การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ” (Fair Finance Guide International) รายงานประจํําปีี พ.ศ. 2566
แนวร่่วมการเงิินที่่�เป็็นธรรมประเทศไทย Fair Finance Thailand กุมภาพันธ์ 2567
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ” (Fair Finance Guide International) พิมพ์ครั้งแรก กุมภาพันธ์ 2567 จัดพิมพ์โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
เว็บไซต์ www.fairfinancethailand.org Facebook
สถานที่ตั้ง
Fair Finance Thailand
บ ริษัท ป่าสาละ จํากัด 2 สุขุมวิท ซอย 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110; อีเมล info@salforest.com; โทรศัพท์ 02 258 7383
สารบััญ
บทสรุุปสํําหรัับผู้้�บริิหาร นโยบายที่่�มีีการเปลี่่�ยนแปลงน่่าสนใจในปีี พ.ศ. 2566 นโยบายที่่�ธนาคารประกาศในช่่วงรัับฟัังความคิิดเห็็น ปีี พ.ศ. 2566 ผลการประเมิินธนาคารไทยตามเกณฑ์์ Fair Finance Guide International ประจํําปีี พ.ศ. 2566 ผลการประเมิินนโยบายธนาคารพาณิิชย์์ไทย 8 แห่่ง และสถาบัันการเงิินเฉพาะกิิจ 3 แห่่ง ประจำำ�ปีี พ.ศ. 2566 สรุุปผลคะแนนรายหมวด และนโยบายที่่�น่่าสนใจประจํําปีี พ.ศ. 2566 ความแตกต่่างระหว่่าง Fair Finance Guide International (FFGI) และ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ภาคผนวก
7 11 29 41 47 51 95
103
หัวข้อประเมินตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International 2023 รายหมวด แนะนําโครงการ Fair Finance Thailand แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ (Fair Finance Guide International)
—5—
105
136 138
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
บทสรุุปสํําหรัับผู้้�บริิหาร
NK
BA
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ในปี พ.ศ. 2566 คณะวิจยั ในโครงการ Fair Finance Thailand (แนวร่วม การเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย เว็บไซต์ www.fairfinancethailand.org, “แนวร่วมฯ”) จัดทําการประเมินนโยบายด้านต่างๆ ของสถาบันการเงินไทย 11 แห่ง ประกอบด้วยธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่ที่สุดในไทย 8 แห่ง และ สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ 3 แห่ง ที่เปิดเผยสู่สาธารณะ นับเป็น ปีทห่ี กทีม่ กี ารนํามาตรฐาน Fair Finance Guide International (แนวปฏิบตั ิ ของแนวร่วมการเงินทีเ่ ป็นธรรมนานาชาติ เว็บไซต์ www.fairfinanceguide. org) มาใช้ในประเทศไทย ตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ฉบับปี ค.ศ. 2023 โดยใช้ขอ้ มูลทีธ่ นาคารเปิดเผยต่อสาธารณะ ณ เดือน กันยายน 2566 ประกอบกับข้อมูลที่ธนาคารเปิดเผยต่อสาธารณะเพิ่ม เติมในช่วงรับฟังความคิดเห็นระหว่างคณะวิจัยกับธนาคารแต่ละแห่ง ระหว่างวันที่ 20 กันยายน ถึง 17 พฤศจิกายน 2566 ผลการประเมินธนาคารไทย 11 แห่ง ตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International 13 หมวด ประจําปี พ.ศ. 2566 พบว่าคะแนนเฉลีย ่ ของธนาคารทั้ง 11 แห่ง ลดลงเล็กน้อยจาก 33.94 คะแนนในปี พ.ศ. 2565 เป็น 32.92 คะแนนในปี พ.ศ. 2566 (ลดลง 0.78%) โดยธนาคาร ที่ ไ ด้ ค ะแนนสู ง สุ ด 5 อั น ดั บ แรก ได้ แ ก่ ธนาคารทหารไทยธนชาต (39.20%) ธนาคารกสิ ก รไทย (33.14%) ธนาคารกรุ ง ไทย (30.79%) ธนาคารไทยพาณิชย์ (29.85%) และธนาคารกรุงเทพ (29.49%) โดย ธนาคารที่ได้คะแนนสูงสุด 4 อันดับแรก ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากผล การประเมินปี พ.ศ. 2565 ขณะที่ธนาคารกรุงเทพขยับจากอันดับที่ 6 มาเป็นอันดับที่ 5 แทนที่ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (27.64%) สาเหตุ ที่ ค ะแนนเฉลี่ ย ของธนาคารทั้ ง 11 แห่ ง ปรั บ ตั ว ลดลง เนื่องจากธนาคารส่วนใหญ่ 7 จาก 11 แห่ง ได้คะแนนน้อยลงจากการ —8—
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ประเมินนโยบายในปี พ.ศ. 2565 มีเพียงธนาคารกรุงเทพ ธนาคารเกียรติ นาคินภัทร ธนาคารทิสโก้ ธนาคารเอสเอ็มอี ทีไ่ ด้คะแนนประเมินสูงขึน้ สาเหตุส่วนใหญ่ที่ธนาคารได้คะแนนน้อยลงมาจากการปรับปรุงเกณฑ์ การประเมิน Fair Finance Guide International (FFGI) เป็นเกณฑ์ฉบับ ปรับปรุงใหม่ ค.ศ. 2023 (พ.ศ. 2566) และนำ�มาใช้เป็นครัง้ แรก ซึง่ เกณฑ์ ฉบับนี้มีความละเอียดและเข้มข้นกว่าเกณฑ์ชุดเดิม ปี ค.ศ. 2021 (พ.ศ. 2564) ค่อนข้างมาก ยกตัวอย่างเช่น เกณฑ์ FFGI ฉบับ ค.ศ. 2023 เพิม ่ หัวข้อตัวชีว้ ดั ใหม่ถงึ 27 หัวข้อ จากทัง้ หมด 228 หัวข้อ (11.8%) ตัดออก 18 หัวข้อ (7.9%) และเปลีย ่ นแปลงอย่างมีนยั สําคัญอีก 14 หัวข้อ (6.1%) ส่วนใหญ่เป็นการเปลีย่ นแปลงในหมวดการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (climate change) โดยเปลีย ่ นเกณฑ์คะแนนให้เคร่งครัดมากขึน้ ตามระดับ ความเร่งด่วนของปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ซึง่ คาดหวังให้ ธนาคารเปลีย่ นแปลงนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องในทางทีส่ อดคล้องกับเป้าหมาย จํากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส ตามเป้าหมายในข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) ผลการประเมินแสดงเป็นแผนภาพในหน้าแทรกพิเศษ 1 และดูสรุป อันดับของธนาคารสําหรับปี พ.ศ. 2566 เปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2565 ได้ในหน้าแทรกพิเศษ 2
—9—
นโยบายที่่�มีีการเปลี่่�ยนแปลงน่่าสนใจ ในปีี พ.ศ. 2566
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
นโยบายของธนาคารทีไ่ ด้คะแนนสูงสุดอันดับ 1–5 และมีการเปลีย่ น แปลงน่าสนใจในปี พ.ศ. 2566 รายหมวด มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ การเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ
หมวดนี้เป็นหมวดที่มีการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์การประเมินมากที่สุด ในปี พ.ศ. 2566 โดยมีการยกเลิกเกณฑ์การประเมินเดิม 12 ข้อ และ เพิ่มเกณฑ์การประเมินใหม่ 14 ข้อ โดยเป็นการเปลี่ยนแปลงในทางที่ เคร่งครัดมากขึ้นตามระดับความเร่งด่วนของปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น ธนาคารหลายแห่งเปิดเผยนโยบายทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน ใหม่ในหมวดนี้หลายข้อ เช่น • ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารทหารไทย ธนชาต มีนโยบายไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน และไม่ลงทุน กับบริษทั ทีม่ สี ว่ นร่วมในการพัฒนาเหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal) แห่งใหม่ และโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่ (ข้อ 7 และข้อ 8) รวมถึงไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน และไม่ลงทุนกับ บริษทั ทีม่ ธี รุ กิจการสกัดนํา้ มันจากทรายนํา้ มัน (tar sands) (ข้อ 16) • ธนาคารกสิกรไทยและธนาคารทหารไทยธนชาต มีกลยุทธ์การ ยกเลิกการสนับสนุนถ่านหินทีม่ กี รอบเวลาชัดเจน และสอดคล้อง กับการจำ�กัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศา เซลเซียส (ข้อ 12) สำ�หรับเกณฑ์การประเมินที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง พบว่าธนาคาร — 12 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
หลายแห่งมีการปรับปรุงหรือเปิดเผยนโยบายที่สอดคล้องกับเกณฑ์การ ประเมินหลายข้อ ทำ�ให้คะแนนเพิ่มขึ้น เช่น • ธนาคารกรุงเทพและธนาคารกรุงไทย จัดทำ�รายงานตามคำ�แนะนำ� ของ Task Force on Climate-related Financial Disclosures (TCFD) เป็นปีแรก (ข้อ 6) (ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกสิกรไทย ได้คะแนนในข้อนีอ้ ยูแ่ ล้ว) อย่างไรก็ตาม การจัดทำ�รายงานดังกล่าว ของแต่ละธนาคารยังมีระดับการเปิดเผยข้อมูลทีไ่ ม่เท่ากัน สำ�หรับ ธนาคารทหารไทยธนชาต แม้ว่าจะยังไม่ได้คะแนนในปีนี้ แต่อยู่ ระหว่างเตรียมจัดทำ�รายงานตามคำ�แนะนำ�ของ TCFD ซึ่งคาดว่า จะเปิดเผยข้อมูลได้ในปี 2567 • ธนาคารกสิกรไทย เป็นธนาคารเดียวที่ประกาศแนวปฏิบัติในการ พิจารณาสินเชือ่ สำ�หรับอุตสาหกรรมเฉพาะ ได้แก่ ป่าไม้และธุรกิจ เกี่ยวเนื่องที่นำ�ผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ไปใช้ โดยธนาคารสนับสนุน ธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับวัสดุชวี ภาพทีผ่ า่ นการรับรองกระบวนการผลิต ทีใ่ ช้วตั ถุดบิ จากธรรมชาติเพือ่ ความยัง่ ยืน Roundtable on Sustainable Biomaterials (RSB) จึงทำ�ให้คะแนนบางส่วนในข้อ 25 การทุุจริิตคอร์์รััปชััน
ธนาคารกรุงเทพและธนาคารกรุงไทย รายงานว่าไม่มีส่วนร่วมใน กิจกรรมการล็อบบี้ (ข้อ 6) ทำ�ให้ได้คะแนนข้อนี้เป็นปีแรก ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคาร ทหารไทยธนชาต มีนโยบายต่อต้านการจ่ายเงินบริจาคหรืออุดหนุน นักการเมืองหรือพรรคการเมือง (political contributions) (ข้อ 7) อย่างไร — 13 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ก็ตาม นโยบายของธนาคารกรุงเทพและธนาคารกสิกรไทย มีข้อยกเว้น ทีร่ ะบุวา่ การจ่ายเงินบริจาคหรืออุดหนุนพรรคการเมืองสามารถทำ�ได้หาก ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย และเป็นการสนับสนุนประชาธิปไตย จึง ทำ�ให้ได้คะแนนในข้อนี้บางส่วน ความเท่่าเทีียมทางเพศ
ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคาร ทหารไทยธนชาต เปิดเผยว่าได้จัดฝึกอบรมเรื่องอคติทางเพศและการ เลือกปฏิบัติระหว่างเพศในสถานที่ทำ�งาน (ข้อ 3) สุุขภาพ
ธนาคารกรุงเทพและธนาคารกสิกรไทย กำ�หนดให้ลกู ค้าของธนาคาร มีนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทีค่ รอบคลุม (ข้อ 2) ทำ�ให้ได้ คะแนนข้อนีเ้ ป็นปีแรก (ธนาคารทหารไทยธนชาตได้คะแนนข้อนีอ้ ยูแ่ ล้ว) โดยนโยบายของธนาคารกรุงเทพ และธนาคารกสิกรไทย อ้างอิงมาตรฐาน ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO45001 มาใช้ประกอบ การพิจารณาอนุมตั สิ นิ เชือ่ ขณะทีน่ โยบายของธนาคารทหารไทยธนชาต กำ�หนดให้ลกู ค้าเคารพสิทธิแรงงานในเรือ่ งสุขภาพและความปลอดภัยใน ที่ทำ�งานตาม ILO Conventions สิิทธิิมนุุษยชน
ธนาคารไทยพาณิชย์ มีนโยบายไม่ยอมรับการเลือกปฏิบตั ทิ กุ รูปแบบ (zero-tolerance policy) ในกระบวนการจ้างงานและในการปฏิบัติงาน ทั้งบนฐานของเพศสภาวะ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ รสนิยมทางเพศ และ — 14 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
สมรรถภาพทางกาย (ข้อ 2) ทำ�ให้ได้คะแนนข้อนี้เป็นปีแรก ธนาคารกรุงไทย เคยได้คะแนนในปีก่อนจากการมีนโยบายกำ�หนด ให้ลูกค้าให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษกับการเคารพสิทธิเด็ก (ข้อ 11) และ ให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษกับการเคารพสิทธิของผู้พิการ (ข้อ 12) แต่ใน ปีนี้ไม่พบว่ามีการเปิดเผยนโยบายดังกล่าวต่อสาธารณะ จึงทำ�ให้ไม่ได้ คะแนนในข้อดังกล่าว สิิทธิิแรงงาน
ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย และธนาคาร กสิกรไทย ได้คะแนนจากการประกาศนโยบายคุม้ ครองความเป็นมารดา (ข้อ 3) แต่มีเพียงธนาคารกรุงเทพและธนาคารกรุงไทยที่ได้คะแนนเต็ม ในข้อนี้ เนื่องจากนโยบายคุ้มครองความเป็นมารดาของทั้งสองธนาคาร สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินครบทุกเงื่อนไข ได้แก่ การให้สิทธิ พนักงานหญิงทีล่ าคลอดได้รบั ค่าจ้างเต็มจำ�นวนในช่วงก่อนและหลังคลอด รวมกันสูงสุด 98 วัน โดยได้สทิ ธิในการกลับมาทำ�งานในตำ�แหน่งเดิมหรือ ตำ�แหน่งทีไ่ ด้รบั ค่าตอบแทนไม่นอ้ ยกว่าเดิม และการจัดให้มพี นื้ ทีห่ รือสิง่ อำ�นวยความสะดวกสำ�หรับพนักงานที่เป็นคุณแม่สำ�หรับปั๊มนํ้านม ธนาคารกรุงเทพ เปิดเผยขัน้ ตอนชัดเจนในการจัดการกับข้อร้องเรียน ของพนักงานและแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงาน รวมทั้งจัดให้มีการ ปรึกษาข้อร้องทุกข์กับสหภาพแรงงาน ซึ่งกำ�หนดแนวปฏิบัติที่ชัดเจน (ข้อ 4) ทำ�ให้ได้คะแนนข้อนี้เป็นปีแรก ธนาคารกรุงไทย เคยได้คะแนนในปีก่อนจากการมีนโยบายกำ�หนด ให้ลูกค้ารับรองสิทธิในการรวมกลุ่มและตระหนักอย่างมีประสิทธิผลใน สิทธิในการรวมกลุ่มต่อรอง (ข้อ 5) การกำ�หนดให้ลูกค้าไม่ยอมรับการ — 15 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
เลือกปฏิบัติในการจ้างงานและในที่ทำ�งาน (ข้อ 8) และการกำ�หนดให้ ลูกค้ามีระบบการบริหารจัดการที่สามารถติดตามได้อย่างชัดเจน และ แก้ไขการปฏิบัติตามมาตรฐานแรงงานตามกฎหมายแรงงานเมื่อจำ�เป็น (ข้อ 16) แต่ในปีนี้ไม่พบว่ามีการเปิดเผยนโยบายดังกล่าวเป็นสาธารณะ จึงทำ�ให้ไม่ได้คะแนนในข้อดังกล่าว ธรรมชาติิ
ธนาคารกรุงเทพ กำ�หนดปัจจัยที่ใช้พิจารณาความเสี่ยงและผล กระทบด้านสิง่ แวดล้อมและสังคมของสินเชือ่ โครงการทีอ่ าจก่อผลกระทบ ต่อพืน้ ทีท่ มี่ ที รัพยากรธรรมชาติทอี่ ดุ มสมบูรณ์ เช่น พืน้ ทีท่ ไี่ ด้รบั การขึน้ ทะเบียนเป็นมรดกโลก (UNESCO World Heritage) และพื้นที่ชุ่มนํ้าที่มี ความสำ�คัญระหว่างประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands) และ กำ�หนดให้ลูกค้าต้องจัดให้มีการบริหารจัดการความเสี่ยงและผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมของโครงการที่มีความเสี่ยงในระดับสูง และ จัดทำ�รายงานประเมินผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมและสังคมทีไ่ ด้มาตรฐาน รวมถึงกำ�หนดรายการสินเชือ่ ต้องห้ามสำ�หรับโครงการหรือกิจกรรมทีอ่ าจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมอย่างรุนแรง โดยไม่มมี าตร การป้องกันและแก้ไขผลกระทบ และไม่มกี ารรับฟังความคิดเห็นของผูม้ ี ส่วนได้เสีย จึงทำ�ให้ได้คะแนนในหมวดธรรมชาติ ข้อ 4 และข้อ 5 เป็น ปีแรก ธนาคารไทยพาณิชย์ เคยได้คะแนนในปีกอ่ นจากการกำ�หนดรายการ สินเชื่อต้องห้ามสำ�หรับการค้าพืชและสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ตามเงื่อนไขใน อนุสญ ั ญาไซเตส (CITES) (ข้อ 7) แต่ในปีนไ้ี ม่พบว่ามีการเปิดเผยนโยบาย ดังกล่าวเป็นสาธารณะ จึงทำ�ให้ไม่ได้คะแนนในข้อดังกล่าว — 16 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
อาวุุธ
ธนาคารกสิกรไทย ขยายขอบข่ายนโยบายไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าทุ่น ระเบิดสังหารบุคคล (anti-personnel landmines) รวมถึงส่วนประกอบ สำ�คัญของทุน่ ระเบิดสังหารบุคคล (ข้อ 1) และนโยบายไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และ การค้าระเบิดลูกปราย (cluster munitions) รวมถึงส่วนประกอบสำ�คัญ ของระเบิดลูกปราย (ข้อ 2) ครอบคลุมไปถึงนโยบายบริษทั จัดการลงทุน (บลจ.) ในเครือของธนาคาร จึงทำ�ให้ได้คะแนนในข้อนีเ้ พิม ่ ขึน้ จากปีกอ่ น ขณะที่ธนาคารไทยพาณิชย์ ไม่พบว่ามีการเปิดเผยนโยบายดังกล่าว ในปีนี้ จึงทำ�ให้ไม่ได้คะแนนในข้อดังกล่าว การคุ้้�มครองผู้้�บริิโภค
ในหมวดนี้มีการปรับปรุงเกณฑ์การประเมินในข้อ 8 ซึ่งกำ�หนดให้ ธนาคารประกาศว่าจะสือ่ สารเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์และบริการของตนอย่าง เป็นธรรมและโปร่งใส ด้วยภาษาที่เข้าใจและเข้าถึงได้ง่าย และคำ�นึงถึง ผูพ้ กิ ารและกลุม่ เปราะบาง โดยมีเพียงธนาคารกรุงเทพเพียงแห่งเดียวที่ ยังคงรักษาระดับคะแนนเต็มในข้อนี้ไว้ได้ เนื่องจากมีการระบุถึงแนว ปฏิบัติในการให้บริการแก่กลุ่มเปราะบางที่ชัดเจน เช่น “การนำ�เสนอ ผลิตภัณฑ์และบริการทีเ่ หมาะสมกับลูกค้าต้องพิจารณาถึงความประสงค์ ความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ ความสามารถทางการเงิน และความสามารถใน การทำ�ความเข้าใจของลูกค้าเป็นสำ�คัญ การอธิบายรายละเอียด เงือ่ นไข สิทธิและข้อยกเว้น ต้องชัดเจนและเข้าใจได้ง่าย โดยเน้นข้อความหรือ ขีดเส้นใต้ขอ้ ความทีส่ ำ�คัญ พนักงานต้องพูดช้า ชัดเจน เสียงดัง ใช้ภาษา — 17 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ทีเ่ ข้าใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน เน้นยํา้ จุดทีส่ ำ�คัญ และหากลูกค้ามีขอ้ สงสัยเพิม่ เติม ให้พนักงานอธิบายหรือให้คำ�แนะนำ�แก่ลูกค้าจนมั่นใจว่าลูกค้า ปราศจากข้อสงสัย พนักงานต้องให้เวลาแก่ลูกค้ากลุ่มเปราะบางในการ ทำ�ความเข้าใจและไม่เร่งรัดให้ตัดสินใจ เป็นต้น” นอกจากนี้ ธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารเดียวที่ประกาศว่าจะแจ้ง ลูกค้าอย่างทันท่วงทีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าธรรมเนียม (ข้อ 14) โดย ระบุแนวปฏิบัติในการแจ้งเปลี่ยนเงื่อนไขการให้บริการ หรือแจ้งเตือนที่ สำ�คัญต่างๆ ในเอกสารแสดงข้อมูลผลิตภัณฑ์ (Sales Sheet) ว่า “ในกรณี ที่มีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้บริการที่มีผลกระทบต่อการใช้บริการ ของลูกค้า ธนาคารจะมีการสือ่ สารหรือแจ้งข้อมูลอันเป็นสาระสำ�คัญของ การเปลีย่ นแปลงให้ลกู ค้าทราบล่วงหน้าในระยะเวลาทีเ่ พียงพอ เช่น 30 วัน ผ่านช่องทางต่างๆ ของธนาคาร” การขยายบริิการทางการเงิิน
ธนาคารไทยพาณิชย์ เคยได้คะแนนในปีก่อนจากการประกาศแนว ปฏิบัติในการเปิดเผยสิทธิของลูกค้าและความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์หรือ บริการ (รวมถึงความเสีย่ งทีจ่ ะเป็นหนีเ้ กินตัว) สำ�หรับกลุม่ ลูกค้าเปราะบาง ผูท้ มี่ คี วามรูท้ างการเงินอย่างจำ�กัดหรือไม่มปี ระสบการณ์ดา้ นการลงทุน และผู้ที่มีข้อจำ�กัดด้านการสื่อสารหรือการตัดสินใจหรือข้อจำ�กัดทาง กายภาพ (ข้อ 6) แต่ในปีนี้ไม่พบว่ามีการเปิดเผยนโยบายดังกล่าวเป็น สาธารณะ จึงทำ�ให้ไม่ได้คะแนนในข้อดังกล่าว ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารทหารไทยธนชาต มีผลิตภัณฑ์และ บริการทีช่ ว่ ยให้สตรีและผูป้ ระกอบการสตรีเข้าถึงการเงินและบริการของ ธนาคารได้มากขึ้น (ข้อ 14) — 18 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ความโปร่่งใสและการรัับผิิด
ธนาคารกรุงไทย ระบุวา่ รายงานความยัง่ ยืนได้รบั การตรวจทานจาก บุคคลที่สาม (ข้อ 19) จึงทำ�ให้ได้คะแนนข้อนี้เป็นปีแรก นอกจากนี้ ธนาคารกรุงไทยปรับปรุงนโยบายสำ�หรับกลไกรับเรื่อง ร้องเรียน ซึ่งเดิมครอบคลุมเฉพาะเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และ บริการของธนาคาร ให้ครอบคลุมถึงเรื่องร้องเรียนที่เกิดจากกิจกรรมที่ สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินด้วย (ข้อ 24) จึงทำ�ให้ได้ คะแนนในข้อนี้เพิ่มขึ้นจากปีก่อน
— 19 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ตารางที่ 1 นโยบายที่มีการเปลี่ยนแปลงน่าสนใจของสถาบันการเงิน ที่ได้คะแนนสูงสุด 5 อันดับแรก ◆ ธนาคารได้คะแนนเกณฑ์การประเมินใหม่ในปี 2566 ⬆︎ ธนาคารได้คะแนนในปี 2566 เพิ่มขึ้นจากปีก่อน
● ธนาคารได้คะแนนต่อเนื่องจากปีก่อน (คะแนนเท่าเดิม) ⬇︎ ธนาคารได้คะแนนในปี 2566 ลดลงจากปีก่อน
✗ ธนาคารเคยได้คะแนนในปีก่อน แต่ไม่ได้คะแนนในปี 2566
6
สถาบันการเงินวัดและเปิดเผยผลกระทบที่เกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตามแนวทาง ที่แนะนำ�โดย Task Force on Climate-related
TTB
KBANK
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
หมวด: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
⬆︎ ● ⬆︎ ●
Financial Disclosures
7
สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและ ไม่ลงทุนกับบริษัทที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาเหมือง ถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal) แห่งใหม่
◆
◆ ◆
8
สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและ ไม่ลงทุนกับบริษัทที่มีส่วนร่วมในการพัฒนา โรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่
◆
◆ ◆
12
สถาบันการเงินมีกลยุทธ์การยกเลิกการสนับสนุน ถ่านหินที่มีกรอบเวลาชัดเจน และสอดคล้องกับ การจำ�กัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส
— 20 —
◆ ◆
16
25
สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและ ไม่ลงทุนกับบริษัทที่มีธุรกิจการสกัดนํ้ามันจาก ทรายนํ้ามัน (tar sands)
◆
TTB
KBANK
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
◆ ◆
การผลิตวัสดุชีวภาพ (biomaterials) เป็นไปตาม หลักการ 12 ข้อ ของ Roundtable on
⬆︎
Sustainable Biomaterials (RSB)
6
7
TTB
KBANK
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
หมวด: การทุจริตคอร์รัปชัน
สถาบันการเงินรายงานการมีส่วนร่วมในกระบวนการ ตัดสินใจของการกำ�หนดปทัสถานระหว่างประเทศและ ⬆︎ ● ⬆︎ ● ● กระบวนการออกกฎหมาย (พฤติกรรมการล็อบบี)้ สถาบันทางการเงินมีนโยบายต่อต้านการจ่ายเงิน บริจาคหรืออุดหนุนนักการเมืองหรือพรรคการเมือง (political contributions)
◆
◆ ◆ ◆
3
สถาบันการเงินมีการจัดฝึกอบรมเรื่องอคติทางเพศและ ◆ การเลือกปฏิบัติระหว่างเพศในสถานที่ทำ�งาน
— 21 —
TTB
KBANK
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
หมวด: ความเท่าเทียมทางเพศ
◆ ◆ ◆
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
⬆︎ ●
TTB
KBANK
✗
KBANK
⬆︎
KTB
บริษัทมีนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ที่ครอบคลุม
KTB
2
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
หมวด: สุขภาพ
TTB
SCB
BBL
หมวด: สิทธิมนุษยชน ข้อ
เกณฑ์
2
สถาบันการเงินมีนโยบายไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติ ทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในกระบวนการ จ้างงานและในการปฏิบัติงาน ทั้งบนฐานของ เพศสภาวะ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ รสนิยมทางเพศ และสมรรถภาพทางกาย
● ⬆︎ ● ● ●
11
บริษัทให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษกับการเคารพสิทธิเด็ก
✗
12
บริษัทให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษกับการเคารพสิทธิ ของผู้พิการ
✗
●
KBANK
เกณฑ์ สถาบันการเงินเคารพในคำ�ประกาศของ ILO ว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในที่ทำ�งาน (ILO Declaration on Fundamental Principles
● ●
✗
● ●
and Rights at Work)
— 22 —
TTB
KTB
1
BBL
ข้อ
SCB
หมวด: สิทธิแรงงาน
TTB
KBANK
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
3
สถาบันการเงินเคารพในอนุสัญญาว่าด้วยการ คุ้มครองความเป็นมารดา (Maternity Protection Convention) ขององค์การแรงงานระหว่าง ประเทศ (ILO)
◆ ◆ ◆ ◆
4
สถาบันการเงินมีขั้นตอนชัดเจนในการจัดการกับ ข้อร้องเรียนของพนักงานและแก้ปัญหาการละเมิด สิทธิแรงงาน โดยควรให้ความสำ�คัญกับการปรึกษา หารือกับสหภาพแรงงาน
⬆︎
5
บริษัทรับรองสิทธิในการรวมกลุ่มและตระหนักอย่าง มีประสิทธิผลในสิทธิในการรวมกลุ่มต่อรอง
●
✗
● ●
8
บริษัทไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและ ในที่ทำ�งาน
●
✗
●
16
บริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่สามารถติดตามได้ อย่างชัดเจน และแก้ไขการปฏิบัติตามมาตรฐานแรงงาน ตามกฎหมายแรงงานเมื่อจำ�เป็น
✗
— 23 —
TTB
⬆︎
KBANK
4
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อพื้นที่มรดกโลก ยูเนสโก (UNESCO World Heritage) ภายในเขต ปฏิบัติการของบริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
หมวด: ธรรมชาติ
● ● ●
TTB
KBANK
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
5
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อพื้นที่อนุรักษ์ตาม อนุสัญญาแรมซาร์ว่าด้วยพื้นที่ชุ่มนํ้าที่มีความสำ�คัญ ระหว่างประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands) ภายในเขตปฏิบัติการของบริษัทและ พื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ
⬆︎
7
การค้าพืชและสัตว์ใกล้สูญพันธุ์เป็นไปตามเงื่อนไข ในอนุสัญญาไซเตส (CITES)
●
✗
● ● ●
● ● ●
เกณฑ์
SCB
KTB
1
สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้า ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล (anti-personnel landmines) รวมถึงส่วนประกอบสำ�คัญของทุ่นระเบิดสังหารบุคคล
●
✗
● ⬆︎ ●
2
สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าระเบิดลูกปราย (cluster munitions) รวมถึงส่วนประกอบสำ�คัญของระเบิดลูกปราย
●
✗
● ⬆︎ ●
— 24 —
TTB
ข้อ
BBL
KBANK
หมวด: อาวุธ
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
TTB
KBANK
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
หมวด: การคุ้มครองผู้บริโภค
8
สถาบันการเงินประกาศว่าจะสื่อสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริการของตนอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส ● ⬇︎ ⬇︎ ⬇︎ ⬇︎ ด้วยภาษาที่เข้าใจและเข้าถึงได้ง่าย และคำ�นึงถึง ผู้พิการและกลุ่มเปราะบาง
14
สถาบันการเงินประกาศว่าจะแจ้งลูกค้าอย่างทันท่วงที เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าธรรมเนียม
⬆︎
6
สถาบันการเงินมีนโยบายเปิดเผยสิทธิของลูกค้า และความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์หรือบริการ (รวมถึง ความเสี่ยงที่จะเป็นหนี้เกินตัว) สำ�หรับลูกค้า ที่ไม่รู้หนังสือและ MSME
✗
14
สถาบันการเงินมีผลิตภัณฑ์และบริการที่ช่วยให้สตรี และผู้ประกอบการสตรีเข้าถึงการเงินและบริการ ของธนาคารได้มากขึ้น
◆
— 25 —
TTB
KBANK
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
หมวด: การขยายบริการทางการเงิน
◆
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
TTB
KBANK
KTB
เกณฑ์
SCB
ข้อ
BBL
หมวด: ความโปร่งใสและความรับผิด
19
รายงานความยั่งยืนของสถาบันการเงินได้รับ การตรวจทานจากบุคคลที่สาม
● ● ⬆︎ ● ●
24
สถาบันการเงินมีกลไกรับเรื่องร้องเรียนสำ�หรับ ปัจเจกบุคคลและชุมชนที่อาจได้รับผลกระทบทางลบ จากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงิน และ กลไกนั้นรวมถึงกิจกรรมที่สถาบันการเงิน ให้การสนับสนุนทางการเงินด้วย
● ● ⬆︎ ● ●
— 26 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
สรุุปผลการประเมิินธนาคาร 6 ปีี ระหว่่างปีี พ.ศ. 2561–2566
การเปลีย่ นแปลงของคะแนนประเมินตลอด 6 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2561– 2566 สามารถแสดงเป็นกราฟได้ดังนี้ 50%
40%
30%
20%
10%
0%
2561
2562 TTB KBANK
KTB SCB
2563
2564
BBL BAY
GSB KKP
2565 TISCO SMEB
2566 BAAC
แผนภูมิที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของคะแนนประเมินตลอด 6 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2561–2 566
— 27 —
นโยบายที่่�ธนาคารประกาศในช่่วง รัับฟัังความคิิดเห็็น ปีี พ.ศ. 2566
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
แนวร่วมฯ จัดให้มีกระบวนการหารือและรับฟังความคิดเห็นจาก ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจทีเ่ ข้าร่วมการประเมินตาม เกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำ�ปี พ.ศ. 2566 ระหว่าง วันที่ 20 กันยายน–17 พฤศจิกายน 2566 โดยในช่วงรับฟังความคิดเห็น ดังกล่าว พบว่ามีธนาคารถึง 6 แห่ง ที่สามารถปรับปรุงและเปิดเผย นโยบายด้านความยัง่ ยืนทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์การประเมินเพิม่ ขึน้ ในช่วง รับฟังความคิดเห็น คิดเป็นจำ�นวนรวมถึง 26 ข้อ โดยธนาคารที่มีการ ปรับปรุงและเปิดเผยนโยบายด้านความยั่งยืนที่สอดคล้องกับเกณฑ์การ ประเมินเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ ในช่วงรับฟังความคิดเห็น ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ จำ�นวน 8 ข้อ รองลงมา ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย จำ�นวน 6 ข้อ ธนาคาร ทหารไทยธนชาต จำ�นวน 4 ข้อ ธนาคารไทยพาณิชย์ และธนาคารกสิกร ไทย มีจำ�นวนเท่ากัน คือ 3 ข้อ และธนาคารออมสิน จำ�นวน 2 ข้อ สามารถสรุปรายละเอียดได้ ดังนี้ ธนาคารกรุุงเทพ
ธนาคารจัดทำ�รายงานตามคำ�แนะนำ�ของ Task Force on Climate- related Financial Disclosures (TCFD) โดยจั ด ตั้ ง คณะกรรมการ / คณะทำ�งาน เพือ่ การดำ�เนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และการ กำ�หนดกลยุทธ์ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่ยังไม่มีการวัด และเปิดเผยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในพอร์ตของธนาคาร จึง ทำ�ให้ได้คะแนนบางส่วนในข้อ 6 หมวดการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดการทุจริตคอร์รัปชัน ข้อ 6 จาก การรายงานว่าไม่มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการล็อบบี้ หรือสนับสนุนกิจกรรม ทางการเมือง พรรคการเมือง นักการเมือง ผู้สมัครรับเลือกตั้ง หรือผู้มี — 30 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
บทบาททางการเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อม ธนาคารนำ�มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO45001 มาใช้ประกอบการพิจารณาอนุมต ั สิ นิ เชือ่ โครงการ ซึง่ สะท้อน ให้เห็นว่าธนาคารกำ�หนดให้ลูกค้าของธนาคารมีนโยบายความปลอดภัย และอาชีวอนามัยทีค่ รอบคลุม จึงทำ�ให้ได้คะแนนเพิม่ ขึน้ ในหมวดสุขภาพ ข้อ 2 และหมวดสิทธิแรงงาน ข้อ 12 ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดสิทธิแรงงาน ข้อ 3 จากการ ประกาศนโยบายการคุ้มครองความเป็นมารดาสอดคล้องตามเกณฑ์ที่ กำ�หนด ได้แก่ การให้สิทธิพนักงานหญิงที่ลาคลอดได้รับค่าจ้างเต็ม จำ�นวนในช่วงก่อนและหลังคลอดรวมกันสูงสุด 98 วัน โดยได้สิทธิ ในการกลับมาทำ�งานในตำ�แหน่งเดิมหรือตำ�แหน่งที่ได้รับค่าตอบแทน ไม่น้อยกว่าเดิม และการจัดให้มีบริการห้องคุณแม่สำ�หรับพนักงาน ธนาคารกำ�หนดปัจจัยที่ใช้พิจารณาความเสี่ยงและผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมและสังคมของสินเชื่อโครงการที่อาจก่อผลกระทบต่อพื้นที่ที่ มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ เช่น พื้นที่ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน เป็นมรดกโลก (UNESCO World Heritage) และพืน้ ทีช่ มุ่ นํา้ ทีม่ คี วามสำ�คัญ ระหว่างประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands) และกำ�หนดให้ ลูกค้าต้องจัดให้มกี ารบริหารจัดการความเสีย่ งและผลกระทบด้านสิง่ แวด ล้อมและสังคมของโครงการทีม่ คี วามเสีย่ งในระดับสูง และจัดทำ�รายงาน ประเมิน ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ได้มาตรฐาน รวมถึง กำ�หนดรายการสินเชือ่ ต้องห้ามสำ�หรับโครงการหรือกิจกรรมทีอ่ าจก่อให้ เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างรุนแรง โดยไม่มีมาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบ และไม่มกี ารรับฟังความคิดเห็นของผูม้ สี ว่ น ได้เสีย จึงทำ�ให้ได้คะแนนในหมวดธรรมชาติ ข้อ 4 และข้อ 5 เป็นปีแรก — 31 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ธนาคารกรุงเทพเป็นธนาคารเดียวที่ประกาศว่าจะแจ้งลูกค้าอย่าง ทันท่วงทีเมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงค่าธรรมเนียม โดยระบุแนวปฏิบตั ใิ นการ แจ้งเปลีย่ นเงือ่ นไขการให้บริการ หรือแจ้งเตือนทีส่ ำ�คัญต่างๆ ในเอกสาร แสดงข้อมูลผลิตภัณฑ์ (Sales Sheet) ว่า “ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง เงื่อนไขการให้บริการที่มีผลกระทบต่อการใช้บริการของลูกค้า ธนาคาร จะมีการสื่อสารหรือแจ้งข้อมูลอันเป็นสาระสำ�คัญของการเปลี่ยนแปลง ให้ลกู ค้าทราบล่วงหน้าในระยะเวลาทีเ่ พียงพอ เช่น 30 วัน ผ่านช่องทาง ต่างๆ ของธนาคาร” จึงทำ�ให้ได้คะแนนในหมวดการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ข้อ 14 ตารางที่ 2 ข้อที่ธนาคารกรุงเทพได้คะแนนเพิ่มขึ้นในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ
เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
6
สถาบันการเงินวัดและเปิดเผยผลกระทบที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ตามแนวทางที่แนะนำ�โดย Task Force on Climate-related Financial Disclosures
หมวด: การทุจริตคอร์รัปชัน 6
สถาบันการเงินรายงานการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจของ การกำ�หนดปทัสถานระหว่างประเทศและกระบวนการออกกฎหมาย (พฤติ กรรมการล็อบบี)้ หมวด: สุขภาพ
2
บริษัทมีนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่ครอบคลุม หมวด: สิทธิแรงงาน
3
สถาบันการเงินเคารพในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองความเป็นมารดา (Maternity Protection Convention) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO)
— 32 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ข้อ
เนื้อหาเกณฑ์
12
บริษัทมีนโยบายสุขภาพและความปลอดภัยที่ดี หมวด: ธรรมชาติ
4
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อพื้นที่มรดกโลกยูเนสโก (UNESCO World Heritage) ภายในเขตปฏิบัติการของบริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ
5
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อพื้นที่อนุรักษ์ตามอนุสัญญาแรมซาร์ ว่าด้วยพื้นที่ชุ่มนํ้าที่มีความสำ�คัญระหว่างประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands) ภายในเขตปฏิบัติการของบริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ หมวด: การคุ้มครองผู้บริโภค
14
สถาบันการเงินประกาศว่าจะแจ้งลูกค้าอย่างทันท่วงทีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ค่าธรรมเนียม
ธนาคารกรุุงไทย
ธนาคารได้คะแนนเพิม่ ขึน้ ในหมวดการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ข้อ 2 และข้อ 6 จากการเปิดเผยการวัดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตามมาตรฐาน Partnership for Carbon Accounting Financials (PCAF) และผลกระทบเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ซึง่ เป็นไปตาม แนวทางที่แนะนำ�โดย TCFD รวมถึงมีการกำ�หนดเป้าหมายและเปิดเผย ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีเ่ ชือ่ มโยงกับพอร์ตบางส่วนทีธ่ นาคาร ให้การสนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน ธนาคารได้คะแนนเพิม่ ขึน้ ในหมวดความเท่าเทียมทางเพศ ข้อ 3 โดย เปิดเผยว่าได้จัดฝึกอบรมเรื่องอคติทางเพศและการเลือกปฏิบัติระหว่าง เพศในสถานที่ทำ�งาน ในหมวดสุขภาพ ข้อ 1 ธนาคารเคยได้คะแนนในปีกอ่ นจากการเปิด — 33 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
เผยว่า การให้การสนับสนุนทางการเงินจะให้เฉพาะบริษทั ทีป่ อ้ งกันไม่ให้ สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการผลิตของบริษทั (ตามหลักความรอบคอบ—precautionary principle) แต่ในช่วงการประเมิน ผล ไม่พบแนวปฏิบัติดังกล่าวที่เปิดเผย ต่อสาธารณะ คณะวิจยั จึงได้หารือกับธนาคารเพิม่ เติมในช่วงรับฟังความ คิดเห็น และธนาคารได้ปรับปรุงและประกาศแนวปฏิบัติดังกล่าวบน เว็บไซต์ของธนาคาร จึงทำ�ให้รักษาคะแนนไว้ได้ ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดสิทธิแรงงาน ข้อ 3 จากการ ประกาศนโยบายการคุ้มครองความเป็นมารดาสอดคล้องตามเกณฑ์ที่ กำ�หนด ได้แก่ การให้สิทธิพนักงานหญิงที่ลาคลอดได้รับค่าจ้างเต็ม จำ�นวนในช่วงก่อนและหลังคลอดรวมกันสูงสุด 98 วัน โดยได้สิทธิใน การกลับมาทำ�งานในตำ�แหน่งเดิมหรือตำ�แหน่งทีไ่ ด้รบั ค่าตอบแทนไม่นอ้ ย กว่าเดิม และการจัดสถานทีแ่ ละสิง่ อำ�นวยความสะดวกสำ�หรับปัม๊ นํา้ นม ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดความโปร่งใสและความรับผิด ข้อ 24 จากการปรับปรุงนโยบายสำ�หรับกลไกรับเรื่องร้องเรียน ซึ่งเดิม ครอบคลุมเฉพาะเรือ่ งร้องเรียนเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคาร ให้ครอบคลุมถึงเรือ่ งร้องเรียนทีเ่ กิดจากกิจกรรมทีส่ ถาบันการเงินให้การ สนับสนุนทางการเงินด้วย
— 34 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ตารางที่ 3 ข้อที่ธนาคารกรุงไทยได้คะแนนเพิ่มขึ้นในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ
เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2
6
สถาบันการเงินเปิดเผยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในขอบเขตที่ 1, 2 และ 3 แบบสัมบูรณ์ (absolute) ที่เชื่อมโยงกับพอร์ตบางส่วนที่ สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน สถาบันการเงินวัดและเปิดเผยผลกระทบที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ตามแนวทางที่แนะนำ�โดย Task Force on Climate-related Financial Disclosures
หมวด: ความเท่าเทียมทางเพศ 3
สถาบันการเงินมีการจัดฝึกอบรมเรื่องอคติทางเพศและการเลือกปฏิบัติ ระหว่างเพศในสถานที่ทำ�งาน หมวด: สุขภาพ
1
บริษัทป้องกันไม่ให้สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียง ถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการผลิตของบริษัท (ตามหลักความรอบคอบ—precautionary principle) หมวด: สิทธิแรงงาน
3
สถาบันการเงินเคารพในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองความเป็นมารดา (Maternity Protection Convention) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หมวด: ความโปร่งใสและความรับผิด
24
สถาบันการเงินมีกลไกรับเรื่องร้องเรียนสำ�หรับปัจเจกบุคคลและชุมชนที่อาจ ได้รับผลกระทบทางลบจากกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงิน และกลไก นั้นรวมถึงกิจกรรมที่สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินด้วย
— 35 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ธนาคารทหารไทยธนชาต
ธนาคารได้หารือกับคณะวิจัยเกี่ยวกับการประกาศนโยบายความ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม และได้ชี้แจงเพิ่มเติมว่านโยบาย ดังกล่าวกำ�หนดให้ลูกค้าต้องแสดงหลักฐานการประเมินผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) รวมถึงมีการ ประเมินความเสีย่ งด้านโอกาสทางการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และ การติดตาม/รายงานข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จึงทำ�ให้ได้คะแนน บางส่วนในหมวดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ข้อ 4 ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดความเท่าเทียมทางเพศ ข้อ 3 โดยเปิดเผยว่าได้จัดฝึกอบรมเรื่องอคติทางเพศและการเลือกปฏิบัติ ระหว่างเพศในสถานที่ทำ�งาน ในหมวดสิทธิแรงงาน ธนาคารปรับปรุงนโยบายความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคม ในประเด็นสิทธิมนุษยชนและสิทธิแรงงาน ให้มี ความเข้มข้นและสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินมากขึ้น โดยธนาคาร กำ�หนดให้ลกู ค้าต้องไม่ยอมรับการใช้แรงงานเด็กทุกรูปแบบ (ข้อ 7) และ ลูกค้าต้องมีการปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งไม่เพียงแต่ ครอบคลุมถึงพนักงานทีเ่ ป็นแรงงานข้ามชาติเท่านัน้ หากยังรวมถึงแรงงาน นอกระบบด้วย (ข้อ 14) จึงทำ�ให้ยังคงรักษาคะแนนเต็มไว้ได้
— 36 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ตารางที่ 4 ข้อที่ธนาคารทหารไทยธนชาตได้คะแนนเพิ่มขึ้นในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ
เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
4
สำ�หรับสินเชื่อโครงการขนาดใหญ่ สถาบันการเงินประเมินผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและความเสี่ยง ด้านสภาพภูมิอากาศ (climate risks) เป็นข้อมูลประกอบการประเมิน หมวด: ความเท่าเทียมทางเพศ
3
สถาบันการเงินมีการจัดฝึกอบรมเรื่องอคติทางเพศและการเลือกปฏิบัติ ระหว่างเพศในสถานที่ทำ�งาน หมวด: สิทธิแรงงาน
7
บริษัทไม่ยอมรับการใช้แรงงานเด็ก
14
บริษัทรับประกันได้ว่าแรงงานข้ามชาติและแรงงานนอกระบบจะได้รับการ ปฏิบัติอย่างเท่าเทียม และมีสภาพการทำ�งานที่เท่าเทียมกับลูกจ้างคนอื่นๆ
ธนาคารไทยพาณิิชย์์
ธนาคารปรับปรุงการรายงานข้อมูลด้านภาษี โดยธนาคารรายงาน ข้อมูลเฉพาะเจาะจงของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ (SCB) ที่สอดคล้องกับ เกณฑ์การประเมิน เช่น รายได้ กำ�ไร อัตรากำ�ลังพนักงาน สำ�หรับกิจการ ในแต่ละประเทศทีส่ ถาบันเปิดให้บริการ ครบทุกประเทศทีเ่ ปิดให้บริการ จากเดิมทีเ่ ป็นการรายงานข้อมูลรวมของกลุม่ เอสซีบเี อกซ์ (SCBX) ซึง่ เป็น บริษทั แม่ของธนาคาร ทำ�ให้ยงั รักษาคะแนนในหมวดภาษี ข้อ 1–3 ไว้ได้ — 37 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ตารางที่ 5 ข้อที่ธนาคารไทยพาณิชย์ได้คะแนนเพิ่มขึ้นในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ
เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: ภาษี
1
สถาบันการเงินรายงานรายได้ กำ�ไร อัตรากำ�ลังพนักงาน เงินอุดหนุนจากรัฐ และเงินภาษีที่จ่ายรัฐ สำ�หรับกิจการในแต่ละประเทศที่สถาบันเปิดให้บริการ ไม่ตํ่ากว่า 3 ใน 4 ของประเทศทั้งหมด และ/หรือไม่ตํ่ากว่า 3 ใน 4 ของรายได้ทั้งหมด และรายงานในทางที่สอดคล้องกับงบการเงินรวม
2
สถาบันการเงินรายงานรายได้ กำ�ไร อัตรากำ�ลังพนักงาน เงินอุดหนุนจากรัฐ และเงินภาษีที่จ่ายรัฐ สำ�หรับกิจการในแต่ละประเทศที่สถาบันเปิดให้บริการ ครบทุกประเทศทีเ่ ปิดให้บริการ และรายงานในทางทีส่ อดคล้องกับงบการเงินรวม
3
สถาบันการเงินเปิดเผยข้อมูลสินทรัพย์รวมในทุกประเทศที่เปิดให้บริการ และรายงานในทางที่สอดคล้องกับงบการเงินรวม
ธนาคารกสิิกรไทย
ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดความเท่าเทียมทางเพศ ข้อ 3 โดยเปิดเผยว่าได้จัดการฝึกอบรมเรื่องอคติทางเพศและการเลือกปฏิบัติ ระหว่างเพศในสถานที่ทำ�งาน สำ�หรับหมวดธรรมชาติ ข้อ 8 และหมวดอาวุธ ข้อ 7 เป็นข้อที่ ธนาคารเคยได้คะแนนในปีกอ่ น แต่ในช่วงการประเมินผล ไม่พบนโยบาย ที่สอดคล้องกับเกณฑ์ดังกล่าวที่เปิดเผยต่อสาธารณะ คณะวิจัยจึงได้ หารือกับธนาคารเพิม่ เติมในช่วงรับฟังความคิดเห็น และธนาคารได้ปรับ ปรุงและประกาศแนวปฏิบัติดังกล่าวบนเว็บไซต์ของธนาคาร จึงทำ�ให้ รักษาคะแนนไว้ได้ — 38 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ตารางที่ 6 ข้อที่ธนาคารกสิกรไทยได้คะแนนเพิ่มขึ้นในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ
เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: ความเท่าเทียมทางเพศ
3
สถาบันการเงินมีการจัดฝึกอบรมเรื่องอคติทางเพศและการเลือกปฏิบัติ ระหว่างเพศในสถานที่ทำ�งาน หมวด: ธรรมชาติ
8
การผลิตหรือการซื้อขายสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมสามารถทำ�ได้ก็ต่อเมื่อ ได้รับอนุญาตจากประเทศผู้นำ�เข้าสินค้าและปฏิบัติตามข้อกำ�หนดของ พิธีสารคาร์ตาเฮนา หมวด: อาวุธ
7
สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าระบบอาวุธอัตโนมัติรุนแรง (lethal autonomous weapons systems: LAWS) รวมถึงส่วนประกอบ ที่ออกแบบมาสำ�หรับ LAWS
ธนาคารออมสิิน
ธนาคารได้คะแนนบางส่วนในหมวดการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ข้อ 1 (ธนาคารได้คะแนนในหมวดนีเ้ ป็นปีแรก) เนือ่ งจากธนาคารประกาศ เป้ า หมายการลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกสุ ท ธิ เ ป็ น ศู น ย์ ภ ายในปี ค.ศ. 2050 ธนาคารได้คะแนนเพิม่ ขึน้ ในหมวดการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ข้อ 12 จาก การเปิดเผยขั้นตอนการติดตามหนี้ และรายชื่อบริษัทที่ได้รับมอบหมาย ให้เป็นตัวแทนในการทวงหนี้บนเว็บไซต์ของธนาคาร — 39 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ตารางที่ 7 ข้อที่ธนาคารออมสินได้คะแนนเพิ่มขึ้นในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ
เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
1
สถาบันการเงินกำ�หนดเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขององค์กร ทั้งทางตรงและทางอ้อม ที่สามารถวัดได้ ซึ่งสอดคล้องกับการจำ�กัดการ เพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส หมวด: การคุ้มครองผู้บริโภค
12
สถาบันการเงินตีพิมพ์เผยแพร่นโยบายหรือขั้นตอนการติดตามหนี้ และบริษัทที่ได้รับมอบหมายจากสถาบันการเงิน (บุคคลที่สาม) ให้เป็นตัวแทนในการทวงหนี้
— 40 —
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
ผลการประเมิินธนาคารไทยตามเกณฑ์์ Fair Finance Guide International ประจํําปีี พ.ศ. 2566
NK
BA
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
แนวร่วมการเงินทีเ่ ป็นธรรมประเทศไทยได้เลือกธนาคารสัญชาติไทย 11 แห่ง ตามขนาดสินทรัพย์รวมจากมากไปหาน้อย โดยอ้างอิงข้อมูล สินทรัพย์ล่าสุดที่เปิดเผยต่อสาธารณะ ดังนี้ ตารางที่ 8 รายนามของธนาคารที่ได้รับการประเมิน ธนาคารไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจําปี พ.ศ. 2566 ชื่อธนาคาร
ตัวอักษรย่อ
สินทรัพย์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 (ล้านบาท)
ธนาคารกรุงเทพ
BBL
4,559,185
ธนาคารกสิกรไทย
KBANK
4,266,003
ธนาคารกรุงไทย
KTB
3,627,348
ธนาคารไทยพาณิชย์
SCB
3,393,716
ธนาคารออมสิน*
GSB
3,153,430
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
BAY
2,759,717
ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร*
BAAC
2,232,020
ธนาคารทหารไทยธนชาต
TTB
1,772,004
ธนาคารเกียรตินาคินภัทร
KKP
553,888
ธนาคารทิสโก้
TISCO
273,932
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย*
SMED
116,661
*ข้อมูลสินทรัพย์ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2566
— 42 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ ได้แก่ เอกสารนโยบายและข้อมูล ต่างๆ ทีธ่ นาคารเปิดเผยต่อสาธารณะ ณ วันที่ 20 กันยายน 2566 และ รวมถึงข้อมูลที่ธนาคารเปิดเผยเพิ่มเติมบนเว็บไซต์ระหว่างช่วงรับฟัง ความคิดเห็น สิ้นสุด ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 อันประกอบด้วย • แบบ 56-1 One Report1 (ในกรณีทธี่ นาคารเป็นบริษทั จดทะเบียน รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) • รายงานประจำ�ปี (annual report) พ.ศ. 2565 • รายงานความยัง่ ยืน (sustainability report) หรือรายงานความรับ ผิดชอบต่อสังคมของกิจการ (CSR Report) ประจำ�ปี พ.ศ. 2565 • ข้อมูลหรือเอกสารเผยแพร่บนเว็บไซต์ธนาคาร • แถลงการณ์สาธารณะของธนาคารเอง • จดหมายข่าวที่ออกโดยธนาคารเอง (ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี)
1
One Report คือการรายงานที่รวมเนื้อหาจากรายงานประจำ�ปี (annual report) และ
แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) เข้าไว้ในรายงานเดียว (กลต. เริม่ บังคับใช้ ให้บริษัทจดทะเบียนจัดทำ�รายงานแบบดังกล่าวตั้งแต่ปี 2565)
— 43 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ขั้้�นตอนการประเมิิน
การประเมินนโยบายที่เปิดเผยต่อสาธารณะของธนาคารครั้งนี้ ใช้ เวลารวมทั้งสิ้น 6 เดือน โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ มิถุนายน–สิงหาคม 2566
คณะวิจยั ประเมินนโยบายทีธ่ นาคารเปิดเผยต่อสาธารณะ ส่งผลการ ประเมินเบือ้ งต้นพร้อมรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินให้ธนาคารทุกแห่ง กันยายน–พฤศจิกายน 2566
ช่วงเวลารับฟังความคิดเห็นและข้อมูลเพิ่มเติมจากธนาคาร ในช่วง เวลาดังกล่าว คณะวิจยั ได้เข้าพบปะหารือผลการประเมินกับธนาคาร 11 แห่ง ในจำ�นวนนีม้ ธี นาคาร 6 แห่ง ทีเ่ ปิดเผยนโยบายเพิม่ เติมบนเว็บไซต์ ของธนาคารในระดับที่เข้าข่ายได้คะแนนเพิ่ม ธันวาคม 2566–มกราคม 2567
คณะวิจยั ปรับปรุงผลการประเมิน จัดทำ�รายงาน และเผยแพร่ผลการ ประเมินสู่สาธารณะ ผ่านเว็บไซต์ www.fairfinancethailand.org หััวข้้อที่่�ใช้้ในการประเมิิน
เกณฑ์การประเมินครัง้ นีใ้ ช้ระเบียบวิธขี อง Fair Finance Guide Methodology ฉบับปี ค.ศ. 2023 ทีไ่ ด้รบ ั การปรับปรุงจากฉบับปี ค.ศ. 2021 ซึง่ คำ�อธิบายโดยละเอียดของการเปลีย่ นแปลงเกณฑ์การประเมิน สามารถ อ่านได้ในภาคผนวก ก ของรายงานฉบับนี้ ในการประเมินครัง้ ทีห่ กโดยใช้ขอ้ มูลปี พ.ศ. 2566 คณะวิจยั ประเมิน — 44 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
นโยบายธนาคารในด้านต่างๆ รวม 13 หมวด เช่นเดียวกับปี พ.ศ. 2565 โดยใช้เกณฑ์บังคับขั้นตํ่า (minimum requirement) ตาม Fair Finance Guide International จำ�นวน 10 หมวด และเกณฑ์ทางเลือก (optional) ที่เห็นว่ามีความสำ�คัญสำ�หรับประเทศไทย 3 หมวด โดยประกอบด้วย รายการต่อไปนี้2 หมวดรายประเด็็น
หมวดรายอุุตสาหกรรม
ก ารเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (28) 2. การทุจริตคอร์รัปชัน (13) 3. ความเท่าเทียมทางเพศ (20) 4. สุขภาพ (16) 5. สิทธิมนุษยชน (15) 6. สิทธิแรงงาน (19) 7. ธรรมชาติ (15) 8. ภาษี (17)
9.
1.
อาวุธ (15)
หมวดการปฏิิบััติิการภายใน
การคุ้มครองผู้บริโภค (19) 11. การขยายบริการทาง การเงิน (14) 12. นโยบายค่าตอบแทน (10) 13. ความโปร่งใสและ ความรับผิด (27) 10.
การแสดงผลการประเมินในรายงานฉบับนี้ ใช้วิธีปรับคะแนนดิบ ตามส่วน (pro rata) ให้ทุกหมวดมีผลรวมเท่ากับ 10 เพื่อความสะดวก ในการเปรียบเทียบข้ามหมวด หมายเหตุ: ตัวหนา คือหมวดบังคับขั้นตํ่า และตัวเลขในวงเล็บคือจำ�นวนข้อที่มีการให้ คะแนนในหมวดนั้นๆ 2
— 45 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
หมวดที่่�ไม่่ ใช้้ในการประเมิินสถาบัันการเงิิน เฉพาะกิิจ
เนื่องจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 3 แห่ง ปัจจุบันมีลักษณะการ ดำ�เนินธุรกิจที่แตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ คณะวิจัยจึงยกเว้นหมวด บางหมวดในการให้คะแนน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ .ก .ส .) และธนาคารพั ฒนาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มแห่ ง ประเทศไ ทย (ธนาคารเอสเอ็ ม อี ) ไม่ ป ระเมิ น ในหมวดนโยบายค่ า ตอบแทน เนื่องจากธนาคารทั้ง 3 แห่งอยู่ภายใต้การกำ�กับดูแลของ กระทรวงการคลัง ทำ�ให้ธนาคารไม่มีอำ�นาจในการกำ�หนดนโยบาย ค่าตอบแทนได้เอง คณะวิจยั ได้หารือร่วมกับ Profundo และเห็นสมควร ให้ยกเว้นการประเมินในหมวดนโยบายค่าตอบแทนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2566 2. ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ ก ารเกษตร ( ธ . ก . ส .) ไม่ ประเมินในหมวดอาวุธ เนื่องจากธนาคารไม่มีการให้บริการทางการเงิน แก่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอาวุธ 3. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศ ไทย (ธนาคารเอสเอ็มอี) ไม่ประเมินในหมวดการคุ้มครองผู้บริโภค เนื่องจากไม่มีการให้บริการทางการเงินแก่ลูกค้ารายย่อย
— 46 —
ผลการประเมิินนโยบายธนาคารพาณิิชย์์ ไทย 8 แห่่ง และสถาบัันการเงิิน เฉพาะกิิจ 3 แห่่ง ประจำำ�ปีี พ.ศ. 2566
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ผลการประเมินนโยบายของธนาคารไทย 11 แห่ง ตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International 13 หมวด ประจำ�ปี พ .ศ . 2566 โดยใช้ ข้อมูลที่ธนาคารเปิดเผยต่อสาธารณะ ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 พบว่าธนาคารได้คะแนนเฉลีย่ ลดลงจาก 33.94 คะแนน ในปี พ.ศ. 2565 เป็น 32.92 คะแนน ในปี พ.ศ. 2566 (ลดลง 0.78%) ซึง่ เป็นผลจากเกณฑ์ Fair Finance Guide International ฉบับปี ค.ศ. 2023 ที่มีการปรับปรุง เกณฑ์การประเมิน โดยมีการยกเลิกเกณฑ์การประเมินเดิม และเพิ่ม เกณฑ์การประเมินใหม่ รวมถึงเกณฑ์การประเมินมีความเข้มข้นมากขึ้น กว่าเดิม จนส่งผลให้คะแนนเฉลีย่ ในปีนลี้ ดลง (สามารถอ่านรายละเอียด เกณฑ์ Fair Finance Guide International ฉบับปรับปรุงได้ในภาคผนวก ก) สำ�หรับธนาคารที่ได้คะแนนสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ ธนาคาร ทหารไทยธนชาต (39.20%) ธนาคารกสิกรไทย (33.14%) ธนาคารกรุงไทย (30.79%) ธนาคารไทยพาณิชย์ (29.85%) และธนาคารกรุงเทพ (29.49%) โดยหากพิจารณาเฉพาะคะแนนของธนาคารพาณิชย์ 8 แห่ง พบว่า ธนาคารพาณิชย์ในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยลดลงจาก 38.32 คะแนน ในปี พ.ศ. 2565 เป็น 37.39 คะแนน ในปี พ.ศ. 2566 (ลดลง 0.03%) ขณะที่สถาบันการเงินเฉพาะกิจ 3 แห่ง พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยลดลง เช่นกันจาก 22.25 คะแนน ในปี พ.ศ. 2565 เป็น 21.01 คะแนน ในปี พ.ศ. 2566 (ลดลง 0.5%) เมื่อพิจารณาธนาคารที่ได้รับคะแนนเพิ่มขึ้นในปีนี้ พบว่าธนาคาร พาณิชย์ 8 แห่ง มีธนาคารพาณิชย์เพียง 3 แห่งเท่านัน้ ทีม่ คี ะแนนเพิม่ ขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนในปี พ.ศ. 2565 โดยธนาคารที่ได้คะแนน เพิ่มขึ้น 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร (เพิ่มขึ้น 11.85%) ธนาคารกรุงเทพ (เพิ่มขึ้น 9.26%) และธนาคารทิสโก้ (เพิ่มขึ้น 3.30%) — 48 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ขณะทีส่ ถาบันการเงินเฉพาะกิจ 3 แห่ง พบว่ามีธนาคารเพียงแห่งเดียวที่ ได้รบั คะแนนเพิม่ ขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับคะแนนในปีทหี่ า้ ได้แก่ ธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (เพิม่ ขึน้ 16.39%) เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงอันดับของธนาคารไทย 11 แห่ง พบ ว่าธนาคารส่วนใหญ่ยังคงอยู่ในอันดับเดิม ยกเว้นธนาคารกรุงเทพที่ได้ รับคะแนนเพิม่ ขึน้ จนส่งผลให้ธนาคารมีอนั ดับขยับขึน้ เป็นอันดับที่ 5 ของ การประเมินในปีน้ี และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทยทีไ่ ด้รบั คะแนนเพิม่ ขึน้ จนส่งผลให้ธนาคารมีอนั ดับขยับขึน้ เป็นอันดับที่ 10 ของการประเมินในปีนี้เช่นเดียวกัน ผลการประเมินแสดงเป็นแผนภาพในหน้าแทรกพิเศษ 1 และดูสรุป อันดับของธนาคารสําหรับปี พ.ศ. 2566 เปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2565 ได้ในหน้าแทรกพิเศษ 2 เมือ่ พิจารณาผลการประเมินรายหมวด หมวดทีธ่ นาคารทัง้ หมดได้รบั คะแนนเฉลีย่ สูงสุด 3 อันดับแรก ยังคงเป็นหมวดเดียวกันกับหมวดทีไ่ ด้ คะแนนสูงสุดในผลการประเมินนโยบายปี พ.ศ. 2565 ได้แก่ การคุม้ ครอง ผู้บริโภค ได้รับคะแนนเฉลี่ย 6.55 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน การขยายบริการทางการเงิน ได้รบั คะแนนเฉลีย่ 6.51 คะแนนจากคะแนน เต็ม 10 คะแนน และการทุจริตคอร์รปั ชัน ได้รบั คะแนนเฉลีย่ 4.79 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ขณะทีห่ มวดทีธ่ นาคารทัง้ หมดได้รบั คะแนน น้อยที่สุด 3 อันดับแรก ยังคงเป็นหมวดเดียวกันกับหมวดที่ได้คะแนน น้อยทีส่ ดุ ในผลการประเมินนโยบายปีกอ่ นเช่นกัน ได้แก่ การเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ ได้รบั คะแนน 0.82 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน สุขภาพ ได้รับคะแนน 0.55 จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และนโยบาย ค่าตอบแทน ได้รับคะแนน 0.46 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน — 49 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
อย่างไรก็ตาม เมือ่ พิจารณาการเปลีย่ นแปลงของคะแนนเฉลีย่ เปรียบ เทียบกับผลการประเมินในปี พ.ศ. 2565 พบว่ามีเพียง 4 หมวดที่มี คะแนนเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ ได้แก่ การทุจริตคอร์รปั ชัน (เพิม่ ขึน้ 0.28 คะแนน) สิทธิมนุษยชน (เพิม่ ขึน้ 0.12 คะแนน) ความเท่าเทียมทางเพศ (เพิม่ ขึน้ 0.06 คะแนน) และความโปร่งใสและความรับผิด (เพิม ่ ขึน้ 0.01 คะแนน) ขณะทีห่ มวดทีม่ คี ะแนนเฉลีย่ ลดลงมากทีส่ ดุ 3 อันดับ ได้แก่ ธรรมชาติ (ลดลง 0.45 คะแนน) สิทธิแรงงาน (ลดลง 0.34 คะแนน) และการขยาย บริการทางการเงิน (ลดลง 0.24 คะแนน) การคุ มครองผู บร�โภค การขยายบร�การทางการเง�น
-0.24 คะแนน
การทุจร�ตคอร รัปชัน
+0.28 คะแนน
อาวุธ
-0.06 คะแนน
สิทธ�มนุษยชน
+0.12 คะแนน
ความโปร งใสและความรับผิด
+0.01 คะแนน
ภาษี สิทธ�แรงงาน
-0.34 คะแนน
ความเท าเทียมทางเพศ
+0.06 คะแนน
ธรรมชาติ
-0.45 คะแนน
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
-0.04 คะแนน
สุขภาพ
-0.08 คะแนน
นโยบายค าการตอบแทน
-0.16 คะแนน
0
1 2565
2
3 +2566
4 5 -2566
6
แผนภูมิที่ 2 การเปลี่ยนแปลงคะแนนเฉลี่ยจากปี พ.ศ. 2565
— 50 —
7
8
สรุุปผลคะแนนรายหมวด และนโยบายที่่�น่่าสนใจ ประจํําปีี พ.ศ. 2566
รายละเอี ย ดคะแนนรายหมวดแสดงดั ง ต่ อ ไปนี้ โดยสามารถอ่ า นรายการหั ว ข้อทั้ ง หมดที่ มี ก าร ประเมินได้ ในภาคผนวก ก ของรายงานฉบับนี้ อนึ่ง การแสดงผลการประเมินรายหมวดทั้งหมด ในส่วนนี้ ใช้วิธีปรับคะแนนดิบตามส่วน (Pro Rata) ให้มีคะแนนรวมเท่ากับ 10 เท่ากันทุกหมวด เพื่อ ความสะดวกในการเปรียบเทียบข้ามหมวด
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
การเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ (climate change)
เกณฑ์หมวดนี้มุ่งประเมินบทบาทของธนาคารในการลดผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากการดำ�เนินงานทั้งทาง ตรงและทางอ้อมของธนาคาร เช่น การตั้งเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกของธนาคารทั้งทางตรงและทางอ้อม การวัดและเปิดเผย ผลกระทบที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตามแนวทางที่ แนะนำ�โดย Task Force on Climate-related Financial Disclosures (TCFD) การไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนกับบริษทั ทีม่ สี ว่ นร่วมใน การพัฒนาโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่ หรือธุรกิจโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่ การมีนโยบายสินเชือ่ สนับสนุนให้ธรุ กิจเปลีย่ นจากการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิล มาเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน เป็นต้น ผลการประเมินในปี พ.ศ. 2566 พบว่ามีธนาคาร 8 แห่ง ที่ได้รับ คะแนนในหมวดนี้ ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคาร กรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทย ธนชาต ธนาคารทิสโก้ และธนาคารออมสิน โดยสำ�หรับธนาคารทิสโก้ และธนาคารออมสินได้รับคะแนนในหมวดนี้เป็นปีแรกจากการกำ�หนด เป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (ข้อ 1) อย่างไรก็ตาม ธนาคารทิสโก้มีการกำ�หนดเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทีส่ อดคล้องกับเป้าหมายการจำ�กัดการเพิม่ ขึน้ ของอุณหภูมโิ ลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส จึงทำ�ให้ได้รับคะแนนเต็มในข้อนี้ ขณะที่ธนาคาร ออมสินประกาศเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายใน ปี ค.ศ. 2050 ซึง่ ไม่สอดคล้องกับเป้าหมายการจำ�กัดการเพิม่ ขึน้ ของอุณหภูมิ โลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส จึงทำ�ให้ได้รับคะแนนบางส่วน ในภาพรวมหมวดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีคะแนนเฉลี่ย — 52 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ลดลงจาก 0.86 คะแนน ในปี พ.ศ. 2565 เป็น 0.82 คะแนน ในปี พ.ศ. 2566 (ลดลง 4.65%) เนือ ่ งจากเกณฑ์ Fair Finance Guide Methodology ฉบับปรับปรุง ค.ศ. 2023 หมวดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีการ ยกเลิกเกณฑ์การประเมินเดิม 12 ข้อ และเพิ่มเกณฑ์การประเมินใหม่ 14 ข้อ ส่งผลให้ธนาคารหลายแห่งมีคะแนนลดลง ธนาคารที่มีคะแนนในหมวดนี้ลดลง ได้แก่ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และธนาคารทหารไทยธนชาต เนื่องจากมีการ ยกเลิกหัวข้อทีธ่ นาคารเคยได้รบั คะแนนจากการประกาศนโยบายการไม่ สนับสนุนทางการเงิน (Exclusion List) เช่น การไม่ให้การสนับสนุน ทางการเงินหรือไม่ลงทุนในบริษทั ทีม่ ธี รุ กิจผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน และ/ หรือเหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal) มากกว่า 20% หรือ มากกว่า 0% ของกิจกรรมทั้งหมดของบริษัท (ข้อ 8 และ 10 เดิม) การไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่บริษัทผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินที่ ไร้มาตรการลดผลกระทบ (ข้อ 15 เดิม) อย่างไรก็ตาม การประกาศนโยบาย Exclusion List ของธนาคารทัง้ 3 แห่ง ยังมีความสอดคล้องกับหัวข้อการประเมินใหม่ จึงทำ�ให้ยังได้รับ คะแนนในปีน้ี โดยธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และ ธนาคารทหารไทยธนชาต ได้รับคะแนนจากการประกาศนโยบายไม่ พิจารณาสินเชื่อที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่ (ข้อ 8) ขณะที่ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารทหารไทยธนชาต ประกาศไม่ พิจารณาสินเชื่อที่เกี่ยวข้องกับโครงการเหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal) แห่งใหม่ (ข้อ 7) รวมถึงไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน และไม่ลงทุนกับบริษทั ทีม่ ธี รุ กิจการสกัดนํา้ มันจากทรายนํา้ มัน (tar sands) (ข้อ 16) — 53 —
1.0
0.0 BAY
TISCO
KKP
GSB
BAAC
SMEB
— 54 —
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
0.00
0.00 0.00 0.00
1.25
0.87 1.15
0.57
0.45
0.42 0.42 0.38 0.58
1.92 1.92
2.0
1.54
1.5
0.96 0.77 1.07
2.44
2.59
2.59
2.5
0.38
0.63 0.68
3.0
0.00 0.00
1.0
0.38 0.54
0.42
3.65
4.0
0.12 0.23 0.27 0.41 0.86 0.82
1.5 KBANK
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
2.0 KTB
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
2.5 SCB
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.18
3.0 0.00 0.19
3.5 BBL
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0.5 0.36
4.0 0.00 0.00
0.0 0.00
0.5
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
3.5
TTB
แผนภูมิที่ 3 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ปรับ: คะแนนรวม = 10)
เฉลี่ย
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
นอกจากนี้ ธนาคารไทยพาณิชย์ยังคงได้รับคะแนนจากการเข้าร่วม เป็นสมาชิกสมาคมอีเควเตอร์ (The Equator Principles Association: EP) โดยธนาคารมีการวิเคราะห์สินเชื่อโครงการที่ต้องเข้าข่าย EPs เพื่อให้ มั่นใจว่าโครงการมีการจัดการประเด็นความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและ สังคมตามมาตรฐานสากล (ข้อ 4) สำ�หรับธนาคารที่ได้รับคะแนนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนมีทั้งหมด 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย และธนาคารกสิกรไทย โดย สำ�หรับธนาคารกสิกรไทยถือเป็นธนาคารทีไ่ ด้รบั คะแนนเพิม่ ขึน้ ค่อนข้าง มากในปีนี้ (เพิ่มขึ้น 68.18%) จากการวัดและเปิดเผยปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกตามแนวทางทีแ่ นะนำ�โดย TCFD ซึง่ มีการเปิดเผยปริมาณ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในขอบเขตที่ 1, 2, และ 3 แบบสัมบูรณ์ (absolute) ในพอร์ตโฟลิโอและสินทรัพย์ทางการเงินทัง ้ หมดของธนาคาร (ข้อ 2, 3, และ 6) ตลอดจนการประกาศนโยบายที่สอดคล้องกับหัวข้อ การประเมินใหม่ เช่น การกำ�หนดนโยบายไม่ให้การสนับสนุนทางการ เงินกับธุรกิจโรงไฟฟ้าถ่านหินทีเ่ กิดขึน้ ใหม่ รวมถึงเหมืองถ่านหิน ธุรกิจ ค้าถ่านหิน และธุรกิจอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับถ่านหิน (ข้อ 7 และ 8) การ กำ�หนดกลยุ ท ธ์ แ ละกรอบเวลาที่ ชั ด เจนในการยกเลิ ก การสนั บ สนุ น ถ่านหิน ที่สอดคล้องกับการจำ�กัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส (ข้อ 12) การทุุจริิตคอร์์รััปชััน (corruption)
เกณฑ์หมวดนีม้ งุ่ ประเมินบทบาทของธนาคารในการป้องกันการทุจริต คอร์รปั ชัน รวมถึงมีมาตรการต่อต้านการฟอกเงิน การก่อการร้าย และมี กลไกทีส่ ามารถยืนยันได้ถงึ ผูร้ บั ประโยชน์ทแี่ ท้จริง (ultimate beneficiary) — 55 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ของบริษัทลูกค้า ในหมวดนี้ธนาคารทุกแห่งได้คะแนนจากการประกาศไม่รับสินบน (ข้อ 1) มีนโยบายการต่อต้านการฟอกเงิน (ข้อ 2) ป้องกันการสนับสนุน ทางการเงินกับกลุม่ ก่อการร้าย (ข้อ 3) มีการเปิดเผยผูไ้ ด้รบั ผลประโยชน์ ที่แท้จริง (ข้อ 4) และมีมาตรฐานเพิ่มเติมเมื่อทำ�ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องทางการเมือง (ข้อ 5) ซึ่งการประกาศนโยบาย เหล่านี้เป็นการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรการป้อ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน และการ ต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย และประกาศธนาคาร แห่งประเทศไทย (ธปท.) เรื่องหลักเกณฑ์การรับฝากเงินหรือการรับเงิน จากประชาชน (Guideline on Acceptance of Deposits or Money from Customers)
ธนาคารกรุ ง เทพ (ได้ ค ะแนนเป็ น ปี แ รก ) ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ธนาคารกรุงไทย (ได้คะแนนเป็นปีแรก) ธนาคารกสิกรไทย ธนาคาร ทหารไทยธนชาต และธนาคารเกียรตินาคินภัทร (ได้คะแนนเป็นปีแรก) ได้รบั คะแนนจากการรายงานการมีสว่ นร่วมในกระบวนการตัดสินใจของ การกำ�หนดปทัสถานระหว่างประเทศและกระบวนการออกกฎหมาย (พฤติกรรมการล็อบบี)้ (ข้อ 6) ขณะที่ ธ นาคารไทยพาณิช ย์และธนาคารกสิกรไทย ประกาศรับ หลักการ UN Global Compact ซึง่ ครอบคลุมหลักการทีก่ ำ�หนดให้ธรุ กิจ ต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบ รวมถึงการขู่กรรโชกและการติดสินบน จึงทำ�ให้ได้คะแนนบางส่วนในข้อ 8 ที่กำ�หนดให้ลูกค้าของธนาคารต้อง ไม่นำ�เสนอ สัญญา เรียกร้องสินบน และข้อได้เปรียบอืน่ ๆ ทีไ่ ม่เป็นธรรม เพื่อให้ได้มาซึ่งธุรกิจและข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม — 56 —
2.50 2.50
6
0
8
4
2 8.33
TISCO
KKP
GSB
— 57 —
KBANK BAY
BAAC
SMEB
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 4 การทุจริตคอร์รัปชัน (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 4.17 4.26 4.44 4.32 4.51 4.79
4.17 4.17 4.17
4.17
4.17 4.17 4.17 4.17 4.17 3.85
4
4.17 3.85
4.17 4.17 4.62
KTB
0.00 0.00
0.00 0.00
4.17
4.17 4.17
4.17 4.17
4.17 4.17 4.17 4.17 4.17
5.83 5.77
5.00 5.00 5.00 5.00 5.38
5.00
5.38
5.00 5.00
5.00 5.00 5.42 5.00
5.00
6
4.17 4.17 4.17 3.85
SCB
0.00 0.00
5.38
10 BBL
4.17 4.17 4.17 4.17 4.17
0
4.17 4.17 4.17 4.17 4.17 4.62
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
10
8
2
TTB
เฉลี่ย
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ในหมวดนี้มีเกณฑ์การประเมินใหม่ 1 ข้อ คือ สถาบันทางการเงิน มีนโยบายต่อต้านการจ่ายเงินบริจาคหรืออุดหนุนนักการเมืองหรือพรรค การเมือง (political contributions) (ข้อ 7) โดยมีธนาคาร 7 แห่ง ทีม่ กี าร เปิดเผยนโยบายสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารทิสโก้ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารกรุงเทพ และ ธนาคารกสิกรไทย อย่างไรก็ตาม นโยบายของธนาคารกรุงเทพและ ธนาคารกสิกรไทย มีข้อยกเว้นที่ระบุว่าการจ่ายเงินบริจาคหรืออุดหนุน พรรคการเมื อ งสามารถทำ�ได้ ห ากได้ รั บ อนุ ญ าตตามกฎหมาย และ เป็นการสนับสนุนประชาธิปไตย จึงทำ�ให้ได้คะแนนในข้อนีบ้ างส่วน ขณะ ที่ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารออมสิน และ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ยัง ไม่ได้ประกาศนโยบายทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์การประเมินดังกล่าว จึงไม่ได้ คะแนนในข้อนี้ ความเท่่าเทีียมทางเพศ (gender equality)
เกณฑ์ในหมวดนีค้ าดหวังให้ธนาคารและบริษทั ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุน ทางการเงินจากธนาคารสะท้อนถึงคุณค่าความเท่าเทียมในบริบทของเพศ โดยความเท่าเทียมทางเพศ หมายถึง การมีสทิ ธิ ความรับผิดชอบ และ โอกาสทีเ่ ท่าเทียมกันโดยไม่มขี อ้ กำ�หนดด้านเพศ โดยนโยบายทีค่ าดหวัง ให้มี เช่น นโยบายไม่ยอมรับการล่วงละเมิดทางเพศ (zero-tolerance policy) นโยบายรับประกันการมีสว ่ นร่วมของสตรีในคณะกรรมการบริษทั และมาตรการส่งเสริมให้สตรีได้เข้าสู่ตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูง ในปีนธ้ี นาคาร 7 แห่ง จาก 11 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคาร — 58 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารเกียรติ นาคินภัทร ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ได้คะแนน เพิ่มขึ้น แม้เกณฑ์ประเมิน FFGI ฉบับปี 2023 ในหมวดความเท่าเทียม ทางเพศมีเกณฑ์การประเมินใหม่เพิ่มขึ้น 3 ข้อก็ตาม แสดงให้เห็นถึง พัฒนาการของธนาคารไทยในด้านนโยบายหรือแนวปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้องกับ ประเด็นความเท่าเทียมทางเพศ ผลการประเมินหมวดความเท่าเทียมทางเพศในปีนี้ พบว่าธนาคาร ส่วนใหญ่ได้คะแนนจากการประกาศนโยบายไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติ ทางเพศทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในกระบวนการจ้างงานและ ในการปฏิบตั งิ าน ทีช่ ดั เจนว่าคำ�นึงถึงความหลากหลายทางเพศ (ข้อ 1) และประกาศนโยบายไม่ยอมรับความรุนแรงทางเพศทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในทีท ่ ำ�งาน ซึง่ รวมการคุกคามทางวาจา ทางร่างกาย และ ทางเพศ (ข้อ 2) ธนาคากรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคาร ทหารไทยธนชาต ได้คะแนนจากการจัดให้มีการฝึกอบรมเรื่องอคติทาง เพศและการเลือกปฏิบัติระหว่างเพศในสถานที่ทำ�งาน ซึ่งสอดคล้องกับ เกณฑ์ข้อ 3 ซึ่งเป็นเกณฑ์ข้อใหม่ที่เพิ่มเข้ามาในปีนี้ ธนาคารกรุงไทยและธนาคารเกียรตินาคินภัทร ได้คะแนนในเกณฑ์ ข้อ 5 เป็นปีแรก ในขณะที่ธนาคารทหารไทยธนชาตได้คะแนนในข้อนี้ ต่อเนื่องจากปีก่อน จากการมีระบบการป้องกันและบรรเทาการเลือก ปฏิบัติทางเพศต่อลูกค้า ซึ่งอ้างอิงจากหลักการการให้บริการแก่ลูกค้า อย่างเป็นธรรม (market conduct) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย — 59 —
0.0
TISCO 1.03
2.0
KKP 1.55 1.61
3.0 2.65
KTB
— 60 —
KBANK
GSB
BAAC BAY
SMEB
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 5 ความเท่าเทียมทางเพศ (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 0.00
0.00 0.00 0.00
0.00
0.67 0.67
0.50
0.33
0.5
0.15 0.28 0.33
2.5 2.25
0.67
1.76
1.67
1.50
1.33
1.00 1.18 1.25
2.00
2.35 2.25
2.06 2.25
2.5
0.67 0.59 0.75
1.33
SCB 0.00 0.00
BBL
0.75
1.5 12.5
0.00 0.00 0.00
1.75
2.67
2.94 3.00
3.0
0.00 0.00 0.00
0.29
0.67 0.67 0.67 0.67 0.88
1.33 1.47
1.5
0.00 0.00 0.00 0.00
1.0 0.88 0.75
0.67 0.67
2.0
0.00 0.00 0.00
0.5 0.33
0.0 0.00
1.0
0.00 0.00 0.00
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
TTB
เฉลี่ย
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
และธนาคารออมสิน เป็นธนาคารเพียงสองแห่งที่มีสัดส่วนผู้หญิงใน ตำ�แหน่งคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารระดับสูง ไม่ ตํา่ กว่าเกณฑ์ทกี่ ำ�หนดในทุกตำ�แหน่ง โดยธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีสดั ส่วนผูห้ ญิงในตำ�แหน่งดังกล่าว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ในทุกตำ�แหน่ง (ข้อ 6) และธนาคารออมสิน มี สัดส่วนผูห้ ญิงในตำ�แหน่งดังกล่าว ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ในทุกตำ�แหน่ง (ข้อ 7) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา เป็นธนาคารเดียวทีม่ กี ารเปิดเผยสัดส่วนการ ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจที่มีผู้หญิงเป็นเจ้าของเทียบกับการ สนับสนุนทางการเงินแก่ MSMEs ทั้งหมด (ข้อ 9) โดยมีการออกผลิต ภัณฑ์ สินเชื่อจากพันธบัตรเพื่อสนับสนุน ผู้ประกอบการสตรี (Krungsri Women SME Bond) เพื่อสนับสนุนให้ผู้ประกอบการหญิงเข้าถึงบริการ ทางการเงินได้มากขึ้น ธนาคารทหารไทยธนชาต เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวที่มีนโยบาย กำ�หนดให้ลกู ค้าต้องมีการจ้างงานทีต่ อ้ งให้คา่ ตอบแทนทีเ่ ท่าเทียมกันโดย ไม่มกี ารเลือกปฏิบตั ทิ างเพศ ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่าลูกค้าต้องมีการบริหาร การจ่ายค่าตอบแทนทีเ่ ป็นธรรม (ข้อ 14) จึงทำ�ให้ได้คะแนนในข้อนีบ้ างส่วน สุุขภาพ (health)
เกณฑ์ในหมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารกำ�หนดนโยบายเพื่อพิทักษ์ สุขภาพของชุมชน ลูกจ้าง และลูกค้าของบริษัท ลูกค้าที่ธนาคารให้การ สนับสนุนทางการเงิน เช่น กำ�หนดว่าบริษทั ต้องมีมาตรการป้องกันไม่ให้ สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการผลิตของบริษทั ตามหลักความรอบคอบ (precautionary — 61 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
กำ�หนดว่าบริษทั เคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการ ผลิตและใช้สารพิษและสารอันตรายตามทีร่ ะบุใน Stockholm Convention (ว่าด้วย Persistent Organic Pollutants: POPs) กำ�หนดว่าบริษัทหาวิธี ลดการปล่อยสารอันตรายออกสูผ่ วิ ดิน นํา้ และอากาศ ด้วยการใช้เทค โนโลยีที่ดีที่สุดที่มี (best available technologies: BAT) และกำ�หนดให้ บริษทั จำ�กัดการใช้สารเคมีทมี่ ขี อ้ สงสัยในงานวิจยั วิทยาศาสตร์วา่ อาจเป็น อันต รายต่อสุขภาพ และถ้าต้องใช้ก็ใช้อย่างระมัดระวังที่สุด (ตามหลัก ความรอบคอบ) ฯลฯ ผลการประเมินในปี พ.ศ. 2566 พบว่ามีธนาคาร 4 แห่งทีไ่ ด้คะแนน ในหมวดสุขภาพ ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคาร กสิกรไทย และธนาคารทหารไทยธนชาต โดยธนาคารกรุงเทพได้รับ คะแนนในหมวดนี้เป็นปีแรก ธนาคารกรุงไทย ได้รับคะแนนจากการประกาศนโยบายการให้ สินเชื่อสำ�หรับอุตสาหกรรมเฉพาะ โดยบริษัทต้องมีมาตรการป้องกัน ไม่ให้สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอนโดยผลิต ภัณฑ์หรือกระบวนการผลิตของบริษัท ตามหลักความรอบคอบ (ข้อ 1) นอกจากนี้ ธนาคารกำ�หนดรายการธุรกิจทีธ่ นาคารจะไม่ให้การสนับสนุน ทางการเงิน (Exclusion List) ที่สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ การผลิตและการใช้สารพิษและสารอันตรายตามที่ระบุใน Stockholm Convention (ข้อ 5) และการค้าสารเคมีและของเสียเคมีตามข้อตกลง Rotterdam Convention (ข้อ 7) ธนาคารกสิกรไทย ได้รับคะแนนจากการประกาศประเภทธุรกิจที่ ธนาคารไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน (Exclusion List) ที่สอดคล้อง กับเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ การผลิต การใช้หรือการค้าที่เกี่ยวข้องกับ principle)
— 62 —
0.5
0.0
— 63 —
TISCO
KKP
GSB
BAAC
SMEB 0.55 0.63 0.55
BAY
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 6 สุขภาพ (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 0.00 0.00
0.63
1.0
0.00 0.00 0.06
1.41
1.72 1.88
2.0
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
1.5 1.41
2.50
3.02
3.0
เฉลี่ย
2.40
2.19 2.19
2.5
0.00 0.00 0.00
0.39
0.5
0.00 0.00 0.00
KBANK
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
1.0 KTB
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
1.5 SCB
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
2.0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
2.5 BBL
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
3.0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0.0
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
TTB
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
เวชภัณฑ์ สารเคมี และสารอันตรายอืน่ ๆ ทีอ่ ยูใ่ นข้อตกลงระหว่างประเทศ หรือกฎหมายของประเทศที่อยู่ระหว่างการยกเลิกการใช้หรือที่ได้ยกเลิก ไปแล้ว เช่น การนำ�เข้าและการส่งออกสารเคมีเป็นอันตรายร้ายแรงตาม ข้อตกลง Rotterdam Convention (ข้อ 7) หรือสารเคมีทมี่ ผี ลมลพิษตาม Stockholm Convention ว่ า ด้ ว ยสารมลพิ ษ ที่ ต กค้ า งยาวนาน (ข้ อ 5) นอกจากนี้ ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารเดียวทีป่ ระกาศนโยบายไม่ให้ การสนับสนุนทางการเงินกับธุรกิจการส่งออกและนำ�เข้ากากของเสียที่ ขัดต่อ Basel Convention (ข้อ 6) ธนาคารทหารไทยธนชาต ได้รับคะแนนจากการประกาศนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมในการพิจารณาให้การสนับสนุน ทางการเงิน โดยลูกค้าของธนาคารต้องรับผิดชอบในการหลีกเลี่ยงหรือ ลดความเสีย่ งและผลกระทบทีอ่ าจเกิดจากการดำ�เนินงานหรือผลิตภัณฑ์ ของบริษทั ให้สอดคล้องกับหลักความรอบคอบ (ข้อ 1) ธนาคารทหารไทย ธนชาตเป็นเพียงธนาคารเดียวที่ระบุชัดเจนเกี่ยวกับแนวปฏิบัติสำ�หรับ อุตสาหกรรมเฉพาะ โดยลูกค้าของธนาคารต้องกำ�หนดแนวทางทีช่ ดั เจน สำ�หรับการจัดการและบำ�บัดผลเสียทีเ่ กิดจากการใช้สารเคมีอย่างเหมาะสม และปลอดภัยตามหลักความรอบคอบ (ข้อ 9) ซึง่ จะช่วยควบคุมการสัมผัส สารพิษและสารเคมีต่อคนงานและชุมชนโดยรอบ และลดความเสี่ยงใน การปนเปือ้ นต่อสิง่ แวดล้อม รวมไปถึงเป็นธนาคารเดียวทีม่ กี ารประกาศ นโยบายไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การค้า หรือการขายยาสูบที่ผิดกฎหมาย และตั้งเป้าหมายในการให้ สินเชือ่ แก่อตุ สาหกรรมยาสูบเป็นศูนย์ภายในปี พ.ศ. 2566 โดยครอบคลุม ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยาสูบตั้งแต่การปลูก การผลิตและ การค้ายาสูบและผลิตภัณฑ์ยาสูบ (ข้อ 14) — 64 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ธนาคารกรุงเทพ (ได้คะแนนเป็นปีแรก) ธนาคารกสิกรไทย และ ธนาคารทหารไทยธนชาต ได้รบั คะแนนจากการประกาศนโยบายในการ ดูแลความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานที่ทำ�งานให้แก่พนักงาน (ข้อ 2) โดยนโยบายของธนาคารกรุงเทพและธนาคารกสิกรไทยอ้างอิง มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO45001 มาใช้ประกอบการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ ขณะที่นโยบายของธนาคาร ทหารไทยธนชาตกำ�หนดให้ลกู ค้าเคารพสิทธิแรงงานในเรือ่ งสุขภาพและ ความปลอดภัยในที่ทำ�งานตาม ILO Conventions ทั้งนี้ ธนาคารกรุงไทยและธนาคารทหารไทยธนชาต ได้รับคะแนน ลดลงจากการประเมินในปี พ.ศ. 2566 เนื่องจากมีการยกเลิกเกณฑ์การ ประเมินทีท่ งั้ สองธนาคารเคยได้คะแนนในปีกอ่ น คือการกำ�หนดให้ลกู ค้า พยายามอย่างต่อเนื่องที่จะยกระดับสุขภาพและความปลอดภัยของ ลูกจ้างอย่างเป็นระบบ และพัฒนาวัฒนธรรมป้องกันไว้ก่อนในองค์กร (ข้อ 3 เดิม) ส่งผลให้ทั้งสองธนาคารได้รับคะแนนรวมลดลง สิิทธิิมนุุษยชน (human rights)
เกณฑ์หมวดนีค้ าดหวังให้ธนาคารมีนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน ตาม หลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights:
และมีกลไกติดตามตรวจสอบให้ลกู หนีธ้ รุ กิจของธนาคารปฏิบตั ิ ตามหลักการชี้แนะดังกล่าวด้วย ผลการประเมินในปี พ.ศ. 2566 พบว่าธนาคารเกือบทุกแห่ง (ยกเว้น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคารพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย) ได้รับคะแนนใน UNGPs)
— 65 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
หมวดนี้ โดยธนาคารส่วนใหญ่ได้รับคะแนนจากการมีนโยบายเคารพใน สิทธิมนุษยชนตามหลักการชี้แนะว่าด้วยธุร กิจกับสิทธิมนุษยชนของ องค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) (ข้อ 1) และการมีนโยบายไม่ยอมรับการ เลือกปฏิบัติทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในกระบวนการจ้างงาน และในการปฏิบัติงาน ทั้งบนฐานของเพศสภาวะ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ รสนิยมทางเพศ และสมรรถภาพทางกาย (ข้อ 2) ธนาคารที่ ไ ด้ ค ะแนนในหมวดนี้ ม ากที่ สุ ด 3 ลำ�ดั บ แรก ได้ แ ก่ ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารไทยพาณิชย์ และธนาคารกสิกรไทย คณะวิจัยพบว่าธนาคารทั้ง 3 แห่ง มีนโยบายที่กำ�หนดให้ลูกค้าของ ธนาคารต้องให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินการด้านสิทธิมนุษยชนมากกว่า ธนาคารอื่นๆ ทั้งจากการรับหลักการสากลมาเป็นแนวปฏิบัติ และการ กำ�หนดเงื่อนไขในการให้บริการทางการเงินของธนาคาร ดังนี้ • ธนาคารทหารไทยธนชาต ซึง่ เป็นธนาคารทีไ่ ด้รบั คะแนนในหมวด สิทธิมนุษยชนสูงสุดนั้น ธนาคารกำ�หนดให้ลูกค้าต้องมีความรับ ผิดชอบในการเคารพสิทธิมนุษยชนตามกฎหมายของประเทศ รวม ถึงกรอบการดำ�เนินงานระดับโลกทีก่ ำ�หนดในหลักการชีแ้ นะว่าด้วย ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) การกำ�หนดให้ลูกค้าของ ธนาคารต้องป้องกันความขัดแย้งเรื่องสิทธิในที่ดินทำ�กิน และใช้ ทรัพยากรธรรมชาติโดยได้รบั ความยินยอมโดยสมัครใจทีเ่ ป็นอิสระ และได้รับข้อมูลล่วงหน้า (free, prior, and informed consent: FPIC) จากผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการใช้ที่ดินของธุรกิจก่อนการ — 66 —
2 1.88 2.00
SCB KTB
8
6
4
TISCO
KKP
GSB BAY
BAAC
SMEB
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 7 สิทธิมนุษยชน (ปรับ: คะแนนรวม = 10)
— 67 — 0.00
0.00 0.00 0.00 0.00
0.00 0.00 1.46
0.77
1.33 1.33
0.77 0.77 0.83
1.33
0.83
0.77 0.77 0.83 0.83
1.25 0.83 1.33 1.33
2.08
2.17
2.67 4.17
4.17
3.83 3.83
4
0.17 0.26 0.66 1.23
KBANK
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0.67 0.67
0.83 1.33 1.33
BBL
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0.00 0.00 0.00 0.00
0
0.00 0.00 0.00
0.67
0 0.00 0.00
2
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
8 7.50 7.33 7.33
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
6
TTB
เฉลี่ย
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ (ข้ อ 10) ซึ่ ง เป็ น ธนาคารเพี ย งแห่ ง เดี ยวที่ ไ ด้ รั บ คะแนนในข้อนี้ • ธนาคารไทยพาณิชย์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคมอีเควเตอร์ หรือ Equator Principles (EP) Association พร้อมนำ�หลักการ EP มาใช้ ในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม และสังคมสำ�หรับสินเชือ่ โครงการ (Project Finance) เพือ่ สนับสนุน เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) อาทิ การกำ�หนดให้ลูกค้า ของธนาคารต้องมีการระบุ ประเมิน และจัดการความเสี่ยงและ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อร่วมปกป้องสิทธิของ ชนกลุม่ น้อยในพืน้ ทีโ่ ครงการ สิทธิของชุมชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก การดำ�เนินโครงการ และ/หรือสิทธิของแรงงานที่ทำ�งานให้กับ โครงการ (ข้อ 8) • ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกสิกรไทย ได้รับหลักการข้อ ตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UN Global Compact: UNGC) ซึ่ง กำ�หนดให้การปฏิบัติงานและกลยุทธ์ของภาคธุรกิจต้องเป็นไป ตามหลักการที่ได้รับการยอมรับโดยสากล ในขอบเขตเกี่ยวกับ สิทธมนุษยชน แรงงาน สิง่ แวดล้อม ส่งผลให้ธนาคารทัง้ สองแห่ง ได้รับคะแนนจากการเคารพหลักการดังกล่าว ในเกณฑ์ข้อที่เกี่ยว ข้องกับการกำ�หนดให้ลกู ค้าของธนาคารเคารพในสิทธิม นุษยชนทุก ข้อตามหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การ สหประชาชาติ (UNGPs) รวมถึงลูกค้าของธนาคารต้องจัดให้มี กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (human rights due diligence) และต้องจัดตัง ้ หรือมีสว่ นร่วมในกลไกรับเรือ่ ง ร้องเรียนระดับปฏิบัติการจากปัจเจกและชุมชนที่อาจได้รับผล — 68 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
กระทบ ทั้งนี้จะต้องมีกระบวนการเยียวยาแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากการดำ�เนินธุรกิจดังกล่าวด้วย (ข้อ 3–7) สิิทธิิแรงงาน (labour rights)
เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายด้านสิทธิแรงงานสอด คล้องกับคำ�ประกาศขององค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ว่ า ด้ ว ยหลั ก การและสิ ท ธิ ขั้ น พื้ น ฐานในที่ ทำ�งาน นอกจากนี้ เกณฑ์การประเมินยังครอบคลุมนโยบายด้านสิทธิ แรงงานของบริษัทที่ได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากธนาคารด้วย ผลการประเมินหมวดสิทธิแรงงานในปีนี้พบว่าธนาคารส่วนใหญ่ 7 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกร ไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารออมสิน และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย มีคะแนนรวมลดลงเนือ่ งจากเกณฑ์ประเมิน FFGI ฉบับปี 2023 มีหวั ข้อ การประเมินที่เพิ่มขึ้น โดยมีเพียง 2 ธนาคาร ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ และธนาคารเกียรตินาคินภัทรที่ได้คะแนนรวมเพิ่มขึ้น ธนาคารกรุงเทพและธนาคารกรุงไทย ได้คะแนนเต็มในเกณฑ์ข้อ 3 จากการประกาศนโยบายทีส่ อดคล้องกับสาระสำ�คัญหลักในอนุสญ ั ญาว่า ด้วยการคุ้มครองความเป็นมารดา (Maternity Protection Convention) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ครบทุกเงือ่ นไข ได้แก่ การให้ สิทธิพนักงานหญิงทีล่ าคลอดได้รบั ค่าจ้างเต็มจำ�นวนในช่วงก่อนและหลัง คลอดรวมกันสูงสุด 98 วัน โดยได้สทิ ธิในการกลับมาทำ�งานในตำ�แหน่ง เดิมหรือตำ�แหน่งทีไ่ ด้รบั ค่าตอบแทนไม่นอ้ ยกว่าเดิม และการจัดให้มพี น้ื ที่ หรือสิง่ อำ�นวยความสะดวกสำ�หรับพนักงานทีเ่ ป็นคุณแม่สำ�หรับปัม๊ นํา้ นม — 69 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ขณะที่ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกสิกรไทย ได้คะแนนบางส่วน เนื่องจากนโยบายที่ธนาคารประกาศครอบคลุมเนื้อหาเพียงบางเงื่อนไข จากสาระสำ�คัญหลักของอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองความเป็นมารดา ธนาคารเกียรตินาคินภัทร ได้คะแนนในหมวดสิทธิแรงงานเป็นปีแรก โดยมีการประกาศนโยบายทีเ่ กีย่ วกับการแจ้งเบาะแสการกระทำ�ผิด โดย ระบุชอ่ งทางในการแจ้งข้อมูล ร้องเรียนหรือแจ้งเบาะแสของพนักงานรวม ไปถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ซึ่งครอบคลุมในประเด็นการถูกละเมิด สิทธิมนุษยชน และการจ้างงานของพนักงาน กระบวนการตรวจสอบ กระบวนการสอบสวนข้อเท็จจริงทีไ่ ด้รบั จากการแจ้งเบาะแส อีกทัง้ แสดง แผนผังกลไกการร้องเรียนผ่านช่องทางต่างๆ (ข้อ 4) ธนาคารทหารไทยธนชาต เป็นธนาคารทีไ่ ด้คะแนนสูงสุดในหมวดนี้ โดยเป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวที่มีนโยบายกำ�หนดให้ลูกค้าของธนาคาร ต้องจัดให้มสี ภาพการทำ�งานทีเ่ หมาะสม และปฏิบตั ติ อ่ พนักงาน รวมถึง พนักงานทีเ่ ป็นแรงงานต่างชาติและแรงงานนอกระบบอย่างเท่าเทียมกัน (ข้อ 14) ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารทหารไทยธนชาต ได้คะแนนจากการมีนโยบายที่กำ�หนดให้บริษัทลูกค้ามีนโยบายสุขภาพ และความปลอดภัย (ข้อ 12) แต่ธนาคารทหารไทยธนชาตเป็นธนาคาร เพียงแห่งเดียวที่ได้คะแนนเต็มในเกณฑ์ข้อนี้ เนื่องจากนโยบายของ ธนาคารทหารไทยธนชาตครอบคลุมขอบเขตการประเมินทั้งหมด ทั้ง สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อโครงการ สินทรัพย์ที่เป็นกรรมสิทธิ์ของธนาคาร และบริษัทจัดการลงทุนในเครือของธนาคาร
— 70 —
0
2
4
TISCO
KKP
GSB
BAAC
— 71 —
SMEB
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 8 สิทธิแรงงาน (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 0.89 1.19
KBANK
0.26
0.63 0.53
KTB
0.00 0.00 0.00 0.00
2.02 1.68
SCB 0.00
0.00
0.71 0.63
0.89
1.63
2.32
2.37
3.75
3.68
3.36 3.16
2.81
2.46 2.13
1.79
3.22
4
1.32
1.29
2.81 2.63
2.29 2.29
2.33 2.33 2.19
4.63 4.63 4.38
4.29
5
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
1.63
3 2.29
0.71 0.71
1.79
2
0.63
0.00
0.71
3
0.00 0.00 0.00 1.05
1 0.53
5 BBL
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0 0.00
1
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
BAY TTB
เฉลี่ย
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ธรรมชาติิ (nature)
เกณฑ์หมวดนีป้ ระเมินนโยบายเกีย่ วกับธุรกิจทีธ่ นาคารให้การสนับสนุน ทางการเงิน เกณฑ์หลายข้อมุ่งเน้นให้ธนาคารมีนโยบายสินเชื่อเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมที่สุ่มเสี่ยงต่อการสร้างผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น อุตสาหกรรมทรายนํา้ มัน และการค้าพืชและสัตว์ใกล้สญ ู พันธุท์ อี่ ยู่ ในรายการแนบท้ายอนุสัญญาไซเตส (CITES) ฯลฯ ผลการประเมินในปี พ.ศ. 2566 พบว่ามีธนาคารพาณิชย์ 6 แห่ง ได้รับคะแนนในหมวดนี้ ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และธนาคาร ทหารไทยธนชาต ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และธนาคารทหารไทย ธนชาต ได้รบั คะแนนจากการประกาศไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินกับ ธุรกิจที่มีกิจกรรมส่งผลกระทบต่อพื้นที่ซึ่งมีคุณค่าสูงต่อการอนุรักษ์ (High Conservation Values) (ข้ อ 2) ซึ่ ง เป็ น ปี แ รกที่ ธ นาคารกรุ ง ศรี อยุธยาและธนาคารทหารไทยธนชาตประกาศใช้นโยบายดังกล่าว ธนาคารกรุงไทยและธนาคารกสิกรไทย ได้คะแนนจากการประกาศ ไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินกับธุรกิจที่ก่อให้เกิดกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการทำ�ลายหรือบุกรุกระบบนิเวศที่สำ�คัญ รวมถึงพื้นที่คุ้มครองของ International Union for Conservation of Nature: IUCN (IUCN Protected
ข้อ 3) ธนาคารกสิกรไทยและธนาคารทหารไทย ได้รบั คะแนนจากการประกาศ ไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินกับกิจกรรมที่ผิดหรือเสี่ยงต่อการละเมิด กฎหมาย โดยครอบคลุมกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศและ ข้อตกลงระหว่างประเทศทีร่ ฐั บาลได้ทำ�ไว้ เช่น การผลิตหรือการซือ้ ขาย Area Category) (
— 72 —
2
0
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 9 ธรรมชาติ (ปรับ: คะแนนรวม = 10)
— 73 —
1 BAY
TISCO
KKP
GSB
BAAC
SMEB
0.00
1.50
2.00
1.67
2.50
3.00
3.50
4
0.00 0.00 0.00
2.00
3.00 3.00
3
0.00 0.00 0.00
0.00 0.00 0.00
1.50
1.50
2
0.42
0.00 0.00 0.00 0.00
1.00 1.00 1.00
6.00 6.00
6
เฉลี่ย
4.67
4.67
4.50
5
0.00 0.17 0.52 1.38 1.68 1.23
3 KBANK
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
4 KTB
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
5 SCB
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
6 BBL
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0 0.00 0.00
1
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
TTB
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม สามารถทำ�ได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจาก ประเทศผูน้ ำ�เข้าสินค้าและปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดของพิธสี ารคาร์ตาเฮนา (ข้อ 8) ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุง ศรีอยุธยา และธนาคารทหารไทยธนชาต ได้รับคะแนนจากการกำ�หนด นโยบายการให้สินเชื่อโดยนำ�ปัจจัยด้านการพิจารณาความเสี่ยงและ ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมและสังคมของสินเชือ่ โครงการในพืน้ ทีท่ ไี่ ด้รบั การขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก (UNESCO World Heritage) (ข้อ 4) และ พื้นที่ชุ่มนํ้าที่มีความสำ�คัญระหว่างประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands) (ข้อ 5) มาใช้เป็นปัจจัยในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ รวม ไปถึงมีการระบุนโยบายไม่ให้การสนับสนุนสินเชื่อในกิจกรรมค้าสัตว์ป่า และพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ซึ่งขัดต่อข้อกำ�หนดในอนุสัญญาว่าด้วยการค้า ระหว่างประเทศซึง่ ชนิดสัตว์ปา่ และพืชป่าทีใ่ กล้สญ ู พันธุ์ (CITES) (ข้อ 7) โดยธนาคารกรุงเทพได้ประกาศนโยบายทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน ในข้อย่อยที่ 4 เป็นปีแรก ธนาคารกรุงเทพและธนาคารกรุงศรีอยุธยา ประกาศนโยบายทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์การประเมินในข้อย่อยที่ 5 ในปีนี้ เป็นปีแรกเช่นเดียวกัน ธนาคารทหารไทยธนชาต เป็นธนาคารเดียวได้รบั คะแนนเต็มทัง้ สอง ปีจากการประกาศไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินกับธุรกิจที่มีการผลิต หรือกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับสัตว์ปา่ ทีอ่ ยูใ่ นบัญชีสายพันธุใ์ กล้สญ ู พันธุข์ อง IUCN (IUCN Red List of Threatened Species) (ข้อ 6) และกำ�หนดให้ ลูกค้าของธนาคารมีการป้องกันและแก้ไขการรุกรานของพันธุต์ า่ งถิน่ ตาม ทีก่ ำ�หนดใน Invasive Alien Species ซึง่ อาจเป็นความเสีย่ งต่อการคงอยู่ ของพันธุ์พื้นเมืองและความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ (ข้อ 9) — 74 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ธนาคารไทยพาณิชย์ ได้รบั คะแนนเพิม่ เติมจากการประกาศจากการ เข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคมอีเควเตอร์ (The Equator Principles Association: EP) และได้นำ�หลักการ EP 10 ประการมาใช้ในการพัฒนาระบบ การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมสำ�หรับสินเชื่อ โครงการขนาดใหญ่ของธนาคารซึง่ กำ�หนดให้ลกู ค้าของธนาคารจัดทำ�การ ประเมิน ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมว่าด้วยผลกระทบโดยรวมของโครง การขนาดใหญ่ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างน้อยตามแนวทาง ที่ระบุในมาตรฐาน GRI 304: Biodiversity 2016 หรือมาตรฐานอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง (ข้อ 13) อย่างไรก็ตาม คะแนนรวมจากการประเมินในหมวดธรรมชาติของ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุง ศรีอยุธยา และธนาคารทหารไทยธนชาตลดลง เนือ่ งจากการประเมินใน ปีนี้มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมโดยนำ�เกณฑ์ในข้อ 7 และ 8 ของการ ประเมินในปี พ.ศ. 2565 ออก ซึ่งเป็นเกณฑ์ที่ธนาคารได้รับคะแนนใน การประเมินในปีกอ่ นหน้า ส่งผลให้คะแนนรวมของทัง้ 5 ธนาคารลดลง ภาษีี (tax)
เกณฑ์ในหมวดดังกล่าวมุ่งเน้นให้ธนาคารมีกลไกและกระบวนการ ในการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับรายได้ กำ�ไร อัตรากำ�ลัง สินทรัพย์ การสนับสนุนทางการเงิน การจ่ายภาษี รวมทัง้ การให้คำ�แนะนำ�ในเรือ่ ง ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการหลบเลี่ยง ภาษีของธนาคาร และธุรกิจทีเ่ ป็นลูกค้าของธนาคารโดยใช้ประโยชน์ผา่ น โครงสร้างต่างประเทศ และการให้บริการทางการเงินแก่บริษทั ทีต่ งั้ อยูใ่ น ประเทศเขตปลอดภาษี — 75 —
0
TISCO
KKP
GSB
— 76 —
KBANK BAY
2
BAAC
SMEB
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 10 ภาษี (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 1.46 1.73 1.73
0.00
0.63 0.63 0.59
0.59 0.59 0.59
1.18 1.18 1.18
1.18
2.35 2.35
2.06 2.06 2.06
1.76 1.76
2
0.90
2.50 2.50
0.00 0.00 0.00
KTB
2.86 2.50 2.50 2.50
2.50 2.50 2.50
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0.59
3
0.00 0.00
1.25 1.25
1.25
2.94 3.13 3.13
0.00
0.00
0.59 0.00 0.00 0.29 0.29
SCB
0.00 0.00
0.00 0.00
0.59
BBL
0.00 0.00
1
0.00 0.00
3 2.50 2.50 2.50
0 0.00
1
0.63 0.63 0.63
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
5
4
TTB
5
4
เฉลี่ย
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ผลการประเมินธนาคารในปี พ.ศ. 2566 พบว่ามีธนาคาร 9 แห่ง จาก 11 แห่ง ที่ได้คะแนนในหมวดนี้ ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคาร ทิสโก้ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการ เกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ธนาคาร 8 แห่ง ได้แก่ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารทิสโก้ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ได้รบั คะแนนจากการเปิดเผยรายงานทีส่ ำ�คัญ ได้แก่ รายได้ กำ�ไร อัตรากำ�ลัง พนักงาน เงินอุดหนุนจากรัฐ และเงินภาษีที่จ่ายรัฐ สำ�หรับกิจการใน แต่ละประเทศที่สถาบันเปิดให้บริการ ไม่ตํ่ากว่า 3 ใน 4 ของประเทศ ทั้งหมด และ/หรือไม่ตํ่ากว่า 3 ใน 4 รวมทั้งรายงานครบทุกประเทศที่ เปิดให้บริการของรายได้ทั้งหมด และรายงานในทางที่สอดคล้องกับ งบการเงินรวม (ข้อ 1, 2) นอกจากนี้ ยังมีการเปิดเผยข้อมูลสินทรัพย์ รวมในทุกประเทศที่เปิดให้บริการ และรายงานในทางที่สอดคล้องกับ งบการเงินรวม (ข้อ 3) ธนาคารกรุงศรีอยุธยาและธนาคารเกียรตินาคินภัทร เป็นธนาคาร เพียงสองแห่งที่ได้คะแนนจากการประกาศว่าธนาคารจะไม่ใช้โครงสร้าง ทางภาษีที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดหรือลดภาระทางภาษีผ่านการ วางแผนหรือโครงสร้างที่ซับซ้อน และไม่ใช้ประโยชน์จากกฎหมายภาษี ในการดำ�เนินธุรกิจที่ไม่สอดคล้องต่อหลักการและเจตนาของกฎหมาย ภาษีทั้งธุรกรรมในประเทศและต่างประเทศ (ข้อ 5) — 77 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ธนาคารกรุงเทพและธนาคารไทยพาณิชย์ เปิดเผยว่าธนาคารไม่ได้ รับคำ�ตัดสินทางภาษีที่มีนัยสำ�คัญใดๆ จากหน่วยงานกำ�กับดูแลภาษีใน ปีที่ผ่านมา (ข้อ 6) อย่างไรก็ตาม ธนาคารยังไม่ได้มีการเผยแพร่ข้อมูล ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคำ�ตัดสิน ข้อหารือ หรือประเด็นภาษีที่เกี่ยวข้อง กับลูกค้าของธนาคาร จึงทำ�ให้ได้รับคะแนนบางส่วน ธนาคารทิสโก้ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร ธนาคารออมสิน ธนาคาร เพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ได้คะแนนจากการระบุวา่ ธนาคาร ไม่มีบริษัทในเครือ สาขา หรือบริษัทร่วมลงทุนใดๆ ในเขตอำ�นาจศาล (jurisdiction) ที่ไม่มีภาษีเงินได้ (ข้อ 7) อาวุุธ (arms)
เกณฑ์ในหมวดนี้มีจุดประสงค์หลักให้ธนาคารมีนโยบายไม่ให้การ สนับสนุนทางการเงินแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาวุธที่มี อานุภาพทำ�ลายล้างสูง ซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่จะเกี่ยวข้องกับการละเมิด สิทธิมนุษยชน การคอร์รัปชัน การฟอกเงิน และการก่อการร้าย ผลการประเมินในปี พ.ศ. 2566 พบว่าธนาคารทุกแห่งได้คะแนนใน หมวดนี้ เนื่องจากทุกธนาคารประกาศนโยบายไม่ให้การสนับสนุนทาง การเงินและสินเชือ่ แก่ธรุ กิจทีผ่ ลิตหรือค้า “อาวุธทีม่ อี านุภาพทำ�ลายล้าง สูง” โดยอาวุธกลุ่มดังกล่าว หมายถึง อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธชีวภาพ อาวุธเคมี หรืออาวุธอื่นใดซึ่งมีอานุภาพที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต มนุษย์ สัตว์ พืช จํานวนมากหรือต่อสิ่งแวดล้อมอย่างร้ายแรงทํานอง เดียวกับอาวุธดังกล่าว รวมทั้งระบบการส่งอาวุธ ส่วนประกอบหรือ อุปกรณ์ของอาวุธนัน้ ด้วย (ข้อ 3–6) ซึง่ การประกาศนโยบายดังกล่าวเป็น — 78 —
0
TISCO
KKP
GSB
BAAC
— 79 —
SMEB
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 11 อาวุธ (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 2.59 3.29 3.73 4.42 4.36
KBANK
0.37
2.67 2.67 2.67 2.67
KTB
0.00 0.00
SCB
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
2.67 2.67 2.67 2.67
BBL
0.00 0.00
0.00
0.00
0.00
2 1.67
1.67
4.33
3.56 4.00 4.22
3.56
3.56 3.56
3.33
2.50 2.67
2.50 2.67
2.50 2.67
2.67
2.50 2.67 2.67
2.50
6.33 6.33 6.33
6.22 6.22 6.22
6.78 6.78
6.67 6.67
8.00
8
2.50 2.67 2.67 2.67 2.67
0.00
4
0.00
4 2.50 2.67 2.67 2.67 2.67
0
0.00
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
10
6
BAY TTB
10
8
6
2
เฉลี่ย
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ไปตามพระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงิน แก่การก่อการร้าย และการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทําลายล้างสูง พ.ศ. 2559 ธนาคารกสิกรไทย เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวทีไ่ ด้รบั คะแนนเพิม่ ขึน้ ในหมวดอาวุธ เนือ่ งจากมีการขยายขอบข่ายนโยบายครอบคลุมถึงบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน กสิกรไทย จำ�กัด ซึง่ มีแนวทางการยกเว้นการ ลงทุน (exclusionary policy) ในบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง ผลิต จัดจําหน่าย หรือ จําหน่ายสินค้าในอาวุธประเภท controversial weapons เช่น อาวุธเคมี อาวุธชีวภาพ อาวุธนิวเคลียร์ รวมถึงทุ่นระเบิดสังหารบุคคล (anti-personnel landmines) ระเบิ ด ลู ก ปราย และอาวุ ธ ยุ ท โธปกรณ์ (cluster bombs or munitions) (ข้อ 1 และข้อ 2) ส่งผลให้ธนาคารได้รบ ั คะแนน ในเกณฑ์นี้เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวที่ได้รับคะแนนครบ ทุกข้อในหมวดนี้ โดยเป็นธนาคารเดียวที่ระบุว่า ธนาคารไม่สนับสนุน ทางการเงินหรือลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวกับการผลิตหรือค้าอาวุธสงคราม เช่น สินค้าทีส่ ำ�คัญสำ�หรับเป้าหมายทางการทหาร แต่ยงั สามารถใช้เป็น ผลิตภัณฑ์พลเรือน (สินค้า “dual-use”) ซึง่ ธนาคารจัดประเภทสินค้าชนิดนี้ เป็นสินค้าทางทหาร เมือ่ มีเป้าหมายทีไ่ ม่ใช่เป้าหมายทางพลเรือน (ข้อ 8) การคุ้้�มครองผู้้�บริิโภค (consumer protection)
เกณฑ์ในหมวดดังกล่าวมุ่งเน้นให้ธนาคารมีการกำ�หนดมาตรการ คุ้มครองผู้บริโภครายย่อยที่ครอบคลุม เช่น การมีนโยบายเปิดเผยสิทธิ ของลูกค้ารายย่อย และความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์และบริการ การมี นโยบายอบรมจรรยาบรรณของพนักงานและกำ�กับให้พนักงานให้บริการ — 80 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ต่อลูกค้าโดยไม่เลือกปฏิบัติ การสร้างหลักประกันว่าลูกค้ารายย่อยเข้า ถึงกลไกรับเรื่องร้องเรียนและเยียวยาที่มีกระบวนการค้นหาความจริง (due diligence) รวมไปถึงการปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม และการ หลีกเลี่ยงผลประโยชน์ทับซ้อนและมีนโยบายที่จะเปิดให้ลูกค้ารายย่อย ทีเ่ ป็นผูพ้ กิ ารหรือมีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงสาขาทางกายภาพ และบริการอิเล็กทรอนิกส์ เช่น แพลตฟอร์มออนไลน์ ได้อย่างครอบคลุม ผลการประเมินในปี พ.ศ. 2566 พบว่าธนาคารทุกแห่งได้รับคะแนน ในหมวดการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค โดยส่วนหนึง่ มาจากการปฏิบตั ติ ามเกณฑ์ การให้บริการอย่างเป็นธรรม (market conduct) ของธนาคารแห่งประเทศ ไทย (ธปท.) อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยมีการประกาศออกมา ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2562 ด้วยเหตุนธี้ นาคารส่วนใหญ่จงึ มีการประกาศนโยบาย และมาตรการคุ้มครองผู้บริโภครายย่อยที่คล้ายคลึงกัน และส่งผลให้ ธนาคารส่วนใหญ่ได้รับคะแนนในข้อเดียวกัน เช่น • ธนาคารทุกแห่งมีการประกาศนโยบายเปิดเผยสิทธิของลูกค้า รายย่อย และความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์และบริการ (ข้อ 1) • ธนาคารทุกแห่งมีการประกาศนโยบายในการจัดการข้อร้องเรียน ของลูกค้าอย่างเป็นขัน้ ตอน ตัง้ แต่ชอ่ งทางการร้องเรียน ระบบการ ดำ�เนินการข้อร้องเรียน ระยะเวลาการดำ�เนินการจัดการข้อร้อง เรียน รวมไปถึงการรายงานผลและจัดให้มกี ารเยียวยาลูกค้า (ข้อ 3) • ธนาคารทุกแห่งมีการประกาศนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ของลูกค้ารายย่อย โดยจะไม่เปิดเผยต่อบุคคลอื่นเว้นแต่ได้รับ อนุญาตจากลูกค้า (ข้อ 10) • ธนาคารทุกแห่งมีการรับประกันได้ว่าจะไม่มีข้อจำ�กัดใดๆ ด้าน — 81 —
0
TISCO
KKP
GSB
— 82 — 3.47 4.68 5.46
6.53 6.55 6.55
KTB
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
5.28 4.72
SCB
4.00 4.50
2.86
2.86
3.75
6.19
KBANK
BAAC
SMEB
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 12 การคุ้มครองผู้บริโภค (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 4.67
4.86
8.57 7.89 7.63
7.14
8.10 7.63 7.11
6.67 7.38 6.84 6.58
5.71 6.43 7.11 6.58
6.32 6.05
5.48 5.00
4.86 4.76 5.24
4.05
4.24
7.62 7.62 7.89 8.42
10
0.00 0.00
6.58
8
6.00 5.26 6.32
5.71 5.53
BBL
4.50
4.05 4.76
0
0.00 0.00
4 5.27
8
3.10
6 3.33
4
4.95 5.24 5.71 5.79 5.53
6
3.52
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
2
BAY TTB
10
2
เฉลี่ย
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
เทคโนโลยีสอื่ สาร และสารสนเทศ (ICT) ทีจ่ ะมากีดกันไม่ให้ลกู ค้า รายย่อยเข้าถึงบริการทางการเงิน (ข้อ 18) นอกจากนี้ ยังพบประเด็นโดดเด่นทีส่ ง่ ผลให้ธนาคารได้คะแนนในปีนี้ เพิ่มเติม เช่น • ธนาคารกรุงเทพ เป็นเพียงธนาคารเดียวที่มีการประกาศนโยบาย ว่าจะแจ้งลูกค้าอย่างทันท่วงทีเมื่อทางธนาคารมีการเปลี่ยนแปลง ค่าธรรมเนียมการให้บริการ (ข้อ 14) โดยระบุแนวปฏิบัติในการ แจ้งเปลี่ยนเงื่อนไขการให้บริการ หรือแจ้งเตือนที่สำ�คัญต่างๆ ใน เอกสารแสดงข้อมูลผลิตภัณฑ์ (Sales Sheet) ว่า “ในกรณีที่มีการ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการให้บริการที่มีผลกระทบต่อการใช้บริการ ของลูกค้า ธนาคารจะมีการสื่อสารหรือแจ้งข้อมูลอันเป็นสาระ สำ�คัญของการเปลี่ยนแปลงให้ลูกค้าทราบล่วงหน้าในระยะเวลาที่ เพียงพอ เช่น 30 วัน ผ่านช่องทางต่างๆ ของธนาคาร” • ธนาคารเกียรตินาคินภัทรและธนาคารออมสิน (ได้คะแนนเป็น ปีแรก) ได้รับคะแนนจากการตีพิมพ์เผยแพร่นโยบายหรือขั้นตอน การติดตามหนี้ และบริษัทที่ได้รับมอบหมายจากสถาบันการเงิน (บุคคลที่สาม) ให้เป็นตัวแทนในการทวงหนี้ (ข้อ 12) ธนาคารไทยพาณิชย์ ได้รับคะแนนลดลง เนื่องจากไม่ได้ระบุอย่าง ชัดเจนว่ามีนโยบายอบรมจรรยาบรรณของพนักงานและกำ�กับให้พนักงาน ให้บริการต่อลูกค้าโดยไม่เลือกปฏิบัติ และธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์ ก ารเกษตรไม่ได้รับคะแนนในข้อดัง กล่าวเนื่องจากไม่มีการ — 83 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ประกาศว่าจะสือ่ สารเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์และบริการของตนอย่างเป็นธรรม และโปร่งใสด้วยภาษาทีเ่ ข้าใจและเข้าถึงได้งา่ ย และคำ�นึงถึงผูพ้ กิ ารและ กลุ่มเปราะบาง (ข้อ 2) ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต และธนาคารทิสโก้ ได้รบั คะแนน ลดลงในเกณฑ์ข้อ 8 เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงสาระสำ�คัญของเกณฑ์ การประเมินอย่างมีนยั สำ�คัญ กล่าวคือ เกณฑ์ขอ้ 8 คาดหวังให้ธนาคาร ประกาศว่าจะสือ่ สารเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์และบริการของตนอย่างเป็นธรรม และโปร่งใส ด้วยภาษาทีเ่ ข้าใจและเข้าถึงได้งา่ ย และคำ�นึงถึงผูพ้ กิ ารและ กลุ่มเปราะบาง ซึ่งธนาคารส่วนใหญ่ยังไม่ได้ประกาศอย่างชัดเจนถึง รูปแบบ และแนวทางปฏิบตั ใิ นการสือ่ สารเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์และบริการ อย่างเป็นธรรมและโปร่งใส ด้วยภาษาทีเ่ ข้าใจและเข้าถึงได้งา่ ย และคำ�นึง ถึงผู้พิการและกลุ่มเปราะบาง ทั้งนี้ธนาคารกรุงเทพเป็นเพียงธนาคาร แห่งเดียวทีย่ งั คงรักษาระดับคะแนนเต็มในข้อนีไ้ ว้ได้ เนือ่ งจากมีการระบุ ถึงแนวปฏิบัติในการให้บริการแก่กลุ่มเปราะบางที่ชัดเจน เช่น การนำ� เสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่เหมาะสมกับลูกค้าต้องพิจารณาถึงความ ประสงค์ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ความสามารถทางการเงิน และความ สามารถในการทำ�ความเข้าใจของลูกค้าเป็นสำ�คัญ การอธิบายรายละเอียด เงือ่ นไข สิทธิและข้อยกเว้น ต้องชัดเจนและเข้าใจได้งา่ ย โดยเน้นข้อความ หรือขีดเส้นใต้ขอ้ ความทีส่ ำ�คัญ พนักงานต้องพูดช้า ชัดเจน เสียงดัง ใช้ ภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย ไม่ซบั ซ้อน เน้นยํา้ จุดทีส่ ำ�คัญ และหากลูกค้ามีขอ้ สงสัย เพิม่ เติม ให้พนักงานอธิบายหรือให้คำ�แนะนำ�แก่ลกู ค้าจนมัน่ ใจว่าลูกค้า ปราศจากข้อสงสัย พนักงานต้องให้เวลาแก่ลูกค้ากลุ่มเปราะบางในการ ทำ�ความเข้าใจและไม่เร่งรัดให้ตัดสินใจ ฯลฯ — 84 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
การขยายบริิการทางการเงิิน (financial inclusion)
เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายให้การสนับสนุนทาง การเงินแก่ลกู ค้าทีย่ งั เข้าไม่ถงึ บริการทางการเงินในระบบ ผูม้ รี ายได้นอ้ ย และกลุม่ เปราะบาง โดยให้บริการทางการเงินทีเ่ หมาะสม สะดวก และ ลูกค้ามีกำ�ลังซื้อ นอกจากนี้ ยังให้คะแนนธนาคารที่มีบริการทางมือถือ (mobile banking) และบริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-money) รวมถึงมี นโยบายหรือโครงการเสริมสร้างความรูเ้ รือ่ งทางการเงิน (financial literacy) แก่ลกู ค้ากลุม่ ผูม้ รี ายได้นอ้ ย กลุม่ เปราะบาง และผูป้ ระกอบการขนาดจิว๋ ขนาดย่อม และขนาดกลาง (MSME: micro-enterprise and SMEs) ในภาพรวม คะแนนเฉลี่ยในหมวดนี้ลดลงจากปีก่อน เนื่องจากมี การเพิ่มเกณฑ์การประเมินใหม่ขึ้นมา 1 ข้อ ได้แก่ การมีผลิตภัณฑ์ และบริการทีช่ ว่ ยให้สตรีและผูป้ ระกอบการสตรีเข้าถึงการเงินและบริการ ของธนาคารได้มากขึน้ (ข้อ 14) โดยมีธนาคารเพียง 3 แห่งได้รบั คะแนน ในหมวดนี้ ได้แก่ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารทหารไทยธนชาต และ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา โดยได้คะแนนจากการมีผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ดังต่อไปนี้ • ธนาคารไทยพาณิชย์ มีสนิ เชือ่ ธุรกิจรักษ์โลก ซึง่ เป็นสินเชือ่ ส่งเสริม ความยั่งยืนซึ่งรวมถึงการส่งเสริมผู้ประกอบการที่เป็นผู้หญิง (ถือ หุ้นมากกว่า50%) เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการและใช้ ประกอบธุรกิจ • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา มีพันธบัตรที่คำ�นึงถึงผู้ประกอบการสตรี เพื่อสนับสนุนให้ผู้ประกอบการสตรีเข้าถึงการเงินและบริการของ ธนาคารได้มากขึ้น — 85 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
• ธนาคารทหารไทยธนชาต กำ�หนดให้ครู่ กั เพศเดียวกันสามารถเข้า ถึงสินเชื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารได้ เพื่อส่งเสริมให้ทุกคนเข้าถึง บริการทางการเงินได้อย่างเท่าเทียม ในหมวดการขยายบริการทางการเงิน มีทงั้ หมด 6 ข้อทีท่ กุ ธนาคาร ได้คะแนน โดยหัวข้อที่ธนาคารทุกแห่งได้รับคะแนน ได้แก่ • สถาบันการเงินมีนโยบาย บริการ และผลิตภัณฑ์ทพ่ี งุ่ เป้าไปยังกลุม่ คนจนและคนชายขอบ หรือ MSME อย่างเฉพาะเจาะจง (ข้อ 1) • สถาบันการเงินมีสาขาในเขตชนบท ไม่ใช่เฉพาะในเมือง (ข้อ 2) • สถาบันการเงินมีบริการธนาคารทางมือถือ (mobile banking) และ บริการไร้เงินสด (e-money) (ข้อ 3) • สถาบันการเงินเผยแพร่เงื่อนไขของบริการทางการเงินในภาษา ท้องถิ่น (ข้อ 7) • สถาบันการเงินมีนโยบายปรับปรุงความรู้เรื่องทางการเงิน (financial literacy) ของลูกค้ากลุ่ม ผู้มีรายได้น้อย กลุ่มชายขอบ กลุ่ม เปราะบาง และ MSME (ข้อ 8) • สถาบันการเงินมีบริการรับหรือโอนเงินในประเทศที่เหมาะสม สะดวก และลูกค้ารายย่อยมีกำ�ลังซื้อ (ข้อ 12) นอกจากนี้ ธนาคารออมสินและธนาคารกสิกรไทยเป็นเพียง 2 ธนาคารที่ได้รับคะแนนจากการมีผลิตภัณฑ์สินเชื่อที่อยู่อาศัยให้กับผู้มี รายได้น้อย (ข้อ 13) เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงที่อยู่อาศัยแก่ผู้มีรายได้น้อย
— 86 —
0
TISCO
4 3.85
KKP
GSB
— 87 — 6.92
5.62
KBANK
BAAC
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
6.01 6.15 6.15 6.15 6.07
5.46 5.62 6.15
6.92 6.92 7.14
7.69 7.14
6.92
7.69 7.69 7.69 7.14
8.08 7.86
7.31
7.69 7.14
6.92
6.38
4.71 5.44 6.15
4.08
4
4.93 5.44 5.71 6.44 6.75 6.51
5.83 5.38
KTB
0.00 0.00
7.69
8 6.43
6.15
SCB
5.38 5.38 5.38 5.00
5.38
6.15 6.15 6.15 5.71
BBL
0.00 0.00
0.00 0.00
6 5.81 5.59 6.15
6.15
8
4.73 5.40
0 4.60 5.28
6
4.42 4.77 5.38 5.38 5.38 5.00
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
10
2
BAY TTB
10
2
SMEB
แผนภูมิที่ 13 การขยายบริการทางการเงิน (ปรับ: คะแนนรวม = 10)
เฉลี่ย
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
นโยบายค่่าตอบแทน (remuneration)
เกณฑ์หมวดนีม้ งุ่ เน้นการเปิดเผยโครงสร้างค่าตอบแทน และคาดหวัง ให้ธนาคารมีนโยบายการจ่ายโบนัสที่ไม่เอื้อต่อการสร้างแรงจูงใจที่ไม่ เหมาะสมแก่พนักงานและผู้บริหาร1 ผลการประเมินในปี พ.ศ. 2566 พบว่าธนาคารกสิกรไทย ธนาคาร กรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ และธนาคารทหารไทยธนชาต เป็นธนาคาร 4 แห่งที่ได้รับคะแนนในหมวดนี้ ธนาคารกสิกรไทย ได้รบั คะแนนจากการประกาศว่าค่าตอบแทนของ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการเชื่อมโยงกับผลการ ดำ�เนินงานของธนาคารด้านความยั่งยืนทั้งในการปฏิบัติงานการจัดการ และการปฏิบัติการภายใน (ข้อ 8) รวมถึงการลงทุนและการให้บริการ ทางการเงิน (ข้อ 9) เช่น การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การเติบโต ของเงินสินเชื่อเพื่อสิ่งแวดล้อม และความพึงพอใจของลูกค้า ธนาคารกรุงไทย ได้รับคะแนนในข้อนโยบายการตั้งเงินโบนัสอิง กับการปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของการปฏิบัติงาน การจัดการและการปฏิบัติการภายใน (ข้อ 8) รวมถึงการลงทุนและ การให้บริการทางการเงิน (ข้อ 9) ของสถาบันการเงิน จากการกำ�หนด ให้มีตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาค่า ตอบแทนของพนักงานทุกระดับ รวมถึงผูบ้ ริหารระดับสูง เช่น เป้าหมาย หมายเหตุ: นโยบายค่าตอบแทนของธนาคารเฉพาะกิจทัง้ 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคารออมสิน ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย อยูภ่ ายใต้การกำ�กับดูแลของกระทรวงการคลัง ทำ�ให้ธนาคารไม่มอี ำ�นาจ ในการกำ�หนดนโยบายค่าตอบแทนได้เอง คณะวิจัยได้หารือร่วมกับ Profundo และเห็น สมควรให้ยกเว้นการประเมินในหมวดการตอบแทนตั้งแต่ปี 2566 1
— 88 —
0
TISCO
KKP
GSB
— 89 —
BAY
BAAC
SMEB
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023
แผนภูมิที่ 14 นโยบายค่าตอบแทน (ปรับ: คะแนนรวม = 10)
0.18 0.41 0.56 0.90 0.62 0.46
0.67
KBANK
0.00
0.00 0.00 0.00 0.00
0.67
KTB
0.00
SCB
0.00 0.00 0.00 0.00
0.56 0.67
0.00 0.00
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0.00 0.00
1.00
1.00 1.00
1.00 1.00
1.11
1.00 0.67
1.67 1.67 1.83
1.60 1.60 1.67
1.58 1.67
2.22
2.22
2.64
3
0.00
0.00 0.00 0.00
BBL 0.00
0.56
2
0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
0.00 0.00
0.00 0.00 0.00
1
0.00 0.00 0.00
1 0.52 0.56
0
0.00
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
5
4
TTB
5
4
3
2
เฉลี่ย
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และข้อพิพาทแรงงานเป็นศูนย์ ธนาคารทหารไทยธนชาต ได้รับคะแนนในข้อนโยบายการตั้งเงิน โบนัสอิงกับการปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของการ ปฏิบัติงานการจัดการและการปฏิบัติการภายใน (ข้อ 8) รวมถึงการ ลงทุนและการให้บริการทางการเงิน (ข้อ 9) ของสถาบันการเงิน จาก การกำ�หนดให้โบนัสของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ผูบ้ ริหารและพนักงาน เชื่อมโยงกับตัวชี้วัดผลการดำ�เนินงานขององค์กรบางส่วนที่ไม่ใช่ตัวชี้วัด ทางการเงิน เช่น การให้บริการลูกค้าอย่างเป็นธรรม การรักษาความ สัมพันธ์กับพนักงาน และความยั่งยืนขององค์กร ธนาคารไทยพาณิชย์ ได้รับคะแนนจากการประกาศว่าค่าตอบแทน ของผู้บริหารระดับสูงจะพิจารณารวมตัวชี้วัดนอกเหนือผลประกอบการ อาทิ การเป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้วย ผลความสำ�เร็จอย่างต่อเนือ่ งในการก้าวสูเ่ ป้าหมายการ ปล่อยก๊าซเรือน กระจกสุทธิเป็นศูนย์ (net zero) (ข้อ 8) อย่างไรก็ตาม ธนาคารไทย พาณิชย์เคยได้รบั คะแนนจากนโยบายการตัง้ เงินโบนัสอิงกับการปรับปรุง ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของการลงทุนและการให้บริการ ทางการเงินของสถาบันการเงิน (ข้อ 9) แต่ในปีนี้ไม่พบว่ามีการเปิดเผย นโยบายดังกล่าวเป็นสาธารณะ จึงทำ�ให้ไม่ได้คะแนนในข้อดังกล่าว นอกจากการทีธ่ นาคารได้คะแนนลดลงดังทีก่ ล่าวข้างต้นแล้ว คะแนน รวมเฉลี่ยในหมวดนี้ลดลงจากปีก่อน เนื่องจากมีการยกเลิกเกณฑ์การ ประเมินบางข้อที่มีธนาคารเคยได้คะแนนในปีก่อน เช่น เงินโบนัสอย่าง น้อย 1 ใน 3 อิงกับหลักเกณฑ์ที่ไม่ใช่เกณฑ์ทางการเงิน (ข้อ 6 เดิม) และการไม่ประเมินธนาคารเฉพาะกิจทั้ง 3 แห่ง
— 90 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ความโปร่่งใสและความรัับผิิด (transparency and accountability)
เกณฑ์หมวดนี้มุ่งเน้นให้ธนาคารมีกลไกและกระบวนการในการ เปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกเงินสนับสนุน และการลงทุนของ องค์กร ผ่านการเผยแพร่ชอื่ ของรัฐบาล บริษทั โครงการ ตลอดจนพอร์ต การลงทุนต่างๆ ที่ธนาคารได้มีการไปลงทุน หรือปล่อยสินเชื่อ ตาม มาตรฐานสากลทีไ่ ด้รบั ความน่าเชือ่ ถือ นอกจากนี้ ยังมุง่ เน้นให้มกี ารเผย แพร่ข้อมูลและมีกลไกที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�รายงานความยั่งยืน การ ตรวจสอบรับรองโดยบุคคลที่สาม แนวปฏิบัติในการใช้สิทธิออกเสียงใน ประเด็นต่างๆ และการรับเรื่องร้องเรียน ผลการประเมินธนาคารในปี พ.ศ. 2566 พบว่าธนาคารส่วนใหญ่ได้ รับคะแนนในเรือ่ งการอธิบายกรอบการออกเงินสนับสนุนและการลงทุน ขององค์กร ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (ข้อ 1) การเผยแพร่สถิตกิ ารออกเสียง (ข้อ 16) การเผยแพร่รายงานความยัง่ ยืน ที่ทำ�ตามมาตรฐาน GRI 2021 (ข้อ 17–18) ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย (ได้คะแนน เป็นปีแรก) ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และธนาคาร ทหารไทยธนชาต จัดให้มีการตรวจทานรายงานความยั่งยืนโดยบุคคลที่ สาม (ข้อ 19) ธนาคารทุกแห่งมีกลไกรับเรื่องร้องเรียนสำ�หรับปัจเจกบุคคลและ ชุมชนทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบทางลบจากกิจกรรมของสถาบันการเงิน (ข้อ 24) อย่างไรก็ตาม มีธนาคารเพียงสองแห่ง ทีไ่ ด้คะแนนเต็มในข้อนี้ คือ ธนาคารกรุงไทยและธนาคารทหารไทยธนชาต เนือ่ งจากทัง้ สองธนาคาร จัดให้มีกลไกรับเรื่องร้องเรียนสำ�หรับปัจเจกบุคคลและชุมชนที่ได้รับผล — 91 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
กระทบจากกิจกรรมที่สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินด้วย หัวข้อการประเมินเรื่องการจัดให้มีกลไกรับเรื่องร้องเรียนที่เข้าถึงได้ ง่าย และอธิบายกระบวนการรับมือกับข้อร้องเรียนอย่างชัดเจน (ข้อ 25) มีความเข้มข้นมากขึน้ กล่าวคือ ธนาคารต้องได้คะแนนเต็มในหัวข้อ 24 ก่อน จึงจะมีสิทธิได้รับคะแนนเพิ่มขึ้นในข้อ 25 ส่งผลให้ธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ซึ่งแม้ว่าจะมีการระบุกรอบเวลาใน การจัดการเรือ่ งร้องเรียนผ่านช่องทางต่างๆ อย่างชัดเจน แต่กลไกรับเรือ่ ง ร้องเรียนดังกล่าวยังครอบคลุมเฉพาะปัจเจกบุคคลและชุมชนทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบทางลบจากกิจกรรมของสถาบันการเงิน ทว่ายังไม่ครอบคลุม ถึงผลกระทบจากกิจกรรมที่สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงิน จึงถูกปรับลดคะแนนในปีนี้ ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารแห่งเดียวที่ระบุชัดเจนถึงการจัดให้มี กระบวนการการร่วมมือกันระงับข้อพิพาทโดยปราศจากค่าใช้จา่ ย ครอบ คลุมทัง้ การระงับข้อพิพาทภายในและภายนอก โดยเป็นไปตามมาตรฐาน ของกระบวนการระงับข้อพิพาทนัน้ ๆ ซึง่ ทำ�ให้เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียว ที่ได้รับคะแนนในเรื่องการยินดีให้ความร่วมมือในกระบวนการร้องทุกข์ ที่เกิดขึ้นในรัฐ เมื่อกรณีที่สถาบันการเงินมีส่วนเกี่ยวข้องด้วยต้องเข้าสู่ กระบวนการร้องทุกข์ดังกล่าว (ข้อ 27) อย่างไรก็ตาม มีการยกเลิกเกณฑ์การประเมินบางข้อทีม่ ธี นาคารเคย ได้คะแนนในปีกอ่ น โดยธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต และธนาคารออมสิน ซึง่ เคยได้คะแนนจากการประกาศแนวทางการออก เงินสนับสนุนและการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางสังคมและสิ่ง แวดล้อม พร้อมทัง้ ได้รบั การตรวจสอบจากบุคคลภายนอก และเผยแพร่ ผลการตรวจสอบสู่สาธารณะ (ข้อ 2 เดิม) — 92 —
1
0
TISCO
KKP
GSB
— 93 —
BAAC
ป 2018
ป 2019
ป 2020
ป 2021
ป 2022
ป 2023 1.97 1.95 1.74 1.75
0.34 0.68
2.71
BAY
2.71 2.50 2.40 2.08
2.16 2.16 1.98 2.50 2.25 2.14
2.29 2.29 2.00
KBANK
1.10 1.43
0.50 0.50 0.24 0.75
0.00 0.00
0.80 0.80
2.50 2.66 2.34 2.05 2.40
1.70
2.29 1.88 2.00 2.08
2.10 2.10 2.40 2.40 2.10 2.19
KTB
0.22
2.00 2.00
SCB
1.50 1.30 1.46
1.60 1.35
1.40 1.67
1
0.00 0.00
0.00 0.00
2 BBL
1.88 1.88
0 1.48
3
0.34 0.68
0.34
2
1.36 1.70 1.98 1.88 1.60 1.67
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
5
4
TTB
5
4
3
SMEB
แผนภูมิที่ 15 ความโปร่งใสและความรับผิด (ปรับ: คะแนนรวม = 10)
เฉลี่ย
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
ความแตกต่่างระหว่่าง Fair Finance Guide International (FFGI) และ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI)
NK
BA
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ดัชนีความยัง่ ยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices: DJSI) จัดทำ�ขึ้นด้วยความร่วมมือของ S&P Dow Jones Indices และ RobecoSAM โดยเชิญบริษท ั จดทะเบียนขนาดใหญ่ทวั่ โลกใน 60 อุตสาหกรรม เข้าร่วมการประเมินการดำ�เนินงานด้านความยัง่ ยืน บริษทั จะถูกประเมิน ด้วยเครือ่ งมือทีเ่ รียกว่า Corporate Sustainability Assessment หรือ CSA ซึง่ ครอบคลุม 3 มิติ ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ในขณะที่ แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ (Fair Finance Guide International: FFGI) คือ ดัชนี และ เครื่องมือ สำ�หรับผู้บริโภค ในการเจรจา ต่อรอง การรณรงค์ การให้การสนับสนุน การมีส่วนร่วมในภาครัฐและ สถาบันการเงิน เพื่อสร้างความร่วมมือด้านการเงินที่เป็นธรรม ความแตกต่างระหว่าง FFGI กับ DJSI อาจสรุปได้ดังนี้ ตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายต่างกัน DJSI นําเสนอดัชนีความยั่ง ยืนของบริษัทแก่นักลงทุน ส่วน FFGI เน้นเสริมสร้างมาตรฐานด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และสิทธิมนุษยชนใน อุตสาหกรรมธนาคารและสร้างการรับรูแ้ ก่ลกู ค้าธนาคารและบุคคลทัว่ ไป 1)
อุตสาหกรรมที่ประเมิน DJSI ประเมินทุกอุตสาหกรรม และนําคะแนนมาเปรียบเทียบกันภายใน อุตสาหกรรมเดียวกัน ส่วน FFGI ประเมินอุตสาหกรรมธนาคารเท่านั้น 2)
การเปิดเผยข้อมูลวิธีการประเมินและแบบสอบถามที่สมบูรณ์ DJSI ไม่เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชน ต่างจาก FFGI ทีเ่ น้น กระบวนการประเมินที่เข้มงวดและมีหลักฐานสนับสนุน เปิดเผยกระ 3)
— 96 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
บวนการประเมินบนเว็บไซต์ เนื้อหาการประเมิน FFGI ประเมินทั้งในระดับเนื้อหานโยบายและขอบเขตของนโยบาย อันเนื่องมาจากหลายครั้งนโยบายของธนาคารไม่ได้ถูกนําไปปรับใช้ใน ทุกผลิตภัณฑ์ ส่วน DJSI ไม่มีการระบุขอบเขตของการประเมินที่แน่ชัด มีเพียงตัวอย่างด้านสิทธิมนุษยชน ที่ระบุว่าเกณฑ์จะครอบคลุมด้าน สิทธิมนุษยชนเท่าที่ปรากฏในเนื้อหานโยบายภายในของบริษัทเท่านั้น1 นอกจากนี้ FFGI มีเกณฑ์อกี ส่วนหนึง่ ทีร่ ะบุถงึ บริษทั ทีธ่ นาคารให้การ สนับสนุน เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ทีธ่ นาคารให้การสนับสนุนมีนโยบายด้าน ความยั่งยืน 4)
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน DJSI ใช้ข้อมู ลทั้ ง ที่ เปิ ด เผยและไม่ เปิ ด เผยต่อสาธารณะ DJSI ให้ บริษัทผู้สมัครเป็น ผู้ให้ข้อมูล จึงมีข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลภายในของ บริษัท โดย DJSI ระบุในรายงานเล่มขาว “Measuring Intangibles” ว่า วิธนี ชี้ ว่ ยให้การประเมินเรือ่ งความยัง่ ยืนมีความลึกซึง้ มากขึน้ 2 ส่วน FFGI ใช้ข้อมูลที่ธนาคารเปิดเผยต่อสาธารณะในการประเมินเท่านั้น โดย เป็นการประเมินจากบุคคลภายนอก คือแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมใน ประเทศนั้นๆ 5)
1
[page 6] https://eerlijkegeldwijzer.nl/media/494706/eb-ev-analyse-duurzaam
heidsbeoordelingen-180323.pdf 2
[page 1] https://www.robecosam.com/media/c/2/f/c2fb51336d88cfe5d5cba
1241da83d26_measuring-intangibles-csa-methodology_tcm1016-14370.pdf
— 97 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
การเปลี่ยนแปลงคะแนนเมื่อพบว่าข้อมูลไม่ตรงกับที่ให้ไว้ ในการประเมินทั้งสองแบบ จะใช้ข้อมูลจากสื่อและแนวร่วมเพื่อ ตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของธนาคาร โดยข้อมูลดังกล่าวมีผลกระทบต่อ ผลคะแนนต่างกัน หาก DJSI พบว่าบริษัทไม่ปฏิบัติตามนโยบายที่ระบุ ไว้และส่งผลกระทบทางลบต่อธนาคารและผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องของธนาคาร คะแนนที่ประเมินจะถูกหักตามความรุนแรงของเหตุการณ์3 ต่างจาก FFGI ทีข ่ อ้ มูลจากสือ่ หรือแนวร่วมไม่สง่ ผลต่อคะแนน เพราะการประเมิน ใช้จากข้อมูลนโยบายที่ธนาคารเปิดเผยเท่านั้น 6)
ระบบคะแนน DJSI ใช้ระบบคะแนนสัมพัทธ์ (relative score system) ในขณะที่ FFGI ใช้ระบบคะแนนสัมบูรณ์ (absolute score system) โดย DJSI จะ คัดเลือกบริษัทที่มีคะแนนสูงสุดในแต่ละอุตสาหกรรม และยกให้เป็น “บริษท ั ทีด่ ที สี่ ดุ ในรุน่ ” (Best in Class) ระบบนีม้ ขี อ้ เสียคือ บริษทั ทีด่ ที สี่ ดุ อาจได้คะแนนน้อยและมิใช่ผนู้ าํ ด้านความยัง่ ยืนอย่างทีค่ าดหวัง ต่างจาก เกณฑ์ FFGI ซึง่ ถูกพัฒนาตามแนวปฏิบตั ทิ ี่ “ดีทสี่ ดุ ” ดังนัน้ ธนาคารทีไ่ ด้ คะแนนเต็มหรือเกือบเต็ม 100% จึงนับเป็นธนาคารทีม่ แี นวปฏิบตั ทิ เี่ ป็น เลิศตามอุดมคติของแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรม (ideal best practice) 7)
3
[page 12] https://www.robecosam.com/media/c/2/f/c2fb51336d88cfe5d5cba
1241da83d26_measuring-intangibles-csa-methodology_tcm1016-14370.pdf
— 98 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
เกณฑ์์ที่่� ใช้้ในการประเมิิน 4 DJSI
มิติด้านธุรกิจ: • ธรรมาภิบาล (Corporate and
• ความปลอดภัยของข้อมูลและ ความปลอดภัยทางไซเบอร์
governance)
• จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ (Codes of business conduct)
(Information security and cyber security)
• การจัดการความเสี่ยงและวิกฤต • กลยุทธ์ด้านภาษี (Tax strategy) (Risk and crisis management) • อิทธิพลของนโยบาย (Policy • สาระ (Materiality) influence) • ความมั่นคงทางการเงินและ • การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ความเสี่ยงของระบบ (Financial (Customer relationship instability and systemic risk)
4
management)
[page 3] https://www.robecosam.com/media/e/3/5/e3545dc0 0f11f2515ff00da
bee0bed61_robecosam-corporate-sustainability-assessment-weightings-2018_ tcm1016-14374.pdf
— 99 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
มิติด้านสิ่งแวดล้อม: • ความเสี่ยงและโอกาสทางธุรกิจ • กลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศ (Business risk and opportunities)
• รายงานสิ่งแวดล้อม
(Climate strategy)
• นโยบายการดําเนินงานและการ จัดการ (Operational policy and
(Environmental reporting)
management)
มิติด้านสังคม: • การสร้างแรงจูงใจและการรักษา • รายงานสังคม (Social พนักงานที่มีความสามารถ reporting) (Talent attraction and • อาชีวอนามัยและความ retention) ปลอดภัย (Occupational health • การพัฒนาทุนมนุษย์ (Human and safety) capital development) • การเป็นพลเมืองที่ดีในภาค • ประเด็นที่ถกเถียง ขัดแย้ง ใน ธุรกิจและการสาธารณกุศล การปล่อยสินเชื่อและการจัดหา (Corporate citizenship and เงิน (Controversial issues, philanthropy) dilemmas in lending and • ตัวชี้วัดการปฏิบัติด้านแรงงาน financing)
• การขยายบริการทางการเงิน
(Labor practice indicators)
• สิทธิมนุษยชน (Human rights)
(Financial inclusion)
— 100 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
FFGI
กลุ่มหัวข้อรายประเด็น: • สวัสดิภาพสัตว์ (Animal welfare) • สุขภาพ (Health) • การเปลี่ยนแปลงสภาพ • สิทธิมนุษยชน (Human rights) ภูมิอากาศ (Climate change) • สิทธิแรงงาน (Labour rights) • การทุจริต (Corruption) • ธรรมชาติ (Nature) • ความเท่าเทียมทางเพศ • ภาษี (Tax) (Gender equality)
กลุ่มหัวข้อรายอุตสาหกรรม: • อาวุธ (Arms) • ภาคการเงิน (Financial sector) • การประมง (Fisheries) • อาหาร (Food) • ป่าไม้ (Forestry) • บ้านและอสังหาริมทรัพย์
• อุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing industry)
• เหมือง (Mining) • นํ้ามันและแก๊ส (Oil and gas) • การผลิตกระแสไฟฟ้า (Power generation)
(Housing and real estate)
กลุ่มหัวข้อการดําเนินงานภายใน: • ความโปร่งใสและความรับผิด • การขยายบริการทางการเงิน (Transparency and accountability)
• การคุ้มครองผู้บริโภค
(Financial inclusion)
• นโยบายค่าตอบแทน
(Consumer protection)
(Remuneration)
— 101 —
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
ภาคผนวก
NK
BA
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK
BA
NK NK
BA
NK
BA
NK
BA
ภาคผนวก ก
หััวข้้อประเมิินตามเกณฑ์์ Fair Finance Guide International 2023 รายหมวด
“บริษัท”
หมายถึง บริษัทที่สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงิน หรือเข้าไปลงทุน
ตัวเอนขีดเส้นใต้
หมายถึง หัวข้อใหม่ที่เพิ่มเข้ามาในปี 2023
ตัวเอน
หมายถึง หัวข้อเดิมที่มีการเปลี่ยนแปลงในสาระสําคัญ อาจส่งผลให้คะแนน เปลี่ยนแปลง
— 105 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
การเปลี่่�ยนแปลงสภาพภููมิิอากาศ
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ สถาบันการเงิน 1.
สถาบันการเงินกำ�หนดเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ขององค์กรทัง้ ทางตรงและทางอ้อมทีส่ ามารถวัดได้ ซึง่ สอดคล้องกับ การจำ�กัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับการจัดการพอร์ต สินเชื่อและพอร์ตการลงทุนของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินเปิดเผยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในขอบเขต ที่ 1, 2 และ 3 แบบสัมบูรณ์ (absolute) ที่เชื่อมโยงกับพอร์ตบาง ส่วนที่สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน 3. สถาบันการเงินเปิดเผยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในขอบเขต ที่ 1, 2 และ 3 แบบสัมบูรณ์ (absolute) ทีเ่ ชือ่ มโยงกับพอร์ตทัง้ หมด ที่สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน 4. สำ�หรับสินเชือ ่ โครงการขนาดใหญ่ สถาบันการเงินประเมินผลกระทบ ด้านสิง่ แวดล้อมโดยใช้ขอ้ มูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและความเสีย่ ง ด้านสภาพภูมอิ ากาศ (climate risks) เป็นข้อมูลประกอบการประเมิน 5. สำ�หรับปริมาณการปล่ อ ยก๊ าซเรื อ นกระจกที่ใ ห้การสนับ สนุนทาง การเงินหรือลงทุน สถาบันการเงินกำ�หนดเป้าหมายการลดก๊าซเรือน กระจกที่วัดได้แบบสัมบูรณ์ (absolute) และสอดคล้องกับการจำ�กัด 2.
— 106 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยโลกไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส 6. สถาบันการเงินวัดและเปิดเผยผลกระทบทีเ่ กีย ่ วกับการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ ตามแนวทางทีแ่ นะนำ�โดย Task Force on Climate- related Financial Disclosures
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับเชื้อเพลิงฟอสซิล สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนกับบริษทั ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาเหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal)) แห่งใหม่ coal 8. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนกับบริษท ั ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่ 9. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนกับบริษท ั ที่มีธุรกิจเหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal coal)) มากกว่า ร้อยละ 20 ของกิจกรรมทัง้ หมดของบริษทั (เช่น วัดจากรายได้รวม) 10.. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนกับบริษท 10 ั ทีม่ ธี รุ กิจโรงไฟฟ้าถ่านหิน มากกว่าร้อยละ 20 ของกิจกรรมทัง้ หมด ของบริษัท (เช่น วัดจากรายได้รวม) 11.. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนกับบริษท 11 ั ที่ผลิตถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal coal)) มากกว่า 10 ล้าน ตันต่อปี และ/หรือมีก�ำ ลังผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินมากกว่า 5 กิกะวัตต์ 12.. สถาบันการเงินมีกลยุทธ์การยกเลิกการสนับสนุนถ่านหินที่มีกรอบ 12 เวลาชัดเจน และสอดคล้องกับการจำ�กัดการเพิม่ ขึน้ ของอุณหภูมโิ ลก ไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส 7.
— 107 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนอย่างสิน้ เชิง กับบริษทั ทีม่ ธี รุ กิจถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal coal)) และ/หรือ ธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน 14.. บริ ษั ท ที่ มี ส่ ว นร่ ว มในการสำ � รวจและพั ฒนาแหล่ ง นํ้ า มั น และก๊ า ซ 14 ธรรมชาติแห่งใหม่ จะไม่ได้รบั การลงทุนและการสนับสนุนทางการเงิน 15.. สถาบั น การเงิ น มี ก ลยุ ท ธ์ ก ารยกเลิ ก การสนั บ สนุ น นํ้ า มั น และก๊ า ซ 15 ธรรมชาติทมี่ กี รอบเวลาชัดเจน และสอดคล้องกับการจำ�กัดการเพิม่ ขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส 16.. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนกับบริษท 16 ั ที่มีธุรกิจการสกัดนํ้ามันจากทรายนํ้ามัน (tar sands sands)) 17.. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนกับบริษท 17 ั ทีม่ ธี รุ กิจขุดเจาะนํา้ มันและก๊าซธรรมชาติคดิ เป็นรายได้มากกว่าร้อยละ 30 ของรายได้รวมของบริษัท 18.. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินและไม่ลงทุนกับบริษท 18 ั ที่ผลิตไฟฟ้าจากนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติมากกว่าร้อยละ 30 ของ ปริมาณการผลิตไฟฟ้าทั้งหมด 19.. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน และไม่ลงทุนอย่าง 19 สิน้ เชิงกับบริษทั ทีม่ ธี รุ กิจขุดเจาะนํา้ มันและก๊าซธรรมชาติ และ/หรือ การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงฟอสซิล 13.. 13
— 108 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับบริษัทที่สถาบัน การเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษัทเปิดเผยข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในขอบเขตที่ 1, 2 และ 3 21. บริษัทลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในขอบเขตที่ 1, 2 และ 3 ซึ่ง สอดคล้องกับการจำ�กัดการเพิม่ ขึน้ ของอุณหภูมเิ ฉลีย่ โลกไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส 22. บริษท ั เปลีย่ นจากการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลมาเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน 23.. บริษท 23 ั มีระบบการตรวจสอบย้อนกลับห่วงโซ่อปุ ทาน เพือ่ ให้มน่ั ใจว่าไม่มี การตัดไม้ท�ำ ลายป่าปฐมภูมิ (zero deforestation of primary forest forest)) 24. สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่โครงการเกษตร กรรมที่แปลงมาจากพื้นที่ชุ่มนํ้า ป่าพรุ หรือพื้นที่อื่นๆ ที่กักเก็บ คาร์บอนในระดับสูง (high-carbon stock) 25. การผลิต วัสดุ ชี ว ภาพ (biomaterials) เป็ นไปตามหลักการ 12 ข้อ ของ Roundtable on Sustainable Biomaterials (RSB) 26. บริษัทไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการล็อบบี้ ทั้งทางตรงและทางอ้อม (พยายามส่งอิทธิพลต่อการตัดสินใจของหน่วยงานกำ�กับดูแล) ทีพ ่ งุ่ เป้าไปยังการทำ�ให้นโยบายการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศอ่อนแอลง 27. บริ ษั ท บู ร ณาการประเด็ น การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศไว้ ใ น นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการของบริษัท 28. บริษัทใส่หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็น เงื่อนไขในสัญญาที่ลงนามกับผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า 20.
— 109 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
การทุุจริิตคอร์์รััปชััน
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ สถาบันการเงิน สถาบันการเงินประกาศว่าจะไม่นำ�เสนอ สัญญา เรียกร้องสินบน และข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อ ให้ได้มาซึ่งธุรกิจและข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม 2. สถาบันการเงินมีนโยบายต่อต้านการฟอกเงิน 3. สถาบันการเงินมีนโยบายป้องกันการสนับสนุนทางการเงินแก่กลุ่ม ก่อการร้ายและอาวุธนิวเคลียร์ 4. สถาบันการเงินยืนยันได้ถง ึ ผูร้ บั ประโยชน์ทแี่ ท้จริง (ultimate beneficiary) ของบริษัท (ที่ตนให้การสนับสนุนทางการเงิน) 5. สถาบันการเงินมีมาตรฐานเพิ่มเติมเมื่อทำ�ธุรกิจทั้งทางตรงหรือทาง อ้อมกับบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องทางการเมือง (Politically Exposed 1.
Persons: PEP)
สถาบันการเงินรายงานการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจของ การกำ�หนดปทัสถานระหว่างประเทศและกระบวนการออกกฎหมาย (พฤติกรรมการล็อบบี)้ 7. สถาบันทางการเงินมีนโยบายต่อต้านการจ่ายเงินบริจาคหรืออุดหนุน นักการเมืองหรือพรรคการเมือง (political contributions contributions)) 6.
— 110 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับบริษัทที่สถาบัน การเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษัทเปิดเผยผู้รับประโยชน์ที่แท้จริง หรือเจ้าของที่แท้จริง รวมถึง ชื่อจริงนามสกุลจริง วันเกิด สัญชาติ แหล่งพำ�นัก จำ�นวนและ ประเภทหุน้ และสัดส่วนการถือหุน้ หรือสัดส่วนอำ�นาจควบคุมบริษทั 9. บริษัทประกาศว่าจะไม่นำ�เสนอ สัญญา เรียกร้องสินบนและข้อได้ เปรียบอืน่ ๆ ทีไ่ ม่เป็นธรรม ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ธุรกิจและข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม 10. บริ ษั ท มี ร ะบบการบริ ห ารจั ด การซึ่ ง ลงมื อ ทั น ที ที่ เ กิ ด ข้ อ สงสั ย ว่ า พนักงานหรือคู่ค้ากระทำ�ความผิดฐานทุจริตคอร์รัปชัน 11. บริษท ั รายงานการมีสว่ นร่วมในกระบวนการตัดสินใจของการกำ�หนด ปทัสถานระหว่างประเทศและกระบวนการออกกฎหมาย (พฤติกรรม การล็อบบี)้ 12. บริษท ั บูรณาการหลักเกณฑ์ดา้ นคอร์รปั ชันไว้ในนโยบายการจัดซือ้ จัด จ้างและนโยบายปฏิบัติการของบริษัท 13. บริ ษั ท ใส่ ห ลั ก เกณฑ์ เ กี่ ย วกั บ การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น เป็ น เงื่ อ นไขใน สัญญาที่ลงนามกับผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า 8.
— 111 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ความเท่่าเทีียมทางเพศ
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ สถาบันการเงิน สถาบันการเงินมีนโยบายไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติทางเพศทุก รูปแบบ (zero-tolerance policy) ในกระบวนการจ้างงานและในการ ปฏิบัติงาน ที่ชัดเจนว่าคำ�นึงถึงความหลากหลายทางเพศ 2. สถาบันการเงินมีนโยบายไม่ยอมรับความรุนแรงทางเพศทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในทีท ่ ำ�งาน ซึง่ รวมการคุกคามทางวาจา ทาง ร่างกาย และทางเพศ 3. สถาบันการเงินมีการจัดฝึกอบรมเรื่องอคติทางเพศและการเลือก ปฏิบัติระหว่างเพศในสถานที่ทำ�งาน 4. สถาบันการเงินบริหารการจ่ายค่าตอบแทนอย่างเป็นธรรม (equal remuneration) แบบเชิงรุก 5. สถาบันการเงินมีระบบการป้องกันและบรรเทาการเลือกปฏิบัติทาง เพศต่อลูกค้า 6. สถาบันการเงินรับประกันว่าผูห ้ ญิงและผูช้ ายจะสามารถเข้าถึงตำ�แหน่ง คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารระดับสูง ได้อย่าง เท่าเทียมกัน อย่างน้อยร้อยละ 30 ของตำ�แหน่งเหล่านี้ 7. สถาบันการเงินรับประกันว่าผูห ้ ญิงและผูช้ ายจะสามารถเข้าถึงตำ�แหน่ง คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารระดับสูง ได้อย่าง เท่าเทียมกัน อย่างน้อยร้อยละ 40 ของตำ�แหน่งเหล่านี้ 8. สถาบั น การเงิ น มี โ ครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพในสายอาชี พ สำ�หรั บ 1.
— 112 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
พนักงาน เพื่อส่งเสริมให้สตรีเข้าถึงตำ�แหน่งบริหารและกรรมการ บริษัทอย่างเท่าเทียม องค์ประกอบต่อไปนีเ้ กีย่ วข้องกับความโปร่งใสและกลยุทธ์ของสถาบัน การเงิน 9.
สถาบันการเงินเปิดเผยร้อยละของการให้การสนับสนุนทางการเงิน แก่ธุรกิจที่มีผู้หญิงเป็นเจ้าของ หรือประชากรกลุ่มเปราะบางอื่นๆ เทียบกับการสนับสนุนทางการเงินแก่ MSMEs ทั้งหมด
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับบริษัทที่สถาบัน การเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษทั มีความทุม่ เทเชิงนโยบายทีบ่ รรเทาความเสีย่ งด้านสิทธิมนุษยชน ที่คนประสบ อันเป็นผลมาจากเพศสภาพของตนเอง 11. บริษท ั มีนโยบายไม่ยอมรับการเลือกปฏิบตั ทิ างเพศทุกรูปแบบ (zero- tolerance policy) ในกระบวนการจ้ า งงานและในการปฏิ บั ติ ง าน ที่ชัดเจนว่าคำ�นึงถึงความหลากหลายทางเพศ 12. บริษท ั มีนโยบายไม่ยอมรับความรุนแรงทางเพศทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในทีท ่ ำ�งาน ซึง่ รวมการคุกคามทางวาจา ทางร่างกาย และทางเพศ 13.. บริษท 13 ั มีการจัดฝึกอบรมเรือ่ งอคติทางเพศและการเลือกปฏิบตั ริ ะหว่าง เพศในสถานที่ทำ�งาน 10.
— 113 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
บริษทั บริหารการจ่ายค่าตอบแทนอย่างเป็นธรรม (equal remuneration) แบบเชิงรุก 15. บริษท ั มีระบบการป้องกันและบรรเทาการเลือกปฏิบตั ทิ างเพศต่อลูกค้า 16. บริ ษั ท รั บ ประกั นว่ า ผู้ ห ญิ ง และผู้ ช ายจะสามารถเข้ า ถึ ง ตำ�แหน่ ง คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารระดับสูง ได้อย่าง เท่าเทียมกัน อย่างน้อยร้อยละ 30 ของตำ�แหน่งเหล่านี้ 17. บริ ษั ท รั บ ประกั นว่ า ผู้ ห ญิ ง และผู้ ช ายจะสามารถเข้ า ถึ ง ตำ�แหน่ ง คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารระดับสูง ได้อย่าง เท่าเทียมกัน อย่างน้อยร้อยละ 40 ของตำ�แหน่งเหล่านี้ 18. บริษท ั มีโครงการพัฒนาศักยภาพในสายอาชีพสำ�หรับพนักงาน เพือ่ ส่งเสริมให้สตรีเข้าถึงตำ�แหน่งบริหารและกรรมการบริษทั อย่างเท่าเทียม 19. บริษท ั บูรณาการหลักเกณฑ์ดา้ นความเท่าเทียมทางเพศและสิทธิสตรี ไว้ในนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการของบริษัท 20. บริษท ั ใส่หลักเกณฑ์เกีย่ วกับความเท่าเทียมทางเพศและสิทธิสตรีเป็น เงื่อนไขในสัญญาที่ลงนามกับผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า
14.
สุุขภาพ
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับบริษัทที่สถาบัน การเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน 1.
บริษัทป้องกันไม่ให้สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียง ถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการผลิตของบริษทั (ตามหลัก ความรอบคอบ—precautionary principle) — 114 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
บริษัทมีนโยบายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่ครอบคลุม 3. บริษัทจัดหาเครื่องแบบ และ/หรืออุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (PPE PPE)) ที่เหมาะสมและคำ�นึงถึงเพศสภาพให้กับพนักงานทุกคน 4. บริษท ั เคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการผลิตและใช้สารพิษ และสารอันตรายตามที่ระบุใน Montreal Protocol (สารที่ทำ�ให้ชั้น โอโซนเป็นรู) 5. บริษท ั เคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการผลิตและใช้สารพิษ และสารอันตรายตามทีร่ ะบุใน Stockholm Convention (ว่าด้วย Per2.
sistent Organic Pollutants: POPs)
บริษัทเคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการค้าสารเคมีและ ของเสียเคมี ตามข้อตกลง Basel Convention 7. บริษัทเคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการค้าสารเคมีและ ของเสียเคมี ตามข้อตกลง Rotterdam Convention 8. บริษัทลดการปล่อยสารอันตรายออกสู่ผิวดิน นํ้า และอากาศ ด้วย การใช้เทคโนโลยีที่ดีที่สุดที่มี (best available technologies: BAT) 9. บริษท ั จำ�กัดการใช้สารเคมีทม่ี ขี อ้ สงสัยในงานวิจยั วิทยาศาสตร์วา่ อาจ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และถ้าใช้ก็ใช้อย่างระมัดระวังที่สุด (ตาม หลักความรอบคอบ) 10. บริษท ั ยาสร้างความมัน่ ใจว่าผูป้ ว่ ยทีม่ โี รคทีส่ ามารถหลีกเลีย่ งได้และ รักษาให้หายได้ จะได้เข้าถึงยา 11. บริษัทใช้ยาปฏิชีวนะอย่างระมัดระวังในมนุษย์ เพื่อลดอาการดื้อยา ปฏิชีวนะให้เหลือน้อยที่สุด 12. บริษท ั ผูผ้ ลิตนมผงทำ�ตามหลักเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ว่าด้วยการโฆษณานมผง 6.
— 115 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
บริษทั ผูผ้ ลิตบุหรีท่ ำ�ตาม WHO Framework Convention on Tobacco Control และประกาศอืน ่ ๆ ของ WHO ว่าด้วยการพิทกั ษ์สขุ ภาพของ คนและคนรุ่นหลังจากควันบุหรี่ 14. บริษัทไม่ยอมรับการผลิตบุหรี่และผลิตภัณฑ์ที่ทำ�จากยาสูบ 15. บริษัทบูรณาการเกณฑ์ด้านสุขภาพไว้ในนโยบายจัดซื้อจัดจ้างและ การปฏิบัติการ 16. บริษัทรวมเงื่อนไขทำ�ตามหลักเกณฑ์ด้านสุขภาพ เข้าไปในสัญญาที่ ทำ�กับผู้รับเหมาและคู่ค้า
13.
สิิทธิิมนุุษยชน
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ สถาบันการเงิน 1.
สถาบันการเงินเคารพในสิทธิมนุษยชนตามหลักการชี้แนะว่าด้วย ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights)
2.
สถาบันการเงินมีนโยบายไม่ยอมรับการเลือกปฏิบตั ทิ กุ รูปแบบ (zero- tolerance policy) ในกระบวนการจ้างงานและในการปฏิบัติงาน ทั้ง บนฐานของเพศสภาวะ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ รสนิยมทางเพศ และ สมรรถภาพทางกาย
— 116 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับบริษัทที่สถาบัน การเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน 3.
บริษทั เคารพในสิทธิมนุษยชนทุกข้อตามหลักการชีแ้ นะว่าด้วยธุรกิจ กับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights)
บริษัทมีความทุ่มเทเชิงนโยบายที่จะแสดงความรับผิดชอบในการ เคารพสิทธิมนุษยชน 5. บริ ษั ท มี ก ระบวนการตรวจสอบด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนอย่ า งรอบด้ า น (human rights due diligence) เพื่ อ ระบุ ป้ อ งกั น บรรเทา และ รายงานวิธีที่บริษัทจัดการกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน 6. บริษท ั มีกระบวนการทีน่ ำ�ไปสูก่ ารเยียวยาผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน เชิงลบใดๆ ก็ตาม ที่บริษัทเป็นผู้ก่อหรือมีส่วนในการก่อ 7. บริษท ั จัดตัง้ หรือมีสว่ นร่วมในกลไกรับเรือ่ งร้องเรียนระดับปฏิบตั กิ าร จากปัจเจกและชุมชนที่อาจได้รับผลกระทบ 8. บริษัทเคารพในสิทธิของชนพื้นเมืองในการดำ�เนินงานของบริษัท 9. บริษท ั ป้องกันความขัดแย้งเรือ่ งสิทธิในทีด่ นิ ทำ�กิน และใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ ด้วยการใช้กระบวนการปรึกษาหารืออย่างมีความหมาย กับชุมชนท้องถิ่น และได้รับความยินยอมโดยสมัครใจโดยได้ข้อมูล ล่วงหน้า (free, prior, and informed consent: FPIC) ในประเด็นที่ เกี่ยวกับชนพื้นเมือง 10. บริษท ั ป้องกันความขัดแย้งเรือ่ งสิทธิในทีด่ นิ ทำ�กิน และใช้ทรัพยากร ธรรมชาติโดยได้รับความยินยอมโดยสมัครใจที่เป็นอิสระและได้รับ ข้อมูลล่วงหน้า (free, prior, and informed consent: FPIC) จากผูใ้ ช้ 4.
— 117 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ที่ดินที่เกี่ยวข้องก่อนเท่านั้น 11. บริษัทให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษกับการเคารพสิทธิเด็ก 12. บริษัทให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษกับการเคารพสิทธิของผู้พิการ 13. บริ ษั ท ไม่ ย อมรั บ ให้ มี ก ารตั้ ง ถิ่ น ฐานใดๆ รวมถึ ง การตั้ ง ถิ่ น ฐาน กิจกรรมทางเศรษฐกิจของตนเอง ในเขตที่ถูกบุกรุก (occupied territories) เพื่อเคารพในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ 14. บริษัทบูรณาการหลักเกณฑ์ด้านสิทธิมนุษยชนไว้ในนโยบายการจัด ซื้อจัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการของบริษัท 15. บริษท ั ใส่หลักเกณฑ์ดา้ นสิทธิมนุษยชนเป็นเงือ่ นไขในสัญญาทีล่ งนาม กับผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า สิิทธิิแรงงาน
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ สถาบันการเงิน 1.
สถาบันการเงินเคารพในคำ�ประกาศของ ILO ว่าด้วยหลักการและ สิทธิขนั้ พืน้ ฐานในทีท่ ำ�งาน (ILO Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work)
2.
สถาบันการเงินอย่างน้อยมีการบูรณาการมาตรฐานแรงงานตามคำ� ประกาศของ ILO ว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในที่ทำ�งาน (ILO Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work)
ไว้ในนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการขององค์กร 3. สถาบั น การเงิ น เคารพในอนุ สั ญ ญาว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครองความเป็ น — 118 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
มารดา (Maternity Protection Convention Convention)) ขององค์ ก ารแรงงาน ระหว่างประเทศ (ILO ILO)) 4. สถาบันการเงินมีขั้นตอนชัดเจนในการจัดการกับข้อร้องเรียนของ พนักงานและแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงาน โดยควรให้ความ สำ�คัญกับการปรึกษาหารือกับสหภาพแรงงาน องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับบริษัทที่สถาบัน การเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษทั รับรองสิทธิในการรวมกลุม่ และตระหนักอย่างมีประสิทธิผลใน สิทธิในการรวมกลุ่มต่อรอง 6. บริษัทไม่ยอมรับการใช้แรงงานบังคับทุกรูปแบบ 7. บริษัทไม่ยอมรับการใช้แรงงานเด็ก 8. บริษัทไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและในที่ทำ�งาน 9. บริษท ั ประกาศว่าจะจ้างงานอย่างเป็นธรรม (fair recruitment prac5.
tices)
บริ ษั ทจ่ า ยค่ า แรงที่ เ ลี้ ย งชี พ และครอบครั ว ได้ (living wage) แก่ พนักงาน 11. บริษท ั กำ�หนดเพดานเวลาทำ�งาน (สูงสุด 48 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ และ ทำ�งานล่วงเวลาสูงสุด 12 ชั่วโมงต่อสัปดาห์) 12. บริษัทมีนโยบายสุขภาพและความปลอดภัยที่ดี 13.. บริ ษั ท เคารพในอนุ สั ญ ญาว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครองความเป็ น มารดา 13 (Maternity Protection Convention Convention)) ขององค์ ก ารแรงงานระหว่ า ง ประเทศ (ILO ILO)) 10.
— 119 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
บริษัทรับประกันได้ว่าแรงงานข้ามชาติและแรงงานนอกระบบจะได้ รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม และมีสภาพการทำ�งานที่เท่าเทียมกับ ลูกจ้างคนอื่นๆ 15.. บริ ษั ท กำ � หนดสภาพการทำ � งานที่ ดี สำ � หรั บ ผู้ รั บ งานมาทำ � ที่ บ้ า น 15 14.
(homeworkers homeworkers))
บริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่สามารถติดตามได้อย่างชัดเจน และแก้ไขการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานแรงงานตามกฎหมายแรงงานเมือ่ จำ�เป็น 17. บริษท ั จัดตัง้ กระบวนการรับและจัดการกับเรือ่ งร้องเรียนจากพนักงาน เพื่อแก้ไขข้อพิพาทและการละเมิดต่างๆ โดยควรปรึกษาหารือกับ สหภาพแรงงานที่เกี่ยวข้อง 18. บริษท ั บูรณาการหลักเกณฑ์ดา้ นสิทธิแรงงานไว้ในนโยบายการจัดซือ้ จัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการของบริษัท 19. บริษัทใส่หลักเกณฑ์ด้านสิทธิแรงงานเป็นเงื่อนไขในสัญญาที่ลงนาม กับผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า 16.
ธรรมชาติิ
องค์ประกอบต่อไปนีเ้ กีย่ วข้องกับความโปร่งใสและกลยุทธ์ของสถาบัน การเงิน 1.
สถาบันการเงินวัดและเปิดเผยรอยเท้าความหลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity footprint footprint)) ของพอร์ตสินเชื่อและพอร์ตลงทุน
— 120 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับบริษัทที่สถาบัน การเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษทั ป้องกันผลกระทบทางลบต่อพืน้ ทีท่ ม่ี คี ณ ุ ค่าด้านการอนุรกั ษ์สงู (High Conservation Value: HCV areas) ภายในเขตปฏิบัติการของ บริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ 3. บริษท ั ป้องกันผลกระทบทางลบต่อพืน้ ทีร่ ะดับ I-IV ตามการจัดหมวด ขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature: IUCN) ภายในเขตปฏิบต ั กิ ารของ บริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ 4. บริษท ั ป้องกันผลกระทบทางลบต่อพืน้ ทีม่ รดกโลกยูเนสโก (UNESCO World Heritage) ภายในเขตปฏิบัติการของบริษัทและพื้นที่ที่บริษัท บริหารจัดการ 5. บริ ษั ท ป้ อ งกั น ผลกระทบทางลบต่ อ พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ ต ามอนุ สั ญ ญา แรมซาร์วา่ ด้วยพืน้ ทีช่ มุ่ นํา้ ทีม่ คี วามสำ�คัญระหว่างประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands) ภายในเขตปฏิบต ั กิ ารของบริษทั และพืน้ ที่ ที่บริษัทบริหารจัดการ 6. บริษัทป้องกัน ผลกระทบทางลบต่อประชากรสัตว์ที่อยู่ในบัญชีแดง สัตว์ใกล้สญ ู พันธุข์ อง ICUN (IUCN Red List of Threatened Species) 7. การค้าพืชและสัตว์ใกล้สญ ู พันธุเ์ ป็นไปตามเงือ่ นไขในอนุสญ ั ญาไซเตส 2.
(CITES) 8.
การผลิตหรือการซื้อขายสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมสามารถทำ�ได้ ก็ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากประเทศผู้นำ�เข้าสินค้าและปฏิบัติตาม ข้อกำ�หนดของพิธีสารคาร์ตาเฮนา — 121 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
บริษทั ป้องกันการนำ�ชนิดพันธุต์ า่ งถิน่ รุกราน (invasive alien species) (พืชหรือสัตว์) เข้าสู่ระบบนิเวศ 10.. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการทำ�เหมืองแร่ใต้ทะเลลึก (deep sea mining 10 mining)) 11. บริษัทจัดทำ�การประเมินภาวะขาดแคลนนํ้า และป้องกัน ผลกระทบ เชิงลบในพื้นที่ที่ขาดแคลนนํ้า 12. บริษัทไม่ริเริ่มปฏิบัติการใหม่ในพื้นที่ซึ่งมีปัญหาขาดแคลนนํ้า และ กิจกรรมทางเศรษฐกิจจะแย่งนํ้ากับชุมชน 13. บริษท ั จัดทำ�การประเมินผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมว่าด้วยผลกระทบ โดยรวมของโครงการขนาดใหญ่ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างน้อยตามแนวทางที่ระบุในมาตรฐาน GRI 304: Biodiversity 2016 หรือมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 14. บริษัทบูรณาการหลักเกณฑ์ด้านธรรมชาติไว้ในนโยบายการจัดซื้อ จัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการของบริษัท 15. บริษท ั ใส่หลักเกณฑ์ดา้ นธรรมชาติเป็นเงือ่ นไขในสัญญาทีล่ งนามกับ ผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า 9.
ภาษีี
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ สถาบันการเงิน 1.
สถาบันการเงินรายงานรายได้ กำ�ไร อัตรากำ�ลังพนักงาน เงินอุดหนุน จากรัฐ และเงินภาษีที่จ่ายรัฐ สำ�หรับกิจการในแต่ละประเทศที่ สถาบันเปิดให้บริการ ไม่ตาํ่ กว่า 3 ใน 4 ของประเทศทัง้ หมด และ/ — 122 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
หรือไม่ตาํ่ กว่า 3 ใน 4 ของรายได้ทงั้ หมด และรายงานในทางทีส่ อด คล้องกับงบการเงินรวม 2. สถาบันการเงินรายงานรายได้ กำ�ไร อัตรากำ�ลังพนักงาน เงินอุดหนุน จากรัฐ และเงินภาษีที่จ่ายรัฐ สำ�หรับกิจการในแต่ละประเทศที่ สถาบันเปิดให้บริการ ครบทุกประเทศที่เปิดให้บริการ และรายงาน ในทางที่สอดคล้องกับงบการเงินรวม 3. สถาบันการเงินเปิดเผยข้อมูลสินทรัพย์รวมในทุกประเทศที่เปิดให้ บริการ และรายงานในทางที่สอดคล้องกับงบการเงินรวม 4. สถาบันการเงินไม่ให้คำ�ปรึกษาแก่ลูกค้าในการทำ�ธุรกรรมกับโครง สร้างระหว่างประเทศ ซึง่ มีเป้าหมายทีจ่ ะหนีภาษีหรือหลบเลีย่ งภาษี 5. สถาบันการเงินไม่มีส่วนร่วมใดๆ ในธุรกรรมกับโครงสร้างระหว่าง ประเทศ ซึ่งมีเป้าหมายที่จะหนีภาษีหรือหลบเลี่ยงภาษี 6. สถาบั น การเงิ น เผยแพร่ ข้ อ มู ล สำ�คั ญ เกี่ ยวกั บ คำ�ตั ด สิ น ทางภาษี ที่ เฉพาะเจาะจงระดับบริษทั ซึง่ องค์กรได้รบั มาจากหน่วยงานกำ�กับดูแล ด้านภาษี 7. สถาบันการเงินไม่มบ ี ริษทั ในเครือ สาขา หรือบริษทั ร่วมลงทุนใดๆ ใน เขตอำ�นาจศาล (jurisdiction) ที่ไม่มีภาษีเงินได้ หรือเก็บภาษีเงินได้ ในอัตราศูนย์เปอร์เซ็นต์ หรือในเขตอำ�นาจศาลที่มีพฤติกรรมการ เก็บภาษีธรุ กิจทีเ่ ป็นอันตรายต่อสังคม ยกเว้นว่าสถาบันการเงินจะมี กิจกรรมทางธุรกิจจริงๆ และได้กำ�ไรจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน ท้องถิ่นนั้นจริงๆ 8. สถาบันการเงินไม่ให้บริการทางการเงินแก่บริษท ั ทีต่ งั้ อยูใ่ นเขตปลอด ภาษี (tax haven) ยกเว้นว่าบริษทั นัน้ ๆ จะมีกจิ กรรมทางธุรกิจจริงๆ และได้กำ�ไรจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจในท้องถิ่นนั้นจริงๆ — 123 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับบริษัทที่สถาบัน การเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษัทเผยแพร่โครงสร้างกลุ่มบริษัททั้งหมด รวมถึงองค์กรที่บริษัท มีอำ�นาจควบคุมทางอ้อมและร่วมกับองค์กรอื่น 10. บริษัทเผยแพร่คำ�อธิบายกิจกรรม ขอบเขตการงาน และเจ้าของที่ แท้จริง (ultimate shareholder) ของกิจการในเครือ สาขา กิจการ ร่วมทนุ หรือกิจการร่วมค้าทีต่ ง้ั อยูใ่ นเขตอำ�นาจศาล (jurisdiction) ที่ ไม่มภี าษีเงินได้ หรือเก็บภาษีเงินได้ในอัตราศูนย์เปอร์เซ็นต์ หรือในเขต อำ�นาจศาลที่มีพฤติกรรมการเก็บภาษีธุรกิจที่เป็นอันตรายต่อสังคม 11. บริษท ั รายงานรายได้ กำ�ไร อัตรากำ�ลังพนักงาน เงินอุดหนุนจากรัฐ และเงินที่จ่ายรัฐ (เช่น ภาษีหัก ณ ที่จ่าย, เงินค่าสัมปทาน และ ภาษี เ งิ น ได้ ธุ ร กิ จ ) จากแต่ ล ะประเทศที่ บ ริ ษั ท มี กิ จ การ ครบทุ ก ประเทศที่บริษัทมีกิจการ 12. บริษท ั จัดโครงสร้างกิจการระหว่างประเทศและธุรกรรมระหว่างประเทศ ในทางทีส่ ะท้อนสาระทางเศรษฐกิจของกิจกรรมและธุรกรรมของบริษทั โดยไม่ผา่ นขัน้ ตอนทีท่ ำ�ไปเพือ่ แสวงความได้เปรียบทางภาษีเป็นหลัก 13. บริษท ั เผยแพร่ขอ้ มูลสำ�คัญเกีย่ วกับคำ�ตัดสินทางภาษีทเี่ ฉพาะเจาะจง ระดับบริษัท ซึ่งบริษัทได้รับมาจากหน่วยงานกำ�กับดูแลด้านภาษี 14. บริษท ั เผยแพร่คาํ ตัดสินหรือคําระงับข้อพิพาทเกีย่ วกับภาษี ซึง่ บริษทั หรือบริษทั ในเครือเป็นฝ่ายเกีย่ วข้องเท่าทีจ่ ะทำ�ได้ตามกฎหมายและ เป็นไปได้ (practical) ไม่วา่ จะในชัน้ ศาลหรือชัน้ อนุญาโตตุลาการก็ตาม 15. บริษท ั มีระบบการบริหารจัดการซึง่ ส่งผลทางปฏิบตั ทิ นั ทีทเ่ี กิดข้อสงสัย ว่าพนักงานหรือคู่ค้าอาจช่วยหลบเลี่ยงภาษี 9.
— 124 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
บริษัทบูรณาการหลักเกณฑ์ด้านภาษีไว้ในนโยบายการจัดซื้อจัดจ้าง และนโยบายปฏิบัติการของบริษัท 17. บริ ษั ท ใส่ ห ลั ก เกณฑ์ ด้ า นภาษี เ ป็ น เงื่ อ นไขในสั ญ ญาที่ ล งนามกั บ ผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า 16.
อาวุุธ
องค์ประกอบต่อไปนี้สำ�คัญสำ�หรับนโยบายเกี่ยวกับบริษัทที่สถาบัน การเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุง รักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าทุ่นระเบิดสังหารบุคคล (anti-personnel landmines) รวมถึงส่วนประกอบสำ�คัญของทุน ่ ระเบิด สังหารบุคคล 2. สถาบันการเงิ นไม่ ยอมรั บการใช้ การผลิ ต การพัฒนา การบำ�รุง รักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าระเบิดลูกปราย (cluster munitions) รวมถึงส่วนประกอบสำ�คัญของระเบิดลูกปราย 3. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าอาวุธนิวเคลียร์ รวมถึงส่วนประกอบ สำ�คัญของอาวุธนิวเคลียร์ ในหรือไปยังประเทศที่ไม่ให้สัตยาบันใน สนธิสัญญาไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ (Non-proliferation Treaty) 4. สถาบันการเงิ นไม่ ยอมรั บการใช้ การผลิ ต การพัฒนา การบำ�รุง รักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าอาวุธนิวเคลียร์ รวมถึง ส่วนประกอบสำ�คัญของอาวุธนิวเคลียร์ 1.
— 125 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าอาวุธเคมี รวมถึงส่วนประกอบ สำ�คัญของอาวุธเคมี 6. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าอาวุธชีวภาพ รวมถึงส่วนประกอบ สำ�คัญของอาวุธชีวภาพ 7. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบำ�รุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าระบบอาวุธอัตโนมัติรุนแรง (lethal autonomous weapons systems: LAWS) รวมถึงส่วนประกอบ ที่ออกแบบมาสำ�หรับ LAWS 8. บริ ษั ท ถื อ ว่ า สิ น ค้ า ที่ ส ามารถใช้ ทั้ ง ในทางการทหารและพลเรื อ น (สินค้า “dual-use”) จัดเป็นสินค้าทางการทหาร เมื่อมีเป้าหมายที่ ไม่ใช่เป้าหมายทางพลเรือน 9. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการส่งสินค้าทางทหารไปยังประเทศทีถ ่ กู ห้าม ส่งสินค้าเข้าโดยองค์การสหประชาชาติ หรือองค์กรระหว่างประเทศอืน่ 10. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการส่งสินค้าทางทหาร ถ้าหากมีความเสีย ่ง สูงว่าอาวุธเหล่านัน้ จะถูกใช้ในการละเมิดสิทธิมนุษยชนและกฎหมาย มนุษยธรรมอย่างรุนแรง 11. สถาบั น การเงิ น ไม่ ย อมรั บ การส่ ง สิ น ค้ า ทางทหารไปยั ง ประเทศที่ ละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรง 12. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการส่งสินค้าทางทหารไปยังคู่ขัดแย้งที่มี ส่วนร่วมในความรุนแรง ยกเว้นว่าเป็นฝ่ายที่กำ�ลังทำ�ตามมติของ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (UN Security Council) 13. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการส่งสินค้าทางทหารไปยังประเทศทีม ่ กี าร 5.
— 126 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ทุจริตคอร์รัปชันอย่างรุนแรง 14. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการส่งสินค้าทางทหารไปยังประเทศที่รัฐ ล้มเหลวหรือเปราะบาง 15. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการส่งสินค้าทางทหารไปยังประเทศที่ใช้ เงินงบประมาณมากเกินสัดส่วนที่สมควรไปกับการซื้ออาวุธ การคุ้้�มครองผู้้�บริิโภค
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายของสถาบั น การเงิ น ที่ สัมพันธ์กับลูกค้ารายย่อย สถาบันการเงินมีนโยบายเปิดเผยสิทธิของลูกค้ารายย่อย และความ เสี่ยงของผลิตภัณฑ์และบริการ 2. สถาบันการเงินมีนโยบายอบรมจรรยาบรรณของพนักงานและกำ�กับ ให้พนักงานให้บริการต่อลูกค้าโดยไม่เลือกปฏิบัติ 3. สถาบันการเงินสร้างหลักประกันว่าลูกค้ารายย่อยเข้าถึงกลไกรับเรือ ่ง ร้องเรียนและเยียวยาทีม่ กี ระบวนการค้นหาความจริง (due diligence) 4. สถาบันการเงินเปิดเผยผลการติดตามสถิติการร้องเรียนของลูกค้า รายย่อย อาทิ จำ�นวนเรือ่ งร้องเรียน ประเด็นร้องเรียนหลัก องค์กร ที่ลูกค้าติดต่อร้องเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม แบ่งตามช่องทางที่ รับเรื่องร้องเรียน (เช่น ทางโทรศัพท์ เว็บไซต์ สาขา ฯลฯ) 5. สถาบันการเงินประกาศต่อสาธารณะว่าจะลดจำ�นวนเรื่องร้องเรียน กำ�หนดเป้าหมายที่ชัดเจน และเปิดให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายเข้าถึง ข้อมูลนี้ได้ 1.
— 127 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
สถาบันการเงินมีกลไกจัดการข้อพิพาททางเลือก [Alternative Dispute Resolution (ADR) Mechanisms] กระบวนการเยียวยาอิสระสำ�หรับ การจัดการกับข้อร้องเรียนทีไ่ ม่อาจคลีค่ ลายได้ดว้ ยกระบวนการภายใน ของสถาบันการเงิน หรือตัวแทนทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากสถาบันการเงิน 7. สถาบันการเงินมีนโยบายปรับโครงสร้างหนีส ้ ำ�หรับผูบ้ ริโภคทีป่ ระสบ ปัญหาเป็นหนี้เกินตัว 8. สถาบันการเงินประกาศว่าจะสื่อสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการ ของตนอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส ด้วยภาษาทีเ่ ข้าใจและเข้าถึงได้งา่ ย และคำ�นึงถึงผู้พิการและกลุ่มเปราะบาง 9. สถาบันการเงินพัฒนาและลงมือใช้บญ ั ชีความเสีย่ งสำ�หรับลูกค้า (risk profile) ในการเสนอขายผลิตภัณฑ์ด้านการลงทุน 10. สถาบันการเงินคุม ้ ครองข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้ารายย่อย (ไม่เปิด เผยต่อบุคคลอื่นเว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากลูกค้า) 11. ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าได้รับการคุ้มครอง อย่างเหมาะสม ด้วยกลไกควบคุมและคุม้ ครอง มีแนวปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจน และเผยแพร่ต่อสาธารณะว่าสถาบันการเงินจะจัดเก็บ ประมวลผล บันทึก ใช้ และเปิดเผยข้อมูลเหล่านี้อย่างไรบ้าง 12. สถาบันการเงินตีพิมพ์เผยแพร่นโยบายหรือขั้นตอนการติดตามหนี้ และบริษัทที่ได้รับมอบหมายจากสถาบันการเงิน (บุคคลที่สาม) ให้ เป็นตัวแทนในการทวงหนี้ 13. สถาบั น การเงิ น มี น โยบายและขั้ น ตอนที่ จ ะหลี ก เลี่ ย งการพ่ ว งขาย ผลิตภัณฑ์ หรือพฤติกรรมการขายที่ไม่เหมาะสม 14. สถาบั น การเงิ น ประกาศว่ า จะแจ้ ง ลู ก ค้ า อย่ า งทั น ท่ ว งที เ มื่ อ มี ก าร เปลี่ยนแปลงค่าธรรมเนียม 6.
— 128 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
สถาบันการเงินออกแบบโครงสร้างค่าตอบแทนสำ�หรับพนักงานและ ตัวแทน ในทางที่ส่งเสริมพฤติกรรมการทำ�ธุรกิจอย่างรับผิดชอบ การปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม และการหลีกเลี่ยงผลประโยชน์ ทับซ้อน 16. สถาบันการเงินมีโครงการอบรมพนักงานและตัวแทนอย่างเหมาะสม ในประเด็นสิทธิผบู้ ริโภค นโยบายคุม้ ครองผูบ้ ริโภค และธรรมเนียม ปฏิบัติด้านนี้ 17. สถาบันการเงินมีโครงการอบรมพนักงานและตัวแทนอย่างเหมาะสม ในประเด็นผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ที่นำ�เสนอต่อผู้บริโภค 18. สถาบั น การเงิ น รั บ ประกั น ได้ ว่ า ไม่ มี ข้ อจำ�กั ด ใดๆ ด้ า นเทคโนโลยี สื่อสารและสารสนเทศ (ICT) ที่จะกีดกันไม่ให้ลูกค้ารายย่อยเข้าถึง บริการทางการเงิน 19. สถาบันการเงินมีนโยบายทีจ ่ ะเปิดให้ลกู ค้ารายย่อยทีเ่ ป็นผูพ้ กิ ารหรือ มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงสาขาทางกายภาพและบริการ อิเล็กทรอนิกส์ อย่างเช่นแพล็ตฟอร์มออนไลน์ได้ 15.
การขยายบริิการทางการเงิิน
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายของสถาบั น การเงิ น ที่ สัมพันธ์กับลูกค้ารายย่อย สถาบันการเงินมีนโยบาย บริการ และผลิตภัณฑ์ทพี่ งุ่ เป้าไปยังกลุม่ คนจนและคนชายขอบ หรือ MSME อย่างเฉพาะเจาะจง 2. สถาบันการเงินมีสาขาในเขตชนบท ไม่ใช่เฉพาะในเมือง 1.
— 129 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
สถาบันการเงินมีบริการธนาคารทางมือถือ (mobile banking) และ บริการไร้เงินสด (e-money) 4. สถาบันการเงินมีสด ั ส่วนสินเชือ่ ทีป่ ล่อยให้กบั ธุรกิจขนาดจิว๋ จนถึงขนาด กลาง (Micro to SME: MSME) มากกว่าร้อยละ 10 ของสินเชือ่ ทัง้ หมด 5. สถาบันการเงินไม่กำ�หนดว่า MSME ต้องมีหลักประกันในการกู้ 6. สถาบันการเงินมีนโยบายเปิดเผยสิทธิของลูกค้า และความเสีย ่ งของ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ (รวมถึงความเสีย่ งทีจ่ ะเป็นหนีเ้ กินตัว) สำ�หรับ ลูกค้าที่ไม่รู้หนังสือและ MSME 7. สถาบั น การเงิ น เผยแพร่ เ งื่ อ นไขของบริ ก ารทางการเงิ น ในภาษา ท้องถิ่น 8. สถาบันการเงินมีนโยบายปรับปรุงความรูเ้ รือ ่ งทางการเงิน (financial literacy) ของลูกค้ากลุม ่ ผูม้ รี ายได้นอ้ ย กลุม่ ชายขอบ กลุม่ เปราะบาง และ MSME 9. สถาบันการเงินไม่คิดค่าธรรมเนียมในการเปิดบัญชีเงินฝากพื้นฐาน หรือคิดค่าธรรมเนียมเพียงเล็กน้อยที่สมเหตุสมผล 10. สถาบั น การเงิ น ไม่ กำ�หนดเงิ น คงเหลื อ ในบั ญ ชี ขั้ น ตํ่ า (minimum balance) สำ�หรับบัญชีเงินฝากพื้นฐาน 11. สถาบันการเงินมีมาตรฐานระยะเวลาการพิจารณาสินเชื่อ และเปิด เผยข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณะ 12. สถาบันการเงินมีบริการรับหรือโอนเงินในประเทศทีเ่ หมาะสม สะดวก และลูกค้ารายย่อยมีกำ�ลังซื้อ 13. สถาบันการเงินปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัยให้กับผู้มีรายได้น้อย 14.. สถาบันการเงินมีผลิตภัณฑ์และบริการที่ช่วยให้สตรีและผู้ประกอบ 14 การสตรีเข้าถึงการเงินและบริการของธนาคารได้มากขึ้น 3.
— 130 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
นโยบายค่่าตอบแทน
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ สถาบันการเงิน สถาบันการเงินสงวนสิทธิทจี่ ะเรียกเงินโบนัสคืน ถ้าหากปรากฎภาย หลังจากที่ได้เงินไปแล้วว่าได้รับโบนัสโดยมิชอบ (กลไก clawback) 2. สถาบันการเงินกำ�หนดเพดานการจ่ายโบนัสไว้ไม่เกินร้อยละ 100 ของเงินเดือนตลอดปี 3. สถาบันการเงินกำ�หนดเพดานการจ่ายโบนัสไว้ไม่เกินร้อยละ 20 ของ เงินเดือนตลอดปี 4. สถาบันการเงินกำ�หนดเพดานการจ่ายเงินเดือนไว้ไม่เกินยีส ่ บิ เท่าของ เงินเดือนทีต่ าํ่ ทีส่ ดุ ในองค์กร หรือขัน้ สูงสุดของช่วงเงินเดือนทีต่ าํ่ ทีส่ ดุ ภายในสถาบัน 5. เงินโบนัสอย่างน้อยร้อยละ 60 ขึ้นอยู่กับเป้าหมายระยะยาว (ซึ่งไม่ เหมือนกับข้อตกลงที่จะเลื่อนจ่ายโบนัสออกไป) 6. เงินโบนัสของสมาชิกคณะกรรมการบริหาร (executive board board)) อย่าง น้อยร้อยละ 60 ผูกกับเป้าหมายด้านความยั่งยืน (ESG ESG)) 7. เงินโบนัสของประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร (CEO CEO)) อย่างน้อยร้อยละ 60 ผูกกับเป้าหมายด้านความยั่งยืน (ESG ESG)) 8. เงินโบนัสอิงกับการปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและสิง ่ แวดล้อมของ การจัดการและปฏิบตั กิ ารของสถาบันการเงิน และเปิดเผยเป้าห มาย ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดสรรค่าตอบแทนผันแปร (variable renumeration เช่น โบนัส) 1.
— 131 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
เงินโบนัสอิงกับการปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและสิง่ แวดล้อมของ การลงทุนและการให้บริการทางการเงินของสถาบันการเงิน และเปิด เผยเป้าหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดสรรค่าตอบแทนผันแปร (variable remuneration เช่น โบนัส) 10. สถาบันการเงินอธิบายอย่างชัดเจนถึงหลักการที่ใช้กับการจ่ายค่า ตอบแทนพนักงานแต่ละกลุม่ (คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร ผูบ้ ริหารระดับสูง พนักงานทีน่ ำ�เงินลูกค้าไปเสีย่ ง [risk takers] เป็นต้น) 9.
ความโปร่่งใสและความรัับผิิด
องค์ ป ระกอบต่ อ ไปนี้ สำ�คั ญ สำ�หรั บ นโยบายระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารของ สถาบันการเงิน สถาบันการเงินอธิบายกรอบการให้เงินสนับสนุนและการลงทุนของ องค์ ก ร ที่ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ ประเด็ น ทางสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม และ อธิบายว่าองค์กรจะมั่นใจได้อย่างไรว่าการลงทุนเป็นไปตามเงื่อนไข ในนโยบายขององค์กร 2. สถาบันการเงินเผยแพร่ชื่อของรัฐบาลที่ตนไปลงทุน (เช่น ลงทุนใน กองทุนบำ�นาญของประเทศนั้นๆ เป็นต้น) 3. สถาบันการเงินเผยแพร่ชื่อของบริษัทที่ตนไปลงทุน 4. สถาบันการเงินเปิดเผยรายชือ ่ บริษทั ทีป่ ล่อยสินเชือ่ ใหม่ในปีทผี่ า่ นมา บนเว็บไซต์ของสถาบันการเงิน 5. สถาบันการเงินเปิดเผยรายชือ ่ บริษทั ทีป่ ล่อยสินเชือ่ ทัง้ หมด (เก่าและ ใหม่) บนเว็บไซต์ของสถาบันการเงิน 1.
— 132 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
สถาบันการเงินเผยแพร่ชื่อสินเชื่อโครงการ (project finance) และ สินเชื่อธุรกิจทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับโครงการ รวมถึงข้อมูลที่กำ�หนด ในมาตรฐานอีเควเตอร์ (Equator Principles 4) 7. สถาบั น การเงิ น เผยแพร่ พ อร์ ต สิ น เชื่ อ ตามภู มิ ภ าค ขนาด และ อุตสาหกรรม 8. สถาบันการเงินเผยแพร่พอร์ตสินเชือ ่ ในตารางไขว้ (cross table) โดย ผสมข้อมูลสินเชื่อรายอุตสาหกรรมกับข้อมูลสินเชื่อรายภูมิภาค 9. สถาบันการเงินตีพิมพ์เผยแพร่พอร์ตสินเชื่ออย่างละเอียด เช่น โดย ใช้มาตรฐานการเผยแพร่ข้อมูลสองหลักแรกของ NACE และ ISIC 10. สถาบันการเงินตีพิมพ์เผยแพร่พอร์ตสินเชื่ออย่างละเอียด เช่น โดย ใช้มาตรฐานการเผยแพร่ข้อมูลสี่หลักของ NACE และ ISIC 11. สถาบันการเงินเผยแพร่จำ�นวนบริษัทที่องค์กรเคยมีส่วนร่วมด้วยใน ประเด็นสังคมและสิ่งแวดล้อม 12. สถาบั น การเงิ น เผยแพร่ ชื่ อ บริ ษั ท ที่ อ งค์ ก รเคยมี ส่ ว นร่ ว มด้ ว ยใน ประเด็นสังคมและสิ่งแวดล้อม 13. สถาบันการเงินเผยแพร่ผลของการมีส่วนร่วมในประเด็นสังคมและ สิ่งแวดล้อมตามข้อ 12. รวมถึงหัวข้อ เป้าหมาย และเส้นตาย 14. สถาบันการเงินเผยแพร่ช่ือของบริษัทที่ตัดสินใจไม่ลงทุนและไม่ให้ การสนับสนุนทางการเงินเนื่องจากประเด็นด้านความยัง่ ยืน รวมถึง เผยแพร่เหตุผลที่ไม่ลงทุนและไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน 15. สถาบันการเงินเปิดเผยนโยบายการออกเสียง ซึ่งรวมแนวปฏิบัติว่า จะออกเสียงอย่างไรในวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็น สิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล 16. สถาบันการเงินเผยแพร่สถิติการออกเสียง 6.
— 133 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
สถาบันการเงินเผยแพร่รายงานความยั่งยืน 18. สถาบันการเงินเผยแพร่รายงานความยั่งยืนที่ทำ�ตามข้อกำ�หนดใน การเปิดเผยข้อมูลทัว่ ไป (General Disclosures) ในส่วนข้อมูลพืน้ ฐาน การรายงานของมาตรฐาน GRI 2021 (GRI Universal Standard 2021) หรือสอดคล้องกับกรอบการรายงานด้านความยั่งยืนอื่นๆ ที่เป็นที่ ยอมรับ 19. รายงานความยัง ่ ยืนของสถาบันการเงินได้รบั การตรวจทานจากบุคคล ที่สาม 20. สถาบันการเงินรายงานการปรึกษาหารือกับองค์กรภาคประชาสังคม และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ 21. สถาบันการเงินเปิดเผยการจำ�แนกสินทรัพย์ แบ่งเป็นสินทรัพย์ที่ บริหารภายใน และสินทรัพย์ที่บริหารโดยบุคคลภายนอก 22. สถาบันการเงินเปิดเผยรายชื่อของผู้บริหารสินทรัพย์ภายนอก 23. สถาบันการเงินจัดตัง้ กลไกเพือ ่ สร้างหลักประกันว่า ผูบ้ ริหารสินทรัพย์ ภายนอกจะมีสว่ นร่วมกับบริษทั ทีเ่ ข้าไปลงทุนและออกเสียงในฐานะ ผู้ถือหุ้น ตามนโยบายความยั่งยืนของสถาบันการเงิน 24. สถาบั น การเงิ น มี ก ลไกรั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นสำ�หรั บ ปั จ เจกบุ ค คลและ ชุมชนทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบทางลบจากกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับสถาบัน การเงิน และกลไกนั้นรวมถึงกิจกรรมที่สถาบันการเงินให้การสนับ สนุนทางการเงินด้วย 25. สถาบันการเงินมีกลไกรับเรื่องร้องเรียนที่เข้าถึงได้ง่าย และอธิบาย กระบวนการรับมือกับข้อร้องเรียนอย่างชัดเจน 26. สถาบันการเงินรายงานความคืบหน้าและผลลัพธ์ของกลไกรับเรื่อง ร้องเรียน 17.
— 134 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
27.
สถาบันการเงินต้องเคารพและยินดีให้ความร่วมมือในกระบวนการ ร้องทุกข์ที่เกิดขึ้นในรัฐ ทั้งที่มีและไม่มีการพิจารณาคดี เมื่อกรณี ที่สถาบันการเงินมีส่วนเกี่ยวข้องด้วยต้องเข้าสู่กระบวนการร้องทุกข์ ดังกล่าว
— 135 —
ภาคผนวก ข
แนะนํําโครงการ Fair Finance Thailand แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย เว็บไซต์ www.fairfinancethailand.org) ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2561 สมาชิก ประกอบด้วยบริษทั วิจยั 1 บริษทั และองค์กรภาคประชาสังคม 4 องค์กร ที่มีความสนใจร่วมกันในการติดตามผลกระทบและความท้าทายของ ธุรกิจธนาคาร และประสงค์จะร่วมกันผลักดันภาคธนาคารไทยให้ก้าวสู่ แนวคิดและวิถีปฏิบัติของ “การธนาคารที่ยั่งยืน” (sustainable banking) อย่างแท้จริง ผ่านการนำ�มาตรฐาน Fair Finance Guide International (แนวปฏิบัติของแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ เว็บไซต์ www. fairfinanceg uide.org) มาใช้ในการประเมินนโยบายด้านต่างๆ ของธนาคาร พาณิชย์ไทยที่เปิดเผยสู่สาธารณะ เริ่มจากปี พ.ศ. 2562 เป็นปีแรก Fair Finance Thailand (
— 136 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
สมาชิกแนวร่วม Fair Finance Thailand ได้แก่
1.
บริษัท ป่าสาละ จํากัด 4.
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw)
2. International Rivers
5.
3.
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
— 137 —
มูลนิธิบูรณะนิเวศ (EARTH)
ภาคผนวก ค
แนวปฏิิบััติิการเงิินที่่�เป็็นธรรมนานาชาติิ (Fair Finance Guide International) แนวปฏิบตั กิ ารเงินทีเ่ ป็นธรรมนานาชาติ คือ ดัชนี และ เครือ่ งมือ สําหรับ ผู้บริโภค ในการเจรจาต่อรอง รณรงค์ ให้การสนับสนุน มีส่วนร่วมใน ภาครัฐและสถาบันการเงิน เพือ่ สร้างความร่วมมือด้านการเงินทีเ่ ป็นธรรม ในปี พ.ศ. 2559 องค์กรภาคประชาสังคม 39 แห่ง ได้ดำ�เนินงานตาม แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมใน 9 ประเทศ (ประเทศไทยเป็นประเทศ ที่ 10 โดยเข้าเป็นสมาชิกแนวร่วมในปี พ.ศ. 2561) สามารถเข้าถึงบุคคล ทั่วไปกว่า 4 ล้านคน ผ่านทางช่องทางทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก ในขณะที่ เว็บไซต์แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรม มีสถิติผู้เข้าเยี่ยมชมมากกว่า 400,000 คน ในปี พ.ศ. 2560 เพียงปีเดียว มีประชาชนส่งข้อคิดเห็นหรือ ข้อร้องเรียนต่อธนาคารที่ตนใช้บริการมากกว่า 60,000 คน ในปี พ.ศ. 2562 นโยบายการดำ�เนินธุรกิจของสถาบันการเงินกว่า 110 แห่งใน 11 ประเทศถูกประเมินด้วยหลักเกณฑ์การประเมินกว่า 422 ข้อ (ซึง่ ผ่านความเห็นชอบระหว่างประเทศ) และเครือข่ายแนวปฏิบตั กิ าร เงินที่เป็นธรรมได้จัดทำ�กรณีศึกษา 45 ชิ้น ซึ่งเปรียบเทียบนโยบายกับ การปฏิบตั จิ ริงของธนาคาร รวมถึงได้ออกรายงานเปรียบเทียบการลงทุน ในกลุ่มนํ้ามันเชื้อเพลิงและแหล่งพลังงานทดแทนของธนาคาร 75 แห่ง ทัว่ โลก ในรายงานชือ่ “Undermining our Future” โดยใช้ขอ้ มูลปี พ.ศ. 2558 — 138 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
— 139 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
ระหว่างปี พ.ศ. 2552–2560 สมาชิกในแนวร่วมแนวปฏิบัติการเงินที่ เป็นธรรมได้จดั ประชุมร่วมกับธนาคารต่างๆ มากกว่า 100 ครัง้ นอกเหนือ จากการติดต่อผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือโทรศัพท์ ซึ่งการ ประชุม 25 ครั้งจัดขึ้นในหลายประเทศโดยมีวุฒิสมาชิกหรือสมาชิสภา ผู้แทนราษฎรจากพรรคการเมืองเข้าร่วมประชุม กิจกรรมทั้งหมดนี้นำ� ไปสู่การตกลงที่จะเปลี่ยนแปลงนโยบายของธนาคาร 25 แห่งทั่วโลก ความเป็็นมา
การนำ�มุมมองด้านสังคม สิง่ แวดล้อม และหลักธรรมาภิบาล (Environmental, Social, Governance นิยมย่อว่า ประเด็น ESG) มาบูรณาการ กับนโยบายและการดำ�เนินงานของธนาคารรวมถึงธุรกิจทีไ่ ด้รบั การลงทุน จากธนาคาร นำ�ไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้คน และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติทวั่ โลก ยกตัวอย่างเช่น การลดการมีสว่ นร่วมในการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การละเมิดสิทธิมนุษยชน ข้อตกลงเรื่อง การค้าอาวุธ การยึดครองทีด่ นิ การพัฒนาการบริการทางการเงินสำ�หรับ ผู้ผลิตรายย่อย และการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าที่เป็นธรรมมากขึ้น แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติสนับสนุนการบูรณาการ และประยุกต์ใช้กรอบการดำ�เนินงานที่คำ�นึงถึงสังคม สิ่งแวดล้อม หลัก ธรรมาภิบาล และสิทธิมนุษยชน ในการดำ�เนินธุรกิจของธนาคาร รวม ถึงลูกค้าของธนาคารซึ่งดำ�เนินงานในประเทศกำ�ลังพัฒนา แนวปฏิบตั กิ ารเงินทีเ่ ป็นธรรรม มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้เกิดการแข่งขัน สู่การเป็นที่หนึ่งระหว่างธนาคารภายใต้กรอบการคำ�นึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม ธรรมาภิบาล และสิทธิมนุษยชน โดยใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้
— 140 —
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
• เปิดโอกาสให้ผบู้ ริโภคได้เลือกบริการทางการเงินด้วยข้อมูลทีถ่ กู ต้อง เที่ยงตรง • เปิดช่องทางโดยตรงให้ลูกค้าของธนาคารสามารถเสนอข้อคิดเห็น ข้อร้องเรียน หรือเปลี่ยนธนาคารที่ใช้บริการ • เสนอบรรทัดฐาน (benchmarks) ที่สถาบันการเงินและหน่วยงาน กำ�กับดูแลสามารถนำ�ไปใช้พัฒนาการดำ�เนินงานให้มีความรับ ผิดชอบ เป็นธรรม และยั่งยืนมากยิ่งขึ้น • รณรงค์เรียกร้องการเปลี่ยนแปลงให้ระบบการเงินโลกมีความเป็น ธรรมและไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง (inclusive) แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมริเริ่มในปี พ.ศ. 2552 โดยองค์กรภาค ประชาสังคมหลายองค์กรในประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยพัฒนาระเบียบ วิธีวิจัยร่วมกับสถาบันวิจัย PROFUNDO และแนวปฏิบัตินี้ได้ถูกนำ�มาใช้ ในระดับนานาชาติ ในปี พ.ศ. 2557 ปัจจุบนั เครือข่ายแนวปฏิบตั กิ ารเงิน ทีเ่ ป็นธรรมดำ�เนินงานใน 10 ประเทศ ได้แก่ เบลเยียม บราซิล ฝรัง่ เศส เยอรมนี อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ สวีเดน และไทย ในแต่ละประเทศจะมีแนวร่วมขององค์กรภาคประชาสังคมในท้องถิ่น ร่วมด้วยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ดำ�เนินกิจกรรมหลักได้แก่ การวิจัย การติดตามตรวจสอบ การรณรงค์ต่อสาธารณะ และการหารือกับภาค การเงิน ภายใต้กรอบการดำ�เนินงานของแนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรม นานาชาติ การประเมินคุณภาพของนโยบายและการปฏิบตั ขิ องธนาคารภายใต้ กรอบแนวคิดด้านความยั่งยืนในหัวข้อเฉพาะด้านและเผยแพร่คะแนน การประเมินช่วยเพิ่มแรงกดดันจากสาธารณะ ซึ่งจะนำ�ไปสู่การพัฒนา — 141 —
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”
นโยบายและการปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วกับการลงทุนของธนาคาร โดยองค์กรทีเ่ ข้า ร่วมเป็นสมาชิกแนวร่วมแนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมในแต่ละประเทศ สามารถใช้ผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินในการหารือและส่งอิทธิพลต่อ หน่วยงานกำ�กับดูแลภาคธนาคาร ในการเรียกร้องการเปลี่ยนแปลงไปสู่ ระบบการเงินทีเ่ ป็นธรรม เช่น ผ่านการทำ�งานของรัฐสภาหรือสือ่ มวลชน
— 142 —
ผลการประเมิินธนาคารไทยตามเกณฑ์์ Fair Finance Guide International ประจํําปีี พ.ศ. 2566 60 50.96 (39.20%)
50
40
38.34 (29.49%)
38.80 (29.85%)
40.02 (30.79%)
43.08 (33.14%)
35.93 (27.64%)
32.92 (25.33%) 28.25 (21.73%)
30
27.26 (22.72%)
23.75 (18.27%)
20
17.80 (16.19%)
17.96 (16.33%)
BAAC
SMEB
10
0
BBL
SCB
KTB
KBANK
BAY
TTB
TISCO
KKP
GSB
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
สิทธ�แรงงาน
การขยายบร�การทางการเง�น
การทุจร�ตคอร รัปชัน
ธรรมชาติ
นโยบายค าตอบแทน
ความเท าเทียมทางเพศ
ภาษี
ความโปร งใสและความรับผิด
สุขภาพ
อาวุธ
สิทธ�มนุษยชน
การคุ มครองผู บร�โภค
เฉลี่ย
คะแนนรวม (รวมทั้งหมด = 130, rebased ให้แต่ละหัวข้อ = 10) หน้้าแทรกพิิเศษ 1
สรุุปอัันดัับของธนาคารเปรีียบเทีียบกัับปีี 2565
หน้้าแทรกพิิเศษ 2
คะแนนปี 2566
คะแนนเพิ่ ม/ลด
1
39.20%
-7.91%
2
2
33.14%
-2.63%
3
3
30.79%
-7.92%
4
4
29.85%
-6.72%
5
6
29.49%
+9.26%
6
5
27.64%
-6.89%
7
7
22.72%
-2.09%
8
8
21.73%
+11.85%
9
9
18.27%
+3.30%
10
11
16.33%
+16.39%
11
10
16.19%
-1.64%
อันดับปี 2566
อันดับปี 2565
1
อันดับเพิ่ม/ลด