Rural Insight : Baan Hua Thung -- Community Based Tourism

Page 1

Great Escape

Rural

Insight Baan Hua Thung – Community-based Tourism

T

he country’s third highest mountain Doi Luang Chiang Dao is located in Chiang Dao district, an hour north of Chiang Mai city. For campers and hikers, nothing beats spending a night or so at the top of the mountain. No less than 2,225 metres above sea level and replete with an amazingly diverse ecosystem, Doi Luang Chiang Dao is home to semi-alpine plants and rare species. A hike up the limestone mountain will take you through bamboo forest, pine forest and a whole spectrum of floral colours. From the peak, you can look down on the misty villages below – it is one of the most spectacular views in the country. Also, one of the villages below is one we would like to recommend here. It’s Baan Hua Thung.

52

53


Baan Hua Thung is a new village, formally separated from Baan Thung Lakorn on 30th May 1997. Situated at the foot of Doi Luang Chiang Dao as well as Doi Ngang, the community also features a unique environment, including alpine forest, and provides habitats for many indigenous species which are not found elsewhere. The prominent attraction of this village, though, is Nam Aok Hoo. This is a cascade with water rising up from a crack in the limestone of the mountain. As limestone normally does not store water, the cascade is a wonderful natural phenomenon. Locals believe that it comes from the power of Mae Nang Kham Kiew, the Goddess of Doi Nang. Like Chao Luang Kham Daeng, the guardian spirit of Doi Luang Chiang Dao, Mae Nang Kham Kiew helps people who live around the foot of Doi Luang Chiang Dao by providing water and the abundant forest. People from Baan Hua Thung and Baan Thung Lakorn organise a thanksgiving ceremony to celebrate the goddess in June each year. With a current population of 454 in 150 houses, Baan Hua Thung is a small friendly hamlet where everyone contributes to conserving the natural biodiversity of the area. Community members have worked together to establish a “community forest” which has become well known across the country. In this area it is allowable to collect wild fruits and herbs, but cutting down trees is strictly prohibited. Baan Hua Thung also has a community bamboo forest. Every year, villagers collectively harvest bamboo and divide the profit among the community. Mostly the bamboo is made into baskets. The village is also the prototype in bamboo forest management for other communities. The village has received several awards for conservation and ecotourism from many organisations: in 2012 they were presented the Zero Forest Burning Award from the Pollution Control Department, while the same year they also won the Green Community Award of Chiang Mai, along with, the Ecotourism Prototype Community Award from the Office of Chiang Mai Province Tourism and Sports. The villagers always welcome Thai and foreign students as well as tourists and families who are interested to learn more about how to manage forest resources in a sustainable way. They are also keen to share their lifestyles, traditions and local performances with guests who would like a real insight into rural Thai life. Guests can visit a community forest which village members manage together. There are many different

54

With a current population of 454 in 150 houses, Baan Hua Thung is a small friendly hamlet where everyone contributes to conserving the natural biodiversity of the area.

บ้านหัวทุ่ง หมู่บ้านเล็กๆ ทีง่ ดงามใกล้ดอยหลวงเชียงดาว kinds of herbal medicines and wild edible plants in the forest. They will also hear about the inspiring practice of “forest ordination” whereby trees are ordained as monks! They say, ‘People nurture the forest, and the forest nurtures the people in return’. They can also learn how to make a bamboo basket, and maybe meet a traditional village herbalist. Visitor numbers to the summit of Chiang Dao are carefully controlled, and it is only possible to climb the mountain between November and May. However, guests can visit local villages and participate in cultural exchange programmes all year round. The community’s forest is also easy to access. The trekking path is absolutely natural, and worth a visit as you will be rewarded with the priceless beauty of nature and community. For more information about visiting and homestay, please contact (087) 995 8104.

FYI Apart from renting a homestay, visitors can also hire bikes to visit nearby attractions around Doi Luang Chiang Dao, including Chiang Dao Cave, Pha Plong Cave, Muang Ngai Shrine of King Naresuan and Baan Yang Poo Toh Hot Spring. How to get there? From Chiang Mai city, take highway no.107 (Chiang Mai – Fang Road) around 85 kilometres through Chiang Dao district. Turn left at the bypass intersection to Baan Thung Lakorn, the community is located at the foot of Doi Chiang Dao in the Chiang Dao Wildlife Sanctuary.

ด้

วยความสูงเป็นอันดับสามของภูเขาในประเทศ และ หากเปรียบเทียบกันเพียงภูเขาหินปูน ด้วยความสูง 2,225 เมตรเหนือระดับน�้ำทะเล นับได้ว่าดอยหลวง เชียงดาวเป็นภูเขาหินปูนที่สูงที่สุดในประเทศ ทุกเดือน พฤศจิกายน – มีนาคม ของทุกปี นักท่องเที่ยวผู้นิยม ธรรมชาติทั่วสารทิศจะเดินทางมาที่นี่เพื่อปีนเขาส�ำรวจ ธรรมชาติที่งดงามและอุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมาก ดอยหลวงเชียงดาว เป็นภูเขาหินปูนล้วนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขา ถนนธงชัยเป็นภูเขาหินปูนที่เกิดขึ้นในยุคเพอร์เมียน มีอายุระหว่าง 230-250 ล้านปี สันนิษฐานว่าพื้นที่ในบริเวณนี้ในอดีตเคยเป็นท้องทะเลมาก่อนที่การ ตกตะกอนทับถมของซากสิ่งมีชีวิต เช่น ปะการังและหอย เป็นภูเขาที่ไม่มีแหล่ง เก็บน�ำ้ ไม่มแี หล่งน�ำ้ ธรรมชาติ แต่ทนี่ มี่ คี วามพิเศษคือมีพรรณไม้แบบทีเ่ รียกว่า ‘กึ่งอัลไพน์’ แห่งเดียวในประเทศ คือพวกพุ่มไม้เตี้ย และไม้ล้มลุก คล้ายพืช แบบแถบหิมาลัยแต่พัฒนาตนเองเป็นพืชเฉพาะถิ่น จึงมีดอกไม้สวยๆ มากมายที่เราพบได้เฉพาะที่นี่เท่านั้น และพรรณไม้บางสายพันธุ์มีที่ดอยหลวง เชียงดาว ที่เดีย ไม่เฉพาะความอุดมสมบูรณ์ของพันธุ์พืช ล�ำพังแค่การทอดมองทิวทัศน์ ทั่วขุนเขา โดยเฉพาะการเดินไปจนถึงยอดและมองลงมา คุณก็จะพบกับความ มหัศจรรย์ของทิวทัศน์สุดลูกหูลูกตา หมู่บ้านรอบเชิงเขาที่เกาะกลุ่มกับป่าไม้ อย่างสอดคล้องกลมกลืน ทั้งนี้หนึ่งในหมู่บ้านที่เพิ่งเกิดใหม่ได้ไม่นานตรงตีนดอยหลวงที่แม้จะไม่ อลังการเสมือนบนยอดดอย หากแต่ความเรียบง่ายของชุมชนและความอุดม สมบูรณ์ของธรรมชาติก็เป็นเรื่องที่น่าเสียดายหากจะมองข้าม เราก�ำลังพูดถึง บ้านหัวทุ่ง หมู่บ้านเล็กๆ ใกล้ๆ กับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดอยหลวงเชียงดาว มีเรื่องประหลาดเล็กๆ ในพื้นที่ของบ้านหัวทุ่ง ไม่ไกลจากบ้านทุ่งละครของ ต�ำบลเชียงดาว ท่ามกลางสภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่ที่เป็นเขาหินปูนไม่ สามารถกักเก็บน�้ำได้ กลับปรากฏมีน�้ำใสไหลทะลักออกจากโตรกผาและซอกรู ของตีนดอยนาง ซึ่งเป็นอีกหนึ่งดอยร่วมพื้นที่กับดอยหลวงเชียงดาว ชาวบ้าน เรียกพื้นที่อันน่าอัศจรรย์ใจตรงนั้นว่า ‘น�้ำออกฮู’ อย่างไรก็ดี แม้จะมีความ ส�ำคัญอย่างยิ่งยวด แต่กลับไม่ค่อยเป็นที่ทราบกันนักว่า พื้นที่บริเวณ 55


“ป่าสวยน�้ำใส สมุนไพรขึ้นชื่อ เรื่องลือ “ข่าวเศรษฐกิ จ วิถีชีวิตจักรสาน สมาน

สามัคคี มีน�้ำใจพัฒนา” คือค�ำขวัญที่สะท้อน ภาพชัดของชุมชนที่มีอยู่ด้วยกัน 150 หลังคาเรือน ที่ซึ่งนอกจากความหลากหลาย ของชาวบ้าน (ลัวะ ไทลื้อ และคนยอง) ความหลากหลายของพืชพรรณยังโดดเด่น ควบคู่ไปกับวิถีชีวิตพื้นถิ่นด้วย

ดอยหลวงและดอยนางนั้นเป็นตัวรองรับน�้ำจากต้นน�้ำหลักบนดอยหลวง พื้นที่ ดังกล่าวจะซับน�้ำอุ้มไว้ แล้วแบ่งสันปันส่วนไหลรินลงมาหล่อเลีย้ งหมูบ่ า้ นและผืนป่า ในบริเวณนัน้ กว้างขวางออกไปกว่า 6,000 ไร่ อย่างพอเพียง แน่นอน, ธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่มักถูกผูกติดด้วยเรื่องเล่าเหนือธรรมชาติของพื้นที่ เจ้าหลวงค�ำแดงจึงเป็นต�ำนานอารักษ์คู่ดอยหลวงเชียงดาว ในขณะที่บนดอยนางก็มี เจ้าแม่นางค�ำเขียวปกปักษ์รักษา และนั่นเป็นที่มาของความศรัทธาและพิธีกรรมเลี้ยงผี ขุนน�้ำในเดือนเก้าเป็งของทุกปี ส่วนประโยชน์ทางอ้อมของพิธีกรรมก็ปรากฏผ่าน ความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้านในพื้นที่ทั้งจากชาวบ้านหัวทุ่ง ชาวบ้านทุ่งละครและ อื่นๆ ในการร่วมกันจัดกิจกรรมตอบแทนความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ ทั้งนี้ หากมองให้พ้นจากกรอบของความเชื่อและพิธีกรรม การมีอยู่ของบ้าน หัวทุ่งก็เป็นตัวอย่างที่งดงาม ซึ่งสะท้อนระบบนิเวศที่สมบูรณ์ได้อย่างดียิ่ง การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และการน�ำมาปรับใช้ให้เข้ากับวิถีชุมชนและการท่องเที่ยว โดยใช้ กระบวนการการบริหารจัดการพื้นที่ของชาวชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ จนเป็นที่มา ของรางวัลจากสถาบันต่างๆ มากมายที่บ้านหัวทุ่งได้รับ อาทิ รางวัลหมู่บ้านท่องเที่ยว ต้นแบบเชิงนิเวศ จากส�ำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่ รางวัลหมู่บ้าน ปลอดการเผา ปี 2555 จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมและกรมควบคุมมลพิษ รางวัลชนะเลิศหมู่บ้านปลอดการเผา “ชุมชนสีเขียว” ระดับจังหวัด เป็นต้น นับตั้งแต่ ได้แยกตัวมาจากบ้านทุ่งละครเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2540 บ้านหัวทุ่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 ต�ำบลเชียงดาว อ�ำเภอเชียงดาว หากขับรถออกจาก ตัวเมือง เข้าสู่ทางแยกถนนสายเลี่ยงเมืองผ่านหมู่บ้านทุ่งละครไปไม่กี่กิโลเมตร ก็จะ พบชุมชนต้นน�้ำบ้านหัวทุ่งวางตัวอยู่บนที่ราบอันเป็นแนวต่อเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า

ดอยเชียงดาว ซึ่งเป็นเขตต้นน�้ำห้วยแม่ลุ และห้วยละครที่ไหลลงสู่แม่น�้ำปิง ทิศตะวันตกมีชายขอบของป่าผืนใหญ่ที่อุดมสมบูรณ์ เรียกว่า “ป่าชุมชนบ้านหัว ทุ่ง” ที่ซึ่งนอกจากความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติแล้ว ทุกๆ พื้นที่ในชุมชนยัง สามารถมองเห็นดอยเชียงดาวและดอยนางอันสง่างามได้อย่างชัดเจนอีกด้วย “ป่าสวยน�้ำใส สมุนไพรขึ้นชื่อ เรื่องลือข่าวเศรษฐกิจ วิถีชีวิตจักรสาน สมาน สามัคคี มีน�้ำใจพัฒนา” คือค�ำขวัญที่สะท้อนภาพชัดของชุมชนที่มีอยู่ด้วยกัน 150 หลังคาเรือน และมีประชากรทั้งหมด 454 คน ที่ซึ่งนอกจากความหลากหลาย ของชาวบ้าน (ลัวะ ไทลื้อ และคนยอง) ความหลากหลายของพืชพรรณยังโดดเด่น ควบคู่ไปกับวิถีชีวิตพื้นถิ่นด้วย ซึ่งได้มีการบริหารจัดการอย่างสอดประสาน จนสามารถสร้างมูลค่าทางความยั่งยืนต่อการด�ำรงชีวิตของชาวบ้าน รวมทั้งการ ร่วมกันอนุรักษ์ป่าชุมชน การจัดตั้งกลุ่มสมุนไพรเพื่อการเรียนรู้ โครงการปลูก แฝกเพื่ออนุรักษ์ป่าต้นน�้ำ กลุ่มโครงการแก๊สชีวภาพ โครงการปลูกกาแฟ และที่ โดดเด่นอย่างยิ่งก็คือโครงการปลูกไผ่เศรษฐกิจ ซึ่งถือว่าที่นี่เป็นชุมชนแห่งแรกที่มี การสานก๋วยของอ�ำเภอเชียงดาว และถือเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการปลูกไผ่โดยชาว บ้านช่วยกันดูแล และกลายมาเป็นพื้นที่ศึกษาดูงานทั้งจากกลุ่มองค์กร ภาครัฐ และเอกชน ทั้งในและต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง พ่อหลวงสุขเกษม สิงห์ค�ำ ผู้ใหญ่บ้านหัวทุ่ง เล่าให้ฟังว่า ป่าไผ่เกิดขึ้นในสมัย พ่อหลวงติ๊บ ศรีบุญยัง ซึ่งได้ไปขอพื้นที่ของ นพค. (หน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่) 32 กรป. กลาง (กองอ�ำนวยการกลาง รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ) ที่เคยได้ใช้ เป็นที่เลี้ยงวัวแล้วปล่อยให้รกร้างมาสร้างป่าชุมชน ในขณะเดียวกันด้วยความที่ชาว บ้านในแต่ละครอบครัวส่วนใหญ่มีการสานก๋วย ซึ่งต้องมีการตัดไผ่กันทุกๆ วัน จึง

มีความคิดที่จะขยายพื้นที่ปลูกป่าทดแทนโดยขอพื้นที่เพิ่มจาก นพค. อีก 42 ไร่ ท�ำให้ชาวบ้านหัวทุ่งได้รับประโยชน์จากการตัดไผ่มาสานก๋วย สร้างรายได้ให้ ครอบครัว โดยหมุนเวียนทรัพยากรทางธรรมชาติอย่างเป็นระบบ ระบบการจัดการภายในที่ยั่งยืนยังส่งผลถึงการน�ำศักยภาพดังกล่าวมาต่อ ยอดเป็นสินค้าทางการท่องเที่ยว ซึ่งหากพูดกันในฐานะเชิงเศรษฐกิจร่วมสมัย เราสามารถบอกได้เลยว่าบ้านหัวทุ่ง “ก�ำลังจะมา” เพราะหลังจากได้รับความร่วม มือจากสถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน (CBT-I) ซึ่งได้วางรากฐานส�ำหรับการ จัดการการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์อย่างเป็นระบบ โดยชุมชนจะเปิดให้นักท่องเที่ยว เข้าพักในบ้านพักที่จัดไว้ให้ และน�ำนักท่องเที่ยวศึกษาวิถชี วี ติ ของชาวบ้าน เทีย่ วป่า ชุมชน ศึกษาการฟืน้ ฟูพนื้ ทีป่ า่ ศึกษาสมุนไพรและป่าไผ่เศรษฐกิจ โดยจะมีมคั คุเทศก์ ชาวบ้านให้การต้อนรับและให้ความรูอ้ ย่างคนในพืน้ ทีท่ รี่ จู้ ริง “ป่ามันคือชีวิต น�้ำก็คือชีวิต เราเข้าไปในป่า เราไม่มีเงินซักบาท เราก็ยังได้กิน เจ็บป่วยก็มียารักษาเหมือนเป็นซุปเปอร์มาร์เก็ตของคนจน ที่ชาวบ้านหัวทุ่งช่วยกัน ดูแลป่าก็ไม่ใช่เพื่อเฉพาะชาวบ้านในพื้นที่เท่านั้น แต่อากาศที่บริสุทธิ์ของที่นี่จะลอย ไปทั่วทุกที่ ขนาดนักท่องเที่ยวต่างชาติเขายังมาซื้ออากาศของเราเลย” แม่หล้า ศรีบุญยัง ผู้น�ำธรรมชาติแห่งบ้านหัวทุ่ง บอกอย่างภาคภูมิใจ ไม่ใช่เฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ภูมิปัญญา หรือการจัดการพื้นที่ ภายในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น เราคิดว่าจุดเด่นที่สุดที่ท�ำให้ชุมชนแห่งนี้ เติบโตและยั่งยืนได้เช่นทุกวันนี้ คือ “จิตส�ำนึกและการเสียสละ” ของชาวชุมชนทุก คนที่รักและห่วงแหนพื้นที่บ้านหัวทุ่งอย่างหมดหัวใจ และนั่น เป็นความสุกสกาวจาก ภายในที่ใช่ว่าจะหาได้ง่าย...ที่ไหนๆ ก็มี

กิจกรรมการท่องเที่ยวในชุมชน 1. ดูการจัดการดูแลการรักษาป่าชุมชน (ป่าต้นน�้ำ) 2. วิถีชีวิตของชาวบ้านหัวทุ่ง 3. การปลูกป่าไม้ไผ่เศรษฐกิจเพื่อใช้ในการจักสานเป็นอาชีพเสริม 4. ศึกษาภูมิปัญญาเรื่องสมุนไพรในพื้นที่ 4. ร่วมท�ำบุญเลี้ยงผีขุนน�้ำในเดือนมิถุนยานของทุกปี 5. การแสดงของเด็กและเยาวชนในหมู่บ้าน การเดินทาง จากเชียงใหม่ ใช้เส้นทาง 107 (เชียงใหม่ – ฝาง) เข้าอ�ำเภอเชียงดาวไปตามทาง แยกถนนเลี่ยงเมือง เลี้ยวซ้ายผ่านบ้านทุ่งละครก็จะพบชุมชนบ้านหัวทุ่งตั้งอยู่บริเวณ ตีนดอยหลวงเชียงดาวกับดอยนาง ทั้งนี้นักท่องเที่ยวสามารถขับรถเข้าชมป่าชุมชน ได้ตลอดทั้งปี และยังสามารถขี่จักรยานไปเที่ยวถ�้ำเชียงดาว ถ�้ำผาปล่อง โป่งน�้ำร้อน บ้านยางปู่โตีะ และพระสถูปเมืองงายได้อย่างสะดวก *ขอขอบคุณข้อมูลจากนิตยสารเชียงดาวโพสต์ ข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อคุณทองหล่อ บุญป้อ หัวหน้าคณะกรรมการหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โทร. (087) 995 8104

คณะบริหารธุรกิจ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชน ส�ำนักบริหารยุทธศาสตร์ อ�ำเภอเชียงดาว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 Words S.P. Photographs S.P. and Chiang Dao Post

56

57


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.