SOCIOLOGICAL AND ANTHROPOLOGICAL THOUGHTS
แนวคิดสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา รหัสวิชา 261124 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2557 (สัปดาห์ที่ 2/1)
แนวคิดเกีย่ วกับสังคมและวัฒนธรรม แนวคิดเกีย่ วกับสังคม
แนวคิดเกีย่ วกับวัฒนธรรม
ความหมายของสังคม
ความหมายของวัฒนธรรม
องค์ประกอบของสังคม
ลักษณะของวัฒนธรรม
ลักษณะความอยู่รอดของสังคม
หน้าที่ของวัฒนธรรม
หน้าที่ของสังคม
ประเภทของวัฒนธรรม
ประเภทของสังคม
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและวัฒนธรรม
สรุป
แนวความคิดบางประการเกีย ่ วกับวัฒนธรรม สรุป
คำาถาม ... เรารูจ้ กั และเข้าใจ สังคม ดีพอแล้วหรือ ???
ศาสนา
นักปรัชญา
นักสังคมศาสตร์ สังคม ... คือ อะไร
ศาสนา ... กับการอธิบายสังคมของมนุษย์
อธิบายความเป็ นอยู่ของสังคมมนุษย์ ปั ญหา และแนวทางแก้ไข เพือ่ ให้มนุษย์อยู่ในสังคมได้อย่างสงบสุข
นักปรัชญา ... กับการอธิบายสังคมของมนุษย์ อริสโตเติล... นักปรัชญาชาวกรีก ได้กล่าวว่า มนุษย์เป็ นสัตว์สงั คม ่ คือ มนุษย์โดย (Social Animal) นัน สภาพธรรมชาติจะต้องมีชีวิตอยูร่ ่วมกัน กับบุคคลอืน่ ๆ ติดต่อสัมพันธ์ซงึ่ กันและ กัน มีการจัดระเบียบร่วมกันภายในกลุ่ม เพราะกลุ่มสามารถตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์ได้ ดังนัน้ มนุษย์จึงไม่ สามารถดำารงชีวิตอยูอ่ ย่างอิสระตาม ลำาพังแต่ผเู ้ ดียวได้ สังคมจึงเกิดขึ้น
Aristotle
นักสังคมศาสตร์ ... กับการอธิบายสังคมของมนุษย์
ผูท้ ศี่ ีกษาและให้ความสำาคัญเกี่ยวกับสังคม สังคมศาสตร์มห ี ลายสาขาวิชาด้วยกัน โดยนักสังคมศาสตร์แต่ละแขนง โดยเน้นถึงลักษณะเฉพาะในแต่ละด้านทีเ่ กี่ยวข้องกับสังคม อาทิเช่น ... นักสังคมวิทยา มุง่ ศึกษาสังคมในแง่ความสัมพันธ์และการกระทำาระหว่างกัน * นักรัฐศาสตร์ มุง่ ศึกษาเกี่ยวกับการใช้อาำ นาจและการปกครองสังคม นักจิตวิทยา มุง่ ศึกษาเกี่ยวภาวะจิตใจของปั จเจกบุคคลในสังคม นักเศรษฐศาสตร์ มุง่ ศึกษาเกี่ยวกับการอุปโภค บริโภคของสมาชิกในสังคม
ความหมายของสังคม
นักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ได้ให้ ความหมายของสังคม ไว้หลายประการ เช่น หมายถึง กลุ่มคนทีม่ ีการกระทำาระหว่างกัน ทำาให้เกิดความพึงพอใจ ในสังคม และมีสว่ นร่วมในวัฒนธรรมเดียวกัน ่ ยูร่ วมเป็ นเวลานานพอสมควร และมีการยึดถือ Landis (1971) สังคม หมายถึง กลุ่มคนทีอ วัฒนธรรมร่วมกัน พัทยา สายหู (ม.ป.ป.) สังคม หมายถึง ระบบความสัมพันธ์ของบุคคล ทีอ่ ยูร่ ว่ มกันเป็ นกลุ่ม โดยระบบความสัมพันธ์ดงั กล่าวได้ยึดเหนี่ยวคนในกลุม่ ไว้ดว้ ยกัน ทำาให้กลุม่ มีความมัน่ คง การประพฤติ ปฏิบตั ติ อ่ กันนัน้ เอง นำามาซึง่ การยอมรับและปฏิบตั ติ าม ระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ในการกำาหนด สิทธิและหน้าทีข่ องบุคคลทีจ่ ะปฏิบตั ติ อ่ ผูอ้ ืน่ การปฏิบตั ติ อ่ กันเช่นนี้อย่างบ่อยครัง้ สม่าำ เสมอ จนสร้างความ สัมพันธ์ให้เกิดขึ้นในสังคม สมศักดิ์ ศรีสนั ติสขุ (2551) หมายถึง กลุ่มคนหรือผูค้ นทีม่ าอาศัยอยูใ่ นบริเวณพื้นทีเ่ ดียวกัน มีความสัมพันธ์ซึง่ เกิดจากการกระทำาระหว่างกัน และยอมรับแบบแผนการดำาเนินชีวติ ของกลุม่ มา ปฏิบตั ิ กลายเป็ นสถาบันทางสังคม Fitcher (1957) สังคม
องค์ประกอบของสังคม จากความหมายของสังคม สามารถสรุปเป็ น องค์ประกอบของสังคม 8 ประการ 1. อยูร่ ว่ มกันเป็ นกลุม ่ (group living) ่ ยูร่ ว่ มกัน (territory) 2. มีอาณาเขตทีอ 3. มีความรูส้ ก ึ เป็ นพวกเดียวกันและไม่มีความรังเกียจเดียดฉันท์ (absence of discrimination) 4. มีปฏิสม ั พันธ์หรือการกระทำาระหว่างกัน (interaction) 5. มีความสัมพันธเป็ นหนึ่งเดียวกัน (relationship) 6. มีการแบ่งหน้าทีแ่ ละร่วมมือ
(division of labour and cooperation)
7. มีระบบความคิด
ความเชือ่ ค่านิยม บรรทัดฐานร่วมกัน
(idea belief value norms) 8. มีสถาบันทางสังคม (institutions)
ลักษณะความอยู่รอดของสังคม ลักษณะ 4 ประการทีท่ าำ ให้สงั คมอยูร่ อด 1. สังคมต้องสนองความจำาเป็ นมูลฐาน (basic needs) หรือ ความจำาเป็ น/ความต้องการด้านร่างกาย 2. สังคมต้องมีกระบวนการสืบทอดวัฒนธรรมหรือการสืบแทน
(recruitment)
3. สังคมต้องมีการควบคุมทางสังคม (social control) 4. สังคมต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (social change)
หน้าที่ของสังคม
1. 2. 3.
การทีส่ งั คมจะอยูร่ อดได้ สังคมต้องพยายามจัดทำาหน้าทีท่ จี่ าำ เป็ น ให้แก่สมาชิกในสังคม 4 ประการ หน้าทีใ่ นการสร้างสมาชิกใหม่ให้สงั คม (sexual production) หน้าทีด่ า้ นเศรษฐกิจ (economic functions) หน้าทีใ่ นการักษาความสงบเรียบร้อยให้กบั สมาชิกในสังคม (order functions)
4.
หน้าทีบ่ าำ รุงขวัญและกำาลังใจให้กบั สมาชิกในสังคม and psychological aspect)
(morality
ประเภทของสังคม (1) นักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้แบ่งประเภทของสังคมออกเป็ น
รูป
แบบต่างๆ โดยมีหลักเกณฑ์ในการแบ่งทีแ่ ตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่น ทอนนีย่ ์ (Tonnies, Ferdinand) นักสังคมวิทยาชนบทชาวเยอรมัน ได้ใช้หลักเกณฑ์ ความสัมพันธ์ทางสังคม คือ Gemeinschaft ซึง่ เป็ น รูปแบบสังคมทึคนในสังคมทีม่ ีการพึ่งพาอาศัยช่วยเหลือซึง่ กันและกัน และมีความผูกพันด้านจิตใจอย่างมาก ส่วนสังคมแบบ Gesellschaft เป็ นสังคมทีม่ ีการพึ่งพาช่วยเหลือกัน และ ความผูกพันในด้านของจิตใจ น้อยกว่าแบบแรก
Gemeinschaft vs Gesellschaft Dichotomy
ประเภทของสังคม (2) คูลลีย่ ์ (Cooley, C.H.) ได้แบ่งประเภทสังคมโดยใช้หลักเกณฑ์ ของความสัมพันธ์ทางสังคม คือ สังคมที ม่ ี ความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิ (primary relationship) ซึง่ เป็ นสังคมที่ มีความผูกพันกันอย่างใกล้ชดิ เหนียวแน่น มีความช่วยเหลือกันและกันอย่าง มาก และสังคมทีม่ ีความสัมพันธ์แบบทุตยิ ภูมิ (secondary relationship) เป็ นสังคมทีค่ วามสัมพันธ์ แบบห่างเหิน ติดต่อกันใน ลักษณะทีเ่ ป็ นทางการ ไม่มีความสนิทสนมแบบส่วนตัวระหว่างสมาชิก
Primary vs Secondary Relationship
ประเภทของสังคม (3) เดอไคม์ (Emile, Durkheim) ได้แบ่งประเภทสังคมโดยใช้หลัก เกณฑ์ในเรือ่ งของ การแบ่งงานกันทำา (division of labour) โดยแบ่ง สังคมออกเป็ น 2 ประเภท คือ ความเป็ นปึ กแผ่นของสังคมกลไก (mechanical solidarity) ซึง่ เป็ นสังคมทีไ่ ม่มีการแบ่งงานกันทำาอย่าง ชัดเจน สมาชิกในสังคมมีความคิดเห็นและการกระทำาคล้ายคลึงกัน ส่วนของ ความเป็ นปึ กแผ่นทางอินทรีย ์ (organic solidarity) ซึง่ เป็ นสังคมทีม่ ี การแบ่งงาน อย่างเด่นชัด และมีความแตกต่าง กันด้านอาชีพ ความคิดเห็น และการกระทำา
Mechanical vs Organic Solidarity
ประเภทของสังคม (4) ได้แบ่งสังคมออกเป็ น 2 ประเภท โดยอาศัยอาชีพ เกษตรกรรม เป็ นเกณฑ์ ได้แก่ สังคมชนบท เป็ นสังคมทีป่ ระชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีความใกล้ชดิ สนิทสนมกันในระดับสูง ในขณะที่ สังคมเมือง ส่วนใหญ่ ประชากรไม่ได้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ความสัมพันธ์มีลกั ษณะทีเ่ ป็ นทางการ ไม่ใกล้ชดิ กันเหมือนชนบท
นักสังคมวิทยาชนบท
นักสังคมศาสตร์บางท่านได้แบ่งสังคมในระดับกว้าง โดยใช้หลักเกณฑ์ เศรษฐกิจ เป็ นตัวแบ่งความเจริญของประเทศต่างๆ เช่น สังคมกำาลังพัฒนา สังคมทีพ่ ฒ ั นาแล้ว
ประเภทของสังคม (5) ส่วนนักมานุษยวิทยานัน ้
แบ่งสังคมเป็ น 3 ประเภท ซึง่ หลักเกณฑ์ในการแบ่ง คือ เทคโนโลยี ได้แก่
สังคมทีม่ เี ทคโนโลยีตา่ำ มีการติดต่อระหว่างชุมชนและสังคมภายนอก ไม่มากนัก สมาชิกในสังคมรูจ้ กั กันหมด ประกอบอาชีพแบบง่ายๆ เช่น การล่าสัตว์ หาของป่ า สังคมชาวนา คือ สังคมทีม่ ีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็ นหลัก ชีวติ ผูกพันกับธรรมชาติ ยึดมัน่ กับขนบธรรมเนียมประเพณี สังคมเมือง/สังคมสมัยใหม่ สังคมทีม่ ีอาชีพอืน่ ทีไ่ ม่ใช่เกษตรกร ประชากร ยึดหลักเหตุผลในการดำาเนินชีวติ และความสัมพันธ์ในสังคมเป็ นไปโดยคำานึงถึง ประโยชน์สว่ นตัว
ประเภทของสังคม (6) ความผูกพันแบบสังคม
เมือง
สังคมเมือง/ สังคมทันสมัย Gesellschaft ความสัมพันธ์แบบทุตยิ ภูมิ Secondary relationship ความเป็ นปึ กแผ่นทางอินทรีย ์ Organic solidarity สังคมทีป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม Agricultural Society สังคม/ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว Developed Countries
ความผูกพันแบบสังคม
ชนบท
สังคมเทคโนโลยีตา่ำ / สังคมชาวนา Gemeinschaft ความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิ Primary relationship ความเป็ นปึ กแผ่นของสังคมกลไก Mechanical solidarity สังคมทีไ่ ม่ได้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม Non-agricultural Society สังคม/ประเทศทีก่ าำ ลังพัฒนา Developing Countries
สรุป
แนวคิดสังคมต่างๆ ทำาให้เราได้เข้าใจสังคมมนุษย์มากยิ่งขึ้น เนื้อหาสาระของสังคมวิทยา มีลกั ษณะทีเ่ กี่ยวข้องกับการศึกษาสังคม มนุษย์ในหลายระดับ สังคมกับมนุษย์นน ั้ แยกออกจากกันไม่ได้ ความหมายของสังคม กลุม ่ คนทีม่ าอยูใ่ นพื้นทีเ่ ดียวกันความสัมพันธ์ที่ เกิดจากการกระทำาระหว่างกัน มีความรูส้ กึ เป็ นกลุม่ / พวกเดียวกัน โดยการยอมรับแบบแผนการดำาเนินชีวติ ของกลุม่ ** ลิงค์กิจกรรมสัปดาห์ที่2 (25/08/57) : ความเหลื่อมล้าำ http://www.youtube.com/watch?v=XFSHjBzFMF8
แนวคิดเกีย่ วกับสังคมและวัฒนธรรม แนวคิดเกีย่ วกับสังคม
แนวคิดเกีย่ วกับวัฒนธรรม
ความหมายของสังคม
ความหมายของวัฒนธรรม
องค์ประกอบของสังคม
ลักษณะของวัฒนธรรม
ลักษณะความอยู่รอดของสังคม
หน้าที่ของวัฒนธรรม
หน้าที่ของสังคม
ประเภทของวัฒนธรรม
ประเภทของสังคม
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและวัฒนธรรม
สรุป
แนวความคิดบางประการเกีย ่ วกับวัฒนธรรม สรุป
วัฒนธรรม ชีวต ิ ความเป็ นอยูใ่ นสังคมเป็ นเรือ่ งทีเ่ กี่ยวข้องกับวัฒนธรรม
แต่ละสังคมต้องมี วัฒนธรรม อันเนื่องมาจากวัฒนธรรมเป็ นเครือ่ งชี้แนวทางสำาคัญสำาหรับ พฤติกรรมหรือการกระทำาของมนุษย์
ความหมายของวัฒนธรรม (ภาษา) คำาว่าวัฒนธรรมมาจากภาษาบาลีสนั สกฤต คำาว่า “วัฒน” เป็ นภาษาบาลี แปลว่า ก้าวหน้า “ธรรม” เป็ นภาษาสันสกฤต หมายถึง คุณความดี เมื่อมารวมกันแล้ว “วัฒนธรรม” หมาย ถึง ลักษณะทีแ่ สดงถึงความเจริญงอกงาม วัฒนธรรม (ทัว่ ไป) บรรดาขนบธรรมเนียมประเพณีตา่ งๆ ทีต ่ กทอดมาตัง้ แต่ บรรพบุรุษ เช่น พิธี ... แห่เทียนพรรษา ทำาบุญสงกรานต์ ทอดกฐิน ฯลฯ ซึง่ ในบางครัง้ วัฒนธรรม หมายถึง พฤติกรรมทีบ่ ุคคลชัน้ สูง/ ผูท้ มี่ ีการศึกษา สูป่ ฏิบตั กิ นั ทำาให้มี การเปรียบเทียบระหว่างชนชัน้ สูงและคนชัน้ ต่าำ และถ้าคนชัน้ ต่าำ ทำาผิดวัฒนธรรม ก็มกั จะถูกกล่าวว่าเป็ นคนทีไ่ ม่มีวฒ ั นธรรม
วัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (ปกครอง) พระราชบัญญัตวิ ฒ ั นธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2485 ได้ กำาหนดความหมายของวัฒนธรรม คือ ลักษณะทีแ่ สดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้าของชาติ และศีลธรรมอันดี ของประชาชน วัฒนธรรม (สังคมศาสตร์) มีความแตกต่างจากความหมายของวัฒนธรรม ทีใ่ ช้กนั ทัว่ ไป เพราะนักสังคมศาสตร์พิจารณาถึงวัฒนธรรม ในแง่ของปั จจัย สำาคัญทีอ่ าำ นวยความสะดวกต่อการดำารงชีวติ ของมนุษย์ในสังคม โดยไม่ได้คาำ นึง ถึงเรือ่ ง คุณธรรม จริยธรรม ความดี/เลว ความเหมาะสม/ไม่เหมาะสม ยก ตัวอย่างเช่น ... วัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (สังคมศาสตร์) (1871) บิดาของสาขามานุษยวิทยาวัฒนธรรม ได้ให้ความหมาย ของวัฒนธรรมว่า วัฒนธรรม คือ ผลรวมของบรรดาสิง่ ต่างๆ ทีม่ ีความสลับซับ ซ้อน ทีป่ ระกอบด้วย ความเชือ่ ศิลปะ ศีลธรรม กฏหมาย ประเพณี อุปนิสยั ตลอดจนพฤติกรรมอืน่ ๆ ทีม่ นุษย์แสดงออกในฐานะทีเ่ ป็ นสมาชิกของสังคม กรีน (1972) นักสังคมวิทยาชาวอเมริกน ั ได้ให้ความหมายของวัฒธรรมคือ กระบวนการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม ให้บุคคลเกิดความรู ้ รูจ้ กั วิธีปฏิบตั ติ น ตลอดจนมีความเชือ่ ความเข้าใจ ผลผลิตทางศิลปะทัง้ หลาย และดำารงรักษา สิง่ เหล่านัน้ ไว้ หรือเปลีย่ นแปลงไปในเวลาทีห่ เมาะสม ลินตัน (1973) นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกน ั ได้ให้ความหมายของวัฒธรรม ไว้วา่ วัฒนธรรม เป็ นผลของความรู ้ ทัศนคติ แบบแผนพฤติกรรม ทีส่ มาชิกใน สังคม ใช้รว่ มกัน และถ่ายทอดไปยังสมาชิกรุน่ ต่อมาในสังคมใดสังคมหนึ่ง ไทเลอร์
ความหมายของวัฒนธรรม (สังคมศาสตร์) (1976) นักสังคมวิทยาชาวอเมริกนั ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรม ว่า วัฒนธรรมคือ แบบแผนพฤติกรรมทีเ่ กิดจากการเรียนรู ้ และเป็ นทีย่ อมรับ ปฏิบตั ริ ว่ มกันของสมาชิกในสังคม รวมทัง้ มีการถ่ายทอดไปสูส่ มาชิกรุน่ ต่อๆ มา พัทยา สายหู (2514) ได้ให้ความหมายของวัฒธรรมคือ แบบอย่างการดำารง ชีวติ ของกลุม่ คน ซึง่ สมาชิกเรียนรูแ้ ละถ่ายทอดด้วยการสัง่ สอน ทัง้ ทางตรงและ ทางอ้อม ไพทูรย์ เครือแก้ว (2515) ได้ให้ความหมายของวัฒธรรมไว้ 2 ประการคือ ประการที่ 1 วัฒนธรรม หมายถึง มรดกทางสังคมเป็ นลักษณะพฤติกรรมของ มนุษย์ทไี่ ด้สงั่ สมไว้ในอดีต และได้ตกทอดมาเป็ นสมบัตทิ ีม่ นุษย์ในปั จจุบนั ทีน่ าำ เอามาใช้ในการครองชีวติ ประการที่ 2 วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนแห่งการครองชีวติ
โรเจอร์
สรุป ความหมายของวัฒนธรรม สามารถสรุปความหมายของวัฒนธรรมได้ 2 ประเภท หนึ่ง วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดำาเนินชีวติ ในสังคม ศิลปะ ประเพณี ศีลธรรม กฏหมาย สอง วัฒนธรรม หมายถึง ระบบความคิด ความเชือ่ ความรู ้ เพื่อนำามากำาหนดรูปแบบพฤติกรรมต่างๆ ดังนัน ้ วัฒนธรรม หมายถึง วิถีแห่งการดำารงชีวติ ทีม่ นุษย์สร้างขึ้น รวมถึงระบบ ความคิด ความรู ้ ความเชือ่ ทีม่ นุษย์ได้อบรม ปฏิบตั ิ ถ่ายทอดไปสูส่ มาชิกรุน่ ต่อ มา และวัฒนธรรมเหล่านัน้ ได้มีการเปลีย่ นแปลงให้เข้ากับสภาพความเป็ นอยูข่ อง มนุษย์ในแต่ละยุคสมัย จากนิยามวัฒนธรรมข้างต้น
ลักษณะของวัฒนธรรม (1)
วัฒนธรรมในสังคมใดสังคมหนึ่ง มีลกั ษณะดังต่อไปนี้ 1. วัฒนธรรมเป็ นสิง่ จำาเป็ น (necessity) ่ นุษย์สร้างขึ้น (man made) 2. วัฒนธรรมเป็ นสิง่ ทีม 3. วัฒนธรรมต้องมีการยอมรับร่วมกัน (is shared) ่ อ้ งเรียนรู ้ (is learned) 4. วัฒนธรรมเป็ นสิง่ ทีต 5. วัฒนธรรมต้องมีการถ่ายทอด (is transmitted) 6. วัฒนธรรมของแต่ละสังคมมีความแตกต่างกัน (varieties) 6.1 วัฒนธรรมสัมพัทธ์ (cultural relativism) 6.2 อคติทางชาติพนั ธุ ์ (ethnocentrism)
ลักษณะของวัฒนธรรม (2) 7. 8. 9.
วัฒนธรรมเป็ นสิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงได้ (is changed) วัฒนธรรมอาจจะสลายได้ (dead culture) วัฒนธรรมเป็ นผลรวมของหลายๆ สิง่ หลายๆอย่าง (subculture/ integrative)
10.
วัฒนธรรมเป็ นมรดกสังคม (social heritage) ลักษณะชองวัฒนธรรมเป้ นสิง่ ทีม่ นุษย์สร้างขึ้น เพื่อตอบสนอง ความต้องการ และเป็ นทีย่ อมรับร่วมกันของสมาชิกในสังคม ทำาให้มนุษย์ได้เรียนรูจ้ ากการถ่ายทอดในฐานะสมาชิกของสังคม โดย วัฒนธรรมของแต่ละสังคมย่อมแตกต่างกันไปตามสภาวะแวดล้อมทางสังคม พร้อมทัง้ วัฒนธรรมเหล่านัน้ สามารถเปลีย่ นแปลงและสลายไปได้ เพราะ วัฒนธรรมเป็ นผลรวมของสิง่ ต่างๆ จนอาจกล่าวได้วา่ “วัฒนธรรมเป็ นมรดกทางสังคม”
หน้าที่ของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมมีหน้าทีอ่ ยูห่ ลายประการ ดังต่อไปนี้ 1. วัฒนธรรมเป็ นตัวกำาหนดรูปแบบสถาบันนทางสังคม ่ าำ หนดพฤติกรรมของบุคคลในสังคม 2. วัฒนธรรมทำาหน้าทีก 3. วัฒนธรรมเป็ นตัวกำาหนดค่านิยมของบุคคลในสังคม 4. วัฒนธรรมเป็ นแนวทางในการอบรมเลี้ยงดู และพัฒนาบุคลิกภาพแก่สมาชิกใหม่ ในสังคม 5. วัฒนธรรมเป็ นเครือ่ งหมายหรือสัญลักษณ์ 6. วัฒนธรรมเป็ นเครือ่ งมือในการควบคุมสังคม 7. วัฒนธรรมเป็ นตัวกำาหนดเป้ าหมายของชีวต ิ ของแต่ละบุคคลในสังคม
ประเภทของวัฒนธรรม (1) นักสังคมวิทยาแบ่งวัฒนธรรมเป็ น 2 ประเภทกว้างๆ กล่าวคือ 1. วัฒนธรรมด้านวัตถุ (material culture) 2. วัฒนธรรมทีไ่ ม่ใช่ดา้ นวัตถุ (non-material culture) 2.1 วัฒนธรรมความคิด (ideal culture) 2.2 วัฒนธรรมด้านบรรทัดฐาน (norms) นักสังคมวิทยาและมานุษยวิทนาบางท่านแบ่งประเภทวัฒนธรรมออกเป็ น 4ประเภท คือ 1. วัฒนธรรมด้านวัตถุ (material culture) 2. วัฒนธรรมด้านสังคม (non-material culture) 3. วัฒนธรรมด้านกฏหมาย (legal culture) 4. วัฒนธรรมด้านจิตใจและศีลธรรม (moral culture)
ประเภทของวัฒนธรรม (2) นักสังคมวิทยาแบ่งวัฒนธรรมเป็ น 7 ประเภท ดังนี้ 1. ภาษา (language) 2. ศาสนาและอุดมการณ์ (religion and idealogy) 3. ระบบเศรษฐกิจ (economic system) 4. จริยธรรม (ethic) 5. ค่านิยม (value) 6. อำานาจโดยชอบธรรม (authority) 7. ศิลปะและสุนทรียศาสตร์ (art and aesthetics)
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและวัฒนธรรม (1) สังคม-มนุษย์ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ
มนุษย์จาำ เป็ น ต้องดำารงชีวติ ร่วมกับผูอ้ ืน่ ในสังคม ไม่สามารถดำารงชีวติ อย่างโดดเดีย่ ว แต่ ลำาพังเพียงผูเ้ ดียวได้ ดังนัน้ เมื่อมีคนรวมกัน มีการติดต่อสัมพันธ์กนั จึง จำาเป็ นต้องมีระเบียบกฏเกณฑ์ทีม่ นุษย์ได้สร้างและยอมรับ เพื่อมาใช้ในการดำารง ชีวติ ร่วมกัน ซึง่ กฏระเบียบเหล่านัน้ เรียกรวมกันว่า วัฒนธรรม
สังคมได้สร้างวัฒนธรรมให้มนุษย์ได้ดาำ เนินชีวต ิ อย่างสมบูรณ์ เนื่องมาจากว่า
วัฒนธรรมเป็ นหลักในการดำาเนินชีวติ จึงถือได้วา่ สังคมและวัฒนธรรม มีความหมายและความสำาคัญต่อวิถีชวี ติ ของมนุษย์
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและวัฒนธรรม (2)
สังคม – กลุม่ คนทีม่ ีความสัมพันธ์ตดิ ต่อระหว่างกัน วัฒนธรรม – แบบแผนและวิธีการต่างๆ แห่งการดำาเนินชีวติ สังคมใดทีไ่ ม่มีวฒ ั นธรรม สังคมนัน้ จะมีสภาพไม่ตา่ งจากสังคมของสัตว์ ไม่มี ระเบียบแบบแผนในการดำาเนินชีวติ เพราะมนุษย์รูจ้ กั สร้างวัฒนธรรม ทำาให้สงั คมมนุษย์สูงกว่าการรวมกลุม่ ของสัตว์ วัฒนธรรมนัน ้ จะอยูโ่ ดยปราศจากสัวคมไม่ได้เช่นกัน เพราะมนุษย์อยูใ่ นสังคมเพื ่อ ทีจ่ ะสร้างวัฒนธรรมขึ้นมา ฉะนัน ้ เมื่อสังคมมนุษย์เกิดขึ้น ย่อมมีวฒั นธรรมเกิดขึ้นเช่นกัน ทัง้ สังคมและ วัฒนธรรมต่างก็เป็ นเครือ่ งอำานวยความสะดวกสบายในการดำาเนินชีวติ ของมนุษย์
แนวความคิดบางประการเกีย่ วกับวัฒนธรรม (1) การศึกษาเรือ ่ งวัฒนธรรมจะทำาให้เข้าใจการดำารงอยูข่ องมนุษย์ในสังคมต่างๆ
ได้อย่างถูกต้อง แนวความคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมทีจ่ ะช่วยให้เข้าใจสภาพ ความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ในสังคมมากยิง่ ขึ้น มีดงั ต่อไปนี้ 1. วัฒนธรรมสากล (universal culture) 2. เขตวัฒนธรรม (culture area) 3. การเลือกทางวัฒนธรรม (alternative culture) 4. วัฒนธรรมเฉพาะ (specialties culture) 5. วัฒนธรรมอุดมคติ (ideal culture) 6. วัฒนธรรมความเป็ นจริง (real culture)
แนวความคิดบางประการเกีย่ วกับวัฒนธรรม (2) 7.
วัฒนธรรมย่อย (subculture)
7.1 วัฒนธรรมย่อยทางชาติพนั ธุ ์ (ethnic subculture) 7.2 วัฒนธรรมย่อยทางภูมิภาค (regional subculture) 7.3 วัฒนธรรมย่อยทางอายุ (age subculture) 8. 9.
วัฒนธรรมต่อต้าน (counter culture) ความล้าหลังทางวัฒนธรรม (cultural lag)
9.1 อัตราการเปลีย่ นแปลงทีไ่ ม่เท่ากัน ระหว่างวัฒนธรรมทางวัตถุดว้ ยกัน 9.2 อัตราการเปลีย่ นแปลงทีไ่ ม่เท่ากัน ระหว่างวัฒนธรรมทางวัตถุ กับวัฒนธรรมทีไ่ ม่ใช่วตั ถุ
แนวความคิดบางประการเกีย่ วกับวัฒนธรรม (3) การช็อคทางวัฒนธรรม (cultural shock) 10.1 ขัน้ ฟักตัว (incubation stage) 10.2 ขัน้ วิกฤต (crisis stage) 10.3 ขัน้ ฟื้ นตัว (recovery stage) 10.4 ขัน้ ยอมรับ (adjustment stage) 11. วัฒนธรรมสัมพัทธ์ (cultural relativity) 12. อคติทางชาติพน ั ธุ ์ (ethnocentrism) 13. ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม (cultural conflict) 14. การผสมผสานทางวัฒนธรรม (acculturation) 10.
สรุป
วัฒนธรรม คือ แบบแผนการดำารงชีวติ ของมนุษย์ในสังคม ลักษณะของวัฒนธรรม ชี้ให้เห็นถึงสิง่ ทีม่ นุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อสนองความ ต้องการหรือความเป็ นพื้นฐานของสมาชิกในสังคม หน้าทีข่ องวัฒนธรรม ช่วยในการกำาหนดรูปแบบสถาบัน และพฤติกรรมของ สมาชิกในสังคม ค่านิยมส่วนบุคคล บุคลิกภาพ สัญลักษณ์ และเป้ าหมาย แห่งชีวติ ประเภทของวัฒนธรรม ทัง้ ส่วนทีเ่ ป็ นวัตถุและไม่ใช่วตั ถุ ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและวัฒนธรรม มีความสัมพันธ์กนั เป็ นเครือ่ ง อำานวยความสะดวกในการดำาเนินชีวติ แนวคิดบางประการเกี่ยวกับวัฒนธรรม