AUAA Profile - May-July 2017

Page 1

assumption university alumni association

AUA A PROFILE Issue May - July 2017


2

AUAA PROFILE


จากใจสมาคม ถึงศิษย์เก่าฯ ยิน ดีต้ อนรับ ท่ านผู้ อ่ านทุก ท่ านเข้ าสู่ AUAA Profile จากเดิ มชื่ อ ABACA Profile ด้วยฤกษ์งามยามดีของเล่มปฐมฤกษ์จากสมาคมศิษย์เก่าชุดใหม่ เราจึงขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาต เชิญพระฉายาลักษณ์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวลงปกหนังสือของสมาคมฯ ฉบั บ ประจ� ำ เดื อ นกรกฎาคม พ.ศ. 2560 เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ เ นื่ อ งในโอกาสครบรอบ พระราชสมภพ และเพื่ อความเป็นสิริมงคลแก่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และสมาคมศิ ษ ย์เก่า มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ นอกจากเปลี่ยนแปลงชื่อหนังสือแล้ว เรายังปรับดีไซน์ให้มีความทัน สมัยมากยิง ้ ่ ขึน ทั้งนี้เรายังต้ องการแสดงวิสั ยทัศน์ท่ีมุ่งเน้นสร้างสื่ อที่มีประโยชน์แก่สังคม และศิษย์เก่า ทางสมาคมฯจึงมีการประชาสัมพั นธ์กิจกรรมต่างๆที่สมาคมฯและมหาวิทยาลัย จัดขึ้นเพื่ อให้เกิดการรับรูโ้ ดยทัว่ กัน และเพื่อแสดงความตัง ้ ใจในการท�ำงานของเราตลอดระยะ เวลาที่ ผ่ า นมา ทางสมาคมฯจึ ง อยากใช้โ อกาส ณ ที่ น้ี ขอขอบคุณ ผู้ อ่ า นทุ ก ท่ า นที่ ใ ห้ ก าร สนับสนุนเรามาโดยตลอด และยังเป็นแรงใจที่ส� ำคัญในการผลักดันให้นิตยสารได้ก้าวต่อไป นอกจากนี้ ทางสมาคมฯมีเจตนารมณ์ใ นการสร้างสั มพั น ธ์ระหว่างสมาคมฯ และศิ ษย์เก่าให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น เราจึงได้เปิด Facebook ขึ้นมาเพื่ อให้ทุกคนร่วมแชร์ข้อมูล หรือกิจกรรมต่างๆ ทีส ่ ง ่ เสริมสมาชิกด้วยกันและเป็นพื้ นทีโ่ ปรโมทธุรกิจของศิษย์เก่าอีกด้วย โดยปัจจุบัน Facebook: AU Alumni Network หรือชื่อเต็มว่า Assumption University Alumni Network ของเรามีสมาชิกกว่า 17,000 คน ใช้ระยะเวลาสร้างเครือข่ายไม่ถง ึ หนึง ่ สัปดาห์ และเพื่ อให้ข้อมูลกระจายออกไปในวงกว้าง ทางเราจึงตั้งใจปรับเปลี่ยนเนื้ อหาใน นิตยสารให้มีความสอดคล้องกับ social media อีกด้วย อาทิ หมวดไลฟ์สไตล์ท่ีประกอบ ด้วย ร้านอาหาร โรงแรม การท่องเที่ยวต่างๆ ที่มีผู้ประกอบการเป็นศิษย์เก่า หมวดธุรกิจที่ รวบรวมและน�ำเสนอธุจกิจที่น่าสนใจในช่วงเวลานั้นๆ รวมถึงบทสัมภาษณ์จากศิ ษ ย์เก่ารุ่น เล็กและรุน ่ ใหญ่ท่ป ี ระสบความส�ำเร็จทัง ้ ในประเทศและต่างประเทศ ทัง ้ หมดนี้เนื้อหาจะถูกปรับ เปลี่ยนไปตามหัวข้อหนังสือของฉบับนัน ้ ๆ ทางสมาคมศิษย์เก่าฯหวังเป็นอย่างยิง ้ี ะถูกใจทุกท่าน และหากมีสง ่ ว่ารูปโฉมใหม่นจ ่ิ ใด ขาดตกบกพร่องในฉบับนี้ ทางกองบรรณาธิการขออภัยพร้อมน้อมรับค�ำติชม และค�ำแนะน�ำ มาได้เสมอเพื่ อน�ำมาปรับปรุงในฉบับต่อไป ด้วยรักจากใจ คณะกรรมการสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

alumni association

3


AUAA ACTIVITIES

สารจากนายก สมาคมศิษย์เก่าฯ "AUAA จะท�ำหน้าที่เป็นศูนย์รวมทางด้านกายภาพและจิตใจของ ่ บการศึกษาจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และสร้าง ้ หมดทีจ สมาชิกทัง ่ ด ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จนในทีส ุ ส่งผลให้กลายเป็นสถาบัน การศึกษาที่ยิ่งใหญ่ไม่แพ้สถาบันใด" ถือเป็นการพลิกประวัตศ ิ าสตร์ ของสมาคมศิ ษ ย์ เ ก่ า ฯเนื่ อ งจากวั น ที่ ี ารเลือก 29zพฤศจิกายน 2558zได้มก ตั้งคณะกรรมการบริหารชุดใหม่zเป็น คณะกรรมการชุดแรกที่มาจากวิธีการ เลือกตั้ง จากแต่เดิมเป็นการแต่งตั้ง มาโดยตลอด

ดร.สมพรต สาระโกเศศ

ดร.สมพรต สาระโกเศศ นายก สมาคมศิษย์เก่าฯคนปัจจุบัน ให้ความ เห็ น ว่ า สมาคมควรเป็ น ศู น ย์ ร วมทั้ ง ร่างกายและจิตใจให้กับศิ ษย์เก่าที่จบ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เพื่ อให้มีความแน่นแฟ้นกลมเกลียวกัน มากขึน ้ ความผูกพันของเหล่าศิษย์เก่า จะก่อให้เกิดการช่วยเหลือซึง ่ กันและกัน และเมื่อทุกคนเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ก็จะส่งผลให้มหาวิทยาลัยของเราเป็น สถาบันที่แข็งแกร่งไม่แพ้ ผู้ใด โดยคณะกรรมการชุ ด ใหม่ จ ะ ประกอบไปด้วย หนึ่งนายกสมาคมฯ หนึ่งเลขาธิการ หนึ่งเหรัญญิก และ สี่ อุ ป นายก ซึ่ ง หน้ า ที่ ข องสี่ อุ ป นายก สมาคม ถูกแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุม ่ แรกจะมีหน้าทีด ่ ำ� เนินแผน งานประชาสัมพั นธ์และสื่อสารองค์กร ของสมาคม ดู แ ลการตลาดและการ ประชาสั ม พั น ธ์ ข่ า วสารกิ จ กรรมของ ศิษย์เก่าและมหาวิทยาลัยผ่านสือ ่ ต่างๆ กลุม ่ ที่ 2 จะช่วยดูแลเครือข่าย สมาชิก โดยด�ำเนินแผนงานด้านเครือ ข่ายศิษย์เก่าที่มีมากถึง 44 รุ่น โดยใช้ เทคโนโลยี Data Cleansing เริม ่ จาก การจั ดระบบฐานข้ อมู ล ของศิ ษ ย์ เก่ า

4

AUAA PROFILE

ทุกคนและด�ำเนินแผนงานต่อเนื่องไป ยังกลุ่มที่ 3 ซึ่งดูแลด้าน IT เกี่ยวกับ สิทธิประโยชน์ โดยน�ำเทคโนโลยี Area Base Service เข้ามาช่วยในการด�ำเนิน การ ยกตัวอย่างเช่น เครือข่ายศิษย์เก่า ทีเ่ ป็นเจ้าของกิจการร้านค้า ร้านอาหาร โรงแรม หรือการบริการประเภทต่างๆ สามารถเสนอสิทธิประโยชน์ของสินค้า และบริการของตนให้แก่สมาชิกคนอืน ่ ๆ โดยอาศัยฟีเจอร์ Alumni Network ที่ จ ะส่ ง ข้ อ ความสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ใ ห้ แ ก่ สมาชิ ก ที่ อ ยู่ ใ กล้ ร้ า นค้ า หรื อ บริ ก าร นั้นๆ ทั้งนี้จะเกิดประโยชน์แก่ท้ังสอง ฝ่า ย โดยฝ่า ยสมาชิ ก สมาคมจะรู้ สึ ก ยิ น ดี แ ละคุ้ ม ค่ า ส่ ว นสมาชิ ก เจ้ า ของ กิ จ การก็ จ ะได้ ป ระโยชน์ ใ นแง่ มุ ม ของ การประชาสัมพั นธ์ธุรกิจไปในตัว กลุ่ ม สุ ด ท้ า ยจะโฟกั ส ในเรื่ อ ง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรนักศึกษา ปั จ จุ บั น และศิ ษ ย์ เ ก่ า เนื่ อ งจากคณะ กรรมการชุ ด ใหม่ น้ี เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของศิ ษย์เก่า ทุกรุน ่ จนมีการจัดตัง ้ อนุกรรมการเพื่อ ประสานงานศิษย์ในแต่ละรุ่น ได้แก่ รุ่น 0-20, รุ่น 21-30 และรุ่น 31-40 เพื่ อ ศึกษาความต้องการในแต่ละช่วงวัย เรามีความคาดหวังในการยก ระดับสมาชิกของสมาคมศิษย์เก่า โดย ดึงศั กยภาพรุ่นพี่ ท่ีมีประสบการณ์มา ช่วยพัฒนารุน ่ น้อง ตรงนีจ ้ ะส่งเสริมให้ สถาบันของเรายิ่งใหญ่ไม่แพ้ ใคร “ใคร จะเป็นแบรนด์แอมบาสเดอร์ได้ดีกว่า ศิษย์เก่า” ดร.สมพรตกล่าวทิ้งท้าย


alumni association

5


contents สารจากนายกสมาคม

4

AUAA ACTIVITIES CEO Forum#1

8

CEO Forum#2

การประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2559

Power of AUAA

12

AU BREAKING NEWS AU Business plan

16

“ทิศทางการศึกษาของชาติในยุค Thailand 4.0” โดย ศาสตราจารย์กิตติคณ ุ ดร.วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี

กิจกรรม ACT-MEN

GUEST SPEAKER Digital trend in the next 5 years

ISSUE MAY-JULY 2017 บรรณาธิการบริหาร ดร.สมพรต สาระโกเศศ ่ รึกษา บรรณาธิการทีป นางเทพิ น อัศวบดี นายบรรเทิง องค์วิลาวัณน์ สนับสนุนข่าวสาร นายสุวิทย์ เจริญเลิศทวี ดร.พรรณลักษณ์ สธนเสาวภาคย์ ฝ่ายข่าวสารและกิจกรรมสมาคมศิษย์เก่าฯ ฝ่ายประชาสัมพั นธ์มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

6

AUAA PROFILE

20

พี่สอนน้องรวยด้วยออมหุ้นและลงทุนคอนโด

Implementing industry 4.0

HUMAN OF AU แสดงความยินดีกบ ั อาจารย์ สรรเสริญ

26

เอี่ยมสุทธิวัฒน์

แสดงความยินดีกบ ั เกรซ ผู้ชนะรายการ The Face

กิรกรรมปลูกเลย "น่าน"ไง.. ไปไม่ถง ึ ไหนถ้า มัวแต่ดราม่า!

เด็กเอแบคสุดเจ๋ง! ชนะแผนการตลาด ได้แชมป์ระดับโลก

แชมป์ Toyota Campus Challenge 2016

โครงการ Smart Successor เรื่องเล่าจากรุน ่ พี่


AU LIVE BROADCAST Digital Music Entrepreneur

Law in the age of social media

อนาคตการท่องเที่ยวไทยในปี 2560

ABAC The Fashion Show

AU Music Chorus Performance

Freshy Day and Night 2559

ปัจฉิมนิเทศบัณฑิตนิติศาสตร์เอแบค 2559

บทบาทของนักกฎหมายธุรกิจ

ข้าราชการใต้พระปรมาภิไธยและจริยธรรมกับ นักกฎหมาย

AU LIFESTYLE บอยแบนด์ขวัญใจยุค90

นักแสดงตลกยุคใหม่

ท�ำความเข้าใจกับโรคและอยูร่ ่วมกัน อย่างมีความสุข

AU Run for Love รันไม่มีเว้นวรรค รักไม่มีเว้นวัน

34

36

alumni association

7


AUAA ACTIVITIES

BUILD BRAND TO LAST "การท�ำธุรกิจและการสร้างแบรนด์ต้องมีทศ ั นคติทด ี่ ี และมีวิสย ั ทัศน์ ่ ้องค�ำนึงถึงคือ เอาผูบ เชิงบวกต่อสังคม สิง ้ ริโภคเป็นตัวตั้ง ่ แรกทีต put consumer at heart ต้องมี customer insight"

ในวั น เสาร์ ท่ี 9 กรกฎาคม 2559 ณ อาคารยูนิลีเวอร์ เฮ้าส์ บน ถนนพระรามที่ 9 สมาคมศิ ษย์เก่า มหาวิทยาลัยได้จด ั งานสัมมนา CEO Forum ภายใต้หัวข้อ Build Brand To Last งานนี้เราได้รับเกียรติจาก คุณสุพัตรา เป้าเปี่ ยมทรัพย์ (พี่ จุ๋ม) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท ยูนิลีเวอร์ในประเทศไทย ขึ้นมาเป็น วิทยากรพิเศษบรรยายให้ความรูเ้ พื่อ สนับสนุนและส่งเสริมให้ศิษย์เก่าฯ ที่ มีความสนใจในวิชาชีพการตลาดได้ รับฟังความรู้จากผู้ซึ่งคร�่ำหวอดใน แวดวงธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้องกับ การตลาด

ถ้าองค์กรต้องการเจาะตลาดกลุม ่ นี้ จ�ำเป็นต้องมี millennials insight

ในส่ ว นของการสื่ อ สารและ การส่งต่อข้อมูลถึงผูบ ้ ริโภคนัน ้ ทาง พี่สพ ุ ัตรามองว่า จากการตลาดแบบ เดิมที่ใช้ 4P หรือแบบ 6P ที่บริษัท ที่ยูนิลีเวอร์ใช้มาตลอด ไม่เพี ยงพอ ต่อการตอบสนองเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมถึ ง เทรนด์ ผู้ บ ริ โ ภคในอนาคต และรู ป แบบการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ของ คนในยุ ค ปั จ จุ บั น ดั ง นั้ น การเพิ่ ม purpose เข้าไปเป็น 7P และการใช้ digital marketing จึ ง เป็ น เรื่ อ ง เร่งด่วนส�ำหรับผู้ประกอบการ และ องค์ ก รจ� ำ เป็ น ต้ อ งปรั บ แผนการ พี่ สุ พั ต ราได้ ใ ห้ มุ ม มองเพิ่ ม ตลาดเสียใหม่เพื่ อเพิ่ มประสิทธิภาพ เติมในแง่ของวิสัยทัศน์และทัศนคติ ของการน�ำเสนอข้อมูล ต่ อ การสร้ า งแบรนด์ ว่ า การจะท� ำ ดังนั้นโจทย์ของผู้ประกอบ ธุ ร กิ จ และการสร้ า งแบรนด์ ต้ อ งมี ทัศนคติท่ีดีและมีวิสัยทัศน์เชิงบวก การคือ การเพิ่ ม purpose เข้าไป ต่อสังคม สิง ่ อ ้ งค�ำนึงถึงคือ ในการตลาดซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายมาก ่ แรกทีต การน�ำผู้บริโภคมาเป็นตัวตั้ง ดังนั้น ในการสร้ า ง value ให้ สิ น ค้ า ผ่ า น เมื่อไหร่ท่ีเราเข้าใจผู้บริโภคแล้ว ให้ การตลาดอย่างมี purpose โดยที่ น�ำโจทย์ของผู้บริโภคมาปรับใช้กับ บริษัทต้องได้ positive income โจทย์ ข องธุ ร กิ จ ปั จ จุ บั น ผู้ บ ริ โ ภค และทั้ ง หมดต้ อ งสร้ า งผลลั พ ธ์ ท่ี ดี ต่อสังคม ที่ยูนิลิเวอร์เราท�ำมากว่า เลือกเรา ไม่ใช่เราเลือกเขา สิบปีแล้ว สินค้าของเรามีปรัชญาที่ ต่อมาพี่ สุพัตรายังได้เน้นย�ำ้ สามารถสร้าง Philosophy ให้กับ ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการมองเห็ น ผู้ บ ริ โ ภคและในแง่ ข องการสร้ า ง เทรนด์ของผู้บริโภคในอนาคตโดย purpose พี่ ข อยกตั ว อย่ า งสิ น ค้ า ให้ภาพรวมว่า ในประเทศไทยกลุ่ม คนอร์ คั ฟ โจ๊ ก จากการวิ จั ย พบว่ า 60%ของเด็ก ไม่ได้ทานอาหารเช้า วัยทีเ่ ป็นตลาดใหญ่คอ ื เจนเนอเรชัน ่ เอ็กซ์ แต่ในระดับโลกเจเนอเรชัน ่ วาย ก่อนไปโรงเรียน ซึ่งทุกคนทราบกัน ้ เช้าเป็นอาหารทีส ่ ำ� คัญ หรือมิลเลนเนียลเป็นกลุ่มใหญ่ท่ส ี ุด ดีวา่ อาหารมือ

8

AUAA PROFILE

สุพัตรา เป้าเปี่ ยมทรัพย์ (พี่ จุ๋ม) ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร กลุม ่ บริษัทยูนล ิ เี วอร์ ในประเทศไทย


ดังนั้นเป้าหมายของ Brand Manager คือการท�ำให้คนตระหนักถึงความส�ำคัญ ของอาหารเช้ า เราจึ ง เน้ น ไปที่ สิ น ค้ า หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี อ� ำ นวยความสะดวก รวดเร็วในการทานและมีโภชนาการที่ดี ผ่านมากว่า 5 ปี ตัวเลขของเด็กที่ไม่ได้ ทานอาหารเช้าลดลง ซึ่งนี่เป็น impact ต่ อ คนในองค์ ก รด้ ว ย ท� ำ ให้ พ วกเขา รู้ สึ ก ว่ า เป็ น อี ก หนึ่ ง พลั ง ที่ ส ร้ า งความ เปลี่ยนแปลงให้กับสังคม ทุกวันที่พวก เขามาท�ำงาน พวกเขารู้ ว่าก� ำ ลั งท� ำ ใน

สิ่งที่ดีและได้ช่วยเหลือสังคม ดังนั้นการ มี purpose จึงเป็นสิง ่ ที่ส�ำคัญมากต่อ การสร้างแบนรด์ท่ย ี ั่งยืนและมั่นคง

alumni association

9


AUAA ACTIVITIES

ทิศทางอุตสาหกรรมในไทย และประเทศเพื่ อนบ้าน

่ ่าสนใจอีกหนึ่งอย่างในประเทศไทยคือ ปริมาณการผลิต "สิง ่ ทีน ่ แ ้ และมีการพั ฒนาอย่างต่อเนื่อง ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ทีม ี นวโน้มเพิ่ มขึน ่ ฐ ้ มาก รวมถึงอุตสาหกรรมด้านสุขภาพทีม ี านลูกค้าต่างชาติเพิ่ มขึน จนเกิดเป็น “การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ”

วิบล ู ย์ กรมดิษฐ์ ประธานเจ้าหน้าที่การตลาดบริษัทอมตะคอร์ ปอเรชันจ�ำกัด (มหาชน)

โครงสร้ า งเศรษฐกิ จ ของ ไทยก�ำลังเปลี่ยนแปลงไปอย่ างต่ อ เนื่อง เห็นได้จากภาคอุตสาหกรรม จากทั่วโลกที่เกิดการพัฒนา ในการ ใช้ เทคโนโลยี เพิ่ ม ประสิ ท ธิภ าพและ ประสิทธิผลในอุตสาหกรรมนัน ้ ๆ

เป็ น อั น ดั บ ต้ นๆ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม ปัญ หาเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจ ใน ประเทศจีนจากการจัดสรรทรัพยากร ทีไ่ ม่มีประสิทธิภาพเพี ยงพอ ยังคง เป็นแรงกดดันต่อการขยายตัวทาง เศรษฐกิจในระยะข้างหน้า

คุณวิบล ู ย์ กรมดิษฐ์ ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ ก ารตลาด บมจ.อมตะ คอร์ปอเรชั่น ได้ให้เกียรติถ่ายทอด ประสบการณ์ตรงจากแวดวงธุรกิจ แก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา โดยมีความว่า ถ้าพู ดถึงอุตสาหกรรมในตลาดโลก เวลานี้ ประเทศจีนเป็นประเทศที่น่า จั บ ตามองมากที่ สุ ด เนื่ อ งจากมี การส่ง ออกสินค้าจากประเทศมาก

ด้านประเทศเพื่ อนบ้านอย่าง พม่ า ก็ เ ป็ น ที่ น่ า จั บ ตามองเช่ น กั น ทั้ง ทางด้านอุ ตสาหกรรมการผลิต และการท่ อ งเที่ ยว ซึ่ง ในส่ ว นของ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต นั้ น พม่ า มี กฎหมายครอบคลุมการลงทุนจาก ต่ า งชาติ ซึ่ ง อาจท� ำ ให้ ไ ด้ เ ปรี ย บ ประเทศไทยอยู่ บ้ า งทางด้ า นการ ดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ

10

AUAA PROFILE

นอกจากนี้ ห ากพู ดถึงภาพ รวมของหลายๆประเทศแล้ว ความ ผั น ผวนที่ เ กิ ด จากตลาดเงิ น และ ตลาดทุ น ทั่ วโลก รวมถึ ง ความไม่ มั่ น คงทางการเมื อ งที่ รุ น แรงขึ้ น จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของ ประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ อาทิ สหรั ฐ อเมริก า จี น สหภาพยุโ รป และประเทศทางตะวันออกกลาง จะ กลายเป็นปัจจัยเสี่ยง ที่อาจส่งผล ต่อภาคการผลิตของประเทศไทยใน ระยะยาว ท�ำให้ไทยต้องพึ่ งพาไปที่ การส่ง ออกเป็นหลัก โดยเติมเต็ม ให้ประสิทธิภาพแก่ภาคการผลิตและ ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากปัจจัย ภายนอก เพื่อเพิ่มระดับความเชือ ่ มัน ่


ในอุตสาหกรรมไทย ทัง ้ ริโภค ้ จากผูบ ภายในประเทศและต่างประเทศ โดย เฉพาะคู่ ค้ า ส� ำ คั ญ จากประเทศจี น ญีป ่ น ุ่ ยุโรป และสหรัฐอเมริกา สิ่ง ที่ น่ าสนใจอี ก หนึ่ง อย่ าง ในประเทศไทยคือปริม าณการผลิต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี ท่ี มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น และมี ก ารพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จากระยะแรกการพั ฒ นา อุ ต สาหกรรมนี้ มี เพื่ อ เน้ น การผลิ ต ทดแทนการน�ำเข้าสินค้า ท�ำให้ไทย ไม่ต้องสูญเสียรายได้จ�ำนวนมากให้ ต่างประเทศ รวมถึงอุตสาหกรรม ด้านสุ ขภาพที่มีฐ านลูกค้าต่ างชาติ เพิ่ มขึ้นมาก จนเกิดเป็น “การท่อง

เที่ยวเชิงสุ ขภาพ” ให้ชาวต่างชาติ มาเที่ยวและรักษาตัวในประเทศไทย จนท� ำรายได้ หลัก หมื่ นล้ า น และใน ส่ วนนี้ส ามารถต่อยอดความเป็นไป ได้ ท่ีใ นวัน หนึ่งไทยจะเป็ น “เมดิคัล ฮับ” ของเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ เฉกเช่น เดี ยวกั บ อุ ตสาหกรรมการ ท่ อ งเที่ ยวที่ แซงหน้ ากรุง ลอนดอน ประเทศอังกฤษ มาด้วยจ�ำนวนนัก ท่องเทีย ่ วที่มากกว่า

ลงทุนจากนักลงทุนต่างชาติ ดังนัน ้ ผู้ประกอบการไทยควรพัฒนาธุรกิจ ให้ส ามารถต่อยอดการลงทุนไปยัง ประเทศดังกล่าว ให้กลายเป็นคู่ค้า แทนที่ คู่ แ ข่ ง เพื่ อลดความเสี่ ย ง จากความผันผวนทางเศรษฐกิจใน ประเทศ อี ก ทั้ง เป็ น การขยายช่ อ ง ทางการตลาดด้วย

ทั้ ง นี้ ป ระเทศไทยต้ อ งร่ ว ม มื อ กั น ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนเพื่ อ อย่ า งไรก็ ต าม เราไม่ ค วร ช่ ว ยให้ เ ศรษฐกิ จ ของประเทศไทย ประมาทประเทศเพื่ อนบ้ า นอย่ า ง สามารถรับมือกับความเปลีย ่ นแปลง กัมพู ชา ลาว พม่า และเวียดนาม ในภูมภ ิ าคและเติบโตได้อย่างยัง ่ ยืน ซึ่ง ก� ำ ลั ง ก้ า วขึ้ น มาเป็ น คู่ แ ข่ ง ด้ า น การผลิ ต และต้ อ งการดึ ง ดู ด เงิ น

alumni association

11


AUAA ACTIVITIES

การประชุมสามัญ ประจ�ำปี 2559 ผ่านไปหนึ่งปี ส� ำหรับการบริหาร งานสมาคมศิษย์เก่าฯ ภายใต้การน�ำของ ดร. สมพรต สาระโกเศศ นายกสมาคม ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญชุดที่ 12 ซึ่งมีวาระการบริห ารงานปี 2559-2661 ได้แถลงผลการด�ำเนินการในรอบปี 2559 ดังต่อไปนี้ 1. กิ จ กรรมสร้ า งสายสั ม พั น ธ์ ระหว่ างสมาชิก โดยมีการจั ดงาน CEO Forum ครัง ้ ที่ 1 ในหัวข้อ Build Brand to Last ให้กับสมาชิกเมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2559 ณ อาคารยู นิ ลี เ วอร์ เ ฮ้ า ส์ โดย วิทยากร คือ คุณสุพัตรา เป้าเปี่ ยมทรัพย์ ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ รุน ่ ที่ 14 2. ให้ ก ารสนั บ สนุ น และด� ำ เนิ น กิจกรรมร่วมกับมหาวิทยาลัยอัสสั มชัญ (2.1) เป็นผู้แทนศิษย์เก่าเข้าร่วมงาน AU Camp ในวันที่ 30 ก.ค. 2559 (2.2) การ ประชุมสุดยอดนักกิจกรรม ACT-MEN ใน วันที่ 30 ก.ค. 2559 (2.3) ร่วมกับ Career Development Center จัดหาศิษย์เก่ามา เป็นวิทยากรโครงการ Smart Successor ในวันที่ 6-9 ก.ย. 2559 ที่มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ โดยวัน ที่ 6 ก.ย. 2559 ได้เชิญคุณเยาวนิจ ไชย พร มาเป็นวิทยากร ต่อมาวันที่ 7 ก.ย. 2559 เชิญคุณโอภาส สยามวาลา มาเป็น วิทยากร ส่วนในวันที่ 8 ก.ย. 2559 เชิญ คุณมนต์ชย ั เดโชจรัสศรี มาเป็นวิทยากร ณ Unilever House สุดท้ายวันที่ 9 ก.ย. 2559 เชิญคุณโอภาส ถิรปัญญาเลิ ศ (2.4) ร่วมงานกับคณะกรรมการนักศึกษา Finance major จั ดให้ มีการบรรยาย พิเศษ เรือ ่ งออมหุน ้ และลงทุนคอนโด โดย มีวิทยากรพิ เศษ 2 ท่าน คือ คุณใหญ่ โอภาส ถิรปัญญาเลิศ และคุณต้าร์ กวิน สุวรรณตระกูล โดยมีนก ั ศึกษา Finance และ Real Estate major เข้าร่วมฟังการ บรรยาย

12

AUAA PROFILE


ในระเบี ย บวาระมี ก าร เปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับสมาชิก เรือ ่ งค�ำนิยามสถานภาพของสมาชิก ค่าธรรมเนียม และค่าบ� ำรุงสมาคม ในข้ อ บั ง คั บ ที่ จ ดทะเบี ย นแก้ ไ ขกั บ ทางราชการ มีดง ั นี้ ***หมวด 2 ข้อ 5.3 ได้นิยามสมาชิก สมทบ ได้แก่ ผู้ท่ม ี ส ี ิทธิท ์ เ่ี ป็นสมาชิก ตามข้อ 5.1 และ 5.2 ที่ไม่ได้เขียน ใบสมั ค รและช� ำ ระค่ า สมาชิ ก หรื อ นายกองค์การนักศึกษา หรือประธาน นักศึกษาคณะต่างๆ หรือกรรมการ นักศึกษา หรือต�ำแหน่งอืน ่ ใด ซึง ่ มหา วิทยาลัยอัสสัมชัญประกาศแต่งตั้ง และเห็นชอบให้เป็นสมาชิกโดยแจ้ง รายชื่อต่ อสมาคม และตัดข้ อ 5.5 สมาชิกสถาบันออก ***หมวด 2 ข้อ 7.3 ค่าธรรมเนียม สมาชิกสถาบันถูกตัดออก ***หมวด 2 ข้อ 11 สมาชิกภาพของ สมาชิก ตัดข้อ 11.1 และ 11.2 ออก ส่วนข้อ 11.7 ระบุวา่ ขาดการช�ำระค่า สมาชิกสมาคมตลอดชีพ หรือขาด การช� ำระค่าสมาชิกสมาคมตามข้ อ 7 เรื่ องค่า ธรรมเนี ย มและค�ำบ� ำรุง สมาคม ***หมวด 2 ข้อ 12 สิทธิและหน้าที่ ของสมาชิก มีแก้ไขโดยเพิ่ มเติมอีก 2 ข้อ คือ 12.13 สมาชิกสมทบมีสิทธิ์ ได้รบ ั เลือกตัง ้ เป็นกรรมการประสาน งาน หรืออนุกรรมการสมาคม เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ งานสมาคม และ 12.14 สมาชิกสมทบและสมาชิกกิตติมศักดิ์ จะต้องได้รบ ั ความเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริหาร

***ส่วนอืน ่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสมาชิก คือ บทเฉพาะกาล ข้อ 48 สมาชิกทั้งหมดจะไม่มีการ ฟ้องร้องทางกฎหมายในเรื่องเกี่ยว กับการเลือกตัง ้ ให้เป็นโมฆะ ยกเว้น เรื่องฉ้อฉล ทุจริต ยักยอก ข้อ 49 สมาชิกทั้งหมดเห็นควรว่า คณะกรรมการชุ ด เก่ า จะต้ อ งมอบ ภาระหน้าทีแ ่ ละทรัพย์สน ิ ของสมาคม สถานะการเงิน แก่คณะกรรมการ ชุ ด ใหม่ ใ ห้ เ สร็ จ สิ้ น ภายในวั น ที่ 7 มกราคมของปี โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทัง ้ สิ้น ข้อ 50 ผูท ้ ส ่ี �ำเร็จการศึกษาหลักสูตร ปริญญาจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ หรือวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ หรือผู้ท่เี คยลงทะเบียนเป็นนักศึกษา ในหลักสูตรปริญญาของมหาวิทยา ลัยอัสสัมชัญ หรือวิทยาลัยอัสสัมชัญ บริหารธุรกิจ หรือผูท ้ ส ่ี �ำเร็จหลักสูตร ระยะสัน ่ ง ั ไม่ได้ชำ� ระค่าสมาชิก ้ ผูใ้ ดทีย สมาคม ให้ ถื อว่ า ผู้ นั้ น ยังไม่ไ ด้ เป็ น สมาชิกสามัญ หรือสมาชิกวิสามัญ ของสมาคม แต่ มีสิ ท ธิ์เป็ นสมาชิก สมทบจนกว่าช�ำระค่าสมาชิกสมาคม ในส่วนรายละเอียดเพิ่ มเติม ที่เกี่ยวกับข้ อบังคับล่าสุดของทาง สมาคมฯ สมาชิกสามารถสอบถาม รายละเอียดได้ทส ่ี มาคมฯ ในวันเวลา ท�ำการปกติ ส�ำหรับปี 2560 จะมีผล งานใหม่ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่องเริม ่ จาก e-magazine ฉบับที่ทุกท่าน ได้ อ่ า นอยู่ ใ นขณะนี้ หากมี ข้ อ ติ ช ม สามารถติ ด ต่ อ ฝ่ า ยประชาสั มพั น ธ์ และกองบรรณาธิการได้เสมอ

alumni association

13


AUAA ACTIVITIES

Power of AUAA NETWORK หลังจากทีส ่ มาคมศิษย์เก่าฯ ได้สร้าง Facebook: Assumption University Alumni network by AUAA (official group) มาเป็น เวลาเกือบสองปี เพื่ อเป็นสื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างศิษย์เก่า ในการท�ำความรู้จัก แชร์ข้อมูลการ ท�ำงาน การจัดหางาน การท�ำธุรกิจ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่ างๆ รวมทั้งการจัดกิจกรรมเพื่ อกระชับ ความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์เก่า

กลุม ่ AUAA_Golf จะมีกจ ิ กรรมใน กลุม ่ ทัง ้ การออกรอบ และการพู ดคุย แลกเปลี่ยนความรู้ กลุม ่ AUAA_BIKE มีการรวมกลุม ่ ปั่นจักรยาน รวมกลุ่มเพื่ อการแข่ง การปั่นต่างจังหวัด และการปั่นเพื่ อ การกุศล

กลุม ่ AUAA_RUN ส�ำหรับศิษย์เก่า ที่มีใจรักในการวิ่ง ในกลุ่มมีการจัด กิจ กรรมนั ดรวมกลุ่ มวิ่ ง มาราธอน ปัจจุบน ั เรามีสมาชิกมากกว่า และการวิง ่ เพื่ อการกุศล 17768 คน ทางสมาคมศิ ษ ย์เก่าฯ เห็ น สมควรว่ า ควรมี ก ารจ� ำ แนก กลุม ่ AUAA_DECORATION เหมาะ ประเภทธุ ร กิ จ และการจั ด ตั้ ง กลุ่ ม ส� ำหรับศิษย์เก่าที่อยู่ในสายงานการ ย่ อ ยตามลั ก ษณะกิ จ กรรม เพื่ อ ตกแต่ ง เป็ น ช่ อ งทางในการช่ ว ย อ�ำนวยความสะดวกให้กบ ั สมาชิก ใน เหลือซึง ่ กันและแชร์ไอเดีย การค้นหาข้อมูลและเข้าร่วมกิจกรรม ตามอัธยาศัย

กลุม ่ AUAA_GOLF

กลุม ่ AUAA_BIKE

ส� ำหรับประเภทอื่นๆที่ยังไม่ได้มีการจัดตั้งเป็นกลุ่มย่อยอย่างเป็น ทางการ เราได้มก ี ารแยกเป็น hashtag ตามประเภทดังนี้ #AUAA_Automotive ส�ำหรับรถยนต์ อะไหล่ Accessories

กลุม ่ AUAA_RUN

#AUAA_B2B ส�ำหรับธุรกิจทีส ่ ง ่ เสริมลูกค้าธุรกิจ B2B และ supplier #AUAA_Consulting กลุม ่ งานและบริษัททีป ่ รึกษา #AUAA_Construction งานก่อสร้าง งานรับเหมาอาคารบ้านเรือน #AUAA_Decoration ของประดับตกแต่ง #AUAA_Education ด้านการศึกษา โรงเรียน และสถาบันกวดวิชา #AUAA_Entertainment Pub Bar Club ละคร สวนสนุก

14

AUAA PROFILE

กลุม ่ AUAA_DECORATION


#AUAA_Event ด้านงานรับจัดevent #AUAA_Fashion แฟชัน ่ เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย กระเป๋า รองเท้า #AUAA_FMCG Fast Moving Consumer Goods #AUAA_Food ผลิตภัณฑ์ดา้ นอาหารและเครือ ่ งดืม ่ ร้านอาหาร ร้านกาแฟ #AUAA_HealthBeauty ผลิตภัณฑ์ดา้ นความสวยงาม อาหารเสริม สปา การศัลยกรรม ลดน�้ำหนัก #AUAA_HomeGarden เกี่ยวกับบ้านและสวน #AUAA_Industrial พวกอุตสาหกรรมหนัก #AUAA_Innovation นวัตกรรม สินค้า IT #AUAA_Investment การลงทุน #AUAA_Laboratory_Hospitality ศูนย์วิจย ั แลป โรงพยาบาล #AUAA_Logistics เกี่ยวกับการน�ำเข้าส่งออก การขนส่ง #AUAA_LifestyleHobby การท่องเทีย ่ ว การใช้ชวี ต ิ งานอดิเรกต่างๆ #AUAA_MKTService_design งานบริการทุกประเภท #AUAA_MLM ธุรกิจขายตรง และธุรกิจแบบเครือข่าย #AUAA_Pet กลุม ่ รักสัตว์ ขายสัตว์ และการดูแลสัตว์เลี้ยง #AUAA_Premium ของพรีเมีย ่ ม ของขวัญต่างๆ #AUAA_RealEstate อสังหาริมทรัพย์ นายหน้าขายทีด ่ น ิ #AUAA_Sport ส�ำหรับกีฬา อุปกรณ์ สถานทีเ่ ล่นกีฬา หรือ บริการการซ่อมแซม ทีเ่ กี่ยวกับกีฬาทุกชนิด #AUAA_Travel การท่องเทีย ่ ว โรงแรม รีสอร์ท ทัวร์ #AUAA_Others ส�ำหรับธุรกิจที่อน ่ื ๆ ไม่เข้าข่าย #AUAA_Recruit ส�ำหรับการประกาศรับสมัครพนักงาน #AUAA_Employee ส�ำหรับพนักงานบริษัทหรือองค์กรต่างๆ

alumni association

15


AU BREAKING NEWS

สร้างนักธุรกิจรุน ่ ใหม่กบ ั โครงการ AU Business Plan Competition เมื่อช่วงเดือน เม.ย.-พ.ค. 2560 สโมสรนั ก ศึ ก ษาคณะบริ ห ารธุ ร กิ จ และ เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และหน่วยบ่มเพาะวิส าหกิจมหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ (ABLE-UBI Center) ได้จัด กิจกรรมแข่งขัน AU Business Plan Competition 2017 ในเรือ ่ ง Innovation and Sustainable Business Idea และมี การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ณ มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ โดยกิจกรรมนี้มีจุดประสงค์เพื่ อ ให้นักศึ กษาที่เข้ าร่วม สามารถน� ำความ รูจ ้ ากห้องเรียนมาวางแผนธุรกิจ และน�ำ ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในอนาคต อีกทัง ้ ยัง เป็ น การฝึ ก ฝนทักษะให้ นั ก ศึ กษามี หัว ใจ ของผูป ้ ระกอบการธุรกิจด้วย ทั้ ง นี้ ส มาคมศิ ษ ย์ เก่ าฯได้ ใ ห้ ก าร สนับสนุนกิจกรรม โดยการประสานงานให้ ศิษย์เก่ามาเป็นวิทยากรบรรยายและเป็น กรรมการตัดสินด้วยกันถึง 5 ท่าน ได้แก่ คุณ ดวงพร เหมวิ จิ ตรพั น ธ์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ไอยมิตร จ�ำกัด คุณ โอภาส สยามวาลา ผู้อำ� นวยการด้านการ ผลิต บริษัท ดี.เอช.เอ. สยามวาลา จ�ำกัด คุณนันทพล ตันติวงศ์อำ� ไพ นายกสมาคม อุ ต สาหกรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ สั ต ว์ เ ลี้ ย งไทย คุณพิ มพ์ ชยา บุรินทร์เจริญ Country Manager บริษัท ดีเอสที เวิลด์วายด์ เซอร์วิส (ประเทศไทย) จ�ำกัด คุณวิชัย เอี่ ย มแสงจั น ทร์ ผอ.ฝ่ า ยกลยุ ท ธการ ตลาดzบริษัทzบุญรอดเทรดดิ้ง จ�ำกัด หลัง จบการแข่งขันได้ผู้ชนะเลิศ 3 ที ม ได้แก่ ทีม Mr. Corn ทีม Eggshellent, และทีม BNK ตามล�ำดับ

16

AUAA PROFILE


ทิศการศึกษาของชาติ ในยุค Thailand 4.0

ในเดื อ นเมษายนที่ ผ่ า นมา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขต สุ วรรณภู มิ z ได้ จั ด การบรรย าย พิ เ ศษในหัวข้อ “ทิศทางการศึ กษา ของชาติ ในยุค Thailand 4.0” โดย ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากzศาสตราจารย์ กิ ต ติ คุณ ดร.วิษณุzเครืองามzรอง นายกรัฐมนตรี เนื่ องในงานปัจฉิม นิเทศบัณฑิตนิตศ ิ าสตร์เอแบค'59 จุ ด ประสงค์ ห ลั ก ของการ บรรยายนี้ คื อสร้างแรงบันดาลใจ ให้นักศึ กษาเพื่ อเตรียมความพร้อม ส� ำ หรั บ การเปลี่ ย นแปลงบทบาท จากการใช้ชีวิ ตในมหาลัยzต่ อยอด ไปสู่ชวี ิตการท�ำงานในอนาคต โดยที่ นั ก ศึ กษาทั้ ง หลายต้ อ งเป็ น คนที่

มี คุ ณ ธรรมzมี จิ ต ใจใฝ่ เ รี ย นzและ ส ามารถอยู่ ร่ ว มกั บ ผู้ อ่ื น ได้ z โดย ทางที่ดีคือ เปลี่ยนตัวเองให้มีทักษะ ใ น การคิ ด วิ เ ครา ะ ห์ มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ z รู้ จั ก การผลิ ต และมี ความรั บ ผิ ด ชอบให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น zโดย เฉพาะประเทศไทย ทีก ่ ำ� ลังจะพัฒนา ไปสู่ Thailand 4.0 แน่นอนว่าการ ศึกษาทุกสาขาต้องมีการปรับเปลีย ่ น วิธก ี ารสอน เพราะมีการน�ำเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้ในการขับเคลื่อน ประเทศ เปรี ย บเที ย บได้ กั บสัง คม 1.0 คือสังคมที่ท�ำเกษตรกรรมแบบ ธรรมดา ส่วนสังคม 2.0 คือสังคม หัตกรรม หรือ อุตสาหกรรมเบาใน ครัวเรือนzไม่ได้จัดจ�ำหน่ายไปยังคน

หมูม ่ าก ถ้าก้าวขึน ้ ไป 3.0 หมายถึง สังคมอุตสาหกรรม หรือการท�ำงาน ในโรงงานที่มีพนักงานจ�ำนวนมาก และสุดท้าย 4.0 หมายถึงนวัตกรรม แน่นอนว่าคือความแปลกใหม่ จะส่ง ผลให้มล ู ค่าเพิ่มมากขึน ้ จากเดิม “การศึ ก ษาก็ เ ช่ น เดี ย วกั น ควรคิดในรูปแบบการเอานวัตกรรม แบบใหม่ ม าประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการสอน และนั ก ศึ ก ษาก็ ต้ อ งเตรี ย มพร้ อ ม ส� ำหรับนวัตกรรมรูปแบบนี้ เพื่ อให้ เจริญ ก้ า วหน้ า ไปเป็ น นั ก กฏหมาย แบบ 4.0" ดร.วิษณุ กล่าวทิง ้ ท้าย

alumni association

17


AU BREAKING NEWS

ACT-MEN ต่อยอด การส่งต่อสิ่งดีๆให้สังคม จาก 2 สุดยอดนักกิจกรรม ในเดื อ นกรกฏาคม พ.ศ. 2559 สมาคมศิ ษ ย์ เก่ าฯ ได้ จั ดงานzACT-MEN ณ อัลเบิร์ตฮอลล์zมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุ วรรณภูมิzพร้อมด้วยศิ ษ ย์เก่า เข้าร่วมประชุม โดยมีวท ิ ยากร 2 ท่าน ได้แก่ นายอภิชาติzการุณกรสกุลzนายกสโมสร นักศึ กษารุ่นที่ 12 และนายชยุต จินตรัศมี อุปนายกสโมสรนักศึกษารุน ่ ที่ 12 ภายในงาน หลั ง จากที่ อ งค์ ก าร นักศึกษาชุดปัจจุบน ั (AUSO)zได้มก ี ารเลีย ้ ง รั บ รองศิ ษ ย์ เ ก่ า และอาจารย์ ทุ ก ท่ า นแล้ ว นายภูรภ ิ ท ั ร วงศ์รต ั นเพชร และ นายวรฉัตร ธ�ำรงวรางกูร สองพิ ธีกรได้เชิญบราเดอร์ ศิรช ิ ย ั zฟอนซีกาz(รองอธิการบดีฝา่ ยกิจการ นั ก ศึ ก ษา) ซึ่ง ให้ เกี ย รติ ม าเป็ น ประธานใน พิ ธีz ขึ้ น กล่ าวบนเวที เปิดงานและให้โ อวาท แก่ผู้เข้ าร่วม “ขอให้ศิษ ย์เก่าช่วยกันสร้าง ประโยชน์กบ ั สังคม และมหาวิทยาลัยzภายใต้ ชือ ่ ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญzซึง ่ อดีต นั ก กิจ กรรมคื อ กลุ่ ม ศิ ษ ย์ เก่ า ที่ มี ศั ก ยภาพ ท�ำได้แน่นอน” บราเดอร์ศิริชัยกล่าว จาก นัน ้ วิทยากรทัง ้ สองท่านจึงได้เปิดการเสวนา ตามประสาพี่ น้ อ งzเนื่ อ งจากนายอภิ ช าติ และนายชยุตzได้ร่วมกันท�ำกิจกรรมด้วยกัน ตั้งแต่ศึกษาอยู่ช้ันปีท่ีz1 เริ่มจากงานกีฬ า วอลเล่ ย์บ อล ต่ อมาเป็น ค่า ยอาสาพั ฒนา ชมรมโรตาแรคท์ และสุดท้ายก็มาร่วมงาน กันทีส ่ โมสรนักศึกษา ทั้ ง สองจึ ง จั ด ว่ า เป็ น นั ก กิ จ กรรม ตัวยง ด�ำ เนิ นงานของสโมสรฯ เพื่ อช่วย เหลื อ นั ก ศึ กษาในด้า นกิจ กรรม การเรี ย น และสวัสดิการต่างๆ ยกตัวอย่าง ขณะนั้น

18

AUAA PROFILE


รถสองแถวที่ จ ะนั่ ง เข้ า มามหาลั ย มีปัญหาด้านการบริการ และมีราคา ที่ ไ ม่ เ ป็ น ธรรม ทั้ ง สองคนก็ ไ ด้ ไ ป เจรจาตกลงกับเจ้าของวินรถ เพื่ อ ให้เกิดประโยชน์แก่นก ั ศึกษาส่วนรวม มากที่สุ ด รวมถึง การจั ด กิ จ กรรม อืน ่ ๆ ทีเ่ รียกได้วา่ เป็นยุคทีก ่ จ ิ กรรม ของมหาลัยบูมทีส ่ ด ุ ก็วา่ ได้ และหลังจากเรียนจบ เขาทัง ้ สองได้ใช้ประสบการณ์ท่ีเรียนรู้จาก การท� ำ กิจ กรรมสมั ย เป็ น นั ก ศึ ก ษา ไม่ว่าจะเป็นการจัดการแข่งขันกีฬ า การจัดค่ายอาสาพัฒนาชนบทzรวม ถึงงานสโมสรนักศึ กษาzพวกเขาได้ ริเริม ่ โครงการ Happy workplace ด้วยวิสย ั ทัศน์ท่ีว่า “โรงงานของเรา

จะไม่ใ ช่แค่ท่ีท�ำมาหากินเท่านั้นzแต่ ยังเปรียบเสมือนบ้านของพนักงาน ทุกคนzบ้านซึง ่ ทุกคนสามารถสัมผัส ความสุขได้ตลอดเวลา” ใ น ปั จ จุ บั น น า ย อภิ ช า ติ เป็ น ประธานมู ล นิ ธิ น วั ต กรรมทาง สั ง คม ช่ ว ยเหลื อ จั ด หางานให้ ค น พิ การzมีเป้าหมายว่า บริษัทเอกชน ที่มพ ี นักงานเกิน 100 คน จะต้องมี การจ้างแรงงานคนพิการ 1 คน แต่ เนื่ อ งด้ ว ยมี ค นพิ ก ารที่ ไ ม่ ส ามารถ เดินทางมาที่บริษัทนั้นๆได้ จึงเกิด เป็ น ปั ญ หาขาดแคลนแรงงานคน พิ การ ซึง ่ นายอภิชาติก็ได้น�ำเสนอ แนวทางให้กับบริษัทที่มีปญ ั หาเรื่อง การขาดแคลนแรงงานคนพิ ก าร

ในสถานประกอบการzโดยให้มีการ ว่ า จ้ า งแรงงานคนพิ ก ารในแหล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของคนพิ ก ารนั้ น ๆ ใน ลั ก ษณะ CSR เช่ น การท� ำ งานใน หน่วยราชการทีเ่ จ้าหน้าทีไ่ ม่เพียงพอ จะท� ำ ให้ เกิ ด ประโยชน์ ต่ อ ประชาชน ผู้ ม าใช้ บริก าร แน่ น อนว่ างานเพื่ อ สังคมในลักษณะนี้ ต้องได้นายชยุต เข้ามาท�ำงานร่วมเป็นทีป ่ รึกษาด้วย สุ ด ท้ า ยนี้ สิ่ ง ที่ รุ่ น พี่ ท้ั ง สอง ได้ท�ำก็ตรงกับโอวาทของบราเดอร์ ศิ ริ ชั ย ที่ ว่ า z“สร้ า งคุ ณ งามความดี ภายใต้แบรนด์ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ”

alumni association

19


GUEST SPEAKER

Digital trend in the next 5 years ด้วยเทคโนโลยีท่ีก้าวหน้าขึ้นส่งผลให้ พฤติกรรมของผู้บริโ ภคเปลี่ยนแปลงไปzโดย เฉพาะกลุ่มธุรกิจที่ต้ องปรับตัวให้ส อดคล้ อง กั บ ความต้ อ งการใหม่ๆ ที่ เกิ ดขึ้ น และในวั น ที่ 19 ม.ค. 2560zมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญzวิทยาเขต สุวรรณภูมิ มีการจัดงานบรรยายภายใต้หวั ข้อ “เทรนด์ดจ ิ ท ิ ล ั ในอีก 5 ปีขา้ งหน้า” โดยศิษย์เก่า คุณปฐม อินทโรดม อดีตประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษัท เออาร์ไอพี จ�ำกัด (มหาชน) คุณปฐมได้เล่าว่า ปัจจุบน ั เราก�ำลังอยู่ ในยุคที่เป็นจุดเริ่มต้นของยุค Machine to Machine เนื่องจากมีการคาดการณ์แนวโน้ม สถานการณ์ล่วงหน้าว่า อนาคตจะมีอุปกรณ์ กว่ า 5 หมื่ นล้ า นชนิ ด ที่ เชื่ อ มต่ อ กั น ได้ มี ผล การวิจัยจาก Ericsson’s ConsumerzLab เข้ า มาตอกย�้ ำ แนวโน้ ม การใช้ เทคโนโลยีข อง ผูบ ้ ริโภค โดยมีผลสรุปดังนี้

ปฐม อินทโรดม (พี่ ปฐม) ประธานเจ้า หน้ า บริห าร บริษั ท เออาร์ไ อพี จ�ำกัด (มหาชน)

20

AUAA PROFILE

1. ไลฟ์สไตล์ผู้บริโภคจะเปลี่ยนไปจาก การเชื่อมต่อเทคโนโลยีเข้ากับทุกสถานการณ์ ในชีวิต 2. การใช้ Video Streaming พบว่า ผูบ ้ ริโภครับชมการถ่ายทอดสดผ่าน youtube มากกว่ า การดูจ ากโทรทั ศ น์zแสดงให้ เห็ นว่ า ผู้บริโ ภคเหล่านี้เริ่มนิยมใช้เครื่องมือนี้เพื่ อรับ ข้อมูลz3. การใช้ AIzอาจท�ำให้เกิดปรากฏการณ์ หยุดการใช้ระบบหน้าจอzเนือ ่ งจากหลายบริษัท ก�ำลังพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์ทจ ่ี ะช่วยให้ ผูใ้ ช้งานตอบโต้กบ ั วัตถุรอบตัวผ่านการใช้เสียง 4. ระบบ 3D เสมือนจริงzเนือ ่ งจากคนส่วนใหญ่ สนใจเทคโนโลยีน้ี ในทุกแง่มม ุ อาทิ การดูกฬ ี า ไปจนถึงช้อปปิ้งออนไลน์zรวมถึงระบบzVRzที่ ผู้ บริโ ภคเริ่ม เรี ย กร้ อ งให้ หลายบริษั ท ผู้ ผลิ ต ผสานสิ่งประดิษฐ์น้ี ให้เข้ากับทุกกิจกรรมใน ชีวิตประจ�ำวัน 5. Sensing Home หรือ การ คาดการณ์วา่ ในอีก 5 ปีข้างหน้า อินเตอร์เน็ต จะช่วยให้เจ้าของบ้านเชือ ่ มต่อกับเซ็นเซอร์ เพื่อ ตรวจสอบความปลอดภัยzหรือสามารถสัง ่ การ


ระบบต่ างๆภายในบ้ านได้ 6.zSmart Commuterzหรือ การเชือ ่ มต่อระหว่าง ผู้บริโภคกับรถโดยสารสาธารณะ และ ระบบขนส่งมวลชนอื่นๆ 7.zแชทฉุกเฉิน ครึ่ง หนึ่ง ของผู้ ใ ช้ส มาร์ทโฟน เชื่ อว่ า การส่งข้อความฉุกเฉินเป็นเรือ ่ งจ�ำเป็น 8.zInternable ศั พ ท์ ใ หม่ มี ค วาม หมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีอัจฉริยะที่ถูก ใช้อยูต ่ ลอดเวลา อาทิ Smart Watch ที่ ส วมใส่ ติ ด ตั ว เสมื อ นเครื่ อ งประดั บ จ�ำเป็นชิน ่ 9. การโจรกรรม โดย ้ หนึง อาชญากรไซเบอร์ ซึง ่ ผู้ใช้สมาร์ทโฟน ส่วนใหญ่เชื่อว่า การแฮ็กและไวรัสยัง คงเป็นปัญหา เนื่องจากผูบ ้ ริโภคส่วน มากใช้โปรแกรมแอนตี้ไ วรัสในเครื่อง PC หรือ Laptopzแต่ส่วนน้อยเท่านัน ้ ที่ ใ ช้โ ปรแกรมกั บ สมาร์ ทโฟนzดั ง นั้ น

สมาร์ทโฟนจึงกลายเป็นเป้าหมายใหม่ ของกลุม ่ อาชญากรไซเบอร์ 10. นักข่าว ชาวเน็ต จะเห็นได้วา่ ผูบ ้ ริโภคมีการแชร์ ข้อมูลผ่านสื่อโซเชียลมากขึน ้ ส่งผลให้ พวกเขามีอท ิ ธิพลมากกว่าทีเ่ คย ทั้งนี้สถานการณ์ท่ีคาดการณ์ ไว้ทง ้ ่าผู้บริโภคในไทยน�ำ ้ั หมดนี้ บ่งชีว เทคโนโลยีสารสนเทศไปปรับใช้กบ ั ทุกๆ สถานการณ์ในชีวต ิ ประจ�ำวัน จึงเชือ ่ ว่า เทรนด์ดจ ิ ท ิ ล ั ในประเทศไทยต้องเปลีย ่ น ไปในทิศทางทีด ่ ข ี น ึ้ แน่นอน

alumni association

21


GUEST SPEAKER

พี่สอนน้องรวย ด้วยออมหุน ้ และ ลงทุนคอนโด การออมเงิน เป็นสิ่งที่ทุกคนถูกสอน กันมาตั้งแต่เด็กๆzว่าเป็นสิ่งส� ำคัญและมีผล กับความมั่นคงทางฐานะ แต่ต้องบอกว่า แค่ ออมอย่างเดียวมันไม่พอมานานแล้ว ถ้าเทียบ อัตราเงินเฟ้อที่มี อัตราเร่งอย่ างหูดับตับไหม้ กั บ อั ต ราเงิ น เดื อ นเริ่ ม ต้ น ของเด็ ก จบใหม่ หรือเด็กจบเก่านัน ้ เลย ้ มันกลับไม่ค่อยเพิ่มขึน “การลงทุน” จึงเป็นสิง ่ ะมาต่อยอด ่ ทีจ จากการออมนี่แหละ เราทุกคนควรจะต้องถูก ปลูกฝังและให้ความรูเ้ บื้องต้นตัง ้ แต่เด็กๆ ถึง เรือ ่ งการลงทุนอย่างถูกวิธzี ซึง ่ ก็มห ี ลากหลาย ทาง ตัวย่างเช่น การลงทุนกองทุนรวมต่างๆ การลงทุนในหลักทรัพย์zหรือหุ้นzการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์zเช่นzที่ดินzคอนโดมิเนียม ซึง ่ ในแต่ละการลงทุนต่างนั้น มีรายละเอียดที่ ลึกลงไปอีกมาก แต่ ห ากพู ดถึงการลงทุน ที่เป็น ที่นิ ยม กันในปัจจุบน ั คือ “หุน ้ ” และ “คอนโดมิเนียม” ต้องบอกว่าการลงทุนนี้ น่าจะเป็นการลงทุนที่ ได้รบ ั ความสนใจในวงกว้าง และเป็นทีน ่ ิยมกัน มานานแล้ว “หุ้น”zฟังดูเหมือนน่ากลัว แน่นอนว่า ตามสถิตใิ น 100 คนทีล ่ งทุนในหุน ้ จะมี 80 คน ทีเ่ จ๊ง เจ๊าอีก 15 คน และอาจมีแค่ 5 คนทีร่ วย มหาศาลจากหุน ้ zแต่ถา้ มันน่ากลัวขนาดนัน ้ จริง ท�ำไมคนยังสนใจลงทุนหุ้นกันอยูz่ ก็เป็นเพราะ

กวิน สุวรรณตระกูล ผู้ก่อตัง ้ เพจ Aommoney

22

AUAA PROFILE

ID 332

โอภาส ถิรปัญญาเลิศ (พี่ใหญ่) ปัจจุบันเป็นนักธุรกิจและนักลงทุนในหุ้นและ อสัง หาริม ทรัพย์ รวมทั้ง ผู้ บริห าร Prop2morrow และบรรณาธิการ Stock2morrow


พวกเราถูกสอนมาว่า high risk ย่อม high return แต่จริงๆแล้วควรจะต้อง control risk เพื่ อให้ได้ reasonable return ถึงจะถูกzเพราะการลงทุนใน ทุกๆประเภทzหลักการส�ำคัญทีจ ่ ะท�ำให้เราเอาชนะได้ คือ 1. มีความรูค ้ วามเข้าใจในผลิตภัณฑ์ทเ่ี ราจะลงทุน 2. จ�ำกัดความเสี่ยงให้น้ อยที่สุดและเรายอมรับได้

3. ลงทุนให้ถูกกับจริตของตัวเองที่สุด 4. มีแผน ส�ำหรับการลงทุน ทัง ้ แผนเข้า และแผน exit ดังนัน ้ ไม่ว่าจะหุ้น หรือ คอนโด หากเรามี 4 ข้ อนี้แล้ว โอกาสทีจ ่ ะพลาดจนเจ๊งนั้นแทบไม่มี ในทางกลับกัน หากเราขาดข้อใดข้อหนึ่งไปล่ะก็ โอกาสที่จะพึ มพ� ำ กับตัวเองว่า “รูง ้ .้ี ....ไม่ลงดีกว่า” ก็ใกล้แค่ปลายจมูก!

alumni association

23


GUEST SPEAKER

Implementing Industry 4.0

Prof. Behnam N. Tabrizi, Ph.D อาจารย์ที่ปรึกษาในมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ในด้านz "Leadingzand Managing Change"

24

AUAA PROFILE

เมื่อวันศุกร์ท่ี 21 กรกฎาคม 2560 ทีผ ่ ่านมานัน ้ ทาง Graduate School of Business ได้รบ ั เกียรติ จาก Prof. Behnam N. Tabrizi ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการปรั บ เปลี่ ย น องค์กรให้แก่ผู้บริห ารระดับสูงของ องค์ ก รยั ก ษ์ ใ หญ่ อาทิ Hewlett Packard, IBM, Intel, Oracle, Cisco Li & Fung, Haier มาบรรยายพิเศษ แก่นักศึ กษาและศิ ษ ย์เก่าฯในหัวข้ อ Implementing Industryz4.0: Management Approachzto Organization Transformation ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขต city Campus

Change & Transformation ของ ประธานาธิบดี บารัค โอบามา ในการ ชิงต�ำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐด้วย

การบรรยายถูกเริ่มต้นด้วย การพู ดถึงวิธป ี รับเปลี่ยนโครงสร้าง ภายในองค์ ก รโดยใช้ z real-time Enterprisezframework ทัง ้ นี้การ เปลี่ยนแปลงควรมีเป้าหมาย และมี จุดประสงค์ท่ีชัดเจนซึง ่ ควรเริ่มจาก การมุ่ ง ความสนใจไปที่ แ ผนกและ ส่วนงานที่ต้องการการปรับเปลี่ยน โครงสร้างมากทีส ่ ด ุ ผู้ประกอบการ ควรเน้นไปทีส ่ ่วนใดส่วนหนึง ่ มากกว่า ปรับเปลีย ่ นโครงสร้างทัง ้ หมด ดังนัน ้ การใช้แนวทางปฏิบต ั ใิ หม่ๆในองค์กร นอกจากนี้ Prof. Behnam ควรเริ่มจากการก� ำ หนดมาตรการ N. Tabrizi ยังมีช่ือเสียงโด่งดังใน วัดผลลัพธ์ ระบุไปเลยว่าส่วนใดควร ฐานะผู้เขียน และล่าสุดมีหนังสือชื่อ สงวนไว้zทดลองแนวทางปฏิบต ั ใิ หม่ Rapid Transformation ทีจ ่ ด ั พิมพ์ กับสิง ่ อ ้ งการปรับปรุง และต้องมี ่ ทีต โดย Harvard Business School การตอบสนองต่อผลลัพธ์แบบ real Press อีกทัง ่ รึกษานโยบาย time ้ ยังเป็นทีป


ปัจ จัยส� ำคัญในการเปลี่ ยน โครงสร้างภายในองค์กร นั่นก็คือ ทรัพยากรบุ ค คล เริ่ม ต้ น ด้ว ยการ ระดมกลุ่ ม คนในองค์ ก ร ที่ มี ค วาม สนใจต่ อ การเปลี่ ย นแปลง และมี ความตื่นเต้นกับอนาคต ท�ำให้พวก เขามี ส่ ว นร่ ว มในการเปลี่ ย นแปลง ด้วย การมอบหมายงานให้พวกเขา ราวกับว่า ก�ำลังเลี้ยงดูเด็กคนหนึง ่ ให้ เติ บโต สิ่ง ที่ ผู้ ประกอบการควร ระลึกอยูเ่ สมอ คือ ความต่างระหว่าง บุคคลและวัฒนธรรมในองค์กร เช่น คนเอเชียมักจะท�ำงานใน comfort zone และต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ดังนัน ้ ระกอบการและผูน ้ ำ� องค์กร ้ ผูป ควรตระหนักและยอบรับว่า ถึงแม้ แรงงานในช่วงวัยมิลเลนเนียล จะมี ความไร้กังวลต่อเป้าหมาย โหยหา อิ ส รภาพ ไม่ ช อบลงทุ น ลงแรงใน งานหนักzแต่พวกเขาคือแหล่งข้อมูล ชัน ้ เยี่ยมและต้นก�ำเนิดแห่งความคิด สร้ า งสรรค์ พวกเขาแค่ แตกต่ า ง

และนั่นไม่ใช่สง ่ิ ที่แย่เสมอไป ถ้าคุณ ปฏิเสธหรือต่อต้านพวกเขา นัน ่ อาจ น� ำไปสู่ วิ ก ฤต การขาดแรงงานใน อนาคต ข้อแนะน�ำส� ำหรับผู้ประการ จากศาสตราจารย์ คือ องค์กรควร สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม การพั ฒ นา ความสามารถพิ เ ศษ ทั ก ษะ และ พรสวรรค์ ข องทรั พ ยากรบุ ค คล อย่างสม�่ำเสมอ

ทัศนคติของคนเป็นผู้น�ำ และภาวะ ความเป็นผูน ้ �ำ

สุดท้ายนี้ "คุณลักษณะส่วน ตัวของผูน ้ �ำ คือ ต้นก�ำเนิดของพลัง การเปลีย ่ นแปลง ผูน ้ ำ� ทีด ่ ค ี วรมีความ เอาจริง เอาจั ง มีไฟในการท� ำ งาน เข้ ากับคนอื่นได้ดี รู้จักเห็น ใจผู้ อ่ืน สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ ต่ างๆได้ ดี และต้ อ งมี ความอดทน ในมุมมองของการประยุกต์ อดกลั้ น ในสภาวะที่ มี ค วามขั ด แย้ ง ใช้ เทคโนโลยี เข้ า กั บ การท� ำ งานนั้ น ผู้ น� ำ ควรมี หั ว ใจ ไม่ ใ ช่ หั ว คิ ด เพี ย ง ทางศาสตราจารย์มีความคิดเห็นว่า อย่างเดียว" เทคโนโลยีเป็นสิ่ง ที่จ�ำเป็น แต่การ บริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อน�ำมาซึง ่ ประโยชน์สูงสุดของเทคโนโลยีเป็น สิง ่ ที่จ�ำเป็นกว่าzงานบางประเภทไม่ สามารถแทนทีไ่ ด้ดว ้ ยหุ่นยนต์ หรือ เครื่องจักร เช่น ความสามารถใน การเป็นผู้ประกอบการ และนั่นเป็น สิ่งที่ส� ำคัญที่สุด ปัจจัยหลักในการ ปรับโครงสร้างภายในองค์กร คื อ

alumni association

25


HUMAN OF AU

ขอแสดงความยินดี กับความส�ำเร็จของศิษย์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สอบได้ที่ 1 เนติบณ ั ฑิต และ ที่ 1 ของผูช ้ ว่ ยผูพ ้ ิ พากษา รุน ่ ที่ 68

สรรเสริญ เอี่ยมสุทธิวัฒน์ (อ.บิ๊ก) ปริญญาตรีและปริญญาโทจาก คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ รุน ่ ทีz่ 48

หนึ่ ง ในศิ ษ ย์ เ ก่ า ที่ ส ร้ า งความ ภาคภูมิใจให้แก่สถาบัน คือ อาจารย์ สรรเสริญzเอีย ่ มสุทธิวัฒน์zหรือ อ.บิก ๊ ที่ ส� ำเร็ จ การศึ กษาทั้ ง ปริ ญ ญาตรี และปริ ญ ญาโทจากคณะนิ ติ ศ าสตร์ รุ่ น ที่ z 48zผู้ ผ่ า นการสอบความรู้ ช้ั น เนติบัณฑิตภาคหนึ่งและภาคสองตาม หลักสูตร และระเบียบของส�ำนักอบรม ศึ กษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา สมัยที่ 65 ปีการศึกษา 2555 ได้เป็น ล�ำดับที่z1zและผ่ านการทดสอบความ รู้ เพื่ อบรรจุ เ ป็ น ข้ า ราชการตุ ล าการ ในตําแหน่งผูช ้ ว่ ยผูพ ้ ิ พากษา รุน ่ ที่ 68 ประจําปี พ.ศ.2559 ได้เป็นล�ำดับที่ 1

ไปด้วยจิตใจที่มุ่งมั่น มีความกล้าหาญเด็ด เดี่ยว ที่จ ะเดินบนเส้ น ทาง ต้ องมีวินั ยแก่ ตนเองเพื่ อให้พัฒนาอย่างต่อเนื่องzรวมถึง การมีทศ ั นคติทถ ่ี ก ู ต้องในการศึกษาเล่าเรียน และในการประกอบวิชาชีพzหากตั้งมั่นตาม วิถท ี างดังกล่าวแล้วzทุกประสบการณ์ทผ ่ี ่าน เข้ามาในชีวิตล้วนถือเป็นประสบการณ์แห่ง การฝึกตน ผลส� ำเร็จใดๆ หากบังเกิดขึ้น ล้วนถือเป็นดอกผลที่เจริญงอกงามไปตาม ธรรมชาติzให้พึงระลึกไว้ว่าเส้ น ทางคื อ จุ ด หมายzหากเดิ น บนเส้ น ทางอย่ า งถู ก ต้ อ ง แล้วzจุดหมายที่เราวาดหวังไว้ในแต่ละช่วง เวลาของชี วิ ต zจั ก มิ ไ ด้ อ ยู่ ท่ี ใดไกลอื่ น เลย นอกจากบนเส้นทางทีเ่ ราก�ำลังก้าวเดิน”

“การจะประสบความส� ำ เร็จใน วิช าชีพ กฎหมายได้zจั ก ต้ อ งประกอบ

Winner of the FACE Thailand Season 3

ณัฐธยาน์ บุญชมไพศาล (เกรซ) นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะ บริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์ สาขาการตลาดt

26

AUAA PROFILE

เป็นอีกหนึง ่ ความภูมิใจในศิษย์ รุ่นปัจจุบันzณัฐธยาน์ บุญชมไพศาล หรือzเกรซzTHE FACE นักศึกษาปีท่ี 3 คณะบริ ห ารธุ รกิ จ และเศรษฐศาสตร์ สาขาการตลาด ที่คว้ารางวัลชนะเลิศ เป็นzThe Face Thailand ซีซน ั่ ที่ 3 สุดยอดนางแบบสุดปังของประเทศไทย จนได้ฉายา "นาโอมิเมืองไทย" เกรซ ได้ให้สัมภาษณ์กบ ั สื่อต่างๆ ถึงปัญหา สีผิวที่แตกต่างในวัยเด็ก และการไม่มี ประสบการณ์ท�ำงานในวงการบันเทิง หรือ ไม่เคยเดินแบบมาก่อนzแต่ด้วย ความพยายาม และอดทนจนเอาชนะ อุปสรรคต่างๆ ด้วยความมุง ่ มั่นจนใน

ทีส ่ ด ุ ก็ได้รบ ั ชัยชนะไปครอง ถือเป็นอีกหนึง ่ ตัว อย่ างที่ดีข องเด็กรุ่น ใหม่ และเป็ นสิ่ง ที่ สร้ า งความภาคภู มิ ใ จให้ แ ก่ ม หาวิ ท ยาลั ย ทางสมาคมศิ ษย์เก่าจึงขอร่วมแสดงความ ยินดีกบ ั ความส�ำเร็จในครัง ้ ว้ ยค่ะ ้ นีด ส่ ว นใครที่ อ ยากติ ด ตามผลงานใน วงการบันเทิงของน้องเกรซ หรือ สนับสนุน ผลงานต่างๆ สามารถเข้าไปติตตามได้เลยที่ IG @shesgrace ค่ะ


ปลูกเลย "น่าน"ไง.. ไปไม่ ถึงไหนถ้ามัวแต่ดราม่า

สุหฤท สยามวาลา (พี่โต้) ศิษย์เก่าคณะศิลปศาสตร์เอกภาษาอังกฤษ ปัจจุบันผู้บริหารบริษัทดีเอชเอสยามวาลา

นอกเหนื อ จากบทบาทการ เป็นผูบ ้ ริหารรุน ่ ทีz่ 4zบริษัท ดี.เอช.เอ สยามวาลา ยังเป็นนักร้อง นักดนตรี นักจัดรายการวิทยุคลืน ่ Fat Radio และเคยลงสมั ค รเป็ น ผู้ ว่ า ฯ กทม. ในปีz 2556zด้วยแคมเปญหาเสี ยง สุดฮิป“zเชื่อแบบเดิมเลือกแบบเดิม ได้กรุงเทพแบบเดิม "zจนได้ค ะแนน เป็ น ล� ำ ดั บ ที่ z 4zพี่ โ ต้ ผู้ เป็ น ขวั ญ ใจ วั ย รุ่ น และคนรุ่ น ใหม่ ด้ ว ยแนวคิ ด สร้างสรรค์เฉพาะตัว ครัง ้ นี้เป็นอีก บทบาทที่ม าท�ำในฐานะผู้ร่วมก่ อตั้ง กลุ่ ม z"ปลู ก เลย"zโปรเจ็ ค ปลู ก ป่ า กลบเขาหัวโล้นจ.น่าน ร่วมกับ ต่อ ฟีโนมิน่า ธนญชัย ศรศรีวช ิ ย ั และ ศิลปินดังอย่างโจอีบ ้ อย ซึง ่ ได้สร้าง กระแสปลู ก ป่ ารัก ษ์ โ ลกพร้ อ มทั้ง มี การใช้ภ าษามื อ เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ จ น ได้ รั บ การสนั บ สนุ น อย่ า งล้ น หลาม ทัง ้ นี้ทีมงาน "ปลูกเลย"zได้ลงพื้ นที่ ครัง ้ แรกเมื่อวันทีz่ 9-10zก.ค. 2559 โดยพื้ น ที่ เริ่ม ต้น คื อzบ้ านยอดดอย วัฒนาzอ�ำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน จ�ำนวน 200 ไร่

ท� ำ เพื่ อ แลกกั บ เงิ น ประทั ง ชี วิ ต นะ ที่ ก� ำ ลั ง ท� ำ อยู่ ไ ม่ ใ ช่ แ ค่ ก ารปลู ก ป่ า แต่พยายามแก้วงจรนี้ดว้ ย มีหลาย ทีมเข้าไปส�ำรวจ อยากจะพัฒนาแต่ สุดท้ายหายไป ชาวบ้านก็ท้อใจzเรา เลยรูว้ า่ zมันไม่ใช่งานปีเดียวนะzต้อง คอยดูแลหลังจากการลงต้นกล้า

พอดี พ่ี ไปเห็ น ภาพเขาหั ว โล้นที่น่านถูกแชร์ต่อๆกันมา พี่ เอง ก็เป็นอีกคนที่อยากไปช่วย ทางผูว้ า่ จั ง หวั ด น่ า นก็ เปิ ดโอกาสมาว่ า ใคร อยากมาช่วยก็มาเลยzพี่ เลยติดต่อ โจอี้บอย นัดกันมาคุยแล้วเราก็เริ่ม ฟอร์มทีม เราได้รว่ มมือกับอ.จุลzจาก สถาปัตย์ม.เชียงใหม่ มาช่วยด�ำเนิน งานให้ถก ู หลักการ มีแบบแผนตัง ้ แต่ ต้นจนจบ วันลงมื อจริงกลุ่ม อาสา สมัครจะถูกแบ่ง ตามหน้ าที่ท่ีรับผิด ชอบ จริ ง ๆแล้ ว ต้ น เหตุ ม าจาก ชาวบ้ านที่เผาป่ าปลูกข้ าวโพด เขา

ท่ า มกลางเสี ยงคัด ค้ า นทั้ง ภาคปฏิ บั ติ แ ละเชิ ง วิ ช าการ ผ่ า น ความยากล� ำ บากและอุ ป สรรคใน เกือบทุกขั้นตอน จนถึงวันทีล ่ งพื้ น ที่ปลูกจริง ผ่านไปหนึ่งปี กล้าไม้ท่ี น�ำมาปลูกสามารถตัง ้ ตัวอยูใ่ นสภาพ แวดล้ อ มได้ ก ว่ า 95% และได้ รั บ ความร่วมมือจากชาวบ้านผูใ้ หญ่บา้ น ในการช่ ว ยดู แ ลรดน�้ ำ พร้ อ มฟื้ นฟู ปกป้องต้นกล้าทีท ่ ก ุ คนช่วยกันปลูก

ทีเ่ ลือกบ้านยอดดอยพัฒนา เพราะ ผู้ ใ หญ่บ้ านอยากเห็นความ เปลี่ ย นแปลงและพร้ อ มให้ ค วาม ร่ ว มมื อzพื้ น ที่ ตรงนั้ น เหมาะสมกั บ ลักษณะโมเดล วันนัน ้ เราท�ำฝายกัน ้ น�้ ำ ด้ว ย และจนถึงวั น นี้ ความรู้ สึ ก ที่เห็นต้นไม้โตมันเริ่ดมาก ผู้ใหญ่ก็ ยังส่งไลน์มาให้เรื่อยๆว่า ตอนนี้เริม ่ ปลูกอย่างอื่นทดแทนแล้วนะzเราก็ ยังติดตามอัพเดทความคืบหน้าของ สิง ่ ทีเ่ ราท�ำอยูเ่ รื่อยๆ ฉะนัน ้ การท�ำงานเป็นทีม คือ การเอาจุดแข็งของแต่ละคนมารวม กัน และอาสาสมัครกว่า 1,000 คน ทุ ก คนมาด้ ว ยใจไม่ มี ค่ า ตอบแทน จริงๆที่ท�ำนี่ก็โดนด่าด้วยzคนเขาก็ "ปลูกเลย" เริม ่ มาจากไหน แล้วท�ำไม บอกว่า อยู่เฉยๆไม่ชอบ ดันมาท�ำ ถึงอยากปลูก? อะไรให้โดนด่าz(หัวเราะ)z

ใครที่ ส นใจไปติ ด ตามได้ ท่ี FB: plookloi และ FB: suharit. surprise ค่ะ alumni association

27


HUMAN OF AU

เด็กเอแบคสุดเจ๋ง! ชนะแผนการตลาด ได้แชมป์ระดับโลก "If you never try, you'll never know what you are capable of"

วีรน ิ ทร์ วรกิตติโสภณ Journey Ling Belle Ling นักศึกษาคณะ International Business Management

หลังจากได้รับชัยชนะระดับ ประเทศไปในการแข่ง ขั น L'Oréal Brandstorm 2017 และผ่านด่าน การแข่ ง ขั น ในรอบภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิฟก ิ นักศึกษาทีม Chemerical จากมหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ zเป็ น เพี ยงทีมเดียวจากประเทศไทยที่ได้ เข้ารอบชิงชนะเลิศ เพื่ อแข่งขันกับ 41 ทีม จากz58zประเทศทัว่ โลกzณ กรุงปารีสzประเทศฝรัง ่ เศส ในช่วง มิถุน ายนz2560 ที่ ผ่ านมาzและได้ รับรางวัลชนะเลิศระดับโลกครัง ้ แรก ส� ำ หรั บ เด็ ก ไทยภายใต้ ค อนเซ็ ป ต์ Dirrupt Men’s Grooming with Life-Changing Innovation การสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่ อพลิก โฉมการดู แ ลตนเองส� ำ หรั บ ผู้ ช าย ผ่านแบรนด์ L'Oréal Men Expert ด้วยไอเดียผสานนวัตกรรมสุดเจ๋ง อย่าง "The ultimate refreshing Bullet – 3 in 1 for face, body, and hair" โดยใช้เทคโนโลยี iBeacon ร่ ว มกั บ การพั ฒ นาแอปพลิ เ คชั่ น และเกมในการสื่ อ สารข้ อ มู ล ไปยั ง กลุม ่ เป้าหมาย ทีมzchemericalzประกอบ ด้ ว ยzน.ส.วี ริ น ทร์ z วรกิ ต ติ โ สภณ Journey Ling และ Belle Ling นักศึ กษาจากคณะ International Business Management ทัง ้ นี้เรา ได้สม ั ภาษณ์ทง ่ าทีไ่ ป ้ั สามสาว ถึงทีม และประสบการณ์การแข่งขันระดับ โลก จะเป็นอย่างไรต้องติดตามค่ะ

"ทางzL'Oréal Thailand Brandstorm ได้ ม าที่ เ อแบคเพื่ อ โปรโมทการแข่ ง ขั น และอาจารย์ ก็ ส นั บ สนุ น ให้ พ วกเราเข้ า ร่ ว มการ แข่งขันค่ะ พวกเราเป็นเพื่ อนที่เรียน ด้วยกันอยูแ่ ล้ว วีรน ิ ทร์เลยชวน Belle กับ Journey มาฟอร์มทีมกันค่ะ" ช่วยเล่าที่มาของไอเดีย Ultimate Refreshing Bullet หน่อยค่ะ

"โจทย์ข องแคมเปญนี้ ก็คื อ การออกแบบ Product ที่ เ ป็ น นวั ต กรรมส� ำหรั บ ผู้ ช ายยุ ค ใ หม่ เราจึงเริ่มจากการหา Consumer Insights ของกลุม ่ เป้าหมายซึง ่ ก็คอ ื อะไรคือแรงบันดาลใจให้เข้าร่วมการ ผู้ชายยุคมิลเลนเนียล อายุระหว่าง ้ นี้คะ? แข่งขันครัง 18-25 ปี ซึง ่ 88% ของผูช ้ ายยุคนี้

28

AUAA PROFILE


ชอบท่องเที่ยว ชอบออกก�ำลังกาย และมีไ ลฟ์ส ไตล์ ท่ีไ ม่ ห ยุ ด นิ่งzแต่ว่ า ผลิตภัณฑ์ ท�ำความสะอาดร่างกาย ส� ำ หรั บ ผู้ ช ายในท้ อ งตลาดกลั บ มี ขนาดใหญ่ เ ทอะทะ พกพาล� ำ บาก ทั้ ง ยั ง เป็ น ของเหลวที่ ไ ม่ ส ะดวก ต่ อ การเดิ น ทาง เราเลยได้ ไ อเดี ย ว่ าzผลิ ตภัณฑ์ ควรจะเป็ น แบบแห้ง เวลาใช้ ต้ อ งผสมน�้ ำ พกเพี ย งแค่ 1zขวดแต่ ใ ช้ ง านได้ ห ลายฟัง ค์ ช่ั น ผสม 1 เม็ดใช้ลา้ งหน้า ผสม 2 เม็ด ใช้อาบน�้ำ ผสม 3 เม็ดใช้สระผมค่ะ" แล้ ว ประสบการณ์ ท างการแข่ ง ใน ประเทศและระดับนานาชาติ น้องๆ พบเจอปั ญ หาอุ ป สรรคอะไรบ้ า ง ไหมคะ? "พวกเราจะต้ อ งผ่ า นการ คัดเลือกหลายรอบมากค่ะzรอบคัด เลือกในมหาวิทยาลัยzรอบz19zทีม คั ด จนเหลื อz5zที ม ซึ่ง แต่ ล ะที ม มี เวลาz10zนาที ในการน�ำเสนอให้กบ ั ผู้ ตั ดสิ น และอี ก 10 นาทีส� ำ หรับ การตอบค�ำถามzพอได้ผ่ านไปรอบ ระดั บ นานาชาติ z เราต้ อ งรอที่ บู ธ ของแต่ละทีม ผู้ตด ั สินจะเดินมาเอง โดยแต่ ล ะที ม จะมี เ วลาแค่ 5 นาที ในการขายไอเดียตนเอง และ 5 นาที ในการตอบค�ำถาม ซึง ่ 3 ทีมสุดท้าย ที่ช นะเข้ ารอบระดับโลกzจะต้องขึ้น ไปพู ดบนเวที ให้ผู้ ตัดสินวีไ อพี และ ผู้ ช มฟัง อี กรอบzอุ ปสรรคของเรา คือ การบริหารเวลาเพราะพวกเรา อยูป ่ ส ี ด ุ ท้ายzอีกปัญหาทีเ่ ราพบ คือ การต้ อ งพยายามคิ ด อะไรให้ น อก กรอบzเนื่ องจากเป็นสิ น ค้าส� ำ หรับ

ผูช ้ ายzพวกเราต้องท�ำความเข้าใจและ สนับสนุนและให้ก�ำลังใจตลอดการ ศึกษาอย่างละเอียดzอุปสรรคสุดท้าย แข่งขันค่ะ" คือ การต้องขายไอเดียให้เพอร์เฟค ทีส ่ ด ุ ภายในเวลาทีก ่ ำ� หนดค่ะ" อยากฝากอะไรถึ ง ผู้ อ่ า นเกี่ ย วกั บ การแข่ ง ขั น หรื อ ฝากอะไรให้ กั บ มีการเตรียมตัวส� ำหรับการแข่งขัน เพื่ อนๆทีก ่ ำ� ลังเรียนอยูไ่ หมคะ? แต่ละรอบอย่างไรบ้างคะ? "คื อ การแข่ ง ขั น zL'Oréal "เราปรึกษาอาจารย์ทป ่ี รึกษา Brandstorm เป็นประสบการณ์ทด ่ี ี ตลอดเวลาว่าจะท�ำอย่างไร พรีเซนท์ ทีส ่ ด ุ ทีเ่ กิดขึน ้ ในช่วงชีวต ิ มหาลัยเลย แบบไหนให้ตรงประเด็นทีส ่ ด ุ ในรอบ ค่ะzการแข่งขันนีจ ้ ด ั ทุกปีนะคะ อยาก นานาชาติ เราต้องท�ำสไลด์ใหม่ ต้อง เชิญชวนทุกคนทีส ่ นใจมาเข้าร่วมการ เปลี่ยนรูปแบบการ pitchingzใหม่ แข่งขันนี้ดzู ส� ำหรับใครที่อยากจะท�ำ เนื่องจากเวลาที่ก�ำหนดให้น้อยกว่า กิจกรรมนอกมหาลัยแต่ยังมีความ เดิ ม พวกเราเจอกั น บ่ อ ยมากเพื่ อ ลังเล ไม่ตอ ้ งกังวลค่ะ ลงมือท�ำเลย! ท�ำการฝึกซ้อมเตรียมตัว และเพื่อให้ การแข่งขันครัง ้ นี้ท�ำให้เราได้เรียนรู้ แน่ใ จว่าการขายไอเดียของเราจะดู สิ่งใหม่ๆzได้ประสบการณ์zได้เพื่ อน เป็นธรรมชาติและออกมาได้ผลลัพธ์ ใหม่zมันเป็นเวทีท่ีเราได้แสดงความ ทีด ่ ท ี ส ่ี ด ุ ค่ะ" คิดสร้างสรรค์zได้ใช้ความรูท ้ เ่ี รียนมา ได้เงินรางวัลzได้ไปเทีย ่ วปารีส แถม รู้ สึ ก ยั ง ไงกั บ การได้ เป็ น ที่ ห นึ่ ง ทั้ ง ยังได้ท�ำงานกับzL'Oréalzอีกนะคะ ระดับประเทศ และได้เป็นแชมป์โลก (หัวเราะ) If you never try, you ค่ะ? will never know what you are capable of ค่ะ" "ตื่นตันมากค่ะzรู้สึกเหมือน การท�ำงานหนักแล้วได้ผลตอบแทน นั บ เป็ น อี ก ก้ า วของความ ตอนประกาศผลระดับประเทศ พวก ส� ำเร็จที่สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ เราแทบร้ องไห้เลยค่ ะzยิ่ง ตอนชนะ สถาบัน และเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับ แชมป์ โ ลกนี่ เ หมื อ นมั น ไม่ ใ ช่ ค วาม นั ก ศึ ก ษาทุ ก คน เราเชื่ อ ว่ า ความ จริง พวกเราหั นไปถามกั น ซ�้ ำๆว่ า พยายามจะน� ำ พาไปสู่ ค วามส� ำ เร็ จ นี่ มันความฝันหรื อเปล่าzเราได้เป็น เพียงแค่มง ุ่ มัน ่ ตัง ้ ใจ และลงมือท�ำ ถึ ง ตั ว แทนประเทศไทยzเราได้ ไ ป ทางสมาคมฯขอแสดงความยินดีกบ ั แข่งขันระดับโลกzมันเกินความคาด น้องๆทุกคนทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมนี้ และ หมายมากzเรามาได้ไกลขนาดนีต ้ ้อง หวังว่า ทีม Chemerical จะเป็นแรง ขอบคุณzL'Oréalzทีจ ่ ด ั การแข่งขันที่ บันดาลใจให้กบ ั ทุกคนค่ะ มีประโยชน์ขนาดนี้ ขอบคุณอาจารย์ ที่ ปรึก ษาและมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ใ ห้ ก าร alumni association

29


HUMAN OF AU

แชมป์สด ุ ยอดไอเดีย "Save Cone Save Khon" เพื่ อถนนสีขาว

เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2559 ทีม AVEM มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ ด้ ว ยสุ ด ยอด แนวคิ ด “สร้ า งความปลอดภั ย บน ท้องถนนในรั้วมหาวิทยาลัย” ได้รบ ั เงินทุนการศึ กษา 100,000 บาท ในการประกวดในกิจกรรม Toyota Campus Challenge 2016 ที่ ด� ำ เนิ น การมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเข้ า สู่ ปี ท่ี 3 ภายใต้ โ ครงการโตโยต้ า ถนนสี ข าว เพื่ อรณรงค์ ก ารลด อุบต ั ิเหตุในมหาวิทยาลัย และชุมชน รอบข้างโดยใช้ประสบการณ์จริง

แคมเปญ เซฟโคนเซฟคน (Save Cone Save Khon) ภายใต้แนวคิด Put life into cones ซึง ่ เจาะกลุม ่ เป้ า หมายอย่ า งตรงจุ ด จนได้ รั บ ความสนใจอย่างล้นหลามผ่านทาง Social Media กว่าแสนคน การ รณรงค์ปฎิบัติจริงในมหาวิทยาลัย กว่า 1 เดือน สามารถลดอุบัติเหตุ บนท้ อ งถนนจากความเร็ ว ในการ ขับขีไ่ ด้ถง ึ 96% ท้ั้งนี้นอกเหนือจาก ทุนการศึ กษาแล้ว ผู้ชนะเลิศยังได้ ร่วมทริปทัศนศึ กษาที่ประเทศญี่ปุ่น 5 วันมูลค่า 500,000 บาท พร้อม ทุ น สนั บ สนุ น แก่ อ าจารย์ ท่ี ป รึ ก ษา จากผู้สมัครกว่า 670 ทีม 50,000 บาท และโอกาสการฝึกงาน ที ม AVEM ร่ ว มกั น คิ ด ค้ น ไอเดี ย ทีก ่ บ ั โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย ชนะการแข่งขัน อย่ างโดดเด่น ด้วย จ�ำกัด

30

AUAA PROFILE

ทีม AVEM ชยกร สุทธิสิริ โชคชัย ธีระจันทเศรษฐ พอล เวียนนี ลาปุส มาริสเตล่ กฤษณ์ โสภาราษฎณ์ นักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ และ เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ


ทีม AVEM มีสมาชิก 4 คน ซึง ่ เป็นนักศึกษาต่างสาขา ประกอบ ด้วย นายโชคชัย ธีร ะจัน ทเศรษฐ นายกฤษณ์ โสภาราษฎณ์ นายชยกร สุ ทธิ สิ ริ ทั้งสามเป็นนั กศึ กษาปี 3 คณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด และ นายพอล เวียนนี ลาปุส มาริสเตล่า จากชั้ น ปี ท่ี 4 คณะบริ ห ารธุ ร กิ จ สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ โดยมี อาจารย์ ทิพา ศรียะพันธุเ์ ป็นอาจารย์ ทีป ่ รึกษา ทีม AVEM ได้ให้สัมภาษณ์ ถึงทีม ่ า แนวคิด และความท้าทายใน การท�ำกิจกรรมว่า "พวกผมทั้ ง สี่ ค นได้ ม าท� ำ แคมเปญ เซฟโคนเซฟคน ร่วมกัน ก็ เพราะได้ อ ยู่ ก ลุ่ ม เดี ย วกั น ในวิ ช า IMC หรือ Integrated Marketing Communication ครับ โดยพวกผม เห็นว่างาน Campus challenge เป็ นโครงการที่ น่ าสนใจ และได้ ท� ำ ประโยชน์กับทางมหาวิทยาลัยด้วย จึ ง ร่ ว มมื อ กั น คิ ดไอเดี ย ขึ้ น มา ซึ่ง ตอนแรกไม่ได้คาดหวังมาก เพราะ แค่ ไ ด้ ร่ ว มท� ำ กิ จ กรรมดี ๆ และยิ่ ง ใหญ่ขนาดนี้ ก็เป็นเกียรติมากแล้ว พอประกาศผลออกมาว่า พวกผม ได้ ร างวั ล ชนะเลิ ศ ก็ ดี ใ จมากที่ ท� ำ ส� ำเร็จและสามารถน�ำชื่อเสียงมาให้ กับทางมหาวิทยาลัยครับ แคมเปญ นี้จ ะส� ำเร็จไม่ได้เลยถ้าไม่มี อาจารย์ ทิพา คอยให้คำ� ปรึกษามาโดยตลอด ครับ" นายโชคชัยกล่าว

แนวคิด 'เซฟโคนเซฟคน' นี้ เป็นวิธีการจ�ำลองสถานการณ์ท่ีน�ำ กรวยจราจรมาจัดเรียงเป็น Cone Zone หรือแนวกรวยจราจร ใช้เป็น ตัวแทนของคนที่ยืนบนถนน มีเป้า หมายเพื่ อท�ำให้ช่องทางจราจรแคบ และลดความเร็ ว ในการขั บขี่ไ ม่ เกิ น 30 กม.ต่ อ ชั่ วโมง ซึ่งได้รับ ความ สนใจและความร่วมมือจากพี่ๆน้องๆ ในมหาวิทยาลัยเป็นอย่างดี "ตลอดเวลา 1 เดือน ทีพ ่ วก ผมได้ ทุ่ ม เททั้ ง แรงกายและแรงใจ บางครัง ้ ก็รู้สึ กท้อบ้ าง เพราะต้ อง ท�ำงานหลายอย่างและต้องแบ่งเวลา ในการเรียนด้วย แต่พวกผมก็ไม่คด ิ ถอยครับ มองว่าความท้าทายและ อุ ปสรรค ท� ำ ให้รู้จั ก การแก้ ปัญ หา เฉพาะหน้ า พอเราท� ำ อย่ า งเต็ ม ที่ ที่สุด รางวัลก็คือชัยชนะที่พวกเรา ภาคภูมใิ จครับ"

สุดท้ายนี้ อยากให้ทก ุ คนท�ำกิจกรรม กันเยอะๆ เพื่ อเป็นการฝึกฝนฝีมือ และศั ก ยภาพก่ อ นเข้ า สู่ ส นามจริง อย่ างการท� ำงาน อี ก ทั้ง ยังได้รู้ ว่ า เนื้ อ หาที่ เ ราเรี ย นไปสามารถน� ำ ไป ประยุกต์ในชีวิตจริงได้อย่างไรครับ หากใครที่ส นใจโครงการ Toyota campus challenge ปีหน้ ายังมี มาสมัครกันเยอะๆนะครับ" "เปรียบเที ยบกรวยจราจร เหมื อ นคน ซึ่ ง อาจจะเป็ น คนใน ครอบครั ว เพื่ อน หรื อ คนใกล้ตัว ของคุ ณ ถ้ า เกิ ด คุ ณ ขั บ รถเร็ ว ไป ชนกรวย ก็เหมือนกับคุณขับรถไป ่ ณ ชนคนทีค ุ รัก" ส� ำหรับใครที่สนใจโครงการ เซฟโคนเซฟคน ของน้องๆทัง ้ 4 คน สามารถเข้าไปติดตามได้ท่ี FB Page: SaveconeSavekhon ได้เลยค่ะ

ทั้ ง นี้ น้ องๆอยากฝากถึ ง เพื่ อ นๆร่ ว มมหาวิ ท ยาลั ย ถึ ง ความ ปลอดภั ย ในการใช้รถใช้ถ นน และ อยากผลักดันให้เด็กรุ่นใหม่มีความ คิดกล้าแสดงออกและลงมือท�ำ "ขอฝากถึ ง ทุ ก คนว่ า การ ขับรถนัน ้ เราควรขับอย่างปลอดภัย มีความระมัดระวัง มีน�้ำใจซึง ่ กันและ กัน เพื่ อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นทั้งใน และนอกรัว ้ มหาวิทยาลัยนะครับ และ

alumni association

31


HUMAN OF AU

โครงการ Smart successor เรือ ่ งเล่าจากรุน ่ พี่ เนื่องจากมหาวิทยาลัยของ เรามี ศิ ษ ย์ เก่ า จ� ำ นวนมากที่ ป ระสบ ความส� ำเร็จในหน้าที่การงาน หลาย คนได้ด�ำรงต� ำแหน่งผู้บริห ารระดับ สูงในองค์กรที่มีช่ือเสียงzบางส่ วน ก็ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ในการสร้ า ง ธุ รกิ จ ใหม่ ด้ ว ยตนเอง ดั ง นั้ น ทาง สมาคมศิ ษย์เก่าฯ จึงเห็นโอกาสใน การเพิ่ ม พู นการเรี ย นรู้ ใ ห้ แ ก่ ศิ ษ ย์ ปัจจุบัน จึงได้ร่วมกับ CDC จัดงาน บรรยายนี้ขึ้นมา โครงการ Smart Successor ครัง ้ แรกจัดขึ้นเมื่อวันที่ 6-9 ก.ค. โอภาส สยามวาลา 2559 แบ่งเป็น 4 sessions โดย ผู้อำ� นวยการด้านโรงงาน มี ศิ ษ ย์ เ ก่ า ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ ห้ เ กี ย รติ บริษัท ดี เอช เอ สยามวาลา มาเป็นวิทยากรอย่าง คุณเยาวนิจ ไชยพร ผู้อำ� นวยการฝ่ายการตลาด ดิจต ิ อล บริษัท เมืองไทยประกันชีวต ิ คุ ณ โอภาส สยามวาลา ผอ.ด้ า น โรงงานบริษัท ดี เอช เอ สยามวาลา คุณมนต์ชย ั เดโชจรัสศรี กรรมการ ผู้อำ� นวยการ บริษัทzยูนล ิ เี วอร์zเน็ท เวิร์ค ประเทศไทยzและzคุณโอภาส ถิรปัญญาเลิศ The Winner รายการ The Stock Master คนแรกของ ประเทศ ผูเ้ ป็นนักลงทุน นักเขียนและ นักธุรกิจหลากหลายกิจการ โอภาสzถิรปัญญาเลิศ

The Winner รายการ The Stock Master คนแรกของ ประเทศ นักลงทุน นักเขียนและนักธุรกิจหลากหลายกิจการ

32

AUAA PROFILE


เยาวนิจ ไชยพร

ผู้อำ� นวยการฝ่ายการตลาดดิจิตอล บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต

หลังจากที่ได้รับความสนใจ จากศิษย์ปจ ั จุบน ั อย่างล้นหลามzเมือ ่ ต้ น ปี ท่ี ผ่ า นมาทางสมาคมจึ ง จั ด Smart Successor ครัง ้ เมื่อ ้ ที่ 2 ขึน วันที่ 7-9 และ 16 ก.พ. 2560 โดยมี คุณอดิศักดิ์ รักอริยะพงศ์zผูบ ้ ริหาร เซ็ปเป้บว ิ ตี้ดริงค์ และคุณวชิรศั กดิ์ จึงสถาพร ผูจ ้ ัดการสาขา ธนาคาร ธนชาต สาขาย่อยสีลมคอมเพล็กซ์ ผู้ เ ขี ย นหนั ง สื อ วางแผนการเงิ น ให้มีเงินใช้ตลอดชีวิต และยังมีคุณ ชุติพงศ์ พุ ทธรักษ์ คุณภาณัทดา เวโรจน์ฤดี คุณ อรพิ ช า บุญศั กดิ์ คุณวรฉัตร ธ�ำรงวรางกูร คุณชลิตา พุ ทธนิ ต ย์ ที ม งานจากบางกอก แอร์เวย์ และคุณนายชยุตม์ ศรีเพียร กรรมการสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยzให้ความร่วมมือมาเป็น วิทยากรให้น้องๆ

ท� ำ กิ จ กรรมเพื่ อ เพิ่ ม ทั ก ษะการเข้ า สั ง คมzเรี ย นรู้ ก ารท� ำ งานร่ ว มกั บ ผู้อน ่ื ด้านมุมมองการท�ำงานzพี่ๆ ได้ เ ล่ า ถึง ความส� ำ เร็จ ในการไต่ เต้ า เป็ น ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง แม้ มี ร ะยะ เวลาการท�ำงานไม่น าน โดยได้เล่า ถึงความทุม ่ เทการท�ำงานzเน้นความ คิดสร้างสรรค์ การลงมือท�ำในสิ่ง ใหม่ๆzโดยต้องใช้เวลาศึกษาค้นคว้า จากแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆzและสร้ า ง ผลงานให้เป็น ที่ย อมรับต่ อผู้บังคับ บัญชา

นอกจากนี้ พ่ี ๆ มี ก ารกล่ า ว ทิง ้ ท้ายว่า นักศึกษาปัจจุบันมีความ กล้าแสดงออกมากขึ้น และมีความ กะตื อ รื อ ร้ น ที่ ดี ตั้ ง ใจกั บ สิ่ ง ที่ ตั ว เองสนใจ ซึ่งต่างจากนักศึ กษารุ่น โดยภาพรวมzศิ ษ ย์ เ ก่ า ได้ ก่ อ นๆzหากกิ จ กรรมของสมาคม แนะน�ำน้องๆzให้มีการวางแผนการ ตรงกับความสนใจของเด็กรุ่น ใหม่ เรี ย นzค้ น หาตั ว เองให้ พ บว่ า มี เป้ า ก็จะได้รบ ั พลังสนับสนุนอย่างมาก หมายอย่างไรในอนาคตzศึ กษาวิชา สาขาการเรียนให้สอดคล้องกับเป้า หมาย ไม่ ค วรเลื อ กวิ ช าเรี ย นตาม เพื่ อน เพื่ อเปิดโอกาสให้รู้จักเพื่ อน ใหม่zนอกจากนี้ ยัง แนะน� ำ ให้ น้ อ งๆ

มนต์ชัย เดโชจรัสศรี

กรรมการผู้อำ� นวยการ บริษัทzยูนล ิ ีเวอร์zเน็ทเวิรค ์ ประเทศไทย

alumni association

33


AU LIVE BROADCAST

Stay tuned!

Digital Music Entrepreneur - School of Music

Law in the Age of Social Media - School of Law

อนาคตการท่องเทีย ่ วไทยในปี 2560 ณ ABAC City Campus

ABAC The Fashion Show : Harmony in Contrast

AU Music chorus performance

Concert from “Artist: Stamp” at AU Wonderland Freshy Day & Night 2016

Concert from “Artist: Tattoo color" at AU Wonderland Freshy Day & Night 2016

34

AUAA PROFILE


“ข้าราชการใต้พระปรมาภิไธย และจริยธรรมกับนักกฎหมาย” โดย ศาสตราจารย์พิเศษ จรัญ ภักดีธนากุล ตุลาการศาล รัฐธรรมนูญ ในงานปัจฉิมนิเทศ บัณฑิตนิตศ ิ าสตร์เอแบค'59

“บทบาทของนักกฎหมายธุรกิจ” โดย นายธรรมรักษ์ บุญเมือง ในงานปัจฉิมนิเทศบัณฑิต นิตศ ิ าสตร์เอแบค'59

ส�ำหรับใครทีส ่ นใจชมคลิปวีดโี อ หรือ ชมการออกอากาศสดทาง Facebook Live สามารถติดตามได้ท่ี Assumption University Alumni Network By AUAA (Official Group) หรือ Facebook Fanpage: Assumption University of Thailand

alumni association

35


AU LIFESTYLE

บอยแบนด์ขวัญใจยุค90

เอกชัย เอื้อสังคมเศรษฐ

ศิษย์เก่าคณะบริหารธุรกิจ สาขาการโรงแรม ปัจจุบันเป็นดีเจ นักแสดง พิ ธก ี ร

มาการองและสโคนจากดีเจเอกกี้ IG @chez_chouty

36

AUAA PROFILE

ห ากพู ดถึ ง ชื่ อ เสี ยงข อง ศิ ษ ย์ เ ก่ า มหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ ส่ ว นใหญ่ ค งนึ ก ถึ ง สายงานธุ ร กิ จ เป็น อันดับแรก แต่ส� ำหรับคอลัมน์ ไลฟ์สไตล์น้ี เราจะพาผู้อ่านทุกท่าน มาท� ำ ความรู้ จั ก กั บ ศิ ษ ย์ เก่ า ชื่ อ ดั ง ที่ร้องเพลงดี มีความสามารถแน่น ดีเจเอกกี้ เอกชัย เอื้อสังคมเศรษฐ อดีตสมาชิกวงยูเอชที ผูเ้ ป็นขวัญใจ วัยรุ่นยุค 90 ที่ปัจจุบันเป็นพิ ธีกร และนักแสดง ครัง ้ นี้เขาจะมาเปิดใจ เล่าเรื่องส่วนตัวในช่วงสมัยเรียนให้ ฟังกันค่ะ

มหาวิ ท ยาลั ย ได้ ใ ห้ ข้ อ คิ ด ในการ ด�ำเนินชีวิต หรือ การท�ำงานในแง่ ไหนบ้างคะ?

"ให้ เ รากล้ า แสดงออกครั บ อย่ า งชมรมดราม่ า ก็ ท� ำ ให้ เ ราได้ แสดงออกในสิ่ ง ต่ า งๆที่ เ ราไม่ เ คย คิดมาก่อนว่าจะท�ำได้zทุกคนให้การ สนั บ สนุ น จนพี่ ไ ด้ ป ระกวดzCoke Music Award ได้เข้ารอบ 10 คน หลั ง จากนั้ น ก็ มี ก รรมการที่ ม าจาก แกรมมี่ ที่ เ ป็ น แมวมองติ ด ต่ อ มา ถือว่าเป็นจุดเริม ่ ต้นในวงการบันเทิง เลย ต้องขอขอบคุณบราเดอร์และ สมัยพี่ เอกกี้อยู่มหาวิทยาลัยได้เข้า มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ช่ ว ยสนั บ สนุ น ดู แ ล ร่ ว มชมรมหรื อ กิ จ กรรมอะไรบ้ า ง (หัวเราะ)" ไหมคะ? อยากให้มี อ ะไรเพิ่ มเติ มในนิ ต ยสาร "พี่ เคยอยู่ชมรมดราม่า ก็จะ AUAA Profile ไหมคะ? มีการเต้นโชว์บนเวที เคยเป็นสตาฟ ที่การประกวด Prince Princess "ในฐานะที่พ่ี จบมานานแล้ว เคยเป็ น ลี ด เดอร์ ข องคณะด้ ว ยนะ พี่ ก็แทบจะไม่รู้ถึงข่ าวคราวปัจจุบัน พี่ทำ� กิจกรรมเยอะมาก โห..นานมาก พี่ ว่านิตยสารนี่ดีเลย เราจะได้รู้จัก จ�ำไม่ค่อยได้ (หัวเราะ) เคยมีขึ้นไป น้ อ งๆรุ่ น ใหม่ ๆ zเผื่ อ คนไหนมี แ วว เต้นสไตล์อย ี ป ิ ต์ดว้ ย (หัวเราะ) ใส่ผ้า มีความสามารถ จะได้ชว่ ยสนับสนุน เตี่ยวแล้วก็ถอดเสื้อเต้นอะไรแบบนี้" อนาคตของเด็กรุน ่ ใหม่ต่อไป" พี่ ช่วยเล่าถึงความประทับใจที่มีต่อ ถึงแม้เป็นช่วงเวลาสั้นๆทีไ่ ด้ มหาวิทยาลัยให้ฟง ั หน่อยค่ะ พู ดคุ ย แต่ พ่ี เ อกกี้ ก็ ใ ห้ ข้ อ คิ ด และ สร้างเสียงหัวเราะแก่ทีมสัมภาษณ์ "พี่ เรี ย นที่ หัว หมาก ทุ ก คน ไม่แปลกใจเลยทีพ ่ ่ีเอกกีเ้ ป็นทีโ่ ด่งดัง เข้ า ถึ ง กั น หมด มั น รู้ สึ ก ถึ ง ความ มีแฟนคลับมากมายzส่วนใครทีอ ่ ยาก เป็ น ครอบครั ว พอหลั ง เลิ ก คลาส ติดตามผลงานสามารถเข้าไปที่ IG เราก็จะมาเจอกันทีช ่ มรม มานัง ่ เล่น @djeaky และถ้าอยากลองชิมขนม กีต้าร์ มาร้องเพลง พี่ วา่ ที่หวั หมาก มาการองและสโคนของพี่เอกกี้ ก็สง ่ั มั น ลงตั ว นะ เร็ ว ๆนี้ ไ ด้ ก ลั บ ไปเดิ น ได้ท่ี IG @chez_chouty ค่ะ แถวนัน ิ ถึงบรรยากาศเก่าๆ" ้ ก็คด


นักแสดงตลกยุคใหม่

Charles-Alexis Guénard

ปัจจุบันก�ำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ชั้นปีที่ 3 คณะนิเทศศาสตร์สาขาสื่อประชาสัมพั นธ์

FB: Charles The French

หลายคนคุ้นหน้ าคุ้นตาชาย หนุ่มคนนี้ในคลิปตลกล้อเลียน How the iPhone 7 should have been introduced ทีเ่ ป็นกระแสโด่งดังใน เฟสบุ๊คจนมียอดผู้เข้าชมล่าสุดมาก ถึง 48 ล้ า นวิว และถู ก แชร์กว่ า 8 แสนครัง ๊ Charles The ้ ท�ำให้เฟสบุค French มีคนติดตามถึง 6 แสนคน Charles-Alexis Guénard ลูกครึง ่ ไทยฝรั่ง เศส นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ท่ี 3 คณะนิเทศศาสตร์ ปัจจุบันชาร์ลได้ ผันตัวมาเป็นนักแสดงตลกล้อเลียน เต็ ม ตั ว zทางเราจึ ง ไม่ ร อช้ า ติ ด ต่ อ ชาร์ ล เพื่ อ มาแชร์ ป ระสบการณ์ ใ ห้ พวกเราฟังกันค่ะ

สร้างคาแรคเตอร์ทแ ่ี ตกต่างกันไปใน แต่ละคลิปครับ" อะไรคือก้าวแรกของการเริ่มต้นท�ำ คลิปตลกล้อเลียนคะ? "คื อ ตอนนั้ น ระหว่ า งรอเข้ า ห้ องเรียนzผมหยิบมือถื อขึ้นมาอัด คลิปตลกๆ แล้วอัพโหลดลงเฟสบุค ๊ แค่ทำ� ข�ำๆให้กลุม ่ เพื่ อนดู กลับกลาย เป็นว่าคลิปตลกแบบนั้นได้รบ ั กระแส ดีม ากzจากนั้นผมก็ท�ำคลิปออกมา เรือ ่ ยๆจนตอนนีม ้ ป ี ระมาณ 60 คลิป แล้วครับ"

รูส ้ ึกยังไงบ้างกับความส� ำเร็จตั้งแต่ ตอนนี้กำ� ลังท�ำอะไรอยูบ ่ ้าง เคยเข้า อายุ ยั ง น้ อ ยจนท� ำ ให้ มี ผู้ ติ ด ตาม ร่วมกิจกรรมของมหาวิทยาลัยบ้าง หลายแสนคน? ไหมคะ? "ผมไม่ เ คยคิ ด ว่ า จะโด่ ง ดั ง "ก็พยายามไปเรี ยนอยู่ครับ หลายๆคนหมกมุน ่ อยูก ่ บ ั ยอดวิวและ (หัวเราะ) ตอนนี้ก็ก�ำลังเริ่มจัดการ จ� ำ นวนการแชร์zผมว่ าสิ่ง ที่ส� ำ คัญ แสดง Stand Up Comedy ครับ กว่ า คื อ ผู้ ค นรู้ สึ กสนุ ก และมี เ สี ยง แล้วผมก็ไม่ได้เข้าร่วมชมรมไหนเป็น หัวเราะไปกับสิ่งที่คุณน�ำเสนอ และ พิ เศษ ส่ วนใหญ่ทางมหาวิทยาลัย สิง ่ ากทีส ่ ด ุ คือ ความคาดหวังฮะ ่ ทีย หรือชมรมจะติดต่อให้ขน ึ้ ไปพู ด หรือ คุณต้องต่อยอดความคิสร้างสรรค์ แสดงโชว์ครับ" ไปเรื่อยๆ เพื่ อสร้างสิ่งที่แปลกใหม่ และแตกต่ า งzผมพยายามจะผ่ อ น มหาวิทยาลัยมีอิทธิพลในการสร้าง คลายและโฟกัสกับสิง ่ มท�ำให้มาก ่ ทีผ แรงบันดาลใจยังไงบ้างคะ? ทีส ่ ด ุ เพื่ อให้แน่ใจว่ามันจะไม่มข ี ้อผิด พลาด" "ที่ น่ี ผ มสั ม ผั ส ได้ ถึ ง ความ หลากหลายครั บ ทั้ ง ด้ า นเชื้ อ ชาติ ส� ำหรั บ ใครอยากติ ด ตาม ความสามารถ และภาษา ผู้ ค นมี คลิปล้อเลียนของน้องชาร์ลสามารถ ความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ซึง ่ ติดตามได้ท่ีเฟสบุ๊ค Charles The ก็ เป็ น แรงบั น ดาลใจให้ ผ ม ในการ French ได้เลยค่ะ

alumni association

37


AU LIFESTYLE

ท�ำความเข้าใจกับโรคและ อยูร่ ว ่ มกันอย่างมีความสุข “อโรคยา ปรมาลาภา” ความ ไม่มโี รคเป็นลาภอันประเสริฐ แม้ว่า จะมีเงินมากองจนท่วมตัว ก็ยังไม่ สามารถซื้อสุขภาพที่ดไี ด้ หากมอง พฤติกรรมการใช้ชวี ิตประจ�ำวันของ คนในปัจจุบันนี้ มองไปทางไหนก็มี แต่ความเร่งรีบและการแข่งขัน จน ท�ำให้เรามีเวลาดูแลตัวเองน้อยลง

ชุติมา กิจวัฒนทวี

ศิษย์เก่าคณะบริหารธุรกิจ ปัจจุบันเป็น PR & Marketing และแอดมินเพจ MS Thailand, Msnmopatients, MS Thailand Multiple Sclerosis Non-Profit Organization

คุณชุตม ิ าzกิจวัฒนทวีzหนึง ่ ในผู้ ป่วยโรค MS หรื อzMultiple Sclerosiszเล่าให้ฟง ั ว่าzโรคนี้เกิด จากการอักเสบของปลอกประสาท ในระบบประสาทส่ ว นกลาง อาทิ เส้ น ประสาทตาzและเส้ น ประสาทที่ ไขสั น หลังzซึ่ง อาการจะก� ำ เริบ เมื่ อ ไหร่กไ็ ด้zถ้าให้ยาไม่ทันเวลาอาจเกิด ผลร้ า ยตามมาzเช่ น หากอาการ ก�ำเริบทีบ ่ ริเวณดวงตา ภาพทัง ้ หมด จะมื ด บอด ถ้ าได้ ย าทั น เวลาก็ จ ะมี สิทธิหายกลับมาเป็นปกติได้ถึงz80 เปอร์เซ็ น ต์zแต่ ถ้ า หากผู้ ป่ว ยได้รับ การรัก ษาช้ าzอาจรัก ษาหายเพี ยง 50 เปอร์เซ็นต์เท่านัน ่ ่ากังวล ้ และทีน มากขึ้ น กว่ า นั้ น คื อ โรคzNMOzที่ ลั ก ษณะของโรคใกล้ เ คี ย งกั น แต่ อาการรุนแรงกว่า ปัจ จุบัน เชื่ อว่าโรคนี้ เกิดขึ้น จากหลายปั จ จั ย zทั้ ง ความเครี ย ด สะสม พั ก ผ่ อ นไม่ เพี ย งพอzรวม ถึงสิ่งแวดล้อมรอบตัว แต่ท้ังนี้ยัง ไม่ มี ผลวิ จั ย ที่ ยื น ยั น ถึง สาเหตุ ท่ี แท้ จริงของโรค โดยส่วนใหญ่โรคนี้จะ พบในผู้ท่ม ี ีอายุระหว่าง 20 – 40 ปี คุณ ชุ ติ ม ายัง เล่ า เสริม อี กว่ า ระยะ หลั ง เจอผู้ ท่ี เป็ นโรคนี้ ใ นช่ ว งอายุ ท่ี

38

AUAA PROFILE

เด็ ก ลงเรื่ อ ยๆ และพบในผู้ ห ญิ ง มากกว่าผูช ้ ายถึง 2 เท่า เนื่องด้วยชมรมผู้ป่วย MS และ NMOzไม่มส ี �ำนักงานอย่างเป็น ทางการ ดังนัน ้ ทุกคนท�ำงานด้วยจิต อาสา ขณะนี้คุณชุติมาได้ท�ำหน้าที่ PR & Marketing และแอดมินเพจ MS Thailand, Msnmopatients, MS ThailandzMultiplezSclerosis Non-ProfitzOrganizationzเพื่ อ ประชาสัมพั นธ์งานต่างๆzอาทิzงาน วิ่งการกุศลzงานสัมมนาเพื่ อผู้ป่วย หาข้ อ มู ล ที่ มี ป ระโยชน์ ต่ า งๆพร้ อ ม ตอบค�ำถามในเพจzรวมถึงประสาน งานระหว่างผู้ ป่วยกับ ทางชมรมใน กรณีท่ีมีผู้ป่วยที่ต้องการความช่วย เหลื อ zโดยเฉพาะการให้ ก� ำ ลั ง ใจ ผู้ป่วยที่พึ่งเป็นโรคนี้zในฐานะที่ตน เคยประสบปัญหาเช่นนีม ้ าก่อนจึงน�ำ ประสบการณ์ของส่วนตัวมาเป็นแรง บันดาลใจ “ถ้ า ใครถามว่ า เครี ย ดไหม ที่เข้ามาท�ำตรงนี้zเราจะตอบว่า ไม่ เครี ย ดzแล้ว ก็ เต็ ม ใจที่จ ะท� ำ เพื่ อ ให้ ผู้ป่วยสามารถอยู่กับโรคนี้ได้อย่ าง มี ค วามสุ ข พร้ อ มทั้ ง เตรี ย มตั ว ตั้ ง รั บ กั บ สิ่ ง ต่ า งๆที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ใน อนาคตzคื อ เรารู้ สึ ก ดี ใ จที่ส ามารถ ท� ำให้ผู้ ป่วยเหล่ านี้ ยืด หยัดต่ อไปได้ เราท�ำหน้าทีโ่ ดยไม่หวังผลตอบแทน เพราะสิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ มาแล้ ว คื อ ความ สุ ข ในการที่ เ ราเห็ น เพื่ อ นร่ ว มโรค สามารถอยู่กับโรคนีไ้ ด้อย่างมีความ สุข”zคุณชุติมากล่าวทิง ้ ท้าย


AU Run for Love รัน ไม่มเี ว้นวรรค รักไม่มเี ว้นวัน

การวิ่ ง เป็ น การออกก� ำ ลั ง กายที่ง่ า ยzไม่ ต้ องใช้ อุปกรณ์ เยอะ แต่ ใ ห้ ผ ลลัพ ธ์ เกิ น ความคาดหมาย เรี ยกได้ ว่ า เป็ น ก าร อ อ กก� ำลั ง กายแบบแอโรบิค ส่งผลให้การรับ ออกซิเจนของร่างกายท�ำงานดีขึ้น เนือ ่ งจากเป็นการบริหารอวัยวะเกือบ ทุกสวนในร่างกาย ตัง ้ แต่หวั ใจ ปอด หลอดเลือด ไปจนถึงกล้ามเนื้อส่วน ต่ างๆทั่ว ร่ างกาย ช่ว ยให้ร่ างกาย แข็งแรง และช่วยชะลอความแก่ดว้ ย จะดีแค่ไ หนถ้าเราได้ ออกก�ำลังกาย ไปพร้อมๆกับการสร้างความสุข ส่ง คืน แก่สัง คม ด้ว ยการใช้เ วลาร่ ว ม กันขณะวิ่งเพี ยงไม่ก่ีช่ัวโมง สร้าง สาธารณะประโยชน์แก่ผท ู้ ย ่ี ากล�ำบาก ดังนั้ น มหาวิท ยาลั ย อัสสั มชัญจึง

ได้จั ดงานเดิ น -วิ่ ง เพื่ อ การกุ ศลชื่ อ “AU Run For Love รันไม่มเี ว้นวรรค รัก ไม่ มี เ ว้ น วั น ” ในวั น วาเลนไทน์ ปี 2016 เพื่ อ ให้ ศิ ษ ย์ เ ก่ า นั ก ศึ ก ษา บุ ค ลากรในมหาวิ ท ยาลั ย และผู้ ท่ี สนใจ เข้าร่วมเป็นส่วนหนึง ่ ในงานวิง ่ เพื่ อการกุศลนี้ สิ่งที่นักวิ่งจะได้กลับไปนอก การเหรี ย ญและเสื้ อ พวกเขายั ง ได้รับความอิ่มใจ จากการเป็นผู้ใ ห้ และความรู้สึ กมุ่งมั่นที่จ ะขับเคลื่ อน สังคมไทย ให้เกิดความคิดที่จะช่วย เหลื อ ผู้ ท่ี ข าดแคลน และเป็ น แรง บันดาลใจให้กับผู้ท่ีด้ อยโอกาสกว่า งานวิง ่ การกุศลที่มหาวิทยาจัดนี้ ได้ น� ำ รายได้ ห ลั ง หั ก ค่ า ใช้ จ่ า ยบริ จ าค

แก่ สภากาชาดไทย โดยมีภราดา ดร.บั ญ ชา แสงหิ รัญ อธิ ก ารบดี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เป็นผู้มอบ เงิ น จ� ำ นวน 300,000 บาท แก่ คุ ณ กมลวรรณ ศรี ช่ ว ย หั ว หน้ า ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สภากาชาดไทย เป็นผูร้ บ ั มอบเงินบริจาค ทัง ั น�ำ ้ นี้ยง เงินจ�ำนวน 160,000 บาท มอบให้ กับมูลนิธิร่วมจิตน้อมเกล้า ซึง ่ เป็น มู ล นิ ธิ ฯ ที่ ใ ห้ ค ว า มส� ำ คั ญ ใ น ก าร พั ฒ นาเยาวชนของชาติ โดยให้ เยาวชนมีการพั ฒ นาที่ส มบูรณ์ ทุก ด้าน โดยเฉพาะในด้านจิตใจ ศาสนา ศี ล ธรรม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ต้ อ งการให้ เ ยาวชนรู้ สึ ก อบอุ่ น ไม่ อ้างว้างท้อถอย หรือหมดหวัง

alumni association

39


i s s u e M AY - J U LY 2 017

AUAA PROFILE

INTERITAS UNITAS SCIENTIA


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.