สื่อ สาน สันติ ฉบับที่ 2 | กันยายน 2556 | www.facebook.com/seusarnsanti
เสียงของบ้าน
สื่อสัญจร
“ พหุวัฒนธรรมในเดือนอันประเสริฐ ”
“ ฝันที่เป็นจริง (สนสต.)”
สานสันติ
“ เวทีเสวนากระบวนการสันติภาพปาตานี ”
Seu Sarn Santi | 1
www.facebook.com/SEUSARNSANTI 2 | Seu Sarn Santi
Seu Sarn Santi | 3
06 16 20 24 32 34 36
สานสันติ (Believe) “เวทีเสวนากระบวนการฝันติภาพปาตานี”
ใจนำ�ทาง (Daylight) “ความหมายของเดือนอันประเสริฐ”
เสียงของบ้าน (Sounds of the South) “นักศึกษาพหุวัฒนธรรม”
สื่อสัญจร (On the Way) “ฝันที่เป็นจริง?”
เรียนรู้ (Knowledge) “แนะนวการศึกษา”
ท่องเที่ยว (Check in) “สันติภาพ ประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยว”
คือเรา (We) “ค่ายวินัยกับอิสรภาพทางความคิดรุ่นที่ 6”
ที่ปรึกษา | สามารถ ทองเฝือ, อับดุลรอนิง สือแต, ศรีสมภพ จิตรภิรมย์ศรี, มูหัมมัดตอลาล แกมะ, สุไลมาน เจ๊ะและ บรรณาธิการ | วีรโชติ เพ็งสิงห์ ช่างภาพ | อดุลย์ เฮ็งปียา, อิลฮาม กะแน , ฟาเดล หะยีลาเต๊ะ ศิลปกรรม | ซาบารียะห์ ปอระ, ไซนุรดิน เจ๊ะอาลี, อนีล บือราเฮง จัดทำ�โดย | สมาพันธ์เครือข่ายนักศึกษารักสันติจังหวัดชายแดนภาคใต้ (สนสต.) 112/25 หมู่ 5 ตำ�บทรูสะมิแล อำ�เภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
4 | Seu Sarn Santi
พหุวฒ ั นธรรมเป็นสิง่ ทีเ่ ราทางทีมงานพยายามให้เกิดขึน้ ในฉบับนี้ และในฉบับ ต่อๆไป เมื่อพูดถึงคำ�ๆ นี้กลับทำ�ให้ผมมองไปถึงคำ�ว่า “สันติภาพ” คำ�ที่ตลอดระยะ 6 ปีที่ผ่านมาผมสัมผัสและคุ้นชินกับมันเป็นอย่างดี แม้ว่าสองคำ�นี้จะแตกต่าง แต่จุดเริ่ม ต้นกลับเป็นสิ่งเดียวกัน และผมเชื่อว่าทุกคนก็สามารถที่จะตอบคำ�ถามนั้นได้ดี หากแต่ เพียงคุณจะกล้าพูด จะกล้าตอบ หรือจะกล้าลุกขึ้นมาช่วยกันสรรสร้าง และประคับ ประคองมันไปด้วยกันหรือเปล่า มีความเห็นมากล้น มีคำ�พูดมากมายที่ผมได้เข้าไปฟัง ในเวทีเสวนากระบวนการสันติภาพปาตานี นอกจากบรรยากาศท่ามกลางคำ�ถามและ คำ�ตอบ ผมหันไปมองยังกลุ่มคนที่ไม่ได้มีโอกาสพูด ความรู้สึกของพวกเขาเหล่านั้นต่อ การใช้ชีวิตในพื้นที่ ท่ามกลางบรรยากาศที่แตกต่างไปจากเก่าการรับมือกับสิ่งเหล่านี้ ถือว่าสำ�คัญ และการนำ�ความคิดของพวกเขาเหล่านั้นที่เป็นทั้งคนในพื้นที่ และนอก พื้นที่ เข้ามาประกอบในวารสารฉบับนี้ จึงถือว่าเป็นเรื่องที่ดี หากพูดถึงการแสดงความ คิดเห็นหรือความรูส้ กึ อีกสิง่ ทีผ่ มอยากจะพูดถึงภายในเนือ้ หาของวารสารเล่มนี้ี คือ เรา เป็นวารสารทีเ่ ปิดพืน้ ทีแ่ ห่งการซักกถาม เปิดช่องทางแห่งการแสดงความคิดเห็น เพราะ ฉะนั้นหากใครมีข้อสงสัยหรือต้องทราบข้อมูลต่างๆ หรืออยากเป็นส่วนหนึ่งของการ ทำ�งานภายในวารสาร “สือ่ สาน สันติ” ทางเราก็ยนิ ดีทจี่ ะพูดคุยกัน เพราะเมือ่ ก้าวสูเ่ ล่ม ที่ 2 กิจกรรมต่างๆของทางทีมงานจะเริ่มเด่นชัดขึ้นมากจากที่เราได้ตั้งไว้ เพราะฉะนั้น การทีเ่ ราจะประสบความสำ�เร็จได้ดง่ั เช่นทีเ่ ราหวัง ผมยังคงเชือ่ และยังคงศรัทธาเสมอว่า เหล่านักศึกษาและพวกเราทุกคน คือ ผู้ที่จะกำ�หนดและนำ�พาวารสารเล่มนี้ ไปบนเส้น ทางสันติภาพอย่างเต็มภาคภูมิ. คณะบรรณาธิการ
Seu Sarn Santi | 5
ศ.ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ (นักวิชาการรัฐศาสตร์)
ปัญหาการฆ่าตัวตาย .....ทำ�ไมศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ถึงห้ามการฆ่าตัวตาย ในศาสนาคริสต์ถ้าคุณ ฆ่าตัวตาย พระและศาสนาจะไม่ประกอบพิธี ให้คุณ แปลว่าโอกาสที่คุณจะมีการไถ่บาปใน ชีวิตหน้าเป็นศูนย์ คำ�ถามที่หน้าสนใจเลยก็คือ ว่า... เพราะอะไรการฆ่าตัวตายถึงกลายเป็น
6 | Seu Sarn Santi
ปัญหาแบบนี้ เหตุผลคือการฆ่าตัวตายมันเป็น อาการของการหมดหวัง เวลาศาสนาอิสลาม เห็นว่าการฆ่าตัวตายเป็นบาป มันไม่ใช่ปัญหา ว่าคุณเอาชีวิตตัวเอง แต่มันหมายความว่าการ เอาชีวิตตัวเองเท่ากับการหมดสิ้นซึ่งความหวัง ในพระเมตตาของผู้เป็นเจ้า ซึ่งเป็นแกนสำ�คัญ ของศาสนาอิสลาม ถ้าเป็นอย่างนีก้ ารฆ่าตัวตาย ก็เลยเป็นบาป ถ้ า หลายคนบอกว่ า เกิ ด ปั ญ หาความรุ น แรง ในจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ต่ อ เนื่ อ ง แล้ ว ก็ มี กระบวกการสั น ติ ภ าพ แต่ เราอยากจะเลิ ก กระบวนการสันติภาพ ซึ่งมันก็คือการทอดทิ้ง
ความหวัง ก็ไม่ต่างอะไรกับปัญหาในกรณีการ ฆ่าตัวตาย ในแง่นี้กระบวนการสันติภาพเป็น ขุมทรัพย์แห่งความหวังของการแก้ปัญหาใน พื้นที่ การทำ�งานนี้มันเลยต้องทำ�ต่อไป ปัญหาเรื่องความฝัน .....กระบวนการสันติภาพฝันที่เป็น จริงเป็นยังไง? คิดว่าความฝันน่าสนใจสำ�หรับ การเมืองมาก เหตุผลก็คือว่าในโลกทางการ เมือง สิ่งซึ่งเป็นอุปลักษณ์แทนคำ�ว่าการเมือง หลายคนอาจจะทราบ อุปลักษณ์แปลว่าสิ่งซึ่ง มาแทนการเมือง หรือคำ�ว่า Government รากศัพท์ในภาษาละตินคือ Gubernaculum
สานสันติ Believe
เวทีเสวนากระบวนการสันติภาพปาตานี
“ฝันที่เป็นจริง?”
“จากเวทีเสวนาสู่คำ�ถามที่ว่า ในกระบวนการสันติภาพปัตตานีที่เริ่มดำ�เนินมา แล้ว ตั้งแต่เริ่มมีการเปิดการพูดคุย แต่ละท่านมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับกระบวนการ สันติภาพปาตานี หรือ สถานภาพการพูดคุยในตอนนี้ ?”
ซึ่งแปลว่าหางเสื้อ แปลว่าการเมืองเกี่ยวพันธ์ กับเรือ เรือต้องเดินทางไปในเป้าหมายของตัว เอง เรื่อต้องมีแผนที่ เรื่อต้องมีจุดมุ่งหมาย เรื่อ ต้องมีความฝันจะไปในที่ต่างๆ เวลามนุษย์ออก เดินทางไปค้นหาโลก มันมีความฝันอยู่ว่ามัน จะเจออะไร ฉะนั้นความฝันจึงเป็นตัวไกด์ความ เป็นจริง ความฝันไม่ใช้เป็นตัวหลอกความเป็น จริง ไม่ว่าจะพูดของมุมพุทธวัฒนธรรม ไม่ว่า จะพูดจากมุมของทางศาสนาอิสลาม หรือพูด ในมุมของพฤติกรรมศาสตร์ ความฝันก็เป็นภาพ สะท้อนบางอย่างที่เกิดขึ้น แล้วนำ�ไปสู่สิ่งที่เรา ปรารถนา สิ่งที่จะบอกว่าข้างหน้านั่นคืออะไร
ความฝันสำ�คัญ ในการอธิบายว่าใน ที่สุดจะเป็นยังไง การตั้งโจทย์ว่าฝันที่เป็นจริง? แปลว่ า อะไร มั น คล้ า ยกั บ ว่ า ความฝั น ไม่ น่ า สนใจความฝันมันไม่ดี มันน่าจะอยูบ่ นความเป็น จริงมากกว่า....ซึ่งผมคิดว่ามันไม่จริง การเมือง สิ่งที่เป็นสิ่งสำ�คัญมันก็คือความฝันของสังคมใน การเมืองว่ามันอยากไปไหน เพราะฉะนั้นความ ฝันสำ�คัญพอๆกับความเป็นจริง ในฐานะเป้า หมายและในฐานะของความปรารถนา ความเป็นจริง .....ความขั ด แย้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น และ กระบวนการสันติภาพที่กำ�ลังเป็นอยู่ ในรอบ
ยี่สิบปีที่ผ่านมามีความขัดแย้งมาก ที่เกิดขึ้นทั่ว โลก แต่ในความขัดแย้งร้อยละ 80 จบลงด้วย การเจรจาร้อยละ 40 ของความขัดแย้งทั้งหมด ในโลก ทีก่ �ำ ลังดำ�เนินอยู่ ถ้ากำ�ลังดำ�เนินอยูด่ ว้ ย อาวุธก็อยู่ในช่วงของสันติสนทนา หากใครได้ ศึกษางานของผมจะพบว่าผมแยกระหว่างการ เจราจาสันติภาพกับสันติสนทนา ผลลัพธ์ของ การเจรจาสั น ติ ภ าพคื อ สนธิ สั ญ ญาสั น ติ ภ าพ ผลลั พ ธ์ ข องสั น ติ ส นทนาถ้ า มั น ดี ก็ คื อ ความ ไว้วางใจ คือบรรยากาศที่จะนำ�ไปยังในที่สุด ของสองอย่างไม่ใช่สิ่งเดียวกันร้อยละ 40 ของ กระบวนการต่อสู้ด้วยอาวุธ ของความขัดแย้ง
Seu Sarn Santi | 7
ทัง่ ไปในโลกอยูใ่ นช่วงของสันติสนทนา ในความ ขัดแย้งเหล่านี้ที่เอ่ยร้อยละ 60 มีคนนอกเข้ามา เกี่ยวข้อง ข้อค้นพบอีกอย่างหนึ่งที่ทำ�โดยงาน ของการศึกษาบริษทั แบรนด์คอร์ปอเรชัน่ ตัง้ แต่ 2541-2555 ใน 40 ปีที่ผ่านมานี้ ได้ศึกษากลุ่ม ก่อการร้ายถูกใช้ความรุนแรง 268 กลุ่ม ข้อค้น พบที่สำ�คัญคือ ในการต่อสู้กับ 268 กลุ่มทั่วโลก มีร้อยละ 7 เท่านั้นที่รัฐเอาชนะได้ หรือจัดการ ได้ด้วยความรุนแรง ที่เหลือไม่สามารถเอาชนะ ได้ ในบรรดา 268 กลุ่ม และร้อยละ 43 ใน ที่สุดแปลการกลับมาเป็นพรรคการเมือง หรือ กลุ่มการเมืองที่ต่อสู้ในกระบวนการทางการ เมืองปกติ ข้อเท็จจริงเหล่านี้มันน่าสนใจที่จะ ตั้งคำ�ถามว่า... ถ้าไม่สนทนาสันติภาพต่อไปจะ เป็นยังไง? สิ่งนี้ไม่ได้พูดจากความฝัน ตอนนี้ กำ�ลังพูดกับข้อเท็จจริง ตอนแรกพูดว่าความ ฝั น สำ � คั ญ ใช่ . ..แต่ ต้ อ งอยู่ บ นความเป็ น จริ ง ด้วยเหมือนกัน ความเป็นจริงคือข้อมูลเหล่า นี้ ส่วนร้อยละ 43 ที่ได้กล่าวนี้เข้ามาร่วมใน กระบวนการสันติภาพ ส่วนใหญ่เป็นกรณีของ ความขัดแย้ง ที่มีคนมีส่วนร่วมเป็นพันคนขึ้น ไป แปลว่ากลุ่มก่อการร้ายมีหลายชนิด กลุ่ม ใช้ความรุนแรงมีหลายชนิด บางกลุ่มเป็นกลุ่ม เล็กกลุ่มน้อย แต่กลุ่มที่มีคนร่วมอย่างพันคน ขึ้นไป พวกนี้สนใจที่จะแปลงตัวเข้ามาแทนตัว ในรัฐ กลายเป็นกลุ่มการเมืองที่จะทำ�งานใน กระบวนการทางการเมืองปกติ คำ�ถามก็คือ ระบอบการเมื อ งที่ มี อ ยู่ เ ปิ ด โอกาสทำ � นองนี้ หรือไม่ ซึ่งนี้คือข้อเท็จจริงอย่างหนึ่ง ข้อเท็จ จริงข้อสองคืออายุ ความขัดแย้งทุกประเภทมี วงจรชีวิตของมัน ความขัดแย้งกรณีใดๆบ้างใน โลกนี้ที่แก้ยาก อย่างเช่นกรณีปาเลสไตน์มีอายุ 96 ปี ถ้านับจากข้อตกลงเดิมก่อน แคสเมียร์ อายุอย่างน้อยตั้งแต่การแยกอนุทวีปออกเป็น 2 ประเภท 63 ปี เพราะอะไรมันถึงยาวขนาดนี้ มันเกี่ยวกับเรื่องของอะไร นอกจากความมั่นคง ของชาติแล้ว เรื่องทั้งหมดมันเกิดกับดินแดน มันเกีย่ วกับผูค้ น มันเกีย่ วกับอัตลักษณ์ มันเกีย่ ว กับสิง่ ทีเ่ รียกว่า พืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ ในเมือ่ มันมีวงจร ชีวิตเช่นนี้ ในความขัดแย้งของจังหวัดชายแดน 8 | Seu Sarn Santi
ภาคใต้ของไทย ชีวิตมันเป็นยังไง วงจรชีวิตมัน เป็นยังไง มันยาวแค่ไหน บางคนบอกย้อนไป ตั้งแต่สมัยราชกาลที่ 1 ก็ได้ บางคนบอกราช กาลที่ 5 ก็ได้ บอกคนบอก 40 ปีที่แล้วก็ได้ ที่ แน่ๆคือคิดจาก 4 มกราคม พ.ศ. 2547 ไม่ได้ ข้อเท็จจริงประการสุดท้ายก็คือ ความขัดแย้ง ทั้งหลายในสุดท้ายนำ�มาสู่การเจรจา แต่ในการ สนทนาหรือการเจราทั้งหลาย เราพบว่าร้อย ละ 40 ของการพูดคุยกันมีอุปสรรค์ อุปสรรค์ Peace dialogue ของทั้งหมดในโลกนี้ เท่าที่ เห็นถึงตอนนี้มาถึงพฤจิกายน 2555 อุปสรรค
พื้นที่ข้อเสนอในเรื่องการถอนกำ�ลังทหารนั้นมี มานานแล้ว ผลคือช่องว่างของความเห็นด้วย ในสังคมไทยมันห่างออกจากันเยอะ ประการที่ 3 ความไม่ไว้วางใจที่มีต่อคนกลาง ประการที่ 4 ที่เป็นอุปสรรค์คือ การแปลงความ ขัดแย้งให้เป็นการทหารมากขึน้ ใช้ก�ำ ลังมากขึน้ จากทั้งสองฝ่าย มันก็ยิ่งจะทำ�ให้โอกาสของการ สันติสนทนาลดลง ประการที่ 5 ข้อเรียกร้องให้ยุติความรุนแรง โดยสิ้นเชิง ผมทำ�งานด้วยสันติวิธี ผมไม่ใช่นัก วิชาการสันติวิธี ผมเป็นนักวิชาการรัฐศาสตร์
“กระบวนการสันติภาพเป็นขุมทรัพย์ แห่งความหวัง ของการแก้ปัญหาในพื้นที่ การทำ�งานนี้มันเลยต้องทำ�ต่อไป”
ทั้งหลายมีตัวแปลอย่างน้อย 40 ตัว ที่อธิบาย ว่าทำ�ไมทฤษฎีนี้จะไม่ประสบความสำ�เร็จ ใน 40 ตัว ซึ่งจะยกมาแค่ 5 ประการ ประการที่ 1 มีความแตกแยกของกลุ่มผู้ติด อาวุธ แปลว่าเอกภาพของการพูดคุยของฝ่าย ต่างๆเป็นสิ่งที่สำ�คัญ แม้แต่ในฝั่งของรัฐบาล ไทยก็ยังไม่แน่ว่ามีเอกภาพหรือไม่และนี้ก็เป็น ปัญหาของอุปสรรค์ในเรื่องนี้ ประการที่ 2 มีความเห็นต่างในประเด็นข้อ ตกลงร่วมเยอะมากซึ่งนี้ก็เป็นอุปสรรค์อีกอย่าง หนึ่ง ข้อเสนอครั้งสุดท้ายที่ บีอาร์เอ็น(BRN) เสนอมาขอให้กองทัพภาคที่ 1-3 กลับที่ตั้ง ขอ ให้กองทัพภาคที่ 4 กลับภูมิลำ�เนาในที่ตั้ง ใน มุมของทหารในมุมของสังคมไทยส่วนใหญ่ คิด ว่าทำ�ได้เหรอ? แต่ในมุมของความต้องการใน
ที่กำ�ลังศึกษาในเรื่องนี้ และข้อเท็จจริงที่พบคือ ข้อเรียกร้องให้ยุติความรุนแรงโดยสิ้นเชิงกลับ เป็นอุปสรรค์ของ Peace dialogue ที่จะต้อง ชี้แจงด้วย ทั้งหมดนี้เป็นข้อเท็จจริงที่จะต้องคิดก่อน ที่จะพูดว่า..แล้วจะทำ�ยังไงต่อไป การเอียงเข้าหา .....ศาสนาอิ ส ลามมี แนวทางหลาย อย่ า งที่ ห น้ า สนใจ ยกตั ว อย่ า งเช่ น ทุ ก วั น ที่ มุสลิมละหมาด เมื่อละหมาดเสร็จสิ่งที่เราทำ�ก็ คือการให้สลามโดยการเอียงไปด้านขวา แล้ว เอียงไปด้านซ้าย เคยสงสัยไหมว่าทำ�ไหมถึงต้อง เอียง? หรืออิสลามสอนอะไรในเรื่องนี้ ซึ่งคำ� ตอบก็มอี ยูใ่ นคัมภีรอ์ ลั กุรอ่านในซูเราะฮฺอลั -อัน ฟาล อายะฮฺที่ 61
ความหมายและถ้าพวกเขาเอียงเข้าหาสันติภาพ สูเจ้าก็ทรงทำ�เช่นเดียวกัน(เอียงเข้าหา) ละวางใจในเอกอง ค์อัลลอฮฺ สิง่ นีค้ อื คำ�สอนในคัมภีรอ์ ลั กุรอ่านของศาสนาอิสลาม ซึง่ แปลว่าบทบาทการคิดในศาสนาอิสลามถ้ามองจากมุมใน อัลกุรอ่าน เอาแค่อายะฮฺเดียวที่ได้กล่าวมานี้ แล้วสิ่งที่เราทำ�ในวิถีชีวิตของเรา คล้ายๆกับมันส่องบอกเราว่า เวลามีปรากฏ การเปลี่ยนแปลง เช่น กระบวนการสันติภาพ คนที่อยู่ในโลกอาหรับโลกมุสลิมควรจะมีปฏิกิริยากับมันยังไง ทั้งฝ่ายที่ถืออวุธ และไม่ถืออวุธ เพราะนี้เป็นคำ�สั่งของอัลลอฮฺ แปลว่าต้องให้โอกาสสันติสนทนานี้ เพื่อเดินไปตามความฝัน และเป็นฝันบน ฐานของความเป็นจริง ไม่ใช่นึกเอาว่าทำ�อย่างนี้แล้วก็จะเกิดผลดีขึ้นมา ไม่ใช่เข้าใจเอาว่านั่งคุยกันแล้วทุกอย่างจะดีขึ้น ผม พูดหลายครั้งว่าทุกแห่งเวลามีการสันติสนทนาเกิดขึ้น สิ่งที่ตามมาคือความรุนแรง สิ่งนี้คือพลวัตของความขัดแย้งที่เกิด เพ ระฉะนั้นความฝันที่เป็นจริงเลยสำ�คัญ ต้องอาศัยทั้งความฝันและความเป็นจริง จึงจะขับเคลื่อนกระบวนการสันติภาพได้ ถ้า ไม่ทำ�เช่นนี้เราไม่สามารถจะไปได้ถึงดวงดาวซึ่งเป็นภารระกิจของการเมืองที่เราอาจเห็นได.้ Seu Sarn Santi | 9
ผศ.ดร.สุรัตน์ โหราชัยกุล (นักวิชาการรัฐศาสตร์)
.....ผมคิ ด ว่ า มั น ไม่ มี ก ระบวนการ สันติภาพไหนที่มันง่าย หรืออีกอย่างหนึ่ง คำ�ว่า กระบวนการสันติภาพมันก็บอกอยู่แล้วว่ามัน ไม่ใช่จุดจบในตัวมันเอง มันเป็นกระบวนการ มันต้องใช้เวลาคุยครั้งนี้ไม่รู้เรื่องก็ต้องมีการคุย กันต่อไปเรื่อยๆ ประเด็นที่ผมคิดว่าสำ�คัญมากๆ ผม ไม่อยากจะให้เรามองเรื่องสามจังหวัดชายแดน 10 | Seu Sarn Santi
ภาคใต้ เป็นแค่สิ่งที่มันเกิดขึ้นกับรัฐไทยอย่าง เดียว ในโลกนี้ยังมีความขัดแย้งค่อนข้างเยอะ มาก ในปัจจุบันมีความขัดแย้งหลากหลายมาก เปลี่ยนแปลงกันไปเยอะมาก แม้จะไม่ใช่ในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้กย็ งั มีความขัดแย้งอย่าง ที่เราเห็นกันอยู่ในทีวีวันนี้ ไม่ว่าจะเป็นเสื้อแดง เสื้อเหลือง เป็นสำ�นักอิสระเล็กๆน้อยๆคิดต่อ ต้านกระบวนการโลกาภิวัตน์ คำ�ถามที่พวกเรา มักจะถามว่า... เราจะเอาเรื่องสามจังหวัดภาค ใต้ไปใส่ในภาพใหญ่ของการเปลี่ยนแปลงโลก นี้ได้ยังไงด้วย... การเปลี่ยนแปลงโลกมันได้นำ� มาสู่ ป ระเด็ น ปั ญ หาหลายๆอย่ า งพอสมควร แล้ว สามจัง หวั ด ชายแดนภาคใต้ มัน จะไปอยู่
ตรงไหน มันเป็นแบบไหน ยังไง ผมทำ�วิจัยกับ อาจารย์ไพริน เรื่อง “ Arab Spring ” และมุม มองความมันคงของมนุษย์ สิง่ ทีเ่ ราเริม่ ทำ�กันมา พักหนึ่งเมื่อได้ถามจากหลายๆคน เราก็คิดว่า ความมั่นคงมันก็เปลี่ยนไป รัฐบางทีก็อยากจะ ยืนบนความมัน่ คงแบบเดิม ในขณะทีป่ ระชาชน อาจจะมีมิติความมั่นคงแบบใหม่ ความมั่นคง ศึกษา ถ้าสมมติลองย้อนกลับไปดูในสมัยก่อน โดยเฉพาะบริ บ ทของสงครามเอง แม้ แ ต่ รั ฐ ไทยเราก็บ่มวัฒนธรรมแบบนี้มาพอสมควร ก็ คือเราเชื่อว่ารัฐคือทุกสิ่งทุกอย่างที่ทุกคนต้อง ยอมเสียสละเพื่อจะให้ตรงนี้มันอยู่ได้ อันนี้มัน ก็ค่อนข้างชัด ในสมัยสงครามเย็นยิ่งมีขั้วแบ่ง
สานสันติ Believe กันอย่างชัดเจน แต่มาในภายหลังโดยฉะเพราะ ก่อนสงครามเย็นจะจบลงมันก็มีการตั้งคำ�ถาม ขึ้นมาว่า...รัฐอยู่รอดได้นะ แล้วประชาชนอยู่ ได้รึเปล่า มีข้าวกินสามมื้อไหม มีสิทธิเสรีภาพ ไหม เลยมีนักวิชาการกลุ่มหนึ่งเสนอว่าจริงๆ แล้วไม่ควรจะเอารัฐเป็นตัวตั้ง แต่น่าจะเอา ปัจเจกเป็นตัวตั้ง ว่าเราจะปกป้องปัจเจกนั้นได้ อย่างไร ซึ่งเราก็ใช้คำ�ว่าความมั่นคงของมนุษย์ ถามว่าสองอันนี้ถ้าไปดูในตำ�ราดูในหนังสือมัน ก็ดูเหมือนจะขัดแย้งกัน แต่ในความเป็นจริงมี นักวิชาการหลายคนยอมรับด้วยว่าสองอันนี้ มันอาจจะต้องไปด้วยกันด้วยก็ได้ มันอาจจะ ไม่จำ�เป็นต้องขัดกัน แต่บางครั้งการปกป้องรัฐ อาจจะหมายถึงไม่ปกป้องปัจเจก และยอมเสีย สละให้ ปั จ เจกนั้ น ต้ อ งศู น ย์ เ สี ย สิ ท ธิ ห รื อ ชี วิ ต ความมั่นคงทางเศรษฐ์กิจ ความมั่นคงทางสิ่ง แวดล้อม ความมั่นคงทางส่วนบุคคล ความ มั่นคงในหลายๆอย่างนั้นอยู่ตรงไหน ผมคิดว่า เป็นประเด็นปัญหาสำ�คัญมาก ถึงแม้มันจะมี ความขัดแย้งในหลายเรื่องหลายอย่างมาเป็น เวลานาน แต่ในรอบยี่สิบกว่าปีถึงสามสิบปีที่ ผ่านมาเราก็เห็นด้วยเหมือนกันว่ามันมีองค์ประ กอบใหม่ๆที่ถูกใส่เข้าไปในความขัดแย้งด้วย เหมือนกัน ถ้าเราเอาจากเรื่องความมั่นคงอิสระ แล้วลองมาศึกษาเรื่องรัฐไทยดู อย่างปัจจุบัน เราพยายามจะเข้ า ใจรั ฐ ไทยว่ า มี มิ ติ ก ารมอง ความมั่นคงแบบไหน ประเด็นหนึ่งที่สำ�คัญมาก คือการขยายอิทธิพลของจีนในเอเชียอาคเนย์ และการเข้ามาพยายามบั่นทอนไม่ให้จีนขยาย อิทธิพลด้านของสหรัฐในเอเชียอาคเนย์ รวม ถึงประเด็นทะเลจีนใต้ด้วย คำ�ถามสำ�คัญเลย ก็คือว่า ทหารไทยอยู่ฝั่งไหนอยู่ฝั่งสหรัฐ หรือ อยู่ ฝั่ ง จี น นั ก วิ ช าการส่ ว นใหญ่ ค งตอบเป็ น เสียงเดียวกันว่าฝั่งสหรัฐ แต่รัฐบาลจะไม่ใช่ เพราะฉะนั่นตรงนี้มันก็ชี้ให้เห็นอย่างหนึ่งแล้ว ว่ารัฐไทยไม่มีเอกภาพ รัฐไทยตอนนี้มันก็ไม่ได้ เหมือนเดิม วิถีคิดไม่มีเอกภาพที่ชัดเจน ว่าจะ เอายังไงแบบไหน เพราะฉะนั้นใครเสนอมาก็ มักจะมีความขัดแย้งกัน นี้ก็เป็นประเด็นปัญหา สำ�คัญ
การด่ารัฐไทยว่ารัฐไทยไม่ดีเราได้ยิน มาเยอะมาก ผมก็เห็นด้วยในหลายเรื่องว่าบาง สิ่งบางอย่างก็ไม่ครบถ้วน แต่ผมอยากให้ลอง ชวนให้มองรัฐไทยในแง่ดีด้วยเหมือนกัน ถ้า มองในแง่ร้ายอย่างเดียวมันก็ไม่ถูกต้องหมด ใน แง่หนึ่งรัฐไทยมันก็ไม่ได้แย่ มันยืดหยุ่นในหลาย เรื่องพอสมควร รัฐไทยมีความใจกว้างหลาย เรื่อง และมีวิถีการเจรจาการแก้ไขปัญหาความ ขัดแย้งที่มีเอกลักษณ์ด้วย อะไรคือส่วนที่ทำ�ให้ความขัดแย้งใน วัน นี้ยังไม่ส ามารถแก้ ไขกั น ได้ กระบวนการ ทำ�ไมมันยังไม่ไปกันได้ ไม่ใช่ไปมองแค่หน่วย ความมั่นคง หรือหน่วยรัฐเพียงอย่างเดียว ไม่ใช่ ไปมองอีกแค่ฝ่ายหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่ต้อง มองว่าพวกเราทั้งหมดไม่มีส่วนร่วมพอรึเปล่า ที่จะทำ�ให้สันติภาพเกิดขึ้นได้ เราจะทำ�ยังไงได้ มากกว่านี้ เพราะฉะนั้นไม่ประสบความสำ�เร็จ แต่คำ�ว่ากระบวนการสั น ติ ภ าพจะไปบอกว่ า ประสบความสำ�เร็จหรือไม่ประสบความสำ�เร็จ มันจะต้องใช้เวลา มันเป็นเรื่องยุ่ง เพราะว่า ปัจจัยที่มันไปทำ�ให้เกิดความสำ�เร็จหรือการไม่ ประสบความสำ�เร็จหลายเรื่อง ถึงแม้มันจะมี หนังสือออกมามากมายเพื่อสร้างความรู้ให้กับ เราเยอะแยะมากมาย แต่ในความเป็นจริงมัน ยังวุ่นวายหลายอย่าง เราก็ยังหาไม่เจอหลาย ปัจจัยสำ�คัญ องค์ประกอบสำ�คัญที่มันจะพาไป ข้างหน้าได้ ในวงการวิชาความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ สมัยก่อนเรียนหนังสือมันง่าย อาจารย์ สอนง่ายเพราะมันมีอยู่สองพวก แล้วถ้าใคร
ก็ตามคิดไม่เหมือนพวกอเมริกาเราก็เขี่ยมันทิ้ง ให้ไปอยู่อีกมุมหนึ่งเป็นพื้นที่ของมันไป มาวันนี้ มันไม่ใช่ แต่ถูกมันทำ�ให้เกิดความสลับสับซ้อน ในหลายมิติหลายอย่างหลายด้าน คงมีคนตั้ง คำ�ถามมาว่า อัตลักษณ์ของฉันอยู่ไหน ฉันเป็น ใคร? แล้วระบบการเมืองที่มีอยู่ในปัจจุบัน มัน ตอบคำ�ถามพวกนี้ได้ไหม ในหน่วยงานความมั่นคงของไทยก็มี หลายมิติ ถึงแม้เค้าออกมาแล้ว เค้าจะพูดกัน เป็นเสียงเดียวกันตามผู้บังคับบัญชา แต่หลาย คนก็ ม าวิ ถี คิ ด ที่ ห ลากหลายการอ่ า น การรู้ ประสบการณ์ของหลายคน ก็มีความแตกต่าง กันมาก ฉะนั้นความแตกต่างมันคงไม่ใช่ข้อเสีย เพียงแต่วา่ เราจะคิดยังไง ฟังยังไง เราจะเอาเหตุ และผลเข้ามายังไง ผมอยากฝากให้ ทุ ก คนเปิ ด ใจให้ กว้างกันดีกว่า ที่จะบอกว่ามันมีอะไรดีๆ อะไร ใหม่ๆไหม มีวิถีคิดอะไรบ้าง หลายคนที่มอง เรื่องประชาคมของเศรษฐกิจอาเซียนเรื่องของ อะไรหลายอย่ า ง บอกได้ เ ลยว่ า สามจั ง หวั ด ภาคใต้คือทรัพยากรสำ�คัญ สามารถเชื่อมกับ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เชื่อมในเรื่องของการค้า การพาณิชย์อะไรได้อีกเยอะแยะมากมาย ไม่ใช่ เป็ น ภั ย สงครามความหลากหลายไม่ ใช่ เ ป็ น ภั ย คุ ก คราม ความหลากหลายเป็นสิ่งที่ต้อง สามารถอยู่รวมกันได้ เพียงแต่ว่าจะอยู่ร่วมกัน ยังไง ระบบการจัดการต้องดี มีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล มีพื้นที่ให้คนสามารถนำ�พาอัต ลักษณ์ของตนออกมาได้ค่อนข้างเยอะ.
“ผมคิดว่ามันไม่มีกระบวนการสันติภาพ ไหนที่มันง่ายหรืออีกอย่างหนึ่งคำ�ว่า กระบวนการสันติภาพ มันก็บอกอยู่แล้วว่า มันไม่ใช่จุดจบในตัวมันเอง” Seu Sarn Santi | 11
ดร.อับดุลรอนิง สือแต
(อาจารย์ประจำ�ภาคตะวันออกกลางศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามศึกษา / นักวิชาการอิสลามศึกษา)
บิสมิลลาห์ฮิรเราะห์มานนิรรอฮีมอัลฮัมดูลิลาห์ฮิรรอบบิลอาลา มีน วาบีอีนัสตาอีน วาลาเฮาลาวาลากูวาตาอิลลาห์บิลลาห์ฮิลอาลีมนิลอา ซีมอัสลามูอาลัยกูมวาเราะห์มาตุลลอฮฺฮีวาบารอกาตุฮฺ ขอสวัสดีให้กับบรรดาผู้ที่เข้าร่วมเสวนาในครั้งนี้นะครับ ซึ่งใน ฐานะที่เป็นน้องสุดบนเวที แล้วก็ด้วยความเคารพบรรดาอาจารย์ที่พูดมา ก่อนทั้ง 2 ท่าน นะครับ ที่ติดตามงานของพวกท่าน แล้วก็ได้รับฟังมาโดย ตลอดในสือ่ ต่างๆ ผมซึง่ ในฐานะทีเ่ ป็นเจ้าบ้านทีท่ �ำ หน้าที่ ในการทีจ่ ะแสดง ความคิดเห็นบางส่วน โดยเฉพาะในเรื่องของที่เป็นปรากฏการณ์ใหม่ของ คนในพื้นที่ แล้วก็ผมคิดว่าเป็นปรากฏการณ์ใหม่ของประเทศไทยด้วย นั่น ก็คือ ในเรื่องของการที่ BRN และ รัฐไทยนั้น ได้เริ่มต้นของการพูดคุยใน เรื่องที่จะก้าวไปสู่กระบวนการที่จะเจรจาในอันดับต่อไป ซึ่งเป็นความหวัง ของคนในพื้นที่ และ น่าจะเป็นความหวังร่วมกันของประเทศไทยเราด้วย ในการที่จะแก้ปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้มันมีสันติภาพที่ถาวร เพราะฉะนั้นตัวนี้ผมจึงมองว่าเรื่องของสันติภาพวันนี้ ที่จริงแล้ว มันถูกปรับเปลี่ยนไปสู่มือของประชาชนมากขึ้น ไปสู่การรับรู้ของชนชั้น ต่างๆ ในสังคมมากขึ้น มันไม่ได้มีเพียงแต่รัฐไทย แล้วก็มีแต่ฝ่าย BRN เท่านั้น ที่ทำ�หน้าที่เป็นตัวแสดงที่สำ�คัญ แต่ว่าหลายๆ ภาคส่วนนั้นได้พูด ถึงประเด็นเรื่องเหล่านี้ และสิ่งต่างๆ เหล่านี้ ผมคิดว่าเป็นเรื่องที่ทุกคนที่ อยู่ในประเทศไทยและสื่อในต่างประเทศนั้นได้ให้ความสนใจ เพราะฉะนั้น ถ้าหากว่าเราใช้ตัวนี้เป็นหลักคิด ผมจึงมองว่า เรื่องตรงนี้ เรื่องของการ เจรจาสันติภาพ จึงเป็นโอกาสที่สำ�คัญในการที่รัฐไทยนั้นจะเรียนรู้ร่วมกัน สร้างประสบการณ์ร่วมกันในการที่จะก้าวพ้นสิ่งที่เป็นปัญหาของประเทศ ด้วยกัน เพราะว่าปัญหา ทุกฝ่ายนั้นยอมรับว่าการแก้ปัญหาในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้นนั้ ไม่สามารถทีจ่ ะแก้โดยรัฐบาลหรือว่าโดยรัฐไทย โดยใช้ กำ�ลังทหารหรือว่าตำ�รวจอย่างเดียว ไม่มีทาง เพราะว่าถ้าแก้ได้ ป่านี้ก็คง ไม่มีการก่อการ ไม่มีคนที่ลุกขึ้นมาเพื่อที่จะต่อต้านการปกครองของรัฐไทย ได้ ที่นี้เราพบเห็นว่า ทุกคนสรุปเหมือนกันว่า ไม่มีทาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สิง่ ทีท่ า่ น ศ.ดร.ชัยวัฒน์สถาอานันท์ ได้กล่าวตรงนี้ ก็คอื ว่า ในหลายๆ ความ ขัดแย้งนั้น มีน้อยมาก ในความขัดแย้งที่ถูกสิ้นสุดโดยการใช้กำ�ลังทางการ ทหาร ซึ่งการสิ้นสุดโดยการใช้กำ�ลังทางการทหารนั้น คือ สันติภาพที่ไม่ ถาวร รอเวลาที่มันนั้นจะผลุดขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง ตรงนี้เองจึงทำ�ให้เห็นว่า ถ้าอย่างนั้น สันติภาพมันจะเกิดขึ้นได้ คือ ทุกๆ ฝ่ายที่อยู่ในสังคมนั้นต้อง ลุกขึ้นมาแล้วก็ร่วมมือร่วมใจในการที่จะสร้างมันขึ้นมา
12 | Seu Sarn Santi
“ อย่าให้การพูดค การที่จะยืน เป็นภาระของพว
สานสันติ Believe
คุยครั้งนี้มันล้มไป นหยัดอยู่ได้ วกเราทุกๆ คน ”
Seu Sarn Santi | 13
เพราะฉะนั้ น ตรงนี้ ผมจึ ง มองว่ า การเจรจาสั น ติ ภ าพในครั้ ง นี้ เป็ น ห้ อ งเรี ย น ใหญ่ ข องประเทศไทย เป็ น ห้ อ งเรี ย นใหญ่ ของประเทศไทย ที่ ทุ ก ๆ ฝ่ า ยนั้ น นั่ ง เรี ย น ด้วยกัน และ เราก็เรียนรู้ประสบการณ์ สร้าง ประสบการณ์ด้วยกัน สิ่งที่คุณไม่เคยได้ยินได้ ฟังมาก่อนเลย ตรงนี้เราจะพบว่า เราได้ยินได้ ฟัง คำ�บางคำ�ที่เมื่อคุณพูดเมื่อ 10 ปีที่แล้ว เป็น คำ�ที่คุณไม่กล้าจะพูด แม้แต่คำ�ว่า BRN เอง เรา ไม่กล้าที่จะพูด ขนาดที่เราเป็นคนที่อยู่ในพื้นที่ ตรงนี้ ในที่สาธารณะ ไม่ต้องพูดถึงละคับ เรื่อง ของการแบ่งแยก เรื่องของ Autonomy เรื่อง สิ่งต่างๆ เหล่านี้ เขตปกครองตัวเอง เราไม่กล้า ที่จะพูด ถ้าหากว่าเป็นเมื่อก่อนเหตุการณ์ในปี 2547 เราไม่กล้าพูดถึงเหตุการณ์เหล่านี้ เป็นคำ� ที่รู้สึกว่า ถ้าหากว่าเราพูดไปแล้ว เราจะถูกเพ็ง เล็งจากฝ่ายของรัฐ นี่คือความเป็นจริงสำ�หรับ คนในพื้นที่ แต่ว่าในวันนี้ เราพบว่า ประเด็น ต่างๆ เหล่านี้ มันถูกพูดกันในสังคม กระจายไป ทั่วทุกๆ พื้นที่ เพราะฉะนั้นสิ่งเหล่านี้ เราจะพบ ว่าประสบการณ์ของประเทศไทยเรานั้นกำ�ลัง เพิ่มขึ้น กำ�ลังเปิดใจในการที่จะรับรู้ในเรื่องของ ประเด็นปัญหาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในสภาพที่เป็นจริง เพราะฉะนั้ น ผมจึ ง พบว่ า ขณะที่ ทั้ ง 2 ฝ่าย กำ�ลังพูดจากัน ฝ่ายของ BRN และ รัฐ ไทย นั้น มันจึงเหมือนกับว่า ที่ท่านอาจารย์ ศ.ดร.ชัยวัฒน์สถาอานันท์ ได้บอกว่า เป็นสันติ สนทนา ผมบอกว่านั่นคือการ Dialog แบบ ที่ว่า Dialog กับคนทั้งประเทศ ซึ่งผมมองว่า การที่ออกมานำ�เสนอของฝ่าย BRN เองนั้น พยายามที่จะบอกถึงตัวตนของเขา การมีอยู่ ของเขา การปรากฏสิ่งต่างๆ ที่เคยมีอยู่ เพราะ ฉะนั้นคำ�ที่ใช้ในบางคำ�นั้น มันจึงสื่อให้เห็นว่า สิ่งเหล่านี้คือความรู้สึกของเขาที่มีมาตลอด ซึ่ง รัฐไทยไม่เคยรับฟัง ซึ่งประชาชนชาวไทยไม่ เคยได้ยินสิ่งต่างๆ เหล่านี้มาก่อน เพราะฉะนั้น จึงรู้สึกว่าอาการที่ช๊อคมันเกิดขึ้น บางคนคิดว่า ไอ้แขกสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นคนนอก พื้นที่ที่เข้ามาอยู่พึ่งประเทศไทย แต่ในความ
14 | Seu Sarn Santi
เป็นจริงทางประวัติศาสตร์มีสักเท่าไร มีกี่มาก น้อยที่ศึกษาความเป็นจริงว่าผู้คนในพื้นที่ตรงนี้ อยู่ตรงนี้มาระยะเวลาเป็นพันปี น้อยมากครับ เพราะฉะนั้น เขาถึงรู้สึกว่านี่คือแขก นี่คือความ อัดอั้นตันใจของคนที่เขาก่อการ เขาต้องการ โอกาสที่เขาจะพูด Dialog นี่เขาก็นำ�เสนอในที่ เขาอยากจะสื่อกับคนไทย เพราะฉะนั้นผมมอง ว่า สิ่งที่เขากำ�ลังพูด สิ่งที่เขากำ�ลังบอกคุณ ข้อ เรียกร้องต่างๆ นั้น เขากำ�ลังสื่อกับประชาชน ชาวไทย เขากำ�ลังสื่อกับรัฐบาลไทย เขากำ�ลัง สื่อกับประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เขากำ�ลังสื่อกับกลุ่มแนวร่วมของเขา เขากำ�ลัง สื่อกับโลกทั้งหมด เพราะฉะนั้นในบางครั้งเรา ไม่สามารถที่ จ ะรวบเป็ น กลุ่ มเดี ย วกั น ได้ ถ้ า
ต่างๆ เหล่านี้ ได้ถูกนำ�มาวิเคราะห์ไปในอีกด้าน หนึ่ง คือ วิเคราะห์ในสิ่งที่คุณรับไม่ได้ วิเคราะห์ ในแง่ของความมั่นคง ที่มองว่าถ้าหากว่าปล่อย สิ่งเหล่านี้ กระจายออกไปในทั่วสังคมนั้น ความ มั่นคงของรัฐอยู่ไม่ได้ อย่างนี้ก็จะพบว่า คุณก็ จะเกิดอาการที่หนัก ต่อต้านกับสิ่งต่างๆ ที่เกิด ขึ้น ที่ประชาชนนั้น เห็นด้วยหรือว่าไม่เห็นด้วย นี้มันอีกประเด็นหนึ่ง แต่สิ่งเราที่ต้องการตรงนี้ ก็คอื สิง่ ทีเ่ ราพบในกระบวนการเจรจาสันติภาพ ในวันนี้ก็คือว่า เขาอยากเห็นอะไร เขาอยากได้ อะไร ซึ่งหลายๆ ครั้ง ในการทำ�วิจัยของคนทั้ง ในพื้นเอง หรือ คนจากข้างนอกที่พยายามที่จะ สอบถามคนในพื้นที่ว่า จริงๆ แล้ว คนในสาม จังหวัดนี้ต้องการอะไร
“สันติภาพวันนี้ อยู่ในมือของพวกท่าน เพราะว่ามันไม่เกิดขึ้นโดยการที่ปล่อยให ที่ไม่รู้เมื่อไร แต่เราต้องช่วยก หากคุณรวบเป็นกลุ่มเดียวกันแหละ คุณจะพบ ว่า การวิเคราะห์กัน สิ่งข้อเสนอของเขาจะเฉ ไปจากประเด็นทันที เพราะฉะนั้นสิ่ง ข้อเสนอ ถ้ า เราพิ จ ารณาโดยรายละเอี ย ดของมั น โดย ละเอียด โดยที่ไม่มีใจอคติ เราจะพบว่า มันบ่ง บอก มันเป็นสิ่งที่ให้เห็นว่าเขาต้องการอะไร ในบางสิ่งบางอย่างเราสามารถที่จะ รับรู้ได้ว่า คนในพื้นที่ต้องการอะไร โดยที่ BRN นั้น กำ�ลังหยิบยกสิ่งที่คนในพื้นที่ต้องการนั้น มาเป็นสิ่งที่เขากำ�ลังบ่งบอกว่าเขาคือตัวแทน ของคนในพื้นที่ เพราะฉะนั้นนี่คือการเรียนรู้ ด้วยกันของพวกเรา ซึ่งเป็นประชาชนชาวไทย การเรียนรูด้ ว้ ยกันว่า ทำ�ไมมันเกิดปัญหาในสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ถ้าหากว่าประเด็น
เพราะฉะนั้นผมจึงมองว่าการเจรจา ในครั้งนี้นั้น การเปิดการสนทนาระหว่างฝ่าย BRN กับ รัฐไทย ในครั้งนี้ จึงเป็นโอกาสที่สำ�คัญ นะครับ ที่เราซึ่งเป็นประชาชนชาวไทยนั้นได้ ฟัง แล้วก็ได้เห็นจากตัวตนของเขาว่า จริงๆ เขาอยากเห็นอะไรและเขาอยากเป็นอะไร แล้ว ก็จุดต่างๆ เราคงเข้าใจได้นะครับว่า ในบางสิ่ง บางอย่างนั้น ไม่สามารถที่จะกระทำ�ได้ นั่นคือ การต่อรอง นั่นคือการที่เราจะต้องฟังต่อ และ เขาก็ ต้ อ งฟั ง ในฐานะของประชาชนชาวไทย ว่า ประชาชนชาวไทยนั้นรับรู้แล้วก็ฟังแล้วใน สิ่งเขาสื่อกับประชาชนชาวไทยนั้น มีความคิด เห็นที่แตกต่างอย่างไร เขาก็ต้องเปิดใจรับฟัง ในส่วนต่างๆ เหล่านี้ เพราะฉะนั้นตรงนี้เองผม
สานสันติ Believe จึงมองว่า โอกาสตรงนี้ พวกเราต้องหยิบและ ต้องคว้าเอาไว้ อย่าปล่อยให้โอกาสครั้งนี้มัน จบสิ้น เอาไปโดยที่เรากลับย้อนกลับไปสู่ในยุค ที่ ต่างคนต่างมีความรู้สึกว่า ไม่รู้ว่าใครเป็นใคร ที่อยู่ในสังคมนี้ เพราะนี้คือเวลาที่พวกเราจะมี โอกาสในการเปิดพื้นที่ของพวกเรา เพื่อที่จะ นำ�ไปสู่ขบวนการให้เห็นสิ่งที่พวกเรานั้นกำ�ลัง เดินอยู่ในขณะนี้ แล้วก็โดยที่มีความรู้สึกว่า สิ่ง ที่เราพูด สิ่งที่เราต้องการนั้น เราได้แลกเปลี่ยน เราได้ฟัง ได้รับรู้ด้วยกันทั้งหมดทั้งสังคม ไม่ใช่ เรื่องของฝ่ายรัฐ หรือว่า เรื่องของ BRN อย่าง เดียว เพราะฉะนั้นตรงนี้จึงมองว่า ประชาชน ซึ่งเป็นก้อนที่สำ�คัญกลุ่มใหญ่ของประเทศกับ ประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ที่จะสร้างภาพ สร้างการเรียนรู้ด้วยกันไปใน สังคมของพวกเรานั้น มันเกิดอาการที่ว่าน่า จะเกิดความหวาดกลัว เกิดความไม่ไว้วางใจ เกิดขึ้น กลัวว่าใครที่พูดคุยในเรื่องนี้ จะถูกนับ เป็นกลุ่มที่เป็นแนวร่วมหรือเป็นกลุ่มที่ว่าอยู่ ในกลุ่มที่ซับพอร์ทกลุ่ม BRN ซึ่งในความเป็น จริงนั้น มีเพียงกี่เปอร์เซ็นต์ที่คนที่อยู่ในพื้นที่ ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้น้ันเป็นแนวร่วม ของ BRN แต่คนส่วนใหญ่นั้น เป็นประชาชนที่ ไม่ได้มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับ BRN แต่วา่ สิง่ ทีพ่ วกเรา เกี่ยวข้องผูกโยงด้วยกัน ก็คือ ความเป็น ความ ตาย สิ่งที่กระทบจากสิ่งที่ความขัดแย้งระหว่าง ทั้งสองฝ่าย สิ่งนี้คือผลกระทบที่เกิดขึ้นกับพวก เราซึ่งเป็นประชาชน แล้วก็คนส่วนใหญ่ที่เสีย
นทุกๆ คน ที่พวกท่านจะต้องสร้างมัน ห้ กระบวนการมันเป็นไปตามธรรมชาติ กันสร้างมันให้เกิดขึ้นครับ” ในบางเรื่อง ในบางครั้งนั้น อาจจะ มี ค วามไม่ เ ท่ า กั น ในเรื่ อ งของข้ อ มู ล การรั บ รู้ เพราะฉะนั้นตรงนี้จึงมองว่า เป็นสิ่งที่รัฐไทย น่าจะใช้ส่วนนี้ เลยเวลาในโอกาสตรงนี้ ในการ ที่จะสื่อว่า ความตั้งใจของรัฐไทยต่อผู้คนใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นอย่างไรด้ว ย ซึ่งผมถือว่าเป็นโอกาสที่ดีที่สุด ในการที่ ไม่ใช่ ว่าอออกมา มีข้อเสนอออกมา เราก็ออกมาโต้ ในแบบที่ว่า ไม่มีทางที่จะต่อรองได้เลย ซึ่งใน บางสิ่งบางอย่างนั้น ในกระบวนการของการ ดำ�เนินไปของรัฐไทยนั้น ได้กระทำ�ไปแล้วใน บางอย่างด้วยซ้ำ�ไป แต่เมื่อมีคนบางคนที่ออก หรือเสียงบางเสียงที่ออกมาในลักษณะที่ออก ไปด้านหนึ่ง มันจึงทำ�ให้ กระบวนการในการ
ชีวิต ก็คือ ประชาชน ส่วนใหญ่เป็นมุสลิมและ ก็ทั้งที่เป็นชาวไทยพุทธด้วยที่อยู่ในพื้นที่ แล้ว ก็ ตำ�รวจ ทหาร แล้วก็กลุ่มของ BRN กลุ่มแนว ร่วมในการปฏิบัติการ เราจะพบว่าส่วนใหญ่คือประชาชน ในพื้นที่ เพราะฉะนั้น ถ้าถามว่า มีความรู้สึก อย่างไรต่อการพูดคุย เพื่อจะนำ�ไปสู่การเจรจา สันติภาพในลำ�ดับต่อไป ผมคิดว่า นี่คือความ หวัง ความหวังของคนในพื้นที่ว่ากระบวนการ เหล่านี้จะไม่ถูกล้ม โดยคนที่ไม่เห็นด้วย เพราะ ว่าอย่างน้อยถ้าหากคุณไม่เห็นด้วย คุณกระโจน เข้ามาอยู่ในที่สว่าง อยู่ในพื้นที่ที่สามารถที่จะ รับรู้ว่ามันมีเหตุผลอะไร ที่คุณถึงไม่เห็นด้วย ต่อการเจรจา ไม่ใช่ว่ามีการกระทำ�ที่ทำ�ให้การ
เจรจานั้ น มั น ฟั บ ไปโดยปฏิ บั ติ ก ารหรื อ โดย อะไรต่างๆ ที่มันไม่ใช่การใช้เวทีที่ทุกฝ่ายนั้น สามารถที่จะเห็นตัวตน แล้วก็เห็นสิ่งที่คุณคิด แล้วเห็นเป้าหมายของพวกคุณ เหตุผลของพวก คุณ ตรงนี้คือโอกาส ผมจึงมองว่า ผมอาจจะ พูดหรือว่าใช้คำ�ที่ไม่เหมาะสมหรือว่าแรง หรือ อะไรต่างๆ ไม่ใช่นะ นี่คือลักษณะที่อยากจะสื่อ โอกาสตรงนี้ว่า เป็นโอกาสเดียวนะครับ อย่า ให้การพูดคุยครั้งนี้มันล้มไป การที่จะยืนหยัด อยู่ได้เป็นภาระของพวกเราทุกๆ คน ที่จะต้อง ส่งเสียง ที่จะต้องบอกต่อ ในการที่จะประคับ ประคองให้มันเป็นไปตามกระบวนการ ซึ่งเรา ไม่รู้เวลา มันจะใช้เวลายาวนานขนาดไหน แต่ ถ้าหากว่ามันสิ้นสุด มันยุติเมื่อไร กลับไปสู่ใน รอบเดือน ก็คือ การเข่นฆ่ากันอีกรอบหนึ่ง ผม คิดว่า นี่คือสิ่งที่น่าเศร้าที่สุด เราต้องช่วยกัน ต้องผลัก ต้องดัน ต้องช่วยกันในทุกๆ ด้าน เป็น ภาระหน้าที่ของประชาคม เพราะว่าประเทศนี้ ไม่ใช่ของรัฐบาลอย่างเดียว ประเทศนี้คือของ พวกเราทุกๆ คน เพราะฉะนั้นเราต้องผลักใน ส่วนนี้ออกไป แล้วก็เราจะต้องแสดงสิทธิใน ฐานะของประชาชน สิทธิในการกำ�หนดความ เป็น ความตายของพวกเรา สิทธิในการที่จะ กำ�หนดอนาคตของพวกเรา สิทธิในการที่จะ ร่วมในการที่จะสร้างประเทศนี้ด้วยกัน เพราะ ว่ า ไม่ ว่ า คุ ณ จะเป็ น ประชาชนในสามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ หรือ คุณจะเป็นส่วนไหนของ ประเทศก็ตาม คุณมีสทิ ธิทเี่ ท่าเทียมกันในฐานะ ที่เป็นประชากรของรัฐไทยเหมือนๆ กัน เท่าๆ กัน ผมจึงคิดว่า สรุปในท้ายในส่วนของ ผม ผมจึงมองว่า สันติภาพวันนี้ อยู่ในมือของ พวกท่ า นทุ ก ๆ คน ที่ พ วกท่ า นจะต้ อ งสร้ า ง มัน เพราะว่ามันไม่เกิดขึ้นโดยการที่ปล่อยให้ กระบวนการมั น เป็ น ไปตามธรรมชาติ ที่ ไ ม่ รู้ เมื่อไร แต่เราต้องช่วยกันสร้างมันให้เกิดขึ้น ครับ ผมก็คิดว่าอาจจะใช้เวลาน้อย แต่ก็คงเข้า ประเด็นในสิ่งที่ท่านต้องการ.
Seu Sarn Santi | 15
อัสลามมูอาลัยกุมวาเราะห์มาตุลเลาะห์
“ขอความสันติสุขจงมีแด่ทุกท่าน”
16 | Seu Sarn Santi
ใจนำ�ทาง Daylight
ใจนำ�ทาง เครื่องมือสร้าง เส้นทางสันติสุข “ หลายคนคงตีความกันไปต่างๆ นาๆ หากพูดถึง“เดือนอันประเสริฐ” ที่พึ่งผ่านพ้นไป แต่นั่นก็ขึ้นอยู่ กับว่าตัวเรานั้นอยู่ในเชื้อชาติ หรือศาสนาใดสำ�หรับชาวพี่น้องมุสลิมแล้ว คงจะหนีไม่พ้นที่จะช่วงฤดูแห่งเดือน รอมฎอน หรือเดือนที่อัลกุรอานถูกประทานลงมา เพื่อเป็นสิ่งนำ�ทางสำ�หรับมนุษย์ และเป็นเครื่องแบ่งแยก ความถูกผิด ซึ่งชาวมุสลิมต่างเชื่อกันว่าเมื่อเดือนรอมฎอนมาถึง ประตูต่างๆ ของสวรรค์ก็ถูกเปิด และประตู ต่างๆ ของนรกก็ถูกปิด และบรรดาชัยฎอนก็จะถูกพันธนาการไว้ ชาวมุสลิมจึงได้ถือเดือนนี้คือ เดือนแห่งการ เสวบุญ และขณะเดียวกันก็ยังมีอีกสิ่ง ที่ชาวมุสลิมจะถือว่า ครั้งหนึ่งในชีวิตจะต้องไปร่วม นั้นคือ...” การประกอบพิธีฮัจญ์ การประกอบพิธีฮัจญ์ หรือ การทำ�หัจญ์ คือการเดินทางไป ปฏิบัติศาสนกิจที่นครมักกะหฺในเดือนซุลฮิจญะหฺ ตามวันเวลา และ สถานที่ต่าง ๆ ที่ทางศาสนาอิสลามกำ�หนดไว้ ซึ่งศาสนกิจข้อนี้เป็นหน้าที่ สำ�หรับมุสลิมทั้งชายและหญิง ทุกคนที่มีความสามารถในด้านร่างกาย ทรัพย์สิน และการเดินทาง ที่จะต้องปฏิบัติ ในช่วงฮัจญ์ ชาวมุสลิมทั่วโลกจะเดินทางเข้าสู่อาระเบีย โดย ก่อนอื่นจะมีการทำ� อิหฺรอม นั่นคือการตั้งใจว่าจะทำ�พิธีฮัจญ์ ก่อนการ เข้าไปในแผ่นดินหะรอม (แผ่นดินต้องห้าม) โดยจะปฏิบัติตามกฎของ หัจญ์ อาทิเช่น การไม่สมสู่ การไม่ล่าสัตว์ในแผ่นดินหะรอม การไม่ตัด เล็บหรือผม การไม่เสริมสวยหรือใช้น้ำ�หอม ผู้ชายจะเปลี่ยนเครื่องแต่ง กาย มาสวมผ้าเพียงสองผืน แล้วต่างก็จะมาชุมนุมกันที่ ทุ่งอะร็อฟะหฺ ใน ตอนเช้าตรู่ของวันที่เก้าของเดือนซุลฮิจญะหฺ แล้วพอตกค่ำ� ซึ่งตามปฏิทินฮิจญ์เราะหฺจะเป็นคืนที่สิบ เหล่า นักแสวงบุญจะเดินทางผ่าน ทุ่งมุซดะลิฟะหฺ พักชั่วครู่หนึ่งก่อนที่จะมุ่ง หน้าสู่ ทุ่งมีนา ก่อนเที่ยงของวันต่อไป ส่วนชาวมุสลิมทั่วโลกที่ไม่ได้ไปประกอบพิธีฮัจญ์ก็จะเฉลิม ฉลองทำ�บุญเลี้ยงอาหารที่บ้าน เรียกวันนี้ว่าวันอีดิลอัฎฮา ทีเรียกว่าอัฎ ฮาเพราะมีการเชือดสัตว์พลีให้ผู้คนรับประทานในยามดุฮา คือยามสาย หลังตะวันขึ้น แต่ก่อนเที่ยง หรือชาวไทยเชื้อสายมลายูในห้าจังหวัดภาค ใต้เรียกว่าวันรายอ (รายาฮาญี) ซึ่งแปลเป็นไทยตามตรงก็คือ วันใหญ่ นั่นเอง
นักแสวงบุญจะพักอยู่ที่ ทุ่งมีนา เป็นเวลาสามวัน เพื่อขอพรและบำ�เพ็ญ ตนตามพิธีฮัจญ์ หลังจากนั้นจึงเดินทางเข้ากรุงมักกะหฺ เพื่อฏอวาฟเวียน รอบ กะอฺบะฮฺ หรือที่เรียกว่า บัยตุลลอหฺ อันเป็นเสมือนเสาหลักของชุม ทิศ ซึ่งตั้งอยู่ใน มัสยิด ฮะรอม (มัสยิดต้องห้าม) หลังจากนั้นผู้แสวงบุญก็ จะเดินจากเนินเขาศอฟา สู่เนินเขามัรวะหฺ ซึ่งมีระยะทาง ๔๕๐ เมตร ไป มาจนครบเจ็ดเที่ยว ระหว่างที่เดินก็จะกล่าวคำ�ขอพรและคำ�วิงวอนต่อ พระผู้เป็นเจ้า เมื่อเสร็จพิธีนี้แล้วก็จะขริบผมหรือโกนหัว และผู้แสวงบุญ ก็จะหลุดพ้นจากภาวะ อิฮฺรอม การทำ�ฮัจญ์เป็นพิธกี รรม ทางศาสนาทีเ่ ก่าแก่ซงึ่ มีมาตัง้ แต่สมัย ศาสดาอิบรอฮีม การทำ�ฮัจญ์เริ่มต้นขึ้นเมื่ออัลลอฮได้บัญชาให้ศาสดาอิ บรอฮีม และศาสดาอิสมาอีล ผู้เป็นลูกชายร่วมกันสร้าง บัยตุลลอฮฺ ขึ้น มาเพื่อใช้เป็นสถานที่สำ�หรับการเคารพบูชาอัลลอฮ เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระองค์กท็ รงบัญชาให้ศาสดาอิบรอฮีม เรียกร้องให้มนุษย์ชาติมาร่วมกัน แสดงความจงรักภักดีต่อพระองค์ เมื่อกาลเวลาผ่านไป ชนรุ่นหลังได้อุตริ รูปแบบการทำ�ฮัจญ์ จนมันได้เปลีย่ นแปลงไปจากรูปแบบเดิมทีอ่ ลั ลอหฺได้ ทรงกำ�หนดไว้ เช่น มีการนำ� เทวรูปต่าง ๆ มาตัง้ รอบ ๆ กะอฺบะหฺ เพือ่ บูชา ในระหว่างการทำ�หัจญ์และมีการเปลือยกายในยามทำ�พิธีฏอวาฟ พร้อม กับกู่ร้องและปรบมือ จนกระทั่ง มาถึงสมัยของศาสดามุฮัมหมัด สิ่งแรกที่ท่านปฏิบัติ ก็คือการทุบทำ�ลายเทวรูปและเจว็ดรอบข้างกะอฺบะหฺจนหมดสิ้น และ ท่านก็ได้แสดงแบบอย่างของการทำ�ฮัจย์ที่ถูกต้องให้บรรดาผู้ศรัทธาได้ ปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึงวันนี้
Seu Sarn Santi | 17
“ แต่ในขณะเดียวกันนัน้ สำ�หรับชาวพุทธก็มชี ว่ งสำ�คัญแห่งพระพุทธศาสนาถึงสองวันนัน่ คือวันเข้าพรรษา และวันอาสาฬหบูชา ซึง่ ถึงว่าเป็นวันทีส่ �ำ คัญวันหนึง่ ของชาวพุทธนัน่ คือการเข้าสู่ ช่วงแห่งการบำ�เพ็ญเพียรในช่วงระยะเวลาสามเดือนนับจากนี้เป็นต้นไป รวมถึงวันที่พระพุทธเจ้า ได้ทรงตรัสรู้เห็นดวงตาแห่งธรรม และประกาศพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก ”
วันเข้าพรรษา .....วันเข้าพรรษา เป็นวันสำ�คัญในพุทธศาสนาวันหนึ่ง ที่พระ สงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำ�อยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตลอดระยะ เวลาฤดูฝนทีม่ กี �ำ หนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามทีพ่ ระธรรมวินยั บัญญัติ ไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือที่เรียกติดปากกันโดยทั่วไปว่า จำ�พรรษา เข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำ�หรับพระสงฆ์โดยตรง ละเว้นไม่ได้ ไม่ว่า กรณีใดๆ ก็ตามการเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ� เดือน 8 ของทุกปีและสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ� เดือน 11 หรือวันออกพรรษา ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทัง้ 3 เดือน พุทธศาสนิกชน ชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีท่ีจะบำ�เพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำ�บุญใส่ บาตร ฟังพระธรรมเทศนา ซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำ�คัญอื่นๆ คือ มีการ ถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำ�ฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสำ�หรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำ�หรับการอยู่จำ�พรรษา โดยในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี) จะ นิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพือ่ อยูจ่ �ำ พรรษาตลอดฤดูพรรษา กาลทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบท เพื่อจำ�พรรษาตลอดพรรษากาลว่า “บวชเอาพรรษา” เมื่อถึงวันเข้าพรรษา พุทธศาสนิกชนนิยมไปทำ�บุญตักบาตร ถวายเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำ�ฝน โดยมักจะจัดเครื่องสักการะเช่น ดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องใช้ เช่น สบู่ ยาสีฟัน เป็นต้น มาถวายพระภิกษุ สามเณร หรือมีการช่วยพระทำ�ความสะอาดเสนาสนะ ซ่อมแซมกุฏิวิหาร และอื่นๆ โดยนิยมไปร่วมทำ�บุญตักบาตร ฟังเทศน์ ฟังธรรมและรักษา อุโบสถศีลกันที่วัด บางคนอาจตั้งใจงดเว้นอบายมุขต่างๆ เป็นกรณีพิเศษ เช่น งดเสพสุรา งดฆ่าสัตว์ เป็นต้น นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2551 รัฐบาลไทยได้ประกาศให้วันเข้า พรรษาเป็น “วันงดดื่มสุราแห่งชาติ”โดยในปีถัดมา ยังได้ประกาศให้วัน เข้าพรรษาเป็นวันห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั่วราชอาณาจักรทั้งนี้ เพื่อรณรงค์ให้ชาวไทยตั้งสัจจะอธิษฐานงดการดื่มสุราในวันเข้าพรรษา และในช่วง 3 เดือนระหว่างฤดูเข้าพรรษา เพือ่ ส่งเสริมค่านิยมทีด่ ใี ห้แก่สงั คม ไทย
18 | Seu Sarn Santi
วันอาสาฬหบูชา .....วันอาสาฬหบูชา หรือวันขึ้น 15 ค่ำ� เดือน 8 เป็นวันที่ พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมที่ตรัสรู้เป็นครั้งแรก จึงถือได้ว่าวัน นี้เป็นวันเริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนาแก่ชาวโลก และด้วยการที่ พระพุทธเจ้าทรงสามารถ แสดง เปิดเผย ทำ�ให้แจ้ง แก่ชาวโลก ซึ่งพระ ธรรมที่ตรัสรู้ได้ จึงถือได้ว่าพระองค์ได้ทรงกลายเป็นสมเด็จพระบรม ศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยสมบูรณ์ คือทรงสำ�เร็จภารกิจแห่งการเป็น พระพุทธเจ้าผู้เป็น “สัมมาสัมพุทธะ” คือเป็นพระพุทธเจ้าผู้สามารถ แสดงสิ่งที่ตรัสรู้ให้ผู้อื่นรู้ตามได้ ซึ่งแตกต่างจาก “พระปัจเจกพุทธเจ้า” ที่แม้จะตรัสรู้เองได้โดยชอบ แต่ทว่าไม่สามารถสอนหรือเปิดเผยให้ผู้อื่น รู้ตามได้ ด้วยเหตุนี้วันอาสาฬหบูชาจึงมีชื่อเรียกว่า “วันพระธรรม” วั น อาสาฬหบู ช า เป็ น วั น ที่ ท่ า นโกณฑั ญ ญะได้ บ รรลุ ธ รรม สำ�เร็จพระโสดาบันเป็นพระอริยบุคคลคนแรก และได้รับประทานเอหิ ภิกขุอุปสมบทเป็นพระสงฆ์องค์แรกในพระศาสนา และด้วยการที่ท่าน เป็นพระอริยสงฆ์องค์แรกในโลกดังกล่าว พระรัตนตรัยจึงครบองค์สาม บริบูรณ์เป็นครั้งแรกในโลก ด้วยเหตุนี้วันอาสาฬหบูชาจึงมีชื่อเรียกว่า “วันพระสงฆ์ดังนั้น วันอาสาฬหบูชาจึงถูกจัดขึ้นเพื่อเป็นการระลึกถึงวัน คล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำ�คัญของพระพุทธศาสนา การประกอบพิธวี นั อาสาฬหบูชาในปัจจุบนั นีพ้ ทุ ธศาสนิกชนชาว ไทยนิยมทำ�บุญตักบาตรในตอนเช้า และตลอดวันจะมีการบำ�เพ็ญบุญกุศล ความดีอน่ื ๆ เช่น ไปวัดรับศีล งดเว้นการทำ�บาปทัง้ ปวง ถวายสังฆทาน ให้ อิสระทาน (ปล่อยนกปล่อยปลา) ฟังพระธรรมเทศนา และไปเวียนเทียน รอบโบสถ์ในเวลาเย็นนอกจากการเวียนเทียน ทำ�บุญตักบาตรฯ ในวัน สำ�คัญแล้ว ยังมีหน่วยงานภาครัฐ องค์กรทางศาสนา และภาคประชาชน ร่วมกันจัดกิจกรรมต่างๆ ขึน้ มากมาย เพือ่ เป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และประชาสัมพันธ์กจิ กรรมทางพระพุทธศาสนาต่างๆ ให้แก่ประชาชน เช่น กิจกรรมสัปดาห์เผยแผ่พระพุทธศาสนาวันอาสาฬหบูชา เป็นต้น.
ใจนำ�ทาง Daylight
ถึงแม้วา่ ทัง้ ช่วงเดือนรอมฎอน วันเข้าพรรษา หรือวันอาสาฬหบูชา จะมีแนวทางที่แตกต่างกันในเรื่องของศาสนาแต่ความสำ�คัญของทั้ง สามก็สำ�คัญมิได้ลดน้อยไปกว่ากัน และต่างศาสนิกชนทั้งหลายต่าง ก็ปฎิบัติตามศาสนาของตนร่วมกันได้ในประเทศแห่งศาสนเสรีอย่าง ประเทศไทยในช่วงเดือน 9 ตามจันทรคติหรือเดือน“สิงหาคม” ในปีนี้ ที่สมดั่งคำ�นิยามของคำ�ว่า “เดือนอันประเสริฐ”
Seu Sarn Santi | 19
“ พหุวัฒนธรรม ” หัวใจสำ�คัญ ของนักศึกษาสันติภาพชายแดนใต้
แม้จะผ่านพ้นมาแล้วสำ�หรับเดือนอันประเสริฐ แต่สิ่งหนึ่งที่ยังคงมีให้เห็นในทุกๆวัน คือ การใช้ชีวิตของผู้คนในพื้นที่ การอยู่ร่วมกันของความเชื่อต่างศาสนา ความหลากหลายที่ได้ขึ้นชื่อ ว่าดินแดนแห่งพหุวัฒนธรรม ความน่าสนใจนี้ แม้เราจะพูดถึงกันอยู่มาก หลายต่อหลายครั้ง แต่ก็ เป็นการพูดถึงทีไ่ ม่เคยนึกเบือ่ ภาพของผูค้ นในร้านน�้ำ ชายามเช้า ภาพของนักเรียน นักศึกษาหลาก หลายเครื่องแบบ หรือภาพของพระเดินบิณฑบาตท่ามกลางวีถีชีวิตของผู้คนต่างศาสนา ทุกอย่าง ต่างเป็นภาพที่ทำ�ให้เรามองเห็นความต่างแห่งรอยยิ้ม ความต่างแห่งการอยู่ร่วมกัน ความต่างที่ ผสมกันจนก่อเกิดเป็นความหลากหลาย ของดินแดนแห่งพหุลักษณ์ พหุวัฒนธรรม ประเพณีในทุกๆวันสำ�คัญ การประกอบพิธที างศาสนาของผูค้ นทีน่ มี้ คี วามน่าสนใจอยูม่ าก เราจึงอยากที่จะยิบยกคำ�ๆหนึ่ง ที่เราได้พูดถึงไปเมื่อตอนต้นของคอลัมน์ใจนำ�ทาง นั้นคือคำ�นิยาม ของคำ�ว่า “เดือนอันประเสริฐ” การนำ�เสนอความต่างในเรื่องของศาสนา ผ่านแง่คิดของผู้คนใน พื้นที่ ถึงวิถีชีวิตของการอยู่ร่วมกัน และคงจะไม่มีใครสามารถตอบคำ�ถามเหล่านี้หรือบอกความ รู้สึกแก่เราได้ดีไปกว่าคนในพื้น คนที่ใช้ชีวิตอยู่ที่นี้ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง ที่กำ�ลังดำ�เนินอยู่ใน ปัจจุบนั และเหนือสิง่ อืน่ ใดทัง้ สองคนก็ยงั เรียกได้วา่ เป็นวัยรุน่ ต้นแบบ เป็นต้นกล้าทีม่ คี ณ ุ ภาพของ สังคม เพราะพวกเขาทำ�งานเกีย่ วกับผูค้ นในพืน้ ทีส่ ามจังหวัดชายแดนใต้ และอีกหลากหลายค่ายที่ บ่มเพาะเยาวชนในเรื่องของกระบวนการคิด และการหาทางออกโดยไม่ใช้ความรุนแรง ซึ่งนับเป็น หัวใจหลักหรือหัวใจสำ�คัญ ของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
20 | Seu Sarn Santi
เสียงของบ้าน Sounds of the South
“สั น ติ ภ าพในมุ ม อง ของผมคื อ ความเสมอภาค ความเป็ น ธรรมในทุ ก ๆด้ า น และการทีค่ นในสังคมสามารถ อยู่ ร่ ว มกั น ได้ ไม่ ว่ า จะเป็ น ศาสนาใดก็ตาม ”
นายอิสกานดา สาแม
นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ ทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ความสำ�คัญ : รอมฏอน เป็นเดือน ที่มุสลิมถือศีลอดทั้งเดือน ด้วยเหตุนี้จึงเรียก กั น อี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว่ า เดื อ นบวช และถื อ ว่ า เป็ น เดื อ นที่ สำ � คั ญ ที่ สุ ด เดื อ นหนึ่ ง มุ ส ลิ ม จะต้ อ ง อดอาหารเพื่ อ ที่ จ ะได้ มี ค วามรู้ สึ ก ถึ ง คนที่ ไ ม่ ได้ รั บ การดู แ ลจากสั ง คม เช่ น คนยากจน เป็นต้น และเดือนนี้ยังเป็นเดือนที่อัลกรุอาน ได้ ถู กประทานลงมาเป็ นทางนำ�ให้กับ มนุษย์ มุ ส ลิ ม จึ ง ต้ อ งอ่ า นอั ล กุ ร อาน เพื่ อ ศึ ก ษาถึ ง สิ่ ง ที่ พ ระเจ้ า ต้ อ งการให้ ม นุ ษ ย์ รู้ ว่ า การเป็ น อยู่ ใ นโลกนี้ แ ละโลกหน้ า จะเป็ น อย่ า งไร และหลังจากที่เราถือศีลอดในช่วงกลางวัน เมื่อ เวลาพระอาทิตย์ตกหรือในช่วงของอาซาน ก็ จะมีการรับประทานอาหารร่วมกันหรือเรียก ว่า “เปิดปอซอ หรือ เปิดบวช” อาจเรียกได้ ว่าเป็นกิจกรรมที่เราทำ�ร่วมกันในทุกๆวันของ ครอบครั ว เพื่ อ น หรื อ ชุ ม ชนที่ เราอาศั ย อยู่ สำ�หรับในรั้วของมหาวิทยาลัย การเปิดบวช จึงถือว่าเป็นช่วงของการพบปะพูดคุยกัน มัน อาจเป็นโอกาสที่เรารับได้น้อยครั้งหากเทียบ กับช่วงอื่นๆ แม้ว่าการทำ�กิจกรรมตรงนี้จะเกิด
ขึ้นจากบทบัญญัติตามหลักของศาสนาอิสลาม แต่ผู้ที่มาเข้าร่วมก็มีทั้งเพื่อนต่างศาสนา ซึ่งเป็น ภาพที่แม้ว่าผมจะพบบ่อยครั้งในสังคมที่ผมอยู่ แต่ก็เป็นภาพที่ประทับใจทุกครั้งที่ได้มอง ที่ได้ เห็นการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง ผมมอง เห็นการเอื้อเฟื้อของเพื่อนต่างศาสนา มองเห็น รอยยิ้ม เสียงหัวเราะของพวกเขา ผ่านหลาก หลายกิจกรรมที่เคยทำ� มันทำ�ให้ผมมองว่ามัน เหมือนเป็นสัญญาณว่า สังคมนี้ สังคมของพหุ วั ฒ นธรรมคื อ สั ง คมที่ จ ะอยู่ ร่ ว มกั น ได้ บ นดิ น แดนแห่งนี้อีกยาวไกล พหุ วั ฒ นธรรมกั บ เดื อ นรอมฏอน : เป็นคำ�ที่ผมมองว่าเกิดและเติบโตมาพร้อมกับ สังคมพี่น้องมุสลิมของเรา วิถีชีวิตของเราใน แต่ละวัน เราต่างก็พบเจอกับผู้คนจากหลาก หลายพื้นที่ และจากหลากหลายศาสนา อย่าง เช่นผมที่ได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมในเชิงของ ลั ก ษณะของค่ า ยพั ก แรม ในแต่ ล ะค่ า ยเราก็ ทำ�กิจกรรมร่วมกัน พูดคุยกัน ทานข้าวร่วม กัน หลายอย่างหลอมให้เรามองข้ามถึงความ แตกต่างในเรื่องของศาสนา การปรับตัวของ เพื่อนร่วมศาสนาต่อสังคมของเรา เป็นสิ่งที่ผม พบเห็นและรู้สึกประทับใจ การเรียนรู้และแลก เปลี่ยนความคิดของกันและกัน ทำ�ให้เรารู้สึก ผูกผันเหมือนอย่างที่เกิดขึ้นกับสังคมในพื้นที่ ของเรา หรือชุมชนของผม และสายสัมพันธ์อัน นี้ผมมองว่าไม่สามารถแยกจากพื้นที่ตรงนี้ได้
และเมื่ อ รอมฏอนผ่ า นเข้ า มา สิ่ ง ที่ ผมมองเห็นในการเข้าร่วมกิจกรรมรอมฏอน สัมพันธ์ คือ พวกเราเหล่านักศึกษาทั้งพุทธและ มุสลิมนั่งทานข้าวร่วมกันท่ามกลางรอยยิ้มและ เสียงหัวเราะ เหมือนอย่างทุกกิจกรรมในทุกๆ ค่าย สิ่งเหล่านี้คือสิ่งที่ทำ�ให้เราเรียนรู้ความต่าง ของกันและกัน และทำ�ให้เพื่อนต่างศาสนาได้รู้ ถึงหลักการปฏิบัติของพี่น้องชาวมุสลิมอย่างถูก ต้อง และนั้นร่วมไปถึงข้อปฏิบัติที่เคร่งครัดของ ศาสนา ทีบ่ างครัง้ เพือ่ นต่างศาสนิกอาจไม่เข้าใจ หรือสงสัย การให้คำ�ตอบต่อคำ�ถามที่คลุมเครือ จะทำ�ให้เราปฏิบัติตัวและความเข้าใจกันมาก ขึ้น ปั ญ หาความรุ น แรงในพื้ น ที่ ส าม จังหวัดชายแดนภาคใต้ : สมัยก่อนเราอยู่ร่วม กันฉันท์พี่มีอะไรก็ช่วยเหลือซึ่งกันและกันใน ทุกๆเรื่อง ทั้งที่เราต่างศาสนากัน แต่ 10 ปีที่ ผ่านมามีเพียงคนบางกลุ่มที่ มีอุดมการณ์ที่คิด จะแบ่ง เชื่อชาติ ศาสนาวัฒนธรรม และรวมถึง คนบางกลุม่ ทีต่ อ้ งการทีอ่ ยากได้ผลประโยชน์ใน พื้นที่ เช่น เรื่องส่วนตัว กระบวนการยาเสพติด และเรื่องอิทธิพลในพื้นที่ จึงทำ�ให้การดำ�เนิน ชีวิตและความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่เกิดการ เปลี่ยนแปลงและเกิดความระเวง ไม่ไว้วางใจ เพื่อนต่างศาสนา ทำ�ให้พื้นที่ สามจังหวัด ขาด โอกาสหลายด้าน ทั้งทางการศึกษา เศรษฐกิจ และการท่ อ งเที่ ย ว ในการที่ จ ะพั ฒ นาพื้ น ที่ .
Seu Sarn Santi | 21
นางสาวชนัฏฐา จันทร์ขาว
นักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประธานสมาพันธ์ชุมนุมสิงห์สันติ
ความสำ�คัญต่อกระบวนกาสันติภาพ : เหตุผลที่สำ�คัญที่ดิฉันเข้ามาทำ�งานในด้าน สั น ติ ภ าพนี้ ก็ เ พราะดิ ฉั น อยากเห็ น ความ สั น ติ ภ าพเกิ ด ขึ้ น จริ ง ๆกั บ สั ง คมพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ในกระบวนการสั น ติ ภ าพ นั้ น จะเกิ ด ขึ้ น มิ ไ ด้ ห ากขาดความร่ ว มมื อ จาก คนหนึ่งคนใดไป เพราะหนึ่งความร่วมมือถือ เป็นสิ่งที่สำ�คัญมากในการสร้างกระบวนการ สั น ติ ภ าพ อี ก ทั้ ง สั น ติ ภ าพจะเกิ ด ขึ้ น ได้ จ ริ ง หากได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากการตื่ น ตั ว ของ ผู้คน(ในพื้นที่)ในการสร้างสังคมแห่งสันติสุข ในบริบทของพื้นที่ความขัดแย้งตรงนี้ ซึ่งเรา เริ่มการสร้างองค์กรในระดับรากหญ้า มีจุดยืน ขององค์กรที่ชัดเจน หากองค์กรมีหลักที่แข็ง แรงก็ จ ะสามารถพั ฒ นาองค์ ก รในการสร้ า ง
22 | Seu Sarn Santi
กระบวนการสันติภาพในระดับขั้นต่อๆไปจน ประสบผลสำ � เร็ จ แน่ น อนว่ า ทุ ก คนต้ อ งการ ความสงบ ความปรองดอง ผู้คนอยู่ด้วยความ เป็ น มิ ต ร สั ง คมปราศจากความแตกแยก มี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนมนุษย์ซึ่งกันและ กัน มีชีวิตอย่างสงบสุขราบเรียบ เปรียบเหมือน มหาสมุทรซึง่ ปราศจากคลืน่ ด้วยกันทัง้ สิน้ อย่าง น้อย ณ ตอนนี้ดิฉันก็อยากเห็นกระบวนการ สันติภาพเกิดขึ้นในเขตรั้วมหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี แ ห่ ง นี้ ก่ อ นเป็ น ลำ�ดับแรก โดยการเริ่มสร้างกระบวนการจาก การจูงใจและปลูกฝังให้นักศึกษาคิดถึงคนอื่น ก่อนตนเอง เมื่อจะทำ�อะไรให้คิดว่าจะเกิดผล กระทบต่อคนอื่นหรือไม่อย่างไร ถ้าทำ�แล้วคน อืน่ ไม่เดือดร้อน และคนอืน่ พอใจจึงควรทำ� ดังนี้ แล้วทุกคนจะมีความสุขและอยู่กันอย่างสงบ เมื่อสังคมสงบสุข สังคมนั้นก็มีสันติภาพอย่าง แน่นอน การร่ ว มของสมาพั น ธ์ นั ก ศึ ก ษารั ก สั น ติ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใตมี ค วามสำ � คั ญ สังคมที่เราอยู่ : ก่อนอื่นต้องบอกก่อนเลยว่า ดิฉัน ได้มีโอกาสเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมกั บทางสมา
พันธ์นักศึกษาฯตั้งแต่องค์กรนี้ยังเป็นเครือข่าย นั ก ศึ ก ษารั ก สั น ติ ข องคณะรั ฐ ศาสตร์ อ ยู่ เ ลย ซึ่ ง ดิ ฉั น ได้ มี โ อกาสรู้ จั ก และเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม ตั้ ง แต่ ปี 1 จนกระทั่ ง ปั จ จุ บั น จากเครื อ ข่ า ย นักศึกษารักสันติกลายมาเป็นสมาพันธ์ฯ และ ขณะนี้ดิฉันก็อยู่ปี 3 แล้ว ดิฉันมีโอกาสเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมกั บ ทางสมาพั น ธ์ บ่ อ ยครั้ ง มาก หากนั บ กิ จ กรรมที่ ดิ ฉั น เข้ า ร่ ว มของในนาม สมาพันธ์ฯแล้วนั้น กิจกรรม/โครงการที่ดิฉัน ประทับใจก็มีอยู่มากมาย แต่ที่ประทับที่สุดคือ 1. โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพผู้ นำ � นั ก ศึ ก ษา รุ่ น ที่ 2 ในการเข้ า ร่ ว มโครงการ พัฒนาศักยภาพฯนี้ ทำ�ให้ดิฉันเกิดสิ่งที่เรียก ว่ า “แรงขั บ ” , “แรงจู ง ใจ” , หรื อ “แรง บั น ดาลใจ” ในการที่ จ ะกล้ า เป็ น ผู้ นำ � ของ บุคคลอื่นๆมากยิ่งขึ้น กิจกรรมนี้สร้างให้ดิฉัน มีความเป็นภาวะผู้นำ�แก่บุคคลอื่น ทำ�ให้กล้า คิด กล้าตัดสินใจ กล้าที่จะลงมือทำ�ในสิ่งที่คิด ว่ า ถู ก ต้ อ งและเกิ ด ผลดี ต่ อ ตั ว เองและบุ ค คล คนรอบข้ า ง กล้ า ในการใช้ ว าทะตอบโต้ ใ น สิ่ ง ที่ ตั ว เองเห็ น ว่ า ไม่ ถู ก ต้ อ ง ทำ � ให้ ดิ ฉั น เกิ ด ภาพแห่งความคิดในใจ ที่อยากให้องค์กรของ
เสียงของบ้าน Sounds of the South
“ ทุกคนสามารถอยู่ร่วมกันได้ แม้จะต่างความเชื่อ ต่างศาสนากันก็ตาม ขอแค่เพียงคุณเข้าใจเขา และเขาเข้าใจคุณเป็นพอ ”
เราเป็ น ไปตามสิ่ ง ที่ ค าดหวั ง กั น ไว้ ใ นอนาคต 2. สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารคณะ กรรมการเครือข่ายนักศึกษารักสันติ ในกิจกร รมก่อนๆของสมาพันธ์ ดิฉันอาจเป็นผู้เข้าร่วม แต่เมื่อมาในกิจกรรมนี้ ดิฉันกลับเป็นหนึ่งใน staff ของคณะกรรมการของผู้จัด จากกิจกรรม นี้ ทำ � ให้ ดิ ฉั น ได้ เรี ย นรู้ ถึ ง กระบวนการสร้ า ง องค์กร สร้างเครือข่ายของตนเองให้เข้มแข็งได้ อย่างไร สามารถนำ�ความรู้ ข้อมูลที่ได้รับทุก อย่างไปประกอบใช้ในการทำ�งานกลุ่ม ใช้กับ บุคคลได้ชัดเจน 3. ค่ายวินัยกับอิสรภาพทางความ คิด รุ่นที่ 6 กิจกรรมนี้สอนอะไรมากมายให้ กั บ ตั ว ดิ ฉั น เป็ น อย่ า งมาก ทำ � ให้ ดิ ฉั น ได้ รั บ ความรู้ใหม่ๆในเชิงประวัติศาสตร์ที่แท้จริงของ ปัตตานี ศาสนากับความรุนแรงเกี่ยวข้องกัน อย่าง และเรียนรู้ถึงกระบวนการสันติภาพที่แท้ จริงมีลกั ษณะแบบไหน ความรูท้ งั้ หมดทีไ่ ด้รบั นี้ สามารถนำ�มาอธิบายต่อบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ในสังคมรอบข้างของดิฉันได้มากเลยทีเดียว อีก ทั้งยังความรู้ที่ได้รับยังเป็นแนวทางหนึ่งในการ ขับเคลื่อนกระบวนการสันติภาพอีกด้วย
สังคมพหุวัฒนธรรมกับการเข้าร่วม กิ จ กรรมช่ ว งรอมฎอนสั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ นร่ ว ม ศาสนา : แน่นอนว่าในสังคมที่ดิฉันอาศัยอยู่ ในเขตรั้ ว ของมหาวิ ท ยาลั ย วงขลานคริ น ทร์ วิ ท ยาเขตปั ต ตานี แ ห่ ง นี้ เ ป็ น สั ง คมแห่ ง ความ พหุวัฒนธรรมอย่างชัดเจน เป็นสังคมที่ผสม ผสานของผู้คนเหล่านักศึกษาในทุกเชื้อชาติ ทุก ศาสนา ซึ่งเรามาอยู่ร่วมกันในเขตรั้วแห่งนี้ เป็น สังคมที่มีลักษณะถ้อยทีถ้อยอาศัย พึ่งพากัน มี การรวมกลุ่มของผู้คนหลายศาสนามารวมตัว กันเป็นกลุ่มเป็นแก๊งค์เป็นก๊วนเดียวกัน มีการ เคารพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน มีการแลก เปลี่ยนเรียนรู้ของเรื่องศาสนากัน ทั้งการปฏิบัติ ทางศาสนกิจประจำ�วัน สังคมลักษณะนี้ที่เป็น สังคมพหุวัฒนธรรมที่แท้จริงนั้นหาได้น้อยมาก หากมองออกไปจากสังคมของโลกแห่งความ เป็นจริงภายนอก ซึ่งดิฉันคิดว่า การอยู่ร่วมกัน ฉั น ท์ พี่ น้ อ งในสั ง คมแห่ ง นี้ เ ป็ น ประสบการณ์ ที่สำ�คัญอย่างหนึ่งในชีวิต เพราะจะมีคนสักกี่ คนที่ได้มาอยู่มาอาศัย มาประสบพบเจอแห่ง ความเป็นพหุวัฒนธรรมในลักษณะเช่นนี้ ดิฉัน เป็นคนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ม าตั้ ง แต่ เ กิ ด สั ง คมที่ ดิ ฉั น เติ บ โตมา นั้นก็มีน้อยครั้งนักที่จะได้พบเจอ หรือพูดคุย กั บ เพื่ อ นหรื อ คนต่ า งศาสนากั น เนื่ อ งจาก สังคมภายนอกยังไม่เปิดรับในการอยู่ร่วมกัน ของคนต่างศาสนิก แต่เมื่อดิฉันได้เข้ามาอยู่ ในสังคมลักษณะนี้ทำ�ให้ดิฉันเข้าใจเพื่อนต่าง ศาสนิกมากยิง่ ขึน้ กล่าวคือ ในบางวิธกี ารปฏิบตั ิ ของเพือ่ นมุสลิม หรือการประกอบศาสนพิธบี าง อย่างก็แตกต่างกับของไทยพุทธ อาทิเช่นในช่วง นี้อยู่ช่วงเดือนรอมฎอนของชาวมุสลิม ซึ่งมีการ ละศีลอดเป็นเวลา 1 เดือน ดิฉันก็ไม่เข้าใจว่า ทำ�ไมต้องมีการอดอาหาร ห้ามดื่มน้ำ� ตลอด วัน ซึ่งมันเป็นเรื่องที่ค้างคาใจดิฉันมาตลอด แต่ เมื่อเพื่อนมุสลิมมาอธิบายให้ฟัง จึงทำ�ให้ดิฉัน เข้าใจและมีความศรัทธาในหลักคำ�สอนของ อิสลามมากขึ้น เป็นต้นว่า ช่วงเดือนรอมฎอน
นั้นเป็นเดือนที่สอนให้ชาวมุสลิมรู้จักการอดทน อดกลั้น เป็นเดือนแห่งการให้อภัย เป็นเดือน ที่พิเศษในการแสวงบุญของชาวมุสลิมทุกคน ด้วยเหตุนี้ดิฉันจึงพูดกับเพื่อนๆที่ไม่ได้อาศัย อยู่ในสามจังหวัดฯ หรือในสังคมพหุวัฒนธรรม นี้เสมอว่า... “ทุกคนสามารถอยู่ร่วมกันได้ แม้ จะต่างความเชื่อ ต่างศาสนากันก็ตาม ขอแค่ เพียงคุณเข้าใจเขา และเขาเข้าใจคุณเป็นพอ” ฝากถึ ง เยาวชนเหล่ า นั ก ศึ ก ษา เพื่ อ ให้ พ วกเขาตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของคำ � ว่ า “สั น ติ ภ าพ” : อยากฝากถึ ง เหล่ า เยาวชน ว่ า สั น ติ ภ าพ เป็ น การอยู่ ร่ ว มกั น ในสั ง คม อย่างมีความสุขและมีความเข้าใจกัน ถึงแม้ว่า ในสังคมนั้นๆจะมีความขัดแย้งกันก็ตาม ใน สังคมแต่ละสังคมเป็นไปไม่ได้หรอกว่าจะไม่มี ความขัดแย้งกันเลย แต่มันอยู่กับตัวของเรา ด้วยว่าเราสามารถที่มีจะเข้าใจและมีการปรับ ตั ว ในสั ง คมแห่ ง ความขั ด แย้ ง นี้ ไ ด้ ม ากน้ อ ย เพี ย งใดในการอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งมี ค วามสุ ข .
สันติ คือ ความสงบ สุข, ภาพ คือ สิ่งที่เราสามารถ เห็นได้ด้วยตาของเรา ถ้าคุณ อยากเห็ น สั ง คมหรื อ พื้ น ที่ ที่ คุ ณ อาศั ย อยู่ เ กิ ด ความสงบ ร่มเย็น ทุกคนมีสัมพันธภาพ ที่ดีต่อกัน คุณควรคิดอยู่เสมอ ว่ า “สั น ติ ภ าพ แท้ จ ริ ง แล้ ว ควรเริ่มที่ "ความสันติ" ภายใน จิตใจของตัวคุณเอง?”
Seu Sarn Santi | 23
สมาพันธ์นักศึกษาฯเดินหน้าสร้าง
ภาพบรรยากาศก่อนงานเสวนากระบวนการสันติภาพปาตานีที่มีทั้งเหล่านักศึกษา ประชาชนผู้ที่สนใจจากหลากหลายพื้นที่และรวมไปถึง ภาคประชาสังคมที่เข้ามารับฟังคำ�บรรยายในครั้งนี้ โดยรวมแล้วกว่า 400 คน ถือได้ว่ามีความเข้มข้นและมากล้นด้วยเนื้อหาสาระที่มีการหยิบยก ประเด็นกระบวนการสันติภาพปาตานีขนึ้ มาพูดคุยและโต้ถามกันถึงความสงสัยในเรือ่ งของข้อเสนอระหว่างรัฐบาลไทยและกลุม่ บีอาร์เอ็น ว่าสิง่ เหล่า นี้จะมีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน ทั้งนี้ยังมีประเด็นต่างๆ อีกมากมายที่น่าสนใจที่เกิดขึ้นบนเวทีเสนาครั้งนี้ และนอกเหนือจากประเด็นสำ�คัญใน เรื่องของการตอบคำ�ถามจากผู้ร่วมเสวนาทั้ง 3 ท่านในคอลัมน์สานสันติ สิ่งที่เราอยากพูดถึงต่อจากนี้ คือแนวความคิดของผู้จัดและเสียงตอบรับของ ผู้เข้าร่วมที่มีต่อกระบวนสันติภาพในครั้งนี้
24 | Seu Sarn Santi
สื่อสัญจร On the way
“ ฝันที่เป็นจริง? ”
เวทีเสวนากระบวนการสันติภาพปาตานี กับสมาพันธ์นักศึกษารักสันติจังหวัดชายแดนภาคใต้
จากการจัดเวทีเสวนากระบวนการสันติภาพปาตานี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2556 ณ หอประชุมอัลอีม่ามอัลนาวาวี วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยมีผรู้ ว่ มเสวนา คือ ศ.ดร.ชัยวัฒน์สถาอานันท์ คณะรัฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผศ.ดร. สุรตั น์ โหราชัยกุล คณะรัฐศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ดร.อับดุลรอนิง สือแต จากวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยมี อาจารย์อารีลักษณ์ พูลทรัพย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นผู้ดำ�เนินรายการ
Seu Sarn Santi | 25
นายสุไลมาน เจ๊ะและ
เลขาธิการสมาพันธ์นักศึกษารักสันติ จังหวัดชายแดนภาคใต้(สนสต.) ในวันที่ 30 มิถุนายน ที่ผ่านมา ทาง สมาพั น ธ์ นั ก ศึ ก ษารั ก สั น ติ ได้ มี ก ารจั ด เวที เสวนากระบวนการสันติภาพปาตานี “ฝันที่ เป็นจริง ”และเวทีเสวนาในครั้งนี้เกิดขึ้นโดยที่ ทางสมาพันธ์นักศึกษารักสันติจังหวัดชายแดน ภาคใต้(สนสต.)ได้มีการดำ�เนินงานและมีการ จัดทำ�ร่วมกับชมรมนักศึกษารักสันติ และกลุ่ม สิงห์สันติภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดยเหตุผลของการจัดเวที สาธารณะครั้งนี้ก็เนื่องจากปัญหาสามจังหวัด ชายแดนภาค ตลอดระยะ9 ปีที่ผ่านมา จะ เห็นได้ว่า การพูดคุยกันระหว่างรัฐบาลและ กลุ่ม BRN คือการพูดคุยที่จะเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการสร้างสันติภาพ จากตัวอย่างนี้ทาง สมาพั น ธ์ นั ก ศึ ก ษารั ก สั น ติ จึ ง ได้ ป รึ ก ษาและ ประชุมร่วมกันว่า เราควรมีบทบาทที่จะหนุน เสริมกระบวนการสร้างสันติภาพเหล่านีอ้ ย่างไร เพราะที่ผ่านมาทางสมาพันธ์นักศึกษารักสันติ เองก็ได้จัดทำ�กิจกรรมมามากมายที่สอดคล้อง กับแนวทาง และกระบวนการสร้างสันติภาพแต่ สิ่งหนึ่งที่ยังไม่เคยดำ�เนินการคือ การเปิดพื้นที่ กลางที่ ใ ห้ ทุ ก คนสามารถแสดงความคิ ด เห็ น และแลกเปลี่ยนแนวความคิดกับวิทยากรที่มี ความรูแ้ ละมีความเชีย่ วชาญในเรือ่ งของสันติวธิ ี เพราะเรื่องของการพูดคุยกันหรือสันติสนทนา นั้นคือสิ่งที่เราให้ความสำ�คัญเป็นอย่างมาก ซึ่ง ตรงนี้จะเป็นแนวทางของการแก้ไขปัญหาที่เรา ตระหนักถึงเสมอ เหมือนดั่งอุดมการณ์และจุด ยืนที่เราใช้ดำ�เนินงานตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ว่า “ เราปฏิเสธความรุนแรงทุกรูปแบบ และ ยอมรับสังคมพหุวัฒนธรรม ” และจากหลาก หลายค่าย หลากหลายกิจกรรมที่เราได้ทำ�งาน 26 | Seu Sarn Santi
“ เราพยายาม ที่จะเปิดเวทีสาธารณะ เกี่ยวกับกระบวนการสร้าง สันติภาพปาตานีให้ครอบคลุม ทุกสถาบันการศึกษา ในพื้นที่สามจังหวัด ”
ร่วมกับนักศึกษา และคนในพื้นที่ สิ่งที่เรามอง ว่ามีความสำ�คัญไม่แพ้กันต่อกระบวนการสร้าง สันติภาพ นอกจากกลุ่มคนสองกลุ่มที่กำ�ลังทำ� ข้อตกลงร่วมกัน นั่นก็คือ “ประชาชน” ผู้ที่มี บทบาท ผู้ที่อาจมีข้อเสนอแนะและวิธีการที่ จะนำ�ไปสู่หนทางของกระบวนการเสริมสร้าง สั น ติ สุ ข และสั น ติ ภ าพให้ เ กิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ ส าม จั ง หวั ด ของเรา นั้ น อาจเรี ย กได้ ว่ า เป็ น ที่ ม า
ของการจั ด เวที ส าธารณะกระบวนการสร้ า ง สันติภาพปาตานี ฝันที่เป็นจริง ผลตอบรั บ ต่ อ เวที เ สวนาครั้ง นี้ ผม ถือว่า ได้รับการตอบรับที่ดีมาก เพราะว่าเวทีน้ี เป็นเวทีแรกที่สมาพันธ์นักศึกษารักสันติได้เปิด และจัดเสวนาขึ้นมา จะเห็นได้ว่า มีนักศึกษาที่ สนใจและเข้าร่วมการฟังการเสวนาในครัง้ นี้ เกิน 400 กว่าคน ก็เลยเป็นเรื่องที่ดีท่ีนักศึกษาให้
สื่อสัญจร On the way
ความสำ�คัญและตระหนักถึงกระบวนการสร้าง สันติภาพและทุกคนก็ให้ความสนใจอยากจะมี ส่วนร่วมเพือ่ หนุนเสริมกระบวนการเหล่านีซ้ ง่ึ นัน้ เรียกได้วา่ เป็นดัง่ ทีเ่ ราคาดหวังไว้ในตอนแรก ตอนนี้ เ ราพยายามที่ จ ะเปิ ด เวที สาธารณะ เกี่ยวกับกระบวนการสร้างสันติภาพ ปาตานี ใ ห้ ค รอบคลุ ม ทุ ก สถาบั น การศึ ก ษา ในพื้ น ที่ ส ามจั ง หวั ด โดยเฉพาะสถาบั น ของ
อุดมศึกษา ซึ่งวันที่ 30 ที่ผ่านมา เราจัดขึ้นที่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี แล้วก็เราคิดว่าเวทีต่อๆ ไปที่เราจะจัดขึ้น มี ทั้ง มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มหาวิทยาลัย นราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ และ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภัฎยะลา ซึ่งสมาพันธ์จะพยายามจัดเวที เสวนาเกี่ยวกับกระบวนการสร้างสันติภาพปา ตานี ใ ห้ ค รอบคลุ ม เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาสามารถ
มี พื้ น ที่ ต รงกลางที่ จ ะแลกเปลี่ ย นและเรี ย น รู้ แ ละสร้ า งความเข้ า ใจให้ ม ากขึ้ น เกี่ ย วกั บ กระบวนการสร้างสันติภาพตรงนี้และกำ�หนด จุดยืนของตัวเองได้ว่า ตัวเองสามรถที่จะหนุน เสริมและมีส่วนร่วมในกระบวนการเหล่านี้ ได้ อย่างไร.
Seu Sarn Santi | 27
(คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี)
สำ � หรั บ มุ ม มองของอาจารย์ สุ รั ต น์ ในเรื่องของปัจจัยภายนอกรัฐหรือในเรื่องของ กระแสโลก เป็นปัจจัยหนึ่งของปัญหาความขัด แย้ง ซึง่ จริงๆ แล้วมีทว่ั โลก ทางเอเชียใต้กจ็ ะมี ปัญหาของกลุ่มที่คล้ายปัจเจกที่แยกออกไปเป็น ปากีสถานแล้ว เราทุกคนรู้กันว่าในทุกประเทศ เกิดปัญหาความวุ่นวายมีปัญหาความขัดแย้ง ภายใน แอฟริกาไม่รปู้ ระเทศต่อกีป่ ระเทศ ตะวัน ออกก็หลายประเทศ ในทัว่ โลกมีปญ ั หาความขัด แย้ง มันแสดงตัวในรูปแบบทีต่ า่ งกัน บางประเทศ ก็พฒ ั นาไปอีกถึงขัน้ เปลีย่ นไปใช้ความรุนแรง บาง ประเทศก็กอ่ ตัว กำ�ลังขยับขยาย บางประเทศก็มี การแก้ไขเจรจาลดความรุนแรงลงแล้ว
28 | Seu Sarn Santi
“
ประเด็ น อี ก รุ่ น หนึ่ ง ที่ ทุ ก ท่ า นคงจะเห็ น พ้ อ งต้ อ งกั น ก็คือว่า ปัญหาและความขัดแย้งรวมถึงสังคมในสามจังหวัด อื่นๆ ทั่วโลกเลย เรามีการพลวัตรเรามีการเคลื่อนไหว มีชีวิต ดังนัน้ ปัญหาความขัดแย้งหรือสิง่ ต่างๆ ทีด่ �ำ เนินอยูใ่ นสังคมทุก วันนี้ มันไม่เคยหยุดนิ่งตายตัว
“
อาจารย์ อารีลักษณ์ พูลทรัพย์
ปรากฏการณ์เรือ่ งของความขัดแย้งดู เหมือนจะเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นทั่วโลก ไม่ใช่เฉพาะ แค่สามจังหวัดและอาจารย์ยังให้มุมมอง หรือ ประเด็นน่าคิดต่อไปว่า ความมั่นคงแห่งชาติ และ ความมั่นแห่งรัฐ กับความมัน่ คงของมนุษย์ จะประสานเข้าหากันยังไง มันจะสมดุลระหว่าง ความมั่นคงทั้งสองสิ่งนี้ได้ไหม ในเมื่อสองสิ่ง นี้ล้วนแต่สำ�คัญ จากความมั่นคงของมนุษย์ใน ฐานะปัจเจกของคน กับความมั่นคงของชาติ หรือ ความมั่นคงของรัฐ ในฐานะของสังคม การเมือง ก็ล้วนจะสำ�คัญถ้าเราจะสมดุลความ สำ�คัญที่สองสิ่งนี้ ยังไงที่สำ�คัญก็คือ อาจารย์ เสนอว่าสิ่งที่เราจะพูด สิ่งที่เราจะทำ� หรือ เรา
จะเข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มในระบวนการสั น ติ ภ าพ อันดับแรกคือการเปิดใจให้กว้าง อย่ามัวแต่มอง ข้อเสียของอีกฝ่าย แต่ให้มองเห็นแต่ข้อดีของ อีกฝ่าย ถ้าทุกฝ่ายต่างมองเห็นข้อดีซึ่งกันและ กัน เราอาจจะหาจุดร่วม หาจุดบางอย่างที่เรา จะร่วมกันได้ เราอาจจะเริ่มขยับจากอะไรที่พอ จะทำ�ร่วมกันได้ก่อน อีกประเด็นหนึ่งคือเรื่องของโลก ใน ยุคหลังสงครามเย็น ในความเห็นส่วนตัว ใน ช่วงยุคสงครามเย็น โลกเสรีประชาธิปไตยก็มี อุดมการณ์เสรีประชาธิปไตยเป็นจุดร่วม ทำ�ให้ ความแตกต่ า งในยุ ค อื่ น ๆ มาถู กกดทับ ลงไป อะไรๆ ก็พอจะทนได้ อย่างน้อยให้พอจะต่อ
สื่อสัญจร On the way
ต้านกับสังคมนิยม มันไม่มีอะไรบางอย่างร่วม ทำ�ให้เรารวมกันได้ ในขณะเดียวกันสังคมนิยม เขาก็เหมือนเรา เขามีความเป็นสังคมร่วม แล้ว เขาก็ลดความแตกต่างอะไรบางอย่างลงไป คือ ความแตกต่างที่ถูกมองข้าม แต่หลังที่สิ้นสุดใน ยุคสงครามเย็นแล้วมันทำ�ให้ความแตกต่างภาพ ที่ไม่เคยเห็นมันปรากฏชัดขึ้น จากที่วิทยากรทั้งสามท่านได้พูดถึง เรื่องของสันติภาพปาตานีนะค่ะ ก็เลยรู้สึกว่า เรามีประเด็นร่วม ประเด็นแรก คือ กระบวนการ สันติภาพ การพูดคุย การเจรจา ต้องดำ�เนินต่อ ไป ทั้ง 3 ท่าน จึงเห็นพ้องต้องกันสอดคล้อง ทั้งหมดในประเด็นนี้ คือ ต้องดำ�เนินต่อ ต้อง พยายามทำ�ต่อไป ด้วยเหตุผลเดียวกันทั้งหมดก็ คือว่า ถ้าไม่ท�ำ เราก็จะไม่สามารถทีจ่ ะยุตปิ ญ ั หา ได้ ถึงแม้ว่าจะกินเวลานาน ถึงแม้จะต้องต่อสู้ หรือ ต้องพยายามพูดคุยอีกนานแค่ไหน แต่ทุก สิ่งทุกอย่างต้องพยายามทำ�ต่อไป อันนี้คือเป็น ประเด็นร่วมของทั้ง 3 ท่าน ที่จะเห็นพ้องต้อง กันหมด ประเด็ น อี ก รุ่ น หนึ่ ง ที่ ทุ ก ท่ า นคงจะ เห็นพ้องต้องกันก็คือว่า ปัญหาและความขัด
แย้งรวมถึงสังคมในสามจังหวัดอื่นๆ ทั่วโลกเลย เรามีการพลวัตรเรามีการเคลื่อนไหว มีชีวิต ดัง นั้นปัญหาความขัดแย้งหรือสิ่งต่างๆ ที่ดำ�เนิน อยู่ในสังคมทุกวันนี้ มันไม่เคยหยุดนิ่งตายตัว เมื่อปี 2547 เราอธิบายสภาพปัญหา สามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ยั ง ไง ตอนนี้ เรา คงต้องขยายความหรือเพิ่มรายละเอียดเข้าไป เพราะมันมีปัจจัย มีประเด็นสำ�คัญต่างๆ เข้า มาแทรกซ้อนเพิ่มขึ้น เกี่ยวข้องมากขึ้น จำ�นวน มากขึ้น เพราะฉะนั้นมันมีการเคลื่อนในสิ่งตรง นี้ มันคือประเด็นที่ทุกท่านมองร่วมกัน อี ก ประเด็ น หนึ่ ง คื อ เรื่ อ งของปั จ จั ย ภายนอก มีปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ที่ เป็นปัญหาของความขัดแย้ง ที่เป็นสาเหตุของ ความขัดแย้ง แล้วก็ปัญหาของการขาด Unity ในแต่ ล ะฝ่ า ย ในแต่ ล ะกลุ่ ม หากทุ ก ท่ า นดู คงจะเห็นพ้องต้องกันว่า ทุกฝ่าย ทุกกลุ่มมี คือ แต่ละฝ่ายมีเป้าประสงค์อะไรทีแ่ ตกต่างกัน แล้ว ภายในแต่ละฝ่ายเองก็มีกลุ่มย่อย มีข้อแตกต่าง ในของแต่ละฝ่ายด้วย เพราะฉะนั้น ทุกๆ ท่าน จะพูดถึงสิ่งที่ท่านพูดถึงเหมือนกัน ก็คือ Unity จากนั้นกระบวนการสันติภาพต้องพยายามต่อ
ไป มุมมองต่อปัญหา สมมติคือแต่ละฝ่ายยัง คงขาด Unity อยู่ และ อีกสิ่งหนึ่งร่วมกัน คือ เราทุกคนยังมีความหวัง ถึงแม้ว่าแสงสว่างที่ ปลายอุโมงค์จะไกลออกไปมาก แต่อย่างน้อย ต้องมีจุดของความหวังที่จะเดินต่อไป.
“ ถ้าทุกฝ่ายต่าง มองเห็นข้อดีซึ่งกันและ กัน เราอาจจะหาจุดร่วม หาจุดบางอย่างที่เราจะ ร่วมกันได้ เราอาจจะเริม่ ขยั บ จากอะไรที่ พ อจะ ทำ�ร่วมกันได้ก่อน ”
Seu Sarn Santi | 29
ดร.มูอัสซัล บิลแสละ คนส่วนใหญ่ คนในพื้นที่ในสามจังหวัดจำ�นวน
ผู้เข้าร่วม มาก มากกว่าคนในรัฐบาล มากกว่าคนใน BRN หลายเท่า เพราะฉะนั้น ความจริงใจของคนใน ผมเองเป็นคนสงขลา พูดได้ว่านอก พื้นที่คือต้องการที่จะแสวงหาสันติภาพอย่าง พื้นที่แต่เข้ามาอยู่ที่นี้เมื่อ พ.ศ. 2548การพูด แท้จริง เพราะฉะนั้นเมื่อมีเวทีนี้เกิดขึ้นมา มี คุยกันโดยใช้สันติวิธีผมคิดว่าการเจรจาสันติ รถไฟขบวนนี้ เ ดิ น ผ่ า นมา ทุ ก คนต้ อ งรี บ ขึ้ น วิธี เป็นสิ่งที่มีความจำ�เป็นต้องทำ� ถึงแม้ว่า ใน เลย มันเป็นสิ่งที่ทุกคนแสวงหามานาน เพราะ ตอนแรกเรายังไม่รู้ว่าทั้ง 2 ฝ่ายที่เจรจาจริงใจ ฉะนั้น การเจรจานี้ต้องดำ�เนินการต่อไป เป็น หรือเปล่า ฝ่ายรัฐบาลจริงใจไหม BRN จริงใจ สิ่งที่จำ�เป็นครับ และพลังนักศึกษาที่จะมาช่วย ไหม ซึ่งคำ�ตอบของผมก็คือว่า ถ้าเขาจริงใจ ก็ แก้ ปั ญ หาในพื้ น ที่ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนภาค ดีครับ เราดำ�เนินงานต่อได้เลย แล้วก็เร็ว การ ใต้ มันมีความจำ�เป็นมากครับ เพราะว่าตอนนี้ ที่จะไปถึงเป้าหมายของสันติภาพได้เร็วขึ้น แต่ นักศึกษา สังคมส่วนใหญ่ยังมีความเห็นว่า พลัง สมมติว่า เขายังไม่จริงใจมาก เราจะหยุดไหม ? ของนักศึกษาคือพลังที่บริสุทธิ์อยู่ ในขณะที่ คำ�ตอบก็คือ ไม่หยุดครับ เพราะว่าการกระทำ� พลังของฝ่ายรัฐบาลหรือพลังของฝ่ายแนวร่วม ก็เป็นสิ่งที่มีความสำ�คัญเหมือนกัน เพราะว่า อะไรต่างๆ หลายคนมองว่า มันเป็นพลัง ซึ่งบาง ความเห็นของรัฐบาลกับความเห็นของ BRN มัน ครั้งก็หาความจริงใจได้ยาก เพราะฉะนั้น ในจุด มาจากคนสองคน แค่สว่ นหนึง่ เท่านัน้ เอง แต่วา่ นี้ พลังของนักศึกษายังมีความจำ�เป็นอยู่ครับ.
นางสาวภัทรานิษฐ์ จิตสุวรรณ ผู้เข้าร่วม
ตอนนีก้ ก็ �ำ ลังศึกษาอยูค่ ณะวิทยาการ สื่อสารนิเทศศาสตร์ ชั้นปีท่ี 3 มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี การจัดเวที เสวนากระบวนการเพื่อสันติภาพปาตานี ฝัน ที่เป็นจริง ด้วยเราเองก็ต้องลงเรียนรัฐศาสตร์ เบื้องต้น ซึ่งเกี่ยวกับการเมือง เกี่ยวกับความ เป็นอยูใ่ นสามจังหวัด เราก็เลยมีความสนใจ เลย ตัดสินใจมานั่งฟังการสัมมนาในครั้งนี้ สำ�หรับ เวทีเสวนาในครัง้ นี้ ถ้าถามว่าได้อะไรบ้างนัน้ ก็ได้ เยอะแยะเหมือนกัน อย่างเช่น การใช้ชวี ติ อยูใ่ น จังหวัดปัตตานี ในสามจังหวัดข่าวต่างๆทีอ่ อกไป มันจะมีในส่วนของความขัดแย้งอะไรอย่างนี้อยู่ และเราก็ไม่ใช่คนในสามจังหวัด แต่ก็มาใช้ชีวิต อยูท่ น่ี ่ี ก็คอื เหมือนได้รวู้ า่ การใช้ชวี ติ อยูท่ น่ี เ้ี ราจะ
คณะรัฐศาสตร์ เอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ชั้นปีที่ 2 ผมเป็นคนสามจังหวัดโดย กำ�เนิดเราอยูก่ บั สามจังหวัด เราอยูก่ บั ปัญหาเอง เราคิดว่าการพูดคุยแบบสันติวธิ ี ตามความคิดเห็น ในมุมที่เราเป็นนักศึกษา มองว่าดีครับ เพราะเป็นการเปิดพื้นที่ให้ทั้งสองฝ่ายที่มีความเห็นที่แตก ต่างกันแล้วเอามาแชร์กัน จะได้รับรู้ความต้องการของแต่ละฝ่าย ทำ�ให้เห็นถึงจุดประสงค์ที่อยาก จะสื่อหรือต้องการจริงๆ และความสำ�คัญของการได้มาฟังในวันนี้คือ เราจะได้รู้ว่าเราจะดำ�เนิน การหรือมีส่วนร่วมต่อไปยังไง เพราะหากมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน เราจะได้มาพูดคุยให้รู้เรื่อง กันและหากเป็นไปได้ในอนาคต หากตัวเองมีสว่ นช่วยในการส่งเสริมกระบวนการสันติภาพ ก็อยาก จะประชาสัมพันธ์ให้คนทีอ่ ยูน่ อกพืน้ ทีใ่ ห้รบั รูค้ วามจริงทีเ่ กิดขึน้ ให้มากกว่านีค้ รับเราเป็นคนในสาม จังหวัดการมองสื่อต่างๆ ที่ออกมาบางทีสื่ออาจจะมองไม่เห็นความจริงที่เกิดขึ้นหรือบางครั้งเสนอ นาย อิฮ์ซาน เจ๊ะแว ฝ่ายเดียวไม่ครอบคลุม. ผู้เข้าร่วม
30 | Seu Sarn Santi
สื่อสัญจร On the way
ได้เรียนรูใ้ นส่วนของการปรับตัว การวางตัวยังไง แล้วก็ กระบวนการสันติภาพของจังหวัดปัตตานี นีไ้ ม่ใช่แค่เราจะเสวนากันเสร็จ แล้วเราจะจบกัน แค่น้ี ทุกสิง่ ทุกอย่างจะต้องมีการดำ�เนินต่อไป นี้ ก็เป็นคำ�พูดของทัง้ 3 ท่าน ทีเ่ ขามีความเห็นตรง กันด้วย.
ผู้เข้าร่วม
“
และสิ่งที่อยากฝาก กับผู้คนในพื้นที่ คือการที่เรา พยายามแสวงหาความรู้ และ การหาความจริ ง นั้ น มั น จะ ทำ � ให้ เรามองหาทางออกที่ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น การรับฟัง แค่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมันอาจจะ ยังไม่ฟังดูไม่เท่าเทียม แต่ถ้า เราเปิ ด ใจให้ ก ว้ า งยิ่ ง รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ที่ ก ว้ า งมากขึ้ น ก็จะทำ�ให้เราค้นพบความจริง มากยิ่งขึ้นค่ะ
“
นายนัสรูลเลาะห์ อาแว
ผู้เข้าร่วม
การพู ด คุ ย ในแบบสั น ติ มั น เป็ น การ แก้ปัญหากันแบบได้ผลปะโยชน์กันทั้งสองฝ่าย โดยไม่จำ�เป็นต้องให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งต้องเสีย ประโยชน์ เป็นการหาทางออกร่วมกัน เพื่อที่จะ อยู่ร่วมกันต่อไปในสังคมได้ สิ่งที่เกิดขึ้นในสาม จังหวัดน่าจะเป็นตัวกระตุ้น ยิ่งทำ�ให้เราต้อง ค้นหาความจริง และต้องหาความรู้ให้มากยิ่ง ขึ้น อย่างเวทีนี้เป็นเวทีที่ดีมากๆ เพราะได้การ เชิ ญ ผู้ เชี่ ย วชาญในแต่ ล ะด้ า นระดั บ ประเทศ ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัตรและอาจารย์สุรัตน์ เป็นคนที่รู้ในเรื่องนี้ และเป็นคนที่รู้จัก เพราะ ว่ า เป็ น คนที่ มี ค วามรู้ ใ นด้ า นเจรจาสั น ติ ภ าพ จริงๆเวทีนี้คิดว่านักศึกษาทุกคนควรจะได้ฟัง เป็นการให้มุมมองในภาพกว้าง อาจารย์ได้พูด ถึงในระดับโลก ระดับเอเชียอาคเนย์ และโยง เข้ามาสู่สามจังหวัด ซึ่งถือเป็นการเปิดมุมมอง ในแบบกว้างมากยิ่งขึ้น.
วันนี้ร้สู ึกยินดีมากที่ได้มาเข้าร่วมกิจกรรมเวทีเสวนาสันติภาพฝันที่เป็นจริง เพราะเริ่มสนใจตั้งแต่ท่ไี ด้เห็นไวนิล และจากการได้รับฟังการ ประชาสัมพันธ์ เพราะถือว่าเป็นอีกวงเสวนาหนึง่ ทีม่ คี วามหน้าสนใจ เนือ่ งจากนักวิชาการทีม่ าเป็นระดับต้นๆทีไ่ ด้ท�ำ วิจยั และศึกษาเกีย่ วกับปัญหาสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ทต่ี า่ งก็มผี ลงานทีด่ ี เราเองเป็นเยาวชนในพืน้ ที่ ต้องมีสว่ นร่วมในการรับรูป้ ญ ั หาและหาวิธกี ารแก้ไขถึงแม้เราอาจจะทำ�อะไรไม่ ได้มากนัก เหมือนทีน่ กั วิชาการเขาทำ�หรือรัฐไทยทีม่ กี ารเจรจากับ BRN แต่เราก็มสี ว่ นร่วมทีจ่ ะรับรูแ้ ละหาวิธที จ่ี ะแก้ปญ ั หาได้ อย่างน้อยการมีสว่ นร่วม ทางการเมืองของเราควรทีจ่ ะต้องมีอยูใ่ นสังคม การทีไ่ ด้มาร่วมฟังเสวนา หรือมาฟังความคิดเหตุของอาจารย์เหล่านี้ จะทำ�ให้มขี อ้ มูลชุดใหม่ๆหลายอย่างที่ ทำ�ให้เราศึกษา แล้วก็มาทำ�ความเข้าใจ บางครัง้ นักศึกษาหรือแม้แต่ประชาชนก็มกั จะคิดไปเอง เนือ่ งจากไม่มขี อ้ มูลทีช่ ดั เจน แต่เมือ่ ได้เข้ามาฟังการเสวนา ครัง้ นี้ อาจารย์ทา่ นจะยกบทวิจยั หรือทฤษฎีตา่ งๆมาอธิบาย เราถึงได้รบั ข้อมูลทีถ่ กู ต้อง และน่าจะเป็นแนวทางทีจ่ ะนำ�ไปถึงการแก้ปญ ั หาทีด่ ไี ด้.
Seu Sarn Santi | 31
นายฟาริทธิ์ มะเด็ง
(โฆษกสมาพันธ์นักศึกษารักสันติจังหวัดชายแดนภาคใต้ และประธานชมรมนักศึกษารักสันติ)
ความว่า : การแสวงหาความรู้นั้นเป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคน (ไม่ว่าชายหรือหญิง)
การแนะแนวเป็นสิ่งที่ดี ควรมีการ สนับสนุนให้มีการเรียนต่อ อย่างที่หะดีษของ ท่านรอซูลไว้ โครงการกิจกรรมแนะแนวการ ศึ ก ษาเป็ น โครงการที่ ไ ด้ มี ก ารจั ด ดำ� เนิ น งาน สืบมาเป็นระยะหลายปี ในปีนี้เราจะแบ่งการ แนะแนวออกเป็น 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 มีทั้งหมด 48 โรงเรียนที่เราได้ไปแนะแนวมา และครั้งที่ 2 ในการแนะแนว ก็มที งั้ หมด 16 โรงเรียน กิจการ แนะแนวของเราจะเน้นโรงเรียนใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ทุกโรงเรียนจะเป็นโรงเรียน สอนศาสนาเอกชน ซึ่งใน 3 จังหวัดนี้มีหลาย โรงเรียนมาก เราไม่ได้สุ่มหรือเลือกโรงเรียน แต่ เราพยายามจะแนะแนวให้น้องๆทั้งหมด ให้ น้องๆมีแนวคิดที่อยากจะเรียนต่อ อาจจะเพื่อ กลับมาพัฒนาหมู่บ้านของตนเอง หรืออาจะ เพื่อพ่อแม่ เพราะบางคนหลังจบจาก ม.6 ก็ ไปทำ�งาน บางคนก็แต่งงาน บางคนก็หยุดการ เรียน สิ่งสภาวะเหล่านี้อาจนำ�ไปสู่การยุ่งเกี่ยว กับสิ่งเสพติด เพราะฉะนั้นเราจึงอยากที่จะเป็น แรงขับเคลื่อนให้ช่องว่างในเรื่องเหล่านี้หมดไป โดยการพยายามชักจูง แนะแนวหนทางของ การศึกษา ที่จะเป็นสิ่งที่ติดตัวของพวกเขาไป ในอนาคตภายภาคหน้า และในกลุ่มเด็กนักเรียนต่างๆ เรา จะพบผู้ ช ายจะที่ มี ค วามคิ ด ในการศึ ก ษาต่ อ น้อยกว่าผู้หญิง ทั้งที่หลักการของอิสลามผู้ชาย จะเป็นผู้นำ� เพราะฉะนั้นเราจึงให้ความสำ�คัญ กับการศึกษา เพราะวัตถุประสงค์ในการจัด แนะแนว เราอยากให้น้องๆ มีแนวคิดที่อยาก
32 | Seu Sarn Santi
จะเรียนต่อ ถึงแม้ว่าจะเรียนที่ไหนก็แล้วแต่ ไม่ ว่าจะเป็นสายสามัญหรือสายศาสนา เราก็อยาก ที่จะให้น้องๆมองถึงความฝันของตัวเอง มองถึง อนาคตของตนเองว่าเราจะเรียนอะไร เรียนยัง ไง เรียนสายนี้แล้วสามารถประกอบอาชีพอะไร ได้บ้าง นอกจากการศึกษาเป็นเสมือนเส้นทาง ที่นำ�ไปสู่เป้าหมายๆในอนาคต เป็นสิ่งสำ�คัญที่ เราเหล่านักศึกษาให้ความสำ�คัญต่อพื้นที่แล้ว การศึกษาก็นำ�มาซึ่งสังคม ความสัมพันธ์ และ การเปิดโลกทัศน์ทางความคิด กิจกรรมในรั้ว มหาวิทยาลัย หรือแม้แต่วิทยาลัยเอง จะทำ�ให้ เราได้รู้จักกับสิ่งๆต่างๆมากขึ้น ซึ่งในส่วนนี้ เรา ที่เป็นนักศึกษา ได้พบเจอมา จึงคิดว่ามันคือสิ่ง ที่สำ�คัญไม่แพ้กับความรู้ในหลักวิชา ที่เราได้รับ ติดตัวไปจนจบ และสำ � หรั บ สุ ด ท้ า ยคื อ อยากให้ โรงเรียนหรือองค์กรต่างๆ มีการสนับสนุนหรือ ผลักดันให้กับน้องๆมีแนวคิดที่อยากจะเรียน ต่อ ในการสนับสนุนในเรื่องของความสะดวก หรืออะไรต่างๆ สำ�หรับกิจกรรมการแนะแนว ของสมาพั น ธ์ นั ก ศึ ก ษารั ก สั น ติ ไ ม่ ใช่ เ ป็ น การ แนะแนวครั้งสุดท้าย เราก็จะมีการแนะแนว ต่อไปเรื่อยๆ สำ�หรับกลุ่มองค์กรไหน หรือกลุ่ม นักศึกษาไหนที่มีความสนใจอยากจะให้ความ รู้ กั บ น้ อ งๆ ก็ ส ามารถให้ ค วามร่ ว มมื อ หรื อ เข้ามากับสมาพันธ์นักศึกษารักสันติได้ ในการ สนับสนุนให้น้องๆได้มีการเรียนหรือศึกษาต่อ ไม่วา่ จะเป็นสายสามัญ หรือสายศาสนา สุดท้าย นี้ก็ขอฝากไว้ด้วยนะครับ.
นางสาวมูซยี ะ เจ๊ะกาเด โรงเรียนศาสตร์สามัคคี
“ วั น นี้ ท่ี พ่ี พ่ี ม าแนะแนวได้ ห ลาย อย่างค่ะ อย่างน้อยก็ได้ร้วู ่าใน มหา วิทยาลัย มีคณะอะไรบ้าง มีเอกอะไร บ้าง และยังเปิดโอกาสให้เราได้รอู้ ะไร อีกหลายๆอย่าง”
เรียนรู้ Knowledge
แนะแนวการศึกษา กิจกรรมสานฝันเยาวชน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
นายซาการียา สะมะแอ โรงเรียนศาสตร์สามัคคี
“รุน่ เดียวกันก็มหี ลายคนครับ ที่ไม่เรียนต่อ…..สำ�หรับนักเรียนที่ ไม่เรียนต่อก็เสียดายอนาคต แต่ถา้ เราเรียนต่อเราก็สามารถเลีย้ งชีวติ เลีย้ งอะไรเราได้ครับ”
Seu Sarn Santi | 33
“ สันติภาพสามารถนำ�มาซึ่งอะไรหลายๆอย่าง เช่นวิถีการดำ�เนินชีวิต การแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ การพัฒนา ยิ่งสังคมพหุวัฒนธรรมบ้านเรา ถ้าหากไร้ซึ่งสันติภาพ เหมือนเหตุการณ์ความไม่สงบในบ้านเรา หลายๆเหตุการณ์ท�ำ ให้ สถาปัตยกรรม ความสวยงามของมันเสียหายเป็นอย่างมาก และส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวใน 3จังหวัด ทั้งที่มีสถานที่ท่องเที่ยวและโบราณสถานหลายที่ แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์ ทำ�ให้ภาพลักษณ์ต่างๆนานาหรือแม้แต่ความ มั่นใจของคนในพื้นที่เองหาย เกิดความหวาดระแวงกัน ปัญหาต่างๆก็ตามมา ”
บนซ้าย : มัสยิด ดุญซงยอ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส ล่างซ้าย(ซ้าย) : สถานีรถไฟสุไหงโก-ลก อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ล่างซ้าย(กลาง) : โบราณสถานเมืองยะรัง อ.ยะรัง จ.ปัตตานี ล่างซ้าย(ขวา) : ตลาดเทศบาล อ.เมือง จ.นราธิวาส
34 | Seu Sarn Santi
บนขวา : พระพุทธรูปเขากง อ.เมือง จ.นราธิวาส ล่างขวา : ป่าฮาลาบาลา จ.ยะลา - จ.นราธิวาส
ท่องเที่ยว Check in
สันติภาพ ประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยว
สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วทุ ก สถานที่ แน่ น อนย่ อ มมี ค วามสำ�คัญ กับ คนในพื้นที่ เพราะมันบ่งบอกถึงความสำ�พันธ์หลายๆอย่าง ไม่ว่าจะเป็น คนกับคนคนกับวัตถุ คนกับสิ่งแวดล้อม อย่างเช่นพระพุทธรูปเขากง มี พระพุทธรูปหลวงปู่เปาะเลาะ หากฟังดูแล้วชื่อค่อนข้างขัดกันอย่าง ชัดเจน แต่มันทำ�ให้เรารู้ว่าพื้นที่ตรงนี้ได้หลอมรวมวัฒนธรรมระหว่าง พุทธกับมุสลิมกันมาตั้งนานแล้วหากเรามองทางด้านสิ่งแวดล้อมพื้นที่ สามจั ง หวั ด ถื อ ว่ า เป็ น พื้ น ที่ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ท างธรรมชาติ เ ป็ น อย่ า ง มากเพราะเป็นพื้นที่ปิด คนภายนอกไม่กล้าเข้ามารบกวนเนื่องจาก สถานการณ์ความไม่สงบมันก็เป็นข้อดีต่อธรรมชาติที่ยังคงความร่ำ�รวย ทางชีวภาพอย่างสมบูรณ์ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนแล้วแต่มี่เสน่ห์ของมันในตัว อยูแ่ ล้ว อยูท่ คี่ นมากกว่าทีจ่ ะให้ความสนใจกับอะไร การทีไ่ ด้ไปถ่ายรูปมา มันก็บ่งบอกถึงสังคมที่ได้ไปเจอและมุมมองอีกแง่หนึ่งที่บอกถึงเรื่องราว เช่นวิถีชีวิตสัตว์ป่า ความสงบ มันสวยงามตามธรรมชาติ มันเป็นความ งามทีไ่ ม่ตอ้ งไปแต่งเติมเหมือนสิง่ ปลูกสร้าง ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมมัน สัมพันธ์กบั ชีวติ ความแห้งแล้ง ความชุม่ ชืน้ มันอยูท่ คี่ วามสมบูรณ์ของหมู่ แมกไม้ ต้นน้ำ�ลำ�ธาร มาจากป่าสู่เมือง จากเขาทะมึน หล่อเลี้ยงผู้คนใน แท่นคอนกรีต สถานที่ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์สะท้อนความเป็นตัวตน ของคนในพื้ น ที่ เ ป็ น อย่ า งมาก เพราะทำ � ให้ ค นรุ่ น หลั ง รู้ ว่ า พื้ น ที่ ส าม จังหวัดชายแดนภาคใต้.ไม่ใช่มุสลิมเท่านั้นที่อยู่ในพื้นที่นี้มาก่อน แต่มัน ยังรวมไปถึงการผสมกลมของวัฒนธรรมหลายๆวัฒนธรรม ไม่ว่าจะเป็น พราหมณ์-ฮินดู พุทธ อิสลาม จีน ที่เห็นได้ชัดก็เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่ง บอกให้เห็นการผสมผสานของวัฒนธรรมได้อย่าชัดเจน เราคนรุ่นหลังมี โอกาสได้เรียนรู้ถึงภูมิประวัติศาสตร์บ้านตัวเอง ควรที่จะใส่ใจดูแลและ ให้ความสำ�คัญกับโบราณสถานเพื่อคนรุ่นหลังเราจะได้เรียนรู้สืบไป หรือ ไม่ก็อยากให้กระทรวงศึกษาธิการบรรจุหลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ในแต่ละถิ่นให้เด็กๆได้เรียนรู้กันอย่างลึกซึ้ง เพื่อจะเป็นการกระตุ้นให้ นักเรียนนักศึกษาสนใจและช่วยกันอนุรักษ์โบราณสถานอีกทางหนึ่ง
รัตชากรหอมหวล ช่างภาพ
อดุลย์ เฮ็งปียา ช่างภาพ
Seu Sarn Santi | 35
ค่ายวินัยกับ อิส สานสัมพันธ์ นักศึกษารักสันติ
ค่ายวินัยกับอิสรภาพทางทางคิด คือค่ายที่มีการจัดขึ้นอย่าง ต่อเนื่องมายาวนานและปีนี้ก็เป็นปีที่ 6 เสียงตอบรับจากเหล่าผู้เข้าร่วม เรียกได้ว่าหนาแน่น เหมือนในทุกๆปี และสิ่งที่ยังคงเสน่ห์ของค่ายนี้ คือ ประสบการณ์ที่ทุกคนจะได้รับกลับบ้าน เมื่อเสร็จสิ้นค่าย ล้วนแต่เป็น ประสบการณ์ที่อยู่นอกห้องเรียน เป็นประสบการณ์ที่หาได้ยาก และเป็น สิ่งที่อาจทำ�ให้เรามีมุมมองทางทัศนะคติไปอีกทิศทางหนึ่ง นั้นเพราะ กิจกรรมที่ระดมความคิด ให้อิสระทางการพูด การซักถาม สิ่งเหล่านี้คือ สิง่ ทีล่ ว้ นแต่พสิ จู น์ความกล้าข้างในตัวเรา และเป็นสิง่ ทีจ่ ะสัง่ สมให้เราก้าว ไปยังการเป็นผู้นำ�ที่มีศักยภาพในอนาคต สำ�หรับปีนี้ อาจะเรียกได้ว่าเป็นปีที่ดีที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ของการจัดค่ายวินัยกับอิสรภาพทางความคิด ที่ได้เลืนเวลาขยับเข้ามา ต้อนรับสมาชิกใหม่ได้เร็วขึ้น และสำ�หรับในรุ่นที่ 7 นี้มีการเปลี่ยนแปลง มากมายที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของกิจกรรม สถานที่ของการจัด กิจกรรมที่เรียกได้ว่าหลายๆอย่างถูกปรับเปลี่ยน เพื่อต้อนรับเยาวชน คนรุ่นใหม่กันอย่างเต็มที่ แต่สิ่งที่ไม่เคยเปลี่ยน และยังคงเป็นเช่นเดิม คือสายสัมพันธ์ของรุ่นน้องและรุ่นพี่ ที่ยังคงเดินหน้าต่อสู้กับเส้นทางนัก กิจกรรมกันอย่างไม่มีเหน็ดเหนื่อย
36 | Seu Sarn Santi
“ ในวัน ความรู้ที่ได้ ณ
คือเรา We
สรภาพทางความคิด รุ่นที่ 6
นนี้ผมได้ก้าวมาถึงจุดๆนี้แล้ว ตอนนี้คือคุ้มที่สุดที่มาที่นี้ ” - นายอิมรอน มะลี
“ สิง่ ทีว่ ทิ ยากรได้พดู ในวันนี้ สิง่ ที่ได้รับฟังวันนี้มันมีประโยชน์มาก” - นางสาวไลลา วามะ
“ พอมีค่ายนี้จัดขึ้นมาเพื่อนๆและ คนอื่นๆอยากจะมาเข้าร่วมเยอะมาก ” - นายอาบาส หะยีหามะ
Seu Sarn Santi | 37
38 | Seu Sarn Santi
www.facebook.com/SEUSARNSANTI Seu Sarn Santi | 39
เราปฏิเสธความรุนแรง ทุกรูปแบบ และยอมรับสังคม พหุวัฒนธรรม
40 | Seu Sarn Santi