ขั้นตอนการจัดทา หลักสูตรเพื่อขอเปิด ดาเนินการ. ศก.อ2.2.1.004 อ้างอิง มรส.สมว.อ 2.2.1.1.004 ศก.อ2.2.1.005 เอกสารแสดงการ เสนอหลักสูตรใหม่ และหลักสูตร ปรับปรุง
2 มีระบบและกลไกการปิดหลักสูตรตาม แนวทางปฏิบัติที่กาหนดโดยคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่ กาหนด 3 ทุกหลักสูตรมีการดาเนินงานให้เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ (การดา เนินงานตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง ต้องมีการประเมินผลตาม “ตัวบ่งชี้ ผลการดาเนินงานตามประกาศมาตรฐาน คุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพื่อการประกัน
การขอปิดหลักสูตรของคณะฯเป็นไปตามกรอบแผน อุดมศึกษาระยะยาว
ทุกหลักสูตรของคณะศิลปะและการออกแบบดาเนินการ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยมีการประเมินผลตาม “ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานตาม ประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพื่อการ ประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน
ศก.อ2.2.1.006 ขั้นตอนแต่งตั้ง กรรมการพัฒนาฯ ศก.อ2.2.1.007 ขั้นตอนการขอปิด หลักสูตร ศก.อ2.2.1.008_1 หลักสูตรป.โท ศก.อ2.2.1.008_2 หลักสูตร_FAS_ 2551 ศก.อ2.2.1.008_3 หลักสูตร_INT
40
คุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน” กรณีที่หลักสูตรใดยังไม่มีประกาศมาตรฐาน คุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา ให้ประเมินตาม ตัวบ่งชี้กลางที่กาหนดในภาคผนวก ก) สาหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพต้องได้รับการ รับรองหลักสูตรจากสภาหรือองค์กรวิชาชีพที่ เกี่ยวข้องด้วย (หมายเหตุ : สาหรับหลักสูตร เก่าหรือหลักสูตรปรับปรุงที่ยังไม่ได้ ดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติก่อนปีการศึกษา 2555 ให้ยึดตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 )
ศก.อ2.2.1.008_4 หลักสูตร_PHO_ 2551 ศก.อ2.2.1.008_5 หลักสูตร_PRD_ 2551 ศก.อ2.2.1.008_6 หลักสูตร_VCD_ 2551 ศก.อ2.2.1.009 เกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับ ปริญญาตรี ศก.อ2.2.1.010_1 มคอ.3_ART_12553 ศก.อ2.2.1.010_2 มคอ.3_FAS_12553 ศก.อ2.2.1.010_3 มคอ.3_INT_1-2553 ศก.อ2.2.1.010_4 มคอ.3_PHO_12553 ศก.อ2.2.1.010_5 มคอ.3_PRD_12553 ศก.อ2.2.1.010_6 มคอ.3_VCD_141
2553 ศก.อ2.2.1.010_7 มคอ.3_ART_22553 ศก.อ2.2.1.010_8 มคอ.3_FAS_22553 ศก.อ2.2.1.010_9 มคอ.3_INT_2-2553 ศก.อ2.2.1.010_10 มคอ.3_PHO_22553 ศก.อ2.2.1.010_11 มคอ.3_PRD_22553 ศก.อ2.2.1.010_12 มคอ.3_VCD_22553 ศก.อ2.2.1.010_13 มคอ.5_ART_12553 ศก.อ2.2.1.010_14 มคอ.5_FAS_12553 ศก.อ2.2.1.010_15 มคอ.5_INT_1-2553 ศก.อ2.2.1.010_16 มคอ.5_PHO_12553 ศก.อ2.2.1.010_17 42
มคอ.5_PRD_12553 ศก.อ2.2.1.010_18 มคอ.5_VCD_12553 ศก.อ2.2.1.010_19 มคอ.5_PRD_22553 ศก.อ2.2.1.010_20 มคอ.5_PHO_22553 ศก.อ2.2.1.010_21 มคอ.5_ART_22553 ศก.อ2.2.1.011สมอ. 07ป.ตรี 5 สาขา และป.โท ศก.อ2.2.1.012 เอกสารหลักสูตร มคอ2 cerricurum ศก.อ2.2.1.013 เอกสารรับทราบการ ปรับปรุงหลักสูตร 4 มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มี คณะฯได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบทุก การดาเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และ หลักสูตร โดยได้มีประเมินผลการเรียนการสอนและ ข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมี ควบคุมกากับโดยคณะกรรมการกากับมาตรฐานวิชาการ การประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอย่างน้อย จากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่เกี่ยวข้องกับสาขาอาชีพ ตามกรอบเวลาที่กาหนดในเกณฑ์มาตรฐาน โดยตรง ทุกสิ้นภาคการศึกษา หลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรที่ดา เนินงานตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้การ 43
ศก.อ2.2.1.014 กรรมการพัฒนา หลักสูตร ศก.อ2.2.1.015 เอกสารรายงานผล การดาเนินงาน หลักสูตรสาขา_PHO
ดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์ การประเมิน 5 ข้อแรกและอย่างน้อยร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ที่กาหนดในแต่ละปี ทุก หลักสูตร
ศก.อ2.2.1.016 เอกสารรายงานผล การดาเนินงาน หลักสูตรสาขา_INT ศก.อ2.2.1.017 เอกสารรายงานผล การดาเนินงาน หลักสูตรสาขา_VCD ศก.อ2.2.1.018 เอกสารรายงานผล การดาเนินงาน หลักสูตรสาขา_PRD ศก.อ2.2.1.019 เอกสารรายงานผล การดาเนินงาน หลักสูตรสาขา_FAS ศก.อ2.2.1.020 เอกสารรายงานผล การดาเนินงาน หมวดพื้นฐาน
5 มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มี การดาเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และ ข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษาและมี การพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการ ประเมินในข้อ 4กรณีหลักสูตรที่ดาเนินงาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้การ ดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์ การประเมินครบ ทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร
คณะฯมีการแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมทุก หลักสูตรเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน โดยได้ ดาเนินการให้ครบถ้วนตั้งแต่ข้อ1-3ตลอดระยะเวลาที่จัด การศึกษาทั้งนี้ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรไปพร้อมๆกัน เพื่อดาเนินการการขอเปิดใช้หลักสูตรใหม่ในปีการศึกษา 2555
ศก.อ2.2.1.021 แต่งตั้ง คณะกรรมการกากับ มาตรฐานวิชาการ. ศก.อ2.2.1.022 กรรมการพัฒนา หลักสูตร ศก.อ2.2.1.023 เอกสารขอปรับปรุง หลักสูตร(คณะไม่มี การปรับปรุงในปี
44
2553)
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
5
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
5
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ กาหนดร้อยละ ๑๐๐ เท่ากับ ๕ คะแนน
หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ 45
ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสารวจเรื่องการมีงานทา จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทาหลังสาเร็จการศึกษา จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทาก่อนเข้าศึกษา จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา
233 154 57
จานวนยืนยันของ สถาบัน 233 154 57
22
22
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพ อิสระ=211/จานวนบัณฑิตที่ตอบแบบสารวจ =211) เท่ากับร้อยละ 100.00 เมื่อเทียบร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้น คะแนนจึงเท่ากับ 5.000 ผลการดาเนินงาน คณะฯมีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กาหนดโดยมีกรรมการกากับ มาตรฐานวิชาการมาตรวจสอบผลการเรียนการสอนทุกๆสิ้นภาคการศึกษาและมีกรรมการพัฒนาหลักสูตรให้ข้อเสนอแนะเพื่อ การพัฒนาและปรับปรุงเพื่อ ขอเปิดหลักสูตรใหม่ตามขั้นตอนการขอเปิดหลักสูตร
รายการหลักฐาน ศก.อ2.2.1.001 แต่งตั้งคณะกรรมการกากับมาตรฐานวิชาการ. ศก.อ2.2.1.002 กรรมการพัฒนาหลักสูตร ศก.อ2.2.1.003 ขั้นตอนการจัดทาหลักสูตรเพื่อขอเปิดดาเนินการ. ศก.อ2.2.1.004 อ้างอิง มรส.สมว.อ2.2.1.1.004 ศก.อ2.2.1.005 เอกสารแสดงการเสนอหลักสูตรใหม่และหลักสูตรปรับปรุง ศก.อ2.2.1.006 ขั้นตอนแต่งตั้งกรรมการพัฒนาฯ 46
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
60
(จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบ อาชีพอิสระ=211/จานวนบัณฑิตที่ ตอบแบบสารวจ =211) เท่ากับร้อย 5.00 ละ 100.00 เมื่อเทียบร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้น คะแนนจึง เท่ากับ 5.000
ผลการประเมินตนเองปีนี้
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
60
(จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบ อาชีพอิสระ=211/จานวนบัณฑิตที่ ตอบแบบสารวจ =211) เท่ากับร้อย 5.00 ละ 100.00 เมื่อเทียบร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้น คะแนนจึง เท่ากับ 5.000
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอกตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ 47
ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม ๕) หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนผู้สาเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้รับการประเมินคุณภาพตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) จานวนผู้สาเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการประเมินคุณภาพตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาโทตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการประเมินคุณภาพตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาเอกตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรี โท เอก ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕)
332
จานวนยืนยันของ สถาบัน 332
3.92
3.92
16
16
3.92
3.92
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรี โท เอก ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) = 3.920 ผลการดาเนินงาน
48
คณะฯมีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กาหนดโดยมีกรรมการกากับ มาตรฐานวิชาการมาตรวจสอบผลการเรียนการสอนทุกๆสิ้นภาคการศึกษาและมีกรรมการพัฒนาหลักสูตรให้ข้อเสนอแนะเพื่อ การพัฒนาและปรับปรุงเพื่อ ขอเปิดหลักสูตรใหม่ตามขั้นตอนการขอเปิดหลักสูตร
รายการหลักฐาน ศก.อ2.2.1.001 แต่งตั้งคณะกรรมการกากับมาตรฐานวิชาการ. ศก.อ2.2.1.002 กรรมการพัฒนาหลักสูตร ศก.อ2.2.1.003 ขั้นตอนการจัดทาหลักสูตรเพื่อขอเปิดดาเนินการ. ศก.อ2.2.1.004 อ้างอิง มรส.สมว.อ2.2.1.1.004 ศก.อ2.2.1.005 เอกสารแสดงการเสนอหลักสูตรใหม่และหลักสูตรปรับปรุง ศก.อ2.2.1.006 ขั้นตอนแต่งตั้งกรรมการพัฒนาฯ
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
100
ผลการประเมินจากความพึงพอใจ ของนายจ้างที่มีต่อผู้สาเร็จ การศึกษาระดับปริญญาตรี โท เอก 3.92 ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) = 3.920
ผลการประเมินตนเองปีนี้
49
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
100
ผลการประเมินจากความพึงพอใจ ของนายจ้างที่มีต่อผู้สาเร็จ การศึกษาระดับปริญญาตรี โท เอก 3.92 ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม ๕) = 3.920
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์การประเมิน หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ 59 ร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกปีการศึกษาที่ผ่านมา (กรณี 31.94 ที่เลือกใช้เกณฑ์ประเมินเป็นค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละฯ) จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมดที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ วุฒิปริญญา 18 เอกหรือเทียบเท่า
จานวนยืนยันของ สถาบัน 59 31.94 18
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก=30.508 เมื่อเทียบค่าร้อยละ ของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5= ร้อยละ 30 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 5.000) 50
(ค่าการเพิ่มขี้นของร้อยละอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา=-1.432 เมื่อเทียบค่าการเพิ่มขี้นข องร้อยละของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้น ไป ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ -1.193) เพราะฉะนั้นเครื่องจึงเลือกค่าคะแนน = 5.000
ผลการดาเนินงาน คณะฯได้มีการส่งเสริมและผลักดันให้คณาจารย์ได้มีการศึกษาต่อในระดับคุณวุฒิที่สูงขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมและอย่างต่อเนื่อง ในทุกๆปี รายการหลักฐาน ศก.อ2.2.2.001 คุณวุฒิอาจารย์คณะศิลปะและการออกแบบ_2553 ศก.อ2.2.2.002 เอกสารแสดงอาจารย์ศึกษาต่อ. ศก.อ2.2.2.003 เอกสารแสดงแผนพัฒนาอาจารย์_ART ศก.อ2.2.2.003 เอกสารแสดงแผนพัฒนาอาจารย์_FAS ศก.อ2.2.2.003 เอกสารแสดงแผนพัฒนาอาจารย์_INT ศก.อ2.2.2.003 เอกสารแสดงแผนพัฒนาอาจารย์_PHO ศก.อ2.2.2.003 เอกสารแสดงแผนพัฒนาอาจารย์_PRD ศก.อ2.2.2.003 เอกสารแสดงแผนพัฒนาอาจารย์_VCD
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้ เป้าหมาย
51
1
(ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มี คุณวุฒิปริญญาเอก=30.508 เมื่อ เทียบค่าร้อยละของอาจารย์ประจา ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กาหนดให้ เป็นคะแนนเต็ม 5= ร้อยละ 30 ขึ้น ไป ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 5.000) (ค่าการเพิ่มขี้นของร้อยละอาจารย์ ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา=-1.432 5.00 เมื่อเทียบค่าการเพิ่มขี้นของร้อยละ ของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผ่าน มาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้ เท่ากับ -1.193) เพราะฉะนั้นเครื่องจึงเลือกค่า คะแนน = 5.000
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
1
(ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่มี คุณวุฒิปริญญาเอก=30.508 เมื่อ เทียบค่าร้อยละของอาจารย์ประจา ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กาหนดให้ เป็นคะแนนเต็ม 5= ร้อยละ 30 ขึ้น ไป ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 5.000) 5.00 (ค่าการเพิ่มขี้นของร้อยละอาจารย์ ประจาที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา=-1.432 เมื่อเทียบค่าการเพิ่มขี้นของร้อยละ ของอาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิ ปริญญาเอกเปรียบเทียบกับปีที่ผา่ น 52
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
มาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 6 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้ เท่ากับ -1.193) เพราะฉะนั้นเครื่อง จึงเลือกค่าคะแนน = 5.000 หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์การประเมิน หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมดที่ดารงตาแหน่งอาจารย์ จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมดทีด่ ารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมดที่ดารงตาแหน่งรองศาสตราจารย์ จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมดที่ดารงตาแหน่งศาสตราจารย์ ร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการของปีที่ผ่านมา
54 4 1
จานวนยืนยันของ สถาบัน 54 4 1
8.47
8.47
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ=8.475 เมื่อเทียบค่าร้อย ละของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5= ร้อยละ 60 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 0.706) (ค่าการเพิ่มของร้อยละอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา=0.005 เมื่อเทียบค่าการ
53
เพิ่มขึ้นของร้อยละอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อย ละ 12 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 0.002) เพราะฉะนั้นเครื่องจึงเลือกค่าคะแนน = 0.706 ผลการดาเนินงาน ในปัจจุบัน คณะมีคณาจารย์ที่ดารงตาแหน่งทางวิชาจานวน5ท่าน โดยคณะได้กาหนดแผนพัฒนาตาแหน่งทางวิชาการของ บุคลากรในปีการศึกษาหน้า เป็นจานวน 9 ท่าน รายการหลักฐาน ศก.อ2.2.3.001 ทาเนียบตาแหน่งทางวิชาการ. ศก.อ2.2.3.002 แผนพัฒนารายบุคคลเข้าสู่ตาแหน่ง_FAS ศก.อ2.2.3.002 แผนพัฒนารายบุคคลเข้าสู่ตาแหน่ง_PHO ศก.อ2.2.3.002 แผนพัฒนารายบุคคลเข้าสู่ตาแหน่ง_PRD ศก.อ2.2.3.002 แผนพัฒนารายบุคคลเข้าสู่ตาแหน่ง_VCD ศก.อ2.2.3.003 เงื่อนไขการรับเข้าในการเข้าสู่ตาแหน่งวิชาการ ศก.อ2.2.3.004 แรงจูงใจในการเข้าสู่ตาแหน่งวิชาการ ศก.อ2.2.3.005 แรงจูงใจ_คิดคะแนนเงินพิเศษ53. ศก.อ2.2.3.006 เกณฑ์ประเมิน53 ศก.อ2.2.3.007 ขั้นตอนการขอตาแหน่งวิชาการ ศก.อ2.2.3.008 หลักสูตรเพื่อเร่งรัดการเข้าสู่ตาแหน่งวิชาการ
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
54
ผลการประเมินตนเองปีนี้ คะแนนการประเมิน ตนเอง
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
1
(ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ ดารงตาแหน่งทางวิชาการ=8.475 เมื่อเทียบค่าร้อยละของอาจารย์ ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5= ร้อยละ 60 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้ เท่ากับ 0.706) (ค่าการเพิ่มของร้อยละอาจารย์ ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ 0.71 เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา=0.005 เมื่อเทียบค่าการเพิ่มขึ้นของร้อยละ อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทาง วิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาที่ กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อย ละ 12 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้ เท่ากับ 0.002) เพราะฉะนั้นเครื่องจึงเลือกค่า คะแนน = 0.706
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
1
(ค่าร้อยละของอาจารย์ประจาที่ ดารงตาแหน่งทางวิชาการ=8.475 เมื่อเทียบค่าร้อยละของอาจารย์ ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ 0.71 ที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5= ร้อยละ 60 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้ เท่ากับ 0.706) (ค่าการเพิ่มของร้อย 55
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
ละอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่ง ทางวิชาการเปรียบเทียบกับปีที่ผ่าน มา=0.005 เมื่อเทียบค่าการเพิ่มขึ้น ของร้อยละอาจารย์ประจาที่ดารง ตาแหน่งทางวิชาการเปรียบเทียบ กับปีที่ผ่านมาที่กาหนดให้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 12 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 0.002) เพราะฉะนั้นเครื่องจึงเลือกค่า คะแนน = 0.706 หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ ผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับชาติ จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ หรือจานวนการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฎ
16
56
จานวนยืนยันของ สถาบัน 16
ในฐานข้อมูล TCI จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฎใน ประกาศของ สมศ. จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อ ปรากฎในประกาศของ สมศ. จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อ ปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลสากล ISI จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูล การจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ 4 (Q4) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูล การจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ 3 (Q3) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูล การจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ 2 (Q2) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูล การจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ 1 (Q1) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus จานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ระดับสถาบันหรือ จังหวัด จานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ จานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความ ร่วมมือระหว่างประเทศ 57
16
16
จานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาค อาเซียน จานวนผลงานสร้างสรรค์จากศิลปนิพนธ์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับ นานาชาติ ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาโทเท่ากับ 10.00/จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมดเท่ากับ 16) = ร้อยละ62.500 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 25 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้นคะแนนเท่ากับ 5.000 ผลการดาเนินงาน คณะศิลปะและการออกแบบมีจานวนนักศึกษาที่สาเร็จปริญญาโท 16 คน และมีจานวนบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ จานวน 16 บทความ รายการหลักฐาน ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 3.001 อ้างอิง ศก.อ4.4.3.003
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
100
(ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานที่ ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของผู้สาเร็จ การศึกษาระดับปริญญาโทเท่ากับ 5.00 10.00/จานวนผู้สาเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโททั้งหมดเท่ากับ 16) = ร้อยละ62.500 เมื่อเทียบค่าร้อย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
58
บรรลุเป้าหมาย
ละ 25 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้น คะแนนเท่ากับ 5.000 ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
100
(ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานที่ ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของผู้สาเร็จ การศึกษาระดับปริญญาโทเท่ากับ 10.00/จานวนผู้สาเร็จการศึกษา 5.00 ระดับปริญญาโททั้งหมดเท่ากับ 16) = ร้อยละ62.500 เมื่อเทียบค่าร้อย ละ 25 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้น คะแนนเท่ากับ 5.000
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ
คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ ทั้งด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการ วัดผลและมีแผนการบริหารและพัฒนา บุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูล
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ
ผลดาเนินงาน
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ
คะแนน 5 มีการ ดาเนินการ 7 ข้อ
หลักฐาน คณะฯมีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้งด้าน ศก.อ2.2.4.001 วิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล ตลอดจน,กาหนด แผนพัฒนา แผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนอย่าง บุคลากรคณะ. ศก.อ2.2.4.002 ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ 59
เชิงประจักษ์
อัตรากาลัง อาจารย์บุคลากรใน ปัจจุบันและ อนาคต 5ปี ศก.อ2.2.4.003 แบบรายงาน อัตรากาลังและ แผนพัฒนา อาจารย์. ศก.อ 2.2.4.004 แบบสารวจ ความต้องการ ฝึกอบรม(อ้างอิง มรส). ศก.อ 2.2.4.005 แต่งตั้งกรรมการ ฝ่ายวิชาการ. ศก.อ 2.2.4.006 ภาระงานสาย เจ้าหน้าที.่ ศก.อ2.2.4.007 แต่งตั้งภาระงาน นอกเหนือการ สอน 2 มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และ คณะฯได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรสายอาจารย์ ศก.อ บุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่ และสายเจ้าหน้าที่พัฒนาด้านวิชาการและงานบริหาร 2.2.4.008 คาสั่ง กาหนด เพื่อให้เป็นไปตามแผนที่องค์กรกาหนดไว้ แต่งตั้งกรรมการ คัดเลือก บุคลากร. ศก.อ2.2.4.009 60
แต่งตั้ง คณะกรรมการ คณะศิลปะและ การออกแบบ ศก.อ2.2.4.010 กรรมการด้าน การบริหาร ศก.อ2.2.4.011 แบบประเมินผล การปฏิบัติงาน ศก.อ2.2.4.012 เอกสารแสดง การพัฒนา อาจารย์เจ้าหน้าที่ 3 มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้าง มหาวิทยาลัยรังสิตได้ให้ความสาคัญทางสุขภาพทีด่ ีแก่ ศก.อ2.2.4.013 ขวัญและกาลังใจให้คณาจารย์และบุคลากร บุคลากรโดยให้มีการตรวจเช็คสุขภาพประจาทุกๆปีและ คู่มือบุคลากร สายสนับสนุนสามารถทางานได้อย่างมี ให้สวัสดิการรักษาฟรีตามแหล่งโรงพยาบาลทั้งภาครัฐ ศก.อ2.2.4.014 ประสิทธิภาพ และเอกชน นอกจากนี้ มีการสร้างขวัญกาลังใจแก่ แรงจูงใจ_คิด คณาจารย์ โดยได้มีกิจกรรมและการประกาศเกียรติคุณ คะแนนเงินพิเศษ ยกย่องคณาจารย์ที่มีผลการปฏิบัติงานสอนดีเด่น 53 ศก.อ2.2.4.015 เกณฑ์การ ประเมินบุคลากร ปี 2553 ศก.อ2.2.4.016 รายงานการ ประชุมครั้งที่ 853การคัดเลือก อาจารย์ดีเด่น ศก.อ2.2.4.017 เอกสารแสดง การยกย่อง 61
4 มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุนนาความรู้และทักษะที่ ได้จากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรียน การสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของ นักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง
5 มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้ คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือ ปฏิบัติ
อาจารย์สอน ดีเด่น ศก.อ2.2.4.018 PDCA seminar art & design 53 ศก.อ2.2.4.019 รายงานครั้งที1่ 253นโยบายดูแล สุขภาพ. ศก.อ2.2.4.020 มรสสส.อ 3.3.1.1.001 โครงการตรวจ สุขภาพ คณะฯมีนโยบายให้คณาจารย์ที่เจ้าหน้าที่ได้เข้าร่วม ศก.อ2.2.4.021 อบรมหลักสูตรต่างๆ นาความรู้และประสบการณ์มาปรับ แบบประเมิน ใช้กับการทางาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของ ประจาปีข้อ7. บุคลากรและองค์กรให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น การนาความรู้ พัฒนา ศก.อ2.2.4.022 แบบประเมินผล ประจาปี ข้อ 7. การนา ความรู้พัฒนา ศก.อ2.2.4.023 รายงานการเข้า อบรมเพื่อการ พัฒนาของ อาจารย์ อ้างอิงข้อมูลเรื่องจรรยาบรรณจากมรส.ลงสู่คณะเพื่อการ ศก.อ2.2.4.024 จัดประชุมสัมมนาวิชาการระดับคณะและได้เป็น คาสั่งแต่งตั้ง สอดแทรกประกาศจรรยาบรรณให้แก่บุคลากรในคณะ คณะกรรมการ ทราบเพื่อถือเป็นข้อปฏิบัติ จรรยาบรรณ 62
มรส. ศก.อ2.2.4.025 ประกาศ จรรยาบรรณ คณาจารย์มรส. ศก.อ2.2.4.026 PDCA seminar art & design 6 มีการประเมินผลความสาเร็จของแผนการ มรส. และคณะฯได้มีการประเมินบุคลาการเป็นประจาทุก ศก.อ2.2.4 027 บริหารและการพัฒนาคณาจารย์และ ปี ทั้งนี้ ทางองค์กรไม่สามารถเปิดเผยผลคะแนนการ แบบประเมิน บุคลากรสายสนับสนุน ประเมินได้เนื่องจากเป็นข้อมูลลับ อย่างไรก็ตาม ทาง อาจารย์ มหาวิทยาลัยได้มีการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานของ ศก.อ2.2.4 028 บุคคลากร โดยได้นาไปวิเคราะห์เพื่อเป็นข้อมูลในการ เอกสารแสดง จัดทาโครงการพัฒนาบุคคลากรตามความประสงค์และ การวิเคราะห์ผล สภาพปัญหาอย่างแท้จริง การประเมินไม่ สามารถเปิดเผย ศก.อ2.2.4 029 อ้างอิงมรส. แผนการสัมมนา ฝึกอบรม. 7 มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือ คณะผู้บริหารของคณะฯได้มีการประชุมหลังผลการ ศก.อ2.2.4 030 ปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ ประเมินบุคลากรประจาปี โดยได้มีการหยิบยกประเด็นหัว สรุปผลการ และบุคลากรสายสนับสนุน เรื่องในการจัดฝึกอบรมสัมมนาที่คาดว่าจะเป็นประโยชน์ วางแผน การ ต่อการเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพในการทางานของ ดาเนินงานและ บุคลากรทุกๆฝ่าย แนวทางการ พัฒนาตาม วงจร PDCA ศก.อ2.2.4.031 รายงานครั้งที1่ 253
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีทแี่ ล้ว 63
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
6
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
6
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ
คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการ 6 ข้อ มีการดาเนินการ 7 ข้อ 5 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน 1 มีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อให้ ค่า FTES นักศึกษาเต็มเวลา เทียบเท่าของนักศึกษาเท่ากับ นักศึกษามีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ใน 1395.90 และมีจานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ มรส.จัดบริการ 64
หลักฐาน ศก.อ.2.2.5.001 อ้างอิงมรส.ศทส.อ
อัตราไม่สูงกว่า 8 FTES ต่อเครื่อง
ให้กับนักศึกษาในคณะ 213 เครื่อง มีค่าเท่ากับ 1 : 6.55 ไม่นับ 2.2.5เครื่อง รวมจานวนโน็ตบุ๊คและดีไวซ์ต่างๆ อีกจานวน 8475เครื่อง คอม Wifi ศก.อ.2.2.5.002 อ้างอิงมรส.ศทส.อ 2.2.5จานวน เครื่องคอมพิวเตอร์ ของบุคคลากร ศก.อ.2.2.5.003 อ้างอิงมรส.ศทส.อ 2.2.5โครงการงาน บริการและ สนับสนุนทาง เทคนิค ศก.อ.2.2.5.004 อ้างอิงมรส.สหส.อ 2.2.5 จานวน คอมพิวเตอร์ ภายใน สานักหอสมุด 2 มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ ใช้ข้อมูลอ้างอิงเดียวกับห้องสมุดมรส. ศก.อ.2.2.5.005 อื่นๆ ผ่านระบบเครือข่าย สานักงาน คอมพิวเตอร์ และมีการฝึกอบรมการ คณะ cap หน้าจอ ใช้งานแก่นักศึกษาทุกปีการศึกษา เว็ป การบริการ ห้องสมุด ศก.อ.2.2.5.006 อ้างอิงมรส.สหส.อ 2.2.5 ฐานข้อมูล หนังสือ ศก.อ.2.2.5.007 อ้างอิงมรส.สหส.อ 2.2.5.การบริการ และการยืมหนังสือ หอสมุด 65
3 มีบริการด้านกายภาพที่เหมาะสม ต่อการจัดการเรียนการสอนและการ พัฒนานักศึกษาอย่างน้อยในด้าน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์ การศึกษา และจุดเชือ่ มต่อ อินเตอร์เน็ต 4 มีบริการสิ่งอานวยความสะดวกที่ จาเป็นอื่นๆ อย่างน้อยในด้านงาน ทะเบียนนักศึกษาผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการ อนามัยและการรักษาพยาบาล การ จัดการหรือจัดบริการด้านอาหาร และสนามกีฬา
5 มีระบบสาธารณูปโภคและรักษา ความปลอดภัยของอาคารตลอดจน
ศก.อ.2.2.5.008 อ้างอิงมรส.สหส.อ 2.2.5.การสืบค้น ข้อมูลออนไลน์ คณะศิลปะและการออกแบบมีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่ ศก.อ.2.2.5.009 ทันสมัยสามารถรองรับการใช้งานของนักศึกษาได้อย่างเพียงพอ อ้างอิง และมีคุณภาพ สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศมีการติดตั้ง มรส.ศทส.อ อินเตอร์เนตไร้สายเพื่อการเรียนรู้ทุกๆที่ 2.2.5.3.001จุด ของมรส. เชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ต ไร้ สาย ข้อมูลอ้างอิงมรส. ศก.อ2.2.5.010 ประเมินความพึง พอใจการใช้ บริการเทคโนโลยี สารสนเทศ ศก.อ2.2.5.011 อ้างอิงมรส.ศทส.อ 2.2.5.4.001งาน ทะเบียนผ่านระบบ คอมพิวเตอร์ ศก.อ2.2.5.012 อ้างอิงมรส.ศทส.อ 2.2.5.2.002 เครื่อข่าย คอมพิวเตอร์ไร้ สาย. ศก.อ2.2.5.013 มรส.สสส.อ3.3.1 โครงการตรวจ สุขภาพ มรส. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของ ศก.อ2.2.5.014 อาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ มรส.สอส.อ2.2.5 66
บริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่อง ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารต่าง ๆ โดยเป็นไปตามกฎหมาย ระบบและอุปกรณ์ ประปา ไฟฟ้า ระบบกาจัดของเสีย ที่กาหนด ป้องกันและระงับ การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและ อัคคีภัย อุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณ ศก.อ2.2.5.015 อาคารต่าง ๆ โดยเป็นไปตาม มรส.สอส.อ2.2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ระบบ สาธารณูปโภค และรักษาความ ปลอดภัย. ศก.อ2.2.5.016 มรส.สอส.อ 2.2.5 การรักษา ความปลอดภัย ภายในพื้นที่ มรส. 6 มีผลการประเมินคุณภาพของบริการ ข้อมูลอ้างอิงมรส. ศก.อ2.2.5.017 ในข้อ 2 – 5 ทุกข้อไม่ต่ากว่า 3.51 อ้างอิงมรส.สสส.อ จากคะแนนเต็ม 5 2.2.5ประเมินพึง พอใจการ ให้บริการ รักษาพยาบาล ศก.อ2.2.5.018 อ้างอิงมรส.สหส.อ 2.2.5 การสารวจ ความพึงพอใจผู้ใช้ ห้องสมุด ศก.อ2.2.5.019 อ้างอิงมรส.สอส.อ 2.2.5 ประเมิน ความพึงพอใจการ ใช้ห้องเรียน 7 มีการนาผลการประเมินคุณภาพใน ข้อ 6 มาใช้เป็นข้อมูลในการ พัฒนาการจัดบริการด้านกายภาพที่ 67
สนองความต้องการของผู้รับบริการ
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
6
6
4.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
6
6
4.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2
คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการ 6 ข้อ มีการดาเนินการ 7 ข้อ 68
หรือ 3 ข้อ
5 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน 1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการ มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการ ศก.อ2.2.6.001 จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในทุกหลักสูตร โดยผู้เรียน คาสั่งแต่งตั้ง ทุกหลักสูตร เป็นคนกาหนดปัวข้อหการศึกษาด้วยตนเอง ได้แก่ กรรมการบริหาร รายวิชาโครงการส่วนบุคคล วิชาฝึกงานและวิชาศิลป คณะ. นิพนธ์เป็นต้น ศก.อ2.2.6.002 กรรมการด้าน วิชาการ ศก.อ2.2.6.003 คาสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการ กากับมาตรฐารวิ ชาการ ศก.อ2.2.6.004 รายวิชาที่เน้น การเรียนรู้ด้วย ตนเอง_INT470 _03_2-2553 ศก.อ2.2.6.005 รายวิชาที่เน้น การเรียนรู้ด้วย ตนเอง ART360_INT_2 -2553 ศก.อ2.2.6.006 รายวิชาที่เน้น การเรียนรู้ด้วย ตนเอง ART360_PRD_ 69
2-2553 ศก.อ2.2.6.007 รายวิชาที่เน้น การเรียนรู้ด้วย ตนเองFAS 491_2-2553 ศก.อ2.2.6.008 รายวิชาที่เน้น การเรียนรู้ด้วย ตนเอง PHO343_22553 ศก.อ2.2.6.009 รายวิชาที่เน้น การเรียนรู้ด้วย ตนเอง PRD492(2)_22553 ศก.อ2.2.6.010 แบบประเมินการ เรียนการสอน 2 ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียด คณะฯได้กาหนดให้ทุกหลักสูตรกาหนดให้มีรายวิชาและ ของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม ประสบการณ์ภาคสนาม อันได้แก่ วิชาฝึกงาน เป็นต้น (ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาค การศึกษา ตามที่กาหนดในกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
70
ศก.อ2.2.6.011 มคอ.3_ART_12553 ศก.อ2.2.6.012 มคอ.3_FAS_12553 ศก.อ2.2.6.013 มคอ.3_INT_12553 ศก.อ2.2.6.014 มคอ.3_PHO_1-
2553 ศก.อ2.2.6.015 มคอ.3_PRD_12553 ศก.อ2.2.6.016 มคอ.3_VCD_12553 ศก.อ2.2.6.017 มคอ.3_ART_22553 ศก.อ2.2.6.018 มคอ.3_FAS_22553 ศก.อ2.2.6.019 มคอ.3_INT_22553 ศก.อ2.2.6.020 มคอ.3_PHO_22553 ศก.อ2.2.6.021 มคอ.3_PRD_22553 ศก.อ2.2.6.022 มคอ.3_VCD_22553 3 ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการ คณะฯได้กาหนดให้ทุกหลักสูตรของทุกสาขาวิชา เสนอ ศก.อ2.2.6.023 เรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ รายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรูด้ ้วยตนเอง และการให้ รายวิชาที่เน้น จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือ ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน การเรียนรู้ด้วย จากการทาวิจัย หรือจากการทาวิจัย ได้แก่วิชาสัมมนาการออกแบบ และ ตนเอง วิชาศิลปนิพนธ์ เป็นต้น ศก.อ2.2.6.024 นิทรรศการ ศิลป นิพนธ์_PRD 71
4 มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือ คณะฯได้มีการเชิญผู้มีประสบกาณ์ทางวิชาการหรือ วิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้า วิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วน มามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุก ร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร (ใน หลักสูตร หลักสูตร)
5 มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือ คณะมีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจาก จากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อ กระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน พัฒนาการเรียนการสอน โดยมีกจิ กรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
6 มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ ได้มีการดาเนินประเมินความพึงพอใจในคุณภาพการ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่ง เรียนการสอนของผู้เรียนในทุกภาคการศึกษาปรกติ สนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาค 72
2553 ศก.อ2.2.6.025 นิทรรศการ ศิลป นิพนธ์_VCD ศก.อ2.2.6.026 แต่งตั้ง คณะกรรมการ กากับมาตรฐาน วิชาการ. ศก.อ2.2.6.027 กรรมการพัฒนา หลักสูตร ศก.อ2.2.6.028 เอกสารแสดง บัญชีรายชื่อ วิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอก ศก.อ2.2.6.029 ศิลปนิพนธ์สาขา แฟชั่นดีไซน์ 2553 ศก.อ2.2.6.030 ศิลปนิพนธ์สาขา ออกแบบ ภายใน 2553 ศก.อ2.2.6.031 ศิลปนิพนธ์ ภาพถ่าย ศก.อ2.2.6.032 ระบบประเมิน การเรียนการ
การศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจ แต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ากว่า 3.51 จาก คะแนนเต็ม 5
สอนและผลการ ประเมิน อ้างอิงศก.อ 2.2.6.010 แบบประเมินการ เรียนการสอน
7 มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการ ดาเนินการตามแผนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ศก.อ2.2.6.033 สอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผล ปีการศึกษา 2553 ตามตัวบ่งชี้ของ สกอ. เอกสารรายงาน การเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมิน ผลการ รายวิชา ดาเนินงาน หลักสูตร สาขา_PHO ศก.อ2.2.6.034 เอกสารรายงาน ผลการ ดาเนินงาน หลักสูตร สาขา_INT ศก.อ2.2.6.035 เอกสารรายงาน ผลการ ดาเนินงาน หลักสูตร สาขา_VCD ศก.อ2.2.6.036 เอกสารรายงาน ผลการ ดาเนินงาน หลักสูตร_PRD ศก.อ2.2.6.037 เอกสารรายงาน ผลการ 73
ดาเนินงาน หลักสูตร สาขา_FAS ศก.อ2.2.6.038 เอกสารรายงาน ผลการ ดาเนินงาน หมวดพื้นฐาน ศก.อ2.2.6.039 รายงานผล ดาเนินการ หลักสูตร สมอ. 07 อ้งอิงศก.อ 2.2.1.010_13 มคอ.5_ART_12553 อ้างอิงศก.อ 2.2.1.010_14 มคอ.5_FAS_12553 อ้างอิงศก.อ 2.2.1.010_15 มคอ.5_INT_12553 อ้างอิงศก.อ 2.2.1.010_16 มคอ.5_PHO_12553 อ้างอิงศก.อ 2.2.1.010_17 มคอ.5_PRD_12553 74
อ้างอิงศก.อ 2.2.1.010_18 มคอ.5_VCD_12553 อ้างอิงศก.อ 2.2.1.010_19 มคอ.5_PRD_22553 อ้างอิงศก.อ 2.2.1.010_20 มคอ.5_PHO_22553 อ้างอิงศก.อ 2.2.1.010_21 มคอ.5_ART_22553
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
7
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
7
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
75
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน 1. เกณฑ์ทั่วไป คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ
คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
2. เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการครบ 5 ตามเกณฑ์ทั่วไป ตามเกณฑ์ทั่วไป ตามเกณฑ์ทั่วไป 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป และครบถ้วนตามเกณฑ์ มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่ม
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน 1 มีการสารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึง คณะฯได้มีการตั้งคณะกรรมการร่างหลักสูตรใหม่ และได้ ศก.อ2.2.7.001 ประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต เริ่มสร้างเครือ่ งมือแบบสอบถามเพื่อการเก็บข้อมูลและ กรรมการพัฒนา 76
อย่างน้อยสาหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญา สาหรับการร่าง ตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกาหนด ปรับปรุงหลักสูตรใหม่ แต่ทว่า ในขณะนี้ ยังมิได้ การศึกษาของหลักสูตร ดาเนินการให้ลุล่วง เนื่องจากอยู่ในระหว่างดาเนินการ 2 มีการนาผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุง คณะได้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบ หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดผล หลักสูตร และคณาจารย์ได้มีการปฏิบัติงานพัฒนาการ การศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่ เรียนการสอนเป็นอย่างดี โดยมีการประเมินผลการ ส่งเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของ ปฏิบัติงานจากเพื่อนร่วมสอน บัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของ ผู้ใช้บัณฑิต
หลักสูตร
ศก.อ2.2.7.002 เอกสารรายงาน ประชุมกรรมการ รับผิดชอบ หลักสูตร ทุก สาขา ศก.อ2.2.7.003 ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร
ศก.อ2.2.7.004 แบบประเมินผล การสอนจาก เพื่อนร่วมงาน 3 มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้าน ทางคณะฯและ มรส. ได้ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรม ศก.อ บุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และ เรียนรู้ผ่านสื่ออิเลคโทรนิกส์ต่างๆ ได้แก่ การเรียนสอน 2.2.7.005 สนับ งบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะ ผ่านระบบe-learning เป็นต้น สนุนสื่อ ของบัณฑิต เทคโนโลยีทาง การศึกษา 4 มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษา คณะฯได้มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมวิชาการทั้งภายใน ศก.อ2.2.7.006 ระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วม และภายนอก มรส. โดยมีสื่ออิเล็คโทรนิก เว็ปบล็อก km กิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนาเสนอ นอกเหนือไปจากสื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆ ได้แก่ เว็บบล็อกของ ผลงานเก็บ ผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่าง สาขาวิชาฯและของคณะฯ ผลงานดีเด่น สถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือ และได้รางวัล นานาชาติ ศก.อ2.2.7.007 เว็บบล็อก ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ ของคณะฯ. 77
5 มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่จัด ที่จัดโดยสถาบัน โดยสถาบัน ได้แก่ พิธีปฐมนิเทศศิลป์ ไหว้ครูและครอบครู ช่างศิลปะ
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 ระดับความสาเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา 78
ศก.อ2.2.7.008 โครงการ ปฐมนิเทศ ศก.อ2.2.7.009 โครงการไหว้ครู และครอบครูช่าง ศก.อ2.2.7.010 โครงการปัจฉิม นิเทศ
ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 ข้อ มีการดาเนินการ 5 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน 1 มีการกาหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรม มีการกาหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับ จริยธรรมสาหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริม นักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ภายในเล่มคู่มือหลักสูตรของคณะฯ นอกจากนี้คณะฯยัง ได้สื่อประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพ ต่อคุณธรรม และจริยธรรมผ่านแผ่นปิด(โปสเตอร์) ได้แก่ แผ่นปิดโครงการรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่ เป็นต้น
79
หลักฐาน ศก.อ2.2.8.001 เอกสารระบุ พฤติกรรม บัณฑิตพีง ประสงค์_PHO ศก.อ2.2.8.001 เอกสารระบุ พฤติกรรม บัณฑิตพีง ประสงค์_PRD ศก.อ2.2.8.001 เอกสารระบุ พฤติกรรม บัณฑิตพีง ประสงค์_VCD ศก.อ2.2.8.001 เอกสารระบุ พฤติกรรม บัณฑิตพีง ประสงค์_FAS ศก.อ2.2.8.001 เอกสารระบุ พฤติกรรม บัณฑิตพึง
2 มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้าน มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรม คุณธรรมจริยธรรมสาหรับนักศึกษาที่ต้องการ จริยธรรมสาหรับนักศึกษาผ่านสื่อต่างๆให้ทราบอย่าง ส่งเสริมตามข้อ 1 ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ ทั่วถึง นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้ง สถาบัน 3 มีโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนา คณะฯมีการระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสาเร็จของ พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่กาหนดใน โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมอย่างชัดเจน ข้อ 1 โดยระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัด ความสาเร็จ
4 มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรม มีการlสรุปผลการประเมินความสาเร็จของโครงการ ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาตาม ประเภทส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กาหนดในข้อ 3 โดยมี ผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อย ละ 90 ของตัวบ่งชี้ 80
ประสงค์_INT ศก.อ2.2.8.002 พฤติกรรมด้าน คุณธรรม จริยธรรมของ นักศึกษาที่พึง ประสงค์ ศก.อ2.2.8.003 สรุปผลการ ประเมินโครงการ รณรงณ์การสูบ บุหรี่ ศก.อ2.2.8.004 สื่อเผยแพร่ โครงการต่อต้าน บุหรี่ เอกสารอ้างอิง ศก.อ2.2.7.009 โครงการไหว้ครู และครอบครูช่าง ศก.อ2.2.8.005 โครงการรณรงณ์ การสูบบุหรี่ ศก.อ2.2.8.006 ประมวลภาพ โครงการต่อต้าน บุหรี่ ศก.อ2.2.8.007 สรุปประเมิน โครงการต่อต้าน บุหรี่ ศก.อ2.2.8.008
สรุปผลการ ดาเนินการพิธี ไหว้ครูและครอบ ครูช่าง 5 มีนักศึกษาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับนักศึกษา ได้รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณ ด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่วยงานหรือ องค์กรระดับชาติ
ได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบคุณงามความ ดีของนักศึกษา โดยได้มอบเกียรติบัตรเป็นการยกย่อง เชิดชูการทาความดีของนักศึกษาเพื่อเป็นแบบอย่างแก่ นักศึกษาอื่นๆ
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : 81
ศก.อ2.2.8.009 มีการประชุมยก ย่องนักศึกษา ด้านคุณธรรม ศก.อ2.2.8.010 หลักฐานการยก ย่องนักศึกษา ด้านคุณธรรม.
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑๔ การพัฒนาคณาจารย์ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การพิจารณา กาหนดค่าน้าหนักระดับคุณภาพอาจารย์ ดังนี้
วุฒิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
๐ ๑ ๓ ๖
๒ ๓ ๕ ๘
๕ ๖ ๘ ๑๐
เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดให้ค่าดัชนีคุณภาพอาจารย์เป็น ๖ เท่ากับ ๕ คะแนน หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนอาจารย์ประจา (ที่ไม่มีตาแหน่งทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาตรี จานวนอาจารย์ประจา (ที่ไม่มีตาแหน่งทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาโท จานวนอาจารย์ประจา (ที่ไม่มีตาแหน่งทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาเอก จานวนอาจารย์ประจาตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่มีวุฒิปริญญาตรี จานวนอาจารย์ประจาตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่มีวุฒิปริญญาโท 82
15 38 1 3 -
จานวนยืนยันของ สถาบัน 15 38 1 3 -
จานวนอาจารย์ประจาตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่มีวุฒิปริญญาเอก จานวนอาจารย์ประจาตาแหน่งรองศาสตราจารย์ ที่มีวุฒิปริญญาตรี จานวนอาจารย์ประจาตาแหน่งรองศาสตราจารย์ ทีม่ ีวุฒิปริญญาโท จานวนอาจารย์ประจาตาแหน่งรองศาสตราจารย์ ที่มีวุฒิปริญญาเอก จานวนอาจารย์ประจาตาแหน่งศาสตราจารย์ ที่มีวุฒิปริญญาตรี จานวนอาจารย์ประจาตาแหน่งศาสตราจารย์ ที่มีวุฒิปริญญาโท จานวนอาจารย์ประจาตาแหน่งศาสตราจารย์ ที่มีวุฒิปริญญาเอก
1 1 -
1 1 -
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (ผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ประจาเท่ากับ 95/จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด เท่ากับ 59 ) เท่ากับ 1.610 เมื่อเทียบดัชนีคุณภาพอาจารย์เป็น 6 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้นคะแนนจึงเท่ากับ 1.342 ผลการดาเนินงาน คณะศิลปะและการออกแบบ มีจานวนอาจารย์ประจา จานวน 59 คน ที่มีวุฒิปริญญาตรี จานวน 15 คน ที่มีตาแหน่งผู้ช่วย ศาสตราจารย์ จานวน 3 คน และตาแหน่งรองศาสตราจารย์จานวน 1 คน รายการหลักฐาน ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 4.001 อ้างอิงศก.ตัวบ่งชี้ที่ ศก.อ2.2.3.001 ทาเนียบตาแหน่งทางวิชากา
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
1
(ผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ ประจาเท่ากับ 95/จานวนอาจารย์ ประจาทั้งหมดเท่ากับ 59 ) เท่ากับ 1.34 1.610 เมื่อเทียบดัชนีคุณภาพ อาจารย์เป็น 6 เท่ากับ 5 คะแนน
ผลการประเมินตนเองปีนี้
83
บรรลุเป้าหมาย
ดังนั้นคะแนนจึงเท่ากับ 1.342 ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
1
(ผลรวมถ่วงน้าหนักของอาจารย์ ประจาเท่ากับ 95/จานวนอาจารย์ ประจาทั้งหมดเท่ากับ 59 ) เท่ากับ 1.34 1.610 เมื่อเทียบดัชนีคุณภาพ อาจารย์เป็น 6 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้นคะแนนจึงเท่ากับ 1.342
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 2 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะฯ มีกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเฉพาะการลบ บทบาทการบรรยาย เป็นการเรียนการสอนในรูปแบบการระดมความคิด การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การผลิตผลงานเป็น รูปธรรม การนาเสนอผลงาน การทางานเป็นทีม และการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม โดยธรรมชาติของการเรียน การสอนสายวิชาชีพ คณะฯได้จัดการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานจริงทั้งใน studioนอก studio และสถานที่จริง รวมทั้งการปฏิบัติงานจริงในlab ใน workshop การฝึกงานในภาคฤดูร้อน และโครงการสหกิจศึกษาซึ่งมีจานวนไม่ต่ากว่า 1000 ชั่วโมง โดยคณะฯได้พยายามจัดหาคณาจารย์ที่มีคุณภาพ ทั้งประจา และพิเศษ และผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ มีกิจกรรมเสริม หลักสูตร และโครงการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553 คณะฯ มีการปรับปรุงแผนการสอน ตามกรอบมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (TQF)ในทุกรายวิชา ในระดับปริญญาตรี และกาลังอยู่ในระหว่างการดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรปริญญาตรีครบทุกหลักสูตรของคณะฯ เพื่อใช้ในปี การศึกษา 2555ในส่วนหลักสูตรปริญญาโท มีการปรับปรุงหลักสูตรเสร็จสิ้นในปีการศึกษา 2553โดยให้มีเนื้อหาที่ทันสมัย และ มีการวิเคราะห์การออกแบบหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (TQF) คณะฯ ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมประกวดงานออกแบบ ทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท เพื่อสร้างโอกาสในวิชาชีพ และความภาคภูมิใจแก่นักศึกษา ในปีการศึกษา 2553 มีผลงานออกแบบสร้างสรรค์ และ ผลงานวิจัยของนักศึกษา ที่ได้รับรางวัลทั้งในระดับมหาวิทยาลัย ระดับประเทศและระดับนานาชาติ 84
คณะฯ มีนโยบายในการพัฒนาหลักสูตรทวิภาษาและหลักสูตรนานาชาติอย่างชัดเจน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ด้านวิเทศสัมพันธ์เฉพาะกิจ เพื่อดาเนินงานด้านความร่วมมือทางวิชาการ เช่น การแลกเปลี่ยนนักศึกษา การแลกเปลี่ยนการจัด แสดงผลงานนักศึกษาระหว่างสถาบัน การอบรมและดูงานในต่างประเทศ มีจัดการประชุมหารือความร่วมมือด้านวิชาการกับ สถาบันการศึกษาต่างประเทศ ในปีการศึกษา 2553คณะฯมีการเซ็นต์ MOU กับมหาวิทยาลัยDaliประเทศจีน นอกจากนั้น ในกระบวนการเรียนการสอน มีการกาหนดรายวิชาที่ต้องสอนเป็นภาษาอังกฤษทุกหลักสูตร มีการจ้าง อาจารย์ชาวต่างชาติเพื่อร่วมสอนทั้งในหลักสูตรปริญญาตรี และหลักสูตรปริญญาโท ในส่วนหลักสูตรปริญญาโทมีโครงการที่ จะพัฒนาไปสู่หลักสูตรนานาชาติต่อไปในอีก1-2 ปี ข้างหน้านี้ จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : คณะฯ ได้จ้างอาจารย์พิเศษ วิทยากรพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญในด้าน วิชาชีพ เข้ามาสอนในหลักสูตร เพื่อเพิ่มสัดส่วนจานวนอาจารย์ต่อนักศึกษาซึ่งในปีการศึกษา 2553 คณะมีอาจารย์พิเศษ 41 คน ทาให้สัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษาเฉลี่ยที่ 1 : 20 สัดส่วนของอาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ยังไม่เป็นไปตาม เกณฑ์ ซึ่งทางคณะฯ พยายามสนับสนุนและผลักดันคณาจารย์ทาวิจัย ทาผลงานสร้างสรรค์ และทาตาราเพื่อขอตาแหน่งทาง วิชาการ มีการจัดอบรมเกี่ยวกับการทาตาแหน่งทางวิชาการ และมีระบบพี่เลี้ยงวิจัย โดยคาดว่าจะมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นในปีต่อไป วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) : CarComment
85
องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ
คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการ 6 ข้อ มีการดาเนินการ 7 ข้อ 5 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีการจัดบริการให้คาปรึกษาทางวิชาการและ แนะแนวการใช้ชีวิตแก่นักศึกษา
ผลดาเนินงาน หลักฐาน คณะมีการตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา ศก.อ.3.3.1.001_เอกสารแต่งตั้ง วิชาการ และหัวหน้าอาจารย์ที่ อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ ปรึกษา ศก.อ3.3.1.002_ที่ปรึกษาระดับ สาขา ศก.อ3.3.1.003_ตัวอย่างข้อมูล นักศึกษา ศก.อ3.3.1.004_แต่งตั้งกรรมการ ด้านกิจการนักศึกษา ศก.อ3.3.1.005_อ.ที่ปรึกษา ศก.อ3.3.1.006_สรุปการประชุม ศก.อ.3.3.1.007_ฐานข้อมูล นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยรังสิต ผ่านระบบ intranet 86
ศก.อ3.3.1.008_รายชื่อนศ.ในที่ ปรึกษา ศก.อ3.3.1.009_ ข้อมูล นศ. รหัส 41-54 (jun08) ศก.อ3.3.1.010_คาสั่งแต่งตั้งสาขา ศก.อ3.3.1.011 _รวบรวมผลงาน สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ 2 มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อ คณะ และสาขามีฐานข้อมูลอิเล็ก ศก.อ3.3.1.012_ข้อมูล นักศึกษา ทรอนิคและบอร์ด Websiteให้ อิเล็กทรอนิกส์ บอร์ด เว็บไซด์ ข้อมูลแก่นักศึกษา สาหรับประกาศข้อมูลข่าว ศก.อ3.3.1..013_Website คณะ ศก.อ3.3.1.014_Facebook KM สาขาแฟชั่น ศก.อ3.3.1.015_Website คณะ และสาขาวิชา ศก.อ3.3.1.016_Facebook MFA ศก.อ3.3.1.017_บอร์ดติดประกาศ สาขา 3 มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสบการณ์ทาง ทุกสาขาในคณะมีระบบการฝึกงาน ศก.อ3.3.1.018_ใบประเมินผลการ วิชาการและวิชาชีพแก่นักศึกษา และสหกิจศึกษา ฝึกงาน ศก.อ3.3.1.019_ใบประเมินผลสห กิจศึกษา ศก.อ3.3.1.020_ใบสมัครเข้าร่วม โครงการสหกิจศึกษา ศก.อ3.3.1.021_แนะนาสหกิจ ศึกษา ศก.อ3.3.1.022_เชิญฟังบรรยาย โดยศิษย์เก่า 87
ศก.อ3.3.1.023_เชิญร่วมแสดง ความยินดีกับวิทยานิพนธ์ดีเด่น ของนักศึกษา ศก.อ3.3.1.024_เชิญชวนนักศึกษา รหัส 53เข้าฟังการสอบวิทยานิพนธ์ ศก.อ3.3.1.025_หนังสือขอบคุณ ศก.อ3.3.1.026_จดหมายขอความ อนุเคราะห์พิจารณาบทความวิจัย ศก.อ3.3.1.027_จดหมายขอเชิญ เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านภาพถ่าย ศก.อ3.3.1.028_จดหมายขอ อนุญาตให้บุคลากรในสังกัดเป็น ผู้บรรยายพิเศษ ศก.อ3.3.1.029_จดหมายเชิญเป็น วิทยากรพิเศษ ศก.อ3.3.1.030_บันทึกขอเชิญเป็น วิทยากรภายในสถาบันเดียวกัน ศก.อ3.3.1.031_จดหมายขอเรียน เชิญคณะอาจารย์เป็นวิทยากร ศก.อ3.3.1.032_จดหมายเรียน เชิญเป็นกรรมการตัดสินภาพถ่าย อนุรักษ์ธรรมชาติ 4 มีการจัดบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อ คณะและสาขามีWebsiteและ ศก.อ3.3.1.033_ข้อมูลศิษย์เก่า ศิษย์เก่า Facebook ในการเผยแพร่ข้อมูล INT ข่าวสารแก่ศิษย์เก่า ศก.อ3.3.1.034_Website คณะ ศก.อ3.3.1.035_ฐานข้อมูลศิษย์ เก่า ศก.อ3.3.1..036_Facebook KM สาขาแฟชั่น 88
ศก.อ3.3.1.037_website facebook คณะศิลปะและการ ออกแบบ ศก.อ3.3.1.038_website facebookสาขาวิชาออกแบบ ภายใน ศก.อ3.3.1.039_facebook ศิษย์ เก่า คณะศิลปะและการออกแบบ ศก.อ3.3.1.040_ข้อมูลรวมศิษย์ เก่ารุ่น 1 - รุ่น 22 ที่อยู่ อีเมล์ 5 มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้และ ประสบการณ์ให้ศิษย์เก่า
แต่ละสาขามีกิจกรรมทางวิชาการ ศก.อ3.3.1.041_Facebook เพื่อพัฒนาความรู้และ สาขาวิชาออกแบบภายใน ประสบการณ์แก่ศิษย์เก่า ศก.อ3.3.1.042_รายชื่อศิษย์เก่า INT 30-53+ที่อยู่ ศก.อ3.3.1.043_ที่อยู่ศิษย์เก่า Address up date_53 ศก.อ3.3.1.044_สรุปโครงการงาน FAS และงาน 10 ปีสาขาแฟชั่น ศก.อ3.3.1.045_รูปภาพโครงการ งาน FAS และงาน 10 ปีสาขา แฟชั่น03 ศก.อ3.3.1.046_Thesis Exhibition ศก.อ3.3.1.047_รายงานสรุป กิจกรรมถ่ายภาพแฟชั่น ศก.อ3.3.1.048_สรุปโครงการ ถ่ายภาพสถาปัตยกรรม ศก.อ3.3.1.049_แบบขออนุมัติ เชิญอาจารย์พิเศษและวิทยากร 89
พิเศษ ศก.อ3.3.1.050_สรุปผลการ ประเมินคุณภาพระบบกลไกการ ให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร 6 มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการในข้อ สาขามีระบบติดตามผลประเมิน ศก.อ3.3.1.051_กาหนดการ 1 – 3 ทุกข้อไม่ต่ากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 การให้บริการแก่นักศึกษาและศิษย์ ฝึกซ้อมรับปริญญา53 เก่า ศก.อ 3.3.1.052_viewformviewform การประเมินคุณภาพการให้บริการ โดยอาจารย์ ศก.อ 3.3.1.053_viewformviewform การประเมินคุณภาพการให้บริการ โดยอาจารย์ ศก.อ3.3.1.054_รายชื่อผู้รับ ปริญญาศิลปบัณฑิต 53 ศก.อ3.3.1.055_กาหนดการพิธี ประสาทปริญญา53 ศก.อ3.3.1.056_แต่งตั้งควบคุม ฝึกซ้อมและจัดแถวบัณฑิต53 ศก.อ3.3.1.057_ข้อมูลศิษย์เก่า INT 30-53+ที่อยู่ ศก.อ3.3.1.058_บันทึกข้อความ ขอขอบคุณ จากสานักงานกิจการ นักศึกษา 7 มีการนาผลการประเมินคุณภาพของการ ให้บริการมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการ จัดบริการที่สนองความต้องการของนักศึกษา
นาผลจากรายงานการประชุมสาขา ศก.อ3.3.1.059_ข้อมูลนักศึกษา มาปรับปรุง ในที่ปรึกษา ศก.อ3.3.1.060_รายงานการเข้า 90
พบอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการศิลป นิพนธ์ ศก.อ3.3.1.061_แบบประเมิน ความเห็นของนักศึกษา ศก.อ3.3.1.062_ความเห็นของ อาจารย์ที่ปรึกษา ศก.อ3.3.1.063_ปกสมุดเข้าพบ อาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
6
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
6
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
91
องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 หรือ มีการดาเนินการ 5 ข้อ มีการดาเนินการ 6 ข้อ 4 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน 1 สถาบันจัดทาแผนการจัดกิจกรรมพัฒนา คณะและสาขา มีแผนกิจกรรม ศก.อ3.3.2..001_แผนการสอน นักศึกษาที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ตามกรอบ พัฒนานักศึกษาตลอดปี ตาม ศก.อ3.3.2.002 สรุปโครงการตาม มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติทุก แผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย แผนปฏิบัติการ Action Plan ด้าน ประจาปี 2553 ศก.อ3.3.2.003 _QAตามกรอบ1 ศก.อ3.3.2.004_ QAตามกรอบ กิจกรรม2 ศก.อ3.3.2.005 _การบริการและ สวัสดิการกิจการ มรส2 ศก.อ3.3.2.006_นโยบาย ฝ่าย กิจการ มรส ศก.อ3.3.2.007_ บ่งชี้กิจกรรม ศก.อ3.3.2.008 _สรุปผลการ ดาเนินโครงการ Open House 2011 ศก.อ3.3.2.009 _สรุปผลการ ดาเนินงานโครงการ Art&Design Fair ศก.อ3.3.2.010_การบริการและ สวัสดิการ ฝ่ายกิจการ มรส 2 มีกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกัน มีกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการ ศก.อ3.3.2.011_แต่งตั้ง 92
คุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา
3 มีการส่งเสริมให้นักศึกษานาความรู้ด้านการ ประกันคุณภาพไปใช้ในการจัดกิจกรรมที่ ดาเนินการโดยนักศึกษาอย่างน้อย 5 ประเภท สาหรับระดับปริญญาตรี และอย่างน้อย 2 ประเภทสาหรับระดับบัณฑิตศึกษา จากกิจกรรม ต่อไปนี้ - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิต ที่พึงประสงค์ - กิจกรรมกีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์หรือรักษา สิ่งแวดล้อม - กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม
ประกันคุณภาพการศึกษาแก่ นักศึกษา
มีการส่งเสริมให้นักศึกษานา ความรู้ดา้ นการประกันคุณภาพไป ใช้ในการจัดกิจกรรมที่ดาเนินการ โดยนักศึกษาอย่างน้อย 5 ประเภท สาหรับระดับปริญญาตรี และอย่าง น้อย 2 ประเภทสาหรับระดับ บัณฑิตศึกษา จากกิจกรรมต่อไปนี้
93
ผู้รับผิดชอบภาระงานต่างๆ1 ศก.อ3.3.2.012_แต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบภาระงานต่างๆ2 ศก.อ3.3.2.013_การบริการและ สวัสดิการ ฝ่ายกิจการ มรส ศก.อ3.3.2.014_งานQA Art&Design Fair ศก.อ3.3.2.015_งานQA Open House 2011 ศก.อ3.3.2.016_สรุปผลการ ดาเนินการโครงการพัฒนา ศักยภาพผู้นานักศึกษา ศก.อ3.3.2.017_นโยบาย ฝ่าย กิจการ มรส ศก.อ3.3.2.018_บ่งชี้กิจกรรม ศก.อ3.3.2.019_ตามกรอบ1 ศก.อ3.3.2.020_ตามกรอบ กิจกรรม ศก.อ3.3.2.021_ประกันคุณภาพ กับนักศึกษาคณะศิลปะและการ ออกแบบ ปี 2553 ศก.อ3.3.3.022_กาหนดการ โครงการถ่ายภาพเชิงอนุรักษ์ ธรรมชาติ ศก.อ3.3.3.023_โครงการถ่ายภาพ เชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ ศก.อ3.3.3.024_โครงการถ่ายภาพ อนุรักษ์ธรรมชาติ ศก.อ3.3.3.025_บันทึกขออนุมัติ ศก.อ3.3.3.026_ใบขออนุมัติ งบประมาณโครงการเชิงอนุรักษ์ ธรรมชาติ ศก.อ3.3.3.027_ใบขออนุมัติ
- กิจกรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม
ถ่ายภาพเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ ศก.อ3.3.3.028_สรุปผลโครงการ Art&Design Fair ศก.อ3.3.3.029_แต่งตั้ง คณะกรรมการOPEN HOUSE ศก.อ3.3.3.030_สรุปผลโครงการ Open House 2011 ศก.อ3.3.3.031_สรุปผลโครงการ พัฒนาศักยภาพผู้นานักศึกษา ศก.อ3.3.3.032_รูปภาพศิษย์เก่า ศก.อ3.3.3.033_ลงทะเบียนศิษย์ เก่า ศก.อ3.3.3.034_โครงการทาบุญ ประจาปี สาขาวิชาออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ศก.อ3.3.3.035_รูปภาพโครงการ ทาบุญประจาปีสาขาวิชาออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ศก.อ3.3.3.036_บันทึกส่งมอบ รายงานการอบรมการใช้กล้อง เบื้องต้น ศก.อ3.3.3.037_สรุปกิจกรรม ถ่ายภาพแฟชั่น ศก.อ3.3.3.038_ส่งมอบรายงาน สรุปการสัมมนาการประกวดภาพ จากนิตยสาร wallpaper ศก.อ3.3.3.039_รายงานการอบรม การถ่ายภาพบุคคล ศก.อ3.3.3.040_รายงานสรุป โครงการจัดประกวดภาพถ่ายของ สมาชิกและน ศก.อ3.3.3.041_สรุปกิจกรรมชม ถ่ายภาพ 94
ศก.อ3.3.3.042_นักศึกษาได้รับ รางวัลพระราชทานฯ ศก.อ3.3.3.043_งานประกัน คุณภาพ ศก.อ3.3.3.044_โครงการปัจฉิม นิเทศ ศก.อ3.3.3.045_โครงการ ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ศก.อ3.3.3.046_โครงการ Open House 2011 ศก.อ3.3.3.047_โครงการจัด ประกวดภาพถ่าย เมืองไทยน่าอยู่ ศก.อ3.3.3.048_ขอส่งมอบ รายงานสรุปกิจกรรมอบรมการ ถ่ายภาพจากกล้อ ศก.อ3.3.3.049_โครงการ การ อบรมการประกันคุณภาพแก่ นักศึกษา 4 มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างเครือข่ายพัฒนา มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสร้าง ศก.อ3.3.4.050_โครงสร้าง คุณภาพภายในสถาบันและระหว่างสถาบัน และ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพภายใน ภาระหน้าที่ ฝ่ายกิจการ มรส มีกิจกรรมร่วมกัน สถาบันและระหว่างสถาบัน และมี ศก.อ3.3.4.051_โครงสร้าง กิจกรรมร่วมกัน คณะกรรมการนักศึกษาวิทยาลัย คณะ ศก.อ3.3.4.052_รายชื่อ คณะกรรมการอาจารย์ที่ปรึกษา ชมรมวิทยาลัย คณะ ศก.อ3.3.4.053_สรุปกิจกรรม ชมรมถ่ายภาพ ศก.อ3.3.4.054_สรุปโครงการ ประกวดภาพจากนิตยสาร wallpaper ศก.อ3.3.4.055_สรุปแบบสอบถาม โครงการ ART AND DESIGN 95
ศก.อ3.3.4.056_สรุปแบบสอบถาม โครงการมหกรรมต่อต้านยาเสพติด ศก.อ3.3.4.057_สรุปรายงานการ อบรมถ่ายภาพจากกล้องรูเข็ม ศก.อ3.3.4.058_กาหนดการ กิจกรรม U-DIA 5 มีการประเมินความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของ มีการประเมินความสาเร็จตาม ศก.อ3.3.5.059_โครงการ Art and แผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา Design fair วัตถุประสงค์ของแผนการจัด ศก.อ3.3.5.060_โครงการประกวด กิจกรรมพัฒนานักศึกษา Degree Show โดยสมาคม มัณฑนากรฯ ศก.อ3.3.5.061_โครงการประชุม วิชาการ Interior Intrend 2010 ศก.อ3.3.5.062_โครงการพัฒนา ศักยภาพผู้นานักศึกษา ศก.อ3.3.5.063_โครงการรักษ์วินัย ไร้ควันบุหรี่ ศก.อ3.3.5.064_โครงการอบรม บาบัดผู้ติดยาเสพติดตามแนวจิรา สา ศก.อ3.3.5.065_สรุปผลประเมิน ความสาเร็จตามแผนการพัฒนา นักศึกษา ศก.อ3.3.5.066_รายงานการ ประชุม 6 มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือ มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุง ศก.อ3.3.6.067_สรุปแบบสอบถาม ปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา แผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรม ปัจฉิมนิเทศนักศึกษา ศก.อ3.3.6.068_สรุปผลการ เพื่อพัฒนานักศึกษา ดาเนินการโครงการพิธีไหว้ครู ครอบครูช่าง ศก.อ3.3.6.069_สรุปผลการ ดาเนินงานโครงการ รักษ์วินัยไร้ ควันบุหรี่ 96
ศก.อ3.3.6.070_สรุปผลการ ดาเนินงานโครงการปฐมนิเทศ นักศึกษา ศก.อ3.3.6.071_สรุปผลการ ดาเนินงานโครงการมหกรรม ต่อต้านยาเสพติด ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
5
6
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
5
6
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 3 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะฯ มีการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาครบถ้วนและหลากหลาย สอดคล้องกับ คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ มีการส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทั้งในระดับคณะฯ มหาวิทยาลัย และภายนอก มหาวิทยาลัย จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : CarWeakness 97
วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) : กิจกรรมการพัฒนานักศึกษามีการดาเนินงานตามแผนดาเนินการ มีการประเมิน และปรับปรุงโครงการอย่างต่อเนื่อง การดาเนินงานกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาได้รับความร่วมมือที่ดีจากทุกฝ่ายทั้ง ฝ่ายนักศึกษาและฝ่ายกิจการนักศึกษา มีการดาเนินงานกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาโดยร่วมมือกับหน่วยงาน ภายนอกเพิ่มขึ้นในรูปแบบบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีส่วนร่วม เช่น ร่วมกิจกรรมประกวด กิจกรรมจัดนิทรรศการ กิจกรรม ออกร้านจาหน่ายสินค้า และกิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ รวมทั้งกิจกรรมชุมชน เป็นต้น องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน 1. เกณฑ์ทั่วไป คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ
คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 6 ข้อ มีการดาเนินการ 7 ข้อ
2. เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการ 6 หรือ มีการดาเนินการครบ 7 ตามเกณฑ์ทั่วไป หรือ 3 ข้อ ตามเกณฑ์ 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป 7 ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป ทั่วไป และครบถ้วนตามเกณฑ์ มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่ม
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีระบบและกลไกบริหารงานวิจัยหรืองาน
ผลดาเนินงาน คณะศิลปะและการออกแบบมี 98
หลักฐาน ศก.อ4.4.1.001 ปรัชญา วิสัยทัศน์
สร้างสรรค์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามแผนด้าน นโยบายส่งเสริมให้อาจารย์ทางาน คณะศิลปะและการออกแบบ การวิจัยของสถาบัน และดาเนินการตามระบบที่ วิจัยและงานสร้างสรรค์ โดยการ ศก.อ4.4.1.002 คาสั่งแต่ง กาหนด กาหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ของ กรรมการงานวิจัย คณะ อีกทั้งการประชาสัมพันธ์ ศก.อ4.4.1.003 ประกาศให้ทุน แหล่งทุนสนับสนุนทั้งภายในและ สนับสนุนวิจัย มรส ภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อผลักดัน ให้อาจารย์สนใจการทาวิจัยและ ศก.อ4.4.1.004 ทุนอุดหนุนวิจัย จากแหล่งทุนภายนอก งานสร้างสรรค์มากขึ้น ศก.อ4.4.1. 005 หลักเกณฑ์ในการ ขอทุนวิจัยภายใน 006 ศก.อ4.4.1.006 การติดตาม ตรวจสอบ งานวิจัยจาก รายงาน การประชุม 2 มีการบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์กับการจัดการเรียนการสอน
คณะได้การเก็บรวบรวม ศก.อ4.4.1.007 ART 110 ผลงานวิจัยและประสานงาร่วมกับ ศก.อ4.4.1.008 ART 112 สถาบันวิจัยในการให้ข้อมูล เพื่อจัด ศก.อ4.4.1.009 ART 103 ฐานข้อมูลเกี่ยวกับงานวิจัยเพื่อให้ ศก.อ4.4.1.010 PRD 220 ศก.อ4.4.1.011 PHO 374 อาจารย์ของคณะได้เข้าศึกษา ค้นคว้าได้สะดวก โดยการจัดทา ศก.อ4.4.1.012 PRD 420 เป็นฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของ ศก.อ4.4.1.013 ศิลปนิพนธ์ ภาพถ่าย สถาบันวิจัยและห้องสมุดของ มหาวิทยาลัย รวมทั้งเว็บไซต์ของ ศก.อ4.4.1.014 ศิลปนิพนธ์สาขา ออกแบบภายใน คณะด้วย ศก.อ4.4.1.015 ศิลปนิพนธ์สาขา แฟชั่นดีไซน์ ศก.อ4.4.1.016 ศิลปนิพนธ์สาขา ออกแบบผลิตภัณฑ์ ศก.อ4.4.1.017 ศิลปนิพนธ์สาขา ออกแบบนิเทศศิลป์ ศก.อ4.4.1.018 สรุปโครงการศิลป นิพนธ์ ศก.อ4.4.1.019 รายงานผลการ 99
ดาเนินงานวิจัย 3 มีการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยหรืองาน คณะศิลปะและการออกแบบ ได้จัด ศก.อ4.4.1.020 แผนพัฒนา สร้างสรรค์และให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณการ สัมมนาวิชาการ ประจาปีการศึกษา บุคคลากร วิจัยแก่อาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา 2553 ศก.อ4.4.1.021 การติดตาม งานวิจัยจากรายงานการประชุม ศก.อ4.4.1. 022 เชิญร่วมนาเสนอ ผลงานวิจับ ศก.อ4.4.1.023 งานประชุม วิชาการ ศก.อ4.4.1.024 ความรู้ด้าน จรรยาบรรณของนักวิจัย ศก.อ4.4.1. 025 เกณฑ์อาจารย์ 53_ล่าสุด 4 มีการจัดสรรงบประมาณของสถาบัน เพื่อเป็นทุน คณะมีการประสานงานกับ ศก.อ4.4.1.026 การจัดสรร วิจัยหรืองานสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยรังสิต งบประมาณสนับสนุน ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียน ศก.อ4.4.1.027 งบประมาณคณะ ศิลปะและการออกแบบ การสอน สถาบันวิจัยแห่งชาติ ศก.อ4.4.1. 028 หลักเกณฑ์ในการ รวมทั้งสถาบันอื่นๆ ที่ให้การ ขอทุนวิจัยภายใน.pdf สนับสนุนทุนวิจัยและงาน ศก.อ4.4.1.029 ทุนวิจัยภายใน สร้างสรรค์ต่างๆ โดยการ ประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์ของคณะ มหาวิทยาลัย ได้ทราบ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการ ศก.อ4.4.1. 030 ทุนวิจัยภายนอก ทาวิจัยและพัฒนาสื่อการสอนให้ มหาวิทยาลัย เกิดประโยชน์ต่อนักศึกษา ซึ่งยัง ศก.อ4.4.1.031 คาสั่งแต่งตั้ง เป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับคณะ กรรมการนสนับสนุนการทาวิจัย ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิตอีกทางหนึ่งด้วย 5 มีการสนับสนุนพันธกิจด้านการวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์ของสถาบันอย่างน้อย ในประเด็นต่อไปนี้ - ห้องปฏิบัติการวิจัยฯ หรือหน่วยวิจัยฯ หรือศูนย์ เครื่องมือ หรือศูนย์ให้คาปรึกษาและสนับสนุน
คณะได้รับการสนับสนุนด้านการ วิจัยจากสถาบันวิจัย และงาน สร้างสรรค์จากงบประมาณของ คณะ 100
ศก.อ4.4.1.032 งบสนับสนุน Thesis53.doc_ ศก.อ4.4.1.033 ใบBRงบศิลป นิพนธ์_PRD ศก.อ4.4.1.034 ประชุมวิชาการ
การวิจัยฯ - ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการ วิจัยฯ - สิ่งอานวยความสะดวกหรือการรักษาความ ปลอดภัยในการวิจัยฯ เช่น ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัยใน ห้องปฏิบัติการวิจัย - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยฯ เช่น การ จัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์ การจัดให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะหรือ ศาสตราจารย์รับเชิญ (visiting professor) 6 มีการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนในข้อ คณะได้มีการติตามรายงานผล 4 และข้อ 5 อย่างครบถ้วนทุกประเด็น ของผู้ที่ขอทุนวิจัยของคณะ 7 มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการสนับสนุน คณะได้รับการสนับสนุนด้านการ พันธกิจด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ของ วิจัยจากสถาบันวิจัย และงาน สถาบัน สร้างสรรค์จากงบประมาณของ คณะ 8 มีระบบและกลไกเพื่อสร้างงานวิจัยหรืองาน คณะได้มีนโยบายสนับสนุนให้ สร้างสรรค์บนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ อาจารย์ทุกท่านสร้างแนวทางและ จากสภาพปัญหาของสังคม เพื่อตอบสนองความ ความเข้าใจในการทาวิจัย ให้กับ ต้องการของท้องถิ่นและสังคม และดาเนินการ อาจารย์ได้พัฒนางานวิจัยของ ตามระบบที่กาหนด ตนเองอยู่เสมอ รวมถึงการ
ศก.อ4.4.1.035 Link สถาบันวิจัย ศก.อ4.4.1.036 งบสนับสนุน งานวิจัย
ศก.อ4.4.1.037 การติดตาม งานวิจัย ศก.อ4.4.1.038 คาสั่งแต่งตั้ง กรรมการงานวิจัย ศก.อ4.4.2.012 blog ศก.อ4.4.1.039 คาสั่งแต่งตั้ง กรรมการงานวิจัย ศก.อ4.4.1.040 รายงาน ผลงานวิจัย
กาหนดให้อยู่ในหลักเกณฑ์การ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะด้วย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
101
ผลการประเมินตนเองปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
6
8
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
6
8
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน 1. เกณฑ์ทั่วไป คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ
คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ
คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ
คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ
คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ
2. เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 ค2 และ ง คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการครบ 5 ตามเกณฑ์ทั่วไป ตามเกณฑ์ทั่วไป ตามเกณฑ์ทั่วไป 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป 102
และครบถ้วนตามเกณฑ์ มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะ กลุ่ม ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน 1 มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพร่ คณะมีนโยบายให้การสนับสนุน ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ในการประชุม การเผยแพร่ผลงานวิจัยและงาน วิชาการหรือการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือ สร้างสรรค์ของอาจารย์โดยมีการ นานาชาติ และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรืองาน เข้าร่วมประชุมนาเสนอผลงานวิจัย สร้างสรรค์ในการประชุมวิชาการหรือการตีพิมพ์ ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ
2 มีระบบและกลไกการรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัยหรืองาน สร้างสรรค์ เพื่อให้เป็นองค์ความรู้ที่คนทั่วไป เข้าใจได้ และดาเนินการตามระบบที่กาหนด
คณะมีนโยบายให้การสนับสนุน การเผยแพร่ผลงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์ของอาจารย์ เพื่อเป็น ข้อมูลที่ให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป
3 มีการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้จาก คณะร่วมกับองค์การภายนอก งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้จากข้อ 2 สู่ สถาบันในการสนับสนุน สาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง ผลงานวิจัย ดาเนินการ ประชาสัมพันธ์ทางสื่อ เพื่อนา ประโยชน์ไปสูสาธารณชน
103
หลักฐาน ศก.อ4.4.2.001 คาสั่งแต่งตั้ง กรรมการวิชาการ ศก.อ4.4.2.002 การประชุมเสนอ ผลงานวิจัย ศก.อ4.4.2.003 กาหนดการ นาเสนอ ศก.อ4.4.2.004 กาหนดการ นาเสนอ ศก.อ4.4.2.005 รายงานการ ประชุม ศก.อ4.4.2.006 รายงานการ ประชุม ศก.อ4.4.2.007 คาสั่งแต่งตั้ง ศก.อ4.4.2.008 รายงานการ ประชุม ศก.อ4.4.2.009 คุณมีทีเรามีทาง ศก.อ4.4.2. 010 ART&DESIGN ศก.อ4.4.2.011 เว็ปคณะ ศก.อ4.4.2.012 blog ศก.อ4.4.2.013 รายการมีที่มีทาง ศก.อ4.4.2.014 รายการมีทมี่ ีทาง ศก.อ4.4.2.015 รายการ ART & DESIGN ศก.อ4.4.2.016 ART&DESIGN ศก.อ4.4.2.017 กาหนดการ นาเสนอ 1 ศก.อ4.4.2.018 กาหนดการ
นาเสนอ 2 ศก.อ4.4.2.019 กาหนดการ นาเสนอ 3 ศก.อ4.4.2.020 การเผยแพร่ ผลงาน
4 มีการนาผลงานงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ไปใช้ คณะมีนโยบายสนับสนุนให้มีการ ให้เกิดประโยชน์ และมีการรับรองการใช้ รวบรวมและเผยแพร่งานวิจัย โดย ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภายนอกหรือชุมชน มีการเข้าร่วมประชุมและนาเสนอ ผลงานในการประชุมวิชาการของ มหาวิทยาลัย นอกจากนีย้ ังมีการ นาเสนอผลงานวิชาการกับองค์กร ภายนอก เป็นต้น
5 มีระบบและกลไกเพื่อช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ ประโยชน์ และดาเนินการตามระบบที่กาหนด
ศก.อ4.4.2.021 รางวัลวิทยานิพนธ์ ดีเด่น ศก.อ4.4.2.022 งานออกแบบแพท เทิร์นอ_ศิรวีร์ ศก.อ4.4.2.023 ออกแบบยูนิฟอร์ม ศก.อ4.4.2.024 ผลงานออกแแบบ ศก.อ4.4.2.025 โครงการออกแบบ อาคารศูนย์ความเป็นเลิศด้านโรค เขตร้อน แห่งเอเชีย ศก.อ4.4.2.026 ผลงานออกแบบ โรงเรียนอนุบาลสตาร์ฟิช ศก.อ4.4.2.027 ใบรับรองจาก บริษัท บราเตอร์ จากัด ศก.อ4.4.2.028-1 กาหนดขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ ศก.อ4.4.2.028-2 สัญญาว่าจ้าง ศก.อ4.4.2.029 ใบรับรองจาก สถาบันคีนันแห่งเอเชีย ศก.อ4.4.2.030 คาสั่งแต่งตั้ง คณะให้การสนับสนุนการจด สิทธิบัตรเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม กรรมการทรัพย์สินทางปัญญา แก่เจ้าของผลงาน โดยต้องมีการ ศก.อ4.4.2.031 คาสั่งแต่งตั้ง ขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร กรรมการพัฒนาธุรกิจ ศก.อ4.4.2.032 ระเบียบว่าด้วย ในการที่จะนาไปเผยแพร่หรือ ประโยชน์อื่นใดให้กับเจ้าของ ซึ่ง การจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ศก.อ4.4.2.033 ประกาศ เป็นสิทธิ์ที่เจ้าของจะอนุญาต หลักเกณฑ์การจัดการรายได้ 104
หรือไม่ เท่านั้น
ทรัพย์สินทางปัญญา
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
5
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
5
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา ชนิดของตัวบ่งชี้ ปัจจัยนาเข้า เกณฑ์การประเมิน 105
หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ
ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบัน กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบัน กลุม่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จานวนอาจารย์ประจาทั้งหมด (ไม่นับผู้ลาศึกษาต่อ) กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จานวนนักวิจัยประจาทั้งหมด (ไม่นับผู้ลาศึกษาต่อ) กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ผลรวมจากคณะ 426,140
จานวนยืนยันของ สถาบัน 426,140
426,140 6,494,600
426,140 6,494,600
6,494,600 58
6,494,600 58
58
58
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรือสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบัน = 6,920,740.00/จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา=58.00)=119,323.10 บาทเมื่อเทียบค่าคะแนนเต็ม 5 = 25,000.00 บาท ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 5.000) ผลการดาเนินงาน คณะศิลปะและการออกแบบได้รับเงินสนับสนุนงานวิจัยภายใน และภายนอกสถาบัน จานวนเงินทั้งสิ้น 6,920,740 บาท 106
รายการหลักฐาน ศก.อ4.4.3.001รายชื่อบุคลากรปี 53 ศก.อ4.4.3.002 ผลการพิจารณาข้อเสนอโครงการ ศก.อ4.4.3.003 ประกาศรายชื่อโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ศก.อ4.4.3.004 ลงนามรับทุนอุดหนุนวิจัย ศก.อ4.4.3.005 อ้างอิง ศก.อ4.4.3.006 บริการวิชาการจ.ราชบุรี ศก.อ4.4.3.007 เงินสนับสนุนงานวิจัย-สร้างสรรค์ภายนอก-ใน ศก.อ4.4.3.008 งานที่ได้รับการตีพิมพ์ ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
25000
(จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรือ สร้างสรรค์จากภายในและภายนอก สถาบัน = 6,920,740.00/จานวน อาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา= 5.00 58.00)=119,323.10 บาทเมื่อเทียบ ค่าคะแนนเต็ม 5 = 25,000.00 บาท ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 5.000)
ผลการประเมินตนเองปีนี้
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
25000
(จานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรือ สร้างสรรค์จากภายในและภายนอก 5.00 สถาบัน = 6,920,740.00/จานวน 107
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
อาจารย์ประจาและนักวิจัย ประจา=58.00)=119,323.10 บาท เมื่อเทียบค่าคะแนนเต็ม 5 = 25,000.00 บาท ดังนั้นคะแนนที่ได้ เท่ากับ 5.000) หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๕ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทไี่ ด้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน กาหนดระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตีพิมพ์ ดังนี้ ค่าน้าหนัก ๐.๑๒๕ ๐.๒๕ ๐.๕๐ ๐.๗๕
๑.๐๐
ระดับคุณภาพงานวิจัย - มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ - มีการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือมีการตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI - มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏอยู่ในประกาศของสมศ. - มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank:www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ควอไทล์ที่ ๓ หรือ ๔ (Q3 หรือ Q4) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus - มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank:www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ควอไทล์ที่ ๑ หรือ ๒ (Q1 หรือ Q2) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus
กาหนดระดับแหล่งเผยแพร่งานสร้างสรรค์ ดังนี้
ค่าน้าหนัก
ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ 108
๐.๑๒๕ ๐.๒๕ ๐.๕๐ ๐.๗๕ ๑.๐๐
-
งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบันหรือจังหวัด งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน* งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ
อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) มี ๑๐ ประเทศ ได้แก่ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม การเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ เป็นโครงการเฉพาะระหว่างประเทศ เช่น ความร่วมมือการจัดแสดงโขน ระหว่าง ไทย - ลาว เป็นต้น การเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน เป็นการเผยแพร่เฉพาะในกลุ่มอาเซียน ๑๐ ประเทศ (อย่างน้อย ๕ ประเทศ) การเผยแพร่ในระดับนานชาติ เป็นการเผยแพร่ที่เปิดกว้างสาหรับทุกประเทศ (อย่างน้อย ๕ ประเทศ ที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่ม อาเซียน) เกณฑ์การให้คะแนน ใช้บัญญัติไตรยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้อยละเท่ากับ ๕ คะแนน จาแนกตามกลุ่มสาขาวิชา ดังนี้
กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
๕ คะแนน ๒๐ ๒๐ ๑๐
หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับชาติ จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ 109
1
จานวนยืนยันของ สถาบัน 1
ระดับนานาชาติ หรือจานวนการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฎ ในฐานข้อมูล TCI จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฎใน ประกาศของ สมศ. (สมศ.)จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มี ชื่อปรากฎอยู่ในประกาศของ สมศ. (สมศ.)จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มี ชื่อปรากฏอยู่ในฐานข้อมูลสากล ISI จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูล การจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ 4 (Q4) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูล การจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ 3 (Q3) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูล การจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ 2 (Q2) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus จานวนบทความวิจัยฯ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฎในฐานข้อมูล การจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู่ในควอไทล์ที่ 1 (Q1) ในปีล่าสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ์ หรือมีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ ปรากฏในฐานข้อมูลสากล ISI และฐานข้อมูล Scopus จานวนผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบันหรือจังหวัด จานวนผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ จานวนผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่าง ประเทศ 110
8 17
8 17
จานวนผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน จานวนผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ จานวนอาจารย์ประจาที่ลาศึกษาต่อ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จานวนนักวิจัยประจาที่ลาศึกษาต่อ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุม่ สาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 111
6 1
6 1
1
1
1
1
กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุม่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
8
8
17
17
6
6
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (ผลรวมถ่วงน้าหนักของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่เท่ากับ 11.375/จานวนอาจารย์และนักวิจัยประจาทั้งหมดเท่ากับ59.000) = ร้อยละ19.280 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้นคะแนนเท่ากับ 5.000 ผลการดาเนินงาน คณะศิลปะและการออกแบบมีผลงานวิจัยหรืองานผสงานสร้างสรรค์ ในระดับสถาบัน จานวน 8 ผลงาน และเผยแพร่ระดับชาติ 17 ผลงาน และระดับนานานชาติ 6ผลงาน รายการหลักฐาน 112
ศก.อ4.4.3.008 งานที่ได้รับการตีพิมพ์
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
0.50
(ผลรวมถ่วงน้าหนักของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือ เผยแพร่เท่ากับ11.375/จานวน อาจารย์และนักวิจัยประจาทั้งหมด 5.00 เท่ากับ59.000) = ร้อยละ19.280 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้นคะแนนเท่ากับ 5.000
ผลการประเมินตนเองปีนี้
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
0.50
(ผลรวมถ่วงน้าหนักของงานวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือ เผยแพร่เท่ากับ11.375/จานวน อาจารย์และนักวิจัยประจาทั้งหมด 5.00 เท่ากับ59.000) = ร้อยละ19.280 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้นคะแนนเท่ากับ 5.000
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : 113
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๖ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนยืนยันของ สถาบัน
13
13
จานวนนักวิจัยประจาทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ จานวนรวมของผลงานวิจัยที่นาไปใช้ประโยชน์ จานวนรวมของผลงานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (ผลรวมของจานวนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์=13.000/ จานวนอาจารย์ประจาและนักวิจัยประจา คณะศิลปะและการออกแบบ =59.000)= ร้อยละ 22.034 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน จึงมีค่าเท่ากับ 5.509 ผลการดาเนินงาน ในปีการศึกษา 2553 คณะศิลปะและการออกแบบ ได้มีผลงานเผยแพร่จานวน 13 ผลงาน รายการหลักฐาน ศก.อ4.4.3.007 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ภายนอก-ใน ศก.อ4.4.3.008 งานที่ได้รับการตีพิมพ์
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
ผลดาเนินงาน 114
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
30
(ผลรวมของจานวนงานวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์= 13.000/จานวนอาจารย์ประจาและ นักวิจัยประจา คณะศิลปะและการ 5.00 ออกแบบ =59.000)= ร้อยละ 22.034 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน จึงมีค่าเท่ากับ 5.509
ผลการประเมินตนเองปีนี้
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
30
(ผลรวมของจานวนงานวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ ประโยชน์=13.000/จานวนอาจารย์ ประจาและนักวิจัยประจา คณะ 5.00 ศิลปะและการออกแบบ =59.000)= ร้อยละ 22.034 เมื่อ เทียบค่าร้อยละ 20 เท่ากับ 5 คะแนน จึงมีค่าเท่ากับ 5.509
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบ่งชี้ที่ ๔.๗ ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต 115
บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเป้าหมาย
เกณฑ์การประเมิน การกาหนดระดับคุณภาพผลงานวิชาการด้วย ดังนี้
ค่าน้าหนัก ๐.๒๕ ๐.๕๐
ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับ นานาชาติ ตาราหรือหนังสือที่มีการตรวจอ่านโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ตาราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและ ผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการ แล้ว หรือตาราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจอ่านตามเกณฑ์ขอตาแหน่งทางวิชาการ
๐.๗๕ ๑.๐๐
หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ 1 ตาราหรือหนังสือที่มีการตรวจอ่านโดยผูท้ รงคุณวุฒิ ตาราหรือหนังสือที่ใช้ในการขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตาม เกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแล้ว หรือตาราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมี ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่านตามเกณฑ์ขอตาแหน่งทางวิชาการ
116
จานวนยืนยันของ สถาบัน 1
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ = 0.500/จานวน อาจารย์ประจาและนักวิจัยประจาทั้งหมด = 59.000)= ร้อยละ 0.847 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน จึงมีค่าเท่ากับ 0.424 ผลการดาเนินงาน คณะศิลปะและการออกแบบมีบทความที่ตีพิมพืเผยแพร่ในระดับนานาชาติ จานวน 1 บทความ รายการหลักฐาน ศก.อ4.4.3.008 งานที่ได้รับการตีพิมพ์
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
30.00
(ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงาน วิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ = 0.500/จานวนอาจารย์ประจาและ นักวิจัยประจาทั้งหมด = 59.000)= 0.42 ร้อยละ 0.847 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน จึงมีค่า เท่ากับ 0.424
ผลการประเมินตนเองปีนี้
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
30.00
(ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงาน วิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ =
0.42
ไม่บรรลุเป้าหมาย
117
0.500/จานวนอาจารย์ประจาและ นักวิจัยประจาทั้งหมด = 59.000)= ร้อยละ 0.847 เมื่อเทียบค่าร้อยละ 10 เท่ากับ 5 คะแนน จึงมีค่าเท่ากับ 0.424 หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 4 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะฯ ได้รับเงินสนับสนุนงานสร้างสรรค์จากภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น มี จานวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของคณาจารย์เพิ่มขึ้น ผลงานของนักศึกษาระดับปริญญาโทได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ บทความวิทยานิพนธ์ก่อนจบการศึกษาทุกคน จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : CarWeakness วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) : ปีการศึกษา 2553คณะฯ ได้มีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์ทางาน วิจัย ด้วยการจัดสัมมนาเชิญผู้เชี่ยวชาญมาบรรยายอบรม รวมทั้งมีการจัดระบบพี่เลี้ยงวิจัย ทาให้คณาจารย์มีการตื่นตัวในการ ทาวิจัยและผลงานสร้างสรรค์มากขึ้น มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ และมีการนาเสนอผลงานในงานประชุม วิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ ที่จัดในประเทศเพิ่มขึ้น
118
องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 ข้อ มีการดาเนินการ 5 ข้อ ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน 1 มีระบบและกลไกการบริการทาง คณะศิลปะและการออกแบบมีการวางแนวทาง มรส.ศบว.อ5.5.1.1.001 ระเบียบ วิชาการแก่สังคม และดาเนินการ ขั้นตอนและหลักเกณฑ์ของการให้บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิตว่าด้วยการ ตามระบบที่กาหนด ด้านต่างๆ ที่สัมพันธ์กับพันธกิจของคณะ โดยมี ให้บริการทางวิชาการ พ.ศ. 2549 นโยบายส่งเสริม และสนับสนุนอาจารย์ และ ศก.อ1.1.1.001 แผนยุทธศาสตร์ บุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ มีความ มหาวิทยาลัยรังสิต พร้อม ในการให้บริการวิชาการแก่หน่วยงานทั้ง ศก.อ1.1.1.002 แผนยุทธศาสตร์ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย กาหนดให้ คณะศิลปะและการออกแบบ การบริการวิชาการ เป็น ส่วนหนึ่งในการประเมิน 119
การปฏิบัติงาน อันเป็นการสร้างแรงจูงใจให้แก่ ศก.อ1.1.1.005 วิเคราะห์แผน 53 บุคลากร ศก.อ1.1.1.006 Actionplan คณะ คณะศิลปะและการออกแบบมีแผนพัฒนา 53 คุณภาพการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ที่จะ ศก.อ1.1.1.007 วิสัยทัศน์คณะ 53 ทาความร่วมมือกับองค์กร หน่วยงานของรัฐและ เอกชน เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาสามารถ บริการทางวิชาการแก่ชุมชน และสังคม ส่งเสริม การเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการในรูปแบบการ บรรยาย การอบรมการจัดนิทรรศการทั้งในและ ต่างประเทศ การทางานร่วมกับชุมชน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมการให้บริการทาง วิชาการที่เกี่ยวกับวิชาชีพ 2 มีการบูรณาการงานบริการทาง คณะศิลปะและการออกแบบมีการบูรณาการ วิชาการแก่สังคมกับการเรียนการ งานบริการทางวิชาการ กับกระบวนการจัดการ สอน เรียนการสอน โดยคณาจารย์ได้บูรณาการการ บริการวิชาการกับการเรียนการสอน ทั้ง โครงการที่ร่วมมือกับชุมชน และโครงการที่ ร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ในฐานะเจ้าของ โครงการ ผู้ร่วมโครงการวิทยากร และที่ปรึกษา โครงการ
ศก.อ5.5.1.002โครงการ Ornament and Crime เบญจรงค์ ศก.อ5.5.1.003โครงการ workshop ออกแบบอุปกรณ์สนาม เด็กเล่น ศก.อ5.5.1.004โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง จ.ราชบุรี ศก.อ5.5.1.012 โครงการสาน มุมมอง ศก.อ5.5.1.013ประกวดออกแบบ ตราสัญลักษณ์ drugswar.net, ศก.อ5.5.1.014 การจัดประกวด ภาพถ่าย "เมืองไทยน่าอยู"่ , ศก.อ5.5.1.015 โครงการรักษ์วินัย ไร้ควันบุหรี่, ศก.อ5.5.1.016 โครงการ "Brand Gen ฉลาดคิดแบบคนรุ่นใหม่ ปี 3
120
3 มีการบูรณาการงานบริการทาง วิชาการแก่สังคมกับการวิจัย
คณะศิลปะและการออกแบบมีการบูรณาการ ศก.อ5.5.1.001 โครงการออกแบบ งานบริการวิชาการกับงานสร้างสรรค์ อย่างเป็น Dude Cigar Bar ระบบ เช่น 1) มีการนาผลการสร้างสรรค์ไปสู่การ ศก.อ5.5.1.002 โครงการ ใช้ประโยชน์จริงที่ตอบสนองความต้องการของ Ornament and Crime เบญจรงค์ ทุกภาคส่วน 2) นาความรู้จากการบริการกลับมา ศก.อ5.5.1.004 โครงการพัฒนา พัฒนาต่อยอดไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง ผ่านกระบวนการวิจัยสร้างสรรค์ จ.ราชบุรี ศก.อ5.5.1.005 โครงการออกแบบ อาคารอุไรรัตน์ ศก.อ5.5.1.006 ห้องสมุดแสงธรรม ศก.อ5.5.1.007a proposal Kindergarten, ศก.อ5.5.1.007b Kindergarten ศก.อ5.5.1.008 โรงพยาบาล เวชศาสตร์เขตร้อน ศก.อ5.5.1.009 ศูนย์เรียนรู้ มธ. ศก.อ5.5.1.010 ปรับปรุงอาคาร Nippon Kai ศก.อ5.5.1.011 โครงการ ออกแบบ MultiFunction Piano resort
4 มีการประเมินผลความสาเร็จของ การบูรณาการงานบริการทาง วิชาการแก่สังคมกับการเรียนการ สอนและการวิจัย
คณะศิลปะและการออกแบบ มีระบบติดตาม ศก.อ5.5.1.001โครงการออกแบบ ประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการงาน Dude Cigar Bar บริการทางวิชาการแก่สังคมกับการสอนและการ ศก.อ5.5.1.002 โครงการ วิจัยสร้างสรรค์ จากรายงานสรุป โดย Ornament and Crime เบญจรงค์ คณะกรรมการวิชาการ และคณะกรรมการ ศก.อ5.5.1.003โครงการ บริหารประจาคณะ เพื่อให้เกิดประโยชน์ และ workshop ออกแบบอุปกรณ์สนาม เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เด็กเล่น ศก.อ5.5.1.004โครงการพัฒนา 121
ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง จ.ราชบุรี ศก.อ5.5.1.005โครงการออกแบบ อาคารอุไรรัตน์ ศก.อ5.5.1.008โรงพยาบาล เวชศาสตร์เขตร้อน ศก.อ5.5.1.009ศูนย์เรียนรู้ มธ. ศก.อ5.5.1.010ปรับปรุงอาคาร Nippon Kai ศก.อ5.5.1.011โครงการ ออกแบบ MultiFunction Piano resort ศก.อ5.5.1.012 โครงการสาน มุมมอง 5 มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุง การบูรณาการงานบริการทาง วิชาการแก่สังคมกับการเรียนการ สอนและการวิจัย
คณะศิลปะและการออกแบบ ได้นาผลการ ประเมินและข้อเสนอแนะ ของโครงการ เสนอ คณะกรรมการบริหาร เพื่อปรับปรุงและ เพื่อใช้ เป็นพื้นฐานในการบูรณาการงานบริการทาง วิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการ วิจัยในปีต่อไป
ศก.อ5.5.1.001โครงการออกแบบ Dude Cigar Bar ศก.อ5.5.1.002โครงการ Ornament and Crime เบญจรงค์ ศก.อ5.5.1.003โครงการ workshop ออกแบบอุปกรณ์สนาม เด็กเล่น ศก.อ5.5.1.004โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง จ.ราชบุรี ศก.อ5.5.1.005โครงการออกแบบ อาคารอุไรรัตน์ ศก.อ5.5.1.008โรงพยาบาล เวชศาสตร์เขตร้อน ศก.อ5.5.1.009ศูนย์เรียนรู้ มธ.
122
ศก.อ5.5.1.010ปรับปรุงอาคาร Nippon Kai ศก.อ5.5.1.011โครงการ ออกแบบ MultiFunction Piano resort ศก.อ5.5.1.012 โครงการสาน มุมมอง ศก.อ5.5.1.014 การจัดประกวด ภาพถ่าย "เมืองไทยน่าอยู"่ , ศก.อ5.5.1.015 โครงการรักษ์วินัย ไร้ควันบุหรี่, ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม 123
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 ข้อ มีการดาเนินการ 5 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีการสารวจความต้องการของชุมชน หรือ ภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงาน วิชาชีพเพื่อประกอบการกาหนดทิศทางและ การจัดทาแผนการบริการทางวิชาการตาม จุดเน้นของสถาบัน
ผลดาเนินงาน หลักฐาน ในกระแสสังคมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ คณะ ศก.อ1.1.1.001 แผน ศิลปะและการออกแบบ มีการวิเคราะห์แผน ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต กลยุทธ์ และปรับวิสัยทัศน์ ในการพัฒนา ศก.อ1.1.1.002 แผน คุณภาพการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ยุทธศาสตร์คณะศิลปะและการ ที่จะทาความร่วมมือกับองค์กร หน่วยงาน ออกแบบ ของรัฐและเอกชน เพื่อให้บุคลากรและ ศก.อ1.1.1.005 วิเคราะห์แผน นักศึกษาสามารถบริการทางวิชาการแก่ 53 ชุมชน และสังคม ส่งเสริมการเผยแพร่ ศก.อ ความรู้ทางวิชาการในรูปแบบการบรรยาย 1.1.1.006 Actionplan คณะ การอบรมการจัดนิทรรศการทั้งในและ 53 ต่างประเทศ การทางานร่วมกับชุมชน และ ศก.อ1.1.1.007 วิสัยทัศน์คณะ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมการให้บริการ 53 ทางวิชาการที่เกี่ยวกับวิชาชีพ เช่นการรับ ออกแบบในสาขาวิชาต่างๆ ทั้งในและนอก มหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ แก่บุคลากร และนักศึกษาในรูปแบบการ ทางานจริงอย่างต่อเนื่อง ในปีการศึกษา 2553คณาจารย์คณะศิลปะ และการออกแบบได้ให้การบริการวิชาการ และวิชาชีพ ในลักษณะการร่วมเป็น กรรมการวิชาชีพ กรรมการวิชาการ 124
ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาหลักสูตร บทความวิชาการ การเป็นกรรมการตัดสิน การประกวดด้านศิลปะและการ ออกแบบ การเป็นวิทยากรฝึกอบรมการ ออกแบบที่เหมาะสมกับสภาวะ เศรษฐกิจ ให้แก่ชุมชน สถาบัน ต่าง ๆ ตาม กระแสสังคมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทั้ง ภายในและภายนอกสถาบัน 2 มีความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการเพื่อ การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือ หน่วยงานวิชาชีพ
ในปี 2553 ได้ร่วมมือกับภาคเอกชน ภาครัฐ ศก.อ5.5.1.002 และสภาวิชาชีพ ในการบริการทางวิชาการ โครงการ Ornament and เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็ง Crime เบญจรงค์, ของชุมชน เช่น การร่วมมือกับกลุ่มเบญจ ศก.อ5.5.1.004 โครงการพัฒนา รงค์ จังหวัดสมุทรสาคร ในการเรียนรู้ที่จะ ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนา สร้างแนวคิดใหม่ ในการผลิต การร่วมมือ หนอง จ.ราชบุร,ี กับสถาบันคีนันแห่งเอเชียในการจัด ศก.อ5.5.1.012 โครงการสาน ฝึกอบรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง จ. มุมมอง, ราชบุรี การร่วมมือกับคณะศิลปกรรม ศก.อ5.5.1.014 การจัดประกวด ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ ภาพถ่าย "เมืองไทยน่าอยู"่ , โรฒ ประสานมิตร จัดนิทรรศการ สาน ศก.อ5.5.1.015 โครงการรักษ์ มุมมอง กิจกรรมการเสวนา และแสดงผล วินัย ไร้ควันบุหรี,่ งานศิลปภาพถ่ายของนักศึกษาทั้ง 2 ศก.อ5.5.2.001 สภาสถาปนิก, สถาบัน การร่วมมือกับสมาคมถ่ายภาพ ศก.อ5.5.2.002 สภา แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ใน วิชาการ IAIDAC, การจัดประกวดภาพถ่าย “เมืองไทยน่า ศก.อ5.5.2.003 3&4 designer อยู่” of the year 2553, ศก.อ5.5.2.004 3&4 designer คณะศิลปะและการออกแบบ สนับสนุนให้ of the year 2553, คณาจารย์ เป็นวิทยากร กรรมการ และที่ ศก.อ5.5.2.005 วารสารวิจัย ปรึกษา ในโครงการต่าง ๆ ที่จัดโดย มธ, หน่วยงานรัฐและเอกชน ทั้งทางด้านวิชาการ ศก.อ5.5.2.006 และวิชาชีพ ตรวจ thesis สถาปัตย์ 125
ลาดกระบัง, ศก.อ5.5.2.007 ประชุมกรอบ ปฏิบัติงบ 2555 ปทุมธานี , ศก.อ5.5.2.008 สื่อ 3 มิติ ท่องเที่ยวมรดกโลก, ศก.อ5.5.2.009 Proceeding RSU2010, ศก.อ5.5.2.010 โครงการ IAIDAC, ศก.อ5.5.2.011 กรรมการบริหาร สถาบันวิจัย มรส., ศก.อ5.5.2.012 กรรมการสภา คณบดีศิลปะแห่งประเทศไทย, ศก.อ5.5.2.013 กรรมการ ตัดสิน ศิลปาธร 2553, ศก.อ5.5.2.014 กรรมการ ตัดสินOKMD 2553, ศก.อ5.5.2.015 โครงการ พัฒนาการผลิต ผลิตภัณฑ์เพื่อ รองรับคาสั่งซื้อ, ศก.อ5.5.2.016 โครงการ พัฒนาสินค้าแฟชั่นมุสลิมฯ, ศก.อ5.5.2.017 ฝึกอาชีพการ ออกแบบผลิตภัณฑ์แก่นักเรียน ศิลปาชีพ, ศก.อ5.5.2.018 การฝึกอบรม การพัฒนาวิสาหกิจฯ, ศก.อ5.5.2.019 มหกรรม อิสลามศึกษา, ศก.อ5.5.2.020 กรรมการ ตัดสินการประกวดผลิตภัณฑ์ จากวัสดุเหลือใช้, 126
ศก.อ5.5.2.021 กิจกรรม ภาควิชาภาษาฝรั่งเศส, ศก.อ5.5.2.022 รางวัล ฐานันดร 4, ศก.อ5.5.2.023 สมาคมนัก ออกแบบเรขศิลป์ไทย, ศก.อ5.5.2.024 ประกวดบรรจุ ภัณฑ์ OTOP นนทบุร,ี ศก.อ5.5.2.025 โครงการ พัฒนาเครื่องแต่งกายมุสลิม เพื่อส่งออก, ศก.อ5.5.2.026 โครงการ พัฒนากลไกฯ ปทุมธานี, ศก.อ5.5.2.027 กรรมการ วิชาการสถาบันจัย, ศก.อ5.5.2.028 กรรมการ พิจารณาหลักสูตรโรงเรียนนอก ระบบ, ศก.อ5.5.2.029 นิทรรศการ วิชาการโรงเรียนนายร้อยฯ ศก.อ5.5.2.030 โครงการ สุขภาพชุมชน, ศก.อ5.5.2.031 กรรมการกลุ่ม ผลิตชุดวิชามนุษย์กับระบบ นิเวศ. ศก.อ5.5.2.032 โครงการสร้าง คุณค่าให้กับสินค้าและบริการ SMEs, ศก.อ5.5.2.033 สรุปการปฏิบัติ หน้าที่อนุกรรมการ การแข่งขัน ฝีมือแรงงานอาเซี่ยน ครั้งที่ 8, ศก.อ5.5.2.034 หนังสือเชิญ เป็นวิทยากรบรรยายวิทยาลัย 127
พยาบาลตารวจ โรงพยาบาล ตารวจ, 3 มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของ คณะศิลปะและการออกแบบ มีการประเมิน ศก.อ5.5.1.002 การให้บริการทางวิชาการต่อสังคม ประโยชน์และผลกระทบของการให้บริการ โครงการ Ornament and Crime เบญจรงค์, วิชาการ ว่าการบริการวิชาการนั้น ศก.อ5.5.1.003 สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้รับบริการ ทั้งในด้านการนาความรู้ ความ โครงการ workshop ออกแบบ อุปกรณ์สนามเด็กเล่น, เชี่ยวชาญ ที่นาไปใช้ประโยชน์ หรือ คาแนะนา/คาชี้แนะให้แก่ผู้รับบริการ ใน ศก.อ5.5.1.004 โครงการพัฒนา ฐานะ ที่ปรึกษาหรือ กรรมการ โครงการ โดย ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนา หนอง จ.ราชบุร,ี คณะกรรมการบริหารคณะเป็นผู้ ศก.อ5.5.1.005 โครงการ ประเมิน ในการประชุมคณะกรรมการ ออกแบบอาคารอุไรรัตน์, บริหาร และจากรายงานสรุปโครงการ ศก.อ5.5.1.012 โครงการสาน มุมมอง ศก.อ5.5.1.013 ประกวด ออกแบบตรา สัญลักษณ์ drugswar.net, ศก.อ5.5.1.014 การจัดประกวด ภาพถ่าย "เมืองไทยน่าอยู"่ , ศก.อ5.5.1.015 โครงการรักษ์ วินัย ไร้ควันบุหรี,่ ศก.อ5.5.1.016 โครงการ "Brand Gen ฉลาด คิดแบบคนรุ่นใหม่ ปี3", ศก.อ5.5.2.001 สภาสถาปนิก, ศก.อ5.5.2.007 ประชุมกรอบ ปฏิบัติงบ 2555 ปทุมธานี , ศก.อ5.5.2.008 สื่อ 3 มิติ ท่องเที่ยวมรดกโลก, ศก.อ5.5.2.010 โครงการ IAIDAC, ศก.อ5.5.2.012 กรรมการสภา 128
คณบดีศิลปะแห่งประเทศไทย, ศก.อ5.5.2.013 กรรมการ ตัดสิน ศิลปาธร 2553, ศก.อ5.5.2.014 กรรมการ ตัดสินOKMD 2553, ศก.อ5.5.2.015 โครงการ พัฒนาการผลิต ผลิตภัณฑ์เพื่อ รองรับคาสั่งซื้อ, ศก.อ5.5.2.016 โครงการ พัฒนาสินค้าแฟชั่นมุสลิมฯ, ศก.อ5.5.2.017 ฝึกอาชีพการ ออกแบบผลิตภัณฑ์แก่นักเรียน ศิลปาชีพ, ศก.อ5.5.2.018 การฝึกอบรม การพัฒนาวิสาหกิจฯ, ศก.อ5.5.2.020 กรรมการ ตัดสินการประกวดผลิตภัณฑ์ จากวัสดุเหลือใช้, ศก.อ5.5.2.024 ประกวดบรรจุ ภัณฑ์ OTOP นนทบุร,ี ศก.อ5.5.2.025 โครงการ พัฒนาเครื่องแต่งกายมุสลิม เพื่อส่งออก, ศก.อ5.5.2.026 โครงการ พัฒนากลไกฯ ปทุมธานี, ศก.อ5.5.2.029 นิทรรศการ วิชาการโรงเรียนนายร้อยฯ ศก.อ5.5.2.030 โครงการ สุขภาพชุมชน, ศก.อ5.5.2.033 สรุปการปฏิบัติ หน้าที่อนุกรรมการ การแข่งขัน ฝีมือแรงงานอาเซี่ยน ครั้งที่ 8, ศก.อ5.5.2.034 วิทยากร 129
บรรยาย วิทยาลัยพยาบาล ตารวจ โรงพยาบาลตารวจ 4 มีการนาผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนา คณะศิลปะและการออกแบบ ได้นาข้อมูล ศก.อ.1.1.1.006 ระบบและกลไก หรือกิจกรรมการให้บริการ จากการประเมินประโยชน์และผลกระทบ actionplan คณะ 53 ทางวิชาการ ศก.อ1.1.1.013 รายงานผลการ ของการให้บริการวิชาการ ไปพัฒนา คุณภาพมาตรฐานของการให้บริการ ระบบ ดาเนินการActionplan 53 ศก.อ5.5.1.002 และกลไกการให้บริการ เช่น รูปแบบ โครงการ Ornament and ขอบเขต ค่าใช้จ่าย ระยะเวลา โดยอาจ นาเสนอในที่ประชุมฝ่ายวิชาการหรือประชุม Crime เบญจรงค์, คณะกรรมการบริหารประจาคณะ ตามวาระ ศก.อ5.5.1.003 โครงการ workshop ออกแบบ การประชุมเกี่ยวกับการติดตามผลการ อุปกรณ์สนามเด็กเล่น, ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ศก.อ5.5.1.004 โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนา หนอง จ.ราชบุร,ี ศก.อ5.5.1.005 โครงการ ออกแบบอาคารอุไรรัตน์, ศก.อ5.5.1.012 โครงการสาน มุมมอง, ศก.อ5.5.1.014 การจัดประกวด ภาพถ่าย "เมืองไทยน่าอยู"่ , ศก.อ5.5.1.015 โครงการรักษ์ วินัย ไร้ควันบุหรี,่ ศก.อ5.5.2.018 การฝึกอบรม การพัฒนาวิสาหกิจฯ, ศก.อ5.5.2.030 โครงการ สุขภาพชุมชน, ศก.อ5.5.2.033 สรุปการปฏิบัติ หน้าที่อนุกรรมการ การแข่งขัน ฝีมือแรงงานอาเซี่ยน ครั้งที่ 8 5 มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการ คณะศิลปะและการออกแบบ ได้นาผลการ ศก.อ5.5.1.001โครงการ ทางวิชาการและถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากร 130
ภายในสถาบันและเผยแพร่สู่สาธารณชน
ประเมินและข้อเสนอแนะ ของโครงการ ออกแบบ Dude Cigar Bar เสนอคณะกรรมการบริหาร เพื่อปรับปรุง ศก.อ5.5.1.002โครงการ และ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการบูรณาการ Ornament and Crime เบญจ งานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียน รงค์ การสอนและการวิจัยในปีต่อไป ศก.อ5.5.1.003โครงการ workshop ออกแบบอุปกรณ์ สนามเด็กเล่น ศก.อ5.5.1.004โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนา หนอง จ.ราชบุรี ศก.อ5.5.1.005โครงการ ออกแบบอาคารอุไรรัตน์ ศก.อ5.5.1.008โรงพยาบาล เวชศาสตร์เขตร้อน ศก.อ5.5.1.009ศูนย์เรียนรู้ มธ. ศก.อ5.5.1.010ปรับปรุงอาคาร Nippon Kai ศก.อ5.5.1.011โครงการ ออกแบบ MultiFunction Piano resort ศก.อ5.5.1.012 โครงการสาน มุมมอง ศก.อ5.5.1.014 การจัดประกวด ภาพถ่าย "เมืองไทยน่าอยู"่ , ศก.อ5.5.1.015 โครงการรักษ์ วินัย ไร้ควันบุหรี่,
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว 131
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
3
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
3
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๘ ผลการนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน และการวิจัย ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน ใช้บัญญัติยางศ์เทียบ โดยกาหนดร้อยละ ๓๐ เท่ากับ ๕ คะแนน หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
จานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการทั้งหมด จานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการเรียน การสอน จานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการวิจัย 132
50 5
จานวนยืนยันของ สถาบัน 50 5
6
6
จานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับทั้งการเรียนการ สอนและการวิจัย
5
5
ตัวตั้ง= 0.000 ตัวหาร = 0.000 ผลลัพธ์ = (ค่าร้อยละของจานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่นามาใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย=16.000/ค่าร้อยละของจานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการที่นามาใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย ที่กาหนดให้คะแนนเต็ม 5 =50.000)=5.000 ผลการดาเนินงาน คณะศิลปะและการออกแบบ ดาเนินการตามยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ในการความ ร่วมมือกับองค์กร หน่วยงานของรัฐและเอกชน เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาสามารถบริการทางวิชาการแก่ชุมชน และ สังคม ส่งเสริมการเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการในรูปแบบการบรรยาย การอบรมการจัดนิทรรศการทั้งในและต่างประเทศ การ ทางานร่วมกับชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมการให้บริการทางวิชาการที่เกี่ยวกับวิชาชีพ เช่นการรับออกแบบใน สาขาวิชาต่างๆ ทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะแก่บุคลากร และนักศึกษาในรูปแบบการทางานจริง อย่างต่อเนื่อง งานออกแบบ เป็นงานที่มีกา รสร้างสรรค์ตลอดเวลา การได้บริการวิชาการจึงมิใช่เป็นเพียงการบริการให้ความรู้ แต่ในทาง กลับกัน สามารถนาสิ่งที่ได้ประสบมาสอดแทรกบูรณาการกับการเรียนการสอน ในการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบ จะต้อง มีกระบวนการด้านวิชาการ และถือเป็นงานสร้างสรรค์เช่นเดียวกับงานวิจัย ในปี 2553 มี การบริการวิชาการ 50 กิจกรรม มีการนามาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน จานวน 16 กิจกรรม คิดเป็นร้อย ละ 32
รายการหลักฐาน ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.001 โครงการออกแบบ Dude Cigar Bar 100000 ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.002 โครงการ Ornament and Crime เบญจรงค์ 50000 ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.003 โครงการ workshop ออกแบบอุปกรณ์สนามเด็กเล่น ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.004 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง จ.ราชบุรี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.005 โครงการออกแบบอาคารอุไรรัตน์ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.006 ห้องสมุดแสงธรรม ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.007a Proposal Kindergarten ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.007b Kindergarten ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.008 โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน 133
ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.009 ศูนย์เรียนรู้ มธ. ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.010 ปรับปรุงอาคาร Nippon Kai ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.011 โครงการออกแบบ MultiFunction Piano resort ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.012 โครงการสานมุมมอง ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.013 ประกวดออกแบบตราสัญลักษณ์ drugswar.net ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.014 การจัดประกวดภาพถ่าย "เมืองไทยน่าอยู"่ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.015 โครงการรักษ์วินัย ไร้ควันบุหรี่ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.016 โครงการ "Brand Gen ฉลาดคิดแบบคนรุ่นใหม่ ปี 3" ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.017 สภาสถาปนิก ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.018 สภาวิชาการ IAIDAC ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.019 3&4 designer of the year 2553 ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.020 3&4 designer of the year 2553 ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.021 วารสารวิจัย มธ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.022 ตรวจthesis สถาปัตย์ ลาดกระบัง ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.023 ประชุมกรอบปฏิบัติงบ 2555 ปทุมธานี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.024 สื่อ 3 มิติ ท่องเที่ยวมรดกโลก ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.025 Proceeding RSU2010 ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.026 โครงการ IAIDAC ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.027 กรรมการบริหาร สถาบันวิจัย มรส. ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.028 กรรมการสภาคณบดีศิลปะแห่งประเทศไทย ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.029 กรรมการตัดสิน ศิลปาธร 2553 ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.030 กรรมการตัดสินOKMD2553 ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.031 โครงการพัฒนาการผลิต ผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับคาสั่งซื้อ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.032 โครงการพัฒนาสินค้าแฟชั่นมุสลิมฯ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.033 ฝึกอาชีพการออกแบบผลิตภัณฑ์แก่นักเรียนศิลปาชีพ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.034 การฝึกอบรมการพัฒนาวิสาหกิจฯ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.035 มหกรรมอิสลามศึกษา ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.036 กรรมการตัดสินการประกวดผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.037 กิจกรรมภาควิชาภาษาฝรั่งเศส ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.038 รางวัล ฐานันดร 4 ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.039 สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ไทย ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.040 ประกวดบรรจุภัณฑ์ OTOP นนทบุรี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.041 โครงการพัฒนาเครื่องแต่งกายมุสลิมเพื่อส่งออก 134
ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.042 โครงการพัฒนากลไกฯ ปทุมธานี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.043 กรรมการวิชาการสถาบันวิจัย ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.044 กรรมการพิจารณาหลักสูตรโรงเรียนนอกระบบ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.045 นิทรรศการวิชาการโรงเรียนนายร้อยฯ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.046 โครงการสุขภาพชุมชน ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.047 กรรมการกลุ่มผลิตชุดวิชามนุษย์กับระบบนิเวศ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.048 โครงการสร้างคุณค่าให้กับสินค้าและบริการ SMEs ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.049 สรุปการปฏิบัติหน้าที่อนุกรรมการ การแข่งขันฝีมือแรงงานอาเซี่ยน ครั้งที่ 8 ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 8.050 หนังสือเชิญเป็นวิทยากรบรรยาย ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
25
(ค่าร้อยละของจานวนโครงการ/ กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่ นามาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย=16.000/ค่าร้อย ละของจานวนโครงการ/กิจกรรม 5.00 บริการทางวิชาการที่นามาใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอนและการ วิจัย ที่กาหนดให้คะแนนเต็ม 5 =50.000)=5.000
ผลการประเมินตนเองปีนี้
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
25
(ค่าร้อยละของจานวนโครงการ/ กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่
5.00
บรรลุเป้าหมาย
135
นามาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย=16.000/ค่าร้อย ละของจานวนโครงการ/กิจกรรม บริการทางวิชาการที่นามาใช้ในการ พัฒนาการเรียนการสอนและการ วิจัย ที่กาหนดให้คะแนนเต็ม 5 =50.000)=5.000 หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๙ การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน ๑ ปฏิบัติได้ ๑ ข้อ
๒ ปฏิบัติได้ ๒ ข้อ
๓ ปฏิบัติได้ ๓ ข้อ
๔ ปฏิบัติได้ ๔ ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน 1 มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ คณะศิลปะและการออกแบบ ดาเนินการตาม (PDCA) โดยการมีส่วนร่วมของ วงจรคุณภาพ โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ชุมชนหรือองค์กร ด้านวิชาการ ทาหน้าที่ดูแลงานด้านบริการ วิชาการ การมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบในแต่ ละโครงการหรือแต่ละกิจกรรมที่จะประสานงาน กับหน่วยงาน/ชุมชนภายนอก และหน่วยงาน ภายใน มีการดาเนินการตามโครงการที่ตั้ง ไว้ นาผลประเมินหรือสรุปรายงานผล เสนอต่อ คณะกรรมการบริหาร เพื่อปรับปรุงและ เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการบริการทางวิชาการแก่สังคม ในครั้งต่อไป 136
๕ ปฏิบัติได้ ๕ ข้อ
หลักฐาน ศก.อ.1.1.1.007 actionplan คณะ 53 ศก.อ1.1.1.013 รายงานผลการ ดาเนินการActionplan 53 ศก.อ1.1.1.016 รายงานการ ปรับปรุงแผน ศก.อ2.2.6.002 กรรมการด้าน วิชาการ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.001 โครงการ ออกแบบ Dude Cigar Bar, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.002
โครงการ Ornament and Crime เบญจรงค์, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.003 โครงการ workshop ออกแบบ อุปกรณ์สนามเด็กเล่น, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.004 โครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง จ.ราชบุร,ี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.005 โครงการ ออกแบบอาคารอุไรรัตน์, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.008 โรงพยาบาล เวชศาสตร์เขตร้อน, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.009 ศูนย์เรียนรู้ มธ., ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.010 ปรับปรุง อาคาร Nippon Kai, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.011 โครงการ ออกแบบ MultiFunction Piano resort, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.012 โครงการสาน มุมมอง, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.013 ประกวด ออกแบบตราสัญลักษณ์ drugswar.net, ศก.ตัวบ่งชีท้ ี่ 9.014 การจัด ประกวดภาพถ่าย "เมืองไทยน่า อยู่", ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.015 โครงการรักษ์ วินัย ไร้ควันบุหรี,่ ศก.ตัวบ่งชี้ ที่ 9.016 โครงการ "Brand Gen ฉลาดคิดแบบคนรุ่นใหม่ ปี 3", 137
ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.017 สภาสถาปนิก, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.023 ประชุมกรอบ ปฏิบัติงบ 2555 ปทุมธานี, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.024 สื่อ 3 มิติ ท่องเที่ยวมรดกโลก, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.026 โครงการ IAIDAC, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.028 กรรมการสภา คณบดีศิลปะแห่งประเทศไทย, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.029 กรรมการ ตัดสิน ศิลปาธร 2553, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.030 กรรมการ ตัดสินOKMD2553, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.031 โครงการ พัฒนาการผลิต ผลิตภัณฑ์เพื่อ รองรับคาสั่งซื้อ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.032 โครงการ พัฒนาสินค้าแฟชั่นมุสลิมฯ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.033 ฝึกอาชีพการ ออกแบบผลิตภัณฑ์แก่นักเรียน ศิลปาชีพ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.034 การฝึกอบรม การพัฒนาวิสาหกิจฯ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.036 กรรมการ ตัดสินการประกวดผลิตภัณฑ์จาก วัสดุเหลือใช้, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.040 ประกวดบรรจุ ภัณฑ์ OTOP นนทบุร,ี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.041 โครงการ พัฒนาเครื่องแต่งกายมุสลิมเพื่อ ส่งออก, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.042 โครงการ พัฒนากลไกฯ ปทุมธานี, 138
ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.045 นิทรรศการ วิชาการโรงเรียนนายร้อยฯ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.046 โครงการ สุขภาพชุมชน, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.049 สรุปการปฏิบัติ หน้าที่อนุกรรมการ การแข่งขันฝีมือ แรงงานอาเซียน ครั้งที่ 8, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.050 หนังสือเชิญ เป็นวิทยากรบรรยาย,
2 บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ากว่า การดาเนินโครงการและกิจกรรมการบริการ ศก.อ1.1.1.002 แผนยุทธศาสตร์ ร้อยละ ๘๐ วิชาการ ของคณะศิลปะและการออกแบบ ในปี คณะศิลปะและการออกแบบ 2553 ได้ดาเนินงานตามแผนยุทธ์ศาสตร์และ ศก.อ1.1.1.005 วิเคราะห์แผน 53 วิสัยทัศน์ ที่ส่งเสริมการให้ความร่วมมือ และ ศก.อ1.1.1.006 Actionplan คณะ สนับสนุนให้บคุ ลากรที่มีความพร้อม ในการ 53 บริการวิชาการ ซึ่งมีจานวนมาก และสามารถ ศก.อ1.1.1.007 วิสัยทัศน์คณะ 53 ดาเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ของทุก ศก.อ1.1.1.013 รายงานผลการ กิจกรรม แต่การพิจารณาตามแผนปฏิบัติการ ดาเนินการActionplan 53 นั้น มีโครงการบริการวิชาการจานวน 4 โครงการ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.003 และได้ดาเนินการสาเร็จเรียบร้อย บรรลุ โครงการ workshop ออกแบบ เป้าหมายตามแผนทุกโครงการ อุปกรณ์สนามเด็กเล่น, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.004 โครงการ ในการนี้ ถือว่า ทุกโครงการบรรลุตามแผน ร้อย พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง ละ 100 วัดนาหนอง จ.ราชบุร,ี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.012 โครงการสาน มุมมอง, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.015 โครงการรักษ์ วินัย ไร้ควันบุหรี,่ 3 ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นาหรือสมาชิก คณะศิลปะและการออกแบบ ให้ความร่วมมือ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.004 โครงการ ที่มีการเรียนรู้และดาเนินกิจกรรม กับองค์กร หน่วยงานของรัฐและเอกชน เพื่อให้ พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง อย่างต่อเนื่อง วัดนาหนอง จ.ราชบุร,ี บุคลากรและนักศึกษาสามารถบริการทาง ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.015 โครงการรักษ์ 139
วิชาการแก่ชุมชน และสังคม ส่งเสริมการ เผยแพร่ความรู้ทางวิชาการในรูปแบบการ บรรยาย การอบรม เป็นคณะกรรมการวิชาการ และวิชาชีพ คณะกรรมการตัดสินการประกวด การจัดนิทรรศการ การทางานร่วมกับชุมชน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอยู่สม่าเสมอ นอกเหนือจากโครงการของคณะที่ผู้รับผิดชอบ ได้สรุปรายงากนการติดตามผล ผลการ ดาเนินงานที่ชุมชนหรือองค์กรเกิดการเรียนรู้และ นาไปใช้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง ที่ ร่วมมือกับสถาบันคีนันแห่งเอเชียมาอย่าง ต่อเนื่อง โครงการรักษ์วินัยไร้ควันบุหรี่ มี ดาเนินการทุกปี
140
วินัย ไร้ควันบุหรี,่ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.016 โครงการ "Brand Gen ฉลาดคิด แบบคนรุ่นใหม่ ปี 3", ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.017 สภาสถาปนิก, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.018 สภา วิชาการ IAIDAC. ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.019 3&4 designer of the year 2553. ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.022 ตรวจ thesis สถาปัตย์ ลาดกระบัง. ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.023 ประชุมกรอบ ปฏิบัติงบ 2555 ปทุมธานี, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.024 สื่อ 3 มิติ ท่องเที่ยวมรดกโลก, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.025 Proceeding RSU2010, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.026 โครงการ IAIDAC, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.027 กรรมการบริหาร สถาบันวิจัย มรส. , ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.028 กรรมการสภา คณบดีศิลปะแห่งประเทศไทย, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.029 กรรมการ ตัดสิน ศิลปาธร 2553, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.030 กรรมการ ตัดสินOKMD2553, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.031 โครงการ พัฒนาการผลิต ผลิตภัณฑ์เพื่อ รองรับคาสั่งซื้อ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.032 โครงการ พัฒนาสินค้าแฟชั่นมุสลิมฯ,
ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.033 ฝึกอาชีพการ ออกแบบผลิตภัณฑ์แก่นักเรียน ศิลปาชีพ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.034 การฝึกอบรม การพัฒนาวิสาหกิจฯ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.035 มหกรรม อิสลามศึกษา, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.036 กรรมการ ตัดสินการประกวดผลิตภัณฑ์จาก วัสดุเหลือใช้, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.037 กิจกรรม ภาควิชาภาษาฝรั่งเศส ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.038 รางวัล ฐานันดร 4, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.039 สมาคมนัก ออกแบบเรขศิลป์ไทย, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.040 ประกวดบรรจุ ภัณฑ์ OTOP นนทบุร,ี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.041 โครงการ พัฒนาเครื่องแต่งกายมุสลิมเพื่อ ส่งออก, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.042 โครงการ พัฒนากลไกฯ ปทุมธานี, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.043 กรรมการ วิชาการสถาบันวิจัย, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.044 กรรมการ พิจารณาหลักสูตรโรงเรียนนอก ระบบ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.045 นิทรรศการ วิชาการโรงเรียนนายร้อยฯ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.046 โครงการ สุขภาพชุมชน, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.047 กรรมการกลุ่ม 141
ผลิตชุดวิชามนุษย์กับระบบนิเวศ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.048 โครงการสร้าง คุณค่าให้กับสินค้าและบริการ SMEs, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.049 สรุปการปฏิบัติ หน้าที่อนุกรรมการ การแข่งขันฝีมือ แรงงานอาเซียน ครั้งที่ 8, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.050 หนังสือเชิญ เป็นวิทยากรบรรยาย, 4 ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการ กิจกรรมที่คณะศิลปะและการออกแบบได้ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.002 พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและ ดาเนินการ และ มีส่วนในการสร้างกลไกในการ โครงการ Ornament and ยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์และ พัฒนาตนเองของชุมชนหรือองค์กร เช่น Crime เบญจรงค์, วัฒนธรรมของชุมชนหรือองค์กร ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.003 การร่วมมือกับกลุ่มเบญจรงค์ จังหวัดสมุทรสาคร โครงการ workshop ออกแบบ ในการเรียนรู้ที่จะสร้างแนวคิดใหม่ ในการ อุปกรณ์สนามเด็กเล่น, ผลิต การร่วมมือกับสถาบันคีนันแห่งเอเชียใน ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.004 โครงการ การจัดฝึกอบรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอ พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง พื้นเมือง จ.ราชบุรี การร่วมมือกับคณะ วัดนาหนอง จ.ราชบุร,ี ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.005 โครงการ โรฒ ประสานมิตร จัดนิทรรศการ สาน ออกแบบอาคารอุไรรัตน์, มุมมอง กิจกรรมการเสวนา และแสดงผลงาน ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.012 โครงการสาน ศิลปะภาพถ่ายของนักศึกษาทั้ง 2 สถาบัน การ มุมมอง ร่วมมือกับสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยใน ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.014 การจัด พระบรมราชูปถัมภ์ในการจัดประกวด ประกวดภาพถ่าย "เมืองไทยน่าอยู่ ภาพถ่าย “เมืองไทยน่าอยู”่ รวมทั้งการเป็น ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.015 โครงการรักษ์ วิทยากร กรรมการในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งได้ทา วินัย ไร้ควันบุหรี่ สรุปรายงานให้คณะกรรมการบริหารประจา ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.034 การฝึกอบรม คณะ การพัฒนาวิสาหกิจฯ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.046 โครงการ สุขภาพชุมชน, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.049 สรุปการปฏิบัติ หน้าที่อนุกรรมการ การแข่งขันฝีมือ แรงงานอาเซียน ครั้งที่ 8, 142
5 มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้าง หลังการบริการวิชาการ ผู้รับผิดชอบจะต้อง คุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กร รายงานการประเมินผลตามเป้าหมาย และผลที่ มีความเข้มแข็ง เกิดขึ้นเพื่อการสร้างคุณค่าแก่สังคม อย่างเช่น โครงการกลุม่ เบญจรงค์ นับเป็นโครงการที่รักษา ไว้ซึ่งภูมิปัญญาไทย เพิ่มแนวคิดใหม่ๆ ในการ สร้างสรรค์งาน และ โครงการ/กิจกรรมทีเ่ พิ่ม มูลค่า เพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน เช่น โครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง จ. ราชบุรี 9.031 โครงการพัฒนาการผลิต ผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับคาสั่งซื้อ, โครงการพัฒนา สินค้าแฟชั่นมุสลิมฯ โครงการฝึกอบรมเพิ่ม ทักษะเช่น การฝึกอาชีพการออกแบบผลิตภัณฑ์ แก่นักเรียนศิลปาชีพ, การฝึกอบรมการพัฒนา วิสาหกิจฯ, โครงการพัฒนาเครื่องแต่งกายมุสลิม เพื่อส่งออก ,การร่วมเป็น อนุกรรมการ การ แข่งขันฝีมือแรงงานอาเซียน ครั้งที่ 8 โครงการ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ เช่น กรรมการ ตัดสินการประกวดผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ , ประกวดบรรจุภัณฑ์ OTOP นนทบุรี รวมทั้ง การสนับสนุนการดาเนินการที่เป็นกรอบใหญ่ ของจังหวัดปทุมธานี ในการร่วมเป็น คณะกรรมการประชุมกรอบปฏิบัติ งบ 2555 ปทุมธานี เป็นต้น
143
ศก.ตัวบ่งชี้ ที่ 9.002 โครงการ Ornament and Crime เบญจรงค์, ศก.ตัวบ่งชี้ ที่ 9.003 โครงการ workshop ออก แบบอุปกรณ์สนามเด็กเล่น, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.004 โครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง จ.ราชบุร,ี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.005 โครงการ ออกแบบอาคารอุไรรัตน์, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.012 โครงการสาน มุมมอง, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.013 ประกวด ออกแบบตราสัญลักษณ์ drugswar.net, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.014 การจัด ประกวดภาพถ่าย "เมืองไทยน่า อยู่", ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.015 โครงการรักษ์ วินัย ไร้ควันบุหรี,่ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.016 โครงการ "Brand Gen ฉลาดคิด แบบคนรุ่นใหม่ ปี 3", ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.017 สภาสถาปนิก, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.023 ประชุมกรอบ ปฏิบัติงบ 2555 ปทุมธานี, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.024 สื่อ 3 มิติ ท่องเที่ยวมรดกโลก, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.026 โครงการ IAIDAC, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.028 กรรมการสภา คณบดีศิลปะแห่งประเทศไทย,
ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.029 กรรมการ ตัดสิน ศิลปาธร 2553, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.030 กรรมการ ตัดสินOKMD2553, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.031 โครงการ พัฒนาการผลิต ผลิตภัณฑ์เพื่อ รองรับคาสั่งซื้อ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.032 โครงการ พัฒนาสินค้าแฟชั่นมุสลิมฯ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.033 ฝึกอาชีพการ ออกแบบผลิตภัณฑ์แก่นักเรียน ศิลปาชีพ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.034 การฝึกอบรม การพัฒนาวิสาหกิจฯ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.036 กรรมการ ตัดสินการประกวดผลิตภัณฑ์จาก วัสดุเหลือใช้, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.040 ประกวดบรรจุ ภัณฑ์ OTOP นนทบุร,ี ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.041 โครงการ พัฒนาเครื่องแต่งกายมุสลิมเพื่อ ส่งออก, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.042 โครงการ พัฒนากลไกฯ ปทุมธานี, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.045 นิทรรศการ วิชาการโรงเรียนนายร้อยฯ, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.046 โครงการ สุขภาพชุมชน, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.049 สรุปการปฏิบตั ิ หน้าที่อนุกรรมการ การแข่งขันฝีมือ แรงงานอาเซียน ครั้งที่ 8, ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 9.050 หนังสือเชิญ เป็นวิทยากรบรรยาย, 144
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 5 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะฯ มีการบริการวิชาการให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนอย่างต่อเนื่องและ ครอบคลุมทุกสาขาวิชา และมีปริมาณการบริการวิชาการ ทั้งในรูปแบบ กรรมการ วิทยากร ที่ปรึกษา และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ วิชาชีพโดยตรงเป็นจานวนมาก จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : คณาจารย์ของคณะฯ มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ เป็น ที่ยอมรับของวงการศิลปะและการออกแบบ จึงได้รับเชิญให้เป็นที่ปรึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาและอ่านผลงานทางวิชาการ กรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพ กรรมการตัดสินประกวด และวิทยากรพิเศษ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเนื่องจากรูปแบบของการ บริการทางวิชาการและวิชาชีพเหล่านี้ คณะฯได้ให้บริการเป็นจานวนมากต่อปี หากแต่ไม่ค่อยสอดคล้องกับเกณฑ์ของ สกอ.ซึ่ง เน้นการเชื่อมโยงหรือบูรณาการกับการวิจัย งานสร้างสรรค์ และการเรียนการสอน นอกจากนั้น คณะฯ มีการบริการวิชาการใน รูปแบบการนาความรู้ทางด้านศิลปะและออกแบบไปพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่องทุกปี
145
วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) :
องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 ข้อ มีการดาเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน 1 มีระบบและกลไกการทานุบารุงศิลปะและ มีการดาเนินงานตามแผนพัฒนาด้านการ วัฒนธรรม และดาเนินการตามระบบที่ ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมตามแผนกลยุทธ์ กาหนด คณะศิลปะและการออกแบบ ปี25502554 ที่มุ่งเน้นการสร้างความตระหนักรับรู้ ในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม และสร้างคุณค่าความเข้าใจต่อวัฒนธรรม ในฐานะที่เป็นรากฐานของชีวิตและ ชุมชน มีการแต่งตั้งอาจารย์เป็น 146
หลักฐาน ศก.อ6.6.1.001_แผนระบบ กลไกตัวบ่งชี้ทานุบารุง ศก.อ6.6.1.002_แผนทานุบารุง 53 ศก.อ6.6.1.003 มคอ.3 art 102 ศก.อ6.6.1.003 มคอ.3 art 320 ศก.อ6.6.1.003
คณะกรรมการประจาโครงการและ ดาเนินการประจาทุกปี
มคอ.3 INT384 ศก.อ6.6.1.003 มคอ.3 INT480 ศก.อ6.6.1.003 มคอ.3 VCD 150 ศก.อ6.6.1.003 มคอ.3 วิชา PRD 250 ศก.อ6.6.1.003 มคอ.3 วิชา PRD 320 ศก.อ6.6.1.003 มคอ.3 วิชา PRD 321
2 มีการบูรณาการงานด้านทานุบารุงศิลปะ คณะมีการบูรณาการงานด้านทานุบารุง และวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอน ศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียน และกิจกรรมนักศึกษา การสอนและกิจกรรมนักศึกษา โดยทุก สาขาวิชาสนับสนุนและส่งเสริมตลอดปี การศึกษา
ศก.อ6.6.1.004_c-work ศก.อ 6.6.1.005INT480CowwCow Exhibition_2553.pdf ศก.อ6.6.1.006_รายงานผล การปฏิบัติงาน.pdf ศก.อ6.6.1.006_หน้า 1 โครงการศึกษานอกสถานที่ ศก.อ6.6.1.006_หน้า 2 รายละเอียดโครงการฯ หน้า 1 ศก.อ6.6.1.006_หน้า 3 รายละเอียดโครงการฯ หน้า 2 ศก.อ6.6.1.006_หน้า 4 เอกสาร ขออนุมัติงบประมาณ ศก.อ6.6.1.006_หน้า 5 แบบขอ อนุมัติใช้รถและเบิกจ่าย ศก.อ6.6.1.006_หน้า 6 บันทึก ข้อความ ส่งรายงานโครงการฯ ศก.อ6.6.1.006_หน้า 7
147
เอกสารรายงาน ศก.อ6.6.1.007_หน้า 01 ปก หน้า สรุปการปฏิบัติหน้าที่ คณะทางานดาเนินการ โครงการฯ ศก.อ6.6.1.007_หน้า 02 บันทึกข้อความ สรุปการปฏิบัติ หน้าที่คณะทางานโครงการฯ ศก.อ6.6.1.007_หน้า 03 คาสั่ง แต่งตั้งคณะทางานโครงการฯ ศก.อ6.6.1.007_หน้า 04 บันทึกข้อความ ขออนุมัติ โครงการฯ ศก.อ6.6.1.007_หน้า 05 เอกสารนาเสนอโครงการฯ หน้า 01 ศก.อ6.6.1.006_หน้า 6 บันทึก ข้อความ ส่งรายงาน โครงการฯ.pdf ศก.อ6.6.1.006_หน้า 7 เอกสารรายงาน.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 01 ปก หน้า สรุปการปฏิบัติหน้าที่ คณะทางานดาเนินการ โครงการฯ.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 02 บันทึกข้อความ สรุปการปฏิบัติ หน้าที่คณะทางาน โครงการฯ.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 03 คาสั่ง 148
แต่งตั้งคณะทางาน โครงการฯ.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 04 บันทึกข้อความ ขออนุมัติ โครงการฯ.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 05 เอกสารนาเสนอโครงการฯ หน้า 01.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 06 เอกสารนาเสนอโครงการฯ หน้า 02.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 07 เอกสารนาเสนอโครงการฯ หน้า 03.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 08.PDF ศก.อ6.6.1.007_หน้า 09 ตัวอย่างสื่อประชาสัมพันธ์ หน้า 1.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 10 ตัวอย่างสื่อประชาสัมพันธ์ หน้า 2.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 11 กาหนดการแสดง.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 12 รายการแสดง หน้า 1.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 13 รายการแสดง หน้า 2.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 14 รายการแสดง หน้า 3.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 15 ภาพ 149
นักแสดง.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 16 ภาพ การแสดง.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 19 ใบขอ อนุมัติงบประมาณ.pdf (ดู เอกสารเพิ่มเติมที่คณะฯ) ศก.อ6.6.1.007_หน้า 17 รายชื่อผู้เข้าร่วมชมการ แสดง.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 18 ใบ ตอบรับ.pdf ศก.อ6.6.1.007_หน้า 19 ใบขอ อนุมัติงบประมาณ.pdf ศก.อ6.6.1.008_หน้า 1 ปกใน การทาบุญสร้างพระพุทธรูปหิน ทราย.pdf ศก.อ6.6.1.008_หน้า 2 สรุป เงินทาบุญสร้างพระฯ จาก หน่วยงานต่างๆ แผ่น 1.pdf ศก.อ6.6.1.008_หน้า 3 สรุป เงินทาบุญสร้างพระฯ แผ่น 2.pdf ศก.อ6.6.1.008_หน้า 4 สรุป เงินทาบุญสร้างพระฯ แผ่น 3.pdf ศก.อ6.6.1.008_หน้า 5 สรุป เงินทาบุญสร้างพระฯ แผ่น 4.pdf ศก.อ6.6.1.008_หน้า 6 ภาพ กิจกรรม แผ่นที่ 1.pdf 150
ศก.อ6.6.1.008_หน้า 7 ภาพ กิจกรรม แผ่นที่ 2.pdf ศก.อ6.6.1.008_หน้า 8 จดหมายเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพฯ แผ่น 1.pdf ศก.อ6.6.1.008_หน้า 9 จดหมายเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพฯ แผ่น 2.pdf ศก.อ6.6.1.009_ถ่ายทอดภูมิ ปัญญาเรื่องจักสาน.PDF ศก.อ6.6.1.010__นิทรรศการ ศิลปนิพนธ์ Unpack ปี 2553.pdf ศก.อ6.6.1.011_นิทรรศการ DUCTFUN 2011 SHOW.pdf ศก.อ6.6.1.012_โครงการ ทาบุญประจาปี 2553.pdf ศก.อ6.6.1.013_ทัศนศึกษา ชุมชนตลาดน้าอัมพวา จ. สมุทรสงคราม.pdf ศก.อ6.6.1.014 _โครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอ พื้นเมือง วัดนาหนอง จ. ราชบุร.ี pdf (ดูเอกสารเพิ่มเติมที่ คณะฯ) ศก.อ6.6.1.015_รายงาน โครงการทัศนศึกษาเชียงใหม่ สาขาแฟชั่นดีไซน์.pdf ศก.อ6.6.1.016_รายงาน โครงการทัศนศึกษาเชียงใหม่ 151
สาขาแฟชั่นดีไซน์_02.pdf ศก.อ6.6.1.017_ แผนการสอน วิชา PRD 220.pdf ศก.อ6.6.1.017_ แผนการสอน วิชา PRD 250.pdf ศก.อ6.6.1.017_ แผนการสอน วิชา PRD 320.pdf ศก.อ6.6.1.017_ แผนการสอน วิชา PRD 321.pdf ศก.อ6.6.1.017_ แผนการสอน วิชา PRD 371.pdf ศก.อ6.6.1.017_แผนการสอน art 102 ภาค 1-53.pdf ศก.อ6.6.1.017_แผนการสอน art 102 ภาค 2-53.pdf ศก.อ6.6.1.017_แผนการสอน art 320 ภาค 1- 53 กลุ่ม 12.pdf ศก.อ6.6.1.017_แผนการสอน VCD 150.pdf ศก.อ6.6.1.017_แผนการสอน วิชา ART 360.pdf ศก.อ6.6.2.018_PDCA โครงการทัศนศึกษา.pdf 3 มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้าน คณะมีเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้าน ทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อ ทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อ สาธารณชน สาธารณชน โดยการจัดแสดงภายใน สถาบันและนอกสถานบัน
152
ศก.อ6.6.1.019_จานวน โครงการและกิจกรรมด้านศิลปะ และวัฒนธรรม ปี 53 ศก.อ 6.6.1.020_661300~1.PDF (ดู
เอกสารเพิ่มเติมที่คณะฯ) ศก.อ 6.6.1.021_1661300~2.PDF ศก.อ 6.6.1.022_661300~3.PDF ศก.อ 6.6.1.023_661300~4.PDF ศก.อ 6.6.1.024_ArtThesis2553.pdf ศก.อ 6.6.1.025_BuiltTech2011.pdf ศก.อ6.6.1.026_CowwCow Exhibition.pdf ศก.อ6.6.1.027_IAIDAC.pdf ศก.อ6.6.1.28_โครงการ ART AND DESIGN FARI.pdf ศก.อ6.6.1.28_กาหนดการ.pdf ศก.อ6.6.1.28_สรุป แบบสอบถามโครงการ ART AND DESIGN.pdf ศก.อ6.6.1.28_สรุปค่าใช้จ่าย โครง ART AND DESIGN FARI.pdf ศก.อ6.6.1.029_สรุปค่าใช้จ่าย โครงการ OPEN HOUSE.pdf ศก.อ6.6.1.029_สรุปผลการ ดาเนินงานโครงการ OPEN HOUSE.pdf ศก.อ6.6.1.030_โครงการพิธีไหว้ 153
ครูและครอบครูช่าง.pdf ศก.อ6.6.1.030_ใบขออนุมัติ เบิกเงินพิธีไหว้ครู และครอบครู ช่าง.pdf ศก.อ6.6.1.030_กาหนดการไหว้ ครูและครอบครูช่าง.pdf ศก.อ6.6.1.030_สรุปผลการ ดาเนินการพิธีไหว้ครูและครอบ ครูช่าง.pdf ศก.อ6.6.1.031_สื่อ3มิติท่อง เที่ยงมรดกโลก.pdf ศก.อ6.6.1.032_กรรม การตัสินศิลปาธร 2553.pdf ศก.อ6.6.1.033_กรรมการตัดสิน OKMD2553.pdf ศก.อ6.6.1.034_โครงการติว ศิลป์เพื่อน้อง.pdf ศก.อ6.6.1.034_ขออนุมัติเบิก งบประมาณโครงการติวศิลป์ เพื่อน้อง.pdf ศก.อ6.6.1.034_ตารางและ แผนงานโครงการติวศิลป์เพื่อ น้อง.pdf ศก.อ6.6.1.034_บันทึกเพิ่มเติม โครงการติวศิลป์เพื่อน้อง.pdf ศก.อ6.6.1.034_บันทึกสรุป ค่าใช้จ่ายโครงการติวศิลป์เพื่อ น้อง.pdf ศก.อ6.6.1.035_โครงการทาบุญ 154
คณะฯ.pdf ศก.อ6.6.1.035_บันทึกสรุป ค่าใช้จ่ายโครงการทาบุญ ประจาปีคณะฯ.pdf ศก.อ6.6.1.036_โครงการพัฒนา ระบบที่ปรึกษาและจิตวิทยา.pdf ศก.อ6.6.1.036_ใบขออนุมัติ โครงการพัฒนาระบบที่ปรึกษา และจิตวิทยา.pdf ศก.อ6.6.1.036_สรุปค่าใช้จ่าย โครงการพัฒนาระบบที่ปรึกษา และจิตวิทยา.pdf ศก.อ6.6.1.037_โครงการ สัมมนาผู้นานักศึกษา.pdf ศก.อ6.6.1.037_ใบขออนุมัติ ศก.อ6.6.1.037_กาหนดการ สัมมนาผู้นานักศึกษา.pdf ศก.อ6.6.1.037_สรุปแบบ ประเมินโครงการพัฒนาผู้นานัก ศึก.pdf ศก.อ6.6.1.037_สรุปค่าใช้จ่าย โครงการพัฒนาศักยภาพผู้นา นักศึกษา.pdf ศก.อ6.6.1.037_สรุปผล~1.pdf ศก.อ6.6.1.038_โครงการ ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม ปี 53.pdf ศก.อ6.6.1.039_โครงการงาน ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่.pdf 155
ศก.อ6.6.1.039_ใบขออนุมัติ เบิกงบประมาณปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่.pdf ศก.อ6.6.1.039_กาหนดการ ปฐมนิเทศ.pdf ศก.อ6.6.1.039_สรุปโครงการ ปฐมนิเทศ.pdf ศก.อ6.6.1.039_สรุปค่าใช้จ่าย โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา ใหม่.pdf ศก.อ6.6.1.040_โครงการรักษ์ วินัยไร้ควันบุหรี.่ pdf ศก.อ6.6.1.040_ใบขออนุมัติ เบิกเงินโครงการรักษ์วินัยไร้ควัน บุหรี.่ pdf ศก.อ6.6.1.040_บันทึกสรุป ค่าใช้จ่ายงานประกวดสื่อรักษ์ วินัยไร้ควันบุหรี.่ pdf ศก.อ6.6.1.040_ผลการประกวด โครงการรักษ์วินัยไร้ควันบุหรี่ รอบตัดสิน.pdf ศก.อ6.6.1.040_รายละเอียด โครงการรักษ์วินัยไร้ควัน บุหรี.่ pdf ศก.อ6.6.1.040_สรุปผลการ โครงการรักษ์วินัยไร้ควัน บุหรี.่ pdf 4 มีการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณา คณะมีการประเมินผลความสาเร็จของ ศก.อ6.6.1.041_มคอ.5-2 วิชา การงานด้านทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม การบูรณาการงานด้านทานุบารุงศิลปะและ art 320 กับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรม วัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและ ศก.อ6.6.1.042_ นิทรรศการ 156
นักศึกษา
กิจกรรมนักศึกษา
DUCTFUN 2011 SHOW ศก.อ6.6.1.043_โครงการ ทาบุญประจาปี 2553 ศก.อ6.6.1.044_ โครงการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอ พื้นเมือง วัดนาหนอง จ.ราชบุรี (ดูเอกสารเพิ่มเติมที่คณะฯ) ศก.อ6.6.1.045_นิทรรศการ ศิลปนิพนธ์ 2553 ศก.อ6.6.1.046_สรุปผลการ ดาเนินการพิธีไหว้ครูและครอบ ครูช่าง ศก.อ6.6.1.047_สรุปผลการ ดาเนินโครงการปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่ ศก.อ6.6.1.048_สรุปผลการ ดาเนินโครงการรักษ์วินัยไร้ควัน บุหรี่ ศก.อ6.6.1.049_สรุปผลการ ดาเนินงานโครงการ ART AND DESIGN FARI ศก.อ6.6.1.050_สรุปผลการ ดาเนินงานโครงการ OPEN HOUSE ศก.อ6.6.1.051_สรุปผลการ ดาเนินงานโครงการพัฒนา ศักยภาพผู้นานักศึกษา ศก.อ6.6.1.052_สรุปผลการจัด งานปัจฉิมนิเทศนักศึกษา 5 มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบูร คณะมีการนาผลการประเมินไปปรับปรุง ศก.อ6.6.1.053_สรุปค่าใช้จ่าย ณาการงานด้านทานุบารุงศิลปะและ การบูรณาการงานด้านทานุบารุงศิลปะและ โครงการ OPEN HOUSE วัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและ วัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและ ศก.อ6.6.1.053_สรุปผลการ กิจกรรมนักศึกษา กิจกรรมนักศึกษา ดาเนินงานโครงการ OPEN 157
6 มีการกาหนดหรือสร้างมาตรฐานคุณภาพ คณะมีความร่วมมือทางด้านศิลปะและ ด้านศิลปะและวัฒนธรรมและมีผลงานเป็น วัฒนธรรม ทั้งในระดับสถาบัน ระดับชาติ ที่ยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ
158
HOUSE ศก.อ6.6.1.054_โครงการ เครือข่ายศิษย์เก่าสัมพันธ์ ศก.อ6.6.1.054_สรุปค่าใช้จ่าย โครงการเครือข่ายศิษย์เก่า ศก.อ6.6.1.055_โครงการ พัฒนาระบบที่ปรึกษาและ จิตวิทยา ศก.อ6.6.1.055_สรุปค่าใช้จ่าย โครงการพัฒนาระบบที่ปรึกษา และจิตวิทยา ศก.อ6.6.1.056_ มคอ.5 วิชา ART 360 ศก.อ6.6.1.056_ มคอ.5 วิชา PRD 250 ศก.อ6.6.1.056_ มคอ.5 วิชา PRD 320 ศก.อ6.6.1.056_ มคอ.5 วิชา PRD 371 ศก.อ6.6.1.057_นิทรรศการ DUCTFUN 2011 SHOW ศก.อ6.6.1.058_PDCA สรุป นิทรรศการ สานมุมมอง + รูปภาพ (ดูเอกสารเพิ่มเติมที่ คณะฯ) ศก.อ6.6.1.059_ ขอขอบพระคุณ ศก.อ6.6.1.059_โครงการ เผยแพร่ผลงานจิตรกรรม “ครุ ศิลปะ ศก.อ6.6.1.059_รายงาน โครงการเผยแพร่งาน_ครุศิลปะ สร้างสรรค์งานศิลป์
ศก.อ6.6.1.059_รายชื่อผู้ร่วม โครงการเผยแพร่ครุศิลป์ ศก.อ6.6.1.059_สูจิบัตร สิ่งประดิษฐ์แสดงงานอเมริกา ศก.อ6.6.1.060_3 &4designer of the year2553 ศก.อ6.6.1.061_กรรมการ ตัดสิน ศิลปาธร 2553 ศก.อ6.6.1.062_กรรมการ ตัดสินOKMD2553 ศก.อ6.6.1.063 นักศึกษาได้รับ รางวัล
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
5
6
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
5
6
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
159
องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑๐ การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน ๑ ปฏิบัติได้ ๑ ข้อ
๒ ปฏิบัติได้ ๒ ข้อ
๓ ปฏิบัติได้ ๓ ข้อ
๔ ปฏิบัติได้ ๔ ข้อ
๕ ปฏิบัติได้ ๕ ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การ ผลดาเนินงาน หลักฐาน ประเมิน 1 มีการดาเนินงาน คณะมีการดาเนินการสนับสนุนกิจกรรมด้านทานุบารุง ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 10.001 สัมมนาบุคลากร ตามวงจรคุณภาพ ศิลปวัฒนธรรม โดยได้มีการประเมินผลของกิจกรรมตาม คณะศิลปะและการออกแบบ (PDCA) แบบประเมิน PDCA 2
บรรลุเป้าหมาย คณะได้ดาเนินการกิจกรรมและโครงการซึ่งได้สาเร็จ ตามแผนไม่ต่ากว่า ด้วยดี ตามแผนที่กาหนดไว้ ร้อยละ ๘๐
ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 10.002 อ้างอิงที่ ศก.อ 1.1.1.012 รายงานผลการ ดาเนินงาน Actionplan 53
3
มีการดาเนินงาน สม่าเสมออย่าง ต่อเนื่อง เกิดประโยชน์และ สร้างคุณค่าต่อ ชุมชน
ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 10.003 อ้างอิงที่ ศก.อ 1.1.1.012 แผนช่วงเวลาดาเนินงานปี53
4
5
คณะได้จัดทาตารางกิจกรรมและโครงการตลอดปี การศึกษา 2553
คณะมีกิจกรรมที่แต่ละสาขาวิชานานักศึกษาปทัศน ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 10.004 อ้างอิงเอกสารที่ ศึกษานอกสถานที่หลายกิจกรรม โดยนาความรู้ทางด้าน ศก.อ.6.6.1.009 การถ่ายทอดภูมปัญญา วิชาชีพหารเรียนไปพัฒนาชุมชน เครื่องจักสาร และ ศก.อ.6.6.1.011 โครงการ Ductfun 2011 และ ศก.อ.6.6.1.014 โครงการพัฒนาผ้าทอ จ.ราชบุรี ได้รับการยกย่อง ในปีการศึกษา 2553 นักศึกษาคณะศิลปะและการ ศก.ตัวบ่งชี้ที่ 10.005 นักศึกษาได้รับ ระดับชาติและ/หรือ ออกแบบ ได้รับการยกย่องจากการประกวดผลงาน รางวัล นานาชาติ ทางด้านศิลปะและการออกแบบ ทั้งในระดับชาติ จานวน 27 รางวัล และนานาชาติ จานวน 3 รางวั 160
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑๑ การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน ๑ ปฏิบัติได้ ๑ ข้อ
๒ ปฏิบัติได้ ๒ ข้อ
๓ ปฏิบัติได้ ๓ ข้อ
๔ ปฏิบัติได้ ๔ ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน 1 การมีส่วนร่วมของบุคลากรใน คณะเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ คณาจารย์และ สถาบันที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี 161
๕ ปฏิบัติได้ ๕ ข้อ
หลักฐาน ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 1.001 โครงการ
2 อาคารสถานที่ สะอาดถูก สุขลักษณะ และตกแต่งอย่างมี ความสุนทรีย์ 3 ปรับแต่งและรักษาภูมิทัศน์ให้ สวยงาม สอดคล้องกับธรรมชาติ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4 มีพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เอื้อและ ส่งเสริมต่อการจัดกิจกรรม และมี การจัดกิจกรรมอย่างสม่าเสมอ
ผู้บริหาร พัฒนาศักยภาพทั้งด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรม โดยการจัดสัมมนาเพื่อ เสริมสร้างวัฒนธรรมที่ดีขององค์กรเป็นประจา ทุกปีการศึกษา
สัมมนาบุคลากรคณะศิลปะและ การออกแบบ ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 1.002 พิธีไหว้ครู ครอบครูช่างคณะศิลปะและกา ออกแบบ
คณะมีโครงการในการดาเนินการปรับปรุง ภายในอาคารสถานที่ ห้องเรียน และกิจกรรม -
ศก.ตังบ่งชี1้ 1.003 โครงกา ปรับปรุงพื้นที่ภายในอาคาร คุณหญิงพัฒนา -
คณะมีหอศิลป์รังสิตเพื่อใช้เป็นพื้นที่จัดกิจกรรม ด้านศิลปวัฒนธรรม อาทิ นิทรรศการศิลปะ ผลงานการออกแบบ ที่แสดงถึงการประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสม่าเสมอ
ศก.ตัวบ่งชี1้ 1.004 ตารางการใช้ หอศิลป์รังสิต ศก.ตัวบ่งชี1้ 1.005 ผลงานทางด้าน ศิลปะและการออกแบบ
5 ระดับความพึงพอใจของบุคลากร และนักศึกษาไม่ต่ากว่า ๓.๕๑ จาก คะแนนเต็ม ๕
-
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
2
3
3.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ 162
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
2
3
3.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : -
ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 6 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะฯ มีการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับปรัชญาของคณะฯ ซึ่งเน้นการทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม มีการสอดแทรกสาระความรู้เกี่ยวกับกับศิลปวัฒนธรรมให้กับนักศึกษาในหลายรายวิชา ทั้งในรายวิชาบรรยาย และปฏิบัติ มีการนานักศึกษาไปทัศนศึกษานอกสถานที่ตามโบราณสถาน เพื่อปลูกฝังให้เห็นคุณค่าของการสืบสาน และ พัฒนาศิลปวัฒนธรรมไทย ดังจะเห็นได้จากผลงานวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษาที่สะท้อนถึงการเห็นคุณค่าใน ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย นอกจากนั้น คณะฯ และมหาวิทยาลัย มีการจัดกิจกรรมด้านการส่งเสริมงาน ศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : CarWeakness วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) : เนื่องจากเป็นปรัชญาของคณะศิลปะและการออกแบบ ที่เน้นการทานุบารุงและ สืบสานศิลปวัฒนธรรม ซึ่งสอดคล้องกับเกณฑ์การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของสกอ.คณะฯได้พยายามปลูกฝังให้บุคลากร และนักศึกษาทุกคนให้เห็นคุณค่าอย่างต่อเนื่องตลอดมา
163
องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ
คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการ 6 ข้อ มีการดาเนินการ 7 ข้อ 5 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน 1 สภาสถาบันปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมาย คณะศิลปะและการออกแบบมีแผน กาหนดครบถ้วนและมีการประเมินตนเอง ยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจาปี ที่ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยคณบดีแต่งตั้ง คณะกรรมการประจาคณะกาหนด ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการคณะ มีการประชุมร่วมกัน เป็นประจาทุกเดือนตลอดปีการศึกษา เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการกาหนดและ ถ่ายทอดนโยบาย เป้าหมายแผนยุทธ์ ศาสตร์ กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ประจาปี การติดตามการดาเนินงาน การ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น การกากับดูแลการ 164
หลักฐาน ศก.อ7.7.1.001 คู่มือบุคลากร ศก.อ7.7.1.002 แผน ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต ศก.อ7.7.1.003 แผน ยุทธศาสตร์คณะศิลปะและการ ออกแบบ ศก.อ7.7.1.004 แผนปฏฺบัติ การ_Action Plan_ปี 2553 คณะศิลปะและการออกแบ ศก.อ7.7.1.005แต่งตั้ง คณะกรรมการประจาคณะ ศก.อ7.7.1.006 รายงานการ ประชุมปี 2553
ดาเนินงานของคณะเพื่อให้เป็นไปตาม แผนปฏิบัติการคณะฯ คณะกรรมการประจาคณะประกอบด้วย คณบดี รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองคณบดี ฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายกิจการ นักศึกษา หัวหน้าสาขาวิชา หัวหน้าหมวด และตัวแทนคณาจารย์ ร่วมกันแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นตลอดจนข้อเสนอแนะ และ พิจารณาการประเมินตนเองของคณาจารย์ และบุคลากร การประเมินผู้บริหารการ ประเมินโครงการตามแผนปฏิบัติการ ฯลฯ เพื่อนาไปปรับปรุงการดาเนินงานในปี การศึกษาถัดไป 2 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ กาหนดทิศทางการ ดาเนินงาน และสามารถถ่ายทอดไปยัง บุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการ วางแผนกลยุทธ์ มีการนาข้อมูลสารสนเทศ เป็นฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนา สถาบัน
ผู้บริหารคณะศิลปะและการออกแบบเปิด ศก.อ7.7.1.007 รายงาน โอกาสให้คณะกรรมการประจาคณะมีส่วน ทบทวนปรัชญาครั้งที1่ -2553 ร่วมในการกาหนด วิสัยทัศน์ เป้าหมาย แผน ศก.อ7.7.1.008 รายงานการ ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาคณะ กลยุทธ์ และ ประชุมการจัดทาแผนกล ถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ อาทิ ยุทธ์ 2-2553 ยุทธศาสตร์ ด้านการผลิตบัณฑิต การ ศก.อ7.7.1.009 แต่งตั้ง พัฒนาการวิจัย การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ กรรมการบริหารคณะ มหาวิทยาลัยอีเล็กทรอนิกส์ การพัฒนา ศก.อ7.7.1.010 เว็บบล็อกการ มหาวิทยาลัยสู่สถาบันการศึกษา นานาชาติ การพัฒนาคุณภาพการให้บริการ จัดการความรู้ ผลงานนักศึกษา ทางวิชาการ การอนุรักษ์ ทานุบารุง และ ดีเด่นและได้รางวัล ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม การพัฒนา ศก.อ7.7.1.011 เว็บบล็อกการ สถาบันและบุคลากร การบริหารการเงิน ประกันคุณภาพคณะฯ และงบประมาณ การพัฒนาคุณลักษณะ ศก.อ7.7.1.012 เว็บบล็อก บัณฑิตที่พึงประสงค์ และการพัฒนาระบบ ผลงานวิจัยผลงานวิชาการของ การประกันคุณภาพ คณะฯ ในการประชุมบุคลากรคณะ 2553ผู้บริหาร ได้ประกาศและถ่ายทอด ปรัชญา วิสัยทัศน์ 165
พันธกิจ ฯลฯ คณะศิลปะและการออกแบบสู่ บุคลากรคณะอย่างเป็นทางการ คณะศิลปะและการออกแบบดาเนินการ จัดทาWeb Blog เชื่อมโยงข้อมูลจาก ส่วนกลางของที่สร้างขึ้นโดยฝ่ายวางแผน และพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อให้ ผู้บริหารใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ในการวางแผนพัฒนาอาทิ ข้อมูลนักศึกษา บุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ และ หน่วยงานอื่นๆทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยเพื่อให้ผู้บริหารนามา สังเคราะห์เป็นแนวทางการตัดสินใจ กาหนดทิศทางเพื่อจัดทาแผนการ ดาเนินงานการปฏิบัติการของคณะฯ เช่น การบริหารความเสี่ยง การจัดการความรู้ การวิจัยและงานสร้างสรรค์ การประกัน คุณภาพการศึกษาฯลฯ 3 ผู้บริหารมีการกากับ ติดตามและประเมินผล ผู้บริหารคณะศิลปะและการออกแบบ การดาเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้ง ประกอบด้วย คณบดี รองคณบดีฝ่าย สามารถสื่อสารแผนและผลการดาเนินงาน บริหาร รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดี ของสถาบันไปยังบุคลากรในสถาบัน ฝ่ายกิจการนักศึกษาและหัวหน้าหลักสูตร หัวหน้าหมวดวิชาพื้นฐาน ติดตามการ กากับดูแลการดาเนินการในฐานะหัวหน้า คณะทางาน ประธานฝ่าย หรือประธาน คณะกรรมการชุดต่างๆตามโครงสร้างการ บริหารคณะฯ โดยผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบดาเนินการกิจกรรมหรือโครงการ ต่างๆได้รายงานผลการดาเนินงานลงใน ระบบฐานข้อมูลของฝ่ายวางแผนและ พัฒนามหาวิทยาลัย รวมทั้งการรายงาน ผลต่อที่ประชุมฯทาให้บุคลากรทุกคนใน คณะได้รับทราบแผนฯ และผลการ 166
ศก.อ7.7.1.013 รายงานการ ประชุมปี 2553 ศก.อ7.7.1.014 รายงานผลการ ดาเนินการActionplan 53 ศก.อ7.7.1.015 รายงานประกัน คุณภาพการศึกษาสาขา ออกแบบภายใน ศก.อ7.7.1.016 ผลการประเมิน ผู้บริหารปี_53_QA-2 ศก.อ7.7.1.017 แบบ ประเมินผลงานรองคณบดีฝ่าย บริหาร ศก.อ7.7.1.018 แบบประเมิน หัวหน้าสาขาออกแบบภายใน ศก.อ7.7.1.019 แบบประเมิน
4 ผู้บริหารสนับสนุนให้บุคลากรในสถาบันมี ส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ให้อานาจใน การตัดสินใจแก่บุคลากรตามความ เหมาะสม
5 ผู้บริหารถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมพัฒนา ผู้ร่วมงาน เพื่อให้สามารถทางานบรรลุ วัตถุประสงค์ของสถาบันเต็มตามศักยภาพ
ดาเนินงานของคณะจากที่ประชุม ซึ่งจะมี การบันทึกรายงานการประชุมและการ รับรองรายงานการประชุม ในการประชุม กรรมการประจาคณะและอาจารย์ประจา คณะทุกครั้ง ผู้บริหารคณะศิลปะและการออกแบบ สนับสนุนให้บุคลากรในคณะมีส่วนร่วมใน การบริหารจัดการ ให้อานาจในการ ตัดสินใจแก่บุคลากรตามความ เหมาะสม โดยจัดโครงสร้างการบริหาร องค์การของคณะ เพื่อให้มีการกระจาย ความรับผิดชอบ ไปยังรองคณบดีฝ่าย บริหาร รองคณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา และคณะกรรมการ บริหารประจาคณะ และคณะกรรมการชุด ต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้บุคลากรทุกคนโดยเฉพาะ อาจารย์ได้ทางานด้านบริหารวิชาการ และ กิจการนักศึกษา การประกันคุณภาพ ฯลฯ ร่วมกันก่อให้เกิดการเรียนรู้งานและมีส่วน ร่วมในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการ ดาเนินงานกิจกรรมโครงการต่างๆ คณบดีคณะศิลปะและการออกแบบใช้การ ประชุมคณะกรรมการประจาคณะ เป็น กลไกในการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ การทางาน การส่งเสริมพัฒนาทักษะการ ทางานให้แต่ละฝ่ายสามารถ วางเป้าหมาย จัดทาแผน ปฏิบัติงาน ดาเนินการและติดตามผลและ นาเสนอผลการดาเนินงานในที่ประชุมฯ
หัวหน้าสาขาออกแบบ ผลิตภัณฑ์
ศก.อ7.7.1.020 คาสั่ง มหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง แต่งตั้ง บุคลากรบริหาร คณะศิลปะ และการออกแบบ ศก.อ7.7.1.021 ประกาศคณะฯ เรื่อง การปฏิบัติหน้าที่ของ อาจารย์ ศก.อ7.7.1.022 สื่อสาระสนเทศ เว็บไซน์คณะฯ_website
ศก.อ7.7.1.023 รายงานการ ประชุมคณะกรรมการการ จัดการความรู้ KM ศก.อ7.7.1.024 Web Blog KM คณะฯ ศก.อ7.7.1.025 แผนแม่บทการ จัดการความรู้ KM Master Plan-RSU ศก.อ7.7.1.026 KMองค์ความรู้ ผู้บริหารดาเนินการจัดทาWeb Bolg การ ที่ได้จากโครงการอบรม จัดการความรู้ของคณะ เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ ศก.อ7.7.2.027 PDCA seminar art & design 53 167
ความรู้ในด้านการจัดการความรู้ การวิจัย และการสร้างสรรค์ การประกันคุณภาพ การ บริหารความเสี่ยง และกรอบมาตรฐาน อุดมศึกษา ฯลฯ ในการสัมมนาบุคลกรประจาปี ผู้บริหาร คณะฯได้ดาเนินการจัดการประชุมโดยร่วม บรรยายและเสวนาร่วมกับวิทยากรและ ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อถ่ายทอดความรู้และ ประสบการณ์ ในด้านต่างๆ อาทิ การพัฒนา ศักยภาพด้านวิชาการ การเตรียมความ พร้อมของคณะเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน จรรยาบรรณวิชาชีพครูอาจารย์ การเข้าสู่ เข้าตาแหน่งวิชาการ งานวิจัยงานสร้างสรรค์ และการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก 6 ผู้บริหารบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงประโยชน์ของสถาบันและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้บริหารคณะศิลปะและการออกแบบ ใช้ หลักธรรมาภิบาล โดยคานึงถึงประโยชน์ ของมหาวิทยาลัย และผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย โดยการให้บุคลากรของคณะมีส่วน ร่วมในการกาหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ และ นโยบายที่สาคัญเกี่ยวกับ การพัฒนา บุคลากร การพัฒนานักศึกษา การพัฒนา คุณภาพงานวิจัยและการให้บริการ วิชาการ ในด้านการบริหารงาน ผู้บริหาร พร้อมรับฟังความคิดเห็นและให้มีการ ประเมินสมรรถนะของผู้บริหาร ความพึง พอใจในการทางานในคณะ การประเมิน ความดีความชอบดาเนินการแบบ 2 ทาง เพื่อให้บุคลากรมีโอกาสได้แสดงผลงานของ ตนเองและรายงานต่อคณบดี โดยมี เป้าหมายและเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินซึ่ง ทุกคนได้รับทราบ และการปรับปรุงเกณฑ์ การประเมินความดีความชอบดาเนินการ 168
ศก.อ7.7.1.028 รายงานการ ประชุมปี 2553 ศก.อ7.7.1.029 แผน ยุทธศาสตร์คณะศิลปะและการ ออกแบบ ศก.อ7.7.1.030 จรรยาบรรณ คณาจารย์ม.รังสิต ศก.อ7.7.1.031 แบบรายงาน การบริหารความเสี่ยงและการ ควบคุมภายใน ศก.อ7.7.1.032 สรุปผลการมา ปฏิบัติงาน ศก.อ7.7.1.033 แต่งตั้งคณะ บุคลากรใหม่ ศก.อ7.7.1.029 ผลการประเมิน ผู้บริหารปี-1 ศก.อ7.7.1.030 ผลการประเมิน ผู้บริหารปี
โดยคณะทางานเฉพาะกิจ และมีการ นาเสนอในที่ประชุมการติดตามงานและ การมาปฏิบัติงาน คณะศิลปะและการ ออกแบบมีกฎระเบียบและวินัย โดยให้มี การเซ็นชื่อปฏิบัตงิ าน การลาปฏิบัติงาน นอกสถานที่ การส่งใบลาเมื่อหยุดงาน มี การมอบหมายงานอย่างเท่าเทียม กัน รวมถึงภาระงานสอนที่เกินกว่าภาระ งานได้รับค่าตอบแทนต่างหากตามระเบียบ มหาวิทยาลัย ระบบการคัดเลือกอาจารย์ พนักงานดาเนินงานในรูปคณะกรรมการ มี ตัวแทนจากสานักงานบริหารทรัพยากร มนุษย์ร่วมเป็นคณะกรรมการพิจารณา ความสามารถและระบุคุณสมบัติของ ผู้สมัครในตาแหน่งงาน มีการทดสอบ ความสามารถด้วยการสัมภาษณ์และ นาเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ 7 สภาสถาบันประเมินผลการบริหารงานของ กรรมการประจาคณะฯและตัวแทน สถาบันและผู้บริหารนาผลการประเมินไป คณาจารย์เป็นผูป้ ระเมินการบริหารงานของ ปรับปรุงการบริหารงานอย่างเป็นรูปธรรม คณบดี คณบดีเป็นผู้ประเมินผลการ ปฏิบัติงานของรองคณบดีและหัวหน้า หลักสูตร โดยแสดงความเห็นเกี่ยวกับ ปัญหาและอุปสรรคต่อการทางานต่อ ผู้บริหารคณะเพื่อนาไปพัฒนาและปรับปรุง ในปีการศึกษาถัดไป
169
ศก.อ7.7.1.034 ผลการประเมิน คณบดี ปี_53_QA-2 ศก.อ7.7.1.035 ผลการประเมิน รองคณบดีฝ่ายบริหาร ศก.อ7.7.1.035 ผลการประเมิน รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ศก.อ7.7.1.035 ผลการประเมิน หัวหน้าหมวดพื้นฐาน ศก.อ7.7.1.036 ตัวอย่างการ ประเมินผลงานหัวหน้า สาขาวิชาออกแบบภายใน ศก.อ7.7.1.037 SWOT คณะ ศิลปะและการออกแบบ
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
6
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
6
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชีท้ ี่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 ข้อ มีการดาเนินการ 5 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน 1 มีการกาหนดประเด็นความรู้และเป้าหมาย คณะศิลปะและการออกแบบได้แต่งตั้ง มรส.ชอท.อ7.7.1.5.001 แผน ของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผน คณะกรรมการจัดการความรู้ โดยแผน แม่บทการจัดการความรู้ KM กลยุทธ์ของสถาบันอย่างน้อยครอบคลุม ดังกล่าวเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ของการ Master Plan มหาวิทยาลัย 170
พันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการ วิจัย
พัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต โดยคณบดีได้มี คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการ ความรู้ คณะกรรมการวิชาการและวิจัย คณะกรรมหลักสูตร คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ฯลฯ เพื่อร่วมกันจัดทาแผนการ จัดการความรู้ วางแนวทางในการบรรลุ เป้าหมายการจัดการความรู้ การดาเนินการ การกากับดูแลและติดตามผลซึ่งมีประเด็น ความรู้ที่ครอบคลุมการผลิตบัณฑิตและการ วิจัย
รังสิต ศก.อ7.7.2.001 แผน ยุทธศาสตร์การพัฒนา 50-54
ศก.อ7.7.2.002 วิสัยทัศน์ พันธ กิจ ยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์คณะ ศก.อ7.7.2.003 รายงาน ทบทวนปรัชญาครั้งที1่ -53 ศก.อ7.7.2.004 รายงานครั้งที่ 2-53 (จัดทาแผนกลยุทธ์) ศก.อ7.7.2.005 รายงานครั้งที่ 3-53 (จัดทาแผนกลยุทธ์) 2 กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนา คณะศิลปะและการออกแบบมีการจัดทา ศก.อ7.7.2.006 แต่งตั้ง ความรู้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและ แผนการจัดการความรู้โดยกาหนดบุคลากร กรรมการวิชาการคณะฯ ด้านการวิจัยอย่างชัดเจนตามประเด็น เป้าหมายไว้ตามแผนด้านการผลิตบัณฑิต ความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 และด้านการวิจัย โดยดาเนินการโครงการ ศก.อ7.7.2.007 แต่งตั้ง กรรมการการจัดการความรู้ จัดการความรู้การผลิตบัณฑิต งานวิจัย วิชาการ การประกันคุณภาพ ผ่าน Web คณะฯ blog และการจัดสัมมนาบุคคลากรใน ศก.อ7.7.2.008 รายงานผลการ หัวข้อ การพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการ การ ประชุมคณะกรรมการการ เข้าสู่ตาแหน่งวิชาการ งานวิจัยและ จัดการความรู้ สร้างสรรค์ คุณธรรม จริยธรรม ศก.อ7.7.2.0009 การจัดการ โครงการการอบรมการจัดทา Web Blog การจัดการความรู้ คณะฯ
3 มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก
ศก.อ7.7.2.010 PDCA seminar art & design 53 การ พัฒนาศักยภาพวิชาการ คณะศิลปะและการออกแบบดาเนินการจัด ศก.อ7.7.2.011 รายงานการ 171
ความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ ดีตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 และ เผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่ กาหนด
ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประชุม คณะกรรมการจัดการความรู้คณะ โครงการ ฝึกอบรมและจัดทาWeb Blog คณะฯ เพื่อ ใช้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ข่าวสารใน ด้านผลิตบัณฑิตและการวิจัยอย่างเป็น รูปธรรม
ประชุมคณะกรรมการการ จัดการความรู้ ศก.อ7.7.2.012 โครงการการ อบรมการจัดทา Web Blog
ศก.อ7.7.2.013 การอบรมเชิง คณะศิลปะและการออกแบบดาเนินการ ปฏิบัติการ การจัดทา Web แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ตรง Blog โดยดาเนินการจัดสัมมนาวิชาการประจาปี ศก.อ7.7.2.014 การจัดการ เพื่อให้เกิดการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย ความรู้เพื่อลดความเสี่ยงใน รองคณบดีฝ่ายวิชาการและรองคณบดีฝา่ ย องค์กรฯ บริหารได้ร่วมกันดาเนินการจัดการประชุม การพัฒนาศักยภาพด้านวิชาการโดยการ ศก.อ7.7.2.015 รายงานความ เชิญวิทยากรและผู้ทรงคุณวุฒิระดับ คืบหน้าการจัดทาเว็บบล็อก ศาสตราจารย์และรองศาสตราจารย์ มา บรรยายและเสวนาถ่ายทอดความรู้และ ศก.อ7.7.2.016 เว็บบล็อก ประสบการณ์ เพื่อให้พัฒนาบุคลากรเกิด ผลงานวิจัยผลงานวิชาการของ คณะฯ การพัฒนาในด้านต่างๆ อาทิ เกณฑ์ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาฯ การ เตรียมความพร้อมของคณะเพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน จรรยาบรรณวิชาชีพครู อาจารย์ การเข้าสู่เข้าตาแหน่งวิชาการ งานวิจัยงานสร้างสรรค์ และการศึกษาต่อ ในระดับปริญญาเอก
ศก.อ7.7.2.017 เว็บ บล็อก km รวบรวมผลงานดีเด่น และได้รางวัล ศก.อ7.7.2.018 PDCA seminar art & design 53 การ พัฒนาศักยภาพวิชาการ
คณะศิลปะและการออกแบบดาเนินการ เผยแพร่ความรู้ ในด้านการจัดการความรู้ใน ศก.อ7.7.2.019 คณบดี ด้านการผลิตบัณฑิต คณ ะศิลปะและการ นาเสนอแนวทางการพัฒนา ออกแบบมีการดาเนินการจัดทาWeb ด้านวิชาการ การเรียนการสอน Blog เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ การวิจัย ปรัชญา วิสัยทัศน์ ในด้านเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ พันธกิจคณะ ในที่ประชุม ระดับอุดมศึกษาฯ การจัดการความรู้ การ 172
บริหารความเสี่ยง การวิจัยสร้างสรรค์ วิชาการ การประกันคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม ฯลฯ ตลอดจนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้กันระหว่างทั้ง 5หลักสูตรอย่าง สม่าเสมอ
บุคลากรคณะฯ
4 มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่ กาหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและ แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมา พัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดย เผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge)
คณะศิลปะและการออกแบบได้จัดทา Web ศก.อ7.7.2.023 เว็บบล็อก ผลงานวิจัยผลงานวิชาการของ Blog เพื่อรวบรวมแหล่งความรู้ด้านการ จัดการความรู้ การวิจัยและสร้างสรรค์ การ คณะฯ บริหารความเสี่ยง การประกันคุณภาพ ศก.อ7.7.2.024 เว็บบล็อกการ เกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษาฯ และ รวบรวม จัดการความรู้ ผลงานนักศึกษา ความรู้ของอาจารย์ที่ได้รับจากการสัมมนา ดีเด่นและได้รางวัล และอบรม การทาวิจัย เพื่อใช้เป็นแหล่ง ความรู้สาหรับการค้นคว้า และนาไปใช้ได้ใน ศก.อ7.7.2.025 เว็บบล็อกการ การบริหารงานคณะ การพัฒนาการเรียน ประกันคุณภาพคณะฯ การสอน การวิจัยและการสร้างสรรค์ผลงาน เผยแพร่ให้อาจารย์ได้รับทราบทั่วกันทั้ง ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
5 มีการนาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ ผ่านมาที่เป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มี ประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็น แนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงาน จริง
คณะศิลปะและการออกแบบได้มีการ เผยแพร่การจัดการองค์ความรู้ในสาขาวิชา ต่างๆ ไปยังบุคลากรและนักศึกษาเป็นไป ตามเป้าประสงค์ที่กาหนดไว้ในประเด็น ยุทธศาสตร์ของคณะ
ศก.อ7.7.2.026 เว็บบล็อกการ จัดการความรู้ ผลงานนักศึกษา ดีเด่นและได้รางวัล ศก.อ7.7.2.027 เว็บบล็อก ผลงานวิจัยผลงานวิชาการของ คณะฯ ศก.อ7.7.2.028 เว็บบล็อกการ ประกันคุณภาพคณะฯ ศก.อ7.7.2.029 เว็บบล็อกการ จัดการความรู้คณะฯ ศก.อ7.7.2.030 การจัดการ ความรู้สาขาภาพถ่าย ศก.อ7.7.2.031 การจัดการ
173
ความรู้สาขาผลิตภัณฑ์ ศก.อ7.7.2.032 การจัดการ ความรู้สาขาออกแบบภายใน ศก.อ7.7.2.033 การจัดการ ความรู้สาขานิเทศศิลป์ ศก.อ7.7.2.034 การจัดการ ความรู้สาขาแฟชั่นดีไซน์ ศก.อ7.7.2.035 การจัดการ ความรู้หมวดพื้นฐาน
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
5
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
5
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ 174
เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 ข้อ มีการดาเนินการ 5 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีแผนระบบสารสนเทศ (Information System Plan)
ผลดาเนินงาน หลักฐาน คณะศิลปะและการออกแบ มีการตั้ง ศก.อ7.7.3.001 แต่งตั้งกรรมการ คณะกรรมการฐานข้อมูลและ ผูบริหารสามารถ ฐานข้อมูลคณะ ใชระบบสารสนเทศของคณะฯและ มรส. โดยมี ศก.อ7.7.3.002 แผนพัฒนาระบบ แผนระบบสารสนเทศควรสอดคลองกับแผนกล ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ยุทธของคณะ อยู่ในระหว่างการรอการพิจารณา ศก.อ7.7.3.003 เว็บบล็อกการ งบประมาณจากสานักฯงบประมาณฯเพื่อพัฒนา จัดการความรู้คณะฯ งานฐานข้อมูลคณะเองในปีการศึกษา 2544 มรส.ชอท.อ7.7.3.1.001 คาสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบ ปัจจุบันคณะศิลปะและการออกแบบยังคงใช้ สารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) ระบบส่วนกลางของมหาวิทยาลัย ซึ่งอยู่ใน มรส.ชอท.อ7.7.3.1.002 เอกสาร ความรับผิดชอบของผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย แสดงรายงานการประชุม เทคโนโลยี การวางแผนและการดาเนินงานอยู่ คณะกรรมการจัดทาระบบ ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการ สารสนเทศ มรส.ชอท.อ7.7.3.1.003 เอกสาร/ หลักฐานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง มรส.ชอท.อ7.7.3.1.004 โครงการ ศึกษาความต้องการระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (MIS) มรส.ชอท.อ7.7.3.1.005 เอกสาร แสดงตารางวิเคราะห์ความ สอดคล้องระหว่างแผนระบบ สารสนเทศกับแผนยุทธศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัย มรส.ชอท.อ7.7.3.1.006 เอกสาร 175
แสดงถึงระบบสารสนเทศของ สถาบัน 2 มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร มหาวิทยาลัยรังสิตได้จัดระบบสารสนเทศเพื่อ มรส.ชอท.อ และการตัดสินใจตามพันธกิจของ การบริหาร และการตัดสินใจตามพันธกิจของ 7.7.3.2.001 เอกสารแสดงระบบ สถาบัน โดยอย่างน้อยต้อง มหาวิทยาลัย เช่น ระบบบัญชี ระบบ สารสนเทศที่จาเป็นสาหรับการ ครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน ลงทะเบียนนักศึกษา ระบบทะเบียน บริหาร การวิจัย การบริหารจัดการ และ ประวัติ ระบบงบประมาณ ระบบแผนงาน เป็น ศก.อ7.7.3.006 ฐานข้อมูลที่ การเงิน และสามารถนาไปใช้ใน ต้น เพื่อให้ผู้บริหารของแต่ละหน่วยงานได้ใช้ใน ให้บริการผ่านอินทราเน็ต การดาเนินงานประกันคุณภาพ การบริหารงาน ศก.อ7.7.3.007 ระบบฐานข้อมูล เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ ศก.อ7.7.3.008 เว็บบล็อก ผลงานวิจัยผลงานวิชาการของ คณะฯ ศก.อ7.7.3.009 เว็บบล็อกการ ประกันคุณภาพคณะ 3 มีการประเมินความพึงพอใจของ ผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
ความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบ มรส.ชอท.อ7.7.3.3.001เอกสาร สารสนเทศ มีการดาเนินการโดยหน่วยงานที่ แสดงแบบการประเมินความพึง ดูแลระบบสารสนเทศ นั้น ซึ่งเป็นหน่วยงาน พอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศของ ส่วนกลางของมหาวิทยาลัย ซึ่งอยู่ในความ มหาวิทยาลัย รับผิดชอบของผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยี มรส.ชอท.อ7.7.3.3.002เอกสาร แสดงรายงานผลการประเมินความ พึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ของมหาวิทยาลัย ศก.อ7.7.3.010 หนังสือชี้แจง แบบฟอร์มออนไลน์ ศก.อ7.7.3.011โครงการศึกษา ความต้องการ MIS
4 มีการนาผลการประเมินความพึง การประเมินความ พึงพอใจในทุกครั้งที่ผ่าน ได้มี พอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศมา การนาข้อสรุปซึ่งเป็นผลจากการประเมินไปใช้ใน ปรับปรุงระบบสารสนเทศ การปรับปรุงระบบสารสนเทศ เพื่อการ บริหาร ซึ่งทาให้ผู้บริหารหน่วยงาน สามารถใน 176
มรส.ชอท.อ7.7.3.4.001 คาสั่ง แต่งตั้งผู้รับผิดชอบการวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้จากการประเมินความ พึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
การบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เป็นไปอย่างต่อเนื่องทุกปี
ของสถาบัน มรส.ชอท.อ7.7.3.4.002 รายงาน การประชุมคณะกรรมการวิเคราะห์ และพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ ครั้งที่ 2/2554 มรส.ชอท.อ7.7.3.4.003 เอกสาร พัฒนาระบบสารสนเทศ 5 มีการส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย มีการส่งข้อมูล ผ่านระบบเครือข่ายของ มรส.ชอท.อ7.7.3.4.003 เอกสาร ของหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ตามที่ พัฒนาระบบสารสนเทศ ตามที่กาหนด สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด มรส.สปค.อ7.7.3.5.001 เอกสาร ได้แก่ ระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพ แสดงหลักฐานการส่งข้อมูลด้าน การศึกษา ระดับอุดมศึกษา ระบบฐานข้อมูล การประกันคุณภาพการศึกษาผ่าน รายบุคลากรด้านนักศึกษา บุคลากร และ ระบบCHE QA online ของ สกอ. หลักสูตร ในมหาวิทยาลัย เป็นต้น มรส.สมว.อ7.7.3.5.001 ข้อมูล รายบุคคลด้านนักศึกษา ประจาปี การศึกษา 2553 มรส.สมว.อ7.7.3.5.002 ข้อมูล รายบุคคลด้านบุคลากร ประจาปี การศึกษา 2553 มรส.สมว.อ7.7.3.5.003 ข้อมูล รายบุคคลด้านหลักสูตร ประจาปี การศึกษา 2553 มรส.สมว.อ7.7.3.5.004 ระบบ ฐานข้อมูลรายบุคคล ด้าน นักศึกษา บุคลากร และหลักสูตร ของสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ของสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา มรส.สมว.อ7.7.3.5.005 ข้อมูล หลักฐานการส่งข้อมูลรายบุคคล ด้านนักศึกษา บุคลากร และ หลักสูตรของมหาวิทยาลัยรังสิต ให้ สานักงานคณะกรรมการการ 177
อุดมศึกษา
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
4
5
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3 178
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 หรือ มีการดาเนินการ 5 ข้อ มีการดาเนินการ 6 ข้อ 4 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือ คณะทางานบริหารความเสี่ยง โดย มีผู้บริหารระดับสูงและตัวแทนที่ รับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบัน ร่วมเป็นคณะกรรมการหรือ คณะทางาน 2 มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง อย่างน้อย 3 ด้าน ตามบริบทของ สถาบัน ตัวอย่างเช่น - ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานที)่ - ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ หรือ กลยุทธ์ของสถาบัน - ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ - ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการ บริหารหลักสูตร การบริหาร งานวิจัย ระบบงาน ระบบประกัน คุณภาพ - ความเสี่ยงด้านบุคลากรและ ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของ
ผลดาเนินงาน หลักฐาน คณะศิลปะและการออกแบบมีการแตงตั้ง ศก.อ7.7.4.001 คาสั่งบริหารความ คณะกรรมการรับผิดชอบความเสี่ยงของคณะมี เสี่ยงศิลปะและการออกแบบ เอกสารแสดงนโยบายหรือแนวทางในการ ศก.อ7.7.4.002 คู่มือบริหารความ ดาเนินงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยมี ผู้บริหารระดับสูงและตัวแทนที่รับผิดชอบพันธกิจ เสี่ยง หลักของสถาบันร่วมเป็นคณะกรรมการหรือ คณะทางาน คณะศิลปะและการออกแบบมีการวิเคราะห์ ศก.อ7.7.4.003 แผนการจัดการ ความเสี่ยง 3 ด้าน 1.ด้านกฎระเบียบ อาจารย์ ความเสื่ยงผ่ายบริหาร ประจาดารงตาแหน่งทางวิชาการ /คุณวุฒิ มหาวิทยาลัยรังสิตปี 2553 ปริญญาเอก คุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษา ศก.อ7.7.4.004 แบบรายงานความ และบุคลากร 2. ความเสี่ยงด้านการเงิน การ เสี่ยงคณะศิลปะและการออกแบบ รักษาสถานภาพทางการเงินที่มั่นคง 3. ความ เสี่ยงด้านกลยุทธ์ งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ และทักษะ ภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศของ นักศึกษา
179
อาจารย์และบุคลากร - ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ ภายนอก - อื่น ๆ ตามบริบทของสถาบัน 3 มีการประเมินโอกาสและ ผลกระทบของความเสี่ยงและ จัดลาดับความเสี่ยงที่ได้จากการ วิเคราะห์ในข้อ 2
คณะศิลปะและการออกแบบได้ดาเนินการ ศก.อ7.7.4.005 วิเคราะห์ ประเมิน ประเมินโอกาส และผลกระทบของความเสี่ยงที่ ความเสี่ยง คณะ (20 พ.ค 54) ได้จากการวิเคราะห์ปัจจัย ของความเสี่ยงในแต่ ศก.อ7.7.4.006 รายงานความเสี่ยง ละด้านที่ระบุไว้ในแผนการบริหารความเสี่ยงของ คณะศิลปะและการ คณะ ซึ่งประกอบด้วย ความเสี่ยงในระดับ ออกแบบ 2553 องค์การ และ ระดับคณะ แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านกฎระเบียบ ด้านยุทธศาสตร์ ด้าน การเงิน
4 มีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยง คณะศิลปะและการออกแบบดาเนินการจัดทา ที่มีระดับความเสี่ยงสูง และ แผนบริหารความเสี่ยงสูงสุด พบความเสี่ยง ดาเนินการตามแผน สูงสุดในด้านกฏระเบียบของอาจารย์ประจาที่ ดารงตาแหน่งวิชาการและคุณวุฒิปริญญาเอกมี น้อย จึงได้ดาเนินการให้อาจารย์ประจาทา แผนพัฒนาตนเองโดยให้ความสาคัญกับการเข้า สู่ตาแหน่งวิชาการและการศึกษาต่อ และในการ สัมมาบุคคลากรประจาปี 2553 ได้กาหนดหัวข้อ การประชุม เสวนาในหัวข้อการพัฒนาศักยภาพ ด้านวิชาการ การเข้าสู่ตาแหน่งวิชาการ งานวิจัย และงานสร้างสรรค์ แนวทางการศึกษาต่อ ปริญญาเอกสายศิลปกรรม เพื่อนาไปสู่โครงการ เร่งรัดเข้าสู่ตาแหน่งวิชาการในปี 2554
ศก.อ7.7.4.007 แบบรายงานการ วิเคราะห์ความเสี่ยงสูงสุด ศก.อ7.7.4.008 แบบรายงาน อัตรากาลังและแผนพัฒนาอาจารย์ ศก.อ7.7.4.009 PDCA seminar art & design 53
5 มีการติดตาม และประเมินผลการ คณะศิลปะและการออกแบบ มีการติดตาม ดาเนินงานตามแผน และรายงาน ประเมินผลความสาเร็จ ปัญหาอุปสรรคพร้อม ต่อสภาสถาบันเพื่อพิจารณาอย่าง ข้อเสนอแนะและแนวทางการในการปรับปรุง
ศก.อ7.7.4.010 แบบรายงาน ติดตาม ศก.อ7.7.4.011 การประชุมความ
180
น้อยปีละ 1 ครั้ง
แผนการดาเนินงานต่อผู้บริหารคณะต่อไป
6 มีการนาผลการประเมิน และ ข้อเสนอแนะจากสภาสถาบันไปใช้ ในการปรับแผนหรือวิเคราะห์ความ เสี่ยงในรอบปีถัดไป
คณะศิลปะและการออกแบบมีการนาผล วิเคราะห์ความเสี่ยงในรอบปีมาพิจารณา เพื่อ ตรวจสอบและพัฒนาปรับปรุงแผนการบริหาร ความเสี่ยงในรอบปีถัดไปให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น
เสี่ยงคณะ ครั้งที่ 1 ศก.อ7.7.4.012 การประชุมความ เสี่ยงคณะ ครั้งที่ 2 ศก.อ7.7.4.013 รายงานความเสี่ยง คณะศิลปะและการ ออกแบบ 2553 ศก.อ7.7.4.01 4 รายงานความ เสี่ยงคณะศิลปะและการ ออกแบบ 2553 ศก.อ7.7.4.01 5 การประชุมความ เสี่ยงคณะ สรุปผลการนาไปใช้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
5
6
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
5
6
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๑๓ การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน 181
ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน ใช้คะแนนการประเมินผลผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้ง (คะแนนเต็ม ๕) หมายเหตุ เกณฑ์มาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเอง ข้อมูลพื้นฐาน
ผลรวมจากคณะ
คะแนนการประเมินผลผู้บริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแต่งตั้ง (คะแนนเต็ม ๕)
4
จานวนยืนยันของ สถาบัน 4
ตัวตั้ง= 4.000 ตัวหาร = 1.000 ผลลัพธ์ = 4.000 ผลการดาเนินงาน คณะศิลปะและการออกแบบมีการประเมินผู้บริหารในปี 2553 มีการประเมินผู้บริหารโดยใช้แบบประเมินที่พัฒนาจากคณะ บัญชีฯดังนี้ การปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพ ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆโดยคานึงถึงผลที่จะ เกิดขึ้นกันการพัฒนาของบุคลากรผู้เรียนและชุมชน มุ่งมั่นพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพ พัฒนา แผนงานของคณะให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นลาดับ การปฏิบัติงานขององค์กร รายงานผลพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ร่วมมือกับ ชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์ การแสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนาภาวะผู้นา สร้างโอกาสในการพัฒนา คณะและการบริหารงานงบประมาณ ได้ทาการประเมินโดยคณะกรรมการบริหารคณะประกอบด้วยรองคณบดีฝ่ายบริหาร รอง คณบดีฝ่ายวิชาการ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา หัวหน้าสาขาวิชา 5 สาขา หัวหน้าหมวดพื้นฐานและตัวแทน คณาจารย์ สรุปผลการประเมินผู้บริหารรวมค่าเฉลี่ย 4.42 จากเป้าหมายที่ได้กาหนดค่าเฉลี่ยไว้ที่ระดับ 4 รายการหลักฐาน ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 3.001 ผลการประเมินผู้บริหารปี_53_QA-2 ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 3.002 ผลการประเมินผู้บริหารปี_53_QA-1 ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 3.003 แต่งตั้งบุคลากรกรรมการคณะ ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 3.004 แบบประเมินผลงานรองคณบดีฝ่ายบริหาร ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 3.005 แบบประเมินหัวหน้าสาขาออกแบบภายใน 182
ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 3.006 แบบประเมินหัวหน้าสาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
4
4.000
4.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
4
4.000
4.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 7 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะฯ มีการบริหารจัดการตามนโยบายของมหาวิทยาลัย มีโครงสร้างการบริหารงานที่ ชัดเจน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อรับผิดชอบงานด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านการบริหารในระดับนโยบาย ด้านวิชาการ ด้านการ ส่งเสริมการวิจัย และด้านกิจการนักศึกษา มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง มีคณะทางานจัดระบบ ฐานข้อมูล และการจัดการความรู้ผ่านทาง web-siteและมีการแต่งตั้งคณะทางานด้านบริหารความเสี่ยง มีการสนับสนุน คณาจารย์ในการพัฒนาตนเอง ในรูปแบบการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน และเข้าร่วมประชุมวิชาการทั้งในระดับประเทศและ นานาชาติมีการส่งเสริมการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและเอกทั้งในและต่างประเทศ ในปีการศึกษา 2553มีการส่ง บุคคลากรสายอาจารย์ศึกษาต่อระดับปริญญาโทในประเทศ จานวน 1คน ระดับปริญญาเอกในประเทศจานวน 2คน และ ต่างประเทศจานวน 1 คน ในส่วนบุคลากรสายสนับสนุนก็ได้รับการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพเช่นเดียวกัน เช่น การฝึกอบรม สัมมนา และมีบุคคลากรสายสนับสนุนสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทในปีการศึกษา 2553จานวน 2คน จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : คณะฯควรพัฒนาในเรื่องระบบการจัดเก็บ 183
วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) :
องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่ สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ สถาบัน
คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการ 6 ข้อ มีการดาเนินการ 7 ข้อ 5 ข้อ
ผลดาเนินงาน
หลักฐาน
คณะฯ มีแผนกลยุทธ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับ ศก.อ 8.8.1.001 แผนกลยุทธ์คณะ แผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย เพื่อการ ศิลปะและการออกแบบ 53 ดาเนินการด้านการเงิน ศก.อ 8.8.1.002 ยุทธศาสตร์ด้าน การเงินของมหาวิทยาลัย
2 มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้าน คณะฯ ใช้หลักเกณฑ์ การจัดสรร และคู่มือการ ศก.อ 8.8.1.003ปรัชญา ปณิธาน การเงิน หลักเกณฑ์การจัดสรร และ จัดตั้งงบประมาณ และวางแผนการเงินของ พันธกิจ โครงสร้างการบริหารด้าน การวางแผนการใช้เงินอย่างมี มหาวิทยาลัย โดยมีการตรวจสอบภายในจาก การเงิน มรส ประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ รองคณบดีฝ่ายบริหารและคณบดีก่อนจะไปยัง ศก.อ 8.8.1.004 คู่มือการจัดตั้ง หน่วยงานงบประมาณของมหาวิทยาลัย งบประมาณ ปี 53 ศก.อ 8.8.1.005 แบบฟอร์ม งปก 001-008 FROM_BG 184
3 มีงบประมาณประจาปีที่สอดคล้อง คณะฯ มีงบประมาณประจาปี ที่สอดคล้องกับ ศก.อ8.8.1.006 Action Plan คณะ กับแผนปฏิบัติการในแต่ละพันธกิจ แผนปฏิบัติการในแต่ละพันธกิจ ศิลปะและการออกแบบ 53 และการพัฒนาสถาบันและ ศก. 8.8.1.006 (1)mfa1 บุคลากร ศก.อ8.8.1.006 (1)mfa3 ศก.อ8.8.1.006 (1)งบประมาณ353 คณะศิลปะและการออกแบบ ศก.อ8.8.1.006 (1)งบประมาณ 153 ศิลปะภาพถ่าย ศก.อ8.8.1.006 (1)งบประมาณ 153 สาขาแฟชั่นดีไซน์ ศก.อ8.8.1.006 (1)งบประมาณ 153 สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ ศก.อ8.8.1.006 (1)งบประมาณ 153 สาขาออกแบบภายใน ศก.อ8.8.1.006 (1)งบประมาณ 153 หมวดพื้นฐาน ศก.อ8.8.1.006 (2)mfa2 ศก.อ8.8.1.006 (2)งบประมาณ 153 คณะศิลปะและการออกแบบ ศก.อ8.8.1.006 (2)งบประมาณ 253 ศิลปะภาพถ่าย ศก.อ8.8.1.006 (2)งบประมาณ 253 สาขาแฟชั่นดีไซน์ ศก.อ8.8.1.006 (2)งบประมาณ 253 สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ ศก.อ8.8.1.006 (2)งบประมาณ 253 สาขาออกแบบภายใน ศก.อ8.8.1.006 (2)งบประมาณ 2185
53 หมวดพื้นฐาน ศก.อ8.8.1.006 (3)งบประมาณ 253 คณะศิลปะและการออกแบบ ศก.อ8.8.1.006 (3)งบประมาณ 353 ศิลปะภาพถ่าย ศก.อ8.8.1.006 (3)งบประมาณ 353 สาขาแฟชั่นดีไซน์ ศก.อ8.8.1.006 (3)งบประมาณ 353 สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ ศก.อ8.8.1.006 (3)งบประมาณ 353 สาขาออกแบบภายใน ศก.อ8.8.1.006 (3)งบประมาณ 353 หมวดพื้นฐาน ศก.อ8.8.1.006 (4)งบประมาณ รวม-53 คณะศิลปะและการ ออกแบบ ศก.อ8.8.1.006 (4)งบประมาณ รวม-53 ศิลปะภาพถ่าย ศก.อ8.8.1.006 (4)งบประมาณ รวม-53 สาขาแฟชั่นดีไซน์ ศก.อ8.8.1.006 (4)งบประมาณ รวม-53 สาขาออกแบบภายใน ศก.อ8.8.1.006 (4)งบประมาณ รวม-53 หมวดพื้นฐาน ศก.อ8.8.1.006 (4)งบประมาณ รวม-53 สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ 4 มีการจัดทารายงานทางการเงิน สาขาจัดทารายงานด้านการเงินเสนอต่อคณะ ศก.อ 8.8.1.007สรุปงบประมาณ อย่างเป็นระบบ และรายงานต่อ และกรรมการบริหารคณะ รายรับรายจ่าย คณะศิลปะและ สภาสถาบันอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง การออกแบบ ปี 2553 186
ศก.อ 8.8.1.008 สรุปรายละเอียด งบประมาณโครงการของคณะ ศิลปะและการออกแบบ ปี การศึกษา 2553 ศก.อ 8.8.1.009 รายละเอียดและ การเปรียบเทียบการจัดสรร งบประมาณ ประจาปีการศึกษา 2552 - 2553 5 มีการนาข้อมูลทางการเงินไปใช้ใน มีการนาข้อมูลทางการเงินมาวิเคราะห์และสรุป การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และ วิเคราะห์สถานะทางการเงินและ ความมั่นคงของสถาบันอย่าง ต่อเนื่อง
ศก.อ 8.8.1.010 สรุปและ วิเคราะห์ งบประมาณและการเงิน คณะศิลปะและการออกแบบ ปี 2553 ศก.อ 8.8.1.011 รายงานวิเคราะห์ ค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักศึกษาราย คณะ ประจาปีการศึกษา 2553 (งปม.อ5.1.003 - ภาคผนวก ก.) ศก.อ 8.8.1.012 งบประมาณของ หน่วยงานคณะศิลปะและการ ออกแบบ
6 มีหน่วยงานตรวจสอบภายในและ ภายนอก ทาหน้าที่ตรวจ ติดตาม การใช้เงินให้เป็นไปตามระเบียบ และกฎเกณฑ์ที่สถาบันกาหนด
การขออนุมัติทางการเงินมีระบบการตรวจสอบ จากภายในโดยต้องผ่านหัวหน้าสาขาฯและรอง คณบดีฝ่ายบริหารเพื่อตรวจสอบก่อนจะส่งไปยัง คณบดีและหน่วยงานงบประมาณที่เกี่ยวข้อง ต่อไป
ศก.อ 8.8.1.015แผนภูมิการ ตรวจสอบงบประมาณภายในคณะ ศก.อ 8.8.1.013 แผนการ ตรวจสอบประจาปีการศึกษา 2553 ของสานักงานตรวจสอบภายใน ศก.อ8.8.1.014 ข้อบังคับว่าด้วย เรื่องการเงินและงบประมาณ พ.ศ. 2553 ศก.อ8.8.1.015 แผนภูมิการ ตรวจสอบงบประมาณภายในคณะ
187
7 ผู้บริหารระดับสูงมีการติดตามผล มีการติดตามผลการใช้งบประมาณในที่ประชุม การใช้เงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย กรรมการคณะอย่างต่อเนื่อง และนาข้อมูลจากรายงานทาง การเงินไปใช้ในการวางแผนและ การตัดสินใจ
ศก.อ 8.8.1.016 รายงานการ ประชุมคณะครั้งที่ 7-53 ศก.อ 8.8.1.017 การติดตามด้าน การใช้งบประมาณของหน่วยงาน
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
5
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
5
7
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 8 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะฯ มีระบบกลไกในการจัดสรรงบประมาณ มีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย และมีการ ตรวจสอบการเงิน และการใช้งบประมาณ อย่างโปร่งใส ตามหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย ในส่วนนโยบายการจัดสรร งบประมาณตามที่มหาวิทยาลัยกาหนดให้ มีการจัดสรรและเห็นชอบร่วมกันในระดับสาขาวิชา และระดับคณะกรรมการคณะฯ เพื่อเสนอขออนุมัติจากมหาวิทยาลัย จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : คณะฯ ได้รับการจัดสรรเงินจากมหาวิทยาลัย ตามความเหมาะสม ทั้งใน ด้านงบประมาณประจาปี และงบประมาณการลงทุน โดยในปีการศึกษา 2553ได้รับอนุมัติให้จัดซื้อเครื่อง Laser-Cutter ซึ่ง 188
เป็นเครื่องมือตัดวัสดุที่ทันสมัย เพื่อพัฒนาผลงานนักศึกษา และเครื่องคอมพิวเตอร์ Mackintosh เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ทางด้าน Digital Image อีกจานวน 25เครื่อง ฯลฯ วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) :
องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ
คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 4 หรือ มีการดาเนินการ 7 หรือ มีการดาเนินการ 9 ข้อ 5 ข้อ หรือ 6 ข้อ 8 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและ พัฒนาการของสถาบัน ตั้งแต่ระดับภาควิชาหรือ หน่วยงานเทียบเท่า และดาเนินการตามระบบที่ กาหนด
ผลดาเนินงาน คณะมีระบบในการวางแผนคุณประกันคุณภาพ ทางการศึกษาโดยทุกภาคการศึกษาจะมี คณะกรรมการกากับมาตรฐานวิชาการซึ่งเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิจาภายนอกทั้งจากสกอ. และ ภาคเอกชน เพื่อมาตรวจผลงานและมาตรฐาน การศึกษาของหมวดวิชาพื้นฐานและสาขาวิชา
หลักฐาน ศก.9.9.1.001 คาสั่ง QA คณะ ศก.9.9.1.002 รายงานการ ประชุมครั้งที่ 6 ศก.9.9.1.003 รายงานการ ประชุมครั้งที่ 7 2 มีการกาหนดนโยบายและให้ความสาคัญเรื่องการ คณะกาหนดนโยบายและให้ความสาคัญเรื่องการ ศก.1.1.1.007 ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดย ประกันคุณภาพจากคณะกรรมการประกัน วิสัยทัศน์คณะ 53 189
คณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุด คุณภาพการศึกษาระดับคณะและคณะทางาน ของสถาบัน ประกันคุณภาพเพื่อทาหน้าที่รวบรวมข้อมูลของ คณะจัดทาเล่มรายงานเป็นผู้จัดทารวบรวม เอกสารและมหาวิทยาลัย
ศก.9.9.1.004 แผนของ สกอ. ศก.9.9.1.005 รายงานการ ประชุมQA ครั้งที่ 1 3 มีการกาหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของ คณะกาหนดมาตรฐานตัวบ่งชีเ้ พิ่มเติมตามอัต ศก.9.9.1.006 สถาบัน ลักษณ์และเกณฑ์คุณภาพที่สอดคล้องกับ อัตลักษณ์ มรส. มหาวิทยาลัย ศก.9.9.1.007 อัตลักษณ์ คณะ ศก.9.9.1.008 คณบดีนาเสนอใน การสัมมนาคณะ 4 มีการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพ คณะได้ดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพที่ ศก.9.9.1.009 การศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย 1) การ ครบถ้วนทั้งการควบคุมคุณภาพการติดตาม การวางแผน ควบคุม ติดตามการดาเนินงาน และประเมิน ตรวจสอบและประเมินคุณภาพอย่างต่อเนื่องเป็น คุณภาพ PDCA คุณภาพ 2) การจัดทารายงานประจาปีที่เป็น ประจาทุกปี ศก.9.9.1.010 รายงานประเมินคุณภาพเสนอต่อสภาสถาบันและ ประโยชน์ PDCA สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตาม ศก.9.9.1.011 กาหนดเวลา โดยเป็นรายงานที่มีข้อมูลครบถ้วน การนาไปใช้ ตามที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา PDCA กาหนดใน CHE QA Online และ 3) การนาผล ศก.9.9.1.012 การประเมินคุณภาพไปทาแผนการพัฒนา กาหนดการตรวจ คุณภาพการศึกษาของสถาบัน QA ศก.9.9.1.013 รายงานการ ประชุมQAครั้งที่ 2 ศก.9.9.1.014 เล่มรายงาน ประกันคุณภาพ คณะปี 2552 5 มีการนาผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ในปีการศึกษา2553 คณะได้มีการผลักดันส่งเสริม ศก.9.9.1.015 190
มาปรับปรุงการทางาน และส่งผลให้มีการพัฒนา ให้อาจารย์เสนอขอตาแหน่งทาวิชาการมากขึ้น ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุก การจัดสัมมนาบุคลากร ตัวบ่งชี้
รายงานผลและ วิเคราะห์ QA ศก.9.9.1.016 รายงานผลการ ประเมิน QA ปี 52 ศก.9.9.1.017 รายงานการ ประชุมกรรมการ คณะ 6 มีระบบสารสนเทศที่ให้ข้อมูลสนับสนุนการประกัน คณะได้จัดทาwebsite QA ของคณะเพื่อ ศก.9.9.1.018 คุณภาพการศึกษาภายในครบทั้ง 9 องค์ประกอบ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ให้ข้อมูลสนับสนุนการ เว็ปประกัน คุณภาพ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบทั้ง 9 คุณภาพคณะ องค์ประกอบคุณภาพ และได้จัดทา ศิลปะและการ แบบสอบถามด้านต่างๆ ซึ่งคณาจารย์ นักศึกษา ออกแบบ บัณฑิตและผู้ประกอบการสามารถเข้ามาตอบ ศก.9.9.1.019 คู่มือ สกอ.2554 แบบสอบถามได้ ศก.9.9.1.020 คู่มือ สมศ.2554 7 มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการประกัน เวบ QA ของคณะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการ ศก.อ9.9.1.021 คุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษาผู้ใช้ ประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งอาจารย์ ตัวอย่างแบบ บัณฑิต และผู้ใช้บริการตามพันธกิจของสถาบัน นักศึกษา บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต และผู้ใช้บริการตาม สอบถามผู้ พันธกิจของคณะ สามารถเข้ามาตอบ ใชับัณฑิต แบบสอบถามทั้งด้านหลักสูตรการเรียนการสอน และความพึงพอใจอื่นๆได้ 8 มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกัน มหาวิทยาลัยมีการทาความความร่วมมือสร้าง คุณภาพการศึกษาระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรม เครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกัน ร่วมกัน คุณภาพการศึกษาระหว่างสถาบัน ทั้ง 4 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ม อิสเทิร์น เอเชีย มหาวิทยาลัยรังสิต ม เทคโนราชมงคล สุวรรณภูมิ มีการจัดกิจกรรม ซึ่งมีนักศึกษาจาก ทุกคณะเข้าร่วมกิจกรรม 191
ศก.9.9.1.022 MOU ด้านประกัน คุณภาพ ศก.9.9.1.023 QA FOR WHAT
9 มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยด้านการประกัน คุณภาพการศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น และ เผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นสามารถนาไปใช้ ประโยชน์
คณะได้นาผลงานวิจัยด้านการประกันคุณภาพ การศึกษาของมหาวิทยาลัย
มรส.สปค.อ 9.9.1.9.001 งานวิจัยด้านการ ประกันคุณภาพ การศึกษา
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
7
9
5.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
7
9
5.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ ๙.๑๕ ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต เกณฑ์การประเมิน ใช้คะแนนผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยต้นสังกัด ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน
ผลดาเนินงาน 192
หลักฐาน
ผลการดาเนินงาน คณะได้มีการดาเนินการตรวจประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาระดับสาขาวิชา เพื่อรวบรวมข้อมูล งาน และหลักฐานเป็น งานประกันคุณภาพระดับคณะ รายการหลักฐาน ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 5.001 กาหนดการตรวจประกันคุณภาพระดับสาขาวิชา ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 5.002 ผลประเมินของสาขาวิชาศิลปะภาพถ่าย ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 5.003 ผลประเมินของสาขาวิชาออกแบบภายใน ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 5.004 ผลประเมินของสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 5.005 ผลประเมินของสาขาวิชาผลิตภัณฑ์ ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 5.006 ผลประเมินของสาขาวิชาแฟชั่นดีไซน์ ศก.ตัวบ่งชี้ท1ี่ 5.008 สรุปผลประเมินของคณะศิลปะและการออกแบบ ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
4.00
-
0.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
4.00
-
-
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : 193
ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 9 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะฯ มีนโยบายที่ชัดเจนในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ มีกระบวนการในการประกัน คุณภาพ การประเมินผลและการปรับปรุงการดาเนินงานทุกโครงการ และการปรับปรุงการดาเนินงานทุโครงการทั้งด้าน วิชาการ ด้านบริการวิชาการ ด้านวิจัย และด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพ มีการ นาผลการประเมินจากปีการศึกษาที่ผ่านมามาปรับปรุงแผนการดาเนินงาน มีการติดตามงานและส่งบุคลากรเข้าร่วมฝึกอบรม งานประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : คณะฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมกาผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกทัง้ นักวิชาการ และนักวิชาชีพ เพื่อตรวจและเยี่ยมชมผลงานนักศึกษาทุกสิ้นภาคการศึกษา นอกจากนั้น มีการตรวจ แผนการสอน ข้อสอบ และผลการสอน ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่องโดยตลอดมา ในระบบการประกัน คุณภาพของ สกอ.มีการหมุนเวียนคณาจารย์เป็นคณะกรรมการประกันคุณภาพ เพื่อให้เกิดความรู้และเข้าใจกลไก การประกันคุณภาพ การประกันคุณภาพ ในระดับคณะและสาขาวิชาต้องพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล เกณฑ์ การประเมิน และการเขียนโครงการตาม PDCA วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) : CarComment
194
องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์เพิ่มเติม องค์ประกอบที่ 10 อัตลักษณ์เพิ่มเติม ตัวบ่งชี้ที่ 10.1.1 มหาวิทยาลัยรังสิตเป็น “ขุมพลังแห่งปัญญาของชาติ เพื่อปฏิรูปประเทศไทย สู่สังคม ธรรมาธิปไตย” ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ 1 ข้อ มีการดาเนินการ 2 ข้อ มีการดาเนินการ 3 ข้อ มีการดาเนินการ 4 ข้อ มีการดาเนินการ 5 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง มี ข้อ เกณฑ์การประเมิน 1 มีหลักสูตรแบบสหวิทยาการและ/หรือ แบบองค์รวม 2 ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่สอนแบบทวิ ภาษา อย่างน้อยร้อยละ 10 ของรายวิชา ในหลักสูตรที่เปิดดาเนินการสอน และ/ หรือจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่มุ่ง พัฒนาทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ และไอทีให้กับนักศึกษาอย่างน้อย 1 โครงการต่อปี
ผลดาเนินงาน
การพัฒนาหลักสูตรทวิภาษาคณะฯได้มีการนา ภาษาอังกฤษไปสอดแทรกในการเรียนการสอน ทั้งใน ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท โดยระดับ ปริญญาตรี มีการกาหนดรายวิชาที่ต้องสอนเป็น ภาษาอังกฤษทุกหลักสูตร คณาจารย์ได้มีการใช้สื่อการ สอนเป็นภาษาอังกฤษ การให้นักศึกษานาเสนอผลงาน เป็นภาษาอังกฤษ นอกจากนั้น คณะฯ ส่งเสริมให้มี อาจารย์ชาวต่างชาติร่วมสอนทั้งในระดับปริญญาตรี 195
หลักฐาน
ศก.อ2.2.1.008 หลักสูตรป.ตรี 5 สาขา ศก.อ2.2.1.009 หลักสูตรป.โท
3
4
5
และโท มีกิจกรรมหรือโครงการที่ชี้นาสังคมหรือ คณะมีกิจกรรมหรือโครงการที่ชี้นาสังคม และแก้ปัญหา แก้ปัญหาของชุมชนหรือสังคม สังคมของชุมชน เช่น โครงการเบญจรงค์ที่ช่วยอนุ ลักษณ์ช่างฝีมือ มิให้สูญหายไป อีกทั้งสามารถปรับใช้ กับงานอื่นๆ ได้ (ศก.อ5.5.1.002) โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมือง วัดนาหนอง จ.ราชบุรี ที่ช่วย เพิ่มมูลค่าและพัฒนาให้ผลิตภัณฑ์สามารถเข้าสู่ตลาด เพื่อจาหน่าย (ศก.อ5.5.1.004) โครงการเสริมสร้าง รักษ์สุขภาพ ในการจัดประกวดโปสเตอร์ การงดสูบ บุหรี่ (ศก.อ5.5.1.015)การเป็นวิทยากรฝึกอาชีพการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้แก่ศูนย์ศิลปาชีพ (ศก.อ 5.5.2.017)
ศก.อ5.5.1.002 โครงการOrnament and Crime เบญจ รงค์ ศก.อ5.5.1.004 โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ พื้นเมือง วัดนาหนอง จ.ราชบุรี ศก.อ5.5.1.015 โครงการรักษ์วินัยไร้ ควันบุหรี่ ศก.อ5.5.1.017 การ ฝึกอาชีพการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ แก่นักเรียนศิลปาชีพ นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรม/โครงการ ในการดาเนินการของคณะศิลปะและการออกแบบในปี ศก.อ5.5.1.003 บาเพ็ญประโยชน์เพื่อพัฒนาชุมชนหรือ 2553 ได้นานักศึกษาเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น โครงการออกแบบ สังคม โครงการออกแบบอุปกรณืสนามเด็กเล่น (ศก.อ อุปกรณืสนามเด็ก 5.5.1.003) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอ เล่น พื้นเมือง (ศก.อ5.5.1.004) และ โครงการสุขภาพชุมชน ศก.อ5.5.1.004 (ศก.อ5.5.2.030) โครงการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ พื้นเมือง ศก.อ55.2.030 โครงการสุขภาพ ชุมชน อาจารย์มีการไปปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ คณาจารย์ได้ร่วมเป็น กรรมการในคณะกรรมการของ ศก.อ5.5.2.001 ปรึกษาหรือเป็นกรรมการใน องค์วิชาชีพระดับชาติหรือนานาชาติ หลายแห่ง สภาสถาปนิก คณะกรรมการขององค์กร วิชาชีพ เช่น การพิจารณาคุณวุฒิการศึกษา สาขา ศก.อ5.5.2.002 สภา ระดับชาติหรือนานาชาติ สถาปัตยกรรมและมัณฑนศิลป์ สภาสถาปนิก พ.ศ. วิชาการ IAIDAC 2550-2553 (ศก.อ5.5.2.001) ที่ปรึกษากิจกรรมวิชาการ ศก.อ5.5.2.012 196
และกิจกรรมพัฒนานักศึกษา สภาวิชาการ สถาปัตยกรรมภายในและการออกแบบภายในแห่ง ประเทศไทย (ศก.อ5.5.2.002) การร่วมเป็นกรรมการ สภาคณบดีศิลปะแห่งประเทศไทย (ศก.อ5.5.2.012) กรรมการตัดสินรางวัลศิลปินร่วมสมัยดีเด่น รางวัล "ศิลปาธร" ปี 2553 ศูนย์เครือข่ายสัมพันธ์และแหล่งทุน สถาบันศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย สานักงาน ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม (ศก.อ 5.5.2.013) กรรมการตัดสินรางวัลธุรกิจเชิงสร้างสรรค์ ประจาปี 2553 เพื่อรับรางวัลพระราชทานไทย สร้างสรรค์ (ศก.อ5.5.2.014) การเป็นกรรมการแข่งขัน ฝีมือแรงงานอาเซี่ยน ครั้งที่ 8 สานักพัฒนามาตรฐาน และทดสอบฝีมือแรงงาน (ศก.อ5.2.033)
กรรมการสภาคณบดี ศิลปะแห่งประเทศ ไทย ศก.อ5.5.2.013 กรรมการตัดสิน ศิลปาธร 2553 ศก.อ5.5.2.014 กรรมการตัดสิน OKMD2553 ศก.อ5.5.2.033 สรุป การปฏิบัติหน้าที่ อนุกรรมการ การ แข่งขันฝีมือแรงงาน อาเซียน ครั้งที่ 8
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีที่แล้ว เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
-
-
-
-
เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนการประเมิน ตนเอง
บรรลุเป้าหมาย
4
4
4.00
บรรลุเป้าหมาย
ผลการประเมินตนเองปีนี้
ผลการประเมินของคณะกรรมการปีนี้ เป้าหมาย
ผลดาเนินงาน
คะแนนประเมินจาก คณะกรรมการ
บรรลุเป้าหมาย
4
4
4.00
บรรลุเป้าหมาย
หมายเหตุ / ข้อสังเกต : 197
ข้อสรุปโดยรวมองค์ประกอบที่ 10 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง : คณะศิลปะและการออกแบบได้กาหนดอัตลักษณ์ของคณะ คือ การสร้าง วัฒนธรรม Crafting culture การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมของคณะที่สนับสนุนเรื่องอัตลักษณ์มีจานวนมาก อีกทั้งยัง มีกิจกรรมหรือโครงการที่สนับสนุนอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยที่ชี้นาสังคมและแก้ปัญหาสังคม ชุมชน ทั้งในส่วนของการบริการ วิชาการและกิจกรรมที่บูรณาการกับการเรียนการสอน โดยหลายกิจกรรมมีนักศึกษาเข้าร่วมทากิจกรรมด้วย จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง : หลักสูตรแบบสหวิทยาการ คณะมีการดาเนินการเป็นบางส่วนแต่ยังไม่ เด่นชัด วิธีปฏิบัติที่ด/ี นวัตกรรม(ถ้ามี) : CarComment
198