ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้า

Page 1

[0]

รายงานการวิจยั เรื่อง

ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัดย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการ ออกแบบลวดลายด้วยการมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจาก ธรรมชาติ


[1]

กิตติกรรมประกาศ การวิจยั เรื่ อง “ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัดย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วยการมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจาก ธรรมชาติ” สําเร็ จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ดว้ ยความช่วยเหลือสนับสนุนอย่างดียง่ิ จาก หน่วยงานต่างๆ ซึ่ งผูว้ จิ ยั ใคร่ ขอขอบพระคุณไว้ ณ ที่น้ ี ดังนี้ 1. .....................ที่ให้ทุนสนับสนุนงานวิจยั 2. ............................ที่อาํ นวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการวิจยั 3. สํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ และสํานักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร ที่อาํ นวยความ สะดวกในการค้นหาข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการวิจยั

ชนกนาถ มะยูโซ๊ะ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุ นนั ทา


[2]

บทคัดย่ อ หัวข้ อวิจัย

ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัดย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษา เฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วย การมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ นางชนกนาถ มะยูโซ๊ะ

ชื่ อผู้วจิ ัย คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุ นนั ทา ปี ทีท่ าํ การวิจัย ปี การศึกษา 2555

การวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เพื่อ ศึกษาเรื่ อง “ ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัด ย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วย การมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ” ที่นาํ มาสู่ การออกแบบลวดลายผ้ามัดย้อมจํานวน 4 แบบ โดยลวดลายทั้ง 4 แบบนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ทาํ การศึกษาการสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติจากพืช 4 ชนิด ได้แก่ เปลือกต้นฝาง, กระหลํ่าปลีสีม่วง, ใบกระเพรา และเปลือกมะม่วง แล้วนําหลักการออกแบบ ลวดลายผ้ามัดย้อมเบื้องต้นทั้งการ มัด การพับ การจีบ การห่อหุม้ การหนีบ และการเย็บ นํามา ผสมผสานกันจนเกิดเป็ นลวดลายใหม่ในการย้อมผ้าแต่ละสี จะได้ผลิตภัณฑ์ผา้ พันคอที่มีสีสันและ ลวดลายที่สวยงาม


[3]

Abstract Title:

Author: Faculty: University: Year:

Art of Fabric Patterns Designing by Tie-dyeing using Natural Dyes: Examining only types, forms, techniques, and processes of creating patterns through tiedyeing and dyes derived from nature. Mrs. Chanoknart Mayusoh Faculty of Fine and Applied Arts Suan Sunandha Rajabhat University 2012

This research is a study of “Art of Fabric Patterns Designing by Tie-dyeing using Natural Dyes. Examining only types, forms, techniques, and processes of creating patterns through tiedyeing and dyes derived from nature.” As a result, four fabric designs are produced. In these four designs, the researcher has studied the process of extracting natural dyes from four types of plants, which are: sappanwood, red cabbage, basil, and mango skin. Basic tiedyeing methods—tying, folding, pleating, wrapping, pinching, and sewing—are then used and combined to create new patterns when dyeing each color. Consequently, products with beautiful colors and patterns which can be used as scarves are produced.


[4]

สารบัญ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ Abstract สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 ความสํ าคัญและทีม่ าของปัญหา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง ประเภทและรู ปแบบของผ้ามัดย้อม เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลาย การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ บทที่ 3 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล บทที่ 4 สรุ ปผลการออกแบบและข้ อเสนอแนะ สรุ ปผลการวิจยั ข้อเสนอแนะ บทที่ 5 ผลงาน บทความวิชาการ บรรณานุกรม ประวัติผู้วจิ ัย

[1] [2] [3] [4] [5] 1 6 9 27 32 40 42 43 44 51 52


[5]

สารบัญภาพ ภาพที่ หน้ า ลายผ้ามัดหมี่ 1 2 คาโนโกะ ชิโบริ ผ้าย้อมครามด้วยวิธีชิโบริ แบบต่างๆ 3 4 แสดงการพับผ้าแบบต่างๆ การพับและจับจีบผ้า 5 การพับและจับจีบผ้า 6 7 การพับและทําลวดลายที่ชายผ้า การพับมุมแล้วมัด 8 การพับผ้าตามขวางแล้วมัด 9 การพับแล้วพัน 10 11 การพับและเย็บ การพับและเย็บด้วยเข็มกลัด 12 การพับและเย็บทแยง 13 การพับและเย็บเป็ นวง 14 การพับและเย็บเป็ นแนวทแยง 15 การพับและเย็บมุม 16 การม้วนแล้วมัด 17 การม้วนแบบมีแกนกลางแล้วมัด 18 การพับครึ่ งแล้วม้วน 19 20 การห่อก้อนหิ นแล้วมัด การห่อด้วยถุงตาข่าย 21 การห่อด้วยถุงพลาสติก 22 การพับและหนีบผ้า 23 การขยําแล้วมัด 24 การรวบผ้าแล้วมัด 25 การพับและหนีบผ้า 26 การพับและหนีบผ้า 27 อุปกรณ์ในการย้อมผ้าด้วยเปลือกต้นฝาง 28 29 กระบวนการย้อมผ้าด้วยเปลือกต้นฝางและชิ้นงานที่ได้

7 8

8 11 12

13 14 14 15

15 16 17 18 18 19 19 20 20 21 22 22 23 24 24 25 25 26 33 34


[6]

30 31 32 33

34 35 36

กระบวนการย้อมผ้าด้วยกระหลํ่าปลีสีม่วงและชิ้นงานที่ได้ กระบวนการย้อมผ้าด้วยใบกระเพรา กระบวนการย้อมผ้าด้วยเปลือกมะม่วงและชิ้นงานที่ได้ ผ้าพันคอที่มดั ย้อมด้วยสี สกัดจากเปลือกต้นฝาง ผ้าพันคอที่มดั ย้อมด้วยสี สกัดจากกระหลํ่าปลีสีม่วง ผ้าพันคอที่มดั ย้อมด้วยสี สกัดจากใบกระเพรา ผ้าพันคอที่มดั ย้อมด้วยสี สกัดจากเปลือกต้นฝาง

36 37 38

40 41 41 42


1

บทที่ 1 บทนํา ความสํ าคัญและทีม่ าของปัญหา

ผลิตภัณฑ์ผา้ มัดย้อมสี ธรรมชาติเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่ดาํ รงเอกลักษณ์ในรู ปแบบ และสี สัน คือ เส้นใยฝ้ ายที่เป็ นวัตถุดิบจากธรรมชาติ รู ปแบบที่เรี ยบง่ายที่เกิดจากกระบวนการ ออกแบบลวดลาย และสี สันจากวัตถุดิบตามธรรมชาติ สิ่ งเหล่านี้คือเอกลักษณ์ของผ้ามัดย้อมสี ธรรมชาติที่ได้ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษสู่ คนรุ่ นต่อๆมา แต่สิ่งที่เป็ นเอกลักษณ์ของความเรี ยบง่ายนี้ ไม่ได้โดนใจคนไทยหรื อทําให้คนไทยรู ้สึกภาคภูมิแต่อย่างไร แต่กลับไปโดนใจหรื อถูกใจ ชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวญี่ปุ่นแทน คนไทยในยุคหลังๆดูความงามจากผ้าย้อมสี ธรรมชาติไม่ เป็ น กลับเห็นว่าความมืด ความทึม ความทึบ เป็ นความล้าสมัย คนยุคปั จจุบนั ไม่ยอมรับการถ่ายทอดเกี่ยวกับด้านความรู ้สึก ความภาคภูมิใจ หรื อ รสนิยมเพื่อสื บสานต่อจากบรรพบุรุษ และประกอบกับการได้รับอารยธรรมจากตะวันตกในช่วงยุค ที่คนไทยเลียนแบบฝรั่ง จึงมีรสนิยมเป็ นแบบฝรั่งเพราะคิดว่าทันสมัย ตราบใดที่กระแสโลกาภิ วัตน์ยงั คิดเป็ นเช่นนี้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีค่า โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ผา้ มัดย้อมสี ธรรมชาติก็คงเลื่อน หายไปในที่สุด และจะทําอย่างไรให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านผลิตภัณฑ์ผา้ มัดย้อมสี ธรรมชาติยงั คงอยู่ ได้ต่อไป จึงเป็ นเหตุทาํ ให้ผวู ้ จิ ยั เกิดความพยายามจะศึกษากระบวนการออกแบบลวดลายผ้า มัดย้อมจากสี ธรรมชาติให้มีคุณสมบัติเหมือนสี สังเคราะห์ รวมทั้งแม้กระทัง่ เฉดสี โดยลืมคิดถึง สภาพความแตกต่างทางธรรมชาติซ่ ึ งเป็ นเอกลักษณ์ของสี ธรรมชาติ และมีการนําหลักเกณฑ์ทางสี สังเคราะห์มาใช้กาํ หนดคุณสมบัติกบั สี ธรรมชาติดว้ ย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรื่ องของความคงทน ของสี ยอ้ มซึ่ งมีความแตกต่างกันอย่างมาก มีอยูเ่ ป็ นจํานวนมากก็พยายามปกปิ ดหรื อไม่กล่าวถึงกันโดยเฉพาะเรื่ องที่เกี่ยวกับมลพิษ และสิ่ งแวดล้อม แต่กลับพยายามพูดถึงส่ วนเสี ยของสี ยอ้ มจากธรรมชาติในเรื่ องของความคงทน ของสี ยอ้ มว่ามีความคงทนต้องการซักล้าง ต่อแสงสว่างตํ่า ซึ่ งก็น่าจะมองว่าเป็ นเรื่ องปกติของ ความเปลี่ยนแปลงไปของวัตถุที่เป็ นธรรมชาติ ผ้าสี ธรรมชาติที่ยอ้ มสี ยิง่ ตกยิง่ สวย คนสมัยก่อนย้อมเสร็ จพอตัดเป็ นเสื้ อแล้วนําไปแช่น้ าํ ใช้ไม้ทุบ จนนุ่มฟูเป็ นใยนวลยิง่ เก่ายิง่ สวย ขึ้นอยูก่ บั การใช้ของแต่ละคนจะสลับสี อ่อนสี แก่ไว้ตรงไหนก็งาม


2

เสน่ห์ของผ้าทอมือย้อมสี ธรรมชาติอยูท่ ี่แต่ละชิ้นไม่ซ้ าํ กัน มีชิ้นเดียวในโลก แต่ละสี ที่ได้เกิดจาก ภูมิปัญญาพื้นบ้าน และคุณประโยชน์ของพืชพรรณรอบตัว ต้นไม้บางชนิดหายาก หรื อก็หมดไป แล้ว สี ธรรมชาติบางสี ไม่เพียงแต่ให้ความสวยงามเท่านั้น แต่ยงั ช่วยรักษาคุณภาพของเส้นใยอีกด้วย การใช้ผา้ สี ธรรมชาติควรใช้อย่างถนอม จากการทําโครงการบริ การวิชาการสู่ ชุมชนผูป้ ระสบอุทกภัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน สุ นนั ทาพบว่า ผูป้ ระสบภัยได้รับความเดือดร้อนเป็ นอย่างมากจากอุทกภัยที่ผา่ นมา ผูป้ ระสบภัยบาง คนถูกเลิกจ้าง บางคนสู ญเสี ยเครื่ องมือในการประกอบอาชีพ งานวิจยั เรื่ องนี้ทาํ ขึ้นเพื่อสร้างองค์ ความรู ้ทางด้านการออกแบบลวดลายจากการมัดย้อมสี จากธรรมชาติ ซึ่ งเป็ นการส่ งเสริ มการสร้าง อาชีพ เพิ่มความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน อีกทั้งยังเป็ นการลดมลภาวะจากนํ้าเสี ยซึ่ งได้จากการใช้สี สังเคราะห์ในการย้อมผ้าและยังเป็ นการรักษาสิ่ งแวดล้อมที่ดีให้คงอยูค่ ู่กบั สังคมต่อไป ด้วยเหตุน้ ีผวู ้ จิ ยั จึงได้จดั ทําโครงการวิจยั เรื่ อง “ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการ มัดย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลาย ด้วยการมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ”ขึ้น ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา เป็ นการศึกษาวจิ ยั ที่เน้นเกี่ยวกับศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วย การมัดย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการ ออกแบบลวดลายด้วยการมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ 2. ขอบเขตด้านเวลา เป็ นการวิจยั ในช่วงวันที1 ่ กุมภาพันธ์ 2555 ถึง วันที่ 15 มีนาคม 2556 คําถามวิจัย 1. ทําอย่างไรจึงสามารถออกแบบลวดลายผ้าด้วยเทคนิคการมัดย้อมจากสี ธรรมชาติ 2. ควรเลือกวัสดุจากธรรมชาติชนิดใดมาสกัด เพื่อให้ได้น้ าํ สี ที่จะนํามาใช้มดั ย้อมผ้าได้ สวยงาม วัตถุประสงค์ ของโครงการวิจัย 1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็ นมา ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการมัดย้อมผ้า 2. เพื่อศึกษาการสกัดสี ยอ้ มจากวัสดุจากธรรมชาติที่สามารถนํามาทําการย้อมผ้าได้ 3. เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบลวดลายผ้าด้วยเทคนิคการมัดย้อม 4. เพื่อเป็ นการเชื่อมโยงกับโครงการบริ การวิชาการที่ส่งเสริ มการสร้างอาชีพ เพิ่มความ เกี่ยวกับการทําผ้ามัดย้อม เข้มแข็งให้กบั ชุมชนศาลายา 5. เพื่อเป็ นการสร้างองค์ความรู ้ให้สอดคล้องกับการเรี ยนการสอน และพัฒนางาน ออกแบบในหัวข้อการออกแบบและทําผ้ามัดย้อม ในรายวิชา TOD 3212 การ


3

ออกแบบลวดลายและ การสกัดสี จากธรรมชาติ ในรายวิชา TOD 3309 การทอผ้า พื้นเมือง 6. เพื่อจดสิ ทธิ บตั ร เพื่อแสดงความเป็ นมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา วิธีการดําเนินการวิจัย เป็ นการวิจยั ที่คล้องคล้องกับกับการเรี ยนการสอน และพัฒนางานออกแบบในหัวข้อการ ออกแบบและทําผ้ามัดย้อม ในรายวิชา TOD 3212 การออกแบบลวดลายและ การสกัดสี จาก ธรรมชาติ ในรายวิชา TOD 3309 การทอผ้าพื้นเมือง และเป็ นการเชื่อมโยงกับโครงการบริ การ วิชาการที่ส่งเสริ มการสร้างอาชีพเกี่ยวกับการทําผ้ามัดย้อม เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน ศาลายา โดยนําข้อมูลที่ได้มาศึกษาและทดลองปฏิบตั ิชิ้นงานออกแบบโดยมีวธิ ี การดําเนินการวิจยั ดังนี้ ได้เป็ นการเชื่อมโยงกับโครงการบริ การวิชาการที่ส่งเสริ มการสร้างอาชีพเกี่ยวกับการทําผ้ามัด ย้อม เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน ซึ่ งมีวธิ ี การดําเนินการวิจยั ดังนี้ 1. รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาภาคเอกสาร ณ หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดของ สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาโดยรับฟังความเห็นจากผูท้ รงคุณวุฒิดว้ ยวิธีการสนทนา กลุ่มย่อย 3. นําข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาวิเคราะห์และนํามาทดลองปฏิบตั ิการ 4. นําเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลและผลการวิจยั ในลักษณะการวิจยั เชิงพรรณนา พร้อม ภาพประกอบและผลิตผ้าพันคอจากการออกแบบลวดลายด้วยการมัดย้อม จํานวน 4 ผืน 4 แบบ คํานิยามศัพท์ การมัดย้ อม คือ กระบวนการทําให้ผา้ เกิดลวดลายด้วยการมัดด้วยเชือกหรื อวัสดุอื่นๆ และนํามาทํา การย้อม การย้อมสี ธรรมชาติ คือ กระบวนการย้อมสี เส้นด้ายก่อนการทอเป็ นผืนผ้าด้วยสี ยอ้ มจาก ธรรมชาติ สารช่ วยย้ อม คือ สารละลายที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตตามธรรมชาติ เพื่อทําให้สียอ้ มจาก ธรรมชาติติดเส้นใยได้ดีข้ ึน ได้แก่ นํ้าด่าง เกลือแกง สารส้ม เป็ นต้น ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ เช่น การเผยแพร่ ในวงการอุตสาหกรรมออกแบบเครื่ องแต่งกายฯลฯ และ หน่วยงานที่นาํ ผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ 1. ได้องค์ความรู ้เกี่ยวกับประวัติความเป็ นมา ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการมัด ย้อมผ้า


4

2. ได้องค์ความรู ้เกี่ยวกับการสกัดสี ยอ้ มจากวัสดุจากธรรมชาติที่สามารถนํามาทําการย้อม ผ้าได้ 3. ได้องค์ความรู ้เกี่ยวกับกระบวนการออกแบบลวดลายผ้าด้วยเทคนิคการมัดย้อม 4. ได้เป็ นการเชื่อมโยงกับโครงการบริ การวิชาการที่ส่งเสริ มการสร้างอาชีพเกี่ยวกับการทํา ผ้ามัดย้อม เพื่อเพิม่ ความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนศาลายา 5. สามารถสร้างองค์ความรู ้ให้สอดคล้องกับการเรี ยนการสอน และพัฒนางานออกแบบใน หัวข้อการออกแบบและทําผ้ามัดย้อม ในรายวิชา TOD 3212 การออกแบบลวดลายและ การสกัดสี จากธรรมชาติ ในรายวิชา TOD 3309 การทอผ้าพื้นเมือง 6. ได้จดสิ ทธิ บตั ร เพื่อแสดงความเป็ นมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา


5

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง การวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เรื่ อง ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัดย้อมสี จาก ธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วยการมัด ย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ” โดยผูว้ จิ ยั ได้ทาํ การศึกษาตั้งแต่ ประเภทและรู ปแบบของผ้า มัดย้อม เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลาย รวมถึงการสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ โดยผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องนําเสนอตามลําดับ ดังต่อไปนี้ ส่ วนที่ 1 ประเภทและรู ปแบบของผ้ามัดย้อม ส่ วนที่ 2 เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลาย ส่ วนที่ 3 การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ


6

ส่ วนที่ 1 ประเภทและรูปแบบของผ้ ามัดย้อม การมัดย้อม เป็ นการมัด ผูก เย็บ หนีบ หรื อเป็ นการ “กันสี ” ในส่ วนใดส่ วนหนึ่งของผ้าที่ผู้ ย้อมไม่ตอ้ งการให้เกิดสี ที่จะยอมในครั้งนั้นๆ โดยใช้วสั ดุต่างๆ เช่น เหรี ยญ เชือกปอ เชือกฟาง ไม้ หนีบ ด้าย หรื อถุงพลาสติก มาเป็ นวัสดุช่วยในการกันสี ร่ วมกับการม้วน พับ จับจีบ ขยํา หรื อเย็บผ้า ซึ่ งจะให้ผลลัพธ์ของลายที่แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั กลวิธีในการออกแบบสี และการ ผสมผสานเทคนิคต่างๆ เข้าไว้ดว้ ยกันของผูย้ อ้ ม โดยเรี ยกว่าที่มีกรสร้างลวดลายด้วยกรรมวิธีน้ ีวา่ “ผ้ามัดย้อม” การมัดย้อมเป็ นศิลปะบนผืนผ้าที่มีการสื บทอดกันมานานในหลายประเทศ เช่น ไทย มลายู อินเดีย ญี่ปุ่น เป็ นต้น โดยเรี ยกรวมๆว่า เรี ยกกันว่า “พลางงี” (Plangi) มีตน้ กําเนิดในเอเชียกลาง หลังจากนั้นจึงแพร่ ขยายไปยังญี่ปุ่นและอินเดีย ผ่านทางพ่อค้าวานิชที่เดินทางติดต่อการค้าไปทัว่ เอเชีย โดยในอินเดียจะเรี ยกว่า “พันธนะ” ( Banthana) ซึ่งหมายถึงการมัดหรื อผูก ส่ วนในญี่ปุ่นจะ เรี ยกว่า “ชิโบริ ” (Shibori) ซึ่ งหมายถึงการมัดหรื อปม นัน่ เอง “พลางงี” (Plangi) เป็ นวิธีการมัดย้อมแบบหนึ่ง ซึ่ งรวมกลุ่มอยูใ่ นงานศิลปหัตถกรรม ประเภทเดียวกับ มัดหมี่ ( Ikat) และ บาติก ( Batik) โดย“พลางงี” (Plangi) เป็ นการคําในภาษามลายู ซึ่งหมายความว่า หลากสี หรื อลายจุดบนพื้นสี เป็ นวิธีการมัด ผูกหรื อเย็บรู ดบนผืนผ้าที่ทอแล้วเป็ น จุดเล็กๆ ด้วยเส้นด้ายแล้วนําไปย้อมหรื อแต้มด้วยสี ที่ตอ้ งการ ทําให้เกิดเป็ นวงหรื อเหลี่ยมเล็กๆสี ขาวหรื อตามสี พ้ืนผ้า นิยมทําเป็ นลวดลายธรรมชาติ เช่น ดอกไม้และใบไม้ พจนานุกรมศิลปะ อังกฤษ -ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้อธิ บายความหมายของคําว่า มัดหมี่ ( Ikat) ไว้วา่ มัดหมี่ หมายถึงกรรมวิธีในการทําผ้าให้เป็ นลวดลายก่อนที่จะทอให้เป็ นผืนผ้า โดยให้มดั เส้นด้ายหรื อเส้นไหมเป็ นเปลาะๆ ตามกระสวนหรื อแบบที่เตรี ยมไว้ แล้วจึงนําไปย้อมสี ด้ายหรื อไหมที่ถูกมัดเอาไว้จะไม้ดูดสี เมื่อแก้มดั แล้วตากแห้ง จึงนําไปทอเป็ นผืนผ้า ลวดลายก็จะ เกิดขึ้นตามกระสวนนั้น คําว่า Ikat มีที่วา่ จากคําภาษาชวา และมลายู แปลว่าผูกมัด รัดรึ ง แต่มี ความหมายทางหัตถกรรมว่าเป็ นการทอมัดหมี่ การมัดเส้นด้ายหรื อเส้นไหม ถ้ามัดด้ายยืนเรี ยกว่า มัดหมี่ดา้ ยยืน ( Warp Ikat) ถ้ามัดด้ายพุง่ เรี ยกว่ามัดหมี่ดา้ ยพุง่ (Weft Ikat) ถ้ามัดทั้งด้ายยืนและด้ายพุง่ เรี ยกว่า มัดหมี่มดั หมี่สองทาง ( Double Ikat)


7

ภาพที่ 1 : ลายผ้ามัดหมี่ ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ ส่ วนบาติกนั้น เป็ นการใช้เทียนที่ละลายด้วยความร้อนมาวาดเป็ นลวดลายลงบนผืนผ้า เพื่อ กันไม่ให้สีที่ใช้ยอ้ มผ้าซึ มผ่านส่ วนที่เป็ นลวดลายนั้น เมื่อล้างออกด้วยนํ้าร้อน เทียนจะละลาย หายไปและส่ วนที่วาดไว้จะกลายเป็ นลวดลายตามสี เดิมของผืนผ้า ในอินเดีย “พันธนะ” (Banthana) ไม่ได้หมายถึงการมัดหรื อผูก แต่เพียงอย่างเดียว แต่ยงั มี การใช้วธิ ี การทับประกบด้วยแผ่นไม้ที่แกะเป็ นรู ปต่างๆ แล้วจึงนําไปจุ่มสี ที่ตอ้ งการ เมื่อแกะแผ่นไม้ ออกมา ลวดลายของแผ่นไม้จะกลายเป็ นส่ วนที่กนั สี เอาไว้ เกิดเป็ นลวดลายที่สลับซับซ้อนและ สวยงาม ในญี่ปุ่นจะเรี ยกวิธีการมัดย้อมว่า “ชิโบริ ” (Shibori) ซึ่ งหมายถึงการมัดหรื อปม ส่ วนมากจะ นิยมย้อมด้วยครามบนผ้าไหมหรื อผ้าฝ้ าย ลวดลายของการมัดย้อมลายหนึ่งเป็ นที่นิยมมากในญี่ปุ่น ได้แก่ ลายจุดเล็กๆ ที่เรี ยกกันว่า “คาโนโกะ ชิโบริ ” ( Kanoko Shibori) ซึ่ งเกิดจากการผูกผ้าไว้ดว้ ย ด้าย ปลายของวงกลมเล็กๆ แต่ละจุด จะถูกปล่อยไว้โดยไม่ได้มดั ทําให้เกิดวงกลมเล็กๆ ตรงกลาง ของวงแหวนที่เกิดจากการมัด เส้นวงกลมที่เกิดจะมีขนาดเล็กหรื อใหญ่ข้ ึนอยูก่ บั วิธีการมัด และ จํานวนรอบที่ผกู นอกจากนี้ยงั มีลวดลายที่เกิดจากการเย็บและรู ด การพับด้วย ผ้าที่ยอ้ มด้วยเทคนิค ชิ โบริ น้ นั เป็ นงานที่ละเอียดอ่อน ประณี ต และมักมีการใช้เทคนิคการปั กเข้าร่ วมด้วย


8

ภาพที่ 2 : คาโนโกะ ชิโบริ ที่มา : Shibori : The Inventive Art of Japanese Shaped Resist Dyeing

ภาพที่ 3 : ผ้าย้อมครามด้วยวิธีชิโบริ แบบต่างๆ ที่มา : Shibori : The Inventive Art of Japanese Shaped Resist Dyeing


9

ส่ วนที่ 2 เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลาย เทคนิคการมัดย้ อม อุปกรณ์ ในการทําผ้ ามัดย้ อม 1. ผ้า ผ้าที่ใช้ในการมัดย้อมเป็ นผ้าที่ทอจากเส้นใยธรรมชาติ เช่น ผ้าฝ้ าย ผ้าลินิน และผ้า ไหม ซึ่ งจะต้องนําไปซักนํ้าเปล่า ต้มในนํ้าเดือด หรื อแช่แล้วซักในนํ้าสบู่อ่อนๆ ก่อน เพื่อชําระสิ่ งสกปรกหรื อเคมีที่เคลือบบนผิวผ้าออกเสี ยก่อน ผ้านั้นจึงจะสามารถนํามา ย้อมแล้วติดสี ได้ดี ส่ วนผ้าที่ทอจากเส้นใยสังเคราะห์จะนํามาย้อมแล้วไม่ได้สีที่ดีนกั เนื่องจากเส้นใยไม่ดูดซับสี ยกเว้นเส้นใยส้งเคราะห์จากเส้นใยพืช เช่น ผ้าเรยอน ซึ่ง สามารถนํามาย้อมได้สีที่ดี บางครั้งผูย้ อ้ มอาจจะนําผ้าที่จะย้อมไปทําการฟอกสี ให้พ้ืน ผ้าเป็ นสี ขาวที่สุดเสี ยก่อน โดยการนํามาไปชุบในนํ้ายาเคมีสาํ หรับฟอกสี ผา้ เสี ยก่อนก็ ได้ 2. ภาชนะที่ใช้ในการมัดย้อม ควรจะเป็ นภาชนะที่มีขนาดใหญ่ ซึ่ งสามารถจุ่มผ้าลงไปได้ ทั้งผืนที่ตอ้ งการจะย้อม อาจใช้เป็ นภาชนะโลหะเคลือบ สแตนเลส หรื อพลาสติก ตามแต่วธิ ี ของผูย้ อ้ มว่าจะใช้การย้อมร้อนหรื อย้อมเย็น 3. วัสดุกนั สี เช่น เชือกต่างๆ ด้าย ยางวง ถุงพลาสติก ไม้หนีบ ลูกปัด หมุดไม้ ก้อนกรวด หรื อวัสดุอื่นๆ ตามแต่การออกแบบลวดลายของผูย้ อ้ ม 4. สี ที่ใช้ในการย้อม มีท้งั สี ทางเคมีที่มีขายทัว่ ไปตามท้องตลาด และสี ยอ้ มที่สกัดจาก ธรรมชาติ 5. อุปกรณ์อื่นๆ เช่น กรรไกร เข้ม ที่เลาะด้าย และถุงมือยาง เป็ นต้น การเตรียมตัวทําปฏิกริ ิยา ตัวทําปฏิกิริยาคือวัตถุดิบที่จะมาช่วยเพิ่ม และเปลี่ยนสี สันให้ได้สีที่หลากหลายขึ้นจากเดิม ซึ่ งแต่ละตัวจะทําให้ผา้ ที่ยอ้ มเปลี่ยนเป็ นสี ต่างๆ เช่น เข้มขึ้น จางลง หรื อเปลี่ยนเป็ นสี อื่นๆ แต่ก็อยู่ ในโทนสี เดิม ขึ้นอยูก่ บั คุณสมบัติของสารดังกล่าว ดังนี้ 1. นํ้าด่าง ได้จากการนําขี้เถ้าจากเตาไฟที่เผาไหม้แล้วประมาณ 1 -2 กิโลกรัม มาผสมให้ ละลายกับนํ้าประมาณ 10 - 15 ลิตร ในภาชนะ เช่น ถังนํ้า หรื อ แกลลอน แล้วปล่อยทิ้ง ไว้ให้ตกตะกอน ประมาณ 1 - 2 วัน หลังจากนั้นค่อยๆ เทกรองเอานํ้าที่ใสๆ ที่ได้จาก การหมักขี้เถ้า มาเป็ นนํ้าหัวเชื้อ ซึ่ งสามารถใส่ ขวดแล้วเก็บไว้ได้นานเท่าไหร่ ก็ได้ นํ้า ด่างขี้เถ้าที่ดีจะต้องใสและไม่มีกลิ่นเหม็น ปริ มาณที่ใช้ในแต่ละครั้ง นํ้า 1 ถัง ใช้น้ าํ ด่าง ประมาณ ครึ่ งขวดลิตร เป็ นต้น


10

2. นํ้าปูนใส ได้จากการนําปูนขาวเคี้ยวหมากขนาดเท่าหัวแม่มือ มา ละลายกับนํ้า 1 ถัง (ประมาณ 15 - 20 ลิตร) ทิ้งไว้ให้ตกตะกอนริ นเอาเฉพาะนํ้าที่ใสๆ เท่านั้น นํ้าปูนใสที่ดี จะใส และไม่มีกลิ่น 3. นํ้าสารส้ม ได้จากการนําสารส้มที่เป็ นก้อนมาแกว่งให้ละลายกับนํ้า แล้วกรอง หรื อตัก เอานํ้าใช้เลยก็ได้ นํ้าสารส้มจะใสและไม่มีกลิ่น 4. นํ้าสนิม ได้จากการนําเศษเหล็ก ตะปู หรื อ สังกะสี ที่เป็ นสนิม นําลงไปแช่น้ าํ ทิ้งไว้ กลางแดดเป็ นเวลาอย่างน้อย 1 เดือนหมัน่ ตรวจดูและเติมนํ้าให้เต็มเสมอ เพราะเมื่อเรา นํานํ้าไปตั้งกลางแดดนํ้าจะระเหยกลายเป็ นไอ เราจึงต้องเติมนํ้าอยูเ่ สมอ เมื่อจะใช้ให้ กรองเอาเฉพาะนํ้าที่แช่เหล็กระวังเศษเหล็กจะผสมมากับนํ้า เพราะอาจจะเกิดอันตราย ได้ นํ้าสนิมมีสีข่นุ ดํา มีกลิ่นค่อนข้าง เหม็น ปริ มาณใช้น้ าํ สนิมครึ่ งขวดลิตร ต่อนํ้า 1 ถัง (ประมาณ 15 - 20 ลิตร เทคนิคการมัดย้ อม เสาวนิตย์ กาญจนรัตน์ ( 2543) ได้เขียนวิจยั ถึงหลักการสําคัญในการมัดย้อมผ้าในงานวิจยั เรื่ อง การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติวา่ หลักการสําคัญในการทํามัด ย้อมคือ ส่ วนที่ถูกมัดคือส่ วนที่ไม่ตอ้ งการให้สีติด ส่ วนที่เหลือหรื อส่ วนที่ไม่ได้มดั คือส่ วนที่ ต้องการให้สีติด การมัดเป็ นการกันสี ไม่ให้สีติดนัน่ เอง ลักษณะที่สาํ คัญของการมัดมีดงั นี้ 1. ความแน่นของการมัด กรณี แรก มัดมากเกินไปจนไม่เหลือพื้นที่ให้สีแทรกซึ มเข้าไปได้เลย ผลที่ได้ก็คือ ได้สี ขาวของเนื้อผ้าเดิม อาจมีสียอ้ มแทรกซึ มเข้ามาได้เล็กน้อย อย่างนี้เกิดลายน้อย กรณี ที่สอง มัดน้อยเกินไป เหลือพื้นที่ให้สียอ้ มติดเกือบเต็มผืน อย่างนี้เกิดลายน้อย เช่นกัน ทั้งผืนมีสียอ้ มแต่แทบไม่มีลายเลย กรณี ที่สาม มัดเหมือนกันแต่มดั ไม่แน่น อย่างนี้เท่ากับไม่ได้มดั เพราะหากมัดไม่แน่นสี ก็จะแทรกซึ มผ่านเข้าไปได้ทว่ั ทั้งผืน 2. การใช้อุปกรณ์ช่วยในการหนีบผ้าแล้วมัด เพื่อให้เกิดความแน่น และเกิดลวดลายตาม แม่แบบที่ใช้หนีบ ดังนั้นลายสวยเพียงใดขึ้นอยูก่ บั การออกแบบแม่แบบที่จะใช้หนีบ ด้วย 3. ความสมํ่าเสมอของสี ยอ้ ม สี ยอ้ มที่ติดผ้าจะสมํ่าเสมอได้ข้ ึนอยูก่ บั อุณหภูมิความร้อน ขณะนําผ้าลงย้อม และการกลับผ้าไปมาการขยําผ้าเกือบตลอดเวลาของการย้อมหนึ่งถึง หนึ่งชัว่ โมงครึ่ งก่อนที่จะแช่ผา้ ไว้


11

การสร้ างลวดลายผ้ ามัดย้ อม การคิด ประดิษฐ์ลายผ้า มัดย้อมขึ้นอยูก่ บั จินตนาการและการสังเกตของแต่ละบุคคล ซึ่ งการ มัดแต่ละครั้งหรื อแต่ละคน ลายผ้าที่ได้จะไม่เหมือนกัน แต่ก็สามารถปรับปรุ ง หรื อออกแบบให้ ใกล้เคียง หรื อ คล้ายกันได้ ซึ่ งการมัดลายแบบพื้นฐานมีอยูด่ ว้ ยหลายแบบ ดังนี้ 1. การพับแล้วมัด วิธีน้ ีเป็ นวิธีที่นิยมมากที่สุด เนื่องจากเป็ นวิธีที่ง่ายต่อการออกแบบ ลวดลาย เนื่องจากลายที่ได้จะมีความสมมาตร ทําได้โดยการพับผ้าเป็ นรู ปต่างๆ แล้วมัด ด้วยยางหรื อ เชือก ผลที่ได้จะได้ลวดลายที่มีลกั ษณะลายด้านซ้ายและลายด้านขวาจะมี ความใกล้เคียงกัน แต่จะมีสีอ่อนด้านหนึ่งและสี เข้มด้านหนึ่ง เนื่องจากว่าหากด้านใด โดนพับไว้ดา้ นในสี ก็จะซึ มเข้าไปน้อย ผลที่ได้ก็คือจะมีสีจางกว่านัน่ เอง

ภาพที่ 4 : แสดงการพับผ้าแบบต่างๆ ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ


12

1.1. สี่ เหลี่ยมผืนผ้า ABCD พับตามรอย XX และ YY จุด O จะเป็ นศูนย์กลาง 1.2. ถ้าพับเฉพาะตามรอย YY จะแบ่งผืนผ้าเป็ นสองส่ วน 1.3. พับ AD ไปพบ YY และพับ BC ไปพบ YY จะได้ขอบผ้าสองด้านพบกันที่เส้น กึ่งกลาง 1.4. พับผ้าตามขวางให้เหลือครึ่ งหนึ่ง 1.5. พับผ้าตามขวางให้ขอบผ้าทั้งสองพบกันที่แกน XX 1.6. พับผ้าตามยาวให้เหลือเพียงหนึ่งส่ วนในสามส่ วน 1.7. พับผ้าตามยาวให้เหลือหนึ่งส่ วนในสี่ ส่วน ถ้าพับเพิ่มมากขึ้นจะเป็ นการจับจีบ 1.8. แบ่งผ้าเป็ นสี่ ส่วนและพับตามรอยจะเหลือเพียงหนึ่งส่ วนในสี่ ส่วน 1.9. การแบ่งผ้าที่มีหน้าผ้าเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส ในที่น้ ีจุดศูนย์กลางอยูท่ ี่จุด O 1.10. พับผ้าให้เป็ นสี่ ส่วน 1.11. พับผ้าตามแนวทแยงมุมแล้วพับครึ่ งอีกครั้ง 1.12. พับผ้าตามข้อ 1.11 แล้วพับจากจุด O มายัง DABC อีกครั้งหนึ่ง การพับแล้วมัดยังมีวธิ ี การพับอีกหลายรู ปแบบ เช่น

ภาพที่ 5 : การพับและจับจีบผ้า ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ี ผูพ้ บั ต้องกะระยะจากมุมของผ้าด้านใดด้านหนึ่งให้กว้างเท่าๆกัน ก่อนที่จะพับผ้าเป็ น จับหรื อจับจีบแบบพัด โดยเริ่ มจากมุมใดมุมหนึ่งของผ้า ไปจนสุ ดอีกด้านหนึ่งในแนวทแยง


13

ภาพที่ : การพับและจับจีบผ้า ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ี แบบแรก ผูพ้ บั จะต้องพับผ้าสองทบ และพับจากมุมผ้าหรื อจับจีบแบบพัด ส่ วนแบบที่ สอง ผูพ้ บั จะต้องพับผ้าสี่ ทบ และพับจากมุมผ้าหรื อจับจีบเช่นเดียวกับแบบแรก


14

ภาพที่ 7 : การพับและทําลวดลายที่ชายผ้า ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีเป็ นการทําลวดลายที่ชายผ้า ด้วยการพับขอบผ้า แล้วจึงจับจีบหรื อพับให้ซอ้ นกันจน หมดชายผ้า แล้วจึงมัดด้วยเชือกหรื อยางวง

ภาพที่ 8 : การพับมุมแล้วมัด ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีเหมาะกับการย้อมผ้าผืนเล็กๆ เช่นผ้าเช็ดหน้า โดยให้พบั มุมทั้งสี่ ดา้ นเข้าหากัน แล้วมัด ด้วยเชือกโดยรอบ ผลที่ได้จะได้ลวดลายวงกลม โดยจํานวนของวง ขึ้นอยูก่ บั จํานวนของเชือกที่มดั เอาไว้


15

ภาพที่ 9 : การพับผ้าตามขวางแล้วมัด ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ี ผูพ้ บั จะต้องพับผ้าตามขวางให้เป็ นผืนยาวๆ แล้วใช้ยางชนิดเส้นใหญ่ รัดหัวและท้าย ของผ้า ส่ วนตรงกลางให้ใช้ยางเส้นเล็ก ผลที่ได้จะได้ลวดลายเป็ นแนวตั้งสลับอ่อนเข้มเป็ นช่วงๆ ยาว โดยมีจุดเด่นที่ลวดลายแนวขวางตามขนาดของยางที่ใช้มดั

ภาพที่ 10 : การพับแล้วพัน ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ี ผูพ้ บั จะต้องพับผ้าตามแนวขวาง แล้วมัดด้วยด้ายที่ปลายข้างหนึ่งพันให้มีจาํ นวน รอบน้อยๆแล้วค่อยๆเพิม่ จํานวนรอบที่ปลายอีกด้านหนึ่ง เมื่อนําไปย้อมสี ด้านที่พนั ด้วยด้ายจํานวน


16

รอบน้อยๆ จะได้เส้นที่เล็กกว่า ส่ วนด้านที่พนั ด้วยด้ายจํานวนรอบมากๆ จะมีพ้ืนที่ที่ไม่กินสี ใหญ่ กว่า 2. การพับแล้วเย็บ วิธีน้ ีจะคล้ายกับการพับแล้วมัด กล่าวคือ เป็ นการพับผ้าเป็ นรู ปต่างๆ แล้วเย็บเนาด้วยด้าย จากนั้นดึงด้ายให้ตึงแน่นแล้วนําไปย้อม หากใช้ร่วมกับการพับผ้า เป็ นสันทบ ผลที่ได้จะได้ลวดลายที่มีลกั ษณะลายด้านซ้ายและลายด้านขวาจะมีความ ใกล้เคียงกัน โดยมีริ้วเล็กๆแทรกอยูบ่ นลายจากการเย็บของเส้นด้ายนัน่ เอง

ภาพที่ 11 : การพับและเย็บ ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ ผูพ้ บั พับผ้าเป็ นสองชั้นตามขวางแบ่งออกเป็ นสองส่ วน ส่ วนแรกเย็บเป็ นครึ่ งวงกลม 2-3 วง ส่ วนที่สองเย็บเป็ นรู ปครึ่ งหนึ่งของสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน โดยให้รอยพับของผ้าเป็ นแนวทแยง ดึง ด้ายให้ตึงแน่น ผลที่ได้จะได้เป็ นรู ปร่ างเต็มของรอยเย็บที่ตอ้ งการ โดยมีรอยขีดเล็กๆ คัน่ ทัว่ ทั้งรู ป


17

ภาพที่ 12 : การพับและเย็บด้วยเข็มกลัด ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ ผูพ้ บั พับผ้าเป็ นสองชั้น ใช้ดินสอวาดเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมข้าวหลามตัดครึ่ งซี ก โดยมีรอยพับ ของผ้าเป็ นเส้นทแยงมุมของรู ป แล้วใช้เข็มกลัดเย็บขึ้นลงตามรอยดินสอ จากนั้นใช้เชือกมัดตามรอย ที่เย็บจากเข็มกลัด แล้วเลื่อนเข็มหลัดขึ้นไปกลัดด้านบน ทําไปเรื่ อยๆจนสุ ด วิธีน้ ีจะได้รอยสี ที่ ค่อนข้างน้อย เนื่องจากมีพ้นื ที่กินสี นอ้ ย ลวดลายคล้ายกังหันลม


18

ภาพที่ 13 : การพับและเย็บทแยง ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีทาํ ได้โดยการพับผ้าเป็ นรู ปสามเหลี่ยม จากนั้นจับจีบกลับไปมาแล้วเนาตามแนวขวาง สามเส้น ดึงให้ดา้ ยแน่นตึง แล้วจึงนําไปย้อม จะได้ออกมาเป็ นลายเส้นทแยงที่ได้กินสี จากการเย็บ แทรกด้วยลายริ้ วเล็กๆจากการพับและรู ดด้าย

ภาพที่ 14 : การพับและเย็บเป็ นวง ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ


19

วิธีน้ ีทาํ ได้โดยการพับผ้าครึ่ งหนึ่งตามแนวยาวหรื อแนวตั้ง จากนั้นพับครึ่ งอีกครั้งและพับ ตามแนวทแยงจนได้ผา้ เป็ นชิ้นสามเหลี่ยม จากนั้นเย็บด้วยด้ายตามมุมทั้งสาม ดังด้ายให้ตึงแน่นแล้ว พันทับหลายๆรอบ จะได้ออกมาเป็ นลายคล้ายลายดอกเบญจมาศที่มีกลีบเล็กๆซ้อนกันหลายๆกลีบ

ภาพที่ 15 : การพับและเย็บเป็ นแนวทแยง ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีทาํ ได้โดยการพับผ้าครึ่ งหนึ่งตามแนวทแยง จากนั้นเย็บตรงสันทบแล้วรู ดด้ายให้แน่น แล้วพันหลายๆรอบ จากนั้นมัดปลายที่เหลือทั้งสองปลายเป็ นเปลาะๆ จะได้ออกมาเป็ นลายเส้นตัว หนอนตรงสันทบ ผสมกับลายวงตรงมุมผ้า

ภาพที่ 16 : การพับและเย็บมุม ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีทาํ ได้โดยการพับผ้าครึ่ งหนึ่งสองครั้งจนได้เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมเล็กๆ จากนั้นเย็บตามด้านที่ ติดกันสองด้าน รู ดด้ายให้ตึงแล้วมัดให้แน่น จากนั้นมัดปลายผ้าที่เหลือเป็ นเปลาะๆ จะได้ลายเส้น เป็ นจุดเล็กๆเรี ยงกันตามแนวแบ่งครึ่ งผืนผ้า ผสมกับลายวงตามมุมผ้า


20

3. การม้วนแล้วมัด เป็ นการนําผ้ามาม้วนเข้ากับแกนกลางหรื อม้วนแบบไม่มีแกนก็ได้ แล้วมัดให้ได้ตามตําแหน่งที่ตอ้ งการ วิธีน้ ีอาจใช้ร่วมกับการพับ เช่น ม้วนก่อนแล้วจึง ถอดออกจากแกน นํามาพับ แล้วมัด หรื อพับก่อนแล้วนํามาม้วน เสร็ จแล้วถอดออก จากแกนมามัดก็ได้เช่นกัน

ภาพที่ 17 : การม้วนแล้วมัด ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีทาํ ได้โดยการม้วนผ้าโดยให้ขอบด้านใดด้านหนึ่งเป็ นจุดหมุน ม้วนจุดหมดผ้าแล้วจึง นําเชือกหรื อยางวงมามัดเป็ นเปลาะ โดยเริ่ มตั้งแต่จุดหมุนไล่ออกมาด้านนอก เมื่อนําไปย้อมจะได้ เป็ นลายครึ่ งวงกลมโดยมีจุดหมุนเป็ นวงเล็กที่สุด

ภาพที่ 18 : การม้วนแบบมีแกนกลางแล้วมัด ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ


21

วิธีน้ ีทาํ ได้โดยการใช้ไม้ขนาดพอเหมาะ มาห่อด้วยผ้าตรงจุดที่ตอ้ งการให้เกิดลวดลาย แล้ว มัดด้วยเชือกหรื อยางวง ให้ได้ขนาดของลายที่ตอ้ งการ จากนั้นนําไปย้อมสี จะได้ออกมาเป็ นลวดลาย วงกลม โดยมีเส้นแกนของไม้ที่ใช้เป็ นลายแทรกทัว่ ทั้งวง

ภาพที่ 19 : การพับครึ่ งแล้วม้วน ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีทาํ ได้โดยการพับครึ่ งหนึ่งตามแนวตั้งหรื อแนวนอน จากนั้นจึงม้วนตามแนวทแยงแล้ว นําเชือก ด้ายหรื อยางวงมามัดไว้โดยรอบ แล้วจึงนําไปย้อม ลวดลายที่ได้จะมีลกั ษณะคล้ายลาย ใบไม้ โดยมีรอยพับครึ่ งเป็ นเส้นแกนกลาง 4. การห่อแล้วมัด กล่าวคือ เป็ นการใช้ผา้ ห่อวัตถุต่างๆ ไว้แล้วมัดด้วยยางหรื อเชือก หรื อ มัดด้วยวิธีอื่นๆ ก่อน แล้วจึงห่อด้วยวัสดุอื่น เช่นตาข่ายหรื อถุงพลาสติกเจาะรู ลายที่ เกิดขึ้นจะเป็ นลายใหญ่หรื อเล็กขึ้นอยูก่ บั วัตถุที่นาํ มาใช้ และลักษณะของการมัด เช่น การนําผ้ามาห่อก้อนหิ นรู ปทรงแปลกๆ ที่มีขนาดไม่ใหญ่นกั แล้วมัดไขว้ไปมา โดยเว้น จังหวะของการมัดให้มีพ้ืนที่วา่ งให้สีซึมเข้าไปได้ อย่างนี้ก็จะมีลายเกิดขึ้นสวยงาม แตกต่างจากการมัดลักษณะวัตถุอื่นๆ ด้วย


22

ภาพที่ 20 : การห่อก้อนหินแล้วมัด ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีทาํ ได้โดยการนําผ้าไปห่อก้อนหิ น แล้วขยุม้ ให้เป็ นลูกๆ มักรวบผ้าไว้ดว้ ยกันด้วยเชือก หรื อยางวง จะได้ลวดลายวงกลมแบบอิสระ และมีลายหิ นอ่อนบางๆแทรกด้านใน

ภาพที่ 21 : การห่อด้วยถุงตาข่าย ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีสามารถดัดแปลงทําได้หลายแบบ โดยใช้ถุงชนิดไนล่อนหรื อพลาสติกก็ได้ แต่ถุงต้อง มีลกั ษณะเป็ นตาข่ายถี่หรื อห่างเพื่อให้สีซึมเข้าสู่ ตวั ผ้า ทําได้โดยการมัดผ้าให้เสร็ จเรี ยบร้อย แล้ว


23

นํามาใส่ ในถุงตาข่าย จากนั้นมัดปากถุงให้แน่น โดยอาจใส่ ถุงซ้อนกันสองถึงสามชั้นแล้วมัดใหม่ หลังการย้อมในแต่ละครั้งก็ได้

ภาพที่ 22 : การห่อด้วยถุงพลาสติก ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีจะคล้ายกับวิธีการห่อด้วยตาข่าย แต่ต่างกันตรงที่เปลี่ยนวัสดุมาใช้ถุงพลาสติกแทน โดยก่อนที่จะย้อมสี จะต้องใช้เข็มเจาะรู ที่ถุงเสี ยก่อนเพื่อให้สีสามารถซึ มผ่าเข้าไปได้ ผูย้ อ้ มอาจะ เลือกใช้ถุงที่ทนความร้อนสําหรับการย้อมร้อนก็ได้ 5. การขยําแล้วมัด กล่าวคือ เป็ นการขยํา หรื อรวบผ้าเป็ นกระจุก อย่างไม่ต้ งั ใจแล้วมัดด้วย ยางหรื อเชือก ผล ที่ได้จะได้ลวดลายแบบอิสระ เรี ยกว่าลายสวยแบบบังเอิญ ทําแบบนี้ อีกก็ไม่ได้ลายนี้อีกแล้ว เนื่องจากการขยําแต่ละครั้งเราไม่สามารถควบคุมการทับซ้อน ของผ้าได้ ฉะนั้นลายที่ได้เป็ นลายที่เกิดจากความบังเอิญจริ งๆ เปรี ยบเทียบเหมือนกับ การที่เราเห็นก้อนเมฆ ก้อนเมฆแต่ละก้อนจะมีลกั ษณะแตกต่างกัน และเมื่อผ่านสักครู่ ลายหรื อลักษณะของก้อนเมฆก็จะเปลี่ยนไป เราเรี ยกว่าลายอิสระ หรื อรู ปร่ างรู ปทรง อิสระนัน่ เอง


24

ภาพที่ 23 : การพับและหนีบผ้า ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ จับผ้าขึ้นมาเป็ นจุดๆ แล้วมัดด้วยด้ายหรื อยางวง ทําซํ้ากันหลายๆจุด เมื่อนําไปย้อมจะได้ เป็ นลายวงกลมเล็กๆ ที่มีขอบหนาบางตามแต่ความหนาของเชือกที่มดั

ภาพที่ 24 : การขยําแล้วมัด ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีทาํ ได้โดยการจับตรงกลางผืนผ้าขึ้นมากระจุกหนึ่งแล้วมัดด้วยเชือก จากนั้นมัดผ้าเป็ น เปลาะตามมุมทั้งสี่ ของผ้า เมื่อนําไปย้อมจะได้ออกมาเป็ นลายวงกลมตรงกลางผืนผ้าโดยรอบวงกลม จะมีลวดลายแทรกและความหนาที่ไม่เท่ากัน ผสมกับลายเส้นที่มุมทั้งสี่


25

ภาพที่ 25 : การรวบผ้าแล้วมัด ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีทาํ ได้โดยรวบผ้าตามแนวยาวแล้วใช้เชือกมัดรอบๆตลอดความยาวของผ้า จะได้ ลวดลายอิสระตามแนวตั้งแทรกกับลายเส้นเล็กๆ จากการมัดตามแนวนอน 6. พับแล้วหนีบ กล่าวคือ เป็ นการพับผ้าเป็ นรู ปแบบต่างๆ แล้วเอาไม้ หนีบ ไม้ ไอศกรี ม หรื อไม้ไผ่ผา่ บางๆ หนีบไว้ท้ งั สองข้างเหมือนปิ้ งปลา ต้องมัดไม้ให้แน่น ภาพที่ออกมา ก็จะเป็ นรู ปต่างๆ เช่น รู ปดอกไม้ รู ปสี่ เหลี่ยม เป็ นต้น

ภาพที่ 26 : การพับและหนีบผ้า ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ


26

วิธีน้ ี ผูพ้ บั จะต้องพับผ้าตามขวางแล้วม้วนเข้าด้วยกันให้เป็ นผืนยาวๆ ใช้ที่หนีบผ้าหนีบ สลับให้ห่างเท่าๆกัน ผลที่ได้คือส่ วนที่ถูกหนีบจะไม่กินสี เป็ นช่วงๆ มีจงั หวะเข้มอ่อนตามการม่วน และแรงหนีบของไม้หนีบ

ภาพที่ 27 : การพับและหนีบผ้า ที่มา : การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ วิธีน้ ีทาํ ได้โดยพับผ้าตามแนวทแยงมุมแล้วพับอีกครั้งให้ผา้ เป็ นรู ปสามเหลี่ยม แล้วใช้ไม้ หนีบผ้าหนีบตามขอบผ้าให้ทว่ั ผลลัพท์ที่ได้จะได้ลวดลายเป็ นรู ปวงกลมที่มีความอ่อนเข้มของสี ไม่ เท่ากัน การมัดย้อมคือ การกันสี ไม่ให้เข้าถึงเนื้อผ้าที่ตอ้ งการย้อม โดยวิธีการพับ ม้วน ขยํา หนีบ ห่อ เย็บ หรื อผสมหลายๆ วิธีรวมกัน แล้วนํามามัดด้วยเชือกหรื อยางวง จากนั้นจึงนําไปย้อมด้วยสี เดียวหรื อหลายสี เพื่อให้เกิดเป็ นลวดลายที่ตอ้ งการ ซึ่ งแต่ละวิธีการจะให้เอกลักษณ์ของลายที่มีความ แตกต่างกัน ผูย้ อ้ มจึงต้องทําการศึกษา ทดลองวิธีการต่างๆอย่างถี่ถว้ น เพื่อให้แน่ใจว่าจะสามารถ ย้อมออกมาได้เป็ นลวดลายตามที่ตอ้ งการบนผลิตภัณฑ์


27

ส่ วนที่ 3 การสกัดสี ย้อมผ้ าจากธรรมชาติ วิษณุ ดาทอง ( 2553) ได้เขียนบทความเกี่ยวกับการย้อมผ้าด้วยสี ธรรมชาติวา่ สี ธรรมชาติ เป็ นทีที่ได้จากพืช สัตว์และแร่ ธาติต่างๆ สามารถนํามาย้อมได้ท้งั แบบย้อมร้อนและแบบร้อนเย็น สี ธรรมชาติเป็ นสี ที่ตอ้ งอาศัยสารช่วยในการเร่ งกระตุน้ ช่วยให้สีออกเร็ ว และให้สีติดแนบกับเส้นไหม ทําให้สีไม่ตกเวลาซัก ตําบลชุมแสง เป็ นตําบลที่มีฐานทรัพยากรธรรมชาติ ป่ าหัวไร่ ปลายนาอุดมสมบูรณ์ ประกอบด้วย ทุน ฐานเดิม คือภูมิปัญญาชาวบ้านที่ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่ น สู่ รุ่น ที่มีอยูใ่ นชุมชน บวกกับชุมชนแม่บา้ น บ้านสมบูรณ์ ได้รับการพัฒนาองค์ความรู ้จากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน ในการพัฒนาลายผ้า และการย้อมผ้าให้มีความหลากหลายมากยิง่ ขึ้น โดยอาศัยทุนเดิมที่มีอยู่ นํามาปรับปรุ ง จนสามารถนํามาปรับปรุ งแก้ไข นํามาพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่มมูลค่า การย้อมสี ธรรมชาติ เป็ นการลดการใช้สารเคมี ที่ทาํ ให้เกิดโรคต่างๆ ในระบบทางเดิน หายใจ โรคมะเร็ ง โรคผิวหนัง ที่เกิดจากการสะสมของสารเคมี จากการย้อมผ้าด้วยสี เคมี ที่มีกลิ่น ฉุ น แสบจมูก ทําให้เกิดอาการวิงเวียน เป็ นโรคพิษสําแดง ไม่สามารถที่จะย้อมไหมต่อไปได้ จนทํา ให้กลุ่มสตรี แม่บา้ นหันกลับมาย้อมผ้าด้วยสี ธรรมชาติ เพราะสี ธรรมชาติเป็ นสี ที่บริ สุทธิ์ ไม่มีพิษ ต่อร่ างกาย ไม่ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ และผ้าที่ได้มีความโดดเด่นเฉพาะ เวลาทอขึ้นเงา สี ไม่ตก ใส่ สบาย แต่ข้นั ตอนการทํายุง่ ยากและวุน่ วาย ต้องอาศัยทักษะ ความอดทน ความชํานาญ และ ประสบการณ์ ในการย้อมสี แต่ครั้งให้เหมือนกัน ปั จจุบนั กลุ่มสตรี แม่บา้ น ได้ถ่ายทอดองค์ความรู ้ให้กบั เด็ก กลุ่มเยาวชนในหมู่บา้ นที่มี ความสนใจในการย้อมผ้าด้วยสี ธรรมชาติ โดยการพัฒนาเป็ นผ้ามัดย้อม ให้เด็กมีจินตนาการ ออกแบบลาดลาย สี สัน ตามแนวความคิดของตนเอง สร้างสรรค์ผลงานลงบนแผ่นผ้า และอนุรักษ์ รักษาภูมิปัญญาของชุมชนให้คงอยูส่ ื บไป การจัดกลุ่มของสี ธรรมชาติชนิดต่ างๆ แยกเป็ นโทนสี ดังนี้ โทนสี แดง ได้จากครั่ง รากยอป่ า มะไฟ แก่น เมล็ดคําแสด แก่นฝาง เปลือกสมอ ไม้ เหมือด เม็ดสะตีใบสัก เปลือกสะเดา ดอกมะลิวลั ย์ แก่นกะหลํ่า แก่นประดู่ เปลือกส้มเสี้ ยว โทนสี เหลือง ได้จาก หัวขมิ้นชัน ขมิ้นอ้อย แก่นไม้พุด ดอกกรรณิ การ์ รากฝาง ใบ มะขาม ผลดิบมะตูม เปลือกมะขามป้ อม เปลือกผลมังคุด ดอกผกากรอง เปลือกประโหด แก่น เข ใบเสนียด แก่นแค แก่นฝรั่ง หัวไพร แก่นสุ พรรณิ การ์ แกนต้นปี บ ต้นมหากาฬ ใบ ขี้เหล็ก แก่นขนุน ลูกมะตาย ต้นสะตือ ใบเทียนกิ่ง


28

โทนสี น้ าํ ตาล ได้จาก เปลือกไม้โกงกาง เปลือกสี เสี ยด เปลือกพยอม เปลือกผล ทับทิม เปลือกคาง เปลือกโป่ งขาว เปลือกสนทะเล เปลือกแสมดํา เปลือกนนทรี เปลือกฝาด แดง เปลือกมะหาด เปลือกเคี่ยม เปลือกติ้วขน ผลอาราง แก่นคูณ โทนสี น้ าํ เงิน ได้จาก ใบบวบ ใบหูกวาง เปลือกเพกา เปลือกต้นมะริ ด เปลือก สมอ เปลือกกระหูด ใบเลี่ยน เปลือกสมอภิเภก ใบตะขบ โทนสี ดาํ ได้จาก ผลมะเกลือ ผลสมอภิเภก ใบกระเม็ง ผลมะกอกเลื่อม เปลือกรกฟ้ าผล ตับเต่า เปลือกมะเขือเทศ ในหนังสื อ สรานุกรรมวัฒนธรรมภาคใต้ ได้เขียนถึงการย้อมสี ธรรมชาติ ของผ้ามัดย้อม ของ บ้านคีรีวงค์ จังหวัดนครศรี ธรรมราช ไว้ดงั นี้ วัสดุในการสกัดสี ย้อมผ้ าจากธรรมชาติ วัสดุทาํ สี ได้แก่ ใบไม้และเปลือกไม้ เช่น ใบมังคุด ใบเพกา ใบหูกวาง แกนขนุน เปลือกลูก เนียง ฝักสะตอ เปลือกมังคุด เปลือกเงาะ ผ้าฝ้ าย และผ้าลินิน ไม้ไผ่ สําหรับมัดลายผ้าก่อนย้อมสี กะละมังที่ใช้ในการต้มผ้า เชือกใช้สาํ หรับการตากผ้ามัดย้อมสี ธรรมชาติ ผงซักฟอก สําหรับต้มผ้า ก่อนเพื่อสลายไขมันในเนื้อผ้า ผ้าขาวบาง ใช้ในการกรองนํ้าสี ธรรมชาติ ขั้นตอนการสกัดและย้ อมสี ผ้ามัดย้ อมจากธรรมชาติ การย้อมสี เขียวจากเปลือกต้นเพกา เอาเปลือกเพกามาหัน่ หรื อสับให้เป็ นชิ้นเล็ก ๆ นําไป ต้ม 20 นาที ช้อนเอาเปลือกออก ต้มเถาถัว่ แปบเอาแต่น้ าํ ใสเติมลงไปใส่ น้ าํ มะเกลือกเล็กน้อย ใส่ ปูนขาวและใบส้มป่ อยผสมลงไป ทิ้งไว้สักพัก แล้วกรองให้เหลือแต่น้ าํ สี พร้อมที่จะย้อม นําเอานํ้า ย้อมตั้งไฟพออุ่น นํา ผ้าซึ่ งซุ บนํ้าบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ต้มต่อไปนาน 20 นาที จนได้สีที่ ต้องการ ยกผ้าออก ซักนํ้าสะอาดใส่ ราวกระตุกตากจนแห้ง จะได้สีเขียวตามต้องการ การย้อมสี ดาํ จากเปลือกสมอ ให้เอาเปลือกสมอมาต้มเคี่ยวให้แห้งจนงวดพอสมควร ริ น เอาแต่น้ าํ ใส่ หม้อดิน เอาผ้าที่เตรี ยมไว้ลงย้อมขณะที่น้ าํ สี ยงั ร้อนอยู่ จะได้สีดาํ แกมเขียวเข้ม ถ้า ต้องการได้สีเขียว ใช้ผา้ ที่ผา่ นการย้อมสี ครามมาย้อมจะได้สีเขียวตามต้องการ การย้อมสี เขียวจากเปลือกสมอ เอาเปลือกสมอมาต้มเคี่ยวให้แห้งพอสมควร ริ นเอาแต่น้ าํ ใส่ หม้อดิน เอาผ้าที่ผา่ นการย้อมครามมาครั้งหนึ่งแล้ว ลงไปย้อมในนํ้าสี ที่ยงั ร้อนอยู่ ต้มต่อไป ประมาณ 1 ชัว่ โมง หมัน่ กลับผ้าไปมา เพื่อให้สีดูดซึ มอย่างสมํ่าเสมอ พอได้สีตามต้องการยกผ้า ขึ้นกระตุก ตากให้แห้ง จะได้สีเขียวตามต้องการ การย้อมสี จากเปลือกรกฟ้ า โดยการแช่เปลือกต้นรกฟ้ าในปริ มาณพอสมควรไว้นาน 3 วัน แล้วตั้งไฟต้ม ให้เดือด จนเห็นว่าสี ออกหมดดีแล้ว จึงเทนํ้าย้อมใส่ ลงในอ่างย้อมหมักแช่ ไว้ 1 คืน นําเอาเปลือกไม้ผ่ งึ แดด จนแห้ง เก็บไว้ใช้ต่อไป สี เปลือกไม้น้ ีถา้ ถูกต้มจะกลายเป็ นสี ดําได้


29

การย้อมสี กากีแกมเขียวจากเปลือกเพกากับแก่นขนุน เอาเปลือกเพกาสด ๆ มาล้างนํ้า ผึ่ง แดดสัก 2-3 แดด พักทิ้งไว้ เอาแก่นขนุนหัน่ หรื อไสให้เป็ นชิ้นบาง ๆ แบ่งเอามา 1 ส่ วน ผสมกับ เปลือกเพกา 3 ส่ วน ต้มเคี่ยวให้น้ าํ เดือดแล้วกรองเอาแต่น้ าํ เวลาย้อมเติมนํ้าสารส้มเล็กน้อยเพื่อให้ สี ติดดีและทนทาน การย้อมเอาผ้าซึ่ งชุบนํ้าแล้วบิดพอหมาดลงในอ่างย้อมหมัน่ กลับผ้าไปมา เพื่อให้สีติดสมํ่าเสมอ ไม่ด่าง จึงยกผ้าขึ้นซักนํ้าให้สะอาดบิดกระตุก ตาก การย้อมสี น้ าํ ตาลแก่จากเปลือกไม้โกงกาง นําเอาเปลือกไม้โกงกางที่แห้งพอหมาด มาล้าง นํ้าให้สะอาด แช่น้ าํ ไว้ 1 คืน แล้วต้มเคี่ยวไว้ 2 วัน กรองเอาแต่น้ าํ ย้อมใส่ สารเคมีไฮโดรเจน ซัลไฟต์ ผสมลงในนํ้าย้อมเล็กน้อย เพื่อให้สีติดดีข้ ึน เอาผ้าที่ชุบนํ้าพอหมาดจุ่มลงในนํ้าย้อม ตั้งไฟ ต้มนาน 30 นาที ยกผ้าขึ้นซักนํ้า บิดให้แห้ง กระตุกผ้าออกตากแดด การย้อมสี เปลือกไม้โกงกาง แช่เปลือกไม้โกงกางในปริ มาณพอสมควรไว้นาน 3 วัน แล้ว ตั้งไฟต้มให้เดือด จนเห็นว่าสี ออกหมดดีแล้ว จึงเทนํ้าย้อมใส่ ลงใสอ่างย้อม หมักแช่ ไว้ 1 คืน นําเอาเปลือกไม้ผ่ งึ แดดจนแห้งเก็บไว้ใช้ต่อไป สี เปลือกไม้น้ ีถา้ ถูกต้มจะกลายเป็ นสี ดาํ ได้ แต่ทนนํ้าเค็ม การย้อมสี ดว้ ยรากยอ เอารากยอแห้งที่มีอายุสักหน่อย เพื่อจะให้ได้สีเข้มมาสับหรื อหัน่ เป็ นชิ้นเล็ก ๆ นําไปต้มนํ้าเดือด นํ้าสี จะเป็ นสี แดงจึงยกลง กรองเอาแต่น้ าํ สี นําเอาผ้าซึ่ งเตรี ยมจะ ย้อมชุบนํ้าให้เปลือกพอหมาดลงแช่ในนํ้าสี ประมาณ 30 นาที หรื อกว่านั้น หมัน่ ยกผ้ากลับไป กลับมาเพื่อให้สีติดผ้าอย่างทัว่ ถึง แล้วนําผ้าที่ยอ้ มขึ้นจากหม้อบิดพอหมาด นําไปล้างนํ้า สะอาด แล้วผึ่งให้แห้ง จะได้ผา้ ที่ยอ้ มเป็ นสี แดงตามต้องการ การย้อมสี ดว้ ยเมล็ดคําแสด วิธีเตรี ยมสี จากเมล็ดคําแสด แกะเมล็ดออกจากผลที่แก่จดั แช่ นํ้าร้อนหมักทิง้ ไว้หลาย ๆ วัน จนสารสี ตกตะกอน แยกเมล็ดออก นํานํ้าสี ที่ได้ไปเคี่ยวจนงวดเกือบ แห้งแล้วนําไปตากแดด จนแห้งเป็ นผงเก็บไว้ใช้ การย้อมสี ดาํ จากลูกมะเกลือ นําเอาลูกมะเกลือมาตําละเอียด แล้วแช่ในนํ้า ในนํ้าที่แช่น้ ีเอา รากลําเจียก หรื อต้นเบงตําปนกับลูกมะเกลือ แล้วเอาผ้าที่ลงนํ้าแล้วบิดพอหมาด ลงย้อมในนํ้าย้อม สัก 3-4 ครั้ง การย้อมทุกครั้งต้องตากแดดให้แห้งจนเห็นว่าดําสนิทดี ถ้าต้องการให้ผา้ เป็ นเงาใช้งา ดําตําละเอียด นําผ้ามาคลุกเคล้าให้ทวั่ ผึ่งไว้สักพัก กระตุกตาก หรื ออีกวิธีหนึ่งคือ เอาลูกมะเกลือที่ แช่น้ าํ ทิ้งไว้น้ นั ในปริ มาณที่ตอ้ งการมาตําให้ละเอียด พร้อมกับใบหญ้าฮ่อมเกี่ยวแล้วเอาไปแช่ในนํ้า ด่าง (ได้จากต้นมะขามเผาไฟให้เป็ นขี้เถ้า แล้วละลายนํ้ากรองเอานํ้าใส ๆ จะได้น้ าํ ย้อมที่ ต้องการ ) นําเอาผ้าที่ลงนํ้าบิดพอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม ใช้มือช่วยบีบด้วยฝ้ ายเพื่อให้สีดูดซึม อย่างทัว่ ถึง ปล่อยทิ้งสักพักแล้วยกขึ้นจากอ่างนํ้าย้อม ซักให้สะอาดกระตุกตากให้แห้ง การย้อมสี แดงจากดอกคําฝอย นําดอกคําฝอยมาตําให้ละเอียด ห่อด้วยผ้าขาวบางผสมนํ้า ด่างเพื่อให้เกิดสี (นํ้าด่างได้จากการนําต้นผักขมหนามที่แก่จนเป็ นสี แดงหรื อนํ้าตาลมาตากให้แห้ง


30

สนิทแล้วนําไปเผาไฟให้เป็ นขี้เถ้า ผสมกับนํ้าทิ้งให้ตกตะกอน ริ นเอาแต่น้ าํ ใส ๆ มาผสมกับ สี ) ส่ วนวิธียอ้ มทําโดยนําดอกคําฝอยมาต้มให้น้ าํ ออกมาก ๆ จนเหนียว เก็บนํ้าสี ไว้ จากนั้นเอา แก่นไม้ฝางมาไสด้วยกบบาง ๆ แล้วต้มให้เดือดนานประมาณ 6 ชัว่ โมง ช้อนกากทิ้ง เวลาจะย้อม ฝ้ าย นําเอานํ้าย้อมที่ตม้ แล้วทั้งสองอย่างมาเทรวมเข้าด้วยกัน แล้วเติมสารส้มลงไปเล็กน้อย คนให้ เข้ากันดีนาํ ฝ้ ายที่ชุบนํ้าและตีเส้นให้กระจายลงย้อมในอ่างย้อม การย้อมสี เขียวจากใบหูกวาง เอาใบหูกวางมาตําคั้นเอาแต่น้ าํ สี กรองให้สะอาดต้มให้เดือด เอาฝ้ ายที่เตรี ยมไว้ ลงย้อมจะได้เป็ นสี เขียวอ่อน หมัน่ ยกผ้ากลับไปกลับมา เพื่อไม่ให้ผา้ ด่างและสี ย้อมจะได้ติดทัว่ ถึง พอได้ความเข้มของสี ติดผ้าตามต้องการจึงยกขึ้นบิดพ อหมาด ซักนํ้าสะอาดผึ่ง ให้แห้ง การย้อมสี จากคราม ตัดต้นครามมาม้วนและมัดเป็ นฟ่ อน ๆ นําไปแช่น้ าํ ไว้ในภาชนะที่ เตรี ยมไว้ประมาณ 2-3 วัน จนใบครามเปื่ อย จึงแก้มดั ครามออกเพื่อให้ใบครามหลุดออกจากลํา ต้น นําลําต้นทิ้งไป เอาปูนขาวในอัตราส่ วนที่เหมาะสมกันกับนํ้าที่แช่ครามผสมลงไปแทนต้น คราม จากนั้นนําเอาขี้เถ้าซึ่ งได้จากเหง้ากล้วยเผาจนดํา ผสมลงไป ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 คืน จนกว่า นํ้าที่กวนใส ริ นนํ้าที่ใสออกทิ้ง จะได้น้ าํ สี ครามตามต้องการ อาจใช้ผา้ ขาวบางกรองเพื่อจะได้น้ าํ สี ครามที่ละเอียด นําด้ายไปขยําในหม้อคราม พยายามอย่าให้ผา้ พันกัน ให้น้ าํ สี กินเข้าไปในเนื้อผ้า อย่างทัว่ ถึง จนกระทัง่ ได้สีเข้มตามต้องการ จึงยกผ้าขึ้นจากหม้อ บิดให้หมาดล้างนํ้าสะอาด นําไป ขึ้นราวตากให้แห้ง การย้อมสี ชมพูจากต้นมหากาฬและต้นฝาง เอาเปลือกของต้นมหากาฬมาสับให้ละเอียดต้ม ในนํ้าเดือดประมาณ 1 ชัว่ โมง แล้วช้อนเอาเปลือกออก เติมไม้ฝางซึ่งผ่าเป็ นชิ้นเล็ก ๆ ลงไปต้มใน นํ้าเดือดนาน 1 ชัว่ โมง เติมใบส้มป่ อยลงไปอีก 1 กํา ต้มต่อไปอีกเล็กน้อย ช้อนเอากากออกแล้วเติม นํ้าด่างลงไป จะได้น้ าํ ย้อมสี ชมพูจึงเอาผ้าที่ชุบนํ้าบิดพอหมาด จุ่มลงไปในอ่างย้อม ตั้งไฟต้ม นาน 30 นาที ยกขึ้นจากอ่างย้อมนําไปซักนํ้าบิดให้แห้งกระตุกให้เส้นด้ายกระจายตากแดด การย้อมสี เหลืองจากแก่นขนุน นําแก่นขนุนที่แห้งแล้วมาหัน่ หรื อไสด้วยกบเบา ๆ ใช้มือ ขยําให้ป่นละเอียด ห่อด้วยผ้าขาวบาง แล้วต้มประมาณ 4 ชัว่ โมง ดูวา่ สี น้ นั ออกตามความต้องการ หรื อยังเมื่อใช้ได้ชอ้ นเอากากทิง้ กรองเอานํ้าใสเติมนํ้าสารส้มเล็กน้อย เพื่อให้สีติดดี เอาผ้าซึ่ งชุบนํ้า พอหมาด จุ่มลงในอ่างย้อม กลับผ้าไปมานาน 1 ชัว่ โมง เอาขึ้นจากอ่างย้อม ซักนํ้าสะอาดกระตุก ตาก การย้อมสี เหลืองจากแก่นแกแล ใช้ส่วนของแก่นแกแลย้อมผ้าจะได้สีเหลือง ซึ่ งจะมีสาร สี เหลืองชื่อ Morin อยูป่ ระมาณ 1% ให้นาํ เอาแก่นแกแลมาตากให้แห้งแล้วผ่าให้เป็ นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ หม้อต้มเดือด จนนํ้าต้มสี เป็ นสี เหลืองจึงยกลง และนําเอาไปกรองเก็บนํ้าสี ไว้ เอาแกแลที่กรองไว้ ไปต้มนํ้าให้เดือดต่อไปจนได้น้ าํ สี จากแกแล ซึ่งสี อ่อนกว่าหม้อแรก เก็บนํ้าสี ไว้ทาํ แบ บ


31

เดียวกัน จนได้น้ าํ สี ครบ 3 หม้อ จะได้น้ าํ สี ออ่ นสุ ดถึงแก่สุด นําเอาผ้าที่เตรี ยมไว้ลงย้อมในนํ้าสี หม้อ ที่ 3 ซึ่ งเป็ นสี อ่อนสุ ดยกผ้ากลับไปกลับมาเพื่อให้น้ าํ สี เข้าไปในเนื้อฝ้ ายได้ทว่ั ถึงไม่ด่าง ทิ้งไว้สัก พักจึงยกผ้าขึ้นบิดพอหมาด นําไปย้อมในหม้อที่ 2 และหม้อที่ 1 ทําแบบเดียวกัน จนย้อมได้ ครบ 3 หม้อ นําผ้าขึ้นซักนํ้าสะอาดจนสี ไม่ตก เอาเข้ารางผึ่งให้แห้ง


32

บทที่ 3 การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล การวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เรื่ อง ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัดย้อมสี จาก ธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วยการมัด ย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ” โดยผูว้ จิ ยั ได้ทาํ การศึกษาตั้งแต่ ประเภทและรู ปแบบของผ้า มัดย้อม เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลาย รวมถึงการสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ และนํามาสู่ การสกัดสี ยอ้ มผ้าจากพืชธรรมชาติ เพื่อใช้เป็ นวัตถุดิบในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผา้ มัดย้อม ดังต่อไปนี้


33

การสกัดและย้ อมผ้ าด้ วยสี ธรรมชาติ สี ธรรมชาติเป็ นสี ที่ได้จากพืช สัตว์และแร่ ธาตุต่างๆ สามารถนํามาย้อมได้ท้ งั แบบย้อมร้อน และแบบร้อนเย็น สี ธรรมชาติเป็ นสี ที่ตอ้ งอาศัยสารช่วยในการเร่ งกระตุน้ ช่วยให้สีออกเร็ ว และให้สี ติดแนบกับเส้นไหม ทําให้สีไม่ตกเวลาซัก การย้อมสี ธรรมชาติ เป็ นการลดการใช้สารเคมี ที่ทาํ ให้เกิดโรคต่างๆ ในระบบทางเดิน หายใจ โรคมะเร็ ง โรคผิวหนัง ที่เกิดจากการสะสมของสารเคมี จากการย้อมผ้าด้วยสี เคมี ที่มีกลิ่น ฉุ น แสบจมูก ทําให้เกิดอาการวิงเวียน เป็ นโรคพิษสําแดง ไม่สามารถที่จะย้อมไหมต่อไปได้ จนทํา ให้กลุ่มงานหัตถกรรมต่างๆ หันกลับมาย้อมผ้าด้วยสี ธรรมชาติ เพราะสี ธรรมชาติเป็ นสี ที่บริ สุทธิ์ ไม่มีพิษต่อร่ างกาย ไม่ก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ และผ้าที่ได้มีความโดดเด่นเฉพาะ เวลาทอขึ้นเงา สี ไม่ตก ใส่ สบาย แต่ข้นั ตอนการทํายุง่ ยากและวุน่ วาย ต้องอาศัยทักษะ ความอดทน ความชํานาญ และ ประสบการณ์ ในการย้อมสี แต่ละครั้งให้เหมือนกัน การสกัดและย้ อมผ้ าด้ วยสี ธรรมชาติจาก เปลือกต้ นฝาง อุปกรณ์ 1.เปลือกต้นฝาง 2 กิโลกรัม 2.หม้อโลหะ ที่สะอาด และขนาดใหญ่พอเหมาะ 3.ผ้าขาวสําหรับกรอง 4.ถุงมือ

ภาพที่ 28 : อุปกรณ์ในการย้อมผ้าด้วยเปลือกต้นฝาง


34

วิธีการทํา 1. นําเปลือกฝางที่ตากแห้งแล้วนํามาหักๆ หรื อทุบๆ ให้เป็ นชิ้นเล็กๆ 2 กิโลกรัม 2. ตั้งนํ้าในหม้อขนาดใหญ่ รอให้เดือด 3. นํ้าเดือดได้ที่ นํ้าเปลือกต้นฝางที่ทุกไว้ลงไปต้มประมาณ 30 นาที นํ้าจะเกิดสี ม่วงแด งเข้ม 4. ยกหม้อลงพักให้หายร้อน เพื่อนําไปกรองกับผ้าขาวเอาเศษเปลือกไม้ออก 5. นํานํ้าที่กรองเสดมาตั้งให้เดือดใหม่อีกครั้ง คราวนี้รอนํ้าเดือด ให้นาํ ผ้าที่ตดั ไว้ลงไปต้ม ด้วยทิง้ ไว้ประมาณ 10 นาที 6. นําผ้าที่ลงไปต้มกับนํ้าไปแช่น้ าํ เย็น เพื่อล้างสี ออกนิดหน่อย แล้วนําไปตากไว้ ก็จะได้ผา้ สี ออกนํ้าตาล

ภาพที่ 29 : กระบวนการย้อมผ้าด้วยเปลือกต้นฝางและชิ้นงานที่ได้


35

การสกัดและย้ อมผ้ าด้ วยสี ธรรมชาติจาก กระหลํา่ ปลีสีม่วง อุปกรณ์ 1. กระหลํ่าปลีสีม่วง 3 หัว 2. นํ้าสะอาด 3. หม้อต้ม 4. มีด 5. ที่กรอง 6. ตะเกียบ 7. เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ 8. ชาม วิธีการทํา 1. นํากระหลํ่าปลีสีม่วง 3 หัวมาล้างให้สะอาด ซอยกระหลํ่าปลีสีม่วงเป็ นฝอยๆ จากนั้น เตรี ยมนํ้าสะอาดต้มจนเดือด 2. นํากระหลํ่าปลีสีม่วงที่เตรี ยมไว้น้ นั ลงในนํ้าต้มที่เดือดคนไปเรื่ อยๆจนนํ้ากระหลํ่าปลี เป็ นสี ม่วงเข้ม ต้มทิ้งไว้ 30 นาที 3. เมื่อนํ้าย้อมเดือด นําผ้าลงไปย้อมในหม้อ จากนั้นใช้ตะเกียบกดผ้าให้ลงในนํ้าย้อมไป เรื่ อยๆ 4. นําเกลือแกงใส่ ในหม้อนํ้าย้อมผ้าประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ คนให้เกลือกับนํ้าย้อมเข้ากัน และกดผ้าให้ลงในนํ้าย้อมไปเรื่ อยๆ อีกเช่นเคย ทิง้ ไว้ประมาณ 30 นาที 5. จากนั้นนําผ้าและนํ้าย้อมออกมาพักใว้สักครู่ แล้วนําผ้าที่ได้ออกมาตากให้แห้ง


36

ภาพที่ 30 : กระบวนการย้อมผ้าด้วยกระหลํ่าปลีสีม่วงและชิ้นงานที่ได้ การสกัดและย้ อมผ้ าด้ วยสี ธรรมชาติจาก ใบกะเพรา อุปกรณ์ 1. ใบกระเพรา 2 กิโลกรัม 2. นํ้าสะอาด 3. มีด 4. หม้อต้ม 5. ที่กรอง 6. ตะเกียบ 7. เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ 8. ชาม วิธีการทํา 1. ชั้นตอนแรกคือนําใบกะเพรามาสับ หรื อทุบให้ละเอียด


37

2. เมื่อสับหรื อทุบเสร็ จแล้ว นําไปแช่น้ าํ และต้มในเดือด 30นาที 3. เมื่อเสร็ จจึงกรองเอากากออก จะได้น้ าํ สําหรับย้อม 4. หลักจากที่ได้น้ าํ สกัดสี แล้ว นํานํ้าสี ที่ได้ต้ งั ไฟ ใส่ เกลือประมาณ1ช้อนโต๊ะ ใส่ ผา้ ที่ ต้องการย้อมลงต้มในนํ้าเดือดประมาณ 1 ชัว่ โมง 5. เมื่อย้อมและตากให้แห้งก็จะได้ผา้ ที่มีสีเขียวขี้มา ที่ได้จากการสกัดสี จากใบกะเพราที่ สวยงาม

ภาพที่ 31 : กระบวนการย้อมผ้าด้วยใบกระเพรา การสกัดและย้ อมผ้ าด้ วยสี ธรรมชาติจาก เปลือกมะม่ วง อุปกรณ์ 1. มะม่วงดิบ 2. นํ้าสะอาด 3. มีด 4. หม้อต้ม 5. ที่กรอง


38

6. 7. 8. วิธีการทํา 1. 2.

ตะเกียบ เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ ชาม

ปอกเปลือกมะม่วง แล้วนํามาหั้นเป็ นชิ้นเล็กๆนําไปแช่ในนํ้า เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง เมื่อได้แล้ว ก็นาํ เปลือกมะม่วงขึ้นใส่ หม้อตั้งไฟอ่อนๆ เคี่ยวไปเรื่ อยๆ เป็ นเวลา 1-2 ชัว่ โมงจนได้สีที่ตอ้ งการ แล้วนํามากรองด้วยผ้าขาว เพื่อแยกกากมะม่วงออก 3. นําสี สกัดเทลงหม้อย้อมผ้า ตั้งไฟปานกลาง ใส่ เกลือลงไปพอประมาณ 4. นําผ้าลงย้อมในขณะที่ยอ้ มต้องใส่ เกลือลงไปทุกๆ 15 นาที เคี่ยวไปประมาณ 1 ชัว่ โมง 5. นําผ้าขึ้นมาล้างในนํ้าอุ่น 2 รอบแล้วจึงนําไปตากให้แห้ง ก็จะได้สีที่ตอ้ งการ

ภาพที่ 32 : กระบวนการย้อมผ้าด้วยเปลือกมะม่วงและชิ้นงานที่ได้ จากกระบวนการข้างต้น สามารถสรุ ปผลการสกัดสี ยอ้ มผ้าจากพืชธรรมชาติเพื่อใช้เป็ น วัตถุดิบในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผา้ มัดย้อม ได้ดงั นี้


39

1. การสกัดสี ยอ้ มผ้าจากธรรมชาติ สามารถทําได้โดย การเตรี ยมวัตถุดิบที่ตอ้ งการ แล้ว นํามาสับเป็ นชิ้นเล็ก ๆ นําไปต้มในนํ้าสะอาด แล้วนํานํ้าสี ที่ตม้ แล้วมากรองด้วยผ้าขาว บาง จะได้น้ าํ สี เพื่อนําไปย้อมผ้าได้ตามต้องการ 2. สี ที่ได้จากการสกัดวัตถุดิบต่างๆ อาจไม่ได้น้ าํ สี ออกมาเป็ นสี ตามอย่างสี ของวัตถุดิบ นั้นๆ จึงต้องอาศัยการทดลองสกัดหลายๆครั้ง เพื่อศึกษาการสกัดให้ได้สี และระดับ ความเข้มอ่อนของสี ตามต้องการ 3. การเติมเกลือในระหว่างการย้อม มีส่วนช่วยในเรื่ องความคงทนของสี ที่ยอ้ มบน ผลิตภัณฑ์


40

บทที่ 4 สรุ ปผลการออกแบบและข้ อเสนอแนะ ในบทนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ทาํ การสรุ ปผลการวิจยั เรื่ อง “ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัด ย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วย การมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ” โดยเป็ นการสรุ ปผลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลในบท ที่ 1 – 3 ซึ่ งผูว้ จิ ยั ได้นาํ ข้อมูลต่างๆ มาเป็ นแนวทางในการออกแบบลวดลายผ้ามัดย้อมจํานวน 4 ผืน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ผลการย้ อมผ้ าด้ วยสี สกัดจากธรรมชาติ 1. การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากเปลือกต้นฝาง

ภาพที่ 33 : ผ้าพันคอที่มดั ย้อมด้วยสี สกัดจากเปลือกต้นฝาง การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากเปลือกต้นฝาง จะได้ผา้ ที่ยอ้ มเสร็ จแล้วเป็ นสี แดงอมนํ้าตาล เมื่อ นํามามัดย้อมเป็ นผลิตภัณฑ์ผา้ พันคอ ด้วยเทคนิคการเย็บเป็ นจุดเล็กๆทัว่ ทั้งผืน จะได้ออกมาเป็ น ลวดลายคล้ายดอกไม้ดอกเล็กๆ ดูสวยงามน่ารัก


41

2. การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากกระหลํ่าปลีม่วง

ภาพที่ 34 : ผ้าพันคอที่มดั ย้อมด้วยสี สกัดจากกระหลํ่าปลีสีม่วง การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากกระหลํ่าปลีสีม่วง จะได้ผา้ ที่ยอ้ มเสร็ จแล้วเป็ นสี ม่วง เมื่อนํามามัด ย้อมเป็ นผลิตภัณฑ์ผา้ พันคอ ด้วยเทคนิคการมัดปมเล็กๆ ผสมกับหนีบด้วยไม้หนีบผ้า จะได้ทาํ ให้ได้ ด้วยลายเหมือนใบไม้สี่แฉก สลับกับกากบาท เป็ นลายที่ดูทนั สมัย 3. การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากใบกระเพรา

ภาพที่ 35 : ผ้าพันคอที่มดั ย้อมด้วยสี สกัดจากใบกระเพรา


42

การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากเปลือกต้นฝาง จะได้ผา้ ที่ยอ้ มเสร็ จแล้วเป็ นเขียว เมื่อนํามามัดย้อม เป็ นผลิตภัณฑ์ผา้ พันคอ ด้วยเทคนิคการพับแล้วหนีบทัว่ ทั้งผืน จะได้ออกมาเป็ นลวดลายคล้ายสี เหลี่ยมที่แทรกด้วยเส้นสี เล็กๆ 4. การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากเปลือกมะม่วง

ภาพที่ 36 : ผ้าพันคอที่มดั ย้อมด้วยสี สกัดจากเปลือกต้นฝาง การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากเปลือกต้นฝาง จะได้ผา้ ที่ยอ้ มเสร็ จแล้วเป็ นสี น้ าํ ตาลทอง เมื่อ นํามามัดย้อมเป็ นผลิตภัณฑ์ผา้ พันคอ ด้วยเทคนิคการผสมผสานเทคนิคทั้งการเย็บ การพับแล้วมัด และการหนีบ จะได้ลวดลายที่มีความหลากหลาย และทันสมัย สรุ ปผลการวิจัย การวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เพื่อ ศึกษาเรื่ อง “ ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัด ย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วย การมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ” ที่นาํ มาสู่ การออกแบบลวดลายผ้ามัดย้อมจํานวน 4 แบบ โดยลวดลายทั้ง 4 แบบนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ทาํ การศึกษาการสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติจากพืช 4 ชนิด ได้แก่ เปลือกต้นฝาง, กระหลํ่าปลีสีม่วง, ใบกระเพรา และเปลือกมะม่วง แล้วนําหลักการออกแบบ ลวดลายผ้ามัดย้อมเบื้องต้นทั้งการ มัด การพับ การจีบ การห่อหุม้ การหนีบ และการเย็บ นํามา


43

ผสมผสานกันจนเกิดเป็ นลวดลายใหม่ในการย้อมผ้าแต่ละสี จะได้ผลิตภัณฑ์ผา้ พันคอที่มีสีสันและ ลวดลายที่สวยงาม ข้ อเสนอแนะ 1. ในการสกัดสี จากธรรมชาติน้ นั ผูส้ นใจยังสามารถทดลองสกัดจากพืชชนิดอื่นที่ยงั ไม่ เคยมีการนํามาใช้มาก่อน หรื ออาจทดลองผสมสี จากพืชหรื อสัตว์หลายๆ ชนิด เพื่อให้ เกิดเป็ นความรู ้ใหม่ และพัฒนาไปสู่ องค์ความรู ้ที่สามารถเผยแพร่ และนําไปใช้ สร้างสรรค์ผลงานในรู ปแบบอื่นๆ ต่อไปได้ 2. ลวดลายที่เกิดจากการมัดย้อมนั้น ไม่สามารถทําซํ้าให้ออกมาเหมือนเดิมได้อีก จึงเป็ น โอกาสที่ผสู ้ นใจ สามารถเรี ยนรู ้และสร้างสรรค์เทคนิคใหม่ๆ ต่อไปได้อย่างไม่รู้จบ และกลายเป็ นองค์ความรู ้ใหม่ที่จะทําให้งานผ้ามัดย้อมจากสี สกัดธรรมชาติมีความ สนใจต่อคนรุ่ นใหม่ในโอกาสต่อๆไปได้อีกด้วย


44

บทที่ 5 ผลงาน ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย)

(ภาษาอังกฤษ)

ชื่ อ นามสกุลผู้วจิ ัย นาง

ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัดย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบ ลวดลายด้วยการมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ Art of Fabric Patterns Designing by Tie-dyeing using Natural Dyes: Examining only types, forms, techniques, and processes of creating patterns through tie-dyeing and dyes derived from nature. ชนกนาถ มะยูโซ๊ะ อาจารย์ประจําสาขาวิชาการออกแบบเครื่ องแต่งกาย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา

บทคัดย่อ การวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เพื่อ ศึกษาเรื่ อง “ ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัด ย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วย การมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ” ที่นาํ มาสู่ การออกแบบลวดลายผ้ามัดย้อมจํานวน 4 แบบ โดยลวดลายทั้ง 4 แบบนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ทาํ การศึกษาการสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติจากพืช 4 ชนิด ได้แก่ เปลือกต้นฝาง, กระหลํ่าปลีสีม่วง, ใบกระเพรา และเปลือกมะม่วง แล้วนําหลักการออกแบบ ลวดลายผ้ามัดย้อมเบื้องต้นทั้งการ มัด การพับ การจีบ การห่อหุ ม้ การหนีบ และการเย็บ นํามา ผสมผสานกันจนเกิดเป็ นลวดลายใหม่ในการย้อมผ้าแต่ละสี จะได้ผลิตภัณฑ์ผา้ พันคอที่มีสีสันและ ลวดลายที่สวยงาม Abstract This research is a study of “Art of Fabric Patterns Designing by Tie-dyeing using Natural Dyes. Examining only types, forms, techniques, and processes of creating patterns through tie-dyeing and dyes derived from nature.” As a result, four fabric designs are produced.


45

In these four designs, the researcher has studied the process of extracting natural dyes from four types of plants, which are: sappanwood, red cabbage, basil, and mango skin. Basic tiedyeing methods—tying, folding, pleating, wrapping, pinching, and sewing—are then used and combined to create new patterns when dyeing each color. Consequently, products with beautiful colors and patterns which can be used as scarves are produced. หลักการและเหตุผล ผลิตภัณฑ์ผา้ มัดย้อมสี ธรรมชาติเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่ดาํ รงเอกลักษณ์ในรู ปแบบและ สี สัน คือ เส้นใยฝ้ ายที่เป็ นวัตถุดิบจากธรรมชาติ รู ปแบบที่เรี ยบง่ายที่เกิดจากกระบวนการ ออกแบบลวดลาย และสี สันจากวัตถุดิบตามธรรมชาติ สิ่ งเหล่านี้คือเอกลักษณ์ของผ้ามัดย้อมสี ธรรมชาติที่ได้ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษสู่ คนรุ่ นต่อๆมา แต่สิ่งที่เป็ นเอกลักษณ์ของความเรี ยบง่ายนี้ ไม่ได้โดนใจคนไทยหรื อทําให้คนไทยรู ้สึกภาคภูมิแต่อย่างไร แต่กลับไปโดนใจหรื อถูกใจ ชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวญี่ปุ่นแทน คนไทยในยุคหลังๆดูความงามจากผ้าย้อมสี ธรรมชาติไม่ เป็ น กลับเห็นว่าความมืด ความทึม ความทึบ เป็ นความล้าสมัย คนยุคปั จจุบนั ไม่ยอมรับการถ่ายทอดเกี่ยวกับด้านความรู ้สึก ความภาคภูมิใจ หรื อ รสนิยมเพื่อสื บสานต่อจากบรรพบุรุษ และประกอบกับการได้รับอารยธรรมจากตะวันตกในช่วงยุค ที่คนไทยเลียนแบบฝรั่ง จึงมีรสนิยมเป็ นแบบฝรั่งเพราะคิดว่าทันสมัย ตราบใดที่กระแสโลกาภิ วัตน์ยงั คิดเป็ นเช่นนี้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีค่า โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ผา้ มัดย้อมสี ธรรมชาติก็คงเลื่อน หายไปในที่สุด และจะทําอย่างไรให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านผลิตภัณฑ์ผา้ มัดย้อมสี ธรรมชาติยงั คงอยู่ ได้ต่อไป จึงเป็ นเหตุทาํ ให้ผวู ้ จิ ยั เกิดความพยายามจะศึกษากระบวนการออกแบบลวดลายผ้ามัด ย้อมจากสี ธรรมชาติให้มีคุณสมบัติเหมือนสี สังเคราะห์ รวมทั้งแม้กระทัง่ เฉดสี โดยลืมคิดถึง สภาพความแตกต่างทางธรรมชาติซ่ ึ งเป็ นเอกลักษณ์ของสี ธรรมชาติ และมีการนําหลักเกณฑ์ทางสี สังเคราะห์มาใช้กาํ หนดคุณสมบัติกบั สี ธรรมชาติดว้ ย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรื่ องของความคงทน ของสี ยอ้ มซึ่ งมีความแตกต่างกันอย่างมาก มีอยูเ่ ป็ นจํานวนมากก็พยายามปกปิ ดหรื อไม่กล่าวถึงกันโดยเฉพาะเรื่ องที่เกี่ยวกับมลพิษ และสิ่ งแวดล้อม แต่กลับพยายามพูดถึงส่ วนเสี ยของสี ยอ้ มจากธรรมชาติในเรื่ องของความคงทน ของสี ยอ้ มว่ามีความคงทนต้องการซักล้าง ต่อแสงสว่างตํ่า ซึ่ งก็น่าจะมองว่าเป็ นเรื่ องปกติของ ความเปลี่ยนแปลงไปของวัตถุที่เป็ นธรรมชาติ


46

ผ้าสี ธรรมชาติที่ยอ้ มสี ยิง่ ตกยิง่ สวย คนสมัยก่อนย้อมเสร็ จพอตัดเป็ นเสื้ อแล้วนําไปแช่น้ าํ ใช้ไม้ทุบจนนุ่มฟูเป็ นใยนวลยิง่ เก่ายิง่ สวย ขึ้นอยูก่ บั การใช้ของแต่ละคนจะสลับสี อ่อนสี แก่ไว้ ตรงไหนก็งาม เสน่ห์ของผ้าทอมือย้อมสี ธรรมชาติอยูท่ ี่แต่ละชิ้นไม่ซ้ าํ กัน มีชิ้นเดียวในโลก แต่ละ สี ที่ได้เกิดจากภูมิปัญญาพื้นบ้าน และคุณประโยชน์ของพืชพรรณรอบตัว ต้นไม้บางชนิดหายาก หรื อก็หมดไปแล้ว สี ธรรมชาติบางสี ไม่เพียงแต่ให้ความสวยงามเท่านั้น แต่ยงั ช่วยรักษาคุณภาพของ เส้นใยอีกด้วย การใช้ผา้ สี ธรรมชาติควรใช้อย่างถนอม จากการทําโครงการบริ การวิชาการสู่ ชุมชนผูป้ ระสบอุทกภัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน สุ นนั ทาพบว่า ผูป้ ระสบภัยได้รับความเดือดร้อนเป็ นอย่างมากจากอุทกภัยที่ผา่ นมา ผูป้ ระสบภัยบาง คนถูกเลิกจ้าง บางคนสู ญเสี ยเครื่ องมือในการประกอบอาชีพ งานวิจยั เรื่ องนี้ทาํ ขึ้นเพื่อสร้างองค์ ความรู ้ทางด้านการออกแบบลวดลายจากการมัดย้อมสี จากธรรมชาติ ซึ่ งเป็ นการส่ งเสริ มการสร้าง อาชีพ เพิ่มความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน อีกทั้งยังเป็ นการลดมลภาวะจากนํ้าเสี ยซึ่ งได้จากการใช้สี สังเคราะห์ในการย้อมผ้าและยังเป็ นการรักษาสิ่ งแวดล้อมที่ดีให้คงอยูค่ ู่กบั สังคมต่อไป วัตถุประสงค์ ของโครงการวิจัย 1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็ นมา ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการมัดย้อมผ้า 2. เพื่อศึกษาการสกัดสี ยอ้ มจากวัสดุจากธรรมชาติที่สามารถนํามาทําการย้อมผ้าได้ 3. เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบลวดลายผ้าด้วยเทคนิคการมัดย้อม 4. เพื่อเป็ นการเชื่อมโยงกับโครงการบริ การวิชาการที่ส่งเสริ มการสร้างอาชีพ เพิ่มความ เกี่ยวกับการทําผ้ามัดย้อม เข้มแข็งให้กบั ชุมชน 5. เพื่อเป็ นการสร้างองค์ความรู ้ให้สอดคล้องกับการเรี ยนการสอน และพัฒนางาน ออกแบบในหัวข้อการออกแบบและทําผ้ามัดย้อม ในรายวิชา TOD 3212 การ ออกแบบลวดลายและ การสกัดสี จากธรรมชาติ ในรายวิชา TOD 3309 การทอผ้า พื้นเมือง 6. เพื่อจดสิ ทธิ บตั ร เพื่อแสดงความเป็ นมาตรฐานของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา ระเบียบวิธีวจิ ัย เป็ นการวิจยั บริ สุทธิ์ (Pure Research) ศึกษาค้นหาความรู ้ทางวิชาการเพื่อสร้างองค์ความรู ้ เกี่ยวกับศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัดย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วยการมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ


47

กรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย ศึกษาภาค ศึกษา สนทนากลุ่ม

ยืนยันสิ่ งที่

ทําสื่ อ

สร้างองค์

- ผลิตผลงานออกแบบผ้าพันคอด้วยการมัดย้อม ผลการดําเนินงาน การออกแบบลวดลายผ้ามัดย้อมจํานวน 4 ผืน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ชิ้นที่ 1 1. การมัดย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากเปลือกต้นฝาง


48

2. การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากกระหลํ่าปลีม่วง

3. การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากใบกระเพรา


49

4. การย้อมผ้าด้วยสี สกัดจากเปลือกมะม่วง

สรุ ปผลการวิจัย การวิจยั ในครั้งนี้ เป็ นการวิจยั เพื่อ ศึกษาเรื่ อง “ ศิลปะการออกแบบลวดลายผ้าด้วยการมัด ย้อมสี จากธรรมชาติ : ศึกษาเฉพาะ ประเภท รู ปแบบ เทคนิคและกระบวนการออกแบบลวดลายด้วย การมัดย้อมผ้า การสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติ” ที่นาํ มาสู่ การออกแบบลวดลายผ้ามัดย้อมจํานวน 4 แบบ โดยลวดลายทั้ง 4 แบบนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ทาํ การศึกษาการสกัดสี ยอ้ มจากธรรมชาติจากพืช 4 ชนิด ได้แก่ เปลือกต้นฝาง, กระหลํ่าปลีสีม่วง, ใบกระเพรา และเปลือกมะม่วง แล้วนําหลักการออกแบบ ลวดลายผ้ามัดย้อมเบื้องต้นทั้งการ มัด การพับ การจีบ การห่อหุม้ การหนีบ และการเย็บ นํามา ผสมผสานกันจนเกิดเป็ นลวดลายใหม่ในการย้อมผ้าแต่ละสี จะได้ผลิตภัณฑ์ผา้ พันคอที่มีสีสันและ ลวดลายที่สวยงาม ข้ อเสนอแนะ 1. ในการสกัดสี จากธรรมชาติน้ นั ผูส้ นใจยังสามารถทดลองสกัดจากพืชชนิดอื่นที่ยงั ไม่ เคยมีการนํามาใช้มาก่อน หรื ออาจทดลองผสมสี จากพืชหรื อสัตว์หลายๆ ชนิด เพื่อให้ เกิดเป็ นความรู ้ใหม่ และพัฒนาไปสู่ องค์ความรู ้ที่สามารถเผยแพร่ และนําไปใช้ สร้างสรรค์ผลงานในรู ปแบบอื่นๆ ต่อไปได้


50

2. ลวดลายที่เกิดจากการมัดย้อมนั้น ไม่สามารถทําซํ้าให้ออกมาเหมือนเดิมได้อีก จึงเป็ น โอกาสที่ผสู ้ นใจ สามารถเรี ยนรู ้และสร้างสรรค์เทคนิคใหม่ๆ ต่อไปได้อย่างไม่รู้จบ และกลายเป็ นองค์ความรู ้ใหม่ที่จะทําให้งานผ้ามัดย้อมจากสี สกัดธรรมชาติมีความ สนใจต่อคนรุ่ นใหม่ในโอกาสต่อๆไปได้อีกด้วย บรรณานุกรม กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม. ผ้ ามัดย้ อม. กรุ งเทพฯ : กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม.2540. ช่วง มูลพินิจ ( ผูร้ วบรวม ). (ม.ป.ป.). ลายผ้ า. กรุ งเทพฯ : ศูนย์ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม. ดุษฎี สุ นทรารชุน. การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , 2531. ประเสริ ฐ ศีลรัตนา. การออกแบบลวดลาย. กรุ งเทพฯ: โอเดียนสโตร์ , 2538. มณฑา โกเฮง . คู่มือปฏิบัติการวิชา คส 331 วิทยาศาสตร์ สิ่งทอเบือ้ งต้ น . อัดสําเนา . 2545. มณฑา จันทร์ เกตุเลี้ยด วิทยาศาสตร์ สิ่งทอเบือ้ งต้ น . หอรัตนชัยการพิมพ์ , 2541. ยุพินศรี สายทอง . การออกแบบลวดลายผ้าปาเต๊ ะและมัดย้อม . กรุ งเทพฯ : ดี.ดี. บุค๊ สโตร์ , 2532. เสาวนิตย์ กาญจนรัตน์ . การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้ วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ . นครศรี ธรรมราช : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช, 2543. อัจฉราพร ไศละสู ตร ความรู้ เรื่องผ้ า ห้างหุ น้ ส่ วน จํากัด เทคนิค 19,2533. Carol Jouce .Textile Design . 2nded(New York : Watson – Guptill Publications,1993) วิษณุ ดาทอง (2553) http://www.nstda.or.th online http://www.rakbankerd.com/agriculture/webboard/webboard_view_topic.html?id=82 http://kan-ang1.exteen.com/20070920/entry http://dee-01.blogspot.com www.cs.arizona.edu/.../nb41_dye.pdf Shibori : The Inventive Art of Japanese Shaped Resist Dyeing. Kodansha International Ltd, 1999 http://www.oknation.net/blog/kidkids/2009/08/21/entry-5 http://udelec.i8.com/panvade1.htm


51

บรรณานุกรม กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม. ผ้ ามัดย้ อม. กรุ งเทพฯ : กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม.2540. ช่วง มูลพินิจ ( ผูร้ วบรวม ). (ม.ป.ป.). ลายผ้ า. กรุ งเทพฯ : ศูนย์ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม. ดุษฎี สุ นทรารชุน. การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. กรุ งเทพฯ : สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , 2531. ประเสริ ฐ ศีลรัตนา. การออกแบบลวดลาย. กรุ งเทพฯ: โอเดียนสโตร์ , 2538. มณฑา โกเฮง . คู่มือปฏิบัติการวิชา คส 331 วิทยาศาสตร์ สิ่งทอเบือ้ งต้ น . อัดสําเนา . 2545. มณฑา จันทร์ เกตุเลี้ยด วิทยาศาสตร์ สิ่งทอเบือ้ งต้ น . หอรัตนชัยการพิมพ์ , 2541. ยุพินศรี สายทอง . การออกแบบลวดลายผ้าปาเต๊ ะและมัดย้อม . กรุ งเทพฯ : ดี.ดี. บุค๊ สโตร์ , 2532. เสาวนิตย์ กาญจนรัตน์ . การออกแบบลวดลายหัตถกรรมผ้ามัดย้อมด้ วยสี เคมีและสี ธรรมชาติ . นครศรี ธรรมราช : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช, 2543. อัจฉราพร ไศละสู ตร ความรู้ เรื่องผ้ า ห้างหุ น้ ส่ วน จํากัด เทคนิค 19,2533. Carol Jouce .Textile Design . 2nded(New York : Watson – Guptill Publications,1993) วิษณุ ดาทอง (2553) http://www.nstda.or.th online http://www.rakbankerd.com/agriculture/webboard/webboard_view_topic.html?id=82 http://kan-ang1.exteen.com/20070920/entry http://dee-01.blogspot.com www.cs.arizona.edu/.../nb41_dye.pdf Shibori : The Inventive Art of Japanese Shaped Resist Dyeing. Kodansha International Ltd, 1999 http://www.oknation.net/blog/kidkids/2009/08/21/entry-5 http://udelec.i8.com/panvade1.htm


52

ประวัติผ้วู จิ ัย ชื่อ-นามสกุล นางชนกนาถ มะยูโซ๊ะ Mrs. Chanoknart Mayusoh เลขหมายบัตรประจําตัวประชาชน 3 101202053851 ตําแหน่ งวิชาการ อาจารย์ สถานทีท่ าํ งานปัจจุบัน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุ นนั ทา 1 ถนนอู่ทองนอก เขตดุสิต กรุ งเทพ 10300 โทร 0-2160-1382 มือถือ 081-2855880 โทรสาร 0-2160-1393 ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ pook_ka_9@hotmail.com ประวัติการศึกษา ศบ .ม.(นฤมิตศิลป์ – แฟชัน่ และสิ่ งทอ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คศ .บ.(ผ้าและเครื่ องแต่งกาย) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สาขาวิชาการทีม่ ีความชํ านาญพิเศษ 1. สาขาวิชาการออกแบบเครื่ องแต่งกาย 2. สาขาวิชาการออกแบบแพทเทิร์นและการตัดเย็บ ผลงานวิจัยทีส่ ํ าเร็จ 1. 2548 ผลงานวิจยั ในระดับบัณฑิตศึกษา เรื่ อง การออกแบบเครื่ องแต่งกายสตรี โดย ได้รับแรงบัลดาลจากโครงสร้างแพทเทิร์นในยุคสมัยโรโกโก 2. 2553 ชุดไทยพระราชนิยมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช มหาราช 3. 2554 การสร้างสรรค์เครื่ องแต่งกายร่ วมสมัย ด้วยแรงบันดาลใจจากโครงสร้างแพ ทเทิร์นโซฟาในพระที่นงั่ วิมานเมฆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.