จดหมายข่าวงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น : การท่องเที่ยวโดยชุมชน

Page 1

ISSN 1513 - 4059 ¨´ËÁÒ¢‹ÒÇÊӹѡ§Ò¹¡Í§·Ø¹Ê¹ÑºÊ¹Ø¹¡ÒÃÇԨѠ(Ê¡Ç.) ½†ÒÂÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹

สร างสรรค ป ญญา เพื่อพัฒนาท องถิน »‚·Õè 15 ©ºÑº·Õè 3 »ÃШÓà´×͹¾ÄÉÀÒ¤Á – ÁԶعÒ¹ 2557

การทองเที่ยว

โดยชุมชน Community-Based

TOURISM


จดหมายขาวงานวิจัยเพื่อทองถิ่น เปนสื่อกลางในการเผยแพรขาวสาร เกี่ยวกับงานวิจัย การแลกเปลี่ยน ความคิด และประสบการณงานวิจัย ตลอดจนการนําเสนอความเคลื่อนไหว ของโครงการวิจัยที่ไดรับการสนับสนุนจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เพื่อสรางเครือขายภาคีงานวิจัย และรวมกัน ใชประโยชนจากงานวิจัยไปพัฒนาชุมชน และทองถิ่นตามวิธีคิดของการ

ISSN 1513 - 4059 ¨´ËÁÒ¢‹ÒÇÊӹѡ§Ò¹¡Í§·Ø¹Ê¹ÑºÊ¹Ø¹¡ÒÃÇԨѠ(Ê¡Ç.) ½†ÒÂÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹

สร างสรรค ป ญญา เพื่อพัฒนาท องถิน »‚·Õè 15 ©ºÑº·Õè 3 »ÃШÓà´×͹¾ÄÉÀÒ¤Á – ÁԶعÒ¹ 2557

การทองเที่ยว โดยชุ มชน Community-Based

TOURISM

Credit

“สรางสรรคปญญา เพื่อพัฒนาทองถิน ่ ”

เจาของ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น สํานักงาน สกว. ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น 979/17-21 ชั้น 23 อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (02) 2788200 ตอ 8309-14 โทรสาร (02) 2980462 E-mail : info@vijai.org Homepage : www.vijai.org ที่ปรึกษา ผศ.ดร.บัญชร แกวสอง บรรณาธิการ สุธรรม กันดํา กองบรรณาธิการ เบญจวรรณ วงศคํา / ลักขณา วงศยะรา / อิษฐ ปกกันตธร ดวงใจ สิริใจ / ดารารัตน โพธิ์รักษา / พรทิพย ลิ้มประสิทธิวงษ / สินธุ แกวสินธุ พิมพที่ หจก.วนิดาการพิมพ 14/2 หมู 5 ตําบลสันผีเสื้อ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300 โทรศัพท (053) 110503-4


C

o

n

t

e

n

t

s

จดหมายข าวป ที่ 15 ฉบับที่ 3 ประจําเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2557

4

คุยกันกอน

การท องเที่ยวชุมชน บนฐานการวิจัยเพื่อท องถิน

่อนไหวงานวิจัย 22 ความเคลื เพื่อทองถิ่นภาคกลาง วีถีญวน : วัฒนธรรม ภาษา ศรัทธา สู การท องเที่ยวโดยชุมชน

เลาสูกันฟง

34 “ท องเที่ยวโดยชุมชน”

ทางเลือกสู การแก “วิกฤติโลก”

6

เรื่องจากปก

จากท องเที่ยวนอกกระแส สู ถนน สายหลักของการท องเที่ยวไทย

่อนไหวงานวิจัย 26 ความเคลื เพื่อทองถิ่นภาคใต

การใชประโยชน 37 Re: จากงานวิจัย

พลังข อมูล…ปลุกจิตสํานึกชุมชน ตําบลแจระแมให เข ามามีส วนร วม ในการจัดการที่ดินสาธารณะ

แนวทางการพัฒนามาตรฐาน ทีเ่ หมาะสมกับการท องเทีย่ ว โดยชุมชนใน 5 จังหวัดชายแดน ภาคใต สูอ าเซียน

่อนไหวงานวิจัย 14 ความเคลื เพื่อทองถิ่นภาคเหนือ 15 ป บนรอยทาง…การท องเที่ยว โดยชุมชน ภาคเหนือ

ทายฉบับ

การท องเที่ยวชุมชน : อุบลราชธานี

อุตสาหกรรมท องเที่ยว

ฉบับหน า…พบกับ…

่อนไหวงานวิจัย งานสื่อสารสังคม 20 ความเคลื ่ยวโดยชุมชน”… 30 อยู“ท อ องเทีย างไรในกระแสการพั เพื่อทองถิ่นภาคอีสาน ฒนา

“อบต. กับงานวิจัยเพื่อทองถิ่น”

อบต. และงานวิจัย


คุยกันกอน

การ

ชุมชน ชมชน

ทองเที่ยว บนฐาน การวิจัยเพื่อทองถิ่น ผศ.ดร.บัญชร แกวสอง1

การวิจัยเพื่อทองถิ่นเปนการสรางสรรคปญญาเพื่อ

พัฒนาประเทศจากฐานชุมชนทองถิ่น ดังนั้นชุมชนทองถิ่นจึงตอง เปนเจาของโจทยวิจัย เปนนักวิจัย และเปนผูลงมือปฏิบัติการ กอนจะสรุปผลเปนความรูจากการวิจัย การวิจัยแบบนี้จึงเปน รูปแบบของการปฏิบัติการทางสังคมของคนในชุมชนทองถิ่น เพื่อ มุงหวังจะใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และในทายสุดจะนําสู การสรางความเปนธรรมทางสังคมใหกับกลุมคนเล็กคนนอย ในสังคม การทองเที่ยวชุมชนบนฐานงานวิจัยเพื่อทองถิ่นจึงเปนการ ปฏิบตั กิ ารทางสังคมของคนในชุมชน โดยใชประเด็นการทองเทีย่ ว เปนตัวเชือ่ มรอยการปฏิบตั กิ าร การปฏิบตั กิ ารทางสังคมโดยทัว่ ไป มักจะมีการปฏิบัติการ 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เปนการปฏิบัติการวิจัยพื้นฐาน ระยะนี้นักวิจัย ในชุมชนทองถิ่น รวมถึงคนอื่นๆ ในชุมชนทองถิ่น และอาจจะมีคน อื่นๆ ที่รวมอยูในภาคีการวิจัยจะรวมในการคนหาความรูพื้นฐาน เพือ่ นําสูก ารปฏิบตั กิ ารจัดการทองเทีย่ ว โดยเฉพาะความรูเ กีย่ วกับ 1

ผูอํานวยการฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น

04 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

ตนทุนสําคัญที่จะใชในการจัดการทองเที่ยว เชน ทุนทางนิเวศน ทุนทางวัฒนธรรม ทุนการจัดการ ทุนทางสังคม ฯลฯ กระบวนการ ทําความเขาใจทุนรวมกันนีม้ กั จะสงผลได 2 ประการ คือ ประการแรก ไดรว มเรียนรูแ ละเขาใจเรือ่ งราวและความเปนมาของชุมชนทองถิน่ เอง ซึ่งจะเปนขอมูลความรูพื้นฐานสําคัญสําหรับการออกแบบ การจัดการทองเที่ยวโดยชุมชนในระยะตอไป ประการที่สอง นักวิจัยและบุคคลที่เกี่ยวของไดสรางปฏิสัมพันธที่ดีตอกันเปนพลัง เสริมสรางความเขมแข็งแกชุมชนทองถิ่น ระยะที่ 2 เป น การทดลองปฏิบั ติ ก ารและสรุ ป ผลการ ปฏิบตั กิ าร ระยะนีก้ ารวิจยั เปนการคนหาความรูจ ากการปฏิบตั กิ าร รูปแบบตางๆ ที่ออกแบบกันไว ซึ่งการปฏิบัติการดังกลาวเปนการ ปฏิบัติการรวมของกลุมคนตางๆ และสุดทายก็ตองมีการสรุปและ ถอดบทเรียนการปฏิบตั กิ ารการปฏิบตั กิ ารรวมระยะนีก้ อ ผลสําคัญ คือ ไดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติการ และได ปฏิสัมพันธใหมของคนรวมปฏิบัติการ


คุยกันกอน

ผลจากการดําเนินการวิจัยทั้ง 2 ระยะ จะกอใหเกิดการ เปลีย่ นแปลงทางสังคมทีส่ าํ คัญ คือ นักวิจยั และคนในชุมชนทองถิน่ ที่เกี่ยวของในกระบวนการวิจับเชิงลึกและตอเนื่องจะเกิดสํานึก ตระหนักในพลังและคุณคาของชุมชนทองถิ่น มองเห็นพลังอํานาจ ของชุมชนทองถิ่นผานกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้ และ ถาความตระหนักและสํานึกนี้เขมขนพอก็จะเปนพลังสําคัญที่จะ ขับเคลื่อนการพัฒนาอื่นๆ ของชุมชนตอได นั่นคือชุมชนทองถิ่น จะมีปญญาเพื่อการพัฒนาชุมชนทองถิ่นตอเนื่องได และที่สําคัญ กลุมคนนําสวนหนึ่งซึ่งอาจจะเปนสวนใหญของกลุมรวมวิจัยมักจะ เกิดสิ่งที่เรียกกันวาจิตสํานึกสาธารณะเห็นคุณคาของการทํางาน เพื่อประโยชนสุขของคนทั้งหมดในชุมชนและสังคม ดังนั้นผลของการวิจัยการทองเที่ยวชุมชนบนฐานงานวิจัย เพื่อทองถิ่นจึงมิใชเพียงความรูที่วาดวยการจัดการทองเที่ยวเพื่อ เสริมสรางเศรษฐกิจและรายไดใหกับชุมชนทองถิ่นเทานั้น แต เปนการจัดการทองเที่ยวเพื่อฟนชีวิตชุมชนทองถิ่นในทุกดาน ซึ่ง อาจจะเปนการฟนนิเวศชุมชนทั้งดิน นํ้า ปา การฟนวัฒนธรรม

ชุมชนทั้งวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปญญา การเกื้อกูลแบงปน ใหเกิดขึน้ ในชุมชน พรอมกับการฟน ปญญาใหเห็นหนทางการคนหา การพัฒนา และการประยุกตใชความรูต า งๆ ใหสอดคลองกับบริบท ของชุมชนทองถิน่ และสอดคลองกับสถานการณทางเศรษฐกิจและ สังคมที่เปลี่ยนแปลงไปดวย การท อ งเที่ ย วชุ ม ชนในช ว งที่ ผ  า นมาจึ ง เป น การพั ฒ นา การทองเที่ยวชุมชนผานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรม โดยใชระบบการจัดการประยุกตของชุมชนในการ จัดการแหลงทองเที่ยว และจัดการทรัพยากรการทองเที่ยวของ ชุมชนทองถิ่น สวนระยะตอมาไดใหความสําคัญกับการพัฒนา มาตรฐานการท อ งเที่ ย วชุ ม ชน และการเชื่ อ มร อ ยเครื อ ข า ย การทองเทีย่ ว รวมถึงในระยะหลังมีบางโครงการมุง ใชการทองเทีย่ ว ชุมชนสรางพลังใหกบั ชุมชนทองถิน่ ในการเสริมสรางความสัมพันธ ระหวางประเทศ อยางไรก็ตามการทองเที่ยวชุมชนในระยะที่ผานมาก็มี ประเด็นปญหามากมาย การทองเทีย่ วบางแหงเติบโตเร็วเกินศักยภาพ ของชุมชน ชุมชนไมไดเตรียมการรองรับเชิงศักยภาพการจัดการ ก็มีแนวโนมวาการทองเที่ยวจะสรางปญหาใหกับชุมชนทองถิ่น มุง จัดการทองเทีย่ วเพือ่ รายได แตกอ ใหเกิดปญหาการทําลายนิเวศ วัฒนธรรมทีดีงามของชุมชนทองถิ่น โดยเฉพาะความสัมพันธของ ชุมชนทองถิ่น ดั ง นั้ น การจั ด การท อ งเที่ ย วชุ ม ชนจึ ง ควรก า วเดิ น อย า ง ระมัดระวัง วิเคราะหและตรวจสอบตลอดเวลาวาการทองเที่ยว ชวยเสริมสรางพลังชุมชนทองถิ่นอยางแทจริง เพื่อปองกันมิให การทองเที่ยวยอนมาทําลายชุมชนได

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 05


เรื่องจากปก

จากทองเที่ยวนอกกระแส

สู การทองเที่ยวไทย ถนนสายหลั ก ของ

พจนา สวนศรี1

ใครจะนึกบางวา “คนบนดอย” จะกลายเปนชาติพันธุ

ที่ ไดรับการยกยองในเรื่องการรักษาพันธุกรรมและการดูแลรักษา ปาอยางยั่งยืน หากไมมีการทองเที่ยวเปนสะพานเชื่อมใหคนเมือง เขาใจความหมายของคําวา ”คนอยูกับปา” ใครจะนึกบางวา “ชาวประมงพืน้ บาน” จะกลายเปนผูป กปอง ทรัพยากรชายฝง และทําใหทะเลไทยคงความอุดมสมบูรณ หากไมมี “การทองเทีย่ ว” เปนสะพานเชือ่ มใหสายตาของนักทองเทีย่ วกระตุน ใหกลไกรัฐจัดการกับประมงผิดกฎหมาย ใครจะนึกบางวา “ผูบริโภค” ยอมจายคาผักพื้นบานหรือ ผักปลอดสารในราคาแพงกวาผักที่อยูในตลาดปกติ หากไมมีการ ทองเที่ยวที่นําพาผูบริโภคมาพบผูผลิต และทําใหเขาใจวาอาหาร อินทรียเปนมิตรตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม ใครจะนึกบางวา “ผาทอยอมสีธรรมชาติ” จะสามารถ ตีตลาดสินคาระดับบน และทําใหงานบานๆ กลายเปนงานประเภท คลาสสิค ซึง่ อาจไมสามารถเหมาเอาไดวา เปนเพราะการทองเทีย่ ว 1

ผูอํานวยการสถาบันการทองเที่ยวโดยชุมชน

06 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

เพียงอยางเดียว แตการทองเที่ยวกลายเปนโอกาสที่ทําใหผูสนใจ งานหัตถกรรมเขาใจทีม่ าที่ไปและหันมาอุดหนุนซือ้ หาโดยไมตอ รอง ราคา ในวัน นี้การทองเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism-CBT) ไดผา นการพิสจู นตนเองจนไดรบั การยอมรับวาเปน สะพานเชื่อมคนตางวัฒนธรรมมาแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน ในขณะเดียวกันก็เปนเครื่องมือในการพัฒนาคนพัฒนาชุมชน ซึ่งกวาจะมาถึงวันนี้ การทองเที่ยวโดยชุมชนหรือ CBT ไดผาน ความทาทาย และพิสูจนตัวเองมาอยางตอเนื่องยาวนานกวา 20 ป นับถอยหลังการกอเกิดแนวคิดการทองเที่ยว โดยชุมชนในประเทศไทย ป 2535 แนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืนไดเขามามีบทบาท ในประเทศไทยชวงทีม่ กี ารประชุมสุดยอดของโลกวาดวยสิง่ แวดลอม และการพัฒนา ในชวงเวลาดังกลาวในประเทศไทยมีการสรุป


เรื่องจากปก

บทเรียนและผลทีเ่ กิดขึน้ จากการพัฒนาประเทศทีผ่ า นมาผานแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 1-7 ไดขอสรุปวา “เศรษฐกิจ กาวหนา สังคมและสิ่งแวดลอมมีปญหา การพัฒนาไมยั่งยืน” กลุมนักกิจกรรมทางสังคม นักวิชาการและคนในวงการ องค ก รพั ฒ นาเอกชนได อ อกมาเคลื่ อ นไหวทางความคิ ด เรื่ อ ง “ประชาชนตองกําหนดอนาคตการพัฒนา” ในเวทีประชุมคูขนาน ที่เรียกวาเวทีชาวบานในการประชุมธนาคารโลกที่ประเทศไทย เมื่อป 2535 นับวาเปนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนในประเด็น ตางๆ ผานเวทีวิชาการและกอเกิดกระแส “การมีสวนรวมของ ประชาชนในการพัฒนาสังคม” และกลุมภาคีตางๆ เหลานี้มีสวน สําคัญในการผลักดันใหมีการปรับเปลี่ยนแนวคิดในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) ที่ให ความสําคัญของการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในสังคม มุงให “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” และใชเศรษฐกิจเปนเครื่องมือ ช ว ยพั ฒ นาให ค นมี ค วามสุ ข และมี คุ ณ ภาพที่ ดี ขึ้ น พร อ มทั้ ง ปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาแบบแยกสวนมาเปน บูรณาการแบบ

องครวม เพือ่ ใหเกิดความสมดุลระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม การทองเที่ยวเชิงนิเวศ เปนกระแสหนึ่งเพื่อขานรับเรื่อง การพัฒนาอยางยั่งยืน การทองเทียวแหงประเทศไทย (ททท.) มีการจัดทําแผนแมบทการทองเที่ยวเชิงนิเวศและไดจัดเวทีระดม ความคิดเห็นเรื่องนี้ขึ้นในป 2536 ซึ่งในครั้งนั้นมีการระดมความ คิดเห็นอยางกวางขวางโดยเฉพาะในกลุม คนทํางานสือ่ มวลชนและ นักพัฒนาเอกชนจากมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.) ในการ ตั้งคําถามวา “คนและชุมชนทองถิ่นไดประโยชนอะไรจากการ ทองเที่ยว” พรอมกับเสนอแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวที่ ให ประชาชนมีสวนรวม ในป 2537 ทาง มอส. ไดจัดทําโครงการทองเที่ยวเพื่อชีวิต และธรรมชาติ (Responsible Ecological Social Tours-REST) ขึ้น เพื่อผลักดันแนวคิดเรื่องการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการ ทองเทีย่ วและใหการทองเทีย่ วมีบทบาทในการสรางคุณคาของการ ทองเที่ยวที่เนนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางเจาของบานกับแขก ผูมาเยือน §Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 07


เรื่องจากปก

ในป 2538-2539 ททท. ไดจดั ทําแผนการทองเทีย่ วเชิงนิเวศ แหงชาติขึ้น ซึ่งรูปธรรมของการทํางานนํารองเรื่องการทองเที่ยว โดยการมีสวนรวมของประชาชนของมอส.ในพื้นที่ เกาะยาวนอย จ.พังงา และคีรวี ง จ.นครศรีธรรมราช นับไดวา มีสว นสําคัญในการ สรางคํานิยาม “การทองเที่ยวเชิงนิเวศ” ในประเทศไทยใหมีเรื่อง การมีสว นรวมของชุมชนเปนสวนหนึง่ ในคํานิยามและองคประกอบหลัก ของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยคํานิจามดังกลาว เขียนไววา การ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ หมายถึง การทองเที่ยวอยางมีความรับผิดชอบ ในแหลงธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่นและแหลงวัฒนธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของ ผูที่เกี่ยวของภายใตการจัดการสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยว อยางมีสว นรวมของทองถิน่ เพือ่ มุง เนนใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษา ระบบนิเวศอยางยั่งยืน ครอบคลุมองคประกอบหลัก 4 ดาน คือ 1) การทองเที่ยวที่มีพื้นฐานอยูกับธรรมชาติ (Nature-based Tourism) 2) เป น การท อ งเที่ ย วที่ มี ก ารจั ด การอย า งยั่ ง ยื น (Sustainably Managed Tourism) 3) เปนการทองเที่ยว สิ่งแวดลอมศึกษา (Environmental Education-based Tourism) 4) เปนการทองเที่ยวอยางมีสวนรวมของชุมชน (Community Participation-based Tourism) นโยบายการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ที่ททท.ทําจึงสอดคลองกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ในป 2541 มีการประกาศใชนโยบายการทองเทีย่ วเชิงนิเวศ แหงชาติ แตประเทศประสบวิกฤตดานเศรษฐกิจทําใหรัฐมุงใช การทองเทีย่ วเปนเครือ่ งมือในการกูว กิ ฤตเศรษฐกิจชาติและมุง เนน การตลาดเพือ่ ดึงนักทองเทีย่ วใหมาทองเทีย่ วในเมืองไทยซึง่ สามารถ ตอบสนองนโยบายของรัฐในระยะสัน้ มากกวาการผลักดันนโยบาย และแผนปฏิบตั กิ ารดานการทองเทีย่ วเชิงนิเวศซึง่ เปนงานระยะยาว การพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยวเชิงนิเวศจึงชะลอตัวลง และ 08 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

การประชาสัมพันธการทองเที่ยวไทยผานสโลแกน Amazing Thailand กลายเปนภาพลักษณติดตลาดการทองเที่ยวไทยแทน นับแตป 2541 เปนตนมา ตอมาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ไดใช “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ควบคูกับการพัฒนาแบบองครวม ทีม่ คี นเปนจุดศูนยกลางของการพัฒนา และแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) มุงสู ”สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน” (Green and happiness Society) ภายใตแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง งานวิจัยเพื่อทองถิ่นประเด็นการทองเที่ยวโดยชุมชน… การกาวขยับของการนําวิชาการและกระบวนการวิจัย สรางความเขมแข็งของชุมชน การทองเที่ยวโดยชุมชนเริ่มมีการขยายผลและดําเนินการ อยางตอเนื่องในหลายพื้นที่ หลังจากที่ มอส.ถอดชุดความรูเรื่อง การทองเที่ยวโดยชุมชน ผานคูมือการทองเที่ยวโดยชุมชน ในป 2546 ในปเดียวกันที่สํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น ไดสนับสนุนทุนวิจัยและกระบวนการวิจัย ใหกับชุมชนที่สนใจในการดําเนินการเรื่องการทองเที่ยวโดยชุมชน อาทิ บานแมกําปอง บานแมกลางหลวง บานผาหมอน จังหวัด เชียงใหม บานหนองแมนา จังหวัดเพชรบูรณ บานบอเจ็ดลูก จังหวัด สตูล เปนตน โดยการใชองคความรูที่มีอยูผนวกกับโจทยวิจัย และ กระบวนการวิจัยที่มาจากชุมชนและดําเนินการโดยคนในชุมชน การทองเที่ยวโดยชุมชนก็ ไดสถาปนาตนอยางมีงานวิจัยในการ รองรับโดยใชงานวิจัยเพื่อทองถิ่นเตรียมความพรอมชุมชนในการ จัดการทองเทีย่ วอยางเปนขัน้ เปนตอน มีกระบวนการจัดการความรู อยางเปนระบบ และสรางการแลกเปลีย่ นเรียนรูร ะหวางนักวิจยั เกา


เรื่องจากปก

และใหม ใ นชื่ อ ที่ เ รี ย กขานว า “ริ ม ระเบี ย ง” อั น เป น แนวทาง การทํางานในการยกระดับงานวิจัยจากชุมชนสูเครือขายระหวาง ชุมชนบนฐานงานวิจัย ความรวมมือในการขับเคลื่อนงานวิจัยและงานพัฒนา สูการยอมรับในระดับนโยบาย ในช ว งป 2545 การท อ งเที่ ย วของประเทศไทยมี ก าร ปรับเปลี่ยนครั้งใหญ มีการปรับโครงสรางการทํางานดานการ ทองเทีย่ ว มีการจัดตัง้ กระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬาขึน้ และแยก บทบาทดานการสงเสริมการทองเที่ยวออกเปนสองสวน กลาวคือ

1) งานดานการพัฒนาแหลงทองเที่ยว บริการทองเที่ยว ทะเบียน ธุรกิจนําเทีย่ วและมัคคุเทศกอยูก บั กระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬา และ 2) งานดานการตลาดอยู ในการดูแลของการทองเที่ยว แหงประเทศไทย ซึ่งมีฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ ภายใตกระทรวง การทองเที่ยวและกีฬา ในป 2546 มีการจัดตั้งองคการบริหารพื้น ที่พิเศษเพื่อ การทองเที่ยวอยางยั่งยืน (อพท.) เปนองคกรมหาชนภายใตสังกัด นายกรัฐมนตรี มีภารกิจในการประสานการบริหารจัดการการทองเทีย่ ว กับสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครองสวนทองถิน่ ในพืน้ ทีๆ่ มีการประกาศเปนพื้นที่พิเศษ

ในป 2549 Node หรือศูนยประสานงานชุดประเด็น การทองเที่ยวโดยชุมชน ของสกว.ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น ไดรวมกับ REST กอตั้ง สถาบันการทองเที่ยวโดยชุมชน (Thailand Community Based Tourism : CBT-I) ขึ้น เนื่องจากวิเคราะหวา งาน CBT ที่ทั้งสององคกรดําเนินการอยู มีคุณคาในการพัฒนาคน พัฒนาชุมชน และเปนทางเลือกของ การทองเที่ยวที่ยั่งยืน แตยังมีขอจํากัดในการขยายผล และยังไมสามารถสรางการเปลี่ยนแปลงในเชิงนโยบายได §Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 09


เรื่องจากปก

การรวมมือกันโดยใชจุดแข็งของทั้งสององคกร ไดแก งานวิจัย งานพัฒนา และสงเสริมการตลาด CBT มาลดจุดออนกัน และกันในเรือ่ งความตอเนือ่ งหลังสิน้ สุดงานวิจยั และการขับเคลือ่ น งานเชิงนโยบายบนฐานความรูแ ละขอมูล นาจะทําใหการทองเทีย่ ว โดยชุมชนสรางการเปลี่ยนแปลงได ซึ่งคําถามสําคัญและนับเปน ความทาทายในชวงนั้นจาก ดร.สินธุ สโรบล ผูริเริ่มในการสราง Node ทองเที่ยวโดยชุมชนของสกว.ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น และผูมี บทบาทสําคัญในการกอตั้ง CBT-I คือ “การทองเที่ยวโดยชุมชน พรอมหรือไมทจี่ ะขับเคลือ่ นบนถนนสายหลัก ไมใชแคการทองเทีย่ ว นอกกระแส” ผูนําการพัฒนา…ผูนําการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) กาวแรกของ CBT-I ในการตอบคําถามเรื่อง “CBT จะเปน การทองเที่ยวนอกกระแสตอไปหรือไม” คือการจัดการฝกอบรม ผนวกกับการศึกษาดูงานใหกับผูนําชุมชน CBT ทั่วประเทศจํานวน 10 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

30 คน ทีป่ ระเทศลาว รวมกับวิทยาลัยวิจยั เพือ่ ทองถิน่ ซึง่ ในขณะนัน้ ดร.สินธุ สโรบล เปนผูอ าํ นวยการ โดยเนือ้ หาการฝกอบรมครอบคลุม เรื่องกระแสวิกฤตโลกวิกฤตพลังงาน อุตสาหกรรมทองเที่ยว การตลาดการทองเทีย่ ว ยอนดูการทองเทีย่ วเพือ่ นบานยอนดูตนเอง และปรึกษาหารือกับผูนําที่เขารวมโครงการ Change Agent วาจะ กลาปกธง CBT ในการทองเที่ยวกระแสหลักหรือไม หากกลา ปกธงจะมีกระบวนการสรางการยอมรับอยางไร เริ่มตนที่ตองเรียกขานตนเองอยางภาคภูมิใจวา CBT หรือการทองเที่ยวโดยชุมชน ชวงทีก่ ารทองเทีย่ วโดยชุมชนเติบโตเปนชวงเดียวกับกระแส เรือ่ งการทองเทีย่ วเชิงนิเวศกําลังเขามาในประเทศไทย รวมทัง้ การ มีชื่อเรียกขานจัดกลุม/ประเภทการทองเที่ยวตางๆ ตามกิจกรรม หรือลักษณะพื้นที่ อาทิ การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ (บางกลุมนิยม เรียก Ecotourism ในชือ่ นี)้ การทองเทีย่ วเชิงเกษตร การทองเทีย่ ว เชิงวัฒนธรรม การทองเที่ยวสัมผัสวิถีชีวิตชนบท (Homestay


เรื่องจากปก

ของไทยใชชอื่ ภาษาไทยแบบนี้ แตตวั ชีว้ ดั และการประเมินใหความ สําคัญที่บานพักเปนหลัก) ฯลฯ จึงมีการทําความเขาใจรวมกัน ในแนวคิดการทองเที่ยวโดยชุมชนอีกครั้งหนึ่ง และเห็นรวมกันวา หัวใจสําคัญของการทองเทีย่ วโดยชุมชน คือ “ชุมชนมีสว นรวมและ เปนเจาของ สรางการแลกเปลี่ยนเรียนรู และบริหารจัดการอยาง ยัง่ ยืน โดยใหการทองเทีย่ วเปนเครือ่ งมือในการพัฒนาคนและชุมชน ในเรื่องการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมทองถิ่น และ มีการกระจายผลประโยชนอยางเปนธรรม” โดยทีช่ มุ ชนแกนนําตอง พรอมทีจ่ ะเรียกการทองเทีย่ วทีช่ มุ ชนทําวา “CBT หรือการทองเทีย่ ว โดยชุมชน” รางวัลดานการทองเที่ยว เมื่อเริ่มปกธง…ก็ตองเริ่มสรางการยอมรับ กลยุทธในการ สรางการยอมรับในระหวางป 2550-2556 คือการสงชุมชน เขาประกวดรางวัลหรือรับมาตรฐานการทองเที่ยว การเชื่อมโยง กับกระแสการพัฒนาไมวาจะเปนเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ลดภาวะ โลกรอน สุขภาวะชุมชน หรือชุมชนตนแบบ ดังนั้น หลังจากกลับ มาจากการฝกอบรม Change Agent ชุมชน CBT ก็เริ่มสงชุมชน เขาประเมินรางวัลอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว มาตรฐานโฮมสเตย และ พัฒนาเปนแหลงเรียนรูเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง กลายเปนพื้นที่ ศึกษาดูงานใหกบั ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิน่ และหนวยงาน ตาง ๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ ชุมชนบางแหงก็พัฒนาจาก เปนแหลงดูงานเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมาทําเรื่องการทองเที่ยว โดยชุมชนในที่สุด มาตรฐานการทองเที่ยวโดยชุมชน เมือ่ CBT เปนทีร่ จู กั และเปนทีย่ อมรับ ทําใหมชี มุ ชนทองเทีย่ ว ใหมๆ เกิดขึน้ แตไมไดใชแนวคิดและกระบวนการการมีสว นรวมของ ชุมชนในการจัดการทองเที่ยวและวางแผนการจัดการทรัพยากร การทองเที่ยวอยางบูรณาการ เกิดการลอกเลียนแบบกิจกรรม ทองเที่ยว แตไมไดยึดเปาหมายและหลักการ และโหนกระแสที่ CBT กําลังเปนที่ยอมรับเรียกตนเองวา CBT ทําใหแนวทางที่วางไว และนักทองเที่ยวที่ใหความสนใจดานการแลกเปลี่ยนเรียนรูสับสน ผิดหวัง บริษัทนําเทีย่ วทีต่ อ งใชเวลาและความตอเนือ่ งในการทําให ตระหนักและเห็นความสําคัญของการสนับสนุน CBT ตั้งคําถามวา CBT แทหรือ CBT เทียม การผลักดันใหเกิดมาตรฐานการทองเทีย่ ว โดยชุมชนทีป่ ระชาชนมีสว นรวมและใชการเทียบเคียงกับมาตรฐาน สากลจึงเกิดขึน้ ดวยการผลักดันของสถาบันการทองเทีย่ วโดยชุมชน

เพื่อใหมาตรฐาน CBT เปนเครืองมือหนึ่งในการยืนยันความเปน “ของจริง” และทําให “ของเทียม” ไมมาทําลายความดีความงาม ที่ชุมชนรวมสรางขึ้นมา เชื่อมโยงเครือขายและสรางการเปลี่ยนแปลง ทางนโยบาย ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (2555-2559) สาระสําคัญคือ การมุง หวังให “สังคมอยูร ว มกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรมและมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” ในสวนที่เกี่ยวของ กับการทองเที่ยวโดยตรง คือยุทธศาสตรการสรางเศรษฐกิจ ฐานความรูและการสรางปจจัยแวดลอม พัฒนาภาคบริการ โดย เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันของธุรกิจบริการที่ใชความเปน ไทยและการสรางความรูใ หมๆ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน บริหารจัดการการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน รวมทัง้ เสริมสรางความเขม แข็งใหภาคเอกชน ทองถิ่น ชุมชน ผูประกอบการรายยอย และ วิสาหกิจชุมชนในอุตสาหกรรมทองเที่ยว กาวเขามาครึ่งทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 11 ในขณะที่ภาคประชาชนมีองคความรู มีเครือขายการทองเที่ยว โดยชุมชนทัง้ ในระดับจังหวัด และระดับภาค มีมาตรฐานทีจ่ ะสราง ความมัน่ ใจใหกบั ผูป ระกอบการและผูใ ชบริการ ณ วันนี้ CBT พรอม จะกาวไกลขึ้นอยูกับวาทุกฝายจะรวมมือรวมใจอยางไร • หนวยงานดานการทองเที่ยว ในป 2551 มีการออกพระราชบัญญัตกิ ารทองเทีย่ วแหงชาติ ซึง่ มีจดุ มุง หมายเพือ่ ใหมกี ารกําหนดนโยบายและการบริหารจัดการ การทองเที่ยวเปนไปอยางมีระบบสอดรับและเชื่อมโยงกันทั้งใน ระดับชาติ ป 2552 รัฐบาลประกาศใหการทองเที่ยวเปนวาระแหงชาติ หลังจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก ปญหาความไมสงบทํางการเมืองและ การแพรระบาดของโรคตางๆ รัฐบาลไดใหความสําคัญของภาค การทองเที่ยวเพื่อเขามากูวิกฤต 2552 และไดทําแผนกูวิกฤตและ มาตรการกระตุนการทองเที่ยว ป 2552-2555 ขึ้น โดยสรุป หนวยงานของรัฐที่ดําเนินเรื่องการทองเที่ยว โดยตรง ไดแก • กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ดูแลในเรื่องนโยบาย สงเสริมสนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว และการกีฬา โดยมีหนวยงานในกํากับดูแล ไดแก

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 11


เรื่องจากปก

• สํานักงานปลัดกระทรวงการทองเที่ยว เปนศูนยกลาง การบริหารงานของกระทรวงในการพัฒนายุทธศาสตร แปลงนโยบายเปนแผนปฏิบตั ิ มีสาํ นักงานทองเทีย่ วและ กีฬาจังหวัด เปนหนวยงานปฏิบัติการภายใตการกํากับ ดูแลของสํานักปลัดกระทรวง • กรมการทองเที่ยว ทําหนาที่สงเสริมการพัฒนาแหลง ทองเที่ยวและพัฒนาบริการทองเที่ยว • การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (รัฐวิสาหกิจ) ทําหนาที่ สงเสริมการตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศ • องคการบริหารพื้นที่พิเศษเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) ทําหนาที่ประสานความรวมมือของ หนวยงานตางๆ เพื่อพัฒนาพื้นที่พิเศษอยางยั่งยืน อยางไรก็ตาม การขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรม ทองเทีย่ วตองมีทงั้ ภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา โดยภาครัฐ มีบทบาทในการกําหนดนโยบาย ดําเนินการ กํากับ ควบคุม ดูแล และสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว ภาคเอกชนเปนฟนเฟองสําคัญ ในการขับเคลือ่ น กระตุน และสงเสริมใหอตุ สาหกรรมการทองเทีย่ ว พัฒนาอยางเปนรูปธรรม ในขณะที่สถาบันการศึกษามีบทบาท สําคัญในการพัฒนาบุคคลกรใหกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยว รวมทัง้ วิจยั และหาองคความรูท าํ งวิชาการเพือ่ ชีน้ าํ ทิศทํางการพัฒนา • กลไกและเครื่องมือในการสงเสริมสนับสนุนการทองเที่ยว เชิงนิเวศ การพัฒนาขีดความสามารถของแหลงทองเที่ยวและบุคคล ากรดานการทองเที่ยวใหสามารถทํางานไดอยางมีความรู-ความ สามารถ และสามารถเขาถึงทรัพยากรการสงเสริมสนับสนุนของ 12 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

รัฐไดเปนเรือ่ งทีม่ คี วามสําคัญ จากการศึกษาเอกสาร พอจะประมวล กลไกและเครื่องมือในการสงเสริมสนับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ ไดดังนี้ • สภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวแหงประเทศไทย (Tourism Council of Thailand) เปนองคกรภาคเอกชน มีฐานะ เปนนิตบิ คุ คล มีอาํ นาจหนาทีด่ าํ เนินการตามวัตถุประสงค ทีก่ าํ หนดในพระราชบัญญัตสิ ภาอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว แหงประเทศไทย พ.ศ. 2544 เปนตัวแทนของผูป ระกอบ อุตสาหกรรมทองเที่ยวในดานการประสานงานอยางมี ระบบ ระหวางรัฐกับเอกชน และเอกชนกับเอกชนดวยกัน สงเสริมใหมีระบบการรับรองคุณภาพระบบมาตรฐาน และระบบประกันคุณภาพของธุรกิจ ที่เกี่ยวกับสินคา หรือบริการสําหรับนักทองเที่ยวและสงเสริมผูประกอบ อุตสาหกรรมทองเที่ยวใหดําเนินการอยางมีคุณภาพ และมีจรรยาบรรณ • คณะกรรมการการนโยบายการท อ งเที่ ย วแห ง ชาติ ตั้งขึ้นตาม พรบ.การทองเที่ยวแหงชาติ พ.ศ.2551 มี หนาที่ จัดทําและเสนอนโยบาย ยุทธศาสตร หรือ มาตรการเพือ่ สงเสริมการบริหารและพัฒนาการทองเทีย่ ว ตอคณะรัฐมนตรี จัดทําแผนพัฒนาการทองเทีย่ วแหงชาติ ดําเนินการเพือ่ ใหมกี ารกําหนดเขตพัฒนาการทองเทีย่ ว พิจารณาใหความเห็นชอบและกํากับดูแลการดําเนินการ ภายในเขตพัฒนาการทองเที่ยว และ กําหนดและจัดให มีการรับรองมาตรฐานเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวหรือ อุตสาหกรรมทองเที่ยว


เรื่องจากปก

ซึ่งในองคประกอบของคณะกรรมการไดมีตัวแทนของ ภาคประชาชน ไดแก นายกสมาคมองคการบริหารสวนจังหวัด แหงประเทศไทย และนายกสมาคมองคกรบริหารสวนตําบล แหงประเทศไทยเปนกรรมการ นอกจากองคกรปกครองสวนทองถิน่ จะเปนหนวยการพัฒนาในระดับพืน้ ทีแ่ ลวยังมีบทบาทในการกําหนด นโยบายและบริหารจัดการทองเที่ยวของประเทศในภาพรวม • กองทุนสงเสริมการทองเที่ยวไทย อยูภายใตการกํากับ ดูแลของคณะกรรมการนโยบายการทองเที่ยวแหงชาติ มีวัตถุประสงคเพื่อ - พัฒนาการทองเที่ยว - สรางขีดความสามารถในการแขงขันใหอตุ สาหกรรม ทองเที่ยว - พัฒนาทักษะดานการบริหารการตลาด - อนุรักษทรัพยากรทองเที่ยวในชุมชน - ดูแลรักษาคุณภาพแหลงทองเที่ยว - สงเสริมสินคาทํางการทองเที่ยวใหมๆ ในทองถิ่น • มาตรฐานการทองเที่ยว กรมการทองเที่ยวมีการจัดทํา มาตรฐานทั้งหมด 26 มาตรฐาน แบงออกเปน 4 กลุม ไดแก 1) มาตรฐานทีพ่ กั เพือ่ การทองเทีย่ ว 2) มาตรฐาน

ดานการบริการเพือ่ การทองเทีย่ ว 3) มาตรฐานกิจกรรม เพื่อการทองเที่ยว 4) มาตรฐานแหลงทองเที่ยว ซึ่งการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนมาตรฐานหนึ่งในกลุมมาตรฐาน แหลงทองเที่ยว • งานวิจัยดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อใหการพัฒนา แหลงทองเที่ยวหรือกิจกรรมทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนไป อยางมีความรูประกอบการวางแผนและการตัดสินใจ การมีการวิจัยเพื่อนําผลการวิจัยมาพัฒนาหรือวางแผน ที่ผานมาหนวยงานที่มีการใชงานวิจัยศึกษาเรื่องระบบ นิเวศเพื่อใชวางแผนเรื่องการทองเที่ยว คือ โครงการ พั ฒ นาองค ค วามรู  แ ละศึ ก ษานโยบายการจั ด การ ทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (BRT) และงานวิจัย ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ทั้งงาน Area-based Collaborative Research (ABC) และ งานวิจัยเพื่อทองถิ่น เชนงานวิจัยเรื่องความหลากหลาย ทํางชีวภาพเพื่อการทองเที่ยวเชิงนิเวศ จ.แมฮองสอน ป พ.ศ.2539-2542

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 13


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคเหนือ

15การทป องเที่ยว บนรอยทาง…

โดยชุมชน

ภาคเหนือ สุภาวิณี ทรงพรวาณิชย1

“จากแนวคิดเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืนที่เปนแนวคิดหลักของการพัฒนาโลก เมื่อ 20 ปที่ผานมา สกว. เล็งเห็นวาแนวคิดนี้นาจะเปนฐานคิดสําคัญ ในการนํามาพัฒนาการทองเที่ยว โดยเริ่มตั้งคําถามวา จะทําอยางไร ใหชาวบานผูมีสวนไดเสียและเปนผูจัดการแหลงทองเที่ยวจะเขามามี บทบาทและมีสวนรวมในการจัดการแหลงทองเที่ยวของชุมชน โดยเราเติม “กระบวนการวิจัย” เขาไป เริ่มจากชวนชาวบานคิด วิเคราะห ปญหา และวางแผน จัดการปญหาดวย “ขอมูล” และใหความสําคัญกับ กระบวนการมีสวนรวมเปนหลัก” ดร.สินธุ สโรบล (2545)

1

สถาบันการทองเที่ยวโดยชุมชน

14 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคเหนือ

นับเปนคําสอนที่มาพรอมการทํางานรวมกันตั้งแตป

พ.ศ. 2545 ในยุคเริ่มกอตั้ง เครือขายการเรียนรูและประสานงาน วิจัยการทองเที่ยวโดยชุมชน สกว.สํานักงานภาค ณ จังหวัด เชียงใหม ในยุคที่ฉันเพิ่งเริ่มรูจักคําวา “การทองเที่ยวโดยชุมชน” เริ่มตั้งหลัก จากแนวคิดสูการปฏิบัติ … CBT Node … สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝายวิจัยเพื่อ ทองถิ่น ไดสนับสนุนใหเกิดการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางทางเลือก ใหกับระบบการทองเที่ยวแนวใหมที่แตกตางจากเดิม โดยเนน การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีสว นรวมในรูปแบบของ “การทองเทีย่ ว โดยชุมชน” โดยมุงพัฒนาให “คนในชุมชน” เปนหัวใจสําคัญของ การจัดการทองเที่ยวและไมเพียงแตตอบสนองความตองการของ นักทองเทีย่ วเทานัน้ แตไดเนนถึงการสรางศักยภาพของคนในทองถิน่ ผูประกอบการ ผูใหบริการ โดยใชงานวิจัยเปนเครื่องมือสราง กระบวนการเรียนรู ใหคนในทองถิน่ เขามามีสว นรวมในการจัดการ ท อ งเที่ ย วของชุ ม ชน เพื่ อ นํ า ไปสู  ก ารดู แ ลรั ก ษาและฟ  น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติโดยใหมคี วามสมดุลกับภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ และ อัตลักษณทางวัฒนธรรมรวมทัง้ การเกือ้ กูลตอเศรษฐกิจของชุมชน ในอนาคต การสนับสนุนงานวิจัยเพื่อทองถิ่นประเด็นการทองเที่ยว โดยชุมชนดังกลาวนั้นไดเริ่มมีการสนับสนุนมาตั้งแตป พ.ศ.2542 จวบจนถึงป พ.ศ.2545 มีจาํ นวนโครงการวิจยั ประมาณ 40 โครงการ ทัว่ ภาคเหนือ และในป 2545 ทางเครือขายการเรียนรูแ ละประสาน งานวิ จั ย การท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชนได ดํ า เนิ น การสั ง เคราะห ถอดประสบการณจากโครงการวิจัยดังกลาว โดยมุมมองจาก นักวิชาการ ในการถอดประสบการณ ยกระดับองคความรู งาน วิจัยการทองเที่ยวโดยชุ โดยชุมชน สรุปปประสบการณที่ไดเปนบทเรียน เพื่อใชในการขยายฐานงาน ฐาน คน และฐานองคความรู ในการ สรางกระบวนการเรียนรูร ว มกัน เพื่อพัฒนาการทองเที่ยวโดย ชุ ม ชนของไทยให เ กิ ด ความ ยั่งยืน โดยการสังเคราะห อออกมาเป น หนั ง สื อ เล ม นี้ นับเปนจุดเริ่มตนของการ สสนั บ สนุ น งานวิ จั ย เพื่ อ ท อ งถิ่ น ประเด็ น การ ทท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน

ภายใต Node CBT และการประสานงานของ ดร.สินธุ สโรบล พรอมเจาหนาที่ดําเนินงานอีก 3 ทาน ยุคแหงการสรางพื้นที่รูปธรรม บนฐานบทเรียนและประสบการณของโครงการวิจัยกวา 40 โครงการ ทําใหเราพบบทเรียนการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน โดยคนทองถิ่นผานกระบวนการวิจัยเพื่อทองถิ่น ดร.สินธุ สโรบล นําทีมเพือ่ สรางพืน้ ทีร่ ปู ธรรมผานการผลิตซํา้ การสนับสนุนงานวิจยั การทองเที่ยวโดยชุมชน โดยกระบวนการวิจัยเพื่อทองถิ่น

ในยุคนี้ตั้งแตป พ.ศ.2545 ถึง พ.ศ.2549 โจทยวิจัยมุงเนน การสรางพื้นที่รูปธรรม เพื่อพิสูจนใหเห็นวาชุมชนทองถิ่นสามารถ ใช ก ารท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชนเป น เครื่ อ งมื อ ในการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาวัฒนธรรมทองถิ่น และพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผานการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน โดยมีพื้น ที่รูปธรรม หลายแหงทีเ่ ปนผลผลิตในชวงยุคแหงการสรางพืน้ ทีร่ ปู ธรรมนี้ อาทิ โครงการ การจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยการมีสวนรวมของ ชุมชนหนองแมนา และอุทยานแหงชาติทุงแสลงหลวง จังหวัด เพชรบูรณ โดย คุณกนิษฐา อุยถาวร หรือ โครงการ รูปแบบ การจัดการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน บานผาแตก อําเภอแมแตง จังหวัด เชียงใหม โดย คุณดุษณีย ชาวนา หรือ โครงการ การจัดการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศโดยชุมชนชาวประมงพื้น บาน กวานพะเยา จังหวัดพะเยา โดย คุณสมศักดิ์ เทพตุน หรือโครงการการทองเทีย่ ว เชิงอนุรักษบานแมกําปอง โดย คุณพรมมินทร พวงมาลา เปนตน

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 15


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคเหนือ

ขยับ ยกระดับโจทยวิจัยสูการสรางความรู ใหม เมือ่ ตองสรางความรูใ หมในขณะทีส่ ถานการณการทองเทีย่ ว ในประเทศไทยกําลังรุกคืบเขาสูชุมชนมากขึ้น การมอง วิเคราะห และยกระดับโจทยวิจัยจึงเปน ประเด็น ทาทายของคณะทํางาน ขณะนัน้ ดวยการทํางานทีม่ วี สิ ยั ทัศนของ ดร.สินธุ สโรบล อาจารย 16 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

นําพาทีมสูการวิเคราะหสถานการณ ทิศทาง นโยบายการพัฒนา การทองเทีย่ วของไทยเปนระยะ จากการวิเคราะห คาดการณ และ การติดตามสถานการณอยางตอเนื่อง ในยุคของการขยับและ พัฒนาโจทยวจิ ยั เพือ่ ใหสอดรับกับสถานการณปจ จุบนั โจทยในยุคนี้ จึงมีหลายลักษณะ ไดแก การศึกษาวิจยั เพือ่ แกไขปญหาผลกระทบ


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคเหนือ

จากการทองเทีย่ วและจัดการ CBT บนฐาน Mass Tourism งานวิจยั ประเด็นนีจ้ งึ เนนใชกระบวนการวิจยั เพือ่ ทองถิน่ ในการเขาไปจัดการ แกไข และจัดระบบใหเกิดการทองเที่ยวที่ชุมชนเขามามีสวนรวม มากขึ้น และสราง CBT Model ใหมๆ ในเขตพื้นที่ Mass Tourism อาทิเชน โครงการวิจยั รูปแบบการจัดการทองเทีย่ วโดยการมีสว นรวม ของชุมชนทับเบิก อําเภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ และ โครงการ วิจัยเรื่อง แนวทางการจัดการทองเที่ยวโดยความรวมมือระหวาง ชุมชนและเทศบาลตําบลแมยาว อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย และ โจทยการศึกษาวิจัยและพัฒนาภาพกวาง เหนือมิติของชุมชน การ ศึกษาวิจัยระดับเหนือชุมชน เปนการศึกษาในประเด็นอื่นๆ ที่ไมใช การเตรียมความพรอมของชุมชน แตเปนการจัดการบางเรื่อง ในระบบของการทองเที่ยว เชนกรณี โครงการ ศึกษาและพัฒนา ระบบเครือขายการทองเทีย่ วโดยชุมชน จ.เชียงใหม โดย คุณโฉมสิริ ทิมสุทนิ หรือโครงการการพัฒนาระบบสาสนเทศเพือ่ การทองเทีย่ ว อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท โดย คุณอิสระ ศิริไสยาสตร หรือ โครงการการศึกษาวิจยั ดานนักทองเทีย่ ว (Demand) โดย ผศ.นุชรี

กิมสุวรรณ หรือ การจัดทําสือ่ ภูมปิ ระเทศจําลอง (Model) เพือ่ การ ทองเที่ยวดอยหลวงเชียงดาว โดย คุณโอฬาร อองฬะ เปนตน ยุคขยับรวม สรางภาคีการทํางานจาก Research สู Movement เมื่อมีองคความรูจากกการสนับสนุนงานวิจัยเพื่อทองถิ่น ประเด็ น การท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน จนถึ ง ป พ.ศ. 2549 กว า 50 โครงการวิจัย Node CBT ในขณะนั้นมีเปาหมายเพื่อขยายผล องคความรูจากงานวิจัยเพื่อทองถิ่น ที่มีสูการเชื่อมตอจิ๊กซอว การทํางานกับภาคีอื่นๆ เพื่อหวังผลขยายความรูงานวิจัยสูการ ขับเคลื่อนสังคม การไดพบกับโครงการทองเที่ยวเพื่อชีวิตและ ธรรมชาติ (REST) องคกรพัฒนาเอกชนที่ ใชการทองเที่ยวเปน เครื่องมือในการพัฒนาชุมชน นับวาเปนการสอดประสานแนวคิด อุดมการณบนพื้นฐานความเชื่อเดียวกันไดอยางสอดรับและลงตัว จึงนับเปนยุคของการขยับขับเคลือ่ นสูก ารเปนองคกรอิสระ โดยการ รวมตัวกันของทั้งสององคกร ภายใต มูลนิธิสถาบันการทองเที่ยว §Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 17


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคเหนือ

โดยชุมชน (Community Based Tourism Institute : CBT-I) กอตัง้ ขึน้ ปลายป พ.ศ.2549 บนพืน้ ฐานความเชือ่ ทีว่ า “การทองเทีย่ ว เปนเครือ่ งมือในการพัฒนาชุมชน และเพือ่ ใหการทองเทีย่ วทีเ่ ขาไป ในชุมชนชนบทยั่งยืน ชุมชนจะตองเขามามีสวนรวมและไดรับ ประโยชนจากการทองเทีย่ ว” CBT-I เปนการประสานความรู ความ สามารถ และทักษะการทํางานระหวางองคกรที่มีภูมิหลังดานการ พัฒนาคนและองคกรชุมชนดานการทองเที่ยวโดยชุมชนมา 12 ป กับหนวยงานที่มีพื้นฐานงานทางดานวิชาการ และงานวิจัยเพื่อ ทองถิ่นเรื่องการทองเที่ยวโดยชุมชนมากวา 5 ป เขามาทํางาน รวมกันเพื่อผลักดันงานการทองเที่ยวโดยชุมชนใหเปนที่ยอมรับ ทั้งในระดับนโยบายและสรางคุณภาพใหมของการทองเที่ยวที่เนน การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางคนตางวัฒนธรรม โดยที่ชุมชน ทองถิน่ เปนเจาของและมีสว นรวมในการกําหนดทิศทางการพัฒนา ยุคสรางที่ยืนจากภาคประชาชนสูภาคนโยบายผาน… พลังเครือขายฯ… การก า วขยั บ สู  โจทย วิ จั ย ระดั บ เครื อ ข า ย เกิ ด ขึ้ น จาก ยุทธศาสตรการประสานสิบทิศ เพือ่ ทําใหเสียงของประชาชนมีพลัง และดังพอถึงการเปลีย่ นแปลงในระดับนโยบาย จุดเริม่ ตนของการ ขยับงานเครือขายฯ เกิดขึ้นจากเวทีริมระเบียงงานวิจัย ที่เปนพื้นที่ ใหเครือขายนักวิจยั กวา 60 โครงการทัว่ ภาคเหนือไดมาแลกเปลีย่ น เรียนรู พบปะ พูดคุยถึงสถานการณการทองเทีย่ วโดยชุมชนในพืน้ ที่ ของตนเอง ผานการวิเคราะหสถานการณภายนอก จากเวทีเล็กๆ ที่เปนเพียงการสรางพื้นที่ ใหเครือขายนักวิจัยชุมชนไดมีพื้นที่การ พูดคุยนัน้ เหนือกวาการไดพบกัน จากริมระเบียงงานวิจยั สูก ารคิด

18 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

การณใหญ ขยับและทําเรื่องที่เหนือกวาระดับพื้นที่ชุมชนเล็กๆ เพียงแตในหมูบานของตนเอง การเชื่อมความคิด ความสัมพันธ ของคน พีน่ อ งนักวิจยั จึงเปนจุดเริม่ ตนของการกาวขยับสู “เครือขาย การทองเที่ยวโดยชุมชน” เริ่มจากป พ.ศ.2550 ภายใตโครงการ พัฒนาเครือขายการทองเทีย่ วโดยชุมชน เพือ่ การอนุรกั ษทรัพยากร การทองเที่ยวอยางยั่งยืน (Community Based Tourism) โดย ผศ.จิตศักดิ์ พุฒจรและคณะ สนับสนุนโดย สํานักพัฒนาการ ทองเที่ยว กรมการทองเที่ยว กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา ถือเปนโอกาสใหเครือขายฯ ไดเปนจุดเริ่มในการขยับเคลื่อน และ สรางเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชน งานนั้นนับวาเปนเพียงการ จุดประกายเทานั้น และยังสงผลตอในการทํางานระดับพื้น ที่ ที่เขมขนตามมา โดยหลังจากโครงการดังกลาว จังหวัดเชียงใหม เปนจังหวัดแรกที่กลับมาพูดคุยและสรางกลไกระดับจังหวัด ในป พ.ศ.2551 ตลอดจนประสานการทํางานรวมกับจังหวัดและสามารถ สรางพื้นที่ยืนของภาคประชาชนในภาคการทองเที่ยวโดยชุมชน สูระดับนโยบายจังหวัด รวมกับ สํานักงานจังหวัด สํานักงาน การทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย เมื่อสถานการณ ปญหาและผูคน สุกงอม แรงและพลัง ก็พรอมที่จะระเบิดออกมาจากภายใน ป พ.ศ.2552 และ ป พ.ศ. 2553 เครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดแมฮองสอน และ เครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงราย จึงถือกําเนิด เกิดขึ้นตามมา โดยมุงหวังจะเปนศูนยกลางของการสรางความ เขมแข็งใหกับชุมชนทองเที่ยวในระดับพื้นที่ ชุมชนและเชื่อมรอยสู ระดับจังหวัด ตามแนวคิดและยุทธศาสตรการขับเคลือ่ น การสราง พลังและความเขมขนระดับพื้น ที่เพื่อรวบรวมสูพลังที่ ใหญขึ้น


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคเหนือ

ใหพอที่จะมีแรงผลักในระดับภาคและระดับประเทศตอไป เมื่อ เกิดพลังระดับจังหวัดที่มีการเกาะเกี่ยวกันเขมขน ในป พ.ศ.2552 งานวิจัยเพื่อทองถิ่น เขามาเปนพระเอกสําคัญอีกครั้งในการศึกษา รูปแบบองคกรเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชนที่เหมาะสม เพื่อ ใหเปนการวางรากฐานกําหนดอนาคตบนฐานการคิด วิเคราะห ขอมูลและกระบวนการงานวิจัยเพื่อทองถิ่น จนนํามาสูการจัดตั้ง “สมาคมการทองเที่ยวโดยชุมชนภาคเหนือ” ในป พ.ศ.2555 เปนตน มา นับวาเปน ภูมิภาคแรกของการขยับขับเคลื่อนจาก ภาคประชาชนสูการเปนองคกรอิสระภาคประชาชน (Community Organization) ที่จะทําหนาที่เปนศูนยกลางในการเชื่อมรอย พั ฒ นาศั ก ยภาพชุ ม ชนท อ งเที่ ย วทั่ ว ภาคเหนื อ และประสาน ทรัพยากรจากภาคีตางๆ สูการพัฒนาการทองเที่ยวโดยชุมชน ใหเปนไปตามอุดมการณในการใชการทองเที่ยวเปนเครื่องมือ ในการพัฒนาชุมชน ความพยายามของเครือขายฯ ไมหยุดนิ่งที่จะ เกาะกุมรุมเรา เพือ่ นพองนองพีจ่ ากทัว่ ทุกภาคในการสรางพลังของ ภาคประชาชนให เ สี ย งดั ง และมี พ ลั ง มากพอ บนฐานคิ ด และ กระบวนการวิจยั เพือ่ ทองถิน่ สูพ นี่ อ งเครือขายฯ ภาคใต ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวมกันตอไป ภายใตปรัชญาและอุดมการณของงานวิจัยเพื่อทองถิ่น ที่หวังตัววาจะเปนเครื่องมือใหชุมชนทองถิ่นไดสามารถจัดการ ทรัพยากรในชุมชนเพือ่ สรางการเรียนรูแ ละปกปองรักษาทรัพยากร วัฒนธรรมทองถิน่ ผานการจัดการทองเทีย่ วโดยชุมชน ตามแนวคิด ของ ดร.สินธุ สโรบลทีม่ ปี ณิธาณแนวแนตงั้ แตการเริม่ ตนเปดพืน้ ที่ งานวิจัยเพื่อทองถิ่นประเด็นนี้ขึ้นในฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น สกว. จวบจน 15 ปผาน ในวันนี้ที่ สกว.ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่นไดสนับสนุน งานวิจัยเพื่อทองถิ่น ประเด็นการทองเที่ยวโดยชุมชนในพื้น ที่ ภาคเหนือกวา 110 โครงการวิจัย นักวิจัยชาวบานกวา 1,000 คน และเครือขายภาคีองคกรตางๆอีกกวา 100 หนวยงาน ดอกผลจาก แนวคิดและอุดมการณดังกลาว ไดผลิดอก ออกผล แตกกิ่ง กาน ใบ และขยายรากฐาน สูชุมชนทองเที่ยวทั่วประเทศ ไมเพียงแต จะสะทอนผานองคกรภาคประชาชนในนามของ “สมาคมการ ทองเที่ยวโดยชุมชน” องคกรอิสระในนามของ “มูลนิธิสถาบัน การทองเที่ยวโดยชุมชน” ที่เปรียบเสมือนการเชื่อมตอการทํางาน ในทุกระดับที่จะสามารถประสานการทํางานรวมกันตั้งแตระดับ ชุมชน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภูมภิ าค และระดับประเทศ ณ ขณะนี้ แนวคิดการทํางานการทองเที่ยวโดยชุมชนยังไดแพรขยายเปรียบ เสมือนไวรัสแหงความดีที่ ไดแพรขยายออกจากชุมชนสูหนวยงาน ภาคีตา งๆ ทีว่ นั นีเ้ ริม่ เห็นความสําคัญของภาคประชาชน เปดโอกาส

และพื้นที่ ใหคนในชุมชนมีสิทธิและพัฒนาศักยภาพสูการปกปอง ดู แ ลรั ก ษาฐานทรั พ ยากรชุ ม ชน เพื่ อให ยั ง คงประโยชน สู  ค น ในทองถิน่ อยางแทจริง… วันนี้ “การทองเทีย่ วโดยชุมชน” ไมใชการ ท อ งเที่ ย วที่ ม องมิ ติ เ ศรษฐกิ จ และการใช ป ระโยชน ท รั พ ยากร อยางเดียว แตการทองเที่ยวโดยชุมชน เปนเครื่องมือหนึ่งที่นําไปสู การสรางพื้นที่ สิทธิและการพัฒนาในทุกมิติของชุมชน ทั้งมิติทาง ทรัพยากร สิ่งแวดลอม มิติทางสังคม วัฒนธรรม และมิติทาง เศรษฐกิจ ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี

ในฐานะของคนทํางานที่เปรียบเสมือนฟนเฟองเล็กๆ ของการ พัฒนาการทองเทีย่ วโดยชุมชน หวังใจเพียงวา แนวคิด ปรัชญา ของทานอาจารย ดร.สินธุ สโรบล จะแพรขยายและฝงรากลึก สูการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน เฉกเชนที่อาจารยไดตั้ง ปณิธาณเอาไว ระลึกถึงอาจารยผูเปนตนแบบ… ผศ.ดร.สินธุ สโรบล กรกฎาคม 2557 §Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 19


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคอีสาน

การทองเที่ยวชุมชน:

อุบลราชธานี

กาญจนา ทองทั่ว

กระแสการทองเทีย่ วโดยชุมชน (Community-Based

Tourism) ในจังหวัดอุบลราชธานี ไดกอตัวมาตั้งแตป 2544-45 จากการสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ า ยวิ จั ย เพื่ อ ท อ งถิ่ น ที่ ใ ช ก ระบวนการงานวิ จั ย เพื่ อ ท อ งถิ่ น (Community-Based Research) ในการสรางพื้นที่รูปธรรม โดย มีพื้น ที่ปฏิบัติการแรกที่บานซะซอม อําเภอโขงเจียม จังหวัด อุบลราชธานี เปนหมูบานขนาดเล็ก ที่ตั้งอยู ในเขตแนวกันชน อุทยานแหงชาติผาแตมและเขตปาดงนาทามในเขตฝง ประเทศไทย มีธรรมชาติ วัฒนธรรมทองถิ่น “ลาวสวย” ที่งดงาม ผลจากการ ดําเนินการวิจัยรวมกันของนักวิชาการคนนอก ซึ่งเปน NGOs ที่ทํางานในพื้นที่คือ คุณสดใส สรางโศรก กับชุมชนชาวบาน สราง การตื่นตัวและเปดมุมมองของชุมชนในเรื่องการทองเที่ยว สราง ความเขมแข็งใหกับชุมชน เกิดการรวมตัวของกลุม นําศักยภาพ ทีม่ อี ยูในชุมชนมาเปนฐานของการทองเทีย่ ว เชน ฐานมัดยอมสีผา จากธรรมชาติ ฐานไมกวาดฯ ผนวกกับการเดินปาศึกษาธรรมชาติ ซึ่ ง ป จ จุ บั น ก็ ยั ง คงดํ า เนิ น การต อ นรั บ นั ก ท อ งเที่ ย วที่ ม าจาก ทั่วประเทศและตางประเทศ โดยกลุมการทองเที่ยวบานซะซอม ได รั บ การรั บ รองมาตรฐานโฮมสเตย จ ากการท อ งเที่ ย ว แหงประเทศไทย ซึง่ ตอมาในป2545 จนถึงปจจุบนั ก็ไดกอ เกิดการใชงานวิจยั เพื่อทองถิ่นในการสรางชุมชน พื้นที่การทองเที่ยวที่มีชุมชนเปน นักวิจัยในหลายพื้นที่ เชน โครงการวิจัยการทองเที่ยวเชิงนิเวศน บานวังออ ตําบลหัวดอน อําเภอเขือ่ งใน โครงการวิจยั การทองเทีย่ ว เชิงเกษตรนิเวศนบานบัวเทิง ตําบลทาชาง อําเภอสวางวีระวงศ โครงการวิจัยการทองเที่ยวชุมชนบานผาชัน ตําบลสําโรง อําเภอ 20 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

โพธิ์ ไทร โครงการวิจัยการทองเที่ยวเชิงนิเวศนบนเกาะภูกระแต ตําบลโนนกลาง อําเภอพิบูลมังสาหาร และยังมีโครงการวิจัย ดานการทองเทีย่ วโดยชุมชนอีกหลายพืน้ ทีท่ ี่ใชกระบวนการงานวิจยั เพื่ อ ท อ งถิ่ น ในการขั บ เคลื่ อ น โดยการสนั บ สนุ น ทุ ก ฝ า ยจาก แหลงทุนอืน่ ๆ เชน สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี รวมทั้งยังมีบางชุมชน บางพื้นที่ ทีอ่ งคกรหนวยงานในพืน้ ทีส่ นับสนุนใหเปนแหลงทองเทีย่ วโดยมีการ พัฒนาบนฐานของทรัพยากร วัฒนธรรมทองถิ่นที่เปนทุนเดิมของ ชุมชน แตอยางไรก็ดี ชุมชนทองเที่ยวเหลานี้ก็ไมสามารถนําการ ทองเที่ยวของชุมชนสรางรายไดใหกับชุมชนไดอยางจริงจัง ปจจุบนั การทองเทีย่ วโดยชุมชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี ที่ศูนยประสานงานชุดนักวิชาการจังหวัดอุบลราชธานี ไดมีการ พูดคุยดวยก็พบวาชุมชนที่จัดการทองเที่ยวจะแบงออกเปน 3 กลุม กลุม ทีย่ งั สามารถดําเนินการทองเทีย่ วไดอยางตอเนือ่ ง จะเปนกลุม ทีแ่ กนนําของกลุม มีศกั ยภาพเชือ่ มรอยกับหนวยงาน ภาคีเครือขาย ดานการทองเที่ยวได จึงมีการประสานงาน พัฒนาศักยภาพอยาง ตอเนื่อง รวมทั้งไดรับการสนับสนุนจาก อปท. อยางตอเนื่อง เชน กลุมทองเที่ยวบานซะซอม กลุมการทองเที่ยวเกษตรนิเวศนบาน บัวเทิง อีกกลุมหนึ่งจะเปนกลุมที่ ใชเปน พื้น ที่ศึกษาดูงานจาก หนวยงาน องคกรและชุมชนอื่นๆ ในหลากหลายประเด็น เชน การ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติบานวังออ การบริหารจัดการนํ้า บานผาชัน ฯลฯ สวนกลุม สุดทายจะเปนกลุม ที่ไมมกี ารดําเนินการตอ อันเนือ่ งมาจากหลายสาเหตุ เชนคณะทํางานในพืน้ ทีเ่ ปนแกนนําหลัก ไมไดอยูในพืน้ ที่ ออกไปทํางานตางจังหวัด ไมมนี กั ทองเทีย่ วติดตอ ประสานเขาไปในพื้นที่ ขาดการเชื่อมโยงกับหนวยงาน องคกร


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคอีสาน

ภายนอกทีจ่ ะสนับสนุน แกนนําหลักมีภารกิจหลายดานจึงไมมเี วลา ในการขยายผล ขาดความรูในการเผยแพร สื่อสารกับสาธารณะ หลากหลายเหตุผลทีช่ มุ ชนไมสามารถดําเนินการทองเทีย่ วไดอยาง มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ในขณะเดียวกัน เมื่อทบทวนทุนเดิมของการทองเที่ยวโดย ชุมชนในพื้น ที่จังหวัดอุบลราชธานี จะพบวา แตละพื้น ที่ผาน กระบวนการวิจยั อยางมีสว นรวม มีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยชุมชน เจาของพื้นที่วิจัย มีการกําหนดทิศทาง รูปแบบในการทองเที่ยว โดยอิ ง กั บ ข อ มู ล ศั ก ยภาพ วั ฒ นธรรม ทรั พ ยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจชุมชนของแตละพืน้ ที่ กระบวนการพัฒนาแหลงทองเทีย่ ว ทีช่ มุ ชนเขามามีสว นรวมในการทําขอมูล ความรูใ นพืน้ ที่ นับวาเปน จุดเดนและจุดแข็งของการทองเที่ยวชุมชน ที่ ใชทรัพยากรบุคคล ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรวัฒนธรรมทีม่ อี ยูอ ยางหลากหลาย ในแตละพืน้ ที่ “การจัดการทองเทีย่ วนะ เราคิดวาเรามีความสามารถ ในการจัดการได ถานักทองเที่ยวมาถึงหมูบานเราแลว เรามีทั้ง ทีมวิทยากร ทีมแมครัว มีมัคคุเทศกบรรยายในฐานเรียนรูตางๆ แตสิ่งที่ชุมชนไมสามารถทําไดก็คือ จะทําอยางไรใหนักทองเที่ยว รูจักสถานที่ทองเที่ยวของเราและรวมกลุมกันมา ถามาเพื่อศึกษา ดูงาน ซึ่งจะจัดโดยหนวยงานตางๆ ก็จะเปนกลุม แตสวนใหญ จะพบนักทองเทีย่ วทีม่ า ครัง้ ละคน สองคน เราก็ไมรจู ะเก็บคาใชจา ย อยางไร จะจัดเต็มรูปแบบก็ ไมคุม… เลยเหมือนเพื่อนมาเยี่ยม พาเที่ยวไปในจุดตางๆ” สีหา มงคลแกว แกนนําโครงการรูปแบบ การทองเที่ยวเชิงนิเวศนบานวังออ ชี้ถึงจุดติดขัดในการดําเนินการ ทองเที่ยวโดยชุมชนที่เปนปญหาหลักในการจัดการ จากการสนับสนุนติดตาม หนุนเสริมงานวิจัยเพื่อทองถิ่น ในพืน้ ที่ เราพบวา ชุมชนวิจยั ในแตละพืน้ ทีม่ ศี กั ยภาพ มีความพรอม ในการดําเนินการทองเที่ยวในพื้นที่ชุมชน หมูบาน ซึ่งแตละชุมชน บุ ค ลากรในหมู  บ  า นจะได รั บ การฝ ก ฝนทั ก ษะในการบรรยาย

มีรูปแบบในการตอนรับ มีฐานการเรียนรูและบทบรรยายที่ชุมชน รวมกันเขียนขึน้ มาจากขอมูลทีร่ ว มกันเก็บ ทีส่ าํ คัญมีความตองการ ทีจ่ ะบอกเลาเผยแพรเรือ่ งราวตางๆ ในชุมชน ใหสงั คม ไดรบั รูแ ละ ชืน่ ชม ในขณะเดียวกัน ภายนอกชุมชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี ก็มีสถานที่ทองเที่ยวที่เปนโบราณสถาน วัดวาอาราม ทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม เชน วัดปาในสายวิปสนากรรมฐานของ หลวงปูชา สุภัทโธ หลายสาขา อุทยานแหงชาติ ผาแตม นํ้าตก สรอยสวรรค ผาชนะได อุทยานแหงชาติภจู องนายอย ธรรมมาสสิงห ฝมอื ชางญวนโบราณ ฯลฯ ซึง่ แหลงทองเทีย่ วเหลานีส้ ามารถนํามา เชือ่ มรอยเปนเสนทางการทองเทีย่ วทีผ่ สมผสานไปกับการทองเทีย่ ว ในชุมชนได อยางลงตัว แตปจจุบัน การทองเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี ยังไมมีหนวยงานทั้งภาครัฐ เอกชน สถานศึกษา ไดเขามาชวย ในการจัดการเชื่อมรอยศักยภาพเหลานี้ ใหสามารถดําเนินการได ตามความสามารถของแตละภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและ ชุมชนทองถิ่น โดยยึดหลักคุณธรรมทั้งตอสิ่งแวดลอมและผูมีสวน ไดเสียทุกฝาย เพื่อจะนําไปสูการพัฒนาการทองเที่ยวที่ยั่งยืน บนฐานชุมชนเขมแข็ง เอื้อประโยชนแกคนทุกกลุมอยางเปนธรรม ไดแตหวังวา นาจะมีหนวยงานดานการทองเที่ยวหรือ สถานศึกษาที่มีบุคลากรดานการจัดการทองเที่ยว นําจุดแข็งของ การทองเที่ยวโดยชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี ที่มีศักยภาพเกือบ 20 ชุมชน มาเชื่อรอยกับแหลงทองเที่ยวกระแสหลักในพื้นที่ โดย ประสานกั บ ภาคเอกชนและสื่ อ มวลชนในการผลั ก ดั น ในการ ท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน ได รั บ การพั ฒ นาทรั พ ยากรธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรมและผลิตภัณฑชมุ ชน สามารถสรางมูลคาและคุณคา ใหกับชุมชนคนอุบลราชธานีไดอยางตอเนื่องยั่งยืนตอไป

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 21


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคกลาง

วี ถ ญ ี วน: วัฒนธรรม ภาษา ศรัทธา สูการทองเที่ยวโดยชุมชน

นางสาวชยาภา อานามวัฒน นายเชษฐเดชรัช พงษสุวรรณ1

ญวนหรือ ชาวญวน คือ ชาวเวียดนามโพนทะเล

ที่อพยพหนีภัยทางศาสนา จากประเทศเวียดนาม สมัยที่การเขารีต การนับถือศาสนาคริสตในเวียดนาม ถือเปนความผิดรุนแรงถึง ประหารชีวิต แตเพราะศรัทธานําพากลุมชาวเวียดนามนามคริสต หนีขา มนํา้ ขามทะเล จากแหลมญวนสูก รุงศรีอยุธยา ตรงกับรัชสมัย พระนารายณมหาราช ตอมาชาวเวียดนาม 130 ครอบครัวแรก ไดเขามาตั้งถิ่นฐานที่เมืองจันทบูรณหรือจันทบุรี ราว พ.ศ.2242 ปจจุบัน โดยมีชุมชนชาวเวียดนามคริสตใหญ ที่บานลุมหรือชุมชน ริมนํ้าจัน ทบูรในปจจุบัน และสรางอาสนวิหารพระนางมารีอา ปฏิสนธินิรมล หรือวัดโรมันแคทอลิกขึ้น และชาวเวียดนามกลุมนี้ ชาวไทยเรียกวา ญวน ตอมาชาวญวนจากชุมชนวัดโรมันแคทอลิก ไดเพิ่มจํานวน และอพยพเขาสูเมืองขลุงบุรี ในสมัยรัตนโกสินทร หรือเมื่อราว 100 กวาปมาแลว (ผุสดี จันทวิมล, 2541) การตั้งถิ่นฐานที่เมืองขลุง ชาวญวนนิยมสรางบานและ ชุมชนรอบศาสนสถาน เพื่อใหสะดวกตอการเขาประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา ผูสูงอายุในชุมชนเลาวา สมัยกอนที่โบสถจะใชระฆัง 1

ศูนยประสานงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคตะวันออก

22 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

เปนสัญญานเรียกคริสตชนทุกคนใหเขามามิสซา คือ การสวด ภาวนาอันศักดิ์สิทธิ์รวมกัน และในวันสําคัญทางคริสต ชาวญวนในยุคแรก มีวิถีชีวิตเรียบงาย ผูกพันกับคริสต ศาสนา ไมนิยมแตงงานกับคนนอกศาสนา ชาวญวนยุคนั้นยังคง ความเปนอัตลักษณแบบชาวเวียดนาม ทั้งการใชภาษาเวียดนาม วัฒนธรรมการแตงกายพื้นเมือง คือ ผูชายใสเสื้อผาดิบ แขนยาว มีกระดุม สวนผูหญิงในชวงเทศกาลก็แตงกายดวยชุดอาวหญาย วัฒนธรรมทางอาหารพื้นเมืองเวียดนาม อาทิ กากานจู หรือปลา ตมสม บั้นแสว หรือขนมเบื้องญวน ไปจนถึงขนมโบ ขนมบั้นแบว ยังพบวาแมบา นชาวเวียดนามยังคงทําอาหารเวียดนามรับประทาน สําหรับอาชีพ คือประมง และทอเสื่อ ซึ่งถือเปนทักษะอาชีพที่ ชาวณวนชุมชนขลุง สืบทอดมาจากบรรพบุรษุ ในประเทศเวียดนาม จุดเปลี่ยน วัฒนธรรมและภาษา ภาษาญวน ของชาวญวนในเมืองขลุงนั้น สมัยอพยพเขามา สื่อสารกันดวยภาษาเวียดนาม โบราณมีการสวดมนต รองเพลง


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคกลาง

กลอมลูก เปนภาษาญวน อยางไรก็ดี ภาษาญวน ของชาวญวน ชุมชนเมืองขลุงนั้น มีการใชกันนอยลงเรื่อยๆ ซึ่งสาเหตุเกิดจาก การเขามาผสมผสานกับวัฒนธรรมไทย ทั้งภาษา วีถี วัฒนธรรม ตางๆ ตลอดจนสมัยใหม การแตงงานนอกศาสนาเปนที่ยอมรับ และการรับเอาวัฒนธรรมกระแสหลักของสังคมไทย ในเมืองขลุง เคยมีโรงเรียนสอนภาษาญวนเวียดนามแหงแรกไดแก โรงเรียน พระหฤทัย ยุคแรกเริม่ สอนลูกหลานชาวญวนในเมืองขลุง แตตอ มา สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 โรงเรียนไดปด ตัวลงเนือ่ งจากภัยสงคราม ชุมชนชาวญวนเมืองขลุงประสบกับภาวะขาวยากหมากแพง แต ความเปนอยูก ็ไมถงึ ขัน้ ลําบาก เพราะทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะ ประมงชายฝงยังคงอุดมสมบูรณ อยางไรก็ดี นโยบายรัฐสมัย

ยุคปราบปรามคอมมิวนิสต จอมพล ป. พิบลู ยสงคราม (พ.ศ.24402476) ใชนโยบายชาตินยิ ม หามกลุม คนตางชาติตา งภาษาใชภาษา ชาติพนั ธุ หามแสดงเอกลักษณอนื่ ใดที่ไมใชไทย โดยเฉพาะอยางยิง่ ชาวญวนเวียดนามในประเทศไทยสมัยนั้น ถูกจับตามองเปนพิเศษ เพราะประเทศเวียดนามเปนประเทศทีล่ ัทธิคอมมิวนิสตเปนระบอบ การปกครองประเทศ ชาวญวนในตางประเทศ จึงถูกรัฐบาลกวดขัน การเรียนการสอนในยุคสมัยนี้ จึงเปนแบบไทยทัง้ หมด ใชหลักสูตร ไทย เรียนภาษาไทย พูดภาษาไทย การผสมผสานและกลืนกลาย ทางวัฒนธรรมและภาษาของชาวญวน ตลอดจนความเสื่อมถอย ของวัฒนธรรมและภาษา จึงทวีความชัดเจนขึ้นในยุคนี้

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 23


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคกลาง

งานวิจัยเพื่อทองถิ่นกับการฟนฟูภาษาวัฒนธรรม สูการทองเที่ยวโดยชุมชน จากประวัติศาสตรยุคสมัยแหงการอพยพลี้ภัย สูการตั้ง ถิ่นฐานของชุมชนชาวญวนในอดีตจนถึงปจจุบัน เมืองขลุงและ ชุมชนชาวญวน ไดเปลี่ยนแปลงไปทามกลางกระแสธารของเวลา และสังคม ผานยุคสมัยตางๆ หากมีโอกาสมาเที่ยวจังหวัดจันทบุรี ขลุง คืออําเภอหนึ่งที่อยูหางจากตัวเมืองจันทนราว 24 กิโลเมตร เปนอําเภอที่อยูติดกับอาณาเขตของจังหวัดตราด และชุมชนญวน ปจจุบัน คือบริเวณชุมชนเทศบาลเมืองขลุง ซึ่งไดรวมเอาชุมชน แสงสุข ชุมชนเกาะลอยและชุมชนสันติสุขไวดวยกัน อีกทั้งยังมี บานไมเกา สมัยรอยปในตัวตลาด ไปจนถึงบานไมริมคลอง เปน สถาปตยกรรมเกาแกที่ยังมีใหพบเห็น ปจจุบัน ชุมชนชาวญวน หรือที่เรียกวา ชาวไทยเชื้อสาย เวียดนาม เทศบาลเมืองขลุง อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี ยังคง สืบทอดวิถีชีวิต อัตลักษณความเปนญวนจากคนรุนกอน ที่ชัดเจน ที่สุดคือ การเปนคริสตชนที่ดํารงความศรั ทธาและความยึดมั่น ในความเชื่อของศาสนาคริสต แตวัฒนธรรมและภาษาเวียดนาม ก็มแี ตผเู ฒาผูแ กเทานัน้ ทีส่ อื่ สารได เด็กรุน ใหม ลูกหลาน ไมสามารถ พูด ฟง อานและเขียนภาษาเวียดนาม และนอกจากนี้ การแตงกาย อาหาร และการดํารงชีวิตก็เปนคนไทย แตพวกเขาก็ยังรับรูกันวา ตนเองนั้นมีเชื้อสายญวนเวียดนาม จากคําบอกเลาของพอแม ปูยา ตายาย จนกระทั่งไมนานมานี้ ชาวไทยชื้อสายเวียดนามชุมชน เทศบาลเมืองขลุงกลุมหนึ่ง ไดพูดคุยกัน ถึงความสําคัญของ รากเหงา คุณคาและความหมายของการเปนกลุมคนที่มีเชื้อ ชาติพันธุญวน มีประวัติความเปนมา อัตลักษณ ภาษา วัฒนธรรม ทีท่ รงคุณคา และควรทีจ่ าํ ตองรักษาฟน ฟู เพือ่ เปนมรดกทางสังคม 24 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

วัฒนธรรม ปจจุบันการที่คนรุนหลังไมสามารถสื่อสารภาษาและ ไมสามารถเขาถึงวัฒนธรรมของชาติพนั ธุไ ด นัน่ เพราะการผสมผสาน กลมกลืนกับสังคมไทยปจจุบนั และสิง่ เหลานี้ ก็จะสูญสลายไปตาม กาลเวลา ดังนัน้ เริม่ ตนจากความคิดทีต่ ระหนักในคุณคาและความ สําคัญ จึงนําไปสูการรวมกลุมคนคิดหาวิธีการฟน ฟูภาษาและ วัฒนธรรมของกลุมชาวไทยเชื้อสายเวียดนามขึ้น และคนกลุมนี้ กับงานวิจัยเพื่อทองถิ่น ก็มีโอกาสไดทําความรูจักกัน จากความตองการฟน ฟูภาษาและวัฒนธรรมญวนของชุมชน การเขามาของงานวิจัยเพื่อทองถิ่นผานศูนยประสานงานวิจัยเพื่อ ทองถิ่นภาคตะวันออก ในสํานักกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี กอใหเกิดโครงการฟน ฟูภาษา และวัฒนธรรมญวนของชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม ชุมชนเทศบาล เมืองขลุง อําเภอขลุง จังหวัดจันทบรี นําไปสูการคนหารากเหงา ทางประวัติศาสตรชาติพันธุชุมชน ภาษาและภาวะวิกฤติของภาษา การทํางานเชื่อมโยงกับเทศบาลเมืองขลุง โรงเรียนในชุมชน คือ โรงเรียนศรีหฤทัยและโรงเรียนเทศบาลขลุง ในฐานะหัวหนา โครงการ ทีมวิจยั และผูร ว มขับเคลือ่ น งานวิจยั เปนเครือ่ งมือสืบคน ขอมูล ไมเพียงแตเรื่องราวความเปนมาของคนไทยเชื้อสายญวน ในอดีต แตยังทําใหพวกเขาคนพบวิธีการที่จะฟนฟูทุนทางสังคม วัฒนธรรมของตนกลับมาทําหนาที่ ในปจจุบันดวย ภาษาญวน วัฒนธรรม อาทิ การแตงกาย อาหาร เพลงพืน้ บานและการละเลน เมื่อชุมชนใชกระบวนการงานวิจัยเพื่อทองถิ่นเปนเครื่องมือ ชุมชน พบวา การฟนฟูภาษาและวัฒนธรรมอยางเดียวอาจไมพอ ดังนั้น ตน ทุนเหลานี้ จําเปนตองถูกนําไปปรับใชอยาง สอดคลองและเหมาะสมกับยุคสมัย ดังนัน้ การทองเทีย่ วโดยชุมชน ที่นําเอาตนทุนทางสังคมวัฒนธรรม ผนวกกับ ตนทุนทรัพยากร-


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคกลาง

ธรรมชาติ ที่มีภูมินิเวศนอุดมสมบูรณแบบปาชายเลน และทะเล มาเปนจุดสรางการดึงดูดนักทองเทีย่ ว ใหเขามาสัมผัส และทําความ รูจ กั กับชุมชนชาวญวน เทศบาลเมืองขลุงในปจจุบนั จึงเกิดขึน้ ชาวไทย เชือ้ สายญวนเมืองขลุงพบวา สิง่ ทีเ่ ปนอัตลักษณทเี่ ดนชัดของชุมชน ชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม คือ ภาษาญวน ที่คงเอกลักษณแบบ โบราณ คือ มีรูปประโยคที่แตกตางจากที่ ใชกันอยู ในประเทศ เวียดนามปจจุบัน แตก็สามารถนําไปใชสื่อสารจริงแลวเขาใจ การใชภาษาในบทสวดมนตในโบสถ เปนภาษาเวียดนาม ยังคง พบเห็นอยู หากใครมีโอกาสไดเดินผานโบสถพระหฤทัย ในชวงที่มี พิธีมิสซา ก็จะไดยินบทสวดญวน นอกจากบทสวด บทเพลงภาษา เวียดนาม ก็ไดรบั การฟน ฟูขนึ้ โดยมีกลุม ผูส งู อายุในชุมชน ทําหนาที่ ถายทอดการขับรอง เนื้อหาและความหมาย โดยรวมกับคณะครู โรงเรียนศรีหฤทัย ที่เขามาสนับสนุนการรวบรวมภูมิปญญาเพลง พื้นบานญวน และการถายทอดบทรอง ทาเตนสูเยาวชนคนรุนใหม ซึ่งการแสดงจะพบเห็นไดเมื่อมีคณะนักทองเที่ยวกลุมใหญเขามา เยีย่ มเยียน การแสดงในงานประเพณีชมุ ชน งานสําคัญทางศาสนา ซึง่ ชาวไทยเชือ้ สายญวน จะแตงกายดวยชุดประจําชาติ และขับรอง บทเพลงญวนตอนรับ นอกจากนี้ การรวบรวมภาพเกาเลาเรื่องประวัติศาสตร ชาติพันธุญวนเมืองขลุง ก็ถูกนํามาจัดแสดงเปนนิทรรศการเล็กๆ บริเวณชุมชนเกาะลอยซึ่งเปนทาเรือเกาในอดีต ปจจุบัน หากไดไป เดินชม ก็จะไดศึกษาเรื่องราวความเปนมาของชาวไทยเชื้อสาย เวียดนาม ซึ่งบางครั้ง นิทรรศการเล็กๆ นี้ก็จะถูกนําไปจัดบริเวณ โบสถพระหฤทัย ขึ้นอยูกับสถานการณ อยางไรก็ตาม อีกไมนาน ชุมชนกําลังจะมีพพิ ธิ ภัณฑชมุ ชนซึง่ ใชเปนศูนยการเรียนรูช มุ ชนเปน กิจจะลักษณะ ณ ชุมชนเกาะลอยนั่นเอง การดําเนินการกําลัง ดําเนินไปโดยไดรบั ความชวยเหลืออนุเคราะหจากเทศบาลเมืองขลุง ชาวไทยเชือ้ สายเวียดนามยังมีวถิ แี บบชาวเล คือ ชาวประมง กลุมเรือหรือกลุมชาวประมงวันนี้ ไดหันมารวมกลุม และใชตนทุน ดานทรัพยากรทางทะเล ธรรมชาติปาชายเลน วิถีภูมิปญญาแบบ ประมงพื้นบานมาจัดการทองเที่ยวโดยกลุมเรือนี้ ไดรวมตัวกันใช เรือเปนพาหนะพานักทองเที่ยวชมทิวทัศนของปาชายเลน เหยี่ยว แดง ฟารมหอยนางรม ไปจนถึงการสาธิตการจับปู มัดปู และ โฮมเสตยแพลอยนํ้า ที่เกิดจากกลุมชาวประมงนี้ กําลังไดรับความ สนใจ และมีโอกาสตอนรับนักทองเที่ยวผูชื่นชอบในวิถีวัฒนธรรม แบบชาวไทยเชื้อสายญวน นอกจากนี้ หากเดินทางมาตรงกับชวง งานเทศกาล อาทิ สงกรานต คริสตมาสอาหารญวนเปนจุดเดน อีกอยางหนึง่ ทีย่ งั หาชิมไดในชุมชน และมีแมครัวพอครัวซึง่ อาจเปน

คนรุน เกา ในงานเทศกาลสําคัญของชุมชน จะมีการนํามาแสดงและ จําหนาย และโดยเฉพาะอยางยิ่ง หากมาชวงสงกรานตชุมชน ชาวไทยเชือ้ สายญวนมีการสรางรูปแบบ สงกรานตญวน ขึน้ แมวา ประเพณีสงกรานตจะไมใชประเพณีญวน แตชาวญวนที่ขลุง ไดมี การนําเอาวัฒนธรรมและความเชื่อของตนเขามาผสมผสานกับ วัฒนธรรมและความเชื่อของไทยและจีน คือ มีการจัดรดนํ้าดําหัว ผูสูงอายุในชุมชน การสรงนํ้าพระคริสตและการแหพระคริสต รวมกับงานสรงนํ้าแหพระและแหเจา ดังนั้น ประเพณีสงกรานต ที่อําเภอขลุง จึงเปนงานสงกรานตสองศาสนา สามวัฒนธรรม คือ ศาสนาพุธ คริสตและวัฒนธรรมชาวไทย ญวนและจีน ซึ่งเปน จุดเดนของชุมชน ภาพการทองเที่ยวโดยชุดนี้ เกิดจากชุมชนใชงานวิจัยเพื่อ ทองถิ่นผานกระบวนการตางๆ อาทิ การเก็บรวบรวมขอมูล การ จัดการขอมูลเพือ่ นํามาใชประโยชน และจัดกิจกรรมไดจริง คือ การ ฟนฟูภาษาวัฒนธรรมผานการจัดการทองเที่ยว และการจัดเวที พูดคุย หารือ การทบทวนกระบวนการ ถอดบทเรียนรวมกัน ซึ่ง สิ่งสําคัญที่สุดของกระบวนการนั่นคือ การมีสวนรวม โดยกลุม ชุมชนและทีมวิจัย ผูมีความหวังที่จะฟนฟูภาษาวัฒนธรรม การจัด กิจกรรมทดลองภายในกลุมชุมชน เพื่อสรางมัคคุเทศกทองถิ่น สรางผูสื่อสารบอกเลาเรื่องราวของชุมชนชาวญวน ที่เปนคนใน ชุมชนเองไดเริ่มขึ้น โดยสวนหนึ่งนอกจากงานวิจัยเพื่อทองถิ่นแลว ยังไดรับการสนับสนุนเปนอยางดี จากนักวิชาการในมหาวิทยาลัย ราชภัฏรําไพพรรณี รวมถึงการชวยเหลือเอื้อเฟอและอํานวย ความสะดวกตางๆ จากเทศบาลเมืองขลุง ไปจนถึงศาสนจักร อยาง โบสถพระหฤทัย ภาพชุมชนชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในปจจุบัน ยังคงเปนความพยายามฟน ฟู คูการฟนสราง อัตลักษณทาง วัฒนธรรม ภาษาและวิถีชีวิตที่งดงามในอดีต โดยนํากลับมาใช ผานการทองเที่ยวโดยชุมชนเปนผูจัดการเอง แมภาพความเปน ชุมชนทองเที่ยวของชุมชนเทศบาลเมืองขลุง จะยังไมเปนที่รูจัก ในวงกวาง แตกน็ บั เปนกาวแรกทีน่ า สนใจ และกําลังเติบโตขึน้ เปน ชุมชนจัดการตนเอง ผานกระบวนการฟนฟูภาษาและวัฒนธรรม ชาติพันธุ รวมถึงการนําทรัพยากรหรือตนทุนทางธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรมชุมชน มาสือ่ สารสูส งั คมภายนอกผานการทองเทีย่ ว โดยชุมชน ตลอดจนความคาดหวังรวมกันของคนในชุมชนทีจ่ ะสราง ความยั่งยืนดานการอนุรักษธรรมชาติสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม ตอไป

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 25


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคใต

แนวทางการพัฒนามาตรฐาน

ที่เหมาะสม กับการทองเที่ยวโดยชุมชน ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต

อาเซียน

สู

นราวดี บัวขวัญ และคณะ

1. บทนํา การทองเที่ยวมีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจของโลกไมแพ อุตสาหกรรมอื่นๆ ในป 2551 จากรายงานสรุปขององคการ การทองเที่ยวโลก (WTO) พบวาทั้งโลกมีรายไดจากการทองเที่ยว ทั้งสิ้น 944 พันลานเหรียญสหรัฐฯ แสดงใหเห็นถึงบทบาทที่สําคัญ ของการทองเที่ยวตอการขับเคลื่อนเศรษฐกิจทั้งในระดับจุลภาค และมหาภาค ทําใหหลายประเทศไดเรงรีบในการพัฒนาการทองเทีย่ ว เพื่อสรางเงินสรางรายไดใหกับประเทศของตนเอง อยางไรก็ตาม สินคาทางการทองเที่ยวมีความแตกตางจากสินคาอื่น โดยที่ นักทองเที่ยวจะตองเดินทางมาเยี่ยมชมตัวสินคาดวยตนเอง ซึ่ง ผิดจากสินคาทั่วไปที่ผูซื้อไมจําเปนตองเดิน ทางไปดูแหลงผลิต ดังนั้น สิ่งที่ตามมาจากการพัฒนาและการสงเสริมการทองเที่ยว คือ ผลกระทบดานตางๆ ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม ซึ่งผลกระทบเหลานี้เมื่อเกิดขึ้นแลว สิ้นเปลืองทั้งเวลา และ งบประมาณ ในการฟนฟู รักษา แตหากมีการวางแผนที่ดีและ มีมาตรการปองกันเสียแตเบื้องตนก็จะชวยลดความเสี่ยงจาก 26 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

ผลกระทบตางๆ ดังนั้น ในสหัสวรรษใหม การจัดการทองเที่ยว ไดเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต โดยกลไกทางดานการตลาด ภาวะ ทางการแขงขัน และการแยงชิงเพือ่ ใชทรัพยากรเพือ่ การทองเทีย่ ว เปนตัวแปรทีส่ าํ คัญ ขณะทีค่ วามตองการของผูบ ริโภค (นักทองเทีย่ ว) ตอสินคาดานการทองเทีย่ วก็ไดเปลีย่ นไปตามกระแส การทองเทีย่ ว ในปจจุบัน นักทองเที่ยวมีความตองการเรียนรูในแหลงทองเที่ยว ใหความสําคัญตอสิ่งแวดลอมในแหลงทองเที่ยวที่ ไดไปเยือน เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสงผลใหเกิดการทองเที่ยวทางเลือก (alternative tourism) เชน การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ (conservative tourism) การทองเทีย่ วเชิงนิเวศ (ecotourism) การทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม (cultural tourism) การทองเที่ยวโดยชุมชน (community based tourism) การทองเที่ยวชนบท (rural tourism) เปนตน ซึ่งรูปแบบ การทองเทีย่ วดังกลาวมีฐานคิดมาจากการตระหนักถึงความสําคัญ ตอสิ่งแวดลอม การมีสวนรวม การเคารพตอวิถีชีวิตที่แตกตางกัน และการจัดการที่ไดมาตรฐาน


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคใต

2. สภาพที่เปนปญหา พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งประกอบดวย จังหวัด สงขลา สตูล ปตตานี ยะลา และนราธิวาส เปนเมืองชายแดน มีพนื้ ทีต่ ดิ กับประเทศมาเลเซีย มีความพรอมดวยทรัพยากรทองเทีย่ ว ทางธรรมชาติ ประกอบดวย พื้นที่ภูเขา ทะเล ที่ราบ พื้นที่ชุมนํ้า ทะเลสาบ ปาพรุ ทําใหเกิดแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติทแี่ ตกตาง กันออกไป นอกจากนี้ ยังมีความหลากหลายของผูค นทีป่ ระกอบดวย ไทยพุธ ไทยมุสลิม และไทยจีน ซึ่งมีความสัมพันธกันมาอยาง ยาวนาน ที่ผูกพันเชื่อมโยงถึง วิถีชีวิต ความเชื่อ พิธีกรรม ศาสนา และชาติพนั ธุต า งๆ กอใหเกิดทรัพยากรทางการทองเทีย่ วในรูปแบบ ของงานกิจกรรมประเพณีจาํ นวนมาก โดยอาศัยวิถชี วี ติ ทีแ่ ตกตางกัน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต มีขอไดเปรียบ เนื่องจากมีดานชายแดน ที่สําคัญซึ่งเชื่อมกับประเทศมาเลเซียซึ่งถือวาเปนประตูสูอาเซียน จํานวน 8 ดาน ดานเหลานี้ กอใหเกิดความสะดวกในการเดินทาง ทองเทีย่ วของนักทองเทีย่ วระหวางไทย มาเลเซีย อาเซียน และจาก ทัว่ โลก ซึง่ ดานสะเดา จังหวัดสงขลา ไดชอื่ วาเปนดานทางบกที่ใหญ ทีส่ ดุ ของประเทศไทย นอกจากดานชายแดนแลว 5 จังหวัดชายแดน

ภาคใต ยั ง มี ส นามบิ น หาดใหญ ซึ่ ง เป น สนามบิ น นานาชาติ (international airport) และสนามบินในประเทศ (domestic airport) ทีจ่ งั หวัดนราธิวาส และรถไฟเชือ่ มการเดินทางจากสถานี บัตเตอรเวิรธ มาเลเซีย ไปกรุงเทพฯ ซึ่งผานสถานีหาดใหญ ใหบริการนักทองเที่ยวอีกดวย สถานการณความเคลื่อนไหวของการทองเที่ยวโดยชุมชน ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต พบวา ไดดาํ เนินการดานการทองเทีย่ ว มานับสิบป ซึ่งการทองเที่ยวโดยชุมชนในปจจุบันไดมีการพัฒนา กระบวนการจัดการใหมีความเหมาะสมทันตอสถานการณ และ ยุทธศาสตรการบริหารประเทศเพิม่ มากยิง่ ขึน้ โดยในแตละจังหวัด มีการจัดตั้งเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชน ซึ่งมีสํานักงาน การทองเที่ยวและกีฬาแตละจังหวัดเปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก อยางเชน จังหวัดสตูลและจังหวัดปตตานี ขณะอีก 3 จังหวัด อยูระหวางการดําเนินการ ความเปน มาของชุมชนมีการริเริ่ม การทองเที่ยวมีความแตกตางกันทั้งกอเกิดจากการรวมตัวของ ชุมชนเอง และสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐ และไดรวมตัวกัน เปนเครือขายการทองเที่ยวโดยชุมชน โดยภาพรวมพบวา การ §Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 27


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคใต

ชุมชนที่เพิ่งริเริ่มจัดการทองเที่ยวโดยชุมชนสามารถนําไป ประยุกตใชกับชุมชนของตัวเองไดโดยใหเกณฑมาตรฐานนี้ เปนตัวแบบที่สอดคลองกับชุมชน ความเชื่อ และวิถีชีวิตของตนเอง ทองเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต มีระดับ การจัดการทีแ่ ตกตางกันเนือ่ งจากมีความแตกตางทัง้ ในดานภูมปิ ระเทศ ทรัพยากร วัฒนธรรม ความเขมแข็งของชุมชน โอกาส เปนตน ดั ง นั้ น เพื่ อ ยกระดั บ การท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชนให ไ ด ม าตรฐาน ทั้งในดานของแหลงทองเที่ยว กิจกรรมทองเที่ยว การบริการ ทองเที่ยว การจัดการทองเที่ยว และการตลาดการทองเที่ยว เพื่อ เตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียนในป พ.ศ. 2558 จึงมี ความจําเปนที่ตองดําเนินการอยางเรงดวน ทั้งนี้ โดยการกําหนด มาตรฐานการทองเที่ยวโดยชุมใน 3 ระดับ คือ (1) ดานการพัฒนา ศักยภาพการทองเทีย่ วเพือ่ นําไปสูม าตรฐานการทองเทีย่ วโดยชุมชน กรณีศึกษา 3 ชุมชน คือ ชุมชนตันหยงลุโละ จังหวัดปตตานี ชุมชน หมูบานจุฬาภรณ 10 จังหวัดยะลา และชุมชนหมูบานจุฬาภรณ 12 จังหวัดนราธิวาส (2) มาตรฐานการจัดการการทองเทีย่ วโดยชุมชน กรณีศกึ ษา 10 ชุมชน เครือขายการทองเทีย่ วโดยชุมชนจังหวัดสตูล ประกอบดวย บอเจ็ดลูก นาทอน ทุงสะโบะ บุโบย โคกพะยอม เกตรี หัวทาง ควนโพธิ์ บากันใหญ และกันเคย และ (3) มาตรฐาน ดานการตลาดการทองเที่ยวโดยชุมชน กรณีศึกษาชุมชนวิถีพุทธ คลองแดน จังหวัดสงขลา 3. ผลการศึกษา แนวทางการพัฒนามาตรฐานที่เหมาะสมกับการทองเที่ยว โดยชุมชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต สูอาเซียน ซึ่งไดกําหนด แนวทางในกาพัฒนา 3 องคประกอบหลัก คือ 1) รูปแบบการจัดการ ทองเที่ยวโดยชุมชน ซึ่งประกอบดวย แหลงทองเที่ยว กิจกรรม ทองเที่ยว การบริการ การตลาด โครงสรางองคกร และการมี สวนรวม ทั้ง 14 ชุมชน 2) การกําหนดมาตรฐานการทองเที่ยว 28 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

โดยชุมชนที่เหมาะสมกับ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต โดยไดกําหนด ตัวชี้วัดที่สอดคลองกับองคาพยพของชุมชนใน 3 ประเด็น คือ (1) พัฒนาศักยภาพการทองเทีย่ วเพือ่ นําไปสูม าตรฐานการทองเทีย่ ว โดยชุมชน 5 ดาน คือ การจัดการอยางยั่งยืนของการทองเที่ยว โดยชุมชน การกระจายผลประโยชนสทู อ งถิน่ สังคมและคุณภาพชีวติ การอนุรกั ษและสงเสริมมรดกทางวัฒนธรรม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมอยางเปนระบบและยัง่ ยืน และการบริการ และความปลอดภัยของการทองเที่ยวโดยชุมชน 141 ตัวชี้วัด (2) มาตรฐานการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน 6 ดาน คือ แนวคิด เปาหมายการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดสตูล การอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิต การบริหารจัดการอยางยั่งยืน และการบริการและความปลอดภัย ดานตลาด ประชาสัมพันธ 170 ตัวชี้วัด และ (3) มาตรฐานดาน การตลาดการทองเที่ยวโดยชุม 4 ดาน ผลิตภัณฑสินคาและ การบริการของทองถิน่ การกําหนดราคาสินคาทีเ่ ปนธรรม ชองทาง การจัดจําหนายอยางยั่งยืน และการสงเสริมการขายอยางมีความ รับผิดชอบ 89 ตัวชีว้ ดั 3) แนวทางการพัฒนามาตรฐานทีเ่ หมาะสม กับการทองเที่ยวโดยชุมชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต สูอาเซียน โดยไดแบงมาตรฐานออกเปน 3 ระดับ ไดแก 1) จะตองมีมาตรฐาน ซึ่งเปนสิ่งจําเปนขาดไมได 2) ควรจะมี หมายถึงถามีมาตรฐาน ดังกลาวจะชวยใหสินคาทองเที่ยวมีความนาสนใจมากยิ่งขึ้น และ 3) จะมีหรือไมมีก็ได ขึ้นอยูกับความพรอมของชุมชน การผลักดัน เพื่อนําเกณฑมาตรฐานที่ ไดไปใชนั้น ดําเดินการโดยการเชิญ ประชุม จัดสงเอกสาร หรือการจัดกิจกรรมเรียนรู สัมผัสและ ทําความเขาใจในพื้นที่จริง (familiarization trip) ใหกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของ ซึ่งประกอบดวย กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา การ


ความเคลื่อนไหวงานวิจัยเพื่อทองถิ่นภาคใต

ทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ผูประกอบการธุรกิจนําเที่ยว และสื่อมวลชน เปนตน 4. การประยุกตใชมาตรฐานเบื้องตน การประยุกตใชมาตรฐานที่เหมาะสมกับการทองเที่ยว โดยชุมชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต โดยชุมชนทีเ่ พิง่ ริเริม่ จัดการ ทองเที่ยวโดยชุมชนสามารถนําไปประยุกตใชกับชุมชนของตัวเอง ไดโดยใหเกณฑมาตรฐานนี้เปนตัวแบบที่สอดคลองกับชุมชน ความเชื่อ และวิถีชีวิตของตนเอง ซึ่งใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต มีความเชือ่ ครบทัง้ 3 ศาสนา และมีพนื้ ทีค่ รอบคลุมทรัพยากร ภูเขา ทะเล ทีร่ าบ พืน้ ทีช่ มุ นํา้ ทะเลสาบ ปาพรุ ซึง่ ถือวาเปนองคประกอบ สําคัญของการจัดการทองเที่ยวโดยชุมชน อยางไรก็ตาม ในสวน ของการประยุกตใชกับประเทศอาเซียนนั้น มาตรฐานที่จัดขึ้น มีความเหมาะสมที่จะนําไปประยุกตใชกับการจัดการทองเที่ยว Home-stay ในประเทศมาเลเซียกับรัฐที่ติดกับประเทศไทย คือ กลันตัน เปรัค เคดาห และเปอรลิส เนื่องจากมีวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมที่มีความคลายคลึงกับ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต

5. เอกสารอางอิง 1. พจนา สวนศรี. 2546. คูมือการจัดการทองเที่ยวโดย ชุมชน.โครงการทองเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ. กรุงเทพฯ 2. Janifer Blanke and Thea Chiesa. The travel and Tourism. Competitiveness Report 2013. Reducing Bariers to economic Growth and Job Creation. www.weforum.org/ docs/WEF_TT_Competitiveness_Report_2013.pdf 3. UNWTO Annual Report 2011 http://dtxtq4w60xqpw. cloudfront.net/sites/all/files/pdf/annual_report_2011.pdf เว็บไซต 1. http://culture.pn.psu.ac.th สืบคนวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 2. www.dft.go.th. สืบคนวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 3. www.osmsouth-border.go.th สื บ ค น วั น ที่ 16 พฤษภาคม 2556

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 29


งานสื่อสารสังคม

“ทองเที่ยวโดยชุมชน”

…อยูอยางไร ในกระแสการพัฒนา

อุตสาหกรรมทองเที่ยว

เบญจวรรณ วงศคํา1

หากเราติดตามความเคลื่อนไหวดานสถานการณ

ตางๆ ที่เกี่ยวกับคําวา ทองเที่ยว ไมวาจะเปน ทั้งเรื่องของนโยบาย ยุทธศาสตร แผนงาน หรือแมแตวิชาการความรูทั้งหลายทั้งมวล เรามักจะไดยนิ ไดฟง กันแตเรือ่ งของการพัฒนาการทองเทีย่ วในเชิง อุตสาหกรรมการทองเทีย่ วเปนหลัก ไมตอ งไปดูอนื่ ไกล งานกิจกรรม ประเภทงานแฟร งานออกบูธ แบบไทยเที่ยวไทย หรือเที่ยวไทย หัวใจสีเขียว อะไรก็แลวแต เมื่อกอนมักจะจัดกันปละครั้ง แต ปจจุบันนี้ นาจะจัดกันทุกไตรมาสตลอดปเลยก็วา ภายในงาน ก็มีแตออกรานขายทัวร ออกรานขายอาหารการกิน ซํ้าแลวซํ้าเลา อยูน นั่ สังคมและประเทศไทยเรากําลังพูดเรือ่ งทองเทีย่ วในกระแส หลัก พูดเรื่องจํานวนนักทองเที่ยว และรายไดที่จะเกิดขึ้นเปนหลัก มันมีตวั อยางของขอมูลสวนตางๆ ทีม่ าจากผูเ กีย่ วของในการพัฒนา งานทองเทีย่ ว ทีพ่ อจะสะทอนใหเห็นกันอยูไ มนอ ยทีท่ าํ ให คนทํางาน ทองเที่ยวระดับชุมชนทองถิ่น ตองขยับขึ้นมามองภาพใหญดวย เชนกันวาเขากําลังคิดและทําอะไรกันอยู ณ เวลานี้… 1

เจาหนาที่บริหารโครงการ

30 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

…ขอมูลจากรายงานสรุปสถานการณการทองเที่ยวป 2556 และรายงานการคาดการณแนวโนมการทองเที่ยวในประเทศไทย สําหรับป 2557 ของกรมการทองเที่ยว ไดเปดเผยวา จากความ กังวลวาภาคการทองเที่ยวจะไดรับผลกระทบทั้งจากสถานการณ ทางการเมืองภายในประเทศที่ดําเนินมาตั้งแตเดือนพฤศจิกายน และผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการบังคับใชกฎหมายดานการทองเทีย่ ว ของประเทศจีน ซึ่งคาดวาจะสงผลกระทบตอการขยายตัวของ นักทองเทีย่ ว แตมาถึงขณะนีก้ ลับพบวา ตลอดเดือนธันวาคม 2556 นักทองเที่ยวที่เดินทางเขามาทองเที่ยวในประเทศไทย ยังมีอัตรา ขยายตัว โดยคาดวาจะมีจํานวน 2.58 ลานคน เปนการขยายตัว รอยละ 6.1 จากชวงเวลาเดียวกันของปที่แลว ฟากประธานสภาอุตสาหกรรมทองเที่ยวแหงประเทศไทย (สทท.) นางปยะมาน เตชะไพบูลย ก็ใหขอมูลวาในชวงไตรมาส ที่ 1 ของป 2557 ภาคเอกชนทองเที่ยวยังคงกังวลและไมมั่นใจกับ สถานการณการเมือง กระทบตอความเชื่อมั่นดานการลงทุนดาน


งานสื่อสารสังคม

ทองเทีย่ ว บวกกับปญหาเศรษฐกิจในประเทศทีถ่ ดถอย เห็นไดจาก ดัชนีความเชื่อมั่น ที่ลดลงเหลือ 100 อยู ในระดับตํ่ากวาที่เคย คาดการณในไตรมาสแรกของป 2554-2556 ซึ่งอยูที่ 107, 112 และ 106 ตามลําดับ โดยเห็นวาปจจัยดังกลาวทําใหกระแสไทย เที่ยวไทยลดลงมาก และเห็นวาหากมีมาตรการนําคาใชจายดาน ทองเทีย่ วภายในประเทศผานโรงแรมและผูป ระกอบการทองเทีย่ ว ที่จดทะเบียนถูกตองมาหักลดหยอนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา พบวานักทองเที่ยวสวนใหญจะเดินทางบอยขึ้น โดยมีการใชจาย ในการทองเที่ยวแตละครั้งเทาเดิมสําหรับเปาหมายนักทองเที่ยว ตลอดป 2557 คาดวาอยูที่ประมาณ 29.92 ลานคน เพิ่มขึ้น 12.1% ภายใตเงือ่ นไขการเมืองที่ไมมคี วามรุนแรง สรางรายได 1.35 ลาน ลานบาท ขยายตัว 18% โดยแรงขับเคลื่อนหลักมาจากการปรับ ราคาหองพักเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ได 15% บวกกับทิศทางการทําตลาด โดย นับจากนีเ้ ราเนนเจาะกลุม ความสนใจเฉพาะ (นิชมารเก็ต) และเนน ดึงนักทองเที่ยวระยะสั้นจากชาติอาเซียนมาช็อปปงและใชจาย ซื้อโรงแรมราคาสูงมากขึ้น สะทอนใหเห็นถึงแนวโนมการเติบโต ของธุรกิจทองเที่ยวไทยที่เขมแข็งแมวาจะมีการชุมนุมประทวง รัฐบาลตั้งแตชวงปลายเดือนตุลาคม ของป2556 ที่ผานมา

และเมื่อชวงกลางป 2556 ที่ผานมา การทองเที่ยวแหง ประเทศไทย (ททท.) นําเสนอทิศทางการดําเนินงานดานการตลาด การทองเทีย่ ว ป 2557 ซึง่ เปนการประชุมแผนการทองเทีย่ วประจําป ของ ททท. นับเปนปที่ 33 ซึ่ง ททท. บอกวาจัดทําขึ้นอยางมี กระบวนการ โดยใชขอมูลเชิงวิเคราะหจากพันธมิตรสาขาตางๆ ในอุตสาหกรรมทองเทีย่ วทัง้ จากภายในและภายนอกประเทศ หารือ รวมกับผูเกี่ยวของแลวนํามากําหนดเปนทิศทางในการขับเคลื่อน โดยตอบโจทยทั้งในมิติทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อ ใหเกิดการพัฒนาประเทศอยางยัง่ ยืนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ และนโยบายของรัฐบาล ทั้งนี้ กระบวนการทํา แผนการทองเที่ยวป 2557 นั้น เริ่มตั้งแตเดือนพฤศจิกายน 2555 ตอเนื่อง จนมาถึงการกําหนดแผนปฏิบัติการทองเที่ยว เมื่อวันที่ 1-5 กรกฎาคม 2556 ที่ผานมา ททท. ไดนําปจจัยสําคัญมาประกอบในการกําหนดทิศทาง การดําเนินงานดานการตลาดการทองเที่ยวป 2557 ประกอบดวย 1. การขยายตัวอยางกาวกระโดดของตลาดใหม อาทิ ตลาดจีน อินเดีย และรัสเซีย 2. การเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 3. สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง รวมทัง้ สถานะของตลาดอิม่ ตัว §Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 31


งานสื่อสารสังคม

ของตลาดหลัก 4. การพัฒนาดานการคมนาคม ประกอบกับเปาหมาย การดําเนินงานดานการทองเที่ยวที่ ไดรับมอบหมายจากรัฐบาล ททท. จึงไดกาํ หนดเปาหมายหลักทีจ่ ะตองไปใหถงึ ใน 2 สวนควบคู กันไป คือ 1. ตองบรรลุเปาหมายนํารายไดเขาประเทศใหได 2 ลาน ลานบาท ในป 2558 ซึ่งเปนภารกิจ 3 ป เริ่มตั้งแตป 2556-2558 2. ตองปรับสมดุลในการสงเสริมการทองเทีย่ วในทุกมิติ ทัง้ ด า นตลาด พื้ น ที่ ฤดู ก าล คุ ณ ค า และสิ่ ง แวดล อ ม เพื่ อให อุตสาหกรรมทองเที่ยวเติบโตและสรางรายไดเขาสูประเทศอยาง ยั่งยืน ดังนั้น เพื่อใหบรรลุเปาหมายขางตน ในป 2557 นี้ จึงได สานตอแนวคิด “รายไดกาวกระโดด ดวยวิถี ไทย” หรือ Higher Revenue through Thainess ตอเนื่องจากป 2556 โดยใชแนวคิด การทําการตลาดแบบ Marketing 3.0 เนนสงมอบคุณคา (Value) หรือ ความสุขในการเดินทางทองเที่ยวที่เกิดจากการเรียนรูและ การมีสว นรวม (Co-creation) ซึง่ จะสรางความประทับใจจนกระทัง่ เกิดการแบงปนและบอกตอ (Share) ทั้งนี้ ในการดําเนินงานปที่ ผานมา ไดสรางความตืน่ ตัวใหกบั คูค า ในตลาดตางประเทศอยางมาก ที่เห็นถึงศักยภาพในการนําวิถี ไทยมานําเสนอเปนสินคาทางการ ทองเที่ยวใหมได ดวยเอกลักษณที่โดดเดนและทําใหไทยแตกตาง จากประเทศอื่นใน AEC อันจะนํามาซึ่งการเติบโตและรายไดของ อุตสาหกรรมทองเที่ยวในระยะยาว นอกจากนี้ การสงมอบความสุขแทนเรื่องของความคุมคา เงิน (Value for Money) นั้น จะชวยใหไทยหลุดจากภาพลักษณ จากการเปนแหลงทองเที่ยวราคาถูก และเพิ่มระดับการรับรู ประเทศไทยในการเปน Quality Destination โดยความสุขที่จะ สงมอบในปนี้ จะสงผานกิจกรรม Thai Experience, Thai Way of Life และ Thai Cultures ทีส่ อดแทรกอยูในสินคาทางการทองเทีย่ ว ที่มีคุณภาพซึ่งนักทองเที่ยวจะไดมีสวนรวมและแบงปน เปนการ ยกระดับภาพลักษณประเทศไทย โดยนําเสนอภาพลักษณในฐานะ แหลงทองเที่ยวที่มี “คุณภาพ” พรอม “ประสบการณชีวิต” และ “ความสุข” ดวยเอกลักษณความเปนไทยและวิถีไทย โดยสื่อสาร ผานแคมเปญ “Amazing Thailand” สรางการรับรูภายใตแนวคิด Happiness you can share นําเสนอประสบการณและความสุข ที่นักทองเที่ยวจะไดรับ และพรอมแบงปนใหกับผูอื่น ทั้งคนใกลชิด และคนทั่วโลก โดยเลือกใชชองทางการสื่อสารสมัยใหมที่เขาถึง เปาหมายทั้งในระดับ Regional และระดับ Global เพื่อสรางการ รับรู ภายใตความเปนไทย (Thainess) 32 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

สําหรับการตัง้ เปาหมายในมิตเิ ศรษฐกิจนัน้ แบงเปนเปาหมาย รายไดจากนักทองเที่ยวตางประเทศเพิ่มขึ้นรอยละ 13 และรายได หมุนเวียนในประเทศจากนักทองเที่ยวชาวไทยใหเพิ่มขึ้นรอยละ 9 ทัง้ นีจ้ ะมีการปรับสมดุลเชิงการตลาดจากตลาด Mass ใหเขาสูต ลาด คุณ ภาพในทุกตลาด ทั้งในและตางประเทศ โดยเฉพาะกลุม นักทองเที่ยวที่มีกําลังซื้อสูงระดับกลาง-บน และนักทองเที่ยว กลุมเฉพาะ หรือ Niche Market ไดแก กลุม Wedding & Honeymoon กลุม ทีเ่ ดินทางเขามารักษาพยาบาล (Medical) และ กลุม Golf กลุม Health & Wellness และกลุม Green หรือ Ecotourists นอกจากนี้ จะสงเสริมใหเกิดการกระจายการเดินทาง ไปยังภูมิภาค และเชื่อมโยงภายในประเทศในกลุม AEC โดยไทย เปนศูนยกลาง ดานการดําเนินงานตลาดในประเทศ ททท. จะใช 3 กลยุทธ หลักเพื่อขับเคลื่อนใหบรรลุเปาหมาย คือ 1. สรางกระแสหลงรัก ประเทศไทย 2. สรางพันธมิตรทางธุรกิจ 3. สรางและแบงปน ประสบการณการเดินทางทองเที่ยว ผานโครงการเดนๆ ตลอดป ในพื้นที่ 5 ภูมิภาคทั่วประเทศ รวมแลวไมนอยกวา 500 โครงการ เพือ่ ใหคนไทยสามารถทองเทีย่ วไปไดทกุ เดือน รวมทัง้ เพิม่ ปริมาณ ความถี่ ในการเดิน ทางทองเที่ยวและสรางรายไดเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง พรอมกับเปดแนวคิดทางการทองเที่ยวรูปแบบใหม “Dream Tourism” ที่ดึงชีวิตในแบบที่คุณฝนออกมาใชในการ ทองเที่ยว กระตุนใหคนไทยออกเดินทางไปใชชีวิตไดอยางที่ใจฝน อยากจะไป โดยในปนี้ ททท. จะนําเสนอสินคาการทองเที่ยว กลุมแรก “Dream destinations” กาลครั้งหนึ่ง… ตองไป แหลง ทองเที่ยวที่เปนสุดยอดของความงามดั่งฝน ที่ครั้งหนึ่งในชีวิต หากไดไปสัมผัสแลวคุณจะตองรูสึก.. “หลงรัก” อยางแนนอน ซึ่งสอดรับกับแคมเปญการสื่อสารตลาดในประเทศ คือ แคมเปญ “หลงรักประเทศไทย” เพื่อใหเกิดการเดินทางทองเที่ยวตลอดทั้งป ควบคูกับการปรับปรุงการใหบริการขอมูลขาวสารใหเขาถึงผูใช มากขึ้ น และให ค วามสํ า คั ญ กั บ กลุ  ม ผู  ด  อ ยโอกาสและผู  พิ ก าร ไดรับทราบขอมูลการทองเที่ยวอีกทางหนึ่ง ฯลฯ ทั้งนี้ จากแผนการดําเนินงานดานการตลาดการทองเที่ยว ในป 2557 หากสถานการณในประเทศและปจจัยภายนอกตางๆ เปนปกติ ททท. คาดวาจะมีนักทองเที่ยวตางประเทศเดินทาง มาเยือนประเทศไทยประมาณ 28.01 ลานคน คิดเปนเพิม่ ขึน้ อัตรา รอยละ 7.28 ประมาณการดานรายไดของตลาดตางประเทศ 1.32 ลานลานบาท เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 13 และสําหรับนักทองเที่ยว คนไทยเปาหมายดานรายไดประมาณ 7 แสนลานบาท เพิ่มขึ้น


งานสื่อสารสังคม

ในอัตรารอยละ 9 และคาดวาจะมีคนไทยเดินทางทองเทีย่ วประมาณ 136 ลานคน-ครั้ง คิดเปนอัตราที่เพิ่มขึ้นรอยละ 5.63 หันไปดูภาพใหญระดับภูมภิ าคขึน้ ไปอีก ประเทศไทยเราได รวมกันทําแผนยุทธศาสตรการทองเทีย่ วอาเซียน พ.ศ.2554-2558 (ASEAN Tourism Strategic Plan 2011-2015) โดยแผนฉบับนี้ เกิดขึ้นจากความรวมมือและขอตกลงระหวางองคกรดานการ ทองเที่ยวของประเทศสมาชิกอาเซียน กับโครงการ ASEAN Competitiveness Enhancement (The ACE Project) ซึ่งไดรับ การสนับสนุนดานงบประมาณจากองคการเพื่อการพัฒนาระหวาง ประเทศของสหรัฐอเมริกา (USAID) โดยมอบหมายใหคณะผูวิจัย จากวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเปนที่ปรึกษา ในการพัฒนาแผนยุทธศาสตรนี้ ซึ่งโครงการดําเนินงานในชวง ระหวางป 2553 รวมกับ ASEAN Secretariat และองคกรดานการ ทองเที่ยวของประเทศอาเซียน (ASEAN NTOs) โดยแผนดังกลาว ประกอบดวย การวิเคราะหสถานการณทั่วไปดานการทองเที่ยว ของอาเซียน วิสัยทัศนและโครงสรางองคกรดานการพัฒนา ดานการทองเที่ยวของอาเซียน การดําเนินงานและรายละเอียด กิจกรรมตามแนวทางยุทธศาสตรสําคัญ 3 ดาน ไดแก 1) ดานการ พัฒนาสินคาบริการ การตลาดและการลงทุน 2) ดานการพัฒนา คุณภาพบุคลากร การบริการและสิ่งอํานวยความสะดวกดานการ ทองเที่ยว และ 3) ดานการสงเสริมใหเกิดความเชื่อมโยงดานการ เดินทางทองเที่ยวในภูมิภาค …การท อ งเที่ ย วคื อ อุ ต สาหกรรม-อุ ต สาหกรรมคื อ การ ทองเที่ยว นี่คือความเปนจริงที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมาตั้งแตเรา จัดตั้ง การทองเที่ยวแหงประเทศไทย และเราก็กําลังกาวขึ้นไป เชือ่ มโยงอุตสาหกรรมใหขยายวงใหญขนึ้ ไปอีกระดับหนึง่ เพือ่ นบาน

เราดวย…คําถามทีเ่ กิดขึน้ ตามมา …ชุมชนทองถิน่ และการทองเทีย่ ว โดยชุมชน จะจัดวางตัวเองกันอยางไร บนสถานการณใหม เพราะ เทาที่ผานมานโยบายของหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับการ ทองเที่ยวโดยชุมชน ก็พยายามที่จะแตะลงมาหาชุมชนทองถิ่น อยูบ า ง แตกถ็ อื วายังไมเปนผลสําเร็จทําใหชมุ ชนทองเทีย่ วเกิดความ ยั่งยืนไดตาม ยุทธศาสตรที่วางไว ดวยเงื่อนไข ทั้งตัวบุคคลกรของ กระทรวง ผูรับผิดชอบในหนวยงานเองก็ขาดความรูความเขาใจ ดานทองเที่ยว และชุมชน เพราะโดยมากมาจากสายกีฬาเปนหลัก แผนงานตามยุทธศาสตรแตละปก็ ใชวิธีจัดซื้อจัดจางใหคนนอก มาทํางานกับชุมชน …ดังนัน้ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ คือการพัฒนาการทองเทีย่ ว ของบานเราผูเกี่ยวของเชิงนโยบายไมสามารถมองภาพทั้งระบบ ทุกคงคาพยพไดนั่นเอง หันกลับมามอง งานวิจยั เพือ่ ทองถิน่ ประเด็นการทองเทีย่ ว โดยชุมชน มีงานวิจัยอยูทั่วทุกภูมิภาครวมแลวนับรอยโครงการ ความรูของชาวบาน ของทองถิ่นตอการจัดการทองเที่ยวมีพรอม อยูมากมาย แตบนสถานการณที่โลกเปลี่ยนไปทุกวินาที ชุมชน ทองถิ่น ที่อยากจัดการทองเที่ยวคงตองยอนมองภาพทั้งระบบ ของอุตสหกรรมทองเที่ยวใหเปนดวย และอาจจะยอนกลับมาถาม ตัวเองอีกครั้งวา “ความรู” อะไรที่เรายังขาด เพื่อสรางความยั่งยืน ใหวถิ วี ฒ ั นธรรม ใหทรัพยากรของตัวเองกับโลกไรพรมแดน นัน่ ละ นาจะเปนโจทยใหมของชุมชนที่จัดการทองเที่ยวทั้งหลาย… เพราะ การวิจยั เปนเครือ่ งมือ” เพือ่ การบูรณาการในระดับชุมชนหรือพืน้ ที่ (Community/Area-Based Approach) ทีเ่ ปนแนวทางใหมทเี่ รียก ไดวาเปนการทํางานแบบ “ฐานรากขึ้นสูขางบน” นั่นเอง….

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 33


เลาสูกันฟง

ทองเที่ยวโดยชุมชน ทางเลือก การแก

สู

“วิกฤติโลก”

วิกฤติโลกทัง้ ดานอาหาร และการใชทรัพยากรดิน นํา้

ปา ในหวงทศวรรษที่ผานมา สงผลใหธุรกิจทองเที่ยวทั่วโลก ตองปรับตัว เพือ่ ปองกันหายนะจากการทําลายสภาพแวดลอม และ ภาวะโลกรอน คําวาการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ, การทองเที่ยวเชิง เกษตร, การทองเทีย่ วเชิงนิเวศ, การทองเทีย่ วเพือ่ สิง่ แวดลอมและ วิถีชีวิต ฯลฯ จึงเกิดขึ้นอยางแพรหลาย และเปนที่นิยมกันอยาง กวางขวาง นอกจากนี้ ภายใตการสนับสนุนของสํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่เขามามีบทบาทเปนเครื่องมือพัฒนา คน และชุมชน ยังทําใหเกิดการทองเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism-CBT) ซึ่งเปรียบเหมือนสะพานเชื่อมโยงคน ตางวัฒนธรรมใหมาแลกเปลีย่ นเรียนรูซ งึ่ กันและกัน มีการเผยแพร สรางการรับรูและความเขาใจใหแกนักทองเที่ยวเรื่องการจัดการ ทรัพยากรโดยชุมชน รวมทั้งการอนุรักษฟน ฟูวัฒนธรรมและ ภูมิปญญาทองถิ่น

34 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

ชาวบานมีสวนรวม-จัดการทรัพยากร โดยคนภายในชุมชน พรหมมินทร พวงมาลา หัวหนาโครงการวิจัยการคนหา แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนผานการจัดการทองเที่ยวโดย ชุมชนบานแมกําปอง กิ่งอําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม เลาถึง วิธีการจัดการวา เนื่องจากชุมชนแมกําปอง มีเนื้อที่ 3,000 ไร ตั้งอยูบนภูเขา และสวนหนึ่งเปนผืนปาขนาด 6 ตารางกิโลเมตร รอบบริเวณมีตน นํา้ ลําธารขุนนํา้ แมกวง จึงจัดการไปใน 3 แนวทาง ควบคูกัน คือ พัฒนาแหลงทองเที่ยวธรรมชาติ, อนุรักษทรัพยากร และวิถีชุมชน ที่มีการทําเมี่ยงและชา, ทําผลิตภัณฑสินคาชุมชน จําหนาย อาทิ กลุมนวดแผนไทย ไกดทองถิ่น กลุมศิลปวัฒนธรรม กลุมชางฟอน กลุมนักดนตรี กลุมประดิษฐบายศรี กลุมแมบาน แปรรูปหมอนใบชา รวมทัง้ รับสมัครบานทีพ่ รอมเปนทีพ่ กั นักทองเทีย่ ว แบบโฮมสเตย เพื่อพัฒนาหมูบาน และใหชุมชนสามารถพึ่งพา ตนเองได


เลาสูกันฟง

กระทั่งชาวบานเริ่มเขาใจรูปแบบการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และเขามามีสว นรวมมากขึน้ เรือ่ ยๆ จึงเปดรับนักทองเทีย่ วเมือ่ วันที่ 10 กรกฎาคม 2543 หากการพัฒนาองคความรูของคนในชุมชน ในดานการอนุรักษทรัพยากรทองถิ่น และวิถีชีวิต ยังคงดําเนินไป อยางตอเนื่อง ทําใหชุมชนเกิดความตื่นตัว และตระหนักวาการ ทองเที่ยวยั่งยืนจะเกิดขึ้นได ตองไมไหลไปตามกระแสโลกาภิวัตน ไมเนนปริมาณนักทองเที่ยว หรือรายได แตมาจากความเขมแข็ง ของชุมชน ในการคงไวซงึ่ ภูมปิ ญ  ญา ประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจน ทรัพยากรธรรมชาติ “สิ่งที่กอใหเกิดความภาคภูมิใจ ภายหลังจากที่ชาวบาน รวมกันทําวิจัย จนสามารถดําเนินการทองเที่ยวโดยชุมชนได ก็คือ ชาวบานสามารถรวบรวมพันธุพืช พันธุสัตว พืชสมุนไพร ไมดอก ทีม่ คี ณ ุ คาอยางดอกเอือ้ งดิน ตลอดจนขอมูลเกีย่ วกับประวัตศิ าสตร ภูมิปญญาตามวิถีชีวิตของชุมชน มีการพัฒนาศักยภาพของคน ในชุมชน และนําองคความรูไ ปตอยอดพัฒนาสูร ปู แบบการทองเทีย่ ว

ภายใตการจัดการของคนในชุมชนอยางเปนระบบ” นักวิจยั รายเดิม กลาว ชูวิถีชีวิต-ทองถิ่นนิยม เปนจุดขาย จักร กินิสี หัวหนาโครงการวิจัยรูปแบบการทองเที่ยวทาง วัฒนธรรมของชาวปกาเกอะญอ ทีเ่ ชือ่ มโยงกับองคความรูเ กีย่ วกับ ธรรมชาติของนกในเขตอุทยานแหงชาติอิน ทนนท อธิบายวา โดยเนื้อแทแลวการทองเที่ยวเปนสิ่งไมยั่งยืน สิ่งที่ยั่งยืนคือวิถีชีวิต ฉะนัน้ หากชุมชนหรือผูป ระกอบการทองเทีย่ วหลงทาง มุง ปรับเปลีย่ น วิถีชีวิตเพื่อเอาใจนักทองเที่ยวที่มาพรอมกับกระแสทุนนิยม การ ทองเที่ยวนั้นก็จะไมยั่งยืนและลมสลายไปในที่สุด เชนเดียวกับ นพพร นิลณรงค ที่ปรึกษาสํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น ที่ยํ้าวากระแส ทุนนิยมทีร่ กุ เขาสูช มุ ชนและสังคมอยางรวดเร็ว ทําใหความสุขของ คนเราลดลง และมองขามรากเหงาของตนเอง ตัวอยางงายๆ เชน §Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 35


เลาสูกันฟง

การทองเที่ยวโดยชุมชน จะเนนคุณคาของการทองเที่ยว การพัฒนาคุณภาพชีวิต/การมีสวนรวมของชุมชน และสิทธิในการบริหารจัดการทรัพยากร ทําใหเกิดความยั่งยืนในการทองเที่ยว

เครื่องแตงกายประจําถิ่น หรือเผาตางๆ เดิมเปนสัญลักษณ ที่ผูสวมใสภาคภูมิใจ แสดงถึงความมีอารยธรรมของทองถิ่น และ มักจะเหมาะสมกับสภาพภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ ตลอดจนความเปนอยู ของชนถิ่นนั้นๆ หากปจจุบันกระแสเสื้อยืด กางเกงยีนส ทําใหคน แตงกายเหมือนกันหมด โดยหลงคิดวาเทห จะยอนกลับไปแตงชุด ประจําถิ่น ก็เพื่ออวดแขกบานแขกเมือง หรือนักทองเที่ยวเทานั้น ถือวาสวนทางกับการทองเที่ยวกระแสหลัก ซึ่งจะเห็นวา โรงแรมหลายแหงมีความพยายามในการยอนกลับไปหาอดีต ดึง จุดเดนของศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นอยางตุง โคม หรือเครื่องใช ไมสอย มาประดับตกแตงสถานที่ ทั้งที่ขาดความเปนธรรมชาติ ดังนัน้ จึงเปนโอกาสดีชมุ ชนใดทีส่ ามารถจัดการทองเทีย่ วดวยตนเองได เพราะสิ่งเหลานี้คือวิถีชีวิตประจําวัน มีความเรียบงายและเสนห ในตัวเอง หากบริหารจัดการอยางเหมาะสมก็จะดึงดูดนักทองเทีย่ ว ใหเขาไปเยี่ยมเยือนไดอยางดียิ่ง ความตาง…กอเกิดคุณคา-พลัง-ความสุข พจนา สวนศรี ผูอ าํ นวยการสถาบันการทองเทีย่ วโดยชุมชน (CBT-I) กลาววาภาวะเศรษฐกิจทีถ่ ดถอยทุกวันนี้ ทําใหสถานการณ 36 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

การทองเทีย่ วในอนาคตเปลีย่ นแปลงไป โดยนักทองเทีย่ วจะเดินทาง ทองเที่ยวในเวลาสั้นลง เนนทองเที่ยวคนเดียวหรือเปนกลุมยอยๆ ตองการทองเที่ยวแบบใกลชิดธรรมชาติเพื่อหลีกหนีชีวิตแบบจําเจ ทีส่ าํ คัญเปนการทองเทีย่ วแบบไมแพง ใชเวลาในการเตรียมตัวกอน เดินทางมากขึ้น การทองเทีย่ วโดยชุมชน ทีม่ จี ดุ เดนคือชุมชนเปนแหลงขอมูล หรือแหลงเรียนรูเ อง มีวถิ ชี วี ติ ชุมชนทีเ่ รียบงายเปนเอกลักษณของ ตนเอง รวมถึงจัดการทรัพยากรบนพื้นฐาน 3 ประการ คือฐาน การเรียนรูและจัดการโดยชุมชน, ฐานองคความรู ภูมิปญญา ทองถิน่ , และฐานพิธกี รรม จึงเปนทางเลือกหนึง่ ทีน่ า จะไดรบั ความ สนใจจากนักทองเที่ยว เพราะมีความแตกตางกับการทองเที่ยว กระแสหลักอยางชัดเจน “การทองเที่ยวโดยชุมชน จะเนนคุณคาของการทองเที่ยว การพัฒนาคุณภาพชีวิต/การมีสวนรวมของชุมชน และสิทธิในการ บริหารจัดการทรัพยากร ทําใหเกิดความยั่งยืนในการทองเที่ยว ในขณะที่การทองเที่ยวกระแสหลัก เนนมูลคาจากการทองเที่ยว และตัวนักทองเที่ยวเปนหลัก ตลอดจนอาศัยอํานาจเปนเครื่องมือ บริหารจัดการทรัพยากรเพือ่ ใหนกั ทองเทีย่ วเสพสุข ทําใหทรัพยากร เกิดความเสื่อมโทรม และไมมีความยั่งยืน” ผูประสานงานสถาบัน การทองเที่ยวโดยชุมชน อธิบาย นับไดวา การทองเทีย่ วโดยชุมชน เปนแนวทางบริหารจัดการ ทรัพยากรของชุมชนโดยชุมชนเพื่อชุมชนโดยแท ทําใหชุมชน ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูกับนักทองเที่ยว หนุนเสริมความภาคภูมิใจ ของคนในทองถิ่น ที่สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต และทรัพยากร ของตนเองได กอใหเกิดคุณคา พลัง และความสุขติดตามมาอยาง ยั่งยืน


RE: การใชประโยชนจากงานวิจัย

พลังขอมูล… ปลุกจิตสํานึกชุมชน

ตําบลแจระแม ใหเขามามีสวนรวม ในการจัดการ ที่ดินสาธารณะ ( ร หั ส โ ค ร ง ก า ร R D G 5 5 E 0 0 2 7 )

ชุติมา จันทรมณี

ปญหาทีด่ นิ สาธารณะถูกรุกลํา้ ถือวาเปนปญหาวิกฤต

ระดับประทศอันเนื่องมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจที่มีการขยายตัว เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ที่ดินจึงกลายเปนปจจัยสําคัญที่ถูกนํามาใช ประโยชนในการผลิตของภาคเอกชนโดยเฉพาะที่ดินสาธารณะ ที่หนวยงานและองคกรที่รับผิดชอบดูแลไมทั่วถึง จึงมักถูกบุกรุก จากนายทุ น ที่ ต  อ งการเข า ไปใช ป ระโยชน จ ากที่ ดิ น ดั ง กล า ว ซึ่งพบวาที่ผานมามักเกิดกรณีพิพาทระหวางชาวบานกับนายทุน ดังปรากฏเปนขาวตามสื่อตางๆ เรื่อยมา ตําบลแจระแม อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีก็เปน พืน้ ทีห่ นึง่ ทีเ่ ผชิญปญหาการบุกรุกทีด่ นิ สาธารณะของชุมชนมาอยาง ยาวนานและเพิ่มมากขึ้นในชวงเวลา 2-3 ปที่ผานมาเนื่องจาก ตําบลแจระแมเปน พื้น ที่ที่อยูติดกับแมนํ้ามูลจึงทําใหในชุมชน มีลําหวยและกุดตางๆ ที่ชาวบานเขาไปใชประโยชนหาอยูหากิน

แตเมื่อเกิดปญหาดังกลาว ทําใหชาวบานไมสามารถเขาไปใช ประโยชนจากพื้นที่สาธารณะดังกลาวนอกจากนี้ ยังสงผลกระทบ ทําใหเกิดปญหานํ้าทวมซํ้าซากขึ้นในชุมชนเรื่อยมาจนกระทั่ง ในป 2555 ดร.อนุวัฒน วัฒนพิชญากูล และคณะนักวิชาการจาก มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดเขาไปดําเนินโครงการวิจัยรวมกับ ชุมชนในเรื่อง “ระบบและกลไกในการจัดการสุขภาวะของชุมชน กับภัยนํ้าทวมในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลทัพไทย ต.แจระแม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี” ซึ่งไดรับการ สนับสนุนทุนวิจัยจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝายวิจัยเพื่อทองถิ่น และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จากการที่ ทีมวิจัยชุมชนรวมกับนักวิชาการไดลงพื้นที่เก็บขอมูลดวยตนเอง ทําใหทมี วิจยั ชุมชนเห็นและเขาใจสภาพปญหามากขึน้ ทีมวิจยั ชุมชน จึงมีการสงตอขอมูลใหกับสมาชิกในชุมชนคนอื่นๆ ไดรับทราบ §Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

l 37


RE: การใชประโยชนจากงานวิจัย

ทั้งในรูปแบบการจัดเวทีคืนขอมูล การพูดคุย จนทําใหเกิดความ ตระหนักในภาวะคุกคามที่เกิดขึ้นกับตนเองและเกิดความหวงแหน ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน อยางไรก็ตาม การแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินสาธารณะ จํ าเป นตองใช ระยะเวลาและพลังความรวมมือจากหน วยงาน หลายฝาย ทีมวิจัยไดมีโอกาสนําเสนอขอมูลปญหาการบุกรุก ที่ ดิ น สาธารณะในตํ า บลแจระแมในเวที ป ระชุ ม วิ ช าการและ การประชุมของภาคีเครือตางๆในจังหวัดอุบลราชธานี จนกระทั่ง อาจารยกิ่งกาญจน สํานวนเย็น จากคณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ไดใหความสนใจและเห็นความสําคัญของปญหา ดังกลาวจึงนําไปสูการเลือกประเด็น ปญหา การบุกรุกในพื้น ที่ สาธารณะในตําบลแจระแมเปนพื้นที่รูปธรรมในการดําเนินงาน โครงการพลเมืองสงเสริมธรรมาภิบาล โดยการสนับสนุน ทุน ใหนักวิชาการจากคณะนิติศาสตรและนักศึกษาลงไปศึกษาวิจัย ในพื้นที่ตําบลแจระแม จนในที่สุด นําไปสูจัดทําบันทึกขอตกลง

38 l

§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

พลเมืองวาดวยเรื่องการจัดการที่ดินสาธารณะแบบมีสวนรวม ระหวางเครือขายพลเมืองสงเสริมธรรมาภิบาลรวมกับเทศบาล เมืองแจระแมในการสงเสริมและสนับสนุนใหเครือขายพลเมือง สงเสริมธรรมาภิบาลและประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งองคกรภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิน่ และเอกชนในเขตเทศบาลเมืองแจระแม ไดเขามามีสวนรวมบริหารจัดการที่ดินสาธารณะในตําบลแจระแม แมการแกปญ  หาการบุกรุกทีด่ นิ สาธารณะในตําบลแจระแม ยังไมไดสําเร็จลุลวงไปอยางชิ้นเชิง แตการที่ทุกฝายตางทั้งองคกร ปกครองทองถิน่ หนวยงานและเครือขายประชาชนในพืน้ ที่ไดหนั มา รับฟงทําความเขาใจ ใหความสําคัญและตระหนักถึงความจําเปน ในการแกไขปญหาดังกลาวรวมกัน ก็ถือวาเปนจุดเริ่มตน ที่ดี ที่จะนําไปสูการมีสวนรวมในการจัดการการใชประโยชนจาก ที่ดินสาธารณะในอนาคตตอไป


ทายฉบับ

อและงานวิ บ ตจั ย. การเลือกตั้ง อบต. หรือองคการบริหารสวนตําบล เริ่มมาจากแนวคิด กระจายอํานาจ ในป 2538

หลังจากมีการเลือกตั้ง ก็มีงานวิจัยจํานวนหนึ่งพยายามอธิบายวา การดําเนินงาน ของ อบต. เปนอยางไร มีคณ ุ ปู การอยางไรตอชุมชน รวมถึงมีเงือ่ นไขอะไรบางทีท่ าํ ให อบต. ไมพัฒนา หรือ กาวหนาไปในทิศทางที่ควรจะเปน ซึ่งตอมางานวิจัยก็เนนการศึกษา “เงื่อนไข” หรือ ปจจัยที่ทําใหองคการบริหาร สวนตําบลเขมแข็ง มีบทบาทหนุนเสริมความเขมแข็งของของชุมชนไดจริง แตงานวิจัยในระยะเริ่มแรก ก็มีขอจํากัดในเรื่องของการตั้งโจทย สวนมากมักจะ ตั้งคําถามเพื่อใหคําตอบวา “เปนอยางไร” ซึ่งจะเห็นไดจากงานวิจัยที่ออกแบบกระบวนการ วิธีการ โดยการสัมภาษณ การทําแบบสอบถาม ตลอดจนใชการสังเกต เพื่อถามทัศนคติ ความรู ความเขาใจ และปญหาในชุมชน เพราะฉะนั้นผลของงานวิจัยจึงสะทอนออกมาวา องคการบริหารสวนตําบลยังมีขอจํากัดหลายๆ เรื่อง อาทิ วิธีคิด การบริหารจัดการ การจัดทําแผนการบริหารงบประมาณ การพัฒนาศักยภาพของสมาชิก เมื่อ สกว. เริ่มนํา “งานวิจัยเพื่อทองถิ่น” มาใชเปนเครื่องมือสรางเสริมพลังชุมชน ในป 2540 มีโครงการวิจัยที่เนนการหนุนเสริมความเขมแข็งขององคการบริหารสวนตําบล ในระยะแรก 6 โครงการ สวนใหญมีเปาหมายอยูที่การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ซึ่งการทํางานในชวงแรกไดกระตุนใหเกิดการปรับเปลี่ยนทัศนะคติแบบเดิมๆ ที่วา “รัฐ” เปนผูม บี ทบาท และกําหนดทิศทางในการพัฒนาเทานัน้ เพราะในระยะตอมา โครงการ วิจยั หลายๆ โครงการ ไดผลักดันใหเกิดวิธคี ดิ ใหมในการพัฒนาชุมชนของ อบต. โดยเฉพาะ เรือ่ งของการ “รวมคิด รวมวางแผน รวมดําเนินการ” และนอกจากนีย้ งั พบวา เงือ่ นไขสําคัญ คือ “คนใน” หรือ อบต. หรือชุมชน ลุกขึ้นมา “เอาธุระ” ซึ่งฉบับหนา…จะเปนการหยิบยกเรื่องราวการใชงานวิจัยไปสนับสนุนการทํางานของ องคการบริหารสวนตําบล หรือ อบต. โปรดติดตาม บรรณาธิการ


ฉบับหนา…พบกับ…

อบต. กับงานวิจัยเพื่อทองถิ่น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.