OIE SHARE ฉบับที่ 11

Page 1

ปที่ 2 ฉบับที่ 11 เดือนกุมภาพันธ 2556

สำนักงาน OFFICE เศรษฐกิจอุตสาหกรรม OF INDUSTRIAL ECONOMICS

• àµÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁÍصÊÒË¡ÃÃÁä·Â ¨Ò¡¹âºÒ¢Ö鹤‹Òáç¢Ñé¹µíèÒ

µ‹ÍÇѹ·ÑèÇ»ÃÐà·È

300 บาท

• ประสิทธิภาพ

อุตสาหกรรมไทย

กาวไกลดวยปญญา


03

Contents

11

14

Econ Focus

03

Econ Review

09

Sharing

11

Life

13

Movement

15

- àµÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁÍصÊÒË¡ÃÃÁä·Â¨Ò¡¹âºÒ ¢Ö鹤‹Òáç¢Ñé¹µíèÒ 300 ºÒ·µ‹ÍÇѹ·ÑèÇ»ÃÐà·È - »ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ÍصÊÒË¡ÃÃÁä·Â¡ŒÒÇä¡Å´ŒÇ»˜ÞÞÒ

- ÊÃػʶҹ¡Òó ¡ÒüÅÔµÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁ à´×͹¸Ñ¹ÇÒ¤Á áÅÐÀÒ¾ÃÇÁ »‚ 2555 - âËÅÇ«×ÍÇÒ¹Èٹ ¡ÃШÒÂÊÔ¹¤ŒÒ¹Ò¹ÒªÒµÔáË‹§¹¤Ã¤Ø¹ËÁÔ§ - “»‚¹ÕéÁÕÇѹáË‹§¤ÇÒÁÃÑ¡µÑé§ 2 Çѹ”

Editor’s Note

·Õè»ÃÖ¡ÉÒ

ÊÇÑʴդЋ ¤Ø³¼ÙÍŒ Ò‹ ¹·Ø¡·‹Ò¹ ÊíÒËÃѺ©ºÑº¹Õé Econ Focus ·‹Ò¹¨Ðä´Œ·ÃÒº¶Ö§¡ÒÃàµÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁÍصÊÒË¡ÃÃÁä·Â ¨Ò¡¹âºÒÂ¢Ö¹é ¤‹Òáç¢Ñ¹é µíÒè 300 ºÒ·µ‹ÍÇѹ·ÑÇè »ÃÐà·È áÅÐ ÍÕ¡àÃ×Íè §·Õ¹è Ò‹ ʹ㨤×Í»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ÍصÊÒË¡ÃÃÁä·Â ¡ŒÒÇä¡Å ´ŒÇ»˜ÞÞÒ Ê‹Ç¹Ê¶Ò¹¡Òó ¡ÒüÅÔµÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁ »ÃШíÒà´×͹¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2555 ¨Ð໚¹Í‹ҧäþÅԡࢌÒä»´Ùä´ŒàŤ‹Ð ÊíÒËÃѺ¤ÍÅÑÁ¹ Sharing ¨Ð¾Òä»ÃÙŒ¨Ñ¡Èٹ ¡ÃШÒ ÊÔ¹¤ŒÒ¹Ò¹ÒªÒµÔáË‹§¹¤Ã¤Ø¹ËÁÔ§¡Ñ¹¤‹Ð áÅоÅÒ´äÁ‹ä´Œ¡Ñº ¤ÍÅÑÁ¹ Life ã¹»‚¹Õéà´×͹¡ØÁÀҾѹ¸ ÁÕÇѹáË‹§¤ÇÒÁÃÑ¡ µÑ§é 2 Çѹ àÃÒÁÒ´Ù¡¹Ñ ¹Ð¤ÐÇ‹Ò 2 Çѹ·Õ¡è Å‹ÒÇÁÒ¹Õ¨é Ð໚¹¤ÇÒÁÃÑ¡ ã¹ÁØÁÁͧẺä˹ áÅЩºÑº¹Õàé ÃÒÂѧ໠´ÃѺ¤ÇÒÁ¤Ô´àË繢ͧ ·‹Ò¹·Ø¡ª‹Í§·Ò§ ¾º¡Ñ¹ãËÁ‹©ºÑºË¹ŒÒ ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð

³Ñ°¾Å ³Ñ¯°ÊÁºÙó ¼ÙŒÍíҹǡÒÃÊíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ Ë·Ñ ÍÙ‹ä·Â Ãͧ¼ÙŒÍíҹǡÒÃÊíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ¾ÔªÂÑ µÑ§é ª¹ÐªÑÂ͹ѹµ Ãͧ¼ÙÍŒ Òí ¹Ç¡ÒÃÊíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ

ºÃóҸԡÒúÃÔËÒà ÇÒÃÕ ¨Ñ¹·Ã ๵Ã

¡Í§ºÃóҸԡÒà ÈØ ÀÔ ´ Ò àÊÁÁÕ ÊØ ¢ , ÈØ À ªÑ  ÇÑ ² ¹ÇÔ ¡  ¡ ÃÃÁ , ªÒÅÕ ¢Ñ ¹ ÈÔ ÃÔ , ÊÁÒ¹Åѡɳ µÑ³±Ô¡ØÅ, ¢ÑµµÔÂÒ ÇÔÊÒÃѵ¹ , ÈÑ¡´ÔìªÑ ÊÔ¹âÊÁ¹ÑÊ, ¡ØŪÅÕ âËÁ´¾ÅÒÂ, ºØÞ͹ѹµ àÈǵÊÔ·¸Ôì, ÇÃÒ§¤³Ò ¾§ÈÒ»Ò¹

OIE SHARE

ÂÔ¹´ÕÃѺ¿˜§¤ÇÒÁ¤Ô´àËç¹ ¤íÒªÕéá¹Ð áÅТ‹ÒÇ»ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ µ‹Ò§æ µÔ´µ‹Íä´Œ·Õè¡Í§ºÃóҸԡÒà OIE SHARE ¡ÅØ‹Á»ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ áÅкÃÔ¡ÒÃˌͧÊÁØ´ ÊíҹѡºÃÔËÒáÅÒ§ Êíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ·Õè 6 á¢Ç§·Ø‹§¾ÞÒä· à¢µÃÒªà·ÇÕ ¡ÃØ§à·¾Ï 10400 ÍÕàÁÅ : OIESHARE@oie.go.th

¢ŒÍ¤ÇÒÁ·Õè»ÃÒ¡¯ã¹ OIE SHARE ໚¹·ÑȹТͧ¼ÙŒà¢Õ¹


àµÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁÍصÊÒË¡ÃÃÁä·Â ¨Ò¡¹âºÒ¢Ö鹤‹Òáç¢Ñé¹µíèÒ

µ‹ÍÇѹ·ÑèÇ»ÃÐà·È

300 บาท

• ÊíҹѡàÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ไดดําเนินการรวมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอารไอ) ศึกษาผลกระทบตออุตสาหกรรมไทยจากความทาทายดานแรงงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งนโยบาย การขึ้นคาจางแรงงานขั้นตํ่าเปน 300 บาทตอวันทั่วประเทศ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2556 และไดนําเสนอ แนวทางการปรับตัวของผูประกอบการโดยพบวา ที่ผานมาการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยคอนขางประสบ ความสําเร็จจากการใชแรงงานราคาถูกในประเทศ เพื่อดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศมาสรางและ ขยายเครือขายการผลิตจนสามารถผลิตสินคาสงออกไดมูลคามหาศาล แตอุตสาหกรรมไทยกําลังเผชิญหนา กับความทาทายมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งความทาทายดานแรงงาน ไมวาจะเปนการขาดแคลนแรงงาน ในประเทศทั้งดานปริมาณและคุณภาพ แรงกดดันจากการแขงขันกับประเทศจีนที่กําลังเผชิญอยูในปจจุบัน และอินเดียซึ่งกําลังพัฒนาภาคอุตสาหกรรมมาแขงขันในอนาคต ตลอดจนนโยบายการขึ้นคาจางแรงงาน ขั้นตํ่าเปน 300 บาทตอวันทั่วประเทศ

03


ผลการศึกษาพบวา นโยบายการขึ้นคาจางแรงงานขั้นตํ่าเปน 300 บาทต อ วั น ทั่ ว ประเทศ อาจจะส ง ผลกระทบต อ ผลผลิ ต อุตสาหกรรม การจางงาน ราคาสินคา รวมทัง้ การสงออก โดยเฉพาะ อยางยิ่งอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานเขมขนไมวาจะเปนอุตสาหกรรม สิง่ ทอ เครือ่ งนุง หม เครือ่ งหนัง และไม ตัวอยางเชน หากผูป ระกอบ การไมสามารถปรับตัวได นโยบายดังกลาวจะสงผลใหผลผลิตของ อุตสาหกรรมเครื่องนุงหมลดลงประมาณรอยละ 9 การจางงานจะ ลดลงประมาณรอยละ 25 โดยคาจางแรงงานทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ดังกลาวจะ กดดันใหราคาสินคาเครื่องนุงหมไทยจะสูงขึ้นประมาณรอยละ 3 ซึ่งจะสงผลใหการสงออกเครื่องนุงหมลดลงเกือบรอยละ 20 และ อาจเสียตลาดใหกบั ประเทศคูแ ขง เชน ประเทศในกลุม อาเซียนและ เอเซียใตได ในภาพรวม อุตสาหกรรมไทยจะตองเพิม่ ผลิตภาพแรงงาน ใหไดอกี รอยละ 8.4 เพือ่ ใหเศรษฐกิจไทยไมไดรบั ผลกระทบดานลบ ดังกลาว โดยเสนอแนวนโยบายในการปรับตัวใหกบั ผูป ระกอบการ ไดแก 1.) นอกจากสิทธิประโยชนดา นภาษีศลุ กากรภายใตความตกลง การคาเสรี (FTA) แลว ผูประกอบการควรใชประโยชนจากความ เชื่อมโยงที่มีอยูในภูมิภาค ไดแก ความเชื่อมโยงระบบคมนาคมขนสง ในภูมภิ าค รวมถึงการอํานวยความสะดวกในการขนสงขามพรมแดน

04

ซึง่ สามารถลดระยะเวลาและคาใชจา ยในการขนสงไดอยางมีนยั สําคัญ และหากวางแผนอยางรอบดาน ผูประกอบการจะสามารถกระจาย การผลิตทีใ่ ชแรงงานอยางเขมขนไปยังประเทศเพือ่ นบานได พรอมกับ การใชสิทธิประโยชนดานภาษีศุลกากรในการนําเขาวัตถุดิบและ สงออกสินคาไดอยางเต็มที่ ไมวาจะเปนกัมพูชา ลาว เมียนมาร และ เวียดนาม เนือ่ งจากประเทศเหลานี้เปนตลาดเกิดใหมที่นาสนใจ และ ในปจจุบันมีการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดนของ ประเทศเหลานี้เพื่อรองรับการตั้งโรงงานผลิตแลวหลายแหง 2.) อุตสาหกรรมไทยจําเปนตองยกระดับการผลิตใหสราง มูลคาเพิ่มดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่งเปนสิ่งที่ภาคเอกชน ของไทยยังใหความสําคัญนอยมาก ดังจะเห็นไดจากการลงทุนดาน การวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนไทยยังตํ่ากวาหลายประเทศ เชน มาเลเซีย จีน และเกาหลีใต เปนตน แมวาจะมีผูประกอบการจํานวน หนึ่งที่ประสบความสําเร็จ เชน สามารถวิจัยและพัฒนาวัตถุดิบสิ่งทอ ตามความตองการของตลาด หรือออกแบบเสื้อผาจนสามารถสราง แบรนด ชั้ น นํ า ขึ้ น มาได แต ยั ง มี ผู  ป ระกอบการอี ก จํ า นวนมากที่ ไมสามารถยกระดับตัวเองได เนือ่ งจากขาดเงินทุน ทักษะดานการตลาด การออกแบบ และการบริหารจัดการหวงโซอุปทาน


3.) การเพิ่มผลิตภาพแรงงานโดยการสงเสริมการฝกอบรม ทักษะและทัศนคติในการทํางานแกแรงงานตามที่ตองการจริงๆ รวมทัง้ การสนับสนุนใหมกี ารนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาใชเพือ่ ลดตนทุน ตลอดจนการออกมาตรการใหผปู ระกอบการลดการ ใชพลังงานในลักษณะการจูงใจ แทนที่จะเนนเพียงแคการกํากับดูแล นอกจากนี้ ควรพัฒนาการเชื่อมโยงระหวางไทยกับประเทศ เพื่ อ นบ า นแถบลุ  ม แม นํ้ า โขง (Greater Mekong Sub-region : GMS) โดยการ ปรับปรุงคุณภาพระบบคมนาคมขนสงโดย เฉพาะถนนและรางรถไฟ และผลักดันให เกิ ด การบั ง คั บ ใช ค วามตกลงด า นการ อํานวยความสะดวกการคาระหวางกัน (Cross Border Transport Agreement : CBTA) โดยสมบูรณ

ที่มาขอมูล : โครงการเพิ่มขีดความสามารถภาคอุตสาหกรรม ภายใตนโยบายเศรษฐกิจระหวางประเทศของไทย (ระยะที่ 3), ตุลาคม 2555

05


ประสิทธิภาพ

อุตสาหกรรมไทย

กาวไกลดวยปญญา • Êíҹѡ¹âºÒÂÍصÊÒË¡ÃÃÁËÀÒ¤

ทามกลางบริบทการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลกที่มีความผันผวน การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทย ใหดํารงอยูไดอยางมั่นคงยั่งยืน สามารถพึ่งตนเองและเติบโตไดอยางมีเสถียรภาพทัดเทียมนานาประเทศ จําเปนตองมีกลยุทธการพัฒนาทีใ่ ชปจ จัยภายในเปนตัวขับเคลือ่ น ซึง่ ก็คอื การพัฒนาโดยการเพิม่ ประสิทธิภาพ และผลิตภาพ (Productivity) ควบคูกับการยกระดับปจจัยพื้นฐานดานองคความรู การวิจัยและพัฒนา นวัตกรรม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ซึง่ นับเปนการขับเคลือ่ นปจจัยภายในทีส่ าํ คัญ เพือ่ เตรียมพรอมรับมือ กับความผันผวนของสถานการณภายนอกในทุกรูปแบบ โดยอาศัยความรวมมือและบูรณาการกันระหวาง ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา อันจะนําไปสูการสรางภูมิคุมกันและการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันของประเทศอยางยั่งยืน จากทิศทางดังกลาวขางตน กระทรวงอุตสาหกรรม โดยสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ไดจัดทําแผนแมบทการเพิ่มประสิทธิภาพ และผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม (Productivity) และแผนแมบทโครงสรางพื้นฐานทางปญญา (Intellectual Infrastructure : II) พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555 ตามมติคณะรัฐมนตรีในป พ.ศ. 2550 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมพัฒนา ยกระดับศักยภาพในการเตรียมความ พรอมองคกร และบุคลากรของภาคอุตสาหกรรมสูเศรษฐกิจฐานความรูดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี สรางนวัตกรรมและความแตกตาง ในตัวผลิตภัณฑ และกระบวนการผลิต เพือ่ การยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันไดอยางยัง่ ยืน รวมถึงการสรางโรงงานตนแบบทีน่ อ มนํา แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชในการพัฒนาองคกรภาคอุตสาหกรรม ซึง่ สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2559) ที่มุงเนนการพัฒนาประเทศในทุกภาคสวนบนฐานความรู ความคิดสรางสรรคและภูมิปญญา และ การใชทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมอยางมีประสิทธิภาพและเปนธรรม โดยสํานักงานฯ รวมกับสถาบันเครือขายของกระทรวง อุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษาไดดําเนินโครงการภายใตแผนแมบททั้งสองแผน มาตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2551 จนถึง พ.ศ. 2555

06


แผนแมบทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม (Productivity)

มีโครงการภายใตแผนแมบท Productivity จํานวนทัง้ สิน้ 125 โครงการ ภายใตงบประมาณกวา 1,200 ลานบาท ซึง่ ผลของการดําเนินงาน มาครบ 5 ป พบวาสถานประกอบการเขารวมโครงการประสบความสําเร็จเหนือเปาหมายที่วางไว โดยดานการเพิ่มประสิทธิภาพและ ผลิตภาพของอุตสาหกรรมรายสาขา สามารถขยายการสงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขาครอบคลุมเกือบ 30 สาขาอุตสาหกรรม เพิม่ ประสิทธิภาพและผลิตภาพดานการบริหารจัดการและการผลิตกวา 3,500 โรงงาน สวนโครงการทีม่ งุ เนนการยกระดับการบริหารจัดการ กอใหเกิดการลดตนทุน โดยลดความสูญเสียในการใชทรัพยากร ลดการจัดเก็บสินคาคงคลัง ลดคาใชจายในการซอมบํารุง รักษาเครื่องจักร ลดรายจายดานพลังงานในสาขาอุตสาหกรรมตางๆ คิดเปนตนทุนการผลิตทีล่ ดไดประมาณรอยละ 33 หรือคิดเปนมูลคาเพิม่ ประมาณ 2,700 ลานบาทตอป และเกิดสถานประกอบการตนแบบทีน่ อ มนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชกบั อุตสาหกรรม จํานวน 30 โรงงาน นอกจากนี้ ยังมีการสงเสริมใหสถานประกอบการไดรับการรับรองระบบคุณภาพมาตรฐาน อาทิ HACCP, ISO 9001, ISO 14001, ISO 17025, ISO 22000, ISO 29110, ISO/TS 16949, CARBON LABEL และมาตรฐาน BRC จํานวนกวา 600 โรงงาน โดยเฉพาะมาตรฐาน CARBON LABEL สามารถลดการปลอยคารบอนไดออกไซด ประมาณ 35,000 ตัน อีกทัง้ ยังมีการพัฒนาสถานประกอบการใหมขี ดี ความสามารถ ในการพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑใหมภายใตตราสินคาของตนเองได 7 กลุมอุตสาหกรรม จํานวนกวา 270 รายการ คิดเปนมูลคาทาง เศรษฐกิจประมาณ 250 ลานบาท ดานการพัฒนาศักยภาพและเพิม่ ทักษะแรงงาน มีการพัฒนาบุคลากรภาคอุตสาหกรรมกวา 95,000 คน และพัฒนาหลักสูตร จํานวน 400 หลักสูตร ดานการพัฒนาระบบบริหารจัดการโลจิสติกส และ Supply Chain มีการพัฒนาระบบสารสนเทศ Logistic และ Supply Chain เชน RosettaNet System, MPIPS และ smERP และสงเสริมการรวมกลุมอุตสาหกรรมเพื่อสรางความไดเปรียบทางการแขงขัน จํานวน 3 กลุมอุตสาหกรรม ไดแก เฟอรนิเจอรไมและเครื่องเรือน สิ่งทอและเครื่องนุงหม และอูตอเรือและอุตสาหกรรมสนับสนุน

07


แผนแมบทโครงสรางพื้นฐานทางปญญา (Intellectual Infrastructure : II)

มีโครงการภายใตแผนฯ ทั้งสิ้น 24 โครงการ ภายใตงบประมาณกวา 280 ลานบาท โดยตัวอยางความสําเร็จจากการดําเนินโครงการ ตลอด 5 ป มีดังนี้ ดานเสริมสรางศักยภาพการวิจัยและพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม สามารถพัฒนาโดยนําองคความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาตอยอดในเชิงพาณิชย เพือ่ ลดการนําเขาวัตถุดบิ เทคโนโลยี และเครือ่ งจักร รวมทัง้ สงเสริมใหสถานประกอบการสรางและพัฒนาผลิตภัณฑ เชิงนวัตกรรม จํานวนกวา 170 โรงงาน ดานการนําผลงานวิจยั ไปพัฒนาเปนผลิตภัณฑ สามารถวิจยั และพัฒนาพืชเศรษฐกิจเชิงพาณิชยครบวงจร และมีการวิจยั และพัฒนา ในอุตสาหกรรมเหล็ก รวมทั้งสิ้นจํานวน 11 ผลงานวิจัย รวมทั้งมีการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑใหม จํานวนกวา 170 ผลิตภัณฑ ดานการพัฒนาออกแบบนวัตกรรม มีการวิจยั และพัฒนาเพือ่ สรางระบบสมองกลฝงตัวตนแบบ (Embedded System) ในอุตสาหกรรม ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส และนําไปประยุกตใชในโรงงานอุตสาหกรรม ดานการพัฒนาบุคลากร มีการพัฒนาบุคลากรสูเศรษฐกิจฐานความรูกวา 1,500 คน เชน การฝกอบรมดานการออกแบบผลิตภัณฑ และกระบวนการผลิตเชิงนวัตกรรม จากการดําเนินโครงการภายใตแผนแมบทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม (Productivity) และแผนแมบท โครงสรางพืน้ ฐานทางปญญา (Intellectual Infrastructure) ตัง้ แตป พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2555 พบวาสถานประกอบการทีเ่ ขารวมโครงการลวน ประสบผลสําเร็จดีเกินเปาหมาย แตดวยงบประมาณที่มีจํากัด ทําใหการขยายผลในภาพรวมอาจยังไมชัดเจนนัก ดังนั้นภายใตการแขงขันที่ ทวีความรุนแรงขึ้นในอนาคต ซึ่งจะแขงขันกันที่แรงงานที่มีฝมือ องคความรู ภูมิปญญา และนวัตกรรม ภาครัฐและทุกภาคสวนในสังคมจะ ตองรวมกันขับเคลือ่ นการพัฒนาอยางจริงจัง เพือ่ ชวยเสริมสรางความแข็งแกรงของภาคอุตสาหกรรมไทยใหสามารถปรับตัวเพือ่ ยกระดับขีด ความสามารถในการแขงขันใหทดั เทียมนานาประเทศ โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาสูเ ศรษฐกิจฐานความรู ใชปจ จัยทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม เปนกลไกขับเคลือ่ นการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพ (Productivity) ของภาคอุตสาหกรรม ภายใตความรวมมือ บูรณาการกันระหวางภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อใหเกิดพลังขับเคลื่อนที่สามารถรวมกันวิเคราะห รับรู เพื่อปองกันและแกไขปญหา รวมทั้ง สรางภูมคิ มุ กันทีด่ แี กภาคอุตสาหกรรมไทยใหแขงขันได ทามกลางการเปลีย่ นแปลงของเศรษฐกิจโลก และเตรียมพรอมรับมือกับการเปดเสรี ทางการคาจากการรวมกลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่กําลังจะเกิดขึ้นในป พ.ศ. 2558

08


ÊÃػʶҹ¡Òó ¡ÒüÅÔµÀÒ¤ ÍصÊÒË¡ÃÃÁà´×͹¸Ñ¹ÇÒ¤Á áÅÐÀÒ¾ÃÇÁ»‚ 2555 Èٹ ÊÒÃʹà·ÈàÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ÊíҹѡÇÔ¨ÑÂàÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁ

ารผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนธันวาคม 2555 ขยายตัวรอยละ 23.4 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกัน ของปกอน เปนการขยายตัวตอเนื่องจากเดือนตุลาคม อั น เป น ผลมาจากนโยบายกระตุ  น การบริ โ ภคภายใน ประเทศสงผลตอการกระตุนเศรษฐกิจ และการลงทุนใน โครงสรางพื้นฐานของประเทศ อีกทั้งฐานปกอนตํ่า

การผลิตทั้งป 2555 กลับมาขยายตัวหลังจากที่หดตัวในป 2554 โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมป 2555 ขยายตัว อยูที่รอยละ 2.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ซึ่งเปนผลจากการฟนตัวของภาคอุตสาหกรรมหลังจากเกิดอุทกภัย ครั้งใหญเมื่อปลายป 2554 การผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวในเดือนธันวาคม 2555 โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัว รอยละ 23.4 เมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันของปกอ น เปนการขยายตัวตอเนือ่ งตัง้ แตเดือนตุลาคม อันเปนผลมาจากนโยบายรัฐบาลทีก่ ระตุน การบริโภคภายในประเทศ สงผลตอการกระตุน เศรษฐกิจ และการลงทุนในโครงสรางพืน้ ฐานของ ประเทศ อีกทัง้ เหตุการณอทุ กภัยในปกอ นทีส่ ง ผลกระทบตอการผลิต ภาคอุตสาหกรรมทําใหฐานตํ่าในปกอน อุตสาหกรรมที่ขยายตัวมาก 3 อันดับแรก ไดแก อุตสาหกรรม Hard Disk Drive ยานยนต และ ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส โดยดัชนีผ ลผลิ ต อุ ต สาหกรรมการผลิ ต Hard Disk Drive ในเดือนธันวาคม 2555 ขยายตัวรอยละ 60.7 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปกอน อุตสาหกรรมยานยนต ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมยานยนตใน เดือนธันวาคม 2555 ขยายตัวรอยละ 121.4 เมื่อเทียบกับเดือน เดียวกันของปกอน เนื่องจากนโยบายรถคันแรก ทําใหผูผลิตเรงการ ผลิตตามคําสั่งซื้อ อุ ต สาหกรรมชิ้ น ส ว นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ดั ช นี อุ ต สาหกรรม การผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสในเดือนธันวาคม 2555 ขยายตัว รอยละ 27.9 เมือ่ เทียบกับเดือนเดียวกันของปกอ น เนือ่ งจากฐานตํา่ ในสวนของดัชนีสินคาสําเร็จรูปคงคลังในเดือนธันวาคม 2555 ขยายตัวรอยละ 9.7 การจําหนายสินคาอุตสาหกรรมในเดือนธันวาคม 2555 ดัชนีการสงสินคาขยายตัวรอยละ 38.2 สอดคลองกับการผลิต และการสงออกที่ขยายตัว สําหรับการใชแรงงานในภาคอุตสาหกรรมในเดือนธันวาคม 2555 ยังคงขยายตัวตอเนื่องตั้งแตเดือนตุลาคมและสอดคลองกับ การผลิตภาคอุตสาหกรรม โดยดัชนีแรงงานอุตสาหกรรมขยายตัว รอยละ 3.8 การผลิตภาคอุตสาหกรรมป 2555 กลับมาขยายตัวหลังจากที่ หดตัวในป 2554 โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมป 2555 ขยายตัว

อยูที่รอยละ 2.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ซึ่งเปนผลจาก การฟนตัวของภาคอุตสาหกรรมหลังจากเกิดอุทกภัยครั้งใหญเมื่อ ปลายป 2554 สงผลใหอัตราการใชกําลังการผลิตเพิ่มขึ้นจากปกอน มาอยูที่ 65.23 การผลิตในสาขายานยนตเปนอุตสาหกรรมหลักที่ทําใหดัชนี ผลผลิตป 2555 ขยายตัว โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมยานยนตเฉลีย่ ทั้งปขยายตัวรอยละ 73.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เปนการขยายตัวตอเนื่องตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2555 หลังจากมี ปญหาในการผลิตจากอุทกภัยครัง้ ใหญเมือ่ ปลายป 2554 ทําใหมกี าร เรงผลิตเพือ่ สงมอบรถยนตจากคําสัง่ ซือ้ ทีค่ า งในชวงนํา้ ทวม ประกอบ กับนโยบายรถคันแรกของรัฐบาลทําใหความตองการของผูบ ริโภคเพิม่ มากขึ้น และอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องปรับอากาศ ดัชนีผลผลิต เฉลี่ยทั้งป 2555 ขยายตัวรอยละ 7.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอ น จากการฟน ตัวหลังนํา้ ทวม รวมถึงความตองการทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก สภาพอากาศที่รอน สําหรับอุตสาหกรรมสําคัญอืน่ ๆ ทัง้ การผลิต Hard Disk Drive การผลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส และการผลิตสิง่ ทอตนนํา้ ดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรมเฉลี่ยทั้งป 2555 ยังคงหดตัวรอยละ 16.4, 21.2 และ 10.4 ตามลําดับ เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน เนื่องจาก อุตสาหกรรมดังกลาวไดรับผลกระทบจากอุทกภัย ประกอบกับการ ฟนฟูโรงงานในอุตสาหกรรมชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส และ Hard Disk Drive ใหกลับมาผลิตไดปกติคอ นขางชา ทําใหการผลิตหดตัวตอเนือ่ ง มาตั้งแตปลายป 2554 การจําหนายสินคาอุตสาหกรรมของป 2555 กลับมาขยายตัว เชนเดียวกับการผลิต โดยดัชนีการสงสินคาเฉลี่ยป 2555 ขยายตัว รอยละ 11.1 โดยไตรมาสที่ 4 ขยายตัวถึงรอยละ 60.4

09


สําหรับการใชแรงงานในภาคการผลิตป 2555 หดตัวเชนกัน โดยดัชนีแรงงานในภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ยของป 2555 หดตัวรอยละ 0.6 ซึ่งเปนผลมาจากการผลิตในบางสาขาอุตสาหกรรมที่กลับมาขยายตัวขณะที่บางอุตสาหกรรมการผลิตโดยเฉลี่ยยังหดตัว ทําใหเกิดการจาง  แรงงานในภาคการผลิตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปกอน   







 







  













  

                         



                       





   







      











  



 

      



 



















     







   

  

 





 



    

 



   



 



       

     



 280.0 240.0



200.0 160.0 120.0 80.0 40.0 0.0 -40.0 -80.0

        



               





 







  

       





  

                





                  











        



     

                

   





  

                

 

10

900.0 800.0 700.0 600.0 500.0 400.0 300.0 200.0 100.0 0.0 -100.0 -200.0


โหลวซือวาน

ÈÙ ¹  ¡ ÃШÒÂÊÔ ¹ ¤Œ Ò ¹Ò¹ÒªÒµÔ á Ë‹ § ¹¤Ã¤Ø ¹ ËÁÔ § • ÊíҹѡàÈÃÉ°¡Ô¨ÍصÊÒË¡ÃÃÁÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È

โหลวซือวาน นครคุนหมิง (Kunming Lousiwan International Trade City) มณฑลยูนนาน จัดเปน ศูนยกระจายสินคานานาชาติและเปนตลาดคาสงสินคาใหญเปนอันดับสองของสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยจําลองรูปแบบมาจากตลาดคาสงอี้อู แหงมณฑลเจอเจียงซึ่งมีขนาดใหญเปนอันดับหนึ่งของประเทศจีน โครงการนี้เริ่มกอสรางมาตั้งแตป 2008 มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 5,000 ไร พื้นที่ใชสอยเปนอาคารตางๆ ประมาณ 3,000,000 ตารางเมตร ดวยเงินลงทุนโครงการมากกวา 9,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ ประกอบดวย ศูนยคาสงสินคา ศูนยจัดแสดงสินคา โกดังเก็บสินคา ที่อยูอาศัย คอนโดมิเนียม โรงแรม สันทนาการ และ ภัตตาคาร โดยมีระบบขนสงโลจิสติกสที่ครบวงจรรองรับอยางพรั่งพรอม ไดแก รถโดยสารไฟฟา รถยนต โดยสารระหวางเมือง และสนามบินนานาชาติแหงใหมทใี่ หญเปนอันดับทีส่ ขี่ องประเทศ รองจากปกกิง่ เซีย่ งไฮ และ กวางโจว ดวยการผลักดันของรัฐบาลจีนอยางตอเนื่องที่จะพัฒนานครคุนหมิงเปนประตูสูอาเซียนและ เอเชียใต โดยนครคุนหมิงจะกลายเปนศูนยกลางการคา การลงทุน การทองเที่ยว และระบบขนสงโลจิสติกส ที่สําคัญที่สุดเมืองหนึ่งในภาคตะวันตกของจีน ด ว ยความที่ จี น มั ก จะไม คุ  น เคยกั บ การทํ า สิ่ ง เล็ ก ๆ น อ ยๆ อันเนือ่ งมาจากจํานวนประชากร พืน้ ที่ และเศรษฐกิจทีม่ ขี นาดใหญ หากเปรี ย บเที ย บเฉพาะพื้ น ที่ ข องศู น ย ค  า ส ง สิ น ค า โหลวซื อ วาน คงเหมือนการรวบรวมนําเอาศูนยคา สงตางๆ ในตลาดประตูนาํ้ ตลาดนัด จตุจกั ร และศูนยการแสดงสินคาอิมแพคเมืองทองธานีทงั้ หมดมารวม ไวในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน แตมขี นาดพืน้ ทีใ่ หญโตและกวางขวางกวาประมาณ 4 เทา โดยไดแบงพืน้ ทีข่ องแตละชนิดสินคาไวอยางชัดเจน กลาวคือ ชัน้ 1 สินคาเสือ้ ผาแฟชัน่ ชาย หญิง ชัน้ 2 รองเทา กระเปา เครือ่ งหนัง ชัน้ 3 และ ชัน้ 4 ผาผืน สิง่ ทอรูปแบบตางๆ ชัน้ 5 สินคาทัว่ ไป รวมทัง้ ศูนย จําหนายสินคาจากนานาชาติ ซึง่ ขณะนีผ้ ปู ระกอบการไทยไดเล็งเห็น อนาคตของศูนยคาสงสินคาแหงนี้และไดมีการเชาพื้นที่เพื่อเปนจุด

จําหนายสินคาไทยหลากหลายชนิด ไดแก ของใชของตกแตงบาน ผาทอ อาหารสําเร็จรูป ขนมขบเคีย้ ว สินคาจากศูนยศลิ ปาชีพ เปนตน วากันวา รานคาในศูนยคา สงแหงนี้ มีจาํ นวนถึง 120,000 ราน หากใชเวลาเขาไป เยีย่ มชมใหครบทุกรานเพียงรานละ 5 นาที จะใชเวลารวมทัง้ สิน้ 6 แสน นาที หรือ 416 วัน หรือเดินชมรวมเวลาเทากับ 1 ป กับอีก 51 วันเลย ทีเดียว ในแตละวันจะมีนกั ทองเทีย่ ว พอคา แมคา มาเลือกซือ้ ขายสินคา ตอวันไมตาํ่ กวาวันละหนึง่ แสนคน โดยมีลกู คาสองประเภท ไดแก คนจาก เมืองตางๆ ภายในมณฑลยูนนานมาซือ้ สินคาไปจําหนายยังเมืองตางๆ และคนจากตางมณฑลมาซือ้ สินคาเพือ่ ไปจําหนายยังทองถิน่ ของตนเอง ศูนยคาสงสินคาโหลวซือวานจัดไดวาเปนตลาดคาสงที่มีการ บริหารจัดการดวยระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดแหงหนึ่งของจีน

11


โดยจะมีการเปดใชระบบการเจรจาการคาอิเล็กทรอนิกส ผานอินเตอรเน็ตความเร็วสูง โดยผูซ อื้ สามารถมองเห็นรานคาและสินคาไดในรูปแบบ 360 องศา รับทราบขอมูล สินคา แหลงผลิต ราคา วิธีการขนสง ตลอดจนระยะเวลาขนสง การสั่งสินคา การจายชําระคาสินคา ทําใหประหยัดเวลาตอผูซ อื้ และผูข าย นอกจากนี้ ตัวอาคาร กอสรางดวยวัสดุอยางดี พืน้ แกรนิต ผนังกระจก ระบบลิฟทโดยสาร ระบบปองกัน อัคคีภยั ตามมาตรฐานอาคารสมัยใหม อยางไรก็ตาม ดวยความทีผ่ เู ขามาใชบริการ สวนใหญเปนชาวจีนพืน้ เพเปนชนกลุม นอยหลากหลายเผาพันธุใ นมณฑลยูนนาน ที่มีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิม ยังคงนิยมใชการขนสงแบบโบราณดวยการลากสินคาโดย ใชแรงงานคน รถสามลอลากและรถจักรยานยนตขนสงสินคา ประกอบกับพอคา แมคา ทีแ่ หกนั มาซือ้ ขายของกันเปนจํานวนมากกวาหนึง่ แสนคนในแตละวัน ทําให อาคารเกาและแตกชํารุดไดเร็วมากและยากที่จะซอมบํารุงไดทันเวลา ดวยความหลากหลายของประเภทสินคาและราคา จึงทําใหศูนยคาสง สินคาโหลวซือวานสามารถตอบสนองความตองการของผูซื้อและผูขายในสินคา แตละประเภทไดเปนอยางดี ซึ่งไมเพียงแตผูประกอบการในประเทศจีนเทานั้น หากแตยังมีความพรอมสําหรับการเปนศูนยกระจายสินคา รองรับผูผลิตทั้งของ จีนเองและจากประเทศตางๆ ทั่วโลก รวมถึงกลุมลูกคาประเภทตางๆ ไดแก นักธุรกิจ ผูบริโภคทั่วไป และนักทองเที่ยว ทั้งนี้ ทําเลที่ตั้งและความสะดวกใน การคมนาคมขนสงของคุนหมิง ถือเปนขอไดเปรียบอยางหนึง่ ของศูนยคา สงสินคา แหงนี้ สําหรับประเทศไทยมีขอไดเปรียบที่มีทั้งเสนทางคมนาคมทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ ที่สามารถเชื่อมโยงนครคุนหมิงกับกรุงเทพฯ เขาไวดวยกัน โดยหากสามารถพัฒนาระบบโลจิสติกสและปรับปรุงการจราจรทางถนนใหมี ความสะดวกมากขึ้น ก็จะชวยทําใหเปดประตูเชื่อมโยงมณฑลยูนนานมาสูเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตไดเปนอยางดี

ที่มาขอมูล :

12

ชาลี ขันศิริ, สํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ 1. การสํารวจขอมูลภาคสนามโครงการเพิ่มขีดความสามารถภาคอุตสาหกรรม ภายใตนโยบายเศรษฐกิจระหวางประเทศของไทย (ระยะที่ 3) 2. สํานักงานสงเสริมการคาระหวางประเทศ ณ นครคุนหมิง


“»‚¹ÕéÁÕÇѹáË‹§¤ÇÒÁÃÑ¡µÑé§ 2 Çѹ” • ÊíҹѡºÃÔËÒáÅÒ§

กุมภาพันธเปนเดือนทีอ่ บอวลไปดวยความสุข การแสดงถึงความรัก ความหวงใยถึงคนทีเ่ ราปรารถนาดี และอยากใหเขามีความสุข ทั้งนี้ เปนที่รับรูกันทั่วโลกวาวันที่ 14 กุมภาพันธ เปนวันแหงความรักหรือ Valentine’s Day และวันนี้ยังมีคิวปด หรือกามเทพ ซึ่งถือเปนสัญลักษณของวันวาเลนไทนที่มีชื่อเสียงมาก ภาพของคิวปดที่เรารูจักก็คือภาพเด็กนอยที่ถือคันธนูและลูกศร มีหนาที่ยิงศรรักใหปกใจคน คิวปดเปน บุตรของวีนัสและมารส แตชาวกรีกเรียกคิวปดวา “อีรอส” ปจจุบัน คิวปดและธนูของเขากลายมาเปน เครื่องหมายแหงความรักที่เปนที่รูจักมากที่สุด เรามารูจักความเปนมาและความสําคัญของวันนี้กันคะ เทศกาลวาเลนไทน เริม่ มีขนึ้ ตัง้ แตยคุ ทีจ่ กั รวรรดิโรมันเรืองอํานาจ ในยุคนัน้ วันที่ 14 กุมภาพันธของทุกป ถูกจัดใหเปนวันหยุดเพื่อเปนเกียรติแกเทพเจา จูโนผูเปนจักรพรรดินีแหงเทพเจาโรมัน นอกจากนี้พระองคยังทรงเปนเทพเจา แหงอิสตรีเพศและการแตงงาน แตการดําเนินชีวิตของหนุมสาวถูกตัดขาด ออกจากกันอยางสิ้นเชิง ในรัชสมัยของจักรพรรดิคลอดิอัสที่ 2 (Emperor Claudius II) แหงกรุงโรม พระองคทรงเปนกษัตริยที่มีใจคอดุรายและทรงนิยม การทําสงคราม ทานทรงตระหนักวาเหตุที่ชายหนุมสวนมากไมประสงค จะเขารวมในกองทัพเนื่องจากไมอยากจากคูรักและครอบครัวไป จึงทรงมี พระราชโองการสั่งหามมิใหมีการจัดพิธีหมั้นและแตงงานกันในโรมโดยเด็ดขาด ทําใหประชาชนทุกขใจเปนอยางยิง่ ขณะนัน้ มีนกั บุญรูปหนึง่ นามวา เซนตวาเลนไทน หรือวาเลนตินัส อาศัยอยูในโรมไดรวมมือกับเซนตมาริอัสจัดพิธีแตงงาน ใหกับชาวคริสตหลายคู และดวยความปรารถนาดีนี้เองจึงทําใหวาเลนไทน ถูกจับ มีความเชื่อวาวาเลนไทนไดตกหลุมรักหญิงสาวที่เปนลูกสาวของผูคุม ทีช่ อื่ จูเลีย ซึง่ ไดมาเยีย่ มเขาระหวางทีถ่ กู คุมขัง ในคืนกอนทีว่ าเลนไทนจะสิน้ ชีวิต โดยการถูกตัดศีรษะ เขาไดสงจดหมายฉบับสุดทายถึงจูเลีย โดยลงทายวา From Your Valentine วันที่ 14 กุมภาพันธ ค.ศ. 270

13


จากนั้นศพของเขาไดถูกเก็บไวที่โบสถพราซีเดส (Praxedes) ณ กรุงโรม จูเลียไดปลูกตนอามันต หรืออัลมอลตสีชมพูไวใกลหลุม ศพของวาเลนตินสั โดยในทุกวันนี้ ตนอามันตสชี มพูและสีชมพูไดกลาย เปนตัวแทนแหงรักนิรันดรและมิตรภาพอันสวยงาม ตอมาพระใน นิกายโรมันคาทอลิกจึงเลือกให วันที่ 14 กุมภาพันธ เปนวันเฉลิมฉลอง เทศกาลแหงความรักและดูเหมือนวายังคงเปนธรรมเนียมทีช่ ายหนุม จะเลือกหญิงสาวที่ตนเองพึงใจในวันวาเลนไทน สืบตอกันมาจนถึง ทุกวันนี้ ในสวนของประวัตวิ นั วาเลนไทนนี้ เปนเรือ่ งทีเ่ ลาตอๆ กันมา จนถึงปจจุบัน ซึ่งไมมีใครทราบวาเปนเรื่องที่เกิดขึ้นจริงหรือเปลา แต ไ ม ว  า ประวั ติ ที่ แ ท จ ริ ง จะเป น อย า งไรก็ ต าม เราก็ ไ ด ถื อ ว า วันวาเลนไทนเปนวันสําคัญวันหนึ่งของปเลยทีเดียว ส ว นวั น แห ง ความรั ก ในมุ ม มองของพระพุ ท ธศาสนาคื อ “วั น มาฆบู ช า” อั น เป น วั น สํ า คั ญ ยิ่ ง ทางพุ ท ธศาสนาอี ก วั น หนึ่ ง เนื่ อ งจากวั น ดั ง กล า วได เ กิ ด เหตุ ก ารณ พิ เ ศษที่ เ รี ย กว า “จาตุรงคสันนิบาต” ขึ้น เปนวันที่องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ไดประกาศหลักการและอุดมการณแหงพุทธศาสนา อันมีเนือ้ หาหลัก วาดวยการสงเสริมใหมวลมนุษยตั้งมั่นในการทําความดี ละความชั่ว ไมเบียดเบียนซึ่งกันและกัน นั่นก็คือ ทรงสอนใหทุกคนมีความรัก อันยิ่งใหญ เปนรักที่ไมเห็นแกตัว เมตตาตอเพื่อนรวมโลก โดยมี พระสงฆเปนผูนําพระธรรมคําสั่งสอนดังกลาวไปเผยแผ คําวา “มาฆบูชา” หมายถึง การบูชาในวันเพ็ญเดือนมาฆะ คือ เดือน 3 หรือพูดงายๆ วาเปนวันที่พระจันทรเต็มดวงในคืนขึ้น 15 คํ่า เดือน 3 นั่นเอง เหตุที่พุทธศาสนิกชนถือวา “วันมาฆบูชา” เปน วันสําคัญทางพุทธศาสนา ก็เพราะในวันนี้ ในสมัยพุทธกาลเมื่อ พระพุทธเจาตรัสรูแ ลว ได 9 เดือน ขณะทีเ่ สด็จประทับอยูท วี่ ดั เวฬุวนั (วัดแหงแรกในพุทธศาสนา) ณ เมืองราชคฤห แควนมคธนัน้ พระสงฆ สาวกที่พระพุทธองคไดสงออกไปเผยแผพุทธศาสนาตามเมืองตางๆ ไดพรอมใจกันกลับมาเฝาพระพุทธเจาโดยมิไดนดั หมายกันถึง 1,250 รูป ซึง่ ลวนเปนเอหิภกิ ขุอปุ สัมปทา คือเปนพระสงฆทพี่ ระพุทธเจาบวชให จึงถือวาเปนเหตุอัศจรรยยิ่ง เพราะสมัยโบราณที่ไมมีการสื่อสาร โทรคมนาคม การนัดหมายคนจํานวนมากทีอ่ ยูค นละทิศคนละทางให มาพบกันหรือประชุมกันที่ใดที่หนึ่ง เปนเรื่องที่ยากและแทบจะเปน ไปไมไดเลย โดยเฉพาะการมาของพระพุทธสาวกเหลานี้ ถือวาเปนการ มาประชุมพิเศษที่ประกอบดวยองค 4 อันเปนที่มาของการเรียกวันนี้ อีกอยางวา “วันจาตุรงคสันนิบาต”

ที่มา : http://th.wikipedia.org http://www.dmc.tv http://campus.sanook.com

14

ธรรมะทีพ่ ระสัมมาสัมพุทธเจาทรงตรัสสัง่ สอนนี้ ลวนมีความหมาย และความสําคัญตอการดํารงชีวิต ไมเพียงแตผูอยูในเพศบรรพชิต ที่บวชเรียนเทานั้น คฤหัสถผูครองเรือน และฆราวาสอยางพวกเรา ทุกคนก็สามารถนําไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิตไดเปนอยางดี ดังนัน้ ในโอกาสเดือนแหงความรักนี้ ในฐานะชาวพุทธ จึงขอเชิญชวน ใหทุกทานใชวันแหงความรักนี้ ดวยการตามรอยพระบรมศาสดา มอบความรัก ความเมตตาตอตนเอง ครอบครัว คนรอบขางและ เพือ่ นมนุษยดว ยกัน โดยการประพฤติปฏิบตั ติ ามหลักธรรมคําสัง่ สอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจา คือการพูดดี คิดดี ทําดี ไมคิดรายทําลาย ผูอ นื่ ทัง้ กาย วาจา และใจ เพียงเทานี้ สังคมทุกสังคมบนโลกกวางใบนี้ ก็จะเกิดความสงบสุข ในวันแหงความรัก และทุกๆ วันตลอดเวลาและ ตลอดไป


MOVEMENT

สํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม เข า ร ว มจั ด นิ ท รรศการงานสั ม มนารั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น “ยุ ท ธศาสตร ก ารส ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ออุตสาหกรรมไทยเติบโตอยางยั่งยืน” โดยมีนายประเสริฐ บุญชัยสุข รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม เปนประธานในการเปดงาน จัดโดย สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2556 ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิตติ์

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดงานแถลงขาว “ดัชนีอุตสาหกรรมไทยป 2555” โดยมี ดร.ณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ ผูอํานวยการสํานักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปนผูแถลงขาว และมีสื่อมวลชนแขนงตางๆ ใหความสนใจเขารวมงาน จัดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2556 ณ หองประชุม 202 สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

นายหทัย อูไ ทย รองผูอ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และคณะเจาหนาที่ สศอ. ศึกษาดูงานอุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับ เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556 ณ นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี เจมโมโพลิส

สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดสัมมนา เรื่อง “ผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจยุโรปตอภาคอุตสาหกรรมไทย” โดยมีนายหทัย อูไทย รองผูอํานวยการสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, ดร.ธนวรรธน พลวิชัย ผูอํานวยการศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัย หอการคาไทย, นายพรศิลป พัชรรินทรตนะกุล รองประธานกรรมการสภาหอการคาแหงประเทศไทย และนายไพบูลย พลสุวรรณา ประธานสภาผูสงสินคาทางเรือแหงประเทศไทย เปนวิทยากร โดยมีหนวยงานภาครัฐ เอกชน ผูประกอบการ และสื่อมวลชน เขารวม ฟงบรรยาย จัดขึ้นเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2556 ณ หองประชุม 601 สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม


Industrial Intelligence Unit (IIU)

ระบบเครือขายขอมูลเพื่อการชี้นําและเตือนภัยของภาคอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบไปดวย 9 ระบบขอมูล หรือ 9 IIU ไดแก 

อุตสาหกรรมไทยในภาพรวม

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม

อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา

อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส

http://iiu.oie.go.th 

http://iiu.oie.go.th/food/default.aspx

http://iiu.oie.go.th/Textile/default.aspx 

http://iiu.oie.go.th/electronics/default.aspx 

อุตสาหกรรมพลาสติก

http://iiu.oie.go.th/ptit/default.aspx

http://iiu.oie.go.th/iron/default.aspx 

อุตสาหกรรมอาหาร

ฐานขอมูลดานการรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

http://iiu.oie.go.th/ISO/default.aspx

ฐานขอมูลดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในภูมิภาคอาเซียน

http://iiu.oie.go.th/IUasean/default.aspx

อุตสาหกรรมยานยนต

http://iiu.oie.go.th/Automotive/default.aspx

สำนักงาน OFFICE OF INDUSTRIAL ECONOMICS เศรษฐกิจสํอุาตนั สาหกรรม กงาน OFFICE

เศรษฐกิจอุตสาหกรรม OF INDUSTRIAL ECONOMICS ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0 2202 4274, 0 2202 4284 โทรสาร 0 2644 7023 www.oie.go.th, www.facebook.com/oieprnews, http://twitter.com/oie_news


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.