คูมือพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) 16 GB รุน ๑.๒
รวมรายชื่อธรรมบรรยายและธรรมนิพนธของ
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) รวบรวมและเรียบเรียงคูมือ โดย พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร)
คูมือพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) 16 GB รุน ๑.๒ รวมรายชื่อธรรมบรรยายและธรรมนิพนธของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ)
รวบรวมและเรียบเรียงคูมือ โดย พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร) ผูชวยเจาอาวาสวัดญาณเวศกวัน
คูมือพระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) 16 GB รุน ๑.๒
© รวบรวมและเรียบเรียงคูมือ โดย พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร) พิมพครั้งที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ๗๐๐ เลม - วัดญาณเวศกวัน จัดพิมพเปนที่ระลึกเพื่อแสดงมุทิตาจิต แดพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ที่ไดรับพระราชทานสถาปนา เลื่อนสมณศักดิ์เปนสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๙ ๕๐๐ เลม - พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร และผูมีจิตศรัทธา ๒๐๐ เลม ๑๓,๕๐๐ เลม พิมพครั้งที่ ๒ - ๗ ธันวาคม ๒๕๕๙ - พฤษภาคม ๒๕๖๐ พิมพครั้งที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๖๐ ๒,๐๐๐ เลม
พิมพเปนธรรมทาน โดยไมมีคาลิขสิทธิ์ ทานผูใดประสงคจัดพิมพ โปรดติดตอขอไฟลตนฉบับลาสุด และขออนุญาตที่ พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร) ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน วัดญาณเวศกวัน ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๑๐ โทร ๐๒ ๔๘๒ ๗๓๕๖, ๐๒ ๔๘๒ ๗๓๖๕, ๐๒ ๔๘๒ ๗๓๗๕ ตอ ๑๑๐ E-Mail : kunchitg@gmail.com พิมพที่: บริษัท พิมพสวย จํากัด ๕/๕ ถ.เทศบาลรังสฤษฎเหนือ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๐ โทร: ๐๒๙๕๓๙๖๐๐ E-mail: info@pimsuay.com (อนุญาตใหทําสําเนาแจกเปนธรรมทานได)
คํานํา
(ในการพิมพครั้งที่ ๘) คูมือพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) ฉบับพิมพครั้งที่ ๘ นี้ไดเพิ่ม รายชื่อธรรมนิพนธ ของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) จัดเรียงตาม ตัวอักษร ขอมูลธรรมนิพนธในรูปแบบไฟล PDF รวมทั้งหมดจํานวน ๓๙๓ เลม ไดนํา มาบรรจุไวใน Micro SD Card ของพระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) 16 GB รุน ๑.๒ รุนใหมนี้แลว เพื่อเปนขอมูลใหผูที่สนใจอยากอานธรรมนิพนธ และผูที่ตองการ ศึกษาคนควาไดทําสําเนาไปอานและศึกษาได ผูสนใจธรรมนิพนธสามารถเสียบสาย ขอมูลของตัวเครื่องเขาไปที่ PC เพื่อทําสําเนาขอมูล หรือถอด Micro SD Card ไปเสียบเขาเครื่องอานแลวตอเขา PC เพื่อทําสําเนาได ขออนุโมทนาคุณฤทธิรงค ภูพานทอง ที่จัดพิมพหนังสือคูมือพระเครื่อง แจกเปนธรรมทาน คุณสิทธิขัย บุญมณีโชติ ที่ชวยตรวจเช็ครายชื่อหนังสือ และแกไขคําผิด รวมทั้งทุกๆ ทานที่ไดรวมกันจัดทําพระเครื่อง (พระในเครื่อง แสดงธรรม) เพื่อนําไปมอบใหแกพระภิกษุ สามเณร และผูสนใจ เปนการให ปญญาและสรางสัมมาทิฏฐิแกพหุชน ขอบุญกุศลที่ทุกๆ ทานไดรวมกันทํานี้ จงสัมฤทธิผลใหทุกๆ ทานเจริญดวยจตุรพิธพรชัย ประสบความสําเร็จในสิ่งที่ดี งามที่ปรารถนา มีความสุขความเจริญงอกงามในธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา เจริญในสัมมาปฏิบัติจนถึงฝงแหงพระนิพพาน เทอญ พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย (ครรชิต คุณวโร) ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐
คํานํา
(ในการพิมพครั้งที่ ๕) คูมือพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) ฉบับพิมพครั้งที่ ๕ นี้ไดปรับปรุง ตนฉบับใหมเพื่อใหผูใชอานไดสบายตา และสามารถใชงานพระเครื่องไดดีดังนี้ ๑. จัดทําภาพประกอบการฟงเสียงอาน พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย ใหม โดยใชไฟลภาพที่คุณสิริมนต ตั้งเสรีจิตสกุล และ คุณชาคริต ตั้งเสรีจิตสกุล ไดจัดทํา ขึ้นมา และนํามาถวายไวใหผานทางคุณฤทธิรงค ๒. เพิ่มสวนวิธีการใชงานพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) เพื่อเปน แนวทางการใชงานแกผูที่ไมเคยใชมากอน ขออนุโมทนา คุณสิริมนต ตั้งเสรีจิตสกุล และ คุณชาคริต ตั้งเสรีจิตสกุล ที่ไดชวยจัดทําภาพประกอบการฟงเสียงอานพุทธรรม ฉบับปรับขยาย คุณฤทธิรงค ภูพานทอง และคุณพัชธร กิตินุกูลศิลป ที่จัดพิมพหนังสือคูมือพระเครื่องแจก เปนธรรมทาน รวมทั้งทุกๆ ทานที่ไดรวมกันจัดทําพระเครื่อง (พระในเครื่อง แสดงธรรม) เพื่อนําไปมอบใหแกพระภิกษุ สามเณร และผูสนใจ เปนการให ปญญาและสรางสัมมาทิฏฐิแกพหุชน ขอบุญกุศลที่ทุกๆ ทานไดรวมกันทํานี้ จงสัมฤทธิผลใหทุกๆ ทานเจริญดวยจตุรพิธพรชัย ประสบความสําเร็จในสิ่งที่ดีงาม ที่ปรารถนา มีความสุขความเจริญงอกงามในธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา เจริญในสัมมาปฏิบัติจนถึงฝงแหงพระนิพพาน เทอญ พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๙ มีนาคม ๒๕๖๐
คํานํา
(ในการพิมพครั้งที่ ๓) พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุน ๑ นี้จัดทําขึ้น เพื่อรวบรวมผลงานของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) เผยแผเปน ธรรมทาน โดยขอมูลทั้งหมดไดบรรจุไวใน Micro SD Card ขนาด 16 GB ที่อยู ดานลางของเครื่อง ซึ่งผูสนใจสามารถถอด Micro SD Card ไปทําสําเนาแจกเปน ธรรมทานได ขอมูลประกอบดวย ๑. เสียงอานพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย (อานโดยพระกฤช นิมฺมโล) ๒. ธรรมบรรยายของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ซึ่งไดจัดทําเปนหมวดหมูเพื่อใหงายตอการฟงและการคนหา ๓. คูมือพระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุน ๑ ฉบับนี้ (เปนไฟล PDF) ขออนุโมทนาพระพงศธร เกตุญาโณ คุณสิทธิขัย บุญมณีโชติ และ คุณนิพัทธา พวงสุวรรณ ที่ชวยตรวจเช็คและแจงคําที่พิมพผิดตกหลนที่มีอยูใน การพิมพครั้งที่ ๒ ซึ่งไดทําการแกไขแลวในการพิมพครั้งที่ ๓ นี้ ขออนุโมทนาคุณฤทธิรงค ภูพานทอง และคณะ โยมกรรมฐานใตโบสถ วัดญาณเวศกวัน และทุกๆ ทานที่ชวยเปนธุระในการติดตอ ประกอบเครื่อง ทําสําเนาหนวยความจํา ตลอดจนไดรวมกันดําเนินการจัดพิมพคูมือพระเครื่องฯ เพื่อแจกเปนธรรมทาน ธรรมทานบุญกิริยาของทุกๆ ทานอันเกิดจากการรวมกันจัดทําสื่อธรรม ในครั้งนี้ จงอํานวยผลใหทุกทานประสบทั้งอามิสไพบูลย และธรรมไพบูลย ลุถึงความสุขเกษมศานต ยืนนานสืบไป พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๙
คํานํา
(ในการพิมพครั้งที่ ๒) พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุน ๑ นี้จัดทําขึ้น เพื่อรวบรวมผลงานของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) เผยแผเปน ธรรมทาน โดยขอมูลทั้งหมดไดบรรจุไวใน Micro SD Card ขนาด 16 GB ที่อยู ดานลางของเครื่อง ซึ่งผูสนใจสามารถถอด Micro SD Card ไปทําสําเนาแจกเปน ธรรมทานได ขอมูลประกอบดวยเสียงอานพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย (อานโดยพระ กฤช นิมฺมโล) ธรรมบรรยายของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ซึ่งไดจัดทําเปนหมวดหมูเพื่อใหงายตอการฟงและการคนหา และคูมือพระเครื่อง ฉบับนี้เปนไฟล PDF การพิมพครั้งที่ ๒ นี้ไดแกไขคําที่พิมพผิดและตกหลน ขยายขนาดตัว อักษร จัดวรรคตอนใหอานงาย และไดเพิ่มธรรมบรรยายที่เปนภาษาอังกฤษอีก ๕ เรื่องเขามาตามคําแนะนําของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ขออนุโมทนาคุณฤทธิรงค ภูพานทอง และคณะ รวมทั้งโยมกรรมฐานใตโบสถ วัดญาณเวศกวัน ที่ชวยเปนธุระในการติดตอ ประกอบเครื่อง และทําสําเนา หนวยความจําใหแกผูสนใจเปนธรรมทาน คุณนิพัทธา พวงสุวรรณ ที่ชวยตรวจ เช็คและแจงคําที่พิมพผิดตกหลน คุณนิลุบล เล็กเจริญกุล และทุกๆ ทานที่ดําเนิน การจัดพิมพคูมือนี้เพื่อแจกเปนธรรมทาน ธรรมทานบุญกิริยาของทุกๆ ทานอันเกิดจากการรวมกันจัดทําสื่อธรรม ในครั้งนี้ จงอํานวยผลใหทุกทานประสบทั้งอามิสไพบูลย และธรรมไพบูลย ลุถึงความสุขเกษมศานต ยืนนานสืบไป พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๙
คํานํา
(ในการพิมพครั้งที่ ๑) พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม)นี้เกิดขึ้นโดยปรารภคุณฤทธิรงค ภูพานทอง ที่ไดมาเรียนกรรมฐานใตโบสถทีวัดญาณเวศกวัน เมื่อประมาณสิบ กวาปที่แลว พรอมทั้งมีฉันทะวิริยะในการศึกษาหนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับปรุง และขยายความ ตอมาคุณฤทธิรงคไดมาปรึกษาอาตมาวา หนังสือพุทธธรรมนี้ เปนหนังสือที่ดีมากแตการที่คนทั่วไปจะอานจบนั้นทําไดยากเนื่องจากมีเนื้อหา และรายละเอียดมาก จึงอยากจัดทําหนังสือพุทธธรรมนี้ออกมาเปนเสียงอาน เพื่อใหคนทั่วไปสามารถศึกษาไดงาย และไดนิมนตใหอาตมาเปนที่ปรึกษา อาตมาจึ ง ให ทํ า หนั ง สื อ ขออนุ ญ าตพระเดชพระคุ ณ พระพรหมคุ ณ าภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) เพื่อจัดทําหนังสือพุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ เปนเสียงอาน ตอมาคุณฤทธิรงค ภูพานทอง และคณะไดนิมนตพระกฤช นิมฺมโล มาเป น ผู อ า นซึ่ ง ท า นได ตั้ ง ใจอ า นด ว ยความพิ ถี พิ ถั น เพื่ อ ให ถู กต อ งและน า ฟ ง ดวยความเลื่อมใสศรัทธาในพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ เมื่อพระเดชพระคุณ ทานเจาคุณฯ ไดมีการปรับปรุงหนังสือพุทธธรรมปนฉบับปรับขยาย ทางคณะ ผู จั ด ทํ า จึ ง ได เ ปลี่ ย นมาใช พุ ท ธธรรมฉบั บ ใหม นี้ เ ป น ต น ฉบั บ ในการจั ด ทํ า เสียงอานแทน การจัดทําเสียงอานพุทธธรรม ฉบับปรับขยาย นี้ใชเวลาถึง ๗ ป จึงแลวเสร็จสมบูรณ ในชวงแรกของการจัดทําทางคณะผูจัดทําไดจัดทําเฉพาะบท ที่อานเสร็จแลวเปนซีดีเพื่อเผยแผและไดนํามาถวายที่วัดญาณเวศกวันเปนระยะ ทุกชุด ตอมาคุณฤทธิรงคและคณะไดทําหนังสือขออนุญาตพระเดชพระคุณทาน เจาคุณฯ นําธรรมบรรยายที่ไดบรรยายไวไปเผยแผทางชองทางตางๆ เปนธรรม ทาน เมื่อไดจัดทําเสียงอานพุทธธรรมเสร็จบริบูรณแลวคณะผูจัดทําไดบันทึกไฟล เสียงอานพุทธธรรมทั้งหมดพรอมทั้งธรรมบรรยายบางสวนของพระเดชพระคุณ ทานเจาคุณฯ ไวใน Micro SD Card ขนาด ๘ GB จัดทําเปนชุดพรอมเครื่อง เลนขนาดเล็กที่มีลําโพงในตัวพกพาสะดวกและใชงานงายนํามาถวายใหอาตมา
ตอนตนเดือนสิงหาคม ๒๕๕๙ เพื่อนําไปถวายใหแกพระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) และเพื่อใหเปนธรรมทานแกพระภิกษุและญาติโยม ผูสนใจ อาตมาเห็นวาเครื่องเลนนี้เปนประโยชนมากแตการฟงจะลําบากถาไมรู รายละเอียดของเนื้อหาที่มีอยูในเครื่อง ดังนั้นอาตมาจึงไดเรียบเรียงและจัดทํา ไฟลธรรมบรรยายตนฉบับขึ้นมาใหม โดยเพิ่มธรรมบรรยายของพระเดชพระคุณ ทานเจาคุณฯ เขามาและจัดเปนหมวดหมูเพื่อใหงายตอการฟง พรอมทั้งไดจัดทํา หนังสือคูมือสื่อเสียงธรรมขึ้นมา ในตอนแรกใชชื่อคูมือวา “คูมือสื่อเสียงธรรม” หลั ง จากได ม อบให พ ระภิ ก ษุ แ ละญาติ โ ยมเป น ธรรมทานไปแล ว ปรากฏว า มี ผู ส นใจอยากได แ ละอยากร ว มจั ด ทํ า สื่ อ เสี ย งธรรมนี้ เ พื่ อ นํ า ไปมอบให แ ก พระภิกษุทวี่ ดั ตางๆ และใหกบั ญาติพนี่ อ งทีอ่ ยูต า งจังหวัดจํานวนมาก อาตมาจึงได ปรั บ ปรุ ง คู มื อ สื่ อ เสี ย งธรรมนี้ ขึ้ น มาโดยได เ พิ่ ม รู ป ประกอบการฟ ง พุ ท ธธรรม ฉบั บ ปรั บ ขยายที่ คุ ณ ฤทธิ ร งค แ ละคณะได จั ด ทํ า ไว แ ละนํ า มามอบให เ ข า ไป ด ว ยเพื่ อ ให ส ะดวกต อ การศึ ก ษาโดยได ตั้ ง ชื่ อ เครื่ อ งเล น สื่ อ เสี ย งธรรมนี้ ว า “พระเครื่อง(แสดงธรรม)” วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๙ คุณฤทธิรงค ภูพานทอง พระกฤช นิมฺมโล และคณะไดขอโอกาสเดินทางมาพบพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ เพื่อรายงาน โครงการเสี ย งอ า นพุ ท ธธรรมที่ ไ ด ทํ า เสร็ จ สมบู ร ณ แ ล ว และได นํ า เครื่ อ งเล น สื่อเสียงธรรมมาถวายพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ อาตมาจึงไดกราบเรียน ปรึกษาเพื่อขออนุญาตพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ ใชชื่อเครื่องเลนสื่อเสียง ธรรมนี้วา “พระเครื่อง(แสดงธรรม)” ซึ่งพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ ไดกรุณา แนะนําวาควรใชชื่อ “พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม)” จะเหมาะกวาจึงได ตั้งชื่อเครื่องเลนสื่อเสียงธรรมนี้วา “พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม)” และ ไดจัดทําคูมือฉบับปรับปรุงใหมขึ้นมาโดยใชชื่อวา “คูมือพระเครื่อง(พระในเครื่อง แสดงธรรม) พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย และธรรมบรรยาย ๑๙ ชุด” เมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๙ และไดจัดทําสําเนาเพื่อมอบใหแกผูสนใจเปนธรรมทานพรอม เครื่องที่คุณฤทธิรงค และญาติโยมผูมีจิตศรัทธานํามาถวาย เนื่องจากมีธรรมบรรยายของพระเดชพระคุณฯ ที่ยังไมไดนํามาบรรจุใน
Micro SD Card ๘ GB เพราะหนวยความจําไมพอ ประกอบกับคณะโยม ที่ โ รงพยาบาลวิ ชั ย ยุ ท ธและญาติ โ ยมจํ า นวนมากมี ค วามประสงค จ ะจั ด ทํ า พระเครื่องเพื่อนําไปมอบใหกับญาติพี่นองและถวายพระภิกษุที่ตางจังหวัดดังนั้น ในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๙ อาตมาจึงไดจัดทําตนฉบับ “พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุนเฉพาะกาล” พรอมคูมือขึ้นมา โดยไดเพิ่มธรรมบรรยายของพระเดชพระคุณฯ เปนจํานวน ๔๕ ชุด และเสียงอาน หนังสืออื่นๆ เชน หนังสือพุทธประวัติ พุทธกิจ ๔๕ พรรษา ประวัติพุทธสาวกและ พุทธสาวิกา มงคลสูตร และเสียงสวดมนตเขาไปดวยเพื่อใหเปนประโยชน ตอผูฟงใหมากที่สุด โดยพระกฤช นิมฺมโล สวนธรรมประสานสุข, คุณสุทธิรักษ สุขธรรม บริษัท ธรรมสภา สถาบันบันลือธรรม จํากัด, คุณจิตสงบ ตระกูลโชคชัย และชมรมพุทธคุณ ผูเปนเจาของลิขสิทธิ์ไดอนุญาตใหนําเสียง ธรรมเหลานี้มาจัดทําเพื่อเผยแผเปนธรรมทานได อาตมาขออนุโมทนาทุกๆ ทานมา ณ ที่นี้ดวย โดยเฉพาะคุณฤทธิรงค และคณะที่ชวยเปนธุระในการติดตอ จัดหาเครื่อง และทําสําเนาหนวยความจําใหแกผูสนใจ ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๙ นี้พระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ไดรับพระราชทานสถาปนาเลื่อนสมณศักดิ์เนื่องในวาระพระราช สมภพพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมพิ ลอดุลยเดช เปนสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย ทานเจาคุณมงคลธีรคุณ (อินศร จินตฺ าปฺโญ) รองเจาอาวาสวัดญาณเวศกวัน พร อ มคณะสงฆ ไ ด ป รารภจะจั ด ทํ า พระเครื่ อ ง(พระในเครื่ อ งแสดงธรรม) Version ๑๖ GB จํานวน ๕๐๐ ชุดเพื่อนอมถวายพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ เพื่อเปนการแสดงมุทิตาจิต ดังนั้นอาตมาจึงไดจัดหมวดหมูขอมูลและจัดทําคูมือ ชุดใหมโดยมีเฉพาะผลงานของพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ เทานั้นขึ้นมาโดยใช ชื่อสื่อเสียงธรรมชุดนี้วา “พระเครื่อง(พระในเครื่องแสดงธรรม) Version ๑๖ GB รุน ๑” เพื่อนอมถวายเปนอาจาริยบูชาและแสดงมุทิตาจิตตอพระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) และจะไดนําพระเครื่องที่ญาติโยมไดถวายมารวมนอม ถวายอีกจํานวน ๒๐๐ ชุด เพื่อใหพระเดชพระคุณทานเจาคุณฯ มอบใหแกผูสนใจ เปนธรรมทานตอไป
ในการจั ด ทํ า ไฟล แ ละคู มื อ พระเครื่ อ งนี้ ห ากมี ข อ ผิ ด พลาดประการใด อาตมาขอนอมรับขอผิดพลาดทั้งหมดนั้นแตเพียงผูเดียว หากทานใดพบขอผิดพลาด หรื อ มี ข อ เสนอแนะประการใดกรุ ณ าแจ ง ให อ าตมาทราบด ว ยเพื่ อ นํ า ไปแก ไ ข พัฒนาและปรับปรุงใหดียิ่งขึ้นไป คุณงามความดีและบุญกุศลทั้งหลายที่เกิดจากการทําสื่อธรรมใน ครั้งนี้ขอนอมถวายแดพระเดชพระคุณพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ที่เมตตาเปนพระอุปชฌาย สั่งสอน อบรม ใหความรูทางธรรมอันมีคายิ่ง และ ไดนิพนธหนังสือธรรมะที่เปนประโยชนอยางมากตอพระพุทธศาสนา ขออาราธนา คุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย อวยชั ย ให พ รแด พ ระเดชพระคุ ณ พระพรหมคุ ณ าภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ใหเจริญดวยจตุรพิธพรชัย มีอายุ วรรณะ สุขะ พละ มีสุขภาพ รางกายแข็งแรง และอยูเปนหลักชัยในทางธรรมใหแกสาธุชนตลอดกาลนาน เทอญ พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร ผูชวยเจาอาวาส วัดญาณเวศกวัน ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๙
“นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง บุญกุศลทั้งหลายที่เกิดจากการทําสื่อธรรมในครั้งนี้... ขอนอมถวายแดสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ที่เมตตาเปนพระอุปชฌาย สั่งสอน อบรม และใหความรูทางธรรม อันมีคายิ่ง ขอมอบใหแกโยมพออนุสวัสดิ์ โยมแมทรรศณีย สวัสดิ์เสวี ผูใหกําเนิด เลี้ยงดู ใหความรัก ใหการศึกษา และใหโอกาส ในการเขามาศึกษาธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา ขอมอบใหแกครูอาจารยทุกๆ ทานที่ไดประสิทธิ์ประสาท วิชาความรู และใหการศึกษาอบรม ขอมอบใหแกเพื่อนสหธรรมิก ญาติพี่นอง ผูมีพระคุณ อุบาสก อุบาสิกา และทุกๆ ทาน ที่เคยชวยเหลือเกื้อกูลกันมา ขอมอบใหแกเหลามนุษย เทวดา มาร พรหม ตลอดจน สรรพสัตวทั้งหลายที่อยูรวมกันในสังสารวัฏฏ ขอใหทุกๆ ทานจงเจริญดวยจตุรพิธพรชัย มีอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ มีสุขภาพรางกายแข็งแรง ปราศจากโรคภั ย และภยั น ตรายใดๆทั้ ง ปวงมาเบี ย ดเบี ย น เจริญงอกงามในธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา มีดวงตาเห็นธรรม พนจากทุกขทั้งปวง บรรลุถึงพระนิพพานในกาลอันควรดวยเทอญ...”
สารบัญหนังสือ คํานํา วิธีการใชงานพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) ๑. พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย ภาค ๑ มัชเฌนธรรมเทศนา ตอน ๑ : ชีวิต คืออะไร? ตอน ๒: ชีวิต เปนอยางไร? ตอน ๓: ชีวิต เปนไปอยางไร? ตอน ๔: ชีวิต ควรใหเปนอยางไร? ภาค ๒ มัชฌิมาปฏิปทา ตอน ๕: ชีวติ ควรเปนอยูอยางไร? ภาค ๓ อารยธรรมวิถี ตอน ๖: ชีวิตที่ดี เปนอยางไร? ๒. รวมธรรมบรรยายสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ๑. พุทธประวัติ และประวัติศาสตร ๒. หลักธรรมและการปฏิบัติ ๓. ธรรมะในชีวิตประจําวัน ๔. ธรรมะกับการศึกษา ๕. ธรรมะกับความเชื่อของคนไทย ๖. ธรรมะกับวิชาการ ๗. ธรรมะกับการเมืองการปกครอง ๘. Dhamma in English ๓. แผนภูมิประกอบการฟงพุทธธรรมฉบับปรับขยาย ๔. รายชื่อธรรมนิพนธ ของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ)
i
1 2 4 7 12 21 29 34 45 52 54 57 60 63 65 85
วิธีการใชงานพระเครื่อง (พระในเครื่องแสดงธรรม) การเปดปดเครื่อง 1. เปดเครื่องโดยการเลื่อนปุม ON/OFF ที่อยูดานบนของตัวเครื่องไปที่ ON เครื่องจะเลนเรื่องที่เลนคางอยูในครั้งที่แลวตอจากเดิม 2. ปดเครื่องโดยการเลื่อนปุม ON/OFF ดานบนไปที่ OFF การปรับความดังของเสียง เลื่อนปุมปรับเสียง ที่อยูดานบนของตัวเครื่องไปทางซายและขวาเพื่อปรับ ความดังตามตองการ การหยุดเลนและเลนเรื่องที่กําลังฟงตอ 1. กดปุม เพื่อหยุดเลน 2. กดปุม อีกครั้งเพื่อเลนตอ การเลนเรื่องที่ตองการฟงในคูมือพระเครื่อง 1. เปดหนาสารบัญหนังสือคูมือพระเครื่องเพื่อเลือกหมวดหมูที่สนใจและเปดไป ที่หนาที่ตองการตามตัวเลขที่อยูดานหลังหมวดหมู 2. เลือกหัวขอที่ตองการและเลือกเรื่องที่ตองการฟงในหัวขอนั้น แลวกดแปน ตัวเลขที่เครื่องตามตัวเลขที่อยูขางหลังของเรื่องที่ตองการฟง 3. เครื่องจะเริ่มเลนเรื่องที่เลือก แตหากเครื่องไมเลนใหกดปุม เพื่อเลน การเลนเรื่องถัดไป และเรื่องกอนหนา 1. กดปุม เพื่อเลนเรื่องถัดไป 2. กดปุม เพื่อเลนเรื่องกอนหนา i
การเลนไปขางหนาอยางรวดเร็วและเลนยอนกลับอยางรวดเร็ว 1. กดปุม คางไวเพื่อเลนไปขางหนาอยางรวดเร็ว 2. กดปุม คางไวเพื่อเลนยอนกลับอยางรวดเร็ว การเลนซ้ําแบบตางๆ (มีเฉพาะในรุนเครื่องบาง) 1. กดปุม จนหนาจอขึ้นคําวา ONE เพื่อเลนเรื่องที่เลือกเรื่องเดียววนซ้ํา 2. กดปุม จนหนาจอขึ้นคําวา FoLd เพื่อเลนทุกเรื่องในหัวขอนั้นวนซ้ํา 3. กดปุม จนหนาจอขึ้นคําวา ALL เพื่อเลนทุกเรื่องในเครื่องวนซ้ํา การใสแหลงขอมูล (ปกติเครื่องจะใส Micro-SD ที่มีขอมูลมาใหเรียบรอยแลว) 1. ขอมูลไฟลเสียงและคูมือของพระเครื่องถูกบรรจุไวใน Micro-SD ซึ่งอยูที่ ชองดานลาง (บางรุนอยูที่ดานบน) ของตัวเครื่อง หากตองการนําขอมูลไปทํา สําเนาไวในเครื่องคอมพิวเตอร หรือสําเนาใหแกผูอื่น สามารถใชนิ้วกดลงใน ชองที่ใส Micro-SD แลวคอยๆ ปลอยเพื่อถอด Micro-SD ออกมาได 2. การใส Micro-SD กลับคืนตองใสใหถูกดานจึงจะสามารถกดลงจนสุดได ถาใสไมถูกดานจะกดลงไดไมสุด 3. USB Drive ที่มีขอมูลไฟลเสียง MP3 สามารถเสียบเขาชอง USB ที่ดานขาง เครื่องทางดานขวาไดเลย การเลือกแหลงขอมูลที่จะเลน 1. กดปุม MODE จนหนาจอดานบนสุดแถวเดียวกับรูปแบตเตอรี่สีแดงขึ้นคําวา TF สีแดง เพื่อเลนจาก Micro-SD 2. กดปุม MODE จนหนาจอดานบนสุดแถวเดียวกับรูปแบตเตอรี่สีแดงขึ้นคําวา USB สีแดง เพื่อเลนจาก USB Drive 3. กดปุม MODE จนหนาจอดานบนสุดแถวเดียวกับรูปแบตเตอรี่สีแดงขึ้นคําวา FM สีแดง เพื่อเลนวิทยุ FM (รายละเอียดการตั้งคลื่นวิทยุ FM กรุณาอาน จากในคูมือที่มาพรอมกับเครื่อง) ii
การเปดไฟ LED เพื่อใชเปนไฟฉาย (มีเฉพาะในรุนเครื่องบาง) กดปุม LED คางไว ไฟ LED ที่ดานขวามือของเครื่องจะสองสวางขึ้นมา การชารจไฟเขาเครื่อง 1. เสียบหัว Micro-USB (หัวเล็ก) ของสายสีขาวที่ใหมากับเครื่องเขาที่เตารับ Micro-USB (หัวเล็ก) ที่อยูขางเครื่องดานบนทางดานขวาของตัวเครื่อง 2. เสียบที่ชารจไฟเขาเตารับไฟฟา 3. เสียบหัว USB (หัวใหญ) ของสายสีขาวเขาที่เตารับ USB (หัวใหญ) ของที่ ชารจไฟเพื่อชารจไฟเขาเครื่อง (ปกติจะใชเวลาชารจไฟประมาณ 3 ชั่วโมง) 4. ถาเครื่องเริ่มเลนเสียงขาดๆ หายๆ หรือรูปแบตเตอรี่สีแดงบนหนาจอกระพริบ แสดงวาไฟในแบตเตอรี่ใกลหมด ใหรีบชารจไฟเขาเครื่อง 5. ในการใชงานครั้งแรก ควรชารจไฟเขาเครื่องอยางนอย 8 ชั่วโมงเพื่อกระตุน แบตเตอรี่ การเปลี่ยนแบตเตอรี่ เมื่อใชงานเครื่องไปประมาณ 2 ป หรือเครื่องเริ่มเก็บไฟไมอยูควรทําการเปลี่ยน แบตเตอรี่ภายในเครื่องใหมดังนี้ 1. ถอดฝาปดแบตเตอรี่ที่อยูดานหลังเครื่องออกโดยใชเล็บสอดเขาไปในชองโคง ครึ่งวงกลมแลวกดลงเพื่อถอดฝาปดออก 2. ถอดแบตเตอรี่ีเกาออกโดยดึงที่พลาสติกใสซึ่งติดอยูกับแบตเตอรี่ีทางดานขวา 3. ใสแบตเตอรี่ีใหมโดยใหขั้วไฟที่เปนแถบเล็กๆ ดานขาง 3 แถบของแบตเตอรี่ ตรงกับขั้วไฟในชองใสแบตเตอรี่ 4. ปดฝาปดแบตเตอรี่ีเขาที่เดิม หมายเหตุ : 1. แบตเตอรี่ีที่ใชเปนแบตเตอรี่ีรุน BL-5C สามารถหาซื้อไดที่รานขายโทรศัพทมือถือ 2. รายละเอียดอื่นๆ และรูปกรุณาดูในคูมือของเครื่องที่มาพรอมกับเครื่อง iii
๑. พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย
โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) เสียงอานโดย พระกฤช นิมฺมโล สวนธรรมประสานสุข อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 1 2
ความนํา สิ่งที่ควรเขาใจกอน ความนํา ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม
ภาค ๑ มัชเฌนธรรมเทศนา ตอน ๑ : ชีวิต คืออะไร? บทที่ ๑ ขันธ ๕ สภาวะของขันธ ๕ วิญญาณ เวทนา สังขาร สัญญา-สติ-ความจํา สัญญา-วิญญาณ-ปญญา ความสัมพันธระหวางขันธตางๆ ขันธ ๕ กับอุปาทานขันธ ๕ หรือชีวิต กับชีวิตซึ่งเปนปญหา คุณคาทางจริยธรรม บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: เรื่อง ขันธ ๕
1
3 5 6 7 8 9 10 11 12 13
บทที่ ๒ อายตนะ ๖ ตัวสภาวะ ประเภทของความรู ก. จําแนกโดยสภาวะ ข. จําแนกโดยทางรับรู ค. จําแนกโดยพัฒนาการทางปญญา ง. จําแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย ความถูกตองและผิดพลาดของความรู ก. สัจจะ ๒ ระดับ ข. วิปลาส หรือวิปลลาส ๓ พุทธพจนเกี่ยวกับอายตนะ คุณคาทางจริยธรรม บันทึกพิเศษทายบท
14 21 23 25 28 30 31 32 34 35
ตอน ๒: ชีวิต เปนอยางไร? บทที่ ๓ ไตรลักษณ ตัวกฎหรือตัวสภาวะ คําอธิบายไตรลักษณตามหลักวิชาในคัมภีร ๑. ความเขาใจเกี่ยวกับศัพทที่เกี่ยวของ ๑.๑. สังขารทั้งปวง กับ ธรรมทั้งปวง ๑.๒. สังขารในขันธ ๕ กับ สังขารในไตรลักษณ ๒. สิ่งที่ปดบังไตรลักษณ ๓. วิเคราะหความหมายของไตรลักษณ 2
36 38 39 40 42
๓.๑ อนิจจตาและอนิจจลักษณะ ๓.๒ ทุกขตาและทุกขลักษณะ ก. หมวดใหญของทุกข ข. ไตรลักษณมี ๓ ไมใชแคทุกข และทั้งสามเปนฐานของทุกขในอริยสัจ ค. ปญหาของมนุษย ที่มาในชื่อของทุกขมากมาย ๓.๓. อนัตตตา และอนัตตลักษณะ ก. ขอบเขตความหมาย ข. ความหมายพื้นฐาน ค. ความหมายที่ไมตองอธิบาย ง. ความหมายที่อธิบายทั่วไป ๔. อัตตา อนัตตตาและอัตตา–นิรัตตา อัตตา กับ มานะ คุณคาทางจริยธรรม ก. คุณคาที่ ๑ คุณคาดานการทําจิต หรือคุณคาเพื่อความหลุดพนเปนอิสระ ข. คุณคาที่ ๒ คุณคาดานการทํากิจ หรือคุณคาเพื่อความไมประมาท ค. ความสําคัญและความสัมพันธของคุณคาทางจริยธรรม ๒ ดาน ง. คุณคาเนื่องดวยความหลุดพน หรือคุณคาเพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณแหงความดีงาม จ. คุณคาทางจริยธรรมของไตรลักษณตามลําดับขอ ๑. อนิจจตา-วาตามสภาวะ อนิจจตา-ในดานชีวิตภายใน ๒. ทุกขตา ๓. อนัตตตา พุทธพจนเกี่ยวกับไตรลักษณ 3
43 44 45 47 50 52 53 54 55 61 63 64 65 66 69 74
75 76 77 81
ก. ความรูเทาทันสภาวะ อุปาทานปริตัสสนาสูตรที่ ๑ ข. คุณคาทางจริยธรรม อโยฆรชาดก ฐานสูตร โลกธรรมสูตร เรงทํากิจ และเตรียมการเพื่ออนาคต
82 83 84 85 86 87 88
ตอน ๓: ชีวิต เปนไปอยางไร? บทที่ ๔ ปฏิจจสมุปบาท ตัวกฎหรือตัวสภาวะ ๑. ฐานะและความสําคัญ ๒. ตัวบทและแบบความสัมพันธในหลักปฏิจจสมุปบาท ๓. การแปลความหมายหลักปฏิจจสมุปบาท ๔. ความหมายโดยสรุปเพื่อความเขาใจเบื้องตน ๕. คําอธิบายตามแบบ ก. หัวขอและโครงรูป ข. คําจํากัดความองคประกอบ หรือหัวขอตามลําดับ ค. ตัวอยางคําอธิบายแบบชวงกวางที่สุด ขอสังเกตและสิ่งที่ควรทําความเขาใจเปนพิเศษ ๑ ขอสังเกตและสิ่งที่ควรทําความเขาใจเปนพิเศษ ๒ ๖. ความหมายในชีวิตประจําวัน ความหมายเชิงอธิบาย 4
89 90 91 92 98 99 100 101 102 103 104
คําอธิบายแสดงความสัมพันธอยางงาย คําอธิบายแสดงความสัมพันธเชิงขยายความ ตัวอยางกรณีปลีกยอยในชีวิตประจําวัน ความหมายลึกลงไปขององคธรรมบางขอ - อาสวะ ๔ - ตัณหา ๓ - อุปาทาน ๔ ปฏิจจสมุปบาทในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา ปฏิจจสมุปบาท ในฐานะปจจยาการทางสังคม หมายเหตุ: การตีความเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: ธรรมนิยาม ๑ และ ธรรมนิยาม ๓ ตถตา-ความเปนเชนนั้นเอง ขอควรรูควรสังเกต: คําศัพทธรรมชุด “ไตรลักษณ” ขอควรรูควรสังเกต: คําศัพทธรรมชุด “อิทัปปจจยตา” หลักความจริง และกฎธรรมชาติ ที่ครอบคลุม บันทึกที่ ๒: ตัวเรา ของเรา ตัวกู ของกู บันทึกที่ ๓: เกิดและตายแบบปจจุบัน บันทึกที่ ๔: ปฏิจจสมุปบาทแนวอภิธรรม บันทึกที่ ๕: ปญหาการแปลคําวา “นิโรธ” บันทึกที่ ๖: ความหมายยอขององคธรรม ในปฏิจจสมุปบาท บันทึกที่ ๗: ความหมายของภวตัณหา และวิภวตัณหา
5
105 106 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125
บทที่ ๕ กรรม ความนํา ความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม ก. กรรม ในฐานะกฎธรรมชาติอยางหนึ่ง ข. ความหมายของกรรม ค. ประเภทของกรรม เกณฑตัดสิน ความดี–ความชั่ว ก) ปญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว ข) ความหมายของกุศลและอกุศล ค) ขอควรทราบพิเศษบางอยางเกี่ยวกับกุศลและอกุศล ง) เกณฑวินิจฉัยกรรมดี – กรรมชั่ว สิ่งที่สังคมบัญญัติ เมื่อมองจากแงของกรรมนิยาม ๑) สิ่งที่สังคมบัญญัติ ไมเกี่ยวกับกุศลและอกุศลในกรรมนิยาม โดยตรง ๒) สิ่งที่สังคมบัญญัติ กระทบถึงกุศลและอกุศลในกรรมนิยามดวย ความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของคําวา “เจตนา” ขอสังเกตเรื่อง กรรมนิยาม และสมมตินิยาม จ) หลักคําสอนเพื่อเปนเกณฑวินิจฉัย การใหผลของกรรม ก) ผลกรรมในระดับตางๆ ข) องคประกอบที่สงเสริมและขัดขวางการใหผลของกรรม ค) ผลกรรมในชวงกวางไกล ง) ขอพิจารณาเกี่ยวกับการพิสูจนเรื่องตายแลวเกิดหรือไม จ) ขอสรุป: การพิสูจนและทาทีปฏิบัติตอเรื่องชาติหนา 6
126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143
ฉ) ผลกรรมตามนัยแหงจูฬกรรมวิภังคสูตร ขอควรศึกษายิ่งขึ้นไป เพื่อความเขาใจหลักกรรมใหชัดเจน ๑) สุขทุกข ใครทําให? ๒) เชื่ออยางไร ผิดหลักกรรม? ๓) กรรม ชําระลางไดอยางไร? ๔) แกกรรม ดวยปฏิกรรม ๕) กรรม ที่ทําใหสิ้นกรรม ๖) กรรม ในระดับสังคม หรือกรรมของสังคม มีหรือไม? ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม หรือ กรรม ในกฎมนุษย ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม? คุณคาทางจริยธรรม บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: กรรม ๑๒
144 145 146 147 148 149 152 153 156 158 159
ตอน ๔: ชีวิต ควรใหเปนอยางไร? บทที่ ๖ วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน ความสุขที่ไมตองหา กระบวนธรรมดับทุกข หรือ ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ก. วงจรยาว ข. วงจรสั้น ภาวะแหงนิพพาน ภาวะของผูบรรลุนิพพาน ๑. ภาวิตกาย: มีกายที่ไดพัฒนาแลว 7
160 161 162 164 170 178
๒. ภาวิตศีล: มีศีลที่ไดพัฒนาแลว ๓. ภาวิตจิต: มีจิตที่ไดพัฒนาแลว ๔. ภาวิตปญญา: มีปญญาที่ไดพัฒนาแลว บทที่ ๗ ประเภทและระดับ แหงนิพพานและผูบรรลุนิพพาน ๑. ประเภทและระดับของนิพพาน ประเภทของนิพพาน บันทึกที่ ๒: เรื่องความหมายของ ทิฏฐธัมมิกะ และ สัมปรายิกะ ๑. สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๒. อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ นิพพานมีอยางเดียว แตแบงมองเปน ๒ ดาน อนุปาทิเสสนิพพาน ในภาษาสามัญหรือถอยคําที่ใชทั่วไป พุทธพจนที่ตรัสแสดงนิพพาน เพื่อความเขาใจรอบดานในเรื่องนิพพาน สรุปความหมายของนิพพาน ผลที่ปรากฏในชีวิตจริง ก) ลักษณะภายนอกและชีวิตหมู ข) ความมีใจอิสระและมีความสุข ค) ความเปนเจาแหงจิต เปนนายของความคิด ง) ความเปนกันเอง กับชีวิต ความตาย การพลัดพราก ผลที่ปรากฏในชีวิตจริง-ย้ําความอีก ๒ ขอ ขั้นตอนหรือระดับแหงการเขาถึงนิพพาน ๒. ประเภทและระดับของผูบรรลุนิพพาน แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรือ อริยบุคคล ๘ 8
182 185 189
192 194 196 197 198 199 200 201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 214
บันทึกที่ ๔: เรื่อง สีลัพพตปรามาส ทักขิไณยบุคคลกับการละสังโยชน ทักขิไณยบุคคล ๘ หรืออริยบุคคล ๘ - จัดเปน ๔ คู แบบที่ ๒ ทักขิไณยบุคคล ๗ หรือ อริยบุคคล ๗ บันทึกที่ ๕: ความหมายของ ฌาน ทักขิไณย หรืออริยบุคคล ๗ สัมพันธกับอินทรียและวิโมกข เรื่องที่ควรกลาวแทรก เพื่อปองกันความสับสน ประเภทของพระอรหันต
215 216 217 218 219 220 221 222
บทที่ ๘ ขอควรทราบเพิ่มเติม เพื่อเสริมความเขาใจ ๑. สมถะ – วิปสสนา สมถะ วิปสสนา ๒. เจโตวิมุตติ – ปญญาวิมุตติ ความที่ตองการเนน ๒ ประการ วิมุตติตามความหมายอยางกวาง บันทึกที่ ๑ : ความเขาใจสับสนเกี่ยวกับอนัตตา และนิพพาน นิโรธสมาบัติ ไมใชนิพพาน อกุปปาเจโตวิมุตติ เหตุปจจัยตางๆ ที่ทําใหเจโตวิมุตติเสื่อม วิมุตติ ๕
223 224 225 227 228 229 230 231 232 233
9
บทที่ ๙ หลักการสําคัญ ของการบรรลุนิพพาน ความเบื้องตน ก) หลักทั่วไป ในฌาน เจริญวิปสสนา หรือบรรลุมรรคผล ไดหรือไม เนวสัญญานาสัญญายตนะ ใชทําวิปสสนาไมได วิธีปฏิบัติ ๔ อยางที่พระอานนทไดแสดงไว ๑. วิปสสนามีสมถะนําหนา ๒. สมถะมีวิปสสนานําหนา ๓. สมถะและวิปสสนาเขาคูกัน ๔. วิธีปฏิบัติเมื่อจิตเขวเพราะธรรมุธัจจ สมถยานิกและวิปสสนายานิก ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล พระอุภโตภาควิมุตและพระปญญาวิมุต ข) หลักสมถะที่เปนฐาน หลักสมถะที่เปนฐาน สํานวนที่ ๑ หลักสมถะที่เปนฐาน สํานวนที่ ๒ ความเขาใจสับสนคลาดเคลื่อน การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๑ การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๒ การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๓ การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๔ การแกความเขาใจที่พลาด ขอที่ ๕ พระอรหันตบรรลุมรรคผลกอนแลวจึงเจริญสมถะเพิ่มเติมจนได ฌานสมาบัติและอภิญญาไดหรือไม 10
234 235 236 237 238 239 240 241 242 243 244 245 246 247 248 249 250 251 252 253 254
ค) หลักวิปสสนาที่เปนมาตรฐาน สํานวนคําบรรยายสรุปการตรัสรูของพระพุทธเจา สํานวนสามัญ: พิจารณาขันธ ๕ สํานวนสามัญ: พิจารณาอายตนะ และธรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่อง สํานวนแบบสืบคน ตัวอยางธรรมที่พิจารณาไดทุกระดับ สํานวนแนววิปสสนา แสดงความแตกตางระหวางพระอริยบุคคล หลายระดับ ก. พระเสขะ กับ พระอรหันต ข. ผูปฏิบัติเพื่อโสดาปตติผล กับ พระโสดาบัน ค. พระโสดาบัน กับ พระอรหันต ง. พระอนาคามี กับ พระอรหันต จ. พระอรหันตปญญาวิมุต กับ พระอรหันตอุภโตภาควิมุต ฉ. พระพุทธเจา กับ พระปญญาวิมุต ง) หลักการปฏิบัติที่จัดเปนระบบ หลักการปฏิบัติตามนัยแหงคัมภีรวิสุทธิมัคค ระดับศีลและสมาธิ ระดับปญญา
255 256 258 259 260 261
262 263 264 265 266 267 268 269 270
บทที่ ๑๐ บทสรุป เรื่องเกี่ยวกับนิพพาน คุณคาและลักษณะพิเศษที่พึงสังเกตเกี่ยวกับนิพพาน 271 ๑. จุดหมายสูงสุดของชีวิต เปนสิ่งที่อาจบรรลุไดในชาตินี้ ๒. นิพพานเปนจุดหมายที่ทุกคนเขาถึงได ไมจํากัดชาติชั้น หญิงชาย 272 273 ๓. นิพพานอํานวยผล ที่ยิ่งกวาลําพังความสําเร็จทางจิตจะใหได 11
จุดที่มักเขวหรือเขาใจพลาด เกี่ยวกับนิพพาน ๑. ความยึดมั่น ในความไมยึดมั่น ๒. ลักษณะที่ชวนใหสับสน หรือหลงเขาใจผิด ๓. ความสุข กับความพรอมที่จะมีความสุข ปญหาสําคัญเกี่ยวกับนิพพาน ๑. นิพพาน กับอัตตา ๒. พระอรหันต สิ้นชีวิตแลวเปนอยางไร?
274 275 276 277 280
ภาค ๒ มัชฌิมาปฏิปทา ตอน ๕: ชีวิต ควรเปนอยูอยางไร? บทที่ ๑๑ บทนํา ของมัชฌิมาปฏิปทา มัชฌิมาปฏิปทา ตอเนื่องจาก มัชเฌนธรรมเทศนา มิจฉาปฏิปทา – สัมมาปฏิปทา อาหารของอวิชชา – อาหารของวิชชาและวิมุตติ ธรรมเปนอาหารอุดหนุนกัน พรหมจรรยที่สําเร็จผล ธรรมจริยา ๑๐ ประการ หรือ กุศลกรรมบถ ๑๐ ความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับมัชฌิมาปฏิปทา มรรค ในฐานะมัชฌิมาปฏิปทา มรรค ในฐานะขอปฏิบัติ หรือทางชีวิต ทั้งของบรรพชิตและคฤหัสถ มรรค ในฐานะหลักปฏิบัติที่เนื่องดวยสังคม มรรค ในฐานะทางใหถึงความสิ้นกรรม 12
286 288 291 292 293 294 295 296 297 298
มรรค ในฐานะอุปกรณสําหรับใช มิใชสําหรับยึดถือหรือแบกโกไว มรรค ในฐานะพรหมจรรย หรือพุทธจริยธรรม มรรค ในฐานะมรรคาสูจุดหมายขั้นตางๆ ของชีวิต มรรค ในฐานะไตรสิกขา หรือระบบการศึกษาสําหรับสรางอารยชน อริยมรรค กับ ไตรสิกขา ชาวบาน ดําเนินมรรคาดวยการศึกษาบุญ กระบวนธรรมในตัวคน ของมรรค กับกระบวนการฝกคน ของสิกขา จุดเริ่ม พัฒนาเปนจุดสําเร็จ แหงความกาวหนาในมรรคา
299 300 302 305 306 308 309 312
บทที่ ๑๒ บุพภาคของการศึกษา ๑: ปรโตโฆสะที่ดี = กัลยาณมิตร บุพภาคของการศึกษา หรือ บุพนิมิตแหงมัชฌิมาปฏิปทา ปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ ๒ บุพนิมิตที่ ๑: ปรโตโฆสะ – กัลยาณมิตร (วิธีการแหงศรัทธา) ความสําคัญของการมีกัลยาณมิตร คุณสมบัติของกัลยาณมิตร บันทึกที่ ๑: ความสําคัญของสังคหวัตถุ ๔ การทําหนาที่ของกัลยาณมิตร หลักศรัทธาโดยสรุป พุทธพจนแสดงหลักศรัทธา บันทึกที่ ๒: การแปลบาลีในกาลามสูตร พุทธพจนแสดงความสําคัญและความดีเดนของปญญา
313 314 315 317 322 326 328 329 330 338
13
บทที่ ๑๓ บุพภาคของการศึกษา ๒: โยนิโสมนสิการ ความนํา ฐานะของความคิด ในระบบการดําเนินชีวิตที่ดี ฐานะของความคิด ในกระบวนการของการศึกษา หรือการพัฒนาปญญา ก) จุดเริ่มของการศึกษา และความไรการศึกษา ข) กระบวนการของการศึกษา ค) ความเขาใจเบื้องตน เกี่ยวกับจุดเริ่มตนของการศึกษา ง) ความคิดที่ไมเปนการศึกษา และความคิดที่เปนการศึกษา บุพนิมิตที่ ๒: โยนิโสมนสิการ (วิธีการแหงปญญา) ความสําคัญของโยนิโสมนสิการ ความหมายของโยนิโสมนสิการ วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๑. วิธคี ิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย ๒. วิธีคิดแบบแยกแยะสวนประกอบ ๓. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ วิสุทธิ ๗ พุทธพจน ๔. วิธีคิดแบบอริยสัจ/คิดแบบแกปญหา บันทึกที่ ๑: วิธีคิดแบบแกปญหา : วิธีคิดแบบอริยสัจ กับ วิธีคิดแบบวิทยาศาสตร ๕. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ ๖. วิธีคิดแบบรูทันคุณโทษและทางออก ๗. วิธีคิดแบบคุณคาแท-คุณคาเทียม ๘. วิธีคิดแบบเรากุศล 14
339 340 341 342 343 345 346 347 350 351 352 353 354 355 356 357 358 361 364 365
๙. วิธีคิดแบบอยูกับปจจุบัน ๑๐. วิธีคิดแบบวิภัชชวาท ก. จําแนกโดยแงดานของความจริง ข. จําแนกโดยสวนประกอบ ค. จําแนกโดยลําดับขณะ ง. จําแนกโดยความสัมพันธแหงเหตุปจจัย จ. จําแนกโดยเงื่อนไข ฉ. จําแนกโดยทางเลือก หรือความเปนไปไดอยางอื่น ช. วิภัชชวาทในฐานะวิธีตอบปญหาอยางหนึ่ง ขอความในบาลีแหงตางๆ มาแสดงตัวอยางแหงวิภัชชวาท สมิทธิปริพาชก-บุคคลทํากรรมประกอบดวยเจตนา พระพุทธเจาตรัสจําแนกกามโภคี คือชาวบาน การจําแนกโดยวิภัชชวาทแบบนี้ ทําใหความคิด ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูอยูปา มี ๕ ประเภท สรุปความ เพื่อนําสูการปฏิบัติ เด็กเล็กคนหนึ่งของครอบครัวซึ่งมีฐานะดี โยนิโสมนสิการเปนตัวนํา ที่ทําใหการศึกษาเริ่มตน เตรียมเขาสูมัชฌิมาปฏิปทา พระรัตนตรัย บทที่ ๑๔ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๑: หมวดปญญา บทนํา - ปญญา ๑. สัมมาทิฏฐิ ความสําคัญของสัมมาทิฏฐิ 15
370 372 373 374 375 376 377 378 379 380 381 382 383 384 385 386 387 388 389
390 391
คําจํากัดความของสัมมาทิฏฐิ ขอควรทราบทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาทิฏฐิ ๑. โลกียสัมมาทิฏฐิ ๒. โลกุตรสัมมาทิฏฐิ สัมมาทิฏฐิ กับการศึกษา ๑) การฝกศีลที่อาศัยความเคยชินและศรัทธา ๒) การฝกศีลที่ใชโยนิโสมนสิการกํากับ สัมมาทิฏฐิกับการศึกษาในแงมุมตางๆ ๒. สัมมาสังกัปปะ ขอสังเกตเรื่องธรรมฝายกุศล และอกุศล สัมมาสังกัปปะ กับโยนิโสมนสิการ สัมมาสังกัปปะ กับมรรคหมวดศีล เมตตาในแงมุมตางๆ บทที่ ๑๕ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๒: หมวดศีล ๓. สัมมาวาจา ๔. สัมมากัมมันตะ ๕. สัมมาอาชีวะ บทนํา-องคมรรค ๓ ขอในฝายศีล ศีล ในความหมายที่เปนหลักกลาง อันพึงถือเปนหลักความประพฤติ ลักษณะของศีล หรือหลักความประพฤติเบื้องตน แบบเทวนิยม กับแบบสภาวนิยม ลักษณะของศีลในพุทธธรรม ศีลแบบสภาวนิยมกับเทวนิยม ขอไดเปรียบของศีลแบบเทวโองการ ศีลสําหรับประชาชน 16
392 393 394 395 396 397 398 399 404 405 406 407 408
409 410
411 412 413
ความเขาใจพื้นฐาน ก. ศีลพื้นฐาน ข. ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิตและสังคม หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาอาชีวะ เศรษฐกิจจะดี ถามีศีล ก. การแสวงหา และการรักษาทรัพย ข. ความสุขอันชอบธรรมที่คฤหัสถควรมี ค. การใชจายทรัพย ง. เตรียมปญญาไว ถึงหาทรัพยได อิสรภาพตองไมเสีย จ. สังฆะ คือชุมชนของบุคคลที่เปนอิสระ ทั้งโดยชีวิตและดวยจิตปญญา คําแถมทาย ก. ในแงบุคคล ข. ในแงสังคม ค. ในแงรัฐ ง. ในแงระบบเศรษฐกิจการเมือง บทที่ ๑๖ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๓: หมวดสมาธิ ๖. สัมมาวายามะ ๗. สัมมาสติ คําจํากัดความ สติในฐานะอัปปมาทธรรม สติโดยคุณคาทางสังคม บทบาทของสติในกระบวนการพัฒนาปญญา หรือการกําจัดอาสวกิเลส สติปฏฐานในฐานะสัมมาสติ 17
414 416 420 421 425 426 427 428 429 432 435 436 437 438
439 442 443 445 446 447
สาระสําคัญของสติปฏฐาน ก. กระบวนการปฏิบัติ ข. ผลของการปฏิบัติ เหตุใดสติที่ตามทันขณะปจจุบัน จึงเปนหลักสําคัญของวิปสสนา? สติปฏฐาน เปนอาหารของโพชฌงค ๘. สัมมาสมาธิ ความเขาใจเบื้องตน ก. ความหมายของสมาธิ ข. ระดับของสมาธิ ค. ศัตรูของสมาธิ ง. ลักษณะของจิตที่เปนสมาธิ จ. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: มองอยางทั่วไป ฉ. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: สรุปตามประเภทของสมาธิภาวนา ช. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: ในแงชวยปองกันความไขวเขว วิธีเจริญสมาธิ ๑) การเจริญสมาธิแบบธรรมดาพาไปเอง ๒) การเจริญสมาธิตามหลักอิทธิบาท ๓) การเจริญสมาธิอยางสามัญ หรือฝกสมาธิโดยใชสติเปนตัวนํา ๔) การเจริญสมาธิอยางเปนแบบแผน ขอ ๑. ปลิโพธ ๑๐ ขอ ๒. เขาหากัลยาณมิตร ขอ ๓. รับกรรมฐานที่เหมาะกับจริยา/จริต 18
448 450 451 452 453
455 456 457 458 459 460 461 462 463 464 467 468 469 470 471
ความหมายของจริยา การรับกรรมฐาน ขอ ๔. เขาประจําที่ ขอ ๕. เจริญสมาธิ: หลักทั่วไป ขอ ๖. เจริญสมาธิ: อานาปานสติภาวนา เปนตัวอยาง ก) ขอดีพิเศษของอานาปานสติ ข) พุทธพจนแสดงวิธีปฏิบัติ ค) วิธีปฏิบัติภาคสมถะ -กําหนดลมหายใจ -การติดตาม ผลสูงสุดของสมาธิ และสูความสมบูรณเหนือสมาธิ ก) ผลสําเร็จและขอบเขตความสําคัญของสมาธิ ข) องคประกอบตางๆ ที่ค้ําจุน เกื้อหนุน และเสริมประโยชนของสมาธิ (๑) ฐาน ปทัฏฐาน และที่หมายของสมาธิ (๒) องคประกอบรวมของสมาธิ (๓) เครื่องวัดความพรอม (อินทรีย ๕) (๔) คณะทํางานของปญญา อาหารและอนาหารของนิวรณ (๕) องคมรรคสามัคคีพรอมไดที่ องคมรรคหลายอยางทําหนาที่ไดในขณะเดียวกันไดอยางไร ความสําเร็จของแตละบุคคลแตกตางกันเพราะเหตุใด พุทธพจนแสดงโพธิปกขิยธรรมและมรรค บันทึกที่ ๑: การเจริญสติปฏฐาน คือการอยูอยางไมมีความทุกขที่จะตองดับ
19
472 473 475 476 477 478 479 480 481 482 484 485 486 488 489 492 493 494 495 496
บทที่ ๑๗ บทสรุป: อริยสัจ ๔ ฐานะและความสําคัญของอริยสัจ ความหมายของอริยสัจ อริยสัจ กับปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท กับอริยสัจ พิเศษ กิจในอริยสัจ ญาณ ๓ ขอควรทราบเพิ่มเติม แนวอธิบายอริยสัจโดยสังเขป ก) ยกทุกขขึ้นพูดกอน เปนการสอนเริ่มจากปญหา เพื่อใชวิธีการแหงปญญา ข) คนเหตุปจจัยใหพบดวยปญญา ไมมัวหาที่ซัดทอด ค) ชีวิตที่เปนอยูดวยปญญา มีความสุขอยางอิสระ และทํากิจดวยกรุณา ง) ถาถึงพระรัตนตรัย ก็ไมรอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ฤทธิ์ปาฏิหาริย เลิกฝากตัวกับโชคชะตา จ) ทางของอารยชนกวางและสวาง ทั้งพึ่งตนได และคนทั้งหลายก็ชวยหนุนกัน ฉ) เมื่อพระรัตนตรัย พาเขาและคืบไปในไตรสิกขา มรรคก็พัฒนาสูจุดหมาย วิธีแกปญหาแบบพุทธ คุณคาที่เดนของอริยสัจ ขอสังเกตบางประการ ในการศึกษาพุทธธรรม ก. ภาคมัชเฌนธรรมเทศนา หรือ ภาคกระบวนธรรม ข. ภาคมัชฌิมาปฏิปทา หรือ ภาคกระบวนวิธี สรุป “พุทธธรรม” ลงในอริยสัจ 20
497 498 499 500 501 502 503 504 505 506 507 508 509 510 511 513 514 515 516
ภาค ๓ อารยธรรมวิถี ตอน ๖: ชีวิตที่ดี เปนอยางไร? บทที่ ๑๘ บทความประกอบที่ ๑: ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน บทนํา และคุณสมบัติของบุคคลโสดาบัน ฝายมี และฝายหมด ละหรือมีก็เชนกัน สะพานสูนิพพาน บุคคลโสดาบันตามนัยพุทธพจน โสตาปตติยังคะ-ก.ลักษณะ-ข.คุณสมบัติทั่วไป โสตาปตติยังคะ-ก.ลักษณะ-ข.คุณสมบัติทั่วไป โสตาปตติยังคะ-ง.กอนเปนโสดาบัน คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน - ศรัทธา - ศีล - สุตะ - จาคะ - ปญญา สรุปคุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน คุณสมบัติเดน ๒ ขอของบุคคลโสดาบัน บันทึกพิเศษทายบท
21
517 519 520 521 522 523 524 525 526 527 528 529 530 531 532
บทที่ ๑๙ บทความประกอบที่ ๒: ศีลกับเจตนารมณทางสังคม บทนํา และสามคําสําคัญในชุดของศีล: ศีล วินัย สิกขาบท ศีลระดับธรรมอยูที่ตัวคน ศีลระดับวินัยขยายผลเพื่อสังคม ตัวอยางหลักปฏิบัติที่มุงเพื่อเชิดชูธรรมความดีงามและประโยชนสุขของสังฆะ ก) การกราบไหวตามแกออนพรรษา ข) พุทธบัญญัติหามภิกษุอวดอุตริมนุสสธรรม ค) ทําไมจึงทรงยกยองสังฆทานวามีผลมากที่สุด หัวใจของวินัย: เคารพสงฆ ถือสงฆและกิจสงฆเปนใหญ มั่นในสามัคคี ชูธรรม ถือหลักการ มีประโยชนสุขของประชาชนเปนจุดหมาย วินัยในความหมายที่กวางใหญเลยจากศีล บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: แสดงธรรม บัญญัติวินัย บันทึกที่ ๒: ศีล วินัย ศีลธรรม บันทึกที่ ๓: ความหมายบางอยางของ “วินัย” บันทึกที่ ๔: การปฏิบัติเพื่อประโยชนสุขของพหูชน บันทึกที่ ๕: เคารพธรรม เคารพวินัย บันทึกที่ ๖: การเคารพตามอายุสมาชิกภาพ บทที่ ๒๐ บทความประกอบที่ ๓: เรื่องเหนือสามัญวิสัย: ปาฏิหาริย – เทวดา บทนํา และมนุษยทั้งหลายลวนแตมัววุนวายกับปญหาวา มีหรือไมมี จะเชื่อหรือไมเชื่อ ก็ควรปฏิบัติตอสิ่งนั้นใหถูกตอง อิทธิปาฏิหาริย อิทธิปาฏิหาริย คืออะไร? และแคไหน? ปาฏิหาริย ไมใชแคฤทธิ์ แตมีถึง ๓ อยาง 22
533 535 538 539 541 542 544 546 547 548 549 550 551
552 554 555 556
อิทธิปาฏิหาริย ไมใชธรรมที่เปนแกนสาร อิทธิฤทธิ์ ชนิดอริยะ และชนิดอนารยะ โทษแกปุถุชน ในการเกี่ยวของกับเรื่องฤทธิ์ แนวปฏิบัติที่ถูกตอง ในการเขาไปเกี่ยวของกับเรื่องฤทธิ์ บันทึกที่ ๑: อิทธิปาฏิหาริยในคัมภีร การแสดงอิทธิปาฏิหาริยของพระสาวก เรื่องที่เลาในอรรถกถา มีมากมาย เรื่องฤทธิ์ของคนอื่นๆ มีมาในบาลีบางบางแหง เทวดา มนุษย กับ เทวดา เปรียบเทียบฐานะกัน ญาณทัสสนะของพระผูเหนือกวาเทพ มนุษยกับเทวดา ความสัมพันธใด ที่ลาสมัย ควรเลิกเสีย หวังพึ่งเทวดา ไดผลนิดหนอย แตเกิดโทษมากมาย สรางความสัมพันธที่ถูกตอง ระหวางมนุษยกับเทวดา ความสัมพันธแบบชาวพุทธ ระหวางมนุษยกับเทวดา บันทึกที่ ๒: การชวย และการแกลง ของพระอินทร บันทึกที่ ๓: สัจกิริยา ทางออกที่ดี สําหรับผูยังหวังอํานาจดลบันดาล บันทึกที่ ๔: พระพุทธ เปนมนุษย หรือเทวดา สรุปวิธีปฏิบัติตอเรื่องเหนือสามัญวิสัย พัฒนาการแหงความสัมพันธ ๓ ขั้น กาวสูขั้นมีชีวิตอิสระ เพื่อจะเปนชาวพุทธที่แท วิธีปฏิบัติที่ถูกตอง ตอสิ่งเหนือสามัญวิสัย ปฏิบัติถูกตอง คือเดินหนา เปนชาวพุทธ คือไมหยุดพัฒนา ภาคผนวก-สรุปหลักการสําคัญของพุทธศาสนา 23
557 558 559 560 561 562 563 564 565 566 567 568 569 570 571 572 573 574 575 576 577 578
เหตุใดพระพุทธเจาทรงรังเกียจอิทธิปาฏิหาริย วัตถุมงคล-พระก็ให-สรุปแลวคนไทยนับถือพุทธ หรือไสยศาสตร การนับถืออํานาจดลบันดาลภายนอก-ตางจากพุทธ
579 580 581
บทที่ ๒๑ บทความประกอบที่ ๔: ปญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ บทนํา และกลไกชีวิตในการกระทํา แงความหมายที่ชวยใหเขาใจตัณหา และฉันทะ ชัดยิ่งขึ้น ความเขาใจหลักธรรม ตามหลักฐานทางวิชาการ “ฉันทะ” อยางไหนเปนตนตอของทุกข อยางไหนคือที่ตั้งตนของกุศลธรรม “ฉันทะ” ถึงจุดลงตัวของความหมายที่ใชเปนมาตรฐาน การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ: ตัณหา กับฉันทะ อธิบายเชิงเปรียบเทียบ ปญหาจากระบบเงื่อนไขของตัณหา ผลดีจากระบบตรงไปตรงมาของฉันทะ สภาพการกิน ภายใตครอบงําของระบบเงื่อนไข การสืบพันธุ: ระบบธรรมชาติที่แทบเลือนหาย ภายใตอารยธรรมแหงกามคุณ กินดวยปญญา พาใหกินพอดี ขอพิจารณาเชิงซับซอน เมื่อไมมีอะไรลอตัณหา ก็พึ่งพาไดแตฉันทะ คนวนอยูที่อยากใหตัวไดสิ่งที่ปรารถนา รักษาความมั่นคงของอัตตาไว ฉันทะตอของ ขยายสูเมตตาตอคน แมวาฉันทะจะขยายไปถึงเมตตากรุณา ตัณหาก็ยังตามไปรังควาน ทวนความหมาย และกระบวนการเกิดของฉันทะ ฉันทะอยากชั่ว ตัณหาอยากดี มีหรือไม?
582 584 585 586 587 588 589 590 591 592 593 594 595 596 597 598 599 600 601
24
ระวังไว ฉันทะมา ตัณหาอาจจะสอด หรือแทรกสลับ อยากนิพพาน อยางไรเปนฉันทะ อยางไรเปนตัณหา ตัณหาใหละแน แตฉันทะก็ละอีกแบบหนึ่ง จะละตัณหา ก็ใชตัณหาได แตไมวายตองระวัง บทสรุป มนุษยเปนสัตววิเศษ ตองเพิ่มเดชดวยฉันทะ มิใชจะมัวเปนทาสของตัณหา ถึงจะพนตัณหา ไดฉันทะมา ก็ยังตองเดินหนาไปกับปญญา จนกวาจะพนปญหาแทจริง ปญญามาแทนที่ ตัณหาหมดหนาที่ มีฉันทะเต็มที่ ปญญาและกรุณา ตัวกํากับและขับเคลื่อนการทํางานของมหาบุรุษ สรุปขอควรกําหนดเกี่ยวกับตัณหาและฉันทะ พัฒนาคนได ดวยการพัฒนาความตองการของเขา บทที่ ๒๒ บทความประกอบที่ ๕: ความสุข ๑: ฉบับแบบแผน รูจักกามสุข และเสพบริโภคอยางมีปญญา ที่ทําใหเปนอิสระเสรี ความสุขมีหลากหลาย สูงขึ้นไปตามลําดับขั้น กามสุขของมนุษย ของสวรรค และความสุขที่ดีกวานั้น สวนเสีย หรือขอดอยของกามสุข พระพุทธเจายืนยันวา ทรงมีความสุขยิ่งกวาบุคคลที่โลกถือกันวามีความสุขที่สุด เทียบกามสุขต่ําไว เพื่อใหเรงพัฒนาความสุข จะไดมีสุขที่เลือกได และกาวขึ้นไปใหถึงสุขที่สูงสุด ถึงจะยังบริโภคกามสุข ก็ตองมีปญญารักษาอิสรภาพไว รูหนทางปลอดภัยจากกามทุกข
25
602 603 604 605 606 607 608 609 610 611
612 613 614 615 616 617 618
บริโภคกามสุขอยางอิสรชน รูจักจัดรูจักใชขยายประโยชนสุข ก็เปนผูประเสริฐ เปนอริยสาวก สุขใน สุขประณีต จนถึงสุขสูงสุด สุขเหนือเวทนา สุขไดไมตองพึ่งเวทนา คืออิสรภาพ และเปนสุขภาวะที่สมบูรณ ถึงนิพพาน สุขเต็มสุดแลว จะเลือกสุขอยางไหนก็ได ทําไมมองลงมาไมถึงกามสุข ทบทวนความสุขที่คนสามารถพัฒนาไปถึงได บทสรุป หลักการพื้นฐานแหงการตรัสรูของพระพุทธเจาวา ความสุขลุถึงไดดวยความสุข เรียนรูใหชัด วิธีปฏิบัติตอความสุข มองความสุขเชิงปฏิบัติ วัดจากการพัฒนาของชาวบานขึ้นไป ๑. กรณีที่เสวยกามสุข ๒. กรณีที่ไมเสวยกามสุข บันทึกพิเศษทายบท บทที่ ๒๓ บทความประกอบที่ ๖: ความสุข ๒ : ฉบับประมวลความ พุทธศาสนา คือ ระบบการพัฒนาความสุข พุทธศาสนาสอนวา สุขถึงไดดวยสุข ภาคหลักการ ความสุข คืออะไร ความตองการ คืออะไร และสําคัญอยางไร พอจะไดใจพองฟูขึ้นไป เปนปติ ไดสมใจสงบลงมา เปนความสุข สองทางสายใหญ ที่จะเลือกไปสูความสุข 26
619 622 623 624 625 626 627 628 629 630 631
632 633 634 635 636 637
ถาการศึกษาพัฒนาคนใหมีความสุขดวยฉันทะได จริยธรรมไมหนีไปไหน กฎมนุษยสรางระบบเงื่อนไข ถาใหระบบเงื่อนไขหนุนกฎธรรมชาติได ก็จะมีผลดีจริง รูทันวาอยูในระบบเงื่อนไข ก็ใชมันใหเต็มคุณคา ความสนุกในการเรียน กับความสุขในการศึกษา แคมีความสุขในการเรียน ยังไมพอ ตองขอใหเรียนแลว กลายเปนคนมีความสุข ความสุขมีมากมาย ธรรมชาติรอบกายก็รอจะใหความสุข จะพัฒนาความสุข ตองพัฒนาความตองการตอเพื่อนมนุษยดวย ความสุขเหนือกาล เมื่อเหนือการสนองความตองการ สุขเพราะไดเกาที่คัน กับสุขเพราะไมมีที่คันจะตองเกา การพัฒนาความสุข: วัดผลเชิงอุดมคติ ภาคปฏิบัติการ ทุกขมีทุกขมา อยาเสียทาเอาใจรับ จงเรียกปญญาใหมาจับเอาทุกขไปจัดการ ทั้งทุกขและสุข ปฏิบัติใหถูก มีแตสุข ทุกขไมมี ความสุขที่พึงเนน สําหรับคนทั่วไป เริ่มตั้งแตในบาน พัฒนากามสุขที่สุขแยงกัน ใหมีความสุขที่สุขดวยกัน ชีวิตจะวัฒนา ถาไดปราโมทยมาเปนพื้นใจ สังคมจะมีสันติสุขได คนตองรูจักความสุขจากการให ไมเฉพาะสังคม แมในสังฆะ พระก็ถือหลักแบงปนลาภ ใหความดีงามในจิตใจบุคคล ออกมาเปนปฏิบัติการเกื้อสังคม บุคคลเอื้ออารี สังคมสามัคคี ทุกคนได ทุกคนดี มีสุขดวยกันและทั่วกัน คนมีปญญา แมแตทุกข ก็เห็นคุณคา และใชประโยชนได ความสุขมีคุณมาก โทษก็หนัก ตองรูจักใช 27
638 639 640 641 642 643 644 645 646 647 648 649 650 651 652 653 654 655 656 657 658 659
ของเสพเต็มไปหมด สุขกลับลด ทุกขก็งาย จะสุขงาย ทุกขไดยาก หากฝกไว บทลงทาย ความสุขที่สมบูรณ ดูอยางไร เมื่อสุขของบุคคล คือสุขเพื่อมวลชนทั้งโลก บันทึก
28
660 661 662 663
๒. รวมธรรมบรรยาย ๔๓ ชุด
โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) วัดญาณเวศกวัน ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม ๑. พุทธประวัติ และประวัติศาสตร ๑.๑ จาริกบุญ จารึกธรรม ยอนทางเขาสูแดนพุทธภูมิ เฝาพระพุทธเจาถึงที่ประทับ ความยิ่งใหญที่ทําใหทั้งเจริญและเสื่อม หัวใจธรรม จากจุดศูนยกลาง โพธิพฤกษ - โพธิญาณ จุดเริ่มของแผนดินธรรม ถาสังเวชเปน ก็จะไดเห็นธรรมกาย ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย ทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ รักษาธรรม คือรักษาความเปนไท
664 665 666 667 668 669 670 671 672 673
๑.๒ จากอินเดีย สูเอเชีย มองสงครามอเมริกา-ทาลีบัน ผานภูมิหลังของชมพูทวีป ตอนที่ ๑ มองสงครามอเมริกา-ทาลีบัน ผานภูมิหลังของชมพูทวีป ตอนที่ ๒ มองสงครามอเมริกา-ทาลีบัน ผานภูมิหลังของชมพูทวีป ตอนที่ ๓ มองสงครามอเมริกา-ทาลีบัน ผานภูมิหลังของชมพูทวีป ตอนที่ ๔
674 675 676 677
29
ภัยแหงพระพุทธศาสนาในประเทศไทย มลายูสูแหลมทอง ศูนยพุทธโลก ที่เชื่อมสามัคคี และมีดีใหเขาโดยที่เราไมเสียตัว ตอนที่ ๑ ศูนยพุทธโลก ที่เชื่อมสามัคคี และมีดีใหเขาโดยที่เราไมเสียตัว ตอนที่ ๒ ศูนยพุทธโลก ที่เชื่อมสามัคคี และมีดีใหเขาโดยที่เราไมเสียตัว ตอนเสริมเบ็ดเตล็ด ๑.๓ เลาเรื่องใหโยมฟงชุดที่ ๑ เมื่อพระพุทธองค ทรงผจญคนโกรธ เพราะโกรธหาย จึงไดสุข พระเจาพิมพิสาร ราชวงศปตุฆาต วัดเวฬุวัน จากปจจุบันสูอดีต โยมเที่ยวอินเดีย พระเลาประวัติศาสตร เลาเรื่องเมืองพาราณสี ความหมายของ อัตตา กาลเวลา อานิสงสของศีล ทํากิจ ทําจิต พระ กับ ธรรมวินัย สิกขาบทนอกปาติโมกข แถมเรื่อง สีของจีวร สังขารในขันธ ๕ กับ สังขารในไตรลักษณ ศัพทหลากหลายในหนังสือ พุทธธรรม 30
678 679 680 681 682
683 684 685 686 687 688 689 690 691 692 693 694 695 696
ความหมายที่ถูกตองของ ทรมาน ความหมายที่ถูกตองของ ภาวนา ตัณหา มานะ ทิฏฐิ เสรีภาพ เสรีธรรม ความสงบ เครื่องมือวัดความเจริญของชาวพุทธ ขยายความเรื่อง ศรัทธา ขยายความเรื่อง ศีล ขยายความเรื่อง สุตะ ขยายความเรื่อง จาคะ ขยายความเรื่อง ปญญา สันโดษ ธุดงค มนุษยธรรม เทวธรรม อริยธรรม อุโบสถ คืออะไร ถืออยางไร ประโยชนที่พึงมุงหมายในชีวิต การอุปถัมภค้ําชูพระศาสนา สันติภาพเกิดขึ้นไดอยางไร ธรรมของสัตตบุรุษ สังฆทาน
697 698 699 700 701 702 703 704 705 706 707 708 709 710 711 712 713 714 715
๑.๔ เลาเรื่องใหโยมฟง ชุดที่ ๒ เมื่อชีวิตมีปญหา ตองใชปญญาแก ปญญาในชาดก เรื่องที่ ๑ ปญญาในชาดก เรื่องที่ ๒
716 717 718 31
ปญญาของพระกุณฑลเกสีเถรี ปญญาระดับสามัญ ทางเกิดของปญญา การบําเพ็ญปญญาบารมี วิธีเจริญปญญา เกร็ดความรูเรื่องบทสวดมนต พุทธคุณ ขอที่ ๑ สุคโต พุทธคุณ ขอที่ ๒ อรหัง พุทธคุณ ขอที่ ๓ สัมมา พุทธคุณ ขอที่ ๔ วิชชาจรณะสัมปนโน พุทธคุณ ขอที่ ๕ โลกวิทู พุทธคุณ ขอที่ ๖ อนุตตโร ปุริสทัมมสารถิ พุทธคุณ ขอที่ ๗ สัตถา เทวมนุสสานัง พุทธคุณ ขอที่ ๘ พุทโธ พุทธคุณ ขอที่ ๙ ภควา สมาธิ-อธิจิตตสิกขา-ขันติ ธรรมะกับการเลือกตั้ง ไตรลักษณ ในชีวิตประจําวัน ชวนฟงเรื่องพระเวสสันดร กอนประณามวาทานทิ้งลูกเมีย ลิงในนิทานชาดก สัพพาสวสังวรสูตร พระสูตรอันวาดวยการตัดอาสวะทั้งปวง พระพุทธบาท ริมฝงน้ํานัมมทา มหาสาโรปมสูตร พระสูตรอันวาดวยอุปมาแหงแกนไม
32
719 720 721 722 723 724 725 726 727 728 729 730 731 732 733 734 735 736 737 738 739 740 741
มนุษยธรรม เทวธรรม อริยธรรม (อุตตรานันทมารดา อุบาสิกายอดอุปฏฐาก) โพชฌงค องคธรรมเพื่อความรูแจง ๑.๕ ชาวพุทธนั้น ความรูฐานก็มั่น ความรูทันก็มี พระไตรปฎกบาลีนี้รักษากันมาอยางไร ใครๆ จึงพากันยอมรับเปนหลัก ภาษาบาลี รูจักกันแคไหน บวชภิกษุณี เมื่อรูเรื่องแจมแจงและมีใจดี ก็มาชวยกันดู บวชภิกษุณี มีขอควรรูประกอบไว ปญหาภิกษุณี คิดใหดีก็ไมยาก คนเชนไร จะรักษาธรรมไวไดในสังคม ตอนที่ ๑ คนเชนไร จะรักษาธรรมไวไดในสังคม ตอนที่ ๒ คนเชนไร จะรักษาธรรมไวไดในสังคม ตอนที่ ๓ พุทธแคไหนคือเถรวาท พุทธอยางไรเปนมหายาน ตอนที่ ๑ พุทธแคไหนคือเถรวาท พุทธอยางไรเปนมหายาน ตอนที่ ๒ ภัยแหงพระพุทธศาสนาในประเทศไทย เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด ชวงที่ ๑ เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด ชวงที่ ๒ เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด ชวงที่ ๓ เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด ชวงที่ ๔
33
742 743
744 745 746 747 748 749 750 751 752 753 754 755 756 757 758
๒. หลักธรรมและการปฏิบัติ ๒.๑ ตามพระใหมไปเรียนธรรม บวชอยางไร พอแมปูยาตายาย จะไดบุญมาก พอบวชพนอกพอแม ตองรูใหแน วาจะมีชีวิตเปนอยูอยางไร พอบวชเสร็จเปนพระใหม อะไรทําได ทําไมได ตองรูทันที พอเขาสูศาสนา ก็เห็นการบูชา จึงตองรูวาจะบูชาอยางไรดี ชีวิตพระใหม เริ่มตนอยางไร จึงจะพอใหชื่นใจวาเราไดบวชเรียน จะอยูวัดบานหรืออยูวัดปาก็นาศรัทธา ถามีธรรมใหแกประชาชน ตัวมีชื่อวาเปนพระ แตถาไมปฏิบัติใหถูก ก็แคคือกันกับหมอผี สวดมนตเปนเรื่องใหญ สวดกันทําไมตองรูใหชัด พุทธศาสนาเกิดขึ้นมา มิใชวาพิธีกรรมจะไรความหมาย ถาไมถือแบบงมงาย ก็อาจใชพิธีกรรมมาสื่อธรรมใหถึงคน วัตถุมงคลตองใชผูกใจประชาชนไวกับธรรม เอาวัตถุมงคลมาเปนบันได พัฒนาคนไปใหพนวัตถุมงคล นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากอริยมรรคไมเหลือดี ถารูภูมิหลังของอินเดียสักหนอย ก็จะคอยเห็นแกนของพระพุทธศาสนา มนุษยเปนสัตวประเสริฐขึ้นมาเลยก็หาไม แตประเสริฐไดดวยการฝก ธรรมะมีความหมายมากมาย แตรูไวแค ๔ ก็พอ ถาอยูแคความรูสึกก็เปนคนพาล ถาเอารูมาประสานได ก็อาจเปนบัณฑิต การศึกษาเริ่มที่ตาหู จะดูฟงไดแคตัณหา หรือไปถึงปญญา นี่คือตัวตัดสิน อารยธรรมมนุษยหนีวงจรเจริญแลวเสื่อมไมได เพราะวายวนอยูแคในกระแสตัณหา อะไรกันคนไทย ยังไมรูจักวาสันโดษอยางไหนดี อยางไหนไมดี 34
759 760 761 762 763 764 765 766 767 768 769 770 771 772 773 774 775 776 777 778
อยาเอาความอยากที่ชั่วรายมาปะปน ความอยากที่เปนกุศลนั้นเราตองมี คนดอยพัฒนา มัวรอเทวดาใหมาชวย อารยชนรูจักพึ่งตนและชวนคนใหรวมดวยชวยกัน อิทธิบาท ๔ อยาดีแตรูจักชื่อ ตองรูเขาใจ เอาไปใชใหไดดวย แคเมตตากรุณา คนไทยก็หลงปา ไปไมถึงมุทิตาอุเบกขาสักที ประเทศพุทธอยางไทย ทําไมไมเจริญอยางฝรั่ง บอกวาไทยนับถือพุทธเจริญไมมาก ขอถามหนอยวา คนไทยเอาพุทธมาปฏิบัติมากแคไหน ถาเขาถึงความจริงของธรรมชาติ แลวเอามาจัดการชีวิตและสังคมใหดีได ก็จบความหมายของพระพุทธศาสนา โยมขอศีล พระใหสิกขาบท ขอสมาธิ ใหกรรมฐาน ขอปญญา ใหคําสอนหรือขอพิจารณา แมจะมีเพียงวินัยโดยธรรมชาติอยางฝูงนกและกลีบดอกไม ก็ยังดีกวาคนไรปญญา ไมรูจักวินัย การพัฒนาชีวิต พัฒนาสังคม จะไมลมสลาย ถาวินัยยังอยูเปนฐาน ฝกคนครบ ๓ แดน คนก็จะพัฒนา ๔ ดาน ฝกคน ๓ แดน คนก็เดินไปในวิถชี ีวิตดีงามที่เรียกวามรรค มรรคมีองค ๘ ก็กระจายออกไปจากวิถีชีวิตดีงาม ๓ แดน นี่เอง อยากไดสมาธิกันนักหนา ถาไมเอาสติมานําหนา ทางสําเร็จก็ไมมี อยากเปนคนมีปญญาดี ถาสติไมมี ก็หมดทางเจริญปญญา ปญญาเปนแดนยิ่งใหญ ตองพัฒนากันไป จนกลายเปนโพธิญาณ ในยุคขาวสารตองมีปญญาแตกฉาน ทั้งภาครับและภาคแสดง นับถือพระพุทธศาสนาไมใชแคมีที่พึ่งพาไวยดึ เหนี่ยว หรือปลอบประโลมใจ 35
779 780 781 782 783 784 785 786 787 788 789 790 791 792 793 794 795 796
ถานับถือพระรัตนตรัย ไมตองมีใครมาเคี่ยวเข็ญ ก็สํานึกถึงความจําเปนที่จะตองฝกตนยิ่งขึ้นไป ญาติโยมก็รักษาอุโบสถ พระสงฆก็ลงอุโบสถ เปนมาเปนไปและแตกตางกันอยางไร ถาพึ่งพระรัตนตรัยถูกตอง ก็จะกาวตอขึ้นไปถึงธรรม จนจบที่เปนอิสระแท ไมตองพึ่งอะไรๆ แมจะพูดถึงอริยสัจ ๔ กันสักเทาไร ก็ไมมีทางเขาใจ ถาไมรูหลักหนาที่ตออริยสัจ กอนจะเขาเนื้อ มาดูหนังอริยสัจกันกอน ดูขันธ ๕ ใหเห็นการทํางานของชีวิต พอไดพื้นความเขาใจที่จะไปเรียนอริยสัจ ดูมรรคมีองค ๘ ใหเห็นวิถีชีวิตที่ดีงาม วาดําเนินไปอยางไร ทางชีวิตดีงามมีอยูก็ดีแลว แตคนที่ยังอยูนอกทางเลา ทําอยางไรจะใหเขาเขามาเดิน ถึงไมมีใครไปพามา ถาคนมีโยนิโสมนสิการ เขาก็มาเขาทางที่ถูกได ดวยตัวเขาเอง แสงอรุณยืนยันการขึ้นมาของดวงอาทิตย แลวอะไรเปนบุพนิมิตของการเขาสูวิถีชีวิตที่ดีงาม ตอนที่ ๑ แสงอรุณยืนยันการขึ้นมาของดวงอาทิตย แลวอะไรเปนบุพนิมิตของการเขาสูวิถีชีวิตที่ดีงาม ตอนที่ ๒ ทางชีวิตของอารยชน เริ่มตนดวยปจจัย ๒ มีหนวยหนุนประคองอีก ๕ รวมเปนแสงอรุณ ๗ รัศมี หลักปฏิบัติใหญคือ ไตรสิกขา แตทานใหชาวบานทําบุญดวย ทาน ศีล ภาวนา ชาวบานไมตองศึกษาหรืออยางไร
36
797 798 799 800 801 802 803 804 805 806 807 808 809
รักษาศีล ๘ อยาพูดแควาไดบุญ ตองรูวาศีล ๘ มาหนุนใหกาวไปสูการพัฒนาจิตใจและปญญาอยางไร ถารูคุณคาของศีล ๘ ถูกตองแลว จะรักษาอุโบสถแบบไหนๆ ก็เลือกไดอยางสมเปนพุทธชน จะไปนั่งสมาธิ หรือเขาวิปสสนา ก็มาทําความเขาใจใหมีพื้นกันไวกอน หนีทุกขอยากมีสุขกันนัก แตไมรูจักวาเจอมันเขาจะเอาอยางไร หาความสุขไมเปน จะเหมือนเชนสุนัขคาบเนื้อ จะเอาเงาในน้ํา สุขที่มีก็หมด สุขที่หมายก็ละลาย ชีวิตและสังคมทุกขระทมถึงขั้นวิกฤต ก็เพราะคนจมติดอยูแคความสุขที่พึ่งพาการเสพ เรามีความสุขไวในตัวเลยดีกวา อยาเปนอยางคนที่เขาขาดไรความสุข แลวจึงตองไปเที่ยววิ่งหา สุขแทมีทุกที่ทุกเวลา ไมตองหาไมตองสราง คนจะพัฒนาได ตองมีวินัยเปนฐาน วินัยพระยังเหลือ สังคมพุทธไทย เมื่อฐานหาย ตองรีบฟนวินัยใหทันกอนจะวอดวาย ๒.๒ คุยกับเณร พอใหเห็นธรรม พิธีบรรพชา ธรรมปฐมนิเทศ รูจักบทสวดมนต กอนเริ่มตนสาธยาย นับเลขอยางไร ใหเกิดสมาธิ พุทธคุณ ๓ สารัตถะของสมาธิ ธรรมปฏิสันถาร ฟงเรื่องอนันตริยกรรมผานตํานาน
810 811 812 813 814 815 816 817 818
819 820 821 822 823 824 825 826 37
ธรรมคุณ ๖ สังฆะ สังคมแหงการฝกฝนพัฒนา พระรัตนตรัยคืออะไร ที่พึ่งทางใจ กับ เครื่องฝกทางกาย สมมติสงฆ-อริยสงฆ กายสามัคคี จิตสามัคคี ภิกษุ - สมณะ - บรรพชิต อริยสัจ ๔ ตอนที่ ๑ อริยสัจ ๔ ตอนที่ ๒ สยามนิกายในลังกา มนุษย ประเสริฐไดดวยการฝก ดานใดของชีวิต ที่ตองคิดพัฒนา ตอนที่ ๑ ดานใดของชีวิต ที่ตองคิดพัฒนา ตอนที่ ๒ ประวัติพระเจาอโศก โอวาทวันลาสิกขา โอวาทวันเด็ก ๒๕๓๓ โอวาทวันเด็ก ๒๕๓๕ โอวาทวันเด็ก ๒๕๔๑ ยิ่งยากยิ่งไดมาก ปฏิสัมภิทามรรค ปญญาแตกฉาน พิธีบรรพชาสามเณร พรปใหม พ.ศ. ๒๕๕๘
38
827 828 829 830 831 832 833 834 835 836 837 838 839 840 841 842 843 844 845 846 847 848
๒.๓ ทุกวันสําคัญ ชวนกันเจริญธรรม วาเลนไทน สูความรักแทที่ยิ่งใหญ มาฆบูชาจะแซงวาเลนไทน เมื่อรักของนักให มาแทนรักของนักหาความสุข คนไทยตองเขมแข็งดวยปญญา จงลุกขึ้นมากาวหนาไป ความรุนแรงเกิดจากความออนแอ ความเปนกลางแท อยูที่ถือความถูกตอง ถาเกงจริง ตองสามารถทําใหคนทั้งหลาย มีความสุข จะเปนพระตองมีวินัย จะเปนชาวพุทธได ก็ตองมีหลัก เมื่อเริ่มตนจริงจังตั้งหลักได ทางไปขางหนา ก็จะมองเห็น เลิกพูดเสียที เกิดมาใชกรรม ถวายเทียน ๙ วัด ไดบุญมากพอไหม เขาพรรษา ควรจะรูอะไร เขาพรรษา กับอุดมคติของพระพุทธศาสนา ปวารณาฝกวาจา พัฒนาคน ทําชุมชนใหสามัคคี เปดปากเปดใจ ใชวาจาแกกรรม ทําประโยชน ทอดกฐินไป ใหไดกฐินมา กฐิน ความสามัคคีของคนที่เจริญ ปใหม ตอนรับ หรือทาทาย พรปใหม ไมใชแคใหรวย
851 852 853 854 855 856 857 858 859 860 861 862 863 864 865
๒.๔ หลักพุทธศาสนา จากวันสําคัญ และประเพณี ที่ประกาศอิสรภาพของมนุษย โพธิพฤกษ-โพธิญาณ วิสาขบูชา เตือนชาวพุทธกาวใหถึงปญญา
866 867 868
39
849 850
ทางสายกลาง เพื่อชีวิตสังคมที่สุขสมบูรณ สวดมนตเปนเรื่องใหญ สวดกันทําไมตองรูใหชัด นับถือพุทธศาสนา อยาใหเพี้ยน นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากพุทธวิถี ตอนที่ ๑ นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากพุทธวิถี ตอนที่ ๒ หลักชาวพุทธ รูใหชัด จะไดเริ่มปฏิบัติกันเสียที ตอนที่ ๑ หลักชาวพุทธ รูใหชัด จะไดเริ่มปฏิบัติกันเสียที ตอนที่ ๒ ๒.๕ จากจิตวิทยา สูจิตภาวนา จากจิตวิทยา สูจิตภาวนา ตําแหนงของขอปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา ความสัมพันธระหวางจิตภาวนากับปญญาภาวนา บุพภาคของการเจริญภาวนา ตอนที่ ๑ ปลิโพธ เขาหากัลยาณมิตร เรียนกรรมฐานกับพระอาจารย เลือกหาที่สัปปายะ พิธีสมาทานกรรมฐาน บุพภาคของการเจริญภาวนา ตอนที่ ๒ พิธีสมาทานกรรมฐาน คุณพระรัตนตรัย สมาทานศีล อธิษฐาน แผเมตตา มรณสติ ระลึกถึงบุญ ขอหาม ความหมายของภาวนา กรรมฐาน อารมณ กรรมฐานที่ใชในการเจริญสมถภาวนา 40
869 870 871 872 873 874 875
876 877 878 879 880 881 882 883 884 885 886 887
กรรมฐาน ๔๐ เกณฑในการเลือกกรรมฐาน จริต ๖ และหลักการดูจริต การเลือกกรรมฐานโดยพิจารณาใหเหมาะกับจริต ขีดขั้นของความสําเร็จที่กรรมฐานจะใหได ผลสําเร็จของการเจริญจิตภาวนา การละนิวรณ สมาธิ ๓ อยาง สมาบัติ ๘, อภิญญา ๖ ความกาวหนาหรือขั้นตอนในการปฏิบัติ นิมิต ๓ ภาวนา ๓ ขั้น จิตภาวนาสูปญญาภาวนาดวยสติปฏฐาน ความหมายของวิปสสนา วิปสสนาภูมิ ๖ โพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ วิสุทธิ ๗ วิปสสนาญาณ ๙ ญาณ ๑๖ ปริญญา ๓ อนุปสสนา ๓ ตัวอุปสรรคในกระบวนการปฏิบัติ (วิปลลาส ๔ วิปสสนูปกิเลส ๑๐) ความจริงที่ถูกเปดเผยโดยวิปสสนา หลักการทั่วไปของสติปฏฐาน ความหมายของสติปฏฐาน อารมณของสติปฏฐานโดยยอ กายานุปสสนาสติปฏฐาน เวทนา-จิตตา-ธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน 41
888 889 890 891 892 893 894 895 896 897 898 899 900 901 902 903 904 905 906 907 908 909 910 911
ขอสังเกตและขอแตกตาง หลักการปฏิบัติ ความมุงหมาย และตัวทํางาน วิธีการกําหนดและวางใจ กระบวนวิธีปฏิบัติและเทคนิค โยงอานาปานสติสูสติปฏฐาน ลําดับการปฏิบัติในการเจริญอานาปานสติ ๑๖ ขั้น ขอควรทราบที่ ๑ (สิกฺขติ=ศึกษาวา ปชานาติ=รูชัดวา) ขอควรทราบที่ ๒ (สังขาร ๓) ขอควรทราบที่ ๓ (นิวรณ ๕ องคฌาน ๕ ธรรมสมาธิ ๕) ลําดับการปฏิบัติ หมวดที่ ๑ กายานุปสสนาสติปฏฐาน หมวดที่ ๒ เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน หมวดที่ ๓ จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน หมวดที่ ๔ ธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน ความสําเร็จของการปฏิบัติ (โพชฌงค ๗)
912 913 914 915 916 917 918 919 920 921 922 923 924 925 926
๒.๖ ปฏิบัติธรรมถูกทาง สรางบุญก็ได ไปนิพพานก็ถึง ปฎิบัติธรรมใหถูกทาง ตอนที่ ๑ ปฎิบัติธรรมใหถูกทาง ตอนที่ ๒ มงคล วิถีการดําเนินชีวิตของชาวพุทธ พระธรรมปฎกชี้ทางหยุดฆาตัวตาย พินัยกรรมชีวิต ผลตอศาสนา การทําบุญ
927 928 929 930 931 932 933
42
เราจะนับถือพระพุทธศาสนากันอยางไร การดําเนินชีวิตของคฤหัสถ คุณสมบัติของอุบาสกอุบาสิกา ๕ อยาแคมารวมศูนย แตตองขึ้นใหสูง คนไทยไมใจแคบ แตระวังไว อยาใหปญญาแคบ คนไทยมีบุญ แตไมรูจักใชบุญ
934 935 936 937 938 939
๒.๗ ถารูขั้นนี้ได ก็เริ่มถึงเนื้อในของพระพุทธศาสนา สวดปาติโมกข ลดเอาแค ๑๕๐ ขอไดไหม พระไตรปฎกบาลีนี้ รักษากันมาอยางไร พระไตรปฎกมาแลว อรรถกถาอยูตรงไหน ตอนที่ ๑ พระไตรปฎกมาแลว อรรถกถาอยูตรงไหน ตอนที่ ๒ อภิธรรมๆ ไดยินพูดกันบอย ควรรูจักกันไวบาง ตอนที่ ๑ อภิธรรมๆ ไดยินพูดกันบอย ควรรูจักกันไวบาง ตอนที่ ๒ ภาษาบาลี รูจักกันแคไหน ความเปนมา และประโยชนของการสวดมนต สวดมนตกอนนอน ใชบทไหนดี สวดคาถาชินบัญชร แลวเปลี่ยนภพชาติไดจริงหรือ โพธิสัตว ควรปฏิบัติตอทานอยางไร จะเปนพระตองมีวินัย จะเปนชาวพุทธไดก็ตองมีหลัก ขอศีลกันอยูเรื่อย เมื่อไรจะปฏิบัติใหมีจริงๆ เลิกพูดเสียที เกิดมาใชกรรม เมื่อเริ่มตนจริงจังตั้งหลักได ทางไปขางหนาก็จะมองเห็น ถาเกงจริง ตองสามารถทําใหคนทั้งหลาย มีความสุข
940 941 942 943 944 945 946 947 948 949 950 951 952 953 954 955
43
ปฏิกรรม ตอนที่ ๑ มัวรอกรรมอยูได ทําไมไมรีบแกกรรม ปฏิกรรม ตอนที่ ๒ คนที่แกกรรม จะงอกงามกาวหนา
956 957
๒.๘ หลักพุทธศาสนา ตองศึกษาใหชัด ความอยาก ๒ ประเภท ชวงที่ ๑ ความอยาก ๒ ประเภท ชวงที่ ๒ เขาพรรษากับอุดมคติของพระพุทธศาสนา จะศึกษาพระไตรปฏกกันอยางไร ชวงที่ ๑ จะศึกษาพระไตรปฏกกันอยางไร ชวงที่ ๒ ความเขาใจเรื่องขันธ ๕ ชวงที่ ๑ ความเขาใจเรื่องขันธ ๕ ชวงที่ ๒ ขอควรทราบเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท ชวงที่ ๑ ขอควรทราบเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท ชวงที่ ๒ ความหมายของสติ สมาธิและปญญา สติกับความไมประมาทและวาสนา โพธิปกขิยธรรม ชวงที่ ๑ โพธิปกขิยธรรม ชวงที่ ๒ สมาธิแบบพุทธ ชวงที่ ๑ สมาธิแบบพุทธ ชวงที่ ๒ สมถะ - วิปสสนา นิพพาน - อนัตตา
958 959 960 961 962 963 964 965 966 967 968 969 970 971 972 973 974
๒.๙ โอวาท ในพรรษา จิต-วัตถุ กับ นาม+รูป วิทยาศาสตร-พุทธศาสตร จะตีตกหรือจะเติมเต็ม
975
44
ชีวิตพระที่แทอุทิศใหแกโลก ดูทางดี ดูที่เหมาะ จะใหถึงนิพพาน พุทธาวาสที่ญาติโยมมาทําบุญฟงเทศน สังฆาวาสเปนเขตที่พระสงฆอยูวิเวก ยามบานเมืองดีเขาสรางวัดใหลูกทานเลน ยามบานเมืองเซเขาสราง RCA ไวใหลูกหลานเขามั่วสุม รูจักนิพพาน ที่ชาวบานอยากได รูจักนิพพาน ที่นักวิชาการพอเขาใจ วันลั่นกลองธรรมนําสังคมเขาสูทางสายกลาง วิสาขบูชาและพระไปปฏิบัติพุทธศาสนกิจในอังกฤษ หนังสือหลวงพอมากมาย จะเริ่มเลมไหนกอนดี เขาพรรษา ควรจะรูอะไร เจริญสติปฏฐาน ถึงกันกับโพชฌงคไหม ไมอยากลาสิกขา จะบอกอยางไรจึงจะไมฝนใจโยมบิดา
976 977 978 979 980 981 982 983 984 985 986 987
๓. ธรรมะในชีวิตประจําวัน ๓.๑ ธรรมประจําวัย วันเกิด เกิดใหเปน มนุษยเปนสัตวประเสริฐขึ้นมาเลยก็หาไม แตประเสริฐไดดวยการฝก บทบาทของพอแม แนแทชวยใหลูกศึกษา ชวงที่ ๑ บทบาทของพอแม แนแทชวยใหลูกศึกษา ชวงที่ ๒ กุญแจไขความสําเร็จในยุคขาวสารขอมูล ชีวิตตองมีจุดหมาย แตควรจะไปกันแคไหนดี พูดถึงจุดหมาย ก็เลยจะไปใหถึงปรมัตถ 45
988 989 990 991 992 993 994
ทํางานใหเปนไว ความสุขก็หลาย กําไรก็เยอะ จะอยูหรือจะไป ในเมื่ออาชีพไมเอื้อตอธรรม เจานายไมรูตัว จะชวยแกนิสัยอยางไรดี อยากเกง ดี มีสุข เลิศปญญา ก็รีบสรางปราโมทยขึ้นมา ฟนวินัยชาวพุทธขึ้นมา ใหเปนวิถีชีวิตของสังคมไทย แตงงานใหมีคุณคา อายุแท ยิ่งมากยิ่งดี กอนเกษียณก็สดใส เกษียณแลว ยิ่งผุดผองยองใย ไมมีโรคเปนยอดลาภ แตถาเปนโรค ตองทําโรคใหเปนลาภ เลิกพูดเสียที วาเกิดมาใชหนี้กรรม ความเปนมา และประโยชนของการสวดมนต สวดมนตกอนนอน ใชบทไหนดี ไมเชื่อวาตายแลวเกิด ก็ไดแคเชื่อวาไมเกิด ไมไดรูสักที ชวยคนจะตาย จนถึงวาระสุดทายจริงๆ ทําบุญใหคุณพอ ๓.๒ ธรรมะกับการศึกษา หลักสิกขา: ความจริงแหงธรรมชาติของมนุษยที่เปนสัตวฝกได ทางแยกแหงวิถีชีวิต ที่เริ่มจากอายตนะ (๑.สายความรูสึก ๒.สายความรู) สูชีวิตแหงการศึกษาและสรางสรรค บนฐานของอายตนะ ๖ โรงเรียนตองชวยสังคมไทย อนุรักษความเจริญทางจิตใจ และกาวไปในปญญา ฝกคนเริ่มตนที่ไหน ถาเชิดชูพระคุณแมขึ้นมาได การศึกษาไทยก็ยังไมสิ้นความหวัง 46
995 996 997 998 999 1000 1001 1002 1003 1004 1005 1006 1007 1008 1009
1010 1011 1012 1013 1014 1015
การศึกษาอยางพุทธตองถึงธรรมชาติ ฟนวินัยชาวพุทธขึ้นมา ใหเปนวิถีชีวิตของสังคมไทย กุญแจไขความสําเร็จในยุคขาวสารขอมูล เดินหนาไปเปนพุทธอยาหยุดแคเปนพรหม การศึกษากับเศรษฐกิจฝายไหนจะรับใชฝายไหน การศึกษาแนวพุทธ เด็กยุคนี้โชคดี แตจะจมอยูกับที่หรือกาวหนาไป ครูไทยยุคไอที
1016 1017 1018 1019 1020 1021 1022 1023
๓.๓ การศึกษา ตองนําพาสังคมไอที กุญแจไขความสําเร็จในยุคขาวสารขอมูล ไฮเทค ไฮทุกข เด็กยุคนี้โชคดี แตจะจมอยูกับที่หรือกาวหนาไป ครูไทยยุคไอที จักรใด ขับดันยุคไอที ดนตรีสื่อธรรม ๑ คนดีพัฒนาดนตรี & ดนตรีดีพัฒนาคน ดนตรีสื่อธรรม ๒ ถางานวัดยังดี วัฒนธรรมก็ยังมี เพิ่มทวีศีลสมาธิปญญา บริหารคนตองใหไดทั้งใจ ไปถึงทั้งโลก
1024 1025 1026 1027 1028 1029 1030 1031
๓.๔ งานก็ไดผล คนก็เปนสุข บริหารคน ตองใหไดทั้งใจ ไปถึงทั้งโลก รักงาน คือรักแคไหน มีปญญา คือรูเทาใด ทํางานใหเปนไว ความสุขก็หลาย กําไรก็เยอะ งานก็ไดผล คนก็เปนสุข
1032 1033 1034 1035
47
ทํางานทําไม? เพื่อใคร? ไดอะไร? ตอนที่ ๑ ทํางานทําไม? เพื่อใคร? ไดอะไร? ตอนที่ ๒ จะเปนนักทํางานที่แทได ตองรูจักขยายโลกทัศน เคราะหรายเจอประเทศไหนกลายเปนโชค โชคดีเจอประเทศใดกลายเปนเคราะห ตอนที่ ๑ เคราะหรายเจอประเทศไหนกลายเปนโชค โชคดีเจอประเทศใดกลายเปนเคราะห ตอนที่ ๒ พูดกันนักวา ตนเปนที่พึ่งของตน แตที่แท ไมใชแคนั้นหรอก ตอนที่ ๑ พูดกันนักวา ตนเปนที่พึ่งของตน แตที่แท ไมใชแคนั้นหรอก ตอนที่ ๒ อิทธิบาท ๔ อยาดีแตรูจักชื่อ ตองรูเขาใจ เอาไปใชใหไดดวย ประเทศพุทธอยางไทย ทําไมไมเจริญอยางฝรั่ง บอกวาไทยนับถือพุทธเจริญไมมาก ขอถามหนอยวา คนไทยเอาพุทธมาปฏิบัติมากแคไหน กอนเกษียณก็สดใส เกษียณแลวยิ่งผุดผองยองใย ๓.๕ รักนั้นดีแน แตรักแทดีกวา รักนั้นดีแน แตรักแทดีกวา จากวาเลนไทน สูความเปนไทย วิวาหแทตองแผขยายความสุข จากวาเลนไทนสูวาเรนทธรรม แตงงานใหมีคุณคา สุขที่สมาน ประสานกับรักที่แท วาเลนไทน สูความรักแทที่ยิ่งใหญ เพศศึกษาพลาดแน ถามองแคเพศสัมพันธ 48
1036 1037 1038 1039 1040 1041 1042 1043 1044 1045 1046
1047 1048 1049 1050 1051 1052 1053 1054
๓.๖ ธรรมะทั่วไป ใชใหครบสี่เทา กาวหนาแน เปนไทยตองไมเปนหนี้ ตอนที่ ๑ เปนไทยตองไมเปนหนี้ ตอนที่ ๒ วัฒนธรรมกับคุณธรรม แปดนั้นรวมใหดี จะถึงจุดหมายเร็วไว ดี-ชั่ว แบบไหนมีจริง แบบไหนมีไมจริง ตอน บุคคล พรปใหมไมใชแคใหรวย สนทนาธรรมทั่วไป อายุแทยิ่งมากยิ่งดี กระแสใหม กระแสไท วิวาหแทตองแผขยายความสุข อยาลืมคูตางที่มาเติมใหเต็ม คนไทยชอบพูดกันวาปฏิบัติ ทําไมไมหัดพูดใหเต็มวา สิกขา ชอบอางกันนักวาอริยสัจ ๔ แตแคหนาที่ปริญญา ก็ยังไมรูจัก ถาจะใหชีวิตลงตัว ก็อยามัวตั้งรับ คนพัฒนาไปๆ เห็นอะไรๆ ก็นาทํา ความคิดสรางสรรคก็เกิดมี ชอบอางกันนักวาอริยสัจ ๔ แตแคหนาที่ปริญญา ก็ยังไมรูจัก(สวนถามตอบ) เมื่ออาชีพเปนปญหา ใชเสรีภาพที่มีธรรมมีปญญามาตัดสินใจ ปติวาแสนดี ก็สูสุขไมได แตถึงอุเบกขาเมื่อไร สุขกลายเปนรองทันที ยืนบนฐานของตัวใหมั่น แลวบุกบั่นกาวไปขางหนา วิกฤตเปนโอกาส วิกฤตเพื่อฉวยโอกาส หรือทําชีวิตใหเปนโอกาส ธรรมาลัยทานผูหญิงพูนศุข พนมยงค
49
1055 1056 1057 1058 1059 1060 1061 1062 1063 1064 1065 1066 1067 1068 1069 1070 1071 1072 1073 1074 1075 1076
๓.๗ พอรูทาง ก็สุขเเท กุญแจไขความสําเร็จในยุคขาวสารขอมูล ฝกคน เริ่มตนที่ไหน สุขขางนอก สุขขางหนา แตสุขที่แท อยูขางใน จะวิ่งไลตามความสุข หรือจะกาวไปในความสุข อายุแท ยิ่งมากยิ่งดี บริหารคนตองใหไดทั้งใจ ไปถึงทั้งโลก รักงานคือรักแคไหน มีปญญาคือรูเทาใด ไมลบหลู แตตองรู เขาใจ และทําใหถูก นับถือพุทธศาสนา อยาใหเพี้ยน เลิกพูดเสียที วาเกิดมาใชหนี้กรรม คนไทยมีบุญ แตไมรูจักใชบุญ คนไทยไมมีวินัย เพราะไมรูจักใชเสรีภาพ ความรุนแรงเกิดจากความออนแอ ความเปนกลางที่แทอยูที่ถือความถูกตอง ดี-ชั่ว แบบไหนมีจริง แบบไหนมีไมจริง ตอน สังคม ปรุงแตงดี ก็ดี มีปญญาถึง จึงไมปรุงแตงได มองอนาคตผานรากฐานความคิด และชีวิตทานพุทธทาส
1090 1091 1092
๓.๘ ฟงทีไรไดสุขทุกที รายการขอคิดดวยคน ขอใหชวยคนหาความสุข จะเปนใครก็มีความสุขได ขอเพียงให รูจักใชชีวิตใหเปน ทํางานใหเปนไว ความสุขก็หลาย กําไรก็เยอะ งานก็ไดผล คนก็เปนสุข
1093 1094 1095 1096
50
1077 1078 1079 1080 1081 1082 1083 1084 1085 1086 1087 1088 1089
ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ตอนที่ ๑ ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ตอนที่ ๒ สุขขางนอก สุขขางหนา แตสุขที่แท อยูขางใน ถาอยากมองใหเปนวิชาการ ก็มาพัฒนาความสุขกันใหเปนขั้นเปนตอน ๑ ถาอยากมองใหเปนวิชาการ ก็มาพัฒนาความสุขกันใหเปนขั้นเปนตอน ๒ เกิดมาเพื่อหาความสุขจริงหรือ หนีทุกขอยากมีความสุขกันนัก แตไมรูจักวาเจอมันเขา จะเอาอยางไร หาความสุขไมเปน จะเหมือนเชนสุนัขคาบเนื้อจะเอาเงาในน้ํา สุขที่มีก็หมด สุขที่หมายก็ละลาย ชีวิตและสังคมทุกขระทมถึงขั้นวิกฤต ก็เพราะคนจะจมติด อยูแคความสุขที่พึ่งพาการเสพ เรามีความสุขไวในตัวเลยดีกวา อยาเปนอยางคนที่เขาขาดไรความสุข แลวจึงตองไปเที่ยววิ่งหา สุขที่แทมีทุกที่ทุกเวลา ไมตองหาไมตองสราง ถึงจะมีความสุข แตจะใหเปนสุขแทไมมีทุกข พัฒนาชีวิตกันไปเถิด ความสุขจะเกิดมีแน ไมหนีไปไหน ๓.๙ ความสุข ทุกแงทุกมุม ความสุขทุกแงทุกมุม (ชวงที่๑ ) ความสุขทุกแงทุกมุม (ชวงที่๒ ) ความสุขทุกแงทุกมุม (ชวงที่๓ ) ความรู ตองมาเขาคูกับความรัก ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ชวงที่ ๑ 51
1097 1098 1099 1100 1101 1102 1103 1104 1105 1106 1107 1108 1109
1110 1111 1112 1113 1114
ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ชวงที่ ๒ ถาอยากมีความสุขจริงใหสมใจ ก็มารูจักความสุขกันไวใหเจนจบ ชวงที่ ๓
1115 1116
๔. ธรรมะกับการศึกษา ๔.๑ หลักการศึกษา มนุษยเปนสัตวประเสริฐขึ้นมาเลยก็หาไมแตประเสริฐไดดวยการฝก การศึกษาเริ่มที่ตาหูดูฟงติดอยูแคตัณหาหรือไปไดถึงปญญาคือตัวตัดสิน ฝกคน เริ่มตนที่ไหน ฝกคนครบ ๓ แดน คนก็จะพัฒนา ๔ ดาน ฝกคน ๓ แดน คนก็เดินไปในวิถีชีวิตดีงามที่เรียกวามรรค การศึกษาตองสรางปญญาแท ที่มานํากระแส แทนตัณหา การศึกษาอยางพุทธตองถึงธรรมชาติ ปรัชญาการศึกษาฉบับงาย ใชไดทั่วโลก ตอน ๑ ปรัชญาการศึกษาฉบับงาย ใชไดทั่วโลก ตอน ๒
1117 1118 1119 1120 1121 1122 1123 1124 1125
๔.๒ หลักชาวพุทธ จะเปนพระตองมีวินัย จะเปนชาวพุทธไดก็ตองมีหลัก ขอศีลกันอยูเรื่อย เมื่อไรจะปฏิบัติใหมีจริงๆ เลิกพูดเสียที เกิดมาใชกรรม เมื่อเริ่มตนจริงจังตั้งหลักได ทางไปขางหนาจึงจะมองเห็น เพลง หลักชาวพุทธ ความเปนมา และประโยชนของการสวดมนต สวดมนตกอนนอน ใชบทไหนดี
1126 1127 1128 1129 1130 1131 1132
52
พระโพธิสัตว จะปฏิบัติตอทานอยางไร ถาเกงจริง ตองสามารถทําใหคนทั้งหลายมีความสุข ดนตรี หลักชาวพุทธ ๔.๓ องคหลักของการศึกษา แสงอรุณยืนยันวาสุริยันตจะขึ้นมา อะไรหนายืนยันวาชีวิตดีงามจะมี ตอนที่ ๑ แสงอรุณยืนยันวาสุริยันตจะขึ้นมา อะไรหนายืนยันวาชีวิตดีงามจะมี ตอนที่ ๒ ถึงไมมีใครไปพามา ถาคนมีโยนิโสมนสิการ ก็มาเขาทางที่ถูกไดดวยตัวเขาเอง ปญญาเรื่องใหญ รูจักไวพอเปนเคา ปญญาเปนแดนยิ่งใหญ ตองพัฒนากันไป จนกลายเปนโพธิญาณ เขาไมมีศรัทธา แลวเขามีปญญาหรือเปลา จะมีตนที่พึ่งได ตองมีธรรมและปญญาที่จะตัดสินใจ ๔.๔ การศึกษา มองหาบทบาทพอแม ถาเกงจริง ตองสามารถทําใหคนทั้งหลาย มีความสุข ถาเชิดชูพระคุณแมขึ้นมาได การศึกษาไทยก็ไมสิ้นหวัง บทบาทของพอแม แนแทชวยใหลูกศึกษา ชวงที่ ๑ บทบาทของพอแม แนแทชวยใหลูกศึกษา ชวงที่ ๒ เลี้ยงลูกใหเกง ดี มีความสุข สุขขางนอก สุขขางหนา แตสุขที่แท อยูขางใน
53
1133 1134 1135
1136 1137 1138 1139 1140 1141 1142
1143 1144 1145 1146 1147 1148
๔.๕ การศึกษาเชิงปฏิบัติการ คนไทยตองเขมแข็งดวยปญญา จงลุกขึ้นมากาวหนาไป โรงเรียนตองชวยสังคมไทย อนุรักษความเจริญทางจิตใจ และกาวไปในปญญา โรงเรียนวิถีพุทธ ปฏิรูปการศึกษาอยางบูรณาการ ถาไปถึงปญญา ก็ไมมัวหลงหาจริยธรรมสากล คนไทยไมใจแคบ แตระวังไว อยาใหปญญาแคบ ปรุงแตงดี ก็ดี มีปญญาถึง จึงไมปรุงแตงได อยากเกง ดี มีสุข เลิศปญญา ก็รีบสรางปราโมทยขึ้นมา อยากเปนคนมีปญญาดี ถาสติไมมี ก็หมดทางเจริญปญญา
1151 1152 1153 1154 1155 1156
๔.๖ ถาไปถึงปญญา ก็ไมมัวหาจริยธรรมสากล ถาไปถึงปญญา ก็ไมมัวหลงหาจริยธรรมสากล อยามัวสับสน จริยธรรมสากล อยูที่เปนความจริง
1157 1158
1149 1150
๕. ธรรมะกับความเชื่อของคนไทย ๕.๑ พุทธศาสนากับความเชื่อในสังคมไทย อยามัวรอหรือขอโพธิสัตวทําให แตตองทําใหไดอยางพระโพธิสัตว พระอุปคุตอยูไหน ถึงเวลานิมนตมาไดแลว พระก็ปอแป คนก็รอแร จะแกวิกฤต ตองรูวาสังคมวิปริตแคไหน อยากแกกรรม จะทําอยางไร เดินหนาสูความเปนพุทธอยาหยุดแคเปนพรหม เรื่องตายแลวฟนไมเทาไร เรื่องใหญคือตายอยางไรจะแนใจวาดี 54
1159 1160 1161 1162 1163 1164
เรื่องฝนเรื่องตาย อะไรจริงอะไรดี มาคุยเรื่องจิตใจกันบางก็ดี เรื่องฝน เรื่องอธิษฐาน ดูจิตทํางาน เปนไปไดไหม พัฒนาคน ตองใหพนอธิษฐานดวยตัณหา ใหไดปญญาเหนือกวาลิงเฝาสวน ไปเกิดใหม อยากใหพบกัน จิตก็ตองไปกันได ๕.๒ มองสิบชั้น ดูสิบดาน จะเห็นภาพ หมา-นุษย สันดานกา เจตนาดี ที่รอดู ตักเตือน หรือซ้ําเติม มากกวาสะทอนภาพสังคม ยกเครื่องสังคมไทย ๕.๓ กระแสจตุคามฯ ไหลทวมมาแลวก็แหงไป แตสังคมอยูได ดวยกระแสธรรม จตุคามฯ นําลาภลอยมา แลวก็พาสังคมไทยเลื่อนลอยไป ตอนที่ ๑ จตุคามฯ นําลาภลอยมา แลวก็พาสังคมไทยเลื่อนลอยไป ตอนที่ ๒ คนไทยตองเขมแข็งดวยปญญา จงลุกขึ้นมากาวหนาไป วาสนาคนไทย ไดแคไสยศาสตร วัตถุมงคล ตองใชผูกใจประชาชนไวกับธรรม เอาวัตถุมงคลมาเปนบันได พัฒนาคนไปใหพนวัตถุมงคล ตอนที่ ๑ เอาวัตถุมงคลมาเปนบันได พัฒนาคนไปใหพนวัตถุมงคล ตอนที่ ๒ นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากอริยมรรคไมเหลือดี ตอนที่ ๑ นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากอริยมรรคไมเหลือดี ตอนที่ ๒ 55
1165 1166 1167 1168
1169 1170 1171 1172
1173 1174 1175 1176 1177 1178 1179 1180 1181
๕.๔ จะถือพุทธ และรักษาธรรมได เรื่องอยางนี้ตองเขาใจ อยาใหเพี้ยน จากเทพสูงสุด สูธรรมสูงสุด นับถือพุทธศาสนา อยาใหเพี้ยน เลิกพูดเสียที วาเกิดมาใชหนี้กรรม ใครจะเชื่อหรือไมเชื่อ กรรมไมงอใคร ตอนที่ ๑ ใครจะเชื่อหรือไมเชื่อ กรรมไมงอใคร ตอนที่ ๒ ไมลบหลู แตตองรู เขาใจ และทําใหถูก จิตวิญญาณแบบแมมด แบบฮิปป หรือแบบษีจะเอาแบบไหน คิดกันใหดี พุทธศาสนาเกิดขึ้นมา มิใชวาพิธีกรรมจะไรความหมาย ถาไมมัวถือแบบงมงาย ก็อาจใชพิธีกรรมมาสื่อคนใหถึงธรรม วัตถุมงคล ตองใชผูกใจประชาชนไวกับธรรม เอาวัตถุมงคลมาเปนบันได พัฒนาคนไปใหพนวัตถุมงคล นับถือเทวดายังพอฟง แตถามัวหวังพึ่งขอผล ก็หลนจากอริยมรรคไมเหลือดี อะไรกันคนไทย ยังไมรูจักวาสันโดษอยางไหนดี อยางไหนไมดี ฟงคําทํานาย ทําไมจึงมัวตื่นตูม แลวภูมิปญญาจะมีมาจากที่ไหน ปญหาภิกษุณี คิดใหดีก็ไมยาก เพศศึกษาพลาดแน ถามองแคเพศสัมพันธ คนไทยมีบุญ แตไมรูจักใชบุญ อายุแท ยิ่งมากยิ่งดี อยามัวตอมมัวดมอาจม จงรวมกันพาสังคมสูจุดหมาย ถวายเทียน ๙ วัด ไดบุญมากพอไหม สังคมไทย อยากาวหนาไปลงอบาย รูจักพระพรหมใหดีไว อยาทําไดแคขอทานอยางเดียว 56
1182 1183 1184 1185 1186 1187 1188 1189 1190 1191 1192 1193 1194 1195 1196 1197 1198 1199 1200 1201 1202 1203
๕.๕ บูชาพระพรหมจนองคพัง ก็ยังไมรูจักทาวมหาพรหม คุยกับเณร พอใหเห็นพระพรหม พรหมพราหมณ - พรหมพุทธ กอนมาถึงพระพรหม มองพระพรหม ใหถึงรากเหงาอารยธรรม เหนือเทพเหนือพรหม คือธรรมเปนใหญ วาสนาคนไทย ไดแคไสยศาสตร (ใหคติเรื่องจาตุคามรามเทพ)
1204 1205 1206 1207 1208 1209
๖. ธรรมะกับวิชาการ ๖.๑ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร เจตคติแบบวิทยาศาสตร-เจตคติแบบพุทธ ตอนที่ ๑ เจตคติแบบวิทยาศาสตร-เจตคติแบบพุทธ ตอนที่ ๒ วิทยาศาสตรกาวไดไกลแคไหน ใชศาสตรอยางไรจึงไดประโยชน ตอนที่ ๑ วิทยาศาสตรกาวไดไกลแคไหน ใชศาสตรอยางไรจึงไดประโยชน ตอนที่ ๒ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๑ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๒ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๓ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๔ พุทธศาสนาในฐานะเปนรากฐานของวิทยาศาสตร ตอนที่ ๕ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๑ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๒ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๓ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๔ 57
1210 1211 1212 1213 1214 1215 1216 1217 1218 1219 1220 1221 1222
การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๕ การพัฒนาวิทยาศาสตรมองจากแงมุมของพุทธศาสนา ตอนที่ ๖ เมื่อ D.N.A เขามา จริยธรรมจะวาอยางไร ตอนที่ ๑ เมื่อ D.N.A เขามา จริยธรรมจะวาอยางไร ตอนที่ ๒ ๖.๒ ธรรมะกับวิชาชีพ พุทธธรรมกับการรักษาคนไข ทบทวนเศรษฐศาสตร ๑ - ทํางานเพราะโลภอยากได หรือเพราะถูกเงื่อนไขบังคับ ทบทวนเศรษฐศาสตร ๒ - พัฒนาเศรษฐกิจไป อยาลืมใชเศรษฐกิจพัฒนาคน ๖.๓ ขอคิดใหสังคม ฟนสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๑ ฟนสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๒ ฟนสุขภาวะยามสังคมวิกฤต ตอน ๓ จะอยูกันดีดวยหลักการ หรือตองคุมกันดวยอาญา จัดงานวิสาขบูชา อยาอยูแคหนาตา ตอบเรื่องสมานฉันท สังคมไทย ถึงเวลาตั้งตนใหมหรือยัง เดินหนาหาความจริง จับใหไดสิ่งจําเปน ระวัง ทางสายกลางกลายเปนทางไรจุดหมาย ไมยึดมั่นกลายเปนยึดเขาเต็มเปา ไมวากระแสโลก-กระแสไทย ตองหยุดไหลตามตัณหา จึงจะหายสับสน 58
1223 1224 1225 1226
1227 1228 1229
1230 1231 1232 1233 1234 1235 1236 1237 1238 1239
๖.๔ วิถีชีวิต วิถีสังคม และการพัฒนา การพัฒนาที่ยั่งยืน ประเทศพุทธอยางไทย ทําไมไมเจริญอยางฝรั่ง เพราะเครียดใชไหม ฝรั่งจึงไดเจริญอยางนี้ ปวารณาฝกวาจา พัฒนาคน ทําชุมชนใหสามัคคี พัฒนาชีวิตกันไปเถิด ความสุขจะเกิดมีแน ไมหนีไปไหน ฟนวินัยชาวพุทธขึ้นมา ใหเปนวิถีชีวิตของสังคมไทย ประชาธิปไตยจะดีได ตองไมทิ้งงานพัฒนาคน สังคมตองหลากหลาย ใหเขากับระดับการพัฒนาของคน มนุษยจะพัฒนาไปถึงอารยธรรมที่แทไดจริงหรือ พระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพของโลก ประชาธิปไตยตองพัฒนาคน ใหมีตนที่พึ่งได ๖.๕ ชวยกันนําพาประเทศไทย ใหกาวไปอยางสงางาม ในทามกลางประชาคมโลก ชวยกันนําพาประเทศไทย ใหกาวไปอยางสงางาม ในทามกลางประชาคมโลก อยาแคมารวมศูนย แตตองขึ้นใหสูง ถาเข็นครกขึ้นเขายังสู ก็พอจะฟนฟูพุทธศาสนาเมืองไทยได วิถีสูสันติภาพ เริ่มวิวัฒนที่กลางวิกฤติ (ตอนที่ ๑) เริ่มวิวัฒนที่กลางวิกฤติ (ตอนที่ ๒) สนทนาธรรมเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง โลกถึงกันกวางไกล แตใจคนกลับแคบลง 59
1240 1241 1242 1243 1244 1245 1246 1247 1248 1249 1250
1251 1252 1253 1254 1255 1256 1257 1258
เคราะหรายเจอประเทศไหนกลายเปนโชค โชคดีเจอประเทศใดกลายเปนเคราะห สูยุคใหมของสังคมไทย ทําอยางไรสังคมไทยจะตั้งอยูในสมดุล ตั้งศูนยใหดุลไว อยาใหเลยเถิดเตลิดไป การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ดีหนีไมพนธรรม รักธรรมก็เจริญ ชังธรรมก็เสื่อม ฟนวินัยชาวพุทธขึ้นมา ใหเปนวิถีชีวิตของสังคมไทย
1259 1260 1261 1262 1263 1264 1265 1266
๗. ธรรมะกับการเมืองการปกครอง ๗.๑ ธรรมะสูการเมือง การสรางสรรคประชาธิปไตย โลกเดี๋ยวนี้ขัดแยงกันมากมาย จะแกไหวหรือ จริยธรรมของนักการเมือง จริยธรรม-ภาวะผูนํา ชวงที่ ๑ จริยธรรม-ภาวะผูนํา ชวงที่ ๒ จริยธรรม-ภาวะผูนํา ชวงที่ ๓ นิติศาสตรแนวพุทธ ชวงที่ ๑ นิติศาสตรแนวพุทธ ชวงที่ ๒ นิติศาสตรแนวพุทธ ชวงที่ ๓ พุทธรัฐศาสตร ชวงที่ ๑ พุทธรัฐศาสตร ชวงที่ ๒ 60
1267 1268 1269 1270 1271 1272 1273 1274 1275 1276 1277
สิทธิมนุษยชน พระพุทธศาสนาเพื่อสันติภาพของโลก สมมติสื่อนําสังคมเขาสูธรรม วิถีสูสันติภาพ เมืองไทยกับหุนใหญ-ลิเวอรพูล รัฐศาสตรเพื่อชาติ VS รัฐศาสตรเพื่อโลก จะสมานฉันท ตองสมานปญญา ธรรมาธิปไตยไมมา จึงหาประชาธิปไตยไมเจอ ความรุนแรงเกิดจากความออนแอ ความเปนกลางแทอยูที่ถือความถูกตอง ตอบคําถามเรื่อง การสมานฉันท
1278 1279 1280 1281 1282 1283 1284 1285 1286 1287
๗.๒ เมื่อประชาธิปไตยที่ไมประสีประสา มาเจอปญหาศาสนาประจําชาติ เมื่อประชาธิปไตยที่ไมประสีประสา มองไกล ใจกวาง เมื่อประชาธิปไตยที่ไมประสีประสา ดูเขา เขาใจตัว เมื่อประชาธิปไตยที่ไมประสีประสา รูจักตัว เห็นทั่วโลก โลกเดี๋ยวนี้ขัดแยงกันมากมาย จะแกไหวหรือ วาสนาคนไทย ไดแคไสยศาสตร
1288 1289 1290 1291 1292
๗.๓ วิกฤตบานเมืองวันนี้ โอกาสที่มีควรเปนของใคร ขึ้นยืนบนภู ดูเขาสูกัน พัฒนาแตทรัพยากรคน ลืมพัฒนาประชาชนที่ครองเมือง วิกฤตมา ประชาชนตองวางตนเปนหลัก ประชาธิปไตยตองพัฒนาคน ใหมีตนที่พึ่งได
1293 1294 1295 1296
61
จะมีตนที่พึ่งได ตองมีธรรมและปญญาที่จะตัดสินใจ นิติธรรมค้ําจุนรัฐไว แตแกปญหาไมถึงใจ และไมพัฒนาคน สังคมตองหลากหลาย ใหเขากับระดับการพัฒนาของคน ประชาธิปไตยยังเควงควางรอนไถล ไดแครับใชทิฐิดิ่งโดง
1297 1298 1299 1300
๗.๔ จะทําอยางไรกับวิกฤตการเมืองวันนี้ จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๑) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๒) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๓) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๔) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๕) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๖) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๗) จะทําอยางไร กับวิกฤตการเมืองวันนี้ (ตอนที่ ๘) เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด (ตอนที่ ๑) เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด (ตอนที่ ๒) เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด (ตอนที่ ๓) เถรวาทของคอลัมนิสต กับเถรวาทตามหลักที่ไมผิด (ตอนที่ ๔) บวชเรียนหายไป เมืองไทยไดวัดหลวงตา บทเรียนมีใหดู แตคนไทยไมไดลืมตา อยากเกง ดี มีสุข เลิศปญญา ก็รีบสรางปราโมทยขึ้นมา
1301 1302 1303 1304 1305 1306 1307 1308 1309 1310 1311 1312 1313 1314 1315
62
ŕš˜. Dhamma in English By Ven. P. A. Payutto Developing Happiness (1) Developing Happiness (2) Developing Happiness (3) - Q&A Appamada Heedfulness (1) Appamada Heedfulness (2) Iddhipada Path to Success (1) Iddhipada Path to Success (2) Monks and Laypeople (1) Monks and Laypeople (2) Food For All And By All Buddhist Economics in the Globalized World (DVD) Buddhism and Peace (1) Buddhism and Peace (2) Aging and Dying Nibbana and Kamma (1) Nibbana and Kamma (2)
63
1316 1317 1318 1319 1320 1321 1322 1323 1324 1325 1326 1327 1328 1329 1330 1331
บันทึก
64
แผนภูมิประกอบการฟง พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย
โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) เสียงอานโดย พระกฤช นิมฺมโล Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ø × µ£x¼ Øß UŴ :*29 :+ ĥ :*29 D !: :* /:+ :* ++) Ů2(:&#+@ E ĉ :+ +8 ; : :*
VŴ / =29 :+ Ů2(:&#+@ E ĉ :+ +8 ; : /: :
ĥ /:) G ŮE2 55 ů : :* : :*
:+ +8 ; : :*ů
ĥ / =29 D !: / = /:+ / = ++) ĥ /:) G ŮE2 55 ů : /: : : /: : :+ +8 ; : /: :ů
WŴ )F!29 :+ ĥ )F!29 D !: )F! /:+ )F! ++) Ů2(:&#+@ E ĉ :+ +8 ; : G
ĥ /:) G ŮE2 ů : G
: G
:+ +8 ; : G ů
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ø Ø µ£x¼ ÙØ 5:* !8 ű 5:+) č ű /< : ĥ $9228
D/ !:
: +9"+AĊ 2<L =L A +AĊ /:)+AĊ :++9"+AĊ /:)+AĊ2> ĉ55:+) č
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ø Ù µ£x¼ ÙÛ +8"/! :++9"+AĊ"+<2@ <P +8"/! ++)E""D2&D2/*F- Ů +8E2# < :) ++) : <ů ŮD < )=$AĊD2/* Ú 2<L A D2/* $AĊ < Ú 2<L A < ů 5:* !8 ű 5:+) č ű /< : ű $9228 D/ !: 29 : /< 9 8 ##ď 8 ##ď 29 :E ĉ ĉ: J
} 29 :+
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ø Ú µ£x¼ ÙÜ +8"/! ++)E""29 2:+/9 č 5:* !8 ű 5:+) č ű /< : ĥ $9228 D/ !: +8"/! ++)E""/</ 9 č
65
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú × µ£x¼ ×ÝÖ 5/< : 29 :+ /< : !:)+A# 24:* !8 $9228 D/ !: 9 3: U V W X Y Z [ \ 5@#: :! (& : < +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 ĥ ¡Â ´«Â¡»¬ ] UT UU UV
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ø
µ£x¼ ×ÝÖ
5/< : U
--- 5#@ :* !29
--8 + +:) V U
@ č -- F )
- - F2 8 :2 -
+D< / -- # 8 --
V
2 9
:+
24: * Y
:! 5#@ : ]
!:)+#A X
(& UT
: < UU
: / < W
!8
$29 28 Z
D/ !: [ 66
9 3 : \
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ù
µ£x¼ ×ÝÝ
!
9 3: ű 5#@ : ű : : 5/ <
"< :
++
)
/
(
) (& ++)
/ < :
5
++)
/ < :
2 9 :+
2 D< -
D3 @
: < /<":
: 3
: 5/ <
5 = !:
-
+
´£¢ Ø ¾ D/ !: $29 28 !8 9 :* :)+ 8
(&
++
D3 @
$
5#@ : :!
( &
D< -2
)
$-
5#@ :!
´£ Ù ¢ ¾
!:) D/ !: 28 $29 /"< :
+
£¢ ¾ ´ × !:)+#A < : / 24
µ£x¼ ×Ýß 8 5 / < + ) : : + 2 9 <
: !8 9 3: 24:* : +#A
#ď @"9!
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Û
2 9 :+ ű
D/ !: 7-7
D< -2
67
68
#ď @"9!
$-
5!:
D3 @
(& 5/< : 29 :+ /< : !:)+A# 24:* !8 $9228 D/ !: 9 3: 5@#: :! : < +:)+ 8 ű F2 8 7-7
$-
D3 @
µ£x¼ ×Ýß
5 =
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ú
ĥ
<D-2 ++) /<":
/9 8
<D-2 ++) /<":
/9 8
9 3: 5@#: :! (& : < +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 5/< : 29 :+ /< : 7-7 D/ !:
ĥ
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ü
µ£x¼ ØÖß
5/< : 29 :+ /< : !:)+A# 24:* !8 $9228 D/ !: 5@#: :! (& : < +:)+ 8 F2 8 #+<D /8 7-7 ĥ ¡Â { · ¿±¾
» µ¼ #+<D*2!: -:(8 /<!< 9* 9! +: 8 59 F 2:! #+<
38 )9 +<*8 5:+9 8 :+ 8D-:8 E ĉ E*ĉ /</: 2ĉ5D2=* )@2:/: 7-7 ĥ ¡Â { · ´» «
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Ý
µ£x¼ ØÖß
¢¼ £¼£» { Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ : @ 3+?5 : @ ĉ: !< ů ¦»´´£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ $9228ů Ʊ¡£¼£¼£» { Ů /:)D#đ! ĉ: JE3ĉ D/ !:ů ´» ¼£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ 29 :ů ´» »¥¥£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ 29 9##Ĉ ?5 /:) ;+< +< +> ů »£¡£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ 9! 8ů ¥¾¶¼µ£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ /:)+@!D+Ċ:ů ¥¾Æ¬´£¼£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ :+E2/ 3:ů ¯¼ª£¼£» č Ů /:)D#đ! ĉ: J E3ĉ :+H Ċ$-ů
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ú/Þ
µ£x¼ ØÖß
¢¼ £¼£» { Ů : @ ĉ: !< ů ´» ¼£¼£» { Ů29 : ĉ: !< ů ´» »¥¥£¼£» { Ů29 9##Ĉ ĉ: !< ů ¦»´´£¼£» č Ů$9228 ĉ: !< ů Ʊ¡£¼£¼£» { ŮD/ !: ĉ: !< ů »£¡£¼£» { Ů 9! 8 ĉ: !< ů ¥¾¶¼µ£¼£» { Ů /:)D+Ċ:+@! ĉ: !< ů ¥¾Æ¬´£¼£¼£» { Ů :+E2/ 3: ĉ: !< ů ¯¼ª£¼£» { Ů :+H Ċ$- ĉ: !< ů
69
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ü × µ£x¼ ÙØÞ 5/< : 29 :+ /< : !:)+A# 24:* !8 $9228 D/ !: 9 3: 5@#: :! (& : < +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 ĥ ¡Â ´«Â¡»¬
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ü Ø µ£x¼ ÙØÞ 5/< : 9" 29 :+ 9" /< : 9" !:)+A# 9" 24:* !8 9" $9228 9" D/ !: 9" 9 3: 9" 5@#: :! 9" (& 9" : < 9" +:)+ 8 ű F2 8 7-7 5@#:*:2 99" ĥ ¡Â £¾È¢
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ü Ù µ£x¼ ÙÙÖ E""E+ Ģ Ů24:* !8 $9228 ů D/ !: !9! < 5@#: :! (& : < +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 ĥ ¡Â ´«Â¡»¬ E"" =L25 Ģ Ů24:* !8 ů $9228 D/ !: 9 3: ĥ ¡Â ´«Â¡»¬
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ü Ú µ£x¼ ÙÙ× E""E+ Ģ Ů24:* !8 $9228 ů D/ !: !9! < 9" 5@#: :! 9" (& 9" : < 9" +:)+ 8 ű F2 8 #+<D /8 @ č F )!92 5@#:*:2 9" ĥ ¡Â £¾È¢ E"" =L25 Ģ Ů24:* !8 ů $9228 D/ !: 9 3:ģ ŮE ĉů 9 3: 9" 5@#: :! 9" (& 9" : < 9" +:)+ 8 ű F2 8 7-7 5@#:*:2 9" ĥ ¡Â £¾È¢
70
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý × µ£x¼ Ú×× º »¤¡¿Î ¡» ¾Ê ¬¤Â ¯ ´¾ ¼¡¿Î¤½Æ¨Í ´» Ȭ £{¡¿Î¯ºÊ x UŴ 29 :* < < 0=-"+<"A+ č VŴ /< < < : UŴ &+8F2 :"9! Ů2): <E-8#ď : WŴ 2=-9&& #+:):2 &5#+8): ů +: 8 F 28 F)38D3-?5D":": VŴ &+82 : :)= ųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųųų ű XŴ :)+: 8 WŴ &+85!: :)= 0=-E-82): <"+<"A+ č Ů#ď :&5#+8): ů YŴ # < 8 ZŴ +A#+: 8 [Ŵ 5+A#+: 8 XŴ &+85+39! č 0=- 2): < \Ŵ ):!8 #ď :"+<"A+ č ]Ŵ 5@ 9 8 UTŴ 5/< :
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Ø µ£x¼ Ú×Ø /<F) č =L U /<F) č =L V Ů+A#ů :! X /<F) č =L W /<F) č =L X /<F) č =L Y 5+A# :! X /<F) č =L Z /<F) č =L [ /<F) č =L \ ĥ !<F+ 2):"9 <
2):"9 < \ 5!@#@&&/<3:+ Ů2):"9 <ů ]
71
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Ù µ£x¼ Ú×Ú ¡» ¾Ê ¬¤Â ¯ Ý ·¾£¡¿¬{¡¿ÎÇ ¯x¼ ±¾È« { Ú Þ ¡» ¾Ê ¬¤Â ¯ Þ UŴ 29 :!@2:+= 29 : UŴ $AĊ# <"9 <D&?L5F2 :#ď <$VŴ 9)):!@2:+= #ď : VŴ &+8F2 :"9! WŴ $AĊ# <"9 <D&?L52 : :)=$WŴ 29 :/<)@ 29 : XŴ &+82 : :)= XŴ < <##ď 8 #ď : YŴ $AĊ# <"9 <D&?L55!: :)<$YŴ :*29 = 2): < H Ċ ZŴ &+85!: :)= [Ŵ $AĊ# <"9 <D&?L55+39 $ZŴ #ď :/<)@ #ď : [Ŵ 5@(F (: /<)@ 2): < H Ċ \Ŵ &+85+39! č
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Ú µ£x¼ Ú×Û
UŴ 29 :!@2:+= VŴ 9)):!@2:+= ű /<F) č
WŴ 29 :/<)@ XŴ < <##ď 8 YŴ :*29 =
ZŴ #ď :/<)@ [Ŵ 5@(F (: /<)@
UŴ 29 :!@2:+= VŴ 9)):!@2:+=
ű 2): <H)ĉD <! :! L = X ű 2): <H)ĉD <! :! L = X ű /<F) č Ů 9M!5+A# :!ů
72
WŴ 29 :/<)@ XŴ < <##ď 8 YŴ :*29 =
\Ŵ &+85+39! č Ů-829 F* !č UTů
[Ŵ $AĊ# <"9 <D&?L55+39 $-
ZŴ &+85!: :)= Ů-829 F* !č5= Vů
YŴ $AĊ# <"9 <D&?L55!: :)<$-
XŴ &+82 : :)= Ů+: 8 F 28 F)38 D":": ů
WŴ $AĊ# <"9 <D&?L52 : :)<$-
VŴ &+8F2 :"9! Ů-829 F* !č Wů
UŴ $AĊ# <"9 <D&?L5F2 :#ď <$-
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Û µ£x¼ Ú×Û
ZŴ #ď :/<)@ [Ŵ 5@(F (: /<)@
$AĊ# <"9 < ű
$AĊ# <"9 < ű
5+A# :! U 5+A# :! V 5+A# :! W 5+A# :! X
/<#ď22!:2): < :! =L U :! =L V :! =L W :! =L X
2) 8
ű #ď : !;
ű 0+9 : !;
/<#ď22!:
VŴ 9)):!@2:+=
UŴ 29 :!@2:+=
UŴ $AĊ# <"9 <D&?L5F2 :#ď <$-
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î Ý Ü µ£x¼ Ú×Ü
VŴ &+8F2 :"9! -829 F* !č W
YŴ $AĊ# <"9 <D&?L55!: :)<$-
WŴ $AĊ# <"9 <D&?L52 : :)<$-
YŴ :*29 = ű/<F) č L = \
XŴ < <##ď 8
WŴ 29 :/<)@
XŴ &+82 : :)= +: 8 F 28 F)38 D":":
ZŴ &+85!: :)= -829 F* !č5= V
5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ5+A# :! =L U 5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ5+A# :! =L V 5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ5+A# :! =L W 5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ5+A# :! =L X 5@(F (: /<)@ $AĊH Ċ!<F+ 2):"9 <
#ď :/<)@ 2@ /<#ď22 #ď :/<)@ $AĊH Ċ :! =L U #ď :/<)@ $AĊH Ċ :! =L V #ď :/<)@ $AĊH Ċ :! =L W #ď :/<)@ $AĊH Ċ :! =L X
\Ŵ &+85+39! č Ů#ď :/<)@ Y 5@(F (: /<)@ Yů
-829 F* !č5= Y Ů3) 9M UTů
73
[Ŵ $AĊ# <"9 <D&?L55+39 $-
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ß × µ£x¼ ÚÞÜ :):/ + /!8 ŮF- @ +ů 59##!: /!8 Ů29 :+@7 (/9 č ů )F! 7 "+< ++) 5@# :+ 5!@F-) F +(A )9
< $- < (/9 č U V W X Y Zų[ 3+?5
5@# :+ 5!@F-) F +(A )9
< $- < U V W X YųZų[
Ů29 :+@7ĥ29 :+@D" : : >L D#đ!/<#ď22!: : Ċ5 L = \ģ )F! 7ĥ )F! /:+:/9 !8 ģ 5!>L # <2QŴ5ŴWV E-82 B = 5Ŵ WY] H ĊE2 D&<L) : !=M5= E""3!>L F *)=5!@F-) V 8 E-8)=$- < 8D =*/ E ĉ)= ; 9 Ċ:!G! /<2@ <Ŵ WŵWVXů
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ß Ø µ£x¼ ÚÞÜ
(/9 č :!/< = (/9 č /<#ď22!:/< = (/9 č )9
/< = (/9 č
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× × µ£x¼ Û×Ù Ģ ǰǰÿöčìĆ÷ = ðäĉÝÝÿöčðïćìǰǰÿöčìĆ÷üćøǰ ǰĂüĉßßćǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßćêĉ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰǰ= đÖĉéìčÖ׍ ģ ǰǰîĉēøí = ðäĉÝÝÿöčðïćìǰǰîĉēøíüćøǰ ǰĂüĉßßćéĆĆïǰ ǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèéĆïǰĄúĄǰ ǰǰǰǰǰǰßćêĉéĆï ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰéĆïǰǰ= éĆïìčÖ׍
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ø µ£x¼ Û×Û îĉēøí ǰǰĂüĉßßćéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰîćöøĎðéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰÿāć÷êîąéĆïǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰßćêĉéĆï ǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąéĆïǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰéĆïǰǰ= éĆïìčÖ׍ öøøÙ ǰǰÿĆööćìĉäåĉǰ ǰÿĆööćÿĆÜÖĆððąǰ ǰÿĆööćüćÝćǰ ǰÿĆööćÖĆööĆîêąǰ ǰÿĆööćĂćßĊüąǰ ǰÿĆööćüć÷ćöą ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰÿĆööćÿêĉǰ ǰÿĆööćÿöćíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰéĆïìčÖ׍
74
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ù µ£x¼ Û×Ý öĉÝÞćðäĉðìć ǰǰĂüĉßßćǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰîćöøĎðǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßćêĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèą ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰǰ= đÖĉéìčÖ׍ ÿĆööćðäĉðìć ǰǰĂüĉßßćéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèéĆïǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßćêĉéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąéĆï ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰéĆïǰǰ= éĆïìčÖ׍
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ú µ£x¼ Û×Ý öĉÝÞćðäĉðìć ǰǰöĉÝÞćìĉäåĉǰ ǰöĉÝÞćÿĆÜÖĆððąǰ ǰöĉÝÞćüćÝćǰ ǰöĉÝÞćÖĆööĆîêąǰ ǰöĉÝÞćĂćßĊüąǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰöĉÝÞćüć÷ćöąǰ ǰöĉÝÞćÿêĉǰ ǰöĉÝÞćÿöćíĉ ÿĆööćðäĉðìć ǰǰÿĆööćìĉäåĉǰ ǰÿĆööćÿĆÜÖĆððąǰ ǰÿĆööćüćÝćǰ ǰÿĆööćÖĆööĆîêąǰ ǰÿĆööćĂćßĊüąǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆööćüć÷ćöąǰ ǰÿĆööćÿêĉǰ ǰÿĆööćÿöćíĉǰ
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Û µ£x¼ Û×Þ ǰ ǰĂüĉßßćǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèǰǰǰǰǰǰîćöøĎðǰǰǰǰǰǰÿāć÷êîąǰǰǰǰǰǰǰñĆÿÿąǰǰǰǰǰǰǰđüìîćǰǰǰǰǰǰǰêĆèĀćǰ ĂčðćìćîǰǰǰǰǰǰǰǰõóǰǰǰǰǰǰǰǰßćêĉǰǰǰǰǰǰǰǰìčÖ׍ǰǰǰǰǰǰýøĆìíć ðøćēöì÷ŤǰǰǰǰǰðŘêĉǰǰǰǰǰðŦÿÿĆìíĉǰǰǰǰǰÿč× ÿöćíĉ ÷ëćõĎêâćèìĆÿÿîą îĉóóĉìć üĉøćÙą üĉöčêêĉǰǰǰǰǰ×÷âćè
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ü µ£x¼ Û×ß ǰ ǰÖčýúýĊú Ăüĉððäĉÿćøǰǰǰ ÷ëćõĎêâćèìĆÿÿîą îĉóóĉìć
ðøćēöì÷ŤǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŘêĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŦÿÿĆìíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿč× üĉøćÙą üĉöčêêĉâćèìĆÿÿîą
ÿöćíĉ
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Ý µ£x¼ Û×ß ǰ
ǰē÷îĉēÿöîÿĉÖćøǰǰ ðøćēöì÷ŤǰǰǰǰǰǰǰǰðŘêĉǰǰǰǰǰǰǰǰðŦÿÿĆìíĉǰǰǰǰǰǰǰǰÿč×ǰǰ îĉóóĉìć üĉøćÙą üĉöčêêĉ
75
ÿöćíĉ
÷ëćõĎêâćèìĆÿÿîą
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× Þ µ£x¼ ÛØ× ðäĉÝÝÿöčðïćìǰîĉēøíüćø ǰǰĂüĉßßćéĆïǰǰǰǰǰǰǰÿĆÜ×ćøéĆïǰǰǰǰǰǰǰüĉââćèéĆïǰĄúĄǰǰǰǰǰǰǰßćêĉéĆïǰǰǰǰǰǰǰǰßøćöøèąéĆïǰ ēÿÖąǰĄúĄǰĂčðć÷ćÿǰéĆïǰǰ= éĆïìčÖ׍ öĆßáĉöćðäĉðìć öøøÙ ǰǰǰǰǰÿĆööćìĉäåĉǰ ǰÿĆööćÿĆÜÖĆððąǰ ǰÿĆööćüćÝćǰ ǰÿĆööćÖĆööĆîêąǰ ǰÿĆööćĂćßĊüąǰ ǰ ÿĆööćüć÷ćöąǰ ǰÿĆööćÿêĉǰ ǰÿĆööćÿöćíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰéĆïìčÖ׍
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ß µ£x¼ ÛØ×
ē÷îēĉÿöîÿÖĉćø ðêŘĉ Ăüßĉßć ĄúĄ ìÖč׍ ýøìĆíć ðøćēöì÷Ť ÖčýúýĊú ǰǰǰǰĂüĉððäĉÿćø
ðìŦÿìĆíĉ ÿ×č
ÿöćíĉ
îóĉóìĉć üøĉćÙą
÷ëćõêĎâćèìÿĆÿîą
üöĉêčêĉ
×÷âćè
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ö µ£x¼ ÛØØ
íøøöđðŨîĂćĀćøĂčéĀîčîÖĆî ǰ đÿüîćÿĆêïčøčþǰ ǰ ÿéĆïÿĆìíøøöǰ ǰ ýøĆìíćǰǰ ē÷îĉēÿöîÿĉÖćøǰǰ ÿêĉÿĆöðßĆââą ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ĂĉîìøĊ÷ÿĆÜüøǰ ǰ ÿčÝøĉêǰ ǰ ÿêĉðŦäåćîǰǰ ēóßáÜÙŤǰ ǰ üĉßßćüĉöčêêĉ
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×× µ£x¼ ÛØØ
óøĀöÝøø÷ŤìĊęÿĈđøĘÝñú: ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
óïóøąóčìíđÝšćǰ ǰ
ÿéĆïíøøöǰ ǰ
ýĊú ýøĆìíćǰ ǰ
ĂĂÖïüß ǰ ǰ
đÿüîćÿĆêïčøčþ ǰ ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
Ăøĉ÷ýĊú
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ĂîüĆßßÿč×
ÿöćíĉ ǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰĂĉîìøĊ÷ÿĆÜüøǰǰǰ ǰǰǰÿêĉÿĆöðßĆââąǰǰǰ ǰǰǰÿĆîēéþǰǰǰǰǰǰǰǰ ÿĎŠìĊęÿÜĆéìĈÿöćíĉ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰßĈøąîĉüøèŤǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰáćîǰ ǰ ǰ ĂĆó÷ćđÿÖÿč× ǰǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ðŦââć üĉßßćǰĤǰ ĀøČĂǰĂõĉââćǰħǰĀøČĂǰüĉßßćǰĩ ǰǰ
76
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰǰǰǰ ðøćēöì÷Ť ǰ ǰ
ǰǰǰǰǰ áćîÿč×
ǰ
ǰǰǰǰ×÷âćè
ǰüĉöčêêĉǰ ǰ
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ø µ£x¼ ÛØØ
üÿĉìčíǰĉĨ:
ýĊúǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿöćíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŦââć ÿĊúüÿĉìčíĉ Ýêĉêüÿĉìčíĉ ìäĉåüĉÿĉìčíĉ ÖÜĆ×ćüêĉøèüÿĉìčíĉ ýĊúïøĉÿčìíĉĝêćöõĎöĉßĆĚî×ĂÜêî ǰǰǰǰǰ ĂčðÝćøÿöćíĉ×ċĚîĕð ǰǰǰǰǰǰǰ øĎšÝĆÖÿõćüąîćöøĎð ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ đךćĔÝðäĉÝÝÿöčðïćì
öĆÙÙćöĆÙÙâćèìĆÿÿîüĉÿčìíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðäĉðìćâćèìĆÿÿîüĉÿčìíĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰâćèìĆÿÿîüĉÿčìíĉ ǰ óïĒúąñŠćîüĉðŦÿÿîĎðÖĉđúÿĕðĕéš ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ üĉðŦÿÿîćâćè ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ öøøÙâćè
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ù µ£x¼ ÛØÙ
ÝøèąǰĢĦǰ ǰüĉßßćǰĤ ǰǰǰǰ đú×ðäĉðìć ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÝøèąǰĢĦǰ ǰ ýĊúǰ ǰÿöćíĉ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰðŦââć ÿĊúÿĆöðìćǰ ǰĂĉîìøĊ÷ÿĆÜüøǰ ǰēõßđîöĆêêĆâťčêćǰ ǰßćÙøĉ÷ćîčē÷Ùǰ ǰÿĆìíøøöǰĨǰ ǰáćîǰĥǰǰǰǰǰǰüĉßßćǰĤ Āöć÷đĀêč ǰÿĆìíøøöǰĨǰÙČĂǰýøĆìíćǰĀĉøĉǰēĂðêĆððąǰóćĀčÿĆÝÝąǰüĉøĉ÷ąǰÿêĉǰðŦââć
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ú µ£x¼ ÛØÙ
ĂîčïčóóÿĉÖ×ćǰĀøČĂǰĂîčïčóóðäĉðìć: ýøĆìíćǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰĕðĀćǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰĀöĆęîđךćĔÖúšǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÙĂ÷êĆĚÜĔÝøĆïôŦÜǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿéĆïíøøöǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰìøÜíøøöĕüšǰ ǰ ĕêøŠêøĂÜÙüćöǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰđךćĔÝóĂđĀĘîêćöǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰđÖĉéÙüćöóĂĔÝǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰöĊĂčêÿćĀąǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĂïÿüîÝîÝĆïĀúĆÖĕéšßĆé úÜöČĂðäĉïĆêĉđóĊ÷øÝøĉÜÝĆÜǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰĀ÷ĆęÜøĎšÿĆÝíøøö
77
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Û µ£x¼ ÛØÙ
íøøöÝøĉ÷ć: ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ýĊúǰǰ ǰ ǰ ǰǰǰǰ ǰ ǰǰ ǰ ǰ ÿöćíĉǰ ǰǰ ǰǰ ǰǰ ǰ ðŦââć
ÿčÙêĉ
üĉöčêêĉ
ÿĆööćÖĆööĆîêąǰǰ ǰ ǰǰǰÿĆööćüćÝćǰ ǰ ǰ ǰ ÿĆööćÿöćíĉǰ ǰ ǰ ǰ ÿĆööćìĉäåĉ đüšîðćèćêĉïćêǰ ǰ đüšîĂìĉîîćìćîǰ ǰ đüšîÖćđöÿčöĉÝÞćÝćøǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ
ǰ ǰ ǰ ǰ
đüšîöčÿćüćìǰ ǰ ǰ Ăîõĉßáćǰ ǰ ǰ ǰ ǰ öĊÿĆööćìĉäåĉ đüšîðŗÿčèćüćÝćǰǰ ǰ Ăó÷ćïćì đüšîñøčÿüćÝć đüšîÿĆöñĆððúćðą
Āöć÷đĀêč ǰíøøöÝøĉ÷ćǰàċęÜöĆÖđøĊ÷ÖüŠćǰÖčýúÖøøöïëǰĢġǰîĊĚǰĒìïìčÖךĂĒ÷ÖÙüćöđðŨîǰģǰêĂîǰÙČĂǰđüšîĂąĕøǰÖĆïìĈĂ÷ŠćÜĕøǰ ìŠĂîúï ÖĆïìŠĂîïüÖ ǰÝċÜÙüøđ×Ċ÷îéĆÜîĊĚ ǰĢ ǰđüšîðćèćêĉïćêǰðøćøëîćéĊêŠĂìčÖÙîǰģ ǰđüšîĂìĉîîćìćîǰđÙćøóÖøøöÿĉìíŤĉǰĤ ǰđüšîÖćđöÿčöĉÝÞćÝćøǰ ĕöŠúąđöĉéÝćøĊêǰĥ ǰđüšîöčÿćüćìǰóĎéÙĈÿĆê÷ŤǰĦ ǰđüšîðŗÿčèćüćÝćǰóĎéÿöćîÿćöĆÙÙĊǰħ ǰđüšîñøčÿüćÝćǰóĎéÙĈĕóđøćąǰĨ ǰđüšîÿĆöñĆððúćðǰóĎé ÙĈöĊđĀêčñúđðŨîðøąē÷ßîŤǰĩ ǰĂîõĉßáćǰĕöŠēúõÝšĂÜÝąđĂć×ĂÜĔÙøǰĪ ǰĕöŠó÷ćïćìǰÙĉéđöêêćǰĢġ ǰöĊÿĆööćìĉäåĉǰđĀĘîßĂïêćöÙúĂÜíøøö
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ü µ£x¼ ÛÚÛ
Ģ ǰ ÿĆööćìĉäåĉ ģ ǰ ÿĆööćÿĆÜÖĆððą Ĥ ǰ ÿĆööćüćÝć ĥ ǰ ÿĆööćÖĆööĆîêą Ħ ǰ ÿĆööćĂćßĊüą ħ ǰ ÿĆööćüć÷ćöą Ĩ ǰ ÿĆööćÿêĉ ĩ ǰ ÿĆööćÿöćíĉ
ðŦââćǰ ×ĆîíŤ ǰǰǰǰ ýĊúǰ ×ĆîíŤ ǰǰǰǰ
ÿöćíĉǰ ×ĆîíŤ ǰǰǰǰ
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Ý µ£x¼ ÛÚÛ
Ģ ǰ ĂíĉýĊúÿĉÖ×ćǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰģ ǰĂíĉÝĉêêÿĉÖ×ćǰǰ ǰ ǰ ǰ ǰ Ĥ ǰĂíĉðŦââćÿĉÖ×ć ǰ ÿĆööćüćÝćǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰÿĆööćüć÷ćöąǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰÿĆööćìĉäåĉ ǰ ÿĆööćÖĆööĆîêąǰǰ ǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰÿĆööćÿêĉǰ ǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰÿĆööćÿĆÜÖĆððą ǰ ÿĆööćĂćßĊüąǰ ǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÿĆööćÿöćíĉ
78
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×Þ µ£x¼ ÛÚß
ǰ ǰ ýĊúǰǰ ǰ ǰ ǰ ǰǰÿöćíĉǰǰ ǰ ǰ ǰ ðŦââćǰǰ ǰ ǰ üĉöčêêĉ
ìćîǰ ǰ ǰ ýĊúǰǰ ǰ ǰ ǰ ǰ õćüîć Ýĉêêõćüîćǰǰ ǰ ðŦââćõćüîć đöêêćõćüîć
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ×ß µ£x¼ ÛÛÞ
ýøĆìíćǰǰ ǰ ǰ ÿĆööćìĉäåĉǰ ǰ ǰ ǰ ÿĆööćâćèąǰ ǰ ǰ ÿĆööćüĉöčêêĉ
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×× ØÖ µ£x¼ ÛÛß
ǰ ýøĆìíć ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ǰ ÿĆööćìĉäåĉǰ ǰ ǰ ÿĆööćâćèǰǰ ǰ ÿĆööćüĉöčêêĉ ē÷îĉēÿöîÿĉÖćø
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ø × µ£x¼ ÛÞÚ D2/!:29 "@+@1 Ů)= 9-*: )< +ů 2 9" ++) ²»¡¢¼
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ø Ø µ£x¼ ÛÞÛ D2/!:29 "@+@1 Ů)= 9-*: )< +ů 2 9" ++) 0+9 : Ȭ£¾È´«£´¾ ¼
79
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ø Ù µ£x¼ ÛÞÜ D2/!:29 "@+@1 Ů)= 9-*: )< +ů 2 9" ++) Ů0+9 :ů F*!<F2)!2< :+ ¥ ¾¤» ¾¢« à µ¯»
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù × µ£x¼ Ü×Ù
 ƾΫ x£ µÁ·Çµ¯w ¡¿Î«¼ · ¼²À ³¼ × ¥È È ´º¡¿Î ¿ ŮD2=* : $AĊ5?L! 5< <&- : (:*!5 ů
Ø È¬£¾È´«£´¾ ¼ Ů+AĊ 9 < < A /< = #ď 9*(:*G!ů
º¤±£ ¼ · ¼²À ³¼ UŴ 5 <2=-2< : Ů /:)#+8&, < /<!9* 2@ +< :*/: : E-85: =&ů
VŴ 5 < < 2< : Ů @ ++) @ (:& 2@ (:& E-82)++ (:& 5 < ů
WŴ 5 <#ď :2< : Ů /:)D ?L5 ĉ:!<*) /:)+AĊ /:) < A Ċ5 = :) + :) +< ů
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù Ø µ£x¼ Ü×Û ¼ ű Ã¥ ű Ƶͣ ĥ :++9"+AĊ Ãx´À ´Â ¡Â { ½Ê xµ«¼¬Ãx ¾ Ů5:* !8ů Ů5:+) čů Ů 9 @/< : ů Ů$9228ů ŮD/ !:ů Ů29 :ů Ů/< 9 8ů
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù Ù µ£x¼ Ü×Ü :++9"+AĊ ±¼«Ãx´À ´Â ¡Â { ±¼«·¬¼ ų LD= #đ!# < <+<*:"/ ų-" ¥} µ¼ Ů$9228ů ŮD/ !:ů Ů 9 3:ů Ů @ čů
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù Ú µ£x¼ Ü×Ý :++9"+AĊ ±¼«Ãx´À ´Â ¡Â { » µ¼ 7-7 Æ ¾ ¥} µ¼ Ů$9228ů ŮD/ !:ů ŮD < @ čů
Ȭ£¾È´«£´¾ ¼ ¥} ¼ Ç x¥} µ¼ Ů 9" @ čů
80
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ù Û µ£x¼ ÜØÚ
±» º «¿·È¬£¾È´«£´¾ ¼Æ¥ £«Ã¯ Ů/9 /!E3ĉ @ č 3+?5/ +#ď 3: D < : 5F*!<F2)!2< :+ů
5/< :
29 :+ 7-7 +: )+ 8 F2 8 #+<D /8 7-7 ĥ ¡Â {Æ ¾
9 3:
5@#: :! 7-7 +: )+ 8 F2 8 #+<D /8 7-7 ĥ ¡Â {Æ ¾
·È¬£¾È´«£´¾ ¼
±¾±» º «¿È¬£¾È´«£´¾ ¼Æ¥ £«Ã¯ Ů(:/8#-5 @ č 3+?5E Ċ#ď 3:H Ċ D < : F*!<F2)!2< :+ů
Ȭ£¾È´«£´¾ ¼
)++ (:/!:Ģ 29)): < < ĥ /< : 5/< : 9" 29 :+ 9" 7-7 ĥ ¡Â { »¤
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ú × µ£x¼ ÝÖÜ D! 9))29 9##Ĉ
F*!<F2)!2< :+ :)2(:/8
29)): < <
ŮH+Ċ :) Ú &*:": Ú /<3< 2:ů
´»««¼´» »¥¥º
5&*:": 29 9##Ĉ 5/<3< 2:29 9##Ĉ
29)):/: : F*!<F2)!2< :+D+Ċ: @0-
29)): 9))9! 8
ŮD2=*2-8 Ú D) : Ú +@ :ů
29)):5: =/8
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ú Ø µ£x¼ ÝÖÜ
´»««¼´» »¥¥º
D! 9))8
D) :
:!
5&*:":
+@ :
#Ā*/: :
29)):/: :
5/<3< 2:
)@ < :
59 +<*:
29)): 9))9! 8
5@D" :
2):!9 :
81
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ü × µ£x¼ ÝßÛ
#+:F) *č #ā < #ď229 < 2@ 2): <
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ü Ø µ£x¼ ÞÖß
« ¼£
¿ »Ï£ ±¼«´½ÆÍ
+: +< F 2 +< F)3 +< 29 : +< &@ < +< /< +< # <(: !<)< 5@# :+2): < # ) :! @ <* :! <* :! @ :! 5+A# :! X
¾¬¼¡¿ÎƵ«¼º
´¾ ×Ö ų /++ 2< X ų 2< 5?L!J ·´Âªº ×Ö ·£Â´ ¾ ×Ö ų &@ :Ų ++):Ų 29 :Ų 2=-:Ų : :Ų D / :ų ų 5@#2):!@2 <Ų )+ 2 < ų :* :2 < ų 5:!:#:!2 < ·»¥¥«» ¼ Ú ų D) :Ų +@ :Ų )@ < : ų 5@D" : ·¼µ¼Æ¥ ¾ ï´» ¼ ¢¼ ±±» ¼£ ·Ã¥ Ú ų 5: :2:!9 :* !8 ų /< : 9 :* !8 ų 5: < 9 :* !8 ų D!/29 :!:29 :* !8
U V W X
82
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ü Ù µ£x¼ Þ×Þ × × Ø Ø Ù Ù Ú Ú Û Û UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ [Ų[ UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ [Ų[ \Ų\ UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ [Ų[ \Ų\ ]Ų] UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ [Ų[ \Ų\ ]Ų] UTŲUT Ù Ù Ú Ú Û Û × × Ø Ø UŲU VŲV WŲW XŲX YŲY ZŲZ 7-7
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ü Ú µ£x¼ Þ×ß Ù Ú Û × Ø U V W X Y Z U V W X Y Z [ U V W X Y Z [ \ U V W X Y Z [ \ ] U V W X Y Z [ \ ] UT Ø Ù Ú Û × U V W X Y Z 7-7
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ý × µ£x¼ ÞÛ×
UŴ ´«Â¡¬±¼ " 5/< :D < 29 :+D < 7-7 : <D < +:)+ 8 F2 8 7-7 5@#:*:2 D < VŴ £¾È¢±¼ " 5/< : 9" 29 :+ 9" 7-7 : < 9" +:)+ 8 F2 8 7-7 5@#:*:2 9"
83
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ý Ø µ£x¼ ÞÛÝ
: W
29 8 X
@ č
2)@ 9*
!<F+
)++
29 :
< :
:
Ãx±w¼¡Â { Á· » £¿Ï
Ãx±w¼¡Â {£¿Ï ± ½µ£ Ãx
Ãx±w¼¡Â {£¿Ï ½µ£ Ãxǯx±
ĥ +AĊ/ĉ:#ď 3: ?558H+ 9/#ď 3:5*Aĉ LH= 3!
ĥ +AĊ/ĉ:#ď 3:!=M Ċ5 D Ċ:G 2(:&E-8 5"D D#đ! Ċ! 5 )9!
ĥ +AĊ/ĉ:H ĊD Ċ:G 2(:&E-8
5"D 5 #ď 3:E-Ċ/
Ãx±w¼´«Â¡»¬ Á· » £¿Ï Ů+AĊ/ĉ: 9 3:D#đ!D3 @E3ĉ @ čů
Ãx±w¼´«Â¡»¬£¿Ï ±¯ºÆ´¿¬ Ů+AĊ/ĉ: 9 3: Ċ5 -8D2=*ů
Ãx±w¼´«Â¡»¬£¿Ï Ê x¯ºÇ¯x± Ů+AĊ/ĉ: 9 3:H Ċ-8E-Ċ/ů
ĥ +AĊ/ĉ:2:D3 @ 5 #ď 3: ?558H+
ĥ +AĊ/ĉ: 8 Ċ5 E ĊH =L2:D3 @!9M!
ĥ +AĊ/ĉ:2:D3 @!9M!H ĊE ĊH ; 9 E-Ċ/
Ãx±w¼£¾È¢ Á· » £¿Ï Ů+AĊ/ĉ:!<&&:!D#đ!(:/8 9" @ čů ĥ +AĊ/ĉ: (:/83) #ď 3: =L Ċ5 :+ ?558H+ ! Ċ5 :+ 3+?5 /+ Ċ5 :+58H+
Ãx±w¼£¾È¢ ±¡½ÉµxÇ x Ů+AĊ/ĉ:!<&&:! /+"++-@ů
Ãx±w¼£¾È¢£¿Ï Ê x¥º » ³{Ç x ǯx± Ů+AĊ/ĉ:H Ċ"++-@!<&&:!E-Ċ/ů
ĥ +AĊ/ĉ:(:/8!9M! D#đ! @ 3):* L = Ċ5 H#G3Ċ >
ĥ +AĊ/ĉ:H Ċ"++-@ @ 3):*!9M!E-Ċ/
Ãx±w¼« Á· » £¿Ï Ů+AĊ/ĉ:)++ )=5 č \ D#đ! : 9" @ čů
Ãx±w¼« ±Æ ¾ Ů+AĊ/ĉ:)++ )=5 č \ /+# <"9 <ů
Ãx±w¼« £¿Ï Ê xÆ ¾ ǯx± Ů+AĊ/ĉ:H Ċ# <"9 < :))++ E-Ċ/ů
ĥ +AĊ/ĉ:/< = :+E Ċ#ď 3:D#đ!5*ĉ: H+
ĥ +AĊ/ĉ:/< = :+!9M! 8 Ċ5 - )?5# <"9 < 3+?5 9 ;D!<! :+
ĥ +AĊ/ĉ:H Ċ# <"9 < :)/< = :+!9M! D2+K 2<M!D+=*"+Ċ5*E-Ċ/
Ǧ£ªÃ«¾¡¿Î ×Ý Ù µ£x¼ ÞÝÞ
 ƾΫ Æ Áη Æ´¾« Ů#ď 9* 5 29)): < <ů
UŴ #+F F 28 L = = 29)): < <
VŴ F*!<F2)!2< :+
º¤±£ ¼ · ¼²À ³¼ ŮH +2< :ů 29 ) < #ď : × ·¢¾²¿¯
UŴ 5 <0=-
UŴ 5 <0=-
ĥ 2+Ċ:
VŴ 5 < <
Ø ·¢¾ ¾
UŴ 5 < <
ĥ 2+Ċ:
WŴ 5 <#ď : WŴ 5 <#ď : Ù ·¢¾¥} ¼ ĥ 2+Ċ:
84
¿±¾ ¥ºÆ´¾
 µ«¼¬ · ¿±¾
Ů)++ ů
Ů59 8ů
29)):/: : 29)): 9))9! 8 29)):5: =/8 29)):/:*:)8 29)):2 < 29)):2): < 29)): < < 29)):29 9##8
UŴ < 9))< 9 8 VŴ 29)#+:*< 9 8 WŴ #+)9 8
Ů29)): : ų 29)):/<)@ <ů
รายชื่อธรรมนิพนธ โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ปยุตตมหาเถระ) ที่บรรจุอยูใน SD Card ของพระเครื่องแสดงธรรม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
A Brief Introduction to the Buddha-Dhamma A CONSTITUTION FOR LIVING Buddhist principles for a fruitful and harmonious life Beyond Tolerance and Pleasure Buddhism - A Layman's Guide of Life Buddhism & The Business World: The Buddhist Way to deal with business Buddhism and Education Buddhist Economics Buddhist Solutions for the twenty- first century Dependent Origination Ethics, Wealth and Salvation - A Study in Buddhist Social Ethics F R E E D O M Individual and Social Good, Evil and Beyond … Kamma in the Buddha's Teaching Helping Yourself To Help Others JATAKA TALES BOOK I (M.S. 2) JATAKA TALES BOOK II (M.S. 3) Looking to America to Solve Thailand's Problems SAMADHI IN BUDDHISM SAMMASATI An Exposition of Right Mindfulness THAI BUDDHISM in the Buddhist World 85
20 The Buddhist Discipline in Relation to Bhikkhunis Questions and Answers Phra Payutto and Dr. Martin Seeger 21 The Pali Canon What a Buddhist Must Know 22 THE THREE SIGNS: ANICCA, DUKKHA & ANATTA IN THE BUDDHA’S TEACHINGS 23 TOWARD SUSTAINABLE SCIENCE A Buddhist look at trends in scientific development 24 VISAKHA PUJA B.E.2540 (1997) 25 Vision of the Dhamma A Collection of Buddhist Writings in English 26 กฐินแรกที่สายใจธรรม 27 กฐินสองที่สายใจธรรม 28 กฐินสูธรรม 29 กรณีเงื่อนงําพระพุทธเจาปรินิพพานดวยโรคอะไร? 30 กรณีเงื่อนงําพระพุทธเจาปรินิพพานดวยโรคอะไร? (ฉบับตัดสั้น) 31 กรณีธรรมกาย (ฉบับคัดตัวอยาง) 32 กรณีธรรมกาย บทเรียนเพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสรางสรรค สังคมไทย ฉบับเพิ่มเติม-จัดลําดับใหม 33 กรณีสันติอโศก 34 กรรม กับโรคพันธุกรรมในทัศนะพระพุทธศาสนา 35 กรรม ตามนัยแหงพุทธธรรม 36 กรรมของคนไทย ทํากันไวเอง (ถึงเวลา มาแกกรรมกันเสียที) 37 กรรม-นรกสวรรค สําหรับคนรุนใหม 38 กระบวนการเรียนรู เพื่อพัฒนาคนสูประชาธิปไตย 39 กระแสธรรม กระแสไท 86
40 กระแสธรรม เพื่อชีวิตและสังคม 41 กวาจะพบหลวงลุงฉาย แลวพากันไปวัดญาณเวศก (ลี้มหาจุฬาฯ ลาวัดพระพิเรนทร เรนวัดญาณเวศกวัน) 42 กายหายไข ใจหายทุกข 43 การเกิดเปนทุกข เกิดดีเปนสุข 44 การพัฒนาจริยธรรม 45 การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) 46 การเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทํางาน 47 การแพทยแนวพุทธ 48 การแพทยยุคใหม ในพุทธทัศน 49 การศึกษา เครื่องมือพัฒนาที่ยังตองพัฒนา 50 การศึกษา ทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย 51 การศึกษา เพื่ออารยธรรมที่ยั่งยืน 52 การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย 53 การศึกษากับการวิจัย เพื่ออนาคตของประเทศไทย 54 การศึกษากับเศรษฐกิจ ฝายไหนจะรับใชฝายไหน 55 การศึกษาของคณะสงฆ : ปญหาที่รอทางออก 56 การศึกษาฉบับงาย Educaion Made Easy 57 การศึกษาทั่วไปเพื่อสรางบัณฑิต 58 การศึกษาทางเลือก : สูวิวัฒนหรือวิบัติ ในยุคโลกไรพรมแดน 59 การศึกษาพัฒนาการ หรือบูรณาการ 60 การศึกษาเพื่อสรางบัณฑิต หรือ การศึกษาเพื่อเพิ่มผลผลิต 61 การศึกษาเพื่อสันติภาพ 62 การศึกษาเริ่มตน เมื่อคนกินอยูเปน 87
63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85
การสรางสรรคประชาธิปไตย การสรางสรรคปญญา เพื่ออนาคตของมนุษยชาติ การสื่อภาษา เพื่อเขาถึงสัจธรรม การเสริมสรางคุณลักษณะเด็กไทย กาลเวลา กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก [InsertTimelineVers6] กาวไปในบุญ กาวไปในบุญ [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] กาวใหมของโรงเรียนนายรอยตํารวจ กับการศึกษาเพื่อสันติสุขของโลก เกณฑวินิจฉัย ความหมายและคุณคาของพุทธธรรม [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] แกนแทของพระพุทธศาสนา (ทุกขสําหรับเห็น - สุขสําหรับเปน) แกปญหาขางหนา เสียแตวันนี้ ขวางกอนอิฐมา พัฒนาเปนแกวมณี ขอคําตอบจาก ผบ ทหารสูงสุด ขอคิดชีวิตทวนกระแส ขอคิดเพื่อการศึกษา ของขวัญของชีวิต คติจตุคามรามเทพ คติธรรมคําคม คติธรรมแหงชีวิต คนไทย กับ เทคโนโลยี คนไทย ใชกบเฒา? เถราวาท VS. ลัทธิอาจารย 88
86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107
คนไทย สูยุคไอที คนไทย หลงทางหรือไร คนไทยกับ สัตวปา คนไทยกับปา คนไทยใจไมแคบ แตระวังไว: อยาใหปญญาแคบ ตั้งกระทรวงพระพุทธศาสนา เหตุผลที่แทอยูที่ไหน คนรักษปา ปารักษคน ครองเรือน-ครองรัก จักเลิศแท ดวยครองธรรม ความคิด แหลงสําคัญของการศึกษา ความจริงแหงชีวิต ความจริงแหงชีวิต และ ชวยใหตายเร็ว หรือชวยใหตายดี ความตายคือคติธรรมแหงชีวิต และการบําเพ็ญกุศลเพื่อรําลึกถึงผูลวงลับไปแลว ความเปนกัลยาณมิตร ของหลวงปูชา ความเปนอนิจจังของสังขาร กับอิสรภาพของสังคม ความมั่นคงทางจิตใจ (Spiritual Security) ความมุงหมายของวิชาพื้นฐานทั่วไป ความรัก จากวาเลนไทน สูความเปนไทย ความรักในทางพุทธศาสนา, รักแทรักเทียมดูอยางไร, คูครองที่ดี ความรุนแรง เกิดจากความออนแอ & เมื่อวินัยไมมี เสรีภาพก็หายไป ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ในฐานะศาสนาประจําชาติ ความสุข ๕ ชั้น ความสุข ที่สมบูรณ ความสุข ทุกแงทุกมุม 89
108 ความสุขของครอบครัว คือ สันติสุขของสังคม 109 ความสุขที่แทจริง รางกายเปลี่ยนแปลงไป จิตใจเจริญไปสูหนทางแหง ความดีงาม 110 ความสุขอยูที่นี่ มัวไปหากันที่ไหน 111 คานิยมแบบพุทธ 112 คําถามสําหรับชาวพุทธ (สํารวจตัวกอนปฏิบัติธรรม) 113 คําปราศรัยของพระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ในพิธีรับถวาย รางวัล การศึกษาเพื่อสันติภาพ ของ ยูเนสโก ป ๒๕๓๗ UNESCO Prize for Peace Education 1994 114 คุณบิดามารดา สุดพรรณนามหาศาล 115 คูมือชีวิต 116 คูสรางคูสม ชีวิตคูในอุดมคติ 117 งานก็ไดผล คนก็เปนสุข 118 จริยธรรมสําหรับคนรุนใหม 119 จะพัฒนาคนกันไดอยางไร? 120 จะสุขแท ตองเปนไท ตองสุขเองได จึงจะชวยโลกใหเปนสุข 121 จะอยูอยางเปนเหยื่อ หรือ ขึ้นเหนือไปนําเขา 122 จักรใด ขับดันยุคไอที 123 จัดงานวิสาขบูชา อยาอยูแคหนาตา ตองไปใหถึงเนื้อตัว 124 จัดระเบียบสังคม ตามคตินิยมแหงสังฆะ 125 จากจิตวิทยา สูจิตภาวนา 126 จากพระ (ธรรมบรรยาย ๕ เรื่อง) 127 จากสุขในบาน สูความเกษมศานตทั่วสังคม 128 จาริกบุญ จารึกธรรม 90
129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151
จาริกบุญ จารึกธรรม [16 PAGE COLOR] จารึกอโศก จารึกอโศก (ธรรมจักรบนเศียรสี่สิงห) รัฐศาสตรแหงธรรมาธิปไตย จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาคน ตามแนวธรรมชาติ เจอวิกฤต จะเลือกวิวัฒน หรือจะเอาวิบัติ เจอวิกฤต จิตไมวิบัติ เจาะหาความจริง เรื่อง ศาสนาประจําชาติ ชวนคิด - พินิจธรรม ชวยกันนําพาประเทศไทย ใหกาวไปอยางสงางาม ในทามกลางประชาคมโลก ชวยใหตายเร็ว หรือชวยใหตายดี ชีวิต งาน และสังคมที่สมบูรณ ชีวิตก็สุขสันต สังคมก็เกษมศานต ชีวิตกับการทํางาน ชีวิตควรใหเปนอยางไร? ความสุข ชีวิตคูที่มีคุณคา ชีวิตที่ดีงาม หลักการทั่วไปของการปฏิบัติธรรม ชีวิตที่เปนอยูดี ดวยมีการศึกษาทั้ง ๓ ที่ทําใหพัฒนาครบ ๔ ชีวิตที่สมบูรณ ชีวิตที่สรางสรรค สดใส และสุขสันต ชีวิตนี้เพื่องาน งานนี้เพื่อธรรม ชีวิตหนึ่งเทานี้ สรางความดีไดอนันต เชื่อกรรม-รูกรรม-แกกรรม ดําเนินชีวิตดวยความไมประมาท 91
152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163
164 165 166 167 168 169 170 171
ดุลยภาพ: สาระแหงสุขภาพและความสมบูรณ ดูหนังสือของพระมโน สะทอนภาพโซของการศึกษาไทย ตองฟนฟูวัดใหชนบท พัฒนา สังคมไทยจึงจะกาวหนาได มั่นคง ตอบ ดร.มารติน: ดลถิ่นอริยชน สตรีหลุดพน ขึ้นเหนือมหาพรหม ตอบ ดร.มารติน: พุทธวินัย ถึง ภิกษุณี ตอบเรื่อง สีลัพพตปรามาส วินัย ดูใจ ตั้งกระทรวงพระพุทธศาสนา เหตุผลที่แทอยูที่ไหน คนไทยไมใจแคบ แตระวังไว: อยาใหปญญาแคบ ตามทางพุทธกิจ ตามทางพุทธกิจ [16 PAGE COLOR] ตามพระใหมไปเรียนธรรม (ธรรมบรรยาย แกพระนวกะ รุนพรรษา ๒๕๓๙) ๖๐ ตอน: ตอน ๑-๔ บวชแลว จะเริ่มเรียน ตามพระใหมไปเรียนธรรม (ธรรมบรรยาย แกพระนวกะ รุนพรรษา ๒๕๓๙) ภาค ๑ วางฐานชีวิตแหงการศึกษา (ตอน ๑-๖ ใน ๖๐ ตอน) ตามพระใหมไปเรียนธรรม (ธรรมบรรยาย แกพระนวกะ รุนพรรษา ๒๕๓๙) ภาค ๒ แคดูเปลือก ถามองเปน ก็เห็นพระพุทธศาสนา (ตอน ๗-๑๔ ใน ๖๐ ตอน) ตื่น-กันเสียที จาก ความเท็จ ของหนังสือ “เหตุเกิด พ.ศ. ๑” ตื่นเถิดชาวไทย เตรียมตัวรับพร ไตรภูมิพระรวงอิทธิพลตอสังคมไทย ไตรลักษณ ไตรลักษณ (จบโลก ถึงธรรม ดวยรูสามอยางนี้) ถาเชิดชูพระคุณแมขึ้นมาได สังคมไทยไมสิ้นความหวัง ถารูจักพระพุทธศาสนา ความสุขตองมาทันที 92
172 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187 188
189 190 191
ถาอยากพันวิกฤต ตองเลิกติดไสยศาสตร ถึงเวลา มาพัฒนาเยาวชนกันใหม ถึงเวลา มารื้อปรับระบบพัฒนาคนกันใหม ทรัพย-อํานาจ ทวนกระแส? ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปฎก หมวดพุทธศาสตร ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปฎก หมวดสังคมศาสตร ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปฏก หมวดวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ทศวรรษธรรมทัศนพระธรรมปฏก หมวดศึกษาศาสตร ทัศนะของพระพุทธศาสนา ตอ สตรีและการบวชเปนภิกษุณี ทางสายอิสรภาพ ของการศึกษาไทย ทางออกระบบเศรษฐกิจ ที่ครอบงําสังคมไทย ทําแทง และ สารพันปญหา ชีวิต กับการตัดสินใจทางการแพทย ทําแทง: ตัดสินอยางไร ชีวิตเริ่มตนเมื่อไร การทําแทงในทัศนะของพุทธ ศาสนา ทําไมคนไทยจึงเรียนพระพุทธศาสนาฯ ขอพิจารณาเกี่ยวกับ วิชา พระพุทธศาสนาและจริยศึกษา ในหลักสูตรการศึกษาของชาติ ทําอยางไร จะใหงานประสานกับความสุข ทําอยางไรจะหายโกรธ ทําอยางไรจะหายโกรธ / TEN WAYS TO KEEP ANGER AT BAY: Buddhist's Quick Tips to Quell Malcontent [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] ทําอยางไรจะใหเชื่อเรื่อง กรรม ทิศทางการศึกษาของคณะสงฆ ทุกขสําหรับเห็น แตสุขสําหรับเปน 93
192 193 194 195 196 197 198 199 200 201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 211 212
เทศนงานสมเด็จยา และคําปราศรัยเรื่องสันติภาพ ธรรม กับ การศึกษาของไทย ธรรม กับ การศึกษา-พัฒนาชีวิต ธรรมกถา สําหรับ ญาติของผูปวย ธรรมกับไทย ในสถานการณปจจุบัน ธรรมนูญชีวิต A Constitution for Living [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม ธรรมเพื่อชีวิต และการพัฒนาวัฒนธรรม ธรรมะ ฉบับเรียนลัด ธรรมะกับการทํางาน ธรรมะชนะเอดส ธรรมาธิปไตยไมมา จึงหาประชาธิปไตยไมเจอ (จุดบรรจบ: รัฐศาสตร กับ นิติศาสตร) ธรรมาลัย ทานผูหญิงพูนศุข พนมยงค ธุดงค ทําอะไร ที่ไหน เพื่ออะไร? ธุรกิจ-ฝาวิกฤต ตอบปญหา-สนทนาธรรม กับ คุณอานันท ปนยารชุน และคณะ นรก-สวรรค ในพระไตรปฎก นักวิชาการ เทศ-ไทย หาความรูใหแน ใชแคคิดเอา นิติศาสตรแนวพุทธ นิพพาน อนัตตา ในความทรงจํา ที่งดงามสดใส (วัดวชิรธรรมปทีป ในฉากชีวิตของพระรูปหนึ่ง) บทนําสู พุทธธรรม ชีวิตงาม สังคมดี ธรรมชาติเปนรมณีย 94
213 บทบาทนักศึกษาในการศึกษา พุทธศาสนา [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] 214 บารมี ยิ่งยวด หรือ ยิ่งใหญ 215 บุญ กรรม นรก-สวรรค เลือกไดทุกคน 216 ปฏิจจสมุปบาท (กรรมเกิด กรรมอาศัย กรรมเปนไป ที่นี่) 217 ปฏิบัติธรรม ใหถูกทาง 218 ปฏิรูปการศึกษา พระพุทธศาสนาจะไปอยูไหน? 219 ประชาธิปไตย ไมยาก ถาอยากได 220 ประชาธิปไตยจริงแท...คือแคไหน 221 ประทีปสองสยาม 222 ประโยชนสูงสุดของชีวิตนี้ (ปญญา วิสุทธิ กรุณา มาบรรจบ ที่นี่) 223 ปรัชญาการศึกษาของไทย ภาคพุทธธรรรม: แกนนําการศึกษา 224 ปญหาขัดแยงในโลก แกไดดวยกฐิน 225 ปใหม ตอนรับ หรือทาทาย 226 ปุจฉา-วิสัชนา เทคโนโลยีการแพทยกับจริยธรรมพุทธ 227 เปนสุขทุกเวลา 228 ผูพิพากษา ตั้งตุลาใหสังคมสมในดุล 229 ฝรั่งเจริญเพราะดิ้นรนใหพนจาก การบีบคั้นของศาสนาคริสต 230 ฝงลูกนิมิต-ผูกสีมา ปุจจา - วิสัชนา 231 พ.ร.บ. คณะสงฆ เรื่องเกา ที่เถียงกันใหม ขอคิดเกาๆ 232 พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม Dictionary of Buddhism 233 พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท 234 พฒนาคุณภาพชีวิต ดวยจิตวิทยาแบบยั่งยืน 235 พรตลอดป ชีวิตดีตลอดไป 95
236 237 238 239 240 241 242 243 244 245 246 247 248 249 250 251 252 253 254 255 256 257
พรที่สัมฤทธิ์ แกผูดําเนินชีวิตที่ดี พระกับปา มีปญหาอะไร? พระไตรปฎก สิ่งที่ชาวพุทธตองรู พระไตรปฎก สิ่งที่ชาวพุทธตองรู The Pali Canon What a Buddhist Must Know [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] พระไตรปฎกอยูนี่: อยูที่ชวนกันไมประมาทในการศึกษา พระไทย ใชเขาใชเรา? นิพพาน – อนัตตา: ฉบับเพียงเพื่อไมประมาท พระธรรมทูตไทย เบิกทางสูอารยธรรมใหม พระพุทธศาสนา กับ การบริจาคอวัยวะ พระพุทธศาสนา พัฒนาคนและสังคม พระพุทธศาสนาในโลกธุรกิจ : การใชพุทธธรรมในการทําธุรกิจ พระพุทธศาสนาในอาเซีย พัฒนาการแบบองครวม ของเด็กไทยฯ พัฒนาคุณภาพชีวิต ดวยจิตวิทยาแบบยั่งยืน พัฒนาตน พัฒนาปญญา เลาเรื่องใหโยมฟง ชุดที่ ๒ พัฒนาวัฒนธรรม ในตัวคนไทย พัฒนาสังคมไทย ดวย ความรูเขาใจไตรภูมิ Developing Thai Society with a Thorough Knowledge [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] พัฒนาสังคมไทย ดวย ความรูเขาใจไตรภูมิฯ พิธีกรรม ใครวาไมสําคัญ พุทธธรรม (ฉบับเดิม) พุทธธรรม กับ การพัฒนาชีวิต [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย 96
258 พุทธธรรมกับการฝกหัดครู 259 พุทธวิธีแกปญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ 260 พุทธวิธีแกปญหา เพื่อศตวรรษที่ ๒๑ (A Buddhist Solution for the Twenty-first Century) [ฉบับ ๒ พากย] 261 พุทธวิธีในการสอน 262 พุทธศาสนกับการแนะแนว 263 พุทธศาสนา กับ ชีวิตและสังคม [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] 264 พุทธศาสนา ในฐานะเปนรากฐานของ วิทยาศาสตร 265 พุทธศาสนากับสังคมไทย 266 เพิ่มพลังแหงชีวิต 267 เพื่อชุมชนแหงการศึกษา และบรรยากาศแหงวิชาการ 268 โพชฌงค พุทธวิธีเสริมสุขภาพ 269 โพชฌงค พุทธวิธีเสริมสุขภาพ - Bojjhanga The Buddhist Way of Enhancing Health [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] 270 ฟนสุขภาวะ ยามสังคมวิกฤต 271 ภัยแหงพระพุทธศาสนา - ความรูเพื่อ พัฒนาการนับถือศาสนาของคน 272 ภัยแหงพระพุทธศาสนา ในประเทศไทย 273 ภาวะผูนํา 274 ภาวะผูนํา & จริยธรรมนักการเมือง 275 ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรมไทย ทามกลางความเปลี่ยนแปลงของ โลก 276 ภูมิธรรมชาวพุทธ (หมวดธรรมเลือกสรรจาก พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม) 277 มรณกถา พระธรรมเทศนาเกี่ยวกับความตาย 97
278 279 280 281 282 283 284 285 286 287 288 289 290 291 292 293 294 295 296 297 298 299 300
มหาจุฬาฯ งามสงาสดชื่น กลางทะเลแหงคลื่นลม มหาจุฬาฯ งามสงาสดชื่น กลางทะเลแหงคลื่นลม [ปกภาพสี] มองธรรมถูกทาง มีสุขทุกที่ มองวิสาขบูชา หยั่งถึงอารยธรรมโลก มองสันติภาพโลก ผานภูมิหลังอารยธรรมโลกาภิวัตน มองหนังสือ พุทธธรรม ถามหาอนาคต มองใหลึก นึกใหไกล ขอคิดจากเหตุการณเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๕ มองอเมริกา มาแกปญหาไทย มาตรฐานชีวิตของชาวพุทธ เมืองไทยจะวิกฤต ถาคนไทยมีศรัทธาวิปริต เมื่อธรรมดามาถึง รูใหทัน และทําใหถูก ยามเจ็บไข รักษาใจได ยามถึงคราวของธรรมดา มีปญญารูเทาทัน ยิ่งกาวถึงสุข ยิ่งใกลถึงธรรม โยนิโสมนสิการ วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม ระลึกถึงความตาย และวิธีปฏิบัติใหถูกตองตอความตาย รักษาใจ ผูปวยและผูพยาบาล รักษาใจยามปวยไข ธรรมกถาสําหรับผูปวย ธรรมกถาสําหรับญาติของผูปวย รักษาใจยามรักษาคนไข รัฐกับพระพุทธศาสนา ถึงเวลาชําระลางหรือยัง? รัฐศาสตรแนวพุทธ ตอน จริยธรรมนักการเมือง รัฐศาสตรเพื่อชาติ VS รัฐศาสตรเพื่อโลก ราเริงสดใส สูความเกษมศานต ร่ํารวย ยิ่งใหญ เลื่อนลอย หรือเพื่ออะไร และ ชีวิตที่สมบูรณื์ 98
301 302 303 304 305 306 307 308 309 310 311 312 313 314 315 316 317 318 319 320 321 322 323
ร่ํารวย ยิ่งใหญ เลื่อนลอย หรือเพื่ออะไร? รุงอรุณของการศึกษา รุงอรุณของการศึกษา เบิกฟาแหง การพัฒนาที่ยั่งยืน รูจักพระไตรปฎก ใหชัด ใหตรง (กรณีพระคึกฤกธิ์) รูจักอเมริกา หันมาดูศักยภาพของไทย รูไวเสริมปญญา และพัฒนาคน รูหลักกอน แลวศึกษาและ สอนใหไดผล รูใหถึง ทําใหถูก เราจะกูแผนดินกันอยางไร? เรื่องที่คนไทยควรเขาใจใหถูก เรื่องนารูเกี่ยวกับพิธีศพ และพุทธภาษิตชีวิตกับความตาย เรื่องเหนือสามัญวิสัย อิทธิปาฏิหาริย เทวดา โรงเรียนตองชวยสังคมไทย อนุรักษความเจริญทางจิตใจ และกาวไปในปญญา ลักษณะแหงพระพุทธศาสนา เลาเรียน-ทํางานกันไป ชีวิตไดอะไร โลกขึ้นสหัสวรรษใหม คนตองเปลี่ยนแนวความคิดใหม โลกมีปญหา พุทธศาสนามีคําตอบ วัฒนธรรม กับ การพัฒนา วันสําคัญของชาวพุทธไทย วาสนาสรางเองได วิถีสูสันติภาพ วิถีแหงปราชญ ฉบับสมบูรณ วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม 99
324 วินัย: เรื่องใหญกวาที่คิด 325 วินัยชาวพุทธ THE BUDDHIST'S DISCIPLINE 326 วินยั ชาวพุทธ THE BUDDHIST'S DISCIPLINE [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] 327 วิสัยธรรม เพื่อเบิกนําวิสัยทัศน 328 เวลาแตละวัน อยาใหผานไปเปลา 329 ศาสนาและเยาวชน 330 ศิลปศาสตร เพื่อการศึกษาที่ยั่งยื่น 331 ศิลปศาสตรแนวพุทธ 332 เศรษฐศาสตรแนวพุทธ (Buddhist Economics) 333 เศรษฐศาสตรแนวพุทธ (Buddhist Economics) [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] 334 สถานการณพระพุทธศาสนา ทวนกระแสไสยศาสตร 335 สถานการณพระพุทธศาสนา พลิกหายนะ เปนพัฒนา 336 สถาบันสงฆ กับ สังคมปจจุบัน วิเคราะหปญหาสําหรับและแนะแนว ทางการศึกษาและวิธีแกไข "ปญหาลาหลังในวงการคณะสงฆ" 337 สถาบันสงฆในสังคมไทย 338 สถาปนาธรรม ใหเกิดมีและยืนยงในสังคม [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] 339 สนทนาธรรม "คติ-จตุคามรามเทพ" 340 สมาธิ : ฐานสูสุขภาพจิตและปญญาหยั่งรู 341 สมาธิแบบพุทธ 342 สยามสามไตร 343 สรางวาสนา-เพิ่มคาใหอายุ 100
344 345 346 347 348 349 350 351 352 353 354 355 356 357 358 359 360 361 362 363 364 365 366
สลายความขัดแยง เข็มแข็งดวยปญญา สลายความขัดแยง นิติศาสตร-รัฐศาสตร-เศรษฐศาสตร แนวพุทธ สลายความขัดแยง สังคมศาสตรที่หยั่งถึงธรรมชาติ สอนนาค-สอนฑิต ชีวิตพระ-ชีวิตชาวพุทธ สังคมจะเฟองฟู ตองเชิดชูบัณฑิต สัจจธรรมกับจริยธรรม สันติภาพ เกิดจากอิสรภาพและความสุข PEACE THROUGH FREEDOM AND HAPPINESS สัมมาทิฏฐิ สัมมาสติ ในพุทธธรรม สัมมาสมาธิ สมาธิแบบพุทธ สัมมาอาชีวะ สามไตร สารัตถธรรม สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทวฤทธิ์ปาฏิหาริย สิทธิมนุษยชน สรางสันติสุขหรือสลายสังคม สี่หนาที่ของสตรีไทย สืบสานวัฒนธรรมไทย บนฐานแหงการศึกษาที่แท สุขนี้มิไกล ใครมีปญญาไวหาไดทุกสถาน สุขภาวะองครวมแนวพุทธ สุขสดใส ใหมทุกเวลา สูการศึกษาแนวพุทธ สูอนาคตที่สดใส ดวยการศึกษาไทยวิถีพุทธ แสงเงินแสงทอง ของชีวิตที่ดีงาม 101
367 368 369 370 371 372 373 374
375 376 377 378 379 380 381 382 383
หนังสือสวดมนต (ฉบับงานมงคล) หนังสือสวดมนต วัดญาณเวศกวัน สถานพํานักสงฆสายใจธรรม หนาที่ กับ ธรรม สู หนาที่เพื่อธรรม หยาดเพชร หยาดธรรม ภูมิปญญาเพื่อการศึกษาไทย หลักกรรมสําหรับคนสมัยใหม หลักชาวพุทธ (แผนพับ) หลักชาวพุทธ (สามไตร ณ ฐานของปฏิบัติการ) จุดเริ่มจุดรวม ที่มารวม กันรุงโรจน หลักชาวพุทธ จุดเริ่มจุดรวม ที่มารวมกันรุงโรจน (สามไตร ณ ฐานของปฏิบัติการ) The Buddhist's Tenets A Starting Point and a Unifying Point - A Convergence for Success and Prosperity) [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] หลักทั่วไป ของ พุทธศาสตร [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] หลักแมบท ของ การพัฒนาตน หลักสูตรอารยชน หลักสูตรอารยชน A Curriculum for Civilized People [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] เหตุปจจัย ในปฏิจจสมุปบาท และกรรม เหตุและผล ของ การอวดอุตริมนุษยธรรม (ทําไมพระพุทธเจา จึงหามอวดอุตริมนุษยธรรม?) องคพระรัฐสีมาคุณากรปยชาติ อมฤตพจนา พุทธศาสนสุภาษิต [ฉบับ ๒ พากย บาลี-ไทย] อมฤตพจนา พุทธศาสนสุภาษิต The Nectar of Truth A Selection of Buddhist Aphorisms [ฉบับ ๒ พากย ไทย-อังกฤษ] 102
384 อมฤตพจนา พุทธศาสนสุภาษิต The Nectar of Truth A Selection of Buddhist Aphorisms [ฉบับ ๓ พากย บาลี-ไทย-อังกฤษ] 385 อยูก็สบาย ตายก็เปนสุข 386 อายุยืนอยางมีคุณคา 387 อายุรแพทยกับปญหาจริยธรรม 388 อารยธรรมไทย ทางเลือกออกจากยุคพัฒนา 389 อิทธิปาฏิหารยเทวดา ทัศนะของพระพุทธศาสนา ตอเรื่องเหนือสามัญวิสัย 390 อุดมคติ ของ คนหนุมสาว [ชุดธรรมะสําหรับคนหนุมสาว] 391 อุดมธรรม นําจิตสํานึกของสังคมไทย 392 ไอซีที [ICT] กาวหนา คนตองพัฒนาปญญาและวินัย 393 ไอที ภายใตวัฒนธรรมแหงปญญา (ศาสนากับยุคโลกาภิวัตน)
103
บันทึก
บันทึก