การันต์(คอยรุตตั๊กวา)

Page 1

ส�ำหรับแจกฟรี

ก า รั น ต ์ นิ ต ย ส า ร ชุ ม ช น เ พื่ อ ก า ร เ รี ย น รู ้

เปิดเล่ม

บรรณาธิการ นายสัชฌุกร เขียวขัน ฝ่ายศิลป์ นายสัชฌุกร เขียวขัน 58/699 ม.13 คลองหนึ่ง คลองหลวง ปทุมธานี 120120 โทรศัพท์ 0895334603

ผู้เขียน

ครั้ ง นี้ เ ราไม่ ไ ด้ เ ดิ น ทางไปไหนไกล เพียงแต่ทางเดินไปสถานทีใกล้ๆ แต่คน กรุงเทพฯให้ความสนใจน้อยลดมากกว่า ที่ เคยอยู่คู่กับคนไทยมากแสนนาน ซึ่งปัจจุบัน เป็นเพียงจุดเล็กในกรุงเทพฯของเราเพียง เท่านั้น “แผ่นดินทองหนองจอก”ห่างออกไปทาง ทิศตะวันตกของกรุงเทพฯติดกับฉะเชิงเทรา เราจะพาไปรูจ้ กั “ชุมชนคอยรุตตัก๊ วา” ชุมชน

ต้นแบบตามปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ยัง เหลือ“ผืนนา”ให้เราเห็นเป็นผืนสุดท้ายใน กรุงเทพฯ “คอยรุ ต ตั๊ ก วา”นอกจากจะเป็ น แหล่ ง ศึกษาดูงานตามแนวคิดปรัญชาเศรษฐกิจ พอเพียงแล้ว ยังเปิดเป็นโฮมสเตย์ให้ผู้ที่ สนใจเข้าพักกันด้วย พร้อมส�ำหรับท่านที่ ต้องการสัมผัสวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของ ชุมชน

พร้อมทั้งไปรู้จัก “อาจารย์สมชาย สมาน ตระกูล” อีกด้านที่ท่านน�ำด�ำเนินชีวิตเป็นครู ภูมิปัญญาไทย กับการเดินทางที่ถูกถ่ายทอด ผ่านปลายปากกา ในรูปแบบที่ไม่เหมือนคน อื่น เราอยากให้ คุ ณ รู ้ จั ก “กรุ ง เทพฯ”มาก ขี้นกว่าที่คุณเคยพบเห็นอยู่บ่อยครั้งและถือ เป็นการเปิดมุมมองใหม่ๆให้แก่คุณผู้อ่านได้ รู้จัก ก่อนที่เราจะไม่รู้จักหรือลืมมันไป

เปิดสมุด “สมชาย สมานตระกูล” การเดินทางด้วยปลายปากกา

“ผืนนา” มีค่า “คอยรุคตั๊กวา” นาผืนสุดท้าย

“บ้านดาวโด่ง” โฮมสเตย์ วิถีไทย

หน้า 3

หน้า 4

หน้า 2

“คอยรุตตั๊กวา” คงแนวคิด “ธนาคารต้นไม้”


2 เปิดหน้า

เปิดสมุด“สมชาย สมานตระกูล” การเดินทางบนปลายปากกา โดย การันต์

“สมชาย สมานตระกูล” ครูภูมิปัญญาไทย กลายเป็นที่รู้จักกันหลัง ชุมชนของท่านได้ขึ้นชื่อว่า “แผ่นดินทอง หนองจอกหรื อ คอยรุ ต ตั๊ ก วา”ชุ ม ชน ต้นแบบตามปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ ท่านได้อุทิศชีวิตร่วม 10ปี ก้นหน้าก้มตา สร้างเพื่อเป็นแบบอย่างในการด�ำเนินชีวิต อย่างพอเพียง เวลาผ่านไปเกือบ 10ปี การเดิน ทางของท่านไม่น้อย ซึ่งเต็มไปด้วยเรื่อง ราวที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว่ า งทางกว่ า จะมา เป็น “สมชาย สมานตระกูล ครูภูมิปัญญา ไทย”ได้ทุกวันนี้ย่อมเป็นเรื่องที่หน้าสนใจ เพราะการใช้ชีวิตของท่านต้องอยู่บนความ

เขียนเพื่อทบทวน ไม่มีใครสั่งเรา แต่เราต้อง ส่ง แทนค�ำขอบคุณและสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจแก่เขา เขียนในสิ่งที่เราไปพบไปเจอ บอกเล่ า เรื่ อ งราวและความรู ้ สึ ก ขณะเดิ น ทาง เขียนในแบบเราเพราะมันบอกถึงความ รู้สึกในขณะที่เขียนได้

ดงพญาเมื่อมาในที่นี้ ล้วนมากมีที่ศึกษาน่าพิศวง เห็นแมกไม้เติมโตและยืนยง เพราะท่านคงรักษาน่าชมเชย

ครูสมชาย สมานตระกูล กล่าวไว้

พอเพียง แม้สิ่งต่างๆรอบข้างจะเปลี่ยนไป มากหรือน้อยก็ตาม เรื่ อ งราวผ่ า นปลายปากกาของ “ครูสมชาย”น่าสนใจไม่น้อย แม้แต่ “การ เขียน” ที่เป็นเอกลักษณ์ทั้งร้อยกรอง ร้อง แก้วลงสมุด ซึ่งมีมากว่า 20เล่ม กว่า10ปี ที่ท่านปฏิบัติเช่นนี้อยู่เป็นประจ�ำเมื่อออก เดินทาง เมื่อฟ้าเริ่มสว่างแสงส่องลงพื้น เช้าแล้ว ท่านจับปากกากับสมุดออกเดิน ทางสู่ “ผืนนา” ไม่ว่าจะไกลหรือใกล้ อาจ จะไม่ใช่ผืนนา แต่เป็นพื้นดินที่ท่านได้ไป ศึกษาการใช้ชีวิตพอเพียง เพื่อน�ำกลับเป็น แนวคิดในการพัฒนาแก่ชุมชน ครูสมชาต สมานตะกูล ความความรู้แก่นักศึกษาที่มายืน “หมู่บ้านล�ำไ


“ผืนนา” มีค่า “คอยรุคตั๊กวา”นาผืนสุดท้าย

โดย ควายเผือก

“ในน�้ำมีปลา ในนามีข้าว” ประโยคที่บ่งบอกถึงความ อุ ด มสมบู ร ณ์ ข องทางธรรมชาติ ป ระเทศไทยเป็ น ดิ น แดนแห่ ง เกษตรกรรมอย่างที่ใครปฏิเสธไม่ได้ ชุมชน“คอยรุตตั๊กวา”นาผืน สุดท้ายในกรุงเทพฯ “มีค่า” บนความเปลี่ยนแปลงของเมืองหลวง ซึ่งในปัจจุบันก็ดูเหมือนว่าการท�ำนาจะหายไปจากเมื่อง ใหญ่ ที่ถูกตึกลามบ้านช่องพัฒนาแทนที่ผืนนา เพราะเชื่อว่าความ เจริญก้าวหน้าในชีวิตหาได้เฉพาะในเมืองเท่านั้น แต่ยังมีนาผืนสุดท้ายในเมืองกรุงให้ได้เห็นเป็นต้นแบบ ก่อนที่เราทั้งหลายจะลืมไปว่าเคยมีผืนนาที่เคยเลี้ยงปากเลี้ยงท้อง ของคนในอดีตจนถึงปัจจุบัน ชุมชนแผ่นดินทองหนองจอก“คอยรุตตั๊กวา”แขวงโคก แฝด เขตหนองจอก กรุงเทพฯ ผืนนาผืนสุดท้ายในกรุงเทพฯที่เราจะ สามารถเห็นได้ ตั้งแต่การท�ำนา ด�ำนา ปลูกข้าว เกี่ยวข้าว จนถึง การแปลรู ป เพื่ อ ไว้ บ ริ โ ภคและยั ง ขายสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ คนใน ชุมชน “คอยรุตตั๊กวา”พื้นที่เล็กๆสีเขียวในกรุงเทพฯห่างออกไป เกือบถึงฉะเชิงเทรา เป็นชุมชนมุสลิมที่นับถือศาสนาอิสลาม ส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�ำนาข้าว เลี้ยงสัตว์ หาปลา ปลูกผลไม้ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตาม“ พ่อหลวง” มือถือปากกา อีกหนึ่งมือถือสมุด เตรียมจดความคิดและความรู้สึก บอก เล่าเรื่องราวเล่าเรื่องเดินทางของท่านด้วย ความเคยชิน เกิดเป็นเอกลักษณ์ของการ เขียนไม่ว่าจะเป็นร้อยกรองหรือร้อยแก้ว แต่อีกหนึ่งอย่างที่น่าสนใจคือเขียนแบบ “นิราศ” การเขียน “นิราศ” คือค�ำกลอนที่ แต่งขึ้นเพื่อเล่าเรื่องการเดินทางไปยังแห่ง ใดแห่งหนึ่ง ท่านใช้การเขียนนี้ บอกเล่า เรื่องราวในการเดินทางดูงานต่างๆ ไม่ว่า จะอยู่ในไทย หรือต่างประเทศ ซึ่งเป็นยุค ที่มีการเปลี่ยนแปลง ที่ท�ำให้ความรู้สึกเป็น เอกลักษณ์ เสมือนท่านเป็นคนเล่าเองและ เป็นท่านเพียงเท่านั้น มากกว่ า ร้ อ ยเรื่ อ งราวในสมุ ด ที่ ยังไม่ถูกเล่าหรือบอกต่อ แต่อย่างน้อยได้รู้ กิจวัตรประจ�ำวันของบุคคลส�ำคัญแม้เรา จะรู้จักท่านในชื่อ “สมชาย สมานตระกูล ครู ภู มิ ป ั ญ ญาไทย”ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น อี ก ด้ า น ที่ น ่ า สนใจของบุ ค คลส� ำ คั ญ คนหนึ่ ง ใน ประเทศไทย ผู้ที่สร้างชุมชนต้นแบบตาม ปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงของ“พ่อหลวง”

ไทร”

ที่นี้กรุงเทพฯ 3

จงอย่ายกเอาความขาดแคลนมาเป็นขออ้าง จงท� ำ งานภายใต้ ค วามขาดแคลนให้ ป ระสบความ ส�ำเร็จ มีความเมตตาและเอื้ออาทร ต่อมวลมนุษย์ชาติ อยู่รวมกันอย่าสันติ

“สมชาย สมานตระกูล” ผู้น�ำชุมชนหรือครูภูมิปัญญา ไทยได้กล่าวปรัชญาของพ่อหลวงไว้

“ในน�้ำมีปลา ในนามีข้าว” ผืนแผ่นดินที่ยังกล่าวได้ใน เมืองหลวงกรุงเทพฯ ความอุดสมบูร์เต็มไปด้วยต้นไม้และพืชผัก ไร่นา บรรยากาศร่มรื่นเงียบสงบปราศจากเสียงรถยนต์ เสียง รบกวน มีแม่น�้ำล�ำคลอง และหมู่บ้านรอบล้อมไปด้วยต้นไม้ เพราะคนในชุมชนให้ความร่วมมือ ช่วยกันรักษาวัฒนธรรมท้อง ถิ่น จนเกิดเป็นภูมิคุ้มกันบนความเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน ในยุคที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง“ผืนนา”ถูกแทนที่ด้วย “ด้วยความเจริญก้าวหน้า” ชุมชนแผ่นดินทองหนองจอก“คอย รุตตั๊กวา” ยังแสดงให้เห็นว่า“ผืนนามีค่า” ถ้าเรายังรู้จัก “ความ พอเพี ย ง”เราคงไม่ อ ยากเห็ น ผื น นาที่ ยั ง เหลื อ อยู ่ ใ นสั ง คมไทย “หายไป” พร้อมๆกับความเจริญก้าวหน้าเพียงอย่างเดียว แต่เรา ควรจะเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างพอเพียง และเหมาะสม

ปลูกต้นกาแฟแน่แท้ได้ช่วยเหลือ แต่ก่อนเมื่อเผ่าป่าท�ำเสียหาย เปลี่ยนความคิดนิดเดียวไม่เสียดาย เปลี่ยนจากไฟมาเป็นน�้ำตามล�่ำลือ

ผืนป่าไม่คชต้องปลูกทุกพื้นที่ ปล่อยให้มีผืนป่าที่น่าหวง ขอพวกเราอย่ารุกรานและตักตวง ไม่ต้องห่วงเกิดผืนป่าอย่างแน่นอน

สมุดบัททึกส่วนตัวของ “ครูสมชาย” โดยส่วยใหญ่เป็นกลอน “นิราศ”


4ท่องไทย

โดย ชาวบ้าน

“บ้านดาวโด่ง” โฮมสเตย์ วิถีไทย

ล�ำไทรโฮมสเตย์ หนึ่งในบ้านพักของชุมชน “คอยรุตตั๊กวา”

ยุคสมัยที่เปลี่ยนไปตนเองก็ต้องเปลี่ยนตามไปด้วย ในอดีตชุมชน แห่งเต็มไปด้วยธรรมชาติและวิถีชีวิต มีนักท่องเที่ยวมาแวะพักผ่อนเป็น จ�ำนวนมาก ราคาที่พัก 100บาท/คน/คืนโดยประมาณ ซึ่งตนมีความสุขที่ได้ ท�ำและได้รู้จักนักท่องเที่ยวที่เข้ามาพัก แม้ปัจจุบันจะไม่ได้ท�ำแล้ว แต่หวัง จะกลับมาท�ำอีกครั้ง เมื่อหมดภาระที่ตนต้องรับผิดชอบ

แม้ปัจจุบันโฮมสเตย์จะลดน้อยลงตาม ความเจริญที่เกิดขึ้นในเมือง เช่นเดียวกับ “บ้านดาวโด่ง” แต่เราอยากแนะน�ำโฮม สเตย์ในชุมชนพอเพียง “ล�ำไทรโฮมสเตย์” ชุมชนแผ่นดินทองคอยรุตตั๊กวา

ค่าที่พักคนละ150. ค่าอาหารเช้ากลางวันเย็นคนละ 120. กิจกรรมต่างๆ ท่องเที่ยงโดยจักรยานและ อื่นๆ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ล�ำไทรโฮมสเตย์ โทร 0838063456

“โฮมสเตย์ ” เป็ น การพั ก ผ่ อ นที่ เ ข้ า ถึ ง ธรรมชาติและวิถีชีวิตของชาวบ้านในชุมชน ได้อย่างแท้จริง บวกกับอัธยาศัยไมตรีและ ความเป็นมิตรที่ดีของชาวบ้าน พร้อมกับ การต้อนรับอย่างอบอุ่นและเป็นกันเองจาก เจ้าบ้าน ซ่งมีการท�ำกิจกรรมต่างๆ เช่น เล่นน�้ำตก ขี่จักรยาน นั่งเรือ เดินป่าศึกษา ธรรมชาติ จึงท�ำให้การท่องเที่ยวสไตล์นี้ยิ่ง มีเสน่ห์น่าไปสัมผัส ภายในชุมชน“คอยรุตตั๊กวา”นอกจาก จะเป็นแหล่งศึกษาดูงานตามแนวคิดปรัญ ชาเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ยังเปิดเป็นโฮม สเตย์ให้ผู้ที่สนใจเข้าพักกันด้วย พร้อมทั้ง เป็นชุมชนที่ได้รับรองมาตรฐานโฮมสเตย์ ไทย ชุมชนจะจัดบ้านของตนเองเป็นบ้านพัก โฮมสเตย์ โดยไม่มองว่าเป็นธุรกิจ จึงไม่มี เครื่องปรับอากาศไม่มีเครื่องท�ำน�้ำอุ่น ผู้ที่ เข้าพักต้องอาศัยอยู่กับเจ้าของบ้าน อันเป็น เสน่ห์ที่น่าหลงไหลของที่นี้

“บ้ า นดาวโด่ ง ”เคยเป็ น หนึ่ ง ในหลายๆโฮมสเตย์ที่ยังคงวิถีไทย ในชุมชนเช่นบ้านเก็บตะวัน บ้าน พฤกษา บ้านดาหลา บ้านปลายนา บ้านฟ้าใส ฯลฯ ซึ่งถือว่าเป็นการใช้ บ้านให้เป็นศูนย์กลาง แลกเปลี่ยน เรียนรู้วัฒนธรรมและวิถีชีวิตด้วย ความเต็มใจ พร้อมทั้งจัดที่พักและอาหาร น�ำเที่ยวในแหล่งธรรมชาติที่ใกล้เคียง โดย ได้รับค่าตอบแทนในชาวบ้าน “สมชาติ เพรชวัฒนา” เจ้าของบ้านดาว โด่งที่ผืนตัวเองมาขับมอเตอร์ไซค์รับจ้าง กล่าวว่า

ีเขีย

“คอยรุตตั๊กวา” คงแนวคิด “ธนาคารต้นไม้”

พื้น

ที่ส

โดย การันต์

ในปัจจุบันเราอาจจะเห็นว่าจํานวนผืน ป่าและผืนนาลดลงอย่างน่าใจหาย สวน ทางกั บ ตึ ก รามบ้ า นช่ อ งที่ เ ติ บ โตขึ้ น อย่ า ง รวดเร็ว จนอาจหลงลืมคําว่า “ในน�้ำมีปลา ในนามี ข ้ า ว”ที่ เ ป็ น สมบั ติ ส� ำ นวนบ่ ง บอก ความอุดมสมบูรณ์ในครั้งอดีต แต่ยงั โชคดีทมี่ อี กี หนึง่ ชุมชนยังดึงแนวคิด “ธนาคารต้ น ไม้ ”มาปรั บ ใช้ ใ น“คอยรุตตั๊ กวา”ซึ่ ง เป็ น ชุ ม ชนต้ น แบบตามปรั ญ ชา เศรษฐกิจพอเพียง ถ้ายังจ�ำกันได้เล่มก่อนกระผมเคยเขียน เรื่อง“ธนาคารต้นไม้” โดยหนุ่มใหญ่ “พงศา ชูแนม”ชาวอาํ เภอไชยาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ทํ า หน้ า ที่ เ ป็ น นั ก อนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ ผู ้ ที่ ย�้ ำ แนวคิดการทํางานของตัวเองเสมอว่า

“ป่าไม่สามารถอยู่รอดได้ด้วยการ รักษาป่าทําลายคน แต่ป่าจะอยู่รอ ด้ ว ยการสร้ า งคนให้ มี ค วามเข้ า ใจ และเกิดจิตสํานึกรักป่าเท่านั้น” ต้นแบบ“ธนาคารต้นไม้”ที่เขาขับเคลื่อน แนวคิดมาหลาย 10ปี ที่ทุ่มเททั้งภายและ ใจเพื่อให้เกิดประโยชน์มากมาย คือ พอกิน พออยู่ พอใช้พอร่มเย็น “คอยรุตตั๊กวา” เป็นชุมชนต้นแบบตาม ปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียง อีกหนึ่งชุมชนที่ น�ำแนวคิด “พ่อหลวง” มาเป็นแนวปฏิบัติ ที่ยังมีอยู่ในพื้นที่หนึ่งในกรุ ง เทพมหานคร อี ก หนึ่ ง โครงการที่ ถู ก ใช้ ใ นชุ ม ชนโดยส่ ง เสริมการปลูก ซึ่งคิดง่ายๆคือ การท�ำให้ต้ม ไม้ที่เราจะปลูกมีค่าเป็นตัวเงิน เพราะเงิน เป็นอีกปัจจัยของการใช้ชีวิตปัจจุบัน

ดังนั้น “ธนาคารต้นไม้” อีกหนึ่งชุมชนที่ ท�ำให้ธรรมชาติมีคุณค่าเป็นตัวเงิน เป็นอีก หนึ่งส่วนที่ช่วยประเทศได้และเป็นการใช้ ประโยชน์จากต้นไม้ให้ได้สูงสุดในยุคสมัย ใหม่ ที่นับวันยิ่งแต่จะมีน้อยลงไปทุกวัน ต่อ ไปจุดนี้จะทําให้เราเห็นป่าไม้ต้นไม้มากว่า ตึกรามบ้านช่องที่เป็นอยู่ทุกวันนี้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.