• • • • • • •
ทะนงตัว (Pride) โลภ (Avarice or Greed) ตัณหา (Lust) โมโห (Wrath OR Anger) ริษยา (Envy) ตะกละ (Gluttony) เกียจคร้าน (Sloth)
คำ�นำ�
“พยศชัว่ 7 ประการ” เล่มนี้ คือ หนังสือทีจ่ �ำ เป็นเล่มหนึง่
เพื่อการรู้จักตัวเอง และเพื่อการพัฒนาด้านจิตใจของเรา ผู้ อ่ า นแต่ ล ะคนจะพบว่ า หนั ง สื อ เล่ ม นี้ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความอ่อนแอแต่ละด้านของจิตใจของตัวเขาหรือเธอเอง ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น เขาหรื อ เธอจะได้ เ รี ย นรู้ ถึ ง วิ ธี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลสำ � หรั บ พยศชั่ ว ทั้ ง เจ็ ด ประการ อันเป็นต้นเหตุของการทำ�บาปที่มีอยู่ภายในตัวเราทุกๆ คน ดั ง นั้ น เขาหรื อ เธอก็ จ ะสามารถที่ จ ะพยายามอย่ า งเต็ ม ที่ ในแนวทางขององค์พระผู้เป็นเจ้า ที่จำ�เป็น: “ฉะนั้น ท่านจง เป็นคนดีอย่างสมบูรณ์ ดังทีพ่ ระบิดาเจ้าสวรรค์ของท่าน ทรง ความดีอย่างสมบูรณ์เถิด” (มธ 5 : 48) ขอขอบคุณคุณโดม รุง่ เรือง เจ้าหน้าทีแ่ ผนกคริสตศาสน ธรรม กรุงเทพฯ ทีไ่ ด้แปลหนังสือพยศชัว่ 7 ประการ และหวัง เป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อท่านในการ ดำ�เนินชีวติ ติดตามพระและห่างไกลจากพยศชัว่ ทัง้ 7 ประการ บาทหลวงเอกรัตน์ หอมประทุม 3 กรกฎาคม 2015 สมโภชนักบุญโทมัส อัครสาวก ผู้จัดการแผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
“
ความเข้าใจอย่างแท้จริงในธรรมชาติ
และผลของพยศชั่วเจ็ดประการนั้น เป็นก้าวแรกในการต่อสู่กับบาปเหล่านั้น ให้เรายกมือขึ้น ณ บัดนี้ และก้าวเข้าสู่การสู้รบกับมัน! เราจะได้เป็นอย่างที่เราควรจะเป็น”
สารบัญ • บทนำ� : พยศชั่ว 7 ประการ
1. ทะนงตัว (Pride) 2. โลภ (Avarice or Greed) 3. ตัณหา (Lust) 4. โมโห (Wrath or Anger) 5. ริษยา (Envy) 6. ตะกละ (Gluttony) 7. เกียจคร้าน (Sloth) 8. เหตุทั้งเจ็ดของบาป 9. พระเยซูเจ้า ต้นแบบของเรา
• บทภาวนา
พยศชั่ว 7 ประการ “เพราะเรามิ ไ ด้ ต่ อ สู้ กั บ พลั ง มนุ ษ ย์ แต่ ต่ อ สู้ กั บ เทพนิกรเจ้า และเทพนิกรอำ�นาจ ต่อสู้กับผู้ปกครองพิภพ แห่ ง ความมื ด มนนี้ ต่ อ สู้ กั บ บรรดาจิ ต แห่ ง ความชั่ ว ร้ า ย ที่อยู่บนท้องฟ้า เพราะฉะนั้น ท่านทั้งหลายจงสวมใส่อาวุธ ครบชุดของพระเจ้า เพือ่ ทีจ่ ะต้านทุกสิง่ ได้ในวันเลวร้าย และ ยืนหยัดอยู่ได้จนถึงที่สุด จงยืนหยัดมั่นคง จงคาดสะเอวด้วยความจริง จงสวม ความชอบธรรมเป็นเสื้อเกราะ จงสวมความกระตือรือร้นที่ จะประกาศพระวรสารแห่งสันติเป็นรองเท้า จงถือความเชื่อ เป็นโล่ไว้เสมอ เพื่อใช้ดับธนูไฟของมาร จงใช้ความรอดพ้นเป็นเกราะป้องกันศีรษะ จ งถื อ ดาบ ของพระจิตเจ้าคือพระวาจาของพระเจ้าไว้” (อฟ 6 : 12-17)
6
ข้อตั้งใจของฉันในวันนี้ ฉันจะทำ�ทุกอย่างเต็มกำ�ลังของฉันในการที่จะต้านทาน จิตชั่วร้าย และฉันจะทำ�แต่ความดี ฉันจะทำ�ทุกอย่างด้วยความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ตาม ความศรัทธาของคริสตชน ฉันจะมีความเมตตากรุณาและซือ่ สัตย์ตอ่ ทุกคนทีฉ่ นั พบ ฉันจะพยายามดำ�รงรักษาจิตใจให้สะอาดบริสทุ ธิอ์ ยูเ่ สมอ หากฉันพลาดเผลอตกในบาปเมื่อใด ฉันจะย้ำ�เตือน ตนเองว่า “จงทำ�แต่สิ่งที่ถูกต้อง เป็นคนดีและจงร่าเริง” ฉันจะรักษาข้อตัง้ ใจเหล่านีไ้ ว้ได้กด็ ว้ ยอาศัยพระหรรษทาน ช่วยจากพระองค์ พระเจ้าผู้สร้างสรรพสิ่ง
7
บทนำ� พยศชั่ว 7 ประการ มนุษย์เราแต่ละคนต่างก็มีปีศาจร้ายเจ็ดหัวที่จะต้อง ต่อสู้ในการดำ�เนินชีวิตของเรา ปีศาจร้ายนี้คือ “การมุ่งหา เพียงตนเอง” (Self-Seeking) และ “การรักเพียงตนเอง” (Self-Love) หัวทั้งเจ็ดของปีศาจร้ายนี้ คือ ทะนงตัว, โลภ, ตัณหา, โมโห, ริษยา, ตะกละ และ เกียจคร้าน พระสังฆราช ฟูลตัน ชีน เรียกหัวทั้งเจ็ดของปีศาจร้ายนี้ว่า “ผ้าคลุมศพ เจ็ดผืนของวิญญาณ” (The Seven Pall-bearers of The Soul) และให้ชื่อเรียกแก่พวกมันว่า : การรักตนเอง, การ หลงเมามัวในเงินตรา, การมีเพศสัมพันธ์นอกสมรส, ความ เกลียด, ความอิจฉาริษยา, การทำ�ตามใจตนเองเกินไปและ ความเกียจคร้าน จากผลของพยศชั่ว (Vices) 7 ประการนั้น มนุษย์เรา แต่ละคนต่างมีความโน้มเอียงตั้งแต่เกิดที่จะอ้างว่าเขาหรือ เธอมีสทิ ธิท์ จี่ ะเป็น “ศูนย์กลาง” ของทุกๆ สิง่ ทัง้ นีเ้ พือ่ ทำ�ให้ เขาหรือเธอนั้นเหนือกว่าผู้อื่น กิเสสที่สำ�คัญของเราก็คือ เราจะต้องดีที่สุด แต่บ่อยครั้งที่เรามิได้เข้าใจความหมาย 9
อย่างแท้จริงว่า “สิง่ ทีด่ ที ส่ี ดุ ” นีค้ อื อะไร และเรามักจะแสวงหา สิ่งที่ดีที่สุดนี้ในทางที่ผิดๆ เราต้องเข้าใจก่อนว่า “ดีที่สุด” ของเรานั้น คือ พระเจ้า พระเจ้าเท่านั้น คือ จุดสุดท้ายและ รางวั ล ของเราพระเจ้ า ทรงแสดงให้ เ รารั บ รู้ ถึ ง หนทางสู่ พระองค์ผ่านทางพระคริสตเจ้าผู้ทรงเรียกพระองค์เองว่า “หนทาง” เราต้องตระหนักถึงความสัมพันธ์ของเราต่อพระเจ้าพระ ผู้สร้าง โดยมนุษย์เรานั้นมีหน้าที่ที่จะรักและรับใช้พระองค์ อย่างที่พระองค์ต้องการ เพื่อที่มนุษย์เราจะพบพระองค์ ในสวรรค์ หรือ รักษาจิตวิญญาณของเราไว้ได้ดังที่เรามัก แสดงออก ทุกวันนี้ มนุษย์เราผูกมัดห่อหุ้มตัวเองไว้ด้วย “อัตตา” ของเราเอง ถึงแม้ว่าเราจะไม่ตระหนักถึงความจริง ที่ว่าทุกๆ สิ่งที่เราคิด พูด และทำ�นั้นต่างวนเวียนอยู่ที่ตัวตน ของเราเองทั้งสิ้น ในความเป็นจริงแล้ว มนุษย์เรา “มุง่ หาแต่ ตนเอง”เท่านัน้ ถึงแม้วา่ เราอาจจะพยายามทีจ่ ะนึกเชือ่ ว่าเรา กำ�ลังติดตามพระคริสตเจ้าและแสวงหาพระเจ้าอยู่ก็ตาม ดังนั้น พูดง่ายๆ ก็คือ การต่อสู้กับ “การมุ่งหาเพียง ตนเอง” นั้น ก็คือการต่อสู้ภายในความมีตัวตนของเรา 10
นั่นเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในความ “ต้องการ” (will) ของ เราเอง แหล่งกำ�เนิดของ “การรักเพียงตนเอง”และ “ความ ต้องการเพียงตนเอง” การทะนงตนและพยศชั่วอื่นๆ นั้น ต่ า งก็ มี จุ ด กำ � เนิ ด ของพวกมั น เองและนำ � มาซึ่ ง ผลลั พ ธ์ ที่ มากบ้างน้อยบ้าง หากว่ามนุษย์เราถูกชักจูงอย่างแรงกล้า จาก “การรักเพียงตนเอง” แล้ว เราก็มักจะไม่ “ปฏิเสธ” ตัวของเราเองต่อกิจการกุศลใดๆ, ต่อความรัก, ต่อความ เมตตา หรือ ต่อการเรียกร้องให้ทำ�หน้าที่ใดๆ หรือคุณธรรม ใดๆ ที่พระเยซูคริสตเจ้าทรงสอนไว้ ในทางกลับกัน “การรัก เพียงตนเอง”ของเราจะสนับสนุนที่จะทำ�แต่สิ่งชั่วร้ายต่างๆ และเราจะยิ่งติดอยู่กับสิ่งชั่วร้ายนั้นมากขึ้นๆ การที่จะมุ่งไปยังหนทางของ “การรักเพียงตนเอง” นั้น ก็คือการที่เราปฏิเสธความรักต่อพระเจ้าอยู่เรื่อยไปและ ก่ อ ให้ เ กิ ด อั น ตรายที่ ใ หญ่ ห ลวงต่ อ การไถ่ กู้ ใ ห้ ร อดพ้ น ไม่ มี ด วงวิ ญ ญาณใดสามารถเข้ า สู่ ส วรรค์ ไ ด้ จ นกว่ า ดวงวิญญาณนั้นจะได้ชำ�ระล้าง “การรักเพียงตนเอง” และ “การต้องการเพียงตนเอง” ทั้งสิ้นแล้ว และมีแต่เพียงการ รักและต้องการพระเจ้าเท่านั้น หรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่า 11
จนกว่าดวงวิญญาณนั้นจะถูกทำ�ให้ศักดิ์สิทธิ์แล้วเท่านั้น นั่นเอง สำ�หรับคนส่วนใหญ่ที่ได้รับความรอดพ้นนั้นการ ชำ�ระล้างส่วนใหญ่นั้นจะถูกกระทำ�ในไฟชำ�ระ เพราะว่า ดวงวิญญาณเหล่านั้นไม่สามารถกระทำ�การชำ�ระล้างตนเอง ได้ในโลกนี้ แต่ดวงวิญญาณ หรือ บุคคลใด หรือ เรา ควร ที่จะปฏิเสธพระประสงค์ของพระเจ้าเพื่อแลกกับ “การ ต้องการเพื่อตนเอง” และ “การรักเพียงตนเอง” จนกว่าเรา จะเสียชีวติ หรือ? หากเป็นเช่นนัน้ พระเจ้าก็ทรงถูกบีบบังคับ ให้ ป ฏิ เ สธที่ จ ะประทานสวรรค์ นิ รั น ดรแก่ เ รา เพราะว่ า เราเองได้ปฏิเสธพระองค์ก่อน การปฏิเสธนี้หมายถึง เรา ตัดสินใจเลือกการลงโทษในนรกนิรันดร หากเป็นเช่นนี้แล้ว สภาวะของเราจะถูกยึดติดกับ “การรักเพียงตนเอง” และ ความเกลียดต่อองค์พระผู้เป็นเจ้าอย่างมิอาจเปลี่ยนแปลง ได้เลย และในนรกนิรันดรนั้นเราก็จะเป็น “การคลั่งไคล้ เพียงตนเอง” หรือ อัตตาที่คงอยู่นิรันดร การถูกพรากจาก พระเจ้านี้จะเป็นการทรมานนิรันดรและไม่มีวันสิ้นสุดเลย อีกทั้งยังเป็นกำ�แพงปิดกั้นตนเองไว้ในความเกลียดชังตัวเอง ชั่วนิรันดร์ด้วย 12
การที่เราทำ�ความรู้จักหลุมพรางอันนับไม่ถ้วนที่พยศชั่ว 7 ประการนั้นจะเป็น ความสามารถที่จะทำ�ให้เรารู้จักตัวเอง และช่วยให้เราทำ�การสู้รบกับพยศชั่วได้โดยการหมั่นทำ� คุณธรรมที่ตรงข้ามกับพยศชั่วเหล่านั้นอย่างต่อเนื่องนั่นเอง มันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะสู้รบกับศัตรูที่เราไม่รู้จัก มองไม่ เห็น หรือ ศัตรูที่เราคิดว่าเป็นเพื่อนของเราคนหนึ่ง ความชั่ว ร้ายต่างๆ ก็มักเป็นเช่นนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งความทะนงตน และความเกียจคร้าน นั่นคือวัตถุประสงค์ของหนังสือเล่มนี้นั่นเอง คือ การให้ ความกระจ่างเกี่ยวกับลักษณะธรรมชาติของพยศชั่วเหล่า นั้นอย่างน้อยก็เป็นการระบุถึงการกระทำ�ที่เป็นรากเหง้า ของความชั่วร้ายเหล่านี้ เราหวังว่าความรู้เกี่ยวกับลักษณะ, ระดับความร้ายแรง, การกระทำ� และความเกี่ยวเนื่องของ ความชั่ ว ร้ า ยทั้ ง เจ็ ด ประการนี้ จ ะมี ป ระโยชน์ ต่ อ ผู้ ที่ ไ ด้ ประสบเหตุ ก ารณ์ ใ ดที่ รู้ สึ ก ว่ า ยากจะพิ จ ารณาตั ด สิ น ใจ เกี่ยวกับพยศชั่วเหล่านี้ เพราะการพิจารณามโนธรรมมักจะ ยึดติดกับชื่อของพยศชั่วเหล่านี้เท่านั้น 13
ในยุคต้นๆ ของงานเขียนที่จะรักษาดวงวิญญาณจาก ความชั่วร้ายของพยศชั่วเหล่านี้มักพรรณาออกมาในรูปของ สัตว์ต่างๆ • “ทะนงตัว” มักถูกกำ�หนดลักษณะ เป็นสัตว์ คือ สิงโต • “โลภ” มักถูกกำ�หนดลักษณะ เป็นสัตว์ คือ สุนัขจิ้งจอก • “ตัณหา” มักถูกกำ�หนดลักษณะ เป็นสัตว์ คือ แมงป่อง • “โมโห” มักถูกกำ�หนดลักษณะ เป็นสัตว์ คือ ยูนิคอร์น (ม้ามีเขางอกขึ้นมาตรงจมูก) • “ริษยา” มักถูกกำ�หนดลักษณะ เป็นสัตว์ คือ งู • “ตะกละ” มักถูกกำ�หนดลักษณะ เป็นสัตว์ คือ หมู • “เกียจคร้าน” มักถูกกำ�หนดลักษณะ เป็นสัตว์ คือ หมี 14
ผู้ ป ระพั น ธ์ ง านเขี ย นนี้ ยั ง กล่ า วอี ก ว่ า ปี ศ าจเป็ น ผู้ ที่ ล่อลวงอยูภ่ ายในตัวเราให้ลมุ่ หลงต่อบาปผิดต่างๆ ด้วยความ มุ่งร้าย เช่น ทะนงตัว ความหยิ่งยโส (haughtiness) ริษยา และโมโห และลุ่มหลงต่อบาปอื่นๆ อีกนับไม่ถ้วนที่จะเติบโต ขึ้นจากพยศชั่วเหล่านี้ เพราะว่าบาปต่างๆ ของความมุ่งร้าย นั้นจะค่อยๆ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบาป ต่างๆ ในความคิด หรือ บาป “ด้านจิตใจ” ที่มีลักษณะร้าย แรงอย่างมาก ผู้ ป ระพั น ธ์ ง านเขี ย นนี้ ก ล่ า วว่ า โดยธรรมชาติ แ ล้ ว ร่างกายฝ่ายเนื้อหนังนั้นทำ�ให้เราโน้มเอียงสู่ “ตัณหา” และ “ตะกละ” อยู่แล้วโดยการทำ�ตามใจตัว ชอบทำ�อะไรง่ายๆ อันเป็นบาปฝ่ายเนือ้ หนัง หรือ บาปโลกียะ (carnal sins) และ มนุษย์เรามักมองว่าเป็นเรื่องน่าอาย อัปยศอดสู ท้ายที่สุดแล้ว เรื่องราวทางโลกต่างก็กระตุ้นมนุษย์เรา ให้ อ ยากได้ อ ยากมี ท รั พ ย์ สิ น เงิ น ทอง ฐานะร่ำ � รวย ชื่อเสียงเกียรติยศและมองหาแต่ความพึงพอใจ ซึ่งทั้งหมดนี้ ต่างลวงเราให้หลงผิดและชักนำ�เราให้ลมุ่ หลงอยูใ่ นความมืด 15
เมื่อพระเยซูเจ้าทรงสอนว่าปีศาจเมื่อออกจากมนุษย์ แล้ว มันท่องเที่ยวไปในที่แห้งแล้งเพื่อหาที่พัก เมื่อไม่พบ มันจะกลับมาพร้อมกับ “ปีศาจอีกเจ็ดตนที่ร้ายกว่ามัน” ใน พระวรสารตามคำ�บอกเล่าของนักบุญมัทธิวบทที่ 12 ข้อ 45 นั้น พระองค์คงอาจหมายถึงพยศชั่ว (Vices) ทั้งเจ็ดนี้ โดยธรรมชาติมนุษย์นั้น เรามักโอนอ่อนตามสิ่งยั่วยวน ที่ปลุกเร้าขึ้นโดยพยศชั่วใดๆ ได้ง่าย เมื่อพยศชั่วนั้นหยั่งราก ลึกลงในจิตใจเรามากเพียงใด ความเคยชินต่อบาปก็จะเริ่ม ก่อตัวขึ้นและยากยิ่งนักที่จะลบล้างได้โดยง่าย ดังนั้น มนุษย์ เราต้องหมั่นตื่นตัวเฝ้าระวังอยู่ตลอดเวลาในการต่อสู้กับ พยศชัว่ ต่างๆ แม้เป็นเพียงบาปเล็กน้อย หากเราต้องการทีจ่ ะ ได้ชัยชนะในการต่อสู้กับบาปที่หนักหนายิ่งขึ้นกว่านี้
16