20180322 sta ar2017 th

Page 1

2560

รายงานประจำป บร�ษัท ศร�ตรังแอโกรอินดัสทร� จำกัด (มหาชน)


02

รายงานประจำ�ปี 2560


สารบัญ 04 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมองค์กร 06 องค์กรแห่งยางสีเขียว 08 สารจากประธานกรรมการ 10 ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน 12 ธุรกิจหลักของศรีตรัง 14 การประกอบธุรกิจในระดับสากล 16 ผังโครงสร้างองค์กร 17 ภาพรวมการประกอบธุรกิจ 18 พัฒนาการที่สำ�คัญ 20 ผลิตภัณฑ์และบริการ 25 โครงสร้างการถือหุน้ ของกลุม่ บริษทั 26 โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัทศรีตรัง 28 กลยุทธ์ในการประกอบธุรกิจและแผนการเติบโตในอนาคต 30 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน 33 จุดแข็งของศรีตรัง 34 คณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหาร 52 โครงสร้างการจัดการ 64 การกำ�กับดูแลกิจการ 74 การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง 77 ความรับผิดชอบต่อสังคม 84 โครงสร้างการถือหุ้น 90 นโยบายการจ่ายเงินปันผล 91 รายการระหว่างกันและรายการกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกัน 96 ปัจจัยความเสี่ยง 102 การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ 114 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 115 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน 117 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 123 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 235 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 236 ข้อมูลของบุคคลอ้างอิง 237 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น 246 คำ�นิยาม

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

03


พันธกิจ ป 2560

Target 9.5

เราเป นองค กร แห งความมุ งมั่น และทุ มเทในการขับเคลื่อน ทุกความเป นไปได ศร�ตรัง… บร�ษัทยางสีเข�ยว 04

รายงานประจำ�ปี 2560

ป 2560: Target 9.5

Teamwork | Action | Renew | Grow | Excellent | Together ดวยนโยบายมาตรฐานศรีตรังในป 2559 ทีผ่ า นมากอใหเกิด แรงบันดาลใจและปฏิภาณรวมกัน เพือ่ สรางการเปลีย่ นแปลง ในกลุม บริษทั ศรีตรังอยางมีประสิทธิภาพ เกิดเปนประสิทธิผล การดำเนินงานภายใต “ตนทุนเดียว” และ “เทคโนโลยีเดียว” ในป 2560 บริษทั ฯ ไดสรางสรรคปรากฏการณ Target 9.5 ซึ่งก็คือ สรางเปาหมายใหทุกคนในองคกรพัฒนาและรักษา ศักยภาพในสวนงานของตนใหมีความสมบูรณแบบใหมาก ที่สุดดวยความใสใจในการทำงานและการไมหยุดยั้งที่จะ คิดคนพัฒนาเพือ่ เพิม่ พูนประสิทธิภาพในทุกขัน้ ตอนของการ ทำงานในสวนงานของตนเอง เพื่อที่จะเติบโตอยางยิ่งใหญ ในการมุง สูเ ปาหมาย “STA 20” หรือการมีปริมาณการขาย คิดเปนสัดสวนรอยละ 20 ของปริมาณความตองการบริโภค ยางธรรมชาติของโลก


SPECIALIST เรามีความเชี่ยวชาญ ในธุรกิจของเรา TEAMWORK เรารวมแรงรวมใจ ทำงานเปนทีม ฟนฝาทุกอุปสรรค

ACCOUNTABILITY

เราทำงานดวยความซื่อสัตย และรับผิดชอบตอธุรกิจ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

05


องค กรแห งยางสีเข�ยว กวา 3 ทศวรรษแหงความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมยางพารา ผนวกกับเจตนารมณ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราอยางยั่งยืน ทำใหกลุมบริษัทศรีตรังริเริ่มและ ผลักดันองคกรสูองคกรแหงยางสีเขียว

“มุ งมั่นสู ความเป นผู นำอุตสาหกรรมแห งยางสีเข�ยว”

กระบวนการผลิตสีเข�ยว ความใสใจในทุกขัน้ ตอนของการผลิตสินคาใหได ตามมาตรฐานสากลภายใตกระบวนการผลิต ทีต่ ง้ั อยูบ นหลักการของการอนุรกั ษพลังงาน ปราศจากซึง่ น้ำเสียและกลิน่ เพือ่ ใหมน่ั ใจไดวา โรงงานของเรามีกระบวนการผลิตทีเ่ ปนมิตร กับสิง่ แวดลอมและชุมชนรอบขาง

ผลิตภัณฑ สีเข�ยว ความมุง มัน่ ในการผลิตยางพารา ซึง่ เปนผลิตภัณฑจากธรรมชาติ ทีส่ ะอาดปราศจากสิง่ เจือปนทีอ่ าจเปน อันตรายตออุตสาหกรรมปลายน้ำ ซึง่ เกีย่ วของกับความปลอดภัยและ สุขอนามัยของผูบ ริโภค

06

รายงานประจำ�ปี 2560


การสรรหาวัตถุดิบสีเข�ยว เจตนารมณของบริษัทในการผลักดันใหเกษตรกร ทำการผลิตยางพาราที่สะอาดและปราศจาก สิ่งเจือปน อีกทั้งสะทอนใหเห็นถึงการดำเนินธุรกิจ ของบริษัทที่ตั้งอยูบนความยุติธรรมกับเกษตรกร และคูคาทุกราย

บร�ษัทสีเข�ยว เปนสัญลักษณขององคกรซึ่งดำเนินธุรกิจ บนรากฐานของความโปรงใส มุงสูการเติบโต อยางยั่งยืน พรอมกับเปนองคกรที่เปดรับ สิ่งใหมๆ อยูตลอดเวลาเพื่อการพัฒนา อุตสาหกรรมยางพารา ใหเติบโตอยางมั่นคง TSR

RSS

LTX

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

07


สารจากประธานกรรมการ

ก้ า วต่ อ ไปของศรี ต รั ง บริ ษั ท ฯ จะเดิ น หน้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในการสร้ า งความ แข็ ง แกร่ ง ในการดำ � เนิ น งานตลอดทั้ ง ห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน เพื่ อ ที่ จ ะขยายส่ ว นแบ่ ง การตลาดให้เพิ่มมากขึ้น พร้อมทั้งการยอมรับในอุตสาหกรรมที่มากขึ้น เพื่อที่จะ เน้นย้ำ�ถึงสถานะการเป็นผู้นำ�ในธุรกิจยางธรรมชาติครบวงจรของบริษัทฯ ปี 2560 นั บ ว่ า เป็ น ปี ที่ ท ้ า ทายอย่ า งยิ่ ง ส� ำ หรั บ ศรี ต รั ง จากความผั น ผวนอย่ า งรุ น แรงของราคายางธรรมชาติ ที่ ถื อ เป็ น อี ก หนึ่ ง บททดสอบที่ ส� ำ คั ญ ของเราในการด�ำ เนิ น ธุรกิจนี้ แม้ว่าบริษัทฯ จะอยู่ในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ มาเป็นเวลากว่า 30 ปี และได้เติบโตมาท่ามกลางความ ผันผวนของราคายางธรรมชาติมาโดยตลอด กระนั้นก็ตาม การเปลี่ยนแปลงของตลาดยางธรรมชาติในปี 2560 ยังคง เป็นปัจจัยเชิงลบที่ส่งผลกระทบต่อบริษัทฯ อย่างที่ไม่เคย ประสบมาก่อน ไม่วา่ จะเป็นการเก็งก�ำไรทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างมหาศาล ในตลาดซื้อขายล่วงหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตลาดเซี่ยงไฮ้ ฟิวเจอร์ ซึ่งมีผลกระทบต่อการบิดเบือนราคาตลาด อันไม่ สอดคล้องกับปัจจัยพื้นฐานของอุปสงค์และอุปทาน

08

รายงานประจำ�ปี 2560

ความผันผวนทีก่ ล่าวมาข้างต้น ปรากฏชัดในช่วงไตรมาสแรก ของปี 2560 ทีร่ าคายางธรรมชาติปรับตัวเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว และปรับตัวขึ้นท�ำจุดสูงสุดในรอบ 3 ปี ในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งได้สร้างมุมมองเชิงบวกต่อตลาดพร้อมกับความหวังที่ว่า ราคายางธรรมชาติจะฟืน้ ตัวภายหลังจากภาวะขาลงทีต่ อ่ เนือ่ ง ยาวนานมากว่าหลายปี ทว่าภายหลังจากขึน้ ท�ำจุดสูงสุดแล้ว ราคายางธรรมชาติ จ ะปรั บ ลดลงอย่ า งรวดเร็ ว ด้ ว ยการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและยากจะคาดการณ์นี้ บริ ษั ท ฯ จึ ง ไม่ ส ามารถประเมิ น สถานการณ์ ไ ด้ ล ่ ว งหน้ า อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ได้ปรับกลยุทธ์และแผนงานเพื่อให้ สามารถพลิกฟื้นสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที


ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการ

นอกเหนือจากปี 2560 จะเป็นปีที่ราคายางธรรมชาติจะมี ความผันผวนอย่างรุนแรงแล้ว ยังเป็นอีกหนึ่งปีที่บริษัทฯ ต้องเผชิญกับราคายางธรรมชาติที่ตกต�่ำอย่างต่อเนื่อง แต่ ด้ ว ยประสบการณ์ แ ละความช� ำ นาญในธุ ร กิ จ บริ ษั ท ฯ สามารถสร้างยอดขายได้ถึง 1.3 ล้านตัน ท่ามกลางสภาพ อุตสาหกรรมที่ท้าทายอย่างมากดังที่กล่าวมาข้างต้น ทั้ ง นี้ ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ มี ก ารพั ฒ นาที่ ส� ำ คั ญ นั่ น คื อ บริษัทฯ ได้เข้าเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ใน บริษัท ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (“STGT”) ที่ด�ำเนินธุรกิจถุงมือยาง มายาวนานร่ ว ม 30 ปี ซึ่ ง ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ถุ ง มื อ ยาง รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และจัดเป็นผู้ผลิตถุงมือยาง ในอันดับต้นๆ ของโลก การเข้าเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ส่งผลให้บริษัทฯ มีอ�ำนาจในการ บริ ห าร STGT อย่ า งเต็ ม ที่ บริ ษั ท ฯ จึ ง เชื่ อ มั่ น ว่ า การมี อิสระในการบริหารงานและแผนในการขยายก�ำลังการผลิต ที่คาดการณ์ไว้จะสร้างความแข็งแกร่งให้แก่ถุงมือ “ศรีตรัง โกลฟส์ ” และบริ ษั ท ฯ ยั ง คาดหวั ง ว่ า ทั้ ง หมดนี้ จ ะผสาน ความแข็งแกร่งในการด�ำเนินงานระหว่าง STGT และธุรกิจ กลางน�้ำของบริษัทฯ ต่อไป

สถานการณ์ปัจจุบันถือเป็นโอกาสที่เหมาะสมในการขยาย กิ จ การของ STGT จากการเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ งของ อุตสาหกรรมถุงมือยาง โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการตื่นตัว เรื่องสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศ เกิดใหม่ อาทิ จีน อินเดีย และแอฟริกา เป็นต้น อีกทั้งราคา ของถุงมือยางไม่ได้ผันผวนตามสภาพเศรษฐกิจและสภาวะ แวดล้อมเฉกเช่นกับราคายางธรรมชาติ ส่งผลให้ธุรกิจนี้ สามารถท�ำก�ำไรได้อย่างสม�่ำเสมอซึ่งท�ำให้ภาพรวมของ ธุรกิจดูน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ด้วยองค์ความรู้และประสบการณ์ในอุตสาหกรรมถุงมือยาง ยาวนานร่วม 30 ปี พร้อมด้วยทีมขายและการตลาดทีแ่ ข็งแกร่ง ที่ช่วยผลักดันกลยุทธ์ในการขยายส่วนแบ่งทางการตลาด และขยายฐานลูกค้าในตลาดใหม่ๆ ให้ประสบความส�ำเร็จ ในปี 2560 บริษัทฯ จึงสร้างสถิติปริมาณการขายถุงมือยาง ได้ถึง 16,000 ล้านชิ้น ก้าวต่อไปของศรีตรัง บริษัทฯ จะเดินหน้าอย่างต่อเนื่องใน การสร้างความแข็งแกร่งในการด�ำเนินงานตลอดทั้งห่วงโซ่ อุปทาน เพื่อที่จะขยายส่วนแบ่งการตลาดให้เพิ่มมากขึ้น พร้อมทัง้ การยอมรับในอุตสาหกรรมทีม่ ากขึน้ เพือ่ ทีจ่ ะเน้นย�ำ้ ถึงสถานะการเป็นผู้น�ำในธุรกิจยางธรรมชาติครบวงจรของ บริษัทฯ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

09


ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน งบการเงิน (หนวย : ลานบาท) งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายไดจากการขายและการใหบริการ กำไร (ขาดทุน) กอนคาใชจายทางการเงินและ ภาษีเงินได คาเสื่อมราคา และคาตัดจำหนาย กำไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได กำไร (ขาดทุน) สุทธิ งบแสดงฐานะทางการเงิน สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน อัตราสวนทางการเงิน อัตรากำไรขั้นตน (รอยละ) อัตรากำไรสุทธิ (รอยละ) อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนหนี้สุทธิตอสวนของผูถือหุน (เทา)

ป 2560

ป 2559

ป 2558

ป 2557

ป 2556

89,387 1,650

77,266 794

61,292 3,008

75,530 2,568

92,185 3,747

(1,398) (1,437)

(1,073) (758)

1,143 1,118

1,076 1,038

1,987 1,820

59,708 36,431 23,277

55,959 36,047 19,912

43,879 22,545 21,334

37,791 17,199 20,592

44,237 24,246 19,991

4.2 (1.6) 1.1 1.5

7.0 (1.0) 1.0 1.7

5.7 1.8 1.2 1.0

4.4 1.4 1.4 0.7

5.6 2.0 1.3 1.1

หมายเหตุ : งบการเงิน ป 2557 – 2560 ถูกจัดทำขึ้นตามมาตราฐานการบัญชีของ IFRS ในขณะที่งบการเงิน ป 2556 จัดทำขึ้นโดยการนำมาตรฐาน บางฉบับมาปรับใชกอนวันที่มีผลบังคับ

10

รายงานประจำ�ปี 2560


รายไดจากการขาย และการใหบริการ

89,387

สินทรัพยรวม

ปริมาณการขาย

ลานบาท

ตัน

59,708 1,323,873

ลานบาท

รายไดและปริมาณการขาย

(ตัน) 1,600,000

(ลานบาท) 120,000

1,494,094

1,400,000

1,323,873

100,000

1,204,342

1,200,000

1,126,463

80,000

1,119,966

1,000,000

60,000 800,000 40,000

600,000 400,000

20,000

2556

2557

2558

ปริมาณการขาย (ซาย)

2559

2560

รายไดจากการขาย (ขวา)

10

2 8.09

2

1.73

8

1.5 5.38

1.31 1.21

1

0.97

1.10

4.58

1

4.12

4

2557

2558

2559

อัตราสวนสภาพคลอง (เทา)

2560

1.12 0.95

3.87

0.73

2

2556

1.47

6

1.42

0.5

2556

2557

2558

2559

2560

อัตราสวนหมุนเวียนสินทรัพยถาวร (เทา)

2556

2557

2558

2559

2560

อัตราสวนหนี้สินสุทธิตอสวนของผูถือหุน (เทา)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

11


กระบวนการผลิตสีเขียว ตั้งแตตนน้ำสูปลายน้ำ กลุมบริษัทศรีตรังถือเปนผูนำในการผลิต และจัดจำหนาย ยางธรรมชาติที่ครบวงจรรายใหญที่สุดของโลก โดยมีสวนแบงทางการตลาด ประมาณรอยละ 10 ของความตองการยางธรรมชาติทั่วโลก และมีผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติขั้นพื้นฐานที่ครอบคลุมทุกประเภท ไดแก ยางแผนรมควัน ยางแทง และน้ำยางขน ดวยกำลังการผลิตประมาณ 2.6 ลานตันตอป

บริษทั ศรีตรัง แอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)

12

รายงานประจำ�ปี 2560

พืน้ ทีส่ วนยาง ประมาณ

กำลังการผลิต ยางธรรมชาติ

กำลังการผลิต ถุงมือยาง

50,000

2.6

14,000

ไร

ลานตัน / ป

ลานชิน้ / ป


ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติครบวงจร รายใหญที่สุดของโลก ธุรกิจตนน้ำ

บริษัทมีพื้นที่สำหรับการทำสวนยางพาราประมาณ 50,000 ไร ใน 19 จังหวัดของประเทศไทย

ธุรกิจกลางน้ำ

บริษัทมีโรงงานผลิตยางธรรมชาติ 36 โรงงาน ตั้งอยูในประเทศไทย อินโดนีเซีย และเมียนมา ครอบคลุมทุกผลิตภัณฑ ทั้งยางแทง ยางแผนรมควัน และน้ำยางขน ดวยกำลังการผลิตยางธรรมชาติ 2.6 ลานตัน/ป

ธุรกิจปลายน้ำ

บริษัทมีโรงงานการผลิตทั้งถุงมือยางธรรมชาติและถุงมือยางไนไตรล ที่ใชในทางการแพทย 4 โรงงาน ตั้งอยูในประเทศไทย ดวยกำลังการผลิต ถุงมือยาง 14,000 ลานชิ้น/ป

การขายและจัดจำหนาย

ตั้งบริษัทยอยเพื่อดำเนินการขายและจัดจำหนายใน 6 ตลาดหลักของโลก ไดแก ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร จีน อเมริกา และเวียดนาม

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

13


การประกอบธุรกิจในระดับสากล ยางธรรมชาติ

14% ของยอดนำเขา

10%

สวนแบงทางการตลาด จากความตองการใชยางธรรมชาติทั่วโลกในป 2560

ทั้งหมดของจีน

36 โรงงานผลิต

29% จากยอดผลิต

ผลิตภัณฑยางธรรมชาติในประเทศไทย อินโดนีเซีย และเมียนมา

ยางธรรมชาติทั้งหมด ในประเทศไทย ป 2560

ยอดขายผลิตภัณฑยางธรรมชาติ ตัน ในป 2560

1,323,873

USA

14

รายงานประจำ�ปี 2560


4 โรงงานในประเทศไทย

ถุงมือยาง

ซึ่งเปนแหลงวัตถุดิบน้ำยางขนที่ใหญที่สุดในโลก

8%

สวนแบงทางการตลาด จากความตองการใชถุงมือยาง ทั่วโลกในป 2560

กำลังการผลิต

14,000 ลานชิ้นตอป ยอดขายผลิตภัณฑถุงมือยาง ลานชิ้นในป 2560

16,344

CN MM

TH SG ID

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

15


ผังโครงสร้างองค์กร

คณะกรรมการบริษัท

เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการบริหาร

กรรมการผู ัดการ กรรมการผู ้จัด้จการ

ฝ่ายตรวจสอบภายใน

ผู้จัดการ สายงาน สรรหา วัตถุดิบ

16

ผู้จัดการ สายงาน การผลิต

ผู้จัดการ สายงาน คุณภาพ

รายงานประจำ�ปี 2560

CFO – สายธุรกิจ ยางธรรมชาติ

ผู้จัดการ สายงาน วิศวกรรม

ผู้จัดการ สายงาน การตลาด

ผู้จัดการ สายงาน ทรัพยากร มนุษย์

ผู้จัดการ สายงาน กฎหมายและ บริหารทั่วไป

ผู้จัดการ สายงาน ธุรกิจเกษตร

ผู้จัดการ สายงานพัฒนา ธุรกิจ และ CFO – สายธุรกิจ ถุงมือยาง


ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บมจ.ศรีตรังเป็นผูป้ ระกอบการยางธรรมชาติแบบครบวงจรเริม่ จากธุรกิจต้นน�ำ้ ที่ศรีตรังได้ลงทุนในสวนยางพาราขนาดใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันมีพื้นทีส่ �ำหรับปลูก สวนยางพาราประมาณ 50,000 ไร่ในหลายจังหวัดของประเทศไทยและ ในธุรกิจกลางน�้ำ บริษัทฯ มีส่วนแบ่งทางการตลาดประมาณร้อยละ 10 ของ ความต้องการยางธรรมชาติทั่วโลก และมีผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติขั้นพื้นฐาน ทุกประเภทเพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของลูกค้าทั่วโลก ได้แก่ ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน�้ำยางข้น ด้วยก�ำลังการผลิตกว่า 2.6 ล้านตันต่อปี จากจ�ำนวนโรงงานรวม 36 โรงงาน ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศผู้ผลิต ยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดสองอันดับแรกของโลก ได้แก่ ประเทศไทยและ ประเทศอินโดนีเซีย รวมทั้งประเทศเมียนมาด้วย ส�ำหรับธุรกิจปลายน�้ำ บริษัทฯ ผลิตและจ�ำหน่ายถุงมือยางธรรมชาติและ ถุงมือยางไนไตรล์ที่ใช้ในทางการแพทย์และทางอุตสาหกรรม ทั้งแบบมีแป้ง และไม่มีแป้งให้แก่ลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีโรงงานที่ใหญ่ ที่สุดในประเทศไทยทั้งสิ้น 4 โรงงาน ด้วยก�ำลังการผลิตกว่า 14,000 ล้านชิ้น ต่อปี และเป็นหนึ่งในผู้น�ำด้านการผลิตถุงมือยางระดับโลก อีกทั้ง บริษัทฯ ยังได้ร่วมลงทุนกับบริษัทต่างชาติในการผลิตท่อไฮดรอลิกแรงดันสูง มีโรงงาน ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในการผลิตท่อไฮดรอลิกเพื่อใช้ในงานประเภท อุตสาหกรรมต่างๆ นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง ได้จัดตั้งบริษัทย่อยอีกหลายบริษัทเพื่อบริการ สนับสนุนการด�ำเนินงานของธุรกิจหลักของกลุ่มบริษัท บมจ. ศรีตรัง จัดตั้งขึ้นในปี 2530 และในปัจจุบัน บมจ. ศรีตรัง เป็นบริษัท ยางพาราบริ ษั ท แรกและบริ ษั ท เดี ย วในประเทศไทยที่ ด� ำ รงสถานะการ จดทะเบี ย นหลั ก ทรั พ ย์ ทั้ ง ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและ ตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

17


พัฒนาการที่สำ�คัญ 2530

เมษายน เริ่มประกอบธุรกิจการผลิตยางแผนรมควันที่อำเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มตนที่ 31 ลานบาท

ตุลาคม จัดตั้ง บจ. อันวารพาราวูด เพื่อดำเนินกิจการผลิตไมยางพาราสำหรับอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร รวมถึงผลิตไมยางพาราเพื่อเปนพาเลทสำหรับรองรับสินคาภายในโรงงานของกลุมบริษัท 2531

มีนาคม

2532

มกราคม

2533

มีนาคม

2534

สิงหาคม

จัดตั้ง บจ. รับเบอรแลนด เพื่อดำเนินกิจการผลิตน้ำยางขน ซึ่งเปนโรงงานผลิตน้ำยางขนแหงแรกของกลุมบริษัท รวมจัดตั้ง บจ. สยามเซมเพอรเมด (ปจจุบันคือ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)) กับ บริษัทจากประเทศออสเตรีย เพื่อดำเนินกิจการผลิตถุงมือยางที่ใชในทางการแพทย รวมจัดตั้ง บจ. ไทยเทค กับ บจ. เซาทแลนด รับเบอร และ Itochu Corporation Limited เพื่อขยายประเภทผลิตภัณฑ ใหครอบคลุมถึงยางแทง เสนอขายหุนตอประชาชนในประเทศไทยและนำหุนเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

มกราคม

2537

จัดตั้ง บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต เพื่อใหบริการสนับสนุนดานการขนสงแกธุรกิจของกลุมบริษัท

มีนาคม จัดตั้ง บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง เพื่อสนับสนุนทางดานวิจัยและพัฒนา รวมทั้งใหบริการดานวิศวกรรมบริการใหแกกลุมบริษัท

กันยายน

2538

จัดตั้ง บจ. สตารเท็กซ รับเบอร เพื่อลงทุนในธุรกิจตนน้ำและเขาเปนเจาของสวนยางพาราในภาคใต ของประเทศไทย 2539

มีนาคม

2545

เมษายน

รวมจัดตั้ง บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย กับ บริษัทจากประเทศออสเตรีย เพื่อทำการผลิตสายไฮดรอลิคแรงดันสูง จัดตั้ง Sri Trang International ในสิงคโปรซึ่งเปนศูนยกลางการซื้อขายยางธรรมชาติสำหรับผูใชรายสำคัญ เพื่อใชเปนแหลงจัดจำหนาย ผลิตภัณฑยางธรรมชาติของบริษัทใหแกลูกคาทั่วโลก

มีนาคม

2547

จัดตั้ง Sri Trang USA, Inc. เพื่อเนนการจัดจำหนายผลิตภัณฑยางธรรมชาติของบริษัท ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา

กรกรฎาคม ขยายธุรกิจไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยการจัดตั้งทีมการขายในเมืองชิงเตา และเซี่ยงไฮ เพื่อทำการจำหนายผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติของบริษัทโดยตรง

มกราคม

2548

จัดตั้ง PT Sri Trang Lingga ในประเทศอินโดนีเซียซึ่งเปนแหลงจัดหาและผลิตยางธรรมชาติแหงแรก ของบริษัทที่อยูนอกประเทศไทย

18

รายงานประจำ�ปี 2560


ธันวาคม จัดตั้ง บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น เพื่อลงทุนในสวนยางพาราขนาดใหญซึ่งเปนธุรกิจตนน้ำ

สิงหาคม

2550

2552

เขาซื้อ PT Star Rubber ซึ่งเปนโรงงานผลิตยางแทงแหงที่สองของบริษัทในประเทศอินโดนีเซีย

สิงหาคม

2553

จัดตั้ง Shi Dong Shanghai ในเซี่ยงไฮ ซึ่งเปนบริษัทยอยในสาธารณรัฐประชาชนจีนบริษัทแรกของบริษัท เพื่อขยายฐานการดำเนินธุรกิจในสาธารณรัฐประชาชนจีน

มกราคม บมจ. ศรีตรัง เสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอประชาชนทั่วไปในประเทศสิงคโปร รวมทั้งนักลงทุนสถาบันและ นำหุนเขาจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยสิงคโปร ซึ่งถือเปนบริษัทยางพาราจดทะเบียนไทยแหงแรก ที่เขาเปนบริษัทจดทะเบียนในประเทศสิงคโปร

ตุลาคม

จัดตัง้ Sri Trang Ayeyar โดยการรวมลงทุนกับบริษทั Ayeyar Hinthar Holdings จำกัด เพือ่ ขยายฐานการผลิตยางธรรมชาติในประเทศเมียนมา

2554

2556

ธันวาคม จัดตั้ง Sri Trang Indochina ในเมืองโฮจิมินห ซึ่งเปนบริษัทยอยแหงแรกในประเทศเวียดนาม เพื่อซื้อขายและทำการสงออกผลิตภัณฑยางธรรมชาติในประเทศเวียดนาม

เมษายน

2559

บมจ. ศรีตรังเพิม่ สัดสวนการลงทุนใน บจ. ไทยเทค จากรอยละ 33.5 เปนรอยละ 42.5 โดยการซือ้ หุน จาก บริษทั อิโตชู คอรปอเรชัน่ จำกัด เพื่อตอกย้ำความเปนผูนำของโลกในธุรกิจยางธรรมชาติ

กันยายน บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา ลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 100.0 ลานบาท เหลือ 25.0 ลานบาท เนื่องจากมีสภาพคลองเหลือภายหลัง จากการหยุดดำเนินธุรกิจประเภทนายหนาซื้อขายลวงหนาในตลาดสินคาเกษตรลวงหนา (AFET) เนื่องจาก AFET ไดถูกยุบรวมเขากับตลาด TFEX (Thailand Futures Exchange)

มีนาคม บมจ. ศรีตรัง และ เซมเพอรริท ไดดำเนินการแยกกิจการของบริษัทรวมและบริษัทรวมคาที่มีระหวางกันเสร็จสมบูรณ* การแยกกิจการครั้งนี้สงผลใหบริษัทฯ มีสัดสวนการถือหุนใน บจ. สยามเซมเพอรเมด ซึ่งตอมาเปลี่ยนชื่อเปน บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) เพิ่มเปนรอยละ 90.2

2560

พฤษภาคม

บจ. สตารเท็กซ รับเบอร จัดตั้งบริษัทยอยแหงใหม ไดแก Shidong Shanghai Medical Equipment ขึ้นในสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีทุนจดทะเบียน 1,650,000 ดอลลารสหรัฐฯ เพื่อประกอบธุรกิจจัดจำหนายถุงมือยางในสาธารณรัฐประชาชนจีน

มิถุนายน Sri Trang USA, Inc. เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิมจำนวน 2,000,000 ดอลลารสหรัฐฯ เปน 3,000,000 ดอลลารสหรัฐฯ เพื่อประกอบธุรกิจจัดจำหนายถุงมือยางและอุปกรณการแพทยในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ

กรกฎาคม บมจ.ศรีตรัง รวมจัดตั้ง บจ. รวมทุนยางพาราไทย กับการยางแหงประเทศไทย (กยท.) พรอมดวยผูผลิตและผูสงออกยางรายใหญ ภาคเอกชนอีก 4 บริษัท ตามนโยบายภาครัฐ เพื่อดำเนินการซื้อขาย แลกเปลี่ยนยางพาราทั้งในและตางประเทศ โดยมีทุนจดทะเบียน 1,200,000,000 บาท ซึ่งทาง บมจ.ศรีตรัง เขารวมลงทุนจำนวน 200,000,000 บาท

ตุลาคม บมจ.ศรีตรัง ดำเนินการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนตอผูถือหุนเดิมของบริษัทตามสัดสวนจำนวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายถืออยู (Rights Offering) ในอัตราสวน 5 หุนสามัญเดิมตอ 1 หุนสามัญใหม ในราคาเสนอขายหุนละ 10 บาท โดยไดดำเนินการเพิ่มทุนชำระแลวจาก 1,280,000,000 บาท เปนจำนวน 1,535,999,998 บาท หมายเหตุ: *ยกเวน บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย ซึ่งจะยังคงเปนบริษัทรวมทุนโดยเซมเพอรริทมีสิทธิ call option ในการซื้อหุนจาก บมจ. ศรีตรังและผูถือหุนรายยอยอื่นๆ ที่เหลือในชวงระหวางป 2562-2564

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

19


ผลิตภัณฑ์ และบริการ

20

รายงานประจำ�ปี 2560


ผลิตภัณฑ์และบริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ธุรกิจต้นน้ำ�

ธุรกิจกลางน้ำ�

ธุรกิจปลายน้ำ�

ธุรกิจอื่นที่สนับสนุน การดำ�เนินงานหลัก

สวนยางพารา

การผลิตผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติ

การผลิตและจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์สำ�เร็จรูป จากยาง

ดำ�เนินธุรกิจในการให้บริการ และสนับสนุนการดำ�เนิน งานหลักของกลุ่มบริษัทฯ

ธุรกิจต้นน้ำ� สวนยางพารา ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 บริ ษั ท ฯ มี พื้ น ที่ ส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ สวนยางพาราประมาณ 50,000 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่กว่า 19 จังหวัด ในประเทศไทย ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตภาคเหนื อ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีสัดส่วนสวนยางที่ปลูกไปแล้วทั้งสิ้น ร้ อ ยละ 89 บางส่ ว นเริ่ ม ทยอยให้ ผ ลผลิ ต ตั้ ง แต่ ป ี 2558 ซึ่ ง ได้ ส่งผลดีต่อกลยุทธ์การสรรหาวัตถุดิบส�ำหรับธุรกิจกลางน�้ำซึ่งเป็น ธุรกิจหลักของบริษัทฯ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

21


ธุรกิจกลางน้ำ� การผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริษัทศรีตรังฯ มีโรงงานผลิต ยางธรรมชาติทั้งสิ้นจ�ำนวน 36 โรง แบ่งออกเป็นในประเทศไทย จ�ำนวน 32 โรง ในประเทศอินโดนีเซียจ�ำนวน 3 โรง และใน ประเทศเมียนมาจ�ำนวน 1 โรง มีประมาณการก�ำลังการผลิต รวม 2.6 ล้านตันต่อปี ส�ำหรับปี 2560 บริษัทฯ มีอัตราการใช้ ก�ำลังการผลิตที่ระดับประมาณร้อยละ 67

ยางแท่ง

ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ท�ำรายได้ให้กับ บริษัทฯ คิดเป็นร้อยละ 89 ของรายได้จากการขายและบริการ ในปี 2560 บริษัทฯ ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ พืน้ ฐานทีค่ รอบคลุมทุกประเภท ได้แก่ ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และน�้ ำ ยางข้ น เพื่ อ จ� ำ หน่ า ยให้ แ ก่ ผู ้ ผ ลิ ต ยางล้ อ และผู ้ ผ ลิ ต ถุงมือยางทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ

ยางแผ่นรมควัน

น้ำ�ยางข้น

ชนิดที่จำ�หน่าย

ชนิดที่จำ�หน่าย

ชนิดที่จำ�หน่าย

ผลิตในประเทศไทย • STR • STR CV • STR Mixture ผลิตในประเทศอินโดนีเซีย • SIR • SIR Mixture ผลิตในประเทศเมียนมา • ยางแท่งอัดก้อนเมียนมา

• แบ่งได้เป็น 5 ประเภท คือ RSS1, RSS2, RSS3, RSS4 และ RSS5 • ยางแก้ว (ADS) • RSS 1XL

น�้ำยางข้น 60% • HA – High Ammonia Latex • MA – Medium Ammonia Latex • LA – Low Ammonia Latex • Double Centrifuge Latex

การนำ�ไปใช้งาน

การนำ�ไปใช้งาน

เป็นวัตถุดบิ ส�ำหรับอุตสาหกรรม ยางล้อ อะไหล่รถยนต์ สายพาน ท่อน�ำ้ รองเท้า ฯลฯ

การนำ�ไปใช้งาน

เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม ผลิตถุงมือยาง ถุงยางอนามัย ยางยืด กาว ฯลฯ

ส่วนใหญ่ใช้เป็นวัตถุดิบ ส�ำหรับอุตสาหกรรมยางล้อ

วัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ยางแท่ง ยางแผ่นรมควัน และน�้ำยางข้น ได้แก่ ยางก้อนถ้วย ยางแผ่นดิบ และน�้ำยางสด ตามล�ำดับ กระบวนการสรรหาวัตถุดิบถือมีส่วนส�ำคัญเป็นอย่างมากต่อความส�ำเร็จในการด�ำเนินธุรกิจ เนื่องจากต้นทุนการผลิต ประมาณร้อยละ 90 มาจากต้นทุนวัตถุดิบ ดังนั้น บริษัทฯ จึงให้ความส�ำคัญในการจัดตั้งเครือข่ายศูนย์กลางการจัดหาวัตถุดิบ (Procurement Centre) ในจุดยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญที่ใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ ทั้งนี้ เพื่อลดต้นทุนการซื้อวัตถุดิบและเพิ่มเครือข่าย การสรรหาวัตถุดิบให้กว้างขวางที่สุด

22

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัทฯ เป็นหนึ่งในผู้น�ำด้านการผลิตถุงมือยาง ระดับโลก อีกทั้งบริษัทฯ ยังร่วมลงทุนกับบริษัท ต่ า งชาติ ใ นการผลิ ต ท่ อ ไฮดรอลิ ก แรงดั น สู ง มีโรงงานที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในการผลิต ท่ อ ไฮดรอลิ ก แรงดั น สู ง เพื่ อ ใช้ ใ นงานประเภท อุตสาหกรรมต่างๆ

ธุรกิจปลายน้ำ� ธุรกิจปลายน�้ำที่ส�ำคัญของบริษัทฯ มี 2 ประเภท ได้แก่ ถุงมือยางทางการแพทย์ และท่อไฮดรอลิกแรงดันสูง

ถุงมือยางทางการแพทย์ บริษัทฯ ผลิตและจ�ำหน่ายถุงมือยางธรรมชาติและถุงมือยางไนไตรล์ที่ใช้ในทาง การแพทย์และทางอุตสาหกรรม ทัง้ แบบมีแป้งและไม่มแี ป้งให้แก่ลกู ค้าทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศ โดยด�ำเนินการผลิตทั้งในลักษณะการรับจ้างผลิต (Original Equipment Manufacturer : OEM) ให้กบั คูค่ า้ ทัง้ ในและต่างประเทศ ตามคุณสมบัติ และความต้องการของลูกค้า รวมทั้งการผลิตและจัดจ�ำหน่ายภายใต้เครื่องหมาย การค้าของบริษทั อาทิ “ศรีตรังโกลฟส์” ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้ หากพิจารณาจากก�ำลังการผลิตถุงมือยางของบริษัทฯ ที่ 14,000 ล้านชิ้นต่อปี ถือได้ว่าบริษัทฯ เป็นผู้ผลิตถุงมือยางรายใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย และจัดเป็นผู้ผลิตถุงมือยางในอันดับต้นๆ ของโลก

ท่อไฮดรอลิกแรงดันสูง บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเชีย ซึ่งก่อตั้งโดยความร่วมมือของ บมจ. ศรีตรัง และ บริ ษั ท จากประเทศออสเตรี ย เป็ น ผู้ ผ ลิ ต ท่ อ ไฮโดรลิ ค แรงดั น สู ง ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย ซึ่งส่วนมากนำ�ไปใช้สำ�หรับโรงงานอุตสาหกรรมหนัก

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

23


ธุรกิจอื่นที่สนับสนุนการดำ�เนินงานหลัก บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัทย่อยหลายบริษัทเพื่อด�ำเนินธุรกิจในการให้บริการและสนับสนุนการด�ำเนินงานหลักของกลุ่มบริษัทฯ

การขายและจัดจำ�หน่าย บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ เครือข่ายการซือ้ ขายและจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติและถุงมือยางใน 4 ตลาดหลัก ซึ่งได้แก่ ประเทศ สิงคโปร์ สาธารณรัฐประชาชนจีน สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม โดยด�ำเนินการผ่านบริษัทย่อยของบริษัทฯ ได้แก่ Sri Trang International, Shi Dong Shanghai, Shi Dong Shanghai Medical Equipment และ Sri Trang Indochina

การขนส่ง บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซเพรส ทรานสปอร์ต เป็นผู้ให้บริการขนส่ง และโลจิสติกส์ส�ำหรับการขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของ บริษัทฯ ภายในประเทศไทย โดยบริการดังกล่าวรวมถึงการ จัดเตรียมเคลื่อนย้ายสินค้าลงเรือและการจัดเตรียมเอกสาร ต่างๆ ที่เกี่ยวกับการน�ำเข้าและส่งออก

ธุรกิจแปรรูปและผลิตไม้ยางพารา บจ. อันวาร์พาราวูด แปรรูปอบแห้งไม้ยางพาราและไม้ที่ ปลูกขึ้นเพื่อส่งให้กับอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ และธุรกิจผลิต บรรจุภัณฑ์ที่ท�ำจากไม้ยางพาราและไม้ชนิดอื่น เพื่อใช้เป็น พาเลทในการวางสินค้าภายในกลุ่มบริษัทฯ

การบำ�รุงรักษาและพัฒนาวิจัยการผลิต บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง เป็นผู้ให้บริการบ�ำรุงรักษา เครื่องจักรและอุปกรณ์ รวมถึงคิดค้นพัฒนากระบวนการผลิต อันล�้ำสมัยให้แก่กลุ่มบริษัทฯ นอกจากนี้ ยังเป็นผู้วิจัยและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้คุณภาพเฉพาะตัวตามความต้องการ ของลูกค้า

24

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

25

บจ. ไทยเทค

42.5%

PT Sri Trang Lingga

90.0%

บจ. สะเดา พ�.เอส. รับเบอร

99.9%

บจ. หน่ำฮั่ว

99.9%

บจ. รับเบอร แลนด

99.9%

Itochu Corporation

15.0%

บจ. เซาท แลนด รับเบอร

42.5%

ผลิตภัณฑ ยางธรรมชาติ

50.0%

Semperit Technische Produkte

บจ. เซมเพอร เฟล็กซ เอเซีย

42.5%

บจ. ศร�ตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

90.2%

สินค าสำเร็จรูป

Sri Trang Ayeyar

59.0%

Sri Trang Indochina

100.0%

Shi Dong Shanghai

100.0%

Sri Trang USA, Inc.

100.0%

บจ. สตาร เท็กซ รับเบอร

Shi Dong Investments

100.0%

Sri Trang International

100.0%

99.9%

จัดจำหน าย

บมจ. ศร�ตรัง

โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สามารถแสดงได้ดังนี้

โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ

Ayeyar Hinthar Holdings Co., Ltd.

40.0%

PT Star Rubber

99.0%

Shi Dong Shanghai Medical Equipment

100.0%

บจ. อันวาร พาราวูด

บจ. ร วมทุน ยางพาราไทย

16.67%

บจ. ศร�ตรังรับเบอร แอนด แพลนเทชั่น

99.9%

บจ. พัฒนาเกษตร ล วงหน า

40.0%

บจ. สตาร ไลท เอ็กซ เพรส ทรานสปอร ต

99.9%

บจ. พร�เมียร ซิสเต็ม เอ็นจ�เนียร��ง

99.9%

99.9%

บร�การ/ธุรกิจอื่น

กยท.

บจ. เซาท แลนด

16.67%

บจ. วงศ บัณฑิต

16.67%

บมจ. ไทยฮั้ว

16.67%

บมจ. ไทยรับเบอร ลาเท็คซ

16.67%

16.67%

44.5%

บมจ. ลีพัฒนา ผลิตภัณฑ


โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัทศรีตรัง ประเภทของธุรกิจ / ดำ�เนินการโดย

สัดส่วน การถือหุ้น โดยบริษัทฯ (ร้อยละ)

รายได้จากผลิตภัณฑ์ยางแท่ง บมจ. ศรีตรัง Sri Trang International บจ. รับเบอร์แลนด์

99.99

บจ. หน�่ำฮั่ว

99.99

PT Sri Trang Lingga

90.00

Shi Dong Shanghai

100.00

PT Star Rubber

98.99

Sri Trang Ayeyar

58.99

รายได้จากผลิตภัณฑ์ ยางแผ่นรมควัน

Sri Trang USA, Inc. บจ. หน�่ำฮั่ว Shi Dong Shanghai บจก. สะเดา พี.เอส. รับเบอร์

Sri Trang International

26

ล้านบาท

%

ล้านบาท

%

ล้านบาท

%

44,482.7

72.3

56,133.4

72.5

63,183.1

70.1

5,462.4

8.9

7,305.3

9.4

9,653.1

10.7

4,774.2

7.8

6,088.0

7.9

6,285.5

7.0

99.99 100.00 99.99 100.00 99.99 99.99

Shi Dong Shanghai

100.00

Sri Trang USA, Inc.

100.00

บจ. รับเบอร์แลนด์

99.99

บจ. หน�่ำฮั่ว

99.99

รายงานประจำ�ปี 2560

2560

-

รายได้จากผลิตภัณฑ์น�้ำยางข้น บมจ. ศรีตรัง

2559

99.99 100.00

Sri Trang International

2558

-

Sri Trang USA, Inc.

บมจ. ศรีตรัง

ประจำ�ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม


ประเภทของธุรกิจ / ดำ�เนินการโดย

สัดส่วน การถือหุ้น โดยบริษัทฯ (ร้อยละ)

รายได้จากผลิตภัณฑ์ถุงมือยาง*

ประจำ�ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ล้านบาท

2559 %

ล้านบาท

2560 %

ล้านบาท

%

-

-

-

-

9,858.7

10.9

6,572.5

10.7

7,738.8

10.0

406.6

0.5

รายได้อื่น

186.3

0.3

197.5

0.2

685.5

0.8

รายได้รวม

61,478.1

100.0

77,463.0

100.0

บมจ. ศรีตรัง

-

บจ. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย)

90.23

Sri Trang International

99.99

Sri Trang USA, Inc.

100.0

Shi Dong Shanghai

100.0

Shi Dong Shanghai Medical Equipment

99.99

รายได้จากผลิตภัณฑ์อื่น และบริการอื่น** บมจ. ศรีตรัง

-

บจ. อันวาร์พาราวูด

99.94

Sri Trang International

99.99

บจ. พรีเมียร์ซสิ เต็มเอ็นจิเนียริง่

99.99

บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซเพรส ทรานสปอร์ต บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์

99.99

บจ. รับเบอร์แลนด์

99.99

Sri Trang USA, Inc.

100.00

Shi Dong Shanghai

100.00

บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น

99.99

ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุน ในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า

99.99

648.8

402.8

90,072.5 100.0 129.8

หมายเหตุ :

* **

ในเดือนมีนาคม 2560 บจ. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) ได้เปลี่ยนสถานะจากกิจการร่วมค้าเป็นบริษัทย่อย ดังนั้นรายได้จากผลิตภัณฑ์ถุงมือยางจึงเป็นรายได้ ภายใต้งบการเงินรวมหลังวันที่ 15 มีนาคม 2560 ประกอบไปด้วยรายได้จาก (ก) การจ�ำหน่ายไม้ฟืนและบรรจุภัณฑ์ไม้ (ข) การให้บริการบางประเภท (เช่น บริการด้านการขนส่ง การวิจัยและพัฒนา และเทคโนโลยี สารสนเทศ) แก่บริษัทร่วมของบริษัทฯ และกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ รวมถึงบริษัทภายนอกอื่นๆ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

27


กลยุทธ์ ในการประกอบธุรกิจ และแผนการเติบโตในอนาคต

มิ เ พี ย งแต่ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ในอุ ต สาหกรรมยางธรรมชาติ ด ้ ว ยก� ำ ลั ง การผลิตที่สูงสุดของโลก บริษัทฯ ยังเป็นผู้น�ำในการขยายก�ำลัง การผลิตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างโรงงานใน พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ซึ่งถือว่าเป็น พื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยสวนยางพาราใหม่และมีศักยภาพ ในการเติบโตสูง บริษัทฯ ได้เพิ่มก�ำลังการผลิตโดยการสร้าง โรงงานใหม่และขยายก�ำลังการผลิตบนโรงงานแห่งเดิมอย่าง ต่อเนื่อง ท�ำให้ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิต เติบโตแบบก้าวกระโดดถึง 3 เท่า ส่งผลให้อัตราการเติบโต เฉลี่ยของปริมาณการขายของบริษัทฯ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เท่ากับร้อยละ 9 ซึ่งสูงกว่าอัตราการเติบโตเฉลี่ยของปริมาณ ความต้องการบริโภคยางธรรมชาติของโลกที่ร้อยละ 2 ท�ำให้ บริ ษั ท ฯ สามารถขยายส่ ว นแบ่ ง ทางการตลาดของโลกเป็ น ร้อยละ 10 ในปี 2560

ด้วยความมุ่งมั่น และการผนึกก�ำลัง ของที ม งานที่ แ ข็ ง แกร่ ง บริ ษั ท ฯ จึงมีความมั่นใจว่าจะสามารถสร้าง ประวั ติ ศ าสตร์ ป ริ ม าณการขาย อันจะท�ำให้บรรลุเป้าหมายอันสูงสุด ในการเป็น “STA 20”

บริษัทฯ ยังคงสานต่อนโยบายสร้างโรงงานใหม่อย่างต่อเนื่อง ด้วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัยทีส่ ดุ เพือ่ ให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพ สูงสุดในพื้นที่ใหม่ๆ เช่น ภาคเหนือของประเทศไทย เพิ่มเติม จากพื้นที่ยุทธศาสตร์เดิมที่มี และด้วยการผนึกก�ำลังของทีมงาน ที่แข็งแกร่งไม่ว่าจะเป็นทีมขาย ทีมวิจัยและพัฒนา ทีมประกัน คุณภาพ และทีม CSR ที่ร่วมมือกันท�ำงานเพื่อสร้างความ พึ ง พอใจสู ง สุ ด ให้ กั บ ลู ก ค้ า ควบคู ่ ไ ปกั บ การสานสั ม พั น ธ์ ใ ห้ แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น บริษัทฯ จึงมีความมั่นใจว่าบริษัทฯ จะสามารถ สร้างประวัติศาสตร์ปริมาณการขายอันจะท�ำให้บริษัทฯ สามารถ บรรลุ เ ป้ า หมายอั น สู ง สุ ด ในการเป็ น “STA 20” หรื อ การ มีปริมาณการขายคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20 ของปริมาณความ ต้องการบริโภคยางธรรมชาติของโลกได้ในเวลาอันใกล้ ในส่วนของถุงมือยางนั้น บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะเพิ่มพูน ศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น และความได้ เ ปรี ย บที่ มี เ หนื อ คู ่ แ ข่ ง อื่ น คือการเข้าถึงแหล่งวัตถุดิบอันได้แก่ น�้ำยางข้น ด้วยปริมาณ และคุณภาพที่เป็นเลิศ พร้อมทั้งการรักษาไว้ซึ่งการผลิตถุงมือ ยางไนไตรล์ เ พื่ อ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ใน ทั่วทุกมุมโลก บริษัทฯ ได้ท�ำการขยายก�ำลังการผลิตถุงมือยาง

28

รายงานประจำ�ปี 2560

ซึ่งคาดว่าจะท�ำให้บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตประมาณ 18,000 ล้านชิ้นต่อปีภายในปี 2562 นอกจากนี้ การมุ่งเน้นการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นระบบของสวนยางพาราของบริษัทฯ ที่ได้เริ่มทยอยให้ ผลผลิตซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย


อันเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการขยายโรงงานของบริษัทฯ ในอนาคต ประกอบกั บ การเสริ ม สร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ของบริ ษั ท ฯ ในธุ ร กิ จ การผลิตถุงมือทางการแพทย์ ซึ่งเป็นธุรกิจปลายน�้ำหลักของกลุ่ม บริษัทฯ นับเป็นการยกระดับความเป็นผู้น�ำหนึ่งเดียวในอุตสาหกรรม ยางธรรมชาติอย่างครบวงจรให้ล�้ำหน้าทิ้งห่างคู่แข่งในอุตสาหกรรม มากยิ่งขึ้นไปอีกด้วย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

29


ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน แนวโน้มอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติในปี 2561 IRSG คาดการณ์ว่าแนวโน้มความต้องการยางธรรมชาติทั่วโลก ในปี 2561 จะเท่ากับ 13,336,000 ตัน เติบโตคิดเป็นร้อยละ 2.4 ซึง่ ส่วนใหญ่มาจากการเติบโตจากประเทศจีน ซึง่ เป็นผูบ้ ริโภคยาง รายใหญ่ที่สุดของโลก ในส่วนของอุปทาน IRSG ได้ประมาณการ ว่าผลผลิตยางธรรมชาติในปี 2561 จะเท่ากับ 13,462,000 ตัน เติบโตขึ้นร้อยละ 1.9 โดยปริมาณผลผลิตยางธรรมชาติที่เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่มาจากกลุ่มประเทศ CAMAL* ประเทศไทย อินเดีย และเวียดนาม ในขณะที่ปริมาณผลผลิตของประเทศผู้ผลิตยาง ธรรมชาติรายใหญ่อันดับหนึ่งอย่างประเทศไทยนั้นมีแนวโน้ม ค่อนข้างคงที่ เนื่องจากต้นยางที่ปลูกยางใหม่และต้นยางที่ปลูก ทดแทนต้นเดิมที่ลดลง

ภาวะอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ ในปี 2560 อุตสาหกรรมยางธรรมชาติยังคงเผชิญกับสภาวะ ความไม่แน่นอนของปัจจัยภายนอกและความผันผวนของตลาด อย่างต่อเนื่อง อาทิ ภาวะเศรษฐกิจและการเมืองโลก การแข็งค่า ของค่าเงินบาท สภาพอากาศที่ไม่เอื้ออ�ำนวย และการเก็งก�ำไรที่ เพิ่มสูงขึ้นอย่างมากในตลาดยางพาราล่วงหน้าทั้งโตเกียว เซี่ยงไฮ้ และ สิงคโปร์ เป็นต้น ส่งผลให้ราคายางธรรมชาติปรับสูงขึ้น อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงปลายปี 2559 และท�ำจุดสูงสุดในรอบ 3 ปี ในช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2560 ต่อมาราคายางธรรมชาติได้ ปรับตัวลดลงจนกระทั่งค่อนข้างคงที่ในช่วงปลายไตรมาส 3 ถึง ไตรมาส 4 ของปี 2560 อย่างไรก็ดี ราคายางธรรมชาติเฉลี่ย ตลอดทั้งปี 2560 มีแนวโน้มที่ดีขึ้นและอยู่ในระดับที่สูงกว่าปี 2559

หมายเหตุ*: กลุม่ ประเทศ CAMAL ได้แก่ ประเทศกัมพูชา เมียนมา และลาว

ความสมดุลของปริมาณอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ ในปี 2561 เป็นที่คาดการณ์ว่าผลผลิตยางธรรมชาติจากต้นยาง ที่ปลูกใหม่จะเติบโตในอัตราที่ลดลง เนื่องจากการปลูกต้นยาง ใหม่ปรับตัวลดลงภายหลังจากช่วงที่ราคายางธรรมชาติปรับตัว ลดลงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2554 นอกจากนี้ การที่ราคายาง อยู่ในระดับต�่ำหลายปีติดต่อกันส่งผลให้เกษตรกรหันไปปลูก พืชอื่นทดแทน หรือเลื่อนระยะเวลาการปลูกต้นยางใหม่หรือ การปลูกทดแทนออกไป รวมถึงอาจส่งผลให้จ�ำนวนแรงงาน กรี ด ยางและความถี่ ใ นการกรี ด ยางลดลง ตลอดจนลดความ น่าสนใจที่จะมีชาวสวนยางรายใหม่เกิดขึ้นด้วย ในขณะที่ความ ต้องการยางธรรมชาติยังเติบโตอย่างต่อเนื่องตามการเติบโต ของอุตสาหกรรมยางล้อ ดังนั้น IRSG จึงคาดการณ์ว่าปริมาณ ผลผลิตส่วนเกินในปี 2561 จะอยู่ที่ 126,000 ตัน ลดลงจากปี 2560 ที่ปริมาณผลผลิตส่วนเกินอยู่ที่ 182,000 ตัน

อุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติในปี 2560 ตามข้อมูลประมาณการของ The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospect to 2026 ประจ�ำเดือน ธันวาคม 2560 โดย International Rubber Study Group (IRSG) ความต้องการใช้ยางธรรมชาติทั่วโลกในปี 2560 คาดว่า จะมีประมาณ 13,028,000 ตัน เติบโตในอัตราร้อยละ 3.5 ซึ่งเติบโตในอัตราที่สูงกว่าการเติบโตของอุตสาหกรรมยางล้อ ซึ่งเป็นผู้บริโภคหลักของยางธรรมชาติ คิดเป็นสัดส่วนประมาณ ร้ อ ยละ 70 ของอุ ป สงค์ ร วม ในขณะที่ ป ริ ม าณการผลิ ต ยางธรรมชาติ ใ นปี 2560 เท่ า กั บ 13,210,000 ตั น หรื อ เติบโตร้อยละ 6.5 ซึ่งเติบโตมากกว่าการเติบโตของอุปสงค์ เกื อ บเท่ า ตั ว โดยปริ ม าณอุ ป ทานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ส่ ว นใหญ่ ม าจาก ประเทศไทย เวี ย ดนาม อิ น เดี ย และอิ น โดนี เ ซี ย ซึ่ ง มี สัดส่วนประมาณร้อยละ 74 ของอุปทานรวม

แผนภาพแสดงปริมาณความต้องการและการผลิตยางธรรมชาติของโลกโดยรวมในช่วงปี 2553 – 2561 14.0

(0.7)

(หนวย : ลานตัน) 1.0

(0.9)

10.0 6.0 2.0 -2.0 -6.0 -10.0 -14.0

11.2

10.4 10.8

(0.2)

11.0

2553

2554

11.0

2555

11.4

12.3

12.1

(0.0)

2556

2557

12.1

12.3

(0.2)

12.6

12.5

13.0

13.2

(0.2)

13.5 13.3

2558

2559

0.5

(0.1)

(0.1)

0.0 2560

2561 -0.5

(0.4) ปริมาณอุปสงค (ซาย)

แหล่งที่มาของข้อมูล : IRSG

30

11.7

12.1

รายงานประจำ�ปี 2560

ปริมาณอุปทาน (ซาย)

ปริมาณอุปทานสวนเกิน (สวนขาด) (ขวา)

-1.0


ภาวะอุตสาหกรรมถุงมือยาง The Malaysian Rubber Glove Manufacturers Association (MARGMA) ได้ประมาณการความต้องการถุงมือยางทั่วโลกในปี 2560 ประมาณ 201,000 ล้านชิ้นต่อปี และคาดว่าความต้องการใช้ถุงมือยางเติบโตในอัตราร้อยละ 6-8 ต่อปี โดยประเทศผู้บริโภคถุงมือหลักได้แก่ สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น และ อเมริกาใต้ ซึ่งมีอัตราการบริโภคถุงมือต่อประชากรในอัตราสูงกว่าประเทศเกิด ใหม่ (Emerging Market) ซึ่งยังมีอัตราการบริโภคถุงมือต่อประชากรต�่ำ แต่ ประเทศเกิดใหม่กลับมีอัตราการเติบโตของการบริโภคถุงมือค่อนข้างสูง ทั้งนี้ ถุงมือยางที่ผลิตและใช้โดยทั่วไปมีอยู่ 3 ประเภทหลักตามประเภทของวัตถุดิบ คือ ถุงมือยางธรรมชาติ ถุงมือยางสังเคราะห์ไนไตรล์ และถุงมือไวนิล โดยความ ต้องการใช้ถุงมือแต่ละชนิดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะการน�ำไปใช้ คุณสมบัติเฉพาะตัว ของถุงมือแต่ละชนิด รวมถึงราคาด้วยเช่นกัน ความต้องการใช้ถุงมือยางเติบโตเพิ่มขึ้นไม่เพียงแต่เฉพาะอุตสาหกรรมการแพทย์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมหลักในการบริโภคถุงมือยางเท่านั้น แต่ความต้องการใช้ ถุ ง มื อ ยางยั ง มี อั ต ราการเติ บ โตสู ง ในกลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมอาหาร อุ ต สาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมความงาม เป็นต้น

ภาวะการแข่งขัน กว่าครึ่งทศวรรษที่อุตสาหกรรมยางธรรมชาติต้องเผชิญกับ ความท้าทายและแรงกดดันจากหลากหลายปัจจัยแวดล้อม อาทิ การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจจีน ความ ผันผวนของค่าเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ และราคาสินค้าโภคภัณฑ์ เป็นต้น ส่งผลให้คู่แข่งหลายรายประสบปัญหาและออกจาก อุ ต สาหกรรมไป ปั จ จั ย สำ � คั ญ ที่ ทำ � ให้ บ ริ ษั ท ฯ ได้ เ ปรี ย บ

ในการแข่งขันภายใต้ภาวะอุตสาหกรรมเช่นนี้ ประกอบด้วย คุ ณภาพของผลิ ต ภั ณฑ์ ขนาดกำ � ลั ง การผลิ ต ที่ ใหญ่ที่สุด ในโลก การบริการลูกค้าที่ดีเยี่ยม สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ที่หลากหลาย ทีมผู้บริหารที่เปี่ยมด้วยประสบการณ์ และ การบริหารความเสี่ยงที่เป็นเลิศ

บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตยางธรรมชาติแบบครบวงจรรายใหญ่ทสี่ ดุ ของโลก ที่มีส่วนแบ่งทางการตลาดในปี 2560 ประมาณร้อยละ 101 ของ ยอดความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติรวมทั่วโลก โดยมี ฐานธุรกิจในประเทศผู้ผลิตและส่งออกยางธรรมชาติ 3 ล�ำดับ แรกของโลก ได้แก่ ประเทศไทย อินโดนีเซีย และเวียดนาม ทั้ ง นี้ คู ่ แ ข่ ง หลัก ของบริษัทฯ ในธุรกิจยางธรรมชาติ ได้ แก่ บจ. วงศ์บัณฑิต กลุ่มบริษัทเซาท์แลนด์ และ บมจ. ไทยฮัว้ ยางพารา ซึ่งตั้งอยู่ในประเทศไทย The Kirana Group, Halcyon Agri Corporation (Sinochem Group) และ China Hainan Rubber Industry Group Co., Ltd. ใน ประเทศอื่ น ๆ ขณะที่ ธุ ร กิ จ ถุ ง มื อ ยาง บจ. ศรี ต รั ง โกลฟส์ (ประเทศไทย) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทเป็นผูผ้ ลิตถุงมือยาง ด้วยก�ำลังการผลิต ณ 31 ธันวาคม 2560 ที่ 14,000 ล้านชิน้ ต่อปี มีส่วนแบ่งทางการตลาดในปี 2560 ประมาณร้อยละ 82 ของ ความต้องการบริโภคถุงมือยางทั่วโลก โดยมีคู่แข่งหลักอยู่ใน ประเทศมาเลเซีย ได้แก่ Top Glove, Hartalega, Supermax และ Kossan เป็นต้น บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

31


การที่บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตขนาดใหญ่ท�ำให้บริษัทฯ สามารถ เพิ่มอัตราการประหยัดต่อขนาด เพิ่มความสมดุลของอ�ำนาจ การต่อรองทั้งกับลูกค้าและผู้จัดหาวัตถุดิบ เพิ่มความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ด้ า นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ และเพิ่ ม ศักยภาพในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนในรูปแบบต่างๆ

บริการลูกค้าอย่างดีเยี่ยม และตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทั่วทุกมุมโลกได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มุ่งพัฒนาสู่การไม่มีข้อร้องเรียนจากลูกค้า โดยการ จัดตั้งกระบวนการร้องเรียนอย่างเป็นระบบและด�ำเนินการแก้ไข ทันทีที่ได้รับข้อร้องเรียนต่างๆ

หัวใจส�ำคัญของการเป็นผู้ประกอบการกลางน�้ำในอุตสาหกรรม ยางธรรมชาติ คือ ความสามารถในการบริหารต้นน�้ำควบคู่กับ ปลายน�ำ้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงวางจุดยุทธศาสตร์ ตั้งฐานการผลิตในประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็น สองประเทศหลั ก ของโลกที่ ผ ลิ ต ยางธรรมชาติ ร วมมากกว่ า ร้ อ ยละ 60 ของปริ ม าณยางธรรมชาติที่ผลิต ทั้งโลก รวมถึ ง ประเทศเมียนมาซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติที่มีศักยภาพ การเติบโตสูง นอกจากนี้ ยังมีเครือข่ายในการสรรหาวัตถุดิบที่ แข็งแกร่งครอบคลุมทุกพืน้ ทีท่ สี่ ำ� คัญ ส�ำหรับด้านการจัดจ�ำหน่าย บริษัทฯ ได้ตั้งบริษัทย่อยในประเทศส�ำคัญๆ อาทิ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน สิงคโปร์ และเวียดนาม เป็นต้น เพื่อเป็นตัวแทน ในการจัดจ�ำหน่ายสินค้าของบริษัทฯ และด้วยคุณภาพสินค้า ระดับมาตรฐานสากล บริษัทฯ จึงสามารถขายผลิตภัณฑ์ยาง ธรรมชาติไปยังผู้ผลิตยางล้อชั้นน�ำทั่วทุกมุมโลก

กลุ ่ ม ผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท มี ป ระสบการณ์ แ ละความช� ำ นาญ ในธุรกิจอย่างสูงจากการอยู่ในธุรกิจยางธรรมชาติมานานกว่า 30 ปี เป็นอีกหนึ่งข้อได้เปรียบด้านการแข่งขันอีกประการที่ บริษัทฯ มีเหนือคู่แข่งในอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ในการก�ำหนดทิศทาง ธุรกิจ การวางแผนการด�ำเนินงาน ตลอดจนการจัดการระบบ ป้องกันความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพเพื่อช่วยลดผลกระทบจาก ความผันผวนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ผู้ประกอบการยาง ธรรมชาติจ�ำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิ สถานการณ์เศรษฐกิจโลก ความเคลื่อนไหวของอุปสงค์อุปทาน ความเคลือ่ นไหวของอัตราแลกเปลีย่ นสกุลหลัก แนวโน้ม ราคาน�ำ้ มัน และนโยบายของรัฐบาล เป็นต้น ดังนัน้ บริษทั ฯ เชือ่ ว่า ความรู้ความเข้าใจในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติอย่างลึกซึ้งของ ทีมผู้บริหารจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการด�ำเนินธุรกิจและ ความสามารถในการท�ำก�ำไรให้กบั บริษทั ฯ อย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจน ช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้แก่สถานะทางการตลาดในฐานะผู้น�ำ ในการประกอบกิจการยางธรรมชาติ

การทีบ่ ริษทั ฯ มีฐานธุรกิจในหลากหลายประเทศ รวมถึงมีทมี ขาย และการตลาดที่มากด้วยประสบการณ์ทำ� ให้บริษัทฯ สามารถให้ 2 1

32

เทียบจากปริมาณการขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ ประมาณ 1,323,873 ตัน ในรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 กับประมาณการปริมาณความต้องการ ใช้ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติรวมทัว่ โลกทีป่ ระมาณ 13,336,000 ตัน ในปี 2560 (แหล่งทีม่ าข้อมูล : International Rubber Study Group (IRSG), The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospects to 2026, December 2017) กรณีพิจารณารวมรายได้ของ STGT ทั้งปี 2560 บริษัทฯ จะมีปริมาณการจ�ำหน่ายถุงมือยางทั้งสิ้นจ�ำนวน 16,344 ล้านชิ้น เทียบกับประมาณการปริมาณความต้องการในการบริโภค ถุงมือยางทั่วโลกที่ประมาณ 201,000 ล้านชิ้น ในปี 2560 (แหล่งที่มาข้อมูล : The Malaysian Rubber Glove Manufacturers Association)

รายงานประจำ�ปี 2560


จุดแข็งของศรีตรัง เป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดของโลก

การทีบ่ ริษทั ฯ มีกำ� ลังการผลิตทางวิศวกรรม 2.6 ล้านตันต่อปี (ณ ธันวาคม 2560) และมีผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ทุกชนิดท�ำให้บริษัทฯ สามารถตอบสนองทุกความต้องการของลูกค้า ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถครองส่วนแบ่ง ทางการตลาดได้ถงึ ร้อยละ 10 ของความต้องการยางธรรมชาติของโลก นอกจากนี้ การมีกำ� ลังการผลิตขนาดใหญ่ ยังช่วยสร้างความได้เปรียบด้านการประหยัดต่อขนาด (Economies of Scale) ตลอดจนช่วยเพิ่มความสมดุล ในการต่อรองทางการค้าทั้งกับเกษตรกรชาวสวนยางและลูกค้าอีกด้วย

มีรูปแบบการประกอบธุรกิจยางธรรมชาติแบบครบวงจร

การประกอบธุรกิจแบบครบวงจรตั้งแต่การท�ำสวนยางพารา การผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ไปจนถึงการ ผลิตสินค้าส�ำเร็จรูปถุงมือยางนั้น ท�ำให้บริษัทฯ เข้าถึงข้อมูลเชิงลึกของทั้งห่วงโซ่อุปทานได้อย่างถูกต้อง ซึ่งเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เนื่องจากบริษัทฯ สามารถตอบสนองต่อทุกการเปลี่ยนแปลง ของสภาพตลาดได้อย่างทันท่วงที รวมถึงบริษัทฯ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์กลางน�้ำ ซึ่งเป็นหนึ่ง ในธุรกิจหลักของบริษัทฯ สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของกลุ่มบริษัทศรีตรัง “ในฐานะผู้ประกอบการยาง ธรรมชาติครบวงจร และตอกย�้ำสถานะความเป็นผู้น�ำในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติในระดับโลกอย่างแท้จริง”

มีช่องทางการจัดจำ�หน่ายที่ครอบคลุมลูกค้าทั่วโลก

การมีชอ่ งทางการจัดจ�ำหน่ายทีค่ รอบคลุมลูกค้าทัว่ โลก ท�ำให้บริษทั ฯ ได้รบั ข้อมูลอุปสงค์และการเปลีย่ นแปลง ของสภาวะตลาดจากลูกค้าโดยตรง รวมทั้งสนองตอบความต้องการของลูกค้าในประเทศนั้นๆ ได้อย่าง ทันท่วงทีด้วยกลยุทธ์ที่เหมาะสม

มีฐานการผลิตอยู่ในประเทศที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำ�คัญ

การทีบ่ ริษทั ฯ มีโรงงานทัง้ ในภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือของประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซีย รวมถึงประเทศเมียนมา นอกจากจะสร้างความได้เปรียบด้านการจัดหาวัตถุดบิ เนือ่ งจากประเทศไทยและประเทศ อินโดนีเซียเป็นประเทศผูผ้ ลิตยางธรรมชาติรายใหญ่คดิ เป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 60 ของผลผลิตโลกโดยรวมแล้ว ยังเป็นการเพิม่ ความยืดหยุน่ ในการบริหารจัดการการผลิตตลอดทัง้ ปี เนือ่ งจากแต่ละพืน้ ทีม่ ฤี ดูการกรีดยางทีต่ า่ งกัน นอกจากนี้ ประเทศเมียนมาเป็นประเทศทีม่ ศี กั ยภาพในการเติบโตของปริมาณการผลิตยางธรรมชาติทคี่ อ่ นข้างสูง

การมีเทคโนโลยีที่ล้ำ�สมัยและความสามารถด้านการวิจัยพัฒนาที่แข็งแกร่ง

การมีเทคโนโลยีที่ล�้ำสมัยและความสามารถด้านการวิจัยพัฒนาที่แข็งแกร่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตผล ทางการผลิตให้กับกลุ่มบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การที่ทีมวิจัยและพัฒนาของบริษัทฯ และของลูกค้า สามารถท�ำงานร่วมกันได้โดยตรง ยังส่งผลให้บริษัทฯ สามารถผลิตสินค้าได้ตรงกับความต้องการเฉพาะของ ลูกค้าแต่ละรายได้อย่างลงตัว

ความมุ่งมั่นในการเติบโตอย่างยั่งยืนไปพร้อมกับชุมชน

ความมุ่งมั่นในการพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่องของบริษัทฯ ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์อันแข็งแกร่งและ ทัศนคติในเชิงบวกของชุมชน ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้บริษัทฯ สามารถเติบโตอย่างยั่งยืน

การเป็นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนหลักทรัพย์ทง้ั ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตลาดหลักทรัพย์สงิ คโปร์ BUY

ช่วยเพิ่มศักยภาพในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน และเครื่องมือทางการเงินเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจ อีกทั้ง ยังเป็นเครื่องยืนยันถึงการด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใสภายใต้หลักบรรษัทภิบาลที่ดี

ผู้บริหารมีประสบการณ์ ในอุตสาหกรรมอย่างยาวนาน

กลุ่มผู้บริหารของบริษัทมีประสบการณ์ และความช�ำนาญในธุรกิจอย่างสูง จากการอยู่ในธุรกิจยางธรรมชาติ มานานกว่า 3 ทศวรรษ จึงสามารถขับเคลื่อนและน�ำพาบริษัทไปสู่ความส�ำเร็จได้แม้จะต้องเผชิญกับความ ท้าทาย บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

33


1

2

4

5

7

9

11

34

รายงานประจำ�ปี 2560

3

6

8

10

12


คณะกรรมการบริษัท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

01

ดร. ไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการ / กรรมการผู้จัดการ

02

07

รองประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง

03

นายหลี่ ซื่อเฉียง

นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ

นายไชยยศ สินเจริญกุล กรรมการ / กรรมการบริหาร

04

นายกิติชัย สินเจริญกุล กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหา

05

นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล

นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล

08

กรรมการ

09

นายเฉลิมภพ แก่นจัน กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง

10

นายเกรียง ยรรยงดิลก

กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

06

11

นายลี พอล สุเมธ กรรมการ / กรรมการบริหาร

นายสมัชชา โพธิ์ถาวร กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน

12

น.ส. อานุสรา จิตต์มิตรภาพ กรรมการอิสระ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

35


ดร. ไวยวุฒิ สินเจร�ญกุล

อายุ 62 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 27 ธันวาคม 2536 ตำแหนง ประธานกรรมการ / กรรมการผูจัดการ

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาเอก (PHD) สาขาเคมี Queen Elizabeth’s College, University of London ปริญญาตรี สาขาเคมี (เกียรตินิยม อันดับ 1) Queen Elizabeth’s College, University of London

ประวัติการอบรม การทำงานปจจุบัน

ประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง กรรมการผูจัดการ บมจ. ศรีตรัง

• กรรมการ บจ. ไทยเทค • กรรมการ บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย • กรรมการ บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส • กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

ประวัติการทำงาน

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ

ไมมี

2553 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2536 – ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ บมจ. ศรีตรัง 2532 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2556 – 2560 กรรมการ Sri Trang Ayeyar 2542 – 2560 กรรมการ บจ. ที.อาร.ไอ โกลบอล 2530 – 2536 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี 2528 – 2530 ผูจัดการทั่วไป บจ. ยางไทยปกษใต

36

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ

รายงานประจำ�ปี 2560

• กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment • กรรมการ Sri Trang Indochina

ตำแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี


นายประกอบ ว�ศิษฐ กิจการ อายุ 77 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 27 ธันวาคม 2536

ตำแหนง รองประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาโท สาขาการเงิน Indiana University สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาการเงิน Indiana University สหรัฐอเมริกา

การทำงานปจจุบัน

รองประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทำงาน 2559 – ปจจุบัน รองประธานกรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง 2551 – ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง 2552 – ปจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. เออารไอพี 2558 – ปจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท 2551 – 2558 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท 2542 – 2554 กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ปูนซีเมนตนครหลวง 2542 – 2551 กรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง 2540 – 2545 ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ บมจ. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 27/2009 หลักสูตร Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) 8/2009 หลักสูตร Monitoring Fraud Risk Management (MFM) 8/2009 หลักสูตร Chartered Director Class (CDC) 3/2008 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 33/2003 หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) 5/2001 • SGX Listed Companies Development Programme Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ ไมมี

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ ไมมี

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. เออารไอพี • กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ลีซ อิท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

37


นายไชยยศ สินเจร�ญกุล

อายุ 67 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 27 ธันวาคม 2536 ตำแหนง กรรมการ / กรรมการบริหาร

ประวัติทางการศึกษา

Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทำงานปจจุบัน

กรรมการ บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการอบรม

สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 66/2007

ประวัติการทำงาน 2536 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2557 – 2558 อนุกรรมาธิการการจัดการองคกร คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติการยางแหงประเทศไทย สภานิติบัญญัติแหงชาติ 2551 – 2557 กรรมการ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 2551 – 2555 ประธานสภา อุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา 2533 – 2547 กรรมการ บจ. ไทยเทค รับเบอร 2551 – 2553 รองประธานสภาธุรกิจ IMT-GT ประเทศไทย 2551 – 2553 ประธานคณะทํางานสาขาเกษตร อุตสาหกรรมเกษตรและสิ่งแวดลอม 2530 – 2536 กรรมการ บจ. ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี

38

รายงานประจำ�ปี 2560

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ

• กรรมการ บจ. รับเบอรแลนด • กรรมการ บจ. หน่ำฮั่ว • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร • กรรมการ บจ. อันวารพาราวูด • กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง • กรรมการ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร • กรรมการ บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส • ประธานสภาธุรกิจยางอาเซียน • กรรมการบริหาร บจ. รวมทุนยางพาราระหวางประเทศ • อนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาผลผลิตทางการเกษตร ในคณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ สภานิติบัญญัติแหงชาติ • กรรมการ คณะกรรมการนโยบายธรรมชาติ • นายกสมาคมยางพาราไทย • ที่ปรึกษาสมาคมยางพาราไทย

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี


นายกิติชัย สินเจร�ญกุล

อายุ 58 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 10 เมษายน 2538 ตำแหนง กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหา

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Indiana State University สหรัฐอเมริกา ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทำงานปจจุบัน

กรรมการอํานวยการ บมจ. ศรีตรัง สาขากรุงเทพฯ กรรมการ บมจ. ศรีตรัง ผูจัดการสายงานกฎหมายและบริหารทั่วไป บมจ. ศรีตรัง กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทำงาน 2553 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานกฎหมายและบริหารทั่วไป บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง 2538 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2531 – 2549 ผูจัดการ บมจ. ศรีตรัง สาขากรุงเทพฯ 2527 – 2530 ฝายสินเชื่อ ธนาคารซิตี้แบงค

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย • กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส • กรรมการ บจ. พัฒนาเกษตรลวงหนา • กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Sri Trang Ayeyar

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 67/2007 • SGX Listed Companies Development Programme Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

39


นายว�รสิทธิ์ สินเจร�ญกุล

อายุ 33 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 28 เมษายน 2553 ตำแหนง กรรมการ / กรรมการบริหาร / ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (การเงิน และการตลาด) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตรคอมพิวเตอร The University of Reading United Kingdom

การทำงานปจจุบัน

กรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 85/2010 หลักสูตร Financial Statements for Directors รุนที่ 26/2014 FSD26/2014 • สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) รุนที่ 10

ประวัติการทำงาน 2556 – ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2551 – 2554 แผนกสินเชื่อ บมจ. ธนาคารกสิกรไทย

40

รายงานประจำ�ปี 2560

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) • กรรมการ บจ. รับเบอรแลนด • กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็ม เอ็นจิเนียริ่ง • กรรมการ บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต • กรรมการ บจ. ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชั่น • กรรมการ บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเชีย • กรรมการ บจ. ไทยเทค รับเบอร

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • กรรมการ Sri Trang USA, Inc. • กรรมการ Sri Trang Ayeyar • กรรมการ PT Sri Trang Lingga

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี


นายลี พอล สุเมธ

อายุ 63 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 28 มิถุนายน 2553 ตำแหนง กรรมการ / กรรมการบริหาร

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ International Institute for Management Development, Lausanne สวิสเซอรแลนด ปริญญาตรี Bachelor of Commerce University of New South Wales, Sydney ออสเตรเลีย

การทำงานปจจุบัน

กรรมการ บมจ. ศรีตรัง ผูจัดการสายงานการตลาด บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทำงาน 2553 – ปจจุบัน กรรมการและผูจัดการสายงานการตลาด บมจ. ศรีตรัง 2531 – 2546 Global Market Director, ELDERS Finance/ DRESDNER Bank6 – 2526 – 2530 โปรแกรมเมอร Macquarie Bank 2525 โปรแกรมเมอร Custom Credit Corporation 2522 – 2524 โปรแกรมเมอร Computer Installation Development

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. ไทยเทค

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • ประธานกรรมการ Sri Trang International • กรรมการ PT Star Rubber • กรรมการ PT Sri Trang Lingga • กรรมการ Shi Dong Investments • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment • กรรมการ Sri Trang Indochina • กรรมการ Sri Trang Ayeya

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี

ประวัติการอบรม

• SGX Listed Companies Development Programme Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

41


นายภัทราวุธ พาณิชย กุล

อายุ 49 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 7 พฤษภาคม 2557 ตำแหนง กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสีย่ ง

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจการบัญชี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

การทำงานปจจุบัน

กรรมการ บมจ. ศรีตรัง กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการอบรม

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ

ประวัติการทำงาน

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร Director Certification Program รุนที่ DCP 195/2014 หลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy รุนที่ SFE 24/2015

2557 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2556 – ปจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ บมจ. ศรีตรัง 2553 – 2560 บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2544 – 2552 ผูจัดการฝายบัญชี บมจ. ศรีตรัง 2535 – 2543 ผูจัดการฝายบัญชี บจ. สยามเซมเพอรเมด

42

รายงานประจำ�ปี 2560

• กรรมการ บจ. รับเบอรแลนด • กรรมการ บจ. หน่ำฮั่ว • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร • กรรมการ บจ. อันวารพาราวูด • กรรมการ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร • กรรมการ บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต

• กรรมการ PT Sri Trang Lingga

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี


นายหล่ี ซ่ือเฉียง

อายุ 45 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 7 พฤษภาคม 2557 ตำแหนง กรรมการ

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาโท สาขา Business Management Shanghai University, China ปริญญาตรี สาขา Business English Qingdao University, China

การทำงานปจจุบัน

กรรมการ บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทำงาน 2557 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2560 – ปจจุบัน กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment 2555 – ปจจุบัน รองประธานสมาคมยางพาราจีน 2553 – ปจจุบัน กรรมการ และผูจัดการทั่วไป Shi Dong Shanghai 2547 – 2553 ที่ปรึกษาของกลุมบริษัทศรีตรังในประเทศจีน 2545 – 2546 ผูจัดการฝายนำเขาและสงออก Qingdao Sentaida Rubber Co., Ltd. 2543 – 2545 ผูจัดการฝายยางธรรมชาติ Sinochem International Corp. (Qingdao office) 2540 – 2543 ผูชวยผูจัดการทั่วไป Qingdao Tizong Rubber Tyre Co., Ltd.

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ ไมมี

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ • กรรมการ และผูจัดการทั่วไป Shi Dong Shanghai • กรรมการ Sri Trang International • กรรมการ Shi Dong Shanghai • กรรมการ Shi Dong Shanghai Medical Equipment

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี

ประวัติการอบรม • สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 125/2016

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

43


นายเฉลิมภพ แก นจัน

อายุ 47 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 29 ตุลาคม 2558 ตำแหนง กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสีย่ ง

ประวัติทางการศึกษา

Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประกาศนียบัตร สาขาการจัดการ วิทยาลัยการอาชีพ

การทำงานปจจุบัน

กรรมการ บมจ. ศรีตรัง กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง ผูจัดการสายงานการผลิต บมจ.ศรีตรัง

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 132/2016

ประวัติการทำงาน 2558 – ปจจุบัน กรรมการ บมจ. ศรีตรัง 2556 – ปจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานการผลิต บมจ. ศรีตรัง 2549 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานการผลิต บจ. รับเบอรแลนด 2541 – 2548 ผูจัดการโรงงาน บจ. รับเบอรแลนด 2537 – 2540 ผูชวยผูจัดการโรงงานน้ำยาง บมจ. ศรีตรัง

44

รายงานประจำ�ปี 2560

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. รับเบอรแลนด • กรรมการ บจ. หน่ำฮั่ว • กรรมการ บจ. สะเดา พี.เอส.รับเบอร • กรรมการ บจ. อันวารพาราวูด • กรรมการ บจ. สตารไลท เอ็กซเพรส ทรานสปอรต

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ ไมมี

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี


นายเกร�ยง ยรรยงดิลก

อายุ 79 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 25 มกราคม 2543 ตำแหนง กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาคาตอบแทน

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทำงานปจจุบัน

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง ประธานกรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง กรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4250

ประวัติการทำงาน 2553 – ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง 2553 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. มารช ออโต 2010 2543 – ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง 2536 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. เจ เอ็ม พี กรุป (1993) 2547 – 2548 กรรมการตรวจสอบ บมจ. โออิชิ กรุป 2528 – 2541 สรรพากรจังหวัด, สรรพากรพื้นที่, สรรพากรภาค 3 กรมสรรพากร 2511 ผูตรวจการตรี สํานักงานสรรพากร จังหวัดภูเก็ต 2508 ราชการชั้นตรี สํานักงานตรวจเงินแผนดิน

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการ บจ. เจ เอ็ม พี กรุป (1993) • กรรมการ บจ. มารช ออโต 2010

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ ไมมี

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี

ประวัติการอบรม • สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 11/2004

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

45


นายสมัชชา โพธิ์ถาวร

อายุ 74 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 1 กุมภาพันธ 2551 ตำแหนง กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหา / กรรมการพิจารณาคาตอบแทน

ประวัติทางการศึกษา

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เนติบัณฑิตไทย นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทำงานปจจุบัน

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง กรรมการสรรหา บมจ. ศรีตรัง กรรมการพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทำงาน 2558 – ปจจุบัน อกพ. ศอ.บต. สำนักนายกรัฐมนตรี 2554 – ปจจุบัน กรรมการสภา มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย 2553 – ปจจุบัน กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน บมจ. ศรีตรัง 2551 – ปจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ศรีตรัง 2549 – 2551 ผูชวยเลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวง กระทรวงมหาดไทย 2549 – 2551 ผูวาราชการจังหวัด จังหวัดพังงา 2546 – 2547 ที่ีปรึกษากฎหมาย กระทรวงมหาดไทย 2543 – 2545 ผูชวยปลัดกระทรวง และ รองผอ. ศูนยอาํ นวยการจังหวัดชายแดนภาคใต กระทรวงมหาดไทย

46

รายงานประจำ�ปี 2560

2540 – 2543 รองผูวาราชการ จังหวัดพัทลุง และจังหวัดตรัง 2539 – 2540 ปลัดจังหวัด 2527 – 2539 นายอําเภอ 2512 – 2526 ปลัดอําเภอ

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ • กรรมการสภา มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ ไมมี

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไมมี

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร DAP 75/2008 • SGX Listed Companies Development Programme Understanding the Regulatory Environment in Singapore: What Every Director Ought to Know


น.ส. อานุสรา จ�ตต มิตรภาพ อายุ 63 ป วันที่ไดรับแตงตั้ง 21 กันยายน 2560 ตำแหนง กรรมการอิสระ

ประวัติทางการศึกษา

ปริญญาตรีนิเทศศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาบัตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ป 2558

การทำงานปจจุบัน

กรรมการอิสระ บมจ. ศรีตรัง

ประวัติการทำงาน 2560 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ศรีตรัง 2560 – ปจจุบัน ที่ปรึกษา บมจ. เบอรลี่ ยุคเกอร 2560 – ปจจุบัน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซีเอ็มโอ 2558 – 2559 กรรมการ องคการสวนพฤกศาสตร สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ 2558 ประธานกรรมการ บจ. ไปรษณียไทย ดิสทริบิวชั่น 2557 – 2558 รองประธานกรรมการ บจ. ไปรษณียไทย 2554 – 2557 กรรมการผูจัดการใหญ บจ. ไปรษณียไทย

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในประเทศ ไมมี

ตำแหนงในกิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียนในตางประเทศ ไมมี

ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนอื่น

• กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซีเอ็มโอ • ที่ปรึกษา บมจ. เบอรลี่ ยุคเกอร

ประวัติการอบรม

• สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร Chartered Director Class ป 2557 หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) ป 2557 หลักสูตร Director Certification Program (DCP) ป 2554

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

47


คณะผู้บริหาร 1

2

นางประไพ ศร�สุทธิพงศ

นายอาศรม อักษรนํา

อายุ 64 ป

อายุ 50 ป

ผูจัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ

ประวัติการศึกษา

ผูจัดการสายงานผลิต

ประวัติการศึกษา

ประกาศนียบัตร สาขาการบัญชี โพลีเทคนิค กรุงเทพ

ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประวัติการอบรม

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่น ไมมี

ประวัติการทำงาน

2548 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ บมจ. ศรีตรัง 2540 – 2547 หัวหนาฝายบัญชีดานการตรวจสอบวัตถุดิบ บมจ. ศรีตรัง 2536 – 2539 พนักงานบัญชี บมจ. ศรีตรัง

48

รายงานประจำ�ปี 2560

ประวัติการอบรม

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

ประวัติการทำงาน

2551 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานการผลิต บมจ. ศรีตรัง 2560 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2552 – ปจจุบัน ผูจัดการโรงงาน บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2547 – 2551 ผูจัดการโรงงาน Sempermed Shanghai 2541 – 2546 ผูจัดการโรงงาน บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2538 – 2540 ผูจัดการฝายผลิต บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2532 – 2537 Line Chemist บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)


3

4

นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์

นายรัฐพงศ ลาภาโรจน กิจ

อายุ 49 ป

อายุ 44 ป

ผูจัดการสายงานคุณภาพ

ผูจัดการสายงานวิศวกรรม

ประวัติการศึกษา

ประวัติการศึกษา

ประวัติการอบรม

ประวัติการอบรม

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการเงินการธนาคาร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร Executive Micro MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา

ประวัติการทำงาน

2552 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานคุณภาพ บมจ. ศรีตรัง 2543 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา 2550 – 2551 เจาหนาที่ประสานงาน บมจ.ศรีตรัง 2542 – 2549 ผูจัดการโรงงาน บมจ.ศรีตรัง

ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธา University of Southern Colorado at Pueblo, United States ไมมี

การดํารงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง

ประวัติการทำงาน

ปจจุบัน ผูจัดการสายงานวิศวกรรม บมจ. ศรีตรัง 2558 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2552 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานวิศวกรรม บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2546 – 2552 ผูจัดการโรงงานดานเทคนิค บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2544 – 2546 ผูจัดการโรงงาน บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2543 – 2544 ผูชวยผูจัดการโรงงาน บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

49


5

6

นายพันเลิศ หวังศุภดิลก

นายอุดม พฤกษานุศักด์ิ

อายุ 46 ป

อายุ 56 ป

ผูจัดการสายงานวิศวกรรม

ประวัติการศึกษา

ปริญญาโท สาขาวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

ประวัติการอบรม ไมมี

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่น

ผูจัดการสายงานธุรกิจเกษตร

ประวัติการศึกษา

ปริญญาโท สาขาเกษตรศาสตร (พืชไรนา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปริญญาตรี สาขาพืชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ประวัติการอบรม ไมมี

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่น

กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

กรรมการ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร กรรมการ บจ. ศรีตรัง รับเบอร แอนด แพลนเทชัน่ กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา / กรรมการ บจ. พฤกษาอีสาน

ประวัติการทำงาน

ประวัติการทำงาน

ปจจุบัน ผูจัดการสายงานวิศวกรรม บมจ. ศรีตรัง 2560 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2558 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2552 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานวิศวกรรม บจ. พรีเมียรซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง 2549 – 2552 ผูจัดการฝายโรงงาน บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย 2541 – 2549 ผูจัดการฝายการผลิต บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย

50

รายงานประจำ�ปี 2560

2556 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานธุรกิจเกษตร บมจ. ศรีตรัง 2558 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น 2558 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. สตารเท็กซ รับเบอร 2551 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. พฤกษาอีสาน 2546 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. พฤกษายางพารา 2553 – 2558 ผูจัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บมจ. ศรีตรัง 2543 – 2555 ผูจัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2541 – 2542 ผูจัดการโรงงาน บจ. เซมเพอรเฟล็กซ เอเซีย 2531 – 2540 ผูจัดการฝายผลิต บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)


7

8

นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน

นางสาวธนวรรณ เสง�่ยมศักดิ์, CFA

อายุ 50 ป

อายุ 39 ป

ผูจัดการสายงานทรัพยากรบุคคล

ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (วิทยาเขตหาดใหญ)

ผูจัดการสายงานพัฒนาธุรกิจ และ CFO – สายธุรกิจถุงมือยาง

ประวัติการศึกษา

ไมมี

ปริญญาโท สาขาการเงิน (เกียรตินิยม) the University of Strathclyde, United Kingdom ปริญญาตรี สาขาการบัญชี (เกียรตินิยมอันดับ 1) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส

ไมมี

ประวัติการอบรม

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่น

ประวัติการอบรม

การดํารงตำแหนงกรรมการในบริษัทอื่น กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

ประวัติการทำงาน

2551 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานทรัพยากรบุคคล บมจ. ศรีตรัง 2558 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส 2543 – 2550 ผูจัดการฝายจัดซื้อ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย)

ประวัติการทำงาน

2560 – ปจจุบัน กรรมการ บจ. ศรีตรังโกลฟส (ประเทศไทย) 2560 – ปจจุบัน ผูจัดการสายงานพัฒนาธุรกิจ และ CFO – สายธุรกิจถุงมือยาง บมจ.ศรีตรัง 2554 – 2560 ผูจัดการสายงานพัฒนาธุรกิจและนักลงทุนสัมพันธ บมจ.ศรีตรัง 2548 – 2554 ผูชวยผูจัดการ ฝายวาณิชธนกิจ บล. กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 2547 ผูชวยผูจัดการ ฝายวาณิชธนกิจ ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 2544 – 2545 เจาหนาที่ภาษีสรรพสามิต บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จำกัด 2543 – 2544 ผูสอบบัญชี สำนักงานเอินสท แอนด ยัง จำกัด

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

51


โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการของบมจ. ศรีตรัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 โครงสร้างองค์กรของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 6 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 12 ท่าน ดังนี้ ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ 3. นายไชยยศ สินเจริญกุล 4. นายกิติชัย สินเจริญกุล 5. นายลี พอล สุเมธ 6. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 7. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 8. นายหลี่ ซื่อเฉียง 9. นายเฉลิมภพ แก่นจัน 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นางสาวอานุสรา จิตต์มิตรภาพ(1)

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ/ กรรมการผู้จัดการ/ กรรมการบริหาร รองประธานกรรมการ/ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ/ ประธาน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ/ กรรมการบริหาร กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการสรรหา กรรมการ/ กรรมการบริหาร กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ ประธานกรรมการสรรหา/ กรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการสรรหา/ กรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน กรรมการอิสระ

หมายเหตุ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร

หมายเหตุ : (1) นางสาวอานุสรา จิตต์มิตรภาพ ได้รับการแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ ตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2560 เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 แทนนายเนียว อา แชบ ที่ลาออกจากต�ำแหน่ง เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2560

โดยมี นางพัชรินทร์ อนุวงศ์วัฒนชัย เป็นเลขานุการคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

52

รายงานประจำ�ปี 2560


กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทน บมจ. ศรีตรัง นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล, นายไชยยศ สินเจริญกุล, นายกิติชัย สินเจริญกุล, นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล, นายลี พอล สุเมธ, นาย ภัทราวุธ พาณิชย์กุล และนายเฉลิมภพ แก่นจัน สองในเจ็ดคนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราส�ำคัญของบริษัท

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของ บมจ. ศรีตรัง ที่ประชุมคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ครั้งที่ 2/2561 ซึ่งประชุม เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2561 ได้มีมติแต่งตั้งนายสมหวัง สินเจริญกุล เป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของ บมจ. ศรีตรัง ต่อไปอีก 2 ปี โดยให้ ค�ำปรึกษาแก่บริษัทฯ ในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. ให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับการก�ำหนดเป้าหมาย และวิสัยทัศน์ ของบริษัทฯ 2. ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ แผนธุ ร กิ จ แผนการลงทุ น และ นโยบายการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ทัง้ ในและต่างประเทศ 3. ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาเกี่ ย วกั บ กลยุ ท ธ์ ใ นการจั ด สรรวั ต ถุ ดิ บ แนวทางการจัดซื้อ ราคาและปริมาณ ในแต่ละช่วงก�ำหนด เวลาตามสภาวะท้องถิ่น 4. ให้คำ� ปรึกษาเกีย่ วกับการติดต่อ ประสานงานกับภาคมวลชน และหน่วยงานท้องถิ่น และหน่วยงานราชการในภาคใต้ ทั้งนี้ นายสมหวัง สินเจริญกุล ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานของ บมจ. ศรีตรัง นายสมหวังได้รับค่าที่ปรึกษา คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 428,000 บาทต่อเดือน หรือ 5,136,000 บาทต่อปี เริ่มตั้งแต่ วันที่ 6 พฤษภาคม 2561 และสิ้นสุดวันที่ 6 พฤษภาคม 2563 โดยรายการดังกล่าวถือเป็นรายการระหว่างกัน

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง บมจ. ศรี ต รั ง ได้ มี ก ารกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการไว้ดังนี้ 1. คณะกรรมการมีอำ�นาจและหน้าที่และความรับผิดชอบ ในการจัดการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท และมติ ค ณะกรรมการ ตลอดจน มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจะต้องใช้ วิจารณญาณและความรอบคอบในการตัดสินใจทางธุรกิจ และปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต และความระมัดระวังเพือ่ รักษาผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ 2. รับผิดชอบในการเสนอ ทบทวน และให้ความเห็นชอบกับ นโยบายและทิศทางดำ�เนินงานของบริษัท 3. แต่งตั้ง ถอดถอน มอบอำ�นาจหน้าที่ ให้แก่ที่ปรึกษา คณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ และ กรรมการผู้จัดการนำ�ไปปฏิบัติ

4. มอบอำ�นาจให้แก่ฝ่ายจัดการ พนักงานระดับบริหารของ บริษัท หรือบุคคลอื่นใดทำ�การแทนได้ ภายใต้ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 5. อนุมัติการลงทุน ขายเงินลงทุนในตราสารทุน และ/หรือ ตราสารหนี้ 6. อนุมัติการเข้าค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อให้แก่บริษัทที่มีความ สัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทในฐานะผู้ถือหุ้น 7. อนุมัติก่อตั้ง ควบรวม หรือเลิกบริษัทย่อย 8. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ หรือที่ปรึกษาของบริษัท (ถ้ามี) หรือ จ้างที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอกในกรณีจำ�เป็นด้วย ค่าใช้จ่ายของบริษัท 9. เสนอการเพิ่มทุนหรือลดทุน หรือการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้น การแก้ไข เปลี่ยนแปลงหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับและ/ หรือ วัตถุประสงค์ของบริษัทต่อผู้ถือหุ้น 10. แต่งตั้งและถอดถอนเลขานุการบริษัท 11. พิจารณาอนุมตั กิ ารทำ�รายการเกีย่ วโยง เว้นแต่รายการดังกล่าว จะต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทั้ ง นี้ ในการ พิจารณาอนุมัติดังกล่าวจะเป็นไปตามประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับตลาดหลักทรัพย์ฯ 12. จั ด ให้ บ ริ ษั ท มี ร ะบบการควบคุ ม ภายใน และระบบการ ตรวจสอบภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในเรื่องการทำ�รายการที่มีกรรมการมีส่วนได้เสีย ต้องอยู่ใน ข่ายที่กฎหมายหรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้ ง นี้ การมอบหมายอำ�นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง นั้น จะไม่มีลักษณะเป็นการมอบ อำ�นาจ หรือมอบอำ�นาจช่วงที่ทำ�ให้คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หรือผู้รับมอบอำ�นาจจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง สามารถ อนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ตามที่นิยาม ไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุน) อาจมีส่วนได้เสีย หรืออาจได้รับประโยชน์ใน ลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง ยกเว้นเป็นการ อนุมัติรายการที่เป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที่ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง พิจารณาอนุมัติไว้

องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง องค์ประกอบและการแต่งตั้ง ถอดถอน หรือพ้นจากตำ�แหน่ง กรรมการบริษัทนั้น จะมีกำ�หนดไว้ในข้อบังคับและคู่มือบริษัท จดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งสามารถสรุป สาระสำ�คัญได้ดังนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

53


1. คณะกรรมการบริษัท จะพึงมีจำ�นวนเท่าใดให้ที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ เป็นผูก้ ำ�หนด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่าห้าคน และกรรมการ ไม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจำ�นวนกรรมการทั้ ง หมดต้ อ งมี ถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร 2. คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระ (Independence Director) อย่างน้อย 1 ใน 3 ของจำ�นวน กรรมการทั้งคณะ และมีจำ�นวนอย่างน้อย 3 ท่าน 3. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้เลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการดังต่อไปนี้ (1) ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียง (2) ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะคนต้ อ งใช้ ค ะแนนเสี ย งที่ มี อ ยู่ ทั้ ง หมด ตาม (1) เลื อกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็น กรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมาก น้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมาเป็น ผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการ ที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคล ซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียง เท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือพึงจะเลือกตัง้ ในครั้งนั้นให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 4. ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้งให้กรรมการออกจาก ตำ�แหน่ง 1 ใน 3 เป็นอัตรา ถ้าจำ�นวนกรรมการที่จะแบ่งออก ให้ตรงตามสัดส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกในจำ�นวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 สำ�หรับกรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรก และปีทส่ี องภายหลังจดทะเบียนบริษทั ฯ นัน้ ให้จบั ฉลากกันว่า ผูใ้ ดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นตำ�แหน่ง นานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง 5. กรรมการคนใดจะลาออกจากตำ�แหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อ บริษัทฯ การลาออกมีผลนับแต่วนั ทีใ่ บลาออกไปถึงบริษทั ฯ 6. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้กรรมการคนใดคนหนึ่งออก จากตำ�แหน่ ง ก่ อ นถึ ง คราวออกตามวาระได้ ด้ ว ยคะแนน เสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนผู้ถือหุ้น ซึ่งมาประชุม และมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันแล้วได้ไม่น้อยกว่า กึ่ ง หนึ่ ง ของจำ�นวนหุ้ น ที่ ถื อ โดยผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ม าประชุ ม และ มีสิทธิออกเสียง ปัจจุบัน คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการ จำ�นวน 12 ท่าน เป็นกรรมการอิสระจำ�นวน 4 ท่าน กรรมการ ที่เป็นผู้บริหารจำ�นวน 8 ท่าน และกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 4 ท่าน บริษัทฯ แต่งตั้งคณะกรรมการโดยคำ�นึงถึงประเภทและขอบเขต การปฏิบตั งิ านของกลุม่ บริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ มุง่ หวังให้การพิจารณา

54

รายงานประจำ�ปี 2560

เรือ่ งต่างๆ ในทีป่ ระชุมคณะกรรมการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของความหลากหลายของคณะกรรมการ (Board Diversity) ทั้งด้านความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ อายุ และเพศ ของกรรมการ อันนำ�มาสู่การตัดสินใจที่สมเหตุสมผล ด้วยเหตุนี้ กรรมการของบริษัทจึงเป็นผู้ที่มีประสบการณ์อย่างมากในด้าน การบัญชี การเงิน การบริหารธุรกิจ การวางแผนและกลยุทธ์ การตลาด กฎหมาย และอุ ต สาหกรรมยาง เพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง คณะกรรมการที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การคัดเลือกกรรมการอิสระ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการ อิสระรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ (ก) บมจ. ศรี ต รั ง (ข) บริษทั โฮลดิง้ ของ บมจ. ศรีตรัง บริษทั ย่อยของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยของบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง (ค) บุคคล ที่มีส่วนได้เสียที่ถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง คิดเป็นสัดส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของ บมจ. ศรีตรัง (“ผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10”) และ/หรือ (ง) พนักงานของ บมจ. ศรีตรังที่สามารถแทรกแซงการ ตัดสินใจอย่างอิสระของกรรมการเพื่อประโยชน์สูงสุดทาง ธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีสมาชิกในครอบครัว (ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคู่สมรส และบิดา มารดา) ถือหุ้น ไม่ตำ�่ กว่าร้อยละสิบทัง้ ในปีปจั จุบนั และรอบปีบญ ั ชีทผี่ า่ นมา หรือเป็นหุ้นส่วน (ถือหุ้นเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 10) กรรมการ หรือผูบ้ ริหารในองค์กรหรือบริษทั ย่อยขององค์กรใด ก็ตามที่ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษทั ย่อยของ บมจ. ศรีตรัง เคยให้/ ได้รับบริการ (รวมถึงการสอบบัญชี การบริการด้านธนาคาร การเป็นทีป่ รึกษา และการบริการด้านกฎหมาย) หรือจ่ายเงิน หรือท�ำธุรกรรมด้วยอย่างมีนัยส�ำคัญ ทั้งในปีปัจจุบันและ รอบปีบัญชีที่ผ่านมา 4. ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ถือหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งถือหุ้นเกินกว่าร้อยละสิบทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชี ที่ผ่านมา 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจำ� หรือผูม้ อี ำ�นาจควบคุม ของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัท ย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ


ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการอิสระ ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึง กรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของ ส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุม ของ บมจ. ศรีตรัง 6. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็น บิดา มารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตรของกรรมการรายอืน่ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคล ทีจ่ ะได้รบั การเสนอให้เป็นกรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือผูม้ อี ำ�นาจ ควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย 7. ไม่เป็นบุคคลที่มีสมาชิกในครอบครัว ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคู่สมรส พี่ น้อง และบิดา มารดา ทำ�งานให้กบั บมจ.ศรีตรังหรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับบมจ.ศรีตรัง ในช่วงสามปีที่ผ่านมา โดยที่ค่าตอบแทนที่ได้รับนั้นพิจารณา โดยคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 8. ไม่เป็นกรรมการหรือมีสมาชิกในครอบครัว ซึ่งได้แก่ คู่สมรส บุตร บุตรบุญธรรม บุตรของคู่สมรส พี่ น้อง และบิดา มารดา ที่เคยได้รับค่าตอบแทนจากการให้บริการอื่นนอกเหนือจาก ค่าตอบแทนจากการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการจาก บมจ. ศรีตรัง หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องอืน่ ๆ ของบมจ. ศรีตรัง ในช่วงปีทผ่ี า่ นมา จนกระทั่งปีปัจจุบัน 9. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง ในลักษณะที่อาจเป็น การขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้ง ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำ�นาจควบคุม ของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า สองปี ก่ อ นได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการอิสระ 10. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี ำ�นาจควบคุม ของ บมจ. ศรีตรัง และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี ำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า สองปีก่อนได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ 11. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึง การให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน

ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจาก บมจ. ศรีตรัง บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บมจ. ศรีตรัง และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่ มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทาง วิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าว มาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปีกอ่ นได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ 12. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ กรรมการของ บมจ. ศรีตรัง ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นผู้ท่เี กี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือไม่เป็นกรรมการ ซึง่ เป็นผูท้ เ่ี กีย่ วข้องโดยตรงกับผูถ้ อื หุน้ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ทั้งในปีปัจจุบันและรอบปีบัญชีที่ผ่านมา โดยกรรมการที่มี ส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ให้หมายรวมถึงกรรมการทีค่ นุ้ เคยกับผูถ้ อื หุน้ ดังกล่าวในระดับ ทีส่ ามารถดำ�เนินกิจการองค์กรตามทิศทาง หรือคำ�สัง่ ในนาม ของผู้ถือหุ้นที่มีนัยดังกล่าวไม่ว่าจะอย่างเป็นทางการ หรือ ไม่เป็นทางการ 13. ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขัน ทีม่ นี ยั กับกิจการของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษทั ย่อย หรือไม่เป็น หุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วม บริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่รับเงินเดือนประจำ� หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่าง เดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย 14. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็น อิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของ บมจ. ศรีตรัง โดยบมจ. ศรีตรังได้กำ�หนดคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระไว้เข้มกว่า ข้อกำ�หนดที่กำ�หนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ทัง้ นี้ คณะกรรมการมีความเห็นสมควรให้นายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ นายเกรียง ยรรยงดิลก และนายสมัชชา โพธิถ์ าวร ดำ�รงตำ�แหน่ง เป็นกรรมการอิสระให้กบั บริษทั ฯ ต่อไปแม้วา่ จะได้รบั การแต่งตัง้ มาเป็นเวลามากกว่า 9 ปี เนื่องจากทั้งสามท่านมีคุณสมบัติของ กรรมการอิสระครบถ้วนตามทีก่ ำ�หนดไว้ในประกาศคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุน รวมทั้งไม่มีคุณสมบัติหรือเหตุอันใดที่อาจทำ�ให้ ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงาน ของบริษัทฯ และในอดีตที่ผ่านมา นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ นายเกรียง ยรรยงดิลก และนายสมัชชา โพธิถ์ าวร ได้ปฏิบตั หิ น้าที่ ในฐานะกรรมการอิสระ ทัง้ การเป็นกรรมการตรวจสอบ กรรมการ พิจารณาค่าตอบแทน และกรรมการสรรหาได้เป็นอย่างดี โดยเป็นไป เพือ่ ประโยชน์และธรรมาภิบาลทีด่ ขี องบมจ. ศรีตรัง

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

55


คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย กรรมการ 7 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 7. นายเฉลิมภพ แก่นจัน

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร บมจ. ศรีตรัง ได้มีการกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของกรรมการ บริหาร ดังนี้ 1. มีอำ�นาจสั่งการ วางแผน และดำ�เนินกิจการของ บมจ. ศรีตรัง ให้เป็นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง กำ�หนด 2. มีอำ�นาจแต่งตั้ง คณะบริหารงานต่างๆ เพื่อประโยชน์และ ประสิทธิภาพของการจัดการที่ดีและโปร่งใส 3. ให้กรรมการสองคนของคณะกรรมการบริหารลงนามร่วมกัน พร้อมประทับตราบริษทั ฯ มีอำ�นาจมอบอำ�นาจช่วงในหนังสือ มอบอำ�นาจของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อให้ผ้รู ับมอบอำ�นาจช่วง สามารถดำ�เนินการอันเป็นประโยชน์เกี่ยวเนื่องกับกิจการ งานต่างๆ ในนาม บมจ. ศรีตรัง ได้อย่างเป็นทางการ 4. มีอำ�นาจพิจารณากำ�หนดสวัสดิการพนักงานให้เหมาะสม กับสถานการณ์ ประเพณีปฏิบัติและสอดคล้องกับกฎหมาย ที่บังคับใช้อยู่ 5. มีอำ�นาจการอนุมัติวงเงินที่เป็นธุรกรรมทางการค้าปกติหรือ ธุรกรรมทีเ่ ป็นพันธะผูกพันต่อ บมจ. ศรีตรัง ทั้ ง นี้ การมอบหมายอำ�นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการบริหารนั้น จะต้องไม่มีลักษณะเป็นการอนุมัติ การเข้าทำ�รายการที่ทำ�ให้คณะกรรมการบริหาร หรือผู้รับมอบ อำ�นาจจากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตน หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย (ตามที่นิยามไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน) ซึ่งการอนุมัติรายการในลักษณะ

56

รายงานประจำ�ปี 2560

ดั ง กล่ า วจะต้ อ งเสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ และ/หรื อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น แล้ ว แต่ ก รณี เพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ร ายการ ดังกล่าวตามที่ข้อบังคับของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยหรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกำ�หนด

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของ บมจ. ศรี ต รั ง ประกอบด้ ว ย กรรมการอิสระจำ�นวน 3 ท่าน และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ กำ�หนดโดยประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และตลาด หลักทรัพย์ฯ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการ ตรวจสอบของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการทีม่ รี ายชือ่ ดังนี้ ชื่อ ตำ�แหน่ง 1. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก กรรมการตรวจสอบ 3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร กรรมการตรวจสอบ นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ และนายเกรียง ยรรยงดิลก เป็น กรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านบัญชีและ การเงินเพียงพอในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน ของ บมจ. ศรีตรัง โดยมีนายวิทวัส กรุงแทนเมือง เป็นเลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. ช่วยคณะกรรมการในการสอบทานดูแลด้านการเงินและ การบัญชี (รวมถึงการสอบทานให้ บมจ. ศรีตรัง มีการ รายงานทางการเงิ น อย่ า งถู ก ต้ อ งและเพี ย งพอ และ สอบทานงบการเงินรวมของบริษัทเพื่อให้ม่นั ใจว่างบการเงิน ดังกล่าวถูกต้องและเพียงพอ) 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระ ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบ ในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายในหรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บมจ. ศรี ต รั ง ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำ�หนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง


4. พิ จ ารณาคั ด เลื อ ก เสนอแต่ ง ตั้ ง และถอดถอนบุ ค คล ซึ่ ง มี ค วามเป็ น อิ ส ระ น่ า เชื่ อ ถื อ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ ไ ด้ รั บ การ ยอมรั บ และเป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี ที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก ก.ล.ต. เพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง และ เสนอค่ า ตอบแทนของบุ ค คลดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง เข้ า ร่ ว ม ประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม ด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น รายการกั บ บุ ค คลที่ มี ส่วนได้เสีย หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า รายการดั ง กล่ า วสมเหตุ ส มผลและ เป็นประโยชน์สูงสุดต่อบมจ. ศรีตรัง 6. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ ในรายงานประจำ�ปีของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้อง ประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ (1) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ความถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น เป็ น ที่ เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของ บมจ. ศรีตรัง (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุม ภายในของ บมจ. ศรีตรัง (3) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของ บมจ. ศรีตรัง (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์​์ (6) จำ�นวนการประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบและ การเข้าประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (7) ความเห็ น หรื อ ข้ อ สั ง เกตโดยรวมที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบได้ รั บ จากการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามกฎบั ต ร (Charter) (8) รายการอื่ น ที่ เ ห็ น ว่ า ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ ล งทุ น ทั่ ว ไป ควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ดำ�เนิ น การตรวจสอบภายใน และพิ จ ารณาผลการ ตรวจสอบใดๆ ที่สำ�คัญ และ/หรือหารือกับผู้ ส อบบั ญชี เกี่ ย วกั บ ผลการตรวจสอบดั ง กล่ า ว และรายงานผลการ ตรวจสอบให้คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ทราบ ในกรณี ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าจะมีการกระทำ�ผิดหรือทุจริต หรือ

มีการฝ่าฝืนกฎหมายหรือระเบียบของประเทศไทย หรือ ระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือระเบียบอื่น ซึ่งการ กระทำ�ผิดหรือการทุจริตหรือการฝ่าฝืนดังกล่าวมีผลหรือ น่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อผลการดำ�เนินงาน หรือสถานะทางการเงินของ บมจ. ศรีตรัง 8. สอบทานแผนการตรวจสอบ (audit plans) ขอบเขต การดำ�เนิ น งาน และผลการตรวจสอบที่ ร วบรวมโดย ผู้สอบบัญชีภายในและภายนอก 9. สอบทานความร่วมมือที่เจ้าหน้าที่ของ บมจ. ศรีตรัง ให้แก่ ผู้สอบบัญชี 10. สอบทานนโยบายบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท (รวมถึง นโยบายป้ อ งกั น ความเสี่ ย ง) และดู ภ าพรวมของ กระบวนการ และการดำ�เนินการในการบริหารความเสี่ยง เพื่ อ ที่ จ ะได้ ล ดและบริ ห ารความเสี่ ย งให้ อ ยู่ ใ นขอบเขต ที่รับได้ตามที่คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง กำ�หนด 11. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหา ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 คณะกรรมการสรรหาของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ 1. นายเกรียง ยรรยงดิลก 2. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการสรรหา 1. สอบทานและประเมินคุณสมบัติของผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อ ให้เป็นกรรมการ (รวมถึงกรรมการบริหาร) ก่อนทำ�การ เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท 2. สอบทานและเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท ในการ เสนอให้ แ ต่ ง ตั้ ง กรรมการเข้ า ใหม่ หรื อ แต่ ง ตั้ ง กรรมการ ที่ออกตามวาระกลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่งต่อไป โดยคำ�นึงถึง ผลงานและการปฏิบัติงานของกรรมการท่านนั้น 3. พิจารณาว่ากรรมการแต่ละท่านมีความเป็นอิสระหรือไม่ เป็นประจำ�ทุกปี​ี 4. พิจารณาว่ากรรมการแต่ละท่านสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ อย่างเหมาะสมในฐานะกรรมการหรือไม่

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

57


ในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการสรรหาจะพิจารณาปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ • ความเป็นอิสระทางความคิด • ความสามารถของแต่ละบุคคล และพิจารณาว่าความสามารถดังกล่าวตรงกับความต้องการของบริษทั ฯ และเป็นส่วนเติมเต็มให้กบั กรรมการท่านอืน่ อย่างไร • ประสบการณ์และภาพรวมของผลงานที่ผ่านมาในฐานะกรรมการในบริษัทอื่น • การให้เวลา และความมุมานะในการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการ

คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ ชื่อ 1. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก 3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ให้คำ�แนะนำ�และเสนอแนวทางและหลักเกณฑ์ในการกำ�หนดค่าตอบแทนของกรรมการและเจ้าหน้าที่บริหาร รวมทั้งเสนอแนะ ค่าตอบแทนพิเศษให้แก่กรรมการแต่ละราย และกรรมการผู้จัดการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ บมจ. ศรีตรัง ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 5 ท่าน ดังนี้ ชื่อ 1. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 2. นายชัยเดช พฤกษานุศกั ดิ์ 3. นายเฉลิมภพ แก่นจัน 4. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 5. นายนัธธี ถิรพุทธโภคิน

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง

โดยมีนายกิติพงศ์ เพชรกุล เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. 2.

58

พิจารณานโยบายการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้องกับ กลยุทธ์ และเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เป็นประจำ� อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้มั่นใจว่านโยบายการบริหารความเสี่ยงดังกล่าว สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพการดำ�เนินธุรกิจในปัจจุบัน สอบทานและแก้ไขกฎบัตรของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อมโดยเสนอ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้พิจารณาอนุมัติ

รายงานประจำ�ปี 2560


รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย ในปี 2560 ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง 8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน 9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นายเนียว อา แชบ(1) 13. น.ส.อานุสรา จิตต์มิตรภาพ(2) ร้อยละของการเข้าร่วมประชุม ของคณะกรรมการแต่ละคณะ

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง 2560 ร้อยละ 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 3/5 60 1/1 100 98.33

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม คณะกรรมการบริหาร 2560 ร้อยละ 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 7/7 100 100

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ 2560 ร้อยละ 10/10 100 9/10 90 10/10 100 96.67

หมายเหตุ : (1) นายเนียว อา แชบ ลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการอิสระ เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2560 (2) นางสาวอานุสรา จิตต์มิตรภาพ ได้รับการแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ ตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2560 เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560

รายละเอียดการเข้าประชุมคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม คณะกรรมการสรรหา 2560 2/2 -

ร้อยละ 100 -

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม คณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน 2560 ร้อยละ -

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง 2560 ร้อยละ 4/4 100 3/4 75 -

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

59


8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน 9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นายเนียว อา แชบ 13. น.ส.อานุสรา จิตต์มิตรภาพ ร้อยละของการเข้าร่วมประชุม ของคณะกรรมการแต่ละคณะ

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม 2/2 100 2/2 100 -

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม 2/2 100 2/2 100 2/2 100 -

100

จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม 4/4 100 -

100

91.67

ผู้บริหาร (ตามคำ�นิยามผู้บริหาร(1) ของประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 17/2551 เรื่อง การกำ�หนดบทนิยามในประกาศ เกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 รายชื่อผู้บริหารของ บมจ. ศรีตรัง มีดังต่อไปนี้ ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง 8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน 9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. น.ส.อานุสรา จิตต์มิตรภาพ(2) 13. นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์ 14. นายอาศรม อักษรนำ� 15. นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ 16. นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ 17. นายพันเลิศ หวังศุภดิลก 18. นายอุดม พฤกษานุศักดิ์ 19. นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์ 20. นางสาวธนวรรณ เสงี่ยมศักดิ์

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ และผู้จัดการสายงานกฎหมายและบริหารทั่วไป กรรมการ และผู้จัดการสายงานการตลาด กรรมการ และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ และ CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ กรรมการ กรรมการ และผู้จัดการสายงานการผลิต รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ ผู้จัดการสายงานสรรหาวัตถุดิบ ผู้จัดการสายงานการผลิต ผู้จัดการสายงานคุณภาพ ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม ผู้จัดการสายงานวิศวกรรม ผู้จัดการสายงานธุรกิจเกษตร ผู้จัดการสายงานทรัพยากรมนุษย์ ผู้จัดการสายงานพัฒนาธุรกิจ และ CFO – สายธุรกิจถุงมือยาง

หมายเหตุ : (1) ผู้บริหาร หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา ผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเทียบเท่ากับผู้ด�ำรง ต�ำแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และให้หมายความรวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป หรือเทียบเท่า (2) นางสาวอานุสรา จิตต์มติ รภาพ ได้รบั การแต่งตัง้ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ ตามมติคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 6/2560 เมือ่ วันที่ 21 กันยายน 2560

60

รายงานประจำ�ปี 2560


ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการผู้จัดการ 1. มีอ�ำนาจอนุมัติการท�ำนิติกรรมใดๆ ซึ่งมีผลผูกพันบริษัท ส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจปกติของ บมจ. ศรีตรัง ในวงเงิน ไม่เกิน 200,000,000 บาท (สองร้อยล้านบาท) 2. มีอ�ำนาจในการออก แก้ไข เพิ่มเติม ปรับปรุง ระเบียบ ค�ำสั่ง และข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงานของ บมจ. ศรีตรัง เช่น การบรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน และวินัยพนักงานและลูกจ้าง การก�ำหนดเงินเดือนและเงินอืน่ ๆรวมตลอดถึงการสงเคราะห์ และสวัสดิการต่างๆ 3. มีอำ� นาจก�ำหนดอัตราเงินเดือนและผลตอบแทนอืน่ ๆ รวมทัง้ อัตราค่าใช้จ่ายและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกของผู้จัดการฝ่าย หรือเทียบเท่าขึน้ ไป เพือ่ ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริหาร 4. มีหน้าทีด่ ำ� เนินการควบคุมดูแลกิจการทัง้ ปวงของ บมจ. ศรีตรัง ให้เป็นไปตามมติและนโยบายของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง 5. มีหน้าที่น�ำเสนอเรื่องที่ส�ำคัญต่อคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาอนุมัติเห็นชอบ หรือ เพื่อการอื่นใดตามความเหมาะสม 6. มีหน้าที่ศึกษาความเป็นไปได้ส�ำหรับโครงการใหม่ๆ และ มีอำ� นาจพิจารณาอนุมตั โิ ครงการต่างๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง หรือคณะกรรมการบริหาร 7. ด�ำเนินการอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร เป็นครัง้ คราว อย่างไรก็ดี กรรมการผู้จัดการและผู้ที่ได้รับมอบอ�ำนาจจาก กรรมการผูจ้ ดั การไม่มอี ำ� นาจในการทีจ่ ะอนุมตั เิ รือ่ ง หรือรายการ ที่ ต นเองหรื อ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใด จะเข้า ท�ำกับ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยของ บมจ. ศรีตรัง ตามนิยาม ในประกาศของคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาด หลักทรัพย์หรือ คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน

เลขานุการบริษัท คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้มีมติแต่งตั้งให้นางพัชรินทร์ อนุวงศ์วัฒนชัย ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม ส�ำเร็จการศึกษาทาง ด้านบัญชี และได้รับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานด้านเลขานุการบริษัท และหลักสูตรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในธุรกิจ กฎหมาย และระเบียบ กฎเกณฑ์ต่างๆ เป็นเลขานุการบริษัท โดยมีหน้าที่และขอบเขต ความรับผิดชอบตามที่ก�ำหนดไว้ใน พ.ร.บ. หลักทรัพย์ รวมทั้ง ให้ค�ำแนะน�ำด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ต่างๆ (Compliance) ที่คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง จะต้องทราบ และปฏิบัติหน้าที่

ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง รวมทั้ง ประสานให้มีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง โดยเลขานุการบริษัทจะต้องเข้าร่วม และจัดเก็บเอกสารการ ประชุมคณะกรรมการทั้งหมด และท�ำให้แน่ใจว่ากระบวนการ ของคณะกรรมการได้รับการปฏิบัติตาม ทั้งนี้ การแต่งตั้งและ ถอดถอนเลขานุการบริษัทจะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน (1) ค่าตอบแทนของกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บมจ. ศรีตรัง ได้จา่ ยค่าตอบแทนกรรมการเป็นจำ�นวนเงินรวม 7,993,000 บาท เป็นผลประโยชน์ตอบแทนประเภทเงินบำ�เหน็จแก่กรรมการ โดยมีรายละเอียดการจ่ายเป็นรายบุคคล ดังนี้ จำ�นวนค่าตอบแทน (บาท)* ชื่อ รอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 804,000 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 600,000 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 600,000 4. นายลี พอล สุเมธ 600,000 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 600,000 6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 600,000 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง 600,000 8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน 600,000 9. นายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ 936,000 10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 744,000 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 744,000 12. นายเนียว อา แชบ 400,000 13. น.ส.อานุสรา จิตต์มิตรภาพ 165,000 หมายเหตุ*: ค่าตอบแทนดังกล่าวเป็นค่าตอบแทนสำ�หรับการเป็นกรรมการ บริษัทและกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ บมจ. ศรีตรัง มิได้มีค่าตอบแทน สำ�หรับการดำ�รงตำ�แหน่งในคณะกรรมการชุดย่อยอื่น

(2) ค่าตอบแทนรวมของกรรมการบริหาร และผู้บริหารของ บมจ. ศรีตรัง ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ ได้จ่าย ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร และผู้บริหารจำ�นวน 21 ราย เป็น จำ�นวนเงินรวม 134.16 ล้านบาท โดยค่าตอบแทนดังกล่าวเป็น บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

61


ค่าตอบแทนประเภทเงินเดือนโบนัสและค่าตอบแทนอื่น ซึ่งรวมถึงผลประโยชน์อื่น และค่าตอบแทนใดๆ ที่ได้จ่ายแล้ว ซึ่งรวม ค่าตอบแทนที่อ้างอิงจากผลการดำ�เนินการในปี แต่มีการยกยอดข้ามปีและมีการจ่ายให้ในภายหลัง รวมถึงเงินโบนัสหรือเงินส่วนแบ่ง ผลกำ�ไรหรือเงินเกี่ยวกับผลกำ�ไรอื่นๆ ตามสัญญาหรือตามข้อตกลงระหว่างกัน Sri Trang International ตกลงเข้าทำ�สัญญาจ้างงานกับกรรมการแต่ละคนของบริษัทฯ ได้แก่ นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และ นายลี พอล สุเมธ ซึ่งสัญญาจ้างงานดังกล่าวไม่มีการกำ�หนดระยะเวลาการจ้างงาน ทั้งนี้ ตามสัญญาจ้างงาน นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ มีสิทธิที่จะได้รับค่าตอบแทนดังต่อไปนี้ • เงินเดือน และโบนัสซึ่งจะคิดตามโครงการค่าตอบแทน (Profit Incentive Scheme) (ตามที่ได้นิยามไว้ข้างล่างนี้) และ • ค่ า ใช้ จ่ า ยทางธุ ร กิ จ ที่ ส มเหตุ ส มผลซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น หรื อ ได้ จ่ า ยไปในช่ ว งระยะเวลาการจ้ า งงานซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต่อกลุม่ บริษัทฯ

โครงการค่าตอบแทน (Profit Incentive Scheme) นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล และนายลี พอล สุเมธ ซึ่งเป็นกรรมการของบริษัทฯ มีสิทธิที่จะเข้าร่วมโครงการค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive Scheme) ในแต่ละรอบปีบัญชีของ Sri Trang International ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ภายใต้โครงการค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incnetive Scheme) ในแต่ละรอบปีบัญชี หากคณะกรรมการบริษัทของ Sri Trang International พิจารณาแล้วเห็นว่ามีส่วนเกิน (Surplus) ภายหลังจากหัก (ก) ร้อยละ 10 ของทุนช�ำระแล้วของ Sri Trang International หรือจ�ำนวนเงินอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทของ Sri Trang International จะเห็นควร (ข) ร้อยละ 5 ของ ก�ำไรสะสมในต้นปีบัญชีที่เกี่ยวข้อง และ (ค) ขาดทุนสะสมในต้นปีบัญชีที่เกี่ยวข้องจากก�ำไรของ Sri Trang International หลังจาก หักภาษีแล้ว (ตามที่ก�ำหนดในงบการเงินที่ตรวจสอบแล้ว) ร้อยละ 20 ของส่วนเกิน (Surplus) ดังกล่าวจะถูกจ่ายภายใต้โครงการ ค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive Scheme) (“ค่าตอบแทนพิเศษ (Profit Incentive)”)

ค่าตอบแทนอื่น ในปี 2560 บริษัทได้มีการจ่ายเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้กับคณะกรรมการและผู้บริหาร ดังนี้ เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

จำ�นวนราย 13

จำ�นวนเงิน (บาท) 2,567,526

ผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ บริษัทฯ จัดให้มีผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุเพื่อจ่ายให้แก่พนักงานเป็นไปตามกฎหมายแรงงานไทยจ�ำนวนเงินดังกล่าว ขึ้นอยู่กับฐานเงินเดือนและจ�ำนวนปีที่พนักงานท�ำงานให้กลุ่มบริษัทนับถึงวันที่สิ้นสุดการท�ำงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

62

รายงานประจำ�ปี 2560


การเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการที่ออกจากต�ำแหน่งตามวาระมีสิทธิได้รับเลือกตั้งใหม่ โดยกรรมการที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง รายละเอียดการเลือกตั้งกรรมการที่ออกตามวาระกลับเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง แสดงได้ดังต่อไปนี้ ชื่อ 1. นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล 2. นายไชยยศ สินเจริญกุล 3. นายกิติชัย สินเจริญกุล 4. นายลี พอล สุเมธ 5. นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล 6. นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล 7. นายหลี่ ซื่อเฉียง 8. นายเฉลิมภพ แก่นจัน 9. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ

10. นายเกรียง ยรรยงดิลก 11. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร 12. นายเนียว อา แชบ(1) 13. น.ส. อานุสรา จิตต์มติ รภาพ(1)

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการและ กรรมการผู้จัดการ กรรมการ กรรมการ และผู้จัดการ สายงานกฎหมายและ บริหารทั่วไป กรรมการ และผู้จัดการ สายงานการตลาด กรรมการ กรรมการ และ CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ กรรมการ กรรมการ และผู้จัดการ สายงานการผลิต กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ และประธานกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

วันที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รง วันที่ได้รับเลือกตั้งให้กลับเข้า ตำ�แหน่งกรรมการครั้งแรก ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการครั้งล่าสุด 27 ธันวาคม 2536

29 เมษายน 2558

27 ธันวาคม 2536 10 เมษายน 2538

28 เมษายน 2559 25 เมษายน 2560

28 มิถนุ ายน 2553

29 เมษายน 2558

28 เมษายน 2553 29 เมษายน 2557

29 เมษายน 2558 25 เมษายน 2560

29 เมษายน 2557 29 ตุลาคม 2558

25 เมษายน 2560 28 เมษายน 2559

27 ธันวาคม 2536

29 เมษายน 2558

25 มกราคม 2543

28 เมษายน 2559

1 กุมภาพันธ์ 2551

25 เมษายน 2560

28 มิถนุ ายน 2553 21 กันยายน 2560

28 เมษายน 2559 21 กันยายน 2560

หมายเหตุ : (1) นางสาวอานุสรา จิตต์มิตรภาพ ได้รับการแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ ตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2560 เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 แทนนายเนียว อา แชบ ที่ลาออกจากต�ำแหน่ง เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

63


การกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ด�ำเนินงานทางธุรกิจให้เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดยใช้ความ ช�ำนาญ ความระมัดระวัง และความเอาใจใส่ที่พึงมี เพื่อรักษา ผลประโยชน์ของบริษัทฯ และเป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ยังได้ถือปฏิบัติให้ เป็นไปตามข้อพึงปฏิบัติที่ดีส�ำหรับกรรมการบริษัทมหาชน และ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 และข้อแนะน�ำของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ทั้งในด้านบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้ใช้ความ ระมัดระวังรอบคอบในกระบวนการพิจารณากลั่นกรองก่อนการ ตัดสินใจใดๆ ให้เป็นการด�ำเนินการที่สมเหตุสมผล บนพื้นฐาน ของความซื่อสัตย์ โปร่งใส และมีจริยธรรม และได้ค�ำนึงถึง ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย และรั ก ษาผลประโยชน์ ข องผู ้ ถื อ หุ ้ น ใน ทุกๆ ด้าน

หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี บมจ. ศรีตรัง มีการก�ำหนดและทบทวนแนวทางการก�ำกับดูแล กิ จ การ ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส� ำ หรั บ บริษัทจดทะเบียนตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนด โดยแบ่งเป็น 5 หมวด เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทาง ธุรกิจในปัจจุบัน ดังนี้

64

รายงานประจำ�ปี 2560

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บมจ. ศรีตรัง ตระหนักเสมอว่า สิ่งที่จะท�ำให้ผู้ถือหุ้นไว้วางใจ และมั่นใจในการลงทุนกับธุรกิจของบริษัทฯ คือ การมีนโยบาย หรื อ การด� ำ เนิ น การที่ รั ก ษาสิ ท ธิ พื้ น ฐานที่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น พึ ง ได้ รั บ และความเท่ า เที ย มกั น ของผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก รายอย่ า งเป็ น ธรรม ตามที่กฎหมายก�ำหนด และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิพื้นฐาน ตามกฎหมาย เช่น (1) สิทธิในการรับส่วนแบ่งก�ำไรในรูปเงินปันผล

บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลอย่างระมัดระวัง โดยค�ำนึงถึงสถานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน กระแส เงินสดของ บมจ. ศรีตรัง ความสามารถในการจ่ายเงินปันผล ของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม รวมทั้งบริษัทร่วมทุน รวมถึง การคาดการณ์ความจ�ำเป็นของเงินทุนทีจ่ ะรองรับการเติบโต ของ บมจ. ศรีตรังในอนาคต สถานการณ์ภาวะเศรษฐกิจ และผลกระทบจากปัจจัยภายนอก ที่ บมจ. ศรีตรัง คาดว่า จะมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อให้ การด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีเสถียรภาพ นโยบายการจ่ายเงิน ปันผลจึงอยู่ในระดับประมาณร้อยละ 30 ของก�ำไรสุทธิ

(2) สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น บมจ. ศรีตรัง ได้ให้ความส�ำคัญกับกรณีที่ผู้ถือหุ้นจะได้รับ สารสนเทศอย่างเพียงพอในการตัดสินใจ โดยข้อมูลข่าวสาร


ที่ได้รับจะมีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส เท่าเทียมกัน เพื่อประกอบการตัดสินใจในการประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงการ ออกเสี ย งลงคะแนนและแสดงความคิ ด เห็ น ในที่ ป ระชุ ม ผูถ้ อื หุน้ การใช้สทิ ธิรว่ มตัดสินใจในการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญ ต่างๆ รวมทั้งการเลือกตั้งคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง

อนึ่ง หากหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ถูกถือผ่าน CDP จะมีรายชื่อ ปรากฏเป็นผู้ถือหุ้นของหุ้นดังกล่าว ดังนั้น ตามกฎหมายไทย CDP จะเป็นผูถ้ อื หุน้ และมีสทิ ธิตามกฎหมายในการออกเสียง ลงคะแนนในเรือ่ งต่างๆ ในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของ บมจ. ศรีตรัง

ทั้งนี้ CDP ได้แต่งตั้งผู้รับฝากและดูแลหุ้น (Custodian) เพื่อเก็บรักษาหุ้นที่ถือโดย CDP โดย Custodian ไทยจะเป็น ผู้รับมอบฉันทะของ CDP เพื่อเข้าร่วมประชุมและออกเสียง ลงคะแนนในที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และ CDP จะมี ค� ำ สั่ ง ให้ Custodian ไทยแยกออกเสียงลงคะแนนตามค�ำสั่งที่ CDP ได้รับมาจากนักลงทุนที่ถือหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ผ่าน CDP อย่างไรก็ตาม หากผู้ถือหุ้นรายใดที่ถือหุ้นผ่าน CDP ประสงค์ จะเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น และใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนน ภายใต้ชื่อตนเอง ผู้ถือหุ้นรายดังกล่าวต้องโอนหุ้นของตน ออกจากระบบของ CDP และท�ำการจดทะเบียนการโอนหุ้น ดังกล่าวในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นที่ โอนหุน้ ออกจากระบบของ CDP จะไม่สามารถท�ำการซือ้ ขายหุน้ ในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ได้จนกว่าจะโอนหุ้นกลับเข้าไป ฝากในระบบ CDP

บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวก ให้ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รวมถึ ง นั ก ลงทุ น สถาบั น ในการเข้ า ร่ ว ม ประชุมผู้ถือหุ้น โดยบมจ. ศรีตรัง เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น จั ด ส่ ง เอกสารลงทะเบี ย นเข้ า ร่ ว มการประชุ ม ล่ ว งหน้ า ก่อนวันประชุมเพื่อลดระยะเวลาในการตรวจสอบเอกสาร ในวั น ประชุ ม และบริ ษั ท ฯ จั ด ช่ อ งทางการลงทะเบี ย น ณ สถานที่จัดการประชุมส�ำหรับผู้ถือหุ้นบุคคลธรรมดา และนักลงทุนสถาบัน โดยบมจ. ศรีตรัง ได้น�ำระบบบาร์โค้ด (Barcode) มาใช้ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง เพื่อช่วยให้ขั้นตอนการลงทะเบียนและการประมวลผลการ ลงคะแนนเสียง เป็นไปอย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นและได้จัดเตรียม อากรแสตมป์ให้แก่ผู้ถือหุ้นในการมอบฉันทะ

(3) สิทธิในการลงคะแนนในวาระการประชุมผู้ถือหุ้น บมจ. ศรี ต รัง จะจัด ส่งหนังสือเชิญ ประชุม ผู ้ ถื อ หุ ้ น และ เอกสารประกอบให้แก่ผถู้ อื หุน้ เป็นการล่วงหน้าอย่างเพียงพอ ครบถ้วน โดยหนังสือเชิญประชุมมีรายละเอียดระเบียบวาระ การประชุม เอกสารประกอบระเบียบวาระต่างๆ พร้อมความเห็น ของคณะกรรมการบริษทั หนังสือมอบฉันทะตามทีก่ ระทรวง พาณิชย์ก�ำหนด และรายชื่อของกรรมการอิสระทั้งหมด

เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกที่จะมอบฉันทะให้เข้าประชุม แทนได้ รวมทั้งแผนที่แสดงสถานที่ประชุม ซึ่งในหนังสือ เชิ ญ ประชุ ม จะแจ้ ง รายละเอี ย ดของเอกสารที่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น จะต้องน�ำมาแสดงในวันประชุมด้วย เพื่อรักษาสิทธิในการ เข้ า ประชุ ม รวมถึ ง ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ เกี่ ย วกั บ การ ประชุมผู้ถือหุ้น และการออกเสียงลงคะแนน นอกจากนี้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ยั ง สามารถเข้ า ดู ข ้ อ มู ล ต่ า งๆ เกี่ ย วกั บ ระเบี ย บ วาระการประชุมของแต่ละครั้งได้ทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.sritranggroup.com และเว็ บ ไซต์ ข อง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ สิ ง คโปร์ www.sgx.com (SGXNET) เป็นการล่วงหน้าประมาณ 28 วันก่อนวันประชุม เพื่อเป็น อีกช่องทางหนึ่งที่ให้นักลงทุนได้รับทราบข้อมูลอย่างทั่วถึง อีกทั้งได้มอบหมายให้ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ CDP ในฐานะนายทะเบียนหุน้ เป็นผูจ้ ดั ส่งหนังสือ เชิญประชุมพร้อมเอกสารประกอบให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า อย่างน้อย 21 วันก่อนวันประชุม และบริษัทฯ มีนโยบาย ที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระในที่ประชุมโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้น ทราบล่วงหน้า

บมจ. ศรีตรัง ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิออกเสียง เลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคลในวาระเลือกตั้งกรรมการ นอกจากนี้ บมจ. ศรี ต รั ง ได้ จั ด ให้ มี ผู ้ ต รวจสอบการ นับคะแนนเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้น และได้เปิดเผยไว้ ในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น

(4) สิทธิในการแสดงความเห็นและตัง้ ค�ำถามต่อทีป่ ระชุม

ผู้ถือหุ้นได้รับโอกาสที่เท่าเทียมกันในการแสดงความเห็น และตั้งค�ำถามต่อที่ประชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่เสนอ และเพื่อเป็นการส่งเสริมสิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่งค�ำถามที่เกี่ยวกับวาระ การประชุมเป็นการล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนการประชุม ผ่านทางไปรษณีย์มาที่เลขานุการบริษัท บริษัท ศรีตรัง แอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) อาคารปาร์คเวนเชอร์ อีโคเพล็กซ์ ห้องเลขที่ 1701, 1707-1712 ชั้นที่ 17 เลขที่ 57 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 และผ่านทาง E-mail address: corporatesecretary@ sritranggroup.com โดยประธานที่ประชุมจะจัดสรรเวลา ให้อย่างเหมาะสม เพื่อส่งเสริมให้มีการแสดงความเห็นและ ซักถามในที่ประชุม ทั้งนี้ ประธานกรรมการชุดย่อยทุกชุด จะ เข้าร่วมประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เพือ่ ตอบข้อซักถามทีผ่ ถู้ อื หุน้ ถาม ประกอบด้วยนายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ ซึง่ เป็นกรรมการอิสระ (Lead Independent Director) ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน นายเกรียง ยรรยงดิลก ซึง่ เป็นกรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหา นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล ประธานกรรมการพิจารณาความเสีย่ ง บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

65


นอกจากนี้ ยังมีผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอกเข้าร่วมประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นเพื่อตอบข้อซักถามที่เกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชีของ กลุ่มบริษัทฯ และรายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีด้วย โดยบริษัทฯ ได้บันทึกประเด็นค�ำถามค�ำตอบไว้ในรายงานการประชุมเพื่อให้ ผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบด้วย

14 วั น หลั ง การประชุ ม เสร็ จ สิ้ น และได้ ท� ำ การเผยแพร่ มติ ที่ ป ระชุ ม ดั ง กล่ า วไว้ บ นเว็ บ ไซต์ ข อง บมจ. ศรี ต รั ง www.sritranggroup.com

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

(5) บมจ. ศรีตรัง กําหนดให้กรรมการผู้บริหาร และผู้ที่เกี่ยวข้อง ที่ระบุไว้ในมาตรา 89/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535 ต้ อ งรายงานการ เปลี่ ย นแปลงการถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ต ่ อ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตามมาตรา 59 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันทําการนับจากวัน ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ตลอดจน จัดส่งสําเนาให้แก่หน่วยงานเลขานุการบริษัท เพื่อรวบรวม และนําเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เป็นรายไตรมาส

บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกฝ่ายอย่าง เท่าเทียมและเป็นธรรมโดยค�ำนึงถึงผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็น นักลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนต่างชาติ รวมทั้งผู้ถือหุ้นรายย่อย (1) บมจ. ศรี ต รั ง ด� ำ เนิ น การประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ตามล� ำ ดั บ ระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม โดยได้จัดส่ง หนังสือนัดประชุมพร้อมเอกสาร ข้อมูลประกอบการประชุม ที่มีรายละเอียดครบถ้วนเพียงพอ ทั้งในรูปแบบภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งได้น�ำเสนอผ่านเว็บไซต์ของ บมจ. ศรีตรัง (www.sritranggroup.com) เพื่อเปิดโอกาส ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น มี เ วลาศึ ก ษาข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วได้ อ ย่ า งละเอี ย ด นอกจากนั้น มีการลงประกาศเชิญประชุมในหนังสือพิมพ์ รายวัน ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน และก่อนวันประชุม ไม่ น ้ อ ยกว่ า 3 วั น เพื่ อ บอกกล่ า วเรี ย กประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็ น การล่ ว งหน้ า เพี ย งพอส� ำ หรั บ การเตรี ย มตั ว ก่ อ นมา เข้าร่วม ก่อนเริ่มการประชุมทุกครั้ง ประธานกรรมการจะ ชี้แจงวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนตามที่ระบุไว้อย่าง ชั ด เจน ในระหว่ า งการประชุ ม ประธานในที่ ป ระชุ ม ได้ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสอบถามและแสดงความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน และได้ตอบค�ำถาม รวมทั้งให้ข้อมูลต่างๆ ตามที่ผู้ถือหุ้นร้องขออย่างครบถ้วน และหลังจากวันประชุม บมจ. ศรีตรัง ได้จัดส่งรายงาน การประชุมต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายในระยะเวลาทีก่ ำ� หนด (2) บมจ. ศรี ต รั ง ได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง ลงคะแนนแบบ 1 share 1 vote และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น ใช้บัตรลงคะแนนเสียงส�ำหรับทุกระเบียบวาระ โดยบริษัท จะท�ำการเก็บบัตรลงคะแนนดังกล่าวในห้องประชุม เพื่อน�ำ ผลคะแนนมารวม เพื่ อ แจ้ ง มติ ข องคะแนนเสี ย งในห้ อ ง ประชุม และเพื่อความโปร่งใส บมจ. ศรีตรัง จะท�ำการ ประกาศรายละเอียดผลการลงคะแนนทั้งส่วนที่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยของแต่ละวาระ โดยแจกแจงเป็นคะแนน และสัดส่วนร้อยละ ตลอดจนจัดเก็บบัตรลงคะแนนที่มีการ ลงชื่อของผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบอ�ำนาจไว้ เพื่อการตรวจสอบ ได้ในภายหลัง (3) บมจ. ศรีตรัง ท�ำการบันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และจัดส่งรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายใน

66

รายงานประจำ�ปี 2560

(4) บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการก�ำกับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน มีการก�ำหนดให้บคุ ลากรทุกระดับยึดถือปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด

(6) บมจ. ศรีตรัง จัดให้มนี โยบายแจ้งช่วงเวลางดซือ้ ขายหลักทรัพย์ ก่อนการประกาศแจ้งข่าวงบการเงิน 30 วัน และหลังประกาศ อย่างน้อย 24 ชั่วโมง ให้กรรมการและผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. ทราบ ซึ่งมีการประพฤติปฏิบัติอย่างเคร่งครัด (7) บมจ. ศรีตรัง กําหนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารจัดท�ำรายงาน การมีส่วนได้เสียของตนและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องใน ครัง้ แรกส�ำหรับกรรมการและผูบ้ ริหารใหม่ และในทุกๆ ครัง้ ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงระหว่ า งด� ำ รงต� ำ แหน่ ง โดยให้ เลขานุการบริษัทเป็นผู้เก็บรักษารายงาน และหากพบว่ามี การมีส่วนได้เสียที่รายงาน ให้รายงานต่อประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ (8) บมจ. ศรีตรัง มีการเปิดเผยโครงสร้างการถือหุน้ ในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม อย่างชัดเจน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มัน่ ใจว่ามีโครงสร้าง การด�ำเนินงานที่มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ (9) บมจ. ศรีตรัง ให้ความส�ำคัญในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและโปร่งใสแก่ผู้ถือหุ้น โดยมี การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่มีสาระส�ำคัญอย่างสม�่ำเสมอ (10) บมจ. ศรีตรัง ได้จัดให้มีช่องทางที่ผู้ถือหุ้นรายย่อย สามารถ ติดต่อขอข้อมูลได้โดยตรงทางจากกรรมการอิสระในเรื่อง ต่างๆ ได้แก่ กิจกรรมของกรรมการ การก�ำกับดูแลกิจการ และการตรวจสอบ เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นรายย่อย ยังสามารถติดต่อขอข้อมูลได้โดยตรงจากเลขานุการบริษัท และหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ตาม E-Mail Address ดังต่อไปนี้


- คณะกรรมการตรวจสอบ E-Mail Address: auditcommittee@sritranggroup.com

แนวทางปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ของ บมจ. ศรี ต รั ง มีรายละเอียด ดังนี้

- เลขานุการบริษัทฯ E-Mail Address: corporatesecretary@sritranggroup.com

ผู้ถือหุ้น:

- หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ E-Mail Address: ir@sritranggroup.com - หมายเลขโทรศัพท์ 02-207-4500

บมจ. ศรีตรัง จะมุ่งมั่นเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นในการด�ำเนินธุรกิจ อย่างโปร่งใส มีระบบบัญชี และการเงินทีม่ คี วามเชือ่ ถือได้ สร้างความ พึงพอใจสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้น โดยค�ำนึงถึงการเจริญเติบโตของ บมจ. ศรีตรัง ในระยะยาว และผลตอบแทนในระดับที่เหมาะสม อย่างต่อเนื่อง

3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

พนักงาน:

การเติบโตของบมจ. ศรีตรัง มาจนถึงสถานะในปัจจุบัน เกิดจาก ความร่วมมือสนับสนุนของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องด้วยดีเสมอ บมจ. ศรีตรัง รับรู้และให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายในซึ่งได้แก่ บุคลากร พนักงาน และ ผู้บริหารของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย หรือผู้มีส่วนได้เสีย ภายนอก ซึ่งได้แก่ ผู้ร่วมค้า ทั้งในรูปของผู้ที่เกี่ยวข้องทางด้าน วัตถุดิบ จนถึงกลุ่มลูกค้าเมื่อผลิตเป็นสินค้าส�ำเร็จรูป สถาบัน การเงินต่างๆทีใ่ ห้ความสนับสนุนตลอดจนถึงหน่วยงานของรัฐบาล ที่มีการติดต่อประสานงานอย่างใกล้ชิด และในท้ายที่สุด คือ ผู้ถือหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง ทั้งนี้ บมจ. ศรีตรัง มีความตระหนักดี ที่จะต้องรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียที่กล่าวมา คณะกรรมการ บริษัทได้มีการทบทวนนโยบายเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย และได้ ก�ำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเรื่องการไม่ละเมิดทรัพย์สินทาง ปัญญา เช่น ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า นโยบาย การรับเรื่องร้องเรียน (Whistleblower Policy) โดยได้กำ� หนด ช่องทางการแจ้งหรือร้องเรียนพร้อมขั้นตอนการด�ำเนินงานและ แนวทางในการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายป้องกันการ ทุจริตคอรัปชั่นในทุกรูปแบบ เพื่อสร้างจิตส�ำนึกที่ดี และค่านิยม ที่ถูกต้องในองค์กร

บมจ. ศรีตรัง ปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรม จั ด ให้ มี ส ภาพแวดล้ อ มกั บ การท� ำ งานที่ ดี ปลอดภั ย และให้ ผลตอบแทนที่เหมาะสม พร้อมทั้งส่งเสริมให้พนักงานมีโอกาส พัฒนาความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ เพือ่ ความก้าวหน้า ในการท�ำงาน บมจ. ศรีตรัง ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน โดยจัดอบรม หลั ก สู ต รเฉพาะให้ กั บ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ดู แ ล แนะน� ำ แจ้งข่าวสารเกีย่ วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน รวมทั้งการป้องกันอุบัติเหตุจากการท�ำงาน และ สาระน่ารูเ้ กีย่ วกับสุขภาพให้พนักงานรับทราบและน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้ อย่างถูกต้อง เนื่องด้วย บมจ. ศรีตรัง ได้ค�ำนึงถึงสวัสดิภาพ ของพนั ก งาน ในการท� ำ งานด้ ว ยความความปลอดภั ย และ มีประสิทธิภาพสูงสุด มีการส่งเสริมและอบรมให้ความรู้เรื่องการ ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า รวมถึงการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของพนักงาน ได้แก่ การจัดให้มีห้องสมุด และสันทนาการ รวมทั้งการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมให้ พนักงานมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี และมีการจัดท�ำคู่มือ พนักงาน และท�ำการประชาสัมพันธ์ ผ่านระบบเว็บไซต์ภายใน องค์กร

บมจ. ศรีตรัง มีความตระหนักถึงหลักการและมาตรฐานทีเ่ กีย่ วกับ หลักสิทธิมนุษยชน โดยได้ก�ำหนดนโยบายเรื่องสิทธิมนุษยชน และการไม่เลือกปฏิบัติ ที่มุ่งเน้นให้ความส�ำคัญในเรื่องสิทธิ มนุษยชนและการปฏิบตั ติ อ่ ผูอ้ นื่ ด้วยความเสมอภาคเท่าเทียมกัน รวมถึงการเผยแพร่นโยบายดังกล่าวให้พนักงานทุกฝ่ายถือปฏิบตั ิ ร่วมกัน ในเดือนตุลาคม 2559 บมจ. ศรีตรัง ได้ลงนามเข้าร่วมการประกาศ เจตนารมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต และได้รบั การประกาศ สถานะเป็นบริษัทที่แสดงเจตนารมณ์เมื่อเดือนมกราคม 2560

บริษัทฯ ได้จัดให้มีเงินกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพให้แก่พนักงาน โดยให้สิทธิพนักงานประจ�ำสมัครเข้าเป็นสมาชิกของกองทุนฯ ตามความสมัครใจโดยสามารถเลือกที่จะจ่ายสมทบเข้ากองทุน ในอัตราคงที่ หรือในอัตราเท่ากับที่บริษัทฯ จ่ายสมทบ ตามช่วง อายุงาน โดยบริษัทฯ จะจ่ายสมทบในอัตราที่แตกต่างกันตาม อายุงานของพนักงาน ซึ่งพนักงานจะได้รับผลประโยชน์ดังกล่าว เมื่อพ้นสภาพจากการเป็นพนักงาน หรือลาออกจากกองทุน ยกเว้นกรณีเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย คณะกรรมการได้กำ� หนดให้มนี โยบายป้องกันการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และได้มีการสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการ ป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน ให้แก่บุคลากรในองค์กร รวมทั้ง ส่งเสริมการสร้างความตระหนัก เพื่อสร้างจิตส�ำนึกที่ดี ค่านิยม ที่ถูกต้องและปลูกฝังจนเป็นวัฒนธรรมองค์กรที่ดี บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

67


คณะกรรมการได้กำ� หนดนโยบายการรับเรือ่ งร้องเรียน โดยก�ำหนด ให้มีช่องทางรับเรื่องร้องเรียนจากผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เกี่ยวกับ การกระท�ำที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เหมาะสม อันอาจท�ำให้เกิดความ เสียหายต่อบริษทั ฯ พร้อมทัง้ ก�ำหนดมาตรการคุม้ ครองผูร้ อ้ งเรียน ที่กระท�ำไปโดยความสุจริต นอกจากนี้ บมจ. ศรีตรัง ได้จัดให้มีช่องทางที่ผู้ถือหุ้น หรือผู้มี ส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สามารถรายงานและร้องเรียนโดยตรงกับ กรรมการ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้รับ รายงานเรื่องร้องเรียนเหล่านี้ เพื่อท�ำการสอบสวนและรายงาน ต่อคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้ยังสามารถติดต่อขอข้อมูล ได้โดยตรงจากเลขานุการบริษัท และหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ตาม E-Mail Address ดังต่อไปนี้ - คณะกรรมการตรวจสอบ E-Mail Address: auditcommittee@sritranggroup.com - เลขานุการ บมจ. ศรีตรัง E-Mail Address: corporatesecretary@sritranggroup.com - หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ E-Mail Address: ir@sritranggroup.com - หรือหมายเลขโทรศัพท์ 02-207-4500 ลูกค้า: บมจ. ศรีตรัง ใส่ใจและรับผิดชอบต่อลูกค้า ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และมีมาตรฐาน ส่งมอบสินค้าตามก�ำหนดเวลา เพื่อสร้างความ พึงพอใจให้แก่ลกู ค้า รวมทัง้ รักษาสัมพันธภาพทีด่ แี ละยัง่ ยืน โดยมี การก�ำหนดแนวทางปฏิบตั ใิ ห้แก่พนักงานไว้ในจรรยาบรรณธุรกิจ ว่าด้วยความสัมพันธ์กับลูกค้า คู่ค้า: บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการคัดเลือกคู่ค้า และซื้อสินค้าและบริการ จากคู่ค้าตามเงื่อนไขทางการค้า และปฏิบัติตามสัญญาข้อตกลง ต่อคูค่ า้ เสมอโดยปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกติกาต่างๆ อย่างเคร่งครัด และมีจรรยาบรรณที่ดีทางธุรกิจในการแข่งขันทางธุรกิจ คู่แข่ง: บมจ. ศรีตรัง ส่งเสริมและสนับสนุนการแข่งขันที่ตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของความเสมอภาคและเท่าเทียม โดยจะไม่กระท�ำการใดๆ ทีเ่ ป็น การฝ่าฝืนหรือขัดต่อกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการแข่งขันทางการค้า หรือที่อาจท�ำให้เกิดความเสื่อมเสียต่อชื่อเสียงของคู่แข่ง เจ้าหนี้: บมจ. ศรีตรัง ปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญา และให้ข้อมูลที่ถูกต้อง

68

รายงานประจำ�ปี 2560

โปร่งใส ตรวจสอบได้แก่เจ้าหนี้ รวมทั้งยึดมั่นในการปฏิบัติตาม ก�ำหนดและเงื่อนไขของสัญญาที่มีต่อเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด หน่วยราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้อง: บมจ. ศรีตรัง ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดต่อกฎหมายที่เกี่ยวข้องใน ด้านต่างๆ ทั้งสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย แรงงาน การจัดการ ด้านภาษีอากรและบัญชี ฯลฯ รวมทั้งประกาศต่างๆ ของทาง ราชการที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของ บมจ. ศรีตรัง สังคมและสิ่งแวดล้อม: บมจ. ศรีตรัง ตระหนักและห่วงใยถึงความปลอดภัยของสิง่ แวดล้อม และคุณภาพชีวิตของประชาชนรวมทั้งความส�ำคัญในเรื่องการ อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ประสิทธิภาพ ค�ำนึงถึงทางเลือกในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ธรรมชาติ โ ดยให้ มีค วามเสี ย หายต่ อ สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม และ คุณภาพของประชาชนน้อยที่สุด โดยสนับสนุนกิจกรรมชุมชน โดยรอบโรงงาน จั ด ให้ มี ก ารดู แ ลด้ า นความปลอดภั ย และ สิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด พร้อมกันนี้ บมจ. ศรีตรัง ได้จัดท�ำรายงานความรับผิดชอบ ต่อสังคม และคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ก�ำกับดูแลให้มี ระบบการบริหารจัดการที่สามารถเชื่อมั่นได้ว่า บมจ. ศรีตรัง ต้องไม่ท�ำผิดกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ของหน่วยงานที่ ก�ำกับดูแล และปฏิบัติต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกกลุ่มด้วยความ เป็นธรรมอย่างเคร่งครัด

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (1) คณะกรรมการมีบทบาทและหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบาย การเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ทั้งข้อมูล ทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน ทันเวลา โปร่งใส ในรูปแบบที่สมดุล และเข้าใจได้ง่าย ผ่านแบบแสดง รายการข้อมูลประจ�ำปี (56-1) รายงานประจ�ำปี (56-2) และช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความเท่าเทียมกันและ น่าเชือ่ ถือ โดยคงไว้ซงึ่ ประโยชน์ในทางการค้าของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ ได้รับข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกัน ตามกฎเกณฑ์ที่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์ฯ ก�ำหนด รวมถึงข้อก�ำหนดของหน่วยงานก�ำกับต่างๆ (2) บมจ. ศรีตรังได้จัดตั้งหน่วยงานประชาสัมพันธ์ ที่ท�ำหน้าที่ สื่อสารกับผู้ลงทุนและบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง โดยมี หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ทำ� หน้าทีเ่ ป็นสือ่ กลางการสือ่ สาร ระหว่างผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย นักลงทุน และนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง


(3) เปิ ด เผยนโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ ผ่ า นแบบแสดง รายการข้อมูลประจ�ำปี (56-1) รายงานประจ�ำปี (56-2) และ เว็บไซต์ของบริษัทฯ (4) เปิดเผยวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของบริษัทฯ และ มีการทบทวนทุกปีโดยคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ (5) เปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทที่ชัดเจน รวมถึงการ ถือครองหุ้นของกรรมการและผู้บริหารของบมจ. ศรีตรัง ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยแสดงข้อมูลต้นปี สิ้นปี และ รายการซื้อขายระหว่างปี (6) ก�ำหนดนโยบายให้กรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง ต้องเปิดเผย รายงานการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ทุ ก ครั้ ง และน� ำ เสนอให้ คณะกรรมการบริษัทรับทราบทุกไตรมาส (7) ก�ำหนดนโยบายให้กรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง ต้องรายงาน การมีส่วนได้เสียในครั้งแรกที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่ง และทุกสิ้นปี หรือทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการข้อมูล (8) จัดท�ำรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงาน ทางการเงิน และแสดงไว้คู่กับรายงานผู้สอบบัญชีในรายงาน ประจ�ำปี (9) เผยแพร่รายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ไว้บนเว็บไซต์ของ บมจ. ศรีตรัง (10) เปิดเผยประวัติกรรมการ สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมของ กรรมการเป็ น รายบุ ค คล ทั้ ง การประชุ ม คณะกรรมการ บริษัทและการประชุมคณะกรรมการชุดย่อยในปีที่ผ่านมา (11) เปิดเผยวันเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทของกรรมการ แต่ละท่าน (12) เปิ ด เผยข้ อ มู ล การเข้ า รั บ การพั ฒ นาและฝึ ก อบรมของ กรรมการในปีที่ผ่านมา (13) เปิดเผยค่าสอบบัญชี และค่าบริการอืน่ นอกเหนือจากค่าสอบ บัญชีในรายงานประจ�ำปี (14) เปิดเผยหนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับของบริษัทบน เว็บไซต์ของ บมจ. ศรีตรัง (15) จั ด ให้ มี ก ารสื่ อ สารข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ผ่ า นช่ อ งทางที่ หลากหลาย เช่น เว็บไซต์ รายงานประจ�ำปี การพบปะ นักวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นหรือนักลงทุนสามารถเข้าถึง ข้อมูลของบริษัทได้อย่างสะดวก ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน บมจ. ศรีตรัง เปิดเผยข้อมูลส�ำคัญทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านทางเว็บไซต์ โดยปรับปรุงเว็บไซต์ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามารถติ ด ต่ อ กั บ ส่ ว นนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ส� ำ นั ก งาน

สาขากรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ 02-207-4500 โทรสาร 02-108-2244 หรือที่เว็บไซต์ www.sritranggroup.com

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (1) โครงสร้างคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะวิชาชีพหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านที่หลากหลาย อันสามารถน�ำประสบการณ์มาใช้ในการ ด�ำเนินธุรกิจ ก�ำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจน ก�ำกับดูแลให้คณะผูบ้ ริหาร บริหารงานให้เป็นไปตามนโยบาย ที่ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายใต้ กรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้น มติที่ประชุมคณะกรรมการด้วยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวังตามหลักการข้อพึงปฏิบัติที่ดี เพื่อ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการและความมั่นคง สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ เพื่อให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบายการก�ำหนดจ�ำนวน บริษัทจดทะเบียนที่กรรมการบริษัทจะไปด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการเพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นต� ำ แหน่ ง กรรมการ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยก�ำหนดให้กรรมการบริษัท ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนรวมไม่เกิน 5 บริษัท ในกรณีที่กรรมการคนใดคนหนึ่งมีต�ำแหน่งเป็นกรรมการ ในบริษัทจดทะเบียนอื่นๆ เกินกว่า 5 บริษัท คณะกรรมการ จะพิจารณาถึงประสิทธิภาพในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการ ท่านดังกล่าว ตามข้อบังคับของ บมจ. ศรีตรัง ก�ำหนดไว้ว่า ในการประชุม ผูถ้ อื หุน้ สามัญประจ�ำปีทกุ ครัง้ ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วน ไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการ ที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลัง จดทะเบียนบริษัทนั้นให้ใช้วิธีจับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ นัน้ เป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติแต่งตัง้ นางพัชรินทร์ อนุวงศ์วฒ ั นชัย เป็นเลขานุการบริษทั ซึง่ ท�ำหน้าทีใ่ ห้คำ� แนะน�ำด้านการปฏิบตั ิ ตามกฎเกณฑ์ตา่ งๆ (Compliance) ทีค่ ณะกรรรมการบริษทั จะต้องทราบ และปฏิบัติหน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของ คณะกรรมการบริษัท รวมทั้งประสานให้มีการปฏิบัติตาม มติของคณะกรรมการบริษัท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

69


(2) คณะกรรมการชุดย่อย เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการ บริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ สรรหาและคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเพือ่ พิจารณา กลั่นกรองการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญเป็นการเฉพาะเรื่องให้ เป็นไปอย่างรอบคอบและมีประสิทธิภาพ (3) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่ก�ำกับดูแลกิจการและภารกิจ ของ บมจ. ศรีตรัง ให้เป็นไปตามกฎหมายทีใ่ ช้บงั คับกับบริษทั ฯ วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติคณะกรรมการ และมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัท จะต้องใช้วิจารณญาณ และความรอบคอบในการตัดสินใจทางธุรกิจ และปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และความซื่อสัตย์ สุจริต เพื่อรักษาผลประโยชน์สูงสุดของบมจ. ศรีตรัง

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับ การป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ บ นหลั ก การ ทีว่ า่ การตัดสินใจใดๆ ในการด�ำเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะต้อง ท�ำเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ บมจ. ศรีตรัง เท่านั้น และ ควรหลี ก เลี่ ย งการกระท� ำ ที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ โดยก�ำหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีส่วน ได้เสียกับรายการที่พิจารณา ต้องแจ้งให้ บมจ. ศรีตรัง ทราบถึงความสัมพันธ์หรือการมีสว่ นได้เสียของตนในรายการ ดังกล่าว และต้องไม่เข้าร่วมการพิจารณาตัดสินใจ รวมถึง ไม่มีอ�ำนาจอนุมัติในธุรกรรมนั้นๆ

(4) การประชุมคณะกรรมการ ตามข้อบังคับของบมจ. ศรีตรัง ก�ำหนดให้คณะกรรมการ ต้องมีการประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง โดย บมจ. ศรีตรัง ได้จัดท�ำตารางการประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งปีและแจ้งให้ กรรมการทุกท่านรับทราบเป็นประจ�ำทุกปี และอาจมีการ ประชุมพิเศษเพิม่ เติมตามความจ�ำเป็น เพือ่ ให้คณะกรรมการ ติดตามการผลด�ำเนินงานและให้ความเห็นในเรื่องเกี่ยวกับ การด�ำเนินงาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ นโยบายส�ำคัญ ความเสี่ยง และเรื่องอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการสร้างคุณค่า ให้แก่กิจการอย่างยั่งยืน และมีการจัดส่งหนังสือเชิญประชุม ให้ แ ก่ ก รรมการเพื่ อ พิ จ ารณาก่ อ นการประชุ ม ล่ ว งหน้ า ไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจ�ำเป็น รีบด่วนเพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทฯ ซึ่งในการ ประชุมทุกคราวจะมีการก�ำหนดวาระการประชุมที่ชัดเจน มีเอกสารประกอบการประชุมที่ครบถ้วนเพียงพอ โดยจัดส่ง ให้กับคณะกรรมการล่วงหน้า เพื่อให้คณะกรรมการได้มี

70

รายงานประจำ�ปี 2560

เวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม โดยใน การประชุมคณะกรรมการบริษทั นัน้ กรรมการทุกท่านสามารถ อภิปรายและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย นอกจากนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท อาจมีการเชิญผู้บริหาร ระดับสูงเข้าร่วมประชุม เพื่อให้สารสนเทศรายละเอียด เพิ่มเติมในฐานะที่เกี่ยวข้องโดยตรง

บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะให้คณะกรรมการบริษัท ได้รับ ข้อมูลที่เพียงพอ ครบถ้วน ต่อเนื่อง และทันเวลาก่อนการ ประชุมทุกครั้ง ผู้บริหารได้ให้ข้อมูลตามที่ได้รับการร้องขอ จากคณะกรรมการอย่ า งทั น ท่ ว งที และรายงานให้ คณะกรรมการทราบถึงเหตุการณ์และรายการต่างๆ ที่มี ความส�ำคัญที่เกิดขึ้น โดยคณะกรรมการสามารถเข้าถึง ผู้บริหารระดับสูงและเลขานุการบริษัทได้โดยตรงอย่างเป็น อิสระตลอดเวลา

กรรมการอาจปฏิบัติหน้าที่เป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคล และ เมื่อมีความจ�ำเป็นจะให้บริษัทฯ แต่งตั้งผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ ทีเ่ ป็นบุคคลภายนอกมาให้คำ� แนะน�ำ โดยเลขานุการบริษทั ฯ มีหน้าที่ให้ค�ำปรึกษาแก่คณะกรรมการ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ (5) ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนในการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการได้รบั การพิจารณา อนุมตั จิ ากผูถ้ อื หุน้ ก�ำหนดเป็นค่าตอบแทนรายปีแก่ประธาน กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการไม่บริหาร ประธาน กรรมการตรวจสอบ และกรรมการตรวจสอบ และไม่มคี า่ เบีย้ ประชุมเพิ่มเติม โดยคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผูเ้ สนอแนวทางและหลักเกณฑ์ในการก�ำหนดค่าตอบแทน ของกรรรมการ และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้ ความเห็นชอบก่อนเสนอให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนจะพิจารณาจากผลประกอบการของบริษทั ฯ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ เปรียบเทียบกับบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีมูลค่า ตลาดใกล้เคียงกัน ตลอดจนบริษัทจดทะเบียนอื่นที่อยู่ใน อุตสาหกรรมเดียวกัน เพือ่ ให้โครงสร้างและอัตราค่าตอบแทน มีความเหมาะสมกับความอุตสาหะ ความรับผิดชอบ และ ประสบการณ์ของกรรมการทีจ่ ะน�ำพาบริษทั ฯ ให้ดำ� เนินงาน ตามเป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาว ตลอดจนเปิดเผย ผลตอบแทนดังกล่าวไว้ในรายงานประจ�ำปี (6) การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร ในกรณี ที่ มีก รรมการท่ า นใหม่ ที่ ไ ด้ รั บการแต่ ง ตั้ ง ที่ ไ ด้ รับ การเลือกตั้งรายใหม่ บริษัทฯ จะจัดให้มีการปฐมนิเทศ โดยก� ำ หนดแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การเตรี ย มความพร้ อ ม ในการปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการบริษทั ฯ เพือ่ ให้กรรมการทีเ่ ข้ารับ


ต�ำแหน่งสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี เลขานุ ก ารบริ ษั ท เป็ น ผู ้ ป ระสานงานในเรื่ อ งต่ า งๆ เช่ น หนังสือรับรองบริษัท ข้อบังคับบริษัท คู่มือกรรมการบริษัท จดทะเบียน แบบรายงานข้อมูลประจ�ำปีของบริษัท (56-1) ข้อมูลระบบงานที่ใช้งานภายในบริษัทฯ รวมทั้งกฎหมาย กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน

คณะกรรมการได้ส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกให้มีการ ฝึกอบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการจะได้รับการพัฒนาความรู้ จากหน่วยงาน ก�ำกับดูแลอย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีนโยบายสนับสนุนให้กรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร ระดับสูง อย่างน้อยปีละ 1 ท่าน เข้าร่วมอบรมสัมมนา หลักสูตรที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ และเพิ่มพูน ความรู้ในการปฏิบัติงาน

บริษัทฯ มีนโยบายให้สิทธิแก่กรรมการในการเข้ารับการ อบรมในหั ว ข้ อ ใดๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท� ำ งาน เพื่ อ ให้ การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการเป็นไปด้วยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง (Duty of Care) และซื่อสัตย์สุจริตต่อองค์กร (Duty of Loyalty)

บมจ. ศรีตรัง ได้มนี โยบายสนับสนุนให้กรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร ระดับสูงและเลขานุการบริษทั เข้าร่วมอบรมสัมมนาหลักสูตร ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ และเพิ่มพูนความรู้ใน การปฏิบัติงาน อย่างน้อยปีละ 1 ท่าน โดยในปี 2560 นางพัชรินทร์ อนุวงศ์วัฒนชัย เลขานุการบริษัท ได้เข้าอบรม หลักสูตร การเตรียมความพร้อมของบริษัทจดทะเบียนกับ CG Code ใหม่ โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

(7) การประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการ บมจ. ศรีตรังได้จดั ให้มกี ารประเมินตนเองของคณะกรรมการ ซึ่ ง แบบประเมิ น ผลดั ง กล่ า วนั้ น มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมุ่งเน้นการน�ำผลประเมิน ไปใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ การปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง คณะกรรมการ โดยแบบประเมินผลมี 4 แบบ ประกอบด้วย - แบบประเมินผลงานของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ (ประเมินทั้งคณะ) - แบบประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) -

แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อยแบบ รายคณะ ประกอบด้ว ย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิ จ ารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

- แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ (CEO) โดยมีเกณฑ์การประเมินผลคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มใน แต่ละข้อทั้งหมด ดังนี้ • มากกว่าร้อยละ 90 = ดีเยี่ยม • มากกว่าร้อยละ 80 = ดีมาก • มากกว่าร้อยละ 70 = ดี • มากกว่าร้อยละ 60 = พอใช้ • ต�่ำกว่าร้อยละ 60 = ควรปรับปรุง โดยมีกระบวนการในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ดังนี้ ส่วนงานเลขานุการบริษัทจัดท�ำและทบทวนแบบประเมินผล การปฏิบัติทั้ง 4 รูปแบบให้มีความถูกต้องครบถ้วนและเป็นไป ตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ห น่ ว ยงานก� ำ กั บ ดู แ ลก� ำ หนด และน� ำ เสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้ค�ำเสนอแนะ จากนั้นน�ำส่งให้ กรรมการแต่ละชุดท�ำการประเมินผล เมื่อได้รับผลการประเมิน แล้วจะน�ำมาประมวลผลและสรุปคะแนน รายละเอียดหัวข้อในการประเมิน ดังนี้ 1.

แบบประเมิ น ผลงานของคณะกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง คณะ (ประเมินทั้งคณะ) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ โครงสร้างและ คุณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาท หน้าที่ และความ รับผิดชอบของคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การท�ำหน้าที่ของกรรมการ ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ และการพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริหาร

2.

ประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมิน ตนเอง) ประกอบด้วย 4 หัวข้อ คือ ความรับผิดชอบต่อการ ตัดสินใจและการกระท�ำของตนเองและการปฏิบัติหน้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่าง เท่าเทียมและเป็นธรรม มีความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน ที่สามารถตรวจสอบได้และมีการเปิดเผยข้อมูล และการ มีจริยธรรม/จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ

3.

แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อยแบบรายคณะ ประกอบด้วย 3 หัวข้อ คือ โครงสร้างและคุณสมบัติของ คณะกรรมการ การด�ำเนินการในการประชุมคณะกรรมการ ชุ ด ย่ อ ย และบทบาทหน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการชุดย่อย

4.

แบบประเมินผลงานการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ (CEO) ประกอบด้วย 10 หัวข้อ คือ ความเป็นผูน้ ำ� การก�ำหนด กลยุทธ์ การปฏิบัติตามกลยุทธ์ การวางแผนและผลปฏิบัติ ทางการเงิน ความสัมพันธ์กับคณะกรรมการ ความสัมพันธ์ กับภายนอก การบริหารงานและความสัมพันธ์กับบุคลากร การสืบทอดต�ำแหน่ง ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ และ คุณลักษณะส่วนตัว บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

71


สรุปผลการประเมินได้ ดังนี้ ผลการประเมินผลงานของคณะกรรมการบริษัท ป 2559 ป 2560

100 80

93.83

90.78

92.23

88.07

60 40 20 0

รายคณะ

รายบุคคล

ป 2559 ป 2560

ผลการประเมินผลงานของคณะกรรมการชุดย่อยและ CEO

100

100.00

100.00 91.67

80

94.61

100.00

98.89

96.84

95.24

84.12 78.43

60 40 20 0

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

CEO

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายและวิธีการดูแลผู้บริหารในการน�ำข้อมูล ภายในของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย ไปใช้เพื่อประโยชน์ ส่วนตนดังนี้ 1. ให้ความรู้แก่กรรมการและผู้บริหารในฝ่ายต่างๆ เกี่ยวกับ หน้ า ที่ ที่ ผู ้ บ ริ ห ารต้ อ งจั ด ท� ำ และเปิ ด เผยรายงานการ ถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ แ ละรายงานการเปลี่ ย นแปลงการ ถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้วแต่กรณี รวมถึงบทก�ำหนดโทษ

72

รายงานประจำ�ปี 2560

2.

ในกรณีท่ีฝ่าฝืนตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์ และข้อก�ำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้กรรมการและผู้บริหารของ บมจ. ศรีตรัง รวมถึงคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ จัดท�ำและเปิดเผยรายงาน การถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ แ ละรายงานการเปลี่ ย นแปลง การถือครองหลักทรัพย์ของ บมจ. ศรีตรัง ต่อส�ำนักงาน คณะกรรมการ ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่ ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์ และจัดส่งส�ำเนารายงานนี้ให้แก่ บมจ. ศรีตรัง


3. 4.

ในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. กรรมการและผู้บริหารของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย ที่ ไ ด้ รั บ ทราบข้ อ มู ล ภายในที่ เ ป็ น สาระส� ำ คั ญ ซึ่ ง มี ผ ลต่ อ การเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ต้องใช้ความระมัดระวัง ในการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 1 เดือนก่อน ที่งบการเงินหรือข้อมูลภายในนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณชน และในช่ ว งระยะเวลา 24 ชั่ ว โมงภายหลั ง จากที่ ข ้ อ มู ล ภายในของบริษทั ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว ผูท้ เี่ กีย่ วข้อง กั บ ข้ อ มู ล ภายในต้ อ งไม่ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล นั้ น ให้ ผู ้ อ่ื น ทราบ จนกว่าจะได้มีการแจ้งข้อมูลนั้นให้แก่ตลาดหลักทรัพย์ฯ และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์แล้ว มาตรการลงโทษ หากมีการกระท�ำการฝ่าฝืนระเบียบปฏิบัติดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯ ถือเป็นความผิดทางวินัยตามข้อบังคับการท�ำงาน ของบริษัทฯ ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของ บมจ. ศรีตรัง ใช้ข้อมูลภายในของ บมจ. ศรีตรังที่มีหรือ อาจมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ ของ บมจ. ศรีตรัง ซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึ่งตน ได้ล่วงรู้มาในต�ำแหน่งหรือฐานะเช่นนั้น มาใช้เพื่อการซื้อ หรื อ ขายหรื อ เสนอซื้ อ หรื อ เสนอขาย หรื อ ชั ก ชวนให้ บุคคลอืน่ ซื้อหรือขาย หรือเสนอซื้อหรือเสนอขายซึ่งหุ้นหรือ หลักทรัพย์อื่น (ถ้ามี) ของ บมจ. ศรีตรัง ไม่ว่าทั้งทางตรง หรือทางอ้อม ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ บมจ. ศรีตรัง ไม่ว่าทั้งทางตรงหรือทางอ้อม และไม่ว่าการกระท�ำ ดังกล่าวจะท�ำเพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น หรือน�ำ ข้อเท็จจริงเช่นนั้นออกเปิดเผยเพื่อให้ผู้อื่นกระท�ำดังกล่าว โดยตนได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ก็ตาม

กรรมการและพนักงานของ บมจ. ศรีตรัง จะต้องปฏิบัติตาม กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ข้ อ ห้ า มการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ โ ดย ใช้ข้อมูลภายในไม่ว่าจะเป็นในช่วงระยะเวลาที่อนุญาตให้ซื้อขาย หลักทรัพย์ก็ตาม นอกจากนี้ กรรมการและพนักงานของ บมจ. ศรีตรัง ถูกคาดหวังว่าจะไม่ซื้อขายหุ้นของ บมจ. ศรีตรัง เพื่อการ เก็งก�ำไรในระยะสั้น

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

73


การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน การบริหาร ความเสีย่ ง และการก�ำกับดูแลผลการด�ำเนินงาน ซึง่ เป็นกระบวนการ ปฏิ บั ติ ง านที่ ป ฏิ บั ติ เ ป็ น ขั้ น ตอนอย่ า งต่ อ เนื่ อ งของเจ้ า หน้ า ที่ ทุกคนของบริษัทฯ ตั้งแต่คณะกรรมการบริหาร และพนักงาน ทุ ก คนที่ มี บ ทบาทและความรั บ ผิ ด ชอบร่ ว มกั น โดยจั ด ให้ มี ระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสม เพื่อให้มั่นใจ อย่างสมเหตุผลว่า ผลการด�ำเนินงานทุกหน่วยงานภายในกลุ่ม บริษัทฯ มีความสอดคล้อง และสามารถบรรลุเป้าหมายตามที่ คณะกรรมการบริ ห ารได้ ก� ำ หนดไว้ โดยจั ด ให้ มี ห น่ ว ยงาน ตรวจสอบภายใน ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานอิ ส ระที่ ร ายงานตรงต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ ทั้ ง นี้ การพิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง ผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ถอดถอน โยกย้ายผู้บริหารหน่วยงาน ตรวจสอบภายในของบริษัทต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะ กรรมการตรวจสอบ ซึ่งหน่วยงานตรวจสอบภายในจะท�ำหน้าที่ ตรวจประเมินการควบคุมภายในตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปี โดยพิจารณาจากปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผ่านการอนุมัติจาก คณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งสนับสนุนให้เกิดระบบการ บริหารความเสี่ยงในองค์กรอย่างเป็นรูปธรรม และการให้ค�ำ แนะน�ำทางด้านต่างๆ เพื่อให้เชื่อมั่นได้ว่าการปฏิบัติงานของ บริษัทฯ บรรลุผลส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำ� หนดไว้ โดยหน่วย งานตรวจสอบภายในได้ ยึ ด ถื อ มาตรฐานการปฏิ บั ติ ง านตาม วิชาชีพการตรวจสอบภายใน (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing) เป็นกรอบหรือแนวทางในการ ปฏิบัติงาน ที่มุ่งเน้นให้การปฏิบัติงานมีความเป็นอิสระ เที่ยง ธรรม และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล และให้ความส�ำคัญต่อ คุณภาพงานตรวจสอบ ทั้งนี้ บริษัทฯ ส่งเสริม และสนับสนุน

74

รายงานประจำ�ปี 2560

การพัฒนาฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในได้รับการ ฝึกอบรม เพื่อสอบรับวุฒิบัตรเกี่ยวกับวิชาชีพตรวจสอบภายใน เช่น CIA (Certified Internal Auditor), CISA (Certified Information Systems Auditor) และ CPIAT (Certified Professional Internal Audit of Thailand) เป็ น ต้ น ซึ่งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ จ�ำนวนสามท่าน ได้รับการขึ้นทะเบียน CPIAT แล้ว โดยจัดให้มีการวางแผนการ ฝึกอบรมที่เหมาะสมเป็นรายบุคคล นอกจากนี้ ผู้สอบบัญชี อิสระ ซึ่งเป็นผู้รับรองงบการเงินประจ�ำปี 2560 ของบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นว่า ไม่พบสถานการณ์ใดๆ ที่เป็นจุดอ่อนเกี่ยวกับ ระบบการควบคุมภายในที่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญต่อ งบการเงินของบริษัทฯ สรุปสาระส�ำคัญของระบบการควบคุมภายในและการบริหาร จัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ ได้ดังนี้

คณะกรรมการตรวจสอบ ท�ำหน้าที่พิจารณาความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทฯ โดยทบทวนผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจ สอบภายใน และผู้สอบบัญชีอิสระของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาความเพียงพอและเหมาะสมของระบบการควบคุม ภายใน การควบคุมการปฏิบตั งิ านตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบอาจให้ ค�ำแนะน�ำในการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน และระบบ


การตรวจสอบภายในให้แก่คณะกรรมการ นอกจากนี้ หากคณะ กรรมการตรวจสอบมีข้อเสนอแนะ หรือพบข้อบกพร่องหรือ การประพฤติในทางที่มิชอบที่เป็นสาระส�ำคัญ จะหารือกับฝ่าย บริหารที่เป็นผู้รับผิดชอบและรายงานต่อคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง โดยตรง เพื่อให้มีการด�ำเนินการตามความเหมาะสมและ ปรับปรุงแก้ไขต่อไป

หน่วยงานตรวจสอบภายใน บมจ. ศรีตรัง ได้มีการสรรหาบุคลากรทางด้านงานตรวจสอบ ภายในที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับงานด้านการตรวจสอบภายใน ในจ�ำนวนที่เหมาะสมและ เพียงพอ โดยมีนายวิทวัส กรุงแทนเมือง ด�ำรงต�ำแหน่งผู้จัดการ กลุม่ งานตรวจสอบภายใน ซึง่ พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านสามารถเข้าถึง ข้อมูลทั้งหมดของบริษัทฯ โดยไม่ถูกจ�ำกัด เพื่อที่จะสามารถ ปฏิบัติงานตรวจสอบการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ ของ กลุ่มบริษัทฯ ตามแผนการตรวจสอบประจ�ำปี และตามที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร หรือคณะกรรมการตรวจ สอบได้อย่างอิสระโดยใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาความส�ำคัญ ตามความเสี่ ย งของกระบวนการทางธุ ร กิ จ หรื อ กระบวนการ ท�ำงาน รวมทั้งการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่ฝ่ายบริหารของแต่ละ หน่ ว ยงานที่ ไ ด้ รั บ การตรวจสอบในการปรั บ ปรุ ง การควบคุ ม ภายใน ซึ่งรวมถึงระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ

ระบบการควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง มีการก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนิน ธุรกิจประจ�ำปีของบมจ. ศรีตรัง อย่างเป็นรูปธรรม มีการก�ำหนด ค่านิยมองค์กร (Core Value) วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และอัต ราการเติบ โตของธุรกิจ โดยจั ด ให้ มีค ณะ ท�ำงานทบทวนการจัดท�ำดัชนีชี้วัด (KPI: Key Performance Indicator) ในแต่ละหน่วยธุรกิจ เพื่อให้การก�ำหนดเป้าหมาย ของแต่ละหน่วยงานสอดคล้องและเป็นแนวทางเดียวกันทั่วทั้ง องค์กร ไม่ว่าจะเป็นการก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนินงานด้าน ก�ำไรขาดทุนทางการเงิน ผลการปฏิบัติงานหน่วยงานหลักและ หน่วยงานสนับสนุน ความพึงพอใจของลูกค้า เป็นต้น โดยมีการ ติดตามก�ำกับดูแลเป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่อง

การบริหารจัดการความเสี่ยง คณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง ให้ความส�ำคัญและสนับสนุนให้เกิด ระบบบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีคณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น ผู้ทบทวนนโยบาย และก�ำกับดูแลการ บริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ เพือ่ ให้ระบบบริหารความเสีย่ งของ

บริษัทฯ มีประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม โดยการบริหารจัดการ ความเสี่ยงนั้นได้ค�ำนึงถึงความเหมาะสมของสภาวะแวดล้อม ทั้งภายนอกและภายใน ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงและมีผลกระทบ ต่อบริษัทฯ ดังนั้น จึงมีการประเมินและติดตามความเสี่ยงตลอด เวลาในการปฏิบัติงาน โดยแต่ละหน่วยงานจะบริหารงานโดยน�ำ ความเสี่ยงมาประเมิน และท�ำการแก้ไขในระดับการท�ำงาน ปกติ อีกทั้ง ได้ก�ำหนดให้มีการประชุมหารือกันในระดับผู้บริหาร เพื่อประเมินสถานการณ์ และก�ำหนดกลยุทธ์ในการด�ำเนินงาน เพื่อรองรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง

การควบคุม บริษัทฯ มีการก�ำหนดมาตรการ และแนวทางการปฏิบัติไว้อย่าง ชัดเจน โดยก�ำหนดเป็นค�ำสั่ง ระเบียบในการปฏิบัติ อ�ำนาจการ อนุมัติ และวิธีการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานทุก ระดับต้องปฏิบัติตามเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

สารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทฯ มีการจัดระบบสารสนเทศที่เหมาะสมทั้งใน Internet Website และ Intranet Website ของบริษัทฯ โดยได้จัดให้มี Internet Website เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และบุคคลทั่วไป ได้ ส ามารถรั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ส� ำ คั ญ เกี่ ย วกั บ บริ ษั ท ฯ อย่ า ง สม�่ำเสมอ อีกทั้ง ยังเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการติดต่อสื่อสารใน กรณีที่มีข้อสงสัย หรือข้อเสนอแนะจากผู้ถือหุ้น นักลงทุนหรือ บุคคลทั่วไป ส่วนระบบ Intranet Website เป็นระบบที่ใช้ใน การสื่อสารภายในกลุ่ม บริษัทฯ ซึ่งท�ำให้การติดต่อสื่อสารเป็นไป อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และทั่วถึง รวมทั้งยังใช้เป็นแหล่งเผยแพร่ หรือแลกเปลี่ยนความรู้ที่มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผลต่อการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทฯ

การติดตามและประเมินผล ฝ่ายบริหารมีการติดตามเหตุการณ์และทิศทางเศรษฐกิจอย่าง ต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ประเมิ น และปรั บ กลยุ ท ธ์ ใ นการด� ำ เนิ น งานให้ เหมาะสมสอดคล้องต่อสถานการณ์ปัจจุบัน พร้อมกับก�ำหนด แผน เพื่อรองรับเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อเป้าหมายของ องค์กรในอนาคต ในส่วนผลการปฏิบัติงานขององค์กรมีการ จัดท�ำรายงานผลการปฏิบัติงานตามดัชนีชี้วัด (KPI) เพื่อติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่องและทันเวลา

การรายงาน ผู้จัดการโรงงานผลิตยางธรรมชาติแต่ละแห่งต้องจัดท�ำรายงาน ประจ�ำวันที่แสดงปริมาณและต้นทุนวัตถุดิบที่บริษัทฯ ซื้อใน บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

75


แต่ละวัน นอกจากนี้ แผนกการขาย และการตลาดต้องจัดท�ำ รายงานยอดขายและสินค้าคงเหลือประจ�ำวันด้วย กลุ่มผู้บริหาร ระดับสูงใช้รายงานเหล่านี้ เพื่อก�ำหนดนโยบายยอดขายและ ต้นทุนของสินค้าของบริษัทฯ รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยง ด้านต่างๆ

การตรวจสอบ ผู ้ จั ด การโรงงานผลิ ต ยางธรรมชาติ ข องบริ ษั ท ฯ ต้ อ งประชุ ม กับแผนกจัดหาวัตถุดิบ และแผนกการขายและการตลาดเป็น ประจ�ำทุกเดือน เพื่อจัดเตรียมงบประมาณของบริษัทฯ (รวม ถึงประมาณการความสามารถในการผลิตประจ�ำเดือนส�ำหรับ แต่ ล ะโรงงานผลิ ต ยางธรรมชาติ และประมาณการยอดขาย ของแต่ละเดือน) ในการประมาณการดังกล่าวจะต้องน�ำปัจจัย หลายๆ ประการมาพิจารณา เช่น ประมาณการก�ำลังการผลิต ที่สามารถผลิตได้ของแต่ละโรงงานผลิตยางธรรมชาติ ปริมาณ วัตถุดิบที่สามารถจัดหาได้ อุปสงค์ของผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ราคายางธรรมชาติในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ และภาวะเศรษฐกิจ ทัว่ ไปอืน่ ๆ งบประมาณดังกล่าวจะถูกตรวจสอบโดยกลุม่ ผูบ้ ริหาร ระดับสูงก่อนน�ำไปใช้จริง บริษทั ฯ เชือ่ ว่าด้วยการประชุมรายเดือน และการประมาณการดังกล่าว เป็นกระบวนการทีจ่ ะท�ำให้บริษทั ฯ ได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนสูงสุดภายใต้การบริหารความ เสี่ยงที่เหมาะสมซึ่งกลุ่มผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯได้ก�ำหนด และปรับเปลี่ยนประมาณการให้เหมาะสมตามสถานการณ์ที่ มีการเปลี่ยนแปลง ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานของแต่ละหน่วย ธุรกิจที่มีการก�ำหนดดัชนีชี้วัด (KPI) ฝ่ายตรวจสอบภายในมี การสุ ่ ม ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของรายงานดั ช นี ชี้ วั ด (KPI) ในหัวข้อที่ส�ำคัญโดยเฉพาะหน่วยงานหลัก เช่น ฝ่ายสรรหา วัตถุดิบ ฝ่ายผลิต ฝ่ายส่งออก เป็นต้น ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบมจ. ศรีตรัง ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 โดยมีกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน เข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้ ประเมิ น ระบบการควบคุ ม ภายในโดยการซั ก ถามข้ อ มู ล จาก ฝ่ายบริหารและจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ได้ข้อสรุปว่า จาก การประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ในส่วนต่างๆ 5 องค์ประกอบ คือ การควบคุมภายในองค์กร การประเมิน ความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร ระบบ สารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม คณะ กรรมการมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอและเหมาะสม โดยจัดให้มีบุคลากรที่เพียงพอ ในการด�ำเนินการตามระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมี การติ ด ตามควบคุ ม ดู แ ลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ยอย่ า ง มีประสิทธิภาพ โดยกรรมการอิสระ และคณะกรรมการตรวจ สอบไม่มีความเห็นแตกต่างจากความเห็นของคณะกรรมการ

76

รายงานประจำ�ปี 2560

บริษัท อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการตรวจสอบได้ก�ำชับเรื่องการ ปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด เพื่อให้เป็นไปตาม ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการ ก�ำกับตลาดทุน และส�ำนักงาน ก.ล.ต. เพื่อให้การปฏิบัติงานของ บริษัทฯ เป็นไปอย่างโปร่งใสและมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ ในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบของ บมจ. ศรี ต รั ง ครั้ ง ที่ 1/2561 เมื่ อ วั น ที่ 27 กุ ม ภาพั น ธ์ 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินระบบควบคุมภายในของ บริษัทฯ และมีความเห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน ที่เพียงพอและเหมาะสม ทั้ ง นี้ ในการก� ำ กั บ ดู แ ลบริ ษั ท ย่ อ ยของ บมจ. ศรี ต รั ง นั้ น กรรมการของบมจ. ศรีตรัง จะเข้าเป็นกรรมการในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมเอง และบางครั้งอาจมีการจัดส่งตัวแทนของ บริษัทฯ หรือผู้แทนของบริษัทฯ เข้าไปร่วมเป็นกรรมการของ บริษัทย่อย และมอบหมายให้ฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เป็ น ผู ้ ต รวจสอบความเพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายในของ บริษัทย่อย และรายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ทราบถึงข้อสรุปเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลของบริษัทย่อย เพื่อให้ บริษัทฯ สามารถควบคุมและตรวจสอบการด�ำเนินงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ


ตลอดระยะเวลากว่า 3 ทศวรรษที่เราด�ำเนินงานด้วยความตั้งใจ ให้ความส�ำคัญกับทุกก้าวของการ เติบโตของธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการดูแลพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมผ่าน โครงการและกิจกรรมสังคมต่างๆ ด้วยความใส่ใจ เรามุ่งมั่นในการสร้างทัศนคติและวัฒนธรรมองค์กร เพื่อให้พนักงานซึ่งเสมือนครอบครัวศรีตรังของเรามีความรับผิดชอบต่อสังคมที่อยู่ร่วมกัน ปรับเปลี่ยน กลยุทธ์ ให้เข้ากับสถานการณ์และไม่หยุดนิ่งในการพัฒนาธุรกิจไปสู่อุตสาหกรรมยางพาราที่ยั่งยืน

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

77


ความรับผิดชอบต่อสังคม

(Corporate Social Responsibility) ตลอดระยะเวลากว่า 3 ทศวรรษที่เราด�ำเนินงานด้วยความ ตั้งใจ ให้ความส�ำคัญกับทุกก้าวของการเติบโตของธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการดูแลพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมผ่านโครงการและกิจกรรมสังคมต่างๆ ด้วยความ ใส่ใจ นอกจากนี้ เรายังด�ำเนินธุรกิจตามกรอบของการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม ส่งผลให้ เราเติบโตไปพร้อมกับชุมชนและสังคม เราตระหนักและให้ความ ส�ำคัญกับการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพด้วยกระบวนการที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม สร้างระบบการจัดซื้อวัตถุดิบที่ยุติธรรมและ เสรี คงมาตรฐานการค้าที่เป็นที่ยอมรับและไว้วางใจต่อชาวสวน ผู้ขายวัตถุดิบและลูกค้าทั่วโลก เราค�ำนึงถึงผลกระทบทุกด้าน ของการด�ำเนินการที่อาจจะมีผลต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อันได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า ชุมชน และหน่วยงานภาครัฐ เรารับฟังชุมชนและพนักงานเพื่อการปรับปรุงพัฒนาองค์กร เรา มุ่งมั่นในการสร้างทัศนคติและวัฒนธรรมองค์กรเพื่อให้พนักงาน ซึ่งเสมือนครอบครัวศรีตรังของเรามีความรับผิดชอบต่อสังคมที่ อยูร่ ว่ มกัน ปรับเปลีย่ นกลยุทธ์ให้เข้ากับสถานการณ์และไม่หยุดนิง่ ในการพัฒนาธุรกิจไปสู่อุตสาหกรรมยางพาราที่ยั่งยืน

นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม

GOOD CORPORATE GOVERNANCE: การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

บริษัทฯ จัดให้มีระบบการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มุ่งเน้นที่การ จัดระบบที่ให้ความส�ำคัญแก่โครงสร้างของคณะกรรมการฝ่าย จัดการและผู้ถือหุ้น เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน และ น�ำไปสูค่ วามเจริญเติบโตและเพิม่ มูลค่าให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในระยะยาว โดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอื่นประกอบกัน รวมถึงบทบาทในด้าน ชุมชนและสังคม

RESPONSIBILITY TO SUPPLY CHAIN: ความรับผิดชอบต่อห่วงโซ่อุปทานตั้งแต่ต้นน�้ำ ถึงปลายน�้ำ

บริ ษั ท ฯ ได้ ข ยายสายธุ ร กิ จ จนกระทั่ ง ครอบคลุ ม ธุ ร กิ จ ยาง ธรรมชาติ อ ย่ า งครบวงจรตั้ ง แต่ ก ารปลู ก สวนยาง จนกระทั่ ง การผลิตสินค้าส�ำเร็จรูป บริษัทฯ ค�ำนึงถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์ ที่ได้มาตรฐานอย่างเคร่งครัด เพื่อสนองตอบต่อธุรกิจปลายน�้ำ

78

รายงานประจำ�ปี 2560


ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ คุ ณ ภาพของสิ น ค้ า บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง เน้ น การผลิ ต สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพ บริ ก ารที่ มีประสิทธิภาพ มีความจริงใจต่อการจัดการข้อร้องเรียนของลูกค้า รวมทั้งปรับปรุงและแก้ไขข้อ บกพร่องต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการผลิต และ/หรือ การบริการอย่างทันท่วงทีเพื่อเป็นคู่ค้าที่ สามารถเชื่อถือและวางใจได้ การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานด้วยความรับผิดชอบนั้น ครอบคลุมถึง เกษตรกรชาวสวนและพ่อค้ายางพารา : บริษัทฯ มุ่งเน้นการจัดซื้อยางธรรมชาติซึ่งเป็นวัตถุดิบหลัก ในกระบวนการผลิตของบริษัทภายใต้การค้าขายอย่างยุติธรรม โปร่งใส มีหลักการชัดเจน และ สามารถตรวจสอบได้ สนับสนุนให้เกษตรกรท�ำการผลิตยางพาราที่มีคุณภาพ ปราศจากสิ่งเจือปน และเก็บรักษายางอย่างถูกวิธี เพื่อให้ได้ยางที่มีคุณภาพเป็นที่ต้องการของโรงงาน รวมถึงส่งเสริมให้ เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการท�ำธุรกิจยางพาราอย่างถูกหลักวิชาการ เป็นการเพิ่มผลผลิต ให้แก่เกษตรกร อันจะเป็นการเพิ่มรายได้ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่อย่างยั่งยืน ลูกค้า : บริษัทฯ มุ่งเน้นการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพสูง และสร้างสรรค์บริการที่ดีเพื่อความพึงพอใจ สูงสุดของลูกค้า มีความจริงใจต่อการจัดการข้อร้องเรียนของลูกค้า รวมทั้งพยายามที่จะปรับปรุง และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการผลิต และ/หรือ การบริการอย่างทันท่วงทีเพื่อให้ การผลิตของลูกค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด

ENVIRONMENTAL FRIENDLY AND SAFE OPERATION: การดำ�เนินธุรกิจที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีความปลอดภัย

เนื่องด้ว ยธุรกิจของบริ ษั ท ฯ เกี่ ย วพั น กั บธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ มโดยตรง บริ ษั ท ฯ จึงยึดถือ แนวปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด โดยมุ่งเน้นการน�ำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มี ประสิทธิภาพเข้ามาด�ำเนินการ ก�ำหนดให้มีมาตรการป้องกันและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร การอนุรักษ์พลังงาน เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายและ ข้อก�ำหนดอื่นๆ นอกจากนี้ ยังตั้งเป้าหมายในการพัฒนาและส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายใน โรงงานเพื่อรักษาความชุ่มชื้น เพิ่มอากาศบริสุทธิ์ และลดกลิ่นที่เกิดจากกระบวนการผลิต รวมทั้ง ยึดถือการปฏิบัติเพื่อลดการใช้สารเคมีที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน ในระยะยาว ตั้งแต่การปลูกสวนยาง การผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ และการผลิตผลิตภัณฑ์ส�ำเร็จรูป มิเพียงแต่การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ยังตระหนักถึงความเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน เสมอมา ดังนั้น บริษัทฯ จึงยึดแนวปฏิบัติเพื่อรักษาและด�ำรงไว้ซึ่งระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมของ สังคมชุมชนรอบข้างที่บริษัทฯ ประกอบกิจการอยู่ ซึ่งนอกจากจะเป็นการสร้างชุมชนที่น่าอยู่แล้ว ยัง เป็นการช่วยให้บริษัทฯ สามารถด�ำเนินธุรกิจได้อย่างราบรื่นและมั่นคงในระยะยาวอีกด้วย ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย บริษัทฯ ด�ำเนินการอย่างรับผิดชอบโดยอยู่ภายใต้กรอบแห่ง กฎหมาย ข้อบังคับและข้อก�ำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จึงจัดให้มี การฝึกอบรม มีระเบียบปฏิบัติและแผนด�ำเนินการเกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยใน การท�ำงานอย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสร้างสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่มีความ ปลอดภัยส�ำหรับพนักงาน ผู้รับเหมา และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ

ENGAGEMENT WITH TRANSPARENCY: ยึดมัน่ ในความโปร่งใสในการดำ�เนินธุรกิจ บริษัทฯยึดมั่นในการประกอบธุรกิจด้วยความยุติธรรมโปร่งใสตรวจสอบได้ใน ทุกกระบวนการ

บริษทั ฯ เชือ่ ว่าการประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรมและมีจริยธรรม ใส่ใจในการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และเคารพกฎระเบียบของสังคมจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นกับผู้เกี่ยวข้องและลดความขัดแย้งทาง บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

79


ผลประโยชน์ในการด�ำเนินธุรกิจ อันจะเป็นผลดีตอ่ การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ในระยะยาว บริษทั ฯ ส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับปฏิบตั ิ งานด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต และยึดมัน่ ในจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด ไม่แสวงหาผลประโยชน์สว่ นตัวทีอ่ าจขัดแย้งกับ ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย หรือก่อให้เกิดการผ่อนปรนทางธุรกิจทีไ่ ม่เหมาะสม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีนโยบายต่อต้าน การคอรัปชัน่ ทุกรูปแบบเพือ่ สร้างมาตรฐานในการด�ำเนินธุรกิจทีโ่ ปร่งใสและเป็นประโยชน์ตอ่ องค์กรและอุตสาหกรรมในระยะยาว

NURTURE SUSTAINABILITY ATTITUDES TOWARDS ORGANISATION: ปลูกฝังจิตสำ�นึกของความยั่งยืน ให้แก่พนักงานในองค์กร

บริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่าความรับผิดชอบต่อสังคมทีม่ ปี ระสิทธิภาพและยัง่ ยืนนัน้ มีรากฐานทีส่ ำ� คัญมาจากการปลูกจิตส�ำนึกแก่พนักงานในทุก หน่วยงานและทุกระดับความรับผิดชอบ พนักงานทุกระดับต้องมีทศั นคติในเชิงบวกต่อการปฏิบตั ติ ามแนวนโยบายและมีจติ ส�ำนึกทีด่ ตี อ่ สังคมและผู้ที่เกี่ยวข้องเสมอในงานที่ตนรับผิดชอบ รวมถึงมีจิตอาสาที่จะเข้าไปมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน และการ ปรับปรุงคุณภาพชีวติ ของผูร้ ว่ มธุรกิจให้ดขี นึ้ ตลอดจนร่วมมือร่วมใจในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการท�ำงานและการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันให้ สอดคล้องกับแนวทางการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม การลดพลังงานต้นทุนสิน้ เปลือง และการเพิม่ ประสิทธิภาพขององค์กร นอกจากนี้ บริษทั ฯ ส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงานเป็นคนดีมคี ณ ุ ภาพของสังคม มีสว่ นร่วมท�ำงานอาสาสมัคร และกิจกรรมสาธารณประโยชน์รว่ มกับชุมชน ตลอดจนเข้าร่วมช่วยเหลือผูป้ ระสบปัญหาภัยธรรมชาติ หรือความขาดแคลนต่างๆ ในพืน้ ทีอ่ ย่างเหมาะสมและต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างสังคม แห่งความเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่และสังคมแห่งการดูแลซึง่ กันและกันให้คงอยูต่ ลอดไป บริษัทฯ ได้จัดท�ำรายงานความยั่งยืน อ้างอิงตามหลักการความรับผิดชอบ ต่อสังคม 8 ข้อ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสอดคล้องกับกรอบ การรายงานสากล (Global Reporting Initiatives : GRI) ช่วงระยะเวลารายงานผล ครอบคลุมตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2560 – 31 ธันวาคม 2560 โดยเนือ้ หาจะ ครอบคลุมการประเมินประเด็นที่ส�ำคัญต่อความยั่งยืนของกลุ่มบริษัทศรีตรัง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวทางการบริหารจัดการ และผลการด�ำเนินงานด้าน เศรษฐกิจ (Economic) ด้านสังคม (Social) และด้านสิง่ แวดล้อม (Environment) อีกทัง้ ในปี 2560 กลุม่ บริษทั ศรีตรังได้นำ� ‘เป้าหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนของโลก (Sustainable Development Goals : SDGs)’ มาเป็นเข็มทิศในการขับเคลือ่ น องค์กร ให้เชือ่ มโยงกับบริบทของแนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนในระดับสากล ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ คณะกรรมการด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนของบริษัทฯ พิจารณาและกลั่นกรองประเด็นที่มีนัยส�ำคัญทั้งสิ้น 10 ประเด็น โดยสามารถ แบ่งระดับความส�ำคัญของประเด็นได้ตาม Materiality Matrix ประจ�ำปี 2560 ดังนี้ Materiality Matrix ประจ�ำปี 2560

5

ประเด็นด้านความยัง่ ยืน ประจ�ำปี 2560 ด้านเศรษฐกิจ

1

2

ความส�ำคัญต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

มาก

2. การต่อต้านคอรัปชั่น

4 3 10

7 8 9

1. ผลเชิงเศรษฐกิจ 3. ผลกระทบทางอ้อมด้านเศรษฐกิจ

6 ด้านสังคม

4. การจ้างงาน 5. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 6. ชุมชนท้องถิ่น

ด้านสิ่งแวดล้อม

7. การอนุรักษ์พลังงาน 8. มลอากาศ

น้อย

80

ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินงาน ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมกลุม่ บริษทั ศรีตรัง

รายงานประจำ�ปี 2560

มาก

9. น�้ำ 10. น�้ำทิ้งและของเสีย


กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมในด้านต่างๆ ในปี 2560

• เพิม่ และพัฒนาความสัมพันธ์กบั คูค่ า้ พันธมิตรทางธุรกิจในทุกมิตอิ ย่างยัง่ ยืน

ด้านเศรษฐกิจ

• มีส่วนร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราร่วมกับ คู่ค้า หน่วยงานรัฐ เอกชนที่เกี่ยวข้อง เกษตรกร ชาวสวนยางให้เติบโตอย่างยัง่ ยืน • ส่งเสริมการซือ้ ขายวัตถุดบิ ด้วยกลไกตลาดเสรี เปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสไว้ใจได้ • พัฒนาอาชีพให้กลุม่ เกษตรกรชาวสวนยางในการผลิตวัตถุดบิ คุณภาพ • ส่งเสริมสหกรณ์และธุรกิจชุมชน เพิ่มความคล่องตัวทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน ในพื้นที่ชุมชน ทีโ่ รงงานตัง้ อยู่ • สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจด้วยอุตสาหกรรมยางพาราทีด่ ำ� เนินการตามหลักความยัง่ ยืน

โดยทั้งหมดนี้ ในปี 2560 บมจ. ศรีตรัง รับรางวัล THAILAND SUSTAINABILITY INVESTMENT 2017 (THSI) หรือรายชื่อ “หุ้นยั่งยืน”จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 3 ในฐานะบริษัทจดทะเบียนที่ด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนโดย ค�ำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล (Environment, Social and Governance หรือ ESG)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

81


ด้านสังคม

• โครงการ “บรรทุกยาง ติดราง สร้างรอยยิ้ม” โดย รณรงค์เชิญชวนผู้ส่งมอบวัตถุดิบให้กับกลุ่มบริษัทศรีตรัง มาติดรางรับน�้ำเศษยางบนรถบรรทุกยาง เพื่อป้องกัน น�้ำเศษยางไหลบนถนน เป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี ขับขี่ อย่างปลอดภัยและสร้างรอยยิ้มให้ชุมชน

• กลุ ่ ม บริ ษั ท ศรี ต รั ง สนั บ สนุ น ถุ ง มื อ ทางการแพทย์ ให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานต่ า งๆ ตามแต่ ล ะโอกาส อาทิ การ สนับสนุนถุงมือทางการแพทย์ให้แก่หน่วยรับบริจาคโลหิต สภากาชาดไทย เป็นต้น

• โครงการมอบน�้ำดื่ม อาหารแห้ง และถุงยังชีพ ในพื้นที่ อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สงขลา อ.ห้วยยอด จ.ตรัง และ อ.ยี่งอ จ.นราธิวาส เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย

• บจ. รับเบอร์แลนด์ สาขาบุรีรัมย์ จัดกิจกรรม HAPPY SOCIETY ร่วมกับเหล่ากาชาดจังหวัดบุรีรัมย์ และสมาชิก กิ่งกาชาดอ�ำเภอประโคนชัย เพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้ป่วย ที่ต้องการโลหิต

• บจ. รับเบอร์แลนด์ สาขาบุรีรัมย์ เป็นเจ้าภาพจัดงาน กีฬาศรีตรังคัพ: ช่อศรีตรังเกมส์ ครั้งที่ 3 ณ สนามกีฬา โรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์ อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ โดยมีการแข่งขันกีฬาฟุตบอลชาย วอลเล่ย์บอลหญิง กีฬา ฮาเฮ พร้อมทั้งการประกวดขบวนพาเหรดและกองเชียร์ ของบริษัทในเครือ

• บมจ. ศรีตรัง ร่วมบริจาคเงินเพื่อโครงการก้าวคนละ ก้าวเพื่อ 11 โรงพยาบาลทั่วประเทศ

• บจ. รับเบอร์แลนด์ สาขาบึงกาฬ ร่วมลงนามบันทึกความ ตกลงพัฒนาแรงงานระดับฝีมอื ทีข่ าดแคลนในจังหวัด โดยมี ผูเ้ ข้ารับการอบรมอาชีพใน 3 หลักสูตร จ�ำนวนทัง้ สิน้ 100 คน

82

รายงานประจำ�ปี 2560

บมจ. ศรีตรัง สาขาทุง่ สง ต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ (S-TECH) และให้ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ ความปลอดภัย และระบบจัดการ สิง่ แวดล้อมภายในโรงงาน เพือ่ น�ำประสบการณ์ไปใช้ในวิชาชีพ และน�ำความรูท้ ไี่ ด้ไปประยุกต์ใช้ ให้เข้ากับการท�ำงานจริงในอนาคต


ด้านสิง่ แวดล้อม

• กลุ่มบริษัทศรีตรัง จัดงาน “โรงงานสีเขียว สร้าง คุณค่า เพือ่ อนาคตยางพาราไทย” พร้อมกัน 30 สาขา ทั่ ว ประเทศ ประกาศเจตนารมณ์ ผ ลั ก ดั น องค์ ก รสู ่ GREEN RUBBER COMPANY หรือ องค์กรแห่งยาง สีเขียว เพือ่ การพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราอย่างยัง่ ยืน

• กลุ ่ ม บริ ษั ท ศรี ต รั ง รั บ มอบเกี ย รติ บั ต รและ โล่รางวัลการยกระดับโรงงานอุตสาหกรรมสู่การ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จากกรมโรงงาน อุตสาหกรรม อันแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจของกลุ่ม บริษทั ในการเป็น ‘โรงงานสีเขียว’ (Green Factory) • บมจ. ศรีตรัง ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ลงนาม MOU เพื่อวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา และ พัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราไทยให้มีความมั่นคงและยั่งยืน ต่อไป

• บมจ. ศรีตรัง สาขาพิษณุโลก สระแก้ว และ กาฬสินธุ์ รับประกาศนียบัตรสถานประกอบการที่ ผ่านเกณฑ์ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม จากกระทรวง อุตสาหกรรม

นอกจากนี้ ในส่วนของการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัทฯ ได้ประกาศไว้ในนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม เรื่องของการยึดมั่น ในความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ จรรยาบรรณธุรกิจว่าด้วยคู่ค้าและคู่แข่งทางการค้า รวมถึงการจัดท�ำนโยบายการรับเรื่องร้องเรียน และแนวปฏิบัติอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ในปี 2557 บริษัทฯ ได้ประกาศนโยบายป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นและแนวปฏิบัติ ซึ่งได้มี การสื่อสารกับพนักงานในแต่ละระดับให้รับทราบ รวมทั้งเผยแพร่ลงในเว็บไซต์ www.sritranggroup.com ในหน้าของการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี ภายใต้หัวข้อนโยบายการต่อต้านการคอรัปชั่น และในปี 2560 บริษัทฯ ได้ประกาศเจตนารมณ์เข้าเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) ด้วยความพยายามและความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าของบริษัทฯ ต่อการ ปฏิบัติด้านการต่อต้านการทุจริต ทั้งนี้ รายละเอียดของการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม สามารถดูเพิ่มเติมได้จากรายงานความยั่งยืน ปี 2560 ซึ่งได้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท www.sritranggroup.com ภายใต้หัวข้อการพัฒนาที่ยั่งยืน บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

83


โครงสร้างการถือหุ้น ข้อมูลเกี่ยวกับทุนเรือนหุ้นและผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

ทุนเรือนหุ้น

ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกจ�ำหน่ายและเรียกช�ำระแล้ว ประเภทของหุ้น สิทธิการลงคะแนนเสียง

: : : :

1,536,000,000 บาท 1,535,999,998 บาท (หุน้ สามัญจ�ำนวน 1,535,999,998 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท) หุ้นสามัญ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 1 เสียง ต่อ 1 หุ้น

ลักษณะการกระจายการถือครองหุ้น ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ขนาดการถือครองหุ้น

จำ�นวนผู้ถือหุ้น

ร้อยละ

จำ�นวนหุ้น

ร้อยละ

1 – 999

1,999

13.41

661,213

0.04

1,000 – 10,000

8,143

54.61

34,321,580

2.23

10,001 – 1,000,000

4,662

31.27

289,430,647

18.84

1,000,001 – 10,000,000

88

0.59

291,175,921

18.96

10,000,001 – น้อยกว่า 5% ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายแล้ว

17

0.11

411,907,999

26.82

2

0.01

508,502,638

33.11

14,911

100.00

1,535,999,998

100.00

5% ขึ้นไป ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายแล้ว รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ : รวมส่วนของผู้ถือหุ้นที่ถือผ่านทาง CDP

84

รายงานประจำ�ปี 2560


การกระจายการถือหุ้นรายย่อย (Free Float)

จากข้อมูลที่มีอยู่ของบริษัท ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ร้อยละ 54.29 ของหุ้นทั้งหมดของบริษัท ถือโดยผู้ถือหุ้นรายย่อย

รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

รายชื่อผู้ถือหุ้น1 ของ บมจ. ศรีตรัง สูงสุด 10 รายแรก ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 มีดังนี้ ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ชื่อ

ครอบครัวสินเจริญกุล บริษัท ศรีตรัง โฮลดิ้งส์ จำ�กัด บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จำ�กัด CITIBANK NOMS S'PORE PTE LTD ไทย อาร์.ที.เอ็น.ที โฮลดิ้ง จำ�กัด กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ เค มาสเตอร์ พูล ฟันด์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว CITIGROUP GLOBAL MARKETS LIMITED-PB CLIENT-NRBS COLLATERAL UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED STATE STREET EUROPE LIMITED น.ส. สุวรรณา โกวิทย์โสภณ รวม 2

จำ�นวนหุ้น 355,448,553 343,790,629 59,638,158 45,215,500 35,300,000 29,809,460 26,378,735 22,338,090 18,285,541 16,750,000 952,954,666

ร้อยละ 23.14 22.38 3.88 2.94 2.30 1.94 1.72 1.45 1.19 1.09 62.03

จำ�นวนหุ้น 164,712,009 33,174,890 27,671,747 27,024,000 25,500,000 15,632,440 13,936,264 10,950,000 10,814,399 7,315,080 5,913,305 4,614,000 3,941,744 2,118,694 2,032,661 97,320 355,448,553

ร้อยละ 10.72 2.16 1.80 1.76 1.66 1.02 0.91 0.71 0.70 0.48 0.38 0.30 0.26 0.14 0.13 0.01 23.14

หมายเหตุ : 1) ข้อมูลดังกล่าวมาจากบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ CDP 2) รายละเอียดการถือหุ้นของครอบครัวสินเจริญกุล มีดังต่อไปนี้

ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล Ms. Lee Joyce Shing Yu นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล นายวิทย์นาถ สินเจริญกุล นายวิชญ์พล สินเจริญกุล นายกิติชัย สินเจริญกุล นางวรดี สินเจริญกุล นางพร้อมสุข สินเจริญกุล นายลี พอล สุเมธ นายบุณยชน สินเจริญกุล นายสมหวัง สินเจริญกุล นางสาวณวรา สินเจริญกุล นางวนิดา สินเจริญกุล นางสาววรรณิสา สินเจริญกุล นางดวงใจ สินเจริญกุล นางสาวพัณณ์ชิตา โรจน์ภัทรานันท์ รวม

ชื่อ

ซึ่งไม่มีบุคคลใดเป็นกลุ่ม Acting in Concert รวมทั้งไม่มีบุคคลใดมีลักษณะเป็นบุคคลตามมาตรา 258

หมายเหตุ : 3) บริษัทฯ ไม่มีข้อตกลงระหว่างกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (Shareholding Agreement) ในเรื่องที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขาย หลักทรัพย์หรือการบริหารงานของบริษัทฯ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 85


ส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร บมจ. ศรีตรัง

คณะกรรมการและผูบ้ ริหาร บมจ. ศรีตรังทีด่ ำ� รงต�ำแหน่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ถือหุน้ สามัญของ บมจ. ศรีตรัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ชื่อ นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการ

จำ�นวนหุ้น ที่ถือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

จำ�นวนหุ้น สัดส่วน จำ�นวนหุ้น ที่ถือ ณ วันที่ ที่เปลี่ยนแปลง การถือหุ้น ในบริษัท 31 ธันวาคม เพิม่ ขึน้ /(ลดลง) ในปี 2560 ณ 31 ธันวาคม 2560(1) 2560 (%)

135,660,070

164,712,009

29,051,939

10.72

9,000,000

10,950,000

1,950,000

0.71

7,410,825 -

8,997,521 -

1,586,696 -

0.59 -

นายไชยยศ สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

นายกิติชัย สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการและผู้จัดการ สายงานกฎหมาย และบริหารทั่วไป

12,902,000 3,246,500

15,632,440 3,941,744

2,730,440 695,244

1.02 0.26

นายลี พอล สุเมธ คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการและผู้จัดการ สายงานการตลาด

8,906,955 27,604,075

10,814,399 33,174,890

1,907,444 5,570,815

0.70 2.16

นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

22,791,000 -

27,671,747 -

4,880,747 -

1.80 -

นายภัทราวุธ พาณิชย์กุล

กรรมการ และ CFO – สายธุรกิจยางธรรมชาติ

0

0

0

0

0

0

0

0

1,414,900 0

1,907,300 0

492,400 0

0.12 0

0

0

0

0

0

0

0

0

คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายหลี่ ซื่อเฉียง คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการ

นายเฉลิมภพ แก่นจัน

กรรมการและผู้จัดการ สายงานการผลิต

คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

86

รายงานประจำ�ปี 2560


ชื่อ

ตำ�แหน่ง

นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ

รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ

คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายเกรียง ยรรยงดิลก คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสมัชชา โพธิ์ถาวร คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางสาวอานุสรา จิตต์มิตรภาพ(2)

คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายอาศรม อักษรนำ� คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายชัยเดช พฤกษานุศักดิ์ คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายรัฐพงศ์ ลาภาโรจน์กิจ คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายพันเลิศ หวังศุภดิลก คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

จำ�นวนหุ้น สัดส่วน จำ�นวนหุ้น ที่ถือ ณ วันที่ ที่เปลี่ยนแปลง การถือหุ้น ในบริษัท 31 ธันวาคม เพิม่ ขึน้ /(ลดลง) (1) ในปี 2560 ณ 31 ธันวาคม 2560 2560 (%)

450,060

539,910

89,850

0.04

17,940

21,528

3,588

0.001

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

0

-

-

-

-

260,500

312,600

52,100

0.02

0

0

0

0

0

0

0

0

3,500

3,500

0

0.0002

0

0

0

0

0

0

0

0

ผู้จัดการสายงาน วิศวกรรม

60,500

72,600

12,100

0.005

0

0

0

0

ผู้จัดการสายงาน วิศวกรรม

0

0

0

0

0

0

0

0

กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางประไพ ศรีสุทธิพงศ์

จำ�นวนหุ้น ที่ถือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

ผู้จัดการสายงาน สรรหาวัตถุดิบ ผู้จัดการ สายงานผลิต ผู้จัดการสายงาน คุณภาพ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

87


ชื่อ นายอุดม พฤกษานุศักดิ์

ตำ�แหน่ง

จำ�นวนหุ้น ที่ถือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

จำ�นวนหุ้น สัดส่วน จำ�นวนหุ้น ที่ถือ ณ วันที่ ที่เปลี่ยนแปลง การถือหุ้น ในบริษัท 31 ธันวาคม เพิม่ ขึน้ /(ลดลง) (1) ในปี 2560 ณ 31 ธันวาคม 2560 2560 (%)

ผู้จัดการสายงาน ธุรกิจเกษตร

10,000

12,000

2,000

0.001

0

0

0

0

ผู้จัดการสายงาน ทรัพยากรมนุษย์

0

0

0

0

-

-

-

-

นางสาวธนวรรณ เสงีย่ มศักดิ์ ผู้จัดการสายงาน พัฒนาธุรกิจ และ CFO – สายธุรกิจ ถุงมือยาง คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

0

0

0

0

0

0

0

0

235,138,825

278,764,188

43,625,363

18.15

คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางสาวนุชนาถ ไชยรัตน์ คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

รวมจำ�นวนหุ้น

หมายเหตุ : (1) เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2560 บริษัทฯ ได้เพิ่มทุนช�ำระแล้วจาก 1,280,000,000 บาท เป็น 1,535,999,998 บาท ท�ำให้จ�ำนวนหุ้นช�ำระ แล้วของบริษัทฯ มีทั้งสิ้น 1,535,999,998 หุ้น (2) นางสาวอานุสรา จิตต์มิตรภาพ ได้รับการแต่งตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ ตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2560 เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 แทนนายเนียว อา แชบ ที่ลาออกจากต�ำแหน่ง เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2560

คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหารไว้ เพื่อประโยชน์ในการ ติดตามดูแลการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ หรือของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย โดยมีหลักเกณฑ์และวิธีการรายงาน ดังนี้ • รายงานเมื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือผู้บริหารครั้งแรก • รายงานทุกครั้งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการมีส่วนได้เสีย • รายงานเป็นประจ�ำทุกสิ้นปี โดยกรรมการและผู้บริหารจะน�ำส่งแบบรายงานการมีส่วนได้เสียแก่เลขานุการบริษัท และเลขานุการบริษัทจะส่งส�ำเนารายงานการ มีส่วนได้เสียนี้ให้ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันท�ำการนับแต่วันที่ได้รับรายงาน ข้อมูลการ ถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารจะถูกเสนอให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทรับทราบทุกไตรมาส

88

รายงานประจำ�ปี 2560


หุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีหุ้นกู้ที่ยังมิได้ไถ่ถอน จ�ำนวน 2 รุ่น 3 ชุด ซึ่งมีมูลค่าคงเหลือ 2,865,000,000 บาท โดยหุ้นกู้ แต่ละชุด มีรายละเอียดดังนี้ 1) หุ้นกู้ของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2556 ชุดที่ 2 ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2561 ชุดที่ 2* การเสนอขาย ประเภทหุ้นกู้ มูลค่าหุ้นกู้ที่จำ�หน่ายได้ อัตราดอกเบี้ย การชำ�ระดอกเบี้ย อายุหุ้นกู้ วันครบกำ�หนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ

ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ 600,000,000 บาท คงที่ร้อยละ 4.50 ต่อปี ทุก 6 เดือน 5 ปี 13 กุมภาพันธ์ 2561 A-/Stable โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด

หมายเหตุ : บมจ. ศรีตรัง ได้ด�ำเนินการไถ่ถอนหุ้นกู้ชุดดังกล่าว เป็นที่เรียบร้อยตามวันครบก�ำหนดไถ่ถอน

2) หุ้นกู้ของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2559 การเสนอขาย ประเภทหุ้นกู้

ชุดที่ 1 ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้

ชุดที่ 2 ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ชนิดระบุชื่อผู้ถือ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้

มูลค่าหุ้นกู้ที่จำ�หน่ายได้ อัตราดอกเบี้ย การชำ�ระดอกเบี้ย อายุหุ้นกู้ วันครบกำ�หนดไถ่ถอนหุ้นกู้ การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ

810,000,000 บาท คงที่ร้อยละ 2.55 ต่อปี ทุก 6 เดือน 3 ปี 18 พฤษภาคม 2562 A-/Stable โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด

1,455,000,000 บาท คงที่ร้อยละ 3.10 ต่อปี ทุก 6 เดือน 5 ปี 18 พฤษภาคม 2564 A-/Stable โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด

เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2560 บริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด คงอันดับเครดิตองค์กรและหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกันของ บมจ. ศรีตรัง ที่ระดับ BBB+ / Stable

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

89


นโยบายการจ่ายเงินปันผล

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของ บมจ. ศรีตรัง ปัจจุบัน บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลประมาณร้อยละ 30 ของก�ำไรสุทธิ ทั้งนี้ ต้องไม่เกินก�ำไรสะสมของ บมจ. ศรีตรัง ทีป่ รากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยค�ำนึงถึงสถานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน กระแสเงินสด ของ บมจ. ศรีตรัง ความสามารถ ในการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม รวมทัง้ บริษทั ร่วมทุน (Joint Venture) รวมถึงการคาดการณ์ความจ�ำเป็นของเงินทุน ที่จะรองรับการเติบโตของบริษัทในอนาคต สถานการณ์ภาวะเศรษฐกิจ และผลกระทบจากปัจจัยภายนอกที่ บมจ. ศรีตรัง คาดว่า จะมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของ บมจ. ศรีตรัง เพือ่ ให้การด�ำเนินงานเป็นไปอย่างมีเสถียรภาพ

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยจะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัทนั้นๆ เพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อให้ ความเห็นชอบ บริษัทฯ ไม่ได้มีการก�ำหนดนโยบายในการก�ำหนดอัตราส่วนในการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยไว้แต่อย่างใด โดยการ จ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยจะขึ้นอยู่กับผลประกอบการ ฐานะทางการเงิน และแผนการลงทุนในอนาคตของแต่ละบริษัท และ เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้องของแต่ละบริษัทด้วยเช่นกัน

90

รายงานประจำ�ปี 2560


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

91

1. บจ. พฤกษา ยางพารา

บุคคล/ นิติบุคคลที่ อาจมีความ ขัดแย้ง

เป็ น บริ ษั ท ที่ ผู ้ บ ริ ห าร ของบริ ษั ท ฯ ได้ แ ก่ นายอุดม พฤกษานุศกั ดิ์ และพีน่ อ้ งถือหุน้ รวมกัน เกินกว่าร้อยละ 50 และ นายอุดม พฤกษานุศกั ดิ์ เป็นกรรมการผู้มีอ�ำนาจ ลงนามใน บจ. พฤกษา ยางพารา

ความสัมพันธ์

1.1 บมจ. ศรีตรัง • รายได้จาก การขาย น�้ำยางสด

ลักษณะ ของรายการ ระหว่างกัน 3.24

ม.ค.-ธ.ค. 2559 3.74

ม.ค.-ธ.ค. 2560

มูลค่ารายการงบการเงินรวม (ล้านบาท)

บมจ. ศรี ต รั ง ขายน�้ ำ ยางสดให้ บจ.พฤกษายางพารา ซึ่ ง บจ. พฤกษายางพารา รับซื้อน�้ำยางสด ถึ ง หน้ า สวนยางพาราของ บมจ. ศรีตรัง เนื่องจาก บมจ. ศรีตรัง ไม่มี หน่ ว ยงานที่ ด� ำ เนิ น การด้ า นการ จั ด การขนส่ ง น�้ ำ ยางดิ บ เป็ น ของ ตนเอง เพือ่ เป็นการประหยัดต้นทุน การจัดการ ต้นทุนด้านการจ�ำหน่าย และต้นทุนด้านบุคลากรที่เกี่ยวข้อง โดยราคาที่ บมจ. ศรีตรัง ขายให้แก่ บจ. พฤกษายางพารา เป็นราคาซื้อ น�้ ำ ยางสดที่ ถู ก ก� ำ หนดโดยฝ่ า ย จัดซือ้ ของ บมจ. ศรีตรัง เป็นรายวัน

ความจำ�เป็น/ ความสมเหตุสมผลของรายการ

เนื่ อ งจากพื้ น ที่ ป ลู ก ยางพาราของ บมจ. ศรีตรังที่สามารถกรีดยางพาราใน ปัจจุบันมีพื้นที่ไม่มากนัก ดังนั้นเพื่อเป็น การประหยัดต้นทุนของ บมจ.ศรีตรัง จึ ง เห็ น สมควรลดภาระที่เกี่ยวข้องกับ การขนส่ ง และการจั ด การโดยขาย น�้ ำ ยางสดให้ บจ. พฤกษายางพารา ในราคาตลาดที่ก�ำหนดโดยฝ่ายจัดซื้อ ของกลุ่มบริษัทฯ

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งที่มีสาระส�ำคัญและเป็นรายการธุรกิจที่มีนัยส�ำคัญซึ่งได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของ บมจ.ศรีตรัง และรายการระหว่างกันกับ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งซึ่งมิได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินส�ำหรับรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 31 ธันวาคม 2560 มีดังต่อไปนี้

รายการระหว่างกันและรายการกับบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกัน


92

รายงานประจำ�ปี 2560

บุคคล/ นิติบุคคลที่ อาจมีความ ขัดแย้ง

ความสัมพันธ์

75.03

0.76

1.3 บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ • รายได้ จากการขาย น�้ำยางสด

ม.ค.-ธ.ค. 2559

0.95

46.27

ม.ค.-ธ.ค. 2560

มูลค่ารายการงบการเงินรวม (ล้านบาท)

1.2 บจ. หน�่ำฮั่ว • ค่าใช้จ่าย จากการซื้อ น�้ำยางสด

ลักษณะของ รายการ ระหว่างกัน

บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ จ�ำหน่าย น�้ำยางสดให้ บจ. พฤกษายางพารา โดยก� ำ หนดราคาขายอ้ า งอิ ง ตาม ราคาตลาด

บจ. หน�่ ำ ฮั่ ว รั บ ซื้ อ น�้ ำ ยางสดจาก บจ. พฤกษายางพารา เนื่องจากสวน ยางพาราของ บจ. พฤกษายางพารา ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีใ่ กล้เคียงกับโรงงานและ จุดรับซื้อน�้ำยางสดของ บจ.หน�่ำฮั่ว นอกจากนี้ บจ. พฤกษายางพารา ยั ง เป็ น บริ ษั ท ที่ ส ามารถส่ ง มอบทั้ ง ปริมาณและคุณภาพน�้ำยางดิบให้แก่ บจ. หน�่ำฮั่ว ได้ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด ทั้งนี้ราคาที่ บจ. หน�่ำฮั่ว รับซื้อเป็น ราคาที่กลุ่มบริษัทฯ ประกาศซื้อหน้า โรงงานส�ำหรับผู้จัดจ�ำหน่ายทั่วไป

ความจำ�เป็น/ ความสมเหตุสมผลของรายการ

ราคาน�้ำยางสดที่ บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ จ�ำหน่ายให้แก่ บจ.พฤกษา ยางพารา เป็นราคาตามท้องตลาดที่ ขายให้กับลูกค้าทั่วไป

เนื่ อ งจาก บจ. หน�่ ำ ฮั่ ว ต้ อ งใช้ น�้ ำ ยางดิ บ เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต น�้ำยางข้น ราคาที่ท�ำการซื้อขายเป็น ราคาตลาดที่ ถู ก ก� ำ หนดโดยฝ่ า ย จัดซื้อของกลุ่มบริษัทฯ เป็นรายวัน ในการซื้อวัตถุดิบจากผู้จัดจ�ำหน่าย ทั่วไป

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

93

• นายไชยยศ สินเจริญกุล

• นายกิติชัย สินเจริญกุล

• นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล

เป็นกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย

3. กรรมการ บมจ. ศรีตรัง ได้แก่ ก า ร ค�้ ำ ป ร ะ กั น (Personal Guarantee) กับสถาบัน การเงิ น ส� ำ หรั บ เงินกู้ยืม สถาบัน การเงินของ บมจ. ศรีตรังและบริษัท ย่อย (ยอดวงเงินกู้ รวมที่ ค�้ ำ ประกั น โดยกรรมการ)

ค่าที่ปรึกษา เป็นบิดาของ • นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ประธานกรรมการ และ กรรมการผู้จัดการ ของบมจ. ศรีตรัง • นายกิติชัย สินเจริญกุล ซึ่งเป็นกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง และ • นายลี พอล สุเมธ ซึ่งเป็นกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง เป็นปู่ของ • นายวีรสิทธิ์ สินเจริญกุล ซึ่งเป็นกรรมการของ บมจ. ศรีตรัง

ความสัมพันธ์

ลักษณะของ รายการ ระหว่างกัน

2. นายสมหวัง สินเจริญกุล

บุคคล/ นิติบุคคลที่ อาจมีความ ขัดแย้ง

267.00

5.14

ม.ค.-ธ.ค. 2559

267.00

5.14

ม.ค.-ธ.ค. 2560

มูลค่ารายการงบการเงินรวม (ล้านบาท)

กรรมการของ บมจ. ศรี ต รั ง และ บริ ษั ท ย่ อ ย ได้ ล งนามยิ น ยอมค�้ ำ ป ร ะ กั น เ งิ น กู ้ ส ถ า บั น ก า ร เ งิ น (Personal Guarantee) ให้แก่ บมจ. ศรี ต รั ง และบริ ษั ท ย่ อ ย ซึ่ ง เป็ น เงื่ อ นไขของการให้ กู ้ ยื ม เงิ น ของ สถาบันการเงินบางแห่ง

นายสมหวั ง สิ น เจริ ญ กุ ล ได้ รั บ การ แต่ ง ตั้ ง จากคณะกรรมการ บมจ. ศรีตรัง ให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นที่ปรึกษา กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ เพื่ อ ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแก่ บริษัทฯ ในเรื่องการก�ำหนดเป้าหมาย วิ สั ย ทั ศ น์ ธุ ร กิ จ แผนการลงทุ น นโยบายการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ กลยุ ท ธ์ ในการจัดสรรวัตถุดิบ แนวทางการ จัดซื้อ การติดต่อ ประสานงานกับ ภาคมวลชนและหน่ ว ยงานท้ อ งถิ่ น โดยนายสมหวัง สินเจริญกุล ได้รับ ค่าตอบแทนเป็น เดือนละ 428,000 บาท หรือ 5,136,000 บาท/ปี เป็น ระยะเวลา 2 ปี เริม่ ในเดือนพฤษภาคม 2559 ถึง เดือนพฤษภาคม 2561

ความจำ�เป็น/ ความสมเหตุสมผลของรายการ

การให้การสนับสนุนดังกล่าวเป็นไป ตามข้ อ ก� ำ หนดในสั ญ ญาผู ้ ใ ห้ ก าร สนั บ สนุ น ทางการเงิ น และเป็ น ไป เพื่ อ ประโยชน์ ข อง บมจ. ศรี ต รั ง และบริ ษั ท ย่ อ ย โดยกรรมการ ผู้ค�้ำประกันไม่คิดค่าธรรมเนียม

เนื่องจากการให้ค�ำปรึกษาดังกล่าว ไม่สามารถหาราคาตลาดเทียบเคียงได้ อย่ า งไรก็ ต าม หากพิ จ ารณาจาก ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และเวลาที่นายสมหวัง สินเจริญกุล ได้ปฏิบัติหน้าที่ในการเป็นที่ปรึกษา ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท ฯ แล้ ว ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น ค่าตอบแทนที่สมเหตุสมผล

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ


นอกเหนือจากที่เปิดเผยในหัวข้อ “รายการระหว่างกัน” บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อย ไม่มีการเข้าท�ำสัญญาที่ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับ ผลประโยชน์ของกรรมการหรือผู้ถือหุ้นที่มีอ�ำนาจควบคุม ไม่ว่าสัญญาดังกล่าวยังมีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นสุดปีการเงินหรือเข้าท�ำสัญญา ตั้งแต่สิ้นสุดปีการเงินที่ผ่านมา

ความเห็นของกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันดังกล่าวได้รับการพิจารณาและให้ความเห็นโดยคณะกรรมการตรวจสอบของ บมจ. ศรีตรัง ว่ารายการระหว่างกัน ดังกล่าวเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล และจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินธุรกิจของบมจ. ศรีตรัง

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน กรณีที่มีรายการระหว่างกันของ บมจ. ศรีตรัง หรือบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับความจ�ำเป็นในการเข้าท�ำ รายการและความเหมาะสมทางด้านราคาของรายการนั้นๆ โดยพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการด�ำเนินธุรกิจปกติ ในอุตสาหกรรม และมีการเปรียบเทียบกับราคาของบุคคลภายนอกหรือราคาตลาด หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญ ในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น บมจ. ศรีตรัง จะจัดให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระหรือผู้สอบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง เป็นผู้ให้ ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อน�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ หรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี โดยกรรมการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจะไม่มีสิทธิออกเสียงในรายการดังกล่าว อีกทั้งจะมีการเปิดเผยรายการ ระหว่างกันในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ตรวจสอบหรือสอบทานโดยผู้สอบบัญชีของ บมจ. ศรีตรัง โดยปัจจุบัน บมจ. ศรีตรัง มีนโยบายในการก�ำหนดราคากับบริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน มีดังนี้ นโยบายราคา ขายสินค้าและวัตถุดิบ

ราคาปกติธุรกิจเท่ากับราคาที่คิดกับคู่ค้ารายอื่น

รายได้จากการให้บริการ - ค่าบริการขนส่ง

ราคาปกติธุรกิจเท่ากับราคาที่คิดกับคู่ค้ารายอื่น

รายได้จากการให้บริการ - ค่าบริหารจัดการ

อัตราคงที่ตามสัญญา ซึ่งเทียบเคียงได้กับราคาตลาด

ดอกเบี้ยรับทางการค้า

ราคาปกติธุรกิจเท่ากับราคาที่คิดกับคู่ค้ารายอื่น

รายได้ค่าเช่า

ราคาที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา ซึ่งเทียบเคียงได้กับราคาตลาด

ซื้อสินค้า

ราคาปกติธุรกิจเท่ากับราคาที่ได้รับจากคู่ค้ารายอื่น

ค่าเช่าจ่ายและการใช้บริการ

ราคาปกติธุรกิจเท่ากับราคาที่ได้รับจากคู่ค้ารายอื่น

การค�้ำประกัน

ไม่คิดค่าธรรมเนียม

ซื้อสินทรัพย์ถาวร

ราคาปกติธุรกิจเท่ากับราคาที่ได้รับจากคู่ค้ารายอื่น

นอกจากนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการได้มีมติอนุมัติในหลักการเกี่ยวกับข้อตกลงทางการค้าที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไปหรือรายการสนับสนุน ธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขทางการค้าทั่วไปในการท�ำธุรกรรมระหว่าง บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อย กับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มี ความเกี่ยวข้อง ดังนี้

94

รายงานประจำ�ปี 2560


บมจ. ศรีตรัง และบริษัทย่อยอาจมีรายการซื้อวัตถุดิบ ขายสินค้า จ้างขนส่ง หรือรายการระหว่างกันอื่นๆ กับ กรรมการ ผู้บริหารหรือ บุคคลที่เกี่ยวข้อง ณ ปัจจุบันและในอนาคต บมจ. ศรีตรัง จึงก�ำหนดหลักการให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมัติการท�ำธุรกรรมดังกล่าวได้ หากราคาซื้อวัตถุดิบ ราคาขายสินค้า ค่าจ้างขนส่ง หรือรายการระหว่างกันอื่นใด ที่เป็นราคาที่ไม่แตกต่างจากราคาที่ก�ำหนดซื้อหรือ ขายประจ�ำวันกับลูกค้ารายอื่น (ตามราคาตลาด) และเงื่อนไขและข้อตกลงการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระท�ำกับ คู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ส่วนค่าจ้างขนส่งก�ำหนดให้เป็นไปตามอัตราขนส่งทั่วไป บมจ. ศรีตรัง จะจัดท�ำรายงานสรุปการ ท�ำธุรกรรมเพื่อรายงานในการประชุมคณะกรรมการทุกไตรมาส หรือตามความประสงค์ของคณะกรรมการบริษัท

นโยบายหรือแนวโน้มเกี่ยวกับการเข้าทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต ในกรณีที่ บมจ. ศรีตรัง มีการเข้าท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต บมจ. ศรีตรัง จะปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมทั้งเป็นไปตามมาตรฐานบัญชี เรื่องการเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกันซึ่งก�ำหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ระเบียบ บริษัท หรือกฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ หากมีการเข้าท�ำรายการระหว่างกัน บมจ. ศรีตรัง จะจัดให้คณะกรรมการตรวจสอบให้ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสม ของรายการดังกล่าว ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น บมจ. ศรีตรัง จะจัดให้มีบุคคลที่มีความรู้ ความช�ำนาญพิเศษ เช่น ผู้สอบบัญชีหรือผู้ประเมินราคาทรัพย์สินที่มีความเป็นอิสระเป็นผู้ให้ความเห็น เกี่ยวกับรายการระหว่างกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบหรือบุคคลที่มีความรู้ความช�ำนาญพิเศษ จะถูกน�ำไปใช้ ประกอบการตัดสินของคณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี เพื่อให้มีความมั่นใจว่าการเข้าท�ำรายการดังกล่าวจะไม่เป็นการ โยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่าง บมจ. ศรีตรัง หรือผูถ้ อื หุน้ ของ บมจ. ศรีตรัง แต่เป็นการท�ำรายการที่ บมจ. ศรีตรัง ได้คำ� นึงถึง ประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นทุกราย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

95


ปัจจัยความเสี่ยง

ด้วยสภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่ได้รับแรงกดดันจาก หลายปัจจัย ส่งผลให้ความท้าทายในการด�ำเนินธุรกิจเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริษัทได้เล็งเห็นว่า การบริหาร ความเสี่ยงคือกระบวนการส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจและน�ำพา ธุรกิจสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน และเพื่อให้เป็นไปตามแนวทาง ปฏิบตั ขิ องหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ สี ำ� หรับบริษทั จดทะเบียน (CG Code) ปี 2560 คณะกรรมการบริษัทจึงได้ก�ำกับดูแลและ มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด�ำเนินการบริหาร ความเสี่ยงขององค์กรอย่างเป็นระบบ ตามกรอบการบริหาร ความเสี่ยงตามมาตรฐาน COSO : ERM (Enterprise Risk Management) ควบคู่ไปกับมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการ ด�ำเนินธุรกิจ โดยเน้นการบริหารครอบคลุมปัจจัยความเสี่ยง หลักทั้ง 4 ด้าน อันได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ด้านการปฏิบัติการ ด้าน การเงิน และด้านการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ทีบ่ ริษทั ฯ พิจารณาว่า หากมีการบริหารจัดการที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลกระทบต่อการ บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของบริษัทฯ โดยสามารถสรุปได้ดังนี้

ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ 1. ความผันผวนด้านราคาของยางธรรมชาติ สินค้าโภคภัณฑ์โดยทัว่ ไป ซึง่ รวมถึงยางธรรมชาติมกั มีความผันผวน ด้านราคาสูง ซึง่ ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ รวมทัง้

96

รายงานประจำ�ปี 2560

บริษัทฯ ต่างก็มีข้อจ�ำกัดในการก�ำหนดเวลาการเก็บเกี่ยว และ การเปลี่ยนแปลงของราคายางธรรมชาติดังกล่าว ทั้งนี้ ปัจจัยที่ ส่งผลกระทบต่อราคายางธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ทีจ่ ำ� หน่ายโดยบริษทั ฯ (เช่นเดียวกันกับสินค้าโภคภัณฑ์สว่ นใหญ่) มีดังต่อไปนี้ •

อุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ ความไม่สมดุลกันระหว่างปริมาณอุปสงค์และอุปทานอาจ ส่ ง ผลต่ อ ความผั น ผวนทางด้ า นราคาของยางธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในภาวะทีป่ ริมาณอุปทานของยางธรรมชาติ นั้นมีมากเกินกว่าความต้องการจนอาจท�ำให้ราคาขายเฉลี่ย ของยางธรรมชาติ ข องบริ ษั ท ฯ ลดลง นอกจากนี้ ด้ ว ย อุตสาหกรรมยางรถยนต์มีความส�ำคัญและมีผลอย่างมาก ต่ อ ปริ ม าณความต้ อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างธรรมชาติ ข อง ตลาดโลก โดยเฉพาะยางแท่ง กอปรกับลูกค้าส่วนใหญ่ของ บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตยางรถยนต์ในตลาดเกิดใหม่ (Emerging Market) เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน และอินเดีย รวมถึง ผู้ผลิตยางรถยนต์ระดับโลกที่มีชื่อเสียง ดังนั้น หากเกิดการ ชะลอตั ว ของการผลิ ต ของอุ ต สาหกรรมผลิ ต ยางรถยนต์ ดังกล่าว อาจส่งผลต่อปริมาณความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติของบริษัทฯ ที่ลดลง และอาจส่งผลกระทบ ในทางลบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ


ราคาของน�้ำมันดิบ พลังงาน และสารเคมีที่มีน�้ำมันเป็น องค์ประกอบพื้นฐาน ราคาของน�้ำมันดิบอาจส่งผลกระทบต่อราคายางธรรมชาติ และวัตถุดิบอื่นๆ เช่น สารเคมีที่มีน�้ำมันเป็นองค์ประกอบ พื้นฐานที่ใช้ในกระบวนการผลิตยาง นอกจากนี้ ราคายาง สังเคราะห์ (Synthetic Rubber) มักจะแปรผันตามราคา ของน�้ำมันดิบ และความผันผวนของราคายางสังเคราะห์ มักจะส่งผลกระทบต่อราคาและความต้องการยางธรรมชาติ ด้ ว ยเช่ น กั น โดยในปั จ จุ บั น มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างสั ง เคราะห์ ซึง่ สามารถน�ำไปใช้ทดแทนยางธรรมชาติในการผลิตผลิตภัณฑ์ ยางส�ำเร็จรูปในบางรูปแบบได้ อีกทั้ง ปัจจัยต่างๆ เช่น ความ ต้องการยางทีเ่ พิม่ มากขึน้ ความผันผวนของราคายางธรรมชาติ การเพิ่มขึ้นของราคายางธรรมชาติเมื่อเปรียบเทียบกับราคา ยางสังเคราะห์ ความเสี่ยงเกี่ยวกับการขาดสินค้าอันเนื่อง มาจากปัญหาทางการเมือง ข้อจ�ำกัดทางภูมิศาสตร์ และ ฤดูการผลิต อาจน�ำไปสูค่ วามต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ ของผลิตภัณฑ์ ยางสังเคราะห์ อย่างไรก็ดี หากความต้องการผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติลดลง อาจส่งผลกระทบในทางลบอย่างมีนัย ส�ำคัญต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ ทั้งนี้ รายได้จากผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของ บริษัทฯ ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 89 ของรายได้ของกลุม่ บริษทั ฯ

ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องด้วยยางธรรมชาติส่วนใหญ่จะท�ำการซื้อขายเป็นสกุล เงินดอลลาร์สหรัฐฯ ดังนั้น ความผันผวนของค่าเงินที่ใช้ใน การส่งออกยางธรรมชาติเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯ อาจส่งผลให้ราคายางธรรมชาติมีความผันผวนในประเทศ ผู้ส่งออกนั้นๆ

การเก็งก�ำไร (Speculation) เนื่ อ งด้ ว ยยางธรรมชาติ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ย างธรรมชาติ บางประเภทของบริษัทฯ มีการซื้อขายในตลาดสินค้าเกษตร ล่วงหน้า (Commodity Future Exchange) ดังนั้น ราคา ของยางจึงมีความอ่อนไหวจากการเก็งก�ำไรในตลาดดังกล่าว นอกเหนื อ ไปจากปั จ จั ย ทางเศรษฐกิ จ ของภู มิ ภ าคและ ของโลก

การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากความ ผันผวนด้านราคาของยางธรรมชาติ ทั้งการจัดการกระบวนการ ได้มาของวัตถุดิบในเชิงปริมาณและราคา กอปรกับใช้สัญญา ซื้อขายยางธรรมชาติในตลาดซื้อขายล่วงหน้า และสัญญาซื้อขาย ยางธรรมชาติล่วงหน้าที่มีการส่งมอบสินค้า ทั้งนี้ สัญญาดังกล่าว จะถูกตีราคาตามมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่รายงานในงบการเงิน (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หมายเหตุประกอบงบข้อ 8) 2. การด�ำเนินธุรกิจ และการลงทุนในต่างประเทศ บริษัทฯ มีการด�ำเนินธุรกิจ และการลงทุนในหลายประเทศ อาทิ ประเทศไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย สหรัฐอเมริกา และสาธารณรัฐ ประชาชนจีน โดยมีสัดส่วนรายได้จากประเทศดังกล่าว คิดเป็น ร้อยละ 67 ร้อยละ 26 ร้อยละ 2 ร้อยละ 3 และร้อยละ 2 ของ รายได้ทั้งหมด ตามล�ำดับ ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีความเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับการท�ำกิจกรรมทางธุรกิจในประเทศเหล่านี้ ทั้งนี้ ธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจ ของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญจาก เหตุการณ์ และพัฒนาการต่างๆ ในประเทศเหล่านี้ รวมถึง • ภาวะเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ย และสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม • การก่อความไม่สงบ ความขัดแย้งทางการทหาร การก่อการร้าย การเปลีย่ นแปลงทางการเมือง และสภาวะด้านความปลอดภัย ทั่วไป • การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

97


• การเปลี่ยนแปลงภาษีน�ำเข้าและอัตราภาษีอื่นๆ • ภัยธรรมชาติ • ข้อก�ำหนดห้ามแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศหรือห้าม การโยกย้ายเงินทุน หรือ • การเวนคืนหรือการยึดคืนกิจการของเอกชน หรือการยึด ทรัพย์สินหรือสินทรัพย์ของเอกชน หากความเสี่ ย งใดๆ ที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น เกิ ด ขึ้ น และบริ ษั ท ฯ ไม่สามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ทางธุรกิจและการประกอบธุรกิจ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้ ธุรกิจ ฐานะ ทางการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญ การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ได้ติดตามการด�ำเนินงาน ผลประกอบการ สภาวะ แวดล้อม และการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายและกฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างใกล้ชิด เพื่อ ประเมิ น โอกาส อุ ป สรรค และแนวทางในการด� ำ เนิ น งานที่ เหมาะสม เพื่อลดผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดขึ้นต่อบริษัทฯ 3. การพึง่ พาผูบ้ ริหารรายส�ำคัญ ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของกลุ่ม บริษัทฯ คือความสามารถของบริษัทฯ ในการจัดหา พัฒนา และรักษาทีมผู้บริหารมืออาชีพที่มีประสบการณ์ และความ เชี่ยวชาญในธุรกิจยางธรรมชาติ ดังนั้น ความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่อง ของบริษัทฯ จึงขึ้นอยู่กับความสามารถในการรักษาผู้บริหาร หลักของบริษัทฯ รวมถึงพัฒนา และฝึกอบรมผู้บริหารใหม่ๆ หากสมาชิกทีมบริหารที่มีประสบการณ์ของบริษัทฯ ไม่สามารถ หรือไม่ประสงค์ที่จะท�ำงานในต�ำแหน่งหน้าที่ของตนต่อไปแล้ว บริษัทฯ อาจไม่สามารถหาบุคคลที่เหมาะสมมาท�ำงานแทนได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ นอกจากนี้ ขั้นตอน ในการสรรหาผู้บริหารใหม่ ซึ่งมีความช�ำนาญและความสามารถ ตามที่บริษัทฯ ต้องการนั้นอาจใช้เวลานานและอาจต้องแข่งขัน กับผู้ประกอบการรายอื่น บริษัทฯ อาจไม่สามารถสรรหาผู้ที่ มี ค วามสามารถ เพื่ อ มาสนั บ สนุ น แผนการขยายกิ จ การของ บริษัทฯ ได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ และผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาขึ้นเพื่อ สรรหาและคั ด กรองบุ ค คลที่ จ ะเข้ า ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการ รวมถึงผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการ

98

รายงานประจำ�ปี 2560

ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่าบุคคลที่จะเข้ามาเป็น กรรมการและผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์เหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดให้มีกระบวนการ ด้านการบริหารงานบุคคลส�ำหรับต�ำแหน่งงานส�ำคัญขององค์กร ซึ่งรวมถึงการหมุนเวียนเปลี่ยนงาน (Job Rotation) อย่าง เหมาะสม เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีผู้บริหารที่มีความรู้ความ สามารถ มี ทั ก ษะที่ ห ลากหลาย เหมาะสมต่ อ การสื บ ทอด ต�ำแหน่งงานที่ส�ำคัญขององค์กรต่อไป เช่น การพัฒนาผู้น�ำ ตามหลักสูตร STA Development Program การสร้างระบบ การประเมิ น ผลงาน และค่ า ตอบแทนซึ่ ง รวมถึ ง สวั ส ดิ ก าร ที่แข่งขันได้ ตลอดจนการสร้างระบบความก้าวหน้าทางสาย อาชีพ เป็นต้น

ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ 1. การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน บริษัทฯ เป็นผู้น�ำในการผลิตและจัดจ�ำหน่ายยางธรรมชาติที่ ครบวงจรรายใหญ่ที่สุดของโลก การด�ำเนินธุรกิจจึงต้องให้ความ ส�ำคัญกับการบริหารห่วงโซ่อุปทาน อันเกิดจากการด�ำเนินงาน ร่วมกันทั้งกับคู่ค้าภายนอกและหน่วยงานภายในบริษัทฯ เอง ซึ่งการด�ำเนินงานกับคู่ค้าภายนอกโดยส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับ การจัดหาวัตถุดิบที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสม ซึ่งวัตถุดิบหลัก ของผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติของบริษัทฯ ได้แก่ ยางแผ่นดิบ ยางก้อนถ้วย และน�้ำยางสด อย่างไรก็ดี ด้วยบริษัทฯ มีคู่ค้า จ�ำนวนมาก และคู่ค้าแต่ละรายมีแหล่งในการได้มาซึ่งวัตถุดิบ ที่ มี คุ ณ ภาพแตกต่ า งกั น การบริ ห ารจั ด การวั ต ถุ ดิ บ จึ ง ต้ อ งมี กระบวนการที่เหมาะสม และให้ความส�ำคัญกับการใช้ทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพและการผลิตผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับเป้าหมายของบริษัทฯ การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารจัดการห่วงโซ่ อุปทานอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ก�ำหนดรูปแบบธุรกิจแบบ ครบวงจรตั้งแต่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ ไปจนถึงปลายน�้ำ ท�ำให้บริษัทฯ มีผลิตภัณฑ์หลักที่หลากหลาย ได้แก่ ยางแท่ง ยางแผ่น น�้ำยางข้น และถุงมือยาง ซึ่งช่วยกระจายความเสี่ยงจากแหล่งที่มาของ รายได้และการกระจุกตัวของกลุ่มลูกค้า โดยในปี 2560 ไม่มี ลูกค้ารายใดรายหนึ่งมีสัดส่วนมากกว่าประมาณร้อยละ 10 ของ ยอดขายรวมของบริษัทฯ นอกจากนี้ ในด้านการบริหารจัดการ วั ต ถุ ดิ บ บริ ษั ท ฯ มี ก ลยุ ท ธ์ ใ นการสร้ า งเครื อ ข่ า ยการจั ด หา วัตถุดิบและตั้งโรงงานการผลิตกระจายอยู่ตามจุดยุทธศาสตร์ ส�ำคัญ ทั้งในภาคใต้ ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย ตลอดจนในประเทศอินโดนีเซียและประเทศ เมียนมา เพื่อให้การบริหารจัดการวัตถุดิบและกระบวนการผลิต มีความต่อเนื่อง


2. โรงงานผลิตขัดข้อง และ/ หรือหยุดชะงัก เนื่องจากกระบวนการผลิตของบริษัทฯ บริษัทร่วมและกิจการ ร่วมค้าของบริษัทฯ ต้องใช้ทรัพยากรเป็นจ�ำนวนมาก เพื่อให้ โรงงานผลิ ต ของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ร่ ว มและกิ จ การร่ ว มค้ า ของ บริษัทฯ สามารถด�ำเนินงานได้ หากมีภัยพิบัติทางธรรมชาติ เหตุสุดวิสัย การขาดแคลนแรงงาน ความขัดข้องอย่างรุนแรงใน ส่วนของสาธารณูปโภค เช่น น�้ำประปา หรือไฟฟ้า และเหตุวิบัติ อื่นใด หรือเหตุการณ์ที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯ อาจน�ำไปสู่ความขัดข้องหรือการหยุดชะงักที่ส�ำคัญในการผลิต ของโรงงานผลิตของบริษัทฯ บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าของ บริษัทฯ การขัดข้องดังกล่าวอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อการ ด�ำเนินงานของบริษทั ฯ บริษทั ร่วมและกิจการร่วมค้าของบริษทั ฯ การบริหารความเสี่ยง บริษทั ฯ ได้จดั ให้มแี ผนบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Plan: BCP) ที่ครอบคลุมการท�ำงานของหน่วยงาน ส�ำคัญของบริษัทฯ ซึ่งเป็นแผนรองรับที่จะท�ำให้การด�ำเนินธุรกิจ เป็นไปอย่างต่อเนื่องในยามที่เกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ ฉุกเฉิน ซึ่งอาจก่อให้เกิดการหยุดชะงักของการด�ำเนินธุรกิจขึ้น ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องจัดท�ำแผนความต่อเนือ่ ง เพื่อเตรียมความพร้อมล่วงหน้าในการรับมือกับสภาวะวิกฤต หรือเหตุการณ์ฉุกเฉินดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ไม่ได้หมายความว่า แผนดั ง กล่ าวจะท�ำให้องค์ก รสามารถด�ำเนิน การทุ ก อย่ า งได้ เหมือนกับในสถานการณ์ปกติ แต่จะต้องมีความเพียงพอให้ ธุรกิจสามารถด�ำเนินต่อไปได้และเกิดความเสียหายน้อยที่สุด นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดท�ำการประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด (Industrials All Risks Insurance) เพื่อลด บรรเทาความ สูญเสีย และ/หรือ ความเสียหายอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ เหตุสุดวิสัยที่อาจเกิดขึ้น อันมิอาจคาดหมาย หรือ ป้องกันได้ รวมถึงการประกันภัยธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption Insurance) เพือ่ ลด บรรเทาความสูญเสีย และ/หรือ ความเสียหายทางการเงิน จากการหยุดชะงักของการด�ำเนินธุรกิจ ด้วยเช่นกัน

ความเสี่ยงด้านการเงิน 1. ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา แม้วา่ สกุลเงินทีใ่ ช้ในการรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ จะเป็น สกุลเงินบาท แต่การซือ้ วัตถุดบิ เพือ่ การผลิตผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติ ของบริษัทฯ จะเป็นเงินบาทและรูเปียอินโดนีเซีย แต่รายได้ จากการส่งออกของบริษทั ฯ นัน้ อยูใ่ นรูปสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นประมาณร้ อ ยละ 79.5 ของรายได้ ทั้ ง หมด ดังนั้น ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินบาท รูเปีย

อินโดนีเซีย ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือเงินตราสกุลอื่นๆ อาจส่งผล กระทบในทางลบต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงินและผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ นอกจากนี้ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ระหว่างเงินบาท รูเปียอินโดนีเซีย และริงกิตมาเลเซีย อาจส่งผล กระทบในทางลบต่ อ ความสามารถในการแข่ ง ขั น ด้ า นราคา ของบริษทั ฯ (โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมใน หมายเหตุประกอบงบ ข้อ 5) เมื่อเทียบกับผู้ผลิตยางธรรมชาติรายอื่นๆ จากประเทศ อินโดนีเซีย และมาเลเซียด้วยเช่นกัน การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากความ ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดยใช้ตราสาร อนุ พั น ธ์ ท างการเงิ น เพื่ อ ที่ จ ะลดความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วกั บ อั ต รา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการซื้อขาย ผลิตภัณฑ์ในสกุลเงินอื่นที่มิใช่เงินบาท ทั้งนี้ ตราสารอนุพันธ์ ทางการเงินดังกล่าวจะถูกตีราคาตามมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ รายงานในงบการเงิน (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หมายเหตุ ประกอบงบข้อ 8) 2. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ จ�ำเป็นต้องอาศัยเงินทุนจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดซื้อวัตถุดิบ เช่น ยางแผ่นดิบ ยาง ก้อนถ้วย และน�้ำยางสด รวมถึงผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่บริษัทฯ ซื้อมาจากผู้ผลิตรายอื่นๆ และในบางครั้งจาก บจ. ไทยเทค ซึ่งเป็น กิจการร่วมค้าของบริษทั ฯ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติส�ำหรับการจ�ำหน่าย สินค้าของบริษัทฯ ในตลาดต่างประเทศ โดยระยะเวลาของ เงินทุนหมุนเวียนของบริษัทฯ ในกระบวนการผลิตนับตั้งแต่ การซื้อวัตถุดิบจนถึงการได้รับช�ำระเงินจากลูกค้าของบริษัทฯ มีระยะเวลาประมาณ 2-4 เดือน นอกจากนี้ บริษัทฯ อาจยังต้อง มีรายจ่ายส่วนทุนจ�ำนวนมากในการรักษา เพิ่มคุณภาพ ขยาย โรงงานผลิตและสถานที่เก็บรักษา บริการขนส่ง และสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกต่ า งๆ เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ฯ สามารถรั ก ษาศั ก ยภาพ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

99


ในการแข่ ง ขั น ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เทคโนโลยี ที่ ก ้ า วล�้ ำ มาตรฐาน เกี่ยวกับความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในภาคอุตสาหกรรมที่ เปลีย่ นแปลงไป ทัง้ นี้ ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีแหล่งเงินทุน เพือ่ ใช้ในการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ จากกระแสเงินสดจากการด�ำเนินงาน อีกทั้งเงินกู้ทั้งระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเท่า เงินสดประมาณ 2,242 ล้านบาท และเงินกู้ส่วนใหญ่ของบริษัทฯ เป็นเงินกู้ระยะสั้น ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่อาจรับรองได้ว่าบริษัทฯ จะไม่ ประสบปัญหากระแสเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดติดลบ ในอนาคต ในกรณีที่บริษัทฯ มีเงินสดไม่เพียงพอ หรือไม่สามารถ สร้างรายได้จากการด�ำเนินงานที่เพียงพอ หรือไม่สามารถหา หรือมีเงินกู้จากสถาบันการเงินในระดับที่เพียงพอได้ บริษัทฯ อาจไม่มีกระแสเงินสดที่เพียงพอที่จะน�ำไปใช้ในการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ และผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีการควบคุมดูแลความต้องการด้านสภาพคล่องควบคู่ ไปกับผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ และบริษัทย่อย จะมีเงินสดเพียงพอต่อความต้องการในการ ด�ำเนินงาน การขยายธุรกิจ และการช�ำระเงินกู้ยืม ตลอดจน บริษัทฯ จะด�ำเนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนเพื่อเพิ่มสภาพคล่อง ในการด�ำเนินงานตามความเหมาะสม 3. ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย และตลาดสินเชื่อ (Credit Market) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีเงินกู้จากสถาบันการเงินรวม จ�ำนวน 29,400 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ยืมระยะสั้น ซึ่งมี อัตราดอกเบี้ยอยู่ระหว่างร้อยละ 1.50 ถึงร้อยละ 10.25 ต่อปี ขึ้นอยู่กับสกุลเงินของสัญญาเงินกู้แต่ละฉบับ โดยภาวะปัญหา ตลาดสินเชื่อ (Credit Market) ทั่วโลกอาจส่งผลกระทบต่อต้นทุน เงินกู้หรือเงื่อนไขอื่นๆ ของสัญญากู้ของบริษัทฯ ที่มีอยู่ (โปรดดู รายละเอียดเพิ่มเติมใน หมายเหตุประกอบงบข้อ 23) รวมทั้ง ความสามารถของบริษัทฯ ที่จะได้รับเงินกู้หรือที่จะเข้าถึงเงินทุน ที่มีเงื่อนไขอันเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ การเพิ่มขึ้นของต้นทุน เงินกู้อย่างมีนัยส�ำคัญนั้น อาจส่งผลกระทบต่อความสามารถของ บริษัทฯ ในการแข่งขันกับผู้ประกอบการรายอื่นซึ่งอาจมีระดับ เงินกู้ที่ต�่ำกว่า ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ มี ข ้ อ ก� ำ หนดและเงื่ อ นไขต่ า งๆ ที่ ก� ำ หนด โดยสถาบันการเงิน อาทิ การด�ำรงอัตราส่วน Net Long-Term Debt to EBITDA ระบุให้บริษัทฯ ต้องด�ำรงอัตราส่วนดังกล่าว ไว้ในอัตราไม่เกิน 4.5 เท่า เป็นต้น อย่างไรก็ดีด้วยสภาวะความ ผันผวนอย่างรุนแรงของราคายางธรรมชาติ และปัจจัยอื่นที่ อาจท�ำให้บริษัทฯ ไม่สามารถด�ำรงอัตราส่วนดังกล่าวได้ ซึ่งอาจ

100

รายงานประจำ�ปี 2560

ก่อให้เกิดความเสีย่ งในการช�ำระเงินต้นและดอกเบีย้ ของบริษทั ฯ ได้ หากเงินกู้ดังกล่าวถูกเรียกคืนก่อนก�ำหนด การบริหารความเสี่ยง ในการกู้ยืมเงิน หรือการออกตราสารทางการเงินต่างๆ บริษัทฯ จะท�ำการศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลด้านอัตราดอกเบี้ย และเงื่อนไขต่างๆ เพื่อให้มั่นใจกว่าเครื่องมือทางการเงินนั้น จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ ปรับกลยุทธ์ในการด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับสภาวการณ์และ ความผันผวนในปัจจุบัน และจัดให้มีหน่วยงานที่ติดตามผลการ ด�ำเนินงานอย่างใกล้ชิด เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ อย่างทันท่วงที ส�ำหรับการด�ำรงอัตราส่วนทางการเงินตามเงื่อนไขของสถาบัน การเงินนั้น บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ผู้ที่รับผิดชอบประสานงาน กั บ สถาบั น การเงิ น อย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ สื่ อ สารข้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้ อ ง อันน�ำไปสู่ความเข้าใจในธุรกิจของบริษัทฯ และในกรณีที่บริษัทฯ ไม่ สามารถด�ำ รงอั ต ราส่ วนทางการเงิ นตามเงื่ อนไขที่ส ถาบัน การเงินก�ำหนดนั้น บริษัทฯ จะแจ้งสถาบันการเงินเพื่อขอผ่อนผัน การผิดเงื่อนไขเงินกู้ (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หมายเหตุ ประกอบงบข้อ 23) 4. ความเสี่ยงจากการด้อยค่าของค่าความนิยม เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 บริษัทฯ ได้เข้าซื้อหุ้นของบจ. ศรีตรัง โกลฟส์ (ประเทศไทย) คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 50 ของหุ้นที่ ช�ำระแล้ว ในมูลค่าจ�ำนวน 6,320 ล้านบาท ผลจากการเข้าซื้อ กิจการดังกล่าว ท�ำให้บริษัทฯ ต้องบันทึกค่าความนิยมจ�ำนวน 2,954 ล้านบาท ทั้งนี้ หลักการบันทึกบัญชีตามวิธีซื้อส�ำหรับ การรวมธุ ร กิ จ ก� ำ หนดให้ บ ริ ษั ท ฯ ต้ อ งท� ำ การประเมิ น มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของสิ น ทรั พ ย์ ที่ ไ ด้ ม าและหนี้ สิ น ที่ รั บ มารวมถึ ง สิ่งตอบแทนในการซื้อ โดยผลแตกต่างจะถูกบันทึกเป็นค่าความ นิยมหรือก�ำไรจากการซื้อในราคาที่ต�่ำกว่ามูลค่ายุติธรรม ทั้งนี้ รายการสินทรัพย์ทกี่ อ่ ให้เกิดเงินสดซึง่ รวมค่าความนิยม ต้องทดสอบ การด้อยค่าเป็นประจ�ำทุกปี หากเกิดการขาดทุนจากการด้อยค่า ในกรณีที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะ ได้รบั คืน ค่าความนิยมทีด่ อ้ ยค่าจะถูกรับรูใ้ นงบก�ำไรขาดทุน ซึง่ จะ ส่งผลให้ก�ำไรของบริษัทฯ ลดลงด้วยเช่นกัน (โปรดดูรายละเอียด เพิ่มเติมใน หมายเหตุประกอบงบข้อ 37) การบริหารความเสี่ยง ภายหลังจากการได้มาซึ่ง บจ. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) ดังกล่าว บริษัทฯ ได้วางแผนขยายก�ำลังการผลิตอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนท�ำการปรับกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจเพิ่มพูนศักยภาพ การแข่งขันในหลายๆ ด้าน เพื่อสร้างผลการด�ำเนินงานของ บจ. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) ให้ได้เป็นไปตามเป้าหมาย อย่างยั่งยืน


ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ 1. ความเสี่ยงทางด้านข้อกฎหมาย และกฎระเบียบ การประกอบธุรกิจของกลุม่ บริษทั ฯ อยูภ่ ายใต้กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ท�ำให้ บริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบในหลายประเทศ ดังนัน้ การไม่ปฏิบตั ติ ามหรือปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และกฎระเบียบ รวมทัง้ นโยบายของแต่ละประเทศเพียงบางส่วน อาจส่งผลกระทบ ต่อชื่อเสียงของบริษัทฯ และน�ำมาซึ่งการได้รับการลงโทษและ ถูกปรับหรือสูญเสียโอกาสทางธุรกิจโดยกระบวนการทางกฎหมาย อาจต้องใช้เวลายืดเยื้อและมีค่าใช้จ่ายสูง อีกทั้ง มีความเป็นไปได้ ที่กฎระเบียบเหล่านี้ และ/หรือ แนวปฏิบัติทางสังคม อาจจะมี ความเข้มงวดมากยิ่งขึ้นในอนาคต ซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบ ต่อการด�ำเนินธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการด�ำเนินงานและ โอกาสทางธุรกิจของบริษัทฯ หากกลุ่มบริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติ ตามกฎหมายและกฎระเบียบเหล่านี้ได้ การบริหารความเสี่ยง บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบในการติ ด ตามการ เปลี่ยนแปลงของกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อท�ำ การวิเคราะห์ผลกระทบและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ และ ให้ความรู้ฝ่ายบริหารและพนักงานในประเด็นส�ำคัญ เพื่อให้มั่นใจ ว่าบริษัทฯ ได้ด�ำเนินธุรกิจเป็นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบ อีกทั้ง บริษัทฯ ได้วางหลักเกณฑ์และโครงการต่างๆ เพื่อดูแล ก�ำกับกิจการให้เป็นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง อาทิ การจัดท�ำคู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและจริยธรรมธุรกิจ การออกนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชั่น และการวางระบบรับข้อ ร้องเรียนและแจ้งเบาะแส เป็นต้น 2. การแทรกแซงของรัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในปี 2560 ภาครัฐมีนโยบายในการสร้างเสถียรภาพราคายาง ซึง่ หนึง่ ในนโยบายดังกล่าวคือการจัดตัง้ บจ. ร่วมทุนยางพาราไทย โดยมีการยางแห่งประเทศไทย (กยท.) เป็นตัวแทนจากภาครัฐ พร้อมด้วยผูผ้ ลิตและผูส้ ง่ ออกยางรายใหญ่ภาคเอกชนอีก 5 บริษทั ซึ่งรวมถึง บมจ. ศรีตรัง เข้าร่วมลงทุนในบริษัทฯ ดังกล่าว โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อด�ำเนินการซื้อขาย แลกเปลี่ยนยางพาราทั้งใน และต่างประเทศ ตลอดจนมาตรการแก้ไขปัญหาราคายางธรรมชาติ ตกต�ำ่ อาทิ มาตรการควบคุมปริมาณผลผลิตจากทัง้ ภาคเกษตรกร และหน่วยงานรัฐ เป็นต้น นอกจากนี้ ในปี 2561 รัฐบาลของประเทศผูผ้ ลิตยางธรรมชาติหลัก ได้แก่ ประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ได้เข้าแทรกแซง โดยการลดปริมาณ (Quotas) การส่งออกยางธรรมชาติรวม 350,000 ตัน ในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2561 และในเดือน มกราคม 2561 มติคณะรัฐมนตรีประกาศให้ยางพาราเป็นสินค้า

ควบคุมของกระทรวงพาณิชย์ เพื่อเป็นมาตรการให้แก่รัฐบาล ในการแก้ไขปัญหาราคายางพาราตกต�่ำในอนาคต ทั้งนี้ การแทรกแซงดังกล่าว มีวัตถุประสงค์ที่จะแก้ปัญหาราคา ยางที่ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ผลจากการด�ำเนิน นโยบายอาจส่ ง ผลให้ ร าคายางธรรมชาติ ใ นประเทศปรั บ ตั ว ในทิศทางที่อาจไม่สอดคล้องกับราคาในตลาดโลก ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้างต้นทุน และผลก�ำไรของผูส้ ง่ ออก ยางธรรมชาติในประเทศไทย ซึง่ หากบริษทั ฯ ไม่สามารถผลักราคา วัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นไปยังลูกค้า และ/หรือ ผู้จัดหาสินค้าได้ อาจส่งผล กระทบในทางลบต่อผลก�ำไรของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ หากราคาตลาดของ ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติทจี่ ำ� หน่ายโดยบริษทั ฯ มีความผันผวนมาก ธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบในทางลบอย่างมีนัยส�ำคัญด้วย การบริหารความเสี่ยง เมื่อมีการแทรกแซงจากรัฐบาลหรือหน่วยงานใดๆที่เกี่ยวข้อง บริษัทฯ พยายามบริหารธุรกิจอย่างเหมาะสมที่สุดภายใต้แต่ละ ช่วงสถานการณ์ที่แตกต่างกันออกไปซึ่งการที่บริษัทมีโรงงาน เป็นจ�ำนวนมากตั้งอยู่ในพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่หลากหลายทั้งใน และต่างประเทศ ได้ส่งผลให้บริษัทฯ ยังคงรักษาศักยภาพทาง ธุรกิจและการแข่งขันได้

ความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ถือหลักทรัพย์ 1. ความเสี่ยงจากเงินปันผลของผู้ถือหุ้น บมจ. ศรีตรัง ผ่าน ตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (SGX-ST) หุ้นของบมจ. ศรีตรัง ที่ท�ำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ ถูกอ้างอิงเป็นเงินดอลลาร์สิงคโปร์ ในขณะที่เงินปันผล (ถ้ามี) นั้น จะจ่ายในรูปเงินบาท ท�ำให้ผถู้ อื หุน้ ทีถ่ อื หุน้ บมจ. ศรีตรัง ในตลาด หลักทรัพย์สิงคโปร์จะมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของ สกุลเงินดอลลาร์สิงคโปร์เมื่อเทียบกับสกุลเงินบาท การบริหารความเสี่ยง การจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้น บมจ. ศรีตรัง ผ่านตลาดหลักทรัพย์ สิงคโปร์นั้น บริษัทฯ จะก�ำหนดอัตราแลกเปลี่ยนของสกุลเงิน ดอลลาร์สิงคโปร์เทียบกับสกุลเงินบาทที่ใกล้เคียงกับวันที่จ่าย เงินปันผลมากที่สุด เพื่อช่วยผู้ถือหุ้นลดความเสี่ยงจากความ ผันผวนของค่าเงิน หมายเหตุ: อาจมีปัจจัยความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริษัทฯ ไม่ทราบและอาจมี ปัจจัยความเสี่ยงบางประการที่บริษัทฯ เห็นว่าไม่เป็นสาระส�ำคัญซึ่งปัจจัย ความเสี่ ย งเหล่ า นี้ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ใน อนาคตได้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

101


การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ ภาพรวมผลการด�ำเนินงาน

เหตุการณ์พิเศษ

ในปี 2560 อุตสาหกรรมยางธรรมชาติยังคงเผชิญกับสภาวะ ความไม่แน่นอนของปัจจัยภายนอกและความผันผวนของตลาด อย่างต่อเนื่อง อาทิ ภาวะเศรษฐกิจและการเมืองโลก การแข็งค่า ของค่าเงินบาท สภาพอากาศที่ไม่เอื้ออ�ำนวย และการเก็งก�ำไรที่ เพิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งมากในตลาดยางพาราล่ ว งหน้ า ทั้ ง โตเกี ย ว เซี่ยงไฮ้ และ สิงคโปร์ เป็นต้น ส่งผลให้ราคายางธรรมชาติปรับ สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงปลายปี 2559 และท�ำจุดสูงสุดใน รอบ 3 ปี อยู่ที่ 231.6 cent/kg ในช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2560 ต่อมาราคายางธรรมชาติได้ปรับตัวลดลงจนกระทั่งค่อน ข้างคงที่ในช่วงปลายไตรมาส 3 ถึงไตรมาส 4 ของปี 2560 อย่างไรก็ดี ราคายางธรรมชาติเฉลี่ยตลอดทั้งปี 2560 อยู่ที่ 164.7 cent/kg ซึ่งมีแนวโน้มที่ดีขึ้นและอยู่ในระดับที่สูงกว่า ปี 2559 ที่ 138.4 cent/kg

เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 บริษัทฯ ได้ซื้อหุ้นในบจ. สยาม เซมเพอร์เมด (ชื่อเดิมก่อนวันที่ 16 มีนาคม 2560) ซึ่งต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บจ. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (“STGT”) เพิ่มเติมจ�ำนวน 10,000 หุ้น จากสัดส่วนร้อยละ 40.2 เป็นร้อยละ 90.2 ด้วยมูลค่า 6,320 ล้านบาท ทั้งนี้ ผลจากการเข้าซื้อกิจการ ดังกล่าว ท�ำให้บริษัทฯ ต้องบันทึกค่าความนิยมจ�ำนวน 2,954 ล้านบาท ตลอดจนข้อพิพาทและคดีความทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง ได้ถูกถอนและระงับไปในที่สุด

นอกจากนี้ ปี 2560 ถือเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลีย่ นแปลง ภายหลัง ที่บริษัทฯ ได้แยกกิจการกับบริษัทร่วมและบริษัทร่วมค้าอย่าง เสร็จสมบูรณ์ ท�ำให้ธุรกิจถุงมือยางเป็นหนึ่งในธุรกิจหลักของ บริษัทฯ นับตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2560 เป็นต้นมา และหาก พิ จ ารณาจากก� ำ ลั ง การผลิ ต ถุ ง มื อ ยางของบริ ษั ท ฯ ถื อ ได้ ว ่ า บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตถุงมือยางรายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และ จัดเป็นผู้ผลิตถุงมือยางในอันดับต้นๆ ของโลก ซึ่งสะท้อนให้เห็น ถึ ง ความมุ ่ ง มั่ น ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ในฐานะผู ้ ป ระกอบการยาง ธรรมชาติแบบครบวงจร และตอกย�้ำสถานะความเป็นผู้น�ำใน อุตสาหกรรมยางธรรมชาติในระดับโลกอย่างแท้จริง แม้ว่าในปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้รวม 89,387.0 ล้านบาท โดย มีปริมาณการขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่ 1,323,823 ตัน คิดเป็น ร้อยละ 10 ของการบริโภคยางธรรมชาติของโลก และมีปริมาณ การขายถุงมือยางที่ 15,028 ล้านชิ้น หรือประมาณร้อยละ 8 ของความต้องการบริโภคถุงมือยางทั่วโลก แต่ด้วยความผันผวน ของอุ ต สาหกรรมยางธรรมชาติส่งผลให้บ ริษัทฯ ต้องบัน ทึ ก ขาดทุนสุทธิ 1,437.1 ล้านบาท

102

รายงานประจำ�ปี 2560

เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2560 บริษัทฯ ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนที่ ออกและช�ำระแล้วจ�ำนวน 255,999,998 หุ้น จากการจัดสรร หุ้นสามัญเพิ่มทุนในอัตรา 5 หุ้นเดิม ต่อ 1 หุ้นใหม่ ที่เสนอขาย หุ้นละ 10 บาท โดยมีมูลค่าหุ้นที่ช�ำระแล้วตามมูลค่าที่ตราไว้และ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นจ�ำนวน 256 ล้านบาท และ 2,301 ล้านบาท ตามล�ำดับ

รายการพิเศษ ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายการพิเศษ (Non-recurring item) ที่ส�ำคัญถูกบันทึกเป็นรายได้ ได้แก่ ค่าทดแทนความเสียหาย จากเหตุการณ์ไฟไหม้โรงงานแห่งหนึ่งของ PT Star Rubber ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย เมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม 2559 จ� ำ นวน 463 ล้านบาท ส�ำหรับรายการพิเศษที่ถูกบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องกับคดีความและการแยกกิจการระหว่าง บมจ. ศรีตรัง และเซมเพอร์ริท จ�ำนวน 539 ล้านบาท ซึ่งภายหลังจากการ แยกกิจการเสร็จสมบูรณ์แล้ว ข้อพิพาททางกฎหมายทั้งหมดเป็น อันสิ้นสุดลงตามไปด้วย


ผลประกอบการโดยรวม (หน่วย: ล้านบาท) รายได้จากการขายและการให้บริการ ต้นทุนขายและการให้บริการ กำ�ไร(ขาดทุน)ขั้นต้น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร รายได้อื่น กำ�ไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน กำ�ไร(ขาดทุน)อื่น - สุทธิ กำ�ไร(ขาดทุน)จากการดำ�เนินงาน ส่วนแบ่งกำ�ไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า "กำ�ไร(ขาดทุน)ก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงิน และภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย (EBITDA)" กำ�ไร(ขาดทุน)ก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงิน และภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน - สุทธิ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กำ�ไร(ขาดทุน)สำ�หรับงวด ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม

ปี 2560 ปี 2559 % YoY Q4 2560 Q4 2559 89,387.0 77,265.5 15.7% 19,768.4 22,510.5 (85,610.6) (71,852.0) 19.1% (18,393.8) (20,889.1) 3,776.4 5,413.5 -30.2% 1,374.5 1,621.3 (5,859.1) (5,436.0) 7.8% (1,332.6) (1,952.5) 685.5 197.5 247.1% 398.0 59.0 561.6 6.4 8,680.6% 176.3 (35.5) 147.4 (985.1) N/A 112.4 (1,110.1) (331.8) (803.7) -58.7% 728.5 (1,417.8) 129.8 402.8 -67.8% 46.6 101.5 1,650.4

794.3

107.8%

(202.0)

(400.9)

(1,195.9) (20.6) (1,418.5) (1,437.1) 18.5

(672.0) 283.2 (789.7) (758.0) (31.7)

1,325.1

% YoY -12.2% -11.9% -15.2% -31.7% 574.1% N/A N/A N/A -54.1%

(983.1)

N/A

-49.6%

775.1 (1,316.3)

N/A

78.0% N/A 79.6% 89.6% N/A

(293.3) (320.1) 25.5 321.1 507.2 (1,315.3) 468.8 (1,303.1) 38.5 (12.2)

-8.4% -92.1% N/A N/A N/A

ปริมาณการขาย

ของโลกอยู่ที่ร้อยละ 10 ในปี 2560 โดยการลดลงของปริมาณ การขายส่วนใหญ่มากจากการลดลงของปริมาณการส่งออกไป ยังจีนและสิงคโปร์ อันเนื่องมาจากสภาวะตลาดเชิงลบที่มีต่อ ทิศทางของราคายางธรรมชาติ มากกว่าผลจากปัจจัยพื้นฐาน ของอุปสงค์และอุปทาน อย่างไรก็ตาม การลดลงของปริมาณ การขายในประเทศดังกล่าว บางส่วนได้ถูกชดเชยโดยปริมาณ การขายในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 10.0 ทั้งนี้ หากพิจารณา ปริมาณการขายตามภูมิศาสตร์ สัดส่วนปริมาณการขายจาก การส่งออกไปยังประเทศจีนยังคงเป็นตลาดส่งออกที่ใหญ่ที่สุด ที่ร้อยละ 45.5 โดยตลาดในเอเชียอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 24.9 ตลาดในอเมริกาและยุโรป คิดเป็นร้อยละ 5.8 และร้อยละ 4.3 ตามล�ำดับ

ในปี 2560 บริษัทฯ มีปริมาณการขายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติที่ 1,323,873 ตัน ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 11.4 อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ สามารถรักษาส่วนแบ่งของการบริโภคยางธรรมชาติ

ส� ำ หรั บ ปริ ม าณการขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ถุ ง มื อ ยาง ตั้ ง แต่ วั น ที่ 15 มีนาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ จ�ำหน่ายถุงมือ ยางทั้งสิ้นจ�ำนวน 15,068 ล้านชิ้น (กรณีพิจารณารวมรายได้ของ

รายได้ บริษัทฯ มีรายได้จากการขายและการให้บริการรวม ปี 2560 เท่ากับ 89,387.0 ล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.7 จากปีที่ ผ่านมา แบ่งเป็นรายได้จากธุรกิจยางธรรมชาติ 79,121.7 ล้านบาท ซึ่งขยายตัวร้อยละ 13.8 สาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของราคา ขายเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 28.4 สอดคล้องกับทิศทางของราคา ยางธรรมชาติในตลาดโลก แม้ว่าปริมาณการขายของผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติปรับลดลงร้อยละ 11.4 และมีรายได้จากธุรกิจ ถุงมือ 9,858.7 ล้านบาท ปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 100.7 เมื่อเทียบ กับปีก่อน

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

103


STGT ทั้งปี 2560 บริษัทฯ จะมีปริมาณการจ�ำหน่ายถุงมือยางทั้งสิ้นจ�ำนวน 16,344 ล้านชิ้น คิดเป็นส่วนแบ่งทางการตลาดในปี 2560 ประมาณร้อยละ 8 ของความต้องการบริโภคถุงมือยางทั่วโลก)

ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรขั้นต้นส�ำหรับปี 2560 เท่ากับ 3,776.4 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 30.2 โดยมีอัตราก�ำไรขั้นต้นอยู่ท่ีร้อยละ 4.2 ลดลงจาก ร้อยละ 7.0 ในปีก่อน ทั้งนี้ หากพิจารณาปรับรายการด้วยค่าเผื่อส�ำหรับราคาทุนของสินค้าคงเหลือจ�ำนวน 343.7 ล้านบาท และก�ำไรที่เกิดขึ้นจริงจากธุรกรรมป้องกันความเสี่ยง จ�ำนวน 201.6 ล้านบาท ส่งผลให้อัตราก�ำไรขั้นต้นปรับปรุงในปี 2560 จะ ลดลงอยู่ที่ร้อยละ 4.8 จากร้อยละ 6.1 ในปีก่อน เนื่องมาจากความผันผวนของราคายางธรรมชาติที่เกิดขึ้นระหว่างปี กอปรกับ ความแตกต่างระหว่างราคายางในตลาดซื้อขายล่วงหน้ากับราคาตลาดกลางยางพาราในประเทศ ซึ่งเป็นปัจจัยกดดันต่ออัตราก�ำไร ขั้นต้นของบริษัทฯ

ขาดทุนจากการด�ำเนินงาน ในปี 2560 บริษัทฯ ขาดทุนจากการด�ำเนินงานเท่ากับ (331.8) ล้านบาท ซึ่งปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับขาดทุนจากการด�ำเนินงานที่ (803.7) ล้านบาทในปี 2559 โดยขาดทุนจากการด�ำเนินงานในปี 2560 ฟื้นตัวจากปีก่อน มีสาเหตุมาจากรายได้อื่นซึ่งเป็นรายการ พิเศษ (Non-recurring item) ที่เป็นค่าทดแทนความเสียหายจากเหตุการณ์ไฟไหม้โรงงานแห่งหนึ่งของ PT Star Rubber ประเทศ อินโดนีเซีย เมื่อเดือนตุลาคม 2559 จ�ำนวน 463 ล้านบาท กอปรกับก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เพิ่มขึ้น และก�ำไรจากตราสารอนุพันธ์ ทางการเงินเกี่ยวกับยางพาราที่พลิกฟื้นจากขาดทุนในปีก่อน อย่างไรก็ดี ในปี 2560 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.8 จากปีก่อน ส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นจากค่าสงเคราะห์การท�ำสวน ยาง หรือค่า Cess1 และส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้นจากค่าขนส่ง และค่าระวางสินค้า ที่มีการปรับเพิ่มขึ้นตามราคาน�้ำมันในตลาดโลกและอัตรา ค่าบริการขนส่งทางเรือ ในขณะที่การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการบริหารส่วนใหญ่มาจากรายการพิเศษที่เกี่ยวข้องกับคดีความและการ แยกกิจการระหว่าง บมจ. ศรีตรัง และเซมเพอร์ริท จ�ำนวน 539 ล้านบาท 1

อัตราค่า Cess เดือนม.ค. 59 - พ.ย. 59 : 1.4 บาท/กก. เดือนธ.ค. 59 - ม.ค. 60 : 2 บาท/กก. เดือนก.พ. 60 - มี.ค. 60 : 3 บาท/กก. เดือนเม.ย. 60 - มิ.ย. 60 : 1.4 บาท/กก. และตั้งแต่เดือนส.ค. 60 - ปัจจุบัน : 2 บาท/กก.

ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า บริษัทฯ ได้รับส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้าจ�ำนวน 129.8 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 67.8 สาเหตุหลักมาจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีจากการแยกกิจการ (Demerger) ตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2560 ที่ผ่านมา ทั้งนี้ ส่วนแบ่งก�ำไรจากธุรกิจท่อยางไฮโดรลิกแรงดันสูง ขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 2.7 เมื่อเทียบกับปีก่อน

ขาดทุนสุทธิ ในปี 2560 บริษัทฯ ขาดทุนสุทธิที่ (1,437.1) ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากขาดทุนสุทธิในปี 2559 ที่ (758.0) ล้านบาท ซึ่งขาดทุนสุทธิที่เพิ่ม ขึ้นส่วนใหญ่มาจากต้นทุนทางการเงินที่เพิ่มสูงขึ้นจากภาระดอกเบี้ยจ่ายของบริษัทฯ ที่เพิ่มขึ้น โดยในปี 2560 มีรายการเงินกู้พิเศษเกิด ขึ้นในเดือนมีนาคม เพื่อใช้เป็นแหล่งเงินทุนสนับสนุนการแยกกิจการ จ�ำนวน 4,500 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯ ได้ช�ำระคืนเงินกู้เต็มจ�ำนวน ตามระยะเวลาที่ก�ำหนด โดยการ push down เงินกู้ไปที่ STGT เป็นจ�ำนวน 3,000 ล้านบาทเป็นที่เรียบร้อยแล้วเมื่อสิ้นปี 2560 ทั้งนี้ ณ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ รับรู้ค่าเผื่อส�ำหรับมูลค่าสินค้าที่เกินกว่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับเป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนรวม จ�ำนวน 343.7 ล้านบาท จากปีก่อนที่มีการกลับรายการค่าเผื่อส�ำหรับมูลค่าสินค้าที่เกินกว่ามูลค่าสุทธิที่จะได้รับจ�ำนวน 453.7 ล้านบาท (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมายเหตุประกอบงบข้อ 10)

104

รายงานประจำ�ปี 2560


ปัจจัยหลักที่ส่งผลกระทบต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ 1. ราคาและความผันผวนของยางธรรมชาติ หน่วย : US cent/ กิโลกรัม 1Q59

3Q59

4Q59

1Q60

2Q60

3Q60

4Q60

2 2-Dec-17 ธ.ค. 60

2 2-Nov-17 พ.ย. 60

2 2-Oct-17 ต.ค. 60

2 2-Sep-17 ก.ย. 60

2 2-Aug-17 ส.ค. 60

2-Jul-17 2 ก.ค. 60

2 2-Jun-17 มิ.ย. 60

22-May-17 พ.ค. 60

2-Apr-17 2 เม.ย. 60

22-Mar-17 มี.ค. 60

2-Feb-17 2 ก.พ. 60

2 2-Jan-17 ม.ค. 60

2 2-Dec-16 ธ.ค. 59

2 2-Nov-16 พ.ย. 59

2 2-Oct-16 ต.ค. 59

2 2-Sep-16 ก.ย. 59

2 2-Aug-16 ส.ค. 59

2-Jul-16 2 ก.ค. 59

22-May-16 พ.ค. 59

RSS RSS

2 เม.ย. 59 2-Apr-16

22-Mar-16 มี.ค. 59

2-Feb-16 2 ก.พ. 59

STR STR

2 2-Jan-16 ม.ค. 59

300 300 250 250 200 200 150 150 100 100

2Q59

2 2-Jun-16 มิ.ย. 59

350 350

กราฟแสดงราคายางแท่ง 20 (STR20) และยางแผ่นรมควัน 3 (RSS3) ณ ตลาดซื้อขายโภคภัณฑ์ประเทศสิงคโปร์

ราคาและความผันผวนของยางธรรมชาติส่งผลกระทบโดยตรงต่อรายได้และความสามารถในการท�ำก�ำไรของบริษัทฯ ภายหลังจากที่ ราคายางธรรมชาติปรับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงปลายปี 2559 และท�ำจุดสูงสุดในรอบ 3 ปี ในไตรมาสที่ 1 ปี 2560 โดยราคา เฉลี่ยของยางแท่ง STR20 ในไตรมาสดังกล่าวเป็นราคาที่สูงที่สุดของปีที่ 209.4 cent/kg และเพิ่มขึ้นร้อยละ 81.14 เมื่อเทียบกับช่วง เดียวกันของปีก่อน เนื่องจากปริมาณฝนที่ตกหนักและเกิดน�้ำท่วมในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทยช่วงต้นปี 2560 ส่งผลให้ปริมาณการ ผลิตยางธรรมชาติของของประเทศไทย ในไตรมาสแรกของปี 2560 ปรับตัวลดลงถึงร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2559 ขณะเดียวกันบริษัทฯ ต้องจัดเก็บสต๊อกวัตถุดิบในฤดูเก็บเกี่ยวของประเทศไทย (ประมาณช่วงเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ ของทุกปี) เพื่อเตรียมไว้ส�ำหรับส่งมอบให้กับลูกค้าในฤดูยางผลัดใบ (ประมาณช่วงเดือนมีนาคม – กลางเดือนพฤษภาคม ของทุกปี) ส่งผลให้ บริษัทฯ ต้องมีต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้นตามไปด้วย ทั้งนี้ ราคายางธรรมชาติมีความผันผวนไปตามปัจจัยต่างๆ เช่น 1) ภาวะเศรษฐกิจโลก ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมการผลิตยางล้อ 2) ปริมาณอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ 3) อัตราแลกเปลี่ยนของเงินสกุลต่างๆ โดยเฉพาะ สกุลดอลลาร์สหรัฐ เยน และสกุลท้องถิ่นของประเทศผู้ผลิต ยางธรรมชาติหลักของโลก ซึ่งได้แก่ สกุลบาท รูเปีย และริงกิต เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติส่วนใหญ่จ�ำหน่ายในสกุลดอลลาร์สหรัฐ 4) ราคาน�้ำมัน เนื่องจากยางสังเคราะห์เป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้จาก การกลั่นน�้ำมันดิบ โดยที่ยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์เป็นสินค้าทดแทนกันได้ และ 5) นโยบายของรัฐบาลประเทศหลักผู้ส่งออก ยางธรรมชาติ ตารางราคาอ้างอิงเฉลี่ยยางแท่ง STR20 และยางแผ่นรมควัน RSS3 ที่ตลาด Singapore Commodity Exchange Limited (SICOM) ปี 2559 – 2560 (หน่วย : US Cent/Kg)

ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 1 ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 2 ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 3 ราคาเฉลี่ยไตรมาสที่ 4 ราคาเฉลี่ยทั้งปี ราคาปิด ณ 31 ธ.ค.

2560 254.5 204.8 180.9 159.8 199.8 160.6

RSS3 2559 131.4 165.7 167.6 192.9 164.9 224.5

เพิ่มขึ้น/ลดลง 93.68% 23.60% 7.94% -17.16% 21.16% -28.46%

2560 209.4 152.8 153.7 143.7 164.7 146.9

STR20 2559 115.6 137.5 131.9 167.0 138.4 193.5

เพิ่มขึ้น/ลดลง 81.14% 11.13% 16.53% -13.95% 19.00% -24.08%

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

105


2. อัตราแลกเปลี่ยนสกุลดอลลาร์สหรัฐต่อสกุลบาท บาท : ดอลลาร์สหรัฐ

2-Dec-17 2 ธ.ค. 60

2-Nov-17 2 พ.ย. 60

4Q60

2-Oct-17 2 ต.ค. 60

2-Sep-17 2 ก.ย. 60

2-Aug-17 2 ส.ค. 60

3Q60

2 ก.ค. 60 2-Jul-17

2 มิ2-Jun-17 .ย. 60

2 พ.ค. 60 2-May-17

2Q60

2-Apr-17 2 เม.ย. 60

2 มี2-Mar-17 .ค. 60

2 ก.พ. 60 2-Feb-17

1Q60

2-Jan-17 2 ม.ค. 60

2 ธ.ค. 59 2-Dec-16

2 พ.ย. 59 2-Nov-16

4Q59

2 ต.ค. 59 2-Oct-16

2-Sep-16 2 ก.ย. 59

2-Aug-16 2 ส.ค. 59

3Q59

2 ก.ค. 59 2-Jul-16

2 มิ2-Jun-16 .ย. 59

2 พ.ค. 59 2-May-16

2Q59

2 เม.ย. 59 2-Apr-16

2 มี2-Mar-16 .ค. 59

2 ก.พ. 59 2-Feb-16

1Q59

2-Jan-16 2 ม.ค. 59

37 37 36 36 35 35 34 34 33 33 32 32

กราฟแสดงอัตราแลกเปลี่ยนสกุลบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ

การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างสกุลเงินบาทและดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลโดยตรงกับรายได้ของบริษัทฯ เนื่องจากรายได้ของ บริษัทฯ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 79.5 ของรายได้ทั้งหมด ในขณะที่บริษัทฯ แสดงงบ การเงินเป็นสกุลบาท บริษัทฯ จึงใช้ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงที่เกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ โดย ผลต่างของมูลค่าของตราสารอนุพันธ์ทางการเงินกับราคาตลาด ณ สิ้นรอบบัญชีจะถูกบันทึกภายใต้ก�ำไร/ (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง จากอัตราแลกเปลี่ยน ในปี 2560 ค่าเงินบาทเฉลี่ยทั้งปีแข็งค่าขึ้นร้อยละ 3.8 จากเฉลี่ย 35.12 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐในปี 2559 เป็น 33.77 บาทต่อดอลลาร์ สหรัฐ ในปี 2560 อันเนื่องมาจากการเข้าท�ำรายการในตราสารอนุพันธ์เพื่อบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน อย่างไรก็ดี บริษัทฯ มีก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 6.4 ล้านบาทในปี 2559 เป็น 561.6 ล้านบาท ในปี 2560 3. ต้นทุนทางการเงิน ปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนทางการเงินของบริษัทฯ ได้แก่ อัตราดอกเบี้ย ราคายางธรรมชาติ ปริมาณการขาย และการ เคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน ในปี 2560 ดอกเบี้ยจ่ายของบริษัทฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนตามการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะสั้น และระยะยาวจากสถาบันการเงินเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงานในการซื้อวัตถุดิบ การขยายธุรกิจ และการซื้อกิจการ กอปรกับบริษัทฯ มีเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินในสกุลเงินตราต่างประเทศ ได้แก่ สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ และรูเปีย ซึ่งในปี 2560 บริษัทฯ มีขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเงินกู้ยืมจ�ำนวน 39.5 ล้านบาท ด้วยเหตุนี้ ต้นทุนทางการเงินสุทธิของบริษัทฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 672.0 ล้านบาท ในปี 2559 เป็น 1,196.0 ล้านบาท ในปี 2560 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 78.0 แผนภาพด้านล่างแสดงอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของบริษัทฯ ในปี 2559 - 2560 เทียบกับอัตราดอกเบี้ย MLR เฉลี่ยจาก 3 ธนาคารหลัก ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย์ ซึ่งจะเห็นได้ว่าบริษัทฯ สามารถควบคุมอัตราดอกเบี้ยได้ในอัตราที่ ค่อนข้างต�่ำและอยู่ในระดับ สูงกว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทยเพียงเล็กน้อยเท่านั้น 8.00 MLR 2016 MLRrate2559 MLR 2017 MLRrate2560 RP 20162559 RPraterate RPraterate RP 20172560 STA 2559 STA rate 2016 STArate2560 STA 2017

6.00 6.00

4.00 2.00 2.00

0.00

ม.ค. มี.ค. เม.ย. พ.ค. Jun มิ.ย. Jul ก.ค. Aug ส.ค. Sep ก.ย. Oct ต.ค. Nov พ.ย. Dec ธ.ค. Jan ก.พ. Feb Mar Apr May กราฟเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยของบริษัทฯ กับอัตราดอกเบี้ย MLR เฉลี่ย

106

รายงานประจำ�ปี 2560


4. นโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐบาลไทย และรัฐบาลของประเทศผู้ส่งออกยางธรรมชาติหลักของโลกอาจเป็นประโยชน์หรือส่งผลกระทบในเชิงลบต่อ การด�ำเนินงานของบริษัทฯ ดังตัวอย่างในปี 2559 สภาไตรภาคียางพารา ซึ่งประกอบไปด้วยรัฐบาลของประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ หลัก ได้แก่ ประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ได้ท�ำข้อตกลงความร่วมมือระหว่างประเทศในการจ�ำกัดปริมาณการส่งออกจ�ำนวน 615,000 ตัน ในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม – สิงหาคม 2559 ต่อมาในปี 2561 สภาไตรภาคียางพารา ได้มีมติจ�ำกัดปริมาณการส่ง ออกยางธรรมชาติอีกครั้งในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2561 รวม 350,000 ตัน อีกทั้ง รัฐบาลไทยมีความพยายามในแก้ไขปัญหา ราคายางตกต�่ำ อาทิ การจัดตั้ง บจ. ร่วมทุนยางพาราไทย การส่งเสริมการใช้ยางภายในประเทศ การลดปริมาณผลผลิตทั้งการโค่นต้น ยางและการหยุดกรีดยาง ตลอดจนการประกาศให้ยางพาราเป็นสินค้าควบคุมของกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งการแทรกแซงดังที่กล่าวมานี้ อาจเป็นปัจจัยที่ท�ำให้ราคายางธรรมชาติในประเทศเคลื่อนไหวไม่สอดคล้องกับปัจจัยราคาซื้อขายยางพาราในตลาดโลก เป็นต้น

การวิเคราะห์ผลประกอบการตามสายธุรกิจ การจ�ำแนกรายได้ตามสายผลิตภัณฑ์ (ล้านบาท)

ปี 2560 63,183.1

ปี 2559 56,133.4

70.7%

72.6%

9,653.1

7,305.3

10.8%

9.5%

6,285.5

6,088.0

7.0%

7.9%

9,858.7

4,913.0

%

11.0%

6.4%

อื่นๆ**

406.6

2,825.8

0.5%

3.7%

89,387.0

77,265.5

ยางแท่ง %

ยางแผ่นรมควัน %

น�้ำ ยางข้น %

ถุงมือยาง*

%

รวมรายได้จากการขายและบริการ

% YoY 12.6% 32.1% 3.2% 100.7% -85.6% 15.7%

หมายเหตุ: * ในเดือนมีนาคม 2560 บจ. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) ได้เปลี่ยนสถานะจากกิจการร่วมค้าเป็นบริษัทย่อย ดังนั้นรายได้จากผลิตภัณฑ์ถุงมือ ยางจึงเป็นรายได้ภายใต้งบการเงินรวมตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2560 **ประกอบไปด้วยรายได้จาก (ก) การจ�ำหน่ายไม้ฟืนและบรรจุภัณฑ์ไม้ และ (ข) การให้บริการบางประเภท (เช่น บริการด้านการขนส่ง การวิจัย และพัฒนา และเทคโนโลยีสารสนเทศ) แก่บริษัทร่วมของบริษัทฯ และกิจการร่วมค้าของบริษัทฯ รวมถึงบริษัทภายนอกอื่นๆ

ยางแท่ง TSR (Technically Specified Rubber) รายได้จากการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางแท่ง ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 70.7 ของรายได้รวม ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.6 เมื่อเทียบกับ ปีก่อน อันมีสาเหตุหลักมาจากราคาขายเฉลี่ยที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.7 แม้ว่าจะหักลบกับปริมาณการขายที่ลดลงร้อยละ 12.6 ด้วยความผันผวนอย่างรุนแรงของราคายางธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงครึ่งแรกของปี 2560 ท�ำให้ราคาวัตถุดิบของบริษัทฯ ไม่ สะท้อนราคาในตลาดโลก อีกทั้งในไตรมาส 2 บริษัทฯ เริ่มลดก�ำลังการผลิตยางแท่ง เพื่อรักษาอัตราก�ำไรขั้นต้น โดยในปี 2560 ก�ำไร ขั้นต้นของยางแท่งลดลงร้อยละ 59.1 เมื่อเทียบกับปีก่อน บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

107


ยางแผ่นรมควัน RSS (Ribbed Smoked Sheet) รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ยางแผ่นรมควัน ซึ่งคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 10.8 ของรายได้รวม ขยายตัวร้อยละ 32.1 เป็นผลมา จากราคาขายเฉลี่ยที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.9 ขณะที่ปริมาณ การขายคงที่เมื่อเทียบกับปีก่อน ซึ่งส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจาก ปริมาณอุปสงค์ของยางแผ่นรมควันที่ค่อนข้างทรงตัว อย่างไร ก็ดี เนื่องด้วยราคาขายในตลาดล่วงหน้าที่มีการปรับตัวสูงขึ้น มากกว่าราคาวัตถุดิบ โดยเฉพาะในช่วงเหตุการณ์น�้ำท่วมภาคใต้ เมื่อต้นปี 2560 ท�ำให้ก�ำไรขั้นต้นของผลิตภัณฑ์ยางแผ่นรมควัน ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 115.1 เมื่อเทียบกับปีก่อน

ยุโรป ผสานกับคุณสมบัติของถุงมือยาง อันเหมาะกับการใช้งาน ในอุตสาหกรรมที่หลากหลายไม่เพียงจ�ำกัดแค่ในอุตสาหกรรม การแพทย์เพียงเท่านั้น

ฐานะการเงิน สินทรัพย์หมุนเวียน

รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์น�้ำยางข้น ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7.0 ของรายได้รวม ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 โดยการเพิ่มขึ้น มีสาเหตุหลักมาจากราคาขายเฉลี่ยที่สูงขึ้นร้อยละ 18.1 ขณะที่ ปริมาณการขายลดลงร้อยละ 12.5 ส่วนหนึ่งมาจากข้อจ�ำกัด ด้านอุปสงค์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในไตรมาส 2 ที่ปริมาณการขาย ผลิตภัณฑ์นำ�้ ยางข้นลดลงอย่างมาก อันเป็นผลจากการขาดแคลน วัตถุดิบเนื่องด้วยเหตุการณ์น�้ำท่วมภาคใต้เมื่อต้นปี 2560 ท�ำให้ บริษัทฯ ไม่สามารถสต๊อกวัตถุดิบน�้ำยางส�ำหรับช่วงปิดกรีดได้ เพียงพอ

สินทรัพย์หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2560 เท่ากับ 28,349.4 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 47.5 ของสินทรัพย์รวม ลดลง 3,462.5 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.9 จาก ณ สิ้นปีก่อน ส่วนใหญ่เป็นผล จากการลดลงของสินค้าคงเหลือสุทธิจ�ำนวน 3,808.0 ล้านบาท เนื่องมาจากราคายางธรรมชาติ ณ สิ้นปี 2560 ที่ปรับตัวลดลง เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2559 ซึ่งสินค้าคงเหลือที่แสดงในงบการเงิน ตามมาตรฐานการบัญชี จะแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติม ในหมายเหตุประกอบงบข้อ 3 และข้อ 10) กอปรกับการลดลง ของลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นจ�ำนวน 880.9 ล้านบาท สืบเนื่อง มาจากปริมาณการขายทีล่ ดลงแม้วา่ ราคาขายเฉลีย่ ของผลิตภัณฑ์ ยางธรรมชาติจะสูงขึ้นประมาณร้อยละ 28.4 เมื่อเทียบกับปีก่อน แม้หักลบกับเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที่เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 567.3 ล้านบาท และการเพิ่มขึ้นของตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน จ�ำนวน 243.0 ล้านบาท

ทั้งนี้ ก�ำไรขั้นต้นของผลิตภัณฑ์น�้ำยางข้นลดลงร้อยละ 23.3 จากปีก่อน ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากราคายางธรรมชาติที่ปรับ ลดลงอย่างมากในช่วงครึ่งหลังของปี 2560 ท�ำให้ชาวสวนยางมี แนวโน้มทีจ่ ะขายยางก้อนถ้วยหรือยางแผ่นดิบมากกว่าน�ำ้ ยางสด เนือ่ งจากยางก้อนถ้วยหรือยางแผ่นดิบมีราคาสูงกว่าและสามารถ เก็บได้นานกว่า

ณ สิ้นปี 2560 บริษัทฯ มีลูกหนี้ที่ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระและ ครบก�ำหนดช�ำระภายใน 1 เดือน มูลค่า 6,225.6 ล้านบาท คิด เป็นร้อยละ 98.5 และมีลูกหนี้ที่ครบก�ำหนด ช�ำระเกิน 1 ปี มูลค่า 55.3 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.87 ของยอดลูกหนี้การ ค้าทั้งหมด โดยบริษัทฯ มีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 0.8 ของยอดลูกหนี้การค้าทั้งหมด

ถุงมือยาง (Concentrated Latex)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

รายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ถุงมือยาง ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.0 ของรายได้รวม ขยายตัวร้อยละ 100.7 โดยภายหลังจาก การเข้าซื้อ STGT ตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2560 – 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ จ�ำหน่ายถุงมือยางทั้งสิ้นจ�ำนวน 15,068 ล้านชิ้น มีก�ำไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นร้อยละ 158.7 จากปีก่อนหน้า

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2560 เท่ากับ 31,358.4 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 52.5 ของสินทรัพย์รวม เพิ่มขึ้น 7,211.7 ล้านบาท หรือร้อยละ 29.9 จาก ณ สิ้นปีก่อน ส่วนใหญ่เป็นการ ลงทุนเพิ่มในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จ�ำนวน 8,424.2 ล้านบาท (สุทธิจากค่าเสือ่ มราคาและการจ�ำหน่ายออก) จากการตัง้ โรงงานใหม่ และการขยายโรงงานยางแท่ง น�ำ้ ยางข้นและถุงมือยาง นอกจากนี้ ผลจากการแยกกิจการ (Demerger) ท�ำให้ในปี 2560 บริษัทฯ บันทึกค่าความนิยมจ�ำนวน 2,953.8 ล้านบาท (ปี 2559 : ไม่มี รายการดังกล่าว) และเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า ลดลงจ�ำนวน 4,459.0 ล้านบาท

น�้ำยางข้น (Concentrated Latex)

กรณีพิจารณารวมรายได้ของ STGT ทั้งปี 2560 บริษัทฯ จะมี ปริมาณการจ�ำหน่ายถุงมือยางทั้งสิ้นจ�ำนวน 16,344 ล้านชิ้น ท�ำให้ปริมาณการขายขยายตัวร้อยละ 9.4 เมื่อเทียบกับปีก่อน ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากช่ อ งทางการจั ด จ� ำ หน่ า ยที่ ห ลากหลายและ ครอบคลุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตลาดประเทศจีน เอเชีย และ

108

รายงานประจำ�ปี 2560


หนี้สินหมุนเวียน

แหล่งที่มาของเงินทุน

หนี้สินหมุนเวียน ณ สิ้นปี 2560 เท่ากับ 25,856.5 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 71.0 ของหนี้สินรวม ลดลง 6,979.6 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.3 จาก ณ สิ้นปีก่อน ซึ่งส่วนใหญ่มา จากการลดลงของเงิ น กู ้ ยื ม ระยะสั้ น จากสถาบั น การเงิ น และ เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินจ�ำนวน 6,624.9 ล้านบาท โดยหลักเป็นผลจากการช�ำระคืนเงินกู้ที่ใช้เป็นแหล่งเงินทุน สนับสนุนการแยกกิจการ ซึ่งมาจากการเพิ่มทุนของบริษัทฯ และการลดลงของตราสารอนุพันธ์ทางการเงินที่บันทึกเป็นหนี้ สินจ�ำนวน 423.7 ล้านบาท ด้วยเช่นกัน

ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายจ่ายลงทุนจ�ำนวน 3,196.1 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายลงทุนเพื่อการสร้างและขยายฐานการ ผลิตยางแท่งจ�ำนวน 1,828.2 ล้านบาท และรายจ่ายลงทุนเพื่อ การขยายก�ำลังการผลิตของถุงมือยางจ�ำนวน 656.7 ล้านบาท โดยมีแหล่งเงินทุนหลัก ได้แก่ การเพิ่มทุนจากผู้ถือหุ้น เงินกู้ยืม ระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินไม่หมุนเวียน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีเงินกู้ยืมในรูปแบบของเงิน กู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงิน หู้นกู้ และหนี้สิน ตามสัญญาเช่าทางการเงิน จ�ำนวนทั้งสิ้น 32,306.0 ล้านบาท (โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมของระยะเวลาครบก�ำหนดช�ำระ อัตราดอกเบี้ย และยอดคงเหลือเหลือของภาระผูกพันตามสกุล เงิน ในหมายเหตุประกอบงบข้อ 23) ทั้งนี้ ในไตรมาส 3 ปี 2560 ด้วยสภาวะความผันผวนอย่างรุนแรงของราคายางธรรมชาติ และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ท�ำให้บริษัทฯ ไม่สามารถด�ำรงอัตราส่วน Net Long-Term Debt to EBITDA ที่ 4.5 เท่า ได้ตามที่ระบุไว้ ในสัญญากู้ยืมเงินกับสถาบันการเงิน อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ได้แจ้ง สถาบั น การเงิ น เพื่ อ ขอผ่ อ นผั น การด� ำ รงอั ต ราส่ ว นดั ง กล่ า ว ตลอดจนได้ ป รั บ กลยุ ท ธ์ ใ นการด� ำ เนิ น งานให้ ส อดคล้ อ งกั บ สภาวการณ์และความผันผวนในปัจจุบัน และจัดให้มีหน่วยงานที่ ติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างใกล้ชิด เพื่อสามารถแก้ไขปัญหา ที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที โดย ณ สิ้นปี 2560 สามารถรักษา อัตราส่วนดังกล่าวให้อยู่ในระดับที่สถาบันการเงินก�ำหนด

หนี้สินไม่หมุนเวียน ณ สิ้นปี 2560 เท่ากับ 10,574.4 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 29.0 ของหนี้สินรวม เพิ่มขึ้น 7,363.8 ล้านบาท หรือร้อยละ 229.4 จาก ณ สิ้นปีก่อน โดยหลักมาจาก การเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หักส่วน ที่ครบก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี) จ�ำนวน 7,193.1 ล้านบาท สืบเนื่องจากการ push down เงินกู้ที่ใช้ในการแยกกิจการไปที่ STGT เป็นจ�ำนวน 3,000 ล้านบาท ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ สิน้ ปี 2560 เท่ากับ 23,276.9 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 3,365.0 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.9 จากสิ้นปีก่อน ส่วนใหญ่ เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของส่วนเกินทุนจากการประเมินราคา ทรัพย์สนิ (สุทธิจากค่าเสือ่ มราคาสะสม) จ�ำนวน 2,752.6 ล้านบาท และการเพิ่มทุนจ�ำนวน 2,557.0 ล้านบาท หักลบด้วยก�ำไรสะสม ที่ยังไม่ได้จัดสรรลดลง 1,870.7 ล้านบาท อันเป็นผลมาจาก ขาดทุนสุทธิระหว่างปี

รายจ่ายส�ำหรับการวิจัยและพัฒนา (R&D) ในปี 2560 กลุ่มบริษัทฯ มีรายจ่ายส�ำหรับการท�ำงานวิจัยและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำนวน 16.3 ล้านบาท (รวมค่าใช้จ่ายที่ได้รับ สนับสนุนจากรัฐบาลเป็นจ�ำนวนเงิน 0.35 ล้านบาท) ครอบคลุม ทุกกลุ่มผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ทั้งผลิตภัณฑ์ยางแท่ง น�้ำยางข้น ยางแผ่นรมควัน และผลิตภัณฑ์ถุงมือยาง โดยรายจ่ายส�ำหรับ การวิจัยและพัฒนาทั้งหมดทางบริษัทมุ่งเน้นในการพัฒนาเพิ่ม ศั ก ยภาพของกระบวนการผลิ ต รวมทั้ ง พั ฒ นาคุ ณ ภาพของ ผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า และการ จัดการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

ความสามารถในการช�ำระเงินกู้และการปฏิบัติตามเงื่อนไข ของวงเงิน

ณ สิ้นปี 2560 บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุนเท่ากับ 1.47 เท่า ลดลงจากปี 2559 ที่ 1.73 เท่า ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมา จากการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจ�ำนวน 255,999,998 หุ้น ซึ่งบริษัทฯ ได้รับเงินจากการเสนอขายหุ้นดังกล่าวเป็นจ�ำนวน 2,559,999,980 บาท

อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current ratio) อั ต ราส่ ว นสภาพคล่ อ งค� ำ นวณจากการหารยอดสิ น ทรั พ ย์ หมุนเวียนด้วยยอดหนี้สินหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีอัตราส่วนสภาพ คล่องเท่ากับ 0.97 เท่า และ 1.10 เท่า ตามล�ำดับ อัตราส่วน สภาพคล่องที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น สาเหตุหลักเป็นผลจากการลดลง

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

109


ของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีรวมทั้งสิ้นประมาณ 6,624.9 ล้านบาท อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed asset turnover ratio) อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรค�ำนวณจากการหารยอดขายด้วยมูลค่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) เฉลี่ย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรเท่ากับ 4.58 เท่า และ 4.12 เท่า ตามล�ำดับ สาเหตุของการลดลงของอัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวรเป็นผลมาจากรายได้ที่ปรับตัวสูงขึ้นในอัตราที่น้อยกว่าการเพิ่ม ขึ้นของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อันเนื่องมาจากการขยายก�ำลังการผลิต รวมถึงสวนยางพาราและสวนปาล์ม อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on assets “ROA”) อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ค�ำนวณจากการหารก�ำไรสุทธิ (ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่) ด้วยสินทรัพย์รวมเฉลี่ย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีอัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์เท่ากับร้อยละ (1.52) และร้อยละ (2.48) ตามล�ำดับ การปรับตัวลดลงของ ROA เป็นผลมาจากผลประกอบการขาดทุนสุทธิที่เพิ่มขึ้นในปี 2560 อัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (Return on equity “ROE”) อัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นค�ำนวณจากการหารก�ำไรสุทธิ (ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่) ด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นรวมเฉลี่ย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีอัตราส่วนผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเท่ากับร้อยละ (3.69) และร้อยละ (6.65) ตามล�ำดับ เช่นเดียวกันกับ ROA การปรับตัวลดลงของ ROE เป็นผลมาจากผลประกอบการขาดทุนสุทธิที่เพิ่มขึ้นในปี 2560 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to equity ratio “D/E”) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ค�ำนวณจากการหารหนี้สินรวมของบริษัทฯ ด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นรวมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 1.81 เท่า และ 1.57 เท่า ตามล�ำดับ การปรับตัวลดลงของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเป็นผลมาจากการลดลงของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีอันเป็นผลจากการเพิ่มทุนของบริษัทฯ

มุมมองธุรกิจในอนาคต ภาพรวมอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ 2559 %การเติบโตของเศรษฐกิจโลก (GDP) ประเทศพัฒนาแล้ว ประเทศเกิดใหม่และประเทศที่กำ�ลังพัฒนา ประเทศจีน (ผู้บริโภคยางธรรมชาติรายใหญ่ของโลก) ปริมาณการผลิตยานพาหนะ (ล้านคัน) % change

ปริมาณการผลิตยางล้อ (ล้านเส้น) % change

ปริมาณความต้องการยางธรรมชาติ (‘000 ตัน) % change

2560

2561F

3.2% 1.7% 4.4% 6.7% 96

3.7% 2.3% 4.7% 6.8% 98

3.9% 2.3% 4.9% 6.6% 101

4.8%

2.4%

2.4%

1,842

1,887

1,966

4.5%

2.4%

4.2%

12,587

13,028

13,336

3.7%

3.5%

2.4%

แหล่งที่มา : IMF WEO Update, January 2018 and The World Rubber Industry Outlook forecasted by International Rubber Study Group (IRSG), December 2017

110

รายงานประจำ�ปี 2560


แม้ว่าอุปสงค์ของยางธรรมชาตินั้นยังเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งจากผู้ผลิตยางล้อซึ่งเป็นผู้บริโภคหลักของยางธรรมชาติคิดเป็นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 70 ของอุปสงค์รวม โดยในปี 2560 อัตราการบริโภคยางธรรมชาติของกลุ่มนี้ขยายตัวที่ร้อยละ 3.4 และอัตราการ บริโภคยางธรรมชาติในอุตสาหกรรมอื่นๆ ขยายตัวที่ร้อยละ 3.9 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการบริโภคจากอุตสาหกรรมถุงมือยางและถุงยาง ขณะเดียวกันอุปทานของยางธรรมชาติขยายตัวในสัดส่วนที่สูงกว่าการขยายตัวของอุปสงค์เกือบเท่าตัวอยู่ที่ร้อยละ 6.1 โดยปัจจัย ส�ำคัญมาจากปริมาณพืน้ ทีป่ ลูกสวนยางใหม่ในช่วงปี 2553 – 2555 ซึง่ เป็นช่วงทีร่ าคายางธรรมชาติอยูใ่ นระดับทีส่ งู และต้นยางทีป่ ลูก ในช่วงเวลาดังกล่าว เริม่ ถึงก�ำหนดเวลาทีส่ ามารถเก็บเกีย่ วได้ในปี 2560 อีกหนึง่ ปัจจัยทีท่ ำ� ให้ปริมาณยางธรรมชาติเพิม่ ขึน้ คือ ในช่วงที่ ราคายางธรรมชาติตกต�ำ่ ชาวสวนยางบางรายอาจมีแนวโน้มทีจ่ ะกรีดยางถีข่ นึ้ เพือ่ ให้มรี ายได้เพียงพอส�ำหรับค่าใช้จา่ ยภายในครัวเรือน ส�ำหรับอุตสาหกรรมยางธรรมชาติในปี 2561 ประเมินว่าจะเริ่มขยายตัวได้ดีขึ้นสอดคล้องตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก และราคา น�้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้นตั้งแต่ปลายปี 2560 ซึ่งอาจเป็นปัจจัยส่งเสริมที่ผลักดันให้ราคายางธรรมชาติเพิ่มขึ้นได้ เนื่องจากน�้ำมันเป็น วัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตยางสังเคราะห์ซึ่งเป็นสินค้าทดแทนยางธรรมชาติ กอปรกับปริมาณสต๊อกยางธรรมชาติที่นครชิงเต่า ประเทศ จีน ณ สิ้นปี 2560 อยู่ที่ 134,500 ตัน ซึ่งต�่ำกว่าค่าเฉลี่ย 7 ปีย้อนหลังประมาณ 50,000 ตัน อาจเป็นอีกหนึ่งปัจจัยบวกต่อราคายาง ธรรมชาติในปี 2561 อีกทั้ง การบริโภคยางธรรมชาติในอุตสาหกรรมอื่นๆ มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2561 คาดการณ์ ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 5.2 ซึ่งโดยหลักมาจากการบริโภคที่เพิ่มขึ้นของประเทศจีน และมาเลเซีย นับตั้งแต่กลางปี 2560 จนถึงต้นปี 2561 ภาครัฐได้ก�ำหนดนโยบายและมาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาราคายางพาราตกต�่ำ ทั้งการ จัดตั้ง บจ. ร่วมทุนยางพาราไทย มาตรการชดเชยดอกเบี้ยและส่งเสริมสินเชื่อให้แก่ ผู้ประกอบกิจการมาตรการส่งเสริมการใช้ยาง ภายในประเทศ มาตรการลดปริมาณผลผลิตทั้งการโค่นต้นยางและการหยุดกรีดยาง ตลอดจนการประกาศให้ยางพาราเป็นสินค้า ควบคุมของกระทรวงพาณิชย์ เพื่อเป็นมาตรการให้แก่รัฐบาลในการแก้ไขปัญหาราคายางพาราตกต�่ำในอนาคต นอกจากนี้ ยังมีการแทรกแซงโดยการลดปริมาณ (Quotas) การส่งออกยางธรรมชาติรวม 350,000 ตัน ในช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2561 โดยรัฐบาลของประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติหลัก ได้แก่ ประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งการแทรกแซงดังที่ กล่าวมานี้ เป็นความพยายามที่จะสร้างปัจจัยที่ส่งเสริมให้ราคาธรรมชาติปรับตัวสูงขึ้นผ่านทางการควบคุมอุปทาน อย่างไรก็ดี การ เคลื่อนไหวของสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก ยังคงได้รับผลกระทบจากปัจจัยอื่นๆ อาทิ การเก็งก�ำไรในตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Futures Market) ทั้งในตลาด SICOM, TOCOM และตลาดเซี่ยงไฮ้ฟิวเจอร์ (SHFE) ที่อาจท�ำให้ราคายางธรรมชาติเคลื่อนไหวไม่สอดคล้องกับ ปัจจัยพื้นฐาน เป็นต้น

ความสมดุลของอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติ ปริมาณอุปสงค์และอุปทานของยางธรรมชาติของโลกในช่วงปี 2559 - 2561 หน่วย : 000’ตัน ปริมาณการผลิตยางธรรมชาติ % change

ปริมาณการบริโภคยางธรรมชาติ % change

ปริมาณการผลิตส่วนเกิน

2559 12,451

2560 13,210

2561F 13,462

1.5%

6.1%

1.9%

12,587

13,028

13,336

3.7%

3.5%

2.4%

(136)

182

126

แหล่งที่มา : The World Rubber Industry Outlook forecasted by International Rubber Study Group (IRSG), December 2017

ตามข้อมูลประมาณการของ The World Rubber Industry Outlook, Review and Prospect to 2026 ประจ�ำเดือนธันวาคม 2560 โดย International Rubber Study Group (IRSG) ความต้องการใช้ยางธรรมชาติทั่วโลกในปี 2560 คาดว่าจะมีประมาณ 13,028,000 ตัน เติบโตในอัตราร้อยละ 3.5 ซึ่งเติบโตในอัตราที่สูงกว่าการเติบโตของอุตสาหกรรมยางล้อซึ่งเป็นผู้บริโภคหลักของยาง ธรรมชาติคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 ของอุปสงค์รวม ในขณะที่ปริมาณการผลิตยางธรรมชาติ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

111


ในปี 2560 เท่ากับ 13,210,000 ตัน หรือเติบโตร้อยละ 6.5 ซึ่งเติบโตมากกว่าการเติบโตของอุปสงค์เกือบเท่าตัว โดยปริมาณอุปทานที่ เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่มาจากประเทศไทย เวียดนาม อินเดีย และอินโดนีเซีย ซึ่งมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 74 ของอุปทานรวม IRSG คาดการณ์ว่าแนวโน้มความต้องการยางธรรมชาติทั่วโลกในปี 2561 จะเท่ากับ 13,336,000 ตัน เติบโตคิดเป็นร้อยละ 2.4 ซึ่งส่วน ใหญ่มาจากการเติบโตจากประเทศจีน ซึ่งเป็นผู้บริโภคยางรายใหญ่ที่สุดของโลก ในส่วนของอุปทาน IRSG ได้ประมาณการว่าผลผลิต ยางธรรมชาติในปี 2561 จะเท่ากับ 13,462,000 ตัน เติบโตขึ้นร้อยละ 1.9 โดยปริมาณผลผลิตยางธรรมชาติที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่มาจาก กลุ่มประเทศ CAMAL* ประเทศไทย อินเดีย และเวียดนาม ในขณะที่ปริมาณผลผลิตของประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่อันดับ หนึ่งอย่างประเทศไทยนั้นมีแนวโน้มค่อนข้างคงที่ เนื่องจากต้นยางที่ปลูกยางใหม่และต้นยางที่ปลูกทดแทนต้นเดิมที่ลดลง ในปี 2561 เป็นทีค่ าดการณ์วา่ ผลผลิตยางธรรมชาติจากต้นยางทีป่ ลูกใหม่จะเติบโตในอัตราทีล่ ดลง เนือ่ งจากการปลูกต้นยางใหม่ปรับตัว ลดลงภายหลังจากช่วงทีร่ าคายางธรรมชาติปรับตัวลดลงมาอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2554 นอกจากนี้ การทีร่ าคายางอยูใ่ นระดับต�ำ่ หลายปี ติดต่อกันส่งผลให้เกษตรกรหันไปปลูกพืชอื่นทดแทน หรือเลื่อนระยะเวลาการปลูกต้นยางใหม่หรือการปลูกทดแทนออกไป รวมถึง อาจส่งผลให้จ�ำนวนแรงงานกรีดยางและความถี่ในการกรีดยางลดลง ตลอดจนลดความน่าสนใจที่จะมีชาวสวนยางรายใหม่เกิดขึ้นด้วย ในขณะที่ความต้องการยางธรรมชาติยังเติบโตอย่างต่อเนื่องตามการเติบโตของอุตสาหกรรมยางล้อ ดังนั้น IRSG จึงคาดการณ์ว่า ปริมาณผลผลิตส่วนเกินในปี 2561 จะอยู่ที่ 126,000 ตัน ลดลงจากปี 2560 ที่ปริมาณผลผลิตส่วนเกินอยู่ที่ 182,000 ตัน หมายเหตุ: *กลุ่มประเทศ CAMAL ได้แก่ ประเทศกัมพูชา เมียนมา และลาว

กลยุทธ์การประกอบธุรกิจและความคืบหน้าของแผนการขยายธุรกิจตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานของบริษัทฯ ธุรกิจต้นน�้ำ – พัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อเสริมก�ำลังให้การด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีพื้นที่ส�ำหรับธุรกิจสวนยางพาราประมาณ 50,000 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่กว่า 19 จังหวัดใน ประเทศไทย ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีสัดส่วนสวนยางที่ปลูกไปแล้วทั้งสิ้นร้อยละ 89 บางส่วนเริ่มทยอยให้ผลผลิตตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา ซึ่งได้ส่งผลดีต่อกลยุทธ์การสรรหาวัตถุดิบส�ำหรับธุรกิจกลางน�้ำซึ่งเป็นธุรกิจหลัก ของบริษัทฯ การมีสวนยางพาราเป็นของตัวเองนั้น ถือเป็นการช่วยชี้น�ำพื้นที่ที่มีศักยภาพในการจัดตั้งโรงงานแห่งใหม่ดังตัวอย่างที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้จัดตั้งโรงงานแห่งใหม่ในพื้นที่ 5 จังหวัดที่บริษัทฯ มีสวนยางพาราอยู่ ได้แก่ พิษณุโลก กาฬสินธุ์ สระแก้ว สกลนคร และเชียงราย อีกทั้ง ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดหาวัตถุดิบและความคล่องตัวให้กับบริษัทฯ ในการรวบรวมวัตถุดิบจากพื้นที่ใกล้เคียงได้ในราคา ที่เหมาะสม ซึ่งคาดว่าจะส่งผลให้กลุ่มบริษัทฯ สามารถควบคุมต้นทุนและมีความสามารถในการท�ำก�ำไรดีขึ้น

112

รายงานประจำ�ปี 2560


ธุ ร กิ จ กลางน�้ ำ – ขยายก� ำ ลั ง การผลิ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ขยายส่วนแบ่งการตลาดให้ถึงร้อยละ 20 ของอุปสงค์ยาง ธรรมชาติของโลก บริษทั ฯ ยังคงสานต่อนโยบายสร้างโรงงานใหม่อย่างต่อเนือ่ งด้วย เทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดเพื่อให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพ สูงสุดในพื้นที่ใหม่ๆ เช่น ภาคเหนือของประเทศไทย เพิ่มเติม จากพื้นที่ยุทธศาสตร์เดิมที่มี และด้วยการผนึกก�ำลังของทีม งานที่แข็งแกร่งไม่ว่าจะเป็นทีมขาย ทีมวิจัยและพัฒนา ทีม ประกันคุณภาพ และทีม CSR ที่ร่วมมือกันท�ำงานเพื่อสร้าง ความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าควบคู่ไปกับการสานสัมพันธ์ ให้ แ น่ น แฟ้ น ยิ่ ง ขึ้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง มี ค วามมั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ จะ สามารถสร้ า งประวั ติ ศ าสตร์ ป ริ ม าณการขาย อั น จะท� ำ ให้ บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้าหมายอันสูงสุดในการเป็น “STA 20” หรือ การมีปริมาณการขายคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20 ของปริมาณ ความต้องการบริโภคยางธรรมชาติของโลกได้ในเวลาอันใกล้ ณ สิ้นปี 2560 บริษัทฯ มีโรงงานผลิตยางธรรมชาติทั้งสิ้นจ�ำนวน 36 แห่ง แบ่งออกเป็น 32 แห่งในประเทศไทย 3 แห่งในประเทศ อินโดนีเซีย และอีก 1 แห่งในประเทศเมียนมา โดยในระหว่างปี มี โ รงงานยางแท่ ง แห่ ง ใหม่ ที่ จั ง หวั ด เชี ย งราย และสกลนคร ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2560 บริษัทฯ มีก�ำลังการผลิตทางวิศวกรรมที่ 2.6** ล้านตันต่อปี แม้จะลดลงจากเป้าหมายที่ปรับประมาณ การแล้วที่ 2.7 ล้านตันต่อปี เนื่องจากการขยายก�ำลังการผลิต ของโรงงานผลิตน�้ำยางข้นบางส่วนถูกชะลอไปในปี 2561 และ โรงงานแห่งใหม่ที่สร้างขึ้นในปี 2560 ยังไม่สามารถเดินการผลิต ได้อย่างเต็มที่ แต่บริษัทฯ ยังคงมีก�ำลังการผลิตทางวิศวกรรมสูง ที่สุดในอุตสาหกรรม หมายเหตุ: **ก�ำลังการผลิตทางวิศวกรรมค�ำนวณจากข้อมูลจ�ำเพาะที่ได้ รับการรับรองจากผู้ผลิตเครื่องจักร ทั้งนี้ ก�ำลังการผลิตของเราได้รวมก�ำลัง การผลิตทางวิศวกรรมของ ของบริษัท ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ด้วยเช่นกัน

ธุรกิจปลายน�ำ้ – ตัง้ เป้าติดอันดับผูผ้ ลิตถุงมือยางทางการแพทย์ 1 ใน 3 ของโลก ภายหลั ง จากการแยกกิ จ การกั บ บริ ษั ท ร่ ว มและบริ ษั ท ร่ ว ม ค้ า ระหว่ า งกั น เสร็ จ สมบู ร ณ์ ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ฯ เพิ่ ม สั ด ส่ ว น การถื อ หุ ้ น ใน บจ. สยามเซมเพอร์ เ มด (ชื่ อ เดิ ม ก่ อ นวั น ที่ 16 มีนาคม 2560) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บจ. ศรีตรัง โกลฟส์ (ประเทศไทย) (“STGT”) จาก 40.2% เป็น 90.2% ผลประกอบการของ STGT จึงถูกบันทึกอยูใ่ นงบการเงินรวมของ บริษทั ฯ นับตัง้ แต่วนั ที่ 15 มีนาคม 2560 เป็นต้นมา

บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะเพิ่มพูนศักยภาพการแข่งขันและ ความได้ เ ปรี ย บที่ มี เ หนื อ คู ่ แ ข่ ง คื อ การเข้ า ถึ ง แหล่ ง วั ต ถุ ดิ บ อันได้แก่ น�ำ้ ยางข้น ด้วยปริมาณและคุณภาพที่เป็นเลิศ พร้อมทั้ง การรักษาไว้ซึ่งการผลิตถุงมือยางไนไตรล์ เพื่อตอบสนองต่อ ความต้ อ งการของลูกค้าในทั่วทุกมุมโลก บริษัทฯ ได้ท�ำการ ขยายก�ำลังการผลิตถุงมือยางซึ่งคาดว่าจะท�ำให้บริษัทฯ มีก�ำลัง การผลิตประมาณ 18,000 ล้านชิ้นต่อปีภายในปี 2562 จากเดิม ที่มีก�ำลังการผลิต 14,000 ล้านชิ้นต่อปี ณ สิ้นปี 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

113


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบโดยการแต่งตั้งของคณะกรรมการบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการ อิสระจ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ โดยกรรมการ 2 ใน 3 ท่าน มีความรู้ทางด้านบัญชีและการเงิน ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายเกรียง ยรรยงดิลก กรรมการตรวจสอบ 3. นายสมัชชา โพธิ์ถาวร กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติงานภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับการมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยในปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมรวม 10 ครั้ง นายประกอบ วิศิษฐ์กิจการ และนายสมัชชา โพธิ์ถาวรได้เข้าร่วม ประชุมทุกครั้ง โดยนายเกรียง ยรรยงดิลก เข้าร่วมประชุม 9 ครั้ง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้บริหารระดับสูง ที่เกี่ยวข้อง ผู้จัดการกลุ่มงานตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีในวาระที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการตรวจสอบได้ก�ำกับดูแลในเรื่องต่างๆ สรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ • ความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลทางการเงินสอบทานรายงานทางการเงินรายไตรมาสและงบการเงินส�ำหรับปี 2560 ให้ เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป โดยร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ผู้จัดการสายงานบัญชีและการเงิน (CFO) และผู้บริหารบริษัท เพื่อสอบทานสาระข้อมูล ความถูกต้องของงบการเงินของบริษัทฯ ได้มีการตรวจสอบและสอบทาน โดยให้ความส�ำคัญในประเด็นหลักๆ มีการรับฟังการชี้แจง และซักถามแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ ก่อนที่จะให้ความ เห็นชอบเพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารอนุมัติงบการเงินดังกล่าว • พิจารณาแผนการตรวจสอบภายในและสอบทานผลการตรวจสอบภายใน ซึง่ กลุม่ งานตรวจสอบภายในได้ดำ� เนินการไปในระหว่างปี รวมถึงการสอบทานระบบควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยงให้มีความเพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ • สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีโดยได้ก�ำกับและดูแลให้มี การปฏิบัติตามข้อบังคับของบริษัท ข้อก�ำหนด คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย กฎหมายที่เกี่ยวข้องและหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยให้มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศ อย่างเพียงพอและ โปร่งใส • สอบทานการเข้าท�ำรายการและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายการระหว่างกันของบริษัทฯ ซึ่งอาจท�ำให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ร ะหว่ า งผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย กั บ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ผลการสอบทานพบว่ า ได้ ด� ำ เนิ น การตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • พิ จ ารณาคั ด เลื อ กเสนอแต่ ง ตั้ ง ผู ้ ส อบบั ญ ชี แ ละเสนอค่ า สอบบั ญ ชี ป ระจ� ำ ปี 2561 เพื่ อ น� ำ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ขออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความเป็นอิสระ และความเหมาะสมของค่าตอบแทน โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแล้วมีความเห็นว่าการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ในปีที่ผ่านมามีระบบการควบคุมภายในและ การบริหารจัดการความเสี่ยงที่เพียงพอและเหมาะสม รายงานข้อมูลทางการเงินจัดท�ำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจของบริษัท ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ โดยมีสิทธิและใช้ดุลพินิจได้อย่างอิสระ รวมถึงไม่มีข้อจ�ำกัดในการ เข้าถึงข้อมูลต่างๆ

นายประกอบ วิศษิ ฐ์กจิ การ

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กุมภาพันธ์ 2561

114

รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวม ของบริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ยอย รวมถึงขอมูลสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฎในรายงานประจ�ำป 2560 งบการเงินส�ำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ดังกลาว ไดจดั ท�ำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป โดยใชนโยบายการบัญชีที่ เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม�่ำเสมอ รวมทั้งไดใชดุลพินิจอยางระมัดระวังและใชหลักประมาณการอยางสมเหตุสมผลในการจัดท�ำ รวมทัง้ มีการเปด เผยขอ มูลส�ำคัญอยา งเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพือ่ แสดงถึงฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และกระแส เงินสดไดอยางถูกตอง โปรงใส เปนประโยชนตอผูถือหุนและนักลงทุนทั่วไป งบการเงินดังกลาวไดผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชี รับอนุญาตจาก บริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคเู ปอรส เอบีเอเอส จ�ำกัด โดยในการตรวจสอบบริษทั ไดใหการสนับสนุนขอมูลและเอกสารตางๆ เพือ่ ใหผ สู อบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดงความเห็นไดตามมาตรฐานการสอบบัญชี คณะกรรมการบริษัทไดตระหนักถึงภาระหนาที่และความรับผิดชอบในการจัดท�ำรายงานทางการเงินใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดจัดใหมีและด�ำรงไวซึ่งระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายในทั้งดานการปฏิบัติงาน และดานระบบสารสนเทศ ทีเ่ กีย่ วขอ ง การตรวจสอบภายใน และการก�ำกับดูแลทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล เพือ่ ใหมนั่ ใจวาขอมูลทางบัญชีมคี วามถูกตอง ครบถวน และเพียงพอทีจ่ ะด�ำรงไวซงึ่ ทรัพยสนิ ของบริษทั และปองกันความเสีย่ ง ตลอดจนเพือ่ ไมใหเกิดการทุจริตหรือด�ำเนินการทีผ่ ดิ ปกติอยางเปน สาระส�ำคัญ ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ไดแ ตง ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ชว ยก�ำกับดูแล สอบทานความนา เชือ่ ถือและความถูกตอ งของรายงาน ทางการเงิน การสอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และระบบการบริหารความเสีย่ ง ตลอดจนพิจารณาการเปดเผย ขอมูลรายการเกี่ยวโยงระหวางกันอยางครบถวน และเหมาะสม โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏอยูในรายงานจาก คณะกรรมการตรวจสอบซึง่ แสดงไวในรายงานประจ�ำปแลว จากการก�ำกับดูแลและการปฏิบตั ดิ งั กลาวขางตน คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในโดยรวมของบริษทั มีความ เพียงพอและเหมาะสม และสามารถสรางความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลไดวางบการเงินเฉพาะกิจการ และงบการเงินรวมของบริษัทและ บริษทั ยอย ส�ำหรับปส นิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีความถูกตอ งและเชือ่ ถือได โดยถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป และปฏิบตั ถิ กู ตอ งตามกฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วของทุกประการ

นายไวยวุฒิ สินเจริญกุล ประธานกรรมการและกรรมการผูจ ดั การ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

115


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

116

รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินของบริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลุ่มกิจการ) และงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริษัทแสดงฐานะการเงินรวมของกลุ่มกิจการและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 และผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะกิจการ กระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุด วันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน งบการเงินที่ตรวจสอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการประกอบด้วย • งบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 • งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน • งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุด วันเดียวกัน • งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และ • หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งรวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ เกณฑ์ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่วนของความรับผิดชอบ ของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระ จากกลุ่มกิจการและบริษัทตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการที่ก�ำหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามความรับผิดชอบ ด้านจรรยาบรรณอื่นๆ ซึ่งเป็นไปตามข้อก�ำหนดเหล่านี้ ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสม เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

117


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่างๆ ที่มีนัยส�ำคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้าในการตรวจสอบงบการ เงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการส�ำหรับงวดปัจจุบัน ข้าพเจ้าได้ระบุเรื่อง การรวมธุรกิจและมูลค่าของค่าความนิยมเป็นเรื่องส�ำคัญ ในการตรวจสอบและได้น�ำเรื่องเหล่านี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและ ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากส�ำหรับเรื่องเหล่านี้ เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

การรวมธุรกิจ

วิธีการปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารวมถึงเรื่องดังต่อไปนี้

อ้างอิงถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษัทข้อ 13 และ 37 สำ�หรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า และการซื้อธุรกิจ

• ประเมินการใช้ดุลยพินิจของผู้บริหารของกลุ่มกิจการเกี่ยวกับการ ซื้อธุรกิจใน บริษัท ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ว่าการ ประเมินมูลค่ายุติธรรมมีความเหมาะสมและเป็นไปตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจหรือไม่

เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการซื้อหุ้นเพิ่มเติมในบริษัท สยามเซมเพอร์เมด จำ�กัด (ซึ่งต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด) ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับผลิต ถุงมือที่ใช้ในทางการแพทย์ สิ่งตอบแทนทั้งหมดที่โอนให้จากการซื้อ มีมูลค่า 8,307 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินสดจ่ายสุทธิจำ�นวน 5,678 ล้านบาท มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในบริษัทร่วมและร่วมค้าจำ�นวน 641 ล้านบาท และมูลค่ายุตธิ รรมของส่วนได้เสียใน บริษทั ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึง่ ถืออยูก่ อ่ นวันรวมธุรกิจจำ�นวน 1,988 ล้านบาท การซื้อหุ้นเพิ่มเติมดังกล่าวทำ�ให้สัดส่วนการถือหุ้นเปลี่ยนแปลงจาก ร้อยละ 40.23 เป็นร้อยละ 90.23 ซึ่งทำ�ให้กลุ่มกิจการมีอำ�นาจการ ควบคุมใน บริษทั ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (Step acquisition) ผู้ บ ริ ห ารของกลุ่ ม กิ จ การประเมิ น การซื้ อ ธุ ร กิ จ ว่ า เข้ า เงื่ อ นไขของ การรวมธุรกิจภายใต้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ ผู้บริหารของกลุ่มกิจการประเมินมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิที่ สามารถระบุได้สทุ ธิ เท่ากับ 5,941 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่ประกอบด้วย ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์จำ�นวน 4,135 ล้านบาท และกลุ่มกิจการ รับรู้ค่าความนิยมจำ�นวน 2,954 ล้านบาท ในงบการเงินรวม ซึ่งการ ประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ที่ระบุสุทธิได้ใช้วิธีการปันส่วนราคาซื้อ และการประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเป็นไปตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ

118

รายงานประจำ�ปี 2560

• ประเมินความเหมาะสมของการรับรู้มูลค่าสินทรัพย์ที่ระบุได้ และ หนี้สินที่รับมา ณ วันที่ซื้อธุรกิจ โดยการอ่านและวิเคราะห์เนื้อหา ในบันทึกข้อตกลงและสัญญาที่เกี่ยวข้อง และการสอบถามเหตุผล ในการซื้อธุรกิจของผู้บริหารของกลุ่มกิจการ • ทดสอบวิธีการที่ผู้บริหารของกลุ่มกิจการประเมินมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ เช่น มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ โดยพิจารณารายงานประเมินมูลค่าโดยผู้ประเมิน ทรัพย์สินอิสระที่เกี่ยวข้อง • สอบถามเพิ่มเติมกับผู้บริหารของกลุ่มกิจการว่ามีสินทรัพย์และ หนี้สินที่ระบุได้อื่นๆ นอกเหนือจากที่ได้ระบุในบันทึกข้อตกลง และสัญญาที่เกี่ยวข้อง • ทดสอบการคำ�นวณค่าความนิยมที่เกิดจาการซื้อธุรกิจใน บริษัท ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึ่งเกิดจากผลแตกต่าง ระหว่างสิ่งตอบแทนทั้งหมดและมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ สามารถระบุได้สุทธิ ค่าความนิยมจำ�นวน 2,954 ล้านบาท เกิดขึ้น จากการที่ผู้บริหารของกลุ่มกิจการได้มาซึ่งการเพิ่มส่วนแบ่งการ ตลาดในธุรกิจถุงมือยางในต่างประเทศ


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ต่อ) เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

ข้าพเจ้าให้ความสำ�คัญเรื่องการวัดมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ ที่เกิดจากการรวมธุรกิจ รวมถึงค่าความนิยมที่เกิดจากการรวมธุรกิจ เนื่องจากมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ระบุได้ ณ วันซื้อธุรกิจ เป็นเรื่อง ที่ เ กี่ ย วกั บ การใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ที่ สำ�คั ญ ของผู้ บ ริ ห ารของกลุ่ ม กิ จ การ จากการกำ�หนดข้ อ สมมติ ฐ านที่ ใช้ ใ นการประมาณมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม ที่เกี่ยวข้อง เช่น รายได้ อัตรากำ�ไร และอัตราคิดลดที่ใช้ในการคำ�นวณ เป็นต้น

จากการปฏิบัติงานข้างต้นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าพบว่าข้อสมมติฐาน ที่ผู้บริหารของกลุ่มกิจการใช้ในการประเมิน มูล ค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้จากการรวมธุรกิจ มีความสมเหตุสมผล และ เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินในเรื่องการรวมธุรกิจ

มูลค่าของค่าความนิยม

วิธีการปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารวมถึงเรื่องดังต่อไปนี้

อ้างอิงถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษัทข้อ 4 และข้อ 18 เรื่องประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ และเรื่องค่าความนิยม

• ได้ทำ�ความเข้าใจ ประเมิน และทำ�การสอบถามในเชิงทดสอบ ต่อข้อมูลส่วนประกอบในประมาณการกระแสเงินสดของกลุ่ม กิจการ รวมถึงกระบวนการที่ใช้ในการคำ�นวณ และทดสอบ ความถูกต้องในการคำ�นวณของผู้บริหารของกลุ่มกิจการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจการมีรายการค่าความนิยม ที่มีจำ�นวนเงินที่เป็นสาระสำ�คัญในงบแสดงฐานะการเงินเป็นครั้งแรก ภายใต้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง กลุ่มกิจการ จำ�เป็นต้องทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมเป็นประจำ�ทุกปี หรือ เมื่อมีข้อบ่งชี้ของการด้อยค่า รวมถึงการระบุหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิดเงินสดที่เกี่ยวข้องกับค่าความนิยม ข้าพเจ้าให้ความสำ�คัญกับประเด็นดังกล่าวเนื่องจากมูลค่าของค่า ความนิยมมีจำ�นวน 2,954 ล้านบาทหรือ ประมาณร้อยละ 4.95 ของ สิ นทรั พย์ ร วมและความซับ ซ้อนในการประเมินมูลค่า และการใช้ ดุลยพินิจที่สำ�คัญที่เกี่ยวข้องกับข้อสมมติฐานต่าง ๆ ซึ่งอาจได้รับ ผลกระทบจากสภาวะของตลาดหรื อ สภาพเศรษฐกิ จ ในอนาคต กลุ่มกิจการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ (Value-in-use) ของ ค่าความนิยมโดยใช้วิธีคิดลดกระแสเงินสด (Discounted Cash Flow Model) โดยพิจารณาจากข้อสมมติฐานประกอบ ซึ่งต้องใช้ดุลยพินิจ ของผู้บริหารของกลุ่มกิจการ เช่น อัตราการเติบโตของรายได้ และ อัตราคิดลดที่ใช้ในการคำ�นวณประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน

• ได้เปรียบเทียบประมาณการกระแสเงินสดกับงบประมาณและ แผนธุรกิจที่ได้รับอนุมัติ และหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องกับแผนการ ในอนาคต • ได้เปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานที่เกิดขึ้นจริงในปีปัจจุบันกับ ตัวเลขทีค่ าดการณ์ไว้ในปีกอ่ นเพือ่ พิจารณาว่า ผลการดำ�เนินงาน ที่คาดการณ์ไว้ในปีก่อนเป็นการประมาณการในแง่บวกเกินกว่า ผลการดำ�เนินงานที่เกิดขึ้นจริงหรือไม่ • ประเมินสมมติฐานที่สำ�คัญของผู้บริหารของกลุ่มกิจการที่ใช้ใน การคาดการณ์โดยการเปรียบเทียบกับตัวเลขในอดีตและการ คาดการณ์สภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม • ได้ทดสอบตัวแปรที่นำ�มาใช้ในการพิจารณาอัตราคิดลดและ ทดสอบการคำ�นวณของอัตราดังกล่าว

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

119


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ต่อ) เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบ สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ผูบ้ ริหารของกลุม่ กิจการได้ จัดทำ�การทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมโดย 1. ค�ำนวณมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ของแต่ละหน่วยสินทรัพย์ที่ ก่อให้เกิดเงินสดโดยวิธีคิดลดกระแสเงินสด วิธีการดังกล่าวใช้ กระแสเงินสด (รายได้ ค่าใช้จ่าย และรายจ่ายฝ่ายทุน) ส�ำหรับ หน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดในระยะเวลา 7 ปี และคิดมูลค่า สุดท้ายด้วยอัตราการเติบโตของธุรกิจคงทีต่ งั้ แต่ปที ี่ 7 หลังจากนัน้ กระแสเงินสดที่ค�ำนวณได้จะถูกคิดลดกลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน โดยใช้อัตราต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของเงินทุน 2. เปรียบเทียบผลลัพธ์ของมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์ของหน่วยสินทรัพย์ ทีก่ อ่ ให้เกิดเงินสดกับมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 งบแสดงฐานะการเงินของกลุม่ กิจการ แสดงค่าความนิยมจำ�นวน 2,954 ล้านบาท จากการทดสอบการ ด้อยค่าของค่าความนิยมประจำ�ปีโดยการเปรียบเทียบมูลค่าจากการ ใช้สินทรัพย์ของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดกับมูลค่าตามบัญชี ของหน่วยสินทรัพย์ดังกล่าว ผู้บริหารของกลุ่มกิจการได้ข้อสรุปว่า ไม่มีการด้อยค่าของค่าความนิยม ทั้งนี้สมมติฐานที่สำ�คัญที่เกี่ยวข้อง ได้เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริษัทข้อ 18

วิธีการตรวจสอบ • ได้ทำ�การสอบถามในเชิงทดสอบต่อผู้บริหารของกลุ่มกิจการ ในเรื่องความเหมาะสมของการคำ�นวณค่าความอ่อนไหวในแต่ละ หน่วยสิน ทรัพ ย์ท ี่ก่อให้เกิดเงิน สด การประมาณมูล ค่าของ ค่าความนิยมมีความอ่อนไหวตามการเปลี่ยนแปลงในสมมติฐาน ที่สำ�คัญ เช่น อัตราการเติบโตของธุรกิจ และอัตราคิดลด ในกรณี ที่อัตราดังกล่าวไม่เป็นไปตามที่คาดไว้ จะเป็นผลให้เกิดค่าเผื่อ การด้อยค่าที่จะเกิดขึ้นในอนาคต • ได้ประเมินความเพียงพอของการเปิดเผยในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ซึ่งรวมถึงการเปิดเผยเกี่ยวกับสมมติฐานที่สำ�คัญ จากวิธีการปฏิบัติงานข้างต้นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าพิจารณาว่า ข้อสมมติฐานที่สำ�คัญที่ผู้บริหารของกลุ่มกิจการใช้ และข้อสรุปที่ได้ มี ค วามสมเหตุ ส มผลตามหลั ก ฐานสนั บ สนุ น และเหมาะสมกั บ สถานการณ์และสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน และได้มีการเปิดเผย ข้อมูลไว้อย่างเพียงพอ

ข้อมูลอื่น กรรมการเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ข้อมูลอื่นประกอบด้วย ข้อมูลซึ่งรวมอยู่ในรายงานประจ�ำปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ และรายงานของผู้สอบบัญชีที่อยู่ในรายงานนั้น ข้าพเจ้าคาดว่าข้าพเจ้าจะได้รับรายงานประจ�ำปีภายหลังวันที่ ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่น และข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่อมั่น ต่อข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอ่านและพิจารณาว่า ข้อมูลอื่นมีความขัดแย้งที่มีสาระส�ำคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หรือกับความรู้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของ ข้าพเจ้า หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจ�ำปี หากข้าพเจ้าสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าต้องสื่อสาร เรื่องดังกล่าวกับคณะกรรมการตรวจสอบ

120

รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ต่อ) ความรับผิดชอบของกรรมการต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดท�ำและน�ำเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้ โดยถูกต้องตามที่ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่กรรมการพิจารณาว่าจ�ำเป็น เพื่อให้สามารถจัดท�ำ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการ ทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการจัดท�ำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มกิจการและบริษัท ในการด�ำเนินงานต่อเนื่อง เปิดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงานต่อเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชีส�ำหรับ การด�ำเนินงานต่อเนื่อง เว้นแต่กรรมการมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มกิจการและบริษัท หรือหยุดด�ำเนินงาน หรือไม่สามารถด�ำเนินงาน ต่อเนื่องต่อไปได้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ช่วยกรรมการในการก�ำกับดูแลกระบวนการในการจัดท�ำรายงานทางการเงินของกลุ่มกิจการ และบริษัท ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยรวมปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และเสนอ รายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูง แต่ไม่ได้ เป็นการรับประกันว่าการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระส�ำคัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และถือว่ามีสาระส�ำคัญเมื่อคาดการณ์ อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการ หรือทุกรายการรวมกันจะมีผลต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพและการสังเกต และสงสัย เยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารวมถึง •

ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ยง เหล่านั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งเป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจาก การทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรง ตามข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน

• ท�ำความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มกิจการและบริษัท • ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่กรรมการใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการเปิดเผย ข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องซึ่งจัดท�ำขึ้นโดยกรรมการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

121


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ต่อ) •

สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีส�ำหรับการด�ำเนินงานต่อเนื่องของกรรมการจากหลักฐานการสอบบัญชี ที่ได้รับ และประเมินว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัย อย่างมีนัยส�ำคัญต่อความสามารถของกลุ่มกิจการและบริษัทในการด�ำเนินงานต่อเนื่องหรือไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความ ไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้าโดยให้ข้อสังเกตถึงการเปิดเผยข้อมูลใน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่เกี่ยวข้อง หรือถ้าการเปิดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะ เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึ้นอยู่กับหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่มกิจการและบริษัทต้องหยุดการด�ำเนินงานต่อเนื่อง

• ประเมินการน�ำเสนอ โครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการ และเหตุการณ์ในรูปแบบที่ท�ำให้มีการน�ำเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตาม ที่ควรหรือไม่ • ได้รับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุ่มหรือกิจกรรมทางธุรกิจ ภายในกลุ่มกิจการเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการก�ำหนดแนวทาง การควบคุมดูแลและ การปฏิบัติงานตรวจสอบกลุ่มกิจการ ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบในเรื่องต่างๆ ที่ส�ำคัญซึ่งรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้ วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนัยส�ำคัญที่พบจากการตรวจสอบ และข้อบกพร่องที่มีนัยส�ำคัญในระบบการควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบ ในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้ค�ำรับรองแก่คณะกรรมการตรวจสอบว่า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระ และได้สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทั้งหมด ตลอดจนเรื่องอื่นซึ่งข้าพเจ้าเชื่อว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอก อาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าพเจ้าขาดความเป็นอิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่องต่างๆ ที่มีนัยส�ำคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบันและก�ำหนดเป็นเรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ในรายงานของ ผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือข้อบังคับไม่ให้เปิดเผยต่อสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว หรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระท�ำดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุผล ว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อส่วนได้เสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกล่าว บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด

ไพบูล ตันกูล

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4298 กรุงเทพมหานคร 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

122

รายงานประจำ�ปี 2560


งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

สิ นทรัพ ย์

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

สิ นทรัพ ย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ตราสารอนุพนั ธ์ทางการเงิน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุ ทธิ ลูกหนี้นายหน้าซื้ อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อยที่ถึงกําหนดชําระในหนึ่งปี สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

7 8 9

2,241,899,673 407,938,505 7,212,308,344 810,539,650 17,122,979,336 553,700,811

1,674,618,807 164,979,930 8,093,256,160 633,921,366 20,931,003,297 314,101,947

269,018,868 256,520,319 4,122,493,048 16,177,188 7,679,732,386 915,873,439 170,573,304

341,997,422 20,160,205 3,526,070,485 22,980,570 10,860,738,679 534,882,000 112,720,704

28,349,366,319

31,811,881,507

13,430,388,552

15,419,550,065

12,139,002 367,990,023 362,012,280 153,299,352 24,189,691,410 1,832,376,416 459,793,735 2,953,782,343 188,910,160 574,760,228 197,989,016 65,671,088

12,320,480 1,489,919,788 3,699,158,251 59,129,766 15,765,513,625 1,573,403,867 480,804,744 151,931,585 365,540,461 492,342,586 56,608,008

1,625,730,000 18,153,388,548 157,568,800 134,716,526 152,097,250 8,944,117,159 4,343,101 440,581,393 75,663,125 455,811,324 20,504,590

1,539,321,476 11,246,845,292 619,177,500 197,716,526 58,013,714 6,804,703,563 2,550,659 469,980,922 27,769,750 343,758,512 139,499,375 17,761,640

รวมสิ นทรัพ ย์ ไม่ หมุนเวียน

31,358,415,053

24,146,673,161

30,164,521,816

21,467,098,929

รวมสิ นทรัพ ย์

59,707,781,372

55,958,554,668

43,594,910,368

36,886,648,994

10 38.4 11

รวมสิ นทรัพ ย์ หมุนเวียน สิ นทรัพ ย์ ไม่ หมุนเวียน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อย เงินฝากประจําที่ติดภาระคํ้าประกัน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในการร่ วมค้า เงินลงทุนระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ สวนยางพาราและสวนปาล์ม - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุ ทธิ ค่าความนิยม อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

38.4 12 13.1 13.2 13.3 14 15 16 17 18 19 20 21

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ กรรมการ _____________________________________ กรรมการ _____________________________________

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

123 7


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

หนีส้ ิ นและส่ วนของเจ้ าของ

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

หนีส้ ิ นหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่ วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี - เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน - หุน้ กู้ - หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน ตราสารอนุพนั ธ์ทางการเงิน ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

22 23

2,614,839,606 21,786,026,285

3,167,835,158 23,433,814,874

1,719,257,283 14,754,529,000

1,740,184,886 14,338,230,000

23.1 23.2 23.4 8

420,654,000 600,000,000 13,167,077 231,242,576 153,519,811 37,026,162

5,397,791,500 8,333,682 654,919,773 113,819,683 59,553,051

300,000,000 600,000,000 4,092,254 198,130,309 18,144,656

4,276,387,500 2,466,055 460,845,943 27,472,890

25,856,475,517

32,836,067,721

17,594,153,502

20,845,587,274

23.1 23.2 23.4 20

7,193,710,000 2,265,000,000 27,521,245 745,028,559

654,000 2,865,000,000 5,127,618 119,339,871

4,313,710,000 2,265,000,000 9,541,549 91,236,924

2,865,000,000 4,424,685 -

24

308,188,201 34,966,411

185,232,931 35,214,923

93,046,446 -

83,946,773 -

รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน

10,574,414,416

3,210,569,343

6,772,534,919

2,953,371,458

รวมหนีส้ ิ น

36,430,889,933

36,046,637,064

24,366,688,421

23,798,958,732

รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์ พนักงานเมื่อเกษียณอายุ หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

124

รายงานประจำ�ปี 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 8


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน)ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

หนีส้ ิ นและส่ วนของเจ้ าของ (ต่อ)

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

ส่ วนของเจ้ าของ ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ จํานวน 1,535,999,998 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท (พ.ศ. 2559 : 1,280,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท)

25

1,535,999,998

1,280,000,000

1,535,999,998

1,280,000,000

1,535,999,998 10,851,951,634

1,280,000,000 8,550,989,821

1,535,999,998 10,851,951,634

1,280,000,000 8,550,989,821

(173,134,488)

(173,134,488)

-

-

26

4,049,446,188

1,296,859,775

1,944,873,058

552,826,994

26 26

16,432,908 (666,077,422)

12,755,614 (284,004,450)

15,842,499 -

12,234,045 -

27

128,000,000 7,165,408,573

128,000,000 9,036,069,449

128,000,000 4,751,554,758

128,000,000 2,563,639,402

รวมส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของของบริษทั ใหญ่ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

22,908,027,391 368,864,048

19,847,535,721 64,381,883

19,228,221,947 -

13,087,690,262 -

รวมส่ วนของเจ้ าของ

23,276,891,439

19,911,917,604

19,228,221,947

13,087,690,262

รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของเจ้ าของ

59,707,781,372

55,958,554,668

43,594,910,368

36,886,648,994

ทุนที่ออกและชําระแล้ว หุน้ สามัญ จํานวน 1,535,999,998 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท (พ.ศ. 2559 : 1,280,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท) ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ ส่ วนตํ่าจากการซื้ อเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเพิ่ม จากส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม ส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากค่าเสื่ อมราคาสะสม กําไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผือ่ ขาย ผลต่างสะสมจากการแปลงค่า กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร

25

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

125 9


งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

งบการเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

หมายเหตุ รายได้จากการขายสิ นค้าและการให้บริ การ ต้นทุนขายและการให้บริ การ

28

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

89,386,993,929 (85,610,561,379)

77,265,520,124 (71,852,023,677)

52,043,740,465 (51,196,015,886)

38,335,071,028 (35,676,914,450)

3,776,432,550

5,413,496,447

847,724,579

2,658,156,578

685,514,539 (3,467,108,936) (2,391,953,935) 561,552,355 223,626,008 132,699,762

197,507,663 (3,173,723,974) (2,262,237,599) 6,395,407 -

5,032,645,582 (2,454,094,311) (817,600,146) 390,188,554 217,824,854

463,115,714 (2,379,986,428) (915,859,293) 76,688,823 -

47,893,375 99,514,766

(1,887,415) (983,259,130)

47,893,375 (88,165,844)

(734,519,425)

(331,829,516)

(803,708,601)

3,176,416,643

(832,404,031)

129,841,447

402,762,216

-

-

(201,988,069)

(400,946,385)

3,176,416,643

(832,404,031)

49,660,662 (1,245,583,847)

35,309,641 (707,334,973)

117,239,265 (751,216,541)

75,390,451 (417,347,562)

33

(1,195,923,185)

(672,025,332)

(633,977,276)

(341,957,111)

34

(1,397,911,254) (20,630,081)

(1,072,971,717) 283,242,022

2,542,439,367 126,037,063

(1,174,361,142) 262,459,952

(1,418,541,335)

(789,729,695)

2,668,476,430

(911,901,190)

2,848,898,073 (17,921,651)

(112,532,597) (963,576)

1,423,477,027 7,963

(87,977,135) 573,990

รวมรายการที่จะไม่จดั ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง

2,830,976,422

(113,496,173)

1,423,484,990

(87,403,145)

รายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ เข้ าไปไว้ ใ นกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย - สุ ทธิ จากภาษี ผลต่างจากการแปลงค่า

3,677,294 (390,899,513)

6,802,909 (13,567,292)

3,608,454 -

6,636,403 -

รวมรายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง

(387,222,219)

(6,764,383)

3,608,454

6,636,403

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปี - สุ ทธิจากภาษี

2,443,754,203

(120,260,556)

1,427,093,444

(80,766,742)

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

1,025,212,868

(909,990,251)

4,095,569,874

(992,667,932)

กําไรขั้นต้ น รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน - สุ ทธิ กําไรจากการประเมินราคายุติธรรมจากการเปลี่ยนหมวดเงินลงทุน กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและเงินลงทุนทัว่ ไป กําไร(ขาดทุน)จากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม ในอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน กําไร(ขาดทุน)อื่น - สุ ทธิ

31

37

19 32

กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า

13.2, 13.3

กําไร(ขาดทุน)ก่อนต้ นทุนทางการเงินสุ ทธิและภาษีเงินได้ รายได้ทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน - สุ ทธิ กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ รายได้(ค่าใช้จ่าย)ภาษีเงินได้ กําไร(ขาดทุน)สําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไม่ จัดประเภทรายการใหม่ เข้ าไปไว้ ใ นกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง การเปลี่ยนแปลงของอัตราภาษีที่ใช้รับรู ้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ จากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจากงาน - สุ ทธิ จากภาษี

15

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

126

รายงานประจำ�ปี 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้


งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

งบการเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

การแบ่ งปัน(ขาดทุน)กําไรสําหรับปี ส่ วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

(1,437,050,885) 18,509,550

(757,985,659) (31,744,036)

2,668,476,430 -

(911,901,190) -

กําไร(ขาดทุน)สําหรับปี

(1,418,541,335)

(789,729,695)

2,668,476,430

(911,901,190)

การแบ่ งปันกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ส่ วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

1,015,529,859 9,683,009

(880,136,767) (29,853,484)

4,095,569,874 -

(992,667,932) -

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

1,025,212,868

(909,990,251)

4,095,569,874

(992,667,932)

(1.05)

(0.57)

1.95

(0.69)

กําไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้น กําไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน

35

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

127


128

รายงานประจำ�ปี 2560 2,300,961,813 10,851,951,634

255,999,998 1,535,999,998

2,300,961,813

-

255,999,998

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ การเป็ นส่นวนีนหนึ ่ งของงบการเงินนี้ หมายเหตุประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่จงของงบการเงิ ้

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

รวมรายการกับส่ วนของเจ้ าของ

36

การจ่ายเงินปันผล การจ่ายเงินปันผลของบริ ษทั ย่อยให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม ส่ วนของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมจากการลงทุนในบริ ษทั ย่อย 37

25

การออกหุน้ เพิ่มทุนที่เรี ยกชําระแล้ว

รายการกับส่ วนของเจ้ าของ

-

-

รวมกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จ

-

-

-

-

-

-

-

-

8,550,989,821

1,280,000,000

รวมกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น - สุ ทธิจากภาษี

15

หมายเหตุ

ทุนทีอ่ อก และชําระแล้ว บาท

(173,134,488)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

(173,134,488)

4,049,446,188

-

-

-

2,752,586,413

2,752,586,413

-

-

2,848,898,073 (61,591,416) (34,720,244)

-

1,296,859,775

16,432,908

-

-

-

3,677,294

3,677,294

-

3,677,294

-

-

12,755,614

ผลต่ าง สะสมจาก การแปลงค่ า บาท

(666,077,422)

-

-

-

(382,072,972)

(382,072,972)

(382,072,972)

-

-

-

(284,004,450)

งบการเงินรวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของของบริษทั ใหญ่ องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ าของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่ วนตํ่าจากการซื้อ ส่ วนเกินทุน กําไรทีย่ งั เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย จากการประเมินราคา ไม่ เกิดขึน้ ส่ วนเกิน เพิม่ จากส่ วนได้ เสี ย สิ นทรัพย์ - สุ ทธิจาก จากเงินลงทุน มูลค่ าหุ้น ทีไ่ ม่ มอี าํ นาจควบคุม ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ในหลักทรัพย์ เผื่อขาย บาท บาท บาท บาท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี ค่าเสื่ อมราคาของส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี การขายและตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผือ่ ขาย - สุ ทธิจากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน - สุ ทธิจากภาษี ผลต่างจากการแปลงค่า

กําไร(ขาดทุน)สํ าหรับปี

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560

บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ าของ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ

128,000,000

-

-

-

-

-

-

-

-

-

128,000,000

7,165,408,573

(512,000,000)

(512,000,000) -

-

(1,358,660,876)

78,390,009

(17,921,651) -

-

61,591,416 34,720,244

(1,437,050,885)

9,036,069,449

22,908,027,391

2,044,961,811

(512,000,000) -

2,556,961,811

1,015,529,859

2,452,580,744

(17,921,651) (382,072,972)

3,677,294

2,848,898,073 -

(1,437,050,885)

19,847,535,721

368,864,048

294,799,156

(293,100,521) 587,899,677

-

9,683,009

(8,826,541)

(8,826,541)

-

-

18,509,550

64,381,883

รวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของ ส่ วนได้ เสี ยทีไ่ ม่ มี ยังไม่ ได้ จัดสรร ของบริษทั ใหญ่ อํานาจควบคุม บาท บาท บาท

กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํ ารองตาม กฎหมาย บาท

12

23,276,891,439

2,339,760,967

(512,000,000) (293,100,521) 587,899,677

2,556,961,811

1,025,212,868

2,443,754,203

(17,921,651) (390,899,513)

3,677,294

2,848,898,073 -

(1,418,541,335)

19,911,917,604

รวมส่ วนของ เจ้ าของ บาท


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

129

8,550,989,821

1,280,000,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

รวมรายการกับส่ วนของเจ้ าของ

-

-

-

-

รวมกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จ

รายการกับส่ วนของเจ้ าของ การจ่ายเงินปันผล การจ่ายเงินปันผลของบริ ษทั ย่อยให้ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม เงินสดจ่ายซื้อส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมในบริ ษทั ย่อย

-

-

-

-

-

-

-

-

8,550,989,821

1,280,000,000

รวมกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น - สุ ทธิจากภาษี

36

หมายเหตุ

ทุนทีอ่ อก และชําระแล้ว บาท

งบการเงินรวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของของบริษทั ใหญ่ องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ าของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

(173,134,488)

-

-

-

-

-

-

-

-

(173,134,488)

1,296,859,775

-

-

(130,940,110)

(130,940,110)

-

-

(113,317,008) (16,916,840) (706,262)

-

1,427,799,885

12,755,614

-

-

5,923,327

5,923,327

-

6,802,909

(879,582) -

-

6,832,287

ส่ วนตํ่าจากการซื้อ ส่ วนเกินทุน เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย จากการประเมินราคา กําไรทีย่ งั ส่ วนเกิน เพิม่ จากส่ วนได้ เสี ย สิ นทรัพย์ - สุ ทธิจาก ไม่ เกิดขึน้ จากเงินลงทุน มูลค่ าหุ้น ทีไ่ ม่ มอี าํ นาจควบคุม ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ในหลักทรัพย์ เผื่อขาย บาท บาท บาท บาท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การเปลี่ยนแปลงประมาณการของอัตราภาษีที่ใช้รับรู ้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่าเสื่ อมราคาของส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี การขายและตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผือ่ ขาย - สุ ทธิจากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน - สุ ทธิจากภาษี ผลต่างจากการแปลงค่า

ขาดทุนสํ าหรับปี

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559

บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ าของ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

(284,004,450)

-

-

(15,457,844)

(15,457,844)

(15,457,844)

-

-

-

(268,546,606)

ผลต่ าง สะสมจาก การแปลงค่ า บาท

128,000,000

-

-

-

-

-

-

-

-

128,000,000

9,036,069,449

(512,000,000)

(512,000,000) -

(739,662,140)

18,323,519

(963,576) -

-

1,663,993 16,916,840 706,262

(757,985,659)

10,287,731,589

19,847,535,721

(512,000,000)

(512,000,000) -

(880,136,767)

(122,151,108)

(963,576) (15,457,844)

6,802,909

(112,532,597) -

(757,985,659)

21,239,672,488

64,381,883

(880)

(487) (393)

(29,853,484)

1,890,552

1,890,552

-

-

(31,744,036)

94,236,247

รวม ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของ ส่ วนได้ เสี ยทีไ่ ม่ มี ยังไม่ ได้ จัดสรร ของบริษทั ใหญ่ อํานาจควบคุม บาท บาท บาท

กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํ ารองตาม กฎหมาย บาท

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (ต่อ)

13

19,911,917,604

(512,000,880)

(512,000,000) (487) (393)

(909,990,251)

(120,260,556)

(963,576) (13,567,292)

6,802,909

(112,532,597) -

(789,729,695)

21,333,908,735

รวมส่ วนของ เจ้ าของ บาท


130

รายงานประจำ�ปี 2560 25 36

หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนรวมและงบการเงิ รวมและงบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการเป็ การเป็นนส่ส่ววนหนึ นหนึ่ ง่ งของงบการเงิ ของงบการเงินนนีนี้ ้ หมายเหตุ

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

รวมรายการกับส่ วนของเจ้ าของ

รายการกับส่ วนของเจ้ าของ การออกหุน้ เพิ่มทุนที่ได้รับชําระแล้ว การจ่ายเงินปั นผล

2,300,961,813 2,300,961,813 10,851,951,634

255,999,998 255,999,998 1,535,999,998

-

-

-

-

รวมกําไรเบ็ดเสร็จ

-

-

-

-

-

-

-

-

15

8,550,989,821

1,280,000,000

1,944,873,058

-

-

1,392,046,064

1,392,046,064

-

-

1,423,477,027 (31,430,963)

-

552,826,994

15,842,499

-

-

3,608,454

3,608,454

-

3,608,454

-

-

12,234,045

128,000,000

-

-

-

-

-

-

-

-

128,000,000

4,751,554,758

(512,000,000)

(512,000,000)

2,699,915,356

31,438,926

7,963

-

31,430,963

2,668,476,430

2,563,639,402

งบการเงินเฉพาะกิจการ องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ าของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่ วนเกินทุน กําไร กําไรสะสม จากการประเมินราคา ทีย่ งั ไม่ เกิดขึน้ ส่ วนเกิน สิ นทรัพ ย์ - สุ ทธิจาก จากเงินลงทุนใน จัดสรรแล้ ว มูลค่ าหุ้น ค่ าเสื่ อมราคาสะสม หลักทรัพ ย์ เผื่อขาย - สํ ารองตามกฎหมาย ยังไม่ ได้ จัดสรร บาท บาท บาท บาท บาท

รวมกําไรเบ็ดเสร็จอื่น - สุ ทธิจากภาษี

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี ค่าเสื่ อมราคาของส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจากภาษี การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผือ่ ขาย - สุ ทธิจากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน - สุ ทธิจากภาษี

กําไรสํ าหรับปี

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560

หมายเหตุ

ทุนทีอ่ อก และชําระแล้ ว บาท

บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ าของ (ต่ อ) สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (ต่อ)

14

19,228,221,947

2,044,961,811

2,556,961,811 (512,000,000)

4,095,569,874

1,427,093,444

7,963

3,608,454

1,423,477,027 -

2,668,476,430

13,087,690,262

รวมส่ วนของ เจ้ าของ บาท


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

131

หมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ ้

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

รวมรายการกับส่ วนของเจ้ าของ

8,550,989,821

1,280,000,000

-

-

รวมกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จ

รายการกับส่ วนของเจ้ าของ การจ่ายเงินปันผล

-

-

-

-

-

-

-

-

8,550,989,821

1,280,000,000

รวมกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จอื่น - สุ ทธิ จากภาษี

36

หมายเหตุ

ส่ วนเกิน มูลค่ าหุ้น บาท

ทุนที่ออก และชําระแล้ ว บาท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การเปลี่ยนแปลงประมาณการของอัตราภาษีที่ใช้รับรู ้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่าเสื่ อมราคาของส่ วนเกินทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ จากภาษี การขายและตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ จากภาษี การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนใน หลักทรัพย์เผือ่ ขาย - สุ ทธิ จากภาษี การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน - สุ ทธิ จากภาษี

ขาดทุนสํ าหรับปี

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ าของ (ต่ อ) สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

552,826,994

-

-

(101,500,353)

(101,500,353)

-

-

(89,094,783) (11,759,977) (645,593)

-

654,327,347

12,234,045

-

-

5,754,075

5,754,075

-

6,636,403

(882,328) -

-

6,479,970

128,000,000

-

-

-

-

-

-

-

-

128,000,000

2,563,639,402

(512,000,000)

(512,000,000)

(896,921,654)

14,979,536

573,990

-

1,999,976 11,759,977 645,593

(911,901,190)

3,972,561,056

งบการเงินเฉพาะกิจการ องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ าของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ส่ วนเกินทุน กําไร กําไรสะสม จากการประเมินราคา ที่ยงั ไม่ เกิดขึน้ สิ นทรัพ ย์ - สุ ทธิจาก จากเงินลงทุนใน จัดสรรแล้ ว ค่ าเสื่ อมราคาสะสม หลักทรัพ ย์ เผื่อขาย - สํ ารองตามกฎหมาย ยังไม่ ได้ จัดสรร บาท บาท บาท บาท

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (ต่อ)

15

13,087,690,262

(512,000,000)

(512,000,000)

(992,667,932)

(80,766,742)

573,990

6,636,403

(87,977,135) -

(911,901,190)

14,592,358,194

รวมส่ วนของ เจ้ าของ บาท


งบกระแสเงินสด บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุ ง (กําไร)ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการแปลงค่าอัตราแลกเปลี่ยน (กําไร)ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการประเมินมูลค่ายุติธรรม ตราสารอนุพนั ธ์ทางการเงิน ค่าเผื่อการด้อยค่าลูกหนี้การค้า (การกลับรายการ)ค่าเผื่อสําหรับราคาทุนของสิ นค้าคงเหลือ ที่เกินกว่ามูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ (การกลับรายการ)ค่าเผื่อสิ นค้าคงเหลือจากอัคคีภยั ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุ ค่าเสื่ อมราคา ค่าตัดจําหน่ายสวนยางพาราและสวนปาล์ม ค่าตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน (การกลับรายการ)ขาดทุนจากการประเมินราคาสิ นทรัพย์ การตัดจําหน่ายภาษีเงินได้รอรับคืน ต้นทุนทางการเงิน รายได้ทางการเงิน รายได้เงินปั นผล ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและกิจการร่ วมค้า (กําไร)ขาดทุนจากการขายและการตัดจําหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สวนยางพาราและสวนปาล์ม และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน กําไรจากการประเมินราคายุติธรรมจากการเปลี่ยนหมวดในเงินลงทุน กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและเงินลงทุนทัว่ ไป (กําไร)ขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมในอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน กําไรจากการรับชําระลูกหนี้ดว้ ยที่ดินและอาคาร รายได้ค่าทดแทนความเสี ยหายจากอัคคีภยั การเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์และหนี้สินดําเนินงาน สิ นทรัพย์ดาํ เนินงาน(เพิ่มขึ้น)ลดลง - ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - ลูกหนี้นายหน้าซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า - สิ นค้าคงเหลือ - สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น - สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิม่ ขึ้น(ลดลง) - เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - หนี้สินหมุนเวียนอื่น กระแสเงินสดได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน จ่ายดอกเบี้ย รับดอกเบี้ย รับคืนภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย จ่ายภาษีเงินได้ ผลประโยชน์พนักงานที่จ่าย

43 24 15 16 17

33 33 31 13.2, 13.3 32

19

24

กระแสเงินสดสุ ทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

132

รายงานประจำ�ปี 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

(1,397,911,254)

(1,072,971,717)

2,542,439,367

(1,174,361,142)

(160,267,935)

11,892,763

101,541,537

75,038,818

(666,635,772) 6,023,573

555,114,154 -

(499,075,748) 5,784,853

509,502,206 -

343,697,549 (41,593,901) 28,036,190 1,783,658,404 4,239,312 64,489,510 24,012,044 1,245,583,847 (49,660,662) (1,805,041) (129,841,447)

(453,738,055) 41,593,901 24,465,947 1,158,988,391 690,687 35,546,291 131,984,203 707,334,973 (35,309,641) (24,255,815) (402,762,216)

236,074,377 10,986,907 709,129,282 283,335 56,360,898 (15,650,331) 751,216,541 (117,239,265) (4,827,098,743) -

(163,959,310) 12,052,621 554,238,796 283,335 29,456,934 33,576,786 417,347,562 (75,390,451) (343,419,619) -

788,247 (223,626,008) (132,699,762) (47,893,375) (16,711,862) (306,810,556)

62,118,581 1,887,415 -

(3,888,880) (217,824,854) (47,893,375) (5,491,530) -

922,716 -

2,344,944,654 (176,618,284) 4,858,293,130 (200,983,980) (8,218,443)

(4,216,128,084) 68,164,972 (6,554,191,990) 35,506,345 (20,174,535)

(618,612,902) 6,803,382 2,944,931,916 (169,905,412) 109,309,862

(1,142,861,316) 64,484,580 (4,361,636,408) (26,405,231) (3,904,798)

(1,595,469,941) (22,526,889)

464,347,512 19,532,211

(46,270,779) (9,328,234)

324,539,701 7,779,621

5,524,491,348 (1,236,158,145) 49,660,662 5,652,244 (401,465,308) (5,773,640)

(9,460,363,707) (716,256,809) 35,309,641 105,391,575 (176,373,069) (2,311,150)

896,582,204 (753,431,974) 117,659,458 (112,052,812) (1,877,280)

(5,262,714,599) (430,645,247) 75,390,451 5,147,789 (70,211,691) (1,271,150)

3,936,407,161

(10,214,603,519)

146,879,596

(5,684,304,447)


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ต่อ) สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับคืนจากการให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ายจากการให้กยู้ มื ระยะยาวแก่บริ ษทั ย่อย เงินฝากประจําที่ติดภาระคํ้าประกันลดลง เงินปั นผลรับ เงินสดจ่ายเพื่อลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและเงินลงทุนระยะยาว เงินสดรับจากการลดทุนของบริ ษทั ร่ วม เงินสดจ่ายเพื่อลงทุนในการร่ วมค้า เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สวนยางพาราและสวนปาล์ม และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดจ่ายเพื่อซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อลงทุนในเงินลงทุนระยะยาว เงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สวนยางพาราและสวนปาล์มและสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

13.2 13.3

181,478 2,299,872,940 (5,129,542,633) 689,389,350 -

21,143,362 1,357,646 30,000,000 (114,616,726)

540,000,000 (1,178,981,500) 4,827,098,743 (6,803,543,256) 689,389,350 -

300,000,000 (823,600,000) 13,823,734 320,521,451 (2,559,480,393) 2,014,055,615 30,000,000 (114,616,726)

19 14

165,899,521 (100,000,000)

13,526,906 (214,987) -

21,033,753 (100,000,000)

1,412,637 -

(3,166,765,899)

(2,294,480,551)

(1,085,402,494)

(1,297,611,406)

กระแสเงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน

(5,240,965,243)

(2,343,284,350)

(3,090,405,404)

(2,115,495,088)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น(ลดลง) เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบริ ษทั ย่อย ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ชําระคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากหุน้ กู้ เงินสดจ่ายเพื่อการชําระหุน้ กู้ เงินสดจ่ายซื้อส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมในบริ ษทั ย่อย ชําระคืนหนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินปั นผลจ่าย เงินปั นผลจ่ายแก่ส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม รับชําระเงินเพิ่มทุน

(2,165,567,864) 4,172,362,500 (1,886,404,000) (6,281,080) (506,131,898) (293,100,521) 2,556,961,811

9,952,871,355 1,410,000,000 (205,211,000) 2,265,000,000 (850,000,000) (393) (25,394,058) (512,000,000) (487) -

416,299,000 500,000,000 (500,000,000) 1,172,362,500 (765,000,000) (3,944,159) (506,131,898) 2,556,961,811

6,604,459,000 540,000,000 (203,807,000) 2,265,000,000 (850,000,000) (4,097,234) (512,000,000) -

กระแสเงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน

1,871,838,948

12,035,265,417

2,870,547,254

7,839,554,766

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) - สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี

567,280,866 1,674,618,807

(522,622,452) 2,197,241,259

(72,978,554) 341,997,422

39,755,231 302,242,191

2,241,899,673

1,674,618,807

269,018,868

341,997,422

(3,196,124,626) 42,953,647 33,508,102 (47,103,024)

(2,315,092,677) 2,906,590 17,705,536

(1,099,728,283) 21,476,824 10,687,222 (17,838,257)

(1,321,232,094) 2,841,749 20,778,939

(3,166,765,901)

(2,294,480,551)

(1,085,402,494)

(1,297,611,406)

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดปลายปี ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม เงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สวนยางพาราและสวนปาล์ม และสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน: ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สวนยางพาราและสวนปาล์มและสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ที่ดินและอาคารที่เพิ่มขึ้นจากการรับชําระหนี้ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินเพิ่มขึ้น เจ้าหนี้จากการซื้อสิ นทรัพย์เพิ่มขึ้น(ลดลง)

38.4 38.4

งบการเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 บาท บาท

13.1

23.1 23.1 23.2 23.2 23.4

7

23.4

เงินสดจ่ ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สวนยางพาราและ สวนปาล์ ม และสิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

133

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 17


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ.2560 1

ข้ อมูลทัว่ ไป บริ ษ ทั ศรี ตรั งแอโกรอิ นดัสทรี จำกัด (มหำชน) (“บริ ษ ทั ”) เป็ นบริ ษ ทั มหำชนจำกัด ซึ่ งจัดตั้งขึ้ นในประเทศไทย และเข้ำเป็ นสมำชิ กบริ ษ ทั จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิ งหำคม พ.ศ. 2534 นอกจำกนี้ เมื่อวันที่ 31 มกรำคม พ.ศ. 2554 บริ ษทั ได้เสนอขำย หุน้ สำมัญเพิ่มเติมในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศสิ งคโปร์ เมื่อวันที่ 29 เมษำยน พ.ศ. 2557 บริ ษทั เปลี่ยนแปลงสถำนะกำรจดทะเบียนหลักทรัพย์ของบริ ษทั บนกระดำนหลัก (Main Board) ของตลำด หลักทรัพย์สิงคโปร์จำกตลำดหลัก (Primary Listing) เป็ นตลำดรอง (Secondary Listing) ที่อยูข่ องบริ ษทั ที่ได้จดทะเบียนไว้ดงั นี้ เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม อำเภอหำดใหญ่ จังหวัดสงขลำ ประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงค์ในกำรรำยงำนข้อมูล จึงรวมเรี ยกบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยว่ำ “กลุ่มกิจกำร” บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย (รวมเรี ยกว่ำ “กลุ่มกิจกำร”) ดำเนินธุรกิจผลิตและจำหน่ำยผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับไม้ยำงพำรำธรรมชำติ เช่น ยำงแผ่นรมควัน น้ ำยำงข้น ยำงแท่ง ถุงมือ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ นอกจำกนี้ กลุ่มกิจกำรยังได้ดำเนินธุรกิจกำรให้บริ กำรทำงวิศวกรรม และขนส่ ง งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรนี้ได้รับอนุมตั ิจำกคณะกรรมกำรบริ ษทั เมื่อวันที่ 28 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2561

2

เกณฑ์ กำรจัดทำงบกำรเงิน งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรได้จดั ทำขึ้นตำมหลักกำรบัญชีที่รับรองทัว่ ไปภำยใต้พระรำชบัญญัติกำรบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมำยถึง มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ที่ออกภำยใต้พระรำชบัญญัติวิชำชี พบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกำหนดของคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และ ตลำดหลักทรัพย์วำ่ ด้วยกำรจัดทำและนำเสนอรำยงำนทำงกำรเงินภำยใต้พระรำชบัญญัติหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรได้จดั ทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์รำคำทุนเดิมในกำรวัดมูลค่ำขององค์ประกอบของงบกำรเงิน ยกเว้นเรื่ องที่ อธิบำยในนโยบำยกำรบัญชีในลำดับต่อไป กำรจัดทำงบกำรเงินให้สอดคล้องกับหลักกำรบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย กำหนดให้ใช้ประมำณกำรทำงบัญชี ที่สำคัญและกำรใช้ ดุ ลยพิ นิจของผูบ้ ริ หำรซึ่ งจัดทำขึ้ นตำมกระบวนกำรในกำรนำนโยบำยกำรบัญชี ของกลุ่มกิ จกำรไปถื อปฏิ บตั ิ และต้องเปิ ดเผยเรื่ องกำรใช้ ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หำร หรื อควำมซับซ้อน หรื อ เกี่ ยวกับข้อสมมติฐำนและประมำณกำรที่มีนยั สำคัญต่องบกำรเงินรวมในหมำยเหตุประกอบ งบกำรเงินข้อที่ 4 งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรฉบับภำษำอังกฤษจัดทำขึ้นจำกงบกำรเงินตำมกฎหมำยที่เป็ นภำษำไทย ในกรณี ที่มีเนื้ อควำมขัดแย้งกัน หรื อมีกำรตีควำมในสองภำษำแตกต่ำงกัน ให้ใช้งบกำรเงินตำมกฎหมำยฉบับภำษำไทยเป็ นหลัก

134

รายงานประจำ�ปี 2560 18


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี นโยบำยกำรบัญชีที่สำคัญซึ่งใช้ในกำรจัดทำงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีดงั ต่อไปนี้ 3.1

มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ที่มีก ำรปรั บ ปรุ ง และกำรตี ค วำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ซึ่ งมีผ ลบั งคับ ใช้ ณ วัน ที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 แต่ ไม่ มผี ลกระทบต่ อกลุ่มกิจกำร ผูบ้ ริ หำรของกิ จกำรได้ประเมิ นและพิจำรณำว่ำมำตรฐำนที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่ำวข้ำงต้นจะไม่ มีผลกระทบต่อกลุ่ มกิ จกำร ยกเว้น เรื่ องกำรเปิ ดเผยข้อมูล

3.2

มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินที่มีกำรปรั บปรุ งใหม่ ซึ่ งจะมีผลบังคับใช้ สำหรั บรอบระยะเวลำบัญชี ที่เริ่ มต้ นในหรื อหลังวันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 ที่มีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ ำงมีสำระสำคัญ แต่ ไม่ มีผลกระทบต่ อกลุ่มกิจกำร ซึ่ งกลุ่มกิจกำรไม่ ได้ นำมำตรฐำน ทีป่ รับปรุ งใหม่ ดงั กล่ ำวมำถือปฏิบตั ิก่อนวันบังคับใช้ มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2560) มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2560) มำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2560)

เรื่ อง งบกระแสเงินสด เรื่ อง ภำษีเงินได้ เรื่ อง กำรเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนได้เสี ยในกิจกำรอื่น

ผูบ้ ริ หำรของกิ จกำรได้ประเมิ นและพิจำรณำว่ำมำตรฐำนที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่ำวข้ำงต้นจะไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มกิ จกำร ยกเว้น เรื่ องกำรเปิ ดเผยข้อมูล 3.3

บัญชีกลุ่มกิจกำร - เงินลงทุนในบริษทั ย่ อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ (ก) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อยหมำยถึงกิจกำร (ซึ่ งรวมถึงกิจกำรเฉพำะกิจ) ที่กลุ่มกิจกำรควบคุม กลุ่มกิ จกำรควบคุมกิ จกำรเมื่อกลุ่มกิ จกำรมีกำร เปิ ดรั บ หรื อ มี สิ ท ธิ ในผลตอบแทนผัน แปรจำกกำรเกี่ ย วข้อ งกับ ผูไ้ ด้รับ กำรลงทุ น และมี ค วำมสำมำรถท ำให้เกิ ด ผลกระทบ ต่อผลตอบแทนจำกกำรใช้อำนำจเหนื อผูไ้ ด้รับกำรควบคุม กลุ่มกิจกำรรวมงบกำรเงินของบริ ษทั ย่อยไว้ในงบกำรเงินรวมตั้งแต่ วันที่ กลุ่มกิจกำรมี อำนำจในกำรควบคุมบริ ษทั ย่อย กลุ่มกิ จกำรจะไม่นำงบกำรเงินของบริ ษทั ย่อยมำรวมไว้ในงบกำรเงินรวม นับจำกวันที่กลุ่มกิจกำรสู ญเสี ยอำนำจควบคุม กลุ่มกิ จกำรบันทึกบัญชี กำรรวมธุ รกิ จโดยถือปฏิบตั ิตำมวิธีซ้ื อ สิ่ งตอบแทนที่โอนให้สำหรับกำรซื้ อบริ ษทั ย่อย ประกอบด้วย มูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ผูซ้ ้ื อโอนให้และหนี้ สินที่ก่อขึ้นเพื่อจ่ำยชำระให้แก่เจ้ำของเดิ มของผูถ้ ูกซื้ อและส่ วนได้เสี ยใน ส่ วนของเจ้ำของที่ ออกโดยกลุ่มกิ จกำร สิ่ งตอบแทนที่ โอนให้รวมถึ งมู ลค่ ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์ หรื อหนี้ สินที่ ผูซ้ ้ื อคำดว่ำ จะต้องจ่ำยชำระตำมข้อตกลง ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับกำรซื้อจะรับรู ้เป็ นค่ำใช้จ่ำยเมื่อเกิดขึ้น มูลค่ำเริ่ มแรกของสิ นทรัพย์ที่ระบุได้ที่ ได้มำและหนี้สินและหนี้ สินที่อำจเกิดขึ้นที่รับมำจำกกำรรวมธุรกิจจะถูกวัดมูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ซ้ือ ในกำรรวมธุรกิจ แต่ละครั้ง กลุ่มกิจกำรวัดมูลค่ำของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อด้วยมูลค่ำยุติธรรม หรื อ มูลค่ำของสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ระบุได้ของผูถ้ ูกซื้ อตำมสัดส่ วนของหุน้ ที่ถือโดยส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม

135

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 19


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.3

บัญชีกลุ่มกิจกำร - เงินลงทุนในบริษทั ย่ อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) (ก) บริ ษทั ย่อย (ต่อ) ในกำรรวมธุรกิจที่ดำเนิ นกำรสำเร็ จจำกกำรทยอยซื้ อ ผูซ้ ้ื อต้องวัดมูลค่ำส่ วนได้เสี ยที่ผซู ้ ้ื อถืออยูใ่ นผูถ้ ูกซื้ อก่อนหน้ำกำรรวมธุรกิจใหม่ โดยใช้มูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ซ้ื อและรับรู ้ผลกำไรหรื อขำดทุนที่เกิดขึ้นจำกกำรวัดมูลค่ำใหม่น้ นั ในกำไรหรื อขำดทุน สิ่ งตอบแทนที่คำดว่ำจะต้องจ่ำยออกไปโดยกลุ่มกิจกำร รับรู ้ดว้ ยมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ซ้ื อ กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรม ของสิ่ งตอบแทนที่ คำดว่ำจะต้องจ่ำยที่ รับรู ้ภำยหลังวันที่ ซ้ื อซึ่ งจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินให้รับรู ้ในกำไรหรื อขำดทุ น สิ่ งตอบแทนที่ ค ำดว่ำจะต้องจ่ ำยซึ่ งจัด ประเภทเป็ นส่ วนของเจ้ำของต้อ งไม่ มี กำรวัด มู ลค่ ำใหม่ และให้บ นั ทึ กกำรจ่ ำยช ำระ ในภำยหลังไว้ในส่ วนของเจ้ำของ ส่ วนเกิ นของมูลค่ำสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ มูลค่ำส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อ และมูลค่ำยุติธรรม ณ วันซื้ อธุ รกิจ ของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้ำของของผูถ้ ูกซื้ อที่ผูซ้ ้ื อถืออยู่ก่อนกำรรวมธุ รกิ จ ที่มำกกว่ำมูลค่ำยุติธรรมสุ ทธิ ณ วันที่ซ้ื อของ สิ นทรัพย์สุทธิ ที่ระบุได้ที่ได้มำ ต้องรับรู ้เป็ นค่ำควำมนิ ยม หำกมูลค่ำของมูลค่ำสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ มูลค่ำส่ วนได้เสี ยที่ไม่มี อำนำจควบคุมในผูถ้ ูกซื้อ และมูลค่ำยุติธรรม ณ วันซื้ อธุรกิจของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้ำของของผูถ้ ูกซื้ อที่ผซู ้ ้ื อถืออยูก่ ่อนกำร รวมธุรกิจ น้อยกว่ำมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์สุทธิของบริ ษทั ย่อยที่ได้มำเนื่องจำกกำรซื้ อในรำคำต่ำกว่ำมูลค่ำยุติธรรม จะรับรู ้ ส่ วนต่ำงโดยตรงไปยังกำไรขำดทุน กิ จกำรจะตัด รำยกำรบัญ ชี ระหว่ำงกัน ยอดคงเหลื อ และกำไรที่ ยงั ไม่ ได้เกิ ดขึ้ น จริ งระหว่ำงกัน ในกลุ่ มกิ จกำร ขำดทุ น ที่ ย งั ไม่ เกิ ดขึ้ นจริ งก็จะตัดรำยกำรในทำนองเดี ยวกัน เว้น แต่รำยกำรนั้นมี หลักฐำนว่ำสิ นทรัพ ย์ที่ โอนระหว่ำงกันเกิ ดกำรด้อยค่ ำ นโยบำยกำรบัญชีของบริ ษทั ย่อยได้ถูกปรับปรุ งเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบำยกำรบัญชีของกลุ่มกิจกำร รำยชื่อของบริ ษทั ย่อยของกลุ่มกิจกำรได้เปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุขอ้ 13.1 (ข) รำยกำรกับส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม กลุ่มกิจกำรปฏิบตั ิต่อรำยกำรกับส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุมเช่นเดียวกันกับส่ วนที่เป็ นเจ้ำของของกลุ่มกิจกำร สำหรับกำร ซื้ อส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม ผลต่ำงระหว่ำงสิ่ งตอบแทนที่จ่ำยให้และมูลค่ำตำมบัญชี ของสิ นทรัพย์สุทธิของหุ ้นที่ซ้ื อมำใน บริ ษทั ย่อยจะถูกบันทึ กในส่ วนของเจ้ำของ และกำไรหรื อขำดทุ นจำกกำรขำยในส่ วนได้เสี ยที่ ไม่มีอำนำจควบคุ มจะถู กบันทึ ก ในส่ วนของเจ้ำของ (ค) กำรจำหน่ำยบริ ษทั ย่อย เมื่อกลุ่มกิจกำรสู ญเสี ยกำรควบคุม ต้องหยุดรวมริ ษทั ย่อยในกำรจัดทำงบกำรเงินรวม ส่ วนได้เสี ยในกิจกำรที่เหลืออยูจ่ ะวัดมูลค่ำใหม่ โดยใช้มูลค่ำยุติธรรม กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำจะรับรู ้ในกำไรหรื อขำดทุน มูลค่ำยุติธรรมนั้นจะถือเป็ นมูลค่ำตำมบัญชีเริ่ มแรก ของมูลค่ำของเงินลงทุนเพื่อวัตถุประสงค์ในกำรวัดมูลค่ำในเวลำต่อมำของเงินลงทุนที่เหลืออยูใ่ นรู ปของบริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ หรื อสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิน สำหรับทุกจำนวนที่เคยรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับกิจกำรนั้นจะถูกปฏิบตั ิ เสมือนว่ำกลุ่มกิจกำรมีกำรจำหน่ำยสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่เกี่ยวข้องนั้นออกไป

136

รายงานประจำ�ปี 2560 20


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.3

บัญชีกลุ่มกิจกำร - เงินลงทุนในบริษทั ย่ อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) (ง) กำรรวมธุรกิจภำยใต้กำรควบคุมเดียวกัน กลุ่มกิ จกำรบันทึกบัญชี กำรรวมธุ รกิจภำยใต้กำรควบคุมเดียวกัน โดยรับรู ้สินทรัพย์และหนี้ สินของกิจกำรที่ถูกนำมำรวมด้วย มูลค่ำตำมบัญชีของกิจกำรที่ถูกนำมำรวมเฉพำะสัดส่ วนที่เคยอยูภ่ ำยใต้กำรควบคุมเดียวกันตำมมูลค่ำที่แสดงอยูใ่ นงบกำรเงินรวม ของบริ ษทั ใหญ่ลำดับที่สูงสุ ดที่ตอ้ งจัดทำงบกำรเงินรวมก่อนกำรรวมธุ รกิจภำยใต้กำรควบคุมเดียวกัน ณ วันที่มีกำรรวมธุรกิ จ ภำยใต้ก ำรควบคุ ม เดี ย วกัน โดยกลุ่ ม กิ จ กำรต้อ งปรั บ ปรุ งรำยกำรเสมื อ นว่ำกำรรวมธุ ร กิ จ ได้เกิ ด ขึ้ นตั้ง แต่ ว นั ต้น งวดใน งบกำรเงินงวดก่อนที่นำมำเปรี ยบเทียบซึ่ งเป็ นไปตำมแนวปฏิบตั ิทำงกำรบัญชีสำหรับกำรรวมธุ รกิจภำยใต้กำรควบคุมเดียวกัน ที่ออกโดยสภำวิชำชีพบัญชี ต้นทุนกำรรวมธุรกิจภำยใต้กำรควบคุมเดียวกัน เป็ นผลรวมของมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ให้ไป หนี้ สินที่เกิดขึ้นหรื อรับมำ และตรำสำรทุนที่ออกโดยผูซ้ ้ื อ ณ วันที่ มีกำรแลกเปลี่ยนเพื่อให้ได้มำซึ่ งกำรควบคุม ค่ำใช้จ่ำยอื่นที่เกี่ยวข้องในกำรรวมธุรกิจ ภำยใต้กำรควบคุมเดียวกัน เช่น ค่ำธรรมเนี ยมวิชำชีพจ่ำยที่ปรึ กษำกฎหมำย และที่ปรึ กษำอื่นในกำรรวมธุรกิจ ค่ำธรรมเนียมใน กำรจดทะเบี ยน รวมถึงรำยจ่ำยในกำรจัดเตรี ยมข้อมูลให้แก่ผูถ้ ือหุ ้น รับรู ้เป็ นต้นทุนของเงินลงทุนในงบกำรเงินเฉพำะกิ จกำร และรับรู ้เป็ นค่ำใช้จ่ำยทันทีในงบกำรเงินรวมในงวดที่มีกำรรวมธุรกิจเกิดขึ้น ส่ วนต่ำงระหว่ำงต้นทุนของกำรรวมธุรกิจภำยใต้กำรควบคุมเดียวกัน กับส่ วนได้เสี ยของผูซ้ ้ื อในมูลค่ำตำมบัญชีของกิจกำรที่ถูกนำมำ รวม แสดงเป็ นรำยกำร “ส่ วนเกินทุนจำกกำรรวมธุ รกิ จภำยใต้กำรควบคุมเดียวกัน” ในส่ วนของเจ้ำของ โดยกลุ่มกิจกำรจะตัด รำยกำรนี้ออกเมื่อขำยเงินลงทุนออกไปโดย (โอนไปยังกำไรสะสม) (จ) บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ร่ วมเป็ นกิจกำรที่กลุ่มกิจกำรมีอิทธิ พลอย่ำงเป็ นสำระสำคัญแต่ไม่ถึงกับควบคุมซึ่ งโดยทัว่ ไปก็คือกำรที่กลุ่มกิจกำรถือหุ ้น ที่มีสิทธิ ออกเสี ยงอยูร่ ะหว่ำงร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 ของสิ ทธิ ออกเสี ยงทั้งหมด เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมรับรู ้โดยใช้วิธีส่วนได้เสี ย ในกำรแสดงในงบกำรเงินรวม รำยชื่อของบริ ษทั ร่ วมได้เปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุขอ้ 13.2 (ช) กำรร่ วมกำรงำน เงินลงทุนในกำรร่ วมกำรงำนจะถูกจัดประเภทเป็ นกำรดำเนินงำนร่ วมกัน หรื อกำรร่ วมค้ำ โดยขึ้นอยูก่ บั สิ ทธิและภำระผูกพันตำม สัญญำของผูล้ งทุนแต่ละรำย กลุ่มกิจกำรได้ประเมินลักษณะของกำรร่ วมกำรงำนที่มีและพิจำรณำว่ำเป็ น กำรร่ วมค้ำ ซึ่ งกำรร่ วมค้ำ รับรู ้เงินลงทุนโดยใช้วธิ ีส่วนได้เสี ย รำยชื่อของกิจกำรร่ วมค้ำได้เปิ ดเผยไว้ในหมำยเหตุขอ้ 13.3

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 21

137


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.3

บัญชีกลุ่มกิจกำร - เงินลงทุนในบริษทั ย่ อยและบริษทั ร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) (ซ) กำรบันทึกเงินลงทุนตำมวิธีส่วนได้เสี ย ภำยใต้วิธีส่วนได้เสี ย กลุ่มกิจกำรรับรู ้เงินลงทุนเมื่อเริ่ มแรกด้วยรำคำทุน มูลค่ำตำมบัญชีของเงินลงทุนนี้ จะเพิ่มขึ้นหรื อลดลงใน ภำยหลังวันที่ได้มำด้วยส่ วนแบ่งกำไรหรื อขำดทุ นของผูไ้ ด้รับกำรลงทุนตำมสัดส่ วนที่ ผูล้ งทุ นมี ส่วนได้เสี ยอยู่ เงินลงทุนใน บริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำ รวมถึงค่ำควำมนิยมที่ระบุได้ ณ วันที่ซ้ือเงินลงทุน ถ้ำส่ วนได้เสี ยของเจ้ำของในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำนั้นลดลงแต่ยงั คงมี อิท ธิ พ ลอย่ำงมี นัยสำคัญ กิ จกำรต้องจัดประเภท รำยกำรที่เคยรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นเข้ำกำไรหรื อขำดทุนเฉพำะสัดส่ วนในส่ วนได้เสี ยของเจ้ำของที่ลดลง กำไรและ ขำดทุนจำกกำรลดสัดส่ วนในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำจะรับรู ้ในกำไรหรื อขำดทุน ส่ วนแบ่งกำไรหรื อขำดทุนของกลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำที่เกิดขึ้นภำยหลังกำรได้มำจะรวมไว้ในกำไรหรื อขำดทุน และส่ วนแบ่งในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นที่เกิดขึ้นภำยหลังกำรได้มำจะรวมไว้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ผลสะสมของกำร เปลี่ยนแปลงภำยหลังกำรได้มำดังกล่ำวข้ำงต้นจะปรับปรุ งกับรำคำตำมบัญชีของเงินลงทุน เมื่อส่ วนแบ่งขำดทุนของกลุ่มกิจกำร ในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำมี มู ลค่ ำเท่ ำกับ หรื อเกิ นกว่ำมูลค่ ำส่ วนได้เสี ยของกลุ่ มกิ จกำรในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำนั้น ซึ่ งรวมถึงส่ วนได้เสี ยระยะยำวใดๆ ซึ่ งโดยเนื้ อหำแล้วถือเป็ นส่ วนหนึ่ งของเงินลงทุนสุ ทธิ ของกลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่ วมและ กำรร่ วมค้ำนั้น กลุ่ มกิ จกำรจะไม่ รับ รู ้ ส่วนแบ่ งขำดทุ น อี กต่อไป เว้น แต่ กลุ่ มกิ จกำรมี ภำระผูกพันในหนี้ ข องบริ ษทั ร่ วมและ กำรร่ วมค้ำหรื อรับว่ำจะจ่ำยหนี้แทนบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำ กลุ่มกิจกำรมีกำรพิจำรณำทุกสิ้ นรอบระยะเวลำบัญชีวำ่ มีขอ้ บ่งชี้ที่แสดงว่ำเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำเกิดกำรด้อยค่ำ หรื อไม่ หำกมีขอ้ บ่งชี้เกิดขึ้นกลุ่มกิจกำรจะคำนวณผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ โดยเปรี ยบเทียบมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนกับมูลค่ำ ตำมบัญชี ของเงินลงทุน และรับรู ้ผลต่ำงไปที่ ส่วนแบ่งกำไร(ขำดทุน)ของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำในกำไรหรื อ ขำดทุน รำยกำรก ำไรที่ ย งั ไม่ ไ ด้เกิ ด ขึ้ น จริ งระหว่ำงกลุ่ ม กิ จกำรกับ บริ ษ ัท ร่ วมและกำรร่ ว มค้ำจะตัด บัญ ชี ต ำมสั ดส่ ว นที่ ก ลุ่ ม กิ จกำร มีส่วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำนั้น รำยกำรขำดทุนที่ยงั ไม่ได้เกิดขึ้นจริ งก็จะตัดบัญชีในทำนองเดียวกัน เว้นแต่รำยกำรนั้น มีหลักฐำนว่ำสิ นทรัพย์ที่โอนระหว่ำงกันเกิดกำรด้อยค่ำ บริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำจะเปลี่ยนนโยบำยกำรบัญชีเท่ำที่จำเป็ นเพื่อให้ สอดคล้องกับนโยบำยกำรบัญชีของกลุ่มกิจกำร (ฌ) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และกำรร่ วมค้ำ จะบันทึกบัญชีดว้ ยรำคำทุนหักค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำ ต้นทุ นจะมี กำรปรับเพื่อสะท้อนกำรเปลี่ ยนแปลงสิ่ งตอบแทนที่ เกิ ดขึ้ นจำกกำรเปลี่ ยนแปลงมูลค่ำของสิ่ งตอบแทนที่ คำดว่ำ ต้องจ่ำยต้นทุนจะรวมต้นทุนทำงตรงที่เกี่ยวข้องจำกกำรได้มำของเงินลงทุนนี้

138

รายงานประจำ�ปี 2560 22


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.4

กำรแปลงค่ ำเงินตรำต่ ำงประเทศ (ก)

สกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนินงำนและสกุลเงินที่ใช้นำเสนองบกำรเงิน รำยกำรที่รวมในงบกำรเงินของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มกิจกำรถูกวัดมูลค่ำโดยใช้สกุลเงินของสภำพแวดล้อมทำงเศรษฐกิจหลักที่ บริ ษทั ดำเนินงำนอยู่ (สกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนินงำน) งบกำรเงินรวมแสดงในสกุลเงินบำท ซึ่งเป็ นสกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนินงำน และสกุลเงินที่ใช้นำเสนองบกำรเงินของบริ ษทั

(ข)

รำยกำรและยอดคงเหลือ รำยกำรที่เป็ นสกุลเงินตรำต่ำงประเทศแปลงค่ำเป็ นสกุลเงินบำทโดยใช้อตั รำแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรำยกำรหรื อวันที่ตีรำคำ หำกรำยกำรนั้นถูกวัดมูลค่ำใหม่ รำยกำรกำไรและรำยกำรขำดทุนที่เกิ ดจำกกำรรับหรื อจ่ำยชำระที่เป็ นเงินตรำต่ำงประเทศ และที่ เกิ ดจำกกำรแปลงค่ ำสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ เป็ นตัวเงินซึ่ งเป็ นเงินตรำต่ำงประเทศด้วยอัตรำแลกเปลี่ ยน ณ วันสิ้ น ปี ได้บนั ทึกไว้ในกำไรหรื อขำดทุน เมื่อมีกำรรับรู ้ รำยกำรกำไรหรื อขำดทุนของรำยกำรที่ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น องค์ประกอบของอัตรำ แลกเปลี่ยนทั้งหมดของกำไรหรื อขำดทุนนั้นจะรับรู ้ไว้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นด้วย ในทำงตรงข้ำมกำรรับรู ้กำไรหรื อ ขำดทุนของรำยกำรที่ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกำไรหรื อขำดทุน องค์ประกอบของอัตรำแลกเปลี่ยนทั้งหมดของกำไรหรื อขำดทุนนั้น จะรับรู ้ไว้ในกำไรขำดทุนด้วย

(ค)

กลุ่มกิจกำร กำรแปลงค่ำผลกำรดำเนิ นงำนและฐำนะกำรเงินของบริ ษทั ในกลุ่มกิ จกำร (ที่ มิใช่ สกุลเงิ นของเศรษฐกิ จที่ มีภำวะเงินเฟ้ อ รุ นแรง) ซึ่ งมี สกุลเงินที่ ใช้ในกำรดำเนิ นงำนแตกต่ำงจำกสกุลเงินที่ ใช้นำเสนองบกำรเงินได้ถูกแปลงค่ำเป็ นสกุลเงินที่ ใช้ นำเสนองบกำรเงินดังนี้ -

สิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐำนะกำรเงินแต่ละงวดแปลงค่ำด้วยอัตรำปิ ด ณ วันที่ ของแต่ละงบแสดง ฐำนะกำรเงินนั้น รำยได้และค่ำใช้จ่ำยในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ แปลงค่ำด้วยอัตรำถัวเฉลี่ย และ ผลต่ำงของอัตรำแลกเปลี่ยนทั้งหมดรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

ค่ำควำมนิยมและกำรปรับมูลค่ำยุติธรรมที่เกิดจำกกำรซื้ อหน่วยงำนในต่ำงประเทศถือเป็ นสิ นทรัพย์และหนี้สินของหน่วยงำน ในต่ำงประเทศนั้นและแปลงค่ำด้วยอัตรำปิ ด

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 23

139


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.5

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด ในงบกระแสเงินสด เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม เงินลงทุน ระยะสั้นอื่ นที่ มีสภำพคล่ องสู งซึ่ งมี อำยุไม่เกิ นสำมเดื อนนับจำกวันที่ ได้มำ และเงินเบิ กเกิ นบัญชี เงินฝำกประจำที่ สถำบันกำรเงิน มีภำระผูกพัน จะถูกแสดงรำยกำรเป็ น “เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน” ภำยใต้สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนในงบแสดงฐำนะกำรเงิน

3.6

ลูกหนีก้ ำรค้ ำ ลูกหนี้ กำรค้ำรับรู ้เริ่ มแรกด้วยมูลค่ำตำมใบแจ้งหนี้ และจะวัดมู ลค่ำต่อมำด้วยจำนวนเงินที่ เหลืออยู่หักด้วยค่ำเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งประมำณจำกกำรสอบทำนยอดคงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ค่ำเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญหมำยถึงผลต่ำงระหว่ำงรำคำตำมบัญชีของลูกหนี้กำรค้ำ เปรี ยบเที ยบกับมูลค่ำที่ คำดว่ำจะได้รับจำกลูกหนี้ กำรค้ำ หนี้ สูญที่ เกิ ดขึ้นจะรับรู ้ไว้ในกำไรหรื อขำดทุนโดยถือเป็ นส่ วนหนึ่ งของ ค่ำใช้จ่ำยในกำรขำย

3.7

สิ นค้ ำคงเหลือ สิ นค้ำคงเหลือแสดงด้วยรำคำทุนหรื อมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ำกว่ำ รำคำทุนของสิ นค้ำคำนวณโดยวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ ำหนัก ต้นทุนของกำรซื้ อประกอบด้วยรำคำซื้ อ และค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกำรซื้ อสิ นค้ำนั้น เช่น ค่ำอำกรขำเข้ำ และค่ำขนส่ ง หักด้วย ส่ วนลดที่ เกี่ ยวข้องทั้งหมด ส่ วนยอมให้หรื อเงินที่ให้รับคืนจำกกำรจ่ำยเงินตำมเงื่อนไข ต้นทุนของสิ นค้ำสำเร็ จรู ปและงำนระหว่ำงทำ ประกอบด้วยค่ำวัตถุดิบ ค่ำแรงทำงตรง ค่ำใช้จ่ำยอื่นทำงตรง และค่ำโสหุ ้ยในกำรผลิตซึ่ งปั นส่ วนตำมเกณฑ์กำรดำเนิ นงำนตำมปกติ แต่ไม่รวมต้นทุนกำรกูย้ ืม มูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับประมำณจำกรำคำปกติที่คำดว่ำจะขำยได้ตำมปกติ ของธุ รกิจหักด้วยค่ำใช้จ่ำยที่จำเป็ น เพื่ อให้ สิ น ค้ำนั้ น ส ำเร็ จรู ป รวมถึ งค่ ำใช้จ่ ำยในกำรขำย กลุ่ ม กิ จ กำรบัน ทึ ก บัญ ชี ค่ ำ เผื่ อ กำรลดมู ล ค่ ำของสิ น ค้ำ เก่ ำ ล้ำ สมัย หรื อ เสื่ อมคุณภำพเท่ำที่จำเป็ น

3.8

เงินลงทุน กลุ่มกิจกำรจัดประเภท เงินลงทุนที่นอกเหนื อจำกเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม และกำรร่ วมค้ำเป็ น 4 ประเภท คือ 1. เงินลงทุน เพื่อค้ำ 2. เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบกำหนด 3. เงินลงทุนเผื่อขำย และ 4. เงินลงทุนทัว่ ไป กำรจัดประเภทขึ้นอยูก่ บั จุดมุ่งหมำยขณะลงทุน ฝ่ ำยบริ หำรจะเป็ นผูก้ ำหนดกำรจัดประเภทที่เหมำะสมสำหรับเงินลงทุน ณ เวลำลงทุนและทบทวนกำรจัดประเภทเป็ นระยะ (ก) เงิ น ลงทุ นเพื่ อค้ำ คื อ เงินลงทุ น เพื่อจุดมุ่ งหมำยหลักในกำรหำกำไรจำกกำรเปลี่ ยนแปลงรำคำในช่ วงเวลำสั้นและแสดงรวม ไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน (ข) เงิ นลงทุ นที่ ถือไว้จนครบกำหนด คือ เงินลงทุนที่ มีกำหนดเวลำและผูบ้ ริ หำรตั้งใจแน่ วแน่ และมี ควำมสำมำรถถื อไว้จนครบ กำหนดได้ (ค) เงินลงทุนเผื่อขำย คือ เงินลงทุนที่จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลำและอำจขำยเพื่อเสริ มสภำพคล่องหรื อเมื่อรำคำตลำดหรื ออัตรำ ดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลง

140

รายงานประจำ�ปี 2560 24


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.8

เงินลงทุน (ต่อ) (ง) เงินลงทุนทัว่ ไป คือ เงินลงทุนในตรำสำรทุนที่ไม่มีตลำดซื้ อขำยคล่องรองรับ เงินลงทุนทั้ง 4 ประเภทรับรู ้มูลค่ำเริ่ มแรกด้วยรำคำทุน ซึ่ งหมำยถึงมูลค่ำยุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ให้ไปเพื่อให้ได้มำซึ่ งเงินลงทุน นั้นรวมทั้งค่ำใช้จ่ำยในกำรทำรำยกำร เงิน ลงทุ นเพื่อค้ำและเงิ นลงทุนเผื่อขำยวัดมูลค่ ำในเวลำต่ อมำด้วยมู ลค่ ำยุติธรรม รำยกำรกำไรและขำดทุน ที่ ยงั ไม่ เกิ ดขึ้ นจริ งของ เงินลงทุนเพื่อค้ำรับรู ้ในกำไรหรื อขำดทุ น รำยกำรกำไรและขำดทุนที่ยงั ไม่เกิ ดขึ้นจริ งของเงินลงทุนเผื่อขำยรับรู ้ในส่ วนของกำไร ขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงิ นลงทุ นที่ จะถื อไว้จนครบกำหนดวัดมูลค่ ำภำยหลังกำรได้มำด้วยวิธีรำคำทุนตัดจำหน่ ำยตำมอัตรำดอกเบี้ ยที่ แท้จริ ง หักด้วยค่ ำเผื่อ กำรด้อยค่ำ เงินลงทุนทัว่ ไป แสดงด้วยรำคำทุนหักค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ กลุ่มกิจกำรจะทดสอบค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำของมูลค่ำของเงินลงทุนเมื่อมีขอ้ บ่งชี้วำ่ เงินลงทุนนั้นอำจมีค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำเกิดขึ้น หำกรำคำ ตำมบัญชีของเงินลงทุนสู งกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน กลุ่มกิจกำรจะบันทึกรำยกำรขำดทุนจำกค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำรวมไว้ในงบกำไร ขำดทุน ในกำรจำหน่ ำยเงินลงทุน ผลต่ำงระหว่ำงมูลค่ำยุติธรรมของผลตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจำกกำรจำหน่ ำยเมื่อเปรี ยบเทียบกับรำคำตำมบัญชี ของเงินลงทุนนั้นจะบันทึกรวมอยูใ่ นกำไรหรื อขำดทุน กรณี ที่จำหน่ำยเงินลงทุนที่ถือไว้ในตรำสำรหนี้ หรื อตรำสำรทุนชนิ ดเดียวกัน ออกไปบำงส่ วน รำคำตำมบัญชีของเงินลงทุนที่จำหน่ำยจะกำหนดโดยใช้วธิ ีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักด้วยรำคำตำมบัญชีจำกจำนวนทั้งหมด ที่ถือไว้

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 25

141


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.9

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ ที่ดิน และอำคำรซึ่ งส่ วนใหญ่ประกอบด้วยโรงงำนและสำนักงำน แสดงด้วยมูลค่ำยุติธรรมตำมรำคำประเมินซึ่ งผูป้ ระเมินรำคำอิสระ ภำยนอกได้ประมำณกำรไว้และจะทบทวนกำรประเมินทุกๆ 5 ปี หักด้วยค่ำเสื่ อมรำคำสะสมของอำคำร ณ วันที่ ตีรำคำใหม่ จะนำ ค่ำเสื่ อมรำคำสะสมหักออกจำกมูลค่ำตำมบัญชี ก่อนหักค่ำเสื่ อมรำคำสะสมและผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำสะสม เพื่อให้มูลค่ำสุ ทธิ ที่ปรับใหม่แสดงในรำคำที่ตีใหม่ของสิ นทรัพย์ ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์อื่นทั้งหมดวัดมูลค่ำด้วยรำคำทุนหักด้วยค่ำเสื่ อมรำคำสะสม ต้นทุนเริ่ มแรกจะรวมต้นทุนทำงตรงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรซื้ อสิ นทรัพย์น้ นั ต้นทุนที่เกิดขึ้นภำยหลังจะรวมอยูใ่ นมูลค่ำตำมบัญชีของสิ นทรัพย์หรื อรับรู ้แยกเป็ นอีกสิ นทรัพย์หนึ่ งตำมควำมเหมำะสม เมื่อต้นทุนนั้น เกิ ดขึ้ นและคำดว่ำจะให้ป ระโยชน์ เชิ งเศรษฐกิ จในอนำคตแก่ กลุ่ ม กิ จกำรและต้น ทุ น ดังกล่ ำวสำมำรถวัดมู ลค่ ำได้อย่ำงน่ ำเชื่ อถื อ มู ลค่ ำตำมบัญ ชี ของชิ้ น ส่ วนที่ ถู กเปลี่ ยนแทนจะถู กตัดรำยกำรออก ส ำหรั บ ค่ ำซ่ อมแซมและบ ำรุ งรั กษำอื่ น ๆ กลุ่ มกิ จกำรจะรั บ รู ้ ต้นทุนดังกล่ำวเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำไรหรื อขำดทุนเมื่อเกิดขึ้น กำรตีรำคำที่ดินและอำคำรใหม่ทำให้มูลค่ำตำมบัญชีที่เพิ่มขึ้นจะรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นและจะแสดงอยูใ่ นส่ วนเกินทุนจำกกำร ตีรำคำสิ นทรัพย์ในส่ วนของเจ้ำของ และหำกมูลค่ำของส่ วนที่เคยมีกำรตีรำคำเพิ่มนั้นลดลงกลุ่มกิจกำรต้องนำส่ วนที่ลดลงจำกกำรตีรำคำใหม่ ไปรั บรู ้ ในกำไรขำดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่ น และลดส่ วนเกิ นทุ นจำกกำรตี รำคำสิ นทรัพย์ข ้ำงต้นที่ อยู่ในส่ วนของเจ้ำของลดลงตำมไปด้วย ส่ วนที่ ลดลงที่ เหลื อจะบันทึ กไปยังกำไรหรื อขำดทุ น ในแต่ ละปี ผลต่ ำงระหว่ำงวิธี คิ ดค่ ำเสื่ อมรำคำที่ ค ำนวณจำกมู ลค่ ำตำมบัญ ชี ของสิ นทรัพย์ที่ตีรำคำใหม่ ที่บนั ทึ กไปยังกำไรหรื อขำดทุน กับค่ำเสื่ อมรำคำที่คำนวณจำกรำคำทุนเดิ มของสิ นทรัพย์ จะถูกโอนจำก ส่ วนเกินทุนจำกกำรตีรำคำสิ นทรัพย์ไปยังกำไรสะสม ที่ดินไม่มีกำรคิดค่ำเสื่ อมรำคำ ค่ำเสื่ อมรำคำของสิ นทรัพย์อื่นคำนวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพื่อลดรำคำทุน หรื อรำคำที่ตีใหม่แต่ละชนิ ด ตลอดอำยุกำรให้ประโยชน์ที่ประมำณกำรไว้ของสิ นทรัพย์ดงั ต่อไปนี้ ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำง เครื่ องจักรและอุปกรณ์ ยำนพำหนะ เครื่ องตกแต่งและเครื่ องใช้สำนักงำน

5 - 30 ปี 20 - 40 ปี 5 - 10 ปี 5 ปี 3 - 5 ปี

ทุกสิ้ นรอบรอบระยะเวลำรำยงำน ได้มีกำรทบทวนและปรับปรุ งมูลค่ำคงเหลือและอำยุกำรให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ให้เหมำะสม ในกรณี ที่มูลค่ำตำมบัญชีสูงกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืน มูลค่ำตำมบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ำกับมูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนทันที กำไรหรื อขำดทุ น ที่ เกิ ดจำกกำรจำหน่ ำยที่ ดิน อำคำรและอุป กรณ์ ค ำนวณโดยเปรี ยบเที ยบจำกสิ่ งตอบแทนสุ ท ธิ ที่ ได้รับจำกกำร จำหน่ำยสิ นทรัพย์กบั มูลค่ำตำมบัญชีของสิ นทรัพย์ และจะรับรู ้ในบัญชี “กำไร(ขำดทุน)อื่น - สุ ทธิ” ในงบกำไรหรื อขำดทุน ในกำรจำหน่ำยสิ นทรัพย์ที่มีกำรตีรำคำใหม่ ส่ วนเกินทุนจำกกำรตีรำคำสิ นทรัพย์จะโอนไปยังกำไรสะสม

142

รายงานประจำ�ปี 2560 26


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.10

สวนยำงพำรำและสวนปำล์ ม สวนยำงพำรำและสวนปำล์มรับรู ้เมื่อเริ่ มแรกตำมรำคำทุน หักด้วยค่ำตัดจำหน่ำยสะสมและค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ (ถ้ำมี) ต้นทุนส่ วนใหญ่ประกอบด้วย กำรปรับสภำพพื้นที่ กำรปรับหน้ำดินและกำรทำร่ องน้ ำ กำรปลูก กำรปรำบวัชพืชและกำรใส่ ปุ๋ย ซึ่ งเป็ น ต้น ทุ น ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ กำรปลู ก ตั้ง แต่ ย งั ไม่ ให้ ผ ลผลิ ต จนกระทั่ง ต้น ยำงพำรำและต้น ปำล์ม ให้ ผ ลผลิ ต (ซึ่ งต้น ยำงใช้ร ะยะเวลำ โดยประมำณ 7 ปี และต้น ปำล์ม ใช้ระยะเวลำ 2 - 3 ปี ) ถื อ เป็ นต้น ทุ น ของสวนยำงพำรำและสวนปำล์ม กลุ่ ม กิ จ กำรตัด จำหน่ ำย สวนยำงพำรำและสวนปำล์มที่ให้ผลเป็ นต้นทุนกำรผลิต หลังจำกที่ตน้ ยำงและต้นปำล์มให้ผลผลิต โดยใช้วธิ ีเส้นตรงภำยในระยะเวลำ 25 ปี

3.11

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี ัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กลุ่มกิ จกำรบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนสำหรับสิ ทธิ กำรใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยที่ซ้ื อมำและมีลกั ษณะเฉพำะ โดยคำนวณ รำคำทุนเดิมจำกค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้องในกำรได้มำและกำรดำเนินกำรให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์น้ นั สำมำรถนำมำใช้งำนได้ตำมประสงค์ โดยจะตัดจำหน่ำยตลอดอำยุประมำณกำรให้ประโยชน์ภำยในระยะเวลำ 3 - 10 ปี ต้น ทุ น ที่ ใช้ในกำรพัฒ นำและบ ำรุ งรั กษำโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ให้บ นั ทึ กเป็ นค่ ำใช้จ่ ำยเมื่ อ เกิ ด ขึ้ น ต้น ทุ น โดยตรงในกำรจัดท ำ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่กลุ่มกิจกำรเป็ นผูด้ ูแลและมีลกั ษณะเฉพำะเจำะจง ซึ่ งอำจให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่มำกกว่ำต้นทุนเป็ นเวลำ เกินกว่ำหนึ่ งปี จะบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ต้นทุนโดยตรงรวมถึงต้นทุนพนักงำนที่ทำงำนในทีมพัฒนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และค่ำใช้จ่ำยที่เกี่ยวข้องในจำนวนเงินที่เหมำะสม

3.12

อสั งหำริมทรัพย์ เพื่อกำรลงทุน อสังหำริ มทรัพย์ที่ถือครองโดยกลุ่มกิ จกำรเพื่อหำประโยชน์จำกรำยได้ค่ำเช่ำ หรื อจำกกำรเพิ่มมูลค่ำของสิ นทรัพย์ หรื อทั้งสองอย่ำง และ ไม่ได้มีไว้ใช้งำนโดยกลุ่มกิจกำร สิ นทรัพย์ดงั กล่ำวถูกจัดประเภทเป็ นอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน รวมถึงอสังหำริ มทรัพย์ที่อยู่ ระหว่ำงกำรก่อสร้ำงเพื่อพัฒนำเป็ นอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนในอนำคต กลุ่มกิจกำรจัดประเภทที่ดินที่ถือไว้ภำยใต้สญ ั ญำเช่ำดำเนินงำนเป็ นอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน เมื่ออสังหำริ มทรัพย์น้ นั เป็ นไปตำม คำนิยำมของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน สัญญำเช่ำดำเนินงำนนั้นจะถูกรับรู ้เสมือนว่ำเป็ นสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนวัดมูลค่ำเริ่ มแรกด้วยรำคำทุนซึ่ งรวมถึงต้นทุนในกำรทำรำยกำร และวัดมูลค่ำภำยหลังกำรรับรู ้เริ่ มแรก ด้วยมูลค่ำยุติธรรมซึ่ งประเมินโดยผูป้ ระเมินอิสระ กำรปรับมูลค่ำของอสังหำริ มทรัพย์ให้เป็ นมูลค่ำยุติธรรมจะถูกรับรู ้เป็ นกำไรขำดทุน

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 27

143


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ จกำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ 31 ธันวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.12

อสั งหำริมทรัพย์ เพื่อกำรลงทุน กำรรวมรำยจ่ำยในภำยหลังเข้ำเป็ นมูลค่ำบัญชี ของสิ นทรัพย์จะกระทำก็ต่อเมื่อมี ควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่ ที่กลุ่มกิ จกำรจะได้รับ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคตในรำยจ่ำยนั้น และต้นทุนสำมำรถวัดมูลค่ำได้อย่ำงน่ำเชื่อถือ ค่ำซ่ อมแซมและบำรุ งรักษำทั้งหมดจะ รับรู ้เป็ นค่ำใช้จ่ำยเมื่อเกิดขึ้น เมื่อมีกำรเปลี่ยนแทนชิ้นส่ วนของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน จะตัดมูลค่ำตำมบัญชี ของส่ วนที่ถูกเปลี่ยน แทนออกหลังจำกรับรู ้รำยกำรเมื่อเริ่ มแรกแล้ว (อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน ถูกรับรู ้ภำยหลังด้วยมูลค่ำยุติธรรม มูลค่ำยุติธรรมของ อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนต้องสะท้อนถึงรำยได้ค่ำเช่ำจำกสัญญำเช่ำในปั จจุบนั และข้อสมมติอื่นซึ่ งผูร้ ่ วมตลำดนำมำใช้ในกำร กำหนดรำคำอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนภำยใต้สถำนกำรณ์ตลำดปัจจุบนั ) กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนจะรับรู ้ในกำไรหรื อขำดทุน กิจกำรจะตัดรำยกำรอสังหำริ มทรัพย์ เพื่อกำรลงทุนเมื่อกิจกำรจำหน่ำยหรื อเลิกใช้อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนนั้นอย่ำงถำวรและคำดว่ำจะไม่ได้รับโยชน์เชิงเศรษฐกิจใน อนำคตจำกกำรจำหน่ำยอีก กรณี ที่กลุ่มกิจกำรจำหน่ ำยอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนที่มูลค่ำยุติธรรมโดยผูซ้ ้ื อและผูข้ ำยไม่มีควำมเกี่ ยวข้องกัน มูลค่ำตำมบัญชี ก่อนขำยจะมีกำรปรับไปใช้รำคำในกำรทำรำยกำรและบันทึกผลกำไรสุ ทธิ จำกกำรปรับมูลค่ำของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนให้ เป็ นมูลค่ำยุติธรรมในกำไรหรื อขำดทุน เมื่ออสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนได้เปลี่ยนมำเป็ นอสั งหำริ มทรัพย์ที่มีไว้ใช้งำนจะถูกจัดประเภทใหม่เป็ นที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ มูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่มีกำรจัดประเภทใหม่จะถือเป็ นรำคำทุนในกำรบันทึกบัญชีของที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ในเวลำต่อมำ หำกอสั งหำริ ม ทรั พ ย์ที่ มี ไว้ใช้งำนได้เปลี่ ย นมำเป็ นอสั งหำริ ม ทรั พ ย์เพื่ อ กำรลงทุ นซึ่ งบัน ทึ กด้ว ยมู ลค่ ำยุติ ธ รรมเนื่ อ งจำกมี ก ำร เปลี่ยนแปลงกำรใช้งำน ผลต่ำงที่เกิดขึ้นระหว่ำงมูลค่ำตำมบัญชีของอสังหำริ มทรัพย์น้ นั กับมูลค่ำยุติธรรมต้องรับรู ้ดว้ ยวิธีกำรเดียวกับ กำรตีรำคำใหม่ตำมที่กำหนดในมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 16 กรณี มูลค่ำตำมบัญชีของสิ นทรัพย์เพิ่มขึ้นให้รับรู ้ในกำไรหรื อขำดทุน สำหรับงวดไม่เกินกว่ำจำนวนที่ผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำที่เคยรับรู ้ โดยส่ วนเพิ่มคงเหลือจะรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นและเพิ่ม ส่ วนเกิ นทุ นจำกกำรจำกกำรตี รำคำสิ นทรัพย์โดยตรงในส่ วนของเจ้ำของ กรณี มูลค่ำตำมบัญชี ของสิ นทรัพย์ลดลงให้รับรู ้ในกำไร ขำดทุ นเบ็ดเสร็ จอื่นเพื่อลดส่ วนเกิ นทุนจำกกำรตี รำคำสิ นทรัพย์ที่เคยรับรู ้ไว้ก่อนหน้ำ ส่ วนที่ ลดลงที่ คงเหลือให้รับรู ้ในกำไรหรื อ ขำดทุน เมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลงลักษณะกำรใช้งำนของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนโดยมีหลักฐำนของกำรเริ่ มพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์เพื่อขำย อสังหำริ มทรัพย์จะถูกโอนไปเป็ นสิ นค้ำคงเหลือ โดยมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่มีกำรเปลี่ยนแปลงกำรใช้งำนจะถือเป็ นรำคำทุนสำหรับ กำรบันทึกบัญชีของสิ นค้ำคงเหลือในเวลำต่อมำ

144

รายงานประจำ�ปี 2560

28


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ จกำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ 31 ธันวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.13

ค่ ำควำมนิยม ค่ำควำมนิยมที่เกิดจำกกำรได้มำซึ่ งบริ ษทั ย่อย (หมำยเหตุขอ้ 18) จะแสดงเป็ นรำยกำรแยกต่ำงหำกในงบแสดงฐำนะกำรเงินรวม ค่ ำควำมนิ ยมที่ รับ รู ้ จะต้องถู กทดสอบกำรด้อ ยค่ ำทุ กปี และแสดงด้วยรำคำทุ นหักค่ ำเผื่อกำรด้อ ยค่ ำสะสม ค่ ำเผื่อกำรด้อยค่ ำของ ค่ำควำมนิ ยมที่รับรู ้แล้วจะไม่มีกำรกลับรำยกำร ทั้งนี้ มูลค่ำคงเหลือตำมบัญชีของค่ำควำมนิ ยมจะถูกรวมคำนวณในกำไรหรื อขำดทุน เมื่อมีกำรขำยกิจกำร ในกำรทดสอบกำรด้อยค่ำของค่ำควำมนิ ยม ค่ำควำมนิ ยมจะถูกปั นส่ วนไปยังหน่วยที่ก่อให้เกิดกระแสเงินสด โดยที่หน่ วยนั้นอำจจะ เป็ นหน่ วยเดี ยวหรื อหลำยหน่ วยรวมกัน ซึ่ งคำดว่ำจะได้รับประโยชน์จำกกำรรวมธุ รกิ จ ที่ เกิ ดควำมนิ ยมเกิ ดขึ้ นและระบุ ส่วนงำน ดำเนินงำนได้

3.14

กำรด้ อยค่ ำของสิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ที่มีอำยุกำรให้ประโยชน์ไม่ทรำบแน่ ชดั (เช่น ค่ำควำมนิ ยม) ซึ่ งไม่มีกำรตัดจำหน่ ำยจะถูกทดสอบกำรด้อยค่ำเป็ นประจำทุกปี สิ นทรัพย์อื่นที่มีกำรตัดจำหน่ำยจะมีกำรทบทวนกำรด้อยค่ำ เมื่อมีเหตุกำรณ์หรื อสถำนกำรณ์บ่งชี้วำ่ รำคำตำมบัญชีอำจสู งกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำ จะได้รับคืน รำยกำรขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำจะรับรู ้เมื่อรำคำตำมบัญชีของสิ นทรัพย์สูงกว่ำมูลค่ำสุ ทธิ ที่คำดว่ำจะได้รับคืน ซึ่ งหมำยถึง จำนวนที่ สูงกว่ำระหว่ำงมู ลค่ำยุติธรรมหักต้นทุ นในกำรขำยเที ยบกับมูลค่ำจำกกำรใช้สินทรัพย์จะถูกจัดรวมเป็ นหน่ วยที่ เล็กที่ สุด ที่สำมำรถแยกออกมำได้ เพื่อวัตถุประสงค์ของกำรประเมินกำรด้อยค่ำ สิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทำงกำรเงินนอกเหนื อจำกค่ำควำมนิยม ซึ่ งรับรู ้รำยกำรขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำไปแล้ว จะถูกประเมินควำมเป็ นไปได้ที่จะกลับรำยกำรขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำ ณ วันสิ้ นรอบ ระยะเวลำรำยงำน

3.15

เครื่ องมือทำงกำรเงิน (ก)

กำรประมำณมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินทำงกำรเงิน มูลค่ำยุติธรรมของเครื่ องมือทำงกำรเงินในตลำดซื้ อขำยคล่อง (เช่น ซื้ อขำยแลกเปลี่ยนในตลำดซื้ อขำยคล่องและซื้ อขำยกัน โดยตรงของตรำสำรและอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน) กำหนดมูลค่ำโดยขึ้นอยูก่ บั รำคำตลำดที่มีกำรเปิ ดเผย ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะ ทำงกำรเงิน รำคำตลำดของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินที่มีกำรเปิ ดเผย คือรำคำเสนอซื้ อปั จจุบนั รำคำตลำดของหนี้ สินทำงกำรเงินที่มี กำรเปิ ดเผยอย่ำงเหมำะสม คือ รำคำเสนอขำยปัจจุบนั มูลค่ำยุติธรรมของเครื่ องมือทำงกำรเงินที่ไม่มีกำรซื้ อขำยในตลำดซื้ อขำยคล่อง จะถูกกำหนดโดยใช้กำรประเมินรำคำ กลุ่มกิจกำร และบริ ษทั ใช้หลำกหลำยวิธีกำรในกำรประเมิ นมูลค่ำยุติธรรม โดยใช้สมมติฐำนซึ่ งขึ้ นอยู่กบั เงื่อนไขทำงกำรตลำดที่มีอยู่ ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิน ในกำรประมำณมูลค่ำยุติธรรม ควรใช้รำคำตลำดที่มีกำรเปิ ดเผย หรื ออ้ำงอิงรำคำตลำด ในปั จจุบนั ของเครื่ องมือทำงกำรเงินอื่นที่เหมือนกันหรื อคล้ำยคลึงกัน วิธีกำรประเมินรำคำ เช่น กำรนำกำรวิเครำะห์กระแสเงินสด คิดลดมำประยุกต์ใช้ สำมำรถใช้ในกำรประเมินมูลค่ำยุติธรรมของเครื่ องมือทำงกำรเงินได้ดว้ ย มูลค่ำยุติธรรมโดยประมำณของสิ นทรัพย์และหนี้ สินทำงกำรเงินที่ วดั มูลค่ำโดยใช้รำคำทุนตัดจำหน่ ำยมีมูลค่ำใกล้เคียงกับ มูลค่ำตำมบัญชี

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

29

145


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.15

เครื่ องมือทำงกำรเงิน (ข)

ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงินประกอบด้วย สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำสิ ทธิ เลือกซื้ อขำยเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ สัญญำซื้อขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ และสัญญำซื้ อขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบสิ นค้ำ กลุ่มกิจกำรไม่ได้นำกำรป้องกันควำมเสี่ ยงทำงบัญชี (Hedge accounting) มำใช้สำหรับตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุ พนั ธ์ทำงกำรเงินรับรู ้มูลค่ำเมื่อเริ่ มแรกโดยใช้มูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ทำสัญญำอนุ พนั ธ์ทำงกำรเงิน และวัดมูลค่ำ ภำยหลังโดยใช้มูลค่ำยุติธรรม โดยรับรู ้กำไรหรื อขำดทุนเข้ำงบกำไรขำดทุนในระหว่ำงปี มูลค่ำยุติธรรม ประเมินโดยใช้รำคำ ตลำดที่มีกำรเปิ ดเผย ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงินแสดงในงบกำรเงินโดยใช้เกณฑ์สุทธิซ่ ึ งสำมำรถหักกลบลบกันได้ตำมกฎหมำย ตรำสำรอนุพนั ธ์ ทำงกำรเงินบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์เมื่อมูลค่ำยุติธรรมเป็ นบวก และบันทึกเป็ นหนี้สินเมื่อมูลค่ำยุติธรรมเป็ นลบ

3.16

เงินกู้ยืม เงินกูย้ ืมประกอบด้วยเงินกูย้ ืมจำกสถำบันกำรเงินและหุ ้นกู้ เงินกูย้ ืมรับรู ้เริ่ มแรกด้วยมูลค่ำยุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ได้รับหักด้วย ต้นทุนกำรจัดทำรำยกำรที่เกิดขึ้น เงินกูย้ มื วัดมูลค่ำในเวลำต่อมำด้วยวิธีรำคำทุนตัดจำหน่ ำยตำมวิธีอตั รำดอกเบี้ยที่แท้จริ ง ผลต่ำงระหว่ำง สิ่ งตอบแทน (สุ ทธิ จำกต้นทุนกำรจัดทำรำยกำรที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่ำที่จ่ำยคืนเพื่อชำระหนี้ น้ นั จะรับรู ้เป็ นกำไรขำดทุนตลอด ช่วงเวลำกำรกูย้ มื ค่ำธรรมเนี ยมที่จ่ำยไปเพื่อให้ได้เงินกูม้ ำจะรับรู ้เป็ นต้นทุนกำรจัดทำรำยกำรเงินกูใ้ นกรณี ที่มีควำมเป็ นไปได้ที่จะใช้วงเงินกูบ้ ำงส่ วน หรื อทั้งหมด ในกรณี น้ ี ค่ ำธรรมเนี ยมจะรอกำรรับ รู ้ จนกระทั่งมี กำรถอนเงิ น หำกไม่ มีห ลักฐำนที่ มีค วำมเป็ นไปได้ที่จะใช้วงเงิ น บำงส่ ว นหรื อ ทั้งหมด ค่ ำธรรมเนี ยมจะรั บ รู ้ เป็ นค่ ำใช้จ่ำยจ่ ำยล่ วงหน้ำส ำหรั บ กำรให้บ ริ กำรสภำพคล่ อ งและจะตัดจำหน่ ำยตำม ระยะเวลำของวงเงินกูท้ ี่เกี่ยวข้อง เงินกูย้ ืมจัดประเภทเป็ นหนี้ สินหมุนเวียนเมื่อกลุ่มกิจกำรไม่มีสิทธิ อนั ปรำศจำกเงื่อนไขให้เลื่อนชำระหนี้ ออกไปอีกเป็ นเวลำไม่นอ้ ยกว่ำ 12 เดือน นับจำกวันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน ต้นทุนกำรกูย้ มื ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับกำรได้มำ กำรก่อสร้ำง หรื อกำรผลิตสิ นทรัพย์ที่เข้ำเงื่อนไขต้องนำมำรวมเป็ นส่ วนหนึ่ งของรำคำทุน ของสิ นทรัพย์น้ นั โดยสิ นทรัพย์ที่เข้ำเงื่อนไขคือสิ นทรัพย์ที่จำเป็ นต้องใช้ระยะเวลำนำนในกำรเตรี ยมสิ นทรัพย์น้ นั ให้อยูใ่ นสภำพพร้อม ที่จะใช้ได้ตำมประสงค์หรื อพร้อมที่จะขำย กำรรวมต้นทุนกำรกูย้ ืมเป็ นรำคำทุนของสิ นทรัพย์ตอ้ งสิ้ นสุ ดลงเมื่อกำรดำเนิ นกำรส่ วนใหญ่ ที่จำเป็ นในกำรเตรี ยมสิ นทรัพย์ที่เข้ำเงื่อนไขให้อยูใ่ นสภำพพร้อมที่จะใช้ได้ตำมประสงค์หรื อพร้อมที่จะขำยได้เสร็ จสิ้ นลง รำยได้จำกกำรลงทุนที่เกิดจำกกำรนำเงินกูย้ มื ที่กมู้ ำโดยเฉพำะ ที่ยงั ไม่ได้นำไปเป็ นรำยจ่ำยของสิ นทรัพย์ที่เข้ำเงื่อนไขไปลงทุนเป็ นกำร ชัว่ ครำวก่อน ต้องนำมำหักจำกต้นทุนกำรกูย้ มื ที่สำมำรถตั้งขึ้นเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ ต้นทุนกำรกูย้ มื อื่น ๆ ต้องถือเป็ นค่ำใช้จ่ำยในงวดที่เกิดขึ้น

146

รายงานประจำ�ปี 2560

30


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ เฉพำะกิ จกำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ 31 ธันวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.17

สั ญญำเช่ ำระยะยำว - กรณีทกี่ ลุ่มกิจกำรเป็ นผู้เช่ ำ สัญญำระยะยำวเพื่อเช่ ำสิ นทรัพย์ซ่ ึ งผูใ้ ห้เช่ ำเป็ นผูร้ ับควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนของควำมเป็ นเจ้ำของเป็ นส่ วนใหญ่ สัญญำเช่ำนั้น ถือเป็ นสัญญำเช่ำดำเนินงำน เงินที่ตอ้ งจ่ำยภำยใต้สญ ั ญำเช่ำดังกล่ำว (สุ ทธิจำกสิ่ งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจำกผูใ้ ห้เช่ำ) จะบันทึกในกำไร หรื อขำดทุนโดยใช้วธิ ีเส้นตรงตลอดอำยุของสัญญำเช่ำนั้น สัญญำเช่ำที่ดิน อำคำร และอุปกรณ์ซ่ ึ งผูเ้ ช่ำเป็ นผูร้ ับควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนของควำมเป็ นเจ้ำของเกือบทั้งหมดถือเป็ นสัญญำเช่ำกำรเงิน ซึ่ งจะบันทึกเป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุนด้วยมูลค่ำยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่เช่ำ หรื อมูลค่ำปั จจุบนั สุ ทธิ ของจำนวนเงินที่ตอ้ งจ่ำยตำมสัญญำเช่ำ แล้วแต่มูลค่ำใดจะต่ำกว่ำ จำนวนเงินที่ ตอ้ งจ่ำยดังกล่ำวจะปั นส่ วนระหว่ำงหนี้ สินและค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงิ นเพื่อให้ได้อตั รำดอกเบี้ ยคงที่ ต่อหนี้ สินคงค้ำงอยู่ โดยพิจำรณำแยกแต่ละสัญญำ ภำระผูกพันตำมสัญญำเช่ ำหักค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินจะบันทึ กเป็ นหนี้ สินระยะยำว ส่ วนดอกเบี้ยจ่ำย จะบันทึกในกำไรหรื อขำดทุนตลอดอำยุของสัญญำเช่ำเพื่อทำให้อตั รำดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็ นอัตรำคงที่สำหรับยอดคงเหลือของหนี้สิน ที่เหลืออยู่ สิ นทรัพย์ที่ได้มำตำมสัญญำเช่ำกำรเงินจะคิดค่ำเสื่ อมรำคำตลอดอำยุกำรใช้งำนของสิ นทรัพย์ที่เช่ำหรื ออำยุของสัญญำเช่ำ แล้วแต่ระยะเวลำใดจะน้อยกว่ำ

3.18

ภำษีเงินได้ สำหรับงวดปัจจุบนั และภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้สำหรับงวดประกอบด้วย ภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภำษี เงินได้รอกำรตัดบัญชี ภำษีเงินได้จะรับรู ้ในกำไร หรื อขำดทุน ยกเว้นส่ วนภำษีเงินได้ที่เกี่ ยวข้องกับรำยกำรที่รับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น หรื อรำยกำรที่ รับรู ้โดยตรงไปยังส่ วนของ เจ้ำของ ในกรณี น้ ี ภำษีเงินได้ตอ้ งรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรื อโดยตรงไปยังส่ วนของเจ้ำของตำมลำดับ ภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั คำนวณจำกอัตรำภำษีตำมกฎหมำยภำษีที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อ ที่คำดได้ค่อนข้ำงแน่ ว่ำจะมีผลบังคับใช้ ภำยในสิ้ นรอบระยะเวลำที่รำยงำนในประเทศที่บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยต้องดำเนินงำนอยูแ่ ละเกิดรำยได้เพื่อเสี ยภำษี ผูบ้ ริ หำรจะประเมิน สถำนะของกำรยืน่ แบบแสดงรำยกำรภำษีเป็ นงวด ๆ ในกรณี ที่มีสถำนกำรณ์ที่กำรนำกฎหมำยภำษี ไปปฏิบตั ิข้ ึนอยูก่ บั กำรตีควำม และจะ ตั้งประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยภำษีที่เหมำะสมจำกจำนวนที่คำดว่ำจะต้องจ่ำยชำระภำษีแก่หน่วยงำนจัดเก็บ ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี รับรู ้ตำมวิธีหนี้ สิน เมื่อเกิ ดผลต่ำงชัว่ ครำวระหว่ำงฐำนภำษีของสิ นทรัพย์และหนี้ สิน และรำคำตำมบัญชี ที่แสดงอยูใ่ นงบกำรเงิน อย่ำงไรก็ตำม กลุ่มกิจกำรจะไม่รับรู ้ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่เกิดจำกกำรรับรู ้เริ่ มแรกของรำยกำรสิ นทรัพย์ หรื อรำยกำรหนี้ สินที่ เกิ ดจำกรำยกำรที่ไม่ใช่กำรรวมธุรกิจ และ ณ วันที่เกิดรำยกำร รำยกำรนั้นไม่มีผลกระทบต่อกำไรหรื อขำดทุน ทั้งทำงบัญชีหรื อทำงภำษี ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีคำนวณจำกอัตรำภำษี (และกฎหมำยภำษีอำกร) ที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที่คำดได้ ค่อนข้ำงแน่ ว่ำจะมีผลบังคับใช้ภำยในสิ้ นรอบระยะเวลำที่รำยงำน และคำดว่ำอัตรำภำษีดงั กล่ำวจะนำไปใช้เมื่อสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ หรื อหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มีกำรจ่ำยชำระ สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรับรู ้หำกมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่วำ่ กลุ่มกิจกำรจะมีกำไรทำงภำษีเพียงพอที่จะนำจำนวนผลต่ำง ชัว่ ครำวนั้นมำใช้ประโยชน์ กลุ่มกิจกำรได้ต้ งั ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีของผลต่ำงชัว่ ครำวของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และส่ วนได้เสี ย ในกิจกำรร่ วมค้ำที่ตอ้ งเสี ยภำษีเว้นแต่กลุ่มกิจกำรสำมำรถควบคุมจังหวะเวลำของกำรกลับรำยกำรผลต่ำงชัว่ ครำว และกำรกลับรำยกำร ผลต่ำงชัว่ ครำวมีควำมเป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่วำ่ จะไม่เกิดขึ้นได้ภำยในระยะเวลำที่คำดกำรณ์ได้ในอนำคต สิ นทรัพย์ภำษี เงิ นได้รอกำรตัดบัญชี และหนี้ สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี จะแสดงหักกลบกันก็ต่อเมื่ อกิ จกำรมี สิทธิ ตำมกฎหมำย ที่จะนำสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั มำหักกลบกับหนี้ สินภำษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และทั้งสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี และหนี้ สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี เกี่ยวข้องกับภำษีเงินได้ที่ประเมินโดยหน่วยงำนจัดเก็บภำษีหน่วยงำนเดียวกันโดยกำรเรี ยกเก็บ เป็ นหน่ ว ยภำษี เดี ย วกัน หรื อ หน่ ว ยภำษี ต่ ำงกัน ซึ่ งตั้งใจจะจ่ ำยหนี้ สิ น และสิ น ทรั พ ย์ภ ำษี เงิ น ได้ข องงวดปั จ จุ บ ัน ด้ว ยยอดสุ ท ธิ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

31

147


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.19

ผลประโยชน์ พนักงำน (ก)

โครงกำรสมทบเงินที่กำหนดไว้ โครงกำรสมทบเงินที่กำหนดไว้ คือโครงกำรผลประโยชน์หลังออกจำกงำนที่บำงบริ ษทั ในกลุ่มจ่ำยเงินสมทบในจำนวนที่ แน่ นอนให้แก่ กิจกำรที่ แยกต่ำงหำก ตำมข้อตกลงทำงกฎหมำย หรื อตำมสัญญำ หรื อโดยสมัครใจ หลังจำกที่ บำงบริ ษทั ใน กลุ่มได้จ่ำยเงินสมทบดังกล่ำวแล้ว บริ ษทั เหล่ำนั้นจะไม่มีภำระผูกพันที่ตอ้ งจ่ำยเงินสมทบเพิม่ เติมอีก เงินจ่ำยสมทบเข้ำโครงกำรผลประโยชน์หลังออกจำกงำนจำกบริ ษทั เหล่ำนั้น บันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ สำหรับรอบระยะเวลำบัญชีที่เกิดรำยกำรนั้น

(ข)

ผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ กลุ่มกิ จกำรจัดให้มีผลประโยชน์พนักงำนเมื่ อเกษียณอำยุเพื่อจ่ำยให้แก่พนักงำนเป็ นไปตำมกฎหมำยแรงงำนไทย จำนวนเงิน ดังกล่ำวขึ้นอยูก่ บั ฐำนเงินเดือนและจำนวนปี ที่พนักงำนทำงำนให้กลุ่มกิจกำรนับถึงวันที่สิ้นสุ ดกำรทำงำนที่จะเกิดขึ้นในอนำคต (หนี้ สิ นผลประโยชน์ พนักงำนค ำนวณโดยใช้วิธี คิ ดลดแต่ ละหน่ วยที่ ประมำณกำรไว้ (วิธี Projected Unit Credit) ตำมเกณฑ์ คณิ ตศำสตร์ ประกันภัย (Actuarial Technique) โดยนักคณิ ตศำสตร์ ประกันภัยอิสระ) โดยสม่ำเสมอเพียงพอที่จะไม่ทำให้จำนวน เงินที่รับรู ้ในงบกำรเงินแตกต่ำงอย่ำงมีสำระสำคัญจำกจำนวนเงินที่ควรจะเป็ น ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน ซึ่ งเป็ นกำรประมำณ กำรจำกมูลค่ำปั จจุบนั ของกระแสเงินสดที่คำดว่ำจะต้องจ่ำยในอนำคต โดยคำนวณบนพื้นฐำนของเงินเดื อนพนักงำน อัตรำกำร ลำออก อำยุจนถึงเกษียณ อัตรำกำรตำย อำยุงำน และปั จจัยอื่น ๆ และคำนวณคิดลดโดยใช้อตั รำดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบำลที่มี กำหนดเวลำใกล้เคียงกับระยะเวลำของภำระผูกพันดังกล่ำว กำไรและขำดทุ น จำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิ ตศำสตร์ ประกัน ภัยที่ เกิ ดขึ้ นจำกกำรปรับปรุ งจำกประสบกำรณ์ หรื อ กำรเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติฐำนจะต้องรับรู ้ในส่ วนของเจ้ำของผ่ำนกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นในงวดที่เกิดขึ้น ต้นทุนบริ กำรในอดีตจะถูกรับรู ้ทนั ทีในกำไรหรื อขำดทุน

3.20

ประมำณกำรหนีส้ ิ น กลุ่ มกิ จกำรจะบันทึ กประมำณกำรหนี้ สิ นซึ่ งไม่ รวมถึ งประมำณกำรหนี้ สิ น สำหรับ ผลตอบแทนพนักงำน อันเป็ นภำระผูกพันใน ปั จจุบนั ตำมกฎหมำยหรื อตำมข้อตกลงที่จดั ทำไว้ อันเป็ นผลสื บเนื่ องมำจำกเหตุกำรณ์ ในอดี ตซึ่ งกำรชำระภำระผูกพันนั้นมี ควำม เป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่นอนว่ำจะส่ งผลให้กลุ่มกิจกำรต้องสู ญเสี ยทรัพยำกรออกไป และตำมประมำณกำรที่น่ำเชื่อถือของจำนวนที่ตอ้ ง จ่ำยในกรณี ที่กลุ่มกิจกำรคำดว่ำประมำณกำรหนี้สินเป็ นรำยจ่ำยที่จะได้รับคืน

148

รายงานประจำ�ปี 2560 32


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.21

ทุนเรื อนหุ้น หุน้ สำมัญจัดประเภทไว้เป็ นส่ วนของเจ้ำของ ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับกำรออกหุน้ สำมัญใหม่หรื อสิ ทธิในกำรซื้ อขำยหุน้ ที่จ่ำยออกไป โดยแสดงรำยกำรดังกล่ำวด้วยจำนวนเงินสุ ทธิ จำกภำษีไว้เป็ นรำยกำรหักในส่ วนของเจ้ำของ โดยนำไปหักจำกสิ่ งตอบแทนที่ได้รับจำกกำรออกหุน้

3.22

กำรรับรู้รำยได้ รำยได้ประกอบด้วยมูลค่ำยุติธรรมที่จะได้รับจำกกำรขำยสิ นค้ำและบริ กำรซึ่ งเกิดขึ้นจำกกิจกรรมตำมปกติของกลุ่มกิจกำร รำยได้จะ แสดงด้วยจำนวนเงินสุ ทธิจำกภำษีขำย กำรรับคืน เงินคืนและส่ วนลด โดยไม่รวมรำยกำรขำยภำยในกลุ่มกิจกำรสำหรับงบกำรเงินรวม กลุ่มกิ จกำรรับรู ้ รำยได้ก็ต่อเมื่ อกิ จกำรสำมำรถวัดมูลค่ำของรำยได้และต้นทุ นที่ เกี่ ยวข้องได้อย่ำงน่ ำเชื่ อถื อ และมี ควำมเป็ นไปได้ ค่อนข้ำงแน่นอนที่กิจกำรจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคตที่เกี่ยวข้องกับรำยกำรค้ำดังต่อไปนี้ (ก)

ขำยสิ นค้ำ รำยได้จำกกำรขำยสิ นค้ำรับรู ้เมื่อผูซ้ ้ื อรับโอนควำมเสี่ ยงและผลตอบแทนที่เป็ นสำระสำคัญของควำมเป็ นเจ้ำของสิ นค้ำ และ มีควำมเชื่อมัน่ อย่ำงสมเหตุสมผลในกำรรับชำระหนี้

(ข)

ให้บริ กำร รำยได้จำกกำรให้บริ กำรรับรู ้ตำมขั้นควำมสำเร็ จของงำน

(ค)

ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับรับรู ้เป็ นรำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำง เว้นแต่จะมีควำมไม่แน่นอนในกำรรับชำระ โดยใช้อตั รำดอกเบี้ยที่แท้จริ ง

(ง)

เงินปันผลรับ เงินปันผลรับรับรู ้เป็ นรำยได้เมื่อสิ ทธิที่จะได้รับเงินปันผลนั้นเกิดขึ้น

(จ)

รำยได้ค่ำเช่ำ รำยได้ค่ำเช่ำรับรู ้เป็ นรำยได้ตำมเกณฑ์คงค้ำงตำมสัญญำเช่ำที่เกี่ยวข้อง

3.23

กำรจ่ ำยเงินปันผล กำรจ่ำยเงินปั นผลจะถูกบันทึกในงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะบริ ษทั ในรอบระยะเวลำบัญชี ซ่ ึ งที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ได้อนุมตั ิกำรจ่ำยเงินปั นผล

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 33

149


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ จกำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 3

นโยบำยกำรบัญชี (ต่อ) 3.24

ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน ส่ วนงำนดำเนิ นงำนได้ถูกรำยงำนในลักษณะเดียวกับรำยงำนภำยในที่นำเสนอให้ผมู ้ ีอำนำจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนิ นงำน ผูม้ ีอำนำจ ตัดสิ นใจสู งสุ ดด้ำนกำรดำเนิ นงำนหมำยถึ งบุคคลที่ มีหน้ำที่ ในกำรจั ดสรรทรัพยำกรและประเมิ นผลกำรปฏิ บตั ิ งำนของส่ วนงำน ดำเนินงำน ซึ่ งพิจำรณำว่ำคือกรรมกำรผูจ้ ดั กำรที่ทำกำรตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์

4

ประมำณกำรทำงกำรบัญชีทสี่ ำคัญ ข้ อสมมติฐำนและกำรใช้ ดุลยพินิจ กำรประมำณกำร ข้อสมมติฐำนและกำรใช้ดุลยพินิจ ได้มีกำรทบทวนอย่ำงต่อเนื่องและอยูบ่ นพื้นฐำนของประสบกำรณ์ในอดีตและปัจจัยอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงกำรคำดกำรณ์ถึงเหตุกำรณ์ในอนำคตที่เชื่อว่ำมีเหตุผลในสถำนกำรณ์ขณะนั้น 4.1

ประมำณกำรกำรด้ อยค่ ำของสิ นทรัพย์ ทไี่ ม่ ใช่ สินทรัพย์ ทำงกำรเงิน สิ นทรัพย์จะถูกทบทวนกำรด้อยค่ำ เมื่อมีเหตุกำรณ์หรื อกำรเปลี่ยนแปลงในสถำนกำรณ์ที่บ่งชี้ว่ำรำคำตำมบัญชี อำจสู งกว่ำมูลค่ำที่คำดว่ำ จะได้รับคืน กำรประเมินรำคำตำมบัญชีมกั จะกำหนดให้มีกำรประมำณกำรและข้อสมมติฐำนต่ำง ๆ เช่น อัตรำคิดลด อัตรำแลกเปลี่ยน รำคำสิ นค้ำ ควำมต้องกำรเงินทุนในอนำคต และผลกำรดำเนินงำนในอนำคต รำยกำรสำคัญที่ได้รับผลกระทบ คือ ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ ซึ่งถูกเปิ ดเผยในหมำยเหตุขอ้ 15

4.2

กำรประเมินมูลค่ ำยุติธรรมของทีด่ นิ ส่ วนปรับปรุ งทีด่ นิ อำคำร และสิ่ งปลูกสร้ ำง ภำยหลังจำกกำรรับรู ้เริ่ มแรก รำยกำรที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำร และสิ่ งปลูกสร้ำงแต่ละรำยกำร กิจกำรแสดงรำยกำรดังกล่ำวด้วย รำคำที่ ตีใหม่ คื อ มูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ มีกำรตีรำคำใหม่หักด้วยค่ำเสื่ อมรำคำสะสมและผลขำดทุนจำกกำรด้อยค่ำสะสมที่ เกิดขึ้น กิจกำรตีรำคำสิ นทรัพย์ใหม่อย่ำงสม่ำเสมอทุกๆ 5 ปี ตำมนโยบำยของกิ จกำร เพื่อให้แน่ใจว่ำมูลค่ำตำมบัญชี จะไม่แตกต่ำงจำกมูลค่ำ ยุติธรรม ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำนอย่ำงมีสำระสำคัญ ในไตรมำสที่ 3 ของปี พ.ศ. 2560 มูลค่ำยุติธรรมของที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำร และสิ่ งปลูกสร้ำงของกลุ่มกิจกำรได้มีกำรประเมิน รำคำสิ นทรัพย์ใหม่โดยผูป้ ระเมินรำคำอิสระ โดยใช้เกณฑ์รำคำตลำด และเกณฑ์รำคำเปลี่ยนแทนหักค่ำเสื่ อมรำคำสะสม กำรตีรำคำ ที่ดินและอำคำรใหม่ทำให้มูลค่ำตำมบัญชีที่เพิ่มขึ้นจะรับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นและจะแสดงอยูใ่ นส่ วนเกินทุนจำกกำรตีรำคำ สิ นทรัพย์ในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ และหำกมูลค่ำของส่ วนที่เคยมีกำรตีรำคำเพิ่มนั้นลดลงกิจกำรต้องนำส่ วนที่ลดลงจำกกำรตีรำคำใหม่ไป รับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น และลดส่ วนเกินทุนจำกกำรตีรำคำสิ นทรัพย์ขำ้ งต้นที่อยูใ่ นส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ลดลงตำมไปด้วย ส่ วนที่ ลดลงที่เหลือจะบันทึกไปยังกำไรหรื อขำดทุน (หมำยเหตุขอ้ 15) ที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำงของกลุ่มกิจกำรแสดง ด้วยมูลค่ำยุติธรรมในระดับ 2

4.3

ค่ ำควำมนิยม กลุ่มกิ จกำรทดสอบกำรด้อยค่ำของค่ำควำมนิ ยมทุกปี ตำมที่กล่ำวในหมำยเหตุขอ้ 3.14 มูลค่ำที่ คำดว่ำจะได้รับคืนของหน่ วยสิ นทรัพย์ ที่ก่อให้เกิดเงินสด พิจำรณำจำกกำรคำนวณมูลค่ำจำกกำรใช้ กำรคำนวณดังกล่ำวอำศัยกำรประมำณกำร (หมำยเหตุขอ้ 18)

150

รายงานประจำ�ปี 2560

34


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 4

ประมำณกำรทำงกำรบัญชีทสี่ ำคัญ ข้ อสมมติฐำนและกำรใช้ ดุลยพินิจ (ต่อ) 4.4

ภำษีเงินได้ และภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี กลุ่ ม กิ จ กำรมี ห น้ำที่ ต้อ งเสี ย ภำษี เงิ น ได้ในหลำยประเทศ ในกำรประมำณหนี้ สิ น ภำษี เงิ น ได้ผูบ้ ริ ห ำรต้อ งใช้ดุ ลยพิ นิ จอย่ำงเป็ น สำระสำคัญในกำรกำหนดประมำณกำรหนี้ สินภำษีเงินได้ เนื่ องจำกมีรำยกำรและกำรคำนวณที่เกิดขึ้นจำกกำรดำเนิ นธุ รกิจตำมปกติ ของกลุ่มกิจกำรที่ขอ้ กำหนดทำงภำษียงั มีควำมไม่แน่นอน นอกจำกนี้สินทรัพย์ภำษีเงินได้และหนี้สินภำษีเงินได้จะรับรู ้จำกผลแตกต่ำง ชัว่ ครำวระหว่ำงฐำนภำษีของสิ นทรัพย์และหนี้ สิน กับมูลค่ำคงเหลือตำมบัญชี ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ผูบ้ ริ หำรต้องใช้ดุลยพินิจ อย่ำงมำกในกำรพิจำรณำว่ำกลุ่มกิจกำรจะมีควำมเป็ นไปได้อย่ำงสู งที่จะมีกำไรทำงภำษีในอนำคตเพื่อใช้กลับรำยกำรสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้ กลุ่มกิจกำรใช้ขอ้ สมมติฐำนในกำรประมำณกำรกำไรทำงภำษีในอนำคต และช่วงเวลำที่จะใช้ผลแตกต่ำงชัว่ ครำวนั้น กำรเปลี่ยนแปลง ข้อสมมติฐำนดังกล่ำวในแต่ละปี อำจทำให้มีผลกระทบอย่ำงมีสำระสำคัญต่อสถำนะกำรเงินและผลกำรดำเนินงำน สำหรับมูลค่ำยุติธรรมของตรำสำรอนุพนั ธ์และเครื่ องมือทำงกำรเงินอื่นที่กลุ่มกิจกำรได้เข้ำทำสัญญำด้วยเป็ นตรำสำรอนุพนั ธ์ที่มีกำร ซื้ อขำยในตลำดซื้อขำยคล่อง โดยที่รำคำยุติธรรมสำมำรถระบุได้ง่ำยและมีกำรใช้ดุลยพินิจในกำรกำหนดมูลค่ำค่อนข้ำงน้อยมำก

5

กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน 5.1

ปัจจัยควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน กิจกรรมของกลุ่มกิจกำรย่อมมีควำมเสี่ ยงทำงกำรเงินที่หลำกหลำยซึ่ งได้แก่ ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (รวมถึงควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยน เงินตรำต่ำงประเทศ ควำมเสี่ ยงด้ำนกระแสเงินสดอันเกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงอัตรำดอกเบี้ย และควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำ) ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรให้ สิ นเชื่ อ และควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง แผนกำรจัดกำรควำมเสี่ ยงโดยรวมของกลุ่มกิ จกำรและบริ ษทั จึงมุ่งเน้นที่ควำมผันผวนของ ตลำดกำรเงินและแสวงหำวิธีกำรลดผลกระทบที่ทำให้เกิดควำมเสี ยหำยต่อผลกำรดำเนินงำนของกลุ่มกิจกำรและบริ ษทั กลุ่มกิจกำรใช้ เครื่ องมืออนุพนั ธ์ทำงกำรเงินเพื่อป้องกันควำมเสี่ ยงที่เกิดขึ้น กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงดำเนินงำนภำยใต้กำรควบคุมของฝ่ ำยบริ หำร ซึ่งผูบ้ ริ หำรของกลุ่มกิจกำรจะเป็ นผูร้ ะบุ ประเมิน และป้องกันควำมเสี่ ยง ทำงกำรเงินแต่ไม่ได้นำกำรป้องกันควำมเสี่ ยงทำงบัญชี (Hedge accounting) มำใช้ (ก)

ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (1) ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยน เนื่องจำกกลุ่มกิจกำรดำเนินงำนระหว่ำงประเทศจึงย่อมมีควำมเสี่ ยงอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศซึ่ งเกิดจำกสกุลเงิน ที่หลำกหลำย โดยมีสกุลเงินต่ำงประเทศหลักคือดอลลำร์สหรัฐอเมริ กำ ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนนั้นเกิดขึ้นจำก กำรดำเนิ นงำนของธุรกิจ เงินลงทุนสุ ทธิ ในหน่วยงำนในต่ำงประเทศ และเงินกูย้ ืม ผูบ้ ริ หำรได้กำหนดนโยบำยในกำร จัดกำรควำมเสี่ ยงจำกเงินตรำต่ำงประเทศต่อสกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนิ นงำน โดยกิจกำรในกลุ่มกิจกำรใช้สัญญำอัตรำ แลกเปลี่ยนล่วงหน้ำเพื่อป้ องกันควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศที่เกิดจำกรำยกำรค้ำที่จะเกิดขึ้นใน อนำคตและเงินกูย้ ืม ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเกิ ดขึ้ นเมื่อรำยกำรค้ำที่จะเกิ ดขึ้นในอนำคตเป็ นสกุลเงินที่ไม่ใช่ สกุลเงินที่ใช้ในกำรดำเนินงำนของกิจกำร กลุ่มกิจกำรมีเงินลงทุนในหน่ วยงำนในต่ำงประเทศซึ่ งสิ นทรัพย์สุทธิ ของหน่ วยงำนในต่ำงประเทศนั้นมีควำมเสี่ ยง จำกกำร แปลงค่ำเงินตรำต่ำงประเทศ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

35

151


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1

ปัจจัยควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ก)

ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (ต่อ) (1) ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยน (ต่อ) หำกค่ ำเงิ นบำทมี กำรเปลี่ ยนแปลงไปในอัตรำร้ อยละ 2.37 (พ.ศ. 2559 : อัตรำร้ อยละ 3.09) เมื่ อเปรี ยบเที ยบกับดอลลำร์ สหรัฐอเมริ กำ และอัตรำร้อยละ 3.15 (พ.ศ. 2559 : อัตรำร้อยละ 5.59) เมื่อเปรี ยบเทียบกับรู เปี ยอินโดนีเซี ย โดยที่ตวั แปร อื่นทั้งหมดคงที่ กำไร(ขำดทุน)หลังภำษีเงินได้สำหรับปี และส่ วนของเจ้ำของจะได้รับผลกระทบดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

เงินบำทต่อดอลลำร์สหรัฐอเมริ กำ - อ่อนค่ำลง - แข็งค่ำขึ้น

35,738 (35,738)

32,306 (32,306)

16,747 (16,747)

26,251 (26,251)

เงินบำทต่อรู เปี ยอินโดนีเซี ย - อ่อนค่ำลง - แข็งค่ำขึ้น

49,435 (49,435)

102,911 (102,911)

-

-

130,563 (130,563)

169,576 (169,576)

-

-

58,294 (58,294)

56,692 (56,692)

-

-

ผลกระทบต่ อกำไร(ขำดทุน)หลังภำษีเงินได้ ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ

ผลกระทบต่ อส่ วนของเจ้ ำของ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินบำทต่อดอลลำร์สหรัฐอเมริ กำ - อ่อนค่ำลง - แข็งค่ำขึ้น เงินบำทต่อรู เปี ยอินโดนีเซี ย - อ่อนค่ำลง - แข็งค่ำขึ้น

152

รายงานประจำ�ปี 2560 36


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1

ปัจจัยควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ก)

ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (ต่อ) (2) ควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำ กลุ่มกิ จกำรมีควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำสิ นค้ำในอุตสำหกรรมยำงธรรมชำติ กลุ่มกิจกำรได้มีกำรบริ หำรจัดกำรควำมเสี่ ยงที่ เกิดขึ้นจำกควำมผันผวนของรำคำโดยกำรจัดกำรกระบวนกำรได้มำของวัตถุดิบ โดยใช้สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำในตลำด ล่วงหน้ำ และสัญญำซื้ อขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบสิ นค้ำ หำกรำคำของยำงธรรมชำติลดลงในอัตรำร้อยละ 5.44 (พ.ศ. 2559 : อัตรำร้อยละ 16.65) โดยที่ ตวั แปรอื่นทั้งหมดคงที่ กำไร(ขำดทุน)หลังภำษีสำหรับปี จะลดลงโดยประมำณ ดังนี้ งบกำรเงินรวม

ขำดทุน

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

424,177

337,901

331,439

200,706

กลุ่มกิจกำรยังมีควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำของหลักทรัพย์ประเภททุน เนื่องจำกกลุ่มกิจกำรถือเงินลงทุนซึ่ งในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เป็ นหลักทรัพย์ประเภทเผื่อขำย เงินลงทุนในหลักทรัพย์ประเภททุนของกลุ่มกิ จกำรบำงส่ วนเป็ นหลักทรัพย์ที่ซ้ื อขำย เป็ นกำรทัว่ ไปในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเป็ นกำรบริ หำรควำมเสี่ ยงด้ำนรำคำของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ประเภททุน กลุ่มกิจกำรใช้วธิ ีกำรบริ หำรกำรกระจำยตัวของพอร์ทกำรลงทุน ตำรำงต่ อ ไปนี้ สรุ ป ผลกระทบจำกกำรเพิ่ ม ขึ้ น ของมู ล ค่ ำเงิ น ลงทุ น ในหลัก ทรั พ ย์ป ระเภททุ น ในส่ ว นของเจ้ำของ ของกลุ่มกิจกำร กำรวิเครำะห์น้ นั ขึ้นอยูก่ บั ข้อสมมติฐำนที่ว่ำรำคำต่อหน่ วยของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ จะเพิ่มขึ้นใน อัตรำร้อยละ 17.59 (พ.ศ. 2559 : อัตรำร้อยละ 10.00) โดยที่ตวั แปรอื่นทั้งหมดคงที่ และตรำสำรทุนที่ถือไว้เผื่อขำยของกลุ่ม กิจกำรเปลี่ยนแปลงไปตำมควำมสัมพันธ์ในอดีตตำมดัชนี งบกำรเงินรวม

ส่ วนของเจ้ำของ - กำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้น จำกเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

9,351

4,869

5,214

2,419

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 37

153


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1

ปัจจัยควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ก) ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรตลำด (ต่อ) (3) ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำดอกเบี้ยต่อกระแสเงินสดและมูลค่ำยุติธรรม ควำมเสี่ ยงด้ำนอัตรำดอกเบี้ยของกลุ่มกิจกำรเกิดขึ้นจำกเงินกูย้ ืม เงินกูย้ ืมซึ่ งกูด้ ว้ ยอัตรำดอกเบี้ยลอยตัวจะทำให้กลุ่มกิ จกำร มีควำมเสี่ ยงด้ำนกระแสเงินสดที่เกิดจำกอัตรำดอกเบี้ย กลุ่มกิจกำรได้บริ หำรจัดกำรควำมเสี่ ยงด้ำนอัตรำดอกเบี้ยโดยกำร ทำสัญญำแลกเปลี่ยนอัตรำดอกเบี้ย หำกอัตรำดอกเบี้ยลดในอัตรำร้อยละ 0.25 (พ.ศ. 2559 : อัตรำร้อยละ 0.25) กำไร(ขำดทุน) หลังภำษีสำหรับปี จะเพิ่มขึ้น ดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม

กำไร

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

14,928

10,796

7,428

7,991

เงินกูย้ ืมซึ่ งกูด้ ว้ ยอัตรำดอกเบี้ยคงที่ จะทำให้กลุ่มกิ จกำรมีควำมเสี่ ยงด้ำนมูลค่ำยุติธรรมที่ เกิดจำกอัตรำดอกเบี้ย อย่ำงไรก็ตำม กำรเปลี่ ยนแปลงของอัตรำดอกเบี้ ยในตลำดจะไม่มีผลกระทบต่องบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จ เนื่ องจำกเงินกูย้ ืมรับรู ้ตำมหลัก รำคำทุนตัดจำหน่ำย (ข) ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรให้สินเชื่อ ควำมเสี่ ยงด้ำนกำรให้สินเชื่ อเกิ ดขึ้นจำกเงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุ พนั ธ์ทำงกำรเงิน เงินฝำกธนำคำรและ สถำบันกำรเงิน รวมถึงควำมเสี่ ยงกำรให้สินเชื่อแก่ลูกค้ำทั้งที่เป็ นลูกหนี้คงค้ำงและรำยกำรค้ำที่ได้ตกลงกันไว้แล้ว กลุ่มกิจกำรได้ ประเมินควำมน่ำเชื่อถือของธนำคำร สถำบันกำรเงิน และลูกค้ำโดยคำนึงถึงฐำนะทำงกำรเงิน ประสบกำรณ์ในอดีต และปั จจัยอื่น ๆ กำรใช้วงเงินสิ นเชื่อดังกล่ำวจะได้รับกำรควบคุมอย่ำงสม่ำเสมอ (ค) ควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง กลุ่มกิ จกำรควบคุมดูแลควำมต้องกำรด้ำนสภำพคล่องเพื่อให้มนั่ ใจว่ำกลุ่มกิ จกำรจะมีเงินสดเพียงพอต่อควำมต้องกำรในกำร ดำเนินงำน

154

รายงานประจำ�ปี 2560 38


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1

ปัจจัยควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ค) ควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง (ต่อ) ตำรำงต่อไปนี้ แสดงกำรวิเครำะห์อำยุครบกำหนดชำระของกลุ่มกิจกำร โดยนับระยะเวลำคงเหลือจำกวันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน จนถึ งวันที่ ครบกำหนดชำระตำมสัญญำ โดยใช้ตวั เลขตำมที่ ปรำกฏในมู ลค่ ำตำมสัญญำ (Notional amounts) ตัวเลขด้ำนบวก แสดงถึ งกระแสเงิ น สดที่ ถึ ง ก ำหนดไหลเข้ำและตัว เลขติ ด ลบแสดงถึ งกระแสเงิ น สดไหลออกตำมระยะเวลำที่ ถึ งก ำหนด จำนวนเงินดังต่อไปนี้เป็ นกระแสเงินสดตำมสัญญำที่ไม่ได้ถูกคิดลด งบกำรเงินรวม น้ อยกว่ ำ 1 ปี พันบำท ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน - สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำซื้ อยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ - สัญญำซื้ อยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบสิ นค้ำ - สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำสิ ทธิเลือกขำยเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อยำงพำรำ - สัญญำสิ ทธิเลือกขำยยำงพำรำ

ระหว่ ำง 1 ถึง 2 ปี พันบำท

ระหว่ ำง 2 ถึง 5 ปี พันบำท

มำกกว่ ำ 5 ปี พันบำท

รวม พันบำท

(24,707,198) - (24,707,198) (1,438,212) - (1,438,212) (796,242) - (796,242) (724,995) (1,317,825) (5,029,083) (1,588,546) (8,660,449) (683,973) (863,022) (1,520,320) - (3,067,315) (14,736) (29,103) (43,839) (920,558) (121,174) 5,105,420 8,615,656 (44,818) (4,379,240) 12,549,466 (874,998) 1,648,392

-

-

- (920,558) - (121,174) - 5,105,420 - 8,615,656 (44,818) - (4,379,240) - 12,549,466 - (874,998) - 1,648,392

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 39

155


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1

ปัจจัยควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ค) ควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง (ต่อ) งบกำรเงินรวม น้ อยกว่ ำ 1 ปี พันบำท ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน - สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำซื้ อยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ - สัญญำซื้ อยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบสิ นค้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบสิ นค้ำ

156

(25,679,909) (1,664,665) (1,050,981) (5,628,242) (101,822) (8,727) (1,009,282) (612,131) 975,096 8,173,703 (211,294) 231,061

ระหว่ ำง 1 ถึง 2 ปี พันบำท

ระหว่ ำง 2 ถึง 5 ปี พันบำท

มำกกว่ ำ 5 ปี พันบำท

รวม พันบำท

(707) (673,744) (2,384,508) (4,139) (1,249)

-

(25,679,909) (1,664,665) (1,050,981) (5,628,949) (3,160,074) (14,115)

-

-

- (1,009,282) - (612,131) 975,096 - 8,173,703 - (211,294) 231,061

รายงานประจำ�ปี 2560 40


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.1

ปัจจัยควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) (ค) ควำมเสี่ ยงด้ำนสภำพคล่อง (ต่อ)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร น้ อยกว่ ำ 1 ปี พันบำท

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน - สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำซื้ อยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ - สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำสิ ทธิเลือกขำยเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อยำงพำรำ - สัญญำสิ ทธิเลือกขำยยำงพำรำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน - สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ - สัญญำซื้ อยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ - สัญญำขำยอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ

ระหว่ ำง 1 ถึง 2 ปี พันบำท

ระหว่ ำง 2 ถึง 5 ปี พันบำท

(17,649,531) (1,168,260) (360,774) (493,426) (1,077,900) (3,550,501) (683,972) (863,022) (1,520,320) (4,585) (10,196) (920,558) (86,694) 3,480,532 4,941,931 (2,549,110) 9,869,632 (874,998) 1,648,392

(16,559,224) (1,001,265) (473,496) (4,463,418) (101,822) (2,727) (1,009,282) (522,313) 683,214 5,340,795

-

-

(673,744) (2,384,508) (3,461) (1,249) -

-

มำกกว่ ำ 5 ปี พันบำท

รวม พันบำท

- (17,649,531) - (1,168,260) (360,774) - (5,121,827) - (3,067,314) (14,781) -

(920,558) (86,694) 3,480,532 4,941,931 (2,549,110) 9,869,632 (874,998) 1,648,392

- (16,559,224) - (1,001,265) (473,496) - (4,463,418) - (3,160,074) (7,437) -

(1,009,282) (522,313) 683,214 5,340,795

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 41

157


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.2

กำรจัดกำรควำมเสี่ยงในส่ วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มกิ จกำรในกำรบริ หำรทุนนั้นเพื่อดำรงไว้ซ่ ึ งควำมสำมำรถในกำรดำเนิ นงำนอย่ำงต่อเนื่ องของกลุ่มกิ จกำรเพื่อ สร้ำงผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุ ้น และเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่มีส่วนได้เสี ยอื่น และเพื่อดำรงไว้ซ่ ึ งโครงสร้ำงของทุนที่เหมำะสมเพื่อลดต้นทุน ของเงินทุน ในกำรดำรงไว้หรื อปรับเปลี่ยนโครงสร้ำงของทุน กลุ่มกิจกำรอำจปรับเปลี่ยนจำนวนเงินปั นผลจ่ำยให้แก่ผถู ้ ือหุน้ กำรคืนทุนให้กบั ผูถ้ ือหุน้ กำรออกหุน้ ใหม่ หรื อกำรขำยสิ นทรัพย์เพื่อลดภำระหนี้สิน ฝ่ ำยบริ หำรถือว่ำส่ วนของเจ้ำของทั้งหมดเป็ นเงินทุนของกลุ่มกิจกำร กลุ่มกิจกำรควบคุมดูแลส่ วนทุนโดยใช้อตั รำส่ วนหนี้ สินสุ ทธิต่อ ส่ วนของเจ้ำของ อัตรำส่ วนนี้ คำนวณได้โดยใช้หนี้ สินสุ ทธิ หำรด้วยส่ วนของเจ้ำของรวม หนี้ สินสุ ทธิ ถูกคำนวณโดยใช้หนี้ สินทั้งหมด ตำมที่แสดงในงบแสดงฐำนะกำรเงินรวมหักด้วยเงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ส่ วนของเจ้ำของรวมได้แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐำนะกำรเงิน ของทั้งงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร อัตรำส่ วนหนี้สินสุ ทธิต่อส่ วนของเจ้ำของรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2559 แสดงได้ดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

หนี้สินรวม หัก เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด หนี้สินสุ ทธิ

36,430,890 (2,241,900) 34,188,990

36,046,637 (1,674,619) 34,372,018

24,366,688 (269,019) 24,097,669

23,798,959 (341,997) 23,456,962

ส่ วนของเจ้ำของรวม

23,276,891

19,911,918

19,228,222

13,087,690

1.47

1.73

1.25

1.79

อัตรำส่ วนหนี้สินสุ ทธิต่อส่ วนของเจ้ำของรวม 5.3

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

กำรประมำณมูลค่ ำยุติธรรม ตำรำงต่อไปนี้ แสดงกำรวิเครำะห์เครื่ องมือทำงกำรเงินที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำยุติธรรมจำแนกตำมวิธีกำรประมำณมูลค่ำ ควำมแตกต่ำง ของระดับข้อมูลสำมำรถแสดงได้ดงั นี้ ข้อมูลระดับ 1 : รำคำเสนอซื้อขำย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลำดที่มีสภำพคล่องสำหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินอย่ำงเดียวกัน ข้อมูลระดับ 2 : ข้อมูลอื่นนอกเหนื อจำกรำคำเสนอซื้ อขำยซึ่ งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1 ทั้งที่สำมำรถสังเกตได้โดยตรง (ได้แก่ ข้อมูล รำคำ) หรื อโดยอ้อม (ได้แก่ ข้อมูลที่คำนวณมำจำกรำคำ) สำหรับสิ นทรัพย์น้ นั หรื อหนี้สินนั้น ข้อมูลระดับ 3 : ข้อมูลสำหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินซึ่ งไม่ได้มำจำกข้อมูลที่สำมำรถสังเกตได้จำกตลำด (ข้อมูลที่ไม่สำมำรถสังเกตได้)

158

รายงานประจำ�ปี 2560

42


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.3

กำรประมำณมูลค่ำยุติธรรม (ต่อ) ตำรำงต่ อไปนี้ แสดงสิ นทรั พย์และหนี้ สิ นทำงกำรเงิ นที่ วดั มู ลค่ ำด้วยมู ลค่ ำยุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 โดยไม่ รวม ที่ ดิ น ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรสิ่ งปลูกสร้ำง และอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน (หมำยเหตุขอ้ 15 และข้อ 19) งบกำรเงินรวม

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผำ่ นเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - หลักทรัพย์ประเภททุน (หมำยเหตุขอ้ 14) รวมสิ นทรัพย์ หนีส้ ิ น หนี้สินทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผำ่ นเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมหนีส้ ิ น

ระดับ 1 พันบำท

ระดับ 2 พันบำท

ระดับ 3 พันบำท

รวม พันบำท

256,739

151,200

-

407,939

53,299 310,038

151,200

-

53,299 461,238

45,338 45,338

185,905 185,905

-

231,243 231,243

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผำ่ นเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - หลักทรัพย์ประเภททุน (หมำยเหตุขอ้ 14) รวมสิ นทรัพย์ หนีส้ ิ น หนี้สินทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผำ่ นเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมหนีส้ ิ น

ระดับ 1 พันบำท

ระดับ 2 พันบำท

ระดับ 3 พันบำท

รวม พันบำท

153,777

102,743

-

256,520

52,097 205,874

102,743

-

52,097 308,617

34,004 34,004

164,126 164,126

-

198,130 198,130

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)43

159


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีนเฉพำะกิ ่ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.3

กำรประมำณมูลค่ำยุติธรรม (ต่อ) ตำรำงต่อไปนี้ แสดงสิ นทรัพย์และหนี้ สิ นทำงกำรเงิ นที่ วดั มู ลค่ ำด้วยมู ลค่ ำยุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 โดยไม่ รวม ที่ ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรสิ่ งปลูกสร้ำง และอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน (หมำยเหตุขอ้ 15 และข้อ 19) งบกำรเงินรวม

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผำ่ นเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - หลักทรัพย์ประเภททุน (หมำยเหตุขอ้ 14) รวมสิ นทรัพย์ หนีส้ ิ น หนี้สินทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผำ่ นเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมหนีส้ ิ น

ระดับ 1 พันบำท

ระดับ 2 พันบำท

ระดับ 3 พันบำท

รวม พันบำท

23,054

141,926

-

164,980

48,703 71,757

141,926

-

48,703 213,683

280,758 280,758

374,162 374,162

-

654,920 654,920

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผำ่ นเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - หลักทรัพย์ประเภททุน (หมำยเหตุขอ้ 14) รวมสิ นทรัพย์ หนีส้ ิ น หนี้สินทำงกำรเงินประเภทที่วดั มูลค่ำด้วยมูลค่ำ ยุติธรรมโดยผลต่ำงรับรู ้ผำ่ นเข้ำกำไรขำดทุน - ตรำสำรอนุพนั ธ์เพื่อค้ำ (หมำยเหตุขอ้ 8) รวมหนีส้ ิ น

160

รายงานประจำ�ปี 2560

ระดับ 1 พันบำท

ระดับ 2 พันบำท

ระดับ 3 พันบำท

รวม พันบำท

20,156

4

-

20,160

47,587 67,743

4

-

47,587 67,747

209,386 209,386

251,460 251,460

-

460,846 460,846 44


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันวาคม หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ จกำร พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 5

กำรจัดกำรควำมเสี่ยงทำงกำรเงิน (ต่อ) 5.3

กำรประมำณมูลค่ำยุติธรรม (ต่อ) ไม่มีรำยกำรโอนระหว่ำงระดับ 1 และระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรมในระหว่ำงปี (ก) เครื่ องมือทำงกำรเงินในระดับ 1 มูลค่ำยุติธรรมของเครื่ องมือทำงกำรเงินที่ ซ้ื อขำยในตลำดที่ มีสภำพคล่องอ้ำงอิงจำกรำคำเสนอซื้ อขำย ณ วันที่ ในงบกำรเงิ น ตลำดจะถือเป็ นตลำดที่มีสภำพคล่องเมื่ อรำคำเสนอซื้ อขำยมี พร้อมและสม่ ำเสมอ จำกกำรแลกเปลี่ ยน จำกตัวแทน นำยหน้ำ กลุ่มอุตสำหกรรม ผูใ้ ห้บริ กำรด้ำนรำคำ หรื อหน่วยงำนกำกับดูแล และรำคำนั้นแสดงถึงรำยกำรในตลำดที่เกิดขึ้นจริ งอย่ำงสม่ำเสมอ ในรำคำซึ่ งคู่สัญญำซึ่ งเป็ นอิสระจำกกันพึงกำหนดในกำรซื้ อขำย (Arm’s length basis) รำคำเสนอซื้ อขำยที่ใช้สำหรับสิ นทรัพย์ ทำงกำรเงินที่ถือโดยกลุ่มกิจกำรได้แก่รำคำเสนอซื้อปั จจุบนั เครื่ องมือทำงกำรเงินนี้รวมอยูใ่ นระดับ 1 (ข) เครื่ องมือทำงกำรเงินในระดับ 2 มูลค่ำยุติธรรมของเครื่ องมื อทำงกำรเงิ นที่ ไม่ ได้มีกำรซื้ อขำยในตลำดที่ มีสภำพคล่อง (ตัวอย่ำงเช่ น ตรำสำรอนุ พนั ธ์ที่มีกำรซื้ อขำย ในตลำดรองที่ไม่ได้มีกำรจัดตั้งอย่ำงเป็ นทำงกำร (over-the-counter) วัดมูลค่ำโดยใช้เทคนิ คกำรประเมินมูลค่ำ โดยเทคนิ คกำรประเมิน มูลค่ำนี้ ใช้ประโยชน์สูงสุ ดจำกข้อมูลในตลำดที่สงั เกตได้ที่มีอยูแ่ ละอ้ำงอิงจำกประมำณกำรของกิจกำรเองมำใช้นอ้ ยที่สุดเท่ำที่เป็ นไปได้ ถ้ำข้อมูลที่เป็ นสำระสำคัญทั้งหมดในกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมได้มำจำกข้อมูลที่สงั เกตได้ เครื่ องมือนั้นจะรวมอยูใ่ นระดับ 2 ถ้ำข้อมูลที่เป็ นสำระสำคัญข้อใดข้อหนึ่งหรื อมำกกว่ำไม่ได้มำจำกข้อมูลที่สงั เกตได้ในตลำด เครื่ องมือนั้นจะรวมอยูใ่ นระดับ 3 เทคนิคเฉพำะในกำรประเมินมูลค่ำที่ใช้ในกำรวัดมูลค่ำเครื่ องมือทำงกำรเงินรวมถึงรำยกำรดังต่อไปนี้ • รำคำเสนอซื้ อขำยของตลำด หรื อรำคำเสนอซื้อขำยของตัวแทนสำหรับเครื่ องมือที่คล้ำยคลึงกัน • มูลค่ำยุติธรรมของสัญญำแลกเปลี่ยนอัตรำดอกเบี้ยคำนวณจำกมูลค่ำปั จจุบนั ของประมำณกำรกระแสเงินสดในอนำคตโดย อ้ำงอิงจำกเส้นอัตรำผลตอบแทน (yield curve) ที่สงั เกตได้ • มูลค่ำยุติธรรมของสัญญำซื้ อขำยเงินตรำต่ำงประเทศล่วงหน้ำกำหนดโดยอ้ำงอิงจำกอัตรำแลกเปลี่ ยนเงินตรำต่ำงประเทศ ล่วงหน้ำ ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน และคิดลดมูลค่ำที่ได้กลับมำเป็ นมูลค่ำปั จจุบนั • เทคนิคอื่น เช่นกำรวิเครำะห์กำรคิดลดกระแสเงินสด ใช้ในกำรกำหนดมูลค่ำยุติธรรมของเครื่ องมือทำงกำรเงินที่เหลือ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

45

161


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 6

ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน ผูม้ ี อ ำนำจในกำรตัดสิ น ใจด้ำนกำรด ำเนิ น งำน คื อ กรรมกำรผูจ้ ัดกำรซึ่ งมี ห น้ำที่ ในกำรสอบทำนรำยงำนของ กลุ่ ม กิ จกำรอย่ำงสม่ ำเสมอ เพื่อประเมิ นผลกำรดำเนิ นงำนและเพื่อกำรจัดสรรทรัพยำกรอย่ำงเหมำะสม กรรมกำรผูจ้ ดั กำรประเมินผลกำรดำเนิ นงำนโดยพิจำรณำจำก ผลกำไรแยกตำมส่ วนงำน ซึ่ งใช้มำตรฐำนในกำรวัดผลกำรดำเนินงำน เช่นเดียวกับกำรจัดทำงบกำรเงินรวม กำรดำเนิ นงำนแยกตำมส่ วนงำน เป็ นองค์ประกอบหนึ่ งของกลุ่มกิจกำรซึ่ งงบกำรเงินในแต่ละบริ ษทั ได้มีกำรประเมินโดยกรรมกำรผูจ้ ดั กำรอย่ำง สม่ำเสมอ กำรรำยงำนข้อมูลตำมส่ วนงำน จำแนกได้เป็ น 4 ประเภทดังนี้ (1)

(2) (3) (4)

ผลิตภัณฑ์จำกยำงธรรมชำติ : ส่ วนงำนนี้ เกี่ยวข้องกับกำรผลิต กำรขำย และกำรจำหน่ำย ยำงแผ่นรมควัน น้ ำยำงข้น และยำงแท่ง ในส่ วนงำนนี้ รวมถึงกำรผลิต และกำรขำยถุงมือที่ใช้ในทำงกำรแพทย์ประเภทผสมแป้ งและประเภทไม่ผสมแป้ ง รำวบันไดเลื่อน แม่พิมพ์ยำง และ สำยไฮโดรลิค ธุ ร กิ จ วิ ศ วกรรม : ส่ ว นงำนนี้ ให้ บ ริ ก ำรด้ำนวิศ วกรรม รวมถึ ง ด ำเนิ น กำรที่ เกี่ ย วข้อ งกับ งำนวิจ ัย และพัฒ นำเครื่ อ งจัก ร รวมทั้ง กระบวนกำรผลิต และกำรบริ กำรทำงด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ ธุรกิจสวน : ส่ วนงำนนี้เกี่ยวข้องกับกำรปลูกพืชสวนยำงพำรำ ปำล์ม และพืชผลเมืองหนำว ธุ รกิ จอื่น : ธุ รกิ จอื่นประกอบด้วย กำรบริ กำรขนส่ ง และบริ กำรอื่นๆ กำรบริ กำรตำมส่ วนงำนนี้ ส่วนใหญ่เป็ นกำรให้บริ กำรในกลุ่ม กิจกำร และมีกำรให้บริ กำรกับบุคคลภำยนอกเป็ นส่ วนน้อย

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ธุ รกิ จตำมส่ วนงำนทั้ง 4 ประเภทของกลุ่มกิ จกำรได้ดำเนิ นงำนใน 7 ภูมิภำคหลัก (พ.ศ. 2559 : 7 ภูมิภำคหลัก) กำรจัดประเภทรำยได้ในแต่ละภูมิภำคตำมหลักเกณฑ์เดียวกัน คือ แบ่งตำมภูมิภำคที่ยอดขำยนั้นเกิดขึ้น

162

รายงานประจำ�ปี 2560 46


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

163

6

สิ นทรัพย์รวม กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน สิ นทรัพย์ รวม

7,463,181

58,032,182

(279,109) 1,711 (339,398) 903,738 (235,277) 668,461

(1,468,993) 45,355 (827,668)

ค่ำเสื่ อมรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย รำยได้ทำงกำรเงิน ต้นทุนทำงกำรเงิน ส่ วนแบ่งกำไรจำก เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกิจกำรร่ วมค้ำ กำไร(ขำดทุน)ก่อนภำษีเงินได้ ภำษีเงินได้ กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน รวมขำดทุนสำหรับปี

12,812,212 (10,659,499) 2,152,713

อินโดนีเซีย พันบำท

129,841 2,505,829 222,258 2,728,087

73,821,737 (13,973,051) 59,848,686

รำยได้จำกส่ วนงำนธุรกิจ รำยได้ระหว่ำงส่ วนงำนธุรกิจ รำยได้ จำกลูกค้ ำภำยนอก

ไทย พันบำท

6,039,550

784,367 (33,031) 751,336

(6,586) 384 (18,496)

25,867,508 (2,996,449) 22,871,059

461,647

(107,669) 5,592 (102,077)

(1,605) (34,166)

2,349,048 2,349,048

ผลิตภัณฑ์ ยำงธรรมชำติ สิ งคโปร์ สหรัฐอเมริกำ พันบำท พันบำท จีน พันบำท

1,437,773

(49,611) 12,176 (37,435)

(2,728) 801 -

1,833,858 (49,653) 1,784,205

งบกำรเงินจำแนกตำมส่ วนงำนทำงภูมิศำสตร์สำหรับงบกำรเงินรวมสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน (ต่อ)

25,644

(1,805) (1,805)

1 -

-

เวียดนำม พันบำท

งบกำรเงินรวม

157,835

7,628 7,628

(5,116) (3,858)

352,323 (352,323) -

เมียนมำร์ พันบำท

1,255,111

33,099 (873) 32,226

(22,076) 970 (21,264)

1,081,214 (937,127) 144,087

ธุรกิจ วิศวกรรม ไทย พันบำท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ บริจษกำร ัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ.2560

6,561,032

(175,873) 12,063 (163,810)

(35,749) 88 -

3,397 (1,609) 1,788

ธุรกิจสวน ไทย พันบำท

4,138,569

4,070 (3,538) 532

(30,425) 351 (734)

1,128,545 (893,137) 235,408

ธุรกิจอื่น ไทย พันบำท

85,572,524 (25,864,743) 59,707,781

129,841 3,903,773 (20,630) 3,883,143 (5,301,684) (1,418,541)

(1,852,387) 49,661 (1,245,584)

119,249,842 (29,862,848) 89,386,994

รวม พันบำท

47


164

รายงานประจำ�ปี 2560

6

(673,482) 92,632 (580,850)

7,028,403

402,762 (587,837) 268,762 (319,075)

44,774,453

สิ นทรัพย์รวม กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน สิ นทรัพย์ รวม

(279,282) 2,895 (167,317)

(818,239) 30,663 (458,192)

ค่ำเสื่ อมรำคำและค่ำตัดจำหน่ำย รำยได้ทำงกำรเงิน ต้นทุนทำงกำรเงิน ส่ วนแบ่งกำไรจำก เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกำรร่ วมค้ำ กำไร(ขำดทุน)ก่อนภำษีเงินได้ ภำษีเงินได้ กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน รวมขำดทุนสำหรับปี

8,644,332 (6,432,748) 2,211,584

53,455,378 (5,346,292) 48,109,086

อินโดนีเซีย พันบำท

รำยได้จำกส่ วนงำนธุรกิจ รำยได้ระหว่ำงส่ วนงำนธุรกิจ รำยได้ จำกลูกค้ ำภำยนอก

ไทย พันบำท

5,832,076

493,399 (70,664) 422,735

(8,364) 221 (5,397)

22,578,565 (1,511,231) 21,067,334

1,192,068

(137,091) 38,005 (99,086)

(2,023) (29,115)

1,888,666 (21,632) 1,867,034

ผลิตภัณฑ์ ยำงธรรมชำติ สิ งคโปร์ สหรัฐอเมริกำ พันบำท พันบำท

งบกำรเงินจำแนกตำมส่ วนงำนทำงภูมิศำสตร์สำหรับงบกำรเงินรวมสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน (ต่อ)

507,563

(21,805) 10,831 (10,974)

(2,245) 1,053 -

1,277,297 1,277,297

จีน พันบำท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ จวักำร นที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

30,848

(1,366) (1,366)

(95) 2 (7)

-

เวียดนำม พันบำท

งบกำรเงินรวม

118,656

(19,070) (19,070)

(5,388) (4,671)

153,744 (153,744) -

เมียนมำร์ พันบำท

2,386,886

201,017 (41,538) 159,479

(19,477) 198 (41,207)

2,432,624 (387,361) 2,045,263

ธุรกิจ วิศวกรรม ไทย พันบำท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

6,037,853

(130,888) 91 (130,797)

(30,071) 90 -

874 874

ธุรกิจสวน ไทย พันบำท

4,047,556

68,846 (14,877) 53,969

(30,041) 188 (1,429)

1,545,820 (858,772) 687,048

ธุรกิจอื่น ไทย พันบำท

48

71,956,362 (15,997,807) 55,958,555

402,762 (808,277) 283,242 (525,035) (264,695) (789,730)

(1,195,225) 35,310 (707,335)

91,977,300 (14,711,780) 77,265,520

รวม พันบำท


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ จกำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

6

ข้ อมูลจำแนกตำมส่ วนงำน (ต่อ) สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน ไม่รวมเครื่ องมือทำงกำรเงิน สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีและภำษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่ำย สำมำรถจำแนกตำมส่ วนงำน ทำงภูมิศำสตร์ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 พันบำท พันบำท ไทย อินโดนีเซีย สิ งคโปร์ สหรัฐอเมริ กำ จีน เมียนมำร์ เวียดนำม รวม

7

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสด

เงินสดในมือ เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม รวมเงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด

26,642,434 2,817,865 165,898 1,580 18,227 25,627 131 29,671,762

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 พันบำท พันบำท 109,973 2,131,927 2,241,900

60,071 1,614,548 1,674,619

15,807,820 2,003,222 160,012 2,588 23,040 31,371 209 18,028,262

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 พันบำท พันบำท 23,281 245,738 269,019

29,587 312,410 341,997

เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำมมีอตั รำดอกเบี้ยที่แท้จริ งอยูท่ ี่ร้อยละ 0.10 ถึงร้อยละ 4.50 ต่อปี (พ.ศ. 2559 : ร้อยละ 0.05 ถึงร้อยละ 3.50 ต่อปี ) 8

ตรำสำรอนุพนั ธ์ ทำงกำรเงิน

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2560

สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อขำยเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อขำยยำงพำรำ สัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบสิ นค้ำ รวมตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน

พ.ศ. 2559

สิ นทรัพย์ พันบำท

หนีส้ ิ น พันบำท

สิ นทรัพย์ พันบำท

หนีส้ ิ น พันบำท

23,779 14,161 113,261 256,738 407,939

(55,844) (65,293) (58,646) (5,183) (45,338) (939) (231,243)

60,359 23,054 81,567 164,980

(120,311) (188,190) (280,758) (65,661) (654,920)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

49

165


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 8

ตรำสำรอนุพนั ธ์ ทำงกำรเงิน (ต่อ)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2560

สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อขำยเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อขำยยำงพำรำ สัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ สัญญำซื้ อขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ รวมตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน

พ.ศ. 2559

สิ นทรัพย์ พันบำท

หนีส้ ิ น พันบำท

สิ นทรัพย์ พันบำท

หนีส้ ิ น พันบำท

23,778 14,161 64,804 153,777 256,520

(55,844) (48,665) (58,646) (971) (34,004) (198,130)

4 20,156 20,160

(120,311) (131,150) (209,385) (460,846)

งบกำรเงินรวม

มูลค่ ำตำมสั ญญำ (Notional amounts) สัญญำแลกเปลี่ยนเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อขำยเงินตรำต่ำงประเทศ สัญญำสิ ทธิเลือกซื้ อขำยยำงพำรำ สัญญำอัตรำแลกเปลี่ยนล่วงหน้ำ สัญญำซื้อขำยยำงพำรำในตลำดล่วงหน้ำ สัญญำซื้อขำยยำงพำรำล่วงหน้ำที่มีกำรส่ งมอบสิ นค้ำ 9

ลูกหนีก้ ำรค้ ำและลูกหนีอ้ ื่น - สุ ทธิ

ลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำของลูกหนี้กำรค้ำ รวมลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น - สุ ทธิ ลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมำยเหตุขอ้ 38.3) รวมลูกหนี้กำรค้ำ - สุ ทธิ เงินล่วงหน้ำค่ำสิ นค้ำ ค่ำใช้จ่ำยจ่ำยล่วงหน้ำ รำยได้คำ้ งรับและลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้กำรค้ำและลูกหนี้อื่น - สุ ทธิ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

920,558 16,928,706 2,523,390 8,615,656 5,226,594 44,818

1,009,282 8,173,703 1,587,227 442,355

920,558 12,418,742 2,523,390 4,941,931 3,567,226 -

1,009,282 5,340,795 1,205,527 -

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

6,384,306 (49,056) 6,335,250 4,140 6,339,390 172,467 198,666 501,785 7,212,308

7,643,206 (42,359) 7,600,847 98,594 7,699,441 129,536 155,640 108,639 8,093,256

3,159,695 (33,421) 3,126,274 774,966 3,901,240 82,073 63,849 75,331 4,122,493

2,976,587 (27,636) 2,948,951 333,977 3,282,928 65,395 30,771 146,976 3,526,070

ในปี พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจกำรรับรู ้และตัดหนี้ สูญ (รวมถึงกำรกลับรำยกำรค่ำเผื่อกำรด้อยค่ำที่เกี่ยวข้อง) ในงบกำรเงินรวมเป็ นจำนวน 82 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : ไม่มี) และในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรจำนวน 35 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2560 : ไม่มี)

166

รายงานประจำ�ปี 2560

50


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ จกำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 9

ลูกหนีก้ ำรค้ ำและลูกหนีอ้ ื่น - สุ ทธิ (ต่อ) ลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม สำมำรถวิเครำะห์ตำมอำยุลูกหนี้ที่คำ้ งชำระนับจำกวันที่ครบกำหนดได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

ยังไม่ถึงกำหนดชำระ เกินกำหนด 1 - 30 วัน เกินกำหนด 31 - 60 วัน เกินกำหนด 61 - 90 วัน เกินกำหนด 91 - 120 วัน เกินกำหนด 121 - 365 วัน เกินกำหนดเกินกว่ำ 365 วัน หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำของลูกหนี้กำรค้ำ รวมลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น - สุ ทธิ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

5,392,887 832,691 50,049 24,029 13,486 15,832 55,332 6,384,306 (49,056) 6,335,250

6,886,141 637,701 31,411 27,824 2,566 12,284 45,279 7,643,206 (42,359) 7,600,847

2,428,577 629,149 26,301 13,499 10,180 11,452 40,537 3,159,695 (33,421) 3,126,274

2,493,897 421,462 18,560 989 7,453 34,226 2,976,587 (27,636) 2,948,951

ลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวำคม สำมำรถวิเครำะห์ตำมอำยุลูกหนี้ที่คำ้ งชำระนับจำกวันที่ครบกำหนดได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

ยังไม่ถึงกำหนดชำระ เกินกำหนด 1 - 30 วัน เกินกำหนด 31 - 60 วัน เกินกำหนด 61 - 90 วัน เกินกำหนด 91 - 120 วัน เกินกำหนด 121 - 365 วัน เกินกำหนดเกินกว่ำ 365 วัน รวมลูกหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

4,138 2 4,140

96,613 1,981 98,594

767,717 14 1 7,234 774,966

318,735 8,346 6,711 185 333,977

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

51

167


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 10

สิ นค้ ำคงเหลือ - สุ ทธิ งบกำรเงินรวม ค่ ำเผื่อสำหรับรำคำทุน ของสิ นค้ ำคงเหลือทีเ่ กินกว่ ำ มูลค่ ำสุ ทธิทจี่ ะได้ รับ

รำคำทุน

สิ นค้ำสำเร็จรู ป สิ นค้ำระหว่ำงผลิต วัตถุดิบ วัสดุบรรจุ และสำรเคมี อะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง รวม

รวมสิ นค้ ำคงเหลือ - สุ ทธิ

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

6,911,670 3,845,619

4,749,865 3,926,578

(316,017) (85,419)

(617) (527)

6,595,653 3,760,200

4,749,248 3,926,051

6,487,633 372,348 17,617,270

12,189,730 112,369 20,978,542

(5,724) (87,131) (494,291)

*(46,395) (47,539)

6,481,909 285,217 17,122,979

12,143,335 112,369 20,931,003

*ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจกำรมีกำรตั้งค่ำเผื่อมูลค่ำควำมเสี ยหำยสำหรับวัตถุดิบที่โดนผลกระทบจำกอัคคีภยั ของบริ ษทั PT Star Rubber ประมำณ 42 ล้ำนบำท (จำนวน 15,522 ล้ำนรู เปี ย) ในระหว่ำงปี พ.ศ. 2560 กลุ่มกิ จกำรได้กลับรำยกำรค่ ำเผื่อมู ลค่ำควำมเสี ยหำยที่ เกี่ยวข้องทั้งหมดออกจำกงบกำรเงิน เนื่ องจำกได้รับจดหมำยยืนยันกำรจ่ำยค่ำทดแทนควำมเสี ยหำยที่เกี่ยวข้องจำกบริ ษทั ประกันภัย (หมำยเหตุ ข้อ 43) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ค่ ำเผื่อสำหรับรำคำทุน ของสิ นค้ ำคงเหลือทีเ่ กินกว่ ำ มูลค่ ำสุ ทธิทจี่ ะได้ รับ

รำคำทุน

สิ นค้ำสำเร็จรู ป สิ นค้ำระหว่ำงผลิต วัตถุดิบ วัสดุบรรจุ และสำรเคมี อะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง รวม

รวมสิ นค้ ำคงเหลือ - สุ ทธิ

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

3,079,210 1,989,626

2,058,843 2,470,203

(232,449) (7,233)

-

2,846,761 1,982,393

2,058,843 2,470,203

2,795,540 55,325 7,919,701

6,285,089 50,499 10,864,634

(287) (239,969)

(3,895) (3,895)

2,795,253 55,325 7,679,732

6,281,194 50,499 10,860,739

ในระหว่ำงปี พ.ศ. 2560 ต้นทุนของสิ นค้ำคงเหลือ ในงบกำรเงินรวมซึ่ งถูกรับรู ้เป็ นต้นทุนขำยและกำรให้บริ กำรมีจำนวน 76,998 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 66,904 ล้ำนบำท) และในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรมีจำนวน 48,541 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 33,512 ล้ำนบำท) สิ นค้ำคงเหลือแสดงด้วยรำคำทุนหรื อมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ำกว่ำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจกำรได้รับรู ้ค่ำเผื่อ สำหรับมูลค่ำสิ นค้ำที่เกินกว่ำมูลค่ำสุ ทธิที่จะได้รับเป็ นค่ำใช้จ่ำยในงบกำไรขำดทุนรวมจำนวน 344 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : กลับรำยกำรค่ำเผื่อ สำหรับมูลค่ำสิ นค้ำที่เกินกว่ำมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับจำนวน 454 ล้ำนบำท) และในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรจำนวน 236 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : กลับรำยกำรค่ำเผือ่ สำหรับมูลค่ำสิ นค้ำที่เกินกว่ำมูลค่ำสุ ทธิที่จะได้รับจำนวน 164 ล้ำนบำท)

168

รายงานประจำ�ปี 2560

52


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 11

สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอื่น งบกำรเงินรวม

ภำษีมูลค่ำเพิ่มรอเรี ยกคืน ภำษีหกั ณ ที่จ่ำยล่วงหน้ำ ภำษีซ้ื อรอใบกำกับหรื อยังไม่ถึงกำหนด รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น 12

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

507,229 16,121 30,351 553,701

219,954 23,378 70,770 314,102

156,953 13,620 170,573

64,930 47,791 112,721

เงินฝำกประจำทีต่ ิดภำระคำ้ ประกัน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 กลุ่ม กิ จกำรมี เงิน ฝำกประจำที่ ติดภำระค้ ำประกัน เป็ นจำนวนเงิน 12 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 12 ล้ำนบำท) เงิ นฝำกประจำมี อตั รำดอกเบี้ ยสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ร้อยละ 0.65 ถึ ง 1.50 ต่ อปี (พ.ศ. 2559 : ร้อยละ 0.10 ถึ ง 1.35 ต่อปี ) เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน ได้ถูกใช้ในกำรค้ ำประกันสำหรับวงเงินกูย้ มื ระยะสั้น และหนังสื อค้ ำประกันจำกสถำบันกำรเงินต่ำง ๆ

13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ 13.1

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย จำนวนที่รับรู ้ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม บริ ษทั ย่อย

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

-

-

18,153,389

11,246,845

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

53

169


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) 13.1

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย (ต่อ) เงินลงทุนที่เป็ นสำระสำคัญของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม

ประเภทของธุรกิจ บริษัทย่ อย Sri Trang USA, Inc. PT Sri Trang Lingga Indonesia บจก. อันวำร์พำรำวูด บจก. รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ บจก. หน่ำฮัว่ รับเบอร์ บจก. สะเดำ พี.เอส. รับเบอร์ บจก. สตำร์เท็กซ์ รับเบอร์ บจก. พรี เมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ ง บจก. สตำร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรำนสปอร์ต บจก. ศรี ตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชัน่ Shi Dong Shanghai Rubber Co., Ltd. บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) 1 บริษัทย่ อยทำงอ้ อม Sri Trang International Pte Ltd. (ถือหุ น้ โดย บจก. สตำร์เท็กซ์ รับเบอร์ ) Shi Dong Investments Pte Ltd. (ถือหุ น้ โดย Sri Trang International Pte Ltd.) PT Star Rubber (ถือหุ น้ โดย Shi Dong Investments Pte Ltd.) Sri Trang Indochina (Vietnam) Co., Ltd. (ถือหุ น้ โดย Sri Trang International Pte Ltd.) Sri Trang Ayeyar Rubber Industry Co., Ltd. (ถือหุ น้ โดย Sri Trang International Pte Ltd.) Shidong Shanghai Medical Equipment Co.,Ltd. (ถือหุน้ โดย บจก. สตำร์เท็กซ์ รับเบอร์ )2

170

จัดตั้งขึน้ ใน ประเทศ

สั ดส่ วนของกำรถือหุ้น ร้ อยละ พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2559

100.00 90.00 99.94 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 100.00 90.23

100.00 90.00 99.94 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 99.99 100.00 40.23

จัดจำหน่ำยผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงแท่ง ผลิตไม้ยำงพำรำ ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ ลงทุน วิศวกรรมบริ กำร บริ กำรขนส่ ง สวนยำงพำรำ จัดจำหน่ำยผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ ผลิตถุงมือที่ใช้ในทำงกำรแพทย์

ประเทศสหรัฐอเมริ กำ ประเทศอินโดนีเซี ย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศจีน ประเทศไทย

จัดจำหน่ำยผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ

ประเทศสิ งคโปร์

99.99

99.99

ลงทุน

ประเทศสิ งคโปร์

99.99

99.99

ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงแท่ง

ประเทศอินโดนีเซี ย

98.99

98.99

จัดจำหน่ำยผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ

ประเทศเวียดนำม

99.99

99.99

ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงแท่ง

ประเทศเมียนมำ

58.99

58.99

จัดจำหน่ำยถุงมือยำง

ประเทศจีน

99.99

-

รายงานประจำ�ปี 2560 54


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย, บริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) 13.1

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย (ต่อ) กำรเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

ลงทุนเพิม่ และจัดประเภทใหม่ : บจก. สตำร์เท็กซ์ รับเบอร์ Sri Trang International Pte Ltd. Sri Trang USA, Inc. บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) 1 บจก. ศรี ตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชัน่ Shidong Shanghai Medical Equipment Co., Ltd. 2

31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

ควำมสัมพันธ์

สกุลเงิน

จำนวน (พันหุ้น)

(เทียบเท่ ำ) ล้ำนบำท

จำนวน (พันหุ้น)

(เทียบเท่ ำ) ล้ำนบำท

บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย

ล้ำนบำท ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ ล้ำนบำท

1 18,046

50 34 6,430

(61) -

2,025 (2,014) -

บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม

ล้ำนบำท ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ

2,500 -

392 57

-

534 -

รวม

6,963

545

1

ในเดื อ นมี น ำคม พ.ศ. 2560 บจก. ศรี ต รั ง โกลฟส์ (ประเทศไทย) (“ศรี ต รั ง โกลฟส์ ”) ได้เปลี่ ย นสถำนะจำกกำรร่ ว มค้ำเป็ น บริ ษทั ย่อยรวมกับกำรเปลี่ยนชื่ อบริ ษทั กลุ่มกิจกำรถือหุ ้นร้อยละ 90.23 ของหุ ้นทั้งหมดใน ศรี ตรังโกลฟส์ รำยละเอียดที่เกี่ยวข้อง ได้แสดงในหมำยเหตุขอ้ 37 กำรซื้อธุรกิจ 2 ในเดื อนพฤษภำคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ได้จดั ตั้งบริ ษทั ย่อยทำงอ้อมแห่ งใหม่ ชื่ อ Shidong Shanghai Medical Equipment Co., Ltd. (“SDME”) ตั้งอยู่ในประเทศจีน โดยถื อหุ ้นอยูใ่ นบริ ษทั ย่อยทำงอ้อมร้อยละ 99.99 ผ่ำนทำงบจก. สตำร์ เท็กซ์ รับเบอร์ ซึ่ งถือหุ ้น ร้อยละ 100 ของหุน้ ทั้งหมด

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 55

171


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ จกำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย, บริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) 13.2

เงินลงทุนในบริษัทร่ วม เงินลงทุนทีป่ ฏิบตั ิตำมวิธีส่วนได้ เสี ย จำนวนที่รับรู ้ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม บริ ษทั ร่ วม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

367,990

1,489,920

157,569

619,178

จำนวนส่ วนแบ่งกำไรที่รับรู ้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม บริ ษทั ร่ วม

172

รายงานประจำ�ปี 2560

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

155,444

178,851

-

-

56


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันนทีเฉพำะกิ ่ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 13

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย บริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) 13.2

เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) ส่ วนแบ่ งรำยได้จำกบริ ษทั ร่ วมของกลุ่ มกิ จกำร ซึ่ งไม่ ได้เป็ นบริ ษ ทั จดทะเบี ยนในตลำดหลักทรัพ ย์ฯ และส่ วนแบ่ งในสิ น ทรั พ ย์ (รวมค่ำควำมนิยม และหนี้สิน) สำมำรถแสดงได้ดงั ต่อไปนี้ พันบำท ชื่ อ

พ.ศ. 2560 บริษทั ร่ วมทำงตรง บจก. เซมเพอร์เฟล็ก เอเชีย3 Sempermed USA, Inc.4 บจก. พัฒนำเกษตรล่วงหน้ำ3 Semperflex Shanghai Co., Ltd.4 Sempermed Singapore Pte Ltd.4 บริษทั ร่ วมทำงอ้อม Sempermed Brazil Comercio Exterior LTDA. (ถือหุน้ โดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) 3 Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd. (ถือหุน้ โดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) 3 พ.ศ. 2559 บริษทั ร่ วมทำงตรง บจก. เซมเพอร์เฟล็ก เอเซี ย Sempermed USA, Inc. บจก. พัฒนำเกษตรล่วงหน้ำ Semperflex Shanghai Co., Ltd. Sempermed Singapore Pte Ltd. บริษทั ร่ วมทำงอ้อม Sempermed Brazil Comercio Exterior LTDA. (ถือหุน้ โดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd. (ถือหุน้ โดย Sempermed Singapore Pte Ltd.)

ประเภทของธุรกิจ

จัดตั้งขึน้ ในประเทศ

สิ นทรัพย์

หนีส้ ิ น

รำยได้

ส่ วนแบ่ งกำไร (ขำดทุน)

อัตรำส่ วน กำรถือหุ้น (ร้ อยละ)

ผลิตท่อแรงดันสู ง จัดจำหน่ำยถุงมือที่ใช้ใน ทำงกำรแพทย์ นำยหน้ำซื้อขำยสัญญำ ซื้อขำย ล่วงหน้ำ ผลิตท่อแรงดันสู ง ลงทุนในบริ ษทั ที่จดั จำหน่ำย ถุงมือที่ใช้ในทำงกำรแพทย์

ประเทศไทย ประเทศ สหรัฐอเมริ กำ ประเทศไทย

472,146 -

105,524 -

675,963 -

159,484 11,222

42.50 -

8,303

48

118

49

40.00

ประเทศจีน ประเทศสิ งคโปร์

-

-

-

2,526 (2,479)

-

จัดจำหน่ำยถุงมือที่ใช้ในทำง กำรแพทย์

ประเทศบรำซิล

-

-

-

(19,936)

-

-

-

-

4,578

-

ผลิตแม่พิมพ์สำหรับผลิตถุงมือ ประเทศมำเลเซีย

ผลิตท่อแรงดันสู ง จัดจำหน่ำยถุงมือที่ใช้ใน ทำงกำรแพทย์ นำยหน้ำซื้อขำยสัญญำ ซื้อขำย ล่วงหน้ำ ผลิตท่อแรงดันสู ง ลงทุนในบริ ษทั ที่จดั จำหน่ำย ถุงมือที่ใช้ในทำงกำรแพทย์

ประเทศไทย ประเทศ สหรัฐอเมริ กำ ประเทศไทย

901,490 628,046

72,856 264,046

630,643 1,497,112

155,297 24,365

42.50 45.12

8,435

100

543

(1,602)

40.00

ประเทศจีน ประเทศสิ งคโปร์

384,692 52,812

88,808 27,821

276,051 -

28,395 (39,884)

50.00 50.00

จัดจำหน่ำยถุงมือที่ใช้ในทำง กำรแพทย์

ประเทศบรำซิล

52,016

15,799

-

-

50.00

50,944

14,892

68,170

12,280

41.43

ผลิตแม่พิมพ์สำหรับผลิตถุงมือ ประเทศมำเลเซีย

3

บริ ษทั ร่ วมของกลุ่มกิจกำรเป็ นบริ ษทั จำกัด และหุ ้นของบริ ษทั ดังกล่ำวไม่มีรำคำเสนอซื้ อขำยในตลำด นอกจำกนี้ กลุ่มกิ จกำรไม่มี หนี้สินที่อำจเกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิจกำรในบริ ษทั ร่ วม

4

ในเดื อนมีนำคม พ.ศ.2560 กลุ่มกิจกำรได้ขำยเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และกำรร่ วมค้ำทำงอ้อมดังกล่ำวให้กบั Semperit Technishe Produkte Gesellshaft m.b.H. (“เซมเพอร์ ริท”) ดังนั้น ส่ วนแบ่งกำไร (ขำดทุน) ที่ กลุ่มกิ จกำรได้รับรู ้จะมำจำกผลกำรดำเนิ นกำรของ บริ ษทั ร่ วมก่อนที่กลุ่มกิจกำรจะขำยเงินลงทุนดังกล่ำวออกไป

กลุ่มกิจกำรมีบริ ษทั ร่ วมที่แต่ละรำยที่ไม่มีสำระสำคัญตำมที่ได้เปิ ดเผยได้ดงั กล่ำวข้ำงต้นซึ่ งได้บนั ทึกเงินลงทุนโดยวิธีส่วนได้เสี ย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 57

173


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) 13.2

เงินลงทุนในบริษัทร่ วม (ต่อ) กำรเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2560 ล้ ำนบำท

พ.ศ. 2559 ล้ ำนบำท

(330) (294) (21)

(30) -

บริ ษทั ร่ วมทำงอ้อม

-

-

บริ ษทั ร่ วมทำงอ้อม

(20)

-

(665)

(30)

ควำมสั มพันธ์ บจก. พัฒนำเกษตรล่วงหน้ำ Sempermed USA, Inc. 5 Semperflex Shanghai Co., Ltd. 5 Sempermed Singapore Pte Ltd. 5 Sempermed Brazil Comercio Exterior LTDA. (ถือหุน้ โดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) 5 Formtech Engineering (M) Sdn. Bhd. (ถือหุน้ โดย Sempermed Singapore Pte Ltd.) 5

บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ร่ วม

รวม 5

ในเดือนมีนำคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ได้ขำยเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำทำงอ้อมดังกล่ำวให้กบั Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. ตำมรำยละเอียดที่เกี่ยวข้องได้แสดงในหมำยเหตุขอ้ 37 กำรซื้อธุรกิจ

13.3

เงินลงทุนในกำรร่ วมค้ ำ เงินลงทุนทีป่ ฏิบตั ิตำมวิธีส่วนได้ เสี ย จำนวนที่รับรู ้ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน มีดงั นี้ ณ วันที่ 31 ธันวำคม กำรร่ วมค้ำ

งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

362,012

3,699,158

134,717

197,717

จำนวนส่ วนแบ่งกำไรที่รับรู ้ในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ มีดงั นี้ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม กำรร่ วมค้ำ

174

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

(25,603)

223,911

-

-

รายงานประจำ�ปี 2560 58


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษัทร่ วมและกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) 13.3

เงินลงทุนในกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) เงินลงทุนทีป่ ฏิบตั ิตำมวิธีส่วนได้ เสี ย (ต่อ) รำยละเอียดเกี่ยวกับกำรที่ควบคุมร่ วมกันมีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม สั ดส่ วนของกำรถือหุ้นร้ อยละ ประเภทของธุรกิจ กำรร่ วมค้ ำทำงตรง บจก. ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชัน่ บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) กำรร่ วมค้ ำทำงอ้ อม Shanghai Sempermed Gloves Co., Ltd. (ถือหุน้ โดย บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย)) 6 PT. Thaitech Rubber Indonesia (ถือหุ น้ บจก. ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชัน่ )

จัดตั้งขึน้ ใน ประเทศ

ผลิตผลิตภัณฑ์ยำงแท่ง ผลิตถุงมือที่ใช้ในทำง กำรแพทย์

ประเทศไทย ประเทศไทย

จัดจำหน่ำยถุงมือที่ใช้ ในทำงกำรแพทย์

ประเทศจีน

ผลิตและจัดจำหน่ำย ผลิตภัณฑ์ยำงพำรำ

ประเทศอินโดนีเซี ย

31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

42.51 -

42.51 40.23

-

40.23

42.51

42.51

6

ในเดือนมีนำคม พ.ศ. 2560 บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) ได้ขำยเงินลงทุนทั้งหมดใน Shanghai Sempermed Gloves Co., Ltd. ให้กบั Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H.

บริ ษทั ได้เปลี่ยนประเภทเงินลงทุนในกำรร่ วมค้ำไปเป็ นเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด)

ควำมสั มพันธ์

31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ล้ ำนบำท

31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ล้ ำนบำท

บริ ษทั ร่ วมค้ำ

(1,764)

-

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 59

175


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 13

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย บริษทั ร่ วมและกิจกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) 13.3

เงินลงทุนในกำรร่ วมค้ ำ (ต่อ) กำรร่ วมค้ ำทีแ่ ต่ ละรำยไม่ มสี ำระสำคัญ กลุ่มกิจกำรมีส่วนได้เสี ยในกำรร่ วมค้ำที่ไม่มีสำระสำคัญ ซึ่ งได้บนั ทึกเงินลงทุนโดยใช้วธิ ีส่วนได้เสี ย สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

(322,144) (33,811)

(156,781) 9,135

(355,955) (49,728) (405,683)

(147,646) 10,525 (137,121)

มูลค่ ำตำมบัญชีโดยรวมของส่ วนได้ เสียในกำรร่ วมค้ ำแต่ ละรำยทีไ่ ม่ มสี ำระสำคัญ จำนวนรวมของส่ วนแบ่ งของกลุ่มกิจกำรในกำรร่ วมค้ ำ ขำดทุนก่อนภำษีเงินได้ ภำษีเงินได้ ขำดทุนสำหรับปี กำไร(ขำดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น ขำดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี

กำรร่ วมค้ำของกลุ่มกิ จกำรเป็ นบริ ษทั จำกัด และหุ ้นของบริ ษทั ดังกล่ำวไม่มีรำคำเสนอซื้ อขำยในตลำด นอกจำกนี้ กลุ่มกิ จกำรไม่มี หนี้สินที่อำจเกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกลุ่มกิจกำรในกำรร่ วมค้ำ 14

เงินลงทุนระยะยำว ควำมเคลื่อนไหวของเงินลงทุนระยะยำวสำหรับปี สำมำรถสรุ ปได้ดงั นี้

รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรลงทุนเพิ่มขึ้น กำรจำหน่ำยเงินลงทุน กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุน ในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย (หมำยเหตุขอ้ 26) รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ

176

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

59,130 100,000 (10,427)

50,626 -

58,014 100,000 (10,427)

49,718 -

4,596 153,299

8,504 59,130

4,510 152,097

8,296 58,014

รายงานประจำ�ปี 2560 60


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 14

เงินลงทุนระยะยำว (ต่อ) เงินลงทุนระยะยำว ณ วันที่ 31 ธันวำคม สำมำรถวิเครำะห์ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

เงินลงทุนในหลักทรัพย์ประเภททุน เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย เงินลงทุนทัว่ ไป รวมเงินลงทุนระยะยำว

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

53,299 100,000 153,299

48,703 10,427 59,130

52,097 100,000 152,097

47,587 10,427 58,014

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจกำรไม่ได้เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนทัว่ ไป ซึ่ งเป็ นเงินลงทุนใน บริ ษทั ร่ วมทุน ยำงพำรำไทย ซึ่ งมีมูลค่ำตำมบัญชีจำนวน 100 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : ไม่มี) เนื่ องจำกไม่สำมำรถวัดมูลค่ำยุติธรรมได้อย่ำงน่ ำเชื่อถือ เนื่ องจำก บริ ษทั ดังกล่ำวเป็ นบริ ษทั จำกัดและหุน้ ของบริ ษทั นี้ไม่มีรำคำเสนอซื้ อขำยในตลำด เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เผื่อขำย

เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำยตำมรำคำทุน ผลต่ำงสะสมจำกกำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรม รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำยตำมมูลค่ำยุติธรรม

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

32,758 20,541 53,299

32,758 15,945 48,703

32,294 19,803 52,097

32,294 15,293 47,587

ตำรำงต่อไปนี้แสดงถึงผลกระทบของภำษีเงินได้รอตัดบัญชีที่มีต่อรำยกำรกำไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย งบกำรเงินรวม

ผลต่ำงสะสมจำกกำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรม ผลกระทบจำกภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ผลต่ำงสะสมจำกกำรเปลี่ยนแปลง มูลค่ำยุติธรรม - สุ ทธิจำกภำษี (หมำยเหตุขอ้ 26) เงินลงทุนทัว่ ไป

เงินลงทุนทัว่ ไป

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

20,541 (4,108)

15,945 (3,189)

19,803 (3,961)

15,293 (3,059)

16,433

12,756

15,842

12,234

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

100,000

10,427

100,000

10,427

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 61

177


178

รายงานประจำ�ปี 2560

15

รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุนหรื อรำคำตีใหม่ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ

รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุ ทธิ ค่ำเสื่ อมรำคำ (หมำยเหตุขอ้ 29) ค่ำเสื่ อมรำคำที่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุ ทธิ

ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุนหรื อรำคำตีใหม่ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ

7,719,359 (494,167) 7,225,192

6,847,837 115,875 454,216 (4,674) (192,311) (24) 4,273 7,225,192

7,159,328 (311,491) 6,847,837

5,410,631 (1,142,620) 4,268,011

4,034,446 23,440 438,603 (34,612) (142,533) (67,639) 16,306 4,268,011

4,974,996 (940,550) 4,034,446

สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำตีใหม่ ทีด่ นิ และส่ วน ปรับปรุ งทีด่ นิ อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ ำง

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

6,187,249 (3,619,235) (6,057) 2,561,957

2,651,178 125,535 449,289 (29,435) (644,092) (2,484) 11,966 2,561,957

5,745,883 (3,088,481) (6,224) 2,651,178

911,553 (623,189) 288,364

287,565 61,521 26,239 (1,618) (86,555) 1,212 288,364

858,641 (571,076) 287,565

589,116 (373,313) 215,803

177,809 52,389 80,434 (1,087) (93,497) (245) 215,803

476,214 (298,405) 177,809

พันบำท งบกำรเงินรวม สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำทุน เครื่ องจักรและ เครื่ องตกแต่ งและ อุปกรณ์ ยำนพำหนะ เครื่ องใช้ สำนักงำน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

1,206,187 1,206,187

1,186,655 1,463,990 (1,448,781) 4,323 1,206,187

1,186,655 1,186,655

สิ นทรัพย์ ระหว่ ำง ก่ อสร้ ำงและติดตั้ง

62

22,024,095 (6,252,524) (6,057) 15,765,514

15,185,490 1,842,750 (71,426) (1,158,988) (70,147) 37,835 15,765,514

20,401,717 (5,210,003) (6,224) 15,185,490

รวม


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

179

15

รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุนหรื อรำคำตีใหม่ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ

รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ที่ดิน อำคำร และอุปกรณ์ จำกกำรซื้ อบริ ษทั ย่อย กำรซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) โอนเปลี่ยนประเภทสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุ ทธิ ประเมินรำคำสิ นทรัพย์เพิ่ม ประเมินรำคำสิ นทรัพย์ลด ค่ำเสื่ อมรำคำ (หมำยเหตุขอ้ 29) ค่ำเสื่ อมรำคำที่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุ ทธิ

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

11,068,818 (447,111) (49,700) 10,572,007

7,225,192 438,254 128,206 233,035 518,258 (77,759) 2,469,633 (39,592) (180,413) (60,710) (49,700) (32,397) 10,572,007

6,409,049 (587,138) 5,821,911

4,268,011 973,659 63,784 300,038 (518,258) (36,055) 1,259,893 (77,011) (324,331) (9,226) (78,593) 5,821,911

ทีด่ นิ และส่ วน ปรับปรุงทีด่ นิ อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ ำง

สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำตีใหม่

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ ณจวักำรนที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

9,921,850 (4,513,703) (5,890) 5,402,257

2,561,957 2,565,616 123,614 1,304,951 (27,788) (1,070,496) (2,569) (53,028) 5,402,257

เครื่ องจักรและ อุปกรณ์

1,057,193 (701,759) 355,434

288,364 66,204 117,560 17,920 (5,651) (117,378) (11,585) 355,434

ยำนพำหนะ

666,282 (436,770) 229,512

215,803 26,669 38,940 45,372 (1,500) (91,040) (4,732) 229,512

เครื่ องตกแต่ งและ เครื่ องใช้ สำนักงำน

สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำทุน

งบกำรเงินรวม

พันบำท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

1,808,570 1,808,570

1,206,187 64,425 2,494,460 (1,901,316) (16,681) (38,505) 1,808,570

สิ นทรัพย์ ระหว่ ำง ก่ อสร้ ำงและติดตั้ง

30,931,762 (6,686,481) (55,590) 24,189,691 63

15,765,514 4,134,827 2,966,564 (165,434) 3,729,526 (116,603) (1,783,658) (72,505) (49,700) (218,840) 24,189,691

รวม


180

รายงานประจำ�ปี 2560

15

รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุนหรื อรำคำตีใหม่ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ

รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุ ทธิ ค่ำเสื่ อมรำคำ (หมำยเหตุขอ้ 29)

รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุนหรื อรำคำตีใหม่ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

2,624,454 (222,940) 2,401,514

2,202,173 71,769 189,571 (61,999) 2,401,514

2,363,114 (160,941) 2,202,173

2,250,191 (425,277) 1,824,914

1,642,950 5,236 280,923 (225) (103,970) 1,824,914

1,964,530 (321,580) 1,642,950

สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำตีใหม่ ทีด่ นิ และส่ วน อำคำร ปรับปรุ งทีด่ นิ และสิ่ งปลูกสร้ ำง

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ ณจวักำร นที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

3,260,045 (1,720,396) (6,057) 1,533,592

1,355,833 58,034 438,973 (2,100) (317,148) 1,533,592

2,795,365 (1,433,308) (6,224) 1,355,833

262,959 (177,871) 85,088

71,693 25,088 13,364 (5) (25,052) 85,088

237,373 (165,680) 71,693

347,297 (223,710) 123,587

117,294 16,089 36,278 (4) (46,070) 123,587

304,877 (187,583) 117,294

836,009 836,009

834,854 960,264 (959,109) 836,009

834,854 834,854

พันบำท งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำทุน เครื่ องจักรและ เครื่ องตกแต่ งและ สิ นทรัพย์ ระหว่ ำง อุปกรณ์ ยำนพำหนะ เครื่ องใช้ สำนักงำน ก่ อสร้ ำงและติดตั้ง

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

64

9,580,955 (2,770,194) (6,057) 6,804,704

6,224,797 1,136,480 (2,334) (554,239) 6,804,704

8,500,113 (2,269,092) (6,224) 6,224,797

รวม


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

181

15

รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุนหรื อรำคำตีใหม่ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ

รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้อเพิม่ ขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุ ทธิ ประเมินรำคำสิ นทรัพย์เพิม่ ประเมินรำคำสิ นทรัพย์ลด ค่ำเสื่ อมรำคำ (หมำยเหตุขอ้ 29)

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

3,910,485 (213,672) 3,696,813

2,401,514 23,183 90,109 (1,240) 1,289,975 (11,203) (95,525) 3,696,813

ทีด่ นิ และส่ วน ปรับปรุ งทีด่ นิ

2,569,006 (179,484) 2,389,522

1,824,914 17,330 169,119 (1,145) 560,396 (44,173) (136,919) 2,389,522

อำคำรและ สิ่ งปลูกสร้ ำง

สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำตีใหม่

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ ณจวักำรนที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

3,991,022 (2,071,372) (5,890) 1,913,760

1,533,592 42,946 737,088 (5,767) (394,099) 1,913,760

เครื่ องจักรและ อุปกรณ์

279,052 (198,938) 80,114

85,088 21,266 5,919 (1,034) (31,125) 80,114

ยำนพำหนะ

378,308 (271,027) 107,281

123,587 9,949 25,694 (488) (51,461) 107,281

756,627 756,627

836,009 955,883 (1,027,929) (7,336) 756,627

เครื่ องตกแต่ งและ สิ นทรัพย์ ระหว่ ำง เครื่ องใช้ สำนักงำน ก่ อสร้ ำงและติดตั้ง

สิ นทรัพย์ ซึ่งแสดงตำมรำคำทุน

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พันบำท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

65

11,884,500 (2,934,493) (5,890) 8,944,117

6,804,704 1,070,557 (17,010) 1,850,371 (55,376) (709,129) 8,944,117

รวม


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 15

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ) ที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำงของกลุ่มกิ จกำรได้มีกำรทำกำรประเมิ นรำคำสิ นทรัพย์ใหม่โดยผูป้ ระเมินรำคำอิ สระใน ไตรมำสที่ 3 ของปี พ.ศ. 2560 กำรประเมินรำคำได้ทำตำมเกณฑ์รำคำตลำด และเกณฑ์รำคำเปลี่ยนแทนหักค่ำเสื่ อมรำคำสะสม ส่ วนเกินทุนที่ เกิดขึ้นสุ ทธิ จำกภำษีเงินได้รอตัดบัญชีได้บนั ทึกไปยังบัญชี องค์ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ำของ (หมำยเหตุขอ้ 26) ที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำงของกลุ่มกิจกำรแสดงด้วยมูลค่ำยุติธรรมในระดับ 2 ไม่มีกำรโอนระหว่ำงระดับของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรมในระหว่ำงปี ตำรำงต่อไปนี้แสดงถึงผลกระทบของภำษีเงินได้รอตัดบัญชีที่มีต่อส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ งบกำรเงินรวม

ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสมของส่ วนเกินทุนจำกกำร ประเมินรำคำสิ นทรัพย์ หัก ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ จำกค่ำเสื่ อมรำคำสะสมและภำษี

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

5,387,196

1,843,361

2,619,590

840,245

(290,409) (1,047,341)

(213,420) (333,081)

(188,499) (486,218)

(149,211) (138,207)

4,049,446

1,296,860

1,944,873

552,827

หำกที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำงแสดงตำมรำคำทุนเดิม รำคำตำมบัญชีจะเป็ นดังนี้ งบกำรเงินรวม

รำคำทุน หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม หัก ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำ รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

12,967,063 (2,645,664) (55,590) 10,265,809

11,106,570 (2,241,936) (6,057) 8,858,577

4,994,856 (1,381,372) (5,890) 3,607,594

4,722,763 (1,200,939) (6,057) 3,515,767

งบกำรเงินรวม ค่ำเสื่ อมรำคำของกลุ่มกิจกำรจำนวน 1,584 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 1,020 ล้ำนบำท) ได้ถูกบันทึกเป็ นต้นทุนขำยและกำรให้บริ กำร และจำนวน 200 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 139 ล้ำนบำท) บันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำรบริ หำร ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำง และเครื่ องจักรและอุปกรณ์บำงส่ วนของบริ ษทั ย่อยบำงแห่ ง ซึ่งมีมูลค่ำตำมบัญชีรวมจำนวน 382 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 677 ล้ำนบำท) ได้นำไปจดจำนองเพื่อค้ ำประกันวงเงินสิ นเชื่อ และเงินกูย้ มื ระยะสั้นและ ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินที่กล่ำวไว้ในหมำยเหตุขอ้ 23

182

รายงานประจำ�ปี 2560

66


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ จกำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 15

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ค่ำเสื่ อมรำคำของบริ ษทั จำนวน 632 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 491 ล้ำนบำท) ได้ถูกบันทึกเป็ นต้นทุนขำยและกำรให้บริ กำร และจำนวน 77 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 63 ล้ำนบำท) บันทึกเป็ นค่ำใช้จ่ำยในกำรบริ หำร สิ นทรัพ ย์ตำมสัญญำเช่ ำกำรเงิ น ที่ กลุ่มกิ จกำรและบริ ษทั เป็ นผูเ้ ช่ ำซึ่ งรวมแสดงในรำยกำรข้ำงต้นประกอบด้วยยำนพำหนะ เครื่ องตกแต่ ง และเครื่ องใช้สำนักงำน มีรำยละเอียดดังนี้ งบกำรเงินรวม

รำคำทุนของสิ นทรัพย์ตำมสัญญำเช่ำกำรเงิน หัก ค่ำเสื่ อมรำคำสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

112,814 (54,388) 58,426

111,161 (61,277) 49,884

25,342 (8,166) 17,176

19,962 (9,770) 10,192

กลุ่มกิจกำรทำสัญญำเช่ำกำรเงิน ยำนพำหนะ เครื่ องตกแต่ง และเครื่ องใช้สำนักงำน ซึ่งไม่สำมำรถบอกเลิกได้ สัญญำเช่ำมีอำยุระหว่ำง 3 ถึง 5 ปี นโยบำยกำรบัญชี ในกำรวัดมู ลค่ ำสิ นทรั พย์ของกลุ่ มกิ จกำรกำหนดให้มีกำรประเมิ นรำคำที่ ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ ดิน อำคำรและสิ่ งปลู กสร้ ำง โดยผูป้ ระเมินรำคำอิสระทุก 5 ปี โดยครบกำหนดดังกล่ำวในปี พ.ศ. 2560 กลุ่มกิจกำรได้ทำกำรว่ำจ้ำงผูป้ ระเมินทรัพย์สินอิสระโดยควำมเห็นชอบ ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ เนื่ องจำกกลุ่มกิจกำรมีกำรวัดมูลค่ำใหม่ของที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำง ตำมนโยบำยกำรบัญชีของกลุ่มกิจกำร ณ วันที่ 31 สิ งหำคม พ.ศ. 2560 ส่ งผลให้กำรเปลี่ ยนแปลงของส่ วนเกิ นทุ นจำกกำรประเมิ นรำคำสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ จำกภำษี ของกลุ่ มกิ จกำรเพิ่มขึ้ น เป็ นมูลค่ำ 2,849 ล้ำนบำท และของบริ ษทั 1,423 ล้ำนบำท สำหรับงวดปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

67

183


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 15

ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ) ข้อมูลกำรวัดมูลค่ำยุติธรรมตำมมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงินฉบับที่ 13 เรื่ อง กำรวัดมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 แสดงได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม รำคำเสนอซื้อในตลำด ทีม่ สี ภำพคล่ องสำหรับ สิ นทรัพย์ อย่ ำงเดียวกัน (ข้ อมูลระดับที่ 1) พันบำท

ข้ อมูลทีส่ ำมำรถสังเกต ได้ อย่ ำงมีสำระสำคัญ (ข้ อมูลระดับที่ 2) พันบำท

ข้ อมูลทีไ่ ม่ สำมำรถสั งเกต ได้ อย่ ำงมีสำระสำคัญ (ข้ อมูลระดับที่ 3) พันบำท

-

10,572,007 5,821,911

-

กำรวัดมูลค่ำที่เกิดขึ้นประจำ ที่ดินและส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำร

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รำคำเสนอซื้อในตลำด ทีม่ สี ภำพคล่ องสำหรับ สิ นทรัพย์ อย่ ำงเดียวกัน (ข้ อมูลระดับที่ 1) พันบำท

ข้ อมูลทีส่ ำมำรถสังเกต ได้ อย่ ำงมีสำระสำคัญ (ข้ อมูลระดับที่ 2) พันบำท

ข้ อมูลทีไ่ ม่ สำมำรถสั งเกต ได้ อย่ ำงมีสำระสำคัญ (ข้ อมูลระดับที่ 3) พันบำท

-

3,696,814 2,389,522

-

กำรวัดมูลค่ำที่เกิดขึ้นประจำ ที่ดินและส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำร เทคนิคกำรประเมินมูลค่ำสำหรับกำรวัดมูลค่ำยุติธรรม

มูลค่ำยุติธรรมระดับที่ 2 ของที่ดินและส่ วนปรับปรุ งที่ดินคำนวณจำกวิธีเปรี ยบเที ยบรำคำขำย โดยผูป้ ระเมินอิสระ รำคำเสนอขำยของสิ นทรัพย์ ที่ คล้ำยกันในบริ เวณใกล้เคี ยงได้ถูกปรับปรุ งสำหรับควำมแตกต่ำงในคุ ณลักษณะที่สำคัญ เช่ น เนื้ อที่ ทำเลที่ต้ งั สภำพสิ่ งแวดล้อม และกำรให้ ประโยชน์สูงสุ ด ข้อมูลที่เป็ นสำระสำคัญสำหรับกำรประเมินมูลค่ำคือรำคำต่อไร่ และ ขนำดที่ดิน มูลค่ำยุติธรรมระดับที่ 2 ของอำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำงคำนวณจำกวิธีตน้ ทุนทดแทน มูลค่ำทดแทนใหม่คำนวณจำกรำคำต้นทุนกำรก่อสร้ำงในตลำด เพื่อสร้ำงสิ นทรัพย์ลกั ษณะเดียวกันได้นำมำเปรี ยบเทียบกับสิ นทรัพย์ปรับปรุ งด้วยค่ำเสื่ อมที่คำนวณจำกอำยุกำรใช้งำนที่ใช้ไปและอำยุที่คำดว่ำจะ คงเหลือ ข้อมูลที่เป็ นสำระสำคัญสำหรับกำรประเมินมูลค่ำคือต้นทุนก่อสร้ำงต่อตำรำงเมตร พื้นที่ใช้สอย และอำยุอำคำร ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงสำหรับวิธีกำรประมำณมูลค่ำยุติธรรมระหว่ำงงวด

184

รายงานประจำ�ปี 2560 68


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

185

16

11,888 (5,273) 6,615

6,615 4,635 (180) (1,762) 9,308

16,523 (7,215) 9,308

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 29) ค่ำเสื่ อมรำคำที่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

ทีใ่ ห้ นำ้ ยำง

สวนยำงพำรำ

ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

สวนยำงพำรำและสวนปำล์ ม - สุ ทธิ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ ณจวักำร นที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

1,559,408 1,559,408

1,209,426 282,708 (4,635) 71,909 1,559,408

1,209,426 1,209,426

ทีย่ งั ไม่ ให้ นำ้ ยำง

งบกำรเงินรวม

พันบำท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

8,721 (4,909) 3,812

4,280 (468) 3,812

8,721 (4,441) 4,280

ทีใ่ ห้ ผล

สวนปำล์ ม

948 (72) 876

919 (43) 876

948 (29) 919

ทีย่ งั ไม่ ให้ ผล

69

1,585,600 (12,196) 1,573,404

1,221,240 282,708 (691) 70,147 1,573,404

1,230,983 (9,743) 1,221,240

รวม


186

รายงานประจำ�ปี 2560

16

9,308 25,573 (3,719) 31,162

42,097 (10,935) 31,162

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

ทีใ่ ห้ นำ้ ยำง

สวนยำงพำรำ

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้อเพิ่มขึ้น โอนเข้ำ (โอนออก) กำรขำย - สุ ทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 29) ค่ำเสื่ อมรำคำที่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ

สวนยำงพำรำและสวนปำล์ ม - สุ ทธิ (ต่อ)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

1,796,839 1,796,839

1,559,408 191,774 (25,780) (1,068) 72,505 1,796,839

ทีย่ งั ไม่ ให้ นำ้ ยำง

งบกำรเงินรวม

พันบำท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

8,720 (5,377) 3,343

3,812 (469) 3,343

ทีใ่ ห้ ผล

สวนปำล์ ม

1,155 (123) 1,032

876 207 (51) 1,032

ทีย่ งั ไม่ ให้ ผล

70

1,848,811 (16,435) 1,832,376

1,573,404 191,774 (1,068) (4,239) 72,505 1,832,376

รวม


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 16

สวนยำงพำรำและสวนปำล์ ม - สุ ทธิ (ต่อ)

พันบำท งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สวนยำงพำรำ

ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 29) รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้ อเพิ่มขึ้น ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 29) รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

ทีใ่ ห้ นำ้ ยำง

ทีย่ งั ไม่ ให้ นำ้ ยำง

สวนปำล์ ม ทีใ่ ห้ ผล

3,584 (1,915) 1,669

-

3,182 (2,017) 1,165

6,766 (3,932) 2,834

1,669 (90) 1,579

-

1,165 (193) 972

2,834 (283) 2,551

3,584 (2,005) 1,579

-

3,182 (2,210) 972

6,766 (4,215) 2,551

1,579 (91) 1,488

2,075 2,075

972 (192) 780

2,551 2,075 (283) 4,343

3,584 (2,096) 1,488

2,075 2,075

3,182 (2,402) 780

8,841 (4,498) 4,343

รวม

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 71

187


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 17

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี ัวตน - สุ ทธิ

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ งบกำรเงินรวม

ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ กำรซื้ อเพิ่มขึ้น กำรตัดจำหน่ำย - สุ ทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 29) ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุ ทธิ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำตำมบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนจำกกำรซื้อบริ ษทั ย่อย กำรซื้ อเพิ่มขึ้น กำรขำยและกำรตัดจำหน่ำย - สุ ทธิ ค่ำตัดจำหน่ำย (หมำยเหตุขอ้ 29) ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุ ทธิ รำคำตำมบัญชีปลำยปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 รำคำทุน หัก ค่ำตัดจำหน่ำยสะสม รำคำตำมบัญชี - สุ ทธิ

188

พันบำท

งบกำรเงินเฉพำะ กิจกำร พันบำท

432,048 (101,736) 330,312

381,831 (67,145) 314,686

330,312 188,853 (2,776) (35,546) (38) 480,805

314,686 184,752 (29,457) 469,981

612,869 (132,064) 480,805

566,583 (96,602) 469,981

480,805 6,701 37,787 (186) (64,490) (823) 459,794

469,981 27,096 (135) (56,361) 440,581

653,730 (193,936) 459,794

592,545 (151,964) 440,581

รายงานประจำ�ปี 2560 72


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษทั ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท นศรีเฉพำะกิ ตรังแอโกรอิ หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ จกำร นดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

18

ค่ำควำมนิยม งบกำรเงินรวม พันบำท ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 กำรซื้ อธุรกิจ (หมำยเหตุขอ้ 37)

2,953,782 2,953,782

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

มูลค่ำที่คำดว่ำจะได้รับคืนของหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดพิจำรณำจำกกำรคำนวณมูลค่ำจำกกำรใช้ กำรคำนวณดังกล่ำวใช้ประมำณกำร กระแสเงินสดหลังภำษีซ่ ึงอ้ำงอิงจำกงบประมำณทำงกำรเงินครอบคลุมระยะเวลำ 7 ปี ซึ่งได้รับอนุมตั ิจำกผูบ้ ริ หำร กระแสเงินสดหลังจำกปี ที่ 7 ใช้ประมำณกำรของอัตรำกำรเติบโตดังกล่ ำวในตำรำงข้ำงล่ ำง อัตรำกำรเติบโตดังกล่ ำวไม่ สูงกว่ำอัตรำกำรเติบโตเฉลี่ ยของธุ รกิ จที่ หน่ วย สิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดนั้นดำเนิ นงำนอยู่ ข้อสมมติฐำนที่ใช้ในกำรคำนวณมูลค่ำจำกกำรใช้แสดงได้ดงั ต่อไปนี้ อัตรำกำรเติบโต ณ สิ้ นปี ที่มีกำรจัดทำประมำณกำรทำงกำรเงิน อัตรำคิดลด

ร้อยละ 0.00 ร้อยละ 8.47

ข้อสมมติฐำนเหล่ำนี้ได้ถูกใช้เพื่อกำรวิเครำะห์หน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดภำยในส่ วนงำนธุรกิจ ฝ่ ำยบริ หำรพิจำรณำกำไรขั้นต้นจำกงบประมำณโดยอ้ำงอิงจำกผลประกอบกำรในอดีตที่ผำ่ นมำประกอบกับกำรคำดกำรณ์กำรเติบโตของตลำด อัตรำกำรเติบโตถัว่ เฉลี่ ยถ่วงน้ ำหนักที่ใช้สอดคล้องกับกำรคำดกำรณ์อตั รำกำรเติบโตที่รวมอยูใ่ นรำยงำนของอุตสำหกรรม อัตรำคิดลดที่ใช้ เป็ นอัตรำหลังหักภำษีที่สะท้อนถึงควำมเสี่ ยงซึ่ งเป็ นลักษณะเฉพำะที่เกี่ยวข้องกับส่วนงำนนั้น ๆ 19

อสังหำริมทรัพย์ เพือ่ กำรลงทุน ควำมเคลื่อนไหวของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนสำมำรถสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 พันบำท พันบำท รำคำตำมบัญชีตน้ ปี กำรซื้ อเพิ่มขึ้น กำไร(ขำดทุน)จำกกำรประเมินรำคำมูลค่ำยุติธรรมของ อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ - สุทธิ รำคำตำมบัญชีปลำยปี

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2559 พันบำท พันบำท

151,932 -

154,511 215

27,770 -

27,770 -

47,893 (10,915) 188,910

(1,887) (907) 151,932

47,893 75,663

27,770

อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนของกลุ่มกิจกำร ได้แก่ อสังหำริ มทรัพย์ที่ถือครองไว้โดยยังมิได้ระบุวตั ถุประสงค์ของกำรใช้ในอนำคต รวมถึง ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในกำรดำเนิ นงำน กลุ่มกิจกำรไม่ได้ระบุวำ่ จะมีอสังหำริ มทรัพย์น้ นั ไว้ใช้งำนหรื อเพื่อหำประโยชน์จำกกำรเพิ่มขึ้นของมูลค่ำ ของสิ นทรัพย์ในระยะสั้น ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ในกำรดำเนิ นงำนและอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนของกลุ่มกิจกำรแสดงด้วยมูลค่ำยุติธรรม ในระดับ 2 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)73

189


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

19

อสั งหำริมทรัพย์ เพื่อกำรลงทุน (ต่อ) ที่ ดิน ที่ ไม่ ได้ใช้ในกำรดำเนิ นงำนของกลุ่ มกิ จกำรได้มีกำรประเมิ นรำคำใหม่ โดยผูป้ ระเมิ นรำคำอิ สระ กำรประเมิ นรำคำได้ทำตำมเกณฑ์ รำคำตลำด อสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุนแสดงด้วยมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ซึ่ งกำรประเมินได้ใช้เกณฑ์กำรเปรี ยบเทียบกับมูลค่ำ ในท้องตลำดของอสังหำริ มทรัพย์ที่อยูใ่ นประเภทเดียวกันและอยูใ่ นบริ เวณเดียวกันกับอสังหำริ มทรัพย์ของบริ ษทั ย่อย กลุ่มกิจกำรไม่มีกำรเปลี่ยนเทคนิคกำรประเมินมูลค่ำในระหว่ำงปี

20

ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์และหนี้สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีสำมำรถวิเครำะห์ได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

สิ นทรัพย์ ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่จะใช้ ประโยชน์ภำยใน 12 เดือน สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่จะใช้ ประโยชน์เกินกว่ำ 12 เดือน

130,260

169,852

53,280

92,375

737,125 867,385

547,410 717,262

409,543 462,823

195,421 287,796

หนีส้ ิ นภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี หนี้สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่จะจ่ำย ชำระภำยใน 12 เดือน หนี้สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่จะจ่ำย ชำระเกินกว่ำ 12 เดือน

56,831

4,032

51,304

4,032

1,357,594 1,414,425

340,227 344,259

502,756 554,060

144,264 148,296

(547,040)

373,003

(91,237)

139,500

ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - สุ ทธิ

190

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

รายงานประจำ�ปี 2560

74


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

20

ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี (ต่อ) สรุ ปควำมเคลื่อนไหวของบัญชีภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีดงั นี้ งบกำรเงินรวม

ยอดคงเหลือต้นปี ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีจำกกำรซื้อบริ ษทั ย่อย (หมำยเหตุขอ้ 37) เพิม่ ในกำไรหรื อขำดทุน ลดในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ผลต่ำงสะสมจำกกำรแปลงค่ำ ยอดคงเหลือปลำยปี

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

373,003

51,620

139,500

(33,181)

(292,635) 468,607 (1,066,467) (29,548) (547,040)

432,587 (113,822) 2,618 373,003

126,036 (356,773) (91,237)

262,460 (89,779) 139,500

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)75

191


192

รายงานประจำ�ปี 2560

20

สิ นทรัพย์ (หนีส้ ิ น)ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี - สุ ทธิ

หนีส้ ิ นภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ กำรประเมินมูลค่ำยุติธรรมของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน กำไร(ขำดทุน)ที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน กำรปรับปรุ งมูลค่ำสิ นค้ำคงเหลือโดยเปลี่ยนจำกมูลค่ำยุติธรรม เป็ นรำคำทุนหรื อมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่รำคำใดจะต่ำกว่ำ อื่น ๆ

สิ นทรัพย์ ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี ขำดทุนทำงภำษียกมำ กำไร(ขำดทุน)ที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ค่ำเผื่อสำหรับมูลค่ำสิ นค้ำที่เกินกว่ำมูลค่ำสุ ทธิ ที่จะได้รับ ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ลดลง ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ อื่น ๆ

ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี (ต่อ)

(4,504) 1,891 (15,553) (10,123) (423) (28,712) 432,587

10,035 1,861 256,857 51,620

299,856 108,720 (44,671) 17,581 14,388 8,001 403,875

224,268 1,108 19,585

164,749 2,945 63,157 24,791 21,935 30,900 308,477

1 มกรำคม พ.ศ. 2559 พันบำท

(113,822)

2,580 115,897

113,317 -

2,075 2,075

2,618

201 16 217

-

1,502 (867) 1,705 187 299 9 2,835

373,003

113 4,034 344,259

333,081 2,999 4,032

466,107 110,798 20,191 42,559 38,697 38,910 717,262

(292,635)

333,021

333,021 -

26,361 14,025 40,386

สิ นทรัพย์ และหนีส้ ิ น ภำษีเงินได้ รอตัด บัญชีจำกกำรซื้อ บริษัทย่ อย พันบำท

งบกำรเงินรวม รำยกำรที่ รำยกำรที่บันทึกใน ผลต่ ำงสะสม บันทึกเป็ น กำไรขำดทุน จำกกำรแปลงค่ ำ 31 ธันวำคม กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น งบกำรเงิน พ.ศ. 2559 พันบำท พันบำท พันบำท พันบำท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

135,589

(113) (393) (2,091)

(66,998) 9,579 55,834

173,663 (73,230) 27,629 7,514 10,814 (12,892) 133,498

(733,447)

919 739,256

738,337 -

5,809 5,809

(29,550)

(20) (20)

-

(16,665) (2,412) (2,455) (721) (4,725) (2,592) (29,570)

รำยกำรที่ รำยกำรที่บันทึกใน ผลต่ ำงสะสม บันทึกเป็ น กำไรขำดทุน จำกกำรแปลงค่ ำงบ กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น กำรเงิน พันบำท พันบำท พันบำท

76

(547,040)

4,540 1,414,425

1,337,441 12,578 59,866

623,105 35,156 71,726 49,352 64,620 23,426 867,385

31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 พันบำท


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

193

20

สิ นทรัพย์ (หนีส้ ิ น)ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี - สุ ทธิ

หนีส้ ิ นภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ กำรประเมินมูลค่ำยุติธรรมของอสังหำริ มทรัพย์เพื่อกำรลงทุน กำไร(ขำดทุน)ที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน อื่น ๆ

สิ นทรัพย์ ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี ขำดทุนทำงภำษียกมำ กำไร(ขำดทุน)ที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งจำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ค่ำเผือ่ สำหรับมูลค่ำสิ นค้ำที่เกินกว่ำมูลค่ำสุ ทธิที่จะได้รับ ผลขำดทุนสะสมจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ลดลง ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ อื่น ๆ

ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี (ต่อ)

(3,101) 1,891 (15,553) (16,763) 262,459

(33,180)

157,546 77,669 (12,274) 13,253 9,473 29 245,696

(89,779)

89,095 2,541 91,636

1,857 1,857

139,500

138,207 2,999 4,032 3,058 148,296

157,546 92,168 206 21,041 16,789 46 287,796

31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 พันบำท

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รำยกำรที่ รำยกำรทีบ่ ันทึก บันทึกเป็ น ในกำไรขำดทุน กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบำท พันบำท

52,213 1,108 19,585 517 73,423

14,499 12,480 7,788 5,459 17 40,243

1 มกรำคม พ.ศ. 2559 พันบำท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ ณจวักำร นที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

126,037

(7,858) 9,579 47,272 48,993

215,527 (61,532) 22,438 (3,226) 1,823 175,030

(356,774)

355,869 902 356,771

(3) (3)

รำยกำรที่ รำยกำรทีบ่ ันทึก บันทึกเป็ น ในกำไรขำดทุน กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบำท พันบำท

77

(91,237)

486,218 12,578 51,304 3,960 554,060

373,073 30,636 22,644 17,815 18,609 46 462,823

31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 พันบำท


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 21

สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนอื่น

เงินมัดจำ อื่น ๆ รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 22

เจ้ ำหนีก้ ำรค้ ำและเจ้ ำหนีอ้ ื่น

เจ้ำหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั อื่น เจ้ำหนี้กำรค้ำ - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมำยเหตุขอ้ 38.3) ค่ำใช้จ่ำยค้ำงจ่ำย รำยได้รับล่วงหน้ำค่ำสิ นค้ำและอื่น ๆ เงินมัดจำและเงินประกันผลงำนรับจำกลูกค้ำ เจ้ำหนี้อื่น - บริ ษทั อื่น เจ้ำหนี้อื่น - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมำยเหตุขอ้ 38.3) อื่น ๆ รวมเจ้ำหนี้กำรค้ำและเจ้ำหนี้อื่น 23

เงินกู้ยืม

รำยกำรของหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ตัว๋ เงินจ่ำย รวมเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่ วนของหนี้สินระยะยำวที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี - เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน - หุน้ กู้ - หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวมเงินกูย้ มื หมุนเวียน

194

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

43,354 22,317 65,671

30,604 26,004 56,608

15,421 5,084 20,505

12,683 5,079 17,762

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

1,221,484 179,733 621,595 279,897 99,906 211,638 4 583 2,614,840

974,197 633,460 800,857 339,054 107,213 307,052 5,677 325 3,167,835

349,392 791,558 274,817 170,467 19,601 58,108 55,159 155 1,719,257

430,670 522,822 333,387 248,263 16,976 124,724 63,158 185 1,740,185

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

21,378,371 407,655 21,786,026

23,086,867 346,948 23,433,815

14,754,529 14,754,529

14,338,230 14,338,230

420,654 600,000 13,167 22,819,847

5,397,792 8,334 28,839,941

300,000 600,000 4,092 15,658,621

4,276,388 2,466 18,617,084

รายงานประจำ�ปี 2560 78


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 23

เงินกู้ยืม (ต่อ) งบกำรเงินรวม

รำยกำรไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวมเงินกูย้ มื ไม่หมุนเวียน รวมเงินกูย้ มื

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

7,193,710 2,265,000 27,521 9,486,231

654 2,865,000 5,127 2,870,781

4,313,710 2,265,000 9,542 6,588,252

2,865,000 4,425 2,869,425

32,306,079

31,710,722

22,246,873

21,486,509

ณ วัน ที่ 31 ธัน วำคม พ.ศ. 2560 เงิ น กู้ยืม ระยะสั้ น บำงส่ ว น และเงิ น กู้ยืม ระยะยำวบำงส่ ว นของกลุ่ ม กิ จ กำรดังกล่ ำวจ ำนวน 26 ล้ำนบำท ค้ ำประกันโดยที่ดิน ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อำคำรและสิ่ งปลูกสร้ำง และเครื่ องจักรและอุปกรณ์ของบริ ษทั ย่อยบำงแห่ งตำมที่กล่ำวไว้ในหมำยเหตุ ข้อ 15 และมีกำรค้ ำประกันโดยกรรมกำรบริ ษทั บำงท่ำน (โดยไม่คิดค่ำธรรมเนียม) โดยกลุ่มกิจกำรไม่มีกำรใช้เงินฝำกประจำค้ ำประกัน (พ.ศ. 2559 : 774 ล้ำนบำท) นอกจำกนี้ เงื่อนไขของสัญญำเงินกูด้ งั กล่ำวกำหนดว่ำบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งต้องไม่นำสิ นทรัพย์ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ดังกล่ำว ไปก่อภำระผูกพัน หรื อยินยอมให้มีกำรก่อภำระผูกพันอื่นอีก เว้นแต่จะได้รับคำยินยอมจำกธนำคำรที่ให้กอู้ ย่ำงเป็ นทำงกำร นอกจำกนี้ บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยที่ได้รับเงินกูย้ มื จะต้องปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขอื่นที่ระบุไว้ในสัญญำเงินกู้ อัตรำดอกเบี้ยที่แท้จริ ง ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน มีดงั นี้ ร้ อยละ งบกำรเงินรวม เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน* เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุน้ กู้

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2559

1.50 - 10.25 3.75 - 4.29 2.96 - 4.56

1.39 - 11.87 2.63 - 4.80 2.96 - 4.56

1.50 - 2.30 3.77 - 4.29 2.96 - 4.56

1.50 - 2.30 2.63 - 4.51 2.96 - 4.56

*อัตรำดอกเบี้ยเงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงินกับอัตรำดอกเบี้ยที่แท้จริ งไม่มีควำมแตกต่ำงอย่ำงมีสำระสำคัญ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 79

195


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 23

เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.1

เงินกู้ยืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน (ก) งบกำรเงินรวม - บริษัท อันวำร์ พำรำวูด จำกัด สัญญำที่ 1 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ยอดคงเหลือจำนวน 0.65 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 2 ล้ำนบำท) เป็ นเงินกูย้ มื ที่ได้รับจำก ธนำคำรในปี พ.ศ. 2556 โดยมีกำหนดชำระเงินต้นทุกเดือนโดยเริ่ มงวดแรกในเดือนมกรำคม พ.ศ. 2557 และชำระ งวดสุ ดท้ำยในเดือนมิถุนำยน พ.ศ. 2561 เงินกูย้ ืมมีดอกเบี้ยในอัตรำ MLR หักด้วยอัตรำร้อยละคงที่ต่อปี และชำระ ดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน - บจก. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) สัญญำที่ 1 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ยอดคงเหลื อจำนวน 3,000 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : ไม่ มี) เป็ นเงิน กู้ยืมที่ ได้รับจำก ธนำคำรในปี พ.ศ. 2560 โดยมีกำหนดชำระเงินต้นทุกไตรมำสโดยเริ่ มงวดแรกในเดือนมีนำคม พ.ศ. 2561 และชำระ งวดสุ ดท้ำยในเดื อนกันยำยน พ.ศ. 2568 เงินกูย้ ืมมีดอกเบี้ ยในอัตรำ MLR หักด้วยอัตรำร้อยละคงที่ ต่อปี และชำระ ดอกเบี้ยทุกไตรมำส (ข) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สัญญำที่ 1 ณ วัน ที่ 31 ธัน วำคม พ.ศ. 2560 ยอดคงเหลื อจำนวน 2,971 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 3,196 ล้ำนบำท) เป็ นเงิ น กู้ยืม ที่ ไ ด้รั บ จำกธนำคำรในปี พ.ศ. 2555 โดยมี ก ำหนดช ำระเงิ น ต้น ทุ ก ไตรมำสโดยเริ่ ม งวดแรกในเดื อ นกัน ยำยน พ.ศ. 2555 และชำระงวดสุ ดท้ำยในเดือนกันยำยน พ.ศ. 2565 เงินกูย้ ืมมีดอกเบี้ยในอัตรำ MLR หักด้วยอัตรำร้อยละ คงที่ต่อปี และชำระดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน สัญญำที่ 2 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ยอดคงเหลือจำนวน 493 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : 540 ล้ำนบำท) เป็ นเงินกูย้ ืมที่ได้รับ จำกธนำคำรในปี พ.ศ. 2559 โดยมีกำหนดชำระเมื่อครบกำหนดตำมสัญญำในเดือนธันวำคม พ.ศ. 2562 เงินกูย้ ืมมีอตั รำ ดอกเบี้ยคงที่ และชำระดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน สัญญำที่ 3 ณ วัน ที่ 31 ธัน วำคม พ.ศ. 2560 ยอดคงเหลื อ จำนวน 493 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 : ไม่ มี ) เป็ นเงิ น กู้ยืม ที่ ไ ด้รับ จำก ธนำคำรในปี พ.ศ. 2560 โดยมี กำหนดชำระเมื่ อครบกำหนดตำมสัญญำในเดื อนมิ ถุนำยน พ.ศ. 2563 เงิ นกู้ยืมมี อตั รำ ดอกเบี้ยคงที่ และชำระดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน สัญญำที่ 4 ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ยอดคงเหลือจำนวน 657 ล้ำนบำท (พ.ศ. 2559 :ไม่มี) เป็ นเงินกูย้ มื ที่ได้รับจำกธนำคำร ในปี พ.ศ. 2560 โดยมีกำหนดชำระเมื่อครบกำหนดตำมสัญญำในเดือนกันยำยน พ.ศ. 2563 เงินกูย้ ืมมีอตั รำดอกเบี้ยคงที่ และชำระดอกเบี้ยเป็ นรำยเดือน

196

รายงานประจำ�ปี 2560 80


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

23

เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.1

เงินกู้ยืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน (ต่อ) (ข) งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขในสัญญำเงินกู้ จึงไม่มีเงินกูย้ ืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินถูกจัดประเภท เป็ นเงินกูย้ มื ระยะสั้น ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 เงินกูย้ ืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินของกิ จกำรจำนวน 3,536 ล้ำนบำท ได้ถูกจัดประเภทเป็ นเงินกูย้ ืม ระยะสั้นเนื่ องจำกบริ ษทั ดังกล่ำวไม่ได้ปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขทุกประกำรที่ระบุไว้ในสัญญำเงินกู้ เนื่ องจำกบริ ษทั ยังไม่ได้หนังสื อ ผ่อนผันกำรไม่ปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขดังกล่ำวจำกสถำบันกำรเงิน ณ วันที่ในงบกำรเงินในขณะนั้น มูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ ืมส่ วนที่หมุนเวียนมีมูลค่ำเท่ำกับรำคำตำมบัญชี เนื่ องจำกผลกระทบของอัตรำคิดลดไม่มีสำระสำคัญ และอยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม ควำมเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินสำมำรถแสดงได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

ยอดคงเหลือต้นปี เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงินเพิม่ ขึ้น จ่ำยคืนเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ผลต่ำงสะสมจำกกำรแปลงค่ำ ยอดคงเหลือปลำยปี

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

5,398,446 4,172,363 (1,886,404) (70,041) 7,614,364

4,193,619 1,410,000 (205,211) 38 5,398,446

4,276,388 1,172,363 (765,000) (70,041) 4,613,710

3,940,157 540,000 (203,807) 38 4,276,388

รำคำตำมบัญชีและมูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะยำว มีดงั ต่อไปนี้

งบกำรเงินรวม

รำคำตำมบัญชี

เงินกูย้ มื ระยะยำว

มูลค่ ำยุตธิ รรม

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

7,614,364

5,398,446

7,847,315

5,661,750

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รำคำตำมบัญชี

เงินกูย้ มื ระยะยำว

มูลค่ ำยุตธิ รรม

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

4,613,710

4,276,388

4,725,704

4,508,894

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)81

197


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 23

เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.1

เงินกู้ยืมระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน (ต่อ) มูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ มื ส่ วนที่หมุนเวียนมีมูลค่ำเท่ำกับรำคำตำมบัญชี เนื่องจำกผลกระทบของอัตรำคิดลดไม่มีสำระสำคัญ มูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะยำวคำนวนจำกกระแสเงินสดในอนำคตซึ่ งคิดลดด้วยอัตตรำดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบำล บวกส่ วนเพิ่ม จำกอัตรำดอกเบี้ ยหุ ้นกู้เอกชนระดับ BBB+ อัตรำดอกเบี้ ยร้ อยละ 2.99 ถึ งร้อยละ 4.09 (พ.ศ. 2559 : ร้อยละ 1.96 ถึ งร้ อยละ 3.13) และ อยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม

23.2

หุ้นกู้ เมื่อวันที่ 13 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2556 บริ ษทั ออกจำหน่ำยหุ น้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีประกัน และมีผแู ้ ทนผูถ้ ือหุน้ กู้ จำนวนรวมทั้งสิ้ น 900,000 หน่วย จำนวน 1 ชุด โดยใช้ชื่อดังนี้ -

หุน้ กูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2556 ชุดที่ 1 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2559 หุน้ กูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2556 ชุดที่ 2 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2561

เมื่อวันที่ 18 พฤษภำคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ออกจำหน่ำยหุน้ กูช้ นิ ดระบุชื่อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีประกัน และมีผแู ้ ทนผูถ้ ือหุน้ กู้ จำนวนรวมทั้งสิ้ น 2,265,000 หน่วย จำนวน 2 ชุด โดยใช้ชื่อดังนี้ -

หุน้ กูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2559 ชุดที่ 1 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2562 หุน้ กูข้ องบริ ษทั ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ครั้งที่ 1/2559 ชุดที่ 2 ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2564

ควำมเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของหุน้ กูส้ ำมำรถแสดงได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

ยอดคงเหลือต้นปี ออกจำหน่ำยในระหว่ำงปี ไถ่ถอนในระหว่ำงปี ยอดคงเหลือปลำยปี

198

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

2,865,000 2,865,000

1,450,000 2,265,000 (850,000) 2,865,000

รายงานประจำ�ปี 2560 82


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 23

เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.2

หุ้นกู้ (ต่อ) รำยละเอียดเกี่ยวกับหุน้ กูข้ องงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรแสดงได้ดงั ต่อไปนี้ อัตรำดอกเบีย้ ร้ อยละ

รำคำทีต่ รำไว้ บำท

31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 หุ้น

31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 หุ้น

หุน้ กู้ STA182A

4.50 ต่อปี

1,000

600,000

600,000

หุน้ กู้ STA195A

2.55 ต่อปี

1,000

810,000

810,000

หุน้ กู้ STA215A

3.10 ต่อปี

1,000

1,455,000

1,455,000

2,865,000

2,865,000

วันครบกำหนด ไถ่ ถอน

กำหนดจ่ ำยดอกเบีย้ วันที่ 13 กุมภำพันธ์ และ 13 สิ งหำคมของทุกปี วันที่ 18 พฤษภำคม และ 18 พฤศจิกำยนของทุกปี วันที่ 18 พฤษภำคม

13 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2561 18 พฤษภำคม พ.ศ. 2562 18 พฤษภำคม พ.ศ. 2564

และ 18 พฤศจิกำยนของทุกปี

รำคำตำมบัญชีและมูลค่ำยุติธรรมของหุน้ กู้ มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รำคำตำมบัญชี

หุน้ กู้

มูลค่ ำยุตธิ รรม

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

2,865,000

2,865,000

2,867,023

2,868,420

มูลค่ำยุติธรรมของหุน้ กูค้ ิดจำกรำคำซื้อขำย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลำดที่มีสภำพคล่องและอยูใ่ นข้อมูลระดับ 1 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 83

199


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 23

เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.3

ข้ อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับเงินกู้ยืมจำกสถำบันกำรเงินและหุ้นกู้ ควำมเสี่ ยงจำกอัตรำดอกเบี้ ยของเงินกูย้ ืมจำกสถำบันกำรเงินและหุ ้นกู้ (ไม่รวมหนี้ สินตำมสัญญำเช่ ำทำงกำรเงิน) ของกลุ่มกิ จกำร และบริ ษทั สรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม

เงินกู้ยืมระยะสั้ น อัตรำดอกเบี้ยคงที่ เงินกู้ยืมระยะยำว อัตรำดอกเบี้ยคงที่ อัตรำดอกเบี้ยลอยตัว

หุ้นกู้ อัตรำดอกเบี้ยคงที่ รวมเงินกู้ยืม อัตรำดอกเบี้ยคงที่ อัตรำดอกเบี้ยลอยตัว

200

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

21,786,026

23,433,815

14,754,529

14,338,230

1,642,360 5,972,004 7,614,364

1,080,038 4,318,408 5,398,446

1,642,360 2,971,350 4,613,710

1,080,038 3,196,350 4,276,388

2,865,000

2,865,000

2,865,000

2,865,000

26,293,386 5,972,004 32,265,390

27,378,853 4,318,408 31,697,261

19,261,889 2,971,350 22,233,239

18,283,268 3,196,350 21,479,618

รายงานประจำ�ปี 2560 84


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 23

เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.3

ข้ อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับเงินกู้ยืมจำกสถำบันกำรเงินและหุ้นกู้ (ต่อ) มูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะยำวและหุ น้ กูค้ ำนวณจำกรำคำซื้ อขำยในตลำดที่มีสภำพคล่อง ณ วันที่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน รำคำตำม บัญชีของเงินกูย้ มื ระยะสั้นและหนี้สินตำมสัญญำเช่ำระยะยำวนั้น ใกล้เคียงกับมูลค่ำยุติธรรมของรำยกำรดังกล่ำว ระยะเวลำครบกำหนดของเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินและหุน้ กู้ (ไม่รวมหนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน) มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม

ครบกำหนดภำยในไม่เกิน 1 ปี ครบกำหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี ครบกำหนดเกิน 3 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบกำหนดเกิน 5 ปี รวมเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินและหุน้ กู้

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

22,806,680 4,122,360 3,956,350 1,380,000 32,265,390

28,831,607 1,410,654 1,455,000 31,697,261

15,654,529 3,702,360 2,876,350 22,233,239

18,614,618 1,410,000 1,455,000 21,479,618

ยอดคงเหลือของเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินและหุน้ กูส้ ำมำรถแยกตำมสกุลเงินได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

เงินดอลลำร์สหรัฐอเมริ กำ (USD) เงินรู เปี ยประเทศอินโดนีเซีย (Rupiah) เงินบำท (THB) รวมเงินกูย้ มื จำกสถำบันกำรเงินและหุน้ กู้

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

3,521,774 1,596,823 27,146,793 32,265,390

4,233,773 1,881,150 25,582,338 31,697,261

1,412,400 20,820,839 22,233,239

1,080,038 20,399,580 21,479,618

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 85

201


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 23

เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.4

หนีส้ ิ นตำมสั ญญำเช่ ำทำงกำรเงิน จำนวนเงินขั้นต่ำที่ตอ้ งจ่ำยซึ่งบันทึกเป็ นหนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม

ครบกำหนดภำยใน 1 ปี ครบกำหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี หัก ค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงินในอนำคตของ สัญญำเช่ำทำงกำรเงิน มูลค่ำปั จจุบนั ของหนี้สินตำมสัญญำเช่ำ ทำงกำรเงิน หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน - ส่ วนที่หมุนเวียน - ส่ วนที่ไม่หมุนเวียน

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

14,736 29,103 43,839

3,437 10,678 14,115

4,585 10,196 14,781

2,728 4,709 7,437

(3,151)

(654)

(1,147)

(546)

40,688

13,461

13,634

6,891

13,167 27,521 40,688

8,334 5,127 13,461

4,092 9,542 13,634

2,466 4,425 6,891

มูลค่ำปั จจุบนั ของหนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินมีรำยละเอียดดังนี้ งบกำรเงินรวม

ครบกำหนดภำยในไม่เกิน 1 ปี ครบกำหนดเกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี

202

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

13,167 27,521 40,688

8,334 5,127 13,461

4,092 9,542 13,634

2,466 4,425 6,891

รายงานประจำ�ปี 2560 86


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 23

เงินกู้ยืม (ต่อ) 23.4

หนีส้ ิ นตำมสั ญญำเช่ ำทำงกำรเงิน (ต่อ) ควำมเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของหนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินสำมำรถแสดงได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

ยอดคงเหลือต้นปี หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินเพิ่มขึ้น จ่ำยคืนหนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน ยอดคงเหลือปลำยปี 24

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

13,461 33,508 (6,281) 40,688

35,949 2,906 (25,394) 13,461

6,891 10,687 (3,944) 13,634

8,146 2,842 (4,097) 6,891

ประมำณกำรหนีส้ ิ นผลประโยชน์ พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ จำนวนที่รับรู ้ในงบแสดงฐำนะกำรเงินมีดงั นี้

มูลค่ำปั จจุบนั ของภำระผูกพันที่ไม่ได้จดั ให้มีกองทุน

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

308,188

185,233

93,046

83,947

รำยกำรเคลื่อนไหวของภำระผูกพันของผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม

ณ วันที่ 1 มกรำคม ประมำณกำรหนี้สินผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ จำกกำรซื้ อบริ ษทั ย่อย (หมำยเหตุขอ้ 37) ต้นทุนบริ กำรปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์พนักงำนที่จ่ำย กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจำกงำน ณ วันที่ 31 ธันวำคม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

185,233

161,704

83,947

73,883

76,962 20,200 7,836 (5,774)

18,746 5,720 (2,311)

8,914 2,073 (1,877)

9,947 2,105 (1,271)

23,731 308,188

1,374 185,233

(11) 93,046

(717) 83,947

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 87

203


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 24

ประมำณกำรหนีส้ ิ นผลประโยชน์ พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ (ต่อ) จำนวนเงินที่รับรู ้ในงบกำไรขำดทุนมีดงั ต่อไปนี้

ต้นทุนบริ กำรปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย รวม

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

20,200 7,836 28,036

18,746 5,720 24,466

8,914 2,073 10,987

9,947 2,105 12,052

กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจำกงำนที่รับรู ้ในกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2559 มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจำกงำนระหว่ำงปี กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจำกงำนสะสม

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

(23,731)

(1,374)

11

717

(13,024)

10,707

(15,133)

(15,143)

สมมติฐำนทำงสถิติที่สำคัญที่ใช้ในกำรคำนวณสรุ ปได้ดงั นี้ ร้ อยละ งบกำรเงินรวม อัตรำคิดลด อัตรำเงินเฟ้อ อัตรำกำรขึ้นเงินเดือนในอนำคต (พนักงำนรำยเดือน) อัตรำกำรขึ้นเงินเดือนในอนำคต (พนักงำนรำยวัน)

204

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2559

1.46 - 3.97 2.50 5.00 3.00

3.00 2.50 5.00 3.00

1.46 - 3.97 2.50 5.00 3.00

3.00 2.50 5.00 3.00

รายงานประจำ�ปี 2560 88


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 24

ประมำณกำรหนีส้ ิ นผลประโยชน์ พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ (ต่ อ) กำรวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวของข้อสมมติหลักในกำรประมำณกำรตำมหลักคณิ ตศำสตร์ประกันภัย พ.ศ. 2560 ผลกระทบต่ อภำระผูกพันโครงกำรผลประโยชน์ ทีก่ ำหนดไว้ กำรเปลี่ยนแปลง กำรเพิ่มขึ้นของ กำรลดลงของ ในข้อสมมติ ข้อสมมติ ข้อสมมติ อัตรำคิดลด อัตรำกำรเพิ่มขึ้นของเงินเดือน

ร้อยละ 1 ร้อยละ 1

ลดลง ร้อยละ 10 เพิ่มขึ้น ร้อยละ13

เพิ่มขึ้น ร้อยละ 12 ลดลง ร้อยละ 11

พ.ศ. 2559 ผลกระทบต่ อภำระผูกพันโครงกำรผลประโยชน์ ทีก่ ำหนดไว้ กำรเปลี่ยนแปลง กำรเพิ่มขึ้นของ กำรลดลงของ ในข้อสมมติ ข้อสมมติ ข้อสมมติ อัตรำคิดลด อัตรำกำรเพิม่ ขึ้นของเงินเดือน

ร้อยละ 1 ร้อยละ 1

ลดลง ร้อยละ 9 เพิม่ ขึ้น ร้อยละ12

เพิ่มขึ้น ร้อยละ 11 ลดลง ร้อยละ 10

กำรวิเครำะห์ ควำมอ่อนไหวข้ำงต้นนี้ อำ้ งอิงจำกกำรเปลี่ยนแปลงข้อสมมติ ขณะที่ ให้ขอ้ สมมติอื่นคงที่ ในทำงปฏิ บตั ิ สถำนกำรณ์ ดงั กล่ ำว ยำกที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น และกำรเปลี่ ย นแปลงในข้อ สมมติ อ ำจมี ค วำมสัม พัน ธ์ กัน ในกำรค ำนวณกำรวิเครำะห์ ค วำมอ่ อ นไหวของภำระผูก พัน ผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ที่มีต่อกำรเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติ หลักได้ใช้วิธีเดี ยวกับ มู ลค่ำปั จจุบนั ของภำระผูกพันโครงกำรผลประโยชน์ ที่กำหนดไว้ซ่ ึ งคำนวณด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมำณกำรไว้ (Projected Unit Credit Method) ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลำรำยงำน วิธีกำรและประเภทของข้อสมมติที่ใช้ในกำรจัดทำกำรวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวไม่ได้เปลี่ยนแปลงจำกปี ก่อน ระยะเวลำถัวเฉลี่ยถ่วงน้ ำหนักของภำระผูกพันตำมโครงกำรผลประโยชน์คือ 15 ปี

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 89

205


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 24

ประมำณกำรหนีส้ ิ นผลประโยชน์ พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ (ต่อ) กำรวิเครำะห์กำรครบกำหนดของกำรจ่ำยชำระผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุที่ไม่มีกำรคิดลด ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2560 งบกำรเงินรวม น้ อยกว่ ำ 1 ปี ระหว่ ำง 1-2 ปี ระหว่ ำง 2-5 ปี พันบำท พันบำท พันบำท ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุ

54,505

9,000

เกินกว่ ำ 5 ปี พันบำท

รวม พันบำท

1,006,689

1,109,804

เกินกว่ ำ 5 ปี พันบำท

รวม พันบำท

232,663

274,313

หุ้นสำมัญ พันบำท

ส่ วนเกิน มูลค่ ำหุ้น พันบำท

รวม พันบำท

39,610

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร น้ อยกว่ ำ 1 ปี ระหว่ ำง 1-2 ปี ระหว่ ำง 2-5 ปี พันบำท พันบำท พันบำท ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอำยุ 25

19,432

3,194

19,024

ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกินมูลค่ ำหุ้น งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

มูลค่ ำที่ ตรำไว้ บำทต่ อหุ้น ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 กำรออกหุน้ เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 กำรออกหุน้ เพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

จำนวนหุ้น ทีอ่ อกจำหน่ ำย จำนวนหุ้น และชำระแล้ ว จดทะเบียน เต็มมูลค่ ำ หุ้น หุ้น

1 -

1,280,000,000 -

1,280,000,000 -

1,280,000 -

8,550,990 -

9,830,990 -

1 1 1

1,280,000,000 255,999,998 1,535,999,998

1,280,000,000 255,999,998 1,535,999,998

1,280,000 256,000 1,536,000

8,550,990 2,300,962 10,851,952

9,830,990 2,556,962 12,387,952

ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 หุ ้นสำมัญจดทะเบี ยนทั้งหมดมี จำนวน 1,535,999,998 หุ ้น (พ.ศ. 2559 : 1,280,000,000 หุ ้น) ซึ่ งมีรำคำมูลค่ำ ที่ ตรำไว้หุ้น ละ 1 บำท (พ.ศ. 2559 : รำคำหุ ้น ละ 1 บำท) โดยหุ ้น จำนวน 1,535,999,998 หุ ้น ได้อ อกและช ำระเต็มมู ล ค่ ำแล้ว (พ.ศ. 2559 : 1,280,000,000 หุน้ ) ในกำรประชุ ม วิส ำมัญ ผูถ้ ื อ หุ ้น ครั้ งที่ 2/2560 เมื่ อ วัน ที่ 31 สิ งหำคม พ.ศ. 2560 ผูถ้ ื อ หุ ้น ได้มีม ติ อ นุ มตั ิ เพิ่ มทุ น จดทะเบี ยนของบริ ษ ทั จำก หุ ้นสำมัญจำนวน 1,280,000,000 หุ ้น โดยมีมูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 1 บำท เป็ นหุ ้นสำมัญจำนวน 1,535,999,998 หุ ้น โดยมีมูลค่ำที่ตรำไว้หุ้นละ 1 บำท เมื่อวันที่ 6 ตุลำคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ได้รับค่ำหุน้ สำหรับหุ ้นสำมัญที่เพิ่มจำนวน 255,999,998 หุน้ โดยกำหนดสัดส่ วนกำรจัดสรรหุน้ สำมัญ เพิ่มทุนในอัตรำ 5 หุ ้นเดิ ม ต่อ 1 หุ ้นใหม่ ที่ รำคำเสนอขำยหุ ้นละ 10 บำท โดยมีมูลค่ำหุ ้นที่ ชำระแล้วตำมมูลค่ำที่ตรำไว้และส่ วนเกิ นมูลค่ำหุ ้น จำนวน 256 ล้ำนบำท และ 2,301 ล้ำนบำท ตำมล ำดับ บริ ษ ทั ได้จดทะเบี ย นเพิ่ ม ทุ น ที่ อ อกและช ำระแล้วกับ กระทรวงพำณิ ช ย์ เมื่ อ วัน ที่ 16 ตุลำคม พ.ศ. 2560

206

รายงานประจำ�ปี 2560 90


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 26

องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ องค์ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ำของสำมำรถวิเครำะห์ได้ดงั นี้ ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมิน รำคำสินทรัพย์ - สุ ทธิ จำกค่ำเสื่ อมรำคำสะสม พันบำท สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำ สิ นทรัพย์เพิ่ม - ก่อนภำษี ส่วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำ สิ นทรัพย์เพิ่ม - ภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำของส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมิน รำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำของส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมิน รำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรขำยและตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี กำรขำยและตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - ก่อนภำษี (หมำยเหตุขอ้ 14) กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - ภำษี ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ค่ำเสื่ อมรำคำของส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมิน รำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำของส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมิน รำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรขำยและตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี กำรขำยและตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - ก่อนภำษี (หมำยเหตุขอ้ 14) กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงของกำรประมำณกำรของ อัตรำภำษีที่ใช้รับรู ้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ผลต่ำงจำกกำรแปลงค่ำ ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

งบกำรเงินรวม กำไรที่ยงั ไม่ เกิดขึน้ จำกเงินลงทุนใน ผลต่ ำงสะสม หลักทรัพย์ เผื่อขำย จำกกำรแปลงค่ ำ พันบำท พันบำท

รวม พันบำท

1,296,860

12,756

(284,005)

1,025,611

3,587,236

-

-

3,587,236

(738,338)

-

-

(738,338)

(76,989)

-

-

(76,989)

15,398 (43,401) 8,680

-

-

15,398 (43,401) 8,680

-

4,596

-

4,596

4,049,446

(919) 16,433

(382,073) (666,078)

(919) (382,073) 3,399,801

1,427,800

6,832

(268,547)

1,166,085

(21,244)

-

-

(21,244)

4,327 (883) 177

-

-

4,327 (883) 177

-

8,504

-

8,504

-

(1,700)

-

(1,700)

(113,317) 1,296,860

(880) 12,756

(15,458) (284,005)

(114,197) (15,458) 1,025,611

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 91

207


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 26

องค์ ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้ ำของ (ต่อ)

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำของส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำของส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - ก่อนภำษี (หมำยเหตุขอ้ 14) กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - ภำษี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 ณ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2559 ค่ำเสื่ อมรำคำของส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี ค่ำเสื่ อมรำคำของส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรขำยและตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ - ก่อนภำษี กำรขำยและตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - ก่อนภำษี (หมำยเหตุขอ้ 14) กำรเปลี่ยนแปลงมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขำย - ภำษี กำรเปลี่ยนแปลงของกำรประมำณกำรของอัตรำภำษีที่ใช้รับรู ้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

27

สำรองตำมกฎหมำย

ณ วันที่ 1 มกรำคม จัดสรรระหว่ำงปี ณ วันที่ 31 ธันวำคม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ส่ วนเกินทุนจำก กำรประเมินรำคำ สิ นทรัพย์ - สุ ทธิ จำกค่ ำเสื่ อมรำคำ สะสม พันบำท

กำไรที่ยงั ไม่ เกิดขึน้ จำกเงินลงทุนใน หลักทรัพย์ เผื่อขำย พันบำท

รวม พันบำท

552,827 1,779,346 (355,869) (39,289) 7,858

12,234 -

565,061 1,779,346 (355,869) (39,289) 7,858

-

4,510 (902)

4,510 (902)

1,944,873

15,842

1,960,715

654,327 (14,700) 2,940 (807) 161

6,480 -

660,807 (14,700) 2,940 (807) 161

(89,094)

8,296 (1,660) (882)

8,296 (1,660) (89,976)

552,827

12,234

565,061

งบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

128,000 128,000

128,000 128,000

ตำมพระรำชบัญญัติบริ ษทั มหำชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ต้องสำรองตำมกฎหมำยอย่ำงน้อยร้อยละ 5 ของกำไรสุ ทธิ หลังจำกหักส่ วนของ ขำดทุนสะสมยกมำ (ถ้ำมี) จนกว่ำสำรองนี้จะมีมูลค่ำไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนสำรองนี้ไม่สำมำรถนำไปจ่ำยเงินปั นผลได้

208

รายงานประจำ�ปี 2560 92


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 28

รำยได้ จำกกำรขำยสิ นค้ ำและกำรให้ บริกำร งบกำรเงินรวม

รำยได้จำกกำรขำยสิ นค้ำ รำยได้จำกกำรให้บริ กำร รวมรำยได้จำกกำรขำยสิ นค้ำและกำรให้บริ กำร 29

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

89,386,241 753 89,386,994

77,265,486 34 77,265,520

52,043,740 52,043,740

38,335,071 38,335,071

ค่ ำใช้ จ่ำยตำมลักษณะ รำยกำรค่ำใช้จ่ำยตำมลักษณะที่มีสำระสำคัญที่เกิดขึ้นเป็ นประจำซึ่งรวมอยูใ่ นกำรคำนวณกำไรจำกกำรดำเนินงำนสำหรับปี มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม กำรเปลี่ยนแปลงในสิ นค้ำสำเร็จรู ป และงำนระหว่ำงทำ วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป (กำรกลับรำยกำร)ค่ำเผือ่ สำหรับรำคำทุนของ สิ นค้ำคงเหลือที่เกินกว่ำมูลค่ำสุ ทธิที่จะได้รับ ค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับพนักงำนและค่ำตอบแทน ผูบ้ ริ หำรสำคัญ ค่ำเสื่ อมรำคำ ค่ำตัดจำหน่ำยสวนยำงพำรำและสวนปำล์ม ค่ำตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ค่ำขนส่ งและค่ำจัดจำหน่ำย ค่ำพลังงำน ค่ำสงเครำะห์กำรทำสวนยำง

หมำยเหตุ

30 15 16 17

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

(1,344,814) 60,917,781

513,071 48,472,831

(539,789) 32,994,781

(1,316,507) 27,892,352

343,599

(480,903)

236,074

(163,959)

2,946,006 1,783,658 4,239 64,490 1,689,920 1,889,132 1,294,826

2,395,124 1,158,988 691 35,546 1,588,627 1,120,404 1,162,790

921,792 709,129 283 56,361 839,637 540,335 897,431

918,079 554,239 283 29,457 809,261 589,405 778,449

ข้ อมูลเพิม่ เติม ค่ำสงเครำะห์กำรทำสวนยำง คือเงินค่ำธรรมเนี ยมที่เรี ยกเก็บจำกผูส้ ่ งออกผลิตภัณฑ์ยำงธรรมชำติไปนอกรำชอำณำจักรเข้ำกองทุนสงเครำะห์ กำรท ำสวนยำง ซึ่ งบริ ห ำรโดยกำรยำงแห่ งประเทศไทย (“กยท”) เพื่ อ ไปอุ ด หนุ น กำรปลู กสวนยำงพำรำใหม่ ท ดแทนสวนยำงพำรำเดิ ม ค่ำธรรมเนียมคำนวณจำกปริ มำณกำรส่ งออกยำงธรรมชำติคูณด้วยอัตรำคงที่ ที่ตกลงกันโดยอ้ำงอิงจำกรำคำยำง ณ วันที่ส่งออก

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 93

209


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ จกำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 30

ค่ ำใช้ จ่ำยเกีย่ วกับพนักงำนและค่ ำตอบแทนผู้บริหำรสำคัญ งบกำรเงินรวม

ค่ำจ้ำงและเงินเดือน ประกันสังคม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ ผลประโยชน์พนักงำนอื่น ๆ รวมค่ำใช้จ่ำยเกี่ยวกับพนักงำนและค่ำตอบแทนผูบ้ ริ หำรสำคัญ 31

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

2,611,101 85,953 24,035 28,036 196,881 2,946,006

2,085,524 67,050 22,588 24,466 195,496 2,395,124

825,569 21,450 11,397 10,987 52,389 921,792

819,722 22,341 10,013 12,053 53,950 918,079

รำยได้ อื่น งบกำรเงินรวม

รำยได้ชดเชยเงินประกัน รำยได้ให้บริ กำรใช้พ้นื ที่วำงสิ นค้ำ รำยได้เงินปันผล รำยได้ค่ำเช่ำ รำยได้จำกกำรขำยของเสี ยจำกกำรผลิต รำยได้ให้บริ กำรสำนักงำน รำยได้ให้บริ กำรโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กำไรจำกกำรขำยวัสดุโรงงำน รำยได้ชงั่ น้ ำหนัก รำยได้จำกกำรค้ ำประกัน อื่น ๆ รวมรำยได้อื่น

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

505,680 9,710 1,805 22,120 14,799 5,553 14,318 9,464 2,238 99,828 685,515

28,957 34,836 24,256 39,034 6,874 17,152 9,301 3,397 6,215 27,486 197,508

40,419 6,550 4,827,099 9,009 2,594 22,068 62,754 1,036 531 28,285 32,301 5,032,646

16,197 8,102 343,420 8,837 2,765 27,218 27,846 255 988 21,804 5,684 463,116

รำยได้ชดเชยเงิ นประกัน ในงบกำรเงิ นรวมปี ปั จจุบนั จำนวน 506 ล้ำนบำท เป็ นรำยได้ชดเชยเงินประกันจำกเหตุกำรณ์ อคั คี ภ ยั ที่ โรงงำนของ PT Star Rubber ในประเทศอินโดนีเซีย จำนวน 463 ล้ำนบำท (หมำยเหตุขอ้ 43) รำยได้เงินปั นผลในงบกำรเงินเฉพำะกิจกำรปี ปัจจุบนั จำนวน 4,827 ล้ำนบำท เป็ นรำยได้เงินปันผลจำก บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) จำนวน 3,578 ล้ำนบำท บจก. รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ จำนวน 500 ล้ำนบำท และ Semperflex Shanghai Ltd. จำนวน 548 ล้ำนบำท รำยได้เงินปันผลดังกล่ำวได้รับในเดือนมีนำคมและเดือนธันวำคม พ.ศ. 2560

210

รายงานประจำ�ปี 2560

94


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 32

กำไร(ขำดทุน)อื่น - สุ ทธิ

กำไร(ขำดทุน)จำกตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน เกี่ยวกับยำงพำรำ กำไร(ขำดทุน)จำกกำรขำยและกำรตัดจำหน่ำยทรัพย์สิน รวมกำไร(ขำดทุน)อื่น - สุ ทธิ 33

ต้ นทุนทำงกำรเงิน - สุ ทธิ

รำยได้ ทำงกำรเงิน ดอกเบี้ยรับจำกหุน้ กู้ ดอกเบี้ยรับจำกเงินฝำกธนำคำร ดอกเบี้ยรับจำกกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน รวมรำยได้ทำงกำรเงิน ต้ นทุนทำงกำรเงิน ดอกเบี้ยจ่ำยสำหรับเงินกูย้ มื จำกธนำคำร ดอกเบี้ยจ่ำยสำหรับสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน กำไร(ขำดทุน)สุ ทธิจำกอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำ ต่ำงประเทศจำกกิจกรรมกำรจัดหำเงิน รวมต้นทุนทำงกำรเงิน รวมต้นทุนทำงกำรเงิน - สุ ทธิ 34

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

100,303 (788) 99,515

(921,140) (62,119) (983,259)

(92,055) 3,889 (88,166)

(733,596) (923) (734,519)

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

34,232 15,429 49,661

29,632 5,678 35,310

34,232 969 82,038 117,239

29,632 776 44,982 75,390

(1,206,022) (71)

(732,672) (752)

(751,216) -

(417,347) -

(39,491) (1,245,584)

26,089 (707,335)

(751,216)

(417,347)

(1,195,923)

(672,025)

(633,977)

(341,957)

ภำษีเงินได้ อัตรำภำษีเงินได้ถวั เฉลี่ยสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 สำหรับงบกำรเงินรวม คือ อัตรำร้อยละ 1.48 (พ.ศ. 2559 : อัตรำร้อยละ 26.40) กำรลดลงส่ วนใหญ่เกิดจำกกำรใช้ผลขำดทุนทำงภำษีซ่ ึ งยังไม่ถูกรับรู ้ในรอบบัญชี ที่ผ่ำนมำ และสำหรับงบกำรเงินเฉพำะกิ จกำร คือ อัตรำ ร้อยละ 4.96 (พ.ศ. 2559 : อัตรำร้อยละ 22.30) งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

ภำษีเงินได้ ปีปัจจุบนั ภำษีเงินได้ประจำปี ที่บนั ทึกในกำไรสำหรับปี ภำษีเงินได้ รอตัดบัญชี รำยกำรที่เกิดจำกผลแตกต่ำงชัว่ ครำว รวมภำษีเงินได้

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

151,653

149,345

-

-

(131,023) 20,630

(432,587) (283,242)

(126,037) (126,037)

(262,460) (262,460)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)95

211


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 34

ภำษีเงินได้ (ต่อ) ภำษีเงินได้สำหรับกำไรก่อนหักภำษีของกลุ่มกิจกำรมียอดจำนวนเงินที่แตกต่ำงจำกกำรคำนวณกำไรทำงทฤษฎีบญ ั ชีคูณกับอัตรำภำษีเงินได้และ อัตรำภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชีที่บงั คับใช้กบั กำไรของแต่ละประเทศในงบกำรเงินรวม โดยมีรำยละเอียดดังต่อไปนี้ งบกำรเงินรวม

กำไร(ขำดทุน)ก่อนภำษีเงินได้ ภำษีที่คำนวณจำกอัตรำภำษีที่บงั คับใช้ กับกำไรของแต่ละประเทศ ส่ วนแบ่งภำษีเงินได้ของบริ ษทั ร่ วมและ กิจกำรร่ วมค้ำ ผลกระทบทำงภำษีเงินได้ มีดงั นี้ - รำยได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภำษี - ค่ำใช้จ่ำยที่ไม่สำมำรถหักภำษีได้ - ค่ำใช้จ่ำยที่สำมำรถหักภำษีได้สองเท่ำ - ผลขำดทุนทำงภำษีในปี ปั จจุบนั ที่ไม่ได้ รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี - กำรตัดจำหน่ำยสิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัด บัญชีซ่ ึ งถูกรับรู ้ในรอบบัญชีที่ผำ่ นมำ - ภำษีในส่ วนที่ได้รับในอัตรำพิเศษที่ร้อยละ 10 ข้อมูลเพิ่มเติม (ก) - อื่น ๆ รวมค่ำใช้จ่ำย(รำยได้)ภำษีเงินได้

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

(1,397,911)

(1,072,972)

2,542,439

(1,174,361)

(260,893)

(215,051)

508,488

(234,872)

(25,968)

(80,552)

-

-

(198,253) 143,673 (69,158)

(79,201) 65,565 (97,821)

(965,419) 31,335 (39,759)

(132,348) (34,064) (57,910)

382,125

118,380

339,318

129,806

10,771

36,404

-

-

(23,894) 62,227 20,630

(55,095) 24,129 (283,242)

(126,037)

(1,200) (262,460)

ข้ อมูลเพิม่ เติม

212

(ก)

เมื่อวันที่ 11 พฤษภำคม พ.ศ. 2548 กระทรวงกำรค้ำและอุตสำหกรรมของประเทศสิ งคโปร์ได้ให้สิทธิประโยชน์ตำมโครงกำร Global Trader Programme แก่ บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งของกลุ่มกิ จกำรสำหรับงวดตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษำยน พ.ศ. 2548 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2552 ภำยใต้โครงกำรนี้ รำยได้ที่มำจำกรำยกำรค้ำที่ เข้ำเงื่ อนไขของสิ นค้ำที่ ได้รับอนุ มตั ิ จะเสี ยภำษี ในอัตรำพิ เศษ (Concessionary rate) ที่ร้อยละ 10 เมื่อวันที่ 16 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2558 สิ ทธิ ประโยชน์ดงั กล่ำวได้รับกำรขยำยระยะเวลำสำหรับงวดตั้งแต่วนั ที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2562

(ข)

บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยบำงแห่ งในประเทศไทยได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ทำงภำษีที่เกี่ยวข้องกับกำรผลิตผลิตภัณฑ์จำกยำงธรรมชำติบำงชนิ ด ซึ่ งสิ ทธิพิเศษที่ได้รับโดยสังเขปมีดงั ต่อไปนี้ - ได้รับยกเว้นกำรเสี ยภำษีอำกรขำเข้ำและภำษีกำรค้ำสำหรับเครื่ องจักรตำมที่ได้รับอนุมตั ิจำกคณะกรรมกำรส่ งเสริ มกำรลงทุน - ได้รับยกเว้นภำษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุ ทธิ เป็ นระยะเวลำแปดปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรำยได้จำกกำรประกอบกิจกำร และได้รับ ลดหย่อนภำษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุ ทธิ ในอัตรำร้อยละ 50 ของอัตรำปกติอีกห้ำปี นับจำกระยะเวลำแปดปี แรกสิ้ นสุ ดลง

รายงานประจำ�ปี 2560 96


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

213

34

รวมภำษีที่จะบันทึกไปยังกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น

ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ กำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรของอัตรำภำษีที่ใช้รับรู ้ ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจำกงำน ผลต่ำงสะสมจำกกำรแปลงค่ำ

ภำษีเงินได้ที่บนั ทึกเพิ่ม(ลด)ไปยังกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่นมีดงั นี้

ภำษีเงินได้ (ต่อ)

(738,338) (919) 5,809 (29,549) (762,997)

4,596 (23,731) (361,351) 3,206,750

ภำษีทบี่ ันทึก เพิม่ (ลด) พันบำท

3,587,236

ก่ อนภำษี พันบำท

พ.ศ. 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิ ณจวักำร นที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ.2560

3,677 (17,922) (390,900) 2,443,753

2,848,898

หลังภำษี พันบำท

งบกำรเงินรวม

8,504 (1,375) (16,186) (9,057)

-

ก่ อนภำษี พันบำท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

(112,533) (1,701) 411 2,619 (111,204)

-

ภำษีทบี่ ันทึก เพิม่ (ลด) พันบำท

พ.ศ. 2559

(112,533) 6,803 (964) (13,567) (120,261)

-

หลังภำษี พันบำท

97


214

รายงานประจำ�ปี 2560

34

รวมภำษีที่จะบันทึกไปยังกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

ส่ วนเกินทุนจำกกำรประเมินรำคำสิ นทรัพย์ กำรเปลี่ยนแปลงประมำณกำรของอัตรำภำษีที่ใช้รับรู ้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำยุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขำย กำรวัดมูลค่ำใหม่ของภำระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจำกงำน

ภำษีเงินได้ที่บนั ทึกเพิ่ม(ลด)ไปยังกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นมีดงั นี้

ภำษีเงินได้ (ต่อ)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

1,779,346 4,510 11 1,783,867

ก่ อนภำษี พันบำท (355,869) (902) (3) (356,774)

ภำษีทบี่ นั ทึก เพิม่ (ลด) พันบำท

พ.ศ. 2560

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

1,423,477 3,608 8 1,427,093

หลังภำษี พันบำท

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

8,295 717 9,012

ก่ อนภำษี พันบำท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

(87,977) (1,659) (143) (89,779)

ภำษีทบี่ ันทึก เพิม่ (ลด) พันบำท

พ.ศ. 2559

(87,977) 6,636 574 (80,767)

หลังภำษี พันบำท

98


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 35

กำไร(ขำดทุน)ต่ อหุ้น กำไร(ขำดทุน)ต่อหุ ้นขั้นพื้นฐำนคำนวณโดยกำรหำรกำไร(ขำดทุน)สุ ทธิ ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ใหญ่ดว้ ยจำนวนหุ ้นสำมัญถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ ำหนักที่ถือโดยผูถ้ ือหุน้ งบกำรเงินรวม กำไร(ขำดทุน)สำหรับปี ส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่ (พันบำท) จำนวนหุน้ สำมัญถัวเฉลี่ยที่ถือโดยผูถ้ ือหุน้ (พันหุน้ ) กำไร(ขำดทุน)ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐำน (บำทต่อหุน้ )

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2560

พ.ศ. 2559

(1,437,051) 1,370,204 (1.05)

(757,986) 1,325,876 (0.57)

2,668,476 1,370,204 1.95

(911,901) 1,325,876 (0.69)

บริ ษทั ไม่มีกำรออกหุน้ สำมัญเทียบเท่ำปรับลดในระหว่ำงปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2559 36

เงินปันผล ที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุ ้นประจำปี เมื่อวันที่ 25 เมษำยน พ.ศ.2560 ได้มีมติอนุ มตั ิให้จ่ำยเงินปั นผลให้แก่ผูถ้ ือหุ ้นจำกกำไรสะสมปี พ. ศ. 2559 จำนวนหุน้ ละ 0.40 บำท เป็ นจำนวนเงิน 512 ล้ำนบำท เงินปั นผลดังกล่ำวได้จ่ำยให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนพฤษภำคม พ.ศ. 2560 ที่ประชุมสำมัญผูถ้ ือหุ ้นประจำปี เมื่อวันที่ 28 เมษำยน พ.ศ.2559 ได้มีมติอนุ มตั ิให้จ่ำยเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุน้ สำหรับผลกำรดำเนิ นงำนปี พ. ศ. 2558 จำนวนหุน้ ละ 0.40 บำท เป็ นจำนวนเงิน 512 ล้ำนบำท เงินปันผลดังกล่ำวได้จ่ำยให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในเดือนพฤษภำคม พ.ศ. 2559

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 99

215


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 37

กำรซื้อธุรกิจ เมื่ อ วัน ที่ 15 มี น ำคม พ.ศ. 2560 บริ ษ ัท ได้เข้ำซื้ อ หุ ้ น ของบริ ษ ัท สยำมเซมเพอร์ เมด จ ำกัด (ซึ่ งต่ อ มำภำยหลัง ได้เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย)) เพิ่มเติมจำนวน 10,000 หุน้ คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 50 ของหุน้ ที่ชำระแล้วของ บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) ใน มูลค่ำจำนวน 6,320 ล้ำนบำท ผลจำกกำรเข้ำซื้ อกิจกำรดังกล่ำว ทำให้บริ ษทั ต้องบันทึกค่ำควำมนิ ยมจำนวน 2,954 ล้ำนบำท และกำรบันทึก บัญชีรำยกำรรวมธุรกิจถือปฏิบตั ิตำมวิธีซ้ื อ ค่ำควำมนิยมที่รับรู ้ไม่สำมำรถนำไปหักเพื่อใช้ประโยชน์ทำงภำษีได้ ทั้งนี้ สิ่งตอบแทนที่ ได้จ่ำยไปสำหรับกำรเข้ำซื้ อกิ จกำรดังกล่ำว ซึ่ งรวมถึ งสิ นทรัพย์ที่ได้มำและหนี้ สินที่ จะรับรู ้ ณ วันที่ซ้ื อกิ จกำร สรุ ปได้ ดังรำยละเอียดตำมตำรำงข้ำงล่ำง สิ่ งตอบแทนทีจ่ ่ ำย ณ วันที่ 15 มีนำคม พ.ศ. 2560 เงินสดจ่ำยเพื่อซื้ อหุน้ บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) เงินสดรับในกำรขำยเงินลงทุนที่เกี่ยวข้อง มูลค่ำยุติธรรมของตรำสำรทุนที่เกี่ยวข้อง - บริ ษทั ร่ วมทำงตรง Sempermed USA, Inc. จำนวนร้อยละ 25 ของจำนวนทุน - บริ ษทั ร่ วมทำงตรง Semperflex Shanghai Ltd. จำนวนร้อยละ 50 ของจำนวนทุน - บริ ษทั ร่ วมทำงตรง Sempermed Singapore Pte. Ltd. จำนวนร้อยละ 50 ของจำนวนทุน - เงินลงทุนทัว่ ไป Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products Co., Ltd. จำนวนร้อยละ 10 ของจำนวนทุน สิ่ งตอบแทนทั้งหมดที่จ่ำยและโอนให้ มูลค่ำยุติธรรมของส่ วนได้เสี ยในหุน้ บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) ซึ่ งถืออยูก่ ่อนวันรวมธุรกิจ

216

พันบำท 6,367,133 (689,389) 187,628 197,854 82,194 174,114 6,319,534 1,987,632

สิ่ งตอบแทนทั้งหมด

8,307,166

มูลค่ ำยุตธิ รรมที่รับรู้ ณ วันที่ซื้อสำหรับสิ นทรัพย์ ที่ได้ มำและหนีส้ ิ นที่รับมำ สิ นทรัพย์ เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ลูกหนี้ กำรค้ำและลูกหนี้อื่น - สุ ทธิ สิ นค้ำคงเหลือ - สุ ทธิ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดิน อำคำรและอุปกรณ์ - สุ ทธิ (หมำยเหตุขอ้ 15) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน – สุ ทธิ (หมำยเหตุขอ้ 17) สิ นทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (หมำยเหตุขอ้ 20) สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

1,237,590 1,194,017 1,352,373 45,873 4,134,827 6,701 40,386 845

หนีส้ ิ น เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน เจ้ำหนี้ กำรค้ำและเจ้ำหนี้อื่น หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (หมำยเหตุขอ้ 20) ประมำนกำรหนี้สินผลประโยชน์พนักงำนเมื่อเกษียณอำยุ (หมำยเหตุขอ้ 24)

500,000 1,161,345 333,021 76,962

สิ นทรัพย์ สุทธิที่สำมำรถระบุได้ มูลค่ำยุติธรรมของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม ค่ำควำมนิยม (หมำยเหตุขอ้ 18)

5,941,284 (587,900) 2,953,782

สิ่ งตอบแทนที่โอนให้ ท้งั หมด

8,307,166

รายงานประจำ�ปี 2560

100


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 37

กำรซื้อธุรกิจ (ต่อ) สิ่ งตอบแทนทีจ่ ่ ำย ณ วันที่ 15 มีนำคม พ.ศ. 2560 (ต่อ) พันบำท มูลค่ำยุติธรรมของส่ วนได้เสี ยใน บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) ที่มีอยูก่ ่อน ณ วันที่รวมธุรกิจ หัก มูลค่ำตำมบัญชีของเงินลงทุนตำมวิธีส่วนได้เสี ยใน บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) ณ วันที่รวมธุรกิจ กำไรจำกกำรตีรำคำยุติธรรมจำกกำรเปลี่ยนหมวดเงินลงทุน มูลค่ ำยุตธิ รรมของส่ วนได้ เสี ยทีม่ อี ยู่ก่อน ณ วันทีร่ วมธุรกิจ Sempermed USA, Inc. Semperflex Shanghai Ltd. Sempermed Singapore Pte. Ltd. Shanghai Semperit Rubber & Plastic Products Co., Ltd. หัก มูลค่ำตำมบัญชีของเงินลงทุนตำมวิธีส่วนได้เสี ยใน บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) ณ วันที่ซ้ื อ กำไรจำกกำรจำหน่ำยเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและเงินลงทุนทัว่ ไป

1,987,632 (1,764,006) 223,626 252,152 370,716 5,779 13,145 (509,092) 132,700

ข้อมูลอื่นที่สำคัญซึ่งเกี่ยวข้องกับกำรซื้อธุรกิจมีดงั นี้ (ก) สิ ทธิ Call Option บริ ษทั ได้ให้สิทธิ Call Option แก่ Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. ในกำรซื้ อหุ น้ บริ ษทั เซมเพอร์ เฟล็กซ์ เอเชีย จำกัด จำนวน 1,615,000 หุ ้น คิ ดเป็ นร้ อยละ 42.50 ของทุ นจดทะเบี ยนของบริ ษทั เซมเพอร์ เฟล็กซ์ เอเชี ย จำกัด จำกบริ ษทั และบริ ษทั ย่อ ย ด้วยรำคำใช้สิทธิ มูลค่ำรวมทั้งสิ้ น 51 ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ และมี เงื่อนไขในกำรจ่ำยเงินปั นผลจำกผลกำไรที่หำได้ภำยหลังวันที่ซ้ื อธุ รกิ จ ทั้งหมด โดยมีระยะเวลำในกำรใช้สิทธิระหว่ำงวันที่ 30 มิถุนำยน พ.ศ. 2562 จนถึงวันที่ 30 มิถุนำยน พ.ศ. 2564 (ข) ทีด่ นิ อำคำรและอุปกรณ์ ทไี่ ด้ รับมำ มู ล ค่ ำ ยุติ ธ รรมของที่ ดิ น อำคำรและอุ ป กรณ์ ที่ ไ ด้รั บ มำมี มู ล ค่ ำเท่ ำ กับ 4,135 ล้ำนบำท ซึ่ งประเมิ น โดยผูป้ ระเมิ น ทรั พ ย์สิ น อิ ส ระ โดยใช้วธิ ีรำคำต้นทุนทดแทน หักด้วยค่ำเสื่ อมรำคำสะสมตำมจำนวนปี ที่ใช้งำน (ค) ส่ วนได้ เสี ยทีไ่ ม่ มอี ำนำจควบคุม บริ ษ ทั เลื อ กที่ จะรั บ รู ้ ส่ ว นได้เสี ยที่ ไ ม่ มี อ ำนำจควบคุ ม ในผูถ้ ู ก ซื้ อ ด้ว ยรำคำมู ล ค่ ำยุติธ รรมของส่ ว นได้เสี ย ที่ ไ ม่ มี อ ำนำจควบคุ ม ใน บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิ มชื่ อ บจก. สยำมเซมเพอร์ เมด) ถูกประมำณโดยใช้วิธีมูลค่ำของสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ระบุ ได้ของ ผูถ้ ูกซื้ อตำมสัดส่ วนของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอำนำจควบคุม

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

101

217


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 37

กำรซื้อธุรกิจ (ต่อ) สิ่ งตอบแทนทีจ่ ่ ำย ณ วันที่ 15 มีนำคม พ.ศ. 2560 (ต่อ) (ง) รำยได้ และผลกำไร สำหรับงวดตั้งแต่วนั ที่ 15 มีนำคม พ.ศ. 2560 (วันที่บริ ษทั มีอำนำจควบคุม) ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ที่ซ้ื อมำสร้ำงรำยได้ ให้ แ ก่ ก ลุ่ ม กิ จ กำรจ ำนวน 6,866 ล้ำ นบำท และมี ผ ลขำดทุ น สุ ท ธิ จ ำนวน 167 ล้ำ นบำท ถ้ำ หำกว่ ำ กลุ่ ม กิ จ กำรซื้ อ บจก. ศรี ต รั ง โกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่ อ บจก. สยำมเซมเพอร์ เมด) ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2560 รำยได้และผลกำไรสุ ทธิ สำหรับงวดสิ้ นสุ ด วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ที่จะถูกรับรู ้โดยกลุ่มกิจกำรจะมีจำนวน 8,815 ล้ำนบำท และ 282 ล้ำนบำท ตำมลำดับ (จ) เงินปันผลรับก่ อนกำรแยกบริษัท เงินปั นผลรับก่อนกำรแยกบริ ษทั คือกำรจำหน่ ำยกำไรก่อนกำรแยกธุ รกิ จของ บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่ อ บจก. สยำม เซมเพอร์เมด) กับกลุ่มกิจกำร จำนวน 48 ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ (เทียบเท่ำ 1,677 ล้ำนบำท) ซึ่ งเป็ นไปตำมที่ระบุในสัญญำที่เกี่ยวข้อง (ฉ) ค่ ำใช้ จ่ำยทำงธุรกิจก่ อนกำรแยกบริษทั ค่ำใช้จ่ำยทำงธุ รกิ จก่ อนกำรแยกบริ ษทั คื อค่ำชดเชยตอบแทนจำกกำรแยกธุ รกิ จของ บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิ มชื่ อ บจก. สยำมเซมเพอร์เมด) กับ Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. จำนวน 15 ล้ำนเหรี ยญสหรัฐ (เทียบเท่ำ 532 ล้ำนบำท) ซึ่ งเป็ นไป ตำมที่ระบุในสัญญำที่เกี่ยวข้อง (ช) ข้ อมูลทำงกำรเงินรวม ในกำรจัดทำข้อมูลทำงกำรเงินรวมสำหรับ ปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั ได้ปรับปรุ งมูลค่ำสิ นทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มำและ หนี้ สินที่รับมำจำกกำรซื้ อธุ รกิจด้วยมูลค่ำยุติธรรมและบันทึกผลต่ำงระหว่ำงรำคำซื้ อกับมูลค่ำยุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ไว้ใน บัญชี “ค่ำควำมนิ ยม” จำนวน 2,954 ล้ำนบำท โดยพิจำรณำจำกข้อมูลในรำยงำนของทั้งผูป้ ระเมินรำคำทรัพย์สินและทำงกำรเงินอิสระ และปั จจัยอื่ นที่ เกี่ ยวข้องในปั จจุ บ นั ที่ อำจกระทบต่อข้อมูลดังกล่ำว อย่ำงไรก็ดี บริ ษทั มี น โยบำยอย่ำงต่อเนื่ องในกำรทบทวนมู ลค่ ำ ยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ระบุ ได้ที่ได้มำ เช่ น ที่ ดิน อำคำรและอุปกรณ์ เป็ นต้น และหนี้ สินที่ ได้รับมำและกำรปั นส่ วนมูลค่ำยุติธรรม ณ วันที่ซ้ื อ ค่ำควำมนิ ยมที่เกิดจำกกำรซื้ อธุรกิจนี้ ไม่สำมำรถนำมำเป็ นค่ำใช้จ่ำยทำงภำษีเงินได้ ในกำรซื้ อธุรกิจดังกล่ำว บริ ษทั คำดว่ำจะ เพิ่มส่ วนแบ่งกำรตลำดในธุรกิจถุงมือยำงในต่ำงประเทศ บริ ษทั อยู่ในระหว่ำงกำรเตรี ยมกำรประเมิ น มู ลค่ ำยุติธรรมของสิ นทรั พ ย์ที่ มีตวั ตน สิ น ทรัพ ย์ไม่ มีตวั ตน และหนี้ สิ นที่ เกี่ ยวข้องของ บจก. ศรี ตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) (เดิมชื่อ บจก. สยำมเซมเพอร์ เมด) ณ วันที่ซ้ื อธุรกิจในรำยละเอียดที่มำกยิง่ ขึ้นเกิดกำรเปลี่ยนแปลง สถำนะเงินลงทุ นซึ่ งคำดว่ำจะแล้วเสร็ จภำยในเดื อนมีนำคม พ.ศ. 2561 ผลต่ำงระหว่ำงสิ่ งตอบแทนที่ โอนให้และมูลค่ำยุติธรรมของ สิ นทรัพย์สุทธิอำจจะแสดงเป็ นค่ำควำมนิยมหรื อกำไรจำกกำรต่อรองรำคำซื้ อเมื่อกำรประเมินในครั้งสุ ดท้ำยเสร็ จสิ้ นลง

218

รายงานประจำ�ปี 2560

102


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่ เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 38

รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรทีเ่ กีย่ วข้ องกัน กิจกำรและบุคคลที่ควบคุมบริ ษทั หรื อถูกควบคุมโดยบริ ษทั หรื ออยู่ภำยใต้กำรควบคุมเดี ยวกับบริ ษทั ทั้งทำงตรงหรื อทำงอ้อมไม่ว่ำจะโดย ทอดเดียวหรื อหลำยทอด กิจกำรและบุคคลดังกล่ำวเป็ นบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ย่อยลำดับถัดไป บริ ษทั ร่ วม และบุคคลที่เป็ นเจ้ำของส่ วนได้เสี ยในสิ ทธิออกเสี ยงของบริ ษทั ซึ่ งมีอิทธิพลอย่ำงเป็ นสำระสำคัญเหนื อกิจกำร ผูบ้ ริ หำรสำคัญรวมทั้งกรรมกำร และพนั กงำนของบริ ษ ัท ตลอดจนสมำชิ กในครอบครั วที่ ใกล้ชิ ดกับบุ ค คลเหล่ ำนั้ น กิ จกำรและบุ คคลทั้งหมดถื อเป็ นบุ ค คลหรื อกิ จกำร ที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ในกำรพิจำรณำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลหรื อกิ จกำรที่ เกี่ ยวข้องกันซึ่ งอำจมี ข้ ึนได้ ต้องคำนึ งถึ งรำยละเอี ยดของควำมสัมพันธ์มำกกว่ำ รู ปแบบควำมสัมพันธ์ตำมกฎหมำย บริ ษทั ศรี ตรัง โฮลดิ้งส์ จำกัด ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งในประเทศไทยเป็ นบริ ษทั ใหญ่ในขั้นสุ ดท้ำยของกลุ่มกิจกำร รำยกำรต่อไปนี้เป็ นรำยกำรกับบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน 38.1

รำยได้ จำกกำรขำยสิ นค้ ำและกำรให้ บริกำร และรำยได้ อื่น สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม รำยได้ จำกกำรขำยสิ นค้ ำให้ กบั บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กำรร่ วมค้ำ รำยได้ จำกกำรให้ บริกำรให้ กบั บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กำรร่ วมค้ำ รำยได้ เงินปันผล บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กำรร่ วมค้ำ รำยได้ ค่ำเช่ ำ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กำรร่ วมค้ำ รำยได้ ดอกเบีย้ บริ ษทั ย่อย

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

26,682 786,965 813,647

32,046 2,805,546 2,837,592

5,608,396 293,032 5,901,428

3,418,152 1,046,186 4,464,338

19,637 48,903 68,540

21,653 289,956 311,609

185,705 9,246 21,670 216,621

60,018 4,663 28,882 93,563

621,486 1,676,581 2,298,067

-

2,964,166 548,370 1,312,760 4,825,296

319,166 319,166

400 5,458 5,858

400 33,853 34,253

244 244

1,023 7,680 8,703

-

-

82,039

44,983

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 103

219


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 38

รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรทีเ่ กีย่ วข้ องกัน (ต่อ) 38.2

กำรซื้อสิ นค้ ำและกำรรับบริกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม กำรซื้อสิ นค้ ำจำก บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ กำรรับบริกำรจำก บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ ค่ ำเช่ ำจ่ ำย บริ ษทั ย่อย

38.3

งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

78 3,725,520 3,725,598

68 5,920,739 5,920,807

10,684,226 9 237,114 10,921,349

1,499,732 1,030,535 2,530,267

1,680 1,680

485 485

839,124 839,124

1,192,174 7 1,192,181

-

-

799

1,229

ยอดค้ ำงชำระทีเ่ กิดจำกกำรขำยและซื้อสิ นค้ ำและบริ กำร และรำยได้ อื่น งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม ลูกหนีก้ ำรค้ ำ (หมำยเหตุขอ้ 9) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ เงินมัดจำนำยหน้ ำซื้อขำยสั ญญำซื้อขำยล่ วงหน้ ำ บริ ษทั ร่ วม ลูกหนีอ้ ื่น บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ

220

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

4,138 2 4,140

7,759 90,835 98,594

774,251 715 774,966

326,207 809 6,961 333,977

-

22,981

-

22,981

1,368 1,368

311 3,610 3,921

38,300 38,300

81,018 81,018

รายงานประจำ�ปี 2560 104


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 38

รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรทีเ่ กีย่ วข้ องกัน (ต่อ) 38.3

ยอดค้ ำงชำระทีเ่ กิดจำกกำรขำยและซื้อสิ นค้ ำและบริกำร และรำยได้ อื่น (ต่อ) งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

16 179,717 179,733

24 633,436 633,460

791,558 791,558

405,466 117,356 522,822

4 4

5,677 5,677

55,159 55,159

63,141 17 63,158

เจ้ ำหนีก้ ำรค้ ำ (หมำยเหตุขอ้ 22) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ เจ้ ำหนีอ้ ื่น (หมำยเหตุขอ้ 22) บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม กิจกำรร่ วมค้ำ

ลูกหนี้ กำรค้ำจำกบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องส่ วนใหญ่มำจำกรำยกำรขำยและถึงกำหนดชำระประมำณหนึ่ งเดื อนหลังจำกวันที่เกิด รำยกำรขำย ลูกหนี้ กำรค้ำดังกล่ำวโดยปกติแล้วจะไม่มีหลักทรัพย์ค้ ำประกันและไม่มีดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ไม่มี ค่ำเผือ่ กำรด้อยค่ำของลูกหนี้จำกบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน (พ.ศ. 2559 : ไม่มี) เจ้ำหนี้ กำรค้ำระหว่ำงบุคคลหรื อกิจกำรที่เกี่ยวข้องกันส่ วนใหญ่มำจำกรำยกำรซื้ อและถึงกำหนดชำระประมำณหนึ่ งเดือนหลังจำกวันที่ เกิดรำยกำรซื้ อ เจ้ำหนี้กำรค้ำไม่มีดอกเบี้ย 38.4

ยอดค้ ำงชำระทีเ่ กิดจำกกำรให้ ก้ ยู ืมเงินระยะยำวแก่ บริษทั ย่ อย งบกำรเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวำคม ดอกเบีย้ ค้ ำงรับ บริ ษทั ย่อย เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยำว บริ ษทั ย่อย

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

-

-

9,969

10,389

-

-

2,541,603

2,074,203

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 105

221


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 38

รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรทีเ่ กีย่ วข้ องกัน (ต่อ) 38.4

ยอดค้ ำงชำระทีเ่ กิดจำกกำรให้ ก้ ยู ืมเงินระยะยำวแก่ บริษทั ย่ อย (ต่อ) เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อยเป็ นเงินให้กยู้ มื ที่ไม่มีหลักประกันและสำมำรถสรุ ปได้ดงั นี้ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร เงินต้ น ควำมสั มพันธ์ PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Star Rubber PT Star Rubber PT Star Rubber

ล้ ำนดอลลำร์ สหรัฐอเมริกำ

(เทียบเท่ ำ) ล้ ำนบำท

5 15 10 20 15 8 5

164 488 325 650 492 260 163 2,542

บริ ษทั ย่อยทำงตรง บริ ษทั ย่อยทำงตรง บริ ษทั ย่อยทำงตรง บริ ษทั ย่อยทำงตรง บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม บริ ษทั ย่อยทำงอ้อม รวม

อัตรำดอกเบีย้ ร้ อยละ ระยะเวลำกำรกู้ 3.33 4.20 4.18 4.30 3.33 2.65 4.18

5 ปี 3 ปี 3 ปี 3 ปี 5 ปี 2 ปี 3 ปี

ควำมเคลื่อนไหวของยอดคงเหลือของเงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อยสำมำรถแสดงได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม

ณ วันที่ 1 มกรำคม เพิ่มขึ้น ลดลง ขำดทุนจำกอัตรำแลกเปลี่ยน รวม

222

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

-

-

2,074,203 1,178,982 (540,000) (171,582) 2,541,603

1,625,605 823,600 (300,000) (75,002) 2,074,203

รายงานประจำ�ปี 2560 106


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 38

รำยกำรกับบุคคลหรื อกิจกำรทีเ่ กีย่ วข้ องกัน (ต่อ) 38.4

ยอดค้ ำงชำระทีเ่ กิดจำกกำรให้ ก้ ยู ืมเงินระยะยำวแก่ บริษทั ย่ อย (ต่อ) รำคำตำมบัญชีและมูลค่ำยุติธรรมของเงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย มีดงั ต่อไปนี้ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร รำคำตำมบัญชี

เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย

มูลค่ ำยุตธิ รรม

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

2,541,603

2,074,203

2,583,403

2,105,348

มูลค่ำยุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะยำวคำนวนจำกกระแสเงินสดในอนำคตซึ่ งคิดลดด้วยอัตรำดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบำล บวกส่ วนเพิ่มจำก อัตรำดอกเบี้ยหุ ้นกูเ้ อกชนระดับ BBB+ อัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 2.99 ถึงร้อยละ 4.09 (พ.ศ. 2559 : ร้อยละ 1.96 ถึงร้อยละ 3.13) และอยู่ใน ข้อมูลระดับ 2 ของลำดับชั้นมูลค่ำยุติธรรม 38.5

ค่ ำตอบแทนผู้บริหำรสำคัญ ผูบ้ ริ หำรสำคัญรวมถึงกรรมกำร (ไม่วำ่ จะทำหน้ำที่ในระดับบริ หำรหรื อไม่) คณะผูบ้ ริ หำรระดับสู ง และหัวหน้ำหน่วยงำนตรวจสอบภำยใน ซึ่งผลตอบแทนที่จ่ำยหรื อค้ำงจ่ำยสำหรับผูบ้ ริ หำรสำคัญ มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงำน ผลประโยชน์หลังออกจำกงำน

204,378 3,567 207,945

310,769 3,329 314,098

43,631 1,246 44,877

45,001 1,135 46,136

รวม

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 107

223


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีนเฉพำะกิ ่ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 39

เครื่ องมือทำงกำรเงินแยกตำมประเภท

งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 สิ นทรัพย์ ซึ่งประเมิน สิ นทรัพย์ ซึ่งประเมินรำคำ รำคำตำมมูลค่ ำยุตธิ รรม ตำมมูลค่ ำยุติธรรมทีป่ รับ ทีป่ รับมูลค่ ำเพิม่ ขึน้ หรื อ มูลค่ ำเพิม่ ขึน้ หรื อลดลง ลดลงโดยผ่ ำนเข้ ำกำไร โดยผ่ ำนเข้ ำกำไรขำดทุน ขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบำท พันบำท

สิ นทรัพย์ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ลูกหนี้กำรค้ำ - สุ ทธิ ลูกหนี้นำยหน้ำซื้ อขำยสัญญำซื้อขำย ล่วงหน้ำ เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน เงินลงทุนระยะยำว รวม

สิ นทรัพย์ ทำงกำรเงินอื่น พันบำท

รวม พันบำท

407,939 -

-

2,241,900 6,339,390

2,241,900 407,939 6,339,390

810,540 1,218,479

53,299 53,299

12,139 100,000 8,693,429

810,540 12,139 153,299 9,965,207

งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

หนีส้ ิ นในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หุน้ กูท้ ี่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวม

224

รายงานประจำ�ปี 2560

หนีส้ ิ นซึ่งประเมินรำคำตำม มูลค่ ำยุตธิ รรมทีป่ รับมูลค่ ำ เพิม่ ขึน้ หรื อลดลงโดยผ่ ำนเข้ ำ กำไรขำดทุน พันบำท

หนีส้ ิ นทำงกำรเงินอื่น พันบำท

รวม พันบำท

-

1,401,217 21,786,026

1,401,217 21,786,026

-

420,654 600,000

420,654 600,000

231,243 231,243

13,167 7,193,710 2,265,000 27,521 33,707,295

13,167 231,243 7,193,710 2,265,000 27,521 33,938,538 108


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 ณ วันทีน่เฉพำะกิ 31 ธันจวาคม สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 39

เครื่ องมือทำงกำรเงินแยกตำมประเภท (ต่อ)

งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 สิ นทรัพย์ ซึ่งประเมิน สิ นทรัพย์ ซึ่งประเมินรำคำ รำคำตำมมูลค่ ำยุตธิ รรม ตำมมูลค่ ำยุติธรรมทีป่ รับ ทีป่ รับมูลค่ ำเพิม่ ขึน้ หรื อ มูลค่ ำเพิม่ ขึน้ หรื อลดลง ลดลงโดยผ่ ำนเข้ ำกำไร โดยผ่ ำนเข้ ำกำไรขำดทุน ขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบำท พันบำท

สิ นทรัพย์ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ลูกหนี้กำรค้ำ - สุ ทธิ ลูกหนี้นำยหน้ำซื้อขำยสัญญำซื้อขำย ล่วงหน้ำ เงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน เงินลงทุนระยะยำว รวม

สิ นทรัพย์ ทำงกำรเงินอื่น พันบำท

รวม พันบำท

164,980 -

-

1,674,619 7,699,441

1,674,619 164,980 7,699,441

633,921 798,901

48,703 48,703

12,320 10,427 9,396,807

633,921 12,320 59,130 10,244,411

งบกำรเงินรวม 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

หนีส้ ิ นในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวม

หนีส้ ิ นซึ่งประเมินรำคำตำม มูลค่ ำยุตธิ รรมทีป่ รับมูลค่ ำ เพิม่ ขึน้ หรื อลดลงโดยผ่ ำนเข้ ำ กำไรขำดทุน พันบำท

หนีส้ ิ นทำงกำรเงินอื่น พันบำท

รวม พันบำท

-

1,607,657 23,433,815

1,607,657 23,433,815

-

5,397,792

5,397,792

654,920 654,920

8,334 654 2,865,000 5,128 33,318,380

8,334 654,920 654 2,865,000 5,128 33,973,300

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 109

225


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันทีนเฉพำะกิ ่ 31 ธันจวาคม หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 39

เครื่ องมือทำงกำรเงินแยกตำมประเภท (ต่อ)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 สิ นทรัพย์ ซึ่งประเมิน สิ นทรัพย์ ซึ่งประเมินรำคำ รำคำตำมมูลค่ ำยุตธิ รรม ตำมมูลค่ ำยุติธรรมทีป่ รับ ทีป่ รับมูลค่ ำเพิม่ ขึน้ หรื อ มูลค่ ำเพิม่ ขึน้ หรื อลดลง ลดลงโดยผ่ ำนเข้ ำ โดยผ่ ำนเข้ ำกำไรขำดทุน กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบำท พันบำท

สิ นทรัพย์ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ลูกหนี้กำรค้ำ - สุ ทธิ ลูกหนี้นำยหน้ำซื้ อขำยสัญญำซื้อขำย ล่วงหน้ำ เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อยที่ถึง กำหนดชำระภำยในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยำว รวม

สิ นทรัพย์ ทำงกำรเงินอื่น พันบำท

รวม พันบำท

256,520 -

-

269,019 3,901,240

269,019 256,520 3,901,240

16,177

-

-

16,177

272,697

52,097 52,097

915,873 1,625,730 100,000 6,811,862

915,873 1,625,730 152,097 7,136,656

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560

หนีส้ ิ นในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หุน้ กูท้ ี่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน เงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวม

226

รายงานประจำ�ปี 2560

หนีส้ ิ นซึ่งประเมินรำคำตำม มูลค่ ำยุตธิ รรมทีป่ รับมูลค่ ำ เพิม่ ขึน้ หรื อลดลงโดยผ่ ำนเข้ ำ กำไรขำดทุน พันบำท

หนีส้ ิ นทำงกำรเงินอื่น พันบำท

รวม พันบำท

-

1,140,950 14,754,529

1,140,950 14,754,529

-

300,000 600,000

300,000 600,000

198,130

4,092 4,313,710 2,265,000 9,542 23,387,823

4,092 198,130 4,313,710 2,265,000 9,542 23,585,953

198,130

110


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันนทีเฉพำะกิ ่ 31 ธันจวาคม หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงิ กำร พ.ศ. 2560 สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 39

เครื่ องมือทำงกำรเงินแยกตำมประเภท (ต่อ)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 สิ นทรัพย์ ซึ่งประเมิน สิ นทรัพย์ ซึ่งประเมินรำคำ รำคำตำมมูลค่ ำยุตธิ รรม ตำมมูลค่ ำยุติธรรมทีป่ รับ ทีป่ รับมูลค่ ำเพิม่ ขึน้ หรื อ มูลค่ ำเพิม่ ขึน้ หรื อลดลง ลดลงโดยผ่ ำนเข้ ำ โดยผ่ ำนเข้ ำกำไรขำดทุน กำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จอื่น พันบำท พันบำท

สิ นทรัพย์ ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสด ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน ลูกหนี้กำรค้ำ - สุ ทธิ ลูกหนี้นำยหน้ำซื้ อขำยสัญญำซื้อขำย ล่วงหน้ำ เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยำวแก่บริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยำว รวม

สิ นทรัพย์ ทำงกำรเงินอื่น พันบำท

รวม พันบำท

20,160 -

-

341,997 3,282,928

341,997 20,160 3,282,928

22,981

-

-

22,981

43,141

47,587 47,587

534,882 1,539,321 10,427 5,709,555

534,882 1,539,321 58,014 5,800,283

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559

หนีส้ ิ นในงบแสดงฐำนะกำรเงิน เจ้ำหนี้กำรค้ำ เงินกูย้ มื ระยะสั้นจำกสถำบันกำรเงิน ส่ วนของเงินกูย้ มื ระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิน ที่ถึงกำหนดชำระภำยในหนึ่งปี หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงินที่ถึงกำหนด ชำระภำยในหนึ่งปี ตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน หุน้ กู้ หนี้สินตำมสัญญำเช่ำทำงกำรเงิน รวม

หนีส้ ิ นซึ่งประเมินรำคำตำมมูลค่ ำ ยุติธรรมทีป่ รับมูลค่ ำ เพิม่ ขึน้ หรื อลดลงโดยผ่ ำนเข้ ำ กำไรขำดทุน พันบำท

หนีส้ ิ นทำงกำรเงินอื่น พันบำท

รวม พันบำท

-

953,492 14,338,230

953,492 14,338,230

-

4,276,388

4,276,388

460,846 460,846

2,466 2,865,000 4,425 22,440,001

2,466 460,846 2,865,000 4,425 22,900,847

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

111

227


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 40

คุณภำพควำมน่ ำเชื่ อถือของสิ นทรัพย์ ทำงกำรเงิน คุณภำพควำมน่ำเชื่อถือของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงินซึ่ งยังไม่ถึงกำหนดชำระและไม่เกิดกำรด้อยค่ำสำมำรถประเมินได้โดยอ้ำงอิงจำกกำรจัดลำดับ ควำมน่ำเชื่อถือจำกแหล่งข้อมูลภำยนอก (ถ้ำมี) หรื อ จำกข้อมูลประสบกำรณ์ในอดีตเกี่ยวกับอัตรำกำรผิดสัญญำของคู่สญ ั ญำ กลุ่มที่ 1 ลูกค้ำใหม่ บริ ษทั อื่น/บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (น้อยกว่ำหกเดือน) กลุ่มที่ 2 ลูกค้ำปัจจุบนั /บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มำกกว่ำหกเดือน) ซึ่ งไม่มีกำรผิดสัญญำในอดีต กลุ่มที่ 3 ลูกค้ำปัจจุบนั /บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (มำกกว่ำหกเดือน) ซึ่ งเคยมีกำรผิดสัญญำในอดีต และกำรผิดสัญญำนั้นได้มีกำรชดเชยทั้งหมดแล้ว เงิ นประกัน ขั้น ต่ ำได้ฝำกไว้กบั คู่สัญญำที่ มีระดับ ควำมน่ ำเชื่ อถื อในระดับสู งซึ่ งไม่มีป ระวัติกำรผิดเงื่อนไขของสัญญำ และไม่ มีสินทรัพ ย์ ทำงกำรเงินใดที่ดำเนินกำรอย่ำงเป็ นปกติ (fully performing) ถูกขอกำรเจรจำเพื่อปรับเปลี่ยนเงื่อนไขใหม่ในระหว่ำงปี งบกำรเงินรวม

เงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ ำยคืนเมื่อทวงถำม Aa1 Aa2 Aa3 A1 Baa1 Baa2 Baa3 ไม่มีกำรจัดลำดับ รวมเงินฝำกธนำคำรประเภทจ่ำยคืนเมื่อทวงถำม

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

156,200 78,636 20,918 237,900 1,362,131 54,705 215,969 5,468 2,131,927

378,173 220,130 231,304 154,125 307,720 14,128 285,237 23,731 1,614,548

11,938 686 218,480 14,634 245,738

183,268 52 113,675 6,649 8,716 50 312,410

งบกำรเงินรวม

ลูกหนีก้ ำรค้ ำ คู่สญ ั ญำที่ไม่มีกำรจัดลำดับควำมน่ำเชื่อถือ จำกแหล่งข้อมูลภำยนอก กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 รวมลูกหนี้กำรค้ำที่ไม่ได้เกิดกำรด้อยค่ำ

228

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

735,927 5,544,719 58,744 6,339,390

144,135 7,450,385 104,921 7,699,441

389,191 3,512,049 3,901,240

69,101 3,213,827 3,282,928

รายงานประจำ�ปี 2560 112


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 40

คุณภำพควำมน่ ำเชื่ อถือของสิ นทรัพย์ทำงกำรเงิน (ต่อ) งบกำรเงินรวม

ตรำสำรอนุพนั ธ์ ทำงกำรเงิน คู่สญ ั ญำที่มีกำรจัดลำดับควำมน่ำเชื่อถือ โดยแหล่งข้อมูลภำยนอก Aa1 Aa2 A3 Baa1 Baa2 คู่สญ ั ญำที่ไม่มีกำรจัดลำดับควำมน่ำเชื่อถือ จำกแหล่งข้อมูลภำยนอก กลุ่มที่ 2 รวมตรำสำรอนุพนั ธ์ทำงกำรเงิน (หมำยเหตุขอ้ 8)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

60 9,655 5,380 131,690 4,416

51,561 8,794 4 -

8,781 5,380 86,100 2,482

4 -

256,738 407,939

104,621 164,980

153,777 256,520

20,156 20,160

งบกำรเงินรวม

เงินฝำกประจำทีต่ ดิ ภำระคำ้ ประกัน Aa2 Baa1 Baa2 รวมเงินฝำกประจำที่ติดภำระค้ ำประกัน (หมำยเหตุขอ้ 12)

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2559 พันบำท

10,010 2,129 12,139

2,114 10,206 12,320

-

-

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 113

229


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 41

สิ ทธิพเิ ศษทีไ่ ด้ รับจำกกำรส่ งเสริมกำรลงทุนในประเทศไทย กลุ่ มกิ จกำรและบริ ษทั ได้รับ สิ ท ธิ พิ เศษบำงประกำรจำกกำรส่ งเสริ มกำรลงทุ นตำมพระรำชบัญญัติส่ งเสริ มกำรลงทุน พ.ศ. 2520 สำหรับ กำรผลิตน้ ำยำงข้น ยำงแท่ง Skim Crepe และถุงมือยำง ซึ่ งสิ ทธิพิเศษที่ได้รับโดยสังเขปมีดงั นี้ (ก) (ข)

ได้รับยกเว้นกำรเสี ยภำษีอำกรขำเข้ำและภำษีกำรค้ำสำหรับเครื่ องจักรและเครื่ องมือตำมที่ได้รับอนุมตั ิจำกคณะกรรมกำรส่ งเสริ มกำรลงทุน ได้รับยกเว้นภำษีเงิ นได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุ ทธิ เป็ นระยะเวลำแปดปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรำยได้จำกกำรประกอบกิจกำร และได้รับ ลดหย่อนภำษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกำไรสุ ทธิในอัตรำร้อยละห้ำสิ บของอัตรำปกติอีกห้ำปี นับจำกระยะเวลำแปดปี แรกสิ้ นสุ ดลง

ในฐำนะที่เป็ นอุตสำหกรรมที่ได้รับกำรส่ งเสริ มกำรลงทุน กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ต้องปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขที่ระบุไว้ในบัตรส่ งเสริ มกำรลงทุน รำยได้จำกกำรขำยจำแนกตำมธุ รกิ จที่ ได้รับ กำรส่ งเสริ ม และไม่ ได้รับ กำรส่ งเสริ ม เฉพำะธุ รกิ จ ยำงในประเทศไทย สำหรั บปี สิ้ น สุ ด วัน ที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2559 ของกลุ่มกิจกำร สรุ ปได้ดงั นี้ พ.ศ. 2560 ธุรกิจทีไ่ ด้ รับ ธุรกิจทีไ่ ม่ ได้ รับ กำรส่ งเสริม กำรส่ งเสริม กำรลงทุน กำรลงทุน พันบำท พันบำท รำยได้จำกกำรขำยและ บริ กำรส่ งออก - สุ ทธิ รำยได้จำกกำรขำยและบริ กำร ภำยในประเทศ - สุ ทธิ รวม กำรตัดรำยกำรระหว่ำงกัน รวม

230

30,932,620 10,703,714 41,636,334

64,864,259 12,749,057 77,613,316

พ.ศ. 2559

รวม พันบำท 95,796,879 23,452,771 119,249,650

ธุรกิจทีไ่ ด้ รับ ธุรกิจทีไ่ ม่ ได้ รับ กำรส่ งเสริม กำรส่ งเสริม กำรลงทุน กำรลงทุน พันบำท พันบำท 25,101,632 4,561,692 29,663,324

48,799,915 13,514,061 62,313,976

รวม พันบำท 73,901,547 18,075,753 91,977,300

(29,862,656)

(14,711,780)

89,386,994

77,265,520

รายงานประจำ�ปี 2560 114


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 42

เหตุกำรณ์ ทอี่ ำจเกิดขึน้ และภำระผูกพันทีเ่ ป็ นข้ อผูกมัด 42.1

ภำระผูกพันทีเ่ ป็ นข้ อผูกมัดจำกสั ญญำซื้อขำย กลุ่มกิ จกำรและบริ ษทั มีภำระผูกพันที่เป็ นข้อผูกมัดจำกกำรทำสัญญำซื้ อขำยซึ่ งแบ่งเป็ นประเภทที่กำหนดรำคำซื้ อขำยล่วงหน้ำแล้ว และจะมีกำรชำระในอนำคต และประเภทที่ยงั ไม่กำหนดรำคำซื้ อขำย มูลค่ำของภำระผูกพันดังกล่ำวแสดงด้วยรำคำตำมสัญญำซื้ อขำย ล่วงหน้ำหรื อแสดงตำมรำคำซื้ อขำย ณ วันสิ้ นรอบบัญชีสำหรับข้อผูกมัดจำกสัญญำประเภทที่ยงั ไม่กำหนดรำคำได้ดงั นี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

ซื้ อจำก กิจกำรร่ วมค้ำ บริ ษทั อื่น ขำยให้ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั อื่น

42.2

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

379,202 1,019,648 1,398,850

66,555 66,555

14,961,746 14,961,746

541,345 9,958,235 10,499,580

ภำระผูกพันทีเ่ ป็ นข้ อผูกมัดเพื่อใช้ เป็ นรำยจ่ ำยฝ่ ำยทุน กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั มีภำระผูกพันที่เป็ นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุนดังนี้ งบกำรเงินรวม งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

ภำระผูกพันที่เป็ นข้อผูกมัดเพื่อใช้เป็ นรำยจ่ำยฝ่ ำยทุนจำกกำรซื้ อสิ นทรัพย์ถำวร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

660,508

156,082

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 115

231


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 42

เหตุกำรณ์ ทอี่ ำจเกิดขึน้ และภำระผูกพันทีเ่ ป็ นข้ อผูกมัด (ต่อ) 42.3

ภำระผูกพันทีเ่ ป็ นข้ อผูกมัดจำกกำรคำ้ ประกันเงินกู้ยืม 42.3.1 กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั มีภำระผูกพันที่เป็ นข้อผูกมัดจำกกำรค้ ำประกันเงินกูย้ มื ดังต่อไปนี้ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ควำมสั มพันธ์

สกุลเงิน

จำนวน

(เทียบเท่ ำ) ล้ ำนบำท

Sri Trang USA, Inc.

บริ ษทั ย่อยในต่ำงประเทศ

ล้ำนดอลลำร์สหรัฐอเมริ กำ

16

523

PT Sri Trang Lingga Indonesia

บริ ษทั ย่อยในต่ำงประเทศ

ล้ำนดอลลำร์สหรัฐอเมริ กำ

19

634

พันล้ำนรู เปี ย

444

1,076

PT Star Rubber

บริ ษทั ย่อยในต่ำงประเทศ

ล้ำนดอลลำร์สหรัฐอเมริ กำ พันล้ำนรู เปี ย

13 215

437 521

40.3.2 กลุ่มกิ จกำรมีหนี้ สินที่ อำจจะเกิดขึ้นจำกกำรที่ธนำคำรออกหนังสื อค้ ำประกันกลุ่มกิ จกำรต่อหน่ วยงำนของรำชกำรเป็ นจำนวน เงินรวม 151 ล้ำนบำท โดยใช้เงินฝำกประจำของกลุ่มกิจกำรเป็ นจำนวนเงิน 1 ล้ำนบำท ในกำรค้ ำประกัน 42.4

ภำระผูกพันทีเ่ ป็ นข้ อผูกมัดตำมสั ญญำเช่ ำดำเนินงำน - กรณีทกี่ ลุ่มกิจกำรหรื อบริษทั เป็ นผู้เช่ ำ ยอดรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่กลุ่มกิจกำรและบริ ษทั ต้องจ่ำยในอนำคตตำมสัญญำเช่ำดำเนินงำนที่ไม่สำมำรถยกเลิกได้ มีดงั นี้ งบกำรเงินรวม

ภำยในไม่เกิน 1 ปี เกินกว่ำ 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี เกินกว่ำ 5 ปี รวม

232

งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร

พ.ศ. 2560 พันบำท

พ.ศ. 2560 พันบำท

129,035 150,815 279,850

60,691 67,065 127,756

รายงานประจำ�ปี 2560 116


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหำชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 หมำยเหตุประกอบงบกำรเงินรวมและงบกำรเงินเฉพำะกิจกำร สำหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 43

ควำมคืบหน้ ำของกำรเรียกร้ องค่ ำทดแทนควำมเสี ยหำยจำกบริษทั ประกันภัยจำกเหตุกำรณ์ ไฟไหม้ ทโี่ รงงำนแห่ งหนึ่งของ PT Star Rubber ใน ประเทศอินโดนิเชีย เมื่อวันที่ 12 ตุลำคม พ.ศ. 2559 ได้เกิดอุบตั ิเหตุอคั คีภยั ที่คลังเก็บวัตถุดิบ และสำยกำรผลิตบำงส่ วนที่โรงงำนใน เมือง Pontianak ประเทศอินโดนิเชีย ของบริ ษทั PT Star Rubber (“PTS”) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งของกลุ่มกิ จกำร กำลังกำรผลิตของโรงงำนแห่ งนี้ ประมำณอยูร่ ะหว่ำง 2,000 ถึง 4,000 ตันต่อเดื อน หรื อน้อยกว่ำร้อยละ 5 ของกำลังผลิตโดยรวมของกลุ่มกิ จกำร อย่ำงไรก็ตำม PTS ได้มีกำรประกันอัคคี ภยั ซึ่ งรวมถึ ง สิ นค้ำคงเหลือ สิ นทรัพย์ถำวรและผลเสี ยหำยจำกกำรที่ธุรกิจหยุดชะงัก ภำยหลังจำกนั้น PTS ได้มี กำรด ำเนิ น กำรส ำรวจและประเมิ น ผลเสี ย หำยที่ เกิ ดขึ้ น โดยเฉพำะสิ น ค้ำคงเหลื อ และสิ น ทรั พ ย์ถ ำวร ณ วัน ที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2559 PTS ได้มีกำรรับรู ้ผลเสี ยหำยเป็ นจำนวน 90,166 ล้ำนรู เปี ย (ประมำน 240 ล้ำนบำท) จำก (ก) กำรตัด ยอดสิ นค้ำคงเหลื อและสิ น ทรั พ ย์ถ ำวรที่ เกิ ด ควำมเสี ยหำยทั้งหมด และไม่ มีมูลค่ำคงเหลื อ อยู่ จำนวนรู เปี ย 50,631 ล้ำนรู เปี ย (ประมำน 135 ล้ำนบำท) และจำนวน 24,013 ล้ำนรู เปี ย (ประมำณ 64 ล้ำนบำท) ตำมลำดับ และ (ข) กำรตั้งค่ำเผือ่ ควำมเสี ยหำยของสิ นค้ำคงเหลือที่ได้ถูกทำลำยบำงส่ วนโดยอัคคีภยั จำนวน 15,522 ล้ำนรู เปี ย (ประมำน 42 ล้ำนบำท) ภำยหลังจำกนั้น PTS ได้รับจดหมำยล่ำสุ ดจำกบริ ษทั ประกันภัยในประเทศอินโดนี เซี ย เพื่อยืนยันจำนวนค่ำทดแทนควำมเสี ยหำยที่มีควำม เป็ นไปได้ค่อนข้ำงแน่นอนว่ำ PTS จะได้รับเป็ นจำนวนเงินทั้งสิ้ น 190,196 ล้ำนรู เปี ย (ประมำณ 463 ล้ำนบำท) และ PTS ได้ทำกำรรับรู ้จำนวน ดังกล่ำวเป็ นรำยได้อื่นในงบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จสำหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2560 ดังนี้

สิ นทรัพย์ ทไี่ ด้ รับค่ ำทดแทนควำมเสี ยหำย อำคำรโรงงำนและเครื่ องจักร สิ นค้ำคงเหลือ อื่นๆ รวม

สกุลเงิน ล้ำนรู เปี ย ล้ำนรู เปี ย ล้ำนรู เปี ย

จำนวนเงิน

เทียบเท่ ำ (ล้ ำนบำท)

118,353 70,853 990 190,196

288 172 3 463

เมื่อวันที่ 14 มีนำคม พ.ศ. 2560 PTS ได้รับชำระค่ำสิ นไหมทดแทนส่ วนหนึ่ งจำกบริ ษทั ประกันภัย เป็ นจำนวนเงิน 59,375 ล้ำนรู เปี ย (ประมำณ 144 ล้ำนบำท) โดย PTS จะกลับมำเริ่ มดำเนินกำรผลิตภำยในปี พ.ศ. 2561 44

ข้ อพิพำททำงกฎหมำยทีส่ ำคัญ ข้ อพิพำททำงกำรค้ ำเกีย่ วกับสั ญญำกำรร่ วมค้ ำ ตำมที่ที่ประชุ มวิสำมัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ครั้งที่ 1/2560 ที่จดั ขึ้นในวันที่ 14 มีนำคม พ.ศ. 2560 ได้มีมติอนุ มตั ิกำรแยกบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำ (Demerger) ที่ บ ริ ษทั ได้ร่วมลงทุ น กับ Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. (“เซมเพอร์ ริท ”) ทั้งในประเทศและต่ ำงประเทศ รวมถึ งรำยกำรได้มำและจำหน่ ำยไปซึ่ งสิ นทรัพย์ และกำรตกลงระงับข้อพิพำทต่ำง ๆ ของบริ ษทั นั้น ต่อมำเมื่อวันที่ 15 มีนำคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั และเซมเพอร์ ริท ได้ดำเนิ นกำรแยกกิจกำรดังกล่ำวเสร็ จสมบูรณ์เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว ส่ งผลให้บรรดำข้อพิพำทและคดีควำมที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งอยูภ่ ำยใต้กระบวนกำรทำงอนุ ญำโตตุลำกำร และกระบวนกำรทำงกฎหมำย ระหว่ำงบริ ษทั และเซมเพอร์ ริททั้งหมดไม่ว่ำที่อยูใ่ นระหว่ำง ขั้นตอนกำรพิจำรณำของศำลหรื ออนุญำโตตุลำกำรได้ถูกถอนหรื อระงับไปในที่สุด

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) 117

233


สิ นทรัพย์ ทไี่ ด้ รับค่ ำทดแทนควำมเสี ยหำย อำคำรโรงงำนและเครื่ องจักร สิ นค้ำคงเหลือ อื่นๆ รวม

สกุลเงิน ล้ำนรู เปี ย ล้ำนรู เปี ย ล้ำนรู เปี ย

จำนวนเงิน

เทียบเท่ ำ (ล้ ำนบำท)

118,353 70,853 990 190,196

288 172 3 463

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560

เมื่อวันที่ 14 มีนำคม พ.ศ. 2560 PTS ได้รับชำระค่ำสิ นไหมทดแทนส่ วนหนึ่ งจำกบริ ษทั ประกันภัย เป็ นจำนวนเงิน 59,375 ล้ำนรู เปี ย (ประมำณ 144 ล้ำนบำท) โดย PTS จะกลับมำเริ่ มดำเนินกำรผลิตภำยในปี พ.ศ. 2561 44

ข้ อพิพำททำงกฎหมำยทีส่ ำคัญ ข้ อพิพำททำงกำรค้ ำเกีย่ วกับสั ญญำกำรร่ วมค้ ำ ตำมที่ที่ประชุ มวิสำมัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ครั้งที่ 1/2560 ที่จดั ขึ้นในวันที่ 14 มีนำคม พ.ศ. 2560 ได้มีมติอนุ มตั ิกำรแยกบริ ษทั ร่ วมและกำรร่ วมค้ำ (Demerger) ที่ บริ ษทั ได้ร่วมลงทุน กับ Semperit Technische Produkte Gesellschaft m.b.H. (“เซมเพอร์ ริท ”) ทั้งในประเทศและต่ ำงประเทศ รวมถึ งรำยกำรได้มำและจำหน่ ำยไปซึ่ งสิ นทรัพย์ และกำรตกลงระงับข้อพิพำทต่ำง ๆ ของบริ ษทั นั้น ต่อมำเมื่ อวันที่ 15 มีนำคม พ.ศ. 2560 บริ ษทั และเซมเพอร์ ริท ได้ดำเนิ นกำรแยกกิจกำรดังกล่ำวเสร็ จสมบูรณ์เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว ส่ งผลให้บรรดำข้อพิพำทและคดีควำมที่เกี่ยวข้อง ซึ่ งอยูภ่ ำยใต้กระบวนกำรทำงอนุ ญำโตตุลำกำร และกระบวนกำรทำงกฎหมำย ระหว่ำงบริ ษทั และเซมเพอร์ ริททั้งหมดไม่ว่ำที่อยูใ่ นระหว่ำง ขั้นตอนกำรพิจำรณำของศำลหรื ออนุญำโตตุลำกำรได้ถูกถอนหรื อระงับไปในที่สุด 117

234

รายงานประจำ�ปี 2560


ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) ค่าสอบบัญชีประจ�ำปี 2560 ของ บมจ. ศรีตรังและบริษทั ย่อยเป็นจ�ำนวนเงินทัง้ สิน้ 10.725 ล้านบาท แบ่งออกเป็นค่าสอบบัญชีสำ� หรับ งบการเงินเฉพาะกิจการจ�ำนวน 6.75 ล้านบาท และค่าสอบบัญชีสำ� หรับบริษทั ย่อยจ�ำนวน 3.975 ล้านบาท

ค่าบริการอืน่ (Non-Audit Fee) ค่าบริการอื่นในปี 2560 ได้แก่ ค่าบริการตรวจสอบ BOI และ การให้ค�ำปรึกษาด้านภาษี รวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 3.01 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯ ได้จ่ายช�ำระแล้วเป็นจ�ำนวน 2.39 ล้านบาท และที่จะต้องจ่ายช�ำระในอนาคตจากการที่ยังให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา จ�ำนวน 0.62 ล้านบาท

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

235


ข้อมูลของบุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ที่อยู่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2009-9000 โทรสาร 0-2009-9991 TSD Call Center 0-2009-9999

ตัวแทนการโอนหุ้นในสิงคโปร์ (Singapore Transfer Agent) Boardroom Corporate & Advisory Services Pte. Ltd. ที่อยู่ 50 Raffles Place # 32-01, Singapore Land Tower, Singapore 048623 โทรศัพท์ 65-6536-5355 โทรสาร 65-6536-1360

ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท วีระวงค์, ชินวัฒน์ และพาร์ทเนอร์ส จำ�กัด ที่อยู่ 540 อาคารเมอร์คิวรี่ ทาวเวอร์ ชั้น 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2264-8000 โทรสาร 0-2657-2222

236

รายงานประจำ�ปี 2560

นายทะเบียนหุ้นกู้ (สำ�หรับหุ้นกู้ STA ครั้งที่ 1/2556 และครั้งที่ 1/2559) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) ที่อยู่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2256-2323 โทรสาร 0-2256-2414

ผู้สอบบัญชี นายไพบูล ตันกูล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4298 หรือ นางสาวสกุณา แย้มสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4906 หรือ นายพิสิฐ ทางธนกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4095 แห่งบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด ที่อยู่ ชั้น 15 อาคารบางกอกซิติ้ทาวเวอร์ 179/74-80 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2344-1000, 0-2286-9999 โทรสาร 0-2286-5050


ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสำ�คัญอื่น

ข้อมูลบริษัท ชื่อบริษัท (ไทย) ชื่อบริษัท (อังกฤษ) สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท เว็บไซต์ ชนิดของหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว จำ�นวนหุ้นสามัญที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมด

: บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน) : Sri Trang Agro-Industry Public Company Limited : เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 ประเทศไทย : 0-7434-4663 (อัตโนมัติ 14 เลขหมาย) : 0-7434-4677, 0-7423-7423, 0-7423-7832 : ผลิตและส่งออกยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน�้ำยางข้น : 0107536001656 : www.sritranggroup.com : หุ้นสามัญ : 1,536,000,000 บาท : 1,535,999,998 บาท : 1,535,999,998 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

ข้อมูลของนิติบุคคลที่ บมจ. ศรีตรัง ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 1. บจ. หน่ำ�ฮั่วรับเบอร์ สถานที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

:

เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110

สถานที่ตั้งสาขา

:

1. เลขที่ 99 หมู่ที่ 3 ตำ�บลสำ�นักขาม อำ�เภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 2. เลขที่ 41 หมู่ที่ 3 ตำ�บลสำ�นักขาม อำ�เภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

237


ประเภทธุรกิจ

:

ผลิตและส่งออกยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง และน�้ำยางข้น

โทรศัพท์

:

0-7437-9984-6, 0-7437-9988-9

โทรสาร

:

0-7437-9987

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

4,999,994 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 101 หมูท่ ี่ 3 ถนนปาดังเบซาร์ ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวังสงขลา 90120

สถานที่ตั้งสาขา

:

1. เลขที่ 369 หมู่ที่ 7 ต�ำบลห้วยนาง อ�ำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง 2. เลขที่ 395 หมู่ที่ 2 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 3. เลขที่ 28 หมู่ที่ 11 ต�ำบลหนองพระ อ�ำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก 65130

ประเภทธุรกิจ

:

แปรรูปไม้ อัดน�้ำยา อบแห้ง และผลิตภัณฑ์ไม้ส�ำเร็จรูป

โทรศัพท์

:

0-7437-9978-9

โทรสาร

:

0-7437-9976

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

9,994 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.94

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 123 หมูท่ ี่ 8 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลบ้านพรุ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90250

สถานที่ตั้งสาขา

:

เลขที่ 133 ถนนรักษ์พรุ ต�ำบลบ้านพรุ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90250

ประเภทธุรกิจ

:

วิศวกรรมบริการ ออกแบบ ผลิต ติดตั้ง และบ�ำรุงรักษา เครื่องจักร

โทรศัพท์

:

0-7422-2900-9

โทรสาร

:

0-7422-2910-12

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

409,996 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 81.99

2. บจ. อันวาร์พาราวูด

3. บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง

238

รายงานประจำ�ปี 2560


4. บจ. รับเบอร์แลนด์ โปรดักส์ สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 109 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะตง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230

สถานที่ตั้งสาขา

:

1. เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ 2. เลขที่ 57 ห้องเลขที่ 1701, 1707-1712 อาคารปาร์คเวนเชอร์ อีโคเพล็กซ์ 3. เลขที่ 338 หมู่ที่ 2 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000 4. เลขที่ 338 หมู่ที่ 1 ต�ำบลโคกม้า อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ 31140 5. เลขที่ 188 หมู่ที่ 10 ต�ำบลบางทรายใหญ่ อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร 49000

ประเภทธุรกิจ

:

ผลิตน�้ำยางข้น / ยางแท่ง

โทรศัพท์

:

0-7429-1223-4, 0-7429-1755, 0-7429-1476

โทรสาร

:

0-7429-1477

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

15,999,994 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 110 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะตง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230

สถานที่ตั้งสาขา

:

1. เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 2. เลขที่ 57 ห้องเลขที่ 1701, 1707-1712 อาคารปาร์คเวนเชอร์ อีโคเพล็กซ์ ชั้น 17 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 3. เลขที่ 109/2 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะตง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 4. เลขที่ 352 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะตง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230 5. เลขที่ 189 หมู่ที่ 7 ต�ำบลพลายวาส อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84160 6. เลขที่ 39/1 หมู่ที่ 9 ต�ำบลทุ่งค่าย อ�ำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง 92140

ประเภทธุรกิจ

:

ผลิตถุงมือยางที่ใช้ในทางการแพทย์

5. บจ. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย)

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

239


โทรศัพท์

:

0-7447-1471, 0-7429-1648-9, 0-7429-1471-5

โทรสาร

:

0-7429-1650

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

16,300 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 81.50

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 110/1 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลพะตง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90230

สถานที่ตั้งสาขา

:

เลขที่ 10 ซอย 10 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110

ประเภทธุรกิจ

:

ผลิตสายไฮดรอลิคแรงดันสูง

โทรศัพท์

:

0-7447-1231-5

โทรสาร

:

0-7447-1230

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

1,425,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 37.50

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 207/1 ถนนปาดังเบซาร์ ต�ำบลสะเดา อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120

ประเภทธุรกิจ

:

ผลิตยางแผ่นรมควัน

โทรศัพท์

:

0-7446-0483-5, 086-489-5264-5

โทรสาร

:

0-7446-0484

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

399,994 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 13/1 ถนนจริงจิตร ต�ำบลทับเที่ยง อ�ำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000

ประเภทธุรกิจ

:

ให้บริการขนส่งทางบกภายในประเทศ

โทรศัพท์

:

0-7550-2900-2

6. บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย

7. บจ. สะเดา พี.เอส. รับเบอร์

8. บจ. สตาร์ ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต

240

รายงานประจำ�ปี 2560


โทรสาร

:

0-7550-2903

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

114,998 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 76.66

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 36/82 อาคารพีเอสทาวเวอร์ ชัน้ 23 ถนนสุขมุ วิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110

ประเภทธุรกิจ

:

ด�ำเนินกิจการสวนยางและสวนปาล์ม

โทรศัพท์

:

02-259-2964-71

โทรสาร

:

02-259-2958

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

26,349,998 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 2 ถนนจุติอุทิศ 3 ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110

ประเภทธุรกิจ

:

ผลิตยางแท่ง

โทรศัพท์

:

0-7423-0768, 0-7423-0406-7, 0-7423-9063-4

โทรสาร

:

0-7423-8650

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

255,028 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 42.50

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 33/109 อาคารวอลล์สตรีททาวเวอร์ ชั้น 21 ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500

ประเภทธุรกิจ

:

นายหน้าซื้อขายสัญญาสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ปัจจุบันไม่มีธุรกรรมแล้ว)

โทรศัพท์

:

0-2632-7300

โทรสาร

:

0-2632-7245

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

1,000,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 40.00

9. บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์

10. บจ. ไทยเทค รับเบอร์

11. บจ. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

241


12. บจ. ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

เลขที่ 121 หมู่ที่ 4 ต�ำบลหนองป่าครั่ง อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50000

ประเภทธุรกิจ

:

ท�ำสวนยางพารา

โทรศัพท์

:

0-5310-6198, 0-5310-6199

โทรสาร

:

0-5310-6196, 0-5310-6197

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

63,549,993 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.99

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

1 Wallich Street, No. 25-02, Guoco Tower, 078881, Singapore

ประเภทธุรกิจ

:

จัดจ�ำหน่ายยางธรรมชาติและถุงมือยางในสิงคโปร์

โทรศัพท์

:

65-6532-5210, 65-6532-5321

โทรสาร

:

65-6532-7501

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ ถือครองทางตรง

:

61,000,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 100.00

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

5401 W. Kennedy Boulevard, Suite 760, Tampa, Florida, 33609, United States

ประเภทธุรกิจ

:

จัดจ�ำหน่ายยางธรรมชาติและถุงมือยางในสหรัฐอเมริกา

โทรศัพท์

:

1-813-606-4301

โทรสาร

:

1-813-606-4314

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

1,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 100.00

13. Sri Trang International

14. Sri Trang USA Inc.

242

รายงานประจำ�ปี 2560


15. PT Sri Trang Lingga สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

Jalan TPA2, RT.26 & 29 Keramasan, Palembang, South Sumatera, Palembang, 30259, PO BOX 1230, Indonesia

ประเภทธุรกิจ

:

ผลิตยางแท่ง

โทรศัพท์

:

62-711-445-666

โทรสาร

:

62-711-445-222

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

18,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 90.00

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

1 Wallich Street, No. 25-02, Guoco Tower, 078881, Singapore

ประเภทธุรกิจ

:

ลงทุนใน PT Star Rubber

โทรศัพท์

:

65-6532-5210, 65-6532-5321

โทรสาร

:

65-6532-7501

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ Sri Trang International ถือครองทางตรง

:

48,000,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 100.00

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

Jalan Trans Kalimantan KM. 16, Desa Jawa Tengah Kec. Sungai Ambawang, Kab Kubu Raya-Kalbar, Pontianak, 78393, Kalimantan Barat, PO Box 7864, Indonesia

สถานที่ตั้งสาขา

:

Jl. Lintas Sumatera Km. 52, RT. 005 Desa Sirih Sehapur, Kec. Jujuhan, Kab. Muara Bungo, 37257, Jambi, Indonesia

ประเภทธุรกิจ

:

ผลิตยางแท่ง

โทรศัพท์

:

62-561-724-888, 62-561-724-591-2

โทรสาร

:

62-561-724-593

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ Shi Dong Investments ถือครองทางตรง

:

41,400 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 99.00

16. Shi Dong Investments

17. PT Star Rubber

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

243


18. Shi Dong Shanghai สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

5F East, Block B of W Square, No. 1686 Wuzhong Road, Minhang District, Shaghai, China 201103

ประเภทธุรกิจ

:

จัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติและถุงมือยางในสาธารณรัฐ ประชาชนจีน

โทรศัพท์

:

86-21-6413-7860

โทรสาร

:

86-21-6413-7315

ชนิดของหุ้น

:

ส่วนทุน

ส่วนได้เสียที่ บมจ. ศรีตรัง มีอยู่ทางตรง

:

5,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 100.00

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

Room No. 7.01A, 7th Floor, Vietnam Business Center Building, 57-59 Ho Tung Mau Street, Ben Nghe Ward, District 1, Ho Chi Minh City, Vietnam

ประเภทธุรกิจ

:

ซื้อขายและด�ำเนินการส่งออกผลิตภัณฑ์จากยางพารา

โทรศัพท์

:

848-3821-6869

โทรสาร

:

848-3821-6877

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ Sri Trang International ถือครองทางตรง

:

คิดเป็นร้อยละ 100.00

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

Mudon Crumb Rubber Factory, 848/1221 Kankalay Plot, Kyone Phite Village, Mudon Township, 12081, Mawlamyine, Mon State, Myanmar

ประเภทธุรกิจ

:

ผลิตยางแท่ง

โทรศัพท์

:

959-9638-82676

โทรสาร

:

N/A

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ Sri Trang International ถือครองทางตรง

:

คิดเป็นร้อยละ 59.00

19. Sri Trang Indochina

20. Sri Trang Ayeyar

244

รายงานประจำ�ปี 2560


21. Shidong Shanghai Medical Equipment สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

5th Floor, Block B of W Square, No. 1686 Wuzhong Road, Minhang District, Shanghai, China 201103

ประเภทธุรกิจ

:

จัดจ�ำหน่ายถุงมือยางในสาธารณรัฐประชาชนจีน

โทรศัพท์

:

8621-64137860-616

โทรสาร

:

8621-64137315

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บจ. สตาร์เท็กซ์รับเบอร์ ถือครองทางตรง

:

คิดเป็นร้อยละ 100.00

สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

:

67/25 ถนนบางขุนนนท์ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประเภทธุรกิจ

:

ซื้อขาย แลกเปลี่ยน ยางพาราทั้งในและต่างประเทศ

โทรศัพท์

:

N/A

โทรสาร

:

N/A

ชนิดของหุ้น

:

หุ้นสามัญ

จ�ำนวนหุ้นทั้งหมดที่ บมจ. ศรีตรัง ถือครองทางตรง

:

คิดเป็นร้อยละ 16.67

22. บจ. ร่วมทุนยางพาราไทย

บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

245


คำ�นิยาม นอกจากจะก�ำหนดไว้เป็นอย่างอื่นในเอกสารฉบับนี้ ให้ค�ำดังต่อไปนี้มีความหมายดังนี้ กยท. ตลาดหลักทรัพย์ฯ เซมเพอร์ริท หรือ Semperit Technische บจ. เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย หรือ SAC บจ. ไทยเทค บจ. พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง บจ. พัฒนาเกษตรล่วงหน้า บจ. รับเบอร์แลนด์ บจ. ศรีตรังโฮลดิ้งส์ บจ. ศรีตรังแพลนเทชั่น บจ. ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) หรือ STGT บจ. สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ บจ. สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรสทรานสปอร์ต บจ. สะเดา พี.เอส. รับเบอร์ บจ. หน�่ำฮั่ว บจ. อันวาร์พาราวูด บจ. [ชื่อ] บมจ. [ชื่อ] บมจ. ศรีตรัง หรือ STA บริษัทฯ พ.ร.บ. หลักทรัพย์

หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ส�ำนักงาน ก.ล.ต. CDP PT Sri Trang Lingga PT Star Rubber RSS Shi Dong Investments Shi Dong Shanghai Shi Dong Shanghai Medical Equipment Sri Trang Ayeyar Sri Trang Indochina Sri Trang International Sri Trang USA TSD TSR

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

246

รายงานประจำ�ปี 2560

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

การยางแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Semperit Technische Produkte Gesellscha m.b.H. ซึ่งเป็น บริษัทย่อยของ Semperit AG Holding บริษัท เซมเพอร์เฟล็กซ์ เอเซีย จ�ำกัด บริษัท ไทยเทค รับเบอร์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด บริษัท พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด บริษัท พัฒนาเกษตรล่วงหน้า จ�ำกัด บริษัท รับเบอร์แลนด์โปรดักส์ จ�ำกัด บริษัท ศรีตรัง โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด บริษัท ศรีตรัง รับเบอร์ แอนด์ แพลนเทชั่น จ�ำกัด บริษัท ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท สตาร์เท็กซ์ รับเบอร์ จ�ำกัด บริษัท สตาร์ไลท์ เอ็กซ์เพรส ทรานสปอร์ต จ�ำกัด บริษัท สะเดา พี.เอส. รับเบอร์ จ�ำกัด บริษัท หน�่ำฮั่วรับเบอร์ จ�ำกัด บริษัท อันวาร์พาราวูด จ�ำกัด บริษัท [ชื่อ] จ�ำกัด บริษัท [ชื่อ] จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) บมจ. ศรีตรัง และบริษทั ย่อยของ บมจ. ศรีตรัง ทีร่ วมอยูใ่ นงบการเงินรวม พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม) ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ The Central Depository (Pte) Limited PT Sri Trang Lingga Indonesia PT Star Rubber Indonesia Ribbed Smoked Sheet Shi Dong Investments Pte. Ltd. Shi Dong Shanghai Rubber Co., Ltd. Shi Dong Shanghai Medical Equipment Co., Ltd. Sri Trang Ayeyar Rubber Industry Co., Ltd. Sri Trang Indochina (Vietnam) Co., Ltd. Sri Trang International Pte. Ltd. Sri Trang USA, Inc. บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด Technically Specified Rubber


บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำ�กัด (มหาชน)

247


248

รายงานประจำ�ปี 2560


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.