รายงานฝึกงาน to issuu 2

Page 1

1


2


2

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ข้าพเจ้าได้มาฝึกงาน ณ บริษัท Media Studio Co.Ltd. ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2556 ส่งผลให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้ใหม่ๆและประสบการณ์ต่างๆอย่าง มากมาย สาหรับรายงานการฝึกงานฉบับนี้สาเรจจลงได้ด้วยดีจากความร่วมมือและสนับสนุนจากหลายฝาาย ดังนี้ 1. คุณวัชระ นิลดารงค์ ตาแหน่ง ผู้จัดการธุรการสตูดิโอ 2. คุณศุภวัฒิ ตาแหน่ง Graphic Design และบุคคลท่านอื่นๆในแผนก Graphic และผ่ายผลิตรายการ ทุกท่านทีไ่ ด้ให้คาแนะนาช่วยเหลือในการจัดทา รายงานฉบับนี้ ข้าพเจ้าใคร่ขอขอบพระคุณผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่มสี ่วนร่วมในการให้ข้อมูล เป็นที่ปรึกษาใน การทารายงานฉบับนี้จนเสรจจสมบูรณ์ ตลอดจนให้การดูแลและให้ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิตการทางานจริง ข้าพเจ้าขอขอบคุณ ไว้ ณ ทีน่ ี้

นายเจษฎา แสงกระจ่าง ผู้จัดทารายงาน 20 มิถุนายน 2556


3

บทคัดย่อ (Abstract) บริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตรายการ โทรทัศน์ทางฟรีทีวี และมีบริษัท มีเดีย นาว (Media Now Co.Ltd.) และบริษัท มีเดีย ซีน (Media Scene Co.Ltd.) เป็นบริษัทลูกในเครือบริษัทมีเดีย สตูดิโอ โดยบริษัท มีเดีย นาว (Media Now Co.Ltd.) ซึ่งประกอบธุรกิจโทรทัศน์ดาวเทียมช่อง Media News เน้นความเป็นช่องรายการประเภทข่าวและสารประโยชน์ และบริษัท มีเดีย ซีน (Media Scene Co.Ltd.) ประกอบธุรกิจโทรทัศน์ดามเทียมเน้นความเป็นรายการประเภทละคร ภาพยนตร์ ซีรี่ส์ รายการวา ไรตี้บันเทิง และถ่ายทอดสดกีฬาจากต่างประเทศ


4

สารบัญ จดหมายนาส่ง กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ สารบัญภาพ

หน้า 1 2 3 4 5

บทที่ 1 บทนา 1.1 ชื่อและที่ตงั้ สถานที่ประกอบการ 1.2 ลักษณะการประกอบกิจการดาเนินงานเกี่ยวกับ 1.3 ตาแหน่งและลักษณะงานที่นิสิตได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ 1.4 สภาพในการทางาน 1.4 หลักการ 1.5 วัตถุประสงค์ของการฝึกงาน 1.6 การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับงานทีป่ ฏิบัติ 2.1 ที่มาและจุดเริ่มต้นของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ 2.2 ขอบเขตของการบริการ 2.3 การผลิตและเผยแพร่รายการวิทยุโทรทัศน์ 2.4 ขั้นวางแผนและเตรียมการผลิต(Planning) 2.5 ขั้นการเตรียมอุปกรณ์และการฝึกซ้อม (Preparation) 2.6 ขั้นการผลิตรายการ (Production) 2.7ขั้นการตรวจสอบและนาเสนอ (Presentation) บทที่ 3 การปฏิบัติงาน 3.1 หลักการปฏิบัติงาน 3.2 การปฏิบัติตัวระหว่างฝึกงาน 3.3 การปฏิบัติงานของฝาาย Graphic 3.4 งานที่ได้รบั มอบหมาย

7 7 7 7 8 8 8 8 10 10 11 12 12 16 17 19 21 21 21 22 22


5

สารบัญ (ต่อ) บทที่ 4 ผลที่ได้รับจากการปฎิบตั ิงาน 4.1 ผลที่ได้รับจากการฝึกงาน 4.2 การวางแผนก่อนผลิตผลงาน 4.3 การกาหนดแบบร่างทางความคิด 4.4 การสรุปผล บทที่ 5 สรุปผลการปฎิบตั ิงาน 5.1 สรุปผลการปฏิบ้ติตน 5.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึกงาน 5.3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

หน้า 28 28 29 31 32 34 34 34 36

บรรณานุกรม ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข

37 38 40


6

สารบัญภาพ ภาพที่ 1 แสดงภาพสถานีโทรทัศน์ในกลุ่มบริษัท มีเดีย สตูดิโอ ภาพที่ 2 แสดงภาพรายการ “พักจอจ้อข่าว” ภาพที่ 3 แสดงภาพรายการ “บันเทิงทูเดย์” ภาพที่ 4 แสดงภาพรายการ “เจาะเกาะติด” ภาพที่ 5 แสดงภาพรายการ “มดดาออนTV” ภาพที่ 6 แสดงภาพรายการ “นารีบิวตี้” ภาพที่ 7 แสดงภาพรายการ “ประเดจนเดจด 7 สี” ภาพที่ 8 แสดงภาพผลงานออกแบบ LOGO ทีมฟุตบอลบริษัท มีเดีย สตูดิโอ ภาพที่ 9 แสดงภาพโปรเตอร์ประชาสัมพันธ์รายการต่างๆ ของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ ภาพที่ 10 แสดงภาพกระบวนการทางาน 3P ภาพที่ 11 แสดงภาพกรณีศกึ ษาตัวอย่าง ภาพที่ 12 แสดงภาพแบบร่าง LOGO รายการนารีบิวตี้ 1 ภาพที่ 13 แสดงภาพแบบร่าง LOGO รายการนารีบิวตี้ 2 ภาพที่ 14 แสดงภาพแบบร่าง LOGO รายการนารีบิวตี้ 3 ภาพที่ 15 แสดงภาพการปรับแต่ LOGO รายการนารีบวิ ตี้ตามที่ฝาายผลิตรายการต้องการ ภาพที่ 16 แสดงภาพผลงานออกแบบ LOGO รายการนารีบิวตี้แบบ Key Visual ภาพที่ 17 แสดงภาพโปรแกรมทีใ่ ช้ในการออกแบบ

หน้า 10 22 23 24 24 25 26 26 27 28 30 31 31 32 32 33 33


7

บทที่ 1 บทนา ชื่อและที่ตั้งสถานที่ประกอบการ หน่วยงานที่ฝกึ งานบริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) แผนกศิลปกรรม,ประสานงานฝาายผลิต รายการ, graphic design ทีต่ ง้ั : เลขที่ 2991/29-30 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ10240 URL: www.mediastudio.co.th ลักษณะการประกอบกิจการดาเนินงานเกี่ยวกับ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์ทาง ฟรีทีวี และมีบริษัท มีเดีย นาว (Media Now Co.Ltd.) และบริษัท มีเดีย ซีน (Media Scene Co.Ltd.) เป็น บริษัทลูกในเครือบริษัทมีเดีย สตูดิโอ โดยบริษัท มีเดีย นาว (Media Now Co.Ltd.) ซึ่งประกอบธุรกิจ โทรทัศน์ดาวเทียมช่อง Media News เน้นความเป็นช่องรายการประเภทข่าวและสารประโยชน์ และบริษัท มีเดีย ซีน (Media Scene Co.Ltd.) ประกอบธุรกิจโทรทัศน์ดามเทียมเน้นความเป็นรายการประเภทละคร ภาพยนตร์ ซีรี่ส์ รายการวาไรตี้บันเทิง และถ่ายทอดสดกีฬาจากต่างประเทศ โดยผลงานของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ นั้นมีรายการโทรทัศน์ออกสู้สายตาผุ้ชมมากมาย เช่น รายการ ข่าวเช้านี้ทหี่ มอชิด,รายการข่าวประเดนเดจด 7 สี,รายการข่าวเจาะเกาะติด,รายการหนึ่งสมอง 2 มือ ฯลฯ ซึ่งลักษณะการทางานนัน้ ได้ทางานในลักษณะตามกระบวนการ 4 ขั้นตอน(4 P) ดังนี้ 1.ขั้นวางแผนและเตรียมการผลิต(Planning) 2.ขั้นการเตรียมอุปกรณ์และการฝึกซ้อม (Preparation) 3.ขั้นการผลิตรายการ (Production) 4.ขั้นการตรวจสอบและนาเสนอ (Presentation) ตาแหน่งและลักษณะงานที่นสิ ิตได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ คุณวัชระ นิลดารง ตาแหน่ง ผู้จดั การธุรการสตูดิโอ คุณศุภวัฒน์ สุธาอรรถ ตาแหน่ง Graphic Design ผู้บริหารสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ช่วงระยะเวลาฝึกงาน : วันที่ 25 มีนาคม 2556 – 17 พฤษภาคม 2556 ระยะเวลาและสภาพในการทางานช่วงเวลาในการฝึกงาน :เริ่มฝึกงานตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม 2556 – 17


8

พฤษภาคม 2556 ทางานวันจันทร์-ศุกร์ หยุดเสาร์อาทิตย์ เริ่มงานเวลา 8.00 น.จนถึงเวลา 23.20 น.เวลาพัก กลางวันเวลา 12.00 – 13.00 น. สภาพในการทางาน : สถานที่ทางานตั้งอยูใ่ นอาคาร มนต์ตรีสตูดิโอ 10 แผนกซึ่งเป็นส่วนของการปฏิบัติงาน ด้านการถ่ายทารายการโทรทัศน์ทั้งหมดและส่วนของงานกราฟฟิกและมีเดียโดยมีห้องทางานเป็นโต๊ะทางาน แบบลจอคของแต่ละคนมีคอมพิวเตอร์คนละเครื่องส่วนนักศึกษาฝึกงานให้นาเครื่องมาเองมีสายWireless หรือ Ethernet (Lan)ให้ต่อเพื่อสืบค้นข้อมูลหาข้อมูลอ้างอิงในการทางาน หลักการ 1.จัดประสบการณ์ให้เป็นระบบและกระบวนการที่ต่อเนือ่ ง 2.ให้มีการฝึกสถานการณ์จริงให้มากที่สุดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานให้กับนักศึกษา 3.ประสานทฤษฎีให้สอดคล้องกับการนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 4.สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสถาบันกับองค์การและหน่วยงานภายนอก 5.พัฒนาคุณภาพนักศึกษาให้มีศักยภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาด แรงงานและผูใ้ ช้ วัตถุประสงค์ของการฝึกงาน 1. เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสเรียนรู้และได้รับ ประสบการณ์ชีวิตการทางานที่แท้จริง 2. เพื่อให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมก่อนที่จะจบออกไปทางาน 3. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมภายนอกมหาวิทยาลัย 4. เพื่อให้นักศึกษานาประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกงานมาประยุกต์ใช้ในการทางานต่อไป การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น 3. แต่งกายชุดนักศึกษา กรณีใส่เสื้อชจอปต้องผ่านความเหจนชอบจากบริษัทก่อน 4. การลากิจ ลาปาวย ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใช้เครื่องมือสื่อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่องระยะเวลาการฝึกงานหรือ เรียกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน


9

7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสินใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึกงานกจคือการทางาน และทาการ ฝึกงานอย่างเตจมกาลังความสามารถ 9. การไปฝึกงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้องไม่กระทา การ ใด ๆ ที่จะทาให้เสื่อมเสียต่อส่วนรวม 10. ในระหว่างการฝึกงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคาปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดต่อกลับมา ยังอาจารย์ประจาภาควิชา แต่ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการฝึกงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึกงานให้ติดต่อคณะฯ หรือมหาวิทยาลัย


10

บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ปฎิบัตงิ าน การจัดการภายในองค์กร ที่มาและจุดเริ่มต้นของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) มีเดีย ออฟ มีเดียส์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยมีนางยุวดี บุญครอง เป็นประธานกรรมการ และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยเริ่มจากการเป็นตัวแทนบริหารการจาหน่ายเวลาโฆษณาให้กับผู้ผลิตรายการ โทรทัศน์ต่าง ๆ เช่น แปซิฟิคอินเตอร์คอมมิวนิเคชั่น เจเอสแอล 72 โปรโมชั่น ฯลฯ ซึ่งในระยะเริ่มต้น มีทุน จดทะเบียน 2 แสนบาท และบุคลากรเพียง 3 คน จวบจนถึงปี พ.ศ. 2532 บริษัทได้ซื้อเวลาจากสถานีโทรทัศน์ เพื่อดาเนินการผลิตและจาหน่ายเวลาโฆษณารายการด้วยตัวเอง โดยรายการแรกของบริษัท คือ "แผ่นฟิล์มวัน ศุกร์" และ "ฟิล์มหรรษา" บริษัทได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มธุรกิจบันเทิงและสันทนาการ เมื่อ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 ด้วยทุนจดทะเบียน 260 ล้านบาท และใช้ชื่อย่อในการซื้อขายตลาดหลักทรัพ ย์ ว่า "MEDIAS" ดาเนินการผลิตรายการโทรทัศน์ ละครโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ เพลง(ในนาม เอจมสแควร์ และ มีเดียส์ มิวสิก กรุ๊ป) ธุรกิจท่องเที่ยว และ สตูดิโอ ในปี พ.ศ. 2549 บริษัทได้ทาการปรับโครงสร้างการบริหารงานโดยกลุม่ ผู้บริหารระดับสูงชุดใหม่ นาโดย นางชาลอต โทณวณิก และนายธงชัย ชั้นเสวิกุล เพื่อกาหนดกลยุทธ์และสร้างผลประกอบการที่ดี ยิ่งขึ้น ทาให้นางยุวดี บุญครอง นายโฆษิต สุวินิจจิต และทีมงานบางส่วนขอแยกตัวด้วยการเปิดบริษัทแห่ง ใหม่ย่านหลักสี่ปลายปี พ.ศ. 2552 บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ ได้โอนขายทรัพย์สินทีใ่ ช้ในการดาเนินธุรกิจสื่อ ทั้งหมดของบริษัทให้แก่ บริษัท มีเดียสตูดโิ อ จากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย โดยได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย กลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยมีนายโยธิน บุญดีเจริญ เข้ามารับช่วงกิจการต่อ ส่วนนาง ชาลอต เป็นประธานบริษัท มีเดีย สตูดิโอ จากัด เพื่อผลิตรายการโทรทัศน์และสื่อต่างๆ จากบริษัทเดิมต่อไป โดยมีสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมของตนเองภายใต้ชื่อ "มีเดีย แชนแนล", "มีเดีย นาว" และ "มีเดีย ซีน" อีกด้วย


11

ภาพที่ 1 แสดงภาพสถานีโทรทัศน์ในกลุ่มบริษัท มีเดีย สตูดิโอ

ขอบเขตของการบริการ บริษัทได้ผลิตรายการประเภทต่างๆ หลากหลายรูปแบบ เป็นจานวนกว่า 100 รายการ เพื่อนาเสนอ ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีชอ่ ง 3, สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5, สถานีโทรทัศน์สี กองทัพบกช่อง 7, สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย และ สถานีโทรทัศน์ไอทีวี ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศ ทุกวัย ในยุครุง่ เรืองคือช่วงปี พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2540 โดยเป็นบริษัทที่มีเวลาออกอากาศทางสถานีฟรีทีวีมากที่สุดต่อสัปดาห์ในช่วงนัน้ จนในปี พ.ศ. 2549 บริษัทผลิตรายการให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นหลัก จากการเข้ามาบริหารงาน ของนางชาลอต โทณะวณิก แต่ยังคงผลิตรายการให้กับสถานีอื่นๆ เป็นครั้งคราว เช่น ละครเรื่อง "คลื่นฝันวัน รัก" กับ สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ และ ละครเรื่อง "เขาชื่อกานต์" กับ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ปัจจุบัน ได้ผลิตรายการข่าวให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 คือรายการ เช้านี้ที่หมอชิต,ประเดนเดจด 7 สี,เจาะ เกาะติด เป็นต้น


12

การผลิตและเผยแพร่รายการวิทยุโทรทัศน์ ขั้นตอนการผลิตรายการโทรทัศน์เป็นการรับผิดชอบของผู้ผลิตรายการหรือ ซึ่งมีทั้งหมด 4 ขั้นตอน(4 P) ดังนี้ 1.ขั้นวางแผนและเตรียมการผลิต(Planning) 2.ขั้นการเตรียมอุปกรณ์และการฝึกซ้อม (Preparation) 3.ขั้นการผลิตรายการ (Production) 4.ขั้นการตรวจสอบและนาเสนอ (Presentation) 1. ขั้นวางแผนและเตรียมการผลิต เป็นการกาหนดสิ่งที่เป็นแนวทางในการดาเนินการ ตลอดภารกิจที่ต้องปฏิบัติ ซึ่งเป็นการเตรียมตัว ล่วงหน้า เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติภารกิจตามนโยบาย เป้าหมายวัตถุประสงค์ และกิจกรรมที่กาหนดไว้ แผนการดาเนินงานจะเป็นเสมือนคู่มือและเขจมทิศในการทางาน จะมีขนั้ ตอนแยกย่อย ดังนี้ การแสวงหาแนวความคิด หรือการหาไอเดีย (Investigating an idea) ที่จะมาทารายการเป็นขั้นตอนแรกของผู้ผลิตรายการ โดยพิจารณาว่า “แนวความคิด”หรือ “ไอเดีย” นั้นมีความเหมาะสมกับรายการหรือไม่ ซึ่งมีประเดจนที่สนใจ คือ มีความน่าสนใจหรือตื่นเต้น มีจดุ เด่นใน ตัวเองหรือสร้างสรรค์ มีประโยชน์ต่อผู้ชม มีประเดจนปัญหาที่น่าสนใจ เป็นต้น การหาแนวความคิดหรือการหาไอเดียจึงเป็นงานที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการสูง ผู้ผลิตจึง ต้องมีสายตาและความคิดคานึงที่กว้างไกล ลุ่มลึก เรื่องที่จะนามาทาเป็นรายการโทรทัศน์ อาจจะเป็นเรื่องที่มี ผู้เขียนไว้แล้ว มีสาระที่น่ารู้น่าศึกษา เป็นเกรจดชีวิตที่น่าสนใจ หรือเป็นสาระบันเทิงที่ผู้ชมต้องการ การกาหนดวัตถุประสงค์ (Defining objectives) เป็นการคาดหวังถึงผลที่จะเกิดกับผู้ชมเมือ่ ได้รับชมรายการไปแล้ว ทุกเรื่องที่นามาจัดและผลิต รายการโทรทัศน์ ผู้ผลิตจะต้องกาหนดวัตถุประสงค์ว่ามุ่งจะให้ผู้รับได้รับหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ หรือพฤติกรรมในด้านใดบ้าง การกาหนดวัตถุประสงค์อาจตั้งหลายวัตถุประสงค์กจได้ โดยทัว่ ไป วัตถุประสงค์จะมีอยู่ 2 ลักษณะ - วัตถุประสงค์ทั่วไปอาจมุ่งทีก่ ารเสนอข่าวสาร การให้ความรู้และการศึกษา การโน้มน้าว จูงใจ การให้ความบันเทิง หรือเพื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ - วัตถุประสงค์เฉพาะเป็นการกาหนดผลที่คาดหวังที่แคบลงไป เช่น หรือเพื่อให้ทราบ ผลกระทบของวัยรุ่นกับยาเสพติด ที่จะทาให้วยั รุ่นประสบปัญหาทั้งด้านการเรียน ครอบครัว เพื่อน สังคม เป็นต้น


13

การวิเคราะห์ผู้ชมเป้าหมาย (Analyzing an audience) เป็นการประเมินผู้ชมในแง่มุมต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องที่สุดในการจัดและผลิตรายการได้ตรง กับความต้องการและความสนใจของผู้ชมมากที่สุด โดยจะต้องมีผู้ชมที่เป็น กลุ่มเป้าหมายหลัก (target audience) กลุ่มเป้าหมายทั่วไป (general audience) การวิเคราะห์ผู้ชมเป้าหมาย (Analyzing an audience) องค์ประกอบที่ควรพิจารณา ลักษณะทางประชากรศาสตร์ 1. ด้านเพศ ชายหรือหญิง 2. วัยเดจกเลจก วัยรุ่น หนุ่มสาว หรือผู้ใหญ่ 3. อาชีพ นักศึกษา ข้าราชการ ประชาชนทั่วไปหรือกลุ่มอาชีพใด 4. ระดับการศึกษา ประถม มัธยม อาชีวะ หรืออุดมศึกษา ความสนใจ สนใจเพลง ดนตรี หรือกีฬาต่าง ๆ 5. จานวนผู้ชม โดยประมาณการว่าอยู่ในระดับมากกว่าพันคนขึ้นไป ช่วงเวลาที่ผู้ชมเป้าหมายจะรับชม รายการได้ เนื้อหาสาระที่จะนาเสนอ เมื่อรู้กลุ่มเป้าหมายที่แน่นอนแล้ว ต้องกาหนดเนื้อหาสาระที่จะนาเสนอ การแสวงหาเนื้อหาสาระและ ข้อมูล 1. ค้นคว้าจากสื่อและเอกสารต่างๆ การศึกษาวิจัย ผลงานวิชาการ 2. การสอบถาม/สัมภาษณ์ผู้เชีย่ วชาญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทาเป็นรายการโทรทัศน์ 3. นามาประมวลเพื่อให้ได้เนื้อหาสาระและข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และมีความน่าเชื่อถือ ซึ่งเป็นหน้าทีข่ องผู้จัดและกลุ่มผลิตรายการที่จะต้องศึกษาจากอย่างรอบคอบ เพราะสื่อโทรทัศน์ก่อให้เกิด ผลกระทบในวงกว้าง การพิจารณาเนื้อหาและข้อมูล ความใกล้ตวั กล่าวคือเนื้อหานั้นเกีย่ วข้องกับผู้ชมหรือไม่ มากหรือน้อย เช่นด้านสุขภาพ ชีวิต และ ความเป็นอยู่ เป็นผลด้านจิตวิทยาเพื่อดึงดูดใจในการเปิดรับ เนื้อหาที่มีความขัดแย้งมักมีสามารถดึงดูดความสนใจของผู้ชมมากกว่าเนื้อหาที่ดาเนินไป อย่างราบเรียบ เช่นระหว่างคนกับคน คนกับสังคม คนกับธรรมชาติ เป็นต้น เนื้อหาที่มีความง่ายในการเข้าใจและให้แง่คิดกับผู้ชม เรื่องที่มีรายละเอียดยาก ถ้ามีการเรียบเรียงใหม่ให้มี ความง่ายมาขึน้ จะได้รับความนิยมมากกว่าเรื่องราวที่สับสน


14

เนื้อหาที่มีความยาวเหมาะสม โดยธรรมชาติของมนุษย์จะมีข้อจากัดของสมาธิกับสิ่งใดสิ่ง หนึ่ง หากเรื่องที่นาเสนอนั้นมีเนื้อหาทีย่ าวมากกจต้องสร้างความสนใจเพิ่มขึ้นด้วย เช่น ภาพยนตร์เรื่องสุริโย ทัย เป็นต้น การเขียนบท (Writing a script) การเขียนบทเป็นกระบวนการต่อเนื่องจากขั้นกาหนดแนวความคิด จนถึงการวิเคราะห์เนื้อหาและ ข้อมูลและรับประเดจนหลักและประเดจนย่อยของรายการ โดยกาหนดแผนผังการเดินเรื่อง โดยผู้เขียนจะนาไป เขียนบทละเอียดตามแผนผังรายการเป็นบทสมบูรณ์ ที่มีการกาหนดลาดับก่อนหลังของการเสนอภาพและ เสียง ผู้ชมจะได้รับ เนื้อหาสาระตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้จากลักษณะภาพและเสียงที่เด่นชัด การวางโครงร่าง (outline) สาหรับการเขียนบทที่ดี ประกอบด้วย บทนา ต้องสั้น กระชับ เข้าใจง่าย เพื่อกระตุน้ ความสนใจของผู้ชมให้เข้าสู่เนื้อเรื่อง การดาเนินเรื่อง คือการนาแก่นของเรื่อง หรือความคิดรวบยอดของเรื่องมาคลี่คลายให้เหจน การพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน การเขียนบท (Writing a script จุดหักมุม เป็นจุดที่เค้าโครงเรื่องที่ดาเนินการเกิดหักมุมอย่างไม่คาดคิด หรือเป็นการเสนอทัศนะจาก มุมมองอืน่ ที่แตกต่างออกไป เพื่อช่วยเสริมจุด climax ให้เด่นขึ้น เป็นการพัฒนาแก่นของเรื่องสูงสุด การสรุป หรือการขมวดปมของเรื่องทั้งหมดลงอย่างย่นย่อและมีศิลปะ ส่วนสรุปจะต้องสัมพันธ์กับ เนื้อหาและบทนา การสรุปที่ดี คือการทาให้ผู้ชมเกิดความประทับใจและการนาไปพิจารณาต่อ การกาหนดฉาก วัสดุประกอบฉาก และวัสดุประกอบกรายการ เมื่อเขียนบทเรียบร้อยแล้ว ผู้ผลิตรายการจะต้องมากาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับฉากและวัสดุประกอบฉาก โดยเขียน 1. รายละเอียดของฉากทุกชิ้นทุกชุดที่ต้องใช้ 2. วัสดุประกอบฉากทุกประเภทลงในแบบฟอร์มการกาหนดฉากและวัสดุประกอบฉากโดยแยกชิ้น หรือชุดละแผ่น เพื่อจะได้ส่งไปให้ฝาายฉากดาเนินออกแบบ สร้างโมเดลและจัดสร้างและจัดหาให้ วัสดุรายการ (program materials) หมายถึง วัสดุเนื้อหาประเภทรูปภาพ แผนภูมิ ข้อมูลทางสถิติ ภาพยนตร์ ภาพแอนิเมชัน เป็นต้นทีจ่ ะนามาใส่ หรือประกอบไว้ในรายการ สาหรับวัสดุรายการที่มีอยูแ่ ล้ว กจให้ใส่รายชือ่ และแหล่งที่มาได้ ส่วนวัสดุรายการ


15

ทีต่ อ้ งผลิตขึน้ ใหม่ กจตอ้ งใส่รายชือ่ และกาหนดความต้องการให้ชดั เจน เช่นงานกราฟิกประเภทแผนภูมิ รูปภาพ การ์ตนู เป็นต้น การกาหนดผู้แสดงที่ปรากฏตัวและไม่ปรากฏตัว ขั้นตอนการกาหนดตัวผู้แสดงทางโทรทัศน์ เช่น ผู้ดาเนินรายการ พิธีกร ผู้ประกาศ ผู้อภิปรายและผู้ร่วม รายการ เป็นต้น โดยเขียนไว้ในแบบฟอร์มผู้แสดง ผู้ผลิตควรกาหนดตัวผู้กากับรายการไว้แล้วก่อนการ กาหนดตัวแสดง และมีการประชุมลงมติกันก่อน เพราะผู้กากับจะแนะนาได้ว่าผู้แสดงคนใดมีความสามารถ มากน้อยเพียงไร การจัดทาแผนผังเวทีและแผนผังไฟแผนผังเวที (Floor plan) หมายถึง การกาหนดตาแหน่งของผู้แสดง ฉาก และสิ่งของต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตรายการ และแผนผัง ไฟ (Lighting plan) หมายถึง จุดกาหนดตาแหน่งของไฟ เพื่อให้แสดงทีผ่ ู้ ผลิตจะวางแผนไว้ว่าจะให้ไฟ หลัก ไฟเสริม ไฟหลัง อยูใ่ นตาแหน่งใด ระยะใดของสตูดิโอ แผนผังดังกล่าวมักจะใช้ร่วมกับแผนผังเวที โดยการลากเส้นแสดงตาแหน่งราวแขวนไฟไว้ด้วย การจัดทางบประมาณ การจัดและผลิตรายการโทรทัศน์ โดยทั่วไปจะมีการตั้งงบประมาณไว้ก่อนแล้วก่อนขึ้น ปีงบประมาณ แต่จะยังอนุมัตใิ ห้มีการใช้จ่ายไม่ได้จนกว่าจะมีการจัดทางบประมาณสาหรับแต่ละรายการโดย ละเอียด งบลงทุน ค่าอุปกรณ์ อาคาร สถานที่ วัตถุ งบดาเนินการ ค่าเช่า ค่าวัสดุ งบจ้างงาน จ้างทีมงาน ตัวแสดง 2. การเตรียมการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ เป็นขั้นของการนาสิ่งที่ได้วางแผนไว้แล้วมาสร้าง ผลิต และจัดให้พร้อมก่อนจะถึงวันเวลาการผลิต รายการ เช่น การเตรียมการครอบคลุมการจัดความพร้อมในด้านบุคลากร สถานที่ถ่ายทา อุปกรณ์ฉาก วัสดุ ประกอบฉาก วัสดุกราฟิก และผู้แสดง เสียงและแสง และการนามาประกอบให้สมบูรณ์ในขั้นตอนสุดท้าย การเตรียมการด้านบุคลากรด้านการผลิต ด้านเทคนิค และการสนับสนุน เมื่อได้กาหนดผู้ทาหน้าที่เขียนบท กากับรายการ ผู้ดาเนินรายการ ผู้แสดง และกากับเวทีแล้ว ในด้าน เทคนิค ฝาายเทคนิคจะกาหนดผู้กากับเทคนิค (TD) ช่างกล้อง ช่างควบคุมเสียง และช่างควบคุมแสง ในขั้น เตรียมการผู้ผลิตรายการจะต้องแจกบทวิทยุโทรทัศน์ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกคน เพื่อจะได้ศึกษาบทล่วงหน้า รายชื่อ บุคลากรทั้งหลายเหล่านี้ ผู้ผลิตกจจะได้นาไปทาเครดิตในตอนท้ายของรายการด้วย


16

การเตรียมสถานที่ และอุปกรณ์การผลิต การเตรียมสถานที่ในการถ่ายทามี 2 แห่ง คือการเตรียมสถานที่ในห้องผลิตรายการหรือในสตูดิโอ และสถานที่จริง (on location) ซึ่งเป็นสถานที่ต่างๆ หรือสถานที่สาธารณะ โดยต้องระบุคิวการถ่ายทา และ ปรับแต่งสถานที่ให้เหมาะสมกับบรรยากาศของเรื่อง การเตรียมสถานที่ และอุปกรณ์การผลิต วนการถ่ายทาในสตูดิโอ ฝาายเทคนิคจะเป็นผู้ดาเนินการเรื่องการเตรียมอุปกรณ์การผลิตด้าน กล้องโทรทัศน์ ระบบเสียง แสง และเครื่องบันทึกภาพ ผู้จัดและผลิตรายการต้องตรวจสอบความพร้อมกับผู้ กากับเทคนิคของแต่ละรายการ การถ่ายทานอก สตูดิโอกจ เช่นกัน ผู้ผลิตต้องเตรียมพร้อมด้านระบบควบคุม แสง เสียง และฉากตามที่ระบุไว้ในบท การเตรียมฉาก วัสดุประกอบฉาก เครื่องแต่งตัวและแต่งหน้า ฝาายศิลปกรรมฉากจะเป็นผู้ออกแบบผลิตและจัดฉากกับวัสดุประกอบฉากตามความต้องการของ ผู้ผลิตรายการ และมีเวลาแก้ไขเพิ่มเติมก่อนวันเวลากาหนดบันทึกรายการหรือออกอากาศ ผู้ผลิตรายการควร มาตรวจสอบการสร้างฉากล่วงหน้า 1 วัน และจะต้องเอาใจใส่ดแู ลการติดตั้งและจัดฉากอย่างใกล้ชิดใน ช่วงเวลาที่ฝาายฉากกาหนดไว้ ให้เป็นเวลาสาหรับจัดฉากในสตูดิโอ ในด้านการแต่งหน้า แต่งตัว โดยเฉพาะรายการละคร ผู้ผลิตกจต้องสั่งการให้มีการออกแบบสั่งตัดและ ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องแต่งตัวประเภทต่าง ๆ ให้พร้อม ส่วนการแต่งหน้ามักจะเป็นการเตรียมการขั้น สุดท้ายเกี่ยวกับคน หลังจากแต่งหน้าแล้วกจจะได้เข้าฉากถ่ายทาได้ทันที การเตรียมวัสดุกราฟิกและวัสดุรายการ เช่น รูปภาพ แผนภูมิต่าง ๆ ภาพประกอบตัดต่อภาพยนตร์และภาพการ์ตูนที่จะต้องนามาแทรกใน รายการ พร้อมทั้งตรวจสอบในด้านขนาดและสัดส่วนของคุณภาพของงานให้พร้อมก่อนที่จะถึงวันเวลาผลิต รายการ ซึ่งจะเป็นการประหยัดเงินและเวลา และใช้กระบวนการตัดต่อให้น้อยลง การคัดเลือกตัวผู้แสดง การเตรียมการด้านผู้แสดงและผู้ปรากฏตัวทาง โทรทัศน์ เป็นการดูแลให้ผู้ที่เรากาหนดตัวไว้ที่จะ ให้เป็นผู้ดาเนินรายการ ตัวละคร ได้มีการซักซ้อมบทเพื่อให้การดาเนินการผลิตเป็นไปอย่างราบรื่น เพราะถ้า มีการหยุดเพื่อถ่ายซ้าบ่อย ๆ จากการที่ผู้ดาเนินรายการ พิธีกร หรือนักแสดงลืมบท กจจะเป็นการสิ้นเปลือง เวลาและค่าใช้จ่าย การเตรียมการด้านเสียงและแสง


17

เป็นการจัดตาแหน่งไมโครโฟน การคัดเลือกเพลงที่ใช้ในการประกอบรายการ และทดสอบเสียงไว้ ให้พร้อมสาหรับการผลิตรายการได้ทันที ส่วนด้านแสงเป็นการจัดตาแหน่งไฟหลัก ไฟเสริม และไฟหลัง รวมทั้งไฟประเภทต่าง ๆ โดยคานึงถึงธรรมชาติ ทิศทาง และความเหมาะสมของแสงที่ใช้ในแต่ละรายการ เช่น การให้แสงจ้า (Hard light) และแสงนวล (Soft light) ตามทีต่ อ้ งการ การติดตั้งฉากและอุปกรณ์การผลิต เป็นการเตรียมการขั้นสุดท้าย ที่ผู้ผลิตรายการจะต้องควบคุมและดูแลให้ทุกอย่างเป็นไปตามที่ ต้องการ เช่น การจัดและติดตั้งฉาก การติดตั้งอุปกรณ์ การจัดระบบเสียง และระบบแสง เมื่อการติดตั้ง เรียบร้อยแล้วกจพร้อมสาหรับการผลิตตามเวลาที่กาหนด 3. ขั้นการผลิต (Production stage) เป็นขั้นตอนทีก่ ลุ่มผู้เกี่ยวข้องต้องดาเนินการตามระยะเวลาสาหรับการผลิตรายการที่กาหนดไว้ ซึ่งมีทั้งหมด 3 ขั้นตอน - ขั้นการประชุมก่อนการผลิต - ขั้นซ้อม - ขั้นบันทึกรายการหรือออกอากาศจริง ผู้รับผิดชอบในทุกขั้นตอนของการดาเนินการผลิต ผู้รับผิดชอบในทุกขั้นตอนของการดาเนินการผลิตคือ ผู้กากับรายการ (Production Director) ซึ่ง ได้รับมอบอานาจจากผู้ผลิตรายการ (Production แล้ว สาหรับการออกอากาศสด ขั้นตอนสุดท้ายคือ ขั้น ออกอากาศ ในปัจจุบัน นิยมผลิตรายการบันทึกเทปเป็นส่วนใหญ่ จึงพิจารณาว่าขัน้ ตอนการตัดต่อ น่าจะเป็น ขั้นตอนครั้งสุดท้าย การประชุมก่อนการผลิตรายการ(Pre-production conference) เป็นการประชุมหารือกันระหว่างผู้ผลิต ผู้กากับรายการ ผู้กากับเทคนิค ผู้กากับเวที ช่างกล้อง ช่างคุม แสง ช่างคุมเสียง ฝาายฉาก และผู้ร่วมรายการ เพื่อให้ทราบขั้นตอนการผลิตอย่างชัดเจน ผู้ผลิตรายการ ต้อง ชีแ้ จงนโยบายและวัตถุประสงค์ของรายการให้ทุกคนทราบ แล้วมอบให้ผู้กากับรายการทาหน้าที่ ชี้แจงรายละเอียด และบทบาทของผู้ร่วมงาน จากการที่ผู้กากับรายการมีอานาจกากับรายการให้สาเรจจ ส่วน ผู้ผลิตรายการมีอานาจควบคุมการผลิตรายการทั้งหมด ขั้นซ้อม การซ้อม (Rehearsal) เป็นกระบวนการเตรียมทุกคนให้ผ่านขั้นตอนเหมือนทีจ่ ะเกิดขึ้น จริง ๆ ในรายการ แม้รายการนั้น จะผลิตแบบง่ายๆกจต้องมีการซ้อมในลักษณะใดลักษณะหนึ่งเสมอ สาหรับที่มีการปฏิบัติกันอยู่มี 5 รูปแบบ ได้แก่


18

1. การซ้อมแห้ง (Dry Run) ผู้กากับรายการซักซ้อมกับผู้เกี่ยวข้องทุกคนให้ทาสิ่งที่กาหนดให้ทาตามลาดับก่อนหลัง ตามที่ ปรากฏในบทโทรทัศน์ ไม่ว่าจะเป็นการแสดงท่าทาง ตาแหน่งทีน่ ั่ง การเดิน การยืน การหันหน้าทางผู้ร่วม รายการ รวมทัง้ การบรรยายหรือบทสนทนา อาจทาในสตูดโิ อ หรือห้องซ้อม ผู้กากับและผู้แสดงจะต้องนึกถึงตาแหน่งของกล้องและไมโครโฟน โดยทาเครื่องหมายบนพื้นสตูดิโอ เพื่อ บอกตาแหน่งต่าง ๆ ด้วย ผู้กากับรายการจะดูแลเรื่องการเคลื่อนไหวของผู้แสดงและกล้อง 2. การซ้อมผ่านแต่ละฉาก(walk through) หมายถึงการซ้อมที่ผู้แสดงและบุคลากรเทคนิคทุกคนจะต้องเข้ามาร่วมซ้อมการดาเนินตามเรื่องผ่านตาม ขั้นตอนต่าง ๆ โดยละเอียด ตั้งแต่ผู้กากับเอง ผู้ช่วยผู้กากับ (ถ้ามี) ผู้กากับเทคนิค (TD) ช่างกล้อง ผู้ กากับเสียง ผู้กากับแสง ผู้กากับเวทีและหน่วยควบคุมเวที (back stage) ทุกคน เวลาทีใ่ ช้ในการซ้อมผ่านฉากนี้ ควรรวมเวลาการแต่งหน้าและแต่งตัว ผู้กากากับรายการจะต้องควบคุมการซ้อมอยู่ที่ห้องสตูดิโอ 3. ซ้อมกล้อง (Camera Rehearsal) หมายถึง การซ้อมการจับภาพของกล้องทุกขั้นตอน กระทาหลังจากที่ผแู้ สดง ผู้ร่วมรายการแต่งหน้า แต่งตัว เหมือนการถ่ายทาจริงเรียบร้อยแล้ว การซ้อมจริงที่เป็น “Final Dress Rehearsal” จึงยังจาเป็นเพื่อให้เกิดความ ต่อเนื่องในการแสดงเสมือนการออกอากาศจริง ๆ และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าชมได้ การจัดรายการ โทรทัศน์หากมีการซักซ้อมอย่างละเอียดลออในทุกขั้นตอนกจจะได้รายการที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 4. ซ้อมผ่านกล้อง การซ้อมผ่านกล้อง เป็นการซ้อมที่รวมการซ้อมย่อยทุกส่วนเข้าด้วยกัน จึงเรียกว่า “ซ้อมผ่านกล้อง” หรือ “Walk-Through Camera Rehearsal Combination” มีลักษณะดังนี้ ผู้กากับต้องอยูใ่ นสตูดิโอ หากสั่งการจากห้องควบคุมรายการ จะสื่อความหมายไม่ได้ พยายามให้ บุคลากรทุกคนอยู่ในตาแหน่งเริ่มต้น 5. ซ้อมเหมือนจริง (Final Dress Rehearsal) เป็นการซ้อมที่เหมือนกับการออกอากาศจริง ผู้แสดงต้องแต่งตัว และจัดฉากเรียบร้อย การซ้อมจริง ในลักษณะนี้มกั จะใช้เฉพาะรายการที่มีความสาคัญมาก โดยที่มีเวลาเป็นอุปสรรค รายการโทรทัศน์ส่วนใหญ่ จะนาการซ้อมเหมือนจริง มาเป็นการบันทึกเทปเลย เพื่อเป็นการประหยัดเวลาและงบประมาณ ขั้นผลิต 1.Preproduction 2.Production 3.PostProduction


19

ขั้นผลิตรายการเป็นขั้นที่ดาเนินการทันทีหลังจากการซ้อมแล้ว สิ่งที่ผู้กากับรายการต้องทา คือตรวจสอบกับผู้ กากับเวทีว่าทุกคนมีความพร้อมหรือไม่ ประกาศบอกเวลาที่เหลือก่อนออกอากาศโดยผ่านการสื่อสารภายในตรวจสอบกับหน่วยต่าง ๆ โดย การขานชื่อ แล้วให้ผู้เกี่ยวข้องขานรับแล้ว เมื่อพร้อมแล้วให้บอกเวลาที่เหลือและให้ทกุ คนเตรียมพร้อม เพื่อการออกอากาศสั่งทุกคนให้ เตรียมพร้อมเมื่อเหลือเวลา 2 นาที โดยประกาศว่า “เหลือเวลา 2 นาที” ประกาศว่า “เหลือเวลา 1 นาที” ผู้กากับเวทีให้ “Cue” ทุกฝาาย ในกรณีที่เป็นรายการบันทึกเทป จะต้องบอกว่า 5 วินาที เดินเทปและนับถอยหลัง ...” 4. การนาเสนอและประเมินคุณภาพรายการ(Presentation & Evaluation) เป็นขั้นการพิจารณาว่ารายการมีคุณภาพ สามารถนาออกอากาศหรือไม่ หรือต้องปรับปรุงอะไร รวมทั้งตรวจสอบว่าเมื่อทาการออกอากาศไปแล้วมีผลตอบรับจากผู้ชมอย่างไร การประเมินคุณภาพรายการ อาจทาได้ 3 ทาง คือ ประเมินขณะทีก่ าลังผลิตรายการ ประเมินเมื่อผลิตรายการเสรจจแล้ว และประเมินเมื่อได้ ออกอากาศไปแล้ว การประเมินขณะที่กาลังผลิตรายการกระทาได้ดงั นี้ ให้บุคลากรเทคนิคตรวจสอบสัญญาณภาพและเสียงที่บนั ทึกไว้แล้วว่ามีระดับและคุณภาพตามที่ ต้องการหรือไม่ โดยตรวจสอบที่ Waveform Monitor หรือดูจากที่บันทึกเทปไว้แล้ว ควรมีการบันทึกเทปทุกครั้งขณะที่ซ้อมผ่านฉากและกล้อง เพื่อจะได้ตรวจสอบคุณภาพทางเทคนิค ได้ ในขณะผลิตรายการ ผู้กากับรายการต้องประเมินภาพการแสดง เสียง ลีลา และความถูกต้องของการ พูดด้วยตนเองด้วย และจะต้องยุติการแสดงทันทีที่ผิดพลาด การประเมินเมื่อผลิตรายการแล้ว การประเมินโดยกลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับการผลิตรายการของทางสถานีโทรทัศน์ ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น คณะกรรมการประเมินในด้านความถูกต้องด้านสาระ ความเหมาะสมด้านรูปแบบรายการ คุณภาพทาง เทคนิค และการขัดต่อระเบียบหรือกฎหมายที่เกี่ยวกับศีลธรรมความดีงาม คณะกรรมการประเมิน มักจะประกอบด้วย ตัวแทนของฝาายจัดรายการฝาายเทคนิค ผู้ทรงคุณวุฒิ และ หน่วยงานควบคุมการออกอากาศรายการ เช่น กกช. (คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์แห่งชาติ) เป็นต้น ผลจากการประเมิน จะนาไปสู่การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตามระดับของปัญหา ต่อไป การประเมินเมื่อได้ออกอากาศรายการไปแล้ว


20

จัดอยู่ในขั้นการประเมินการใช้จริง ที่มีลักษณะคล้ายกับการประเมินผลการรับชมของผู้ชม(trial run หรือ pilot testing) เมื่อออกอากาศไปแล้ว ควรมีการประเมินปฏิกิริยาเป็น 2 ระยะ คือ ประเมินทันทีหลังจากออกอากาศ เพื่อดูว่าผู้ชมชอบไม่ชอบประการใด ประเมินหลังจากออกอากาศไปแล้วช่วงเวลาหนึ่ง การประเมินอาจทาได้โดย 1.การสุ่มตัวอย่างสัมภาษณ์ด้วยโทรศัพท์ หรือด้วยตัวเอง หรือการส่งแบบสอบถาม 2. หรือวิธีที่สองเป็นการเกจบข้อมูลจากจดหมายหรือโทรศัพท์ที่มีผู้เขียนหรือโทรศัพท์เข้ามาติชม หรือจากการวิพากษ์วิจารณ์ของสื่อมวลชน การวิจัยตลาด (Marketing research) คือการนาข้อมูลจากการประเมินจากบริษัทที่ทาการวิจยั ตลาด (Marketing research) ซึ่งจะบอกได้ว่า รายการนั้น ๆ ที่ออกอากาศไปแล้วในช่วงหนึ่ง มีคนรับชมมากน้อยเท่าไร เมื่อเทียบหน่วยเป็นพัน และจัดอยู่ ในอันดับใดเมือ่ เทียบกับรายการอื่น กลุ่มเป้าหมายผู้รับชมตรงกับที่เรากาหนดไว้หรือไม่ เมื่อได้ข้อมูล แล้วกจนามาปรับปรุงรายการให้ดีขึ้น


21

บทที่ 3 การปฏิบัติงาน หลักการของการปฎิบัตงิ าน 1. เพื่อเพิ่มทักษะ สร้างเสริมประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเป็นจริงในสถาน ประกอบการ 2. เพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานและสามารถใช้สติปัญญาแก้ปัญหาได้ อย่างมีเหตุผล 3. เพื่อให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีระเบียบวินัย และทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพือให้มีเจตคติที่ดีต่อการทางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบ อาชีพต่อไปภายหลังจากสาเรจจการศึกษา 5. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ และหน่วยงานรัฐบาล ระเบียบว่าด้วย งานที่ได้รับมอบหมาย การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น 3. แต่งกายชุดนักศึกษา กรณีใส่เสื้อชจอปต้องผ่านความเหจนชอบจากบริษัทก่อน 4. การลากิจ ลาปาวย ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานทีฝ่ กึ งาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใช้เครื่องมือสื่อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่องระยะเวลาการฝึกงานหรือ เรียกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสินใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึกงานกจคือการทางาน และทาการ ฝึกงานอย่างเตจมกาลังความสามารถ 9. การไปฝึกงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้อง ไม่กระทาการ ใด ๆ ที่จะทาให้เสื่อมเสียต่อส่วนรวม 10. ในระหว่างการฝึกงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคาปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควร ติดต่อกลับมายังอาจารย์ประจาภาควิชา แต่ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการฝึกงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง


22

11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึกงานให้ติดต่อคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หรือ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม การปฎิบตั ิงานของฝ่าย Graphic บริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studoi Co,Ltd) โดยแผนกที่ผู้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้เข้าไปปฎิบัติงานคือแผนก Gpaphic ซึง่ ทางานออกแบบ สร้างสรรค์งาน Graphic โดยภายในแผนกจะมีArt Director เป็นคนรับงานใหญ่แล้วมีผู้ดูแลคิวดีไชด์เนอร์ แล้วจัดแบ่งภาระงานตามเหมาะสมเพื่อให้ได้ตรงตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุด ขั้นตอนการปฎิบัติงานของกราฟิกดีไซด์เนอร์เป็นดังนี้ 1. การรับ Brief งานจากฝาายผลิตรายการ 2. กราฟิกดีไซด์เนอร์เริ่มปฎิบตั งิ านตามโจทย์ทไ่ี ด้รบั ซึง่ แต่ละงานอาจเป็นแก้ไขปรับปรุงจากแบบเดิม พัฒนา สร้างใหม่ ซึ่งจะมีผลต่อระยะเวลาในการผลิตและจะระบุกาหนดระยะเวลามาอย่างชัดเจน 3. ปรับแก้ไขงานตามต้องการของฝาายผลิตรายการ งานที่ต้องใช้แบบที่เป็นคนหรือวัตถุตอ้ งมีการถ่าย ใหม่ แต่หากเป็นไตเติ้ลรายการต้องทาขึน้ ด้วยโปรแกรมสามมิติ 4. เมื่อฝาายผลิตรายการได้ตรวจสอบ Graphic แล้ว กจต้องนา Graphic นั้นมาทดลองใช้งานจริง คือ นา Graphic มาโหลดลงเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทดลองใช้กบั Virtual Studio งานที่ได้รับมอบหมาย 1. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝาายผลิตรายการ “พักจอจ้อข่าว” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 2 แสดงภาพรายการ “พักจอจ้อข่าว”


23

สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบตั ิ ได้ประสานงานและทางานร่วมกับผู้อื่นหลายฝาาย รูจ้ ักการร่วมมือกัน ทางานเป็นทีม และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาที่เกิดขึ้น หน้าของพิธกี รนั้นเวลาออกทีวี แสงทีห่ น้าไม่เท่ากัน การแก้ไขปัญหา ต้องแก้โดยการเชจคแสงที่จดั ในแต่ละวันว่า ค่าของแสงนั้นเท่าเดิมหรือไม่ หากค่าของแสง เท่าเดิม ให้ลองเชจคที่ในห้องออกอากาศ และปรับค่าแสง ประสบการณ์ที่ได้รับ การเรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ และโทรทัศน์ดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 2. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝาายผลิตรายการ “บันเทิงดูเดย์” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 3 แสดงภาพรายการ “บันเทิงทูเดย์” สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบตั ิ ได้ประสานงานและทางานร่วมกับผู้อื่นหลายฝาาย รูจ้ ักการร่วมมือกัน ทางานเป็นทีม และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาที่เกิดขึ้น เสื้อผ้าของพิธีกร ทะลุหรือเป็นพื้นของแบลจกกราวทีค่ ีย์ใส่เข้าไป การแก้ไขปัญหา ต้องเลือกเสื้อผ้าของพิธีกรให้มีโทนสีที่ตัดกับพื้นหลังของสตูดิโอ มิฉะนั้นเสื้อผ้าจะเป็นพื้น ของแบลจกกราวที่คีย์ใส่เข้าไป ประสบการณ์ที่ได้รับ การเรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ และโทรทัศน์ดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ


24

3. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝาายผลิตรายการ “เจาะเกาะติด” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 4 แสดงภาพรายการ “เจาะเกาะติด” สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบตั ิ ได้ประสานงานและทางานร่วมกับผูอ้ ื่นหลายฝาาย รูจ้ ักการร่วมมือกัน ทางานเป็นทีม และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาที่เกิดขึ้น เสื้อผ้าของพิธีกร ทะลุหรือเป็นพื้นของแบลจกกราวทีค่ ีย์ใส่เข้าไป การแก้ไขปัญหา ต้องเลือกเสื้อผ้าของพิธีกรให้มีโทนสีที่ตัดกับพื้นหลังของสตูดิโอ มิฉะนั้นเสื้อผ้าจะเป็นพื้น ของแบลจกกราวที่คีย์ใส่เข้าไป ประสบการณ์ที่ได้รับ การเรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ และโทรทัศน์ดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 4. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝาายผลิตรายการ “มดดาออน TV” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 5 แสดงภาพรายการ “มดดาออนTV”


25

สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบตั ิ ได้ประสานงานและทางานร่วมกับผู้อื่นหลายฝาาย รูจ้ ักการร่วมมือกัน ทางานเป็นทีม และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาที่เกิดขึ้น เสียงของพิธีกรไม่ดังเวลาออกอากาศ การแก้ไขปัญหา ย้ายตาแหน่งของเครื่องส่ง เพราะพิธีกรชอบนั่งทับ ประสบการณ์ที่ได้รับ การเรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ และโทรทัศน์ดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 5. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝาายผลิตรายการ “นารีบิวตี้” สถานที่ Virtual Studio

ภาพที่ 6 แสดงภาพรายการ “นารีบิวตี้” สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบตั ิ ได้ประสานงานและทางานร่วมกับผู้อื่นหลายฝาาย รูจ้ ักการร่วมมือกัน ทางานเป็นทีม และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาที่เกิดขึ้น เกิดการล่าช้าในการถ่ายทา เนื่องจากรอแขกรับเชิญ การแก้ไขปัญหา การติดต่อสื่อสารควรจะมีการโทรย้า ถึงเวลาและสถานที่ถ่ายทาเพื่อให้เกิดผลของการนัท หมายสูงสุด ประสบการณ์ที่ได้รับ การเรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ และโทรทัศน์ดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 6. เรื่อง/รายการ ศิลปกรรมและประสานงานฝาายผลิตรายการ “ประเดจนเดจด 7 สี” สถานที่ Virtual Studio


26

ภาพที่ 7 แสดงภาพรายการ “ประเดจนเดจด 7 สี” สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบตั ิ ได้ประสานงานและทางานร่วมกับผู้อื่นหลายฝาาย รูจ้ ักการร่วมมือกัน ทางานเป็นทีม และแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพราะเป็นรายการที่ออกอากาศสด ประสบการณ์ที่ได้รับ การเรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการผลิตรายการโทรทัศน์ และโทรทัศน์ดาวเทียม และ เทคนิคการออกอากาศ 7. เรื่อง/รายการ ออกแบบ LOGO ทีมฟุตบอลบริษัท มีเดีย สตูดิโอ สถานที่ แผนก Graphic

ภาพที่ 8 แสดงภาพผลงานออกแบบ LOGO ทีมฟุตบอลบริษัท มีเดีย สตูดิโอ สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบตั ิ ได้ใช้ทักษะทางการออกแบบ เรียนรู้การใช้โปรแกรมในการ ออกแบบเพิ่มขึ้น ปัญหาที่เกิดขึ้น ลักษณะของ LOGO ยังไม่ลงตัวและขาดเอกภาพ


27

การแก้ไขปัญหา ปรึกษาพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาชิ้นงานต่อไป ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้ทักษะทางการออกแบบ เรียนรูก้ ารใช้โปรแกรมในการออกแบบเพิ่มขึน้ 8. เรื่อง/รายการ ออกแบบโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์รายการต่างๆ ของบริษัท มีเดีย สตูดโิ อ สถานที่ แผนก Graphic

ภาพที่ 9 แสดงภาพโปรเตอร์ประชาสัมพันธ์รายการต่างๆ ของบริษัท มีเดีย สตูดิโอ สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบตั ิ ได้ใช้ทักษะทางการออกแบบ เรียนรู้การใช้โปรแกรมในการ ออกแบบเพิ่มขึ้น เรียนรู้การจัดวางองค์ประกอบของสิ่งพิมพ์ เรียนรู้เทคนิคการสร้างภาพจากโปรแกรม ออกแบบต่างๆ ปัญหาที่เกิดขึ้น ไฟล์ภาพมีขนาดเลจกเกินไป การแก้ไขปัญหา ถ่ายภาพพิธีกรต่างๆเพื่อนาภาพมาใช้ ประสบการณ์ที่ได้รับ การเลือกใช้ภาพจากไฟล์งานเก่าๆ อาจจะใช้ไม่ได้ จึงต้องถ่ายใหม่


28

บทที่ 4 ผลที่ได้รับจากการฝึกงาน วัตถุประสงค์ของการปฎิบัติงานครั้งนี้ คือ การศึกษาเพื่อสร้างสรรค์ต้นแบบงาน LOGO รายการนารี บิวตี้ ที่สามารถออกแบบเพื่อสื่อสารใช้เป็นงานต้นแบบเพื่อผลิตและนาเสนอให้แก่ ฝาายผลิตรายการของ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ ได้นาไปผลิตได้จริง โดยผู้ปฎิบัติงานได้วางแนวทางวิธีการทางานและสร้างผลงาน ออกแบบหลังได้รับ Brief จากฝาายผลิตรายการไว้เป็นลาดับขั้น ดังนี้

ภาพที่ 10 แสดงภาพกระบวนการทางาน 3P


29

ก. ขั้นการวางแผนก่อนการผลิตผลงาน(Pre Production Stage) 1. ตั้งสมมติฐาน 2. ศึกษาข้อมูลความต้องการของผู้ผลิต และความต้องการในการออกแบบ(Creative Brief) กรุณาดูที่ ภาคผนวก 3. การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา(Case Study) 4. ศึกษาข้อมูลรูปแบบรายการ ข. การกาหนดแบบร่างทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมุตฐิ าน(Production) 1. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา 2. กาหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบร่างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด(Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรูปแบบภาพแบบขาว-ดา พร้อมวิเคราะห์และแก้ไข 5. การปรับปรุงแก้ไขแบบจนได้รูปแบบทีถ่ ูกต้องและเหมาะสม 7. ส่งงานให้กับฝาายผลิตรายการตรวจสอบงานก่อนนาไปทดลองใช้งานจริง ค. สรุปผล (Post Production ) 1. เตรียมไฟล์แบบ high resolution เพื่อใช้งานจริง 2. เตรียมไฟล์เพื่อส่งต่อให้กับฝาายออกอากาศ เพื่อใช้งานต่อไป ก. ขั้นการวางแผนก่อนการผลิตผลงาน การกาหนดประเดจนและการศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องจากการวิเคราะห์ที่มาของปัญหา และตั้งสมมติฐาน ผู้ปฏิบัติงานได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนาไปสู่การออกแบบเพื่อให้ตรงตามสมมติฐาน และวัตถุประสงค์ ซึ่งสามารถจาแนกได้ ดังนี้ 1. ตั้งสมมติฐาน เมื่อทราบที่มาของปัญหาและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วจึงทาการตั้งสมมติฐาน เพื่อใช้ กาหนดขอบเขตแนวทางในการทางาน ดังนี้ แนวคิดในการพัฒนา LOGO นารีบิวตี้ เพื่อสื่อสารให้ฝาายผลิต รายการทราบว่าเปลี่ยนจาก LOGO เก่าเป็น LOGO ใหม่ ซึ่งมีการวางแนวการออกแบบหลัก ดังนี้ 1.1. ใช้ลักษณะกราฟิกที่เป็นลักษณะของหญิงสาวหรือสัญลักษ์กราฟิกสีเอกลักษณ์ผู้หญิง 1.2. ใช้สีชมพูหรือฟ้าเป็นสีหลัก เพื่อสื่อถึงอัตลักษณ์ของรายการ เข้ากับหลักการทางศิลปะในเรื่อง การใช้สี ซึ่งเป็นการใช้สีแบบเอกรงค์ 1.3. การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ดูงานออกแบบกับ LOGO ที่ใกล้เคียงและวิเคราะห์ผล การศึกษา การจัดวางองค์ประกอบ


30

1.4. ศึกษาเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบป้ายโฆษณา ทั้งในภาคเอกสาร และทางสื่อ ออนไลน์ต่างๆ

ภาพที่ 11 แสดงภาพกรณีศกึ ษาตัวอย่าง ทีม่ า : http://www.salononwheels.co.uk http://yukito85.deviantart.com http://www.alibaba.com http://www.mcardmall.com http://www.48hourslogo.com


31

ข. การกาหนดแบบร่างทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน (Production) 1. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ วิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการศึกษาเพื่อ กาหนดขอบเขตในการทางาน ต่อไป 2. กาหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบร่างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด (Concept) 4. เขียนแบบแบบความคิดรวบยอด 5. ปรับปรุงแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ต้องการ

ภาพที่ 12 แสดงภาพแบบร่าง LOGO รายการนารีบิวตี้ 1

ภาพที่ 13 แสดงภาพแบบร่าง LOGO รายการนารีบิวตี้ 2


32

ภาพที่ 14 แสดงภาพแบบร่าง LOGO รายการนารีบิวตี้ 3

ค. สรุปผล (Post Production ) จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล แล้วนาข้อมูลที่ได้มากาหนดแนวทางในการสร้างแบบร่าง และ ได้สเกจตแบบร่างออกมาแล้วนาเอาข้อบกพร่องที่ได้จากการคอมเม้นจากผ่ายผลิตรายการ เอามาทาการแก้ไข ปรับปรุง LOGO เพื่อให้ได้ LOGO ที่ตรงกับความต้องการและสอดคล้องกับเนื้อหาของรายการมากที่สุด และได้ทาการสรุปผลของการออกแบบ LOGO ดังนี้

ภาพที่ 15 แสดงภาพการปรับแต่ LOGO รายการนารีบวิ ตี้ตามที่ฝาายผลิตรายการต้องการ


33

ภาพที่ 16 แสดงภาพผลงานออกแบบ LOGO รายการนารีบิวตี้แบบ Key Visual

การเขียนแบบกราฟิกแบบ 2 มิติ(Working Drawing) แก้ไขปรับปรุงตามความต้องการของฝาาย รายการจนถูกต้อง การเขียนแบบกราฟิกแบบ 2 มิติ(Working Drawing)

ภาพที่ 17 แสดงภาพโปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบ


34

บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัตงิ าน ในการศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาสาขาออกแบบนิ เ ทศศิ ล ป์ คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม นั้น นอกจากนักศึกษาจะได้ความรู้ในหลักสูตรแล้ว การศึกษาประสบการณ์ วิชาชีพศิลปกรรมยังเป็นสิ่งที่สาคัญและจาเป็นที่นักศึกษาต้องทาการปฏิบัติก่อนการจบหลักสูตรการศึกษา เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในพฤติกรรมทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของบุคลิกภาพ สติปัญญา เจตคติ การวางตัวที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อพร้อมที่จะออกไปดาเนินชีวิตและประกอบอาชีพได้อย่ างมีประสิทธิภาพ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนั้นถือเป็นการฝึกทักษะการทางานและรู้จักการปรับตัวของการทางานร่วมกับ ผู้อื่น มีประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษา การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ ณ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ ในครั้งนี้ ทาให้ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในวิชาชีพมากยิ่งขึ้น เข้าใจการทางานด้าน โฆษณา การมีมนุ ษ ย์ สัมพัน ธ์ที่ดี ต่อ ผู้อื่น การวางตั ว ในสังคมได้ อี กประการหนึ่งที่ สาคัญที่สุดสาหรั บ นักศึกษาที่ได้รับคือ การทางานของตนเองได้รับความไว้ว างใจให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยตนเองเปรียบเสมือน ตนเองเป็นบุคลากรคนหนึ่งขององค์กร โดยมีการควบคุมดูแลแบบกันเองเสมือนญาติ ตั้งแต่วันแรกของการ ฝึกประสบการณ์จนถึงวันสุดท้ายของการฝึกประสบการณ์เป็นอย่างดี ทุกคนต่างมีไมตรีจิตที่ดีต่อนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อีกทั้ง ยังให้คาแนะนาและช่วยเหลือในทุกๆเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องงานและเรื่อง ส่วนตัวแก่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเสมอมา ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้ารับการฝึกงาน 1.ได้เรียนรู้ถึงกระบวนการทางานต่างๆของการทางานหลังจากการที่ได้เข้ารับการฝึกงานใน หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายทาให้ได้ทราบถึงกระบวนการในการทางานของฝาายอื่นๆอีกด้วยและได้ทราบถึง บทบาทหน้าทีแ่ ละความสาคัญของการทางาน 2. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการใช้โปรแกรมในการออกแบบ Illustrator ,Photoshop มากขึ้น 3. งานด้านการสื่อสารเช่น การรับ Brief งานเพื่อการออกแบบ LOGO และฉากของรายการทีวี 4. ได้ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลผลงานออกแบบเพือ่ เป็นตัวอย่างวิเคราะห์ พัฒนาแนวคิดการ ออกแบบ กระบวนการคิดของนักออกแบบ ด้านนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน 1. ได้รับความรูใ้ หม่และประสบการณ์ในสภาวะการทางานจริง 2. ฝึกให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย


35

3. พัฒนาบุคลิกภาพช่วยสร้างความมั่นใจในการทางานการกล้าแสดงออกและการแสดงความคิดเหจน มากขึ้น 4. ได้เรียนรู้การทางานร่วมกับผู้อื่นและเพิ่มทักษะการเรียนรู้ระบบการทางานในองค์กร 5. สามารถนาประสบการณ์จากการฝึกงานไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ 6. ฝึกฝนให้เป็นคนช่างสังเกตและรู้จักปรับปรุงการพัฒนาการทางานของตน 7. เพิ่มพูนทักษะการใช้โปรแกรมทางการออกแบบ 8. เรียนรู้โปรแกรมต่างๆที่องค์กรนามาใช้ในการทางาน 9. ฝึกฝนการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน 10. สร้างเสริมสร้างเสริมลักษณะนิสัยให้เป็นคนตรงต่อเวลามากยิ่งขึน้ 14. ทาให้มีความขยันหมัน่ เพียรมากยิ่งขึ้นการมีบุคลิกภาพที่ดีและการวางตัวที่เหมาะสม 11. มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมากขึน้ 12. ฝึกฝนให้เป็นคนที่มีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ ด้านสถานประกอบการ 1. เปิดโอกาสให้องค์กรได้รับนักศึกษาฝึกงานที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสิ่งใหม่เข้ามาทางาน 2. องค์กรได้รับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยต่างๆในการคัดเลือกบุคคลเข้ารับการฝึกงาน 3. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในส่วนของการจ้างงานประจามากขึ้นเนื่องจากการดาเนินงานของนักศึกษา ฝึกงานมาช่วยทางานในส่วนที่สามารถช่วยทาได้ 4. องค์กรมีทางเลือกในการคัดสรรพนักงานที่เหมาะสมกับองค์กรจากโครงสร้างนักศึกษา 5. องค์กรได้รับทราบเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัยโดยดูจากนักศึกษาของแต่ ละมหาวิทยาลัย

ด้านมหาวิทยาลัย 1. เกิดความร่วมมือกันทางวิชาการและความสัมพันธ์ที่ดีกับสถานประกอบการ 2. มหาวิทยาลัยได้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรในการเรียนการสอนต่อไป 3. จากการส่งตัวเข้ารับการฝึกงานไปยังบริษัทต่างๆช่วยให้มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจาก ตลาดแรงงานมากขึ้น


36

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เนื่องจากผู้ฝึกงานยังเป็นมือใหม่สาหรับงานออกแบบด้านกราฟิกเพราะฉะนั้นควรฝึกฝนฝีมือด้วย การดูงานออกแบบจากของทั้งในและต่างประเทศเทศเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบเพราะงานออกแบบยัง ดูไม่ทันสมัย และฝึกการใช้โปรแกรมทางด้านกราฟิกให้มีความชานาญยิ่งขึ้นเพื่อให้รวดเรจวในการทางาน การตอบรับจากที่ฝึกงาน จากการที่เข้าไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม ณ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ ได้รับการตอบรับเป็น อย่างดี มีการให้ความช่วยเหลือในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นการให้คาแนะนาในการใช้งานโปรแกรม เทคนิค ทางด้านโปรแกรม ความรู้สึกที่มีต่อที่ฝึกงาน การฝึกประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม ณ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ นักศึกษามีความประทับใจและดีใจ เป็นอย่างยิ่งที่ได้เข้ารับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่องค์กร ที่นี่พนักงานทุกคนจะอยู่กันแบบพี่น้อง คอยให้ คาปรึกษาและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การทางานจะทางานเป็นทีม ทาให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทางาน ร่วมกับบุคคลอื่นได้เป็นอย่างดี และการทางานที่นี้นักศึกษารู้สึกว่าได้ความรู้ต่างๆ มากมาย นอกเหนือจาก การศึกษาในชั้นเรียน คือ เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การทางานร่วมกับผู้อื่น ความรับผิดชอบ และมี ความมั่นใจในตนเองมากขึ้น ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่พึงประสงค์ของสถานประกอบการ ที่สาคัญนอกเหนือสิ่งใด คือ งานที่นักศึกษาออกแบบสามารถนามาใช้ได้จริง ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีต่อการทางานจริงต่อไป


37

บรรณานุกรม บริษัท มีเดีย สตูดิโอ (Media Studio Co.Ltd.) ,http:// www.mediastudio.co.th ทีม่ า : ของรูปตัวอย่าง www.salononwheels.co.uk yukito85.deviantart.com Jodece Hair and Beauty - Indian Remy, Chinese Remy, Perfumewww.alibaba.com www.mcardmall.com www.48hourslogo.com


38

ภาคผนวก ก.


39

บรรยากาศการทางานใน Virtual Studio รายการบันเทิงทูเดย์

บรรยากาศการทางานใน Virtual Studio รายการเจาะเกาะติด

บรรยากาศการทางานใน Virtual Studio เซจทอัพเครื่องดนตรี


40


41


42


43


44

ภาคผนวก ข.


45

ประวัตินักศึกษา ชือ่ : นายเจษฎา นามสกุล : แสงกระจ่าง สาขาวิชา : ศิลปกรรม (แขนงออกแบบนิเทศศิลป์) คณะ : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระดับการศึกษา : ปริญญาตรี 4 ปี สมทบ รหัสประจาตัวนักศึกษา : 5221304834 วัน เดือน ปี เกิด : 26 ตุลาคม 2524 อายุ : 31 ปี ที่อยู่ : 60/11 หมู่ที่ 13 ต.ตะพง อ.เมือง จ.ระยอง โทรศัพท์ : 083-018-4858


46


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.