รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยบูรพา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หมวดที่ ๑ ขอมูลทั่วไป ๑. รหัสและชื่อรายวิชา ๒๖๒๑๑๒แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociological and Anthropological Thoughts) ๒. จํานวนหนวยกิต ๓ หนวยกิต (๓-๐-๖) ๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการบริการสังคมและการพัฒนาชุมชน โดยเปนวิชาเอกเลือก ๔. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชา ณพฤนท ธารธนคุณ ๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปที่เรียน ภาคตน การจัดการบริการสังคมชั้นปที่ 1 และการพัฒนาชุมชนชัน้ ปท่ี 2 ๖. รายวิชาทีต่ อ งเรียนมากอน (pre-requisite) (ถามี) ไมมี ๗. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (co-requisites) (ถามี) ไมมี ๘. สถานทีเ่ รียน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ๙. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด กรกฎาคม ๒๕๕๗
1
หมวดที่ ๒ จุดมุงหมายและวัตถุประสงค ๑.จุดมุงหมายของรายวิชา - เพื่อใหผูเรียนเขาใจขอบเขต ความเปนมาและลักษณะของสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา - เพื่อใหผูเรียนตระหนักถึงความสัมพันธของสังคมและวัฒนธรรม - เพื่อใหผูเรียนเขาใจแนวความคิดและวิธีการทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา - เพื่อใหผูเรียนสามารถนําแนวความคิดทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไปประยุกตใช ในการอธิบายปรากฏการณและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย - เพื่อใหผูเรียนสามารถอธิบายการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมไดอยางมีหลักเกณฑ ๒. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา - เพื่อใหผูเรียนมีความรูและความเขาใจในแนวความคิดและวิธีการทางสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา - เพื่อใหผูเรียนสามารถประยุกตใชความรู ทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการอธิบาย ปรากฏการณทางสังคมและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย ตลอดจนการเปลีย่ นแปลงทาง สังคมและวัฒนธรรมได หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดําเนินการ ๑. คําอธิบายรายวิชา ขอบเขต ความเปนมาและลักษณะของสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ความพันธของสังคมและ วัฒนธรรม การนําแนวความคิดและวิธกี ารทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไปประยุกตใชในการอธิบาย ปรากฏการณและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย ตลอดจนการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ๒. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอ ภาคการศึกษา บรรยาย
สอนเสริม
การฝกปฏิบตั ิ/งาน ภาคสนาม/การฝกงาน
การศึกษาดวย ตนเอง
3 ชั่วโมงตอสัปดาห
ไมมี
ไมมี
๖ ชั่วโมงตอ สัปดาห
2
๓. จํานวนชัว่ โมงตอสัปดาหทอ่ี าจารยใหคาํ ปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนกั ศึกษาเปน รายบุคคล - ตามตารางทีก่ าํ หนดในแตละภาคการศึกษา ๒ ชั่วโมงตอสัปดาห - ตามที่นิสิตนัดหมาย ตลอดเวลา - จดหมายอิเล็กทรอนิกส ตลอดเวลา หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรูข องนักศึกษา ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมทีต่ อ งพัฒนา - ปลูกฝงใหมีการใชสติและปญญาในการปฏิบัติ กระทําของตนใหเปนไปตามกฎและกติกา ของสังคม และมีความรับผิดชอบตอหนาที่และการงาน ๑.๒ วิธกี ารสอนทีจ่ ะใชพฒ ั นาการเรียนรู - บอกขอปฏิบัติและหลักเกณฑการใหคะแนนการเขาชั้นเรียนและการแตงกาย - ยกตัวอยางการใชสติและปญญาในการตัดสินใจอยางถูกตอง ระหวางการเรียนการสอน - มอบหมายใหทาํ รายงานเดีย่ วและรายงานกลุม ๑.๓ วิธกี ารประเมินผล - ประเมินจากเวลาเรียน ความประพฤติและการแตงกาย - ประเมินจากรายงานการสอบกลางภาคและปลายภาค ๒. ความรู ๒.๑ ความรูที่จะไดรับ - เขาใจประโยชนและคุณคาของแนวคิดทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการอธิบาย ปรากฏการณและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย - เขาใจวิธกี ารทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการไดมาซึง่ ความรูใ นการเขาใจสังคม และวัฒนธรรม - เขาใจความสัมพันธของสังคมและวัฒนธรรม ๒.๒ วิธีการสอน - บรรยายและยกกรณีตวั อยาง - ศึกษาดูงานและ/หรือรายงาน หาความรูแ ละ/หรือทํารายงานเพิม่ เติม ๒.๓ วิธกี ารประเมินผล - สอบกลางภาคและปลายภาค - ประเมินผลจากความสนใจในการศึกษาดูงานและ/หรือเนือ้ หาจากรายงาน
3
๓. ทักษะทางปญญา ๓.๑ ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา - สามารถเลือกและประยุกตแนวคิดทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการอธิบาย ปรากฏการณและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย - สามารถวิเคราะหปญ หาและผลกระทบการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมไดอยางมี หลักเกณฑ ๓.๒ วิธีการสอน - บรรยายและยกตัวอยาง การประยุกตใช แนวคิดทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการ อธิบายปรากฏการณและพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย - รายงานการวิเคราะหปญ หาและผลกระทบการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ๓.๓ วิธกี ารประเมินผลทักษะทางปญญาของนักศึกษา - สอบระหวางภาค/ปลายภาค - ประเมินผลเนือ้ หาจากรายงานและการแสดงความคิดเห็นระหวางผูเ รียน ๔. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ๔.๑ ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองการพัฒนา การทํางานรวมกัน การยอมรับความคิดเห็นตาง และการแบงความรับผิดชอบ ๔.๒ วิธีการสอน มอบหมายใหทํางานกลุม และมีการแบงหนาที่ที่ชัดเจน ๔.๓ วิธกี ารประเมิน ประเมินการนําเสนองาน การตอบคําถาม และเนือ้ หาของรายงาน ๕.ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ๕.๑ ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศทีต่ อ ง พัฒนา - สามารถคํานวณ ตลอดจน ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารอยางงายในการคนหา ความรู เก็บขอมูล ทํารายงาน และนําเสนอรายงาน - ใชภาษาในการสือ่ สารรวมกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไดอยางถูกตอง ๕.๒ วิธีการสอน แนะนําการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสาํ หรับใชงานในสํานักงานและสําหรับใชอนิ เทอรเน็ต ๕.๓ วิธกี ารประเมิน - การใชภาษาในการนําเสนอรายงานและเนือ้ หารายงานทีถ่ กู ตองและชัดเจน รวมถึงมีความ กระชับ - การใชจดหมายอิเล็กทรอนิกสในการติดตอกับผูส อน เชน สอบถามปญหาการเรียน การ
4
รับสงรายงาน - การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการนําเสนอรายงาน - การอางอิงแหลงขอมูลรายงานจากอินเทอรเน็ต หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล ๑.แผนการสอน สัปดาห ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
หัวขอ/รายละเอียด
๑๐ ๑๑ ๑๒
กิจกรรมการเรียน การสอนและสื่อที่ใช
๑
บรรยายและอธิบาย
แนะนําการเรียน-การสอน การประเมินผลรายวิชา ความสัมพันธระหวาง ความรู-มนุษย-สังคม ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ แนวคิดสังคมวิทยา แนวคิดสังคมวิทยา ยุคคลาสสิก แนวคิดสังคมวิทยา ยุคสมัยใหมและหลังสมัยใหม แนวคิดสังคมวิทยา ในชีวิตประจําวัน สรุปแนวคิดสังคมวิทยา และการนําไปประยุกตใช
๘ ๙
จํานวน (ชั่วโมง)
ผูสอน
๓ ๓ ๓ ๓
บรรยายและอธิบาย แสดงตัวอยาง อภิปรายรวม และกิจกรรมกลุม
๓ ๓ สอบกลางภาค
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ แนวคิดมานุษยวิทยา วิวฒ ั นาการของมนุษยและ แนวคิดมานุษยวิทยากายภาพ แนวคิดมานุษยวิทยาวัฒนธรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวของ สรุปแนวคิดมานุษยวิทยา และการนําไปประยุกตใช
๓ ๓ ๓ ๓
5
บรรยายและอธิบาย แสดงตัวอยาง อภิปรายรวม และกิจกรรมกลุม
ณพฤนท ธารธนคุณ
๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗
แนวคิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม สรุปวิชาแนวคิดสังคมวิทยามานุษยวิทยา นําเสนอรายงานเดีย่ ว นําเสนอรายงานกลุม รวม
ผลการ เรียนรู* ๑,๔ ๑,๒,๓,๔ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕ ๑,๒,๓,๔,๕
๓
ณพฤนท ธารธนคุณ
๓ ๓ รายงาน วิจารณ และเสนอแนะ ๓ สอบปลายภาค ๔๘
วิธกี ารประเมิน การแตงกายและเวลาเรียน การเขาเรียน กิจกรรมในชัน้ เรียน (อภิปรายกลุม ) รายงานเดี่ยว รายงานกลุม สอบกลางภาค สอบปลายภาค
สัปดาหทป่ี ระเมิน
สัดสวนของการ ประเมิน
๑-๑๖ ๒-๑๖ ๒-๑๖ ๗-๘,๑๕ ๑๖ ๘ ๑๗
๕ ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐ ๓๐
*หมายเหตุ ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู ๓. ทักษะทางปญญา ๔. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและ ความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน ๑. ตําราและเอกสารหลัก ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล บรรณาธิการ.(๒๕๔๕). คนใน: ประสบการณภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรนิ ธร. พัชรินทร สิรสุนทร. (๒๕๕๖). แนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและการประยุกตเพือ่ การพัฒนาสังคม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย . พัทยา สายหู. (๒๕๔๐).กลไกของสังคม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย . ยศ สันตสมบัติ.(๒๕๓๙). มนุษยกบั วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
6
สุภางค จันทวานิช. (๒๕๕๕). ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย . อานันท กาญจนพันธ. (๒๕๒๘). แนวความคิดพืน้ ฐานทางมานุษยวิทยา แปลจาก Invitation to Anthropology by Douglas L. Oliver. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย. ๒. เอกสารและขอมูลสําคัญ ฉลาดชาย รมิตานท และวารุณี ภูริสินสิทธ. (๒๕๒๙). สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไทย: สถานภาพและทิศทาง. ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม. เชษฐา พวงหัตถ. (๒๕๔๘). โครงสราง-ผูก ระทําการ (Structure-Agency). กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ. สุริชัย หวันแกว. (๒๕๕๐). คนชายขอบ: จากความคิดสูความจริง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย . ยศ สันตสมบัติ.(๒๕๓๒). จากวานรถึงเทวดา: มารกซิสตและมานุษยวิทยามารกซิสต. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ๓. เอกสารและขอมูลแนะนํา นิธิ เอียวศรีวงศ. (๒๕๓๓). ความหลากหลายของวัฒนธรรมไทย : การทาทายใหม ใน สูค วามเขาใจวัฒนธรรม(หนา ๙-๑๑๕). กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม.(๒๕๔๔). พัฒนาการทางสังคม-วัฒนธรรมไทย = Socio-Cultural Development in Thai History. เอกวิทย ณ ถลาง(บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : อมรินทร. ** หมายเหตุ: เอกสารประกอบการสอนอาจมีการเพิม่ เติมในแตละสัปดาห โดยผูส อนจะแจงใหทราบ ลวงหนาอยางนอย ๑ สัปดาห
หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา ๑. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ใหนิสิตประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ไดแก วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกหองเรียน สิง่ สนับสนุนการเรียนการสอน ซึง่ มีผลกระทบตอการเรียนรู และผลการเรียนรูท ไ่ี ดรบั พรอม ขอเสนอแนะเพือ่ การปรับปรุงผานระบบประเมินผลการเรียนของมหาวิทยาลัย
7
๒. กลยุทธการประเมินการสอน ติดตามการประเมินผลการเรียนและขอเสนอแนะของนิสติ จากระบบการประเมินผลการเรียน ของมหาวิทยาลัย ๓. การปรับปรุงการสอน ทบทวนการจัดการเรียนการสอนจากขอมูลการประเมินผลการเรียนและขอเสนอแนะของนิสติ จากระบบการประเมินผลการเรียนของมหาวิทยาลัย ๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิร์ ายวิชาของนักศึกษา ทบทวนพฤติกรรม รายงาน และคะแนนสอบของผูเ รียน ๕. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา พิจารณาจากขอมูลการประเมินผลการเรียนและขอเสนอแนะของนิสติ
8
กิจกรรมและหัวขออภิปราย สัปดาหที่ ๑
แนะนําการเรียนการสอน-ประเมินผลรายวิชา หัวขออภิปราย: -
สัปดาหที่ ๒
ความสัมพันธระหวางความรู-มนุษย-สังคม หัวขออภิปราย: “ความรักในสถาบัน ... เราสอนกันไดหรือไม ”
สัปดาหที่ ๓ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสังคมวิทยา หัวขออภิปราย: “มนุษยปากับการจัดระเบียบสังคมผานโลกออนไลน ” สัปดาหที่ ๔
แนวคิดสังคมวิทยายุคคลาสสิค หัวขออภิปราย: “ใครกันแน? … คือคนบา ตัวจริง” และ “มันเปนปญหาอยางนั้นชิมิชิมิ : ภาษา สัญลักษณ กับมนุษยจอสี่เหลี่ยม”
สัปดาหที่ ๕ แนวคิดสังคมวิทยายุคสมัยใหมและหลังสมัยใหม หัวขออภิปราย: “ชา-กาแฟกับการบริโภคของชนชัน้ ” และ “เมือง: ผลผลิตแหงความขัดแยง ความเหงา และความเปนสวนตัว” สัปดาหที่ ๖
แนวคิดสังคมวิทยาในชีวิตประจําวัน หัวขออภิปราย: “แตงแอพฯ(พลิเคชั่น) ไอจี ไซลฟ ไทมไลน ฯลฯ ตัวตนใหมของคนรุนใหม ... ที่ไมใชแคความบันเทิง”
สัปดาหที่ ๗ สรุปแนวคิดสังคมวิทยาและการนําไปประยุกตใช หัวขออภิปราย: “บูชา ชาบูกบั นักลา ‘Like’” และ “ในความเปนจริงเราอยูค นเดียว: สถานะของ‘เพื่อน ’และมิตรภาพในเฟสบุค ” สัปดาหที่ ๘
สอบกลางภาค รายงานเดี่ยว หัวขอ “ความเปนชายขอบ ... เสียงสะทอนจากโลกออนไลน เสียงเพลง และแผนฟลม”
9
กิจกรรมและหัวขออภิปราย (ตอ) สัปดาหที่ ๙
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับแนวคิดมานุษยวิทยา หัวขออภิปราย: “ชาติพนั ธุแ ละความโรแมนติคในเชิงมานุษยวิทยา”
สัปดาหที่ ๑๐ วิวฒ ั นาการของมนุษยและแนวคิดมานุษยวิทยากายภาพ หัวขออภิปราย: “ความขาวและกรรมพันธุข องบรรพบุรษุ ” สัปดาหที่ ๑๑ แนวคิดมานุษยวิทยาวัฒนธรรม และงานวิจัยที่เกี่ยวของ หัวขออภิปราย: “พระ ... กลไกการสรางความดีที่เปลี่ยนแปลง” สัปดาหที่ ๑๒ แนวคิดมานุษยวิทยาและการนําไปประยุกตใช หัวขออภิปราย: “บทบาทของมานุษยวิทยาในเชิงธุรกิจ ” สัปดาหที่ ๑๓ แนวคิดการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม หัวขออภิปราย: “ความแปลกแยกและวัฒนธรรมประดิษฐ ” สัปดาหที่ ๑๔ สรุปแนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา หัวขออภิปราย: “The Symbol of Thai Culture: คุณคาหรือมูลคาที่เราตองการ” สัปดาหที่ ๑๕ รายงานเดี่ยว หัวขอ “ใคร ... ที่ฉันไมเคยรูจัก” (Participant Observation/ In-depth Interview) สัปดาหที่ ๑๖ รายงานกลุม หัวขอ …………………………. (กําหนดเอง) สัปดาหที่ ๑๗ สอบปลายภาค
10