รายงานฝึกงาน to issuu

Page 1

1


2


2

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ขาพเจาไดมาฝกงาน ณ บริษัท Media Studio Co.Ltd. ตั้งแตวนั ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2556 สงผลใหขาพเจาไดรับความรูใหมๆและประสบการณตางๆอยาง มากมาย สําหรับรายงานการฝกงานฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยดีจากความรวมมือและสนับสนุนจากหลายฝาย ดังนี้ 1. คุณวัชระ นิลดํารงค ตําแหนง ผูจัดการธุรการสตูดิโอ 2. คุณศุภวัฒิ ตําแหนง Graphic Design และบุคคลทานอื่นๆในแผนก Graphic และผายผลิตรายการ ทุกทานทีไ่ ดใหคําแนะนําชวยเหลือในการจัดทํา รายงานฉบับนี้ ขาพเจาใครขอขอบพระคุณผูท ี่มีสวนเกีย่ วของทุกทานที่มสี วนรวมในการใหขอมูล เปนที่ปรึกษาใน การทํารายงานฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ ตลอดจนใหการดูแลและใหความเขาใจเกี่ยวกับชีวิตการทํางานจริง ขาพเจาขอขอบคุณ ไว ณ ทีน่ ี้

นายเจษฎา แสงกระจาง ผูจัดทํารายงาน 20 มิถุนายน 2556


3

บทคัดยอ (Abstract) บริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) เปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตรายการ โทรทัศนทางฟรีทีวี และมีบริษัท มีเดีย นาว (Media Now Co.Ltd.) และบริษัท มีเดีย ซีน (Media Scene Co.Ltd.) เปนบริษัทลูกในเครือบริษัทมีเดีย สตูดิโอ โดยบริษัท มีเดีย นาว (Media Now Co.Ltd.) ซึ่งประกอบธุรกิจโทรทัศนดาวเทียมชอง Media News เนนความเปนชองรายการประเภทขาวและสารประโยชน และบริษัท มีเดีย ซีน (Media Scene Co.Ltd.) ประกอบธุรกิจโทรทัศนดามเทียมเนนความเปนรายการประเภทละคร ภาพยนตร ซีรี่ส รายการวา ไรตี้บันเทิง และถายทอดสดกีฬาจากตางประเทศ


4

สารบัญ จดหมายนําสง กิตติกรรมประกาศ บทคัดยอ สารบัญ สารบัญภาพ

หนา 1 2 3 4 5

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ชื่อและที่ตงั้ สถานที่ประกอบการ 1.2 ลักษณะการประกอบกิจการดําเนินงานเกี่ยวกับ 1.3 ตําแหนงและลักษณะงานที่นิสิตไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ 1.4 สภาพในการทํางาน 1.4 หลักการ 1.5 วัตถุประสงคของการฝกงาน 1.6 การปฏิบัติตัวระหวางการฝกงาน บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับงานทีป่ ฏิบตั ิ 2.1 ที่มาและจุดเริ่มตนของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ 2.2 ขอบเขตของการบริการ 2.3 การผลิตและเผยแพรรายการวิทยุโทรทัศน 2.4 ขั้นวางแผนและเตรียมการผลิต(Planning) 2.5 ขั้นการเตรียมอุปกรณและการฝกซอม (Preparation) 2.6 ขั้นการผลิตรายการ (Production) 2.7ขั้นการตรวจสอบและนําเสนอ (Presentation) บทที่ 3 การปฏิบัติงาน 3.1 หลักการปฏิบัติงาน 3.2 การปฏิบัติตัวระหวางฝกงาน 3.3 การปฏิบัติงานของฝาย Graphic 3.4 งานที่ไดรบั มอบหมาย

7 7 7 7 8 8 8 8 10 10 11 12 12 16 17 19 21 21 21 22 22


5

สารบัญ (ตอ) บทที่ 4 ผลที่ไดรับจากการปฎิบตั ิงาน 4.1 ผลที่ไดรับจากการฝกงาน 4.2 การวางแผนกอนผลิตผลงาน 4.3 การกําหนดแบบรางทางความคิด 4.4 การสรุปผล บทที่ 5 สรุปผลการปฎิบตั ิงาน 5.1 สรุปผลการปฏิบติตน 5.2 ประโยชนที่ไดรับจากการฝกงาน 5.3 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม

หนา 28 28 29 31 32 34 34 34 36

บรรณานุกรม ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข

37 38 40


6

สารบัญภาพ ภาพที่ 1 แสดงภาพสถานีโทรทัศนในกลุมบริษัท มีเดีย สตูดิโอ ภาพที่ 2 แสดงภาพรายการ “พักจอจอขาว” ภาพที่ 3 แสดงภาพรายการ “บันเทิงทูเดย” ภาพที่ 4 แสดงภาพรายการ “เจาะเกาะติด” ภาพที่ 5 แสดงภาพรายการ “มดดําออนTV” ภาพที่ 6 แสดงภาพรายการ “นารีบิวตี้” ภาพที่ 7 แสดงภาพรายการ “ประเด็นเด็ด 7 สี” ภาพที่ 8 แสดงภาพผลงานออกแบบ LOGO ทีมฟุตบอลบริษัท มีเดีย สตูดิโอ ภาพที่ 9 แสดงภาพโปรเตอรประชาสัมพันธรายการตางๆ ของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ ภาพที่ 10 แสดงภาพกระบวนการทํางาน 3P ภาพที่ 11 แสดงภาพกรณีศกึ ษาตัวอยาง ภาพที่ 12 แสดงภาพแบบราง LOGO รายการนารีบิวตี้ 1 ภาพที่ 13 แสดงภาพแบบราง LOGO รายการนารีบิวตี้ 2 ภาพที่ 14 แสดงภาพแบบราง LOGO รายการนารีบิวตี้ 3 ภาพที่ 15 แสดงภาพการปรับแต LOGO รายการนารีบวิ ตีต้ ามที่ฝายผลิตรายการตองการ ภาพที่ 16 แสดงภาพผลงานออกแบบ LOGO รายการนารีบิวตี้แบบ Key Visual ภาพที่ 17 แสดงภาพโปรแกรมที่ใชในการออกแบบ

หนา 10 22 23 24 24 25 26 26 27 28 30 31 31 32 32 33 33


7

บทที่ 1 บทนํา

ชื่อและที่ตั้งสถานที่ประกอบการ หนวยงานที่ฝก งานบริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) แผนกศิลปกรรม,ประสานงานฝายผลิต รายการ, graphic design ที่ตั้ง : เลขที่ 2991/29-30 ถนนลาดพราว แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพฯ10240 URL: www.mediastudio.co.th ลักษณะการประกอบกิจการดําเนินงานเกี่ยวกับ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) เปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตรายการโทรทัศนทาง ฟรีทีวี และมีบริษัท มีเดีย นาว (Media Now Co.Ltd.) และบริษัท มีเดีย ซีน (Media Scene Co.Ltd.) เปน บริษัทลูกในเครือบริษัทมีเดีย สตูดิโอ โดยบริษัท มีเดีย นาว (Media Now Co.Ltd.) ซึ่งประกอบธุรกิจ โทรทัศนดาวเทียมชอง Media News เนนความเปนชองรายการประเภทขาวและสารประโยชน และบริษัท มีเดีย ซีน (Media Scene Co.Ltd.) ประกอบธุรกิจโทรทัศนดามเทียมเนนความเปนรายการประเภทละคร ภาพยนตร ซีรี่ส รายการวาไรตี้บันเทิง และถายทอดสดกีฬาจากตางประเทศ โดยผลงานของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ นั้นมีรายการโทรทัศนออกสูสายตาผุชมมากมาย เชน รายการ ขาวเชานี้ทหี่ มอชิด,รายการขาวประเดนเด็ด 7 สี,รายการขาวเจาะเกาะติด,รายการหนึ่งสมอง 2 มือ ฯลฯ ซึ่งลักษณะการทํางานนั้นไดทํางานในลักษณะตามกระบวนการ 4 ขั้นตอน(4 P) ดังนี้ 1.ขั้นวางแผนและเตรียมการผลิต(Planning) 2.ขั้นการเตรียมอุปกรณและการฝกซอม (Preparation) 3.ขั้นการผลิตรายการ (Production) 4.ขั้นการตรวจสอบและนําเสนอ (Presentation) ตําแหนงและลักษณะงานที่นสิ ิตไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบ คุณวัชระ นิลดํารง ตําแหนง ผูจดั การธุรการสตูดิโอ คุณศุภวัฒน สุธาอรรถ ตําแหนง Graphic Design ผูบริหารสถานที่ฝกประสบการณวิชาชีพ ชวงระยะเวลาฝกงาน : วันที่ 25 มีนาคม 2556 – 17 พฤษภาคม 2556 ระยะเวลาและสภาพในการทํางานชวงเวลาในการฝกงาน :เริ่มฝกงานตั้งแตวนั ที่ 25 มีนาคม 2556 – 17


8

พฤษภาคม 2556 ทํางานวันจันทร-ศุกร หยุดเสารอาทิตย เริ่มงานเวลา 8.00 น.จนถึงเวลา 23.20 น.เวลาพัก กลางวันเวลา 12.00 – 13.00 น. สภาพในการทํางาน : สถานที่ทํางานตั้งอยูใ นอาคาร มนตตรีสตูดิโอ 10 แผนกซึ่งเปนสวนของการปฏิบัติงาน ดานการถายทํารายการโทรทัศนทั้งหมดและสวนของงานกราฟฟกและมีเดียโดยมีหอ งทํางานเปนโตะทํางาน แบบล็อคของแตละคนมีคอมพิวเตอรคนละเครื่องสวนนักศึกษาฝกงานใหนําเครื่องมาเองมีสายWireless หรือ Ethernet (Lan)ใหตอเพื่อสืบคนขอมูลหาขอมูลอางอิงในการทํางาน หลักการ

1.จัดประสบการณใหเปนระบบและกระบวนการที่ตอเนือ่ ง 2.ใหมีการฝกสถานการณจริงใหมากที่สุดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานใหกับนักศึกษา 3.ประสานทฤษฎีใหสอดคลองกับการนําไปประยุกตใชใหเหมาะสม 4.สรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางสถาบันกับองคการและหนวยงานภายนอก 5.พัฒนาคุณภาพนักศึกษาใหมีศักยภาพสอดคลองกับความตองการของตลาด แรงงานและผูใ ช

วัตถุประสงคของการฝกงาน 1. เพื่อใหนักศึกษามีโอกาสเรียนรูและไดรับ ประสบการณชีวิตการทํางานที่แทจริง 2. เพื่อใหนักศึกษาไดเตรียมความพรอมกอนที่จะจบออกไปทํางาน 3. เพื่อใหนักศึกษาไดรูจักการปรับตัวใหเขากับ สภาพแวดลอมภายนอกมหาวิทยาลัย 4. เพื่อใหนักศึกษานําประสบการณที่ไดรับจากการฝกงานมาประยุกตใชในการทํางานตอไป การปฏิบตั ิตัวระหวางการฝกงาน

1. ตรงตอเวลา 2. มีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น 3. แตงกายชุดนักศึกษา กรณีใสเสื้อช็อปตองผานความเห็นชอบจากบริษัทกอน 4. การลากิจ ลาปวย ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสถานที่ฝกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใชเครื่องมือสื่อสาร 6. ไมควรตอรองเรื่องระยะเวลาการฝกงานหรือ เรียกรองอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝกงาน


9

7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กลาคิด กลาแสดงออกและกลาตัดสินใจ 8. ใหถือเสมือนวา การฝกงานก็คือการทํางาน และทําการ ฝกงานอยางเต็มกําลังความสามารถ 9. การไปฝกงานของนักศึกษา ถือวาไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ตองไมกระทํา การ ใด ๆ ที่จะทําใหเสื่อมเสียตอสวนรวม 10. ในระหวางการฝกงาน หากมีปญหาเกี่ยวกับงานตองการคําปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดตอกลับมา ยังอาจารยประจําภาควิชา แตถามีปญหาเกี่ยวกับการฝกงานติดตอเจาหนาที่หนวยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหวางการฝกงานใหติดตอคณะฯ หรือมหาวิทยาลัย


10

บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ปฎิบตั งิ าน การจัดการภายในองคกร ที่มาและจุดเริ่มตนของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) มีเดีย ออฟ มีเดียส กอตั้งเมื่อป พ.ศ. 2527 โดยมีนางยุวดี บุญครอง เปนประธานกรรมการ และ ประธานเจาหนาที่บริหาร โดยเริ่มจากการเปนตัวแทนบริหารการจําหนายเวลาโฆษณาใหกับผูผลิตรายการ โทรทัศนตาง ๆ เชน แปซิฟคอินเตอรคอมมิวนิเคชั่น เจเอสแอล 72 โปรโมชั่น ฯลฯ ซึ่งในระยะเริ่มตน มีทุน จดทะเบียน 2 แสนบาท และบุคลากรเพียง 3 คน จวบจนถึงป พ.ศ. 2532 บริษัทไดซื้อเวลาจากสถานีโทรทัศน เพื่อดําเนินการผลิตและจําหนายเวลาโฆษณารายการดวยตัวเอง โดยรายการแรกของบริษัท คือ "แผนฟลมวัน ศุกร" และ "ฟลมหรรษา" บริษัทไดเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กลุมธุรกิจบันเทิงและสันทนาการ เมื่อ วันที่ 9 กุมภาพันธ พ.ศ. 2539 ดวยทุนจดทะเบียน 260 ลานบาท และใชชื่อยอในการซื้อขายตลาดหลักทรัพย วา "MEDIAS" ดําเนินการผลิตรายการโทรทัศน ละครโทรทัศน สื่อสิ่งพิมพ เพลง(ในนาม เอ็มสแควร และ มีเดียส มิวสิก กรุป) ธุรกิจทองเที่ยว และ สตูดิโอ ในป พ.ศ. 2549 บริษัทไดทําการปรับโครงสรางการบริหารงานโดยกลุม ผูบริหารระดับสูงชุดใหม นําโดย นางชาลอต โทณวณิก และนายธงชัย ชั้นเสวิกุล เพื่อกําหนดกลยุทธและสรางผลประกอบการที่ดี ยิ่งขึ้น ทําใหนางยุวดี บุญครอง นายโฆษิต สุวินิจจิต และทีมงานบางสวนขอแยกตัวดวยการเปดบริษัทแหง ใหมยานหลักสี่ปลายป พ.ศ. 2552 บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส ไดโอนขายทรัพยสินทีใ่ ชในการดําเนินธุรกิจสื่อ ทั้งหมดของบริษัทใหแก บริษัท มีเดียสตูดโิ อ จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย โดยไดจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย กลุมธุรกิจอสังหาริมทรัพย โดยมีนายโยธิน บุญดีเจริญ เขามารับชวงกิจการตอ สวนนาง ชาลอต เปนประธานบริษัท มีเดีย สตูดิโอ จํากัด เพื่อผลิตรายการโทรทัศนและสื่อตางๆ จากบริษัทเดิมตอไป โดยมีสถานีโทรทัศนดาวเทียมของตนเองภายใตชื่อ "มีเดีย แชนแนล", "มีเดีย นาว" และ "มีเดีย ซีน" อีกดวย


11

ภาพที่ 1 แสดงภาพสถานีโทรทัศนในกลุมบริษัท มีเดีย สตูดิโอ

ขอบเขตของการบริการ บริษัทไดผลิตรายการประเภทตางๆ หลากหลายรูปแบบ เปนจํานวนกวา 100 รายการ เพื่อนําเสนอ ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศนไทยทีวีสีชอ ง 3, สถานีวิทยุโทรทัศนกองทัพบกชอง 5, สถานีโทรทัศนสี กองทัพบกชอง 7, สถานีวิทยุโทรทัศนไทยทีวีสีชอง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีวิทยุโทรทัศนแหงประเทศไทย และ สถานีโทรทัศนไอทีวี ซึ่งไดรับการตอบรับเปนอยางดีจากผูชมทุกเพศ ทุกวัย ในยุครุง เรืองคือชวงป พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2540 โดยเปนบริษัทที่มีเวลาออกอากาศทางสถานีฟรีทีวีมากที่สุดตอสัปดาหในชวงนัน้ จนในป พ.ศ. 2549 บริษัทผลิตรายการใหกับสถานีโทรทัศนสีกองทัพบกชอง 7 เปนหลัก จากการเขามาบริหารงาน ของนางชาลอต โทณะวณิก แตยังคงผลิตรายการใหกับสถานีอื่นๆ เปนครั้งคราว เชน ละครเรื่อง "คลื่นฝนวัน รัก" กับ สถานีโทรทัศนโมเดิรนไนน และ ละครเรื่อง "เขาชื่อกานต" กับ สถานีโทรทัศนไทยพีบเี อส ปจจุบัน ไดผลิตรายการขาวใหกับสถานีโทรทัศนสีกองทัพบกชอง 7 คือรายการ เชานี้ที่หมอชิต,ประเดนเด็ด 7 สี,เจาะ เกาะติด เปนตน


12

การผลิตและเผยแพรรายการวิทยุโทรทัศน ขั้นตอนการผลิตรายการโทรทัศนเปนการรับผิดชอบของผูผลิตรายการหรือ ซึ่งมีทั้งหมด 4 ขั้นตอน(4 P) ดังนี้ 1.ขั้นวางแผนและเตรียมการผลิต(Planning) 2.ขั้นการเตรียมอุปกรณและการฝกซอม (Preparation) 3.ขั้นการผลิตรายการ (Production) 4.ขั้นการตรวจสอบและนําเสนอ (Presentation) 1. ขั้นวางแผนและเตรียมการผลิต เปนการกําหนดสิ่งที่เปนแนวทางในการดําเนินการ ตลอดภารกิจที่ตองปฏิบัติ ซึ่งเปนการเตรียมตัว ลวงหนา เพื่อใหผูที่เกี่ยวของปฏิบัติภารกิจตามนโยบาย เปาหมายวัตถุประสงค และกิจกรรมที่กําหนดไว แผนการดําเนินงานจะเปนเสมือนคูมือและเข็มทิศในการทํางาน จะมีขนั้ ตอนแยกยอย ดังนี้ การแสวงหาแนวความคิด หรือการหาไอเดีย (Investigating an idea) ที่จะมาทํารายการเปนขั้นตอนแรกของผูผลิตรายการ โดยพิจารณาวา “แนวความคิด”หรือ “ไอเดีย” นั้นมีความเหมาะสมกับรายการหรือไม ซึ่งมีประเด็นที่สนใจ คือ มีความนาสนใจหรือตื่นเตน มีจดุ เดนใน ตัวเองหรือสรางสรรค มีประโยชนตอผูชม มีประเด็นปญหาที่นาสนใจ เปนตน การหาแนวความคิดหรือการหาไอเดียจึงเปนงานที่ตองใชความคิดสรางสรรคและจินตนาการสูง ผูผลิตจึง ตองมีสายตาและความคิดคํานึงที่กวางไกล ลุมลึก เรื่องที่จะนํามาทําเปนรายการโทรทัศน อาจจะเปนเรื่องที่มี ผูเขียนไวแลว มีสาระที่นารูนาศึกษา เปนเกร็ดชีวิตทีน่ าสนใจ หรือเปนสาระบันเทิงที่ผูชมตองการ การกําหนดวัตถุประสงค (Defining objectives) เปนการคาดหวังถึงผลที่จะเกิดกับผูชมเมือ่ ไดรับชมรายการไปแลว ทุกเรื่องที่นํามาจัดและผลิต รายการโทรทัศน ผูผลิตจะตองกําหนดวัตถุประสงความุงจะใหผูรับไดรับหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ หรือพฤติกรรมในดานใดบาง การกําหนดวัตถุประสงคอาจตั้งหลายวัตถุประสงคก็ได โดยทัว่ ไป วัตถุประสงคจะมีอยู 2 ลักษณะ - วัตถุประสงคทั่วไปอาจมุงทีก่ ารเสนอขาวสาร การใหความรูและการศึกษา การโนมนาว จูงใจ การใหความบันเทิง หรือเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ - วัตถุประสงคเฉพาะเปนการกําหนดผลที่คาดหวังทีแ่ คบลงไป เชน หรือเพื่อใหทราบ ผลกระทบของวัยรุนกับยาเสพติด ที่จะทําใหวยั รุนประสบปญหาทั้งดานการเรียน ครอบครัว เพื่อน สังคม เปนตน


13

การวิเคราะหผูชมเปาหมาย (Analyzing an audience) เปนการประเมินผูชมในแงมุมตาง ๆ เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองที่สุดในการจัดและผลิตรายการไดตรง กับความตองการและความสนใจของผูชมมากที่สุด โดยจะตองมีผูชมที่เปน กลุมเปาหมายหลัก (target audience) กลุมเปาหมายทั่วไป (general audience) การวิเคราะหผูชมเปาหมาย (Analyzing an audience) องคประกอบที่ควรพิจารณา ลักษณะทางประชากรศาสตร 1. ดานเพศ ชายหรือหญิง 2. วัยเด็กเล็ก วัยรุน หนุมสาว หรือผูใหญ 3. อาชีพ นักศึกษา ขาราชการ ประชาชนทั่วไปหรือกลุมอาชีพใด 4. ระดับการศึกษา ประถม มัธยม อาชีวะ หรืออุดมศึกษา ความสนใจ สนใจเพลง ดนตรี หรือกีฬาตาง ๆ 5. จํานวนผูชม โดยประมาณการวาอยูในระดับมากกวาพันคนขึ้นไป ชวงเวลาที่ผูชมเปาหมายจะรับชม รายการได เนื้อหาสาระที่จะนําเสนอ เมื่อรูกลุมเปาหมายทีแ่ นนอนแลว ตองกําหนดเนื้อหาสาระที่จะนําเสนอ การแสวงหาเนื้อหาสาระและ ขอมูล 1. คนควาจากสื่อและเอกสารตางๆ การศึกษาวิจัย ผลงานวิชาการ 2. การสอบถาม/สัมภาษณผูเชีย่ วชาญที่เกี่ยวของกับเรื่องที่จะทําเปนรายการโทรทัศน 3. นํามาประมวลเพื่อใหไดเนื้อหาสาระและขอมูลที่ถูกตอง ทันสมัย นาสนใจ และมีความนาเชื่อถือ ซึ่งเปนหนาทีข่ องผูจัดและกลุมผลิตรายการที่จะตองศึกษาจากอยางรอบคอบ เพราะสื่อโทรทัศนกอใหเกิด ผลกระทบในวงกวาง การพิจารณาเนื้อหาและขอมูล ความใกลตวั กลาวคือเนื้อหานั้นเกีย่ วของกับผูชมหรือไม มากหรือนอย เชนดานสุขภาพ ชีวติ และ ความเปนอยู เปนผลดานจิตวิทยาเพื่อดึงดูดใจในการเปดรับ เนื้อหาที่มีความขัดแยงมักมีสามารถดึงดูดความสนใจของผูชมมากกวาเนื้อหาที่ดําเนินไป อยางราบเรียบ เชนระหวางคนกับคน คนกับสังคม คนกับธรรมชาติ เปนตน เนื้อหาที่มีความงายในการเขาใจและใหแงคิดกับผูชม เรื่องที่มีรายละเอียดยาก ถามีการเรียบเรียงใหมใหมี ความงายมาขึน้ จะไดรับความนิยมมากกวาเรื่องราวที่สับสน


14

เนื้อหาที่มีความยาวเหมาะสม โดยธรรมชาติของมนุษยจะมีขอจํากัดของสมาธิกับสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง หากเรื่องที่นําเสนอนั้นมีเนื้อหาทีย่ าวมากก็ตองสรางความสนใจเพิ่มขึ้นดวย เชน ภาพยนตรเรื่องสุริโย ทัย เปนตน การเขียนบท (Writing a script) การเขียนบทเปนกระบวนการตอเนื่องจากขั้นกําหนดแนวความคิด จนถึงการวิเคราะหเนื้อหาและ ขอมูลและรับประเด็นหลักและประเด็นยอยของรายการ โดยกําหนดแผนผังการเดินเรื่อง โดยผูเขียนจะนําไป เขียนบทละเอียดตามแผนผังรายการเปนบทสมบูรณ ที่มีการกําหนดลําดับกอนหลังของการเสนอภาพและ เสียง ผูชมจะไดรับ เนื้อหาสาระตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวจากลักษณะภาพและเสียงที่เดนชัด การวางโครงราง (outline) สําหรับการเขียนบทที่ดี ประกอบดวย บทนํา ตองสั้น กระชับ เขาใจงาย เพื่อกระตุน ความสนใจของผูชมใหเขาสูเนื้อเรื่อง การดําเนินเรื่อง คือการนําแกนของเรื่อง หรือความคิดรวบยอดของเรื่องมาคลี่คลายใหเห็น การพัฒนาอยางเปนขั้นตอน การเขียนบท (Writing a script จุดหักมุม เปนจุดที่เคาโครงเรื่องที่ดําเนินการเกิดหักมุมอยางไมคาดคิด หรือเปนการเสนอทัศนะจาก มุมมองอื่นที่แตกตางออกไป เพื่อชวยเสริมจุด climax ใหเดนขึ้น เปนการพัฒนาแกนของเรื่องสูงสุด การสรุป หรือการขมวดปมของเรื่องทั้งหมดลงอยางยนยอและมีศิลปะ สวนสรุปจะตองสัมพันธกับ เนื้อหาและบทนํา การสรุปที่ดี คือการทําใหผูชมเกิดความประทับใจและการนําไปพิจารณาตอ การกําหนดฉาก วัสดุประกอบฉาก และวัสดุประกอบกรายการ เมื่อเขียนบทเรียบรอยแลว ผูผลิตรายการจะตองมากําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับฉากและวัสดุประกอบฉาก โดยเขียน 1. รายละเอียดของฉากทุกชิ้นทุกชุดที่ตองใช 2. วัสดุประกอบฉากทุกประเภทลงในแบบฟอรมการกําหนดฉากและวัสดุประกอบฉากโดยแยกชิ้น หรือชุดละแผน เพื่อจะไดสงไปใหฝายฉากดําเนินออกแบบ สรางโมเดลและจัดสรางและจัดหาให วัสดุรายการ (program materials) หมายถึง วัสดุเนื้อหาประเภทรูปภาพ แผนภูมิ ขอมูลทางสถิติ ภาพยนตร ภาพแอนิเมชัน เปนตนทีจ่ ะนํามาใส หรือประกอบไวในรายการ สําหรับวัสดุรายการที่มีอยูแ ลว ก็ใหใสรายชือ่ และแหลงที่มาได สวนวัสดุรายการ


15

ที่ตองผลิตขึ้นใหม ก็ตองใสรายชื่อและกําหนดความตองการใหชัดเจน เชนงานกราฟกประเภทแผนภูมิ รูปภาพ การตนู เปนตน การกําหนดผูแสดงที่ปรากฏตัวและไมปรากฏตัว ขั้นตอนการกําหนดตัวผูแสดงทางโทรทัศน เชน ผูดําเนินรายการ พิธีกร ผูประกาศ ผูอภิปรายและผูรวม รายการ เปนตน โดยเขียนไวในแบบฟอรมผูแสดง ผูผลิตควรกําหนดตัวผูกํากับรายการไวแลวกอนการ กําหนดตัวแสดง และมีการประชุมลงมติกันกอน เพราะผูกํากับจะแนะนําไดวาผูแสดงคนใดมีความสามารถ มากนอยเพียงไร การจัดทําแผนผังเวทีและแผนผังไฟแผนผังเวที (Floor plan) หมายถึง การกําหนดตําแหนงของผูแสดง ฉาก และสิ่งของตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการผลิตรายการ และแผนผัง ไฟ (Lighting plan) หมายถึง จุดกําหนดตําแหนงของไฟ เพื่อใหแสดงทีผ่ ู ผลิตจะวางแผนไววาจะใหไฟ หลัก ไฟเสริม ไฟหลัง อยูใ นตําแหนงใด ระยะใดของสตูดิโอ แผนผังดังกลาวมักจะใชรวมกับแผนผังเวที โดยการลากเสนแสดงตําแหนงราวแขวนไฟไวดว ย การจัดทํางบประมาณ การจัดและผลิตรายการโทรทัศน โดยทัว่ ไปจะมีการตั้งงบประมาณไวกอนแลวกอนขึ้น ปงบประมาณ แตจะยังอนุมัตใิ หมีการใชจายไมไดจนกวาจะมีการจัดทํางบประมาณสําหรับแตละรายการโดย ละเอียด งบลงทุน คาอุปกรณ อาคาร สถานที่ วัตถุ งบดําเนินการ คาเชา คาวัสดุ งบจางงาน จางทีมงาน ตัวแสดง 2. การเตรียมการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน เปนขั้นของการนําสิ่งที่ไดวางแผนไวแลวมาสราง ผลิต และจัดใหพรอมกอนจะถึงวันเวลาการผลิต รายการ เชน การเตรียมการครอบคลุมการจัดความพรอมในดานบุคลากร สถานที่ถายทํา อุปกรณฉาก วัสดุ ประกอบฉาก วัสดุกราฟก และผูแสดง เสียงและแสง และการนํามาประกอบใหสมบูรณในขั้นตอนสุดทาย การเตรียมการดานบุคลากรดานการผลิต ดานเทคนิค และการสนับสนุน เมื่อไดกําหนดผูทําหนาที่เขียนบท กํากับรายการ ผูดําเนินรายการ ผูแสดง และกํากับเวทีแลว ในดาน เทคนิค ฝายเทคนิคจะกําหนดผูกํากับเทคนิค (TD) ชางกลอง ชางควบคุมเสียง และชางควบคุมแสง ในขั้น เตรียมการผูผลิตรายการจะตองแจกบทวิทยุโทรทัศนใหผูเกี่ยวของทุกคน เพื่อจะไดศึกษาบทลวงหนา รายชื่อ บุคลากรทั้งหลายเหลานี้ ผูผลิตก็จะไดนําไปทําเครดิตในตอนทายของรายการดวย


16

การเตรียมสถานที่ และอุปกรณการผลิต การเตรียมสถานที่ในการถายทํามี 2 แหง คือการเตรียมสถานที่ในหองผลิตรายการหรือในสตูดิโอ และสถานที่จริง (on location) ซึ่งเปนสถานที่ตางๆ หรือสถานที่สาธารณะ โดยตองระบุคิวการถายทํา และ ปรับแตงสถานที่ใหเหมาะสมกับบรรยากาศของเรื่อง การเตรียมสถานที่ และอุปกรณการผลิต วนการถายทําในสตูดิโอ ฝายเทคนิคจะเปนผูดําเนินการเรื่องการเตรียมอุปกรณการผลิตดาน กลองโทรทัศน ระบบเสียง แสง และเครื่องบันทึกภาพ ผูจัดและผลิตรายการตองตรวจสอบความพรอมกับผู กํากับเทคนิคของแตละรายการ การถายทํานอก สตูดิโอก็ เชนกัน ผูผลิตตองเตรียมพรอมดานระบบควบคุม แสง เสียง และฉากตามที่ระบุไวในบท การเตรียมฉาก วัสดุประกอบฉาก เครื่องแตงตัวและแตงหนา ฝายศิลปกรรมฉากจะเปนผูออกแบบผลิตและจัดฉากกับวัสดุประกอบฉากตามความตองการของ ผูผลิตรายการ และมีเวลาแกไขเพิ่มเติมกอนวันเวลากําหนดบันทึกรายการหรือออกอากาศ ผูผลิตรายการควร มาตรวจสอบการสรางฉากลวงหนา 1 วัน และจะตองเอาใจใสดแู ลการติดตั้งและจัดฉากอยางใกลชิดใน ชวงเวลาที่ฝายฉากกําหนดไว ใหเปนเวลาสําหรับจัดฉากในสตูดิโอ ในดานการแตงหนา แตงตัว โดยเฉพาะรายการละคร ผูผลิตก็ตองสั่งการใหมีการออกแบบสั่งตัดและ ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องแตงตัวประเภทตาง ๆ ใหพรอม สวนการแตงหนามักจะเปนการเตรียมการขั้น สุดทายเกีย่ วกับคน หลังจากแตงหนาแลวก็จะไดเขาฉากถายทําไดทนั ที การเตรียมวัสดุกราฟกและวัสดุรายการ เชน รูปภาพ แผนภูมิตาง ๆ ภาพประกอบตัดตอภาพยนตรและภาพการตูนที่จะตองนํามาแทรกใน รายการ พรอมทั้งตรวจสอบในดานขนาดและสัดสวนของคุณภาพของงานใหพรอมกอนที่จะถึงวันเวลาผลิต รายการ ซึ่งจะเปนการประหยัดเงินและเวลา และใชกระบวนการตัดตอใหนอยลง การคัดเลือกตัวผูแสดง การเตรียมการดานผูแสดงและผูปรากฏตัวทาง โทรทัศน เปนการดูแลใหผูที่เรากําหนดตัวไวทจี่ ะ ใหเปนผูด ําเนินรายการ ตัวละคร ไดมีการซักซอมบทเพื่อใหการดําเนินการผลิตเปนไปอยางราบรื่น เพราะถา มีการหยุดเพื่อถายซ้ําบอย ๆ จากการที่ผูดําเนินรายการ พิธีกร หรือนักแสดงลืมบท ก็จะเปนการสิ้นเปลือง เวลาและคาใชจาย การเตรียมการดานเสียงและแสง


17

เปนการจัดตําแหนงไมโครโฟน การคัดเลือกเพลงที่ใชในการประกอบรายการ และทดสอบเสียงไว ใหพรอมสําหรับการผลิตรายการไดทนั ที สวนดานแสงเปนการจัดตําแหนงไฟหลัก ไฟเสริม และไฟหลัง รวมทั้งไฟประเภทตาง ๆ โดยคํานึงถึงธรรมชาติ ทิศทาง และความเหมาะสมของแสงที่ใชในแตละรายการ เชน การใหแสงจา (Hard light) และแสงนวล (Soft light) ตามที่ตองการ การติดตั้งฉากและอุปกรณการผลิต เปนการเตรียมการขั้นสุดทาย ที่ผูผลิตรายการจะตองควบคุมและดูแลใหทุกอยางเปนไปตามที่ ตองการ เชน การจัดและติดตั้งฉาก การติดตั้งอุปกรณ การจัดระบบเสียง และระบบแสง เมื่อการติดตั้ง เรียบรอยแลวก็พรอมสําหรับการผลิตตามเวลาที่กําหนด 3. ขั้นการผลิต (Production stage) เปนขั้นตอนทีก่ ลุมผูเกี่ยวของตองดําเนินการตามระยะเวลาสําหรับการผลิตรายการที่กําหนดไว ซึ่งมีทั้งหมด 3 ขั้นตอน - ขั้นการประชุมกอนการผลิต - ขั้นซอม - ขั้นบันทึกรายการหรือออกอากาศจริง ผูรับผิดชอบในทุกขั้นตอนของการดําเนินการผลิต ผูรับผิดชอบในทุกขั้นตอนของการดําเนินการผลิตคือ ผูกํากับรายการ (Production Director) ซึ่ง ไดรับมอบอํานาจจากผูผลิตรายการ (Production แลว สําหรับการออกอากาศสด ขั้นตอนสุดทายคือ ขั้น ออกอากาศ ในปจจุบัน นิยมผลิตรายการบันทึกเทปเปนสวนใหญ จึงพิจารณาวาขัน้ ตอนการตัดตอ นาจะเปน ขั้นตอนครั้งสุดทาย การประชุมกอนการผลิตรายการ(Pre-production conference) เปนการประชุมหารือกันระหวางผูผลิต ผูกํากับรายการ ผูกํากับเทคนิค ผูกํากับเวที ชางกลอง ชางคุม แสง ชางคุมเสียง ฝายฉาก และผูรวมรายการ เพื่อใหทราบขั้นตอนการผลิตอยางชัดเจน ผูผลิตรายการ ตอง ชี้แจงนโยบายและวัตถุประสงคของรายการใหทุกคนทราบ แลวมอบใหผูกาํ กับรายการทําหนาที่ ชี้แจงรายละเอียด และบทบาทของผูรวมงาน จากการที่ผูกํากับรายการมีอํานาจกํากับรายการใหสําเร็จ สวน ผูผลิตรายการมีอํานาจควบคุมการผลิตรายการทั้งหมด ขั้นซอม การซอม (Rehearsal) เปนกระบวนการเตรียมทุกคนใหผานขัน้ ตอนเหมือนทีจ่ ะเกิดขึ้น จริง ๆ ในรายการ แมรายการนัน้ จะผลิตแบบงายๆก็ตองมีการซอมในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเสมอ สําหรับที่มีการปฏิบัติกันอยูมี 5 รูปแบบ ไดแก


18

1. การซอมแหง (Dry Run) ผูกํากับรายการซักซอมกับผูเกี่ยวของทุกคนใหทําสิ่งที่กาํ หนดใหทําตามลําดับกอนหลัง ตามที่ ปรากฏในบทโทรทัศน ไมวา จะเปนการแสดงทาทาง ตําแหนงทีน่ ั่ง การเดิน การยืน การหันหนาทางผูรวม รายการ รวมทัง้ การบรรยายหรือบทสนทนา อาจทําในสตูดโิ อ หรือหองซอม ผูกํากับและผูแสดงจะตองนึกถึงตําแหนงของกลองและไมโครโฟน โดยทําเครื่องหมายบนพื้นสตูดิโอ เพื่อ บอกตําแหนงตาง ๆ ดวย ผูกาํ กับรายการจะดูแลเรื่องการเคลื่อนไหวของผูแสดงและกลอง 2. การซอมผานแตละฉาก(walk through) หมายถึงการซอมที่ผูแสดงและบุคลากรเทคนิคทุกคนจะตองเขามารวมซอมการดําเนินตามเรื่องผานตาม ขั้นตอนตาง ๆ โดยละเอียด ตั้งแตผูกํากับเอง ผูชวยผูกํากับ (ถามี) ผูกํากับเทคนิค (TD) ชางกลอง ผู กํากับเสียง ผูกาํ กับแสง ผูกํากับเวทีและหนวยควบคุมเวที (back stage) ทุกคน เวลาทีใ่ ชในการซอมผานฉากนี้ ควรรวมเวลาการแตงหนาและแตงตัว ผูกํากํากับรายการจะตองควบคุมการซอมอยูที่หองสตูดิโอ 3. ซอมกลอง (Camera Rehearsal) หมายถึง การซอมการจับภาพของกลองทุกขั้นตอน กระทําหลังจากที่ผแู สดง ผูรวมรายการแตงหนา แตงตัว เหมือนการถายทําจริงเรียบรอยแลว การซอมจริงที่เปน “Final Dress Rehearsal” จึงยังจําเปนเพื่อใหเกิดความ ตอเนื่องในการแสดงเสมือนการออกอากาศจริง ๆ และเปดโอกาสใหประชาชนเขาชมได การจัดรายการ โทรทัศนหากมีการซักซอมอยางละเอียดลออในทุกขั้นตอนก็จะไดรายการที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 4. ซอมผานกลอง การซอมผานกลอง เปนการซอมที่รวมการซอมยอยทุกสวนเขาดวยกัน จึงเรียกวา “ซอมผานกลอง” หรือ “Walk-Through Camera Rehearsal Combination” มีลักษณะดังนี้ ผูกํากับตองอยูใ นสตูดิโอ หากสั่งการจากหองควบคุมรายการ จะสื่อความหมายไมได พยายามให บุคลากรทุกคนอยูในตําแหนงเริ่มตน 5. ซอมเหมือนจริง (Final Dress Rehearsal) เปนการซอมที่เหมือนกับการออกอากาศจริง ผูแสดงตองแตงตัว และจัดฉากเรียบรอย การซอมจริง ในลักษณะนี้มกั จะใชเฉพาะรายการที่มีความสําคัญมาก โดยที่มีเวลาเปนอุปสรรค รายการโทรทัศนสวนใหญ จะนําการซอมเหมือนจริง มาเปนการบันทึกเทปเลย เพื่อเปนการประหยัดเวลาและงบประมาณ ขั้นผลิต 1.Preproduction 2.Production 3.PostProduction


19

ขั้นผลิตรายการเปนขั้นที่ดําเนินการทันทีหลังจากการซอมแลว สิ่งที่ผูกาํ กับรายการตองทํา คือตรวจสอบกับผู กํากับเวทีวาทุกคนมีความพรอมหรือไม ประกาศบอกเวลาที่เหลือกอนออกอากาศโดยผานการสื่อสารภายในตรวจสอบกับหนวยตาง ๆ โดย การขานชื่อ แลวใหผูเกีย่ วของขานรับแลว เมื่อพรอมแลวใหบอกเวลาที่เหลือและใหทกุ คนเตรียมพรอม เพื่อการออกอากาศสั่งทุกคนให เตรียมพรอมเมื่อเหลือเวลา 2 นาที โดยประกาศวา “เหลือเวลา 2 นาที” ประกาศวา “เหลือเวลา 1 นาที” ผูกํากับเวทีให “Cue” ทุกฝาย ในกรณีที่เปนรายการบันทึกเทป จะตองบอกวา 5 วินาที เดินเทปและนับถอยหลัง ...” 4. การนําเสนอและประเมินคุณภาพรายการ(Presentation & Evaluation) เปนขั้นการพิจารณาวารายการมีคุณภาพ สามารถนําออกอากาศหรือไม หรือตองปรับปรุงอะไร รวมทั้งตรวจสอบวาเมื่อทําการออกอากาศไปแลวมีผลตอบรับจากผูชมอยางไร การประเมินคุณภาพรายการ อาจทําได 3 ทาง คือ ประเมินขณะทีก่ ําลังผลิตรายการ ประเมินเมื่อผลิตรายการเสร็จแลว และประเมินเมื่อได ออกอากาศไปแลว การประเมินขณะที่กําลังผลิตรายการกระทําไดดงั นี้ ใหบุคลากรเทคนิคตรวจสอบสัญญาณภาพและเสียงที่บนั ทึกไวแลววามีระดับและคุณภาพตามที่ ตองการหรือไม โดยตรวจสอบที่ Waveform Monitor หรือดูจากที่บันทึกเทปไวแลว ควรมีการบันทึกเทปทุกครั้งขณะที่ซอมผานฉากและกลอง เพื่อจะไดตรวจสอบคุณภาพทางเทคนิค ได ในขณะผลิตรายการ ผูกํากับรายการตองประเมินภาพการแสดง เสียง ลีลา และความถูกตองของการ พูดดวยตนเองดวย และจะตองยุติการแสดงทันทีที่ผิดพลาด การประเมินเมื่อผลิตรายการแลว การประเมินโดยกลุมผูเกีย่ วของกับการผลิตรายการของทางสถานีโทรทัศน ที่ไดรับการแตงตั้งเปน คณะกรรมการประเมินในดานความถูกตองดานสาระ ความเหมาะสมดานรูปแบบรายการ คุณภาพทาง เทคนิค และการขัดตอระเบียบหรือกฎหมายที่เกีย่ วกับศีลธรรมความดีงาม คณะกรรมการประเมิน มักจะประกอบดวย ตัวแทนของฝายจัดรายการฝายเทคนิค ผูทรงคุณวุฒิ และ หนวยงานควบคุมการออกอากาศรายการ เชน กกช. (คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศนแหงชาติ) เปนตน ผลจากการประเมิน จะนําไปสูการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตามระดับของปญหา ตอไป การประเมินเมื่อไดออกอากาศรายการไปแลว


20

จัดอยูใ นขั้นการประเมินการใชจริง ที่มีลักษณะคลายกับการประเมินผลการรับชมของผูชม(trial run หรือ pilot testing) เมื่อออกอากาศไปแลว ควรมีการประเมินปฏิกิริยาเปน 2 ระยะ คือ ประเมินทันทีหลังจากออกอากาศ เพื่อดูวาผูชมชอบไมชอบประการใด ประเมินหลังจากออกอากาศไปแลวชวงเวลาหนึ่ง การประเมินอาจทําไดโดย 1.การสุมตัวอยางสัมภาษณดวยโทรศัพท หรือดวยตัวเอง หรือการสงแบบสอบถาม 2. หรือวิธีที่สองเปนการเก็บขอมูลจากจดหมายหรือโทรศัพทที่มีผูเขียนหรือโทรศัพทเขามาติชม หรือจากการวิพากษวิจารณของสื่อมวลชน การวิจัยตลาด (Marketing research) คือการนําขอมูลจากการประเมินจากบริษัทที่ทําการวิจยั ตลาด (Marketing research) ซึ่งจะบอกไดวา รายการนั้น ๆ ที่ออกอากาศไปแลวในชวงหนึ่ง มีคนรับชมมากนอยเทาไร เมื่อเทียบหนวยเปนพัน และจัดอยู ในอันดับใดเมือ่ เทียบกับรายการอื่น กลุมเปาหมายผูรับชมตรงกับที่เรากําหนดไวหรือไม เมื่อไดขอมูล แลวก็นํามาปรับปรุงรายการใหดีขึ้น


21

บทที่ 3 การปฏิบตั ิงาน

หลักการของการปฎิบัตงิ าน 1. เพื่อเพิ่มทักษะ สรางเสริมประสบการณ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเปนจริงในสถาน ประกอบการ 2. เพื่อจะไดทราบถึงปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานและสามารถใชสติปญญาแกปญหาได อยางมีเหตุผล 3. เพื่อใหมีความรับผิดชอบตอหนาที่ มีระเบียบวินัย และทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ 4. เพือใหมเี จตคติที่ดีตอการทํางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพื่อเปนแนวทางในการประกอบ อาชีพตอไปภายหลังจากสําเร็จการศึกษา 5. เพื่อสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ และหนวยงานรัฐบาล ระเบียบวาดวย งานที่ไดรับมอบหมาย การปฏิบตั ิตัวระหวางการฝกงาน 1. ตรงตอเวลา 2. มีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น 3. แตงกายชุดนักศึกษา กรณีใสเสื้อช็อปตองผานความเห็นชอบจากบริษัทกอน 4. การลากิจ ลาปวย ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับของสถานที่ฝกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใชเครื่องมือสื่อสาร 6. ไมควรตอรองเรื่องระยะเวลาการฝกงานหรือ เรียกรองอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กลาคิด กลาแสดงออกและกลาตัดสินใจ 8. ใหถือเสมือนวา การฝกงานก็คือการทํางาน และทําการ ฝกงานอยางเต็มกําลังความสามารถ 9. การไปฝกงานของนักศึกษา ถือวาไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ตอง ไมกระทําการ ใด ๆ ที่จะทําใหเสื่อมเสียตอสวนรวม 10. ในระหวางการฝกงาน หากมีปญหาเกี่ยวกับงานตองการคําปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควร ติดตอกลับมายังอาจารยประจําภาควิชา แตถามีปญหาเกี่ยวกับการฝกงานติดตอเจาหนาที่หนวยทะเบียนฯ โดยตรง


22

11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหวางการฝกงานใหติดตอคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หรือ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม การปฎิบตั งิ านของฝาย Graphic บริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studoi Co,Ltd) โดยแผนกที่ผูฝกประสบการณวิชาชีพไดเขาไปปฎิบัติงานคือแผนก Gpaphic ซึง่ ทํางานออกแบบ สรางสรรคงาน Graphic โดยภายในแผนกจะมีArt Director เปนคนรับงานใหญแลวมีผูดูแลคิวดีไชดเนอร แลวจัดแบงภาระงานตามเหมาะสมเพื่อใหไดตรงตามความตองการของลูกคามากที่สุด ขั้นตอนการปฎิบัติงานของกราฟกดีไซดเนอรเปนดังนี้ 1. การรับ Brief งานจากฝายผลิตรายการ 2. กราฟกดีไซดเนอรเริ่มปฎิบัติงานตามโจทยที่ไดรับซึ่งแตละงานอาจเปนแกไขปรับปรุงจากแบบเดิม พัฒนา สรางใหม ซึ่งจะมีผลตอระยะเวลาในการผลิตและจะระบุกําหนดระยะเวลามาอยางชัดเจน 3. ปรับแกไขงานตามตองการของฝายผลิตรายการ งานที่ตองใชแบบที่เปนคนหรือวัตถุตอ งมีการถาย ใหม แตหากเปนไตเติ้ลรายการตองทําขึ้นดวยโปรแกรมสามมิติ 4. เมื่อฝายผลิตรายการไดตรวจสอบ Graphic แลว ก็ตองนํา Graphic นั้นมาทดลองใชงานจริง คือ นํา Graphic มาโหลดลงเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อทดลองใชกบั Virtual Studio งานที่ไดรับมอบหมาย 1. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝายผลิตรายการ “พักจอจอขาว” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 2 แสดงภาพรายการ “พักจอจอขาว”


23

สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฎิบตั ิ ไดประสานงานและทํางานรวมกับผูอื่นหลายฝาย รูจักการรวมมือกัน ทํางานเปนทีม และแกไขปญหาเฉพาะหนา ปญหาที่เกิดขึ้น หนาของพิธกี รนั้นเวลาออกทีวี แสงทีห่ นาไมเทากัน การแกไขปญหา ตองแกโดยการเช็คแสงที่จัดในแตละวันวา คาของแสงนั้นเทาเดิมหรือไม หากคาของแสง เทาเดิม ใหลองเช็คที่ในหองออกอากาศ และปรับคาแสง ประสบการณที่ไดรับ การเรียนรูและเขาใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน และโทรทัศนดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 2. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝายผลิตรายการ “บันเทิงดูเดย” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 3 แสดงภาพรายการ “บันเทิงทูเดย” สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฎิบตั ิ ไดประสานงานและทํางานรวมกับผูอื่นหลายฝาย รูจักการรวมมือกัน ทํางานเปนทีม และแกไขปญหาเฉพาะหนา ปญหาที่เกิดขึ้น เสื้อผาของพิธีกร ทะลุหรือเปนพื้นของแบล็กกราวทีค่ ียใสเขาไป การแกไขปญหา ตองเลือกเสื้อผาของพิธีกรใหมีโทนสีที่ตัดกับพื้นหลังของสตูดิโอ มิฉะนั้นเสื้อผาจะเปนพื้น ของแบล็กกราวที่คียใสเขาไป ประสบการณที่ไดรับ การเรียนรูและเขาใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน และโทรทัศนดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ


24

3. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝายผลิตรายการ “เจาะเกาะติด” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 4 แสดงภาพรายการ “เจาะเกาะติด” สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฎิบตั ิ ไดประสานงานและทํางานรวมกับผูอื่นหลายฝาย รูจักการรวมมือกัน ทํางานเปนทีม และแกไขปญหาเฉพาะหนา ปญหาที่เกิดขึ้น เสื้อผาของพิธีกร ทะลุหรือเปนพื้นของแบล็กกราวทีค่ ียใสเขาไป การแกไขปญหา ตองเลือกเสื้อผาของพิธีกรใหมีโทนสีที่ตัดกับพื้นหลังของสตูดิโอ มิฉะนั้นเสื้อผาจะเปนพื้น ของแบล็กกราวที่คียใสเขาไป ประสบการณที่ไดรับ การเรียนรูและเขาใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน และโทรทัศนดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 4. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝายผลิตรายการ “มดดําออน TV” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 5 แสดงภาพรายการ “มดดําออนTV”


25

สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฎิบตั ิ ไดประสานงานและทํางานรวมกับผูอื่นหลายฝาย รูจักการรวมมือกัน ทํางานเปนทีม และแกไขปญหาเฉพาะหนา ปญหาที่เกิดขึ้น เสียงของพิธีกรไมดังเวลาออกอากาศ การแกไขปญหา ยายตําแหนงของเครื่องสง เพราะพิธีกรชอบนั่งทับ ประสบการณที่ไดรับ การเรียนรูและเขาใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน และโทรทัศนดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 5. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝายผลิตรายการ “นารีบิวตี้” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 6 แสดงภาพรายการ “นารีบิวตี้” สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฎิบตั ิ ไดประสานงานและทํางานรวมกับผูอื่นหลายฝาย รูจักการรวมมือกัน ทํางานเปนทีม และแกไขปญหาเฉพาะหนา ปญหาที่เกิดขึ้น เกิดการลาชาในการถายทํา เนื่องจากรอแขกรับเชิญ การแกไขปญหา การติดตอสื่อสารควรจะมีการโทรย้ํา ถึงเวลาและสถานที่ถายทําเพื่อใหเกิดผลของการนัท หมายสูงสุด ประสบการณที่ไดรับ การเรียนรูและเขาใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน และโทรทัศนดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 6. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝายผลิตรายการ “ประเด็นเด็ด 7 สี” สถานที่ Virtual Studio


26

ภาพที่ 7 แสดงภาพรายการ “ประเด็นเด็ด 7 สี” สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฎิบตั ิ ไดประสานงานและทํางานรวมกับผูอื่นหลายฝาย รูจักการรวมมือกัน ทํางานเปนทีม และแกไขปญหาเฉพาะหนา เพราะเปนรายการที่ออกอากาศสด ประสบการณที่ไดรับ การเรียนรูและเขาใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน และโทรทัศนดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 7. เรื่อง/รายการ ออกแบบ LOGO ทีมฟุตบอลบริษัท มีเดีย สตูดิโอ สถานที่ แผนก Graphic

ภาพที่ 8 แสดงภาพผลงานออกแบบ LOGO ทีมฟุตบอลบริษัท มีเดีย สตูดิโอ สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฎิบตั ิ ไดใชทักษะทางการออกแบบ เรียนรูการใชโปรแกรมในการ ออกแบบเพิ่มขึ้น ปญหาที่เกิดขึ้น ลักษณะของ LOGO ยังไมลงตัวและขาดเอกภาพ


27

การแกไขปญหา ปรึกษาพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาชิ้นงานตอไป ประสบการณที่ไดรับ ไดทักษะทางการออกแบบ เรียนรูก ารใชโปรแกรมในการออกแบบเพิ่มขึ้น 8. เรื่อง/รายการ ออกแบบโปสเตอรประชาสัมพันธรายการตางๆ ของบริษัท มีเดีย สตูดโิ อ สถานที่ แผนก Graphic

ภาพที่ 9 แสดงภาพโปรเตอรประชาสัมพันธรายการตางๆ ของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ สาระสําคัญที่ไดเรียนรูและฝกปฎิบตั ิ ไดใชทักษะทางการออกแบบ เรียนรูการใชโปรแกรมในการ ออกแบบเพิ่มขึ้น เรียนรูการจัดวางองคประกอบของสิ่งพิมพ เรียนรูเทคนิคการสรางภาพจากโปรแกรม ออกแบบตางๆ ปญหาที่เกิดขึ้น ไฟลภาพมีขนาดเล็กเกินไป การแกไขปญหา ถายภาพพิธีกรตางๆเพื่อนําภาพมาใช ประสบการณที่ไดรับ การเลือกใชภาพจากไฟลงานเกาๆ อาจจะใชไมได จึงตองถายใหม


28

บทที่ 4 ผลที่ไดรับจากการฝกงาน วัตถุประสงคของการปฎิบัติงานครั้งนี้ คือ การศึกษาเพื่อสรางสรรคตนแบบงาน LOGO รายการนารี บิวตี้ ที่สามารถออกแบบเพื่อสื่อสารใชเปนงานตนแบบเพื่อผลิตและนําเสนอใหแกฝายผลิตรายการของ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ ไดนําไปผลิตไดจริง โดยผูปฎิบัติงานไดวางแนวทางวิธีการทํางานและสรางผลงาน ออกแบบหลังไดรับ Brief จากฝายผลิตรายการไวเปนลําดับขั้น ดังนี้

ภาพที่ 10 แสดงภาพกระบวนการทํางาน 3P


29

ก. ขั้นการวางแผนกอนการผลิตผลงาน(Pre Production Stage) 1. ตั้งสมมติฐาน 2. ศึกษาขอมูลความตองการของผูผลิต และความตองการในการออกแบบ(Creative Brief) กรุณาดูที่ ภาคผนวก 3. การศึกษาตัวอยางจากกรณีศึกษา(Case Study) 4. ศึกษาขอมูลรูปแบบรายการ ข. การกําหนดแบบรางทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงคและสมมุติฐาน(Production) 1. วิเคราะหขอมูลที่ไดจากการศึกษา 2. กําหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบรางทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด(Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรูปแบบภาพแบบขาว-ดํา พรอมวิเคราะหและแกไข 5. การปรับปรุงแกไขแบบจนไดรูปแบบที่ถูกตองและเหมาะสม 7. สงงานใหกับฝายผลิตรายการตรวจสอบงานกอนนําไปทดลองใชงานจริง ค. สรุปผล (Post Production ) 1. เตรียมไฟลแบบ high resolution เพื่อใชงานจริง 2. เตรียมไฟลเพื่อสงตอใหกับฝายออกอากาศ เพื่อใชงานตอไป ก. ขั้นการวางแผนกอนการผลิตผลงาน การกําหนดประเด็นและการศึกษาคนควาขอมูลตางๆที่เกี่ยวของจากการวิเคราะหที่มาของปญหา และตั้งสมมติฐาน ผูปฏิบัติงานไดทําการวิเคราะหขอมูลเพื่อนําไปสูการออกแบบเพื่อใหตรงตามสมมติฐาน และวัตถุประสงค ซึ่งสามารถจําแนกได ดังนี้ 1. ตั้งสมมติฐาน เมื่อทราบที่มาของปญหาและวิเคราะหขอมูลแลวจึงทําการตั้งสมมติฐาน เพื่อใช กําหนดขอบเขตแนวทางในการทํางาน ดังนี้ แนวคิดในการพัฒนา LOGO นารีบิวตี้ เพื่อสื่อสารใหฝายผลิต รายการทราบวาเปลี่ยนจาก LOGO เกาเปน LOGO ใหม ซึ่งมีการวางแนวการออกแบบหลัก ดังนี้ 1.1. ใชลักษณะกราฟกที่เปนลักษณะของหญิงสาวหรือสัญลักษกราฟกสีเอกลักษณผูหญิง 1.2. ใชสีชมพูหรือฟาเปนสีหลัก เพื่อสื่อถึงอัตลักษณของรายการ เขากับหลักการทางศิลปะในเรื่อง การใชสี ซึ่งเปนการใชสีแบบเอกรงค 1.3. การศึกษารวบรวมขอมูลจากเอกสาร ดูงานออกแบบกับ LOGO ที่ใกลเคียงและวิเคราะหผล การศึกษา การจัดวางองคประกอบ


30

1.4. ศึกษาเอกสารขอมูลที่เกี่ยวของกับการออกแบบปายโฆษณา ทั้งในภาคเอกสาร และทางสื่อ ออนไลนตางๆ

ภาพที่ 11 แสดงภาพกรณีศกึ ษาตัวอยาง ที่มา : http://www.salononwheels.co.uk http://yukito85.deviantart.com http://www.alibaba.com http://www.mcardmall.com http://www.48hourslogo.com


31

ข. การกําหนดแบบรางทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงคและสมมติฐาน (Production) 1. วิเคราะหขอมูลที่ได วิเคราะหขอมูลทั้งหมดที่ไดจากการศึกษาเพื่อกําหนดขอบเขตในการทํางาน ตอไป 2. กําหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบรางทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด (Concept) 4. เขียนแบบแบบความคิดรวบยอด 5. ปรับปรุงแกไขแบบจนไดรูปแบบที่ตองการ

ภาพที่ 12 แสดงภาพแบบราง LOGO รายการนารีบิวตี้ 1

ภาพที่ 13 แสดงภาพแบบราง LOGO รายการนารีบิวตี้ 2


32

ภาพที่ 14 แสดงภาพแบบราง LOGO รายการนารีบิวตี้ 3

ค. สรุปผล (Post Production ) จากการศึกษาและวิเคราะหขอมูล แลวนําขอมูลที่ไดมากําหนดแนวทางในการสรางแบบราง และ ไดสเก็ตแบบรางออกมาแลวนําเอาขอบกพรองที่ไดจากการคอมเมนจากผายผลิตรายการ เอามาทําการแกไข ปรับปรุง LOGO เพื่อใหได LOGO ที่ตรงกับความตองการและสอดคลองกับเนื้อหาของรายการมากที่สุด และไดทําการสรุปผลของการออกแบบ LOGO ดังนี้

ภาพที่ 15 แสดงภาพการปรับแต LOGO รายการนารีบวิ ตีต้ ามที่ฝายผลิตรายการตองการ


33

ภาพที่ 16 แสดงภาพผลงานออกแบบ LOGO รายการนารีบิวตี้แบบ Key Visual

การเขียนแบบกราฟกแบบ 2 มิติ(Working Drawing) แกไขปรับปรุงตามความตองการของฝาย รายการจนถูกตอง การเขียนแบบกราฟกแบบ 2 มิติ(Working Drawing)

ภาพที่ 17 แสดงภาพโปรแกรมที่ใชในการออกแบบ


34

บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัตงิ าน ในการศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาสาขาออกแบบนิ เ ทศศิ ล ป คณะมนุ ษ ยศาสตร แ ละสั ง คมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม นั้น นอกจากนักศึกษาจะไดความรูในหลักสูตรแลว การศึกษาประสบการณ วิชาชีพศิลปกรรมยังเปนสิ่งที่สําคัญและจําเปนที่นักศึกษาตองทําการปฏิบัติกอนการจบหลักสูตรการศึกษา เพื่อเปนการเตรียมความพรอมในพฤติกรรมทุกดาน ไมวาจะเปนในสวนของบุคลิกภาพ สติปญญา เจตคติ การวางตัวที่ถูกตองเหมาะสม เพื่อพรอมที่จะออกไปดําเนินชีวิตและประกอบอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ การฝกประสบการณวิชาชีพนั้นถือเปนการฝกทักษะการทํางานและรูจักการปรับตัวของการทํางานรวมกับ ผูอื่น มีประโยชนอยางยิ่งสําหรับแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษา การฝกประสบการณวิชาชีพสาขาออกแบบนิเทศศิลป ณ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ ในครั้งนี้ ทําให นักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพไดเพิ่มพูนความรู ความเขาใจในวิชาชีพมากยิ่งขึ้น เขาใจการทํางานดาน โฆษณา การมี มนุ ษ ย สัมพั น ธ ที่ดี ตอ ผู อื่น การวางตั ว ในสัง คมได อี ก ประการหนึ่ง ที่ สําคัญที่สุด สําหรั บ นักศึกษาที่ไดรับคือ การทํางานของตนเองไดรับความไววางใจใหปฏิบัติหนาที่ดวยตนเองเปรียบเสมือน ตนเองเปนบุคลากรคนหนึ่งขององคกร โดยมีการควบคุมดูแลแบบกันเองเสมือนญาติ ตั้งแตวันแรกของการ ฝกประสบการณจนถึงวันสุดทายของการฝกประสบการณเปนอยางดี ทุกคนตางมีไมตรีจิตที่ดีตอนักศึกษา ฝกประสบการณวิชาชีพ อีกทั้งยังใหคําแนะนําและชวยเหลือในทุกๆเรื่อง ไมวาจะเปนเรื่องงานและเรื่อง สวนตัวแกนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพเสมอมา ประโยชนทไี่ ดรับจากการเขารับการฝกงาน 1.ไดเรียนรูถึงกระบวนการทํางานตางๆของการทํางานหลังจากการที่ไดเขารับการฝกงานใน หนวยงานทีไ่ ดรับมอบหมายทําใหไดทราบถึงกระบวนการในการทํางานของฝายอื่นๆอีกดวยและไดทราบถึง บทบาทหนาทีแ่ ละความสําคัญของการทํางาน 2. มีความรูเกี่ยวกับเทคนิคการใชโปรแกรมในการออกแบบ Illustrator ,Photoshop มากขึ้น 3. งานดานการสื่อสารเชน การรับ Brief งานเพื่อการออกแบบ LOGO และฉากของรายการทีวี 4. ไดความรูเกีย่ วกับการศึกษาหาขอมูลผลงานออกแบบเพือ่ เปนตัวอยางวิเคราะห พัฒนาแนวคิดการ ออกแบบ กระบวนการคิดของนักออกแบบ ดานนักศึกษาผูปฏิบัตงิ าน 1. ไดรับความรูใหมและประสบการณในสภาวะการทํางานจริง 2. ฝกใหผูปฏิบัติงานมีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย


35

มากขึ้น

3. พัฒนาบุคลิกภาพชวยสรางความมั่นใจในการทํางานการกลาแสดงออกและการแสดงความคิดเห็น

4. ไดเรียนรูก ารทํางานรวมกับผูอื่นและเพิม่ ทักษะการเรียนรูระบบการทํางานในองคกร 5. สามารถนําประสบการณจากการฝกงานไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันได 6. ฝกฝนใหเปนคนชางสังเกตและรูจักปรับปรุงการพัฒนาการทํางานของตน 7. เพิ่มพูนทักษะการใชโปรแกรมทางการออกแบบ 8. เรียนรูโปรแกรมตางๆที่องคกรนํามาใชในการทํางาน 9. ฝกฝนการปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมในการทํางาน 10. สรางเสริมสรางเสริมลักษณะนิสัยใหเปนคนตรงตอเวลามากยิ่งขึน้ 14. ทําใหมีความขยันหมัน่ เพียรมากยิ่งขึ้นการมีบุคลิกภาพที่ดีและการวางตัวที่เหมาะสม 11. มีมนุษยสมั พันธที่ดีมากขึ้น 12. ฝกฝนใหเปนคนที่มีความรับผิดชอบตอภาระหนาที่ ดานสถานประกอบการ 1. เปดโอกาสใหองคกรไดรับนักศึกษาฝกงานที่มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในสิ่งใหมเขามาทํางาน 2. องคกรไดรับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยตางๆในการคัดเลือกบุคคลเขารับการฝกงาน 3. ชวยลดคาใชจายในสวนของการจางงานประจํามากขึ้นเนื่องจากการดําเนินงานของนักศึกษา ฝกงานมาชวยทํางานในสวนที่สามารถชวยทําได 4. องคกรมีทางเลือกในการคัดสรรพนักงานที่เหมาะสมกับองคกรจากโครงสรางนักศึกษา 5. องคกรไดรับทราบเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของแตละมหาวิทยาลัยโดยดูจากนักศึกษาของแต ละมหาวิทยาลัย

ดานมหาวิทยาลัย 1. เกิดความรวมมือกันทางวิชาการและความสัมพันธที่ดีกับสถานประกอบการ 2. มหาวิทยาลัยไดขอมูลยอนกลับเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรในการเรียนการสอนตอไป 3. จากการสงตัวเขารับการฝกงานไปยังบริษัทตางๆชวยใหมหาวิทยาลัยไดรับการยอมรับจาก ตลาดแรงงานมากขึ้น


36

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม เนื่องจากผูฝกงานยังเปนมือใหมสําหรับงานออกแบบดานกราฟกเพราะฉะนั้นควรฝกฝนฝมือดวย การดูงานออกแบบจากของทั้งในและตางประเทศเทศเพื่อเปนแนวทางในการออกแบบเพราะงานออกแบบยัง ดูไมทันสมัย และฝกการใชโปรแกรมทางดานกราฟกใหมีความชํานาญยิ่งขึ้นเพื่อใหรวดเร็วในการทํางาน การตอบรับจากที่ฝกงาน จากการที่เขาไปฝกประสบการณวิชาชีพศิลปกรรม ณ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ ไดรับการตอบรับเปน อยางดี มีการใหความชวยเหลือในทุกๆดาน ไมวาจะเปนการใหคําแนะนําในการใชงานโปรแกรม เทคนิค ทางดานโปรแกรม ความรูสึกที่มีตอที่ฝกงาน การฝกประสบการณวิชาชีพศิลปกรรม ณ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ นักศึกษามีความประทับใจและดีใจ เปนอยางยิ่งที่ไดเขารับการฝกประสบการณวิชาชีพที่องคกร ที่นี่พนักงานทุกคนจะอยูกันแบบพี่นอง คอยให คําปรึกษาและชวยเหลือซึ่งกันและกัน การทํางานจะทํางานเปนทีม ทําใหนักศึกษาไดเรียนรูการทํางาน รวมกับบุคคลอื่นไดเปนอยางดี และการทํางานที่นี้นักศึกษารูสึกวาไดความรูตางๆ มากมาย นอกเหนือจาก การศึกษาในชั้นเรียน คือ เกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเอง การทํางานรวมกับผูอื่น ความรับผิดชอบ และมี ความมั่นใจในตนเองมากขึ้น ซึ่งเปนคุณสมบัติที่พึงประสงคของสถานประกอบการ ที่สําคัญนอกเหนือสิ่งใด คือ งานที่นักศึกษาออกแบบสามารถนํามาใชไดจริง ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนที่ดีตอการทํางานจริงตอไป


37

บรรณานุกรม บริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) ,http:// www.mediastudio.co.th ที่มา : ของรูปตัวอยาง www.salononwheels.co.uk yukito85.deviantart.com Jodece Hair and Beauty - Indian Remy, Chinese Remy, Perfumewww.alibaba.com www.mcardmall.com www.48hourslogo.com


38

ภาคผนวก ก.


39

บรรยากาศการทํางานใน Virtual Studio รายการบันเทิงทูเดย

บรรยากาศการทํางานใน Virtual Studio รายการเจาะเกาะติด

บรรยากาศการทํางานใน Virtual Studio เซ็ทอัพเครื่องดนตรี


40


41


42


43


44

ภาคผนวก ข.


45

ประวัตินักศึกษา ชื่อ : นายเจษฎา นามสกุล : แสงกระจาง สาขาวิชา : ศิลปกรรม (แขนงออกแบบนิเทศศิลป) คณะ : มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ระดับการศึกษา : ปริญญาตรี 4 ป สมทบ รหัสประจําตัวนักศึกษา : 5221304834 วัน เดือน ป เกิด : 26 ตุลาคม 2524 อายุ : 31 ป ที่อยู : 60/11 หมูที่ 13 ต.ตะพง อ.เมือง จ.ระยอง โทรศัพท : 083-018-4858


46


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.