:: Annual Report 2018 TH ::

Page 1

25 61

รายงานประจำป

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)


02

รายงานประจำป 2561


04 06 08 10 12 14 15 16 18 20 23 24 26 28 34 36 54 68 78 82 88 94 95 98 105 117 118 119 122 205 206 208 214

สารบัญ

วิสัยทัศน พันธกิจ และคุณคารวมขององคกร องคกรแหงยางสีเขียว สารจากประธานกรรมการ ขอมูลสำคัญทางการเงิน การประกอบธุรกิจในระดับสากล ผูนำในธุรกิจยางธรรมชาติครบวงจรรายใหญที่สุดของโลก ผังโครงสรางองคกร ลักษณะการประกอบธุรกิจ พัฒนาการที่สำคัญ ผลิตภัณฑและบริการ โครงสรางการถือหุนของกลุมบริษัท โครงสรางรายไดของกลุมบริษัท กลยุทธและเปาหมายในการประกอบธุรกิจ ภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน จุดเดน ประวัติกรรมการและผูบริหาร โครงสรางการจัดการ การกำกับดูแลกิจการที่ดี การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ความรับผิดชอบตอสังคม โครงสรางการถือหุน นโยบายการจายเงินปนผล

รายการระหวางกันและรายการกับบุคคลที่มีความเกี่ยวของกัน ปจจัยความเสี่ยง คำอธิบายและการวิเคราะหฐานะทางการเงินและผลการดำเนินการ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทตอรายงานทางการเงิน รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท คาตอบแทนของผูสอบบัญชี บุคคลอางอิง ขอมูลทั่วไป คำนิยาม บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

03


พันธกิจ ป 2561

สมารท ศรีตรัง

เราเปนองคกร แหงความมุงมั่น และทุมเทในการขับเคลื่อนทุกความเปนไปได

ศรีตรัง…บริษัทยางสีเขียว ปจจุบันโลกมีวิวัฒนาการที่กาวล้ำขึ้นทุกวัน เทคโนโลยีไดกลายมาเปนสวนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ซึ่งรวมไปถึงโลกของธุรกิจที่เทคโนโลยีเขามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนตามภาวะการ แขงขันที่สูงขึ้น ทำใหทุกคนตองปรับตัวและคิดคนกลยุทธมาใชเพื่อกาวใหทันการเปลี่ยนแปลง กลุมบริษัทศรีตรังเองก็เชนกัน

ป 2561 : Target 9.5

บริษัทฯ จึงตระหนักวา สิ่งสำคัญที่จะสามารถนำธุรกิจใหประสบความสำเร็จและเติบโตมากขึ้น Teamwork | Action | Renew | Grow | Excellent | Together คือการตั้งเปาหมายและการดำเนินงานตางๆ อยางชัดเจน มีความสามารถในการปรับเปลี่ยน ใหทันตอสถานการณโดยมีจุดมุงหมายหลักในการใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประสิทธิภาพมาก ที่สุดดดววยนโยบายมาตรฐานศรี ยการนำระบบธุรกิจอัจตฉริ ะมาใช เปนเครื อที่จอ ะชให วยเพิ ่มความสามารถในการทำงาน รังยในป 2559 ที่อ ผงมื านมาก เกิดแรงบั นดาลใจและปฏิภาณรวมกัน การรวบรวมข อ มู ล การประสานงาน และการสื อ ่ สารให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ล เพื่อสรางการเปลี่ยนแปลงในกลุมบริษัทศรีตรังอยางมีประสิทธิภาพ เกิดเปนประสิทธิผล การดำเนินงานภายใต “ตนทุนเดียว” และ “เทคโนโลยีเดียว” ในป 2560 บริษัทฯ ไดสรางสรรค ในป 2561 นี้ บริษัทฯ มีเปาหมายในการสรางความแข็งแกรงขององคกรสูอนาคตดวยการนำ ปรากฏการณ 9.5 ทซึี่ห ่งลากหลายมาเป ก็คือ สรางเปานหมายให ุกคนในองค กรพัฒอ นาและรั ระบบธุ รกิจอัจฉริยะ Target โดยใชเทคโนโลยี ตัวชวย ทเสริ มสรางความคล งตัวในกษา ศักยภาพในส มีคพวามสมบู รณทแบบให มากที่สุด การทำงานทุ ก ดวานงานของตนให น ก อ ให เ กิ ด ผลลั ธ ท ี ่ ม ี ป ระสิ ธิ ภ าพมากขึ ้ นด ถืวอยความใส เป น กลยุใทจในการทำงานและ ธ ส ร า งความ แตกต างในการดำเนิ รกิดจคใหนกพัาวสู ความสำเร็ จและเตรี ยมพร อมสำหรั ่ยนแปลง การไม ห ยุ ด ยั ้ ง ทีน่ จธุะคิ ฒ นาเพื ่ อ เพิ ่ ม พู น ประสิ ท ธิ ภ าพในทุบกการเปลี ขั ้ น ตอนของการทำงาน ในสวนงานของตนเอง เพื่อที่จะเติบโตอยางยิ่งใหญในการมุงสูเปาหมาย “STA 20” หรือการ มีปริมาณการขายคิดเปนสัดสวนรอยละ 20 ของปริมาณความตองการบริโภคยางธรรมชาติ ของโลก

04

รายงานประจำป 2561


SPECIALIST

TEAMWORK

ACCOUNTABILITY

เรามีความเชี่ยวชาญ ในธุรกิจของเรา

เรารวมแรงรวมใจ ทำงานเปนทีม ฟนฝาทุกอุปสรรค

เราทำงานดวยความซื่อสัตย และรับผิดชอบตอธุรกิจ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

05


องคกรแหงยางสีเขียว

มุงมั่นสูความเปนผูนำอุตสาหกรรม

แหงยางสีเขียว ผลิตภัณฑสีเขียว ความมุงมั่นในการผลิตยางพาราซึ่งเปนผลิตภัณฑ จากธรรมชาติที่สะอาดปราศจากสิ่งเจือปน ที่อาจเปนอันตรายตออุตสาหกรรมปลายน้ำซึ่ง เกี่ยวของกับความปลอดภัยและสุขอนามัย ของผูบริโภค

06

รายงานประจำป 2561

กระบวนการผลิตสีเขียว ความใสใจในทุกขั้นตอนของการผลิตสินคาใหได ตามมาตรฐานสากลภายใตกระบวนการผลิต ที่ตั้งอยูบนหลักการของการอนุรักษพลังงาน ปราศจากซึ่งน้ำเสียและกลิ่น เพื่อใหมั่นใจไดวา โรงงานของเรามีกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมและชุมชนรอบขาง


กว า 3 ทศวรรษแห ง ความเชี ่ ย วชาญในอุ ต สาหกรรมยางพาราผนวกกั บ เจตนารมณ ใ นการ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยางพาราอย า งยั ่ ง ยื น ทำให ก ลุ  ม บริ ษ ั ท ศรี ต รั ง ริ เ ริ ่ ม และผลั ก ดั น องค ก ร

สูองคกรแหงยางสีเขียว

การสรรหาวัตถุดิบสีเขียว เจตนารมณของบริษัทในการผลักดันใหเกษตรกร ทำการผลิตยางพาราที่สะอาดและปราศจาก สิ่งเจือปน อีกทั้งสะทอนใหเห็นถึงการดำเนินธุรกิจ ของบริษัทที่ตั้งอยูบนความยุติธรรมกับเกษตรกร และคูคาทุกราย

บริษัทสีเขียว เปนสัญลักษณขององคกรซึ่งดำเนินธุรกิจ บนรากฐานของความโปรงใส มุงสูการเติบโตอยางยั่งยืน พรอมกับเปนองคกรที่เปดรับสิ่งใหมๆ อยูตลอดเวลาเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม ยางพาราใหเติบโตอยางมั่นคง

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

07


สารจากประธานกรรมการ นับไดวาในป 2561 อุตสาหกรรมยางธรรมชาติยังคงตองเผชิญกับอุปทานสวนเกิน (Oversupply) ตอเนื่องจากปกอน ทำใหราคา ยางธรรมชาติปรับตัวลงในทุกไตรมาส และทามกลางภาวะอุตสาหกรรมที่ทาทายนี้ บริษัทฯ ไดดำเนินกลยุทธการขายแบบเลือกสรร (Selective Selling Strategy) โดยเลือกที่จะมุงเนนที่อัตรากำไรมากกวาปริมาณการขายความสำเร็จของกลยุทธนี้เปนที่ประจักษ ชัดดังเห็นไดจากผลการดำเนินงานของบริษัทฯ ในป 2561 ที่บริษัทฯ สามารถทำกำไรไดอยางตอเนื่องในทุกไตรมาส และสราง กำไรสุทธิที่ 2,064 ลานบาท แมตองเผชิญกับราคายางธรรมชาติที่ออนตัวตลอดทั้งปและการดำเนินมาตรการจำกัดปริมาณ การส ง ออกยางธรรมชาติ (Agreed Export Tonnage Scheme - AETS) ในช ว งไตรมาสแรกของป แต ก ารดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริษัทฯ สามารถเติบไดอยางมั่นคงมากยิ่งขึ้นจากการผนึกกำลังของธุรกิจตลอดทั้งหวงโซอุปทาน

08

รายงานประจำป 2561

ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการ และ กรรมการผูจัดการใหญ


การเขาเปนผูถือหุนใหญในบริษัท ศรีตรังโกลฟส จำกัด (“STGT”) ที ่ ด ำเนิ น ธุ ร กิ จ ถุ ง มื อ ยาง นั บ ตั ้ ง แต เ ดื อ นมี น าคม 2560 ที ่ ผ  า นมา ทำใหบริษัทฯ มีอำนาจในการบริหาร STGT อยางเต็มที่ซึ่งนับไดวาเปน ก า วย า งสำคั ญ ที ่ ข ั บ เคลื ่ อ นการเติ บ โตและผลกำไรของบริ ษ ั ท ฯ ตลอดจนเน น ย้ ำ ถึ ง ความแข็ ง แกร ง ในการเป น “ผู  น ำในธุ ร กิ จ ยาง ธรรมชาติครบวงจร” ผานทางการผนึกกำลังระหวางธุรกิจกลางน้ำ อันไดแกผลิตภัณฑน้ำยางขน และธุรกิจปลายน้ำซึ่งก็คือถุงมือยาง ดวยจุดแข็งที่บริษัทฯ สามารถเขาถึงแหลงวัตถุดิบน้ำยางขนที่มีตนทุน ปริมาณ และคุณภาพที่เปนเลิศจากโรงงานในธุรกิจกลางน้ำของเราเอง ทำใหบริษัทฯ มีความไดเปรียบเหนือคูแขงในระดับโลก ประกอบกับ ทีมขายและการตลาดที่แข็งแกรงทำใหในป 2561 เราสามารถสราง ปริมาณการขายถุงมือยางธรรมชาติและถุงมือยางไนไตรลราว 17,000 ลานชิน้ ใน 120 ประเทศทัว่ โลก โดยเฉพาะอยางยิง่ การสรางตลาดใหมๆ ที ่ ก ารใช ถ ุ ง มื อ ยางอาจไม ไ ด ร ั บ ความนิ ย มมาก อ น อาทิ ตลาดใน ประเทศอินเดีย แอฟริกาใต และลาตินอเมริกา ซึ่งมีอัตราการเติบโต ของการบริโภคถุงมือยางอยางกาวกระโดด

กาวตอไปของศรีตรัง บริษัทฯ จะเติบโตจากความแข็งแกรงในการ ดำเนินงานตลอดทั้งหวงโซอุปทานของยางธรรมชาติ ประกอบกับแรง หนุนสำคัญจากความตองการในการบริโภคถุงมือยางที่เติบโตอยางตอ เนื่องทั่วโลก โดยบริษัทฯ ไดมีแผนในการขยายกำลังการผลิตถุงมือยาง อีกเกือบเทาตัว เพื่อบรรลุเปาหมายที่ 30,000 ลานชิ้นตอป ภายในสิ้นป 2563ซึ่งหนึ่งในจิกซอวที่สำคัญที่ชวยในการบรรลุเปาหมายดังกลาว คือการควบ STGT กับ บริษัท ไทยกอง จำกัด (มหาชน) (“TK”) ซึ่งเปน บริษทั ผลิตถุงมือยางทีม่ โี รงงานและเทคโนโลยีทท่ี นั สมัยตัง้ อยูท จ่ี งั หวัดตรัง ที่คาดวาจะเสร็จสมบูรณ ในเดือนเมษายนนี้ทั้งนี้ บริษัทฯ ตระหนักดีวา การเติบโตทามกลางสภาพแวดลอมที่ผันผวนและเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว บริษทั ฯ จำเปนตองมุง เนนการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ โดยนำเทคโนโลยี ระบบออโตเมชัน่ (Automation System) ระบบตรวจจับ (Sensor System) และการพั ฒ นาป ญ ญาประดิ ษ ฐ (Artificial Intelligence) มาใชในกระบวนการผลิตและการทำงานเพือ่ ยกระดับ ความเปนผูน ำหนึง่ เดียวในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติอยางครบวงจรให ล้ำหนาทิ้งหางคูแขงในอุตสาหกรรมมากยิ่งขึ้นไปอีกดวย ทายนี้ ผมขอขอบคุณผูถือหุน พันธมิตรทางธุรกิจ หนวยงานภาครัฐ และเอกชนที ่ เ กี ่ ย วข อ งตลอดจนลู ก ค า ทุ ก ท า นที ่ ใ ห ก ารสนั บ สนุ น อยางดียิ่งแกบริษัทฯ เสมอมาและที่สำคัญผมขอขอบคุณพนักงานและ ผูบ ริหารทุกทานสำหรับความมุง มัน่ ทุม เทมาโดยตลอดและขอใหทกุ ทาน เชื่อมั่นวาบริษัทฯ จะยังคงมุงมั่นทุมเทในการดำเนินธุรกิจ ภายใตหลัก จริยธรรมและแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อการเปนผูนำ ในธุรกิจยางธรรมชาติอยางครบวงจรอยางมั่นคง

กาวตอไปของศรีตรัง บริษัทฯ จะเติบโตจากความแข็งแกรง ในการดำเนินงานตลอดทั้งหวงโซอุปทานของยางธรรมชาติ ประกอบกับแรงหนุนสำคัญจากความตองการในการบริโภคถุงมือยาง

ที่เติบโตอยางตอเนื่องทั่วโลก

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

09



ขอมูลสำคัญทางการเงิน (ตอ) รายไดและปริมาณการขาย (ตัน)

(ลานบาท) 100,000

1,600,000

1,200,000

1,494,094 1,204,342

1,323,873

1,119,966

1,336,649

80,000 60,000

800,000 40,000 400,000

20,000

0

2557

2558

ปริมาณการขาย (ซาย)

2559

อัตราสวนหมุนเวียนสินทรัพยถาวร (เทา)

2.0

1.4

1.2

1.1

1.2

5.4

4.6 3.9

4.1 2.8

2

0.5 0

6

4

1.0

1.0

0

2561

รายไดจากการขาย (ขวา)

อัตราสวนสภาพคลอง (เทา)

1.5

2560

0

2557

2558

2559

2560

2561

2557

2558

2559

2560

2561

อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอสวนของผูถือหุน (เทา) 2.0

1.7 1.5

1.5

1.0

0.7

1.1

1.0

0.5

0

2557

2558

2559

2560

2561

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

11


การประกอบธุรกิจ

ในระดับสากล

USA

CH

USA

MM

MM TH SG ID

12

รายงานประจำป 2561


ของยอดนำเขา ทัง ้ หมดของจีน

14% ยางธรรมชาติ

จากยอดผลิต ยางธรรมชาติทง ้ั หมด ในปรเทศไทย ป 2561

26%

1.34 ลานตัน

10%

สวนแบงทางการตลาด จากความตองการใชยาง ธรรมชาติทว ่ั โลกในป 2561

36

โรงงานผลิตผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติในประเทศไทย อินโดนีเซีย และเมียนมา

ยอดขายผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติ ในป 2561

สวนแบงทางการตลาด จากความตองการใชถง ุ มือยาง ทัว ่ โลกในป 2561

4

6%

ถุงมือยาง ยอดขายผลิตภัณฑ ถุงมือยาง ในป 2561

16,937

120

โรงงานในประเทศไทย ซึง ่ เปนแหลงวัตถุดบ ิ น้ำยางขนทีใ่ หญทส ่ี ด ุ ในโลก

สงออกกวา

ประเทศทัว ่ โลก

ลานชิน ้

17,200 ลานชิน ้ ตอป

กำลังการผลิต

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

13


ผูนำในธุรกิจ ยางธรรมชาติ

ครบวงจร รายใหญที่สุด ของโลก

• พื้นที่สวนยางประมาณ 45,000 ไร • กำลังการผลิตยางธรรมชาติ 2.86 ลานตัน/ป • กำลังการผลิตถุงมือยาง 17,200 ลานชิ้น/ป กลุมบริษัทศรีตรังถือเปนผูนำในธุรกิจยางธรรมชาติครบวงจรรายใหญที่สุดของโลกโดยมี สวนแบงทางการตลาดประมาณรอยละ 10 ของความตองการยางธรรมชาติทั่วโลก และ รอยละ 6 ของความตองการใชถุงมือยาง มีผลิตภัณฑยางธรรมชาติขั้นพื้นฐานที่ครอบ คลุมทุกประเภท ไดแก ยางแผนรมควัน ยางแทง และน้ำยางขน ดวยกำลังการผลิต ประมาณ 2.86 ลานตันตอป ตลอดจนเปนผูผลิตถุงมือยางรายใหญที่สุดในประเทศไทย

ธุรกิจตนน้ำ

บริษัทมีพื้นที่สำหรับการทำสวนยางพาราประมาณ 45,000 ไร ใน 19 จังหวัดของ ประเทศไทย

ธุรกิจกลางน้ำ

บริษัทมีโรงงานผลิตยางธรรมชาติ 36 โรงงาน ตั้งอยูในประเทศไทย อินโดนีเซีย และเมียนมา ครอบคลุมทุกผลิตภัณฑ ทั้งยางแทง ยางแผนรมควัน และน้ำยางขน ดวยกำลังการผลิตยางธรรมชาติ 2.86 ลานตัน/ป

ธุรกิจปลายน้ำ

บริ ษ ั ท มี โรงงานการผลิ ต ทั ้ ง ถุ ง มื อ ยางธรรมชาติ แ ละถุ ง มื อ ยางไนไตรล ท ี ่ ใช ใ น ทางการแพทย แ ละอุ ต สาหกรรมอื ่ น ๆ รวม 4 โรงงาน ตั ้ ง อยู  ใ นประเทศไทย ดวยกำลังการผลิตถุงมือยาง 17,200 ลานชิ้น/ป

การขายและจัดจำหนาย

ตั้งบริษัทยอยเพื่อดำเนินการขายและจัดจำหนายใน 6 ตลาดหลักของโลก ไดแก ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร จีน เวียดนาม และสหรัฐอเมริกา

14

รายงานประจำป 2561


ผังโครงสราง

องคกร

คณะกรรมการ บริษัท เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทน

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการบริหาร ฝายตรวจสอบภายใน

กรรมการผูจัดการ

ผูจัดการสายงาน สรรหาวัตถุดิบ

ผูจัดการสายงาน ผลิต

ผูจัดการสายงาน คุณภาพ

CFO – สายธุรกิจ ยางธรรมชาติ

ผูจัดการ สายงานวิศวกรรม

ผูจัดการ สายงานการตลาด

ผูจัดการสายงาน ทรัพยากรมนุษย

ผูจัดการ สายงานกฎหมาย และบริหารทั่วไป

ผูจัดการ สายงาน ธุรกิจเกษตร

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

ผูจ  ด ั การ สายงานพัฒนาธุรกิจ และ CFO – สายธุรกิจถุงมือยาง

15


ภาพรวมการ

ประกอบธุรกิจ

16

รายงานประจำป 2561


“ผูประกอบการ

ในธุรกิจยางธรรมชาติอยางครบวงจร (Fully Integrated Natural Rubber Company)”

เริ ่ ม จากธุ ร กิ จ ต น น้ ำ ที ่ ศ รี ต รั ง ได ล งทุ น ในสวนยางพาราขนาดใหญ ซึ ่ ง ในป จ จุ บ ั น มี พ ื ้ น ที ่ ส ำหรั บ ปลู ก สวนยางพารา ประมาณ 45,000 ไร ใ นหลายจั ง หวั ด ของประเทศไทย และในธุ ร กิ จ กลางน้ ำ ซึ ่ ง บริ ษ ั ท ฯ มี ส  ว นแบ ง ทางการตลาด ประมาณรอยละ 10 ของความ ตองการยางธรรมชาติทั่วโลก และมีผลิตภัณฑยางธรรมชาติขั้นพื้นฐานทุกประเภทเพื่อ ตอบสนองความต อ งการที ่ ห ลากหลายของลูกคาทั่วโลก ไดแก ยางแผนรมควัน ยางแทง และน้ำยางข น ด ว ยกำลั ง การผลิ ต กว า 2.86 ล า นตั น ต อ ป จากจำนวนโรงงานรวม 36 โรงงาน ซึ ่ ง ตั ้ ง อยู  ใ นประเทศผู  ผ ลิ ต ยางธรรมชาติ รายใหญ ท ี ่ ส ุ ด สองอั น ดั บ แรกของโลก ได แ ก ประเทศไทย และประเทศอิ น โดนี เ ซี ย ตลอดจนประเทศเมี ย นมาซึ ่ ง เป น ประเทศที่มีศักยภาพในการขยายตัวของพื้นที่ปลูกยางธรรมชาติ​ิ สำหรับธุรกิจปลายน้ำบริษัทฯ ผลิตและจำหนายถุงมือยางธรรมชาติและถุงมือยางไนไตรลที่ใชในทางการแพทยและใชใน เชิงไลฟสไตลทั้งแบบมีแปงและไมมีแปงใหแกลูกคาทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยเปนผูผลิตถุงมือที่มีขนาดใหญที่สุด ในประเทศไทยโดยมีโรงงานทั้งสิ้น 4 โรงงาน ดวยกำลังการผลิตกวา 17,200 ลานชิ้นตอป มีสวนแบงทางการตลาด ที่รอยละ 6 ของความตองการใขถุงมือยางทั่วโลก และเปนหนึ่งในผูนำดานการผลิตถุงมือยางระดับโลกอีกทั้ง บริษัทฯ ยังไดรวมลงทุนกับบริษัทตางชาติในการผลิตทอไฮดรอลิกแรงดันสูง มีโรงงานที่ใหญที่สุดในประเทศไทยในการผลิตทอ ไฮดรอลิกเพื่อใชในงานประเภทอุตสาหกรรมตางๆ นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง ไดจัดตั้งบริษัทยอยอีกหลายบริษัทเพื่อบริการสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจหลักของ กลุ  ม บริ ษ ั ท ทั ้ ง ในด า นการวิ จ ั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี ส ารสนเทศและนวั ต กรรม ด า นการขนส ง และการแปรรู ป ไม ย าง ธรรมชาติ เปนตน ณ ป จ จุ บ ั น บมจ. ศรี ต รั ง เป น บริ ษ ั ท ยางพาราบริ ษ ั ท แรกและบริ ษ ั ท เดี ย วในประเทศไทยที ่ ด ำรงสถานะการจดทะเบี ย น หลักทรัพยทั้งในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและตลาดหลักทรัพยสิงคโปร บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

17


พัฒนาการ

ที่สำคัญ

เมษายน

เริ่มประกอบธุรกิจการผลิตยางแผนรมควันที่อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มตนที่ 31 ลานบาท

ตุลาคม

จัดตั้ง บจ. อันวารพาราวูดเพื่อดำเนินกิจการผลิตไมยางพารา สำหรับอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร รวมถึงผลิตไมยางพาราเพื่อ เปนพาเลทสำหรับรองรับสินคาภายในโรงงานของกลุมบริษัท

มีนาคม

จัดตั้ง บจ. รับเบอรแลนด เพื่อดำเนินกิจการผลิตน้ำยางขนซึ่ง เปนโรงงานผลิตน้ำยางขนแหงแรกของกลุมบริษัท

มกราคม

รวมจัดตั้ง บจ. สยามเซมเพอรเมด (ปจจุบันคือ บจ. ศรีตรัง โกลฟส (ประเทศไทย) กับบริษัทจากประเทศออสเตรียเพื่อ ดำเนินกิจการผลิตถุงมือยางที่ใชในทางการแพทย

มีนาคม

รวมจัดตั้ง บจ. ไทยเทค กับ บจ. เซาทแลนด รับเบอร และ Itochu Corporation Limited เพื่อขยายประเภทผลิตภัณฑ ใหครอบคลุมถึงยางแทง

สิงหาคม

เสนอขายหุนตอประชาชนในประเทศไทยและนำหุนเขาจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

มกราคม

จัดตั้ง บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต เพื่อใหบริการ สนับสนุนดานการขนสงแกธุรกิจของกลุมบริษัท

มีนาคม

จัดตั้ง บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง เพื่อสนับสนุนทางดาน วิจัยและพัฒนารวมทั้งใหบริการดานวิศวกรรมบริการใหแก กลุมบริษัท

กันยายน

จั ด ตั ้ ง บจ. สตาร เ ท็ ก ซ รั บ เบอร เพื ่ อ ลงทุ น ในธุ ร กิ จ ต น น้ ำ และเขาเปนเจาของสวนยางพาราในภาคใตของประเทศไทย

มีนาคม

รวมจัดตัง้ บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย กับ บริษทั จากประเทศ ออสเตรียเพื่อทำการผลิตสายไฮดรอลิคแรงดันสูง

2530 2530 2531 2532 2533 2534 2537 2537 2538 2539 เมษายน

2545 มีนาคม

จั ด ตั ้ ง Sri Trang USA, Inc. เพื ่ อ เน น การจั ด จำหน า ย ผลิ ต ภั ณ ฑ ย างธรรมชาติ ข องบริ ษ ั ท ไปยั ง ประเทศสหรั ฐ อเมริกา

กรกฎาคม

ขยายธุรกิจไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยการจัดตั้งทีม การขายในเมืองชิงเตา และเซี่ยงไฮเพื่อทำการจำหนายผลิต ภัณฑยางธรรมชาติของบริษัทโดยตรง

2547 2547

18

รายงานประจำป 2561

จัดตั้ง Sri Trang International ในสิงคโปรซึ่งเปนศูนยกลาง การซื้อขายยางธรรมชาติสำหรับผูใชรายสำคัญเพื่อใชเปน แหลงจัดจำหนายผลิตภัณฑยางธรรมชาติของบริษัทใหแก ลูกคาทั่วโลก


มกราคม

จัดตั้ง PT Sri Trang Lingga ในประเทศอินโดนีเซียซึ่งเปน แหลงจัดหาและผลิตยางธรรมชาติแหงแรกของบริษัทที่อยู นอกประเทศไทย

พฤษภาคม Shidong Shanghai Medical Equipment ขึ้นในสาธารณ

ธันวาคม

จัดตัง้ บจ. ศรีตรังแพลนเทชัน่ เพือ่ ลงทุนในสวนยางพาราขนาด ใหญซึ่งเปนธุรกิจตนน้ำ

มิถุนายน

สิงหาคม

เขาซื้อ PT Star Rubber ซึ่งเปนโรงงานผลิตยางแทงแหงที่ สองของบริษัทในประเทศอินโดนีเซีย

กรกฎาคม

สิงหาคม

จั ด ตั ้ ง Shi Dong Shanghai ในเซี ่ ย งไฮ ซ ึ ่ ง เป น บริ ษ ั ท ย อ ย ในสาธารณรัฐประชาชนจีนบริษัทแรกของบริษัทเพื่อขยาย ฐานการดำเนินธุรกิจในสาธารณรัฐประชาชนจีน

2548 2550 2552 2553

บจ. สตาร เ ท็ ก ซ รั บ เบอร จั ด ตั ้ ง บริ ษ ั ท ย อ ยแห ง ใหม ได แ ก

2560 2560 2560 ตุลาคม

2554

บมจ. ศรีตรัง เสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนทั่วไป ในประเทศสิ ง คโปร รวมทั ้ ง นั ก ลงทุ น สถาบั น และนำหุ  น เขาจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย สิงคโปรซึ่งถือเปนบริษัทยางพาราจดทะเบียนไทยแหงแรกที่ เขาเปนบริษัทจดทะเบียนในประเทศสิงคโปร

2560

ตุลาคม

จัดตั้ง Sri Trang Ayeyar โดยการรวมลงทุนกับบริษัท Ayeyar Hinthar Holdings จำกัดเพื่อขยายฐานการผลิตยางธรรมชาติ ในประเทศเมียนมา

มีนาคม

ธันวาคม

จัดตั้ง Sri Trang Indochina ในเมืองโฮจิมินห ซึ่งเปนบริษัท ยอยแหงแรกในประเทศเวียดนาม เพื่อซื้อขายและ ทำการ สงออกผลิตภัณฑยางธรรมชาติในประเทศเวียดนาม

มกราคม

2556 2556 เมษายน

2559 กันยายน

2559 มีนาคม

2560

บมจ. ศรีตรังเพิ่มสัดสวนการลงทุนใน บจ. ไทยเทค จากรอยละ 33.5 เป น ร อ ยละ 42.5 โดยการซื ้ อ หุ  น จาก บริ ษ ั ท อิ โ ตชู คอรปอเรชั่น จำกัด บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา ลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 100.0 ลานบาท เหลือ 25.0 ลานบาท เนื่องจากมีสภาพคลองเหลือ ภายหลังจากการหยุดดำเนินธุรกิจ ประเภทนายหนาซื้อขาย ลวงหนาในตลาดสินคาเกษตรลวงหนา (AFET) เนื่องจากAFET ได ถ ู ก ยุ บ รวมเข า กั บ ตลาด TFEX (Thailand Futures Exchange) บมจ ศรีตรัง และ บริษัทจากประเทศออสเตรียไดดำเนินการ แยกกิจการของบริษัทรวมและบริษัทรวมคาที่มีระหวางกัน เสร็จสมบูรณ* การแยกกิจการครั้งนี้สงผลใหบริษัทฯ มีสัดสวน การถือหุนใน บจ. สยามเซมเพอรเมด ซึ่งตอมาเปลี่ยนชื่อเปน บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) เพิ่มเปนรอยละ 90.2

2561 สิงหาคม

2561

รัฐประชาชนจีน โดยมีทุนจดทะเบียน1,650,000 ดอลลาร สหรัฐฯ

Sri Trang USA, Inc. เพิ ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นจากเดิ ม จำนวน 2,000,000 ดอลลารสหรัฐฯ เปน 3,000,000 ดอลลารสหรัฐฯ เพือ่ ประกอบธุรกิจจัดจำหนายถุงมือยางและอุปกรณการแพทย ในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ บมจ.ศรีตรัง รวมจัดตั้ง บจ. รวมทุนยางพาราไทย กับการยาง แหงประเทศไทย (กยท.) พรอมดวยผูผลิตและผูสงออกยาง รายใหญภาคเอกชนอีก 4 บริษัท ตามนโยบายภาครัฐ เพื่อ ดำเนินการซื้อขายแลกเปลี่ยนยางพาราทั้งในและตางประเทศ โดยมีทุนจดทะเบียน 1,200,000,000 บาท คิดเปนสัดสวน รอยละ 16.67 และชำระเงินลงทุนดังกลาวแลวรอยละ 50 บมจ.ศรีตรังดำเนินการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอผูถือ หุนเดิมของบริษัทตามสัดสวนจำนวนหุนที่ผูถือหุนแตละราย ถืออยู (Rights Offering) ในอัตราสวน 5 หุนสามัญเดิมตอ 1 หุ  น สามั ญ ใหม ในราคาเสนอขายหุ  น ละ 10 บาท โดยได ดำเนิ น การเพิ ่ ม ทุ น ชำระแล ว จาก 1,280,000,000 บาท เปนจำนวน 1,535,999,998 บาท บจ. ศรี ต รั ง รั บ เบอร แอนด แพลนเทชั ่ น เพิ ่ ม ทุ น จด ทะเบี ย นจากเดิ ม จำนวน 6,227,500,000 บาท เป น 6,555,000,000 บาท เพื ่ อ ใช ใ นการลงทุ น ในธุ ร กิ จ สวนยางพารา บจ. สตาร เ ท็ ก ซ รั บ เบอร เพิ ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นจากเดิ ม จำนวน 2,114,898,000 บาท เป น 2,635,000,000 บาท เพื ่ อ ใช ใ นการเพิ ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นใน Shidong Shanghai Medical Equipment Company Limited เพื่อขยายธุรกิจจัดจำหนายถุงมือในประเทศจีน ที ่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบมจ.ศรี ต รั ง มี ม ติ ใ ห บ ริ ษ ั ท ฯ เข า ลงทุ น ในบริ ษ ั ท ไทยกอง จำกั ด (มหาชน) (“TK”) ซึ่งเปนบริษัทที่ประกอบธุรกิจถุงมือยาง ในประเทศไทย โดยนำ TK ไปควบรวมกั บ บริ ษ ั ท ศรี ต รั ง โกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด (“STGT”)**

ธันวาคม

2561

Sri Trang USA, Inc. ชำระเงินเพิ่มทุนจดทะเบียนสวนที่เหลือจากเดิม จำนวน 3,000,000 ดอลลารสหรัฐฯ เปน 5,000,000 ดอลลารสหรัฐฯ เพือ ่ สนับสนุนการขยายตัวของธุรกิจถุงมือยางในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ

หมายเหตุ: *ยกเวน บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย ซึ่งจะยังคงเปนบริษัทรวมทุนโดยเซมเพอรริทมีสิทธิ call option ในการซือ้ หุน จาก บมจ. ศรีตรังและผูถ อื หุน รายยอยอืน่ ๆ ทีเ่ หลือในชวงระหวาง ป 2562- 2564 **บริษัทคาดการณวาการดำเนินการควบจะแลวเสร็จภายในเดือนเมษายน 2562

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

19


ผลิตภัณฑและ บริการ

ธุรกิจตนน้ำ สวนยางพารา

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีพื้นที่สำหรับธุรกิจสวนยางพาราประมาณ 45,000 ไร ครอบคลุมพื้นที่ 19 จังหวัด ในประเทศไทย ซึ่งสวนใหญตั้งอยูในเขตภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีสัดสวนสวนยางที่ปลูกไปแลว ทั ้ ง สิ ้ น ร อ ยละ 89 บางสวนเริ่มทยอยใหผลผลิตตั้งแตป 2558 ซึ่งไดสงผลดีตอกลยุทธการสรรหาวัตถุดิบสำหรับธุรกิจ กลางน้ำซึง่ เปนธุรกิจหลัก ของบริษทั ฯ

ธุรกิจกลางน้ำ

การผลิตผลิตภัณฑยางธรรมชาติ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุมบริษัทศรีตรังฯมีโรงงานผลิตยางธรรมชาติทั้งสิ้นจำนวน 36 โรง แบงออกเปนในประเทศ ไทยจำนวน 32 โรง ในประเทศอินโดนีเซียจำนวน 3 โรง และในประเทศเมียนมาจำนวน 1 โรง มีประมาณการกำลัง การผลิตรวม 2.86 ลานตันตอป สำหรับป 2561 บริษัทฯ มีอัตราการใชกำลังการผลิตที่ระดับประมาณรอยละ 62.0 ผลิตภัณฑยางธรรมชาติเปนหนึ่งในผลิตภัณฑหลักที่ทำรายไดใหกับบริษัทฯ คิดเปนรอยละ 83.5 ของรายไดจากการขาย และบริการในป 2561 บริษัทฯ ผลิตและจำหนายผลิตภัณฑยางธรรมชาติพื้นฐานที่ครอบคลุมทุกประเภท ไดแก ยางแทง ยางแผนรมควัน และ น้ำยางขน เพื่อจำหนายใหแกผูผลิตยางลอและผูผลิตถุงมือยางทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ ผลิตภัณฑยางธรรมชาติ

ยางแทง

ยางแผนรมควัน

น้ำยางขน

ชนิดที่จำหนาย

ชนิดที่จำหนาย

ชนิดที่จำหนาย

การนำไปใชงาน

การนำไปใชงาน

การนำไปใชงาน

ผลิตในประเทศไทย • STR • STR CV • STR Mixture ผลิตในประเทศอินโดนีเซีย • SIR • SIR Mixture ผลิตในประเทศเมียนมา • ยางแทงอัดกอนเมียนมา สวนใหญใชเปนวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรม ยางลอ

แบงไดเปน 5 ประเภท คือ RSS1, RSS2, RSS3, RSS4 และ RSS5 • ยางแกว (ADS) • RSS 1XL

เปนวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมยางลอ อะไหลรถยนต สายพาน ทอน้ำ รองเทา ฯลฯ

น้ำยางขน 60% • HA – High Ammonia Latex • MA – Medium Ammonia Latex • LA – Low Ammonia Latex • Double Centrifuge Latex

เปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมผลิตถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ยางยืด กาว ฯลฯ

วัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิตผลิตภัณฑยางแทง ยางแผนรมควัน และน้ำยางขน ไดแก ยางกอนถวย ยางแผนดิบ และน้ำยางสด ตามลำดับ กระบวนการสรรหาวัตถุดบิ ถือมีสว นสำคัญเปนอยางมากตอความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจเนือ่ งจากตนทุนการผลิต ประมาณรอยละ 90 มาจากตนทุนวัตถุดิบ ดังนั้น บริษัทฯ จึงใหความสำคัญในการจัดตั้งเครือขายศูนยกลางการจัดหาวัตถุดิบ (Procurement Centre) ในจุดยุทธศาสตรทส่ี ำคัญทีใ่ กลกบั แหลงวัตถุดบิ ทัง้ นี้ เพือ่ ลดตนทุนการซือ้ วัตถุดบิ และเพิม่ เครือขาย การสรรหาวัตถุดิบใหกวางขวางที่สุด 20

รายงานประจำป 2561


ธุรกิจปลายน้ำ ธุรกิจปลายน้ำทีส่ ำคัญของบริษทั ฯ มี 2 ประเภท ไดแก ถุงมือยางทางการแพทย และทอไฮดรอลิกแรงดันสูง ถุงมือยางทางการแพทย

บริษัทฯ ผลิตและจำหนายถุงมือยางธรรมชาติและถุงมือยางไนไตรลที่ใชในทางการแพทยและทางอุตสาหกรรม ทั้งแบบ มีแปงและไมมีแปงใหแกลูกคาทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยดำเนินการผลิตทั้งในลักษณะการรับจางผลิต (Original Equipment Manufacturer : OEM) ใหกับคูคาทั้งในและตางประเทศ ตามคุณสมบัติและความตองการของลูกคา รวมทั้ง การผลิตและจัดจำหนายภายใตเครื่องหมายการคาของบริษัท อาทิ “ศรีตรังโกลฟส” ทั้ง ในประเทศและตางประเทศ ในป 2561 บริษัทฯ ไดบรรลุเปาหมายการขยายกำลังการผลิตถุงมือยางเปน 17,200 ลานชิ้นตอป หากพิจารณาจาก กำลังการผลิตถือไดวาบริษัทฯ เปนผูผลิตถุงมือยางรายใหญที่สุดในประเทศไทย และจัดเปนผูผลิตถุงมือยางที่มีกำลังการ ผลิต ในอันดับตนๆของโลก โดยผลิตภัณฑถุงมือยางเปนหนึ่งในผลิตภัณฑหลักที่สรางรายไดและกำไรมีแนวโนมเติบโต อยางตอเนื่อง สรางรายไดใหกับบริษัทฯ คิดเปนรอยละ 16.0 ของรายไดจากการขายและบริการในป 2561

ในป 2561 บริษัทฯ ไดบรรลุเปาหมายการขยายกำลังการผลิตถุงมือยางเปน 17,200 ลานชิ้นตอป ถือได วาบริษัทฯ เปนผูผลิตถุงมือยางรายใหญที่สุดในประเทศไทยและจัดเปนผูผลิตถุงมือยางที่มีกำลังการผลิต ในอันดับตนๆ ของโลก โดยบริษัทฯ ตั้งเปาหมายที่จะมุงสูการเปนผูผลิตถุงมือยางที่ใชในทางการแพทย และอุตสาหกรรมติดอันดับ 1 ใน 3 ของโลกในอนาคตอันใกล

ทอไฮดรอลิกแรงดันสูง

บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเชีย ซึ่งกอตั้งโดยความรวมมือของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทจากประเทศ ออสเตรียเปนผูผลิตทอไฮโดรลิคแรงดันสูงที่ใหญที่สุดในประเทศไทย ซึ่งสวนมากนำไปใชสำหรับโรงงาน อุตสาหกรรมหนัก

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

21


ธุรกิจอื่นที่สนับสนุนการดำเนินงานหลัก

บริษัทฯ ไดจัดตั้งบริษัทยอยหลายบริษัทเพื่อดำเนินธุรกิจในการใหบริการและสนับสนุนการ ดำเนินงานหลักของกลุมบริษัทฯ

การขายและจัดจำหนาย

บริษัทฯ ไดจัดตั้งเครือขายการซื้อขายและจัดจำหนายผลิตภัณฑยาง ธรรมชาติ แ ละถุ ง มื อ ยางใน 4 ตลาดหลั ก ซึ ่ ง ได แ ก ประเทศสิ ง คโปร สาธารณรัฐประชาชนจีน สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม โดยดำเนินการ ผานบริษัทยอยของบริษัทฯ ไดแก Sri Trang International, Shi Dong Shanghai, Shi Dong Shanghai Medical Equipment และ Sri Trang Indochina

การขนสง

บจ. สตาร ไ ลท เอ็ ก ซเพรส ทรานสปอร ต เป น ผู  ใ ห บ ริ ก ารขนส ง และ โลจิสติกสสำหรับการขายผลิตภัณฑยางธรรมชาติของบริษัทฯ ภายใน ประเทศไทยโดยบริการดังกลาวรวมถึงการจัดเตรียมเคลื่อนยายสินคา ลงเรือและ การจัดเตรียมเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวกับการนำเขาและสงออก

การบำรุงรักษาและพัฒนาวิจัยการผลิต

บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง เปนผูใหบริการบำรุงรักษา เครื่องจักร และอุปกรณรวมถึงคิดคนพัฒนากระบวนการผลิตอันล้ำสมัยใหแกกลุม บริษัทฯ นอกจากนี้ยังเปนผูวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑใหไดคุณภาพเฉพาะ ตัวตามความตองการของลูกคา

ธุรกิจแปรรูปและผลิตไมยางพารา

บจ. อันวารพาราวูด แปรรูปอบแหงไมยางพาราและไมที่ปลูกขึ้นเพื่อสง ใหกับอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร และธุรกิจผลิตบรรจุภัณฑที่ทำจากไมยาง พาราและไมชนิดอื่น เพื่อใชเปนพาเลทในการวางสินคาภายในกลุมบริษัทฯ

22

รายงานประจำป 2561


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

23

42.5%

90.0%

99.9%

99.9%

99.9%

บจ. ไทยเทค

PT Sri TrangLingga

บจ. สะเดาพี.เอส.รับเบอร

บจ. หน่ำฮั่ว

บจ. รับเบอรแลนด

ผลิตภัณฑยางธรรมชาติ

15.0%

42.5%

50.0%

Itochu Corporation Corporation

Semperit Technische Produkte

บจ.เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย

บจ. เซาทแลนด รับเบอร

42.5%

90.2%

สินคาสำเร็จรูป

บมจ. ศรีตรัง

บจ.ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

โครงสรางการถือหุนของกลุมบริษัท

โครงสรางการถือหุนของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

100%

100%

Sri Trang Ayeyar

Shi Dong Shanghai

Sri Trang USA, Inc.

59.0%

100%

Sri Trang Indochina

Shi Dong Investments

40.0%

99.0%

100%

Ayeyar Hinthar Holdings Co., Ltd.

PT Star Rubber

Shi Dong Shanghai Medical

บจ. สตารเท็กซรับเบอร

Sri Trang International

99.9%

100%

100%

จัดจำหนาย

บจ. อันวารพาราวูด

16.67%

99.9%

40.0%

99.9%

99.9%

บจ. รวมทุนยางพารา

บจ. ศรีตรังรับเบอร แอนด แพลนเทชั่น

บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา

บจ. สตารไลทเอ็กซเพรส ทรานสปอรต

บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง

99.9%

บริการ/ธุรกิจอื่น

กยท.

16.67%

16.67%

16.67%

บจ. เซาทแลนด

บจ. วงศบัณฑิต

บมจ. ไทยฮั้ว

บมจ. ไทยรับเบอร ลาเท็คซ 16.67%

16.67%

44.5%

บมจ. ลีพัฒนา ผลิตภัณฑ


โครงสรางรายได

ของกลุมบริษัท ประเภทของธุรกิจ / ดำเนินการโดย

สัดสวนการ ถือหุน  โดยบริษท ั ฯ (รอยละ)

รายไดจากผลิตภัณฑยางแทง

ประจำปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

2560

2559 ลานบาท

(%)

ลานบาท

(%)

ลานบาท

(%)

56,133.4

72.5

63,183.1

70.1

50,008.1

67.8

7,305.3

9.4

9,653.1

10.7

6,816.0

9.2

6,088.0

7.9

6,285.5

7.0

4,537.1

6.2

10.9

11,786.3

16.0

บมจ. ศรีตรัง Sri Trang International Sri Trang USA, Inc.

99.99 100.00

บจ. รับเบอรแลนด

99.99

บจ. หน่ำฮั่ว

99.99

PT Sri Trang Lingga

90.00

Shi Dong Shanghai

100.00

PT Star Rubber

98.99

Sri Trang Ayeyar

58.99

รายไดจากผลิตภัณฑยางแผนรมควัน

บมจ. ศรีตรัง Sri Trang International Sri Trang USA, Inc. บจ. หน่ำฮั่ว Shi Dong Shanghai

Sadao P.S. Rubber

99.99 100.00 99.99 100.00

99.99

รายไดจากผลิตภัณฑน้ำยางขน บมจ. ศรีตรัง Sri Trang International

99.99

Shi Dong Shanghai

100.00

Sri Trang USA, Inc.

100.00

บจ. รับเบอรแลนด

99.99

บจ. หน่ำฮั่ว

99.99

รายไดจากผลิตภัณฑถุงมือยาง*

9,858.7

บมจ. ศรีตรัง บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

24

รายงานประจำป 2561

90.23


ประเภทของธุรกิจ / ดำเนินการโดย Sri Trang International

สัดสวนการ ถือหุน  โดยบริษท ั ฯ (รอยละ)

2561

2560

2559

ลานบาท

(%)

ลานบาท

10.0

406.6

0.5

345.3

0.5

197.5

0.2

685.5

0.8

239.5

0.3

77,463.0

100.0

90,072.5

100.00

73,732.3

100.0

ลานบาท

(%)

7,738.8

(%)

99.99

Sri Trang USA, Inc.

100.00

Shi Dong Shanghai

100.00

Shi Dong Shanghai Medical

ประจำปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

99.99

รายไดจากผลิตภัณฑอื่นและ บริการอื่น** บมจ. ศรีตรัง บจ. อันวารพาราวูด

99.94

Sri Trang International

99.99

บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง

99.99

บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต

99.99

บจ. สตารเท็กซ รับเบอร

99.99

บจ. รับเบอรแลนด

99.99

Sri Trang USA, Inc.

100.00

Shi Dong Shanghai

100.00

บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น รายไดอื่น รายไดรวม สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนใน บริษัทรวมและกิจการรวมคา

99.99

402.8

129.8

223.7

หมายเหตุ :

* ในเดือนมีนาคม 2560 บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ไดเปลี่ยนสถานะจากกิจการรวมคาเปนบริษัทยอย ดังนั้นรายไดจากผลิตภัณฑถุงมือยางจึงเปนรายไดภายใตงบการเงินรวมหลัง วันที่ 15 มีนาคม 2560 ** ประกอบไปดวยรายไดจาก (ก) การจำหนายไมฟนและบรรจุภัณฑไม (ข) การใหบริการบางประเภท (เชน บริการดานการขนสง การวิจัยและพัฒนา และเทคโนโลยีสารสนเทศ) แกบริษัทรวมของบริษัทฯ และกิจการรวมคาของบริษัทฯ รวมถึงบริษัทภายนอกอื่นๆ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

25


กลยุทธและเปาหมาย ในการประกอบธุรกิจ

ในอีก 3 – 5 ป ขางหนา

26

รายงานประจำป 2561


ดวยความเปนผูนำในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติที่มีกำลังการผลิต ที ่ ส ู ง สุ ด ในโลก และมี ศ ู น ย ร ั บ ซื ้ อ วั ต ถุ ด ิ บ โรงงานผลิ ต ตลอดจน สำนักงานขายที่ตั้งอยูในจุดยุทธศาสตรสำคัญทั่วโลกและการเลือก ขยายโรงงานในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งถือ วาเปนพื้นที่ที่อุดมสมบูรณไปดวยสวนยางพาราใหมและมีศักยภาพ ในการเติ บ โตสู ง โดยบริ ษ ั ท ฯ ได เ พิ ่ ม กำลั ง การผลิ ต โดยการสร า ง โรงงานใหมและขยายกำลังการผลิตบนโรงงานแหงเดิมอยางตอเนื่อง ทำใหในชวงทศวรรษที่ผานมา บริษัทฯ มีกำลังการผลิตเติบโตแบบ กาวกระโดดถึง 3 เทา สงผลใหอัตราการเติบโตเฉลี่ยของปริมาณการ ขายของบริษัทฯ ในชวง 10 ปที่ผานมาเทากับรอยละ 8-10 ซึ่งสูงกวา อัตราการเติบโตเฉลี่ยของปริมาณความตองการบริโภคยางธรรมชาติ ของโลกที่รอยละ 3 ปจจุบันบริษัทฯ มีสวนแบงทางการตลาดของ ความตองการยางธรรมชาติโลกเปนรอยละ 10 ในป 2561 อีกทั ้ง การผนึกกำลังของทีมงานที่แข็งแกรงไมว าจะเปนทีมขาย ที ม วิ จ ั ย และพั ฒ นา ที ม ประกั น คุ ณ ภาพ และที ม CSRที ่ ร  ว มมื อ กั น ทำงานเพื ่ อ สร า งความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ให ก ั บ ลู ก ค า ควบคู  ไ ป กับการสานสัมพันธใหแนนแฟนยิ่งขึ้นบริษัทฯ จึงมีความมั่นใจวา บริษัทฯ จะสามารถสรางประวัติศาสตรปริมาณการขายที่เพิ่มมากขึ้น ซึ ่ ง จะทำให บ ริ ษ ัทฯ สามารถบรรลุเปาหมายอัน สู ง สุ ด ในการเป น “STA 20” หรื อ การมี ป ริ ม าณการขายผลิ ต ภั ณ ฑ ย างธรรมชาติ และถุงมือยางคิดเปนสัดสวนรอยละ 20 ของปริมาณความตองการ บริโภคผลิตภัณฑยางธรรมชาติและถุงมือยางของโลกไดในเวลาอันใกล

สำหรั บ ธุ ร กิ จ ถุ ง มื อ ยางนั ้ น บริ ษ ั ท ฯ มี ค วามมุ  ง มั ่ น ที ่ จ ะเพิ ่ ม พู น ศักยภาพการแขงขันและความไดเปรียบทีม่ เี หนือคูแ ขงอืน่ คือการเขาถึง แหลงวัตถุดิบอันไดแก น้ำยางขน ดวยปริมาณและคุณภาพที่เปนเลิศ รวมถึงการรักษาไวซึ่งการผลิตถุงมือยางไนไตรลเพื่อตอบสนองตอ ความตองการของลูกคาที่หลากหลายในทั่วทุกมุมโลก ทั้งสำหรับ การบริโภคในทางการแพทย อุตสาหกรรมอาหาร และในเชิง ไลฟสไตล โดยในป 2561 บริษัทฯ มีสวนแบงทางการตลาดแลวกวารอยละ 6 ของความตองการบริโภคถุงมือยางทั่วโลก ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดเดินหนา ขยายกำลังการผลิตถุงมือยางอยางตอเนื่อง เพื่อใหบรรลุเปาหมาย การมี ก ำลั ง การผลิ ต ที ่ 30,000 ล า นชิ ้ น ต อ ป ภ ายในป 2563 และมุงสูการเปนผูผลิตถุงมือยางที่ใชในทางการแพทยและอุตสาห กรรมติดอันดับ 1 ใน 3 ของโลกในอนาคตอันใกล นอกจากนี้การมุงเนนการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพผสานกับ การนำเทคโนโลยี ระบบออโตเมชั ่ น (Automation System) ระบบตรวจจับ (Sensor System) และการพัฒนาปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) เพื่อกาวสูการเปนโรงงานอัจฉริยะ (Smart factory) อันจะยก ระดับความเปนผูนำหนึ่งเดียวในอุตสาหกรรม ยางธรรมชาติอยางครบวงจรใหล้ำหนาทิ้งหางคูแขงในอุตสาหกรรม มากยิ่งขึ้นไปอีกดวย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

27


ภาวะอุตสาหกรรม และการแขงขัน

28

รายงานประจำป 2561


อุตสาหกรรมยางธรรมชาติ

ในป 2561 อุตสาหกรรมยางธรรมชาติ (NR) ยังคงอยูในภาวะอุปทานสวนเกิน (Oversupply) สืบเนื่องมาจากการขยายตัวของพื้นที่เพาะปลูกยางธรรมชาติในชวงป 2553 – 2555 อันเปน ชวงที่ราคายางธรรมชาติอยูในระดับสูงโดยพื้นที่ปลูกยางธรรมชาติในเอเชียแปซิฟกขยายตัวกวา รอยละ 18.9 และตนยางธรรมชาติที่ปลูกในชวงเวลาดังกลาว เริ่มทยอยใหผลผลิตนับตั้งแตป 2560 เปนตนมา ดวยภาวะอุปทานสวนเกินและราคายางธรรมชาติที่อยูในระดับต่ำทำใหรัฐบาล ของประเทศผูผลิตยางธรรมชาติหลัก ไดแก ประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งมีสัดสวน ของปริมาณการผลิตยางธรรมชาติคิดเปนรอยละ 67 ของปริมาณการผลิตยางธรรมชาติของโลก ดำเนินมาตรการจำกัดปริมาณการสงออกยางธรรมชาติ (Agreed Export Tonnage Scheme AETS) ในชวง 1 มกราคม 2561 – 31 มีนาคม 2561 เพื่อลดปริมาณการสงออกรวม 350,000 ตัน อยางไรก็ดี ดวยความไมแนนอนของภาวะเศรษฐกิจและการเมืองโลก ความผันผวน ของคาเงิน ในภูมภิ าคอาเซียนภายหลังการปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ ของธนาคารกลางสหรัฐ (FED) และประเด็น เรื่องสงครามการคาระหวางจีนและสหรัฐอเมริกาคงเปนปจจัยที่สรางความกังวลใหตลาดอยาง ตอเนื่อง สงผลใหราคายางธรรมชาติปรับลดลง โดยราคายางแทง TSR20 ณ ตลาด SICOM เฉลี่ยตลอดทั้งป 2561 อยูที่ 136.5 cent/kg. ลดลงจากป 2560 รอยละ 17.2 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

29


อุปสงคและอุปทานของยางธรรมชาติในป 2561

ตามขอมูลประมาณการของ The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospects to 2027 ประจำเดือนธันวาคม 2561 โดย International Rubber Study Group (IRSG) ความตองการใชยางธรรมชาติทั่วโลกในป 2561 คาดวาจะมีประมาณ 13,867,000 ตัน เติบโตในอัตรารอยละ 4.9 โดยมีปจจัยสนับสนุนจากการเติบโตของอุตสาหกรรมยางลอ ทั้งจากผูผลิต OEM (Original Equipment Manufacturer) และ REM (Replacement Equipment Manufacturer) ซึ ่ ง เป น ผู  บ ริ โ ภคหลั ก ของ ยางธรรมชาติคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 71 ของอุปสงครวม ตลอดจนแรงหนุนจากการบริโภคน้ำยางขนที่เติบโตไปพรอมกับ การขยายตัวของอุตสาหกรรมถุงมือยาง ในขณะที่ปริมาณการผลิตยางธรรมชาติในป 2561 เทากับ 13,901,000 ตัน หรือเติบโต รอยละ 2.5 โดยปริมาณอุปทานที่เพิ่มขึ้นสวนใหญมาจากประเทศไทย จีน เวียดนาม และกลุมประเทศ CAMAL*

แนวโนมอุปสงคและอุปทานของยางธรรมชาติในป 2562

IRSG คาดการณวาแนวโนมความตองการยางธรรมชาติทั่วโลกในป 2562 จะเทากับ 14,231,000 ตัน เติบโตคิดเปนรอยละ 2.6 ซึ่ง สัดสวนการบริโภคสวนใหญยังคงมาจากประเทศจีนซึ่งเปนผูบริโภคยางรายใหญที่สุดของโลก ตามมาดวยประเทศยุโรป อินเดีย สหรัฐอเมริกา และประเทศไทย ขณะที่ประเทศที่คาดการณวาจะมีการขยายตัวของการบริโภคในอัตราที่มากกวาการขยายตัวของ อุปสงคโดยรวม ไดแก อินเดีย และมาเลเซีย จากการบริโภคที่เพิ่มขึ้นของกลุมผูผลิตยางลอและถุงมือยาง ตามลำดับ ในสวนของ อุปทาน IRSG ไดประมาณการวาผลผลิตยางธรรมชาติในป 2562 จะเทากับ 14,262,000 ตัน เติบโตขึ้นรอยละ 2.6 โดยปริมาณ ผลผลิตยางธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นสวนใหญมาจากกลุมประเทศ CAMAL* ในขณะที่ปริมาณผลผลิตของประเทศผูผลิตยางธรรมชาติ รายใหญอันดับหนึ่งอยางประเทศไทย และอันดับสองอยางอินโดนีเซียนั้นมีแนวโนมคอนขางคงที่เนื่องจากตนยางที่ปลูกทดแทน ตนเดิมมีแนวโนมคงที่ และตนยางที่ปลูกยางใหมลดลงอยางตอเนื่อง สืบเนื่องมาจากราคายางที่อยูในระดับต่ำไมจูงใจเกษตรกร ใหปลูกตนยางเพิ่มเติม หมายเหตุ*: กลุมประเทศ CAMAL ไดแก ประเทศกัมพูชา เมียนมา และลาว แผนภาพแสดงปริมาณความตองการและการผลิตยางธรรมชาติของโลกโดยรวมในชวงป 2553 – 2562 (หนวย : ลานตัน) 16.0 0.61

12.0 10.8

10.4

8.0

4.0

1.00

0.91

11.2

11.0

11.0

11.7

12.3

12.1

12.1

12.1

12.3

12.6

12.5

13.6

13.2

13.9

13.9

14.3

14.2

0.60

11.4 0.34

0.20

0.21 0.13

0.03

0.03

(0.36)

(0.20)

(0.14) (0.02)

0.0

2553

2554

2555

2556

2557

ปริมาณอุปสงค (ซาย)

แหลงที่มาของขอมูล : IRSG

30

รายงานประจำป 2561

2558 ปริมาณอุปทาน (ขวา)

2559

2560

2561

ปริมาณอุปทานสวนเกิน (สวนขาด) (ขวา)

2562 (หนวย : ลานตัน)

(0.60)


ความสมดุลของปริมาณอุปสงคและอุปทานของยางธรรมชาติ ในป 2562 เปนที่คาดการณวาผลผลิตยางธรรมชาติจากตนยางที่ปลูกใหมจะเติบโตในอัตราที่ลดลง เนื่องจากการปลูกตนยางใหม ปรับตัวลดลงภายหลังจากชวงที่ราคายางธรรมชาติปรับตัวลดลงมาอยางตอเนื่องตั้งแตป 2554 นอกจากนี้ การที่ราคายางอยูใน ระดับต่ำหลายปติดตอกันสงผลใหเกษตรกรหันไปปลูกพืชอื่นทดแทน หรือเลื่อนระยะเวลาการปลูกตนยางใหมหรือการปลูก ทดแทนออกไป รวมถึงอาจสงผลใหจำนวนแรงงานกรีดยางและความถี่ในการกรีดยางลดลง ตลอดจนลดความนาสนใจที่จะมี ชาวสวนยางรายใหมเกิดขึ้นดวยในขณะที่ความตองการยางธรรมชาติยังเติบโตอยางตอเนื่องตามการเติบโตของอุตสาหกรรมยาง ลอ ดังนั้น IRSG จึงคาดการณวาปริมาณผลผลิตสวนเกินในป 2562 จะอยูที่ 31,000 ตัน ลดลงจากป 2561 เล็กนอยที่ปริมาณ ผลผลิตสวนเกินอยูที่ 34,000 ตัน

อุตสาหกรรมถุงมือยาง

The Malaysian Rubber Glove Manufacturers Association (MARGMA) ไดประมาณการความตองการถุงมือยางทั่วโลก ในป 2561 ประมาณ 268,000 ลานชิ้นตอป และคาดวาความตองการใชถุงมือยางเติบโตในอัตรารอยละ 8-10 ตอป โดยประเทศ ผูบริโภคถุงมือหลักไดแก สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุน และอเมริกาใต ซึ่งมีอัตราการบริโภคถุงมือตอประชากรในอัตราสูงกวา ประเทศเกิดใหม (Emerging Market) ซึ่งยังมีอัตราการบริโภคถุงมือตอประชากรต่ำ แตประเทศเกิดใหมกลับมีอัตราการเติบโต ของการบริโภคถุงมือคอนขางสูง ทั้งนี้ถุงมือยางที่ผลิตและใชโดยทั่วไปมีอยู 3 ประเภทหลักตามประเภทของวัตถุดิบคือ ถุงมือยาง ธรรมชาติ ถุงมือยางสังเคราะหไนไตรล และถุงมือไวนิล โดยความตองการใชถุงมือแตละชนิดนั้นขึ้นอยูกับลักษณะการนำไปใช คุณสมบัติเฉพาะตัวของถุงมือแตละชนิด รวมถึงราคาดวยเชนกัน ความตองการใชถุงมือยางเติบโตเพิ่มขึ้นไมเพียงแตเฉพาะอุตสาหกรรมการแพทยซึ่งเปนอุตสาหกรรมหลักในการบริโภคถุงมือยาง เทานั้น แตความตองการใชถุงมือยางยังมีอัตราการเติบโตสูงในกลุมอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรม ความงาม เปนตน

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

31


ภาวะการแขงขัน

“กวาครึ่งทศวรรษที่อุตสาหกรรมยางธรรมชาติตองเผชิญกับความทาทายและแรงกดดันจากหลากหลายปจจัยแวดลอม อาทิ การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจจีน ความผันผวนของคาเงินสกุลดอลลารสหรัฐ และราคาสินคาโภคภัณฑ เปนตน สงผลใหคูแขงหลายรายประสบปญหาและออกจากอุตสาหกรรมไป ดังนั้น ปจจัยสำคัญที่ทำใหบริษัทฯ ไดเปรียบในการแขงขัน ภายใตภาวะอุตสาหกรรมเชนนี้ประกอบดวยคุณภาพของผลิตภัณฑ ขนาดกำลังการผลิตที่ใหญที่สุดในโลก การบริการลูกคา ที่ดีเยี่ยม สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตรที่หลากหลาย ทีมผูบริหารที่เปยมดวยประสบการณ และการบริหารความเสี่ยงที่เปนเลิศ” บริษัทฯ เปนผูผลิตยางธรรมชาติแบบครบวงจรรายใหญที่สุดของโลกที่มีสวนแบงทางการตลาดในป 2561 ประมาณรอยละ 101 ของยอดความตองการใชผลิตภัณฑยางธรรมชาติรวมทั่วโลก โดยมีฐานธุรกิจในประเทศผูผลิตและสงออกยางธรรมชาติ 3 ลำดับแรก ของโลกไดแก ประเทศไทย อินโดนีเซีย และเวียดนาม ทั้งนี้คูแขงหลักของบริษัทฯ ในธุรกิจยางธรรมชาติ ไดแก บจ. วงศบัณฑิต กลุมบริษัทเซาทแลนด และ บมจ. ไทยฮั้วยางพารา ซึ่งตั้งอยูในประเทศไทย The Kirana Group, Halcyon Agri Corporation (Sinochem Group) และ China Hainan Rubber Industry Group Co., Ltd. ในประเทศอื ่ น ๆ ขณะที ่ ธ ุ ร กิ จ ถุ ง มื อ ยาง บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทเปนผูผลิตถุงมือยางดวยกำลังการผลิต ณ 31 ธันวาคม 2561 ที่ 17,200 ลานชิ้นตอป มีสวนแบงทางการตลาดในป 2561 ประมาณรอยละ 6 ของความตองการบริโภคถุงมือยางทั่วโลก โดยมีคูแขง หลักอยูในประเทศมาเลเซีย ไดแก Top Glove, Hartalega, Supermax และ Kossan เปนตน การที่บริษัทฯ มีกำลังการผลิตขนาดใหญทำใหบริษัทฯ สามารถเพิ่มอัตราการประหยัดตอขนาด เพิ่มความสมดุลของอำนาจการ ตอรองทั้งกับลูกคาและผูจัดหาวัตถุดิบ เพิ่มความสามารถในการแขงขันดานการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ และเพิ่มศักยภาพใน การเขาถึงแหลงเงินทุนในรูปแบบตางๆ หัวใจสำคัญของการเปนผูประกอบการกลางน้ำในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ คือ ความสามารถในการบริหาร ตนน้ำควบคูกับ ปลายน้ำไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น บริษัทฯ จึงวางจุดยุทธศาสตรตั้งฐานการผลิตในประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเปนสองประเทศหลักของโลกที่ผลิตยางธรรมชาติรวมมากกวารอยละ 60 ของปริมาณยางธรรมชาติที่ผลิตทั้งโลก รวมถึง ประเทศเมียนมาซึ่งเปนประเทศผูผลิตยางธรรมชาติที่มีศักยภาพการเติบโตสูง นอกจากนี้ ยังมีเครือขายในการสรรหาวัตถุดิบ ที่แข็งแกรงครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สำคัญ สำหรับดานการจัดจำหนาย บริษัทฯ ไดตั้งบริษัทยอยในประเทศสำคัญๆ อาทิ สาธารณ รัฐประชาชนจีน สิงคโปร และเวียดนาม เปนตน เพื่อเปนตัวแทนในการจัดจำหนายสินคาของบริษัทฯ และดวยคุณภาพสินคา ระดับมาตรฐานสากล บริษัทฯ จึงสามารถขายผลิตภัณฑยางธรรมชาติไปยังผูผลิตยางลอชั้นนำทั่วทุกมุมโลก การที่บริษัทฯ มีฐานธุรกิจในหลากหลายประเทศ รวมถึงมีทีมขายและการตลาดที่มากดวยประสบการณทำใหบริษัทฯ สามารถ ใหบริการลูกคาอยางดีเยี่ยม และตอบสนองความตองการของลูกคาทั่วทุกมุมโลกไดอยางทันทวงทีและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมุงพัฒนาสูการไมมีขอรองเรียนจากลูกคา โดยการจัดตั้งกระบวนการรองเรียนอยางเปนระบบและดำเนินการแกไข ทันทีที่ไดรับขอรองเรียนตางๆ กลุมผูบริหารของบริษัทฯ มีประสบการณและความชำนาญในธุรกิจอยางสูงจากการอยูในธุรกิจ ยางธรรมชาติมานานกวา 30 ป เปนอีกหนึ่งขอไดเปรียบดานการแขงขันอีกประการที่บริษัทฯ มีเหนือคูแขงในอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ในการกำหนดทิศทางธุรกิจ การวางแผนการดำเนินงาน ตลอดจนการจัดการระบบปองกันความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพเพื่อชวย ลดผลกระทบจากความผันผวนตางๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจ ผูประกอบการยางธรรมชาติจำเปนตองมีความรูความเขาใจถึงปจจัย อื่นที่เกี่ยวของ อาทิ สถานการณเศรษฐกิจโลก ความเคลื่อนไหวของอุปสงค-อุปทาน ความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนสกุล หลัก แนวโนมราคาน้ำมัน และนโยบายของรัฐบาล เปนตน ดังนั้น บริษัทฯ เชื่อวาความรูความเขาใจในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ อยางลึกซึ้งของทีมผูบริหารจะชวยเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจและความสามารถในการทำกำไรใหกับบริษัทฯ อยาง ตอเนื่อง ตลอดจนชวยสรางความแข็งแกรงใหแกสถานะทางการตลาดในฐานะผูนำในการประกอบกิจการยางธรรมชาติ

1

เทียบจากปริมาณการขายผลิตภัณฑยางธรรมชาติของบริษัทฯ ประมาณ 1,336,649 ตัน ในรอบปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 กับประมาณการปริมาณความตองการใชผลิตภัณฑยางธรรมชาติ รวมทั่วโลกที่ประมาณ 13,867,000 ตัน ในป 2561 (แหลงที่มาขอมูล : International Rubber Study Group (IRSG), The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospects to 2027, December 2018) เทียบจากปริมาณการขายผลิตภัณฑถุงมือยางของบริษัทฯ ประมาณ 16,937 ลานชิ้น ในรอบปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 กับประมาณการปริมาณความตองการในการบริโภค ถุงมือยางทั่วโลกที่ประมาณ 268,000 ลานชิ้น ในป 2561 (แหลงที่มาขอมูล : The Malaysian Rubber Glove Manufacturers Association)

32

รายงานประจำป 2561


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

33


จุดเดน 1. เปนผูผลิตผลิตภัณฑยางธรรมชาติรายใหญที่สุดของโลก

การที่บริษัทฯ มีกำลังการผลิตทางวิศวกรรม 2.86 ลานตันตอป (ณ ธันวาคม 2561) และมีผลิตภัณฑยางธรรมชาติทุกชนิดทำใหบริษัทฯ สามารถตอบสนองทุกความ ตองการของลูกคา สงผลใหบริษทั ฯ สามารถครองสวนแบงทางการตลาดไดถงึ รอยละ 10 ของความต อ งการยางธรรมชาติ ข องโลก นอกจากนี ้ การมี ก ำลั ง การผลิ ต ขนาดใหญยังชวยสรางความไดเปรียบดานการประหยัดตอขนาด (Economies of Scale) ตลอดจนชวยเพิ่มความสมดุลในการตอรองทางการคาทั้งกับเกษตรกร ชาวสวนยางและลูกคาอีกดวย 2. มีรูปแบบการประกอบธุรกิจยางธรรมชาติแบบครบวงจร

การประกอบธุรกิจแบบครบวงจรตั้งแตการทำสวนยางพาราการผลิต ผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติไปจนถึงการผลิตสินคาสำเร็จรูปถุงมือยางนั้น ทำใหบริษัทฯ เขาถึง ขอมูลเชิงลึกของทั้งหวงโซอุปทานไดอยางถูกตองซึ่งเปนการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขัน เนื่องจากบริษัทฯ สามารถ ตอบสนองตอทุกการเปลี่ยนแปลงของ สภาพตลาดไดอยางทันทวงทีรวมถึงบริษัทฯ สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑ กลางน้ำซึ่งเปนหนึ่ง ในธุรกิจหลักของบริษัทฯ สะทอนใหเห็นถึงความมุงมั่นของกลุม บริษัทศรีตรัง “ในฐานะผูประกอบการยางธรรมชาติครบวงจรและตอกย้ำสถานะ ความเปนผูนำในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติในระดับโลกอยางแทจริง” 3. มีชองทางการจัดจำหนายที่ครอบคลุมลูกคาทั่วโลก

การมีชองทางการจัดจำหนายที่ครอบคลุมลูกคาทั่วโลก ทำใหบริษัทฯไดรับขอมูล อุปสงคและการเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาดจากลูกคาโดยตรงรวมทั้งสนองตอบ ความตองการของลูกคาในประเทศนัน้ ๆ ไดอยางทันทวงทีดว ยกลยุทธทเ่ี หมาะสม 4. มีฐานการผลิตอยูในประเทศที่เปนจุดยุทธศาสตรสำคัญ

การที่บริษัทฯ มีโรงงานทั้งในภาคใต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ของประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซีย รวมถึงประเทศเมียนมานอกจากจะสราง ความไดเปรียบดานการจัดหาวัตถุดิบเนื่องจากประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซีย เปนประเทศผูผ ลิตยางธรรมชาติรายใหญคดิ เปนสัดสวนมากกวารอยละ 50 ของผลผลิต โลกโดยรวมแลวยังเปนการเพิ่มความยืดหยุนในการบริหารจัดการการผลิตตลอดทั้ง ป เนื่องจากแตละพื้นที่มีฤดูการกรีดยางที่ตางกัน นอกจากนี้ประเทศ เมียนมาเปน ประเทศที่มีศักยภาพในการเติบโตของปริมาณการผลิตยางธรรมชาติที่คอนขางสูง

34

รายงานประจำป 2561


5. การมีเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยและความสามารถดานการวิจัยพัฒนาที่แข็งแกรง

การมี เ ทคโนโลยี ท ี ่ ล ้ ำ สมั ย และความสามารถด า นการวิ จ ั ย พั ฒ นาที ่ แข็ ง แกร ง ช ว ยเพิ ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและผลิ ต ผล ทางการผลิตใหกับกลุมบริษัทฯ อยางตอเนื่องนอกจากนี้ การที่ทีมวิจัยและพัฒนาของบริษัทฯและของลูกคาสามารถ ทำงานรวมกันไดโดยตรงยังสงผลใหบริษัทฯ สามารถผลิตสินคาไดตรงกับความตองการเฉพาะของ ลูกคาแตละราย ไดอยางลงตัว 6. ความมุงมั่นในการเติบโตอยางยั่งยืนไปพรอมกับชุมชน

ความมุง มัน่ ในการพัฒนาชุมชนอยางตอเนือ่ งของบริษทั ฯ ชวยเสริมสรางความสัมพันธอนั แข็งแกรงและทัศนคติในเชิงบวก ของชุมชนซึ่งเปนสวนสำคัญที่ทำใหบริษัทฯ สามารถเติบโตอยางยั่งยืน 7. การเปนบริษัทที่จดทะเบียนหลักทรัพยทั้งในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และตลาดหลักทรัพยสิงคโปร BUY

ชวยเพิ่มศักยภาพในการเขาถึงแหลงเงินทุนและเครื่องมือทางการเงินเพื่อสนับสนุนการดำเนินธุรกิจธุรกิจอีกทั้งยัง เปนเครื่องยืนยันถึงการดำเนินธุรกิจดวยความโปรงใสภายใตหลักบรร ษัทภิบาลที่ดี 8. ผูบริหารมีประสบการณในอุตสาหกรรมอยางยาวนาน

กลุม ผูบ ริหารของบริษทั มีประสบการณ และความชำนาญในธุรกิจอยางสูงจากการอยูใ นธุรกิจยางธรรมชาติมานาน กวา 3 ทศวรรษ จึงสามารถขับเคลื่อนและนำพาบริษัทไปสูความสำเร็จไดแมจะตองเผชิญกับความทาทาย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

35


02

01 03

04

05

07

12 06 36

รายงานประจำป 2561

08

10

09

06

11


คณะกรรมการบริษัท ไวยวุฒิ สินเจริญกุล 01 ดร. ประธานกรรมการ / กรรมการผูจัดการใหญ วิศิษฐกิจการ 02 นายประกอบ รองประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน

สินเจริญกุล 03 นายไชยยศ กรรมการ / กรรมการบริหาร

ติชัย สินเจริญกุล 04 นายกิ กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหา รสิทธิ์ สินเจริญกุล 05 นายวี กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง พอล สุเมธ 06 นายลี กรรมการ / กรรมการบริหาร

ทราวุธ พาณิชยกุล 07 นายภั กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง ่ ซื่อเฉียง 08 นายหลี กรรมการ มภพ แกนจัน 09 นายเฉลิ กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง

ยง ยรรยงดิลก 10 นายเกรี กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาคาตอบแทน ชชา โพธิ์ถาวร 11 นายสมั กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาคาตอบแทน สรา จิตตมิตรภาพ 12 นางสาวอานุ กรรมการอิสระ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

07 37


ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล

อายุ 63 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 27 ธันวาคม 2536 ประธานกรรมการ / กรรมการผูจัดการใหญ ประวัติทางการศึกษา ปริญญาเอก (PHD) สาขาเคมี Queen Elizabeth’s College, University of London ปริญญาตรี สาขาเคมี (เกียรตินิยม อันดับ 1) Queen Elizabeth’s College, University of London

การทํางานปจจุบัน

• ประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทํางาน 2553 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

2536 – ปจจุบัน กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ศรีตรัง 2532 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2556 – 2560 กรรมการ Sri Trang Ayeyar 2542 – 2560 กรรมการ บจ. ที.อาร.ไอ โกลบอล 2530 – 2536 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี 2528 – 2530 ผูจัดการท่ัวไป บจ. ยางไทยปกษใต

38

รายงานประจำป 2561

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. ไทยเทค • กรรมการ บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย • กรรมการ บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส • กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment • กรรมการ Sri Trang Indochina

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไมมี

ประวัติการอบรม • ไมมี


นายประกอบ วิศิษฐกิจการ

อายุ 78 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 27 ธันวาคม 2536 รองประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน ประวัติทางการศึกษา ปริญญาโท สาขาการเงิน Indiana University สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาการเงิน Indiana University สหรัฐอเมริกา

การทํางานปจจุบัน

• รองประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการอิสระ บมจ. ศรีตรัง • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ.ศรีตรัง • ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทํางาน

2559 – ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง 2551 – ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง 2552 – ปจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. เออารไอพี 2558 – ปจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท 2551 – 2558 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • ไมมี

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • ไมมี

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน บมจ. เออารไอพี • กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 27/2009 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) 8/2009 ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) 8/2009 ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Chartered Director Class (CDC) 3/2008 ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 33/2003 ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) 5/2001 ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • SGX Listed Companies Development Programme: Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know

2542 – 2554 กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ปูนซีเมนตนครหลวง 2542 – 2551 กรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง 2540 – 2545 ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บมจ. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

39


นายไชยยศ สินเจริญกุล

อายุ 67 ปี วันที่ไดรับแตงตั้ง 27 ธันวาคม 2536 กรรมการ / กรรมการบริหาร ประวัติทางการศึกษา Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทํางานปจจุบัน

• กรรมการ บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทํางาน 2536 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง

2557 – 2559 อนุกรรมาธิการ พิจารณาศึกษาผลผลิตทางการเกษตร ในคณะกรรมธิการเกษตรและสหกรณ สภานิติบัญญัติแหงชาติ 2557 – 2558 อนุกรรมาธิการการจัดการองคกร คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติการยางแหงประเทศไทย สภานิติบัญญัติแหงชาติ 2551 – 2557 กรรมการ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

40

ประวัติการทํางาน

2551 – 2553 ประธานคณะทำงานสาขาเกษตร อุตสาหกรรมเกษตรและสิ่งแวดลอม 2530 – 2536 กรรมการ บจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. รับเบอรแลนด • กรรมการ บจ. หน่ำฮั่ว • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร • กรรมการ บจ. อันวารพาราวูด • กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง • กรรมการ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร • กรรมการ บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส • ประธานสภาธุรกิจยางอาเซียน • กรรมการบริหาร บจ. รวมทุนยางพาราระหวางประเทศ • กรรมการ คณะกรรมการนโยบายยางธรรมชาติ • นายกสมาคมยางพาราไทย

2551 – 2555 ประธานสภา อุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ

2533 – 2547 กรรมการ บจ. ไทยเทค รับเบอร

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

2551 – 2553 รองประธานสภาธุรกิจ IMT-GT ประเทศไทย

ประวัติการอบรม

รายงานประจำป 2561

• กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment

• ไมมี

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 66/2007


นายกิติชัย สินเจริญกุล

อายุ 59 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 10 เมษายน 2538 กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหา ประวัติทางการศึกษา ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Indiana State University สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทํางานปจจุบัน

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ

ประวัติการทํางาน

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ

2553 – ปจจุบัน กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• กรรมการอำนวยการ บมจ. ศรีตรัง (สาขากรุงเทพฯ) • กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • ผูจัดการสายงานกฎหมายและบริหารทั่วไป บมจ. ศรีตรัง • กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานกฎหมายและบริหารทั่วไป บมจ. ศรีตรัง

2538 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2530 – ปจจุบัน บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

• กรรมการ บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส • กรรมการ บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา • กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

• กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Sri Trang Ayeyar

ไมมี

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 67/2007 • SGX Listed Companies Development Programme Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know

2531 – 2549 ผูจัดการ บมจ. ศรีตรัง สาขากรุงเทพฯ 2527 – 2530 ฝายสินเชื่อ ธนาคารซิตี้แบงค

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

41


นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล อายุ 34 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 28 เมษายน 2553 กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประวัติทางการศึกษา ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (การเงิน และการตลาด) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร The University of Reading United Kingdom

การทํางานปจจุบัน

• กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทํางาน

2561 – ปจจุบัน นายกสมาคมถุงมือยางไทย 2556 – ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2560 – ปจจุบัน บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2551 – 2554 แผนกสินเชื่อ บมจ. ธนาคารกสิกรไทย

42

รายงานประจำป 2561

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) • กรรมการ บจ. รับเบอรแลนด • กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง • กรรมการ บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต • กรรมการ บจ. ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น • กรรมการ บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเชีย • กรรมการ บจ. ไทยเทค รับเบอร • นายกสมาคมถุงมือยางไทย

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • กรรมการ Sri Trang USA, Inc. • กรรมการ Sri Trang Ayeyar • กรรมการ PT Sri Trang Lingga

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไมมี

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 85/2010 • หลักสูตร Financial Statements for Directors รุนที่ 26/2014 • สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) รุนที่ 10


นายลี พอล สุเมธ

อายุ 64 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 28 มิถุนายน 2553 กรรมการ / กรรมการบริหาร ประวัติทางการศึกษา ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ International Institute for Management Development, Lausanne สวิสเซอรแลนด ปริญญาตรี Bachelor of Commerce University of New South Wales, Sydney ออสเตรเลีย

การทํางานปจจุบัน

• กรรมการ บมจ.ศรีตรัง • ผูจัดการสายงานการตลาด บมจ.ศรีตรัง

ประวัติการทํางาน

2553 – ปจจุบัน กรรมการและผูจัดการสายงานการตลาด บมจ. ศรีตรัง 2531 – 2546 Global Market Director, ELDERS Finance/ DRESDNER Bank6 –

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. ไทยเทค

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • ประธานกรรมการ Sri Trang International • กรรมการ PT Star Rubber • กรรมการ PT Sri Trang Lingga • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment • กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Sri Trang Ayeyar

2526 – 2530 โปรแกรมเมอร Macquarie Bank

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

2525 โปรแกรมเมอร Custom Credit Corporation

• SGX Listed Companies Development Programme Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know

• ไมมี

ประวัติการอบรม

2522 – 2524 โปรแกรมเมอร Computer Installation Development

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

43


นายภัทราวุธ พาณิชยกุล อายุ 50 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 7 พฤษภาคม 2557 กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง ประวัติทางการศึกษา ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจการบัญชี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

การทํางานปจจุบัน

• กรรมการ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง • CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทํางาน 2557 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง

2556 – ปจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ บมจ. ศรีตรัง 2553 – 2560 บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2544 – 2552 ผูจัดการฝายบัญชี บมจ. ศรีตรัง 2535 – 2543 ผูจัดการฝายบัญชี บจ. สยามเซมเพอรเมด

44

รายงานประจำป 2561

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. รับเบอรแลนด • กรรมการ บจ. หน่ำฮั่ว • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร • กรรมการ บจ. อันวารพาราวูด • กรรมการ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร • กรรมการ บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • กรรมการ PT Sri Trang Lingga

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น • ไมมี

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร Director Certification Program รุนที่ DCP 195/2014 • หลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy รุนที่ SFE 24/2015 • หลักสูตรการบัญชีเครื่องมือทางการเงิน สำหรับองคกรที่มิใชสถาบันทางการเงิน โดยบริษัท เอ็น วาย ซี แมนเนจเมนท จำกัด


นายหลี่ ซื่อเฉียง

อายุ 46 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 7 พฤษภาคม 2557 กรรมการ ประวัติทางการศึกษา ปริญญาโท สาขา Business Management Shanghai University, China ปริญญาตรี สาขา Business English Qingdao University, China

การทํางานปจจุบัน

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ

ประวัติการทํางาน

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • กรรมการ และผูจัดการทั่วไป Shi Dong Shanghai • กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment

2560 – ปจจุบัน กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

2555 – ปจจุบัน รองประธานสมาคมยางพาราจีน

• สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 125/2016

• กรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2557 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง

• ไมมี

• ไมมี

ประวัติการอบรม

2553 – ปจจุบัน กรรมการ และผูจัดการทั่วไป Shi Dong Shanghai 2547 – 2553 ที่ปรึกษาของกลุมบริษัทศรีตรังในประเทศจีน 2545 – 2546 ผูจัดการฝายนำเขาและสงออก Qingdao Sentaida Rubber Co., Ltd. 2543 – 2545 ผูจัดการฝายยางธรรมชาติ Sinochem International Corp. (Qingdao office) 2540 – 2543 ผูชวยผูจัดการทั่วไป Qingdao Tizong Rubber Tyre Co., Ltd.

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

45


นายเฉลิมภพ แกนจัน

อายุ 48 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 29 ตุลาคม 2558 กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง ประวัติทางการศึกษา Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทํางานปจจุบัน

• กรรมการ บมจ.ศรีตรัง • กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง • ผูจัดการสายงานการผลิต บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทํางาน 2558 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง

• กรรมการ บจ. รับเบอรแลนด • กรรมการ บจ. หน่ำฮั่ว • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร • กรรมการ บจ. อันวารพาราวูด • กรรมการ บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • ไมมี

2556 – ปจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

2553 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานการผลิต บมจ. ศรีตรัง

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 132/2016 • หลักสูตร Strategic Innovation Management Training Program ของสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ

2549 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานการผลิต บจ. รับเบอรแลนด 2541 – 2548 ผูจัดการโรงงาน บจ. รับเบอรแลนด 2537 – 2540 ผูชวยผูจัดการโรงงานน้ำยาง บมจ. ศรีตรัง

46

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ

รายงานประจำป 2561

• ไมมี

ประวัติการอบรม


นายเกรียง ยรรยงดิลก

อายุ 80 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 25 มกราคม 2543 กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาคาตอบแทน ประวัติทางการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทํางานปจจุบัน

ประวัติการทํางาน

ประวัติการทํางาน

2511 ผูตรวจการตรี สำนักงานสรรพากร จังหวัดภูเก็ต

• กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง • ประธานกรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง • กรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง • ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4250 2553 – ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง

2528 – 2541 สรรพากรจังหวัด, สรรพากรพื้นที่, สรรพากรภาค 3 กรมสรรพากร

2508 ราชการชั้นตรี สำนักงานตรวจเงินแผนดิน

2553 – ปจจุบัน คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ

2553 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. มารช ออโต 2010

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • ไมมี

2543 – ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง

• ไมมี

2536 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. เจ เอ็ม พี กรุป (1993)

• กรรมการ บจ. เจ เอ็ม พี กรุป (1993) • กรรมการ บจ. มารช ออโต 2010

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ประวัติการอบรม

• สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 11/2004

2547 – 2548 กรรมการตรวจสอบ บมจ. โออิชิ กรุป

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

47


นายสมัชชา โพธิ์ถาวร

อายุ 75 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 1 กุมภาพันธ 2551 กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาคาตอบแทน ประวัติทางการศึกษา รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เนติบัณฑิตไทย นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทํางานปจจุบัน

• กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง • กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง • กรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทํางาน

2558 – ปจจุบัน ประธานอนุกรรมการพิจารณาคำรองขอรับเงินชวยเหลือเบื้องตน ตามม. 41 แหง พ.ร.บ. สปสช. 2545 ประจำจ.พังงา

2540 – 2543 รองผูวาราชการ จังหวัดพัทลุง และจังหวัดตรัง

2558 – ปจจุบัน อกพ. ศอ.บต. สำนักนายกรัฐมนตรี

2539 – 2540 ปลัดจังหวัด

2554 – ปจจุบัน กรรมการสภา มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย

2527 – 2539 นายอำเภอ

2553 – ปจจุบัน กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง 2551 – ปจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง

2512 – 2526 ปลัดอำเภอ

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการสภา มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • ไมมี

2549 – 2551 ผูชวยเลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวง กระทรวงมหาดไทย

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

2549 – 2551 ผูวาราชการจังหวัด จังหวัดพังงา

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 75/2008 • SGX Listed Companies Development Programme Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know

2546 – 2547 ที่ีปรึกษากฎหมาย กระทรวงมหาดไทย

48

ประวัติการทํางาน 2543 – 2545 ผูชวยปลัดกระทรวง และ รองผอ. ศูนยอำนวยการจังหวัดชายแดนภาคใต กระทรวงมหาดไทย

รายงานประจำป 2561

• ไมมี

ประวัติการอบรม


นางสาวอานุสรา จิตตมิตรภาพ อายุ 64 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 21 กันยายน 2560 กรรมการอิสระ ประวัติทางการศึกษา ปริญญาตรีนิเทศศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาบัตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ป 2558

การทํางานปจจุบัน

ตําแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ

ประวัติการทํางาน

ตําแหนงในกิจการท่ีไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ

• กรรมการอิสระ บมจ. ศรีตรัง 2561 – ปจจุบัน ที่ปรึกษา บจ. บานปูอินฟเนอรจี 2561 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซีเอ็มโอ 2560 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ศรีตรัง 2560 – ปจจุบัน ที่ปรึกษา บมจ. เบอรลี่ ยุคเกอร

• ไมมี

• ไมมี

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซีเอ็มโอ • ที่ปรึกษา บมจ. เบอรลี่ ยุคเกอร

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร Chartered Director Class ป 2557 • หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) ป 2557 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2554 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2559 – 2561 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซีเอ็มโอ 2558 – 2559 กรรมการ องคการสวนพฤกศาสตร สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ 2558 ประธานกรรมการ บจ. ไปรษณียไทย ดิสทริบิวชั่น 2557 – 2559 รองประธานกรรมการ บจ. ไปรษณียไทย 2554 – 2557 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ไปรษณียไทย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

49


คณะผูบ  ริหาร

1

2

นางประไพ ศรีสุทธิพงศ ผูจัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ อายุ 65 ป

นายอาศรม อักษรนำ ผูจัดการสายงานผลิต อายุ 51 ป

ประวัติการศึกษา

ประวัติการศึกษา

ประกาศนียบัตร สาขาการบัญชีโพลีเทคนิค กรุงเทพ

ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ประวัติการอบรม Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น ไมมี ประวัติการทำงาน 2548 - ปจจุบัน ผูจัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ บมจ.ศรีตรัง 2540 - 2547 หัวหนาฝายบัญชีดานการตรวจสอบวัตถุดิบ บมจ.ศรีตรัง 2536 - 2539 พนักงานบัญชี บมจ.ศรีตรัง

ประวัติการอบรม Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ประวัติการทำงาน 2551 - ปจจุบัน ผูจัดการสายงานการผลิต บมจ.ศรีตรัง 2560 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2552 - ปจจุบัน ผูจ  ด ั การโรงงาน บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2547 - 2551 ผูจัดการโรงงาน Sempermed Shanghai 2541 - 2546 ผูจัดการโรงงาน บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2538 - 2540 ผูจ  ด ั การฝายผลิต บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2532 - 2537 Line Chemist บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

50

รายงานประจำป 2561


3

4

นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ ผูจัดการสายงานคุณภาพ อายุ 50 ป

นายรัฐพงศ ลาภาโรจนกิจ ผูจัดการสายงานวิศวกรรม อายุ 45 ป

ประวัติการศึกษา

ประวัติการศึกษา

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการเงินการธนาคาร วิทยาเขตพาณิชยการพระนคร

ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา University of Southern Colorado at Pueblo, United States

ประวัติการอบรม Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา ประวัติการทำงาน 2552 - ปจจุบัน ผูจัดการสายงานคุณภาพ บมจ.ศรีตรัง 2543 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา 2550 - 2551 เจาหนาที่ประสานงาน บมจ.ศรีตรัง 2542 - 2549 ผูจัดการโรงงาน บมจ.ศรีตรัง

ประวัติการอบรม ไมมี การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง ประวัติการทำงาน ปจจุบัน ผูจัดการสายงานวิศวกรรม บมจ.ศรีตรัง 2558 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2552 - ปจจุบัน ผูจัดการสายงานวิศวกรรม บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2546 - 2552 ผูจัดการโรงงานดานเทคนิค บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2544 - 2546 ผูจัดการโรงงาน บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2543 - 2544 ผูชวยผูจัดการโรงงาน บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

51


5

6

นายพันเลิศ หวังศุภดิลก ผูจัดการสายงานวิศวกรรม อายุ 47 ป

นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ ผูจัดการสายงานธุรกิจเกษตร อายุ 57 ป

ประวัติการศึกษา

ประวัติการศึกษา

ปริญญาโท สาขาวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

ปริญญาโท สาขาเกษตรศาสตร (พืชไรนา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ประวัติการอบรม ไมมี การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ประวัติการทำงาน ปจจุบัน ผูจัดการสายงานวิศวกรรม บมจ.ศรีตรัง

ปริญญาตรี สาขาพืชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประวัติการอบรม ไมมี การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร กรรมการ บจ. ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา กรรมการ บจ. พฤกษาอีสาน ประวัติการทำงาน

2560 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

2556 - ปจจุบัน ผูจัดการสายงานธุรกิจเกษตร บมจ.ศรีตรัง

2558 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง

2558 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น

2552 - ปจจุบัน ผูจ  ด ั การโรงงานดานเทคนิค บจ. พรีเมียรซส ิ เต็มเอ็นจิเนียริง ่

2558 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร

2549 - 2552 ผูชวยผูจัดการโรงงาน บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย

2551 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. พฤกษาอีสาน

2541 - 2549 ผูจัดการฝายการผลิต บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย

2546 - ปจจุบัน กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา 2553 - 2558 ผูจัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บมจ. ศรีตรัง 2543 – 2555 ผูจัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2541 - 2542 ผูจัดการโรงงาน บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย

52

รายงานประจำป 2561

2531 - 2540 ผูจัดการฝายผลิต บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)


7

8

นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน ผูจัดการสายงานทรัพยากรบุคคล อายุ 51 ป

นางสาวธนวรรณ เสงี่ยมศักดิ์, CFA ผูจัดการสายงานพัฒนาธุรกิจ และ CFO – สายธุรกิจถุงมือยาง อายุ 40 ป

ประวัติการศึกษา

ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (วิทยาเขตหาดใหญ)

ปริญญาโท สาขาการเงิน The University of Strathclyde, UK, เกียรตินิยม

ประวัติการอบรม

ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, เกียรตินิยมอันดับ 1

ไมมี การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น ไมมี ประวัติการทำงาน 2551 - ปจจุบัน ผูจัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บมจ.ศรีตรัง

ประวัติการอบรม ไมมี การดำรงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ประวัติการทำงาน

2558 – 2561 กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส

2560 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

2543 - 2550 ผูจัดการฝายจัดซื้อ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

CFO – สายธุรกิจถุงมือยาง บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ผูจัดการสายงานพัฒนาธุรกิจ บมจ.ศรีตรัง 2554 – 2560 ผูจัดการสายงานพัฒนาธุรกิจและนักลงทุนสัมพันธ บมจ.ศรีตรัง 2548 – 2554 ผูชวยผูจัดการ ฝายวาณิชธนกิจ บล. กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 2547 ผูชวยผูจัดการ ฝายวาณิชธนกิจ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 2544 – 2545 เจาหนาที่ภาษีสรรพสามิต บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จำกัด 2543 – 2544 ผูสอบบัญชี สำนักงานเอินสท แอนด ยัง จำกัด

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

53


โครงสราง

การจัดการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 โครงสรางองคกรของ บมจ.ศรีตรัง ประกอบดวยกรรมการจำนวน 6 ชุด ไดแก คณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ห าร คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบดวยกรรมการจำนวน 12 ทาน ดังนี้

ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายประกอบ วิศิษฐกิจการ 3. นายไชยยศ สินเจริญกุล 4. นายกิติชัย สินเจริญกุล 5. นายลี พอล สุเมธ 6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 7. นายภัทราวุธ พาณิชยกุล 8. นายหลี่ ซื่อเฉียง 9. นายเฉลิมภพ แกนจัน 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นางสาวอานุสรา จิตตมิตรภาพ

ตำแหนง ประธานกรรมการ / กรรมการผูจัดการใหญ / กรรมการบริหาร รองประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการ / กรรมการบริหาร กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหา กรรมการ/ กรรมการบริหาร กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหา/ กรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหา/ กรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ

โดยมี นางพัชรินทร อนุวงศวัฒนชัย เปนเลขานุการคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

54

รายงานประจำป 2561

หมายเหตุ กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร


กรรมการผูมีอำนาจลงนามแทน บมจ. ศรีตรัง

นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล นายไชยยศ สินเจริญกุล นายกิติชัย สินเจริญกุล นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล นายลี พอล สุเมธ นายภัทราวุธ พาณิชยกุล และ นายเฉลิมภพ แกนจัน สองในเจ็ดคนนี้ ลงลายมือ ชื่อรวมกันและประทับตราสำคัญของบริษัทฯ

6. อนุ ม ั ต ิ ก ารเข า ค้ ำ ประกั น วงเงิ น สิ น เชื ่ อ ให แ ก บ ริ ษ ั ท ที ่ ม ี ความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทในฐานะผูถือหุน 7. อนุมัติกอตั้ง ควบรวม หรือเลิกบริษัทยอย 8. ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ หรือที่ปรึกษาของบริษัท (ถามี) หรือจาง ที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญภายนอกในกรณีจำเปนดวยคาใชจาย ของบริษัท 9. เสนอการเพิ่มทุนหรือลดทุน หรือการเปลี่ยนแปลงมูลคาหุน การแกไขเปลี่ยนแปลงหนังสือบริคณหสนธิ ขอบังคับและ/หรือ วัตถุประสงคของบริษัทตอผูถือหุน 10. แตงตั้งและถอดถอนเลขานุการบริษัท 11. พิจารณาอนุมตั กิ ารทำรายการเกีย่ วโยง เวนแตรายการดังกลาว จะตองไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ทัง้ นี้ ในการพิจารณา อนุมัติดังกลาวจะเปนไปตามประกาศ ขอบังคับ และ/หรือ ระเบียบที่เกี่ยวของกับตลาดหลักทรัพยฯ 12. จั ด ให บ ริ ษ ั ท มี ร ะบบการควบคุ ม ภายใน และระบบการ ตรวจสอบภายในที ่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ผ ล โดยเฉพาะอย า งยิ ่ ง ใน เรื่องการทำรายการที่มีกรรมการมีสวนไดเสีย ตองอยูในขาย ที่กฎหมายหรือขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของ บมจ. ศรีตรัง ที ่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ บมจ. ศรีต รัง ครั้งที่ 2/2561 ซึ ่ ง ประชุ ม เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2561 ไดมีมติแตงตั้งนายสมหวัง สินเจริญกุล เปนที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ของ บมจ. ศรีตรัง โดยใหคำปรึกษาแก บริษัทฯ ในเรื่องดังตอไปนี้ 1. ให ค ำปรึก ษาเกี่ยวกับ การกำหนดเปาหมาย และวิ ส ั ย ทั ศ น ของบริษัทฯ 2. ใหคำปรึกษาเกี่ยวกับแผนธุรกิจ แผนการลงทุน และนโยบาย การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งในและตางประเทศ 3. ใหคำปรึกษาเกี่ยวกับกลยุทธในการจัดสรรวัตถุดิบแนวทาง การจัดซื้อราคาและปริมาณ ในแตละชวงกำหนดเวลาตาม สภาวะทองถิ่น 4. ใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการติดตอ ประสานงานกับภาคมวลชน และหนวยงานทองถิ่น และหนวยงานราชการในภาคใต ทั ้ ง นี ้ การมอบหมายอำนาจหน า ที ่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง นั้นจะไมมีลักษณะเปนการมอบอำนาจ ทั้งนี้ นายสมหวัง สินเจริญกุล ไมมีสวนรวมในการบริหารงานของ หรื อ มอบอำนาจช ว งที ่ ท ำให ค ณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง หรื อ บมจ. ศรี ต รั ง นายสมหวั ง ได ร ั บ ค า ที ่ ป รึ ก ษาคิ ด เป น จำนวนเงิ น ผูรับมอบอำนาจจาก คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง สามารถอนุมัติ 428,000 บาทต อ เดื อ น หรื อ 5,136,000 บาทต อ ป โดยรายการ รายการที ่ ต นหรื อ บุ ค คลที ่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง (ตามที ่ น ิ ย ามไว ใ น ดังกลาวถือเปนรายการระหวางกัน ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศคณะ กรรมการกำกับ ตลาดทุน) อาจมีสวนไดเสีย หรืออาจไดรับประโยชนในลักษณะใดๆ ขอบเขตอำนาจหนาที่ของคณะกรรมการ บมจ. หรื อ อาจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน อ ื ่ น ใดกั บ บมจ. ศรี ต รั ง ศรีตรัง หรื อ บริ ษ ั ท ย อ ยของ บมจ. ศรี ต รั ง ยกเว น เป น การอนุ ม ั ต ิ ร ายการ บมจ. ศรีตรัง ไดมกี ารกำหนดขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องคณะกรรมการ ที ่ เ ป น ไปตามนโยบายและหลั ก เกณฑ ท ี ่ ท ี ่ ป ระชุ ม ผู  ถ ื อ หุ  น หรื อ ไวดังนี้ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง พิจารณาอนุมัติไว 1. คณะกรรมการมีอำนาจและหนาที่และความรับผิดชอบในการ จัดการบริษัทใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ ของบริษัทและมติคณะกรรมการตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ทั ้ ง นี ้ ค ณะกรรมการบริ ษ ั ท จะต อ งใช ว ิ จ ารณญาณและ ความรอบคอบในการตัดสินใจทาง ธุรกิจและปฏิบัติหนาที่ ดวยความรับผิดชอบ ความซื่อสัตยสุจริตและความระมัดระวัง เพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ 2. รั บ ผิ ด ชอบในการเสนอ ทบทวน และให ค วามเห็ น ชอบกั บ นโยบายและทิศทางดำเนินงานของบริษัท 3. แตงตัง้ ถอดถอน มอบอำนาจหนาที่ ใหแกทป่ี รึกษาคณะกรรมการ บริษัท คณะกรรมการชุดตางๆ และกรรมการผูจัดการนำไป ปฏิบัติ 4. มอบอำนาจใหแกฝายจัดการ พนักงานระดับบริหารของบริษัท หรือบุคคลอื่นใดทำการแทนได ภายใตขอบเขตอำนาจหนาที่ ของคณะกรรมการบริษัท 5. อนุมัติการลงทุน ขายเงินลงทุนในตราสารทุน และ/หรือ ตราสารหนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

55


ขอบเขตอำนาจหนาที่ของประธานกรรมการ

ที่ประชุมคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ครั้งที่ 6/2561 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2561 ไดมีมติอนุมัติขอบเขตอำนาจหนาที่ของ ประธานกรรมการ ดังตอไปนี้ 1. กำกับ ติดตาม และดูแลใหมั่นใจไดวา การปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามวัตถประสงค และเปาหมายหลักขององคกร 2. ดูแลใหมั่นใจวา กรรมการทุกคนมีสวนรวมในการสงเสริมใหเกิดวัฒนธรรมองคกรที่มีจริยธรรม และการกำกับดูแลกิจการที่ดี 3. กำหนดวาระการประชุมคณะกรรมการโดยหารือรวมกับกรรมการอิสระ และมีมาตรการทีด่ แู ลใหเรือ่ งสำคัญไดถกู บรรจุเปนวาระการประชุม 4. จัดสรรเวลาไวอยางเพียงพอที่ฝายจัดการจะเสนอเรื่องและมากพอที่กรรมการจะอภิปรายประเด็นสำคัญกันอยางรอบคอบโดยทั่วกัน การสงเสริมใหกรรมการมีการใชดุลยพินิจที่รอบคอบ ใหความเห็นไดอยางอิสระ 5. เสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวางกรรมการที่เปนผูบริหารและกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร และระหวางคณะกรรมการและฝายจัดการ 6. เปนผูลงคะแนนเสียงชี้ขาด ในกรณีที่ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีการลงคะแนนเสียง และคะแนนเสียง 2 ฝายเทากัน นอกจากนี้ เพื่อเปนการสงเสริมการกำกับดูแลกิจการที่ดี และถวงดุลอำนาจระหวางคณะกรรมการและฝายจัดการ คณะกรรมการบริษัท เห็นควรใหกรรมการอิสระ 1 ทาน รวมพิจารณากำหนดวาระการประชุมคณะกรรมการในแตละครั้งดวย

56

รายงานประจำป 2561


องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

องคประกอบและการแตงตั้ง ถอดถอน หรือพนจากตำแหนงกรรมการบริษัทนั้นไดมีกำหนดไวในขอบังคับและคูมือบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งสามารถสรุปสาระสำคัญไดดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท จะพึงมีจำนวนเทาใดใหที่ประชุมผูถือหุนเปนผูกำหนด แตตองไมนอยกวาหาคน และกรรมการไมนอยกวากึ่ง หนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดตองมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร 2. คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการที่เปนอิสระ (Independent Director) อยางนอย 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งคณะ และมีจำนวนอยางนอย 3 ทาน 3. ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง (2) ผูถือหุนแตละคนตองใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ได แตจะแบง คะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึง เลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจำนวนกรรมการที่จะพึ่งมีหรือ พึ่งจะเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด 4. ในการประชุมสามัญประจำปทุกครั้งใหกรรมการออกจากตำแหนง 1 ใน 3 เปนอัตรา ถาจำนวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงตาม สัดสวนไมได ก็ใหออกในจำนวนใกลที่สุดกับสวน 1 ใน สำหรับกรรมการที่จะตองออกจากตำแหนงในปแรกและปที่สองภายหลัง จดทะเบียนบริษทั ฯ นัน้ ใหจบั ฉลากกันวาผูใ ดจะออก สวนปหลังๆ ตอไปใหกรรมการคนทีอ่ ยูใ นตำแหนงนานทีส่ ดุ นัน้ เปนผูอ อกจากตำแหนง 5. กรรมการคนใดจะลาออกจากตำแหนงใหยื่นใบลาออกตอบริษัทฯ การลาออกมีผลนับแตวันที่ใบลาออกไปถึงบริษัทฯ 6. ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดคนหนึ่งออกจากตำแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระ ไดดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจำนวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุนนับรวมกันแลวไดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจำนวนหุนที่ถือโดย ผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงปจจุบัน คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบดวยกรรมการจำนวน 12 ทาน เปนกรรมการ อิสระจำนวน 4 ทาน กรรมการที่เปนผูบริหารจำนวน 8 ทาน และกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหารจำนวน 4 ทาน บริษัทฯ แตงตั้งคณะกรรมการโดยคำนึงถึงประเภทและขอบเขตการปฏิบัติงานของกลุมบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มุงหวังใหการพิจารณาเรื่องตางๆ ในที่ประชุมคณะกรรมการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของความหลากหลายของคณะกรรมการ (Board Diversity) ทั้งดานความรู ทักษะ ประสบการณ อายุ และเพศของกรรมการ อันนำมาสูก ารตัดสินใจทีส่ มเหตุสมผล ดวยเหตุน้ี กรรมการของบริษทั จึงเปนผูท ม่ี ี ประสบการณ อยางมากในดานการบัญชี การเงิน การบริหารธุรกิจ การวางแผนและกลยุทธ การตลาด กฎหมาย และอุตสาหกรรมยาง เพื่อใหไดมาซึ่งคณะ กรรมการที่สามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

57


การคัดเลือกกรรมการอิสระ

คุณสมบัติของกรรมการอิสระ 1. ถือหุนไมเกินรอยละหนึ่งของจำนวนหุนที่มีสิทธออกเสียง ทั้งหมดของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง ทั้งนี้ใหนับรวม การถือหุนของผูที่เกี่ยวของของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย 2. ไม เ ป น บุ ค คลที ่ ม ี ค วามสั ม พั น ธ ก ั บ (ก) บมจ. ศรี ต รั ง (ข) บริษัทโฮลดิ้งของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทยอยของ บมจ. ศรีตรัง หรือ บริษัทยอยของบริษัทยอยของ บมจ. ศรีตรัง (ค) บุคคลที่มีสวนไดเสีย ที่ถือหุนที่มีสิทธิออกเสียง คิดเปนสัดสวนไมนอยกวารอยละ 10 ของ หุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของ บมจ. ศรีตรัง (“ผูถือหุนไมนอยกวา รอยละ 10”) และ/หรือ (ง) พนักงาน ของ บมจ. ศรีตรังที่สามารถ แทรกแซงการตัดสินใจอยางอิสระของกรรมการเพื่อประโยชนสูงสุด ทางธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง 3. ไมเปนบุคคลที่มีสมาชิกในครอบครัว (ซึ่งไดแก คูสมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคูสมรส และบิดา มารดา) ถือหุนไมต่ำกวา รอยละสิบทั้งในปปจจุบันและรอบปบัญชีที่ผานมาหรือเปนหุนสวน (ถื อ หุ  น เท า กั บ หรื อ มากกว า ร อ ยละ 10) กรรมการ หรื อ ผู  บ ริ ห าร ในองค ก รหรื อ บริ ษ ั ท ย อ ยขององค ก รใดก็ ต ามที ่ บมจ. ศรี ต รั ง หรือบริษัทยอยของ บมจ. ศรีตรัง เคยให / ได ร ั บ บริ ก าร (รวมถึ ง การสอบบัญชี การบริการดานธนาคาร การเปนที่ปรึกษาและการ บริการดานกฎหมาย) หรือจายเงินหรือทำ ธุรกรรมดวยอยางมีนัย สำคัญ ทั้งในปปจจุบันและรอบปบัญชีที่ผานมา 4. ไมมีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับผูถือหุนของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งถือ หุนเกินกวารอยละสิบทั้งในปปจจุบันและรอบปบัญชีที่ผานมา 5. ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงานที่ปรึกษาที่ไดเงินเดือนประจำ หรือ ผูมีอำนาจควบคุมของ บมจ. ศรี ต รั ง บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลำดับ เดียวกัน ผูถือหุน รายใหญห รื อ ของผู  ม ี อ ำนาจควบคุ ม ของ บมจ. ศรี ตรั ง เว น แต จ ะได พ  น จากการมี ลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอย กวาสามปกอนไดรับการแตงตั้งเปนกรรมการอิสระ ทั้งนี้ ลักษณะ ตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเปนขาราชการ หรื อ ที ่ ป รึ ก ษาของส ว นราชการ ซึ ่ ง เป น ผู  ถ ื อ หุ  น รายใหญ หรื อ ผูมีอำนาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง 6. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจด ทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปน บิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตรของกรรมการรายอื่น ผูบริหาร ผูถือ หุนรายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปน กรรมการผูบ ริหาร หรือผูม อี ำนาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษทั ยอย 7. ไมเปนบุ ค คลที ่ ม ี ส มาชิ ก ในครอบครั ว ซึ ่ ง ได แ ก คู  ส มรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคูสมรส พี่ นอง และบิดา มารดา ทำงาน ใหกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทที่เกี่ยวของกับ บมจ. ศรีตรัง ในชวง สามป ท ี ่ ผ  า นมา โดยที ่ ค  า ตอบแทนที ่ ไ ด ร ั บ นั ้ น พิ จ ารณาโดยคณะ กรรมการพิจารณาคาตอบแทน 8. ไมเปนกรรมการหรือมีสมาชิกในครอบครัว ซึ่งไดแก คูสมรส บุ ต ร บุ ต รบุ ญ ธรรม บุ ต รของคู  ส มรส พี ่ น อ ง และบิ ด า มารดา ที่เคยไดรับคาตอบแทนจากการใหบริการอื่นนอกเหนือจากคาตอบ แทนจากการดำรงตำแหนงกรรมการจาก บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัท ทีเ่ กีย่ วของอืน่ ๆ ของบมจ. ศรีตรัง ในชวงปทผ่ี า นมาจนกระทัง่ ปปจ จุบนั

58

รายงานประจำป 2561

9. ไม ม ี ห รื อ เคยมี ค วามสั ม พั น ธ ท างธุ ร กิ จ กั บ บมจ. ศรี ต รั ง บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจ ควบคุ ม ของ บมจ.ศรี ต รั ง ในลั ก ษณะที ่ อ าจเป น การขั ด ขวาง การใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปน ผูถือหุนที่มีนัย หรือผูมีอำนาจควบคุมของผูที่มีความสัมพันธทาง ธุ ร กิ จ กั บ บมจ. ศรี ต รั ง บริ ษ ั ท ใหญ บริ ษ ั ท ย อ ย บริ ษ ั ท ร ว ม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของ บมจ. ศรี ต รั ง เว น แต จ ะ ได พ  น จากการมี ล ั ก ษณะดั ง กล า วมาแล ว ไม น  อ ยกว า สองปกอนได รับแตงตั้งเปนกรรมการอิสระ 10. ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือ ผูมีอำนาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง และไมเปนผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั ผูม อี ำนาจควบคุม หรือหุน สวน ของสำนั ก งานสอบบั ญ ชี ซึ ่ ง มี ผ ู  ส อบบั ญ ชี ข อง บมจ. ศรี ต รั ง บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจ ควบคุมของ บมจ. ศรีตรังสังกัดอยูเวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนไดรับแตงตั้งเปนกรรมการอิสระ 11. ไมเปนหรือเคยเปนผูใ หบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให บริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงินซึ่งไดรับคา บริการเกิ น กว า สองล า นบาทต อ ป จ าก บมจ. ศรี ต รั ง บริ ษ ั ท ใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอำนาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรังและไมเปนผูถือหุนที่มีนัยผูมีอำนาจควบคุมหรือหุนสวน ของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวยเวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนไดรับแตงตั้งเปนกรรมการอิสระ 12. ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของ กรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปน ผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญหรือไมเปนกรรมการซึ่งเปนผูที่เกี่ยว ของโดยตรงกับผูถือหุนไมนอยกวารอยละ 10 ทั้งในปปจจุบันและ รอบปบญ ั ชีทผ่ี า นมาโดย กรรมการที่มีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับผูถือหุน ไมนอยกวารอยละ 10 ใหหมายรวมถึงกรรมการที่คุนเคยกับผูถือหุน ดังกลาวในระดับที่สามารถดำเนินกิจการองคกรตามทิศทางหรือคำสั่ง ในนามของผูถือหุนที่มีนัยดังกลาวไมวาจะอยางเปนทางการ หรือไมเปนทางการ 13. ไม ป ระกอบกิ จ การที ่ ม ี ส ภาพอย า งเดี ย วกั น และเป น การแข ง ขั น ที ่ ม ี น ั ย กั บ กิ จ การของ บมจ. ศรี ต รั ง หรื อ บริ ษ ั ท ย อ ย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวนหรือเปนกรรมการที่มีสวน รวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ หรือถือหุนเกินรอยละหนึ่งของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยาง เดียวกันและเปน การแขงขันทีม่ นี ยั กับกิจการของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษทั ยอย 14. ไม ม ี ล ั ก ษณะอื ่ น ใดที ่ ท ำให ไ ม ส ามารถให ค วามเห็ น อย า ง เปนอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของ บมจ. ศรีตรัง โดยบมจ. ศรีตรังไดกำหนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระไวเขมกวา ขอกำหนดที่กำหนดไวในประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ทั้งนี้ คณะกรรมการมีความเห็นสมควรให นายประกอบ วิ ศ ิ ษ ฐ ก ิ จ การ นายเกรียง ยรรยงดิลก และนายสมัชชา โพธิ์ถาวร ดำรงตำแหนง เปนกรรมการอิสระใหกับบริษัทฯ ตอไปแมวา จะไดรับการแตงตั้ง มาเป น เวลามากกว า 9 ป เนื ่ อ งจากทั ้ ง สามท า นมี ค ุ ณ สมบั ต ิ ของกรรมการอิสระครบถวนตามทีก่ ำหนดไวในประกาศคณะกรรมการ กำกับตลาดทุนรวมทั้งไมมีคุณสมบัติหรือเหตุอันใดที่อาจทำใหไม สามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดำเนินงานของ บริษัทฯ และในอดีตที่ผานมา นายประกอบ วิศิษฐกิจการ นายเกรียง ยรรยงดิ ล ก และนายสมั ช ชา โพธิ ์ ถ าวร ได ป ฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ ใ นฐานะ กรรมการอิสระ ทั้งการเปนกรรมการตรวจสอบ กรรมการพิจารณา คาตอบแทนและกรรมการสรรหาไดเปนอยางดีโดยเปนไปเพือ่ ประโยชน และธรรมาภิบาลที่ดีของบมจ. ศรีตรัง


คณะกรรมการบริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยกรรมการ 7 ทาน ดังรายชื่อตอไปนี้ ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชยกุล 7. นายเฉลิมภพ แกนจัน

ตำแหนง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

ขอบเขตอำนาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร

บมจ. ศรีตรัง ไดมีการกำหนดขอบเขตอำนาจหนาที่ของกรรมการบริหาร ดังนี้ 1. มีอำนาจสั่งการ วางแผน และดำเนินกิจการของ บมจ. ศรีตรัง ใหเปนไปตามนโยบายที่คณะกรรมการของ บมจ. ศรีตรังกำหนด 2. มีอำนาจแตงตั้ง คณะบริหารงานตางๆ เพื่อประโยชนและประสิทธิภาพของการจัดการที่ดีและโปรงใส 3. ใหกรรมการสองคนของคณะกรรมการบริหารลงนามรวมกัน พรอมประทับตราบริษัทฯ มีอำนาจมอบอำนาจชวงในหนังสือมอบ อำนาจของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อใหผูรับมอบอำนาจชวงสามารถดำเนินการอันเปนประโยชนเกี่ยวเนื่องกับกิจการงานตางๆ ในนาม บมจ. ศรีตรัง ไดอยางเปนทางการ 4. มีอำนาจพิจารณากำหนดสวัสดิการพนักงานใหเหมาะสมกับสถานการณ ประเพณีปฏิบัติและสอดคลองกับกฎหมายที่บังคับใชอยู 5. มีอำนาจการอนุมัติวงเงินที่เปนธุรกรรมทางการคาปกติหรือธุรกรรมที่เปนพันธะผูกพันตอ บมจ. ศรีตรัง ทั้งนี้ การมอบหมายอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารนั้นจะตองไมมีลักษณะเปนการอนุมัติการเขาทำรายการ ที่ทำใหคณะกรรมการบริหาร หรือผูรับมอบอำนาจจากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใดกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทยอย (ตามที่นิยามไวในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน) ซึ่งการอนุมัติรายการในลักษณะดังกลาวจะตองเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการ และ/ หรือ ที่ประชุมผูถือหุน แลวแตกรณี เพื่อพิจารณาอนุมัติรายการดังกลาวตามที่ขอบังคับของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทยอยหรือกฎหมายที่เกี่ยวของ กำหนด คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบดวยกรรมการอิสระจำนวน 3 ทาน และมีคณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามทีก่ ำหนดโดยประกาศ คณะกรรมการกำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพยฯ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการตรวจสอบของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบ ดวยกรรมการทีม่ รี ายชือ่ ดังนี้ ชื่อ 1. นายประกอบ วิศิษฐกิจการ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก 3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร

ตำแหนง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

นายประกอบ วิศิษฐกิจการ และนายเกรียง ยรรยงดิลก เปนกรรมการตรวจสอบที่มีความรูและประสบการณดานบัญชีและการเงินเพียงพอ ในการสอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงินของ บมจ. ศรีตรัง โดยมีนายวิทวัส กรุงแทนเมือง เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

59


คุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ

3. สอบทานให บมจ. ศรี ต รั ง ปฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎหมายว า ด ว ย หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ 1. ถื อ หุ  น ไม เ กิ น ร อ ยละหนึ ่ ง ของจำนวนหุ  น ที ่ ม ี ส ิ ท ธิ อ อกเสี ย ง และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง ทั ้ ง หมดของ บมจ. ศรี ต รั ง บริ ษ ั ท ใหญ บริ ษ ั ท ย อ ย บริ ษ ั ท ร ว ม ผู  ถ ื อ หุ  น รายใหญ หรื อ ผู  ม ี อ ำนาจควบคุ ม ของ บมจ. ศรี ต รั ง ทั ้ ง นี ้ 4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแตงตั้ง และถอดถอนบุคคลซึ่งมีความเปน ใหนับรวมการถือหุนของกรรมการตรวจสอบรายนั้นๆ ดวย อิสระ นาเชื่อถือ มีคุณสมบัติที่ไดรับการยอมรับ และเปนผูสอบบัญชี ที่ไดรับความเห็นชอบจาก ก.ล.ต. เพื่อทำหนาที่เปนผูสอบบัญชีของ 2. เป น กรรมการที ่ ไ ม ม ี ส  ว นร ว มในการบริ ห ารงานในบริ ษ ั ท บมจ. ศรี ต รั ง และเสนอค า ตอบแทนของบุ ค คลดั ง กล า ว รวมทั ้ ง บริษัทในเครือ บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของ หรือผูถือหุนรายใหญ เขารวมประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุม ของบริษัท ดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 3. เปนกรรมการที่ไมเปนลูกจาง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่ไดรับ เงินเดือนประจำจากบริษทั บริษทั ในเครือ บริษทั รวม บริษทั ทีเ่ กีย่ วของ หรือผูถือหุนรายใหญของบริษัท เชน กรรมการผูจัดการ (Chief Executive Officer) เปนผูรับผิดชอบโดยตรงตอการบริหาร เปนตน 4. เปนกรรมการที่ไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียไมวาทางตรง หรื อ ทางอ อ มทั ้ ง ในด า นการเงิ น และการบริ ห ารงานของบริ ษ ั ท บริษัทในเครือ บริษัทรวม หรือผูถือหุนรายใหญของบริษัท และเปน กรรมการที่ไมมีผลประโยชนหรือสวนไดเสียในลักษณะขางตนมากอน ในระยะเวลา 1 ป กอนไดรบั การแตงตัง้ เปนกรรมการตรวจสอบเวนแต คณะกรรมการบริษัทไดพิจารณาอยางรอบคอบแลวเห็นวาการเคย มีผลประโยชนหรือสวนไดเสียนั้นจะไมมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนา ที่และการใหความเห็นที่เปนอิสระ 5. เปนกรรมการที่ไมใชเปนผูที่เกี่ยวของหรือญาติสนิทของผูบริหาร หรือผูถือหุนรายใหญของบริษัท 6. เปนกรรมการที่ไมไดรับการแตงตั้งขึ้นเปนตัวแทนเพื่อรักษาผล ประโยชนของกรรมการบริษัทผูถือหุนรายใหญหรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่ เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัท 7. สามารถปฏิบัติหนาที่ แสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบัติ งานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท โดยไม อยูภายใตการควบคุมของผูบริหารหรือผูถือหุนรายใหญของบริษัท รวมทั้งผูที่เกี่ยวของหรือญาติสนิทของบุคคลดังกลาว

5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันรายการกับบุคคลที่มีสวนไดเสีย หรื อ รายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหเปนไปตาม กฎหมายและขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจ ว า รายการดั ง กล า วสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบมจ. ศรีตรัง 6. จั ด ทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเป ด เผยไว ใ น รายงานประจำปของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งรายงานดังกลาว ตองลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูล อยางนอย ดังตอไปนี้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของ รายงานทางการเงินของ บมจ. ศรีตรัง (2) ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของ บมจ. ศรีตรัง (3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยฯ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน (6) จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเขาประชุมของ กรรมการตรวจสอบแตละทาน (7) ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับ จากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร (Charter) (8) รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบภายใตขอบเขต หนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

7. ดำเนินการตรวจสอบภายใน และพิจารณาผลการตรวจสอบใดๆ

ขอบเขตอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะ ที่สำคัญ และ หรือหารือกับผูสอบบัญชีเกี่ยวกับผลการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ ดังกลาวและรายงานผลการตรวจสอบใหคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

1. ชวยคณะกรรมการในการสอบทานดูแลดานการเงินและการบัญชี (รวมถึงการสอบทานให บมจ. ศรี ต รั ง มี ก ารรายงานทางการเงิ น อยางถูกตองและเพียงพอและสอบทานงบการเงินรวมของบริษัทเพื่อ ใหมั่นใจวางบการเงินดังกลาวถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที ่ เ หมาะสม และมีประสิทธิผลและพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจ สอบภายใน ตลอดจนให ค วามเห็ น ชอบในการพิ จ ารณาแต ง ตั ้ ง โยกย า ย เลิ ก จ า งหั ว หน า หน ว ยงานตรวจสอบภายในหรือหนวยงาน อืน่ ใดทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน

ทราบ ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยวาจะมีการกระทำผิดหรือทุจริต หรือมีการฝาฝนกฎหมายหรือระเบียบของประเทศไทยหรือระเบียบ ของตลาดหลั ก ทรั พ ย ฯ หรื อ ระเบี ย บอื ่ น ซึ ่ ง การกระทำผิ ด หรื อ การทุจริตหรือการฝาฝนดังกลาวมีผลหรือนาจะมีผลกระทบอยาง มีนัยสำคัญตอผลการดำเนินงานหรือสถานะทางการเงินของบมจ. ศรีตรัง

8. สอบทานแผนการตรวจสอบ (Audit Plans) ขอบเขตการดำเนิน งานและผลการตรวจสอบที่รวบรวมโดยผูสอบบัญชีภายในและ ภายนอก 9. สอบทานความรวมมือทีเ่ จาหนาทีข่ อง บมจ. ศรีตรัง ใหแกผสู อบบัญชี 10. สอบทานนโยบายบริหารความเสี่ยงของบริษัท (รวมถึงนโยบาย ปองกันความเสี่ยง) และดูภาพรวมของกระบวนการ และการดำเนิน การในการบริหารความเสี่ยงเพื่อที่จะไดลดและบริหารความเสี่ยงให อยูในขอบเขตที่รับไดตามที่คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง กำหนด

60

รายงานประจำป 2561

11. ปฏิ บ ั ต ิ ก ารอื ่ น ใดตามที ่ ค ณะกรรมการของบริ ษ ั ท มอบหมาย ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ


คณะกรรมการสรรหา

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการสรรหาของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบดวยกรรมการจำนวน 3 ทาน ดังนี้ ชื่อ 1. นายเกรียง ยรรยงดิลก 2. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล

ตำแหนง ประธานกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา

ขอบเขตอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา

1. สอบทานและประเมินคุณสมบัติของผูที่ไดรับการเสนอชื่อใหเปนกรรมการ (รวมถึงกรรมการบริหาร) กอนทำการเสนอแนะตอ คณะกรรมการบริษัท 2. สอบทานและเสนอแนะตอคณะกรรมการบริษัท ในการเสนอใหแตงตั้งกรรมการเขาใหม หรือแตงตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเขา ดำรงตำแหนงตอไป โดยคำนึงถึงผลงานและการปฏิบัติงานของกรรมการทานนั้น 3. พิจารณาวากรรมการแตละทานมีความเปนอิสระหรือไมเปนประจำทุกป 4. พิจารณาวากรรมการแตละทานสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางเหมาะสมในฐานะกรรมการหรือไมในการปฏิบัติหนาที่ดังกลาวขางตน คณะกรรมการสรรหาจะพิจารณาปจจัยตางๆ ดังตอไปนี้ • ความเปนอิสระทางความคิด • ความสามารถของแตละบุคคล และพิจารณาวาความสามารถดังกลาวตรงกับความตองการของบริษัทฯ และเปนสวนเติมเต็มใหกับ กรรมการทานอื่นอยางไร • ประสบการณและภาพรวมของผลงานที่ผานมาในฐานะกรรมการในบริษัทอื่น • การใหเวลา และความมุมานะในการปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการ

คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบดวยกรรมการจำนวน 3 ทาน ดังนี้ ชื่อ 1. นายประกอบ วิศิษฐกิจการ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก 3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร

ตำแหนง ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการพิจารณาคาตอบแทน

ขอบเขตอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน

ใหคำแนะนำและเสนอแนวทางและหลักเกณฑในการกำหนดคาตอบแทนของกรรมการและเจาหนาทีบ่ ริหารรวมทัง้ เสนอแนะคาตอบแทนพิเศษ ใหแกกรรมการแตละราย และกรรมการผูจัดการ และปฏิบัติหนาที่อื่นใดตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

61


คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบดวยกรรมการจำนวน 5 ทาน ดังนี้ ชื่อ 1. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 2. นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ 3. นายเฉลิมภพ แกนจัน 4. นายภัทราวุธ พาณิชยกุล 5. นายนัธธี ถิรพุทธโภคิน

ตำแหนง ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง

โดยมีนายกิติพงศ เพชรกุล เปนเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ขอบเขตอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

1. พิจารณานโยบายการบริหารความเสี่ยงใหสอดคลองกับ กลยุทธ และเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเปนประจำ อยางนอยปละ 1 ครั้ง เพื่อใหมั่นใจวานโยบายการบริหารความเสี่ยงดังกลาว สอดคลองและเหมาะสมกับสภาพการดำเนินธุรกิจในปจจุบัน 2. สอบทานและแกไขกฎบัตรของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณและสภาพแวดลอม โดยเสนอ คณะกรรมการบริษัทเปนผูพิจารณาอนุมัติ

62

รายงานประจำป 2561


รายละเอียดการเขาประชุมคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดยอย ในป 2561

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบดวยกรรมการจำนวน 5 ทาน ดังนี้

จำนวนครั้งที่เขาประชุม ชื่อ

1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชยกุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง 8. นายเฉลิมภพ แกนจัน 9. นายประกอบ วิศิษฐกิจการ 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นางสาวอานุสรา จิตตมิตรภาพ รอยละของการเขารวมประชุมของ คณะกรรมการแตละคณะ

คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

คณะกรรมการ บริหาร

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ สรรหา

คณะกรรมการ คณะกรรมการ พิจารณา บริ หารความเสี่ยง คาตอบแทน

2561

รอยละ

2561

รอยละ

2561

รอยละ

2561

รอยละ

2561

รอยละ

2561

รอยละ

8/9 9/9 9/9 9/9 8/9 9/9 7/9 9/9 9/9 9/9 8/9 9/9

89 100 100 100 89 100 78 100 100 100 89 100

4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 4/4 -

100 100 100 100 100 100 100 -

8/8 8/8 8/8 -

100 100 100 -

2/2 2/2 2/2 -

100 100 100 -

2/2 2/2 2/2 -

100 100 100 -

4/4 2/4 3/4 -

100 50 75 -

95

100

100

100

100

75

ทั้งนี้ ในป 2561 กรรมการที่ไมเปนผูบริหารไดมีการประชุมระหวางกันเอง จำนวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2561

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

63


ผูบริหาร (ตามคำนิยามผูบริหาร(1) ของประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 17/2551 เรื่อง การกำหนด บทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 รายชื่อผูบริหารของ บมจ. ศรีตรัง มีดังตอไปนี้

ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชยกุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง 8. นายเฉลิมภพ แกนจัน 9. นายประกอบ วิศิษฐกิจการ 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นางสาวอานุสรา จิตตมิตรภาพ 13. นางประไพ ศรีสุทธิพงศ 14. นายอาศรม อักษรนำ 15. นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ 16. นายรัฐพงศ ลาภาโรจนกิจ 17. นายพันเลิศ หวังศุภดิลก 18. นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ 19. นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน 20. นางสาวธนวรรณ เสงี่ยมศักดิ์

ตำแหนง ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการ กรรมการ และผูจัดการสายงานกฎหมายและบริหารทั่วไป กรรมการ และผูจัดการสายงานการตลาด กรรมการ และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ และ CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ กรรมการ กรรมการ และผูจัดการสายงานผลิต รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ ผูจัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ ผูจัดการสายงานการผลิต ผูจัดการสายงานคุณภาพ ผูจัดการสายงานวิศวกรรม ผูจัดการสายงานวิศวกรรม ผูจัดการสายงานธุรกิจเกษตร ผูจัดการสายงานทรัพยากรมนุษย ผูจ ดั การสายงานพัฒนาธุรกิจ และ CFO – สายธุรกิจถุงมือยาง

หมายเหตุ: (1) ผูบริหาร หมายความวา กรรมการ ผูจัดการ หรือผูดำรงตำแหนงระดับบริหารสี่รายแรกนับตอจากผูจัดการลงมา ผูซึ่งดำรงตำแหนงเทียบเทากับผูดำรงตำ แหนงระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และใหหมายความรวมถึงผูดำรงตำแหนงระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เปนระดับผูจัดการฝายขึ้นไปหรือเทียบเทา

64

รายงานประจำป 2561


ขอบเขตอำนาจหนาที่และความรับผิดชอบของกรรม เลขานุการบริษัท การผูจัดการ

1. มีอำนาจอนุมัติการทำนิติกรรมใดๆ ซึ่งมีผลผูกพันบริษัทสำหรับการ ดำเนินธุรกิจปกติของ บมจ. ศรีตรัง ในวงเงินไมเกิน 200,000,000 บาท (สองรอยลานบาท) 2. มี อ ำนาจในการออก แก ไข เพิ ่ ม เติ ม ปรั บ ปรุ ง ระเบี ย บ คำสั ่ ง และขอบังคับเกี่ยวกับการทำงานของ บมจ. ศรีตรัง เชน การบรรจุ แตงตั้ง ถอดถอนและวินัยพนักงานและลูกจาง การกำหนดเงินเดือน และเงินอื่นๆ รวมตลอดถึงการสงเคราะหและสวัสดิการตางๆ 3. มีอำนาจกำหนดอัตราเงินเดือนและผลตอบแทนอื่นๆ รวมทั้งอัตรา คาใชจายและสิ่งอำนวยความสะดวกของผูจัดการฝายหรือเทียบเทา ขึ้นไป เพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ 4. มีหนาที่ดำเนินการควบคุมดูแลกิจการทั้งปวงของ บมจ. ศรีตรัง ใหเปนไปตามมติและนโยบายของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

คณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง ได ม ี ม ติ แ ต ง ตั ้ ง ให น าง พั ช ริ น ทร อนุวงศวัฒนชัย ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมสำเร็จการศึกษาทางดานบัญชี และไดรับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานดาน เลขานุ ก ารบริ ษ ั ท และหลั ก สู ต รอื ่ น ๆ ที ่ เ กี ่ ย วข อ ง มี ท ั ก ษะ ความรู  ความเข า ใจในธุ ร กิ จ กฎหมาย และระเบี ย บกฎเกณฑ ต  า งๆ เป น เลขานุการบริษัทโดยมีหนาที่และขอบเขตความรับผิดชอบตามที่ กำหนดไวใน พ.ร.บ. หลักทรัพย รวมทั้งใหคำแนะนำดานการปฏิบัติ ตามกฎเกณฑตางๆ (Compliance) ที่คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะตองทราบ และปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรังรวมทั้งประสานใหมีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง โดยเลขานุการบริษัทจะตองเขารวม และจัดเก็บเอกสาร การประชุมคณะกรรมการทั้งหมดและทำใหแนใจวากระบวนการของ คณะกรรมการไดรับการปฏิบัติตาม ทั้งนี้ การแตงตั้งและถอดถอน เลขานุการบริษัทจะตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ

5. มี ห น า ที ่ น ำเสนอเรื ่ อ งที ่ ส ำคั ญ ต อ คณะกรรมการ บมจ. ศรี ต รั ง หรือที่ประชุมผูถือหุน เพื่อพิจารณาอนุมัติเห็นชอบ หรือเพื่อการอื่นใด ตามความเหมาะสม 6. มีหนาที่ศึกษาความเปนไปไดสำหรับโครงการใหมๆ และมีอำนาจ พิจารณาอนุมตั โิ ครงการตางๆ ตามทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หรือคณะกรรมการบริหาร 7. ดำเนินการอื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร เปนครั้งคราวอยางไรก็ดี กรรมการผูจัดการและผูที่ไดรับมอบอำนาจจากกรรมการผูจัดการไมมี อำนาจในการที่จะอนุมัติเรื่องหรือรายการที่ตนเองหรือบุคคลที่อาจมี ความขัดแยง มีสว นไดสว นเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ในลักษณะอื่นใด จะเขาทำกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทยอยของ บมจ. ศรีตรัง ตามนิยาม ในประกาศ ของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย หรือ คณะกรรมการกำกับตลาดทุน

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

65


คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร

คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน (1) คาตอบแทนของกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ในรอบปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บมจ. ศรีตรังไดจายคาตอบแทนกรรมการเปนจำนวนเงินรวม 8,028,000 บาท เปน ผลประโยชนตอบแทนประเภทเงินบำเหน็จแกกรรมการ โดยมีรายละเอียดการจายเปนรายบุคคล ดังนี้ ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชยกุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง 8. นายเฉลิมภพ แกนจัน 9. นายประกอบ วิศิษฐกิจการ 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นางสาวอานุสรา จิตตมิตรภาพ

จำนวนคาตอบแทน (บาท)*

รอบปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

804,000 600,000 600,000 600,000 600,000 600,000 600,000 600,000 936,000 744,000 744,000 600,000

หมายเหตุ*: คาตอบแทนดังกลาวเปนคาตอบแทนสำหรับการเปนกรรมการบริษัทและกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ บมจ. ศรีตรัง มิไดมีคาตอบแทนสำหรับการดำรง ตำแหนงในคณะกรรมการชุดยอยอื่น

(2) คาตอบแทนรวมของกรรมการบริหาร และผูบริหารของ บมจ. ศรีตรัง ในรอบปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ ไดจาย ค า ตอบแทนกรรมการบริ ห าร และผู  บ ริ ห ารจำนวน 20 ราย เป น จำนวนเงิ น รวม 157.24 ล า นบาทโดยค า ตอบแทนดั ง กล า วเป น คาตอบแทนประเภทเงินเดือน โบนัส และคาตอบแทนอื่น ซึ่งรวมถึง ผลประโยชน อ ื ่ น และค า ตอบแทนใดๆ ที ่ ไ ด จ  า ยแล ว ซึ ่ ง รวมค า ตอบแทนที่อางอิงจากผลการดำเนินการในป แตมีการยกยอดขามป และมีการจายใหในภายหลังรวมถึงเงินโบนัสหรือเงินสวนแบงผลกำไร หรือเงินเกีย่ วกับผลกำไรอืน่ ๆ ตามสัญญาหรือตาม ขอตกลงระหวางกัน

โครงการคาตอบแทน (Profit Incentive Scheme)

นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ ซึ่งเปนกรรมการของ บริ ษ ั ท ฯ มี ส ิ ท ธิ ท ี ่ จ ะเข า ร ว มโครงการค า ตอบแทนพิ เ ศษ (Profit Incentive Scheme) ในแตละรอบปบัญชีของ Sri Trang International ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ ภายใตโครงการคาตอบแทน พิเศษ (Profit Incentive Scheme) ในแตละรอบปบัญชี หากคณะ กรรมการบริษัทของ Sri Trang International พิจารณาแลวเห็นวา มีสวนเกิน (Surplus) ภายหลังจากหัก (ก) รอยละ 10 ของทุนชำระ แล ว ของ Sri Trang International หรื อ จำนวนเงิ น อื ่ น ๆตามที ่ คณะกรรมการบริษัทของ Sri Trang International จะเห็นควร (ข) รอยละ 5 ของกำไรสะสมในตนปบัญชีที่เกี่ยวของ และ (ค) ขาดทุน Sri Trang International ตกลงเขาทำสัญญาจางงานกับกรรมการ สะสมในตนปบัญชีที่เกี่ยวของจากกำไรของ Sri Trang International ของ Sri Trang International ไดแก นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และ หลังจากหักภาษีแลว (ตามที่กำหนดในงบการเงินที่ตรวจสอบแลว) นายลี พอล สุเมธ ซึ่งสัญญาจางงานดังกลาวไมมีการกำหนดระยะ ร อ ยละ 20 ของส ว นเกิ น (Surplus) ดั ง กล า วจะถู ก จ า ยภายใต โครงการค า ตอบแทนพิ เ ศษ (Profit Incentive Scheme) เวลาการจางงาน (“คาตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive)”) ทั้งนี้ ตามสัญญาจางงาน นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ มีสิทธิที่จะไดรับคาตอบแทนดังตอไปนี้ • เงินเดือน และโบนัสซึ่งจะคิดตามโครงการคาตอบแทน (Profit Incentive Scheme) (ตามที่ไดนิยามไวขางลางนี้) และ • คาใชจายทางธุรกิจที่สมเหตุสมผลซึ่งเกิดขึ้นหรือไดจายไป ในชวงระยะเวลาการจางงานซึ่งเกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่ ตอกลุมบริษัทฯ 66

รายงานประจำป 2561


(3) คาตอบแทนอื่น ในป 2561 บริษัทฯ ไดมีการจายเงินสบทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพใหกับคณะกรรมการและผูบริหาร ดังนี้

เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

จำนวนราย

จำนวนเงิน (บาท)

14

2,883,384

ผลประโยชนพนักงานเมื่อเกษียณอายุ

กลุมบริษัทฯ จัดใหมีผลประโยชนพนักงานเมื่อเกษียณอายุเพื่อจายใหแกพนักงานเปนไปตามกฎหมายแรงงานไทย จำนวนเงินดังกลาวขึ้นอยู กับฐานเงินเดือนและจำนวนปที่พนักงานทำงานใหกลุมบริษัทฯ นับถึงวันที่สิ้นสุดการทำงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

การเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเขาดำรงตำแหนง

กรรมการที่ออกจากตำแหนงตามวาระมีสิทธิไดรับเลือกตั้งใหม โดยกรรมการที่อยูในตำแหนงนานที่สุดนั้นเปนผูออกจากตำแหนง รายละเอียด การเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเขาดำรงตำแหนง แสดงไดดังตอไปนี้ ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชยกุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง 8. นายเฉลิมภพ แกนจัน 9. นายประกอบ วิศิษฐกิจการ

ตำแหนง

ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการ กรรมการ และผูจ ดั การสายงานกฎหมายและบริหารทัว่ ไป กรรมการ และผูจัดการสายงานการตลาด กรรมการ กรรมการ และ CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ กรรมการ กรรมการ และ ผูจัดการสายงานการผลิต กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 12. นางสาวอานุสรา จิตตมิตรภาพ กรรมการอิสระ

วันทีไ่ ดรบั แตงตัง้ ใหดำรงตำแหนง กรรมการครัง้ แรก

วันทีไ่ ดรบั เลือกตัง้ ใหกลับเขาดำรงตำแหนง กรรมการครัง้ ลาสุด

27 ธันวาคม 2536 27 ธันวาคม 2536 10 เมษายน 2538 28 มิถุนายน 2553 28 เมษายน 2553 29 เมษายน 2557 29 เมษายน 2557 29 ตุลาคม 2558 27 ธันวาคม 2536

26 เมษายน 2561 28 เมษายน 2559 25 เมษายน 2560 26 เมษายน 2561 26 เมษายน 2561 25 เมษายน 2560 25 เมษายน 2560 28 เมษายน 2559 26 เมษายน 2561

25 มกราคม 2543 1 กุมภาพันธ 2551 21 กันยายน 2560

28 เมษายน 2559 25 เมษายน 2560 21 กันยายน 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

67


ใหเปนการดำเนินการ ที่สมเหตุสมผล บนพื้นฐาน ของความซื่อสัตย โปรงใส และมีจริยธรรม

การกำกับ ดูแลกิจการ

คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ไดดำเนินงานทางธุรกิจใหเปนไปตามวัตถุประสงคที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดยใชความชำนาญ ความระมัดระวัง และความเอาใจใสที่พึงมี เพื่อรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ และเปนไป ตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับ คณะกรรมการบริษัท ยังไดถือปฏิบัติใหเปนไปตามขอพึงปฏิบัตที่ดี สำหรับกรรมการบริษัทมหาชน หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียนป 2560 และขอแนะนำ ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ทั้งในดานบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบที่ไดใช ความระมัดระวังรอบคอบในกระบวนการพิจารณากลั่นกรองกอนการตัดสินใจใดๆ ใหเปนการดำเนินการที่ สมเหตุสมผล บนพื้นฐานของความซื่อสัตย โปรงใส และมีจริยธรรม และไดคำนึงถึงผูมีสวนไดสวนเสียและรักษา ผลประโยชนของผูถือหุนในทุกๆ ดาน

68

รายงานประจำป 2561


หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี

บริษัทฯ มีการกำหนดและทบทวนแนวทางการกำกับดูแลกิจการ ใหเปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพยฯ กำหนด โดยแบงเปน 5 หมวด เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจในปจจุบัน ดังนี้ 1. สิทธิของผูถือหุน

บริษัทฯ ตระหนักเสมอวา สิ่งที่จะทำใหผูถือหุนไววางใจและมั่นใจในการลงทุนกับธุรกิจของบริษัทฯ คือ การมีนโยบายหรือการดำเนินการ ที่รักษาสิทธิพื้นฐานที่ผูถือหุนพึงไดรับ และความเทาเทียมกันของผูถือหุนทุกรายอยางเปนธรรมตามที่กฎหมายกำหนด และสงเสริมให ผูถือหุนใชสิทธิพื้นฐานตามกฎหมาย เชน (1) สิทธิในการรับสวนแบงกำไรในรูปเงินปนผล บริษัทฯ มีนโยบายการจายเงินปนผลอยางระมัดระวังโดยคำนึงถึง สถานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน กระแสเงินสดของบริษัทฯ ความสามารถในการจายเงินปนผลของบริษัทยอยและบริษัทรวม รวมทั้งบริษัทรวมทุนรวมถึงการคาดการณความจำเปนของเงินทุนที่ จะรองรั บ การเติ บ โตของบริ ษ ั ท ฯ ในอนาคต สถานการณ ภ าวะ เศรษฐกิจและผลกระทบจากปจจัยภายนอกที่บริษัทฯ คาดวาจะ มีผลกระทบตอการดำเนินงานของบริษัทฯเพื่อใหการดำเนินงาน เปนไปอยางมีเสถียรภาพนโยบายการจายเงินปนผลจึงอยูในระดับ ประมาณรอยละ 30 ของกำไรสุทธิ

บริษัทฯ มีนโยบายสงเสริมและอำนวยความสะดวกใหกับผูถือหุน รวมถึงนักลงทุนสถาบันในการเขารวมประชุมผูถือหุนโดยบริษัทฯ เปดโอกาสใหผูถือหุนจัดสงเอกสารลงทะเบียนเขารวมการประชุม ลวงหนากอนวันประชุมเพื่อลดระยะเวลาในการตรวจสอบเอกสาร ในวันประชุม และบริษัทฯ จัดชองทางการลงทะเบียน ณ สถานที่ จัดการประชุมสำหรับผูถือหุนบุคคลธรรมดาและนักลงทุนสถาบัน โดยบริษัทฯ ไดนำระบบบารโคด (Barcode) มาใชในการลงทะเบียน และนับคะแนนเสียงเพื่อชวยใหขั้นตอนการลงทะเบียนและการ ประมวลผลการลงคะแนนเสียง เปนไปอยางรวดเร็วยิ่งขึ้นและได จัดเตรียมอากรแสตมปใหแกผูถือหุนในการมอบฉันทะ

(2) สิทธิในการเขารวมประชุมผูถือหุน บริษัทฯ ไดใหความสำคัญกับการที่ผูถือหุนจะไดรับสารสนเทศอยาง เพียงพอในการตัดสินใจโดยขอมูลขาวสารที่ไดรับจะมีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส เทาเทียมกัน เพื่อประกอบการตัดสินใจในการ ประชุ ม ผู  ถ ื อ หุ  น รวมถึ ง การออกเสี ย งลงคะแนนและแสดงความ คิดเห็นในที่ประชุมผูถือหุนการใชสิทธิรวมตัดสินใจในการเปลี่ยน แปลงที่สำคัญตางๆ รวมทั้งการเลือกตั้งคณะกรรมการบริษัท

(3) สิทธิในการลงคะแนนในวาระการประชุมผูถือหุน บริษัทฯจะจัดสงหนังสือเชิญประชุมผูถือหุนและเอกสารประกอบให แกผูถือหุนเปนการลวงหนาอยางเพียงพอครบถวน โดยหนังสือเชิญ ประชุ มมี รายละเอีย ดระเบี ยบวาระการประชุมเอกสารประกอบ ระเบี ย บวาระต า งๆ พร อ มความเห็ น ของคณะกรรมการบริ ษ ั ท หนั ง สื อ มอบฉั น ทะตามที ่ ก ระทรวงพาณิ ช ย ก ำหนด และรายชื ่ อ ของกรรมการอิสระทั้งหมดเพื่อใหผูถือหุนสามารถเลือกที่จะมอบฉัน ทะใหเขาประชุมแทนได รวมทั้งแผนที่แสดงสถานที่ประชุม ซึ่งใน หนังสือเชิญประชุมจะแจงรายละเอียดของเอกสารที่ผูถือหุนจะตอง นำมาแสดงในวั น ประชุ ม ด ว ย เพื ่ อ รั ก ษาสิ ท ธิ ใ นการเข า ประชุ ม รวมถึงขอบังคับของบริษัทฯ เกี่ยวกับการประชุมผูถือหุน และการ ออกเสียงลงคะแนน นอกจากนี้ ผูถือหุนยังสามารถเขาดูขอมูลตางๆ เกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุมของแตละครั้งไดทางเว็บไซตของ บริษัทฯ www.sritranggroup.com และเว็บไซตของตลาดหลัก ทรั พ ย ส ิ ง คโปร www.sgx.com (SGXNET) เป น การล ว งหน า ประมาณ 28 วั น ก อ นวั น ประชุ ม เพื ่ อ เป น อี ก ช อ งทางหนึ ่ ง ที ่ ใ ห นักลงทุนไดรับทราบขอมูลอยางทั่วถึงอีกทั้งไดมอบหมายใหศูนย รั บ ฝากหลั ก ทรั พ ย (ประเทศไทย) จำกั ด และ CDP ในฐานะ นายทะเบี ย นหุ  น เป น ผู  จ ั ด ส ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม พร อ มเอกสาร ประกอบใหแกผูถือหุนลวงหนาอยางนอย 21 วันกอนวันประชุม และบริ ษ ั ท ฯ มี น โยบายที ่ จ ะไม เ พิ ่ ม ระเบี ย บวาระในที ่ ป ระชุ ม โดยไมแจงใหผูถือหุนทราบลวงหนา

อนึ่ง หากหุนของบริษัทฯ ถูกถือผาน CDP จะมีรายชื่อปรากฏเปน ผู  ถ ื อ หุ  น ของหุ  น ดั ง กล า ว ดั ง นั ้ น ตามกฎหมายไทย CDP จะเป น ผูถือหุนและมีสิทธิตามกฎหมายในการออกเสียงลงคะแนนในเรื่อง ตางๆ ในที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ

ทั้งนี้ CDP ไดแตงตั้งผูรับฝากและดูแลหุน (Custodian) เพื่อเก็บ รักษาหุนที่ถือโดย CDP โดย Custodian ไทยจะเปนผูรับมอบ ฉันทะ ของ CDP เพื่อเขารวมประชุมและออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุม ผู  ถ ื อ หุ  น และ CDP จะมี ค ำสั ่ ง ให Custodianไทยแยกออกเสี ย ง ลงคะแนนตามคำสั ่ ง ที ่ CDP ได ร ั บ มาจากนั ก ลงทุ น ที ่ ถ ื อ หุ  น ของ บริษัทฯผาน CDP อยางไรก็ตาม หากผูถือหุนรายใดที่ถือหุนผาน CDP ประสงค จ ะเข า ร ว มประชุ ม ผู  ถ ื อ หุ  น และใช ส ิ ท ธิ อ อกเสี ย ง ลงคะแนนภายใตชื่อตนเอง ผูถือหุนรายดังกลาวตองโอนหุนของตน ออกจากระบบของ CDP และทำการจดทะเบี ย นการโอนหุ  น ดังกลาวในสมุดทะเบียนผูถือหุน นอกจากนี้ผูถือหุนที่โอนหุนออก จากระบบของ CDP จะไม ส ามารถทำการซื ้ อ ขายหุ  น ในตลาด บริษัทฯ ไดเปดโอกาสใหผูถือหุนใชสิทธิออกเสียงเลือกตั้งกรรมการ หลักทรัพยสิงคโปรไดจนกวาจะโอนหุนกลับเขาไปฝากในระบบ CDP เป น รายบุ ค คลในวาระเลื อ กตั ้ ง กรรมการ นอกจากนี ้ บริ ษ ั ท ฯ ไดจัดใหมีผูตรวจสอบการนับคะแนนเสียงในการประชุมผูถือหุน และไดเปดเผยไวในรายงานการประชุมผูถือหุน

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

69


(4) สิทธิในการแสดงความเห็นและตั้งคำถามตอที่ประชุม ผูถือหุนไดรับโอกาสที่เทาเทียมกันในการแสดงความเห็นและตั้งคำถามตอที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่ เสนอ โดยประธานที่ประชุมจะจัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสม เพื่อสงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามในที่ประชุม ทั้งนี้ ประธานกรรมการชุดยอยทุกชุดจะเขารวมประชุมสามัญผูถือหุนเพื่อตอบขอซักถามที่ผูถือหุนประกอบดวยนายประกอบ วิศิษฐกิจการ ซึ่งเปนกรรมการอิสระ (Lead Independent Director) ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการ พิจารณาคาตอบแทน นายเกรียง ยรรยงดิลก ซึ่งเปนกรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหา นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล ประธานกรรมการพิจารณาความเสี่ยง นอกจากนี้ ยังมีผูตรวจสอบบัญชีภายนอกเขารวมประชุมสามัญผูถือหุนเพื่อตอบขอซักถามที่เกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชี ของกลุมบริษัทฯ และรายงานของผูตรวจสอบบัญชีดวย โดยบริษัทฯ ไดบันทึกประเด็นคำถามคำตอบไวในรายงานการประชุม เพื่อใหผูถือหุนที่ไมไดเขารวมประชุมไดรับทราบดวย

70

รายงานประจำป 2561


2. การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน

5) บริษัทฯ กําหนดใหกรรมการผูบริหาร และผูที่เกี่ยวของ ที่ระบุ บริ ษ ั ท ฯ มี น โยบายการปฏิ บ ั ต ิ ต  อ ผู  ถ ื อ หุ  น ทุ ก ฝ า ยอย า งเท า เที ย ม ไวในมาตรา 89/1 แหงพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และเปนธรรมโดยคำนึงถึงผูถือหุนทุกกลุมไมวาจะเปนนักลงทุน พ.ศ. 2535 ตองรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยตอ สถาบัน ผูลงทุนตางชาติ รวมทั้งผูถือหุนรายยอย สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (1) บริษัทฯ ดำเนินการประชุมผูถือหุนตามลำดับระเบียบวาระที่ได พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วั น ทํ า การนั บ จากวั น ที ่ ม ี ก ารเปลี ่ ย นแปลง แจงไวในหนังสือเชิญประชุมโดยไดจัดสงหนังสือนัดประชุมพรอม การถือหลักทรัพย ตามมาตราดังกลาวตลอดจนจัดสงสําเนาใหแกหนวยงาน เอกสารขอมูลประกอบการประชุมที่มีรายละเอียดครบถวนเพียงพอ เลขานุการบริษัทเพื่อรวบรวมและนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการ ทั้งในรูปแบบ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พรอมทั้งไดนำเสนอผาน บริษัทเปนรายไตรมาส เว็บไซตของบริษัทฯ (www.sritranggroup.com) และ SGXNET เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนมีเวลาศึกษาขอมูลดังกลาวไดอยางละเอียด (6) บริษัทฯ จัดใหมีนโยบายแจงชวงเวลางดซื้อขายหลักทรัพยกอน นอกจากนั้น มีการลงประกาศเชิญประชุมในหนังสือพิมพรายวัน การประกาศแจงขาวงบการเงิน 30 วัน และหลังประกาศอยางนอย ติดตอกันไมนอยกวา 3 วัน และกอนวันประชุมไมนอยกวา 3 วัน 24 ชั่วโมง ใหกรรมการและผูบริหารตามเกณฑ ก.ล.ต. ทราบซึ่งมีการ เพื่อบอกกลาวเรียกประชุมผูถือหุนเปนการลวงหนาเพียงพอสำหรับ ประพฤติปฏิบัติอยางเครงครัด การเตรียมตัวกอนมาเขารวมกอนเริ่มการประชุมทุกครั้งประธาน กรรมการจะชี้แจงวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนตามที่ระบุไวอยาง (7) บริ ษ ั ท ฯ กํ า หนดให ก รรมการและผู  บ ริ ห ารจั ด ทำรายงานการ ชั ด เจน ในระหว า งการประชุ ม ประธานในที ่ ป ระชุ ม ได เ ป ด โอกาส มีสวนไดเสียของตนและบุคคลที่มีความเกี่ยวของในครั้งแรกสำหรับ ใหผูถือหุนสอบถามและแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ กรรมการและผูบริหารใหม และในทุกๆ ครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง อยางเทาเทียมกัน และไดตอบคำถามรวมทั้งใหขอมูลตางๆตามที่ผูถือ ระหว า งดำรงตำแหน ง ตลอดจน กำหนดให ม ี ก ารรายงานเป น หุนรองขออยางครบถวน และหลังจากวันประชุมบริษัทฯ จะจัดสง ประจำทุ ก สิ ้ น ป โดยให เ ลขานุ ก ารบริ ษ ั ท เป น ผู  เ ก็ บรักษารายงาน รายงานการประชุมตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยภายในระยะ และหากพบวามีการมีสวนไดเสียที่รายงานใหรายงานตอประธาน เวลาที่กำหนด กรรมการและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2) บริษัทฯ ไดเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนแบบ 1 share 1 vote และสงเสริมใหผถู อื หุน ใชบตั รลงคะแนนเสียงสำหรับทุก ระเบียบวาระ โดยบริษัทฯ จะทำการเก็บบัตรลงคะแนนดังกลาวใน หองประชุมเพื่อนำผลคะแนนมารวมเพื่อแจงมติของคะแนนเสียงใน ห อ งประชุ ม และเพื ่ อ ความโปร ง ใส บริ ษ ั ท ฯ จะแจ ง รายละเอี ย ด ผลการลงคะแนนทั้งสวนที่เห็นดวยและไมเห็นดวยของแตละวาระ โดยแจกแจงเปนคะแนนและสัดสวนรอยละ ตลอดจนจัดเก็บบัตร ลงคะแนนที่มีการลงชื่อของผูถือหุนหรือผูรับมอบอำนาจไว เพื่อการ ตรวจสอบไดในภายหลัง (3) บริษัทฯ ทำการบันทึกรายงานการประชุมอยางถูกตอง ครบถวน และจัดสงรายงานตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ภายใน 14 วันหลังการประชุมเสร็จสิ้นตลอดจนไดทำการเผยแพรมติที่ประชุมดัง กล า วต อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทยและตลาดหลั ก ทรั พ ย สิงคโปร พรอมทั้งเผยแพรรายงานการประชุมไวบนเว็บไซตของบริษัท www.sritranggroup.com (4) บริษัทฯ มีนโยบายการกำกับดูแลการใชขอมูลภายในและกำหนด ใหใหบุคลากรทุกระดับยึดถือปฏิบัติอยางเครงครัด

(8) บริ ษ ั ท ฯ มี ก ารเป ด เผยโครงสร า งการถื อ หุ  น ในบริ ษ ั ท ย อ ย และบริษัทรวม อยางชัดเจน เพื่อใหผูถือหุนมั่นใจวามีโครงสราง การดำเนินงานที่มีความโปรงใสและตรวจสอบได (9) บริษัทฯ ใหความสำคัญในการเปดเผยขอมูลขาวสารอยางถูกตอง ครบถวน ทันเวลาและโปรงใสแกผูถือหุน โดยมีการเปดเผยขอมูล ขาวสารที่มีสาระสำคัญอยางสม่ำเสมอ (10) บริษัทฯ ไดจัดใหมีชองทางที่ผูถือหุนรายยอย สามารถติดตอ ขอข อ มู ล ได โ ดยตรงทางจากกรรมการอิ ส ระในเรื ่ อ งต า งๆ ได แ ก กิ จกรรมของกรรมการ การกำกั บดูแลกิจ การ และการตรวจสอบ เปนตน นอกจากนี้ผูถือหุนรายยอยยังสามารถติดตอขอขอมูลไดโดย ตรงจากเลขานุการบริษัท และหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ ตาม E-Mail Address ดังตอไปนี้ • คณะกรรมการตรวจสอบ E-Mail Address: auditcommittee@sritranggroup.com • เลขานุการบริษัทฯ E-Mail Address: corporatesecretary@sritranggroup.com • หนวยงานนักลงทุนสัมพันธ E-Mail Address: ir@sritranggroup.com • หมายเลขโทรศัพท 02-207-4590

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

71


3. บทบาทของผูมีสวนไดเสีย

การเติบโตของบริษัทฯ มาจนถึงสถานะในปจจุบัน เกิดจากความรวมมือและการสนับสนุนจากทุกฝายที่เกี่ยวของดวยดีเสมอ บริษัทฯ รับรูและใหความสำคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ไมวาจะเปนผูมีสวนไดเสียภายในซึ่งไดแก บุคลากร พนักงาน และผูบริหาร ของบริษัทฯ และบริษัทยอย หรือผูมีสวนไดเสียภายนอก ซึ่งไดแกผูรวมคา ทั้งในรูปของผูที่เกี่ยวของทางดานวัตถุดิบจนถึงกลุมลูกคา เมื่อผลิตเปนสินคาสำเร็จรูป สถาบันการเงินตางๆ ที่ใหความสนับสนุน ตลอดจนถึงหนวยงานของรัฐบาล ที่มีการติดตอประสานงาน อยางใกลชิด และในทายที่สุด คือ ผูถือหุนของบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ มีความตระหนักดีที่จะตองรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสียที่กลาวมา คณะกรรมการบริษัทไดมีการทบทวนนโยบายเกี่ยวกับผูมีสวนไดเสียและไดกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเรื่องการไมละเมิดทรัพยสิน ทางปญญา เชน ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา นโยบายการรับเรื่องรองเรียน (Whistleblower Policy) โดยไดกำหนดชองทางการ แจงหรือรองเรียนพรอมขั้นตอนการดำเนินงานและแนวทางในการคุมครองผูแจงเบาะแสไวในเว็บไซตของบริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการ บริษัทไดกำหนดนโยบายปองกันการทุจริตคอรัปชั่น ในทุกรูปแบบเพื่อสรางจิตสำนึกที่ดีและคานิยมที่ถูกตองในองคกร บริษัทฯ มีความตระหนักถึงหลักการและมาตรฐานที่เกี่ยวกับหลักสิทธิมนุษยชน โดยไดกำหนดนโยบายเรื่องสิทธิมนุษยชนและการไม เลือกปฏิบัติ ที่มุงเนนใหความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติตอผูอื่นดวยความเสมอภาคเทาเทียมกัน รวมถึงการเผยแพร นโยบายดังกลาวใหพนักงานทุกฝายถือปฏิบัติรวมกันโดยเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2561 บมจ. ศรีตรัง ไดรับการรับรองเขาเปน สมาชิก ของแนวรวมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการตอตานทุจริต (Collective Action Coalition) อันเนนย้ำถึงจุดยืนของบริษัทฯ ในการ ดำเนินธุรกิจบนหลักบรรษัทภิบาล เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืน บริษัทฯ มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับผูมีสวนไดเสีย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ผูถือหุน: บริษทั ฯ มุง มัน่ เปนตัวแทนของผูถ อื หุน ในการดำเนินธุรกิจอยางโปรงใส มีระบบ บั ญ ชี และการเงิ น ที ่ ม ี ค วามเชื ่ อ ถื อ ได ส ร า งความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ใหกับผูถือหุน โดยคำนึงถึงการเจริญเติบโตของบริษัทฯ ในระยะยาว และผลตอบแทนในระดับที่เหมาะสมอยางตอเนื่อง พนักงาน: บริษัทฯ ปฏิบัติตอพนักงานอยางเทาเทียมกัน เปนธรรม จัดใหมีสภาพ แวดลอมกับการทำงานที่ดี ปลอดภัยและใหผลตอบแทนที่เหมาะสม และสอดคลองกับผลการดำเนินงานพรอมทั้งสงเสริมใหพนักงานมีโอกาส พั ฒ นาความรู  ความสามารถ และประสบการณ เพื ่ อ ความก า วหน า ในการทำงาน บริษัทฯ ไดจัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานโดยจัดอบรมหลักสูตรเฉพาะ ใหกับผูเกี่ยวของเพื่อทำหนาที่ดูแล แนะนำ แจงขาวสารเกี่ยวกับความ ปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน รวมทั้งการ ปองกันอุบัติเหตุจากการทำงานและสาระนารูเกี่ยวกับสุขภาพใหพนักงาน รับทราบและนำไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง เนื่องดวยบริษัทฯ ไดคำนึงถึง สวั ส ดิ ภ าพของพนั ก งาน ในการทำงานด ว ยความความปลอดภั ย และมีประสิทธิภาพสูงสุด มีการสงเสริมและอบรมใหความรูเรื่องการใช ทรั พ ยากรอย า งคุ  ม ค า ที ่ เ ป น การส ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี ว ิ ต ของพนั ก งาน ได แ ก การตรวจสุ ข ภาพประจำป การจั ด ให ม ี ห  อ งสมุ ด ห อ งกี ฬ า และสันทนาการ รวมทั้งการจัดกิจกรรมตางๆ ที่ชวยสงเสริมใหพนักงาน มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีการจัดทำคูมือพนักงานและทำการ ประชาสัมพันธผานระบบเว็บไซตภายในองคกร บริษัทฯ ไดจัดใหมีเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพใหแกพนักงาน โดยใหสิทธิ พนักงานประจำสมัครเขาเปนสมาชิกของกองทุนฯ ตามความสมัครใจโดย สามารถเลือกที่จะจายสมทบเขากองทุนในอัตราคงที หรือในอัตราเทากับ ที่บริษัทฯ จายสมทบ ตามชวงอายุงานโดยบริษัทฯ จะจายสมทบในอัตรา ที่แตกตางกันตามอายุงานของพนักงาน ซึ่งพนักงานจะไดรับผลประโยชน ดังกลาวเมื่อพนสภาพจากการเปนพนักงาน หรือลาออกจากกองทุน ยกเวนกรณีเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย คณะกรรมการไดกำหนดใหมีนโยบายปองกันการทุจริตคอรรัปชั่น และ ไดมีการสื่อสารสรางความรูความเขาใจที่ถูกตองในเรื่องการปองกันการ ทุจริตคอรรัปชั่น ใหแกบุคลากรในองคกร รวมทั้งสงเสริมการสรางความ ตระหนัก เพื่อสรางจิตสำนึกที่ดี คานิยมที่ถูกตองและปลูกฝงจนเปน วัฒนธรรมองคกรที่ดี 72

รายงานประจำป 2561

คณะกรรมการไดกำหนดนโยบายการรับเรื่องรองเรียน โดยกำหนดใหมี ชองทางรับเรื่องรองเรียนจากผูมีสวนไดเสียทุกกลุม เกี่ยวกับการกระทำที่ ไมถูกตองหรือไมเหมาะสม อันอาจทำใหเกิดความเสียหายตอบริษัทฯ พรอมทั้งกำหนดมาตรการคุมครองผูรองเรียนที่กระทำไปโดยความสุจริต นอกจากนี้ บริษัท ฯ ไดจัดใหมีชองทางที่ผ ูถือหุน หรือผูมีส วนไดเสีย ทุกกลุม สามารถรายงานและรองเรียนโดยตรงกับกรรมการ โดยมอบ หมายใหคณะกรรมการตรวจสอบเปนผูรับรายงานเรื่องรองเรียนเหลานี้ เพื่อทำการ สอบสวนและรายงานตอคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้ยัง สามารถติดตอขอขอมูลไดโดยตรงจากเลขานุการบริษัทและหนวยงาน นักลงทุนสัมพันธ ตาม E-Mail Address ดังตอไปนี้

• คณะกรรมการตรวจสอบ E-Mail Address: auditcommittee@sritranggroup.com • เลขานุการบริษัทฯ E-Mail Address: corporatesecretary@sritranggroup.com • หนวยงานนักลงทุนสัมพันธ E-Mail Address: ir@sritranggroup.com • หมายเลขโทรศัพท 02-207-4590

ลูกคา: บริษัทฯ ใสใจและรับผิดชอบตอลูกคา โดยผลิตสินคาที่มีคุณภาพและ มี ม าตรฐาน ส ง มอบสิ น ค า ตามกำหนดเวลา เพื ่ อ สร า งความพึ ง พอใจ ใหแกลูกคา รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดีและยั่งยืน โดยมีการกำหนด แนวทางปฏิ บ ั ต ิ ใ ห แ ก พ นั ก งานไว ใ นจรรยาบรรณธุ ร กิ จ ว า ด ว ยความ สัมพันธกับลูกคา คูคา: บริษัทฯ มีนโยบายจัดซื้อ มีการคัดเลือกคูคา และซื้อสินคาและบริการ จากคูคาตามเงื่อนไขทางการคา และปฏิบัติตามสัญญาขอตกลงตอคูคา เสมอ โดยปฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎหมายและกติ ก าต า งๆ อย า งเคร ง ครั ด และมี จ รรยาบรรณที ่ ด ี ใ นการแข ง ขั น ทางธุ ร กิ จ อย า งเป น ธรรม และโปรงใส คูแขง: บริษัทฯ สงเสริมและสนับสนุนการแขงขันที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของความ เสมอภาคและเทาเทียม โดยจะไมกระทำการใดๆ ที่เปนการฝาฝนหรือ ขัดตอกฎหมายที่เกี่ยวของกับการแขงขันทางการคาหรือที่อาจทำใหเกิด ความเสื่อมเสียตอชื่อเสียงของคูแขง


เจาหนี้: บริษัทฯ ปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญาในการกูยืมเงิน และใหขอมูล ที่ถูกตอง โปรงใสและตรวจสอบไดแกเจาหนี้ รวมทั้งยึดมั่นในการปฏิบัติตามกำหนด และเงื่อนไขของสัญญาที่มีตอเจาหนาหนี้อยางเครงครัด หนวยราชการและองคกรที่เกี่ยวของ: บริษัทฯ ถือปฏิบัติอยางเครงครัดตอกฎหมายที่เกี่ยวของในดานตางๆ ทั ้ ง สิ ่ ง แวดล อ ม ความปลอดภั ย แรงงาน การจั ด การด า นภาษี อ ากร และบัญชี ฯลฯ รวมทั้งประกาศตางๆ ของทางราชการที่เกี่ยวของกับการ ดำเนินธุรกิจของ สังคมและสิ่งแวดลอม: บริ ษ ั ท ฯ ตระหนั ก และห ว งใยถึ ง ความปลอดภั ย ของสิ ่ ง แวดล อ ม และ คุณภาพชีวิตของประชาชนรวมทั้งใหความสำคัญในเรื่องการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ สงเสริมการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ คำนึงถึง ทางเลื อ กในการใช ป ระโยชน จ ากทรั พ ยากรธรรมชาติ โดยให ม ี ค วาม เสียหายตอสังคม สิ่งแวดลอม และคุณภาพของประชาชนนอยที่สุดและให การสนับสนุนกิจกรรมชุมชนโดยรอบโรงงาน จัดใหมีการดูแลดานความ ปลอดภัย และสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพคณะกรรมการบริษัท ไดกำกับดูแลใหมีระบบการบริหารจัดการที่สามารถเชื่อมั่นไดวาบริษัทฯ ตองไมทำผิดกฎหมาย และกฎระเบียบตางๆ ของหนวยงานที่กำกับดูแล และปฏิบัติตอผูมีสวนเกี่ยวของทุกกลุมดวยความเปนธรรมอยางเครงครัด พรอมกันนี้ บริษัทฯ ไดจัดทำรายงานความยั่งยืนประจำป เพื่อสื่อสารการ ดำเนินงานของบริษัทฯ ในประเด็นที่สำคัญใหแกผูมีสวนไดเสียไดรับทราบ 4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

(1) คณะกรรมการมีบทบาทและหนาที่ในการกำหนดนโยบายการเปด เผยขอมูลสำคัญที่เกี่ยวของกับบริษัทฯทั้งขอมูลทางการเงินและขอมูล ที่มิใชขอมูลทางการเงิน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อยางถูกตอง ครบถวน ชัดเจน ทันเวลา โปรงใส ในรูปแบบที่สมดุล และเขาใจไดงาย ผานแบบแสดงรายการขอมูลประจำป (56-1) รายงานประจำป (56-2) ตลอดจนคำอธิ บ ายและการวิ เ คราะห ข องฝ า ยจั ด การ (MD&A) เปนประจำทุกไตรมาส และชองทางที่เขาถึงขอมูลไดงาย มีความเทา เทียมกันและนาเชื่อถือ โดยคงไวซึ่งประโยชนในทางการคาของบริษัทฯ เพือ่ ใหผมู สี ว นไดเสียตางๆ ไดรบั ขอมูลไดอยางเทาเทียมกันตาม กฎเกณฑ ทีส่ ำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกำหนด รวมถึงขอกำหนดของ หนวยงานกำกับตางๆ

(6) บริษัทฯ มีการกำหนดนโยบายใหกรรมการตองเปดเผยรายงาน การซื้อขายหลักทรัพยทุกครั้ง และนำเสนอใหคณะกรรมการบริษัท รับทราบทุกไตรมาส (7) บริษัทฯ กำหนดนโยบายใหกรรมการและผูบริหารตองรายงาน การมีสวนไดเสียในครั้งแรกที่เขาดำรงตำแหนง และทุกสิ้นปหรือทุกครั้ง ที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการขอมูล (8) คณะกรรมการมีการกำหนดและเปดเผยนโยบายการทำรายการ ระหว า งกั น และมี ก ารอนุ ม ั ต ิ ร ายการระหว า งกั น ทุ ก ไตรมาสผ า นที ่ ประชุมคณะกรรมการบริษัท (9) คณะกรรมการจั ด ให ม ี ก ารเผยแพร ร ายงานการประชุ ม สามั ญ ผูถือหุนไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ (10) คณะกรรมการมี ห น า ที ่ เ ป ด เผยประวั ต ิ ก รรมการสั ด ส ว นการ เขารวมประชุมของกรรมการแตละทานทั้งการประชุมคณะกรรมการ บริษัทและการประชุมคณะกรรมการชุดยอยในปที่ผานมา (11) คณะกรรมการมีหนาที่เปดเผยวันเขาดำรงตำแหนงกรรมการ บริษัทของกรรมการแตละทาน (12) คณะกรรมการมีการเปดเผยขอมูลการเขารับการพัฒนาและฝก อบรมของกรรมการในปที่ผานมา (13) คณะกรรมการมีหนาที่ความรับผิดชอบใหมีการจัดทำบัญชีงบดุล งบกำไรขาดทุน และรายงานการตรวจสอบบัญชีของผูสอบบัญชี พรอม ทั้งรายงานประจำป และรายงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงการแตงตั้ง ผูสอบบัญชีที่มีความเปนอิสระและนาเชื่อถือ พรอมเสนอคาสอบบัญชี และคาบริการอื่นๆ ที่จะจายใหกับผูสอบบัญชี หรือบริษัทสอบบัญชี ตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติ (14) คณะกรรมการจั ด ให ม ี ก ารเป ด เผยหนั ง สื อ บริ ค ณห ส นธิ แ ละ ขอบังคับของบริษัทฯ บนเว็บไซตของบริษัทฯ

(15) คณะกรรมการมีหนาที่จัดทำรายงานอธิบายเชิงวิเคราะหผลการ ดำเนินงานของบริษัทฯ และรายงานถึงปจจัยความเสี่ยง ลักษณะของ ความเสี่ยง สาเหตุและผลกระทบตอการดำเนินการธุรกิจของบริษัทฯ (2) คณะกรรมการไดจัดตั้งหนวยงานประชาสัมพันธ ที่ทำหนาที่สื่อสาร ภาวะการแขงขัน สวนแบงทางการตลาด โครงสรางกลุมธุรกิจ และ กับผูลงทุนและบุคคลภายนอกที่เกี่ยวของ โดยมีหนวยงานนักลงทุน นโยบายการจายปนผล ผานแบบแสดงรายการขอมูลประจำป (56-1) สัมพันธทำหนาที่เปนสื่อกลางการสื่อสารระหวางผูถือหุนผูมีสวนไดเสีย และรายงานประจำป (56-2) นักลงทุน และนักวิเคราะหหลักทรัพย และหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ (16) บริษัทฯ จัดใหมีการสื่อสารขอมูลของบริษัทฯ ผานชองทางที่ (3) คณะกรรมการมีหนาที่รายงานนโยบายการกำกับดูแลกิจการผาน หลากหลาย เช น เว็ บ ไซต รายงานประจำป รายงานความยั ่ ง ยื น แบบแสดงรายการขอมูลประจำป (56-1) รายงานประจำป (56-2) การพบปะนักวิเคราะหเพื่อใหผูถือหุนหรือนักลงทุนสามารถเขาถึง ขอมูลของบริษัทฯ ไดอยางสะดวก ทั่วถึง และเทาเทียมกัน และเว็บไซตของบริษัทฯ (4) คณะกรรมการมีหนาที่เปดเผยวิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมาย (17) บริษัทฯ เปดเผยขอมูลสำคัญทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ า นทางเว็ บ ไซต โดยปรั บ ปรุ ง เว็ บ ไซต ใ ห เ ป น ป จ จุ บ ั น อยู  เ สมอ ของบริษัท และมีการทบทวนทุกป ผูถือหุนสามารถติดตอกับสวนนักลงทุนสัมพันธ สำนักงานสาขา (5) คณะกรรมการมีหนาที่เปดเผยโครงสรางการถือหุนของบริษัทฯ กรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท 02-207-4500 โทรสาร 02-108-2244 ที่ชัดเจน รวมถึงการถือครองหุนของกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ หรือที่เว็บไซต www.sritranggroup.com ทั้งทางตรงและทางออม โดยแสดงขอมูลตนป สิ้นปและรายการซื้อขาย ระหวางป

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

73


5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

(1) โครงสรางคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการที่มีความรู ความสามารถ ทักษะวิชาชีพหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะดานที่หลากหลายอันสามารถ นำประสบการณมาใชในการดำเนินธุรกิจ กำหนดนโยบาย วิสัยทัศน กลยุทธ เปาหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนกำกับดูแลใหคณะผูบริหารบริหารงานใหเปนไปตามนโยบาย ที่กำหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายใตกรอบของ กฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุน มติที่ ประชุมคณะกรรมการดวยความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริต ระมัดระวัง ตามหลักการขอพึงปฏิบัติที่ดีเพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจสูงสุดใหแก กิจการและความมั่นคงสูงสุดใหแกผูถือหุน นอกจากนี ้ เพื ่ อ ให เ ป น ไปตามหลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที ่ ด ี คณะกรรมการบริษัทไดกำหนดนโยบายการกำหนดจำนวนบริษัทจด ทะเบียนที่กรรมการบริษัทจะไปดำรงตำแหนงกรรมการเพื่อใหการ ปฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ ใ นตำแหน ง กรรมการเป น ไปอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยกำหนดใหกรรมการบริษัทดำรงตำแหนงในบริษัทจดทะเบียนรวม ไม เ กิ น 5 บริ ษ ั ท ในกรณี ท ี ่ ก รรมการคนใดคนหนึ ่ ง มี ต ำแหน ง เป น กรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นๆ เกินกวา 5 บริษัท คณะกรรมการ จะพิจารณาถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการทาน ดังกลาว ตามขอบังคับของ บมจ. ศรีตรัง กำหนดไววา ในการประชุมผูถือหุน สามั ญ ประจำป ท ุ ก ครั ้ ง ให ก รรมการออกจากตำแหน ง 1 ใน 3 ถาจำนวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออก โดยจำนวนใกล ท ี ่ ส ุ ด กั บ ส ว น 1 ใน กรรมการที ่ จ ะต อ งออกจาก ตำแหนงในปแรกและปที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้นใหใชวิธี จับสลากกันวาผูใดจะออกสวนปหลังๆตอไปใหกรรมการคนที่อยูใน ตำแหนงนานที่สุดนั้นเปนผูออกจากตำแหนง คณะกรรมการบริษัทไดมีมติแตงตั้งนางพัชรินทร อนุวงศวัฒนชัย เปนเลขานุการบริษัทซึ่งทำหนาที่ใหคำแนะนำดานการปฏิบัติตาม กฎเกณฑตางๆ (Compliance) ที่คณะกรรรมการบริษัทจะตองทราบ และปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษัทรวมทั้ง ประสานใหมีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการบริษัท

ความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ไดกำหนดนโยบายเกี่ยวกับการปองกัน ความขั ด แย ง ทางผลประโยชน บ นหลั ก การที ่ ว  า การตั ด สิ น ใจใดๆ ในการดำเนิ น กิ จ กรรมทางธุ ร กิ จ จะต อ งทำเพื่อผลประโยชนสูงสุด ของ บมจ. ศรีตรัง เทานั้นและ ควรหลีกเลี่ยง การกระทำที่กอใหเกิด ความขัดแยงทางผลประโยชน โดยกำหนดใหผูที่มีสวนเกี่ยวของ หรือมีสวนไดเสียกับรายการที่พิจารณา ตองแจงให บมจ. ศรีตรัง ทราบถึงความสัมพันธหรือการมีสวนไดเสียของตนในรายการดังกลาว และตองไมเขารวมการพิจารณาตัดสินใจ รวมถึงไมมีอำนาจอนุมัติ ในธุรกรรมนั้นๆ (4) การประชุมคณะกรรมการ ตามขอบังคับของบริษัทฯ กำหนดใหคณะกรรมการตองมีการประชุม อยางนอย 3 เดือนตอครั้ง โดยบริษัทฯ ไดจัดทำตารางการประชุม ลวงหนาตลอดทั้งปและแจงใหกรรมการทุกทานรับทราบภายในเดือน ธันวาคมของทุกปและอาจมีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจำ เปน เพื่อใหคณะกรรมการติดตามการผลดำเนินงานและใหความเห็น ในเรื่องเกี่ยวกับการดำเนินงาน วิสัยทัศน พันธกิจ กลยุทธ นโยบาย สำคัญ ความเสี่ยง และเรื่องอื่นๆ ที่มีผลกระทบตอการสรางคุณคา ใหแกกิจการอยางยั่งยืน และมีการจัดสงหนังสือเชิญประชุมใหแก กรรมการเพื่อพิจารณากอนการประชุมลวงหนาไมนอยกวา 7 วัน กอนวันประชุม เวนแตในกรณีจำเปนรีบดวนเพื่อรักษาสิทธิหรือ ประโยชนของบริษัทฯ ซึ่งในการประชุมทุกคราวจะมีการกำหนด วาระการประชุ ม ที ่ ช ั ด เจน มี ก ารจั ด เตรี ย มเอกสารประกอบการ ประชุ ม ที ่ ค รบถ ว นเพี ย งพอ จั ด ส ง ให ก ั บ คณะกรรมการล ว งหน า เพื่อใหคณะกรรมการไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวม ประชุม โดยในการประชุมคณะกรรมการบริษัทนั้น กรรมการทุกทาน สามารถอภิปรายและแสดงความคิดเห็นไดอยางเปดเผย นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทอาจมีการเชิญผูบริหารระดับสูง เขารวมประชุมเพื่อใหสารสนเทศรายละเอียดเพิ่มเติมในฐานะที่เกี่ยว ของโดยตรง

บริ ษ ั ท ฯ มี ค วามมุ  ง มั ่ น ที ่ จ ะให ค ณะกรรมการบริ ษ ั ท ได ร ั บ ข อ มู ล ที่เพียงพอ ครบถวน ตอเนื่อง และทันเวลากอนการประชุมทุกครั้ง ผูบริหารไดใหขอมูลตามที่ไดรับการรองขอจากคณะกรรมการอยาง ทั น ท ว งที และรายงานให ค ณะกรรมการทราบถึ ง เหตุ ก ารณ แ ละ รายการตางๆ ที่มีความสำคัญที่เกิดขึ้นโดยคณะกรรมการสามารถ (2) คณะกรรมการชุดยอย เขาถึงผูบริหารระดับสูงและเลขานุการบริษัทไดโดยตรงอยางเปน เพื่อใหเปนไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัท อิสระตลอดเวลา ได แ ต ง ตั ้ ง คณะกรรมการชุ ด ย อ ย 5 คณะ ได แ ก คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและ กรรมการ กรรมการอาจปฏิบัติหนาที่เปนกลุมหรือเปนรายบุคคล และเมื่อมี พิ จ ารณาค า ตอบแทน และคณะกรรมการบริ ห ารความเสี ่ ย ง ความจำเปนจะใหบริษัทฯแตงตั้งผูที่มีความเชี่ยวชาญที่เปนบุคคล เพื่อพิจารณากลั่นกรองการดำเนินงานทีส่ ำคัญเปนการเฉพาะเรือ่ งให ภายนอกมาใหคำแนะนำ โดยเลขานุการบริษัทฯ มีหนาที่ใหคำปรึกษา เปนไปอยางรอบคอบและมีประสิทธิภาพ แกคณะกรรมการในเรื่องที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติตามกฎหมายและ ระเบียบตางๆ (3) บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท มีหนาที่กำกับดูแลกิจการและภารกิจของบมจ. ศรีตรัง ใหเปนไปตามกฎหมายที่ใชบังคับกับบริษัทฯ วัตถุประสงค ข อ บั ง คั บ มติ ค ณะกรรมการ และมติ ท ี ่ ป ระชุ ม ผู  ถ ื อ หุ  น ทั ้ ง นี ้ คณะกรรมการบริษัท จะตองใชวิจารณญาณและความรอบคอบใน การตั ด สิ น ใจทางธุ ร กิ จ และปฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ ด  ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ ระมัดระวัง และความซื่อสัตยสุจริต เพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุด ของบมจ. ศรีตรัง 74

รายงานประจำป 2561


(5) คาตอบแทน คณะกรรมการบริษัทฯ ไดก ำหนดนโยบายคาตอบแทนกรรมการ ไวอยางชัดเจนและโปรงใสโดยมีคณะกรรมการสรรหาและคณะกรรม การค า ตอบแทนเป น ผู  พ ิ จ ารณากำหนดนโยบายค า ตอบแทน • นโยบายและหลักเกณฑการจายคาตอบแทนคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดกำหนดนโยบายและหลักเกณฑการจายคา ตอบแทนกรรมการซึ่งกำหนดเปนคาตอบแทนรายปแกประธานกรรม การ กรรมการบริหาร กรรมการไมบริหาร ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการตรวจสอบ และไม ม ี ค  า เบี ้ ย ประชุ ม เพิ ่ ม เติ ม โดยคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนเปนผูเสนอแนวทางและหลัก เกณฑในการกำหนดคาตอบแทนของกรรรมการ และเสนอตอคณะ กรรมการบริษัทเพื่อใหความเห็นชอบกอนเสนอใหที่ประชุมผูถือหุน พิ จ ารณาอนุ ม ั ต ิ ทั ้ ง นี ้ ค า ตอบแทนจะพิ จ ารณาจากผลประกอบ การของบริษัทฯ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ เปรียบเทียบกับ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่มีมูลคาตลาด ใกลเคียงกัน ตลอดจนบริษัทจดทะเบียนอื่นที่อยูในอุตสาหกรรม เดียวกันเพื่อใหโครงสรางและอัตราคาตอบแทนมีความเหมาะสมกับ ความอุตสาหะ ความรับผิดชอบ และประสบการณของกรรมการ ที ่ จ ะนำพาบริ ษ ั ท ฯ ให ด ำเนิ น งานตามเป า หมายทั ้ ง ระยะสั ้ น และ ระยะยาวตลอดจนเปดเผยผลตอบแทนดังกลาวไวในรายงานประจำป • นโยบายและหลักเกณฑการจายคาตอบแทนผูบริหาร กรรมการผู  จ ั ด การในฐานะตั ว แทนของคณะกรรมการบริ ษ ั ท ไดพิจารณากำหนดหลักเกณฑการจายคาตอบแทนผูบริหาร โดยคา ตอบแทนดั ง กล า ว มี ก ารกำหนดอย า งเหมาะสมตามโครงสร า ง ค า ตอบแทนของบริ ษ ั ท และพิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บจากข อ มู ล การ สำรวจการจ า ยค า ตอบแทนจากสถาบั น องค ก ร และหน ว ยงาน ที่ไดรับความนาเชื่อถือ อัตราเงินเฟอ และกำไรสุทธิของบริษัทฯ รวมทัง้ พิจารณาจากผลการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ใหสอดคลองกับภาระหนาที่ ความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายดวย

(6) การพัฒนากรรมการและผูบริหาร ในกรณีที่มีกรรมการทานใหมที่ไดรับการแตงตั้งที่ไดรับการเลือกตั้ง รายใหมบริษัทฯจะจัดใหมีการปฐมนิเทศโดยกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยว กั บ การเตรี ย มความพร อ มในการปฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ ก รรมการบริ ษ ั ท ฯ เพื่อใหกรรมการที่เขารับตำแหนงสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยมีเลขานุการบริษัทเปนผูประสานงานในเรื่องตางๆ เช น หนั ง สื อ รั บ รองบริ ษ ั ท ข อ บั ง คั บ บริ ษ ั ท คู  ม ื อ กรรมการ บริษัทจดทะเบียน แบบรายงานขอมูลประจำปของ บริษัท (56-1) ขอมูลระบบงานทีใ่ ชงานภายในบริษทั ฯ รวมทัง้ กฎหมาย กฎเกณฑตา งๆ ที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน คณะกรรมการไดสงเสริมและอำนวยความสะดวกใหมีการฝกอบรม และให ความรูเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการ จะไดรับการพัฒนาความรู จากหนวยงานกำกับดูแลอยางสม่ำเสมอ และตอเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีนโยบายสนับสนุนใหกรรมการ บริษัทฯ และผูบริหารระดับสูง อยางนอยปละ 1 ทาน เขารวมอบรม สัมมนาหลักสูตรที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ และเพิ่มพูน ความรู  ใ นการปฏิ บ ั ต ิ ง านบริ ษ ั ท ฯ มี น โยบายให ส ิ ท ธิ แ ก ก รรมการ ในการเข า รั บ การอบรมในหั ว ข อ ใดๆ ที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ การทำงาน เพื่อใหการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการเปนไปดวยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง (Duty of Care) และซื่อสัตยสุจริตตอองคกร (Duty of Loyalty) คณะกรรมการบริ ษ ั ท ให ค วามสำคั ญ ต อ การพั ฒ นากรรมการและ ผูบริหาร โดยมีนโยบายสนับสนุนใหกรรมการ ผูบริหารระดับสูง และเลขานุการบริษัทเขาอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการพัฒนา ความรู  ค วามสามารถในการปฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ อ ย า งต อ เนื ่ อ งทุ ก ป อย า งน อ ยป ล ะ 1 ท า น เพื ่ อ เป น การ เพิ ่ ม มุ ม มองความคิ ด ที ่ เ ป น ประโยชนมาประยุกตใชกับธุรกิจของบริษัท ซึ่งในป 2561 กรรมการ และผูบริหารไดเขารับการอบรมหลักสูตรเพื่อเพิ่มพูนความรูในการ ปฏิบัติงาน ดังนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

75


ชื่อกรรมการ / ผูบริหาร นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล

ตำแหนง กรรมการ

หลักสูตรอบรม

จัดโดย

วันที่เขาอบรม

C-TALK: Putting Digital Transformation to Work

Digital IQ Company Limited

10 กันยายน 2561

Inaugural Corporate Governance Conference 2018 “Building Trust in Transforming Economy"

ก.ล.ต.

19 กันยายน 2561

นายภัทราวุธ พาณิชยกุล

กรรมการ และ CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ

การบัญชีเครื่องมือทางการเงิน สำหรับองคกร ที่มิใชสถาบันทางการเงิน

นายเฉลิมภพ แกนจัน

กรรมการ

การพัฒนาความสามารถทางดานนวัตกรรมของบริษัท

นายประกอบ วิศิษฐกิจการ

กรรมการ

Value Creation through Digital Transformation

นางสาวธนวรรณ เสงี่ยมศักดิ์

ผูจัดการสายงานพัฒนาธุรกิจ ผลกระทบของมาตรฐานรายงานทางการเงินใหมเกี่ยว และ CFO – สายธุรกิจ กับรายไดจากสัญญาที่ทำกับลูกคา (TFRS 15) ถุงมือยาง และสัญญาเชา (TFRS 16) ที่มีตอการจัดทำรายงาน

26 และ 28 มิถุนายน 2561 ทุกวันพฤหัสบดีของ เดือนพฤศจิกายน สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) 2561 - มกราคม 2562 บริษทั เมโทรซิสเต็มสคอรปอเรชัน่ จำกัด 22 พฤษภาคม 2561 (มหาชน) บริษทั เอ็น วาย ซี แมนเนจเมนท จำกัด

ตลท.

14 -15 กันยายน 2561

ทางการเงินของบริษัทจดทะเบียน

6 กุมภาพันธ 2561

แนวทางการทำ Due Diligence ตามคูมือฉบับใหม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางการบัญชี

นางพัชรินทร อนุวงศวัฒนชัย

เลขานุการบริษัท

Crypto Currency and ICOs: Opportunities & Challenges Good IT Governance : Risk Management and Data Responsibility นิติกรรมและขอกฏหมายสัญญาธุรกิจสำหรับผูบริหาร มาตรฐานรายงานทางการเงิน TFRS15 การรับรู รายไดที่ใหใชกับสัญญาที่ทำกับลูกคาทุกประเภท

(7) การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการ บมจ. ศรีตรังไดจัดใหมีการประเมินตนเองของคณะกรรมการ ซึ่งแบบ ประเมินผลดังกลาวนั้นมีความสอดคลองกับหลักการกำกับดูแลกิจการ ที่ดีโดยมุงเนนการนำผลประเมินไปใชประโยชนเพื่อการปรับปรุงการ ปฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ ข องคณะกรรมการ โดยแบบประเมิ น ผลมี 4 แบบ ประกอบดวย • แบบประเมินผลงานของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ (ประเมินทั้งคณะ) • แบบประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) • แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดยอยแบบรายคณะ ประกอบดวย คณะกรรมการตรวจสอบคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง • แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผูจัดการ (CEO)

ชมรมวาณิชธนกิจ -สมาคม บริษัทหลักทรัพยไทย ก.ล.ต บริษัท ฝกอบรมและ สัมมนาธรรมนิติ จำกัด

29 สิงหาคม 2561 26 พฤศจิกายน 2561 23 พฤษภาคม 2561 24 กันยายน 2561 15 พฤศจิกายน 2561

รายละเอียดหัวขอในการประเมิน ดังนี้ 1. แบบประเมิ น ผลงานของคณะกรรมการบริ ษ ั ท ทั ้ ง คณะ (ประเมิ น ทั ้ ง คณะ) ประกอบด ว ย 6 หั ว ข อ คื อ โครงสร า งและ คุณสมบัติของคณะกรรมการบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ การประชุ มคณะกรรมการ การทำหน า ที ่ ข อง กรรมการความสัมพันธกับฝายจัดการและ การพัฒนาตนเองของ กรรมการและการพัฒนาผูบริหาร 2. ประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ประกอบด ว ย 4 หั ว ข อ คื อ ความรั บ ผิ ด ชอบต อ การตั ด สิ น ใจและ การกระทำของตนเองและการปฏิ บั ต ิ ห น า ที ่ อ ย า งมี ประสิ ท ธิ ภาพ การปฏิบตั ติ อ ผูม สี ว นไดเสียอยางเทาเทียมและเปนธรรมมีความโปรงใส ในการดำเนินงานที่สามารถตรวจสอบไดและมีการเปดเผยขอมูล และการมีจริยธรรม / จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ

3. แบบประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการชุ ด ย อ ยแบบรายคณะ โดยมีเกณฑการประเมินผลคิดเปนรอยละจากคะแนนเต็มในแตละขอ ประกอบดวย 3 หัวขอ คือโครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการ การดำเนิ น การในการประชุ ม คณะกรรมการชุ ด ย อ ย และบทบาท ทั้งหมด ดังนี้ หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดยอย มากกวาหรือเทากับรอยละ 90 = ดีเยี่ยม มากกวาหรือเทากับรอยละ 80 = ดีมาก 4. แบบประเมินผลงานการปฏิบัติงานของกรรมการผูจัดการ (CEO) มากกวาหรือเทากับรอยละ 70 = ดี ประกอบด ว ย 10 หั ว ข อ คื อ ความเป น ผู  น ำ การกำหนดกลยุ ท ธ มากกวาหรือเทากับรอยละ 60 = พอใช การปฏิ บ ั ต ิ ต ามกลยุ ท ธ การวางแผนและผลปฏิ บ ั ต ิ ท างการเงิ น ต่ำกวารอยละ 60 = ควรปรับปรุง ความสัมพันธกับคณะกรรมการ ความสัมพันธกับภายนอกการบริหาร โดยมีกระบวนการในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ดังนี้ งานและความสัมพันธกับบุคลากร การสืบทอดตำแหนง ความรูดาน สวนงานเลขานุการบริษทั จัดทำและทบทวนแบบประเมินผลการปฏิบตั ิ ผลิตภัณฑและบริการ และคุณลักษณะสวนตัว ทั้ง 4รูปแบบใหมีความถูกตองครบถวนและเปนไปตามหลักเกณฑ ที่หนวยงานกำกับดูแลกำหนดและนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัท เพือ่ ใหคำเสนอแนะจากนัน้ นำสงใหกรรมการแตละชุดทำการประเมินผล เมื่อไดรับผลการประเมินแลวจะนำมาประมวลผลและสรุปคะแนน 76

รายงานประจำป 2561


สรุปผลการประเมินได ดังนี้ ผลการประเมินผลงสนของคณะกรรมการบริษัท 100.00

93.82

94.51

93.40

92.23

50.00

ป 2560 ป 2561

0.00 รายคณะ

รายบุคคล

ผลการประเมินผลงานของคณะกรรมการชุดยอยและ CEO

100.00

100.00

99.00

94.61

94.12

98.89

98.89

80.00

95.24 78.43

94.19

78.43

60.00 40.00 20.00

ป 2560 ป 2561

0.00 คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ สรรหา

คณะกรรม พิจารณาคาตอบแทน

(8) การสรรหากรรมการ

ในการสรรหากรรมการ คณะกรรมการบริษัทไดกำหนดคุณสมบัติของ กรรมการที่ตองการสรรหาใหสอดคลองกับกลยุทธในการดำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯโดยพิจารณาจากองคประกอบของคณะกรรมการบน พื้นฐานของความหลากหลาย (Board Diversity) ไมวาจะเปนความรู ทักษะ ประสบการณ อายุ และเพศของกรรมการ ทั้งนี้ จะนำฐาน ข อ มู ล กรรมการ (Director Pool) ซึ ่ ง จั ด ทำโดยสมาคมส ง เสริ ม กรรมการบริษัทไทยมาประกอบการพิจารณาสรรหาเพื่อใหมั่นใจวา บุคคลที่จะเขามาเปนกรรมการและผูบริหารระดับสูงเปนผูที่มีความรู ความสามารถ ประสบการณเหมาะสมและเปนอิสระกอนการเสนอ ชื ่ อ ให ค ณะกรรมการบริ ษ ั ท หรื อ ผู  ถ ื อ หุ  น พิ จ ารณาแต ง ตั ้ ง ทั ้ ง นี ้ คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาแตงตั้งกรรมการที่เขาดำรงตำแหนง แทนกรรมการที่พนจากตำแหนงกอนครบวาระสำหรับการแตงตั้ง กรรมการใหม และ/หรือกรรมการทีค่ รบวาระจะพิจารณาแตงตัง้ โดยผูถ อื หุน การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน

บริษัทฯ มีนโยบายและวิธีการดูแลผูบริหารในการนำขอมูลภายในของ บริษัทฯ และบริษัทยอย ไปใชเพื่อประโยชนสวนตนดังนี้ 1. ใหความรูแกกรรมการและผูบริหารในฝายตางๆ เกี่ยวกับหนาที่ที่ผูบริหารตองจัดทำและเปดเผยรายงานการถือครอง หลักทรัพยและรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยของ บริษทั ตอสำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ แลวแตกรณีรวมถึง บทกำหนดโทษในกรณีที่ฝาฝนตาม พ.ร.บ. หลักทรัพยและขอกำหนด ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 2. ใหกรรมการและผูบริหารของ บมจ. ศรีตรัง รวมถึงคูสมรสและ บุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ จัดทำและเปดเผยรายงานการถือครองหลักทรัพยและรายงานการ เปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยของ บมจ. ศรีตรัง ตอสำนักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห ง พ.ร.บ. หลั ก ทรั พ ย และจัดสงสำเนารายงานนี้ใหแก บมจ. ศรีตรัง ในวันเดียวกับวันที่ สงรายงานตอสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.

คณะกรรม บริหารความเสี่ยง

CEO

3. กรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ และบริษัทยอย ทีไ่ ดรบั ทราบขอมูลภายในทีเ่ ปนสาระสำคัญซึง่ มีผลตอการเปลีย่ นแปลง ราคาหลักทรัพยตองใชความระมัดระวังในการซื้อขายหลักทรัพยของ บริษัทในชวง 1เดือนกอนที่งบการเงินหรือขอมูลภายในนั้นจะเปด เผยตอสาธารณชน และในชวงระยะเวลา 24 ชั่วโมงภายหลังจากที่ ขอมูลภายในของบริษัทฯ ไดเปดเผยตอสาธารณชนแลวผูที่เกี่ยวของ กับขอมูลภายในตองไมเปดเผยขอมูลนั้นใหผูอื่นทราบจนกวาจะไดมี การแจงขอมูลนั้นใหแกตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และ/หรือ ตลาดหลักทรัพยสิงคโปรแลว มาตรการลงโทษหากมีการกระทำการ ฝาฝนระเบียบปฏิบัติดังกลาวขางตน บริษัทถือเปนความผิดทางวินัย ตามขอบังคับการทำงานของบริษัทฯ 4. หามมิใหกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของบริษัทฯ ใชขอมูลภายในบริษัทฯ ที่มีหรืออาจมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพยของ บริษัทฯ ซึ่งยังมิไดเปดเผยตอสาธารณชน ซึ่งตนไดลวงรูมาในตำแหนง หรือฐานะเชนนั้นมาใชเพื่อการซื้อหรือขายหรือเสนอซื้อหรือเสนอขาย หรือชักชวนใหบุคคลอื่นซื้อหรือขาย หรือเสนอซื้อหรือเสนอขาย ซึ ่ ง หุ  น หรื อ หลั ก ทรั พ ย อ ื ่ น (ถ า มี ) ของบริ ษ ั ท ฯ ไม ว  า ทั ้ ง ทางตรง หรื อ ทางอ อ ม ในประการที ่ น  า จะเกิ ด ความเสี ย หายแก บ ริ ษ ั ท ฯ ไมวาทั้งทางตรงหรือทางออม และไมวาการกระทำดังกลาวจะทำ เพื่อประโยชนตอตนเองหรือผูอื่น หรือนำขอเท็จจริงเชนนั้นออกเปด เผยเพื่อใหผูอื่นกระทำดังกลาวโดยตนไดรับผลประโยชนตอบแทน หรือไมก็ตาม กรรมการและพนั ก งานของบริ ษ ั ท ฯ จะต อ งปฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับขอหามการซื้อขายหลักทรัพยโดยใชขอมูลภายในไมวา จะเป น ในช ว งระยะเวลาที ่ อ นุ ญ าตให ซ ื ้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย ก ็ ต าม นอกจากนี ้ กรรมการและพนั ก งานของบริ ษ ั ท ฯ ถูกคาดหวังวา จะ ไมซื้อขายหุนของบริษัทฯ เพื่อการเก็งกำไรในระยะสั้น บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

77


การควบคุมภายในและ การบริหาร

ความเสี่ยง

บริษัทฯ ใหความสำคัญตอระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการกำกับดูแลผลการดำเนินงาน ซึ่งเปนกระบวน การปฏิ บ ั ต ิ ง านที ่ ป ฏิ บ ั ต ิ เ ป น ขั ้ น ตอนอย า งต อ เนื ่ อ งของเจ า หน า ที ่ ท ุ ก คนของบริ ษ ั ท ฯ ตั ้ ง แต ค ณะกรรมการบริ ห าร และพนั ก งาน ทุกคนที่มีบทบาทและความรับผิดชอบรวมกันโดยจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม เพื่อใหมั่นใจอยางสมเหตุ ผลว า ผลการดำเนิ น งานทุ กหนวยงานภายในกลุม บริษัทฯ มี ค วามสอดคล อง และสามารถบรรลุ เ ป า หมายตามที ่ ค ณะกรรมการ บริหารไดกำหนดไว โดยจัดใหมีหนวยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งเปนหนวยงานอิสระที่รายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ การพิจารณาอนุมัติแตงตั้งผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ถอดถอน โยกยายผูบริหารหนวยงานตรวจสอบภายในของบริษัทตองไดรับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งหนวยงานตรวจสอบภายในจะทำหนาที่ตรวจประเมินการควบคุมภายในตามแผนการ ตรวจสอบประจำป โดยพิจารณาจากปจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวของ ซึ่งผานการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบรวมทั้งสนับสนุนใหเกิด ระบบการบริหารความเสี่ยงในองคกรอยางเปนรูปธรรม และการใหคำแนะนำทางดานตางๆ เพื่อใหเชื่อมั่นไดวาการปฏิบัติงาน ของบริษัทฯ บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงคที่กำหนดไว โดยหนวยงานตรวจสอบภายในไดยึดถือมาตรฐานการปฏิบัติงานตาม วิ ช าชี พ การตรวจสอบภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing) เป น กรอบหรื อ แนวทาง ในการปฏิบัติงาน ที่มุงเนนใหการปฏิบัติงานมีความเปนอิสระ เที่ยงธรรม และสอดคลองกับมาตรฐานสากล และใหความสำคัญตอ คุณภาพงานตรวจสอบ ทั้งนี้ บริษัทฯ สงเสริม และสนับสนุนการพัฒนาฝกอบรมเจาหนาที่ตรวจสอบภายในอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะ การสงเสริมใหเจาหนาที่ตรวจสอบภายในไดรับการฝกอบรม เพื่อสอบรับวุฒิบัตรเกี่ยวกับวิชาชีพตรวจสอบภายใน เชน CIA (Certified Internal Auditor), CISA (Certified Information Systems Auditor) และ CPIAT (Certified Professional Internal Audit of Thailand) เปนตน ซึ่งเจาหนาที่ตรวจสอบภายในของบริษัทฯจำนวนสามทานไดรับการขึ้นทะเบียน CPIAT แลว โดยจัดใหมีการ วางแผนการฝกอบรมที่เหมาะสมเปนรายบุคคล นอกจากนี้ ผูสอบบัญชีอิสระซึ่งเปนผูรับรองงบการเงินประจำป 2561 ของบริษัทฯ ไดใหความเห็นวา ไมพบสถานการณใดๆ ที่เปนจุดออนเกี่ยวกับระบบการควบคุม ภายในที่มีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบ การเงินของบริษัทฯสรุปสาระสำคัญของระบบการควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ ไดดังนี้

78

รายงานประจำป 2561


คณะกรรมการตรวจสอบ

ทำหนาที่พิจารณาความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของ บริษทั ฯ โดยทบทวนผลการปฏิบตั งิ านของหนวยงานตรวจสอบภายใน และผูสอบบัญชีอิสระของบริษัทฯ อยางตอเนื่องโดยพิจารณาความ เพียงพอ และเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในการควบคุมการ ปฏิ บ ั ต ิ ง านตามกฎหมายระเบี ย บ ข อ บั ง คั บ และนโยบายต า งๆ ที่เกี่ยวของ คณะกรรมการตรวจสอบอาจใหคำแนะนำในการพัฒนา ระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในใหแกคณะ กรรมการ นอกจากนี้ หากคณะกรรมการตรวจสอบมีขอเสนอแนะ หรือพบขอบกพรองหรือการประพฤติในทางที่มิชอบที่เปนสาระสำคัญ จะหารือกับฝายบริหารทีเ่ ปนผูร บั ผิดชอบและรายงานตอคณะกรรมการ บริ ษ ั ท โดยตรง เพื ่ อ ให ม ี ก ารดำเนิ น การตามความเหมาะสมและ ปรับปรุงแกไขตอไป

หนวยงานตรวจสอบภายใน

บริษัทฯ ไดมีการสรรหาบุคลากรทางดานงานตรวจสอบภายในที่มี ความรูความสามารถและประสบการณที่เกี่ยวของกับงานดานการ ตรวจสอบภายใน ในจำนวนที่เหมาะสมและเพียงพอ โดยมีนายวิทวัส กรุ ง แทนเมื อ ง ดำรงตำแหน ง ผู  จ ั ด การกลุ  ม งานตรวจสอบภายใน ซึ่งพนักงานผูปฏิบัติงานสามารถเขาถึงขอมูลทั้งหมดของบริษัทฯ โดยไมถูกจำกัด เพื่อที่จะสามารถปฏิบัติงานตรวจสอบการปฏิบัติงาน ของหนวยงานตางๆ ของกลุมบริษัทฯตามแผนการตรวจสอบประจำป และตามที ่ ไ ด ร ั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ห ารหรื อ คณะ กรรมการตรวจสอบไดอยางอิสระโดยใชหลักเกณฑการพิจารณาความ สำคั ญ ตามความเสี ่ ย งของกระบวนการทางธุ ร กิ จ หรื อ กระบวน การทำงานรวมทั้งการใหคำปรึกษาแนะนำแกฝายบริหารของแตละ หนวยงานที่ไดรับการตรวจสอบในการปรับปรุงการควบคุมภายใน ซึ่งรวมถึงระเบียบวิธีปฏิบัติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

79


ระบบการควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร

คณะกรรมการบริษัทมีการกำหนดเปาหมายการดำเนินธุรกิจประจำปของบริษัทฯ อยางเปนรูปธรรม มีการกำหนดคานิยมองคกร (Core Value) วิสัยทัศน (Vision) พันธกิจ (Mission) และอัตราการเติบโตของธุรกิจ โดยจัดใหมีคณะทำงานทบทวนการจัดทำดัชนีชี้วัด (KPI: Key Performance Indicator) ในแตละหนวยธุรกิจเพื่อใหการกำหนดเปาหมายของแตละหนวยงานสอดคลองและเปนแนวทางเดียวกัน ทั่วทั้งองคกร ไมวาจะเปนการกำหนดเปาหมายการดำเนินงานดานกำไรขาดทุนทางการเงินผลการปฏิบัติงานหนวยงานหลักและหนวยงาน สนับสนุน ความพึงพอใจของลูกคา เปนตน โดยมีการติดตามกำกับดูแลเปนประจำอยางตอเนื่อง เนื่องดวยบริษัทฯ มีความมุงมั่นในการดำรงไวซึ่งการดำเนินธุรกิจดวยความโปรงใส ยุติธรรม และสามารถตรวจสอบได สอดคลองกับ หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยคาดหวังใหผูมีสวนไดเสียทุกกลุมสามารถรายงานถึงเหตุการณที่อาจขัดตอหลักการดังกลาว เพื่อใหมีการ ดำเนินการแกไขใหถูกตองตอไป บริษัทฯ จึงกำหนดใหมีนโยบายการรับขอรองเรียน (Whistleblowing Policy) และชองทางรับเรื่อง รองเรียนจากผูมีสวนไดเสียทุกกลุม เกี่ยวกับการกระทำที่ไมถูกตองหรือไมเหมาะสม อันอาจทำใหเกิดความเสียหายตอบริษัทฯ พรอมทั้ง กำหนดมาตรการคุมครองผูรองเรียนที่กระทำไปโดยความสุจริต นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดประกาศเจตนารมณเขารวมโครงการการสราง แนวรวมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการตอตานการทุจริต (CAC) ในป 2560 และตอมาไดยื่นขอรับรอง ซึ่งคณะกรรมการ CAC มีมติ ใหการรับรอง บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) เปนสมาชิก CAC เมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2561 ทัง้ นี้ ใบรับรองดังกลาวจะมีอายุ 3 ป นับจากวันที่มีมติใหการรับรอง การบริหารจัดการความเสี่ยง

คณะกรรมการบริษัทใหความสำคัญและสนับสนุนใหเกิดระบบบริหาร ความเสี่ยงอยางเปนรูปธรรม โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เป น ผู  ท บทวนนโยบาย และกำกั บ ดู แ ลการบริ ห ารความเสี ่ ย ง ของบริษัทฯ เพื่อใหระบบบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ มีประสิทธิผล อยางเปนรูปธรรม โดยการบริหารจัดการความเสี่ยงนั้นไดคำนึงถึง ความเหมาะสมของสภาวะแวดลอมทั้งภายนอกและภายใน ที่กอให เกิดความเสี่ยงและมีผลกระทบตอบริษัทฯ ดังนั้นจึงมีการประเมิน และติดตามความเสี่ยงตลอดเวลาในการปฏิบัติงาน อีกทั้ง ไดกำหนด ใหมีการประชุมหารือกันในระดับผูบริหารเพื่อประเมินสถานการณ และกำหนดกลยุทธในการดำเนินงาน เพื่อรองรับความเสี่ยงที่อาจ เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง การควบคุม

บริษัทฯ มีการกำหนดมาตรการและแนวทางการปฏิบัติไวอยางชัดเจน โดยกำหนดเปนคำสั่ง ระเบียบในการปฏิบัติ อำนาจการอนุมัติ และ วิธีการปฏิบัติงานเพื่อใหผูบริหารและพนักงานทุกระดับตองปฏิบัติ ตามเปนไปในแนวทางเดียวกัน

80

รายงานประจำป 2561

สารสนเทศและการสื่อสารขอมูล

บริ ษ ั ท ฯ มี ก ารจั ด ระบบสารสนเทศที ่ เ หมาะสมทั ้ ง ใน Internet Website และ Intranet Website ของบริษัทฯ โดยไดจัดใหมี Internet Website เพื ่ อ ให ผ ู  ถ ื อ หุ  น นั ก ลงทุ น และบุ ค คลทั ่ ว ไป ไดสามารถรับขอมูลขาวสารที่สำคัญเกี่ยวกับบริษัทฯ อยางสม่ำเสมอ อีกทั้ง ยังเปนอีกชองทางหนึ่งในการติดตอสื่อสารในกรณีที่มีขอสงสัย หรือขอเสนอแนะจากผูถือหุน นักลงทุนหรือบุคคลทั่วไป สวนระบบ Intranet Website เปนระบบที่ใชในการสื่อสารภายในกลุมบริษัทฯ ซึ่งทำใหการติดตอ สื่อสารเปนไปอยางถูกตอง รวดเร็ว และทั่วถึง รวมทั้งยังใชเปนแหลงเผยแพร หรือแลกเปลี่ยนความรูที่มีผลตอการ เพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลตอการดำเนินงานของกลุมบริษัทฯ การติดตามและประเมินผล

ฝายบริหารมีการติดตามเหตุการณและทิศทางเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง เพื่อประเมินและปรับกลยุทธในการดำเนินงานใหเหมาะสมสอดคลอง ตอสถานการณปจจุบัน พรอมกับกำหนดแผนเพื่อรองรับเหตุการณ ที่อาจสงผลกระทบตอเปาหมายขององคกรในอนาคต ในสวนผลการ ปฏิ บ ั ต ิ ง านขององค ก รมี ก ารจั ด ทำรายงานผลการปฏิ บ ั ต ิ ง านตาม ดัชนีชี้วัด (KPI) เพื่อติดตามและประเมินผลอยางตอเนื่องและทันเวลา


การรายงาน

ศูนยสรรหาวัตถุดิบยางธรรมชาติเปนผูรวบรวมและจัดทำรายงาน ประจำวันที่แสดงปริมาณและตนทุนวัตถุดิบที่บริษัทฯ ซื้อในแตละวัน นอกจากนี้แผนกการขายและการตลาดตองจัดทำรายงานยอดขาย และสินคาคงเหลือประจำวันดวยกลุมผูบริหารระดับสูงใชรายงาน เหลานี้ เพื่อกำหนดนโยบายยอดขายและตนทุนของสินคาของบริษัทฯ รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยงดานตางๆ การตรวจสอบ

ผูจัดการโรงงาน ตองประชุมกับแผนกจัดหาวัตถุดิบ แผนกการตลาด และแผนกโลจิ ส ติ ก ส เ ป น ประจำอย า งน อ ยเดื อ นละครั ้ ง เพื ่ อ จั ด เตรียมงบประมาณของบริษัทฯ (รวมถึงประมาณการความสามารถใน การผลิตประจำเดือนสำหรับแตละโรงงานผลิตยางธรรมชาติ และ ประมาณการยอดขายของแตละเดือน) ในการประมาณการดังกลาว จะตองนำปจจัยหลายๆ ประการมาพิจารณา เชน ประมาณการกำลัง การผลิตที่สามารถผลิตไดของแตละโรงงาน ปริมาณวัตถุดิบที่สามารถ จัดหาได อุปสงค ราคาในตลาดโลก และภาวะเศรษฐกิจทั่วไปอื่นๆ งบประมาณดังกลาวจะถูกตรวจสอบโดยกลุมผูบริหารระดับสูงกอนนำ ไปใชจริง บริษัทฯ เชื่อวาดวยการประชุมรายเดือนและการประมาณ การดังกลาว เปนกระบวนการที่จะทำใหบริษัทฯ ไดรับผลตอบแทน จากการลงทุนสูงสุดภายใตการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมซึ่งกลุมผู บริหารระดับสูงของบริษัทฯไดกำหนดและปรับเปลี่ยนประมาณการ ใหเหมาะสมตามสถานการณทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลง สำหรับผล การดำเนิน งานของแตละหนวยธุรกิจที่มีการกำหนดดัชนีชี้วัด (KPI) ฝายตรวจ สอบภายในมีการสุมตรวจสอบความถูกตองของรายงานดัชนีชี้วัด (KPI) ในหัวขอที่สำคัญโดยเฉพาะหนวยงานหลัก เชน ฝายการตลาด ฝายสรรหาวัตถุดิบ และฝายผลิต เปนตน

ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 28 กุ ม ภาพั น ธ 2562 โดยมี ก รรมการอิ ส ระจำนวน 4 ท า น เข า ร ว ม ประชุมดวยคณะกรรมการบริษัทไดประเมินระบบการควบคุมภายใน โดยการซักถามขอมูลจากฝายบริหารและจากเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ไดขอสรุปวา จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ในส ว นต า งๆ 5 องค ป ระกอบ คื อ การควบคุ ม ภายในองค ก ร การประเมินความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูลและระบบการติดตามคณะ กรรมการมี ค วามเห็ น ว า ระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษ ั ท ฯ มี ค วามเพี ย งพอและเหมาะสมโดยจั ด ให ม ี บ ุ ค ลากรที ่ เ พี ย งพอใน การดำเนินการตามระบบไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการติดตาม ควบคุ ม ดู แ ลการดำเนิ น งานของบริ ษ ั ท ย อ ยอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยกรรมการอิ ส ระและคณะกรรมการตรวจสอบไม ม ี ค วามเห็ น แตกตางจากความเห็นของคณะกรรมการบริษัทอยางไรก็ตามคณะ กรรมการตรวจสอบได ก ำชั บ เรื ่ อ งการปฏิ บ ั ต ิ ต ามนโยบายกำกั บ ดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Policy) ของบริษัทฯ อยางเครงครัด เพื่อใหเปนไปตามขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย คณะกรรมการกำกับตลาดทุน และสำนักงาน ก.ล.ต. เพื ่ อ ให ก ารปฏิ บ ั ต ิ ง านของบริ ษ ั ท ฯ เป น ไปอย า งโปร ง ใสและมี ประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ ในที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทครั้งที่ 1/2562 เมื ่ อ วั น ที ่ 27 กุ ม ภาพั น ธ 2562คณะกรรมการตรวจสอบ ได ป ระเมิ น ระบบควบคุ ม ภายในของบริ ษ ั ท ฯ และมี ค วามเห็ น ว า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม ทั้งนี้ ในการกำกับดูแลบริษัทยอยของบริษัทฯ นั้น กรรมการของ บริ ษ ั ท ฯ จะเข า เป น กรรมการในบริ ษ ั ท ย อ ยและบริ ษ ั ท ร ว มเอง และบางครัง้ อาจมีการจัดสงตัวแทนของบริษทั ฯ หรือผูแ ทนของบริษทั ฯ เขาไปรวมเปนกรรมการของบริษทั ยอยและมอบหมายใหฝา ยตรวจสอบ ภายในของบริษัทฯเปนผูตรวจสอบความเพียงพอของระบบควบคุม ภายในของบริ ษ ั ท ย อ ย และรายงานให ค ณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทฯ ทราบถึงขอสรุปเกี่ยวกับการกำกับดูแลของบริษัทยอย เพื ่ อ ให บ ริ ษ ั ท ฯ สามารถควบคุ ม และตรวจสอบการดำเนิ น งาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

81


ความรับผิดชอบ

ตอสังคม

เราใหความสำคัญ

กับทุกกาวของการเติบโต ควบคูไป กับการการปฏิบัติตามกรอบ ของการกำกับดูแลกิจการที่ดี

รายงานประจำป 2561

82

มีความรับผิดชอบตอชุมชนและสังคม


ตลอดระยะเวลากวา 3 ทศวรรษในการดำเนินธุรกิจ

เราใหความสำคัญกับทุกกาวของการเติบโต ควบคูไปกับการการปฏิบัติตามกรอบของการกำกับดูแลกิจการที่ดีมีความรับผิดชอบตอชุมชน และสังคมผานโครงการและกิจกรรมตางๆ เราตระหนักและใหความสำคัญกับการผลิตสินคาที่มีคุณภาพดวยกระบวนการที่ เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม สรางระบบการจัดซื้อวัตถุดิบที่ยุติธรรม คงมาตรฐานการคาที่เปนที่ ยอมรับ และไววางใจตอชาวสวนผูขายวัตถุดิบและ ลูกคาทั่วโลก เราคำนึงถึงผลกระทบทุกดานของการดำเนินการที่อาจจะมีผลตอผูมีสวนไดสวนเสีย อันไดแก ผูถือหุน พนักงาน ลูกคา คูคา ชุมชน และหนวยงานภาครัฐ รับฟงความคิดเห็นจากชุมชนและพนักงานเพื่อการปรับปรุงพัฒนาองคกร และมุงมั่นในการสรางทัศนคติ และวัฒนธรรมองคกรเพื่อใหพนักงานทุกคนซึ่งเปรียบเสมือนครอบครัวศรีตรังตระหนักและมีความรับผิดชอบตอสังคมที่อยูรวมกัน เพื่อรวมกันพัฒนาองคกรไปสูการเปนอุตสาหกรรมยางพาราที่ยั่งยืนนอกจากนี้ในป 2561 บริษัทฯ ไดจัดทำรายงานความยั่งยืน อางอิงตาม หลักการความรับผิดชอบตอสังคม 8 ขอ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและแนวทางการรายงานตามดัชนีชี้วัดของ GRI-Standards ชวงระยะเวลารายงานผลครอบคลุมตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2561 – 31 ธันวาคม 2561 โดยเนื้อหาจะครอบคลุมการประเมินประเด็น ที ่ ส ำคั ญ ต อ ความยั ่ ง ยื น ของกลุ  ม บริ ษ ั ท ศรี ต รั ง ผู  ม ี ส  ว นได ส  ว นเสี ย แนวทางการบริ ห ารจั ด การ และผลการดำเนิ น งานด า นเศรษฐกิ จ (Economic) ดานสังคม (Social) และดานสิ่งแวดลอม (Environment) ทั้งนี้ ในป 2561 บริษัทฯ ไดทำการประเมินการตอบสนองตอ เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals : SDGs) จำนวน 13 เปาหมายจากการดำเนินงาน ขององคกรดวย

ประเด็นสำคัญดานการพัฒนาอยางยั่งยืน

เพื่อใหการดำเนินงานดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของบริษัทฯ บรรลุเปาหมายตามแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืน วัดผลได และ ตอบสนองความคาดหวังของผูมีสวนไดเสียอยางเหมาะสม บริษัทฯ จึงไดมีการรวบรวม ประเมินและจัดลำดับความสำคัญของประเด็น สำคัญที่มีผลตอการดำเนินธุรกิจ โดยสวนงานตางๆที่เกี่ยวของ เพื่อใหสามารถหาแนวทางและวางแผนการจัดการไดอยางเหมาะสม โดย นำหลักการกำหนดเนื้อหาของ GRI Standard มาประยุกตใชประเด็นสำคัญที่ไดจากการวิเคราะหและจัดลำดับ ที่ผานการทวนสอบโดย คณะทำงานไดนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาเพื่อขอความเห็นชอบเปดเผยในรายงานความยั่งยืนประจำป 2561 พบวามี ประเด็นสำคัญ ดังนี้ ระดับความสำคัญตอผูมีสวนไดเสีย มาก

1 1

2

ระดับความสำคัญตอผูมีสวนไดเสีย

5

5

4

1

3

3

4

3

2

4 6

2

5 6

7

นอย นอย

ระดับความสำคัญตอองคกร

มาก

ดานบรรษัทภิบาลและเศรษฐกิจ 1. ผลประกอบการที่ดี 2. การกำกับดูแลกิจการที่ดี 3. การบริหารความเสี่ยงและความตอเนื่องทางธุรกิจ 4. ความสัมพันธที่ดีกับลูกคา 5. การจัดซื้อจัดจางที่ดี โปรงใส 6. การรวมพัฒนาคูคา/เกษตรกรสวนยาง 7. การวิจัยและพัฒนา ดานสังคม 1. สุขภาพและความปลอดภัยในการทำงาน 2. คุณภาพสินคาและบริการ 3. การดูแลและพัฒนาพนักงาน 4. การจัดการขอรองเรียน 5. การใหการสนับสนุนและมีสวนรวมกับชุมชน ดานสิ่งแวดลอม 1. การจัดการคุณภาพอากาศ 2. การใชพลังงาน 3. การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม 4. การบริหารจัดการน้ำ 5. การจัดการของเสีย 6. การปลอยกาซ CO2

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

ระดับความสำคัญ ระ ตอองคกร ตอ 3.0 2.4 2.4 2.6 2.0 2.0 2.4 2.6 2.6 2.2 2.0 1.7 2.2 2.7 2.4 2.4 2.4

83


ดานเศรษฐกิจ

• เพิ่มและพัฒนาความสัมพันธกับคูคา พันธมิตรทางธุรกิจในทุกมิติ อยางยั่งยืน • มีสวนรวมพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารารวมกับคูคา หนวยงานรัฐ เอกชนที่เกี่ยวของ เกษตรกรชาวสวนยางใหเติบโตอยางยั่งยืน • สงเสริมการซื้อขายวัตถุดิบดวยกลไกตลาดเสรี เปดเผยขอมูลอยาง โปรงใสไวใจได • สงเสริมสหกรณและธุรกิจชุมชน เพิ่มความคลองตัวทางเศรษฐกิจ การจางงาน ในพื้นที่ชุมชนที่โรงงานตั้งอยู • สรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจดวยอุตสาหกรรมยางพาราที่ดำเนิน การตามหลักความยั่งยืน

STA สรา ภายใตแนงความเชื่อมั่นในงา น วคิด “Th e Future Thailand Focu s is Now” , สิงหาคม2018 2561

นอกจากนี้ ในป 2561 บมจ. ศรีตรัง รับรางวัล รางวัล SET Sustainability Award 2018 ประเภท Rising Star และTHAILAND SUSTAINABILITY INVESTMENT 2018 (THSI) หรือรายชื่อ "หุนยั่งยืน" ตอเนื่องเปนปที่ 4 และไดรับการคัดเลือกใหอยูในรายชื่อ 45 หุนในดัชนี SETTHSI จากตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยในฐานะบริษัทจดทะเบียนที่ดำเนินธุรกิจอยาง ยั่งยืนโดยคำนึงถึงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม สังคม และบรรษัทภิบาล (Environment, Social and Governance หรือ ESG)

วมปฏิบัติของภาคเอกชน STA ไดรับรองเขาเปนแนวร C) ไทยในการตอตานทุจริต (CA

นา

รเงินการธ

า นิตยสารก

นิตยสาร

บางกอกโพ

สต (29 พ

84

รายงานประจำป 2561

61

วาคม 25

เดือนธัน คาร ฉบับ

.ย. 61)

The Edg

e (ประเท

ศมาเลเซีย

) ธันวาคม

2561


ดานสังคม

ดานเด็กและเยาวชน

ดานการพัฒนาอาชีพและความเปนอยู • โครงการ สานสัมพันธ มาตรฐานน้ำดี วิถีชุมชน : บริษัทฯ ไดมีการขุดบอเพื่อเก็บน้ำฝนไวสำรองใชในการผลิต และมีการ ปลอยปลาเพื่อเปนตัวชี้วัดคุณภาพน้ำ และเปดใหพนักงาน และชุมชน เขารวมกิจกรรมจับปลาที่เลี้ยงไวไปเปนอาหารและนำจำหนาย • โครงการดินดีมีประโยชน : กิจกรรมแปรรูปกากตะกอนเปนปุยอินทรียสูชุมชนจากรวมมือระหวาง บริษัทและนักวิชาการสงเสริมการเกษตรชำนาญการ กลุมอารักขาพืชสำนัก งานเกษตรจังหวัดปตตานี ทั้งนี้ กากตะกอนที่นำมาผลิตปุยไดผานการตรวจ วิเคราะหพบวาไมมีการปนเปอนคาโลหะหนักที่เปนอันตราย

ดานศิลปวัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น บริษัทฯ ใหการสนับสนุน วัฒนธรรมประเพณีทองถิ่นที่จัดขึ้นในทุกชุมชนที่ โรงานตั้งอยูเพื่อเปนการรวมรักษาวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของทอง ถิ่นใหคงสืบไป

ดานกีฬา บริษัทฯ เชื่อวาการสนับสนุนและมีสวนรวมสงเสริมในดานกีฬาเปนอีกสิ่ง หนึ่งที่จะชวยพัฒนาสังคมใหดีขึ้น โดยใหการสนับสนุนงบประมาณมอบ อุปกรณ เสื้อกีฬาและเขารวมการแขงขันกีฬาของชุมชนและหนวยงานตางๆ ตลอดทั้งป

ดานสุขภาพอนามัย บริษัทฯ คำนึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยของคนในชุมชนและสังคม ดังนั้น บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด จึงไดสงมอบความหวงใย ผานการสนับสนุนถุงมือยางทางการแพทยใหกับชุมชนและ หนวยงานตางๆ เพื่อใชในการปกปองทุกสัมผัสดวยความหวงใย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

85


ดานสิ่งแวดลอม

จากนโยบายความรับผิดชอบตอสังคม Environmental Friendly นอกจากการจัดทำระบบการ จัดการสิ่งแวดลอมภายในโรงงาน บริษัทฯ ยังใหความสำคัญกับการรวมอนุรักษ และดูแลสิ่งแวดลอม ในชุมชนและสังคม ผานโครงการและกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับหนวยงานตางๆ ดังนี้ • กิจกรรมปลอยพันธุสัตวน้ำคืนสูธรรมชาติ เพื่อชวยฟนฟูระบบนิเวศ หวงโซอาหาร และรักษา ความอุดมสมบูรณของธรรมชาติ • กิจกรรมปลูกตนไม เพิ่มพื้นที่สีเขียว • โครงการศรีตรังจิตอาสา • โครงการ “บรรทุกยาง ติดราง สรางรอยยิ้ม” เพื่อรณรงคใหคูคาเกษตรกรสวนยาง เจาของรถ บรรทุก รวมใจกันขนสงยางพาราดวยรถที่ไดมาตรฐานปองกันไมใหน้ำจากยางกอนถวยรั่วไหล ลงบนถนน โดยผลการดำเนินงานในป 2561 ของโรงงานนำรองทั้ง 9 สาขา พบวามีรถขนสง ยางพาราที่ไดตามมาตรฐานตามเกณฑที่กำหนดไวเฉลี่ยถึงรอยละ 93 ถือไดวาผูสงมอบวัตถุ ดิบไดใหความรวมมือและมีสวนชวยใหโครงการนี้สามารถดำเนินงานไดประสบความสำเร็จเปน อยางดี • โครงการใหความรูเ กีย่ วกับการผลิตยางกอนถวยคุณภาพดี เพือ่ สงเสริมและสนับสนุนใหเกษตรกร ผลิตยางพาราที่มีคุณภาพ ปราศจากสิง่ เจือปน รวมไปถึง การรณรงคใหใชสารจับตัวยางกอนถวย ที่ถูกวิธี ปลอดภัยและลดผลกะทบตอสิ่งแวดลอมอันจะนำไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความ เปนอยูที่ดี ทั้งนี้ รายละเอียดของการดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคม สามารถดูเพิ่มเติมไดจากรายงาน ความยั่งยืนป 2561 ซึ่งไดเปดเผยขอมูลดังกลาวไวในเว็บไซตของบริษัท www.sritranggroup.com ภายใตหัวขอการพัฒนาที่ยั่งยืน

86

รายงานประจำป 2561


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

87


โครงสราง การถือหุน 

ขอมูลเกี่ยวกับทุนเรือนหุนและผูถือหุนรายใหญ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2562 ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกจำหนายและเรียกชำระแลว (หุนสามัญจำนวน 1,535,999,998 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) ประเภทของหุน สิทธิการลงคะแนนเสียง

: :

1,535,999,998 บาท 1,535,999,998 บาท

: :

หุนสามัญ มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท 1 เสียง ตอ 1 หุน

ลักษณะการกระจายการถือครองหุน ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2562 ขนาดการถือครองหุน

จำนวนผูถือหุน

รอยละ

จำนวนหุน

รอยละ

1 – 999

1,817

17.8

521,812

0.03

1,000 – 10,000

5,391

52.85

22,012,23

1.43

10,001 – 1,000,000

2,877

28.21

198,780,937

12.94

1,000,001 – 10,000,000

93

0.91

304,999,534

19.86

10,000,001 – นอยกวา 5% ของจำนวนที่จำหนายแลว

19

0.19

377,337,061

24.57

3

0.03

632,348,422

41.17

10,200

100.00

1,535,999,998

100.00

5% ขึ้นไปของจำนวนหุนที่จำหนายแลว รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ: รวมสวนของผูถือหุนที่ถือผานทาง CDP

การกระจายการถือหุนรายยอย (Free Float) จากขอมูลที่มีอยูของบริษัท ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2562 รอยละ 54.64 ของหุนทั้งหมดของบริษัท ถือโดยผูถือหุนรายยอย

88

รายงานประจำป 2561


รายชื่อผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก รายชื่อผูถือหุน1 ของ บมจ. ศรีตรัง สูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2562 มีดังนี้ ลำดับ

ชื่อ

จำนวนหุน

รอยละ

1

ครอบครัวสินเจริญกุล2

348,143,292

22.67

2

บริษัท ศรีตรัง โฮลดิ้งส จำกัด

343,790,629

22.38

3

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด

123,845,784

8.06

4

CITIBANK NOMS SPORE PTE LTD

40,886,500

2.66

5

บริษัท ไทย อาร.ที.เอ็น.ที โฮลดิ้ง จำกัด

35,300,000

2.30

6

CITIGROUP GLOBAL MARKETS LIMITED-PB CLIENT-NRBS COLLATERAL

26,378,735

1.72

7

SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED

25,653,739

1.67

8

UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED

22,338,090

1.45

9

นางสาวสุวรรณา โกวิทยโสภณ

17,100,000

1.11

10

STATE STREET EUROPE LIMITED

16,956,443

1.10

1,000,353,212

65.13

รวม

หมายเหตุ : 1) ขอมูลดังกลาวมาจากบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด และ CDP

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

89


2) รายละเอียดการถือหุนของครอบครัวสินเจริญกุล มีดังตอไปนี้ ลำดับ

ชื่อ

1

นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล

2

จำนวนหุน

รอยละ

164,712,009

10.72

Ms. Lee Joyce Shing Yu

33,174,890

2.16

3

นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล

27,671,747

1.80

4

นายวิทยนาถ สินเจริญกุล

27,154,000

1.77

5

นายวิชญพล สินเจริญกุล

19,300,000

1.26

6

นายกิติชัย สินเจริญกุล

14,502,340

0.94

7

นางวรดี สินเจริญกุล

13,636,264

0.89

8

นางพรอมสุข สินเจริญกุล

11,200,000

0.73

9

นายลี พอล สุเมธ

10,814,399

0.70

10

นายสมหวัง สินเจริญกุล

5,913,305

0.38

11

นายบุณยชน สินเจริญกุล

5,562,580

0.36

12

นางสาวณวรา สินเจริญกุล

4,564,000

0.26

13

นางสาววรรณิสา สินเจริญกุล

3,948,694

0.26

14

นางวนิดา สินเจริญกุล

3,941,744

0.26

15

นางดวงใจ สินเจริญกุล

1,950,000

0.13

16

นางสาวพัณณชิตา โรจนภัทรานันท

97,320

0.01

348,143,292

22.67

รวม

ซึ่งไมมีบุคคลใดเปนกลุม Acting in Concert รวมทั้งไมมีบุคคลใดมีลักษณะเปนบุคคลตามมาตรา 258

3) บริษัทฯ ไมมีขอตกลงระหวางกลุมผูถือหุนรายใหญ (Shareholding Agreement) ในเรื่องที่มีผลกระทบตอการออกและ เสนอขายหลักทรัพยหรือการบริหารงานของบริษัทฯ

90

รายงานประจำป 2561


สวนไดเสียของกรรมการและผูบริหาร บมจ.ศรีตรัง คณะกรรมการและผูบริหาร บมจ.ศรีตรังที่ดำรงตำแหนง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ถือหุนสามัญของ บมจ.ศรีตรัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

ชื่อ

ตำแหนง

นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ประธานกรรมการ และกรรมการผูจัดการใหญ

นายไชยยศ สินเจริญกุล คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

จำนวนหุนที่ สัดสวนการ จำนวนหุน จำนวนหุน เปลี่ยนแปลง ถือหุน ณ ที่ถือ ณ วันที่ ที่ถือ ณ วันที่ เพิ่มขึ้น / (ลดลง) 31 ธันวาคม 2561 1 มกราคม 2561 31 ธันวาคม 2561 ในป 2561 (%) 250,000

10.723% 0.729%

-

0.586% -

164,712,009 10,950,000

164,712,009 11,200,000

กรรมการ

8,997,521 -

8,997,521 -

นายกิติชัย สินเจริญกุล คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

กรรมการ และผูจัดการสาย งานกฎหมายและบริหารทั่วไป

15,632,440 3,941,744

14,462,340 3,941,744

นายลี พอล สุเมธ คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

กรรมการและผูจัดการ สายงานการตลาด

10,814,399 33,174,890

10,814,399 33,174,890

-

0.704% 2.160%

นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

27,671,747 97,320

27,671,747 97,320

-

1.802% 0.006%

นายภัทราวุธ พาณิชยกุล คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

กรรมการ และ CFO– สายธุรกิจยางธรรมชาติ

-

-

-

-

นายหลี่ ซื่อเฉียง คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

1,907,300 -

2,000,000 -

92,700 -

0.130% -

นายเฉลิมภพ แกนจัน คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

กรรมการ และ ผูจัดการสายงานผลิต

-

-

-

-

นายประกอบ วิศิษฐกิจการ คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

-

0.035% 0.001%

นายเกรียง ยรรยงดิลก คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

-

-

539,910 21,528 -

539,910 21,528 -

(1,170,100) -

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

0.942% 0.257%

91


ชื่อ

ตำแหนง

จำนวนหุนที่ สัดสวนการ จำนวนหุน จำนวนหุน เปลี่ยนแปลง ถือหุน ณ ที่ถือ ณ วันที่ ที่ถือ ณ วันที่ เพิ่มขึ้น / (ลดลง) 31 ธันวาคม 2561 1 มกราคม 2561 31 ธันวาคม 2561 ในป 2561 (%)

นายสมัชชา โพธิ์ถาวร คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ

-

-

-

-

นางสาวอานุสรา จิตตมิตรภาพ คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

-

-

-

-

นางประไพ ศรีสุทธิพงศ คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ผูจัดการสายงาน สรรหาวัตถุดิบ

312,600 -

-

0.020% -

นายอาศรม อักษรนำ คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ผูจัดการสายงานผลิต

-

-

-

0.0002%

นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ผูจัดการสายงานคุณภาพ

-

-

-

-

นายรัฐพงศ ลาภาโรจนกิจ คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ผูจัดการสายงานวิศวกรรม

72,600 -

72,600 -

-

0.005% -

นายพันเลิศ หวังศุภดิลก คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ผูจัดการสายงานวิศวกรรม

-

-

-

-

นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ผูจัดการสายงานธุรกิจเกษตร

12,000 -

12,000 -

-

0.001% -

นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ผูจัดการสายงานทรัพยากรมนุษย

นางสาวธนวรรณ เสงี่ยมศักดิ์ คูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

ผูจัดการสายงานพัฒนาธุรกิจ และ CFO – สายธุรกิจถุงมือยาง

รวมจำนวนหุน

312,600 3,500

3,500

-

-

-

-

278,861,508

278,034,108

(827,400)

18.101%

คณะกรรมการบริษัทไดกำหนดหลักเกณฑและวิธีการรายงานการมีสวนไดเสียของกรรมการและผูบริหารไว เพื่อประโยชนในการติดตามดูแลการ มีสวนไดเสียของกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ หรือของบุคคลที่มีความเกี่ยวของ ซึ่งเปนสวนไดเสียที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการกิจการ ของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย โดยมีหลักเกณฑและวิธีการรายงาน ดังนี้ • รายงานเมื่อเขาดำรงตำแหนงกรรมการหรือผูบริหารครั้งแรก • รายงานทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลการมีสวนไดเสีย • รายงานเปนประจำทุกสิ้นป โดยกรรมการและผูบริหารจะนำสงแบบรายงานการมีสวนไดเสียแกเลขานุการบริษัท และเลขานุการบริษัทจะสงสำเนารายงานการมีสวนไดเสีย นี้ใหประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทำการนับแตวันที่ไดรับรายงาน ขอมูลการถือครองหลักทรัพยของกรรมการ และผูบริหารจะถูกเสนอใหที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทรับทราบทุกไตรมาส

92

รายงานประจำป 2561


หุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีหุนกูที่ยังมิไดไถถอน จำนวน 1 รุน 2 ชุด ซึ่งมีมูลคาคงเหลือ 2,265,000,000 บาท โดยมีรายละเอียดของ หุนกูของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2559 ดังนี้

ชุดที่ 1 การเสนอขาย ประเภทหุนกู มูลคาหุนกูที่จำหนายได อัตราดอกเบี้ย การชำระดอกเบี้ย อายุหุนกู วันครบกำหนดไถถอนหุนกู การจัดอันดับความนาเชื่อถือ

ชุดที่ 2 ผูลงทุนสถาบันและผูลงทุนรายใหญ

ชนิดระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมีประกัน และไมมีผูแทนผูถือหุนกู 810,000,000 บาท

1,455,000,000 บาท

คงที่รอยละ 2.55 ตอป

คงที่รอยละ 3.10 ตอป

ทุก 6 เดือน

ทุก 6 เดือน

3 ป

5 ป

18 พฤษภาคม 2562 A-/Stable โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัด

18 พฤษภาคม 2564 A-/Stable โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัด

เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2561 บริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัด คงอันดับเครดิตองคกรและหุนกูไมดอยสิทธิ ไมมีหลักประกันของ บมจ. ศรีตรัง ที่ระดับ BBB+ / Stable

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

93


นโยบาย

การจายเงินปนผล

นโยบายการจายเงินปนผลของ บมจ. ศรีตรัง ปจจุบัน บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการจายเงินปนผลประมาณรอยละ 30 ของกำไรสุทธิ ทั้งนี้ ตองไมเกินกำไร สะสมของ บมจ. ศรีตรัง ทีป ่ รากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยคำนึงถึงสถานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน กระแสเงินสด ของ บมจ. ศรีตรัง ความสามารถในการจายเงินปนผลของบริษัทยอยและบริษัทรวม รวมทั้ง บริ ษ ั ท ร ว มทุ น (Joint Venture) รวมถึ ง การคาดการณ ค วามจำเป น ของเงิ น ทุ น ที ่ จ ะรองรั บ การเติ บ โตของ บริษัทในอนาคต สถานการณภาวะเศรษฐกิจและผลกระทบจากปจจัยภายนอกที่ บมจ. ศรีตรัง คาดวาจะมีผล กระทบตอการดำเนินงานของบมจ. ศรีตรัง เพื่อใหการดำเนินงานเปนไปอยางมีเสถียรภาพ นโยบายการจายเงินปนผลของ บริษัทยอย การจายเงินปนผลของบริษท ั ยอยจะตองไดรบ ั อนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการของบริษท ั นัน ้ ๆ เพือ ่ นำเสนอตอ ทีป ่ ระชุม ผูถือหุนเพื่อใหความเห็นชอบ บริษัทฯ ไมไดมีการกำหนดนโยบายในการกำหนดอัตราสวนในการจายเงินปนผล ของบริษท ั ยอยไวแตอยางใด โดยการจายเงินปนผลของบริษท ั ยอยจะขึน ้ อยูก  บ ั ผล ประกอบการ ฐานะทางการเงิน และแผนการลงทุนในอนาคตของแตละบริษท ั และเปนไปตามขอบังคับของบริษท ั และกฎหมายทีเ่ กีย ่ วของของแตละ บริษัทดวยเชนกัน

94

รายงานประจำป 2561


รายการ

ระหวางกัน

รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงที่มีสาระสำคัญและเปนรายการธุรกิจที่มีนัยสำคัญซึ่งไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบกา รเงิ น ของ บมจ.ศรี ต รั ง และรายการระหว า งกั น กั บ บุ ค คลที ่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ซึ ่ ง มิ ไ ด เ ป ด เผยในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น สำหรับรอบปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 31 ธันวาคม 2561 มีดังตอไปนี้

บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง 1. บจ. พฤกษายางพารา

ความสัมพันธ เปนบริษัทที่ผูบริหารของ บริษัทฯ ไดแก นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ และพี่นอง ถือหุนรวมกันเกินกวารอย ละ 50 และนายอุดม พฤกษานุศักดิ์ เปนกรรม การผูมีอำนาจลงนาม ใน บจ.พฤกษา ยางพารา

ลักษณะของ รายการระหวางกัน

ความจำเปน/ ความสมเหตุสมผลของรายการ

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

1.60

ศรี ต รั ง ขายน้ ำ ยางสดให บจ. พฤกษายางพารา ซึ ่ ง บจ. พฤกษายางพารา รับซื้อน้ำยางสดถึงหนาสวนยางพาราของ บมจ. ศรี ต รั ง เนื ่ อ งจาก บมจ. ศรี ต รั ง ไม ม ี ห น ว ยงาน ที่ดำเนินการดานการจัดการขนสงน้ำยางดิบเปนของตนเอง เพื ่ อ เป น การประหยั ด ต น ทุ น การจั ด การ ต น ทุ น ด า นการ จำหนาย และตนทุนดานบุคลากรที่เกี่ยวของ โดยราคาที่ บมจ. ศรีตรัง ขายใหแก บจ. พฤกษายางพารา เปนราคา ซื้อน้ำยางสดที่ถูกกำหนดโดยฝายจัดซื้อของ บมจ. ศรีตรัง เปนรายวัน

เนื ่ อ งจากพื ้ น ที ่ ป ลู ก ยางพาราของ บมจ. ศรี ต รั ง ที่สามารถกรีดยางพาราในปจจุบันมีพื้นที่ไมมากนัก ดังนั้นเพื่อเปนการประหยัดตนทุนของ บมจ. ศรีตรัง จึงเห็นสมควรลดภาระที่เกี่ยวของกับการขนสงและ การจัดการโดยขายน้ำยางสดให บจ. พฤกษายางพารา ในราคาตลาดที่กำหนดโดยฝายจัดซื้อของกลุมบริษัท

44.35

บมจ. ศรีตรัง รับซื้อน้ำยางสดจาก บจ. พฤกษายางพารา เนื่องจากสวนยางพาราของ บจ. พฤกษายางพารา ตั้งอยู ในพื ้ น ที ่ ใ กล เ คี ย งกั บ โรงงานและจุ ด รั บ ซื ้ อ น้ ำ ยางสดของ บมจ.ศรี ต รั ง นอกจากนี ้ บจ. พฤกษายางพารา ยั ง เป น บริษัทที่สามารถสงมอบทั้งปริมาณและคุณภาพน้ำยางดิบ ให แ ก บมจ.ศรี ต รั ง ได ต ามเกณฑ ท ี ่ ก ำหนด ทั ้ ง นี ้ ร าคาที ่ บมจ.ศรีตรัง รับซื้อเปนราคาที่กลุมบริษัทประกาศซื้อหนา โรงงานสำหรับลูกคาทั่วไป

เนื่องจาก บมจ.ศรีตรังตองใชน้ำยางดิบเปนวัตถุดิบ ในการผลิตน้ำยางขนราคาที่ทำการซื้อขายเปนราคา ตลาดที่ถูกกำหนดโดยฝายจัดซื้อของกลุมบริษัทฯ เปนรายวันในการซื้อวัตถุดิบจาก supplier ทั่วไป

46.27

2.22

บจ. หน่ำฮั่ว รับซื้อน้ำยางสดจาก บจ. พฤกษายางพารา เนื่อง จากสวนยางพาราของ บจ. พฤกษายางพารา ตั้งอยูในพื้นที่ ใกลเคียงกับโรงงานและจุดรับซื้อน้ำยางสดของ บจ. หน่ำฮั่ว นอกจากนี้ บจ. พฤกษายางพารา ยังเปนบริษัทที่สามารถ สงมอบทั้งปริมาณและคุณภาพน้ำยางดิบใหแก บจ. หน่ำฮั่ว ไดตามเกณฑที่กำหนด ทั้งนี้ราคาที่ บจ. หน่ำฮั่ว รับซื้อเปน ราคาทีก่ ลุม บริษทั ประกาศซือ้ หนาโรงงานสำหรับผูจ ดั จำหนาย ทั่วไป

เนื่องจาก บจ. หน่ำฮั่ว ตองใชน้ำยางดิบเปนวัตถุดิบ ในการผลิ ต น้ ำ ยางข น ราคาที ่ ท ำการซื ้ อ ขายเป น ราคาตลาดที่ถูกกำหนดโดยฝายจัดซื้ของกลุมบริษัทฯ เปนรายวันในการซื้อวัตถุดิบจากผูจัดจำหนายทั่วไป

1.3 บจ. สตารเท็กซ รับเบอร • รายไดจากการขายน้ำ ยางสด

0.95

0.51

บจ. สตารเท็กซ รับเบอร จำหนายน้ำยางสดให บจ. พฤกษา ยางพารา โดยกำหนดราคาขายอางอิงตามราคาตลาด

ราคาน้ำยางสดที่ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร จำหนาย ใหแก บจ. พฤกษายางพารา เปนราคาตามทองตลาด ที่ขายใหกับลูกคาทั่วไป

คาที่ปรึกษา

5.14

5.14

นายสมหวั ง สิ น เจริ ญ กุ ล ได ร ั บ การแต ง ตั ้ ง จากคณะกรรม การบริ ษ ั ท ฯ ให ด ำรงตำแหน ง เป น ที ่ ป รึ ก ษากิ ต ติ ม ศั ก ดิ ์ เพื่อใหคำปรึกษาแกบริษัทฯในเรื่องการกำหนดเปาหมาย วิสัยทัศน ธุรกิจ แผนการลงทุน นโยบายการดำเนินธุรกิจ กลยุทธในการจัดสรรวัตถุดิบ แนวทางการจัดซื้อ การติดตอ ประสานงานกับภาคมวลชนและหนวยงานทองถิ่น โดยนาย สมหวั ง สิ น เจริ ญ กุ ล ได ร ั บ ค า ตอบแทนเป น เดื อ นละ 428,000 บาท หรือ 5,136,000 บาท/ป เปนระยะเวลา 2 ป เริ ่ ม ในเดื อ นพฤษภาคม 2561- เดื อ นพฤษภาคม 2563

เนื่องจากการใหคำปรึกษาดังกลาวไมสามารถ หาราคาตลาดเที ย บเคี ย งได อย า งไรก็ ต าม หากพิ จ ารณาจากความรู  ค วามสามารถ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ  แ ล ะ เว ล า ท ี ่ น า ย ส ม ห ว ั ง สินเจริญกุล ไดปฏิบัติหนาที่ในการเปนที่ปรึกษา ใหแกบริษัทฯ แลวถือไดวาเปนคาตอบแทนที่ สมเหตุสมผล

1.1 บมจ. ศรีตรัง • รายไดจากการขาย น้ำยางสด

3.74

• การซื้อน้ำยางสด

-

1.2 บจ. หน่ำฮั่ว • คาใชจายจากการซื้อ น้ำยางสด

2. นายสมหวัง สินเจริญกุล

เปนบิดาของ • นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ ประธานกรรมการ และ กรรมการผูจัดการของ บมจ. ศรีตรัง • นายกิติชัย สินเจริญกุล ซึ่งเปนกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง และ

มูลคารายการ งบการเงินรวม (ลานบาท ม.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ธ.ค. 2560 2561

• นายลี พอล สุเมธ ซึ่งเปน กรรมการของ บมจ. ศรีตรัง เปนปูของ • นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล ซึ่งเปนกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

95


บุคคล/นิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง

ความสัมพันธ

3. กรรมการ บมจ. ศรีตรังไดแก เปนกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทยอย • นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล • นายกิติชัย สินเจริญกุล • นายไชยยศ สินเจริญกุล

ลักษณะของ รายการระหวางกัน การค้ำประกัน(Personal Guarantee) กับสถาบันการเงินสำหรับ เงินกูยืมสถาบันการเงิน ของ บมจ. ศรีตรังและ บริษัทยอย

มูลคารายการ งบการเงินรวม (ลานบาท ม.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ธ.ค. 2560 2561 267.00

ความจำเปน/ ความสมเหตุสมผลของรายการ

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

267.00

กรรมการของ บมจ. ศรี ต รั ง และบริ ษ ั ท ย อ ย ได ล งนาม ยิ น ยอมค้ ำ ประกั น เงิ น กู  ส ถาบั น การเงิ น (Personal Guarantee) ใหแก บมจ. ศรีตรัง และบริษัทยอย ซึ่งเปน เงื่อนไขของการใหกูยืมเงินของสถาบันการเงินบางแหง

การใหการสนับสนุนดังกลาวเปนไปตามขอกำหนดใน สั ญ ญาผู  ใ ห ก ารสนั บ สนุ น ทางการเงิ น และเป น ไปเพื ่ อ ประโยชนของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทยอยโดยกรรมการ ผูค้ำประกันไมคิดคาธรรมเนียม

(ยอดวงเงินกูรวมที่ค้ำประกัน โดยกรรมการ)

4. บมจ. ไทยกอง

เปนบริษัทที่มีผูถือหุนราย ใหญและกรรมการของ บริษัทฯ ไดแก ดร.ไวยวุฒิ สินเจริญกุล เปนผูถือหุน รายใหญ

4.1 บริษัทฯ • รายไดจากการขาย น้ำยางขน

-

170.42

บริษัทจำหนายน้ำยางขนให บมจ. ไทยกอง โดยกำหนดราคา ขายอางอิงตามราคาตลาด

ราคาน้ำยางขนที่บริษัทฯ จำหนายใหแก บมจ. ไทยกอง เปนราคาขายที่อางอิงจากราคาตลาดที่เทียบเคียงไดกับ ราคาน้ ำ ยางข น ที ่ ป ระกาศโดยการยางแห ง ประเทศไทย (RAOT) และ Malaysian Rubber Board (MRB)

• การซื้อถุงมือ

-

170.74

เนือ่ งจากบริษทั ฯ มีสญ ั ญาซือ้ ถุงมือจาก บมจ. ไทยกองซึง่ เปน ผูผลิตถุงมือยางรายหนึ่งที่สามารถผลิตสินคาที่มีคุณภาพตรง ตามความตองการของลูกคาของบริษัทฯ สามารถลดความ เสี ่ ย งในการจั ด หาผลิ ต ภั ณ ฑ ราคาที ่ ซ ื ้ อ เป น ราคาเที ย บ เคียงกับราคาตลาดจากผูผลิตถุงมือรายอื่น

รายการดังกลาวมีสัญญาซื้อขายประกอบโดยราคาที่ซื้อ ขายเปนราคาที่เทียบเคียงไดกับราคาตลาดอีกทั้งยังเปนการ เพิ่มพูนการประหยัดตอขนาดของหนวยงานการขายซึ่ง บริษัทฯ มีหนวยงานดังกลาวอยูแลว นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดรับกำไรที่เหมาะสมจากการทำรายการดังกลาว

• ยอดลูกหนี้การคา

-

16.39

เปนลูกหนี้การคาจากรายการดังกลาวขางตน

เปนยอดคงคางตามเกณฑการชำระเงินที่เปนเงื่อนไขทาง การคา และเปนรายการลูกหนี้ปกติ

• ยอดเจาหนี้การคา

-

9.94

เปนเจาหนี้การคาจากรายการดังกลาวขางตน

เปนยอดคงคางตามเกณฑการชำระเงินที่เปนเงื่อนไขทาง การคา และเปนรายการลูกหนี้ปกติ

4.2 บจ.พรีเมียรซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง • รายไดจากการขาย วัตถุดิบ

-

2.32

บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง มีความเชี่ยวชาญในการ จัดหาเครื่องจักรอุปกรณที่เกี่ยวของกับการผลิตถุงมือยาง ให แ ก ก ลุ  ม บริ ษ ั ท อยู  แ ล ว ทั ้ ง นี ้ อ ั ต รารายได จ ากการขาย สินคาเปนอัตราที่เทียบเคียงไดกับราคาตลาด

เปนรายการที่สมเหตุสมผลเนื่องจาก บจ. พรีเมียรซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง มีความชำนาญในงานดังกลาวอยูแลวโดยอัตรา คาบริการเปนอัตราที่สามารถเทียบเคียงไดในตลาด

• รายไดจากการขายอื่น

-

178.00

บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอนจิเนียริ่ง มีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ การออกแบบ ติดตั้ง และดูแลรักษาซอมบำรุงเครื่องจักร และอุปกรณสำหรับการผลิตถุงมือ การใหบริการแก บมจ. ไทยกอง ไมไดเปนการเพิ่มจำนวนบุคลากรของ บจ. พรีเมียร ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง แตอยางใด ถือเปนการใชทรัพยากรที่มี อยู  ใ ห เ กิ ด รายได ม ากขึ ้ น แก ก ลุ  ม บริ ษ ั ท อั ต ราค า บริ ก าร ดังกลาวเทียบเคียงกับราคาตลาด

รายการดังกลาวกอใหเกิดรายไดแกกลุมบริษัทโดยมิได เพิ่มทรัพยากรดานบุคคลใดๆอัตราคาบริการเปนอัตราที่ สามารถเทียบเคียงไดในธุรกิจประเภทเดียวกันในตลาด

• รายไดใหบริการทำ ความสะอาด

-

5.88

บจ. พรี เ มี ย ร ซ ิ ส เต็ ม เอนจิ เ นี ย ริ ่ ง ได ใ ห บ ริ ก ารทำความ สะอาดเครื่องจักรกับ บมจ. ไทยกอง เนื่องจาก บจ. พรีเมียร ซิสเต็มเอนจิเนียริ่ง มีความชำนาญและความเชี่ยวชาญดาน อุ ป กรณ แ ละเครื ่ อ งจั ก รในการผลิ ต ถุ ง มื อ ยาง โดยอั ต รา คาบริการเทียบเคียงกับราคาตลาด

รายการดังกลาวกอใหเกิดรายไดแกกลุมบริษัทโดยมิไดเพิ่ม ทรั พ ยากรด า นบุ ค คลใดๆ อั ต ราค า บริ ก ารเป น อั ต รา ที่สามารถเทียบเคียงไดในธุรกิจประเภทเดียวกันในตลาด

• ยอดลูกหนี้การคา

-

8.52

เปนลูกหนี้การคาจากการใหบริการดังกลาวขางตน

เปนยอดคงคางตามเกณฑการชำระเงินที่เปนเงื่อนไขทาง การคา และเปนรายการลูกหนี้ปกติ

• รายไดรับลวงหนา คาสินคา

-

79.85

เปนเงินเรียกเก็บตามที่ระบุในสัญญา

รายการดังกลาวเปนเงื่อนไขทางการคาปกติ

4.3 บจ.ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) • ซื้อถุงมือ

-

387.04

เนื ่ อ งจากบริ ษ ั ท ฯ มี ส ั ญ ญาซื ้ อ ถุ ง มื อ จาก บมจ.ไทยกอง ซึ่งเปนผูผลิตถุงมือยางรายหนึ่งที่สามารถผลิตสินคาที่มีคุณภ าพตรงตามความต อ งการของลู ก ค า ของบริ ษ ั ท ฯ ช ว ยลด ความเสี ่ ย งในการจั ด หาผลิ ต ภั ณ ฑ ราคาที ่ ซ ื ้ อ เป น ราคา เทียบเคียงกับราคาตลาดจากผูผลิตถุงมือรายอื่น

รายการดังกลาวมีสัญญาซื้อขายประกอบ โดยราคาที่ซื้อ ขายเปนราคาที่เทียบเคียงไดกับราคาตลาด อีกทั้งยังเปน การเพิม่ พูนการประหยัดตอขนาดของหนวยงานการขายของ กลุ  ม ศรี ต รั ง ซึ ่ ง มี ห น ว ยงานดั ง กล า วอยู  แ ล ว นอกจากนี ้ บริษัทฯไดรับกำไรที่เหมาะสมจากการทำรายการดังกลาว

• ยอดเจาหนี้การคา

-

36.23

เปนเจาหนี้การคาจากรายการดังกลาวขางตน

เปนยอดคงคางตามเกณฑการชำระเงินที่เปนเงื่อนไขทาง การคา และเปนรายการเจาหนี้ปกติ

(ผลิตและติดตั้งเครื่องจักร)

5. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล

กรรมการ บมจ. ศรีตรังและ บริษัทยอย

ขายทีด่ นิ ใหกบั บจ. ศรีตรัง โกลฟส (ประเทศไทย)

-

1.18

สัญญาเชาที่ดินที่ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) (ผูเชา) เชาจากบุคคล ดังกลาว (ผูใหเชา)ไดครบกำหนดสัญญาเชาระยะยาวและไดโอนเปลี่ยนมือ ไปยังบจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ไดในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 ตามสิทธิของสัญญาเชาที่ดินที่มีอยูเดิมที่ไดระบุใหผูเชามีสิทธิเลือกซื้อที่ดิน ที่เชาจากผูใหเชาทันทีที่ที่ดินที่เชาไมตกอยูใตบังคับของขอจำกัดการขาย ตามเงื่อนไขของกรมที่ดินทั้งนี้ที่ดินดังกลาวมีจำนวนรวมทั้งสิ้น 16 ไร 1,412 ตารางเมตรโดยราคาขายที่ดินเปนราคาที่กำหนดไวในสัญญาเชาที่ดิน

ธุรกรรมดังกลาวเปนไปตามสิทธิของสัญญาเชาที่ดินและ ราคาขายที่ดินกำหนดไวในสัญญาเชาที่ดินแลว

6. นายกิติชัย สินเจริญกุล

กรรมการ บมจ. ศรีตรังและ บริษัทยอย

ขายทีด่ นิ ใหกบั บจ. ศรีตรัง โกลฟส (ประเทศไทย)

-

1.25

สัญญาเชาที่ดินที่ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) (ผูเชา) เชาจากบุคคล ดังกลาว (ผูใหเชา)ไดครบกำหนดสัญญาเชาระยะยาวและไดโอนเปลี่ยนมือ ไปยังบจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ไดในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 ตามสิทธิของสัญญาเชาที่ดินที่มีอยูเดิมที่ไดระบุใหผูเชามีสิทธิเลือกซื้อที่ดิน ที่เชาจากผูใหเชาทันทีที่ที่ดินที่เชาไมตกอยูใตบังคับของขอจำกัดการขายตาม เงื่อนไขของกรมที่ดินทั้งนี้ที่ดินดังกลาวมีจำนวนรวมทั้งสิ้น 17 ไร 1,448 ตารางเมตรโดยราคาขายที่ดินเปนราคาที่กำหนดไวในสัญญาเชาที่ดิน

ธุรกรรมดังกลาวเปนไปตามสิทธิของสัญญาเชาที่ดินและ ราคาขายที่ดินกำหนดไวในสัญญาเชาที่ดินแลว

นอกเหนือจากที่เปดเผยในหัวขอ “รายการระหวางกัน” บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทยอย ไมมีการเขาทำสัญญาที่สำคัญที่เกี่ยวของกับผลประโยชนของกรรมการ หรือผูถือหุนที่มีอำนาจควบคุม ไมวาสัญญาดังกลาวยังมีผลบังคับใช ณ วันสิ้นสุดปการเงินหรือเขาทำสัญญาตั้งแตสิ้นสุดปการเงินที่ผานมา

96

รายงานประจำป 2561


ความเห็นของกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับรายการ นอกจากนี้ที่ประชุมคณะกรรมการไดมีมติอนุมัติในหลักการเกี่ยวกับ ระหวางกัน ขอตกลงทางการคาที่มีเงื่อนไขการคาทั่วไปหรือรายการสนับสนุนธุรกิ

รายการระหว า งกั น ดั ง กล า วได ร ั บ การพิ จ ารณาและให ค วามเห็ น จปกติที่มีเงื่อนไขทางการคาทั่วไปในการทำธุรกรรมระหวาง บมจ. โดยคณะกรรมการตรวจสอบของ บมจ. ศรี ต รั ง ว า รายการ ศรี ต รั ง และบริ ษ ั ท ย อ ย กั บ กรรมการ ผู  บ ริ ห าร หรื อ บุ ค คลที ่ ม ี ระหว า งกั น ดั ง กล า วเป น ไปอย า งสมเหตุ ส มผลและจำเป น ต อ การ ความเกีย่ วของ ดังนี้ ดำเนินธุรกิจของบมจ. ศรีตรัง บมจ. ศรีตรัง และบริษัทยอยอาจมีรายการซื้อวัตถุดิบ ขายสินคา มาตรการหรื อ ขั ้ น ตอนการอนุ ม ั ต ิ ก ารทำรายการ จ า งขนส ง หรื อ รายการระหว า งกั น อื ่ น ๆ กั บ กรรมการ ผู  บ ริ ห าร ระหวางกัน หรื อ บุ ค คลที ่ เ กี ่ ย วข อ ง ณ ป จ จุ บ ั น และในอนาคต บมจ. ศรี ต รั ง กรณีที่มีรายการระหวางกันของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทยอยกับ จึงกำหนดหลักการใหฝายจัดการสามารถอนุมัติการทำธุรกรรมดัง บุ ค คลที ่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน มี ส  ว นได ส  ว นเสี ย กล า วได หากราคาซื ้ อ วั ต ถุ ด ิ บ ราคาขายสิ น ค า ค า จ า งขนส ง หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในอนาคต คณะกรรมการ หรือรายการระหวางกันอื่นใดที่เปนราคาที่ไมแตกตางจากราคาที่ ตรวจสอบจะเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจำเปนในการเขาทำ กำหนดซื ้ อ หรื อ ขายประจำวั น กั บ ลู ก ค า รายอื ่ น (ตามราคาตลาด) รายการและความเหมาะสมทางด า นราคาของรายการนั ้ น ๆ และเงื่อนไขและขอตกลงการคาในลักษณะเดียวกับที่วิญูชนจะ โดยพิจารณาเงื่อนไขตางๆ ใหเปนไปตามลักษณะการดำเนินธุรกิจ พึงกระทำกับคูสัญญาทั่วไปในสถานการณเดียวกันสวนคาจางขนสง ปกติในอุตสาหกรรมและมีการเปรียบเทียบกับราคาของบุคคลภาย กำหนดใหเปนไปตามอัตราขนสงทั่วไป บมจ. ศรีตรัง จะจัดทำรายงาน นอกหรือราคาตลาดหากคณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชำนาญใน สรุ ป การทำธุ ร กรรมเพื ่ อ รายงานในการประชุ ม คณะกรรมการทุ ก การพิจารณารายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้น บมจ. ศรีตรัง จะจัด ไตรมาส หรือตามความประสงคของคณะกรรมการบริษัท ให ผ ู  เชี ่ ย วชาญอิ ส ระหรื อ ผู  ส อบบั ญ ชี ข อง บมจ. ศรี ต รั ง เป น ผู  ใ ห ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกันดังกลาว เพื่อนำไปใชประกอบ นโยบายหรื อ แนวโน ม เกี ่ ย วกั บ การเข า ทำรายการ การตั ด สิ น ใจของคณะกรรมการบริ ษ ั ท คณะกรรมการตรวจสอบ ระหวางกันในอนาคต หรือผูถือหุนตามแตกรณีโดยกรรมการผูมีสวนไดสวนเสียจะไมมีสิทธิ ในกรณีที่ บมจ. ศรีตรัง มีการเขาทำรายการระหวางกันในอนาคต ออกเสียงในรายการดังกลาวอีกทั้งจะมีการเปดเผยรายการระหวาง บมจ. ศรีตรังจะปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ กันในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบหรือสอบทานโดย ตลาดหลั ก ทรั พ ย ฯ ข อ บั ง คั บ ประกาศ คำสั ่ ง หรื อ ข อ กำหนดของ ผูสอบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง ตลาดหลักทรัพยฯ รวมทั้งเปนไปตามมาตรฐานบัญชี เรื่องการเปด เผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจกรรมที่เกี่ยวของกันซึ่งกำหนดโดย โดยปจจุบนั บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายในการกำหนดราคากับ บริษทั ยอย สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย ระเบียบ บริษัทรวม กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทที่เกี่ยวของกันมีดังนี้ บริษัท หรือกฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวของ นโยบายราคา ขายสินคาและวัตถุดิบ ราคาปกติธุรกิจเทากับราคาที่คิดกับคูคารายอื่น รายไดจากการใหบริการ - คาบริการขนสง ราคาปกติธรุ กิจเทากับราคาที่คิดกับคูคารายอื่น รายไดจากการใหบริการ - คาบริหารจัดการ อัตราคงที่ตามสัญญา ซึ่งเทียบเคียงไดกับ ราคาตลาด ดอกเบี้ยรับทางการคา ราคาปกติธุรกิจเทากับราคาที่คิดกับคูคารายอื่น รายไดคาเชา ราคาที่ตกลงรวมกันตามสัญญา ซึ่งเทียบเคียง ไดกับราคาตลาด ซื้อสินคา ราคาปกติธุรกิจเทากับราคาที่ไดรับจาก คูคารายอื่น คาเชาจายและการใชบริการ ราคาปกติธุรกิจเทากับราคาที่ไดรับจาก คูคารายอื่น การค้ำประกัน ไมคิดคาธรรมเนียม ซื้อสินทรัพยถาวร ราคาปกติธุรกิจเทากับราคาที่ไดรับจาก คูคารายอื่น

นอกจากนี ้ หากมี ก ารเข า ทำรายการระหว า งกั น บมจ. ศรี ต รั ง จะจัดใหคณะกรรมการตรวจสอบใหความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสม ของรายการดังกลาวในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไมมีความ ชำนาญในการพิจารณารายการระหวางกันที่เกิดขึ้น บมจ. ศรีตรัง จะจั ด ให ม ี บ ุ ค คลที ่ ม ี ค วามรู  ความชำนาญพิ เ ศษ เช น ผู  ส อบบั ญ ชี หรือผูประเมินราคาทรัพยสินที่มีความเปนอิสระเปนผูใหความเห็น เกี่ยวกับรายการระหวางกันโดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจ สอบหรือบุคคลที่มีความรูความชำนาญพิเศษ จะถูกนำไปใชประกอบ การตั ด สิ น ของคณะกรรมการบริ ษ ั ท หรื อ ผู  ถ ื อ หุ  น แล ว แต ก รณี เพื ่ อ ให ม ี ค วามมั ่ น ใจว า การเข า ทำรายการดั ง กล า วจะไม เ ป น การ โยกย า ย หรื อ ถ า ยเทผลประโยชน ร ะหว า ง บมจ. ศรี ต รั ง หรื อ ผูถือหุนของ บมจ. ศรีตรัง แตเปนการทำรายการที่ บมจ. ศรีตรัง ไดคำนึงถึงประโยชนสูงสุดของผูถือหุนทุกราย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

97


ปจจัย

ความเสีย ่ ง

• ราคาของน้ ำ มั น ดิ บ พลั ง งาน และสารเคมี ท ี ่ ม ี น ้ ำ มั น เป น องคประกอบพื้นฐาน ราคาของน้ ำ มั น ดิ บ อาจส ง ผลกระทบต อ ราคายางธรรมชาติ แ ละ วัตถุดิบอื่นๆ เชน สารเคมีที่มีน้ำมันเปนองคประกอบพื้นฐานที่ใชใน กระบวนการผลิตยาง นอกจากนี้ ราคายางสังเคราะห (Synthetic Rubber) มักจะแปรผันตามราคาของน้ำมันดิบ และความผันผวน ของราคายางสังเคราะหมักจะสงผลกระทบตอราคาและความตอง การยางธรรมชาติ ด  ว ยเช น กั น โดยในป จ จุ บ ั น มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ย าง สั ง เคราะห ซึ ่ ง สามารถนำไปใช ท ดแทนยางธรรมชาติ ใ นการผลิ ต ผลิตภัณฑยางสำเร็จรูปในบางรูปแบบได อีกทั้ง ปจจัยตางๆ เชน ความตองการยางที่เพิ่มมากขึ้น ความผันผวนของราคายางธรรมชาติ การเพิ ่ ม ขึ ้ น ของราคายางธรรมชาติ เ มื ่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ราคายาง สังเคราะหความเสี่ยงเกี่ยวกับการขาดสินคาอันเนื่องมาจากปญหา ทางการเมือง ขอจำกัดทางภูมิศาสตร และฤดูการผลิต อาจนำไปสู ความต อ งการที ่ เ พิ ่ ม ขึ ้ น ของผลิ ต ภั ณ ฑ ย างสั ง เคราะห อย า งไรก็ ด ี หากความตองการผลิตภัณฑยางธรรมชาติลดลง อาจสงผลกระทบ ในทางลบอยางมีนัยสำคัญตอธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการ 3.1 ความเสี่ยงดานกลยุทธ ดำเนินงานของบริษัทฯ ทั้งนี้ รายไดจากผลิตภัณฑยางธรรมชาติของ 3.1.1 ความผันผวนดานราคาของยางธรรมชาติ บริ ษ ั ท ฯในรอบป บ ั ญ ชี ส ิ ้ น สุ ด ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2561 คิ ด เป น สินคาโภคภัณฑโดยทั่วไป ซึ่งรวมถึงยางธรรมชาติมักมความผันผวน สัดสวนประมาณรอยละ 83.5 ของรายไดรวมของกลุมบริษัทฯ ดานราคาสูง ซึ่งผูประกอบการในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ รวมทั้ง บริษัทฯ ตางก็มีขอจำกัดในการกำหนดเวลาการเก็บเกี่ยว และการ • ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เปลี่ยนแปลงของราคายางธรรมชาติดังกลาว ทั้งนี้ ปจจัยที่สงผล เนื ่ อ งด ว ยยางธรรมชาติ ส  ว นใหญ จ ะทำการซื ้ อ ขายเป น สกุ ล เงิ น กระทบต อ ราคายางธรรมชาติ และผลิ ต ภั ณ ฑ ย างธรรมชาติ ท ี ่ ดอลลารสหรัฐฯ ดังนั้น ความผันผวนของคาเงินที่ใชในการสงออก จำหน า ยโดยบริ ษ ั ท ฯ (เช น เดี ย วกั น กั บ สิ น ค า โภคภั ณ ฑ ส  ว นใหญ ) ยางธรรมชาติเมื่อเทียบกับเงินดอลลารสหรัฐฯอาจสงผลใหราคายาง มีดังตอไปนี้ ธรรมชาติมีความผันผวนในประเทศผูสงออกนั้นๆ ดวยสภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่ไดรับแรงกดดันจากหลาย ปจจัย สงผลใหความทาทายในการดำเนินธุรกิจเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง คณะกรรมการบริษัทไดเล็งเห็นวาการบริหารความเสี่ยงคือกระบวน การสำคัญในการดำเนินธุรกิจและนำพาธุรกิจสูการเติบโตอยางยั่งยืนแ ละเพื่อใหเปนไปตามแนวทางปฏิบัติของหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี สำหรั บ บริ ษ ั ท จดทะเบี ย น (CG Code) ป 2560 คณะกรรมการ บริ ษ ั ท จึ ง ได ก ำกั บ ดู แ ลและมอบหมายให ค ณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยงดำเนินการบริหารความเสี่ยงขององคกรอยางเปนระบบ ตามกรอบการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO : ERM (Enterprise Risk Management) ควบคู  ไ ปกั บ มาตรฐานต า งๆ ที่เกี่ยวของในการดำเนินธุรกิจ โดยเนนการบริหารครอบคลุมปจจัย ความเสี่ยงหลักทั้ง 4 ดาน อันไดแก ดานกลยุทธ ดานการปฏิบัติการ ดานการเงิน และดานการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ที่บริษัทฯ พิจารณา วาหากมีการบริหารจัดการที่ไมเหมาะสมจะสงผลกระทบตอการ บรรลุ ว ิ ส ั ย ทั ศ น พั น ธกิ จ วั ต ถุ ป ระสงค แ ละเป า หมายของบริ ษ ั ท ฯ โดยสามารถสรุปไดดังนี้

• อุปสงคและอุปทานของยางธรรมชาติ ความไมสมดุลกันระหวางปริมาณอุปสงคและอุปทานอาจสงผลตอ ความผันผวนทางดานราคาของยางธรรมชาติโดยเฉพาะอยางยิ่งใน ภาวะที่ปริมาณอุปทานของยางธรรมชาตินั้นมีมากเกินกวาความตองก ารจนอาจทำใหราคายางธรรมชาตินั้นปรับลดลง อันสงผลใหราคา ขายเฉลี ่ ย ของยางธรรมชาติ ข องบริ ษ ั ท ฯ ปรั บ ลดลงตามไปด ว ย นอกจากนี ้ ด ว ยอุ ต สาหกรรมยางล อ เป น ผู  บ ริ โ ภคยางธรรมชาติ หลักราวรอยละ 71 ของปริมาณการบริโภคยางธรรมชาติในโลกอัตรา การเติบโตของอุตสาหกรรมดังกลาวจึงมีความสำคัญและมีผลอยาง มากตอปริมาณความตองการผลิตภัณฑยางธรรมชาติของตลาดโลก ดังนั้น หากเกิดการชะลอตัวของการผลิตของอุตสาหกรรมผลิตยาง รถยนตดังกลาวอาจสงผลตอปริมาณความตองการซื้อผลิตภัณฑยาง ธรรมชาติ ข องบริ ษ ั ท ฯ ที ่ ล ดลง และอาจส ง ผลกระทบในทางลบ ตอธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการดำเนินงานของบริษัทฯ 98

รายงานประจำป 2561

• การเก็งกำไร (Speculation) เนื่องดวยยางธรรมชาติและผลิตภัณฑยางธรรมชาติบางประเภทของ บริษัทฯ มีการซื้อขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนา (Commodity Future Exchange) ดังนั้น ราคาของยางจึงมีความออนไหวจาก การเก็งกำไรในตลาดดังกลาวนอกเหนือไปจากปจจัยทางเศรษฐกิจ ของภูมิภาคและของโลก การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากความผันผวน ดานราคาของยางธรรมชาติ ทั้งการจัดการกระบวนการไดมาของ วัตถุดิบในเชิงปริมาณและราคากอปรกับใชสัญญาซื้อขายยางธรรมชาติ ในตลาดซื้อขายลวงหนา และสัญญาซื้อขายยางธรรมชาติลวงหนาที่มี การสงมอบสินคา ทัง้ นี้ สัญญาดังกลาวจะถูกตีราคาตามมูลคา ยุตธิ รรม ณ วั น ที ่ ร ายงานในงบการเงิ น (โปรดดู ร ายละเอี ย ดเพิ ่ ม เติ ม ใน หมายเหตุประกอบงบขอ 10)


3.1.2 การเติบโตของความตองการในการบริโภคยางธรรมชาติและ ถุงมือยางไมเปนไปตามคาดหมาย เนื่องดวยยางธรรมชาติและถุงมือยางเปนผลิตภัณฑที่มีความตองการ ในการบริโภคจากกลุมผูใชงานที่หลากหลายในแตละประเทศทั่วโลก ทำใหปริมาณความตองการในการบริโภคและการขยายตัวของตลาด สามารถเปลี่ยนแปลงไดจากหลายปจจัยไมวาจะเปนพฤติกรรมการ บริโภค คานิยม การเกิดขึ้นของสินคาทดแทน การเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี ตลอดจนกฎระเบียบและกฎเกณฑ อาทิ การเพิ่มสัดสวน การบริโภคยางสังเคราะหทดแทนยางธรรมชาติการที่ผูผลิตยางลอได นำพืชวายยูเล (Guayule) มาทดลองเพื่อที่จะนำมาแทนยางธรรมชาติ ในกรณีที่ราคายางธรรมชาติปรับตัวสูงขึ้น และการที่องคการอาหาร และยา (FDA) ของสหรั ฐ ประกาศห า มใช ถ ุ ง มื อ ยางแบบมี แ ป ง ใน ทางการแพทย เปนตน ดวยเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงของปจจัยตางๆ ที่กระทบตอความตองการในการบริโภคยางธรรมชาติและถุงมือยาง อาจกระทบต อ โอกาสทางธุ ร กิ จ รายได และผลการดำเนิ น งาน ของบริษัทฯ ไดดวยเชนกัน การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ตระหนักถึงการเปลี่ยนที่อาจกระทบตอความตองการใน การบริโภคยางธรรมชาติและถุงมือยางอยางใกลชิด และไดเตรียมการ ในการบริหารความเสี่ยงใหเกิดผลกระทบนอยที่สุด สำหรับผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติ บริษัทฯ มีผลิตภัณฑทั้งยางแทง ยางแผนและน้ำยางขน ที ่ ม ี ล ั ก ษณะการใชงานตามความตองการของลูกค า ที ่ ห ลากหลาย อั น จะช ว ยบรรเทาความเสี ่ ย งที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น จากลู ก ค า เฉพาะกลุ  ม อีกทั้งบริษัทฯ มุงเนนในการดำเนินธุรกิจยางธรรมชาติแบบครบวงจร เพื่อกระจายความเสี่ยงหากเกิดผลกระทบขึ้นตอธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง ในสวนของผลิตภัณฑถุงมือยาง บริษัทฯ บริหารความเสี่ยงดังกลาว โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการผลิตที่เครื่องจักรของบริษัทฯ บางสวน สามารถปรั บ เปลี ่ ย นการผลิ ต ให เ ป น ได ท ั ้ ง ถุ ง มื อ แบบมี แ ป ง และ ไม ม ี แ ป ง ตามความต อ งการของลู ก ค า ตลอดจนกลยุ ท ธ ใ นการทำ การตลาด บริษัทฯ มีกลุมลูกคาที่หลากหลายซึ่งในแตละประเทศตาง มีคานิยมในการบริโภคและกฎระเบียบก็แตกตางกันไป

3.1.3 การดำเนินธุรกิจ และการลงทุนในตางประเทศ บริ ษ ั ท ฯ มี ก ารดำเนิ น ธุ ร กิ จ และการลงทุ น ในหลายประเทศ อาทิ ประเทศไทย สิ ง คโปร อิ น โดนี เซี ย สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และ สหรัฐอเมริกา ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับการทำ กิจกรรมทางธุรกิจในประเทศเหลานี้ ทั้งนี้ ธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ อาจไดรับผล กระทบในทางลบอยางมีนัยสำคัญจากเหตุการณ และพัฒนาการตางๆ ในประเทศเหลานี้ รวมถึง • ภาวะเงินเฟอ อัตราดอกเบี้ย และสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม • การกอความไมสงบ ความขัดแยงทางการทหาร การกอการราย การเปลีย่ นแปลงทางการเมืองและสภาวะดานความปลอดภัยทัว่ ไป • การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายและระเบียบขอบังคับ • การเปลี่ยนแปลงภาษีนำเขาและอัตราภาษีอื่นๆ • ภัยธรรมชาติ • ขอกำหนดหามแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศหรือหามการ โยกยายเงินทุน หรือ • การเวนคืนหรือการยึดคืนกิจการของเอกชนหรือการยึดทรัพยสนิ หรือสินทรัพยของเอกชน หากความเสี่ยงใดๆ ที่กลาวมาขางตนเกิดขึ้นและบริษัทฯ ไมสามารถ ปรับเปลี่ยนกลยุทธทางธุรกิจและการประกอบธุรกิจใหสอดคลองกับ ความเปลี่ยนแปลงดังกลาวได ธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนิน งาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบในทางลบ อยางมีนัยสำคัญ การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ไดติดตามการดำเนินงาน ผลประกอบการ สภาวะแวดลอม และการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของทั้งใน ประเทศและตางประเทศอยางใกลชิด เพื่อประเมินโอกาส อุปสรรค และแนวทางในการดำเนินงานที่เหมาะสมเพื่อลดผลกระทบเชิงลบที่ อาจเกิดขึน้ ตอบริษทั ฯ

ทั้งนี้ เพื่อใหสามารถปรับเปลี่ยนแผนในการผลิตและการขายไดอยาง เหมาะสม และทันทวงที

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

99


3.1.4 การพึ่งพาผูบริหารรายสำคัญ ปจจัยสำคัญประการหนึ่งที่มีผลตอการเจริญเติบโตของกลุมบริษัทฯ คื อ ความสามารถของบริ ษ ั ท ฯ ในการจั ด หา พั ฒ นา และรั ก ษาที ม ผูบริหารมืออาชีพที่มีประสบการณ และความเชี่ยวชาญในธุรกิจยาง ธรรมชาติ ดังนั้น ความสำเร็จอยางตอเนื่องของบริษัทฯ จึงขึ้นอยูกับ ความสามารถใน การรักษาผูบริหารหลักของบริษัทฯ รวมถึงพัฒนา และฝกอบรมผูบริหารใหมๆ หากสมาชิกทีมบริหารที่มีประสบการณ ของบริษัทฯ ไมสามารถหรือไมประสงคที่จะทำงานในตำแหนงหนาที่ ของตนต อ ไปแล ว บริ ษ ั ท ฯ อาจไม ส ามารถหาบุ ค คลที ่ เ หมาะสม มาทำงานแทนไดซึ่งอาจสงผลกระทบในทางลบตอธุรกิจ นอกจากนี้ ขัน้ ตอนในการสรรหาผูบ ริหารใหมซง่ึ มีความชำนาญและความสามารถ ตามที่บริษัทฯ ตองการนั้นอาจใชเวลานานและอาจตองแขงขันกับ ผู  ป ระกอบการรายอื ่ น บริ ษ ั ท ฯ อาจไม ส ามารถสรรหาผู  ท ี ่ ม ี ความสามารถ เพื่อมาสนับสนุนแผนการขยายกิจการของบริษัทฯ ได ซึง่ อาจสงผลกระทบในทางลบตอธุรกิจและผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาขึ้นเพื่อสรรหา และคัดกรองบุคคลที่จะเขาดำรงตำแหนงกรรมการ รวมถึงผูบริหาร ระดับสูง เพื่อใหสอดคลองกับกลยุทธในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อใหมั่นใจวาบุคคลที่จะเขามาเปนกรรมการและผูบริหารระดับสูง เปนผูที่มีความรู ความสามารถ ประสบการณเหมาะสม นอกจากนี้ บริ ษ ั ท ฯ จั ด ให ม ี ก ระบวนการด า นการบริ ห ารงานบุ ค คลสำหรั บ ตำแหนงงานสำคัญขององคกรซึ่งรวมถึงการหมุนเวียนเปลี่ยนงาน (Job Rotation) อยางเหมาะสม เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทฯ มีผูบริหาร ที ่ ม ี ค วามรู  ค วามสามารถ มี ท ั ก ษะที ่ ห ลากหลาย เหมาะสมต อ การสืบทอดตำแหนงงานที่สำคัญขององคกรตอไป เชน การพัฒนา ผูนำตามหลักสูตร STA Development Program การสรางระบบ การประเมินผลงาน และคาตอบแทนซึ่งรวมถึงสวัสดิการที่แขงขันได ตลอดจนการสรางระบบความกาวหนาทางสายอาชีพ เปนตน

100

รายงานประจำป 2561

3.2 ความเสี่ยงดานการปฏิบัติการ

3.2.1 การบริหารจัดการหวงโซอุปทาน บริษัทฯ เปนผูนำในการผลิตและจัดจำหนายยางธรรมชาติที่ครบวงจร รายใหญที่สุดของโลกการดำเนินธุรกิจจึงตองใหความสำคัญกับการ บริหารหวงโซอุปทาน อันเกิดจากการดำเนินงานรวมกันทั้งกับคูคา ภายนอกและหนวยงานภายในบริษัทฯ เองซึ่งการดำเนินงานกับคูคา ภายนอกโดยสวนใหญมักเกี่ยวของกับการจัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพใน ราคาที่เหมาะสมซึ่งวัตถุดิบหลักของผลิตภัณฑยางธรรมชาติของ บริษัทฯ ไดแก ยางแผนดิบ ยางกอนถวย และน้ำยางสด อยางไรก็ดี ดวยบริษัทฯ มีคูคาจำนวนมากกวา 3,000 ราย และคูคาแตละราย มีแหลงในการไดมาซึ่งวัตถุดิบที่มีคุณภาพแตกตางกัน การบริหาร จัดการวัตถุดิบจึงตองมีกระบวนการที่เหมาะสม และใหความสำคัญ กับการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและการผลิตผลิตภัณฑที่ เปนมิตรตอชุมชนและสิ่งแวดลอม สอดคลองกับเปาหมายของบริษัทฯ การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการหวงโซอุปทาน อยางมีประสิทธิภาพ จึงไดกำหนดรูปแบบธุรกิจแบบครบวงจรตั้งแต ตนน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ ทำใหบริษัทฯ มีผลิตภัณฑหลัก ที ่ ห ลากหลาย ได แ ก ยางแท ง ยางแผ น น้ ำ ยางข น และถุ ง มื อ ยาง ซึ่งชวยกระจายความเสี่ยงจากแหลงที่มาของรายไดและการกระจุก ตัวของกลุมลูกคา โดยในป 2561ไมมีลูกคารายใดรายหนึ่งมีสัดสวน มากกวาประมาณรอยละ 10 ของยอดขายรวมของบริษัทฯ นอกจากนี้ ในด า นการบริ ห ารจั ด การวั ต ถุ ด ิ บ บริ ษ ั ท ฯมี ก ลยุ ท ธ ใ น การสรางเครือขายการจัดหาวัตถุดิบและตั้งโรงงานการผลิตกระจาย อยูตามจุดยุทธศาสตรสำคัญ ทั้งในภาคใต ภาคเหนือ และภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ ของประเทศไทย ตลอดจนในประเทศอิ น โดนี เซี ย และเมียนมา เพื่อใหการบริหารจัดการวัตถุดิบและกระบวนการผลิต มีความตอเนื่อง


3.2.2 โรงงานผลิตขัดของ และ/ หรือหยุดชะงัก เนื่องจากกระบวนการผลิตของบริษัทฯ บริษัทรวมและกิจการรวมคา ของบริษัทฯ ตองใชทรัพยากรเปนจำนวนมากเพื่อใหโรงงานผลิตของ บริษัทฯ บริษัทรวมและกิจการรวมคาของบริษัทฯ สามารถดำเนิน งานได หากมี ภ ั ย พิ บ ั ต ิ ท างธรรมชาติ เหตุ ส ุ ด วิ ส ั ย การขาดแคลน แรงงาน ความขัด ของอยางรุน แรงในสว นของสาธารณู ปโภค เช น น้ำประปา หรือไฟฟา และเหตุวบิ ตั อิ น่ื ใด หรือเหตุการณทอ่ี ยูน อกเหนือ การควบคุมของบริษัทฯ อาจนำไปสูความขัดของหรือการหยุดชะงัก ที ่ ส ำคั ญ ในการผลิ ต ของโรงงานผลิ ต ของบริ ษ ั ท ฯ บริ ษ ั ท ร ว มและ กิ จการร ว มค าของบริษัทฯ การขัด ของดังกลาวอาจส ง ผลกระทบ ในทางลบตอการดำเนินงานของบริษัทฯ บริษัทรวมและกิจการรวมคา ของบริษัทฯ การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ไดจัดใหมีแผนบริหารความตอเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan: BCP) ที่ครอบคลุมการทำงานของหนวยงานสำคัญ ของบริษัทฯ ซึ่งเปนแผนรองรับที่จะทำใหการดำเนินธุรกิจเปนไป อยางตอเนื่องในยามที่เกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณฉุกเฉิน ซึ่งอาจ ก อ ให เ กิ ด การหยุ ด ชะงั ก ของการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ขึ ้ น ดั ง นั ้ น บริ ษ ั ท ฯ จึ ง มี ค วามจำเป น ที ่ จ ะต อ งจั ด ทำแผนความต อ เนื ่ อ งเพื ่ อ เตรี ย ม ความพรอมลวงหนาในการรับมือกับสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ ฉุ ก เฉิ น ดั ง กล า ว อย า งไรก็ ต าม ไม ไ ด ห มายความว า แผนดั ง กล า ว จะทำใหองคกรสามารถดำเนินการทุกอยางไดเหมือนกับในสถานการณ ปกติ แ ต จ ะต อ งมี ค วามเพี ย งพอให ธ ุ ร กิ จ สามารถดำเนิ น ต อ ไปได และเกิดความเสียหายนอยที่สุด นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดทำการ ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด (Industrials All Risks Insurance) เพื ่ อ ลด บรรเทาความ สู ญ เสี ย และ/หรื อ ความเสี ย หายอั น เป น ผลสืบเนื่องมาจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เหตุสุดวิสัยที่อาจเกิดขึ้น อันมิอาจคาดหมาย หรือปองกันได รวมถึงการประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption Insurance) เพื่อลด บรรเทาความสูญเสีย และ หรื อ ความเสี ย หายทางการเงิ น จากการหยุ ด ชะงั ก ของการ ดำเนินธุรกิจ ดวยเชนกัน

3.2.3 การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม เนือ่ งดวยบริษทั ฯ ดำเนินธุรกิจการผลิตจึงมีประเด็นทางดานสิง่ แวดลอม ที่อาจเกี่ยวของกับกลุมบริษัทฯ ไดแก การบริหารจัดการดานพลังงาน การบริหารจัดการของเสียที่เหลือจากกระบวนการผลิต การบริหาร จัดการมลภาวะทางดานน้ำและอากาศ ขอเรียกรองเกีย่ วกับ สิง่ แวดลอม หรื อ การไม ป ฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎระเบี ย บที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ สิ ่ ง แวดล อ ม รวมถึงการปฏิบัติตามไมครบถวน อาจสงผลกระทบตอชื่อเสียงของ บริษัทฯ การเสียคา เสียหาย / คาปรับ หรือการหยุดหรือเลิกการ ประกอบการของกลุมบริษัทฯ หากในอนาคตกฎระเบียบและ/หรือ แนวปฏิ บ ั ต ิ ท างสั ง คม มี ค วามเข ม งวดมากยิ ่ ง ขึ ้ น และบริ ษ ั ท ฯ ไมสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบดังกลาวได หรือปฏิบัติไดดวยตนทุน ทีส่ งู ขึน้ อยางมีนยั สำคัญ อาจสงผลกระทบในทางลบตอการดำเนินธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ ได หากกลุม บริษทั ฯ ไมสามารถปฏิบตั ิ ตามกฎหมายและกฎระเบียบเหลานี้ การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ไดมีการบริหารจัดการความเสี่ยงดานสิ่งแวดลอมและสังคม ผ า นระบบการจั ด การสิ ่ ง แวดล อ ม ISO 14001 โดยใช เ ครื ่ อ งมื อ SWOT ในการประเมินหาความเสี่ยงที่จะมีผลกระทบกับบริษัทฯ โดยพิจารณาผานบริบทขององคกร และปจจัยที่เกี่ยว เชน สถานที่ ตั้งของบริษัทฯ ชุมชนรวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ ผลจากการประเมินความเสี่ยงสามารถแบงออกเปน 1. การบริหารจัดการทรัพยากรและการควบคุมมลพิษ โดยมุง เนน การผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เชน การลดปริมาณการ ใชทรัพยากรน้ำโดยใชน้ำหมุนเวียนในกระบวนการผลิตยางแทง 100% การนำชีวมวล (Biomass) เปนพลังงานเชื้อเพลิง รวมไปถึ ง มาตรการการควบคุ ม และป อ งกั น มลพิ ษ ผ า นทาง เทคโนโลยีตางๆ เพื่อใหเกิดความแมนยำและการ\ตรวจสอบ สถานะของระบบบำบั ด มลพิ ษ ผ า นทางระบบออนไลน ท ี ่ สามารถตรวจสอบติดตามไดตลอดเวลา (Real Time) 2. การปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับ บริษัทกำหนดมาตรการ ในการจัดการความเสี่ยง อาทิ การศึกษาเพื่อพัฒนาคูมือปฏิบัติ งาน (Procedure) เพื่อใหเกิดการกำกับดูแลและบริหารจัดการ อยางเปนระบบ รวมไปถึงการกำหนดใหกลุม บริษทั ฯ ตองปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย / กฎระเบียบทั้งภายในและภายนอกที่เกี่ยวของ ผานทางคูมือปฏิบัติงานและการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการโดย บริษัทฯ ไดมีการกำกับดูแลการปฏิบัติตามคูมือผานทางกลไก ในการตรวจสอบภายใน(Internal Audit) รวมถึงการติดตาม แนวโนมการเปลีย่ นแปลงในกฎหมายและกฎระเบียบ ทีเ่ กีย่ วของ กับบริษทั ฯ อยางใกลชดิ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

101


3.3 ความเสี่ยงดานการเงิน

3.3.1 ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา แมวาสกุลเงินที่ใชในการรายงานทางการเงินของบริษัทฯ จะเปน สกุลเงินบาท การซื้อวัตถุดิบเพื่อการผลิตผลิตภัณฑยางธรรมชาติของ บริษัทฯ จะเปนเงินบาทและรูเปยอินโดนีเซีย สวนการซื้อวัตถุดิบ ในการผลิตถุงมือยางมีทั้งสกุลเงินบาทและดอลลารสหรัฐแตรายได จากการสงออกของบริษัทฯ สวนใหญนั้น อยูในรูปสกุลเงินดอลลาร สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 79.7 ของรายไดทั้งหมด ดั ง นั ้ น ความผั น ผวนของอั ต ราแลกเปลี ่ ย นระหว า งเงิ น บาท รูเปยอินโดนีเซีย ดอลลารสหรัฐฯ หรือเงินตราสกุลอื่นๆ อาจสงผล กระทบในทางลบตอธุรกิจ ฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงาน ของบริษัทฯ นอกจากนี้ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนระหวาง เงิ น บาท รู เ ป ย อิ น โดนี เซี ย และริ ง กิ ต มาเลเซี ย อาจส ง ผลกระทบ ในทางลบต อ ความสามารถในการแข ง ขั น ด า นราคาของบริ ษ ั ท ฯ เมื ่ อ เที ย บกั บ ผู  ผ ลิ ต ยางธรรมชาติ และผู  ผ ลิ ต ถุ ง มื อ ยางรายอื ่ น ๆ จากประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซียดวยเชนกัน

3.3.2 ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย และตลาดสินเชื่อ (Credit Market) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีเงินกูจากสถาบันการเงินรวม จำนวน 24,220.8 ลานบาท ประกอบดวยเงินกูยืมระยะสั้นเพื่อใชเปน เงินทุนในการจัดซื้อวัตถุดิบ อาทิ ยางแผนดิบ ยางกอนถวย และน้ำ ยางสด จากเกษตรกร และเงินกูยืมระยะยาว เพือ่ สนับสนุนการขยาย ธุรกิจจำนวน โดยกลุมบริษัทฯ มีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยอยูที่รอยละ 3.1 ซึ่งอยูในระดับที่ต่ำกวาอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารพาณิชยเรียกเก็บ จากลูกคารายใหญชั้นดี (Minimum Loan Rate: MLR) อยางไรก็ดี ภาวะตลาดสินเชื่อ (Credit Market) ทั่วโลกอาจสงผลกระทบตอตน ทุนเงินกูหรือเงื่อนไขอื่นๆ ของสัญญากูของบริษัทฯ ที่มีอยู (โปรดดู รายละเอียดเพิ่มเติมใน หมายเหตุประกอบงบขอ 22) รวมทั้งความ สามารถของบริษัทฯ ที่จะไดรับเงินกูหรือที่จะเขาถึงเงินทุนที่มีเงื่อนไข อันเปนประโยชนตอบริษัทฯ การเพิ่มขึ้นของตนทุนเงินกูอยางมีนัย สำคัญนั้น อาจสงผลกระทบตอความสามารถของบริษัทฯ ในการ แขงขันกับผูประกอบการรายอื่นซึ่งอาจมีระดับเงินกูที่ต่ำกวา

การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ โดยใชตราสารอนุพันธทาง การเงินเพื่อที่จะลดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตาง ประเทศซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการซื้อขายผลิตภัณฑในสกุลเงินอื่นที่มิใช เงินบาท ทั้งนี้ตราสารอนุพันธทางการเงินดังกลาวจะถูกตีราคาตาม มูลคายุติธรรม ณ วันที่รายงานในงบการเงิน (โปรดดูรายละเอียดเพิ่ม เติมในหมายเหตุประกอบงบขอ 10)

ปจจุบันบริษัทฯ มีขอกำหนดและเงื่อนไขตางๆ ที่กำหนดโดยสถาบัน การเงิน อาทิ การดำรงอัตราสวน Net Long-Term Debt to EBITDA ระบุ ใ ห บ ริ ษ ั ท ฯ ต อ งดำรงอั ต ราส ว นดั ง กล า วไว ใ นอั ต ราไม เ กิ น 4.5 เทา เปนตนอยางไรก็ดีดวยสภาวะความผันผวนอยางรุนแรงของ ราคายางธรรมชาติ และปจจัยอื่นที่อาจทำใหบริษัทฯ ไมสามารถดำรง อัตราสวนดังกลาวได ซึ่งอาจกอใหเกิดความเสี่ยงในการชำระเงินตน และดอกเบี้ยของบริษัทฯ ไดหากเงินกูดังกลาวถูกเรียกคืนกอนกำหนด

102

รายงานประจำป 2561

การบริหารความเสี่ยง ในการกู  ย ื ม เงิ น หรื อ การออกตราสารทางการเงิ น ต า งๆ บริ ษ ั ท ฯ จะทำการศึกษา รวบรวม และวิเคราะหขอมูลดานอัตราดอกเบี้ย และเงื ่ อ นไขต า งๆ เพื ่ อ ให ม ั ่ น ใจกว า เครื ่ อ งมื อ ทางการเงิ น แต ล ะ ประเภทกอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดสรางทางเลือกของเหลงเงินทุนตางๆ ใหแกบริษัทฯ อยางเหมาะสม เชน การเขาถึงตลาดตราสารหนี้โดยการออกหุนกู สำหรับการดำรง อัตราสวนทางการเงินตาม เงื่อนไขของสถาบันการเงินนั้น บริษัทฯ ได ม อบหมายให ผ ู  ท ี ่ ร ั บ ผิ ด ชอบประสานงานกั บ สถาบั น การเงิ น อย า งใกล ช ิ ด เพื ่ อ สื ่ อ สารข อ มู ล ที ่ ถ ู ก ต อ งอั น นำไปสู  ค วามเข า ใจ ในธุรกิจของบริษัทฯ และในกรณีที่บริษัทฯ ไมสามารถดำรงอัตรา สวนทางการเงินตามเงื่อนไขที่สถาบันการเงินกำหนดนั้น บริษัทฯ จะแจ ง สถาบั น การเงิ น เพื ่ อ ขอผ อ นผั น การผิ ด เงื ่ อ นไขเงิ น กู  แ ละ ดำเนินการแกไขปญหาดังกลาวดวยความเรงดวน


3.3.3 ความเสี่ยงจากการดอยคาของคาความนิยม เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 บริษัทฯ ไดเขาซื้อหุนของ บจ. ศรีตรัง โกลฟส (ประเทศไทย) คิดเปนสัดสวนรอยละ 50 ของหุนที่ชำระแลว ในมูลคาจำนวน 6,320 ลานบาท ผลจากการเขาซื้อกิจการดังกลาว ทำใหบริษัทฯ ตองบันทึกคาความนิยมจำนวน 2,953.8 ลานบาท ตามหลักการบันทึกบัญชีตามวิธีซื้อสำหรับการรวมธุรกิจกำหนดให บริ ษ ั ท ฯ ต อ งทำการประเมิ น มู ล ค า ยุ ต ิ ธ รรมของสิ น ทรั พ ย ท ี ่ ไ ด ม า และหนี ้ ส ิ น ที ่ ร ั บ มารวมถึ ง สิ ่ ง ตอบแทนในการซื ้ อ โดยผลแตกต า ง จะถูกบันทึกเปนคาความนิยมหรือกำไรจากการซื้อในราคาที่ต่ำกวา มูลคายุติธรรม ทั้งนี้ รายการสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดซึ่งรวมคา ความนิ ย ม ต อ งทดสอบการด อ ยค า เป น ประจำทุ ก ป หากเกิ ด การ ขาดทุนจากการดอยคาในกรณีที่มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสูงกวา มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนคาความนิยมที่ดอยคาจะถูกรับรูในงบกำไร ขาดทุน ซึ่งจะสงผลใหกำไรของบริษัทฯ ลดลง

3.4 ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎระเบียบ

การบริหารความเสี่ยง ภายหลังจากการไดมาซึ่งบจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ดังกลาว บริษัทฯ ไดวางแผนขยายกำลังการผลิตอยางตอเนื่อง ตลอดจนทำการ ปรับกลยุทธการดำเนินธุรกิจเพิ่มพูนศักยภาพการแขงขันในหลายๆ ดาน เพื่อสรางผลการดำเนินงานของบจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ใหไดเปนไปตามเปาหมายอยางยั่งยืน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษ ั ท ฯ บั น ทึ ก ค า ความนิ ย มดั ง กล า วจำนวน 2,953.8 ล า นบาท บั น ทึ ก ในงบการเงิ น รวมของบริ ษ ั ท ฯ โดยไม ม ี ก ารด อ ยค า (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หมายเหตุประกอบงบขอ 20)

การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ จัดใหมีหนวยงานที่รับผิดชอบในการติดตามการเปลี่ยนแปลง ของกฎหมายและกฎระเบี ย บที ่ เ กี ่ ย วข อ ง เพื ่ อ ทำการวิ เ คราะห ผลกระทบและปจจัยที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ และใหความรูฝายบริหาร และพนักงานในประเด็นสำคัญ เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทฯ ไดดำเนินธุรกิจ เปนไปตามกฎหมายและกฎระเบียบ อีกทั้ง บริษัทฯ ไดวางหลักเกณฑ และโครงการตางๆเพื่อดูแลกำกับกิจการใหเปนไปตามกฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวของ อาทิ การจัดทำคูมือการกำกับดูแลกิจการที่ดี และจริยธรรมธุรกิจ การออกนโยบายตอตานการคอรรัปชั่น และ การวางระบบรับขอรองเรียนและแจงเบาะแส เปนตน

3.4.1 ความเสี่ยงทางดานขอกฎหมาย และกฎระเบียบ การประกอบธุรกิจของกลุมบริษัทฯ อยูภายใตกฎหมาย กฎระเบียบ และขอบังคับตางๆ ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ทำใหบริษัทฯ ต อ งปฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎหมายและกฎระเบี ย บในหลายประเทศ ดั ง นั ้ น การไมปฏิบัติตามหรือปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบ รวมทั้ง นโยบายของแตละประเทศเพียงบางสวน อาจสงผลกระทบตอชื่อเสียง ของบริ ษ ั ท ฯ และนำมาซึ ่ ง การได ร ั บ การลงโทษและถู ก ปรั บ หรื อ สูญเสียโอกาสทางธุรกิจโดยกระบวนการทางกฎหมายอาจตองใชเวลา ยืดเยื้อและมีคาใชจายสูง อีกทั้ง มีความเปนไปไดที่กฎระเบียบเหลานี้ และ/หรื อ แนวปฏิ บั ต ิ ท างสั ง คมอาจจะมี ค วามเข มงวดมากยิ่งขึ้น ในอนาคต ซึ ่ ง อาจส ง ผลกระทบในทางลบต อ การดำเนิ น ธุ ร กิ จ ฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงานและโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ หากกลุม บริษทั ฯ ไมสามารถปฏิบตั ติ ามกฎหมายและ กฎระเบียบเหลานีไ้ ด

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

103


3.4.2 การแทรกแซงของรัฐบาล และหนวยงานที่เกี่ยวของ ในป 2561 รั ฐ บาลของประเทศผู  ผ ลิ ต ยางธรรมชาติ ห ลั ก ได แ ก ประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ไดเขาแทรกแซงโดยการลด ปริ ม าณการส ง ออกยางธรรมชาติ (Agreed Export Tonnage Scheme - AETS) รวม 350,000 ตัน ในชวงเดือนมกราคม – มีนาคม และในเดือนมกราคมมติคณะรัฐมนตรีประกาศใหยางพาราเปนสินคา ควบคุมของกระทรวงพาณิชยเพื่อเปนมาตรการใหแกรัฐบาลในการ แกไขปญหาราคายางพาราตกต่ำในอนาคต

3.5 ความเสี่ยงตอการลงทุนของผูถือหลักทรัพย

นอกจากนี้ ภาครัฐไดออกนโยบายในการสรางเสถียรภาพราคายาง และเพิ่มปริมาณการใชยางในประเทศอยางตอเนื่องทั้งการสงเสริม การใช ย างธรรมชาติ ใ นหน ว ยงานภาครั ฐ การสนั บ สนุ น สิ น เชื ่ อ แกผูประกอบการในธุรกิจยางธรรมชาติและการลดหยอนภาษีเงินได ใหประชาชนทั่วไปที่ซื้อยางลอรถยนตจากผูผลิตที่ซื้อยางธรรมชาติ จากการยางแหงประเทศไทย (กยท.) ในระหวางวันที่ 1 ธันวาคม 2561 – 16 มกราคม 2562

การบริหารความเสี่ยง การจายเงินปนผลแกผูถือหุนบมจ. ศรีตรัง ผานตลาดหลักทรัพย สิงคโปรนั้น บริษัทฯจะกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนของสกุลเงินดอลลาร สิ ง คโปร เ ที ย บกั บ สกุ ล เงิ น บาทที ่ ใ กล เ คี ย งกั บ วั น ที ่ จ  า ยเงิ น ป น ผล มากที่สุด เพื่อชวยผูถือหุนลดความเสี่ยงจากความผันผวนของคาเงิน

ทั้งนี้ การแทรกแซงดังกลาวมีวัตถุประสงคที่จะแกปญหาราคายาง ที่ปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง อยางไรก็ดีผลจากการดำเนินนโยบาย อาจสงผลใหราคายางธรรมชาติในประเทศปรับตัวในทิศทางที่อาจ ไมสอดคลองกับราคาในตลาดโลกอยางเต็มที่หรืออาจทำใหปริมาณ การขายยางธรรมชาติของบริษัทฯ ไมสอดคลองกับปริมาณความ ตองการของตลาด ซึ่งอาจสงผล กระทบตอโครงสรางตนทุน รายได และผลกำไรของผู  ส  ง ออกยางธรรมชาติ ใ นประเทศไทยซึ ่ ง หาก บริษัทฯ บริหารตนทุนวัตถุดิบ และราคาขายไดอยางมีประสิทธิภาพ และทันทวงที ซึ่งอาจสงผลกระทบในทางลบตอผลกำไรของบริษัทฯ ทัง้ นี้ หากราคาตลาดของผลิตภัณฑยางธรรมชาติทจ่ี ำหนายโดยบริษทั ฯ มีความผันผวนมาก ธุรกิจ ฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงาน ของบริษัทฯ อาจไดรับผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสำคัญดวย การบริหารความเสี่ยง เมื่อมีการแทรกแซงจากรัฐบาลหรือหนวยงานใดๆ ที่เกี่ยวของบริษัทฯ พยายามบริหารธุรกิจอยางเหมาะสมทีส่ ดุ ภายใตแตละชวงสถานการณ ที่แตกตางกันออกไปซึ่งการที่บริษัทมีโรงงานเปนจำนวนมากตั้งอยูใน พื้นที่ยุทธศาสตรที่หลากหลายทั้งในและตางประเทศ ไดสงผลให บริษัทฯ ยังคงรักษาศักยภาพทางธุรกิจและการแขงขันได

104

รายงานประจำป 2561

3.5.1 ความเสี่ยงจากเงินปนผลของผูถือหุน บมจ. ศรีตรัง ผานตลาดหลักทรัพยสิงคโปร (SGX-ST) หุนของบมจ. ศรีตรัง ที่ทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยสิงคโปร ถูกอางอิงเปนเงินดอลลารสิงคโปร ในขณะที่เงินปนผล (ถามี) นั้น จะจายในรูปเงินบาท ทำใหผูถือหุนที่ถือหุนบมจ. ศรีตรัง ในตลาด หลักทรัพยสิงคโปรจะมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของสกุลเงิน ดอลลารสิงคโปรเมื่อเทียบกับสกุลเงินบาท

หมายเหตุ: อาจมีปจจัยความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริษัทฯ ไมทราบและอาจมีปจจัยความเสี่ยงบางประการ ที่บริษัทฯ เห็นวาไมเปนสาระสำคัญซึ่งปจจัยความเสี่ยงเหลานี้อาจสงผลกระทบตอการดำเนิน ธุรกิจของบริษัทในอนาคตได


การวิเคราะหและคำอธิบาย

ของฝายจัดการ

ภาพรวมผลการดำเนินงาน อุตสาหกรรมยางธรรมชาติ (NR) ในป 2561 ยังคงอยูในภาวะอุปทานสวนเกิน (Oversupply) สืบเนื่องมาจากการขยายตัวของพื้นที่เพาะ ปลูกยางธรรมชาติในชวงป 2553 – 2555 และตนยางธรรมชาติที่ปลูกในชวงเวลาดังกลาวเริ่มทยอยใหผลผลิตนับตั้งแตป 2560 เปนตนมา และดวยภาวะอุปทานสวนเกินและราคายางธรรมชาติที่อยูในระดับต่ำ ทำใหรัฐบาลของประเทศผูผลิตยางธรรมชาติหลัก ไดแก ประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งมีสัดสวนของปริมาณการผลิตยางธรรมชาติรวมกันคิดเปนรอยละ 67 ของปริมาณการผลิตยางธรรมชาติของโลก ดำเนิ น มาตรการจำกั ด ปริ ม าณการส ง ออกยางธรรมชาติ (Agreed Export Tonnage Scheme - AETS) ในช ว งไตรมาสที ่ 1/2561 เพื่อลดปริมาณการสงออกรวม 350,000 ตัน ตลอดจนหนวยงานภาครัฐในประเทศไดออกนโยบายและมาตรการตางๆ เพื่อสรางเสถียรภาพ ใหแกราคายางธรรมชาติและเพิ่มปริมาณการใชยางธรรมชาติในประเทศอยางตอเนื่อง อยางไรก็ดี ดวยความไมแนนอนของภาวะเศรษฐกิจ และการเมื อ งโลก ความผั น ผวนของค า เงิ น ในภู ม ิ ภ าคอาเซี ย นภายหลั ง การปรั บ ขึ ้ น อั ต ราดอกเบี ้ ย ของธนาคารกลางสหรั ฐ (FED) และประเด็นเรื่องสงครามการคาระหวางจีนและสหรัฐอเมริกายังคงเปนปจจัยที่สรางความกังวลใหตลาด สงผลใหราคายางธรรมชาติในป 2561 ปรับลดลงเมื่อเทียบกับปกอน โดยราคายางแทง TSR20 ณ ตลาด SICOM เฉลี่ยตลอดทั้งป 2561 อยูที่ 136.5 cent/kg. ลดลงจากป 2560 รอยละ 17.1 ภาพรวมผลการดำเนินงานในป 2561 สำหรับธุรกิจกลางน้ำ-ผลิตภัณฑยางธรรมชาติ บริษัทฯ ไดดำเนินกลยุทธในการขายแบบเลือกสรร (Selective Selling Strategy) ที่เนนการรักษาความสามารถในการทำกำไร และการบริหารตนทุนวัตถุดิบอยางมีประสิทธิภาพตลอดจน บริษทั ฯ สามารถรักษาสวนแบงของการบริโภคยางธรรมชาติของโลกทีร่ อ ยละ 10 โดยมีปริมาณการขายผลิตภัณฑยางธรรมชาติท่ี 1,336,649 ตัน และสำหรับธุรกิจปลายน้ำ-ถุงมือยาง บริษัทฯ ไดดำเนินการขยายกำลังการผลิตเพื่อรองรับความตองการในการบริโภคถุงมือยางที่เติบโต อยางแข็งแกรง นับไดวา บริษทั ฯ เปนผูผ ลิตถุงมือยางรายใหญทส่ี ดุ ในประเทศไทย และจัดเปนผูผ ลิตถุงมือยางในอันดับตนๆ ของโลกโดยบริษทั ฯ มีปริมาณการขายถุงมือยางที่ 16,937 ลานชิ้น หรือประมาณรอยละ 6 ของความตองการบริโภคถุงมือยางทั่วโลก แมวาในป 2561 บริษัทฯ มีรายไดรวมอยูที่ 73,732.3 ลานบาท ลดลงจากปกอนรอยละ 18.1 อันเนื่องมาจากราคาขายของยางธรรมชาติ ที่ปรับลดลงตามภาวะตลาดแตดวยกลยุทธในการดำเนินธุรกิจในฐานะผูประกอบการยางธรรมชาติแบบครบวงจรและความแข็งแกรงใน การดำเนิ น งานตลอดทั ้ ง ห ว งโซ อ ุ ป ทาน ทำให บ ริ ษ ั ท ฯ สามารถสร า งผลกำไรได อ ย า งต อ เนื ่ อ ง ในทุ ก ไตรมาสโดยในป 2561 บริ ษ ั ท ฯ มีกำไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทอยูที่ 2,064.4 ลานบาท เหตุการณพิเศษ บริษทั ฯ อยูใ นระหวางการดำเนินการควบรวม บริษทั ศรีตรังโกลฟส จำกัด (“STGT”) กับ บริษทั ไทยกอง จำกัด (มหาชน) (“TK”) ซึง่ เปนบริษทั ผลิตถุงมือยางที่มีโรงงานตั้งอยูที่จังหวัดตรัง และมีกำลังการผลิตประมาณ 4,000 ลานชิ้นตอป ซึ่งการควบรวมดังกลาวคาดวาจะแลวเสร็จ ภายในเดือนเมษายน ป 2562 และจะทำใหกลุมบริษัทฯ มีกำลังการผลิตถุงมือยางทั้งสิ้นราว 21,200 ลานชิ้นตอป รายการพิเศษ ในป 2561 บริษัทฯ มีรายการพิเศษ (Non-recurring item) ที่สำคัญถูกบันทึกเปนรายได ไดแก รายไดจากเงินชดเชยประกันจากโรงงาน ตางๆ จำนวน 69.1 ลานบาท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

105


ผลประกอบการโดยรวม

(หนวย: ลานบาท)

FY61

FY60

%YoY

4Q61

4Q60

%YoY

รายไดจากการขายและการใหบริการ ตนทุนขายและการใหบริการ กำไร(ขาดทุน)ขั้นตน คาใชจายในการขายและบริหาร รายไดอื่น กำไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน กำไร(ขาดทุน)อื่น - สุทธิ กำไร(ขาดทุน)จากการดำเนินงาน สวนแบงกำไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการรวมคา กำไร(ขาดทุน)กอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได คาเสื่อมราคาและคาตัดจำหนาย (EBITDA) กำไร(ขาดทุน)กอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได (EBIT) ตนทุนทางการเงิน - สุทธิ คาใชจายภาษีเงินได กำไร(ขาดทุน)สำหรับงวด สวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม

73,492.8 (66,385.3) 7,107.5 (5,247.9) 239.5 (252.2) 1,203.3 3,050.2 223.7

89,387.0 (85,610.6) 3,776.4 (5,859.1) 685.5 522.1 503.6 (371.3) 129.8

-17.8% -22.5% 88.2% -10.4% -65.1% N/A 138.9% N/A 72.3%

17,189.6 (15,822.9) 1,366.7 (1,350.5) 67.2 40.4 156.0 279.8 26.5

19,768.4 (18,393.8) 1,374.5 (1,332.6) 398.0 157.0 112.4 709.7 46.6

-13.0% -14.0% -0.6% 1.3% -83.1% -74.3% 38.9% -60.6% -43.1%

5,657.4 3,273.9 (887.1) (241.0) 2,146.0 2,064.4 81.6

1,610.7 (241.7) (1,156.4) (20.6) (1,418.5) (1,437.0) 18.5

251.2% N/A -23.3% 1068.1% N/A N/A 340.9%

993.5 306.3 (211.1) 55.9 151.1 139.1 12.0

1,325.1 756.2 (274.6) 25.5 507.0 468.7 38.5

-25.0% -59.5% -19.5% 119.6% -70.2% -70.3% -68.8%

รายได ในป 2561 บริ ษ ั ท ฯ มี ร ายได จ ากการขายและการให บ ริ ก ารรวม 73,492.8 ล า นบาท ปรั บ ลดลงร อ ยละ 17.8 เมื ่ อ เที ย บกั บ ป ก  อ น แบงเปนรายไดจากธุรกิจยางธรรมชาติ 61,361.2 ลานบาท ลดลงรอยละ 22.4 สาเหตุหลักมาจากราคาขายเฉลี่ยที่ออนตัวลงรอยละ 23.2 ตามทิศทางของราคายางธรรมชาติในตลาดโลก ขณะที่ปริมาณการขายผลิตภัณฑยางธรรมชาติเพิ่มขึ้นรอยละ 1.0 สำหรับรายไดจากธุรกิจ ถุงมือยาง อยูที่ 11,786.3 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 19.6 เมื่อเทียบกับปกอน จากทั้งปริมาณการขายที่เติบโตรอยละ 12.4 อันเปนผล จากการเพิ่มกำลังการผลิตและการขยายตลาดใหมๆ และราคาขายเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นรอยละ 6.4 อันเปนผลมาจากราคาน้ำยางสังเคราะห ซึ่งเปนวัตถุดิบหลักในการผลิตถุงมือยางไนไตรลปรับเพิ่มขึ้นตามทิศทางของราคาน้ำมันในตลาดโลก* ในอัตราที่มากกวาการลดลงของราคา น้ำยางขนซึ่งเปนวัตถุดิบหลักในการผลิตถุงมือยางธรรมชาติ สวนที่เหลือเปนรายไดจากผลิตภัณฑอื่นและบริการอื่น อยูที่ 345.3 ลานบาท หมายเหตุ: *เนื่องจากน้ำมันเปนวัตถุดิบตั้งตนในการผลิตยางสังเคราะห ดังนั้นหากราคาน้ำมันเพิ่มราคายางสังเคราะหก็มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตาม

106

รายงานประจำป 2561


ปริมาณการขาย แมวาในไตรมาสแรกของป 2561 บริษัทฯ ตองเผชิญกับมาตรการจำกัดปริมาณการสงออกยางธรรมชาติ (Agreed Export Tonnage Scheme - AETS) และตลอดทั้งปตองเผชิญกับปจจัยกดดันจากประเด็นเรื่องสงครามการคาระหวางจีนและสหรัฐ แตทวาในป 2561 บริษัทฯ สามารถสร า งปริ ม าณการขายผลิ ต ภั ณ ฑ ย างธรรมชาติ ท ี ่ 1,336,649 ตั น เพิ ่ ม ขึ ้ น จากป 2560 ร อ ยละ 1.0 และสามารถ รักษาสวนแบงของการบริโภคยางธรรมชาติของโลกที่รอยละ 10 โดยผลิตภัณฑยางแทงขยายตัวรอยละ 2.5 อันเนื่องมาจากคำสั่งซื้อ ที่เพิ่มมากขึ้นจากลูกคาในประเทศจีน ยุโรป อินเดีย และเวียดนาม ขณะที่ปริมาณการขายผลิตภัณฑยางแผนปรับลดลงรอยละ 3.3 ตามความตองการของตลาดที่ออนตัวลง และผลิตภัณฑน้ำยางขนปรับลดลงรอยละ 5.8 อันเนื่องมาจากราคาวัตถุดิบของน้ำยางขน ที ่ ป รั บ เพิ ่ ม ขึ ้ น ทำให บ ริ ษ ั ท ฯ ต อ งควบคุ ม ปริ ม าณการขายเพื ่ อ รั ก ษาอั ต รากำไร ทั ้ ง นี ้ หากพิ จ ารณาปริ ม าณการขายตามภู ม ิ ศ าสตร สัดสวนปริมาณการขายประเทศจีนซึ่งเปนตลาดสงออกที่ใหญที่สุดคิดเปนสัดสวนรอยละ 48.4 ตามมาดวยตลาดในเอเชียอื่นๆ คิดเปนรอยละ 25.4 ตลาดในยุโรป และอเมริกา คิดเปนรอยละ 4.9 และรอยละ 4.1 ตามลำดับ ขณะที่ปริมาณการขายในประเทศคิดเปนสัดสวนรอยละ 17.1 ของปริมาณการขายทั้งหมด สำหรับผลิตภัณฑถุงมือยาง บริษัทฯ มีปริมาณการขายถุงมือยางที่ 16,937 ลานชิ้น เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 12.4* และมีสวนแบงทาง การตลาดประมาณรอยละ 6 ของความตองการบริโภคถุงมือยางทั่วโลกในป 2561 โดยการเพิ่มขึ้นสวนใหญเปนการเพิ่มขึ้นของปริมาณ การขายถุงมือยางธรรมชาติ เนื่องดวยบริษัทฯ ดำเนินธุรกิจยางธรรมชาติอยางครบวงจร ทำใหมีความไดเปรียบเหนือคูแขงในการขายถุง มือยางธรรมชาติ บริษัทฯ จึงผลักดันใหถุงมือยางธรรมชาติเปนผลิตภัณฑหลักที่นำไปขยายตลาดใหมๆ อาทิ ประเทศอินเดีย แอฟริกาใต และลาตินอเมริกา เปนตน ทำใหบริษัทฯ มีสัดสวนปริมาณการขายถุงมือยางธรรมชาติเทียบกับถุงมือยางไนไตรล คิดเปนรอยละ 61:39 ทั้งนี้ หากพิจารณาปริมาณการขายตามภูมิศาสตร ทวีปอเมริกาเปนตลาดสงออกที่ใหญที่สุดคิดเปนสัดสวนรอยละ 26.7 ถัดมาเปนตลาด ในยุโรปรอยละ 23.8 ตามมาดวยตลาดในประเทศที่รอยละ 11.5 และตลาดในประเทศญี่ปุน จีน และอินเดีย คิดเปนรอยละ 8.9 รอยละ 8.0 และรอยละ 4.1 ตามลำดับ หมายเหตุ: *ในเดือนมีนาคม 2560 บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) (“STGT”) ไดเปลีย่ นสถานะจากกิจการรวมคาเปนบริษทั ยอยดังนัน้ รายไดจากผลิตภัณฑถงุ มือยางจึง เปนรายไดภายใตงบการเงินรวมหลังวันที่ 15 มีนาคม 2560 กรณีพิจารณารวมรายไดของ STGT ทั้งป 2560 บริษัทฯจะมีปริมาณการจำหนายถุงมือยางเติบโต รอยละ 3.6

กำไรขั้นตน ในป 2561 บริษัทฯ มีกำไรขั้นตน 7,107.5 ลานบาท จากปกอนที่ 3,776.4 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 88.2 อันเปนผลมาจากการ ปรับเปลี่ยนนโยบายในการขายผลิตภัณฑยางธรรมชาติและการบริหารตนทุนวัตถุดิบไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น กอปรกับในป 2560 เปนปที่บริษัทฯ เพิ่งแยกกิจการกับบริษัทรวมคาที่ผลิตถุงมือยาง ซึ่งสงผลใหการตลาดมีการปรับเปลี่ยนกลยุทธและฐานลูกคา ในป 2560 อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไดขยายฐานลูกคาครอบคลุมประเทศตางๆ ทั่วโลก กอปรกับการบริหารจัดการตนทุนในการผลิต ทำใหผลิตภัณฑถุง มือยางสามารถทำกำไรไดดีขึ้นเมื่อเทียบกับปกอน ดวยเหตุนี้ อัตรากำไรขั้นตนของบริษัทฯ ในป 2561 อยูที่รอยละ 9.7 ขยายตัวจากรอยละ 4.2 ในปกอน ทั้งนี้ หากพิจารณาการโอนกลับรายการคาเผื่อการลดลงของสินคาคงเหลือ 172.3 ลานบาท และกำไรที่เกิดขึ้นจริงจาก ธุรกรรมปองกันความเสี่ยง 90.0 ลานบาท สงผลใหอัตรากำไรขั้นตนปรับปรุงปรับอยูที่รอยละ 11.2 จากปกอนที่รอยละ 5.4 กำไรจากการดำเนินงาน ในป 2561 บริษัทฯ มีกำไรจากการดำเนินงาน 3,050.2 ลานบาท คิดเปนอัตรากำไรจากการดำเนินงานรอยละ 4.2 ฟนตัวจากปกอน ที่มีขาดทุนจากการดำเนินงานที่ 371.3 ลานบาท เนื่องจากการบริหารตนทุนวัตถุดิบอยางมีประสิทธิภาพในธุรกิจยางธรรมชาติ และการทำ กำไรที่ดีขึ้นของธุรกิจถุงมือยาง กอปรกับในป 2561 บริษัทฯ มีกำไรจากธุรกรรมปองกันความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับยางพาราอยูที่ 1,202.8 ลานบาท ปรับเพิ่มขึ้นจากปกอนที่มีกำไร 100.3 ลานบาท อันเนื่องมาจากทิศทางการเคลื่อนไหวของราคายางธรรมชาติในป 2561 ที่ผันผวน นอยกวาปกอน อยางไรก็ดี ในป 2561 บริษัทฯ มีขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 252.2 ลานบาท จากปกอนที่มีกำไร 522.1 อยางไร ก็ตาม บริษัทฯ มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน (Realised Gain) จำนวน 90.0 ลานบาท สำหรับคาใชจายในการขายและบริหารปรับลดลง 611.2 ลานบาท หรือรอยละ 10.4 เมื่อเทียบกับปกอน ซึ่งเปนการลดลงจากคาใชจายใน การบริหาร เนื่องจากในป 2560 บริษัทฯ มีคาใชจายพิเศษที่เกี่ยวของกับคดีความและการแยกกิจการระหวาง บมจ. ศรีตรัง และบริษัท รวมคา จำนวน 532 ลานบาท อยางไรก็ดี หากหักคาใชจายพิเศษดังกลาวแลว คาใชจายในการบริหารลดลง 144.4 ลานบาท หรือรอยละ 6.0 ขณะที่คาใชจายในการขายเพิ่มขึ้น 65.4 ลานบาท หรือรอยละ 1.9 โดยสวนใหญเปนการเพิ่มขึ้นจากคาสงเคราะหการทำสวนยาง (Cess) ตามปริมาณการสงออกยางธรรมชาติที่เพิ่มขึ้น และคาขนสงที่ปรับเพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันในตลาดโลก ทั้งนี้ ในป 2561 บริษัทฯ มีรายไดอื่น จำนวนทั้งสิ้น 239.5 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย รายไดจากเงินชดเชยประกัน รายไดจากคาเชา และรายไดจากการใหบริการคอมพิวเตอร เปนตน

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

107


สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการรวมคา บริษัทฯ ไดรับสวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการรวมคาจำนวน 223.7 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอน 93.9 ลานบาท หรือรอยละ 72.3 จากผลประกอบการที่ดีขึ้นของธุรกิจทอยางไฮโดรลิกแรงดันสูงที่ขยายตัวกวารอยละ 12.4 และธุรกิจยางธรรมชาติ ที่กลับมาทำกำไรเมื่อเทียบกับขาดทุนในปกอน กำไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท ในป 2561 บริษัทฯ มีกำไรสุทธิที่ 2,064.4 ลานบาท พลิกจากขาดทุนสุทธิที่ 1,437.1 ลานบาท ในปกอน อันเปนผลจากการปรับเปลี่ยน กลยุทธเปนการขายแบบเลือกสรร (Selective Selling) และการบริหารตนทุนวัตถุดิบของธุรกิจยางธรรมชาติ ทำใหบริษัทฯ สามารถ รักษาความสามารถในการทำกำไรได อีกทั้งการรับรูกำไรจากธุรกิจถุงมือยางเต็มปในป 2561 หากเทียบกับปกอนซึ่งการแยกกิจการ (Demerger) แลวเสร็จ เมื่อ 16 มีนาคม 2560 ดวยเหตุนี้ บริษัทฯ จึงมีกำไรกอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินได (EBIT) อยูที่ 3,273.9 ลานบาท จากขาดทุน 241.5 ลานบาทในปกอน กอปรกับตนทุนทางการเงินสุทธิที่ลดลง 269.4 ลานบาท หรือรอยละ 23.4 สืบเนื่อง จากเงินกูระยะสั้นที่ลดลงตามราคาวัตถุดิบยางธรรมชาติ อยางไรก็ดี บริษัทฯ มีคาใชจายทางภาษีเพิ่มขึ้น 220.4 ลานบาท ตามผลกำไร ที่เพิ่มสูงขึ้นในปนี้ ทั้งนี้ ณ 31 ธันวาคม 2561 มูลคาสินคาคงเหลือตามวิธีมูลคาสุทธิที่จะไดรับ เฉพาะยางแผนรมควัน น้ำยางขน และยางแทงของกลุมบริษัท เกินกวาวิธีราคาทุน หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดต่ำกวาจำนวน 209.3 ลานบาท ซึ่งภายใตมาตรฐานการการรายงานทางการเงิน ของไทยยังไมอนุญาตใหรบั รูใ นกำไรหรือขาดทุนจนกวาสินคาคงเหลือจะมีการขายจริง นอกจากนีจ้ ำนวนของผลตางดังกลาวจะมีการเปลีย่ นแปลง ตลอดเวลาขึ้นอยูกับราคาขายจริง ณ เวลาที่มีการขายเกิดขึ้น ปจจัยหลักที่สงผลกระทบตอผลการดำเนินงานของบริษัทฯ 1. ราคาและความผันผวนของยางธรรมชาติ หนวย : US cent/kg. 1Q60

300 260 220

2Q60

3Q60

4Q60

1Q61

2Q61

3Q61

4Q61

1 ธ.ค. 61

1 พ.ย. 61

1 ต.ค. 61

1 ก.ย. 61

1 ส.ค. 61

1 ก.ค. 61

1 มิ.ย. 61

1 พ.ค. 61

1 เม.ย. 61

1 มี.ค. 61

1 ก.พ. 61

1 ม.ค. 61

1 ธ.ค. 60

1 พ.ย. 60

1 ต.ค. 60

1 ก.ย. 60

1 ส.ค. 60

1 ก.ค. 60

1 มิ.ย. 60

1 พ.ค. 60

1 เม.ย. 60

1 มี.ค. 60

1 ก.พ. 60

100

1 ม.ค. 60

180 140

กราฟแสดงราคายางแทง 20 (TSR20) และยางแผนรมควัน 3 (RSS3) ณ ตลาดซื้อขายโภคภัณฑประเทศสิงคโปร

ราคาและความผันผวนของยางธรรมชาติสงผลกระทบโดยตรงตอรายไดและความสามารถในการทำกำไรของบริษัทฯ ตลอดจนความไมสมดุล กันระหวางปริมาณอุปสงคและอุปทานอาจสงผลตอความผันผวนทางดานราคาของยางธรรมชาติ สงผลใหราคาขายเฉลี่ยของยางธรรมชาติ ของบริษัทฯ ปรับลดลง ซึ่งในป 2561 ราคายางธรรมชาติ ยังคงไดรับผลกระทบจากภาวะอุปทานสวนเกิน (Oversupply) ตอเนื่องจากปกอน โดยราคายางแทง TSR20 ในป 2561 ปรับตัวลดลงเฉลี่ยอยูที่ 136.5 cent/kg ลดลงจากปกอนรอยละ 17.1 โดยตลอดทั้งปมีราคาต่ำที่สุดที่ 121.2 cent/kg ในชวงไตรมาสที่ 4/2561 ซึ่งเปนชวงฤดูเก็บเกี่ยวของประเทศไทย (ประมาณชวงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ ของทุกป) ทั้งนี้ ราคายางธรรมชาติมีความผันผวนไปตามปจจัยตางๆ เชน 1) ภาวะเศรษฐกิจโลก ซึ่งสงผลโดยตรงตอภาคอุตสาหกรรมยานยนตและอุตสาหกรรมการผลิตยางลอ 2) ปริมาณอุปสงคและอุปทานของยางธรรมชาติ 3) อัตราแลกเปลี่ยนของเงินสกุลตางๆ โดยเฉพาะสกุลดอลลารสหรัฐ เยน และสกุลทองถิ่นของประเทศผูผลิต ยางธรรมชาติหลักของโลก ซึ่งไดแก สกุลบาท รูเปย และริงกิตเนื่องจากผลิตภัณฑยางธรรมชาติสวนใหญจำหนายในสกุลดอลลารสหรัฐ 4) ราคาน้ำมัน เนื่องจากยางสังเคราะหเปนผลิตภัณฑพลอยไดจากการกลั่นน้ำมันดิบ โดยที่ยางธรรมชาติและยางสังเคราะหเปนสินคา ทดแทนกันได และ 5) นโยบายของรัฐบาลประเทศหลักผูสงออกยางธรรมชาติ 108

รายงานประจำป 2561


ตารางราคาอางอิงเฉลี่ยยางแทง TSR20 และยางแผนรมควัน RSS3 ที่ตลาด Singapore Commodity Exchange Limited (SICOM) ป 2560 – 2561 RSS3 ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 1 ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 2 ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 3 ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 4 ราคาเฉลี่ยทั้งป ราคาปด ณ 31 ธ.ค.

TSR20

2561

2560

เพิ่มขึ้น/ลดลง

2561

2560

เพิ่มขึ้น/ลดลง

171.2 164.6 145.4 139.7 155.1 148.5

254.5 204.8 180.9 159.8 199.8 160.6

-32.7% -19.6% -19.6% -12.6% -22.4% -7.5%

146.5 140.0 132.9 126.7 136.5 124.8

209.4 152.8 153.7 143.7 164.7 146.9

-30.0% -8.4% -13.5% -11.8% -17.1% -15.0%

นอกจากนี้ ความผันผวนของราคายางธรรมชาติสงผลตอความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจถุงมือยางดวยเชนกัน เนื่องจากในป 2561 รอยละ 61 ของปริมาณถุงมือยางที่ผลิตและจำหนายเปนถุงมือยางธรรมชาติ

2 เปลี่ยนสกุลดอลลารสหรัฐตอสกุลบาท บาท : ดอลลารสหรัฐ

1 ธ.ค. 61

1 พ.ย. 61

4Q61

1 ต.ค. 61

1 ก.ย. 61

1 ส.ค. 61

3Q61

1 ก.ค. 61

1 มิ.ย. 61

1 พ.ค. 61

2Q61

1 เม.ย. 61

1 มี.ค. 61

1 ก.พ. 61

1Q61

1 ม.ค. 61

1 ธ.ค. 60

1 พ.ย. 60

4Q60

1 ต.ค. 60

1 ก.ย. 60

1 ส.ค. 60

3Q60

1 ก.ค. 60

1 มิ.ย. 60

1 พ.ค. 60

2Q60

1 เม.ย. 60

1 มี.ค. 60

1 ก.พ. 60

1Q60

1 ม.ค. 60

36 35 34 33 32 31 30

กราฟแสดงอัตราแลกเปลี่ยนสกุลบาทตอดอลลารสหรัฐ

การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนระหวางสกุลเงินบาทและดอลลารสหรัฐ สงผลโดยตรงกับรายไดของบริษัทฯ เนื่องจากรายไดของ บริษัทฯ สวนใหญอยูในรูปสกุลเงินดอลลารสหรัฐ คิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 79.7 ของรายไดทั้งหมด ในขณะที่บริษัทฯ แสดงงบ การเงินเปนสกุลบาท บริษัทฯ จึงใชตราสารอนุพันธทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ โดยผลตาง ของมูลคาของตราสารอนุพันธทางการเงินกับราคาตลาด ณ สิ้นรอบบัญชีจะถูกบันทึกภายใตกำไร/(ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากอัตรา แลกเปลี่ยน ในป 2561 ค า เงิ น บาทเฉลี ่ ย ทั ้ ง ป แข็ ง ค า ขึ ้ น ร อ ยละ 4.8 จากเฉลี ่ ย 33.77 บาทต อ ดอลลาร ส หรั ฐ ในป 2560 เป น 32.14 บาทต อ ดอลลารสหรัฐ ในป 2561 โดยในระหวางปมีความผันผวนระหวางไตรมาสคอนขางสูง อันเปนผลจากการเคลื่อนยายเงินทุน และแนวโนม การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของสหรัฐฯ ทำให บริษัทฯ มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิลดลงจาก 522.1 ลานบาทในป 2560 เปนขาดทุนจาก อัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ 252.2 ลานบาท ในป 2561

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

109


3. ตนทุนทางการเงิน ปจจัยสำคัญที่สงผลกระทบตอตนทุนทางการเงินของบริษัทฯ ไดแก อัตราดอกเบี้ย ราคายางธรรมชาติ ปริมาณการขาย และการเคลื่อนไหว ของอั ต ราแลกเปลี ่ ย น โดยในป 2561 ดอกเบี ้ ย จ า ยของบริ ษ ั ท ฯ ปรั บ ตั ว ลดลงจากป ก  อ น ส ว นใหญ มาจากการลดลงของเงิ น กู  ย ื ม ระยะสั ้ น ที ่ ใช ใ นการซื ้ อ วั ต ถุ ด ิ บ ยางธรรมชาติ แม ว  า จะหั ก ลบกั บ ผลขาดทุ น จากอั ต ราแลกเปลี ่ ย นเงิ น ตราต า งประเทศ ได แ ก สกุลเงินดอลลารสหรัฐ และรูเปย ที่เกี่ยวของกับเงินกูยืมจำนวน 208.3 ลานบาท ดวยเหตุนี้ ตนทุนทางการเงินสุทธิของบริษัทฯ ปรับลดลงจาก 1,156.4 ลานบาท ในป 2560 เปน 887.0 ลานบาท ในป 2561 หรือลดลงรอยละ 23.3 แผนภาพดานลางแสดงอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของบริษัทฯ ในป 2560 - 2561 เทียบกับอัตราดอกเบี้ย MLR เฉลี่ยจาก 3 ธนาคารหลัก ไดแก ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย ซึ่งจะเห็นไดวาบริษัทฯ สามารถควบคุมอัตราดอกเบี้ยไดต่ำกวาอัตราดอกเบี้ย ในตลาดสินเชื่อคอนขางมาก หนวย : รอยละ 7.00 6.00 5.00 4.00 3.00 2.00 1.00 0.00

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

กราฟเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ กับอัตราดอกเบี้ย MLR เฉลี่ย

4. นโยบายของหนวยงานภาครัฐ นโยบายของรัฐบาลไทย และรัฐบาลของประเทศผูสงออกยางธรรมชาติหลักของโลกอาจเปนประโยชนหรือสงผลกระทบในเชิงลบตอการ ดำเนินงานของบริษัทฯ อาทิ รัฐบาลของประเทศผูผลิตยางธรรมชาติหลัก ไดแก ประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ไดเขาแทรกแซง โดยการลดปริมาณการสงออกยางธรรมชาติ (Agreed Export Tonnage Scheme - AETS) เริ่มครั้งแรกในป 2555 และตอมาในป 2559 มาถึงครั้งลาสุดในป 2561 ในชวงเดือนมกราคม – มีนาคม เพื่อลดปริมาณการสงออกยางธรรมชาติและแกไขปญหาราคายางตกต่ำ อีกทั้ง รัฐบาลไทยมีความพยายามในแกไขปญหาราคายางตกต่ำ อาทิ การจัดตั้ง บจ. รวมทุนยางพาราไทย การสงเสริมการใชยางภายในประเทศ การลดปริมาณผลผลิตทั้งการโคนตนยางและการหยุดกรีดยาง ตลอดจนการประกาศใหยางพาราเปนสินคาควบคุมของกระทรวงพาณิชย ซึ่งการแทรกแซงดังที่กลาวมานี้ อาจเปนปจจัยที่ทำใหราคายางธรรมชาติในประเทศเคลื่อนไหวไมสอดคลองกับราคาซื้อขายยางพาราใน ตลาดโลกอยางเต็มที่ หรืออาจทำใหปริมาณการขายยางธรรมชาติของบริษัทฯ ไมสอดคลองกับปริมาณความตองการของตลาดโลก เปนตน สำหรับนโยบายที่อาจกระทบตอผลิตภัณฑถุงมือยาง อาทิ การที่องคการอาหารและยา (FDA) ของสหรัฐอเมริกา ประกาศหามใชถุงมือยาง แบบมีแปงในทางการแพทยซึ่งอาจสงผลตอความตองการในการบริโภคถุงมือยางธรรมชาติแบบมีแปงที่ขายในประเทศดังกลาวเปลี่ยนไป บริโภคถุงมือประเภทอื่น เชน ถุงมือยางธรรมชาติแบบไมมีแปง หรือถุงมือยางไนไตรลเพิ่มขึ้น

110

รายงานประจำป 2561


การวิเคราะหผลประกอบการตามสายธุรกิจ การจำแนกรายไดตามสายผลิตภัณฑ (ลานบาท) ยางแทง % ถุงมือยาง* % ยางแผนรมควัน % น้ำยางขน % อื่นๆ** % รวมรายไดจากการขายและบริการ

ป 2561 50,008.1 68.0% 11,786.3 16.0% 6,816.0 9.3% 4,537.1 6.2% 345.3 0.5% 73,492.8

ป 2560 63,183.1 70.7% 9,858.7 11.0% 9,653.1 10.8% 6,285.5 7.0% 406.6 0.5% 89,387.0

% YoY -20.9% 19.6% -29.4% -27.8% -15.1% -17.8%

หมายเหตุ: * ในเดือนมีนาคม 2560 บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) ไดเปลี่ยนสถานะจากกิจการรวมคาเปนบริษัทยอย ดังนั้นรายไดจากผลิตภัณฑถุงมือยางจึงเปนรายไดภายใตงบการเงิน รวมตั้งแตวันที่ 15 มีนาคม 2560 **ประกอบไปดวยรายไดจาก (ก) การจำหนายไมฟนและบรรจุภัณฑไม และ (ข) การใหบริการบางประเภท (เชน บริการดานการขนสง การวิจัยและพัฒนา และเทคโนโลยีสารสนเทศ) แกบริษัทรวมของบริษัทฯ และกิจการรวมคาของบริษัทฯ รวมถึงบริษัทภายนอกอื่นๆ

ยางแทง TSR (Technically Specified Rubber) รายไดจากการจำหนายผลิตภัณฑยางแทง ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 68.0 ของรายไดจากการขายและบริการรวม ปรับลดลงรอยละ 20.9 เมื่อเทียบกับปกอน อันเนื่องมาจากราคาขายเฉลี่ยที่ปรับลดลงรอยละ 22.8 ตามทิศทางของราคายางธรรมชาติ ขณะที่ปริมาณการขาย ขยายตัวเล็กนอยที่รอยละ 2.5 จากการขยายตัวของตลาดในประเทศจีน อินเดีย และยุโรป เปนตน ดวยผลจากการดำเนินกลยุทธในการขาย ที่เนนรักษาความสามารถในการทำกำไรมากกวาปริมาณการขาย (Selective Selling)และการควบคุมตนทุนวัตถุดิบอยางมีประสิทธิภาพ ทำใหในป 2561 กำไรขั้นตนของยางแทงเพิ่มขึ้นรอยละ 159.5 เมื่อเทียบกับปกอน และสงผลใหอัตรากำไรขั้นตนปรับเพิ่มขึ้นมากเชนกัน ถุงมือยาง (Gloves) รายไดจากการขายผลิตภัณฑถุงมือยาง ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 16.0 ของรายไดจากการขายและบริการรวมขยายตัวรอยละ 19.6 เมื่อเทียบกับปกอน เปนผลมาจากทั้งปริมาณการขายและราคาขายเฉลี่ยที่ปรับเพิ่มสูงขึ้นโดยปริมาณการขายปรับเพิ่มขึ้นรอยละ 12.4* ซึ่งสวนใหญมาจากการบริโภคที่เพิ่มขึ้นจากตลาดในประเทศลาตินอเมริกา อินเดีย จีน เกาหลี และไทย สำหรับราคาขายเฉลี่ยปรับเพิ่ม ขึน้ รอยละ 6.4 อันเปนผลมาจากราคาน้ำยางสังเคราะหซง่ึ เปนวัตถุดบิ หลักในการผลิตถุงมือยางไนไตรลปรับเพิม่ ขึน้ ตามทิศทางของราคาน้ำมัน ในตลาดโลก แมวาราคาน้ำยางขนซึ่งเปนวัตถุดิบหลักในการผลิตถุงมือยางธรรมชาติจะปรับตัวลดลงดวยกลยุทธในการดำเนินธุรกิจในฐานะ ผูประกอบการยางธรรมชาติแบบครบวงจรและความแข็งแกรงในการดำเนินงานตลอดทั้งหวงโซอุปทาน ทำใหกำไรขั้นตนของถุงมือยาง ในป 2561 เติบโตรอยละ 86.3 เมื่อเทียบกับปกอน และมีอัตรากำไรขั้นตนในระดับที่แขงขันไดกับผูผลิตถุงมือยางในระดับโลก หมายเหตุ: *ในเดือนมีนาคม 2560 บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) (“STGT”) ไดเปลี่ยนสถานะจากกิจการรวมคาเปนบริษัทยอยดังนั้นรายไดจากผลิตภัณฑถุงมือยางจึงเปนรายไดภายใตงบการเงิน รวมหลังวันที่ 15 มีนาคม 2560 กรณีพิจารณารวมรายไดของ STGT ทั้งป 2560 บริษัทฯ จะมีปริมาณการจำหนายถุงมือยางเติบโตรอนละ 3.6

ยางแผนรมควัน RSS (Ribbed Smoked Sheet) รายไดจากการขายผลิตภัณฑยางแผนรมควัน ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 9.3 ของรายไดจากการขายและบริการรวม ปรับลดลงรอยละ 29.4 เมื่อเทียบกับปกอน เปนผลมาจากราคาขายเฉลี่ยที่ปรับลดลงรอยละ 27.0 ตามทิศทางของราคายางธรรมชาติในตลาดโลกเฉกเชนเดียว กับยางแทง และปริมาณการขายที่ลดลงรอยละ 3.3 ซึ่งสวนใหญเปนผลมาจากการลดลงของปริมาณการสงออก โดยราคาขายเฉลี่ยและ ปริมาณการขายของยางแผนที่ลดลงเมื่อเทียบกับปกอน สงผลใหกำไรขั้นตนปรับลดลงรอยละ 16.0 ทวาบริษัทฯ สามารถบริหารจัดการ ราคาขายและตนทุนวัตถุดิบไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทำใหอัตรากำไรขั้นตนของผลิตภัณฑยางแผนสูงขึ้นจากปกอน น้ำยางขน (Concentrated Latex) รายไดจากการขายผลิตภัณฑน้ำยางขน ซึ่งคิดเปนสัดสวนรอยละ 6.2 ของรายไดจากการขายและบริการรวม ปรับลดลงรอยละ 27.8 เมื่อเทียบกับปกอน อันเปนผลจากทั้งราคาขายเฉลี่ยที่ปรับลดลงรอยละ 23.4 และปริมาณการขายที่ลดลงรอยละ 5.8 เนื่องจากในป 2561 บริษัทฯ ใชกลยุทธในการดำเนินธุรกิจแบบ Selective Selling และการควบคุมตนทุนวัตถุดิบ ทำใหบริษัทฯ เลือกที่จะมีปริมาณการขาย ที่ลดลง แตคงรักษาไวซึ่งความสามารถในการทำกำไร และแมวากำไรขั้นตนจะลดลงรอยละ 13.9 ตามราคาขายเฉลี่ยและปริมาณการขาย แตอัตรากำไรขั้นตนขยายตัวไดดีเมื่อเทียบกับปกอน บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

111


ฐานะการเงิน สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยหมุนเวียน ณ สิน้ ป 2561 เทากับ 28,839.5 ลานบาท คิดเปน สั ด ส ว นร อ ยละ 42.8 ของสิ น ทรั พ ย ร วม ลดลง 4,509.9 ล า นบาท หรือรอยละ 15.9 จาก ณ สิ้นปกอน สวนใหญเปนผลจากการลดลง ของสินคาคงเหลือสุทธิจำนวน 4,811.6 ลานบาท หรือรอยละ 28.1 เนื่องมาจากปริมาณสินคาคงเหลือที่ลดลง และราคายางธรรมชาติ ณ สิ้นป 2561 อยูในระดับที่ต่ำกวาเมื่อเทียบกับสิ้นป 2560 ซึ่งสินคา คงเหลือที่แสดงในงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีจะแสดงดวย ราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ำกวา (โปรดดู รายละเอียดเพิ่มเติมในหมายเหตุประกอบงบขอ 4 และขอ 9) กอปร กับการลดลงของลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ น่ื จำนวน 1,520.3 ลานบาท ซึ่งสวนใหญเปนผลจากราคาขายเฉลี่ยของผลิตภัณฑยางธรรมชาติที่ ปรับลดลงรอยละ 23.2 ตามราคาในตลาดโลกขณะที่ปริมาณการขาย ปรับเพิม่ ขึน้ เพียงเล็กนอยทีร่ อ ยละ 1.0 อยางไรก็ดี เงินสด และรายการ เทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้นจำนวน 1,955.4 ลานบาท

หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน ณ สิ้นป 2561 เทากับ 9,876.4 ลานบาท คิดเปน สัดสวนรอยละ 32.2 ของหนีส้ นิ รวม ลดลง 698.1 ลานบาท หรือรอยละ 6.6 จาก ณ สิน้ ปกอ น โดยหลักมาจากการลดลง ของหุน กูท ค่ี รบกำหนด ชำระในเดื อ นพฤษภาคม 2562 จำนวน 810 ล า นบาท (บริ ษ ั ท ฯ คงเหลือหุนกูที่จะครบกำหนดชำระภายในเดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน 1,455 ลานบาท) ขณะที่เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หักสวนที่ครบกำหนดชำระภายใน 1 ป) เทากับ 7,344.4 ลานบาท เพิ่มขึ้น 150.7 ลานบาท จาก ณ สิ้นปกอน โดยเงินกูยืมดังกลาวใชใน การขยายกำลังการผลิตของโรงงานถุงมือยาง

สินทรัพยไมหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ณ สิ้นป 2561 เทากับ 31,908.6 ลานบาท คิ ด เป น สั ด ส ว นร อ ยละ 57.2 ของสิ น ทรั พ ย ร วม เพิ ่ ม ขึ ้ น 550.2 ล า นบาท หรื อ ร อ ยละ 1.8 จาก ณ สิ ้ น ป ก  อ น ส ว นใหญ เ ป น การ ลงทุ น เพิ ่ ม ในที ่ ด ิ น อาคาร และอุ ป กรณ จ ำนวน 266.4 ล า นบาท (สุทธิจากคาเสื่อมราคาและการจำหนายออก) จากการขยายกำลัง การผลิตในโรงงานยางแทง น้ำยางขน และถุงมือยาง รวมทั้งเปนการ เพิ่มขึ้นจากการลงทุนในสวนยางพาราของบริษัทฯ จำนวน 219.1 ลานบาท

รายจายสำหรับการวิจัยและพัฒนา (R&D) ในป 2561 บริ ษ ั ท ฯ มี ร ายจ า ยสำหรั บ การทำงานวิ จ ั ย และพั ฒ นา ผลิตภัณฑจำนวน 47.0 ลานบาท ครอบคลุมทุกกลุมผลิตภัณฑของ บริษทั ฯ ทัง้ ผลิตภัณฑยางแทง น้ำยางขน ยางแผนรมควัน และผลิตภัณฑ ถุงมือยาง โดยรายจายสำหรับการวิจัยและพัฒนาทั้งหมดทางบริษัทฯ มุงเนนในการพัฒนาเพิ่มศักยภาพของกระบวนการผลิต รวมทั้งพัฒนา คุณภาพของผลิตภัณฑ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา และ การจัดการดานสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน นอกจากนี้ ในป 2561 สำนัก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร และเทคโนโลยี แห ง ชาติ (สวทช.) ได ม ีมติ เห็นชอบใหการรับรองโครงการของบริษัทฯ จำนวน 2 โครงการ เปน งานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมซึ่งเขาเกณฑตามประกาศ กระทรวงการคลังวาดวยภาษีเงินได บริษัทฯ จึงไดยกเวนภาษีเงิน ไดนิติบุคคลสำหรับรายจายที่ไดจายไปเพื่อการทำการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม จำนวน 0.9 ลานบาท โดยบริษัทฯ สามารถ บันทึกเปนคาใชจา ยของบริษทั ฯ ได 3 เทาคิดเปนจำนวน 2.8 ลานบาท

หนี้สินหมุนเวียน หนี ้ ส ิ น หมุ น เวี ย น ณ สิ ้ น ป 2561 เท า กั บ 20,772.0 ล า นบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 67.8 ของหนี้สินรวม ลดลง 5,084.5 ลานบาท หรือรอยละ 19.7 จาก ณ สิ้นปกอน ซึ่งสวนใหญมาจากการลดลง ของเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินจำนวน 6,169.6 ลานบาท เนื ่ อ งจากราคายางธรรมชาติ ท ี ่ อ ยู  ใ นระดั บ ต่ ำ ทำให บ ริ ษ ั ท ฯ มีความจำเปนที่จะใชเงินกูยืมระยะสั้นเปนเงินทุนหมุนเวียนในการซื้อ วัตถุดิบลดลงตามไปดวย อยางไรก็ดี เงินกูยืมที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปของบริษัทฯ เพิ่มขึ้น 1,052.4 ลานบาท โดยหลักจากเงินกูยืม ระยะยาวจากสถาบันการเงินจำนวน 1,260 ลานบาท และหุนกูที่ ครบกำหนดชำระในเดือนพฤษภาคม 2562 จำนวน 810 ลานบาท

112

รายงานประจำป 2561

สวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุน ณ สิ้นป 2561 เทากับ 25,099.8 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,822.9 ลานบาท หรือรอยละ 7.8 จาก ณ สิ้นป กอน สวนใหญเปน ผลมาจากการเพิ่มขึ้นของกำไรสะสมที่ยังไมไดจัดสรรจำนวน 1,853.7 ลานบาท สืบเนื่องจากกำไรสุทธิที่เพิ่มขึ้นระหวางป


แหลงที่มาของเงินทุน ในป 2561 บริ ษ ั ท ฯ มี ร ายจ า ยลงทุ น จำนวน 2,780.2 ล า นบาท โดยสวนใหญเปนรายจายลงทุนเพื่อการขยายกำลังการผลิตโรงงาน ยางแท ง และโรงงานน้ ำ ยางข น ตลอดจนการบำรุ ง รั ก ษาโรงงาน ผลิ ต ภั ณ ฑ ย างจำนวน 1,339.9 ล า นบาท และรายจ า ยลงทุ น เพื ่ อ การขยายกำลังการผลิตและการบำรุงรักษาโรงงานผลิตภัณฑถุงมือ ยางจำนวน 1,232.2 ล า นบาท โดยมี แ หล ง เงิ น ทุ น หลั ก ได แ ก เงินสดของบริษัทฯ และระยะยาวจากสถาบันการเงิน ความสามารถในการชำระเงินกูแ ละการปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขของวงเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีเงินกูยืมในรูปแบบของเงินกูยืม ระยะสั ้ น และระยะยาวจากสถาบั น การเงิ น หู  น กู  และหนี ้ ส ิ น ตาม สัญญาเชาทางการเงิน จำนวนทั้งสิ้น 26,527.2 ลานบาท (โปรดดูราย ละเอียดเพิ่มเติมของระยะเวลาครบกำหนดชำระ อัตราดอกเบี้ย และ ยอดคงเหลือเหลือของภาระผูกพันตามสกุลเงิน ในหมายเหตุประกอบ งบขอ 22) โดยในเดือนกุมภาพันธ 2561 บริษัทฯ ไดไถถอนหุนกูที่ครบ กำหนดไถ ถ อนไปแล ว มู ล ค า 600 ล า นบาท ทั ้ ง นี ้ ณ สิ ้ น ป 2561 บริษัทฯ มีอัตราสวนหนี้สินสุทธิตอทุนเทากับ 1.05 เทา ลดลงจากป 2560 ที่ 1.49 เทา อันเปนผลมาจากหนี้สินระยะสั้นและระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ยลดลงจำนวน 5,778.9 ลานบาท และเงินสดที่เพิ่ม ขึ้นจำนวน 1,955.4 ลานบาท

อัตราหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร (Fixed asset turnover ratio) อัตราหมุนเวียนของสินทรัพยถาวรคำนวณจากการหารยอดขายดวยมู ลคาที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) เฉลี่ย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีอัตราหมุนเวียน ของสินทรัพยถาวรเทากับ 4.12 เทา และ 2.80 เทา ตามลำดับสาเหตุ ของการลดลงของอัตราหมุนเวียนของสินทรัพยถาวรเปนผลมาจาก รายไดที่ปรับลดลงอันไดรับผลกระทบจากราคายางธรรมชาติในตลาด โลกขณะที่สินทรัพยถาวรปรับเพิ่มสูงขึ้นตามการขยายตัวของกำลัง การผลิต อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย (Return on assets "ROA") อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยคำนวณจากการหารกำไรสุทธิ (สวนที่เปนของบริษัทใหญ) ดวยสินทรัพยรวมเฉลี่ย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีอัตราสวน ผลตอบแทนจากสินทรัพยเทากับรอยละ -2.48 และรอยละ 3.58 ตามลำดับ ปรับเพิ่มขึ้นตามผลประกอบการของบริษัทฯ ที่กลับมาม กำไรเมื่อเทียบกับปกอน อีกทั้งสินทรัพยรวมที่ปรับลดลงเล็กนอย โดยหลักจากสินคาคงเหลือและลูกหนี้การคาที่ปรับลดลงตามราคา ยางธรรมชาติในตลาดโลก

อัตราสวนผลตอบแทนผูถือหุน (Return on equity "ROE") อั ต ราส ว นผลตอบแทนผู  ถ ื อ หุ  น คำนวณจากการหารกำไรสุ ท ธิ อัตราสวนทางการเงิน (สวนที่เปนของบริษัทใหญ) ดวยสวนของผูถือหุนรวมเฉลี่ย ทั้งนี้ ณ อัตราสวนสภาพคลอง ( Current ratio) วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ อัตราสวนสภาพคลองคำนวณจากการหารยอดสินทรัพยหมุนเวียนดว มีอัตราสวนผลตอบแทนผูถือหุนเทากับรอยละ -6.65 และรอยละ ยยอดหนี้สินหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ ณ วันที่ 31 8.53 ตามลำดับ เชนเดียวกันกับ ROA การปรับตัวลดลงของ ROE ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีอัตราสวนสภาพคลองเทากับ 1.10 เทาและ เปนผลมาจากผลประกอบการของบริษัทฯ ที่ปรับตัวดีขึ้นจากปกอน 1.15 เทา ตามลำดับ อัตราสวนสภาพคลองทีป่ รับตัวเพิม่ ขึน้ สาเหตุหลัก เปนผลจากการลดลงของเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินจำนวน อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (Debt to equity ratio "D/E" ) 6,169.6 ลานบาท ตามราคาวัตถุดิบยางธรรมชาติที่ปรับลดลง อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน คำนวณจากการหารหนี้สิน รวมของบริษัทฯ ดวยสวนของผูถือหุนรวมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธั น วาคม 2560 และ ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2561 บริ ษ ั ท ฯ มีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนเทากับ 1.57 เทา และ 1.22 เทา ตามลำดั บ การปรั บ ตั ว ลดลงของอั ต ราส ว นหนี ้ ส ิ น ต อ ส ว นของ ผูถือหุน โดยหลักเปนผลมาจากการลดลงของเงินกูยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงินที่ใชในการซื้อวัตถุดิบยางธรรมชาติ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

113


มุมมองธุรกิจในอนาคต ภาพรวมอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ %การเติบโตของเศรษฐกิจโลก (GDP) • ประเทศจีน (ผูบริโภคยางธรรมชาติอันดับ 1 ของโลก) • กลุมประเทศยุโรป (ผูบริโภคยางธรรมชาติอันดับ 2 ของโลก) • ประเทศอินเดีย (ผูบริโภคยางธรรมชาติอันดับ 3 ของโลก) ปริมาณการผลิตยานพาหนะ (ลานคัน) % change ปริมาณการผลิตยางลอ (ลานเสน) % change ปริมาณความตองการยางธรรมชาติ (‘000 ตัน) % change

2560 3.7% 6.9% 2.4% 6.7% 99 2.8% 1,877 2.2% 13,218 4.3%

2561 3.7% 6.6% 2.0% 7.3% 100 1.7% 1,933 3.0% 13,867 4.9%

2562F 3.7% 6.2% 1.9% 7.4% 102 1.9% 1,992 3.1% 14,231 2.6%

แหลงที่มา : International Rubber Study Group (IRSG), The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospects to 2027, December 2018 and Rubber Industry Report (October – December 2018)

ดวยปจจัยพื้นฐานการขยายตัวของเศรษฐกิจเปนปจจัยหลักที่มีผลตอปริมาณการบริโภคยางธรรมชาติ เนื่องจากรอยละ 71 ของอุปสงครวม ของยางธรรมชาติมาจากกลุมผูผลิตยางลอจึงตองพิจารณาการขยายตัวของปริมาณการผลิตยานพาหนะและปริมาณการผลิตยางลอควบคูกัน จากขอมูลของ IRSG พบวาในป 2561 การบริโภคยางธรรมชาติของกลุมผูผลิตยางลอขยายตัวรอยละ 4.9 อันเนื่องมาจากการขยาย ตัวของตลาดทดแทน (Replacement Market) เปนหลัก ขณะเดียวกันอัตราการบริโภคยางธรรมชาติในอุตสาหกรรมอื่นๆ ขยายตัวรอยละ 5.2 ซึ่งสวนใหญเปนการบริโภคที่เพิ่มขึ้นจากอุตสาหกรรมถุงมือยาง อยางไรก็ดี ในป 2561 การบริโภคยางสังเคราะห (Synthetic Rubber) ซึ่งสามารถนำไปใชทดแทนยางธรรมชาติในการผลิตผลิตภัณฑยางสำเร็จรูปในบางรูปแบบ ขยายตัวเพียงรอยละ 1.7 นอยกวาการขยายตัว ของการบริโภคของยางธรรมชาติอยางมาก เนื่องดวยราคายางธรรมชาติที่อยูในระดับต่ำจูงใจใหผูบริโภคโดยเฉพาะในกลุมอุตสาหกรรมอื่นๆ และกลุมผูผลิตยางลอในบางประเทศเพิ่มสัดสวนการบริโภคยางธรรมชาติในกระบวนการผลิต สำหรับอุตสาหกรรมยางธรรมชาติในป 2562 อุปสงคของยางธรรมชาติมีแนวโนมออนตัว โดยคาดการณวาจะขยายตัวเพียงรอยละ2.6 จากป 2561 สืบเนื่องจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนซึ่งเปนผูบริโภคยางธรรมชาติอันดับ 1 ของโลก แมวาปริมาณการผลิตยานพาหนะ และปริมาณการผลิตยางลอของโลกมีแนวโนมขยายตัวจากป 2561 เล็กนอย ขณะที่แนวโนมการบริโภคยางธรรมชาติในอุตสาหกรรมอื่นๆ คาดการณวาจะขยายตัวรอยละ 4.4 ทั้งนี้ การเคลื่อนไหวของสินคาโภคภัณฑในตลาดโลก ยังคงไดรับผลกระทบจากปจจัยอื่นๆ อาทิ การเก็งกำไรในตลาดซื้อขายลวงหนา (Futures Market) ทั้งในตลาด SICOM, TOCOM และตลาดเซี่ยงไฮฟวเจอร (SHFE) ที่อาจทำให ราคายางธรรมชาติเคลื่อนไหวไมสอดคลองกับปจจัยพื้นฐาน และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ เปนตน

114

รายงานประจำป 2561


ความสมดุลของอุปสงคและอุปทานของยางธรรมชาติ ปริมาณอุปสงคและอุปทานของยางธรรมชาติของโลกในชวงป 2560 - 2562 หนวย : 000’ตัน ปริมาณการผลิตยางธรรมชาติ % change ปริมาณการบริโภคยางธรรมชาติ % change

2560 13,559 7.6% 13,218 4.3%

2561 13,901 2.5% 13,867 4.9%

2562F 14,262 2.6% 14,231 2.6%

แหลงที่มา : International Rubber Study Group (IRSG), The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospects to 2027, December 2018

ตามขอมูลประมาณการของ The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospects to 2027 ประจำเดือนธันวาคม 2561 โดย International Rubber Study Group (IRSG) ความตองการใชยางธรรมชาติทั่วโลกในป 2561 คาดวาจะมีประมาณ 13,867,000 ตัน เติบโตในอัตรารอยละ 4.9 โดยมีปจจัยสนับสนุนจากการเติบโตของอุตสาหกรรมยางลอ ทั้งจากผูผลิต OEM (Original Equipment Manufacturer) และ REM (Replacement Equipment Manufacturer) ซึ ่ ง เป น ผู  บ ริ โ ภคหลั ก ของยางธรรมชาติ ค ิ ด เป น สั ด ส ว น ประมาณรอยละ 71 ของอุปสงครวม ตลอดจนแรงหนุนจากการบริโภคน้ำยางขนที่เติบโตไปพรอมกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมถุงมือยาง ในขณะที ่ ป ริ ม าณการผลิ ต ยางธรรมชาติ ใ นป 2561 เท า กั บ 13,901,000 ตั น หรื อ เติ บ โตร อ ยละ 2.5 โดยปริ ม าณอุ ป ทานที ่ เ พิ ่ ม ขึ ้ น สวนใหญมาจากประเทศไทย จีน เวียดนาม และกลุมประเทศ CAMAL* IRSG คาดการณ ว  า แนวโน ม ความต อ งการยางธรรมชาติ ท ั ่ ว โลกในป 2562 จะเท า กั บ 14,231,000 ตั น เติ บ โตคิ ด เป น ร อ ยละ 2.6 ซึ่งสัดสวนการบริโภคสวนใหญยังคงมาจากประเทศจีนซึ่งเปนผูบริโภคยางรายใหญที่สุดของโลก ตามมาดวยประเทศยุโรป อินเดีย สหรั ฐ อเมริ ก า และประเทศไทย ขณะที ่ ป ระเทศที ่ ค าดการณ ว  า จะมี ก ารขยายตั ว ของการบริ โ ภคในอั ต ราที ่ ม ากกว า การขยายตั ว ของอุปสงคโดยรวม ไดแก อินเดีย และมาเลเซีย จากการบริโภคที่เพิ่มขึ้นของกลุมผูผลิตยางลอและถุงมือยาง ตามลำดับ ในสวนของอุปทาน IRSG ไดประมาณการวาผลผลิตยางธรรมชาติในป 2562 จะเทากับ 14,262,000 ตัน เติบโตขึ้นรอยละ 2.6 โดยปริมาณผลผลิตยางธรรมชาติ ที ่ เ พิ ่ ม ขึ ้ น ส ว นใหญ ม าจากกลุ  ม ประเทศ CAMAL* ในขณะที ่ ป ริ ม าณผลผลิ ต ของประเทศผู  ผ ลิ ต ยางธรรมชาติ ร ายใหญ อ ั น ดั บ หนึ ่ ง อยางประเทศไทย และอันดับสองอยางอินโดนีเซียนั้นมีแนวโนมคอนขางคงที่ เนื่องจากตนยางที่ปลูกทดแทนตนเดิมมีแนวโนมคงที่ และต น ยางที ่ ป ลู ก ยางใหม ล ดลงอย า งต อ เนื ่ อ ง สื บ เนื ่ อ งมาจากราคายางที ่ อ ยู  ใ นระดั บ ต่ ำ ไม จ ู ง ใจเกษตรกรให ป ลู ก ต น ยางเพิ ่ ม เติ ม ในป 2562 เปนที่คาดการณวาผลผลิตยางธรรมชาติจากตนยางที่ปลูกใหมจะเติบโตในอัตราที่ลดลง เนื่องจากการปลูกตนยางใหมปรับตัว ลดลงภายหลั ง จากช ว งที ่ ร าคายางธรรมชาติ ป รั บ ตั ว ลดลงมาอย า งต อ เนื ่ อ งตั ้ ง แต ป  2554 นอกจากนี ้ การที ่ ร าคายางอยู  ใ นระดั บ ต่ำหลายปติดตอกันสงผลใหเกษตรกรหันไปปลูกพืชอื่นทดแทน หรือเลื่อนระยะเวลาการปลูกตนยางใหมหรือการปลูกทดแทนออกไป รวมถึงอาจสงผลใหจำนวนแรงงานกรีดยางและความถี่ในการกรีดยางลดลง ตลอดจนลดความนาสนใจที่จะมีชาวสวนยางรายใหมเกิดขึ้นดวย ในขณะที่ความตองการยางธรรมชาติยังเติบโตอยางตอเนื่องตามการเติบโตของอุตสาหกรรมยางลอ ดังนั้น IRSG จึงคาดการณวาปริมาณ ผลผลิ ต ส ว นเกิ น ในป 2562 จะอยู  ท ี ่ 31,000 ตั น ลดลงเล็ ก น อ ยจากป 2561 เล็ ก น อ ยที ่ ป ริ ม าณผลผลิ ต ส ว นเกิ น อยู  ท ี ่ 34,000 ตั น

หมายเหตุ*: กลุมประเทศ CAMAL ไดแก ประเทศกัมพูชา เมียนมา และลาว

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

115


กลยุทธการประกอบธุรกิจและความคืบหนาของแผนการขยาย ธุรกิจตลอดทั้งหวงโซอุปทานของบริษัทฯ ธุรกิจตนน้ำ – พัฒนาศักยภาพอยางตอเนื่องเพื่อเสริมกำลัง ใหการดำเนินธุรกิจของกลุมบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทฯ มีพื้นที่สำหรับธุรกิจสวนยาง พาราประมาณ 45,000 ไร ครอบคลุ ม พื ้ น ที ่ 19 จั ง หวั ด ใน ประเทศไทยซึ่งสวนใหญตั้งอยูในเขตภาคเหนือและภาคตะวันออก เฉี ย งเหนื อ โดยมี ส ั ด ส ว นสวนยางที ่ ป ลู ก ไปแล ว ทั ้ ง สิ ้ น ร อ ยละ 89 บางสวนเริ่มทยอยใหผลผลิตตั้งแตป 2558 เปนตนมา ซึ่งไดสงผลดี ตอกลยุทธการสรรหาวัตถุดิบสำหรับธุรกิจกลางน้ำซึ่งเปนธุรกิจหลัก ของบริ ษ ั ท ฯ ทั ้ ง นี ้ ในป 2561 บริ ษ ั ท ฯ ประมาณการว า มี ต  น ยาง ที ่ ส ามารถกรี ด ได ร าวร อ ยละ 3 ของต น ยางที ่ ป ลู ก แล ว ทั ้ ง หมด อันจะสงผลดีตอกลยุทธการสรรหาวัตถุดิบสำหรับธุรกิจกลางน้ำ ซึ่งเปนหนึ่งในธุรกิจหลักของบริษัทฯ

ธุรกิจปลายน้ำ – ตั้งเปาติดอันดับผูถุงมือยางทางการแพทย 1 ใน 3 ของโลก บริษัทฯ มุงมั่นที่จะเพิ่มพูนศักยภาพการแขงขันและความไดเปรียบ ที่มีเหนือคูแขงในการผลิตถุงมือยางธรรมชาติคือการเขาถึงแหลง วั ต ถุ ด ิ บ น้ ำ ยางข น ด ว ยต น ทุ น ปริ ม าณและคุ ณ ภาพที ่ เ ป น เลิ ศ รวมถึงการรักษาไวซึ่งการผลิตถุงมือยางไนไตรลเพื่อตอบสนองตอ ความตองการของลูกคาที่หลากหลายในทั่วทุกมุมโลกทั้งสำหรับการ บริโภคในทางการแพทยและในเชิงไลฟสไตล โดยในป 2561 บริษัทฯ มี ส  ว นแบ ง ทางการตลาดแล ว กว า ร อ ยละ 6ของความต อ งการ บริโภคถุงมือยางทั่วโลก ณ สิ้นป 2561 บริษัทฯ มีกำลังการผลิตถุง มือยางประมาณ 17,200 ลานชิ้นตอป คิดเปนการเติบโตรอยละ 23 จากกำลังการผลิตที่ 14,000 ลานชิ้นตอป ณ สิ้นป 2560 นอกจากนี้ บริษัทฯ อยูในระหวางการดำเนินการควบ บริษัท ศรีตรังโกลฟส จำกัด (STGT) กับ บริษัท ไทยกอง จำกัด (มหาชน) (TK) ซึ่งเปน บริษัทผลิตถุงมือยางที่มีโรงงานตั้งอยูที่จังหวัดตรัง และมีกำลังการ ผลิตประมาณ 4,000 ลานชิ้นตอปซึ่งการควบรวมดังกลาวคาดวา จะแลวเสร็จภายในเดือนเมษายน ป 2562 และจะทำใหกลุมบริษัทฯ มี ก ำลั ง การผลิ ต ถุ ง มื อ ยางทั ้ ง สิ ้ น ราว 21,200 ล า นชิ ้ น ต อ ป ทั ้ ง นี ้ บริษัทฯ ไดดำเนินการขยายกำลังการผลิตอยางตอเนื่องเพื่อใหสอดรับ กับความตองการใชถุงมือยางที่เติบโตในอัตรารอยละ 8-10 ตอป* และมุงสูการเปนผูผลิตถุงมือยางที่ใชในทางการแพทยและอุตสาห กรรมติดอันดับ 1 ใน 3 ของโลกในอนาคตอันใกล

ธุรกิจกลางน้ำ – รักษาอัตราการทำกำไร และเดินหนาสูเปาหมาย “ศรีตรัง 20” นั บ ตั ้ ง แต ไ ตรมาส 3/2560 จนถึ ง ป จ จุ บ ั น บริ ษ ั ท ฯ ได น ำกลยุ ท ธ ในการขายแบบเลือกสรร (Selective Selling Strategy) เขามา ใช ใ นการดำเนิ น ธุ ร กิ จกลางน้ำ เพื่อชว ยในการเพิ่ม ความสามารถ ในการทำกำไรทามกลางภาวะราคายางธรรมชาติที่ตกต่ำ และดวย กลยุทธนเ้ี องบริษทั ฯ จะใหความสำคัญกับความสามารถในการ ทำกำไร อาทิ อัตรากำไรขั้นตน (Gross Profit Margin) มากกวาปริมาณการ ขายผลิ ต ภั ณ ฑ ย างธรรมชาติ ทั ้ ง นี ้ เป า หมายในระยะยาวบริ ษ ั ท ฯ แหลงทีม่ า: * MARGMA Industry Brief 2018 on the Rubber Glove Industry ยังคงรักษาความสัมพันธที่มีตอฐานลูกคาเดิมอยางตอเนื่องตลอดจน ขยายฐานลูกคาใหม อาทิ ผูผลิตยางลอจากตางประเทศที่เขามาตั้ง โรงงานการผลิตในประเทศไทย รวมทั้งผูผลิตยางลอและผูบริโภค น้ำยางขนทั่วโลก เพื่อเดินหนาสูเปาหมาย “ศรีตรัง20” หรือการมี ปริมาณการขายคิดเปนสัดสวนรอยละ 20 ของ “ปริมาณความตอง การยางธรรมชาติ ข องโลก” ในเวลาอั น ใกล (ป 2561 บริ ษ ั ท ฯ มี ส  ว นแบ ง ทางการตลาดที ่ ร  อ ยละ 10) ณ สิ ้ น ป 2561 บริ ษ ั ท ฯ มีโรงงานผลิตยางธรรมชาติทั้งสิ้นจำนวน 36 แหง แบงออกเปน 32 แหงในประเทศไทย 3 แหงในประเทศอินโดนีเซีย และอีก 1 แหงใน ประเทศเมียนมา ทั้งนี้ ณ สิ้นป 2561 บริษัทฯ มีกำลังการผลิตทาง วิศวกรรมที่ 2.86 ลานตันตอป เพิ่มขึ้นจากปกอนราว 240,000 ตัน โดยเพิ่มขึ้นจากทั้งโรงงานยางแทงในจังหวัดเชียงรายและสกลนครท กอตั้งขึ้นเมื่อปกอนที่สามารถดำเนินการผลิตไดอยางเต็มที่ รวมทั้ง โรงงานน้ำยางขนในจังหวัดสุราษฏรธานี สงขลาและอุบลราชธานี ที่มีการปรับปรุงเครื่องจักรและขยายสายการผลิตเพื่อสนองตอการ ขยายตัวของธุรกิจถุงมือยางและความตองการในบริโภคผลิตภัณฑ น้ำยางขนที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งนับไดวาบริษัทฯ ยังคมีกำลัง การผลิตทางวิศวกรรมสูงที่สุดในโลก หมายเหตุ*: กำลังการผลิตทางวิศวกรรมคำนวณจากขอมูลจำเพาะที่ไดรับการ รับรองจากผูผลิตเครื่องจักร ทั้งนี้ กำลังการผลิตของเราไดรวมกำลังการผลิต ทางวิศวกรรมของของบริษัท ไทยเทค รับเบอร คอรปอเรชั่น จำกัด ดวยเชนกัน

116

รายงานประจำป 2561


รายงานของ

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบโดยการแตงตั้งของคณะกรรมการบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการ อิสระจำนวน3 ทาน ซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิ โดยกรรมการ 2 ใน 3 ทานมีความรูทางดานบัญชีและการเงิน ดังมีรายนามตอไปนี้

• พิจารณาแผนการตรวจสอบภายในและสอบทานผลการตรวจสอบ ภายในซึ่งกลุมงานตรวจสอบภายในไดดำเนินการไปในระหวางป รวมถึ ง การสอบทานระบบควบคุ ม ภายในและการบริ ห ารจั ด การ ความเสี่ยงใหมีความเพียงพอเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

1. นายประกอบ วิศิษฐกิจการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ • สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามขอบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวของและ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก กรรมการตรวจสอบ หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีโดยไดกำกับและดูแลใหมีการปฏิบัติตาม 3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร กรรมการตรวจสอบ ข อ บั ง คั บ ของบริ ษ ั ท ข อ กำหนดคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย และตลาดหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกฎหมายที่ คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติงานภายใตขอบเขตหนาที่และ เกี่ยวของและหลักการกำกับดู แ ลกิ จ การที ่ ด ี โดยให ม ี ก ารเป ด เผย ความรับผิดชอบที่ไดรับการมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ขอมูลสารสนเทศอยางเพียงพอและโปรงใส โดยในป 2561 คณะกรรมการตรวจสอบไดมีการประชุมรวม 8 ครั้ง นายประกอบ วิศิษฐกิจการ นายเกรียง ยรรยงดิลก และ นายสมัชชา • สอบทานการเขาทำรายการและการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับรายการ โพธิ ์ ถ าวร เข า ร ว มประชุ ม ทุ ก ครั ้ ง ซึ ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบ ระหวางกันของบริษัทฯซึ่งอาจทำใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน ได ป ระชุ ม ร ว มกับ ผูบ ริหารระดับ สูงที่เกี่ยวของผู  จ ั ด การกลุ  มงาน ระหวางผูมีสวนไดเสียกับบริษัทฯ และบริษัทยอยผลการสอบทาน ตรวจสอบภายในและผูสอบบัญชีในวาระที่เกี่ยวของคณะกรรมการ พบวาไดดำเนินการตามหลักเกณฑทต่ี ลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตรวจสอบไดกำกับดูแลในเรื่องตางๆ • พิจารณาคัดเลือกเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีและเสนอคาสอบบัญชี สรุปสาระสำคัญไดดังนี้ ประจำป 2562 เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ ใหขออนุมัติ • ความถูกตองและครบถวนของขอมูลทางการเงินสอบทานรายงาน จากที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 256 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ ทางการเงินรายไตรมาสและงบการเงินสำหรับป 2561 ใหเปนไปตาม ไดพิจารณาผลการปฏิบัติงานความเปนอิสระ และความเหมาะสม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไปโดยรวมประชุมกับผูสอบบัญชี ของคาตอบแทน รับอนุญาตผูจัดการสายงานบัญชีและการเงิน (CFO) และผูบริหาร บริ ษ ั ท เพื ่ อ สอบทานสาระข อ มู ล ความถู ก ต อ งของงบการเงิ น โดยสรุ ป คณะกรรมการตรวจสอบพิ จ ารณาแล ว มี ค วามเห็ น ว า ของบริษัทฯ ไดมีการตรวจสอบและสอบทานโดยใหความสำคัญใน การดำเนินงานของบริษัทฯ ในปที่ผานมามีระบบการควบคุมภายใน ประเด็นหลักๆ มีการรับฟงการชี้แจงและซักถามแลกเปลี่ยนความ และการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เพียงพอและเหมาะสมรายงาน คิ ด เห็ น ในประเด็ น ต า งๆก อ นที ่ จ ะให ค วามเห็ น ชอบเพื ่ อ นำเสนอ ข อ มู ล ทางการเงิ น จั ด ทำขึ ้ น ตามหลั ก การบั ญ ชี ท ี ่ ร ั บ รองทั ่ ว ไปมี ต อ คณะกรรมการบริ ห ารอนุ ม ั ต ิ ง บการเงิ น ดั ง กล า วนอกจากนี ้ การปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยขอ คณะกรรมการตรวจสอบไดประชุมกับผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายจัดการ กำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือกฎหมายที่เกี่ยว เขารวมประชุมในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 1/2562 ของกับธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่ วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ 2562 ซึ่งในป 2561 ผูสอบบัญชีไมไดมีขอ โดยมี ส ิ ท ธิ แ ละใช ด ุ ล พิ น ิ จ ได อ ย า งอิ ส ระรวมถึ ง ไม ม ี ข  อ จำกั ด ใน สังเกตที่เปนสาระสำคัญ การเขาถึงขอมูลตางๆ นายประกอบ วิศษิ ฐกจิ การ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กุมภาพันธ 2562

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

117


รายงานความ

รับผิดชอบของ คณะกรรมการ ตอรายงาน ทางการเงิน

คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และงบการเงิน รวม ของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย รวมถึงขอมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฎในรายงานประจำป 2561 งบการเงินสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ดังกลาว ไดจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป โดยใชนโยบายการ บัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ำเสมอรวมทั้งไดใชดุลพินิจ อยางระมัดระวังและใชหลักประมาณการอยางสมเหตุสมผลในการ จัดทำ รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินเพื่อแสดงถึงฐานะการเงินผลการดำเนินงานและ กระแสเงินสดไดอยางถูกตอง โปรงใสเปนประโยชนตอผูถือหุนและ นักลงทุนทั่วไป งบการเงินดังกลาวไดผานการตรวจสอบจากผูสอบ บัญชีรับอนุญาตจากบริษัท สำนักงาน อีวาย จำกัดโดยในการตรวจ สอบบริษัทไดใหการสนับสนุนขอมูลและเอกสารตางๆ เพื่อใหผูสอบ บัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นไดตามมาตรฐานการสอบ บัญชี คณะกรรมการบริษัทไดตระหนักถึงภาระหนาที่และความรับผิดชอบ ในการจัดทำรายงานทางการเงินใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงได จัดใหมีและดำรงไวซึ่งระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุม ภายในทั้งดานการปฏิบัติงาน และดานระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของ การตรวจสอบภายใน และการกำกับดูแลทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจวาขอมูลทางบัญชีมีความถูกตองครบถวน และเพียงพอ ที่จะดำรงไวซึ่งทรัพยสินของบริษัท และปองกันความเสี่ยงตลอดจน เพื่อไมใหเกิดการทุจริตหรือดำเนินการที่ผิดปกติอยางเปนสาระสำคัญ

118

รายงานประจำป 2561

ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อชวยกำกับดูแลสอบทานความนาเชื่อถือและความถูกตองของ รายงานทางการเงิน การสอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจ สอบภายใน และระบบการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนพิจารณาการ เปดเผยขอมูลรายการเกีย่ วโยงระหวางกันอยางครบถวนและเหมาะสม โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏอยูในรายงานจาก คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจำปแลว จากการกำกับดูแลและการปฏิบัติดังกลาวขางตน คณะกรรมการ บริ ษ ั ท มี ค วามเห็ น ว า ระบบการควบคุ ม ภายในโดยรวมของบริ ษ ั ท มี ค วามเพี ย งพอและเหมาะสม และสามารถสร า งความเชื ่ อ มั ่ น อย า งมี เ หตุ ผ ลได ว  า งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ และงบการเงิ น รวม ของบริษัทและบริษัทยอย สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีความถูกตองและเชื่อถือได โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ที ่ ร ั บ รองทั ่ ว ไป และปฏิ บ ั ต ิ ถ ู ก ต อ งตามกฎหมายและกฎระเบี ย บ ที่เกี่ยวของทุกประการ ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการและกรรมการผูจ ดั การใหญ


รายงานของ

ผูสอบบัญชี รับอนุญาต

ความเห็น ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย (กลุมบริษัท) ซึ่งประกอบดวยงบ แสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและ งบกระแสเงิ น สดรวม สำหรั บ ป ส ิ ้ น สุ ด วั น เดี ย วกั น และหมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีทส่ี ำคัญ และไดตรวจสอบงบการเงิน เฉพาะกิจการของบริษัท ศรีตรังแอโกร อินดัสทรี จำกัด (มหาชน) ดวยเชนกัน ขาพเจาเห็นวางบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธั น วาคม 2561 ผลการดำเนิ น งานและกระแสเงิ น สด สำหรั บ ป สิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และเฉพาะของ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) โดยถูกตองตามทีค่ วรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน

เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ เรื่องสำคัญในการตรวจสอบคือเรื่องตางๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดตาม ดุลยพินิจเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพของขาพเจาในการตรวจสอบงบ การเงินสำหรับงวดปจจุบันขาพเจาไดนำเรื่องเหลานี้มาพิจารณาใน บริบทของการตรวจสอบงบการเงินโดยรวมและในการแสดงความ เห็ น ของข า พเจ า ทั ้ ง นี ้ ข  า พเจ า ไม ไ ด แ สดงความเห็ น แยกต า งหาก สำหรับเรื่องเหลานี้ ขาพเจาไดปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบที่ไดกลาวไวในวรรคความ รับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของ ข า พเจ า ซึ ่ ง ได ร วมความรั บ ผิ ด ชอบที ่ เ กี ่ ย วกั บ เรื ่ อ งเหล า นี ้ ด  ว ย การปฏิบัติงานของขาพเจาไดรวมวิธีการตรวจสอบที่ออกแบบมาเพื่อ ตอบสนองตอการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอ ขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบ ของขาพเจา ซึ่งไดรวมวิธีการตรวจสอบสำหรับเรื่องเหลานี้ดวย ไดใช เปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจาตองบการเงินโดยรวม

เกณฑในการแสดงความเห็น เรือ่ งสำคัญในการตรวจสอบ พรอมวิธกี ารตรวจสอบสำหรับแตละเรื่อง ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับ มีดงั ตอไปนี้ ผิดชอบของขาพเจาไดกลาวไวในวรรค ความรับผิดชอบของผูสอบ บั ญ ชี ต  อ การตรวจสอบงบการเงิ น ในรายงานของข า พเจ า ขาพเจามีความเปนอิสระจากกลุมบริษัทตามขอกำหนดจรรยาบรรณ ของผูประกอบวิชาชีพบัญชีที่กำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในสวน ที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบงบการเงินและขาพเจาไดปฏิบัติตาม ข อ กำหนดด า นจรรยาบรรณอื ่ น ๆตามที ่ ร ะบุ ใ นข อ กำหนดนั ้ น ดวยขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและ เหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

119


คาความนิยม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 256 บริ ษ ั ท มี ย อดคงเหลื อ ของค า ความนิ ย ม เป น จำนวน 2,954 ล า นบาทข า พเจ า ให ค วามสำคั ญ เรื ่ อ งการ พิ จ ารณาการด อ ยค า ของค า ความนิ ย มเนื ่ อ งจากการประเมิ น การ ดอยคาของคาความนิยมถือเปนประมาณการทางบัญชีที่สำคัญที่ฝาย บริหารตองใชดุลยพินิจ โดยเฉพาะในการระบุหนวยสินทรัพยที่กอ ใหเกิดเงินสดและการประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการ คาดวาจะไดรับจากกลุมสินทรัพยนั้น รวมถึงการกำหนดอัตราคิดลด ที่เหมาะสม

เรื่องอื่น งบการเงินรวมของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย (กลุมบริษัท) และงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ศรี ต รั ง แอโกรอิ น ดั ส ทรี จำกั ด (มหาชน) สำหรั บ ป ส ิ ้ น สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2560 ตรวจสอบโดยผู  ส อบบั ญชี ท  า นอื ่ น ซึ ่ ง แสดงความ เห็นอยางไมมีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 28 กุมภาพันธ 2561

ขาพเจาไดทำความเขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนในการเขาทำรายการและ การบันทึกมูลคายุติธรรมสำหรับเครื่องมือทางการเงิน ซึ่งรวมถึงการ บันทึกรายการทางบัญชีที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงิน พรอมทั้ง ทดสอบ การคำนวณการสงหนังสือยืนยันยอดกับคูสัญญาเพื่อประเมิน ความครบถวนของการบันทึกรายการการสุม ตรวจสอบเอกสารประกอบ รายการที่เกิดขึ้นในระหวางป นอกจากนี้ขาพเจาไดทดสอบความ เหมาะสมของมูลคายุติธรรมโดยการวิเคราะหเปรียบเทียบมูลคา ยุติธรรมที่กิจการใชกับขอมูลที่มีอยูในตลาดที่สามารถหาไดและได ตรวจสอบความเหมาะสมและความครบถวนของขอมูลที่เปดเผยใน หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ในการจั ด ทำงบการเงิ น ผู  บ ริ ห ารรั บ ผิ ด ชอบในการประเมิ น ความ สามารถของกลุมบริษัทในการดำเนินงานตอเนื่อง การเปดเผยเรื่อง ที่เกี่ยวกับการดำเนินงานตอเนื่องในกรณีที่มีเรื่องดังกลาวและการ ใชเกณฑการบัญชีสำหรับกิจการที่ดำเนินงานตอเนื่องเวนแตผูบริหาร มีความตั้งใจที่จะเลิกกลุมบริษัทหรือหยุดดำเนินงานหรือไมสามารถ ดำเนินงานตอเนื่องอีกตอไปได

ขอมูลอื่น ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบตอขอมูลอื่น ซึ่งรวมถึงขอมูลที่รวมอยูใน รายงานประจำปของกลุมบริษัท (แตไมรวมถึงงบการเงินและรายงาน ขาพเจาไดประเมินการกำหนดหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด ของผูสอบ บัญชีที่แสดงอยูในรายงานนั้น) ซึ่งคาดวาจะถูกจัดเตรียม รวมถึงทำความเขาใจและทดสอบขอสมมติที่สำคัญที่ฝายบริหารเลือก ใหกับขาพเจาภายหลังวันที่ในรายงานของผูสอบบัญชีนี้ ใชในการประมาณการกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดรับในอนาคตจาก กลุ  ม สิ น ทรั พ ย ด ั ง กล า วและอั ต ราคิ ด ลดที ่ ใช โ ดยการสอบถาม ความเห็นของขาพเจาตองบการเงินไมครอบคลุมถึงขอมูลอื่นและ ผูร บั ผิดชอบทีเ่ กีย่ วของและวิเคราะหเปรียบเทียบกับแหลงขอมูลตางๆ ขาพเจาไมไดใหขอสรุปในลักษณะการใหความเชื่อมั่นในรูปแบบใดๆ ของกลุมบริษัทและของอุตสาหกรรม รวมถึงเปรียบเทียบประมาณ ตอขอมูลอื่นนั้น การกระแสเงินสดในอดีตกับผลการดำเนินงานทีเ่ กิดขึน้ จริงเพือ่ ประเมิน การใชดุลยพินิจของฝายบริหารในการประมาณการกระแสเงินสดที่ ความรับผิดชอบของขาพเจาที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงิน คาดวาจะไดรับในอนาคตดังกลาว นอกจากนี้ ขาพเจาไดสอบทานการ คือการอานและพิจารณาวาขอมูลอื่นนั้นมีความขัดแยงที่มีสาระสำคัญ เปดเผยขอมูลเกีย่ วกับการประเมินการดอยคาของคาความนิยม กับงบการเงินหรือกับความรูที่ไดรับจากการตรวจสอบของขาพเจา หรือไมหรือปรากฏวาขอมูลอื่นแสดงขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระ เครื่องมือทางการเงิน สำคัญหรือไม กลุมบริษัทไดเขาทำสัญญาเครื่องมือทางการเงินเพื่อปองกันความ เสี่ยงจากความผันผวนของราคายางพาราอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา เมื่อขาพเจาไดอานรายงานประจำปของกลุมบริษัทตามที่กลาวขาง ต า งประเทศและอั ต ราดอกเบี ้ ย ซึ ่ ง ทำกั บ คู  ส ั ญ ญาที ่ เ ป น สถาบั น ต น แล ว และหากสรุ ปได ว  า มี ก ารแสดงข อ มู ล ที ่ ข ั ด ต อ ข อ เท็ จ จริง การเงินจำนวนหลายรายและแสดงมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทาง อันเปนสาระสำคัญ ขาพเจาจะสื่อสารเรื่องดังกลาวใหผูมีหนาที่ในการ การเงิ น ดั ง กล า วในงบแสดงฐานะการเงิ น รวมถึ ง บั น ทึ ก กำไรหรื อ กำกับดูแลทราบเพื่อใหมีการดำเนินการแกไขที่เหมาะสมตอไป ขาดทุ น จากเครื ่ อ งมื อ ทางการเงิ น เป น จำนวนที ่ ม ี ส าระสำคั ญ ใน งบกำไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ ในการประเมิ น มู ล ค า ยุ ต ิ ธ รรมของ ความรับผิดชอบของผูบริหารและผูมีหนาที่ในการกำกับดูแลตอ เครื่องมือทางการเงินดังกลาวฝายบริหารอางอิงเทคนิคและแบบ งบการเงิน จำลองการประเมินมูลคาที่แนะนำโดยคูสัญญาเหลานั้น ซึ่งขอมูล ผูบริหารมีหนาที่รับผิดชอบในการจัดทำและนำเสนองบการเงินเหลา ที่นำมาใชในการประเมินมูลคาสวนใหญเปนขอมูลที่สามารถสังเกตได นี้โดยถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับ ในตลาดที่เกี่ยวของดังนั้นความแตกตางของสมมติฐานที่เกี่ยวของ ผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริหารพิจารณาวาจำเปนเพื่อ กับขอมูลที่ใชในการคำนวณ จึงอาจมีผลกระทบตอมูลคายุติธรรม ใหสามารถจัดทำงบการเงินที่ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จ ที่แสดงอยูในงบการเงิน จริงอันเปนสาระสำคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด

120

รายงานประจำป 2561

ผูมีหนาที่ในการกำกับดูแลมีหนาที่ในการสอดสองดูแลกระบวนการใน การจัดทำรายงานทางการเงินของกลุมบริษัท


• ประเมิ น การนำเสนอ โครงสร า งและเนื ้ อ หาของงบการเงิ น ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงิน โดยรวม รวมถึงการเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของ ตลอดจนประเมิน การตรวจสอบของขาพเจามีวัตถุประสงคเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยาง ว า งบการเงิ น แสดงรายการและเหตุ ก ารณ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น โดย สมเหตุสมผลวางบการเงินโดยรวมปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอ ถูกตองตามที่ควรหรือไม ขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไมไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือ ขอผิดพลาดและเสนอรายงานของผูสอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของ ขาพเจาอยูดวย ความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นใน • รวบรวมเอกสารหลั ก ฐานการสอบบั ญ ชี ท ี ่ เ หมาะสมอย า ง เพียงพอเกี่ยวกับขอมูลทางการเงินของกิจการหรือของกิจกรรม ระดับสูงแตไมไดเปนการรับประกันวาการปฏิบัติงานตรวจสอบตาม ทางธุรกิจภายในกลุมบริษัทเพื่อแสดงความเห็นตองบการเงิน มาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริง รวม ขาพเจารับผิดชอบตอการกำหนดแนวทาง การควบคุมดูแล อันเปนสาระสำคัญที่มีอยูไดเสมอไปขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอาจเกิด และการปฏิบตั งิ านตรวจสอบกลุม บริษทั จากการทุจริตหรือขอผิดพลาดและถือวามีสาระสำคัญเมื่อคาดการณ อยางสมเหตุสมผลไดวารายการที่ขัดตอขอเท็จจริงแตละรายการหรือ ทุกรายการรวมกันจะมีผลตอการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผูใ ชงบการ ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบแตเพียงผูเดียวตอความเห็นของขาพเจา ข า พเจ า ได ส ื ่ อ สารกั บ ผู  ม ี ห น า ที ่ ใ นการกำกั บ ดู แ ลในเรื ่ อ งต า งๆ เงินจากการใชงบการเงินเหลานี้ ซึ ่ ง รวมถึ ง ขอบเขตและช ว งเวลาของการตรวจสอบตามที ่ ไ ด ในการตรวจสอบของขาพเจาตามมาตรฐานการสอบบัญชี ขาพเจาใช วางแผนไว ป ระเด็ น ที ่ ม ี น ั ย สำคั ญ ที ่ พ บจากการตรวจสอบรวมถึ ง ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพตลอดการ ขอบกพรองที่มีนัยสำคัญในระบบ การควบคุมภายในหากขาพเจา ไดพบในระหวางการตรวจสอบของขาพเจา ตรวจสอบและขาพเจาไดปฏิบัติงานดังตอไปนี้ดวย • ระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจมีการแสดงขอมูลที่ขัดตอ ขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญในงบการเงินไมวาจะเกิดจาก ขาพเจาไดใหคำรับรองแกผูมีหนาที่ในการกำกับดูแลวาขาพเจาได การทุจริตหรือขอผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการ ปฏิบัติตามขอกำหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวของกับความเปนอิสระและ ตรวจสอบเพื่อตอบสนอง ตอความเสี่ยงเหลานั้นและไดหลักฐาน ได ส ื ่ อ สารกั บ ผู  ม ี ห น า ที ่ ใ นการกำกั บ ดู แ ลเกี ่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ การสอบบั ญ ชี ท ี ่ เ พี ย งพอและเหมาะสมเพื ่ อ เป น เกณฑ ทั ้ ง หมดตลอดจนเรื ่ อ งอื ่ น ซึ ่ ง ข า พเจ า เชื ่ อ ว า มี เ หตุ ผ ลที ่ บ ุ ค คลภาย ในการแสดงความเห็นของขาพเจา ความเสี่ยงที่ไมพบขอมูล นอกอาจพิ จ ารณาว า กระทบต อ ความเป น อิ ส ระของข า พเจ า และ ที ่ ข ั ด ต อ ข อ เท็ จ จริ ง อั น เป น สาระสำคั ญ ซึ ่ ง เป น ผลมาจาก มาตรการที่ขาพเจาใชเพื่อปองกันไมใหขาพเจาขาดความเปนอิสระ การทุจริตจะสูงกวาความเสี่ยงที่เกิดจากขอผิดพลาด เนื่องจาก การทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรูรวมคิดการปลอมแปลงเอกสาร จากเรื่องทั้งหลายที่สื่อสารกับผูมีหนาที่ในการกำกับดูแลขาพเจา หลักฐาน การตั้งใจละเวนการแสดงขอมูลการแสดงขอมูลที่ไม ไดพิจารณาเรื่องตางๆ ที่มีนัยสำคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินใน งวดปจจุบันและกำหนดเปนเรื่องสำคัญในการตรวจสอบขาพเจาได ตรงตามขอเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน อธิบายเรื่องเหลานี้ไวในรายงานของผูสอบบัญชี เวนแตกฎหมาย • ทำความเขาใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับ หรือขอบังคับหามไมใหเปดเผยเรื่องดังกลาวตอสาธารณะ หรือใน การตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบใหเหมาะสมกับ สถานการณที่ยากที่จะเกิดขึ้นขาพเจาพิจารณาวาไมควรสื่อสารเรื่อง สถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอ ดังกลาวในรายงานของขาพเจาเพราะการกระทำดังกลาวสามารถ คาดการณไดอยางสมเหตุสมผลวาจะมีผลกระทบในทางลบมากกวา ความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุมบริษัท ผลประโยชนที่ผูมีสวนไดเสียสาธารณะจะไดจากการสื่อสารดังกลาว • ประเมิ น ความเหมาะสมของนโยบายการบั ญ ชี ท ี ่ ผ ู  บ ริ ห าร ใช แ ละความสมเหตุ ส มผลของประมาณการทางบั ญ ชี แ ละ ขาพเจาเปนผูร บั ผิดชอบงานสอบบัญชีและการนำเสนอรายงานฉบับนี้ การเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของที่ผูบริหารจัดทำ ศุภชัย ปญญาวัฒโน • สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใชเกณฑการบัญชีสำหรับ ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3930 กิ จ การที ่ ด ำเนิ น งานต อ เนื ่ อ งของผู  บ ริ ห าร และสรุ ป จาก หลักฐานการสอบบัญชีที่ไดรับวามีความไมแนนอนที่มีสาระ บริษัท สำนักงาน อีวาย จำกัด สำคั ญ ที ่ เ กี ่ ย วกั บ เหตุ ก ารณ ห รื อ สถานการณ ท ี ่ อ าจเป น เหตุ กรุงเทพฯ: 28 กุมภาพันธ 2562 ใหเกิดขอสงสัยอยางมีนัยสำคัญตอความสามารถของกลุมบริษัท ในการดำเนิ น งานต อ เนื ่ อ งหรื อ ไม หากข า พเจ า ได ข  อ สรุ ป วามีความไมแนนอนที่มีสาระสำคัญขาพเจาจะตองใหขอสังเกต ไวในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจาถึงการเปดเผยขอมูล ที่เกี่ยวของในงบการเงินหรือหากเห็นวาการเปดเผยดังกลาว ไมเพียงพอ ขาพเจาจะแสดงความเห็นที่เปลี่ยนแปลงไปขอสรุป ของขาพเจาขึ้นอยูกับหลักฐานการสอบบัญชีที่ไดรับจนถึงวันที่ ในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจา อยางไรก็ตามเหตุการณ หรือสถานการณในอนาคตอาจเปนเหตุใหกลุมบริษัทตองหยุด การดำเนินงานตอเนื่องได บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

121


งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

122

รายงานประจำป 2561


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

123


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

124

รายงานประจำป 2561


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

125


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561

126

รายงานประจำป 2561


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

127

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย


128

รายงานประจำป 2561

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน (ตอ) สำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

129


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด (ตอ) สำหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2561

130

รายงานประจำป 2561


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

1. ขอมูลทั่วไป

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) เปนบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิลำเนาในประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัท คือการผลิตและจำหนายผลิตภัณฑที่เกี่ยวของกับยางพาราธรรมชาติ เชน ยางแผนรมควัน น้ำยางขน ยางแทง ถุงมือ และผลิตภัณฑอื่น ๆ นอกจากนี้ กลุมบริษัทยังไดดำเนินธุรกิจการใหบริการทางวิศวกรรม และขนสง ที่อยูตามที่จดทะเบียนของบริษัทอยูที่ เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย 2. เกณฑในการจัดทำงบการเงิน

2.1 งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบ การเงินตามขอกำหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับที่บริษัทใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับ ภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ไดจัดทำขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑในการจัดทำงบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ไดจัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัท”) และบริษัทยอย (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทยอย”) ดังตอไปนี้ ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

อัตรารอยละของการถือหุน 2561 (รอยละ)

2560 (รอยละ)

100.00 90.00 99.94 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 100.00 90.23

100.00 90.00 99.94 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 100.00 90.23

บริษัทยอย Sri Trang USA, Inc. PT Sri Trang Lingga Indonesia บริษัท อันวารพาราวูด จำกัด บริษัท รับเบอรแลนดโปรดักส จำกัด บริษัท หน่ำฮั่วรับเบอร จำกัด บริษัท สะเดา พี.เอส. รับเบอร จำกัด บริษัท สตารเท็กซ รับเบอร จำกัด บริษัท พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด บริษัท สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต จำกัด บริษัท ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น จำกัด Shi Dong Shanghai Rubber Co., Ltd. บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด

จัดจำหนายผลิตภัณฑยางพารา ผลิตผลิตภัณฑยางแทง ผลิตไมยางพารา ผลิตผลิตภัณฑยางพารา ผลิตผลิตภัณฑยางพารา ผลิตผลิตภัณฑยางพารา ลงทุน วิศวกรรมบริการ บริการขนสง สวนยางพารา จัดจำหนายผลิตภัณฑยางพารา ผลิตถุงมือที่ใชในทางการแพทย

ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศจีน ประเทศไทย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

131


ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

อัตรารอยละของการถือหุน 2561 (รอยละ)

2560 (รอยละ)

ประเทศสิงคโปร

99.99

99.99

ประเทศสิงคโปร

99.99

99.99

ประเทศอินโดนีเซีย

98.99

98.99

ประเทศเวียดนาม

99.99

99.99

ประเทศเมียนมา

58.99

58.99

ประเทศจีน

99.99

99.99

บริษัทยอยทางออม Sri Trang International Pte Ltd. (ถือหุนโดย บริษัท สตารเท็กซ รับเบอร จำกัด) จัดจำหนายผลิตภัณฑยางพารา Shi Dong Investments Pte Ltd. (ถือหุนโดย Sri Trang International Pte Ltd.) ลงทุน PT Star Rubber (ถือหุนโดย Shi Dong Investments Pte Ltd.) ผลิตผลิตภัณฑยางแทง Sri Trang Indochina (Vietnam) Co., Ltd. (ถือหุนโดย Sri Trang International Pte Ltd.) จัดจำหนายผลิตภัณฑยางพารา Sri Trang Ayeyar Rubber Industry Co., Ltd. (ถือหุนโดย Sri Trang International Pte Ltd.) ผลิตผลิตภัณฑยางแทง Shidong Shanghai Medical Equipment Co., Ltd. (ถือหุนโดย บริษัท สตารเท็กซ รับเบอร จำกัด) จัดจำหนายถุงมือยาง

เพื่อวัตถุประสงคในการรายงานขอมูล จึงรวมเรียกบริษัทและบริษัทยอยวา “กลุมบริษัท” ข) บริษัทจะถือวามีการควบคุมกิจการที่เขาไปลงทุนหรือบริษัทยอยได หากบริษัทมีสิทธิไดรับหรือมีสวนไดเสียในผลตอบแทนของกิจการ ที่เขาไปลงทุน และสามารถใชอำนาจในการสั่งการกิจกรรมที่สงผลกระทบอยางมีนัยสำคัญตอจำนวนเงินผลตอบแทนนั้นได ค) บริษัทนำงบการเงินของบริษัทยอยมารวมในการจัดทำงบการเงินรวมตั้งแตวันที่บริษัทมีอำนาจในการควบคุมบริษัทยอยจนถึงวันที่ บริษัทสิ้นสุดการควบคุมบริษัทยอยนั้น ง) งบการเงินของบริษัทยอยไดจัดทำขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีที่สำคัญเชนเดียวกันกับของบริษัท จ) สินทรัพยและหนี้สินตามงบการเงินของบริษัทยอยซึ่งจัดตั้งในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน สวนรายไดและคาใชจายแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือน ผลตางซึ่งเกิดขึ้นจากการ แปลงคาดังกลาวไดแสดงไวเปนรายการ “ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลง สวนของผูถือหุน ฉ) ยอดคงคางระหวางกลุมบริษัท รายการคาระหวางกันที่มีสาระสำคัญไดถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แลว ช) สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม คือ จำนวนกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยสวนที่ไมไดเปนของบริษัท และแสดงเปนรายการแยกตางหากในสวนของกำไรหรือขาดทุนรวมและสวนของผูถือหุนในงบแสดงฐานะการเงินรวม 2.3 บริษัทจัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอย การรวมคาและบริษัทรวมตามวิธีราคาทุน 3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม

ก. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับใชในปปจจุบัน ในระหวางป กลุมบริษัทไดนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2560) จำนวนหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใชสำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2561 มาถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวไดรับการปรับปรุงหรือจัดใหมีขึ้นเพื่อใหมีเนื้อหาเทาเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระหว า งประเทศ โดยส ว นใหญ เ ป น การปรั บ ปรุ ง และอธิ บ ายให ช ั ด เจนเกี ่ ย วกั บ การเป ด เผยข อ มู ล ในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น การนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวมาถือปฏิบัตินี้ไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงินของกลุมบริษัท ข. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับใชสำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2562 สภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศใชมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรับปรุง 2561) และฉบับใหม ซึ่งมีผลบังคับใชสำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2562 มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินดังกลาวไดรับการปรับปรุงหรือจัดใหมีขึ้นเพื่อใหมีเนื้อหาเทาเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศ โดยสวนใหญเปนการอธิบายใหชัดเจนเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติทางการบัญชีและการใหแนวปฏิบัติทางบัญชีกับผูใชมาตรฐาน ฝายบริหารของกลุมบริษัทเชื่อวามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุงดังกลาวจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงิน เมื่อนำมาถือปฏิบัติ อยางไรก็ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหมซึ่งไดมีการเปลี่ยนแปลงหลักการสำคัญ สามารถสรุปไดดังนี้ 132

รายงานประจำป 2561


มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบั บ ที ่ 15 เรื ่ อ ง รายได จ าก ค. มาตรฐานการรายงานทางการเงินกลุมเครื่องมือทางการเงิน สัญญาที่ทำกับลูกคา ที่จะมีผลบังคับใชสำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบั บ ที ่ 15 ใช แ ทนมาตรฐาน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2563 การบัญชีและการตีความมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวของตอไปนี้ ในระหว า งป ป  จ จุ บ ั น สภาวิ ช าชี พ บั ญ ชี ไ ด ป ระกาศใช ม าตรฐาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2560) การรายงานทางการเงิน กลุมเครื่องมือทางการเงิน ประกอบดวย เรื่อง สัญญากอสราง มาตรฐานและการตีความมาตรฐาน จำนวน 5 ฉบับ ไดแก มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2560) ฉบับที่ 7 การเปดเผยขอมูลเครื่องมือทางการเงิน เรื่อง รายได ฉบับที่ 9 เครื่องมือทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2560) ฉบับที่ 32 การแสดงรายการเครื่องมือทางการเงิน เรื่อง รายได - รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 การปองกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหนวย การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 งานตางประเทศ (ปรับปรุง 2560) เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา ฉบับที่ 19 การชำระหนี้สินทางการเงินดวยตราสารทุน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง สัญญาสำหรับการกอสรางอสังหา ริมทรัพย การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา

มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น กลุ  ม ดั ง กล า วข า งต น กำหนด หลักการเกี่ยวกับการจัดประเภทและการวัดมูลคาเครื่องมือทางการ เงินดวยมูลคายุติธรรมหรือราคาทุนตัดจำหนายโดยพิจารณาจาก ประเภทของตราสารทางการเงินลักษณะของกระแสเงินสดตามสัญญา และแผนธุ ร กิ จ ของกิ จ การ (Business Model) หลั ก การเกี ่ ย วกั บ วิธีการคำนวณการดอยคาของเครื่องมือทางการเงินโดยใชแนวคิดของ ผลขาดทุ น ด า นเครดิ ต ที ่ ค าดว า จะเกิ ด ขึ ้ น และหลั ก การเกี ่ ย วกั บ การบัญชีปองกันความเสี่ยงรวมถึงการแสดงรายการและการเปดเผย ขอมูลเครื่องมือทางการเงิน และเมื่อมาตรฐานการรายงานทางการ เงิ น กลุ  ม นี ้ ม ี ผ ลบั ง คั บ ใช จะทำให ม าตรฐานการบั ญ ชี การตี ค วาม มาตรฐานการบัญชีและแนวปฏิบัติทางการบัญชีบางฉบับที่มีผลบังคับ ใชอยูในปจจุบันถูกยกเลิกไป

กิ จ การต อ งใช ม าตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบั บ ที ่ 15 กับสัญญาที่ทำกับลูกคาทุกสัญญา ยกเวนสัญญาที่อยูในขอบเขต ของมาตรฐานการบั ญ ชี ฉ บั บ อื ่ น มาตรฐานฉบั บ นี ้ ไ ด ก ำหนดหลั ก การ 5 ขั ้ น ตอนสำหรั บ การรั บ รู  ร ายได ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากสั ญ ญาที ่ ท ำ กั บ ลู ก ค า โดยกิ จ การจะรั บ รู  รายได ใ นจำนวนเงิ น ที ่ ส ะท อ นถึ ง สิ ่ ง ตอบแทนที่กิจการคาดวาจะมีสิทธิไดรับจากการแลกเปลี่ยนสินคา หรื อ บริ ก ารที ่ ไ ด ส  ง มอบให แ ก ล ู ก ค า และกำหนดให ก ิ จ การต อ ง ปจจุบันฝายบริหารของกลุมบริษัทอยูระหวางการประเมินผลกระทบ ใชดุลยพินิจและพิจารณาขอเท็จจริงและเหตุการณที่เกี่ยวของทั้ง ที่อาจมีตองบการเงินในปที่เริ่มนำมาตรฐานกลุมดังกลาวมาถือปฏิบัติ หมดในการพิจารณาตามหลักการในแตละขั้นตอน ฝายบริหารของกลุมบริษัทไดพิจารณาถึงผลกระทบของมาตรฐาน รายงานทางการเงินดังกลาวแลววาไมมีสาระสำคัญตองบการเงิน เมื่อนำมาปฏิบัติใช

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

133


4. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ

4.1 การรับรูรายได กลุมบริษัทรับรูรายไดก็ตอเมื่อกิจการสามารถวัดมูลคาของรายได และต น ทุ น ที ่ เ กี ่ ย วข อ งได อ ย า งน า เชื ่ อ ถื อ และมี ค วามเป น ไปได ค อ นข า งแน น อนที ่ ก ิ จ การจะได ร ั บ ประโยชน เชิ ง เศรษฐกิ จ ใน อนาคตที่เกี่ยวของกับรายการคาดังตอไปนี้ ขายสินคา รายได จ ากการขายสิ น ค า รั บ รู  เ มื ่ อ กลุ  ม บริ ษ ั ท ได โ อนความเสี ่ ย ง และผลตอบแทนที ่ ม ี น ั ย สำคั ญ ของความเป น เจ า ของสิ น ค า ให ก ั บ ผู  ซ ื ้ อ แล ว รายได จ ากการขายแสดงมู ล ค า ตามราคาในใบกำกั บ สินคาโดยไมรวมภาษีมูลคาเพิ่มสำหรับสินคาที่ไดสงมอบหลังจาก หักสวนลดและการรับคืนแลว

4.4 สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงดวยราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแต ราคาใดจะต่ ำ กว า ราคาทุ น ของสิ น ค า คงเหลื อ คำนวณโดยวิ ธ ี ถ ั ว เฉลี่ยถวงน้ำหนัก ตนทุนของการซื้อประกอบดวยราคาซื้อ และคา ใชจายที่เกี่ยวของโดยตรงกับการซื้อสินคานั้น เชน คาอากรขาเขา และคาขนสง หักดวยสวนลดที่เกี่ยวของทั้งหมด หรือเงินที่ใหรับ คืนจากการจายเงินตามเงื่อนไข ตนทุนของสินคาสำเร็จรูปและงานระหวางทำวัดมูลคาตามวิธีตน ทุ น มาตรฐานซึ ่ ง ใกล เ คี ย งกั บ ต น ทุ น จริ ง ซึ ่ ง ประกอบด ว ยต น ทุ น วัตถุดิบแรงงานและคาโสหุยในการผลิตซึ่งปนสวนตามเกณฑการ ดำเนิ น งานตามปกติ แต ไ ม ร วมต น ทุ น การกู  ย ื ม สำหรั บ วั ต ถุ ด ิ บ สารเคมีอะไหลและวัสดุโรงงานจะถือเปนสวนหนึ่งของตนทุนการ ผลิตเมื่อมีการเบิกใช

รายไดคาบริการ รายได ค  า บริ ก ารรั บ รู  เ มื ่ อ ได ใ ห บ ริ ก ารแล ว โดยพิ จ ารณาถึ ง ขั ้ น มู ล ค า สุ ท ธิ ท ี ่ จ ะได ร ั บ ประมาณจากราคาปกติ ท ี ่ ค าดว า จะขายได ความสำเร็จของงาน ตามปกติ ข องธุ ร กิ จ หั ก ด ว ยค า ใช จ  า ยที ่ จ ำเป น เพื ่ อ ให ส ิ น ค า นั ้ น สำเร็ จ รู ป รวมถึ ง ค า ใช จ  า ยในการขายสิ น ค า นั ้ น ได กลุ  ม บริ ษ ั ท ดอกเบี้ยรับ บั น ทึ ก บั ญ ชี ค  า เผื ่ อ การลดมู ล ค า ของสิ น ค า เก า ล า สมั ย หรื อ ดอกเบี ้ ย รั บ ถื อ เป น รายได ต ามเกณฑ ค งค า งโดยคำนึ ง ถึ ง อั ต ราผล เสื่อมคุณภาพ ตอบแทนที่แทจริง เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อกลุมบริษัทมีสิทธิในการรับเงินปน ผล รายไดคาเชา รายไดคาเชารับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคำนวณตามวิธี เสนตรง ตลอดอายุสัญญาเชาที่เกี่ยวของ 4.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงิ น สดและรายการเที ย บเท า เงิ น สด หมายถึ ง เงิ น สดและ เงิ น ฝากธนาคาร และเงิ น ลงทุ น ระยะสั ้ น ที ่ ม ี ส ภาพคล อ งสู ง ซึ ่ ง ถึ ง กำหนดจ า ยคื น ภายในระยะเวลาไม เ กิ น 3 เดื อ นนั บ จากวั น ที่ไดมาและไมมีขอจำกัดในการเบิกใช 4.3 ลูกหนี้การคา ลูกหนี้การคาแสดงมูลคาตามจำนวนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ บริษัท บั น ทึ ก ค า เผื ่ อ หนี ้ ส งสั ย จะสู ญ สำหรั บ ผลขาดทุ น โดยประมาณที ่ อาจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณา จากประสบการณการเก็บเงินและการวิเคราะหอายุหนี้

134

รายงานประจำป 2561


4.5 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคาแสดงตามมูลคายุติธรรม การเปลี่ยน แปลงในมูลคายุติธรรมของหลักทรัพยดังกลาวบันทึกในสวนของกำไร หรือขาดทุน

4.6 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน กลุมบริษัทวัดมูลคาเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวย ราคาทุนซึ่งรวมตนทุนการทำรายการ หลังจากนั้น กลุมบริษัทจะวัด มูลคาอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยมูลคายุติธรรมซึ่งประเมินโดย ผูประเมินอิสระกลุมบริษัทรับรูผลกำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการ ข) เงินลงทุนในหลักทรัพยเผือ่ ขายแสดงตามมูลคายุตธิ รรม การเปลีย่ น เปลี่ยนแปลงมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนในสวน แปลงในมูลคายุติธรรมของหลักทรัพยดังกลาวบันทึกในกำไรขาดทุน ของกำไรหรือขาดทุนในปที่เกิดขึ้น เบ็ดเสร็จอื่น และจะบันทึกในสวนของกำไรหรือขาดทุนเมื่อไดจำหนาย หลักทรัพยนั้นออกไป กลุมบริษัทรับรูผลตางระหวางจำนวนเงินที่ไดรับสุทธิจากการจำหนาย กับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยในสวนของกำไรหรือขาดทุนในปที่ตัด ค) เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะครบกำหนดชำระในหนึ่งป รวมทั้ง รายการอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนออกจากบัญชี ที่จะถือจนครบกำหนดแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุนตัดจำหนาย กลุม บริษัทตัดบัญชีสวนเกิน/รับรูสวนต่ำกวามูลคาตราสารหนี้ตามอัตรา เมื ่ อ มี ก ารเปลี ่ ย นแปลงการใช ง านของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ห ากโอน ดอกเบี้ยที่แทจริง ซึ่งจำนวนที่ตัดจำหนาย/รับรูนี้จะแสดงเปนรายการ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนที่บันทึกดวยมูลคายุติธรรมไปเปน ปรับกับดอกเบี้ยรับ อสังหาริมทรัพยที่มีไวใชงานหรือสินคาคงเหลือ กลุมบริษัทใชมูลคา ยุ ต ิ ธ รรม ณ วั น ที ่ ม ี ก ารเปลี ่ ย นแปลงการใช ง านเป น ราคาทุ น ของ ง) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไมอยูในความตองการของตลาดถือเปน อสังหาริมทรัพยหากอสังหาริมทรัพยที่มีไวใชงานไดโอนเปลี่ยนมาเปน เงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงในราคาทุนสุทธิจากคาเผื่อการดอยคา (ถามี) อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนซึ่งบันทึกดวยมูลคายุติธรรมกลุมบริษัท รับรูผลตางที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย จ) เงินลงทุนในการรวมคาและบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินรวม นั้นกับมูลคายุติธรรม ณ วันที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชงานดวยวิธีการ แสดงมูลคาตามวิธีสวนไดเสีย เดียวกับการตีราคาใหมตามที่กำหนดในนโยบายการบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณ ฉ) เงินลงทุนในบริษัทยอย การรวมคาและบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบ การเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุนสุทธิจากคาเผื่อการ 4.7 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ดอยคา (ถามี) ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารและอุปกรณแสดงมูลคา ตามราคาทุน/ราคาที่ตีใหมหักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการ มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยในความตองการของตลาดคำนวณจาก ดอยคาของสินทรัพย (ถามี) ราคาเสนอซือ้ หลังสุด ณ สิน้ วันทำการสุดทายของป สวนมูลคายุตธิ รรม ของตราสารหนี้คำนวณโดยใชอัตราผลตอบแทนที่ประกาศโดยสมาคม ตนทุนที่เกิดขึ้นในภายหลังอาจรวมตนทุนในการเปลี่ยนแทนสวน ตลาดตราสารหนี้ไทยมูลคายุติธรรมของหนวยลงทุนคำนวณจากมูลคา ประกอบของอาคารและอุปกรณเมื่อตนทุนนั้นเกิดขึ้นและคาดวาจะ สินทรัพยสุทธิของหนวยลงทุน ให ป ระโยชน เชิ ง เศรษฐกิ จ ในอนาคตแก ก ลุ  ม บริ ษ ั ท และต น ทุ น ดังกลาวสามารถวัดมูลคาไดอยางนาเชื่อถือ มูลคาตามบัญชีของชิ้น กลุมบริษัทใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักในการคำนวณตนทุนของเงิน สวนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดรายการออกสำหรับคาซอมแซมและ ลงทุน บำรุงรักษาอื่น ๆ กลุมบริษัทจะรับรูตนทุนดังกลาวเปนคาใชจายใน กำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ในกรณี ท ี ่ ม ี ก ารโอนเปลี ่ ย นประเภทเงิ น ลงทุ น จากประเภทหนึ ่ ง ไปเปนอีกประเภทหนึ่ง กลุมบริษัทจะปรับมูลคาของเงินลงทุนดัง กลุมบริษัทบันทึกมูลคาเริ่มแรกของที่ดินและอาคารในราคาทุน ณ กลาวใหมโดยใชมูลคายุติธรรม ณ วันที่โอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน วันที่ไดสินทรัพยมา หลังจากนั้นกลุมบริษัทจัดใหมีการประเมินราคา ผลแตกตางระหวางราคาตามบัญชีและมูลคายุติธรรม ณ วันที่โอน ที่ดินและอาคารโดยผูประเมินราคาอิสระและบันทึกสินทรัพยดังกลาว จะบันทึกในสวนของกำไรหรือขาดทุนหรือแสดงเปนองคประกอบอื่น ในราคาที่ประเมินใหม ทั้งนี้กลุมบริษัทจัดใหมีการประเมินราคา ของสวนของผูถือหุนแลวแตประเภทของเงินลงทุนที่มีการโอนเปลี่ยน สินทรัพยดังกลาวเปนครั้งคราวเพื่อมิใหราคาตามบัญชี ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงานแตกตางจากมูลคายุติธรรมอยางมีสาระสำคัญ เมื่อมีการจำหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับ กับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุนจะถูกบันทึกในสวนของกำไรหรือ กลุมบริษัทบันทึกสวนตางซึ่งเกิดจากการประเมินราคาสินทรัพยดัง ขาดทุน ตอไปนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

135


• กลุ  ม บริ ษ ั ท บั น ทึ ก ราคาตามบั ญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย ท ี ่ เ พิ ่ ม ขึ ้ น จาก การประเมินราคาใหมในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและรับรูจำนวนสะส มในบั ญ ชี “ส ว นเกิ น ทุ น จากการประเมิ น ราคาสิ น ทรั พ ย ” ในส ว น ของผูถือหุน อยางไรก็ตามหากสินทรัพยนั้นเคยมีการประเมินราคา ลดลงและกลุมบริษัทไดรับรูราคาที่ลดลงในสวนของกำไรหรือขาดทุน แลว สวนทีเ่ พิม่ จากการประเมินราคาใหมนจ้ี ะถูกรับรูเ ปนรายไดไมเกิน จำนวนที่เคยลดลงซึ่งรับรูเปนคาใชจายปกอนแลว

4.8 สวนยางพาราและสวนปาลม กลุมบริษัทมีพืชเพื่อการใหผลิตผลไดแก ตนยางพาราที่ปลูกเพื่อ กรี ด น้ ำ ยาง และต น ปาล ม ซึ ่ ง แสดงมู ล ค า ตามราคาทุ น หั ก ค า ตั ด จำหนายสะสมและคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) ตนทุนสวนใหญประกอบดวย การปรับสภาพพื้นที่ การปรับหนาดิน และการทำรองน้ำ การปลูก การปราบวัชพืชและการใสปุย ซึ่งเปน ตนทุนที่เกี่ยวของกับการปลูกตั้งแตยังไมใหผลผลิตจนกระทั่งตน ยางพาราและตนปาลมใหผลผลิต(ซึ่งตนยางใชระยะเวลาโดยประมาณ 7 ป และตนปาลมใชระยะเวลา 2 - 3 ป) ถือเปนตนทุนของสวนยาง พาราและสวนปาลมกลุมบริษัทตัดจำหนายสวนยางพาราและสวน ปาลมที่ใหผลเปนตนทุนการผลิตหลังจากที่ตนยางและตนปาลมให ผลผลิต โดยใชวิธีเสนตรงภายในระยะเวลา 25 ป

• กลุมบริษัทรับรูราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่ลดลงจากการประเมิน ราคาใหมในสวนของกำไรหรือขาดทุน อยางไรก็ตาม หากสินทรัพย นั ้ น เคยมี ก ารประเมิ น ราคาเพิ ่ ม ขึ ้ น และยั ง มี ย อดคงค า งของบั ญ ชี “สวนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย” อยูในสวนของผูถือหุน สวนที่ลดลงจากการประเมินราคาใหมจะถูกรับรูในกำไรขาดทุนเบ็ด เสร็จอื่นในจำนวนที่ไมเกินยอดคงเหลือของบัญชี “สวนเกินทุนจาก คาตัดจำหนายรับรูเปนคาใชจายในสวนกำไรขาดทุน การประเมินราคาสินทรัพย” ไมมีการตัดจำหนายสำหรับตนทุนสวนยางพาราที่ยังไมใหน้ำยาง คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคำนวณจากราคาทุนหรือราคาที่ และตนปาลมที่ยังไมใหผล ตีใหมโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชนโดยประมาณดังนี้ สินทรัพยชีวภาพคือน้ำยางที่อยูในตนยางพาราและผลปาลมที่อยูบน สวนปรับปรุงที่ดิน - 5 - 30 ป ต น ซึ ่ ง จะถู ก วั ด มู ล ค า ด ว ยมู ล ค า ยุ ต ิ ธ รรมหั ก ต น ทุ น ในการขาย อาคารและสิ่งปลูกสราง - 20 - 40 ป ณ จุดเก็บเกี่ยว เครื่องจักรและอุปกรณ - 5 - 10 ป ผลิตผลทางการเกษตรทีเ่ ก็บเกีย่ วจากสินทรัพยชวี ภาพ ของกลุม บริษทั เครื่องตกแตง ติดตั้ง และเครื่องใชสำนักงาน - 3 - 5 ป ได แ ก น ้ ำ ยางพาราและผลปาล ม ที ่ เ ก็ บ เกี ่ ย วซึ ่ ง ต อ งวั ด ด ว ยมู ล ค า ยานพาหนะ - 5 ป ยุติธรรมหักตนทุนในการขาย ณ จุดเก็บเกี่ยว คาเสื่อมราคารวมอยูในสวนของกำไรหรือขาดทุน ผลกำไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของ สินทรัพยชีวภาพและผลิตผลทางการเกษตรบันทึกในสวนของกำไร ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสินทรัพยระหวางติดตั้ง หรือขาดทุน กลุ  ม บริ ษ ั ท ตั ด รายการที ่ ด ิ น อาคาร และอุ ป กรณ ออกจากบั ญ ชี เมื่อจำหนายสินทรัพยหรือคาดวาจะไมไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจใน 4.9 เงินกูยืมและตนทุนการกูยืม อนาคตจากการใชหรือการจำหนายสินทรัพยรายการผลกำไรหรือ เงินกูยืมประกอบดวยเงินกูยืมจากสถาบันการเงินและหุนกู เงินกูยืม ขาดทุนจากการจำหนายสินทรัพยจะรับรูในสวนของกำไรหรือขาดทุน รับรูเริ่มแรกดวยมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ไดรับหักดวยตนทุน การจัดทำรายการที่เกิดขึ้น เงินกูยืมวัดมูลคาในเวลาตอมาดวยวิธีราคา เมื่อกลุมบริษัทตัดรายการสินทรัพยนั้นออกจากบัญชี ทุ น ตั ด จำหน า ยตามวิ ธ ี อ ั ต ราดอกเบี ้ ย ที ่ แ ท จ ริ ง ผลต า งระหว า งสิ ่ ง กลุมบริษัทไดมีการทบทวนและปรับปรุงมูลคาคงเหลือและอายุการ ตอบแทน (สุทธิจากตนทุนการจัดทำรายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับ ใหประโยชนของสินทรัพยใหเหมาะสมทุกสิน้ รอบรอบระยะเวลารายงาน มูลคาที่จายคืนเพื่อชำระหนี้นั้นจะรับรูเปนกำไรขาดทุนตลอดชวงเวลา การกูยืม คาธรรมเนียมทีจ่ า ยไปเพือ่ ใหไดเงินกูม าจะรับรูเ ปนตนทุนการจัดทำราย การเงินกูในกรณีที่มีความเปนไปไดที่จะใชวงเงินกูบางสวนหรือทั้งหมด ในกรณีนี้คาธรรมเนียมจะรอการรับรูจนกระทั่งมีการถอนเงิน หาก ไมมีหลักฐานที่มีความเปนไปไดที่จะใชวงเงินบางสวนหรือทั้งหมด คาธรรมเนียมจะรับรูเ ปนคาใชจา ยจายลวงหนาสำหรับการใหบริการสภาพ คล อ งและจะตั ด จำหน า ยตามระยะเวลาของวงเงิ น กู  ท ี ่ เ กี ่ ย วข อ ง เงินกูยืมจัดประเภทเปนหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุมบริษัทไมมีสิทธิอัน ปราศจากเงื่อนไขใหเลื่อนชำระหนี้ออกไปอีกเปนเวลาไมนอยกวา 12 เดือน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ตนทุนการกูยืมของเงินกูที่ใชในการไดมา การกอสราง หรือการผลิต สินทรัพยทต่ี อ งใชระยะเวลานานในการแปลงสภาพใหพรอมใชหรือขาย ไดถูกนำไปรวมเปนราคาทุนของสินทรัพยจนกวาสินทรัพยนั้นจะอยูใน สภาพพรอมที่จะใชไดตามที่มุงประสงคสวนตนทุนการกูยืมอื่นถือเปน คาใชจายในงวดที่เกิดรายการตนทุนการกูยืมประกอบดวยดอกเบี้ย และตนทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูยืมนั้น 136

รายงานประจำป 2561


4.10 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน กลุ่มบริษัทจะบันทึกต้นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย์นั้นตามราคาทุน ภายหลังการรับรู้รายการเริ่มแรกสินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดงมูลค่าตาม ราคาทุนหักค่าตัดจำหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสมของ สินทรัพย์นั้น (ถ้ามี) กลุ่มบริษัทตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ จำกัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์ นั้นและจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่า สินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่ากลุม่ บริษทั จะทบทวนระยะเวลาการตัดจำ หน่ายและวิธกี ารตัดจำหน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปี เป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำหน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในส่วนของกำไรหรือ ขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำกัดมีดังนี้

คอมพิวเตอรซอฟตแวร

อายุการใหประโยชน 3 - 10 ป

4.11 การรวมธุรกิจและค่าความนิยม กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจโดยถือปฏิบัติตามวิธีซื้อ กลุ่มบริษัท (ผู้ซื้อ) วัดมูลค่าต้นทุนการซื้อธุรกิจด้วยผลรวมของสิ่ง ตอบแทนที่โอนให้ ซึ่งวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อสินทรัพย์ และหนี้สินที่ระบุได้ซึ่งได้จากการซื้อบริษัทย่อยจะถูกวัดมูลค่าเริ่มแรก ในวันที่ได้บริษัทย่อยนั้นมาที่มูลค่ายุติธรรม ในการรวมธุรกิจแต่ละครัง้ กลุม่ บริษทั วัดมูลค่าของส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำนาจ ควบคุมในผู้ถูกซื้อด้วยมูลค่ายุติธรรม หรือมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ ระบุได้ของผู้ถูกซื้อตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือโดยส่วนได้เสียที่ไม่มี อำนาจควบคุม

ประเมินมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสดแต่ละรายการ (หรือกลุ่มของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด เงินสด) หากมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อ ให้เกิดเงินสดต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชี กลุ่มบริษัทจะรับรู้ขาดทุนจาก การด้อยค่าในส่วนของกำไรหรือขาดทุน และกลุ่มบริษัทไม่สามารถ กลับบัญชีขาดทุนจากการด้อยค่าได้ในอนาคต 4.12 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุ ค คลหรื อ กิ จ การที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั น กั บ กลุ ่ ม บริ ษ ั ท หมายถึ ง บุ ค คล หรื อ กิ จ การที ่ ม ี อ ำนาจควบคุ ม กลุ ่ ม บริ ษ ั ท หรื อ ถู ก กลุ ่ ม บริ ษ ั ท ควบคุ ม ไม่ ว ่ า จะเป็ น โดยทางตรงหรื อ ทางอ้ อ มหรื อ อยู ่ ภ ายใต้ ก าร ควบคุมเดียวกันกับกลุ่มบริษัท นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัท ร่ ว มการร่ ว มค้ า และบุ ค คลหรื อ กิ จ การที ่ ม ี ส ิ ท ธิ อ อกเสี ย งโดยทาง ตรงหรือทางอ้อมซึ่งทำให้มีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญต่อกลุ่ม บริษัท ผู้บริหารสำคัญกรรมการหรือพนักงานของกลุ่มบริษัทที่มี อำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของกลุ่มบริษัท 4.13 สัญญาเช่าระยะยาว - กรณีกลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า สัญญาเช่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทน ของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญา เช่ า การเงิ น สั ญญาเช่ า การเงิ น จะบั น ทึ ก เป็ น รายจ่า ยฝ่า ยทุนด้วย มู ล ค่ า ยุ ต ิ ธ รรมของสิ น ทรั พ ย์ ท ี ่ เช่ า หรื อ มู ล ค่ า ปั จ จุ บ ั น สุ ท ธิ ข อง จำนวนเงิ น ที ่ ต ้ อ งจ่ า ยตามสั ญ ญาเช่ า แล้ ว แต่ ม ู ล ค่ า ใดจะต่ ำ กว่ า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็น หนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในส่วนของกำไรหรือ ขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่า การเงิ น จะคิ ด ค่ า เสื ่ อ มราคาตลอดอายุ ก ารใช้ ง านของสิ น ทรั พ ย์ ท ี ่ เช่ า หรื อ อายุ ข องสั ญ ญาเช่ า แล้ ว แต่ ร ะยะเวลาใดจะต่ ำ กว่ า สัญญาเช่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทน ของความเป็ น เจ้ า ของส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ไ ด้ โ อนไปให้ ก ั บ ผู ้ เช่ า ถื อ เป็ น สัญญาเช่าดำเนินงาน จำนวนเงินที่จ่ายตามสัญญาเช่าดำเนินงาน รั บ รู ้ เ ป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยในส่ ว นของกำไรหรื อ ขาดทุ น ตามวิ ธ ี เ ส้ น ตรง ตลอดอายุของสัญญาเช่า

ในการรวมธุรกิจที่ดำเนินการสำเร็จจากการทยอยซื้อ ผู้ซื้อต้องวัด มูลค่าส่วนได้เสียที่ผู้ซื้อถืออยู่ในผู้ถูกซื้อก่อนหน้าการรวมธุรกิจใหม่ โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อและรับรู้ผลกำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้น จากการวัดมูลค่าใหม่นั้นในกำไรหรือขาดทุน 4.14 เงินตราต่างประเทศ บริ ษ ั ท แสดงงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิจการเป็นสกุล ต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับการซือ้ จะรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดขึน้ เงิ น บาท ซึ ่ ง เป็ น สกุ ล เงิ น ที ่ ใ ช้ ใ นการดำเนิ น งานของบริ ษ ั ท รายการต่างๆของแต่ละกิจการที่รวมอยู่ในงบการเงินรวมวัดมูลค่า กลุม่ บริษทั บันทึกมูลค่าเริ่มแรกของค่าความนิยมในราคาทุน ซึ่งเท่ากับ ด้ ว ยสกุ ล เงิ น ที ่ ใ ช้ ใ นการดำเนิ น งานของแต่ ล ะกิ จ การนั ้ น ต้นทุนการรวมธุรกิจส่วนที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ ได้มา หากมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ได้มาสูงกว่าต้นทุนการ รายการที ่ เ ป็ น เงิ น ตราต่ า งประเทศแปลงค่ า เป็ น เงิ น บาทโดยใช้ รวมธุรกิจกลุ่มบริษัทจะรับรู้ส่วนที่สูงกว่านี้เป็นกำไรในส่วนของกำไร อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็น หรือขาดทุน ตั ว เงิ น ซึ ่ ง อยู ่ ใ นสกุ ล เงิ น ตราต่ า งประเทศได้ แ ปลงค่ า เป็ น เงิ น บาท โดยใช้ อ ั ต ราแลกเปลี ่ ย น ณ วั น สิ ้ น รอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริษัทแสดงค่าความนิยมตามราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม หรื อ หากเป็ น รายการที ่ ไ ด้ ม ี ก ารทำสั ญ ญาตกลงอั ต ราแลกเปลี ่ ย น และจะทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมทุกปีหรือเมื่อใดก็ตามที่มี ล่วงหน้าไว้ ก็จะแปลงค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่ตกลงล่วงหน้า ข้อบ่งชี้ของการด้อยค่าเกิดขึ้น นั้น เพื่อวัตถุประสงค์ในการทดสอบการด้อยค่ากลุ่มบริษัทจะปันส่วนค่าค กําไรและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในส่วนของกำไร วามนิยมที่เกิดขึ้นจากการรวมกิจการให้กับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิด หรือขาดทุน เงินสด (หรือกลุ่มของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด)ที่คาดว่าจะ ได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้นจากการรวมกิจการ และกลุ่มบริษัทจะทำการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

137


4.15 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริษัทจะทำการประเมินการ ด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนอื่นของ กลุ่มบริษัทหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า และจะทำ การประเมินการด้อยค่าของค่าความนิยมเป็นรายปี กลุ่มบริษัทรับรู้ ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ มีมูลค่าต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่า จะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์ หรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่าในการประเมิน มูลค่าจากการใช้สินทรัพย์กลุ่มบริษัทประมาณการกระแสเงินสดใน อนาคตที ่ ก ิ จ การคาดว่ า จะได้ ร ั บ จากสิ น ทรั พ ย์ แ ละคำนวณคิ ด ลด เป็ น มู ล ค่ า ปั จ จุ บ ั น โดยใช้ อ ั ต ราคิ ด ลดก่ อ นภาษี ท ี ่ ส ะท้ อ นถึ ง การ ประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสดตามระยะเวลา และความเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กำลังพิจารณา อยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายกลุ่มบริษัท ใช้แบบจำลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจำนวนเงินที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจำหน่าย สินทรัพย์หักด้วยต้นทุนในการจำหน่าย โดยการจำหน่ายนั้นผู้ซื้อ กั บ ผู ้ ข ายมี ค วามรอบรู ้ แ ละเต็ ม ใจในการแลกเปลี ่ ย นและสามารถ ต่ อ รองราคากั น ได้ อ ย่ า งเป็ น อิ ส ระในลั ก ษณะของผู ้ ท ี ่ ไ ม่ ม ี ค วาม เกี่ยวข้องกัน

4.16 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน กลุ่มบริษัทรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกัน สังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ

หากในการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์มีข้อบ่งชี้ที่แสดงให้เห็นว่า ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่รับรู้ในงวดก่อนได้หมดไป หรือลดลง กลุ่มบริษัทจะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของ สินทรัพย์นั้นและจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู้ใน งวดก่อนก็ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้กำหนดมูลค่า ที่คาดว่าจะได้รับคืนภายหลังจากการรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่า ครั้งล่าสุด โดยมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการกลับ รายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าต้องไม่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีที่ควร จะเป็นหากกิจการไม่เคยรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ในงวดก่อนๆ กลุ่มบริษัทจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการ ด้อยค่าของสินทรัพย์โดยรับรู้ไปยังส่วนของกำไรหรือขาดทุนทันที เว้นแต่สินทรัพย์นั้นแสดงด้วยราคาที่ประเมินใหม่ให้กลับรายการผล ขาดทุน ดังกล่าวไปยังส่วนของกำไรหรือขาดทุน แต่ไม่เกินผลขาดทุน จากการด้ อ ยค่ าที ่ เ คยรั บ รู ้ สำหรับ ส่ว นที่เกิน กว่ามูลค่าตามบั ญชี ที่ควรจะเป็น ถือเป็นการประเมินราคาสินทรัพย์เพิ่ม

ต้นทุนบริการในอดีตจะถูกรับรู้ทั้งจำนวนในกำไรหรือขาดทุนทันทีที่มี การแก้ไขโครงการหรือลดขนาดโครงการ หรือเมื่อกิจการรับรู้ต้นทุน การปรับโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง

ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน กลุ่มบริษัทและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพซึ่ง ประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่กลุ่มบริษัทจ่ายสมทบ ให้เป็นรายเดือนสินทรัพย์ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสิ นทรัพย์ของกลุ่มบริษัทเงินที่กลุ่มบริษัทจ่ายสมทบกองทุนสำรอง เลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงวด ที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน กลุ่มบริษัทมีภาระสำหรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อ เกษียณอายุตามกฎหมายแรงงานของแต่ละประเทศ ซึ่งกลุ่มบริษัทถือ ว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน สำหรับพนักงาน

กลุ่มบริษัทคำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน ของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระได้ทำการประเมิน กลุ่มบริษัทจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในส่วนของกำไรหรือ ภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ขาดทุน ยกเว้นในกรณีที่ ที่ดินและอาคารซึ่งใช้วิธีการประเมินราคา ใหม่และได้บันทึกส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาใหม่ไว้ในส่วนของ ผลกำไรหรื อ ขาดทุ น จากการประมาณการตามหลั ก คณิ ต ศาสตร์ ผู้ถือหุ้น ขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกินไป ประกั น ภั ย สำหรั บ โครงการผลประโยชน์ ห ลั ง ออกจากงานของ กว่าส่วนเกินทุนจากการประเมินราคาที่เคยบันทึกไว้ พนักงานจะรับรู้ทันทีในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

138

รายงานประจำป 2561

4.17 ประมาณการหนี้สิน กลุ่มบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่ง เป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ว่ากลุ่มบริษัทจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลด เปลื้องภาระผูกพันนั้นและกลุ่มบริษัทสามารถประมาณมูลค่าภาระ ผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 4.18 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัด บัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน กลุ่มบริษัทบันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบันตามจำนวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับ หน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคำนวณจากกำไรทางภาษีตามหลัก เกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมายภาษีอากร


ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี กลุ่มบริษัทบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราว ระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะ เวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องนั้น โดยใช้อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริษัทรับรู้หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่าง ชั ่ ว คราวที ่ ต ้ อ งเสี ย ภาษี ท ุ ก รายการ แต่ ร ั บ รู ้ ส ิ น ทรั พ ย์ ภ าษี เ งิ น ได้ รอการตัดบัญชีสำหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี รวมทั้งผล ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ในจำนวนเท่าที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่ที่บริษัทจะมีกำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จาก ผลแตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษีและผลขาดทุนทางภาษีทย่ี งั ไม่ได้ใช้นน้ั

4.19 ตราสารอนุพันธ ตราสารอนุพันธทางการเงินประกอบดวย สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายเงินตราตางประเทศ สัญญา อัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายยางพาราสัญญา ซื้อขายยางพาราในตลาดลวงหนา และสัญญาซื้อขายยางพาราลวง หนาที่มีการสงมอบสินคา กลุ  ม กิ จ การไม ไ ด น ำการป อ งกั น ความเสี ่ ย งทางบั ญ ชี (Hedge accounting) มาใชสำหรับตราสารอนุพันธทางการเงิน

ตราสารอนุพันธทางการเงินรับรูมูลคาเมื่อเริ่มแรกโดยใชมูลคายุติธรรม ณ วั น ที ่ ท ำสั ญ ญาอนุ พ ั น ธ ท างการเงิ น และวั ด มู ล ค า ภายหลั ง โดย ใชมูลคายุติธรรม โดยรับรูผลกำไรหรือขาดทุนเขางบกำไรหรือขาดทุน กลุ่มบริษัทจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการ ในระหวางป ตราสารอนุพนั ธทางการเงินบันทึกเปนสินทรัพยเมือ่ มูลคา ตัดบัญชีทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงานและจะทำการปรับลดมูลค่า ยุติธรรมเปนบวก และบันทึกเปนหนี้สินเมื่อมูลคายุติธรรมเปนลบ ตามบัญชีดังกล่าว หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทจะไม่มี กำไรทางภาษีเพียงพอต่อการนำสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 4.20 การวัดมูลคายุติธรรม ทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ มูลคายุติธรรม หมายถึง ราคาที่คาดวาจะไดรับจากการขายสินทรัพย หรือเปนราคาที่จะตองจายเพื่อโอนหนี้สินใหผูอื่นโดยรายการดังกลาว กลุ่มบริษัทจะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของ เปนรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหวางผูซื้อและผูขาย (ผูรวมใน ผู้ถือหุ้นหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับรายการที่ได้บันทึกโดยตรงไป ตลาด) ณ วันที่วัดมูลคา กลุมบริษัทใชราคาเสนอซื้อขายในตลาด ยังส่วนของผู้ถือหุ้น ที่มีสภาพคลองในการวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินซึ่ง มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวของกำหนดใหตองวัดมูลคา ดวยมูลคายุติธรรม ยกเวนในกรณีที่ไมมีตลาดที่มีสภาพคลองสำหรับ สินทรัพยหรือหนี้สินที่มีลักษณะเดียวกันหรือไมสามารถหาราคา เสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคลองได กลุมบริษัทจะประมาณมูลคา ยุตธิ รรมโดยใชเทคนิคการประเมินมูลคาทีเ่ หมาะสมกับแตละสถานการณ และพยายามใชขอมูลที่สามารถสังเกตไดที่เกี่ยวของกับสินทรัพย หรือหนี้สินที่จะวัดมูลคายุติธรรมนั้นใหมากที่สุด ลำดับชัน้ ของมูลคายุตธิ รรมทีใ่ ชวดั มูลคาและเปดเผยมูลคายุตธิ รรมของ สินทรัพยและหนี้สินในงบการเงินแบงออกเปนสามระดับตามประเภท ของขอมูลที่นำมาใชในการวัดมูลคายุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1 ใชขอมูลราคาเสนอซื้อขายของสินทรัพยหรือหนี้สิน อยางเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคลอง ระดับ 2 ใชขอมูลอื่นที่สามารถสังเกตไดของสินทรัพยหรือหนี้สิน ไมวาจะเปนขอมูลทางตรงหรือทางออม ระดับ 3 ใชขอมูลที่ไมสามารถสังเกตได เชนขอมูลเกี่ยวกับกระแส เงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กลุมบริษัทจะประเมินความจำเปน ในการโอนรายการระหวางลำดับชั้นของมูลคายุติธรรมสำหรับสินทรัพ ยและหนี้สินที่ถืออยู ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่มีการวัดมูลคา ยุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจำ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

139


5. การใชดล ุ ยพินจ ิ และประมาณการทางบัญชีทส ่ี ำคัญ คาความนิยม

ในการจั ด ทำงบการเงิ น ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฝายบริหารจำเปนตองใชดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่องที่มี ความไมแนนอนเสมอ การใชดุลยพินิจและการประมาณการดังกลาว นีส้ ง ผลกระทบตอจำนวนเงินทีแ่ สดงในงบการเงินและตอขอมูลทีแ่ สดง ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจาก จำนวนที่ประมาณ การไวการใชดุลยพินิจและการประมาณการที่ สำคัญมีดังนี้ มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่บันทึกในงบ แสดงฐานะการเงิน ที่ไมมีการซื้อขายในตลาดและไมสามารถหาราคา ไดในตลาดซื้อขายคลอง ฝายบริหารตองใชดุลยพินิจในการประเมิน มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกลาว โดยใชเทคนิคและ แบบจำลองการประเมินมูลคา ซึ่งตัวแปรที่ใชในแบบจำลองไดมา จากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยูในตลาด โดยคำนึงถึงความเสี่ยง ทางดานเครดิต สภาพคลอง ขอมูลความสัมพันธ และการเปลีย่ นแปลง ของมูลคาของเครื่องมือทางการเงินในระยะยาว การเปลี่ยนแปลง ของสมมติฐานที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่ใชในการคำนวณ อาจมีผล กระทบตอมูลคายุติธรรมที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงิน และการ เปดเผยลำดับชั้นของมูลคายุติธรรม อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน กลุมบริษัทแสดงอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยมูลคายุติธรรมซึ่ง ประเมินโดยผูประเมินราคาอิสระและรับรูการเปลี่ยนแปลงมูลคา ยุติธรรมในสวนของกำไรหรือขาดทุน การประเมินมูลคาดังกลาวตอง อาศัยขอสมมติฐานและการประมาณการบางประการ

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ กลุมบริษัทแสดงมูลคาของที่ดินและอาคารดวยราคาที่ประเมินใหม ซึ่งราคาที่ประเมินใหมนี้ไดประเมินโดยผูประเมินราคาอิสระ โดยใช วิธีเปรียบเทียบราคาตลาดสำหรับสินทรัพยประเภทที่ดินและมูลคา ตนทุนทดแทนสุทธิสำหรับสินทรัพยประเภทอาคาร ซึ่งการประเมิน มู ล ค า ดั ง กล า วต อ งอาศั ย ข อ สมมติ ฐ านและการประมาณการบาง ประการ นอกจากนี ้ ฝ า ยบริ ห ารจำเป น ต อ งสอบทานการด อ ยค า ของที ่ ด ิ น อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการดอย คาหากคาดวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนต่ำกวามูลคาตามบัญชีของ สินทรัพยนั้นในการนี้ฝายบริหารจำเปนตองใชดุลยพินิจที่เกี่ยวของกับ การคาดการณ ร ายได แ ละค า ใช จ  า ยในอนาคต ซึ ่ ง เกี ่ ย วเนื ่ อ งกั บ สินทรัพยนั้น

140

รายงานประจำป 2561

ในการบันทึกและวัดมูลคาของคาความนิยม ณ วันที่ไดมา ตลอดจน การทดสอบการดอยคาในภายหลัง ฝายบริหารจำเปนตองประมาณ การกระแสเงิ น สดที ่ ค าดว า จะได ร ั บ ในอนาคตจากสิ น ทรั พ ย หรื อ หนวยของสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลด ที่เหมาะสมในการคำนวณหามูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี กลุมบริษัทจะรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสำหรับผล แตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีและขาดทุนทางภาษีที่ไมไดใชเมื่อมีความ เป น ไปได ค  อ นข า งแน ว  า กลุ  ม บริ ษ ั ท จะมี ก ำไรทางภาษี ใ นอนาคต เพียงพอที่จะใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝายบริหารจำเปนตองประมาณการวากลุมบริษัทควรรับรู จำนวนสิ น ทรั พ ย ภ าษี เ งิ น ได ร อการตั ด บั ญ ชี เ ป น จำนวนเท า ใด โดยพิจารณาถึงจำนวนกำไรทางภาษีทค่ี าดวาจะเกิดในอนาคตในแตละ ชวงเวลา


6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน

กลุมบริษัทมีนโยบายการกำหนดราคาดังนี้ ในระหวางป กลุมบริษัทมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการ (1) รายการขาย/ซื้อสินคาเปนไปตามราคาตลาดหรือราคาเทียบเคียง ที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขทางการคา ราคาตลาด และเกณฑตามที่ตกลงกันระหวางกลุมบริษัทและบุคคลหรือกิจการ (2) รายการรายได/คาใชจายในการใหบริการและคาเชาเปนไปตาม ทีเ่ กีย่ วของกันเหลานัน้ ซึง่ เปนไปตามปกติธรุ กิจโดยสามารถสรุปไดดงั นี้ ราคาที่ระบุในสัญญา (3) รายการเงินปนผลรับเปนไปตามอัตราที่ประกาศจาย (4) ดอกเบี้ยรับ/ดอกเบี้ยจายคิดอัตราดอกเบี้ยอางอิงตามสัญญาเงินกู (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม

2561 รายการธุรกิจกับบริษัทยอย ขายสินคา ซื้อสินคา รายไดคาบริการ เงินปนผลรับ รายไดคาเชา ดอกเบี้ยรับ คาบริการจาย คาเชาจาย ดอกเบี้ยจาย รายการธุรกิจกับบริษัทรวม ขายสินคา 25,422 ซื้อสินคา 182 รายไดคาบริการ 34,690 เงินปนผลรับ 152,405 รายไดคาเชา 400 คาบริการจาย 9 รายการธุรกิจกับการรวมคา ขายสินคา ซื้อสินคา 2,112,983 รายไดคาบริการ 10,731 เงินปนผลรับ รายไดคาเชา รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน 1 ขายสินคา 172,735 ซื้อสินคา 557,797 รายไดคาบริการ 15,990 คาบริการจาย 2,787

2560 -

26,682 78 19,637 621,486 400 1,680 786,965 3,725,520 48,903 1,676,581 5,458 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

5,313,282 5,608,396 4,537,379 10,684,226 158,188 185,705 930,499 2,964,166 251 244 112,610 82,039 634,391 839,124 4,458 799 1,790 15 9,636 134,475 -

9 9,246 548,370 -

- 293,032 64,008 237,114 10,710 21,670 - 1,312,760 170,416 85,089 1,489 -

-

ยอดคางชำระที่เกิดจากการขายและซื้อสินคาและบริการ และรายไดอื่น ยอดคงคางระหวางกลุมบริษัทและกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีรายละเอียดดังนี้

งบการเงินรวม

2561

2560

4,138 2 4,140

945,984 784 16,386 963,154

774,251 715 774,966

153 153

-

45,222 153 45,375

4,914 4,914

406 79,850 80,256

561 561

14,267 14,267

28,285 28,285

2 2

-

3,146 2 3,148

9,259 9,259

883 818 389 2,090

807 807

976 818 157 1,951

756 756

17,917 46,193 64,110

16 179,717 179,733

373,139 9,941 383,080

791,558 791,558

คาใชจายคางจาย (หมายเหตุ 21) บริษัทยอย

-

-

35,890

5,000

รายไดรับลวงหนา (หมายเหตุ 21) บริษัทที่เกี่ยวของกัน 1

6,940

-

-

-

ลูกหนี้การคา (หมายเหตุ 8) บริษัทยอย บริษัทรวม การรวมคา บริษัทที่เกี่ยวของกัน 1 เงินจายลวงหนาคาสินคา (หมายเหตุ 8) บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน 1 รายไดคางรับ (หมายเหตุ 8) บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน 1 เงินทดรองจาย (หมายเหตุ 8) บริษัทยอย บริษัทรวม ลูกหนี้อื่น (หมายเหตุ 8) บริษัทยอย บริษัทรวม การรวมคา บริษัทที่เกี่ยวของกัน 1 เจาหนี้การคา (หมายเหตุ 21) บริษัทยอย บริษัทรวม การรวมคา บริษัทที่เกี่ยวของกัน 1

2561

2560

3,797 24,941 28,738

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

141


(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

เจาหนี้อื่น (หมายเหตุ 21) บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน

2561

2560

383 383

4 4

2561

2560

17,892 17,892

50,159 50,159

1 บริษทั ไทยกอง จำกัด (มหาชน) ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12.2.2

การเคลื่อนไหวสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ของเงินให กูยืมระยะยาวแกบริษัทยอยสามารถแสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินใหกูยืมระยะยาว บริษัทยอย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 2,541,603

ขาดทุนที่ ยอดคงเหลือ ลดลง ณ วันที่ เพิ่มขึ้น ยังไมเกิดขึ้นจริง ระหวางป ระหวางป จากการแปลงคา 31 ธันวาคม 2561 ตราแลกเปลี่ยน 893,204

(883,600)

(32,993)

2,518,214

ยอดคางชำระที่เกิดจากการกูยืมเงินจากบริษัทยอย ยอดคางชำระที่เกิดจากการใหเงินใหกูยืมแกบริษัทยอย ยอดคงคางของเงินใหกูยืมระหวางบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 การเคลื่อนไหวสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ของเงินกูยืม จากบริษทั ยอยสามารถแสดงไดดังนี้ ธันวาคม 2561 และ 2560 มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

2561 ดอกเบี้ยคางรับ (หมายเหตุ 8) บริษัทยอย

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2561

-

2,621

2560

เงินกูยืมระยะสั้น

9,969

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริษัทยอย

เงินใหกูยืมระยะยาว บริษัทยอย

-

-

-

เพิ่มขึ้น ระหวางป

ลดลง ระหวางป

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

600,000

(300,000)

300,000

2,518,214 2,541,603

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอยเปนเงิน ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 กลุมบริษัทมี คาใชจา ยผลประโยชนพนักงานทีใ่ หแกกรรมการและผูบ ริหาร ดังตอไปนี้ ใหกูยืมที่ไมมีหลักประกัน โดยมีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 เงินตน

ความสัมพันธ

PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Star Rubber

บริษัทยอยทางตรง บริษัทยอยทางออม รวม

ลานเหรียญ (เทียบเทา) สหรัฐอเมริกา ลานบาท

45 33 78

1,453 1,065 2,518

งบการเงินรวม

อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลา รอยละ การกู 4.18 - 4.30 4.18 - 5.05

3 ป 1 - 3 ป

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินตน

ความสัมพันธ

PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Star Rubber

142

บริษัทยอยทางตรง บริษัทยอยทางออม รวม

รายงานประจำป 2561

ลานเหรียญ (เทียบเทา) สหรัฐอเมริกา ลานบาท

50 28 78

1,627 915 2,542

อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลา รอยละ การกู

3.33 - 4.30 2.65 - 4.18

3 - 5 ป 2 - 5 ป

ผลประโยชนระยะสั้น ผลประโยชนหลังออกจากงาน รวม

2561

2560

258,264 5,758 264,022

204,378 3,567 207,945

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

51,247 1,287 52,534

2560

43,631 1,246 44,877

ภาระค้ำประกันกับกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษทั มีภาระจากการค้ำประกันใหกบั กิจการทีเ่ กีย่ วของกันตามทีก่ ลาว ไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 36.3.1


7. เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

12,910 4,184,390 4,197,300

109,973 2,131,927 2,241,900

2561

2560

4,450 377,365 381,815

23,281 245,738 269,019

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 เงินฝากออมทรัพย และเงินฝากประจำ มีอัตราดอกเบี้ยระหวางรอยละ 0.10 ถึง 3.50 ตอป (2560: รอยละ 0.10 ถึง 4.50 ตอป) 8. ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 6) อายุหนี้คงคางนับจากวันที่ถึงกำหนดชำระ ยังไมถึงกำหนดชำระ คางชำระ ไมเกิน 30 วัน 31 - 60 วัน 61 - 90 วัน 91 - 120 วัน 121 - 365 วัน เกิน 365 วันขึ้นไป รวมลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน, สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

2561

2560

28,380

4,138

876,843

767,717

358 -

2 -

83,311 876 519 1,605 -

14 1 7,234 -

28,738

4,140

963,154

774,966

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

143


(หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

2561

2560

4,566,862

5,392,887

1,851,651

2,428,577

445,065 22,505 25,926 35,084 54,044 5,149,486 (41,442)

832,691 50,049 24,029 13,486 15,832 55,332 6,384,306 (49,056)

191,475 14,385 4,122 34,513 47,553 2,143,699 (27,636)

629,149 26,301 13,499 10,180 11,452 40,537 3,159,695 (33,421)

รวมลูกหนีก้ ารคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน, สุทธิ​ิ

5,108,044

6,335,250

2,116,063

3,126,274

รวมลูกหนี้การคา - สุทธิ ลูกหนี้อื่น เงินจายลวงหนาคาสินคา - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน (หมายเหตุ 6) เงินจายลวงหนาคาสินคา - กิจการทีไ่ มเกีย่ วของกัน คาใชจายจายลวงหนา ดอกเบี้ยคางรับ - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 6) รายไดคางรับ - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 6) รายไดคางรับ - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เงินทดรองจาย - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 6) เงินทดรองจาย - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 6) ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน

5,136,782

6,339,390

3,079,217

3,901,240

153 256,820 113,630

169,166 199,790

45,375 11,459 39,663

4,914 74,620 64,276

-

-

2,621

9,969

80,256 32,186

561 36,098

14,267 28,845

28,285 15,414

2 29,097 2,090 40,997

39,960 807 426,536

3,148 4,831 1,951 1,766

9,259 2,666 756 11,094

รวมลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

555,231 5,692,013

872,918 7,212,308

153,926 3,233,143

221,253 4,122,493

ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน อายุหนี้คงคางนับจากวันที่ถึงกำหนดชำระ ยังไมถึงกำหนดชำระ คางชำระ ไมเกิน 30 วัน 31 - 60 วัน 61 - 90 วัน 91 - 120 วัน 121 - 365 วัน เกิน 365 วันขึ้นไป รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

144

รายงานประจำป 2561


9. สินคาคงเหลือ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม ราคาทุน

สินคาสำเร็จรูป งานระหวางทำ วัตถุดิบ บรรจุภัณฑและสารเคมี อะไหลและวัสดุสิ้นเปลือง รวม

2561

2560

4,038,359 3,639,983 4,545,867 332,546

6,911,670 3,845,619 6,487,633 372,348

12,556,755 17,617,270

รายการปรับลด ราคาทุนใหเปนมูลคา สุทธิที่จะไดรับ 2561 (99,937) (118,272) (11,153) (15,973)

2560 (316,017) (85,419) (5,724) (87,131)

สินคาคงเหลือ - สุทธิ 2561

2560

3,938,422 3,521,711 4,534,714 316,573

6,595,653 3,760,200 6,481,909 285,217

(245,335) (494,291) 12,311,420 17,122,979 (หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน

รายการปรับลด ราคาทุนใหเปนมูลคา สุทธิที่จะไดรับ

2561

2560

สินคาสำเร็จรูป งานระหวางทำ วัตถุดิบ บรรจุภัณฑและสารเคมี อะไหลและวัสดุสิ้นเปลือง

1,798,791 1,802,141 2,488,170 53,793

3,079,210 1,989,626 2,795,540 55,325

(31,681) (41,406) (6,228) -

รวม

6,142,895

7,919,701

2561

2560

สินคาคงเหลือ - สุทธิ 2561

2560

(232,449) (7,233) (287) -

1,767,110 1,760,735 2,481,942 53,793

2,846,761 1,982,393 2,795,253 55,325

(79,315) (239,969)

6,063,580

7,679,732

ในระหวางปปจจุบัน กลุมบริษัทโอนกลับรายการปรับลดมูลคาสินคาคงเหลือเปนจำนวน 172 ลานบาท (2560: บันทึกการปรับลดราคาทุน ของสินคาคงเหลือใหเปนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ เปนจำนวน 344 ลานบาท) (เฉพาะบริษัท: 161 ลานบาท (2560: บันทึกการปรับลดราคาทุน ของสินคาคงเหลือใหเปนมูลคาสุทธิทจ่ี ะไดรบั เปนจำนวน 236 ลานบาท)) โดยนำไปหักจากมูลคาของสินคาคงเหลือทีร่ บั รูเ ปนคาใชจา ยในระหวางป

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

145


ขอมูลเพิ่มเติม ขอมูลมูลคาของสินคาคงเหลือเฉพาะยางแผนรมควัน น้ำยางขนและยางแทงของกลุมบริษัทแสดงดังตอไปนี้

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

สินคาคงเหลือตามวิธีมูลคาสุทธิที่จะไดรับ* สินคาคงเหลือตามวิธีราคาทุนหรือมูลคาสุทธิ ที่จะไดรับแลวแตราคาใดต่ำกวา (ตามที่ไดรับรูและรวมอยูในงบการเงิน) ผลตาง

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

2561

2560

10,411,061

15,979,154

5,886,610

7,773,263

10,201,733

15,394,383

5,793,784

7,467,859

209,328

584,771

92,826

305,404

* สำหรับวัตถุประสงคในการจัดทำงบการเงินสินคาคงเหลือแสดงดวยราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ำกวา แตในการ บริหารงานของกลุมบริษัทผูบริหารจะบริหารสินคาคงเหลือโดยพิจารณาจากมูลคาสุทธิที่จะไดรับ ซึ่งประมาณจากราคาปกติที่คาดวาจะขาย ไดของธุรกิจหักดวยคาใชจายที่จำเปนเพื่อใหสินคานั้นสำเร็จรูป รวมถึงคาใชจายในการขายสินคานั้นไดผลจากการใชวิธีวัดมูลคาที่แตกตางกัน ทำใหเกิดผลแตกตาง ณ วันที่รายงานในงบการเงิน ภายใตมาตรฐานการการรายงานทางการเงินของไทยยังไมอนุญาตใหรับรูในกำไรหรือขาดทุนจนกวาสินคาคงเหลือจะมีการขายจริงนอกจากนี้ จำนวนของผลตางดังกลาวจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยูกับราคาขายจริง 10. ตราสารอนุพันธทางการเงิน

งบการเงินรวม 2561 สินทรัพย สัญสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายเงินตราตางประเทศ สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายยางพารา สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา สัญญาซื้อขายยางพาราในตลาดลวงหนา สัญญาซื้อขายยางพาราลวงหนาที่มีการสงมอบสินคา รวมตราสารอนุพันธทางการเงิน

146

รายงานประจำป 2561

641 127 10,642 45,413 2,778 59,601

(หนวย: พันบาท)

2560 หนี้สิน

สินทรัพย

หนี้สิน

(4,479) (14,483) (157) (45,743) (106,524) (17) (171,403)

23,778 14,161 113,261 256,739 407,939

(55,844) (65,293) (58,646) (5,183) (45,338) (939) (231,243)


(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561

2560

สินทรัพย

หนี้สิน

สินทรัพย

หนี้สิน

สัญสสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายเงินตราตางประเทศ สัญญาสิทธิเลือกซื้อขายยางพารา สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา สัญญาซื้อขายยางพาราในตลาดลวงหนา

641 127 1,569 30,742

(4,479) (11,394) (157) (95,302)

23,778 14,161 64,804 153,777

(55,844) (48,665) (58,646) (971) (34,004)

รวมตราสารอนุพันธทางการเงิน

33,079

(111,332)

256,520

(198,130)

11. เงินฝากประจำที่ติดภาระค้ำประกัน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทยอยมีเงินฝากประจำที่ติดภาระค้ำประกัน เปนจำนวนเงิน 2 ลานบาท (2560: 12 ลานบาท) เงินฝากประจำมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 0.65 ถึง 1.50 ตอป (2560: รอยละ 0.65 ถึง 1.50 ตอป) เงินฝากประจำทีต่ ดิ ภาระค้ำประกันทีธ่ นาคารออกใหในนามบริษทั ยอยซึง่ นำไปวางไวกบั หนวยงานภาครัฐเพือ่ ค้ำประกันการปฏิบตั ติ ามสัญญา 12. เงินลงทุนในบริษัทยอย

12.1 เงินลงทุนในบริษัทยอยตามที่แสดงในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (หนวย: ลานบาท)

บริษัท

ทุนเรียกชำระแลว สัดสวนเงินลงทุน 2561 2560

2561 2560

(รอยละ)

(รอยละ)

ราคาทุน

เงินปนผลที่บริษัท รับระหวางป

2561 2560

2561 2560

บริษัทยอย Sri Trang USA, Inc. 179 114 100.00 100.00 179 114 PT Sri Trang Lingga Indonesia 359 359 90.00 90.00 330 330 บริษัท อันวารพาราวูด จำกัด 10 10 99.94 99.94 26 26 บริษัท รับเบอรแลนดโปรดักส จำกัด 1,600 1,600 99.99 99.99 1,935 1,935 บริษัท หน่ำฮั่วรับเบอร จำกัด 500 500 99.99 99.99 560 560 บริษัท สะเดา พี.เอส. รับเบอร จำกัด 40 40 99.99 99.99 54 54 บริษัท สตารเท็กซ รับเบอร จำกัด 2,198 2,115 99.99 99.99 2,196 2,113 บริษัท พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด 50 50 82.00 82.00 100 100 บริษัท สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต จำกัด 15 15 76.67 76.67 39 39 บริษัท ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น จำกัด 6,495 6,298 99.99 99.99 6,495 6,297 Shi Dong Shanghai Rubber Co., Ltd. 155 155 100.00 100.00 155 155 บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด 200 200 81.50 81.50 6,430 6,430 รวม 18,499 18,153

500 500 23 25 408 2,707 931 3,232

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

147


12.1.1 รายละเอียดของบริษัทยอยซึ่งมีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุมที่มีสาระสำคัญ (หนวย: ลานบาท)

บริษัท

บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด

สัดสวนที่ถือโดย สวนไดเสีย ที่ไมมีอำนาจควบคุม

สวนไดเสียที่ไมมี อำนาจควบคุม ในบริษัทยอยสะสม

กำไร (ขาดทุน) ที่แบง เงินปนผลจายใหกับ ใหกับสวนไดเสียที่ไมมี สวนไดเสียที่ไมมีอำนาจ อำนาจควบคุมในบริษัท ควบคุมในระหวางป ยอยในระหวางป

(รอยละ)

2561 2560

(รอยละ)

2561 2560

2561 2560

2561 2560

9.77

9.77

313

92

49

270

(25)

293

12.1.2 ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทยอยที่มีสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุมที่มีสาระสำคัญซึ่งเปนขอมูลกอนการตัดรายการ ระหวางกัน (หนวย: ลานบาท)

สรุปรายการฐานะทางการเงิน

บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด

2561

2560

สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน

3,326 5,062 1,473 3,701

2,738 4,362 1,073 3,254

สรุปรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด

รายได กำไร (ขาดทุน) กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

สรุปรายการกระแสเงินสด กระแสเงินสดจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ 148

รายงานประจำป 2561

(หนวย: ลานบาท)

2561

2560

10,529 941 (1)

6,866 (255) -

940

(255)

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด

(หนวย: ลานบาท)

2561

2560

1,106 (1,360) 150 (104)

(1,096) 1,557 461


12.2 บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด

12.2.1 การซื้อธุรกิจในป 2560 เมื ่ อ วั น ที ่ 18 มกราคม 2560 ที ่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ั ท มี ม ติ อ นุ ม ั ต ิ ก ารลงนามในสั ญ ญากรอบของข อ ตกลงต า ง ๆ (Umbrella Agreement) สัญญาซื้อขายหุน และสัญญาที่ตกลงใหสิทธิ (Call Option) ระหวางบริษัทและ Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. (“เซมเพอรริท”) ซึ่งเปนขอตกลงสำหรับการแยกบริษัทรวมและการรวมคา (Demerger) โดยรวมถึงบริษัทรวม และการรวมคาทุกบริษัทที่บริษัทไดรวมลงทุนกับเซมเพอรริททั้งในประเทศและตางประเทศ ตอมาเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2560 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2560 ของบริษัทมีมติอนุมัติการทำรายการแยกบริษัทรวมและการ รวมคา (Demerger) ซึ่งประกอบดวย (ก) การเขาทำรายการซื้อหุนสามัญของบริษัท สยามเซมเพอรเมด จำกัด (ข) การเขาทำรายการจำหนายหุนสามัญและเงินลงทุนในบริษัทรวมตางๆ รวมถึงการจำหนายหุนในบริษัท เซมเพอรเฟล็ก เอเซีย จำกัด ตามสัญญา Call Option (ค) การระงับขอพิพาทตางๆ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 บริษัทไดซื้อหุนสามัญของบริษัท สยามเซมเพอรเมด จำกัด (ตั้งแตวันที่ 16 มีนาคม 2560 ไดเปลี่ยนชื่อเปน “บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด”) (“ศรีตรังโกลฟส”)ซึ่งเปนการรวมคาจำนวน 10,000 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 50 ของหุน ที่ชำระแลวของศรีตรังโกลฟสในมูลคา 180.10 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาหรือประมาณ 6,367 ลานบาท จากเซมเพอรริท ทำใหศรีตรังโกลฟส เปลี่ยนสถานะจากการรวมคาเปนบริษัทยอย โดยสัดสวนการถือหุนของกลุมบริษัทในบริษัทยอยดังกลาวเพิ่มขึ้นจากเดิมในสัดสวนรอยละ 40.23 เปนสัดสวนรอยละ 90.23 (ถือหุนโดยบริษัทสัดสวนรอยละ 81.50 และถือหุนโดยบริษัท รับเบอรแลนดโปรดักส จำกัด (บริษัทยอย) สัดสวนรอยละ 8.73) ฝายบริหารของบริษัทเชื่อวารายการซื้อหุนในศรีตรังโกลฟสถือเปนการรวมธุรกิจ เนื่องจากสินทรัพยที่ไดมาและหนี้สินที่รับมาประกอบกัน ขึ้นเปนธุรกิจ และบริษัทมีอำนาจ ควบคุมในศรีตรังโกลฟสตามคำนิยามที่ระบุไวในมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่อง การรวม ธุรกิจ โดยบริษัทบันทึกบัญชีรายการรวมธุรกิจตามวิธีซื้อและไดรวมงบการเงินของศรีตรังโกลฟสในงบการเงินรวมตั้งแตวันที่ 15 มีนาคม 2560 (วันซื้อกิจการ) ทั้งนี้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 ผูบริหารของบริษัทตองประมาณการมูลคายุติธรรมของธุรกิจที่ซื้อมา ณ วันที่ซื้อใน ระหวางชวงระยะเวลาในการวัดมูลคาซึ่งตองไมเกินกวาหนึ่งปนับจากวันที่ซื้อและตองปรับยอนหลัง ประมาณการที่เคยรับรูไว ณ วันที่ซื้อเพื่อ สะทอนผลของขอมูลเพิ่มเติมที่ไดรับเกี่ยวกับขอเท็จจริงและสถานการณแวดลอมที่มีอยู ณ วันที่ซื้อ ในระหวางไตรมาสที่ 4 ของป 2560บริษัทไดเสร็จสิ้นการประเมินมูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินที่ระบุไดของศรีตรังโกลฟสและ ไดแสดงมูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินที่ระบุไดของกิจการที่ถูกซื้อในงบการเงินรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 แลว ทั้งนี้สิ่งตอบแทนที่ไดจายไปสำหรับการเขาซื้อกิจการดังกลาว ซึ่งรวมถึงสินทรัพยที่ไดมาและหนี้สินที่จะรับรู ณ วันที่ซื้อกิจการ สรุปไดดัง ตอไปนี้ สิ่งตอบแทนที่จาย ณ วันที่ 15 มีนาคม 2560

(หนวย: พันบาท)

เงินสดจายเพื่อซื้อหุนศรีตรังโกลฟส เงินสดรับในการขายเงินลงทุนที่เกี่ยวของ มูลคายุติธรรมของตราสารทุนที่เกี่ยวของ - บริษัทรวมทางตรง Sempermed USA, Inc. จำนวนรอยละ 25 ของจำนวนทุน - บริษัทรวมทางตรง Semperflex Shanghai Ltd. จำนวนรอยละ 50 ของจำนวนทุน - บริษัทรวมทางตรง Sempermed Singapore Pte. Ltd. จำนวนรอยละ 50 ของจำนวนทุน - เงินลงทุนทั่วไป Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products Co., Ltd. จำนวนรอยละ 10 ของจำนวนทุน

6,367,133 (689,389)

สิ่งตอบแทนทั้งหมดที่จายและโอนให มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียในหุนศรีตรังโกลฟสซึ่งถืออยูกอนวันรวมธุรกิจ สิ่งตอบแทนทั้งหมด

6,319,534 1,987,632 8,307,166

187,628 197,854 82,194 174,114

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

149


มูลคายุติธรรมที่รับรู ณ วันที่ซื้อสำหรับสินทรัพยที่ไดมาและหนี้สินที่รับมา

(หนวย: พันบาท)

สินทรัพย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

1,237,590 1,194,017 1,352,373 45,873 4,134,827 6,701 40,386 845

หนี้สินเงิน กูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ประมาณการหนี้สินสำหรับผลประโยชนของพนักงานเมื่อเกษียณอายุ สินทรัพยสุทธิที่สามารถระบุได มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม คาความนิยม (หมายเหตุ 20) สิ่งตอบแทนที่โอนใหทั้งหมด

500,000 1,161,345 333,021 76,962 5,941,284 (587,900) 2,953,782 8,307,166 (หนวย: พันบาท)

เงินสดจายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย หัก เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดของบริษัทยอย เงินสดจายสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย

6,367,133 (1,237,590) 5,129,543 (หนวย: พันบาท)

มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียในศรีตรังโกลฟสที่มีอยูกอน ณ วันที่รวมธุรกิจ หัก มูลคาตามบัญชีของเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียในศรีตรังโกลฟส ณ วันที่รวมธุรกิจ กำไรจากการตีราคายุติธรรมจากการเปลี่ยนหมวดเงินลงทุน

1,987,632 (1,764,006) 223,626 (หนวย: พันบาท)

มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียที่มีอยูกอน ณ วันที่รวมธุรกิจ Sempermed USA, Inc. Semperflex Shanghai Ltd. Sempermed Singapore Pte. Ltd. Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products Co., Ltd. หัก มูลคาตามบัญชีของเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียในบริษัท กำไรจากการตีราคายุติธรรมจากการจำหนายเงินลงทุนในบริษัทรวมและเงินลงทุนทั่วไป

150

รายงานประจำป 2561

187,628 197,854 82,194 174,114 (509,090) 132,700


ขอมูลอื่นที่สำคัญซึ่งเกี่ยวของกับการซื้อธุรกิจมีดังนี้ (ก) สิทธิ Call Option บริษัทไดใหสิทธิ Call Option แกเซมเพอรริท ในการซื้อหุนบริษัท เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย จำกัดจำนวน 1,615,000 หุน คิดเปนรอยละ 42.50 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย จำกัด จากบริษัทและบริษัทยอย ดวยราคาใชสิทธิมูลคารวมทั้งสิ้น 51 ลาน เหรียญสหรัฐอเมริกาและมีเงื่อนไขในการจายเงินปนผลจากผลกำไรที่ หาไดภายหลังวันที่ซื้อธุรกิจทั้งหมด โดยมีระยะเวลาในการใชสิทธิ ระหว า งวั น ที ่ 30 มิ ถ ุ น ายน 2562 จนถึ ง วั น ที ่ 30 มิ ถ ุ น ายน 2564

(จ) คาใชจายทางธุรกิจกอนการแยกบริษัท คาใชจายทางธุรกิจกอนการแยกบริษัทคือคาชดเชยตอบแทนจากการ แยกธุรกิจของศรีตรังโกลฟส กับ เซมเพอรริท จำนวน 15 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 532 ลานบาทซึ่งเปนไปตามที่ระบุใน สัญญาที่เกี่ยวของ

(ฉ) ขอพิพาททางการคาเกี่ยวกับสัญญากิจการรวมคา เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 บริษัทและเซมเพอรริทไดดำเนินการ แยกกิจการดังกลาวเสร็จสมบูรณเปนที่เรียบรอยแลวสงผลใหบรรดา ข อ พิ พ าทและคดี ค วามที ่ เ กี ่ ย วข อ งซึ ่ ง อยู  ภ ายใต ก ระบวนการทาง (ข) ที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไดรับมา อนุญาโตตุลาการ และกระบวนการทางกฎหมายระหวางกลุมบริษัท มูลคายุติธรรมของที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไดรับมามีมูลคาเทากับ และเซมเพอรริททั้งหมดไมวาที่อยูในระหวางขั้นตอนการพิจารณาของ 4,135 ลานบาท ซึ่งประเมินโดยผูประเมินทรัพยสินอิสระ โดยใชวิธี ศาลหรืออนุญาโตตุลาการไดถูกถอนหรือระงับไป ราคาตนทุนทดแทน หักดวยคาเสื่อมราคาสะสมตามจำนวนปที่ใชงาน 12.2.2 การเขาลงทุนในธุรกิจผลิตถุงมือยาง (ค) สวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม เมื ่ อ วั น ที ่ 10 กรกฎาคม 2561 ที ่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ั ท บริษัทเลือกที่จะรับรูสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุมในผูถูกซื้อดวย มี ม ติ ไ ม ค ั ด ค า นในการที ่ ดร.ไวยวุ ฒ ิ สิ น เจริ ญ กุ ล (“ดร.ไวยวุ ฒ ิ ” ) ราคามูลคายุตธิ รรมของสวนไดเสียทีไ่ มมอี ำนาจควบคุมในศรีตรังโกลฟส ซึ่งเปนประธานกรรมการบริษัทและกรรมการผูจัดการจะเขาลงทุนใน โดยใชวิธีมูลคาของสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดของผูถูกซื้อตามสัดสวน บริ ษ ั ท ไทยกอง จำกั ด (“TK”) ซึ ่ ง เป น บริ ษ ั ท ที ่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ของสวนไดเสียที่ไมมีอำนาจควบคุม ถุงมือยาง ผานการถือหุนของบริษัท ไทยกอง กรุป จำกัด (“TKG”) ดวยเงินลงทุนของดร.ไวยวุฒิและใหบริษัทดำเนินการตรวจสอบขอมูล (ง) รายไดและผลกำไร และกิ จ การ (Due Diligence) ของ TKG และ TK รวมถึ ง ศึ ก ษา งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับงวดตั้งแตวันที่ 15 มีนาคม 2560 รูปแบบการลงทุนโดยบริษัทจะสนองตอบเปนหนังสือแก ดร. ไวยวุฒิ (วั น ที ่ บ ริ ษ ั ท มี อ ำนาจควบคุ ม ) ถึ ง วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2560 ว า บริ ษ ั ท สนใจจะเข า ลงทุ น ใน TK หรื อ ไม ใ นรู ป แบบใด ภายใน ศรีตรังโกลฟสที่ซื้อมาสรางรายไดใหแกกลุมบริษัทจำนวน 6,866 วันที่ 31 ธันวาคม 2561โดยจะเปนการใหสิทธิแกบริษัทแตเพียง ล า นบาทและมี ผ ลขาดทุ น สุ ท ธิ จ ำนวน 255 ล า นบาทซึ ่ ง รวม ผูเดียวในการเขาลงทุนไมวาโดยทางตรงหรือทางออมใน TK เพื่อนำ คาใชจายในการชดเชยตอบแทนจากการแยกธุรกิจเปนจำนวน 532 TK มาเปนสวนหนึ่งของกลุมบริษัท โดยใชราคาทุน (ซึ่งรวมตนทุน ลานบาทถาหากวาบริษัทซื้อศรีตรังโกลฟส ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม ทางการเงิน) ที่ดร.ไวยวุฒิ ไดมาซึ่งหุนของ TK และจะใหบริษัทเปน 2560 รายไดและผลกำไรสุทธิสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผู  ก ำหนดรู ป แบบในการลงทุ น ที ่ เ ห็ น ว า เหมาะสม โดยในระหว า ง ที่รับรูในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม จะมีจำนวน 8,815 ลานบาท ที ่ บ ริ ษ ั ท ยั ง มิ ไ ด แ จ ง การตั ด สิ น ใจของบริ ษ ั ท ทาง ดร.ไวยวุ ฒ ิ และ 315 ลานบาท ตามลำดับ จะไมดำเนินการให TK จายเงินปนผลหรือลดทุน ทั้งนี้ ธุรกรรมใดๆ ที ่ ก ลุ  ม บริ ษ ั ท จะทำกั บ TKจะต อ งมี ร าคาและเงื ่ อ นไขทางการค า โดยทั่วไป และตองไมมีการถายเทผลประโยชนหรือขัดแยงทางผล ประโยชนภายใตกฎหมายและกฎเกณฑที่เกี่ยวของ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

151


ตอมาเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท มี ม ติ ใ ห บ ริ ษ ั ท เข า ลงทุ น ใน TK โดยนำ TK ไปควบรวมกั บ บริ ษ ั ท ศรี ต รั ง โกลฟส (ประเทศไทย) จำกั ด (“ศรี ต รั ง โกลฟส ” ) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทภายหลังการควบรวมระหวางบริษัท ดั ง กล า ว จะทำให ศ รี ต รั ง โกลฟส ส ิ ้ น สภาพการเป น บริ ษ ั ท ย อ ย โดยจะเกิดบริษัทที่ตั้งขึ้นใหมโดยการควบรวมกัน (“บริษัทใหม”) เปนบริษัทยอยของบริษัทแทนซึ่งบริษัทใหมจะรับไปทั้งทรัพยสิน หนี้สิน สิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบของ TK และศรีตรังโกลฟส ทั้งหมดโดยผลของบทบัญญัติของกฎหมายในเรื่องการควบบริษัท ทั้งนี้บริษัทและบริษัท รับเบอรแลนด จำกัด จะถือหุนในบริษัทใหม รวมกันเปนจำนวนรอยละ 81.08 ของจำนวนหุนทั้งหมด โดยบริษัท คาดวาจะดำเนินการควบบริษัทเสร็จภายในวันที่ 1 เมษายน 2562 ซึ่งบริษัทจะมีตนทุนในการทำรายการนี้จำนวนประมาณ 1,232.82 ล า นบาท ประกอบด ว ยราคาทุ น ของ ดร.ไวยวุ ฒ ิ และต น ทุ น ทางการเงินที่ ดร.ไวยวุฒิตองชำระสำหรับเงินกูที่นำมาใชในการลงทุน นอกจากนี้ TK ไดแปรสภาพนิติบุคคลจากบริษัทจำกัดเปนบริษัท มหาชนจำกัด ตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด โดยจดทะเบียน แปรสภาพบริ ษ ั ท จากเดิ ม “บริ ษ ั ท ไทยกอง จำกั ด ”เป น “บริ ษ ั ท ไทยกอง จำกั ด (มหาชน)” กั บ กระทรวงพาณิ ช ย เมื ่ อ วั น ที ่ 19 กันยายน 2561 ตอมาเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2561 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของศรีตรัง โกลฟสมีมติพิเศษอนุมัติเรื่องดังตอไปนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงมูลคาหุนที่ตราไวของศรีตรังโกลฟสจากเดิมหุนละ 10,000 บาท เปนหุนละ 100 บาทดังนั้นทุนจดทะเบียนและเรียก ชำระแลวของศรีตรังโกลฟสเทากับ 200 ลานบาท แบงออกเปน 2 ลานหุนมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท ศรีตรังโกลฟสไดจดทะเบียน เปลี่ยนแปลงมูลคาหุนที่ตราไวและแกไขหนังสือบริคณหสนธิกับ กระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2561 2. การควบบริษัทระหวางศรีตรังโกลฟสกับ TK

152

รายงานประจำป 2561

12.3 บริษัท ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น จำกัด (“SRP”) เมื ่ อ วั น ที ่ 13 มี น าคม 2561 ที ่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู  ถ ื อ หุ  น ของ SRP มี ม ติ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห เ พิ ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นจำนวน 200 ล า นบาท โดยการ ออกหุนสามัญใหมจำนวน 2,000,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ทำใหบริษัทยอยมีทุนจดทะเบียนใหมเปนจำนวน 65,550,000 หุน ในระหว า งป 2561 บริ ษ ั ท ได จ  า ยชำระเงิ น เพิ ่ ม ทุ น ไปแล ว จำนวน 140 ลานบาท นอกจากนี้ ในระหวางป 2561บริษัทไดจายชำระคาหุนของ SRP ที ่ ไ ด เรี ย กชำระสำหรั บ หุ  น เพิ ่ ม ทุ น ในป 2560 อี ก เป น จำนวนเงิ น 58 ลานบาท 12.4 บริษัท สตารเท็กซ รับเบอร จำกัด ในเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2561 บริ ษ ั ท ได จ  า ยชำระค า หุ  น ของ บริ ษ ั ท สตาร เ ท็ ก ซ รั บ เบอร จำกั ด (บริ ษ ั ท ย อ ยทางตรง) ที ่ ไ ด เรี ย กชำระ สำหรับหุนเพิ่มทุนในป 2559 เพื่อใชในการเพิ่มทุนจดทะเบียนใน Shidong Shanghai Medical Equipment Company Limited (บริษัทยอยทางออม) เปนจำนวนเงิน 2.5 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา หรื อ ประมาณ 83 ล า นบาทเพื ่ อ ขยายธุ ร กิ จ จั ด จำหน า ยถุ ง มื อ ในประเทศจีน 12.5 Sri Trang USA, Inc. เมื ่ อ วั น ที ่ 12 พฤษภาคม 2560 ที ่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ั ท มี ม ติ อ นุ ม ั ต ิ ใ ห บ ริ ษ ั ท เพิ ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นใน SriTrang USA Inc (บริษัทยอยทางตรง) เปนจำนวนเงิน 3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา ในป 2560 บริ ษ ั ท ได จ  า ยเงิ น เพิ ่ ม ทุ น จำนวน 1 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ อเมริกา หรือประมาณ 34 ลานบาท ตอมาในเดือนธันวาคม 2561 บริษัทไดจายเงินเพิ่มทุนสวนที่เหลือจำนวน 2 ลานเหรียญสหรัฐ อเมริกาหรือประมาณ 65 ลานบาท


13. เงินลงทุนในบริษัทรวม

13.1 รายละเอียดของบริษัทรวม

บริษัทรวม

(หนวย: ลานบาท)

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

ลักษณะธุรกิจ

สัดสวนเงินลงทุน

2561 2560 (รอยละ)

(รอยละ)

บริษัท เซมเพอรเฟล็กเอเชีย จำกัด ผลิตทอแรงดันสูง ประเทศไทย 42.50 42.50

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

มูลคาตามบัญชีตามวิธี สวนไดเสีย

ราคาทุน

2561 2560

2561 2560

387

360

143

43

8

8

15

15

395

368

158

158

(สัดสวนเงินลงทุนโดยบริษัทรอยละ 37.50 และโดยบริษัทยอยรอยละ 5.00)

นายหนาซื้อขาย บริษัทพัฒนาเกษตรลวงหนา จำกัด สัญญาซื้อขาย ประเทศไทย 40.00 40.00 ลวงหนา รวม

13.2 สวนแบงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จและเงินปนผลรับ ในระหวางป กลุมบริษัทรับรูสวนแบงกำไร (ขาดทุน) จากการลงทุนและเงินปนผลรับในบริษัทรวมในงบการเงินรวมและรับรูเงินปนผลรับ จากบริษัทรวมดังกลาวในงบการเงินเฉพาะกิจการ ดังนี้ (หนวย: ลานบาท)

งบการเงินรวม บริษัทรวม

สวนแบงกำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม ในระหวางป

2561

บริษัท เซมเพอรเฟล็ก เอเชีย จำกัด บริษัท พัฒนาเกษตรลวงหนา จำกัด Sempermed USA, Inc.* Semperflex Shanghai Co., Ltd.* Sempermed Singapore Pte Ltd.* Sempermed Brazil Comercio Exterior LTDA.*(ถือหุนโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd.*

2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เงินปนผลรับในระหวางป

เงินปนผลรับในระหวางป

2561

2560

2561

2560

179.3 0.1 -

159.5 0.1 11.2 2.5 (2.5) (19.9)

152 -

621 -

134 -

548 -

-

4.5

-

-

-

-

179.4

155.4

152

621

134

548

(ถือหุนโดย Sempermed Singapore Pte Ltd.)

รวม

*ในเดือนมีนาคม 2560 กลุมบริษัทไดขายเงินลงทุนในบริษัทรวมดังกลาวใหกับ Semperit Technishe Produkte Gesellshaft m.b.H. (“เซมเพอร ร ิ ท ”) ดังนั้น สว นแบงกำไร (ขาดทุน ) ที ่ ก ลุ  มบริ ษ ั ท ได ร ั บรู  จ ะมาจากผลการดำเนิ น การของบริ ษ ั ท ร ว มก อ นที่กลุมบริษ ัท จะขายเงินลงทุนดังกลาวออกไป บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

153


13.3 ขอมูลทางการเงินของบริษัทรวมที่มีสาระสำคัญ

(หนวย: ลานบาท)

สรุปรายการฐานะทางการเงิน

สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน สินทรัพย - สุทธิ สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ) สัดสวนตามสวนไดเสียของกิจการในสินทรัพย - สุทธิ รายการปรับปรุงจากการจัดทำงบการเงินรวม มูลคาตามบัญชีของสวนไดเสียของกิจการ ในบริษัทรวม

สรุปรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

รายได กำไร กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

154

รายงานประจำป 2561

บริษัท เซมเพอรเฟล็ก เอเชีย จำกัด

2561

2560

870 303 (233) (15) 925 42.50% 393 (6)

814 295 (234) (13) 862 42.50% 366 (6)

387

360

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม บริษัท เซมเพอรเฟล็ก เอเชีย จำกัด

(หนวย: ลานบาท)

2561

2560

1,682 422 (2) 420

1,591 375 (1) 374


14. เงินลงทุนในการรวมคา

14.1 รายละเอียดของเงินลงทุนในการรวมคา เงินลงทุนในการรวมคาซึ่งเปนเงินลงทุนในกิจการที่บริษัทและบริษัทอื่นควบคุมรวมกันมีรายละเอียดดังตอไปนี้ (หนวย: ลานบาท)

การรวมคา

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

สัดสวนเงินลงทุน

2561 2560

(รอยละ)

บริษัท ไทยเทค รับเบอร คอรปอเรชั่น จำกัด

ผลิตผลิตภัณฑ ยางแทง

ประเทศไทย

(รอยละ)

42.51 42.51

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

มูลคาตามบัญชีตามวิธี สวนไดเสีย

ราคาทุน

2561 2560

2561 2560

406

135

362

135

14.2 สวนแบงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จและเงินปนผลรับ ในระหวางปบริษัทรับรูสวนแบงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จจากการลงทุนในการรวมคาในงบการเงินรวมและรับรูเงินปนผลรับจากกิจการดัง กลาวในงบการเงินเฉพาะกิจการดังนี้ (หนวย: ลานบาท)

การรวมคา

บริษัท ไทยเทค รับเบอร คอรปอเรชั่น จำกัด บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด* รวม

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สวนแบงกำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการ รวมคาในระหวางป 2561 2560

เงินปนผลที่บริษัทรับ ในระหวางป

44 44

(145) 119 (26)

2561

2560

-

1,313 1,313

* ในเดือนมีนาคม 2560 ศรีตรังโกลฟสเปลี่ยนสถานะจากการรวมคาเปนบริษัทยอยตามหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12.2.1

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

155


14.3 ขอมูลทางการเงินของการรวมคาที่มีสาระสำคัญ

(หนวย: ลานบาท)

สรุปรายการฐานะทางการเงิน

สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน สินทรัพย - สุทธิ สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ) สัดสวนตามสวนไดเสียของกิจการในสินทรัพย - สุทธิ รายการปรับปรุงจากการทำงบการเงินรวม มูลคาตามบัญชีของสวนไดเสียของกิจการในการรวมคา

บริษัท ไทยเทค รับเบอร คอรปอเรชั่น จำกัด 2561

2560

1,326 1,006 (1,498) (17) 817 42.51% 347 59 406

2,176 1,015 (2,381) (47) 763 42.51% 325 37 362

(หนวย: ลานบาท)

สรุปรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

รายได กำไร (ขาดทุน) กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

156

รายงานประจำป 2561

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม บริษัท ไทยเทค รับเบอร คอรปอเรชั่น จำกัด 2561

2560

6,522 119 (36) 83

8,759 (356) (50) (406)


15. เงินลงทุนระยะยาว

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย เงินลงทุนในหลักทรัพยประเภททุน บวก กำไรที่ยังไมเกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงมูลคาเงินลงทุน รวมเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย - มูลคายุติธรรม เงินลงทุนทั่วไป หัก คาเผื่อการดอยคา เงินลงทุนทั่วไป - สุทธิ รวมเงินลงทุนระยะยาว

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

2561

2560

32,467

32,758

32,177

32,294

14,031 46,498 100,000 (10,000) 90,000 136,498

20,541 53,299 100,000 100,000 153,299

14,005 46,182 100,000 (10,000) 90,000 136,182

19,803 52,097 100,000 100,000 152,097

16. อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน

การกระทบยอดมูลคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนสำหรับป 2561 และ 2560 แสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

มูลคาตามบัญชีตนป ซื้อเพิ่ม ผลกำไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลคายุติธรรม ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน มูลคาตามบัญชีปลายป

2561

2560

2561

2560

188,910 156 13,367 (905) 201,528

151,932 47,893 (10,915) 188,910

75,663 75,663

27,770 47,893 75,663

อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนของกลุมบริษัท ไดแก อสังหาริมทรัพยที่ถือครองไวโดยยังมิไดระบุวัตถุประสงคของการใชในอนาคตรวมถึง ที่ดินที่ไมไดใชในการดำเนินงาน กลุมบริษัทไมไดระบุวาจะมีอสังหาริมทรัพยนั้นไวใชงานหรือเพื่อหาประโยชนจากการเพิ่มขึ้นของมูลคาของ สินทรัพยในระยะสั้น ทีด่ นิ ทีไ่ มไดใชในการดำเนินงานของกลุม บริษทั ไดมกี ารประเมินราคาใหมโดยผูป ระเมินราคาอิสระการประเมินราคาไดทำตามเกณฑราคาตลาด อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนแสดงดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งการประเมินไดใชเกณฑการเปรียบเทียบกับ มูลคาในทองตลาดของอสังหาริมทรัพยที่อยูในประเภทเดียวกันและอยูในบริเวณเดียวกันกับอสังหาริมทรัพยของบริษัทยอย บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

157


158

รายงานประจำป 2561

7,719,359 (494,167) 7,225,192 7,225,192 438,254 128,206 233,035 518,258 (77,759) 2,469,633 (39,592) (180,413) (60,710) (49,700) (32,397) 10,572,007

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลคาตามบัญชีตนป เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทยอย การซื้อเพิ่มขึ้น โอนเขา (ออก) โอนเปลี่ยนประเภท - สุทธิ การขายและการตัดจำหนาย - สุทธิ ตีราคาเพิ่ม ตีราคาลด คาเสื่อมราคาสำหรับป คาเสื่อมราคาที่รับรูเปนสินทรัพย (หมายเหตุ 18) คาเผื่อการดอยคาเพิ่มขึ้นระหวางป ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน - สุทธิ มูลคาตามบัญชีปลายป 4,268,011 973,659 63,784 300,038 (518,258) (36,055) 1,259,893 (77,011) (324,331) (9,226) (78,593) 5,821,911

5,410,631 (1,142,620) 4,268,011

อาคารและ ที่ดินและ สิ สวนปรับปรุงที่ดิน ่งปลูกสราง

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคา ตามราคาที่ประเมินใหม

ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ราคาทุน / ราคาตีใหม หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก คาเผื่อการดอยคา มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

17. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

2,561,957 2,565,616 123,614 1,304,951 (27,788) (1,070,496) (2,569) (53,028) 5,402,257

6,187,249 (3,619,235) (6,057) 2,561,957

เครื่องจักร และอุปกรณ

288,364 66,204 117,560 17,920 (5,651) (117,378) (11,585) 355,434

911,553 (623,189) 288,364

ยานพาหนะ

215,803 26,669 38,940 45,372 (1,500) (91,040) (4,732) 229,512

589,116 (373,313) 215,803

เครื่องตกแตง และเครื่องใช สำนักงาน

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน

งบการเงินรวม

1,206,187 64,425 2,494,460 (1,901,316) (16,681) (38,505) 1,808,570

สินทรัพย ระหวาง กอสรางและ ติดตั้ง 1,206,187 1,206,187

15,765,514 4,134,827 2,966,564 (165,434) 3,729,526 (116,603) (1,783,658) (72,505) (49,700) (218,840) 24,189,691

22,024,095 (6,252,524) (6,057) 15,765,514

รวม

(หนวย: พันบาท)


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

159

11,068,818 (447,111) (49,700) 10,572,007 10,572,007 45,537 273,898 215 (6,052) 296,513 (10,866) (244,346) (64,973) (25,609) 10,836,324

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาทุน / ราคาตีใหม หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก คาเผื่อการดอยคา มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลคาตามบัญชีตนป การซื้อเพิ่มขึ้น โอนเขา (ออก) โอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย - สุทธิ โอนไปยังสินทรัพยไมมีตัวตน (หมายเหตุ 19) การขายและการตัดจำหนาย - สุทธิ ตีราคาเพิ่ม ตีราคาลด คาเสื่อมราคาสำหรับป คาเสื่อมราคาที่รับรูเปนสินทรัพย (หมายเหตุ 18) โอนกลับคาเผื่อการดอยคา ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน - สุทธิ มูลคาตามบัญชีปลายป (56,068) 6,004,148

5,821,911 9,275 700,110 (215) (6,175) 1,927 (2,342) (457,954) (6,321)

6,409,049 (587,138) 5,821,911

อาคารและ ที่ดินและ สวนปรับปรุงที่ดิน สิ่งปลูกสราง

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคา ตามราคาที่ประเมินใหม

5,402,257 126,592 2,042,240 (18,294) (1,400,214) (3,127) 334 (42,716) 6,107,072

9,921,850 (4,513,703) (5,890) 5,402,257

เครื่องจักร และอุปกรณ

355,434 72,555 29,235 (6,820) (118,271) (2,621) (7,809) 321,703

1,057,193 (701,759) 355,434

ยานพาหนะ

229,512 24,752 26,373 (2,179) (88,431) (3,143) 186,884

666,282 (436,770) 229,512

เครื่องตกแตง และเครื่องใช สำนักงาน

(หนวย: พันบาท)

24,189,691 2,606,310 (4,910) (63,549) 298,440 (13,208) (2,309,216) (77,042) 334 (170,796) 24,456,054

สินทรัพย รวม ระหวาง กอสรางและ ติดตั้ง 1,808,570 30,931,762 - (6,686,481) (55,590) 1,808,570 24,189,691 1,808,570 2,327,599 (3,071,856) (4,910) (24,029) (35,451) 999,923

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน

งบการเงินรวม


160

รายงานประจำป 2561

11,802,415 (916,391) (49,700) 10,836,324

6,878,212 (874,064) 6,004,148

11,890,516 (5,777,888) (5,556) 6,107,072

เครื่องจักร และอุปกรณ

คาเสื่อมราคาสำหรับป 2560 (1,584 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 2561 (2,012 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ราคาทุน / ราคาตีใหม หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก คาเผื่อการดอยคา มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

อาคารและ ที่ดินและ สวนปรับปรุงที่ดิน สิ่งปลูกสราง

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคา ตามราคาที่ประเมินใหม

1,097,993 (776,290) 321,703

ยานพาหนะ

687,308 (500,424) 186,884

เครื่องตกแตง และเครื่องใช สำนักงาน

สินทรัพย ระหวาง กอสรางและ ติดตั้ง 999,923 999,923

สินทรัพยซึ่งแสดงมูลคาตามราคาทุน

งบการเงินรวม

1,783,658 2,309,216

33,356,367 (8,845,057) (55,256) 24,456,054

รวม

(หนวย: พันบาท)


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

161

2,624,454 (222,940) 2,401,514 2,401,514 23,183 90,109 (1,240) 1,289,975 (11,203) (95,525) 3,696,813

ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ราคาทุน / ราคาตีใหม หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก คาเผื่อการดอยคา มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลคาตามบัญชีตนป การซื้อเพิ่มขึ้น โอนเขา (ออก) การขายและการตัดจำหนาย - สุทธิ ตีราคาเพิ่ม ตีราคาลด คาเสื่อมราคาสำหรับป มูลคาตามบัญชีปลายป 1,824,914 17,330 169,119 (1,145) 560,396 (44,173) (136,919) 2,389,522

2,250,191 (425,277) 1,824,914

อาคารและ ที่ดินและ สวนปรับปรุงที่ดิน สิ่งปลูกสราง

สินทรัพยซึ่งแสดงตามราคาตีใหม

1,533,592 42,946 737,088 (5,767) (394,099) 1,913,760

3,260,045 (1,720,396) (6,057) 1,533,592

เครื่องจักร และอุปกรณ

85,088 21,266 5,919 (1,034) (31,125) 80,114

262,959 (177,871) 85,088

ยานพาหนะ

123,587 9,949 25,694 (488) (51,461) 107,281

347,297 (223,710) 123,587

เครื่องตกแตง และเครื่องใช สำนักงาน

(หนวย: พันบาท)

836,009 955,883 (1,027,929) (7,336) 756,627

6,804,704 1,070,557 (17,010) 1,850,371 (55,376) (709,129) 8,944,117

สินทรัพย รวม ระหวาง กอสรางและ ติดตั้ง 836,009 9,580,955 - (2,770,194) (6,057) 836,009 6,804,704

สินทรัพยซึ่งแสดงตามราคาทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ


162

รายงานประจำป 2561

3,696,813 1,599 156,719 (480) 253,508 (127,638) 176 3,980,697 4,321,874 (341,177) 3,980,697

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลคาตามบัญชีตนป การซื้อเพิ่มขึ้น โอนเขา (ออก) การขายและการตัดจำหนาย - สุทธิ ตีราคาเพิ่ม คาเสื่อมราคาสำหรับป โอนกลับคาเผื่อการดอยคา มูลคาตามบัญชีปลายป

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ราคาทุน / ราคาตีใหม หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก คาเผื่อการดอยคา มูลคาตามบัญชีปลายป 2,860,101 (353,374) 2,506,727

2,389,522 1,392 290,986 (970) (174,203) 2,506,727

2,569,006 (179,484) 2,389,522

4,611,482 (2,504,345) (5,556) 2,101,581

1,913,760 35,227 617,518 (4,053) (461,205) 334 2,101,581

3,991,022 (2,071,372) (5,890) 1,913,760

เครื่องจักร และอุปกรณ

คาเสื่อมราคาสำหรับป 2560 (632 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 2561 (758 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร)

3,910,485 (213,672) 3,696,813

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาทุน / ราคาตีใหม หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก คาเผื่อการดอยคา มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

อาคารและ ที่ดินและ สวนปรับปรุงที่ดิน สิ่งปลูกสราง

สินทรัพยซึ่งแสดงตามราคาตีใหม

300,501 (228,435) 72,066

80,114 5,264 18,550 (988) (30,874) 72,066

279,052 (198,938) 80,114

ยานพาหนะ

391,256 (301,558) 89,698

107,281 7,735 18,020 (1,061) (42,277) 89,698

378,308 (271,027) 107,281

เครื่องตกแตง และเครื่องใช สำนักงาน

342,453 342,453

756,627 690,362 (1,101,793) (2,743) 342,453

สินทรัพย ระหวาง กอสรางและ ติดตั้ง 756,627 756,627

สินทรัพยซึ่งแสดงตามราคาทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

709,129 836,197

12,827,667 (3,728,889) (5,556) 9,093,222

8,944,117 741,579 (10,295) 253,508 (836,197) 510 9,093,222

11,884,500 (2,934,493) (5,890) 8,944,117

รวม

(หนวย: พันบาท)


กลุมบริษัทไดจัดใหมีการประเมินราคาสินทรัพยโดยผูประเมินราคาอิสระในป 2560 และ 2561 ตามรายกลุมของสินทรัพย ซึ่งเกณฑที่ใชใน การประเมินราคาสินทรัพย มีดังนี้ • ที่ดินและสวนปรับปรุงที่ดิน ประเมินราคาโดยใชวิธีเปรียบเทียบราคาตลาด (Market Approach) ราคาเสนอขายของสินทรัพยที่คลาย กันในบริเวณใกลเคียงไดถูกปรับปรุงสำหรับความแตกตางในคุณลักษณะที่สำคัญ เชน เนื้อที่ ทำเลที่ตั้ง สภาพสิ่งแวดลอม และการ ใหประโยชนสูงสุดขอมูลที่เปนสาระสำคัญสำหรับการประเมินมูลคาคือราคาตอไร และ ขนาดที่ดิน • อาคารและสิ่งปลูกสรางประเมินราคาโดยใชมูลคาตนทุนทดแทนสุทธิ (Depreciated Replacement Cost) มูลคาทดแทนใหมคำนวณ จากราคาตนทุนการกอสรางในตลาดเพื่อสรางสินทรัพยลักษณะเดียวกันไดนำมาเปรียบเทียบกับสินทรัพยปรับปรุงดวยคาเสื่อม ที่คำนวณจากอายุการใชงานที่ใชไปและอายุที่คาดวาจะคงเหลือ ขอมูลที่เปนสาระสำคัญสำหรับการประเมินมูลคาคือ ตนทุนกอสราง ตอตารางเมตร พื้นที่ใชสอย และอายุอาคาร สวนเกินทุนที่เกิดขึ้นสุทธิจากภาษีเงินไดรอตัดบัญชีไดบันทึกไปยังบัญชีองคประกอบอื่นของสวนของเจาของ หากกลุมบริษัทแสดงมูลคาของที่ดินและสวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสรางดังกลาวดวยวิธีราคาทุนมูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 จะเปนดังนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม ที่ดินและสวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสราง

2561 7,258,610 4,306,450

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560 7,174,097 3,965,605

2561 2,145,005 1,716,936

2560 2,068,479 1,545,006

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุมบริษัทมียอดคงเหลือของเครื่องจักร ยานพาหนะและอุปกรณซึ่งไดมาภายใตสัญญาเชาทางการเงิน โดยมีมูลคาสุทธิตามบัญชีเปนจำนวนเงิน 61 ลานบาท (2560: 58 ลานบาท) (เฉพาะบริษัท: 12 ลานบาท (2560: 17 ลานบาท)) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุมบริษัทมีอาคารและอุปกรณจำนวนหนึ่งซึ่งตัดคาเสื่อมราคาหมดแลวแตยังใชงานอยู มูลคาตามบัญชีกอน หักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยดังกลาวมีจำนวนเงินประมาณ 3,472 ลานบาท (2560: 2,647 ลานบาท) (เฉพาะบริษัท: 1,679 ลานบาท (2560: 1,281 ลานบาท)) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ทีด่ นิ และอาคารของบริษทั ยอยบางแหงมูลคาสุทธิตามบัญชี จำนวนประมาณ 169 ลานบาท (2560: 167 ลานบาท) ไปใชเปนหลักประกันวงเงินสินเชือ่ และเงินกูย มื ระยะสัน้ และระยะยาวจากสถาบันการเงิน ตามทีก่ ลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 22

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

163


18. สวนยางพาราและสวนปาลม

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม สวนยางพารา ที่ใหน้ำยาง ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ราคาทุน หัก คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

ยังไมใหน้ำยาง

สวนปาลม ที่ใหผล

ที่ยังไมใหผล

รวม

16,523 (7,215) 9,308

1,559,408 1,559,408

8,721 (4,909) 3,812

948 (72) 876

1,585,600 (12,196) 1,573,404

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลคาตามบัญชีตนป 9,308 การลงทุนเพิ่มขึ้น โอนเขา (ออก) 25,573 การขายและการตัดจำหนาย - สุทธิ คาตัดจำหนาย (หมายเหตุ 29) (3,719) คาเสื่อมราคาที่รับรูเปนสินทรัพย (หมายเหตุ 17) มูลคาตามบัญชีปลายป 31,162

1,559,408 191,774 (25,780) (1,068) 72,505 1,796,839

3,812 1,083 (520) 4,375

876 (876) -

1,573,404 191,774 (1,068) (4,239) 72,505 1,832,376

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาทุน หัก คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

42,097 (10,935) 31,162

1,796,839 1,796,839

9,875 (5,500) 4,375

-

1,848,811 (16,435) 1,832,376

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลคาตามบัญชีตนป การลงทุนเพิ่มขึ้น โอนเขา (ออก) การขายและการตัดจำหนาย - สุทธิ คาตัดจำหนาย (หมายเหตุ 29) คาเสื่อมราคาที่รับรูเปนสินทรัพย (หมายเหตุ 17) มูลคาตามบัญชีปลายป

31,162 95,472 (3,487) 123,147

1,796,839 144,122 (95,472) (1,403) 77,042 1,921,128

4,375 2,549 (513) 6,411

3,355 (2,549) 806

1,832,376 147,477 (1,403) (4,000) 77,042 2,051,492

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ราคาทุน หัก คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

137,569 (14,422) 123,147

1,921,128 1,921,128

12,424 (6,013) 6,411

806 806

2,071,927 (20,435) 2,051,492

164

รายงานประจำป 2561


(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สวนยางพารา

สวนปาลม

ที่ใหน้ำยาง

ยังไมใหน้ำยาง

ที่ใหผล

ที่ยังไมใหผล

รวม

ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ราคาทุน หัก คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

1,669 (90) 1,579

-

1,165 (193) 972

-

2,834 (283) 2,551

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลคาตามบัญชีตนป การลงทุนเพิ่มขึ้น คาตัดจำหนาย (หมายเหตุขอ 29) มูลคาตามบัญชีปลายป

1,579 (91) 1,488

2,075 2,075

972 (192) 780

-

2,551 2,075 (283) 4,343

3,584 (2,096) 1,488

2,075

2,075

3,182 (2,402) 780

-

8,841 (4,498) 4,343

1,488 (91) 1,397

2,075 893 2,968

780 2,549 (190) 3,139

3,355 (2,549) 806

4,343 4,248 (281) 8,310

3,584 (2,187) 1,397

2,968 2,968

5,731 (2,592) 3,139

806 806

13,089 (4,779) 8,310

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาทุน หัก คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลคาตามบัญชีตนป การลงทุนเพิ่มขึ้น โอนเขา (ออก) คาตัดจำหนาย (หมายเหตุขอ 29) มูลคาตามบัญชีปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ราคาทุน หัก คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

165


19. สินทรัพยไมมีตัวตน

(หนวย: พันบาท)

โปรแกรมคอมพิวเตอร งบการเงินรวม ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ราคาทุน หัก คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มูลคาตามบัญชีตนป การซื้อเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นจากการซื้อบริษัทยอย การตัดจำหนาย - สุทธิ คาตัดจำหนาย (หมายเหตุขอ 29) ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน มูลคาตามบัญชีปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ราคาทุน หัก คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 มูลคาตามบัญชีตนป การซื้อเพิ่มขึ้น รับโอนจากอุปกรณ (หมายเหตุ 17) การตัดจำหนาย - สุทธิ คาตัดจำหนาย (หมายเหตุขอ 29) ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน มูลคาตามบัญชีปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ราคาทุน หัก คาตัดจำหนายสะสม มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

166

รายงานประจำป 2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ

612,869 (132,064) 480,805

566,583 (96,602) 469,981

480,805 37,787 6,701 (186) (64,490) (823) 459,794

469,981 27,096 (135) (56,361) 440,581

653,730 (193,936) 459,794

592,545 (151,964) 440,581

459,794 26,448 4,910 (57) (70,280) (127) 420,688

440,581 13,446 (10) (58,437) 395,580

673,503 (252,815) 420,688

594,963 (199,383) 395,580


20. คาความนิยม

บริษัทพิจารณามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดจากมูลคาจากการใชสินทรัพยโดยประมาณการกระแสเงินสด ในอนาคตที่กิจการคาดวาจะไดรับอางอิงจากประมาณการทางการเงินซึ่งไดรับอนุมัติจากฝายบริหารประมาณการกระแสเงินสดดังกลาว ครอบคลุมระยะเวลา 5 ป กระแสเงินสดหลังจากปที่ 5 ใชประมาณการของอัตราการเติบโตตามตารางขางลางนี้ อัตราการเติบโตดังกลาวไม สูงกวาอัตราการเติบโตเฉลี่ยของธุรกิจที่หนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดนั้นดำเนินงานอยู ขอสมมติที่สำคัญในการคำนวณมูลคาจากการใชสินทรัพยของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด สรุปไดดังนี้ อัตราการเติบโต ณ สิ้นปที่มีการจัดทำประมาณการทางการเงิน อัตราคิดลดกอนภาษี

รอยละ 0.0 ตอป รอยละ 8.7 ตอป

ฝายบริหารพิจารณากำไรขั้นตนจากงบประมาณโดยอางอิงจากผลประกอบการในอดีตที่ผานมาประกอบกับการคาดการณการเติบโต ของตลาด และอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจอัตราคิดลดที่ใชเปนอัตรากอนภาษีที่สะทอนถึงความเสี่ยงซึ่งเปนลักษณะเฉพาะที่เกี่ยวของ กับสวนงานนั้นๆ ฝายบริหารพิจารณาแลวคาความนิยมไมเกิดการดอยคา 21. เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2561 2560 เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 6) เจาหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 6) คาใชจายคางจาย - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน รายไดรับลวงหนา - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 6) รายไดรับลวงหนาคาสินคาและอื่น ๆ เงินมัดจำและเงินประกันผลงานรับจากลูกคา เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 6) เจาหนี้อื่น - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน อื่น ๆ รวมเจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

64,110 1,314,201 643,494 6,940 395,576 139,358 383 109,454 523 2,674,039

179,733 1,221,484 621,595 279,897 99,906 4 211,638 583 2,614,840

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561 2560 383,080 491,518 35,890 248,476 184,081 25,424 17,892 31,315 103 1,417,779

791,558 349,392 5,000 274,817 170,467 19,601 50,159 58,108 155 1,719,257

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

167


22. เงินกูยืม

การเปลี่ยนแปลงของเงินกูยืมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 สรุปไดดังนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินลดลง เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น จายคืนเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จายคืนหุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงินเพิ่มขึ้น จายคืนหนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากการแปลงคาอัตราแลกเปลี่ยน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

32,306,079 (5,962,683) 2,279,400 (1,300,654) (600,000) 11,017 (10,245) 12,299 (208,043) 26,527,170

งบการเงินเฉพาะกิจการ 22,246,873 (3,434,271) 629,400 (300,000) (600,000) (4,092) 11,276 18,549,186

เงินกูยืมระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 เงินกูยืมระยะสั้นบางสวน ของบริษัทยอยในประเทศแหงหนึ่ง จำนวน 31 ลานบาท (2560: 26 ลานบาท) ค้ำประกันโดยที่ดิน สวนปรับปรุงที่ดินอาคารและสิ่งปลูกสรางของบริษัทยอยดังกลาวและบริษัทยอยอีกแหงหนึ่งในประเทศไทยตามที่กลาว ไวในหมายเหตุขอ 17 และมีการค้ำประกันโดยกรรมการบริษัทบางทาน นอกจากนี้เงื่อนไขของสัญญาเงินกูดังกลาวกำหนดวาบริษัทและ บริษัทยอยแหงหนึ่งตองไมนำสินทรัพยของบริษัทและบริษัทยอยดังกลาวไปกอภาระผูกพันหรือยินยอมใหมีการกอภาระผูกพันอื่นอีกเวนแต จะไดรับคำยินยอมจากธนาคารที่ใหกูอยางเปนทางการ บริษัทยอยในตางประเทศแหงหนึ่งมีวงเงินสินเชื่อกับสถาบันการเงินในตางประเทศ เปนจำนวน 19 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาหรือประมาณ 616 ลานบาท (2560: 35 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 1,144 ลานบาท) ซึ่ง ณ 31 ธันวาคม 2561 มียอดเงินกูยืมระยะสั้น คงเหลือจำนวน 10.5 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 341 ลานบาท (2560: 15.3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 498 ลานบาท) ค้ำประกันโดยแสตนดบายเลตเตอรออฟเครดิตของธนาคารพาณิชยตามที่กลาวไวในหมายเหตุขอ 36.3.3

168

รายงานประจำป 2561


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

169

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด

6

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

3

5

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

2

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

1

4

บริษัท

เงินกู

3,000 ลานบาท ไดรับในป 2560

20 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา ไดรับในป 2561

20 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา ไดรับในป 2560

15 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา ไดรับในป 2560

15 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา ไดรับในป 2559

3,800 ลานบาท ไดรับในป 2555

วงเงินกูยืม

7 ป

3 ป

3 ป

3 ป

3 ป

10 ป

เงินตนชำระเมื่อสิ้นสุด สัญญาและดอกเบี้ย ชำระรายไตรมาส

เงินตนชำระเมื่อสิ้นสุด สัญญาและดอกเบี้ย ชำระรายไตรมาส

เงินตนชำระเมื่อสิ้นสุด สัญญาและดอกเบี้ย ชำระรายไตรมาส

เงินตนชำระเมื่อสิ้นสุด สัญญาและดอกเบี้ย ชำระรายไตรมาส

เงินตนชำระราย ไตรมาสเริ่มกันยายน 2555 และดอกเบี้ย

กำหนดการชำระ เงินตนและดอกเบี้ย

งบการเงินเฉพาะกิจการ

652,296

652,296

489,222

489,222

-

656,944

492,708

492,708

-

652,296

652,296

489,222

489,222

-

-

656,944

492,708

492,708

2,671,350 2,971,350 2,671,350 2,971,350

2561 2560 2561 2560 (พันบาท) (พันบาท) (พันบาท) (พันบาท)

งบการเงินรวม

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

MLR ลบดวย เงินตนชำระราย 2,020,000 3,000,000 อัตราคงที่ตอป ไตรมาสเริ่มมีนาคม 2561 และดอกเบี้ยชำระรายไตรมาส

อัตราคงที่ตอป

อัตราคงที่ตอป

อัตราคงที่ตอป

อัตราคงที่ตอป

MLR ลบดวย อัตราคงที่ตอป

ระยะเวลา อัตราดอกเบี้ย การกู รอยละ

22.1 เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 กลุมบริษัทมีสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับธนาคารพาณิชย โดยมีรายละเอียดดังนี้


170

รายงานประจำป 2561

8 ลานบาท 5 ป ไดรับในป 2556 6 เดือน

MLR ลบดวย อัตราคงที่ตอป

MLR ลบดวย อัตราคงที่ตอป

เงินตนชำระราย เดือนเริ่มมกราคม 2557 และดอกเบี้ย ชำระรายเดือน

เงินตนชำระราย ไตรมาสเริ่มมิถุนายน 2562 และดอกเบี้ย ชำระรายไตรมาส

เงินตนชำระราย ไตรมาสเริ่มกันยายน 2561 และดอกเบี้ย ชำระรายไตรมาส

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

700,000

930,000

-

-

654

-

-

-

-

-

-

2561 2560 2561 2560 (พันบาท) (พันบาท) (พันบาท) (พันบาท)

งบการเงินรวม

เงินใหกูยืมดังกลาวไมมีหลักทรัพยค้ำประกัน นอกจากนี้ ภายใตสัญญาเงินกูยืมระยะยาวของกลุมบริษัทไดระบุขอปฏิบัติบางประการที่กลุมบริษัทตองปฏิบัติตาม เชน การดำรงอัตราสวนทางการเงิน เปนตน

1,260,000 420,654 965,000 300,000 7,344,386 7,193,710 3,989,386 4,313,710

บริษัท อันวารพาราวูด จำกัด

9

700 ลานบาท 4 ป ไดรับในป 2561 6 เดือน

MLR ลบดวย อัตราคงที่ตอป

กำหนดการชำระ เงินตนและดอกเบี้ย

หัก: สวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด

8

950 ลานบาท 7 ป ไดรับในป 2561 6 เดือน

ระยะเวลา อัตราดอกเบี้ย การกู รอยละ

8,604,386 7,614,364 4,954,386 4,613,710

บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด

7

วงเงินกูยืม

รวม

บริษัท

เงินกู

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

(หนวย: พันบาท)


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

171

13 กุมภาพันธ 2556 18 พฤษภาคม 2559 18 พฤษภาคม 2559

วันที่ออกหุนกู 13 กุมภาพันธ 2561 18 พฤษภาคม 2562 18 พฤษภาคม 2564

วันที่ครบกำหนดไถถอน 600,000 810,000 1,455,000

จำนวน (หนวย) 1,000 1,000 1,000

ราคาตอหนวย (บาทตอหนวย)

หุนกู

2,265,000

2,865,000

มูลคาตามบัญชี 2561 2560

2,256,828

2,867,023

มูลคายุติธรรม 2561 2560

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ

(หนวย: พันบาท)

เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ 2561บริษัทไดไถถอนหุนกูไมมีหลักประกันจำนวน 600,000 หนวย มูลคา หนวยละ 1,000 บาท มูลคารวม 600 ลานบาทหุนกูดังกลาวเปนหุนกูชนิดระบุชื่อผูถือ ประเภทไมดอยสิทธิ ไมมีประกัน โดยมีกำหนดจายดอกเบี้ยทุกๆ 6 เดือน

รวม หัก: หุนกูที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หุนกู - สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป

STA 182A STA 195A STA 215A

หุนกู

22.2 หุนกู

4.50 2.55 3.10

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

2,265,000 (810,000) 1,455,000

810,000 1,455,000

2561

2,865,000 (600,000) 2,265,000

600,000 810,000 1,455,000

2560

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ

(หนวย: พันบาท)


22.3 หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจำหนาย รวม หัก: สวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน-สุทธิจากสวนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

2561

2560

44,003 (2,606) 41,397 (16,248)

43,839 (3,151) 40,688 (13,167)

10,196 (654) 9,542 (3,786)

14,781 (1,147) 13,634 (4,092)

25,149

27,521

5,756

9,542

กลุมบริษัทไดทำสัญญาเชาการเงินกับบริษัทลีสซิ่งเพื่อเชาเครื่องจักรยานพาหนะและอุปกรณใชในการดำเนินงานของกิจการโดยมีกำหนดการ ชำระคาเชาเปนรายเดือน อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ถึง 5 ป กลุมบริษัทมีภาระผูกพันที่จะตองจายคาเชาขั้นต่ำตามสัญญาเชาการเงินดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินรวม ไมเกิน 1 ป 1 - 5 ป

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ รวม

ไมเกิน 1 ป

ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา 17,725 ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาการเงินรอการตัดบัญชี (1,477)

26,278 44,003 (1,129) (2,606)

4,124 (338)

6,072 10,196 (316) (654)

มูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้น ตามสัญญาเชา

25,149 41,397

3,786

5,756

16,248

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม ไมเกิน 1 ป 1 - 5 ป

1 - 5 ป

รวม

9,542

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ รวม

ไมเกิน 1 ป

ผลรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้นตามสัญญาเชา 14,736 ดอกเบี้ยตามสัญญาเชาการเงินรอการตัดบัญชี (1,569)

29,103 43,839 (1,582) (3,151)

4,585 (493)

10,196 14,781 (654) (1,147)

มูลคาปจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ตองจายทั้งสิ้น ตามสัญญาเชา

27,521 40,688

4,092

9,542 13,634

172

รายงานประจำป 2561

13,167

1 - 5 ป

รวม


23. ประมาณการหนี้สินผลประโยชนพนักงานเมื่อเกษียณอายุ

จำนวนเงินประมาณการหนี้สินผลประโยชนพนักงานเมื่อเกษียณอายุ ซึ่งเปนเงินชดเชยพนักงานเมื่อเกษียณอายุแสดงไดดังนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561

2560

185,233 76,962

93,046 -

83,947 -

32,917 8,776

20,200 7,836

9,329 2,063

8,914 2,073

สวนที่รับรูในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น : (กำไร) ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย สวนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงขอสมมติดาน ประชากรศาสตร 8,186 สวนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงขอสมมติทางการเงิน (25,798) สวนที่เกิดจากการปรับปรุงจากประสบการณ 1,383 ผลประโยชนที่จายในระหวางป (4,637)

23,731 (5,774)

3,300 (1,846) 14,285 (2,061)

(11) (1,877)

308,188

118,116

93,046

ประมาณการหนี้สินผลประโยชนพนักงานเมื่อเกษียณ อายุตนป เพิ่มขึ้นจากการการซื้อบริษัทยอย สวนที่รับรูในกำไรหรือขาดทุน : ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย

ประมาณการหนีส้ นิ ผลประโยชนพนักงานเมือ่ เกษียณ อายุปลายป

2561

2560

308,188 -

329,015

กลุมบริษัทคาดวาจะจายชำระผลประโยชนระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปขางหนา เปนจำนวนประมาณ 31 ลานบาท (งบการเงิน เฉพาะกิจการ: จำนวน 19 ลานบาท) (2560: จำนวน 5 ลานบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ: จำนวน 2 ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ระยะเวลาเฉลี่ยถวงน้ำหนักในการจายชำระผลประโยชนระยะยาวของพนักงานของกลุมบริษัทประมาณ 13.7 ป (งบการเงินเฉพาะกิจการ 13.7 ป) (2560: 15 ป งบการเงินเฉพาะกิจการ: 15 ป) สมมติฐานทีส่ ำคัญในการประมาณ การตามหลักคณิตศาสตร (รอยละตอป)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม

อัตราคิดลด อัตราการขึน้ เงินเดือนในอนาคต อัตราการเปลีย่ นแปลงในจำนวนพนักงาน

2561

2560

2561

1.73 - 4.38 3.0 - 5.0 0 - 30.0

1.46 - 3.97 3.0 - 5.0 0 - 30.0

1.73 - 4.38 3.0 - 5.0 0 - 30.0

2560 1.46 - 3.97 3.0 - 5.0 0 - 30.0

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

173


ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่สำคัญตอมูลคาปจจุบันของประมาณการหนี้สินผลประโยชนพนักงานเมื่อเกษียณอายุ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 สรุปไดดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินรวม อัตราคิดลด อัตราการขึน้ เงินเดือน

อัตราการเปลีย่ นแปลงในจำนวนพนักงาน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

เพิ่มขึ้น 1%

ลดลง 1%

เพิ่มขึ้น 1%

ลดลง 1%

(62,592) 80,013

80,697 (62,336)

(9,180) 10,254

10,539 (9,123)

เพิ่มขึ้น 20%

ลดลง 20%

เพิ่มขึ้น 20%

ลดลง 20%

(15,933)

18,791

(6,575)

7,737

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

อัตราการเปลีย่ นแปลงในจำนวนพนักงาน

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม อัตราคิดลด อัตราการขึน้ เงินเดือน

(หนวย: พันบาท)

เพิ่มขึ้น 1%

ลดลง 1%

เพิ่มขึ้น 1%

ลดลง 1%

(70,774) 99,169

95,153 (74,715)

(7,382) 10,180

8,562 (8,877)

เพิ่มขึ้น 20%

ลดลง 20%

เพิ่มขึ้น 20%

ลดลง 20%

(20,936)

25,137

(7,510)

9,015

เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2561 สภานิติบัญญัติแหงชาติไดมีมติผานรางพระราชบัญญัติคุมครองแรงงานฉบับใหม ซึ่งกฎหมายดังกลาว อยูในระหวางรอประกาศในราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานฉบับใหมนี้กำหนดอัตราคาชดเชยเพิ่มเติมกรณีนายจางเลิกจาง สำหรับลูกจางซึ่งทำงานติดตอกันครบ 20 ปขึ้นไปใหมีสิทธิไดรับคาชดเชยไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทาย 400 วัน การเปลี่ยนแปลง ดังกลาวถือเปนการแกไขโครงการสำหรับโครงการผลประโยชนหลังออกจากงาน และมีผลกระทบใหกลุมบริษัทมีประมาณการหนี้สินผล ประโยชน พ นั ก งานเมื ่ อ เกษี ย ณอายุ เ พิ ่ ม ขึ ้ น 79 ล า นบาท (เฉพาะของบริ ษ ั ท : 30 ล า นบาท) กลุ  ม บริ ษ ั ท จะบั น ทึ ก ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงดังกลาวโดยรับรูตนทุนบริการในอดีตเปนคาใชจายทันทีในสวนของกำไรหรือขาดทุนของงวดที่กฎหมายดังกลาวมีผลบังคับใช

174

รายงานประจำป 2561


24. ทุนเรือนหุน

ป 2560 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2560 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ไดมีมติอนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจากหุนสามัญจำนวน 1,280,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เปนหุนสามัญจำนวน 1,535,999,998 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2560 บริษัทไดรับ คาหุนสำหรับหุนสามัญที่เพิ่มจำนวน 255,999,998 หุน โดยกำหนดสัดสวนการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนในอัตรา 5 หุนเดิม ตอ 1 หุนใหม ที่ราคาเสนอขายหุนละ 10 บาท โดยมีมูลคาหุนที่ชำระแลวตามมูลคาที่ตราไวและสวนเกินมูลคาหุนจำนวน 256 ลานบาท และ 2,301 ลานบาท ตามลำดับ บริษัทไดจดทะเบียนเพิ่มทุนที่ออกและชำระแลวกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2560 ป 2561 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2561 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำปของบริษัทมีมติอนุมัติการลดทุนจดทะเบียนของบริษัทจากทุนจดทะเบียนเดิม จำนวน 1,536,000,000 บาท (หุนสามัญ 1,536,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) เปนทุนจดทะเบียนจำนวน 1,535,999,998 บาท (หุนสามัญ 1,535,999,998 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท) โดยยกเลิกหุนสามัญจดทะเบียนที่บริษัทยังมิไดออกจำหนายจำนวน 2 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท ทั้งนี้ บริษัทไดจดทะเบียนการลดทุนจดทะเบียนของบริษัทกับกระทรวงพาณิชยแลวเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2561

25. สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย

สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย คือสวนเกินทุนจากการประเมินราคาที่ดิน สวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสิ่งปลูกสราง สวนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพยดังกลาว จะทยอยตัดจำหนายโดยใชวิธีเสนตรงตามอายุการใชงานที่เหลืออยูของสินทรัพยนั้น และบันทึกโอนไปยังกำไรสะสมโดยตรง (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

2561

2560

ยอดคงเหลือตนป - สุทธิจากภาษี เพิ่มขึ้นจากการประเมินราคาสินทรัพย - สุทธิจากภาษี ลดลงจากการขายสินทรัพย - สุทธิจากภาษี หัก: คาเสื่อมราคาของสวนเกินทุนจากการประเมิน ราคาสินทรัพย - สุทธิจากภาษี

4,049,446 240,462 (2,116)

1,296,860 2,848,898 (34,721)

1,944,873 202,806 (394)

552,827 1,423,477 -

(185,133)

(61,591)

(89,375)

(31,431)

ยอดคงเหลือปลายป - สุทธิจากภาษี

4,102,659

4,049,446

2,057,910

1,944,873

สวนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพยดังกลาวไมสามารถนำมาหักกับขาดทุนสะสมและไมสามารถจายเปนเงินปนผลได

26. สำรองตามกฎหมาย

ภายใตบทบัญญัติของมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทตองจัดสรรกำไรสุทธิประจำปสวนหนึ่งไวเปน ทุนสำรองไมนอยกวารอยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไมนอยกวา รอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนำไปจายเงินปนผลได ในปจจุบัน บริษัทไดจัดสรรสำรองตาม กฎหมายไวครบถวนแลว

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

175


27. รายไดอื่น (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2561

2560

รายไดชดเชยเงินประกัน รายไดใหบริการโปรแกรมคอมพิวเตอร รายไดคาเชา รายไดจากการค้ำประกัน รายไดใหบริการสำนักงาน อื่น ๆ

69,066 8,610 23,952 136,107

รวมรายไดอื่น

237,735

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561

2560

505,680 14,318 22,120 5,553 136,038

27,353 21,509 12,052 14,267 17,196 66,547

40,419 62,754 9,009 28,285 22,068 43,012

683,709

158,924

205,547

รายไดชดเชยเงินประกัน ในงบการเงินรวมป 2560 จำนวน 506 ลานบาท เปนรายไดชดเชยเงินประกันจากเหตุการณอัคคีภัยที่โรงงานของ PT Star Rubber ในประเทศอินโดนีเซีย จำนวน 463 ลานบาท 28. กำไร (ขาดทุน) อื่น - สุทธิ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

กำไร (ขาดทุน) จากตราสารอนุพันธทางการเงิน เกี่ยวกับยางพารา กำไร (ขาดทุน) จากการขายและตัดจำหนายทรัพยสิน

1,202,808 (12,876)

100,303 (788)

538,119 (4,066)

(92,055) 3,889

รวมกำไร (ขาดทุน) อื่น - สุทธิ

1,189,932

99,515

534,053

(88,166)

176

รายงานประจำป 2561

2561

2560


29. คาใชจายตามลักษณะ

รายการคาใชจายแบงตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจายที่สำคัญดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2561 การเปลี่ยนแปลงในสินคาสำเร็จรูปและงานระหวางทำ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป การปรับลดราคาทุนของสินคาคงเหลือเปนมูลคาสุทธิ ที่จะไดรับ (โอนกลับ) เงินเดือนและคาแรงและผลประโยชนอื่นของพนักงาน คาเสื่อมราคา คาตัดจำหนายสวนยางพาราและสวนปาลม คาตัดจำหนายสินทรัพยไมมีตัวตน คาขนสงและคาจัดจำหนาย คาพลังงาน คาสงเคราะหการทำสวนยาง*

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2561

2560

3,078,947 48,087,041

(2,080,846) 60,917,781

1,467,903 24,936,677

(539,789) 32,994,781

(172,328) 3,270,556 2,309,216 4,000 70,280 1,770,811 2,325,151 1,393,135

343,698 2,946,006 1,783,658 4,239 64,490 1,689,920 1,889,132 1,294,826

(160,655) 946,603 836,197 281 58,437 931,537 585,267 1,007,141

236,074 921,792 709,129 283 56,361 839,637 540,335 897,431

*คาสงเคราะหการทำสวนยางคือเงินคาธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากผูสงออกผลิตภัณฑยางธรรมชาติไปนอกราชอาณาจักรเขากองทุนสงเคราะห การทำสวนยาง ซึ่งบริหารโดยการยางแหงประเทศไทย (“กยท”) เพื่อไปอุดหนุนการปลูกสวนยางพาราใหมทดแทนสวนยางพาราเดิม คาธรรมเนียมคำนวณจากปริมาณการสงออกยางธรรมชาติคูณดวยอัตราคงที่ที่ตกลงกันโดยอางอิงจากราคายาง ณ วันที่สงออก 30. ภาษีเงินได

คาใชจาย (รายได) ภาษีเงินไดสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 สรุปไดดังนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2561

2560

406,365

151,653

4,621

-

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี: ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกตางชั่วคราว และการกลับรายการผลแตกตางชั่วคราว (165,376)

(131,023)

(57,542)

(126,037)

20,630

(52,921)

(126,037)

ภาษีเงินไดปจจุบัน: ภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับป

คาใชจาย (รายได) ภาษีเงินไดที่แสดงอยูในงบกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ

240,989

2561

2560

จำนวนภาษีเงินไดที่เกี่ยวของกับสวนประกอบแตละสวนของกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 สรุปไดดังนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

177


(หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกี่ยวของกับกำไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกี่ยวของกับกำไร จากการตีราคาที่ดินและอาคาร ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกี่ยวของกับกำไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

2561

2560

(1,302)

919

(1,159)

902

59,688

738,338

50,701

355,869

4,548 7,028

(5,809) 29,549

(3,148) -

3 -

69,962

762,997

46,394

356,774

รายการกระทบยอดระหวางกำไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกับคาใชจาย (รายได) ภาษีเงินไดมีดังนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2561

2560

2561

2560

กำไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล 2,386,963 อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล 17 - 25% กำไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล คูณอัตราภาษี 502,614 สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมและกิจการรวมคา (44,741) ผลขาดทุนทางภาษีที่ไมไดรับรูเปนสินทรัพยภาษีเงินได รอการตัดบัญชีในระหวางป 152,422 ผลขาดทุนทางภาษีที่ไมไดบันทึกเปนสินทรัพย ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีในปกอนแตนำมาใชประโยชน ในระหวางป (216,642) การตัดจำหนายสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ซึ่งถูกรับรูในรอบบัญชีที่ผานมา -

(1,397,911) 17 - 25%

1,620,219 20%

2,542,439 20%

(260,893) (25,968)

324,044 -

508,488 -

497,780

111,201

339,318

(40,950)

(187,087)

-

10,771

-

-

ผลกระทบทางภาษีสำหรับ: การสงเสริมการลงทุน (หมายเหตุ 31) รายไดที่ไดรับการยกเวนภาษีเงินได คาใชจายตองหาม คาใชจายที่มีสิทธิหักไดเพิ่มขึ้น ภาษีในสวนที่ไดรับในอัตราพิเศษที่รอยละ 10 (ก) อื่น ๆ รวม

(53,775) (11,430) 27,431 (96,123) (47,912) 29,145 (152,664)

(13,565) (184,687) 143,673 (69,518) (23,895) (12,118) (160,110)

(21,389) (213,348) (12,292) (56,966) 2,916 (301,079)

(965,419) 31,335 (39,759) (973,843)

คาใชจาย (รายได) ภาษีเงินไดที่แสดงอยูในงบกำไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ

240,989

20,630

(52,921)

(126,037)

178

รายงานประจำป 2561


ขอมูลเพิ่มเติม (ก) เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2548 กระทรวงการคาและอุตสาหกรรมของประเทศสิงคโปรไดใหสิทธิประโยชนตามโครงการ Global Trader Programme แกบริษัทยอยแหงหนึ่งของกลุมบริษัทสำหรับงวดตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2548 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ภายใตโครงการนี้ รายไดที่มาจากรายการคาที่เขาเงื่อนไขของสินคาที่ไดรับอนุมัติจะเสียภาษีในอัตราพิเศษ (Concessionary rate) ที่รอยละ 10 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2558 สิทธิประโยชนดังกลาวไดรับการขยายระยะเวลาสำหรับงวดตั้งแต วันที่ 1 มกราคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2562 สวนประกอบของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ประกอบดวยรายการดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2561

2560

623,105 35,156 71,726

382,724 22,053 10,227

373,073 30,636 22,644

41,747 68,170 24,845

49,352 64,620 23,426

17,711 23,623 46

17,815 18,609 46

881,244

867,385

456,384

462,823

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สวนเกินทุนจากการประเมินราคาสินทรัพย 1,310,493 การประเมินมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน 12,578 กำไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากตราสารอนุพันธทางการเงิน 6,616 อื่น ๆ 3,182 รวม 1,332,869

1,337,441 12,578 59,866 4,540 1,414,425

514,477 12,578 6,616 2,801 536,472

486,218 12,578 51,304 3,960 554,060

หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี - สุทธิ

(547,040)

(80,088)

(91,237)

สินทรัพย (หนี้สิน) ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีแสดงในงบแสดงฐานะการเงินดังนี้ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี 236,110 197,989 หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (687,735) (745,029)

(80,088)

(91,237)

(80,088)

(91,237)

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใช ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากตราสารอนุพันธทางการเงิน คาเผื่อการลดลงของมูลคาสินคาคงเหลือ ผลขาดทุนสะสมจากการตีราคาสินทรัพยลดลงและ คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ประมาณการหนี้สินผลประโยชนพนักงานเมื่อเกษียณอายุ อื่น ๆ รวม

2561

2560

666,728 24,138 55,616

(451,625)

(451,625)

(547,040)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุมบริษัท มีรายการผลแตกตางชั่วคราวที่ใชหักภาษีและขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชจำนวน 1,784 ลานบาท (เฉพาะกิจการ: 756 ลานบาท) (2560: 1,343 ลานบาท เฉพาะกิจการ 550 ลานบาท) ที่กลุมบริษัทไมไดบันทึกสินทรัพยภาษีเงินไดรอการ ตัดบัญชีเนื่องจากกลุมบริษัทและบริษัทพิจารณาแลวเห็นวากลุมบริษัทและบริษัทอาจไมมีกำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะนำผลแตกตาง ชั่วคราวและผลขาดทุนทางภาษีมาใชประโยชนได ผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชที่กลุมบริษัทไมไดรับรูเปนสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีมีจำนวนเงิน 1,690 ลานบาท ซึ่งจะทยอยสิ้นสุด ระยะเวลาการใหประโยชนภายในป 2580 (เฉพาะกิจการ: จำนวนเงิน 746 ลานบาท ภายในป 2565)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

179


31. การสงเสริมการลงทุน

กลุมบริษัทไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนสำหรับการผลิตน้ำยางขน ยางแทง Skim Crepe และถุงมือยาง ภายใตเงื่อนไขที่กำหนดบางประการ ซึ่งสิทธิพิเศษที่ไดรับโดยสังเขปมีดังนี้ (ก) ไดรับยกเวนการเสียภาษีอากรขาเขาและภาษีการคาสำหรับเครื่องจักรและเครื่องมือตามที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการสงเสริม การลงทุน (ข) ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิเปนระยะเวลาแปดปนับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการ และไดรับลดหยอน ภาษีเงินไดนิติบุคคลสำหรับกำไรสุทธิในอัตรารอยละหาสิบของอัตราปกติอีกหาปนับจากระยะเวลาแปดปแรกสิ้นสุดลง ในฐานะที่เปนอุตสาหกรรมที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน กลุมบริษัทตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไวในบัตรสงเสริมการลงทุน รายไดของกลุมบริษัทจำแนกตามกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนและไมไดรับการสงเสริมการลงทุนสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 สามารถสรุปไดดังตอไปนี้

กิจการที่ไดรับการสงเสริม 2561

2560

รายไดจากการขายและบริการ รายไดจากการขายและบริการในประเทศ 6,297,128 10,703,714 รายไดจากการขายและบริการสงออก 25,945,426 30,932,620 รวมรายไดจากการขายและบริการ 32,242,554 41,636,334 ตัดรายการระหวางกัน

งบการเงินรวม กิจการที่ไมไดรับ การสงเสริม 2561 2560 13,290,733 12,749,057 51,164,933 64,864,259 64,455,666 77,613,316

รวม

(หนวย: พันบาท)

รวม 2561

2560

19,587,861 23,452,771 77,110,359 95,796,879 96,698,220 119,249,650 (23,205,419) (29,862,656) 73,492,801

89,386,994

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ กิจการที่ไมไดรับ การสงเสริม 2561 2560

2561

รายไดจากการขายและบริการ รายไดจากการขายและบริการในประเทศ 4,445,770 5,228,626 รายไดจากการขายและบริการสงออก 14,027,881 9,959,097

7,628,030 10,794,088 15,026,218 26,061,929

12,073,800 29,054,099

16,022,714 36,021,026

รวมรายไดจากการขายและบริการ

22,654,248 36,856,017

41,127,899

52,043,740

กิจการที่ไดรับการสงเสริม 2561

180

รายงานประจำป 2561

2560

18,473,651 15,187,723

รวม 2560


32. กำไรตอหุน

กำไรตอหุนขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไร (ขาดทุน)สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทดวยจำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักที่ออก จำหนายและชำระแลวในระหวางป การคำนวณกำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน แสดงไดดังนี้ สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม 2561 กำไร (ขาดทุน) สวนทีเ่ ปนของผูถ อื หุน ของบริษทั (พันบาท) จำนวนหุน สามัญถัวเฉลีย่ ถวงน้ำหนัก (พันหุน ) กำไร (ขาดทุน) ตอหุน ขัน้ พืน้ ฐาน (บาท)

2,064,358 1,536,000 1.34

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2561

2560

(1,437,051) 1,370,204 (1.05)

1,673,139 1,536,000 1.09

2,668,476 1,370,204 1.95

33. ขอมูลทางการเงินจำแนกตามสวนงาน

ผูมีอำนาจในการตัดสินใจดานการดำเนินงาน คือ กรรมการผูจัดการซึ่งมีหนาที่ในการสอบทานรายงานของกลุมบริษัทอยางสม่ำเสมอ เพื่อประเมินผลการดำเนินงานและเพื่อการจัดสรรทรัพยากรอยางเหมาะสมกรรมการผูจัดการประเมินผลการดำเนินงานโดยพิจารณาจาก ผลกำไรแยกตามสวนงาน ซึ่งใชมาตรฐานในการวัดผลการดำเนินงาน เชนเดียวกับการจัดทำงบการเงินรวม การดำเนินงานแยกตามสวนงานเปนองคประกอบหนึ่งของกลุมบริษัทซึ่งงบการเงินในแตละบริษัทไดมีการประเมินโดยกรรมการผูจัดการ อยางสม่ำเสมอ การรายงานขอมูลตามสวนงาน จำแนกไดเปน 4 ประเภทดังนี้ (1) ผลิตภัณฑจากยางธรรมชาติ: สวนงานนี้เกี่ยวของกับการผลิต การขาย และการจำหนาย ยางแผนรมควัน น้ำยางขน และยางแทง ในสวนงานนีร้ วมถึงการผลิต และการขายถุงมือทีใ่ ชในทางการแพทยประเภทผสมแปงและประเภทไมผสมแปง ราวบันไดเลือ่ นแมพมิ พยาง และสายไฮโดรลิค (2) ธุรกิจวิศวกรรม: สวนงานนีใ้ หบริการดานวิศวกรรม รวมถึงดำเนินการทีเ่ กีย่ วของกับงานวิจยั และพัฒนาเครือ่ งจักร รวมทัง้ กระบวนการผลิต และการบริการทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (3) ธุรกิจสวน: สวนงานนี้เกี่ยวของกับการปลูกพืชสวนยางพารา ปาลม และพืชผลเมืองหนาว (4) ธุรกิจอื่น: ธุรกิจอื่นประกอบดวย การบริการขนสง และบริการอื่นๆ การบริการตามสวนงานนี้สวนใหญเปนการใหบริการในกลุมบริษัท และมีการใหบริการกับบุคคลภายนอกเปนสวนนอย ธุรกิจตามสวนงานทั้ง 4 ประเภทของกลุมบริษัทไดดำเนินงานใน 7 ภูมิภาคหลัก การจัดประเภทรายไดในแตละภูมิภาคตามหลักเกณฑ เดียวกันคือ แบงตามภูมิภาคที่ยอดขายนั้นเกิดขึ้น

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

181


182

รายงานประจำป 2561

6,327,992

สินทรัพยรวม

5,433,558

600,502 (85,181) 515,321

(336,494) 33,348 (303,146)

55,704,913

(8,334) 15,425 (3,566)

(370,109) 7,922 (310,947)

17,032,286

16,628,389 403,897

304,113

(137,434) 27,456 (109,978)

(557) (17,796)

307,914

307,914 -

สิงคโปร สหรัฐอเมริกา

1,498,375

162,971 (36,363) 126,608

(1,845) 1,008 -

2,919,829

2,890,650 29,179

จีน

ผลิตภัณฑยางธรรมชาติและถุงมือ

รายไดและคาใชจายที่ไมไดปนสวน คาเสื่อมราคาและ คาตัดจำหนาย (1,914,031) รายไดทางการเงิน 114,617 ตนทุนทางการเงิน (701,738) สวนแบงกำไรจากเงินลงทุน ในบริษัทรวมและการรวมคา 223,703 กำไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได 3,319,781 รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินได (162,850) กำไร (ขาดทุน) สำหรับป 3,156,931

63,198,155 10,372,220

รายไดจากสวนงานธุรกิจ

2,743,088 7,629,132

50,580,984 12,617,171

อินโดนีเซีย

รายได รายไดจากลูกคาภายนอก รายไดระหวางสวนงานธุรกิจ

ไทย

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561

25,795

346 346

1 -

-

-

เวียดนาม

138,167

12,329 12,329

(5,020) (8,371)

376,985

1,014 375,971

เมียนมาร

งบการเงินจำแนกตามสวนงานทางภูมิศาสตรสำหรับงบการเงินรวมสำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 มีดังตอไปนี้

1,504,078

47,230 (7,900) 39,330

(23,522) 3,607 -

1,427,922

309,121 1,118,801

ธุรกิจ วิศวกรรม ไทย

6,673,199

(122,373) (7,210) (129,583)

(32,342) 118 (42)

9,201

1,708 7,493

ธุรกิจสวน ไทย

4,195,464

(6,174) (2,289) (8,463)

(27,737) 424 (1,893)

1,053,708

29,933 1,023,775

(26,057,549)

(1,153,721) (1,153,721)

(114,400) 128,667

(23,205,419)

(23,205,419)

55,748,105

223,703 2,386,963 (240,989) 2,145,974

(2,383,497) 28,722 (915,686)

73,492,801

73,492,801 -

ธุรกิจอื่น การตัดรายการ งบการเงินรวม ระหวางกัน ไทย

(หนวย: พันบาท)


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

183

12,812,212

รายไดจากสวนงานธุรกิจ

7,463,181

สินทรัพยรวม

6,039,550

784,367 (33,031) 751,336

903,738 (235,277) 668,461

58,032,182

(6,586) 384 (18,496)

(279,109) 1,711 (229,791)

25,867,508

22,871,059 2,996,449

461,647

(107,669) 5,592 (102,077)

(1,605) (34,166)

2,349,048

2,349,048 -

สิงคโปร สหรัฐอเมริกา

1,437,773

(49,611) 12,176 (37,435)

(2,728) 801 -

1,833,858

1,784,205 49,653

จีน

ผลิตภัณฑยางธรรมชาติและถุงมือ

รายไดและคาใชจายที่ไมไดปนสวน คาเสือ่ มราคาและคาตัดจำหนาย (1,468,993) รายไดทางการเงิน 45,355 ตนทุนทางการเงิน (827,668) สวนแบงกำไรจากเงินลงทุน ในบริษัทรวมและการรวมคา 129,841 กำไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได 2,505,829 รายได (คาใชจาย) ภาษีเงินได 222,258 กำไร (ขาดทุน) สำหรับป 2,728,087

73,821,737

2,152,713 10,659,499

อินโดนีเซีย

รายได รายไดจากลูกคาภายนอก 59,848,686 รายไดระหวางสวนงานธุรกิจ 13,973,051

ไทย

สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

25,644

(1,805) (1,805)

1 -

-

-

เวียดนาม

157,835

7,628 7,628

(5,116) (3,974)

352,323

352,323

เมียนมาร

1,255,111

33,099 (873) 32,226

(22,076) 970 (21,264)

1,081,214

144,087 937,127

ธุรกิจ วิศวกรรม ไทย

6,561,032

(175,873) 12,063 (163,810)

(35,749) 88 -

3,397

1,788 1,609

ธุรกิจสวน ไทย

4,138,569

4,070 (3,538) 532

(30,425) 351 (734)

1,128,545

235,408 893,137

(25,864,743)

(5,301,684) (5,301,684)

-

(29,862,848)

(29,862,848)

59,707,781

129,841 (1,397,911) (20,630) (1,418,541)

(1,852,387) 49,661 (1,206,093)

89,386,994

89,386,994 -

ธุรกิจอื่น การตัดรายการ งบการเงินรวม ระหวางกัน ไทย

(หนวย: พันบาท)


ขอมูลเกี่ยวกับเขตภูมิศาสตร รายไดจากลูกคาภายนอกกำหนดขึ้นตามสถานที่ตั้งของลูกคา (หนวย: พันบาท)

รายไดจากลูกคาภายนอก ประเทศไทย จีน ประเทศอื่นๆ รวม

2561

2560

11,479,772 30,743,411 31,269,618 73,492,801

15,858,283 37,089,072 36,439,639 89,386,994

(หนวย: พันบาท)

2561

2560

สินทรัพยไมหมุนเวียน (ไมรวมเครื่องมือทางการเงิน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี สินทรัพยผลประโยชนหลังออกจากงาน และสิทธิตามสัญญาประกันภัย) ประเทศไทย 27,183,006 26,642,434 อินโดนีเซีย 2,785,370 2,817,865 ประเทศอื่นๆ 203,515 211,463 รวม 30,171,891 29,671,762 ขอมูลเกี่ยวกับลูกคารายใหญ ในป 2561 และ 2560 กลุมบริษัทไมมีรายไดจากลูกคารายใดที่มีมูลคาเทากับหรือมากกวารอยละ 10 ของรายไดของกิจการ

184

รายงานประจำป 2561


34. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

กลุมบริษัทและพนักงานกลุมบริษัทไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยกลุมบริษัทและพนักงานจะจายสมทบเขากองทุนเปนรายเดือนในอัตรา รอยละของเงินเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้จะจายใหแก พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของกลุมบริษัท ในระหวางป 2561 กลุมบริษัทรับรูเงินสมทบดังกลาว เปนคาใชจายจำนวน 31 ลานบาท (2560: 24 ลานบาท) และเฉพาะบริษัทเปนจำนวนเงิน 11 ลานบาท (2560: 11 ลานบาท)

35. เงินปนผล (หนวย:ลานบาท)

เงินปนผล

อนุมัติโดย

เงินปนผลจาย

เงินปนผลประจำป 2559

ที่ประชุมสามัญผูถือหุน เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2560

512

0.40

384

0.25

เงินปนผลระหวางกาลจากผล ที่ประชุมคณะกรรมการ การดำเนินงานสำหรับงวด 6 เดือน บริษัท เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561 สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2561

เงินปนผลจายตอหุน

36. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

36.1 ภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัดจากสัญญาซื้อขาย กลุมบริษัทมีภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัดจากการทำสัญญาซื้อขายที่เกี่ยวของกับสินคาสำเร็จรูปซึ่งเปนผลิตภัณฑจากยางธรรมชาติซึ่งแบงเปน ประเภทที่กำหนดราคาซื้อขายลวงหนาแลวและจะมีการชำระในอนาคต และประเภทที่ยังไมกำหนดราคาซื้อขาย อยางไรก็ตาม มูลคา ของภาระผูกพันดังกลาวแสดงดวยราคาตามสัญญาซื้อขายลวงหนาหรือแสดงตามราคาซื้อขาย ณ วันสิ้นรอบบัญชีสำหรับขอผูกมัด จากสัญญาประเภทที่ยังไมกำหนดราคาไดดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินรวม ซือ้ จาก การรวมคา บริษทั ทีเ่ กีย่ วของ บริษทั อืน่ ขายให บริษทั ยอย บริษทั ทีเ่ กีย่ วของ บริษทั อืน่

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

327,657 65,921 321,950 715,528

65,921 65,921

949,725 12,137,479 13,087,204

2,139,137 949,725 6,759,148 9,848,010

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

185


36.2 ภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัดเพื่อใชเปนรายจายฝายทุน กลุมบริษัทมีภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัดเพื่อใชเปนรายจายฝายทุนดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 งบการเงินรวม ภาระผูกพันทีเ่ ปนขอผูกมัดเพือ่ ใชเปนรายจาย ฝายทุนจากการซือ้ สินทรัพยถาวร

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

585,548

46,296

36.3 ภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัดจากการค้ำประกันเงินกูยืมของบริษัทยอย และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 36.3.1 บริษัทมีภาระผูกพันจากภาระค้ำประกันเงินกูยืมของบริษัทยอย โดยมียอดคงเหลือดังตอไปนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สกุลเงิน ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา พันลานรูเปยอินโดนีเซีย รวม

งบการเงินรวม / งบการเงินเฉพาะกิจการ จำนวนเงิน (เทียบเทา) ลานบาท 11 876

341 1,971 2,312

36.3.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุมบริษัทมีหนังสือค้ำประกันซึ่งออกโดยธนาคารเปนจำนวนเงินรวม 153 ลานบาท โดยสวนใหญ เปนการค้ำประกันการใชไฟฟาและการค้ำประกันการใชไฟฟาของบริษัทยอยบางแหงค้ำประกันโดยใชเงินฝากประจำของบริษัทยอยดังกลาว เปนจำนวนเงินประมาณ 1 ลานบาท 36.3.3 ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2561 กลุ  ม บริ ษ ั ท มี ว งเงิ น แสตนด บ ายเลตเตอร อ อฟเครดิ ต เป น จำนวน 20 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ อเมริ ก า หรือประมาณ 649 ลานบาท

186

รายงานประจำป 2561


36.4 ภาระผูกพันที่เปนขอผูกมัดตามสัญญาเชาดำเนินงาน - กรณีที่กลุมบริษัทเปนผูเชา ยอดรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่กลุมบริษัทตองจายในอนาคตตามสัญญาเชาดำเนินงานสำหรับการเชาที่ดิน อาคารและอุปกรณที่ไม สามารถยกเลิกได มีดังนี้ (หนวย: พันบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม ภายใน 1 ป เกินกวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป

151,721 157,577

94,521 105,252

รวม

309,298

199,773

37. ลำดับชั้นของมูลคายุติธรรม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 กลุมบริษัทมีสินทรัพยและหนี้สินที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรมหรือเปดเผยมูลคายุติธรรมแยกแสดงตามลำดับชั้นของมูลคายุติธรรม ดังนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สินทรัพยที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย- หลักทรัพยประเภททุน ตราสารอนุพันธทางการเงิน (หมายเหตุ 10) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน หนี้สินที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ตราสารอนุพันธทางการเงิน (หมายเหตุ 10) หนี้สินที่เปดเผยมูลคายุติธรรม หุนกู

ระดับที่ 1

ระดับที่ 2

ระดับที่ 3

รวม

46,498 -

59,601 -

16,840,472 201,528

46,498 59,601 16,840,472 201,528

106,524

64,879

-

171,403

-

2,256,828

-

2,256,828 (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สินทรัพยที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย- หลักทรัพยประเภททุน ตราสารอนุพันธทางการเงิน (หมายเหตุ 10) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน หนี้สินที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ตราสารอนุพันธทางการเงิน (หมายเหตุ 10) หนี้สินที่เปดเผยมูลคายุติธรรม หุนกู

ระดับที่ 1

ระดับที่ 2

ระดับที่ 3

รวม

53,299 256,739 -

151,200 -

16,393,918 188,910

53,299 407,939 16,393,918 188,910

45,338

185,905

-

231,243

-

2,867,023

-

2,867,023

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

187


(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สินทรัพยที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย- หลักทรัพยประเภททุน ตราสารอนุพันธทางการเงิน (หมายเหตุ 10) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน หนี้สินที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ตราสารอนุพันธทางการเงิน (หมายเหตุ 10) หนี้สินที่เปดเผยมูลคายุติธรรม หุนกู

ระดับที่ 1

ระดับที่ 2

ระดับที่ 3

รวม

46,182 30,742 -

2,337 -

6,487,424 75,663

46,182 33,079 6,487,424 75,663

95,302

16,030

-

111,332

-

2,256,828

-

2,256,828 (หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ระดับที่ 1 สินทรัพยที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย- หลักทรัพยประเภททุน ตราสารอนุพันธทางการเงิน (หมายเหตุ 10) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน หนี้สินที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ตราสารอนุพันธทางการเงิน (หมายเหตุ 10) หนี้สินที่เปดเผยมูลคายุติธรรม หุนกู ไมมีรายการโอนของลำดับชั้นมูลคายุติธรรมในระหวางป

188

รายงานประจำป 2561

ระดับที่ 2

ระดับที่ 3

รวม

52,097 153,777 -

102,743 -

6,086,335 75,663

52,097 256,520 6,086,335 75,663

34,004

164,126

-

198,130

-

2,867,023

-

2,867,023


38. เครื่องมือทางการเงิน

38.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง กิจกรรมของกลุมบริษัทยอมมีความเสี่ยงทางการเงินที่หลากหลายซึ่ง ได แ ก ความเสี ่ ย งด า นการตลาด (รวมถึ ง ความเสี ่ ย งจากอั ต รา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ความเสี่ยงดานกระแสเงินสดอันเกิด จากการเปลี ่ ย นแปลงอั ต ราดอกเบี ้ ย และความเสี ่ ย งด า นราคา) ความเสี ่ ย งด า นการให ส ิ น เชื ่ อ และความเสี ่ ย งด า นสภาพคล อ ง แผนการจัดการความเสี่ยงโดยรวมของกลุมบริษัทจึงมุงเนนที่ความ ผันผวนของตลาดการเงินและแสวงหาวิธีการลดผลกระทบที่ทำใหเกิด ความเสียหายตอผลการดำเนินงานของกลุมบริษัท ซึ่งกลุมบริษัทใช เครื่องมืออนุพันธทางการเงินเพื่อปองกันความเสี่ยงที่เกิดขึ้น

ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ กลุมบริษัทมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคา เงินใหกูยืมและลูกหนี้อื่นฝายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการ กำหนดใหมีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นกลุมบริษัทจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปนสาระสำคัญ จากการให ส ิ น เชื ่ อ นอกจากนี ้ การให ส ิ น เชื ่ อ ของกลุ  ม บริ ษ ั ท ไมมีการกระจุกตัวเนื่องจากกลุมบริษัทมีฐานของลูกคาที่หลากหลาย และมี อ ยู  จ ำนวนมากรายจำนวนเงิ น สู ง สุ ด ที ่ ก ลุ  ม บริ ษ ั ท อาจต อ ง สู ญ เสี ย จากการให ส ิ น เชื ่ อ คื อ มู ล ค า ตามบั ญ ชี ข องลู ก หนี ้ ก ารค า เงินใหกูยืมและ ลูกหนี้อื่นที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงิน

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย การจัดการความเสี่ยงดำเนินงานภายใตการควบคุมของฝายบริหาร กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับ ซึ ่ ง ผู  บ ริ ห ารของกลุ  ม บริ ษ ั ท จะเป น ผู  ร ะบุ ประเมิ น และป อ งกั น เงิ น ฝากสถาบั น การเงิ น เงิ น ให ก ู  ย ื ม เงิ น กู  ย ื ม ระยะสั ้ น หุ  น กู  ความเสี่ยงทางการเงิน แตไมไดนำการปองกันความเสี่ยงทางบัญชี เงินกูยืมระยะยาวและหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน สินทรัพยและ (Hedge accounting) มาใช หนี้สินทางการเงินสวนใหญมีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตรา ตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน เครื ่ อ งมื อ ทางการเงิ น ที ่ ส ำคั ญ ของกลุ  ม บริ ษ ั ท ตามที ่ น ิ ย ามอยู  ใ น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปดเผย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560สินทรัพยและหนี้สินทางการ ขอมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบดวยเงินสดและรายการ เงินทีส่ ำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบีย้ และสำหรับสินทรัพย เที ย บเท า เงิ น สด ลู ก หนี ้ ก ารค า เงิ น ให ก ู  ย ื ม เงิ น ลงทุ น เงิ น กู  ย ื ม และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ ระยะสั้น และเงินกูยืมระยะยาว กลุมบริษัทมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของ ครบกำหนด หรือ วันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม (หากวันที่มี กับเครื่องมือทางการเงินดังกลาวและมีนโยบายการบริหารความเสี่ยง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหมถึงกอน) ไดดังนี้ ดังนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

189


190

รายงานประจำป 2561

2,003,749

รวม

13,304,953 810,000 16,248 489,222

14,620,423

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

รวม

หนี้สินทางการเงิน

1,027,474 976,275 -

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้นายหนาซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา เงินฝากประจำที่ติดภาระค้ำประกัน เงินลงทุนระยะยาว

สินทรัพยทางการเงิน

ภายใน 1 ป

3,273,963

1,455,000 25,149 1,793,814

2,143

2,143 -

มากกวา 1 ถึง 5 ป

อัตราดอกเบี้ยคงที่

-

-

-

-

มากกวา 5 ป

8,632,784

2,311,434 6,321,350

703,086

703,086 -

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด

2,674,039

2,674,039 -

8,295,251

2,466,740 5,692,013 136,498

ไมมี อัตราดอกเบี้ย

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

29,201,209

2,674,039 15,616,387 2,265,000 41,397 8,604,386

11,004,229

4,197,300 5,692,013 976,275 2,143 136,498

รวม

(1) (1) (1) (2)

0.1 - 3.5 (1) 0.9 - 1.4 -

อัตรา ดอกเบี้ย ที่แทจริง

(หนวย: พันบาท)


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

191

824,793

รวม

18,212,966 600,000 13,167 654

18,826,787

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

รวม

หนี้สินทางการเงิน

4,243 810,540 10,010 -

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้นายหนาซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา เงินฝากประจำที่ติดภาระค้ำประกัน เงินลงทุนระยะยาว

สินทรัพยทางการเงิน

ภายใน 1 ป

3,934,881

2,265,000 27,521 1,642,360

2,129

2,129 -

มากกวา 1 ถึง 5 ป

อัตราดอกเบี้ยคงที่

-

-

-

-

มากกวา 5 ป

9,544,410

3,573,060 5,971,350

1,140,186

1,140,186 -

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด

2,614,840

2,614,840 -

8,463,078

1,097,471 7,212,308 153,299

ไมมี อัตราดอกเบี้ย

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

34,920,918

2,614,840 21,786,026 2,865,000 40,688 7,614,364

10,430,186

2,241,900 7,212,308 810,540 12,139 153,299

รวม

(1) (1) (1) (2)

0.1 - 4.5 (1) 0.1 - 1.5 -

อัตรา ดอกเบี้ย ที่แทจริง

(หนวย: พันบาท)


192

รายงานประจำป 2561

773,850

รวม

11,320,258 300,000 810,000 3,786 489,222

12,923,266

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากบริษัทยอย หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

รวม

หนี้สินทางการเงิน

31,300 742,550 -

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้นายหนาซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอย เงินลงทุนระยะยาว

สินทรัพยทางการเงิน

ภายใน 1 ป

3,254,570

1,455,000 5,756 1,793,814

1,775,664

1,775,664 -

มากกวา 1 ถึง 5 ป

อัตราดอกเบี้ยคงที่

-

-

-

-

มากกวา 5 ป

2,671,350

2,671,350

106,024

106,024 -

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด

1,417,779

1,417,779 -

3,645,116

275,791 3,233,143 136,182

ไมมี อัตราดอกเบี้ย

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561

20,266,965

1,417,779 11,320,258 300,000 2,265,000 9,542 4,954,386

6,300,654

381,815 3,233,143 31,300 2,518,214 136,182

รวม

(1) (1) (1) (1) (2)

(1) (1) (1) -

อัตรา ดอกเบี้ย ที่แทจริง

(หนวย: พันบาท)


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

193

935,914

รวม

15,358,621

รวม

(1) อัตราคงที่ตอป (2) MLR ลบดวยอัตราคงที่ตอป

14,754,529 600,000 4,092 -

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินทางการเงิน

3,864 16,177 915,873 -

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้นายหนาซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอย เงินลงทุนระยะยาว

สินทรัพยทางการเงิน

ภายใน 1 ป

3,916,902

2,265,000 9,542 1,642,360

1,625,730

1,625,730 -

มากกวา 1 ถึง 5 ป

อัตราดอกเบี้ยคงที่

-

-

-

-

มากกวา 5 ป

2,971,350

2,971,350

90,877

90,877 -

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตามราคาตลาด

1,719,257

1,719,257 -

4,448,868

174,278 4,122,493 152,097

ไมมี อัตราดอกเบี้ย

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

23,966,130

1,719,257 14,754,529 2,865,000 13,634 4,613,710

7,101,389

269,019 4,122,493 16,177 2,541,603 152,097

รวม

(1) (1) (1) (2)

0.1 - 1.1 (1) 2.7 - 4.3 -

อัตรา ดอกเบี้ย ที่แทจริง

(หนวย: พันบาท)


การวิเคราะหความออนไหวตออัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยของกลุมบริษัทเกิดขึ้นจากเงินกูยืม เงินกูยืมซึ่งกูดวยอัตราดอกเบี้ยลอยตัวจะทำใหกลุมบริษัทมีความเสี่ยง ด า นกระแสเงิ น สดที ่ เ กิ ด จากอัต ราดอกเบี้ย หากอัต ราดอกเบี ้ ย เปลี ่ ย นแปลงในอั ต ราร อ ยละ 0.25 ต อ ป (2560: ร อ ยละ 0.25 ต อ ป) โดยที่ปจจัยอื่นทั้งหมดคงที่ ทำใหกำไรกอนภาษีเงินสำหรับปมีผลกระทบจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวของเงินกูยืม ดังนี้ สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2561

2560

ผลกระทบตอกำไรกอนภาษีเงินไดในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อัตราดอกเบีย้ ลดลงรอยละ 0.25 กำไรกอนภาษีเงินไดเพิม่ ขึน้ 15,803 อัตราดอกเบีย้ เพิม่ ขึน้ รอยละ 0.25 กำไรกอนภาษีเงินไดลดลง (15,803)

(หนวย: พันบาท)

2561

2560

14,928

6,678

7,428

(14,928)

(6,678)

(7,428)

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการซื้อหรือขายสินคาและการกูยืมหรือใหกูยืมเงินเปนเงินตราตาง ประเทศ กลุมบริษัทไดตกลงทำสัญญาตราสารอนุพันธทางการเงินซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไมเกินหนึ่งปเพื่อใชเปนเครื่องมือในการบริหาร ความเสีย่ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ 2560 กลุม บริษทั มียอดคงเหลือของสินทรัพยและหนีส้ นิ ทางการเงินทีเ่ ปนสกุลเงินตราตางประเทศดังนี้ สกุลเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา เยน เหรียญสิงคโปร หยวน

สกุลเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา เหรียญสิงคโปร

สินทรัพยทางการเงิน 2561 2560 (ลาน) (ลาน)

งบการเงินรวม หนี้สินทางการเงิน อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย 2561 2560 2561 2560 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) (ลาน) (ลาน)

149.5 1,086.5 2.9 10.6

92.0 0.3 -

103.7 465.4 2.7 -

99.0 0.4 0.1

32.4498 0.2931 23.6943 4.7237

32.6809 0.2898 24.4503 5.0145

สินทรัพยทางการเงิน 2561 2560 (ลาน) (ลาน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ หนี้สินทางการเงิน อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย 2561 2560 2561 2560 (บาทตอหนวยเงินตราตางประเทศ) (ลาน) (ลาน)

147.1 2.5

83.6 -

159.0 2.2

65.3 -

32.4498 23.6943

32.6809 24.4503

นอกจากนี้ กลุมบริษัทยังมีความเสี่ยงจากการที่มีเงินลงทุนในบริษัทยอยและการรวมคาทางออมในตางประเทศ ซึ่งฝายบริหารของกลุม บริษัทมีความตั้งใจที่จะถือเงินลงทุนดังกลาวในระยะยาวและไมมีแผนที่จะขายเงินลงทุนดังกลาวในอนาคต ดังนั้นจึงไมไดทำสัญญา ปองกันความเสี่ยงไว

194

รายงานประจำป 2561


การวิเคราะหความออนไหวตออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เนื่องจากกลุมบริษัทดำเนินงานระหวางประเทศจึงยอมมีความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศซึ่งเกิดจากสกุลเงินที่หลากหลาย โดยมีสกุลเงินตางประเทศหลักคือเหรียญสหรัฐอเมริกา และรูเปยอินโดนีเซียความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนนั้นเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน องธุรกิจ เงินลงทุนสุทธิในหนวยงานในตางประเทศ และเงินกูยืม หากคาเงินบาทมีการเปลี่ยนแปลงในอัตรารอยละ 2.83 (2560: อัตรารอย ละ 2.37) เมื่อเปรียบเทียบกับเหรียญสหรัฐอเมริกา และอัตรารอยละ 7.72 (2560: อัตรารอยละ 3.15) เมื่อเปรียบเทียบกับรูเปยอินโดนีเซีย โดยที่ปจจัยอื่นทั้งหมดคงที่ จะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของกำไรกอนภาษีเงินไดสำหรับปและสวนของเจาของ ดังนี้ สำหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2561

2560

2561

2560

ผลกระทบตอกำไรกอนภาษีเงินไดในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เงินบาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา - ออนคาลง - แข็งคาขึน้ เงินบาทตอรูเปยอินโดนีเซีย - ออนคาลง - แข็งคาขึน้

9,438 (9,438)

35,738 (35,738)

(686) 686

16,747 (16,747)

(77,626) 77,626

(49,435) 49,435

-

-

ผลกระทบตอสวนของเจาของในงบแสดงฐานะการเงิน เงินบาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา - ออนคาลง - แข็งคาขึน้ เงินบาทตอรูเปยอินโดนีเซีย - ออนคาลง - แข็งคาขึน้

15,240 (15,240)

130,563 (130,563)

-

-

60,816 (60,816)

58,294 (58,294)

-

-

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

195


ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบและสินคา กลุมบริษัทมีความเสี่ยงดานราคาสินคาในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ กลุมบริษัทไดมีการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากความผันผวน ของราคาโดยการจัดการกระบวนการไดมาของวัตถุดิบ โดยใชสัญญาสิทธิเลือกซื้อขายยางพารา สัญญาซื้อขายยางพาราในตลาดลวงหนา และสัญญาซื้อขายยางพาราลวงหนาที่มีการสงมอบสินคา เพื่อปองกันความผันผวนของราคาสินคาดังกลาว การวิเคราะหความออนไหวตอราคาสินคาโภคภัณฑ กลุมบริษัทใชเครื่องมือทางการเงินเพื่อบริหารความเสี่ยงจากราคาสินคาโภคภัณฑ หากราคาของยางธรรมชาติเปลี่ยนแปลงในอัตรารอยละ 4.11 (2560: อัตรารอยละ 5.44) โดยที่ปจจัยอื่นทั้งหมดคงที่ จะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของกำไรกอนภาษีเงินไดสำหรับป ดังนี้ (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม 2561 ผลกระทบตอกำไรกอนภาษีเงินไดในงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ - ราคายางธรรมชาติลดลง กำไรกอนภาษีเงินไดลดลง (167,811) - ราคายางธรรมชาติเพิม่ ขึน้ กำไรกอนภาษีเงินไดเพิม่ ขึน้ 167,811

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2561

2560

(424,177)

(137,227)

(331,439)

424,177

137,227

331,439

ความเสี่ยงดานสภาพคลอง กลุมบริษัทควบคุมดูแลความตองการดานสภาพคลองเพื่อใหมั่นใจวากลุมบริษัทจะมีเงินสดเพียงพอตอความตองการในการดำเนินงาน ตารางตอไปนี้แสดงการวิเคราะหอายุครบกำหนดชำระของกลุมบริษัทโดยนับระยะเวลาคงเหลือจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงินจนถึงวันที่ ครบกำหนดชำระตามสัญญา โดยใชตัวเลขตามที่ปรากฏในมูลคาตามสัญญา (Notional amounts) ตัวเลขดานบวกแสดงถึง กระแสเงินสด ที่ถึงกำหนดไหลเขาและตัวเลขติดลบแสดงถึงกระแสเงินสดไหลออกตามระยะเวลาที่ถึงกำหนด

196

รายงานประจำป 2561


จำนวนเงินดังตอไปนี้เปนกระแสเงินสดตามสัญญาที่ไมไดถูกคิดลด (หนวย: พันบาท)

นอยกวา 1 ป เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน ตราสารอนุพันธทางการเงิน - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ - สัญญาซื้อยางพาราในตลาดลวงหนา - สัญญาขายยางพาราในตลาดลวงหนา - สัญญาซื้ออัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา - สัญญาขายอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา - สัญญาซื้อยางพาราลวงหนาที่มีการสงมอบสินคา - สัญญาขายยางพาราลวงหนาที่มีการสงมอบสินคา - สัญญาสิทธิเลือกซื้อเงินตราตางประเทศ - สัญญาสิทธิเลือกขายเงินตราตางประเทศ - สัญญาสิทธิเลือกซื้อยางพารา - สัญญาสิทธิเลือกขายยางพารา

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ระหวาง ระหวาง มากกวา รวม 1 ถึง 2 ป 2 ถึง 5 ป 5 ป

(15,647,718) (1,395,638) (736,004) (1,541,381) (868,535) (19,025)

(2,511,510) (42,978) (18,506)

(4,338,015) (1,476,430) (5,491)

(1,106,384) -

(15,647,718) (1,395,638) (736,004) (9,497,290) (2,387,943) (43,022)

(256,720) (300,211) 3,657,860 (476,985) 2,113,955 (10,346) 24,499 (1,297,992) 2,368,835 (69,606) 20,606

-

-

-

(256,720) (300,211) 3,657,860 (476,985) 2,113,955 (10,346) 24,499 (1,297,992) 2,368,835 (69,606) 20,606 (หนวย: พันบาท)

นอยกวา 1 ป เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน ตราสารอนุพันธทางการเงิน - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ - สัญญาซื้อยางพาราในตลาดลวงหนา - สัญญาขายยางพาราในตลาดลวงหนา - สัญญาขายอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา - สัญญาซื้อยางพาราลวงหนาที่มีการสงมอบสินคา - สัญญาสิทธิเลือกซื้อเงินตราตางประเทศ - สัญญาสิทธิเลือกขายเงินตราตางประเทศ - สัญญาสิทธิเลือกซื้อยางพารา - สัญญาสิทธิเลือกขายยางพารา

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ระหวาง ระหวาง มากกวา รวม 1 ถึง 2 ป 2 ถึง 5 ป 5 ป

(24,707,198) (1,438,212) (796,242) (724,995) (683,973) (14,736)

(1,317,825) (863,022) (29,103)

(5,029,083) (1,520,320) -

(1,588,546) -

(24,707,198) (1,438,212) (796,242) (8,660,449) (3,067,315) (43,839)

(920,558) (121,174) 5,105,420 8,615,656 (44,818) (4,379,240) 12,549,466 (874,998) 1,648,392

-

-

-

(920,558) (121,174) 5,105,420 8,615,656 (44,818) (4,379,240) 12,549,466 (874,998) 1,648,392

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

197


(หนวย: พันบาท)

นอยกวา 1 ป เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน ตราสารอนุพันธทางการเงิน - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ - สัญญาซื้อยางพาราในตลาดลวงหนา - สัญญาขายยางพาราในตลาดลวงหนา - สัญญาซื้ออัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา - สัญญาขายอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา - สัญญาสิทธิเลือกซื้อเงินตราตางประเทศ - สัญญาสิทธิเลือกขายเงินตราตางประเทศ - สัญญาสิทธิเลือกซื้อยางพารา - สัญญาสิทธิเลือกขายยางพารา

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ระหวาง ระหวาง มากกวา รวม 1 ถึง 2 ป 2 ถึง 5 ป 5 ป

(11,332,805) (888,311) (319,860) (1,113,298) (868,535) (3,786)

(2,098,764) (42,978) (5,817)

(2,118,367) (1,476,430) -

-

(11,332,805) (888,311) (319,860) (5,330,429) (2,387,943) (9,603)

(256,720) (230,998) 3,017,759 (476,985) 2,008,153 (713,896) 2,239,036 (69,606) 20,606

-

-

-

(256,720) (230,998) 3,017,759 (476,985) 2,008,153 (713,896) 2,239,036 (69,606) 20,606

(หนวย: พันบาท)

นอยกวา 1 ป เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน ตราสารอนุพันธทางการเงิน - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ - สัญญาซื้อยางพาราในตลาดลวงหนา - สัญญาขายยางพาราในตลาดลวงหนา - สัญญาขายอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา - สัญญาสิทธิเลือกซื้อเงินตราตางประเทศ - สัญญาสิทธิเลือกขายเงินตราตางประเทศ - สัญญาสิทธิเลือกซื้อยางพารา - สัญญาสิทธิเลือกขายยางพารา

198

รายงานประจำป 2561

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ระหวาง ระหวาง มากกวา รวม 1 ถึง 2 ป 2 ถึง 5 ป 5 ป

(17,649,531) (1,168,260) (360,774) (493,426) (683,972) (4,585)

(1,077,900) (863,022) (10,196)

(3,550,501) (1,520,320) -

-

(17,649,531) (1,168,260) (360,774) (5,121,827) (3,067,314) (14,781)

(920,558) (86,694) 3,480,532 4,941,931 (2,549,110) 9,869,632 (874,998) 1,648,392

-

-

-

(920,558) (86,694) 3,480,532 4,941,931 (2,549,110) 9,869,632 (874,998) 1,648,392


38.2 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินสวนใหญของกลุมบริษัทจัดอยูในประเภทระยะสั้นหรือมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด กลุมบริษัทจึงประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน สวนตราสาร อนุพันธแสดงมูลคายุติธรรมตามราคาตลาด หรือคำนวณตามหลักเกณฑการประเมินมูลคาที่เปนที่ยอมรับทั่วไปหากกรณีที่ไมมีราคาตลาด ซึ่งขอมูลที่นำมาใชในการประเมินมูลคาสวนใหญเปนขอมูลที่สามารถสังเกตได ในตลาดที่เกี่ยวของในระหวางปปจจุบัน ไมมีการโอนรายการระหวางลำดับชั้นของมูลคายุติธรรม 39. เครื่องมือทางการเงินแยกตามประเภท

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2561 สินทรัพยซึ่งประเมินราคา ตามมูลคายุติธรรมที่ปรับมูลคาเพิ่มขึ้น หรือลดลงโดยผานเขากำไรขาดทุน สินทรัพยในงบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ตราสารอนุพนั ธทางการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - สุทธิ ลูกหนีน้ ายหนาซือ้ ขายสัญญาซือ้ ขาย ลวงหนา เงินฝากประจำทีต่ ดิ ภาระค้ำประกัน เงินลงทุนระยะยาว รวม

สินทรัพยซึ่งประเมินราคาตามมูลคา ยุติธรรมที่ปรับมูลคาเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงโดยผานเขากำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

สินทรัพย ทางการเงินอื่น

รวม

59,601 -

-

4,197,300 5,136,782

4,197,300 59,601 5,136,782

-59,601

2,143 46,498 46,498

976,275 2,143 90,000 10,402,500

976,275 136,498 10,508,599

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2561

หนีส้ นิ ในงบแสดงฐานะการเงิน เจาหนีก้ ารคา เงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน สวนของเงินกูย มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ป หุน กูท ถ่ี งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ป หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาทางการเงินทีถ่ งึ กำหนด ำระภายในหนึง่ ป ตราสารอนุพนั ธทางการเงิน เงินกูย มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน กู หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาทางการเงิน รวม

หนี้สินซึ่งประเมินราคาตาม มูลคายุติธรรมที่ปรับมูลคา เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยผาน เขากำไรขาดทุน

หนี้สินทางการเงินอื่น

รวม

-

1,378,311 15,616,387

1,378,311 15,616,387

-

1,260,000 810,000

1,260,000 810,000

171,403 171,403

16,248 7,344,386 1,455,000 25,149 27,905,481

16,248 171,403 7,344,386 1,455,000 25,149 28,076,884

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

199


(หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2560 สินทรัพยซึ่งประเมินราคา ตามมูลคายุติธรรมที่ปรับมูลคาเพิ่มขึ้น หรือลดลงโดยผานเขากำไรขาดทุน สินทรัพยในงบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ตราสารอนุพนั ธทางการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - สุทธิ ลูกหนีน้ ายหนาซือ้ ขายสัญญาซือ้ ขาย ลวงหนา เงินฝากประจำทีต่ ดิ ภาระค้ำประกัน เงินลงทุนระยะยาว รวม

สินทรัพยซึ่งประเมินราคาตามมูลคา ยุติธรรมที่ปรับมูลคาเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงโดยผานเขากำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

สินทรัพย ทางการเงินอื่น

รวม

407,939 -

-

2,241,900 6,339,390

2,241,900 407,939 6,339,390

407,939

53,299 53,299

810,540 12,139 100,000 9,503,969

810,540 12,139 153,299 9,965,207 (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2560

หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน สวนของเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หุนกูที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงินที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป ตราสารอนุพันธทางการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน รวม

200

รายงานประจำป 2561

หนี้สินซึ่งประเมินราคาตาม มูลคายุติธรรมที่ปรับมูลคา เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยผาน เขากำไรขาดทุน

หนี้สินทางการเงินอื่น

รวม

-

1,401,217 21,786,026

1,401,217 21,786,026

-

420,654 600,000

420,654 600,000

231,243 231,243

13,167 7,193,710 2,265,000 27,521 33,707,295

13,167 231,243 7,193,710 2,265,000 27,521 33,938,538


(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2561 สินทรัพยซึ่งประเมินราคา ตามมูลคายุติธรรมที่ปรับมูลคาเพิ่มขึ้น หรือลดลงโดยผานเขากำไรขาดทุน

สินทรัพยซึ่งประเมินราคาตามมูลคา ยุติธรรมที่ปรับมูลคาเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงโดยผานเขากำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

33,079 -

-

381,815 3,079,217

381,815 33,079 3,079,217

-

-

31,300

31,300

33,079

46,182 46,182

742,550 1,775,664 90,000 6,100,546

742,550 1,775,664 136,182 6,179,807

สินทรัพยในงบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ตราสารอนุพนั ธทางการเงิน ลูกหนีก้ ารคา - สุทธิ ลูกหนีน้ ายหนาซือ้ ขายสัญญาซือ้ ขาย ลวงหนา เงินใหกยู มื ระยะยาวแกบริษทั ยอยทีถ่ งึ กำหนดชำระภายในหนึง่ ป เงินใหกยู มื ระยะยาวแกบริษทั ยอย เงินลงทุนระยะยาว รวม

สินทรัพย ทางการเงินอื่น

รวม

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2561

หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน สวนของเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หุนกูที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงินที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป ตราสารอนุพันธทางการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน รวม

หนี้สินซึ่งประเมินราคาตาม มูลคายุติธรรมที่ปรับมูลคา เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยผาน เขากำไรขาดทุน

หนี้สินทางการเงินอื่น

รวม

-

874,598 11,320,258

874,598 11,320,258

-

965,000 810,000

965,000 810,000

111,332 111,332

3,786 3,989,386 1,455,000 5,756 19,423,784

3,786 111,332 3,989,386 1,455,000 5,756 19,535,116

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

201


(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2560 สินทรัพยซึ่งประเมินราคา ตามมูลคายุติธรรมที่ปรับมูลคาเพิ่มขึ้น หรือลดลงโดยผานเขากำไรขาดทุน สินทรัพยในงบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ตราสารอนุพันธทางการเงิน ลูกหนี้การคา - สุทธิ ลูกหนี้นายหนาซื้อขายสัญญาซื้อขาย ลวงหนา เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอยที่ถึง กำหนดชำระภายในหนึ่งป เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอย เงินลงทุนระยะยาว รวม

สินทรัพยซึ่งประเมินราคาตามมูลคา ยุติธรรมที่ปรับมูลคาเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงโดยผานเขากำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

สินทรัพย ทางการเงินอื่น

รวม

256,520 -

-

269,019 3,901,240

269,019 256,520 3,901,240

-

-

16,177

16,177

256,520

52,097 52,097

915,873 1,625,730 100,000 6,828,039

915,873 1,625,730 152,097 7,136,656

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(หนวย: พันบาท)

31 ธันวาคม 2560

หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน สวนของเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หุนกูที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงินที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งป ตราสารอนุพันธทางการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาทางการเงิน รวม

202

รายงานประจำป 2561

หนี้สินซึ่งประเมินราคาตาม มูลคายุติธรรมที่ปรับมูลคา เพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยผาน เขากำไรขาดทุน

หนี้สินทางการเงินอื่น

รวม

-

1,140,950 14,754,529

1,140,950 14,754,529

-

300,000 600,000

300,000 600,000

198,130 198,130

4,092 4,313,710 2,265,000 9,542 23,387,823

4,092 198,130 4,313,710 2,265,000 9,542 23,585,953


40. คุณภาพความนาเชื่อถือของสินทรัพยทางการเงิน

คุณภาพความนาเชื่อถือของสินทรัพยทางการเงินซึ่งยังไมถึงกำหนดชำระและไมเกิดการดอยคาสามารถประเมินไดโดยอางอิงจากการจัดลำดั บความนาเชื่อถือจากแหลงขอมูลภายนอก (ถามี) หรือ จากขอมูลประสบการณในอดีตเกี่ยวกับอัตราการผิดสัญญาของคูสัญญา กลุมที่ 1 ลูกคาใหม บริษัทอื่น/บริษัทที่เกี่ยวของกัน (นอยกวาหกเดือน) กลุมที่ 2 ลูกคาปจจุบัน/บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มากกวาหกเดือน) ซึ่งไมมีการผิดสัญญาในอดีต กลุมที่ 3 ลูกคาปจจุบัน/บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มากกวาหกเดือน) ซึ่งเคยมีการผิดสัญญาในอดีต และการผิดสัญญานั้นไดมีการชดเชยทั้งหมดแลว เงินประกันขั้นต่ำไดฝากไวกับคูสัญญาที่มีระดับความนาเชื่อถือในระดับสูงซึ่งไมมีประวัติการผิดเงื่อนไขของสัญญา และไมมีสินทรัพยทางการ เงินใดที่ดำเนินการอยางเปนปกติ (fully performing) ถูกขอการเจรจาเพื่อปรับเปลี่ยนเงื่อนไขใหมในระหวางป

(หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2561

2560

2561

2560

เงินฝากธนาคารประเภทจายคืนเมื่อทวงถาม Aa1 Aa2 Aa3 A1 Ba1 Ba3 Baa1 Baa2 Baa3 ไมมีการจัดลำดับ

705,142 502,224 511,612 208 126,197 1,069,195 1,266,632 3,180

156,200 78,636 20,918 237,900 1,362,131 54,705 215,969 5,468

689 4,797 173 340,521 31,185 -

11,938 686 218,480 14,634 -

รวมเงินฝากธนาคารประเภทจายคืนเมื่อทวงถาม

4,184,390

2,131,927

377,365

245,738 (หนวย: พันบาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2561

2560

2561

2560

ลูกหนี้การคา คูสัญญาที่ไมมีการจัดลำดับความนาเชื่อถือ จากแหลงขอมูลภายนอก กลุมที่ 1 กลุมที่ 2 กลุมที่ 3

355,425 4,763,895 17,462

735,927 5,544,719 58,744

141,208 2,938,009 -

389,191 3,512,049 -

รวมลูกหนี้การคาที่ไมไดเกิดการดอยคา

5,136,782

6,339,390

3,079,217

3,901,240

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

203


(หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

2561

2560

ตราสารอนุพันธทางการเงิน คูสัญญาที่มีการจัดลำดับความนาเชื่อถือ โดยแหลงขอมูลภายนอก Aa1 Aa3 A3 Baa1 Baa2 คูสัญญาที่ไมมีการจัดลำดับความนาเชื่อถือ จากแหลงขอมูลภายนอก กลุมที่ 2

43,477 8,884 2,337 -

60 9,655 5,380 131,690 4,416

26,552 2,337 -

8,781 5,380 86,100 2,482

4,903

256,738

4,190

153,777

รวมตราสารอนุพันธทางการเงิน (หมายเหตุขอ 10)

59,601

407,939

33,079

256,520 (หนวย: พันบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2561

2560

2,143

10,010 2,129

-

-

รวมเงินฝากประจำที่ติดภาระค้ำประกัน (หมายเหตุขอ 11) 2,143

12,139

-

-

เงินฝากประจำที่ติดภาระค้ำประกัน Aa2 Baa1

41. การบริหารจัดการทุน

2561

2560

วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนที่สำคัญของกลุมบริษัทคือการจัดใหมีซึ่งโครงสรางทุนที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการดำเนินธุรกิจของกลุม บริษัทและเสริมสรางมูลคาการถือหุนใหกับผูถือหุน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 กลุมบริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอทุนเทากับ 1.22 (2560: 1.57:1) และเฉพาะบริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอทุนเทากับ 1.00 (2560: 1.27:1) 42. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2562

204

รายงานประจำป 2561


คาตอบแทนของ ผูสอบบัญชี

คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) คาสอบบัญชีประจำป 2561 ของ บมจ. ศรีตรังและบริษัทยอยเปนจำนวนเงินทั้งสิ้น 12.57 ลานบาท แบงออกเปน คาสอบบัญชีสำหรับงบการเงินเฉพาะกิจการจำนวน 5.66 ลานบาท และคาสอบบัญชีสำหรับบริษัทยอยจำนวน 6.91 ลานบาท

คาบริการอื่น (Non-Audit Fee) คาบริการอืน่ ในป 2561 ไดแก คาบริการตรวจสอบ BOI และ การใหคำปรึกษาดานภาษี รวมจำนวนทัง้ สิน้ 1.35 ลานบาท ซึ่งบริษัทฯ จะตองจายชำระในอนาคตจากการที่ยังใหบริการไมแลวเสร็จ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

205


ขอมูลของ

บุคคลอางอิง

นายทะเบียนหลักทรัพย

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด 93 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991 TSD Call Center 0-2009-9999 ตัวแทนการโอนหุนในสิงคโปร (Singapore Transfer Agent)

Boardroom Corporate & Advisory Services Pte. Ltd. 50 Raffles Place # 32-01, Singapore Land Tower, Singapore 048623 โทรศัพท 65-6536-5355 โทรสาร 65-6536-1360 ผูสอบบัญชี

นายศุภชัย ปญญาวัฒโน ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3930 หรือ นางสาวกรองแกว ลิมปกิตติกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5874 หรือ นายณัฐวุฒิ สันติเพ็ชร ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 5730 แหงบริษัท สำนักงาน อีวาย จำกัด 193/136-137 ถนน รัชดาภิเษก แขวง คลองตันเหนือ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท 0-2264-9090 โทรสาร 0-2264-0789 นายทะเบียนหุนกู (สำหรับหุนกู STA ครั้งที่ 1/2559)

ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0-2256-2323 โทรสาร 0-2256-2414 ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท วีระวงค, ชินวัฒน และพารทเนอรส จำกัด 540 อาคารเมอรคิวรี่ ทาวเวอร ชั้น 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 0-2264-8000 โทรสาร 0-2657-2222

206

รายงานประจำป 2561


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

207


ขอมูลทั่วไปและ

ขอมูลสำคัญอื่น ขอมูลบริษัท ชื่อบริษัท (ไทย) ชื่อบริษัท (อังกฤษ) สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

: บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) : Sri Trang Agro-Industry Public Company Limited : เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำบลหาดใหญ อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 ประเทศไทย โทรศัพท : 0-7434-4663 (อัตโนมัติ 14 เลขหมาย) โทรสาร : 0-7434-4677, 0-7423-7423, 0-7423-7832 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและสงออกยางแผนรมควัน ยางแทง และน้ำยางขน เลขทะเบียนบริษัท : 0107536001656 เว็บไซต : www.sritranggroup.com ชนิดของหุน : หุนสามัญ ทุนจดทะเบียน : 1,535,999,998 บาท ทุนชำระแลว : 1,535,999,998 บาท จำนวนหุนสามัญที่จำหนายไดแลวทั้งหมด : 1,535,999,998 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท

ขอมูลของนิติบุคคลที่ บมจ. ศรีตรัง ถือหุนตั้งแตรอยละ 10 ขึ้นไป ของจำนวนหุนที่จำหนายไดแลวทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บจ. หน่ำฮั่วรับเบอร

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ สถานที่ตั้งสาขา

: เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำบลหาดใหญ อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 : 1. เลขที่ 99 หมูที่ 3 ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 2.เลขที่ 41 หมูที่ 3 ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและสงออกยางแผนรมควัน ยางแทง และน้ำยางขน โทรศัพท : 0-7437-9984-6, 0-7437-9988-9 โทรสาร : 0-7437-9987 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 4,999,994 หุน คิดเปนรอยละ 99.99 บจ. อันวารพาราวูด

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

เลขที่ 101 หมูที่ 3 ถนนปาดังเบซาร ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวังสงขลา 90120 สถานที่ตั้งสาขา : 1. เลขที่ 369 หมูที่ 7 ตำบลหวยนาง อำเภอหวยยอด จังหวัดตรัง 2. เลขที่ 395 หมูที่ 2 ตำบลโนนสมบูรณ อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 3. เลขที่ 28 หมูที่ 11 ตำบลหนองพระ อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก 65130 ประเภทธุรกิจ : แปรรูปไม อัดน้ำยา อบแหง และผลิตภัณฑไมสำเร็จรูป โทรศัพท : 0-7437-9978-9 โทรสาร : 0-7437-9976 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 9,994 หุน คิดเปนรอยละ 99.94

208

รายงานประจำป 2561

:


บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

เลขที่ 123 หมูที่ 8 ถนนกาญจนวนิช ตำบลบานพรุ อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90250 สถานที่ตั้งสาขา : เลขที่ 133 ถนนรักษพรุ ตำบลบานพรุ อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90250 ประเภทธุรกิจ : วิศวกรรมบริการ ออกแบบ ผลิต ติดตั้ง และบำรุงรักษาเครื่องจักร โทรศัพท : 0-7422-2900-9 โทรสาร : 0-7422-2910-12 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 409,996 หุน คิดเปนรอยละ 81.99 บจ. รับเบอรแลนดโปรดักส

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

เลขที่ 109 ถนนกาญจนวนิช ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90230 สถานที่ตั้งสาขา : 1. เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำบลหาดใหญ อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 2. เลขที่ 57 หองเลขที่ 1701, 1707-1712 อาคารปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ชั้น 17 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 3. เลขที่ 338 หมูที่ 2 ตำบลโนนสมบูรณ อำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000 4. เลขที่ 338 หมูที่ 1 ตำบลโคกมา อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย 31140 5. เลขที่ 188 หมูที่ 10 ตำบลบางทรายใหญ อำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร 49000 ประเภทธุรกิจ : ผลิตน้ำยางขน /ยางแทง โทรศัพท : 0-7429-1223-4, 0-7429-1755, 0-7429-1476 โทรสาร : 0-7429-1477 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 15,999,994 หุน คิดเปนรอยละ 99.99 บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ สถานที่ตั้งสาขา

: :

เลขที่ 110 ถนนกาญจนวนิช ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90230 1. เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำบลหาดใหญ อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 2. เลขที่ 57 หองเลขที่ 1701, 1707-1712 อาคารปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ ชั้น 17 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 3. เลขที่ 109/2 ถนนกาญจนวนิช ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90230 4. เลขที่ 352 ถนนกาญจนวนิช ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90230 5. เลขที่ 189 หมูท ่ี 7 ตำบลพลายวาส อำเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี 84160 6. เลขที่ 39/1 หมูที่ 9 ตำบลทุงคาย อำเภอยานตาขาว จังหวัดตรัง 92140 ประเภทธุรกิจ : ผลิตถุงมือยางที่ใชในทางการแพทย โทรศัพท : 0-7447-1471 , 0-7429-1648-9 , 0-7429-1471-5 โทรสาร : 0-7429-1650 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 16,300 หุน คิดเปนรอยละ 81.50

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

209


บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

เลขที่ 110/1 ถนนกาญจนวนิช ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90230 สถานที่ตั้งสาขา : เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำบลหาดใหญ อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 ประเภทธุรกิจ : ผลิตสายไฮดรอลิคแรงดันสูง โทรศัพท : 0-7447-1231-5 โทรสาร : 0-7447-1230 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 1,425,000 หุน คิดเปนรอยละ 37.50 บจ. สะเดา พี.เอส. รับเบอร

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

เลขที่ 207/1 ถนนปาดังเบซาร ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 ประเภทธุรกิจ : ผลิตยางแผนรมควัน โทรศัพท : 0-7446-0483-5, 086-489-5264-5 โทรสาร : 0-7446-0484 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 399,994 หุน คิดเปนรอยละ 99.99 บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ : เลขที่ 13/1 ถนนจริงจิตร ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000 ประเภทธุรกิจ : ใหบริการขนสงทางบกภายในประเทศ โทรศัพท : 0-7550-2900-2 โทรสาร : 0-7550-2903 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 114,998 หุน คิดเปนรอยละ 76.66 บจ. สตารเท็กซ รับเบอร

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

เลขที่ 36/82 อาคารพีเอสทาวเวอร ชั้น 23 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ประเภทธุรกิจ : ดำเนินกิจการสวนยางและสวนปาลม และ ลงทุน โทรศัพท : 02-259-2964-71 โทรสาร : 02-259-2958 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 26,349,998 หุน คิดเปนรอยละ 99.99

210

รายงานประจำป 2561

:


บจ. ไทยเทค รับเบอร

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

เลขที่ 2 ถนนจุติอุทิศ 3 ตำบลหาดใหญ อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 ประเภทธุรกิจ : ผลิตยางแทง โทรศัพท : 0-7423-0768 , 0-7423-0406-7 , 0-7423-9063-4 โทรสาร : 0-7423-8650 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 255,028 หุน คิดเปนรอยละ 42.50 บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

เลขที่ 33/109 อาคารวอลลสตรีททาวเวอร ชั้น 21 ถนนสุรวงศ แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 ประเภทธุรกิจ : นายหนาซื้อขายสัญญาสินคาเกษตรลวงหนา (ปจจุบันไมมีธุรกรรมแลว) โทรศัพท : 0-2632-7300 โทรสาร : 0-2632-7245 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 1,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 40.00 บจ. ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ : เลขที่ 121 หมูที่ 4 ตำบลหนองปาครั่ง อำเภอเมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม 50000 ประเภทธุรกิจ : ทำสวนยางพารา โทรศัพท : 0-5310-6198, 0-5310-6199 โทรสาร : 0-5310-6196, 0-5310-6197 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 65,549,993 หุน คิดเปนรอยละ 99.99 Sri Trang International

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ : 1 Wallich Street, No. 25-02, Guoco Tower, 078881, Singapore ประเภทธุรกิจ : จัดจำหนายยางธรรมชาติและถุงมือยางในสิงคโปร โทรศัพท : 65-6532-5210, 65-6532-5321 โทรสาร : 65-6532-7501 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร ถือครองทางตรง : 61,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 100.00 Sri Trang USA Inc.

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

5820 West Cypress Street, Suite H, Tampa, Florida, 33607-1785, United States ประเภทธุรกิจ : จัดจำหนายยางธรรมชาติและถุงมือยางในสหรัฐอเมริกา โทรศัพท : 1-813-606-4301 โทรสาร : 1-813-606-4314 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 1,000 หุน คิดเปนรอยละ 100.0 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

211


PT Sri Trang Lingga

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

Jalan TPA2, RT.26 & 29 Keramasan, Palembang, South Sumatera, Palembang, 30259, Indonesia ประเภทธุรกิจ : ผลิตยางแทง โทรศัพท : 62-711-445-666 โทรสาร : 62-711-445-222 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : 18,000 หุน คิดเปนรอยละ 90.00 Shi Dong Investments

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ : 1 Wallich Street, No. 25-02, Guoco Tower, 078881, Singapore ประเภทธุรกิจ : ลงทุนใน PT Star Rubber โทรศัพท : 65-6532-5210, 65-6532-5321 โทรสาร : 65-6532-7501 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ Sri Trang International ถือครองทางตรง: 48,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 100.00 PT Star Rubber

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

Jalan Trans Kalimantan KM. 16, Desa Jawa Tengah Kec. Sungai, Ambawang, Kab Kubu Raya-Kalbar, Pontianak, 78393, Kalimantan Barat, Indonesia สถานที่ตั้งสาขา : Jl. Lintas Sumatera Km. 52, RT. 005 Desa Sirih Sehapur, Kec. Jujuhan, Kab. Muara Bungo, 37257, Jambi, Indonesia ประเภทธุรกิจ : ผลิตยางแทง โทรศัพท : 62-561-724-888, 62-561-724-591-2 โทรสาร : 62-561-724-593 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ Shi Dong Investments ถือครองทางตรง : 41,400 หุน คิดเปนรอยละ 99.00 Shi Dong Shanghai

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

5F East, Block B of W Square, No. 1686 Wuzhong Road, Minhang District, Shaghai, China 201103 ประเภทธุรกิจ : จัดจำหนายผลิตภัณฑยางธรรมชาติและถุงมือยางในสาธารณรัฐประชาชนจีน โทรศัพท : 86-21-6413-7860 โทรสาร : 86-21-6413-7315 ลักษณะของสวนไดเสีย : สวนทุน สวนไดเสียที่ บมจ. ศรีตรัง มีอยูทางตรง: 5,000,000 ดอลลารสหรัฐ คิดเปนรอยละ 100.00

212

รายงานประจำป 2561

:


Sri Trang Indochina

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

Room No. 7.01A, 7th Floor, Vietnam Business Center Building, 57-59 Ho Tung Mau Street, Ben Nghe Ward, District 1, Ho Chi Minh City, Vietnam ประเภทธุรกิจ : ซื้อขายและดำเนินการสงออกผลิตภัณฑจากยางพารา โทรศัพท : 848-3821-6869 โทรสาร : 848-3821-6877 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ Sri Trang International ถือครองทางตรง: คิดเปนรอยละ 100.00 Sri Trang Ayeyar

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

Mudon Crumb Rubber Factory, 848/1221 Kankalay Plot, Kyone Phite Village, Mudon Township, 12081, Mawlamyine, Mon State, Myanmar ประเภทธุรกิจ : ผลิตยางแทง โทรศัพท : 959-9638-82676 โทรสาร : N/A ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ Sri Trang International ถือครองทางตรง : คิดเปนรอยละ 59.00 Shidong Shanghai Medical Equipment

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ

:

5th Floor, Block B of W Square, No. 1686 Wuzhong Road, Minhang District, Shanghai, China 201103 ประเภทธุรกิจ : จัดจำหนายถุงมือยางในสาธารณรัฐประชาชนจีน โทรศัพท : 8621-64137860-616 โทรสาร : 8621-64137315 ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บจ. สตารเท็กซรับเบอร ถือครองทางตรง : คิดเปนรอยละ 100.00 บจ. รวมทุนยางพาราไทย

สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ : 67/25 ถนนบางขุนนนท แขวงบางขุนนนท เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร 10700 ประเภทธุรกิจ : ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ยางพาราทั้งในและตางประเทศ โทรศัพท : N/A โทรสาร : N/A ชนิดของหุน : หุนสามัญ จำนวนหุนทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง : คิดเปนรอยละ 16.67

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)

213


คำนิยาม

นอกจากจะกำหนดไวเปนอยางอื่นในเอกสารฉบับนี้ ใหคำดังตอไปนี้มีความหมายดังนี้

214

กยท. ตลาดหลักทรัพยฯ เซมเพอรริท หรือ Semperit Technische

หมายถึง หมายถึง หมายถึง

บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย หรือ SAC บจ. ไทยเทค บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา บจ. รับเบอรแลนด บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) หรือ STGT บจ. สตารเท็กซ รับเบอร บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต บจ. สะเดา พี.เอส. รับเบอร บจ. หน่ำฮั่ว บจ. อันวารพาราวูด บจ. [ชื่อ] บมจ. [ชื่อ] บมจ. ศรีตรัง หรือ STA บริษัทฯ

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

พ.ร.บ. หลักทรัพย

หมายถึง

สำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย CDP PT Sri Trang Lingga PT Star Rubber RSS Shi Dong Investments Shi Dong Shanghai Shi Dong Shanghai Medical Equipment Sri Trang Ayeyar Sri Trang Indochina Sri Trang International Sri Trang USA TSD TSR

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

รายงานประจำป 2561

การยางแหงประเทศไทย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย Semperit Technische Produkte Gesellscha m.b.H. ซึ่งเปนบริษัทยอยของ Semperit AG Holding บริษัท เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย จำกัด บริษัท ไทยเทค รับเบอร คอรปอเรชั่น จำกัด บริษัท พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด บริษัท พัฒนาเกษตรลวงหนา จำกัด บริษัท รับเบอรแลนดโปรดักส จำกัด บริษัท ศรีตรัง โฮลดิ้งส จำกัด บริษัท ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น จำกัด บริษัท ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท สตารเท็กซ รับเบอร จำกัด บริษัท สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต จำกัด บริษัท สะเดา พี.เอส. รับเบอร จำกัด บริษัท หน่ำฮั่วรับเบอร จำกัด บริษัท อันวารพาราวูด จำกัด บริษัท [ชื่อ] จำกัด บริษัท [ชื่อ] จำกัด (มหาชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) บมจ. ศรีตรัง และบริษัทยอยของ บมจ. ศรีตรัง ที่รวมอยูในงบการเงินรวม พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแกไขเพิ่มเติม) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย The Central Depository (Pte) Limited PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Star Rubber Indonesia Ribbed Smoked Sheet Shi Dong Investments Pte. Ltd. Shi Dong Shanghai Rubber Co., Ltd. Shi Dong Shanghai Medical Equipment Co., Ltd. Sri Trang Ayeyar Rubber Industry Co., Ltd. Sri Trang Indochina (Vietnam) Co., Ltd. Sri Trang International Pte. Ltd. Sri Trang USA, Inc. บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด Technically Specified Rubber



บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.