เด็กขายพวงมาลัย ชีวิตชายขอบในเมือง _ ไฟนอล

Page 1

เด็กขายพวงมาลัย: ชีวิตชายขอบในเมือง บทสังเคราะหองคความรูจากงานวิจัยและฐานขอมูลออนไลน อรทัย อาจอ่ํา รองศาสตราจารย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

ความนํา บทความเรื่อง “เด็กขายพวงมาลัย: ชีวิตชายขอบในเมือง” นี้ แรกเริ่มเดิมที ตั้งความหวังไวคอนขางสูงวา จะ พยายามทําใหเปนบทความที่มีความครอบคลุมในทุกดาน หรือสามารถทําการประมวลภาพสถานการณตางๆ ที่ เกี่ยวกับเด็กกลุมนี้ หรือตั้งใจที่จะทําใหเปนบทสังเคราะหองคความรู บนพื้นฐานของขอมูลทุติยภูมิ หรือบน พื้นฐานของการศึกษา ทบทวน ประมวลภาพจากการศึกษาวิจัยตางๆ จากเมือง ในขอบเขตทั่วประเทศที่คอนขาง สมบูรณ แตพอลงมือดําเนินการจริง กลับพบวา มีขอจํากัดดานการศึกษาวิจัย หรือพบวาขอมูลดานนี้ ยังมีอยูไม มากนัก ทั้งๆ ที่เปนเรื่องหรือหัวขอ ที่แสดงอยูในฐานขอมูลของ Google มากถึง 900 กวารายการก็ตาม แตสวนใหญ (จากทั้งหมด 900 กวารายการ) นั้น มักเปนการกลาวพาดพิงถึง “เด็กขายพวงมาลัย” เพียงแค สั้นๆ หรือ สวนใหญเปนการพูดถึงความทุกขยาก ความยากจน ความเหลื่อมล้ําที่มีอยูในสังคม หรือ คุณภาพ ชีวิตที่ตอยต่ําของประชากรกลุมตางๆ หรือ เด็กกลุมอื่นๆ และ/หรือ ปรากฏการณใหมๆ ที่เกี่ยวกับเด็ก ไมวาจะ เปน แรงงานเด็ก เด็กเรรอน เด็กขางถนน เด็กเก็บขยะ เด็กซาเลง เด็กซิ่งรถ เด็กชกมวย เด็กเลนเกมส เด็กติด เน็ต เด็กติดกาว เด็กตางดาว เด็กขอทาน เด็กยิงขอสอบ เด็กที่ถูกใชเปนเครื่องมือ หรือการแสวงประโยชนใน รูปแบบตางๆ ฯลฯ เสร็จแลว ก็มักจะพวงคําวา “เด็กขายพวงมาลัย” และ “เด็กเช็ดกระจกรถ” เอาไวในกลุมเด็ก เหลานี้ดว ยเสมอ ไมวา จะเปนการพูดโดยใคร หรือในบทความใดก็ ตาม (อดิศั กด ผลิตผลการพิ มพ 2549; ไพฑูรย สุขกสิกร 2549) ซึ่งอันที่จริงนั้น ควรจะมีการจําแนกประเภทของกลุมเด็กตางๆ เหลานี้ ทั้งนี้ เพื่อที่จะสามารถทําความเขาใจ สภาพปญหา และเงื่อนไขตางๆ ที่เกี่ยวของไดอยางละเอียดลึกซึ้งมากขึ้น เพราะความจริงแลว เด็กขาย พวงมาลัย-ดอกไม และเด็กเช็ดกระจกรถ ควรจัดอยูในกลุมเด็กทํางาน หรือจําเปนตองชวยครอบครัวทํางาน หรือ จําเปนตองไดรับการเลี้ยงดูจากครอบครัวแบบต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน เนื่องจากความจําเปนทางเศรษฐกิจ ซึ่ง กลุมนี้ ประกอบไปดวย แรงงานเด็ก เด็กเก็บขยะ เด็กซาเลง เด็กชกมวย เด็กขอทาน และเด็กตางดาวบางกลุม สําหรับเด็กเลนเกมส เด็กติดเน็ต และเด็กซิ่งรถ ก็อาจจัดอยูในกลุมหรือประเภทที่ 2 ซึ่งไดรับอิทธิพลจาก เทคโนโลยี หรือ อาจเรียกวา เปนกลุมเด็กที่ตกเปนเหยื่อของสังคมสมัยใหม มีพฤติกรรมเสี่ยงตางๆ และมักเที่ยว เตรยามวิกาล เนื่องจากถูกละเลยจากครอบครัว หรือครอบครัวไมรูเทาทันอิทธิพลของเทคโนโลยีสมัยใหม และ กลุมที่ 3 คือกลุมเด็กที่เรรอน ไรบาน-ไรรัก และ/หรือ เด็กขางถนน ซึ่งสวนหนึ่งอาจดํารงชีพดวยการขอทาน และ เก็บของเกาขาย เพื่อประทังชีวิตไปดวยในบางเวลา ซึ่งเด็กกลุมนี้ มักเปนเด็กที่หลุดออกจากครอบครัว และใช ชีวิตเรรอนไปตามทองถนน และไมไดทํางานที่มีรายไดชัดเจน และบางสวนติดกาว หรือสารเสพติดอื่นๆ อยูดวย นอกจากนี้ ในปจจุบัน ก็ยังมีเด็กหรือเยาวชนอีกกลุมหนึ่งเพิ่มขึ้นมาดวย คือ เด็กยิงขอสอบ ซึ่งเปนอาชีพที่ทํา รายไดดีพอสมควร แตจะตองเปนเด็กที่เกง หรือมีผลการเรียนดี (สุวัฒน อัศวไชยชาญ 2548) 1


อยางไรก็ตาม การสืบคนขอมูลในฐานขอมูล Google ก็ชวยทําใหผูเขียนไดทราบความเคลื่อนไหวตางๆ เกี่ยวกับเด็กขายพวงมาลัย รวมถึงปญหาของเด็กในกลุมตางๆ และทําใหเกิดแรงบันดาลใจในการทําความเขาใจ การเปลี่ยนแปลงตางๆ ทางสังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีที่สงผลตอเด็กเปนอยางมาก นอกจากนี้ ยังทําใหทราบดวยวา มีบุคคลในวงการตางๆ ที่สนใจสภาพความเปนอยู หรือความเปนไปของ เด็กขายพวงมาลัย มากพอสมควร เพราะมีการกลางถึงกันมาก (แมแตนักธุรกิจ และนักเขียน) โดยเฉพาะตั้งแต ที่มีเด็กนักเรียนหญิงที่ชวยพอแมขายพวงมาลัย และดอกจําป ถูกรถบรรทุกชนเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2549 ที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร (เหตุการณเพิ่งผานไปไมถึงหนึ่งปนี่เอง) สําหรับกอนหนานี้พบวา มีการศึกษาเกี่ยวกับเด็กขายพวงมาลัยและเด็กเช็ดกระจกรถอยูเนืองๆ เริ่มครั้ง แรกตั้งแตป พ.ศ. 2519 หรือ 30 กวาปที่ผานมา (จัดทําโดยกระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานสงเสริมเยาวชน) และมีปรากฏออกมาเปนระยะๆ โดยเฉพาะในชวงที่มีเด็กขายพวงมาลัยจํานวนมากบนทองถนน ในดานหนึ่ง แสดงใหเห็นวา มีคนสนใจเกี่ยวกับความเปนมา-เปนไปของเด็กกลุมนี้มากพอสมควร แตในอีกดานหนึ่ง ก็แสดง ใหเห็นดวยวา เรื่องนี้ยังไมมีทางออกที่ไดผลชัดเจน จึงทําใหมีการเกิดขึ้นของเด็กกลุมนี้ หรือมีการโผลขึ้นมาของ ปรากฏการณนี้ เปนระยะๆ แลวก็หายไป แลวก็เกิดขึ้นอีก ไมจบสิ้น สิ่งนี้ จึงเปนความนาสนใจวา เปนเพราะอะไร

คําถามหลักของบทความ บทความนี้ เปนความพยายามที่จะตอบคําถาม หรือทําความเขาใจประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเกิดขึ้น คงอยู สูญสลายไป โผลขึ้นมาใหม ของอาชีพเด็กขายพวงมาลัย ซึ่งหลายๆ คนมองวา เปนอาชีพของคนชายขอบ ที่มีความเชื่อมโยงกับปรากฏการณเมือง หรือความเปนศูนยกลางของเมือง ซึ่งในบทความนี้ ก็ไดพยายามที่จะ วิเคราะหใหเห็นถึงความเชื่อมโยงดังกลาวใหมีความชัดเจนมากขึ้น รวมทั้งการทําความเขาใจ ปจจัยองคประกอบที่สําคัญของการดําเนินอาชีพ “ขายพวงมาลัย” โดยเฉพาะ ความเปนเด็ก และความเปน ถนน นั้นมีความสําคัญอยางไรตอการดําเนินอาชีพขายพวงมาลัย และการสะทอนสภาพชีวิตของเด็กและ ครอบครัวพวงมาลัย รวมไปถึงชุมชน หรือเขตที่อยูอาศัยของเด็กเหลานี้ อยางมีความสัมพันธเชื่อมโยงซึ่งกันและ กัน รวมถึงทําความเขาใจ เงื่อนไข หรือภาวะแวดลอมตางๆ ที่เปนตัวกําหนดการดิ้นรนตอสู และกลยุทธในการอยู รอด โดยเฉพาะเมื่อนําปจจัยดานชนชั้น เพศสภาพ และชาติพันธุเขามาพิจารณารวมดวยนั้น ทําใหเราเขา ใจความสลับซับซอนในความเปนชายขอบของคนกลุมนี้ มากขึ้นอยางไรบาง สิ่งที่สําคัญอีกประเด็นหนึ่งก็คือ ความรูสึกของเด็กในฐานะที่เปนผูหาเลี้ยงครอบครัว ความตระหนักใน ความเสี่ยง ความตองการดานการศึกษาและ/หรือสัมฤทธิ์ผลดานนี้ และความตองการเกี่ยวกับอนาคต หรืออาชีพ ในอนาคตของเด็กกลุมนี้ สิ่งเหลานี้บงบอกอะไรแกสังคมไทย บทบาทของรัฐและ/หรือ หนวยงานตางๆ ที่ เกี่ยวของเปนอยางไร หรือมีมุมมองอยางไรตอเด็ก ปฏิสัมพันธซึ่งกันและกันในชวงที่ผานมาเปนอยางไร คนใน สังคมมองเด็กเหลานี้อยางไร ดัชนีชี้วัดความสําเร็จของมนุษยที่จัดทําโดยหนวยงานพัฒนาของสหประชาชาติ ใน

2


บริบทดังกลาวนี้ ใชการไดหรือไมได หรือใชไดมากนอยแคไหน อยางไร ทางออก และ/หรือ ทางเลือกตางๆ ที่ ไดผลคืออะไร มีหรือไม อยางไร เปนเพราะอะไร นอกจากนี้ บทความนี้ยังพยายามที่จะตอบคําถามหลักตามแนวการศึกษาสังคมศาสตรแนวใหม ที่เรียกวา “ปญญาปฏิบัติ” (phronesis) หรือ “สังคมศาสตรแนวปญญาปฏิบัติ” (phronetic social science) (อรทัย อาจอ่ํา 2546; Flyvbjerg 2001) ที่ใหความสําคัญกับการศึกษาวิจัย หรือการใหแสงสวางทางปญญา โดยการ ศึกษาวิจัย และการนําผลการศึกษาวิจัย (หรือการสังเคราะหองคความรู บนพื้นฐานของการวิจัย - ขอมูลทุติย ภูมิ) ไปใชใหเปนประโยชน โดยเปนการตั้งคําถามกับตนเองในฐานะนักวิจัย 4 ประการ ดังนี้คือ 1. เรากําลังจะไปทางไหนกันดี เกี่ยวกับ ปญหานี้-สถานการณเชนนี้? 2. ใครได และใครเสีย ภายใตกลไกของอํานาจแบบใด? 3. สิ่งที่เกิดขึ้นนี้ เปนสิ่งที่พึงปรารถนาของสังคมหรือไม? และ 4. เราควรจะตองทําอะไรตอไป หรือทําอยางไรกันดี? นอกจากนี้ การศึกษาปรากฏการณสังคมตามแนวของสังคมศาสตรเชิงปญญาปฏิบัติ ยังเนนย้ําถึง ความสําคัญของสิ่งละอันพันละนอย (minutae) ซึ่งถาเราสามารถทําความเขาใจ สิ่งเล็กๆ นอยๆ ปลีกยอยเหลานี้ ใหไดมากเทาใด ก็สามารถสะทอนใหเห็นถึงปมประเด็นปญหาที่ยิ่งใหญไดทั้งสิ้น เชนเดียวกับเรื่องราวของเด็ก ขายพวงมาลัย ซึ่งดูเหมือนเปนกลุมคนที่ไมมากมายนัก เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมอาชีพ หรือประเด็นปญหาอื่นๆ แตกลับสามารถสะทอนภาพของความเปนเมืองที่โตแบบไมเทาเทียม หรือทําใหเกิดความเหลื่อมล้ําไดเปนอยางดี นอกจากนี้ แงมุมตางๆ ที่เปนรายละเอียดปลีกยอยของเด็กและครอบครัวพวงมาลัย ก็ชวยทําใหเขา ใจความละเอียดออน และความเปนไปของชีวิตของกลุมคนชนชั้นลางไดอยางแจมชัด และมีความเชื่อมโยงกับ ปญหาตางๆ ของครอบครัว-สังคม เชน การติดสุรา การลักเล็กขโมยนอย การติดยาเสพติด-สารระเหย การคา ยาบา ฯลฯ ถาสังคม หรือหนวยงานที่เกี่ยวของแกไขปญหาไมตรงจุด ก็จะกลายเปนการตอกย้ําซ้ําเติมการ ดํารงชีวิตที่ยากอยูแลวของคนเหลานี้ ใหมีความยากลําบาก มีความทุกขระทมแสนสาหัสมากขึ้น และ/หรือ เปน การถาโถม หรือทําใหปญหามีความสลับซับซอนมากยิ่งขึ้นไปอีก

ความมุงหวัง หรือความคาดหวังของบทความ-ผูเขียน ผูเขียนคาดหวังวา ผูที่มีโอกาสอานบทความนี้ จะมีความเขาใจกลุมเด็กขายพวงมาลัย และครอบครัวของ พวกเขามากขึ้น โดยเฉพาะกลุมคนหรือประชาชนที่มีทัศนะ ความคิดเห็น และความรูสึกที่ไมดีตอคนกลุมนี้ ซึ่ง สวนหนึ่งเปนผลมาจากการประสบกับการกระทําที่กาวราว หรือไดรับประสบการณที่ไมดีจากเด็กกลุมนี้ เชน การ ถูกบังคับใหซื้อพวงมาลัย และ การถูกโกงเงินทอน เปนตน นอกจากนี้ ผูเขียนยังคาดหวังวา จะทําใหสังคมเกิดความสนใจในกลุมเด็กตางๆ ดังกลาวขางตนอยาง จริงจัง ไมเฉพาะกลุมเด็กขายพวงมาลัย เทานั้น และนําไปสูความพยายามที่จะเขาถึงและเขาใจ คนกลุมนี้ให มากขึ้น สื่อสารกันใหมากขึ้น และเขาใจสภาพปญหา และความตองการของพวกเขาใหมากขึ้น จนนําไปสูการ รวมมือกันในการหาทางออกตางๆ ทั้งในดานอาชีพ-การทํามาหากิน การศึกษาของเด็ก การฝกอบรม การบําบัด

3


เยียวยาครอบครัว (family therapy) การจัดสรรสวัสดิการที่พอเพียง การปรับเปลี่ยนโครงสรางดานตางๆ ของ สังคม เชน เรื่องการครอบครองที่ดิน-ปจจัยการผลิต การมีนโยบายการพัฒนาที่เนนความเทาเทียม หรือลด ชองวางทางชนชั้นที่เปนอยู และการตรากฎหมายหรือพระราชบัญญัติตางๆ ที่ใหการปกปองคุมครอง หรือ เกื้อหนุนใหคนชั้นลางสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมีคุณภาพพอสมควร และสิทธิประโยชนตางๆ ทั้งในระดับ ปจเจกบุคคล ระดับครอบครัว ไปจนถึงระดับชุมชน-ละแวกที่อยูอาศัย และระดับพื้นที่-ภาค ระดับเมือง-นคร จนถึงระดับประเทศ สําหรับลําดับตอจากนี้ จะเปนการเขาสูเนื้อหา หรือนําเสนอแงมุมตางๆ ที่มีความสําคัญตอ การทําความเขาใจ “เด็กขายพวงมาลัย-ขายดอกไม-เช็ดกระจกรถ” รวมทั้งครอบครัวของพวกเขา

ความเปนชายขอบกับความเปนเมือง-ศูนยกลาง และชีวิตเด็กขายพวงมาลัย คําหลัก (keywords) ที่สําคัญยิ่งคําหนึ่งของบทความนี้ คือคําวา “ชายขอบ” หรือ “ความเปนชายขอบ” (marginality) หรือกระบวนการผลักใหเปนชายขอบ (marginalisation) ซึ่งไดรับอิทธิพลในเชิงแนวคิดทฤษฎีมา จาก ทฤษฎีการพัฒนา ที่เรียกวา การพัฒนาความดอยพัฒนา และทฤษฎีการพึ่งพิง (Dependency Theory) ของนักวิชาการในแอฟริกา และลาตินอเมริกา ซึ่งทําการพัฒนาแนวคิดและทฤษฎีนี้ขึ้นมา เพื่อเปนการทัดทาน หรือเปนแรงตาน หรือ จะเรียกวาเปน “ยาแก” ตอ “โรคความดอยพัฒนา” ที่กลุมนักวิชาการตะวันตกหยิบยื่นให อันเปนผลมาจากการนําเสนอทฤษฎีความทันสมัย หรือการพัฒนาความทันสมัย (Amin 1974, 1976; Cardoso and Faletto 1979; Emmanuel 1972; Frank 1967) ทฤษฎีดังกลาว วิเคราะหถึงความสัมพันธที่ไมเทาเทียมกันระหวางประเทศที่เปนศูนยกลางของระบบทุน นิยม และประเทศบริวาร ที่เปนชายขอบของระบบเศรษฐกิจของโลก ซึ่งถูกเอารัดเอาเปรียบจากประเทศทุนนิยม ศูนยกลาง เพราะอยูภายใตเงื่อนไขของระบบที่ไมมีความเทาเทียมดานอํานาจ และการแลกเปลี่ยนที่ไมเทาเทียม ของระบบการคาของโลก และนักวิชาการดานการพัฒนาไดนําเอาแนวคิดและทฤษฎีดังกลาวมาประยุกตใชใน การทําความเขาใจปฏิสัมพันธตางๆ ในระดับภูมิภาค และระดับประเทศหรือ รัฐ-ชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การทํา ความเขาใจความสัมพันธระหวางเมืองกับชนบท ความสัมพันธระหวางคนในชนชั้นตางๆ ในสังคม รวมถึง ความสัมพันธระหวางภาคเศรษฐกิจที่เปนทางการ และไมเปนทางการ ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชไดเปนอยางดี เพราะทําใหมองเห็นถึงความแตกตางหลากหลายตางๆ ที่มีอยูในสังคมมากขึ้น และยังทําใหเขาใจถึงการดํารงอยู หรือการเกิดขึ้นของความแตกตางหลากหลายดังกลาวอีกดวย สําหรับในกรณีของเด็กขายพวงมาลัยก็เชนกัน ที่สามารถนําทฤษฎีศูนยกลางและชายขอบ (centre and periphery) มาใชในการอธิบายไดอยางมีความสอดคลองเปนอยางยิ่ง เพราะสามารถทําใหมองเห็นถึงความ สลับซับซอน ที่ดํารงอยูในเมือง เหมือนดังที่งานศึกษาของนักวิชาการหลายๆ ทานไดสะทอนออกมากอนหนานี้ ซึ่งอยูบนพื้นฐานของการศึกษาในกลุมเกย หญิงรักหญิง วัยรุน คนชรา-ผูสูงอายุ คนเก็บขยะ และเด็กขางถนนใน เมือง และทําใหเขาใจความหลากหลายของความเปนชายขอบ ไมวาจะเปนความแตกตางทางชนชั้น ความ แตกตางทางเพศสภาพ และความแตกตางของวัย-อายุ (ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล 2545) นอกจากนี้ การศึกษาดังกลาวขางตนนั้น ยังพบดวยวา ความแตกตาง และความสลับซับซอนภายในกลุม หรือคนที่อยูในระนาบเดียวกัน หรือกลุมเดียวกันนั้น เมื่อนําเอาประเด็นชนชั้น (class) วัย-อายุ (age) ชาติพันธุ

4


(ethnicity) และเพศสภาพ (gender) เขามาพิจารณารวมดวย ก็ยิ่งพบความแตกตาง และความสลับซับซอน มากขึ้นไปอีก ยกตัวอยางเชน กรณีของกลุมหญิงรักหญิง เมื่อนําประเด็นชนชั้นเขามาประกอบการพิจารณา ก็ พบวา หญิงรักหญิงที่เปนชนชั้นกลาง มีการปฏิบัติ และมีสํานึกที่แตกตางจากหญิงรักหญิงที่เปนสาวโรงงาน หรือ สาวชนบท หรือมีลักษณะที่แยกยอยลงไปอีก (ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล 2545) และสิ่งนี้ ก็พบในกลุมเด็ก ขายพวงมาลัย ดวยเชนกัน โดยเฉพาะเมื่อนําประเด็นวัย-อายุเขามาพิจารณา จะพบวา ความสําเร็จในการ ดําเนินอาชีพนี้ มีความสัมพันธกับอายุของเด็ก กลาวคือ ยิ่งเด็กมีอายุนอยเทาไร ก็สามารถขายไดมากขึ้น เทานั้น ดวยเหตุนี้ ยิ่งมีความเปนเด็กมากเทาไร ก็ยิ่งสามารถทําใหคนสงสาร หรือเห็นใจมากขึ้นตามไปดวย และถา เด็กใสชุดนักเรียนไปขายในตอนเย็น จนถึงดึกดื่นดวยแลว ก็ยิ่งจะทําใหประสบผลสําเร็จในการขาย นอกจากนี้ เด็กเล็กยังไมรูสึกอาย แตเมื่อเด็กโตมากขึ้น จะรูสึกอาย และไมตองการขายพวงมาลัยอีกตอไป (ปวีพร ประสพ เกียรติโภคา 2546; ดาลัด ศิระวุฒิ 2548; สุนทราภรณ จันทภาโส 2546; สุกัญญา พรโสภากุล 2546) ดังนั้น เด็กขายพวงมาลัยจึงจําเปนตองชวยพอแมทํางาน ตั้งแตยังไมเขาเรียนเลยดวยซ้ํา แตก็ตองอยูใน สายตาของพอ-แม หรือผูปกครอง (เพราะเกรงวาเด็กจะถูกทําราย หรือถูกแยงเงินที่ขายได กอนกลับถึงบาน) สําหรับเด็กที่อายุมากขึ้นหนอย ก็ตองเดินเรขายไปตามยานตางๆ ทั้งรานอาหาร บารเบียร ไนทบารซาร ฯลฯ (สุ กัญญา พรโสภากุล 2546) และประเด็นชาติพันธุ หรือเชื้อชาติ ก็มีความสําคัญตอการทําความเขาใจความ สลับซับซอนภายในกลุมเด็กขายพวงมาลัย ดังเชน เด็กขายพวงมาลัย-ดอกไม ในจังหวัดเชียงใหม ที่พบวา สวน ใหญเปนชาวอาขา และเปนเพศหญิง (ในขณะที่เด็กขายพวงมาลัยสวนใหญในจังหวัดนครศรีธรรมราชนั้น เกือบ ทั้งหมดเปนเพศชาย) เด็กกลุมนี้จําเปนตองเขามาขายพวงมาลัยและดอกไม (ดอกกุหลาบ-ดอกมะลิ) เพราะ สามารถพูดภาษาไทยได ในขณะที่พอ แมพูดไมคอยได (โดยเฉพาะอาขาที่อพยพมาจากประเทศพมา) เด็กจึง จําเปนตองชวยเหลือครอบครัว และเด็กหลายคนไมมีพอ เนื่องจากพอติดคุก (เพราะเกี่ยวของกับยาเสพติด) หรือพอตาย จึงเหลือแตแม ซึ่งไมสามารถพูดภาษาไทยได และไมมีทุนในการทํามาคาขาย หรือทําอาชีพอิสระ เหมือนกับกลุมอาขาที่พอมีทุนและขายของที่ระลึกที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมของเผาตนเองได นอกจากนี้ ก็ยังมีความแตกตางดานอื่นๆ ภายในกลุมอาขาเอง โดยเฉพาะความแตกตางระหวาง กลุมที่มา จากประเทศพมา และกลุมที่มาจาก อําเภอแมสรวย จังหวัด เชียงราย อันเนื่องมาจากการมีหรือไมมีบัตร ประชาชน สําหรับคนที่มีบัตรประชาชน ก็สามารถเขาทํางานในภาคเศรษฐกิจที่เปนทางการ ดังเชน โรงงาน อุตสาหกรรม หรือบริษัทหางรานตางๆ ได แตถาไมมี ทางเลือกตางๆ มีใหไมมากนัก จึงจําเปนตองทําอาชีพอิสระ ที่ไมตองลงทุนอะไรมากมาย อยางไรก็ตาม กลุมเด็กอาขาที่เคลื่อนยายมาจากจังหวัดเชียงรายนั้น มักจะประสบกับปญหาตางๆ มาก พอๆ กับกลุมที่อพยพมาจากพมา เนื่องจากเปนกลุมที่ถูกทางการเพงเล็ง วาเกี่ยวของกับการคายาเสพติด เพราะ อยูใกลกับแหลงผลิต หรือใกลเสนทางลําเลียงยาเสพติด ประกอบกับ การเขามาอยูในเมืองเชียงใหม ก็ไมไดรับ การยอมรับหรือตอบสนองที่ดีจากตลาดแรงงาน (ไมคอยมีใครอยากใหงานทํา) หรือถูกรังเกียจจากคนพื้นเมือง เนื่องจากมองวาคนเหลานี้บุกรุกพื้นที่ปา คายาเสพติด ไมมีการศึกษา และสกปรก และอีกสวนหนึ่งเปนผลมา

5


จากการที่คนเหลานี้ มีคดีความที่เกี่ยวของกับยาเสพติดบอยครั้ง จึงทําใหภาพพจนเสียทั้งหมด (สุกัญญา พร โสภากุล 2546) การขายพวงมาลัยและดอกไมของเด็กเหลานี้ จึงมีความยากลําบากไมนอย โดยเฉพาะกลุมที่ตองขายอยู ตามยานบารเบียร และไนทบาซาร ซึ่งเปนยานบันเทิง และมีสถานบริการตางๆ ที่ไมเหมาะสมกับเด็ก เหมือนดังที่ มีบุคคลหนึ่ง ที่ไมพอใจเด็กเหลานี้ และเขียนแสดงความคิดเห็นเชิงลบตอเด็ก ปานประหนึ่งวาเด็กเปนขอทาน โดยเขากลาววา.....“มันยากเหมือนกันนะครับ หมดรุนหนึ่งก็มาอีกรุนหนึ่งเหมือนขอทาน (ประเภท แขนขายังดี) คนบอกวาอยาให ไมเชนนั้น เขาก็จะงอมืองอเทาตอไป แตก็ยังไมหมดสักที มีรุนใหมมาเรื่อยๆ แถมยังขามชาติ มาอีก แถวบานผมก็เด็กขายดอกมะลิ แถวไนทบาซาร หรือตามบารเบียรตางๆ ตั้งแตหัวค่ําถึงดึก ก็มีแตเด็กพวก นี้ยั้วเยี้ยไปหมด คิดดูสิครับวา วันหนึ่งวันหนึ่งก็วนเวียนอยูยานแบบนี้ ไมทันโตก็จะไปเปนอะไร” (คุณแสนไชย (นามสมมุติ) สนทนาเมื่อ 19 ตุลาคม 2548) จากคํากลาวขางตน แสดงใหเห็นถึงการเกลียดชังกลุมชาติพันธุที่มีความแตกตางจากตน นอกจากนี้ สิ่งที่ จะตองทําความเขาใจในเนื้อความดังกลาว ก็คือ การที่บุคคลคนนี้มองวา เด็กเหลานี้งอมืองอเทา ทั้งๆ ที่ในความ เปนจริงนั้น พวกเขากําลังทํางาน หรือ ทําการขายสินคา แตเนื่องจากสินคาเหลานี้ อาจจะไมเปนที่ตองการ จึง เปนไปไดวา เขารูสึกวา ถูกเด็กยัดเยียด ตื้อ หรือ กึ่งบังคับใหเขาซื้อ ดังนั้น การเปนเด็กขายพวงมาลัยที่มีชาติพันธุที่แตกตางไปจากกลุมชาติพันธุหลักของสังคม จึงอาจไมใช ทางทํามาหากินที่จะชุบเลี้ยงชีวิตของเด็กและครอบครัวไดตอไปอยางยืนนาน เพราะตองฝากระแสเกลียดชังของ คนพื้นเมือง หรือเจาถิ่นเดิมไปใหได ซึ่งไมใชเรื่องงาย และในที่สุด เด็กก็ตองลงเอยดังที่บุคคลขางตน กลาวสบ ประมาทไว เพราะเมื่อเด็กตองประสบปญหาตางๆ โดยเฉพาะ การถูกปฏิเสธจากผูคน ขายสินคาไมคอยได รายไดไมพอเพียง และเมื่อมีอายุมากขึ้นๆ เด็กๆ เหลานี้ ก็จะผันตัวเองไปทํางานในสถานบริการตางๆ และสวน หนึ่งตัดสินใจไปอยูกับชาวตางชาติ ซึ่งก็คงลงเอยในเรื่อง การใหบริการทางเพศกับชาวตางชาติเหลานี้ (อยางไรก็ ตาม สําหรับประเด็นนี้ ยังไมมีขอมูลหรือรายละเอียดเพียงพอ ที่จะกลาวสรุปใดๆ ณ ขณะนี้ไดดีนัก)

ความเปนเด็ก-ชีวิตเลือดเนื้อของเด็ก และความเปนถนน: ปจจัยการผลิตของคนชายขอบ ในเมือง โดยปกติ การที่คนเรา จะประกอบอาชีพอะไรก็ตามแต โดยเฉพาะอยางยิ่ง อาชีพที่อิสระทั้งหลาย ก็มักจะ ตองมีการ “ลงทุน” ไมวาจะเปนแรงงาน ความรู–ความคิด เงินทุน ที่ดิน สถานประกอบการ สิ่งแวดลอมทาง ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหลานี้ในทางเศรษฐศาสตร มักเรียกกันวา “ปจจัยการ ผลิต” แตสําหรับคนจน หรือคนที่ไมสามารถเขาทํางานในระบบการจางงานแบบปกติ ที่เปนทางการได พวกเขาก็ มีเพียงแค “แรงงาน” และอาจมีความรู-ทักษะอยูบาง ที่อาจเรียกเปน “ทุนทางปญญา” หรือเปน “ปจจัยการผลิต” ตั้งตนอยางหนึ่ง เพราะแมแตเงินทุนเล็กๆ นอยๆ เพียงแค 2,000- 3,000 บาท ก็อาจจะตองไป ขอหยิบขอยืม จากญาติพี่นอง คนที่รูจัก หรือนายทุนเงินกูนอกระบบ

6


สําหรับอาชีพการขายพวงมาลัยก็เชนกัน จากการศึกษาของสุนทราภรณ จันทภาโส (2546) พบวา พอแม ของเด็กขายพวงมาลัย หรืออาจเรียกวา ครอบครัวพวงมาลัย จํานวนไมนอยมักจะตองไปขอหยิบขอยืมเงินทุน จากนายทุนเงินกูนอกระบบ หรือเพื่อนบาน หรือญาติ เพื่อนํามาลงทุนในการซื้อดอกมะลิ และอุปกรณตางๆ หรืออาจตกอยูภายใตการครอบงําของผูที่มีอิทธิพลในวงการนี้ หรือคนที่ทําตัวเปน เจาพอและเจาแมในวงการ นอกจากนี้ สุนทราภรณ จันทภาโส (2546) ยังพบดวยวา ครอบครัวพวงมาลัยที่ศึกษา ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีหนี้สิน ซึ่งสวนหนึ่งเปนหนี้สินที่เกิดจากการลงทุนทําอาชีพนี้ และหนี้สินประเภทอื่นๆ จํานวนมาก ดังนั้น การที่พอแม หรือผูปกครองของเด็ก ใชเด็กไปขายพวงมาลัยใหนั้น เปนเพราะมองเห็นวา “ความเปน เด็ก” นั้นจะชวยทําใหบรรลุเปาหมายของการขาย ไดมากกวา ทั้งนี้เนื่องจาก “ความเปนเด็ก” เปนลักษณะสากล ที่สามารถเรียกรองความเห็นอกเห็นใจ ความสงสาร และความชวยเหลือจากผูอื่นไดมาก คนจนจํานวนมากจึงใช แรงงานของลูกหลานของตนในการชวยดํารงชีพ ดังนั้น “ความเปนเด็ก” จึงถือเปน “ทุน” หรือ “ปจจัยการผลิต” ชนิดหนึ่งของคนจน หรือคนที่จัดวาอยู “ชายขอบ” ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม นอกจากนี้ เด็กสวนใหญยัง ใช “ทุนทางวัฒนธรรม” ที่ตนเองมีอยูและสังคมไทยชอบ หรือถือเปนประเพณีปฏิบัติที่แสดงใหเห็นถึงความออน นอมถอมตน ดังเชน การยกมือไหว เพื่อขอความเห็นใจจากผูซื้อ หรือลูกคาของตนดวย และสวนใหญมักใช ไดผลดี ยกเวนในกรณีเด็กโตหนอย (เกิน 15 ป) จะไมไหว เพราะถือวาตนเองโตแลว เปนหนุมแลว และเปนเรื่อง ของศักดิ์ศรี (สุนทราภรณ จันทภาโส 2546) ตอคําถามที่วา ทําไมจึงตองขายบนถนน? ความจริงแลว “ความเปนถนน” เปนตัวสะทอนความเปนเมือง อยางแทจริง ที่ไหนไมมีถนน หรือถนนเขาไปไมถึง เรามักเรียกกันวา ถิ่นกันดาร ขาดการพัฒนา หรือการพัฒนา ยังไปไมถึง หรือ บางคนเรียกแบบดูถูกวาเปน “บานนอกคอกนา” ถนนจึงเปนสิ่งที่คูกับเมือง เปนตัวชี้วัดของการ พัฒนา และเปนสัญลักษณของความเปนเมือง (สิริพร สมบูรณบูรณะ 2545) การใชถนน เปนแหลงทํามาหากิน หรือแหลงในการสนับสนุน-การดํารงชีวิต จึงเปนการใชทรัพยากรของ เมืองที่อยูตรงหนาใหเปนประโยชน เพราะถาไมขายบนทองถนน ก็ตองไปขายบนฟุตบาทหรือทางเทา ซึ่งจะตอง ไปแยงชิงพื้นที่ทางเทา กับพวกแผงลอย ที่ยึดพื้นที่กันไปหมดแลว โดยเฉพาะในยานที่มีคนสัญจรไปมา พลุกพลานนั้น พบวา ไมมีพื้นที่บนทางเทาเหลือไวสําหรับคนกลุมนี้เลย และถาไมขายบนทางเทา ก็จะตองมีแผง หรือรานเล็กๆ ของตนเอง ก็ติดปญหาวาจะไปตั้งตรงไหน หรือจะตองทําการเชาที่ดินปลูกเพิง ซึ่งมีความเปนไปได นอยมาก หรือเปนไปไดเฉพาะกรณีที่เปนที่ดินรกราง หรือเปนที่ดินของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ที่ไมมีการดูแล หรือ ไมไดใชประโยชนเทานั้น แตถาเปนที่ดินเอกชน ยิ่งเปนในยานธุรกิจ ซึ่งที่ดินมีราคาแพงลิบลิ่วนั้น ยิ่งเปนไปได ยากหรือเลิกคิดไดเลย เพราะที่ดินหายากมาก หรือถึงแมจะมีที่ดิน พอจะแบงปนขอเชาได แตคนเหลานี้จะเอาทุน หรือเงินที่ไหนมาเชา นอกจากนี้ การลงทุนสูงเกินไปในขณะที่มูลคา หรือราคาสินคาที่ขายนั้น มีราคาต่ํา คงไมมีใครทํา เพราะรูดี วาไมคุมทุน ดังนั้น ในกรณีของการขายตามสี่แยกไฟแดง ก็จะรอเวลา หรือรอลูกคา อยูตามใตสะพาน ซึ่งเทียบ ไดกับ สถานประกอบการ หรืออาคารพักพิง ที่ไมตองลงทุนในการสรางอีกเชนกัน ประกอบกับ พวงมาลัยมี

7


ความสัมพันธกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งคนใชรถใชถนนจํานวนมาก นําไปกราบไหวบูชาพระพุทธรูป หรือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือวัตถุมงคลที่มีอยู ทั้งในรถและที่บาน ดวยเหตุนี้ กลุมลูกคาที่ขับรถสัญจรไปมา จึงเปนกลุมเปาหมายที่สําคัญที่สุด ของครอบครัวพวงมาลัย และ แนนอนวา พื้นที่ๆ เหมาะสมที่สุดก็คือ ถนนและสี่แยกไฟแดง นั่นเอง แตก็สังเกตเห็นไดอยางชัดเจนวา ชวงหลังๆ มานี้ เด็กขายพวงมาลัย-ดอกไม-ขนม-มะมวง-ทิชชู ฯลฯ ที่จําเปนตองใชพื้นที่ถนนทํามาหากินนั้น มีเพิ่มมากขึ้น และเปดพื้นที่การคาขาย หรือขยายพื้นที่การคาของตนเพิ่มขึ้น สวนหนึ่งเปนผลมาจาก จํานวนผูคาตามแยก ตางๆ มีเพิ่มขึ้น และไมตองการแขงขันกันเอง (แตในบางครั้ง ก็จําเปนตองแยงกันขาย หรือแยงลูกคากันบาง เพราะถาขายไมหมด กลับไปบานก็จะถูกลงโทษ) และสวนหนึ่งเปนผลมาจากมีการจับปรับในบางครั้ง แตระยะ หลังๆ มานี้ ตํารวจจะไมคอยจับ ถาขายเฉพาะพวงมาลัย หรือดอกไม หรือขนม-ลูกอม-ทิชชู หรือสินคาตางๆ โดยไมมีการเช็ดกระจกรถ สิ่งนี้เปนลักษณะรวมของเมืองทั้งในกรุงเทพมหานคร เชียงใหม และนครศรีธรรมราช เนื่องจากตํารวจเองก็เห็นใจเด็กขายพวงมาลัย แตถาเช็ดกระจกรถดวย มักทําใหเกิดปญหาตางๆ ตามมา จึงไม อนุญาตใหเช็ดกระจกรถ หรือไมอนุญาตใหทําอาชีพนี้บนทองถนน (ดาลัด ศิระวุฒิ 2548 : 38) นอกจากนี้ ยังพบวา เด็กขายพวงมาลัยเหลานี้ใช “ทุน” ที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่ตนเองมีอยู ก็คือ รางกาย หรือจะเรียกวา ชีวิตเลือดเนื้อ ของตนเองก็วาได เด็กเหลานี้จะตองทุมเททุกอยาง พวกเขาจะตองใชการเดิน เดิน และเดิน เรขายไปตามรานอาหาร สวนอาหาร แผงลอย และตลาดโตรุงในยานตางๆ เด็กบางสวนตองเดินทาง เปนระยะไกลมากในวันหนึ่งๆ หรือเดินเรขายแบบนับรอบไมถวน ดังที่เด็กคนหนึ่งสะทอนวา... “ถาจะให เปรียบเทียบ อาจเทากับระยะทางจากหาแยกลาดพราว ไปจนถึงชลบุรีก็วาได” (ดาลัด ศิระวุฒิ 2548: 35) เพราะฉะนั้น ถาเรามองจากแงมุมตางๆ ของคนเหลานี้ จะทําใหเราสามารถเขาใจไดเปนอยางดีวา ทําไมคน เหลานี้จึงประกอบอาชีพดังกลาว ทั้งๆ ที่เสี่ยงตอการถูกตํารวจหรือเทศกิจจับปรับ หรือถูกดุดา หรือเสี่ยงตอ อุบัติเหตุ และอาจอันตรายถึงแกชีวิต (ดังเชนที่เกิดขึ้นกับเด็กหลายๆ คนมาแลว) และเปนการบั่นทอนการเรียน หรือทําใหผลการศึกษาตกต่ํา (ซึ่งเทากับเปนการปดโอกาสในการเลื่อนชั้นทางสังคมของตนเอง เพราะการศึกษา เปนเครื่องมือในการเลื่อนชั้นทางสังคมที่สําคัญยิ่ง) แตก็ยังจําเปนตองทํา หรือทั้งๆ ที่รูวาเปนอาชีพที่ต่ําตอย (ใน สายตาของคนจํานวนมาก) ทั้งยังตองทํางานหนักตากแดด ตากลม กรําฝน เพียงเพื่อรายไดพอประทังชีวิต ดังเชน เด็กจํานวนมากในจังหวัดนครศรีธรรมราชที่มีรายไดเพียง 50-100 บาทตอวัน ก็ยังจําเปนตองทํา (สุนทราภรณ จันทภาโส 2546) เพราะถาไมทํา จะเอาชีวิตรอดไดอยางไร ในขณะที่เด็กที่จังหวัดเชียงใหม อาจมี รายไดมากกวาพอ ซึ่งเปนกรรมกรกอสราง (ซึ่งมีรายไดเพียงวันละ 50-100 บาท เนื่องจากเปนชนเผาอาขา ที่ไม มีทางเลือก ไมมีใครตองการรับเขาทํางาน จึงจําเปนตองรับคาจางที่ต่ํากวาอัตราปกติ) จึงทําใหเด็กอาขาที่เดินเร ขายดอกไมและพวงมาลัย กลายเปนความหวัง หรือเปนผูสรางรายไดหลักใหกับครอบครัว เพราะสามารถหา รายไดๆ มากกวาผูเปนพอของตนเอง บางคืนไดมากถึง 400-500 บาท (โดยยังไมไดหักตนทุน) (ปวีพร ประสพ เกียรติโภคา 2546; สุกัญญา พรโสภากุล 2546)

8


ดังนั้น การขายพวงมาลัยบนทองถนน จึงเปนการทํามาหากินที่สุจริต เปนการลงทุนดานตัวเงินที่ต่ํา แตเปน การลงทุนดานเวลา รางกายและจิตใจ-อารมณที่สูงมากของเด็ก หรืออาจเรียกวา เปนการลงทุนดวยชีวิตของเด็ก เลยก็วาได เพราะเด็กตองขาดโอกาสในการศึกษา หรือทําใหสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษาตกต่ํา สงผลใหขาดโอกาส ในการเลื่อนชั้นทางสังคม และตองตกอยูในวัฒนธรรมแหงความยากจนตอไป (Lewis 1961a; 1961b, 1968)

เผชิญภาวะกดดันรอบดาน: สัมมาอาชีพที่ไมมีใครชื่นชอบ นอกจากนี้เด็กยังตองมีการปรับตัวสูง เพื่อใหสามารถดําเนินอาชีพนี้ไดตลอดรอดฝง และมีการเก็บกดดาน อารมณ-ความรูสึกและความตองการตางๆ คอนขางสูง ทั้งนี้ เพื่อใหสามารถเผชิญกับแรงกดดันตางๆ จากภาวะ รอบดานอยางไมสามารถหลีกเลี่ยงได เริ่มตั้งแต ภาวะกดดันภายในครอบครัว เพราะถาขายพวงมาลัยไมหมด ก็ จะถูกทําโทษ หรือถูกวากลาวตางๆ นานา รวมทั้งเพื่อนๆ ที่คอยลอเลียน หรือแมแตครูที่โรงเรียน ที่คอยทําโทษ เพราะเด็กมาสาย ไมคอยทําการบาน และผลการเรียนตกต่ํา สวนหนึ่งตองเรียนช้ําชั้น เพราะเรียนไมรูเรื่อง เด็ก ขาดสมาธิ และขาดแรงจูงใจในการเรียน (สุนทราภรณ จันทภาโส 2546; สุกัญญา พรโสภากุล 2546; ปวีพร ประสพเกียรติโภคา 2546) นอกจากนี้ ยังจําเปนตองเผชิญแรงกดดันจากกลุมผูขายดวยกันเอง ที่อาจมีการแยงกันขาย ทั้งแยงตัว ลูกคา-ผูซื้อ และแยงพื้นที่คาขาย หรือการเผชิญกับสายตาของผูสัญจรไปมา หรือผูคนที่คอยขับไลดวยความ รําคาญ หรือเมื่อขายเสร็จแลวในตอนดึก ก็อาจจะตองคอยเผชิญกับกลุมเด็กวัยรุนที่ติดยา ที่อาจคอยรีดไถเงิน คาขาย หรือในระหวางการขาย ก็ตองคอยดู คอยหลบ คอยหนี ตํารวจ เทศกิจ ที่มีหนาที่โดยตรงในการดูแล รักษาความเรียบรอยของพื้นที่สาธารณะ ทองถนนและกฎระเบียบการจราจร อยางไรก็ตาม เด็กไมไดมีโอกาสในการตัดสินใจ หรือไมไดเปนผูตัดสินใจเลือกอาชีพนี้ดวยตนเอง แตตอง ทําตามภาวะ เงื่อนไข หรือการตัดสินใจของพอแม ผูปกครอง หรือครอบครัว อยางไรก็ดี การทําอาชีพนี้ของ ครอบครัว ก็เปนการตัดสินใจบนภาวะจํายอมของสภาพเศรษฐกิจของครอบครัว และภาวะตลาดแรงงานที่ไม ปกติ ที่ไมเปดใหกับคนกลุมนี้ ไดเขาสูอาชีพที่มีอยูในระบบปกติได จึงพบวา การตัดสินใจทําอาชีพนี้ของพอแม ของเด็ก ไดผานกระบวนการกลั่นกรองมาระดับหนึ่งแลววาสามารถทําได ไมตองลงทุน (แตลงแรง) มาก หรือ เปนอาชีพที่ชวยประทังชีวิตใหอยูรอดได หรือในกรณีของชนเผาอาขา พบวา เปนอาชีพที่ทํารายไดมากกวาอาชีพ ของตนเอง-พอแม

ความรูสึกของเด็ก ตออาชีพของตนเอง: ไมชื่นชอบ แตไมรูวาจะทําอยางไร? จากการทบทวนงานศึกษาวิจัย ซึ่งเปนการศึกษาระดับจุลภาค หรือเปนการศึกษาเชิงคุณภาพที่สามารถ เจาะลึ ก ถึง ความรู สึก ของเด็ ก มาได ใ นระดั บ หนึ่ ง นั้ น พบว า เด็ก จํ า นวนมาก บอกวา ตอนแรกๆ ก็ รู สึก สนุ ก โดยเฉพาะเมื่อยังเปนเด็ก และบางสวนมองวา ไดออกมาเที่ยว และมีบางสวน แตเปนสวนนอยตอบวา รูสึกภูมิใจ ที่ไดชวยเหลือครอบครัว แตถาเปนเด็กโตขึ้นมาหนอย สวนใหญตอบวา รูสึกอาย และยิ่งโตขึ้น ก็ยิ่งอาย ไมชอบ อาชีพที่ทําอยู เพราะตองทํางานหนัก (เด็กสวนใหญทํางานตั้งแต 17.30 หรือ 18.00-1.00 น.) ตองเสี่ยงภัย

9


เหนื่อยมาก ไมไดเลนกับเพื่อน เวลาพักผอนไมเพียงพอ ตองนอนดึกและตื่นแตเชา เพราะตองไปเรียนหนังสือ ทํา ใหการเรียนไมดี และโดนครูทําโทษบอยครั้ง แตสําหรับเด็กที่มีปญหาครอบครัว หรือพอแมทะเลาะเบาะแวงกัน บอย มักจะรูสึกตรงกันขาม กลาวคือ ตอนที่ตองออกมาขายพวงมาลัย หรือดอกไมในตอนแรกๆ นั้น รูสึกไมชอบ แตเมื่อทํามาเรื่อยๆ ก็รูสึกสนุกดี เพราะไดออกมาเที่ยวเลนบาง เนื่องจากเวลาอยูที่บาน รูสึกเบื่อที่พอแมทะเลาะ กันเปนประจํา (สวนใหญมักทะเลาะกันเรื่องเงิน หรือเปนเพราะเงินไมพอใช) และบางสวนเปนเพราะพอติดเหลา และการพนัน ทําใหแมตองทํางานหาเลี้ยงครอบครัว และเกิดความเครียด ทําใหสภาพครอบครัวไมอบอุน เลยทํา ใหไมอยากอยูบาน สําหรับเด็กเช็ดกระจกรถนั้น เด็กสะทอนวา ในระหวางที่ใหบริการเช็ดกระจกรถ เพื่อแลกกับเงินอยูนั้น พวก เขาจะคอยคิดอยูเสมอๆ วา เมื่อโตขึ้นจะไมประกอบอาชีพนี้ เพราะสังคมปฏิเสธพวกเขาตลอดเวลา จนทําใหไม รูสึกศรัทธาตออาชีพของตนเองเลย และเมื่อตองประจันหนากับลูกคา (จําเปน) นั้น สวนมากจะรูสึกอาย และเมื่อ ตองโดนตํารวจจับ จะรูสึกเจ็บใจมาก ทําใหเด็กจํานวนมาก กลายเปนเด็กเก็บกด และกาวราว บางสวนใช วิธีการระบายความคับของใจที่มีอยู ดวยการใชสารเสพติด เลนการพนัน และกระทําตัวเปนขอทานตาม รานอาหาร และบางสวนเปลี่ยนอาชีพ กลายเปนคนลักเล็กขโมยนอย

ความตระหนักในความเสี่ยง และอุบัติเหตุ: รูดี แตไมมีทางเลือก จากการศึกษาของสุกัญญา พรโสภากุล (2546) และ สุนทราภรณ จันทภาโส (2546) พบวา เด็กขาย พวงมาลัยทั้งที่เชียงใหม และนครศรีธรรมราช มีความตระหนักในความเสี่ยงตออุบัติเหตุ และ/หรือเกรงกลัววาจะ ไดรับอันตราย-อุบัติเหตุ แตก็ไมสามารถทําอะไรได หรือไมมีทางเลือก แตยังจําเปน หรือจํายอมตองทําอาชีพนี้ เพราะจําเปนตองชวยเหลือครอบครัว สําหรับในกรุงเทพมหานครนั้น พบวา การศึกษาเกี่ยวกับประเด็นนี้ ยังไม มีความชัดเจนเทาที่ควร แตก็มีการถามเด็กเกี่ยวกับ ความกลัวในอุบัติเหตุ หรือถามวา.. “เด็กมีความกลัว หรือไม?” หรือมีมากนอยแคไหน (ดาลัด ศิระวุฒิ 2548) ซึ่งเด็กหลายๆ คนก็ตอบวา กลัวและปกติจะคอย ระมัดระวัง โดยจะพยายามลงไปขายในถนนเมื่อรถติดไฟแดงเทานั้น แตบางครั้งก็มีพลาดบาง เนื่องจากมีรถ มอเตอรไซดวิ่งสวนขึ้นมา และ พบวาเด็กที่เคยประสบกับอุบัติเหตุนั้นมีจํานวนหนึ่ง แตเปนอุบัติเหตุเล็กๆ นอยๆ ไมถึงกับทําใหเสียชีวิต เชน ถูกรถมอเตอรไซดเฉี่ยวชน หรือประสบเหตุหกลม อันเนื่องมาจากตองเรงรีบลงไปใน ทองถนน เพื่อแขงกับไฟเขียว และคนอื่นๆ ที่มีอาชีพเหมือนกัน เปนตน

ความตองการดานการศึกษาและความใฝฝนดานอาชีพ: โอกาสในการเลื่อนชั้นทางสังคม ที่ถูกปดตาย สําหรับ ความตองการดานการศึกษา และ/หรือสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษานั้น พบวา เด็กขายพวงมาลัย สวนใหญ ตองประสบกับปญหานี้เปนอยางมาก จากการศึกษาเด็กขายพวงมาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราชของ สุนทราภรณ จันทภาโส (2546) ซึ่งศึกษาเด็ก จํานวน 9 คน อายุระหวาง 8-14 ป ซึ่งสวนใหญหรือเกือบทั้งหมด เปนเพศชาย พบวา เด็กที่ศึกษาทั้งหมด 9 คนนี้ มีสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษาต่ํา หรือบางคนตองออกจากโรงเรียน กลางคัน เพราะพอแมเสียชีวิต เนื่องจากโรคเอดส ทําใหไมมีใครสงเสียใหเรียน หรือเด็กบางคนตองประสบกับ

10


ภาวะวิกฤตในครอบครัว ทําใหตองออกจากโรงเรียน เหมือนดังที่เด็กคนหนึ่งสะทอนวา.... “ผมไดเขาเรียนใน โรงเรียนแหงนี้แค 2 ป เทานั้น ก็ตองออก เพราะไมมีใครดูแลครอบครัว พอผมพิการขา แมผมมีอาชีพเก็บขยะ ซึ่งไมสบายบอย หากมัวแตไปโรงเรียน ก็ไมมีอะไรกิน ก็เลยตองออกจากโรงเรียนในที่สุด ดวยเหตุผล คือตอง ชวยเหลือครอบครัว และเบื่อที่จะเรียนดวย” (สุนทราภรณ จันทวังโส 2546: 18) หรือเด็กอีกคนหนึ่งสะทอนวา.... “ผมเรียนไดชั้น ป. 4 ก็ตองออกจากโรงเรียน เพราะรูสึกขี้เกียจ เรียนไปก็เกือบตก หรือไมก็ตองซ้ําชั้น เพราะผล การเรียนไมดี สอบไดที่เกือบสุดทาย” (สุนทราภรณ จันทวังโส 2546 : 18) เปนตน เชนเดียวกับผลการศึกษาของ ปวีพร ประสพเกียรติโภคา (2546) ซึ่งศึกษาเด็กขายพวงมาลัยชาวอาขา ใน ตัวเมืองเชียงใหม จํานวน 5 คน อายุระหวาง 7-12 ป แบงเปนเพศชายจํานวน 2 คน และเพศหญิง จํานวน 3 คน พบวา เด็กเหลานี้มีปญหาการเรียนทุกคน หรือมีผลการเรียนในระดับต่ํา ถึงต่ํามาก และทุกคนตองถูกครูทําโทษ อยูเสมอๆ เนื่องจากไมไดทําการบาน มาเขาเรียนสาย และไมมีสมาธิในการเรียน หรือนั่งหลับระหวางการเรียน นอกจากนี้ เด็กชาวอาขาบางสวน (โดยเฉพาะเด็กโต) ยังตองประสบปญหาการใชภาษาไทยดวย เพราะบางคน อพยพมาจากประเทศพมา หรือชายแดน ทําใหเรียนไมทันเพื่อนๆ ในชั้นเรียน และ ยิ่งทําใหการเรียนตกต่ําลงไป อีก เพราะสภาพแวดลอมหรือบรรยากาศภายในหองเรียนบีบคั้นเปนอยางมาก สําหรับความตองการ และ/หรือความใฝฝนดานอาชีพนั้น พบวา เด็กขายพวงมาลัยทุกคน ตองการมี อาชีพที่ดี มีความมั่นคง และไดรับการยอมรับในสังคม ไมวาจะเปน อาชีพพอคา-แมคา หรือการคาขาย บางคน ตองการเปนครู และบางสวนตองการเปนทหาร และอาชีพอื่นๆ เชน รับจาง (เหมือนกับพอแมของตนเอง) แตมี เพียงสวนนอยที่ตองการผลิตซ้ําอาชีพของพอแมตนเอง เชน รับจางแบกของ แตที่นาสนใจคือ ไมมีใครตองการทํา อาชีพขายพวงมาลัยเหมือนพอแมของตนเองแมแตคนเดียว นอกจากนี้ เด็กขายพวงมาลัยที่นครศรีธรรมราช ก็ ปฏิเสธและรังเกียจอาชีพตํารวจเปนอยางมาก เพราะเด็กเหลานี้มีประสบการณที่ไมดีกับตํารวจ จึงทําใหมี ทัศนคติในเชิงลบตออาชีพนี้ และไมมีเด็กคนไหนตองการมีอาชีพเปนตํารวจเลย แตเมื่อพิจารณาดูอยางรอบดานแลว เด็กขายพวงมาลัยมีทางเลือกตางๆ ในชีวิตนอยมากทั้งดานการเรียน และการงาน เพราะการขาดโอกาสทางการศึกษา หรือไมไดรับโอกาสดังกลาวอยางเทาเทียมกับเด็กอื่นๆ ในวัย เดียวกัน แตจําเปนตองหาเลี้ยงปากทองใหอยูรอดไปวันๆ จนเกิดการบมเพาะพฤติกรรมบางอยางเพื่อความอยู รอด (แตอาจเปนพฤติกรรมที่ไมเปนที่พึงปรารถนาของสังคม) สําหรับคําตอบเกี่ยวกับอนาคตของเด็กเหลานี้นั้น เราๆ ทานๆ ก็คงพอทราบกันอยูวาจะเปนเชนไรตอไป หรือหลายคนตองจบชีวิตกอนวัยอันควร โดยไมตองพูดถึง โอกาสที่ดีกวาในอนาคต สําหรับคนที่พออยูรอดตอไปได โอกาสในการเลื่อนชั้นทางสังคมของพวกเขา ก็ มีเหลืออยูนอยมาก อันเนื่องมาจากขอจํากัดดานทรัพยากรของครอบครัว พอแมก็มีการศึกษานอย ไม สามารถเกื้อ หนุน หรื อ ชว ยเหลื อด า นการศึ ก ษาของลู ก ได ม ากนัก ผลการเรี ย นของตนเองก็ ต กต่ํ า สิ่งแวดลอมครอบครัวที่ไมเอื้ออํานวยดังกลาว และหลายๆ ครอบครัวยังประสบกับภาวะวิกฤติ หรือมี โรคภัยไขเจ็บกระหน่ําซ้ําเติม เชน โรคเอดส ความพิการ ติดยาเสพติด ฯลฯ โอกาสในการเลื่อนชั้น ทางสังคมผานการศึกษา จึงเปนประตูที่ถูกปดตาย

11


ความหมิ่นเหมของอาชีพขายพวงมาลัย และอาชีพอื่นๆ ที่ผิดกฎหมาย: กําหนด

ชีวิตนี้ ใคร

จากการศึกษาของสุนทราภรณ จันทภาโส (2546) ทําใหมองเห็นไดวา อาชีพเด็กขายพวงมาลัย นั้นมีความ เสี่ยงตอการที่จะเปลี่ยนเปนอาชีพอื่น (ที่ไมพึงปรารถนาของสังคม) ทั้งนี้ ถาเด็กเหลานี้ถูกกดดันจากอํานาจรัฐ โดยเฉพาะเจาหนาที่ตํารวจ และสังคมรอบขาง และปจจัยสําคัญอีกประการหนึ่ง ก็คือ ฤดูกาล เพราะในชวงฤดู ฝน มักจะไมมีดอกมะลิจําหนาย หรือมีปริมาณนอย ทําใหไมสามารถดําเนินอาชีพนี้ได หรือ พอไดขาย แตไม พอเพียง เด็กจํานวนหนึ่งจึงจําเปนตองออกรับจางทําอาชีพอื่นๆ แตบางสวนจําเปนตองออกขอทานบาง วิ่งราว บาง ลักขโมยบาง และบางสวนจําตองคายาเสพติด และตองติดคุกในที่สุด ดังเชน เด็กขายพวงมาลัยคนหนึ่งใน จังหวัดนครศรีธรรมราชที่ตองติดคุก ดวยขอหาลักทรัพย และมีสารเสพติดประเภทกาวไวในครอบครอง ดังนั้น คําถามคือ ระหวางอาชีพขายพวงมาลัย (ที่นารําคาญสําหรับหลายๆ คน) กับอาชีพที่ผิดกฎหมาย อยางไหนนา พึงปรารถนาสําหรับสังคมมากกวากัน?

คนในสังคมมองและปฏิบัติอยางไร ตอเด็กขายพวงมาลัย: สิ่งเหลานี้สะทอนอะไร สําหรับคนในสังคมนั้น สามารถแบงออกไดเปน 3 กลุมใหญๆ กลุมแรก คือ กลุมที่ตอบรับในเชิงบวกตอเด็กขายพวงมาลัย เพราะสงสาร และเห็นใจเด็ก พบวา คนกลุม นี้ มักจะอุดหนุน หรือซื้อพวงมาลัยจากเด็ก หรือบางสวนในกลุมนี้ ใหเงินเด็ก โดยไมรับพวงมาลัยไปก็มี และ บางสวนใหเงินเพิ่มแกเด็ก นอกเหนือจากราคาพวงมาลัยที่ตกลงกันไว และยังอาจมีการเชื้อเชิญใหคนอื่นๆ ไมวา จะเปน เพื่ อ น ญาติ คนรูจัก คนทั่ว ๆ ไป ช ว ยสนับสนุ น หรื อ อุด หนุน เด็ก ถา พบเห็น หรื อ ประสบกั บ เด็ก ขาย พวงมาลัย และบางสวนในกลุมนี้ ถึงขั้นหวงใย บางคนโทรศัพทแจงขอมูลใหกับหนวยงานดานเด็ก วาพบเห็นเด็ก ขายพวงมาลัย ที่อาจตกอยูในอันตราย เปนตน และบางคนถึงขั้นแตงเพลงยกยองอาชีพนี้ และเสนอขอจด ลิขสิทธิ์ “เพลงเด็กขายพวงมาลัย” ตั้งแตเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ที่ผานมา กลุมที่ 2 เปนกลุมที่ไมชอบ หรือถึงขั้นเกลียดชัง สาปแชง สมน้ําหนา (เมื่อเด็กประสบอุบัติเหตุ) และใน กลุมนี้ สวนหนึ่งพบวา เคยมีประสบการณที่ไมดีกับเด็กขายพวงมาลัย เชน ถูกโกงเงินทอน ถูกเชิญชวนแกม บังคับขมขูใหซ้ือ ถูกขูดรถ เปนตน แตสําหรับบุคคลที่ไมเคยประสบเหตุหรือการกระทําที่ไมดีของเด็ก แตกลับ เกลียดชัง รํา คาญ หรือไมตองการเกี่ยวของใดๆ กั บเด็กกลุมนี้ ก็มีอยูจํานวนไมนอย สําหรับ กลุมที่สองนี้ ก็ แน น อนว า ตอ งการเห็ น อาชี พ ขายพวงมาลั ยบนท อ งถนนหายไปจากโลกนี้ และยั ง มี บ างคนเขี ย นโพสตใ น website และขอรองใหคนในสังคม เลิกการกระทําที่เปนการสนับสนุนอาชีพนี้ โดยการเลิกซื้อพวงมาลัย ก็ยังมี กลุมสุดทาย คือ กลุมที่นิยมความเปนไทย โดยมองวา อาชีพขายพวงมาลัย เปนอาชีพที่เปนสัญลักษณ ของความเป น ไทย ควบคู ห รื อ เที ย บเคี ย งกั บ อาชี พ อื่ น ๆ เช น อาชี พ ขายข า วแกง คนถี บ สามล อ ในขณะที่ นักวิชาการจํานวนมาก กลับมองวา เปนสัญลักษณของความยากจน หรือ ความดอยโอกาส และจัดใหอยูในกลุม เดียวกันกับกลุมเด็กเรรอน และขอทาน

12


หนวยงานรัฐและองคกรอื่นปฏิบัติอยางไรตอเด็กขายพวงมาลัย: ยาแกที่ยังไมถูกกับโรค สําหรับหนวยงานของรัฐ ซึ่งมีหนาที่หรือภารกิจเกี่ยวของโดยตรงกับเรื่องนี้ พบวามีอยูหลายหนวยงาน ดว ยกัน เชน ตํ า รวจ การศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงพัฒ นาสั งคม คณะกรรมการสิท ธิ มนุ ษ ยชนแหง ชาติ สําหรับในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก็มีห นวยงานทองถิ่น ดังเชน กองบัญชาการตํารวจนครบาล กรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ ก็ยังมีหนวยงานพัฒนาเอกชน หรือมูลนิธิตางๆ เชน ไว.เอ็ม.ซี.เอ มูลนิธิพิทักษสิทธิ เด็ก มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก ฯลฯ เทาที่สามารถประมวลขอมูลยอนหลังกลับไปไดประมาณ 5-6 ป พบวา หนวยงานรัฐมีทัศนะและการ ปฏิบัติที่สําคัญๆ พอสรุปไดดังนี้คือ 1. การดําเนินการในทางกฎหมาย พบวา สวนใหญที่ผานมา เปนการดําเนินการตามกฎหมายจราจร คือ การจับปรับ โดยเฉพาะในจังหวัดนครศรีธรรมราช ใชวิธีการนี้เปนหลัก นอกจากนี้ เจาหนาที่รัฐบางทานเสนอวา ควรมีการใช พรบ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 เอาผิดกับทั้งผูซื้อดวย นอกจากนี้ ก็ยังมีขอเสนอ หรือความคิดริเริ่ม เกี่ยวกับการดําเนินการทางกฎหมายกับพอแม หรือผูปกครอง โดยเจาหนาที่รัฐบางคน เสนอวา ควรใชกฎหมาย คุมครองเด็ก หรือ พรบ. คุมครองเด็กป 2546 เอาผิดกับพอแมที่ใชลูกใหมาทํางาน เพราะเทากับเปนการละเมิด สิทธิเด็ก หรือเลี้ยงดูเด็กอยางไมเหมาะสม ซึ่งมีโทษปรับไมเกิน 30,000 บาท หรือจําคุกไมเกิน 3 เดือน และยัง กลา วเน น ย้ํา ด ว ยวา ตอ งมีก ารเอาโทษตามกฎหมายอยา งจริ ง จัง (บทความ “ล อ มคอกเด็ กขายพวงมาลัย ” หนังสือพิมพบางกอกทูเดย 28 มิถุนายน 2549) 2. ขอความรวมมือสังคมไมใหอุดหนุน หรือเลิกซื้อพวงมาลัย พบวา เจาหนาที่รัฐบางทาน ไดให สัมภาษณสื่อมวลชนในทํานอง ขอความรวมมือจากสังคม ไมใหการสนับสนุนอาชีพนี้ โดยไมตองการใหซื้อ พวงมาลัยจากเด็ก หรือผูขายบนทองถนนอีกตอไป และความคิดดังกลาว ยังไดรับการขานรับจากสื่อมวลชน บางสวนอีกดวย (อัญชนก แข็งแรง 2549) 3. ขอใหเปลี่ยนหรือเลิกอาชีพนี้ โดยพยายามจัดสงเด็ก หรือแนะนําใหไปฝกอบรมอาชีพอื่นๆ โดยไมไดทํา ความเขาใจถึงความเปนมาของอาชีพนี้ วามีความเกี่ยวของสัมพันธกับปจจัยอื่นๆ หรือเงื่อนไขอะไรบาง หรือ บางสวนสัญญาวาจะจัดหาที่ขายใหใหม ถายังตองการทําอาชีพนี้ตอไป ดังเชน อดีตปลัด กทม. ทานหนึ่ง กลาว วา... “ถาเลิกอาชีพนี้ไดเลยก็ยิ่งดี แตถาเลิกไมได ก็จะจัดหาที่ใหขาย” (ผูจัดการออนไลน 2546) เปนตน 4. ใหทุนครอบครัวประกอบอาชีพอื่น ซึ่งดําเนินการโดยกระทรวงพัฒนาสังคม แตหลังจากใหทุนไปแลว กลับพบวา ยังมีเด็กอีกจํานวนหนึ่งกลับไปขายพวงมาลัยเชนเดิม 5. มีความพยายามในการตอรองกับครอบครัวของเด็ก ในบางยุค เชน สมัยที่นายวัฒนา เมืองสุข (พ.ศ. 2547-2548) เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาสังคม ไดใหขอมูลกับสื่อมวลชนวา ไดจัดสงเจาหนาที่ไป เจรจาตอรองกับผูปกครอง โดยเสนอพอแม หรือผูปกครองวา ควรใหเด็กเรียนหนังสือในตอนกลางวัน และใหขาย พวงมาลัยในตอนกลางคืน (ไมปรากฏชื่อผูแตง 2548) ซึ่งขอเสนอนี้ ไมสอดคลองกับความเปนจริง เพราะเด็ก จํานวนมากหรือสวนใหญ เรียนตอนกลางวัน และทํางานตอนกลางคืนอยูแลว แตไมมีสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน เพราะตองทํางานหนักเกินไป ทั้งๆ ที่ยังเปนเด็ก เพราะฉะนั้นตรงนี้จึงไมใชทางออก

13


6. ขอใหหยุดขายชั่วคราว เพื่อใหบานเมืองเรียบรอย ในชวงที่ประเทศไทยเปนเจาภาพในการจัด ประชุมเอเปค เมื่อป พ.ศ. 2546 พบวา เด็กขายพวงมาลัยในกรุงเทพมหานครจํานวนมาก หรือในยานที่เปนแหลง ผลิต หรือเปนศูนยรวมเด็กขายพวงมาลัย อาทิ มีนบุรี ราชเทวี ลาดพราว หวยขวาง แถวๆ มักกะสัน แยกตึกชัย ยมราช ฯลฯ ถูกสั่งไมใหออกมา ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดความเรียบรอยในบานเมือง ในชวงที่มี “แขกบานแขกเมือง” เขา มาเมืองไทยจํานวนมาก 7. สนับสนุนการศึกษานอกโรงเรียน ซึ่งพบวา เปนความพยายามในการประสานงานขององคกรพัฒนา เอกชน หรือครูที่มีความหวงใยเด็ก แตเด็กจํานวนหนึ่งก็ไมสามารถเรียนไดอยางตอเนื่อง เพราะมีปจจัยเงื่อนไข ตางๆ ที่เกี่ยวของมากมาย เชน สภาพรางกาย-จิตใจ-สมอง หรือความพรอมดานตางๆ ของตัวเด็ก เกิดภาวะ วิกฤต หรือความผันแปรภายในครอบครัวทําใหตองเลิกกลางคัน ถูกจับเพราะติดกาว พบวา ชองวางที่สําคัญยิ่งในการดําเนินงานของรัฐ ก็คือ ขาดการสื่อสาร หรือ การพูดคุยแลกเปลี่ยน หรือ การทําความเขาใจปรากฏการณนี้จากมุมมองของเด็กและครอบครัว อยางมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับปญหา หรือเงื่อนไขอื่นๆ ที่มีความสลับซับซอนของครอบครัว และเปนการกําหนด หรือตัดสินใจโดยหนวยงาน หรือ เจาหนาที่ของรัฐเปนหลัก ดวยเหตุนี้ ยาขนานตางๆ ที่ใชมา จึงยังไมคอยถูกกับโรคเทาใดนัก และสะทอนใหเห็น วา หนวยงานตางๆ ของรัฐยังถนัดในการทํางานตามแนวเดิมๆ ที่เคยปฏิบัติกันมาหลายชั่วอายุคน ซึ่งอาจสรุป สั้นๆ ไดวา... “โรคก็เรื้อรัง แตมีวิวัฒนาการ และเริ่มดื้อยา ในขณะที่ยาเกาหมดฤทธิ์ และยังคิดคนยาตัวใหมไม ทัน”

ดัชนีชี้วัดความสําเร็จของมนุษย กับคุณภาพชีวิตของเด็กขายพวงมาลัย: ชองวางที่แทจริง คืออะไร? ชองวางที่แทจริงของปญหา หรือความเหลื่อมล้ําที่มีอยูคอนขางมาก ระหวางเกณฑหรือดัชนีชี้วัดคุณภาพ ชีวิตตางๆ ซึ่งเปนมาตรฐานที่พัฒนาโดยหนวยงานทั้งของไทยและตางประเทศ กับสภาพความเปนอยูที่แทจริง ของเด็ ก หรื อ ประชาชน โดยเฉพาะดั ช นี ชี้ วั ด ความสํ า เร็ จ ของมนุ ษ ย ที่ เ สนอโดยหน ว ยงานพั ฒ นาของ สหประชาชาติ ซึ่งใชเปนเกณฑมาตรฐานในการพัฒนาสังคมนั้น ความจริงแลว ผูเขียนก็เห็นดวยกับการมีเกณฑ มาตรฐาน ไมวาจะเกี่ยวกับเรื่องอะไรก็ตาม เพราะเปนเครื่องมือที่จะชวยทําใหเราทราบวา เราอยูในระดับไหน และจะไปสูจดุ ไหน ซึ่งถาเรามีความจริงจัง-จริงใจ กับการใชมาตรฐาน และใชอยางถูกตอง ก็นาจะกอผลในทางที่ เปนคุณประโยชนเปนแน แตในทางปฏิบัติจริง พบวา ยังมีปญหาเกี่ยวกับการใชเกณฑมาตรฐานตางๆ ที่จัดทํา โดยหนวยงานระหวางประเทศคอนขางมาก โดยเฉพาะมาตรฐานดานการพัฒนามนุษย ซึ่งในแตละสังคมมีความ แตกตางกันมาก (แตถาเปนมาตรฐานการพัฒนาสินคา หรือวัตถุนั้น พบวา เราสามารถนําเกณฑเหลานั้นมาใช หรือยอมรับได เพราะถาเราตองการแขงขันในตลาดโลกใหได เราก็ตองทําใหได โดยไมตองมีการพิจารณาบริบท ทางสังคม) แตสําหรับ “มาตรฐานเกี่ยวกับคนหรือสังคม” นั้น เปนเรื่องที่เราจะตองใชอยางมีความระมัดระวัง และควรอยูบนฐานของการเรียนรู และปรับแกใหสอดคลองกับบริบทอยูเสมอๆ แตถึงกระนั้น ผูเขียน ก็มองวา เรา จําเปนตองยึดมาตรฐานอยางใดอยางหนึ่ง และถาเรายึดมาตรฐานของสหประชาชาติ ก็จะตองพยายามทําให สังคมไปสูมาตรฐานดังกลาวใหได หรืออยางนอยดีขึ้นเรื่อยๆ ทุกป สําหรับกรณีเด็กขายพวงมาลัย (หรือประเด็น

14


ปญหา-ปรากฏการณหลายๆ อยางในสังคมไทย) กับความหางไกลจากมาตรฐานนั้น ผูเขียนพอจะประเมินไดวา มีชองวางใหญๆ 4 ประการ ดังนี้คือ 1.ชองวางทั้งดานคุณธรรม-จริยธรรมของผูมีอํานาจในสังคม (morality gap) ดังสะทอนใหเห็นถึงวิธีการ ในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐขางตน ซึ่งทําใหเห็นไดวา การตัดสินใจในการใชมาตรการใดๆ ของผูมี อํานาจในสังคม มักเปนการตัดสินใจบนความคิด ความรูสึกของตนเอง โดยขาดการพิจารณาความเปนจริงทาง สังคมที่มีความสลับซับซอน จึงทําใหปญหาหลายๆ อยางไมไดรับการแกไข หรือมีการแกไข แตไมถูกจุด หรือแก ไดชั่วครั้งชั่วคราว หรือเปนแคชวงระยะเวลาสั้นๆ เทานั้น 2.ชองวางดานความรู (knowledge gap) กลาวคือ การกําหนดแนวทาง หรือทางออกตางๆ ของปญหาใดๆ ในสังคม ไมไดถูกกําหนดขึ้นบนพื้นฐานของความรูที่แทจริงในความสลับซับซอนของความเปนสังคมมนุษย จึง มองทุกอยางแบบแยกสวน ขาดความเชื่อมโยง แกไดเปลาะหนึ่ง แตไปติดอีกเปลาะหนึ่ง เปนอยางนี้อยูร่ําไป ไม มีวันจบสิ้น 3.ชองวางดานนโยบาย (policy gap) พบวา นโยบายหรือมาตรการตางๆ มักเปนระยะสั้น และไมได กระแทกที่ตัวปญหา หรือโครงสรางของปญหา ซึ่งความจริงแลว เด็กขายพวงมาลัยเปนเพียงอาการหนึ่งของ ปญหาใหญ หรือโรครายแรงในสังคม ซึ่งก็คือ โรคความเหลื่อมล้ําของระบบที่เปนอยู และขอจํากัดตางๆ ที่มีอยู ในระบบสังคมของมนุษย เชน เราไมสามารถหยุดจํานวนประชากรได แตเราก็ไมสามารถจํากัดการครอบครอง ทรัพยากรตางๆ ของมนุษยได (โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีจํากัด ไมมีการเติบโต มีแต รอยหรอ หรือ นอยลง เชน การหายไปของชายหาด หรือพื้นดิน ) 4.ชองวางดานการดําเนินงาน (performance gap) สังคมไทยเปนสังคมที่ยังประสบปญหาเกี่ยวกับการ ทํางานตามแผนและนโยบาย บางชวงเวลา มีแผนและนโยบายที่ดี แตไมสามารถ หรือไมไดดําเนินการตามแผน ประกอบกับ การจัดการแกไขปญหาที่ผานมา ก็ไมไดมีการติดตามประเมินผลดวยความจริงจัง และจริงใจ วาเปน อยางไร ใชไดผลหรือไม เปนเพราะอะไร หรือบางกรณีมีการประเมิน แตไมไดนํามาใชประโยชน หรือใชประโยชน ไมได เปนตน ตรงนี้เปนความจริง ที่เราควรยอมรับรวมกัน หรือเปนสิ่งที่ควรสํานึกรูรวมกัน และเรื่องนี้เปนเรื่อง ของจิตสํานึกของความเปนมนุษยที่มีคุณคาในสังคม

สังคมจะทําอยางไรตอไปกันดี การสะทอนปญหาตางๆ เกี่ยวกับชีวิตเด็กขายพวงมาลัยขางตน อาจจะชวยทําใหหลายๆ ทาน พอมองเห็น ไดวา ปญหาหรือโรคนี้มีความสลับซับซอนเกินกวา จะใชยาเพียงตัวใดตัวหนึ่ง เพื่อใหไดผลที่ชะงัด เหมือนดังที่ หนวยงานของรัฐดําเนินการมา หรือบางทานมองวา เปนเพียงแคเรื่องของการดําเนินอาชีพที่ไมถูกที่ถูกทางนั้น ก็ คงตองเปลี่ยนทัศนะกันใหมเสียแลว สําหรับทางออก ก็คือ การอุดชองวางดังกลาวขางตนใหได หรือถาอุดไมได ในฉับพลันทันใด ก็คงจะตองคอยๆ ชวยกันลดชองวางนั้นลงทีละนอย แตตองเปนการดําเนินการที่จริงจัง และมี การใชมาตรการตางๆ ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา วัฒนธรรม กฎหมาย ทั้งในระยะสั้น ระยะ กลาง และระยะยาว ที่มีความครอบคลุม และตองเปนการทํางานในเชิงโครงสรางสังคม การปองกัน และ พิจารณาความเปนทั้งหมดของสังคม (totality) โดยเฉพาะการใชมาตรการทางเศรษฐกิจสังคม ที่จะทําใหเกิด ความเทาเทียมในดานมาตรฐานการครองชีพ หรือระดับความเปนอยูระหวางคน 3 กลุม (รวย ปานกลาง และจน) ใหมากขึ้น

15


สําหรับเด็กขายพวงมาลัยและครอบครัว ก็จะตองเปนการทํางานในหลายๆ ระดับเชนกัน ทั้งระดับปจเจก บุคคล ระดับครอบครัว-ครัวเรือน ระดับชุมชน ระดับองคกร-หนวยงาน ไปจนถึงระดับจังหวัด ภาค และประเทศ และที่สําคัญตองอยูบนพื้นฐานของการระดมสมอง และการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของทุกฝาย แตสําคัญเหนืออื่น ใด ก็คือ จะตองมีความเขาใจปญหานี้อยางมีความเชื่อมโยงกับการพัฒนาความเปนเมือ ง และการพั ฒนา ประเทศที่ขาดการปรับเปลี่ยนในเชิงโครงสราง ที่จะทําใหเกิดความเทาเทียมของกลุมคนในชนชั้นตางๆ หรือมี ความเหลื่อมล้ํานอยลงในชวงเวลาที่ผานมา กิตติกรรมประกาศ ผูเขียนขอขอบคุณ คุณศิริอาภา อรามเรือง และคุณวิวรรณ เอกรินทรางกุล ที่ไดกรุณาชวย เรื่องการคนควาขอมูล การจัดพิมพตนฉบับ และเปนธุระตางๆ ในเรื่องเอกสารอางอิง ผูเขียนรูสึกซาบซึ้งในความ มีน้ําใจอันงดงามของทั้งสองทานเปนอยางยิ่ง

เอกสารอางอิง ดาลัด ศิระวุฒิ. 2548. “เด็กขายพวงมาลัย” หนา 31-42 ใน 10 เรื่องในเมืองใหญ. บรรณาธิกรโดย สุวัฒน อัศว ไชยชาญ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพสารคดี. ดาลัด ศิระวุฒิ. 2548. เด็กขายพวงมาลัย. http://www.sarakadee.com/web/modules.php (สืบคนเมื่อ 15 เมษายน 2550) ผูจัดการออนไลน. 2546. กทม. ขอจัดอีกฉากรับเอเปค สั่งเก็บ “เด็กขายพวงมาลัย”. http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?News. (สืบคนเมื่อ 15 เมษายน 2550) ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. 2545. ชีวิตชายขอบ: ตัวตนและความหมาย. กรุงเทพมหานคร: ศูนยมานุษย วิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). ปวีพร ประสพเกียรติโภคา. 2546. การเขาสูอาชีพเด็กขายพวงมาลัย: กรณีศึกษาเด็กชาวอาขา. รายงานซึ่งเปน สวนหนึ่งของกระบวนวิชาการสัมมนา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สุกัญญา พรโสภากุล. 2546. วิถีชีวิตเด็กขายดอกไมในเมืองเชียงใหม. กรุงเทพมหานคร: ศูนยศึกษาเศรษฐ ศาสตรการเมือง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุนทราภรณ จันทภาโส. 2546. เยาวชนกับความลมสลายของครอบครัว: กรณีเด็กเช็ดกระจกรถและขาย พวงมาลัยในเขตเทศบาลนครศรีธรรมราช. กรุงเทพมหานคร: ศูนยศึกษาเศรษฐศาสตรการเมือง คณะ เศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุวัฒน อัศวไชยชาญ. 2548. 10 เรื่องในเมืองใหญ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพสารคดี. สิริพร สมบูรณบูรณะ. 2545. “ขยะเก็บชีวิต: ชีวิตขายขยะ ประสบการณเมืองคนเก็บและรับซื้อของเกาซาเลง” หนา 184-223 ใน ชีวิตชายขอบ: ตัวตนและความหมาย บรรณาธิกรโดย ปริตตา เฉลิมเผา กออนันต กูล. กรุงเทพมหานคร: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). หนังสือพิมพบางกอกทูเดย. 2549. ลอมคอกเด็กขายพวงมาลัย อภิรักษรวมคุมเขมพื้นที่เสี่ยงทั่วกรุง. http;//www.backtohome.org/autopage-new/show_page.php (สืบคนเมื่อ 15 เมษายน 2550)

16


อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ. 2549. เรื่องนารูสูความปลอดภัย. http://www.csip.org/csip/autopage/show_page.php? (สืบคนเมื่อ 28 พฤษภาคม 2550) อรทัย อาจอ่ํา. 2546. ฟนสังคมศาสตร: ทําไมการวิจัยทางสังคมจึงลมเหลว และจะทําใหประสบความสําเร็จได อยางไร. (แปล) นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และสํานักพิมพคบไฟ. อัญชนก แข็งแรง. 2549. ปรอทสังคม...เด็กขายพวงมาลัย. http://www.101newschannel.com/squarethink_detail.php?news (สืบคนเมื่อ 15 เมษายน 2550) ไพฑูรย สุขกสิกร. 2549. ความจริงหรือความคิด. http://www.thaila.us/index.php?option=com_content&task. (สืบคนเมื่อ 17 เมษายน 2550) ไมปรากฏชื่อผูแตง. 2548. “วัฒนา” คานอาบอบนวด เล็งแกปญหาเด็กขายพวงมาลัย. http://www.socialwarning.net/data/views.php?recordID=179 (สืบคนเมื่อ 17 เมษายน 2550) Amin, Samir. 1974. Accumulation on a World Scale. New York: Monthly Review Press. Amin, Samir. 1976. Unequal Development. Sussex: Harvester Press. Cardoso, F.H. and Faletto, Enzo. 1979. Dependency and Development in Latin America. Berkeley: University of California Press. Emmanuel, Arghiri. 1972. Unequal Exchange: A Study of the Imperialism of Trade. New York: Monthly Review Press. Flyvbjerg, Bent. 2001. Making Social Science Matter: Why Social Inquiry Fails and How It Can Succeed Again. Cambridge: Cambridge University Press. Frank, Andre Gunder. 1967. Capitalism and Underdevelopment in Latin America: Historical Studies of Chile and Brazil. New York: Monthly Review Press. Lewis, Oscar. 1961a. La Vida: A Peutorican Family in the Culture of Poverty. New York: Random House. Lewis, Oscar. 1961b. The Children of Sanchez. New York: Random House Lewis, Oscar. 1968. A Study of Slum Culture. New York: Random House.

17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.