งานโปรเจค1: เทคนิคการวิจัยภาคสนาม

Page 1

บทที่ 4 เทคนิควิธีการศึกษาภาคสนาม วิธีการศึกษาชุมชน ในการศึกษาชุมชนมีวิธีการศึกษาอยูหลายวิธี แตที่สําคัญมีดังนี้ 1. การสังเกต 2. การสัมภาษณ 3. การสนทนากลุม 4. การใชขอมูลเอกสาร 5. การเขาสนาม 6. การศึกษาแบบผสมผสาน 1. การสังเกตการณ (Observation) การสังเกตการณ เปนเครื่องมือในการรวบรวมขอมูลอีกอยางหนึ่งที่นักวิจัยเชิงคุณภาพนิยมกัน ซึ่งจะตองอาศัยการฝกฝนวิธีการสังเกตการณนั้น เพื่อที่จะเขาใจลักษณะธรรมชาติและขอบเขตของการ เกี่ยวของสัมพันธระหวางองคประกอบตาง ๆ ของปรากฏการณทางสังคม และพฤติกรรมของมนุษย ซึ่งจะ เปนสวนหนึ่งของสมาชิกในสังคม ดังนั้นการสังเกตการณจึงตองอาศัยการสังเกตดวยตา หู สัมผัส ที่อาการ ทั้ง 5 สามารถจะทําการสังเกตการณได 1.1 ประเภทของการสังเกตการณ แบงออกได 3 ประเภทดังนี้ 1.1.1การสังเกตการณอยางมีสวนรวมอยางใกลชิด (Participant Observation) เปนวิธีที่ผู ศึกษาเขาไปมีสวนรวมเปนสวนหนึ่งของชุมชน หรือกลุมที่ทําการศึกษา เชน การศึกษาประวัติศาสตร หมูบาน 1.1.2การสังเกตการณแบบไมมีสวนรวมอยางใกลชิด (Non-Participant Observation) เปน วิธีที่ผูศึกษาไมไดเขาไปมีสวนรวมเปนสวนหนึ่งของชุมชนหรือกลุมที่ทําการศึกษา เปนเพียงเขาไปเฝา พฤติกรรม ทางสังคม เชน การสังเกตการเด็กกําลังเลมเกมสตาง ๆ ผูศึกษาเขาไปดูพฤติกรรมของเด็กที่กําลัง เลนเกมสเหลานั้น การสังเกตการณดังกลาวสามารถแบงไดเปน 3 ชนิด 1) การสังเกตการณอยางมีโครงสราง (Structured Observation) เปนการสังเกตการณที่ เปนระบบ ผูศึกษาทราบถึงวัตถุประสงคของการสังเกตการณ ผูศึกษาจึงมีการเตรียมการสิ่งที่ตองการสังเกต ไวลวงหนา ขอมูลที่ตองการศึกษา และวิธีการวิเคราะหทําใหสามารถที่จะสังเกตการณอยางเปนระบบ


34

2) การสังเกตการณอยางไมมีโครงสราง (Unstructured Observation) เปนการสังเกตการณ ที่ผูศึกษาไดเตรียมวัตถุประสงคของการสังเกตการณไวลวงหนา เนื่องจากการสังเกตการณแบบนี้เปนการ สังเกตพฤติกรรมของมนุษยที่แสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของสังคม พฤติกรรมที่ แสดงออกจึงเปนไปตามตามเงื่อนไขของบุคคลนั้น ผูศึกษาไมอาจจะเตรียมการไวลวงหนาได เชน ผูศึกษา ไปสังเกตพฤติกรรมการบริโภคในชุมชน พฤติกรรมของแตละคนแตละครอบครัวยอมจะแตกตางกันไป ไม อาจจะตั้งเปนกฎเกณฑตายตัวได 3) การสังเกตการณในหองปฏิบัติการ (Laboratory Observation) เปนการสังเกตการณใน สถานการณที่ผูศึกษาไดกําหนดไว อาจจะใชวิธีการสังเกตการณผานหองกระจกที่มอง ดานเดียว เพื่อมิ ใหผูถูกสังเกตรูตัว 1.2 บทบาทของนักพัฒนาในสนาม นักพัฒนาที่จะเขาไปศึกษาในชุมชนหรือกลุมคนตามที่ไดเลือกนั้น จะตองคํานึงถึงบทบาทที่จะ อาศัยอยูในชุมชน บทบาทมีอยูหลายบทบาท แลวแตจะไดเลือกบทบาทหนึ่งหรือหลาย ๆ บทบาท ซึ่ง บทบาทของการสังเกตการณในสนามมีอยู 4 บทบาท 1.2.1 ผูมีสวนรวมอยางสมบูรณ (Complete Participant) บทบาทในลักษณะนี้ คือ ประชากรที่อาศัยอยูในชุมชนไมรูวาผูศึกษาไดเขามาศึกษาในชุมชน โดยผูสังเกตจะมีปฏิสัมพันธกับผูถูก สังเกตตามธรรมชาติ มีสวนรวมในการทํางาน มีทัศนคติรวมกัน และมีความคุนเคยกับชีวิตคนในชุมชนนั้น 1.2.2 ผูมีสวนรวมเปนผูสังเกตการณ (Participant – as – Observer) บทบาทนี้เหมือนกับ ขอแรกที่ผูศึกษาและประชากรในชุมชนนั้นมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน ผูศึกษาจะมีสวนรวมในเหตุการณ หรือพิธีกรรมตาง ๆ พยายามสังเกตพฤติกรรมตาง ๆ ในดานที่ เกี่ยวกับชีวิตความเปนอยูในเรื่องที่จะศึกษา แตตางกันที่ประชากรในชุมชนรูวาตนถูกสังเกต บทบาทนี้ใชกันมากในวิธีการของการสังเกตการณดวย การมีสวนรวมอยางใกลชิด 1.2.3 ผูสังเกตการณอยางมีสวนรวม (Observer - as - Participant ) บทบาทนี้ผูศึกษาเปนผู สังเกตการณ โดยไมไดบอกวัตถุประสงคของการศึกษาใหประชากรในชุมชนไดทราบ โดยจะสังเกตการณ อยูตลอดเวลาและเขาไปมีสวนรวมในเหตุการณหรทอพิธีกรรมตาง ๆ มีการตีความจากการสังเกตการณดวย ตนเอง 1.2.4 ผูสังเกตการณอยางสมบูรณ (Complete Observer) บทบาทของผูศึกษาที่จะเขาไป สังเกตพฤติกรรมของประชากรในชุมชน โดยไมไดบอกวัตถุประสงคของการศึกษา เพราะมีขอสมมติวาถา บอกตามความเปนจริงแลว ประชากรในชุมชนนั้นอาจจะไมใหขอมูลตามความเปนจริงขอมูลที่ไดจึงไม นาเชื่อถือเทคนิคนี้ผูสังเกตการณจะไมมีปฏิสัมพันธกับผูถูก สังเกตการณ 1.3 ขอดีและขอจํากัดของการสังเกตการณ บุญธรรม จิตตอนันต (2536) ไดสรุปขอดีและขอจํากัดของการสังเกตการณไวดังนี้


35

1.3.1 ขอดีของการสังเกตการณ 1. สามารถสังเกตการณหรือบันทึกพฤติกรรมไดทันทีที่เกิดขึ้น 2. สามารถไดขอมูลที่แนนอนตรงกับสภาวการณจริงของพฤติกรรมนั้น 3. สามารถดําเนินการหรือเกบขอมูลไดมากกวาวิธีอื่นในกรณีที่เกิดความไมเต็ม ใจจะใหขอมูลจากบุคคลหรือกลุมคน 1.3.2 ขอจํากัดของการสังเกตการณ 1. ไมสามารถที่จะทํานายไดอยางแนชัดวา เหตุการณหนึ่ง ๆ จะเกิดตาม ธรรมชาติเมื่อใด จึงจะสังเกตการณไดทัน 2. มีปญหาดานปจจัยสอดแทรกที่ไมคาดคิดมากอน เชน การจราจร การจลาจล ความแปรปรวนของดินฟาอากาศ ฯลฯ ทําใหการสังเกตการณไมไดผลสมบูรณ 3. ปญหาระยะเวลาของเหตุการณ เชน จะศึกษาประวัติชีวิตบุคคลโดยวิธีนี้ก็จะ ลําบากมาก 4. การสังเกตการณมีขอจํากัดในเรื่องกฎเกณฑหรือมารยาท เชน การเขาไป สังเกตการณ การรับประทานอาหาร การสนทนา หรือการทะเลาะกันภายในบานบุคคลอื่น ฯลฯ 2. การสัมภาษณ (Interview) การสัมภาษณ เปนการศึกษาชุมชนอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งเปนเครื่องมือที่รวบรวมขอมูลแบบเผชิญหนา กัน 2.1 ลักษณะของการสัมภาษณ การสัมภาษณจะเกิดขึ้นเมื่อมีการกระทําหรือความสัมพันธตอกันระหวางผูสัมภาษณและผูให สัมภาษณ ทําใหทราบลักษณะทั่วไปของบุคลิกภาพ ทัศนคติ คานิยม และอื่น ๆ จากการแสดงอารมณืหรือ พฤติกรรมออกมาระหวางการสัมภาษณ ลักษณะของการสัมภาษณที่ดีควรตองคํานึงถึงเรื่องตอไปนี้ 2.1.1 ผูสัมภาษณ ผูสัมภาษณอาจจะเปนผูศึกษาและหรือบุคคลอื่นที่ผูศึกษาไดคัดเลือก เปนผูสัมภาษณ ซึ่งจําเปนตองมีการไดรับการฝกฝนวิธีการสัมภาษณ ผูสัมภาษณจะตองเขาใจวัตถุประสงค ไดถูกตองของเรื่องที่จะทําการศึกษาอยางละเอียด เพื่อใหสามารถจะซักถาม ผูใหสัมภาษณตอบตาม วัตถุประสงคไดถูกตอง บางครั้งผูสัมภาษณมีตําแหนงหรือบุคลิกภาพสวนตัวที่ทําใหผูใหสัมภาษณใหขอมูล ผิด ๆ เชน ผูสัมภาษณเปนพนักงานสํารวจภาษีจากกระทรวงการคลัง ผูใหสัมภาษณที่ดอยการศึกษาอาจจะ ใหขอมูลที่บิดเบือนความจริงไดเพราะเขาใจวาขอมูลตาง ๆ ที่สัมภาษณจะนําไปเก็บภาษี 2.1.2 ผูใหสัมภาษณ ผูใหสัมภาษณ เปนบุคคลที่สําคัญในการใหขอมูลที่แทจริง ปจจัย สิ่งแวดลอม วัฒนธรรมและประเพณีของผูใหสัมภาษณ ยอมมีผลตอการตอบคําถามาตลอดจนระบบความ เชื่อ คานิยมของผูใหสัมภาษณ อาจจะทําใหผูใหสัมภาษณสามารถที่จะแสดงออกในการตอบคําถาม


36

หรือไมกลาที่จะตอบคําถาม เชน หากการศึกษาเรื่องการวางแผนครอบครัว ผูใหสัมภาษณที่เปนสตรีอาจจะ อายไมกลาตอบ ซึ่งเปนไปตามวัฒนธรรมของชุมชน 2.2 ประเภทของการสัมภาษณ 2.2.1 แบงตามวัตถุประสงคของการศึกษา อาจแบงไดเปน 4 ประเภท 1. การสัมภาษณแบบเจาะจง (Focused Interview) เปนการสัมภาษณที่เจาะจง หัวขอ เรื่องที่ตองการขอมูล เชน การสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวกับสถานการณใดสถานการณหนึ่ง โดยเฉพาะจากการ ดูภาพยนตร การสัมภาษณประสบการณสวนตัวของแตละบุคคลในเรื่อง ทัศนคติ คานิยม ในเรื่องที่ ตองการศึกษา 2. การสัมภาษณที่ไมกําหนดคําตอบลวงหนา (Non – directive Interview) เปนวิธีการ สัมภาษณที่ผูใหสัมภาษณสามารถตอบไดตามอิสระที่ตองการ โดยผูสัมภาษณเปนเพียงผูฟงมากกวาเปนผู ซักถาม เชน การสัมภาษณของนักจิตวิทยาตอผูปวย 3. การสัมภาษณแบบลึกซึ้ง หรือแบบเจาะลึก (Indepth Interview) เปนวิธีการ สัมภาษณที่ตองการรายละเอียดมากที่สุดในเรื่องที่ผูศึกษาตองการ การสัมภาษณแบบลึกซึ้งจะเกิดขึ้นไดเมื่อ ผูใหสัมภาษณมีความคุนเคยและใหคําตอบมากที่สุด และมีมากกวาที่ผูสัมภาษณไดเตรียมขอมูลเพื่อที่จะ สัมภาษณ เชน การสัมภาษณชีวประวัติบุคคลตาง ๆ 4. การสัมภาษณซ้ํา (Repeated Interview) เปนวิธีการศึกษาแบบการศึกษาซ้ํา (Panel study) จึงตองมีการสัมภาษณซ้ําเปนครั้งที่สอง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจะศึกษาความเปลี่ยนแปลง เชน การ สัมภาษณพฤติกรรมการบริโภคกอนแและหลังในเรื่องอาหารสุกเปนอยางไร 2.2.2 การแบงตามเทคนิคการสัมภาษณ แบงไดเปน 3 ประเภทใหญ ๆ ดังนี้ 1. การสัมภาษณอยางมีโครงสราง (Structured Interview) เปนการสัมภาษณที่ผูถูก สัมภาษณถามคําถามตาง ๆ ที่มีไวในแบบสัมภาษณ โดยไมสามารถที่จะดัดแปลงเปนคําถามอื่น ๆ ได เปน การสรางมาตรฐานเดียวกันกับการสัมภาษณบุคคลอื่น ๆ เพื่อชวยลดอคติของการสัมภาษณแตละบุคคล อาจจะแบงยอยเปน 2 ชนิด 1.1 การสัมภาษณตามแบบสอบถาม (Interview Schedule) เปนการสัมภาษณตาม แบบสอบถาม โดยมากมักจะนําไปสัมภาษณชาวบานซึ่งไมมีความรูความสามารถที่จะเขาใจแบบสอบถามที่ จะตองกรอกดวยตนเอง จึงมีการนําแบบสอบถามไปสัมภาษณ อาจจะมีความยืดหยุนในการสัมภาษณในแต ละคําถาม เพื่อใหผูใหสัมภาษณตอบ คําถามที่ตรงกับวัตถุประสงคของการศึกษา 1.2 การสัมภาษณตามแบบคําถามที่กําหนดไว (Questioned Interview) เปนการ สัมภาษณแบบคําถามตาง ๆ ที่มีไวโดยไมมีการดัดแปลงการสัมภาษณแตอยางไร เชน การสํารวจ สํามะโนประชากร การสํารวจสํามะโนในธุรกิจ และอื่น ๆ 2. การสัมภาษณอยางไมมีโครงสราง (Unstructured Interview) เปนการสัมภาษณที่ ไมมีขอบเขตของคําถามที่แนนอน มีเพียงแตแนวทางกวาง ๆ เปนแนวทางการสัมภาษณ (Interview guide)


37

ซึ่งสรางขึ้นเปนประเด็นหรือหัวขอในการสัมภาษณ สัมภาษณโดยไมใชแบบสอบถาม แคมีกรอบคําถาม เปนแนวทางในการสัมภาษณ เพื่อใหไดขอมูลที่ตองการโดยผูศึกษาจะกําหนดวาตองการอะไร และกําหนดหัวขอยอยหรือประเด็น คําถาม เชน ประวัติหมูบาน การประกอบอาชีพ ในแตละประเด็น คําถามจะมีการแจกแจงคําถามยอย ๆ ผูสัมภาษณจะพูดคุยถามประเด็นคําถามที่ไดเตรียมไวนั้น โดยใช คําถามหลัก ๆ ไดแก ใคร อะไร ที่ไหน อยางไร เทาไร และทําไม 3. การสัมภาษณอยางไมมีโครงสราง (Unstructured Interview) เปนการสัมภาษณการ สัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง (Semi- structured Interview) เปนการสัมภาษณที่ประกอบดวยคําถามตาง ๆ ใน แบบสอบถามแตสามารถที่จะปรับเปลี่ยน เพิ่มเติมเพื่อใหเกิดความชัดเจนของคําตอบได 2.3 หลักการสัมภาษณ หลักการสัมภาษณที่ดีควรจะมีขั้นตอนตาง ๆ ดังตอไปนี้ 2.3.1 การแนะนําตัว (Introduction) ผูสัมภาษณจะตองแนะนําตัวเองเสียกอน เพื่อใหผูให สัมภาษณไดทราบและคุนเคย อยางไรก็ตามผูสัมภาษณจะตองสังเกตสิ่งแวดลอมของผูใหสัมภาษณวามี ความพรอมที่จะใหสัมภาษณหรือไม เชน ผูใหสัมภาษณกําลังทําอาหารเชาก็ไมควรที่จะทําการสัมภาษณ จึงตองพิจารณาความเหมาะสมของระยะเวลาและสถานที่ 2.3.2 การสรางความสัมพันธที่ดี (Good Relationship) ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่ผูสัมภาษณ จะตองสรางความคุนเคย มีมนุษยสัมพันธอันดีตอผูใหสัมภาษณ จึงเปนเทคนิคเฉพาะของผูสัมภาษณแตละ คนจะมีความสามารถที่จะสรางความเปนกันเองอยางไรเพื่อใหผูใหสัมภาษณมีความพรอมและพอใจในการ ตอบคําถามจากการสัมภาษณ เทคนิคนี้จึงเปนศิลปะที่ผูสัมภาษณจะตองไดรับการฝกฝน เชน ถาหากผูให สัมภาษณกําลังทําอาหารเชากําลังจะเสร็จ ผูสัมภาษณควรที่จะหาโอกาสชวยเหลือเล็ก ๆ นอย ๆ เพื่อสราง ความคุนเคยและเปนกันเองใหเกิดขึ้น 2.3.3 การเขาใจวัตถุประสงค (Objectives) ผูสัมภาษณจะตองมีความเขาใจวัตถุประสงคของ คําถามที่กําหนดขึ้นเพื่อที่จะทําใหเกิดความเขาใจในการซักถามประกอบการสัมภาษณ รวมทั้ง ผู สัมภาษณควรจะบอกวัตถุประสงคของการสัมภาษณแกผูใหสัมภาษณเพื่อใหเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้นอาจจะ บอกวัตถุประสงคในชวงแรกของการแนะนําตัว 2.3.4 การจดบันทึก (Take Note) ผูสัมภาษณจะตองเตรียมการจดบันทึกในขณะที่จะทําการ สัมภาษณ การจดบันทึกลงในสมุดบันทึกหรือลงในแบบสัมภาษณอยางมีโครงสรางที่กําหนดขึ้นเปนการจด บันทึกเพื่อใหคําตอบที่ไดจากการสัมภาษณถูกบันทึกลงอยางเรียบรอย ขั้นตอนนี้ผูสัมภาษณจะตองมีความ ตั้งใจในการฟงการสัมภาษณ เพื่อจะไดขอมูลที่แทจริง 2.3.5 การสัมภาษณ (Interview) ผูสัมภาษณจะตองมีการเตรียมการลวงหนาในการสัมภาษณ จะตองไดรับการฝกฝนเทคนิคและวิธีการสัมภาษณในระหวางการสัมภาษณ ดังตอไปนี้ 1) การสังเกตการณ (Observing) ผูสัมภาษณจะตองสังเกตกริยาทาทางของผูใหสัมภาษณ รวมทั้งสิ่งแวดลอม บรรยากาศตาง ๆ และความเบื่อหนายหรือความสนใจที่ใหคําตอบ บางครั้ง ผูให


38

สัมภาษณจะตองมีทคนิคในการแกไขปญหาเฉพาะหนาเพื่อทําใหผูใหสัมภาษณมีความสนใจในเรื่องที่จะ สนทนาซักถาม 2) การฟง (Listening) ผูสัมภาษณที่ดีควรจะตองเปนผูฟงที่ดี ยอมรับฟงคําสนทนาบอก เลาจากผูใหสัมภาษณ แมวาเปนเรื่องราวที่ยาว หรือบางครั้งเปนเรื่องที่ไมเกี่ยวของกับเรื่องที่ซักถามก็ตาม 3) การซักถาม (Questioning) ผูสัมภาษณควรที่จะตองรูจักการใชคําถามซักถาม โดยถาม คําถามงาย ๆ ที่ทําใหผูใหสัมภาษณเกิดความเขาใจ 4) การถามซ้ํา (Probing) ผูสัมภาษณควรที่จะตองถามซ้ําเพื่อเปนการกระตุนใหไดคําถาม ที่ถูกตองตรงประเด็นมากขึ้น ดดยทั่วไปการถามซ้ํามีวัตถุประสงคเพื่อที่จะใหผูสัมภาาณใหคําตอบที่ สมบูรณ (Completion probe) ชัดเจน (Clarity probe) มีรายละเอียดตอเนือ่ ง (Channel probe) เพือ่ การ พิสูจนสมมติฐาน (Hypothetical probe) และการไดรับปฏิกิริยาตอบ (Reaction probe) มากยิ่งขึ้น 2.3.6 การกลาวขอบคุณ (Thanks) เมื่อเสร็จสิ้นการสัมภาษณ ผูสัมภาษณควรจะกลาวขอบคุณ แกผูใหสัมภาษณเปนการอําลา และขอบคุณที่ไดเสียสละเวลาในการสัมภาษณ เปนการแสดงออกถึง มารยาทที่ดี การสัมภาษณที่ดีในแตละครั้งไมควรเกิน 1 ชั่วโมง การสัมภาษณที่เหมาะสมควรอยูใน ระหวาง 30 – 45 นาที (สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, 2538.) 2.4 ขอดีและขอจํากัดของการสัมภาษณ บุญธรรม จิตตอนันต (2536) ไดอธิบายขอดีและขอจํากัดของการอธิบายไวดังนี้ 2.4.1 ขอดีของการสัมภาษณ 1. ผูสัมภาษณมีโอกาสไดสังเกตและศึกษาสภาพการณ ตลอดจนปฏิกิริยาตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ 2. ไดคําตอบที่แนชัดสมบูรณ เพราะสามารถอธิบายขอสงสัยตาง ๆ ใหแกผูตอบได 3. สามารถเก็บขอมูลได แมผูตอบจะมีการศึกษาต่ําหรือเปนผูที่อานไมออกเขียน ไมได 4. โอกาสที่จะไดขอมูลมีสูงมากเพราะผูตอบสวนใหญยินดีใหความรวมมือ 2.4.2 ขอจํากัดของการสัมภาษณ 1. คาใชจายคอนขางสูง 2. มีปญหาเกี่ยวกับการฝกใหคําแนะนําผูที่ออกไปสัมภาษณ การติดตามและควบคุม การสัมภาษณ 3. จะมีอคติหรือความลําเอียงของผูสัมภาษณ 4. ตองใชเวลาและแรงงานมาก 3. การสนทนากลุม (Focus group)


39

การสนทนากลุมเปนวิธีการศึกษาชุมชนอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดเงินและเวลา แตตองการมีการ วางแผนเตรียมการอยางเหมาะสม และเรื่องที่สนทนากลุมนั้นเปนเรื่องที่กลุมใหความสนใจดวย การ สนทนากลุม จึงเปนการนั่งสนทนากันระหวางผูใหสัมภาษณเปนกลุมตามปกติประมาณ 6 – 12 คน แตใน บางกรณีอาจมีขอยกเวนใหมีไดประมาณ 4-5 คน ในระหวางการสนทนาจะมีผดู าํ เนินการสนทนา (Moderator) เปน ผูคอยจุดประเด็นการสนทนา เพื่อเปนการชักจูงใจใหบุคคลกลุมนี้ไดแสดงความคิดเห็นตอ ประเด็นหรือแนวทางในการสนทนาใหไดกวางขวางลึกซึ้งและละเอียดที่สุดเทาที่จะทําไดและตองสราง บรรยายกาศที่เปนกันเองดวย เพื่อที่ใหไดขอมูลในลักษณะที่มีเนื้อหาสาระเปนขอมูลเชิงคุณภาพ 3.1 องคประกอบในการจัดสนทนากลุม 3.1.1 บุคลากรที่เกี่ยวของ 1. ผูดําเนินการสนทนา (Moderator) ผูดําเนินการสนทนาจะตองเปนผูที่พูดและ ฟงภาษาทองถิ่นได เปนผูมีบุคลิกดี สุภาพ ออนนอม และมีมนุษยสัมพันธดี ผูดําเนินการสนทนาจะตอง เปนผูรูความตองการและวัตถุประสงคของการศึกษาชุมชนในแตละครั้งเปนอยางดี 2. ผูจดบันทึกการสนทนา (Notetaker) ผูจดบันทึกการสนทนาจะตองรูวิธีวา ทําอยางไรจึงจะจดบันทึกไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะจะตองจดบันทึกบรรยากาศที่เกิดขึ้นในระหวาง การสนทนาดวย 3. ผูชวย (Assistant) ผูชวยจะเปนผูทําหนาที่ชวยเหลือทั่วไปในขั้นเตรียมการ การจัดสนทนากลุม เชนเตรียมสถานที่ จัดสถานที่ บันทึกเสียง เปนตน 3.1.2 แนวทางในการเตรียมการสนทนากลุม ควรตองจัดแนวทางในการสนทนากลุม และการจัดลําดับหัวขอในการสนทนา ในทางปฏิบัติอาจยืดหยุนได จากบรรยากาศในการสนทนาที่เกิดขึ้น ซึ่งผูดําเนินการสนทนา อาจจะไดประเด็น ซึ่งไมไดคาดคิดเอาไวกอน จากผูเขารวมสนทนา ผูดําเนินการ สนทนา สามารถซักตอได 3.1.3 อุปกรณสนาม อุปกรณสนามที่ควรเตรียม ไดแก เครื่องบันทึกเสียง เทปเปลา ถานวิทยุ สมุดบันทึก และดินสอ เปนตน 3.1.4 แบบฟอรมสําหรับคัดเลือกผูเขารวมสนทนากลุม ควรจัดเตรียมแบฟอรมสําหรับ คัดเลือกผูเขารวมสนทนากลุมไวดวย 3.1.5 สงเสริมสรางบรรยากาศ สงเสริมสรางบรรยากาศ เชน เครื่องดื่ม ของขบเคี้ยว บุหรี่ สิ่งของดังกลาว จะเปนสิ่งที่เสริมสรางบรรยากาศความเปนกันเอง ระหวางผูมีสวนรวมในการสนทนา ได รวดเร็วยิ่งขึ้น 3.1.6 ของสมนาคุณแกผูที่รวมสนทนา เพื่อเปนการตอบแทนผูเขารวมสนทนาแมจะเปน สิ่งที่เล็กนอย แตในทางจิตวิทยาแลว เปนสิ่งสําคัญมากสําหรับการแสดงออกซึ่งความมีน้ําใจของผูที่ทําการ สนทนา


40

3.1.7 สถานที่และระยะเวลา อาจจะเปนบาน ศาลาวัด ใตรมโพธิ์ ที่มีอากาศถายเท สะดวก หางไกล จากความพลุกพลาน เพื่อใหผูเขารวมสนทนาไดมีสมาธิในเรื่องตาง ๆ ที่กําลังสนทนา สวนระยะเวลาในการสนทนาโดยทัว่ ไปไมควรเกิน 2 ชั่วโมงตอ 1 กลุม 3.2 ขอดีของการจัดสนทนากลุม 3.2.1 เนื่องจากผูที่ศึกษาชุมชนเปนผูดําเนินการสนทนากลุม ดังนั้นการที่ผูรวมสนทนา เขาใจผิด ประเด็นที่สนทนา ผูดําเนินการสนทนาแกไขไดทันที เพราะเปนผูที่รูถึงความตองการและ วัตถุประสงคของการศึกษาในเรื่องนั้น ๆ เปนอยางดี 3.2.2 ในการจัดสนทนากลุม ผูเขารวมสนทนาจะมีลักษณะความเปนอยูใกลเคียงกัน จึง ไมคอยรูสึกขัดเขินหรือมีความยําเกรง 3.2.3 ลักษณะการสนทนากลุม เปนการเปดโอกาสใหมีปฏิกิริยาโตตอบกัน ทําใหผูทํา การศึกษาสามารถวิเคราะหประเมินปญหาตาง ๆ ไดชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถาหากในประเด็นตาง ๆ ยังไม ชัดเจน เพียงพอ ก็สามารถซักถามตอเพื่อหาคําอธิบายได 3.2.4 บรรยากาศในกลุมสนทนา จะลดความกลัววาความคิดเห็นของแตละคนจะเปน เปาหมายในการถูกบันทึกเอาไว ทั้งนี้เพราะเปนการแสดงความคิดเห็นในลักษณะกลุมมากกวา 3.3 ขอจํากัดของการสนทนากลุม 3.3.1 การจัดสนทนากลุมทุกครั้งตองระวังมิใหเกิดการผูกขาดการสนทนาขึ้นโดยบุคคล หนึ่งในกลุมและไปครอบงําผูรวมสนทนาคนอื่น ๆ โดยผูดําเนินการสนทนาจะตองมีเทคนิคในการที่จะให ความสําคัญกับผูรวมสนทนาใหเทา ๆ กันทุกคน 3.3.2 พฤติกรรมหรือความคิดเห็นบางอยาง ซึ่งเปนสวนที่ไมยอมรับของชุมชนอาจจะ ไมไดรับการเปดเผยในการจัดสนทนากลุม ถาหากไมสัมภาษณตัวตอตัวจะไดรับการเปดเผยมากกวา ผูที่จะทําการสนทนากลุมจะตองคํานึงถึงบุคลากรและกําลังงบประมาณที่มีอยุประกอบดวย เชน สามารถพูดภาษาทองถิ่นได (ภาณี วงษเอก,2533) 4. การใชขอมูลเอกสาร แหลงขอมูลที่สําคัญอีกแหลงหนึ่งที่นักวิจัย ผูศึกษาชุมชนควรใชคือ แหลงขอมูลเอกสาร การที่ผู ศึกษาวิจัยจะทํางานสนามและไดขอมูลสวนใหญจากการสัมภาษณ และการสังเกต แตแหลงขอมูลเอกสารก็ เปนสิ่งที่จะละเลยมิได เพราะมีขอมูลบางอยางที่ไมอาจหาไดจากการสัมภาษณ การสังเกต เชน การหาขอมูล หลักฐานเกี่ยวกับเรื่องในอดีต หรือมีขอมูลที่พรอมแกการนําไปใช เชน ขอมูลทางดานประชากรเกี่ยวกับ จํานวนคนเกิด คนตาย หรือประชากรจําแนกตามเพศและวัย เปนตน


41

ชนิดของขอมูลเอกสาร 1. สถิติและบันทึกตางๆ หมายถึง ขอมูลที่ไดมีการรวบรวมอยางเปนระบบระเบียบตอเนื่องกัน มาเปนระยะเวลานานพอสมควร เปนขอมูลสถิติที่เปนตัวเลข เปนเรื่องราวเหตุการณ เชน บันทึกประจําวัน ประวัติบุคคล เปนตน 2. เอกสาร หมายถึง ขอมูลในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีอยูเปนลายลักษณอักษรหรืออาจเปนแผนผัง รูปภาพ ขอมูลเหลานี้ไดแก ขาวหรือบทความในหนังสือ จดหมายโตตอบระหวางบุคคล คําขวัญ อัตชีวประวัติ ตํานาน เปนตน ซึ่งขอมูลทั้งสองประการดังกลาว จะเปนทั้งของทางราชการและสวนตัว การใชขอมูลเอกสาร ขอมูลเอกสาร เปนขอมูลที่นํามาใชประโยชนไดมาก เพราะมีความพรอมมูลบางประการที่ขอมูล บุคคลอาจไมมีเทาหรือไมครอบคลุมเทา แตนักวิจัยก็ตองอดทนในการใชขอมูลเหลานี้ เพราะมักเสียเวลาใน การตรวจสอบและการวิเคราะหตีความ นักวิจัยตองฝกฝนในการใชขอมูลเอกสาร คือ การหัดตรวจสอบและ ตีความเอกสาร ซึ่งโดยปกติขอมูลเหลานี้มีประโยชนในการใหรองรอยหรือเพื่อสืบสาวเหตุการณที่เกิดขึ้น และใหรายละเอียดเกี่ยวกับคานิยม ความรูสึก ความเชื่อ อุดมการณ ตลอดจนการใหความหมายแกสิ่งตางๆ ของบุคคลหรือกลุมบุคคล ขอดีของขอมูลเอกสาร 1. ใชเก็บขอมูลในอดีตที่ไมอาจใชวิธีการอื่นเก็บไดอีก เชน เหตุการณในประวัติศาสตร 2. ใชเก็บขอมูลที่อยูหางไกลได 3. เปนแหลงขอมูลที่ไดรับความรวมมือสูง เมื่อหาเอกสารได ตางจากแหลงขอมูลบุคคลซึ่งอาจ สงวนทาที 4. ใชหาขอมูลเพิ่มเติมในสวนที่ยังไมครบถวน 5. ใชเก็บขอมูลแทนขอมูลสนาม เมื่อไมสามารถไปสนามได 6. ชวยใหผูวิจัยประหยัดคาใชจาย ขอจํากัดของขอมูลเอกสาร 1. ขอมูลบางอยางที่ตองการไมมีอยูในรูปเอกสาร เชน ความขัดแยงระหวางบุคคล 2. ขอมูลที่ไดอาจไมละเอียดเพียงพอ และไมถูกตองสมบูรณ 3. ขอมูลที่ไดไมมีลักษณะโตตอบกับผูวิจัยไดเหมือนขอมูลบุคคล ทําใหตีความลําบาก 4. ขอมูลบางอยางหาไดยาก หรือโอกาสเขาถึงยาก 5. ผูวิจัยตองใชความพยายามและอดทนมาก (สุภางค จันทวานิช, 2536, น. 102) 5. การเขาสนาม การเขาสนามหรือการลงสูชุมชน มีความสําคัญตอการวิจัยเชิงคุณภาพ และการศึกษาชุมชน เพราะวาการเขาสนามอยางถูกตอง การกําหนดบทบาทที่เหมาะสมของนักวิจัยที่อยูในสนาม และการสราง


42

ความไวเนื้อเชื่อใจใหเกิดขึ้นในชุมชน ลวนเปนเงื่อนไขสําคัญของการทํางานวิจัยชุมชนตอไป โดยเฉพาะการ เก็บรวบรวมขอมูลของชุมชนที่จําเปนตอการศึกษาวิจัย การเขาสนามเริ่มตนที่การพิจารณาเลือกสนามในการวิจัยชุมชน โดยพิจารณาวา ชุมชนนั้น สามารถตอบโจทยปญหาของการศึกษาวิจัยไดหรือไม พิจารณาความเหมาะสมของชุมชนในดานตางๆ เชน ขนาดของหมูบาน ความซับซอน เปนตน รวมถึงการจัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณที่จําเปนตอการศึกษาวิจัย และการเรียนรูเกี่ยวกับประเพณี ภาษา วัฒนธรรม ความเปนอยู เปนตน ขั้นตอนตอมา คือ การแนะนําตัว และการกําหนดสถานภาพและบทบาทที่เหมาะสมของผูศึกษา ในการเขาสูชุมชน โดยอาจจะทําไดใน 2 ลักษณะ คือ ไมบอกวาเปนใคร และบอกวาเปนใคร เพื่อจะไดทราบ ถึงขอมูลที่อาจจะกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงตอชุมชนในโอกาสตอไป นอกจากนี้การวางตัวตามบทบาทยังหมายถึง การปฏิบัติสิ่งที่เปนความคาดหวังและบรรทัดฐาน ของสังคมหมูบานหรือชุมชน เพื่อเปนการสรางความเขาใจในสิ่งตางๆ ของชุมชน การสรางความสัมพันธ เมื่อมีการแนะนําตัวแลว ขั้นตอไปคือ การสรางความสัมพันธ หมายถึง การผูกมิตรไมตรี จนกระทั่งชาวบานมีความไวเนื้อเชื่อใจ โดยระวังมิใหตนเองมีบทบาทเกินกวาที่ควรเปน และระวังมิใหเกิดความลําเอียงในการรวบรวมขอมูลและตีความขอมูล สุภางค จันทวานิช (2536, น. 91) กลาวถึงเทคนิคที่ชวยใหผูศึกษาวิจัย สรางความสัมพันธ ไดดี ดังนี้ 1. วางทาทีสงบเสงี่ยม ไมทําตัวใหเดนจนผิดสังเกต 2. หลีกเลี่ยงการถามคําถามที่ทําใหชาวบาน/ผูตอบรูสึกอึดอัดและจําเปนตองปกปองตน 3. อยาพยายามทําตัวทัดเทียมผูนําชาวบาน 4. พยายามเขาไปมีสวนรวมในเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน แตเกี่ยวของอยางสงบ และ พรอมที่จะชวยเหลือจะทําใหไดรับการยอมรับจากชาวบานเร็วขึ้น 5. หาใครคนหนึ่งเปนผูเริ่มแนะนําเราใหรูจักกับชาวบาน 6. เมื่อมีความรูสึกอึดอัด ใหเขาใจวาเปนเรื่องปกติธรรมดา เพราะเขาสูสิ่งแวดลอมใหม 7. ใหถือวาสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นในสนามเปนเรื่องของงาน 8. อยาคาดหวังวาจะทําอะไรไดมากในวันแรกๆ การสรางความสัมพันธใชเวลานาน 9. เปนมิตรกับทุกคน การทํางานในภาคสนาม ควรเริ่มที่การทําแผนที่ (Mapping) โดยการหาคนใหนําทางในการสํารวจ ชุมชน และทําแผนที่ทางภายภาพ แผนที่ทางประชากร และแผนที่ทางสังคม ซึ่งจะทําใหทราบถึงโครงสราง ในดานตางๆ ของชุมชน การเขาสนามเปนเรื่องที่สําคัญในการศึกษา สํารวจชุมชน ถานักวิจัย ผูศึกษาชุมชนมีการวางตัวที่ เหมาะสม กําหนดบทบาทของตนเองในทางที่ชัดเจน ยอมเปนประโยชนตอผูศึกษาในการที่จะเก็บรวบรวม ขอมูลตางๆ ของชุมชนไดสะดวกยิ่งขึ้น ดังนั้นผูศึกษาวิจัยชุมชนจึงควรวางตัวใหเหมาะสม ไมมีอคติตอสิ่งที่


43

พบเห็น พยายามทําความเขาใจถึงปรากฏการณที่เกิดขึ้นในชุมชน แลววิเคราะหสิ่งเหลานั้นโดยมองวาทุกสิ่ง ที่เกิดขึ้นลวนมีการเปลี่ยนแปลงเปนพลวัต และเปนไปอยางสัมพันธกัน 6. การศึกษาแบบผสมผสาน การศึกษาแบบผสมผสาน คือ การนําเอาวิธีการตางๆ ในการศึกษาวิเคราะหชุมชนมาใชในการเก็บ รวบรวมขอมูลในการศึกษาชุมชน โดยเริ่มตนที่การเขาสนามหรือการลงสูชุมชน จากนั้นใชการสังเกตทั้งที่มี สวนรวมและไมมีสวนรวม การสัมภาษณพูดคุยอยางเปนทางการและไมเปนทางการ การใชขอมูลเอกสารมือ สองในการศึกษาหาประวัติของชุมชน การสนทนากลุมเพื่อระดมความคิดรวมกับชุมชน การจดบันทึกตางๆ ในระหวางการศึกษาชุมชน เทคนิค วิธีการแบบผสมผสานเหลานี้จะชวยใหผูศึกษาวิจัยไดรับทราบ ขอมูล ขอเท็จจริงของชุมชนไดมากในมุมมองที่หลากหลาย กาญจนา แกวเทพ (2538, น. 30) กลาวถึงประสบการณและประมวลวิธีการศึกษาและเก็บ รวบรวมขอมูลชุมชนในลักษณะแบบผสมผสาน ดังนี้ 1. การสัมภาษณ ทั้งแบบมีโครงสราง (มีแบบสอบถาม) และไมมีโครงสราง 2. การสนทนาพูดคุยทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ 3. การสังเกตอยางมีสวนรวมและการสังเกตอยางไมมีสวนรวม 4. การจดบันทึกประจําวัน 5. การทํากรณีศึกษาเหตุการณหรือธรรมเนียมประเพณีอันใดอันหนึ่ง 6. การเขารวมประชุมกับชาวบานในงานพัฒนา หรืองานพิธีตางๆ หรืองานการผลิต 7. การสัมภาษณเจาะลึก Key Information 8. การอานเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 9. การศึกษาอัตชีวประวัติของผูนํา 10. การทํากรณีศึกษา ครอบครัว หรือเครือญาติ สรุป เทคนิคและเครื่องมือการเก็บรวบรวมภาคสนาม อันไดแก การเตรียมตัวเขาสนาม การสังเกต การสัมภาษณ การใชขอมูลเอกสาร การตรวจสอบขอมูล เปนตน เปนขั้นตอนที่นักศึกษาวิจัยจะตองพบใน การศึกษาวิจัยชุมชน ดังนั้น การศึกษารวบรวมขอมูลของชุมชนเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหเราทราบถึงสภาพ ปญหา ความเปลี่ยนแปลง และความตองการของชุมชน เพื่อที่จะไดรวมกันวางแผนเพื่อการพัฒนาชุมชน ตอไป วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลภายใตเทคนิคและเครื่องมือดังกลาวจําเปนตองมีความเขาใจในการเก็บ รวบรวมขอมูลของชุมชนในบริบทตางๆ (ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ, 2536, น. 111) ไดเสนอถึงวิธีการเก็บ รวบรวมขอมูลเพื่อเขาใจในสภาวะและการเปลี่ยนแปลงชุมชน วามีการเก็บขอมูลในประเด็นตางๆ โดย ภาพรวมของชุมชน ดังนี้


44

1. การเก็บขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับชุมชน ไดแก 1.1 สภาพภูมิประเทศและการตั้งถิ่นฐานของชุมชน 1.2 ลักษณะโครงสรางของประชากร 1.3 ลักษณะโครงสรางพื


45

สวนการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อเขาใจในการเปลี่ยนแปลงของชุมชน เปนการศึกษาเพื่อเขาใจความ เปลี่ยนแปลง ความสืบเนื่องของชุมชนในระบบตางๆ รวมถึงความสัมพันธในชุมชนโดยการพยายามเขาใจ ชุมชนอยางรอบดานในสภาวะปจจุบัน โดยมีจุดเนนในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามที่ตนสนใจหรือเห็นวามี ประโยชนตองานพัฒนาและพยายามระบุปญหาของชุมชนจากทัศนะของคนในชุมชนที่เห็นวาเปนปญหา ประกอบกับแนวทางการศึกษาของผูศึกษาวิจัย และเริ่มหาขอมูลที่เกี่ยวกับปญหาดังกลาว วาเกิดขึ้นใน เงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลงอะไรบาง ในกาลเวลาใด และคนในชุมชนไดแกไขปญหาหรือปรับตัวอยางไร ในสถานการณดังกลาว ซึ่งการวางกรอบในการเก็บรวบรวมขอมูลของชุมชนแบบนี้จะชวยใหผูศึกษาวิจัยได เขาใจในสภาพตางๆ ของชุมชนไดดีขึ้น

เอกสารอางอิง ภาณี วงษเอก. การศึกษาแบบการจัดสัมมนากลุม” ในการศึกษาเชิงคุณภาพเทคนิคการวิจัยภาคสนาม. กรุงเทพ ฯ : โครงการเผยแพรขาวสารและการศึกษา ดานประชากร สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. มหิดล,2533. ธนพรรณ ธานี. การศึกษาชุมชน.ภาควิชาพัฒนาสังคม มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน,2542. บุญธรรม จิตตอนันต.การวิจยั ทางสังคมศาสตร.กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ,2536. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 2 ขอนแกน : ขอนแกนการพิมพ ,2538.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.