001 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
002 รายงานประจำ�ปี 2559
2559: ปีแห่งมาตรฐานศรีตรัง
003 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
สถิตอยู่ในใจตราบนิรันดร์
น้อมสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สุดมิ ได้
ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหาร พนักงาน บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัทในเครือ
004 รายงานประจำ�ปี 2559
สารบัญ
010
081
006
030 055
005 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
118
80 012
022
006 008 010 012 014 016 018 019 020 022 027 028 030 032 034 036 055 068 078 081 088 094 095 098 104 116 117 119 125 245 246 247 253
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมองค์กร Green Rubber สารจากประธานกรรมการ ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน ธุรกิจหลักของศรีตรัง การประกอบธุรกิจในระดับสากล ผังโครงสร้างองค์กร ภาพรวมการประกอบธุรกิจ พัฒนาการที่สำ�คัญ ผลิตภัณฑ์และบริการ โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัทศรีตรัง กลยุทธ์ในการประกอบธุรกิจและแผนการเติบโตในอนาคต ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน จุดเด่น คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร โครงสร้างการจัดการ การกำ�กับดูแลกิจการ การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง ความรับผิดชอบต่อสังคม โครงสร้างการถือหุ้น นโยบายการจ่ายเงินปันผล รายการระหว่างกันและรายการกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ปัจจัยความเสี่ยง การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ข้อมูลของบุคคลอ้างอิง ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น คำ�นิยาม
006 รายงานประจำ�ปี 2559
วิสัยทัศน์
“เราเป็นองค์กรแห่งความมุ่งมั่นและ ทุ่มเทในการขับเคลื่อนทุกความเป็นไปได้” >>ศรีตรัง...บริษัทยางสีเขียว>>
พันธกิจ
ปี 2559: ปีแห่งมาตรฐานศรีตรัง
007 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ค่านิยมองค์กร
Specialist
เรามีความเชี่ยวชาญ ในธุรกิจของเรา
Teamwork
เราร่วมแรงร่วมใจ ทำ�งานเป็นทีม ฟันฝ่าทุกอุปสรรค
Accountability
เราทำ�งานด้วยความซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อธุรกิจ
008 รายงานประจำ�ปี 2559
ผลิตภัณฑ สีเข�ยว กระบวนการ ผลิตสีเข�ยว
การสรรหา วัตถุดบิ สีเข�ยว บร�ษทั สีเข�ยว
009 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
เกือบ 3 ทศวรรษแห งความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมยางพารา ผนวกกับเจตนารมณ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราอย างยั่งยืน ทำให กลุ มบร�ษัทศร�ตรังร�เร��มและผลักดันองค กรสู
“องค กรแห งยางสีเข�ยว”
TSR
RSS
LTX
ผลิตภัณฑ สีเข�ยว
ซึ่งหมายถึงความมุ งมั่นในการผลิตยางพาราซึ่งเป นผลิตภัณฑ จากธรรมชาติที่สะอาด ปราศจากสิ�งเจ�อปนที่อาจเป นอันตรายต ออุตสาหกรรมปลายน้ำ ซึ่งเกี่ยวข องกับ ความปลอดภัยและสุขอนามัยของผู บร�โภค
กระบวนการ ผลิตสีเข�ยว
อันหมายถึงความใส ใจในทุกขั้นตอนของการผลิตสินค าให ได ตามมาตรฐานสากล ภายใต กระบวนการผลิตที่ตั้งอยู บนหลักการของการอนุรักษ พลังงาน ปราศจากซึ่งน้ำเสีย และกลิ�น เพ�่อให มั่นใจได ว าโรงงานของเรามีกระบวนการผลิตที่เป นมิตรกับสิ�งแวดล อม และชุมชนรอบข าง
การสรรหา วัตถุดิบ สีเข�ยว
อันแสดงให เห็นถึงเจตนารมณ ของบร�ษัทในการผลักดันให เกษตรกรทำการผลิต ยางพาราที่สะอาดและปราศจากสิ�งเจ�อปน และสะท อนให เห็นถึงการดำเนินธุรกิจ ของบร�ษัทที่ตั้งอยู บนความยุติธรรมกับเกษตรกรและคู ค าทุกราย
บร�ษัทสีเข�ยว
เป นสัญลักษณ ขององค กรซึ่งดำเนินธุรกิจบนรากฐานของความโปร งใส มุ งสู การเติบโตอย างยั่งยืน พร อมกับเป นองค กรที่เป ดรับสิ�งใหม ๆ อยู ตลอดเวลาเพ�่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราให เติบโตอย างมั่นคง
010 รายงานประจำ�ปี 2559
สารจาก ประธานกรรมการ
011 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ปี 2559 นับว่าเป็นปีทพี่ เิ ศษอย่างยิง่ ส�ำหรับศรีตรังทีส่ ามารถ สร้างสถิติยอดขายยางธรรมชาติได้สูงเป็นประวัติการณ์ ถึง 1.5 ล้านตัน และมีส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 12 เมือ่ เทียบกับความต้องการยางธรรมชาติของโลก ตอกย�้ำความเป็นผู้น�ำในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติรายใหญ่ ที่สุดของโลก ผมขอขอบคุณพนักงานทุกคนและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องด้วยความจริงใจ เนื่องจากบริษัทฯ จะไม่สามารถ บรรลุสิ่งนี้ได้ หากปราศจากความทุ่มเทร่วมแรงร่วมใจจาก พนักงานทุกคนในองค์กรและการสนับสนุนเป็นอย่างดีจาก ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา อุปสรรคทีใ่ หญ่หลวงทีส่ ดุ ส�ำหรับปี 2559 คือ การบริหารงาน บนความผั น ผวนของราคายางธรรมชาติ ซึ่ ง ถื อ เป็ น การ ผันผวนมากทีส่ ดุ ในรอบหลายปี ราคายางเปิดตัวด้วยแนวโน้ม ขาลงต่ อ เนื่ อ งมาจากปี ก ่ อ นจนมาแตะจุ ด ต�่ ำ ที่ สุ ด ในช่ ว ง ต้นปี 2559 หลังจากนั้นราคายางก็ปรับตัวไปในทิศทางที่ ดีขึ้นเนื่องมาจากสภาวะอากาศแห้งแล้งและตามมาด้วย ปริมาณฝนที่เพิ่มมากขึ้นในช่วงกลางปี ท�ำให้อุปทานของ ยางธรรมชาติลดลง และราคายางได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วหลังจากแผนกระตุ้นเศรษฐกิจของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ โดยภาพรวมปี 2559 จึงเป็นปีแรกที่ราคา ยางไม่ได้ปรับตัวลดลงนับตั้งแต่ปี 2554 บริษัทฯ จึงต้องมี ความละเอียดรอบคอบและคล่องตัวในการบริหารงานเป็น อย่างมากภายใต้สภาวะการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมนี้ การปรับตัวลงของราคาติดต่อกันเป็นระยะเวลา 5 ปี ถือเป็น ปัจจัยเสี่ยงที่ท้าทายต่อการบริหารงานของบริษัทฯ เป็น อย่างยิ่ง แม้กระนั้น บริษัทฯ ยังคงขยายก�ำลังการผลิตใน ช่วงระยะเวลาดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ก�ำลังการผลิต ขยายตัวถึงร้อยละ 76 จาก 1.3 ล้านตันต่อปีในปี 2554 สู่ระดับ 2.4 ล้านตันต่อปีในปี 2559 ยิ่งไปกว่านั้น บริษัทฯ ยังมีแผนที่จะขยายก�ำลังการผลิตขึ้นไปอีก เพื่อที่จะบรรลุ เป้าหมาย “STA20” ซึ่งก็คือการมีปริมาณการขายคิดเป็น ร้อยละ 20 ของอุปสงค์ยางธรรมชาติของโลก โดยจะขยาย ฐานการผลิตไปยังแหล่งที่มีศักยภาพสูงที่เอื้อต่อการจัดหา วัตถุดิบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พื้นที่ที่บริษัทฯ มีสวนยางพารา อยู่ในปัจจุบัน
บริษัทฯ จะคงยืนหยัดในการพัฒนาและเพิ่มความ แข็งแกร่งให้กับธุรกิจตั้งแต่ต้นน้ำ�สู่ปลายน้ำ� เพื่อที่ เราจะรักษาสถานะผู้นำ�บริษัทยางธรรมชาติที่ครบ วงจรรายใหญ่ที่สุดของโลก
ถึงแม้ตลอดมาทุกท่านจะรู้จักบริษัทฯ ในฐานะผู้น�ำในด้าน การผลิตยางธรรมชาติ แต่บริษัทฯ ได้มุ่งมั่นพัฒนาและ ให้ ค วามส�ำคั ญ ต่ อ ธุ ร กิ จ ปลายน�้ ำ ไม่ ยิ่ ง หย่ อ นไปกว่ า กั น โดยจะเสริ ม สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง การด�ำเนิ น งานธุ ร กิ จ ถุงมือยางทางการแพทย์ พร้อมสานต่อการเจริญเติบโต อย่างมั่นคงและสร้างชื่อเสียงระดับโลกต่อไป นอกเหนือจากการมียอดขายสูงเป็นประวัติการณ์แล้วนั้น ในปีนี้บริษัทฯ ยังสามารถที่จะบรรลุเป้าหมาย “การผลิต สินค้าในมาตรฐานเดียวกัน” ของทุกโรงงานในกลุม่ บริษทั ฯ ซึ่ ง ช่ ว ยเสริ ม ความเชื่ อ มั่ น ของลู ก ค้ า ต่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง บริษัทฯ ให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น ศรีตรังเริ่มต้นจากบริษัทยางเล็กๆ กระทั่งก้าวมาสู่การเป็น ผู้น�ำอุตสาหกรรมอย่างเต็มภาคภูมิ จวบจนวันนี้นับเป็น เวลา 30 ปี แม้ว่าในหนทางข้างหน้าจะมีปัจจัยท้าทายที่ ไม่สามารถคาดเดาได้ แต่บริษทั ฯ จะคงยืนหยัดในการพัฒนา และเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจตั้งแต่ต้นน�้ำสู่ปลายน�้ำ เพื่อที่เราจะรักษาสถานะผู้น�ำบริษัทยางธรรมชาติที่ ค รบ วงจรรายใหญ่ที่สุดของโลกต่อไป ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) กุมภาพันธ์ 2560
012 รายงานประจำ�ปี 2559
$ $ $ $$
ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน S RS
TSR
รายได จากการขายและการให บร�การ
77,266 ลานบาท
ปร�มาณการขาย
สินทรัพย รวม
1,494,094 ตัน
55,959 ลานบาท
(หน วย : ล านบาท) งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายไดจากการขายและการใหบริการ กำไรกอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย กำไรกอนภาษีเงินได กำไรสุทธิ งบแสดงฐานะทางการเง�น สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน อัตราส วนทางการเง�น อัตรากำไรขั้นตน (รอยละ) อัตรากำไรสุทธิ (รอยละ) อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนหนี้สุทธิตอสวนของผูถือหุน (เทา)
ป 2559
ป 2558
ป 2557
ป 2556
ป 2555
77,266
61,292
75,530
92,185
99,639
794 (1,073) (758)
3,008 1,143 1,118
2,568 1,076 1,038
3,747 1,987 1,820
2,840 1,524 1,379
55,959 36,047 19,912
43,879 22,545 21,334
37,791 17,199 20,592
44,237 24,246 19,991
36,696 17,759 18,937
7.0 (1.0) 1.0 1.7
5.7 1.8 1.2 1.0
4.4 1.4 1.4 0.7
5.6 2.0 1.3 1.1
4.8 1.4 1.5 0.9
หมายเหตุ : งบการเงิน ป 2557 – 2559 ถูกจัดทำขึ้นตามมาตราฐานการบัญชีของ IFRS ในขณะที่งบการเงิน ป 2555 – ป 2556 จัดทำขึ้นโดยการ นำมาตรฐานบางฉบับมาปรับใชกอนวันที่มีผลบังคับ
009 013 บริษัท ศรีตรัSri งแอโกรอิ สทรี จำ�กัด (มหาชน) Trangนดั Agro-Industry PLC.
ัญ ค ำ ส ข อมูล ารเง�น ทางก ต อ) (
รายได และปร�มาณการขาย
อัตราส วนสภาพคล อง (เท า) 1.6 1.4 1.2 1.0 0.8 0.6 0.4
1.47
1.31
1.42
1.21 0.97
(ตัน)
(ลานบาท)
1,600,000
0.2 0
2555
2556
2557
2558
2559
1,400,000
11.38
10
1,126,463
8.09
8 6
5.38
4
3.87
4.58
800,000
2 0
2555
2556
2557
2558
2559
อัตราส วนหนี้สินสุทธิต อส วนของผู ถือหุ น (เท า) 2.0
600,000
40,000
400,000
0.86
0.73
0.95
0
0.5 2555
2556
2557
2558
20,000
200,000
1.12
0
60,000
1.73
1.5 1.0
80,000
1,119,966
1,000,000 975,604
120,000 100,000
1,204,342
1,200,000
อัตราส วนหมุนเว�ยนสินทรัพย ถาวร (เท า) 12
1,494,094
2559
2555
2556
2557
ปริมาณการขาย (ซาย)
2558
2559
รายไดจากการขาย (ขวา)
0
014 รายงานประจำ�ปี 2559
กระบวนการผลิตสีเขียว ตั้งแตตนน้ำสูปลายน้ำ
กลุมบริษัทศรีตรังถือเปนผูนำในการผลิต และจัดจำหน�ายยางธรรมชาติที่ครบวงจร รายใหญที่สุดของโลก โดยมีสวนแบง ทางการตลาดประมาณรอยละ 12 ของความตองการยางธรรมชาติทั่วโลก
บริษัท ศรีตรัง แอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)
และมีผลิตภัณฑยางธรรมชาติขั้นพื้นฐานที่ครอบคลุมทุกประเภท ไดแก ยางแผนรมควัน ยางแทง และน้ำยางขน ดวยกำลังการผลิต ประมาณ 2.4 ลานตันตอป
ยางแผน รมควัน ยางแทง
สวนยางพารา
บริษัทมีพื้นที่สำหรับการทำสวน ยางพาราประมาณ 50,000 ไร ในหลายจังหวัดของประเทศไทย
โรงงานผลิตยางธรรมชาติ
กำลังการผลิตยางธรรมชาติ 2.4 ลานตัน/ป จาก 35 โรงงาน ซึ่งตั้งอยู ในประเทศไทย อินโดนีเซีย และเมียนมา ครอบคลุมทุกผลิตภัณฑ ทั้งยางแทง ยางแผนรมควัน และน้ำยางขน
น้ำยางขน
015 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
พื้นที่สวนยางประมาณ
50,000 ไร
กำลังการผลิตยางธรรมชาติ
2,372,000 ตัน/ป กำลังการผลิตถุงมือยาง
14,000 ลานชิ้น/ป
ผูผลิตผลิตภัณฑยางธรรมชาติ
รายใหญที่สุดของโลก
การขายและจัดจำหน�าย
ตั้งบริษัทยอยเพ�อดำเนินการขายและ จัดจำหน�ายใน 6 ตลาดหลักของโลก ไดแก ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร จีน อเมริกา และเวียดนาม จีน สิงคโปร อเมริกา
ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม
การลงทุนในธุรกิจปลายน้ำ
กำลังการผลิตถุงมือยาง 14,000 ลานชิ้น/ป ผลิตทั้งถุงมือยางธรรมชาติและยางสังเคราะห ที่ ใช ในทางการแพทย
016 รายงานประจำ�ปี 2559
การประกอบธุรกิจในระดับสากล
12% สวนแบง
ทางการตลาด จากความตองการ ใชยางธรรมชาติ ทั่วโลกในป 2559
35 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ
ยางธรรมชาติในประเทศไทย อินโดนีเซีย และเมียนมา
1,494,094 ตั น ยอดขายในป 2559
017 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
26% จากยอดผลิต
ยางธรรมชาติทั้งหมด ในประเทศไทย ป 2559
16%
ของยอดนำเขา ทั้งหมดของจีน
สหรัฐอเมริกา
จีน
เมียนมา
ไทย
เวียดนาม
สิงคโปร
อินโดนีเซีย
ผู จัดการสายงาน สรรหาวัตถุดิบ
ผู จัดการสายงาน การผลิต
ฝ ายตรวจสอบภายใน
ผู จัดการสายงาน ควบคุมคุณภาพ
คณะกรรมการตรวจสอบ
ผังโครงสร้างองค์กร
ผู จัดการสายงาน บัญชีและการเง�น (CFO)
ผู จัดการสายงาน ว�ศวกรรม
เลขานุการบร�ษัท
ผู จัดการสายงาน ทรัพยากรบุคคล
คณะกรรมการ พ�จารณาค าตอบแทน
ผู จัดการสายงาน การตลาด
กรรมการผู จัดการ
คณะกรรมการบร�หาร
Controller
คณะกรรมการ บร�หารความเสี่ยง
คณะกรรมการบร�ษัท
ผู จัดการสายงาน กฎหมายและ บร�หารทั่วไป
ผู จัดการ สายงาน ธุรกิจเกษตร
ผู จัดการสายงาน พัฒนาธุรกิจและ นักลงทุนสัมพันธ
คณะกรรมการสรรหา
018 รายงานประจำ�ปี 2559
019 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริ ษั ท ฯ เป็ น ผู ้ ป ระกอบการยางธรรมชาติ แ บบครบวงจร รายใหญ่ที่สุดของโลก โดยมีส่วนแบ่งทางการตลาดประมาณ ร้ อ ยละ 12 ของความต้ อ งการยางธรรมชาติ ทั่ ว โลก และ มีผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติขนั้ พืน้ ฐานทุกประเภทเพือ่ ตอบสนอง ความต้องการที่หลากหลายของลูกค้าทั่วโลก ได้แก่ ยางแผ่น รมควั น ยางแท่ ง และน�้ ำ ยางข้ น ด้ ว ยก�ำลั ง การผลิ ต กว่ า 2.4 ล้านตันต่อปีจากจ�ำนวนโรงงานรวม 35 โรงงาน ซึ่งตั้งอยู่ ในประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดสองอันดับแรก ของโลก ได้แก่ ประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซีย รวมทั้ง ประเทศเมียนมาด้วย
ท่อไฮดรอลิกแรงดันสูงที่ บริ ษั ท ลงทุ น ถื อ เป็ น โรงงานที่ใหญ่ ที่สุดในประเทศไทยในการผลิตท่อไฮดรอลิกเพื่อใช้ในงาน ประเภทอุตสาหกรรมต่างๆ นอกจากนี้ ศรีตรังได้ขยายธุรกิจ ไปสูก่ ารลงทุนในสวนยางพาราขนาดใหญ่อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบัน มีพื้นที่ส�ำหรับการปลูกสวนยางพาราประมาณ 50,000 ไร่ ในหลายจังหวัดของประเทศไทย
บริษัทฯ ยังได้ร่วมลงทุนกับบริษัทต่างชาติในธุรกิจกลางน�้ำ ของยางธรรมชาติและผลิตสินค้าส�ำเร็จรูป โดย ณ 31 ธันวาคม 2559 โรงงานผลิตถุงมือยางทางการแพทย์ที่บริษัทฯ ลงทุน ถื อ เป็ น โรงงานที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในประเทศไทยและเป็ น หนึ่ ง ใน ผู ้ น�ำด้ า นการผลิ ต ถุ ง มื อ ยางระดั บ โลก อี ก ทั้ ง โรงงานผลิ ต
บมจ. ศรีตรัง จัดตั้งขึ้นในปี 2530 ในปัจจุบัน บมจ. ศรีตรัง เป็นบริษัทยางพาราบริษัทแรกและบริษัทเดียวในประเทศไทย ทีด่ �ำรงสถานะการจดทะเบียนหลักทรัพย์ทงั้ ในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์
นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง ได้จัดตั้งบริษัทย่อยอีกหลายบริษัท เพื่อบริการสนับสนุนการด�ำเนินงานของธุรกิจหลักของกลุ่ม บริษัท
020 รายงานประจำ�ปี 2559
พัฒนาการที่สำ�คัญ มีนาคม 2537 มกราคม 2532 รวมจัดตั้ง บจ. สยามเซมเพอรเมด กับบริษัท จากประเทศออสเตรีย เพื่อดำเนินกิจการผลิต ถุงมือยางที่ใชในทางการแพทย
เมษายน 2530 เริ่มประกอบธุรกิจการผลิตยางแผนรมควัน ที่อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มตนที่ 31 ลานบาท
มีนาคม 2531 จัดตั้ง บจ. รับเบอรแลนด เพื่อดำเนินกิจการผลิตน้ำยางขน ซึ่งเปนโรงงานผลิตน้ำยางขนแหงแรก ของกลุมบริษัท
ตุลาคม 2530 จัดตั้ง บจ. อันวารพาราวูด เพื่อดำเนินกิจการ ผลิตไมยางพาราสำหรับอุตสาหกรรมเฟอรนเิ จอร รวมถึงผลิตไมยางพาราเพื่อเปนพาเลทสำหรับ รองรับสินคาภายในโรงงานของกลุมบริษัท
จัดตั้ง บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง เพื่อสนับสนุนทางดานวิจัยและพัฒนา รวมทั้งใหบริการดานวิศวกรรมบริการ ใหแกกลุมบริษัท
กันยายน 2538 จัดตั้ง บจ. สตารเท็กซ รับเบอร เพื่อลงทุนในธุรกิจตนน้ำและเขาเปนเจาของ สวนยางพาราในภาคใตของประเทศไทย
เมษายน 2541 รวมจัดตั้ง Sempermed USA, Inc. กับ บริษัทจากประเทศออสเตรีย เพื่อบริหารจัดการ การจัดจำหนายและทำการตลาดถุงมือยาง ที่ใชในทางการแพทยและอุตสาหกรรม ในประเทศสหรัฐอเมริกา
มีนาคม 2547 จัดตั้ง Sri Trang USA, Inc. เพื่อเนนการจัดจำหนายผลิตภัณฑยางธรรมชาติ ของบริษัท ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา
สิงหาคม 2534 เสนอขายหุนตอประชาชนในประเทศไทย และนำหุนเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย
มีนาคม 2533 รวมจัดตัง้ บจ. ไทยเทค กับ บจ. เซาทแลนด รับเบอร และ Itochu Corporation Limited เพือ่ ขยายประเภทผลิตภัณฑใหครอบคลุมถึง ยางแทง
พฤษภาคม 2538 รวมจัดตั้ง Shanghai Semperit กับบริษัทจากประเทศออสเตรีย เพื่อดำเนินกิจการผลิตราวจับ บันไดเลื่อน
มกราคม 2537 จัดตั้ง บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต เพื่อใหบริการ สนับสนุนดานการขนสง แกธุรกิจของกลุมบริษัท
เมษายน 2545 จัดตั้ง Sri Trang International ในสิงคโปรซึ่งเปนศูนยกลางการซื้อขาย ยางธรรมชาติสำหรับผูใชรายสำคัญ เพื่อใชเปนแหลงจัดจำหนายผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติของบริษัทใหแกลูกคาทั่วโลก
มีนาคม 2539 • รวมจัดตั้ง
บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย กับ บริษัทจากประเทศออสเตรีย เพื่อทำการผลิต สายไฮดรอลิคแรงดันสูง
• รวมจัดตั้ง
บจ. เซมเพอรฟอรม แปซิฟก กับบริษัทจากประเทศออสเตรีย เพื่อผลิต ชิ้นสวนยางและพลาสติกขึ้นรูป
กรกฎาคม 2547 ขยายธุรกิจไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนโดย การจัดตั้งทีมการขายในเมืองชิงเตา และเซี่ยงไฮ เพื่อทำการจำหนายผลิตภัณฑยางธรรมชาติของ บริษัทโดยตรง
021 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
กรกฎาคม 2548 รวมจัดตั้ง Semperflex Shanghai เพื่อผลิตสายไฮดรอลิคแรงดันสูง ในสาธารณรัฐประชาชนจีน
ธันวาคม 2554
กันยายน 2559
บมจ. ศรีตรัง ออกและจำหนายหุนกูจำนวน 2 ชุด ใหแกผูลงทุนสถาบันและผูลงทุนรายใหญ รวมจำนวน 2,150,000,000 บาท ซึ่งถือเปน หุนกูแรกของบริษัทผูผลิตยางพาราในประเทศไทย
บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา ลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 100.0 ลานบาท เหลือ 25.0 ลานบาท เนื่องจาก มีสภาพคลองเหลือภายหลังจากการหยุดดำเนินธุรกิจ ประเภทนายหนาซื้อขายลวงหนาในตลาดสินคาเกษตร ลวงหนา (AFET) เนื่องจาก AFET ไดถูกยุบรวมเขากับ ตลาด TFEX (Thailand Futures Exchange)
ธันวาคม 2556 สิงหาคม 2553 จัดตั้ง Shi Dong Shanghai ในเซี่ยงไฮ ซึ่งเปนบริษัทยอยในสาธารณรัฐประชาชนจีน บริษัทแรกของบริษัทเพื่อขยายฐานการดำเนิน ธุรกิจในสาธารณรัฐประชาชนจีน
จัดตั้ง Sri Trang Indochina ในเมืองโฮจิมินห ซึ่งเปนบริษัทยอย แหงแรกในประเทศเวียดนาม เพื่อซื้อขายและทำการสงออก ผลิตภัณฑยางธรรมชาติใน ประเทศเวียดนาม
เมษายน 2559
ธันวาคม 2550 จัดตั้ง บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น เพื่อลงทุนในสวนยางพารา ซึ่งเปนธุรกิจตนน้ำ
ตุลาคม 2556 จัดตั้ง Sri Trang Ayeyar โดยการรวมลงทุนกับบริษัท Ayeyar Hinthar Holdings จำกัด เพื่อขยายฐานการผลิตยางธรรมชาติ ในประเทศเมียนมา
บมจ. ศรีตรังเพิ่มสัดสวน การลงทุนใน บจ. ไทยเทค จากรอยละ 33.5 เปนรอยละ 42.5 โดยการซื้อหุนจาก บริษัท อิโตชู คอรปอเรชั่น จำกัด เพื่อตอกย้ำความเปนผูนำ ของโลกในธุรกิจยางธรรมชาติ
สิงหาคม 2552 มกราคม 2548 จัดตั้ง PT Sri Trang Lingga ในประเทศอินโดนีเซียซึ่งเปนแหลง จัดหาและผลิตยางธรรมชาติแหงแรก ของบริษัทที่อยูนอกประเทศไทย
จัดตั้ง PT Star Rubber ซึ่งเปนโรงงานผลิตยางแทง แหงที่สองของบริษัท ในประเทศอินโดนีเซีย
พฤศจ�กายน 2556
พฤษภาคม 2559
บจ. เซมเพอรฟอรม แปซิฟก จดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชี
บมจ. ศรีตรังออกและจำหนายหุนกู จำนวน 2 ชุด ใหแกผูลงทุนสถาบัน รวมจำนวน 2,265,000,000 บาท
มกราคม 2554 บมจ. ศรีตรัง เสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอ ประชาชนทั่วไปในประเทศสิงคโปร รวมทั้ง นักลงทุนสถาบัน และนำหุนเขาจดทะเบียนเปน หลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยสิงคโปร ซึ่งถือเปนบริษัทยางพาราจดทะเบียนไทยแหงแรก ที่เขาเปนบริษัทจดทะเบียนในประเทศสิงคโปร
ธันวาคม 2558 สวนยางพาราของ บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น เริ่มใหผลผลิตจากการ กรีดเปนครั้งแรก
พฤษภาคม 2551 จัดตั้ง Sempermed Singapore รวมกับ บริษัทจากประเทศออสเตรีย เพื่อเขาซื้อ Sempermed Brasil ซึ่งเปนผูจัดจำหนาย ถุงมือยางที่ใชในทางการแพทย ในประเทศบราซิล
ตุลาคม 2559 มกราคม 2556 การขยายกำลังการผลิตจำนวน 60,000 ตันตอป ของ PT Sri Trang Lingga เสร็จสมบูรณ สงผลให PT Sri Trang Lingga เปนโรงงานยางแทงที่มี กำลังการผลิตสูงที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย ดวยกำลังการผลิตรวม 166,000 ตันตอป
บจ. สตารเท็กซ รับเบอร เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม จำนวน 50 ลานบาท เปนจำนวน 2,635 ลานบาท โดยการออกหุนสามัญเพิ่มเติมจำนวน 2,585 ลานบาท เพื่อลงทุนในบริษัทยอยอื่นๆ
022 รายงานประจำ�ปี 2559
ผลิตภัณฑ์และบริการ
023 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ผลิตภัณฑ์และบริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
ธุรกิจต้นน้ำ�
ธุรกิจกลางน้ำ�
สวนยางพารา
การผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ
ธุรกิจปลายน้ำ�
ธุรกิจอื่นที่สนับสนุน การดำ�เนินงานหลัก
การผลิตและจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์สำ�เร็จรูปจากยาง
บริษัทย่อยของบริษัทเพื่อดำ�เนินธุรกิจในการ ให้บริการและสนับสนุนการดำ�เนินงานหลัก ของกลุ่มบริษัทฯ
ธุรกิจต้นน้ำ� สวนยางพารา ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 กลุ่ ม บริ ษั ท ศรี ต รั ง มี พื้ น ที่ สำ � หรั บ ธุ ร กิ จ สวนยางพารา รวมประมาณ 50,000 ไร่ ในหลายจังหวัด ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ นเขตภาคเหนื อ และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งปลูกไปแล้วร้อยละ 85 และได้เริ่มทยอย ให้ ผ ลผลิ ต ตั้ ง แต่ เ ดื อ นธั น วาคม 2558 เป็นต้นมา
024 รายงานประจำ�ปี 2559
ธุรกิจกลางน้ำ� การผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ กลุ ่ ม บริ ษั ท ศรี ต รั ง ฯ เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ยางธรรมชาติ ร ายใหญ่ ท่ี สุ ด ของโลก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีโรงงานผลิตยาง ธรรมชาติทั้งสิ้นจ�ำนวน 35 โรง แบ่งออกเป็นในประเทศไทย จ�ำนวน 31 โรง ในประเทศอินโดนีเซียจ�ำนวน 3 โรง และ ในประเทศเมียนมาจ�ำนวน 1 โรง มีประมาณการก�ำลังการผลิต รวม 2.4 ล้ า นตั น ต่ อ ปี ส�ำหรั บ ปี 2559 บริ ษั ท ฯ มี อั ต รา การใช้ก�ำลังการผลิตที่ระดับประมาณร้อยละ 74
ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ท�ำรายได้ให้กับ บริษัทฯ คิดเป็นร้อยละ 90 ของรายได้จากการขายและบริการ ในปี 2559 บริษัทฯ ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ พื้นฐานที่ครอบคลุมทุกความต้องการของลูกค้า โดยมีจ�ำนวน ทัง้ สิน้ 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และน�ำ้ ยางข้น
ยางแท่ง
น้ำ�ยางข้น ชนิดที่จำ�หน่าย
ชนิดที่จำ�หน่าย ผลิตในประเทศไทย • STR • STR CV • STR Mixture ผลิตในประเทศอินโดนีเซีย • SIR • SIR Mixture ผลิตในประเทศเมียนมา • ยางแท่งอัดก้อนเมียนมา
การนำ�ไปใช้งาน ส่วนใหญ่ใช้เป็นวัตถุดิบส�ำหรับ อุตสาหกรรมยางล้อ
ยางแผ่นรมควัน ชนิดที่จำ�หน่าย • แบ่งได้เป็น 5 ประเภท คือ RSS1, RSS2, RSS3, RSS4 และ RSS5 • ยางแก้ว (ADS) • RSS 1XL
การนำ�ไปใช้งาน เป็นวัตถุดิบส�ำหรับอุตสาหกรรม ยางล้อ อะไหล่รถยนต์ สายพาน ท่อน�้ำ รองเท้า ฯลฯ
น�้ำยางข้น 60% • HA – High Ammonia Latex • MA – Medium Ammonia Latex • LA – Low Ammonia Latex • Double Centrifuge Latex
การนำ�ไปใช้งาน เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมผลิต ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ยางยืด กาว ฯลฯ
025 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และน้ำ�ยางข้น ได้แก่ ยางก้อนถ้วย ยางแผ่นดิบ และน้ำ�ยางสด ตามลำ�ดับ กระบวนการสรรหาวัตถุดิบถือว่ามีส่วนสำ�คัญเป็นอย่างมาก ต่อความสำ�เร็จในการดำ�เนินธุรกิจ เนื่องจากต้นทุนการผลิตประมาณร้อยละ 93 มาจากต้นทุน วัตถุดิบ ดังนั้น บริษัทฯ จึงให้ความสำ�คัญในการจัดตั้งเครือข่ายศูนย์กลางการจัดหาวัตถุดิบ (Procurement Centre) ในจุดยุทธศาสตร์ที่สำ�คัญที่ใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ ทั้งนี้ เพื่อลดต้นทุน การซื้อวัตถุดิบและเพิ่มเครือข่ายการสรรหาวัตถุดิบให้กว้างขวางที่สุด
ธุรกิจปลายน้ำ� บริ ษั ท ฯ ขยายธุ ร กิ จ ไปสู่ ก ารผลิ ต และจำ � หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ สำ � เร็ จ รู ป จากยาง 3 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ได้ แ ก่ ถุ ง มื อ ยางทางการแพทย์ ท่อไฮดรอลิกแรงดันสูง และราวจับสำ�หรับบันไดเลื่อน โดยผ่านกิจการร่วมค้าและการลงทุนในบริษัทร่วม โดยรายละเอียดของ แต่ละธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีดังนี้
ถุงมือยางทางการแพทย์ บจ. สยามเซมเพอร์เมด ซึ่งเป็นความ ร่ ว มมื อ ทางธุ ร กิ จ ระหว่ า งกลุ ่ ม บริ ษั ท ศรีตรังและบริษัทจากประเทศออสเตรีย เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ถุ ง มื อ ที่ ใ ช้ ใ นวงการแพทย์ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ด้วยก�ำลัง การผลิตจาก 4 โรงงาน รวมประมาณ 14,000 ล้านชิ้นต่อปี
ท่อไฮดรอลิกแรงดันสูง
ราวจับส�ำหรับบันไดเลื่อน
บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเชีย ซึ่งก่อตั้ง โดยความร่วมมือของ บมจ. ศรีตรังและ บริษัทจากประเทศออสเตรียเป็นผู้ผลิต ท่ อ ไฮโดรลิ ค แรงดั น สู ง ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย ซึ่งส่วนมากน�ำไปใช้ส�ำหรับ โรงงานอุตสาหกรรมหนัก
บริ ษั ท ฯ มี ส ่ ว นร่ ว มในธุ ร กิจผลิตและ จ�ำหน่ า ยราวจั บ ส�ำหรั บ บั น ไดเลื่ อ น และทางเลื่อนอัตโนมัติคุณภาพสูงผ่าน Shanghai Semperit
026 รายงานประจำ�ปี 2559
ธุรกิจอื่นที่สนับสนุนการดำ�เนินงานหลัก บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัทย่อยหลายบริษัทเพื่อด�ำเนินธุรกิจในการให้บริการและสนับสนุนการด�ำเนินงานหลักของกลุ่มบริษัทฯ
การขายและจัดจำ�หน่าย บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ตั้ ง เครื อ ข่ า ยการซื้ อ ขายและจั ด จ�ำหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ยางธรรมชาติใน 4 ตลาดหลัก ซึ่งได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และประเทศเวี ย ดนาม โดยด�ำเนิ น การ ผ่ า นบริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ ได้ แ ก่ Sri Trang International, Sri Trang USA, Inc., Shi Dong Shanghai และ Sri Trang Indochina ตามล�ำดับ
การขนส่ง บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซเพรส ทรานสปอร์ต เป็นผู้ให้บริการ ขนส่ ง และโลจิ ส ติ ก ส์ ส�ำหรั บ การจ�ำหน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ยางธรรมชาติ ข องบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง จั ด เตรี ย มเอกสารต่ า งๆ ที่เกี่ยวกับการน�ำเข้าและส่งออก
ธุรกิจแปรรูปและผลิตไม้ยางพารา บจ. อันวาร์พาราวูด แปรรูปอบแห้งไม้ยางพารา และไม้อื่นๆ เพื่อใช้เป็นพาเลทในการวางสินค้าภายในกลุ่มบริษัทฯ
การบำ�รุงรักษาและพัฒนาวิจัยการผลิต บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง เป็นผู้ให้บริการบ�ำรุงรักษา เครื่องจักรและอุปกรณ์ รวมถึงคิดค้นพัฒนากระบวนการผลิต อันล�้ำสมัยให้แก่กลุ่มบริษัทฯ นอกจากนี้ ยังเป็นผู้วิจัยและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพเฉพาะตัวตามที่ลูกค้าก�ำหนด
บจ. ไทยเทค
90.0%
42.5%
Itochu Corporation 15.0%
PT Sri Trang Lingga 42.5%
99.9%
บจ. เซาท แลนด รับเบอร
บจ. เซมเพอร เฟล็กซ เอเซีย
บจ. สะเดา พ�.เอส. รับเบอร
10.0%
50.0%
42.5%
Shanghai Sempermed
บจ. หน่ำฮั่ว
99.9%
90.0%
Shanghai Semperit
99.9%
Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd.
50.0%
25.0%
100.0%
100.0%
82.9%
50.0%
50.0%
50.0%
Sempermed Singapore
Sempermed USA, Inc.
Shi Dong Shanghai
Sri Trang USA, Inc.
Sri Trang International
100.0%
บจ. สตาร เท็กซ รับเบอร
จัดจำหน าย
บมจ. ศร�ตรัง
Semperit Technische Produkte
Semperflex Shanghai
100.0%
บจ. สยามเซม เพอร เมด
บจ. รับเบอร แลนด
99.9%
40.2%
สินค าสำเร็จรูป
ผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติ
โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สามารถแสดงได้ดังนี้
โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
100.0%
Sempermed Brasil
50.0%
บจ. สยาม เซมเพอร เมด 50.0% 25.0%
Semperit Technische Produkte
Sri Trang Ayeyar
Sri Trang Indochina
Shi Dong Investments
59.0%
100.0%
100.0%
40.0%
99.0%
Ayeyar Hinthar Holdings Co., Ltd
PT Star Rubber
99.9%
40.0%
99.9%
99.9%
99.9%
บจ. ศร�ตรังรับเบอร แอนด แพลนเทชั่น
บจ. พัฒนา เกษตรล วงหน า
บจ. สตาร ไลท เอ็กซ เพรส ทรานสปอร ต
บจ. พร�เมียร ซิสเต็ม เอ็นจ�เนียร��ง
บจ. อันวาร พาราวูด
บร�การ/ธุรกิจอื่น
44.5%
บมจ. ลีพัฒนา ผลิตภัณฑ
027 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
028 รายงานประจำ�ปี 2559
โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัทศรีตรัง ประเภทของธุรกิจ / ดำ�เนินการโดย
สัดส่วน การถือหุ้น โดยบริษัทฯ (ร้อยละ)
รายได้จากผลิตภัณฑ์ยางแท่ง บมจ. ศรีตรัง
100.0
Sri Trang USA, Inc.
100.0
บจ. รับเบอร์แลนด์
99.9
บจ. หน�่ำฮั่ว
99.9
PT Sri Trang Lingga
90.0
Shi Dong Shanghai
100.0
PT Star Rubber
99.0
Sri Trang Ayeyar
59.0
รายได้จากผลิตภัณฑ์ ยางแผ่นรมควัน 100.0
Sri Trang USA, Inc.
100.0
Shi Dong Shanghai บจก. สะเดา พี.เอส. รับเบอร์
2559
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
ล้านบาท
%
57,512.4
76.0
44,482.7
72.3
56,133.4
72.5
9,818.5
13.0
5,462.4
8.9
7,305.3
9.4
5,631.5
7.4
4,774.2
7.8
6,088.0
7.9
99.9 100.0 99.9
รายได้จากผลิตภัณฑ์น�้ำยางข้น บมจ. ศรีตรัง
2558
-
Sri Trang International บจ. หน�่ำฮั่ว
2557
-
Sri Trang International
บมจ. ศรีตรัง
ประจำ�ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
-
Sri Trang International
100.0
Shi Dong Shanghai
100.0
Sri Trang USA, Inc.
100.0
บจ. รับเบอร์แลนด์
99.9
บจ. หน�่ำฮั่ว
99.9
029 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ประเภทของธุรกิจ / ดำ�เนินการโดย
สัดส่วน การถือหุ้น โดยบริษัทฯ (ร้อยละ)
รายได้จากผลิตภัณฑ์อื่น และบริการอื่น*
ประจำ�ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ล้านบาท
2558 %
ล้านบาท
2559 %
ล้านบาท
%
2,567.5
3.4
6,572.5
10.7
7,738.8
10.0
รายได้อื่น
133.9
0.2
186.3
0.3
197.5
0.2
รายได้รวม
75,663.8
100.0
61,478.1
100.0
บมจ. ศรีตรัง บจ. อันวาร์พาราวูด Sri Trang International
99.9 100.0
บจ. พรีเมียร์ซสิ เต็มเอ็นจิเนียริง่
99.9
บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซเพรส ทรานสปอร์ต บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์
99.9
บจ. รับเบอร์แลนด์
99.9
Sri Trang USA, Inc.
100.0
Shi Dong Shanghai
100.0
บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น
99.9
ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า
99.9
535.1
648.8
77,463.0 100.0 402.8
หมายเหตุ* : ประกอบไปด้วยรายได้จาก (ก) การจ�ำหน่ายไม้ฟืนและบรรจุภัณฑ์ไม้ และ (ข) การให้บริการบางประเภท (เช่น บริการด้านการขนส่ง การวิจัย และพัฒนา และเทคโนโลยีสารสนเทศ) แก่บริษัทร่วมของบริษัทฯ และกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ รวมถึงบริษัทภายนอกอื่นๆ และ (ค) รายได้ จากการขายถุงมือ
030 รายงานประจำ�ปี 2559
กลยุทธ์ ในการประกอบธุรกิจ และแผนการเติบโตในอนาคต บริษัทฯ มีความมั่นใจว่าจะสามารถสร้างประวัติศาสตร์ปริมาณการขายที่สูงขึ้นทุกปี ซึ่งจะทำ�ให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายอันสูงสุดในการเป็น “ศรีตรัง 20”
การพัฒนา และขยายฐาน วัตถุดิบ การขยาย ฐานลูกค้า
การขยาย กำ�ลังการผลิต อย่างต่อเนื่อง
031 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทฯ ยังคงสานต่อ นโยบายสร้างโรงงานใหม่ อย่างต่อเนื่องเป็นประจำ� ทุกปีด้วยเทคโนโลยีที่ ทันสมัยที่สุดเพื่อให้การ ดำ�เนินงานมีประสิทธิภาพ สูงสุด
มิ เ พี ย งแต่ เ ป็ น ผู ้ น�ำในอุ ต สาหกรรมยางธรรมชาติ ด ้ ว ยก�ำลั ง การผลิ ต ที่ สู ง สุ ด ของโลก บริ ษั ท ฯ ยั ง เป็ น ผู ้ น�ำในการขยาย ก�ำลั ง การผลิ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การสร้ า ง โรงงานในพื้ น ที่ ภ าคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของประเทศไทย ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น พื้ น ที่ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ไ ปด้ ว ยสวนยางพาราใหม่ และมีศักยภาพในการเติบโตสูง แม้กระทั่งในช่วง 6 ปีที่ผ่าน มาซึ่ ง เป็ น ช่ ว งที่ ร าคายางปรั บ ตั ว ในทิ ศ ทางที่ ล ดลง บริ ษั ท ฯ ก็มิได้ชะลอแผนการขยายก�ำลังการผลิตแต่อย่างใด หากแต่ เพิ่ ม ก�ำลั ง การผลิ ต โดยการสร้ า งโรงงานใหม่ แ ละขยายก�ำลั ง การผลิ ต บนโรงงานแห่ ง เดิ ม อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ท�ำให้ ใ นช่ ว ง ทศวรรษที่ผ่านมา บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตเติบโตแบบก้าว กระโดดถึ ง 3 เท่ า ส่ ง ผลให้ อั ต ราการเติ บ โตเฉลี่ ย ของ ปริ ม าณการขายของบริษัทฯ ในช่ว ง 10 ปีที่ ผ ่ า นมาเท่ า กั บ ร้อยละ 9 ซึ่งสูงกว่าอัตราการเติบโตเฉลี่ยของปริมาณความ ต้ อ งการบริ โ ภคยางธรรมชาติ ข องโลกที่ ร ้ อ ยละ 2 ท�ำให้ บริ ษั ท ฯ สามารถขยายส่ ว นแบ่ ง ทางการตลาดของโลกจาก ร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 12
บริ ษั ท ฯ ยั ง คงสานต่ อ นโยบายสร้ า งโรงงานใหม่ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น ประจ�ำทุ ก ปี ด ้ ว ยเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย ที่ สุ ด เพื่ อ ให้ ก ารด�ำเนิ น งานมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ในพื้ น ที่ ใ หม่ ๆ เช่ น ภาคเหนื อ ของประเทศไทย เพิ่ ม เติ ม จากพื้ น ที่ ยุ ท ธศาสตร์ เดิมที่มี และด้วยการผนึกก�ำลังของทีมงานที่แข็งแกร่งไม่ว่า จะเป็นทีมขาย ทีมวิจัยและพัฒนา ทีมประกันคุณภาพ และ ที ม CSR ที่ ร ่ ว มมื อ กั น ท�ำงานเพื่ อ สร้ า งความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ให้ กั บ ลู ก ค้ า ควบคู ่ ไ ปกั บ การสานสั ม พั น ธ์ ใ ห้ แ น่ น แฟ้ น ยิ่ ง ขึ้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง มี ค วามมั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ จะสามารถสร้ า ง ประวัติศาสตร์ปริมาณการขายที่สูงขึ้นทุกปีนับจากนี้เป็นต้น ไป ซึ่งจะท�ำให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายอันสูงสุดใน การเป็ น “STA20” หรื อ การมี ป ริ ม าณการขายคิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 20 ของปริ ม าณความต้ อ งการบริ โ ภคยาง ธรรมชาติของโลก นอกจากนี้ การมุ่งเน้นการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นระบบของสวนยางพาราของบริษัทฯ ที่ได้เริ่มทยอยให้ ผลผลิต ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย อันเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการขยายโรงงานของบริษัทฯ ใน อนาคต ประกอบกับการเสริมสร้างความแข็งแกร่งของบริษัทฯ ในธุรกิจการผลิตถุงมือยางทางการแพทย์ซึ่งเป็นธุรกิจปลายน�้ำ หลั ก ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ นั บ เป็ น การยกระดั บ ความเป็ น ผู ้ น�ำ หนึ่ ง เดี ย วในอุ ต สาหกรรมยางธรรมชาติ อ ย่ า งครบวงจรให้ ล�้ำหน้าทิ้งห่างคู่แข่งในอุตสาหกรรมมากยิ่งขึ้นไปอีกด้วย
032 รายงานประจำ�ปี 2559
ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ภาวะอุตสาหกรรม ในปี 2559 แม้ว่าอุตสาหกรรมยางธรรมชาติยังคงเผชิญกับสภาวะความไม่แน่นอนของปัจจัยภายนอกและความผันผวนของตลาด อย่างต่อเนื่อง อาทิ การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก การแข็งค่าของเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ และสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออ�ำนวย เป็นต้น แต่ปริมาณอุปสงค์ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง กอปรกับปริมาณอุปทานที่เติบโตในอัตราที่ค่อนข้างต�่ำ ส่งผลให้ภาพรวมตลาดยางธรรมชาติ ในปี 2559 มีแนวโน้มที่ดีขึ้นหลังจากที่ราคายางไปแตะจุดต�่ำสุดในช่วงต้นปี และถือเป็นปีแรกนับตั้งแต่ปี 2554 ที่ราคายางธรรมชาติ ไม่ได้มีการปรับตัวลง อุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติในปี 2559 ตามข้อมูลประมาณการของ The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospect to 2025 ประจ�ำเดือนธันวาคม 2559 โดย International Rubber Study Group (IRSG) ความต้องการใช้ยางธรรมชาติทั่วโลกในปี 2559 คาดว่าจะมีประมาณ 12,505,000 ตั น เติ บ โตในอั ต ราร้ อ ยละ 3.0 ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมยางล้ อ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ บ ริ โ ภคหลั ก ของ ยางธรรมชาติคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 ของอุปสงค์รวม ในขณะที่ปริมาณการผลิตยางธรรมชาติในปี 2559 เท่ากับ 12,449,000 ตัน หรือเติบโตร้อยละ 1.4 ซึ่งนับเป็นการเติบโตในระดับที่ค่อนข้างต�่ำ ส่วนหนึ่งเนื่องจากได้รับผลกระทบจาก สภาพภู มิ อ ากาศที่ ไ ม่ เ อื้ อ อ�ำนวยและการที่ ร าคายางอยู ่ ใ นระดั บ ต�่ ำ ติ ด ต่ อ กั น เป็ น เวลานาน โดยส่ ว นใหญ่ ก ารเพิ่ ม ขึ้ น มาจาก กลุ่มประเทศ CAMAL* ประเทศไทย และประเทศเวียดนาม แนวโน้มอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติในปี 2560 IRSG คาดการณ์ว่าแนวโน้มความต้องการยางธรรมชาติทั่วโลกในปี 2560 จะเท่ากับ 12,872,000 ตัน เติบโตคิดเป็นร้อยละ 2.9 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการเติบโตจากประเทศจีนซึ่งเป็นผู้บริโภคยางรายใหญ่ที่สุดของโลก ในส่วนของอุปทาน IRSG ได้ประมาณการว่า ผลผลิตยางธรรมชาติในปี 2560 จะเท่ากับ 12,917,000 ตัน เติบโตขึ้นร้อยละ 3.8 โดยประเทศจีน ประเทศอินโดนีเซีย และ กลุ่มประเทศ CAMAL* เป็นกลุ่มที่มีการเติบโตด้านผลผลิตยางธรรมชาติสูง ในขณะที่ประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่อันดับหนึ่ง อย่างประเทศไทยนั้นจะมีการเติบโตเพียงเล็กน้อยเนื่องจากได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออ�ำนวย ความสมดุลของปริมาณอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ ในปี 2560 เป็นที่คาดการณ์ว่าผลผลิตยางธรรมชาติจากต้นยางที่ปลูกใหม่จะเติบโตในอัตราที่ลดลง เนื่องจากการปลูกต้นยางใหม่ ปรับตัวลดลงภายหลังจากช่วงที่ราคายางธรรมชาติปรับตัวลดลงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2554 นอกจากนี้ การที่ราคายางอยู่ใน ระดับต�่ำหลายปีติดต่อกันอาจส่งผลให้เกษตรกรหันไปปลูกพืชอื่นทดแทน หรือเลื่อนระยะเวลาการปลูกต้นยางใหม่หรือการปลูก ทดแทนออกไป รวมถึงอาจส่งผลให้จ�ำนวนแรงงานกรีดยางและความถี่ในการกรีดยางลดลง ตลอดจนลดความน่าสนใจที่จะมี ชาวสวนยางรายใหม่เกิดขึ้นด้วย ในขณะที่ความต้องการยางธรรมชาติยังเติบโตอย่างต่อเนื่องตามการเติบโตของอุตสาหกรรมยางล้อ ดังนั้น IRSG จึงคาดการณ์ว่าปริมาณผลผลิตส่วนเกินในปี 2560 จะเท่ากับ 45,000 ตัน ซึ่งค่อนข้างใกล้เคียงจุดดุลยภาพ แผนภาพแสดงปริมาณความต้องการและการผลิตยางธรรมชาติของโลกโดยรวมในช่วงปี 2553 – 2560 (หนวย: ลานตัน) 13 12 11 10 9
0
-9
205
10.8
10.4
11.0 11.2
612 11.0
11.7
851
12.3
11.4
12.2 12.1
129
12.1 12.3
45 (หนวย: พันตัน)
12.5 12.4
12.9 12.9
1,000
500
2553
(356)
2554
2555
2556
2557
(45)
หมายเหตุ*: กลุ่มประเทศ CAMAL ได้แก่ ประเทศกัมพูชา เมียนมา และลาว
2558
2559
2560f
0
(56) -500
แหลงที่มาขอมูล : IRSG
ปริมาณอุปสงค (ซาย) ปริมาณอุปทาน (ซาย) ปริมาณอุปทานสวนเกิน (ขวา)
033 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
“กว่าครึ่งทศวรรษที่อุตสาหกรรมยางธรรมชาติต้องเผชิญกับความท้าทายและแรงกดดันจากหลากหลายปัจจัยแวดล้อม อาทิ การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจจีน ความผันผวนของค่าเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ และความผันผวน ของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ เป็นต้น ส่งผลให้คู่แข่งหลายรายประสบปัญหาและออกจากอุตสาหกรรมไป ปัจจัยสำ�คัญ ที่ทำ�ให้บริษัทฯ ได้เปรียบในการแข่งขันภายใต้ภาวะอุตสาหกรรมเช่นนี้ประกอบด้วยคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ขนาดกำ�ลัง การผลิตที่ใหญ่ที่สุดในโลก การบริการลูกค้าที่ดีเยี่ยม สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่หลากหลาย ทีมผู้บริหารที่เปี่ยมด้วย ประสบการณ์ และการบริหารความเสี่ยงที่เป็นเลิศ”
ภาวะการแข่งขัน บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติแบบครบวงจรรายใหญ่ที่สุด ของโลกที่ มี ส ่ ว นแบ่ ง ทางการตลาดในปี 2559 ประมาณ ร้อยละ 12* ของยอดความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ รวมทั่วโลก โดยมีฐานธุรกิจในประเทศผู้ผลิตและส่งออกยาง ธรรมชาติ 3 ล�ำดับแรกของโลกได้แก่ ประเทศไทย อินโดนีเซีย และเวียดนาม ทั้งนี้คู่แข่งหลักของบริษัทฯ ได้แก่ บจ. วงศ์บัณฑิต กลุ่มบริษัทเซาท์แลนด์ และ บมจ. ไทยฮั้วยางพารา ซึ่งตั้งอยู่ใน ประเทศไทย, The Kirana Group, Halcyon Agri Corporation (Sinochem Group) และChina Hainan Rubber Industry Group Co., Ltd. ในประเทศอื่นๆ การที่บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตขนาดใหญ่ท�ำให้บริษัทฯ สามารถ เพิ่มอัตราการประหยัดต่อขนาด เพิ่มความสมดุลของอ�ำนาจ การต่อรองทั้งกับลูกค้าและผู้จัดหาวัตถุดิบ เพิ่มความสามารถใน การแข่งขันด้านการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ และเพิ่มศักยภาพ ในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนในรูปแบบต่างๆ หัวใจส�ำคัญของการเป็นผู้ประกอบการกลางน�้ำในอุตสาหกรรม ยางธรรมชาติ คือ ความสามารถในการบริหารต้นน�้ำควบคู่ กับปลายน�้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น บริษัทฯ จึงวาง จุ ด ยุ ท ธศาสตร์ ตั้ ง ฐานการผลิ ต ในประเทศไทยและประเทศ อินโดนีเซีย ซึ่งเป็นสองประเทศหลักของโลกที่ผลิตยางธรรมชาติ รวมมากกว่าร้อยละ 60 ของปริมาณยางธรรมชาติท่ีผลิตทั้งโลก รวมถึงประเทศเมียนมา ซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติที่มี ศักยภาพการเติบโตสูง นอกจากนี้ ยังมีเครือข่ายในการสรรหา วัตถุดิบที่แข็งแกร่งครอบคลุมทุกพื้นที่ที่ส�ำคัญ ส�ำหรับด้านการ จัดจ�ำหน่าย บริษัทฯ ได้ตั้งบริษัทย่อยในประเทศส�ำคัญๆ อาทิ จีน สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม เป็นต้น เพื่อเป็น
ตัวแทนในการจัดจ�ำหน่ายสินค้าของบริษัทฯ และด้วยคุณภาพ สินค้าระดับมาตรฐานสากล บริษัทฯ จึงสามารถขายผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติไปยังผู้ผลิตยางล้อชั้นน�ำทั่วทุกมุมโลก การทีบ่ ริษทั ฯ มีฐานธุรกิจในหลากหลายประเทศ รวมถึงมีทมี ขาย และการตลาดที่มากด้วยประสบการณ์ท�ำให้บริษัทฯ สามารถให้ บริการลูกค้าอย่างดีเยีย่ ม และตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทั่วทุกมุมโลกได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มุ่งพัฒนาสู่การไม่มีข้อร้องเรียนจากลูกค้า โดยการ จั ด ตั้ ง กระบวนการร้ อ งเรี ย นอย่ า งเป็ น ระบบและด�ำเนิ น การ แก้ไขทันทีที่ได้รับข้อร้องเรียนต่างๆ กลุ ่ ม ผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท มี ป ระสบการณ์ แ ละความช�ำนาญ ในธุรกิจอย่างสูงจากการอยู่ในธุรกิจยางธรรมชาติมานานเกือบ 30 ปี เ ป็ น อี ก หนึ่ ง ข้ อ ได้ เ ปรี ย บด้ า นการแข่ ง ขั น อี ก ประการ ที่บริษัทฯ มีเหนือคู่แข่งในอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ในการก�ำหนด ทิศทางธุรกิจ การวางแผนการด�ำเนินงาน ตลอดจนการจัดการ ระบบป้องกันความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพเพื่อช่วยลดผลกระทบ จากความผันผวนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ผู้ประกอบการ ยางธรรมชาติ จ�ำเป็ น ต้ อ งมี ค วามรู ้ ค วามเข้ า ใจถึ ง ปั จ จั ย อื่ น ที่เกี่ยวข้อง อาทิ สถานการณ์เศรษฐกิจโลก ความเคลื่อนไหว ของอุปสงค์-อุปทาน ความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนเงิน สกุลหลัก แนวโน้มราคาน�้ำมัน และนโยบายของรัฐบาล เป็นต้น ดังนั้น บริษัทฯ เชื่อว่าความรู้ความเข้าใจในอุตสาหกรรมยาง ธรรมชาติ อ ย่ า งลึ ก ซึ้ ง ของที ม ผู ้ บ ริ ห ารจะช่ ว ยเพิ่ ม ขี ด ความ สามารถในการด�ำเนินธุรกิจและความสามารถในการท�ำก�ำไร ให้กับบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนช่วยสร้างความแข็งแกร่ง ให้แก่สถานะทางการตลาดในฐานะผู้น�ำในการประกอบกิจการ ยางธรรมชาติ
* เทียบจากยอดขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ ประมาณ 1,494,094 ตันในรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 กับประมาณการ ยอดความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติรวมทั่วโลกที่ประมาณ 12,505,000 ตัน ในปี 2559 (แหล่งที่มาข้อมูล : International Rubber Study Group (IRSG), The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospects to 2025, December 2016)
034 รายงานประจำ�ปี 2559
รรมชาติ ธ ง า ย ฑ ณ ั ภ ต ิ ล ผ เป นผู ผลิต งโลก รายใหญ ที่สุดขอ
จ�ดเดน
ะกอบธุรกิจ มีรูปแบบการปร บครบวงจร บ แ ิ ต า ช ม ร ร ธ ง ยา วงจรตั้งแตการ บ ร ค บ บ แ จ ิ ก ร ุ ธ ติ การประกอบ ภัณฑยางธรรมชา ต ิ ล ผ ต ิ ล ผ ร า ก า ร ทำสวนยางพา ทำใหบริษัทฯ ป ู ร จ ็ เร ำ ส า ค น ิ ส ต ิ ูกตอง ไปจนถึงการผล อุปทานไดอยางถ ซ งโ ว ห ง ้ ั งท อ ข ก ึ ขัน เขาถึงขอมูลเชิงล ามารถในการแขง ส ม า ว ค ด ี ข ม ่ ิ เพ ร การ ซึ่งเปนกา ตอบสนองตอทุก ถ ร า ม า ส ฯ ท ั ษ ิ ร ี เนื่องจากบ ไดอยางทันทวงท ด า ล ต พ า ภ งส อ เปลี่ยนแปลงข
เทศ มีฐานการผลิตอยู ในประ ัญ ที่เป นจ�ดยุทธศาสตร สำค
คใตและภาคตะวันออก การที่บริษัทฯ มีโรงงานทั้งในภาะเท ศอินโดนีเซีย รวมถึง เฉียงเหนือของประเทศไทย ปร างความไดเปรียบดาน ประเทศเมียนมา นอกจากจะสร ศไทยและประเทศ การจัดหาวัตถุดิบ เนื่องจากประเทงธรรมชาติรายใหญ อินโดนีเซียเปนประเทศผูผลิตยา60 ของผลผลิตโลก คิดเปนสัดสวนมากกวารอยละ ามยืดหยุนในการบริหาร โดยรวมแลว ยังเปนการเพิ่มคว งจากแตละพื้นที่มีฤดูกาล จัดการการผลิตตลอดทั้งป เนื่อ ะเทศเมียนมาเปน กรีดยางที่ตางกัน นอกจากนี้ ปรโตของปริมาณ ประเทศที่มีศักยภาพในการเติบงสูง การผลิตยางธรรมชาติที่คอนขา
นตัน วิศวกรรม 2.4 ลา ชาติ าง ท ต ิ ล ผ าร ก ง ั ำล ี ก การที่บริษัทฯ ม 2559) และมีผลิตภัณฑยางธรรม งการ ตอป (ณ ธันวาคม ัทฯ สามารถตอบสนองทุกความตอ ทุกชนิดทำใหบริษ บริษัทฯ สามารถครองสวนแบง ของลูกคา สงผลใหึงรอยละ 12 ของความตองการ ใหญ ทางการตลาดไดถ ลก นอกจากนี้ กำลังการผลิตขนาด ยางธรรมชาติของโไดเปรียบดานการประหยัดตอขนาด ุล ยังชวยสรางความ Scale) ตลอดจนชวยเพิ่มความสมด (Economies of การคาทั้งกับเกษตรกรชาวสวนยาง ในการตอรองทาง และลูกคาอีกดวย
มีช องทางการจัดจำหน าย ที่ครอบคลุมลูกค าทั่วโลก การมีชองทางการจัดจำหนายที่ครอบคลุมลูกคาทั่วโลก ทำใหบริษัทฯ ไดรับขอมูลอุปสงคและการเปลี่ยนแปลง ของสภาวะตลาดจากลูกคาโดยตรง
035 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ี่ล้ำสมัย ท ี ย ล โ น โ ค การมีเท ามารถด าน ส ม า ว ค ะ ล แ ที่แข็งแกร ง า น ฒ ั พ ย ั จ � การว ร
กา ามารถดาน ิตผล ส ม า ว ค ะ ล ัยแ ผล โลยีที่ล้ำสม ิทธิภาพและ การมีเทคโน ข็งแกรงชวยเพิ่มประส เนื่อง นอกจากนี้ ี่แ ตอ วิจัยพัฒนาท กับกลุมบริษัทฯ อยาง ะของลูกคา ให แล ทางการผลิต ละพัฒนาของบริษัทฯ ผลใหบริษัทฯ ัยแ สง การที่ทีมวิจ รวมกันไดโดยตรง ยัง ารเฉพาะ งก งาน สามารถทำ ินคาไดตรงกับความตอ ิตส สามารถผล ะรายไดอยางลงตัว ตล ของลูกคาแ
ความมุ งมั่นในการเติบโต อย างยั่งยืนไปพร อมกับชุมชน ิษัทฯ มชนอยางตอเนื่องของบร ชุ นา ฒ ั รพ กา ใน น ่ มั ง มุ ความ ันแข็งแกรงและทัศนคติ อ ธ น ั พ ม ั มส วา งค า สร ม ิ ชวยเสร วนสำคัญที่ทำใหบริษัทฯ ส น เป ง ่ ซึ ชน ม ชุ อง กข ในเชิงบว น สามารถเติบโตอยางยั่งยื
การเป น บร ที่จดทะเ �ษัท บีย ตลาดหล นหลักทรัพย ทั้ง ใน ัก และตลา ทรัพย แห งประเท ดหลักท รัพย สิงค ศไทย ชวยเพิ่มศ ักยภาพใน โปร การเ เครื่อ
ขาถึงแห งมือทา อีกทั้งยังเ งการเงินเพื่อสนับ ลงเงินทุนและ ปน สน ดวยความ เครื่องยืนยันถึงก ุนการดำเนินธุรก าร ิจ โปรงใสภ ายใตหลัก ดำเนินธุรกิจ บรรษัทภ ิบาลที่ดี
ผู บร�หารม ีปร ในอุตสาห ะสบการณ กรรมอย า งยาวนาน
กลุมผูบริหา รข ความชำนา องบริษัทฯ มีประสบก ญในธุรกิจอ า ยางสูงจากก รณและ ยางธรรมช ารอย าติม ขับเคลื่อนแ านานเกือบ 3 ทศวรร ูในธุรกิจ ษ ละนำพาบร ิษัทไปสูควา จึงสามารถ แมจะตองเ มสำเร็จได ผชิญกับคว ามทาทาย
036 รายงานประจำ�ปี 2559
คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
1
2
3
4
5
6
01
ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการ / กรรมการผู้จัดการ
04
02
นายกิติชัย สินเจริญกุล
รองประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
05
นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
03
นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการ / กรรมการบริหาร
กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหา
นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 06
นายลี พอล สุเมธ
กรรมการ / กรรมการบริหาร
037 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
7
8
9
10
11
07
นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง
10
นายเกรียง ยรรยงดิลก
นายหลี่ ซื่อเฉียง กรรมการ
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
09
11
กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน
08
นายเฉลิมภพ แก่นจัน
นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
12
นายเนียว อา แชบ กรรมการอิสระ
12
038 รายงานประจำ�ปี 2559
01 ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล อายุ 61 ปี ประธานกรรมการ / กรรมการผู้จัดการ วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 27 ธันวาคม 2536
ประวัติการศึกษา • ปริญญาเอก (PHD) สาขาเคมี Queen Elizabeth’s College, University of London • ปริญญาตรี สาขาเคมี (เกียรตินิยม อันดับ 1) Queen Elizabeth’s College, University of London ประวัติการอบรม • ไม่มี การทำ�งานปัจจุบัน • ประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการผู้จัดการ บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • กรรมการ บจ. ไทยเทค • กรรมการ บจ. สยามเซมเพอร์เมด • กรรมการ บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย • กรรมการ บจ. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า • กรรมการ บจ. ที.อาร์.ไอ. โกลบอล • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส์
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ PT Sri Trang Lingga • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ Sempermed Singapore • กรรมการ PT Star Rubber • กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Sri Trang Ayeyar • กรรมการ Semperflex Shanghai • กรรมการ Shanghai Semperit • กรรมการ Shanghai Sempermed ประวัติการทำ�งาน • 2553 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง • 2536 – ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บมจ. ศรีตรัง • 2530 – 2536 กรรมการผู้จัดการใหญ่ บจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี • 2528 – 2530 ผู้จัดการทั่วไป บจ. ยางไทยปักษ์ใต้
039 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
02 นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ* อายุ 76 ปี รองประธานกรรมการ/ กรรมการ อิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 27 ธันวาคม 2536
ประวัติการศึกษา • ปริญญาโท สาขาการเงิน Indiana University สหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาการเงิน Indiana University สหรัฐอเมริกา ประวัติการอบรม • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 27/2009 ของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) 8/2009 ของสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) 1/2009 ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย
• หลักสูตร
Chartered Director Class (CDC) 3/2008 ของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 33/2003 ของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) 5/2001 ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know การทำ�งานปัจจุบัน • รองประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการอิสระ และ ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง • ประธานกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • กรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบ บมจ. เออาร์ไอพี • กรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • ไม่มี ประวัติการทำ�งาน • 2559 – ปัจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง • 2553 – ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน บมจ. ศรีตรัง • 2551 – ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง • 2552 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธาน กรรมการตรวจสอบ บมจ. เออาร์ไอพี • 2558 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธาน กรรมการตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท • 2551 – 2558 กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท • 2542 – 2554 กรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบ บมจ. ปูนซีเมนต์นครหลวง • 2542 – 2551 กรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง • 2540 – 2545 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา
หมายเหตุ* : นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ได้รับแต่งตั้งให้เข้าดำ�รงตำ�แหน่งรองประธานกรรมการตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559
040 รายงานประจำ�ปี 2559
03 นายไชยยศ สินเจริญกุล อายุ 66 ปี กรรมการ / กรรมการบริหาร วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 27 ธันวาคม 2536
ประวัติการศึกษา • Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร DAP 66/2007 ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การทำ�งานปัจจุบัน • กรรมการ บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • กรรมการ บจ. รับเบอร์แลนด์ • กรรมการ บจ. หน�่ำฮั่ว • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร์ • กรรมการ บจ. อันวาร์พาราวูด • กรรมการ บจ. พรีเมียร์ซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง • กรรมการ บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ • กรรมการ บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส์ • ประธานสภาธุรกิจยางอาเซียน • กรรมการบริหาร บจ. ร่วมทุน ยางพาราระหว่างประเทศ • อนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา ผลผลิตทางการเกษตร ในคณะกรรมาธิการการเกษตรและ สหกรณ์ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ • กรรมการ คณะกรรมการนโยบาย ธรรมชาติ • นายกสมาคมยางพาราไทย • ที่ปรึกษาสมาคมยางพาราไทย ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • กรรมการ PT Sri Trang Lingga • กรรมการ Shanghai Sempermed • กรรมการ Semperflex Shanghai • กรรมการ Sempermed Singapore • กรรมการ Shi Dong Shanghai
ประวัติการทำ�งาน • 2536 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • 2557 – 2558 อนุกรรมาธิการการจัดการองค์กร คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติการยางแห่ง ประเทศไทย สภานิติบัญญัติแห่งชาติ • 2551 – 2557 กรรมการสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย • 2551 – 2555 ประธานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดสงขลา • 2551 – 2553 รองประธานสภาธุรกิจ IMT-GT ประเทศไทย • 2551 – 2553 ประธานคณะทำ�งานสาขาเกษตร อุตสาหกรรมเกษตรและสิ่งแวดล้อม • 2530 – 2536 กรรมการ บจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี
041 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
04 นายกิติชัย สินเจริญกุล อายุ 57 ปี กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหา วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 10 เมษายน 2538
ประวัติการศึกษา • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ Indiana State University สหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร DAP 67/2007 ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Sempermed Singapore • กรรมการ Semperflex Shanghai • กรรมการ Shanghai Sempermed • กรรมการ Sri Trang Ayeyar
ประวัติการทำ�งาน • 2553 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานกฎหมาย และบริหารทั่วไป • 2553 – ปัจจุบัน กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง การทำ�งานปัจจุบัน • 2538 – ปัจจุบัน • กรรมการอำ�นวยการ กรรมการ บมจ. ศรีตรัง บมจ. ศรีตรัง สาขากรุงเทพฯ • 2531 – 2549 ผู้จัดการบมจ. ศรีตรัง สาขากรุงเทพฯ • กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • ผู้จัดการสายงานกฎหมายและ • 2527 – 2530 บริหารทั่วไป บมจ. ศรีตรัง ฝ่ายสินเชื่อ ธนาคารซิตี้แบงค์ • กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • กรรมการ บจ. สยามเซมเพอร์เมด • กรรมการ บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส์ • กรรมการ บจ. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า
042 รายงานประจำ�ปี 2559
05 นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล อายุ 32 ปี กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 28 เมษายน 2553
ประวัติการศึกษา
• ปริญญาโทบริหารธุรกิจ
(การเงิน และการตลาด) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์, The University of Reading, United Kingdom ประวัติการอบรม • หลักสูตร DAP 85/2010 ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 10 • หลักสูตร FSD26/2014 Financial Statements for Directors รุ่นที่ 26/2014 การทำ�งานปัจจุบัน • กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • กรรมการ บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย • กรรมการ บจ. รับเบอร์แลนด์ • กรรมการ บจ. พรีเมียร์ซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง • กรรมการ บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต • กรรมการ บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • กรรมการ Shanghai Sempermed • กรรมการ Sri Trang USA ประวัติการทำ�งาน • 2556 – ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง • 2553 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • 2551 – 2554 แผนกสินเชื่อ บมจ. ธนาคารกสิกรไทย
043 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
06 นายลี พอล สุเมธ อายุ 62 ปี กรรมการ / กรรมการบริหาร วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 28 มิถุนายน 2553
ประวัติการศึกษา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ International Institute for Management Development, Lausanne สวิสเซอร์แลนด์ • Bachelor of Commerce University of New South Wales, Sydney ออสเตรเลีย ประวัติการอบรม • SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know การทำ�งานปัจจุบัน • กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • ผู้จัดการสายงานการตลาด บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • กรรมการ บจ. ไทยเทค
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • ประธานกรรมการ Sri Trang International • กรรมการ PT Star Rubber • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ PT Sri Trang Lingga • กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Sri Trang Ayeyar ประวัติการทำ�งาน • 2553 – ปัจจุบัน กรรมการและผู้จัดการสายงาน การตลาด บมจ. ศรีตรัง • 2531 – 2546 Global Market Director, ELDERS Finance/ DRESDNER Bank • 2526 – 2530 โปรแกรมเมอร์ Macquarie Bank • 2525 โปรแกรมเมอร์ Custom Credit Corporation • 2522 – 2524 โปรแกรมเมอร์ Computer Installation Development
044 รายงานประจำ�ปี 2559
07 นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล อายุ 48 ปี กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 7 พฤษภาคม 2557
ประวัติการศึกษา บริหารธุรกิจการบัญชี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • ปริญญาตรี
ประวัติการอบรม • หลักสูตร Director Certification Program รุ่นที่ 195/2014 (DCP195/2014) • หลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy รุ่นที่ SFE24/2015 โดยสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การทำ�งานปัจจุบัน • กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • ผู้จัดการสายงานบัญชีและการเงิน บมจ. ศรีตรัง • กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • กรรมการ บจ. รับเบอร์แลนด์ • กรรมการ บจ. หน�่ำฮั่ว • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร์ • กรรมการ บจ. อันวาร์พาราวูด • กรรมการ บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ • กรรมการ บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • ไม่มี ประวัติการทำ�งาน • 2557 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • 2556 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง • 2553 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานบัญชีและการเงิน บมจ. ศรีตรัง • 2544 – 2552 ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บมจ. ศรีตรัง • 2535 – 2543 ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บจ. สยามเซมเพอร์เมด
045 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
08 นายหลี่ ซื่อเฉียง อายุ 44 ปี กรรมการ วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 7 พฤษภาคม 2557
ประวัติการศึกษา • ปริญญาโท สาขา Business Management, Shanghai University, China • ปริญญาตรี สาขา Business English, Qingdao University, China ประวัติการอบรม • หลักสูตร DAP 125/2016 ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การทำ�งานปัจจุบัน • กรรมการ บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • กรรมการ และผู้จัดการทั่วไป Shi Dong Shanghai • กรรมการ Sri Trang International
ประวัติการทำ�งาน • 2557 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • 2555 – ปัจจุบัน รองประธานสมาคมยางพาราจีน • 2553 – ปัจจุบัน ผู้จัดการทั่วไป Shi Dong Shanghai • 2547 – 2553 ที่ปรึกษาของกลุ่มบริษัทศรีตรัง ในประเทศจีน • 2545 – 2546 ผู้จัดการฝ่ายน�ำเข้าและส่งออก Qingdao Sentaida Rubber Co., Ltd. • 2543 – 2545 ผู้จัดการฝ่ายยางธรรมชาติ Sinochem International Corp. (Qingdao office) • 2540 – 2543 ผู้ช่วยผู้จัดการทั่วไป Qingdao Tizong Rubber Tyre Co., Ltd.
046 รายงานประจำ�ปี 2559
09 นายเฉลิมภพ แก่นจัน อายุ 46 ปี กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 29 ตุลาคม 2558
ประวัติการศึกษา • Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ประกาศนียบัตร สาขาการจัดการ วิทยาลัยการอาชีพ ประวัติการอบรม • หลักสูตร DAP 132/2016 ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การทำ�งานปัจจุบัน • กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • ผู้จัดการสายงานการผลิต บมจ. ศรีตรัง • กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • กรรมการ บจ. รับเบอร์แลนด์ • กรรมการ บจ. หน�่ำฮั่ว • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร์ • กรรมการ บจ. อันวาร์พาราวูด • กรรมการ บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • ไม่มี ประวัติการทำ�งาน • 2558 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • 2556 – ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง • 2553 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานการผลิต บมจ. ศรีตรัง • 2549 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานการผลิต บจ. รับเบอร์แลนด์ • 2541 – 2548 ผู้จัดการโรงงาน บจ. รับเบอร์แลนด์ • 2537 – 2540 ผู้ช่วยผู้จัดการโรงงานน�้ำยาง บมจ. ศรีตรัง
047 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
10 นายเกรียง ยรรยงดิลก อายุ 78 ปี กรรมการอิสระ/ กรรมการ ตรวจสอบ/ ประธานกรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 25 มกราคม 2543
ประวัติการศึกษา • ปริญญาตรี บชบ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร DAP 11/2004 ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การทำ�งานปัจจุบัน • กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4250 • ประธานกรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง • กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • กรรมการ บจ. เจ เอ็ม พี กรุ๊ป (1993) • กรรมการ บจ. มาร์ช ออโต้ 2010 ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • ไม่มี
ประวัติการทำ�งาน • 2553 – ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง • 2553 – ปัจจุบัน คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ศรีตรัง • 2553 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. มาร์ช ออโต้ 2010 • 2543 – ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง • 2536 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. เจ เอ็ม พี กรุ๊ป (1993) • 2547 – 2548 กรรมการตรวจสอบ บมจ. โออิชิ กรุ๊ป • 2528 – 2541 สรรพากรจังหวัด, สรรพากรพื้นที่, สรรพากรภาค 3 กรมสรรพากร • 2511 ผู้ตรวจการตรี สำ�นักงานสรรพากร จังหวัดภูเก็ต • 2508 ราชการชั้นตรี สำ�นักงานตรวจเงิน แผ่นดิน
048 รายงานประจำ�ปี 2559
11 นายสมัชชา โพธิ์ถาวร อายุ 73 ปี กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ / กรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 1 กุมภาพันธ์ 2551
ประวัติการศึกษา • รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เนติบัณฑิตไทย • นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม • หลักสูตร DAP 75/2008 ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know การทำ�งานปัจจุบัน • กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ และ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง • กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • กรรมการสภามหาวิทยาลัย ราชมงคลศรีวิชัย
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • ไม่มี ประวัติการทำ�งาน • 2554 – ปัจจุบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัย ราชมงคลศรีวิชัย • 2553 – ปัจจุบัน กรรมการสรรหา บมจ.ศรีตรัง • 2553 – ปัจจุบัน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. ศรีตรัง • 2551 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง • 2549 – 2551 ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการ กระทรวง กระทรวงมหาดไทย • 2549 – 2551 ผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัดพังงา • 2546 – 2547 ที่ปรึกษากฎหมาย กระทรวงมหาดไทย • 2543 – 2545 ผู้ช่วยปลัดกระทรวง และ รองผอ. ศูนย์อ�ำนวยการจังหวัดชายแดน ภาคใต้ กระทรวงมหาดไทย • 2540 – 2543 รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง และจังหวัดตรัง • 2539 – 2540 ปลัดจังหวัด • 2527 – 2539 นายอ�ำเภอ • 2512 – 2526 ปลัดอ�ำเภอ
049 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
12 นายเนียว อา แชบ (Mr. Neo Ah Chap) อายุ 72 ปี กรรมการอิสระ วันที่ ได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการ 28 มิถุนายน 2553
ประวัติการศึกษา • Diploma in Accountancy, Perth Technical College • Certified Public Accountant (Australia) ประวัติการอบรม • SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know การทำ�งานปัจจุบัน • กรรมการอิสระ บมจ. ศรีตรัง ตำ�แหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไม่มี ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในประเทศ • ไม่มี
ตำ�แหน่งในกิจการที่ ไม่ใช่บริษัท จดทะเบียน ในต่างประเทศ • ไม่มี ประวัติการทำ�งาน • 2553 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ศรีตรัง • 2541 – 2557 เจ้าของบริษัท NAC Consultancy Services • 2541 – 2552 กรรมการบริหาร Tan Chong International Ltd. • 2514 – 2552 กรรมการด้านการตลาด Tan Chong & Sons Motor Company (Singapore) Private Limited
050 รายงานประจำ�ปี 2559
คณะผู้บริหาร
1
01
2
3
4
5
6
7
8
04
07
ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม
ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล
นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์
นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ
02
05
ผู้จัดการสายงานการผลิต
ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม
ผู้จัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ
นายอาศรม อักษรนำ�
นายพันเลิศ หวังศุภดิลก
03
06
ผู้จัดการสายงานควบคุมคุณภาพ
ผู้จัดการสายงานธุรกิจเกษตร
นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์
นายอุดม พฤกษานุศักดิ์
นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์ 08
นางสาวธนวรรณ เสงี่ยมศักดิ์, CFA ผู้จัดการสายงานพัฒนาธุรกิจ และนักลงทุนสัมพันธ์
051 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์ อายุ 63 ปี
นายอาศรม อักษรนำ� อายุ 49 ปี
ผู้จัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ
ผู้จัดการสายงานการผลิต
ประวัติการศึกษา • ประกาศนียบัตร สาขาการบัญชีโพลีเทคนิค กรุงเทพ
ประวัติการศึกษา • ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประวัติการอบรม • Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการอบรม • Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • ไม่มี
การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • ไม่มี
ประวัติการทำ�งาน • 2548 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ • 2540 – 2547 หัวหน้าฝ่ายบัญชีด้านการตรวจสอบวัตถุดิบ บมจ.ศรีตรัง • 2536 – 2539 พนักงานบัญชี บมจ.ศรีตรัง
ประวัติการทำ�งาน • ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานการผลิต • 2552 – 2558 ผู้จัดการโรงงาน บจ.สยามเซมเพอร์เมด • 2547 – 2551 ผู้จัดการโรงงาน Shanghai Sempermed • 2541 – 2546 ผู้จัดการโรงงาน บจ.สยามเซมเพอร์เมด • 2538 – 2540 ผู้จัดการฝ่ายผลิต บจ.สยามเซมเพอร์เมด • 2532 – 2537 Line Chemist บจ.สยามเซมเพอร์เมด
052 รายงานประจำ�ปี 2559
นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ อายุ 48 ปี
นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ อายุ 43 ปี
ผู้จัดการสายงานควบคุมคุณภาพ
ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม
ประวัติการศึกษา • ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการเงินการธนาคาร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร
ประวัติการศึกษา • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา University of Southern Colorado at Pueblo, United States
ประวัติการอบรม • Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการอบรม • ไม่มี
การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา
การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • กรรมการ บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง
ประวัติการทำ�งาน • 2552 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานควบคุมคุณภาพ • 2543 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา • 2550 – 2551 เจ้าหน้าที่ประสานงาน บมจ.ศรีตรัง • 2542 – 2549 ผู้จัดการโรงงาน บมจ.ศรีตรัง
ประวัติการทำ�งาน • ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม • 2558 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • 2552 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • 2546 – 2552 ผู้จัดการโรงงานด้านเทคนิค บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • 2544 – 2546 ผู้จัดการโรงงาน บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • 2543 – 2544 ผู้ช่วยผู้จัดการโรงงาน บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง
053 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
นายพันเลิศ หวังศุภดิลก อายุ 45 ปี
นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ อายุ 55 ปี
ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม
ผู้จัดการสายงานธุรกิจเกษตร
ประวัติการศึกษา • ปริญญาโท สาขาวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ประวัติการศึกษา สาขาเกษตรศาสตร์ (พืชไร่นา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาตรี สาขาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประวัติการอบรม • ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • กรรมการ บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง ประวัติการทำ�งาน • ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม • 2558 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • 2552 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • 2549 – 2552 ผู้จัดการฝ่ายโรงงาน บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย • 2541 – 2549 ผู้จัดการฝ่ายการผลิต บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย
• ปริญญาโท
ประวัติการอบรม • ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • กรรมการ บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ • กรรมการ บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น • กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา • กรรมการ บจ. พฤกษาอีสาน ประวัติการทำ�งาน • 2556 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานธุรกิจเกษตร • 2558 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น • 2558 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ • 2551 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. พฤกษาอีสาน • 2546 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา • 2553 – 2558 ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บมจ. ศรีตรัง • 2543 – 2555 ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บจ. สยามเซมเพอร์เมด • 2541 – 2542 ผู้จัดการโรงงาน บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย • 2531 – 2540 ผู้จัดการฝ่ายผลิต บจ. สยามเซมเพอร์เมด
054 รายงานประจำ�ปี 2559
นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์์ อายุ 49 ปี
นางสาวธนวรรณ เสงี่ยมศักดิ์, CFA อายุ 38 ปี
ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล
ผู้จัดการสายงานพัฒนาธุรกิจและนักลงทุนสัมพันธ์
ประวัติการศึกษา • ปริญญาตรี สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยาเขตหาดใหญ่)
ประวัติการศึกษา สาขาการเงิน the University of Strathclyde, UK, เกียรตินิยม • ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, เกียรตินิยมอันดับ 1
ประวัติการอบรม • ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส์ ประวัติการทำ�งาน • 2551 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานทรัพยากรบุคคล • 2558 – ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส์ • 2543 – 2550 ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ บจ. สยามเซมเพอร์เมด
• ปริญญาโท
ประวัติการอบรม • ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น • ไม่มี ประวัติการทำ�งาน • 2554 – ปัจจุบัน ผู้จัดการสายงานพัฒนาธุรกิจและนักลงทุนสัมพันธ์ • 2548 - 2554 ผู้ช่วยผู้จัดการ ฝ่ายวาณิชธนกิจ หลักทรัพย์กสิกรไทย • 2547 ผู้ช่วยผู้จัดการ ฝ่ายวาณิชธนกิจ ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน) • 2544 - 2545 เจ้าหน้าทีภ่ าษีสรรพสามิต บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จำ�กัด • 2543 - 2544 ผู้สอบบัญชี สำ�นักงานเอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด
055 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
โครงสร้างการจัดการ
056 รายงานประจำ�ปี 2559
โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โครงสร้างองค์กรของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 6 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 12 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ตำ�แหน่ง
หมายเหตุ
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการ/ กรรมการผู้จัดการ/ กรรมการบริหาร
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
2. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ(1)
รองประธานกรรมการ/ กรรมการอิสระ/ ประธาน กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
3. นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการ/ กรรมการบริหาร
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
4. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการสรรหา
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
5. นายลี พอล สุเมธ
กรรมการ/ กรรมการบริหาร
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
7. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการบริหารความเสี่ยง
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
8. นายหลี่ ซื่อเฉียง
กรรมการ
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
9. นายเฉลิมภพ แก่นจัน
กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการบริหารความเสี่ยง
กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
10. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ ประธาน กรรมการสรรหา/ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการสรรหา/ กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
12. นายเนียว อา แชบ
กรรมการอิสระ
กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร
หมายเหตุ : (1) นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ได้รับการแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งรองประธานกรรมการบริษัท ตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559
โดยมี นางพัชรินทร์ อนุวงศ์วัฒนชัย เป็นเลขานุการคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
057 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทน บมจ. ศรีตรัง นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล, นายไชยยศ สินเจริญกุล, นายกิติชัย สิ น เจริ ญ กุ ล , นายวีรสิทธิ์ สิน เจริญ กุล, นายลี พอล สุ เ มธ, นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล และนายเฉลิมภพ แก่นจัน สองในเจ็ด คนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราส�ำคัญของบริษัท
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของ บมจ. ศรีตรัง ที่ประชุมคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ครั้งที่ 2/2559 ซึ่งประชุม เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559 ได้มีมติแต่งตั้งนายสมหวัง สินเจริญกุล เป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของ บมจ. ศรีตรัง ต่อไปอีก 2 ปี โดยให้ ค�ำปรึกษาแก่บริษัทฯ ในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. ให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับการก�ำหนดเป้าหมาย และวิสัยทัศน์ ของบริษัทฯ 2. ให้ ค�ำปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ แผนธุ ร กิ จ แผนการลงทุ น และ นโยบายการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ทัง้ ในและต่างประเทศ 3. ให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับกลยุทธ์ในการจัดสรรวัตถุดิบ แนวทาง การจัดซื้อ ราคาและปริมาณ ในแต่ละช่วงก�ำหนดเวลา ตามสภาวะท้องถิ่น 4. ให้ ค�ำปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ ภาค มวลชนและหน่ ว ยงานท้ อ งถิ่ น และหน่ ว ยงานราชการ ในภาคใต้ ทั้งนี้ นายสมหวัง สินเจริญกุล ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ของ บมจ. ศรีตรัง นายสมหวังได้รับค่าที่ปรึกษาคิดเป็นจ�ำนวน เงิ น 428,000 บาทต่ อ เดื อ น หรื อ 5,136,000 บาทต่ อ ปี เริ่ ม ตั้ ง แต่ วั น ที่ 6 พฤษภาคม 2559 และสิ้ น สุ ด วั น ที่ 6 พฤษภาคม 2561 โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการระหว่างกัน
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
บมจ. ศรี ต รั ง ได้ มี ก ารกำ � หนดขอบเขตอำ � นาจหน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการไว้ดังนี้ 1. คณะกรรมการมีอำ�นาจและหน้าที่และความรับผิดชอบใน การจัดการบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ ของบริษัท และมติคณะกรรมการ ตลอดจนมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจะต้องใช้วิจารณญาณ และความรอบคอบในการตัดสินใจทางธุรกิจและปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริตและความ ระมัดระวังเพื่อรักษาผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ 2. รับผิดชอบในการเสนอ ทบทวน และให้ความเห็นชอบกับ นโยบายและทิศทางดำ�เนินงานของบริษัท 3. แต่ ง ตั้ ง ถอดถอน มอบอำ � นาจหน้ า ที่ ให้ แ ก่ ที่ ป รึ ก ษา คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดต่างๆ และกรรมการ ผู้จัดการนำ�ไปปฏิบัติ
4. มอบอำ�นาจให้แก่ฝ่ายจัดการ พนักงานระดับบริหารของ บริษทั หรือบุคคลอืน่ ใดทำ�การแทนได้ ภายใต้ขอบเขตอำ�นาจ หน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 5. อนุมัติการลงทุน ขายเงินลงทุนในตราสารทุน และ/หรือ ตราสารหนี้ 6. อนุมัติการเข้าค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อให้แก่บริษัทที่มีความ สัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทในฐานะผู้ถือหุ้น 7. อนุมัติก่อตั้ง ควบรวม หรือเลิกบริษัทย่อย 8. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ หรือที่ปรึกษาของบริษัท (ถ้ามี) หรือ จ้างที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอกในกรณีจำ�เป็นด้วย ค่าใช้จ่ายของบริษัท 9. เสนอการเพิ่มทุนหรือลดทุน หรือการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้น การแก้ไข เปลี่ยนแปลงหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับและ/ หรือ วัตถุประสงค์ของบริษัทต่อผู้ถือหุ้น 10. แต่งตั้งและถอดถอนเลขานุการบริษัท 11. พิจารณาอนุมตั กิ ารทำ�รายการเกีย่ วโยง เว้นแต่รายการดังกล่าว จะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทัง้ นีใ้ นการพิจารณา อนุมัติดังกล่าวจะเป็นไปตามประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับตลาดหลักทรัพย์ 12. จัดให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบ ภายในที่มีประสิทธิผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการทำ� รายการที่มีกรรมการมีส่วนได้เสีย ต้องอยู่ในข่ายที่กฎหมาย หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้ ง นี้ การมอบหมายอำ � นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ ของคณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง นั้ น จะไม่ มี ลั ก ษณะเป็ น การมอบอำ�นาจ หรือมอบอำ�นาจช่วงที่ทำ�ให้คณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง หรื อ ผู้ รั บ มอบอำ � นาจจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน) อาจมีส่วนได้เสีย หรืออาจได้รับประโยชน์ในลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อื่นใดกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง ยกเว้นเป็นการอนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ทท่ี ป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง พิจารณาอนุมัติไว้
องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง องค์ประกอบและการแต่งตั้ง ถอดถอน หรือพ้นจากตำ�แหน่ง กรรมการ บมจ. ศรีตรัง นั้น จะมีกำ�หนดไว้ในข้อบังคับซึ่งสามารถ สรุปสาระสำ�คัญได้ดังนี้
058 รายงานประจำ�ปี 2559
1. คณะกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง จะพึงมีจำ�นวนเท่าใดให้ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นผูก้ �ำ หนด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าห้าคนและ กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด ต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร 2. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้เลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการดังต่อไปนี้ (1) ผู้ ถื อ หุ้ น คนหนึ่ ง มี ค ะแนนเสี ย งเท่ า กั บ หนึ่ ง หุ้ น ต่ อ หนึง่ เสียง (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนต้องใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมด ตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็น กรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมาก น้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมาเป็น ผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการ ที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคล ซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียง เท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมีหรือพึงจะเลือก ตั้งในครั้งนั้นให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 3. ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้งให้กรรมการออกจาก ตำ�แหน่ง 1 ใน 3 เป็นอัตรา ถ้าจำ�นวนกรรมการที่จะแบ่ง ออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกในจำ�นวนใกล้ทส่ี ดุ กับ ส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ให้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในตำ�แหน่งนาน ที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง 4. กรรมการคนใดจะลาออกจากตำ�แหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อ บมจ. ศรีตรัง การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึง บมจ. ศรีตรัง 5. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้กรรมการคนใดคนหนึ่งออก จากตำ � แหน่ ง ก่ อ นถึ ง คราวออกตามวาระได้ ด้ ว ยคะแนน เสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำ�นวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันแล้วได้ไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมี สิทธิออกเสียง ปัจจุบัน คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการ จำ�นวน 12 ท่าน เป็นกรรมการอิสระจำ�นวน 4 ท่าน กรรมการ ที่เป็นผู้บริหารจำ�นวน 8 ท่าน และกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 4 ท่าน
บริษัทฯ แต่งตั้งคณะกรรมการโดยคำ�นึงถึงประเภทและขอบเขต การปฏิ บั ติ ง านของกลุ่ ม บริ ษั ท ฯ โดยบริ ษั ท ฯ มุ่ ง หวั ง ให้ การพิจารณากิจการต่างๆ ในที่ประชุมคณะกรรมการเป็นไป อย่ า งสร้ า งสรรค์ อี ก ทั้ ง มี แ นวทางในการตั ด สิ น ใจที่ ส มดุ ล และหลากหลาย โดยมุ่ ง หวั ง ให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ารตั ด สิ น ใจที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี้ กรรมการของบริ ษั ท ฯ เป็ น ผู้ ที่ มี ประสบการณ์อย่างมากในด้านการบัญชี การเงิน การบริหาร ธุ ร กิ จ การวางแผนและกลยุ ท ธ์ การตลาด กฎหมาย และ อุตสาหกรรมยาง
การคัดเลือกกรรมการอิสระ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการ อิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับ (ก) บมจ. ศรีตรัง (ข) บริษัทโฮลดิ้งของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง หรือ บริษัทย่อยของบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง (ค) บุคคลทีม่ สี ว่ นได้เสียทีถ่ อื หุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง คิดเป็นสัดส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบมจ. ศรีตรัง (“ผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10”) และ/ หรือ (ง) พนักงานของบมจ. ศรีตรังที่สามารถแทรกแซงการ ตัดสินใจอย่างอิสระของกรรมการเพื่อประโยชน์สูงสุดทาง ธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีสมาชิกในครอบครัว (ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคู่สมรส พี่ น้อง และ บิดา มารดา) ถือหุ้นไม่ต�่ำกว่าร้อยละสิบทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชี ที่ผ่านมา หรือเป็นหุ้นส่วน (ถือหุ้นเท่ากับหรือมากกว่า ร้ อ ยละ 10) กรรมการ หรื อ ผู ้ บ ริ ห ารในองค์ ก รหรื อ บริษัทย่อยขององค์ใดก็ตามที่ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย ของบมจ. ศรีตรัง เคยให้/ได้รับบริการ (รวมถึงการสอบบัญชี การบริการด้านธนาคาร การเป็นทีป่ รึกษา และ การบริการ ด้านกฎหมาย) หรือจ่ายเงินหรือท�ำธุรกรรมด้วยอย่างมี นัยส�ำคัญ ทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชีที่ผ่านมา 4. ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ถือหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งถือหุ้นเกินกว่าร้อยละสิบทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชี ที่ผ่านมา 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม
059 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มี อำ�นาจควบคุมของบมจ. ศรีตรัง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีก่อนได้รับการ แต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าว ไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือ ที่ปรึกษา ของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง 6. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ จดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คู่ ส มรส พี่ น้ อ ง และบุ ต ร รวมทั้ ง คู่ ส มรสของบุ ต รของ กรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจ ควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง หรือ บริษัทย่อย 7. ไม่เป็นบุคคลที่มีสมาชิกในครอบครัว ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคู่สมรส พี่ น้อง และ บิดา มารดา ทำ�งานให้กับ บมจ. ศรีตรัง หรือ บริษัทที่เกี่ยวข้องกับ บมจ. ศรีตรัง ในช่วงสามปีที่ผ่านมา โดยที่ค่าตอบแทนที่ได้ รับนั้นพิจารณาโดยคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 8. ไม่เป็นกรรมการหรือมีสมาชิกในครอบครัว ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคู่สมรส พี่ น้อง และ บิดา มารดา ทีเ่ คยได้รบั ค่าตอบแทนจากการให้บริการอืน่ นอกเหนือ จากค่ า ตอบแทนจากการดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการจาก บมจ. ศรีตรัง หรือ บริษัทที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ของบมจ. ศรีตรัง ในช่วงปีที่ผ่านมาจนกระทั่งปีปัจจุบัน 9. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง ในลักษณะที่อาจเป็น การขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้ง ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำ�นาจควบคุม ของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบมจ. ศรีตรัง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า สองปี ก่ อ นได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการอิสระ 10. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบมจ. ศรีตรัง และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มี อำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมี ผู้ ส อบบั ญ ชี ข อง บมจ. ศรี ต รั ง บริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ
ดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า สองปี ก่ อ นได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการอิสระ 11. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึง การให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจาก บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่ มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทาง วิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าว มาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ 12. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ กรรมการของบมจ. ศรีตรัง ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นผู้ท่เี กี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือไม่เป็นกรรมการ ซึง่ เป็นผูท้ เ่ี กีย่ วข้องโดยตรงกับผูถ้ อื หุน้ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชีที่ผ่านมา โดยกรรมการที่มี ส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ให้หมายรวมถึงกรรมการที่คุ้นเคยกับผู้ถือหุ้นดังกล่าวใน ระดั บ ที่ ส ามารถดำ � เนิ น กิ จ การองค์ ก รตามทิ ศ ทางหรื อ คำ�สั่งในนามของผู้ถือหุ้นที่มีนัยดังกล่าวไม่ว่าจะอย่างเป็น ทางการหรือไม่เป็นทางการ 13. ไม่ ป ระกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย่ า งเดี ย วกั น และเป็ น การ แข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการ ที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงิน เดือนประจำ� หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่มี สิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่ มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการ ของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย 14. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็น อิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของ บมจ. ศรีตรัง โดยบมจ.ศรีตรังได้ก�ำ หนดคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระไว้เข้มกว่า ข้อกำ�หนดที่กำ�หนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน คณะกรรมการมีความเห็นสมควรให้นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ และ นายเกรียง ยรรยงดิลก ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการอิสระ ให้กับ บมจ. ศรีตรัง ต่อไป แม้ว่าจะได้รับการแต่งตั้งมาเป็นเวลา มากกว่า 9 ปี เนื่องจากทั้งสองท่านมีคุณสมบัติของกรรมการ อิสระครบถ้วนตามที่กำ�หนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำ�กับ ตลาดทุน รวมทั้งไม่มีคุณสมบัติหรือเหตุอันใดที่อาจทำ�ให้ไม่ สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของ บมจ. ศรีตรัง และในอดีตที่ผ่านมานายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ และ นายเกรี ย ง ยรรยงดิ ล ก ได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นฐานะของ กรรมการอิสระ ทั้งในการเป็นกรรมการตรวจสอบ กรรมการ
060 รายงานประจำ�ปี 2559
พิจารณาค่าตอบแทนได้เป็นอย่างดีโดยเป็นไปเพื่อประโยชน์ และธรรมาภิบาลที่ดีของบริษัท
5. มีอำ�นาจการอนุมัติวงเงินที่เป็นธุรกรรมทางการค้าปกติหรือ ธุรกรรมที่เป็นพันธะผูกพันต่อ บมจ. ศรีตรัง
คณะกรรมการตรวจสอบจะประชุมทุกไตรมาส และจะมีการ ประชุมส่วนตัวกับผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายในอย่างน้อย ปีละครั้งโดยปราศจากผู้บริหาร เพื่อทบทวนความเพียงพอของ การตรวจสอบบัญชีและการตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรื่องของขอบเขตและคุณภาพการตรวจสอบ ตลอดจนความ เป็นอิสระของผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน
ทั้ ง นี้ การมอบหมายอำ � นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการบริหารนั้น จะต้องไม่มีลักษณะเป็นการอนุมัติ การเข้าทำ�รายการที่ทำ�ให้คณะกรรมการบริหาร หรือผู้รับมอบ อำ�นาจจากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน) ซึ่งการอนุมัติรายการในลักษณะ ดั ง กล่ า วจะต้ อ งเสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ และ/หรื อ ที่ ประชุ มผู้ ถื อ หุ้ น แล้ ว แต่ ก รณี เพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มัติ ร ายการ ดังกล่าวตามที่ข้อบังคับของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยหรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกำ�หนด
คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย กรรมการ 7 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ชื่อ
ตำ�แหน่ง
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการบริหาร 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการบริหาร
3. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการบริหาร
4. นายลี พอล สุเมธ
กรรมการบริหาร
5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล กรรมการบริหาร
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของ บมจ. ศรี ต รั ง ประกอบด้ ว ย กรรมการอิสระจำ�นวน 3 ท่าน และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ กำ�หนดโดยประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และตลาด หลักทรัพย์ฯ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการตรวจ สอบของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการที่มีรายชื่อ ดังนี้
6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล กรรมการบริหาร 7. นายเฉลิมภพ แก่นจัน
กรรมการบริหาร
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร บมจ. ศรีตรัง ได้มีการกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของกรรมการ บริหาร ดังนี้ 1. มีอำ�นาจสั่งการ วางแผน และดำ�เนินกิจการของ บมจ. ศรีตรัง ให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง กำ�หนด 2. มีอำ�นาจแต่งตั้ง คณะบริหารงานต่างๆ เพื่อประโยชน์และ ประสิทธิภาพของการจัดการที่ดีและโปร่งใส 3. ให้กรรมการสองคนของคณะกรรมการบริหารลงนามร่วมกัน พร้อมประทับตราบริษทั มีอ�ำ นาจมอบอำ�นาจช่วงในหนังสือ มอบอำ�นาจของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อให้ผู้รับมอบอำ�นาจช่วง สามารถดำ�เนินการอันเป็นประโยชน์เกี่ยวเนื่องกับกิจการ งานต่างๆ ในนาม บมจ. ศรีตรัง ได้อย่างเป็นทางการ 4. มีอำ�นาจพิจารณากำ�หนดสวัสดิการพนักงานให้เหมาะสม กับสถานการณ์ ประเพณีปฏิบัติและสอดคล้องกับกฎหมาย ที่บังคับใช้อยู่
ชื่อ
ตำ�แหน่ง
1. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการตรวจสอบ
3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการตรวจสอบ
นายประกอบ วิ ศิ ษ ฐ์ กิ จ การ และนายเกรี ย ง ยรรยงดิ ล ก เป็ น กรรมการตรวจสอบที่ มี ค วามรู้ แ ละประสบการณ์ ด้ า น บัญชีและการเงินเพียงพอในการสอบทานความน่าเชื่อถือของ งบการเงินของ บมจ. ศรีตรัง โดยมีนายวิทวัส กรุงแทนเมือง เป็นเลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1.
ช่วยคณะกรรมการในการสอบทานดูแลด้านการเงินและ การบัญชี (รวมถึงการสอบทานให้ บมจ. ศรีตรัง มีการ รายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ และสอบทาน งบการเงินรวมของบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่างบการเงินดังกล่าว ถูกต้องและเพียงพอ)
061 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความ เป็ น อิ ส ระของหน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในหรือหน่วยงานอื่นใดที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับ การตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บมจ. ศรีตรัง ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำ � หนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง 4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และถอดถอนบุคคลซึ่งมี ความเป็นอิสระ น่าเชื่อถือ มีคุณสมบัติที่ได้รับการยอมรับ และเป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี ที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก ก.ล.ต. เพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง และเสนอ ค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับ ผูส้ อบบัญชี โดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการกับบุคคลที่มีส่วน ได้เสีย หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้ เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็น ประโยชน์สูงสุดต่อ บมจ. ศรีตรัง 6. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ ในรายงานประจำ�ปีของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้ อ งลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและ ต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ (1) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ความถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น เป็ น ที่ เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของ บมจ. ศรีตรัง (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุม ภายในของ บมจ. ศรีตรัง (3) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำ � หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของ บมจ. ศรีตรัง (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ (6) จำ � นวนการประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบและ การเข้าประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน
(7) ความเห็ น หรื อ ข้ อ สั ง เกตโดยรวมที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบได้ รั บ จากการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามกฎบั ต ร (Charter) (8) รายการอื่ น ที่ เ ห็ น ว่ า ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ ล งทุ น ทั่ ว ไปควร ทราบภายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ดำ � เนิ น การตรวจสอบภายใน และพิ จ ารณาผลการ ตรวจสอบใดๆ ที่สำ�คัญ และ/หรือหารือกับผู้สอบบัญชี เกี่ยวกับผลการตรวจสอบดังกล่าว และรายงานผลการ ตรวจสอบให้คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ทราบ ในกรณีที่มี เหตุ อั น ควรสงสั ย ว่ า จะมี ก ารกระทำ � ผิ ด หรื อ ทุ จ ริ ต หรื อ มีการฝ่าฝืนกฎหมายหรือระเบียบของประเทศไทย หรือ ระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือระเบียบอื่น ซึ่งการ กระทำ�ผิดหรือการทุจริตหรือการฝ่าฝืนดังกล่าวมีผลหรือ น่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อผลการดำ�เนินงาน หรือสถานะทางการเงินของ บมจ. ศรีตรัง 8. สอบทานแผนการตรวจสอบ (audit plans) ขอบเขต การดำ�เนินงาน และผลการตรวจสอบที่รวบรวมโดยผู้สอบ บัญชีภายในและภายนอก 9. สอบทานความร่วมมือที่เจ้าหน้าที่ของ บมจ. ศรีตรัง ให้แก่ ผู้สอบบัญชี 10. สอบทานนโยบายบริหารความเสี่ยงของบริษัท (รวมถึง นโยบายป้องกันความเสีย่ ง) และดูภาพรวมของกระบวนการ และการดำ�เนินการในการบริหารความเสี่ยงเพื่อที่จะได้ ลดและบริหารความเสี่ยงให้อยู่ในขอบเขตที่รับได้ตามที่ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง กำ�หนด 11. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหา ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 คณะกรรมการสรรหาของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ
ตำ�แหน่ง
1. นายเกรียง ยรรยงดิลก
ประธานกรรมการสรรหา
2. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการสรรหา
3. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการสรรหา
062 รายงานประจำ�ปี 2559
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการสรรหา 1. สอบทานและประเมินคุณสมบัติของผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ ให้เป็นกรรมการ (รวมถึงกรรมการบริหาร) ก่อนทำ�การ เสนอแนะต่อคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2. สอบทานและเสนอแนะต่อคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ในการเสนอให้ แ ต่ ง ตั้ ง กรรมการเข้ า ใหม่ หรื อ แต่ ง ตั้ ง กรรมการที่ อ อกตามวาระกลั บ เข้ า ดำ � รงตำ � แหน่ ง ต่ อ ไป โดยคำ�นึงถึงผลงาน และการปฏิบตั งิ านของกรรมการท่านนัน้ 3. พิจารณาว่ากรรมการแต่ละท่านมีความเป็นอิสระหรือไม่ เป็นประจำ�ทุกปี 4. พิจารณาว่ากรรมการแต่ละท่านสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ อย่างเหมาะสมในฐานะกรรมการหรือไม่ ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการสรรหาจะ พิจารณาปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ • ความเป็นอิสระทางความคิด • ความสามารถของแต่ละบุคคล และพิจารณาว่าความสามารถ ดั ง กล่ า วตรงกั บ ความต้ อ งการของบริ ษั ท และเป็ น ส่ ว น เติมเต็มให้กับกรรมการท่านอื่นอย่างไร • ประสบการณ์และภาพรวมของผลงานที่ผ่านมาในฐานะ กรรมการในบริษัทอื่น • การให้เวลา และความมุมานะในการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ กรรมการ
การสรรหากรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง ได้ ดำ � เนิ น การจั ด ตั้ ง คณะกรรมการสรรหา (Nomination Committee) เพื่อทำ�หน้าที่สรรหาบุคคลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมที่ จ ะเข้ า ดำ � รงตำ � แหน่ ง เป็ น กรรมการ โดยทุกครั้งที่กรรมการที่ดำ�รงตำ�แหน่งครบวาระ หรือมีเหตุ จำ�เป็นที่จะต้องแต่งตั้งกรรมการเพิ่ม คณะกรรมการสรรหา จะร่ ว มกั น หารื อ เพื่ อ กำ � หนดตั ว บุ ค คลที่ มี ค วามเหมาะสม ทัง้ ด้านประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ บมจ. ศรีตรัง เข้ามาเป็นกรรมการ โดยจะมีการเสนอรายชื่อ บุคคลดังกล่าวต่อที่ประชุมคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง และ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นตามลำ�ดับ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ทั้งนี้ ในการเลือกตั้งกรรมการ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้ถือคะแนน เสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และออกเสียงลงคะแนน
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้
ชื่อ
ตำ�แหน่ง
1. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
ประธานกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน
2. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน
3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ให้คำ�แนะนำ�และเสนอแนวทางและหลักเกณฑ์ในการกำ�หนด ค่าตอบแทนของกรรมการและเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร รวมทัง้ เสนอแนะ ค่าตอบแทนพิเศษให้แก่กรรมการแต่ละราย และกรรมการผูจ้ ดั การ และปฏิบัติหน้าที่อ่นื ใดตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 5 ท่าน ดังนี้ โดยมีนายกิติพงศ์ เพชรกุล เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ชื่อ
ตำ�แหน่ง
1. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
ประธาน กรรมการบริหารความเสีย่ ง
2. นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
3. นายเฉลิมภพ แก่นจัน
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
4. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
5. นายนัธธี ถิรพุทธโภคิน
กรรมการบริหารความเสีย่ ง
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. 2. 3.
ทบทวนนโยบายและกำ�หนดกรอบการบริหารความเสี่ยง ให้ข้อเสนอแนะในเรื่องบริหารความเสี่ยงขององค์กร กำ�กับดูแลประเมินความเสี่ยง และอนุมัติบทบาทหน้าที่และ ความรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงของแต่ละสายงาน หรือฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง
063 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการคณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบในปี 2559 มีดังนี้ ชื่อ
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม
คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
2559
ร้อยละ
2559
ร้อยละ
2559
ร้อยละ
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
7/7
100
7/7
100
-
-
2. นายไชยยศ สินเจริญกุล
7/7
100
7/7
100
-
-
3. นายกิติชัย สินเจริญกุล
7/7
100
7/7
100
-
-
4. นายลี พอล สุเมธ
7/7
100
7/7
100
-
-
5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
7/7
100
7/7
100
-
-
6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
7/7
100
7/7
100
-
-
7. นายหลี่ ซื่อเฉียง
7/7
100
-
-
-
-
8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน
7/7
100
7/7
100
-
-
9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ(1)
7/7
100
-
-
8/8
100
10. นายเกรียง ยรรยงดิลก
7/7
100
-
-
7/8
87.50
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
6/7
85.71
-
-
8/8
100
12. นายเนียว อา แชบ
7/7
100
-
-
-
-
ร้อยละของการเข้าร่วมประชุม ของคณะกรรมการแต่ละคณะ
98.81
100
95.83
หมายเหตุ : (1) นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ได้รับการแต่งตั้งเข้าดำ�รงตำ�แหน่งรองประธานกรรมการบริษัท ตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม
คณะกรรมการสรรหา
คณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
2559 -
ร้อยละ -
2559 -
ร้อยละ -
2559 -
ร้อยละ -
2. นายไชยยศ สินเจริญกุล
-
-
-
-
-
-
3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง
2/2 -
100 -
-
-
3/3 2/3 -
100 66.67 -
ชื่อ
064 รายงานประจำ�ปี 2559
ชื่อ 8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน 9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นายเนียว อา แชบ ร้อยละของการเข้าร่วมประชุม ของคณะกรรมการแต่ละคณะ
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม
คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง
คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการตรวจสอบ
2559 2/2 2/2 -
ร้อยละ 100 100 100
2559 2/2 2/2 2/2 -
ร้อยละ 100 100 100 100
2559 3/3 -
ร้อยละ 100 88.89
คณะผู้บริหาร (ตามคำ�นิยามผู้บริหาร(1) ของประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 17/2551 เรื่อง การกำ�หนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 รายชื่อผู้บริหารของ บมจ. ศรีตรัง มีดังต่อไปนี้ ชื่อ
ตำ�แหน่ง
ชื่อ
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการและ กรรมการผู้จัดการ
13. นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์
2. นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการ
14. นายอาศรม อักษรนำ�
3. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการ และผูจ้ ดั การ สายงานกฎหมายและ บริหารทัว่ ไป กรรมการ และผูจ้ ดั การ สายงานการตลาด กรรมการ
15. นายชัยเดช พฤกษานุศกั ดิ์
4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง 8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน 9. นายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ(2) 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นายเนียว อา แชบ
กรรมการ และผูจ้ ดั การสาย งานบัญชีและการเงิน (CFO) กรรมการ กรรมการ และผูจ้ ดั การ สายงานการผลิต รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ
ตำ�แหน่ง ผูจ้ ดั การ สายงานสรรหาวัตถุดบิ ผูจ้ ดั การสายงานการผลิต
16. นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กจิ
ผูจ้ ดั การ สายงานควบคุมคุณภาพ ผูจ้ ดั การสายงานวิศวกรรม
17. นายพันเลิศ หวังศุภดิลก
ผูจ้ ดั การสายงานวิศวกรรม
18. นายอุดม พฤกษานุศักดิ์
ผูจ้ ดั การ สายงานธุรกิจเกษตร 19. นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์ ผูจ้ ดั การ สายงานทรัพยากรบุคคล 20. นางสาวธนวรรณ เสงีย่ มศักดิ์ ผูจ้ ดั การสายงานพัฒนา ธุรกิจและนักลงทุนสัมพันธ์ หมายเหตุ : (1) ผู้บริหาร หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง ระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา ผู้ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่ง เที ย บเท่ า กั บ ผู้ ดำ � รงตำ � แหน่ ง ระดั บ บริ ห ารรายที่ สี่ ทุ ก ราย และ ให้หมายความรวมถึงผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชี หรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า (2) นายประกอบ วิ ศิ ษ ฐ์ กิ จ การ ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เข้ า ดำ � รงตำ � แหน่ ง รองประธานกรรมการบริษัท ตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559
065 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการผู้จัดการ 1. มีอ�ำนาจอนุมัติการท�ำนิติกรรมใดๆ ซึ่งมีผลผูกพันบริษัท ส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจปกติของ บมจ. ศรีตรัง ในวงเงิน ไม่เกิน 200,000,000 บาท (สองร้อยล้านบาท) 2. มีอ�ำนาจในการออก แก้ไข เพิ่มเติม ปรับปรุง ระเบียบ ค�ำสั่ง และข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงานของ บมจ. ศรีตรัง เช่น การบรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน และวินัยพนักงานและ ลูกจ้าง การก�ำหนดเงินเดือนและเงินอื่นๆ รวมตลอดถึง การสงเคราะห์และสวัสดิการต่างๆ 3. มี อ�ำนาจก�ำหนดอั ต ราเงิ น เดื อ นและผลตอบแทนอื่ น ๆ รวมทั้ ง อั ต ราค่ า ใช้ จ ่ า ยและสิ่ ง อ�ำนวยความสะดวกของ ผู้จัดการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไป เพื่อขอความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหาร 4. มี ห น้ า ที่ ด�ำเนิ น การควบคุ ม ดู แ ลกิ จ การทั้ ง ปวงของ บมจ. ศรี ต รั ง ให้ เ ป็ น ไปตามมติ แ ละนโยบายของ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง 5. มีหน้าทีน่ �ำเสนอเรือ่ งทีส่ �ำคัญต่อคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาอนุมัติเห็นชอบ หรือ เพื่อการอื่นใดตามความเหมาะสม 6. มีหน้าที่ศึกษาความเป็นไปได้ส�ำหรับโครงการใหม่ๆ และ มี อ�ำนาจพิ จ ารณาอนุ มั ติ โ ครงการต่ า งๆ ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง หรื อ คณะกรรมการบริหาร 7. ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร เป็นครัง้ คราว อย่างไรก็ดี กรรมการผู้จัดการและผู้ที่ได้รับมอบอ�ำนาจจาก กรรมการผู ้ จั ด การไม่ มี อ�ำนาจในการที่ จ ะอนุ มั ติ เ รื่ อ ง หรื อ รายการที่ ต นเองหรื อ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง มี ส ่ ว นได้ ส่วนเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะ อื่นใด จะเข้าท�ำกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง ตามนิยามในประกาศของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ หรือ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน
เลขานุการบริษัท คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้มีมติแต่งตั้งให้นางพัชรินทร์ อนุ ว งศ์ วั ฒ นชั ย ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสม ส�ำเร็ จ การศึ ก ษา ทางด้านบัญชี และได้รับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิ บั ติ ง านด้ า นเลขานุ ก ารบริ ษั ท และหลั ก สู ต รอื่ น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในธุรกิจ กฎหมาย และ ระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ เป็นเลขานุการบริษัท โดยมีหน้าที่และ
ขอบเขตความรับผิดชอบตามที่ก�ำหนดไว้ใน พ.ร.บ. หลักทรัพย์ รวมทั้ ง ให้ ค�ำแนะน�ำด้ า นการปฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ์ ต ่ า งๆ (Compliance) ที่คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะต้องทราบ และปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง รวมทั้ ง ประสานให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามมติ ข อง คณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง โดยเลขานุ ก ารบริ ษั ท จะต้ อ ง เข้าร่วมและจัดเก็บเอกสารการประชุมคณะกรรมการทั้งหมด และท�ำให้แน่ใจว่ากระบวนการของคณะกรรมการได้รับการ ปฏิบัติตาม ทั้งนี้ การแต่งตั้งและถอดถอนเลขานุการบริษัท จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน (1) ค่าตอบแทนของกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บมจ. ศรีตรัง ได้จา่ ยค่าตอบแทนกรรมการเป็นจ�ำนวนเงินรวม 6,652,800 บาท เป็นผลประโยชน์ตอบแทนประเภทเงินบ�ำเหน็จแก่กรรมการ โดยมีรายละเอียดการจ่ายเป็นรายบุคคล ดังนี้ จำ�นวนค่าตอบแทน (บาท)* ชื่อ
รอบปีบัญชีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2559
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
633,600
2. นายไชยยศ สินเจริญกุล
475,200
3. นายกิติชัย สินเจริญกุล
475,200
4. นายลี พอล สุเมธ
475,200
5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
475,200
6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
475,200
7. นายหลี่ ซื่อเฉียง
475,200
8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน
475,200
9. นายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ
792,000
10. นายเกรียง ยรรยงดิลก
633,600
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
633,600
12. นายเนียว อา แชบ
633,600
หมายเหตุ* : ค่ า ตอบแทนดั ง กล่ า วเป็ น ค่ า ตอบแทนสำ � หรั บ การเป็ น กรรมการบริ ษั ท และกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ บริษัทมิได้มีค่าตอบแทนสำ�หรับการดำ�รง ตำ�แหน่งในคณะกรรมการชุดย่อยอื่น
066 รายงานประจำ�ปี 2559
(2) ค่าตอบแทนรวมของกรรมการบริหาร และผู้บริหารของ บมจ. ศรีตรัง ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ได้จ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริหาร และผู้บริหารจำ�นวน 25 ราย เป็นจำ�นวนเงินรวม 293,101,822 บาท โดยค่าตอบแทนดังกล่าวเป็นค่าตอบแทนประเภทเงินเดือน โบนัส และค่าตอบแทนอื่น ซึ่งรวมถึงผลประโยชน์อื่น และค่าตอบแทนใดๆ ที่ได้จ่ายแล้ว ซึ่งรวมค่าตอบแทนที่อ้างอิงจากผลการดำ�เนินการในปี แต่มีการยกยอด ข้ามปีและมีการจ่ายให้ในภายหลัง รวมถึงเงินโบนัสหรือเงินส่วนแบ่งผลกำ�ไรหรือเงินเกีย่ วกับผลกำ�ไรอืน่ ๆ ตามสัญญาหรือตามข้อตกลง ระหว่างกัน Sri Trang International ตกลงเข้าทำ�สัญญาจ้างงานกับกรรมการแต่ละคนของบริษัทฯ ได้แก่ นายไวยุฒิ สินเจริญกุล และ นายลี พอล สุเมธ ซึ่งสัญญาจ้างงานดังกล่าวไม่มีการกำ�หนดระยะเวลาการจ้างงาน ทั้งนี้ ตามสัญญาจ้างงาน นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ มีสิทธิที่จะได้รับค่าตอบแทนดังต่อไปนี้ • เงินเดือน และโบนัสซึ่งจะคิดตามโครงการค่าตอบแทน (Profit Incentive Scheme) (ตามที่ได้นิยามไว้ข้างล่างนี้) และ • ค่ า ใช้ จ่า ยทางธุ ร กิ จ ที่ส มเหตุ ส มผลซึ่ง เกิ ด ขึ้น หรื อ ได้ จ่า ยไปในช่ ว งระยะเวลาการจ้ า งงานซึ่ง เกี่ย วข้ อ งกั บ การปฏิ บัติห น้ า ที่ ต่อกลุม่ บริษทั ฯ
โครงการค่าตอบแทน (Profit Incentive Scheme) นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทฯ มีสิทธิที่จะเข้าร่วมโครงการค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive Scheme) ในแต่ละรอบปีบัญชีของ Sri Trang International ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ภายใต้ โ ครงการค่ า ตอบแทนพิ เ ศษ (Profit Incnetive Scheme) ในแต่ ล ะรอบปี บั ญ ชี หากคณะกรรมการบริ ษั ท ของ Sri Trang International พิจารณาแล้วเห็นว่ามีส่วนเกิน (Surplus) ภายหลังจากหัก (ก) ร้อยละ 10 ของทุนชำ�ระแล้วของ Sri Trang International หรือจำ�นวนเงินอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทของ Sri Trang International จะเห็นควร (ข) ร้อยละ 5 ของกำ�ไรสะสมในต้นปีบัญชีที่เกี่ยวข้อง และ (ค) ขาดทุนสะสมในต้นปีบัญชีที่เกี่ยวข้องจากกำ�ไรของ Sri Trang International หลังจากหักภาษีแล้ว (ตามที่กำ�หนดในงบการเงินที่ตรวจสอบแล้ว) ร้อยละ 20 ของส่วนเกิน (Surplus) ดังกล่าว จะถูกจ่ายภายใต้โครงการค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive Scheme) (“ค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive)”
ค่าตอบแทนอื่น ในปี 2559 บริษัทได้มีการจ่ายเงินสบทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพให้กับคณะกรรมการและผู้บริหาร ดังนี้ เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ
จำ�นวนราย
จำ�นวนเงิน (บาท)
16
2,624,352
ผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ บริษัทฯ จัดให้มีผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุเพื่อจ่ายให้แก่พนักงานเป็นไปตามกฎหมายแรงงานไทยจำ�นวนเงินดังกล่าว ขึ้นอยู่กับฐานเงินเดือนและจำ�นวนปีที่พนักงานทำ�งานให้กลุ่มบริษัทนับถึงวันที่สิ้นสุดการทำ�งานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
067 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
การเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการที่ออกจากตำ�แหน่งตามวาระมีสิทธิได้รับเลือกตั้งใหม่ โดยกรรมการที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง รายละเอียดการเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง แสดงได้ดังต่อไปนี้ ตำ�แหน่ง
วันที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการครั้งแรก
วันที่ได้รับเลือกตั้งให้กลับเข้า ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการครั้งล่าสุด
1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
ประธานกรรมการและ กรรมการผูจ้ ดั การ
27 ธันวาคม 2536
29 เมษายน 2558
2. นายไชยยศ สินเจริญกุล
กรรมการ
27 ธันวาคม 2536
28 เมษายน 2559
3. นายกิติชัย สินเจริญกุล
กรรมการ และผูจ้ ดั การ สายงานกฎหมาย และบริหารทัว่ ไป
10 เมษายน 2538
29 เมษายน 2557
4. นายลี พอล สุเมธ
กรรมการ และผูจ้ ดั การ สายงานการตลาด
28 มิถนุ ายน 2553
29 เมษายน 2558
5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล
กรรมการ
28 เมษายน 2553
29 เมษายน 2558
6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
กรรมการและผูจ้ ดั การ สายงานบัญชีและ การเงิน (CFO)
29 เมษายน 2557
29 เมษายน 2557
7. นายหลี่ ซื่อเฉียง
กรรมการ
29 เมษายน 2557
29 เมษายน 2557
8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน
กรรมการ และผูจ้ ดั การ สายงานการผลิต
29 ตุลาคม 2558
28 เมษายน 2559
9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ(1) รองประธานกรรมการ บริษทั กรรมการอิสระ และประธานกรรมการ ตรวจสอบ
27 ธันวาคม 2536
29 เมษายน 2558
10. นายเกรียง ยรรยงดิลก
กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ
25 มกราคม 2543
28 เมษายน 2559
11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร
กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ
1 กุมภาพันธ์ 2551
29 เมษายน 2557
12. นายเนียว อา แชบ
กรรมการอิสระ
28 มิถนุ ายน 2553
28 เมษายน 2559
ชื่อ
หมายเหตุ : (1) นายประกอบ วิ ศิ ษ ฐ์ กิ จ การ ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เข้ า ดำ � รงตำ � แหน่ ง รองประธานกรรมการบริ ษั ท ตามมติ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559
068 รายงานประจำ�ปี 2559
การกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบมจ. ศรี ต รั ง ได้ ด�ำเนิ น งานทางธุ ร กิ จ ให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดยใช้ ความช�ำนาญ ความระมั ด ระวั ง และความเอาใจใส่ ที่ พึ ง มี เพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และเป็นไปตามกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ และข้ อ บั ง คั บ คณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง ยังได้ถือปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อพึงปฏิบัติที่ดีส�ำหรับกรรมการ บริ ษั ท มหาชน และหลั ก การก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส�ำหรั บ บริษัทจดทะเบียนปี 2555 ทั้งในด้านบทบาทหน้าที่และความ รั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ ใ ช้ ค วามระมั ด ระวั ง รอบคอบในกระบวนการ พิจารณากลั่นกรองก่อนการตัดสินใจใดๆ ให้เป็นการด�ำเนินการ ที่สมเหตุสมผล บนพื้นฐานของความซื่อสัตย์ โปร่งใส และ มี จ ริ ย ธรรม และได้ ค�ำนึ ง ถึ ง ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย และรั ก ษา ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นในทุกๆ ด้าน
หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีภายใต้หลักการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 บมจ. ศรี ต รั ง มี ก ารก�ำหนดและทบทวนแนวทางการก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การ ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส�ำหรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นปี 2555 ตามแนวทางที่ ต ลาด หลักทรัพย์ฯ ก�ำหนด โดยแบ่งเป็น 5 หมวด เพื่อให้เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจในปัจจุบัน ดังนี้
สิทธิของผู้ถือหุ้น บมจ. ศรีตรัง ตระหนักเสมอว่า สิ่งที่จะท�ำให้ผู้ถือหุ้นไว้วางใจ และมั่นใจในการลงทุนกับธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง คือ การมี นโยบายหรื อ การด�ำเนิ น การที่ รั ก ษาสิ ท ธิ พื้ น ฐานที่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น พึ ง ได้ รั บ และความเท่ า เที ย มกั น ของผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก รายอย่ า ง เป็นธรรมตามที่กฎหมายก�ำหนด และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิ พื้นฐานตามกฎหมาย เช่น 1. สิทธิในการรับส่วนแบ่งก�ำไรในรูปเงินปันผล บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลอย่างระมัดระวัง โดยค�ำนึงถึงสถานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน กระแส เงินสดของบมจ. ศรีตรัง ความสามารถในการจ่ายเงินปันผล ของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม รวมทั้งบริษัทร่วมทุน รวมถึง การคาดการณ์ ค วามจ�ำเป็ น ของเงิ น ทุ น ที่ จ ะรองรั บ การ
069 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
เติบโตของ บมจ. ศรีตรัง ในอนาคตสถานการณ์ภาวะเศรษฐกิจ และ ผลกระทบจากปัจจัยภายนอกที่ บมจ. ศรีตรัง คาดว่าจะมีผลกระทบต่อ การด�ำเนินงานของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นไปอย่าง มี เ สถี ย รภาพ นโยบายการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลจึ ง อยู ่ ใ นระดั บ ประมาณ ร้อยละ 30 ของก�ำไรสุทธิ
2.
สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น บมจ. ศรีตรัง ได้ให้ความส�ำคัญกับกรณีที่ผู้ถือหุ้นจะได้รับสารสนเทศ อย่ า งเพี ย งพอในการตั ด สิ น ใจโดยข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ไ ด้ รั บ จะมี ค วาม ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส เท่าเทียมกัน เพื่อประกอบการตัดสินใจ ในการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น รวมถึ ง การออกเสี ย งลงคะแนนและแสดง ความคิ ด เห็ น ในที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น การใช้ สิ ท ธิ ร ่ ว มตั ด สิ น ใจใน การเปลี่ ย นแปลงที่ ส�ำคั ญต่ า งๆ รวมทั้ ง การเลื อ กตั้ ง คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
อนึ่ง หากหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ถูกถือผ่าน CDP จะมีรายชื่อปรากฏ เป็นผู้ถือหุ้นของหุ้นดังกล่าว ดังนั้น ตามกฎหมายไทย CDP จะเป็น ผู้ถือหุ้นและมีสิทธิตามกฎหมายในการออกเสียงลงคะแนนในเรื่อง ต่างๆ ในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง
ทั้ ง นี้ CDP ได้ แ ต่ ง ตั้ ง ผู ้ รั บ ฝากและดู แ ลหุ ้ น (Custodian) เพื่ อ เก็บรักษาหุ้นที่ถือโดย CDP โดย Custodian ไทยจะเป็นผู้รับมอบ ฉั น ทะของ CDP เพื่ อ เข้ า ร่ ว มประชุ ม และออกเสี ย งลงคะแนนใน ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และ CDP จะมี ค�ำสั่ ง ให้ Custodian ไทย
070 รายงานประจำ�ปี 2559
แยกออกเสียงลงคะแนนตามค�ำสั่งที่ CDP ได้รับมาจาก นักลงทุนที่ถอื หุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ผ่าน CDP อย่างไรก็ตาม หากผู้ถือหุ้นรายใดที่ถือหุ้นผ่าน CDP ประสงค์จะเข้าร่วม ประชุมผู้ถือหุ้น และใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนภายใต้ชื่อ ตนเอง ผูถ้ อื หุน้ รายดังกล่าวต้องโอนหุน้ ของตนออกจากระบบ ของ CDP และท�ำการจดทะเบี ย นการโอนหุ ้ น ดั ง กล่ า ว ในสมุ ด ทะเบี ย นผู ้ ถื อ หุ ้ น นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นที่โอนหุ้น ออกจากระบบของ CDP จะไม่สามารถท�ำการซือ้ ขายหุน้ ใน ตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ได้จนกว่าจะโอนหุ้นกลับเข้าไป ฝากในระบบ CDP 3.
สิทธิในการลงคะแนนในวาระการประชุมผู้ถือหุ้น บมจ. ศรีตรัง จัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นและเอกสาร ประกอบให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็ น การล่ ว งหน้ า อย่ า งเพี ย งพอ ครบถ้วน โดยหนังสือเชิญประชุมมีรายละเอียดระเบียบ วาระการประชุ ม เอกสารประกอบระเบี ย บวาระต่ า งๆ พร้อมความเห็นของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หนังสือ มอบฉันทะตามที่กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนด และรายชื่อ ของกรรมการอิสระทั้งหมด เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือก ที่ จ ะมอบฉั น ทะให้ เ ข้ า ประชุ ม แทนได้ รวมทั้ ง แผนที่ แสดงสถานที่ประชุม ซึ่งในหนังสือเชิญประชุม จะแจ้ง รายละเอียดของเอกสารที่ผู้ถือหุ้นจะต้องน�ำมาแสดงใน วันประชุมด้วย เพื่อรักษาสิทธิในการเข้าประชุม รวมถึง ข้อบังคับ บมจ. ศรีตรังเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น และ การออกเสียงลงคะแนน นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังสามารถ เข้าดูข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุมของ แต่ ล ะครั้ ง ได้ ท างเว็ บ ไซต์ ข อง บมจ. ศรี ต รั ง www. sritranggroup.com และเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ สิงคโปร์ www.sgx.com (SGXNET) เป็นการล่วงหน้า ประมาณ 30 วันก่อนวันประชุม เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่ง ที่ ใ ห้ นั ก ลงทุ น ได้ รั บ ทราบข้ อ มู ล อย่ า งทั่ ว ถึ ง อี ก ทั้ ง ได้ มอบหมายให้ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ CDP ในฐานะนายทะเบียนหุ้น เป็นผู้จัดส่งหนังสือ เชิญประชุมพร้อมเอกสารประกอบให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า อย่ า งน้ อ ย 21 วั น ก่ อ นวั น ประชุ ม และ บมจ. ศรี ต รั ง มีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระในที่ประชุมโดยไม่แจ้ง ให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า
บมจ. ศรีตรัง ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิออกเสียง เลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคลในวาระเลือกตั้งกรรมการ นอกจากนี้ยังได้จัดให้มีผู้ตรวจสอบการนับคะแนนเสียงใน การประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ส�ำหรั บ วิ ธี ก ารและคะแนนเสี ย งได้ ถูกเปิดเผยไว้ในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น
4.
สิทธิในการแสดงความเห็นและตั้งค�ำถามต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้นได้รับโอกาสที่เท่าเทียมกันในการแสดงความเห็น และตั้งค�ำถามใดๆ ต่อที่ประชุม ตามระเบียบวาระการ ประชุมและเรื่องที่เสนอ ประธานที่ประชุมควรจัดสรรเวลา ให้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้มีการแสดงความเห็นและ ซักถามในที่ประชุม ทั้งนี้ ประธานกรรมการชุดย่อยทุกชุด จะเข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อตอบข้อซักถามต่อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประกอบด้ ว ยนายประกอบ วิ ศิ ษ ฐ์ กิ จ การ ซึ่งเป็นกรรมการอิสระ (Lead Independent Director) ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการ พิ จ ารณาค่ า ตอบแทน นายเกรี ย ง ยรรยงดิ ล ก ซึ่งเป็น กรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหา นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล ซึ่งเป็นประธานกรรมการพิจารณาความเสี่ยง นอกจากนี้ ผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอกจะเข้าร่วมประชุม สามัญผู้ถือหุ้นเพื่อตอบข้อซักถามที่เกี่ยวกับการตรวจสอบ บัญชีของบริษัทฯ และรายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีด้วย หากมีค�ำถามในที่ประชุม จะมีการบันทึกประเด็นค�ำถาม ค�ำตอบไว้ ใ นรายงานการประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้ เข้าร่วมประชุมได้รบั ทราบด้วย
การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่าง เท่าเทียมและเป็นธรรมโดยค�ำนึงถึงการปฏิบัติที่เท่าเทียมกัน แก่ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นนักลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนต่างชาติ รวมทั้งผู้ถือหุ้นรายย่อย 1. บมจ. ศรีตรัง ด�ำเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามล�ำดับระเบียบ วาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม โดยได้จัดส่งหนังสือ นัดประชุมพร้อมเอกสาร ข้อมูลประกอบการประชุมที่มี รายละเอี ย ดครบถ้ ว นเพี ย งพอ ทั้ ง ในรู ป แบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งได้น�ำเสนอผ่านเว็บไซต์ของ บมจ. ศรีตรัง (www.sritranggroup.com) และ SGXNET ด้วย เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาศึกษาข้อมูลดังกล่าวได้ อย่างละเอียด นอกจากนั้น มีการลงประกาศเชิญประชุม ในหนังสือพิมพ์รายวัน ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน และ ก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน เพื่อบอกกล่าวเรียกประชุม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็ น การล่ ว งหน้ า เพี ย งพอส�ำหรั บการเตรี ย มตั ว ก่อนมาเข้าร่วม ก่อนเริม่ การประชุมทุกครัง้ ประธานกรรมการ จะชี้ แ จงวิ ธี ก ารลงคะแนนและนั บ คะแนนตามที่ ร ะบุ ไ ว้ อย่างชัดเจน ในระหว่างการประชุม ประธานในที่ประชุม ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสอบถามและแสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน และได้ตอบ ค�ำถามรวมทั้งให้ข้อมูลต่างๆ ตามที่ผู้ถือหุ้นร้องขออย่าง
071 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ครบถ้วน และหลังจากวันประชุม บมจ. ศรีตรัง ได้จัดส่ง รายงานการประชุมต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายในระยะเวลา ที่ก�ำหนด 2. บมจ. ศรีต รัง ได้เปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้น มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง ลงคะแนนแบบ 1 share 1 vote และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น ใช้บัตรลงคะแนนเสียงส�ำหรับทุกระเบียบวาระ โดยบริษัท จะท�ำการเก็บบัตรลงคะแนนดังกล่าวในห้องประชุม เพื่อน�ำ ผลคะแนนมารวม เพือ่ แจ้งมติของคะแนนเสียงในห้องประชุม และเพื่อความโปร่งใส บมจ. ศรีตรัง จะท�ำการประกาศ รายละเอียดผลการลงคะแนนทั้งส่วนที่เห็นด้วยและไม่เห็น ด้วยของแต่ละวาระ โดยแจกแจงเป็นคะแนนและสัดส่วน ร้อยละ ตลอดจนจัดเก็บบัตรลงคะแนนที่มีการลงชื่อของ ผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบอ�ำนาจไว้ เพื่อการตรวจสอบได้ใน ภายหลัง 3. บมจ. ศรีตรัง ท�ำการบันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และจัดส่งรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายใน 14 วันหลังการประชุมเสร็จสิ้น และได้ท�ำการเผยแพร่ มติที่ประชุมดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของ บมจ. ศรีตรัง www. sritranggroup.com และ SGXNET 4. บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการก�ำกับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน มี ก ารก�ำหนดให้ให้บุคลากรทุก ระดับ ยึด ถื อ ปฏิ บัติ อ ย่ า ง เคร่งครัด 5. บมจ. ศรีตรัง มีการเปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นในบริษัท ย่อย และบริษัทร่วม อย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมั่นใจว่า มีโครงสร้างการด�ำเนินงานทีม่ คี วามโปร่งใสและตรวจสอบได้
บมจ. ศรีตรัง ทั้งนี้ บมจ. ศรีตรัง มีความตระหนักดีที่จะต้อง รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียที่กล่าวมา คณะกรรมการบริษัท ได้มีการทบทวนนโยบายเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย และได้ก�ำหนด นโยบายและแนวปฏิบัติเรื่องการไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า นโยบายการรับเรื่อง ร้องเรียน (Whistleblower Policy) โดยได้ก�ำหนดช่องทาง การแจ้งหรือร้องเรียนพร้อมขั้นตอนการด�ำเนินงานและแนวทาง ในการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำหนดนโยบายป้องกันการทุจริตคอรัปชัน่ ในทุกรูปแบบ เพื่อสร้างจิตส�ำนึกที่ดี และค่านิยมที่ถูกต้องใน องค์กร บมจ. ศรีตรัง มีความตระหนักถึงหลักการและมาตรฐานทีเ่ กีย่ วกับ หลักสิทธิมนุษยชน โดยได้ก�ำหนดนโยบายเรื่องสิทธิมนุษยชน และการไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ที่ มุ ่ ง เน้ น ให้ ค วามส�ำคั ญ ในเรื่ อ ง สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและการปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ อื่ น ด้ ว ยความเสมอภาค เท่าเทียมกัน รวมถึงการเผยแพร่นโยบายดังกล่าวให้พนักงาน ทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกัน ในเดือนตุลาคม 2559 บมจ. ศรีตรัง ได้ลงนามเข้าร่วมการ ประกาศเจตนารมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต และ ได้รับการประกาศสถานะเป็นบริษัทที่แสดงเจตนารมณ์เมื่อ เดือนธันวาคม 2559 แนวทางปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ของ บมจ. ศรี ต รั ง มีรายละเอียด ดังนี้
บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย
ผู้ถือหุ้น: บมจ. ศรีตรัง จะมุ่งมั่นเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นในการด�ำเนิน ธุรกิจอย่างโปร่งใส มีระบบบัญชี และการเงินที่มีความเชื่อถือ ได้ ส ร้ า งความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ให้ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น โดยค�ำนึ ง ถึ ง การเจริญเติบโตของบมจ. ศรีตรัง ในระยะยาว และผลตอบแทน ในระดับที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
การเติ บ โตของบมจ. ศรี ต รั ง มาจนถึ ง สถานะในปั จ จุ บั น เกิ ด จากความร่ ว มมื อ สนั บ สนุ น ของทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ ว ย ดี เ สมอ บมจ. ศรี ต รั ง รั บ รู ้ แ ละให้ ค วามส�ำคั ญ ต่ อ สิ ท ธิ ข อง ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ ่ ม ไม่ ว ่ า จะเป็ น ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ภายใน ซึ่งได้แก่ บุคลากร พนักงาน และผู้บริหารของบมจ. ศรีตรัง และ บริษัทย่อย หรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ซึ่งได้แก่ ผู้ร่วมค้า ทั้งในรูป ของผู้ที่เกี่ยวข้องทางด้านวัตถุดิบ จนถึง กลุ่มลูกค้ า เมื่อผลิตเป็นสินค้าส�ำเร็จรูป สถาบันการเงินต่างๆ ที่ให้ความ สนั บ สนุ น ตลอดจนถึ ง หน่ ว ยงานของรั ฐ บาลที่ มี ก ารติ ด ต่ อ ประสานงานอย่างใกล้ชิด และในท้ายที่สุด คือ ผู้ถือหุ้นของ
พนักงาน: บมจ. ศรีตรัง ปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรม จั ด ให้ มี ส ภาพแวดล้ อ มกั บ การท�ำงานที่ ดี ปลอดภั ย และให้ ผลตอบแทนที่เหมาะสม พร้อมทั้งส่งเสริมให้พนักงานมีโอกาส พัฒนาความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ เพื่อความ ก้าวหน้าในการท�ำงาน บมจ. ศรีตรัง ได้จัดตั้งคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน โดยจัดอบรมหลักสูตรเฉพาะให้กับผู้เกี่ยวข้องเพื่อท�ำหน้าที่ดูแล แนะน�ำ แจ้งข่าวสารเกี่ยวกับความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน รวมทั้งการป้องกันอุบัติเหตุจาก
6. บมจ. ศรีตรัง ให้ความส�ำคัญในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและโปร่งใสแก่ผู้ถือหุ้น โดยมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารทีม่ สี าระส�ำคัญอย่างสม�ำ่ เสมอ
072 รายงานประจำ�ปี 2559
การท�ำงาน และสาระน่ารู้เกี่ยวกับสุขภาพให้พนักงานรับทราบ และน�ำไปปฏิ บั ติ ไ ด้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง เนื่ อ งด้ ว ย บมจ. ศรี ต รั ง ได้ค�ำนึงถึงสวัสดิภาพของพนักงาน ในการท�ำงานด้วยความ ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูงสุด มีการส่งเสริมและอบรม ให้ ค วามรู ้ เ รื่ อ งการใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งคุ ้ ม ค่ า รวมถึ ง การจั ด กิจกรรมต่างๆ ที่เป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของพนักงาน ได้ แ ก่ การจั ด ให้ มี ห ้ อ งสมุ ด และสั น ทนาการ รวมทั้ ง การ จั ด กิ จ กรรมต่ า งๆ ที่ ช ่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานมี สุ ข ภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี และมีการจัดท�ำคู่มือพนักงาน และท�ำการ ประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบเว็บไซต์ภายในองค์กร
คณะกรรมการได้ ก�ำหนดนโยบายการรั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น โดยก�ำหนดให้มีช่องทางรับเรื่องร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสีย ทุ ก กลุ ่ ม เกี่ ย วกั บ การกระท�ำที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งหรื อ ไม่ เ หมาะสม อันอาจท�ำให้เกิดความเสียหายต่อบริษัทฯ พร้อมทั้งก�ำหนด มาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียนที่กระท�ำไปโดยความสุจริต
ข้อมูลด้านความปลอดภัยของพนักงาน ปี 2559
นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง ได้จัดให้มีช่องทางที่ผู้ถือหุ้น หรือ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สามารถรายงานและร้องเรียนโดยตรง กับกรรมการ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็น ผู้รับรายงานเรื่องร้องเรียนเหล่านี้ เพื่อท�ำการสอบสวนและ รายงานต่อคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้ยังสามารถติดต่อ ขอข้ อ มู ล ได้ โ ดยตรงจากเลขานุ ก ารบริ ษั ท และหน่ ว ยงาน นักลงทุนสัมพันธ์ ตาม E-Mail Address ดังต่อไปนี้ • คณะกรรมการตรวจสอบ อีเมลล์: auditcommittee@sritranggroup.com • เลขานุการ บมจ. ศรีตรัง อีเมลล์: corporatesecretary@sritranggroup.com • หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ อีเมลล์: ir@sritranggroup.com • หรือหมายเลขโทรศัพท์ 02-207-4500
สถิ ติ ก ารเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ จ ากการท�ำงานของพนั ก งานบริ ษั ท ฯ ในปี 2559 มีดังนี้
ลูกค้า:
บริษัทฯ ได้จัดให้มีเงินกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้แก่พนักงาน โดยให้สิทธิพนักงานประจ�ำสมัครเข้าเป็นสมาชิกของกองทุนฯ ตามความสมัครใจโดยสามารถเลือกที่จะจ่ายสมทบเข้ากองทุน ในอัตราคงที่ หรือในอัตราเท่ากับที่บริษัทฯ จ่ายสมทบ ตามช่วง อายุงานโดยบริษัทฯ จะจ่ายสมทบในอัตราที่แตกต่างกันตาม อายุงานของพนักงาน ซึ่งพนักงานจะได้รับผลประโยชน์ดังกล่าว เมื่อพ้นสภาพจากการเป็นพนักงาน หรือลาออกจากกองทุน ยกเว้นกรณีเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย
จำ�นวน (ครั้ง) คิดเป็นร้อยละ* จำ�นวนอุบัติเหตุ ไม่หยุดงาน จำ�นวนอุบัติเหตุ หยุดงานไม่เกิน 3 วัน จำ�นวนอุบตั เิ หตุ หยุดงาน 3 วันขึ้นไป สูญเสียอวัยวะบางส่วน
83
0.65
89
0.70
74
0.58
3
0.02
ทุพลภาพ
0
0
เสียชีวิต
0
0
หมายเหตุ*: ค�ำนวณอัตราร้อยละจากฐานพนักงานถัวเฉลี่ยของบริษัทฯ ในปี 2559 จ�ำนวน 12,683 คน
คณะกรรมการได้ ก�ำหนดให้ มี น โยบายป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น และได้ มี ก ารสื่ อ สารสร้ า งความรู ้ ค วามเข้ า ใจที่ ถูกต้องในเรื่องการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นให้แก่บุคลากร ในองค์กร รวมทั้งส่งเสริมการสร้างความตระหนัก เพื่อสร้าง จิตส�ำนึกที่ดี ค่านิยมที่ถูกต้องและปลูกฝังจนเป็นวัฒนธรรม องค์กรที่ดี
บมจ. ศรี ต รั ง ใส่ ใ จและรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ลู ก ค้ า ผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี คุณภาพและมีมาตรฐาน ส่งมอบสินค้าตาม ก�ำหนดเวลา เพื่อ สร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้า รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดี และยั่ ง ยื น โดยมี ก ารก�ำหนดแนวทางปฏิ บั ติ ใ ห้ แ ก่ พ นั ก งาน ไว้ในจรรยาบรรณธุรกิจว่าด้วยความสัมพันธ์กับลูกค้า คู่ค้า: บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการคัดเลือกคู่ค้า และซื้อสินค้าและ บริการจากคู่ค้าตามเงื่อนไขทางการค้า และปฏิบัติตามสัญญา ข้อตกลงต่อคู่ค้าเสมอโดยปฏิบัติตามกฎหมายและกติกาต่างๆ อย่างเคร่งครัดและมีจรรยาบรรณที่ดีทางธุรกิจในการแข่งขัน ทางธุรกิจ คู่แข่ง: บมจ. ศรีตรัง ส่งเสริมและสนับสนุนการแข่งขันทีต่ งั้ อยูบ่ นพืน้ ฐาน ของความเสมอภาคและเท่าเทียม โดยจะไม่กระท�ำการใดๆ ที่เป็นการฝ่าฝืนหรือขัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขัน ทางการค้ า หรื อ ที่ อ าจท�ำให้ เ กิ ด ความเสื่ อ มเสี ย ต่ อ ชื่ อ เสี ย ง ของคู่แข่ง
073 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
เจ้าหนี้: บมจ. ศรีตรัง ปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญา และให้ข้อมูลที่ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้แก่เจ้าหนี้ รวมทั้งยึดมั่นในการปฏิบัติตาม ก�ำหนดและเงื่อนไขของสัญญาที่มีต่อเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด หน่วยราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้อง: บมจ. ศรีตรัง ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในด้ า นต่ า งๆ ทั้ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม ความปลอดภั ย แรงงาน การจัดการด้านภาษีอากรและบัญชี ฯลฯ รวมทั้งประกาศต่างๆ ของทางราชการทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง สังคมและสิ่งแวดล้อม: บมจ. ศรี ต รั ง ตระหนั ก และห่ ว งใยถึ ง ความปลอดภั ย ของ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตของประชาชนรวมทั้งความส�ำคัญ ในเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ค�ำนึงถึงทางเลือกในการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติโดยให้มีความเสียหายต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพของประชาชนน้อยที่สุด โดยสนับสนุนกิจกรรม ชุมชนโดยรอบโรงงาน จัดให้มีการดูแลด้านความปลอดภัย และ สิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด พร้อมกันนี้ บมจ. ศรีตรัง ได้จัดท�ำรายงานความรับผิดชอบ ต่อสังคม และคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ก�ำกับดูแลให้มี ระบบการบริหารจัดการที่สามารถเชื่อมั่นได้ว่า บมจ. ศรีตรัง ต้องไม่ท�ำผิดกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ของหน่วยงานที่ ก�ำกับดูแล และปฏิบัติต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกกลุ่มด้วยความ เป็นธรรมอย่างเคร่งครัด
การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 1.
คณะกรรมการมีบทบาทและหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบาย การเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ทั้งข้อมูล ทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน ทันเวลา โปร่งใส ในรูปแบบที่สมดุล และเข้าใจได้ง่าย ผ่านแบบแสดง รายการข้อมูลประจ�ำปี (56-1) รายงานประจ�ำปี (56-2) และช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมกัน และน่าเชื่อถือ โดยคงไว้ซึ่งประโยชน์ในทางการค้าของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ ได้รับข้อมูลได้อย่าง เท่ า เที ย มกั น ตามกฎเกณฑ์ ที่ ส�ำนั ก งานคณะกรรมการ ก�ำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (ก.ล.ต.) และ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยก�ำหนด รวมถึ ง ข้อก�ำหนดของหน่วยงานก�ำกับต่างๆ
2. บมจ. ศรีตรังได้จัดตั้งหน่วยงานประชาสัมพันธ์ ที่ท�ำหน้าที่ สื่อสารกับผู้ลงทุนและบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง โดยมี หน่ ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ท�ำหน้ า ที่ เ ป็ น สื่ อ กลางการ สื่อสารระหว่างผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย นักลงทุน และ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. เปิ ด เผยนโยบายการก�ำกั บ ดู แ ลกิ จ การ ผ่ า นแบบแสดง รายการข้อมูลประจ�ำปี (56-1) รายงานประจ�ำปี (56-2) และเว็บไซต์ของบริษัทฯ 4. เปิดเผยวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของบริษัท และ มี ก ารทบทวนทุ ก ปี โ ดยคณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ 5.
เปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทที่ชัดเจน รวมถึง การถื อ ครองหุ ้ น ของกรรมการและผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยแสดงข้อมูลต้นปี สิ้นปี และ รายการซื้อขายระหว่างปี
6. ก�ำหนดนโยบายให้ ก รรมการและผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ต้องเปิดเผยรายงานการซื้อขายหลักทรัพย์ทุกครั้ง และ น�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบทุกไตรมาส 7. ก�ำหนดนโยบายให้กรรมการและผู้บริหารระดับสูง ต้อง รายงานการมีส่วนได้เสียในครั้งแรกที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง และทุกสิน้ ปี หรือทุกครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงรายการข้อมูล 8. จั ด ท�ำรายงานความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการต่ อ รายงานทางการเงิน และแสดงไว้คู่กับรายงานผู้สอบบัญชี ในรายงานประจ�ำปี 9. เผยแพร่รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นไว้บนเว็บไซต์ ของบริษัท 10. เปิดเผยประวัติกรรมการ สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมของ กรรมการเป็ น รายบุ ค คล ทั้ ง การประชุ ม คณะกรรมการ บริษัทและการประชุมคณะกรรมการชุดย่อยในปีที่ผ่านมา 11. เปิดเผยวันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทของกรรมการ แต่ละท่าน 12. เปิ ด เผยข้ อ มู ล การเข้ า รั บ การพั ฒ นาและฝึ ก อบรมของ กรรมการในปีที่ผ่านมา 13. เปิดเผยค่าสอบบัญชี และค่าบริการอื่น นอกเหนือจาก ค่าสอบบัญชีในรายงานประจ�ำปี 14. เปิดเผยหนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับของบริษัทบน เว็บไซต์ของบริษัท
074 รายงานประจำ�ปี 2559
15. จั ด ให้ มี ก ารสื่ อ สารข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ผ่ า นช่ อ งทางที่ หลากหลาย เช่น เว็บไซต์ รายงานประจ�ำปี การพบปะ นักวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นหรือนักลงทุนสามารถเข้าถึง ข้อมูลของบริษัทได้อย่างสะดวก ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน บริษัทฯ เปิดเผยข้อมูลส�ำคัญทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านทางเว็บไซต์ โดยปรับปรุงเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามารถติ ด ต่ อ กั บ ส่ ว นนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ส�ำนั ก งาน สาขากรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2207-4500 โทรสาร 0-2108-2244 หรือที่เว็บไซต์ www.sritranggroup.com
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1.
โครงสร้างคณะกรรมการ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการที่มี ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการด�ำเนิน ธุรกิจ ท�ำหน้าที่ก�ำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของ บมจ. ศรีตรัง ตลอดจนก�ำกับดูแลให้คณะผู้บริหาร บริหารงานให้เป็นไป ตามนโยบายที่ ก�ำหนดไว้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิ ท ธิ ผ ลภายใต้ ก รอบของกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ และมติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น มติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ระมัดระวัง ตามหลักการข้อพึงปฏิบัติที่ดี เพื่อเพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการ และความมั่นคงสูงสุดให้ แก่ผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 12 ท่าน และเป็นกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน โดยกรรมการ อิ ส ระเป็ น บุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตามประกาศ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่เกี่ยวข้อง
นอกจากนี้ เพื่อให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการก�ำหนดจ�ำนวน บริษัทจดทะเบียนที่กรรมการบริษัทจะไปด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการเพื่ อ ให้ ก ารปฏิบัติหน้าที่ในต�ำแหน่งกรรมการ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยก�ำหนดให้กรรมการบริษัท ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนรวมไม่เกิน 5 บริษัท ในกรณีที่กรรมการคนใดคนหนึ่งมีต�ำแหน่งเป็นกรรมการ ในบริษัทจดทะเบียนอื่นๆ เกินกว่า 5 บริษัท คณะกรรมการ จะพิ จ ารณาถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง กรรมการท่านดังกล่าว
ตามข้อบังคับของ บมจ. ศรีตรัง ก�ำหนดไว้ว่า ในการประชุม ผูถ้ อื หุน้ สามัญประจ�ำปีทกุ ครัง้ ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่ง
1 ใน 3 ถ้ า จ�ำนวนกรรมการที่ จ ะแบ่ ง ออกให้ ต รงเป็ น สามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีที่สอง ภายหลั ง จดทะเบียนบริษัทนั้นให้ใช้วิธีจับสลากกันว่าผู้ใด จะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่ง นานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง
คณะกรรมการได้มีมติแต่งตั้งนางพัชรินทร์ อนุวงศ์วัฒนชัย เป็นเลขานุการบริษัทซึ่งท�ำหน้าที่ให้ค�ำแนะน�ำด้านการ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ตา่ งๆ (Compliance) ทีค่ ณะกรรมการ บมจ. ศรีตรังจะต้องทราบ และปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล กิจกรรมของคณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง รวมทั้งประสาน ให้มีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง
2.
คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการมี ห น้ า ที่ พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ชอบ ในเรื่องที่ส�ำคัญเกี่ยวกับการด�ำเนินงานอย่างรอบคอบและ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ดั ง นั้ น คณะกรรมการจึ ง พิ จ ารณา ตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง คณะกรรมการตรวจสอบ โดยแต่ ง ตั้ ง จากกรรมการอิ ส ระอย่ า งน้ อ ย 3 ท่ า น โดยอย่างน้อย 1 ท่าน ต้องมีความรู้ด้านบัญชีการเงิน และ ต้องมีคุณสมบัติเกี่ยวกับความเป็นอิสระตามประกาศของ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนโดยตามนิยามกรรมการอิสระ ที่ก�ำหนดส�ำหรับ บมจ. ศรีตรังโดยเฉพาะเพื่อท�ำหน้าที่ ตรวจสอบ ระบบการควบคุมภายในระบบรายงานทางการเงิน การก�ำกับดูแลกิจการและ การบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึ ง การพิ จ ารณาคั ด เลื อ กและแต่ ง ตั้ ง ผู ้ ส อบบั ญ ชี นอกจากนี้ บมจ. ศรี ต รั ง ได้ ด�ำเนิ น การแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย เช่ น คณะกรรมการพิ จ ารณา ค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง เพื่อการบริหารงานของ บมจ. ศรีตรัง ต่อไป และเพื่อความโปร่งใสและเป็นอิสระในการปฏิบัติ หน้าที่ สมาชิกส่วนใหญ่ของคณะกรรมการชุดย่อยจะเป็น กรรมการอิสระ
3. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง มีหน้าที่ก�ำกับดูแลกิจการและ ภารกิจของ บมจ. ศรีตรัง ให้เป็นไปตามที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติและ ตามกฎหมายที่ใช้บังคับกับ บมจ. ศรีตรัง วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติคณะกรรมการ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะต้องใช้วิจารณญาณและ ความรอบคอบในการตัดสินใจทางธุรกิจ และปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อรักษาผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ
075 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับ การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์บนหลักการที่ว่า การตัดสินใจใดๆ ในการด�ำเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะต้อง ท�ำเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บมจ. ศรีตรัง เท่านั้น และควร หลีกเลีย่ งการกระท�ำทีก่ อ่ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยก�ำหนดให้ ผู ้ ที่ มี ส ่ ว นเกี่ ย วข้ อ งหรื อ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย กั บ รายการที่พิจารณา ต้องแจ้งให้ บมจ. ศรีตรัง ทราบถึง ความสั ม พั น ธ์ ห รื อ การมี ส ่ ว นได้ เ สี ย ของตนในรายการ ดังกล่าว และต้องไม่เข้าร่วมการพิจารณาตัดสินใจ รวมถึง ไม่มีอ�ำนาจอนุมัติในธุรกรรมนั้นๆ
6.
การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร ในกรณีที่มีกรรมการที่ได้รับการเลือกตั้งเข้าเป็นกรรมการ บริษัทเป็นครั้งแรก บมจ. ศรีตรังจะจัดให้มีการปฐมนิเทศ โดยก�ำหนดแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การเตรี ย มความพร้ อ ม ในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการบริษัท เพื่อให้กรรมการที่ เข้ารับต�ำแหน่งสามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีเลขานุการบริษัทเป็นผู้ประสานงานในเรื่องต่างๆ เช่น หนังสือรับรองบริษัท ข้อบังคับบริษัท คู่มือกรรมการบริษัท จดทะเบียนแบบรายงาข้อมูลประจ�ำปีของบริษัท (56-1) ข้อมูลระบบงานที่ใช้งานภายในบริษัทฯ รวมทั้งกฎหมาย กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
4.
การประชุมคณะกรรมการ ตามข้อบังคับของ บมจ. ศรีตรัง ก�ำหนดให้คณะกรรมการ ต้องมีการประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง บมจ. ศรีตรัง มี ก ารก�ำหนดการประชุม กรรมการ โดยได้ จั ด ท�ำตาราง การประชุ ม ล่ ว งหน้ า ตลอดทั้ ง ปี แ ละแจ้ ง ให้ ก รรมการ ทุกท่านรับทราบเป็นประจ�ำทุกปี และอาจมีการประชุมพิเศษ เพิม่ เติมตามความจ�ำเป็น และมีการจัดส่งหนังสือเชิญประชุม ให้ แ ก่ ก รรมการเพื่ อ พิ จ ารณาก่ อ นการประชุ ม ล่ ว งหน้ า ไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจ�ำเป็นรีบด่วน เพื่ อ รั ก ษาสิ ท ธิ ห รื อ ประโยชน์ ข อง บมจ. ศรี ต รั ง ซึ่ ง ใน การประชุ ม ทุ ก คราวจะมี ก ารก�ำหนดวาระการประชุ ม ที่ ชัดเจน มีเอกสารประกอบการประชุมที่ครบถ้วนเพียงพอ โดยจั ด ส่ ง ให้ กั บ คณะกรรมการล่ ว งหน้ า เพื่ อ ให้ คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อน เข้าร่วมประชุม โดยในการประชุมคณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง กรรมการทุ ก คนสามารถอภิ ป รายและแสดง ความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย นอกจากนี้ในการประชุม คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะมีการเชิญผู้บริหารระดับสูง เข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการเพื่ อ ให้ ส ารสนเทศ รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในฐานะที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยตรง คณะกรรมการสามารถเข้ า ถึ ง ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และ เลขานุการได้อย่างเป็นอิสระและตลอดเวลา
คณะกรรมการจะส่ ง เสริ ม และอ�ำนวยความสะดวกให้ มี การฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการจะได้รับการพัฒนาความรู้จากหน่วยงาน ก�ำกับดูแลอย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง
บมจ. ศรีตรังได้มีนโยบายสนับสนุนให้กรรมการบริษัทและ ผู้บริหารระดับสูง อย่างน้อยปีละ 1 ท่าน เข้าร่วมอบรม สัมมนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ และ เพิม่ พูนความรูใ้ นการปฏิบตั งิ าน โดยในปี 2559 นายหลี่ ซือ่ เฉียง ได้เข้าอบรมหลักสูตร Directors Accreditation Program รุ ่ น ที่ DAP 125/2016 และนายเฉลิ ม ภพ แก่ น จั น ได้เข้าอบรหลักสูตร Directors Accreditation Program รุ่นที่ 132/2016 ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย
7.
การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง ได้ จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ตนเองของ คณะกรรมการ ซึ่งแบบประเมินผลดังกล่าวนั้น มีความ สอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมุ่งเน้น การน�ำผลประเมิ น ไปใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ การปรั บ ปรุ ง การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ โดยแบบประเมินผล มี 4 แบบ ประกอบด้วย
บมจ. ศรีตรัง มีความมุ่งมั่นให้คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้รับข้อมูลที่เพียงพอ ครบถ้วน ต่อเนื่อง และทันเวลา ก่อนการประชุมทุกครั้ง 5.
ค่าตอบแทน ค่ า ตอบแทนของกรรมการ จะอยู ่ ใ นระดั บ ที่ ป ฏิ บั ติ ใ น อุตสาหกรรม ประสบการณ์ ภาระหน้าที่ ขอบเขตบทบาท หน้าที่ และอยูใ่ นระดับทีส่ ามารถเทียบเคียงได้ในอุตสาหกรรม เดียวกัน
1. 2. 3. 4.
แบบประเมินผลงานของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ (ประเมินทั้งคณะ) แบบประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อยแบบ รายคณะ ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิ จ ารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ (CEO)
076 รายงานประจำ�ปี 2559
โดยมีเกณฑ์การประเมินผลคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มใน แต่ละข้อทั้งหมด ดังนี้ • มากกว่า 90% = ดีเยี่ยม • มากกว่า 80% = ดีมาก • มากกว่า 70% = ดี • มากกว่า 60% = พอใช้ • ต�่ำกว่า 60% = ควรปรับปรุง โดยมีกระบวนการในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ดังนี้ ส่วนงานเลขานุการบริษัทจัดท�ำและทบทวนแบบประเมินผล การปฏิบัติทั้ง 4 รูปแบบให้มีความถูกต้องครบถ้วนและเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่หน่วยงานก�ำกับดูแลก�ำหนด และน�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้ค�ำเสนอแนะ จากนั้นน�ำส่งให้ กรรมการแต่ละชุดท�ำการประเมินผล เมื่อได้รับผลการประเมิน แล้วจะน�ำมาประมวลผลและสรุปคะแนน รายละเอียดหัวข้อในการประเมิน ดังนี้ 1.
แบบประเมิ น ผลงานของคณะกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง คณะ (ประเมินทั้งคณะ) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ โครงสร้าง และคุณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาท หน้าที่ และ ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ การประชุ ม คณะกรรมการ การท�ำหน้าที่ของกรรมการ ความสัมพันธ์ กับฝ่ายจัดการ และการพัฒนาตนเองของกรรมการและ การพัฒนาผู้บริหาร
2.
ประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมิน ตนเอง) ประกอบด้ ว ย 4 หั ว ข้ อ คื อ ความรั บ ผิ ด ชอบ ต่อการตัดสินใจและการกระท�ำของตนเองและการปฏิบัติ หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย อย่ า งเท่ า เที ย มและเป็ น ธรรม มี ค วามโปร่ ง ใสในการ ด�ำเนินงานที่สามารถตรวจสอบได้และมีการเปิดเผยข้อมูล และการมีจริยธรรม/จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ
3.
แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อยแบบราย คณะประกอบด้ ว ย 3 หั ว ข้ อ คื อ โครงสร้ า งและ คุ ณ สมบั ติ ข องคณะกรรมการ การด�ำเนิ น การในการ ประชุ ม คณะกรรมการชุดย่อย และบทบาทหน้าที่ และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดย่อย
4.
แบบประเมิ น ผลงานการปฏิ บั ติ ง านของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ (CEO) ประกอบด้วย 10 หัวข้อ คือ ความ เป็ น ผู ้ น�ำ การก�ำหนดกลยุ ท ธ์ การปฏิ บั ติ ต ามกลยุ ท ธ์ การวางแผนและผลปฏิบัติทางการเงิน ความสัมพันธ์กับ คณะกรรมการ ความสัมพันธ์กับภายนอก การบริหารงาน และความสัมพันธ์กับบุคลากร การสืบทอดต�ำแหน่ง ความรู้ ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ และคุณลักษณะส่วนตัว
สรุปผลการประเมินได้ ดังนี้ 1. แบบประเมิ น ผลงานของคณะกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง คณะ (ประเมินทั้งคณะ)
สรุปผลการประเมินผลของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ (ประเมินทั้งคณะ) ในภาพรวม 6 หัวข้อ แสดงให้เห็นว่า การด�ำเนินการส่วนใหญ่จัดท�ำได้ดีเยี่ยม มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับร้อยละ 90.78
2. แบบประเมิ น ผลปฏิ บั ติ ง านคณะกรรมการรายบุ ค คล (ประเมินตนเอง)
สรุปผลการประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ในภาพรวม 4 หัวข้อ แสดงให้เห็นว่า กรรมการส่วนใหญ่ถือปฏิบัติเป็นประจ�ำ คะแนนเฉลี่ยอยู่ ในเกณฑ์ดีมาก เท่ากับร้อยละ 88.07
3. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการชุดย่อย แบบรายคณะ 3.1 คณะกรรมการตรวจสอบ
สรุปผลการประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการตรวจสอบ ในภาพรวม 3 หัวข้อ เห็นว่า แสดงให้เห็นว่ากรรมการ ด�ำเนินการได้ครบถ้วน คะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 100.0
3.2 คณะกรรมการสรรหา
สรุปผลการประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการสรรหา ในภาพรวม 3 หัวข้อ เห็นว่า แสดงให้เห็นว่ากรรมการ ส่วนใหญ่ด�ำเนินการได้ครบถ้วน คะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 91.67
3.3 คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
สรุปผลการประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน ในภาพรวม 3 หัวข้อ เห็นว่า แสดงให้เห็นว่า กรรมการส่วนใหญ่ด�ำเนินการได้ครบถ้วน คะแนนเฉลี่ย อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 100.0
3.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
สรุปผลการประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ในภาพรวม 3 หัวข้อ เห็นว่า แสดงให้เห็นว่า กรรมการส่วนใหญ่ด�ำเนินการได้ครบถ้วน คะแนนเฉลี่ย อยู่ในเกณฑ์ดีมาก เท่ากับร้อยละ 84.12
4. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของ กรรมการผู้จัดการใหญ่ (CEO)
077 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
สรุ ป ผลการประเมิ น ผลการปฎิ บั ติ ง าน CEO ในภาพรวม 10 หัวข้อ แสดงให้เห็นว่ามีผลการปฏิบัติงานในรอบปีที่ผ่านมา มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 96.84
การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายและวิธีการดูแลผู้บริหารในการน�ำข้อมูล ภายในของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย ไปใช้เพื่อประโยชน์ ส่วนตนดังนี้ 1.
ให้ความรู้แก่กรรมการและผู้บริหารในฝ่ายต่างๆ เกี่ยวกับ หน้ า ที่ ที่ ผู ้ บ ริ ห ารต้ อ งจั ด ท�ำและเปิ ด เผยรายงานการ ถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ แ ละรายงานการเปลี่ ย นแปลงการ ถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้วแต่กรณี รวมถึงบทก�ำหนดโทษ ในกรณีท่ีฝ่าฝืนตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์ และ ข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ
2. ให้กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ รวมถึงคู่สมรสและ บุ ต รที่ ยั ง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ จั ด ท�ำและเปิ ด เผยรายงาน การถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ แ ละรายงานการเปลี่ ย นแปลง การถือครองหลักทรัพย์ของ บมจ. ศรีตรัง ต่อส�ำนักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่ ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์ และจัดส่งส�ำเนารายงานนี้ให้แก่ บมจ. ศรีตรัง ในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. 3.
กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ ที่ได้รับทราบข้อมูล ภายในที่เป็นสาระส�ำคัญซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงราคา หลักทรัพย์ต้องใช้ความระมัดระวังในการซื้อขายหลักทรัพย์ ของ บมจ. ศรีตรัง ในช่วง 1 เดือนก่อนที่งบการเงินหรือข้อมูล ภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณชนและในช่วงระยะเวลา 24 ชัว่ โมงภายหลังจากทีข่ อ้ มูลภายในของบริษัทฯ ได้เปิดเผย ต่อสาธารณชนแล้ว ผู้ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายในต้องไม่ เปิ ด เผยข้ อ มู ล นั้ น ให้ ผู ้ อื่ น ทราบจนกว่ า จะได้ มี ก ารแจ้ ง ข้อมูลนัน้ ให้แก่ตลาดหลักทรัพย์ฯและ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์ สิงคโปร์แล้ว มาตรการลงโทษหากมีการกระท�ำการฝ่าฝืน ระเบียบปฏิบัติดังกล่าวข้างต้นบริษัทฯ ถือเป็นความผิด ทางวินัยตามข้อบังคับการท�ำงานของบริษัทฯ
4. ห้ า มมิ ใ ห้ ก รรมการ ผู ้ บ ริ ห าร พนั ก งาน และลู ก จ้ า ง ของบริษัทฯ ใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ที่มีหรืออาจมี ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ข อง บมจ. ศรีตรัง ซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึ่งตนได้ ล่วงรู้มาในต�ำแหน่งหรือฐานะเช่นนั้น มาใช้เพื่อการซื้อหรือ ขายหรือเสนอซื้อหรือเสนอขาย หรือชักชวนให้บุคคลอื่น ซื้ อ หรื อ ขายหรื อ เสนอซื้ อ หรื อ เสนอขายซึ่ ง หุ ้ น หรื อ หลักทรัพย์อื่น (ถ้ามี) ของบมจ. ศรีตรัง ไม่ว่าทั้งทางตรง หรื อ ทางอ้ อ ม ในประการที่ น ่ า จะเกิ ด ความเสี ย หายแก่ บมจ. ศรีตรัง ไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม และไม่ว่าการ กระท�ำดั ง กล่ า วจะท�ำเพื่ อ ประโยชน์ ต ่ อ ตนเองหรือผู้อื่น หรือน�ำข้อเท็จจริงเช่นนั้นออกเปิดเผยเพื่อให้ผู้อื่นกระท�ำ ดังกล่าว โดยตนได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ก็ตาม
กรรมการและพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ จะต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ข้ อ ห้ า มการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ โดยใช้ข้อมูลภายในไม่ว่าจะเป็นในช่วงระยะเวลาที่อนุญาต ให้ ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ก็ ต าม นอกจากนี้ กรรมการและ พนักงานของบริษัทฯ ถูกคาดหวังว่าจะไม่ซื้อขายหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อการเก็งก�ำไรในระยะสั้น
โดยนโยบายดังกล่าวได้มีการเปิดเผยให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนั ก งานทราบอย่ า งทั่ ว ถึ ง ผ่ า นช่ อ งทางการสื่ อ สาร ภายในองค์กร (intranet website)
078 รายงานประจำ�ปี 2559
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย่ ง บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน การบริหาร ความเสี่ ย ง และการก�ำกั บ ดู แ ลผลการด�ำเนิ น งาน ซึ่ ง เป็ น กระบวนการปฏิ บั ติ ง านที่ ป ฏิ บั ติ เ ป็ น ขั้ น ตอนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ของเจ้าหน้าที่ทุกคนของบริษัทฯ ตั้งแต่คณะกรรมการบริหาร และพนักงาน ทุกคนที่มีบทบาทและความรับผิดชอบร่วมกัน โดยจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม เพื่อให้มั่นใจอย่างสมเหตุผลว่า ผลการด�ำเนินงานทุกหน่วย งานภายในกลุ่มบริษัทฯ มีความสอดคล้อง และสามารถบรรลุ เป้าหมายตามที่คณะกรรมการบริหารได้ก�ำหนดไว้ โดยจัดให้มี หน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระที่รายงาน ตรงต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ ทั้ ง นี้ การพิ จ ารณาอนุ มั ติ แต่งตั้งผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ถอดถอน โยกย้ายผู้บริหาร หน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษัทต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งหน่วยงานตรวจสอบภายใน จะท�ำหน้ า ที่ ต รวจประเมิ น การควบคุ ม ภายในตามแผนการ ตรวจสอบประจ�ำปี โดยพิจารณาจากปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง ซึ่ ง ผ่ า นการอนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้ ง สนับสนุนให้เกิดระบบการบริหารความเสี่ยงในองค์กรอย่างเป็น รูปธรรม และการให้ค�ำแนะน�ำทางด้านต่างๆ เพื่อให้เชื่อมั่นได้ว่า การปฏิบัติงานของบริษัทฯ บรรลุผลส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ ที่ก�ำหนดไว้ โดยหน่วยงานตรวจสอบภายในได้ยึดถือมาตรฐาน การปฏิบัติงานตามวิชาชีพการตรวจสอบภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing) เป็นกรอบหรือแนวทางในการปฏิบตั งิ าน ทีม่ งุ่ เน้นให้การปฏิบตั งิ าน มีความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล และให้ความส�ำคัญต่อคุณภาพงานตรวจสอบ ทั้งนี้ บริษัทฯ ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ภายในอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะการส่ ง เสริ ม ให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ตรวจสอบภายในได้รบั การฝึกอบรม เพือ่ สอบรับวุฒบิ ตั รเกีย่ วกับ วิ ช าชี พ ตรวจสอบภายใน เช่ น CIA (Certified Internal Auditor), CISA (Certified Information Systems Auditor) และ CPIAT (Certified Professional Internal Audit of Thailand) เป็นต้น ซึ่งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ จ�ำนวนสามท่านได้รับการขึ้นทะเบียน CPIAT แล้ว โดยจัดให้มี การวางแผนการฝึกอบรมที่เหมาะสมเป็นรายบุคคล นอกจากนี้ ผู้สอบบัญชีอิสระ ซึ่งเป็นผู้รับรองงบการเงินประจ�ำปี 2559 ของบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นว่า ไม่พบสถานการณ์ใดๆ ที่เป็น จุดอ่อนเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในทีม่ ผี ลกระทบอย่างเป็น สาระส�ำคัญต่องบการเงินของบริษัทฯ
079 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
สรุปสาระส�ำคัญของระบบการควบคุมภายในและการบริหาร จัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ ได้ดังนี้
คณะกรรมการตรวจสอบ
ท�ำหน้าที่พิจารณาความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ของบริ ษั ท ฯ โดยทบทวนผลการปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงาน ตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีอสิ ระของบริษทั ฯ อย่างต่อเนือ่ ง โดยพิจารณาความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุม ภายใน การควบคุมการปฏิบตั งิ านตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง คณะกรรมการตรวจสอบ อาจให้ค�ำแนะน�ำในการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน และ ระบบการตรวจสอบภายในให้แก่คณะกรรมการ นอกจากนี้ หากคณะกรรมการตรวจสอบมี ข ้ อ เสนอแนะ หรื อ พบ ข้อบกพร่องหรือการประพฤติในทางที่มิชอบที่เป็นสาระส�ำคัญ จะหารื อ กั บ ฝ่ า ยบริ ห ารที่ เ ป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบและรายงานต่ อ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง โดยตรง เพื่อให้มีการด�ำเนินการ ตามความเหมาะสมและปรับปรุงแก้ไขต่อไป
หน่วยงานตรวจสอบภายใน
บมจ. ศรีตรัง ได้มีการสรรหาบุคลากรทางด้านงานตรวจสอบ ภายในที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ งานด้านการตรวจสอบภายใน ในจ�ำนวนทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ โดยมีนายวิทวัส กรุงแทนเมือง ด�ำรงต�ำแหน่งผู้จัดการกลุ่มงาน ตรวจสอบภายใน ซึ่งพนักงานผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าถึงข้อมูล ทั้งหมดของบริษัทฯ โดยไม่ถูกจ�ำกัด เพื่อที่จะสามารถปฏิบัติงาน ตรวจสอบการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ ของกลุ่มบริษัทฯ ตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปี และตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริหาร หรือคณะกรรมการตรวจสอบได้อย่าง อิสระโดยใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาความส�ำคัญตามความเสี่ยง ของกระบวนการทางธุรกิจหรือกระบวนการท�ำงาน รวมทั้ง การให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่ฝ่ายบริหารของแต่ละหน่วยงานที่ได้ รับการตรวจสอบในการปรับปรุงการควบคุมภายใน ซึ่งรวมถึง ระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ ด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ
ระบบการควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร
คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง มีการก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนิน ธุรกิจประจ�ำปีของบมจ. ศรีตรัง อย่างเป็นรูปธรรม มีการก�ำหนด ค่านิยมองค์กร (Core Value) วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และอัตราการเติบโตของธุรกิจ โดยจัดให้มีคณะ ท�ำงานทบทวนการจัดท�ำดัชนีชี้วัด (KPI: Key Performance Indicator) ในแต่ละหน่วยธุรกิจ เพื่อให้การก�ำหนดเป้าหมาย ของแต่ ล ะหน่ ว ยงานสอดคล้ อ งและเป็ น แนวทางเดี ย วกั น
ทั่วทั้งองค์กร ไม่ว่าจะเป็นการก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินงาน ด้านก�ำไรขาดทุนทางการเงิน ผลการปฏิบัติงานหน่วยงานหลัก และหน่วยงานสนับสนุน ความพึงพอใจของลูกค้า เป็นต้น โดยมี การติดตามก�ำกับดูแลเป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่อง
การบริหารจัดการความเสี่ยง
คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง ให้ความส�ำคัญและสนับสนุนให้ เกิ ด ระบบบริ ห ารความเสี่ ย งอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม โดยมี ค ณะ กรรมการบริหารความเสี่ยงเป็นผู้ทบทวนนโยบาย และก�ำกับ ดูแลการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ เพื่อให้ระบบบริหาร ความเสี่ยงของบริษัทฯ มีประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม โดย การบริหารจัดการความเสี่ยงนั้นได้ค�ำนึงถึงความเหมาะสมของ สภาวะแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง และมีผลกระทบต่อบริษัทฯ ดังนั้นจึงมีการประเมินและติดตาม ความเสี่ยงตลอดเวลาในการปฏิบัติงาน โดยแต่ละหน่วยงานจะ บริหารงานโดยน�ำความเสี่ยงมาประเมิน และท�ำการแก้ไขใน ระดับการท�ำงานปกติ อีกทั้งได้ก�ำหนดให้มีการประชุมหารือกัน ในระดับผู้บริหารเพื่อประเมินสถานการณ์ และก�ำหนดกลยุทธ์ ในการด�ำเนิ น งาน เพื่ อ รองรั บความเสี่ ย งที่ อ าจเกิดขึ้นอย่า ง ต่อเนื่อง
การควบคุม
บริษัทฯ มีการก�ำหนดมาตรการ และแนวทางการปฏิบัติไว้อย่าง ชัดเจน โดยก�ำหนดเป็นค�ำสั่ง ระเบียบในการปฏิบัติ อ�ำนาจ การอนุมัติ และวิธีการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงาน ทุกระดับต้องปฏิบัติตามเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
สารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล
บริษัทฯ มีการจัดระบบสารสนเทศที่เหมาะสมทั้งใน Internet Website และ Intranet Website ของบริษัทฯ โดยได้จัดให้มี Internet Website เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และบุคคลทั่วไป ได้สามารถรับข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญเกี่ยวกับบริษัทฯ อย่าง สม�่ำเสมอ อีกทั้ง ยังเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการติดต่อสื่อสาร ในกรณีที่มีข้อสงสัย หรือข้อเสนอแนะจากผู้ถือหุ้น นักลงทุน หรือบุคคลทั่วไป ส่วนระบบ Intranet Website เป็นระบบที่ใช้ ในการสื่อสารภายในกลุ่ม บริษัทฯ ซึ่งท�ำให้การติดต่อ สื่อสาร เป็นไปอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และทั่วถึง รวมทั้งยังใช้เป็นแหล่ง เผยแพร่ หรือแลกเปลี่ยนความรู้ที่มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิ ท ธิ ผ ลต่ อ การด�ำเนิ น งานของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ และ ในปี 2558 นี้บริษัทฯ ได้น�ำโปรแกรมส�ำเร็จรูป Systems, Applications, and Products in Data Processing (SAP) มาประยุกต์ใช้ในระบบบริหารจัดการทรัพยากรทางธุรกิจของ องค์กรโดยรวม (ERP : Enterprise Resource Planning)
080 รายงานประจำ�ปี 2559
โดยเป็นการเชื่อมโยงระบบงานต่างๆ ขององค์กรเข้าด้วยกัน ซึ่งท�ำให้ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสารขององค์กรเป็นไปด้วย ความถูกต้อง ความรวดเร็ว และเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
การติดตามและประเมินผล
ฝ่ายบริหารมีการติดตามเหตุการณ์และทิศทางเศรษฐกิจอย่าง ต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ประเมิ น และปรั บ กลยุ ท ธ์ ใ นการด�ำเนิ น งานให้ เหมาะสมสอดคล้องต่อสถานการณ์ปัจจุบัน พร้อมกับก�ำหนด แผน เพื่อรองรับเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อเป้าหมายของ องค์กรในอนาคต ในส่วนผลการปฏิบัติงานขององค์กรมีการจัด ท�ำรายงานผลการปฏิบัติงานตามดัชนีชี้วัด (KPI) เพื่อติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่องและทันเวลา
การรายงาน
ผู้จัดการโรงงานผลิตยางธรรมชาติแต่ละแห่งต้องจัดท�ำรายงาน ประจ�ำวันที่แสดงปริมาณและต้นทุนวัตถุดิบที่บริษัทฯ ซื้อใน แต่ละวัน นอกจากนี้แผนกการขาย และการตลาดต้องจัดท�ำ รายงานยอดขายและสินค้าคงเหลือประจ�ำวันด้วย กลุ่มผู้บริหาร ระดับสูงใช้รายงานเหล่านี้ เพื่อก�ำหนดนโยบายยอดขายและ ต้นทุนของสินค้าของบริษัทฯ รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยง ด้านต่างๆ
การตรวจสอบ
ผู้จัดการโรงงานผลิตยางธรรมชาติของบริษัทฯ ต้องประชุม กับแผนกจัดหาวัตถุดิบ และแผนกการขายและการตลาดเป็น ประจ�ำทุกเดือน เพื่อจัดเตรียมงบประมาณของบริษัทฯ (รวม ถึงประมาณการความสามารถในการผลิตประจ�ำเดือนส�ำหรับ แต่ละโรงงานผลิตยางธรรมชาติ และประมาณการยอดขาย ของแต่ละเดือน) ในการประมาณการดังกล่าวจะต้องน�ำปัจจัย หลายๆ ประการมาพิจารณา เช่น ประมาณการก�ำลังการผลิต ที่สามารถผลิตได้ของแต่ละโรงงานผลิตยางธรรมชาติ ปริมาณ วัตถุดิบที่สามารถจัดหาได้ อุปสงค์ของผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ราคายางธรรมชาติในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ และภาวะเศรษฐกิจ ทั่ ว ไปอื่ น ๆ งบประมาณดั ง กล่ า วจะถู ก ตรวจสอบโดยกลุ ่ ม ผูบ้ ริหารระดับสูงก่อนน�ำไปใช้จริง บริษทั ฯ เชือ่ ว่าด้วยการประชุม รายเดือนและการประมาณการดังกล่าว เป็นกระบวนการที่จะ ท�ำให้บริษัทฯ ได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนสูงสุดภายใต้ การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมซึ่งกลุ่มผู้บริหารระดับสูงของ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดและปรับเปลี่ยนประมาณการให้เหมาะสม ตามสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับผลการด�ำเนินงาน ของแต่ ล ะหน่ ว ยธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารก�ำหนดดั ช นี ชี้ วั ด (KPI) ฝ่ า ย ตรวจสอบภายในมีการสุ่มตรวจสอบความถูกต้องของรายงาน
ดัชนีช้ีวัด (KPI) ในหัวข้อที่ส�ำคัญโดยเฉพาะหน่วยงานหลัก เช่น ฝ่ายสรรหาวัตถุดิบ ฝ่ายผลิต ฝ่ายส่งออก เป็นต้น ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง ครั้งที่ 2/2560 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 โดยมีกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่ า น เข้ า ร่ ว มประชุ มด้ ว ย คณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง ได้ประเมินระบบการควบคุมภายในโดยการซักถามข้อมูลจาก ฝ่ายบริหารและจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ได้ข้อสรุปว่า จากการ ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ในส่วนต่างๆ 5 องค์ประกอบ คือ การควบคุมภายในองค์กร การประเมิน ความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศและ การสื่ อ สารข้ อ มู ล และระบบการติ ด ตาม คณะกรรมการ มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มี ค วาม เพียงพอและเหมาะสม โดยจัดให้มีบุคลากรที่เพียงพอในการ ด�ำเนิ น การตามระบบได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง มี ก าร ติ ด ตามควบคุ ม ดู แ ลการด�ำเนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ยอย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยกรรมการอิสระ และคณะกรรมการตรวจสอบ ไม่มีความเห็นแตกต่างจากความเห็นของคณะกรรมการบริษัท อย่ า งไรก็ ต าม คณะกรรมการตรวจสอบได้ ก�ำชั บ เรื่ อ งการ ปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด เพื่อให้เป็นไปตาม ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน และส�ำนักงาน ก.ล.ต. เพื่อให้การปฏิบัติงาน ของบริษัทฯ เป็นไปอย่างโปร่งใสและมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ ในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบของบมจ. ศรีตรัง ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 คณะ กรรมการตรวจสอบได้ประเมินระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ และมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ และเหมาะสม ทั้ ง นี้ ในการก�ำกั บ ดู แ ลบริ ษั ท ย่ อ ยของ บมจ. ศรี ต รั ง นั้ น กรรมการของบมจ. ศรีตรัง จะเข้าเป็นกรรมการในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมเอง และบางครั้งอาจมีการจัดส่งตัวแทนของ บริษัทฯ หรือผู้แทนของบริษัทฯ เข้าไปร่วมเป็นกรรมการของ บริษัทย่อย และมอบหมายให้ฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เป็นผู้ตรวจสอบความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของ บริษัทย่อย และรายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ทราบถึงข้อสรุปเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลของบริษัทย่อย เพื่อให้ บริษัทฯ สามารถควบคุมและตรวจสอบการด�ำเนินงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
081 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ความรับผิดชอบต่อสังคม
082 รายงานประจำ�ปี 2559
ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)
ตลอดระยะเวลาเกือบ 3 ทศวรรษทีเ่ ราด�ำเนินงานด้วยความตัง้ ใจ ให้ความส�ำคัญกับทุกก้าวของการเติบโตของธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการดูแลพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ผ่านโครงการและกิจกรรมสังคมต่างๆ ด้วยความใส่ใจ นอกจากนี้ เรายังด�ำเนินธุรกิจตามกรอบของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีควบคู่ ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม ส่งผลให้เราเติบโตไปพร้อมกับ ชุมชนและสังคม เราตระหนักและให้ความส�ำคัญกับการผลิต สินค้าที่มีคุณภาพด้วยกระบวนการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างระบบการจัดซื้อวัตถุดิบที่ยุติธรรมและเสรี คงมาตรฐาน การค้าทีเ่ ป็นทีย่ อมรับและไว้วางใจต่อชาวสวน ผูข้ ายวัตถุดบิ และ ลูกค้าทั่วโลก เราค�ำนึงถึงผลกระทบทุกด้านของการด�ำเนินการ ที่อาจจะมีผลต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อันได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า ชุมชน และหน่วยงานภาครัฐ เรารับฟังชุมชนและ พนักงานเพื่อการปรับปรุงพัฒนาองค์กร เรามุ่งมั่นในการสร้าง ทัศนคติและวัฒนธรรมองค์กรเพือ่ ให้พนักงานซึง่ เสมือนครอบครัว ศรีตรังของเรามีความรับผิดชอบต่อสังคมทีอ่ ยูร่ ว่ มกัน ปรับเปลีย่ น กลยุทธ์ให้เข้ากับสถานการณ์และไม่หยุดนิ่งในการพัฒนาธุรกิจ ไปสู่อุตสาหกรรมยางพาราที่ยั่งยืน
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม GOOD CORPORATE GOVERNANCE: การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ จัดให้มีระบบการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มุ่งเน้นที่การ จั ด ระบบที่ ใ ห้ ค วามส�ำคั ญ แก่ โ ครงสร้ า งของคณะกรรมการ ฝ่ายจัดการและผู้ถือหุ้น เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน และน�ำไปสู ่ ค วามเจริ ญ เติ บ โตและเพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ในระยะยาว โดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอื่นประกอบกัน รวมถึง บทบาทในด้านชุมชนและสังคม RESPONSIBILITY TO SUPPLY CHAIN: ความรับผิดชอบต่อห่วงโซ่อุปทานตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ บริษทั ฯ ได้ขยายสายธุรกิจจนกระทัง่ ครอบคลุมธุรกิจยางธรรมชาติ อย่างครบวงจรตั้งแต่การปลูกสวนยาง จนกระทั่งการผลิตสินค้า ส�ำเร็จรูป บริษัทฯ ค�ำนึงถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน อย่างเคร่งครัดเพื่อสนองตอบต่อธุรกิจปลายน�้ำที่ให้ความส�ำคัญ
083 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
กับคุณภาพของสินค้า บริษัทฯ มุ่งเน้นการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ บริการที่มีประสิทธิภาพ มีความจริงใจต่อการจัดการข้อร้องเรียน ของลูกค้า รวมทั้งปรับปรุงและแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ที่อาจจะ เกิดขึน้ จากการผลิต และ/หรือ การบริการ อย่างทันท่วงทีเพือ่ เป็น คู่ค้าที่สามารถเชื่อถือและวางใจได้ การบริ ห ารจั ด การห่ ว งโซ่ อุ ป ทานด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบนั้ น ครอบคลุมถึงเกษตรกรชาวสวนและพ่อค้ายางพารา การขนส่ง ยางพารา กลุ่มบริษัทฯ มุ่งเน้นการจัดซื้อยางธรรมชาติ ภายใต้ การค้าขายอย่างยุติธรรมโปร่งใส ชัดเจนตรวจสอบได้ ขนส่งอย่าง รับผิดชอบ และสนับสนุนการค้าขายอย่างเสรีซึ่งน�ำประโยชน์ สูงสุดแก่เกษตรกร สนับสนุนให้เกษตรกรท�ำการผลิตยางพารา ที่ปราศจากสิ่งเจือปน และเก็บรักษายางอย่างถูกวิธี เพื่อให้ได้ ยางที่มีคุณภาพ รวมถึง ส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจ ในการท�ำธุรกิจยางพารา อย่างถูกหลักวิชาการ เป็นการเพิ่ม ผลผลิตให้แก่เกษตรกรและพัฒนาคุณภาพชีวติ และความเป็นอยู่ อย่างยั่งยืน ENVIRONMENTAL FRIENDLY AND SAFE OPERATION: การด�ำเนินธุรกิจทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและมีความปลอดภัย เนือ่ งด้วยธุรกิจของบริษทั ฯ เกีย่ วพันกับธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดยตรง บริษทั ฯ จึงยึดถือแนวปฏิบตั ดิ า้ นสิง่ แวดล้อมอย่างเคร่งครัด โดยมุ่งเน้นการน�ำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ เข้ามาด�ำเนินการ ก�ำหนดให้มมี าตรการป้องกันและลดผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรการอนุรักษ์ พลั ง งาน เพื่อให้สอดคล้องกับ กฎหมายและข้ อ ก�ำหนดอื่ น ๆ นอกจากนี้ ยังตัง้ เป้าหมายในการพัฒนาและส่งเสริมการเพิม่ พืน้ ที่ สีเขียวภายในโรงงานเพื่อรักษาความชุ่มชื้น เพิ่มอากาศบริสุทธิ์ และลดกลิ่นที่เกิดจากกระบวนการผลิต รวมทั้งยึดถือการปฏิบัติ เพื่อลดการใช้สารเคมีที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ ชุมชนในระยะยาวตั้งแต่การปลูกสวนยาง การผลิตผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติ และการผลิตผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป มิเพียงแต่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ยังตระหนัก ถึงความเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนเสมอมา ดังนั้น บริษัทฯ จึงยึด แนวปฏิบตั ิ เพือ่ รักษาและด�ำรงไว้ซงึ่ ระบบนิเวศน์และสิง่ แวดล้อม ของสังคมชุมชนรอบข้างทีบ่ ริษทั ฯ ประกอบกิจการอยู่ ซึง่ นอกจาก จะเป็นการสร้างชุมชนที่น่าอยู่แล้ว ยังเป็นการช่วยให้บริษัทฯ สามารถด�ำเนินธุรกิจได้อย่างราบรืน่ และมัน่ คงในระยะยาวอีกด้วย ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย บริษัทฯ ด�ำเนินการอย่าง รั บ ผิ ด ชอบโดยอยู ่ ภ ายใต้ ก รอบแห่ ง กฎหมายข้ อ บั ง คั บ และ ข้อก�ำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จึงจัดให้มีการฝึกอบรม มีระเบียบปฏิบัติและแผนด�ำเนินการ
เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการท�ำงานอย่าง เพียงพอและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสร้างสภาพแวดล้อม การท�ำงานที่มีความปลอดภัยส�ำหรับพนักงาน ผู้รับเหมา และ ผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ ENGAGEMENT WITH TRANSPARENCY: ยึดมั่นในความ โปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ บริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการประกอบธุรกิจ ด้วยความยุติธรรมโปร่งใสตรวจสอบได้ในทุกกระบวนการ บริ ษั ท ฯ เชื่ อ ว่ า การประกอบธุ ร กิ จ ด้ ว ยความเป็ น ธรรมและ มีจริยธรรม ใส่ใจในการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและเคารพกฎระเบียบ ของสังคมจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นกับผู้เกี่ยวข้องและลดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ อันจะเป็นผลดีต่อ การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในระยะยาว บริษัทฯ ส่งเสริมให้ พนักงานทุกระดับปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และยึดมั่น ในจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด ไม่แสวงหา ผลประโยชน์ส่วนตัวที่อาจขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย หรื อ ก่ อ ให้ เ กิ ด การผ่ อ นปรนทางธุ ร กิ จ ที่ ไม่เหมาะสม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีนโยบายต่อต้านการคอรัปชัน่ ทุกรูปแบบเพื่อสร้างมาตรฐานในการด�ำเนินธุรกิจที่โปร่งใสและ เป็นประโยชน์ต่อองค์กรและอุตสาหกรรมในระยะยาว NURTURE SUSTAINABILITY ATTITUDES TOWARDS ORGANISATION: ปลูกฝังจิตส�ำนึกของความยั่งยืน ให้แก่พนักงานในองค์กร บริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่าความรับผิดชอบต่อสังคมทีม่ ปี ระสิทธิภาพและ ยั่งยืนนั้นมีรากฐานที่ส�ำคัญมาจากการปลูกจิตส�ำนึกแก่พนักงาน ในทุกหน่วยงานและทุกระดับความรับผิดชอบ พนักงานทุกระดับ ต้องมีทัศนคติในเชิงบวกต่อการปฏิบัติตามแนวนโยบายและ มี จิ ต ส�ำนึ ก ที่ ดี ต ่ อ สั ง คมและผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเสมอในงานที่ ต น รับผิดชอบ รวมถึงมีจิตอาสาที่จะเข้าไปมีบทบาทและมีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชน และการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ร่วม ธุรกิจให้ดขี นึ้ ตลอดจนร่วมมือร่วมใจในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม การท�ำงานและการใช้ชีวิตประจ�ำวันให้สอดคล้องกับแนวทาง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การลดพลังงานต้นทุนสิ้นเปลืองและ การเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร นอกจากนี้ บริษัทฯ ส่งเสริม และสนับสนุนให้พนักงานเป็นคนดีมคี ณ ุ ภาพของสังคม มีสว่ นร่วม ท�ำงานอาสาสมัคร และกิจกรรมสาธารณประโยชน์ร่วมกับชุมชน ตลอดจนเข้าร่วมช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาภัยธรรมชาติ หรือ ความขาดแคลนต่างๆ ในพื้นที่อย่างเหมาะสมและต่อเนื่องเพื่อ สร้างสังคมแห่งความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และสังคมแห่งการดูแลซึ่ง กันและกันให้คงอยู่ตลอดไป
084 รายงานประจำ�ปี 2559
แนวปฏิบัติด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ด�ำเนินงานการมุ่งสู่ “บริษัท...ยางสีเขียว” เป็น 4 ด้าน คือ ผลิตภัณฑ์สเี ขียว (GREEN PRODUCTS) หมายถึ ง ความมุ ่ ง มั่ น ในการแปรรู ป ผลิตภัณฑ์ยางพารา จากวัตถุดิบยางพารา ที่ปราศจากสิ่งเจือปนที่อาจเป็นอันตราย ต่ออุตสาหกรรมปลายน�้ำ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และสุขอนามัยของผู้บริโภค
การสรรหาวัตถุดิบสีเขียว (GREEN SUPPLY) อันแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ของบริษทั ฯ ในการผลักดันให้เกษตรกรท�ำการผลิต ยางพาราที่สะอาดและปราศจากสิ่งเจือปนและสะท้อน ให้ เ ห็ น ถึ ง การด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ที่ ตั้ ง อยู ่ บ น ความยุติธรรมกับเกษตรกรและคู่ค้าทุกราย
กระบวนการผลิตสีเขียว (GREEN FACTORY) อันหมายถึงความความใส่ใจในทุกขัน้ ตอน ของการผลิตสินค้าให้ได้ตามมาตรฐาน สากลภายใต้กระบวนการผลิตที่ตั้งอยู่บนหลักการของ การอนุรักษ์พลังงาน การจัดการมลพิษที่มีประสิทธิภาพ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า โรงงานมี ก ระบวนการผลิ ต ที่ เ ป็ น มิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชนรอบข้าง
บริษัทสีเขียว (GREEN COMPANY) เป็นสัญลักษณ์ขององค์กรซึ่งด�ำเนินธุรกิจ บนรากฐานของความโปร่งใส มุง่ สูก่ ารเติบโต อย่างยั่งยืน พร้อมกับเป็นองค์กรที่เปิดรับ สิ่งใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลาเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม ยางพาราให้เติบโตอย่างมั่นคง
ด้านเศรษฐกิจ • เพิ่มและพัฒนาความสัมพันธ์กับคู่ค้า พันธมิตรทางธุรกิจ ในทุกมิติอย่างยั่งยืน • มีส่วนร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราร่วมกับ คู่ค้า หน่วยงานรัฐ เอกชนที่เกี่ยวข้อง เกษตรกรชาวสวนยาง ให้เติบโตอย่างยั่งยืน • ส่งเสริมการซื้อขายวัตถุดิบด้วยกลไกตลาดเสรี เปิดเผย ข้อมูลอย่างโปร่งใสไว้ใจได้ • พัฒนาอาชีพให้กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางในการผลิต วัตถุดิบคุณภาพ • ส่ ง เสริ มสหกรณ์ และธุ ร กิ จ ชุ มชน เพิ่ มความคล่ อ งตั ว ทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน ในพื้นที่ชุมชนที่โรงงานตั้งอยู่ • สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ทางเศรษฐกิ จ ด้ ว ยอุ ต สาหกรรม ยางพาราที่ด�ำเนินการตามหลักความยั่งยืน
085 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ด้านสิ่งแวดล้อม • พัฒนาการลดอัตราการใช้พลังงานเพื่อการผลิต และ การใช้งานทัว่ ไป รวมถึงการด�ำเนินงานในบริษทั ฯ ให้มี ประสิทธิผลขึ้นทุกปี • มุง่ เน้นกระบวนการจัดการปรับปรุงพัฒนาผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมที่เกิดกลิ่น เสียง น�้ำเสีย ให้ลดลงในทุกมิติ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ • พัฒนากระบวนการขนส่งวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัย ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนที่เกี่ยวข้อง • ร่วมพัฒนา ปรับปรุง ส่งต่อนวัตกรรมการดูแลจัดการ สิ่งแวดล้อมของศูนย์ซื้อวัตถุดิบและคู่ค้าที่เกี่ยวข้อง • พัฒนาและปรับปรุงการใช้ทรัพยากรน�้ำอย่างยั่งยืน • เสริมสร้างและปรับปรุงสภาพแวดล้อมโดยรวมของ บริษทั ฯ โรงงาน ชุมชนระยะใกล้ไกล ให้มคี วามปลอดภัย สร้างพื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืน
ด้านสังคม • สร้างความสุข พัฒนาความรู้ สร้างพืน้ ทีใ่ ห้เกิดการสร้างสรรค์ เสริมสร้างสุขภาพ พัฒนาความเป็นอยู่ สร้างความมั่นคง และสร้างสุขภาวะแก่บุคลากรในองค์กร • สื่อสารสร้างความเข้าใจ วัฒนธรรมองค์กร core value เป้าหมาย เพื่อความเข้าใจที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน • การด�ำเนินธุรกิจขององค์กรด้วยการค�ำนึงถึงผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นต่อสังคมและชุมชน • สร้างกระบวนการส่งเสริมให้คคู่ า้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ในทุกกระบวนการด�ำเนินการ • มุ่งมั่นสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสียและบุคคลทั่วไป ทีม่ ตี อ่ องค์กร โดยการรับฟังและร่วมมือกับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และบุคคลทั่วไปอย่างตั้งใจ ติดตามผลพัฒนา สื่อสารผล อย่างจริงใจ • ร่ ว มมื อ กั บ ภาครั ฐ รั ฐ วิ ส าหกิ จ และเอกชนที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ตัง้ เป้าหมายในมิตดิ า้ นการศึกษา สุขภาพ พัฒนาความเป็นอยู่ ของชุมชนที่บริษัทฯ ด�ำเนินการอยู่ • ส่งเสริมดูแลด้านสิทธิมนุษยชนและสิทธิเด็กในห่วงโซ่อปุ ทาน
รายละเอียดของการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม สามารถดูเพิ่มเติมได้จากรายงานความรับผิดชอบต่อสังคมปี 2559 ซึ่งได้เปิดเผยข้อมูล ดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท www.sritranggroup.com
กิจกรรมความรับผิดชอบทางสังคม 1.
บจ.รับเบอร์แลนด์ สาขาบุรีรัมย์ จัดกิจกรรม “ล้างถนนเพื่อ ชุ ม ชนน่าอยู่” โดยกิจกรรมในครั้งนี้จัด ร่ ว มกั บเทศบาล ต�ำบลประโคนชัย องค์การบริหารส่วนต�ำบลประโคนชัย สถานีต�ำรวจภูธรประโคนชัย ผู้ขายเศษยาง และประชาชน ทั่วไปมาร่วมกันล้างถนน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ
2. บจ. รับเบอร์แลนด์ สาขาบึงกาฬ จัดโครงการ “อาสาพัฒนา หมู่บา้ น” ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนสมบูรณ์
1
2
086 รายงานประจำ�ปี 2559
3
4
5
7
6
8 3. บมจ. ศรีตรัง สาขาทุ่งสง ช่วยแก้ปัญหาน�้ำท่วมบ้าน ในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ต�ำบลถ�้ำใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยได้น�ำรถ ขุดตักดินเข้าไปช่วยเหลือในการขุดลอกคูคลองให้น�้ำไหล ผ่านได้สะดวกเพือ่ ไม่ให้นำ�้ ล้นออกจากคลองมาท่วมบ้านเรือน 4. บจ. รับเบอร์แลนด์ สาขาบึงกาฬ มอบผ้าห่มให้ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กในชุมชนเพือ่ ให้เด็กๆ ได้มผี า้ ห่มไว้ใช้ให้รา่ งกายอบอุน่ ในช่วงฤดูหนาว ตามแนวทางนโยบายกลุม่ บริษทั ศรีตรังที่ให้ ความส�ำคัญกับชุมชนและเยาวชนในพื้นที่ โดยมุ่งพัฒนา น�ำคุณค่าสู่สังคมอย่างยั่งยืน 5. บจ.รับเบอร์แลนด์ สาขาบุรีรัมย์ จัดโครงการปันน�้ำใจต้าน ภัยแล้ง เพื่อสนับสนุนน�้ำสะอาดส�ำหรับอุปโภคบริโภคให้ แก่ชาวบ้านต�ำบลโคกม้า อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ เพือ่ แบ่งเบาปัญหาภัยแล้ง และพร้อมต่อสูท้ กุ ปัญหาไปพร้อม กับชุมชน
6. บมจ. ศรี ต รั ง สาขาสระแก้ ว ร่ ว มสนั บ สนุ น กิ จ กรรม “โครงการแรงงานสมานฉันท์ สาน สร้าง เสริมสุข แรงงาน ปี 2559” ณ โรงเรี ย นท่ า เกษมวิ ท ยา ต�ำบลท่ า เกษม อ�ำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว 7. กลุ ่ มบริ ษั ท ศรี ต รั ง ร่ ว มสนั บสนุ น ถุ ง มื อ ทางการแพทย์ (ศรีตรังโกลฟท์) “โครงการรักษ์แมวปันน�้ำใจให้แมวจร” 8. บมจ. ศรีตรัง ส�ำนักงานใหญ่ ท�ำความดีถวายเป็นพระราช กุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชฯ โดยน�ำน�้ำดื่มของบริษัท จ�ำนวน 6,000 ขวด ส่งมอบผ่าน นายสุริยัณห์ ชีวณิชชากร นายสถานีหาดใหญ่ ณ สถานีรถไฟ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อส่งต่อมอบให้กองอ�ำนวยการ ร่วมรักษาความสงบเรียบร้อย (กอร.รส.) โดยรอบพระบรม มหาราชวังส�ำหรับน�ำไปแจกให้กับเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร และพสกนิกรชาวไทยทีเ่ ดินทางมาร่วมสักการะพระบรมศพ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชฯ ณ บริเวณโดยรอบพระบรมมหาราชวัง จังหวัดกรุงเทพฯ
087 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
12
13
10
14
11
9
15 9. บมจ. ศรีตรัง ท�ำความดีเพือ่ พ่อร่วมกับมูลนิธติ ลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและสภาธุรกิจตลาดทุนไทย โดยน�ำถุงมือ ยางธรรมชาติ I’M GLOVE จ�ำนวน 3,240 คู่ ไปแจกให้กับ เจ้าหน้าที่อาสาสมัครพนักงานเก็บขยะและพสกนิกรชาวไทย ที่เดินทางมาร่วมสักการะพระบรมศพ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ณ บริเวณโดยรอบ พระบรมมหาราชวัง 10. บมจ. ศรีตรัง สาขานราธิวาส จัดโครงการมหกรรมตาดีกา ต�ำบลลูโบะบือซา ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลลูโบะบือซา 11. บมจ. ศรีตรัง สาขาอุดรธานี จัดโครงการศรีตรังร่วมใจ สายใยชุมชน ครั้งที่ 2 12. บมจ. ศรี ต รั ง สาขาทุ ่ ง สง ร่ ว มจั ด นิ ท รรศการสั ป ดาห์ วิ ท ยาศาสตร์ ค รั้ ง ที่ 9 “นวั ต กรรมเพื่ อ ชี วิ ต และสั ง คม” ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อ�ำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
13. บจ. รั บ เบอร์ แ ลนด์ สาขาบึ ง กาฬ จั ด กิ จ กรรมเรี ย นรู ้ เชิ ง บู ร ณาการภายใต้ โ ครงการสะเต็ ม ศึ ก ษา (STEM Education) ของสสวท. รุ ่ น ที่ 2 ให้ กั บ เด็ ก นั ก เรี ย น ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 ของโรงเรี ย นบ้ า นนาสวรรค์ โรงเรียนบ้านหนองตอ และโรงเรียนบ้านโคกสว่าง 14. บมจ. ศรีตรัง สาขาห้วยนาง ร่วมใจปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา เทิดไท้องค์ราชินี 15. บจ. รับเบอร์แลนด์ สาขาบึงกาฬ เข้าร่วมโครงการสร้างฝาย แบบประชารัฐ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จถวัลยราชสมบัติครบ 70 ปี ของทางหน่วยงานราชการจังหวัดบึงกาฬที่จัดขึ้น ณ บริเวณ พื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ป่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน ท้องที่บ้านภูสวาท จังหวัดบึงกาฬ
088 รายงานประจำ�ปี 2559
โครงสร้างการถือหุ้น ข้อมูลเกี่ยวกับทุนเรือนหุ้นและผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560
ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกจ�ำหน่ายและเรียกช�ำระแล้ว ประเภทของหุ้น สิทธิการลงคะแนนเสียง
: : : :
1,280,000,000 บาท 1,280,000,000 บาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 1,280,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท) หุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 1 เสียง ต่อ 1 หุ้น
ลักษณะการกระจายการถือครองหุ้น ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ขนาดการถือครองหุ้น
จำ�นวนผู้ถือหุ้น
ร้อยละ
จำ�นวนหุ้น
ร้อยละ
1 – 999
1,568
15.38
498,654
0.04
1,000 – 10,000
6,180
60.63
24,909,599
1.95
10,001 – 1,000,000
2,337
22.93
174,910,468
13.66
1,000,001 – 10,000,000
87
0.85
289,795,610
22.64
10,000,001 – น้อยกว่า 5% ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายแล้ว
19
0.19
371,072,839
28.99
2
0.02
418,812,830
32.72
10,193
100.00
1,280,000,000
100.00
5% ขึ้นไป ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายแล้ว รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ : รวมส่วนของผู้ถือหุ้นที่ถือผ่านทาง CDP
089 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
การกระจายการถือหุ้นรายย่อย (Free Float) จากข้อมูลที่มีอยู่ของบริษัท ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ร้อยละ 53.31 ของหุ้นทั้งหมดของบริษัท ถือโดยผู้ถือหุ้นรายย่อย
รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก1 ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ลำ�ดับ
ชื่อ
จำ�นวนหุ้น
ร้อยละ
1
ครอบครัวสินเจริญกุล2
296,863,025
23.19
2
บริษัท ศรีตรัง โฮลดิ้งส์ จำ�กัด
283,152,760
22.12
3
นางสาวพัณณินอร ศิรสิ วุ ฒ ั น์
45,335,800
3.54
4
บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด
37,632,830
2.94
5
CITIBANK NOMS S’PORE PTE LTD
36,664,550
2.86
6
CITIGROUP GLOBAL MARKETS LIMITED-PB CLIENT-NRBS COLLATERAL
21,726,050
1.70
7
UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED
18,615,075
1.45
8
กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์
15,860,900
1.24
9
นางสาวสุวรรณา โกวิทย์โสภณ
15,200,000
1.19
10
บริษัท ไทย อาร์.ที.เอ็น.ที โฮลดิ้ง จำ�กัด
14,961,500
1.17
786,012,490
61.41
จำ�นวนหุ้น 135,660,070 27,604,075 22,791,000 22,400,000 21,000,000 12,902,000 12,580,220 9,000,000 8,906,955 7,800,400 5,913,305 4,095,000 3,246,500 1,745,000 1,218,500 296,863,025
ร้อยละ 10.60 2.16 1.78 1.75 1.64 1.01 0.98 0.70 0.70 0.61 0.46 0.32 0.25 0.14 0.10 23.19
รวม หมายเหตุ : 1) ข้อมูลดังกล่าวมาจากบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ CDP 2) รายละเอียดการถือหุ้นของครอบครัวสินเจริญกุล มีดังต่อไปนี้
ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล Ms. Lee Joyce Shing Yu นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล นายวิทย์นาถ สินเจริญกุล นายวิชญ์พล สินเจริญกุล นายกิติชัย สินเจริญกุล นางวรดี สินเจริญกุล นางพร้อมสุข สินเจริญกุล นายลี พอล สุเมธ นายบุณยชน สินเจริญกุล นายสมหวัง สินเจริญกุล นางสาวณวรา สินเจริญกุล นางวนิดา สินเจริญกุล นางสาววรรณิสา สินเจริญกุล นางดวงใจ สินเจริญกุล รวม
ชื่อ
090 รายงานประจำ�ปี 2559
ส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร บมจ.ศรีตรัง คณะกรรมการและผูบ้ ริหาร บมจ.ศรีตรังทีด่ �ำรงต�ำแหน่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ถือหุน้ สามัญของ บมจ.ศรีตรัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ชื่อ นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการ
จำ�นวนหุ้น ที่ถือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559
จำ�นวนหุ้น จำ�นวนหุ้น สัดส่วน ที่ถือ ณ วันที่ ที่เปลี่ยนแปลง การถือหุ้น 31 ธันวาคม เพิม่ ขึน้ /(ลดลง) ในบริษัท 2559 ในปี 2559 ณ 31 ธันวาคม 2559 (%)
135,660,070
135,660,070
0
10.60
9,000,000
9,000,000
0
0.70
7,410,825 4,300,000
7,410,825 4,300,000
0 0
0.58 0.34
นายไชยยศ สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
กรรมการ
นายกิติชัย สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
กรรมการและผู้จัดการ สายงานกฎหมาย และบริหารทั่วไป
14,402,000 3,246,500
12,902,000 3,246,500
(1,500,000) 0
1.01 0.25
นายลี พอล สุเมธ คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
กรรมการและผู้จัดการ สายงานการตลาด
8,906,955 27,604,075
8,906,955 27,604,075
0 0
0.70 2.16
นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
กรรมการ
22,441,000 -
22,791,000 -
350,000 -
1.78 -
นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล
กรรมการและผู้จัดการ สายงานบัญชีและ การเงิน
0
0
0
0
0
0
0
0
1,173,000 0
1,414,900 0
241,900 0
0.11 0
0
0
0
0
0
0
0
0
คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายหลี่ ซื่อเฉียง คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
กรรมการ
นายเฉลิมภพ แก่นจัน
กรรมการและผู้จัดการ สายงานการผลิต
คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
091 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อ
ตำ�แหน่ง
นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ
รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ
คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายเกรียง ยรรยงดิลก คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสมัชชา โพธิ์ถาวร คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายเนียว อา แชบ
คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายอาศรม อักษรนำ� คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายพันเลิศ หวังศุภดิลก คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
จำ�นวนหุ้น จำ�นวนหุ้น สัดส่วน ที่ถือ ณ วันที่ ที่เปลี่ยนแปลง การถือหุ้น 31 ธันวาคม เพิม่ ขึน้ /(ลดลง) ในบริษัท 2559 ในปี 2559 ณ 31 ธันวาคม 2559 (%)
450,060
450,060
0
0.04
17,940
17,940
0
0.001
กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ
0
0
0
0
0
0
0
0
กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ
0
0
0
0
0
0
0
0
1,100,000
1,100,000
0
0.09
0
0
0
0
ผู้จัดการสายงาน สรรหาวัตถุดิบ
260,500
260,500
0
0.02
0
0
0
0
ผู้จัดการสายงาน การผลิต
0
0
0
0
3,500
3,500
0
0.0003
ผู้จัดการสายงาน ควบคุมคุณภาพ
0
0
0
0
0
0
0
0
ผู้จัดการสายงาน วิศวกรรม
60,500
60,500
0
0.005
0
0
0
0
ผู้จัดการสายงาน วิศวกรรม
0
0
0
0
0
0
0
0
กรรมการอิสระ
คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์
จำ�นวนหุ้น ที่ถือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559
092 รายงานประจำ�ปี 2559
ชื่อ
ตำ�แหน่ง
นายอุดม พฤกษานุศักดิ์
จำ�นวนหุ้น ที่ถือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559
จำ�นวนหุ้น จำ�นวนหุ้น สัดส่วน ที่ถือ ณ วันที่ ที่เปลี่ยนแปลง การถือหุ้น 31 ธันวาคม เพิม่ ขึน้ /(ลดลง) ในบริษัท 2559 ในปี 2559 ณ 31 ธันวาคม 2559 (%)
ผู้จัดการสายงาน ธุรกิจเกษตร
10,000
10,000
0
0.001
0
0
0
0
ผู้จัดการสายงาน ทรัพยากรบุคคล
0
0
0
0
คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
-
-
-
-
นางสาวธนวรรณ เสงีย่ มศักดิ์ ผู้จัดการสายงาน พัฒนาธุรกิจและ นักลงทุนสัมพันธ์ คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
0
0
0
0
0
0
0
0
236,046,925
235,138,825
(908,100)
18.37
คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์
รวมจำ�นวนหุ้น หมายเหตุ :
(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)
นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 9,000,000 หุ้นในส่วนที่ถือโดยคู่สมรส นายไชยยศ สินเจริญกุล ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 4,300,000 หุ้น ในส่วนที่ถือโดยคู่สมรส นายกิติชัย สินเจริญกุล ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 3,246,500 หุ้น ในส่วนที่ถือโดยคู่สมรส นายลี พอล สุเมธ ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 27,604,075 หุ้น ในส่วนที่ถือโดยคู่สมรส นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทจ�ำนวน 17,940 หุ้น ในส่วนที่ถือโดยคู่สมรส นายเนียว อา แชบ ถือหุ้นทางอ้อมจ�ำนวน 1,100,000 หุ้น โดยถือผ่านทางบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด นายอาศรม อักษรน�ำ ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัท จ�ำนวน 3,500 หุ้น ถือโดยคู่สมรส
คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหารไว้ เพือ่ ประโยชน์ในการติดตาม ดูแลการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท หรือของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารจัดการกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย โดยมีหลักเกณฑ์และวิธีการรายงาน ดังนี้ • รายงานเมื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือผู้บริหารครั้งแรก • รายงานทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการมีส่วนได้เสีย • รายงานเป็นประจ�ำทุกสิ้นปี โดยกรรมการและผู้บริหารจะน�ำส่งแบบรายงานการมีส่วนได้เสียแก่เลขานุการบริษัท และเลขานุการบริษัทจะส่งส�ำเนารายงาน การมีส่วนได้เสียนี้ให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วันที่ได้รับรายงาน โดยข้อมูล การถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารได้มีการน�ำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทรับทราบทุกไตรมาส
หุ้นกู้ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2554 บมจ. ศรีตรัง ได้ออกและจ�ำหน่ายหุ้นกู้จ�ำนวน 2 ชุด ให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ รวมมูลค่า 2,150,000,000 บาท โดยบมจ. ศรีตรังจะใช้เงินสุทธิที่ได้รับจากการออกจ�ำหน่ายหุ้นกู้ในการจ่ายช�ำระคืนเงินกู้ระยะยาว และ/หรือ การขยายธุรกิจ รายละเอียดส�ำคัญของหุ้นกู้แต่ละชุด มีดังนี้
093 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หุ้นกู้ชุดที่ 1* ชื่อเฉพาะของหุ้นกู้
หุน้ กูข้ องบริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2554 ชุดที่ 1 ครบกำ�หนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2557 ประเภทหุ้นกู้ ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ มูลค่าหุ้นกู้ที่จำ�หน่ายได้ 1,600,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย คงที่ร้อยละ 4.40 ต่อปี การชำ�ระดอกเบี้ย ทุก 6 เดือน อายุหุ้นกู้ 3 ปี วันครบกำ�หนด 1 ธันวาคม 2557 ไถ่ถอนหุ้นกู้
หุ้นกู้ชุดที่ 2* หุน้ กูข้ องบริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2554 ชุดที่ 2 ครบกำ�หนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559 ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ 550,000,000 บาท คงที่ร้อยละ 4.70 ต่อปี ทุก 6 เดือน 5 ปี 1 ธันวาคม 2559
หมายเหตุ* : บมจ. ศรีตรัง ได้ด�ำเนินการไถ่ถอนหุ้นกู้ชุดที่ 1 และชุดที่ 2 เป็นที่เรียบร้อยตามวันครบก�ำหนดไถ่ถอน
ต่อมาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 บมจ. ศรีตรัง ได้ท�ำการออกและจ�ำหน่ายหุ้นกู้จ�ำนวน 2 ชุด ให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุน รายใหญ่รวมมูลค่า 900,000,000 บาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และ/หรือการขยายธุรกิจของกลุ่มบริษัท รายละเอียดส�ำคัญของหุ้นกู้แต่ละชุด มีดังนี้ หุ้นกู้ชุดที่ 1* ประเภทหุ้นกู้
ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ มูลค่าหุ้นกู้ที่จำ�หน่ายได้ 300,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย คงที่ร้อยละ 4.10 ต่อปี การชำ�ระดอกเบี้ย ทุก 6 เดือน อายุหุ้นกู้ 3 ปี วันครบกำ�หนดไถ่ถอน 13 กุมภาพันธ์ 2559 หุ้นกู้
หุ้นกู้ชุดที่ 2 ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ 600,000,000 บาท คงที่ร้อยละ 4.50 ต่อปี ทุก 6 เดือน 5 ปี 13 กุมภาพันธ์ 2561
หมายเหตุ* : บมจ. ศรีตรัง ได้ด�ำเนินการไถ่ถอนหุ้นกู้ชุดที่ 1 เป็นที่เรียบร้อยตามวันครบก�ำหนดไถ่ถอน
ต่อมาเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2559 บมจ. ศรีตรัง ได้ท�ำการออกและจ�ำหน่ายหุ้นกู้จ�ำนวน 2 ชุด ให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันรวมมูลค่า 2,265,000,000 บาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการขยายธุรกิจของบริษัทฯ และเป็นแหล่งเงินทุนเพื่อการด�ำเนินการของบริษัทฯ รวมทั้งเพื่อลดต้นทุนทางการเงิน รายละเอียดส�ำคัญของหุ้นกู้แต่ละชุด มีดังนี้ หุ้นกู้ชุดที่ 1 ประเภทหุ้นกู้ มูลค่าหุ้นกู้ที่จำ�หน่ายได้ อัตราดอกเบี้ย การชำ�ระดอกเบี้ย อายุหุ้นกู้ วันครบกำ�หนดไถ่ถอน หุ้นกู้
ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ 810,000,000 บาท คงที่ร้อยละ 2.55 ต่อปีี ทุก 6 เดือน 3 ปี 18 พฤษภาคม 2562
หุ้นกู้ชุดที่ 2 ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกูู้ 1,455,000,000 บาท คงที่ร้อยละ 3.10 ต่อปีี ทุก 6 เดือน 5 ปีี 18 พฤษภาคม 2564
เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2559 บริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด คงอันดับเครดิตองค์กรและหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกันของ บมจ. ศรีตรัง ที่ระดับ A- / Stable
094 รายงานประจำ�ปี 2559
นโยบายการจ่ายเงินปันผล
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ บมจ. ศรีตรัง
นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย
ปัจจุบัน บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลประมาณ ร้ อ ยละ 30 ของกำ � ไรสุ ทธิ ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน กำ�ไรสะสมของ บมจ. ศรีตรัง ที่ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการ และคำ�นึงถึง สถานะทางการเงิน ผลการดำ�เนินงาน กระแสเงินสดความ สามารถในการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และ บริ ษั ท ร่ ว มทุ น (Joint Venture) อี ก ทั้ ง การจ่ า ยเงิ น ปั น ผล ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ แผนการลงทุ น เพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตของ บริษัทในอนาคต สถานการณ์ภาวะเศรษฐกิจ และผลกระทบ จากปัจจัยภายนอกที่ บมจ. ศรีตรัง คาดว่าจะมีผลกระทบต่อ การดำ�เนินงานของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไป อย่างมีเสถียรภาพ
การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลของบริ ษั ท ย่ อ ยจะต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการของบริ ษั ท นั้ น ๆ เพื่ อ นำ � เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ ให้ ค วามเห็ น ชอบ บริ ษั ท ฯ ไม่ ไ ด้ มี ก ารกำ � หนด นโยบายในการกำ � หนดอั ต ราส่ ว นในการจ่ า ยเงิ น ปั น ผล ของบริ ษั ท ย่ อ ยไว้ แ ต่ อ ย่ า งใด โดยการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลของ บริ ษั ท ย่ อ ยจะขึ้ น อยู่ กั บ ผลประกอบการ ฐานะทางการเงิ น และแผนการลงทุนในอนาคตของแต่ละบริษัท และเป็นไปตาม ข้อบังคับของบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้องของแต่ละบริษัท ด้วยเช่นกัน
1. บจ. พฤกษา ยางพารา
บุคคล/ นิติบุคคลที่ อาจมีความ ขัดแย้ง
เป็ น บริ ษั ท ที่ ผู ้ บ ริ ห าร ของบริ ษั ท ฯ ได้ แ ก่ นายอุดม พฤกษานุศกั ดิ์ และพีน่ อ้ งถือหุน้ รวมกัน เกินกว่าร้อยละ 50 และ นายอุดม พฤกษานุศกั ดิ์ เป็นกรรมการผู้มีอ�ำนาจ ลงนามใน บจ. พฤกษา ยางพารา
ความสัมพันธ์
1.1 บมจ. ศรีตรัง • รายได้จาก การขาย น�้ำยางสด
ลักษณะ ของรายการ ระหว่างกัน 1.63
ม.ค.-ธ.ค. 2558 3.24
ม.ค.-ธ.ค. 2559
มูลค่ารายการงบการเงินรวม (ล้านบาท)
บมจ. ศรี ต รั ง ขายน�้ำ ยางสดให้ บจ.พฤกษายางพารา ซึ่ ง บจ. พฤกษายางพารา รับซื้อน�้ำยางสด ถึ ง หน้ า สวนยางพาราของ บมจ. ศรีตรัง เนื่องจาก บมจ. ศรีตรัง ไม่มี หน่ ว ยงานที่ ด�ำเนิ น การด้ า นการ จั ด การขนส่ ง น�้ ำ ยางดิ บ เป็ น ของ ตนเอง เพือ่ เป็นการประหยัดต้นทุน การจัดการ ต้นทุนด้านการจ�ำหน่าย และต้นทุนด้านบุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยราคาที่ บมจ. ศรีตรัง ขายให้แก่ บจ. พฤกษายางพารา เป็นราคาซื้อ น�้ ำ ยางสดที่ ถู ก ก�ำหนดโดยฝ่ า ย จัดซือ้ ของ บมจ. ศรีตรัง เป็นรายวัน
ความจำ�เป็น/ ความสมเหตุสมผลของรายการ
เนื่ อ งจากพื้ น ที่ ป ลู ก ยางพาราของ บมจ. ศรีตรังที่สามารถกรีดยางพารา ในปัจจุบันมีพื้นที่ไม่มากนัก ดังนั้น เพื่ อ เป็ น การประหยั ด ต้ น ทุ น ของ บมจ. ศรีตรัง จึงเห็นสมควรลดภาระ ที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง และการ จัดการโดยขายน�้ ำ ยางสดให้ บจ. พฤกษายางพารา ในราคาตลาด ที่ ก�ำหนดโดยฝ่ า ยจั ด ซื้ อ ของกลุ ่ ม บริษัทฯ
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งที่มีสาระส�ำคัญและเป็นรายการธุรกิจที่มีนัยส�ำคัญซึ่งได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของ บมจ.ศรีตรัง และรายการระหว่างกัน กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งซึ่งมิได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินส�ำหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ 31 ธันวาคม 2559 มีดังต่อไปนี้
รายการระหว่างกันและรายการกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกัน
095 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
บุคคล/ นิติบุคคลที่ อาจมีความ ขัดแย้ง
ความสัมพันธ์
67.19
0.53
1.3 บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ • รายได้ จากการซื้อ น�้ำยางสด
ม.ค.-ธ.ค. 2558
0.76
75.03
ม.ค.-ธ.ค. 2559
มูลค่ารายการงบการเงินรวม (ล้านบาท)
1.2 บจ. หน�่ำฮั่ว • ค่าใช้จ่าย จากการซื้อ น�้ำยางสด
ลักษณะของ รายการ ระหว่างกัน
บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ จ�ำหน่าย น�้ำยางสดให้ บจ. พฤกษายางพารา โดยก�ำหนดราคาขายอ้ า งอิ ง ตาม ราคาตลาด
บจ. หน�่ำฮั่ว รับซื้อน�้ำยางสดจาก บจ. พฤกษายางพารา เนื่องจาก สวนยางพาราของ บจ. พฤกษา ยางพารา ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีใ่ กล้เคียงกับ โรงงานและจุดรับซื้อน�้ำยางสดของ บจ. หน�ำ่ ฮัว่ นอกจากนี้ บจ. พฤกษา ยางพารา ยังเป็นบริษัทที่สามารถ ส่ ง มอบทั้ ง ปริ ม าณและคุ ณ ภาพ น�ำ้ ยางดิบให้แก่ บจ. หน�ำ่ ฮัว่ ได้ตาม เกณฑ์ที่ก�ำหนด ทั้งนี้ราคาที่ บจ. หน�่ำฮั่ว รั บ ซื้ อ เป็ น ราคาที่ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท ฯประกาศซื้ อ หน้ า โรงงาน ส�ำหรับผู้จัดจ�ำหน่ายทั่วไป
ความจำ�เป็น/ ความสมเหตุสมผลของรายการ
ราคาน�้ำยางสดที่ บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ จ�ำหน่ายให้แก่ บจ.พฤกษา ยางพารา เป็นราคาตามท้องตลาด ที่ขายให้กับลูกค้าทั่วไป
เนื่ อ งจาก บจ. หน�่ ำ ฮั่ ว ต้ อ งใช้ น�้ำยางดิบเป็นวัตถุดิบในการผลิต น�้ ำ ยางข้ น ราคาที่ ท�ำการซื้ อ ขาย เป็ น ราคาตลาดที่ ถู ก ก�ำหนดโดย ฝ่ า ยจั ด ซื้ อ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ เป็ น รายวัน ในการซื้อวัตถุดิบจากผู้จัด จ�ำหน่ายทั่วไป
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
096 รายงานประจำ�ปี 2559
• นายไชยยศ สินเจริญกุล
• นายกิติชัย สินเจริญกุล
• นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล
เป็นกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย
3. กรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้แก่
ก า ร ค�้ ำ ป ร ะ กั น (Personal Guarantee) กับสถาบัน การเงิ น ส�ำหรั บ เงินกู้ยืม สถาบัน การเงินของ บมจ. ศรีตรังและบริษัท ย่อย (ยอดวงเงินกู้ รวมที่ ค�้ ำ ประกั น โดยกรรมการ)
ค่าที่ปรึกษา เป็นบิดาของ • นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ประธานกรรมการ และ กรรมการผู้จัดการ ของบมจ. ศรีตรัง • นายกิติชัย สินเจริญกุล ซึ่งเป็นกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง และ • นายลี พอล สุเมธ ซึ่งเป็นกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง เป็นปู่ของ • นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล ซึ่งเป็นกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง
ความสัมพันธ์
ลักษณะของ รายการ ระหว่างกัน
2. นายสมหวัง สินเจริญกุล
บุคคล/ นิติบุคคลที่ อาจมีความ ขัดแย้ง
267.00
5.14
ม.ค.-ธ.ค. 2558
267.00
5.14
ม.ค.-ธ.ค. 2559
มูลค่ารายการงบการเงินรวม (ล้านบาท)
กรรมการของ บมจ. ศรีตรัง และ บริษทั ย่อย ได้ลงนามยินยอมค�ำ้ ประกัน เงินกู้สถาบันการเงิน (Personal Guarantee) ให้แก่ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย ซึ่งเป็นเงื่อนไขของ การให้กู้ยืมเงินของสถาบันการเงิน บางแห่ง
นายสมหวัง สินเจริญกุลได้รับการ แต่ ง ตั้ ง จากคณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง ให้ ด�ำรงต�ำแหน่ ง เป็ น ที่ ป รึ ก ษากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ เพื่ อ ให้ ค�ำปรึกษาแก่บริษัทฯ ในเรื่องการ ก�ำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ธุรกิจ แผนการลงทุน นโยบายการด�ำเนิน ธุรกิจ กลยุทธ์ในการจัดสรรวัตถุดิบ แนวทางการจั ด ซื้ อ การติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ ภาคมวลชนและ หน่วยงานท้องถิ่น โดยนายสมหวัง สินเจริญกุล ได้รับค่าตอบแทนเป็น เดื อ นละ 428,000 บาท หรื อ 5,136,000 บาท/ปี เป็นระยะเวลา 2 ปี เริ่มในเดือน พฤษภาคม 2559 ถึง เดือน พฤษภาคม 2561
ความจำ�เป็น/ ความสมเหตุสมผลของรายการ
การให้การสนับสนุนดังกล่าวเป็นไปตาม ข้อก�ำหนดในสัญญาผูใ้ ห้การสนับสนุน ทางการเงินและเป็นไปเพือ่ ประโยชน์ ของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย โดยกรรมการผู ้ ค�้ ำ ประกั น ไม่ คิ ด ค่าธรรมเนียม
เนื่องจากการให้ค�ำปรึกษาดังกล่าว ไม่สามารถหาราคาตลาดเทียบเคียงได้ อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และ เวลาที่ น ายสมหวั ง สิ น เจริ ญ กุ ล ได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นการเป็ น ที่ ปรึกษาให้แก่บริษัทฯ แล้ว ถือได้ว่า เป็นค่าตอบแทนที่สมเหตุสมผล
ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
097 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
098 รายงานประจำ�ปี 2559
ปัจจัยความเสี่ยง การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ต้องเผชิญกับปัจจัยความเสี่ยง ต่างๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานและราคาหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง โดยปัจจัยความเสี่ยงดังต่อไปนี้ เป็นเพียงปัจจัย ความเสี่ยงส�ำคัญบางประการที่อาจส่งผลกระทบต่อบริษัทฯ ทั้งนี้ อาจมีปัจจัยความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริษัทฯ ไม่ทราบและอาจมี ปัจจัยความเสีย่ งบางประการทีบ่ ริษทั ฯ เห็นว่าไม่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งปัจจัยความเสี่ยงเหล่านี้อาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทในอนาคตได้
ความเสี่ยงต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ความเสี่ยงเกี่ยวกับภาวะอุตสาหกรรมและธุรกิจของบริษัทฯ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์โดยทั่วไป ซึ่งรวมถึงยางธรรมชาติอาจมี ความผันผวนของราคา สินค้าโภคภัณฑ์โดยทั่วไป ซึ่งรวมถึงยางธรรมชาติมักมีความ ผันผวนด้านราคา ซึง่ ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ รวมทัง้ บริษทั ฯเองต่างก็มขี อ้ จ�ำกัดในการก�ำหนดเวลาการเก็บเกีย่ ว และการเปลีย่ นแปลงของราคายางธรรมชาติดงั กล่าว ทัง้ นี้ ปัจจัย ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อราคายางธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ทีจ่ �ำหน่ายโดยบริษทั ฯ (เช่นเดียวกันกับสินค้าโภคภัณฑ์สว่ นใหญ่) มีดังต่อไปนี้ •
อุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ การเพิ่ มขึ้นของปริมาณอุปทานของยางธรรมชาติ หรือ การลดลงของระดับการบริโภคยางธรรมชาติของโลกนั้น อาจส่งผลท�ำให้มีปริมาณของอุปทานมากเกินไปจนอาจ ท�ำให้ ร าคาขายเฉลี่ ย ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างธรรมชาติ ข อง บริษัทฯ ลดลง
•
ราคาของน�้ำมันดิบ พลังงาน และสารเคมีที่มีน�้ำมันเป็น องค์ประกอบพื้นฐาน ราคาของน�้ำมันดิบอาจส่งผลกระทบต่อราคายางธรรมชาติ และวัตถุดิบอื่นๆ เช่น สารเคมีที่มีน�้ำมันเป็นองค์ประกอบ พื้นฐานที่ใช้ในกระบวนการผลิตยาง นอกจากนี้ ราคายาง สังเคราะห์ (Synthetic Rubber) มักจะแปรผันไปตาม ราคาของนำ�้ มันดิบ และความผันผวนของราคายางสังเคราะห์ มักจะส่งผลกระทบต่อราคาและความต้องการยางธรรมชาติ ด้วยเช่นกัน
•
ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เนื่ อ งจากยางธรรมชาติ ส ่ ว นใหญ่ จ ะท�ำการซื้ อ ขายเป็ น สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ดังนั้นความผันผวนของค่าเงิน ที่ใช้ในการส่งออกยางธรรมชาติเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์ สหรัฐฯ อาจส่งผลให้ราคายางธรรมชาติมีความผันผวนใน ประเทศผู้ส่งออกนั้นๆ
•
การเก็งก�ำไร (Speculation) เนื่ อ งจากยางธรรมชาติ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างธรรมชาติ บางประเภทของบริ ษั ท ฯ มี ก ารซื้ อ ขายในตลาดสิ น ค้ า เกษตรล่วงหน้า (Commodity Future Exchange) ดังนั้น ราคาของยางจึงมีความอ่อนไหวจากการเก็งก�ำไรในตลาด ดังกล่าวนอกเหนือไปจากปัจจัยทางเศรษฐกิจของภูมิภาค และของโลก
099 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
•
การแทรกแซงของรัฐบาล รัฐบาลของประเทศ ซึ่งเป็นผู้ผลิตยางธรรมชาติหลัก เช่น ประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย อาจเข้าแทรกแซง โดยการก�ำหนดนโยบาย เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมยาง ธรรมชาติภายในประเทศของตนเป็นครัง้ คราว เช่น ในปี 2552 รัฐบาลอินโดนีเซียได้ลดปริมาณ (Quotas) การส่งออก ยางธรรมชาติ เนื่องจากการลดลงของราคายางธรรมชาติ ซึ่ ง จ�ำกั ด ความสามารถในการใช้ โ รงงานของบริ ษั ท ฯ ในอิ น โดนี เ ซี ย ได้ อ ย่ า งเต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี้ ในปี 2555 นโยบายการแทรกแซงทางราคายางธรรมชาติ ของรัฐบาลไทยโดยให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) สนับสนุนวงเงินสินเชื่อรวมจ�ำนวน 45,000 ล้านบาท ให้กับสถาบันเกษตรกรและองค์การ
สวนยางใช้ในการรับซื้อยางธรรมชาติจากเกษตรกรในราคา ที่สูงกว่าราคาตลาดในขณะนั้น ได้ส่งผลกระทบทางตรงต่อ ต้นทุนวัตถุดิบของบริษัทฯ ในขณะที่ข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ในการจ�ำกัด ปริมาณการส่งออกจ�ำนวน 300,000 ตันในช่วงระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึงเดือนมีนาคม 2556 และปริมาณ 615,000 ตันในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม - สิงหาคม 2559 ส่งผลกระทบต่อปริมาณการส่งออกของบริษทั ผูผ้ ลิตยางพารา และราคายางธรรมชาติในช่วงเวลาดังกล่าว และในเดือน ธันวาคม 2557 รัฐบาลไทยได้ด�ำเนินการแทรกแซงทาง ราคายางธรรมชาติด้วยงบประมาณ 20,000 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะแก้ปัญหาราคายางที่ปรับตัวลดลง อย่างต่อเนื่องด้วยการซื้อยางแผ่นรมควันผ่านตลาดประมูล
100 รายงานประจำ�ปี 2559
และตลาดกลางรับซื้อที่ราคาชี้น�ำตลาด นโยบายดังกล่าว ส่ ง ผลให้ ร าคายางแผ่ น รมควั น ในประเทศปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ในขณะทีร่ าคาในตลาดโลกมิได้ปรับตัวสูงขึน้ ในระดับเดียวกัน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้างต้นทุน และผลก�ำไรของ ผู้ส่งออกยางพาราในประเทศไทย
ปัจจัยอื่นๆ ที่อยู่นอกเหนือความคาดหมายและอาจส่งผลกระทบ ต่อราคายางธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ รวมถึ ง อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ อั ต ราดอกเบี้ ย ทั้งในและต่างประเทศ และนโยบายทางการค้า หากบริษัทฯ ไม่สามารถผลักราคาวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นไปยังลูกค้า และ/หรือ ผู้จัดหาสินค้าได้ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อ ผลก�ำไรของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ หากราคาตลาดของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ยางธรรมชาติที่จ�ำหน่ายโดยบริษัทฯ มีความผันผวนมาก ธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ อาจได้รับ ผลกระทบในทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญด้วย สัดส่วนส�ำคัญของยอดขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษทั ฯ มาจากอุตสาหกรรมการผลิตยางรถยนต์ ซึง่ ท�ำให้บริษทั ฯ ได้รบั ความเสี่ยงในช่วงขาลงของอุตสาหกรรมประเภทนี้ ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติทบี่ ริษทั ฯ จ�ำหน่าย ได้แก่ ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และนำ�้ ยางข้น โดยอุตสาหกรรมยางรถยนต์มคี วามส�ำคัญ และมี ผ ลเป็ น อย่ า งมากต่ อ ปริ ม าณความต้ อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ยางธรรมชาติของตลาดโลก โดยเฉพาะยางแท่ง ทั้งนี้ ลูกค้าหลัก
ของบริษัทฯ ประกอบด้วยผู้ผลิตยางรถยนต์ในตลาดเกิดใหม่ (Emerging Market) เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน และอินเดีย และผู้ผลิตยางรถยนต์ระดับโลกที่มีชื่อเสียงอยู่แล้ว ซึ่งบริษัทฯ จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติส่วนใหญ่ให้แก่ผู้ประกอบการ ผลิตยางรถยนต์ ดังนั้น ถ้าหากเกิดการชะลอตัวของการผลิต ของอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ดังกล่าว อาจส่งผลให้ความ ต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ มีปริมาณลดลง และอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา และการเปลีย่ นแปลง กฎหมายเกีย่ วกับการควบคุมการแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ แม้ว่าสกุลเงินที่ใช้ในการรายงานทางการเงินของบริษัทฯ จะเป็น สกุ ล เงิ น บาท และการซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ การผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ยางธรรมชาติของบริษัทฯ จะเป็นเงินบาทและรูเปียอินโดนีเซีย แต่รายได้จากการส่งออกของบริษัทฯ นั้น อยู่ในรูปสกุลเงิน ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นประมาณร้ อ ยละ 75 ของ รายได้ ทั้ ง หมด นอกจากนี้ หุ ้ น ของ บมจ.ศรี ต รั ง ที่ ท�ำการ ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (SGX-ST) ถูกอ้างอิงเป็น เงินดอลลาร์สิงคโปร์ ในขณะที่เงินปันผล (ถ้ามี) นั้นจะจ่ายใน รูปเงินบาท ดังนั้นความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่าง เงินบาท รูเปียอินโดนีเซีย ดอลลาร์สหรัฐฯ ดอลลาร์สิงคโปร์ หรื อ เงิ น ตราสกุ ล อื่ น ๆ อาจส่ ง ผลกระทบในทางลบต่ อ ธุ ร กิ จ ฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รวมถึง มูลค่าเงินปันผลทีจ่ า่ ยในรูปของเงินตราต่างประเทศได้ นอกจากนี้ ความผั น ผวนของอั ต ราแลกเปลี่ ย นระหว่ า งเงิ น บาท รู เ ปี ย อินโดนีเซีย และริงกิตมาเลเซีย อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อ ความสามารถในการแข่งขันด้านราคาของบริษัทฯ เมื่อเทียบกับ ผู้ผลิตยางธรรมชาติรายอื่นๆ จากประเทศอินโดนีเซีย และ มาเลเซียอีกด้วย บริษทั ฯ พยายามทีจ่ ะบรรเทาความเสีย่ งเกีย่ วกับอัตราแลกเปลีย่ น เงินตราต่างประเทศ โดยใช้อนุพันธ์ทางการเงินเพื่อที่จะลด ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วกั บ อั ต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต่ า งประเทศ ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการซื้อขายผลิตภัณฑ์ในสกุลเงินอื่นที่มิใช่ เงินบาท ทัง้ นี้ หากบริษทั ฯ ไม่ประสบผลส�ำเร็จในการลดความเสีย่ ง เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศดังกล่าว บริษัทฯ อาจมี ค วามเสี่ ย งเกี่ ย วกั บ ความผั น ผวนในอั ต ราแลกเปลี่ ย น เงินตราต่างประเทศมากยิ่งขึ้น ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบ ต่อฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ
101 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
กลุ่มบริษัทฯ ต้องพึ่งพาผู้บริหารรายส�ำคัญ ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของกลุ่ม บริษัทฯ คือ ความสามารถของบริษัทฯ ในการจัดหา พัฒนา และรักษาทีมผู้บริหารมืออาชีพที่มีประสบการณ์ และความ เชี่ยวชาญในธุรกิจยางธรรมชาติ ดังนั้น ความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่อง ของบริษัทฯ จึงขึ้นอยู่กับความสามารถของบริษัทฯ ในการ รักษาผู้บริหารหลักของบริษัทฯ รวมถึงพัฒนา และฝึกอบรม ผู้บริหารใหม่ๆ หากสมาชิกทีมบริหารที่มีประสบการณ์ของ บริ ษั ท ฯ ไม่ ส ามารถหรื อ ไม่ ป ระสงค์ ที่ จ ะท�ำงานในต�ำแหน่ ง หน้ า ที่ ข องตนต่ อ ไปแล้ ว บริ ษั ท ฯ อาจไม่ ส ามารถหาบุ ค คล ที่เหมาะสมมาท�ำงานแทนได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อ ธุรกิจของบริษัทฯ นอกจากนี้ ขั้นตอนในการสรรหาผู้บริหารใหม่ ซึ่งมีความช�ำนาญและความสามารถตามที่บริษัทฯ ต้องการนั้น อาจใช้เวลานานและอาจต้องแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่น บริษทั ฯ อาจไม่สามารถสรรหาผูท้ มี่ คี วามสามารถ เพือ่ มาสนับสนุน แผนการขยายกิจการของบริษัทฯ ได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบใน ทางลบต่อธุรกิจ และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ธุรกิจของบริษทั ฯต้องอาศัยเงินทุนจ�ำนวนมากและหากบริษทั ฯ ไม่สามารถรักษาระดับของเงินทุนหมุนเวียนให้เพียงพอได้ อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริษทั ฯใช้เงินจ�ำนวนมากในการประกอบธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ เช่ น ยางแผ่ น ดิ บ ยางก้ อ นถ้ ว ย และ น�้ำยางสด รวมถึงผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่บริษัทฯ ซื้อมาจาก ผู้ผลิตรายอื่นๆ และในบางครั้งจาก บจ. ไทยเทค ซึ่งเป็นกิจการ ร่วมค้าของบริษัทฯ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติส�ำหรับการจ�ำหน่าย สินค้าของบริษัทฯ ในตลาดต่างประเทศ โดยระยะเวลาของเงิน ทุนหมุนเวียนของบริษัทฯ ในกระบวนการผลิตนับตั้งแต่การซื้อ วัตถุดิบจนถึงการได้รับช�ำระเงินจากลูกค้าของบริษัทฯ มีระยะ เวลาประมาณสองถึงสี่เดือน นอกจากนี้ บริษัทฯ อาจยังต้อง มีรายจ่ายส่วนทุนจ�ำนวนมากในการรักษา เพิ่มคุณภาพ ขยาย โรงงานผลิตและสถานที่เก็บรักษา บริการขนส่ง และสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกต่างๆ เพื่อให้บ ริษัทฯ สามารถรั ก ษาศั ก ยภาพ ในการแข่ ง ขั น ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เทคโนโลยี ที่ ก ้ า วล�้ ำ มาตรฐาน เกี่ยวกับความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรม ที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี้ ในปัจจุบัน บริษัทฯ มีแหล่งเงินทุน เพื่อใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ จากกระแสเงินสดจาก การด�ำเนิ น งาน อี ก ทั้ ง เงิ น กู ้ ทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาวจาก สถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ฯ มีเงินสดและรายการเทียบ เท่าเงินสดประมาณ 1,674.6 ล้านบาท และเงินกู้ส่วนใหญ่ของ
บริษัทฯ ได้แก่ เงินกู้ระยะสั้น ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่อาจรับรองได้ว่า บริษัทฯ จะไม่ประสบปัญหากระแสเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดติดลบในอนาคต ในกรณีที่บริษัทฯ มีเงินสดไม่เพียงพอ หรือไม่สามารถสร้างรายได้จากการด�ำเนินงานที่เพียงพอ หรือ ไม่สามารถหาหรือมีเงินกูจ้ ากสถาบันการเงินในระดับทีเ่ พียงพอได้ บริษัทฯ อาจไม่มีกระแสเงินสดที่เพียงพอที่จะน�ำไปใช้ในการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ นอกจากนี้บริษัทฯ จะท�ำการกู้เงินเพิ่มเติมในวงเงินรวม 4,500 ล้านบาทเพื่อเป็นเงินทุนสนับสนุนการได้มาซึ่งหุ้นของ SSC (ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บจ. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (“STGT”) ในวันที่ 16 มีนาคม 2560) ซึง่ ภายหลังเงินกูย้ มื ดังกล่าว จะถูก Push-Down ไปที่ STGT ภายหลังจากการที่บริษัทฯ เข้าเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ใน STGT จากการซื้อหุ้นจาก Semperit Technische Produkte ดังนั้น หากในกรณีที่บริษัทฯ และ/หรือ STGT มีเงินสดไม่เพียงพอ หรือไม่สามารถสร้างรายได้จากการ ด�ำเนินงานทีเ่ พียงพอ หรือไม่สามารถหาเงินกูจ้ ากสถาบันการเงิน ในระดับที่เพียงพอได้ บริษัทฯ และ/หรือ STGT อาจไม่มีกระแส เงินสดที่เพียงพอที่จะน�ำไปใช้ในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ และผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ และ/หรือ STGT ได้ ภาวะปัญหาตลาดสินเชื่อ (Credit Market) ทั่วโลกอาจ ส่งผลกระทบต่อต้นทุน หรือเงื่อนไขอื่นๆ ของสัญญากู้ของ บริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีเงินกู้จากสถาบันการเงิน รวมจ�ำนวน 28,832.3 ล้ า นบาท ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เงิ น กู ้ ยื ม ระยะสั้ น โดยมี อั ต ราดอกเบี้ ย อยู ่ ร ะหว่ า งร้ อ ยละ 1.4 ถึ ง ร้ อ ยละ 11.9 ต่ อ ปี ขึ้ น อยู ่ กั บ สกุ ล เงิ น ของสั ญ ญาเงิ น กู ้ แต่ละฉบับ ภาวะปัญหาตลาดสินเชื่อ (Credit Market) ทั่วโลก อาจส่งผลกระทบต่อต้นทุนเงินกู้หรือเงื่อนไขอื่นๆ ของสัญญากู้
102 รายงานประจำ�ปี 2559
ของบริษัทฯ ที่มีอยู่ รวมทั้งความสามารถของบริษัทฯ ที่จะ ได้ รั บ เงิ น กู ้ ห รื อ ที่ จ ะเข้ า ถึ ง ตลาดทุ น ที่ มี เ งื่ อ นไขอั น เป็ น ประโยชน์ต่อบริษัทฯ การเพิ่มขึ้นของต้นทุนเงินกู้อย่างมีนัย ส�ำคั ญ นั้ น อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ความสามารถของบริ ษั ท ฯ ในการแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่น ซึ่งมีระดับเงินกู้ที่ต�่ำกว่า บริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบจากสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง และ/หรือ โรคระบาด ซึง่ อาจน�ำไปสูค่ วามผันผวนทางด้านราคา และการเพิ่มขึ้นของต้นทุนในการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ยางแผ่นดิบ ยางก้อนถ้วย และน�้ำยางสดนั้นถือเป็นวัตถุดิบหลัก ของผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษทั ฯ การจัดหาวัตถุดบิ เหล่านี้ จากผู้จัดหาวัตถุดิบ รวมถึงการเก็บน�้ำยางสดจากสวนยางพารา ของบริษัทฯ เองในอนาคตนั้น อาจได้รับผลกระทบในทางลบ จากสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลง เช่น ภัยแล้ง อุทกภัย ฝนที่ ตกชุ ก ติ ด ต่ อ กั น นาน และพายุ เป็ น ต้ น และ/หรื อ โรคภั ย ที่ มี ก ารระบาดในสวนยางพาราที่ ผู ้ จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ ซื้ อ มา หรื อ สวนยางพาราของบริษัทฯ เองในอนาคต เหตุการณ์เหล่านี้ หากด�ำเนินติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจส่งผลกระทบต่อผลผลิต โดยรวมของวัตถุดิบดังกล่าว และน�ำไปสู่ความผันผวนของราคา อีกทั้งการลดลงอย่างมากของอุปทาน หรือการเพิ่มขึ้นอย่าง มีนยั ของต้นทุนของวัตถุดบิ อาจท�ำให้ตน้ ทุนการผลิตของบริษทั ฯ สูงขึ้นและส่งผลกระทบต่อความสามารถในการผลิตของบริษัทฯ ท�ำให้ธุรกิจฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้รับผลกระทบในทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญ โรงงานผลิตของบริษัทฯ บริษัทร่วม และกิจการร่วมค้าของ บริษัทฯ อาจเกิดการขัดข้อง ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบ ต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า ของบริษัทฯ กระบวนการผลิตของบริษัทฯ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าของ บริษัทฯ ต้องใช้ทรัพยากรเป็นจ�ำนวนมาก เพื่อให้โรงงานผลิต ของบริษัทฯ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ สามารถ ด�ำเนินงานได้ ภัยธรรมชาติ เหตุสุดวิสัย การขาดแคลนแรงงาน ความขั ด ข้ อ งอย่ า งรุ น แรงในส่ ว นของสาธารณู ป โภค เช่ น น�้ำประปา หรือไฟฟ้า และเหตุวิบัติอื่นใด หรือเหตุการณ์ที่อยู่ นอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯ เช่น น�้ำท่วมที่ภาคใต้ของ ประเทศไทยในเดือนพฤศจิกายน 2553 เดือนมกราคม 2555 และเดือนมกราคม 2560 อาจน�ำไปสู่ความขัดข้องหรือการ หยุ ด ชะงั ก ที่ ส�ำคั ญ ในการผลิ ต ของโรงงานผลิ ต ของบริ ษั ท ฯ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ การขัดข้องดังกล่าว อาจส่ ง ผลกระทบในทางลบต่ อ การด�ำเนิ น งานของบริ ษั ท ฯ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ
การพึ่งพิงส่วนแบ่งรายได้จากการด�ำเนินงานของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า อาจส่งผลกระทบในเชิงลบ ต่อกระแสเงินสดของบมจ. ศรีตรัง บมจ. ศรีตรัง พึ่งพิงส่วนแบ่งรายได้จากการด�ำเนินงานของ บริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า ในการช�ำระภาระ ผู ก พั น หนี้ สิ น ทางการเงิ น อั น ได้ แ ก่ เงิ น ต้ น และดอกเบี้ ย โดยบมจ. ศรีตรัง จะได้รับส่วนแบ่งรายได้นี้ตามสัดส่วนการเป็น เจ้าของในบริษัทนั้นๆ หากบริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการ ร่วมค้า มีรายได้หรือผลประกอบการที่ลดลงจะท�ำให้บริษัท ดังกล่าวจ่ายเงินปันผลให้แก่ บมจ. ศรีตรัง ในอัตราและมูลค่า ที่ลดลง ซึ่งจะท�ำให้ บมจ. ศรีตรัง ได้รับส่วนแบ่งรายได้ลดลงและ อาจส่งผลกระทบในเชิงลบต่อกระแสเงินสดของบมจ. ศรีตรัง ความต้องการผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ อาจได้รับ ผลกระทบจากการน�ำยางสังเคราะห์มาใช้แทน ยอดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ ในรอบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คิดเป็นสัดส่วนประมาณ ร้อยละ 90 ของรายได้ของกลุ่มบริษัทฯ ทั้งนี้ ในปัจจุบันมี ผลิตภัณฑ์ยางสังเคราะห์ ซึง่ สามารถน�ำไปใช้ทดแทนยางธรรมชาติ ในการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างส�ำเร็ จ รู ป ในบางรู ป แบบได้ ทั้ ง นี้ ปัจจัยต่างๆ เช่น ความต้องการยางที่เพิ่มมากขึ้น ความผันผวน ของราคายางธรรมชาติ การเพิ่ ม ขึ้ น ของราคายางธรรมชาติ เมื่อเปรียบเทียบกับราคายางสังเคราะห์ ความเสี่ยงเกี่ยวกับ การขาดสินค้าอันเนื่องมาจากปัญหาทางการเมือง ข้อจ�ำกัดทาง ภูมิศาสตร์ และฤดูการผลิต อาจน�ำไปสู่ความต้องการที่เพิ่มขึ้น ของผลิตภัณฑ์ยางสังเคราะห์ ทั้งนี้หากความต้องการผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติลดลง อาจส่งผลกระทบในทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญ ต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ การที่บริษัทย่อย หรือบริษัทร่วม หมดสิทธิประโยชน์ทางภาษี อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อก�ำไรของบริษัทฯ Sri Trang International ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ได้รับ สิทธิประโยชน์ทางภาษีภายใต้ Global Trader Programme ซึ่งท�ำขึ้นโดย International Enterprise Singapore โดย ถูกจัดเก็บภาษีในอัตราร้อยละ 10 ของรายได้จากการขายใน ต่างประเทศหรือรายได้ที่ได้รับจากบริษัทต่างๆ ที่เข้าหลักเกณฑ์ ตามที่ก�ำหนดใน Global Trader Programme นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง บริษัทย่อยบางแห่ง และกิจการร่วมค้า ที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย ยังได้รับสิทธิประโยชน์ในด้านต่างๆ ซึ่งรวมถึง สิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุนในการได้รบั การยกเว้นภาษีทเี่ กีย่ วข้องกับการประกอบการ ของบริษัท
103 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หากสิทธิประโยชน์ดังกล่าวได้หมดลง Sri Trang International บริษัทฯ บริษัทย่อย และกิจการร่วมค้าดังกล่าวจะต้องเสียภาษี ในอัตราปกติที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบ ในทางลบต่อผลก�ำไรของบริษัทฯ กลุ่มบริษัทอาจได้รับผลกระทบในทางลบจากการบัญญัติหรือ การบังคับใช้กฎระเบียบเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เข้มงวดยิ่งขึ้น การประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ อยู่ภายใต้กฎหมาย และ กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณภาพของ สิง่ แวดล้อมและสังคม ประเด็นทางด้านสิง่ แวดล้อมทีอ่ าจเกีย่ วข้อง กับกลุ่มบริษัทฯ ได้แก่ ของเสียที่เหลือจากกระบวนการผลิตยาง ธรรมชาติ ข้อเรียกร้องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมหรือการไม่ปฏิบัติ ตามกฎระเบียบใดๆ ในปัจจุบันหรือในอนาคต อาจส่งผลให้ มีการประเมินค่าเสียหาย การเสียค่าปรับ หรือการหยุดหรือ เลิกการประกอบการของกลุ่มบริษัทฯ กฎระเบียบเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและแนวปฏิบัติทางสังคมของ ประเทศที่ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ มี ก ารประกอบธุ ร กิ จ อยู ่ ใ นปั จ จุ บั น อาจจะไม่เข้มงวดเท่ากับกฎระเบียบในประเทศที่พัฒนาแล้ว อย่างไรก็ดี มีความเป็นไปได้ที่กฎระเบียบเหล่านี้ และ/หรือ แนวปฏิ บั ติ ท างสั ง คม อาจจะมี ค วามเข้ ม งวดมากยิ่ ง ขึ้ น ใน อนาคต ซึ่ ง อาจส่ ง ผลกระทบในทางลบต่ อ การด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ฐานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของ บริษัทฯ ได้ หากกลุ่มบริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบเหล่านี้ได้ ความเสี่ยงเกี่ยวกับประเทศต่างๆ ที่บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจ สภาพเศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับ ของประเทศที่บริษัทฯ มีการด�ำเนินธุรกิจอาจส่งผลกระทบ ในทางลบอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ ธุ ร กิ จ ฐานะทางการเงิ น ผลการด�ำเนินงาน โอกาสทางธุรกิจ และราคาตลาดของหุ้น ของบริษัทฯ บริษัทฯ มีการด�ำเนินธุรกิจ และการลงทุนในหลายประเทศ อาทิ ประเทศไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกาและ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น โดยมี สั ด ส่ ว นรายได้ จ ากประเทศ ดั ง กล่ า ว คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 65.8 ร้ อ ยละ 27.3 ร้ อ ยละ 2.9 ร้อยละ 2.4 และร้อยละ 1.7 ของรายได้ทั้งหมด ตามล�ำดับ ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับการท�ำกิจกรรม ทางธุ ร กิ จ ในประเทศเหล่านี้ ทั้งนี้ ธุรกิจ ฐานะทางการเงิ น ผลการด�ำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ อาจได้รับ ผลกระทบในทางลบอย่ า งมี นั ย ส�ำคั ญ จากเหตุ ก ารณ์ และ พัฒนาการต่างๆ ในประเทศเหล่านี้ รวมถึง
• ภาวะเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย และสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม • การก่อความไม่สงบ ความขัดแย้งทางการทหาร การก่อการร้าย การเปลีย่ นแปลงทางการเมือง และสภาวะด้านความปลอดภัย ทั่วไป • การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ • การเปลี่ยนแปลงภาษีน�ำเข้าและอัตราภาษีอื่นๆ • ภัยธรรมชาติ • ข้อก�ำหนดห้ามแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศหรือห้าม การโยกย้ายเงินทุน หรือ • การเวนคืนหรือการยึดคืนกิจการของเอกชน หรือการยึด ทรัพย์สินหรือสินทรัพย์ของเอกชน หากความเสี่ ย งใดๆ ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เกิ ด ขึ้ น และบริ ษั ท ฯ ไม่สามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ทางธุรกิจและการประกอบธุรกิจ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้ ธุรกิจ ฐานะ ทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญ
ความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ถือหลักทรัพย์ ข้อจ�ำกัดการถือหุน้ ของคนต่างด้าวของ บมจ. ศรีตรัง อาจจ�ำกัด ความสามารถในการโอนหุ้น และจ�ำกัดความสามารถของ บริษัทฯ ในการระดมเงินทุน ข้อบังคับของ บมจ. ศรีตรัง ก�ำหนดว่า คนต่างด้าวสามารถ ถือหุ้นใน บมจ. ศรีตรัง ได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของจ�ำนวนหุ้นที่ ออกจ�ำหน่ายแล้วทั้งหมดของ บมจ. ศรีตรัง นอกจากนี้ข้อบังคับ ของ บมจ. ศรี ต รั ง ยั ง ก�ำหนดห้ า มการโอนหุ ้ น ที่ ฝ ่ า ฝื น ต่ อ ข้อก�ำหนดเรื่องการถือหุ้นดังกล่าวไว้ด้วย ในกรณีที่สัดส่วนการ ถือหุ้นโดยคนต่างด้าวถึงอัตราที่ก�ำหนดไว้ ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย จะไม่สามารถโอนหุ้นให้แก่คนต่างด้าวได้ ด้วยผลดังกล่าว อาจมี ผลกระทบในทางลบต่อสภาพคล่องและราคาตลาดของหุ้นของ บริษัทฯ
104 รายงานประจำ�ปี 2559
การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ ตามสภาพตลาดที่ปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ในปี 2559 บริษัทฯ มีปริมาณการขายสูงที่สุดในประวัติการณ์ที่ 1,494,094 ตัน หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.4 ซึ่งไม่เพียงส่งผลให้รายได้และก�ำไรขั้นต้น ปรับตัวสูงขึ้น แต่ยังส่งผลให้ส่วนแบ่งการตลาดปรับตัวเพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 12 จากเดิมร้อยละ 9 ในปี 2558 อีกด้วย อย่างไรก็ดี ความผันผวนของราคายางธรรมชาติ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2559 ที่ราคายางธรรมชาติ พุ่งสูงขึ้นประมาณร้อยละ 60 อันเป็นผลมาจากแนวนโยบาย กระตุ้นเศรษฐกิจของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ได้ส่งผลให้ เกิดขาดทุนจากตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเกี่ยวกับยางพารา เมื่ อ รวมกั บการเพิ่ มขึ้ น ของค่ า ใช้ จ ่ า ยในการขายและบริ ห าร การลดลงของส่วนแบ่งก�ำไรจากกิจการร่วมค้า การลดลงของ ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน และรายการพิเศษซึ่งเป็นค่าใช้จ่าย จึงส่งผลให้บริษัทฯ บันทึกขาดทุนสุทธิในปี 2559
ภาพรวมผลการด�ำเนินงาน ปี 2559 นับเป็นช่วงแห่งการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมยาง ธรรมชาติ ภายหลังจากที่ราคายางธรรมชาติผ่านพ้นจุดต�่ำสุดใน ช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2559 แต่ด้วยปัจจัยบวกจากปริมาณอุปทาน ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด รวมถึงมาตรการการจ�ำกัดการส่งออกของ ประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในช่วงระหว่างเดือน มีนาคม – สิงหาคม 2559 ได้ส่งผลให้ปริมาณความต้องการ บริ โ ภคยางธรรมชาติ เ ติ บ โตในอั ต ราที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และราคายาง ธรรมชาติปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น แม้ว่าจะต้องเผชิญกับข้อจ�ำกัดด้านอุปทานของวัตถุดิบ แต่ด้วย ฐานธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีการกระจายตัวของภาคการผลิตเป็น อย่างดี กอปรกับการมีเครือข่ายในการสรรหาวัตถุดบิ ทีแ่ ข็งแกร่ง จึ ง ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ฯ สามารถสรรหาวั ต ถุ ดิ บ ได้ เ พี ย งพอที่ จ ะ ตอบสนองต่อความต้องการบริโภคยางธรรมชาติที่เพิ่มสูงขึ้น
รายการพิเศษ ในปี 2559 บริษัทฯ มีรายการพิเศษ (Non-recurring item) รวมทั้งสิ้น 734.3 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยค่าเสียหายจาก เหตุการณ์ไฟไหม้โรงงานที่อินโดนีเซียในเดือนตุลาคม 2559 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับภาษี ตลอดจนค่าที่ปรึกษาทางกฎหมายและ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับคดีความ ในขณะที่ปี 2558 มีรายการ พิเศษเพียงรายการเดียว ได้แก่ ค่าที่ปรึกษาทางกฎหมายจ�ำนวน 126.0 ล้านบาท ส่วนเกินจากการตีราคาสินค้าคงเหลือที่ยังไม่ ได้รับรู้และ ยังไม่เกิดขึ้นจริง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เมื่อเปรียบเทียบมูลค่าสินค้าคงเหลือ ด้ ว ยวิ ธี มู ล ค่ า สุ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ กั บ ราคาทุ น หรื อ มู ล ค่ า สุ ท ธิ ที่ จ ะ ได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า บริษัทฯ มีส่วนเกินจากการ ตีราคาสินค้าคงเหลือดังกล่าวที่ยังไม่ได้รับรู้และยังไม่เกิดขึ้นจริง จ�ำนวน 2,909.7 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 148.3 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อย่างไรก็ตาม ภายใต้มาตรฐานการ รายงานทางการเงินของไทยยังไม่อนุญาตให้รับรู้ในงบก�ำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จจนกว่าสินค้าคงเหลือดังกล่าวจะมีการจ�ำหน่าย นอกจากนี้ ส่วนเกินดังกล่าวจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับราคาขายจริง ณ เวลาที่มีการจ�ำหน่ายเกิดขึ้น
105 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ผลประกอบการโดยรวม หน่วย: ล้านบาท
ปี 2559
ปี 2558
รายได้จากการขายและการให้บริการ
77,265.5
61,291.8
26.1%
ต้นทุนขายและการให้บริการ
(71,852.0)
(57,770.6)
24.4%
กำ�ไรขั้นต้น
5,413.5
3,521.2
53.7%
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
(5,436.0)
(3,713.4)
46.4%
197.5
186.3
6.0%
กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน
6.4
214.2
-97.0%
กำ�ไร (ขาดทุน) อื่น (สุทธิ)
(985.1)
1,095.3
-189.9%
กำ�ไร (ขาดทุน) จากการดำ�เนินงาน
(803.7)
1,303.6
-161.7%
ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า
402.8
648.8
-37.9%
กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำ�หน่าย (EBITDA) กำ�ไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ (EBIT)
794.3
3,007.5
-73.6%
(400.9)
1,952.4
-120.5%
ต้นทุนทางการเงิน (สุทธิ)
(672.0)
(809.1)
-16.9%
283.2
(31.5)
-998.7%
(789.7)
1,111.8
-171.0%
(758.0)
1,118.0
-167.8%
(31.7)
(6.3)
-405.6%
รายได้อื่น
ภาษีเงินได้ กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม รายได้ ในปี 2559 บริษัทฯ มีรายได้รวมทั้งสิ้น 77,265.5 ล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.1 จากปีที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุหลัก มาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณการขายคิดเป็นร้อยละ 33.4 ตามปริมาณอุปสงค์จากผู้ผลิตยางล้อที่เพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าจะหักลบ กับการปรับตัวลดลงของราคาขายเฉลี่ยที่ร้อยละ 4.8 ปริมาณการขาย ในปี 2559 บริษัทฯ มีปริมาณการขายสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ ที่ 1,494,094 ตัน ท่ามกลางข้อจ�ำกัดด้านอุปทานของวัตถุดิบ จากความแห้ ง แล้ ง ที่ ท�ำให้ ฤ ดู ก าลปิ ด กรี ด ยาวนานกว่ า ปกติ ตามมาด้วยปริมาณน�้ำฝนที่มากกว่าปกติ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.4 เมื่อเทียบกับปี 2558 ที่บริษัทฯ ด�ำเนินนโยบายการขาย แบบเลือกสรร (Selective selling) ซึ่งเป็นการยอมลดส่วนแบ่ง ทางการตลาดเพื่อรักษาความสามารถในการท�ำก�ำไร
% YoY
ด้วยฐานธุรกิจขนาดใหญ่ท่ีมีการกระจายตัวของภาคการผลิต เป็ น อย่ า งดี กอปรกั บ การมี เ ครื อ ข่ า ยในการสรรหาวั ต ถุ ดิ บ ในประเทศที่ แ ข็ ง แกร่ ง ครอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ที่ ส�ำคั ญ จึ ง ส่ ง ผล ให้บริษัทฯ ได้เปรียบในการเข้าถึงแหล่งวัตถุดิบ เพิ่มขีดความ สามารถในการตอบสนองต่ อ ปริ ม าณอุ ป สงค์ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ยเหตุ นี้ ป ริ ม าณการขายของบริ ษั ท ฯ จึ ง เติ บ โต ในอัตราที่สูงกว่าการเติบโตของปริมาณอุปสงค์ยางธรรมชาติ ของโลกที่ร้อยละ 3.0 ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถขยายส่วนแบ่ง การตลาดจากร้อยละ 9 ในปี 2558 เป็นร้อยละ 12 ปริมาณ การขายที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญเมื่อเทียบกับปีก่อนส่วนใหญ่ มาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณการขายไปยังประเทศจีน ไทย สิงคโปร์ ยุโรป และอินเดีย
106 รายงานประจำ�ปี 2559
ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรขั้นต้นส�ำหรับปี 2559 เท่ากับ 5,413.5 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 53.7 ในฐานะผู้ประกอบการยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุด และรูปแบบธุรกิจแบบครบวงจรท�ำให้บริษัทฯ สามารถบริหารน�ำตลาด ตลอดจนสามารถรองรับปริมาณอุปสงค์ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ในช่วงที่สภาวะตลาดปรับตัวดีขึ้นได้ อัตราก�ำไรขั้นต้นปรับตัวเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 5.7 ในปีที่แล้ว มาอยู่ที่ร้อยละ 7.0 ในปี 2559 อย่างไรก็ตาม หากสมมติว่าไม่มีกลับรายการค่าเผื่อการลดลงของสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 453.7 ล้านบาท และรวมผลก�ำไรที่เกิดขึ้นจริง จากการป้องกันความเสี่ยงจ�ำนวน 273.8 ล้านบาท อัตราก�ำไรขั้นต้นปรับปรุงของปี 2559 จะเท่ากับร้อยละ 6.0 ซึ่งลดลงจากปี 2558 ซึ่งแสดงอัตราดังกล่าวที่ร้อยละ 8.1 ขาดทุนจากการด�ำเนินงาน บริษัทฯ ขาดทุนจากการด�ำเนินงานเท่ากับ 803.7 ล้านบาทในปี 2559 ซึ่งปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ที่ 1,303.6 ล้านบาทในปีก่อน แม้ว่าก�ำไรขั้นต้นจะเพิ่มขึ้นก็ตาม โดยขาดทุนจากการด�ำเนินงานมีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ขาดทุนจากตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเกี่ยวกับยางพาราเนื่องจากราคายางปรับตัวสูงขึ้นอย่าง รวดเร็วในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2559 และการลดลงของก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนอันเนื่องมาจากความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยนสกุลดอลลาร์สหรัฐต่อสกุลบาทในระหว่างปี ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารมีสาเหตุมาจากการ ขยายตัวของปริมาณการขาย ส�ำหรับการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการขายส่วนใหญ่เกิดจากเพิ่มขึ้นของค่าสงเคราะห์การท�ำสวนยาง ค่าขนส่ง ค่าระวางสินค้า และค่านายหน้า ในขณะที่การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการบริหารส่วนใหญ่มาจากรายการพิเศษ ขาดทุนสุทธิ ในปี 2559 บริษัทฯ ขาดทุนสุทธิเท่ากับ 758.0 ล้านบาท ปรับตัวลดลงจากก�ำไรสุทธิในปี 2558 ที่ 1,118.0 ล้านบาท อัตราก�ำไรสุทธิ ที่ปรับตัวลดลงมีสาเหตุมาจากขาดทุนจากการด�ำเนินงาน และการลดลงของส่วนแบ่งก�ำไรจากธุรกิจถุงมือยางทางการแพทย์ที่มีก�ำไร ลดลงเนื่องจากการแข่งขันสูงขึ้น แม้ว่าจะหักลบกับการลดลงของค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้และการลดลงของต้นทุนทางการเงินเนื่องจาก ค่าเงินสกุลรูเปียอินโดเซียปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2559 บริษัทฯ มีส่วนเกินจากการตีราคาสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 2,909.7 ล้านบาทซึ่งเกิดจากผลต่างระหว่างการค�ำนวณ มูลค่าสินค้าคงเหลือด้วยวิธีมูลค่าสุทธิที่จะได้รับกับวิธีราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า
ปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ 1. ราคาและความผันผวนของยางธรรมชาติ US cent : กิโลกรัม 1Q58
2Q58
3Q58
4Q58
1Q59
2Q59
3Q59
4Q59
กราฟแสดงราคายางแท่ง 20 (STR 20) และยางแผ่นรมควัน 3 (RSS3) ณ ตลาดซื้อขายโภคภัณฑ์ประเทศสิงคโปร์
2 ธ.ค. 59
2 พ.ย. 59
2 ต.ค. 59
2 ก.ย. 59
2 ส.ค. 59
2 ก.ค. 59
2 มิ.ย. 59
2 พ.ค. 59
2 เม.ย. 59
2 มี.ค. 59
2 ก.พ. 59
2 ม.ค. 59
2 ธ.ค. 58
2 พ.ย. 58
2 ต.ค. 58
2 ก.ย. 58
2 ส.ค. 58
2 ก.ค. 58
2 มิ.ย. 58
2 พ.ค. 58
2 เม.ย. 58
2 มี.ค. 58
2 ก.พ. 58
RSS STR
2 ม.ค. 58
260 240 220 200 180 160 140 120 100
107 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ราคาและความผันผวนของยางธรรมชาติส่งผลกระทบโดยตรงต่อรายได้และความสามารถในการท�ำก�ำไรของบริษัทฯ ภายหลังจาก ที่ราคายางธรรมชาติผ่านพ้นจุดต�่ำสุดในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2559 ผสานปัจจัยบวกจากปริมาณอุปทานที่ถูกจ�ำกัดด้วยสภาพอากาศ ที่แห้งแล้งผิดปกติตามมาด้วยปริมาณฝนที่ตกอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมาตรการการจ�ำกัดการส่งออกของประเทศไทย มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย ในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม – สิงหาคม 2559 ได้ส่งผลให้ราคายางธรรมชาติปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นและปริมาณความ ต้องการบริโภคยางธรรมชาติเติบโตในอัตราที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้บริษัทฯ มีการกลับรายการค่าเผื่อการลดลงของสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 453.7 ล้านบาท อย่างไรก็ดี ความผันผวนของราคายางธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2559 ที่ราคายาง ธรรมชาติในช่วงกลางเดือนธันวาคมพุ่งสูงขึ้นประมาณร้อยละ 60 เมื่อเทียบช่วงต้นไตรมาส อันเป็นผลมาจากแนวนโยบายกระตุ้น เศรษฐกิจของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ได้ส่งผลให้บริษัทฯ มีขาดทุนจากตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเกี่ยวกับยางพารา ราคายางธรรมชาติมีความผันผวนไปตามปัจจัยต่างๆ เช่น 1) ภาวะเศรษฐกิจโลก ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และ อุตสาหกรรมการผลิตยางล้อ 2) ปริมาณอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ 3) อัตราแลกเปลี่ยนของเงินสกุลต่างๆ โดยเฉพาะ สกุลดอลลาร์สหรัฐ เยน และสกุลท้องถิ่นของประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติหลักของโลก ซึ่งได้แก่ สกุลบาท รูเปีย และริงกิต เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติส่วนใหญ่จ�ำหน่ายในสกุลดอลลาร์สหรัฐ ตารางราคาอ้างอิงเฉลี่ยยางแท่ง TSR20 และยางแผ่นรมควัน RSS3 ที่ตลาด Singapore Commodity Exchange Limited (SICOM) ปี 2558 – 2559 (หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน)
RSS3
TSR20
2559
2558
เพิ่มขึ้น/ลดลง
2559
2558
เพิ่มขึ้น/ลดลง
ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 1
1,314
1,729
-24.0%
1,156
1,422
-18.7%
ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 2
1,657
1,790
-7.4%
1,375
1,516
-9.3%
ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 3
1,676
1,464
14.5%
1,319
1,344
-1.9%
ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 4
1,929
1,258
53.3%
1,670
1,200
39.2%
ราคาเฉลี่ยทั้งปี
1,649
1,559
5.8%
1,384
1,370
1.0%
ราคาปิด ณ 31 ธ.ค.
2,245
1,175
91.1%
1,935
1,178
64.3%
2. อัตราแลกเปลี่ยนสกุลดอลลาร์สหรัฐต่อสกุลบาท บาท : ดอลลาร์สหรัฐ 1Q58
37
2Q58
3Q58
4Q58
1Q59
2Q59
3Q59
4Q59
36 35 34 33
กราฟแสดงอัตราแลกเปลี่ยนสกุลบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
2 ธ.ค. 59
2 พ.ย. 59
2 ต.ค. 59
2 ก.ย. 59
2 ส.ค. 59
2 ก.ค. 59
2 มิ.ย. 59
2 พ.ค. 59
2 เม.ย. 59
2 มี.ค. 59
2 ก.พ. 59
2 ม.ค. 59
2 ธ.ค. 58
2 พ.ย. 58
2 ต.ค. 58
2 ก.ย. 58
2 ส.ค. 58
2 ก.ค. 58
2 มิ.ย. 58
2 พ.ค. 58
2 เม.ย. 58
2 มี.ค. 58
2 ก.พ. 58
31
2 ม.ค. 58
32
108 รายงานประจำ�ปี 2559
การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างสกุลเงินบาทและดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลโดยตรงกับรายได้ของบริษัทฯ เนื่องจากรายได้ ของบริษัทฯ อยู่ในรูปสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 75 ของรายได้ทั้งหมด ในขณะที่บริษัทฯ แสดง งบการเงินเป็นสกุลบาท บริษัทฯ จึงใช้ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยผลต่างของมูลค่าของตราสารอนุพันธ์ทางการเงินกับราคาตลาด ณ สิ้นรอบบัญชีจะถูกบันทึกภายใต้ก�ำไร/(ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้น จริงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในปี 2559 ค่าเงินบาทเฉลี่ยทั้งปีปรับตัวอ่อนค่าลงร้อยละ 3.0 จากเฉลี่ย 34.09 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐในปี 2558 เป็น 35.12 บาท ต่อดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2559 ความไม่ชัดเจนของนโยบายการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐส่งกระทบต่อการ เคลื่อนย้ายเงินทุนซึ่งก่อให้เกิดความผันผวนของตลาดอัตราแลกเปลี่ยน ส่งผลให้ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนปรับตัวลดลงจากเดิม 214.2 ล้านบาทในปี 2558 เป็น 6.4 ล้านบาทในปี 2559 3. ต้นทุนทางการเงิน ปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนทางการเงินของบริษัทฯ ได้แก่ อัตราดอกเบี้ย ราคายางธรรมชาติ ปริมาณการขาย และ การเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน ในปี 2559 ดอกเบี้ยจ่ายปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนตามการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะสั้นและ ระยะยาวจากสถาบันการเงินเพื่อสนับสนุนการขยายธุรกิจ ตลอดจนปริมาณการขายที่เพิ่มขึ้นและราคายางธรรมชาติที่ปรับตัวสูงขึ้น ในระหว่างปี อย่างไรก็ตาม ต้นทุนทางการเงินโดยรวมได้ปรับตัวลดลงจาก 857.3 ล้านบาท ในปี 2558 เป็น 707.3 ล้านบาท ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 17.5 ซึ่งมีสาเหตุมาจากการที่ค่าเงินสกุลรูเปียอินโดเซียปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับเงินสกุล ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อเทียบกับในปี 2558 ที่บริษัทฯ มีขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินกู้ยืมสกุลดอลลาร์สหรัฐ เนื่องจากค่าเงินสกุลรูเปียอินโดนีเซียอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับสกุลดอลลาร์สหรัฐ แผนภาพด้านล่างแสดงอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของบริษัทฯ ในปี 2558 - 2559 เทียบกับอัตราดอกเบี้ย MLR เฉลี่ยจาก 3 ธนาคารหลัก ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย์ ซึ่งจะเห็นได้ว่าบริษัทฯ สามารถควบคุมอัตราดอกเบี้ยได้ในอัตรา ที่ค่อนข้างต�่ำและอยู่ในระดับ สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทยเพียงเล็กน้อยเท่านั้น 7%
MLR 2558 MLR 2559
6% 5% 4%
1Q58
2Q58
3Q58
1Q59
2Q59
3Q59
4Q59
3%
STA 2558 STA 2559
2%
RP rate 2558 RP rate 2559
1% 0%
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
กราฟเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ กับอัตราดอกเบี้ย MLR เฉลี่ย
4. ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า ในปี 2559 บริษัทฯ ได้รับส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้ารวมเท่ากับ 402.8 ล้านบาท โดยร้อยละ 67.2 มาจากธุรกิจถุงมือยาง และร้อยละ 45.6 จากธุรกิจท่อไฮโดรลิกแรงดันสูง หักลบกับส่วนแบ่งขาดทุนของบางธุรกิจ การลดลงของ
109 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าร้อยละ 37.9 จากปีก่อน ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการลดลงของส่วนแบ่ง ก�ำไรจากธุรกิจถุงมือยางทางการแพทย์ท่ีมีก�ำไรลดลงเนื่องจากการแข่งขันที่สูงขึ้น แม้ว่าจะหักลบกับการเพิ่มขึ้นของก�ำไรสุทธิของ ธุรกิจท่อไฮโดรลิกแรงดันสูง 5. นโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐบาลไทยอาจเป็นประโยชน์หรือส่งผลกระทบในเชิงลบต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ดังตัวอย่างที่ การแทรกแซงราคา ยางของรัฐบาลไทยโดยการรับซื้อวัตถุดิบในราคาที่สูงกว่าราคาตลาดผ่านกองทุนมูลภัณฑ์กันชน (Buffer Fund) ในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 2558 ได้ส่งผลกระทบต่อกระบวนการสะสมวัตถุดิบและความสามารถในการขายของบริษัทฯ เนื่องจากนโยบายดังกล่าวส่งผลให้ ราคายางแผ่นรมควันในประเทศปรับตัวสูงขึ้นในขณะที่ราคาในตลาดโลกมิได้ปรับตัวสูงขึ้นในระดับเดียวกัน และล่าสุดที่สภาไตรภาคี ยางพารา ซึ่งประกอบไปด้วยประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ได้ท�ำข้อตกลงความร่วมมือระหว่างประเทศในการจ�ำกัดปริมาณ การส่งออกจ�ำนวน 615,000 ตัน ในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม – สิงหาคม 2559 โดยข้อตกลงดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อปริมาณ การส่งออกของบริษัทฯ ในระดับหนึ่ง 6. นโยบายภาษีของประเทศที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ การที่สหรัฐอเมริกาปรับเพิ่มภาษีน�ำเข้ายางล้อรถยนต์จากจีนขึ้นอีกครั้งในช่วงเดือนมกราคม 2558 ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ผลิต ยางล้อรถยนต์ในประเทศจีน นโยบายดังกล่าวส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนยอดขายตามภูมิศาสตร์ของกลุ่มลูกค้าส�ำหรับผู้ผลิต ยางธรรมชาติ ซึ่งไม่ได้ส่งผลกระทบต่อภาพรวมของความต้องการยางธรรมชาติทั่วโลก ในขณะที่การปรับลดภาษีซื้อรถยนต์ขนาดเล็ก ของประเทศจีนที่มีผลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึงสิ้นปี 2559 และการจ�ำกัดน�้ำหนักของรถบรรทุกที่มีผลตั้งแต่เดือนกันยายน 2559 มีส่วนกระตุ้นปริมาณความต้องการภายในประเทศอีกทั้งสนับสนุนอุตสาหกรรมยางและยานยนต์
การวิเคราะห์ผลประกอบการตามสายธุรกิจ การจ�ำแนกรายได้ตามสายผลิตภัณฑ์
(ล้านบาท)
ปี 2559 ยางแท่ง
ปี 2558
56,133.4
44,482.7
%
72.6%
72.6%
ยางแผ่นรมควัน
7,305.3
5,462.4
9.5%
8.9%
6,088.0
4,774.2
7.9%
7.8%
อื่นๆ *
7,738.8
6,572.5
%
10.0%
10.7%
77,265.5
61,291.8
% น�้ำยางข้น %
รวมรายได้จากการขายและบริการ
% YoY 26.2% 33.7% 27.5% 17.7% 26.1%
หมายเหตุ :* ประกอบไปด้วยรายได้จาก (ก) การจ�ำหน่ายไม้ฟืนและบรรจุภัณฑ์ไม้ (ข) การให้บริการบางประเภท (เช่น บริการด้านการขนส่ง การวิจัยและพัฒนา และเทคโนโลยีสารสนเทศ) แก่บริษัทร่วมของบริษัทฯ และกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ รวมถึงบริษัทภายนอกอื่นๆ และ (ค) รายได้จากการขายถุงมือ
110 รายงานประจำ�ปี 2559
ยางแท่ง TSR (Technically Specified Rubber)
ฐานะการเงิน
รายได้จากการจ�ำหน่ายยางแท่ง ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักของ บริษัทฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.2 เมื่อเทียบกับปีก่อน โดย มี ส าเหตุ ห ลั ก มาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของปริ ม าณการขายคิ ด เป็ น ร้อยละ 33.7 แม้ว่าจะหักลบกับการลดลงของราคาขายเฉลี่ยที่ ร้อยละ 5.6
สินทรัพย์หมุนเวียน
แม้จะต้องเผชิญกับข้อจ�ำกัดด้านอุปทานในระหว่างปี แต่การ กระจายตัวของภาคการผลิตเป็นอย่างดี กอปรกับการมีเครือข่าย ในการสรรหาวัตถุดิบที่แข็งแกร่งได้ช่วยเพิ่มขีดความสามารถ ในการตอบสนองต่ อ ปริ ม าณอุ ป สงค์ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง บริ ษั ท ฯ จึ ง มี ป ริ ม าณการขายเพิ่ ม สู ง ขึ้ น เป็ น อย่ า งมากเมื่ อ เทียบกับปี 2558 ที่ได้ด�ำเนินนโยบายการขายแบบเลือกสรร (Selective Selling) ด้วยเหตุนี้ก�ำไรขั้นต้นของยางแท่งจึง เพิ่มขึ้นร้อยละ 83.1 ซึ่งเป็นผลให้อัตราก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นด้วย เช่นกัน ยางแผ่นรมควัน RSS (Ribbed Smoked Sheet)
สินทรัพย์หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2559 เพิ่มขึ้น 10,281.2 ล้านบาท หรือร้อยละ 47.8 จาก ณ สิ้นปีก่อนเป็น 31,811.9 ล้านบาท ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผลจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของสิ น ค้ า คงเหลื อ จ�ำนวน 6,971.3 ล้านบาท จากการขยายตัวของปริมาณการขายและ การเพิ่มสูงขึ้นของราคายางธรรมชาติ การเพิ่มขึ้นของลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้อื่นจ�ำนวน 4,239.0 ล้านบาท สืบเนื่องมาจาก ปริมาณการขายที่สูงเป็นประวัติการณ์และราคาขายเฉลี่ยของ ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติท่ีสูงขึ้น โดยหักลบกับการลดลงของ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจ�ำนวน 522.6 ล้านบาท และการลดลงของตราสารอนุพันธ์ทางการเงินจ�ำนวน 171.8 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจากความผันผวนของราคายางธรรมชาติ ณ สิ้นปี 2559 บริษัทฯ มีลูกหนี้ที่ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระและ ครบก�ำหนดช�ำระภายใน 1 เดือน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 98.4 และมีลูกหนี้ที่ครบก�ำหนด ช�ำระเกิน 1 ปีคิดเป็นร้อยละ 0.6 ของยอดลูกหนี้การค้าทั้งหมด โดยบริษัทฯ มีค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.6 ของยอดลูกหนี้การค้าทั้งหมด
รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ยางแผ่นรมควันเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.7 โดยสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณการขาย คิดเป็นร้อยละ 37.5 จากสภาวะตลาดที่ปรับตัวดีขึ้น แม้ว่าจะ หักลบกับราคาขายเฉลี่ยที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 2.7 สภาวะ แห้งแล้งที่ส่งผลให้ฤดูกาลปิดกรีดของต้นยางยาวนานกว่าปกติ ท�ำให้การผลิตยางแผ่นดิบซึ่งเป็นวัตถุดิบของผลิตภัณฑ์ยางแผ่น รมควันปรับตัวลดลง เนือ่ งจากการผลิตยางแผ่นดิบมีกระบวนการ ที่มีมากกว่า ใช้แรงงานมากกว่า และใช้ระยะเวลาที่ยาวนานกว่า เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ การผลิ ต น�้ ำ ยางสด ซึ่ ง เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น�้ ำ ยางข้ น นอกจากนี้ การเพิ่ ม ขึ้ น ของราคาและ ปริมาณอุปสงค์ของน�้ำยางข้นยังส่งผลให้ปริมาณอุปทานของ ยางแผ่ น ดิ บ ซึ่ ง เดิ ม มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ�ำกั ด ได้ ป รั บ ตั ว ลดลงไปอี ก เนื่ อ งจากชาวสวนยางมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะขายวั ต ถุ ดิ บ น�้ำ ยางสด มากกว่าหากราคาใกล้เคียงกับยางแผ่นดิบ ก�ำไรขั้นต้นของ ผลิตภัณฑ์ยางแผ่นรมควันจึงปรับตัวลดลงร้อยละ 18.2 ส่งผลให้ อัตราก�ำไรขั้นต้นปรับตัวลดลง
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 1,798.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.0 เป็น 24,146.7 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2559 ส่วนใหญ่เป็นการ ลงทุนเพิ่มในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จ�ำนวน 580.0 ล้านบาท (สุ ท ธิ จ ากค่ า เสื่ อ มราคาและการจ�ำหน่ า ยออก) จากการ ตั้ ง โรงงานใหม่ แ ละการขยายโรงงานยางแท่ ง และน�้ ำ ยางข้ น การเพิ่ ม ขึ้ น ของเงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ร่ ว มและกิ จ การร่ ว มค้ า จ�ำนวน 452.3 ล้ า นบาทจากผลประกอบการที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า ตลอดจนการลงทุนปลูกสวนยาง ที่เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 352.2 ล้านบาท การเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจ�ำนวน 288.9 ล้านบาท และการเพิ่มขึ้น ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิจ�ำนวน 150.5 ล้านบาท จากการ ติดตั้งระบบ SAP และต้นทุนทางตรงในการติดตั้งระบบ SAP
น�้ำยางข้น (Concentrated Latex)
หนี้สินหมุนเวียน
รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์น�้ำยางข้นขยายตัวร้อยละ 27.5 โดยการเพิ่ ม ขึ้ น มี ส าเหตุ ห ลั ก มาจากการเติ บ โตของปริ ม าณ การขายที่ ร ้ อ ยละ 28.0 ตามการเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ งของ ปริมาณอุปสงค์ แม้จะหักลบกับการลดลงของราคาขายเฉลี่ยที่ ร้อยละ 0.4 ก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 3.2 ในขณะที่ อัตราก�ำไรขั้นต้นปรับตัวลดลง เนื่องจากข้อจ�ำกัดด้านอุปทานได้ ส่งผลให้ราคาวัตถุดิบน�้ำยางสดปรับตัวสูงขึ้น
หนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 15,000.5 ล้านบาท หรือร้อยละ 84.1 เป็น 32,836.1 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2559 ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก การเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินจ�ำนวน 9,987.6 ล้านบาท เพื่อรองรับการขยายตัวของสินค้าคงเหลือ และลูกหนี้การค้า การเพิ่มขึ้นของส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาว จากสถาบั น การเงิ น ที่ ถึ ง ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่ ง ปี จ�ำนวน 4,946.4 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการจัดชั้นเงินกู้ยืม
สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน
111 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ระยะยาวให้ไปอยู่ในส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปี เนื่องจากบริษัทฯ ไม่ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไข บางประการที่ระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ การเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้อื่นจ�ำนวน 480.4 ล้านบาท เนื่องจากราคา วัตถุดิบยางธรรมชาติปรับตัวสูงขึ้น และการเพิ่มขึ้นของตราสาร อนุพันธ์ทางการเงินจ�ำนวน 383.4 ล้านบาท ซึ่งบางส่วนได้หักลบ กับการลดลงของส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระใน 1 ปี ของหุ้นกู้จ�ำนวน 850.0 ล้านบาท หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียนลดลง 1,498.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.8 เป็น 3,210.6 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2559 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการ ลดลงของเงินกู้ยืมระยะยาว (หักส่วนที่ครบก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี) จ�ำนวน 3,741.6 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลจากการจัดชั้นหนี้ใหม่ ตามที่กล่าวมา หักลบกับการเพิ่มขึ้นของหุ้นกู้จ�ำนวน 2,265.0 ล้านบาท เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนส�ำหรับการประกอบธุรกิจ ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง 1,422.0 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.7 เป็น 19,911.9 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2559 อันเป็นผลมาจากขาดทุนสุทธิ ระหว่างปี เงินปันผลจ่ายจ�ำนวน 512.0 ล้านบาท และการ ลดลงของส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย์- (สุทธิ จากค่าเสื่อมราคาสะสม) จ�ำนวน 130.9 ล้านบาท
รายจ่ายส�ำหรับการวิจัยและพัฒนา (R&D) ในปี 2559 กลุ่มบริษัทฯ มีรายจ่ายส�ำหรับการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมจ�ำนวน 10.0 ล้านบาท
แหล่งที่มาของเงินทุน ในปี 2559 บริษัทฯ มีรายจ่ายลงทุนจ�ำนวน 2,126.9 ล้านบาท โดยส่ ว นใหญ่ ป ระกอบด้ ว ยรายจ่ า ยลงทุ น เพื่ อ การสร้ า งและ ขยายฐานการผลิตยางแท่งจ�ำนวน 1,459.8 ล้านบาท และ รายจ่ายลงทุนเพื่อการขยายธุรกิจสวนยางพาราจ�ำนวน 466.3 ล้านบาท โดยมีแหล่งเงินทุนหลัก ได้แก่ เงินกู้ยืมระยะสั้นและ ระยะยาวจากสถาบันการเงิน และหุ้นกู้
ความสามารถในการช�ำระเงินกู้และการปฏิบัติตาม เงื่อนไขของวงเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินกู้ยืมระยะยาวจ�ำนวน 3,536 ล้านบาท ของบริษัทฯ ถูกจัดชั้นให้ไปอยู่ในส่วนของเงินกู้ยืม ระยะยาวที่ ถึ ง ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่ ง ปี เนื่ อ งจากบริ ษั ท ฯ ไม่ ส ามารถด�ำรงอั ต ราส่ ว นเงิ น กู ้ ร ะยะยาวสุ ท ธิ ต ่ อ ก�ำไรก่ อ น
ต้ น ทุ น ทางการเงิ น สุ ท ธิ ภาษี เ งิ น ได้ และค่ า ตั ด จ�ำหน่ า ยให้ ต�่ำกว่า 4.5 เท่า ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ของสถาบัน การเงินแห่งหนึ่งได้ ซึ่งเป็นเพียงผลกระทบชั่วคราวจากผลการ ด�ำเนิ น งานขาดทุ น สุ ท ธิ ซึ่ ง มี ส าเหตุ ห ลั ก มาจากขาดทุ น จาก ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเพื่อป้องกันความเสี่ยงในยางพารา อั น เป็ น ผลจากความผั น ผวนของราคายางธรรมชาติ ใ นช่ ว ง ไตรมาสที่ 4 ปี 2559 และ รายการพิเศษซึ่งอยู่ในฝั่งค่าใช้จ่าย ทั้งหมด ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขส�ำหรับวงเงินส่วน ที่เหลือทั้งหมดที่ได้กู้ยืม ณ สิ้นปี 2559 บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุนเท่ากับ 1.73 เท่ า ซึ่ ง ถึ ง แม้ จ ะสู ง กว่ า เมื่ อ เที ย บกั บ ณ สิ้ น ปี 2558 เนื่องจากปริมาณการขายและราคายางธรรมชาติปรับตัวเพิ่มขึ้น แต่ยังเป็นระดับที่ค่อนข้างต�่ำเมื่อเทียบกับคู่แข่งในอุตสาหกรรม เดียวกัน
การแยกกิจการกับ Semperit การแยกกิ จ การกั บ Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. (“Semperit”) ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในวั น ที่ 15 มีนาคม 2560 ซึ่งเป็นเหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน จะส่งผลให้บริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นใน Siam Sempermed Corp., Ltd.’s (“SSC”) (ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บจ. ศรีตรัง โกลฟส์ (ประเทศไทย) (“STGT”) ในวันที่ 16 มีนาคม 2560) เพิ่มเป็นร้อยละ 90.2 ในขณะที่ Semperit จะมีสัดส่วนการ ถือหุ้นในบริษัทร่วมอื่นๆ ในสัดส่วนร้อยละ 100 ซึ่งประกอบด้วย 1) Sempermed USA, Inc. 2) Sempermed Singapore Pte Ltd. (“SESI”) ซึ่งรวมถึงสัดส่วนการถือหุ้นของ SESI ใน Formtech Engineering (M) SDN BHD และSempermed Brasil Comercio Exterior Ltd. ด้ ว ย 3) Semperflex Shanghai Ltd. 4) Shanghai Sempermed Glove Sales Co., Ltd. และ 5) Shanghai Semperit Rubber & Plastics Products Co., Ltd. ทั้งนี้ Semperflex Asia Corporation Ltd. (“SAC”) จะยังคงประกอบธุรกิจต่อไปในฐานะกิจการ ร่วมค้าระหว่างบริษัทฯ และ Semperit โดยบริษัทฯ ให้สิทธิ Semperit ในการเข้าซื้อหุ้น SAC ที่ถือโดยบริษัทฯ ในสัดส่วน ร้อยละ 42.5 รวมตลอดจนผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ ของ SAC ซึ่ง คิดรวมเป็นร้อยละ 50.0 ของหุน้ ทีจ่ �ำหน่ายได้แล้วทัง้ หมด ในช่วง ระหว่างปี 2562 – 2564 ในราคารวมทั้งสิ้น 60,000,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ การแยกกิจการครั้งนี้เป็นผลให้ คดีความ ข้อพิพาททางกฎหมาย และการอนุญาโตตุลาการ ที่มี ในศาลยุติธรรมทั้งหมดเป็นอันสิ้นสุดลง อีกทั้งยังเป็นการยุติการ ปฏิบัติตามสัญญากิจการร่วมค้า รวมถึงข้อผูกพันอื่นๆ ที่มีผลใช้ บังคับภายหลังจากที่สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นสิ้นสุดลงอีกด้วย
112 รายงานประจำ�ปี 2559
บริษัทฯ ได้รับวงเงินกู้จากสถาบันการเงินในจ�ำนวนวงเงินรวม 4,500 ล้านบาทเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสนับสนุนการได้มาซึ่ง หุ้นของ SSC ซึ่งในภายหลังบริษัทฯ จะท�ำการ Push-Down หนี้ดังกล่าวไปที่ STGT โดยมีการทยอยจ่ายช�ำระในรูปแบบ เงินกู้ระยะยาว การเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ STGT ซึ่งมีก�ำลังการผลิตใหญ่เป็น อันดับ 1 ใน 5 ของผู้ผลิตถุงมือทางการแพทย์ในระดับโลก เป็นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งของการด�ำเนินงานของกลุ่ม บริษัทฯ ในฐานะผู้น�ำในอุตสาหกรรมการผลิตยางธรรมชาติ อย่างครบวงจร นอกจากนี้ จะส่งผลให้การบันทึกบัญชีใน STGT จะเปลี่ยนจากการรับรู้ส่วนแบ่งก�ำไร (profit sharing) ตามวิธี ส่ ว นได้ เ สี ย (equity method) เป็ น การจั ด ท�ำงบการเงิ น รวม (consolidation) ซึ่งไม่เพียงช่วยลดความผันผวนของ ผลประกอบการโดยรวมของกลุ ่ ม บริ ษั ท ฯ อั น มาจากธุ ร กิ จ กลางน�้ ำ ในการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างธรรมชาติ แต่ ยั ง เป็ น การ เพิ่ ม สิ น ทรั พ ย์ หนี้ สิ น รายได้ และผลก�ำไรในภาพรวมด้ ว ย เช่นกัน อย่างไรก็ตาม รายการจ�ำหน่ายหุ้นและเงินลงทุนใน บริษัทร่วมที่กล่าวมาข้างต้นจะส่งผลให้ส่วนแบ่งก�ำไรจากบริษัท ร่วมและกิจการร่วมค้าในงบการเงินรวมปรับตัวลดลง
อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง ( Current ratios) อั ต ราส่ ว นสภาพคล่ อ งค�ำนวณจากการหารยอดสิ น ทรั พ ย์ หมุนเวียนด้วยยอดหนี้สินหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีอัตราส่วนสภาพคล่อง เท่ากับ 1.21 เท่า และ 0.97 เท่า ตามล�ำดับ อัตราส่วนสภาพคล่อง ที่ปรับตัวลดลงเป็นผลชั่วคราวของการจัดชั้นเงินกู้ยืมระยะยาว จ�ำนวน 3,536 ล้านบาท ของบริษัทฯ ให้ไปอยู่ในส่วนของ เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ตามที่กล่าวมา ข้างต้น อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed asset turnover ratio) อั ต ราหมุ น เวี ย นของสิ น ทรั พ ย์ ถ าวรค�ำนวณจากการหาร ยอดขายด้ ว ยมู ล ค่ า ที่ ดิ น อาคาร และอุ ป กรณ์ (สุ ท ธิ ) และ สวนยางพาราและสวนปาล์ ม (สุ ท ธิ ) เฉลี่ ย ทั้ ง นี้ ณ วั น ที่ 31 ธันวาคม 2558 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ
มีอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรเท่ากับ 3.87 เท่า และ 4.58 เท่า ตามล�ำดับ สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของอัตราหมุนเวียน ของสิ น ทรั พ ย์ ถ าวรเป็ น ผลมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของรายได้ ที่ ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ตามการเติ บ โตของปริ ม าณการขาย ในอั ต รา ที่เร็วกว่าการเพิ่มขึ้นของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ รวมถึง สวนยางพาราและสวนปาล์ม อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on assets “ROA”) อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ค�ำนวณจากการหารก�ำไร สุทธิ (ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่) ด้วยสินทรัพย์รวมเฉลี่ย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีอัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์เท่ากับร้อยละ 2.74 และร้อยละ (1.52) ตามล�ำดับ การปรับตัวลดลงของ ROA เป็นผลมาจากผลประกอบการขาดทุนสุทธิในปี 2559 อัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (Return on equity “ROE”) อัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นค�ำนวณจากการหารก�ำไรสุทธิ (ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่) ด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นรวมเฉลี่ย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีอัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเท่ากับร้อยละ 5.33 และร้อยละ (3.68) ตามล�ำดับ เช่นเดียวกันกับ ROA การปรับตัว ลดลงของ ROE เป็นผลมาจากผลประกอบการขาดทุนสุทธิ ในปี 2559 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to equity ratio “D/E” ) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ค�ำนวณจากการหารหนี้ สินรวมของบริษัทฯ ด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นรวมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 1.06 เท่า และ 1.81 เท่า ตามล�ำดับ การปรับตัวเพิ่มขึ้นของอัตราส่วน หนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเป็นผลมาจากการเพิ่มสูงขึ้นของเงิน กู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงินเพื่อสนับสนุน การขยายธุรกิจ การเติบโตของปริมาณการขาย และการเพิ่มขึ้น ของราคายางธรรมชาติ
113 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
มุมมองธุรกิจในอนาคต ภาพรวมอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ 2558
2559F
2560F
%การเติบโตของเศรษฐกิจโลก (GDP)
3.2%
3.1%
3.4%
ประเทศพัฒนาแล้ว
2.1%
1.6%
1.9%
ประเทศเกิดใหม่และประเทศที่กำ�ลังพัฒนา
4.1%
4.1%
4.5%
ประเทศจีน (ผู้บริโภคยางธรรมชาติรายใหญ่ของโลก)
6.9%
6.7%
6.5%
91
95
96
% change
1.3%
3.6%
1.3%
ปริมาณการผลิตยางล้อ (ล้านเส้น)
1,762
1,815
1,885
% change
1.4%
3.0%
3.8%
12,146
12,505
12,872
-0.3%
3.0%
2.9%
ปริมาณการผลิตยานพาหนะ (ล้านคัน)
ปริมาณความต้องการยางธรรมชาติ (’000 ตัน) % change
แหล่งที่มา : IMF WEO Update, January 2017 and The World Rubber Industry Outlook forecasted by International Rubber Study Group (IRSG), December 2016
ภายหลังจากที่ตลาดยางธรรมชาติได้มีการปรับตัวลดลงติดต่อ กั น มาเป็ น ระยะเวลา 5 ปี พื้น ฐานอุป สงค์แ ละอุ ปทานของ ยางธรรมชาติที่แข็งแกร่งขึ้น ตลอดจนภาพรวมปัจจัยภายนอก ที่ปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้อุตสาหกรรมยางธรรมชาติได้เข้าสู่ช่วง การเปลี่ยนแปลง การเติบโตอย่างมีเสถียรภาพของเศรษฐกิจโลก และมาตรการ กระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ของสหรั ฐ อเมริ ก า รวมถึ ง กฎหมายจ�ำกั ด น�้ ำ หนั ก รถบรรทุ ก ของประเทศจี น เป็ น ปั จ จั ย บวกที่ ท�ำให้ ภาพรวมอุปสงค์ยางธรรมชาติดูสดใสยิ่งขึ้น ในขณะที่อุปทาน ยางธรรมชาติ ยั ง ได้ รั บ แรงกดดั น จากปริ ม าณอุ ป ทานที่ มี อ ยู ่ อย่างจ�ำกัด ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาความขาดแคลนแรงงานฝีมือ กรีดยางเนื่องจากราคายางอยู่ในระดับต�่ำติดต่อกันเป็นระยะ เวลานาน และสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออ�ำนวย ปริมาณฝนที่ตกหนักและน�้ำท่วมในเดือนมกราคม 2560 ใน หลายจังหวัดทางตอนใต้ของประเทศไทย ได้ส่งผลให้ปริมาณ การผลิตยางธรรมชาติของโลกปรับตัวลดลงพอสมควร เนือ่ งจาก ภาคใต้เป็นพื้นที่เพาะปลูกยางพาราหลักที่ให้ผลผลิตคิดเป็น สัดส่วนกว่าร้อยละ 70 ของประเทศไทย และโดยปกติจะให้ ผลผลิตสูงสุดในช่วงเดือนมกราคม การที่รัฐบาลไทยสามารถ ขายสต๊อกยางพาราจ�ำนวนกว่าครึ่งซึ่งมีอายุเฉลี่ยประมาณ 3 ปี
ในราคาที่ใกล้เคียงราคาตลาดเป็นอีกปัจจัยที่สะท้อนให้เห็นว่า ปริมาณอุปทานในตลาดยังคงมีคอ่ นข้างจ�ำกัด ส�ำหรับกระบวนการ น�ำสต๊ อ กยางดั ง กล่ า วกลั บ มาผลิ ต ใหม่ จ�ำเป็ น จะต้ อ งมี ก าร ผสมวัตถุดิบยางใหม่เพื่อเป็นการคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ยาง ธรรมชาติ ดังนั้น จึงมีแนวโน้มที่อุปทานยางธรรมชาติใหม่อาจจะ ไม่เพียงพอต่อปริมาณอุปสงค์ในช่วงฤดูผลัดใบที่ก�ำลังจะมาถึง แม้ว่าราคายางจะปรับตัวดีขึ้นในช่วงปีที่ผ่านมา แต่ยังคงอยู่ ในระดับต�่ำหากเทียบกับราคาย้อนหลังสิบปี ด้วยระดับราคา น�้ำมัน ราคายางสังเคราะห์ และปริมาณสต๊อกยางธรรมชาติที่ นครชิงเต่า ประเทศจีนในขณะนี้เป็นปัจจัยชี้ให้เห็นว่าความเสี่ยง ที่ราคายางธรรมชาติจะปรับตัวลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญยังคงอยู่ ในระดับต�่ำ ทั้งนี้ การที่ราคายางธรรมชาติจะปรับตัวสูงขึ้นอย่าง มีเสถียรภาพ ยังคงต้องอาศัยปัจจัยการเติบโตอย่างแข็งแกร่ง ของปริมาณอุปสงค์เป็นหลัก ทั้งหมดนี้ ความไม่แน่นอนของทิศทางนโยบายของประเทศหลัก รวมถึ ง ความผั น ผวนของตลาดสิ น ค้ า โภคภั ณ ฑ์ ตลาดอั ต รา แลกเปลีย่ น ตลาดหุน้ ยังคงเป็นอีกปัจจัยทีส่ �ำคัญต่ออุตสาหกรรม ยางธรรมชาติ
114 รายงานประจำ�ปี 2559
ความสมดุลของอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ ปริมาณอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติของโลกในช่วงปี 2558 - 2560 หน่วย : 000’ตัน ปริมาณการผลิตยางธรรมชาติ % change ปริมาณการบริโภคยางธรรมชาติ % change ปริมาณการผลิตส่วนเกิน
2558
2559F
2560F
12,275
12,449
12,917
1.2%
1.4%
3.8%
12,146
12,505
12,872
-0.3%
3.0%
2.9%
129
(56)
45
แหล่งที่มา : The World Rubber Industry Outlook forecasted by International Rubber Study Group (IRSG), December 2016
ตามข้อมูลประมาณการของ The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospect to 2025 ประจ�ำเดือน ธันวาคม 2559 โดย International Rubber Study Group (IRSG) ความต้องการใช้ยางธรรมชาติทั่วโลกในปี 2559 คาดว่า จะมีประมาณ 12,505,000 ตัน เติบโตในอัตราร้อยละ 3.0 ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมยางล้ อ ซึ่ ง เป็ น ผู้บริโภคหลักของยางธรรมชาติคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 ของอุปสงค์รวม ในขณะที่ปริมาณการผลิตยางธรรมชาติใน ปี 2559 เท่ากับ 12,449,000 ตัน หรือเติบโตร้อยละ 1.4 ซึ่ง นับเป็นการเติบโตในระดับที่ค่อนข้างต�่ำ ส่วนหนึ่งเนื่องจากได้รับ ผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่ไม่เอื้ออ�ำนวยและการที่ราคา ยางอยู่ในระดับต�่ำติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยส่วนใหญ่การ เพิ่ ม ขึ้ น มาจากกลุ ่ ม ประเทศ CAMAL* ประเทศไทย และ ประเทศเวียดนาม
IRSG คาดการณ์ว่าแนวโน้มความต้องการยางธรรมชาติทั่วโลก ในปี 2560 จะเท่ากับ 12,872,000 ตัน เติบโตคิดเป็นร้อยละ 2.9 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการเติบโตจากประเทศจีนซึ่งเป็นผู้บริโภค ยางรายใหญ่ที่สุดของโลก ในส่วนของอุปทาน IRSG ได้ประมาณ การว่าผลผลิตยางธรรมชาติในปี 2560 จะเท่ากับ 12,917,000 ตัน เติบโตขึ้นร้อยละ 3.8 โดยประเทศจีน ประเทศอินโดนีเซีย และ กลุ่มประเทศ CAMAL* เป็นกลุ่มที่มีการเติบโตด้านผลผลิตยาง ธรรมชาติสูง ในขณะที่ประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ อันดับหนึ่งอย่างประเทศไทยนั้น จะมีการเติบโตเพียงเล็กน้อย เนื่องจากได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออ�ำนวย ในปี 2560 เป็นที่คาดการณ์ว่าผลผลิตยางธรรมชาติจากต้นยาง ที่ ป ลู ก ใหม่ จ ะเติ บ โตในอั ต ราที่ ล ดลง เนื่ อ งจากการปลู ก ต้ น ยางใหม่ปรับตั วลดลงภายหลังจากช่ วงที่ราคายางธรรมชาติ ปรับตัวลดลงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2554 นอกจากนี้ การที่ ราคายางอยู่ในระดับต�่ำหลายปีติดต่อกันอาจส่งผลให้เกษตรกร หั น ไปปลู ก พื ช อื่ น ทดแทน หรื อ เลื่ อ นระยะเวลาการปลู ก ต้นยางใหม่หรือการปลูกทดแทนออกไป รวมถึงอาจส่งผลให้ จ�ำนวนแรงงานกรี ด ยางและความถี่ ใ นการกรี ด ยางลดลง ตลอดจนลดความน่าสนใจทีจ่ ะมีชาวสวนยางรายใหม่เกิดขึน้ ด้วย ในขณะที่ ค วามต้ อ งการยางธรรมชาติ ยั ง เติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ งตามการเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมยางล้ อ ดั ง นั้ น IRSG จึงคาดการณ์ว่าปริมาณผลผลิตส่วนเกินในปี 2560 จะเท่ากับ 45,000 ตัน ซึ่งค่อนข้างใกล้เคียงจุดดุลยภาพ หมายเหตุ*: กลุ่มประเทศ CAMAL ได้แก่ ประเทศกัมพูชา เมียนมา และ ลาว
115 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
กลยุ ท ธ์ ก ารประกอบธุ ร กิ จ และความคื บ หน้ า ของ แผนการขยายธุ ร กิ จ ตลอดทั้ ง ห่ ว งโซ่ อุ ป ทานของ บริษัทฯ ธุ ร กิ จ ต้ น น�้ำ – พัฒ นาศักยภาพอย่า งต่อเนื่ อ งเพื่ อ เสริ ม ก�ำลังให้การด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ บริษัทฯ ยังคงสานต่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็ น ระบบของสวนยางพารา เพื่ อ น�ำความรู ้ ใ นเชิ ง ลึ ก มาเสริมความแข็งแกร่งให้กับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งใน ส่ ว นกลางน�้ ำ และปลายน�้ ำ นอกจากนี้ การมี ส วนยางพารา ยั ง เป็ น การชี้ พื้ น ที่ ที่ มี ศั ก ยภาพในการจั ด ตั้ ง โรงงานแห่ ง ใหม่ ดั ง ตั ว อย่ า งที่ ผ ่ า นมา บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ตั้ ง โรงงานแห่ ง ใหม่ ใ น 4 จังหวัดที่บริษัทฯ มีสวนยางพาราอยู่ ได้แก่ พิษณุโลก กาฬสินธุ์ สระแก้ว และสกลนคร บริ ษั ท ฯ บรรลุ เ ป้ า หมายในการมี ที่ ดิ น ส�ำหรั บ การปลู ก สวน ยางพารารวมจ�ำนวนประมาณ 50,000 ไร่ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ใน พื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยอันเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพใน การขยายโรงงานของบริษัทฯ ในอนาคต ซึ่งคาดว่าในอีกไม่ก่ีปี ข้างหน้าต้นยางที่ปลูกกว่าครึ่งจะให้ผลผลิต ธุ ร กิ จ กลางน�้ ำ – ขยายก�ำลั ง การผลิ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่อขยายส่วนแบ่งการตลาดให้ถึงร้อยละ 20 ของอุปสงค์ ยางธรรมชาติของโลก บริษทั ฯ ยังคงสานต่อนโยบายสร้างโรงงานใหม่อย่างต่อเนือ่ งเป็น ประจ�ำทุกปีด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดเพื่อให้การด�ำเนินงาน มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ในพื้ น ที่ ใ หม่ ๆ เช่ น ภาคเหนื อ ของ ประเทศไทย เพิ่มเติมจากพื้นที่ยุทธศาสตร์เดิมที่มี และด้วยการ ผนึกก�ำลังของทีมงานที่แข็งแกร่งไม่ว่าจะเป็นทีมขาย ทีมวิจัย และพัฒนา ทีมประกันคุณภาพ และทีม CSR ที่ร่วมมือกัน ท�ำงานเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าควบคู่ไปกับ การสานสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น บริษัทฯ จึงมีความมั่นใจว่า บริษัทฯ จะมีปริมาณการขายท�ำจุดสูงสุดใหม่ต่อเนื่องนับจากนี้ เป็นต้นไป ซึ่งจะท�ำให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายอันสูงสุด ในการเป็น “STA20” หรือ การมีปริมาณการขายคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 20 ของปริมาณความต้องการบริโภคยางธรรมชาติ ของโลก
ณ สิ้นปี 2559 บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตทางวิศวกรรม* สูงที่สุด ในอุตสาหกรรมที่ 2.4 ล้านตันต่อปี โดยในระหว่างปีมีโรงงาน ยางแท่งแห่งใหม่ที่จังหวัดเลย ซึ่งได้เพิ่มก�ำลังการผลิตให้กับกลุ่ม บริษัทอีกประมาณ 61,000 ตันต่อปี หมายเหตุ*: ก�ำลังการผลิตทางวิศวกรรมค�ำนวณจากข้อมูลจ�ำเพาะที่ได้รับ การรับรองจากผู้ผลิตเครื่องจักร ทั้งนี้ ก�ำลังการผลิตของเราได้รวมก�ำลัง การผลิตทางวิศวกรรมของบริษัท ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ภายหลังจากการเพิ่มสัดส่วนการลงทุนในบริษัทดังกล่าวในเดือนเมษายน 2559
ธุรกิจปลายน�้ำ – เสริมความแข็งแกร่งของการด�ำเนินงาน พร้อมทั้งเดินหน้าขยายก�ำลังการผลิต ภายหลังจากการแยกกิจการกับ Semperit จะส่งผลให้บริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ใน STGT ซึ่งเป็นผู้ผลิตถุงมือยางทางการแพทย์ ที่ใหญ่ติดอันดับ 1 ใน 5 ของโลก ซึ่งจะมีดุลพินิจแต่เพียงผู้เดียว และมีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ STGT ในทุกๆ ด้าน ดังนั้น บริษัทฯ จึงมุ่งที่จะเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับการ ด�ำเนินงาน ซึ่งรวมถึงการจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การตลาด และ การกระจายสินค้า รวมถึงการเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการผลิต ความได้เปรียบทางการแข่งขันที่สามารถจัดหาน�้ำยางข้นซึ่งเป็น วัตถุดิบหลักจากภายในกลุ่มบริษัทฯ ท�ำให้มั่นใจได้ถึงคุณภาพ และความเพียงพอของวัตถุดิบตลอดทั้งปี เมื่อผนวกกับการ มีหน่วยงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และการสนับสนุนด้าน วิศวกรรมการผลิตจากภายในกลุ่มบริษัทฯ จึงท�ำให้บริษัทฯ มั่นใจได้ว่าจะสามารถขยายก�ำลังการผลิต เพิ่มความหลากหลาย ของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนขยายตลาดได้ในระยะไม่ช้านับจากนี้ ซึ่งจะยิ่งเป็นการตอกย�้ำสถานะผู้ผลิตยางธรรมชาติแบบครบ วงจรรายใหญ่ของโลกของกลุ่มบริษัทฯ ณ สิ้นปี 2559 เรามีโรงงาน 4 แห่งในประเทศไทย และมีก�ำลัง การผลิตรวมทั้งสิ้น 14,000 ล้านชิ้นต่อปี
116 รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบโดยการแต่ ง ตั้ ง ของคณะกรรมการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการอิ ส ระจำ � นวน 3 ท่ า น ซึ่ ง เป็ น ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ โดย กรรมการ 2 ใน 3 ท่าน มีความรู้ทางด้านบัญชีและการเงิน ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก กรรมการตรวจสอบ 3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ป ฏิ บั ติ ง านภายใต้ ข อบเขต หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ การมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยในปี 2559 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ มี ก ารประชุ ม รวม 8 ครั้ ง นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ และนายสมัชชา โพธิ์ถาวร ได้เข้าร่วมประชุม ทุกครั้ง โดยนายเกรียง ยรรยงดิลก เข้าร่วมประชุม 7 ครั้ง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้บริหารระดับสูง ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ผู้ จั ด การกลุ่ ม งานตรวจสอบภายใน และผู้ ส อบ บัญชีในวาระที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบได้กำ�กับดูแล ในเรื่องต่างๆ สรุปสาระสำ�คัญได้ดังนี้
• ความถู ก ต้ อ งและครบถ้ ว นของข้ อ มู ล ทางการเงิ น
สอบทานรายงานทางการเงินรายไตรมาสและงบการเงิน สำ � หรั บ ปี 2559 ให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานการบั ญ ชี ท่ี รั บ รองโดยทั่ ว ไป โดยร่ ว มประชุ ม กั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี รับอนุญาตผู้จัดการสายงานบัญชีและการเงิน (CFO) และ ผู้บ ริ ห ารบริ ษัท เพื่อ สอบทานสาระข้ อ มู ล ความถู ก ต้ อ ง ของงบการเงิ น ของบริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารตรวจสอบและ สอบทานโดยให้ ค วามสำ � คั ญ ในประเด็ น หลั ก ๆ มี ก าร รับฟังการชี้ แจงและซั ก ถามแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ใน ประเด็ น ต่ า งๆ ก่ อ นที่จ ะให้ ค วามเห็ น ชอบเพื่อ นำ � เสนอ ต่อคณะกรรมการบริหารอนุมัติงบการเงินดังกล่าว
• พิ จ ารณาแผนการตรวจสอบภายในและสอบทาน
ผลการตรวจสอบภายใน ซึ่ ง กลุ่ ม งานตรวจสอบภายใน ได้ดำ�เนินการไปในระหว่างปี รวมถึงการสอบทานระบบ
ควบคุ ม ภายในและการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งให้ มี ความเพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
• สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
และหลั ก การกำ � กั บดู แลกิ จ การที่ ดี โ ดยได้ กำ� กั บและดู แล ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ข้ อ กำ � หนด คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี โ ดยให้ มี ก ารเปิ ด เผย ข้อมูลสารสนเทศ อย่างเพียงพอและโปร่งใส
• สอบทานการเข้าทำ�รายการและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ
รายการระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง อาจทำ � ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ร ะหว่ า งผู้มีส่ว นได้ เ สี ย กั บ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ผลการสอบทานพบว่าได้ด�ำ เนินการ ตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
• พิ จ ารณาคั ด เลื อ กเสนอแต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละเสนอ
ค่าสอบบัญชีประจำ�ปี 2560 เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ให้ ข ออนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ�ปี 2560 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา ผลการปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสม ของค่าตอบแทน
โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้วมีความเห็นว่า การดำ�เนินงานของบริษัทฯ ในปีท่ีผ่านมามีระบบการควบคุม ภายในและการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งที่ เ พี ย งพอและ เหมาะสม รายงานข้อมูลทางการเงินจัดทำ�ขึ้นตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไปมีการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำ � หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท ทั้ ง นี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยมี สิ ท ธิ และใช้ดุลพินิจได้อย่างอิสระ รวมถึงไม่มีข้อจำ�กัดในการเข้าถึง ข้อมูลต่างๆ นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กุมภาพันธ์ 2560
117 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ งบการเงิ น เฉพาะ กิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และ งบการเงินรวมของบริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏ ในรายงานประจ�ำปี 2559 งบการเงิ น ส�ำหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 ดั ง กล่ า ว ได้ จั ด ท�ำขึ้ น ตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยใช้นโยบายการบัญชีที่เหมาะสม และถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งสม�่ ำ เสมอ รวมทั้ ง ได้ ใ ช้ ดุ ล พิ นิ จ อย่ า ง ระมั ด ระวั ง และใช้ ห ลั ก ประมาณการอย่ า งสมเหตุ ส มผล ในการจัดท�ำ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อแสดงถึงฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และกระแสเงินสดได้อย่างถูกต้อง โปร่งใส เป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทัว่ ไป งบการเงินดังกล่าว ได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตจาก บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด โดยในการตรวจสอบ บริ ษั ท ได้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ข้ อ มู ล และเอกสารต่ า งๆ เพื่ อ ให้ ผู ้ ส อบบั ญ ชี ส ามารถตรวจสอบและแสดงความเห็ น ได้ ต าม มาตรฐานการสอบบัญชี คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ภาระหน้ า ที่ แ ละความ รั บ ผิ ด ชอบในการจั ด ท�ำรายงานทางการเงิ น ให้ เ ป็ น ไปอย่ า ง มีประสิทธิภาพ จึงได้จัดให้มีและด�ำรงไว้ซึ่งระบบการบริหาร ความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายในทั้งด้านการปฏิบัติงานและ ด้านระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบภายใน และ การก�ำกับดูแลที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อมูลทางบัญชีมคี วามถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอทีจ่ ะด�ำรงไว้
ซึ่งทรัพย์สินของบริษัท และป้องกันความเสี่ยง ตลอดจนเพื่อ ไม่ให้เกิดการทุจริตหรือด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างเป็นสาระ ส�ำคัญ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อช่วยก�ำกับดูแล สอบทานความน่าเชื่อถือและความถูกต้อง ของรายงานทางการเงิน การสอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และระบบการบริหารความเสีย่ ง ตลอดจน พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลรายการเกี่ยวโยงระหว่างกันอย่าง ครบถ้วน และเหมาะสม โดยความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบปรากฏอยู่ในรายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ แสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีแล้ว จากการก�ำกับดูแลและการปฏิบตั ดิ งั กล่าวข้างต้น คณะกรรมการ บริษทั มีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในโดยรวมของบริษัท มีความเพียงพอและเหมาะสม และสามารถสร้างความเชื่อมั่น อย่างมีเหตุผลได้ว่างบการเงินเฉพาะกิจการ และงบการเงินรวม ของบริษัทและบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีความถูกต้องและเชื่อถือได้ โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐาน การบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องทุกประการ นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ
118 รายงานประจำ�ปี 2559
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
119 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รำยงำนของผู้สอบบัญชี รับอนุญำต เสนอผูถ้ ือหุน้ และคณะกรรมการของ บริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จากัด )มหาชน( ควำมเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมของบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จากัด )มหาชน( จากัด )บริ ษทั ( และบริ ษทั ย่อย )กลุ่มกิ จการ( และงบการเงินเฉพาะกิ จการ ของบริ ษทั แสดงฐานะการเงินรวมของกลุ่มกิจการและฐานะการเงินเฉพาะกิ จการของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และผลการดาเนิ นงาน รวมและผลการดาเนิ นงานเฉพาะกิ จการ กระแสเงินสดรวมและกระแสเงิ นสดเฉพาะกิ จการสาหรับ ปี สิ้ นสุ ดวัน เดี ยวกัน โดยถูกต้องตามที่ ควร ในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
งบกำรเงินที่ตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของกลุ่มกิจการและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั ข้างต้นนี้ ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและ งบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมและงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเฉพาะกิจการ งบแสดง การเปลี่ ยนแปลงส่ วนของเจ้าของรวมและงบแสดงการเปลี่ ยนแปลงส่ วนของเจ้าของเฉพาะกิ จการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสด เฉพาะกิ จการส าหรั บ ปี สิ้ นสุ ดวันเดี ยวกัน และหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จการ รวมถึ งหมายเหตุสรุ ปนโยบาย การบัญชีที่สาคัญ
เกณฑ์ ในกำรแสดงควำมเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิ บตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่ วนของความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี ต่อการตรวจสอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามี ความเป็ นอิ สระจากกลุ่ มกิ จการและบริ ษทั ตาม ข้อกาหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชี พบัญชี ในส่ วนที่เกี่ ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการที่กาหนดโดย สภาวิชาชี พบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอื่น ๆ ซึ่ งเป็ นไปตามข้อกาหนดเหล่านี้ ข้าพเจ้า เชื่ อว่าหลักฐานการสอบบัญชี ที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า
เรื่ องสำคัญในกำรตรวจสอบ เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบคือเรื่ องต่าง ๆ ที่มีนยั สาคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการสาหรับงวดปั จจุบนั ข้าพเจ้าได้นาเรื่ องเหล่านี้ มาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการ โดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสาหรับเรื่ องเหล่านี้
120 รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ต่อ)
เรื่ องสำคัญในกำรตรวจสอบ
วิธีกำรตรวจสอบ
ความถู กต้ อ งของประมาณการจากเหตุ ก ารณ์ อัค คี ภั ย ที่ โรงงานใน ประเทศอินโดนีเซียและผลกระทบที่เกีย่ วข้ อง อ้างถึ งหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 41 ของงบการเงินรวมและ ข้าพเจ้าได้ทาการสอบทานและประเมินงานที่ผสู ้ อบบัญชี ของบริ ษทั ย่อย งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่เกี่ ยวข้องได้ตรวจสอบ รวมถึงการสอบถามผูบ้ ริ หารถึงประมาณการ ของมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นค้าคงเหลือ ค่าเผื่อการลดลงของ ในเดื อนตุลาคม พ.ศ. 2558 ได้เกิ ดอัคคี ภยั ที่ โรงงานยางแท่ง ที่ เมื อง มูลค่าสิ นทรัพย์ถาวรส่ วนใหญ่เป็ นอาคารและเครื่ องจักร ตลอดจนเงิน พอนเทียนัก ประเทศอินโดนี เซี ย ซึ่ งดาเนิ นงานภายใต้บริ ษทั PT Star ค่ า เสี ย หายที่ อ าจจะได้ รั บ คื น จากบริ ษั ท ประกั น ภัย และถู ก รั บ รู้ Rubber (“PTS”) ซึ่ งเป็ น บ ริ ษั ท ย่ อ ยท างอ้ อ ม ข อ งก ลุ่ ม กิ จก าร ณ วันสิ้นงวดบัญชี ความเสี ยหายที่เกิ ดขึ้นครอบคลุมถึ งวัตถุดิบ โรงเก็บวัตถุดิบและสาย งานการผลิ ต บางส่ วน โดยมี การประมาณผลเสี ยหายตามราคาบัญชี ที่ จากงานตรวจสอบเฉพาะที่ ผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ย่อยที่เกี่ ยวข้องได้ เกิ ดขึ้ นจานวน 90,166 ล้านรู เปี ย (ประมาณ 240 ล้านบาท) ซึ่ งได้รับ รู้ ตรวจสอบและจากงานที่ทา ข้าพเจ้าได้ทาในการประเมินผลกระทบ แล้วในงบก าไรขาดทุ น เบ็ดเสร็ จ ในปี พ.ศ. 2559โรงงานดังกล่ าวมี จากอัคคีภยั ที่โรงงานแห่ งหนึ่ งในประเทศอินโดนีเซี ยรวมไปถึง ปริ มาณการผลิ ตยางแท่งประมาณ 2,000 ถึ ง 4,000 ตันต่อเดื อน หรื อ สอบถามผู้บ ริ ห ารในสถานะปั จ จุ บ ัน ของผลขาดทุ น ที่ คิดเป็ นสัดส่วนน้อยกว่าร้อยละ 5 ของปริ มาณการผลิตของกลุ่มกิจการ เกิ ดขึ้ นและถู ก รั บ รู้ ความคื บ หน้ า ของการเรี ยกร้ อ ง ค่าเสี ยหายคืนจากบริ ษทั ประกันภัย ข้าพเจ้าตรวจสอบกับ กลุ่ ม กิ จการมี ก ารท าประกัน ภัยคุ ้ม ครองส าหรั บ ความเสี ยหายจาก เอกสารหลัก ฐานประกอบที่ เกี่ ยวข้องและการวิเคราะห์ อัคคีภยั ที่เกิดแก่สินทรัพย์ถาวรทั้งหมด รวมถึงสิ นค้าคงคลัง ตลอดจน ของผูบ้ ริ หาร ความเสี ยหายจากธุ รกิ จหยุดชะงัก โดยยังอยู่ในระหว่างการเจรจากับ สอบถามผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ย่อยที่ เกี่ ยวข้องถึงวิธีการ บริ ษทั ประกันภัยในการเรี ยกร้องค่าเสี ยหายที่เกิดขึ้น ตรวจสอบที่ ท าและผลสรุ ป ในการรั บ รู้ ผ ลขาดทุ น จาก อัค คี ภยั กับ และสอบทานรายงานระหว่างส านัก งานเพื่ อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผูบ้ ริ ห ารได้ทาการตั้งค่าเผื่อสาหรั บ สนับสนุนงานการตรวจสอบกับกลุ่มกิจการของข้าพเจ้า สิ นค้าเสี ยหายจากอัคคี ภ ัยจ านวน 15,522 ล้านรู เปี ย (ประมาณ 42 ล้าน ประเมิ น ถึ งความเหมาะสมของเวลาและการรับ รู้ รายได้ บาท) และตัดยอดสิ นค้าคงเหลื อ จานวน 50,631 ล้านรู เปี ย (ประมาณ จากการค่าเสี ยหายที่ ได้รับคืนจากบริ ษทั ประกันภัยโดยที่ 135 ล้ า นบาท) และสิ นทรั พ ย์ถ าวร (ส่ วนใหญ่ เ ป็ นอาคารและ กลุ่ม กิ จการไม่ได้รับ รู ้ รายได้จากการเรี ยกร้ องค่ าเสี ยหาย เครื่ อ งจัก ร) จานวน 24,013 ล้านรู เปี ย (ประมาณ 64 ล้านบาท) ซึ่ ง ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2559 เนื่ อ งจากผู ้ป ระเมิ น ค่ า เสี ยหายทั้งหมด และรับรู้ผลขาดทุนในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ความเสี ยหายยังปฏิ บ ตั ิ งานอยู่แ ละยังมี ค วามไม่ แ น่ น อน ในยอดค่าเสี ยหายที่จะทาการขอคืน ข้าพเจ้าให้ความสาคัญกับประเด็นในเรื่ องนี้ เนื่ องจากเป็ นเรื่ องที่ตอ้ ง ประเมินร่ วมกับผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ย่อยที่ เกี่ ยวข้องถึ ง ใช้ประมาณการสาหรับค่าความเสี ยหายและการเรี ยกร้องเงินคืนจาก ผลกระทบอื่ น ที่ อาจเกิ ด ขึ้ น รวมไปถึ งผลที่ อาจมี ต่อการ การประกัน ซึ่ งต้องอาศัยการใช้ดุล ยพิ นิ จและขนาดและมูล ค่ าของ ลดลงของมูลค่าเงินลงทุนใน PTS ความเสี ยหายที่เกิดขึ้นตลอดจนความไม่แน่นอนในช่วงระยะเวลาและ จานวนที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตของเงินจากการรับประกันคืนจาก ข้าพเจ้ามีความเห็ นว่าสิ นทรัพย์ที่มีการตัดออกจากบัญชี และขาดทุนที่ บริ ษทั ประกันภัย รับรู้ จากอัค คี ภยั และการเปิ ดเผยข้อมูล ที่ เกี่ ยวข้องมี ค วามเหมาะสม นอกจากนี้ ขา้ พเจ้าไม่พบประเด็นในเรื่ องของการด้อยค่าของเงินลงทุน ใน PTS
121 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ต่อ)
เรื่ องสำคัญในกำรตรวจสอบ
วิธีกำรตรวจสอบ
การรั บรู้ และการเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับการอ้ างสิทธิทางกฎหมายและ ฟ้องร้ องเกีย่ วกับข้ อพิพาททางการค้าเกีย่ วกับสัญญาร่ วมค้า อ้างถึ งหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 42 และ 43.1 ของงบการเงิน ข้าพเจ้าได้ส อบถามและประเมิ น เกี่ ยวกับ ลัก ษณะและสถานะของ รวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการสาหรับการเปิ ดเผยข้อเท็จจริ ง ดุ ลย ข้อเรี ยกร้องและคดีความล่าสุดของกลุ่มกิจการ พินิจและประมาณการที่เกี่ยวข้อง งานตรวจสอบเฉพาะเรื่ องที่ ขา้ พเจ้าได้ทาในการประเมินถึ งสถานะ บริ ษทั และบริ ษทั รับเบอร์ แลนด์ โปรดักส์ จากัด (“รับเบอร์ แลนด์”) ของข้อเรี ยกร้องและคดีความรวมไปถึง: ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อย และผูถ้ ื อหุ้นรายอื่นของบริ ษทั สยามเซมเพอร์ เมด อ่านรายงานการประชุ มของคณะกรรมการและกรรมการ จากัด (“สยามเซมเพอร์ เมด”) ซึ่ งเป็ นกิ จการร่ วมค้า ก าลังอยู่ภายใต้ ตรวจสอบ คดีความฟ้องร้องโดยกลุ่มกิจการเซมเพอร์ริท )“เซมเพอร์ริท”) ซึ่ งเป็ น สอบถามทั้งที่ ป รึ กษาผูเ้ ชี ยวชาญทางกฎหมายทั้งในและ กิจการต่างประเทศที่มาร่ วมลงทุนกับบริ ษทั ในกิ จการร่ วมค้าดังกล่าว นอกกิ จการที่ เกี่ ยวข้องถึ งสถานะปั จจุบ นั ระยะเวลาและ สาหรับการกระทาผิดข้อบังคับตามสัญญาการจัดตั้งกิจการร่ วมค้าและ ความเป็ นไปได้ของผลลัพธ์ของข้อเรี ยกร้องและคดีความ ข้อ ตกลงอื่ น ๆ ในสยามเซมเพอร์ เ มด โดยที ส ยามเซมเพอร์ เมด ดังกล่าว เป็ นกิจการร่ วมค้าเพื่อประกอบธุรกิจผลิตถุงมือยาง ขอความยืนยันของรายละเอียดข้อเท็จจริ งและความเห็ น เป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากที่ปรึ กษาทางกฎหมาย การอ้างสิ ท ธิ ทางกฎหมายและฟ้ อ งร้ อ งเกี่ ยวกับ คดี ค วามอยู่ภ ายใต้ ใช้ผเู้ ชี ยวชาญทางกฎหมายของข้าพเจ้าในการประเมินสถานะ กระบวนการอนุ ญ าโตตุ ล าการและศาลได้ถู ก เปิ ดเผยอยู่ใ นเรื่ อ งที่ ระยะเวลาและความเป็ นไปได้ของผลลัพธ์ของข้อเรี ยกร้อง เกี่ ยวข้องกับหนี้ สินที่ อาจจะเกิดขึ้ นในหมายเหตุประกอบงบการเงิ น และคดีความดังกล่าว ในงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษัท โดยที่ ผู้บ ริ หาร พิจารณาความเหมาะสมของการเปิ ดเผยข้อมูลและการตั้ง มีความเชื่ อว่า บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยที่ เกี่ ยวข้องไม่ได้กระทาการใด ๆ ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายและสารองที่เกี่ยวข้อง ที่ เป็ นการผิ ดเงื่ อนไขภายใต้สัญ ญาดังกล่ าวในการลงทุ น ในกิ จการ ร่ วมค้านั้น กลุ่ ม กิ จการได้มี ก ารประเมิ น ถึ งสถานการณ์ ล่ าสุ ด และ นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น ข้าพเจ้าให้ดูขอ้ มูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับความคืบ ความเป็ นไปได้ในทางกฎหมายโดยการใช้ผูเ้ ชี ยวชาญทางกฎหมาย หน้าที่มีสาระสาคัญล่าสุ ดของข้อเรี ยกร้องและคดีความที่เกี่ยวข้องใน ทั้ง ภายในและภายนอกขององค์ ก รอยู่ เ ป็ นประจ า นอกจากนั้ น หมายเหตุ ข ้อ 43.1 เหตุ ก ารณ์ ภ ายหลังวัน ที่ ใ นงบการเงิ น -การแยก กลุ่ มกิ จการได้ประมาณการและบันทึ ก ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายที่ เกี่ ยวข้อง บริ ษ ัท ร่ วมและกิ จการร่ วมค้า (Demerger) กับ เซมเพอริ ท โดยสรุ ป ณ วันสิ้ นงวดรายงานทางการเงิน ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องได้มีการตกลงกันในหลักการในเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ข้าพเจ้าพิจารณาว่าเรื่ องการอ้างสิ ทธิ และฟ้ องร้ องดังกล่ าวมี ความสาคัญ ทั้งนี้ เนื่ อ งจากขนาดของมู ล ค่ าฟ้ อ งร้ อ ง ความยุ่งยากสลับ ซับ ซ้ อ น ของคดี ค วามที่ ฟ้ องร้ อ งกัน ตลอดจนความไม่แ น่ น อนของผลลัพ ธ์ เมื่ อ คดี ค วามเสร็ จ สิ้ น ลง นอกจากนี้ เรื่ อ งดัง กล่ า วนี้ จะเป็ นเรื่ อ งที่ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยให้ความสนใจ
เพื่ อ ที่ จ ะท าสั ญ ญาร่ วมกั น ซึ่ งรวมไปถึ ง การซื้ อและขายหุ ้ น ใน สยามเซมเพอร์ เมดและกิ จ การที่ เกี่ ย วข้อ ง โดยที่ เซมเพอร์ ริท และ คู่กรณี ที่ เกี่ ยวข้องตกลงที่ จะยกเลิ กข้อโต้แย้งและข้อเรี ยกร้ องที่ มีอยู่ ทั้งในกระบวนการอนุญาโตตุลาการและศาลที่เกี่ ยวข้องโดยขึ้นอยูก่ บั เงื อนไขที่ ตอ้ งกระทาบางประการที่ ทุกฝ่ ายจะต้องปฏิ บตั ิ ตามในช่ วง 2 - 3 เดือนต่อไปนี้ ข้าพเจ้า มี ค วามเห็ น จากการเปิ ดเผยข้อ มู ล และการตั้ง ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เกี่ ย วข้ อ งรวมถึ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยทางกฎหมายว่ า มี ค วามเพี ย งพอและ เหมาะสมแล้ว
122 รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ต่อ) ข้ อมูลอื่น กรรมการเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ข้อมูลอื่นประกอบด้วย ข้อมูลซึ่ งรวมอยู่ในรายงานประจาปี แต่ไม่รวมถึ งงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการ และรายงานของผูส้ อบบัญชีที่อยูใ่ นรายงานนั้น ข้าพเจ้าคาดว่าข้าพเจ้าจะได้รับรายงานประจาปี ภายหลังวันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชี น้ ี ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่น และข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่ อมัน่ ต่อข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ ยวเนื่ องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่นมีความ ขัดแย้งที่มีสาระสาคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หรื อกับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรื อปรากฏว่าข้อมูลอื่น มีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจาปี หากข้าพเจ้าสรุ ปได้วา่ มีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ ข้าพเจ้าต้องสื่ อสารเรื่ องดังกล่าว กับคณะกรรมการตรวจสอบ
ควำมรับผิดชอบของกรรมกำรต่ องบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร กรรมการมีห น้าที่รับผิดชอบในการจัดทาและนาเสนองบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเหล่ านี้ โดยถู กต้องตามที่ ควรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่กรรมการพิจารณาว่าจาเป็ น เพื่อให้สามารถจัดทางบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ในการจัดทางบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการ กรรมการรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่ มกิ จการและบริ ษทั ในการ ดาเนิ นงานต่อเนื่ อง เปิ ดเผยเรื่ องที่เกี่ยวกับการดาเนิ นงานต่อเนื่ อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชี สาหรับการดาเนิ นงานต่อเนื่ อง เว้นแต่กรรมการมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มกิจการและบริ ษทั หรื อหยุดดาเนินงาน หรื อไม่สามารถดาเนิ นงานต่อเนื่ องต่อไปได้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ช่วยกรรมการในการสอดส่ องดูแลกระบวนการในการจัดทารายงานทางการเงินของกลุ่มกิจการและบริ ษทั
ควำมรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อกำรตรวจสอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการโดยรวมปราศจาก การแสดงข้อมูล ที่ ข ดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ หรื อไม่ ไม่ ว่าจะเกิ ดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผูส้ อบบัญ ชี ซึ่ งรวมความเห็ นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลคื อความเชื่ อมัน่ ในระดับ สู ง แต่ไม่ได้เป็ นการรั บประกันว่าการปฏิ บ ตั ิ งาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี จะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญที่มีอยูไ่ ด้เสมอไป ข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ ง อาจเกิ ดจากการทุ จริ ตหรื อข้อผิดพลาด และถื อว่ามีส าระส าคัญเมื่อคาดการณ์ อย่างสมเหตุส มผลได้ว่ารายการที่ ขดั ต่อข้อเท็จจริ งแต่ ละรายการ หรื อทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสิ นใจทางเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุลยพินิจเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชาชี พและการสังเกต และสงสัยเยี่ยงผูป้ ระกอบ วิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้ารวมถึง
123 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ต่อ)
ระบุและประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการ ไม่ว่าจะ เกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิ บตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ ยงเหล่านั้น และได้หลักฐาน การสอบบัญชี ที่ เพี ยงพอและเหมาะสมเพื่ อเป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็ น ของข้าพเจ้า ความเสี่ ยงที่ ไม่ พบข้อมูล ที่ ข ดั ต่ อข้อเท็จจริ ง อันเป็ นสาระสาคัญซึ่ งเป็ นผลมาจากการทุจริ ตจะสู งกว่าความเสี่ ยงที่ เกิ ดจากข้อผิดพลาด เนื่ องจากการทุจริ ตอาจเกี่ยวกับการสมรู ้ ร่วมคิ ด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริ งหรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทาความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่ เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่ เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิ ทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มกิจการและบริ ษทั ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชี ที่ กรรมการใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการเปิ ดเผยข้อมูลที่ เกี่ยวข้องซึ่งจัดทาขึ้นโดยกรรมการ สรุ ปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชี สาหรับการดาเนิ นงานต่อเนื่ องของกรรมการและจากหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับ สรุ ป ว่ ามี ค วามไม่ แ น่ น อนที่ มี ส าระส าคัญ ที่ เกี่ ยวกับ เหตุ ก ารณ์ ห รื อสถานการณ์ ที่ อ าจเป็ นเหตุ ใ ห้ เกิ ด ข้อ สงสั ยอย่างมี นัย ส าคัญ ต่ อ ความสามารถของกลุ่ ม กิ จการและบริ ษทั ในการดาเนิ น งานต่ อเนื่ องหรื อไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ข ้อสรุ ปว่ามี ค วามไม่ แน่ นอนที่ มีส าระสาคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่ าวไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี ของข้าพเจ้าถึ งการเปิ ดเผยที่เกี่ยวข้องในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการ หรื อ ถ้าการเปิ ดเผยดังกล่ าวไม่เพียงพอ ความเห็ นของข้าพเจ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุ ปของข้าพเจ้าขึ้นอยูก่ บั หลักฐานการสอบบัญชี ที่ได้รับ จนถึ งวันที่ ในรายงานของผูส้ อบบัญชี ของข้าพเจ้า อย่างไรก็ ตาม เหตุการณ์ หรื อสถานการณ์ ในอนาคตอาจเป็ นเหตุใ ห้ ก ลุ่ ม กิ จการและ บริ ษทั ต้องหยุดการดาเนิ นงานต่อเนื่ อง ประเมินการนาเสนอ โครงสร้ างและเนื้ อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการโดยรวม รวมถึ งการเปิ ดเผยว่างบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการ และเหตุการณ์ในรู ปแบบที่ทาให้มีการนาเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควร ได้รับหลักฐานการสอบบัญชี ที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ ยวกับ ข้อมูลทางการเงิ นของกิ จการภายในกลุ่ มหรื อกิ จกรรมทางธุ รกิ จภายใน กลุ่มกิจการเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการกาหนดแนวทาง การควบคุมดูแลและการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ กลุ่มกิจการ ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบแต่เพียงผูเ้ ดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า
ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ซึ่ งรวมถึงประเด็นที่มีนยั สาคัญ ที่พบจากการตรวจสอบและข้อบกพร่ องที่มีนยั สาคัญในระบบการควบคุมภายใน ถ้าหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คารับรองแก่คณะกรรมการตรวจสอบว่า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็ นอิสระและได้สื่อสารกับ คณะกรรมการตรวจสอบเกี่ ยวกับความสัมพันธ์ท้ งั หมด ตลอดจนเรื่ องอื่ นซึ่ งข้าพเจ้าเชื่ อว่ามี เหตุผลที่ บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่ อ ความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ขา้ พเจ้าใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็ นอิสระ
124 รายงานประจำ�ปี 2559
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ต่อ)
จากเรื่ องที่สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่ องต่าง ๆ ที่ มีนัยสาคัญที่ สุดในการตรวจสอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการในงวดปัจจุบนั และกาหนดเป็ นเรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิ บายเรื่ องเหล่านี้ ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมาย หรื อข้อบังคับไม่ให้เปิ ดเผยต่อสาธารณะเกี่ ยวกับเรื่ องดังกล่าว หรื อในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิ ดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่ อสารเรื่ องดังกล่าว ในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทาดังกล่ าวสามารถคาดการณ์ ได้อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อส่ วนได้เสี ย สาธารณะจากการสื่ อสารดังกล่าว
บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จากัด
ไพบูล ตันกูล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4298 กรุ งเทพมหานคร 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
125 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
งบแสดงฐานะการเงิน
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ นวาคม บริษวัทั นทีศรี่ 31 ตรังธัแอโกรอิ นดัพ.ศ. สทรี จ2559 ำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐำนะกำรเงิน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
หมำยเหตุ
สินทรัพย์
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ตราสารอนุพนั ธ์ทางการเงิน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ ลูกหนี้นายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า สิ นค้าคงเหลือ - สุทธิ เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อยที่ถึงกาหนดชาระในหนึ่งปี สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น
7 8 9
1,674,618,807 164,979,930 8,093,256,160 633,921,366 20,931,003,297 314,101,947
2,197,241,259 336,737,313 3,854,229,907 702,086,338 13,959,751,197 480,588,349
341,997,422 20,160,205 3,526,070,485 22,980,570 10,860,738,679 534,882,000 112,720,704
302,242,191 265,028,250 2,360,311,001 87,465,150 6,335,142,961 362,251,765 86,315,473
31,811,881,507
21,530,634,363
15,419,550,065
9,798,756,791
12,320,480 1,489,919,788 3,699,158,251 59,129,766 15,765,513,625 1,573,403,867 480,804,744 151,931,585 365,540,461 492,342,586 56,608,008
33,463,842 1,357,762,042 3,378,970,225 50,626,129 15,185,490,205 1,221,240,488 330,312,214 154,510,994 395,745,880 203,437,743 36,433,473
1,539,321,476 11,246,845,292 619,177,500 197,716,526 58,013,714 6,804,703,563 2,550,659 469,980,922 27,769,750 343,758,512 139,499,375 17,761,640
1,263,353,030 13,823,734 10,701,420,514 649,177,500 83,099,800 49,718,210 6,224,797,090 2,833,994 314,686,383 27,769,750 312,271,396 13,856,842
รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
24,146,673,161
22,347,993,235
21,467,098,929
19,656,808,243
รวมสิ นทรัพย์
55,958,554,668
43,878,627,598
36,886,648,994
29,455,565,034
10 36.4 11
รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อย เงินฝากประจาที่ติดภาระค้ าประกัน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในกิจการร่ วมค้า เงินลงทุนระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สวนยางพาราและสวนปาล์ม - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
36.4 12 13.1 13.2 13.3 14 15 16 17 18 19 20
กรรมการ _____________________________________
กรรมการ _____________________________________
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ 7
126 รายงานประจำ�ปี 2559
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษวัทั นทีศรี่ 31 ตรังธัแอโกรอิ นดัพ.ศ. สทรี จ2559 ำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย ณ นวาคม งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
หนีส้ ินและส่ วนของเจ้ ำของ
หมำยเหตุ
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
หนีส้ ินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้ อื่น เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี หุ ้นกูท้ ี่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี หนี้ สินตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ตราสารอนุพนั ธ์ทางการเงิน ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้ สินหมุนเวียนอื่น
21 22
3,167,835,158 23,433,814,874
2,687,393,890 13,446,230,471
1,740,184,886 14,338,230,000
1,408,163,931 7,733,771,000
22.1 22.2
5,397,791,500 -
451,404,000 850,000,000
4,276,387,500 -
200,000,000 850,000,000
22.4 8
8,333,682 654,919,773 113,819,683 59,553,051
25,044,515 271,563,002 63,896,095 40,020,840
2,466,055 460,845,943 27,472,890
3,865,658 196,211,782 19,693,269
32,836,067,721
17,835,552,813
20,845,587,274
10,411,705,640
22.1 22.2 22.4 19
654,000 2,865,000,000 5,127,618 119,339,871
3,742,215,000 600,000,000 10,904,253 151,818,247
2,865,000,000 4,424,685 -
3,740,157,000 600,000,000 4,280,567 33,180,843
23
185,232,931 35,214,923
161,703,570 42,524,980
83,946,773 -
73,882,790 -
3,210,569,343
4,709,166,050
2,953,371,458
4,451,501,200
36,046,637,064
22,544,718,863
23,798,958,732
14,863,206,840
รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ ้นกู้ หนี้ สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน หนี้ สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ พนักงานเมื่อเกษียณอายุ หนี้ สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
8
127 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริ ตรังธัแอโกรอิ นดัพ.ศ. สทรี จ2559 ำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย ณษวัทั นศรี ที่ 31 นวาคม งบแสดงฐำนะกำรเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
หนีส้ ินและส่ วนของเจ้ ำของ (ต่อ)
หมำยเหตุ
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
ส่ วนของเจ้ ำของ ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ จานวน 1,280,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2558 : 1,280,000,000 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท)
24
1,280,000,000
1,280,000,000
1,280,000,000
1,280,000,000
24
1,280,000,000 8,550,989,821
1,280,000,000 8,550,989,821
1,280,000,000 8,550,989,821
1,280,000,000 8,550,989,821
25
(173,134,488)
(173,134,488)
-
-
25
1,296,859,775
1,427,799,885
552,826,994
654,327,347
25 25
12,755,614 (284,004,450)
6,832,287 (268,546,606)
12,234,045 -
6,479,970 -
26
128,000,000 9,036,069,449
128,000,000 10,287,731,589
128,000,000 2,563,639,402
128,000,000 3,972,561,056
รวมส่ วนของผู้เป็ นเจ้ ำของของบริษทั ใหญ่ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
19,847,535,721 64,381,883
21,239,672,488 94,236,247
13,087,690,262 -
14,592,358,194 -
รวมส่ วนของเจ้ ำของ
19,911,917,604
21,333,908,735
13,087,690,262
14,592,358,194
รวมหนีส้ ินและส่ วนของเจ้ ำของ
55,958,554,668
43,878,627,598
36,886,648,994
29,455,565,034
ทุนที่ออกและชาระแล้ว หุ้นสามัญ จานวน 1,280,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2558 : 1,280,000,000 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ส่ วนเกินมูลค่าหุ้น ส่ วนต่าจากการซื้อเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเพิม่ จากส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม ส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากค่าเสื่ อมราคาสะสม กาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย ผลต่างสะสมจากการแปลงค่า กาไรสะสม จัดสรรแล้ว - สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
9
128 รายงานประจำ�ปี 2559
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำบริ�ษหรั บปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
หมำยเหตุ รายได้จากการขายสิ นค้าและการให้บริ การ ต้นทุนขายและการให้บริ การ
27
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
77,265,520,124 (71,852,023,677)
61,291,782,057 (57,770,589,129)
38,335,071,028 (35,676,914,450)
29,014,781,025 (27,175,826,041)
5,413,496,447
3,521,192,928
2,658,156,578
1,838,954,984
197,507,663 (3,173,723,974) (2,262,237,599) 6,395,407 (985,146,545)
186,321,362 (2,125,205,273) (1,588,191,090) 214,180,676 1,095,298,392
463,115,714 (2,379,986,428) (915,859,293) 76,688,823 (734,519,425)
462,236,862 (1,778,581,066) (816,111,907) 91,219,722 821,750,803
(803,708,601)
1,303,596,995
(832,404,031)
619,469,398
402,762,216
648,823,974
-
-
กำไร(ขำดทุน)ก่ อนต้ นทุนทำงกำรเงินสุ ทธิและภำษีเงินได้
(400,946,385)
1,952,420,969
(832,404,031)
619,469,398
รายได้ทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน
35,309,641 (707,334,973)
48,175,799 (857,323,014)
75,390,451 (417,347,562)
77,977,067 (360,937,361)
กำไรขั้นต้ น รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน - สุ ทธิ กาไร(ขาดทุน)อื่น - สุ ทธิ
30
31
กำไร(ขำดทุน)จำกกำรดำเนินงำน ส่ วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกิจการร่ วมค้า
13.2, 13.3
ต้นทุนทางการเงิน - สุ ทธิ
32
(672,025,332)
(809,147,215)
(341,957,111)
(282,960,294)
กำไร(ขำดทุน)ก่ อนภำษีเงินได้ ภาษีเงินได้
33
(1,072,971,717) 283,242,022
1,143,273,754 (31,517,851)
(1,174,361,142) 262,459,952
336,509,104 1,237,358
(789,729,695)
1,111,755,903
(911,901,190)
337,746,462
(112,532,597)
-
(87,977,136)
-
-
2,276,957
-
2,276,957
(963,576)
(25,589,087)
573,990
(18,306,794)
(113,496,173)
(23,312,130)
(87,403,146)
(16,029,837)
รายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ เข้ าไปไว้ ใน กาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน ในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย - สุ ทธิ จากภาษี ผลต่างจากการแปลงค่า
6,802,909 (13,567,291)
(12,031,888) 174,540,423
6,636,403 -
(11,937,846) -
รวมรายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่เข้าไป ไว้ในกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง
(6,764,382)
162,508,535
6,636,403
(11,937,846)
กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี - สุ ทธิ จากภาษี
(120,260,555)
139,196,405
(80,766,743)
(27,967,683)
กำไร(ขำดทุนเ)บ็ดเสร็จรวมสำหรับปี
(909,990,250)
1,250,952,308
(992,667,933)
309,778,779
กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไม่ จัดประเภทรายการใหม่ เข้ าไปไว้ ใน กาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง การเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีที่ใช้รับรู ้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ จากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจากงาน - สุ ทธิ จากภาษี รวมรายการที่จะไม่จดั ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ใน กาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้
10
129 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�ษหรั บปีตรัสงิ้นแอโกรอิ สุด วันนดัทีส่ทรี31จำกัธันด วาคม บริ ทั ศรี (มหำชน)พ.ศ. และบริ2559 ษทั ย่อย งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
หมำยเหตุ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
กำรแบ่ งปัน(ขำดทุน)กำไรสำหรับปี ส่ วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
(757,985,659) (31,744,036)
1,118,034,881 (6,278,978)
(911,901,190) -
337,746,462 -
กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี
(789,729,695)
1,111,755,903
(911,901,190)
337,746,462
กำรแบ่ งปันกำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี ส่ วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
(880,136,766) (29,853,484)
1,260,003,066 (9,050,758)
(992,667,933) -
309,778,779 -
กำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี
(909,990,250)
1,250,952,308
(992,667,933)
309,778,779
(0.59)
0.87
(0.71)
0.26
กำไร(ขำดทุน)ต่ อหุ้ น กาไร(ขาดทุน)ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน
34
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ 11
1,280,000,000
-
-
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
-
-
-
8,550,989,821
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลำยปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
รวมรำยกำรกับส่ วนของเจ้ ำของ
รำยกำรกับส่ วนของเจ้ ำของ การจ่ายเงินปันผล การจ่ายเงินปันผลของบริ ษทั ย่อยให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม เงินสดจ่ายซื้อส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุมในบริ ษทั ย่อย
-
-
-
รวมกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ
-
-
-
-
-
8,550,989,821
(173,134,488)
-
-
-
-
-
-
-
-
(173,134,488)
1,296,859,775
-
-
(130,940,110)
(130,940,110)
-
-
(113,317,008) (16,916,840) (706,262)
-
1,427,799,885
12,755,614
-
-
5,923,327
5,923,327
-
6,802,909
(879,582) -
-
6,832,287
กำไรที่ยงั ไม่ เกิดขึน้ จำกเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ เผื่อขำย บำท
งบกำรเงินรวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ ำของของบริษทั ใหญ่ องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่ วนต่ำจำกกำรซื้อ ส่ วนเกินทุน เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย จำกกำรประเมินรำคำ ส่ วนเกิน เพิม่ จำกส่ วนได้ เสี ย สิ นทรัพย์ - สุ ทธิจำก มูลค่ ำหุ้น ที่ไม่ มีอำนำจควบคุม ค่ ำเสื่ อมรำคำสะสม บำท บำท บำท
-
-
1,280,000,000
-
35
หมำยเหตุ
ทุนที่ออก และชำระแล้ ว บำท
รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น - สุทธิ จากภาษี
กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การเปลี่ยนแปลงประมาณการของอัตราภาษีที่ใช้รับรู ้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่าเสื่ อมราคาส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี การขายและตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ - สุทธิ จากภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุ ทธิจากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน - สุ ทธิจากภาษี ผลต่างจากการแปลงค่า
ขำดทุนสำหรับปี
ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559
งบแสดงกำรเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ ำของ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ทั ศรีบตปี รังแอโกรอิ ด (มหำชน) และบริษพ.ศ. ทั ย่อย 2559 สำบริ�ษหรั สิ้นสุดนดัวัสทรีนทีจำกั่ 31 ธันวาคม
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ
(284,004,450)
-
-
(15,457,844)
(15,457,844)
(15,457,844)
-
-
-
(268,546,606)
ผลต่ ำง สะสมจำก กำรแปลงค่ำ บำท
128,000,000
-
-
-
-
-
-
-
-
128,000,000
9,036,069,449
(512,000,000)
(512,000,000) -
(739,662,140)
18,323,519
(963,576) -
-
1,663,993 16,916,840 706,262
(757,985,659)
10,287,731,589
19,847,535,721
(512,000,000)
(512,000,000) -
(880,136,767)
(122,151,108)
(963,576) (15,457,844)
6,802,909
(112,532,597) -
(757,985,659)
21,239,672,488
รวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ ำของ ยังไม่ ได้ จัดสรร ของบริษทั ใหญ่ บำท บำท
กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตำม กฎหมำย บำท
64,381,883
(880)
(487) (393)
(29,853,484)
1,890,552
1,890,552
-
-
(31,744,036)
94,236,247
ส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มี อำนำจควบคุม บำท
12
19,911,917,604
(512,000,880)
(512,000,000) (487) (393)
(909,990,251)
(120,260,556)
(963,576) (13,567,292)
6,802,909
(112,532,597) -
(789,729,695)
21,333,908,735
รวม ส่ วนของเจ้ ำของ บำท
130 รายงานประจำ�ปี 2559
-
-
-
1,280,000,000 8,550,989,821
-
-
หมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลำยปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558
รวมรำยกำรกับส่ วนของเจ้ ำของ
รำยกำรกับส่ วนของเจ้ ำของ การจ่ายเงินปั นผล การจ่ายเงินปั นผลของบริ ษทั ย่อยให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม รับเงินเพิ่มทุนจากส่วนของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม
-
-
-
รวมกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ
-
-
-
-
-
-
-
(173,134,488)
-
-
-
-
-
-
-
-
(173,134,488)
ส่ วนต่ำจำกกำรซื้อ เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย ส่ วนเกิน เพิม่ จำกส่ วนได้ เสี ย มูลค่ ำหุ้น ที่ไม่ มีอำนำจควบคุม บำท บำท
1,280,000,000 8,550,989,821
-
35
หมำยเหตุ
ทุนที่ออก และชำระแล้ ว บำท
รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น - สุ ทธิจากภาษี
กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี การขายสิ นทรัพย์ - สุทธิ จากภาษี ค่าเสื่ อมราคาส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ จากภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผือ่ ขาย - สุทธิ จากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน - สุทธิ จากภาษี ผลต่างจากการแปลงค่า
กำไรสำหรับปี
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
บริ ตรังแอโกรอิ สทรี จำและบริ �กัดษทั (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษษทั ัทศรีตศรี รังแอโกรอิ นดัสทรี จำกันดดั(มหำชน) ย่ อย สำงบแสดงกำรเปลี �หรับปีสิ้นย่ นแปลงส่ สุด วันวนของเจ้ ที่ 31ำของ ธัน(ต่วาคม พ.ศ. 2559 อ)
1,427,799,885
-
-
(42,743,894)
(42,743,894)
-
-
2,276,957 (25,432,581) (19,588,270)
-
1,470,543,779
ส่ วนเกินทุน จำกกำรประเมินรำคำ สิ นทรัพย์ - สุ ทธิจำก ค่ ำเสื่ อมรำคำสะสม บำท
6,832,287
-
-
(12,031,888)
(12,031,888)
-
(12,031,888)
-
-
18,864,175
กำไรที่ยัง ไม่ เกิดขึน้ จำกเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ เผื่อขำย บำท
งบกำรเงินรวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ ำของของบริษทั ใหญ่ องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (ต่อ)
(268,546,606)
-
-
177,312,203
177,312,203
177,312,203
-
-
-
(445,858,809)
ผลต่ ำง สะสมจำก กำรแปลงค่ ำ บำท
128,000,000
-
-
-
-
-
-
-
-
128,000,000
10,287,731,589
(512,000,000)
(512,000,000) -
1,137,466,645
19,431,764
(25,589,087) -
-
25,432,581 19,588,270
1,118,034,881
9,662,264,944
21,239,672,488
(512,000,000)
(512,000,000) -
1,260,003,066
141,968,185
(25,589,087) 177,312,203
(12,031,888)
2,276,957 -
1,118,034,881
20,491,669,422
94,236,247
3,088,137
(200) 3,088,337
(9,050,758)
(2,771,780)
(2,771,780)
-
-
(6,278,978)
100,198,868
รวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ ำของ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่ มี ยังไม่ ได้จัดสรร ของบริษทั ใหญ่ อำนำจควบคุม บำท บำท บำท
กำไรสะสม จัดสรรแล้ ว - สำรองตำม กฎหมำย บำท
13
21,333,908,735
(508,911,863)
(512,000,000) (200) 3,088,337
1,250,952,308
139,196,405
(25,589,087) 174,540,423
(12,031,888)
2,276,957 -
1,111,755,903
20,591,868,290
รวม ส่ วนของเจ้ ำของ บำท
131 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือปลำยปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 1,280,000,000
-
-
รำยกำรกับส่ วนของเจ้ ำของ การจ่ายเงินปันผล
รวมรำยกำรกับส่ วนของเจ้ ำของ
-
-
-
รวมกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ
-
-
8,550,989,821
-
-
-
-
-
-
8,550,989,821
ส่ วนเกิน มูลค่ำหุ้น บำท
-
-
1,280,000,000
-
35
หมำยเหตุ
ทุนที่ออก และชำระแล้ ว บำท
รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น - สุทธิจากภาษี
กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การเปลี่ยนแปลงประมาณการของอัตราภาษีที่ใช้รับรู้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่าเสื่ อมราคาส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี การขายและตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ - สุทธิจากภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุ ทธิจากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน - สุทธิจากภาษี
ขำดทุนสำหรับปี
ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559
บริษษทั ัทศรีศรีตรัตงรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ดัสจทรี �กัด (มหาชน) บริ นดัสนทรี ำกัดจำ(มหำชน) และบริษและบริ ทั ย่อย ษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุย่ดนแปลงส่ วันที่ 31วนของเจ้ ธันวาคม งบแสดงกำรเปลี ำของพ.ศ. (ต่ อ) 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (ต่อ)
552,826,994
-
-
(101,500,353)
(101,500,353)
-
-
(89,094,783) (11,759,977) (645,593)
-
654,327,347
12,234,045
-
-
5,754,075
5,754,075
-
6,636,403
(882,328) -
-
6,479,970
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่ วนเกินทุน กำไร จำกกำรประเมินรำคำ ที่ยงั ไม่ เกิดขึน้ สินทรัพย์ - สุ ทธิจำก จำกเงินลงทุนใน ค่ ำเสื่ อมรำคำสะสม หลักทรัพย์เผื่อขำย บำท บำท
128,000,000
-
-
-
-
-
-
-
-
128,000,000
2,563,639,402
(512,000,000)
(512,000,000)
(896,921,654)
14,979,536
573,990
-
1,999,976 11,759,977 645,593
(911,901,190)
3,972,561,056
กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำรองตำมกฎหมำย ยังไม่ ได้จัดสรร บำท บำท
14
13,087,690,262
(512,000,000)
(512,000,000)
(992,667,932)
(80,766,742)
573,990
6,636,403
(87,977,135) -
(911,901,190)
14,592,358,194
รวม ส่ วนของเจ้ ำของ บำท
132 รายงานประจำ�ปี 2559
1,280,000,000
หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนรวมและงบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการเป็ การเป็นนส่ส่ววนหนึ นหนึ่ ง่ งของงบการเงิ ของงบการเงินนนีนี้ ้ หมายเหตุ
ยอดคงเหลือปลำยปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558
-
-
รำยกำรกับส่ วนของเจ้ ำของ การจ่ายเงินปันผล
รวมรำยกำรกับส่ วนของเจ้ ำของ
-
-
-
รวมกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ
-
-
8,550,989,821
-
-
-
-
-
-
8,550,989,821
ส่ วนเกิน มูลค่ำหุ้น บำท
-
-
1,280,000,000
-
35
หมำยเหตุ
ทุนที่ออก และชำระแล้ ว บำท
รวมกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น - สุทธิจากภาษี
กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุทธิจากภาษี การขายสิ นทรัพย์ - สุทธิ จากภาษี ค่าเสื่ อมราคาส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุทธิจากภาษี การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิ จากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน - สุทธิจากภาษี
กำไรสำหรับปี
ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
บริษษทั ัท ศรี นดันสทรี และบริและบริ ษทั ย่อยษัทย่อย บริ ศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ดัสจทรีำกัดจำ�(มหำชน) กัด (มหาชน) ำของพ.ศ. (ต่ อ)2559 สำงบแสดงกำรเปลี �หรับปีสิ้นสุดย่ นแปลงส่ วันที่ 31วนของเจ้ ธันวาคม
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (ต่อ)
654,327,347
-
-
(36,915,126)
(36,915,126)
-
-
2,276,957 (25,432,582) (13,759,501)
-
691,242,473
6,479,970
-
-
(11,937,846)
(11,937,846)
-
(11,937,846)
-
-
18,417,816
128,000,000
-
-
-
-
-
-
-
-
128,000,000
3,972,561,056
(512,000,000)
(512,000,000)
358,631,751
20,885,289
(18,306,794)
-
25,432,582 13,759,501
337,746,462
4,125,929,305
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่ วนเกินทุน กำไร กำไรสะสม จำกกำรประเมินรำคำ ที่ยงั ไม่ เกิดขึน้ สินทรัพย์ - สุ ทธิจำก จำกเงินลงทุนใน จัดสรรแล้ว ค่ ำเสื่ อมรำคำสะสม หลักทรัพย์เผื่อขำย - สำรองตำมกฎหมำย ยังไม่ ได้จัดสรร บำท บำท บำท บำท
15
14,592,358,194
(512,000,000)
(512,000,000)
309,778,779
(27,967,683)
(18,306,794)
(11,937,846)
2,276,957 -
337,746,462
14,794,579,415
รวม ส่ วนของเจ้ ำของ บำท
133 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
134 รายงานประจำ�ปี 2559
งบกระแสเงินสด
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำบริ�ษหรั บปีตสรังิ้นแอโกรอิ สุด วันนดัทีส่ ทรี 31จธัำกันดวาคม พ.ศ. 2559 ัท ศรี (มหำชน) และบริ ษัทย่อย งบกระแสเงินสด สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
กระแสเงินสดจำกกิจกรรมดำเนินงำน กำไร(ขำดทุน)ก่อนภำษีเงินได้ รำยกำรปรับปรุ ง (กำไร)ขำดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรแปลงค่ำอัตรำแลกเปลี่ยน (กำไร)ขำดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจำกกำรประเมินมูลค่ำยุติธรรม ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน กำรกลับรำยกำรค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำลูกหนี้กำรค้ำและตัดจำหน่ำยหนี้สูญ (กำรกลับรำยกำร)ค่ำเผื่อสำหรับรำคำทุนของสิ นค้ำคงเหลือ ที่เกินกว่ำมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับ ค่ำเผื่อสิ นค้ำคงเหลือจำกอัคคีภยั ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ ค่ำเสื่ อมรำคำ ค่ำตัดจำหน่ำยสวนยำงพำรำและสวนปำล์ม ค่ำตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน กำรตัดจำหน่ำยภำษีเงินได้รอรับคืน ต้นทุนทำงกำรเงิน รำยได้เงินปั นผล ส่ วนแบ่งกำไรจำกเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (กำไร)ขำดทุนจำกกำรขำยและกำรตัดจำหน่ำยที่ดิน อำคำร และอุปกรณ์ สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ขำดทุนจำกกำรประเมินรำคำมูลค่ำยุติธรรมของ อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน กำรเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้สินดำเนิ นงำน สิ นทรัพย์ดำเนิ นงำน(เพิ่มขึ้น)ลดลง - ลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อื่น - ลูกหนี้นำยหน้ำซื้อขำยสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ - สิ นค้ำคงเหลือ - สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น - สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินดำเนิ นงำนเพิ่มขึ้น(ลดลง) - เจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อื่น - หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดใช้ ไปในกิจกรรมดำเนินงำน จ่ำยดอกเบี้ย รับคืนภำษีถูกหัก ณ ที่จ่ำย จ่ำยภำษีเงินได้ ผลประโยชน์พนักงำนที่จ่ำย
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
หมำยเหตุ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
(1,072,971,717)
1,143,273,754
(1,174,361,142)
336,509,104
11,892,763
165,826,333
75,038,818
(92,948,660)
555,114,154 -
(188,233,729) (5,476,184)
509,502,206 -
(190,905,407) -
(453,738,055) 41,593,901 24,465,947 1,158,988,391 690,687 35,546,291 131,984,203 707,334,973 (24,255,815) (402,762,216)
373,838,194 24,588,801 1,021,709,275 687,428 32,701,770 857,323,014 (36,755,100) (648,823,974)
(163,959,310) 12,052,621 554,238,796 283,335 29,456,934 33,576,786 417,347,562 (343,419,619) -
167,854,777 7,210,190 477,239,592 371,012 27,137,109 360,937,361 (386,749,553) -
31
62,118,581
(44,509,277)
922,716
(34,138,669)
31
1,887,415
29,193,380
-
-
(4,216,128,084) 68,164,972 (6,554,191,990) 35,506,345 (20,174,535)
839,626,435 (309,636,274) (4,308,561,608) (107,915,983) (2,167,784)
(1,142,861,316) 64,484,580 (4,361,636,408) (26,405,231) (3,904,798)
(62,482,010) (1,801,194) (1,759,644,580) (9,457,475) (1,138,042)
464,347,512 19,532,211
128,785,463 (4,327,746)
324,539,701 7,779,621
(83,378,671) (1,292,687)
(9,425,054,066) (716,256,809) 105,391,575 (176,373,069) (2,311,150)
(1,038,853,812) (855,321,753) (173,018,627) (7,233,370)
(5,187,324,148) (430,645,247) 5,147,789 (70,211,691) (1,271,150)
(1,246,677,803) (357,126,538) (62,103,977) (6,543,270)
(10,214,603,519)
(2,074,427,562)
(5,684,304,447)
(1,672,451,588)
41 23 15 16 17 32 30 13.2, 13.3
23
เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมดำเนินงำน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรเป็ นส่ วนหนึ่งของงบกำรเงินนี้
135 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
งบกระแสเงินสด (ต่อ)
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำบริ�ษหรั บปีตสรังิ้นแอโกรอิ สุด วันนดัทีส่ ทรี 31จธัำกันดวาคม พ.ศ. 2559 ัท ศรี (มหำชน) และบริ ษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
กระแสเงินสดจำกกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจำกกำรให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ำยจำกกำรให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน(เพิ่มขึ้น)ลดลง เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำยลดลง เงินปั นผลรับ เงินสดจ่ำยเพื่อลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจำกกำรลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ำยเพื่อลงทุนในกิจกำรร่ วมค้ำ เงินสดรับจำกกำรลดทุนของบริ ษทั ร่ วม เงินสดรับจำกกำรขำยที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดจ่ำยในอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน เงินสดจ่ำยเพื่อซื้อที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ สวนยำงพำรำและสวนปำล์มและสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
หมำยเหตุ 36.4 36.4
13.1 13.1 13.3 13.2
1,122,131 58,030 36,755,100 -
300,000,000 (823,600,000) 13,823,734 320,521,451 (2,559,480,393) 2,014,055,615 (114,616,726) 30,000,000
(540,000,000) (200,871) 57,771 386,749,553 (1,016,780,000) -
18
13,526,906 (214,987)
114,134,579 -
1,412,637 -
87,418,018 -
(2,294,480,551)
(2,616,502,311)
(1,297,611,406)
(1,230,586,425)
(2,343,284,350)
(2,464,432,471)
(2,115,495,088)
(2,313,341,954)
9,952,871,355 1,410,000,000 (205,211,000) 2,265,000,000 (850,000,000) (393) (25,394,058) (512,000,000) (487) -
4,005,405,294 1,230,157,000 (90,264,000) (31,903,876) (512,000,000) (200) 3,088,337
6,604,459,000 540,000,000 (203,807,000) 2,265,000,000 (850,000,000) (4,097,234) (512,000,000) -
3,472,287,000 980,157,000 (3,914,579) (512,000,000) -
12,035,265,417
4,604,482,555
7,839,554,766
3,936,529,421
(522,622,452) 2,197,241,259
65,622,522 2,131,618,737
39,755,231 302,242,191
(49,264,121) 351,506,312
7
1,674,618,807
2,197,241,259
341,997,422
302,242,191
22.5
(2,315,092,677) 2,906,590 17,705,536
(2,590,418,411) 4,496,003 (30,579,903)
(1,321,232,094) 2,841,749 20,778,939
(1,236,127,788) 4,496,003 1,045,360
(2,294,480,551)
(2,616,502,311)
(1,297,611,406)
(1,230,586,425)
14
22.1 22.1 22.2 22.2 22.4 35
เงินสดสุ ทธิได้ มำจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) - สุ ทธิ เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดต้นปี เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสดปลำยปี ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม เงินสดจ่ำยเพื่อซื้อที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน: ซื้อที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินเพิม่ ขึ้น เจ้ำหนี้จำกกำรซื้อสิ นทรัพย์เพิ่มขึ้น (ลดลง)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
21,143,362 1,357,646 (114,616,726) 30,000,000
เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงินเพิ่มขึ้น เงินสดรับจำกเงินกูย้ มื ระยะยำว ชำระคืนเงินกูย้ มื ระยะยำว เงินสดรับจำกหุน้ กู้ เงินสดจ่ำยเพื่อกำรชำระหุน้ กู้ เงินสดจ่ำยซื้อส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุมในบริ ษทั ย่อย ชำระคืนหนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน เงินปั นผลจ่ำย เงินปั นผลจ่ำยแก่ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม รับชำระค่ำหุน้ จำกส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บำท บำท
เงินสดจ่ ำยเพื่อซื้อทีด่ ิน อำคำรและอุปกรณ์ สวนยำงพำรำและ สวนปำล์ ม และสิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรเป็ นส่ วนหนึ่งของงบกำรเงินนี้
136 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 1
ข้ อมูลทั่วไป บริ ษ ัท ศรี ตรั งแอโกรอิ นดัสทรี จำกัด (มหำชน) (“บริ ษ ัท”) เป็ นบริ ษ ัทมหำชนจ ำกัด ซึ่ งจัดตั้งขึ้ นในประเทศไทย และเข้ำเป็ นสมำชิ กบริ ษ ัท จดทะเบี ยนในตลำดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิ งหำคม พ.ศ. 2534 นอกจำกนี้ เมื่ อวันที่ 31 มกรำคม พ.ศ. 2554 บริ ษทั ได้เสนอ ขำยหุ้นสำมัญเพิ่มเติมในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศสิ งคโปร์ เมื่ อ วัน ที่ 29 เมษำยน พ.ศ. 2557 บริ ษัท เปลี่ ย นแปลงสถำนะกำรจดทะเบี ย นหลัก ทรั พ ย์ข องบริ ษัท บนกระดำนหลัก (Main Board) ของตลำดหลักทรัพย์สิงคโปร์จำกตลำดหลัก (Primary Listing) เป็ นตลำดรอง (Secondary Listing) ที่อยูข่ องบริ ษทั ที่ได้จดทะเบียนไว้ดงั นี้ เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม อำเภอหำดใหญ่ จังหวัดสงขลำ ประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรรำยงำนข้อมูล จึงรวมเรี ยกบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยว่ำ “กลุ่มกิจกำร” บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย (รวมเรี ยกว่ำ “กลุ่มกิจกำร”) ดำเนินธุรกิ จผลิ ตและจำหน่ ำยผลิตภัณฑ์ที่เกี่ ยวข้องกับไม้ยำงพำรำ เช่ น ยำงแผ่นรมควัน น้ ำยำงข้น ยำงแท่ง ถุงมือ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ นอกจำกนี้ กลุ่มกิจกำรยังได้ดำเนิ นธุรกิจกำรให้บริ กำรทำงวิศวกรรม และขนส่ ง งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรนี้ ได้รับอนุมตั ิจำกคณะกรรมกำรบริ ษทั เมื่อวันที่ 28 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2560
2
เกณฑ์ กำรจัดทำงบกำรเงิน งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรได้จดั ทำขึ้นตำมหลักกำรบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปภำยใต้พระรำชบัญญัติกำรบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมำยถึง มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ที่ออกภำยใต้พระรำชบัญญัติวิชำชี พบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกำหนดของคณะกรรมกำรกำกับหลักทรั พย์และ ตลำดหลักทรัพย์วำ่ ด้วยกำรจัดทำและนำเสนอรำยงำนทำงกำรเงินภำยใต้พระรำชบัญญัติหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ จกำรได้จดั ทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์รำคำทุนเดิมในกำรวัดมูลค่ำขององค์ประกอบของงบกำรเงิน ยกเว้นเรื่ องที่ อธิบำยในนโยบำยกำรบัญชี ในลำดับต่อไป กำรจัดทำงบกำรเงินให้สอดคล้องกับหลักกำรบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย กำหนดให้ใช้ประมำณกำรทำงบัญชี ที่สำคัญและกำรใช้ ดุ ล ยพินิจของผูบ้ ริ ห ำรซึ่ งจัดท ำขึ้ น ตำมกระบวนกำรในกำรนำนโยบำยกำรบัญชี ข องกลุ่ ม กิ จกำรไปถื อปฏิ บตั ิแ ละต้องเปิ ดเผยเรื่ องกำรใช้ ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หำร หรื อควำมซับซ้อน หรื อ เกี่ ยวกับข้อสมมติฐำนและประมำณกำรที่ มีนัยสำคัญต่องบกำรเงินรวมในหมำยเหตุประกอบ งบกำรเงินข้อที่ 4 งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ จกำรฉบับภำษำอังกฤษจัดทำขึ้ นจำกงบกำรเงินตำมกฎหมำยที่ เป็ นภำษำไทย ในกรณี ที่มีเนื้ อควำมขัดแย้งกัน หรื อมีกำรตีควำมในสองภำษำแตกต่ำงกัน ให้ใช้งบกำรเงินตำมกฎหมำยฉบับภำษำไทยเป็ นหลัก
137 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 3
นโยบำยกำรบัญชี นโยบำยกำรบัญชี ที่สำคัญซึ่ งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้ 3.1
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ และมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ซึ่งเกีย่ วข้ องกับกลุ่มกิจกำร (ก) กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ที่เกี่ยวข้องและอำจส่ งผลกระทบอย่ำงมีสำระสำคัญต่อกลุ่มกิจกำร มีดงั ต่อไปนี้ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุ ง 2558)
เรื่ อง เกษตรกรรม
มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่ อง เกษตรกรรม ได้มีกำรกำหนดให้สินทรัพย์ชีวภำพ รวมถึ งผลผลิ ตทำงกำรเกษตร ณ จุดเก็บ เกี่ ยวจำกสิ นทรัพย์ชีวภำพของกิจกำรต้องวัดมูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรมหักต้นทุนในกำรขำย สภำวิชำชี พได้มีกำรออกแนวปฏิ บตั ิ ทำงกำรบัญชี สำหรับ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่ อง เกษตรกรรม โดยยกเว้นพืชเพื่อกำรให้ผลิตผล ออกจำกขอบเขตของ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 41 แนวปฏิบตั ิน้ ี กำหนดให้ พืชเพื่อกำรให้ผลิ ตผล จะต้องวัดมูลค่ำด้วย รำคำทุนหักค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หักค่ำเพื่อกำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) ตำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่ องที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ มำตรฐำนฉบับ นี้ ไม่มี ผลกระทบอย่ำงมี ส ำระส ำคัญ ต่ อกลุ่ ม กิ จกำรเพรำะจำนวนเงิ นที่ เกี่ ยวข้องมี ยอดที่ ไม่ มีส ำระส ำคัญต่ อ กลุ่มกิจกำรและสิ นทรัพย์ชีวภำพส่ วนใหญ่ของกิจกำรยังอยูใ่ นระยะเริ่ มต้น (ข) กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่ส่งผลกระทบอย่ำงไม่มีสำระสำคัญต่อกลุ่มกิจกำร มีดงั นี้ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2558)
เรื่ อง ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงำน เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เรื่ อง งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เรื่ อง กำรด้อยค่ำของสิ นทรัพย์ เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เรื่ อง อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน เรื่ อง กำรรวมธุ รกิจ เรื่ อง ส่ วนงำนดำเนิ นงำน เรื่ อง งบกำรเงินรวม เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสี ยในกิจกำรอื่น เรื่ อง กำรวัดมูลค่ำยุติธรรม
138 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) นโยบำยกำรบัญชี ที่สำคัญซึ่ งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) 3.1
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ และมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ซึ่งเกีย่ วข้ องกับกลุ่มกิจกำร (ต่อ) (ค) กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินและกำรตีควำมตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ที่เปลี่ยนแปลงอย่ำงไม่มีสำระสำคัญ และไม่ส่งผลกระทบต่อกลุ่มกิจกำร มีดงั นี้ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2558)
เรื่ อง กำรนำเสนองบกำรเงิน เรื่ อง สิ นค้ำคงเหลือ เรื่ อง งบกระแสเงินสด เรื่ อง นโยบำยกำรบัญชี กำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรทำงบัญชี และข้อผิดพลำด เรื่ อง เหตุกำรณ์ภำยหลังรอบระยะเวลำรำยงำน เรื่ อง สัญญำก่อสร้ำง เรื่ อง ภำษีเงินได้ เรื่ อง สัญญำเช่ำ เรื่ อง รำยได้ เรื่ อง กำรบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจำกรัฐบำลและกำรเปิ ดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับควำมช่วยเหลือจำกรัฐบำล เรื่ อง ผลกระทบจำกกำรเปลี่ยนแปลงของอัตรำแลกเปลี่ยน เงินตรำต่ำงประเทศ เรื่ อง ต้นทุนกำรกูย้ มื เรื่ อง กำรบัญชีและกำรรำยงำนโครงกำรผลประโยชน์ เมื่อออกจำกงำน เรื่ อง เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกำรร่ วมค้ำ เรื่ อง กำรรำยงำนทำงกำรเงินในสภำพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุ นแรง เรื่ อง กำไรต่อหุ ้น เรื่ อง งบกำรเงินระหว่ำงกำล เรื่ อง ประมำณกำรหนี้ สิน หนี้สินที่อำจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ ที่อำจเกิดขึ้น เรื่ อง กำรจ่ำยโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์
139 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) นโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญซึ่งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) 3.1
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ และมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุ ง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ซึ่งเกีย่ วข้ องกับกลุ่มกิจกำร (ต่อ) (ค) กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินและกำรตีควำมตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เปลี่ยนแปลงอย่ำงไม่มีสำระสำคัญ และไม่ส่งผลกระทบต่อกลุ่มกิจกำร มีดงั นี้ (ต่อ) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุ ง 2558) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2558)
เรื่ อง สัญญำประกัน เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขำยและกำรดำเนินงำน ที่ยกเลิก เรื่ อง กำรสำรวจและประเมินค่ำแหล่งทรัพยำกรแร่ เรื่ อง กำรร่ วมกำรงำน เรื่ อง ควำมช่วยเหลือจำกรัฐบำล - กรณี ที่ไม่มีควำมเกี่ยวข้อง อย่ำงเฉพำะเจำะจงกับกิจกรรมดำเนิ นงำน เรื่ อง สัญญำเช่ำดำเนิ นงำน - สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู ้ ช่ำ เรื่ อง เงินที่นำส่ งรัฐ เรื่ อง ภำษีเงินได้ - กำรเปลี่ยนแปลงสถำนภำพทำงภำษี ของกิจกำรหรื อผูถ้ ือหุ้น เรื่ อง กำรประเมินเนื้ อหำสัญญำเช่ำที่ทำขึ้นตำมรู ปแบบกฎหมำย เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทำนบริ กำร เรื่ อง รำยได้ - รำยกำรแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ กำรโฆษณำ เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ต้นทุนเว็บไซต์ เรื่ อง กำรเปลี่ยนแปลงในหนี้ สินที่เกิดขึ้นจำกกำรรื้ อถอน กำรบูรณะ และหนี้ สินที่มีลกั ษณะคล้ำยคลึงกัน เรื่ อง กำรประเมินว่ำ ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญำเช่ำหรื อไม่
140 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัดัสสทรีทรีจำกั จำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษัททั ศรี และบริ ษทั ษย่อัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) นโยบำยกำรบัญชี ที่สำคัญซึ่ งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) 3.1
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ และมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ ง และกำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงินที่มีกำรปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ซึ่งเกีย่ วข้ องกับกลุ่มกิจกำร (ต่อ) (ค) กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินและกำรตีควำมตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่เปลี่ยนแปลงอย่ำงไม่มีสำระสำคัญ และไม่ส่งผลกระทบต่อกลุ่มกิจกำร มีดงั นี้ (ต่อ) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2558) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2558)
เรื่ อง สิ ทธิในส่ วนได้เสี ยจำกกองทุนกำรรื้ อถอน กำรบูรณะ และกำรปรับปรุ งสภำพแวดล้อม เรื่ อง กำรปรับปรุ งย้อนหลังภำยใต้มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง กำรรำยงำนทำงกำรเงินในสภำพเศรษฐกิจ ที่เงินเฟ้อรุ นแรง เรื่ อง งบกำรเงินระหว่ำงกำลและกำรด้อยค่ำ เรื่ อง ข้อตกลงสัมปทำนบริ กำร เรื่ อง โปรแกรมสิ ทธิ พิเศษแก่ลูกค้ำ เรื่ อง ข้อจำกัดสิ นทรัพย์ตำมโครงกำรผลประโยชน์ ข้อกำหนดเงินทุน ขั้นต่ำและปฏิสมั พันธ์ของรำยกำรเหล่ำนี้ สำหรับมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงำน เรื่ อง สัญญำสำหรับกำรก่อสร้ ำงอสังหำริ มทรัพย์ เรื่ อง กำรจ่ำยสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้ำของ เรื่ อง กำรโอนสิ นทรัพย์จำกลูกค้ำ เรื่ อง ต้นทุนกำรเปิ ดหน้ำดินในช่วงกำรผลิตสำหรับเหมืองผิวดิน
ผูบ้ ริ หำรของกิ จกำรได้ประเมินและพิจำรณำว่ำกลุ่มมำตรฐำนรำยงำนทำงกำรเงินและกำรตีควำมตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำง กำรเงินดังกล่ำวข้ำงต้น จะไม่มีผลกระทบที่มีนยั สำคัญต่อกลุ่มกิจกำร
141 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) นโยบำยกำรบัญชี ที่สำคัญซึ่ งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) 3.2
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ และมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ ง ซึ่ งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกีย่ วข้ องกับกลุ่มกิจกำรและยังไม่ ได้ นำมำใช้ ก่อนวันถือปฏิบัติ (ก) กลุ่ ม มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิ น ที่ ป รั บ ปรุ งใหม่ ที่ มี ก ำรเปลี่ ยนแปลงอย่ำงมี สำระส ำคัญ และเกี่ ยวข้องกับ กลุ่ ม กิ จกำร มีดงั ต่อไปนี้ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559)
เรื่ อง กำรนำเสนองบกำรเงิน เรื่ อง ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงำน เรื่ อง งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เรื่ อง เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกำรร่ วมค้ำ เรื่ อง งบกำรเงินระหว่ำงกำล เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เรื่ อง เกษตรกรรม เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขำยและกำรดำเนิ นงำนที่ยกเลิก เรื่ อง งบกำรเงินรวม เรื่ อง กำรร่ วมกำรงำน เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสี ยในกิจกำรอื่น
142 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัดัสสทรีทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษัททั ศรี และบริ ษทั ษย่อัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่ อ) นโยบำยกำรบัญชี ที่สำคัญซึ่ งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) 3.2
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ และมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ ง ซึ่ งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกีย่ วข้ องกับกลุ่มกิจกำรและยังไม่ ได้ นำมำใช้ ก่อนวันถือปฏิบัติ (ต่อ) (ข) กลุ่ มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินและกำรตี ควำมมำตรฐำน ที่เปลี่ ยนแปลงอย่ำงไม่มีสำระสำคัญและไม่ส่งผลกระทบต่อ กลุ่มกิจกำร มีดงั นี้ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2559)
เรื่ อง สิ นค้ำคงเหลือ เรื่ อง งบกระแสเงินสด เรื่ อง นโยบำยกำรบัญชี กำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรทำงบัญชี และข้อผิดพลำด เรื่ อง เหตุกำรณ์ภำยหลังรอบระยะเวลำรำยงำน เรื่ อง สัญญำก่อสร้ำง เรื่ อง ภำษีเงินได้ เรื่ อง สัญญำเช่ำ เรื่ อง รำยได้ เรื่ อง กำรบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจำกรัฐบำลและกำรเปิ ดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับควำมช่วยเหลือจำกรัฐบำล เรื่ อง ผลกระทบจำกกำรเปลี่ยนแปลงของอัตรำแลกเปลี่ยน เงินตรำต่ำงประเทศ เรื่ อง ต้นทุนกำรกูย้ มื เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน เรื่ อง กำรบัญชีและกำรรำยงำนโครงกำรผลประโยชน์ เมื่อออกจำกงำน เรื่ อง กำรรำยงำนทำงกำรเงินในสภำพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุ นแรง เรื่ อง กำไรต่อหุ ้น เรื่ อง กำรด้อยค่ำของสิ นทรัพย์ เรื่ อง ประมำณกำรหนี้ สิน หนี้ สินที่อำจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ ที่อำจเกิดขึ้น เรื่ อง อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน เรื่ อง กำรจ่ำยโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ เรื่ อง กำรรวมธุ รกิจ
143 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่ อ) นโยบำยกำรบัญชี ที่สำคัญซึ่ งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) 3.2
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ และมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ ง ซึ่ งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกีย่ วข้ องกับกลุ่มกิจกำรและยังไม่ ได้ นำมำใช้ ก่อนวันถือปฏิบัติ (ต่อ) (ข) กลุ่ มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินและกำรตี ควำมมำตรฐำน ที่เปลี่ ยนแปลงอย่ำงไม่มีสำระสำคัญและไม่ส่งผลกระทบต่อ กลุ่มกิจกำร มีดงั นี้ (ต่อ) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2559)
เรื่ อง สัญญำประกันภัย เรื่ อง กำรสำรวจและประเมินค่ำแหล่งทรัพยำกรแร่ เรื่ อง ส่ วนงำนดำเนิ นงำน เรื่ อง กำรวัดมูลค่ำยุติธรรม เรื่ อง ควำมช่วยเหลือจำกรัฐบำล - กรณี ที่ไม่มีควำมเกี่ยวข้อง อย่ำงเฉพำะเจำะจงกับกิจกรรมดำเนิ นงำน เรื่ อง สัญญำเช่ำดำเนินงำน - สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู ้ ช่ำ เรื่ อง ภำษีเงินได้ - กำรเปลี่ยนแปลงสถำนภำพทำงภำษี ของกิจกำรหรื อของผูถ้ ือหุ ้น เรื่ อง กำรประเมินเนื้ อหำสัญญำเช่ำที่ทำขึ้นตำมรู ปแบบ กฎหมำย เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทำนบริ กำร เรื่ อง รำยได้ - รำยกำรแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ กำรโฆษณำ เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ต้นทุนเว็บไซต์ เรื่ อง กำรเปลี่ยนแปลงในหนี้ สินที่เกิดขึ้นจำกกำรรื้ อถอน กำรบูรณะ และหนี้ สินที่มีลกั ษณะคล้ำยคลึงกัน เรื่ อง กำรประเมินว่ำข้อตกลงประกอบด้วยสัญญำเช่ำหรื อไม่ เรื่ อง สิ ทธิ ในส่ วนได้เสี ยจำกกองทุนกำรรื้ อถอน กำรบูรณะ และกำรปรับปรุ งสภำพแวดล้อม
144 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่ อ) นโยบำยกำรบัญชี ที่สำคัญซึ่ งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) 3.2
มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินใหม่ และมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ ง ซึ่ งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกีย่ วข้ องกับกลุ่มกิจกำรและยังไม่ ได้ นำมำใช้ ก่อนวันถือปฏิบัติ (ต่อ) (ข) กลุ่มมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินและกำรตี ควำมมำตรฐำน ที่เปลี่ ยนแปลงอย่ำงไม่มีสำระสำคัญและไม่ส่งผลกระทบต่อ กลุ่มกิจกำร มีดงั นี้ (ต่อ) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2559) กำรตีควำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 104 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุ ง 2559) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 107 (ปรับปรุ ง 2559)
เรื่ อง กำรปรับปรุ งย้อนหลังภำยใต้มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่ อง กำรรำยงำนทำงกำรเงิน ในสภำพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุ นแรง เรื่ อง งบกำรเงินระหว่ำงกำลและกำรด้อยค่ำ เรื่ อง ข้อตกลงสัมปทำนบริ กำร เรื่ อง โปรแกรมสิ ทธิพิเศษแก่ลูกค้ำ เรื่ อง ข้อจำกัดสิ นทรัพย์ตำมโครงกำรผลประโยชน์ ข้อกำหนด เงินทุนขั้นต่ำและปฏิสมั พันธ์ของรำยกำรเหล่ำนี้ สำหรับน มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงำน เรื่ อง สัญญำสำหรับกำรก่อสร้ ำงอสังหำริ มทรัพย์ เรื่ อง กำรจ่ำยสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้ำของ เรื่ อง กำรโอนสิ นทรัพย์จำกลูกค้ำ เรื่ อง ต้นทุนกำรเปิ ดหน้ำดินในช่วงกำรผลิตสำหรับ เหมืองผิวดิน เรื่ อง เงินที่นำส่ งรัฐ เรื่ อง กำรบัญชี สำหรับกำรปรับโครงสร้ำงหนี้ ที่มีปัญหำ เรื่ อง กำรบัญชี สำหรับเงินลงทุนในตรำสำรหนี้ และตรำสำรทุน เรื่ อง กำรแสดงรำยกำรและกำรเปิ ดเผยข้อมูลสำหรับ เครื่ องมือทำงกำรเงิน
ผูบ้ ริ ห ำรของกิ จกำรได้ป ระเมิ นและพิ จำรณำว่ำกลุ่ มมำตรฐำนรำยงำนทำงกำรเงิ นและกำรตี ควำมตำมมำตรฐำนกำรรำยงำน ทำงกำรเงินดังกล่ำวข้ำงต้น จะไม่มีผลกระทบที่มีนยั สำคัญต่อกลุ่มกิจกำร
145 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ บริ ษทั ศรีปตรัระกอบงบกำรเงิ งแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) นและบริ ษทั จย่กำร อย หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ บริ ษทั ศรีปตรัระกอบงบกำรเงิ งแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) นและบริ ษทั จย่กำร อย บริ ษษทััทบศรี ตต้นรัระกอบงบกำรเงิ งงดแอโกรอิ นนดัธัดัสนทรี จำกัจำพ.ศ. ดกั(มหำชน) และบริ ษทั จย่ษกำร อัทยย่อย สบริำหรั ปี สิ สุ วั น ที ่ 31 วำคม 2559 บริ ศรี รั แอโกรอิ ส ทรี � ด (มหาชน) และบริ หมำยเหตุ ป น รวมและงบกำรเงิ น เฉพำะกิ ษทั บศรี จำกัพ.ศ. ด (มหำชน) ษทั จย่กำร อย สำหรั ปี สิปต้นรัระกอบงบกำรเงิ สุงดแอโกรอิ วันที่ 31นดัธัสนทรี วำคม 2559 นและบริ หมำยเหตุ น รวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ สำหมำยเหตุ �ำหรั หรับบปีปีสิสป้นิ้นระกอบงบกำรเงิ สุดดวันวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวำคม วาคม พ.ศ. 2559 นนรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิจกำร สหมำยเหตุ สุ พ.ศ. 2559 นรวมและงบกำรเงิ สำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร ส3 ำหรับปีนโยบำยกำรบั สิ้นสุ ดวันที่ 31ญธัชีน(ต่วำคม พ.ศ. 2559 อ ) ส3 ำหรับปีนโยบำยกำรบั สิ้นสุ ดวันที่ 31ญธัชีน(ต่วำคม อ) พ.ศ. 2559 3 นโยบำยกำรบัญชี (ต่ อ) 3 นโยบำยกำรบั ) - เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ 3.3 บัญชีญ กลุชีชี่ม(ต่ กิจออกำร 3 นโยบำยกำรบั ญ (ต่ ) 3.3 บัญชีญ กลุชี่ม(ต่ กิจอกำร 3 นโยบำยกำรบั ) - เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ 3.3 บัญชีกลุ่มกิจกำร - เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ 3.3 บั(ก)ญชีกบริลุ่มษกิทั จย่กำร นในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ อย -- เงิเงินนลงทุ 3.3 บั(ก)ญชีกบริลุ่มษกิทั จย่กำร นในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ อย - เงินลงทุ 3.3 บัญชีกลุ่มกิจกำร ลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ (ก) บริ ษทั ย่อย (ก) บริ บริ ษษททัั ย่ย่ออยยหมำยถึ งกิ จกำร (ซึ่ งรวมถึ งกิ จกำรเฉพำะกิ จ) ที่กลุ่ มกิ จกำรควบคุ ม กลุ่ มกิ จกำรควบคุ มกิ จกำรเมื่อกลุ่มกิ จกำรมี กำร (ก) บริ บริ ษทั ย่อย (ก) ษทั ย่อยยหมำยถึ งกิ จกำร (ซึ่ งรวมถึ งกิ จกำรเฉพำะกิ จ) ที่กลุ่ มกิ จกำรควบคุ ม กลุ่ มกิ จกำรควบคุ มกิ จกำรเมื่อกลุ่มกิ จกำรมี กำร เปิบริดรั อมี สิทธิงใกินผลตอบแทนผั ด้รับกำรลงทุ ควำมสำมำรถท ำให้่อเกลุ กิ ด่มผลกระทบต่ ษทั บย่หรื อยหมำยถึ จกำร (ซึ่ งรวมถึนงกิแปรจำกกำรเกี จกำรเฉพำะกิ่ ยจวข้ ) ทีอ่กงกั ลุ่ มบกิผูจไ้ กำรควบคุ ม กลุน่ มและมี กิ จกำรควบคุ มกิ จกำรเมื กิ จกำรมี กำรอ เปิบริดรั อมี สิทธิงใกินผลตอบแทนผั ด้รับกำรลงทุ ควำมสำมำรถท ำให้่อเกลุ กิ ด่มผลกระทบต่ ษทั บย่หรื อยหมำยถึ จกำร (ซึ่ งรวมถึนงกิแปรจำกกำรเกี จกำรเฉพำะกิ่ ยจวข้ ) ทีอ่กงกั ลุ่่ มบกิผูจไ้ กำรควบคุ ม กลุน่่ มและมี กิ จกำรควบคุ มกิ จกำรเมื กิ จกำรมี กำรอ ่มผลกระทบต่ ษทั บย่หรื อยหมำยถึ งใกินผลตอบแทนผั จกำร (ซึ่ งรวมถึ )กลุทีอ่กมงกั ลุกิมจบกำรรวมงบกำรเงิ กิผูจไ้ กำรควบคุ ม กลุ มและมี กิ จกำรควบคุ มกิในงบกำรเงิ จกำรเมื ่อเกลุ กิ จกำรมี ผลตอบแทนจำกกำรใช้ อำนำจเหนื อผูนงไ้ กิแปรจำกกำรเกี ด้จรักำรเฉพำะกิ บกำรควบคุม่ ยจวข้ นนของบริ ษวำมสำมำรถท ทั ย่อยไว้ นดรวมตั ้ งแต่วกนั ำรทีอ่ เปิบริ ดรั อ มี ส ิ ท ธิ ด้ ร ั บ กำรลงทุ ค ำให้ กิ ่ มและมี ่มผลกระทบต่ ษทั บย่หรื อยหมำยถึ จกำร (ซึ่ งรวมถึ )กลุทีอ่กมงกั ลุกิ่ มจบกำรรวมงบกำรเงิ กิผูจไ้ กำรควบคุ ม กลุ กิ จกำรควบคุ มกิในงบกำรเงิ จกำรเมื ่อเกลุ กิ จกำรมี ผลตอบแทนจำกกำรใช้ อำนำจเหนื อผูนงไ้ กิแปรจำกกำรเกี ด้จรักำรเฉพำะกิ บกำรควบคุม่ ยจวข้ นนของบริ ษวำมสำมำรถท ทั ย่อยไว้ นดรวมตั ้ งแต่วกนั ำรทีอ่ เปิบริ ดรั อมี สิทธิงใกินผลตอบแทนผั ด้ ร ั บ กำรลงทุ ค ำให้ กิ เปิผลตอบแทนจำกกำรใช้ อมีอสำนำจในกำรควบคุ ิ ทธิ ในผลตอบแทนผั นไ้ ษแปรจำกกำรเกี วข้ อ่มงกั บกำรรวมงบกำรเงิ ไ้ ด้รับกำรลงทุ นของบริ และมี ำให้เกินดรวมตั ผลกระทบต่ ่มกิบจหรื กลุดรั กำรมี มอบริ ทั รับย่อกำรควบคุ ย กลุ่มกิ จม่ ยกำรจะไม่ นผูำงบกำรเงิ นของบริ ษทั ย่คษอวำมสำมำรถท ยมำรวมไว้ ในงบกำรเงิ นรวมนั อ ำนำจเหนื ผู ด้ กลุ กิ จ น ท ั ย่ อ ยไว้ ใ นงบกำรเงิ นั ทีออ่ ้ งแต่บวจำก เปิผลตอบแทนจำกกำรใช้ อมีอสำนำจในกำรควบคุ ิ ทธิ ในผลตอบแทนผั วข้ ไ้ ด้รับกำรลงทุ และมี ำให้เกินดรวมตั ผลกระทบต่ ่มกิบจหรื กลุดรั กำรมี ย กลุ่มกิ จม่ ยกำรจะไม่ นผูำงบกำรเงิ นของบริ ษทั ย่คษอวำมสำมำรถท ในงบกำรเงิ นรวมนั อำนำจเหนืมอบริ ผูนไ้ ษแปรจำกกำรเกี ด้ทั รับย่อกำรควบคุ กลุอ่่มงกั กิจบกำรรวมงบกำรเงิ นนของบริ ทัยมำรวมไว้ ย่อยไว้ในงบกำรเงิ งแต่บวจำก นั ที่ ้ อบริ ผูมไ้ ษด้ทั รับย่อกำรควบคุ มกำรจะไม่ กลุมกิจกำรรวมงบกำรเงิ นของบริ ษอทัยมำรวมไว้ ย่อยไว้ในงบกำรเงิ นรวมตั นั ที่ ่มกิจกำรสู วัผลตอบแทนจำกกำรใช้ น่ทีมกิ่กจลุกำรมี ญเสี ยอำนำจเหนื ำนำจควบคุ ้ งแต่บวจำก ่ กลุ อ ำนำจในกำรควบคุ ม ย กลุ ม กิ จ น ำงบกำรเงิ น ของบริ ษ ท ั ย่ ใ นงบกำรเงิ น รวมนั ผลตอบแทนจำกกำรใช้ อบริ ผูมไ้ ษด้ทั รับย่อกำรควบคุ กลุ่มกิจกำรรวมงบกำรเงิ นของบริ ษอทัยมำรวมไว้ ย่อยไว้ในงบกำรเงิ นรวมตั นั ที่ ้ งแต่บวจำก ่มกิจกำรสู วักลุน่ทีมกิ่กจลุกำรมี ญเสี ยอำนำจเหนื ำนำจควบคุ ่มกิ จมกำรจะไม่ อ ำนำจในกำรควบคุ ม ย กลุ น ำงบกำรเงิ น ของบริ ษ ท ั ย่ ใ นงบกำรเงิ น รวมนั กลุน่ทีมกิ่กจลุกำรมี อำนำจในกำรควบคุ มบริ ษทั ย่อย กลุ่มกิ จกำรจะไม่นำงบกำรเงินของบริ ษทั ย่อยมำรวมไว้ในงบกำรเงินรวมนับจำก ่มกิจกำรสู วักลุ ญเสี ยอำนำจควบคุ อำนำจในกำรควบคุ มบริมม ษทั ย่อย กลุ่มกิ จกำรจะไม่นำงบกำรเงินของบริ ษทั ย่อยมำรวมไว้ในงบกำรเงินรวมนับจำก ่กำรบั วักลุน่่ทีมมกิ่กกิจลุจกำรมี ม่ กิจกำรสู ญบัเสีญยชีอกำนำจควบคุ น ทึ ก ำรรวมธุ รกิ จโดยถื อปฏิ บตั ิตำมวิธีซ้ื อ สิ่ งตอบแทนที่ โอนให้สำหรับกำรซื้ อบริ ษทั ย่อย ประกอบด้วย วันที่กลุมกิจกำรสู ญบัเสีญยชีอกำนำจควบคุ นทึ กญ ำรรวมธุ รกิมมจโดยถื อปฏิ บตั ิตำมวิธีซ้ื อ สิ่ งตอบแทนที่ โอนให้สำหรับกำรซื้ อบริ ษทั ย่อย ประกอบด้วย วักลุน่ทีม่กกิลุจ่กำรบั มกิจกำรสู เสี ยอำนำจควบคุ มูกลุล่ค่มำกิยุจตกำรบั ิธรรมของสิ ย์ที่ผซู ้ ้ื อรโอนให้ และหนี ่ก่อขึธ้ นี ซ้เพื ยชำระให้แ่ โก่อนให้ เจ้ำของเดิ มของผู ถ้ ูก้ อซืบริ เสี ยในส่ ววนย ้ อและส่ นทึ กบันญทรั ชี กพำรรวมธุ กิ จโดยถื อปฏิ บ้ สตั ิ นิตทีำมวิ ื อ ่อสิจ่่ งำตอบแทนที สำหรั บกำรซื ษทั ย่วอนได้ ย ประกอบด้ มูกลุล่ค่มำกิยุจตกำรบั ิธรรมของสิ นญทรั พำรรวมธุ ย์ที่ผซู ้ ้ื อรโอนให้ และหนี ่ก่อขึธ้ นี ซ้เพื ่อสิจ่่ งำตอบแทนที ยชำระให้แ่ โก่อนให้ เจ้ำของเดิ มของผู ถ้ ูก้ อซืบริ วอนได้ เสี ยในส่ ววนย ้ สตั ิ นิตทีำมวิ ้ อและส่ น ทึ ก บั ชี ก กิ จ โดยถื อ ปฏิ บ ื อ ส ำหรั บ กำรซื ษ ท ั ย่ ย ประกอบด้ ่ค่มำกิยุำจตของที กำรบั ทึ กบันญทรั ชี ก่พมำรรวมธุ กิ่ งตอบแทนที จโดยถื อปฏิ่โบอนให้ ตั ิ นิตทีำมวิ ธ้ นี ซ้เพื ื องมู่อสิลจ่่ งค่ำตอบแทนที ่ โก่อนให้ บกำรซื ษ่ผทซูั้ ้ื อย่วอคำดว่ ย ประกอบด้ ของเจ้ ่อนอกโดยกลุ กิย์ทจกำร สิรโอนให้ ร่อวมถึ ำยช ยุตำระให้ ิธรรมของสิ นของเดิ ทรัสพำหรั ย์มของผู หรื อหนี ทีและส่ ำเสีจะต้ องจ่ววำนย ้ สอซืิ นบริ ่ ี ผ ซ ู ้ ื อ แ ละหนี ส ่ ก ขึ แ เ จ้ ำ ถ ้ ู ก อ นได้ ยในส่ มูกลุ ล ิ ธ รรมของสิ ้ ้ ้ กำรบั ทึ กบันญทรั ชี ก่พมำรรวมธุ กิ่ งตอบแทนที จโดยถื อปฏิ่โบอนให้ ื องมู่อสิลจ่่ งค่ำตอบแทนที บกำรซื ษ่ผทซูั้ ้ื อย่วอคำดว่ ย ประกอบด้ ของเจ้ ่อนอกโดยกลุ กิย์ทจกำร ำยช ยุตำระให้ ิธรรมของสิ ทรัสพำหรั ย์มของผู หรื อหนี ำเสีจะต้ องจ่ววำนย ี่ผซู ้ ้ื อสิรโอนให้ และหนี สตั ิ นิตทีำมวิ ่กร่่อวมถึ ขึธ้ นี ซ้เพื แ่ โก่อนให้ เจ้ำนของเดิ ถ้ ูก้ สอซืิ นบริ อทีและส่ นได้ ยในส่ มูกลุ ล่ค่มำกิยุำจตของที ิธรรมของสิ ้ ้ มูของเจ้ ลค่ำยุำตของที ิธรรมของสิ ซู ้ ้ื ออสิโอนให้ และหนี อวมถึ ขึ้นำใช้ เพื ำำยช มของผู ถ้ นูก้ สทรั ซืิ น้ อพทีและส่ วคำดว่ นได้ ่ียผวข้ ชำระตำมข้ อตกลง ต้นทรั ทุน่พมทีกิย์่เทจกีกำร งกั บกำรซื จ่อล่ำจ่ค่ยเมื ่อตำระให้ เกิิธรรมของสิ ดขึ้นแมูก่ลเจ้ค่ำนำของเดิ เริทรั่ มพแรกของสิ ย์ผทซู ้ ี่้รื อะบุ ได้ำทเสีจะต้ ี่ไยด้ในส่ มอำและ ้ สบิ นรูที้ เป็่กรนค่ ้ อจะรั ่ อ อกโดยกลุ ง ตอบแทนที ่ โ อนให้ ง มู ยุ ย์ หรื อ หนี ่ งจ่ววำนนย ่ ่อวมถึ มูของเจ้ ลค่ำยุำตของที ิธรรมของสิ ซู ้ ้ื ออสิโอนให้ และหนี ขึ้นำใช้ เพื ำำยช มของผู ถ้ นูก้ สทรั ซืิ น้ อพทีและส่ วคำดว่ นได้ ้ สบิ นรูที้ เป็่กรนค่ ่ียผวข้ ชำระตำมข้ อตกลง ต้นทรั ทุน่พมทีกิย์่เทจกีกำร งกั บกำรซื จ่อล่ำจ่ค่ยเมื ่อตำระให้ เกิิธรรมของสิ ดขึ้นแมูก่ลเจ้ค่ำนำของเดิ เริทรั่ มพแรกของสิ ย์ผทซู ้ ี่้รื อะบุ ได้ำทเสีจะต้ ี่ไยด้ในส่ มอำและ ้ อจะรั ่ออกโดยกลุ ง ตอบแทนที ่ โ อนให้ ง มู ยุ ย์ หรื อ หนี ่ งจ่ำย ่ ของที ่อ้ อกโดยกลุ ่โอนให้ รนค่ วมถึำกใช้ ิ นพที่ย์ผทซู ้ ี่้รื อะบุ คำดว่ งจ่ำ้ ยง ค่ำยุำ่อตด้เกิิธวรรมของสิ ยมู ณย์ หรื วันอทีหนี ่ซ้ื อน้ สทรั ในกำรรวมธุ ะครั หนี สินทีต้่อนำจเกิ มำจำกกำรรวมธุ วังดมูจมูล่ำลค่ยเมื ่ งตอบแทนที ้ สินำและหนี ่ยทีวข้่รับอสิสิงกั ชของเจ้ ำระตำมข้ อตกลง ทุน่่มมทีดกิกิ่ขึเจจกี้ นกำร บกำรซื้ อจะรั บรรูกิ้ เจป็จะถู ดขึล้ นค่มูำยุลตค่ิธนนำรรม เริทรั ไรด้กิำำทจจะต้ ี่ไแต่ด้มลออำและ ่ มพพแรกของสิ ของเจ้ ำ ของที ่ อ อกโดยกลุ กำร ง ตอบแทนที ่ โ อนให้ ร วมถึ ง มู ล ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรมของสิ ทรั ย์ หรื อ หนี ส ิ น ที ่ ผ ซ ู ้ ื อ คำดว่ จะต้ งจ่ำ้ ยง ้ ้ ่ หนี ส ิ น และหนี ส ิ น ที ่ อ ำจเกิ ด ขึ น ที ่ ร ั บ มำจำกกำรรวมธุ ร กิ จ จะถู ก วั ด มู ล ค่ ำ ด้ ว ยมู ล ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรม ณ วั น ที ่ ซ ื อ ในกำรรวมธุ ร กิ จ แต่ ล ะครั ้ ้ ้ ้ ชำระตำมข้อตกลง ต้นทุนที่เกี่่ยวข้องกับกำรซื้ อจะรับรู ้ เป็ นค่ำใช้จ่ำ่ ยเมื่อเกิ ดขึ้น มูลค่ำเริ่ มแรกของสิ นทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มำและ ดลขึค่ล้ นำค่ยุมูำตยุลิธตค่รรม ำรรม เริ่ มหรื แรกของสิ ทรั พนย์ททรัี่ระบุ ำและ ชำระตำมข้ อตกลง นำจเกิ ทุนทีดว่ขึเนได้ กี้ นยทีวข้่เรสีับอยงกั นค่ ำกใช้ ่ม้ สกิิ นจและหนี ้ อจะรับรรูกิ้ เจป็มจะถู กลุ กำรวั ด้มูสลิ นค่ทีต้ำ่อของส่ ที่ไบม่กำรซื มีอำนำจควบคุ ในผู ถ้ ดู กจมูำซืลยเมื ยมู อวัมูนลทีค่่ซำ้ื อนของสิ พย์ไสรด้กิุ ททจธิี่ไแต่ ทด้ี่รมละบุ ไ้ด้ง ้ อค่ด้ำ่อวด้เกิ หนี มำจำกกำรรวมธุ วั ว ยมู ิ ธ ณ ในกำรรวมธุ ะครั ดลขึค่ล้ นำค่ยุมูำตยุลิธตค่รรม เริ่ มหรื แรกของสิ ทรั พนย์ททรัี่ระบุ ำและ ชำระตำมข้ อตกลง นำจเกิ ทุนทีดว่ขึเนได้ กี้ น่ยทีวข้่เรสีับอยงกั นค่ ำกใช้ ้ อจะรับรรูกิ้ เจป็มจะถู ่ม้ สกิิ นจและหนี กลุ กำรวั ด้มูสลิ นค่ทีต้ำ่อของส่ ที่ไบม่กำรซื มีอำนำจควบคุ ในผู ยมู พย์ไสรด้กิุ ททจธิี่ไแต่ ทด้ี่รมละบุ ้ อค่ด้ำ่อวด้เกิ หนี มำจำกกำรรวมธุ วัถ้ ดู กจมู่ำซืลยเมื วยมู ิธำรรม ณอวัมูนลทีค่่ซำ้ื อนของสิ ในกำรรวมธุ ะครัไ้ด้ง หนี่ม้ สกิิ นถ้ จและหนี ดวขึนได้ กวัถ้ ดู กมูซืล้ อค่ด้ำวด้มยมู วยมูลค่ลำค่ยุำตยุิธตรรม ิธรรมหรืณอวัมูนลทีค่่ซำ้ื อของสิ ในกำรรวมธุ ะครัไ้ด้ง ของผู ูกกำรวั ซื้ อตำมสั วำจเกิ นของหุ เสี ยทีรกิ่ไจม่มจะถู มในผู ีอำนำจควบคุ ้ น้นทีที่เรสี่ถับืยอมำจำกกำรรวมธุ กลุ ด้้มูสสลิิ นนดค่ทีทีส่ำ่่ออของส่ ทีโดยส่ ่ไม่มวีอนได้ ำนำจควบคุ นทรัพย์สรรกิกิุ ทจจธิแต่ ที่รลละบุ หนี่ม้ สกิิ นถ้ จและหนี ดวขึนได้ กวัถ้ ดู กมูซืล้ อค่ด้ำวด้มยมู วยมูลค่ลำค่ยุำตยุิธตรรม ิธรรมหรืณอวัมูนลทีค่่ซำ้ื อของสิ ในกำรรวมธุ แต่ ะครัไ้ด้ง ้ น้นทีที่เรสี่ถับืยอมำจำกกำรรวมธุ ของผู ูกกำรวั ซื้ อตำมสั ดค่ส่ำของส่ วำจเกิ นของหุ โดยส่ วีอนได้ เสี ยทีรกิ่ไจม่มจะถู มในผู ีอำนำจควบคุ กลุ ด มู ล ที ่ ไ ม่ ม ำนำจควบคุ น ทรั พ ย์ ส ุ ท ธิ ท ่ ี ร ะบุ กลุ่มกิถ้ จูกกำรวั ดมูลดค่ส่ำของส่ วนได้ เสี่ถืยอทีโดยส่ ่ไม่มวีอนได้ ำนำจควบคุ มมในผู ถ้ ูกซื้ อด้วมยมูลค่ำยุติธรรม หรื อ มูลค่ำของสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ระบุได้ ของผู ซื อ ตำมสั ว นของหุ น ้ ที เ สี ย ที ่ ไ ม่ ี อ ำนำจควบคุ ้ กลุ่มกิถ้ จูกกำรวั ดมูลค่ส่ำของส่ วนได้ ่ไม่มวีอนได้ ำนำจควบคุ มในผู ถ้ ูกซื้ อด้วมยมูลค่ำยุติธรรม หรื อ มูลค่ำของสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ระบุได้ ของผู ซื้ อรตำมสั วนของหุ ้นทีจเสี่ถจำกกำรทยอยซื ืยอทีโดยส่ ีอำนำจควบคุ ในกำรรวมธุ กิ จที่ดดดำเนิ นกำรสำเร็ ดมูลค่ำส่ วนได้ ใ่ นผูถ้ ูกซื้ อก่อนหน้ำกำรรวมธุ รกิ จใหม่ ้ อเเสีสีผูยยซ้ทีที้ื อ่่ไไต้ม่ม่อมมงวั ของผู ถ ้ ู ก ซื อ ตำมสั ส่ ว นของหุ น ้ ที ่ ถ ื อ โดยส่ ว นได้ ี อ ำนำจควบคุ ม เเสีสี ยยทีที่่ผผซูซู ้้ ้้ืื ออถืถื อออยู ้ ในกำรรวมธุ กิ จที่ดำเนิ นกำรสำเร็ ดมูลค่ำส่ วนได้ อยูใ่ นผูถ้ ูกซื้ อก่อนหน้ำกำรรวมธุ รกิ จใหม่ ของผูถ้ ูกซื้ อรตำมสั ส่วนของหุ ้นทีจ่ถจำกกำรทยอยซื ือโดยส่ วนได้้ อเสีผูยซ้ ที้ื อ่ไต้ม่อมงวั ีอำนำจควบคุ ม โดยใช้มูลค่ำรยุกิตจิธทีรรม วันที่ซำเร็้ื อและรั บรู ้ผลกำไรหรื อขำดทุ น รกิ จใหม่ ้ นั ในก ในกำรรวมธุ ่ดำเนิณนกำรส จจำกกำรทยอยซื ต้องวันดทีมู่เลกิค่ดำขึส่้ นวจำกกำรวั นได้เสี ยทีด่ผมูซู ้ ล้ื อค่ถืำอใหม่ อยูใ่ นนผู ถ้ ูกซืำไรหรื ำกำรรวมธุ ้ อ ผูซ้ อ้ื อขำดทุ ้ อก่อนหน้ วันที่ซำเร็้ื อและรั บรู ้ผลกำไรหรื อขำดทุ น รกิ จใหม่ โดยใช้มูลค่ำรยุกิตจิธทีรรม ้ นั ในก ในกำรรวมธุ ่ดำเนิณนกำรส จจำกกำรทยอยซื อ ผูซ้ อ้ื อขำดทุ ต้องวันดทีมู่เลกิค่ดำขึส่้ นวจำกกำรวั นได้เสี ยทีด่ผมูซู ้ ล้ื อค่ถืำอใหม่ อยูใ่่ นนผู ถ้ ูกซืำไรหรื อก่อนหน้ ำกำรรวมธุ ้ ้ ในกำรรวมธุ ่ดำเนิณนกำรส จจำกกำรทยอยซื ต้องวันดทีมู่เลกิค่ดำขึส่้ นวจำกกำรวั นได้เสี ยทีด่ผมูซู ้ ล้ื อค่ถืำอใหม่ อยูในนผู ถ้ ูกซืำไรหรื ำกำรรวมธุ ้ อ ผูซ้ อ้ื อขำดทุ ้ อก่อนหน้ วันที่ซำเร็ บรู ้ผลกำไรหรื อขำดทุ น รกิ จใหม่ โดยใช้มูลค่ำรรยุกิกิตจจิธทีทีรรม ้ื อและรั ้ นั ในก ่ ในกำรรวมธุ ่ ด ำเนิ น กำรส ำเร็ จ จำกกำรทยอยซื อ ผู ซ ้ ื อ ต้ อ งวั ด มู ล ค่ ำ ส่ ว นได้ เ สี ย ที ่ ผ ู ซ ้ ื อ ถื อ อยู ใ นผู ถ ้ ู ก ซื อ ก่ อ นหน้ ำ กำรรวมธุ ้ ้ ้ ้ มูลค่ำยุต่คิธำดว่ รรมำจะต้ ณ วันองจ่ ที่ซำ้ื อยออกไปโดยกลุ และรับรู ้ผลกำไรหรื อขำดทุ นรู ้ ดทีว้ ่เกิยมูดขึล้ นค่จำกกำรวั ดมูณลวัค่นำใหม่ นกำรเปลี นั ในกำไรหรื อขำดทุนลค่ำยุรตกิิธจใหม่ ้ ่ สิโดยใช้ งตอบแทนที ม กิ จ กำร รั บ ำ ยุ ต ิ ธ รรม ที ่ ซ ื อ ่ ย นแปลงในมู รรม ้ ่โดยใช้ มูลค่ำยุติธรรมำจะต้ ณ วันที่ซำ้ื อยออกไปโดยกลุ และรับรู ้ผลกำไรหรื อขำดทุ จำกกำรวั ใหม่ อขำดทุน ้ นั ในกำไรหรื ่มกิ จกำร สิโดยใช้ รับนนรู ้ ดทีทีว้ ่่เเกิกิยมูดดขึขึล้้ นนค่จำกกำรวั ำยุติธรรมดดมูมูณลลวัค่ค่นำำใหม่ ที่ซ้ื อนนกำรเปลี ่ ยนแปลงในมู ่ งตอบแทนที มูลค่ำยุต่คิธำดว่ รรม ณ วันองจ่ ที่ซ้ื อและรับรู ้ผลกำไรหรื อขำดทุ อขำดทุนลค่ำยุติธรรม ้ นั ในกำไรหรื งจ่ำยที่รับรู ้ภำยหลั นที่ซรั้ื อบซึรู่ ง้ ดจัว้ ดยมู ประเภทเป็ นสิ นณทรัวัพนย์ทีห่ซรื้ื อหนี รับรู ้ ในกำไรหรื ้ สินให้่ ยนแปลงในมู ่ งตอบแทนที ่มกิงจวักำร สิของสิ ่คำดว่่คำำดว่ จะต้ำจะต้ องจ่อำยออกไปโดยกลุ ลค่ำยุติธรรม กำรเปลี ลค่ำอยุขำดทุ ติธรรมน ่ งตอบแทนที งจ่ำยที่รับรู ้ภำยหลั นที่ซรั้ื อบซึรู่ ง้ ดจัว้ ดยมู ประเภทเป็ นสิ นณทรัวัพนย์ทีห่ซรื้ื อหนี รับรู ้ ในกำไรหรื อยุขำดทุ ้ สินให้่ ยนแปลงในมู ่ งตอบแทนที ่มกิงจวักำร สิของสิ ่คำดว่่คำำดว่ จะต้ำจะต้ องจ่อำยออกไปโดยกลุ ล ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรม กำรเปลี ล ค่ ำ ติธรรมน ่สิ งงตอบแทนที ่มกิงจวันส่ ่ค่ คำดว่ ำำดว่ อองจ่งจ่อำยออกไปโดยกลุ กำร รั้ื อบซึรู่ ง้ ดจัว้ ดยมู ลค่ำยุอตงไม่ ิ ธรรม กำรเปลี ่ ยนแปลงในมู ลค่ำอยุำขำดทุ ตยชิธรรม มนี กณทรั ำรวัวัพนดย์ทีมูห่ซลรื้ื ค่อำหนี ใหม่ และให้ บ้ ในก นั ทึำไรหรื ก กำรจ่ ำระน ตอบแทนที ำดว่ ำจะต้ จะต้ ำงจ่ยซึำ่ยที งจั่ดรับประเภทเป็ ว่ซนของเจ้ ำประเภทเป็ ของต้ ่ ตอบแทนที ของสิ ง ตอบแทนที ่ ค ำ จะต้ รู ้ ภ ำยหลั น ที นสิ ส ิ น ให้ ร ั บ รู ้ ่ ่มกิงจวันส่ สิของสิ ่ค่ คำดว่ อองจ่งจ่อำยออกไปโดยกลุ กำร รั้ื อบซึรู่ ง้ ดจัว้ ดยมู ลค่ำยุอตงไม่ ิ ธรรม กำรเปลี ลค่ำอยุำขำดทุ ตยชิธรรม ่ งตอบแทนที ตอบแทนที ำดว่ ำจะต้ จะต้ ำงจ่ยซึำ่ยที งจั่ดรับประเภทเป็ ำประเภทเป็ ของต้ ำรวัวัพนดย์ทีมูห่ซลรื้ื ค่ออำหนี ใหม่ นั ทึำไรหรื ก กำรจ่ ำระน งตอบแทนที ่คำำดว่ ำจะต้ รู ้ภำยหลั นทีว่ซนของเจ้ นสิมนี กณทรั สินและให้ ให้่ ยนแปลงในมู รับรูบ้ ในก ้ ่ ของสิ ำดว่ ำจะต้ อำงจ่ยซึำยที ่รดับประเภทเป็ รู้ภำยหลังวันส่ นทีว่ซนของเจ้ นสิมนี กทรั พดย์มูหลรืค่อำหนี ให้รับรูบ้ ในก ำไรหรื อำขำดทุ น ในภำยหลั งไว้ใ่ นส่ ว่คนของเจ้ ำงจ่ ของ ้ื อซึ่ งจัดำประเภทเป็ ้ สินและให้ ่ งตอบแทนที สิของสิ ค ำดว่ ำ จะต้ อ ่ งจั ของต้ อ งไม่ ำรวั ใหม่ น ั ทึ ก กำรจ่ ยช ำระ ่ งตอบแทนที ำดว่ ำจะต้ อำงจ่ยซึำยที รู ้ภำยหลังวันส่ นทีว่ซนของเจ้ นสิมนี กทรั ให้รับรูบ้ ในก ้ื อซึ่ งจัดำประเภทเป็ ้ สินและให้ ่ งตอบแทนที งไว้ใ่ นส่ ว่คนของเจ้ ของ สิในภำยหลั ค ำดว่ ำจะต้ อำงจ่ ่ งจั่รดับประเภทเป็ ของต้องไม่ ำรวัพดย์มูหลรืค่อำหนี ใหม่ นั ทึำไรหรื ก กำรจ่อำขำดทุ ยช ำระน ่สิ งงตอบแทนที ค ำดว่ ำจะต้องจ่ ำยซึ่ งจัดประเภทเป็ นส่ วนของเจ้ำของต้องไม่ มีก ำรวัด มูล ค่ ำใหม่ และให้ บนั ทึ ก กำรจ่ ำยช ำระ ่ ตอบแทนที งไว้ใ่่ นส่ วนของเจ้ ของ สิในภำยหลั ค ำดว่ ำจะต้อำำงจ่ ำยซึ่ งจัดประเภทเป็ นส่ วนของเจ้ำของต้องไม่ มี ก ำรวัด มู ล ค่ ำใหม่ และให้ บ นั ทึ ก กำรจ่ำยช ำระ ่ งตอบแทนที ในภำยหลั ง ไว้ ใ นส่ ว นของเจ้ ของ ส่ในภำยหลั วนเกิ นของมู ค่ำวสินของเจ้ ่ งตอบแทนที งไว้ใลนส่ ำของ ่ โอนให้ มูลค่ำส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุ มในผูถ้ ูกซื้ อ และมูลค่ำยุติธรรม ณ วันซื้ อธุ รกิ จ ส่ในภำยหลั วนเกิ นของมู ค่ำวสินของเจ้ ่ งตอบแทนที งไว้ใลนส่ ำของ ่ โอนให้ มูลค่ำส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุ มในผูถ้ ูกซื้ อ และมูลค่ำยุติธรรม ณ วันซื้ อธุ รกิ จ เสี ยลในส่ นของเจ้ำของของผู ูซ้ ้ื อถืเสีออยู รกิ จมในผู ที่ มำกกว่ ลค่ำยุตลิ ธค่รรมสุ ทธิ ณณ วัวันนทีซื่ ซ้ อ้ื อธุของ ส่ของส่ วนเกิวนนได้ ของมู ค่ำสิ่ งวตอบแทนที ่ โอนให้ ถ้ มูู กลซืค่้ อำส่ทีว่ ผนได้ ยทีก่ ไ่ อม่นกำรรวมธุ มีอำนำจควบคุ ถ้ ูกซื้ำอมูและมู ำยุติธรรม รกิ จ เสี ยลในส่ นของเจ้ำของของผู ูซ้ ้ื อถืเสีออยู รกิ จมในผู ที่ มำกกว่ ลค่ำยุตลิ ธค่รรมสุ ทธิ ณณ วัวันนทีซื่ ซ้ อ้ื อธุของ ส่ของส่ วนเกิวนนได้ ของมู ค่ำสิ่ งวตอบแทนที ่ โอนให้ ถ้ มูู กลซืค่้ อำส่ทีว่ ผนได้ ยทีก่ ไ่ อม่นกำรรวมธุ มีอำนำจควบคุ ถ้ ูกซื้ำอมูและมู ำยุติธรรม รกิ จ ส่ของส่ ค่ี่ ระบุ ำสิ่ งวไตอบแทนที ลซืค่้ อำควำมนิ ส่ทีว่ ผนได้ ยหำกมู ทีก่ ไ่ อม่นกำรรวมธุ มลีอค่ำนำจควบคุ ถ้ ูกซื้ำอมูและมู ำยุมูตลิธค่รรม รม่กิมจี สิ วนนเกิ ทรัวพนนได้ ย์ของมู สุทเสีธิยทลในส่ ด้ที่ได้มำของของผู ต้่ โออนให้ งรับรู ้เป็ถ้ มูู กนค่ ำของมูลรกิค่ำจมสิในผู นได้ นของเจ้ ูซ้ ้ื อถืยเสีอมอยู ที่ ง่ มตอบแทนที ำกกว่ ลค่่ โำอนให้ ยุตลลิ ธค่ค่รรมสุ ทำส่ธิวณณ วัวัวันนนเสีทีซืซื่ยซ้้ ออที้ื อธุธุ่ ไของ ส่ของส่ ค่ี่ ระบุ ำสิ่ งวไตอบแทนที ลซืค่้ อำควำมนิ ส่ทีว่ ผนได้ ยหำกมู ทีก่ ่ไ่ อม่นกำรรวมธุ มลีอค่ำนำจควบคุ ถ้ ูกซื้ำอมูและมู ำยุมูตลิธค่รรม รม่กิมจี สิ วนนเกิ ทรัวพนนได้ ย์ของมู สุทเสีธิยทลในส่ ด้ที่ได้มำของของผู ต้่ โออนให้ งรับรู ้เป็ถ้ มูู กนค่ ำของมูลรกิค่ำจมสิในผู ่ โำอนให้ ำส่ธิวณณ นได้ เสีที่ยซที้ื อ่ไของ ่ ง่มตอบแทนที นของเจ้ ูซ้ ้ื อถืยเสีอมอยู ที ำกกว่ ล ค่ ยุ ต ิ ธ รรมสุ ท วั น ่ ของส่ เมสีธิในผู ยทในส่ ำของของผู ถ้ ู กนค่ณ ซื้ อำวัควำมนิ ทีน่ ผซืูซ้ ้ อ้ื อธุถืรยอกิมอยู ก่ อนกำรรวมธุ รค่กิำจวสิทีนของเจ้ ่ มตอบแทนที ำกกว่ำของของผู ำมูลค่่ โอนให้ ำยุตถิ ธ้ ูกรรมสุ นเสีทีก่ ย่ ซ่อที้ื อนกำร ของ อำนำจควบคุ ถ้ ูกวไซืนของเจ้ ลต้ค่อำงรั ยุตบิธรูรรม จหำกมู ของส่ วนได้ เสี ยในส่ ซืมู้ อลทีค่ท่ผำส่ซูธิ้ ว้ื อณนได้ ถื อวัอยู ้ อที่และมู สิของส่ นทรัววพนได้ ย์ ส ุ ท ่ ี ร ะบุ ด้ ไ ด้ ม ้ เ ป็ ล ค่ ำ ของมู ล ง ่ ไ ม่มี ่ ยทในส่ กณ ซื้ อำวัควำมนิ ทีน่ ผซืูซ้ ้ อ้ื อธุถืรยอกิมอยู ก่ ่ อนกำรรวมธุ ำกกว่ำของของผู ำมูลค่่ โอนให้ ำยุตถิ้ธูกรรมสุ นเสีทีก่ ย่ ซ่อที้ื อนกำร ถ้ ูกวไซืนของเจ้ ลต้ค่อำงรั ยุตบิธรูรรม จหำกมู ของส่ เสี ยในส่ ซืมู้ อลทีค่ท่ผำส่ซูธิ้ ว้ื อณนได้ ถื อวัอยู สิอำนำจควบคุ นทรัพนได้ ย์สุทเมสีธิในผู ี่ ระบุ ด้้ อที่และมู ได้มำำของของผู ้เป็ถ้ ูนค่ ลวนได้ ค่ำของมู ลรค่กิำจวสิทีนของเจ้ ง่ มตอบแทนที ่ ไของ ม่มี ่ นทรัรพกิย์จสนุ้ ทอมธิยกว่ ที่ระบุ ไตด้ิธมรรมของสิ ำ ต้องรั ้ เทรั ป็ นค่ หำกมู ค่ำ่ไของมู ล่ อค่งจำกกำรซื ำสิ่ งตอบแทนที ่ โอนให้ ทีนกำร ่ ไม่บมรู ้ี ำถ้ มููกลไซืค่ด้้ อำทยุี่และมู พณย์ำสวัควำมนิ ุ ทนธิซืข้ อองบริ ษของส่ ทั ย่อลวยทีนได้ ด้เมสีำเนื ในรำคำต ้ ำอของของผู อสิรวมธุ ำนำจควบคุ ในผู ยุตบิธนรูรรม ธุรยยกิมมจหำกมู ยในส่ ถ่ำ้ กว่ ูกซืมูำ้ อลมูทีค่ล่ผำค่ส่ซู ้ ำวยุ้ื อตนได้ ถืิธอรรม อยูเสีก่ ย่อจะรั นทรัรพกิย์จสนุ้ ทอมธิยกว่ ที่ระบุ ไตด้ิธมรรมของสิ ำ ลลต้ค่ค่อำำงรั ้เทรั ป็ นค่ ค่ำ่ไของมู ล่ อค่งจำกกำรซื ำววสินของเจ้ ่ โอนให้ ทีนกำร ่ไม่บมรู้ี ่ งตอบแทนที รวมธุ ำถ้ มููกลไซืค่ด้้ อำทยุี่และมู พณย์ำสวัควำมนิ ุทนธิซืข้ อองบริ ทั ย่อลวยทีนได้ ด้เมสีำเนื ในรำคำต ้ ำอของของผู อสิำนำจควบคุ ในผู ยุตบิธนรูรรม ธุรกิจษของส่ ยในส่ นของเจ้ ถ่ำ้ กว่ ูกซืมูำ้ อลมูทีค่ล่ผำค่ส่ซู ้ ำวยุ้ื อตนได้ ถืิธอรรม อยูเสีก่่ ย่่อจะรั อำนำจควบคุ มยกว่ ในผูำถ้ มููกลงซืกค่้ ำไรขำดทุ อำยุและมู ลนค่ำยุติธนรรม ณย์สวัุทนธิซืข้ อองบริ ธุรกิจษของส่ วยทีนได้ เมสีำเนื ยในส่ วนของเจ้้ ำอของของผู ถ่ำ้ กว่ ูกซืำ้ อมูทีล่ผค่ซู ้ ำยุ้ื อตถืิธอรรม อยูกอจะรั นกำร ส่รวมธุ วนต่รำกิงโดยตรงไปยั จ น้ อ ต ิ ธ รรมของสิ ทรั พ ท ั ย่ อ ่ ไ ด้ ่ อ งจำกกำรซื ในรำคำต บรู้ อำนำจควบคุ ในผูำถ้ มููกลงซืกค่้ ำไรขำดทุ อำยุและมู ลนค่ำยุติธนรรม ธุรกิจษของส่ ยในส่ วนของเจ้้ ำอของของผู ูกซืำ้ อมูทีล่ผค่ซู ้ ำยุ้ื อตถืิธอรรม อยูก่ ่อจะรั นกำร ส่รวมธุ วนต่รำกิงโดยตรงไปยั จ น้อมยกว่ ติธรรมของสิ ทรัพณย์สวัุทนธิซืข้ อองบริ ทั ย่อวยทีนได้ ่ได้เมสีำเนื ่ องจำกกำรซื ในรำคำตถ่ำ้ กว่ บรู ้ รวมธุ จ น้อยกว่ำมูลค่ำยุติธรรมของสิ ทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อยที่ได้มำเนื่ องจำกกำรซื้ อในรำคำต่ำกว่ำมูลค่ำยุติธรรม จะรับรู ้ ส่รวมธุ วนต่รรำกิกิงโดยตรงไปยั น นนทรั จ น้อยกว่ำมูลงงกกค่ำไรขำดทุ ำยุติธรรมของสิ พย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อยที่ได้มำเนื่องจำกกำรซื้ อในรำคำต่ำกว่ำมูลค่ำยุติธรรม จะรับรู ้ ส่กิ จวนต่ ำงโดยตรงไปยั ำไรขำดทุ นำงกัน ยอดคงเหลื กำรจะตั ด รำยกำรบั ญ ชี ร ะหว่ อ และก ำไรที่ ยงั ไม่ ได้เกิ ด ขึ้ น จริ งระหว่ำงกัน ในกลุ่ ม กิ จกำร ขำดทุ น ที่ ย งั ส่กิ จวนต่ ำ งโดยตรงไปยั ง ก ำไรขำดทุ น กำรจะตั ดรำยกำรบั ชี ระหว่นำงกัน ยอดคงเหลื อ และก ำไรที่ ยงั ไม่ ได้เกิ ด ขึ้ น จริ งระหว่ำงกัน ในกลุ่ ม กิ จกำร ขำดทุ น ที่ ย งั ส่ วนต่ ำงโดยตรงไปยั งกญำไรขำดทุ ไม่ กิ ดขึ้น จริดงรำยกำรบั ก็ จะตัด รำยกำรในท ำนองเดี ยวกัน เว้อนและก แต่รำยกำรนั มี หไลัด้กเกิฐำนว่ ทรั พย์ำทงกัี่ โอนระหว่ นเกิ ดขำดทุ กำรด้นอทียค่่ ย งำั กิ จเกำรจะตั ญ ชี ระหว่ำงกั น ยอดคงเหลื ำไรที่ ย้ นงั ไม่ ด ขึ้ นำจริสิ นงระหว่ น ในกลุ่ มำกิงกัจกำร ไม่ กิ ดขึ้น จริดงรำยกำรบั ก็ จะตัด รำยกำรในท ำนองเดี ยวกัน เว้อนและก แต่รำยกำรนั มี หไลัด้กเกิฐำนว่ ทรั พย์ำทงกัี่ โอนระหว่ นเกิ ดขำดทุ กำรด้นอทียค่่ ย งำั กิ จเกำรจะตั ญ ชี ระหว่ำงกั น ยอดคงเหลื ำไรที่ ย้ นงั ไม่ ด ขึ้ นำจริสิ นงระหว่ น ในกลุ่่ มำกิงกัจกำร กิ จเกำรจะตั ดงรำยกำรบั ญษชีทั รย่ะหว่ อนสและก ำไรที งั ไม่ ไลัด้กเกิฐำนว่ ด ขึ้ นญำจริสิชีนขงระหว่ นกำร ในกลุ มำกิงกัจกำร ขำดทุ ่มำทงกั นโยบำยกำรบั ญก็ชีจขะตัองบริ อยได้ำงกั ถำนองเดี ูกนปรัยอดคงเหลื บปรุ งเพืน่อเว้ให้ อดคล้ องกับ่ ย้ นนโยบำยกำรบั องกลุ กิี่ โจอนระหว่ ไม่ กิ ด ขึ น จริ ด รำยกำรในท ย วกั แต่ ร ำยกำรนั มี ห ทรั พ ย์ น เกิ ด กำรด้นนอทีทียค่่่ ยย งงำัั ้ กิ จเกำรจะตั ญษชีทั รย่ะหว่ อนสและก ำไรที งั ไม่ ด ขึ้ นญำจริสิชีนขงระหว่ นกำร ในกลุ่ มำกิงกัจกำร นโยบำยกำรบั ญก็ชีจขะตัองบริ อยได้ำงกั ถำนองเดี ูกนปรัยอดคงเหลื บปรุ งเพืน่อเว้ให้ องกับ่ ย้ นนโยบำยกำรบั องกลุ กิี่ โจอนระหว่ ไม่ กิ ดขึ้น จริดงรำยกำรบั ด รำยกำรในท ยวกั แต่อดคล้ รำยกำรนั มี หไลัด้กเกิฐำนว่ ทรั พย์่มำทงกั น เกิ ดขำดทุ กำรด้อยค่ ำ ไม่ เกิ ดขึ้น จริ งญก็ชีจะตั ด รำยกำรในท ำนองเดี ยวกั น่อเว้ให้นสแต่อดคล้ รำยกำรนั มี ห ลักฐำนว่ญำสิชีนของกลุ ทรั พย์่มทกิี่ โจอนระหว่ ำงกันเกิ ดกำรด้อยค่ ำ ้ นนโยบำยกำรบั นโยบำยกำรบั ข องบริ ษ ท ั ย่ อ ยได้ ถ ู ก ปรั บ ปรุ ง เพื อ งกั บ กำร ไม่ เกิ ดขึ้น จริ งญก็ชีจะตั ด รำยกำรในท ยวกั นสแต่อดคล้ รำยกำรนั มี ห ลักฐำนว่ญำสิชีนของกลุ ทรั พย์่มทกิี่ โจอนระหว่ นเกิ ดกำรด้อยค่ ำ นโยบำยกำรบั ของบริ ษทั ย่อยได้ ถำนองเดี ูกปรับปรุ งเพืน่อเว้ให้ งกับับญ้ นนโยบำยกำรบั กำร ยค่ำ ำต้งกั ในงบกำรเงิ นญเฉพำะกิ น ลงทุ อ ยจะบั น ทึออกงกั ชี ด้วยรำคำทุญ นชีหัขกองกลุ ค่ ำเผื่ อมกำรด้ นทุ น จะมี ก ำรปรั บ นโยบำยกำรบั ชี ของบริจจกำร ษทั ย่เงิเงิอยได้ ถูกนนปรัในบริ บปรุ งษษเพืททัั ่อย่ย่ให้ สอดคล้ บญนโยบำยกำรบั กิจกำรออยค่ ในงบกำรเงิ น เฉพำะกิ กำร น ลงทุ ในบริ อ ยจะบั น ทึ ก บั ชี ด ้ ว ยรำคำทุ น หั ก ค่ ำ เผื ่ อ กำรด้ ำ ต้ น ทุ น จะมี ก ำรปรั บ นโยบำยกำรบัญชี ของบริ ษทั ย่อยได้ถูกปรับปรุ งเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบำยกำรบัญชี ของกลุมกิจกำร เพื่อสะท้อนกำรเปลี ่ยนแปลงสิ ่เกิดษขึ้ทนั จำกกำรเปลี ค่ำสิ่ งตอบแทนที ่คำดว่ ำจะต้ออยค่งจ่ำำยต้นทุ น จะมี ก ำรปรั บ ในงบกำรเงิ น เฉพำะกิ จกำร เงิ่ งนตอบแทนที ลงทุ น ในบริ ย่อ ยจะบัน ทึ่ยนแปลงมู ก บัญ ชี ด้วลยรำคำทุ นหั ก ค่ ำเผื ่ อกำรด้ เพื่อสะท้อนกำรเปลี ่ยนแปลงสิ ่เกิดษขึ้ทนั จำกกำรเปลี ค่ำสิ่ งตอบแทนที ่คำดว่ ำจะต้ออยค่งจ่ำำยต้นทุ น จะมี ก ำรปรั บ ในงบกำรเงิ น เฉพำะกิ จกำร เงิ่ งนตอบแทนที ลงทุ น ในบริ ย่อ ยจะบัน ทึ่ยนแปลงมู ก บัญ ชี ด้วลยรำคำทุ นหั ก ค่ ำเผื ่ อกำรด้ ในงบกำรเงิ น เฉพำะกิ จกำร เงิ่ งนตอบแทนที ลงทุ น ในบริ ษขึ้นทั จำกกำรเปลี ย่อ ยจะบัน ทึ่ยนแปลงมู ก บัญ ชี ด้วลยรำคำทุ น หั ก ค่ำเผื ่ อกำรด้ ยค่งจ่ำำยต้นทุ น จะมี ก ำรปรั บ เพื อ ่ สะท้ อ นกำรเปลี ่ ย นแปลงสิ ่ เ กิ ด ค่ ำ สิ ง ตอบแทนที ่ ค ำดว่ ำ จะต้อออยค่ ่ ในงบกำรเงิ น เฉพำะกิ จกำร เงิ่ งนตอบแทนที ลงทุ น ในบริ ษขึ้ทนั จำกกำรเปลี ย่อ ยจะบัน ทึ่ยนแปลงมู ก บัญ ชี ด้วลยรำคำทุ น หั ก ค่ ำเผื ่ อกำรด้ ำำยต้นทุ น จะมี ก ำรปรั บ เพื อ ่ สะท้ อ นกำรเปลี ่ ย นแปลงสิ ่ เ กิ ด ค่ ำ สิ ง ตอบแทนที ่ ค ำดว่ ำ จะต้ อ ่ ่ม่กิงตอบแทนที รำยชื ่อของบริ ษทั ย่อ่ยยของกลุ จกำรได้เปิ ดเผยไว้ ใจำกกำรเปลี นหมำยเหตุ่ยขนแปลงมู อ้ 13.1 ลค่ำสิ่ งตอบแทนที่คำดว่ำจะต้องจ่ เพื อ ่ สะท้ อ นกำรเปลี นแปลงสิ ่ เ กิ ด ขึ น งจ่ ้ รำยชื ่อของบริ ษทั ย่อ่ยยของกลุ จกำรได้เปิ ดเผยไว้ นหมำยเหตุ่ยขนแปลงมู อ้ 13.1 ลค่ำสิ่ งตอบแทนที่คำดว่ำจะต้องจ่ำำยย เพื่อสะท้ อนกำรเปลี นแปลงสิ่ม่กิงตอบแทนที ่เกิดขึ้นใจำกกำรเปลี รำยชื่อของบริ ษทั ย่อยของกลุ่มกิจกำรได้เปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุขอ้ 13.1 รำยชื่อของบริ ษทั ย่อยของกลุ่่มกิจกำรได้เปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุขอ้ 13.1 รำยชื่อของบริ ษทั ย่อยของกลุมกิจกำรได้เปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุขอ้ 13.1 27 รำยชื่อของบริ ษทั ย่อยของกลุ่มกิจกำรได้เปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุขอ้ 13.1
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
146 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่ อ) 3.3
บัญชีกลุ่มกิจกำร - เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) (ข) รำยกำรกับส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม กลุ่ ม กิ จ กำรปฏิ บ ัติ ต่ อ รำยกำรกับ ส่ ว นได้ เสี ยที่ ไ ม่ มี อ ำนำจควบคุ ม เช่ น เดี ย วกัน กับ ส่ ว นที่ เ ป็ นเจ้ำ ของของกลุ่ ม กิ จ กำร สำหรับกำรซื้ อส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม ผลต่ำงระหว่ำงสิ่ งตอบแทนที่จ่ำยให้และมูลค่ำตำมบัญชี ของสิ นทรัพย์สุทธิ ของ หุ ้นที่ซ้ื อมำในบริ ษทั ย่อยจะถูกบันทึกในส่วนของเจ้ำของ และกำไรหรื อขำดทุนจำกกำรขำยในส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม จะถูกบันทึกในส่ วนของเจ้ำของ (ค) กำรจำหน่ำยบริ ษทั ย่อย เมื่อกลุ่มกิ จกำรสู ญเสี ยกำรควบคุม ส่ วนได้เสี ยในหุ ้นที่เหลื ออยูจ่ ะวัดมูลค่ำใหม่โดยใช้มูลค่ำยุติธรรม กำรเปลี่ ยนแปลงในมูลค่ำ จะรับรู้ ในกำไรหรื อขำดทุน มูลค่ำยุติธรรมนั้นจะถือเป็ นมูลค่ำตำมบัญชี เริ่ มแรกของมูลค่ำของเงินลงทุนที่เหลื อของ บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ หรื อสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิ น สำหรั บทุกจำนวนที่เคยรับรู้ ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นในส่ วนที่ เกี่ ยวข้องกับกิ จกำรนั้น จะถูกจัดประเภทใหม่เสมือนว่ำกลุ่มกิจกำรมีกำรจำหน่ำยสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินที่เกี่ยวข้องนั้นโดยตรง (ง) บริ ษทั ร่ วม
บริ ษทั ร่ วมเป็ นกิ จกำรที่ กลุ่ มกิ จกำรมี อิทธิ พลอย่ำงเป็ นสำระสำคัญแต่ไม่ ถึงกับควบคุ มซึ่ งโดยทัว่ ไปก็คือกำรที่ กลุ่ มกิ จกำรถื อหุ ้ น ที่มีสิทธิออกเสี ยงอยูร่ ะหว่ำงร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 ของสิ ทธิ ออกเสี ยงทั้งหมด เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมรับรู ้ โดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย ในกำรแสดงในงบกำรเงิน รวม ภำยใต้วิธีส่วนได้เสี ย กลุ่ มกิ จกำรรั บรู ้ เงิ นลงทุนเมื่ อเริ่ มแรกด้วยรำคำทุน มูลค่ำตำมบัญชี ของ เงิ น ลงทุ น นี้ จะเพิ่ ม ขึ้ น หรื อลดลงในภำยหลังวัน ที่ ได้ม ำด้วยส่ วนแบ่ งก ำไรหรื อขำดทุ นของผู ้ได้รับ กำรลงทุ น ตำมสั ด ส่ วน ที่ผลู ้ งทุนมีส่วนได้เสี ยอยู่ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมของกลุ่มกิจกำรรวมถึงค่ำควำมนิ ยมที่ระบุได้ ณ วันที่ซ้ื อเงินลงทุน บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิ รวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิษจทั กำร ถ้ำส่ วนนได้ เสี ยของเจ้ำของในบริ ร่ วมนั้นลดลงแต่ยงั คงมีอิทธิ พลอย่ำงมี นัยสำคัญ กิ จกำรต้องจัดประเภทรำยกำรที่ เคยรับ รู ้ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31ในก ธันำไรขำดทุ วำคม พ.ศ.นเบ็2559 ดเสร็ จอื่นเข้ำกำไรหรื อขำดทุนเฉพำะสัดส่ วนในส่ วนได้เสี ยของเจ้ำของที่ลดลง 3
นโยบำยกำรบัญส่ชีวนแบ่ (ต่ อ)งกำไรหรื อขำดทุนของกลุ่มกิ จกำรในบริ ษทั ร่ วมที่เกิดขึ้นภำยหลังกำรได้มำจะรวมไว้ในกำไรหรื อขำดทุน และส่ วนแบ่ง ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ที่ เกิ ดขึ้ นภำยหลังกำรได้มำจะรวมไว้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ผลสะสมของกำรเปลี่ ยนแปลง งกำรได้ ำวข้ำษงต้ทั นย่ อจะปรั บปรุษงทั กัร่บวรำคำตำมบั ญชี ขเสีองเงิ นลงทุ น เมื ่อส่ำว(ต่ นแบ่ 3.3 บัญชีกภำยหลั ลุ่มกิจกำร - เงินมำดั ลงทุงกล่ นในบริ ยและบริ ม และส่ วนได้ ยในกิ จกำรร่ วมค้ อ) งขำดทุนของกลุ่มกิ จกำรในบริ ษทั ร่ วม มีมูลค่ำเท่ำกับหรื อเกิ นกว่ำมูลค่ำส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิ จกำรในบริ ษทั ร่ วมนั้น กลุ่มกิ จกำรจะไม่รับรู ้ ส่วนแบ่งขำดทุนอีกต่อไป กิจอกำรมี (ง) เว้ บรินษแต่ ทั ร่กวลุม่ม(ต่ ) ภำระผูกพันในหนี้ ของบริ ษทั ร่ วมหรื อรับว่ำจะจ่ำยหนี้ แทนบริ ษทั ร่ วม กลุ่ มกิ จกำรมี ก ำรพิ จำรณำทุ ก สิ้ น รอบระยะเวลำบัญ ชี ว่ำมี ข ้อบ่ งชี้ ที่ แสดงว่ำเงิ นลงทุ น ในบริ ษ ัท ร่ วมเกิ ดกำรด้อยค่ ำหรื อไม่ หำกมีขอ้ บ่งชี้ เกิ ดขึ้นกลุ่มกิจกำรจะคำนวณผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ โดยเปรี ยบเทียบมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนกับมูลค่ำตำมบัญชี ของ เงินลงทุน และรับรู ้ผลต่ำงไปที่ส่วนแบ่งกำไร(ขำดทุน)ของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบกำไรขำดทุน รำยกำรกำไรที่ยงั ไม่ได้เกิ ดขึ้นจริ งระหว่ำงกลุ่มกิ จกำรกับบริ ษทั ร่ วมจะตัดบัญชี เท่ำที่กลุ่มกิ จกำรมีส่วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมนั้น รำยกำรขำดทุนที่ ยงั ไม่ได้เกิ ดขึ้ นจริ งก็จะตัดบัญชี ในทำนองเดี ยวกัน เว้นแต่รำยกำรนั้นมี หลักฐำนว่ำสิ นทรัพย์ที่โอนระหว่ำงกัน
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
147 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษัท ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริ 3 ษทั ศรีนโยบำยกำรบั ญชี (ต่ อ)จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี3.3 สิ้นสุ ดวันบัทีญ่ ชี31กลุธั่มนกิวำคม จกำรพ.ศ. - เงิน2559 ลงทุนในบริษทั ย่ อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) 3
นโยบำยกำรบั (ง) ญบริชีษ(ต่ทั อร่ )วม (ต่อ) 3.3
กำรมี ญ ชี ว่ำวมีนได้ ข ้อบ่เสีงยชีในกิ บัญชีกกลุ ลุ่ม่ มกิกิจจกำร - เงิกนำรพิ ลงทุจนำรณำทุ ในบริษกทั สิย่้ นอรอบระยะเวลำบั ยและบริษทั ร่ วม และส่ กำรร่ ำวเงิมค้นำลงทุ (ต่อน) ในบริ ษ ัท ร่ วมเกิ ด กำรด้อยค่ ำหรื อไม่ ้ ที่ แจสดงว่ หำกมีขอ้ บ่งชี้ เกิดขึ้นกลุ่มกิจกำรจะคำนวณผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ โดยเปรี ยบเทียบมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนกับมูลค่ำตำมบัญชี ของ (ง) เงิบรินษลงทุ ทั ร่ วนมและรั (ต่อ)บรู ้ผลต่ำงไปที่ส่วนแบ่งกำไร(ขำดทุน)ของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบกำไรขำดทุน รำยกำรก ำไรทีก่ยำรพิ งั ไม่จไำรณำทุ ด้เกิ ดขึ้นกจริ ำงกลุ่มกิจกำรกั ดบัญำชีเงิเท่นำลงทุ ที่กลุน่มในบริ กิ จกำรมี ยในบริ ษทั ำหรื ร่ วมนั กลุ่ ม กิ จกำรมี สิ้ นงระหว่ รอบระยะเวลำบั ญ ชี วบ่ำบริ มี ขษ้อทั บ่ร่งวชีมจะตั ษ ัทสร่่ ววนได้ มเกิ ดเสีกำรด้ อยค่ อไม่ ้น ้ ที่ แสดงว่ รำยกำรขำดทุ ดขึ้ นจริำนวณผลขำดทุ งก็จะตัดบัญชีนในท ำนองเดี น เว้นแต่ รำยกำรนั ลักำฐำนว่ หำกมีขอ้ บ่งชี้ เนกิ ดทีขึ่ ย้ นงั ไม่ กลุไ่มด้กิเจกิกำรจะค จำกกำรด้ อยค่ยวกั ำ โดยเปรี ยบเที ยบมูลค่้ นำทีมี่คหำดว่ จะได้ำรสิับนคืทรั นกัพบย์มูทลี่ โค่อนระหว่ ำตำมบัญชีำงกั ของน กำรด้นอและรั ยค่ำ บรู ้ผลต่ำงไปที่ส่วนแบ่งกำไร(ขำดทุน)ของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบกำไรขำดทุน เงิเกินดลงทุ บริ ษทั ร่ วมจะเปลี ่ ยนนโยบำยกำรบั ญชี เท่ำำงกลุ ที่จำเป็ ่อให้บสบริอดคล้ งกับนโยบำยกำรบั จำก ่มกินเพื รำยกำรก ำไรที่ยงั ไม่ ได้เกิ ดขึ้นจริ งระหว่ จกำรกั ษทั ร่ อวมจะตั ดบัญชี เท่ำที่กญลุชี่มขกิองกลุ จกำรมี่มกิสจ่ วกำร นได้กเสีำไรและขำดทุ ยในบริ ษทั ร่ วนมนั ้น กำรลดสั ดส่ วนในบริ ำไรหรื รำยกำรขำดทุ นที่ ยงั ไม่ษทไั ด้ร่ เวกิมจะรั ดขึ้ นบจริรูง้ใก็นกจะตั ดบัญอชีขำดทุ ในทนำนองเดี ยวกัน เว้นแต่รำยกำรนั้นมี หลักฐำนว่ำสิ นทรัพย์ที่โอนระหว่ำงกัน เกิดกำรด้อยค่ำ ในงบกำรเงิน เฉพำะกิ จกำร เงิ นลงทุ น ในบริ ษทั ร่ วม จะบัน ทึ ก บัญชี ด้วยรำคำทุ น หัก ค่ ำเผื่ อกำรด้อยค่ ำ ต้นทุ น จะมี กำรปรั บ เพื่อษสะท้ นกำรเปลี ่ ยนแปลงสิ่ งตอบแทนที ่ ยนแปลงมู ลค่ำของสิ่ งญตอบแทนที งจ่ำย ต้นทุนจะรวม บริ ทั ร่ วอมจะเปลี ่ ยนนโยบำยกำรบั ญชี เท่ำที่จเกิำเป็ดขึนเพื ่อให้สอดคล้ องกับนโยบำยกำรบั ชีของกลุ่ม่คกิำดว่ จกำรำต้กอำไรและขำดทุ นจำก ้ นจำกกำรเปลี ต้นทุนทำงตรงที ่เกี่ยวข้ ำของเงิ นนีน้ กำรลดสั ดส่ วนในบริ ษทัอร่งจำกกำรได้ วมจะรับรู ้ใมนก ำไรหรืนลงทุ อขำดทุ รำยชื่อของบรินษเฉพำะกิ ทั ร่ วมได้จกำร เปิ ดเผยไว้ ในหมำยเหตุ ในงบกำรเงิ เงิ นลงทุ นในบริ ษขทั อ้ ร่13.2 วม จะบัน ทึ ก บัญชี ด้วยรำคำทุ น หัก ค่ ำเผื่ อกำรด้อยค่ ำ ต้น ทุ น จะมี กำรปรั บ เพื่อสะท้อนกำรเปลี่ยนแปลงสิ่ งตอบแทนที่เกิ ดขึ้นจำกกำรเปลี่ ยนแปลงมูลค่ำของสิ่ งตอบแทนที่คำดว่ำต้องจ่ำย ต้นทุนจะรวม (จ) กำรร่ ต้นทุนวมกำรงำน ทำงตรงที่เกี่ยวข้องจำกกำรได้มำของเงินลงทุนนี้ เงิรำยชื นลงทุ นในกำรร่ จัดประเภทเป็ ่ อของบริ ษทั ร่วมกำรงำนจะถู มได้เปิ ดเผยไว้กในหมำยเหตุ ขอ้ นกำรด 13.2 ำเนิ นงำนร่ วมกัน หรื อกำรร่ วมค้ำ โดยขึ้นอยู่กบั สิ ทธิ และภำระผูกพัน ตำมสั ญ ญำของผูล้ งทุ น แต่ ล ะรำย กลุ่ ม กิ จกำรได้ป ระเมิ นลัก ษณะของกำรร่ วมกำรงำนที่ มี แ ละพิ จำรณำว่ำเป็ น กำรร่ วมค้ำ ่ งกำรร่ วมค้ำรับรู ้เงินลงทุนโดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย (จ) ซึกำรร่ วมกำรงำน ตำมวิ ธีสน่ วในกำรร่ นได้เสี ยวเงิมกำรงำนจะถู น ลงทุ นในกำรร่ มค้ำรับรู ้ เมืนกำรด ่ อเริ่ ม แรกด้ ยรำคำทุ บ ปรุวมค้ งมูลำ ค่โดยขึ ำตำมบั ญ่กชีบัข องเงิ ลงทุ นเพื่ อกรัพับนรู ้ เงินลงทุ กจัดวประเภทเป็ ำเนิ นวงำนร่ วมกันนและปรั หรื อกำรร่ สิ ทธินและภำระผู ้ นอยู ส่ตำมสั วนแบ่ญงญำของผู กำไรหรืล้ องทุ ขำดทุ นและกำรเปลี ำไรขำดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่นของผู ไ้ ด้รับกำรลงทุ ดส่ำวเป็นที ลุ่มกิวจมค้ กำรำ น แต่ ล ะรำย กลุ่ ม่ ยกินแปลงในก จกำรได้ป ระเมิ น ลัก ษณะของกำรร่ วมกำรงำนที ่ มี แ ละพินจตำมสั ำรณำว่ น ่ กกำรร่ ่ วนได้วมค้ ่มกิเสีจยกำรในกำรร่ วมค้ำมีจำนวนเท่ำกับหรื อสู งกว่ำส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิ จกำรในกำร เสี ยำรัหำกส่ ซึมี่ สงกำรร่ บรู ้เงินวนแบ่ ลงทุนงขำดทุ โดยใช้นวของกลุ ิธีส่วนได้ ร่ วมค้ำนั้น (ซึ่ งรวมถึ งส่ วนได้เสี ยระยะยำวใด ๆ ซึ่ งโดยเนื้ อหำแล้วถื อเป็ นส่ วนหนึ่ งของเงินลงทุนสุ ทธิ ของกลุ่มกิ จกำรในกำร ร่ วมค้ธำีนัส้ ่นวนได้ ) กลุเ่มสีกิยจเงิกำรจะไม่ รับรู้ ส่วนแบ่ ่ เกิ นกว่ ำส่ วนได้นเและปรั สี ยของตนในกำรร่ มค้ำนัญ้ นชีนอกจำกว่ ำกลุน่ มเพืกิ่ อจรักำร ตำมวิ น ลงทุนในกำรร่ วมค้ำงรัในขำดทุ บ รู ้ เมื่ อเริน่ มทีแรกด้ วยรำคำทุ บ ปรุ งมูลค่ ำวตำมบั ข องเงิน ลงทุ บ รู้ ำระผูงกกพัำไรหรื น หรื ออได้ จ่ำยเงินนและกำรเปลี เพื่อชำระภำระผู กพันแทนกำรร่ วมค้นำไปแล้ ว จอื่นของผูไ้ ด้รับกำรลงทุนตำมสัดส่ วนที่ กลุ่มกิ จกำร ส่มีภวนแบ่ ขำดทุ ่ ยนแปลงในก ำไรขำดทุ เบ็ดเสร็ มีส่วนได้เสี ย หำกส่ วนแบ่งขำดทุนของกลุ่มกิ จกำรในกำรร่ วมค้ำมีจำนวนเท่ำกับหรื อสู งกว่ำส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิ จกำรในกำร รำยกำรก งั ไม่ ไงด้ส่เกิวดนได้ ขึ้ นเจริสี ยงระยะยำวใด ระหว่ำงกลุ่ มๆกิ จซึกำรกั บกำรร่ วมค้วำถืจะตั บัญวชีนหนึ เท่ ำที่ งของเงิ ่ กลุ่ มกินจกำรมี เสี ยในกำรร่ วมค้ำนั้น ่มกิ จกำรในกำร ร่ วมค้ำนั้นำไรที (ซึ่ ง่ ยรวมถึ ่ งโดยเนื อเป็ดนส่ ลงทุนสสุ่ วทนได้ ธิ ของกลุ ้ อหำแล้ รำยกำรขำดทุ นที่ ม่ ยกิงั จไม่ ได้เกิ ดขึร้ นั บจริรู ้ สง่ก็วนแบ่ จะตัดงบัในขำดทุ ญชี ในทนำนองเดี ยวกัำส่นวเว้นได้ นแต่เสีรยำยกำรนั พย์ที่ โอนระหว่ ร่ วมค้ำนั้น) กลุ กำรจะไม่ ที่ เกิ นกว่ ของตนในกำรร่ วมค้ำำนัสิ้ น ทรั นอกจำกว่ ำกลุ่ มกิำจงกั กำรน ้ นมี หลักฐำนว่ เกิ กำรด้กอพัยค่นำหรืกำรร่ ำจะเปลี ชีเท่ำที่จำเป็ เพื่อให้วสอดคล้องกับนโยบำยกำรบัญชี ของกลุ่มกิจกำร ่ำยเงิ มีภดำระผู อได้วจมค้ นเพื่อ่ยชนนโยบำยกำรบั ำระภำระผูกพันญแทนกำรร่ วมค้นำไปแล้ รำยชื ่ อของกิ จกำรร่ ในหมำยเหตุ อ้ 13.3 รำยกำรก ำไรที ่ ยงั ไม่วไมค้ ด้เำกิได้ ดขึเปิ้ นดเผยไว้ จริ งระหว่ ำงกลุ่ มกิ จขกำรกั บกำรร่ วมค้ำจะตัดบัญชี เท่ ำที่ กลุ่ มกิ จกำรมี ส่วนได้เสี ยในกำรร่ วมค้ำนั้น รำยกำรขำดทุนที่ ยงั ไม่ได้เกิ ดขึ้ นจริ งก็จะตัดบัญชี ในทำนองเดี ยวกัน เว้นแต่รำยกำรนั้นมี หลักฐำนว่ำสิ นทรั พย์ที่ โอนระหว่ำงกัน เกิดกำรด้อยค่ำ กำรร่ วมค้ำจะเปลี่ยนนโยบำยกำรบัญชี เท่ำที่จำเป็ น เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบำยกำรบัญชี ของกลุ่มกิจกำร 29 รำยชื่อของกิจกำรร่ วมค้ำได้เปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุขอ้ 13.3
148 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.4
กำรแปลงค่ำเงินตรำต่ ำงประเทศ (ก)
สกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนินงำนและสกุลเงินที่ใช้นำเสนองบกำรเงิน รำยกำรที่รวมในงบกำรเงินของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มกิจกำรถูกวัดมูลค่ำโดยใช้สกุลเงินของสภำพแวดล้อมทำงเศรษฐกิจหลักที่ บริ ษทั ดำเนิ นงำนอยู่ (สกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนิ นงำน) งบกำรเงินรวมแสดงในสกุลเงินบำท ซึ่ งเป็ นสกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนิ นงำน และสกุลเงินที่ใช้นำเสนองบกำรเงินของบริ ษทั
(ข)
รำยกำรและยอดคงเหลือ รำยกำรที่เป็ นสกุลเงินตรำต่ำงประเทศแปลงค่ำเป็ นสกุลเงินบำทโดยใช้อตั รำแลกเปลี่ ยน ณ วันที่เกิ ดรำยกำรหรื อวันที่ตีรำคำ หำกรำยกำรนั้นถูกวัดมูลค่ำใหม่ รำยกำรกำไรและรำยกำรขำดทุนที่ เกิ ดจำกกำรรั บหรื อจ่ำยชำระที่ เป็ นเงินตรำต่ำงประเทศ และที่เกิดจำกกำรแปลงค่ำสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่เป็ นตัวเงินซึ่ งเป็ นเงินตรำต่ำงประเทศด้วยอัตรำแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้ นปี ได้บนั ทึกไว้ในกำไรหรื อขำดทุน เมื่ อ มี ก ำรรั บ รู ้ รำยกำรก ำไรหรื อ ขำดทุ น ของรำยกำรที่ ไม่ เป็ นตัวเงิ น ไว้ใ นก ำไรขำดทุ น เบ็ ด เสร็ จอื่ น องค์ป ระกอบของ อัตรำแลกเปลี่ ยนทั้งหมดของก ำไรหรื อขำดทุ น นั้นจะรั บ รู้ ไว้ใ นก ำไรขำดทุ น เบ็ ด เสร็ จอื่ น ด้วย ในทำงตรงข้ำมกำรรั บ รู ้ ก ำไรหรื อ ขำดทุ น ของรำยกำรที่ ไม่ เป็ นตัวเงิ น ไว้ในก ำไรหรื อขำดทุ น องค์ ป ระกอบของอัตรำแลกเปลี่ ยนทั้งหมดของ กำไรหรื อขำดทุนนั้นจะรับรู ้ ไว้ในกำไรขำดทุนด้วย
(ค)
กลุ่มกิจกำร กำรแปลงค่ำผลกำรดำเนิ นงำนและฐำนะกำรเงิ นของบริ ษทั ในกลุ่ มกิ จกำร (ที่ มิใช่ สกุล เงิน ของเศรษฐกิ จที่มี ภำวะเงิน เฟ้ อ รุ น แรง) ซึ่ งมี ส กุ ล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นกำรด ำเนิ น งำนแตกต่ ำงจำกสกุ ล เงิ น ที่ ใ ช้ น ำเสนองบกำรเงิ น ได้ถู ก แปลงค่ ำเป็ นสกุ ล เงิ น ที่ใช้นำเสนองบกำรเงินดังนี้ -
สิ นทรั พย์และหนี้ สินที่ แสดงอยู่ในงบแสดงฐำนะกำรเงินแต่ละงวดแปลงค่ำด้วยอัตรำปิ ด ณ วันที่ ของแต่ละงบแสดง ฐำนะกำรเงินนั้น รำยได้และค่ำใช้จ่ำยในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ แปลงค่ำด้วยอัตรำถัวเฉลี่ย และ ผลต่ำงของอัตรำแลกเปลี่ยนทั้งหมดรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น
ค่ำควำมนิ ยมและกำรปรับมูลค่ำยุติธรรมที่เกิดจำกกำรซื้ อหน่วยงำนในต่ำงประเทศถือเป็ นสิ นทรัพย์และหนี้ สินของหน่ วยงำน ในต่ำงประเทศนั้นและแปลงค่ำด้วยอัตรำปิ ด
149 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.5
เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพำะบริ ษทั เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดรวมถึ งเงินสดในมือ เงินฝำกธนำคำร ประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม เงินลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภำพคล่องสู งซึ่ งมีอำยุไม่เกินสำมเดื อนนับจำกวันที่ได้มำ และเงินเบิกเกินบัญชี เงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไว้ในส่วนของของหนี้ สินหมุนเวียนในงบแสดงฐำนะกำรเงินรวมและงบแสดงฐำนะกำรเงินเฉพำะบริ ษทั เงินฝำกสถำบันกำรเงินที่มีขอ้ จำกัดในกำรใช้ได้แสดงไว้แยกต่ำงหำกในบัญชี “เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน” ภำยใต้สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนในงบแสดงฐำนะกำรเงิน
3.6
ลูกหนีก้ ำรค้ ำ ลูกหนี้ ก ำรค้ำรั บรู ้ เริ่ มแรกด้วยมูลค่ ำตำมใบแจ้งหนี้ และจะวัดมู ลค่ำต่อมำด้วยจำนวนเงิน ที่ เหลื ออยู่หักด้วยค่ ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งประมำณจำกกำรสอบทำนยอดคงเหลื อ ณ วันสิ้ นปี ค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญหมำยถึ งผลต่ำงระหว่ำงรำคำตำมบัญชี ของลูกหนี้ กำรค้ำ เปรี ยบเทียบกับ มูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับจำกลู กหนี้ กำรค้ำ หนี้ สู ญที่เกิ ดขึ้ นจะรับ รู ้ ไว้ในกำไรหรื อขำดทุนโดยถื อเป็ นส่ วนหนึ่ งของ ค่ำใช้จ่ำยในกำรบริ หำร
3.7
สินค้ำคงเหลือ สิ นค้ำคงเหลือแสดงด้วยรำคำทุนหรื อมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ำกว่ำ รำคำทุนของสิ นค้ำคำนวณโดยวิธีถวั เฉลี่ ยถ่วงน้ ำหนัก ต้นทุนของกำรซื้ อประกอบด้วยรำคำซื้ อ และค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกำรซื้อสิ นค้ำนั้น เช่น ค่ำอำกรขำเข้ำ และค่ำขนส่ ง หักด้วย ส่ วนลดที่ เกี่ ยวข้องทั้งหมด ส่ วนยอมให้ หรื อเงิ นที่ ให้รับคื นจำกกำรจ่ำยเงินตำมเงื่ อนไข ต้นทุนของสิ นค้ำสำเร็ จรู ปและงำนระหว่ำงทำ ประกอบด้วยค่ำวัตถุ ดิบ ค่ำแรงทำงตรง ค่ำใช้จ่ำยอื่ นทำงตรง และค่ำโสหุ ้ยในกำรผลิ ตซึ่ งปั นส่ วนตำมเกณฑ์กำรดำเนิ นงำนตำมปกติ แต่ไม่รวมต้นทุนกำรกู้ยืม มูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับประมำณจำกรำคำปกติ ที่คำดว่ำจะขำยได้ตำมปกติของธุ รกิ จหักด้วยค่ำใช้จ่ำยที่ จำเป็ น เพื่ อให้ สิ น ค้ำนั้ นส ำเร็ จรู ป รวมถึ งค่ ำใช้ จ่ ำยในกำรขำย กลุ่ ม กิ จ กำรบัน ทึ ก บัญ ชี ค่ ำ เผื่ อ กำรลดมู ล ค่ ำของสิ น ค้ำเก่ ำ ล้ำสมัย หรื อ เสื่ อมคุณภำพเท่ำที่จำเป็ น
150 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.8
เงินลงทุน กลุ่ ม กิ จกำรจัด ประเภท เงิ น ลงทุ น ที่ น อกเหนื อ จำกเงิ น ลงทุ น ในบริ ษัท ย่อ ยและบริ ษ ัท ร่ วม และกำรร่ วมค้ำเป็ น 4 ประเภท คื อ 1. เงินลงทุนเพื่อค้ำ 2. เงิ นลงทุนที่ถือไว้จนครบกำหนด 3. เงินลงทุนเผื่อขำย และ 4. เงินลงทุนทัว่ ไป กำรจัดประเภทขึ้ นอยูก่ บั จุดมุ่งหมำย ขณะลงทุน ฝ่ ำยบริ หำรจะเป็ นผูก้ ำหนดกำรจัดประเภทที่เหมำะสมสำหรับเงินลงทุน ณ เวลำลงทุนและทบทวนกำรจัดประเภทเป็ นระยะ (ก)
เงินลงทุนเพื่อค้ำ คื อ เงินลงทุนเพื่อจุดมุ่งหมำยหลักในกำรหำกำไรจำกกำรเปลี่ ยนแปลงรำคำในช่ วงเวลำสั้นและแสดงรวม ไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน
(ข)
เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบกำหนด คือ เงินลงทุนที่มีกำหนดเวลำและผูบ้ ริ หำรตั้งใจแน่ วแน่ และมี ควำมสำมำรถถื อไว้จนครบ กำหนดได้แสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่จะครบกำหนดภำยใน 12 เดือนนับแต่วนั สิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน
(ค)
เงินลงทุนเผื่อขำย คือ เงินลงทุนที่จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลำและอำจขำยเพื่อเสริ มสภำพคล่องหรื อเมื่อรำคำตลำดหรื ออัตรำ ดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณี ที่ฝ่ำยบริ หำรแสดงเจตจำนงที่จะถื อไว้ในช่วงเวลำ น้อยกว่ำ 12 เดือนนับแต่วนั สิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน ก็จะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียนหรื อเว้นแต่กรณี ที่ฝ่ำยบริ หำร มีควำมจำเป็ นที่ตอ้ งขำยเพื่อเพิ่มเงินทุนดำเนินงำน จึงจะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียนก็จะแสดงไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน
(ง)
เงินลงทุนทัว่ ไป คือ เงินลงทุนในตรำสำรทุนที่ไม่มีตลำดซื้ อขำยคล่องรองรับ
เงินลงทุนทั้ง 4 ประเภทรับรู ้ มูลค่ำเริ่ มแรกด้วยรำคำทุน ซึ่ งหมำยถึ งมูลค่ำยุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ให้ไปเพื่อให้ได้มำซึ่ งเงินลงทุน นั้นรวมทั้งค่ำใช้จ่ำยในกำรทำรำยกำร เงินลงทุนเพื่อค้ำและเงินลงทุนเผื่อขำยวัดมูลค่ำในเวลำต่อมำด้วยมูลค่ำยุติธรรม มูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนวัดตำมรำคำเสนอซื้ อที่ อ้ำงอิงจำกตลำดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ณ วันทำกำรสุ ดท้ำยของวันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน โดยอ้ำงอิงรำคำเสนอซื้ อล่ำสุ ดจำก ตลำดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ งประเทศไทย รำยกำรก ำไรและขำดทุ น ที่ ย งั ไม่ เกิ ด ขึ้ นจริ ง ของเงิ น ลงทุ น เพื่ อ ค้ำรั บ รู ้ ใ นงบก ำไรขำดทุ น รำยกำรกำไรและขำดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งของเงินลงทุนเผื่อขำยรับรู ้ในส่วนของกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น เงินลงทุนที่จะถื อไว้จนครบกำหนดวัดมูลค่ำภำยหลังกำรได้มำด้วยวิธีรำคำทุนตัดจำหน่ ำยตำมอัตรำดอกเบี้ยที่ แท้จริ ง หักด้วยค่ำเผื่อ กำรด้อยค่ำ เงินลงทุนทัว่ ไป แสดงด้วยรำคำทุนหักค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ กลุ่ ม กิ จกำรจะทดสอบค่ ำเผื่ อ กำรด้อ ยค่ ำของมู ล ค่ ำของเงิ น ลงทุ น เมื่ อ มี ข ้อ บ่ งชี้ ว่ ำเงิ น ลงทุ น นั้น อำจมี ค่ ำเผื่ อ กำรด้อ ยค่ ำเกิ ด ขึ้ น หำกรำคำตำมบัญชีของเงินลงทุนสู งกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน กลุ่มกิจกำรจะบันทึกรำยกำรขำดทุนจำกค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำรวมไว้ใน งบกำไรขำดทุน ในกำรจำหน่ ำยเงินลงทุน ผลต่ำงระหว่ำงมูลค่ำยุติธรรมของผลตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจำกกำรจำหน่ ำยเมื่ อเปรี ยบเที ยบกับรำคำตำมบัญชี ของเงินลงทุนนั้นจะบันทึกรวมอยูใ่ นกำไรหรื อขำดทุน กรณี ที่จำหน่ ำยเงินลงทุนที่ถือไว้ในตรำสำรหนี้ หรื อตรำสำรทุนชนิ ดเดี ยวกัน ออกไปบำงส่ วน รำคำตำมบัญชี ของเงินลงทุนที่จำหน่ ำยจะกำหนดโดยใช้วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักด้วยรำคำตำมบัญชี จำกจำนวนทั้งหมด ที่ถือไว้
151 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.9
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ ที่ดิน และอำคำรซึ่ งส่ วนใหญ่ประกอบด้วยโรงงำนและสำนักงำน แสดงด้วยมูลค่ำยุติธรรมตำมรำคำประเมินซึ่ งผูป้ ระเมินรำคำอิสระ ภำยนอกได้ป ระมำณกำรไว้แ ละจะทบทวนกำรประเมิ น ทุ ก ๆ 5 ปี หั ก ด้วยค่ ำเสื่ อ มรำคำสะสมของอำคำร ณ วัน ที่ ตีร ำคำใหม่ จะน ำค่ ำเสื่ อมรำคำสะสมหั กออกจำกมู ลค่ ำตำมบัญชี ก่ อนหั กค่ ำเสื่ อมสะสมและผลขำดทุ นจำกกำรด้อยค่ ำสะสม เพื่ อให้ มู ลค่ ำสุ ทธิ ที่ ป รั บใหม่ แ สดงในรำคำที่ ตี ใ หม่ ข องสิ น ทรั พ ย์ ที่ ดิ น และอำคำรทั้ง หมดวัด มู ล ค่ ำด้ ว ยรำคำทุ น หั ก ด้ว ยค่ ำเสื่ อ มรำคำสะสม ต้นทุนเริ่ มแรกจะรวมต้นทุนทำงตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรซื้ อสิ นทรัพย์น้ นั ต้นทุนที่เกิ ดขึ้นภำยหลังจะรวมอยูใ่ นมูลค่ำตำมบัญชี ของสิ นทรัพย์หรื อรับรู้แยกเป็ นอีกสิ นทรัพย์หนึ่งตำมควำมเหมำะสม เมื่อต้นทุนนั้น เกิ ดขึ้ นและคำดว่ ำจะให้ ป ระโยชน์ เชิ งเศรษฐกิ จในอนำคตแก่ กลุ่ ม กิ จกำรและต้น ทุ น ดังกล่ ำวสำมำรถวัด มู ลค่ ำได้อย่ำงน่ ำเชื่ อถื อ มู ล ค่ ำตำมบัญชี ของชิ้ นส่ วนที่ ถู กเปลี่ ยนแทนจะถู ก ตัด รำยกำรออก ส ำหรั บ ค่ ำซ่ อมแซมและบ ำรุ งรั กษำอื่ น ๆ กลุ่ ม กิ จกำรจะรั บรู้ ต้นทุนดังกล่ำวเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำไรหรื อขำดทุนเมื่อเกิดขึ้น กำรตีรำคำที่ดินและอำคำรใหม่ทำให้มูลค่ำตำมบัญชี ที่เพิ่มขึ้นจะรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นและจะแสดงอยูใ่ นส่ วนเกินทุนจำกกำร ตีรำคำสิ นทรัพย์ในส่ วนของเจ้ำของ และหำกมูลค่ำของส่ วนที่เคยมีกำรตีรำคำเพิ่มนั้นลดลงกลุ่มกิ จกำรต้องนำส่ วนที่ลดลงจำกกำรตีรำคำใหม่ ไปรั บรู ้ ในก ำไรขำดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่ น และลดส่ วนเกิ นทุ นจำกกำรตี รำคำสิ นทรั พย์ข ้ำงต้นที่ อยู่ในส่ วนของเจ้ำของลดลงตำมไปด้วย ส่ วนที่ ลดลงที่ เหลื อจะบันทึ กไปยังก ำไรหรื อขำดทุ น ในแต่ ละปี ผลต่ ำงระหว่ำงวิ ธีคิ ดค่ ำเสื่ อมรำคำที่ ค ำนวณจำกมู ลค่ ำตำมบัญ ชี ของสิ นทรั พย์ที่ ตีรำคำใหม่ ที่บนั ทึ กไปยังกำไรหรื อขำดทุน กับค่ำเสื่ อมรำคำที่ ค ำนวณจำกรำคำทุ นเดิ มของสิ นทรั พย์ จะถู กโอนจำก ส่วนเกินทุนจำกกำรตีรำคำสิ นทรัพย์ไปยังกำไรสะสม ที่ดินไม่มีกำรคิดค่ำเสื่ อมรำคำ ค่ำเสื่ อมรำคำของสิ นทรัพย์อื่นคำนวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพื่อลดรำคำทุน หรื อรำคำที่ตีใหม่แต่ละชนิ ด ตลอดอำยุกำรให้ประโยชน์ที่ประมำณกำรไว้ของสิ นทรัพย์ดงั ต่อไปนี้ ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำง เครื่ องจักรและอุปกรณ์ ยำนพำหนะ เครื่ องตกแต่งและเครื่ องใช้สำนักงำน
5 - 30 ปี 20 - 40 ปี 5 - 10 ปี 5 ปี 3 - 5 ปี
ทุกสิ้นรอบรอบระยะเวลำรำยงำน ได้มีกำรทบทวนและปรับปรุ งมูลค่ำคงเหลือและอำยุกำรให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ให้เหมำะสม ในกรณี ที่มูลค่ำตำมบัญชี สูงกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน มูลค่ำตำมบัญชี จะถูกปรับลดให้เท่ำกับมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนทันที ก ำไรหรื อ ขำดทุ น ที่ เกิ ด จำกกำรจำหน่ ำยที่ ดิ น อำคำรและอุ ป กรณ์ ค ำนวณโดยเปรี ย บเที ย บจำกสิ่ งตอบแทนสุ ท ธิ ที่ ได้ รับ จำก กำรจำหน่ำยสิ นทรัพย์กบั มูลค่ำตำมบัญชี ของสิ นทรัพย์ และจะรับรู้บญั ชี กำไร(ขำดทุน)อื่น -สุทธิ ในงบกำไรหรื อขำดทุน ในกำรจำหน่ำยสิ นทรัพย์ที่มีกำรตีรำคำใหม่ ส่ วนเกินทุนจำกกำรตีรำคำสิ นทรัพย์จะโอนไปยังกำไรสะสม
152 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัดัสสทรีทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษัททั ศรี และบริ ษทั ษย่อัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.10
สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม สวนยำงพำรำและสวนปำล์มรับรู ้เมื่อเริ่ มแรกตำมรำคำทุน หักด้วยค่ำตัดจำหน่ำยสะสมและค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) ต้นทุนส่ วนใหญ่ประกอบด้วย กำรปรับสภำพพื้นที่ กำรปรับหน้ำดิ นและกำรทำร่ องน้ ำ กำรปลูก กำรปรำบวัชพืชและกำรใส่ ปุ๋ย ซึ่ งเป็ น ต้น ทุ น ที่ เกี่ ยวข้อ งกับ กำรปลู ก ตั้ง แต่ ย งั ไม่ ใ ห้ ผลผลิ ต จนกระทั่ง ต้น ยำงพำรำและต้น ปำล์ ม ให้ ผ ลผลิ ต (ซึ่ งต้น ยำงใช้ ระยะเวลำ โดยประมำณ 7 ปี และต้น ปำล์ม ใช้ระยะเวลำ 2 - 3 ปี ) ถื อ เป็ นต้น ทุ น ของสวนยำงพำรำและสวนปำล์ม กลุ่ ม กิ จกำรคิ ด ต้น ทุ น สวนยำงพำรำและสวนปำล์มที่ให้ผลเป็ นต้นทุนกำรผลิต หลังจำกที่ตน้ ยำงและต้นปำล์มให้ผลผลิต โดยใช้วิธีเส้นตรงภำยในระยะเวลำ 20 ปี
3.11
สินทรัพย์ไม่ มีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กลุ่มกิ จกำรบันทึ กเป็ นสิ นทรัพย์สำหรับสิ ทธิ กำรใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยที่ซ้ื อมำและมีลกั ษณะเฉพำะ โดยคำนวณจำกต้นทุน ในกำรได้ม ำและกำรดำเนิ นกำรให้ โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ น้ ันสำมำรถนำมำใช้งำนได้ตำมประสงค์ โดยจะตัดจำหน่ ำยตลอดอำยุ ประมำณกำรให้ประโยชน์ภำยในระยะเวลำ 3 - 10 ปี ต้น ทุนที่ ใช้ในกำรพัฒ นำและบำรุ งรั กษำโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ ให้ บ ันทึ ก เป็ นค่ ำใช้จ่ำยเมื่ อเกิ ดขึ้ น ต้นทุ นโดยตรงในกำรจัด ท ำ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่กลุ่มกิจกำรเป็ นผูด้ ูแลและมีลกั ษณะเฉพำะเจำะจง ซึ่ งอำจให้ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจที่มำกกว่ำต้นทุนเป็ นเวลำ เกิ นกว่ำหนึ่ งปี จะบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ต้นทุนโดยตรงรวมถึ งต้นทุนพนักงำนที่ทำงำนในทีมพัฒนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้องในจำนวนเงินที่เหมำะสม
3.12
อสั งหำริมทรัพย์ เพื่อกำรลงทุน
อสังหำริ มทรั พย์ที่ถือครองโดยกลุ่ มกิ จกำรเพื่ อหำประโยชน์จำกรำยได้ค่ ำเช่ ำ หรื อจำกกำรเพิ่ มมูลค่ ำของสิ นทรั พย์ หรื อทั้งสองอย่ำง และ ไม่ได้มีไว้ใช้งำนโดยกลุ่ม กิ จกำร สิ นทรั พย์ดงั กล่ ำวถู กจัดประเภทเป็ นอสังหำริ มทรั พย์เพื่อกำรลงทุน รวมถึ งอสังหำริ มทรั พย์ที่ อยู่ ระหว่ำงกำรก่อสร้ำงเพื่อพัฒนำเป็ นอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนในอนำคต บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิ อสังหำริ มนทรัรวมและงบกำรเงิ พย์เพื่อกำรลงทุนวัเฉพำะกิ ดมูลค่ำจเริกำร ่ มแรกด้วยรำคำทุนซึ่ งรวมถึงต้นทุนในกำรทำรำยกำร และวัดมูลค่ำภำยหลังกำรรับรู ้ เริ่ มแรก สำหรับปี สิ้นสุ ดวันด้ทีวยมู ่ 31ลธัค่นำยุวำคม พ.ศ. 2559นโดยผูป้ ระเมินอิสระ กำรปรับมูลค่ำของอสังหำริ มทรัพย์ให้เป็ นมูลค่ำยุติธรรมจะถูกรับรู้เป็ นกำไรขำดทุน ติธรรมซึ ่ งประเมิ 3
ต้นทุญนทีชี ่เ(ต่ กิ ดอขึ)้ นภำยหลังจะบันทึกรวมในมูลค่ำตำมบัญชี ของสิ นทรัพย์ก็ต่อเมื่อมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ ว่ำกลุ่ มกิ จกำรจะได้รับ นโยบำยกำรบั ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนำคตจำกต้น ทุนนั้น และสำมำรถวัด รำคำมู ลค่ำต้น ทุนได้อย่ำงน่ ำเชื่ อถื อ ต้นทุน ในกำรซ่ อมแซมและ 3.12 อสั มทรัพย์บเรูพื้เป็่อกำรลงทุ (ต่่อ)เกิดรำยกำร บำรุงหำริ งรักษำจะรั นค่ำใช้จน่ำยเมื หลังจำกรับรู้ รำยกำรเมื่อเริ่ มแรกแล้ว อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนบันทึกด้วยมูลค่ำยุติธรรม กำรวัดมูลค่ำจะกระทำ ณ วันสิ้ นรอบ ระยะเวลำรำยงำนโดยใช้กำรประเมิ นมูลค่ำจำกผูป้ ระเมินรำคำอิสระซึ่ งมี คุณสมบัติทำงวิชำชี พที่เกี่ ยวข้องและประสบกำรณ์ในกำร ตีรำคำในทำเลพื้นที่ และในประเภทของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่ เกี่ ยวข้อง กำรประเมิ นนี้ ใช้เป็ นหลักเกณฑ์สำหรับมูลค่ำตำมบัญชี
153 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร งวัแอโกรอิ สทรีจำกัจำพ.ศ. ด2559 (มหาชน) และบริ บริ ษษทั ัทบศรี ด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สบริ ำหรั ปีศรี สิต้นตรัสุงรัดแอโกรอิ นที่ 31นดัธันสนดัทรี วำคม สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ส3 ำหรับปีนโยบำยกำรบั สิ้นสุ ดวันที่ 31ญธัชีน(ต่วำคม อ) พ.ศ. 2559 3
3.12 อสังหำริ นโยบำยกำรบั ญชีม(ต่ทรัอพ) ย์เพื่อกำรลงทุน (ต่อ) 3.12
3.13
หลังหำริ จำกรัมบทรัรู้ รพำยกำรเมื ่อเริ่ มแรกแล้ อสั ย์เพื่อกำรลงทุ น (ต่อ)ว อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนบันทึกด้วยมูลค่ำยุติธรรม กำรวัดมูลค่ำจะกระทำ ณ วันสิ้ นรอบ ระยะเวลำรำยงำนโดยใช้กำรประเมิ นมูลค่ำจำกผูป้ ระเมินรำคำอิสระซึ่ งมี คุณสมบัติทำงวิชำชี พที่เกี่ ยวข้องและประสบกำรณ์ในกำร งจำกรับำเลพื รู้ รำยกำรเมื ่อเริ่ มแรกแล้ว อสังหำริ มทรัพย์เพืพื่อ่อกำรลงทุ กำรลงทุนนทีบั่ เกีน่ ยทึวข้กด้องวยมู ลค่ำยุติธนรรม ดมูกลเกณฑ์ ค่ำจะกระท สิ้ นรอบ ตีหลั รำคำในท กำรประเมิ นี้ ใช้เกำรวั ป็ นหลั สำหรับำมูณลค่วัำนตำมบั ญชี ้ นที่ และในประเภทของอสั ระยะเวลำรำยงำนโดยใช้ กำรประเมิ นมูลค่ำจำกผูป้ ระเมินรำคำอิสระซึ่ งมี คุณสมบัติทำงวิชำชี พที่เกี่ ยวข้องและประสบกำรณ์ในกำร ในงบกำรเงิน ตีรำคำในทำเลพื้นที่ และในประเภทของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่ เกี่ ยวข้อง กำรประเมิ นนี้ ใช้เป็ นหลักเกณฑ์สำหรับมูลค่ำตำมบัญชี กำรเปลี่ ย นแปลงในมู ล ค่ ำยุติ ธ รรมจะรั บ รู ้ ใ นก ำไรหรื อขำดทุ น กลุ่ ม กิ จกำรจะต้อ งตัดรำยกำรอสั งหำริ ม ทรั พ ย์เพื่ อกำรลงทุ น ในงบกำรเงิ น เมื่อกิ จกำรจำหน่ำยหรื อเลิกใช้อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนนั้นอย่ำงถำวร และคำดว่ำจะไม่ได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนำคต กำรเปลี นแปลงในมู ล ค่ ำยุติ ธ รรมจะรั บ รู ้ ใ นก ำไรหรื อขำดทุ น กลุ่ ม กิ จกำรจะต้อ งตัดรำยกำรอสั งหำริ ม ทรั พ ย์เพื่ อกำรลงทุ น จำกกำรจ่ ยำหน่ ำย เมื่อกิ จกำรจำหน่ ำยหรื อเลิกใช้อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนนั้นอย่ำงถำวร และคำดว่ำจะไม่ได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนำคต ่มกิ จำกำรจ กรณี ที่กลุำหน่ จำกกำรจ ย ำหน่ ำยอสังหำริ มทรัพย์ที่มูลค่ำยุติธรรมโดยผูซ้ ้ื อและผูข้ ำยไม่มีควำมเกี่ ยวข้องกันและเจรจำต่อรองในลักษณะที่ เป็ นอิสระจำกกัน มูลค่ำตำมบัญชีก่อนขำยจะมีกำรปรับไปใช้รำคำในกำรทำรำยกำร และบันทึกผลกำไรสุ ทธิ จำกกำรปรับมูลค่ำของ กรณีงหำริ ที่กลุม่มทรักิ จพกำรจ มทรัพำไรหรื ย์ที่มูลค่อำขำดทุ ยุติธรรมโดยผู ซ้ ้ื อและผูข้ ำยไม่มีควำมเกี่ ยวข้องกันและเจรจำต่อรองในลักษณะที่ อสั ย์ให้เป็ำหน่ นมูำลยอสั ค่ำยุงตหำริ ิธรรมในก น เป็ นอิสระจำกกัน มูลค่ำตำมบัญชี ก่อนขำยจะมีกำรปรับไปใช้รำคำในกำรทำรำยกำร และบันทึกผลกำไรสุ ทธิ จำกกำรปรับมูลค่ำของ กำรด้ อยค่มำของสิ อสังหำริ ทรัพย์นให้ทรัเป็พนย์มูลค่ำยุติธรรมในกำไรหรื อขำดทุน
3.14
สิ นทรัอพยค่ย์ทำของสิ ี่มีกำรตันดทรัจำหน่ กำรด้ พย์ ำยจะมีกำรทบทวนกำรด้อยค่ำ เมื่ อมี เหตุกำรณ์หรื อสถำนกำรณ์ บ่งชี้ ว่ำรำคำตำมบัญชี อำจสู งกว่ำมูลค่ำที่ คำดว่ำ จะได้รับคืน รำยกำรขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำจะรับรู ้ เมื่ อรำคำตำมบัญชี ของสิ นทรัพย์สูงกว่ำมูลค่ำสุ ทธิ ที่คำดว่ำจะได้รับคืน ซึ่ งหมำยถึ ง นทรัพย์่ สทู งี่มกว่ ีกำรตั ดจำหน่ ยค่ำ เมื่ อมี เหตุยกบกั ำรณ์บมูหลรื อค่สถำนกำรณ์ อำจสูนหน่ งกว่ำมูวลยทีค่ำ่ เล็ทีก่ คทีำดว่ ้ ว่ำรำคำตำมบั จสิำนวนที ำระหว่ ำงมูำลยจะมี ค่ำยุตกิธำรทบทวนกำรด้ รรมหักต้นทุนอในกำรขำยเที ำจำกกำรใช้บส่งิ นชีทรั พย์จะถูกจัญดชีรวมเป็ ่สุ ดำ รับคืน รำยกำรขำดทุเพืน่อจำกกำรด้ อยค่ขำองกำรประเมิ จะรับรู ้ เมื่ อรำคำตำมบั ญชีำ ขสิองสิ มูลพค่ย์ำทสุำงกำรเงิ ทธิ ที่คำดว่ ำจะได้รอับจำกค่ คืน ซึำ่ควำมนิ งหมำยถึยมง ทีจะได้ ่สำมำรถแยกออกมำได้ วัตถุประสงค์ นกำรด้อยค่ นทรันพทรั ย์ทพี่ไม่ย์สใชู่ งสกว่ิ นำทรั นนอกเหนื ่ สูงกว่ำระหว่นำจำกกำรด้ งมูล ค่ำยุตอิ ธยค่รรมหั กต้วนจะถู ทุน ในกำรขำยเที ยบกับนไปได้ มูล ค่ำจำกกำรใช้ สิ นทรั พย์จะถูนกจำกกำรด้ จัดรวมเป็อนหน่ ่ สุด ซึจำนวนที ่ งรั บรู ้ รำยกำรขำดทุ ำไปแล้ กประเมินควำมเป็ ที่จะกลับรำยกำรขำดทุ ยค่ำ ณวยที วัน่ เล็สิก้ นทีรอบ ที่สำมำรถแยกออกมำได้ เพื่อวัตถุประสงค์ของกำรประเมินกำรด้อยค่ำ สิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทำงกำรเงินนอกเหนื อจำกค่ำควำมนิ ยม ระยะเวลำรำยงำน ซึ่ งรั บรู ้ รำยกำรขำดทุ นจำกกำรด้อยค่ำไปแล้ว จะถูกประเมินควำมเป็ นไปได้ที่จะกลับรำยกำรขำดทุนจำกกำรด้ อยค่ำ ณ วันสิ้ นรอบ เครื ่ องมือทำงกำรเงิน ระยะเวลำรำยงำน
3.14
(ก) ่ องมือกำรประมำณมู เครื ทำงกำรเงิน ลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้ สินทำงกำรเงิน
3.13
(ก)
มูกำรประมำณมู ลค่ำยุติธรรมของเครื งมือทำงกำรเงิ องน(เช่ น ซื้ อขำยแลกเปลี่ ยนในตลำดซื้ อขำยคล่องและซื้ อขำยกัน ลค่ำยุติธ่ อรรมของสิ นทรัพนย์ในตลำดซื และหนี้ สิ้นอขำยคล่ ทำงกำรเงิ โดยตรงของตรำสำรและอนุ พนั ธ์ท ำงกำรเงิน ) กำหนดมูลค่ ำโดยขึ้ นอยู่กบั รำคำตลำดที่ มี กำรเปิ ดเผย ณ วัน ที่ ในงบแสดง มูฐำนะทำงกำรเงิ ลค่ำยุติธรรมของเครื ่ องมือทำงกำรเงิ อง ดเผย (เช่ น คืซือ้ อรำคำเสนอซื ขำยแลกเปลี้ อปั่ ยนในตลำดซื ้ อขำยคล่องและซื ้ อขำยกัน น รำคำตลำดของสิ นทรันพในตลำดซื ย์ทำงกำรเงิ้ อนขำยคล่ ที่มีกำรเปิ จจุบนั รำคำตลำดของหนี ้ สินทำงกำรเงิ โดยตรงของตรำสำรและอนุ ธ์ท ำงกำรเงิน ) กจำหนดมู ที่มีกำรเปิ ดเผยอย่ำงเหมำะสม คืพอนั รำคำเสนอขำยปั จุบนั ลค่ ำโดยขึ้ นอยู่กบั รำคำตลำดที่ มี กำรเปิ ดเผย ณ วัน ที่ ในงบแสดง ฐำนะทำงกำรเงิน รำคำตลำดของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินที่มีกำรเปิ ดเผย คือรำคำเสนอซื้ อปั จจุบนั รำคำตลำดของหนี้ สินทำงกำรเงิน มูทีล่มค่ีกำำรเปิ ยุติธดเผยอย่ รรมของเครื ่ องมือทำงกำรเงิ นที่ไม่มีกำรซืจ้ อจุขำยในตลำดซื ้ อขำยคล่อง จะถูกกำหนดโดยใช้กำรประเมินรำคำ กลุ่มกิ จกำร ำงเหมำะสม คือ รำคำเสนอขำยปั บนั และบริ ษทั ใช้หลำกหลำยวิธีกำรในกำรประเมินมู ลค่ำยุติธรรม โดยใช้ส มมติฐำนซึ่ งขึ้ น อยูก่ บั เงื่อนไขทำงกำรตลำดที่มี อยู่ ่มกิ จกำร มูลวัค่นำยุทีต่ใิธนงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ รรมของเครื่ องมือทำงกำรเงินนในกำรประมำณมู ที่ไม่มีกำรซื้ อขำยในตลำดซื อง รจะถู กกำหนดโดยใช้ ำรประเมิ ้ อขำยคล่ ณ ลค่ำยุติธรรม ควรใช้ ำคำตลำดที ่มีกำรเปิกดเผย หรื อนอ้รำคำ ำงอิงกลุ รำคำตลำด และบริ ใช้หลำกหลำยวิ ธีกำรในกำรประเมิ ลค่อำคล้ ยุตำิ ธยคลึ รรมงกัโดยใช้ มมติ ฐำนซึ ่ งขึ้ นเช่อยู ก่ บั เงืำกำรวิ ่อนไขทำงกำรตลำดที ี อยู่ ในปั จจุบษนทั ของเครื ่ องมื อทำงกำรเงิ นอื่ นที่ เหมื อนกันนมูหรื น วิธีกสำรประเมิ นรำคำ น กำรน เครำะห์ กระแสเงิน่ มสด ณ นที่ในงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ น ในกำรประมำณมู ค่ำยุติธรรม ่ อควรใช้ รำคำตลำดที คิดวัลดมำประยุ กต์ใช้ สำมำรถใช้ในกำรประเมิ นมูลค่ำยุติลธรรมของเครื งมือทำงกำรเงิ นได้่มดีกว้ ยำรเปิ ดเผย หรื ออ้ำงอิงรำคำตลำด ในปั จจุบนั ของเครื่ องมื อทำงกำรเงินอื่ นที่ เหมื อนกันหรื อคล้ำยคลึ งกัน วิธีกำรประเมินรำคำ เช่ น กำรนำกำรวิเครำะห์ กระแสเงินสด ค่ำยุติธรรมโดยประมำณของสิ นทรัพย์และหนี นที่ ว่ อดั งมื มูลอค่ทำงกำรเงิ ำโดยใช้รนำคำทุ คิมูดลลดมำประยุ กต์ใช้ สำมำรถใช้ในกำรประเมิ นมูลค่้ สำิ นยุตทำงกำรเงิ ิธรรมของเครื ได้ดว้ นยตัดจำหน่ ำยมี มูลค่ำใกล้เคี ยงกับ มูลค่ำตำมบัญชี มูลค่ำยุติธรรมโดยประมำณของสิ นทรัพย์และหนี้ สินทำงกำรเงินที่ วดั มูลค่ำโดยใช้รำคำทุนตัดจำหน่ ำยมี มูลค่ำใกล้เคี ยงกับ มูลค่ำตำมบัญชี 35
154 รายงานประจำ�ปี 2559 บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย บริ ษทั ศรีปตรัระกอบงบกำรเงิ งแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) นและบริ ษทั จย่กำร อย หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ บริ ษ ท ั ศรี ต รั ง แอโกรอิ น ดั ส ทรี จ ำกั ด (มหำชน) และบริ ษ ท ั ย่ อย หมำยเหตุ ป้นระกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิจกำร สบริำหรั บ ปี สิ สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วำคม พ.ศ. 2559 ษทั ศรีปตรัระกอบงบกำรเงิ งแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) นและบริ ษทั จย่กำร อย หมำยเหตุ นรวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ สำหรั ปี สิต้นรัสุงดแอโกรอิ วันที่ 31นดัธัสนทรี วำคม 2559 และบริ บริ ษทั บศรี จำกัพ.ศ. ด (มหำชน) ษทั ย่อย หมำยเหตุ นทรี รวมและงบกำรเงิ นและบริ เฉพำะกิ บริ ศรี รัสุงงงดแอโกรอิ แอโกรอิ สวำคม �ดดกั(มหำชน) ด2559 (มหาชน) และบริ บริ ษษษททัั ัทบศรี จจำกั ษษททัั จย่ย่ษกำร ออัทยยย่อย สำหรั ปี สิปปตตต้นรัรัระกอบงบกำรเงิ วันที่ 31นนนดัดัธัสสดันทรี บริ ศรี แอโกรอิ ทรี ำกัจำพ.ศ. (มหำชน) และบริ หมำยเหตุ ระกอบงบกำรเงิ น รวมและงบกำรเงิ น เฉพำะกิ จ กำร ดัธัชีสน(ต่ ทรี ด (มหำชน) ษทั จย่กำร อย )จำกัพ.ศ. สำบริ �ษหรัทั บบศรี ดวันวัทีน่ ที31นญ่ 31 ธัวำคม วาคม พ.ศ. ส3 ำหรั ปีปีนโยบำยกำรบั สิสปต้นิ้นรัระกอบงบกำรเงิ สุงสุดแอโกรอิ 25592559 หมำยเหตุ นนนอรวมและงบกำรเงิ นนและบริ เฉพำะกิ หมำยเหตุ รวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ จย่กำร บริ ษทั บศรี ง แอโกรอิ น ดั ส ทรี จ ำกั ด (มหำชน) และบริ ษ ท ั อย สหมำยเหตุ ปีนโยบำยกำรบั สิปปต้นรัระกอบงบกำรเงิ สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วำคม พ.ศ. 2559 3 ำหรั ญ ชี (ต่ อ ) ระกอบงบกำรเงิ นรวมและงบกำรเงิ นและบริ เฉพำะกิ จย่กำร บริ ษ ท ั ศรี ต รั ง แอโกรอิ น ดั ส ทรี จ ำกั ด (มหำชน) ษ ท ั อย สหมำยเหตุ บ ปี สิ ้ น สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วำคม พ.ศ. 2559 3สำหรั นโยบำยกำรบั ญ ชี (ต่ อ ) ำหรับปี สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร นรวมและงบกำรเงิ 3.14 น (ต่ อ ) สหมำยเหตุ สิป้นระกอบงบกำรเงิ สุ ดวันเครืที่ อ31งมื พ.ศ. 2559 3 ำหรับปีนโยบำยกำรบั ญธัชีอนทำงกำรเงิ (ต่วำคม อ ) นรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร น (ต่2559 อ) ส3 ำหรับปี3.14 สิ้นสุ ดวันเครืที่ อ31งมื นโยบำยกำรบั ญธัชีอนทำงกำรเงิ (ต่วำคม อ) พ.ศ. ส33 ำหรับปีนโยบำยกำรบั สิ ้ น สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วำคม พ.ศ. 2559 3.14 เครื อ งมื อ ทำงกำรเงิ น (ต่ อ) นโยบำยกำรบัญ ญชีชี (ต่ (ต่ออ)) (ข) ั ธ์อท) ำงกำรเงิน 3 นโยบำยกำรบั ญชีอตรำสำรอนุ (ต่อ) นพน(ต่ 3.14 เครื่ องมื ทำงกำรเงิ (ข) ั ธ์อท) ำงกำรเงิน 3.14 เครื่ องมื ทำงกำรเงิ 3 นโยบำยกำรบั ญชีอตรำสำรอนุ (ต่อ) นพน(ต่ (ข) ั ธ์ออท)) ำงกำรเงิน 3 นโยบำยกำรบั ญชีออตรำสำรอนุ (ต่อ) นนพน(ต่ 3.14 เครื่่ อองมื งมื ทำงกำรเงิ (ต่ 3.14 เครื ทำงกำรเงิ นัั ธ์ธ์อทท) ำงกำรเงิ ำงกำรเงินนประกอบด้วย สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำสิ ทธิ เลือกซื้ อขำยเงินตรำต่ำงประเทศ ตรำสำรอนุ 3.14 (ข) เครื่ องมือตรำสำรอนุ ทำงกำรเงินพพน(ต่ สัญญำแลกเปลี่ยนเงิวนงหน้ ตรำต่ำ และสั ำงประเทศ ญำสิ ทธิ เลือวกซื ตรำต่ ำงประเทศ ้ อขำยเงิ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น ประกอบด้ 3.14 (ข) เครื่ องมือตรำสำรอนุ ทำงกำรเงิ น (ต่ อ ) ตรำสำรอนุ สัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ ำ สัญญำซืว้ อยขำยยำงพำรำในตลำดล่ ญญำซืสั้ อญขำยยำงพำรำล่ งหน้ ำที่มีกนำรส่ งมอบสิ นค้ำ ตรำสำรอนุ ประกอบด้ ว ย สั ญ ญำแลกเปลี ่ ย นเงิ น ตรำต่ ำ งประเทศ สั ญ ญำสิ ท ธิ เ ลื อ กซื อ ขำยเงิ น ตรำต่ ำงประเทศ ้ 3.14 (ข) เครื่ องมือตรำสำรอนุ ทำงกำรเงิ น (ต่ อ ) (ข) พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น สัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ และสัญญำซื้ อขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบสิ นค้ำ สัญญำแลกเปลี่ยนเงิวนงหน้ ตรำต่ำ และสั ำงประเทศ ญำสิ ทธิ เลือวกซื ตรำต่ ำงประเทศ ้ อขำยเงิ (ข) ตรำสำรอนุ พนั ธ์ทำงกำรเงิ น ประกอบด้ สัญญำอัตรำแลกเปลี ่ยนล่วงหน้ ำ สัญญำซืว้ อยขำยยำงพำรำในตลำดล่ ญญำซืสั้ อญขำยยำงพำรำล่ งหน้ ำที่มีกนำรส่ งมอบสิ นค้ำ ตรำสำรอนุ ยขำยยำงพำรำในตลำดล่ สัญญำแลกเปลี นเงิวนงหน้ ตรำต่ำ และสั ำงประเทศ ญขำยยำงพำรำล่ ญำสิ ทธิ เพลืนัอวธ์กซื อขำยเงิ นนำรส่ ตรำต่ ำงประเทศ (ข) กลุ พนั ไธ์ด้ทนำงกำรเงิ นงกัประกอบด้ ่มญำอั กิจกำรไม่ ำกำรป้ องหน้ นำควำมเสี ่ ยว้ องทำงบั ญชี (Hedge่ยaccounting) มำใช้ สญำหรั บสั้ อตรำสำรอนุ ท้ำงกำรเงิ สั ญ ต รำแลกเปลี ่ ย นล่ ว สั ญ ญำซื ญำซื งหน้ ำ ที ่ ม ี ก ง มอบสิ นค้ำ ตรำสำรอนุ ประกอบด้ ญญำแลกเปลี ญำแลกเปลี นเงิวนนงหน้ ตรำต่ำ และสั งประเทศ ญขำยยำงพำรำล่ ญำสิ ททธิธิ เเพลืลืนัออวธ์กซื กซื ขำยเงิ ตรำต่ งประเทศ (ข) ตรำสำรอนุ พพนนัั ไธ์ธ์ด้ททนำงกำรเงิ นนงกัประกอบด้ ำงกำรเงิ ยยขำยยำงพำรำในตลำดล่ สัสัญ นเงิ ตรำต่ ำำงประเทศ ญ ญำสิ ออขำยเงิ ตรำต่ ำำงประเทศ กลุ กิจกำรไม่ ำกำรป้ นำควำมเสี ญชี (Hedge่่ยยaccounting) มำใช้ สญำหรั ท้้ำงกำรเงิ สัญ่มญำอั ตรำแลกเปลี ่ยนล่วองหน้ สัญญำซื่ ยวว้ องทำงบั ญำซืบสัสั้ อตรำสำรอนุ งหน้ ำที่มีกนนำรส่ งมอบสิ นค้ำ ตรำสำรอนุ พนั ไธ์ด้ทนำงกำรเงิ นประกอบด้ ยขำยยำงพำรำในตลำดล่ สัญญำแลกเปลี นเงิวนงหน้ ตรำต่ำ และสั ำงประเทศ ญขำยยำงพำรำล่ ญำสิ ทธิ เพลืนัอวธ์กซื อขำยเงิ ตรำต่ ำงประเทศ กิจกำรไม่ ำกำรป้ งกั นำำควำมเสี ญชี (Hedge่ยaccounting) มำใช้ สญ ท้ำงกำรเงิ สัญ ญ่มญำอั ญำอั ตรำแลกเปลี รำแลกเปลี ่ยยนล่ นล่ววองหน้ งหน้ สัญ ญญำซื ญำซื่ ยว้้ อองทำงบั ญำหรั ญำซืบสั้้ ออตรำสำรอนุ งหน้ ำทีที่่มมีีกกนนำรส่ ำรส่ งมอบสิ มอบสิ นค้ค้ำำ สักลุ ต ่ สั ขำยยำงพำรำในตลำดล่ ว งหน้ ำ และสั ญำซื ขำยยำงพำรำล่ ว งหน้ ำ ง น ตรำสำรอนุ พนั ไธ์ด้ทนำงกำรเงิ นนประกอบด้ ยขำยยำงพำรำในตลำดล่ ่ยมaccounting) นเงิ ำงประเทศ ญขำยยำงพำรำล่ ญำสิ ทธิ เพลืพนัอนั วธ์กซื อำงกำรเงิ ขำยเงิ นนำรส่ ตรำต่ ำงประเทศ ำงกำรเงิ รันำบควำมเสี รู้ มญูลญำซื ค่ำ่ ยวเมื้ องทำงบั ่อสัเริญ่ มญำแลกเปลี แรกโดยใช้ ูลค่วนำงหน้ ยุตรำต่ ติธำรรม ณสญวัำหรั นทีบ่ทสั้ อตรำสำรอนุ ำสั ญญำอนุ ธ์ทท้ำงกำรเงิ น และวั ดมูนลค้ค่ำ ำ กลุ กิจกำรไม่ ำกำรป้ อ งกั ญ ชี (Hedge มำใช้ สัตรำสำรอนุ ญ่มญำอั ตรำแลกเปลี ่ ย นล่ ว งหน้ สั และสั ญำซื งหน้ ำ ที ่ ม ี ก ง มอบสิ พพนันั ไธ์ด้ธ์ทนทำงกำรเงิ นนประกอบด้ วงทำงบั ย่อสัเริญ่ มญำแลกเปลี ่ยนเงิ ำงประเทศ ญญำสิ ทธิ เลือกซื อำงกำรเงิ ขำยเงินนตรำต่ ำงประเทศ ตรำสำรอนุ ำงกำรเงิ รันำบโดยรั ค่วนำงหน้ ยุตรำต่ ติธำรรม ณนสญวัในระหว่ นทีบ่ทสั้ อตรำสำรอนุ ำสั ธ์ทิธท้ำงกำรเงิ น นและวั ดมูนรลค้ำคำ ค่ำ ำ กลุ กิจกำรไม่ งกั ควำมเสี ญแรกโดยใช้ (Hedge มำใช้ ำหรั สัญ่มญำอั รำแลกเปลี สัรู้ มญูลญำซื ขำยยำงพำรำในตลำดล่ และสั ญำซื ขำยยำงพำรำล่ ำทีประเมิ ่มีกำรส่ งมอบสิ ภำยหลั งตโดยใช้ มูลำกำรป้ ค่่ยำนล่ ยุตวิธองหน้ รรม บค่ำรู่ ยเมื ก้ อำไรหรื อชีขำดทุ นเข้มaccounting) ำูลงบก ำไรขำดทุ ำญงปีญำอนุ มูลค่พพำนั ยุนั วธ์ตงหน้ รรม โดยใช้ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น รั บ รู ้ ม ู ล ค่ ำ เมื ่ อ เริ ม แรกโดยใช้ ม ู ล ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรม ณ วั น ที ่ ท ำสั ญ ญำอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น และวั ด มู ล ค่ำ ำ ่ กลุ กำรไม่ ไ ด้ น ำกำรป้ อ งกั น ควำมเสี ่ ย งทำงบั ญ ชี (Hedge accounting) มำใช้ ส ำหรั บ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น สัภำยหลั ญ่่มมญำอั ต รำแลกเปลี ่ ย นล่ ว งหน้ ำ สั ญ ญำซื อ ขำยยำงพำรำในตลำดล่ ว งหน้ ำ และสั ญ ญำซื อ ขำยยำงพำรำล่ ว งหน้ ำ ที ่ ม ี ก ำรส่ ง มอบสิ น ค้ ้ ้ กลุ กิกิจจกำรไม่ ไ ด้ น ำกำรป้ อ งกั น ควำมเสี ่ ย งทำงบั ญ ชี (Hedge accounting) มำใช้ ส ำหรั บ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น ง่มโดยใช้ มูลค่ำณยุตวัิธนรรม โดยรับรู ้ กำไรหรื อขำดทุนนเข้ำงบกำไรขำดทุนในระหว่ำงปี มูลค่ำยุติธรรม ประเมินโดยใช้รำคำ ตลำดที ีกำรเปิ ดเผย ทีน่ใรันนงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ ยุ รรม ณ วั ที ท ำสั ญ ญำอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น และวั ด มู ล ค่ำ ่ กลุ ม กิ จ กำรไม่ ไ ด้ น ำกำรป้ อ งกั ควำมเสี ่ ย งทำงบั ญ ชี (Hedge accounting) มำใช้ ส ำหรั บ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ บ รู ้ ม ู ล ค่ ำ เมื ่ อ เริ ม แรกโดยใช้ ม ู ล ค่ ำ ต ิ ธ น ่ ่ ภำยหลัง่มโดยใช้ มูลค่ำณยุตวัิธนรรม โดยรับรู ้ กำไรหรื อขำดทุนนเข้ำงบกำไรขำดทุนในระหว่ำงปี มูลค่ำยุติธรรม ประเมินโดยใช้รำคำ ตลำดที ีกำรเปิ ดเผย ทีน่ใรันนงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ บ รู ้ ม ู ล ค่ ำ เมื ่ อ เริ ม แรกโดยใช้ ม ู ล ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรม ณ วั น ที ่ ท ำสั ญ ญำอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น และวั ด มู ล ค่ำ ่ ่ กลุ ม กิ จ กำรไม่ ไ ด้ น ำกำรป้ อ งกั ควำมเสี ่ ย งทำงบั ญ ชี (Hedge accounting) มำใช้ ส ำหรั บ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น ภำยหลั ง่มโดยใช้ มนทูลำกำรป้ ค่ำณยุตวัิธอนรรม โดยรั บค่ำรู่ ยเมื ้ กงทำงบั ำไรหรื อชีขำดทุ นนเข้มaccounting) ำูลงบก ำไรขำดทุ นสวัในระหว่ ำญงปีญำอนุ มูลค่พพำนั ยุนั ธ์ตธ์ทิธทำงกำรเงิ รรม ประเมิ นและวั โดยใช้ รลำคำ ตลำดที ีกำรเปิ ดเผย ทีนน่ใรัรันนงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ำงกำรเงิ บ รู ้ ม ู ล ่ อ เริ ม แรกโดยใช้ ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรม ณ น ที ่ ท ำสั ำงกำรเงิ น ด มู ค่ำำ ่ กลุ ม กิ จ กำรไม่ ไ ด้ งกั ควำมเสี ญ (Hedge มำใช้ ำหรั บ ตรำสำรอนุ น ่ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ บ รู ้ ม ู ล ค่ ำ เมื ่ อ เริ ม แรกโดยใช้ ม ู ล ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรม ณ วั น ที ่ ท ำสั ญ ญำอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น และวั ด มู ล ค่ ่ นโดยใช้ ภำยหลัง่มโดยใช้ มทูลำงกำรเงิ ค่ำณยุตวัิธนรรม โดยรับรู ้ กำไรหรื อขำดทุเนกณฑ์ เข้ำงบก นในระหว่ ำงปี มูนลได้ ค่ำตยุำมกฎหมำย ติธรรม ประเมิ นโดยใช้รพำคำ ตรำสำรอนุ พพนันั ธ์ธ์ดเผย นทีนแสดงในงบกำรเงิ สคุ่ ทำยุธิำไรขำดทุ ซิ ธ่ ึ งรรม สำมำรถหั กทีกลบลบกั ตรำสำรอนุ นั ค่ธ์ำ ตลำดที ี ก ำรเปิ ่ ใ นงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ น ตรำสำรอนุ ท ำงกำรเงิ รั บ รู ้ ม ู ล ค่ ำ เมื ่ อ เริ ม แรกโดยใช้ ม ู ล ต ณ วั น ่ ท ำสั ญ ญำอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น และวั ด มู ล ่ ภำยหลังง่มโดยใช้ โดยใช้ รรม โดยรับบรูรู้้กกำไรหรื ำไรหรืนโดยใช้ ขำดทุเนนกณฑ์ เข้ำำงบก งบก ำไรขำดทุ ในระหว่ ำงปี มูมูนลลได้ รรม ประเมิ ประเมิ นโดยใช้ โดยใช้รรพำคำ ำคำ ภำยหลั มมททูลูลำงกำรเงิ ค่ค่ำำณยุยุตตวัิิธธนรรม ออขำดทุ นนวัในระหว่ ค่ค่ำำยุยุนั ำมกฎหมำย ตตธ์ิิธธทรรม ตรำสำรอนุ พบัพนนันั ธ์ทึธ์ดเผย นทีนแสดงในงบกำรเงิ สคุ่ ทำยุธิำไรขำดทุ สำมำรถหั ตรำสำรอนุ นั ค่ธ์ำ ตลำดที ีกนำรเปิ ่ใรัพนงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ นเข้ ตรำสำรอนุ บโดยรั ่อยุตเริิธ่ มรรมเป็ แรกโดยใช้ มำและบั ูลงบก ตนซิ ธ่ทึึ งรรม น้ สกทีิ นกลบลบกั ่ทเมืำสั่อำำมูญงปี ำงกำรเงิ น นนและวั ดมูรลำคำ ทำงกำรเงิ กูลเป็ำงกำรเงิ นยุสิตนิธรรม ทรั ย์รูเมื้ ม่อูลมูบค่ลำรูค่เมื ำำไรหรื นบวก กเป็ นณนหนี ลญำอนุ ค่มูำยุลตค่ิธพำตยุรรมเป็ นลบ ภำยหลั ง โดยใช้ ม ค่ ำ โดยรั ้ ก อ ขำดทุ น เข้ ำไรขำดทุ ในระหว่ งปี ต ิ ธ รรม ประเมิ โดยใช้ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น แสดงในงบกำรเงิ น โดยใช้ เ กณฑ์ ส ุ ท ธิ ซ ่ ึ ง สำมำรถหั ก กลบลบกั น ได้ ต ำมกฎหมำย ตรำสำรอนุ พ นั ค่ธ์ำ ตลำดที ่ ม ี ก ำรเปิ ดเผย ณ วั น ที ่ ใ นงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ น ำงกำรเงิ น รั บ รู ้ ม ู ล ค่ ำ เมื ่ อ เริ ม แรกโดยใช้ ม ู ล ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรม ณ วั น ที ่ ท ำสั ญ ญำอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น และวั ด มู ล ่ ตลำดที ีกนำรเปิ ที่ใพนงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ นเข้ำและบั ทำงกำรเงิ บันทึดเผย เป็ค่ำนณยุสิตวันิธนรรม ทรั ย์เมื่อมูบลรูค่้ กำำไรหรื ยุติธรรมเป็ นบวก นทึกเป็ นนหนี นลบ ้ สินเมื่อำมูงปีลค่มูำยุลตค่ิธำยุรรมเป็ ภำยหลั่ง่มมโดยใช้ มทกูลำงกำรเงิ โดยรั อขำดทุ นกณฑ์ งบก ำไรขำดทุ ในระหว่ ติธรรม ประเมิ นโดยใช้รพำคำ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ น แสดงในงบกำรเงิ น โดยใช้ เ ส ุ ท ธิ ซ ่ ึ ง สำมำรถหั ก กลบลบกั น ได้ ต ำมกฎหมำย ตรำสำรอนุ นั ธ์ ตลำดที ี ก ำรเปิ ดเผย ณ วั น ที ่ ใ นงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ น ทำงกำรเงิ นบันทึมกูลเป็ค่ำนยุสิตนิธรรม ทรัพโดยรั ย์เมื่อมูบลรูค่้ กำำไรหรื ยุติธรรมเป็ นบวก นทึกเป็ นนหนี นลบ ้ สินเมื่อำมูงปีลค่มูำยุลตค่ิธำยุรรมเป็ ภำยหลังโดยใช้ อขำดทุ นกณฑ์ เข้ำและบั งบก ำไรขำดทุ ในระหว่ ติธรรม ประเมิ นโดยใช้รพำคำ ตรำสำรอนุ พบันนั ธ์ทึดเผย ทกำงกำรเงิ น แสดงในงบกำรเงิ น โดยใช้ เ ส ุ ท ธิ ซ ่ ึ ง สำมำรถหั ก กลบลบกั น ได้ ต ำมกฎหมำย ตรำสำรอนุ ตลำดที ่มีกนำรเปิ ณ วั น ที ่ ใ นงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ น 3.15 เงินกู้ยืม ทำงกำรเงิ เป็ นณสิวันนทรั พนงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิ ย์เมื่อมูลค่ำยุติธรรมเป็ นบวก และบั นซ่ทึึ งสำมำรถหั กเป็ นนหนี หนี้ สกิ นกลบลบกั เมื่อมูลค่ำนยุได้ ติธตรรมเป็ นลบ ตรำสำรอนุพนนัั ธ์ธ์ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น แสดงในงบกำรเงิ น โดยใช้ เ กณฑ์ ส ุ ท ธิ ำมกฎหมำย ตลำดที ่ ม ี ก ำรเปิ ดเผย ที ่ ใ น นแสดงในงบกำรเงิ นโดยใช้ เกณฑ์และบั สุทธินซ่ทึึ งสำมำรถหั ำมกฎหมำย พนั ธ์ 3.15 เงินกู้ยืม ตรำสำรอนุ ทำงกำรเงินพบันนั ธ์ทึทกำงกำรเงิ เป็ นสิ นทรั พย์เมื่อมูลค่ำยุติธรรมเป็ นบวก กเป็ นนหนี หนี้ สกิ นกลบลบกั เมื่อมูลค่ำนยุได้ ติธตรรมเป็ นลบ นลบ ตรำสำรอนุ ตรำสำรอนุนพบันนั ธ์ทึทกำงกำรเงิ นแสดงในงบกำรเงิ นโดยใช้ เกณฑ์และบั สุทธินซ่ทึึ งสำมำรถหั กิ นกลบลบกั นยุได้ ตรรมเป็ ำมกฎหมำย ตรำสำรอนุพนั ธ์ 3.15 เงินกู้ยืม ทำงกำรเงิ ทำงกำรเงิ เป็ น สิ น ทรั พ ย์ เ มื ่ อ มู ล ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรมเป็ น บวก ก เป็ น หนี ส เมื ่ อ มู ล ค่ ำ ต ิ ธ นลบ ้ และบั นทึกเป็ นหนี้ สกิ นกลบลบกั เมื่อมูลค่ำนยุได้ ติธรรมเป็ นลบ เป็ นสิ นทรั พย์เมื่อมูลค่ำยุติธรรมเป็ นบวก ตรำสำรอนุนนวพบับัยเงิ นนนั ธ์ทึทึนทกกกูำงกำรเงิ นแสดงในงบกำรเงิ นโดยใช้ ำมกฎหมำย ้นกู้ เงินบวก นเกณฑ์ กูย้ ืมและบั รัสบุ ทรูธิ้ เนริซ่ ม่ทึึ งสำมำรถหั แรกด้ วยมู้ สลิ นค่เมืำยุ่อตมูิธลรรมของสิ ่ได้รับหักพด้นั วธ์ย ่ งตอบแทนที 3.15 เงิเงินนกูกู้ยย้ ืมืมประกอบด้ ทำงกำรเงิ เป็้ยืมนจำกสถำบั สิ นทรั พย์เนมืกำรเงิ ่อมูลค่นำยุและหุ ติธรรมเป็ กเป็ นหนี ค่ำนยุได้ ติธตตรรมเป็ นลบ ตรำสำรอนุ ตรำสำรอนุ พ น ั ธ์ ท ำงกำรเงิ น แสดงในงบกำรเงิ น โดยใช้ เ กณฑ์ ส ุ ท ธิ ซ ่ ึ ง สำมำรถหั ก กลบลบกั ำมกฎหมำย ตรำสำรอนุ ้นกู้ เงินบวก นกูย้อืมมำด้ รับรูว้ เนยวิ ริ่ มทึธแรกด้ วยมูน้ สลตัิ นค่ดเมืำจยุ่อำหน่ ตมูิธลรรมของสิ ่ได้้ ยที รับ่ หัแ ท้กพด้จนั วริ ธ์ยง ประกอบด้ ่ งธตอบแทนที 3.15 เงิเงิ ทำงกำรเงิ นวบัยเงิ นทึนกกูเป็้ย่ เืมนกิจำกสถำบั สิดนขึ้ทรั ่อ้ยมูื มลวัค่ดนำมูยุและหุ ตลิธค่รรมเป็ และบั กี รเป็ำคำทุ นหนี ค่ำำยตำมวิ ยุติธรรมเป็ ต้นนกูทุ้ย้ นืมกำรจั ด ท ำรำยกำรที น เงิพย์นเนมืกูกำรเงิ ำในเวลำต่ ี อ ัตนลบ รำดอกเบี ้นกู้ เงินบวก นกูย้ ืมและบั รับรูว้ เนยวิ ริ่ มทึธแรกด้ วยมูน้ สลตัิ นค่ดเมืำจยุ่อำหน่ ตมูิธลรรมของสิ ่ได้้ ยที รับ่ หัแ ท้กด้จวริ ยง ประกอบด้ ทำงกำรเงิ นวบัยเงิ นทึนกกูเป็้ย่ เืมนกิจำกสถำบั สิ น้ ทรั ่อ้ยมูื มลวัค่ดนำมูยุและหุ ตลิธค่รรมเป็ กี รเป็ำคำทุ นหนี ค่ำยุติธรรมเป็ 3.15 ่ งตอบแทนที 3.15 เงิเงิต้นนกูกูทุ้้ยยนืืมมกำรจั ด ท่ งตอบแทน ำรำยกำรที น เงิพนทุย์นเนนมืกูกำรเงิ ำในเวลำต่ ี ้อนั ัตนลบ รำดอกเบี ำ้ยงระหว่ ำงสิ (สุ้ยืมทจำกสถำบั ธิดจขึำกต้ กำรจั ดนทและหุ ำรำยกำรที ่เเงิกินดขึกู้ นย้อ)ืมมำด้ เมืรับ่อรูเที ย่ มบกัแรกด้ บมูลวค่ยมู ำทีล่จค่่ำยคื นติเพื ่อำชยตำมวิ ำระหนี่ ง้ นธตอบแทนที จะรั บรู ้ เป็ นก ำ ยุ ธ รรมของสิ ่ ไ ด้ รำไรขำดทุ ับ่ หัแ ท้กด้จวรินยง น ประกอบด้ ว 3.15 เงิผลต่ กู ื ม ้ ยเงิ น กู น กำรเงิ ้ น กู ้ เ ริ ้ยื ม วัดดทมูำรำยกำรที ต้ผลต่ น ทุำงระหว่ น กำรจัำงสิ ด ท่ งตอบแทน ำรำยกำรที(สุ่ เทกิธิดจขึำกต้ ล ค่ ำในเวลำต่ อ)มำด้ ว ยวิ ธี รบำคำทุ นที่จตั่ำดยคืจ ำหน่ ำชยตำมวิ ธี้อนั ัตจะรั รำดอกเบี ้ ยที ้ น เงินทุนนกูกำรเงิ กำรจั ่ เ กิ ด ขึ น เมื ่ อ เที ย บกั มู ล ค่ ำ น เพื ่ อ ำระหนี น บ รู ้ เ ป็ นก ำไรขำดทุ ้ ้ ้ ้ ้ ้ ยเงิ น กู ย ม ื จำกสถำบั น และหุ ้ น กู เงิ น กู ย ม ื รั บ รู ้ เ ริ ม แรกด้ ว ยมู ล ค่ ำ ยุ ต ิ ธ รรมของสิ ง ตอบแทนที ่ ไ ด้ ร ับหักด้วนย เงิ น กู ย ม ื ประกอบด้ ว ่ ่ 3.15 ตลอดช่ วงเวลำกำรกู ย้ มื นนกูทุำ้ ยงระหว่ นืมกำรจั ด ท่ งตอบแทน ำรำยกำรที ่ เืมทกิจำกสถำบั ดจขึำกต้ ้ น เงินทุนนกูกำรเงิ ้ ยืม วัดดนทมูและหุ อ)ืมมำด้ ว้ เยวิ ธแรกด้ ี รบำคำทุ นทีล่จตัค่่ำดยคื จยุำหน่ ำชยตำมวิ ธตอบแทนที ี ้อนั ัตจะรั รำดอกเบี ่ แ ท้จ ริ ง ล ค่ ำในเวลำต่ ้ ยที ำ งสิ (สุ ธิ กำรจั ำรำยกำรที ่ เ กิ ด ขึ น เมื ่ อ เที ย บกั มู ล ค่ ำ น เพื ่ อ ำระหนี น บ รู ้ เ ป็ นก ำไรขำดทุ ้ ้ ้ ้ ้ ประกอบด้ ว ยเงิ น กู ย ้ น กู เงิ น กู ย รั บ รู ริ ม ว ยมู ำ ต ิ ธ รรมของสิ ง ่ ไ ด้ ร 3.15 เงิเงิต้ผลต่ ่ ่ วย้ ยเงิ ้นกู้ เงินกูย้อืมมำด้ รับรูว้ เยวิ ริ่ มธแรกด้ วยมูนลตัค่ดำจยุำหน่ ติธรรมของสิ ่ได้้ ยที รัับบ่ หัหัแ ท้กกด้ด้จววรินยยง วประกอบด้ งเวลำกำรกู มื นกู้ย่ เืมกิจำกสถำบั ้ยื ม วัดนมูและหุ ต้ตลอดช่ นนทุกูย้ นืมกำรจั ด ท ำรำยกำรที ด ขึ้ น เงิ นนกูกำรเงิ ล ค่ ำในเวลำต่ ี ร ำคำทุ ำยตำมวิ่ งธตอบแทนที ี อ ัต รำดอกเบี เงิต้ตลอดช่ วย้ ยเงิ ้นกู้ ่เเงิกิ ดนขึกู้ นย้อ)ืมมำด้ ริย่ มบกั ำจยุำหน่ ิธรรมของสิ ่ได้้ ยที รำไรขำดทุ ับ่ หัแ ท้กด้จวรินยง ผลต่ ำงสิ ธิดจขึำกต้ กำรจั ำรำยกำรที เมืรับ่อรูเที มูลวค่ยมู ำนทีล่จตัค่่ำดยคื นตเพื ่อำชยตำมวิ ำระหนี่ ้งนธตอบแทนที บรู ้ เป็ นก วประกอบด้ งเวลำกำรกู มื นกู(สุ้ย่่ เเืมทกิกิจำกสถำบั ้้ยยืืมม วัวัดดดดนททมูมูและหุ นนทุทุกูำำย้งระหว่ นนืมกำรจั ดด ทท่ งงตอบแทน ำรำยกำรที ลล ค่ค่ ำำในเวลำต่ วว้ เยวิ ธธแรกด้ ีี รรบบำคำทุ ีี ้ออนนัั ัตัตจะรั รำดอกเบี ้้ นน เงิเงินนทุทุนนนนกูกูกำรเงิ กำรจั ำรำยกำรที ในเวลำต่ ยวิ ำคำทุ จยุำหน่ รำดอกเบี ท้จ รินง ้ ยที ผลต่ ำมที งสิ ตอบแทน (สุ ทไจำกสถำบั ธิด้ดจเขึงิำกต้ กำรจั ำรำยกำรที ่เเงิกินดขึดกู้ นยท้อ)ืมมำด้ เมืรับ่อรูเที ย่ มบกั มูใ้ ลนกรณี ค่ยมู ำนทีล่จตัค่่ำดทยคื นตีคิเพื ่อำชยตำมวิ ำระหนี นธตอบแทนที จะรั บรูว้ เป็งเงินก ำไรขำดทุ ่ ้ ้ เงิต้ต้ำนนนธรรมเนี กูทุย้งระหว่ ืนมกำรจั ประกอบด้ ว ยเงิ น กู ย ม ื กำรเงิ น และหุ ้ น กู ้ เ ริ แรกด้ ว ำ ธ รรมของสิ ง ่ ไ ด้ ร ับบ้ ่่ หัแแำงส่ ่ ้ ้ ่ ้ ค่ตลอดช่ ย ่ จ ำ ยไปเพื ่ อ ให้ น กู ม ำจะรั บ รู ้ เ ป็ นต้ น ทุ น กำรจั ำรำยกำรเงิ น กู ่ ี ม วำมเป็ นไปได้ ท ่ ี จ ะใช้ น กู ้ ยื ม วัดดนทมูและหุ ด ท่ งตอบแทน ำรำยกำรที ดจขึำกต้ ล ค่ ำในเวลำต่ อ)ืมมำด้ ว้ เยวิ ธแรกด้ ี รบำคำทุ นทีล่จตัค่่ำดยคื จยุำหน่ ำชยตำมวิ ธตอบแทนที ี ้อนั ัตจะรั รำดอกเบี ท้กกด้ด้จวววรินนยยง ้ ยที ้ น เงินทุนนกูกำรเงิ วประกอบด้ งเวลำกำรกู ย้ ยเงิ มื นกู(สุ้ย่ เืมทกิจำกสถำบั ผลต่ ำ งระหว่ ำ งสิ ธิ กำรจั ำรำยกำรที ่ เ กิ ด ขึ น เมื ่ อ เที ย บกั มู ล ค่ ำ น เพื ่ อ ำระหนี น บ รู ้ เ ป็ นก ำไรขำดทุ ้ ้ ้ เงิผลต่ น กู ย ม ื ว ้ น กู เงิ น กู ย รั บ รู ริ ม ว ยมู ำ ต ิ ธ รรมของสิ ง ่ ไ ด้ ร ั บ หั ้ ้ ่ ่ นเพื ่อชำระหนี บรูว้ เป็งเงินกนำไรขำดทุ ำงระหว่ งสิ ตอบแทน นกำรจั ำรำยกำรที ่เกิ ดขึด้ นทอ)มำด้ เมื่อเที ยบกั ค่ำนที่จตั่ำดทยคืจี่มำหน่ ้ น้ นั ทจะรั ่ำรำยกำรที ำยไปเพื ให้ ทุในเวลำต่ นกำรจั ำรำยกำรเงิ กูมูใ้ ลนกรณี วำมเป็ ี่จนไปได้ ะใช้ กูบ้ ่ แำงส่ ค่ต้ตลอดช่ ำนธรรมเนี ยำมที วหมด งเวลำกำรกู ย้ มื น้ ี ค่่อำ(สุ ้ ยืมบวัรูดด้ดเป็ททมูบนต้ น้ งกำรจั ดในกรณี ท่่จงงตอบแทน ่ เททกิไธิธิด้ดจจเขึงิำกต้ เงินนม้ ทุทุนำจะรั ลรูค่้ จนำนกระทั ว ยวิ ธนี รนบบหำกไม่ ำคำทุ รำดอกเบี จวรินนนง ้ นนยกูมจะรอกำรรั หรื อทุำทังระหว่ ธรรมเนี กนีคฐำนที ่ มนไปได้ ี ค วำมเป็ ะใช้ วท้งเงิ ผลต่ ำมที งสิ (สุ ำกต้ นกูกูกำรจั ำรำยกำรที ่เกิ ดง่ ขึมีด้ นทกอ)ำรถอนเงิ เมื่อเที ยบกั มูใ้ ลนกรณี ค่ำนทีม่จตั่ำี หดทยคืลัจี่มำหน่ เพื ่อำำชยตำมวิ ำระหนี บรูว้ เป็งเงิทนกี่ นจ้้ ยที ำไรขำดทุ ้ นธธีี ้ออนั ทัตัตจะรั ่ ้ ้ ค่หรื ำนธรรมเนี ย ่ จ ำ ยไปเพื ่ อ ให้ ไ ด้ เ งิ น กู ม ำจะรั บ รู ้ เ ป็ นต้ น ทุ น กำรจั ำรำยกำรเงิ น กู ี ค วำมเป็ นไปได้ ่ ี จ ะใช้ กู บ ำงส่ ้ ้ ตลอดช่ ว งเวลำกำรกู ย ม ื ำ ในเวลำต่ มำด้ ว ยวิ ธ ี ร ำคำทุ ยตำมวิ รำดอกเบี ยที ่ แ ท้ จวรินนง ต้ตลอดช่ ทุ น กำรจั ด ท ำรำยกำรที ่ เ กิ ด ขึ เงิ น ย ื ม วั ด มู ล ค่ ้ วหมด งเวลำกำรกู ย้ มื น้ ี ค่ ำ(สุ อำทังระหว่ ธรรมเนี มจะรอกำรรั ้ จนกระทั ฐำนที ่ มีค วำมเป็ นไปได้ ะใช้ งเงิ ำมที ทไธิด้จเงิำกต้ นม้ ทุำจะรั นบกำรจั ทบนต้ ำรำยกำรที ่เกิำยล่ ดง่ ขึมีด้ นวทกงหน้ )ำรถอนเงิ เมื่อเที บกันนบบหำกไม่ มูกำรให้ ลนกรณี ค่ำทีม่จบ่ำี หทยคื เพื ่อชำระหนี บรูว้ เป็งเงิ ำไรขำดทุ น ้ นั ทจะรั บำงส่ ว้ งนหรื องสิในกรณี ทั่่จง้ งตอบแทน หมด ค่่อำธรรมเนี ยยกูมจะรั รูบ้ เป็รูด้เนค่ ำรูใช้ จน่ำยจ่ ำสยำหรั ริลัี่มกกนีคำรสภำพคล่ อ้ นงและจะตั ดทนก จี่ นจำหน่ ำวยตำม ้ ตลอดช่ ว งเวลำกำรกู ย ม ื ่ ้ ้ ค่ผลต่ ำ ธรรมเนี ย ำ ยไปเพื ให้ น ป็ น ทุ กำรจั ำรำยกำรเงิ กู ใ วำมเป็ นไปได้ ่ ี จ ะใช้ กู บ ำงส่ หรื อำทังระหว่ หมดำองสิในกรณี นค่้ ี ค่ำำธรรมเนี ธรรมเนี ยมจะรั มจะรอกำรรั รูใช้ ้ จนกระทั ลักกนำรสภำพคล่ ฐำนที ่ มีค วำมเป็ นไปได้ ทนก ี่ จำหน่ ะใช้ วยตำม งเงิวนน ้ งนหรื ผลต่ ง้ งตอบแทน (สุ ทไธิด้จเงิำกต้ นม้ ทุำจะรั นบกำรจั ด้ เนค่ ทบนต้ ำรำยกำรที ่เกิำยล่ ดง่ ขึมีด้ นวทกงหน้ )ำรถอนเงิ เมื่อเที ยำหรั บกันนบบหำกไม่ มูกำรให้ ลนกรณี ค่ำทีม่จบ่ำี หทยคื เพื ่อชำระหนี นั ทจะรั บรูว้ เป็งเงิ ำไรขำดทุ ้ นงและจะตั ่ ้ ่ บำงส่ ว ทั หมด ย รู ้ เ ป็ ำ จ ำ ยจ่ ำ ส ริ อ ด จ ำ ่ ้ ้ ค่ระยะเวลำของวงเงิ ำ ธรรมเนี ย มที ่ จ ำ ยไปเพื ่ อ ให้ น กู บ รู ป็ น ทุ น กำรจั ำรำยกำรเงิ กู ใ ่ ี ม ี ค วำมเป็ นไปได้ ่ ี จ ะใช้ น กู บ ำงส่ ว น วงเวลำกำรกู ตลอดช่ นยกู้ มื ท้ นี่เ้ ี กีคค่่ย่ ำธรรมเนี วข้อง ยมจะรอกำรรั บ รู ้ จนกระทัง่ มี ก ำรถอนเงิ น หำกไม่ มี ห ลัก ฐำนที่ มีค วำมเป็ นไปได้ที่จะใช้วงเงิ น หรื อทัว้ งนหรื บำงส่ อในกรณี ทั่่จจ้ ง่่ำำหมด บ รูบบ้ เป็รูรู้้เเนค่ ำยล่ดดวททงหน้ ำส ำหรันนบกูกูกำรให้ องและจะตั ด จนนำหน่ ำยตำม ค่ำำธรรมเนี ธรรมเนี ยมที มที ยไปเพื ให้ ำจะรั นต้ำใช้ นทุทุจนน่ำยจ่ กำรจั ำรำยกำรเงิ นกรณีบททริี่ี่มมกีีคคำรสภำพคล่ วำมเป็ นไปได้ นไปได้ ะใช้ววงเงิ งเงิ ำงส่ วน ตลอดช่ วหมด งเวลำกำรกู ยกู้ มื ท้ ี่ค่เกี่่ออำ่ยธรรมเนี ค่หรื ย ยไปเพื ให้ มม้้ ำจะรั ป็ป็ บนต้ กำรจั ำรำยกำรเงิ ใใ้้ นกรณี วำมเป็ ทที่ี่จจนไปได้ ะใช้ กูกูบบ้้ ำงส่ ระยะเวลำของวงเงิ น วข้ไไอด้ด้งเเงิงินนยยกูกูมจะรั อทัว้ งนหรื หมด ในกรณี นค่้ ี ค่อำ่ ำธรรมเนี ธรรมเนี มจะรอกำรรั รูใช้ ้ จนนนกระทั ง่ มีดวทกงหน้ ำรถอนเงิ นนบหำกไม่ มบี หทริลัี่มกกีคำรสภำพคล่ ฐำนที ่ มนไปได้ ี ค วำมเป็ ทจี่ นจำหน่ ะใช้ วยตำม งเงิววนนน ่ อ ทั ง หมด ย มจะรั บ รู ้ เ ป็ นค่ ำ จ ำ ยจ่ ำ ยล่ ำ ส ำหรั กำรให้ อ งและจะตั ด ำ ่ ้ ้ ้ ค่บำงส่ ำ ธรรมเนี ย มที ่ จ ำ ยไปเพื ให้ ไ ด้ เ งิ น กู ม ำจะรั บ รู ้ เ ป็ นต้ ทุ น กำรจั ำรำยกำรเงิ กู ใ นกรณี วำมเป็ ท ่ ี จ ะใช้ ว งเงิ กู บ ำงส่ ้ ระยะเวลำของวงเงิ นกูท้ นนี่เ้้ ีี กีค่ค่ยำำธรรมเนี วข้ อง ยยมจะรอกำรรั หรื ออทัทั้้ งงหมด หมด ในกรณี ในกรณี ธรรมเนี มจะรอกำรรั บบรูรู้้ จจนกระทั นกระทั ำรถอนเงินน หำกไม่ หำกไม่มมีี หห ลัลักก ฐำนที ฐำนที่่ มมีี คค วำมเป็ วำมเป็ นไปได้ นไปได้ทที่ี่ จจะใช้ ะใช้ววงเงิ งเงิ นน หรื งง่่ มีมีดวทกกงหน้ ำรถอนเงิ ค่เงิระยะเวลำของวงเงิ ำนธรรมเนี มที ยไปเพื ด้งเงินนยเวียกูมจะรั ำจะรั ป็กิบนต้ นนกระทั ทุจน่ำยจ่ ำรำยกำรเงิ น่บอหำกไม่ กูนไขให้ ใ้ นกรณี ีคำรสภำพคล่ วำมเป็ นไปได้ ที่จนไปได้ วงเงิ กูบ้ นำงส่ วนำ บำงส่ อในกรณี ทั่ จ้ ง่ำหมด ค่เ้ ี กีค่อำ่ยำธรรมเนี บ่ อกลุ รูบ้ เป็รู่ม้เนค่ ใช้ ำส ำหรั กำรให้ องและจะตั ดทจี่ นจำหน่ ำ้อวยตำม กูทัย้ วื้มงนหรื จัดยประเภทเป็ นหนี สธรรมเนี ิ นไอหมุ ยม้ นเมื จำกำรไม่ มกำรจั ี สำิ ทยล่ ธิมีอกนั ำรถอนเงิ ปรำศจำกเงื เบีลืหทริ่ อลัี่มกนช ำระหนี อกไปอี กะใช้ เป็ นเวลำไม่ ยกว่ ้ให้ ้คอวำมเป็ ้ น กู ท ่ ี วข้ หรื อ หมด น มจะรอกำรรั รู ้ จ ง น ม ก ฐำนที ่ ม ี ะใช้ งเงิ ่ วืมนหรื นหรื อทัทั่จ้้ งง่ำหมด หมด ค่่อำำ่ ธรรมเนี ธรรมเนี มจะรั บ่ อกลุ รูบ้้ เเป็ป็รู่ม้เนค่ นค่ ำกำรไม่ ใช้ ยจ่ ำิ ทยล่ ยล่ธิดอววทนั งหน้ งหน้ ำสสำหรั ำหรัน่บบอกูนไขให้ กำรให้ ำรสภำพคล่ อองและจะตั ดดจจนำหน่ ำำ้อยตำม ค่เงิบำงส่ ำนธรรมเนี ยประเภทเป็ มที ยไปเพื ให้ ไอหมุ ด้งเงินนยยเวีกูมจะรั ม้ นเมื ำจะรั ป็กินต้ นทุจจน่่ำำยจ่ กำรจั ำรำยกำรเงิ ใ้ นกรณีเบบลืทริริ่ อี่มกกนช ีคำรสภำพคล่ วำมเป็ นไปได้ ที่จกะใช้ วงเงิ กูบ้ นำงส่ วนนำ งและจะตั ำหน่ ยตำม บำงส่ ว อ ค่ บ รู ำ ใช้ ำ ำ กำรให้ ้ กู ย จั ด นหนี ส ิ น ย จ ม ี ส ปรำศจำกเงื ำระหนี อ อกไปอี เป็ นเวลำไม่ ยกว่ ้ ้ ้ หรื หมด ในกรณี นี่เ้ ี กีค่ยำธรรมเนี มจะรอกำรรั บ รูใช้ ้ จนกระทั ง่ มีวกงหน้ ำรถอนเงิ น บหำกไม่ กำรสภำพคล่ ฐำนที่ มี ค วำมเป็ นไปได้ดทจี่ จำหน่ ะใช้ำวยตำม งเงิ น ระยะเวลำของวงเงิ นสิกู้นทรอบระยะเวลำรำยงำน วข้ ยยมจะรั 12 เดือทัอว้นงนหรื นับจำกวั บำงส่ อในกรณี ทั้งนหมด รู ้ เป็่มนค่ จ่ำยจ่ ำส ำหรั กำรให้มมเบีีลืหหริ่ อลัลักนช องและจะตั เงิ12 นเดือกูทัอย้ ื้มนงหมด จันัดบประเภทเป็ ิ นออหมุ ยนเมืบ่ อกลุ กิบจำกำรไม่ มีสำิ ทยล่ ปรำศจำกเงื นไขให้ ำระหนี อกไปอี กเป็ นเวลำไม่ น้อวยกว่ ้ สธรรมเนี ระยะเวลำของวงเงิ นนสิกูกู้นนหนี ทท้้ รอบระยะเวลำรำยงำน วข้ งง นเวียมจะรอกำรรั หรื นี่ี่ค่เเ้ ี กีกีคำ่่ยยำธรรมเนี รู ้ จนกระทั ง่ ธิมีอกนั ำรถอนเงิ น ่ อหำกไม่ ก ฐำนที ่ มี้คอวำมเป็ นไปได้ ที่ จะใช้ งเงิ นำ ระยะเวลำของวงเงิ วข้ จำกวั น บำงส่ วืมนหรื อทั้งหมด ค่เกีำ่ยธรรมเนี ยเวีมจะรั บ่อกลุ รู้ เป็่มนค่ ำกำรไม่ ใช้ จ่ำยจ่ ำิ ทยล่ธิ อวนั งหน้ ำส ำหรั ่บอนไขให้ กำรให้เบลืริ่ อกนชำรสภำพคล่ องและจะตั ด จำหน่นำ้อยตำม ้ เงิ12 น กู ย จั ด ประเภทเป็ นหนี ส ิ น หมุ น ย นเมื กิ จ ม ี ส ปรำศจำกเงื ำระหนี อ อกไปอี ก เป็ นเวลำไม่ ยกว่ ำ ้ ้ ้ ระยะเวลำของวงเงิ น กู ท ่ ี วข้ อ ง เดือวนนหรื นับจำกวั สิ้นรอบระยะเวลำรำยงำน บำงส่ อทั้งนหมด ค่ ำธรรมเนี ยมจะรั รู ้ เป็่มนค่ ใช้ จ่ำยจ่ี สำทยล่ธิ อวนั งหน้ ำส ำหรั บ กำรให้เบลื่ริอกนชำรสภำพคล่ องและจะตั ด จำหน่นำ้อยตำม เงิ12 จันัดบประเภทเป็ ยนเมืบ่อมกลุ กิ จอำกำรไม่ นเวลำไม่ ยกว่นำ ้ ออกไปอี ่ย้ สวข้ิ นอหมุ ระยะเวลำของวงเงิ กู้ นนหนี ท้ รอบระยะเวลำรำยงำน ง นบเวีกำรได้ ต้นนเดืทุกูนอย้ ืมนกำรกู ย้จำกวั ืมที่เนกีน่สิยวข้ อี่เกีงโดยตรงกั ำ กำรก่ สร้ำง มหรืิ อกำรผลิปรำศจำกเงื ตสิ นทรัพ่ อย์นไขให้ ที่เข้ำเงื่อนไขต้อำระหนี งนำมำรวมเป็ นส่กวเป็นหนึ ่ งของรำคำทุ ่่มมกิกิจจอกำรไม่ เงิ12 จัจันัดดบประเภทเป็ ยยนเมื มมีีสสิิ ททอกำรผลิ ธิธิ ออนนัั ปรำศจำกเงื ่่ออนช นเวลำไม่ นน้้ออยกว่ ่ย้ สสวข้ิิ นนอหมุ น่สิยวข้ กูนนหนี ท้ รอบระยะเวลำรำยงำน ง นนบเวีเวีกำรได้ ้ อออกไปอี เงินนเดืทุกูกูนอยย้้ ืืมนมกำรกู ประเภทเป็ นหนี หมุ นเมื่่ออมกลุ กลุ กำรไม่ ปรำศจำกเงื นไขให้ นชอำระหนี ำระหนี อกไปอีนส่กกวเป็ เป็นหนึ นเวลำไม่ ยกว่นำำ ต้ระยะเวลำของวงเงิ ย้จำกวั อี่เนกีงโดยตรงกั ำอกำรก่ สร้ ตสิรนะยะเวลำนำนในกำรเตรี ทรัพ่่ออย์นไขให้ ที่เข้ำเงื่อเเลืลืนไขต้ ่ งของรำคำทุ ้ นหนี ของสิ นืมทรั พประเภทเป็ ย์ืมนที้ นั ่เนกีโดยสิ ทรั้้ สิพนย์หมุ ที่เนข้ำเวีเงืย่อนเมื นไขคื สิกินจทรั พย์ำทง มี่จหรืีำเป็ นต้ องใช้ ยงน มสิำมำรวมเป็ น้้ ทรั พย์น้ นั กให้ อนเวลำไม่ ยูใ่ นสภำพพร้ อม ้ ่ เงิต้12 น กู ย จั ด ่ อ กลุ ม กำรไม่ ส ิ ท ธิ อ น ั ปรำศจำกเงื ่ อ นไขให้ เ ลื ่ อ นช ำระหนี อ อกไปอี เป็ น ้ อ ยกว่ ่ สิสิยวข้ นเดื ทุนออนนนกำรกู ืมนที้ นั ่เนนกีโดยสิ อนงโดยตรงกั บำเงืกำรได้ มำอกำรก่ อสร้ ำทง ี่จหรืำเป็อกำรผลิ ตสิรนะยะเวลำนำนในกำรเตรี ทรัพย์ที่เข้ำเงื่อนไขต้อยงน ำมำรวมเป็ นส่ วนหนึ ่ งของรำคำทุอนมำ นันับบพย้จำกวั นนรอบระยะเวลำรำยงำน ้ 12 เดื จำกวั รอบระยะเวลำรำยงำน ้ ่ ของสิ ทรั ย์ ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ่ อ นไขคื สิ น ทรั พ ย์ นต้ อ งใช้ มสิ น ทรั พ ย์ น น ั ให้ อ ยู ใ นสภำพพร้ ้ ่มกิจอกำรไม่ นหนี ิ นหมุ ยนเมืกำรรวมต้ ่อมกลุ มหรืี สิทอย้ กำรผลิ ธิืมอเป็นั นรำคำทุ ปรำศจำกเงื ออกไปอี กวเป็ำเนิ นเวลำไม่ นว้นใหญ่ อยกว่นำ ทีน่จนเดื ะใช้ ไจัด้นัดตบประเภทเป็ ำมประสงค์ หองโดยตรงกั รื อ้ สพร้ อมทีนบ่จเวีกำรได้ ะขำย นสร้ ทุนำงกำรกู ย์่ อตนช อ้ งสิ ด้ ลงเมื ่ อกำรด น่ กำรส่ ้ นสุำมำรวมเป็ ่ สิยวข้ ต้เงิ12 ทุกูกูนอยย้้ นืืมนมกำรกู ย้จำกวั ำอกำรก่ ตสิรนะยะเวลำนำนในกำรเตรี ทรันของสิ พ่่ออย์นไขให้ ที่เข้นำทรั เงื่อเเพลืลืนไขต้ อำระหนี นส่ นหนึ งของรำคำทุ รอบระยะเวลำรำยงำน ้ นนหนี ทรั พประเภทเป็ ย์ืมนที้ นั ่เนกีโดยสิ นรืทรั พนย์หมุ ทมที ี่ เนข้่จำเวีเงืะขำย ่อนเมื นไขคื สิกินจทรั พนย์ทกำรกู ี่จีำเป็ นต้ อนรำคำทุ งใช้ ยงน มสิ นด้ ลงเมื ทรั พย์่ อนกำรด นั กให้ อนเวลำไม่ ยูนใ่ นสภำพพร้ อมำ ้ ่ เงิต้ของสิ จั ด ส ิ ย ่ อ กลุ ม กำรไม่ ม ส ิ ท ธิ อ น ั ปรำศจำกเงื นไขให้ ่ อ นช ำระหนี อ อกไปอี เป็ น ้ อยกว่ ้ ้ ทีที12น่่จจนเดื ะใช้ ไ ด้ ต ำมประสงค์ ห อ พร้ อ กำรรวมต้ น ทุ ย ม ื เป็ น ของสิ น ทรั พ ย์ ต อ ้ งสิ น สุ ำเนิ กำรส่ ว นใหญ่ ้ ่ สิยมสิ ทุนอนนนกำรกู ืมนทีนั ่เนกียโดยสิ วข้ อนทรั งโดยตรงกั มำออกำรก่ อสร้ ำทง ี่จหรื อกำรผลิ ทรัพย์ที่เข้หำเงืรื ่ออพร้ นไขต้ ำมำรวมเป็ นหนึ ่ งของรำคำทุ นับพย้จำกวั ้ นนรอบระยะเวลำรำยงำน ำเป็ ในกำรเตรี พพย์ทย์ที่เข้ี่ เำข้เงืบำ่เงือกำรได้ นไขให้ ยูสิใ่ นสภำพพร้ อำเป็ มที ่จะใช้ ไตด้สิรตนะยะเวลำนำนในกำรเตรี ำมประสงค์ อมทีอยงน ่จมสิ ะขำยได้ เสร็ย์นจนส่ สิ้ให้ นวลง ่ ของสิ ทรั ย์ ทรั ่ อ นไขคื น ทรั พ ย์ นต้ อ งใช้ น ทรั พ น ั อ ยู ใ นสภำพพร้ อนนม ้ ้ ะใช้ ไในกำรเตรี ด้นัตบำมประสงค์ หออทรั รื อพพร้ย์ทอี่เมที ่จ่อกำรได้ ะขำย กำรรวมต้ นสร้ ทุนำำงงกำรกู ย้ กำรผลิ ืม่จเป็ นรำคำทุ นของสิ นหำำทรั พพร้ ย์ตออ้ มที งสิ นะขำยได้ สุำมำรวมเป็ ดลงเมืเสร็่ อกำรด ำเนิ น่่ กำรส่ วนใหญ่ ้ ่ นน่่จจเดื ทุทุนนอนนนกำรกู ย ม ื ที ่ เ กี ย วข้ งโดยตรงกั บ ม ำ กำรก่ อ หรื อ ต สิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ เงื ่ อ นไขต้ อ งน นส่ ว นหนึ ง ของรำคำทุ ้ จำกวั น สิ น รอบระยะเวลำรำยงำน ้ ้ ่ ต้ทีของสิ กำรกู ย ม ื ที ่ เ กี ย วข้ งโดยตรงกั บ กำรได้ ม ำ กำรก่ อ สร้ หรื อ กำรผลิ ต สิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ เงื ่ นไขต้ อ งน ำมำรวมเป็ นส่ ว นหนึ ง ของรำคำทุ ่ ทีต้12 ำเป็ ย มสิ น ข้ ำ เงื นไขให้ อ ยู ใ นสภำพพร้ อ มที ะใช้ ไ ด้ ต ำมประสงค์ รื อ ่ จ จ สิ น ลง ้ ย์นนั โดยสิหนรืทรั พย์อทมที ี่เข้่จำเงืะขำย ่อนไขคื อสิ นทรันทุพนย์ทกำรกู ี่จำเป็ย้ นต้ องใช้ระยะเวลำนำนในกำรเตรี ยมสิ นดลงเมื อยูนใ่ นสภำพพร้ อนม ้ นั ให้ ทรัพย์่ อนกำรด ะใช้ ไทรั ด้ตพพำมประสงค์ อพพร้ กำรรวมต้ ืม่จเป็ ย์ตออ้ มที งสิ นะขำยได้ สุำมำรวมเป็ ำเนิ วนใหญ่ ่ ยมสิ น่่จจำเป็ ทุนนนในกำรเตรี กำรกู ย้ ย์ืมนที้้ นั ่เกียโดยสิ วข้นอนทรั งโดยตรงกั บำ่เงือกำรได้ มำออกำรก่ อสร้ ำทง ี่จหรื อกำรผลิ ตด้สิรตนะยะเวลำนำนในกำรเตรี ทรันของสิ พย์ที่เข้นหำทรั เงืรื ่ออพพร้ นไขต้ อยงน นส่ วลง นหนึ ่ กำรส่ งของรำคำทุ ้ มสิ นรำคำทุ ่ ทีต้ทีของสิ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื นไขให้ ยู ใ นสภำพพร้ อ มที ะใช้ ไ ำมประสงค์ ่ จ เ สร็ จ สิ น ่ ทรั ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ่ อ นไขคื สิ น ทรั พ ย์ ำเป็ นต้ อ งใช้ น ทรั พ ย์ น น ั ให้ อ ยู ใ นสภำพพร้ ออนมม ้ ้ นกำรกู ทรั พำมประสงค์ ย์ืมนที้ นั ่เกีโดยสิ นงโดยตรงกั ทรั พย์อทมที ี่ เข้บ่จำเงืกำรได้ ่อนไขคื อกำรก่ สิ นทรั พนย์ำทงกำรกู ี่จหรืำเป็อย้ กำรผลิ นต้ อนรำคำทุ งใช้ รนะยะเวลำนำนในกำรเตรี ยงน มสิ นดลงเมื ทรัพย์่ อนกำรด ให้ อยูนใ่ นสภำพพร้ ้ นั นไขไปลงทุ ทีทีต้ของสิ ่่จจะใช้ ไ ด้ ต ห รื อ พร้ ะขำย กำรรวมต้ น ทุ ม ื เป็ น ของสิ น ทรั พ ย์ ต อ ้ งสิ น สุ ำเนิ กำรส่ ว นใหญ่ ้ ่ ้ น ทุ น ย ย วข้ อ ม ำ อ สร้ ต สิ ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ นไขต้ อ ำมำรวมเป็ นส่ ว นหนึ ่ ง ของรำคำทุ ้ ้ รำยได้ จ ำกกำรลงทุ น ที ่ เ กิ ด จำกกำรน ำเงิ น กู ย ม ื ที ่ ก ู ม ำโดยเฉพำะ ที ่ ย ง ั ไม่ ไ ด้ น ำไปเป็ น รำยจ่ ำ ยของสิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ น เป็ น กำร ำเป็ นในกำรเตรี มสิ นหอนทรั พพร้ ข้ี่ เำข้เงืบ่จำ่เงือกำรได้ นไขให้ ออกำรก่ ยูสิใ่ นสภำพพร้ อำเป็ ่จเป็ ไตด้สิรตนะยะเวลำนำนในกำรเตรี ำมประสงค์ หำทรั รื ่ออพพร้ ออ้ มที ่จ้ มสิ ะขำยได้ จนส่ นวลง ทรั พย์ทย์อที่เมที ่อนไขคื นทรั พนย์ำทงกำรกู ี่จหรื นต้ อนรำคำทุ งใช้ ยงน นดลงเมื ทรัพเสร็ย์่ อนกำรด อยูนใ่ นสภำพพร้ อนนม มที ะใช้ ้ นัสิ้ให้ ้ ่นยมสิ ทีทีทีรำยได้ ะใช้ ไไทรั ด้ด้ตตพำมประสงค์ รื อ ะขำย กำรรวมต้ น ทุ ย ม ื น ของสิ น ย์ ต งสิ น สุ ำเนิ กำรส่ ว นใหญ่ ต้ของสิ น่่่จจจำเป็ ทุนนนในกำรเตรี กำรกู ย้ ย์มื นที้ นั ่เกียยโดยสิ วข้ งโดยตรงกั ม ำ อ สร้ อ กำรผลิ ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ เงื นไขต้ อ ำมำรวมเป็ นหนึ ่ ง ของรำคำทุ ้ ะใช้ ำมประสงค์ ห รื อ พร้ อ มที ่ จ ะขำย กำรรวมต้ น ทุ น กำรกู ย ม ื เป็ นรำคำทุ น ของสิ น ทรั พ ย์ ต อ ้ งสิ น สุ ด ลงเมื ่ อ กำรด ำเนิ น กำรส่ ว นใหญ่ ้ ้ ้ จ ำกกำรลงทุ ที ่ เ กิ ด จำกกำรน ำเงิ น กู ย ม ื ที ่ ก ู ม ำโดยเฉพำะ ที ่ ย ง ั ไม่ ไ ด้ น ำไปเป็ น รำยจ่ ำ ยของสิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ นไขไปลงทุ น เป็ น กำร นนทรักทรัจำกต้ พพย์ทย์ที่เนข้ี่เำทุข้เงืำน่เงือกำรกู นไขให้ นสภำพพร้ มที ่จะใช้ ำมประสงค์ รื อพร้ อมทีย่จมสิ ะขำยได้ จ้ นัสิ้ให้ นลงอยูใ่ นสภำพพร้ อม นทรั ย์ต้นอ้ นั งนโดยสิ ่อนไขคื นทรันทุพนย์้ทงกำรกู อนงใช้ ะยะเวลำนำนในกำรเตรี ทรัพเสร็ย์่ อนกำรด ทุไนด้รตของสิ นทรัพนย์หทรั ชัของสิ ว่่จครำวก่ ำมำหั ย้ มื อทีอยู่สสิใ่ ำมำรถตั ขึี่จ้อนำเป็ เป็ย้ นต้ นต้ ะใช้ ด้อตพพนำมประสงค์ อพพร้ ืม่จงั เป็ นของสิ พพร้ย์ตออ้ มที งสิ นะขำยได้ สุพนนดย์ลงเมื ำเนิ กำรส่นเป็ วนใหญ่ ำกกำรลงทุ นมสิ ทีนน่เหกินทรั ดรืกทรั จำกกำรน กูย้ กำรรวมต้ มื มื ทีออทีอ่กยูยู่สสิใใมู่่้ ำมำรถตั ทีนต้ ่ยนต้ ไม่ ไไได้นด้ด้นรตตของสิ ำไปเป็ นรำยจ่ นย่่ทรั ที่เข้พเเสร็ ำย์เงืนจจ่อ้ นัสิสินไขไปลงทุ นกำร ทีทีทีรำยได้ ำเป็ ในกำรเตรี ข้ข้ี่ เำำทุข้เงืเงื่จำนำเงิ ่่เงืออะขำย นไขให้ นสภำพพร้ มที ะใช้ ำมประสงค์ หหรืรืำออยของสิ จจ้ มสิ นนลง นนนจไทรั ย์ต้นอ้ นั งนยยโดยสิ พย์ย์ททย์อที่ี่เเนมที ่อนนไขคื นำโดยเฉพำะ ทรัพย์้ทงขึี่จ้ออนำเป็ อนนรำคำทุ งใช้ ะยะเวลำนำนในกำรเตรี ทรั ให้ อยูนใ่ นสภำพพร้ อม ้ ำเป็ ในกำรเตรี มสิ ทรั พ นไขให้ นสภำพพร้ มที ่ จ ะใช้ ำมประสงค์ พร้ อ มที ะขำยได้ สร็ ลง ้ ้ ชัทีของสิ ว่่่จจจครำวก่ อ น ำมำหั จำกต้ กำรกู ย เป็ ทุ น ทรั พ ย์ ้ ะใช้ ไ ด้ ต ำมประสงค์ ห รื อ พร้ อ มที ่ จ ะขำย กำรรวมต้ น ทุ น กำรกู ย ม ื เป็ นรำคำทุ น ของสิ น ทรั พ ย์ ต อ ้ งสิ น สุ ด ลงเมื ่ อ กำรด ำเนิ น กำรส่ วนใหญ่ ้ ้ ้ จ ำกกำรลงทุ น ที ่ เ กิ ด จำกกำรน ำเงิ น กู ย ม ื ที ่ ก ู ม ำโดยเฉพำะ ที ่ ย ง ั ไม่ ไ ด้ น ำไปเป็ น รำยจ่ ำ ยของสิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ นไขไปลงทุ น เป็ นกำร ่ ทีรำยได้ ่ชัทีว่จจครำวก่ ำเป็ น ในกำรเตรี ย มสิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ นไขให้ อ ยู ใ นสภำพพร้ อ มที ่ จ ะใช้ ไ ด้ ต ำมประสงค์ ห รื อ พร้ อ มที ่ จ ะขำยได้ เ สร็ จ สิ น ลง น กำร ้ ต้องนำมำหั กอจำกต้ กำรกูกำรรวมต้ ย้ มื ที่สำมำรถตั ขึ้นเป็ย้ นต้ นนรำคำทุ ทุนของสินของสิ นทรัพนย์ทรัพย์ตอ้ งสิ้ นสุ ดลงเมื่ อกำรดำเนิ นกำรส่ วนใหญ่ ะใช้จไำกกำรลงทุ ด้อตนำมประสงค์ พร้อนมทีทุ่จนำเงิะขำย นทุน้งกำรกู รำยได้ ทีต้น่เอหกิทรั ดรืกจำกกำรน ย้ ย้ มื มื ทีอที่กยู่สใมู่้ ำมำรถตั ำโดยเฉพำะ ที่ยนืม่จงั เป็ ไม่ ไได้นด้นตของสิ ำไปเป็ นรำยจ่ พย์ที่เข้เสร็ ำเงืจ่อสินไขไปลงทุ นเป็ นนกำร กำร ทีชัต้นว่่จครำวก่ ำเป็ ในกำรเตรี พอเป็ย์ทนี่เนข้ค่ำทุำเงืใช้ ่อกำรกู นไขให้ นสภำพพร้ ะใช้ ำมประสงค์ พร้ อมทีน่ทรั จะขำยได้ ้ นลง ทุนนกำรกู ย้ มืต้ออื่งน นยนๆมสิ งถื จน่ำกูยในงวดที ่เกิดขึ้น้ งขึ้อนมที อ น ำมำหั จำกต้ น เป็ ต้ น ทุ น ทรั พย์หหรืรืำำออยของสิ ้ ้ รำยได้ จจกำรกู ำกกำรลงทุ น ที ่ เ กิ ด จำกกำรน ำเงิ น กู ย ม ื ที ่ ก ู ม ำโดยเฉพำะ ที ่ ย ง ั ไม่ ไ ด้ น ำไปเป็ น รำยจ่ ยของสิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ นไขไปลงทุ น เป็ น กำร ่ ทีชัต้นว่จครำวก่ ำเป็ นในกำรเตรี ย มสิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ นไขให้ อ ยู ใ นสภำพพร้ อ มที ่ จ ะใช้ ไ ด้ ต ำมประสงค์ พร้ อ มที ่ จ ะขำยได้ เ สร็ จ สิ น ลง ้ ้ ้ รำยได้ ำกกำรลงทุ น ที ่ เ กิ ด จำกกำรน ำเงิ น กู ย ม ื ที ่ ก ู ม ำโดยเฉพำะ ที ่ ย ง ั ไม่ ไ ด้ น ำไปเป็ น รำยจ่ ำ ยของสิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ นไขไปลงทุ น เป็ น กำร ้ ่ ทุ น ย ม ื อื ่ น ๆ ต้ อ งถื อ เป็ น ค่ ำ ใช้ จ ำ ยในงวดที ่ เ กิ ด ขึ น ้ อน ต้องนำมำหักจำกต้นทุนกำรกูย้ มื ที่สำมำรถตั้ งขึ้ นเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ ่ จำกกำรลงทุ ้ ้ รำยได้ น ที ่ เ กิ ด จำกกำรน ำเงิ น กู ย ม ื ที ่ ก ู ม ำโดยเฉพำะ ที ่ ย ง ั ไม่ ไ ด้ น ำไปเป็ น รำยจ่ ำ ยของสิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ นไขไปลงทุ น เป็ น กำร ้ ่ ทุ น กำรกู ย ม ื อื ่ น ๆ ต้ อ งถื อ เป็ นค่ ำ ใช้ จ ำ ยในงวดที ่ เ กิ ด ขึ น ้ ้ ง ขึ น เป็ น ต้ น ทุ น ของสิ น ทรั พ ย์ ชัต้ชันวว่่ ครำวก่ อ น ต้ อ งน ำมำหั ก จำกต้ น ทุ น กำรกู ย ม ื ที ่ ส ำมำรถตั ้ ้ ครำวก่ อน ต้องนนำมำหั จำกต้นทุนำเงิกำรกู ำมำรถตั ทรั พย์ ้งขึ้นเป็ นต้นทุได้นนของสิ 36 ำกกำรลงทุ ทีต้่เอกิงถื ดกกจำกกำรน ย้ ยย้้ มื มมืื ทีทีที่ก่่สสมู้ ำมำรถตั ำโดยเฉพำะ ำไปเป็นนทรั นรำยจ่ นทรัพย์ที่เข้ำเงื่อนไขไปลงทุนเป็ นกำร ต้รำยได้ นว่ ครำวก่ ทุนจจกำรกู น นๆำมำหั อเป็ นค่ จนน่ำกูกูยในงวดที ่เกิดขึ้น้ งขึ้นเป็ทีที่่ยยนงงัั ต้ไม่ นทุได้นนของสิ พย์ ำำยของสิ ชัรำยได้ อนย้ มืต้ออื่งน จำกต้ นำเงิกำรกู นนค่ทุำใช้ 36 ้ ้ ำกกำรลงทุ ที ่ เ กิ ด จำกกำรน ย ม ื ที ่ ก ู ม ำโดยเฉพำะ ไม่ ำไปเป็ น รำยจ่ ยของสิ น ทรั พ ย์ ท ่ ี เ ข้ ำ เงื ่ อ นไขไปลงทุ น เป็ น กำร ทุนกำรกู น ๆำมำหั นกำรกู ย้ มื ที่สำมำรถตั ชัต้นว่ ครำวก่ อนย้ มืต้ออื่งน ต้องถืกจำกต้ อเป็ นนค่ทุำใช้ จ่ำยในงวดที ่เกิดขึ้น้ งขึ้นเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ 36
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
155 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัดัสทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทััท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.16
สัญญำเช่ ำระยะยำว - กรณีที่กลุ่มกิจกำรเป็ นผู้เช่ ำ สัญญำระยะยำวเพื่อเช่ ำสิ นทรั พย์ซ่ ึ งผูใ้ ห้เช่ ำเป็ นผูร้ ับควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนของควำมเป็ นเจ้ำของเป็ นส่ วนใหญ่ สัญญำเช่ ำนั้น ถือเป็ นสัญญำเช่ำดำเนินงำน เงินที่ตอ้ งจ่ำยภำยใต้สัญญำเช่ำดังกล่ำว (สุ ทธิ จำกสิ่ งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจำกผูใ้ ห้เช่ำ) จะบันทึกในกำไร หรื อขำดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอำยุของสัญญำเช่ำนั้น สัญญำเช่ ำที่ดิน อำคำร และอุปกรณ์ซ่ ึ งผูเ้ ช่ ำเป็ นผูร้ ับควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนของควำมเป็ นเจ้ำของเกื อบทั้งหมดถื อเป็ นสัญญำเช่ ำกำรเงิ น ซึ่ งจะบันทึกเป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุนด้วยมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่เช่ ำ หรื อมูลค่ำปั จจุบนั สุ ทธิ ของจำนวนเงินที่ตอ้ งจ่ำยตำมสัญญำเช่ ำ แล้วแต่มูลค่ำใดจะต่ำกว่ำ จำนวนเงิน ที่ต้องจ่ำยดังกล่ ำวจะปั นส่ วนระหว่ำงหนี้ สิ น และค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินเพื่ อให้ ได้อตั รำดอกเบี้ ยคงที่ ต่อหนี้ สิ นคงค้ำงอยู่ โดยพิจำรณำแยกแต่ละสัญญำ ภำระผูกพันตำมสัญญำเช่ ำหักค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงิ นจะบันทึ กเป็ นหนี้ สินระยะยำว ส่ วนดอกเบี้ ยจ่ำย จะบันทึกในกำไรหรื อขำดทุนตลอดอำยุของสัญญำเช่ำเพื่อทำให้อตั รำดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็ นอัตรำคงที่สำหรับยอดคงเหลือของหนี้ สิน ทรัพย์ที่ เหลื ออยู่ สิ นทรัพย์ที่ ได้ม ำตำมสัญญำเช่ ำกำรเงิ นจะคิ ดค่ ำเสื่ อมรำคำตลอดอำยุกำรใช้งำนของสิ นทรั พย์ที่เช่ ำหรื ออำยุของ สัญญำเช่ำ แล้วแต่ระยะเวลำใดจะน้อยกว่ำ
3.17
ภำษีเงินได้สำหรับงวดปัจจุบันและภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้สำหรับงวดประกอบด้วย ภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภำษี เงินได้รอกำรตัดบัญชี ภำษี เงินได้จะรับรู ้ในกำไร หรื อขำดทุน ยกเว้นส่ วนภำษีเงินได้ที่เกี่ ยวข้องกับรำยกำรที่รับรู ้ ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น หรื อรำยกำรที่รับรู ้ โดยตรงไปยังส่ วนของเจ้ำของ ในกรณี น้ ี ภำษีเงินได้ตอ้ งรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น หรื อโดยตรงไปยังส่ วนของเจ้ำของตำมลำดับ ภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั คำนวณจำกอัตรำภำษี ตำมกฎหมำยภำษี ที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อ ที่คำดได้ค่อนข้ำงแน่ ว่ำจะมีผลบังคับใช้ ภำยในสิ้ นรอบระยะเวลำที่รำยงำนในประเทศที่บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยต้องดำเนิ นงำนอยูแ่ ละเกิดรำยได้เพื่อเสี ยภำษี ผูบ้ ริ หำรจะประเมิน สถำนะของกำรยื่นแบบแสดงรำยกำรภำษี เป็ นงวด ๆ ในกรณี ที่มีสถำนกำรณ์ ที่ กำรนำกฎหมำยภำษี ไปปฏิ บตั ิ ข้ ึ นอยูก่ บั กำรตี ควำม และจะตั้งประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยภำษีที่เหมำะสมจำกจำนวนที่คำดว่ำจะต้องจ่ำยชำระภำษีแก่หน่วยงำนจัดเก็บ ภำษี เงินได้รอกำรตัดบัญชี รับรู ้ ตำมวิธีหนี้ สิน เมื่ อเกิดผลต่ำงชั่วครำวระหว่ำงฐำนภำษี ของสิ นทรัพย์และหนี้ สิน และรำคำตำมบัญชี ที่แสดงอยูใ่ นงบกำรเงิน อย่ำงไรก็ตำม กลุ่มกิ จกำรจะไม่รับรู ้ ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่เกิดจำกกำรรับรู ้เริ่ มแรกของรำยกำรสิ นทรัพย์ หรื อรำยกำรหนี้ สินที่ เกิ ดจำกรำยกำรที่ ไม่ใช่ กำรรวมธุ รกิ จ และ ณ วันที่ เกิ ดรำยกำร รำยกำรนั้นไม่มีผลกระทบต่อกำไรหรื อขำดทุน ทั้งทำงบัญชี หรื อทำงภำษี ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี คำนวณจำกอัตรำภำษี (และกฎหมำยภำษีอำกร) ที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที่คำดได้ ค่อนข้ำงแน่ ว่ำจะมีผลบังคับใช้ภำยในสิ้ นรอบระยะเวลำที่ รำยงำน และคำดว่ำอัตรำภำษีดงั กล่ำวจะนำไปใช้เมื่อสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี ที่เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ หรื อหนี้ สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ได้มีกำรจ่ำยชำระ
156 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัดัสสทรีทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษัททั ศรี และบริ ษทั ษย่อัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.17
ภำษีเงินได้ สำหรับงวดปัจจุบันและภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี (ต่อ) สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี จะรับรู้หำกมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่วำ่ กลุ่มกิจกำรจะมีกำไรทำงภำษีเพียงพอที่จะนำจำนวนผลต่ำง ชัว่ ครำวนั้นมำใช้ประโยชน์ กลุ่มกิ จกำรได้ต้ งั ภำษี เงินได้รอตัดบัญชี ของผลต่ำงชั่วครำวของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และส่ วนได้เสี ย ในกิจกำรร่ วมค้ำที่ตอ้ งเสี ยภำษีเว้นแต่กลุ่มกิจกำรสำมำรถควบคุมจังหวะเวลำของกำรกลับรำยกำรผลต่ำงชัว่ ครำว และกำรกลับรำยกำร ผลต่ำงชัว่ ครำวมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่วำ่ จะไม่เกิดขึ้นได้ภำยในระยะเวลำที่คำดกำรณ์ได้ในอนำคต สิ นทรั พย์ภำษี เงิ นได้รอกำรตัดบัญชี และหนี้ สิน ภำษี เงินได้รอกำรตัดบัญชี จะแสดงหัก กลบกันก็ต่อเมื่ อกิ จกำรมี สิท ธิ ตำมกฎหมำย ที่จะนำสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั มำหักกลบกับหนี้ สินภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และทั้งสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี และหนี้ สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี เกี่ยวข้องกับภำษีเงินได้ที่ประเมินโดยหน่วยงำนจัดเก็บภำษีหน่วยงำนเดียวกันโดยกำรเรี ยกเก็บ เป็ นหน่วยภำษีเดียวกันหรื อหน่วยภำษีต่ำงกันซึ่งตั้งใจจะจ่ำยหนี้ สินและสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ
3.18
ผลประโยชน์ พนักงำน (ก)
โครงกำรสมทบเงินที่กำหนดไว้ โครงกำรสมทบเงินที่ กำหนดไว้ คื อโครงกำรผลประโยชน์ห ลังออกจำกงำนที่ บำงบริ ษทั ในกลุ่ ม จ่ำยเงินสมทบในจำนวน ที่แน่ นอนให้แก่กิจกำรที่แยกต่ำงหำก ตำมข้อตกลงทำงกฎหมำย หรื อตำมสัญญำ หรื อโดยสมัครใจ หลังจำกที่บำงบริ ษทั ในกลุ่ม ได้จ่ำยเงินสมทบดังกล่ำวแล้ว บริ ษทั เหล่ำนั้นจะไม่มีภำระผูกพันที่ตอ้ งจ่ำยเงินสมทบเพิ่มเติมอีก เงินจ่ำยสมทบเข้ำโครงกำรผลประโยชน์หลังออกจำกงำนจำกบริ ษทั เหล่ำนั้น บันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ สำหรับรอบระยะเวลำบัญชี ที่เกิดรำยกำรนั้น
(ข)
ผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ กลุ่ มกิ จกำรจัดให้ มีผลประโยชน์ พนักงำนเมื่ อเกษี ยณอำยุเพื่อจ่ำยให้แก่ พนักงำนเป็ นไปตำมกฎหมำยแรงงำนไทย จำนวนเงิน ดังกล่ ำวขึ้นอยูก่ บั ฐำนเงินเดื อนและจำนวนปี ที่พนักงำนทำงำนให้กลุ่มกิ จกำรนับถึ งวันที่สิ้นสุ ดกำรทำงำนที่ จะเกิ ดขึ้นในอนำคต หนี้ สิ นผลประโยชน์ พนักงำนค ำนวณโดยใช้ วิ ธี คิ ดลดแต่ ละหน่ วยที่ ป ระมำณกำรไว้ (วิ ธี Projected Unit Credit) ตำมเกณฑ์ คณิ ตศำสตร์ประกันภัย (Actuarial Technique) โดยนักคณิ ตศำสตร์ ประกันภัยอิสระ โดยสม่ำเสมอเพียงพอที่จะไม่ทำให้จำนวนเงิน ที่รับรู ้ในงบกำรเงินแตกต่ำงอย่ำงมีสำระสำคัญจำกจำนวนเงินที่ ควรจะเป็ น ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน ซึ่ งเป็ นกำรประมำณกำร จำกมูลค่ำปั จจุบนั ของกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะต้องจ่ำยในอนำคต โดยคำนวณบนพื้นฐำนของเงินเดื อนพนักงำน อัตรำกำรลำออก อำยุจนถึ งเกษี ยณ อัตรำกำรตำย อำยุงำน และปั จจัยอื่ น ๆ และค ำนวณคิ ดลดโดยใช้ อ ัตรำดอกเบี้ ยของพัน ธบัตรรั ฐบำล ที่มีกำหนดเวลำใกล้เคียงกับระยะเวลำของภำระผูกพันดังกล่ำว กำไรและขำดทุ น จำกกำรประมำณกำรตำมหลัก คณิ ตศำสตร์ ป ระกัน ภัยที่เกิ ด ขึ้ น จำกกำรปรั บ ปรุ งจำกประสบกำรณ์ ห รื อ กำรเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติฐำนจะต้องรับรู ้ในส่ วนของเจ้ำของผ่ำนกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นในงวดที่เกิดขึ้น ต้นทุนบริ กำรในอดีตจะถูกรับรู ้ทนั ทีในกำไรหรื อขำดทุน
157 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.19
ประมำณกำรหนีส้ ิน กลุ่ ม กิ จกำรจะบัน ทึ ก ประมำณกำรหนี้ สิ น ซึ่ งไม่ รวมถึ งประมำณกำรหนี้ สิ น ส ำหรั บ ผลตอบแทนพนัก งำน อัน เป็ นภำระผู ก พัน ในปั จจุ บ ัน ตำมกฎหมำยหรื อตำมข้อตกลงที่ จดั ท ำไว้ อัน เป็ นผลสื บ เนื่ อ งมำจำกเหตุ ก ำรณ์ ในอดี ตซึ่ งกำรช ำระภำระผูก พัน นั้ น มี ควำมเป็ นไปได้ค่ อนข้ำงแน่ นอนว่ำจะส่ งผลให้ก ลุ่ มกิ จกำรต้องสู ญเสี ยทรั พยำกรออกไป และตำมประมำณกำรที่ น่ ำเชื่ อถื อของ จำนวนที่ตอ้ งจ่ำยในกรณี ที่กลุ่มกิ จกำรคำดว่ำประมำณกำรหนี้ สินเป็ นรำยจ่ำยที่จะได้รับคืน เช่ น ภำยใต้สัญญำประกันภัย กลุ่มกิ จกำร จะบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์แยกต่ำงหำกเมื่อคำดว่ำน่ำจะได้รับรำยจ่ำยนั้นคืนอย่ำงแน่นอน
3.20
ทุนเรื อนหุ้น หุ้นสำมัญจัดประเภทไว้เป็ นส่วนของเจ้ำของ ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับกำรออกหุ้นสำมัญใหม่หรื อสิ ทธิ ในกำรซื้ อขำยหุ ้นที่จ่ำยออกไป โดยแสดงรำยกำรดังกล่ำวด้วยจำนวนเงินสุ ทธิ จำกภำษีไว้เป็ นรำยกำรหักในส่ วนของเจ้ำของ โดยนำไปหักจำกสิ่ งตอบแทนที่ได้รับจำกกำรออกหุ ้น
3.21
กำรรับรู้รำยได้ รำยได้ป ระกอบด้ว ยมู ล ค่ ำยุติ ธ รรมที่ จ ะได้รั บ จำกกำรขำยสิ น ค้ำและบริ กำรซึ่ งเกิ ด ขึ้ น จำกกิ จ กรรมตำมปกติ ข องกลุ่ ม กิ จ กำร รำยได้จะแสดงด้วยจำนวนเงินสุ ทธิ จำกภำษี ข ำย กำรรั บคื น เงิ นคื นและส่ วนลด โดยไม่รวมรำยกำรขำยภำยในกลุ่ มกิ จกำรสำหรับ งบกำรเงินรวม กลุ่ม กิ จกำรรั บรู ้ รำยได้ก็ต่อเมื่ อกิ จกำรสำมำรถวัดมู ลค่ ำของรำยได้และต้นทุนที่ เกี่ ยวข้องได้อย่ำงน่ ำเชื่ อถื อ และมี ค วำมเป็ นไปได้ ค่อนข้ำงแน่นอนที่กิจกำรจะได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนำคตที่เกี่ยวข้องกับรำยกำรค้ำดังต่อไปนี้ (ก)
ขำยสิ นค้ำ รำยได้จำกกำรขำยสิ นค้ำรับรู ้ เมื่อผูซ้ ้ื อรับโอนควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนที่เป็ นสำระสำคัญของควำมเป็ นเจ้ำของสิ นค้ำ และ มีควำมเชื่ อมัน่ อย่ำงสมเหตุสมผลในกำรรับชำระหนี้
(ข)
ให้บริ กำร รำยได้จำกกำรให้บริ กำรรับรู้ ตำมขั้นควำมสำเร็ จของงำน
(ค)
ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับรับรู ้เป็ นรำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำง เว้นแต่จะมีควำมไม่แน่นอนในกำรรับชำระ โดยใช้อตั รำดอกเบี้ยที่แท้จริ ง
(ง)
เงินปันผลรับ เงินปั นผลรับรับรู ้เป็ นรำยได้เมื่อสิ ทธิ ที่จะได้รับเงินปั นผลนั้นเกิดขึ้น
(จ)
รำยได้ค่ำเช่ำ รำยได้ค่ำเช่ำรับรู ้เป็ นรำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำงตำมสัญญำเช่ำที่เกี่ยวข้อง
158 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3
นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.22
กำรจ่ ำยเงินปันผล กำรจ่ำยเงินปั นผลจะถูกบันทึ กในงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะบริ ษทั ในรอบระยะเวลำบัญชี ซ่ ึ งที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั ได้อนุมตั ิกำรจ่ำยเงินปันผล
3.23
ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน ส่ วนงำนดำเนิ นงำนได้ถูกรำยงำนในลักษณะเดี ยวกับรำยงำนภำยในที่ นำเสนอให้ผูม้ ีอำนำจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนิ นงำน ผูม้ ี อำนำจ ตัดสิ น ใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนิ น งำนหมำยถึ งบุ คคลที่ มีห น้ำที่ ในกำรจัดสรรทรั พยำกรและประเมิ นผลกำรปฏิ บ ตั ิ งำนของส่ วนงำน ดำเนิ นงำน ซึ่ งพิจำรณำว่ำคือกรรมกำรผูจ้ ดั กำรที่ทำกำรตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์
4
ประมำณกำรทำงกำรบัญชีที่สำคัญ ข้ อสมมติฐำนและกำรใช้ ดุลยพินิจ กำรประมำณกำร ข้อสมมติฐำนและกำรใช้ดุลยพินิจ ได้มีกำรทบทวนอย่ำงต่อเนื่ องและอยูบ่ นพื้นฐำนของประสบกำรณ์ในอดีตและปั จจัยอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงกำรคำดกำรณ์ถึงเหตุกำรณ์ในอนำคตที่เชื่ อว่ำมีเหตุผลในสถำนกำรณ์ขณะนั้น 4.1
ประมำณกำรกำรด้อยค่ำของสินทรัพย์ที่ไม่ ใช่ สินทรัพย์ทำงกำรเงิน สิ นทรัพย์จะถู กทบทวนกำรด้อยค่ำ เมื่ อมีเหตุกำรณ์ หรื อกำรเปลี่ ยนแปลงในสถำนกำรณ์ที่บ่งชี้ ว่ำรำคำตำมบัญชี อำจสู งกว่ำมูลค่ำที่ คำดว่ำ จะได้รับคืน กำรประเมินรำคำตำมบัญชี มกั จะกำหนดให้มีกำรประมำณกำรและข้อสมมติฐำนต่ำง ๆ เช่น อัตรำคิดลด อัตรำแลกเปลี่ยน รำคำสิ นค้ำ ควำมต้องกำรเงินทุนในอนำคต และผลกำรดำเนิ นงำนในอนำคต รำยกำรสำคัญที่ได้รับผลกระทบ คือ ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ ซึ่งถูกเปิ ดเผยในหมำยเหตุขอ้ 15
4.2
ภำษีเงินได้และภำษีเงินได้รอตัดบัญชี กลุ่ ม กิ จกำรมี ห น้ ำที่ ต้องเสี ยภำษี เงิน ได้ในหลำยประเทศ ในกำรประมำณหนี้ สิ น ภำษี เงิ น ได้ผูบ้ ริ ห ำรต้องใช้ ดุ ล ยพิ นิ จอย่ำงเป็ น สำระสำคัญในกำรกำหนดประมำณกำรหนี้ สินภำษี เงินได้ เนื่ องจำกมีรำยกำรและกำรคำนวณที่ เกิ ดขึ้นจำกกำรดำเนิ นธุ รกิ จตำมปกติ ของกลุ่มกิจกำรที่ขอ้ กำหนดทำงภำษียงั มีควำมไม่แน่นอน นอกจำกนี้ สินทรัพย์ภำษีเงินได้และหนี้ สินภำษีเงินได้จะรับรู ้จำกผลแตกต่ำง ชัว่ ครำวระหว่ำงฐำนภำษีของสิ นทรัพย์และหนี้ สิน กับมูลค่ำคงเหลื อตำมบัญชี ณ วันที่ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ผูบ้ ริ หำรต้องใช้ดุลยพินิจ อย่ำงมำกในกำรพิจำรณำว่ำกลุ่มกิ จกำรจะมีควำมเป็ นไปได้อย่ำงสู งที่ จะมีกำไรทำงภำษีในอนำคตเพื่อใช้กลับรำยกำรสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ กลุ่มกิจกำรใช้ขอ้ สมมติฐำนในกำรประมำณกำรกำไรทำงภำษีในอนำคต และช่วงเวลำที่จะใช้ผลแตกต่ำงชัว่ ครำวนั้น กำรเปลี่ยนแปลง ข้อสมมติฐำนดังกล่ำวในแต่ละปี อำจทำให้มีผลกระทบอย่ำงมีสำระสำคัญต่อสถำนะกำรเงินและผลกำรดำเนิ นงำน สำหรับมูลค่ำยุติธรรมของตรำสำรอนุ พนั ธ์และเครื่ องมือทำงกำรเงินอื่นที่กลุ่มกิ จกำรได้เข้ำทำสัญญำด้วยเป็ นตรำสำรอนุพนั ธ์ที่มีกำร ซื้ อขำยในตลำดซื้ อขำยคล่อง โดยที่รำคำยุติธรรมสำมำรถระบุได้ง่ำยและมีกำรใช้ดุลยพินิจในกำรกำหนดมูลค่ำค่อนข้ำงน้อยมำก
159 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 4
ประมำณกำรทำงกำรบัญชีที่สำคัญ ข้ อสมมติฐำนและกำรใช้ ดุลยพินิจ (ต่อ) กำรประมำณกำร ข้อสมมติฐำนและกำรใช้ดุลยพินิจ ได้มีกำรทบทวนอย่ำงต่อเนื่ องและอยูบ่ นพื้นฐำนของประสบกำรณ์ในอดีตและปั จจัยอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงกำรคำดกำรณ์ถึงเหตุกำรณ์ในอนำคตที่เชื่ อว่ำมีเหตุผลในสถำนกำรณ์ขณะนั้น (ต่อ) 4.3 ควำมถูกต้ องของประมำณกำรจำกเหตุกำรณ์ อคั คีภยั ที่โรงงำนในประเทศอินโดนีเซียและผลกระทบที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) ในเดือนตุลำคม พ.ศ. 2558 ได้เกิดอัคคีภยั ที่โรงงำนยำงแท่ง ที่เมืองพอนเทียนัก ประเทศอินโดนี เซีย ซึ่งดำเนินงำนภำยใต้บริ ษทั PT Star Rubber (“PTS”) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยทำงอ้อมของกลุ่ มกิ จกำร ควำมเสี ยหำยที่เกิ ดขึ้ นครอบคลุ มถึ งวัตถุ ดิบ โรงเก็บวัตถุ ดิบและสำยงำน กำรผลิ ตบำงส่ วน กลุ่ มกิ จกำรมี ก ำรทำประกัน ภัยคุ ม้ ครองส ำหรั บ ควำมเสี ยหำยจำกอัค คี ภยั ที่ เกิ ด แก่ สินทรั พย์ถ ำวรทั้งหมด รวมถึ ง สิ นค้ำคงคลัง ตลอดจนควำมเสี ยหำยจำกธุ รกิ จหยุดชะงัก โดยยังอยูใ่ นระหว่ำงกำรเจรจำกับบริ ษทั ประกันภัยในกำรเรี ยกร้ องค่ำเสี ยหำย ที่ เกิ ดขึ้ นซึ่ งถูกเปิ ดเผยในหมำยเหตุขอ้ 41 ผูบ้ ริ ห ำรใช้ประมำณกำรส ำหรับค่ำควำมเสี ยหำยและกำรเรี ยกร้ องเงิ นคื นจำกกำรประกัน ซึ่ งต้องอำศัยกำรใช้ดุลยพินิจและขนำดและมูลค่ำของควำมเสี ยหำยที่เกิ ดขึ้ นตลอดจนควำมไม่แน่ นอนในช่ วงระยะเวลำและจำนวน ที่คำดว่ำจะได้รับในอนำคตของเงินจำกกำรรับประกันคืนจำกบริ ษทั ประกันภัยและผลกระทบอื่นซึ่ งอำจเกิดขึ้นกับกิจกำรที่เกี่ยวข้อง 4.4 กำรรับรู้ และกำรเปิ ดเผยข้ อมูลเกีย่ วกับกำรอ้ำงสิ ทธิทำงกฎหมำยและฟ้ องร้ องเกีย่ วกับข้ อพิพำททำงกำรค้ ำเกีย่ วกับสั ญญำร่ วมค้ ำ เรื่ อ งกำรอ้ำงสิ ท ธิ แ ละฟ้ อ งร้ อ งเกี่ ยวกับ ข้อ พิ พ ำททำงกำรค้ำเกี่ ย วกับ สั ญ ญำร่ ว มค้ำมี ค วำมส ำคัญ ทั้ง นี้ ทั้งนี้ เนื่ อ งจำกขนำดของ มูลค่ำฟ้ องร้ อง ควำมยุง่ ยำกสลับซับซ้อนของคดี ควำมที่ ฟ้องร้ องกันตลอดจนควำมไม่แน่ นอนของผลลัพธ์เมื่ อคดี ควำมเสร็ จสิ้ น ลง ซึ่งถูกเปิ ดเผยในหมำยเหตุขอ้ 42 กำรอ้ำงสิ ทธิ ทำงกฎหมำยและฟ้ องร้ องเกี่ ยวกับคดี ควำมอยู่ภำยใต้กระบวนกำรอนุ ญำโตตุลำกำรและศำลได้ถู กเปิ ดเผยอยู่ในเรื่ อง ที่เกี่ ยวข้องกับหนี้ สินที่อำจจะเกิดขึ้นในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงินในงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะบริ ษทั ผูบ้ ริ หำรได้มีกำร ประเมิน ถึ งสถำนกำรณ์ ล่ำสุ ดและควำมเป็ นไปได้ในทำงกฎหมำยโดยกำรใช้ผูเ้ ชี ยวชำญทำงกฎหมำยทั้งภำยในและภำยนอกของ องค์กรอยูเ่ ป็ นประจำ นอกจำกนั้นกลุ่มกิจกำรได้ประมำณกำรและบันทึกค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำยที่เกี่ยวข้อง ณ วันสิ้ นงวดรำยงำนทำงกำรเงิน
160 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน 5.1
ปัจจัยควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน กิ จกรรมของกลุ่ มกิจกำรย่อมมีควำมเสี่ ยงทำงกำรเงินที่หลำกหลำยซึ่ งได้แก่ ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (รวมถึ งควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ ยน เงินตรำต่ำงประเทศ ควำมเสี่ ยงของกระแสเงินสดจำกอัตรำดอกเบี้ยและรำคำ) ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรให้สินเชื่ อ และควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง แผนกำรจัดกำรควำมเสี่ ยงโดยรวมของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั จึงมุ่งเน้นที่ควำมผันผวนของตลำดกำรเงินและแสวงหำวิธีกำรลดผลกระทบที่ทำให้ เกิดควำมเสี ยหำยต่อผลกำรดำเนินงำนของกลุ่มกิ จกำรและบริ ษทั กลุ่มกิจกำรใช้เครื่ องมืออนุพนั ธ์ทำงกำรเงินเพื่อป้ องกันควำมเสี่ ยงที่เกิดขึ้น กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงดำเนิ นงำนภำยใต้กำรควบคุมของฝ่ ำยบริ หำร ซึ่ งผูบ้ ริ หำรของกลุ่มกิ จกำรจะเป็ นผูร้ ะบุ ประเมิน และป้ องกันควำมเสี่ ยง ทำงกำรเงินแต่ไม่ได้นำกำรป้ องกันควำมเสี่ ยงทำงบัญชี (Hedge accounting) มำใช้ (ก)
ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (1) ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยน เนื่ องจำกกลุ่มกิจกำรดำเนิ นงำนระหว่ำงประเทศจึงย่อมมีควำมเสี่ ยงอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศซึ่ งเกิ ดจำกสกุลเงิน ที่หลำกหลำย โดยมีสกุลเงินต่ำงประเทศหลักคือดอลลำร์ สหรัฐอเมริ กำ ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ ยนนั้นเกิ ดขึ้นจำก กำรดำเนิ นงำนของธุ รกิ จ เงินลงทุนสุ ทธิ ในหน่ วยงำนในต่ำงประเทศ และเงินกูย้ ืม ผูบ้ ริ หำรได้กำหนดนโยบำยในกำร จัดกำรควำมเสี่ ยงจำกเงิ น ตรำต่ ำงประเทศต่ อ สกุล เงิ น ที่ ใ ช้ ใ นกำรดำเนิ น งำน โดยกิ จกำรในกลุ่ ม กิ จกำรใช้สัญ ญำ อัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำเพื่อป้ องกันควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศที่เกิดจำกรำยกำรค้ำที่จะเกิดขึ้น ในอนำคตและเงินกูย้ ืม ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเกิ ดขึ้นเมื่อรำยกำรค้ำที่จะเกิดขึ้นในอนำคตเป็ นสกุลเงินที่ไม่ใช่ สกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนินงำนของกิจกำร กลุ่ มกิ จกำรมี เงิ นลงทุ นในหน่ วยงำนในต่ ำงประเทศซึ่ งสิ นทรั พย์สุ ทธิ ของหน่ วยงำนในต่ ำงประเทศนั้ นมี ควำมเสี่ ยง จำกกำรแปลงค่ำเงินตรำต่ำงประเทศ
161 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1
ปัจจัยควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ก)
ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (ต่อ) (1) ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยน (ต่อ) หำกค่ำเงินบำทมี กำรเปลี่ยนแปลงไปในอัตรำร้อยละ 3 (พ.ศ. 2558 : อัตรำร้ อยละ 3) เมื่อเปรี ยบเที ยบกับดอลลำร์ สหรัฐอเมริ กำ และอัตรำร้ อยละ 6 (พ.ศ. 2558 : อัตรำร้ อยละ 8) เมื่ อเปรี ยบเที ยบกับ รู เปี ยอิ นโดนี เซี ย โดยที่ ตวั แปรอื่ นทั้งหมดคงที่ กำไร(ขำดทุน)หลังภำษีเงินได้สำหรับปี และส่ วนของเจ้ำของจะได้รับผลกระทบดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
ผลกระทบต่ อกำไร(ขำดทุน)หลังภำษีเงินได้ ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ เงินบำทต่อดอลลำร์ สหรัฐอเมริ กำ - อ่อนค่ำลง - แข็งค่ำขึ้น เงินบำทต่อรู เปี ยอินโดนี เซีย - อ่อนค่ำลง - แข็งค่ำขึ้น
32,306 (32,306)
45,032 (45,032)
26,251 (26,251)
39,518 (39,518)
102,911 (102,911)
111,398 (111,398)
-
-
169,576 (169,576)
146,688 (146,688)
-
-
56,692 (56,692)
120,912 (120,912)
-
-
ผลกระทบต่ อส่ วนของเจ้ ำของ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินบำทต่อดอลลำร์ สหรัฐอเมริ กำ - อ่อนค่ำลง - แข็งค่ำขึ้น เงินบำทต่อรู เปี ยอินโดนี เซีย - อ่อนค่ำลง - แข็งค่ำขึ้น
162 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1
ปัจจัยควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ก)
ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (ต่อ) (2) ควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำ กลุ่ มกิ จกำรมีควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำสิ นค้ำในอุตสำหกรรมยำงธรรมชำติ กลุ่ ม กิ จกำรได้มีก ำรบริ ห ำรจัดกำรควำมเสี่ ยง ที่ เกิ ด ขึ้ น จำกควำมผัน ผวนของรำคำโดยกำรจัด กำรกระบวนกำรได้มำของวัตถุ ดิ บ โดยใช้สั ญ ญำซื้ อขำยยำงพำรำ ในตลำดล่ วงหน้ำ และสัญญำซื้ อขำยยำงพำรำล่ วงหน้ำที่ มีกำรส่ งมอบสิ นค้ำ หำกรำคำของยำงธรรมชำติ เพิ่ มขึ้ นหรื อ ลดลงในอัตรำร้ อยละ 17 (พ.ศ. 2558 : อัตรำร้ อยละ 25) โดยที่ ตวั แปรอื่ นทั้งหมดคงที่ กำไร(ขำดทุน)หลังภำษีสำหรับปี จะเพิ่มขึ้นหรื อลดลงโดยประมำณดังนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท กำไรขำดทุน
337,901
1,637,549
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 200,706
1,135,128
กลุ่มกิ จกำรยังมีควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำของหลักทรัพย์ประเภททุน เนื่ องจำกกลุ่มกิ จกำรถื อเงินลงทุนซึ่ งในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เป็ นหลักทรัพย์ประเภทเผื่อขำย เงินลงทุนในหลักทรัพย์ประเภททุนของกลุ่มกิ จกำรบำงส่ วนเป็ นหลักทรัพย์ที่ซ้ื อขำย เป็ นกำรทัว่ ไปในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเป็ นกำรบริ หำรควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ประเภททุน กลุ่มกิจกำรใช้วิธีกำรบริ หำรกำรกระจำยตัวของพอร์ทกำรลงทุน ตำรำงต่อไปนี้ สรุ ปผลกระทบจำกกำรเพิ่ มขึ้ นหรื อลดลงของมูล ค่ ำเงิ นลงทุ นในหลักทรั พย์ป ระเภททุ นในส่ วนของ เจ้ำของของกลุ่ ม กิ จกำร กำรวิ เครำะห์ น้ ัน ขึ้ น อยู่ก ับ ข้อสมมติ ฐ ำนที่ ว่ำรำคำต่ อ หน่ ว ยของเงิ น ลงทุ น ในหลัก ทรั พ ย์ จะเพิ่มขึ้นหรื อลดลงในอัตรำร้ อยละ 10 (พ.ศ. 2558 : อัตรำร้อยละ 8) โดยที่ตวั แปรอื่นทั้งหมดคงที่ และตรำสำรทุนที่ถือไว้ เผื่อขำยของกลุ่มกิจกำรเปลี่ยนแปลงไปตำมควำมสัมพันธ์ในอดีตตำมดัชนี งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท ส่ วนของเจ้ำของ - กำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้น จำกเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย
4,869
3,288
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 2,419
3,967
163 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1
ปัจจัยควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ก)
ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (ต่อ) (3) ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำดอกเบี้ยต่อกระแสเงินสดและมูลค่ำยุติธรรม ควำมเสี่ ยงด้ำนอัตรำดอกเบี้ยของกลุ่มกิ จกำรเกิ ดขึ้นจำกเงินกูย้ ืม เงินกูย้ ืมซึ่ งกูด้ ว้ ยอัตรำดอกเบี้ยลอยตัวจะทำให้กลุ่มกิ จกำร มีควำมเสี่ ยงด้ำนกระแสเงินสดที่เกิดจำกอัตรำดอกเบี้ย กลุ่มกิจกำรได้บริ หำรจัดกำรควำมเสี่ ยงด้ำนอัตรำดอกเบี้ยโดยกำร ทำสัญญำแลกเปลี่ ยนอัตรำดอกเบี้ ย หำกอัตรำดอกเบี้ ยเพิ่ ม /ลดในอัตรำร้ อยละ 0.25 (พ.ศ. 2558 : อัตรำร้ อยละ 0.23) กำไร(ขำดทุน)หลังภำษีสำหรับปี จะเพิม่ ขึ้นหรื อลดลง ดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท กำไรขำดทุน
69,381
38,467
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 43,836
25,043
เงินกูย้ ืมซึ่ งกูด้ ้วยอัตรำดอกเบี้ ยคงที่จะทำให้กลุ่ มกิจกำรมีควำมเสี่ ยงด้ำนมูลค่ำยุติธรรมที่ เกิ ดจำกอัตรำดอกเบี้ ย อย่ำงไรก็ตำม กำรเปลี่ ยนแปลงของอัตรำดอกเบี้ยในตลำดจะไม่มีผลกระทบต่องบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ เนื่ องจำกเงินกูย้ ืมรับรู้ตำมหลัก รำคำทุนตัดจำหน่ำย (ข)
ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรให้สินเชื่อ ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรให้สินเชื่ อเกิดขึ้นจำกเงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุ พนั ธ์ทำงกำรเงิน เงินฝำกธนำคำรและ สถำบัน กำรเงิ น รวมถึ งควำมเสี่ ย งกำรให้ สิ น เชื่ อ แก่ ลู ก ค้ำทั้ง ที่ เป็ นลู ก หนี้ คงค้ำงและรำยกำรค้ำที่ ไ ด้ต กลงกัน ไว้แ ล้ ว กลุ่มกิ จกำรได้ประเมินควำมน่ำเชื่ อถื อของธนำคำร สถำบันกำรเงิน และลูกค้ำโดยคำนึ งถึงฐำนะทำงกำรเงิน ประสบกำรณ์ในอดีต และปัจจัยอื่น ๆ กำรใช้วงเงินสิ นเชื่ อดังกล่ำวจะได้รับกำรควบคุมอย่ำงสม่ำเสมอ
(ค)
ควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง กลุ่มกิจกำรควบคุมดูแลควำมต้องกำรด้ำนสภำพคล่องเพื่อให้มนั่ ใจว่ำกลุ่มกิ จกำรจะมีเงินสดเพียงพอต่อควำมต้องกำรในกำร ดำเนินงำน
164 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1
ปัจจัยควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ค)
ควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง (ต่อ) ตำรำงต่อไปนี้ แสดงกำรวิเครำะห์ อำยุครบกำหนดชำระของกลุ่มกิ จกำร โดยนับระยะเวลำคงเหลือจำกวันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน จนถึ งวันที่ครบกำหนดชำระตำมสัญญำ โดยใช้ตวั เลขตำมที่ปรำกฏในมูลค่ำตำมสัญญำ (Notional amounts) ตัวเลขด้ำนบวก แสดงถึ งกระแสเงิ นสดที่ ถึ งก ำหนดไหลเข้ำและตัวเลขติดลบแสดงถึ งกระแสเงินสดไหลออกตำมระยะเวลำที่ ถึ งก ำหนด จำนวนเงินดังต่อไปนี้ เป็ นกระแสเงินสดตำมสัญญำที่ไม่ได้ถูกคิดลด งบกำรเงินรวม น้ อยกว่ำ 1 ปี พันบำท ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เจ้ำหนี้ กำรค้ำ ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุ ้นกู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน - สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำซื้ อยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ - สัญญำซื้ อยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่งมอบ สิ นค้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบ สิ นค้ำ
(25,679,909) (1,664,665) (1,050,981) (5,628,242) (101,822) (8,727)
ระหว่ำง 1 ถึง 2 ปี พันบำท
ระหว่ำง 2 ถึง 5 ปี พันบำท
มำกกว่ำ 5 ปี พันบำท
รวม พันบำท
(707) (673,744) (2,384,508) (4,139) (1,249)
-
(25,679,909) (1,664,665) (1,050,981) (5,628,949) (3,160,074) (14,115)
(1,009,282) (612,131) 975,096 8,173,703
-
-
- (1,009,282) - (612,131) 975,096 - 8,173,703
(211,294)
-
-
-
(211,294)
231,061
-
-
-
231,061
165 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1
ปัจจัยควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ค)
ควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง (ต่อ) งบกำรเงินรวม น้ อยกว่ำ 1 ปี พันบำท ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เจ้ำหนี้ กำรค้ำ ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุ้นกู้ หนี้ สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน - สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำซื้ อยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ - สัญญำซื้ อยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบ สิ นค้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบ สิ นค้ำ
(13,479,698) (1,613,875) (824,969) (468,446) (882,121) (25,874)
ระหว่ำง 1 ถึง 2 ปี พันบำท
ระหว่ำง 2 ถึง 5 ปี พันบำท
มำกกว่ำ 5 ปี พันบำท
รวม พันบำท
- (13,479,698) - (1,613,875) - (824,969) (779,018) (1,654,627) (2,037,947) (4,940,038) - (667,685) - (1,549,806) (9,835) (1,803) (37,512)
(1,091,756) (146,057) 5,393,779 2,141,727
-
-
- (1,091,756) - (146,057) - 5,393,779 - 2,141,727
(662,389)
-
-
-
(662,389)
334,057
-
-
-
334,057
166 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1
ปัจจัยควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ค)
ควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง (ต่อ) น้ อยกว่ำ 1 ปี พันบำท ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เจ้ำหนี้ กำรค้ำ ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุ ้นกู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน - สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำซื้ อยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เจ้ำหนี้ กำรค้ำ ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุ ้นกู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน - สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำซื้ อยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ
(16,559,224) (1,001,265) (473,496) (4,463,418) (101,822) (2,727) (1,009,282) (522,313) 683,214 5,340,795
(7,744,898) (887,410) (461,226) (204,360) (882,121) (3,866) (1,091,756) (146,057) 4,384,811 1,715,314
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ระหว่ำง ระหว่ำง มำกกว่ำ 1 ถึง 2 ปี 2 ถึง 5 ปี 5 ปี พันบำท พันบำท พันบำท (673,744) (2,384,508) (3,461) (1,249) -
- (16,559,224) - (1,001,265) (473,496) - (4,463,418) - (3,160,074) (7,437) -
(1,009,282) (522,313) 683,214 5,340,795
(777,499) (1,653,891) (2,037,947) - (667,685) (3,086) (1,803) -
(7,744,898) (887,410) (461,226) (4,673,697) (1,549,806) (8,755)
-
-
รวม พันบำท
-
-
(1,091,756) (146,057) 4,384,811 1,715,314
167 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.2
กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงในส่ วนของทุน วัตถุป ระสงค์ข องกลุ่ ม กิ จกำรในกำรบริ ห ำรทุ นนั้น เพื่ อดำรงไว้ซ่ ึ งควำมสำมำรถในกำรด ำเนิ นงำนอย่ำงต่ อเนื่ องของกลุ่ มกิ จกำร เพื่ อสร้ ำงผลตอบแทนต่ อผูถ้ ื อหุ ้ น และเป็ นประโยชน์ ต่อผู ้ที่ มี ส่ วนได้เสี ยอื่ น และเพื่ อด ำรงไว้ซ่ ึ งโครงสร้ ำงของทุ น ที่ เหมำะสม เพื่อลดต้นทุนทำงกำรเงินของทุน ในกำรดำรงไว้หรื อปรับเปลี่ ยนโครงสร้ำงของทุนนั้นกลุ่มกิจกำรอำจปรับเปลี่ ยนจำนวนเงินปั นผลจ่ำยให้แก่ผถู ้ ือหุ ้น คืนทุนให้กบั ผูถ้ ือหุ้น ออกหุ ้นใหม่หรื อขำยสิ นทรัพย์เพื่อลดหนี้ สิน ฝ่ ำยบริ หำรถือว่ำส่ วนของเจ้ำของทั้งหมดเป็ นเงินทุนของกลุ่มกิจกำร กลุ่มกิ จกำรควบคุมดูแลส่ วนทุนโดยใช้อตั รำส่ วนหนี้ สินสุ ทธิ ต่อ ส่ วนของเจ้ำของ อัตรำส่ วนนี้ คำนวณได้โดยใช้หนี้ สินสุ ทธิ หำรด้วยส่ วนของเจ้ำของรวม หนี้ สินสุ ทธิ ถูกคำนวณโดยใช้หนี้ สิน ทั้งหมด ตำมที่แสดงในงบแสดงฐำนะกำรเงินรวมหักด้วยเงินสดและรำยกำรเที ยบเท่ำเงินสด ส่ วนของเจ้ำของรวมได้แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐำนะกำรเงิน ของทั้งงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร อัตรำส่ วนหนี้ สินสุ ทธิต่อส่ วนของเจ้ำของรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 แสดงได้ดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท หนี้ สินรวม หัก เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด หนี้ สินสุ ทธิ
36,046,637 (1,674,619) 34,372,018
22,544,719 (2,197,241) 20,347,478
23,798,959 (341,997) 23,456,962
14,863,207 (302,242) 14,560,965
ส่ วนของเจ้ำของรวม
19,911,918
21,333,909
13,087,690
14,592,358
1.73
0.95
1.79
0.99
อัตรำส่ วนหนี้สินสุ ทธิต่อส่ วนของเจ้ำของรวม 5.3
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
กำรประมำณมูลค่ ำยุติธรรม ตำรำงต่อไปนี้ แสดงกำรวิเครำะห์เครื่ องมือทำงกำรเงินที่ วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรมจำแนกตำมวิธีกำรประมำณมูลค่ำ ควำมแตกต่ำง ของระดับข้อมูลสำมำรถแสดงได้ดงั นี้ ข้อมูลระดับ 1 : รำคำเสนอซื้ อขำย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลำดที่มีสภำพคล่องสำหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินอย่ำงเดียวกัน ข้อมูลระดับ 2 : ข้อมูลอื่นนอกเหนื อจำกรำคำเสนอซื้ อขำยซึ่ งรวมอยูใ่ นข้อมูลระดับ 1 ทั้งที่สำมำรถสังเกตได้โดยตรง (ได้แก่ ข้อมูลรำคำ) หรื อโดยอ้อม (ได้แก่ ข้อมูลที่คำนวณมำจำกรำคำ) สำหรับสิ นทรัพย์น้ นั หรื อหนี้ สินนั้น ข้อมูลระดับ 3 : ข้อมูลสำหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินซึ่ งไม่ได้มำจำกข้อมูลที่สำมำรถสังเกตได้จำกตลำด (ข้อมูลที่ไม่สำมำรถสังเกตได้)
168 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.3
กำรประมำณมูลค่ ำยุติธรรม (ต่อ) ตำรำงต่ อไปนี้ แสดงสิ นทรั พย์และหนี้ สินทำงกำรเงิ นที่ วดั มูลค่ ำด้วยมู ลค่ ำยุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ดู หมำยเหตุข ้อ 15 และข้อ 18 สำหรับกำรเปิ ดเผยข้อมูลของที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรสิ่ งปลูกสร้ ำง และอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่วดั มูลค่ำด้วย มูลค่ำยุติธรรม งบกำรเงินรวม
สินทรัพย์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - หลักทรัพย์ประเภททุน (หมำยเหตุขอ้ 14) สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู้ผ่ำนเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมสินทรัพย์ หนีส้ ิน หนี้ สินทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู้ผ่ำนเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมหนีส้ ิน
ระดับ 1 พันบำท
ระดับ 2 พันบำท
ระดับ 3 พันบำท
รวม พันบำท
48,703
-
-
48,703
23,054 71,757
141,926 141,926
-
164,980 213,683
280,758 280,758
374,162 374,162
-
654,920 654,920
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
สินทรัพย์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - หลักทรัพย์ประเภททุน (หมำยเหตุขอ้ 14) สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู้ผ่ำนเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมสินทรัพย์ หนีส้ ิน หนี้ สินทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู้ผ่ำนเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมหนีส้ ิน
ระดับ 1 พันบำท
ระดับ 2 พันบำท
ระดับ 3 พันบำท
รวม พันบำท
47,587
-
-
47,587
20,156 67,743
4 4
-
20,160 67,747
209,386 209,386
251,460 251,460
-
460,846 460,846
169 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.3
กำรประมำณมูลค่ ำยุติธรรม (ต่อ) ตำรำงต่อไปนี้แสดงสิ นทรัพย์และหนี้สินทำงกำรเงินที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558
ระดับ 1 พันบำท สินทรัพย์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - หลักทรัพย์ประเภททุน (หมำยเหตุขอ้ 14) สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผ่ำนเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมสินทรัพย์ หนีส้ ิน หนี้ สินทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผ่ำนเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมหนีส้ ิน
หนีส้ ิน หนี้ สินทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผ่ำนเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมหนีส้ ิน
รวม พันบำท
40,199
-
-
40,199
275,418 315,617
61,319 61,319
-
336,737 376,936
13,972 13,972
257,591 257,591
-
271,563 271,563
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ระดับ 2 ระดับ 3 พันบำท พันบำท
รวม พันบำท
ระดับ 1 พันบำท สินทรัพย์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - หลักทรัพย์ประเภททุน (หมำยเหตุขอ้ 14) สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผ่ำนเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมสินทรัพย์
งบกำรเงินรวม ระดับ 2 ระดับ 3 พันบำท พันบำท
39,291
-
-
39,291
264,413 303,704
615 615
-
265,028 304,319
7,121 7,121
189,091 189,091
-
196,212 196,212
170 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 5
กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.3
กำรประมำณมูลค่ ำยุติธรรม (ต่อ) ไม่มีรำยกำรโอนระหว่ำงระดับ 1 และระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรมในระหว่ำงปี (ก) เครื่ องมือทำงกำรเงินในระดับ 1 มูลค่ำยุติธรรมของเครื่ องมือทำงกำรเงินที่ ซ้ื อขำยในตลำดที่ มีสภำพคล่ องอ้ำงอิงจำกรำคำเสนอซื้ อขำย ณ วันที่ ในงบกำรเงิน ตลำดจะถื อเป็ นตลำดที่มีสภำพคล่องเมื่ อรำคำเสนอซื้ อขำยมีพร้ อมและสม่ ำเสมอ จำกกำรแลกเปลี่ ยน จำกตัวแทน นำยหน้ำ กลุ่มอุตสำหกรรม ผูใ้ ห้บริ กำรด้ำนรำคำ หรื อหน่ วยงำนกำกับดูแล และรำคำนั้นแสดงถึงรำยกำรในตลำดที่เกิดขึ้นจริ งอย่ำงสม่ำเสมอ ในรำคำซึ่ งคู่ สั ญ ญำซึ่ งเป็ นอิ ส ระจำกกัน พึ ง ก ำหนดในกำรซื้ อขำย (Arm’s length basis) รำคำเสนอซื้ อขำยที่ ใ ช้ ส ำหรั บ สำหรับสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินที่ถือโดยกลุ่มกิจกำรได้แก่รำคำเสนอซื้อปัจจุบนั เครื่ องมือทำงกำรเงินนี้รวมอยูใ่ นระดับ 1 (ข) เครื่ องมือทำงกำรเงินในระดับ 2 มูลค่ำยุติธรรมของเครื่ องมื อทำงกำรเงินที่ ไม่ได้มีกำรซื้ อขำยในตลำดที่ มีสภำพคล่ อง (ตัวอย่ำงเช่ น ตรำสำรอนุ พนั ธ์ที่มีกำรซื้ อขำย ในตลำดรองที่ ไม่ได้มีกำรจัดตั้งอย่ำงเป็ นทำงกำร (over-the-counter) วัดมูลค่ำโดยใช้เทคนิ คกำรประเมินมูลค่ำ โดยเทคนิ คกำรประเมิน มูลค่ำนี้ ใช้ประโยชน์สูงสุ ดจำกข้อมูลในตลำดที่สงั เกตได้ที่มีอยูแ่ ละอ้ำงอิงจำกประมำณกำรของกิจกำรเองมำใช้นอ้ ยที่สุดเท่ำที่เป็ นไปได้ ถ้ำข้อมูลที่เป็ นสำระสำคัญทั้งหมดในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมได้มำจำกข้อมูลที่สังเกตได้ เครื่ องมือนั้นจะรวมอยูใ่ นระดับ 2 ถ้ำข้อมูลที่เป็ นสำระสำคัญข้อใดข้อหนึ่ งหรื อมำกกว่ำไม่ได้มำจำกข้อมูลที่สังเกตได้ในตลำด เครื่ องมือนั้นจะรวมอยูใ่ นระดับ 3 เทคนิ คเฉพำะในกำรประเมินมูลค่ำที่ใช้ในกำรวัดมูลค่ำเครื่ องมือทำงกำรเงินรวมถึงรำยกำรดังต่อไปนี้ • รำคำเสนอซื้ อขำยของตลำด หรื อรำคำเสนอซื้ อขำยของตัวแทนสำหรับเครื่ องมือที่คล้ำยคลึงกัน • มูลค่ำยุติธรรมของสัญญำแลกเปลี่ยนอัตรำดอกเบี้ยคำนวณจำกมูลค่ำปั จจุบนั ของประมำณกำรกระแสเงินสดในอนำคตโดยอ้ำงอิง จำกเส้นอัตรำผลตอบแทน (yield curve) ที่สงั เกตได้ • มูลค่ำยุติธรรมของสัญญำซื้ อขำยเงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ำกำหนดโดยอ้ำงอิงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ำ ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน และคิดลดมูลค่ำที่ได้กลับมำเป็ นมูลค่ำปัจจุบนั • เทคนิ คอื่น เช่นกำรวิเครำะห์กำรคิดลดกระแสเงินสด ใช้ในกำรกำหนดมูลค่ำยุติธรรมของเครื่ องมือทำงกำรเงินที่เหลือ
6
ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน ผู้มี อ ำนำจในกำรตัดสิ น ใจด้ำนกำรด ำเนิ นงำน คื อ กรรมกำรผู้จ ัดกำรซึ่ งมี ห น้ ำที่ ในกำรสอบทำนรำยงำนของ กลุ่ ม กิ จกำรอย่ำงสม่ ำเสมอ เพื่ อประเมิ นผลกำรดำเนิ นงำนและเพื่อกำรจัดสรรทรัพยำกรอย่ำงเหมำะสม กรรมกำรผูจ้ ดั กำรประเมินผลกำรดำเนิ นงำนโดยพิจำรณำจำก ผลกำไรแยกตำมส่ วนงำน ซึ่ งใช้มำตรฐำนในกำรวัดผลกำรดำเนิ นงำน เช่นเดียวกับกำรจัดทำงบกำรเงินรวม กำรดำเนิ นงำนแยกตำมส่ วนงำน เป็ นองค์ประกอบหนึ่ งของกลุ่ มกิ จกำรซึ่ งงบกำรเงินในแต่ ละบริ ษ ัท ได้มี กำรประเมิ นโดยกรรมกำรผู้จดั กำร อย่ำงสม่ำเสมอ
171 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ กัด (มหาชน) บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�(มหำชน) และบริและบริ ษทั ย่อษยัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 6
ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน (ต่อ) กำรรำยงำนข้อมูลตำมส่วนงำน จำแนกได้เป็ น 4 ประเภทดังนี้ (1)
(2) (3) (4)
ผลิ ตภัณ ฑ์ จำกยำงธรรมชำติ : ส่ วนงำนนี้ เกี่ ยวข้องกับกำรผลิ ต กำรขำย และกำรจ ำหน่ ำย ยำงแผ่ น รมควัน น้ ำยำงข้น และยำงแท่ ง ในส่ วนงำนนี้ รวมถึ งกำรผลิ ต และกำรขำยถุงมื อที่ ใช้ในทำงกำรแพทย์ประเภทผสมแป้ งและประเภทไม่ผสมแป้ ง รำวบันไดเลื่ อน แม่พิมพ์ยำง และสำยไฮโดรลิค ธุ ร กิ จวิ ศ วกรรม : ส่ วนงำนนี้ ให้ บ ริ ก ำรด้ำนวิ ศ วกรรม รวมถึ ง ด ำเนิ น กำรที่ เกี่ ย วข้อ งกับ งำนวิ จยั และพัฒ นำเครื่ อ งจัก ร รวมทั้ง กระบวนกำรผลิต และกำรบริ กำรทำงด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ ธุรกิจสวน : ส่วนงำนนี้ เกี่ยวข้องกับกำรปลูกพืชสวนยำงพำรำและปำล์ม รวมถึงพืชผลเมืองหนำว ธุรกิจอื่น : ธุ รกิ จอื่นประกอบด้วย กำรบริ กำรขนส่ ง กำรบริ กำรตำมส่ วนงำนนี้ ส่วนใหญ่เป็ นกำรให้บริ กำรในกลุ่มกิจกำร และมีกำร ให้บริ กำรกับบุคคลภำยนอกเป็ นส่ วนน้อย
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ธุ รกิ จตำมส่ วนงำนทั้ง 4 ประเภทของกลุ่ มกิจกำรได้ดำเนิ นงำนใน 7 ภูมิภำคหลัก (พ.ศ. 2558 : 7 ภูมิภำคหลัก) กำรจัดประเภทรำยได้ในแต่ละภูมิภำคตำมหลักเกณฑ์เดียวกัน คือ แบ่งตำมภูมิภำคที่ยอดขำยนั้นเกิดขึ้น งบกำรเงินจำแนกตำมส่ วนงำนทำงภูมิศำสตร์สำหรับงบกำรเงินรวมสำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 งบกำรเงินรวม ผลิตภัณฑ์ยำงธรรมชำติ
ธุรกิจ วิศวกรรม
ธุรกิจสวน
ธุรกิจอื่น
ไทย พันบำท
อินโดนีเซีย พันบำท
สิ งคโปร์ พันบำท
สหรัฐอเมริกำ พันบำท
จีน พันบำท
เวียดนำม พันบำท
เมียนมำร์ พันบำท
ไทย พันบำท
ไทย พันบำท
ไทย พันบำท
รวม พันบำท
รำยได้จำกส่วนงำนธุรกิจ
53,455,378
8,644,332
22,578,565
1,888,666
1,277,297
-
153,744
2,432,624
874
1,545,820
91,977,300
รำยได้ระหว่ำงส่วนงำน ธุรกิจ
(5,346,292)
(6,432,748)
(1,511,231)
(21,632)
-
-
(153,744)
(387,361)
-
(858,772)
(14,711,780)
รำยได้ จำกลูกค้ำภำยนอก
48,109,086
2,211,584
21,067,334
1,867,034
1,277,297
-
-
2,045,263
874
687,048
77,265,520
(818,239) 30,663 (458,192)
(279,282) 2,895 (167,317)
(8,364) 221 (5,397)
(2,023) (29,115)
(2,245) 1,053 -
(95) 2 (7)
(5,388) (4,671)
(19,477) 198 (41,207)
(30,071) 90 -
(30,041) 188 (1,429)
(1,195,225) 35,310 (707,335)
402,762
-
-
-
-
-
-
-
-
-
402,762
ภำษีเงินได้
(587,837) 268,762
(673,482) 92,632
493,399 (70,664)
(137,091) 38,005
(21,805) 10,831
(1,366) -
(19,070) -
201,017 (41,538)
(130,888) 91
68,846 (14,877)
(808,277) 283,242
กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี
(319,075)
(580,850)
422,735
(99,086)
(10,974)
(1,366)
(19,070)
159,479
(130,797)
53,969
กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน
(525,035) (264,695)
รวมขำดทุนสำหรับปี
(789,730)
ค่ำเสื่ อมรำคำและ ค่ำตัดจำหน่ำย รำยได้ทำงกำรเงิน ต้นทุนทำงกำรเงิน ส่วนแบ่งกำไรจำก เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกิจกำรร่ วมค้ำ กำไร(ขำดทุน)ก่อน ภำษีเงินได้
สิ นทรัพย์รวม กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน สิ นทรัพย์ รวม
44,774,453
7,028,403
5,832,076
1,192,068
507,563
30,848
118,656
2,386,886
6,037,853
4,047,556
71,956,362 (15,997,807) 55,958,555
172 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ กัด (มหาชน) บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�(มหำชน) และบริและบริ ษทั ย่อษยัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 6
ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน (ต่อ) งบกำรเงินจำแนกตำมส่วนงำนทำงภูมิศำสตร์สำหรับงบกำรเงินรวมสำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 งบกำรเงินรวม ผลิตภัณฑ์ยำงธรรมชำติ
ธุรกิจสวน
ไทย พันบำท
ไทย พันบำท
ไทย พันบำท
รวม พันบำท
ธุรกิจอื่น
ไทย พันบำท
อินโดนีเซีย พันบำท
สิ งคโปร์ พันบำท
สหรัฐอเมริกำ พันบำท
จีน พันบำท
รำยได้จำกส่วนงำนธุรกิจ
40,722,549
8,361,978
19,210,449
2,290,498
1,514,588
-
-
1,293,056
181
1,673,889
75,067,188
รำยได้ระหว่ำงส่วนงำน ธุรกิจ
(5,252,546)
(5,707,476)
(1,640,590)
(16,778)
-
-
-
(400,149)
-
(757,867)
(13,775,406)
รำยได้ จำกลูกค้ำภำยนอก
35,470,003
2,654,502
17,569,859
2,273,720
1,514,588
-
-
892,907
181
916,022
61,291,782
(755,903) 40,582 (402,766)
(215,503) 4,872 (406,438)
(11,287) 94 (11,293)
(2,103) 102 (32,449)
(2,850) 1,488 -
48 -
(56) -
(17,283) 645 (1,650)
(18,403) 99 -
(31,710) 246 (2,727)
(1,055,098) 48,176 (857,323)
648,824
-
-
-
-
-
-
-
-
-
648,824
ภำษีเงินได้
1,146,808 6,734
(205,850) 44,715
495,667 (40,986)
(42,587) 17,468
(13,520) (1,474)
(521) -
(56) -
229,437 (45,532)
(109,772) 33
48,103 (12,476)
1,547,709 (31,518)
กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี
1,153,542
(161,135)
454,681
(25,119)
(14,994)
(521)
(56)
183,905
(109,739)
35,627
กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน
1,516,191 (404,435)
รวมกำไรสำหรับปี
1,111,756
ค่ำเสื่ อมรำคำและ ค่ำตัดจำหน่ำย รำยได้ทำงกำรเงิน ต้นทุนทำงกำรเงิน ส่วนแบ่งกำไรจำก เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกิจกำรร่ วมค้ำ กำไร(ขำดทุน)ก่อน ภำษีเงินได้
สิ นทรัพย์รวม
36,114,612
5,122,300
5,203,143
1,157,439
1,152,299
เวียดนำม เมียนมำร์ พันบำท พันบำท
ธุรกิจ วิศวกรรม
32,007
85,877
1,314,661
5,652,240
2,005,987
กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน
57,840,565 (13,961,937) 43,878,628
สิ นทรัพย์ รวม
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน ไม่รวมเครื่ องมือทำงกำรเงิน สิ นทรั พย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี และภำษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่ำย สำมำรถจำแนกตำมส่ วนงำน ทำงภูมิศำสตร์ ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท ไทย อินโดนีเซีย สิ งคโปร์ สหรัฐอเมริ กำ จีน เมียนมำร์ เวียดนำม รวม
15,807,820 2,003,222 160,012 2,588 23,040 31,371 209 18,028,262
14,662,042 2,074,725 165,718 4,601 10,182 10,506 213 16,927,987
173 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
7
เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด
เงินสดในมือ เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม รวมเงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 60,071 1,614,548 1,674,619
28,260 2,168,981 2,197,241
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 29,587 312,410 341,997
8,415 293,827 302,242
เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำมมีอตั รำดอกเบี้ยที่แท้จริ งอยูท่ ี่ร้อยละ 0.1 ถึงร้อยละ 3.5 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 0.1 ถึงร้อยละ 7.5 ต่อปี ) 8
ตรำสำรอนุพนั ธ์ ทำงกำรเงิน
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 สินทรัพย์ พันบำท
สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่งมอบสิ นค้ำ รวมตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน
60,359 23,054 81,567 164,980
หนีส้ ิน พันบำท (120,311) (188,190) (280,758) (65,661) (654,920)
พ.ศ. 2558 สินทรัพย์ พันบำท 615 275,418 60,704 336,737
หนีส้ ิน พันบำท (183,079) (7,226) (13,972) (67,286) (271,563)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559
สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ รวมตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน
พ.ศ. 2558
สินทรัพย์ พันบำท
หนีส้ ิน พันบำท
สินทรัพย์ พันบำท
หนีส้ ิน พันบำท
4 20,156 20,160
(120,311) (131,150) (209,385) (460,846)
615 264,413 265,028
(183,079) (6,012) (7,121) (196,212)
งบกำรเงินรวม
มูลค่ำตำมสัญญำ (Notional amounts) สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่งมอบสิ นค้ำ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
1,009,282 8,173,703 1,587,227 442,356
1,091,756 2,141,727 5,539,836 996,446
1,009,282 5,340,795 1,205,527 -
1,091,756 1,715,314 4,530,868 55
174 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 9
ลูกหนีก้ ำรค้ำและลูกหนีอ้ ื่น - สุ ทธิ งบกำรเงินรวม
ลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำของลูกหนี้ กำรค้ำ รวมลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น - สุทธิ ลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมำยเหตุขอ้ 36.3) รวมลูกหนี้กำรค้ำ - สุทธิ เงินล่วงหน้ำค่ำสิ นค้ำ ค่ำใช้จ่ำยจ่ำยล่วงหน้ำ รำยได้คำ้ งรับและลูกหนี้ อื่น รวมลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้ อื่น - สุทธิ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
7,643,206 (42,359) 7,600,847 98,594 7,699,441 129,536 155,640 108,639 8,093,256
3,408,931 (132,478) 3,276,453 94,302 3,370,755 219,528 173,081 90,866
2,976,587 (27,636) 2,948,951 333,977 3,282,928 65,395 30,771 146,976
1,240,213 (68,527) 1,171,686 1,040,987 2,212,673 22,590 38,484 86,564
3,854,230
3,526,070
2,360,311
ในปี พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจกำรได้รับรู้หนี้ สูญและกลับรำยกำรค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญในงบกำรเงินรวมเป็ นจำนวน 82 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : ไม่มี) และในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรเป็ นจำนวน 35 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : ไม่มี) ลูกหนี้ กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม สำมำรถวิเครำะห์ตำมอำยุลูกหนี้ ที่คำ้ งชำระนับจำกวันที่ครบกำหนดได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม
ยังไม่ถึงกำหนดชำระ เกินกำหนด 1 - 30 วัน เกินกำหนด 31 - 60 วัน เกินกำหนด 61 - 90 วัน เกินกำหนด 91 - 120 วัน เกินกำหนด 121 - 365 วัน เกินกำหนดเกินกว่ำ 365 วัน หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำของลูกหนี้ กำรค้ำ รวมลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น - สุทธิ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
6,886,141 637,701 31,411 27,824 2,566 12,284 45,279 7,643,206 (42,359) 7,600,847
2,960,765 257,675 34,046 23,144 1,069 5,873 126,359
2,493,897 421,462 18,560 989 7,453 34,226
996,121 156,726 13,310 1,259 926 3,147 68,724
3,408,931 (132,478) 3,276,453
2,976,587 (27,636) 2,948,951
1,240,213 (68,527) 1,171,686
175 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 9
ลูกหนีก้ ำรค้ ำและลูกหนีอ้ ื่น - สุ ทธิ (ต่อ) ลูกหนี้ กำรค้ำ - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวำคม สำมำรถวิเครำะห์ตำมอำยุลูกหนี้ ที่คำ้ งชำระนับจำกวันที่ครบกำหนดได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม
ยังไม่ถึงกำหนดชำระ เกินกำหนด 1 - 30 วัน เกินกำหนด 31 - 60 วัน เกินกำหนด 61 - 90 วัน เกินกำหนด 91 - 120 วัน เกินกำหนด 121 - 365 วัน เกินกำหนดเกินกว่ำ 365 วัน รวมลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
96,613 1,981 98,594
94,302 94,302
318,735 8,346 6,711 185 333,977
1,034,596 9 1,499 685 4,198 1,040,987
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 รำยได้คำ้ งรับและลูกหนี้ อื่นยังไม่ถึงกำหนดชำระ 10
สินค้ำคงเหลือ - สุ ทธิ
รำคำทุน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท สิ นค้ำสำเร็ จรู ป สิ นค้ำระหว่ำงผลิต วัตถุดิบ วัสดุบรรจุ และสำรเคมี อะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง รวม
งบกำรเงินรวม ค่ ำเผื่อสำหรับรำคำทุน ของสินค้ำคงเหลือที่เกินกว่ำ มูลค่ ำสุ ทธิที่จะได้ รับ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
รวมสินค้ำคงเหลือ - สุ ทธิ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
4,749,865 3,926,578
6,380,921 2,867,255
(617) (527)
(336,205) (131,346)
4,749,248 3,926,051
6,044,716 2,735,909
12,189,730 112,369 20,978,542
5,080,822 132,030 14,461,028
*(46,395) (47,539)
(33,726) (501,277)
12,143,335 112,369 20,931,003
5,047,096 132,030 13,959,751
*ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจกำรมีกำรตั้งค่ำเผื่อมูลค่ำควำมเสี ยหำยสำหรับวัตถุดิบที่โดนผลกระทบจำกอัคคีภยั ของบริ ษทั PT Star Rubber ประมำณ 42 ล้ำนบำท (จำนวน 15,522 ล้ำนรู เปี ย)
176 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สทรีธัจนำกั ด (มหำชน) สำบริ�ษหรัทั บศรีปีตสรัิ้นงแอโกรอิ สุด วันนทีดั่ 31 วาคม พ.ศ. และบริ 2559ษทั ย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
10
สินค้ำคงเหลือ - สุ ทธิ (ต่อ)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ค่ ำเผื่อสำหรับรำคำทุน ของสินค้ำคงเหลือที่เกินกว่ำ มูลค่ ำสุ ทธิที่จะได้รับ
รำคำทุน
สิ นค้ำสำเร็ จรู ป สิ นค้ำระหว่ำงผลิต วัตถุดิบ วัสดุบรรจุ และสำรเคมี อะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง รวม
รวมสินค้ำคงเหลือ - สุ ทธิ
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
2,058,843 2,470,203
1,886,758 1,325,781
-
(104,642) (63,213)
2,058,843 2,470,203
1,782,116 1,262,568
6,285,089 50,499 10,864,634
3,244,397 46,062 6,502,998
(3,895) (3,895)
(167,855)
6,281,194 50,499 10,860,739
3,244,397 46,062 6,335,143
ในระหว่ำงปี พ.ศ. 2559 ต้นทุนของสิ นค้ำคงเหลื อในงบกำรเงินรวมซึ่ งถูกรับรู้ เป็ นต้นทุนขำยและกำรให้บริ กำรมีจำนวน 66,904 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 52,719 ล้ำนบำท) และในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีจำนวน 33,512 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 25,032 ล้ำนบำท) สิ นค้ำคงเหลื อแสดงด้วยรำคำทุนหรื อมู ลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ ำกว่ำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 กลุ่ มกิ จกำรได้บนั ทึ ก ค่ำเผื่อสำหรั บมูลค่ำสิ นค้ำที่เกิ นกว่ำมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับในงบกำไรขำดทุนรวมจำนวน 48 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 501 ล้ำนบำท) และในงบ กำรเงินเฉพำะกิจกำรจำนวน 4 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 168 ล้ำนบำท) ข้ อมูลเพิม่ เติม ข้อมูลมูลค่ำของสิ นค้ำคงเหลือเฉพำะยำงแผ่นรมควัน น้ ำยำงข้น และยำงแท่งของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั แสดงดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม
สิ นค้ำคงเหลือตำมวิธีมูลค่ำ สุทธิที่จะได้รับ** สิ นค้ำคงเหลือตำมวิธีรำคำทุน หรื อ มูลค่ำสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใด ต่ำกว่ำ (ตำมที่ได้รับรู ้และรวมอยูใ่ น งบกำรเงิน) ผลต่ำง
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 (พันบำท)
พ.ศ. 2558 (พันบำท)
พ.ศ. 2559 (พันบำท)
พ.ศ. 2558 (พันบำท)
23,216,141
13,382,571
11,617,042
6,309,527
20,306,400 2,909,741
13,234,295 148,276
10,608,618 1,008,424
6,206,006 103,521
** สำหรับวัตถุประสงค์ในกำรจัดท ำงบกำรเงิน สิ นค้ำคงเหลื อแสดงด้วยรำคำทุนหรื อมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ ำกว่ำ แต่ ในกำร บริ หำรงำนของกลุ่มกิ จกำรผูบ้ ริ หำรจะบริ หำรสิ นค้ำคงเหลือโดยพิจำรณำจำกมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับ ซึ่ งประมำณจำกรำคำปกติที่คำดว่ำจะขำยได้ ของธุ รกิจหักด้วยค่ำใช้จ่ำยที่จำเป็ นเพื่อให้สินค้ำนั้นสำเร็ จรู ปและค่ำใช้จ่ำยในกำรขำย ผลจำกกำรใช้วิธีวดั มูลค่ำที่แตกต่ำงกันทำให้เกิ ดผลแตกต่ำง ณ วันที่รำยงำนในงบกำรเงิน ภำยใต้มำตรฐำนกำรกำรรำยงำนทำงกำรเงินของไทยยังไม่อนุญำตให้รับรู ้ในงบกำไรขำดทุนจนกว่ำสิ นค้ำคงเหลื อจะมีกำรขำยจริ ง นอกจำกนี้ จำนวนของผลต่ำงดังกล่ำวจะมีกำรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลำขึ้นอยูก่ บั รำคำขำยจริ ง ณ เวลำที่มีกำรขำยเกิดขึ้น 58
177 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริ ทั บศรีปีตสรัิ้นงแอโกรอิ สทรีธัจนำกัวาคม ด (มหำชน) สำ�ษหรั สุด วันนทีดั่ 31 พ.ศ. และบริ 2559ษทั ย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 11
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท ภำษีมูลค่ำเพิ่มรอเรี ยกคืน ภำษีหกั ณ ที่จ่ำยล่วงหน้ำ ภำษีซ้ือรอใบกำกับหรื อยังไม่ถึงกำหนด รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น
12
219,954 23,378 70,770 314,102
207,862 154,358 118,368 480,588
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 64,930 47,791 112,721
66,814 19,501 86,315
เงินฝำกประจำที่ติดภำระคำ้ ประกัน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 กลุ่ ม กิ จกำรมี เงิ น ฝำกประจำที่ ติด ภำระค้ ำประกัน เป็ นจำนวนเงิน 12 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 33 ล้ำนบำท) เงินฝำกประจำมีอตั รำดอกเบี้ยเฉลี่ยสำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ร้อยละ 0.1 ถึง 1.4 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 0.1 ถึง 1.4 ต่อปี ) และบริ ษทั ไม่ มีเงิ น ฝำกประจำที่ ติดภำระค้ ำประกัน (พ.ศ. 2558 : 14 ล้ำนบำท) เงิ นฝำกประจำมี อตั รำดอกเบี้ ยเฉลี่ ยส ำหรั บปี สิ้ น สุ ดวัน ที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 ร้ อยละ 1.15 ถึ ง 1.20 ต่อปี เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน ได้ถูกใช้ในกำรค้ ำประกันสำหรับวงเงินกูย้ ืมระยะสั้น จำกสถำบันกำรเงินต่ำง ๆ และหนังสื อค้ ำประกันธนำคำร
13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ 13.1
บริษทั ย่อย จำนวนที่รับรู้ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม บริ ษทั ย่อย
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
-
-
11,246,845
10,701,421
59
178 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.1
บริษทั ย่อย (ต่อ) เงินลงทุนที่เป็ นสำระสำคัญของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม สั ดส่ วนของกำรถือหุ้น ร้ อยละ
ประเภทของธุรกิจ
จัดตั้งขึน้ ใน ประเทศ
จัดจำหน่ ำยผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงแท่ง ผลิตไม้ยำงพำรำ ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม วิศวกรรมบริ กำร บริ กำรขนส่ ง สวนยำงพำรำ จัดจำหน่ำยผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ
ประเทศสหรัฐอเมริ กำ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศจีน
100.00 90.00 99.94 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 100.00
100.00 90.00 99.94 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 100.00
จัดจำหน่ ำยผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ
ประเทศสิ งคโปร์
100.00
100.00
Shi Dong Investments Pte Ltd. ลงทุน (ถือหุ้นโดย Sri Trang International Pte Ltd.)
ประเทศสิ งคโปร์
100.00
100.00
PT Star Rubber ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงแท่ง (ถือหุ้นโดย Shi Dong Investments Pte Ltd.)
ประเทศอินโดนีเซีย
99.00
99.00
Sri Trang Indochina (Vietnam) Co., Ltd. จัดจำหน่ ำยผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ (ถือหุ้นโดย Sri Trang International Pte Ltd.)
ประเทศเวียดนำม
100.00
100.00
Sri Trang Ayeyar Rubber Industry Co., Ltd. ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงแท่ง (ถือหุ้นโดย Sri Trang International Pte Ltd.)
ประเทศเมียนมำร์
59.00
59.00
บริษทั ย่อย Sri Trang USA, Inc. PT Sri Trang Lingga Indonesia บจก. อันวำร์พำรำวูด บจก. รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ บจก. หน่ ำฮัว่ รับเบอร์ บจก. สะเดำ พี.เอส. รับเบอร์ บจก. สตำร์เท็กซ์ รับเบอร์ บจก. พรี เมียร์ ซิสเต็มเอ็นจิเนี ยริ่ ง บจก. สตำร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรำนสปอร์ต บจก. ศรี ตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชัน่ Shi Dong Shanghai Rubber Co., Ltd. บริษทั ย่อยทำงอ้อม Sri Trang International Pte Ltd. (ถือหุ้นโดย บจก. สตำร์เท็กซ์ รับเบอร์ )*
พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558
*ในเดือน ตุลำคม พ.ศ. 2559 Sri Trang International Pte Ltd ได้เปลี่ยนสถำนะจำกบริ ษทั ย่อยเป็ นบริ ษทั ย่อยทำงอ้อม
179 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.1
บริษทั ย่อย (ต่อ) กำรเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยสรุ ปได้ดงั นี้ พ.ศ. 2559 ควำมสัมพันธ์ บจก. ศรี ตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชัน่ บริ ษทั ย่อย บจก. สตำร์เท็กซ์ รับเบอร์ บริ ษทั ย่อย Sri Trang International Pte Ltd. บริ ษทั ย่อยใน ต่ำงประเทศ
13.2
สกุลเงิน ล้ำนบำท ล้ำนบำท ล้ำนดอลลำร์ สหรัฐอเมริ กำ รวม
พ.ศ. 2558
จำนวน
(เทียบเท่ ำ) ล้ำนบำท
จำนวน
(เทียบเท่ ำ) ล้ำนบำท
(61)
534 2,025 (2,014)
9
711 306
545
1,017
บริษทั ร่ วม เงินลงทุนที่ปฏิบัติตำมวิธีส่วนได้ เสีย จำนวนที่รับรู้ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวำคม
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
บริ ษทั ร่ วม
1,489,920
1,357,762
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 619,178
649,178
จำนวนที่รับรู ้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม บริ ษทั ร่ วม
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 178,851
153,011
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท -
-
180 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.2
บริษทั ร่ วม (ต่อ) ส่ วนแบ่ งรำยได้จำกบริ ษ ัท ร่ วมของกลุ่ ม กิ จกำร ซึ่ งไม่ ได้เป็ นบริ ษทั จดทะเบี ยนในตลำดหลักทรั พย์ฯ และส่ วนแบ่ งในสิ น ทรั พ ย์ (รวมค่ำควำมนิ ยม และหนี้ สิน) สำมำรถแสดงได้ดงั ต่อไปนี้ พันบำท ชื่ อ
พ.ศ. 2559 บริษัทร่ วมทำงตรง บจก. เซมเพอร์ เฟล็ก เอเชีย Sempermed USA, Inc. บจก. พัฒนำเกษตรล่วงหน้ำ Semperflex Shanghai Co., Ltd. Sempermed Singapore Pte Ltd. บริษัทร่ วมทำงอ้ อม Sempermed Brazil Comercio Exterior LTDA. (ถือหุ้นโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd. (ถือหุ้นโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) พ.ศ. 2558 บริษัทร่ วมทำงตรง บจก. เซมเพอร์ เฟล็ก เอเชีย Sempermed USA, Inc. บจก. พัฒนำเกษตรล่วงหน้ำ Semperflex Shanghai Co., Ltd. Sempermed Singapore Pte Ltd. บริษัทร่ วมทำงอ้ อม Sempermed Brazil Comercio Exterior LTDA. (ถือหุ้นโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd. (ถือหุ้นโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.)
รำยได้
กำไร (ขำดทุน)
อัตรำส่ วน กำรถือหุ้น (ร้ อยละ)
72,856 264,046
630,643 1,497,112
155,297 24,365
42.50 45.12
8,435
100
543
(1,602)
40.00
ประเทศจีน ประเทศสิงคโปร์
384,692 52,812
88,808 27,821
276,051 -
28,395 (39,884)
50.00 50.00
ประเทศบรำซิ ล
52,016
15,799
-
-
50.00
50,944
14,892
68,170
12,280
41.43
749,673 675,331
76,372 333,727
647,806 1,792,780
149,382 21,581
42.50 45.12
98,608
58,599
2,797
(3,317)
40.00
จัดตั้งขึน้ ในประเทศ
สิ นทรัพย์
หนี้สิน
ผลิตท่อแรงดันสูง จัดจำหน่ำยถุงมือที่ใช้ใน ทำงกำรแพทย์ นำยหน้ำซื้ อขำยสัญญำซื้ อขำย ล่วงหน้ำ ผลิตท่อแรงดันสูง ลงทุนในบริ ษทั ที่จดั จำหน่ำย ถุงมือที่ใช้ในทำงกำรแพทย์
ประเทศไทย ประเทศอเมริ กำ
901,490 628,046
จัดจำหน่ำยถุงมือที่ใช้ในทำง กำรแพทย์
ประเภทของธุรกิจ
ประเทศไทย
ผลิตแม่พิมพ์สำหรับผลิตถุงมือ ประเทศมำเลเซี ย
ผลิตท่อแรงดันสูง จัดจำหน่ำยถุงมือที่ใช้ใน ทำงกำรแพทย์ นำยหน้ำซื้ อขำยสัญญำซื้ อขำย ล่วงหน้ำ ผลิตท่อแรงดันสูง ลงทุนในบริ ษทั ที่จดั จำหน่ำย ถุงมือที่ใช้ในทำงกำรแพทย์
ประเทศไทย ประเทศอเมริ กำ
ประเทศจีน ประเทศสิงคโปร์
389,479 70,204
100,520 4,275
236,918 2,169
1,709 (23,945)
50.00 50.00
จัดจำหน่ำยถุงมือที่ใช้ในทำง กำรแพทย์
ประเทศบรำซิ ล
52,016
15,799
-
-
50.00
37,330
11,435
65,085
7,130
41.43
ประเทศไทย
ผลิตแม่พิมพ์สำหรับผลิตถุงมือ ประเทศมำเลเซีย
กลุ่มกิจกำรมีบริ ษทั ร่ วมที่แต่ละรำยที่ไม่มีสำระสำคัญตำมที่ได้เปิ ดเผยได้ดงั กล่ำวข้ำงต้นซึ่ งได้บนั ทึกเงินลงทุนโดยวิธีส่วนได้เสี ย
181 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.2
บริษทั ร่ วม (ต่อ) บริ ษทั ได้ลดเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม ควำมสัมพันธ์ บจก. พัฒนำเกษตรล่วงหน้ำ*
บริ ษทั ร่ วม
พ.ศ. 2559 ล้ำนบำท
พ.ศ. 2558 ล้ำนบำท
(30)
-
*บจก. พัฒนำเกษตรล่วงหน้ำ ได้ลดทุนจดทะเบียนจำก 100 ล้ำนบำท เป็ น 25 ล้ำนบำท โดยสัดส่ วนกำรถื อหุ ้นของบริ ษทั ยังคงเดิมคือ ร้อยละ 40 และบริ ษทั ได้รับคืนเงินลงทุนเป็ นจำนวนเงิน 30 ล้ำนบำท ในเดือนกันยำยน พ.ศ. 2559 บริษทั ร่ วมที่แต่ ละรำยไม่มีสำระสำคัญ นอกเหนื อจำกส่ วนได้เสี ยในกำรร่ วมค้ำดังกล่ ำวข้ำงต้น กลุ่ ม บริ ษทั ยังมี ส่ วนได้เสี ยในกำรร่ วมค้ำที่ ไม่มี สำระสำคัญ ซึ่ งได้บ นั ทึ ก เงินลงทุนโดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท มูลค่ำตำมบัญชี โดยรวมของส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วม ซึ่ งแต่ละรำยที่ไม่มีสำระสำคัญ
1,489,920
1,357,762
จำนวนรวมของส่ วนแบ่งของกลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่ วม: กำไรหรื อขำดทุนจำกกำรดำเนิ นงำนต่อเนื่ อง กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม
178,851 178,851
153,011 153,011
182 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.3
กิจกำรร่ วมค้ำ เงินลงทุนที่ปฏิบัติตำมวิธีส่วนได้ เสีย จำนวนที่รับรู้ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวำคม
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
กิจกำรร่ วมค้ำ
3,699,158
3,378,970
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 197,717
83,100
จำนวนที่รับรู ้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม กิจกำรร่ วมค้ำ
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 223,911
495,813
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท -
-
183 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.3
กิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) เงินลงทุนที่ปฏิบัติตำมวิธีส่วนได้ เสี ย (ต่อ) รำยละเอียดเกี่ยวกับกิจกำรที่ควบคุมร่ วมกันมีดงั ต่อไปนี้
ชื่ อ
ประเภท
จัดตั้งขึน้ ในประเทศ
อัตรำส่ วน กำรถือหุ้น (ร้ อยละ)
พ.ศ. 2559 บจก. ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ ปอเรชัน่ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด
ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงแท่ง ผลิตถุงมือที่ใช้ในทำงกำรแพทย์
ประเทศไทย ประเทศไทย
42.51 40.23
พ.ศ. 2558 บจก. ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ ปอเรชัน่ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด
ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงแท่ง ผลิตถุงมือที่ใช้ในทำงกำรแพทย์
ประเทศไทย ประเทศไทย
33.50 40.23
เมื่อวันที่ 22 มกรำคม พ.ศ. 2532 บริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ซึ่ งในขณะนั้นเป็ นบริ ษทั ศรี ตรั งแอโกรอินดัสทรี จำกัด (“บริ ษทั ”) รวมทั้ง บริ ษทั รับเบอร์ แลนด์โปรดักส์ จำกัด (“รับเบอร์ แลนด์”) และผูถ้ ือหุ้นบุคคลธรรมดำสัญชำติไทย 4 คน ได้เข้ำร่ วมกัน ทำสัญ ญำกิ จกำรร่ วมค้ำ (“สั ญ ญำกิ จกำรร่ วมค้ำ”) กับ บริ ษ ัท Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. (“เซมเพอร์ ริท ”) เพื่อจัดตั้งและบริ หำร บริ ษทั สยำมเซมเพอร์ เมด จำกัด (“สยำมเซมเพอร์ เมด”) โดยเซมเพอร์ ริทถือหุ้นร้อยละ 50 ของหุ ้นทั้งหมดใน สยำมเซมเพอร์ เมด ส่ วนหุ้นอี กร้อยละ 50 ถื อโดยบริ ษทั รวมทั้งรับเบอร์ แลนด์ และผูถ้ ื อหุ ้นบุคคลธรรมดำสัญชำติ ไทย 4 คน ต่อมำ บริ ษทั ศรี ตรัง โฮลดิ้งส์ จำกัด และบุคคลธรรมดำสัญชำติไทยอีก 1 คนได้เข้ำถื อหุ้นในสยำมเซมเพอร์ เมด ตำมลำดับ โดยเข้ำถื อหุ้น ในส่ วนร้ อยละ 50 ที่ บ ริ ษทั รวมทั้ง รั บ เบอร์ แลนด์ และผูถ้ ื อหุ ้ น เดิ มที่ เป็ นบุ คคลธรรมดำสัญชำติ ไทย 4 คนถื ออยู่ (ผูถ้ ื อหุ ้ นบุ คคล ธรรมดำสัญชำติไทยรวมทั้งนิ ติบุคคลที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์ นอกจำกบริ ษทั รวมกันเรี ยกว่ำ “ผูถ้ ือหุ้นไทย”) กำรถือครองหุ้น โดยเซมเพอร์ ริท ฝ่ ำยหนึ่ ง และบริ ษทั กับผูถ้ ือหุ ้นไทย อีกฝ่ ำยหนึ่ ง มีสดั ส่ วนอยูท่ ี่ 50:50 จนถึงปั จจุบนั นี้ เนื่ องจำกผูถ้ ื อหุ ้นมีอำนำจร่ วมกันในกำรตัดสิ นใจสู งสุ ดเกี่ยวกับกำรดำเนิ นกิ จกำรของสยำมเซมเพอร์ เมด แต่เซมเพอร์ ริท หรื อบริ ษทั (ร่ วมกับผูถ้ ื อหุ ้นไทย) เพียงฝ่ ำยใดฝ่ ำยหนึ่ ง ไม่สำมำรถใช้สิทธิ ออกเสี ยงส่ วนใหญ่ถึงร้ อยละ 51 ซึ่ งเป็ นคะแนนเสี ยงที่จำเป็ นสำหรับ กำรลงมติของผูถ้ ือหุ ้นได้ ดังนั้น ทั้งสองฝ่ ำยจึงไม่มีอำนำจควบคุมสยำมเซมเพอร์เมด ในเดือนมิถุนำยน พ.ศ. 2557 ผูถ้ ื อหุ ้นไทยได้นำข้อตกลงเดิมเกี่ยวกับกำรกระทำกำรไปในทำงเดียวกันกับบริ ษทั มำจัดทำเป็ นหนังสื อ สัญญำอย่ำงเป็ นทำงกำร (“สัญญำ”) โดยตำมสัญญำดังกล่ำว ผูถ้ ื อหุ้นไทยตกลงโดยชัดแจ้งที่จะกระทำกำรไปในทำงเดียวกันกับบริ ษทั ในเรื่ องที่เกี่ ยวกับเงินลงทุนในสยำมเซมเพอร์ เมด ตำมที่ ได้เคยปฏิ บตั ิ มำตั้งแต่เริ่ มต้น โดยผลดังกล่ ำว งบกำรเงินเฉพำะบริ ษทั และ งบกำรเงินรวมของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย จึงต้องมีกำรจัดประเภทเงินลงทุนในสยำมเซมเพอร์ เมดใหม่ จำก “เงินลงทุนในบริ ษัทร่ วม” เป็ น “เงินลงทุนในกิจการร่ วมค้ า” ตั้งแต่วนั ที่มีกำรลงนำมในสัญญำดังกล่ำว
184 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.3
กิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) บริ ษทั ได้ลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนในกิจกำรร่ วมค้ำสรุ ปได้ดงั นี้
บจก. ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ ปอเรชัน่ *
ควำมสัมพันธ์
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 ล้ำนบำท
พ.ศ. 2558 ล้ำนบำท
กิจกำรร่ วมค้ำ
115
-
*เมื่อวันที่ 1 เมษำยน พ.ศ. 2559 บริ ษทั ซื้ อหุ้นสำมัญของบริ ษทั ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ ปอเรชัน่ จำกัด (“ไทยเทค”) จำนวนร้อยละ 9.005 รวมเป็ นเงิน 112 ล้ำนบำท ส่ งผลให้ มูลค่ ำเงิ นลงทุ นในกิ จกำรร่ วมค้ำดังกล่ ำวเพิ่มขึ้ นจำกเดิ ม 20 ล้ำนบำท เป็ น 132 ล้ำนบำท และ สัดส่วนกำรลงทุนเพิ่มขึ้นจำกเดิมร้อยละ 33.50 เป็ นร้อยละ 42.50 เมื่ อ วัน ที่ 14 กัน ยำยน พ.ศ. 2559 บริ ษ ัท จ่ ำยเงิ น ลงทุ น เพิ่ ม เติ ม อี ก 3 ล้ำนบำทจำกเดิ ม 132 ล้ำนบำทเป็ น 135 ล้ำนบำท เนื่ อ งจำก กำรปรับปรุ งรำคำซื้อ บริ ษทั ถือเงินลงทุนในไทยเทคในสัดส่วนเดิมเช่นเดียวกับไตรมำสที่ 2 พ.ศ. 2559
185 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.3
กิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) ข้ อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ปสำหรับกิจกำรร่ วมค้ ำ ข้อมูลทำงกำรเงินสำหรับบริ ษทั สยำมเซมเพอร์ เมด จำกัด ซึ่ งปฏิบตั ิตำมวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนี้ (ก) งบแสดงฐำนะกำรเงินโดยสรุ ป ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น (ไม่รวมเงินสด) สิ นทรัพย์หมุนเวียนรวม สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน หนีส้ ินหมุนเวียน หนี้ สินหมุนเวียนอื่น (รวมเจ้ำหนี้ กำรค้ำ) หนี้ สินหมุนเวียนรวม หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน หนี้ สินไม่หมุนเวียนอื่น หนี้ สินไม่หมุนเวียนรวม สิ นทรัพย์สุทธิ
3,836,215 2,640,089 6,476,304
3,158,944 2,471,704 5,630,648
2,737,956 9,214,260
3,026,059 8,656,707
808,621 808,621
849,464 849,464
75,340 75,340 883,961
72,417 72,417 921,881
8,330,299
7,734,826
186 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.3
กิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) (ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จโดยสรุ ป
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
รำยได้ ค่ำเสื่ อมรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย รำยได้ดอกเบี้ย
9,242,262 (571,957) 53,646
10,413,251 (558,556) 32,196
กำไรก่อนภำษีเงินได้ ภำษีเงินได้
739,724 (144,251)
1,449,885 (195,283)
595,473
1,254,602
กำไรเบ็ดเสร็ จรวมสำหรับปี
ข้อมูลข้ำงต้นเป็ นจำนวนที่รวมอยูใ่ นงบกำรเงินของกำรร่ วมค้ำ (ซึ่ งไม่ใช่เพียงแค่ส่วนแบ่งของกลุ่มกิจกำรในกำรร่ วมค้ำดังกล่ำว) และปรับปรุ งเกี่ยวกับควำมแตกต่ำงของนโยบำยกำรบัญชี ของกลุ่มกิจกำรและกำรร่ วมค้ำ (ค) กำรกระทบยอดรำยกำรข้อมูลทำงกำรเงินโดยสรุ ป
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที่ 1 มกรำคม กำไรเบ็ดเสร็ จสำหรับปี
7,734,826 595,473
6,480,224 1,254,602
สิ นทรัพย์สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม
8,330,299
7,734,826
ส่วนได้เสี ยในกำรร่ วมค้ำก่อนปรับปรุ ง (ร้อยละ 40.23) กำรปรับปรุ งรำยกำรระหว่ำงกัน
3,351,279 (145,612)
3,111,721 (149,653)
ส่วนได้เสี ยในกำรร่ วมค้ำ (ร้อยละ 40.23)
3,205,667
2,962,068
มูลค่ำตำมบัญชี
3,205,667
2,962,068
187 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13
เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) 13.3
กิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) กำรร่ วมค้ำที่แต่ ละรำยไม่ มีสำระสำคัญ นอกเหนื อจำกส่ วนได้เสี ยในกำรร่ วมค้ำดังกล่ ำวข้ำงต้น กลุ่ ม กิ จกำรยังมี ส่ วนได้เสี ยในกำรร่ วมค้ำที่ ไม่มีส ำระส ำคัญ ซึ่ งได้บ นั ทึ ก เงินลงทุนโดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
(146,256) 9,135
(61,955) (2,343)
(137,121)
(64,298)
มูลค่ำตำมบัญชี โดยรวมของส่ วนได้เสี ยในกำรร่ วมค้ำแต่ละรำย ที่ไม่มีสำระสำคัญ จำนวนรวมของส่ วนแบ่งของกลุ่มกิจกำรในกำรร่ วมค้ำ ขำดทุนก่อนภำษีเงินได้ ภำษีเงินได้ ขำดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสำหรับปี 14
เงินลงทุนระยะยำว ควำมเคลื่อนไหวของเงินลงทุนระยะยำวสำหรับปี สำมำรถสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุทธิ กำรจำหน่ำยเงินลงทุน กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุน ในหลักทรัพย์เผื่อขำย (หมำยเหตุขอ้ 25) รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุทธิ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
50,626 -
63,672 (58)
49,718 -
62,666 (58)
8,504 59,130
(12,988) 50,626
8,296 58,014
(12,890) 49,718
188 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 14
เงินลงทุนระยะยำว (ต่อ) เงินลงทุนระยะยำวสำมำรถวิเครำะห์ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม
ณ วันที่ 31 ธันวำคม เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย เงินลงทุนทัว่ ไป รวมเงินลงทุนระยะยำว
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
48,703 10,427 59,130
40,199 10,427 50,626
47,587 10,427 58,014
39,291 10,427 49,718
เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย งบกำรเงินรวม
เงินลงทุนในเผื่อขำยตำมรำคำทุน ผลต่ำงสะสมจำกกำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรม รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำยตำมมูลค่ำยุติธรรม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
32,758 15,945 48,703
32,758 7,441 40,199
32,294 15,293 47,587
32,294 6,997 39,291
ตำรำงต่อไปนี้ แสดงถึงผลกระทบของภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ที่มีต่อรำยกำรกำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท ผลสะสมจำกกำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรม ผลกระทบจำกภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ผลต่ำงสะสมจำกกำรเปลี่ยนแปลงของ มูลค่ำยุติธรรม - สุทธิจำกภำษี (หมำยเหตุขอ้ 25)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
15,945 (3,189)
7,441 (609)
15,293 (3,059)
6,997 (517)
12,756
6,832
12,234
6,480
เงินลงทุนทั่วไป งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท เงินลงทุนทัว่ ไป
10,427
10,427
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 10,427
10,427
15
6,582,657 88,640 303,606 (49,109) 2,459 (80,264) (152) 6,847,837 6,065,495 1,241,219 (147,386) (311,491) 6,847,837
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน บวก ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
5,745,883 (3,088,481) (6,224) 2,651,178
4,034,446
2,342,334 125,802 776,437 (9,910) (578,517) (1,167) (3,801) 2,651,178 4,429,354 603,024 (57,382) (940,550) -
3,282,054 34,524 995,471 (2,762) (220,712) (51,366) (2,763) 4,034,446
2,342,334
3,282,054
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุ ทธิ ประเมินรำคำสิ นทรัพย์เพิ่มขึ้น ค่ำเสื่ อมรำคำ (หมำยเหตุขอ้ 28) ค่ำเสื่ อมรำคำที่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุ ทธิ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ
4,867,492 (2,517,617) (7,541)
3,422,209 603,025 (57,382) (685,798) -
5,703,770 1,266,222 (147,386) (239,949) 6,582,657
เครื่ องจักรและ อุปกรณ์
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน บวก ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำประเมิน ทีด่ นิ และส่ วน ปรับปรุงทีด่ นิ อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ ำง
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย บริษัท ศรีปตระกอบงบกำรเงิ รังแอโกรอินดันสรวมและงบกำรเงิ ทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริ หมำยเหตุ นเฉพำะกิ จกำรษัทย่อย �หรับบปีปีสิส้นิ้นสุสุดวัดนวัทีน่ 31ที่ ธั31นวำคม ธันวาคม พ.ศ. 2559 สสำำหรั พ.ศ. 2559
287,565
858,641 (571,076) -
307,882 32,534 37,402 (5,455) (85,565) 767 287,565
307,882
818,019 (510,137) -
177,809
476,214 (298,405) -
157,625 39,730 36,738 (291) (56,651) 658 177,809
157,625
401,059 (243,434) -
พันบำท งบกำรเงินรวม สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำทุน เครื่ องตกแต่ งและ ยำนพำหนะ เครื่ องใช้ สำนักงำน
1,186,655
1,186,655 -
1,682,482 1,669,468 (2,149,654) (1,202) (14,439) 1,186,655
1,682,482
1,682,482 -
สิ นทรัพย์ ระหว่ ำง ก่ อสร้ ำงและติดตั้ง
71
15,185,490
18,762,242 1,844,243 (204,768) (5,210,003) (6,224)
14,355,034 1,990,698 (68,729) 2,459 (1,021,709) (52,533) (19,730) 15,185,490
14,355,034
16,895,031 1,869,247 (204,768) (4,196,935) (7,541)
รวม
189 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
15
รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน บวก ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ
รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุ ทธิ ค่ำเสื่ อมรำคำ (หมำยเหตุขอ้ 28) ค่ำเสื่ อมรำคำที่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุ ทธิ
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย นเฉพำะกิจกำร สำหมำยเหตุ �หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31นธัรวมและงบกำรเงิ นวาคม พ.ศ. 2559
6,625,543 1,241,202 (147,386) (494,167) 7,225,192
6,847,837 115,875 454,216 (4,674) (192,311) (24) 4,273 7,225,192
4,865,854 602,159 (57,382) (1,142,620) 4,268,011
4,034,446 23,440 438,603 (34,612) (142,533) (67,639) 16,306 4,268,011
สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำประเมิน ทีด่ นิ และส่ วน ปรับปรุงทีด่ นิ อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ ำง
6,187,249 (3,619,235) (6,057) 2,561,957
2,651,178 125,535 449,289 (29,435) (644,092) (2,484) 11,966 2,561,957
เครื่ องจักรและ อุปกรณ์
หมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย
911,553 (623,189) 288,364
287,565 61,521 26,239 (1,618) (86,555) 1,212 288,364
589,116 (373,313) 215,803
177,809 52,389 80,434 (1,087) (93,497) (245) 215,803
สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำทุน เครื่ องตกแต่ งและ ยำนพำหนะ เครื่ องใช้ สำนักงำน
งบกำรเงินรวม
พันบำท
1,206,187 1,206,187
1,186,655 1,463,990 (1,448,781) 4,323 1,206,187
สิ นทรัพย์ ระหว่ ำง ก่ อสร้ ำงและติดตั้ง
72
20,385,502 1,843,361 (204,768) (6,252,524) (6,057) 15,765,514
15,185,490 1,842,750 (71,426) (1,158,988) (70,147) 37,835 15,765,514
รวม
190 รายงานประจำ�ปี 2559
15
รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน บวก ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ
รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้อเพิม่ ขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุ ทธิ ประเมินรำคำสิ นทรัพย์เพิ่มขึ้น ค่ำเสื่ อมรำคำ (หมำยเหตุขอ้ 28)
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน บวก ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)
1,975,750 442,506 (55,142) (160,941) 2,202,173
1,609,983 398,545 (43,998) (321,580) 1,642,950
1,451,982 2,865 278,993 (1,610) (89,280) 1,642,950
1,451,982
2,051,897
2,051,897 23,366 225,240 (49,079) 2,459 (51,710) 2,202,173
1,344,442 398,546 (43,999) (247,007) -
1,757,456 467,509 (55,142) (117,926) -
สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำประเมิน ทีด่ นิ และส่ วน ปรับปรุงทีด่ นิ อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ ำง
2,795,365 (1,433,308) (6,224) 1,355,833
1,160,645 66,356 405,976 (1,642) (275,502) 1,355,833
1,160,645
2,328,077 (1,159,891) (7,541)
237,373 (165,680) 71,693
64,156 9,329 20,884 (22,676) 71,693
64,156
208,487 (144,331) -
304,877 (187,583) 117,294
114,597 21,334 19,507 (72) (38,072) 117,294
114,597
264,223 (149,626) -
พันบำท งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำทุน เครื่ องจักรและ เครื่ องตกแต่ งและ อุปกรณ์ ยำนพำหนะ เครื่ องใช้ สำนักงำน
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย บริษัท ศรีปตระกอบงบกำรเงิ รังแอโกรอินดันสรวมและงบกำรเงิ ทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริ หมำยเหตุ นเฉพำะกิ จกำรษัทย่อย �หรับบปีปีสิส้นิ้นสุสุดวัดนวัทีน่ 31ที่ ธั31นวำคม ธันวาคม พ.ศ. 2559 สสำำหรั พ.ศ. 2559
834,854 834,854
1,002,089 783,365 (950,600) 834,854
1,002,089
1,002,089 -
สิ นทรัพย์ ระหว่ ำง ก่ อสร้ ำงและติดตั้ง
73
7,758,202 841,051 (99,140) (2,269,092) (6,224) 6,224,797
5,845,366 906,615 (52,403) 2,459 (477,240) 6,224,797
5,845,366
6,904,774 866,055 (99,141) (1,818,781) (7,541)
รวม
191 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
15
รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน บวก ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ
รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุทธิ
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุทธิ กำรซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุทธิ ค่ำเสื่ อมรำคำ (หมำยเหตุขอ้ 28)
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย นเฉพำะกิจกำร สำหมำยเหตุ �หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31นธัรวมและงบกำรเงิ นวาคม พ.ศ. 2559
2,237,090 442,506 (55,142) (222,940) 2,401,514
2,202,173 71,769 189,571 (61,999) 2,401,514
ที่ดนิ และส่ วน ปรับปรุงที่ดนิ
1,896,450 397,739 (43,998) (425,277) 1,824,914
1,642,950 5,236 280,923 (225) (103,970) 1,824,914
อำคำรและ สิ่งปลูกสร้ ำง
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตำมรำคำประเมิน
3,260,045 (1,720,396) (6,057) 1,533,592
1,355,833 58,034 438,973 (2,100) (317,148) 1,533,592
เครื่ องจักรและ อุปกรณ์
พันบำท
262,959 (177,871) 85,088
71,693 25,088 13,364 (5) (25,052) 85,088
ยำนพำหนะ
347,297 (223,710) 123,587
117,294 16,089 36,278 (4) (46,070) 123,587
836,009 836,009
834,854 960,264 (959,109) 836,009
เครื่ องตกแต่ งและ สินทรัพย์ระหว่ำง เครื่ องใช้ สำนักงำน ก่อสร้ ำงและติดตั้ง
สินทรัพย์ซึ่งแสดงตำมรำคำทุน
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
หมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย
74
8,839,850 840,245 (99,140) (2,770,194) (6,057) 6,804,704
6,224,797 1,136,480 (2,334) (554,239) 6,804,704
รวม
192 รายงานประจำ�ปี 2559
193 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 15
ที่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ) ที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ ำงของกลุ่มกิจกำรได้มีกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์โดยผูป้ ระเมินรำคำอิสระในไตรมำสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2555 กำรประเมินรำคำได้ทำตำมเกณฑ์รำคำตลำด และเกณฑ์รำคำเปลี่ ยนแทนหัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม ส่ วนเกิ น ทุน ที่ เกิ ดขึ้ น สุ ทธิ จำก ภำษี เงิน ได้รอตัดบัญชี ได้บ นั ทึ กไปยังบัญชี องค์ป ระกอบอื่ นของส่ วนของเจ้ำของ (หมำยเหตุข ้อ 25) ที่ ดิน ส่ วนปรั บปรุ งที่ ดิน อำคำรและ สิ่ งปลูกสร้ำงของกลุ่มกิจกำรแสดงด้วยมูลค่ำยุติธรรมในระดับ 2 ไม่มีกำรโอนระหว่ำงระดับของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรมในระหว่ำงปี ตำรำงต่อไปนี้ แสดงถึงผลกระทบของภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ที่มีต่อส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสมของส่ วนเกินทุนจำกกำร ประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - สุทธิ จำกค่ำเสื่ อมรำคำสะสมและภำษี
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
1,843,361
1,844,243
840,245
841,051
(213,420) (333,081)
(192,175) (224,268)
(149,211) (138,207)
(134,511) (52,213)
1,296,860
1,427,800
552,827
654,327
หำกที่ดิน ส่วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำงแสดงตำมรำคำทุนเดิม รำคำตำมบัญชี รวมของที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์จะเป็ นดังนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท รำคำทุน หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
21,224,124 (6,986,107) (6,057) 14,231,960
19,637,642 (6,087,974) (6,224) 13,543,444
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 9,343,935 (3,282,188) (6,057) 6,055,690
8,262,286 (2,789,503) (6,224) 5,466,559
งบกำรเงินรวม ค่ำเสื่ อมรำคำของกลุ่ มกิ จกำรจำนวน 1,020 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 907 ล้ำนบำท) ได้ถูกบันทึกเป็ นต้นทุนขำยและกำรให้บริ กำร และจำนวน 139 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 115 ล้ำนบำท) บันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำรบริ หำร ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ ำง และเครื่ องจักรและอุปกรณ์บำงส่ วนของบริ ษทั ย่อยบำงแห่ ง ซึ่ งมี มูลค่ำตำมบัญชี รวมจำนวน 677 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 1,342 ล้ำนบำท) ได้นำไปจดจำนองเพื่อค้ ำประกันวงเงิ นสิ นเชื่ อ และเงินกู้ยืมระยะสั้น และระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินที่กล่ำวไว้ในหมำยเหตุขอ้ 22
จำกค่ำเสื่ อมรำคำสะสมและภำษี
1,296,860
1,427,800
552,827
654,327
194 หำกที�ปี่ดิน2559 ส่วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำงแสดงตำมรำคำทุนเดิม รำคำตำมบัญชี รวมของที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์จะเป็ นดังนี้ รายงานประจำ งบกำรเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 นเฉพาะกิ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงิ จการ
บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัดัสทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทััท ศรี และบริ ษทั ษย่อัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร รำคำทุน สำหรับหัปี กสิ้นค่สุำดเสืวั่ อนมรำคำสะสม ที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 หัก ค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ 15
ที่ดนิ อำคำรและอุ รำคำตำมบั ญชี - สุทปธิกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)
พันบำท
พันบำท
พันบำท
พันบำท
21,224,124 (6,986,107) (6,057) 14,231,960
19,637,642 (6,087,974) (6,224) 13,543,444
9,343,935 (3,282,188) (6,057) 6,055,690
8,262,286 (2,789,503) (6,224) 5,466,559
งบกำรเงินเฉพำะกิ รวม จกำร ค่ำเสื่ อมรำคำของบริ 491 ล้ำ1,020 นบำทล้(พ.ศ. 2558(พ.ศ. : 4212558 ล้ำนบำท) ถูกบันทึได้ กเป็ถนต้ บริ กำร และจบำนวน ล้ำนบำท มรำคำของกลุษ่ มทั กิจจำนวน กำรจำนวน ำนบำท : 907 ได้ ล้ำนบำท) ูกบันทุทึนกขำยและกำรให้ เป็ นต้นทุนขำยและกำรให้ ริ กำร 63 และจ ำนวน 2558 นบำท) น(มหำชน) ทึล้กำเป็นบำท) นค่และบริ ำใช้บัจน่ำยในกำรบริ บริษทั ศรี(พ.ศ. ตรังล้แอโกรอิ ดัล้สำทรี จำกั:ดบั115 139 ำนบำท: 56น(พ.ศ. 2558 ทึษกทั เป็ย่อนยค่ำใช้หำร จ่ำยในกำรบริ หำร หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร นทีที่ด่ กินลุส่่ มวกินปรั จกำรและบริ เป็ นผูเ้ ช่ ำซึ่ ง่ งรวมแสดงในรำยกำรข้ นประกอบด้ วยยำนพำหนะ งตกแต่ ง นวำคม พ.ศ.ำกำรเงิ 25592559 บปรุ งที่ดษินทั อำคำรและสิ ปลูกสร้ ำง และเครื่ องจักำงต้ รและอุ ปกรณ์บำงส่ วนของบริ ษทเครื ั ย่อ่ อยบำงแห่ สำหรับปีสิณสิน้นวัทรั สุนดทีพวั่ 31 นย์ตทีธัำมสั ่ 31 ธัญนญำเช่ วำคม พ.ศ. และเครื สำนัญกชีงำน ำยละเอี นี้ (พ.ศ. 2558 : 1,342 ล้ำนบำท) ได้นำไปจดจำนองเพื่อค้ ำประกันวงเงิ นสิ นเชื่ อ และเงินกู้ยืมระยะสั้น ซึ่ งมีมูล่ อค่งใช้ ำตำมบั รวมจมีรำนวน 677ยดดั ล้ำงนบำท 15 ทีและระยะยำวจำกสถำบั ่ดนิ อำคำรและอุปกรณ์นกำรเงิ - สุ ทธินที(ต่่กอล่)ำวไว้ในหมำยเหตุขอ้ 22 งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 75 พันบำท พันบำท พันบำท พันบำท ค่ำเสื่ อนมรำคำของบริ จำนวน 491ำกำรเงิ ล้ำนบำท ได้ถูกบันทึกเป็ นต้199,967 นทุนขำยและกำรให้บ19,962 ริ กำร และจำนวน 6362,880 ล้ำนบำท รำคำทุ ของสิ นทรัพย์ษตทั ำมสั ญญำเช่ น (พ.ศ. 2558 : 421 ล้ำนบำท)111,161 (พ.ศ. 2558 : 56 ล้ำนบำท) บันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำรบริ หำร (61,277) (112,400) (9,770) (52,736) หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม 49,884 87,567 10,192 10,144 รำคำตำมบัญชี - สุทธิ สิ น ทรั พย์ตำมสัญ ญำเช่ ำกำรเงิน ที่ ก ลุ่ม กิ จกำรและบริ ษทั เป็ นผูเ้ ช่ ำซึ่ งรวมแสดงในรำยกำรข้ำงต้นประกอบด้วยยำนพำหนะ เครื่ องตกแต่ ง และเครื่ องใช้สำนักงำน มีรำยละเอียดดังนี้ กลุ่มกิจกำรทำสัญญำเช่ำกำรเงิน ยำนพำหนะ เครื่ องตกแต่ง และเครื่ องใช้สำนักงำน ซึ่ งไม่สำมำรถบอกเลิกได้ สัญญำเช่ำมีอำยุระหว่ำง 3 ถึง 5 ปี งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท รำคำทุนของสิ นทรัพย์ตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
111,161 (61,277) 49,884
199,967 (112,400) 87,567
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 19,962 (9,770) 10,192
62,880 (52,736) 10,144
กลุ่มกิจกำรทำสัญญำเช่ำกำรเงิน ยำนพำหนะ เครื่ องตกแต่ง และเครื่ องใช้สำนักงำน ซึ่ งไม่สำมำรถบอกเลิกได้ สัญญำเช่ำมีอำยุระหว่ำง 3 ถึง 5 ปี
16
8,451 (3,890) 4,561 4,561 3,778 (13) (132) (1,579) 6,615
11,888 (5,273) 6,615
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุทธิ กำรลงทุนเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 28) ค่ำเสื่ อมรำคำที่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
ที่ให้ นำ้ ยำง
สวนยำงพำรำ
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม - สุ ทธิ
หมำยเหตุ รวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ บริ ษัท ศรีปตระกอบงบกำรเงิ รังแอโกรอินดัสนทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริจษกำร ัทย่อย พ.ศ.พ.ศ. 25592559 สำส�ำหรั หรับบปีปีสิส้นิ้นสุสุดดวันวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวำคม นวาคม
1,209,426 1,209,426
890,975 269,036 (4,726) 54,141 1,209,426
890,975 890,975
ที่ยงั ไม่ ให้ นำ้ ยำง
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินป ดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย นรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ
งบกำรเงินรวม
พันบำท
8,721 (4,441) 4,280
5,711 (876) (555) 4,280
11,242 (5,531) 5,711
ที่ให้ ผล
สวนปำล์ม
948 (29) 919
948 (29) 919
-
ที่ยงั ไม่ ให้ ผล
77
1,230,983 (9,743) 1,221,240
901,247 269,036 (889) (687) 52,533 1,221,240
910,668 (9,421) 901,247
รวม
195 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
16
6,615 4,635 (180) (1,762) 9,308
16,523 (7,215) 9,308
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
ที่ให้ นำ้ ยำง
สวนยำงพำรำ
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุทธิ กำรลงทุนเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 28) ค่ำเสื่ อมรำคำที่รับรู้เป็ นสิ นทรัพย์ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุทธิ
สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม - สุ ทธิ (ต่อ)
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
บริ ษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559
1,559,408 1,559,408
1,209,426 282,708 (4,635) 71,909 1,559,408
ที่ยงั ไม่ ให้ นำ้ ยำง
หมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย
งบกำรเงินรวม
พันบำท
8,721 (4,909) 3,812
4,280 (468) 3,812
ที่ให้ ผล
สวนปำล์ม
948 (72) 876
919 (43) 876
ที่ยงั ไม่ ให้ ผล
78
1,585,600 (12,196) 1,573,404
1,221,240 282,708 (691) 70,147 1,573,404
รวม
196 รายงานประจำ�ปี 2559
16
รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม
รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุทธิ
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุทธิ กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 28)
รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม
สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม - สุ ทธิ (ต่อ)
หมำยเหตุ รวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ บริ ษัท ศรีปตระกอบงบกำรเงิ รังแอโกรอินดัสนทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริจษกำร ัทย่อย สำส�ำหรั หรับบปีปีสิส้นิ้นสุสุดดวันวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวำคม นวาคม พ.ศ.พ.ศ. 25592559
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินป ดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย นรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ
3,584 (1,915) 1,669
1,760 (91) 1,669
3,584 (1,824) 1,760
สวนยำงพำรำ ที่ให้ นำ้ ยำง
3,182 (2,017) 1,165
2,321 (876) (280) 1,165
5,703 (3,382) 2,321
สวนปำล์ม ที่ให้ ผล
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พันบำท
79
6,766 (3,932) 2,834
4,081 (876) (371) 2,834
9,287 (5,206) 4,081
รวม
197 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
16
รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม
รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุทธิ
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 28)
สวนยำงพำรำและสวนปำล์ม - สุ ทธิ (ต่อ)
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
3,584 (2,005) 1,579
1,669 (90) 1,579
สวนยำงพำรำ ที่ให้ นำ้ ยำง
3,182 (2,210) 972
1,165 (193) 972
สวนปำล์ม ที่ให้ ผล
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พันบำท
80
6,766 (4,215) 2,551
2,834 (283) 2,551
รวม
198 รายงานประจำ�ปี 2559
199 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 นธันรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 17
สินทรัพย์ไม่ มีตัวตน - สุ ทธิ
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุทธิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุทธิ กำรซื้ อเพิ่มขึ้น กำรตัดจำหน่ำย - สุทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 28) ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุทธิ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุทธิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุทธิ กำรซื้ อเพิ่มขึ้น กำรตัดจำหน่ำย - สุทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 28) ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุทธิ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุทธิ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะ กิจกำร พันบำท พันบำท 101,036 (69,396) 31,640
52,370 (40,059) 12,311
31,640 330,684 (9) (32,702) 699 330,312
12,311 329,512 (27,137) 314,686
432,048 (101,736) 330,312
381,831 (67,145) 314,686
330,312 188,853 (2,776) (35,546) (38) 480,805
314,686 184,752 (29,457) 469,981
612,869 (132,064) 480,805
566,583 (96,602) 469,981
200 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 18
อสั งหำริมทรัพย์ เพื่อกำรลงทุน ควำมเคลื่อนไหวของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนสำมำรถสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม
รำคำตำมบัญชีตน้ ปี กำรซื้อเพิ่มขึ้น ขำดทุนจำกกำรประเมินรำคำมูลค่ำยุติธรรมของ อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุทธิ รำคำตำมบัญชีปลำยปี
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
154,511 215
170,255 -
27,770 -
27,770 -
(1,887) (907) 151,932
(29,193) 13,449 154,511
27,770
27,770
อสังหำริ ม ทรั พย์เพื่ อกำรลงทุ น ของกลุ่ มกิ จกำร ได้แ ก่ อสังหำริ ม ทรั พ ย์ที่ ถื อครองไว้โดยยังมิ ได้ระบุ วตั ถุ ป ระสงค์ข องกำรใช้ใ นอนำคต รวมถึงที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในกำรดำเนิ นงำน กลุ่มกิจกำรไม่ได้ระบุว่ำจะมีอสังหำริ มทรัพย์น้ นั ไว้ใช้งำนหรื อเพื่อหำประโยชน์จำกกำรเพิ่มขึ้นของ มูลค่ำของสิ นทรัพย์ในระยะสั้น ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในกำรดำเนิ นงำนและอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนของกลุ่มกิ จกำรแสดงด้วยมูลค่ำยุติธรรม ในระดับ 2 ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในกำรดำเนิ นงำนของกลุ่มกิจกำรได้มีกำรประเมินรำคำใหม่โดยผูป้ ระเมินรำคำอิสระ กำรประเมินรำคำได้ทำตำมเกณฑ์รำคำตลำด อสังหำริ มทรั พย์เพื่อกำรลงทุน แสดงด้วยมูล ค่ำยุติธรรม ณ วัน ที่ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิ น ซึ่ งกำรประเมิ นได้ใช้เกณฑ์ก ำรเปรี ยบเที ยบกับ มูลค่ำในท้องตลำดของอสังหำริ มทรัพย์ที่อยูใ่ นประเภทเดียวกันและอยูใ่ นบริ เวณเดียวกันกับอสังหำริ มทรัพย์ของบริ ษทั ย่อย
201 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 19
ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์และหนี้ สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีสำมำรถวิเครำะห์ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่จะใช้ ประโยชน์ภำยใน 12 เดือน สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่จะใช้ ประโยชน์เกินกว่ำ 12 เดือน หนีส้ ินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี ที่จะจ่ำย ชำระภำยใน 12 เดือน หนี้สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี ที่จะจ่ำย ชำระเกินกว่ำ 12 เดือน ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุทธิ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
169,852
96,985
92,375
26,980
547,410 717,262
211,492 308,477
195,421 287,796
13,263 40,243
4,032
19,585
4,032
19,586
340,227 344,259
237,272 256,857
144,264 148,296
53,838 73,424
373,003
51,620
139,500
(33,181)
สรุ ปควำมเคลื่อนไหวของบัญชีภำษีเงินได้รอตัดบัญชี มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท ยอดคงเหลือต้นปี เพิ่ม/ลดในกำไรหรื อขำดทุน เพิ่ม/ลดในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ผลต่ำงสะสมจำกกำรแปลงค่ำ ยอดคงเหลือปลำยปี
51,620 432,587 (113,822) 2,618 373,003
(25,955) 69,621 4,307 3,647 51,620
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท (33,181) 262,460 (89,779) 139,500
(36,650) 1,237 2,232 (33,181)
19
สินทรัพย์(หนีส้ ิน)ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ
หนีส้ ินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ กำรประเมินมูลค่ำยุติธรรมของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน กำไร(ขำดทุน)ที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน กำรปรับปรุ งมูลค่ำสิ นค้ำคงเหลือโดยเปลี่ยนจำกมูลค่ำยุติธรรม เป็ นรำคำทุนหรื อมูลค่ำสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ำกว่ำ อื่น ๆ
สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ขำดทุนทำงภำษียกมำ กำไร(ขำดทุน)ที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ค่ำเผื่อสำหรับมูลค่ำสิ นค้ำที่เกินกว่ำมูลค่ำสุทธิที่จะได้รับ ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ลดลง ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ อื่น ๆ
ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ)
(4,075) 17,092 (10,222) (191) 2,604 69,622
20,505 2,971 255,238 (25,955)
54,614 (18,237) 41,206 (97) 2,623 (7,883) 72,226
228,161 1,108 2,493
110,694 17,705 24,069 25,020 14,950 36,845 229,283
1 มกรำคม พ.ศ. 2558 พันบำท
4,306
(956) (774)
182 -
3,532 3,532
3,647
(248) 37 (211)
-
(559) 3,477 (2,118) (132) 830 1,938 3,436
รำยกำรที่ รำยกำรที่บันทึก ผลต่ ำงสะสม บันทึกเป็ น ในกำไรขำดทุน จำกกำรแปลงค่ ำ กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น งบกำรเงิน พันบำท พันบำท พันบำท
51,620
10,035 1,861 256,857
224,268 1,108 19,585
164,749 2,945 63,157 24,791 21,935 30,900 308,477
31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 พันบำท
งบกำรเงินรวม
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริ นดัสนทรี ำกัดจำ(มหำชน) และบริและบริ ษทั ย่อยษัทย่อย บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ ดัสจทรี �กัด (มหาชน) หมำยเหตุ เฉพำะกิจกำร สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31นธัรวมและงบกำรเงิ นวาคม พ.ศ. น2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
432,587
(10,123) (423) (28,712)
(4,504) 1,891 (15,553)
299,856 108,720 (44,671) 17,581 14,388 8,001 403,875
(113,822)
2,580 115,897
113,317 -
2,075 2,075
รำยกำรที่ รำยกำรที่บันทึก บันทึกเป็ น ในกำไรขำดทุน กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบำท พันบำท
2,618
201 16 217
-
1,502 (867) 1,705 187 299 9 2,835
ผลต่ ำงสะสม จำกกำรแปลง ค่ำงบกำรเงิน พันบำท
84
373,003
113 4,034 344,259
333,081 2,999 4,032
466,107 110,798 20,191 42,559 38,697 38,910 717,262
31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 พันบำท
202 รายงานประจำ�ปี 2559
19
สินทรัพย์(หนีส้ ิน)ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ
หนีส้ ินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ กำรประเมินมูลค่ำยุติธรรมของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน กำไร(ขำดทุน)ที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน อื่น ๆ
สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ขำดทุนทำงภำษียกมำ กำไร(ขำดทุน)ที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ค่ำเผื่อสำหรับมูลค่ำสิ นค้ำที่เกินกว่ำมูลค่ำสุทธิที่จะได้รับ ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ลดลง ประมำณกำรหนี้ สินผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ อื่น ๆ
ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ)
หมำยเหตุ นเฉพำะกิ จกำรษัทย่อย บริ ษัท ศรีปตระกอบงบกำรเงิ รังแอโกรอินดันสรวมและงบกำรเงิ ทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริ สำสำหรั �หรับบปีปีสิส้นิ้นสุ สุดวัดนวัทีน่ 31ที่ ธั31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 นวำคม พ.ศ. 2559
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย
(3,127) 17,093 13,966 1,237
(36,650)
2,985 12,266 (97) 49 15,203
55,159 1,108 2,493 1,469 60,229
11,514 214 7,885 3,949 17 23,579
1 มกรำคม พ.ศ. 2558 พันบำท
2,232
181 (952) (771)
1,461 1,461
(33,181)
52,213 1,108 19,586 517 73,424
14,499 12,480 7,788 5,459 17 40,243
31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รำยกำรที่ รำยกำรที่บันทึก บันทึกเป็ น ในกำไรขำดทุน กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบำท พันบำท
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
262,460
(3,101) 1,891 (15,554) (16,764)
157,546 77,669 (12,274) 13,253 9,473 29 245,696
(89,779)
89,095 2,541 91,636
1,857 1,857
รำยกำรที่ รำยกำรที่บันทึก บันทึกเป็ น ในกำไรขำดทุน กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบำท พันบำท
85
139,500
138,207 2,999 4,032 3,058 148,296
157,546 92,168 206 21,041 16,789 46 287,796
31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 พันบำท
203 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
204 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรี ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 นธันรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 20
สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนอื่น
เงินมัดจำ อื่น ๆ รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 21
เจ้ ำหนีก้ ำรค้ำและเจ้ ำหนีอ้ ื่น
เจ้ำหนี้ กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น เจ้ำหนี้ กำรค้ำ - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมำยเหตุขอ้ 36.3) ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย รำยได้รับล่วงหน้ำค่ำสิ นค้ำและอื่น ๆ เงินมัดจำและเงินประกันผลงำนรับจำกลูกค้ำ เจ้ำหนี้ อื่น - บริ ษทั อื่น เจ้ำหนี้ อื่น - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมำยเหตุขอ้ 36.3) อื่น ๆ รวมเจ้ำหนี้ กำรค้ำและเจ้ำหนี้ อื่น 22
เงินกู้ยืม
รำยกำรของหมุนเวียน เงินกูย้ มื เพื่อกำรส่ งออก เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ตัว๋ เงินจ่ำย รวมเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่ งปี หุ ้นกูท้ ี่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่ งปี หนี้ สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี รวมเงินกูย้ มื หมุนเวียน
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 30,604 26,004 56,608
21,643 14,790 36,433
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 12,683 5,079 17,762
10,298 3,559 13,857
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
974,197 633,460 800,857 339,054 107,213 307,052 5,677 325 3,167,835
430,670 522,822 333,387 248,263 16,976 124,724 63,158 185 1,740,185
1,185,139 399,597 755,796 74,829 132,017 98,297 4,397 37,322 2,687,394
607,954 257,714 381,628 7 22,227 49,421 51,919 37,294 1,408,164
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
23,086,867 346,948 23,433,815
201,301 13,006,556 238,373 13,446,230
14,338,230 14,338,230
201,301 7,532,470 7,733,771
5,397,792 -
451,404 850,000
4,276,388 -
200,000 850,000
8,334 28,839,941
25,045 14,772,679
2,466 18,617,084
3,866 8,787,637
205 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ กัด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�(มหำชน) และบริ ษทั ย่อษยัทย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 นธัรวมและงบกำรเงิ นวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) งบกำรเงินรวม
รำยกำรไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุ้นกู้ หนี้ สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวมเงินกูย้ มื ไม่หมุนเวียน รวมเงินกูย้ มื
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
654 2,865,000 5,127 2,870,781
3,742,215 600,000 10,904 4,353,119
2,865,000 4,425 2,869,425
3,740,157 600,000 4,281 4,344,438
31,710,722
19,125,798
21,486,509
13,132,075
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 เงินเบิ กเกิ นบัญชี เงินกู้ยืมเพื่อกำรส่ งออก เงิ นกู้ยืมระยะสั้น และเงิ นกู้ยืมระยะยำวของกลุ่ มกิ จกำรดังกล่ ำว จำนวน 774 ล้ำนบำท ค้ ำประกันโดยที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ ำง และเครื่ องจักรและอุปกรณ์ของบริ ษทั ย่อยบำงแห่ งตำมที่ กล่ำวไว้ในหมำยเหตุขอ้ 15 และมีกำรค้ ำประกันโดยกรรมกำรบริ ษทั บำงท่ำน (โดยไม่คิดค่ำธรรมเนี ยม) โดยกลุ่ มกิ จกำรไม่มีกำรใช้เงินฝำก ประจำค้ ำประกัน (พ.ศ. 2558 : 7 ล้ำนบำท) นอกจำกนี้ เงื่ อนไขของสั ญ ญำเงิ น กู้ด ังกล่ ำวก ำหนดว่ำบริ ษ ัท และบริ ษ ัท ย่อ ยแห่ งหนึ่ งต้อ ง ไม่นำสิ นทรัพย์ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยดังกล่ำว ไปก่อภำระผูกพัน หรื อยินยอมให้มีกำรก่อภำระผูกพันอื่นอีก เว้นแต่จะได้รับคำยินยอมจำก ธนำคำรที่ให้กอู้ ย่ำงเป็ นทำงกำร นอกจำกนี้ บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยที่ได้รับเงินกูย้ มื จะต้องปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขอื่นที่ระบุไว้ในสัญญำเงินกู้ อัตรำดอกเบี้ยเงินกูย้ มื ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน มีดงั นี้ ร้ อยละ งบกำรเงินรวม เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุ ้นกู้
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
1.39 - 11.87 2.56 - 4.78 2.55 - 4.50
1.19 - 11.87 2.56 -4.53 4.10 - 4.70
1.50 - 2.30 2.56 - 4.28 2.55 - 4.50
1.50 - 2.34 2.56 - 5.03 4.10 - 4.70
อัตรำดอกเบี้ยเงินกูย้ มื มีมูลค่ำเท่ำกับอัตรำดอกเบี้ยที่แท้จริ ง เนื่องจำกผลกระทบของอัตรำดอกเบี้ยที่แท้จริ งไม่มีสำระสำคัญ
206 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรี ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 นธันรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) 22.1
เงินกู้ยืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน (ก) งบกำรเงินรวม - บริษทั อันวำร์ พำรำวูด จำกัด สัญญำที่ 1 ณ วัน ที่ 31 ธัน วำคม พ.ศ. 2559 ยอดคงเหลื อ จำนวน 2 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 3 ล้ำนบำท) เป็ นเงิ น กู้ยืม ที่ ได้รับ จำกธนำคำรในปี พ.ศ. 2556 โดยมี ก ำหนดช ำระเงิ น ต้น ทุ ก เดื อ นโดยเริ่ ม งวดแรกในเดื อ นมกรำคม พ.ศ. 2557 และชำระงวดสุ ดท้ำยในเดื อนมิถุนำยน พ.ศ. 2561 เงินกู้ยืมมี ดอกเบี้ ยในอัตรำ MLR หักด้วยอัตรำร้ อยละคงที่ ต่อปี และชำระดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน - บริษทั พรีเมียร์ ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด สัญญำที่ 1 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ยอดคงเหลือจำนวน 1,120 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 250 ล้ำนบำท) เป็ นเงินกูย้ มื เพื่อกำร ก่อสร้ ำงสิ นทรัพย์ให้แก่ ลูกค้ำรำยหนึ่ ง ที่ได้รับจำกธนำคำรในปี พ.ศ. 2558 โดยมีกำหนดชำระเต็มจำนวนเมื่ อกำร ก่อสร้ำงเสร็ จสิ้นและได้รับชำระเงินจำกลูกค้ำรำยดังกล่ำวแล้ว ทั้งนี้ เป็ นระยะเวลำไม่เกิน 2 ปี นับจำกวันที่ได้เบิกเงิน กูย้ มื งวดแรกจำกธนำคำร เงินกูย้ มื มีดอกเบี้ยในอัตรำ MLR หักด้วยอัตรำร้อยละคงที่ต่อปี และชำระดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน (ข) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สัญญำที่ 1 ณ วันที่ 31 ธัน วำคม พ.ศ. 2559 ยอดคงเหลื อ จำนวน 3,196 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 3,396 ล้ำนบำท) เป็ นเงิ น กู้ยืม ที่ ได้รับจำกธนำคำรในปี พ.ศ. 2555 โดยมี ก ำหนดช ำระเงิ น ต้น ทุ ก สำมเดื อนโดยเริ่ มงวดแรกในเดื อนกัน ยำยน พ.ศ. 2555 และชำระงวดสุ ดท้ำยในเดื อนกันยำยน พ.ศ. 2565 เงินกูย้ ืมมีดอกเบี้ยในอัตรำ MLR หักด้วยอัตรำร้อยละ คงที่ต่อปี และชำระดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน สัญญำที่ 2 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ยอดคงเหลื อจำนวน 540 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 544 ล้ำนบำท) เป็ นเงินกูย้ ืมที่ได้รับ จำกธนำคำรในปี พ.ศ. 2558 โดยมี กำหนดชำระเมื่อครบกำหนดตำมสัญญำในเดื อนกันยำยน พ.ศ. 2560 เงิ นกู้ยืมมี อตั รำ ดอกเบี้ยคงที่ สัญญำที่ 3 ณ วัน ที่ 31 ธัน วำคม พ.ศ. 2559 ยอดคงเหลื อ จำนวน 540 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : ไม่ มี ) เป็ นเงิ น กู้ยืม ที่ ได้รับ จำก ธนำคำรในปี พ.ศ. 2559 โดยมี ก ำหนดช ำระเมื่ อครบก ำหนดตำมสัญญำในเดื อนธันวำคม พ.ศ. 2562 เงิ นกู้ยืมมี อตั รำ ดอกเบี้ยคงที่ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 เงิ นกู้ยืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิ นของกิ จกำรจำนวน 3,536 ล้ำนบำท ได้ถูกจัดประเภทเป็ นเงิ นกู้ยืม ระยะสั้นเนื่ องจำกบริ ษทั ดังกล่ำวไม่ได้ปฏิ บตั ิ ตำมเงื่อนไขทุกประกำรที่ ระบุไว้ในสัญญำเงินกู้ เนื่ องจำกบริ ษทั ยังไม่ได้หนังสื อ ผ่อนผันกำรไม่ปฏิ บตั ิ ตำมเงื่ อนไขดังกล่ ำวจำกสถำบันกำรเงิน ณ วันที่ ในงบกำรเงิน แต่ผูบ้ ริ หำรของกลุ่มกิ จกำรอยู่ในระหว่ำง ดำเนิ นกำรเพื่อขอหนังสื อผ่อนผันดังกล่ำวถึงสถำบันกำรเงิน มูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ ืมส่ วนที่หมุนเวียนมี มูลค่ำเท่ำกับรำคำตำมบัญชี เนื่ องจำกผลกระทบของอัตรำคิดลดไม่มีสำระสำคัญ และอยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม
ที่ ได้รับจำกธนำคำรในปี พ.ศ. 2555 โดยมี ก ำหนดช ำระเงิ น ต้น ทุ ก สำมเดื อนโดยเริ่ มงวดแรกในเดื อนกัน ยำยน พ.ศ. 2555 และชำระงวดสุ ดท้ำยในเดื อนกันยำยน พ.ศ. 2565 เงินกูย้ ืมมีดอกเบี้ยในอัตรำ MLR หักด้วยอัตรำร้อยละ 207 คงที่ต่อปี และชำระดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) สัญญำที่ 2 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ยอดคงเหลื อจำนวน 540 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : 544 ล้ำนบำท) เป็ นเงินกูย้ ืมที่ได้รับ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัจำกธนำคำรในปี ด (มหำชน) และบริ ษทั 2558 ย่อย โดยมี กำหนดชำระเมื่อครบกำหนดตำมสัญญำในเดื อนกันยำยน พ.ศ. 2560 เงินกู้ยืมมี อตั รำ พ.ศ. หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ ดอกเบี้ยคงที่ นเฉพำะกิจกำร บริ ษ ท ั ศรี ต รั ง แอโกรอิ น ดั ส ทรี จำ กัด2559 (มหาชน) และบริ บริ ษ ท ั ศรี ต รั ง แอโกรอิ น ดั ส ทรี จ ำกั ด�(มหำชน) และบริ ษทั ย่อษยัทย่อย สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันทีสั่ 31 น่ วาคม หมำยเหตุ นธัรวมและงบกำรเงิ กำร 2559 ยอดคงเหลื อ จำนวน 540 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2558 : ไม่มี ) เป็ นเงิ น กู้ยืม ที่ ได้รับ จำก ญญำที 3 ณ วันพ.ศ. ที่ 312559 ธันนเฉพำะกิ วำคม จพ.ศ. ธนำคำรในปี สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2559 โดยมี ก ำหนดช ำระเมื่ อครบก ำหนดตำมสัญญำในเดื อนธันวำคม พ.ศ. 2562 เงิ นกู้ยืมมี อตั รำ ดอกเบี้ยคงที่
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
22 22
เงินกู้ยืม (ต่อ)
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 เงิ นกู้ยืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิ นของกิ จกำรจำนวน 3,536 ล้ำนบำท ได้ถูกจัดประเภทเป็ นเงิ นกู้ยืม ดังกล่นำวไม่ได้ปฏิ บตั ิตำมเงื่อนไขทุกประกำรที่ระบุไว้ในสัญญำเงินกู้ เนื่ องจำกบริ ษทั ยังไม่ได้หนังสื อ ้ นเนื่ องจำกบริ ษนทั กำรเงิ เงินกู้ยืม เงิ(ต่นอกู)้ ยระยะสั 22.1 ืมระยะยำวจำกสถำบั ผ่อนผันกำรไม่ปฏิ บตั ิตำมเงื่ อนไขดังกล่ ำวจำกสถำบันกำรเงิน ณ วันที่ ในงบกำรเงิน แต่ผูบ้ ริ หำรของกลุ่มกิ จกำรอยู่ในระหว่ำง นกำรเพื่อขอหนังนสืกำรเงิ อผ่อนผันดังกล่ำวถึงสถำบันกำรเงิน 22.1 (ข) เงินกู้ยดงบกำรเงิ ืมำเนิ ระยะยำวจำกสถำบั นเฉพำะกิจกำร (ต่อ)น มูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ ืมส่ วนที่ หมุนเวียนมี มูลค่ำเท่ำกับรำคำตำมบัญชี เนื่ องจำกผลกระทบของอัตรำคิดลดไม่มีสำระสำคัญ (ข) งบกำรเงิ จกำร (ต่อ) อของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินสำมำรถแสดงได้ดงั นี้ ควำมเคลืน่อเฉพำะกิ นไหวของยอดคงเหลื และอยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม ควำมเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบังบกำรเงิ นกำรเงินนสำมำรถแสดงได้ นี้ รวมและงบกำรเงิดนงั เฉพำะบริ ษทั พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 นเฉพำะบริ พันบำท งบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ พันบำท พันบำทษทั พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 ยอดคงเหลือต้นปี 4,193,619 3,053,726 3,940,157 พันบำท พันบำท พันบำท เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินเพิ่มขึ้น 1,410,000 1,230,157 540,000 จ่ำยคืนเงินกูอย้ ต้มื นระยะยำวจำกสถำบั นกำรเงิน (205,211) (90,264) (203,807) ยอดคงเหลื ปี 4,193,619 3,053,726 3,940,157 38 38 เงิผลต่ นกูำย้ งสะสมจำกกำรแปลงค่ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิ 1,410,000 1,230,157540,000 ำ นเพิ่มขึ้น จ่ยอดคงเหลื ำยคืนเงินกูอย้ ปลำยปี มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน (205,211) (90,264) (203,807) 5,398,446 4,193,619 4,276,388 38 38 ผลต่ำงสะสมจำกกำรแปลงค่ำ 4,193,619 4,276,388 รำคำตำมบั ญชี แอละมู ลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะยำว มีดงั 5,398,446 ต่อไปนี้ ยอดคงเหลื ปลำยปี รำคำตำมบัญชี และมูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะยำว มีดงั ต่อไปนี้
88 พ.ศ. 2558 พันบำท พ.ศ. 2558 2,960,000 พันบำท 980,157 2,960,000980,1573,940,1573,940,157
งบกำรเงินรวม
เงินกูย้ มื ระยะยำว
รำคำตำมบัญชี มูลค่ ำยุติธรรม พ.ศ. 2559 พ.ศ.งบกำรเงิ 2558 นรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 รำคำตำมบั ญ ชี มู ล ค่ ำ ยุ ต ธ ิ รรม พันบำท พันบำท พันบำท พันบำท พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 5,398,446 4,193,619 5,661,750 4,448,259 พันบำท พันบำท พันบำท พันบำท
เงินกูย้ มื ระยะยำว
5,398,446
เงินกูย้ มื ระยะยำว
รำคำตำมบัญชี มูลค่ ำยุติธรรม งบกำรเงิ นเฉพำะบริษพ.ศ. ทั 2559 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2558 ลค่ ำยุติธรรม พันบำท พันรำคำตำมบั บำท ญชี พันบำท พันมูบำท พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 4,276,388 3,940,157 4,508,894 4,180,431 พันบำท พันบำท พันบำท พันบำท
4,193,619 งบกำรเงิ นเฉพำะบริษ5,661,750 ทั
4,448,259
4,276,388ญชี เนื่ องจำกผลกระทบของอั 3,940,157 4,508,894 เงิมูนลกูค่ย้ ำมื ยุระยะยำว ติธรรมของเงินกูย้ มื ส่ วนที่หมุนเวียนมีมูลค่ำเท่ำกับรำคำตำมบั ตรำคิ ดลดไม่มีสำระสำคั4,180,431 ญ รรมของเงินนกูกูย้ ย้ มื ืมส่ระยะยำวค นสดในอนำคตซึ ดลดด้วยอัตตรำดอกเบี ธบัตรรั บำล ำคั บวกส่ มูลค่ำยุติธรรมของเงิ วนที่หมุนำนวนจำกกระแสเงิ เวียนมีมูลค่ำเท่ำกับรำคำตำมบั ญชี เนื่ องคิงจำกผลกระทบของอั ตรำคิ มีสฐำระส ญ วนเพิ่ม ้ ยพัดนลดไม่ จำกอัตรำดอกเบี้ยหุ ้นกูเ้ อกชนระดับ A อัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 2.03 (พ.ศ. 2558 : 2.02) และอยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม มูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ ืมระยะยำวคำนวนจำกกระแสเงินสดในอนำคตซึ่ งคิดลดด้วยอัตตรำดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบำล บวกส่ วนเพิ่ม จำกอัตรำดอกเบี้ยหุ ้นกูเ้ อกชนระดับ A อัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 2.03 (พ.ศ. 2558 : 2.02) และอยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม 89
208 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ กัด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอยัทย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 นธัรวมและงบกำรเงิ นวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) 22.2
หุ้นกู้ เมื่อวันที่ 1 ธันวำคม พ.ศ. 2554 บริ ษทั ออกจำหน่ ำยหุ้นกูช้ นิ ดระบุชื่อผูถ้ ื อ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีประกัน และมี ผแู ้ ทนผูถ้ ื อหุ ้นกู้ จำนวนรวมทั้งสิ้ น 2,150,000 หน่วย จำนวน 2 ชุด โดยใช้ชื่อดังนี้ - หุ ้นกูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2554 ชุดที่ 1 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2557 - หุ ้นกูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2554 ชุดที่ 2 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559 เมื่อวันที่ 13 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2556 บริ ษทั ออกจำหน่ ำยหุ ้นกูช้ นิ ดระบุชื่อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีประกัน และมีผแู ้ ทนผูถ้ ือหุ ้นกู้ จำนวนรวมทั้งสิ้ น 900,000 หน่วย จำนวน 2 ชุด โดยใช้ชื่อดังนี้ - หุ ้นกูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2556 ชุดที่ 1 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559 - หุ ้นกูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2556 ชุดที่ 2 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2561 เมื่อวันที่ 18 พฤษภำคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ออกจำหน่ ำยหุ ้นกูช้ นิ ดระบุชื่อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีประกัน และมีผแู ้ ทนผูถ้ ือหุ ้นกู้ จำนวนรวมทั้งสิ้ น 2,265,000 หน่วย จำนวน 2 ชุด โดยใช้ชื่อดังนี้ - หุ ้นกูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2559 ชุดที่ 1 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2562 - หุ ้นกูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2559 ชุดที่ 2 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2564 ควำมเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของหุ ้นกูส้ ำมำรถแสดงได้ดงั นี้
งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
ยอดคงเหลือต้นปี ออกจำหน่ำยในระหว่ำงปี ไถ่ถอนในระหว่ำงปี
1,450,000 2,265,000 (850,000) 2,865,000
ยอดคงเหลือปลำยปี
1,450,000 1,450,000
รำยละเอียดเกี่ยวกับหุ ้นกูข้ องงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรแสดงได้ดงั ต่อไปนี้ อัตรำดอกเบีย้ (ร้ อยละ)
รำคำที่ตรำไว้ (บำท)
31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 (หุ้น)
ออกจำหน่ ำย (ครบกำหนด) ระหว่ำงปี (หุ้น)
31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 (หุ้น)
หุ้นกู้ STA16DA
4.70 ต่อปี
1,000
550,000
(550,000)
-
หุ้นกู้ STA162A
4.10 ต่อปี
1,000
300,000
(300,000)
-
หุ้นกู้ STA182A
4.50 ต่อปี
1,000
600,000
-
600,000
หุ้นกู้ STA19DA
2.55 ต่อปี
1,000
-
810,000
810,000
วันที่ 1 มิถุนำยน และ 1 ธันวำคม ของทุกปี วันที่ 13 กุมภำพันธ์ และ 13 สิ งหำคมของทุกปี วันที่ 13 กุมภำพันธ์ และ 13 สิ งหำคมของทุกปี วันที่ 18 พฤษภำคม และ 18 พฤศจิกำยนของทุกปี วันที่ 18 พฤษภำคม
หุ้นกู้ STA21DA
3.10 ต่อปี
1,000
-
1,455,000
1,455,000
1,450,000
1,415,000
2,865,000
กำหนดจ่ำยดอกเบีย้
และ 18 พฤศจิกำยนของทุกปี
วันครบกำหนด ไถ่ ถอน 1 ธันวำคม พ.ศ. 2559 13 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2559 13 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2561 18 พฤษภำคม พ.ศ. 2562 18 พฤษภำคม พ.ศ. 2564
209 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรี ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอยัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) 22.2
หุ้นกู้ (ต่อ) รำคำตำมบัญชีและมูลค่ำยุติธรรมของหุ ้นกู้ มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รำคำตำมบัญชี
หุ ้นกู้
มูลค่ ำยุติธรรม
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
2,865,000
1,450,000
2,868,420
1,471,178
มูลค่ำยุติธรรมของหุ ้นกูค้ ิดจำกรำคำซื้ อขำย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลำดที่มีสภำพคล่องและอยูใ่ นข้อมูลระดับ 1 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม 22.3
ข้ อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับเงินกู้ยืมจำกสถำบันกำรเงินและหุ้นกู้ ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำดอกเบี้ยของเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินและหุ ้นกู้ (ไม่รวมหนี้ สินตำมสัญญำเช่ ำทำงกำรเงิน) ของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั สรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม
เงินกู้ยืมระยะสั้ น - ณ อัตรำลอยตัว เงินกู้ยืมระยะยำว - ณ อัตรำคงที่ - ณ อัตรำลอยตัว หุ้นกู้ - ณ อัตรำคงที่ รวมเงินกู้ยืม - ณ อัตรำคงที่ - ณ อัตรำลอยตัว
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
23,433,815
13,446,230
14,338,230
7,733,771
1,080,038 4,318,408 5,398,446
543,807 3,649,812 4,193,619
1,080,038 3,196,350 4,276,388
543,807 3,396,350 3,940,157
2,865,000
1,450,000
2,865,000
1,450,000
3,945,038 27,752,223 31,697,261
1,993,807 17,096,042 19,089,849
3,945,038 17,534,580 21,479,618
1,993,807 11,130,121 13,123,928
210 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) 22.3
ข้ อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับเงินกู้ยืมจำกสถำบันกำรเงินและหุ้นกู้ (ต่อ) มูลค่ำยุติธรรมของเงินกู้ยืมระยะยำวและหุ้นกู้คำนวณจำกอัตรำดอกเบี้ ยของเงินกูย้ ืมที่ ฝ่ำยบริ หำรคำดว่ำกลุ่มกิ จกำรและบริ ษทั จะต้องจ่ำย ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน รำคำตำมบัญชี ของเงินกูย้ ืมระยะสั้นและหนี้ สินตำมสัญญำเช่ ำระยะยำวนั้น ใกล้เคียงกับมูลค่ำยุติธรรม ของรำยกำรดังกล่ำว ระยะเวลำครบกำหนดของเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินและหุ ้นกู้ (ไม่รวมหนี้ สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน) มีดงั ต่อไปนี้
ครบกำหนดภำยในไม่เกิน 1 ปี ครบกำหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี ครบกำหนดเกิน 3 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบกำหนดเกิน 5 ปี รวมเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินและหุ้นกู้
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
28,831,607 1,410,654 1,455,000 31,697,261
18,614,618 1,410,000 1,455,000 21,479,618
14,747,634 1,645,865 1,100,000 1,596,350 19,089,849
8,783,771 1,643,807 1,100,000 1,596,350 13,123,928
ยอดคงเหลือของเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินและหุ ้นกูส้ ำมำรถแยกตำมสกุลเงินได้ดงั นี้
เงินดอลลำร์สหรัฐอเมริ กำ (USD) เงินรู เปี ยประเทศอินโดนีเซีย (Rupiah) เงินบำท (THB) รวมเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินและหุ้นกู้
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
4,233,773 1,881,150 25,582,338 31,697,261
1,080,038 20,399,580 21,479,618
2,001,145 1,425,321 15,663,383 19,089,849
543,807 12,580,121 13,123,928
211 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) 22.4
หนีส้ ินตำมสัญญำเช่ ำทำงกำรเงิน จำนวนเงินขั้นต่ำที่ตอ้ งจ่ำยซึ่ งบันทึกเป็ นหนี้ สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม
ครบกำหนดภำยใน 1 ปี ครบกำหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี หัก ค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินในอนำคตของ สัญญำเช่ำทำงกำรเงิน มูลค่ำปัจจุบนั ของหนี้ สินตำมสัญญำเช่ำ ทำงกำรเงิน หนี้ สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน - ส่ วนของหมุนเวียน - ส่ วนของไม่หมุนเวียน
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
3,437 10,678 14,115
25,874 11,638 37,512
2,728 4,709 7,437
3,866 4,889 8,755
(654)
(1,563)
(546)
(608)
13,461
35,949
6,891
8,147
8,334 5,127 13,461
25,045 10,904 35,949
2,466 4,425 6,891
3,866 4,281 8,147
มูลค่ำปัจจุบนั ของหนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินมีรำยละเอียดดังนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท ครบกำหนดภำยในไม่เกิน 1 ปี ครบกำหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี
8,334 5,127 13,461
25,045 10,904 35,949
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 2,466 4,425 6,891
3,866 4,281 8,147
212 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรี ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 นธันรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 22
เงินกู้ยืม (ต่อ) 22.4
หนีส้ ินตำมสัญญำเช่ ำทำงกำรเงิน (ต่อ) ควำมเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของหนี้ สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินสำมำรถแสดงได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
35,949 2,906 (25,394) 13,461
63,357 4,496 (31,904) 35,949
8,146 2,842 (4,097) 6,891
7,565 4,496 (3,914) 8,147
ยอดคงเหลือต้นปี หนี้ สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินเพิ่มขึ้น จ่ำยคืนหนี้ สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ยอดคงเหลือปลำยปี 22.5
งบกำรเงินเฉพำะบริษทั
วงเงินกู้ยืม กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั มีวงเงินกูย้ มื ที่ยงั ไม่ได้เบิกออกมำใช้ดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พันดอลลำร์ พันบำท สหรัฐอเมริกำ อัตรำดอกเบี้ยลอยตัว - ครบกำหนดภำยใน 1 ปี
15,322,230
203,769
พ.ศ. 2558 ล้ ำนรู เปี ย
พันบำท
พันดอลลำร์ สหรัฐอเมริกำ
10,000
24,182,589
301,083
ล้ ำนรู เปี ย 10,000
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
อัตรำดอกเบี้ยลอยตัว - ครบกำหนดภำยใน 1 ปี
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
8,360,930
14,990,389
วงเงินกู้ยืมที่จะครบกำหนดภำยในหนึ่ งปี เป็ นวงเงินกู้ยืมของแต่ละปี ที่ ผบู ้ ริ หำรมี กำรทบทวนตำมวำระ ส่ วนวงเงินกู้ยืมอื่ นได้รับมำ เพื่อใช้ในกำรขยำยกำรดำเนิ นงำนของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั
213 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ สทรี ด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอยัทย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 นธัรวมและงบกำรเงิ นวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 23
ประมำณกำรหนีส้ ิ นผลประโยชน์ พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ จำนวนที่รับรู้ในงบแสดงฐำนะกำรเงินมีดงั นี้
มูลค่ำปั จจุบนั ของภำระผูกพันที่ไม่ได้จดั ให้มีกองทุน
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 185,233
161,704
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 83,947
73,883
รำยกำรเคลื่อนไหวของภำระผูกพันของผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท ณ วันที่ 1 มกรำคม ต้นทุนบริ กำรปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์พนักงำนที่จ่ำย กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจำกงำน ณ วันที่ 31 ธันวำคม จำนวนเงินที่รับรู ้ในงบกำไรขำดทุนมีดงั ต่อไปนี้
ต้นทุนบริ กำรปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย รวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
161,704 18,746 5,720 (2,311)
115,226 19,773 4,816 (7,233)
73,883 9,947 2,105 (1,271)
53,448 5,501 1,709 (6,543)
1,374 185,233
29,122 161,704
(717) 83,947
19,768 73,883
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 18,746 5,720 24,466
19,773 4,816 24,589
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 9,947 2,105 12,052
5,501 1,709 7,210
กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจำกงำนที่รับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท พันบำท พันบำท กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจำกงำนระหว่ำงปี กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจำกงำนสะสม
(1,374)
(29,122)
718
(19,768)
10,707
12,082
(15,143)
(15,861)
214 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 23
ประมำณกำรหนีส้ ิ นผลประโยชน์ พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ (ต่อ) สมมติฐำนทำงสถิติที่สำคัญที่ใช้ในกำรคำนวณสรุ ปได้ดงั นี้ ร้ อยละ งบกำรเงินรวม อัตรำคิดลด อัตรำเงินเฟ้อ อัตรำกำรขึ้นเงินเดือนในอนำคต (พนักงำนรำยเดือน) อัตรำกำรขึ้นเงินเดือนในอนำคต (พนักงำนรำยวัน)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
3.0 2.5 5.0 3.0
2.9 3.0 5.0 3.0
3.0 2.5 5.0 3.0
2.9 3.0 5.0 3.0
กำรวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวของข้อสมมติหลักในกำรประมำณกำรตำมหลักคณิ ตศำสตร์ ประกันภัย พ.ศ. 2559 ผลกระทบต่ อภำระผูกพันโครงกำรผลประโยชน์ ที่กำหนดไว้ กำรเปลี่ยนแปลง กำรเพิม่ ขึ้นของ กำรลดลงของ ในข้อสมมติ ข้อสมมติ ข้อสมมติ อัตรำคิดลด อัตรำกำรเพิ่มขึ้นของเงินเดือน
ร้อยละ 1 ร้อยละ 1
ลดลง ร้อยละ 9 เพิ่มขึ้น ร้อยละ12
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 11 ลดลง ร้อยละ 10
พ.ศ. 2558 ผลกระทบต่ อภำระผูกพันโครงกำรผลประโยชน์ ที่กำหนดไว้ กำรเปลี่ยนแปลง กำรเพิ่มขึ้นของ กำรลดลงของ ในข้อสมมติ ข้อสมมติ ข้อสมมติ อัตรำคิดลด อัตรำกำรเพิ่มขึ้นของเงินเดือน
ร้อยละ 1 ร้อยละ 1
ลดลง ร้อยละ 10 เพิ่มขึ้น ร้อยละ11
เพิ่มขึ้น ร้อยละ 12 ลดลง ร้อยละ 10
กำรวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวข้ำงต้นนี้ อำ้ งอิงจำกกำรเปลี่ ยนแปลงข้อสมมติ ขณะที่ให้ขอ้ สมมติอื่นคงที่ ในทำงปฏิ บตั ิสถำนกำรณ์ดงั กล่ำวยำกที่ จะเกิ ดขึ้น และกำรเปลี่ ยนแปลงในข้อสมมติอำจมีควำมสัมพันธ์กนั ในกำรคำนวณกำรวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวของภำระผูกพันผลประโยชน์ ที่ ก ำหนดไว้ที่ มี ต่อกำรเปลี่ ยนแปลงในข้อสมมติ ห ลักได้ใช้วิธีเดี ยวกับ มู ล ค่ำปั จจุบ นั ของภำระผูก พันโครงกำรผลประโยชน์ ที่ กำหนดไว้ ซึ่ งคำนวณด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมำณกำรไว้ (Projected Unit Credit Method) ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน วิธีกำรและประเภทของข้อสมมติที่ใช้ในกำรจัดทำกำรวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวไม่ได้เปลี่ยนแปลงจำกปี ก่อน ระยะเวลำถัวเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักของภำระผูกพันตำมโครงกำรผลประโยชน์คือ 15 ปี
215 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทย ย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 23
ประมำณกำรหนีส้ ิ นผลประโยชน์ พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ (ต่อ) กำรวิเครำะห์กำรครบกำหนดของกำรจ่ำยชำระผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุที่ไม่มีกำรคิดลด ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 งบกำรเงินรวม น้ อยกว่ำ 1 ปี ระหว่ำง 1-2 ปี ระหว่ำง 2-5 ปี พันบำท พันบำท พันบำท ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุ
รวม พันบำท
641,204
701,178
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร น้ อยกว่ำ 1 ปี ระหว่ำง 1-2 ปี ระหว่ำง 2-5 ปี เกินกว่ำ 5 ปี พันบำท พันบำท พันบำท พันบำท
รวม พันบำท
32,060
ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุ 24
เกินกว่ ำ 5 ปี พันบำท
17,515
5,066
3,391
22,848
12,557
233,800
267,263
หุ้นสำมัญ (พันบำท)
ส่ วนเกิน มูลค่ ำหุ้น (พันบำท)
รวม (พันบำท)
ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกินมูลค่ ำหุ้น งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
มูลค่ ำที่ ตรำไว้ (บำทต่ อหุ้น)
จำนวนหุ้น ที่ออกจำหน่ ำย จำนวนหุ้น และชำระแล้ว จดทะเบียน เต็มมูลค่ ำ (หุ้น) (หุ้น)
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 กำรออกหุ ้นเพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558
1 1
1,280,000,000 1,280,000,000
1,280,000,000 1,280,000,000
1,280,000 1,280,000
8,550,990 8,550,990
9,830,990 9,830,990
ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 กำรออกหุ ้นเพิม่ ทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
1 1
1,280,000,000 1,280,000,000
1,280,000,000 1,280,000,000
1,280,000 1,280,000
8,550,990 8,550,990
9,830,990 9,830,990
ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 หุ ้นสำมัญจดทะเบี ยนทั้งหมดมี จำนวน 1,280,000,000 หุ้น (พ.ศ. 2558 : 1,280,000,000 หุ ้น) ซึ่ งมี รำคำมูลค่ำ ที่ ตรำไว้หุ้ น ละ 1 บำท (พ.ศ. 2558 : รำคำหุ้น ละ 1 บำท) โดยหุ้ นจำนวน 1,280,000,000 หุ ้ นได้ออกและช ำระเต็ ม มูล ค่ ำแล้ว (พ.ศ. 2558 : 1,280,000,000 หุ้น)
216 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัท ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 25
องค์ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้ำของสำมำรถวิเครำะห์ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม ส่ วนต่ำจำกกำรซื้อเงินลงทุน ส่ วนเกินทุนจำกกำร ในบริษัทย่ อยเพิม่ จำก ประเมินรำคำ ส่ วนได้ เสี ยที่ สิ นทรัพย์ - สุ ทธิจำก ไม่ มีอำนำจควบคุม ค่ ำเสื่ อมรำคำสะสม พันบำท พันบำท สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ค่ำเสื่ อมรำคำส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมิน รำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมิน รำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรขำยสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี กำรขำยสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - ก่อนภำษี (หมำยเหตุขอ้ 14) กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงของกำรประมำณกำรอัตรำ ภำษีที่ใช้รับรู ้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
กำไรที่ยังไม่ เกิดขึน้ จำกเงินลงทุนใน ผลต่ ำงสะสมจำกกำร หลักทรัพย์ เผื่อขำย แปลงค่ ำ พันบำท พันบำท
รวม พันบำท
(173,134)
1,427,800
6,832
(268,547)
992,951
-
(21,244)
-
-
(21,244)
-
4,327 (883) 177
-
-
4,327 (883) 177
-
-
8,504
-
8,504
-
-
(1,700)
-
(1,700)
-
(113,317) -
(880) -
(15,458)
(114,197) (15,458)
(173,134)
1,296,860
12,756
(284,005)
852,477
217 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 25
องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ (ต่อ) งบกำรเงินรวม ส่ วนต่ำจำกกำรซื้อเงินลงทุน ส่ วนเกินทุนจำกกำร ในบริษัทย่ อยเพิม่ จำก ประเมินรำคำ ส่ วนได้ เสี ยที่ สิ นทรัพย์ - สุ ทธิจำก ไม่ มีอำนำจควบคุม ค่ ำเสื่ อมรำคำสะสม พันบำท พันบำท สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรขำยสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี กำรขำยสิ นทรัพย์ - ภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมิน รำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมิน รำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - ก่อนภำษี (หมำยเหตุขอ้ 14) กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - ภำษี ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558
กำไรที่ยังไม่ เกิดขึน้ จำกเงินลงทุนใน ผลต่ ำงสะสมจำกกำร หลักทรัพย์ เผื่อขำย แปลงค่ ำ พันบำท พันบำท
รวม พันบำท
(173,134)
1,470,544
18,864
(445,859)
870,415
-
2,459
-
-
2,459
-
(182) (27,462) 2,030
-
-
(182) (27,462) 2,030
-
(21,634)
-
-
(21,634)
-
2,045
-
-
2,045
-
-
(12,988)
-
(12,988)
-
-
956 -
177,312
956 177,312
(173,134)
1,427,800
6,832
(268,547)
992,951
218 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ แอโกรอินนดัดัสสทรีทรีจำกั จำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษัททั ศรี ศรีตตรัรังงแอโกรอิ และบริ ษทั ษย่อัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
25
องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ (ต่อ)
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ค่ำเสื่ อมรำคำส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรขำยสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี กำรขำยสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - ก่อนภำษี (หมำยเหตุขอ้ 14) กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงของกำรประมำณกำรอัตรำภำษีที่ใช้รับรู้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558 ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์เพิ่ม - ก่อนภำษี ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์เพิ่ม - ภำษี กำรขำยสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี กำรขำยสิ นทรัพย์ - ภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - ก่อนภำษี (หมำยเหตุขอ้ 14) กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - ภำษี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2558
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ส่ วนเกินทุนจำก กำรประเมินรำคำ สินทรัพย์ - สุ ทธิ กำไรที่ยงั ไม่ เกิดขึน้ จำกค่ำเสื่ อมรำคำ จำกเงินลงทุนใน สะสม หลักทรัพย์เผื่อขำย พันบำท พันบำท
รวม พันบำท
654,327 (14,700) 2,940 (807) 161
6,480 -
660,807 (14,700) 2,940 (807) 161
(89,094)
8,296 (1,660) (882)
8,296 (1,660) (89,976)
552,827
12,234
565,061
691,242 2,459 (182) (27,462) 2,029 (14,857) 1,098
18,418 -
709,660 2,459 (182) (27,462) 2,029 (14,857) 1,098
-
(12,890) 952
(12,890) 952
654,327
6,480
660,807
219 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีปสระกอบงบกำรเงิ ิ้นสุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุ นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 26
สำรองตำมกฎหมำย งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
ณ วันที่ 1 มกรำคม จัดสรรระหว่ำงปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
128,000 128,000
128,000 128,000
ตำมพระรำชบัญญัติบริ ษทั มหำชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ต้องสำรองตำมกฎหมำยอย่ำงน้อยร้ อยละ 5 ของกำไรสุ ท ธิ หลังจำกหักส่ วนของ ขำดทุนสะสมยกมำ (ถ้ำมี) จนกว่ำสำรองนี้ จะมีมูลค่ำไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนสำรองนี้ ไม่สำมำรถนำไปจ่ำยเงินปันผลได้ 27
รำยได้ จำกกำรขำยสินค้ำและกำรให้ บริกำร
รำยได้จำกกำรขำยสิ นค้ำ รำยได้จำกกำรให้บริ กำร รวมรำยได้จำกกำรขำยสิ นค้ำและกำรให้บริ กำร
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
77,265,486 34 77,265,520
38,335,071 38,335,071
61,278,526 13,256 61,291,782
29,004,269 10,512 29,014,781
220 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 28
ค่ำใช้ จ่ำยตำมลักษณะ รำยกำรค่ำใช้จ่ำยตำมลักษณะที่มีสำระสำคัญที่เกิดขึ้นเป็ นประจำซึ่ งรวมอยูใ่ นกำรคำนวณกำไรจำกกำรดำเนิ นงำนสำหรับปี มีดงั นี้
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม กำรเปลี่ยนแปลงในสิ นค้ำสำเร็ จรู ป และงำนระหว่ำงทำ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป (กำรกลับรำยกำร)ค่ำเผื่อสำหรับรำคำทุนของ สิ นค้ำคงเหลือที่เกินกว่ำมูลค่ำสุ ทธิที่จะได้รับ ค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับพนักงำนและค่ำตอบแทน ผูบ้ ริ หำรสำคัญ ค่ำเสื่ อมรำคำ ค่ำตัดจำหน่ำยสวนยำงพำรำและสวนปำล์ม ค่ำตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ค่ำขนส่งและค่ำจัดจำหน่ำย ค่ำพลังงำน ค่ำสงเครำะห์กำรทำสวนยำง
หมำยเหตุ
29 15 16 17
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
513,071 48,472,831
(3,550,327) 40,327,516
(1,316,507) 27,892,352
(1,064,471) 21,173,884
(480,903)
373,838
(163,959)
167,855
2,395,124 1,158,988 691 35,546 1,588,627 1,120,404 1,162,790
1,923,935 1,021,709 687 32,702 1,177,724 1,019,700 815,226
918,079 554,239 283 29,457 809,261 589,405 778,449
748,663 477,240 371 27,137 730,458 515,420 550,332
ข้ อมูลเพิม่ เติม ค่ำสงเครำะห์กำรทำสวนยำง คือเงินค่ำธรรมเนี ยมที่เรี ยกเก็บจำกผูส้ ่ งออกผลิ ตภัณฑ์ยำงธรรมชำติไปนอกรำชอำณำจักรเข้ำกองทุนสงเครำะห์ กำรทำสวนยำง ซึ่ งบริ ห ำรโดยสำนัก งำนกองทุนสงเครำะห์ กำรทำสวนยำง (“สกย.”) เพื่ อไปอุด หนุ นกำรปลู ก สวนยำงพำรำใหม่ ทดแทน สวนยำงพำรำเดิม ค่ำธรรมเนี ยมคำนวณจำกปริ มำณกำรส่ งออกยำงธรรมชำติคูณด้วยอัตรำคงที่ ที่ตกลงกันโดยอ้ำงอิงจำกรำคำยำง ณ วันที่ส่งออก
221 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอิ กัด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�(มหำชน) และบริ ษทั ย่อษยัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 29
ค่ำใช้ จ่ำยเกีย่ วกับพนักงำนและค่ำตอบแทนผู้บริหำรสำคัญ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
30
ค่ำจ้ำงและเงินเดือน ประกันสังคม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ ผลประโยชน์พนักงำนอื่น ๆ
2,085,524 67,050 22,588 24,466 195,496
1,694,539 51,179 19,887 24,589 133,741
819,722 22,341 10,013 12,053 53,950
660,937 20,506 9,066 7,210 50,944
รวมค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับพนักงำนและค่ำตอบแทนผูบ้ ริ หำรสำคัญ
2,395,124
1,923,935
918,079
748,663
รำยได้อื่น งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท รำยได้ชดเชยเงินประกัน รำยได้ให้บริ กำรใช้พ้นื ที่วำงสิ นค้ำ รำยได้เงินปันผล รำยได้ค่ำเช่ำ รำยได้จำกกำรขำยของเสี ยจำกกำรผลิต รำยได้ให้บริ กำรสำนักงำน รำยได้จำกกำรยึดเงินมัดจำ อื่น ๆ รวมรำยได้อื่น
31
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
28,957 34,836 24,256 39,034 6,874 17,152 46,399 197,508
2,116 32,684 36,755 22,591 3,573 13,678 15,446 59,478 186,321
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท 16,197 8,102 343,420 8,837 2,765 27,218 56,577 463,116
2,116 5,181 386,750 7,235 730 19,665 2,990 37,570 462,237
กำไร(ขำดทุน)อื่น - สุ ทธิ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท กำไร(ขำดทุน)จำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน เกี่ยวกับยำงพำรำ กำไร(ขำดทุน)จำกกำรขำยและกำรตัดจำหน่ำยทรัพย์สิน ขำดทุนจำกกำรประเมินรำคำมูลค่ำยุติธรรมของ อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน รวมกำไร(ขำดทุน)อื่น - สุทธิ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
(921,141) (62,119)
1,079,982 44,509
(733,596) (923)
787,612 34,139
(1,887) (985,147)
(29,193) 1,095,298
(734,519)
821,751
222 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรีศรีตตรังรัแอโกรอิ งแอโกรอิ กัด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�(มหำชน) และบริ ษทั ย่อษยัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 32
ต้ นทุนทำงกำรเงิน - สุ ทธิ งบกำรเงินรวม
รำยได้ทำงกำรเงิน ดอกเบี้ยรับจำกหุ้นกู้ ดอกเบี้ยรับจำกเงินฝำกธนำคำร ดอกเบี้ยรับจำกลูกหนี้ กำรค้ำ ดอกเบี้ยรับจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน รวมรำยได้ทำงกำรเงิน ต้ นทุนทำงกำรเงิน ดอกเบี้ยจ่ำยสำหรับเงินกูย้ มื จำกธนำคำร ดอกเบี้ยจ่ำยสำหรับสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ขำดทุนสุทธิจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำ ต่ำงประเทศจำกกิจกรรมกำรจัดหำเงิน รวมต้นทุนทำงกำรเงิน รวมต้นทุนทำงกำรเงิน - สุทธิ 33
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
29,632 5,678
39,334 8,842
29,632 776
39,333 958
35,310
48,176
44,982 75,390
37,686 77,977
(732,672) (752)
(588,221) (221)
(417,347) -
(360,937) -
26,089 (707,335)
(268,881) (857,323)
(417,347)
(360,937)
(672,025)
(809,147)
(341,957)
(282,960)
ภำษีเงินได้ อัตรำภำษีเงินได้ถวั เฉลี่ ยสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 สำหรับงบกำรเงินรวม คือ อัตรำร้อยละ 26.4 (พ.ศ. 2558 : อัตรำร้ อยละ 2.8) กำรลดลงเกิ ดจำกกำรใช้ผลขำดทุ น ทำงภำษี ซ่ ึ งยังไม่ถู ก รับรู ้ ในรอบบัญ ชี ที่ผ่ำนมำ สำหรั บงบกำรเงิ นเฉพำะกิ จกำร คื อ อัตรำร้ อยละ 22.3 (พ.ศ. 2558 : อัตรำร้อยละ 0.4) งบกำรเงินรวม
ภำษีเงินได้ปีปัจจุบัน ภำษีเงินได้ประจำปี ที่บนั ทึกในกำไรสำหรับปี ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี รำยกำรที่เกิดจำกผลแตกต่ำงชัว่ ครำว รวมภำษีเงินได้
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
149,345
101,139
-
-
(432,587) (283,242)
(69,621) 31,518
(262,460) (262,460)
(1,237) (1,237)
223 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอิ กัด (มหาชน) และบริ บริ นดันสดัทรีสทรี จำกัจำด�(มหำชน) และบริ ษทั ย่อษยัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 33
ภำษีเงินได้ (ต่อ) ภำษีเงินได้สำหรับกำไรก่อนหักภำษีของกลุ่มกิจกำรมียอดจำนวนเงินที่แตกต่ำงจำกกำรคำนวณกำไรทำงทฤษฎีบญ ั ชี คูณกับภำษีเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนัก ที่บงั คับใช้กบั กำไรของงบกำรเงินรวม โดยมีรำยละเอียดดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม
กำไรก่อนภำษีเงินได้ ภำษีที่คำนวณจำกอัตรำภำษีที่บงั คับใช้ กับกำไรของแต่ละประเทศ ส่วนแบ่งภำษีเงินได้ของบริ ษทั ร่ วมและ กิจกำรร่ วมค้ำ ผลกระทบทำงภำษีเงินได้ มีดงั นี้ - รำยได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภำษี - ค่ำใช้จ่ำยที่ไม่สำมำรถหักภำษีได้ - ค่ำใช้จ่ำยที่สำมำรถหักภำษีได้สองเท่ำ - ผลขำดทุนทำงภำษีในปี ปั จจุบนั ที่ไม่ได้ รับรู้เป็ นสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - กำรตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัด บัญชีซ่ ึงถูกรับรู ้ในรอบบัญชีที่ผำ่ นมำ - ภำษีในส่วนที่ได้รับในอัตรำพิเศษที่ร้อยละ 10 ข้อมูลเพิ่มเติม (ก) - กำรใช้ผลขำดทุนทำงภำษีซ่ ึงยังไม่ถูกรับรู้ ในรอบบัญชีที่ผำ่ นมำ - อื่น ๆ รวมภำษีเงินได้
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
(1,072,972)
1,143,274
(1,174,361)
336,509
(215,051)
132,229
(234,872)
24,868
(80,552)
(47,948)
-
-
(79,201) 65,565 (97,821)
17,318 (19,852) (19,053)
(75,488) (22,796) (57,910)
14,669 1,199 (15,367)
32,199
5,953
-
-
36,404
-
-
-
(55,095)
(27,927)
-
-
118,380 (8,070) (283,242)
17,159 (26,361) 31,518
129,806 (1,200) (262,460)
(26,606) (1,237)
ข้ อมูลเพิม่ เติม (ก)
เมื่อวันที่ 11 พฤษภำคม พ.ศ. 2548 กระทรวงกำรค้ำและอุตสำหกรรมของประเทศสิ งคโปร์ได้ให้สิทธิ ประโยชน์ตำมโครงกำร Global Trader Programme แก่ บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งของกลุ่ มกิ จกำรสำหรับงวดตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษำยน พ.ศ. 2548 ถึ งวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2552 ภำยใต้โครงกำรนี้ รำยได้ที่มำจำกรำยกำรค้ำที่ เข้ำเงื่อนไขของสิ น ค้ำที่ ได้รับอนุ มตั ิ จะเสี ยภำษี ในอัตรำพิเศษ (Concessionary rate) ที่ร้อยละ 10 เมื่อวันที่ 16 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2558 สิ ทธิ ประโยชน์ดงั กล่ำวได้รับกำรขยำยระยะเวลำสำหรับงวดตั้งแต่วนั ที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2562
(ข)
บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยบำงแห่ งในประเทศไทยได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ทำงภำษีที่เกี่ยวข้องกับกำรผลิตผลิตภัณฑ์จำกยำงธรรมชำติบำงชนิ ด ซึ่งสิ ทธิพิเศษที่ได้รับโดยสังเขปมีดงั ต่อไปนี้ - ได้รับยกเว้นกำรเสี ยภำษีอำกรขำเข้ำและภำษีกำรค้ำสำหรับเครื่ องจักรตำมที่ได้รับอนุมตั ิจำกคณะกรรมกำรส่ งเสริ มกำรลงทุน - ได้รับยกเว้นภำษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุ ทธิ เป็ นระยะเวลำแปดปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรำยได้จำกกำรประกอบกิจกำร และได้รับ ลดหย่อนภำษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิในอัตรำร้อยละ 50 ของอัตรำปกติอีกห้ำปี นับจำกระยะเวลำแปดปี แรกสิ้นสุดลง
33
รวมภำษีที่จะบันทึกไปยังกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น
ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ กำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรของอัตรำภำษีที่ใช้รับรู้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจำกงำน ผลต่ำงสะสมจำกกำรแปลงค่ำ
ภำษีเงินได้ที่บนั ทึกเพิ่ม(ลด)ไปยังกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นมีดงั นี้
ภำษีเงินได้ (ต่อ)
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ.2559
บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย นเฉพำะกิจกำร สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559
8,504 (1,375) (16,186) (9,057)
ก่อนภำษี พันบำท (112,533) (1,701) 411 2,619 (111,204)
พ.ศ. 2559 ภำษีที่บันทึก เพิม่ (ลด) พันบำท
งบกำรเงินรวม
(112,533) 6,803 (964) (13,567) (120,261)
หลังภำษี พันบำท
หมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่ อย
2,459 (12,988) (29,122) 170,894 131,243
ก่อนภำษี พันบำท
(182) 956 3,533 3,646 7,953
พ.ศ. 2558 ภำษีที่บันทึก เพิม่ (ลด) พันบำท
106
2,277 (12,032) (25,589) 174,540 139,196
หลังภำษี พันบำท
224 รายงานประจำ�ปี 2559
33
รวมภำษีที่จะบันทึกไปยังกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น
ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ กำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรของอัตรำภำษีที่ใช้รับรู้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจำกงำน
ภำษีเงินได้ที่บนั ทึกเพิ่ม(ลด)ไปยังกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นมีดงั นี้
ภำษีเงินได้ (ต่อ)
หมำยเหตุ รวมและงบกำรเงิ นเฉพำะกิ บริ ษัท ศรีปตระกอบงบกำรเงิ รังแอโกรอินดัสนทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริจษกำร ัทย่อย พ.ศ.พ.ศ. 25592559 สำสำหรั �หรับบปีปีสิส้นิ้นสุสุดดวันวัทีน่ ที31่ 31ธันธัวำคม นวาคม
8,296 717 9,013
ก่อนภำษี พันบำท (87,977) (1,659) (143) (89,779)
พ.ศ. 2559 ภำษีที่บันทึก เพิม่ (ลด) พันบำท (87,977) 6,637 574 (80,766)
หลังภำษี พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินป ดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย นรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ
2,458 (12,891) (19,767) (30,200)
ก่อนภำษี พันบำท
(181) 952 1,461 2,232
พ.ศ. 2558 ภำษีที่บันทึก เพิม่ (ลด) พันบำท
107
2,277 (11,938) (18,307) (27,968)
หลังภำษี พันบำท
225 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
226 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 34
กำไร(ขำดทุน)ต่ อหุ้น กำไร(ขำดทุน)ต่อหุ้นขั้นพื้นฐำนคำนวณโดยกำรหำรกำไร(ขำดทุน)สุ ทธิ ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ใหญ่ดว้ ยจำนวนหุ ้นสำมัญถัวเฉลี่ ย ถ่วงน้ ำหนักที่ถือโดยบุคคลภำยนอกในระหว่ำงปี งบกำรเงินรวม กำไร(ขำดทุน)สุทธิ ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั ใหญ่ (พันบำท) จำนวนหุ้นสำมัญถัวเฉลี่ยที่ถือโดยบุคคลภำยนอก ระหว่ำงปี (พันหุ ้น) กำไร(ขำดทุน)ต่อหุ ้นขั้นพื้นฐำน (บำทต่อหุ ้น)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
พ.ศ. 2559
พ.ศ. 2558
(757,986)
1,118,035
(911,901)
337,746
1,280,000 (0.59)
1,280,000 0.87
1,280,000 (0.71)
1,280,000 0.26
บริ ษทั ไม่มีกำรออกหุ ้นสำมัญเทียบเท่ำปรับลดในระหว่ำงปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 35
เงินปันผล ที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุ้นประจำปี เมื่อวันที่ 28 เมษำยน พ.ศ. 2559 ได้มีมติอนุ มตั ิให้จ่ำยเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ื อหุ ้นสำหรับผลกำรดำเนิ นงำนปี พ.ศ. 2558 จำนวนหุ้นละ 0.40 บำท เป็ นจำนวนเงิน 512 ล้ำนบำท เงินปั นผลดังกล่ำวได้จ่ำยให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นในเดือนพฤษภำคม พ.ศ. 2559 ที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุ้นประจำปี เมื่อวันที่ 29 เมษำยน พ.ศ. 2558 ได้มีมติอนุ มตั ิให้จ่ำยเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ื อหุ ้นสำหรับผลกำรดำเนิ นงำนปี พ. ศ. 2557 จำนวนหุ้นละ 0.40 บำท เป็ นจำนวนเงิน 512 ล้ำนบำท เงินปั นผลดังกล่ำวได้จ่ำยให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นในเดือนพฤษภำคม พ.ศ. 2558
36
รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน กิ จกำรและบุคคลที่ ควบคุ มบริ ษทั หรื อถู กควบคุ มโดยบริ ษทั หรื ออยูภ่ ำยใต้กำรควบคุ มเดี ยวกับบริ ษทั ทั้งทำงตรงหรื อทำงอ้อมไม่ว่ำจะโดย ทอดเดี ยวหรื อหลำยทอด กิ จกำรและบุคคลดังกล่ ำวเป็ นบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ ยวข้องกับบริ ษทั บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ย่อยลำดับถัดไป บริ ษทั ร่ วม และบุคคลที่เป็ นเจ้ำของส่ วนได้เสี ยในสิ ทธิ ออกเสี ยงของบริ ษทั ซึ่ งมีอิทธิ พลอย่ำงเป็ นสำระสำคัญเหนื อกิจกำร ผูบ้ ริ หำรสำคัญรวมทั้งกรรมกำร และพนั ก งำนของบริ ษ ัท ตลอดจนสมำชิ กในครอบครั วที่ ใกล้ ชิ ดกับ บุ ค คลเหล่ ำนั้ น กิ จกำรและบุ ค คลทั้งหมดถื อเป็ นบุ คคลหรื อกิ จกำร ที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ในกำรพิ จำรณำควำมสัม พันธ์ระหว่ำงบุ คคลหรื อกิ จกำรที่ เกี่ ยวข้องกันซึ่ งอำจมี ข้ ึ นได้ ต้องค ำนึ งถึ งรำยละเอี ยดของควำมสัม พันธ์ มำกกว่ำ รู ปแบบควำมสัมพันธ์ตำมกฎหมำย บริ ษทั ศรี ตรัง โฮลดิ้งส์ จำกัด ซึ่ งจดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทยเป็ นบริ ษทั ใหญ่ในขั้นสุดท้ำยของกลุ่มกิจกำร
227 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอยัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
36
รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รำยกำรต่อไปนี้เป็ นรำยกำรกับบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน 36.1
รำยได้จำกกำรขำยสินค้ำและกำรให้ บริกำร และรำยได้อื่น
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม รำยได้จำกกำรขำยสินค้ำให้ กบั บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ รำยได้จำกกำรให้ บริกำรให้ กบั บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ รำยได้เงินปันผล บริ ษทั ย่อย รำยได้ ค่ำเช่ ำ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ รำยได้ดอกเบีย้ บริ ษทั ย่อย
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
32,046 2,805,546 2,837,592
28,254 3,116,608 3,144,862
3,418,152 1,046,186 4,464,338
3,161,655 1,062,007 4,223,662
21,653 289,956 311,609
19,037 289,858 308,895
60,018 4,663 28,882 93,563
28,078 1,075 23,507 52,660
-
-
319,166
350,000
400 33,853 34,253
12,042 12,042
1,023 7,680 8,703
923 648 1,571
-
-
44,983
37,686
228 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 36
รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) 36.2
กำรซื้อสินค้ำและกำรรับบริกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม กำรซื้อสินค้ำจำก บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ กำรรับบริกำรจำก บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ ค่ำเช่ ำจ่ ำย บริ ษทั ย่อย
36.3
งบกำรเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
68 5,920,739 5,920,807
60 5,770,476 5,770,536
1,499,732 1,030,535 2,530,267
1,444,779 1,017,148 2,461,927
485 485
774 536 1,310
1,192,174 7 1,192,181
957,623 775 42 958,440
-
-
1,229
1,229
ยอดค้ำงชำระที่เกิดจำกกำรขำยและซื้อสินค้ำและบริกำร และรำยได้อื่น
ณ วันที่ 31 ธันวำคม ลูกหนีก้ ำรค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 9) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ เงินมัดจำนำยหน้ ำซื้อขำยสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ ำ บริ ษทั ร่ วม ลูกหนีอ้ ื่น บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
7,759 90,835 98,594
3,521 90,781 94,302
326,207 809 6,961 333,977
1,040,056 49 882 1,040,987
22,981
87,465
22,981
87,465
311 3,610 3,921
607 10,356 10,963
81,018 81,018
21,139 12 94 21,245
229 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 36
รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) 36.3
ยอดค้ำงชำระที่เกิดจำกกำรขำยและซื้อสินค้ำและบริกำร และรำยได้อื่น (ต่อ)
ณ วันที่ 31 ธันวำคม
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
เจ้ ำหนีก้ ำรค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 21) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ เจ้ ำหนีอ้ ื่น (หมำยเหตุขอ้ 21) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
24 633,436 633,460
4 399,593 399,597
405,466 117,356 522,822
163,390 94,324 257,714
5,677 5,677
69 4,328 4,397
63,141 17 63,158
51,911 8 51,919
ลู ก หนี้ กำรค้ำจำกบุ ค คลหรื อ กิ จกำรที่ เกี่ ย วข้อ งส่ วนใหญ่ ม ำจำกรำยกำรขำยและถึ งก ำหนดช ำระประมำณหนึ่ งเดื อ นหลังจำก วันที่เกิดรำยกำรขำย ลูกหนี้ กำรค้ำดังกล่ำวโดยปกติแล้วจะไม่มีหลักทรัพย์ค้ ำประกันและไม่มีดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ไม่มีค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำของลูกหนี้ จำกบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน (พ.ศ. 2558 : ไม่มี) เจ้ำหนี้ กำรค้ำระหว่ำงบุคคลหรื อกิ จกำรที่ เกี่ ยวข้องกันส่ วนใหญ่ มำจำกรำยกำรซื้ อและถึ งก ำหนดชำระประมำณหนึ่ งเดื อนหลังจำก วันที่เกิดรำยกำรซื้ อ เจ้ำหนี้ กำรค้ำไม่มีดอกเบี้ย 36.4
ยอดค้ ำงชำระที่เกิดจำกกำรให้ ก้ ยู ืมเงินระยะยำวแก่ บริ ษทั ย่ อย
ณ วันที่ 31 ธันวำคม ดอกเบีย้ ค้ำงรับ บริ ษทั ย่อย เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยำว บริ ษทั ย่อย
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
-
-
10,389
13,180
-
-
2,074,203
1,625,605
230 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
36
รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) 36.4
ยอดค้ ำงชำระที่เกิดจำกกำรให้ ก้ ยู ืมเงินระยะยำวแก่ บริ ษทั ย่ อยและบริษทั ร่ วม (ต่อ) เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อยสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เงินต้ น ควำมสัมพันธ์ PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Star Rubber PT Star Rubber
ล้ำนดอลลำร์ สหรัฐอเมริกำ
(เทียบเท่ ำ) ล้ำนบำท
5 15 15 15 8
180 535 535 539 285
บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม
อัตรำดอกเบีย้ ร้ อยละ ระยะเวลำกำรกู้ 3.33 2.65 4.20 3.33 2.65
5 ปี 2 ปี 3 ปี 5 ปี 2 ปี
ควำมเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของเงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อยสำมำรถแสดงได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม
ณ วันที่ 1 มกรำคม เพิ่มขึ้น ลดลง กำไร(ขำดทุน)จำกอัตรำแลกเปลี่ยน รวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
-
-
-
-
1,625,605 823,600 (300,000) (75,002) 2,074,203
992,656 540,000 92,949 1,625,605
รำคำตำมบัญชีและมูลค่ำยุติธรรมของเงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย
รำคำตำมบัญชี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
มูลค่ ำยุติธรรม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
2,074,203
2,105,348
1,625,605
1,651,002
มูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ ืมระยะยำวคำนวนจำกกระแสเงินสดในอนำคตซึ่ งคิดลดด้วยอัตตรำดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบำล บวกส่ วนเพิ่ม จำกอัตรำดอกเบี้ยหุ ้นกูเ้ อกชนระดับ A อัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 2.03 (พ.ศ. 2558 : 2.02) และอยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม
231 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 36
รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) 36.5
ค่ ำตอบแทนผู้บริหำรสำคัญ ผูบ้ ริ หำรสำคัญรวมถึงกรรมกำร (ไม่ว่ำจะทำหน้ำที่ในระดับบริ หำรหรื อไม่) คณะผูบ้ ริ หำรระดับสู ง และหัวหน้ำหน่ วยงำนตรวจสอบภำยใน ซึ่ งผลตอบแทนที่จ่ำยหรื อค้ำงจ่ำยสำหรับผูบ้ ริ หำรสำคัญ มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงำน ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน
310,769 3,329 314,098
248,897 3,321 252,218
45,001 1,135 46,136
51,789 1,318 53,107
รวม
232 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
37
เครื่ องมือทำงกำรเงินแยกตำมประเภท งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 สินทรัพย์ซึ่งประเมินรำคำ ตำมมูลค่ ำยุติธรรมที่ปรับ เงินให้ ก้ยู ืม มูลค่ ำเพิม่ ขึน้ หรื อลดลง และลูกหนี้ โดยผ่ำนเข้ ำกำไรขำดทุน พันบำท พันบำท สินทรัพย์ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ลูกหนี้กำรค้ำ - สุทธิ ลูกหนี้นำยหน้ำซื้ อขำยสัญญำซื้ อขำยล่วงหน้ำ เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน เงินลงทุนระยะยำว รวม
1,674,619 7,699,441 633,921 12,320 10,020,301
หลักทรัพย์เผื่อขำย พันบำท
รวม พันบำท
59,130 59,130
1,674,619 164,980 7,699,441 633,921 12,320 59,130 10,244,411
164,980 164,980 งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559
หนีส้ ินในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่ งปี หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุ ้นกู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวม
หนีส้ ินซึ่งประเมินรำคำตำม มูลค่ ำยุติธรรมที่ปรับมูลค่ำ เพิม่ ขึน้ หรื อลดลงโดยผ่ำนเข้ ำ กำไรขำดทุน พันบำท
หนีส้ ินทำงกำรเงินอื่น พันบำท
รวม พันบำท
-
1,607,657 23,433,815
1,607,657 23,433,815
-
5,397,792
5,397,792
654,920 654,920
8,334 654 2,865,000 5,127 33,318,379
8,334 654,920 654 2,865,000 5,127 33,973,299
233 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินดันสดัทรี สทรี ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี จำกัจำด�กั(มหำชน) และบริ ษทั ย่ษอยัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
37
เครื่ องมือทำงกำรเงินแยกตำมประเภท (ต่อ) งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2558 สินทรัพย์ซึ่งประเมินรำคำ ตำมมูลค่ำยุติธรรมที่ปรับ เงินให้ ก้ยู ืม มูลค่ำเพิม่ ขึน้ หรื อลดลง และลูกหนี้ โดยผ่ำนเข้ ำกำไรขำดทุน พันบำท พันบำท สินทรัพย์ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ลูกหนี้กำรค้ำ - สุทธิ ลูกหนี้นำยหน้ำซื้ อขำยสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน เงินลงทุนระยะยำว รวม
2,197,241 3,370,755 702,086 33,464 6,303,546
หลักทรัพย์เผื่อขำย พันบำท
รวม พันบำท
50,626 50,626
2,197,241 336,737 3,370,755 702,086 33,464 50,626 6,690,909
336,737 336,737 งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2558
หนีส้ ินในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หุ้นกูท้ ี่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่ งปี หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวม
หนีส้ ินซึ่งประเมินรำคำตำม มูลค่ำยุติธรรมที่ปรับมูลค่ำ เพิม่ ขึน้ หรื อลดลงโดยผ่ำนเข้ ำ กำไรขำดทุน พันบำท
หนีส้ ินทำงกำรเงินอื่น พันบำท
รวม พันบำท
-
1,613,875 13,446,230
1,613,875 13,446,230
-
451,404 850,000
451,404 850,000
271,563 271,563
25,045 3,742,215 600,000 10,904 20,739,673
25,045 271,563 3,742,215 600,000 10,904 21,011,236
234 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 37
เครื่ องมือทำงกำรเงินแยกตำมประเภท (ต่อ) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 สินทรัพย์ซึ่งประเมินรำคำ ตำมมูลค่ำยุติธรรมที่ปรับ เงินให้ ก้ยู ืมและ มูลค่ำเพิม่ ขึน้ หรื อลดลง ลูกหนี้ โดยผ่ำนเข้ ำกำไรขำดทุน พันบำท พันบำท สินทรัพย์ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ลูกหนี้กำรค้ำ - สุทธิ ลูกหนี้นำยหน้ำซื้อขำยสัญญำซื้ อขำยล่วงหน้ำ เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อยที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยำว รวม
หลักทรัพย์เผื่อขำย พันบำท
รวม พันบำท
341,997 3,282,928 22,981
20,160 -
- 341,997 20,160 - 3,282,928 22,981
534,882 1,539,321 5,722,109
20,160
- 534,882 - 1,539,321 58,014 58,014 58,014 5,800,283
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559
หนีส้ ินในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวม
หนีส้ ินซึ่งประเมินรำคำตำม มูลค่ำยุติธรรมที่ปรับมูลค่ำ เพิม่ ขึน้ หรื อลดลงโดยผ่ำนเข้ ำ กำไรขำดทุน พันบำท
หนีส้ ินทำงกำรเงินอื่น พันบำท
รวม พันบำท
-
953,492 14,338,230
953,492 14,338,230
-
4,276,388
4,276,388
460,846 460,846
2,466 2,865,000 4,425 22,440,001
2,466 460,846 2,865,000 4,425 22,900,847
235 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 37
เครื่ องมือทำงกำรเงินแยกตำมประเภท (ต่อ)
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2558
สินทรัพย์ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ลูกหนี้กำรค้ำ - สุทธิ ลูกหนี้ นำยหน้ำซื้ อขำยสัญญำซื้อขำยล่วงหน้ำ เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อยที่ถึงกำหนด ชำระในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน เงินลงทุนระยะยำว รวม
เงินให้ ก้ยู ืม และลูกหนี้ พันบำท
สินทรัพย์ซึ่งประเมินรำคำ ตำมมูลค่ำยุติธรรมที่ปรับ มูลค่ำเพิม่ ขึน้ หรื อลดลงโดย ผ่ำนเข้ ำกำไรขำดทุน พันบำท
302,242 2,212,673 87,465
265,028 -
- 302,242 - 265,028 - 2,212,673 87,465
362,252 1,263,353 13,824 4,241,809
265,028
- 362,252 - 1,263,353 13,824 49,718 49,718 49,718 4,556,555
หลักทรัพย์เผื่อขำย พันบำท
รวม พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2558
หนีส้ ินในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เจ้ำหนี้ กำรค้ำ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หุ้นกูท้ ี่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่ งปี หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินที่ถึงกำหนดชำระ ภำยในหนึ่งปี ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุ้นกู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวม
หนีส้ ินซึ่งประเมินรำคำตำม มูลค่ำยุติธรรมที่ปรับมูลค่ำ เพิม่ ขึน้ หรื อลดลงโดยผ่ำนเข้ ำ กำไรขำดทุน พันบำท
หนีส้ ินทำงกำรเงินอื่น พันบำท
รวม พันบำท
-
887,410 7,733,771
887,410 7,733,771
-
200,000 850,000
200,000 850,000
196,212 196,212
3,866 3,740,157 600,000 4,281 14,019,485
3,866 196,212 3,740,157 600,000 4,281 14,215,697
236 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) และบริษทั ย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 38
คุณภำพควำมน่ ำเชื่ อถือของสิ นทรัพย์ ทำงกำรเงิน คุณภำพควำมน่ำเชื่ อถื อของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินซึ่ งยังไม่ถึงกำหนดชำระและไม่เกิดกำรด้อยค่ำสำมำรถประเมินได้โดยอ้ำงอิงจำกกำรจัดลำดับ ควำมน่ำเชื่อถือจำกแหล่งข้อมูลภำยนอก (ถ้ำมี) หรื อ จำกข้อมูลประสบกำรณ์ในอดีตเกี่ยวกับอัตรำกำรผิดสัญญำของคู่สญ ั ญำ กลุ่มที่ 1 ลูกค้ำใหม่ บริ ษทั อื่น/บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (น้อยกว่ำหกเดือน) กลุ่มที่ 2 ลูกค้ำปัจจุบนั /บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มำกกว่ำหกเดือน) ซึ่งไม่มีกำรผิดสัญญำในอดีต กลุ่มที่ 3 ลูกค้ำปัจจุบนั /บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มำกกว่ำหกเดือน) ซึ่งเคยมีกำรผิดสัญญำในอดีต และกำรผิดสัญญำนั้นได้มีกำรชดเชยทั้งหมดแล้ว เงิน ประกันขั้นต่ ำได้ฝำกไว้กบั คู่สัญญำที่ มีระดับควำมน่ ำเชื่ อถื อในระดับสู งซึ่ งไม่มีป ระวัติกำรผิด เงื่อนไขของสัญญำ และไม่ มีสินทรั พย์ ทำงกำรเงินใดที่ดำเนินกำรอย่ำงเป็ นปกติ (fully performing) ถูกขอกำรเจรจำเพื่อปรับเปลี่ยนเงื่อนไขใหม่ในระหว่ำงปี งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ ำยคืนเมื่อทวงถำม Aa1 Aa2 Aa3 A1 Baa1 Baa2 Baa3 ไม่มีกำรจัดลำดับ รวมเงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม
378,173 220,130 231,304 154,125 307,720 14,128 285,237 23,731
116,465 244,157 22,551 125,841 526,471 63,738 994,408 75,350
183,268 52 113,675 6,649 8,716 50
458 201 241,871 41,574 9,723 -
1,614,548
2,168,981
312,410
293,827
งบกำรเงินรวม
ลูกหนีก้ ำรค้ำ คู่สญ ั ญำที่ไม่มีกำรจัดลำดับควำมน่ำเชื่อถือ จำกแหล่งข้อมูลภำยนอก กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 รวมลูกหนี้กำรค้ำที่ไม่ได้เกิดกำรด้อยค่ำ
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พันบำท พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
144,135 7,450,385 104,921 7,699,441
120,800 3,071,276 178,679 3,370,755
69,101 3,213,827 3,282,928
54,177 1,118,440 1,172,617
237 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 38
คุณภำพควำมน่ ำเชื่ อถือของสิ นทรัพย์ ทำงกำรเงิน (ต่อ) งบกำรเงินรวม
ตรำสำรอนุพนั ธ์ ทำงกำรเงิน คู่สญ ั ญำที่มีกำรจัดลำดับควำมน่ ำเชื่อถือ โดยแหล่งข้อมูลภำยนอก Aa2 Aa1 Baa1 คู่สญ ั ญำที่ไม่มีกำรจัดลำดับควำมน่ำเชื่ อถือ จำกแหล่งข้อมูลภำยนอก กลุ่มที่ 2 รวมตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
51,561 8,794 4
615
4
615
104,621 164,980
336,122 336,737
20,156 20,160
264,413 265,028
งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2559 พันบำท
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2558 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2558 พันบำท
เงินฝำกประจำที่ติดภำระคำ้ ประกัน Baa1 Baa2
2,114 10,206
22,637 10,827
-
13,824 -
รวมเงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน
12,320
33,464
-
13,824
238 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
39
สิทธิพเิ ศษที่ได้ รับจำกกำรส่ งเสริมกำรลงทุนในประเทศไทย กลุ่ มกิ จกำรและบริ ษทั ได้รับ สิ ทธิ พิเศษบำงประกำรจำกกำรส่ งเสริ ม กำรลงทุ นตำมพระรำชบัญญัติส่ งเสริ มกำรลงทุน พ.ศ. 2520 สำหรั บ กำรผลิตน้ ำยำงข้น ยำงแท่ง และ Skim Crepe ซึ่ งสิ ทธิ พิเศษที่ได้รับโดยสังเขปมีดงั นี้ (ก) (ข)
ได้รับยกเว้นกำรเสี ยภำษีอำกรขำเข้ำและภำษีกำรค้ำสำหรับเครื่ องจักรและเครื่ องมือตำมที่ได้รับอนุมตั ิจำกคณะกรรมกำรส่ งเสริ มกำรลงทุน ได้รับยกเว้นภำษี เงิ นได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุ ทธิ เป็ นระยะเวลำแปดปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมี รำยได้จำกกำรประกอบกิ จกำร และได้รับ ลดหย่อนภำษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุ ทธิ ในอัตรำร้ อยละห้ำสิ บของอัตรำปกติอีกห้ำปี นับจำกระยะเวลำแปดปี แรกสิ้ นสุ ดลง
ในฐำนะที่เป็ นอุตสำหกรรมที่ได้รับกำรส่งเสริ มกำรลงทุน กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ต้องปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขที่ระบุไว้ในบัตรส่งเสริ มกำรลงทุน รำยได้จำกกำรขำยจำแนกตำมธุ รกิ จที่ ได้รับ กำรส่ งเสริ ม และไม่ ได้รับ กำรส่ งเสริ ม เฉพำะธุ รกิ จยำงในประเทศไทย ส ำหรับ ปี สิ้ นสุ ด วัน ที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ของกลุ่มกิจกำร สรุ ปได้ดงั นี้ พ.ศ. 2559 ธุรกิจที่ได้รับ ธุรกิจที่ไม่ ได้ รับ กำรส่ งเสริม กำรส่ งเสริม กำรลงทุน กำรลงทุน พันบำท พันบำท รำยได้จำกกำรขำยและ บริ กำรส่ งออก - สุทธิ รำยได้จำกกำรขำยและบริ กำร ภำยในประเทศ - สุทธิ รวม กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน รวม
พ.ศ. 2558
รวม พันบำท
ธุรกิจที่ได้ รับ ธุรกิจที่ไม่ ได้ รับ กำรส่ งเสริม กำรส่ งเสริม กำรลงทุน กำรลงทุน พันบำท พันบำท
รวม พันบำท
25,101,632
48,799,915
73,901,547
17,051,800
43,808,564
60,860,364
4,561,692 29,663,324
13,514,061 62,313,976
18,075,753 91,977,300
3,976,167 21,027,967
10,230,657 54,039,221
14,206,824 75,067,188
(14,711,780)
(13,775,406)
77,265,520
61,291,782
239 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
บริษษทั ัทศรี ศรีตตรัรังแอโกรอิ งแอโกรอินดันสดัทรี สทรีจำกัจำด�กั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริ และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 40
เหตุกำรณ์ ที่อำจเกิดขึน้ และภำระผูกพันที่เป็ นข้ อผูกมัด 40.1
ภำระผูกพันที่เป็ นข้ อผูกมัดจำกสัญญำซื้อขำย กลุ่มกิ จกำรและบริ ษทั มีภำระผูกพันที่ เป็ นข้อผูกมัดจำกกำรทำสัญญำซื้ อขำยซึ่ งแบ่งเป็ นประเภทที่กำหนดรำคำซื้ อขำยล่ วงหน้ำแล้ว และจะมีกำรชำระในอนำคต และประเภทที่ยงั ไม่กำหนดรำคำซื้ อขำย มูลค่ำของภำระผูกพันดังกล่ำวแสดงด้วยรำคำตำมสัญญำซื้ อขำย ล่วงหน้ำหรื อแสดงตำมรำคำซื้ อขำย ณ วันสิ้ นรอบบัญชี สำหรับข้อผูกมัดจำกสัญญำประเภทที่ยงั ไม่กำหนดรำคำได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2559 พันบำท พันบำท ซื้ อจำก กิจกำรร่ วมค้ำ บริ ษทั อื่น ขำยให้ กิจกำรร่ วมค้ำ บริ ษทั อื่น
40.2
457,860 2,960,282 3,418,142
-
187,320 36,272,443 36,459,763
144,760 23,614,312 23,759,072
ภำระผูกพันที่เป็ นข้ อผูกมัดเพื่อใช้ เป็ นรำยจ่ ำยฝ่ ำยทุน กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั มีภำระผูกพันที่เป็ นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุนดังนี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2559 พันบำท พันบำท ภำระผูกพันที่เป็ นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุนจำกกำรซื้ อสิ นทรัพย์ถำวร
703,029
215,786
240 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
40
เหตุกำรณ์ ที่อำจเกิดขึน้ และภำระผูกพันที่เป็ นข้ อผูกมัด (ต่อ) 40.3
ภำระผูกพันที่เป็ นข้ อผูกมัดจำกกำรคำ้ ประกันเงินกู้ยืม 40.3.1 กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั มีภำระผูกพันที่เป็ นข้อผูกมัดจำกกำรค้ ำประกันเงินกูย้ มื ดังต่อไปนี้ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ควำมสัมพันธ์ Sri Trang USA, Inc.
สกุลเงิน
จำนวน
(เทียบเท่ ำ) ล้ำนบำท
บริ ษทั ย่อยใน ต่ำงประเทศ
ล้ำนดอลลำร์ สหรัฐอเมริ กำ
28
997
PT Sri Trang Lingga Indonesia
บริ ษทั ย่อยใน ต่ำงประเทศ
ล้ำนดอลลำร์ สหรัฐอเมริ กำ พันล้ำนรู เปี ย
38 462
1,350 1,238
PT Star Rubber
บริ ษทั ย่อยใน ต่ำงประเทศ
ล้ำนดอลลำร์ สหรัฐอเมริ กำ พันล้ำนรู เปี ย
12 240
425 643
40.3.2 กลุ่ มกิ จกำรมี หนี้ สินที่ อำจจะเกิ ดขึ้ นจำกกำรที่ ธนำคำรออกหนังสื อค้ ำประกันกลุ่ มกิ จกำรต่อหน่ วยงำนของรำชกำรเป็ นจำนวน เงินรวม 85 ล้ำนบำท โดยใช้เงินฝำกประจำของกลุ่มกิจกำรเป็ นจำนวนเงิน 1 ล้ำนบำท ในกำรค้ ำประกัน 40.4
ภำระผูกพันที่เป็ นข้ อผูกมัดตำมสัญญำเช่ ำดำเนินงำน - กรณีที่กลุ่มกิจกำรหรื อบริษทั เป็ นผู้เช่ ำ ยอดรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ต้องจ่ำยในอนำคตตำมสัญญำเช่ำดำเนิ นงำนที่ไม่สำมำรถยกเลิกได้ มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม
ภำยในไม่เกิน 1 ปี เกินกว่ำ 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี เกินกว่ำ 5 ปี รวม
งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร
พ.ศ. 2559 พันบำท
พ.ศ. 2559 พันบำท
142,329 160,480 384 303,193
77,776 91,478 169,254
241 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
41
ควำมคืบหน้ ำของเหตุกำรณ์ อัคคีภัยที่โรงงำนแห่ งหนึ่งของ PT Star Rubber ในประเทศอินโดนิเชียและกำรเรียกร้ องค่ ำทดแทนควำมเสี ยหำย จำกบริษทั ประกันภัยที่เกีย่ วข้ อง เมื่อวันที่ 12 ตุลำคม พ.ศ. 2559 ได้เกิดอุบตั ิเหตุอคั คีภยั ที่คลังเก็บวัตถุดิบ และสำยกำรผลิ ตบำงส่ วนที่โรงงำนใน เมือง Pontianak ประเทศอินโดนิ เชี ย ของบริ ษทั PT Star Rubber (“PTS”) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งของกลุ่ มกิ จกำร กำลังกำรผลิ ตของโรงงำนแห่ งนี้ ประมำณอยูร่ ะหว่ำง 2,000 ถึ ง 4,000 ตันต่อเดื อน หรื อน้อยกว่ำร้ อยละ 5 ของกำลังผลิ ตโดยรวมของกลุ่ ม กิ จกำร อย่ำงไรก็ตำม PTS ได้มีกำรประกันอัคคี ภยั ซึ่ งรวมถึ ง สิ นค้ำคงเหลือ สิ นทรัพย์ถำวรและผลเสี ยหำยจำกกำรที่ธุรกิจหยุดชะงัก ภำยหลังจำกนั้น PTS ได้มี ก ำรดำเนิ น กำรส ำรวจและประเมิ น ผลเสี ยหำยที่ เกิ ดขึ้ นโดยเฉพำะสิ น ค้ำคงเหลื อและสิ น ทรั พย์ถ ำวร ณ วัน ที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 PTS ได้มีกำรรับรู้ผลเสี ยหำยเป็ นจำนวน 90,166 ล้ำนรู เปี ย (ประมำน 240 ล้ำนบำท) จำก (ก) กำรตัดยอดสิ น ค้ำคงเหลื อและสิ นทรั พย์ถ ำวรที่ เกิ ดควำมเสี ยหำยทั้งหมด และไม่ มี มู ลค่ ำคงเหลื ออยู่ จำนวนรู เปี ย 50,631 ล้ำนรู เปี ย (ประมำน 135 ล้ำนบำท) และจำนวน 24,013 ล้ำนรู เปี ย (ประมำณ 64 ล้ำนบำท) ตำมลำดับ และ (ข) กำรตั้งค่ำเผื่อควำมเสี ยหำยของสิ นค้ำคงเหลือที่ได้ถูกทำลำยบำงส่ วนโดยอัคคีภยั จำนวน 15,522 ล้ำนรู เปี ย (ประมำน 42 ล้ำนบำท) อย่ำงไรก็ตำม กลุ่มกิจกำรได้มีกำรทำประกันภัยคุม้ ครองเหตุกำรณ์ดงั กล่ำวโดยครอบคลุมถึงสิ นค้ำคงเหลือ สิ นทรัพย์ถำวร และกำรหยุดชะงัก ของธุรกิจเต็มจำนวนและอยูใ่ นระหว่ำงกำรเจรจำ จำนวนเงินค่ำทดแทนค่ำเสี ยหำยที่เกิดขึ้นกับบริ ษทั ประกันภัยที่เกี่ยวข้อง นอกจำกนี้ โรงงำนดังกล่ำวที่ได้รับผลกระทบจำกอัคคีภยั ดังกล่ำวจะหยุดดำเนินกำรไปอย่ำงน้อยถึงประมำนกลำงปี พ.ศ. 2561
42
ข้ อพิพำททำงกำรค้ำเกีย่ วกับสัญญำกิจกำรร่ วมค้ำ เมื่ อ วัน ที่ 5 กัน ยำยน พ.ศ. 2557 Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. (“เซมเพอร์ ริ ท ”) ได้ยื่น เสนอข้อ พิ พ ำทจ ำนวน 2 คดี ต่อสถำบันอนุ ญำโตตุลำกำร (ICC International Court of Arbitration) เพื่อขอดำเนิ นคดี ทำงอนุ ญำโตตุลำกำรในประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ต่อ บริ ษทั บจ. รับเบอร์ แลนด์โปรดักส์ (“รับเบอร์แลนด์”) (บริ ษทั ย่อย) และ ผูถ้ ื อหุ ้นไทยรำยอื่น ๆ ของ บจ. สยำมเซมเพอร์ เมด (“สยำมเซมเพอร์ เมด”) (กิจกำรร่ วมค้ำ) ในคดี แรก เซมเพอร์ ริท กล่ ำวหำว่ำ บริ ษทั รับ เบอร์ แลนด์ และผูถ้ ื อหุ ้นไทยรำยอื่ นๆ ของสยำมเซมเพอร์ เมด ปฏิ บตั ิผิดข้อตกลงของสัญญำ กิจกำรร่ วมค้ำ และสัญญำต่ำง ๆ ที่เกี่ ยวข้อง และเรี ยกร้ องให้ชำระค่ำเสี ยหำยประมำณ 4,172 ล้ำนบำท พร้อมทั้งดอกเบี้ย โดยเซมเพอร์ ริทสงวน สิ ทธิที่จะเรี ยกร้องค่ำเสี ยหำยเพิ่มเติมภำยหลัง พร้อมทั้งให้คณะอนุ ญำโตตุลำกำรมีคำสั่งให้บริ ษทั และรับเบอร์ แลนด์ (และผูถ้ ือหุ ้นรำยอื่น ๆ ของสยำม เซมเพอร์ เมด) กระทำกำรหรื องดเว้นกระทำกำรบำงประกำรอันเกี่ยวกับสยำมเซมเพอร์ เมด คณะอนุ ญำโตตุลำกำรได้มีคำชี้ ขำดบำงส่ วน เมื่อวันที่ 24 มีนำคม พ.ศ. 2559 ว่ำ คณะอนุญำโตตุลำกำรมีเขตอำนำจในกำรชี้ ขำดข้อพิพำทต่ำงๆ ที่ เซมเพอร์ ริทเสนอในคดี น้ ี และให้บริ ษทั รั บเบอร์ แลนด์และผูถ้ ื อหุ้นรำยอื่น ๆ ดำเนิ นกำรให้ สยำมเซมเพอร์ เมดเปิ ดเผยข้อมูลทำงกำรค้ำ บำงประกำรของสยำมเซมเพอร์ เมดให้แก่ เซมเพอร์ ริท แต่คณะอนุ ญำโตตุลำกำรมิ ได้มีคำชี้ ขำดในประเด็นว่ำบริ ษทั และรับเบอร์ แลนด์ตอ้ ง ชดใช้ค่ำเสี ยหำยตำมที่เซมเพอร์ ริทเรี ยกร้องหรื อไม่แต่อย่ำงใด
242 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัดัสสทรีทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษัททั ศรี และบริ ษทั ษย่อัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
42
ข้ อพิพำททำงกำรค้ำเกีย่ วกับสัญญำกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) เซมเพอร์ ริทได้ยื่นคำร้องขอบังคับตำมคำชี้ ขำดบำงส่ วนต่อศำลยุติธรรมในประเทศไทย ซึ่ งบริ ษทั และรับเบอร์ แลนด์อยูร่ ะหว่ำงกำรดำเนิ นกำร เพื่ อคัดค้ำนคำร้ องขอบังคับตำมคำชี้ ขำดบำงส่ วนดังกล่ ำว โดยที่ ปรึ กษำกฎหมำยของบริ ษทั มี ควำมเห็ นว่ำ กำรบังคับตำมคำชี้ ขำดบำงส่ วน ในประเทศไทยเป็ นกำรขัดต่อควำมสงบเรี ยบร้ อยและศีลธรรมอันดีของประชำชนและเป็ นกำรฝ่ ำฝื นต่อพระรำชบัญญัติอนุญำโตตุลำกำร พ.ศ. 2545 นอกจำกนี้ จำกกำรตี ควำมข้อสัญญำของสัญญำกิ จกำรร่ วมค้ำ และสัญญำต่ำง ๆ ที่ เกี่ ยวข้อง และกำรบังคับ ใช้กฎหมำยไทยอย่ำงเคร่ งครั ด รวมถึงควำมเห็นของที่ปรึ กษำกฎหมำย ผูบ้ ริ หำรของบริ ษทั เชื่ อว่ำบริ ษทั ไม่มีภำระที่จะต้องชำระค่ำเสี ยหำยตำมที่เรี ยกร้ อง เนื่ องจำกบริ ษทั และ รับเบอร์ แลนด์ มิได้ปฏิ บตั ิ ผิดข้อตกลงของสัญญำกิ จกำรร่ วมค้ำ และสัญญำต่ำง ๆ ที่ เกี่ ยวข้องต่อเซมเพอร์ ริท ดังนั้น ผลสรุ ปของข้อพิพำท ไม่น่ำจะส่งผลกระทบอย่ำงมีนยั สำคัญต่อกำรดำเนิ นธุรกิจหรื อฐำนะทำงกำรเงินของบริ ษทั และรับเบอร์ แลนด์ ในคดีที่สอง เซมเพอร์ ริทกล่ำวหำว่ำ บริ ษทั และรั บเบอร์ แลนด์ปฏิ บตั ิ ผิดข้อตกลงของสัญญำกิจกำรร่ วมค้ำ บริ ษทั และรั บเบอร์ แลนด์ได้รับ คำชี้ ขำดของคณะอนุ ญำโตตุลำกำร เมื่อวันที่ 6 พฤษภำคม พ.ศ. 2559 โดยคณะอนุ ญำโตตุลำกำรมีคำชี้ ขำดว่ำ มติที่ประชุ มคณะกรรมกำรของ สยำมเซมเพอร์เมด (ซึ่ งออกโดยขัดต่อข้อบังคับของสยำมเซมเพอร์ เมด) สำมำรถใช้บงั คับได้และมีผลผูกพันตำมกฎหมำย และให้บริ ษทั และรับ เบอร์ แลนด์ดำเนิ นกำรแก้ไขข้อบังคับของสยำมเซมเพอร์ เมดให้เป็ นไปตำมข้อกำหนดของสัญญำกิ จกำรร่ วมค้ำกับเซมเพอร์ ริท รวมทั้งให้ บริ ษทั และรับเบอร์ แลนด์ชดใช้ค่ำธรรมเนี ยมอนุ ญำโตตุลำกำร และค่ำใช้จ่ำยอื่น ๆ ที่เกี่ ยวข้องให้แก่เซมเพอร์ ริทเป็ นจำนวนประมำณ 100 ล้ำนบำท พร้อมทั้งดอกเบี้ยในอัตรำร้อยละ 5 ต่อปี โดยเซมเพอร์ ริทได้ยื่นคำร้ องขอบังคับตำมคำชี้ ขำดของคณะอนุ ญำโตตุลำกำรต่อศำลยุติธรรมในประเทศไทย และสิ งคโปร์ โดยขั้นตอนกำรบังคับคดีดงั กล่ำวเป็ นขั้นตอนทำงกฎหมำย และยังอยูใ่ นระหว่ำงเริ่ มต้นกระบวนกำร ซึ่ งที่ปรึ กษำกฎหมำยของ บริ ษทั มีควำมเห็นว่ำคำชี้ ขำดของคณะอนุญำโตตุลำกำรในประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ดงั กล่ำวไม่สำมำรถบังคับต่อบริ ษทั และรับเบอร์ แลนด์ได้ เนื่ องจำกคำชี้ ขำดดังกล่ำวเป็ นคำชี้ ขำดที่เกิ นกว่ำเขตอำนำจของคณะอนุ ญำโตตุลำกำร ขัดต่อหลักควำมเป็ นธรรม และ/หรื อ ขัดต่อควำมสงบ เรี ยบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชำชน และกำรบังคับตำมคำชี้ ขำดดังกล่ำวจะเป็ นกำรฝ่ ำฝื นต่อพระรำชบัญญัติอนุญำโตตุลำกำร พ.ศ. 2545 ดังนั้น ผูบ้ ริ หำรของบริ ษทั เชื่ อว่ำผลสรุ ปของข้อพิพำทที่สองไม่น่ำจะส่ งผลกระทบอย่ำงมีนยั สำคัญต่อกำรดำเนิ นธุ รกิจหรื อฐำนะทำงกำรเงิน ของบริ ษทั และรับเบอร์แลนด์ ข้อพิพำทดังกล่ำวข้ำงต้นเกิ ดขึ้นส่ วนหนึ่ งสื บเนื่ องมำจำกคู่สัญญำในสัญญำกิ จกำรร่ วมค้ำมีควำมเห็ นไม่สอดคล้องกันในเรื่ องแผนกำรดำเนิ นธุ รกิ จ เพื่อรั กษำและเพิ่ มพูนศักยภำพในกำรแข่งขันทำงธุ รกิ จของสยำมเซมเพอร์ เมด ทั้งนี้ ในช่ วงที่ผ่ำนมำบริ ษทั และเซมเพอร์ ริท ได้เข้ำเจรจำ เพื่อขจัดปั ญหำควำมขัดแย้งที่ เกิ ดขึ้ นเพื่อผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของสยำมเซมเพอร์ เมดหลำยครั้ง แต่ไม่ประสบควำมสำเร็ จ ฝ่ ำยบริ หำรของบริ ษทั จึงได้ต้ งั สำรองค่ำใช้จ่ำยสำหรับกำรต่อสู ้ขอ้ พิพำทตำมกระบวนกำรอนุญำโตตุลำกำรจำนวนหนึ่ งไว้ในงบกำรเงิน นอกจำกกำรยื่นเสนอข้อพิพำทเพื่อดำเนิ นคดี กบั บริ ษทั และรั บเบอร์ แลนด์ รวมถึ งผูถ้ ื อหุ้นไทยรำยอื่ นๆ เป็ นคดี ที่หนึ่ งและคดี ที่สองข้ำงต้น เซมเพอร์ ริทยังได้ยนื่ เสนอข้อพิพำทเป็ นคดี ที่สำมเพื่อดำเนิ นคดี ทำงอนุ ญำโตตุลำกำรกับสยำมเซมเพอร์ เมดด้วย โดยอ้ำงว่ำสยำมเซมเพอร์ เมด ทำผิดข้อตกลงของสัญญำกิจกำรร่ วมค้ำ และสัญญำทำงกำรค้ำต่ำง ๆ ระหว่ำงสยำมเซมเพอร์ เมดและเซมเพอร์ ริท โดยเซมเพอร์ ริทเรี ยกร้ องให้ สยำมเซมเพอร์ เมดชดใช้ ค่ ำเสี ยหำย ซึ่ งล่ ำสุ ด เซมเพอร์ ริ ทเรี ยกร้ องค่ ำเสี ยหำยประมำณ 2,049 ล้ ำนบำท พร้ อมทั้งดอกเบี้ ย และสงวนสิ ทธิ ที่จะเรี ยกร้องค่ำเสี ยหำยเพิ่มเติมภำยหลัง คณะอนุ ญำโตตุลำกำรในคดี ที่ส ำมได้มีคำชี้ ขำดเบื้ องต้นเมื่ อวัน ที่ 2 มิถุนำยน พ.ศ. 2559 ว่ำคณะอนุ ญำโตตุลำกำรมี เขตอำนำจในกำรชี้ ขำด ข้อพิพำทต่ำงๆ ที่เซมเพอร์ ริทเสนอในคดี น้ ี และให้สยำมเซมเพอร์ เมดยินยอมให้เซมเพอร์ ริทเข้ำสถำนที่และโรงงำนของเซมเพอร์ ริท รวมทั้ง เปิ ดเผยข้อมูลทำงกำรค้ำบำงประกำรของสยำมเซมเพอร์ เมดให้แก่เซมเพอร์ ริท แต่คณะอนุญำโตตุลำกำรมิได้มีคำชี้ ขำดให้สยำมเซมเพอร์ เมด ต้องชดใช้ค่ำเสี ยหำยตำมที่เซมเพอร์ ริทเรี ยกร้องแต่อย่ำงใด
243 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัสดัทรี สทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษทั ัท ศรี และบริ ษทั ย่ษอัทยย่อย สำหมำยเหตุ �หรับปีสปิ้นระกอบงบกำรเงิ สุด วันที่ 31 ธันนรวมและงบกำรเงิ วาคม พ.ศ. 2559 นเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
42
ข้ อพิพำททำงกำรค้ำเกีย่ วกับสัญญำกิจกำรร่ วมค้ำ (ต่อ) เซมเพอร์ ริทได้ยื่นค ำร้ องขอบังคับตำมคำชี้ ขำดบำงส่ วนต่อศำลยุติธรรมในประเทศไทย ซึ่ งสยำมเซมเพอร์ เมดอยู่ระหว่ำงกำรด ำเนิ น กำร เพื่อคัดค้ำนคำร้ องขอบังคับตำมคำชี้ ขำดบำงส่ วนดังกล่ำว โดยที่ ปรึ กษำกฎหมำยของบริ ษทั มี ควำมเห็ นว่ำ กำรบังคับตำมคำชี้ ขำดบำงส่ วน ในประเทศไทยเป็ นกำรขัดต่อควำมสงบเรี ยบร้ อยและศีลธรรมอันดีของประชำชนและเป็ นกำรฝ่ ำฝื นต่อพระรำชบัญญัติอนุญำโตตุลำกำร พ.ศ. 2545 นอกจำกนี้ จำกกำรตี ควำมข้อสัญญำของสัญญำกิ จกำรร่ วมค้ำ และสัญญำต่ ำง ๆ ที่ เกี่ ยวข้อง และกำรบังคับใช้ก ฎหมำยไทยอย่ำงเคร่ งครั ด รวมถึงควำมเห็นของที่ปรึ กษำกฎหมำย ผูบ้ ริ หำรของบริ ษทั เชื่อว่ำสยำมเซมเพอร์ เมดมีขอ้ โต้แย้งที่สมเหตุสมผลที่จะใช้อำ้ งได้วำ่ สยำมเซมเพอร์ เมดไม่มีภำระที่จะต้องชำระค่ำเสี ยหำยตำมที่เซมเพอร์ ริทเรี ยกร้อง ดังนั้น ผูบ้ ริ หำรของบริ ษทั เชื่ อว่ำผลสรุ ปของข้อพิพำทไม่น่ำจะส่ งผลกระทบ อย่ำงมีนยั สำคัญต่อผลกำรดำเนินงำนหรื อฐำนะทำงกำรเงินของบริ ษทั อนึ่ ง หนึ่ งในประเด็นข้อพิพำทที่เซมเพอร์ ริทยืน่ เสนอต่ออนุญำโตตุลำกำรเพื่อเรี ยกร้องต่อบริ ษทั และสยำมเซมเพอร์ เมดดังที่กล่ำวมำข้ำงต้น คือ ประเด็นที่ เซมเพอร์ ริทอ้ำงว่ำบริ ษทั และสยำมเซมเพอร์ เมดฝ่ ำฝื นข้อตกลงห้ำมแข่งขันทำงกำรค้ำกับเซมเพอร์ ริทในประเทศเขตยุโรป ซึ่ งเป็ น เขตที่ เซมเพอร์ ริ ทอ้ำ งว่ ำเซมเพอร์ ริ ทมี สิ ทธิ จ ำหน่ ำ ยถุ ง มื อ ยำงที่ ผ ลิ ต โดยสยำมเซมเพอร์ เ มดได้ แ ต่ เพี ย งผู ้เดี ย ว พร้ อ มทั้ง ได้ ข อให้ อนุญำโตตุลำกำรสั่งห้ำมมิให้บริ ษทั และสยำมเซมเพอร์ เมดจำหน่ำยถุงมือยำงที่ผลิตโดยสยำมเซมเพอร์ เมดในประเทศเขตยุโรป กรณี ปรำกฏว่ำ ศำลคดี กำรแข่งขันทำงกำรค้ำในประเทศออสเตรี ย ซึ่ งเป็ นประเทศที่ เซมเพอร์ ริทมี สำนักงำนใหญ่ต้ งั อยู่ ได้มีคำวินิจฉัยว่ำจำกกำรพิจำรณำ ข้อเท็จจริ งในคดีแล้วเห็ นว่ำ ข้อสัญญำดังกล่ำวขัดต่อกฎหมำยว่ำด้วยกำรแข่งขันทำงกำรค้ำที่ใช้บงั คับในประเทศออสเตรี ยและสหภำพยุโรป และมีคำสัง่ ห้ำมมิให้เซมเพอร์ ริทยกข้อสัญญำดังกล่ำวขึ้นกล่ำวอ้ำงอีกต่อไป ปั จจุบนั เซมเพอร์ ริทได้ยนื่ อุทธรณ์คำพิพำกษำของศำลดังกล่ำวต่อ ศำลคดีกำรแข่งขันทำงกำรค้ำแล้ว คดีอยูร่ ะหว่ำงกำรพิจำรณำของศำลสู งสุด เมื่อต้นเดือนมกรำคม 2560 บริ ษทั และรับเบอร์ แลนด์ ได้รับคำร้ องขอเสนอข้อพิพำทต่อสถำบันอนุญำโตตุลำกำร (ICC International Court of Arbitration) จำกเซมเพอร์ ริท เป็ นคดี ใหม่ เพื่อขอดำเนิ นคดี ทำงอนุ ญำโตตุลำกำรในประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ต่อบริ ษทั รับเบอร์ แลนด์ และ คู่สัญ ญำอื่ น ๆ ตำมสั ญ ญำกิ จกำรร่ วมค้ำ และสั ญ ญำต่ ำงๆ ที่ เกี่ ยวข้อ ง โดยกล่ ำวหำว่ำบริ ษ ัท รั บ เบอร์ แ ลนด์ และคู่ สั ญ ญำอื่ น ๆ ปฏิ บ ัติ ผิดข้อตกลงของสัญญำกิ จกำรร่ วมค้ำ และสัญญำต่ำง ๆ ที่ เกี่ ยวข้อง และขอให้คณะอนุ ญำโตตุลำกำรมี คำสั่งให้หยุดกำรกระทำที่เป็ นกำรผิด สัญญำ และเรี ยกร้องค่ำเสี ยหำยเบื้องต้นจำนวนประมำณ 19 ล้ำนบำท ผูบ้ ริ หำรของบริ ษทั เชื่ อว่ำบริ ษทั และรับเบอร์ แลนด์ ไม่มีภำระที่จะต้อง ช ำระค่ำเสี ยหำยตำมที่ เรี ยกร้ อง เนื่ องจำกบริ ษทั และรั บ เบอร์ แ ลนด์ มิ ได้ป ฏิ บตั ิ ผิดข้อ ตกลงของสัญ ญำกิ จกำรร่ วมค้ำ และสัญ ญำต่ ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อเซมเพอร์ริท
43
เหตุกำรณ์ ภำยหลังวันที่ในงบกำรเงิน 43.1
กำรแยกบริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (Demerger) กับเซมเพอริท จำกกำรประชุ มคณะกรรมกำรของบริ ษทั ครั้ งที่ 1/2560 เมื่ อวันที่ 18 มกรำคม พ.ศ. 2560 ที่ ประชุ มคณะกรรมกำรบริ ษทั ได้มีมติ อนุ มตั ิ และบริ ษ ัท ได้เข้ำลงนำมในสั ญ ญำกรอบของข้อ ตกลงต่ ำง ๆ (Umbrella Agreement) และสั ญ ญำซื้ อ ขำยหุ ้ น ในบริ ษ ัท ร่ ว มและ กิ จกำรร่ วมค้ำต่ำง ๆ ระหว่ำงบริ ษทั กับ Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. (“เซมเพอร์ ริท”)ซึ่ งเป็ นข้อตกลงเกี่ ยวกับ กำรแยกบริ ษทั ร่ วมและกิ จกำรร่ วมค้ำ (Demerger) ทุก บริ ษ ัทที่ บริ ษทั ได้ร่วมลงทุ นกับ เซมเพอริ ท ทั้งในประเทศและต่ ำงประเทศ โดยมีรำยละเอียดสำคัญ สำมำรถสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ (1) กำรเข้ ำซื้ อหุ้ น ของบริ ษัท สยำมเซมเพอร์ เมด จ ำกั ด (“สยำมเซมเพอร์ เมด”) ซึ่ งตั้งอยู่ ใ นประเทศไทย จ ำนวน 10,000 หุ้ น คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 50 ของจำนวนหุ้นที่ออกและจำหน่ำยได้แล้วทั้งหมดของสยำมเซมเพอร์ เมดจำนวน 180 ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ (หรื อเทียบเท่ำเงินบำทไทยประมำณ 6,574 ล้ำนบำท) จำกเซมเพอร์ริท ซึ่งเป็ นผูถ้ ือหุ้นปัจจุบนั ของสยำมเซมเพอร์เมด
244 รายงานประจำ�ปี 2559
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ศรีตตรัรังงแอโกรอิ แอโกรอินนดัดัสสทรีทรีจำกัจำ�ดกั(มหำชน) ด (มหาชน) และบริ บริษษัททั ศรี และบริ ษทั ษย่อัทยย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559
43
เหตุกำรณ์ ภำยหลังวันที่ในงบกำรเงิน (ต่อ) 43.1
กำรแยกบริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (Demerger) กับเซมเพอริท (ต่อ) (2) กำรจำหน่ำยหุ ้นและเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำต่ำง ๆ ให้แก่เซมเพอร์ ริท โดยมีรำยละเอียดดังนี้ (2.1) กำรจำหน่ ำยเงินลงทุนใน Semperflex Shanghai Ltd. (“SSH”) ซึ่ งตั้งอยูใ่ นประเทศจีน จำนวนร้อยละ 50 ของจำนวน ทุนทั้งหมดของ SSH ในมูลค่ำ 8 ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ (หรื อเทียบเท่ำเงินบำทไทยประมำณ 292 ล้ำนบำท) (2.2) กำรจำหน่ ำยเงินลงทุนใน Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products Co., Ltd. (“SRP”) ซึ่ งตั้งอยู่ในประเทศจี น จำนวนร้ อ ยละ 10 ของจำนวนทุ น ทั้งหมดของ SRP ในมู ล ค่ ำ 4 ล้ำนเหรี ยญสหรั ฐ (หรื อ เที ยบเท่ ำเงิ น บำทไทย ประมำณ 146 ล้ำนบำท) (2.3) กำรจำหน่ ำยหุ้นของ Sempermed USA, Inc. (“SUSA”) ซึ่ งตั้งอยูใ่ นประเทศสหรัฐอเมริ กำ จำนวน 1,000 หุ้น คิดเป็ น ร้อยละ 25 ของจำนวนหุ ้นที่ออกและจำหน่ ำยได้แล้วทั้งหมดของ SUSA มูลค่ำ 6.5 ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ (หรื อเทียบเท่ำ เงินบำทไทยประมำณ 237 ล้ำนบำท) (2.4) กำรจำหน่ ำยหุ้นของ Sempermed Singapore Pte. Ltd. (“SESI”) ซึ่ งตั้งอยูใ่ นประเทศสิ งคโปร์ จำนวนร้ อยละ 50 ของ จำนวนหุ ้นที่ออกและจำหน่ ำยได้แล้วทั้งหมดของ SESI ในมูลค่ำ 1 ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ (หรื อเที ยบเท่ำเงินบำทไทย ประมำณ 37 ล้ำนบำท) (2.5) กำรจำหน่ ำยหุ ้นทั้งหมดของบริ ษทั เซมเพอร์ เฟล็กซ์ เอเชี ย จำกัด (“SAC”) ซึ่ งบริ ษทั และบริ ษทั รับเบอร์ แลนด์โปรดักส์ จำกัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ถืออยู่ จำนวน 1,615,000 หุ้น คิดเป็ นร้อยละ 42.5 ของหุ ้นที่ออกและจำหน่ ำยได้ แล้ว ทั้งหมดของ SAC ตำมสั ญ ญำให้ สิ ท ธิ ซ้ื อ หุ้ น (Call Option) ซึ่ งจะมี ก ำรลงนำมกัน ใน “วัน ซื้ อขำยกิ จ กำร” (ตำมนิ ยำมข้ำงล่ำงนี้ ) ในมูลค่ำ 51 ล้ำน เหรี ยญสหรัฐอเมริ กำ (หรื อเทียบเท่ำเงินบำทไทยประมำณ 1,862 ล้ำนบำท) (3) บริ ษทั และเซมเพอริ ท ตกลงให้ยตุ ิขอ้ พิพำทที่มีระหว่ำงกันทั้งหมด ไม่วำ่ ข้อพิพำทดังกล่ำวจะอยูใ่ นชั้นกระบวนพิจำรณำคดี ของ ศำลไทย ศำลต่ำงประเทศ และ/หรื อกระบวนพิจำรณำของอนุญำโตตุลำกำรต่ำงประเทศ (4) สยำมเซมเพอร์ เมดตกลงชำระค่ ำตอบแทนกำรระงับ ข้อพิ พำทระหว่ำงสยำมเซมเพอร์ เมด และเซมเพอริ ท ให้ แก่ เซมเพอริ ท จำนวน 15 ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ (หรื อเทียบเท่ำเงินบำทไทยประมำณ 548 ล้ำนบำท) ทั้งนี้ กำรแยกบริ ษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ำ (Demerger) จะสำเร็ จเสร็ จสิ้ นลงก็ต่อเมื่อเป็ นไปตำมเงื่อนไขบังคับก่อน ได้แก่ (ก) เซมเพอริ ท ได้รับอนุ มตั ิ จำกคณะกรรมกำรกำกับดู แล (supervisory board) ของเซมเพอริ ทให้ขำยหุ้น สยำมเซมเพอร์ เมดทั้งหมด ซึ่ งเซมเพอริ ท ถืออยูใ่ ห้แก่บริ ษทั และให้ซ้ื อหุ้นและเงินลงทุนต่ำง ๆ ตำมที่ระบุในข้อ 2 (ในกรณี ของเซมเพอริ ท) และ (ข) บริ ษทั ได้รับอนุมตั ิจำกผูถ้ ือหุ้น ของบริ ษทั ให้ซ้ื อหุ้ นสยำมเซมเพอร์ เมดทั้งหมดจำกเซมเพอริ ท และให้จำหน่ ำยหุ ้นและเงิน ลงทุนต่ำง ๆ ตำมที่ ระบุในข้อ 2 ให้แก่ เซมเพอริ ท (ในกรณี ของบริ ษทั ) ทั้งนี้ ในเบื้ องต้นบริ ษทั และเซมเพอริ ท ตกลงกำหนด “วันซื้ อขำยกิ จกำร” ซึ่ งเป็ นวันที่บริ ษทั และ เซมเพอริ ท ตกลงโอนกรรมสิ ทธิ์ ในหุ ้นและเงินลงทุนต่ำง ๆ ตำมรำยกำรที่ 1 และรำยกำรที่ 2.1 ถึงรำยกำรที่ 2.4 พร้อมทั้งตกลงระงับ ข้อพิพำททั้งปวงระหว่ำงกันเป็ นวันที่ 15 มีนำคม พ.ศ. 2560 แต่อย่ำงช้ำต้องไม่เกินวันที่ 12 เมษำยน พ.ศ. 2560
43.2
กำรจ่ ำยเงินปันผล ที่ประชุมสำมัญคณะกรรมกำรบริ ษทั เมื่อวันที่ 28 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2560 ได้มีมติอนุมตั ิให้จ่ำยเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นจำกกำไรสะสม จำนวนหุ้นละ 0.40 บำท เป็ นจำนวนเงิน 512 ล้ำนบำท เงินปั นผลดังกล่ำวได้กำหนดจ่ำยให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นในเดือนพฤษภำคม พ.ศ. 2560
245 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee)
ค่าบริการอื่น (Non-Audit Fee)
ค่าสอบบัญชีประจ�ำปี 2559 ของบมจ. ศรีตรังและบริษัทย่อย เป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 8,519,000 บาท แบ่งออกเป็นค่าสอบบัญชี ส�ำหรับงบการเงินเฉพาะกิจการจ�ำนวน 6,501,000 บาท และ ค่าสอบบัญชีส�ำหรับบริษัทย่อยจ�ำนวน 2,018,000 บาท
ค่าบริการอื่นในปี 2559 ได้แก่ ค่าบริการตรวจสอบ BOI และ การให้ค�ำปรึกษาด้านภาษี รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 5,272,224 บาท ซึ่งบริษัทฯ ได้จ่ายช�ำระแล้วเป็นจ�ำนวน 3,942,603 บาท และ ที่จะต้องจ่ายช�ำระในอนาคตจากการที่ยังให้บริการไม่แล้วเสร็จ ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมาจ�ำนวน 1,329,621 บาท
246 รายงานประจำ�ปี 2559
ข้อมูลของบุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ที่อยู่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991 TSD Call Center 0-2009-9999
ตัวแทนการโอนหุ้นในสิงคโปร์ (Singapore Transfer Agent)
Boardroom Corporate & Advisory Services Pte. Ltd. ที่อยู่ 50 Raffles Place # 32-01, Singapore Land Tower, Singapore 048623 โทรศัพท์ 65-6536-5355 โทรสาร 65-6536-1360
ผู้สอบบัญชี
นายไพบูล ตันกูล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4298 หรือ นางสาวสกุณา แย้มสกุล ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4906 หรือ นายพิสิฐ ทางธนกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4095 แห่งบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด ที่อยู่ ชั้น 15 อาคารบางกอกซิติ้ทาวเวอร์ 179/74-80 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2344-1000, 0-2286-9999 โทรสาร 0-2286-5050
นายทะเบียนหุ้นกู้ (สำ�หรับหุ้นกู้ STA ครั้งที่ 1/2554 ครั้งที่ 1/2556 และ ครั้งที่ 1/2559)
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) ที่อยู่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2256-2323 โทรสาร 0-2256-2414
ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (สำ�หรับหุ้นกู้ STA ครั้งที่ 1/2554)
ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) ที่อยู่ 1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 โทรศัพท์ 0-2222-0000 โทรสาร 0-2470-1144-5
ที่ปรึกษากฎหมาย
บริษัท วีระวงค์, ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จำ�กัด ที่อยู่ 540 อาคารเมอร์คิวรี่ ทาวเวอร์ ชั้น 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2264-8000 โทรสาร 0-2657-2222
247 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น
ข้อมูลบริษัท ชื่อบริษัท (ไทย) ชื่อบริษัท (อังกฤษ) สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท เว็บไซต์ ชนิดของหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวนหุ้นสามัญที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมด
: บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) : Sri Trang Agro-Industry Public Company Limited : เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 ประเทศไทย : 0-7434-4663 (อัตโนมัติ 14 เลขหมาย) : 0-7434-4677, 0-7423-7423, 0-7423-7832 : ผลิตและส่งออกยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน�้ำยางข้น : 0107536001656 : www.sritranggroup.com : หุ้นสามัญ : 1,280,000,000 บาท : 1,280,000,000 บาท : 1,280,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท
248 รายงานประจำ�ปี 2559
ข้อมูลของนิติบุคคลที่ บมจ. ศรีตรัง ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ชื่อบริษัท / เบอร์ติดต่อ บจ. หน�่ำฮั่ว โทรศัพท์ : 0-7437-9984-6, 0-7437-9988-9 โทรสาร : 0-7437-9987
บจ. อันวาร์พาราวูด โทรศัพท์ : 0-7437-9978-9 โทรสาร : 0-7437-9976
บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง โทรศัพท์ : 0-7447-1480-3, 0-7447-1368 โทรสาร : 0-7447-1290, 0-7447-1430, 0-7447-1506 บจ. รับเบอร์แลนด์ โทรศัพท์ : 0-7429-1223-4, 0-7429-1755, 0-7429-1476 โทรสาร : 0-7429-1477
ที่อยู่ สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 สาขา: 1) เลขที่ 99 หมู่ที่ 3 ตำ�บลสำ�นักขาม อำ�เภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 2) เลขที่ 41 หมู่ที่ 3 ตำ�บลสำ�นักขาม อำ�เภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120
ประเภทธุรกิจ
ชนิด ของหุ้น
จำ�นวนหุ้น ที่ บมจ. ศรีตรังถือ
ผลิตและส่งออก ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และ น้ำ�ยางข้น
หุ้นสามัญ
4,999,994 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 99.99
แปรรูปไม้ อัดน้ำ�ยา อบแห้ง และ ผลิตภัณฑ์ไม้ สำ�เร็จรูป
หุ้นสามัญ
9,994 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 99.94
สำ�นักงานใหญ่: วิศวกรรมบริการ เลขที่ 123 หมูท่ ่ี 8 ถนนกาญจนวนิช ตำ�บล ออกแบบ ผลิต บ้านพรุ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90250 ติดตั้ง และบำ�รุง สาขา: รักษาเครื่องจักร เลขที่ 133 ถนนรักษ์พรุ ตำ�บลบ้านพรุ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90250
หุ้นสามัญ
409,996 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 81.99
ผลิตน้ำ�ยางข้น / ยางแท่ง
หุ้นสามัญ
15,999,994 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 99.99
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 101 หมู่ 3 ถนนปาดังเบซาร์ ตำ�บล สำ�นักขาม อำ�เภอสะเดา จังหวังสงขลา 90120 สาขา: 1) เลขที่ 369 หมู่ที่ 7 ตำ�บลห้วยนาง อำ�เภอห้วยยอด จังหวัดตรัง 2) เลขที่ 395 หมู่ที่ 2 ตำ�บลโนนสมบูรณ์ อำ�เภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 3) เลขที่ 28 หมู่ 11 ตำ�บลหนองพระ อำ�เภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก 65130
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 109 ถนนกาญจนวนิช ตำ�บลพะตง อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 สาขา: 1) เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 2) เลขที่ 57 ห้องเลขที่ 1701, 1707-1712 อาคารปาร์คเวนเชอร์ อีโคเพล็กซ์ ชัน้ 17 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 3) เลขที่ 338 หมู่ที่ 2 ตำ�บลโนนสมบูรณ์ อำ�เภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000 4) เลขที่ 338 หมู่ที่ 1 ตำ�บลโคกม้า อำ�เภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ 31140 5) เลขที่ 188 หมู่ที่ 10 ตำ�บลบางทรายใหญ่ อำ�เภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร 49000
249 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อบริษัท / เบอร์ติดต่อ บจ. สยามเซมเพอร์เมด โทรศัพท์ : 0-7447-1471, 0-7429-1648-9, 0-7429-1471-5 โทรสาร : 0-7429-1650
บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย โทรศัพท์ : 0-7447-1231-5 โทรสาร : 0-7447-1230
บจ. สะเดา พี.เอส. รับเบอร์ โทรศัพท์ : 0-7446-0483-5, 086-489-5264-5 โทรสาร : 0-7446-0484 บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต โทรศัพท์ : 0-7550-2900-2 โทรสาร : 0-7550-2903 บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ โทรศัพท์ : 02-259-2964-71 โทรสาร : 02-259-2958 บจ. ไทยเทค โทรศัพท์ : 0-7423-0768, 0-7423-0406-7, 0-7423-9063-4 โทรสาร : 0-7423-8650
ชนิด ของหุ้น
จำ�นวนหุ้น ที่ บมจ. ศรีตรังถือ
ที่อยู่
ประเภทธุรกิจ
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 110 ถนนกาญจนวนิช ตำ�บลพะตง อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 สาขา: 1) เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 2) เลขที่ 57 ห้องเลขที่ 1701, 1707-1712 อาคารปาร์คเวนเชอร์ อีโคเพล็กซ์ ชั้น 17 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 3) เลขที่ 109/2 ถนนกาญจนวนิช ตำ�บลพะตง อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 4) เลขที่ 352 ถนนกาญจนวนิช ตำ�บลพะตง อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 5) เลขที่ 189 หมู่ที่ 7 ตำ�บลพลายวาส อำ�เภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84160 6) เลขที่ 39/1 หมู่ที่ 9 ตำ�บลทุ่งค่าย อำ�เภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง 92140
ผลิตถุงมือยาง ที่ใช้ใน ทางการแพทย์
หุ้นสามัญ
6,300 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 31.50
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 110/1 ถนนกาญจนวนิช ตำ�บลพะตง อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 สาขา: เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
ผลิตสาย ไฮดรอลิค แรงดันสูง
หุ้นสามัญ
1,425,000 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 37.50
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 207/1 ถนนปาดังเบซาร์ ตำ�บลสะเดา อำ�เภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120
ผลิตยางแผ่น รมควัน
หุ้นสามัญ
399,994 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 13/1 ถนนจริงจิตร ตำ�บลทับเที่ยง อำ�เภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000
ให้บริการขนส่ง ทางบกภายใน ประเทศ
หุ้นสามัญ
114,998 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 76.66
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 36/82 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชั้น 23 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
ดำ�เนินกิจการ สวนยางและ สวนปาล์ม
หุ้นสามัญ
20,649,998 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 99.99
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 2 ถนนจุติอุทิศ 3 ตำ�บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
ผลิตยางแท่ง
หุ้นสามัญ
255,028 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 42.50
250 รายงานประจำ�ปี 2559
ชื่อบริษัท / เบอร์ติดต่อ บจ. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า โทรศัพท์ : 0-2632-8826 โทรสาร : 0-2632-8825 บจ. ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น โทรศัพท์ : 0-5310-6198, 0-5310-6199 โทรสาร : 0-5310-6196, 0-5310-6197 Sri Trang International โทรศัพท์ : 65-6532-5210, 65-6532-5321 โทรสาร : 65-6532-7501
Sri Trang USA, Inc. โทรศัพท์ : 1-813-606-4301 โทรสาร : 1-813-606-4314 Sempermed USA, Inc. โทรศัพท์ : 1-800-366-9545 โทรสาร : 1-800-763-5491 Shanghai Sempermed โทรศัพท์ : 86-21-5760-9279, 86-21-5760-9289 โทรสาร : 86-21-5760-9389
Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products โทรศัพท์ : 86-21-3711-1788 โทรสาร : 86-21-3711-1780
ชนิด ของหุ้น
จำ�นวนหุ้น ที่ บมจ. ศรีตรังถือ
ที่อยู่
ประเภทธุรกิจ
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 33/109 อาคารวอลล์สตรีททาวเวอร์ ชั้น 21 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
นายหน้าซื้อขาย สัญญาสินค้า เกษตรล่วงหน้า
หุ้นสามัญ
1,000,000 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 40.00
สำ�นักงานใหญ่: เลขที่ 121 หมู่ 4 ตำ�บลหนองป่าครั่ง อำ�เภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50000
ทำ�สวนยางพารา
หุ้นสามัญ
59,049,993 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 99.99
สำ�นักงานใหญ่: 1 Raffles Place No. 38-02, One Raffles Place, 048616, Singapore
จัดจำ�หน่ายยาง ในสิงคโปร์
หุ้นสามัญ
บจ. สตาร์ เท็กซ์ รับเบอร์ ถือครอง 61,000,000 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 100.00
สำ�นักงานใหญ่: จัดจำ�หน่ายยาง 5401 W. Kennedy Boulevard, Suite 760, ในสหรัฐอเมริกา Tampa, Florida, 33609, United States
หุ้นสามัญ
1,000 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 100.00
สำ�นักงานใหญ่: 13900, 49th Street North, Clearwater, Florida, 33762, United States
จัดจำ�หน่าย ถุงมือที่ใช้ใน ทางการแพทย์ ในสหรัฐอเมริกา
หุ้นสามัญ
1,000 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 25.00
สำ�นักงานใหญ่: Room 1104, Building 11, No. 518, Xinhuan Road, Songjiang District, Shanghai, Peoples Republic of China, 201612
ขายส่ง/ นายหน้าขาย/ นำ�เข้าและ ส่งออก ถุงมือพลาสติก และถุงมือยาง
ทุนจด ทะเบียน
บจ. สยามเซม เพอร์เมด ถือครอง จำ�นวน 1,000,000 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 100.00
สำ�นักงานใหญ่: No. 1155 Canggong Road, Chemical Industry Park, Shanghai, Peoples Republic of China, 201417
ผลิตราวจับ บันไดเลื่อน
ส่วนทุน
ส่วนได้เสีย คิดเป็น ร้อยละ 10.00
251 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อบริษัท / เบอร์ติดต่อ PT Sri Trang Lingga โทรศัพท์ : 62-711-445-666 โทรสาร : 62-711-445-222 Semperflex Shanghai โทรศัพท์ : 86-21-3758-1133 โทรสาร : 86-21-3758-1133 ต่อ 300 Sempermed Singapore โทรศัพท์ : 65-6408-8000 โทรสาร : 65-6408-8001 Sempermed Brasil โทรศัพท์ : N/A โทรสาร : N/A
Shi Dong Investments โทรศัพท์ : 65-6532-5210, 65-6532-5321 โทรสาร : 65-6532-7501 PT Star Rubber โทรศัพท์ : 62-561-724-888, 62-561-724-591-2 โทรสาร : 62-561-724-593
จำ�นวนหุ้น ที่ บมจ. ศรีตรังถือ
ประเภทธุรกิจ
ชนิด ของหุ้น
สำ�นักงานใหญ่: Jalan TPA2, RT.26 & 29 Keramasan, Palembang, South Sumatera, Palembang, 30259, PO Box 1230, Indonesia
ผลิตยางแท่ง
หุ้นสามัญ
18,000 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 90.00
สำ�นักงานใหญ่: 1255 Canggong Road, Shanghai Chemical Industry Park, Fengxian Subzone, Shanghai 201417, Peoples Republic of China
ผลิตสาย ไฮดรอลิค แรงดันสูง
ส่วนทุน
ส่วนได้เสีย คิดเป็น ร้อยละ 50.00
สำ�นักงานใหญ่: 4 Battery Road, No. 25-01, Bank of China Building, 049908, Singapore
ลงทุนใน Sempermed Brasil
หุ้นสามัญ
4,000,000 หุ้น คิดเป็น ร้อยละ 50.00
สำ�นักงานใหญ่: Rua João Franco de Oliveira, No. 750 – Unileste, City of Piracicaba – State of São Paulo, Brazil Zip Code: 13.422-160
จัดจำ�หน่ายและ ทำ�การตลาด ถุงมือยาง ธรรมชาติและ ยางสังเคราะห์ ในบราซิล
Quotas
Sempermed Singapore ถือครอง 12,546,638 หุ้น คิดเป็น ประมาณ ร้อยละ 100.00
สำ�นักงานใหญ่: 1 Raffles Place, No. 38-02, One Raffles Place, 048616, Singapore
ลงทุนใน PT Star Rubber
หุ้นสามัญ
Sri Trang International ถือครอง คิดเป็น ร้อยละ 100.00
สำ�นักงานใหญ่: Jalan Trans Kalimantan KM. 16, Desa Jawa Tengah Kec. Sungai Ambawang, Kab Kubu Raya-Kalbar, Pontianak 78393, Kalimantan Barat, PO Box 7864, Indonesia สาขา: Jl. Lintas Sumatera Km. 52, RT. 005 Desa Sirih Sehapur, Kec. Jujuhan, Kab. Muara Bungo, 37257, Jambi, Indonesia
ผลิตยางแท่ง
หุ้นสามัญ
Shi Dong Investments ถือครอง คิดเป็น ร้อยละ 99.00
ที่อยู่
252 รายงานประจำ�ปี 2559
ชื่อบริษัท / เบอร์ติดต่อ Shi Dong Shanghai โทรศัพท์ : 86-21-6413-7860 โทรสาร : 86-21-6413-7315 Sri Trang Indochina โทรศัพท์ : 848-3821-6869 โทรสาร : 848-3821-6877
Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd. โทรศัพท์ : 060-6799-5952 โทรสาร : 060-6799-5951
Sri Trang Ayeyar โทรศัพท์ : 959-9769-94561 โทรสาร : N/A
ที่อยู่
ประเภทธุรกิจ
ชนิด ของหุ้น
จำ�นวนหุ้น ที่ บมจ. ศรีตรังถือ
สำ�นักงานใหญ่: Unit 2701, Wheelock Square, No. 1717, West Nanjing Road, Jing’ an District, Shanghai, 200040, Peoples Republic of China
จัดจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติ ในสาธารณรัฐ ประชาชนจีน
ส่วนทุน
5,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 100.00
สำ�นักงานใหญ่: Room no. 7.01A, 7th Floor, Vietnam Business Center Building, 57-59 Ho Tung Mau Street, Ben Nghe Ward, Distict 1, Ho Chi Minh City, Vietnam
ซื้อขายและ ดำ�เนินการ ส่งออก ผลิตภัณฑ์จาก ยางพารา
หุ้นสามัญ
Sri Trang International ถือครอง คิดเป็น ร้อยละ 100.00
สำ�นักงานใหญ่: Lot 135, Jalan Permata 1/4, Arab-Malaysian Industrial Park 71800 Nilai, Negeri Sembilan, Malaysia
ผลิตและ จัดจำ�หน่าย แม่พิมพ์สำ�หรับ การผลิต ถุงมือยาง
หุ้นสามัญ
Sempermed Singapore ถือครอง คิดเป็น ร้อยละ 82.86
สำ�นักงานใหญ่: Mudon Crumb Rubber Factory, 828/1221 Kankalay Plot, Kyone Phite Village, Mudon Township (12081) Mawlamyine, Mon State, Myanmar
ผลิตยางแท่ง
หุ้นสามัญ
Sri Trang International ถือครอง คิดเป็น ร้อยละ 59.00
253 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)
คำ�นิยาม นอกจากจะกำ�หนดไว้เป็นอย่างอื่นในเอกสารฉบับนี้ ให้คำ�ดังต่อไปนี้มีความหมายดังนี้ คณะกรรมการ ก.ล.ต.
:
คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ตลาดหลักทรัพย์ฯ บจ. ไทยเทค บจ. รับเบอร์แลนด์ บจ. หน�่ำฮั่ว บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น บจ. [ชื่อ] บมจ. [ชื่อ] บมจ. ศรีตรัง บริษัทฯ สำ�นักงาน ก.ล.ต. CDP PT Sri Trang Lingga RSS Semperflex Shanghai Semperit Technische Produkte
: : : : : : : : : : : : : : :
Sempermed Brasil Sempermed Singapore Shanghai Semperit Shanghai Sempermed Shi Dong Investments Shi Dong Shanghai Sri Trang Indochina Sri Trang International Sri Trang Ayeyar TSD TSR
: : : : : : : : : : :
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัท ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด บริษัท รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ จำ�กัด บริษัท หน�่ำฮั่วรับเบอร์ จ�ำกัด บริษัท ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น จำ�กัด บริษัท [ชื่อ] จำ�กัด บริษัท [ชื่อ] จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง ที่รวมอยู่ในงบการเงินรวม สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ The Central Depository (Pte) Limited PT Sri Trang Lingga Indonesia Ribbed Smoked Sheet Semperflex Shanghai Ltd. Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ Semperit AG Holding Sempermed Brasil Comercio Exterior LTDA. Sempermed Singapore Pte Ltd. Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products Co., Ltd. Shanghai Sempermed Glove Sales Co., Ltd. Shi Dong Investments Pte. Ltd. Shi Dong Shanghai Rubber Co., Ltd. Sri Trang Indochina (Vietnam) Co., Ltd. Sri Trang International Pte. Ltd. Sri Trang Ayeyar Rubber Industry Co., Ltd. บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด Technically Specified Rubber
254 รายงานประจำ�ปี 2559
255 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)