ASSUMPTION UNIVERSITY ALUMNI ASSOCIATION AUAA PROFILE
Issue Aug - Sept 2017
Assumption University Alumni Association
1
Assumption University was initially originated from Assumption Commercial College (ACC) in 1969 as an autonomous Higher Education Institution under the name of Assumption School of Business (ASB). In 1972, with the approval of the Ministry of Education, it was officially established as Assumption Business Administration College or ABAC. In May 1975, it was accredited by the Ministry of Education. In 1990, it was granted new status as “Assumption University� by the Ministry of University Affairs. The University is a non-profit institution administered by Montfort Brothers of St. Gabriel, a worldwide Catholic Religious Order, founded in France in 1705 by St. Louis Marie de Montfort, devoted to education and philanthropic activities. The Congregation has been operating many educational institutions in Thailand since 1901.
2
AUAA Profile
บทน�ำ
ผู้ทุ่ มเทแรงกายและใจ เบื้องหลังความยิ่งใหญ่ ของมหาวิทยาลัยอัสสั มชัญ เกี ย รติ ภู มิ ข อง “มหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ ” หรื อ ที่ เ รี ย กกั น อย่ า งคุ้ น หู ว่ า เอแบค (ABAC: Assumption Business Administration College) มหาวิทยาลัยแห่งแรกในประเทศไทยที่เน้นการใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการเรียน การสอนมาตัง ่ � ำเร็จการศึ กษาจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ้ แต่แรกเริม ่ บัณฑิตทีส ล้วนได้รับการยอมรับจากสัง คมในวงกว้ าง นั บ ตั้ง แต่ อ ดีตจวบจนถึงปัจ จุบั น มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ นับเป็นสถานศึ กษาที่ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพออกไป ท� ำ งานในสาขาวิ ช าชี พ ต่ า งๆมากมาย ซึ่ง เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ น ประเทศชาติ หลายคนประสบความส� ำเร็จอย่างงดงามในแวดวงธุรกิจ บางคน มีโ อกาสก้าวไปเป็นบุคคลส� ำคัญระดับประเทศ ไม่น่าแปลกใจเลยว่าท�ำไมชื่อของ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญจึงอยู่ในใจของทุกคนตลอดระยะเวลาเกือบ 5 ทศวรรษ นับตั้งแต่ก่อตั้งมา ในปีน้ีสมาคมศิ ษ ย์เก่าฯ (AUAA) ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เพื่ อ ฉลองครบรอบ 84 ปีของบราเดอร์มาร์ติน (ภราดา ดร.ประทีป ม.โกมลมาศ อธิการบดีกิตติคุณ) และครบรอบ 72 ปีของบราเดอร์บัญชา (ภราดา ดร.บัญชา แสงหิรัญ อธิก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย อั สสั ม ชัญ) ทางสมาคมฯจึ ง ถื อโอกาสน� ำ เสนอมุมมองความคิด ทัศนคติ การวางแผนการบริห ารงาน และการฝ่ าฝัน อุปสรรคต่างๆของบราเดอร์ทั้ง 2 ท่าน เพื่ อเป็นแรงบันดาลใจให้กับทุกคนให้ สามารถก้ า วผ่ า นวิ ก ฤติ ต่ า งๆได้ อ ย่ า งมี ส ติ และมุ่ ง มั่ น สู่ เ ป้ า หมายอย่ า งไม่ ท้อถอย
Assumption University Alumni Association
3
บทที่ ๑
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และภราดา ดร. ประทีป มาร์ติน โกมลมาศ
4
AUAA Profile
ภราดามาร์ติน : ยุคเริ่มต้นการพัฒนาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ
ยุคของภราดามาร์ติน: ยุคเริ่มต้น การพัฒนาวิทยาลัยอัสสั มชัญ บริหารธุรกิจ
บราเดอร์มาร์ตินขณะสอนหนังสื อ
บราเดอร์มีความเห็นว่า การ บริหารสถาบันการศึกษานี้ ผูบ ้ ริหาร จ� ำ เป็ น ต้ อ งรู้ จั ก นั ก ศึ ก ษาและผู้ ท่ี เกี่ ยวข้ อ ง ด้ว ยเหตุ นี้ บราเดอร์จึ ง ่ บราเดอร์ ต้องสอนเรียนเองด้วย ซึง ได้เข้ามาสอนตัง ้ แต่ครัง ้ แรกทีเ่ ข้ามา รักษาการฯ เพื่อจะได้เข้าใจนักศึกษา และอาจารย์ เข้าใจในสิ่งที่เป็นไปใน
วิทยาลัย เพื่ อจะได้ดูว่าการเรียนการสอนที่ท�ำกันอยู่นั้นถูกต้องหรือไม่? คุณภาพ เป็นอย่างไร? ควรจะบริหารหรือควบคุมดูแลอย่างไร? ่ งจากขณะนัน เนือ ี ำ� แหน่งเป็นเลขาธิการสภาการศึกษาคาทอลิก ้ บราเดอร์มต แห่งประเทศไทย ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) บราเดอร์จึงได้มโี อกาสเข้าไป เป็นผู้สังเกตการณ์การประชุมสมัชชาใหญ่ขององค์การ UNESCO ที่กรุงปารีส ่ เป็นที่ประชุมของรัฐมนตรีศึกษาธิการทั่วโลก ซึง
Assumption University Alumni Association
5
บทที่ ๑
การประชุม UNESCO
สภาการศึ กษาคาทอลิค
6
AUAA Profile
ภราดามาร์ติน : ยุคเริ่มต้นการพัฒนาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ
การประชุมสมัชชาใหญ่ในปีนั้นเป็นปีส�ำคัญอย่างมากที่องค์การ UNESCO ได้ประกาศแถลงการณ์ เปิ ด ศั กราชใหม่ข องการปฏิรูปการศึ ก ษาของโลกในชื่ อ
LEARNING TO BE: The World of Education Today and Tomorrow โดยมี อ ดี ต นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิก ารของ ประเทศฝรั่ง เศสชื่ อ นายเอดการ์ ฟอร์ (Edgar Faure) เป็ น ประธานคณะ กรรมาธิการระหว่างชาติเพื่อพัฒนาการศึกษา (International Commission on the Development of Education) เพื่ อ พิ จ ารณาแก้ ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ การ พัฒนาการศึกษาทั้งโลก ในที่ประชุมมีการอภิปรายกันในเรื่องปัญหาส� ำคัญของ การศึกษาทั่วโลกในทุกแง่มุม เรื่องปรัชญาการศึกษายุคใหม่ โดยมีจุดมุ่งหมายที่ จะให้มนุษย์ได้รบ ั การศึกษาอย่างเต็มที่ในทุกๆด้าน และวิธก ี ารอันส� ำคัญที่จะบรรลุ ความมุ่งหมายนี้ก็คื อ การศึ กษาตลอดชีวิต หมายความว่า มนุษ ย์เราไม่ว่าจะอยู่ ณ ที่ใด ประกอบกิจการใด จะต้องพยายามฝึกฝนตนเองไปชัว่ ชีวิต อีกเรื่องหนึ่ง ที่ส�ำคัญอย่างยิ่งคือ ที่ประชุมมีมติว่าต่อไปถ้ามหาวิทยาลัยจะเปิดหลักสูตรอะไร ผู้ อ อกแบบหลั ก สู ต รควรจะต้ อ งถามผู้ เ รี ย นก่ อ นว่ า ต้ อ งการเรี ย นอะไร ซึ่ ง บราเดอร์เองในสมัยนั้น ยังไม่มีประสบการณ์ม ากนัก จึงรู้สึกไม่พอใจ แต่ก็ไม่ได้ แสดงออกอะไร ในใจก็ คิ ดว่ าจะถามเด็ก ท� ำไม? ครูบ าอาจารย์รู้ ดีกว่ า มิ ใ ช่ ห รื อ? ซึ่ง เป็ น ความเข้าใจผิด!
Assumption University Alumni Association
7
บทที่ ๒
8
AUAA Profile
จุดก�ำเนิด “Dummy Company”
จุด ก�ำเนิด “Dummy Company” ABAC ในขณะนั้นเป็นช่วงที่นักศึ กษายังคงก่อความ วุ่นวายอยู่เสมอ วันหนึ่งนักศึกษาคนหนึ่งมาหาบราเดอร์แล้ว ่ ส พู ดเสียงดังว่า ทีน ี่ อนอะไรก็ไม่รู้ สอนตามต�ำราหมดเลย ไม่มี ภาคปฏิบัติ นักศึกษาบอกว่าเรียนบริหารธุรกิจก็ต้องลงมือ ท� ำ จริง ๆ แล้ ว แนะน� ำ ด้ ว ยว่ า ควรท� ำ อย่ า งนั้ น ซิ อย่ า งนี้ ซิ บราเดอร์จึงบอกนักศึกษาว่า ให้ไปเขียนโครงการมา ในไม่ช้า นักศึกษาได้น�ำโครงการมาเสนอ นัน ่ คือ โครงการจัดตัง ้ บริษัท จ� ำลอง “Dummy Company” นั่ น เอง บราเดอร์จึ ง บอก นักศึกษาให้ลงมือท�ำได้เลย ปรากฎว่าสิ่งที่นักศึกษาน�ำมาเสนอนี้เป็นสิ่งที่ดีท่ีสุด โครงการบริ ษั ทจ� ำ ลองนี้ ป ระสบความส� ำเร็ จ และสร้ า ง ประสบการณ์ให้นก ั ศึกษาเป็นอย่างดี และมีประสิทธิภาพอย่าง ต่อเนื่อง และทุกวันนี้มหาวิทยาลัยหลายแห่งในประเทศไทย ได้บรรจุโครงการบริษัทจ�ำลองนี้ ให้อยู่ในภาคปฏิบัติของ ่ วกนักศึ กษาท�ำไปนั้น หลักสูตรด้วย สิ่งนี้จึงพิสูจน์ได้ว่าทีพ เขาท� ำได้ถูก ต้ อ ง การที่ นั ก ศึ กษาเข้ า มาแนะน� ำ นั้ น เป็ น การ แนะน� ำ อย่ างสร้างสรรค์และก็เพื่ อความเจริญของวิทยาลัย นั่นเอง ดังนั้นสิ่งที่ผู้เชี่ยวชาญขององค์การ UNESCO พู ด นั้นถูกต้องแล้ว ต้องถามผู้เรียนก่อน ครูบาอาจารย์ อย่าคิด ว่าตนเองรู้หมด
Assumption University Alumni Association
9
บทที่ ๒ ไม่นานต่อมา กระทรวงศึกษาธิการได้เชิญบราเดอร์เข้าร่วมการสั มมนาที่ พัทยา เพื่ อแบ่งปันประสบการณ์ในเรื่องการมีงานท�ำของนักศึกษา เนื่องจากเห็น ่ ในสมัยนั้นบัณฑิตที่จบ ว่า ABAC สามารถผลิตนักศึกษาได้งานท�ำแทบทุกคน ซึง จากมหาวิทยาลัยแทบทุกแห่งตกงานมากมาย โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยของรัฐเอง บัณฑิตมีงานท�ำเพียง 49% เท่านั้น สิ่งที่บราเดอร์ได้แบ่งปันในการสั มมนาคือ บราเดอร์กล่าวถึงว่า ควรมีการ ปรับปรุงหลักสูตรใหม่และน�ำ IT หรือคอมพิ วเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในการเรียน ่ ในยุคนัน การสอน ซึง ู ะเป็นเรื่องใหม่มาก นอกจากนี้ ้ เรื่อง IT หรือ คอมพิวเตอร์ดจ จะสังเกตว่านักศึกษาเองก็ร้องทุกข์ว่าควรมีการปรับปรุงหลักสูตรได้แล้ว ขณะที่ พู ดนั้นดูเหมือนว่าผู้เข้าร่วมสัมมนาจะไม่ค่อยเข้าใจสิ่งที่บราเดอร์พูดมากนัก เพราะ คิดแต่ว่าจะให้นักศึกษามีงานท�ำได้อย่างไร? ในเวลาต่อมา ทบวงมหาวิทยาลัยได้ท�ำการส� ำรวจความส� ำเร็จของบัณฑิต จากสถาบั น การศึ กษาทั้งภาครัฐและเอกชน ผลการส� ำรวจพบว่ าบัณ ฑิ ตของ ABAC เป็นที่นิยมอันดับหนึ่ง มีคุณภาพสูง เป็นยอดปรารถนาของผู้ประกอบ การอย่ า งมาก ผลการส� ำรวจยั งได้พ บคุ ณลั ก ษณะ (Characteristics) ของ ่ บราเดอร์ได้ใช้เป็นจุดเน้นในการวางแผนพัฒนาวิทยาลัย บัณฑิตบางประการ ซึง คุณลักษณะดังกล่าว เช่น บัณฑิตทุกคนต้องมีความเชี่ยวชาญในภาษาอังกฤษ และใช้ง านได้ จ ริง รู้ จั ก ใช้ IT หรื อ คอมพิ ว เตอร์ ใ นการท� ำ งาน และมี ค วามเป็ น ตัวของตัวเอง มีความคิดเป็นเอกเทศ สามารถให้ข้อคิดที่แตกต่างจากกลุ่ม ไม่ถูก ครอบง�ำ แก้ปัญหาเป็น (Troubleshooting) มีทักษะการคิดเชิงบวก (Positive Thinking) เป็นต้น
ผลการส�ำรวจพบว่าบัณฑิต ของ ABAC เปนที่นิยมอันดับ หนึ่ง มีคณ ุ ภาพสูง เปนยอด ปรารถนาของผู้ประกอบการ อย่างมาก
10
AUAA Profile
จุดก�ำเนิด “Dummy Company”
นักศึกษารุ่นแรกของหลักสู ตร ASB ปี 1969 จาก The ACC Luminary 1969-70
Assumption University Alumni Association
11
ภราดา ดร.ประทีป ม.โกมลมาศ อธิการบดีกิตติคุณ
12
AUAA Profile
บทที่ ๓
มาร์ติน(ผู)้ รังสรรค์
มาร์ติน(ผู)้ รังสรรค์ จากความส� ำเร็จและชื่อ เสี ยงของมหาวิ ท ยาลั ย อัสสั มชัญที่ส่ั งสมมานาน ่ ศตวรรษ สิ่ ง เหล่ า นี้ เป็ น ผลมาจากการทุ่ ม เทแรงกายและแรงใจของ เกื อ บครึง บุคลากรทุกคน โดยมีภราดา ดร.ประทีป มาร์ติน โกมลมาศ อธิการบดีกิตติคุณ (หรือชื่อที่ทุกคนคุ้นเคย คือ ‘บราเดอร์มาร์ติน’) เป็นผู้วางรากฐานทางการศึกษา ให้กับมหาวิทยาลัย และผลักดันให้มหาวิทยาลัยอัสสั มชัญ เป็นมหาวิทยาลัยที่มี พื้นฐานอันแข็งแกร่งอย่างทุกวันนี้ แม้ปัจจุบันบราเดอร์มาร์ตินจะมีอายุย่างเข้าปีที่ 84 แต่หัวใจของผู้สรรค์ สร้างที่มง ุ่ หน้าพัฒนาให้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ก้าวหน้าไปตามครรลองของการ พั ฒนาในด้านโครงสร้างพื้ นฐานตลอดจนคุณภาพการเรียนการสอนกลับหนัก แน่นเกินกว่าที่เราจะนึกถึง
Assumption University Alumni Association
13
บทที่ ๓
มาร์ติน(ผู)้ รังสรรค์
่ ด สิ่งทีจ ุ ประกายบราเดอร์ในการสร้างมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญแต่ละวิทยาเขต รวมถึงแนวคิดและเป้าหมายของแต่ละวิทยาเขตโดยเฉพาะวิทยาเขตสุ วรรณภูมิ บราเดอร์เห็นว่า “การเรียนรูแ ้ บบสหวิทยาการเป็นสิ่งที่ควรท�ำเพื่ อรับมือกับความ ท้าทายและโอกาสที่เราต้องเผชิญในชีวิต แต่ละวิทยาเขตบราเดอร์มีแนวคิดและ เป้าหมายในการสร้างที่แตกต่างกัน วิทยาเขตหัวหมากมีขีดจ�ำกัดส� ำหรับการใช้ ่ มีพ้ืนที่ขนาดเล็กเพียง 10 ไร่ ในตอนนั้นและพัฒนาอะไรไม่ได้เลย เพื่ อให้ พื้นที่ ซึง มี พื้ น ที่ ด�ำ เนิ น การตามกฎของกระทรวงจึ ง ตั ดสิ น ใจขยายพื้ น ที่ไปด�ำ เนิ น การที่ วิทยาเขตสุ วรรณภูมิ นอกจากนี้แล้วมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญยังเปิดด�ำเนินการทีว่ ิทยาเขต ABAC ่ ถือเป็นมหาวิทยาลัยแห่งวิถช ่ ูนย์กลางการเรียนรูต City ซึง ี วี ต ิ ทีศ ้ ง ั้ อยูใ่ จกลางเมือง ่ึ ถือเป็นค่าย กรุงเทพฯ และยังขยายอีกหนึ่งวิทยาเขตคือ วิทยาเขตกาญจนบุรีซง ่ ชอบ โดยวิทยาเขต ให้นก ั ศึกษาได้เพลิดเพลินกับกิจกรรมการตัง ้ แคมป์ทแี่ ต่ละคนชืน นี้มภ ี ูมิทัศน์ท่ส ี วยงาม ประกอบด้วย ภูเขา ทะเลสาบ สวนป่า และสัตว์เลี้ยงเพื่ อให้ นักศึกษาได้เรียนรู้ท่จ ี ะใส่ใจกับธรรมชาติรอบตัว”
14
AUAA Profile
การเรียนรูแ ้ บบ สหวิทยาการเปนสิ่งที่ ควรท�ำเพื่อรับมือกับ ความท้า ทายและโอกาส ทีเ่ ราต้องเผชิญในชีวิต
Assumption University Alumni Association
15
บทที่ ๔
University in a Park ส� ำหรับวิทยาเขตสุ วรรณภูมิ ถือเป็นมหาวิทยาลัยในอุดมคติตามความคิด ของบราเดอร์... “It has always been my dream to build a Cathedral of Learning and to create in and around it an atmosphere that is healthy and refreshing to the active mind, intellectually stimulating and spiritually fostering and enriching; in other words, an atmosphere conducive to learning and becoming… a complete man/woman, a new man/woman for a new millennium - someone imbued with a new humanism. To this end, the idea of the “university in a park” has become a prominent concept of the campus wherein thousands of trees are 16
AUAA Profile
University in a Park
grown, to bring nature back to young men and women so that they will be able to walk and to sit in the great silence of the landscape, with tranquility of mind, contemplating how, in peaceful splendour, the sun rises and sets while radiating warmth that gives life to all things. In this environment, the inquisitive and enquiring minds will have their play and their fulfillment. All learners will steadily grow in knowledge and wisdom.” ่ ุดบราเดอร์จึงได้พบพื้นที่ที่เหมาะสมและลงตัว นั่นคือต�ำแหน่งปัจจุบัน ในทีส ของมหาวิ ท ยาลั ย อั สสั ม ชัญ วิ ท ยาเขตสุ ว รรณภู มิ ใ นขณะนี้ เมื่ อ เวลาผ่ า นไป ปัจจุบันมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นที่รู้จักและเป็นที่ยอมรับระดับสากล ศิษย์เก่า ของมหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ มากมายประสบความส� ำ เร็ จ และสร้ า งคุ ณ งาม ความดีให้ประเทศชาติ ณ วันนี้ถือเป็นความภาคภูมิใจสูงสุดของบราเดอร์ Assumption University Alumni Association
17
บทที่ ๕
กระบวนการให้ การศึ กษา และอบรม (Formation Process)
18
AUAA Profile
กระบวนการให้การศึกษาและอบรม (Formation Process)
Education is the most effective means to liberate man from ignorance and poverty. The fundamental aim of education is to develop and integrate man’s physical, intellectual, emotional and moral faculties to their fullest potential without extinguishing the creative spark in him. This integration processed through the proper exercise of personal freedom will ultimately lead to the formation of a complete man, bearing in mind that man’s existence is an unending process of completion and learning.
Assumption University Alumni Association
19
บทที่ ๕
20
AUAA Profile
กระบวนการให้การศึกษาและอบรม (Formation Process)
ภราดา ดร.ประทีป ม.โกมลมาศ อธิการบดีกิตติคุณ
A man thus formed is capable of becoming responsible to himself and to the society in which he lives. กระบวนการให้การศึ กษาและอบรม (Formation Process) เพื่ อให้บรรลุ ถึงความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ (Complete Man) ตามหลักคริสต์ธรรม ข้าพเจ้า ได้ปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญหลายท่านด้วยกันและศึ กษาจากเอกสารขององค์การ UNESCO กว่าจะเขียนจุดมุ่งหมายการศึกษาของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จุดมุง ่ หมายอันแท้จริงของการศึกษานั้นคือ การพัฒนาและการบูรณาการ (Develop and Integrate) 4 สมรรถนะของมนุษ ย์ ได้แก่ ร่างกาย ปัญญา ่ ทุกคนต้องพัฒนาในสังคมมนุษย์ ทั้ง 4 สมรรถนะนี้รวมกัน อารมณ์ และจิตใจ ซึง ้ึ มา และต้องมีการพัฒนาและการบูรณาการจนกระทัง จึงเป็นมนุษย์ขน ่ ถึงขีดสูงสุด ของศักยภาพของผู้เรียน โดยไม่ท�ำให้เขาสูญเสียความเป็นตัวของเขาเอง
Assumption University Alumni Association
21
บทที่ ๕
กระบวนการให้ ก ารศึ ก ษาและอบรมนี้ ต้ อ งอยู่ ใ นบรรยากาศที่ ผู้ เ รี ย นมี อิสระภาพและเสรีภาพในการเลือก เขาจึงจะบรรจุซง ึ่ ความสมบูรณ์ของความเป็น มนุษย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรัง ์ ุย (Pierre Lecomte du Nouy) ผู้ได้ ่ เศส ดูรน รับ รางวั ลโนเบลสาขาฟิสิกส์ เขี ย นหนั ง สื อ ชื่ อ “Human Destiny” ในปี 1947 ่ เชื่อว่าในตัวมนุษย์ทุกคนนี้มี “สะเก็ดไฟของพระเจ้า” สถิตอยู่ (Divine Spark) ซึง เราอาจจะเรียกว่า “สะเก็ดไฟแห่งการสร้างสรรค์” ก็ได้ (Creative Spark) หรือ ในปัจจุบันองค์การ UNESCO เรียกว่า “ขุมทรัพย์ในตน” ดังนั้นเราจะต้องส่งเสริม ให้ผู้เรียนมีการพัฒนาโดยเฉพาะ อย่าท�ำให้สะเก็ดไฟนี้ดับลง แต่ต้องท�ำให้ลุกโชติ ช่วงอยู่ตลอดไปไม่ดับสูญ ผู้เรียนสามารถใช้อิสรภาพส่ วนตัวดับสะเก็ดไฟนี้ก็ได้ และนั่นหมายถึงชะตากรรมชีวิตของผู้น้ัน ในกระบวนการให้การศึกษาและอบรมนี้ ครูบาอาจารย์ต้องทราบดีวา่ ในการ อบรมเพื่อช่วยผู้เรียนให้พัฒนาได้ ผู้เรียนต้องมีทก ั ษะขั้นพื้นฐาน (Basic Skill คือ การอ่าน การเขียน คณิตศาสตร์ การฟัง และการพู ด) ทักษะการคิด (Thinking Skill คื อ คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา) และคิดแบบใช้ส ายตาของปัญญามอง ทักษะทัง ้ สามนี้เป็นทักษะขั้นพื้นฐานที่ผู้เรียนทุกคนควรต้องรู้ และน่าจะได้ศึกษามา อย่ า งดี แ ล้ ว เมื่ อ จบมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ครู บ าอาจารย์ ต้ อ งเน้ น จุ ด นี้ ใ ห้ ไ ด้ ต้องท�ำให้ผู้เรียนเข้าใจให้ถ่องแท้ 22
AUAA Profile
กระบวนการให้การศึกษาและอบรม (Formation Process)
ดังนั้น ครูบาอาจารย์ต้องคอยส่งเสริมให้มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์ กับศิษย์ ศิษย์กับศิษย์ ศิษย์กับอาจารย์ อาจารย์กับอาจารย์ เพราะว่าตามความ เห็นของ จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ที่เน้น เรื่อง “Learning by Doing” และ ชอง เปียเจต์ (Jean Piaget) นั้น ให้ความเห็นว่า การปฏิสัมพั นธ์ระหว่างผู้เรียน หรื อ Two Developing Minds จะก่ อ ให้ เกิดปัญญาและวุ ฒิภาวะเชิง ศี ล ธรรม (Moral Maturity) ขึ้นมาในตัวเขา กระบวนการให้ ก ารศึ ก ษาและอบรมนี้ ครูบ าอาจารย์ ต้ อ งเข้ า ใจว่ า เป็ น กระบวนการที่ยาวนาน ไม่มีทส ี่ ิ้นสุด เป็นกระบวนการทีไ่ ม่รจ ู้ บสิ้นของการทดลอง การเรียนรู้และการเติมเต็ม จนกระทั่งเขาได้บรรลุถึงความเป็นมนุษย์ทส ี่ มบูรณ์ ดังนั้น จุดมุ่งหมายของการศึ กษาต้องสะท้อนให้เห็นเป้าหมายปลายทาง ของชีวิตว่า เกิดมาท�ำไม? มีชีวิตอยู่เพื่ ออะไร? และท้ายที่สุดแล้วไปไหน? นี่คือ กระบวนการให้การศึกษาและอบรมที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญสนใจเป็นพิ เศษให้แก่ ผู้เรียนของเรา
Assumption University Alumni Association
23
บทที่ ๖
วัชรสมโภช
งาน ABAC Annual Faculty Seminar ปี 1998 ณ โรงแรมมณเฑียร
24
AUAA Profile
ภราดา ดร.บัญชา : ครอบครัวคือรากฐานของสังคม
ภราดา ดร.บัญชา แสงหิรญ ั ไม่ส ามารถปฏิ เสธได้ว่า ความส� ำ เร็จของมหาวิ ท ยาลั ย แห่ง นี้ เกิดขึ้ นจาก ่ ้องการ แนวคิดของภราดา ดร. ประทีป (มาร์ตน ิ ) โกมลมาศ อธิการบดีกต ิ ติคณ ุ ทีต สร้างให้มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นเสมือนวิหารแห่งการเรียนรู้ พัฒนาคนทัง ้ ทางด้าน วิชาการ สุ ขภาพพลานามัย และมีคุณธรรม แต่ผู้ที่จะมาสื บสานเจตนารมณ์ให้ มหาวิทยาลัยแห่งนี้บรรลุถึงความเป็นเลิศทางวิชาการ และพัฒนากิจกรรมทาง ด้านต่างๆอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยด�ำเนินไปในรูปแบบ มาตรฐานสากลและเป็นสังคมนานาชาติแบบทุกวันนี้คงจะเกิดขึ้นไม่ได้ห ากขาด อีกหนึ่งบุคคลส� ำคัญ คือ ภราดา ดร. บัญชา แสงหิรญ ั อธิการบดีมหาวิทยาลัย อัสสัมชัญคนปัจจุบัน “บราเดอร์ท�ำงานร่วมกับบราเดอร์มาร์ตินมาตลอดหลายสิบปี เราเข้าใจ บทบาทหน้าที่ของตัวเอง และรู้ว่าอะไรคือพั นธกิจที่บราเดอร์มาร์ตินต้องการจะ ไปให้ถึง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องวิชาการ อาคารสถานที่ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก รวม ่ พั นธกิจเหล่า ถึงการอบรมสั่งสอนนักศึ กษาให้มีคุณภาพทัดเทียมนานาชาติ ซึง นี้เปรียบเสมือนสิ่งที่มันซึมลึกอยู่ในความคิดและจิตวิญญาณของเรา” ภราดา ดร.บัญชา แสงหิรญ ั กล่าว
Assumption University Alumni Association
25
บทที่ ๖
ครอบครัวคือรากฐานของสังคม หากย้อนไปหลายสิบปีก่อน เมื่อตอนมูลนิธิเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย ขยายการเรี ย นการสอนเข้ า สู่ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษา จนกระทั่ ง ในปี 2533 ทบวง มหาวิ ท ยาลั ย ได้ อ นุ มั ติ ใ ห้ เ ปลี่ ย นสถานภาพเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย และใช้ ชื่ อ ว่ า “มหาวิ ท ยาลั ย อั สสั ม ชั ญ ” (Assumption University - AU) ขณะนั้ น เอง บราเดอร์บัญชาก็เป็นหนึ่งในกลุ่มผู้น�ำที่วางรากฐานของมหาวิทยาลัยอัสสั มชัญ ให้แข็งแรงและแข็งแกร่งดัง ่ เช่นทุกวันนี้ “ตลอดระยะเวลาของการด�ำเนินการมหาวิทยาลัย เรามุ่งมั่นที่จ ะปลูกฝัง ่ กันและกัน ยอมรับความต่าง ทั้งค่านิยม ความเป็นโลกาภิวัฒน์ คือ การเคารพซึง ่ นแปลงของผู้เรียนทีต ่ ่าง ความคิด ตลอดจนการเรียนรู้ เพื่อปรับให้ทน ั กับการเปลีย เชื้อชาติ ต่างวัฒนธรรม แต่เมื่อเรามาอยู่ร่วมกัน สถาบันการศึ กษาแห่งนี้กจ ็ ะ เปรี ย บได้ ดั่ ง บ้ า นของทุ ก คน อายุ ม ากกว่ า เป็ น พี่ อายุ น้ อ ยกว่ า เป็ น น้ อ ง เป็ น ครอบครั ว ใหญ่ ที่ พ ร้ อ มจะช่ ว ยเหลื อ กั น และกั น ให้ ก้ า วเข้ า สู่ สัง คมโลกได้ อ ย่ า ง สมบูรณ์” 26
AUAA Profile
ภราดา ดร.บัญชา : ครอบครัวคือรากฐานของสังคม
Assumption University Alumni Association
27
บทที่ ๗
28
AUAA Profile
ภราดา ดร.บัญ ชา แสงหิรัญ อธิการบดีมหาวิทยาลัยอัสสัม ชัญ (ปั จจุบัน)
มั่นคงเพี ยงใด...ก็ต้องมีการปรับตัว
มั่น คงเพียงใด... ก็ต้องมีการปรับตัว ถึงแม้ว่าจุดประสงค์เริม ่ ต้นของมหาวิทยาลัย คือ การปลูกฝังบุคลากรให้มี คุณภาพด้วยวิชาความรู้ มีคณ ุ ธรรม สามารถน�ำวิชาความรูท ้ รี่ ำ�่ เรียนมาไปประกอบ อาชีพอย่างมีจริยธรรม รวมถึงมีความเป็นสากลเทียบเคียงได้กบ ั ต่างชาติ แต่ดว้ ย วิสัยทัศน์อันกว้างไกลของบราเดอร์บัญชา ที่เล็งเห็นว่ากระแสโลกาภิวัฒน์ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นเรื่องปกติ การปรับตัวลื่นไหลให้เข้ากับสถานการณ์ จึงเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ส�ำคัญ อาทิ การปรับแนวคิดของคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย วิ ธีการสอนของคณาจารย์ ใ ห้ เข้ ากั บพฤติ กรรมของนั ก ศึ ก ษา ตลอดจนความ เปลี่ยนแปลงของผู้เรียนที่ต่ างเชื้อชาติ ต่ างวัฒนธรรม จึงท�ำให้มหาวิทยาลัย อัสสั มชัญพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงในทุกด้านที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นประชากร เศรษฐกิจ หรือเทคโนโลยี หลายสิ บปีที่ผ่านมา บราเดอร์บัญชาให้ความเห็นว่า ขณะนี้มหาวิทยาลัย อั สสั ม ชั ญ ได้ สั่ง สมประสบการณ์ ม ามากพอสมควร มี จุ ด แข็ ง ในด้ า นการเป็ น International University ด้วยหลักสู ตรการเรียนการสอนของที่นี่เป็นภาษา ่ บออกไปจะสามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสาร อังกฤษทัง ้ หมด จึงมัน ่ ใจได้วา่ บัณฑิตทีจ ได้ อ ย่ า งคล่ อ งแคล่ ว บวกกั บ ความแข็ ง แกร่ ง ในด้ า นวิ ช าการ ท� ำ ให้ เ ห็ น ว่ า มหาวิทยาลัยของเราไม่แพ้ ใครในการปรับตัวให้เข้ ากับการเปลี่ยนแปลงของโลก “เราต้ อ งคอยสั ง เกตและปรั บ ตั ว อย่ า งรอบด้ า น เพื่ อ ยั ง คงความเป็ น มหาลั ย ที่ มี คุ ณ ภาพในวงการการศึ ก ษาของประเทศไทย อย่ า งแรกคื อ ต้ อ ง ปรั บ ปรุง หลั ก สู ต รให้ ทั น สมั ย ทั ด เที ย มนานาชาติ อย่ า งที่ ส องคื อ สร้ า งความ แตกต่างเพื่ อสนองความต้องการที่เกิดขึ้น เราจึงมีการน�ำหลักสูตรใหม่ๆ มาเปิด สอน อย่างวิศวะการบิน ทีเ่ ราไม่ได้สอนให้เด็กเป็นแค่นก ั บิน แต่สอนให้เขาสามารถ ดูแลเครื่องบินได้ดว ้ ย”
Assumption University Alumni Association
29
บทที่ ๗
ทางมหาวิทยาเองก็ไม่ได้ คาดหวังว่า ครูผู้สอนจะต้อง เปนผู้รใู้ นทุ กเรื่อง แต่ต้องเปนคนทีพ ่ ร้อม จะเรียนรู้ และหาค�ำตอบ ไปพร้อมๆกับนั ก ศึ กษา
30
AUAA Profile
มั่นคงเพี ยงใด...ก็ต้องมีการปรับตัว
บราเดอร์บัญชา ยังเล่าต่ออีกว่า นักศึกษาในปัจจุบัน มีความคิด ความกล้า แสดงออกต่างจากสมัยก่อนมาก การซักถามในห้องเรียนจึงเกิดขึ้นอยู่บ่อยครัง ้ ซึ่ง ทางมหาวิทยาเองก็ไม่ได้คาดหวั งว่าครูผู้สอนจะต้อ งเป็นผู้รู้ในทุกเรื่อ ง แต่ ่ ร้อมจะเรียนรู้ และหาค�ำตอบไปพร้อมๆกับนักศึ กษา เพื่ อพัฒนา ต้องเป็นคนทีพ ข้อมูลการเรียนการสอนทั้งที่อยูภ ่ ายใต้หลักสูตรและนอกเหนือจากหลักสูตร ่ งของอาจารย์และนักศึกษานั้นส� ำคัญ เพราะสมัยก่อนอาจารย์ถือเป็น “เรือ ผู้รู้ ที่ต้องถ่ายทอดความรู้ให้ศิษย์ แต่ปจ ั จุบัน องค์กร อาจารย์ และนักศึ กษา ต้องมีปฏิสัมพั นธ์กัน สามารถแบ่งปันความรูก ้ ันได้ ถือเป็นความท้าทายในเรื่อง ของกระบวนการเรียนรู้ท่ีต้องปรับเปลี่ยนไปตามเวลา” ่ หาวิทยาลัยได้ลงทุนเรือ ่ งเทคโนโลยีมานานอย่างต่อเนื่อง และ รวมถึงการทีม ไม่เคยหยุดน� ำเทคโนโลยีใ หม่ม าปรับใช้กับมหาวิทยาลัย เพื่ อสนับสนุนการเรียน การสอนทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนอย่างสม�่ำเสมอ ไม่ว่าจะในส่ วนของการ ่ การปรับตัวด้าน พัฒนาศักยภาพและทักษะของอาจารย์ และส่วนของนักศึกษา ซึง เทคโนโลยี ข องมหาวิ ท ยาลั ย เอแบคนั้ น บราเดอร์บั ญ ชายัง เป็ น ผู้ ผลั ก ดั น ให้ น� ำ เทคโนโลยีเข้ามาใช้ในทุกด้าน ไม่วา่ จะเป็นซอฟแวร์ดา้ นการศึกษา หรือซอฟแวร์เพื่อ อ�ำนวยความสะดวกในการลงทะเบียน ด้วยวิสัยทัศน์ท่ีต้ องการให้นักศึ กษาและ บุคลากรของมหาวิทยาลัยสามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้อย่างง่ายดาย
Assumption University Alumni Association
31
บทที่ ๘
การบริหารงานไม่ใช่เรื่องยาก แต่ การบริหารคนไม่ใช่เรื่องง่าย การบริหารงานในช่วงสิบปีหลังมานี้เปลี่ยนแปลงไปมาก จากที่เคยเป็น One Man Show บริหารด้วยตัวเองจนเต็มขีดความสามารถเพื่ อให้มหาวิทยาลัยเป็นที่ ยอมรับในนานาประเทศ ขณะนี้แทบไม่มีอ ะไรให้ต้ องเป็นห่วง ด้วยบุคลากรและ คณาจารย์ ท่ี เติ บโตมาด้ ว ยกั น ท� ำ ให้ รู้ ว่ า ทุ ก คนในตอนนี้ ส ามารถปรั บ ตั ว เข้ า สู่ ยุคใหม่ได้แล้ว ่ ก อย่างทีร ู้ ันดีว่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เป็นมหาวิทยาลัยคาทอลิก ดังนั้น สิ่ งที่บราเดอร์บัญชาทุ่มเทให้แก่สถาบันไม่ใ ช่เพี ยงแค่การส่ งเสริมแต่การศึ กษา และปัจจัยภายนอก ยังรวมถึงการบ่มเพาะบุคลากรในสถาบันให้เข้าสู่สัจธรรมของ ชีวิตและเป้ าหมาย เพราะว่าความหมายของชีวิตนั้นไม่ได้อยู่ที่การศึ กษาเพี ยง อย่างเดียว แต่ยังอยู่ทจ ี่ ริยธรรมและคุณธรรมอีกด้วย
32
AUAA Profile
การบริหารงานไม่ใช่เรื่องยาก แต่การบริหารคนไม่ใช่เรื่องง่าย
่ บออกไปจะประสบความส� ำเร็จ บางคนเดินย�ำ่ อยูก “ไม่ใช่บณ ั ฑิตทุกคนทีจ ่ บ ั ที่ ด้วยไม่มีเป้าหมายในชีวิต” บราเดอร์ยึดหลักค�ำสอนของพระผู้เป็นเจ้าว่า สถาบัน การศึกษาต้องสมบูรณ์พร้อมในการส่งเสริมให้นักศึกษามีวิชาความรู้ ประกอบกับ การเป็นคนดีของสังคม จึงจะเห็นได้ว่านอกจากการเรียนการสอนด้านวิชาการ ่ ก ทางมหาลัยยังมีคลาสจริยธรรมทีท ุ คนต้องเรียนตลอดทัง ้ 4 ปีการศึกษาถึงแม้วา่ จะไม่มีหน่วยกิจ แต่ถ้าใครไม่เรียนก็ไม่จบ ด้วยวิสัยทัศน์ของบราเดอร์บัญชาที่ ต้องการให้บัณฑิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณธรรม รูจ ้ ักผิดชอบชัว่ ดี เพื่ อให้พวก เขามีความได้เปรียบในการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณค่าแก่สังคม ่ อนวิชาจริยธรรมด้วย บราเดอร์บัญชายังเล่าต่ออีกว่า สมัยก่อนมีคลาสทีส ตัวเอง แต่เมื่ออายุมากขึ้นจึงสอนเป็นคลาสประจ�ำไม่ไหวเหมือนสมัยก่อน จึงมี โอกาสได้อบรบเด็กด้วยตัวเองเฉพาะในงานปฐมนิเทศและปัจฉิมนิเทศ เนื่องจาก การอบรมอย่างเป็นทางการนั้นต้องใช้เวลาเตรียมตัวทั้งสิ่งที่จะพู ดรวมถึงสภาพ ร่างกาย แต่นอกเหนือจากนั้น สิ่งที่บราเดอร์รักจะท�ำที่สุดคือการได้พูดคุยกับ ่ ักศึกษาพบเจอ ดังนั้นบราเดอร์จึงไม่เคยปฏิเสธ นักศึกษา สอบถามถึงปัญหาทีน การขอเข้าพบของนักศึ กษา ด้วยเห็นว่าเสี ยงจากนักศึกษา อาจก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีก็เป็นได้ ่ ความส� ำเร็จทั้ง ตามคติพจน์ของมหาวิยาลัยที่ว่า “วิริยะ อุตสาหะ น�ำมาซึง ปวง” ท� ำ ให้ บราเดอร์บั ญ ชาทุ่ ม เทแรงกายแรงใจ ในการปลู ก ฝังวิ ช าการและ ่ ไม่ได้ มิเช่นนั้นนักศึกษาจะเป็น จริยธรรมไปพร้อมๆกัน เพราะจะมีอย่างใดอย่างหนึง คนฉลาดที่ ค ดโกงสั ง คม หรื อ ในทางกลั บ กั น อาจเป็ น นั ก ศึ ก ษาที่ นิสัย ดี แต่ไ ม่ มี ความรูใ้ นการประกอบอาชีพ ดังนัน ้ สถาบันจึงจ�ำเป็นต้องสร้างสมดุลไม่ให้เสียศูนย์ ตามปณิธานของภราดาคณะเซนต์คาเบรียลที่ต้องการสร้างสถาบันการศึกษาที่มี พร้อมทุกด้าน ไม่ด้อยกว่าสถาบันใดในโลก
Assumption University Alumni Association
33
บทที่ ๙
ทุ ก หยาดเหงื่อ คือ ความภาคภู มใิ จ “สถาบั นของเรามีความแข็ง แกร่งในด้านการเรี ย นการสอนบริห ารธุรกิจ ่ วชาญในแขนง นักศึกษาทุกคนไม่วา่ จะเรียนคณะไหนก็ตาม นอกเหนือจากความเชีย วิชาหลัก นักศึกษาจะต้องมีความรู้ดา้ นบริหารจัดการด้วย เพราะเราก�ำลังเตรียม ่ เรามองว่าคนในศตวรรษที่ 21 จะต้องเป็นคนที่ ตัวให้พร้อมเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ซึง มีความรูร้ อบด้าน และสามารถปรับตัวให้เท่าทันกับความเปลี่ยนแปลงไม่วา่ จะมาใน รูปแบบไหนก็ตาม”
34
AUAA Profile
ทุกหยาดเหงื่อ คือ ความภาคภูมใิ จ
ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มีนักศึกษาจาก 95 ประเทศ ดังนั้นสิ่งที่ บราเดอร์บญ ั ชาต้องการคือ การสร้างให้นก ั ศึกษาทุกคนทัง ้ ไทยและต่างชาติเติบโต ่ ของสังคมนานาชาติ เคารพกันและกัน แม้วา่ จะมีวัฒนธรรมที่ต่าง ขึ้นเป็นส่วนหนึง และสิ่งที่ให้ความส� ำคัญไม่ยง ่ิ หย่อนไปกว่ากันคือ การให้อิสรภาพทางความคิดโดย ไม่เบียดเบียนใคร “ถึงแม้ว่าจะท�ำไม่ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ แต่บราเดอร์ม่ันใจว่าการที่ มหาลัยฯ พยายามสอดแทรกการปลูกฝังให้นักศึกษาค่อยๆ ซึมซับวิถีแห่งการเป็น คนดี น้ั น เกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ล จนสามารถสร้ า งบั ณ ฑิ ต ที่ มี ทั ก ษะทางวิ ช าการและ จริยธรรมให้เป็นที่ต้องการแก่ตลาดและแวดวงธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ”
Assumption University Alumni Association
35
บทที่ ๙
การเปลีย ่ นแปลง ทุ กอย่างทีเ่ กิดขึ้น นั้นเปนเรื่องที่ดี แสดงให้เ ห็นว่า มหาลัยของเรา มาถู ก ทางแล้ว
36
AUAA Profile
ทุกหยาดเหงื่อ คือ ความภาคภูมใิ จ
บราเดอร์บัญชา ยืนยันว่าการเปลี่ยนแปลงทุกอย่างที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องดี แสดงให้เห็นว่ามหาลัยของเรามาถูกทางแล้ว จากก่อนหน้านี้ที่ทุกหน่วยงานใน ่ ราเดอร์บญ สถาบันยังยึดติดอยูก ่ บ ั ระบบเดิมๆ การทีบ ั ชาเปรียบเสมือนหัวเรือใหญ่ จึ ง ต้ อ งมี แนวทางผลัก ดั น ให้ เกิ ดการเปลี่ ย นแปลงบ้ าง โดยเฉพาะแนวทางการ ่ �ำเทคโนโลยีเข้ามาช่วย รวมถึงการอบรมให้บค บริหารทีน ุ ลากรในหน่วยงานสามารถ เรียนรู้และหาข้อบกพร่อง พร้อมกับพัฒนาระบบของหน่วยงานตนเองได้อย่าง ้ ราเดอร์บริหารงานแบบ Open ยัง ่ ยืน เพื่อให้สถาบันยังคงเติบโตต่อไปได้ “ตอนนีบ Systems คือการให้บค ุ ลากรในสถาบันเสนอสิ่งที่อยากท�ำ หากเราพิ จารณาแล้ว ่ วันนี้บราเดอร์ภูมิใจที่บุคลากรทุกคนมองเห็น ว่ามันเหมาะสมก็จะน�ำไปปรับใช้ ซึง ปัญหา และพร้อมจะแก้ไขไปในทิศทางเดียวกัน นี่จะเป็นความยั่งยืนของหน่วย ่ ะด�ำเนินไปได้แม้ในวันที่บราเดอร์ไม่อยู่แล้ว” งานทีจ
Assumption University Alumni Association
37
บทที่ ๑๐
ปณิธานของผูใ้ ห้ ที่ต้องการให้ ทุ ก คน มีความสุข ้ เพียงชัว่ ข้ามคืน แต่ ความแข็งแกร่งของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ไม่ได้เกิดขึน เกิดขึ้นจากการทุ่มเทแรงกายแรงใจตลอดระยะเวลาหลายสิ บปี เพื่ อบุคลากรใน องค์กรเกิดความเป็นหนึ่งเดียว ส่งเสริมให้เอแบคมีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ มีคุณภาพเพื่ อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงระดับนานาชาติ ตลอดจนการน�ำ เทคโนโลยีมาประยุกต์เข้ากับการเรียนการสอน ทั้งหมดนี้คือ พันธกิจจากพระเจ้า ที่บราเดอร์บญ ั ชาทุ่มเทท�ำงานหนักมากกว่า 18 ชัว่ โมงต่อวัน และ 7 วันต่อสัปดาห์ แม้ว่าคนภายนอกมักจะมองเห็นเฉพาะความยิ่งใหญ่ของความส� ำเร็จ แต่ เบื้องหลังเรื่องราวความส� ำเร็จ กว่าที่ภราดาบัญชาจะน�ำพาให้มหาลัยมาถึงจุดนี้ ได้มันไม่ง่ายเลย ด้วยความที่บราเดอร์บัญชาต้องการบริหารงานให้ทุกคนที่อยู่ใน รั้วมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมีความสุ ข ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษา คณาจารย์ พนักงาน รวมถึงแม่บ้าน คนสวน และพนักงานรักษาความปลอดภัยด้วย
38
AUAA Profile
ปณิธานของผูใ้ ห้ที่ต้องการให้ทุกคนมีความสุข
ภาพวาดผู้ร่ วมก่อตั้ง มหาวิท ยาลัยอัสสัม ชัญ
“บราเดอร์ดูแลทุกคนเสมือนครอบครัว บราเดอร์ท่ีเป็นหัวหน้าครอบครัว ่ มาชิกในครอบครัวมันเยอะมาก ก็อยากให้ทุกคนอยู่เหมือนพี่ น้อง แต่ดว้ ยความทีส เลยอาจเข้าไม่ถึงทุกคน แต่บราเดอร์มักจะมีการเรียกประชุมหัวหน้าทุกภาคส่ วน อยูเ่ สมอทัง ้ หน่วยงานในสถาบันและองค์การบริหารนักศึกษา เพื่อบอกกล่าวทิศทาง ในการท� ำงานให้ไปในทางเดี ยวกั น บราเดอร์พ ยายามสร้ างการสื่ อ สารให้ เกิ ด ประโยชน์สูงสุด การสร้างทัศนคติและความเข้าใจร่วมกันไม่ใช่การดุดา่ ว่ากล่าว แต่ เป็นการพู ดคุยโดยใช้ความจริงใจบอกกล่าว เพื่ อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีภายใน ครอบครัวเอแบค เพราะแน่นอนว่าอยู่กันหลายคนก็หลายความคิด แต่ในที่สุด แล้วความร่วมมือร่วมใจของครอบครัวก็เป็นหนึ่งเดียว”
Assumption University Alumni Association
39
บทที่ ๑๑
40
AUAA Profile
ก้าวต่อไปสู่อนาคต
ก้าวต่อไปสู่อนาคต พัฒนาการของมหาวิทยาลัยตั้งแต่วันแรกจนถึงวันนี้ เรียกได้ว่าไม่มีอะไร ต้องเป็นห่วงอีกแล้ว แนวความคิดต่างๆเกิดจากบราเดอร์มาร์ติน โดยบราเดอร์ บัญชาเป็นผู้ส านต่อ ด้วยวิสัยทัศน์อันกว้างไกลที่วางรากฐานให้สถาบันเตรียม พร้อมกับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ทัง ้ ในเรื่องสภาพแวดล้อม ผนวกกับการ สร้างสรรค์นวัตกรรม ที่จะมาเสริมสร้างหลักสู ตรการเรียนการสอนให้ทันสมัย ตามทันกระแส เพื่ อให้เกิดความคิดริเริ่มและตื่นตัวต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ่ ด้วย “บราเดอร์ถือว่ามหาวิทยาลัยอัสสัมชัญประสบความส� ำเร็จในระดับหนึง ่ นักศึกษา การมุง ่ สร้างศีลธรรมให้แก่บค ุ คล นอกเหนือจากการสร้างสติปญ ั ญา เมือ จบออกไปแล้ว เราเชื่อมั่นว่าพวกเขาจะสามารถน�ำความรู้มาประกอบอาชีพได้จริง ไม่วา่ ในประเทศไทยหรือต่างประเทศ ด้วยเราไม่ได้เน้นว่าการท�ำธุรกิจนั้นท�ำอย่างไร แต่เราสอนให้เขาน�ำกลยุทธ์ท่ีเราสอนไปประยุกต์ใช้ในการท�ำงานอย่างเป็นสากล” สุดท้ายนี้ บราเดอร์บญ ั ชา ฝากถึงทุกคนว่า มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญท�ำหน้าที่ เสมือนแสงส่ องสว่างน�ำพาทุกคนในสถาบันด�ำเนินไปในทางที่ถูกต้องบนรากฐาน ความเป็นจริงของชีวิต เราสร้างคนให้เขาสามารถอยู่ได้ในสั งคม และมีความ พร้ อ มที่ จ ะเติ บโตต่ อ ไปในศตวรรษที่ 21 ที่พ รั่งพร้ อ มไปด้ ว ยทั ก ษะ ความรู้ มุมมองการต่ อยอดธุรกิจ รวมถึงจริยธรรมอันดีง ามที่เราเฝ้ าปลูกฝัง ตั้งแต่ ้ จ วันแรกทีเ่ ขาก้าวเข้ามาในรั้วมหาวิทยาลัยแห่งนี้ และต่อจากนีก ็ ะขอทุม ่ เทแรงกาย แรงใจสานต่ อพั น ธกิจ จากพระเจ้า ให้สถาบัน แห่ง นี้ ด�ำรงอยู่ อย่ างแข็ง แกร่งใน ประเทศไทย
Assumption University Alumni Association
41
บทส่งท้าย ่ ศตวรรษที่ผ่านมา ภราดาทัง ตลอดระยะเวลาเกือบครึง ้ 2 ท่านใช้ความวิริยะ อุ ต สาหะ และอุ ทิ ศ ตน สร้ า งมหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ ให้ ส ามารถยื น หยั ด เป็ น มหาวิทยาลัยเอกชนชั้นแนวหน้าของประเทศไทยได้อย่างสมบูรณ์แบบ โดยเฉพาะ หลักสูตรการเรียนการสอนที่เป็นภาษาอังกฤษทัง ั ฑิตที่เรียนจบ ้ หมด ส่งผลให้บณ ออกไปเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพในสังคม ครัง ้ หนึ่ง บราเดอร์บัญชาเคยกล่าวไว้ว่า “หน้าที่อันยิ่งใหญ่ ก็มาพร้อมกับ ความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่” เพราะถึงแม้บราเดอร์จะไม่เคยปริปากบ่นถึงความ รับผิดชอบมากมายที่แบกรับเอาไว้ แต่พวกเราก็รก ู้ ันดีว่าการบริหารงานเมื่อเกิด การเปลี่ยนถ่าย จากยุคหนึ่งเข้าสู่อีกยุคหนึ่งนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะตัวของ บราเดอร์บญ ั ชาเองที่ต้องก้าวขึ้นมาเป็นผู้น�ำองค์กรเพื่อสานงานต่อจากบราเดอร์ มาร์ตน ิ แน่นอนว่าความต่างของวัยส่งผลให้เกิดแง่มุมความคิดทีไ่ ม่เหมือนกัน จาก แง่มุมของผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย ไปสู่ ผู้รับช่วงสื บสานต่ อเจตนารมณ์ของคณะ เซนต์คาเบรียล การเชื่อมรอยต่อระหว่างคนสองรุ่นให้ประสานเข้าหากันไม่ส ามารถเกิดขึ้น ได้จากฝ่ายใดเพียงฝ่ายเดียว แต่ท้ังหมดเกิดขึ้นจากภราดาทั้งสอง แลกเปลี่ยน ความแตกต่างทางความคิด และท�ำงานด้วยกันเสมือนคนในครอบครัว ถ่ายทอด องค์ความรู้และประสบการณ์จากยุคก่อน เพื่ อให้อีกฝ่ายท�ำความเข้าใจและอาศัย ระยะเวลาในการปรับตัว พร้อมเรียนรู้ดา้ นศาสตร์และศิลป์ผนวกเข้ากับเทคโนโลยี สมัยใหม่ ที่ต้องอาศัยความมุ่งมั่นเป็นอย่างมากในการท�ำหน้าที่ของแต่ละคนให้ดี ที่สุด จนกระทั่งประสบความส� ำเร็จอย่างทุกวันนี้
42
AUAA Profile
่ ราดาทัง อย่างไรก็ตาม สิ่งทีภ ้ 2 ท่านคิดและท�ำออกมาเหมือนกันคือ “สร้าง งานให้มีความสุข และสร้างความสุขให้กับงาน” หลักการบริหารจึงเกิดขึ้นตั้งแต่ ต้น น�้ำจนถึงปลายน�้ำ โดยให้ความส� ำคัญกับทุกภาคส่ วนในสถาบันไม่ว่าจะเป็น นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากรในมหาวิทยาลัย ภูมิทัศน์ ตลอดจนหลักสูตรทีโ่ ดด เด่ น ด้า นวิ ช าการบริห ารจั ดการ ท่ า มกลางผู้ ค นหลากหลายเชื้ อ ชาติ และต่ าง วัฒนธรรม แนวคิดการบริหารสถาบันด้วยความสุ ขนี้ ภราดาทั้งสองมองว่า ทุกคนคือ ครอบครัวเดียวกัน ทุกฝ่าย ทุกหน่วยงาน ต่างก็เป็นก�ำลังส� ำคัญในครอบครัว การสร้างองค์ความรู้และการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของคนในครอบครัวจะส่ง ่ ความสุขนัน ผลให้ทก ุ คนในสถาบันมีความสุข ซึง ้ จะก่อให้เกิดการรังสรรค์ดา้ นความ คิดการท�ำงานของแต่ละหน่วยงานและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดความตึงเครียด ในการท�ำงาน เปรียบเสมือนการผลักดันให้พฤติกรรมของคนเปลี่ยนแปลงไปใน ทางที่ดีกว่าเดิม จนถึงทุกวันนี้ บราเดอร์มาร์ตินและบราเดอร์บัญชา ยังคงมีความมุ่งมั่น ่ ะผลักดันให้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญพัฒนาต่อไป ทัง อย่างแรงกล้าทีจ ้ ด้านวิชาการ และการส่งเสริมศักยภาพของนักศึกษา โดยมุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตที่มีวิชาความรู้ ่ �ำ่ เรียนมาไปใช้ดำ� เนินชีวิตได้อย่างมีความสุ ข คู่คุณธรรม และสามารถน�ำสิ่งทีร
Assumption University Alumni Association
43
ASSUMPTION UNIVERSITY ALUMNI ASSOCIATION 44
AUAA Profile
INTERITAS | UNITAS | SCIENTIA