คู่มือการศึกษาค้นคว้าสารสนเทศจากห้องสมุด สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2553

Page 1


คู่มือการค้ นคว้ าสารสนเทศจากห้ องสมุด สาหรั บนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจาปี การศึกษา 2553

โดย ฝ่ ายบริการสื่อการศึกษา สานักบรรณสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2553


คูมือการคนควาสารสนเทศจากหองสมุด สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจําปการศึกษา 2553 จํานวนพิมพ 1,650 เลม พฤษภาคม 2553

คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย ดร.สมพร พุทธาพิทักษผล

ผูอํานวยการสํานักบรรณสารสนเทศ

บรรณาธิการ นางสาวพรทิพย สุวันทารัตน

หัวหนาฝายบริการสื่อการศึกษา

ผูประสานงานการจัดพิมพ นางสุธัญณิช หุน หลา

หัวหนาหนวยบริการสื่อโสตทัศน


สารบัญ หนา คํานํา บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4

สํานักบรรณสารสนเทศ....………………..…...…………………………………. 1 ทรัพยากรสารสนเทศและบริการหองสมุด....................................................... 5 การคนฐานขอมูล............……...…………………………….…………………. 21 เอกสารประกอบการใชบริการหองสมุด.......................................................... 45 1. แบบคําขอใชบริการสารสนเทศ…………….…….……….……………..…... 45 1.1 แบบคําขอใชบริการคนหาสารสนเทศ……………………..……….......... 46 1.2 แบบคําขอใชบริการถายสําเนาเอกสาร………..…………………..…….. 47 2. รายชื่อหนวยงานและสถานที่ติดตอในเครือขายความรวมมือ....................... 48 2.1 ศูนยวทิ ยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช………..................... 48 2.2 ศูนยวทิ ยบริการบัณฑิตศึกษา………………..…………………..…….. 52 2.3 หองสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ..................................................... 53 2.4 ขายงานหองสมุดมหาวิทยาลัยสวนภูมิภาค (Pulinet).......................... 56


บทที่ 1 สํานักบรรณสารสนเทศ สํานักบรรณสารสนเทศทําหนาที่เปนหองสมุดของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จัดตั้ง และเปดใหบริการพรอมกับการเปดมหาวิทยาลัย เมื่อป พ.ศ.2522 โดยมีวิสัยทัศนและพันธกิจใน การดําเนินงาน ดังนี้ • วิสัยทัศน : สํานักบรรณสารสนเทศเปนหองสมุดมหาวิทยาลัยในระบบการศึกษา ทางไกลที่พัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อใหบริการมีคุณภาพและทันสมัย ดวยความเอาใจใส • พันธกิจ : จัดบริการหองสมุดและสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการผลิตและจัดทํา สื่อการศึกษาและสื่ออื่น ๆ ในระบบการศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัย อันเปนการสนับสนุนและ สงเสริมภารกิจทุกดานของมหาวิทยาลัย : จัดบริการหองสมุดและสารสนเทศและการสงเสริมการคนควาดวยตนเอง เพื่อการศึกษาคนควาและวิจัยของคณาจารย บุคลากร นักศึกษา ผูเรียนในระบบการศึกษาทางไกล ของมหาวิทยาลัยและประชาชนทั่วไป : จัดบริการสารสนเทศที่เกี่ยวของกับประวัติ พัฒนาการ และอัตลักษณ ของมหาวิทยาลัย สํา นักบรรณสารสนเทศทํา หนา ที่จัด หา รวบรวม วิเคราะหห มวดหมู จัดทําเครื่อ งมือ ชว ยคน จัด เก็บ และนํา ทรัพ ยากรสารสนเทศทุก ประเภทออกใหบ ริก ารในรูป ของสื่อ สิ่ง พิม พ สื่อ โสตทัศน และสื่ออิเล็กทรอนิกสที่สอดคลองกับวัตถุประสงค นโยบาย และหลักสูตรการเรียน การสอนของมหาวิทยาลัย เพื่อใหสามารถจัดและใหบริการหองสมุดและสารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ ไดแก บริการชวยการคนควาสารสนเทศจากทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท บริการคนสารสนเทศ จากฐานขอมูลตาง ๆ บริการรวบรวมบรรณานุกรม บริการการอานภายในหองสมุด บริการยืม-คืน บริการถายสําเนาเอกสาร การจัดบริการจะครอบคลุมกลุมเปาหมายทั้งในสวนกลาง คือ ที่ทําการของ มหาวิทยาลัย จังหวัดนนทบุรี และสวนภูมิภาค ไดแก ศูนยวิทยพัฒนาจํานวน 10 แหงทั่วประเทศ ศูนยวิทยบริการบัณฑิตศึกษา จํานวน 2 แหง และศูนยบริการการศึกษาเฉพาะกิจมุม มสธ. จํานวน ประมาณ 90 แหง


2

นอกจากบริการหองสมุดและสารสนเทศทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาคแลว สํานักบรรณสาร สนเทศยังมีเครือขายความรวมมือระหวางหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา จํานวน 28 แหงทั่วประเทศ และเครือขายความรวมมือระหวางหองสมุดมหาวิทยาลัยสวนภูมิภาค (Pulinet) จํานวน 20 แหง ซึ่งนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสามารถเขาใชบริการไดอีกดวย สํา นัก บรรณสารสนเทศจัด ใหบ ริก ารหอ งสมุด และสารสนเทศทั้ง ในสว นกลางและสว น ภูมิภาค ดังนี้ 1. การบริการในสวนกลาง จัดใหบริการ ณ ที่ทําการมหาวิทยาลัย ตําบลบางพูด อําเภอ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี การติดตอขอใชบริการในสวนกลาง ติดตอไดที่ สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 โทรศัพท : 0 2504 7464 - 5 โทรสาร : 0 2503 3604 E-mail : tippawan.oan@stou.ac.th dilibrary@hotmail.com เวลาเปดบริการ ทั่วไป วันจันทร – วันศุกร เวลา 8.30 – 16.30 น. วันเสาร เวลา 8.30 – 19.30 น. วันหยุดนักขัตฤกษ ปดบริการ ชวงมีกิจกรรมสัมมนาเขมวิทยานิพนธมีการขยายเวลาเพิ่มเติม ดังนี้ วันอาทิตย เวลา 8.30 – 16.30 น. นักศึกษาสามารถตรวจสอบวัน/เวลาเปดบริการที่เว็บไซตของหองสมุด http://library.stou.ac.th


3

2. การบริการในสวนภูมิภาค 2.1 ศูนยวิทยพัฒนา เปนเครือขายการใหบริการหองสมุดและสารสนเทศในระดับภาค กระจายอยูตามภูมิภาครวม 10 จังหวัด ไดแก ศูนยวิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช, นครสวรรค, อุบลราชธานี, เพชรบุรี, สุโขทัย, ลําปาง, อุดรธานี, จันทบุรี, ยะลา และนครนายก ศูนยวิทยพัฒนาแต ละศูนยครอบคลุมพื้นที่ใหบริการ 5 - 10 จังหวัด นักศึกษาสามารถใชบริการศูนยวิทยพัฒนาใกลบาน ซึ่งเปดใหบริการวันจันทร – วันเสารในเวลาราชการ และวันอาทิตยที่มีการจัดกิจกรรมการสัมมนา บัณฑิตศึกษา ณ ศูนยฯ นั้นๆ นักศึกษาสามารถดูรายละเอียดสถานที่ตั้งของศูนยแตละแหงไดจาก บทที่ 4 และศึกษารายละเอียดระเบียบการใหบริการหองสมุดศูนยวิทยพัฒนาจากคูมือนักศึกษา บัณฑิตศึกษา ปการศึกษา 2553 นอกจากนี้นักศึกษาสามารถเขาดูรายละเอียดของสํานักวิทยพัฒนา และศู น ย วิ ท ยพั ฒ นาแต ล ะศู น ย ไ ด จ ากเว็ บ ไซต ข องสํ า นั ก วิ ท ยพั ฒ นาที่ http://www.stou.ac.th/ Offices /rdec/headquater/home/ ซึ่งจะมีทางเลือกเชื่อมตอไปยังศูนยวิทยพัฒนาแตละแหงดวย 2.2 ศูนยวิทยบริการบัณฑิตศึกษา เปนเครือขายการใหบริการหองสมุดและสารสนเทศใน ระดับภาค ที่มหาวิทยาลัยจัดตั้งขึ้นโดยไดรับความรวมมือจากสวนราชการอื่นใหใชสถานที่เปนที่ตั้ง ของศูน ยวิทยบริการบัณฑิตศึกษา เพื่อใหบริ การแกนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและประชาชน ปจจุบันมีศูนยวิทยบริการบัณฑิตศึกษา จํานวน 2 แหง ไดแก หอสมุดรัชมังคลาภิเษก วังไกลกังวล อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ และ หอสมุดติณสูลานนท โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา 2.3 ศูนยบริการการศึกษาเฉพาะกิจ มุม มสธ. เปนเครือขายการใหบริการหองสมุดและ สารสนเทศในระดับจังหวัด ที่มหาวิทยาลัยจัดตั้งขึ้นเพื่อบริการใหแกนักศึกษาของมหาวิทยาลัยและ ประชาชน ตั้ ง อยู ใ นห อ งสมุ ด ประชาชนประจํ า จั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด และห อ งสมุ ด ประชาชนใน กรุงเทพมหานคร ปจจุบันมี “มุม มสธ.” รวมทั้งสิ้นประมาณ 90 แหง


บทที่ 2 ทรัพยากรสารสนเทศและบริการหองสมุด 1. ทรัพยากรสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง ขอมูล ขาวสาร ขอเท็จจริง ความรู ความคิด ประสบการณ ที่ ไดผานกระบวนการคัดสรร กลั่นกรอง วิเคราะหและบันทึกไวโดยใชภาษา ภาพ สัญลักษณ รหัส และ อื่น ๆ ลงบนวัสดุ และนําออกเผยแพรสูสาธารณะ โดยวัสดุที่ใชบันทึกมีหลายชนิด ไดแก กระดาษ วัสดุประเภทสื่อแมเหล็ก ทรัพยากรสารสนเทศแตละประเภทมีรายละเอียดที่นาสนใจ ดังนี้ 1.1 สื่อสิ่งพิมพ หมายถึง วัสดุตีพิมพ ไดแก สื่อสิ่งพิมพที่รวบรวมเปนเลมจากการตีพิมพ เปนวัสดุเพื่อการอานและการศึกษาคนควาตาง ๆ ที่หองสมุดไดรวบรวม จัดหา จัดเก็บ เพื่อใหบริการ ในหองสมุด เปนวัสดุที่พิมพดวยกระดาษ มีรูปลักษณะตาง ๆ กัน ไดแก หนังสือ วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ สื่อสิ่งพิมพที่นักศึกษาควรรูจัก มีดังนี้ หนังสือทั่วไป เปนสิ่งพิมพที่มีเนื้อหาครอบคลุมเรื่องราวและความรูในสาขาวิชาตาง ๆ แบงออกเปนหนังสือวิชาการประเภทตําราที่ใหความรูเฉพาะ ความรูพื้นฐานของสาขาวิชา หรือ ความรูทั่วไป ประเภทสารคดี และบันเทิงคดี ไดแก นวนิยาย เรื่องสั้น การจัดเรียงหนังสือบนชั้น ใชระบบการจัดหมวดหมูหนังสือแบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือที่เรียกโดยยอวา “ระบบ LC” (Library of Congress Classification Scheme) ที่มีการจัด หมวดหมูโดยการแบงเนื้อหาหลักออกเปนหมวดหมู A - Z และมีตัวเลขแทนเนื้อหายอยลงไป มี การเรียงลําดับตามหมวด และภายในหมวดเดียวกันจะเรียงจากเลขนอยไปหาเลขมาก และถาเปน หนังสือที่มีเลขหมูเดียวกันจะเรียงตามลําดับอักษรยอและตัวเลขในบรรทัดถัดมา RT RT RT RT RT 41 48.5 84.5 84.5 86 F85 D5 จ63 M535 A46 2008 2009 2546 2009 2009 ตัวอยางการจัดเรียงหนังสือบนชั้น การจัดเก็บ หนังสือทั่วไป วิทยานิพนธ จัดเก็บในระบบชั้นเปด โดยเรียงรวมกันระหวาง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ ใช บ ริ ก ารได ทั้ ง ภายในห อ งสมุ ด และให ยื ม ออก หนั ง สื อ ทั่ ว ไป


6

วิทยานิพนธของ มสธ. และวิทยานิพนธของสถาบันอื่นจัดเก็บและใหบริการที่ชั้น 3 และเอกสารการ สอนชุดวิชาของมหาวิทยาลัยทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท จัดเก็บและใหบริการที่ชั้น 4 หนังสืออางอิง เปนสิ่งพิมพสําหรับคนควาประกอบความรู และความเขาใจพื้นฐาน มุงใหขอเท็จจริง โดยเสนอความรูและเรื่องราวตาง ๆ อยางกะทัดรัด มีการกําหนดขอบเขตและ ระยะเวลาที่ครอบคลุม เรียบเรียงเปนระบบเพื่อใชไดสะดวกและรวดเร็ว โดยมีระบบสารบาญและ ดรรชนีชวยคน พรอมทั้งเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงเนื้อหาใหทันสมัยเสมอ หนังสืออางอิงมีการจัดทํา เปนหนังสืออางอิงทั่วไปที่รวบรวมความรูสาขาวิชาตาง ๆ เขาดวยกัน และหนังสืออางอิงเฉพาะ เนื้อหาวิชาดานใดดานหนึ่ง ในการกําหนดเลขหมู จะมีตัวอักษร R อยูเหนือเลขหมู การจัดเก็บ หนังสืออางอิงจัดเก็บในระบบชั้นเปด โดยเรียงรวมกันระหวางภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ใหใชไดเฉพาะภายในหองสมุดเทานั้น จัดเก็บและใหบริการที่ชั้น 1 วารสาร เป น สิ่ง พิ ม พ ที่มีกํ า หนดออกอยา งตอ เนื่ อ งเป น รายตา ง ๆ เชน รายสั ปดาห รายปกษ รายเดือน ราย 2 เดือน ราย 3 เดือน เปนตน โดยเนื้อหาประกอบดวยบทความหลาย บทความในแต ล ะฉบั บ โดยมี ผู เ ขี ย นหลายคน วารสารมี ค วามสํ า คั ญ สํ า หรั บ การศึ ก ษาระดั บ บัณฑิตศึกษา เพราะเปนสื่อที่ใหสารสนเทศทันสมัย ทันตอเหตุการณในปจจุบัน มีทั้งวารสาร ภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ผลิตในรูปของเอกสารฉบับพิมพ และฉบับอิเล็กทรอนิกส การจัดเก็บ วารสารฉบับปจจุบันและวารสารฉบับยอนหลังจัดเก็บและใหบริการที่ชั้น 1 โดยแยกเปนกลุมตาง ๆ ดังนี้ - วารสารฉบับปจจุบันจัดเรียงตามลําดับรหัสที่กําหนดจากอักษรตัวแรกของ ชื่อวารสารและจัดเก็บบนชั้นวารสารใหม (ชั้นแบบหมุน) - วารสารฉบับยอนหลัง 1-2 ป จัดเก็บในระบบชั้นเปด โดยจัดเก็บในกลองเรียง ตามชื่อวารสาร - วารสารฉบับยอนหลังตั้งแต 3 ปขึ้นไป มีทั้งฉบับเย็บเลมและที่จัดเก็บในระบบ ชั้นปด สําหรับวารสารหลักในแตละสาขาวิชาจะนํามาเย็บเลมรวมแตละป และจัดเก็บในระบบ ชั้นเปด สําหรับศูนยวิทยพัฒนา มสธ. มีใหบริการเฉพาะวารสารวิชาการภาษาไทย และบริการ เวียนหนาสารบาญวิชาการภาษาอังกฤษทุกสาขาวิชา นักศึกษาสามารถขอใชบริการสําเนาบทความ วารสารได ทั้ ง จากส ว นกลางและศู น ย วิ ท ยพั ฒ นา และสามารถค น หารายชื่ อ วารสารที่ สํ า นั ก บรรณสารสนเทศมีใหบริการไดที่เว็บไซต http://library.stou.ac.th เลือกหัวขอ “สารสนเทศใน หองสมุด” โดยคลิกดู “รายชื่อวารสาร” ซึ่งจะลิงกไปยังหนาสารบาญฉบับลาสุดใหดวย และวารสาร บางชื่อสามารถลิงคไปยังวารสารฉบับเต็มไดดวย


7

1.2 สื่ อ โสตทั ศ น หมายถึง วัสดุ ที่ไมตีพิม พ ใหส ารสนเทศเปน ภาพและเสีย งที่ ช ว ยใน การศึกษาเรื่องราวตาง ๆ ใหเขาใจไดอยางรวดเร็วและจดจําไดนาน สื่อโสตทัศนมีหลายรูปแบบ และ เปลี่ยนแปลงไปตามพัฒนาทางเทคโนโลยี แบงไดเปน 3 ชนิด คือ 1.2.1 สื่อโสตทัศนประเภทภาพ ไดแก วีซีดี ดีวีดี และวัสดุยอสวน 1.2.2 สื่อโสตทัศนประเภทเสียง ไดแก ซีดี 1.2.3 สื่อโสตทัศนประเภทวัสดุกราฟก ไดแก รูปภาพ และแผนที่ การจัดเก็บ สื่อโสตทัศนจัดเก็บในระบบชั้นปด โดยเรียงแยกตามประเภทของสื่อโสตทัศน และรหัสนําคน จัดเก็บและใหบริการที่ชั้น 4 1.3 สื่ออิเล็กทรอนิกส หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึกและจัดเก็บในรูปดิจิทัลบน สื่อที่ตองใชคอมพิวเตอรอาน โดยมีการจัดทําเปนฐานขอมูล ประกอบดวย ฐานขอมูลประเภทตาง ๆ เชน ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร ฐานขอมูลวิทยานิพนธ ฐานขอมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส การจัดเก็บและใหบริการ นักศึกษาสามารถเขาถึงและคนสื่ออิเล็กทรอนิกสไดจากหนา เว็บไซตของสํานักบรรณสารสนเทศ http://library.stou.ac.th เลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศ ดิจิทัล” แลวเลือกฐานขอมูลที่ตองการ

2. บริการหองสมุด สํานักบรรณสารสนเทศ และศูนยวิทยพัฒนาทั้ง 10 แหง ไดจัดบริการประเภทตาง ๆ เพื่อ รองรับการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ไดแก 2.1 บริการใชสื่อการศึกษาภายในหองสมุด เปนบริการที่จัดเตรียมสื่อการศึกษา มุมอาน และหองคนควาเดี่ยว/กลุมเพื่อการอาน และการคนควา รวมทั้งบริการเครือขายไรสาย โดยนักศึกษาสามาถเลือกใชสื่อการศึกษาที่จัดไว ในแตละชั้น ดังนี้ ชั้น 1 หนังสืออางอิง วารสารฉบับปจจุบันและฉบับยอนหลัง สิ่งพิมพ มสธ. ตํารา และหลักสูตร ชั้น 3 หนังสือทั่วไป วิทยานิพนธของ มสธ. และวิทยานิพนธของสถาบันอื่น ชั้น 4 สื่อโสตทัศน เอกสารการสอนชุดวิชา สิ่งพิมพที่เกี่ยวกับการศึกษาทางไกล


8

2.2 บริการยืม – คืน การใหบริการยืม และคืนสื่อการศึกษาของหองสมุด นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทุก สาขาวิชาสามารถใชบัตรประจําตัวนักศึกษาในการยืมสื่อการศึกษาได ทั้งนี้สํานักบรรณสารสนเทศ ไดจัดทําขอบังคับการยืม – คืนสื่อการศึกษาเพื่อเปนขอบังคับในการใชบริการ ซึ่งนักศึกษาตองปฏิบัติ ตาม ภายในขอบังคับนี้ไดระบุประเภท กําหนดเวลาการยืมของสื่อการศึกษาที่ใหยืม และสื่อการศึกษาที่ ไมอนุญาตใหยืมออกไวในระเบียบการใชบริการหองสมุดมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ป 2544 (นักศึกษาสามารถเรียกดูไดจากหนาเว็บไซตของสํานักบรรณสารสนเทศที่ “ขอมูลหองสมุด” โดยคลิก ที่ “ระเบียบ / ประกาศ”) 2.3 บริการตอบคําถามและชวยการคนควา บริ ก ารตอบคํ า ถามและช ว ยการค น คว า เป น บริ ก ารช ว ยค น สารสนเทศจากแหล ง สารสนเทศตาง ๆ ตามความตองการ นักศึกษาสามารถติดตอขอใชบริการชวยการคนควาไดดวย ตนเอง ณ ที่ทําการสวนกลางและศูน ยวิท ยพัฒ นา หรือ ติด ตอ ทางโทรศัพ ท โทรสาร ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกส หรือที่หนาเว็บไซตของสํานักบรรณสารสนเทศ ทั้งนี้ในการขอใชบริการแตละครั้ง นัก ศึกษาตองกรอกแบบคําขอใชบริการคนสารสนเทศใหละเอียด โดยเฉพาะหากนักศึกษาไมมี โอกาสติดตอบรรณารักษดวยตนเอง นักศึกษาจําเปนตองระบุขอมูลและกรอกรายละเอียดในแบบ คํา ขอใชบ ริก ารคน หาสารสนเทศใหล ะเอีย ดมากที่สุด เพื่อ ใหก ารคน สารสนเทศดํา เนิน การได รวดเร็วและไดผลการคนที่ตรงกับความตองการมากที่สุด (นักศึกษาสามารถขอใชบริการตอบ คํ า ถามและช ว ยการค น คว า ได จ ากหน า เว็ บ ไซต ข องสํ า นั ก บรรณสารสนเทศที่ “บริ ก ารสมาชิ ก หองสมุด” โดยคลิกที่ “แบบฟอรมการขอใชบริการ”) ขอมูลสําคัญที่นักศึกษาควรระบุใหชัดเจน ไดแก - เรื่องหรือขอบเขตเนื้อหาที่ตองการคนอยางละเอียด รวมทั้งคําสําคัญ (Keyword) ทั้ง ภาษาไทยและอังกฤษ - ระบุประเภทของสารสนเทศ เชน ตองการเฉพาะวิทยานิพนธ งานวิจัย บทความวารสาร บทความวิจัย รายงานการประชุม หรือหนังสือทั่วไป - ความทันสมัยของสารสนเทศที่ตองการ เชน เอกสารที่จัดพิมพ 10 ปยอนหลังหรือไมเกิน 5 ปยอนหลังจากปจจุบัน เพื่อจํากัดขอบเขตสารสนเทศในกรณีที่มีจํานวนมาก และจะไดเ ฉพาะ สารสนเทศที่เ ปน ปจจุบัน มากที่สุด ยกเวน ในกรณีไมมีปปจจุบัน จะคน หาขอมูลปยอนหลังที่เปน ปลาสุดให - ภาษาของสารสนเทศ ตองการเฉพาะภาษาไทย / อังกฤษ


9

- ลักษณะของสารสนเทศที่ตอ งการ เชน ตองการเฉพาะเอกสารฉบับสมบูรณ หรือ บรรณานุกรม หรือบทคัดยอ ทั้งนี้ ในการคนควาหาขอมูลบรรณารักษจะคนหาสารสนเทศจากแหลงสารสนเทศที่มี ใหบ ริก ารในสํา นัก บรรณสารสนเทศและศูน ยวิท ยพัฒ นา 10 แหง เปน ลํา ดับ แรก หากไมพ บ สารสนเทศตามที่ตองการ จึงจะเลือกคนจากแหลงสารสนเทศอื่นโดยเฉพาะการคนผานเครือขาย อิน เทอรเ น็ต ซึ่ง เปน ขั้น ตอนที่ตอ งใชเ วลา ดัง นั ้น นัก ศึก ษาควรแจง กํ า หนดเวลาที่ตอ งการใช เอกสารดวย


10

ตัวอยางแบบคําขอใชบริการคนสารสนเทศ (เฉพาะสวนที่นักศึกษาตองดําเนินการ)

วันที่ขอใชบริการ 29 มกราคม 2553

ผูรับเรื่อง

วรรณา

แบบคําขอใชบริการคนหาสารสนเทศ สถานภาพ ปริญญาโท ปริญญาเอก รหัสนักศึกษา 2495100410 ชื่อ- นามสกุล นางลักขณา ใจสม แขนงวิชา บริหารพยาบาล สาขาวิชา พยาบาลศาสตร ที่อยูที่สามารถติดตอได โรงพยาบาลแมสาย อ.แมสาย จ.เชียงราย รหัสไปรษณีย 57130 โทรศัพท E-mail lakkana.jai@mystou.net _______ เรื่องที่ตองการสืบคน (โปรดระบุคําสําคัญ / หัวเรื่องที่ตองการทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) การประเมินผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ หัวขอวิทยานิพนธ ความสัมพันธระหวางความสามารถในการเผชิญปญหาและอุปสรรคกับการปฏิบัติงานของ พยาบาลวิชาชีพ ตองการคําตอบภายในวันที่ 4 กุมภาพันธ 2553 ประเภทของสารสนเทศที่ตองการ หนังสือ/ตํารา บทความวารสาร วิทยานิพนธ/งานวิจัย อินเทอรเน็ต ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส อื่นๆ (ระบุ) ______ ระยะเวลาของขอมูลที่ตองการ 5 ป ยอนหลัง 10 ป ยอนหลัง อื่นๆ (ระบุ) __________ ภาษาของสารสนเทศ

ไทย

รูปแบบผลการคนที่ตองการ

บรรณานุกรม บทคัดยอ อื่นๆ (ระบุ) __________

การจัดสงเอกสาร

รับดวยตนเอง ไปรษณียพัสดุ

อังกฤษ เอกสารฉบับสมบูรณ

ไปรษณียธรรมดา ไปรษณียดวนพิเศษ ไปรษณียลงทะเบียน E-mail


11

2.4 บริการถายสําเนาเอกสาร เปนบริการตอเนื่องจากบริการคนหาสารสนเทศ ในกรณีที่นักศึกษาไดรับผลการคน สารสนเทศและตองการเอกสาร นักศึกษาสามารถใชบริการถายสําเนาเอกสาร โดยใชแบบ คําขอใชบริการถายสําเนาเอกสาร ซึ่งนักศึกษาควรระบุขอมูลในแบบคําขอใชบริการถายสําเนา เอกสารใหชัดเจนเพื่อผูใหบริการจะไดดําเนินการไดรวดเร็ว (นักศึกษาสามารถขอใชบริการถาย สําเนาเอกสารไดจากหนาเว็บไซตของสํานักบรรณสารสนเทศที่ “บริการสมาชิกหองสมุด” โดยคลิกที่ “แบบฟอรมการขอใชบริการ”)

ตัวอยางแบบคําขอใชบริการถายสําเนาเอกสาร (เฉพาะสวนที่นักศึกษาตองดําเนินการ) แบบคําขอใชบริการถายสําเนาเอกสาร ผูรับเรื่อง

อําพร

สถานภาพ

วันที่

ปริญญาโท

5 ก.พ. 53

คามัดจําลวงหนา

200

บาท

ปริญญาเอก

ชื่อ- นามสกุล ศศิเพ็ญ เดือนแจม รหัสนักศึกษา 2515111199 แขนงวิชา บริหารพยาบาล สาขาวิชา พยาบาลศาสตร ที่อยูที่สามารถติดตอได โรงพยาบาลกรุงเทพ เลขที่ 2 ซอย ศูนยวิจัย 7 ถนน เพชรบุรีตัดใหม กรุงเทพฯ _______________________ รหัสไปรษณีย 10310__________โทรศัพท ________E-mail เอกสารที่ตองการถายสําเนา (โปรดระบุรายการบรรณานุกรมใหครบถวน หรือ มากทีส่ ุด) วิทยานิพนธ/งานวิจัย หนังสือ บทความวารสาร อื่นๆ (ระบุ) _________ กาญจนา อาชีพ เรื่อง การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะของหัวหนาหอผูปวยโรงพยาบาลศิริราช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ป 2549 _______________________________________________________________________________________ ลักษณะเอกสารที่ตองการ ทั้งเลม เฉพาะบทคัดยอ เฉพาะบรรณานุกรม เฉพาะบทที่ __________________ เฉพาะหนาที่____________ การจัดสงเอกสาร

รับดวยตนเอง (ว/ด/ป) ____________ ไปรษณียธรรมดา ไปรษณียดวนพิเศษ ไปรษณียพ ัสดุ ไปรษณียลงทะเบียน E-mail


12

นักศึกษาควรศึกษาแบบคําขอใชบริการถายสําเนาเอกสารดังกลาว และกรอกรายละเอียด ใหครบถวน โดยเฉพาะขอมูลสําคัญที่ควรระบุ ไดแก 1) รายละเอียดบรรณานุกรมที่สมบูรณหรือมากที่สุดเทาที่หาได ขอมูลบรรณานุกรมที่ สําคัญ ไดแก ชื่อผูเขียน ชื่อหนังสือ/วิทยานิพนธ ปที่พิมพ และกรณีการขอสําเนาวิทยานิพนธควร ระบุวาเปนวิทยานิพนธของมหาวิทยาลัยใด ขอมูลบรรณานุกรมที่สมบูรณและถูกตองจะสงผลให ผูใชไดสําเนาเอกสารอยางรวดเร็ว และตรงกับความตองการ 2) จํานวนบทที่/หนาที่ตองการสําเนา เชน ถายทั้งเลม หรือถายเฉพาะบางบท หากไมระบุ ใหชัดเจนจะไมสามารถดําเนินการใหได 3) ขอมูลนักศึกษาและการจัดสงเอกสาร นักศึกษาจะตองใหขอมูลสถานภาพตนเอง ที่อยู/ หมายเลขโทรศัพท/E-mail ที่ติดตอไดใหสมบูรณชัดเจน เพื่อการจัดสงที่ถูกตอง รวมทั้งวิธีการจัดสง เอกสารหากไมระบุวิธีการจัดสง สํานักฯ จะจัดสงใหโดยไปรษณียธรรมดา กรณีเปนเอกสารที่ไมมีใหบริการในสํานักฯ จึงจะคน/ถายเอกสารจากหนวยงานอื่น ตอไป ซึ่งตองใชเวลาในการดําเนินงาน 2.5 บริการนําสงเอกสาร เปนบริการที่ตอเนื่องมาจากบริการคนหาสารสนเทศ และบริการถายสําเนาเอกสาร ในการ จัดสงเอกสารใหกับนักศึกษาจะจัดสงทางไปรษณียตามวิธีการที่นักศึกษาระบุในแบบคําขอซึ่งนักศึกษา จะตองเปนผูชําระคาบริการไปรษณียเหลานี้เพิ่มเติมจากคาถายสําเนาเอกสาร ในกรณีที่สําเนา เอกสารที่มีใหบริการในสํานักฯ จะคิดอัตราคาถายเอกสารของสํานัก (แผนละ 50 สตางค) แตใน กรณีที่เปนการถายเอกสารจากหนวยงานอื่นจะคิดอัตราคาถายเอกสารตามที่หนวยงานนั้นกําหนด ทั้งนี้สํานักฯ จะจัดทําบันทึกแจงผลการคนและคาใชจาย ไดแก คาถายสําเนาเอกสารหรือคาสําเนา ผลการค น และค า จัด ส ง โดยนั ก ศึ ก ษาจะต องชํา ระค า บริก ารตา ง ๆ ดั ง กล า ว ทางธนาณัติ ห รื อ ตั๋วแลกเงิน หรือดวยตนเองเมื่อนักศึกษาเขารวมกิจกรรมสัมมนาที่มหาวิทยาลัย 2.6 บริการยืมทรัพยากรสารสนเทศจากหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาอื่น ความรวมมือระหวางหองสมุด (Library Cooperation) เปนความรวมมือของหองสมุด สถาบันอุดมศึกษาของรัฐทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค เพื่อมุงประโยชนในการใชเทคโนโลยีและ ทรัพยากรสารสนเทศรวมกัน ไดแก การใชฐานขอมูล และการยืมทรัพยากรสารสนเทศระหวาง หองสมุด กรณีที่นักศึกษาตองการทรัพยากรสารสนเทศที่ไมมีในสํานักบรรณสารสนเทศ นักศึกษา สามารถยืมเอกสารที่ตองการไดจากหองสมุดอื่น ๆ โดยใชวิธีการ ดังนี้


13

2.6.1 การยืมทรัพยากรสารสนเทศระหวางหองสมุดโดยใชแบบฟอรมยืมระหวาง หองสมุด เปนบริการยืมทรัพยากรสารสนเทศระหวางหองสมุด โดยสํานักฯ จะมอบแบบกรอก รายการยืมระหวางหองสมุดใหนักศึกษา เพื่อนักศึกษาสามารถนําไปยืมจากหอสมุดกลาง และ หองสมุดคณะที่มีขอตกลงรวมกัน จํานวน 28 แหง (รายชื่อและสถานที่ติดตอในภาคผนวก) ในการขอรับแบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุด นักศึกษาจะตองติดตอกับสํานัก บรรณสารสนเทศ หรือศูนยวิทยพัฒนาดวยตนเอง หรือทางไปรษณีย ซึ่งนักศึกษาจะตองกรอก แบบขอรับใบยืมระหวางหองสมุดสําหรับบัณฑิตศึกษากอน โดยใชบัตรประจํา ตัว นัก ศึกษา เปน หลักฐานแสดง ตัวอยางแบบขอรับใบยืมระหวางหองสมุด(แบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุด) แบบขอรับใบยืมระหวางหองสมุด สําหรับบัณฑิตศึกษา ฝายบริการสือ่ การศึกษา สํานักบรรณสารสนเทศ ชื่อ นายอนันต ทองคําแทง รหัส 2518000111 สาขาวิชา รัฐศาสตร แขนงวิชา การเมืองการปกครอง สถานที่ติดตอ 13/45 ซ.จรัญสนิทวงศ 70/3 เขตบางพลัด กรุงเทพฯ . โทรศัพท ________ โทรสาร ขอรับใบยืมระหวางหองสมุดฯ จํานวน 3 ชุด เลขที่ 53/011 ถึง 53/013 เพื่อยืมสื่อสิ่งพิมพจากหองสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร . สาขาวิชาของสิ่งพิมพที่ตองการยืม สาขาวิชารัฐศาสตร ลงชื่อผูขอรับ

อนันต ทองคําแทง 11 / 2 / 53 .

ผูปฏิบัติ

ทิพยวัลย . 11 / 2 / 53 .

จากนั้นสํานักบรรณสารสนเทศจะมอบแบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุดใหนักศึกษา ขอมูลที่นักศึกษาควรทราบและตองดําเนินการในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของมี ดังนี้ 1) แบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุดจะมีอายุการใชงาน เปนระยะเวลา 1 สัปดาห นับ จากวันที่ออกแบบกรอกฯ ให 2) นักศึกษาสามารถยืมทรัพยากรสารสนเทศจากหอสมุดกลาง และหองสมุดคณะของ สถาบันอุดมศึกษา จํานวน 28 แหง เทานั้น


14

3) นักศึกษามีสิทธิ์ยืมทรัพยากรสารสนเทศจากหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาดังกลาว คราว ละ 3 เลมตอ 1 ครั้ง หรือตามระเบียบที่หองสมุดสถาบันอุดมศึกษาแตละแหงกําหนดไว และเมื่อ คืนทรัพยากรสารสนเทศแลวจึงจะยืมใหมไดอีก (ไมควรนําแบบกรอกฯ ไปครั้งละมาก ๆ เพราะการ ยืมทรัพยากรสารสนเทศมีระยะเวลาจํากัด และตามระเบียบฯ บรรณารักษจะมอบแบบกรอกรายการ ยืมระหวางหองสมุดใหแกผูใชบริการของตนไดคราวละ 3 ฉบับ เทานั้น) ทั้งนี้ในการยืมแตละครั้ง นักศึกษาจะตองแสดงบัตรประจําตัวพรอมกับแบบกรอกฯ ที่ระบุชื่อผูยืมไวใหตรงกัน 4) แบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุด 1 ชุด (ประกอบดวยฉบับจริง 1 แผน และสําเนา 1 แผน) สามารถนําไปใชยืมทรัพยากรสารสนเทศได 1 รายการ และสามารถใชตออายุการยืมไดอีก 1 ครั้ง แมวาแบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุดจะหมดอายุแลวก็ตาม หองสมุดผูใหยืมจะเก็บ ฉบับจริงไวเปนหลักฐานการยืม และจะคืนฉบับสําเนาที่ประทับวันกําหนดสงใหแกนักศึกษา เพื่อใช แสดงแกเจาหนาที่ในการนําทรัพยากรสารสนเทศที่ยืมออกจากหองสมุด และใหนักศึกษาใชเปน หลักฐานในการขอตออายุการยืมหรือคืนตัวเลมเมื่อครบกําหนดสงทรัพยากรสารสนเทศ นักศึกษา จะตองนําฉบับสําเนามาประทับคืนที่หองสมุดผูใหยืมดวยทุกครั้ง 5) เมื่อนักศึกษาใชแบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุดและสงหนังสือคืนหองสมุดผูยืม แลว นักศึกษาจะตองสงฉบับสําเนาคืนทุกฉบับ หรือสงแบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุดที่ยัง ไมไดใช โดยใหสงคืนดวยตนเอง หรือสงไปรษณีย จาหนาซองถึง หนวยบริการสื่อสิ่งพิมพ ฝายบริการสื่อการศึกษา สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 6) นักศึกษาสามารถขอรับแบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุดไดอีก ในกรณีที่สงคืน สําเนาแบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุดที่ใชแลวใหสํานักบรรณสารสนเทศ 7) กรณีที่นักศึกษาไมสง แบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุดที่หมดอายุคืน หรือมีคํา รองเรียนจากหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาแหงตาง ๆ จะถือวานักศึกษาไมปฏิบัติตามระเบียบการ ยืมระหวางหองสมุดของสถาบันอุดมศึกษา นักศึกษาจะถูกตัดสิทธิ์ในการใชบริการหองสมุด และ ถูกลงโทษตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย 8) เมื่อนักศึกษาใชบริการ ณ หองสมุดสถาบันอุดมศึกษาแหงใด จะตองปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ หรือขอบังคับของหองสมุดสถาบันอุดมศึกษานั้น ๆ อยางเครงครัด กรณีที่มีการรองเรียน จากหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ จะมีผลกระทบตอการยืมระหวางหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา


15

ของนักศึกษาทุกทาน เพราะหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาแตละแหงอาจตัดสิทธิ์การยืมของสํานัก บรรณสารสนเทศดวย ตัวอยางแบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุด เลขที่……o…… Number หองสมุดผูใหยืม r Lending library

แบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุด (Interlibrary loan request) หองสมุดผูยืม n Borrowing library

วันกําหนดสง w Date due ยืมตอถึงวันที่ Renewed to

ชื่อผูแตง/ชื่อบทความ s Author/Title of article ชื่อหนังสือ/ชื่อวารสาร พรอมรายละเอียดของบรรณานุกรมและเลยเรียกหนังสือ (ถามี) t Title of book / of periodical including bibliographic details and call number (if any) [] ยืมฉบับจริง Borrow original ผูตองการ u Requester ภาควิชา Department หมายเหตุ Remarks q

หมายเลข หมายเลข หมายเลข

[] ถายเอกสาร Photocopy ตําแหนง Position คณะ Faculty

จํานวนหนา รวมเปนเงิน No. of pages Total ชั้นปที่ Class

บรรณารักษผูยืม p Borrower ผูรับหนังสือ v Picked up by ผูรับคืน Receiver

หองสมุดผูยืม กรอกขอมูล นักศึกษาบัณฑิตศึกษา ผูยืมกรอกขอมูล หองสมุดผูใหยืม กรอกขอมูล

บาท Baht วันที่ Date วันที่ Date วันที่ Date


16

สวนประกอบของแบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุด แบบกรอกรายการยืมระหวางหองสมุด ประกอบดวยขอมูลตาง ๆ จําแนกตาม ผูมีสวนเกี่ยวของ ในสวนที่นักศึกษาตองกรอก ไดแก r หองสมุดผูใหยืม เขียนชื่อหองสมุดที่นักศึกษาตองการไปยืมสื่อการศึกษา s ชื่อผูแตง/ชื่อบทความ ระบุชื่อผูแตงหนังสือ หรือชื่อบทความ (ในกรณีเปนการ ขอถายสําเนาบทความจากวารสาร) t ชื่อหนังสือ/ชื่อวารสาร กรณีหนังสือ ซึ่งหองสมุดสวนใหญใหยืมออกได ใหกรอก รายการบรรณานุกรมใหครบถวน และทําเครื่องหมาย 9 ในชอง [ ] เพื่อระบุวาตองการฉบับจริง หรือสําเนา สวนในกรณีเปนวารสาร ตองถายสําเนาเทานั้น เนื่องจากหองสมุดไมใหยืมตัวเลม ให กรอกชื่อวารสาร ปที่ ฉบับที่ เดือน ป และเลขหนาของวารสาร พรอมทั้งระบุจํานวนหนาในชอง [ ] จํานวนหนาดวย u ผูตอ งการ ใหกรอกชื่อนัก ศึก ษา โดยในสว นตํา แหนง ใหระบุวา “นัก ศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา” ชั้นปที่ – ภาควิชาใหระบุแขนงที่เรียน และคณะใหระบุสาขาวิชาที่เรียน v ผูรับหนังสือ/วันที่ ลงนามชื่อนักศึกษาผูยืม พรอมวันที่ที่ยืม 2.6.2 การยืมทรัพยากรสารสนเทศระหวางหองสมุดในขายงานหองสมุดมหาวิทยาลัย สวนภูมิภาค (Provincial University Library Network - PULINET) เป น บริ ก ารยื ม ทรั พ ยากรสารสนเทศระหว า งห อ งสมุ ด ในข า ยงานห อ งสมุ ด มหาวิทยาลัยสวนภูมิภาค (รายชื่อและสถานที่ติดตอในภาคผนวก 2.4) แตนักศึกษาตองสมัครเปน สมาชิก Pulinet กอน โดยติดตอดวยตนเองกับสํานักบรรณสารสนเทศหรือศูนยวิทยพัฒนา มสธ. เพื่อ กรอกรายละเอียดในแบบฟอรมใบสมัครสมาชิก สําหรับหลักฐานที่ใชในการสมัคร ไดแก รูปถาย ขนาด 1 x 1 นิ้ ว จํา นวน 2 รูป พรอมสํา เนาบัตรประจํา ตั ว นั ก ศึก ษา และสํา เนาบั ตรประจํา ตั ว ประชาชนที่ยังไมหมดอายุ จากนั้นนักศึกษาจะไดรับบัตร Pulinet ซึ่งนักศึกษาสามารถใชบัตร ดังกลาวยืมสิ่งพิมพจากหองสมุดกลางของมหาวิทยาลัยที่อยูในขายงานได ทั้งนี้บัตรสมาชิกมีอายุ การใช ง าน 1 ป เ ท า นั้ น นั ก ศึ ก ษาสามารถศึ ก ษารายละเอี ย ดได จ ากเว็ บ ไซต ข องสํ า นั ก บรรณ สารสนเทศที่ “บริการสมาชิกหองสมุด” โดยเลือก “บริการ Pulinet Card”


17

ตัวอยางแบบกรอกใบสมัครสมาชิก PULINET CARD ใบสมัครเปนสมาชิก PULINET CARD สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ----------------------------------------------------------ฤกษสมุทร____________________ ขาพเจา (นาย,นาง,นางสาว)_ กมลศรี _____นามสกุล__ ประเภท ขาราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สังกัด สํานัก/ สาขาวิชา สารสนเทศศาสตร________แขนง_________________________________ โทรศัพท__0 2978 2252_______ โทรสาร_____ ที่อยูปจจุบัน บานเลขที่ 9/9 หมู 9___ ซอย ___ เขต/อําเภอ ปากเกร็ด แขวง/ตําบล บางพูด โทรสาร รหัสไปรษณีย 11120__ โทรศัพท -

____E-mail_ kamonsri.rea@mystou.net ถนน แจงวัฒนะ_____________________ ________ จังหวัด นนทบุรี E-mail kamonsri.rea@mystou.net

หลักฐานที่นํามาสมัคร บัตรประจําตัวนักศึกษา เลขที่ - - - วันหมดอายุ____________________ บัตรประจําตัวประชาชน เลขที่ - - - - วันหมดอายุ _____________ บัตรที่ออกโดยหนวยงาน/นายจาง เลขที่ วันหมดอายุ______________ รูปถายหนาตรง ขนาด 1 นิ้ว จํานวน 2 รูป ขาพเจาไดอานและเขาใจในเรื่องสิทธิและระเบียบของการเปนสมาชิก PULINET สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชดีแลว และยินดีปฏิบัติตามทุกประการ (ลงชื่อ)__________กมลศรี ____________ผูสมัคร วันที่_8___เดือน_ เมษายน พ.ศ._2553___ สิทธิการยืม 1. สมาชิกสามารถยืมสิ่งพิมพไดจากหองสมุดกลางของสมาชิกขายงานหองสมุดมหาวิทยาลัยสวนภูมิภาค ไดไมเกิน 3 เลม ตอ 1 สัปดาห 2. สิ่งที่ใหยืม ไดแก สิ่งพิมพของหองสมุดที่จําเปนในการศึกษา คนควาวิจัย ทั้งนี้ใหเปนไปตามระเบียบ ขอบังคับ หรือประกาศของหองสมุดสมาชิกขายงานฯ แตละแหง

สวนนี้สําหรับเจาหนาที่ หมายเลข PULIET _______________รหัส PULINET________________วันหมดอายุ____________________ ผูรับเรื่อง____________________________________วัน/เดือน/ป ____________________________________ ผูบันทึกลงฐานขอมูลสมาชิก _____________________________ วัน/เดือน/ป __________________________ ผูจัดทําบัตรสมาชิก______________________________________วัน/เดือน/ป__________________________ ใบเสร็จรับเงินเลมที่________________________เลขที่_____________________________________________


18

ตัวอยางบัตรสมาชิก Pulinet

ดานหนาบัตร

ดานหลังบัตร 2.7 บริการสงเสริมการใชหองสมุด เปนบริการสอน/แนะนําการใชหองสมุด สอนการคนฐานขอมูลจากแหลงสารสนเทศ ตาง ๆ ประกอบดวย การสอนการคนฐานขอมูลทรัพยากรหองสมุด(โอแพ็ก) ฐานขอมูลวิทยานิพนธ ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร ตามที่นักศึกษาสนใจ รวมทั้งการสอนการยืมหนังสือตอดวยตนเอง โดยนักศึกษาสามารถติดตอขอรับบริการสอนการใชหองสมุดตามความสนใจ ทั้งเปนรายบุคคล และ รายกลุม ไดที่งานบริการตอบคําถามและชวยการคนควา

สรุป นักศึกษาสามารถติดตอขอรับบริการบริการตอบคําถามและชวยการคนควา บริการถาย สําเนาเอกสาร และบริการอื่นๆ ดวยตนเอง ณ สํานักบรรณสารสนเทศ และศูนยวิทยพัฒนา หรือ ผ า นช อ งทางการสื่ อ สารต า ง ๆ เช น จดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (tippawan.oan@stou.ac.th; dilibrary@hotmail.com) โทรศัพท โทรสาร หรือใชแบบฟอรมตาง ๆ จากแบบฟอรมบริการตาง ๆ ใน


19

ภาคผนวก หรือดาวนโหลดจากหนาเว็บไซตของสํานักบรรณสารสนเทศที่ “บริการสมาชิกหองสมุด” เลือก “แบบฟอรมการขอใชบริการ”


บทที่ 3 การคนฐานขอมูล ปจจุบันสารสนเทศจะจัดเก็บในรูปแบบตาง ๆ ที่เปนระบบเพื่อสามารถคนและนําไปใชได ตามความตองการ โดยสวนใหญจะจัดเก็บในรูปของฐานขอมูลที่อานไดดวยเครื่องคอมพิว เตอร การคน ฐานขอมูล เหลา นี้ จะเปน การคน ดว ยชุดคํา สั่ง สํา เร็จที่ผูจัดทํา ฐานขอมูล พยายามสรา ง ชุดคําสั่งการคนที่ไมซับซอนและเอื้อประโยชนตอการใชขอมูลในฐานเพื่อการศึกษาคนควา รายละเอียดที่ไดจากการคนฐานขอมูลแตละฐานนั้น สวนใหญประกอบดวยบรรณานุกรม และสาระสังเขป แตมีบางฐานขอมูลที่ใหเอกสารฉบับเต็มเพิ่มดวย เพื่อเปนการอํานวยความสะดวก ใหกับผูใชมากที่สุด โดยไมตองเสียเวลาคนหาเอกสารฉบับเต็มจากระเบียนขอมูลที่คนได สํา นัก บรรณสารสนเทศไดจัดทําฐานขอมูลขึ้นเองรวมทั้งจัดหาฐานขอมูลสําเร็จไวใหบริการในหองสมุดที่ ครอบคลุมสาขาวิชาตาง ๆ เพื่อประกอบการศึกษา การทํารายงานหรือการทําวิทยานิพนธ ฐานขอมูลแตละฐานอาจมีวิธีการคนและหนาจอการแสดงผลที่แตกตางกันตามลักษณะของ ซอฟตแวร แตโดยสวนใหญทุกฐานลวนมีแนวคิดและกระบวนการคนที่เหมือนกัน นักศึกษาเมื่อ ประสงค จะคนขอมูลจากฐานขอมูลประเภทตาง ๆ ควรศึกษากระบวนการคนโดยมีรายละเอียดที่ ควรทราบดังนี้ 1. กระบวนการคนสารสนเทศ ในการคนสารสนเทศจากฐานขอมูลประเภทตาง ๆ มีขั้นตอนและเทคนิคสําหรับการเขาถึง สารสนเทศที่ตองการ นักศึกษาสามารถขอคําแนะนําและความชวยเหลือในการคนจากบรรณารักษ และ/หรือลงมือปฏิบัติดวยตนเอง แตอยางไรก็ตาม นักศึกษาควรไดทําความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับ กระบวนการคน เพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถอธิบายความตองการและจุดมุงหมายของการคน เพื่อ สื่อสารกับบรรณารักษไดอยางถูกตอง ซึ่งจะทําใหไดรับผลการคนที่ตรงกับความตองการไดอยาง รวดเร็ว กระบวนการคนเปนการวางแผนการคนสารสนเทศอยางเปนขั้นตอน เพื่อใหไดคําศัพทที่แทน ความตองการสารสนเทศ การกําหนดกลยุทธการคนอยางถูกตองและเหมาะสม ชวยใหไดรับผลการ ค น ที่ ต รงกั บ ความต อ งการ และผลการค น มี จํ า นวนไม ม ากหรื อ น อ ยเกิ น ไป กระบวนการค น สารสนเทศมีขั้นตอน ดังนี้


22

1.1 การทําความเขาใจกับความตองการสารสนเทศของผูใช เปนการพิจารณาความ ตองการสารสนเทศของผูใช โดยเปนการสัมภาษณผูใชกอ นการคนหา ซึ่งชวยใหผูคน เขาใจความ ตองการของผูใ ช 1.2 การคัดเลือกฐานขอมูลที่เหมาะสม ไดแก ขอบเขต ความทันสมัยของฐานขอมูล ระยะเวลาที่ครอบคลุมสารสนเทศทั้งหมดในฐานขอมูล เนื้อหาสาระของระเบียนขอมูล วิธกี ารจัดทํา ศัพทดรรชนี เปนตน 1.3 การกําหนดคําคนแทนความตองการสารสนเทศ เมื่อไดประเด็นเนือ้ หาของความตองการ แลว นักศึกษาตองเลือกคําศัพทมาแทนความตองการสารสนเทศ ซึง่ คําศัพทดังกลาวอาจเรียกวา คําคน (keyword) เพื่อใชในการคนสารสนเทศ 1.4 การกําหนดกลยุทธการคน มักอยูในรูปขอคําถามทีป่ ระกอบดวยคําคน โดยกลยุทธการ คนมักจะขึน้ อยูกับวิธีการทํางานของระบบที่ใชในการบันทึกขอมูลสารสนเทศนั้น 1.5 การดําเนินการคนและทบทวนผลการคน การดําเนินการคนจะเปนลักษณะโตตอบ ระหวางผูคน และระบบคอมพิวเตอร ดังนัน้ ผูคนจึงควรทบทวนผลการคนที่ไดรับทันทีวาตรงกับความ ตองการหรือไม ถาไมตรงกับความตองการควรปรับปรุงวิธกี ารคนใหมเพื่อใหไดผลการคนที่พอใจมาก ที่สุด 2. วิธีการคนสารสนเทศจากฐานขอมูล ปจจุบันสํานักบรรณสารสนเทศไดจัดหาฐานขอมูลประเภทตาง ๆ ทั้งฐานขอมูลเฉพาะวิชา และสหสาขาวิชา รวมทัง้ เปนฐานขอมูลวารสารและเอกสาร ฐานขอมูลวิทยานิพนธ และฐานขอมูล หนังสืออิเล็กทรอนิกส ฐานขอมูลประเภทตาง ๆ นี้ใหบริการอยูบนเครือขายมหาวิทยาลัย โดย นักศึกษาสามารถเขาสืบคนไดที่เว็บไซต http://library.stou.ac.th จากนัน้ เลือกฐานขอมูลที่ตองการ การสืบคนสารสนเทศจากฐานขอมูลประเภทตาง ๆ มีขนั้ ตอนและเทคนิคสําคัญในการเขาถึง สารสนเทศที่ตอ งการ ซึ่งนักศึกษาตองศึกษาขอบเขต และวิธีการคนของแตละฐานขอมูลไวบาง เพือ่ การใชประโยชนอยางเต็มที่ โดยทั่วไปแลววิธกี ารคนของแตละฐานขอมูลจะไมแตกตางกันมากนัก ซึ่งประกอบดวยวิธกี ารคนหลัก ๆ ดังนี้ 2.1 เลือกวิธีการคน โดยทั่วไปการคนจะประกอบดวยวิธกี ารตาง ๆ ไดแก 2.1.1 การคนแบบงาย (Basic search) เปนการคนจากเขตขอมูลใดเขตขอมูลหนึ่ง โดยตรง เชน ชื่อผูแตง (author) ชื่อเรื่อง (title) หรือหัวเรือ่ ง (subject) เปนตน 2.1.2 การคนแบบลึก (Advanced search) เปนการคนที่สามารถกําหนดเขตขอมูล/ ทางเลือกเพิ่มเติมได เชน การกําหนดเขตขอมูล ไดแก การระบุภาษา หรือการระบุปพมิ พของเอกสาร


23

และการใชคําเชื่อม and, or และ not หรือการใชเครื่องหมาย * หรือเครื่องหมาย ! เพื่อการตัดคํา เพื่อใหไดผลการคนที่ตรงกับความตองการมากขึ้น 2.2 ปอนคําคนในชองคําคน (search box) โดยสามารถใสคําเดียวโดด ๆ วลี หรือ คําหลาย คําที่เชื่อมตอกันตามคําเชื่อมที่ใช ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระบบการคนของแตละฐานขอมูล 2.3 ทบทวนกลยุทธการคนเบื้องตน โดยปกติระบบจะแสดงผลการคนเปนตัวเลขจํานวน ระเบียนที่พบ ซึ่งอาจมีตงั้ แตศูนย หลักสิบ หรือหลักรอย ในกรณีผลการคนที่ไดมีนอย หรือมากเกินไป นักศึกษาควรทบทวนกลยุทธการคนใหม โดยเริ่มตั้งแตการเลือกฐานขอมูล การเลือกประเภทการคน การปอนคําคนใหม และการกําหนดเขตขอมูล 2.4 สํารวจเลือกดูผลการคน เมื่อไดผลการคนอยูในระดับที่พอใจแลว ใหคลิกเลือกรายการที่ คนได โดยสามารถกําหนดใหระบบแสดงรายละเอียดผลการคนในระดับที่แตกตางกัน เชน เฉพาะ รายการบรรณานุกรม บรรณานุกรมพรอมสาระสังเขป หรือเอกสารฉบับเต็ม ทัง้ นี้แลวแตประเภทของ ฐานขอมูล 2.5 ตรวจดูรายการที่คนไดวา ตรงกับความตองการหรือไม เปนการอานเนื้อหาคราว ๆ ของ รายการที่คนไดวาตรงกับความตองการหรือไม ในบางกรณีระบบจะระบุวารายการลําดับตน ๆ ที่ แสดงผลใหทราบเปนรายการที่ใกลเคียงกับเรื่องที่คนมากที่สุด 2.6 แสดงผลการคน เปนการสั่งใหระบบแสดงผลการคน ซึ่งอาจเปนการสั่งใหแสดงผลบน หนาจอ พิมพลงกระดาษ สงทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือบันทึกเปนแฟมขอมูล 3. ฐานขอมูลและการคน ฐานข อ มู ล ที่ นั ก ศึ ก ษาควรให ค วามสนใจ เพราะมี ค วามสํ า คั ญ ต อ การเรี ย นในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ได แ ก ฐานข อ มู ล ทรั พ ยากรสารสนเทศห อ งสมุ ด ฐานข อ มู ล ดรรชนี ว ารสาร ฐานขอมูลอางอิงเฉพาะวิช าและสหสาขาวิชา ฐานขอมูลวิท ยานิพนธ ซึ่ งปจจุ บัน สามารถคน สารสนเทศผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต รายละเอียดของแตละฐานขอมูลและการคน มีรายละเอียด ดังนี้ 3.1 ฐานขอมูลบรรณานุกรมทรัพยากรหองสมุด ฐานข อมู ลบรรณานุก รมทรั พ ยากรห องสมุ ด เป น รายการทรั พ ยากรสารสนเทศทุ ก ประเภทที่จัดใหบริการในหองสมุด ซึ่งหองสมุดแตละสถาบันจะใชระบบหองสมุดอัตโนมัติที่แตกตาง กัน แตชองทางการคนฐานขอมูลจะใชการคนออนไลนหรืออาจเรียกโดยยอวา “โอแพ็ก” (Online Public Access Catalog - OPAC) ซึ่งหมายถึง การนําคอมพิวเตอรมาใชในการคนหารายการ ทรัพยากรสารสนเทศที่มีใหบริการในหองสมุดแทนการคนจากบัตรรายการแบบเดิม แตละระบบจะ


24

มีหลักการคนที่ไมแตกตางกัน สิ่งจําเปนที่นักศึกษาควรรูจัก ไดแก เว็บไซตของหองสมุดสถาบันที่ จะเขาไปคนและการเขาสูทางเลือกการคนโอแพ็ก สวนรายละเอียดของขอมูลที่นักศึกษาจะนํามาใช ประโยชนเพื่อการคนหาตัวเลม ไดแก รายละเอียดของขอมูลรายเลมที่ประกอบดวย CALL NO : หมายถึง เลขเรียกหนังสือ AUTHOR : หมายถึง ชื่อผูแตง TITLE : หมายถึง ชื่อหนังสือ PUBLICATION : หมายถึง สถานที่พิมพ สํานักพิมพ และปที่พิมพ LOCATION : หมายถึง สถานที่จัดเก็บหนังสือ STATUS : หมายถึง สถานะของหนังสือ AVAILABLE : หมายถึง การยืม หนัง สื อ ในที่ นี้ ห มายถึ ง ไม มี ผูยืม หากมี การยืม จะมีรายละเอียดวา Due ….. หมายถึง หนังสือเลมนั้นถูกยืมออกโดยระบุวันกําหนดสง 3.1.1 ฐานขอมูลบรรณานุกรมทรัพยากรของสํานักบรรณสารสนเทศ มีขอบขายและวิธีการคน ดังนี้ (1) ขอบขาย ฐานขอมูลบรรณานุกรมทรัพยากรสํานักบรรณสารสนเทศ หมายถึง ฐานขอมูลที่จัดทําและพัฒนาขึ้นเองโดยสํานักในระบบหองสมุดอัตโนมัติ VTLS VIRTUA เปน รายการทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทที่จัดใหบริการในสํานักเทานั้น ประกอบดวย 2 ฐานขอมูล ไดแก ฐานขอมูลรายการทรัพยากรสารสนเทศ (Books & Serials) และฐานขอมูลดรรชนีวารสาร และเอกสาร (Journal Indexing) ทั้ง 2 ฐานนี้ จะมีวิธีการคนที่ไมแตกตางกัน ทั้งนี้นักศึกษาควร รูจักวิธีการคนไวเพื่อประโยชนในการคนหาสารสนเทศที่ตองการดวยตนเอง (2) วิธีการคน นักศึกษาสามารถคนโอแพ็กไดจากเครื่องคอมพิวเตอรที่ใหบริการใน สํา นัก บรรณสารสนเทศ หรือคนจากภายนอกสํานักฯ ผานระบบเครือข ายอินเทอรเน็ ต โดยเขา ที่ เว็บไซตของสํานักบรรณสารสนเทศที่ http://library.stou.ac.th/


25

หนาจอโฮมเพจของสํานักบรรณสารสนเทศ หรือผานเว็บไซตของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชที่ http://www.stou.ac.th โดยคลิกเลือก”บริการ การศึกษา” จากนั้นคลิกที่ “บริการหองสมุด” หรือ คลิกที่ เมนู STOU e-Library โปรแกรมจะแสดง โฮมเพจของสํานักบรรณสารสนเทศและมีเมนูใหเลือกคนตามความสนใจ

หนาจอโฮมเพจของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในการคนโอแพ็ก ใหนักศึกษาเลือกเมนู “สารสนเทศในหองสมุด” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูล ทรัพยากรหองสมุด (OPAC)” จะเขาสูหนาจอ “บริการสืบคนสารสนเทศออนไลน” หากตองการ คนหารายชื่อหนังสือและวารสาร ใหเลือกฐานขอมูล “Books & Serials” หนาจอจะปรากฏรูปแบบ การคน โดยสามารถเลือกทางเลือกการคนดวยวิธีการตาง ๆ ดังนี้


26

รายการ 1. ชื่อเรือ่ ง 2. ชื่อผูแตง 3. หัวเรือ่ ง 4. สํานักพิมพ 5. เลขเรียกหนังสือ 6. ชื่อวารสาร

คําสั่งการคน Title Author Subject Publisher Call Number Journal Title

กรณีนักศึกษาทราบขอมูลเบื้องตนในทางเลือกการคนใด ใหใชทางเลือกนั้นในการคน เชน ทราบชื่อผูแตงหนังสือ ใหใชคําสั่ง Author ทราบชื่อเรื่อง ใหใชคําสั่ง Title ตัวอยาง ตองการคนจากหัวเรื่อง และกําหนดคําคนเปน “การแพทยแผนไทย”

หนาจอการคนโอแพ็ก เมื่ออยูที่หนาจอโอแพ็ก ใหเลือกประเภทการคนภายใตเมนูสืบคน จากนั้นพิมพคําคน และสั่งประมวลผล ระบบจะแสดงผลรายชื่อสื่อการศึกษา ซึ่งอาจจะใหรายการเดียวหรือหลาย รายการ ใหเลือกรายการที่ตองการดูรายละเอียดรายเลม


27

หนาจอผลการคนแสดงจํานวนรายการหนังสือที่คน จากนั้นคลิกเลือกรายการที่ตองการ ระบบจะประมวลผลอีกครั้ง โดยจะแสดงรายละเอียดรายเลม

หนาจอแสดงรายละเอียดของขอมูลที่คนรายเลม สําหรับฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศของสถาบันอื่น นักศึกษาสามารถเขาโดยผาน เว็บไซตของหองสมุดแตละสถาบัน และเลือกทางเลือกการคน ซึ่งอาจจะมีการใชคําเรียกการเขา ฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศของหองสมุดที่แตกตางกัน เชน ฐานขอมูลหองสมุด ฐานขอมูล ทรัพยากรหองสมุด สืบคน WebOPAC, Library Catalog เปนตน


28

3.1.2 ฐานขอมูลสหบรรณานุกรม (Union Catalog) มีขอบขายและวิธีการคน ดังนี้ (1) ขอบขาย เปนฐานขอมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่มีใหบริการ ในหองสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน 24 แหง (2) วิธีการคน นั ก ศึ ก ษาสามารถเข า ถึ ง ฐานข อ มู ล สหบรรณานุ ก รม ได โ ดยเข า ที่ เว็ บ ไซต ข องสํ า นั ก บรรณสารสนเทศที่ http://library.stou.ac.th/ จากนั้ น เข า ไปที่ ท างเลื อ ก “สารสนเทศในหองสมุด” จากนั้นคลิกที่ “ฐานขอมูลสหบรรณานุกรม (UC)”

หนาจอโฮมเพจของสํานักบรรณสารสนเทศ เมื่อปรากฏหนาจอการคน ใหใสคําคนที่ตองการในชอง Search Terms แลวเลือกชองทาง การคนจากชองประเภทการสืบคน (Search Type) : ซึ่งนักศึกษาสามารถเลือกชองทางการคนได จากหลายชองทาง ไดแก ชื่อผูแตง (Author) ชื่อเรื่อง (Title) หัวเรื่อง (Subject) สํานักพิมพ (Publisher) เลขเรียกกนังสือ (Call Number) และชื่อวารสาร (Journal Title) ตัวอยาง ตองการคนจากหัวเรื่อง และกําหนดคําคนเปน “เกษตรทฤษฎีใหม”


29

หนาจอการคนฐานขอมูลสหบรรณานุกรม

หนาจอแสดงผลการคน ในกรณี ที่ นั ก ศึ ก ษาต อ งการหนั ง สื อ เล ม ใด ให ค ลิ ก เลื อ ก Full ซึ่ ง ระบบจะแสดงรายการ บรรณานุกรมสมบูรณ พรอมทั้งระบุชื่อหองสมุดที่เปนสถานที่จัดเก็บหนังสือในสวนที่เปน Location


30

หนาจอแสดงรายละเอียดของขอมูลที่คนรายเลม ในกรณีที่นักศึกษาตองการหนังสือเลมที่เปนของหองสมุดสถาบันอื่น สามารถติดตอขอใช บริการยืม/ถายสําเนาเอกสารระหวางหองสมุด ไดที่งานบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โทร. 0 2504 7464 - 5 โทรสาร 0 2503 3604 หรื อ อี เ มล tippawan.oan@stou.ac.th; dilibrary@hotmail.com 3.2 ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร เป น ฐานข อ มู ล ดรรชนี บ ทความวารสารทางวิ ช าการภาษาไทย และต า งประเทศ ฐานขอมูลนี้เปนการเขาถึงบทความวารสารที่ตองการ ปจจุบันมีการจัดทําเปนฐานขอมูลออนไลน บางฐานขอมูลใหเฉพาะรายการบรรณานุกรมและสาระสังเขปของบทความ แตบางฐานขอมูลให บทความฉบับเต็ม ซึ่งสวนใหญเปนวารสารภาษาอังกฤษ สําหรับฐานขอมูลดรรชนีวารสารภาษาไทย เปนฐานขอมูลที่หองสมุดแตละแหงนําวารสารวิชาการภาษาไทยที่บอกรับมาจัดทําดรรชนี เพื่อเขาถึง บทความที่ตองการ ขอมูลรายละเอียดในฐานจะระบุชื่อบทความ ปที่ ฉบับที่ เลขหนา สาระสังเขป ของบทความวารสารนั้น ๆ บางแหงจะสแกนสารบัญและบทความในรูปไฟล PDF สวนวิธีการคน ฐานขอมูลดรรชนีวารสาร จะใชวิธีการเดียวกับฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศ ฐานข อมู ลวารสารและเอกสารที่ใหบริ ก ารในสํ านั กบรรณสารสนเทศ ประกอบดว ย ฐานขอมูลตาง ๆ ดังนี้


31

3.2.1 ฐานขอมูลดรรชนีวารสารและเอกสารของสํานักบรรณสารสนเทศ เปนฐานขอมูลดรรชนีบทความวารสารทางวิชาการ และสารสนเทศดาน การศึกษาทางไกล ปจจุบันสํานักบรรณสารสนเทศจัดทําดรรชนีบทความวารสารครอบคลุมสาขาวิชา ตาง ๆ ที่เปดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษาสามารถเขาคนบทความวารสารไดจากเว็บไซตของ สํ า นั ก บรรณสารสนเทศ โดยเลื อ กเมนู “สารสนเทศในห อ งสมุ ด ” แล ว เลื อ กเมนู “ฐานข อ มู ล ทรัพยากรหองสมุด (OPAC)” และเลือกฐานขอมูล “Journal Indexing”

หนาจอดรรชนีบทความวารสารและเอกสาร 3.2.2 ฐานขอมูล ScienceDirect เปนฐานขอมูลหนังสือและวารสารของสํานักพิมพ Elsevier Science ดาน วิทยาศาสตร และสังคมศาสตร ผลการคนใหขอมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสาร ฉบับเต็ม (บางรายการ) นักศึกษาสามารถเขาใชฐานขอมูล ScienceDirect ไดที่เว็บไซตสํานักฯ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และ เลือก “ScienceDirect” อีกครั้งหนึ่ง


32

หนาจอการคนบทความวารสารจากฐานขอมูล ScienceDirect 3.2.3 ฐานขอมูล H.W. Wilson เปนฐานขอมูลบทความวารสารของบริษัท H.W. Wilson Company ครอบคลุ ม สารสนเทศทุ ก สาขาวิ ช า เช น วิ ท ยาศาสตร ป ระยุ ก ต บริ ห ารธุ ร กิ จ การศึ ก ษา มนุษยศาสตร กฎหมาย บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร ฯลฯ ผลการคนใหขอมูล รายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) นักศึกษาสามารถเขาใช ฐานขอมูล H.W. Wilson ไดที่เว็บไซตสํานักฯ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลว เลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และเลือก “H.W. Wilson” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอการคนบทความวารสารจากฐานขอมูล H.W. Wilson


33

3.2.4 ฐานขอมูล ISI Web of Science เปนฐานขอมูลอางอิง (Citation Database)ที่ใหขอมูลบรรณานุกรมพรอม ดวยบทคัดยอ รายการอางอิง (Cited Reference) และรายการอางถึง (Citing Article) ซึ่งครอบคลุม ในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศาสตร อักษรศาสตร และมนุษยศาสตร นักศึกษา สามารถเขาใชฐานขอมูล ISI Web of Science ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และเลือก “ISI Web of Science” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอฐานขอมูล ISI Web of Science 3.2.5 ฐานขอมูล ACM Digital Library เปนฐานขอมูลดานเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร ของสมาคม Association for Computing Machinery ครอบคลุมบทความวารสาร นิตยสาร รายงาน เอกสารการประชุม และขาวสาร ผลการคนใหขอมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และ เอกสารฉบับเต็ม ตั้งแตป 1947- ปจจุบัน นักศึกษาสามารถเขาใชฐานขอมูล ACM Digital Library ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และเลือก “ACM Digital Library” อีกครั้งหนึ่ง


34

หนาจอฐานขอมูล ACM Digital Library 3.2.6 ฐานขอมูล ABI/INFORM เป น ฐานข อ มู ล ที่ ร วบรวมข า ว ข อ มู ล เฉพาะของบริ ษั ท ประวั ติ แ ผนงาน การตลาด การเงิน และขาวอุตสาหกรรม ครอบคลุมสิ่ งพิมพประจําท องถิ่น รัฐ และเมืองต าง ๆ ภายในประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา มากกวา 175 รายชื่อ ผลการคน ใหขอมูลรายการ บรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเขาใชฐานขอมูล ABI/INFORM ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และเลือก “ABI/INFORM” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอฐานขอมูล ABI/INFORM


35

3.2.7 ฐานขอมูล Emerald eJournal เป น ฐานข อ มู ล บทความวารสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ข องสํ า นั ก พิ ม พ MCB University Press ครอบคลุมบทความวารสารดานการจัดการ หองสมุดและบริการสารสนเทศ รวมถึ ง ด า นวิ ศ วกรรม เทคโนโลยี และวิ ท ยาศาสตร ป ระยุ ก ต ผลการค น ให ข อ มู ล รายการ บรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเขาใชฐานขอมูล Emerald eJournal ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลว เลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และเลือก “Emerald eJournal” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอฐานขอมูล Emerald eJournal 3.2.8 ฐานขอมูล Academic Search Elite เปนฐานขอมูลของสํานักพิมพ EBSCOhost ครอบคลุมสหสาขาวิชา ทั้ง สาขาวิชาวิทยาศาสตร และสังคมศาสตร ผลการคนใหขอมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม และมีสิ่งพิมพประเภท Peer Review นักศึกษาสามารถเขาใชฐานขอมูล Academic Search Elite ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและ สารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และเลือก “Academic Search Elite” อีกครั้งหนึ่ง


36

หนาจอฐานขอมูล Academic Search Elite 3.2.9 ฐานขอมูล Education Research Complete เปนฐานขอมูลดานการศึกษา ครอบคลุมงานวิจยั ดานการศึกษาและสาขา ที่เกีย่ วของ ผลการคนใหขอมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษา สามารถเขาใชฐานขอมูล Education Research Complete ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และเลือก “Education Research Complete” อีกครัง้ หนึง่

หนาจอฐานขอมูล Education Research Complete


37

3.2.10 ฐานขอมูล Mosby’s Nursing Consult ฐานขอมูลดานการพยาบาล และวิทยาศาสตรสุขภาพ โดย Elsevier รวบรวมเนื้อหาจากสํานักพิมพ Mosby และ Saunders ประกอบดวยหลักฐานเชิงประจักษ หนังสือ วารสาร ขอมูลยา แนวทางปฏิบัติ คูมือผูปวย เนื้อหาดานคลินิค รูปภาพ และขาวสารพยาบาลใหมๆ ผลการคนใหขอมูลรายการบรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเขา ใชฐานขอมูล Mosby’s Nursing Consult ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และเลือก “Mosby’s Nursing Consult ” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอฐานขอมูล Mosby’s Nursing Consult 3.2.11 ฐานขอมูล IFD Newsclip Online เปนกฤตภาคออนไลนที่รวบรวมขอมูลขาว บทสัมภาษณ และรายงานตาง ๆ จากหนังสือพิมพภาษาไทยกวา 20 ชื่อ นักศึกษาสามารถเขาใชฐานขอมูล IFD Newsclip Online ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูลวารสารและเอกสาร” และเลือก “IFD Newsclip Online” อีกครั้งหนึ่ง


38

หนาจอฐานขอมูล IFD Newsclip Online 3.3 ฐานขอมูลวิทยานิพนธ เปนฐานขอมูลวิทยานิพนธอิเล็กทรอนิกส ประกอบดวยฐานขอมูลวิทยานิพนธไทยและ ตางประเทศของหองสมุดสถาบันตาง ๆ ผลการคนในแตละระเบียน ใหรายละเอียด ไดแก สถาบัน ปที่ จํานวนหนา ระดับปริญญา ชื่อนิสิต/นักศึกษา ชื่อวิทยานิพนธ อาจารยที่ปรึกษา บทคัดยอ และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) ฐานขอมูลวิทยานิพนธที่สําคัญ ไดแก 3.3.1 ฐานขอมูลวิทยานิพนธสถาบันอุดมศึกษา เปนฐานขอมูลวิทยานิพนธ งานวิจยั บทความวารสาร เอกสารจดหมายเหตุ และหนังสือหายากของไทยที่มีใหบริการในหองสมุดมหาวิทยาลัยหรือสถาบันตางๆ ในประเทศไทยที่ เปนสมาชิกของเครือขายหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (ThaiLIS) ผลการคนใหขอมูลรายการ บรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเต็ม (บางรายการ) นักศึกษาสามารถเขาใชฐานขอมูล วิทยานิพนธสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูล และสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูลวิทยานิพนธ”และเลือก “วิทยานิพนธ สถาบันอุดมศึกษา” อีกครั้งหนึ่ง


39

หนาจอฐานขอมูลวิทยานิพนธสถาบันอุดมศึกษา 3.3.3 ฐานขอมูล ProQuest Digital Dissertation เปนฐานขอมูลวิทยานิพนธระดับปริญญาโทและปริญญาเอกของมหาวิทยาลัย ตาง ๆ ทั่วโลก ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ผลการคนใหขอมูลรายการบรรณานุกรมตั้งแตป ค.ศ. 1861 ขอมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ตั้งแตป ค.ศ. 1981 และใหขอมูล 24 หนาแรก ตั้งแตป ค.ศ. 1997 – ปจจุบัน นักศึกษาสามารถเขาใชฐานขอมูล ProQuest Digital Dissertation ไดที่เว็บไซต สํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูล วิทยานิพนธ” และเลือก “ProQuest Digital Dissertation” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอฐานขอมูล ProQuest Digital Dissertation


40

3.3.4 ฐานขอมูล Dissertation Full Text เปนฐานขอมูลวิทยานิพนธอิเล็กทรอนิกสระดับปริญญาเอก/โทของสหรัฐอเมริกา แคนาดา ประเทศในยุโรป และที่อื่นๆ ประมาณ 600 สถาบัน ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ใหขอมู ล วิทยานิพนธฉบับเต็ม นักศึกษาสามารถเขาใชฐานขอมูล Dissertation Full Text ไดที่เว็บไซตสํานัก บรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “ฐานขอมูล วิทยานิพนธ” และเลือก “Dissertation Full Text ” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอฐานขอมูล Dissertation Full Text 3.4 หนังสืออิเล็กทรอนิกส หนังสืออิเล็กทรอนิกสครอบคลุมสาขาวิชาตาง ๆ สามารถเขาถึงและดาวนโหลดเพื่อ อานไดเปนเอกสารฉบับเต็มเสมือนการอานหนังสือฉบับพิมพ แตจํากัดการพิมพผลขอมูล สามารถ ยืมไดดวยตนเอง 3.4.1 NetLibrary eBooks เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสของ NetLibrary ครอบคลุมทุกสาขาวิชา มี หนั ง สือจํ า นวนประมาณ 8,874 ชื่อเรื่อง นัก ศึ ก ษาสามารถเข า ใช ห นัง สื ออิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ได ที่ เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “หนังสืออิเล็กทรอนิกส” และเลือก “NetLibrary eBooks” อีกครั้งหนึ่ง


41

หนาจอการคน NetLibrary eBooks 3.4.2 SpringerLink eBooks เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่จัดพิมพโดยสํานักพิมพ Springer และ Kluwer ครอบคลุมสาขาวิชาตาง ๆ เชน วิทยาศาสตร แพทยศาสตร กฎหมาย เศรษฐศาสตร ฯลฯ นักศึกษา สามารถเขาใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”ฐานขอมูล และสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “หนังสืออิเล็กทรอนิกส” และเลือก “SpringerLink eBooks” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอการคน SpringerLink eBooks


42

3.4.3 Grolier Online เปนสารานุกรมฉบับเต็ม จัดทําโดย Scholastic Library Publishing Grolier Online ใหเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) ในลักษณะของบทความ บรรณานุกรม ภาพ ตาราง แผนที่ ธงชาติ และสามารถเชื่อมโยงขอมูลไปยังแหลงขอมูลอื่นได เชน เชื่อมโยงขอมูลบนระบบเครือขาย อินเตอรเน็ต ประกอบดวยฐานขอมูลยอยตาง ๆ เชน Encyclopedia Americana Online (EA) Grolier Multimedia Encyclopedia Online (GME) The New Book of Knowledge Online (NBK) เปนตน นักศึกษาสามารถเขาใช Grolier Online ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดย เลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “หนังสืออิเล็กทรอนิกส” และเลือก ”Grolier Online” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอ Grolier Online 3.4.4 หนังสืออิเล็กทรอนิกสภาษาไทย (Thai eBooks) เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสภาษาไทยที่จัดพิมพโดยบริษัทเบส บุค ออนไลน จํากัด ครอบคลุมเนื้อหาทุกสาขาวิชาทั้งทางดานสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และธุรกิจ มีหนังสือจํานวน ประมาณ 495 ชื่ อ เรื่ อ ง ตั้ ง แต ป 2548 -2549 นั ก ศึ ก ษาสามารถเขา ใช ห นั ง สื อ อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ภาษาไทย ไดที่เว็บไซตสํานักบรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู “ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” แลวเลือกเมนู “หนังสืออิเล็กทรอนิกส” และเลือก ”Thai eBooks” อีกครั้งหนึ่ง


43

หนาจอหนังสืออิเล็กทรอนิกสภาษาไทย (Thai eBooks) 3.4.5 Digital Library Collection เปนหนังสือออนไลนของ Netlibrary ครอบคลุมทุกสาขาวิชา มีหนังสือ จํานวนประมาณ 3,457 ชื่อเรื่อง นักศึกษาสามารถเขาใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส ไดที่เว็บไซตสํานัก แลวเลือกเมนู “หนังสือ บรรณสารสนเทศ โดยเลือกเมนู ”ฐานขอมูลและสารสนเทศดิจิทัล” อิเล็กทรอนิกส” และเลือก “Digital Library Collection” อีกครั้งหนึ่ง

หนาจอการคน Digital Library Collection


บทที่ 4

เอกสารประกอบการใชบริการหองสมุด สํานักบรรณสารสนเทศ ไดจัดทํารายการเอกสารประกอบการใชบริการหองสมุดเพือ่ เอื้ออํานวยความสะดวกในการใชบริการตาง ๆ ประกอบดวย 1. แบบคําขอใชบริการสารสนเทศ 2. รายชื่อและสถานที่ติดตอหนวยงานในเครือขาย ในแตละบริการ มีรายละเอียดที่นักศึกษาควรรูดังนี้

1. แบบคําขอใชบริการสารสนเทศ แบบคําขอใชบริการสารสนเทศ เปนแบบฟอรมใหนักศึกษาสามารถถายเอกสาร และจัดสง คําถามมายังสํานักบรรณสารสนเทศเพื่อดําเนินการ นอกจากนี้นกั ศึกษาสามารถกรอกแบบฟอรม อิเล็กทรอนิกสจากเว็บไซตของหองสมุดไดอีกชองทางหนึง่ ประกอบดวย 1.1 แบบคําขอใชบริการคนหาสารสนเทศ 1.2 แบบคําขอใชบริการถายสําเนาเอกสาร


46 1.1 แบบคําขอใชบริการคนหาสารสนเทศ วันที่ขอใชบริการ __________________

ผูรับเรื่อง __________________

แบบคําขอใชบริการคนหาสารสนเทศ สถานภาพ ปริญญาโท ปริญญาเอก ชื่อ- นามสกุล _______________________________________รหัสนักศึกษา ___________________________ สาขาวิชา___________________________________แขนงวิชา ______________________________________ ที่อยูที่สามารถติดตอได__________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________

รหัสไปรษณีย _______________โทรศัพท____________________E-mail ______________________________ เรื่องที่ตองการสืบคน (โปรดระบุคําสําคัญ / หัวเรื่องที่ตองการทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ หัวขอวิทยานิพนธ ____________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________ ตองการคําตอบภายในวันที่ ____________________________ ประเภทของสารสนเทศที่ตองการ หนังสือ/ตํารา บทความวารสาร วิทยานิพนธ/งานวิจัย อินเทอรเน็ต ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส อื่นๆ (ระบุ)________ ระยะเวลาของขอมูลที่ตองการ

5 ป ยอนหลัง 10 ป ยอนหลัง อื่นๆ (ระบุ) __________

ภาษาของสารสนเทศ

ไทย

อังกฤษ

รูปแบบผลการคนที่ตองการ

บรรณานุกรม บทคัดยอ เอกสารฉบับสมบูรณ อื่นๆ (ระบุ) __________

การจัดสงเอกสาร

รับดวยตนเอง ไปรษณียดวนพิเศษ ไปรษณียลงทะเบียน

ไปรษณียธรรมดา ไปรษณียพัสดุ E-mail


47 1.2 แบบคําขอใชบริการถายสําเนาเอกสาร ผูรับเรื่อง _______________________วันที่_______________________คามัดจําลวงหนา________________บาท สถานภาพ ปริญญาโท ปริญญาเอก ชื่อ- นามสกุล ______________________________________รหัสนักศึกษา ____________________________ สาขาวิชา__________________________________แขนงวิชา ________________________________________ ที่อยูที่สามารถติดตอได ______________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________

รหัสไปรษณีย _______________โทรศัพท_________________E-mail_________________________________ เอกสารที่ตองการถายสําเนา (โปรดระบุรายการบรรณานุกรมใหครบถวน หรือ มากทีส่ ุด) วิทยานิพนธ/งานวิจัย หนังสือ บทความวารสาร อื่นๆ (ระบุ) _______________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________

ลักษณะเอกสารที่ตองการ ทั้งเลม เฉพาะบทคัดยอ เฉพาะบรรณานุกรม เฉพาะบทที่ ____________________ เฉพาะหนาที่__________________ การจัดสงเอกสาร

รับดวยตนเอง (ว/ด/ป) ____________ ไปรษณียธรรมดา ไปรษณียดวนพิเศษ ไปรษณียพ ัสดุ ไปรษณียลงทะเบียน E-mail


48

2. รายชื่อหนวยงานและสถานที่ติดตอในเครือขายความรวมมือ รายชื่อหนวยงานและสถานที่ติดตอในเครือขายความรวมมือ ประกอบดวยชื่อหนวยงานและ สถานที่ติดตอ ซึ่งเปนหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยและหนวยงานภายนอกที่อยูในเครือขายความ รวมมือทีน่ ักศึกษาสามารถใชบริการได ไดแก 2.1 ศูนยวทิ ยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2.2 ศูนยวทิ ยบริการบัณฑิตศึกษา 2.3 หองสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 2.4 ขายงานหองสมุดมหาวิทยาลัยสวนภูมิภาค (Pulinet) 2.1 ศูนยวิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช


49 ศูนยวิทยพัฒนา 1. ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.นครศรีธรรมราช 169 ถ.นครศรีฯ-รอนพิบูลย ต.นาสาร อ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช 80001 โทรศัพท 0 7537 8680-8 โทรสาร 0 7537 8686 E-mail : nr.adoffice@stou.ac.th

พื้นที่ใหบริการ นครศรีธรรมราช, สุราษฎรธานี, กระบี่, พังงา, ภูเก็ต, ระนอง, ชุมพร

2. ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.นครสวรรค 105/35 หมูท ี่ 10 ถ.สายนครสวรรค-พิษณุโลก ต.วัดไทร อ.เมือง จ.นครสวรรค 60000 โทรศัพท 0 5622 2450 โทรสาร 0 5622 3010 E-mail : nw.adoffice@stou.ac.th

นครสวรรค, อุทัยธานี, ชัยนาท, อางทอง, สิงหบุรี, พิจิตร, ลพบุรี, เพชรบูรณ

3. ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.อุบลราชธานี 199 หมู 10 ถ.เลี่ยงเมือง ต.แจระแม อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 โทรศัพท 0 4528 1891-6 โทรสาร 0 4528 1890 E-mail : ub.adoffice@stou.ac.th

อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ, สุรินทร, บุรีรัมย, ยโสธร, รอยเอ็ด, อํานาจเจริญ, มุกดาหาร, นครพนม

4. ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.เพชรบุรี 90 หมู 9 ต.ไรสม อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000 โทรศัพท 0 3241 9248-50 โทรสาร 0 3241 9247 E-mail : pb.adoffice@stou.ac.th

เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ, ราชบุรี, นครปฐม, สุพรรณบุรี, กาญจนบุร,ี สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร


50

5.

6.

7.

8.

ศูนยวิทยพัฒนา ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.สุโขทัย 4 หมู 7 ถ.สุโขทัย-กําแพงเพชร (101) กม.429 ขางวิทยาลัยพลศึกษา ต.บานกลวย อ.เมือง จ.สุโขทัย 64000 โทรศัพท 0 5562 0654-8 โทรสาร 0 5565 1097, 0 5562 0655 E-mail : sk.adoffice@stou.ac.th ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.ลําปาง หมู 2 ถ.ลําปาง-เชียงใหม ต.ปงยางคก อ.หางฉัตร จ.ลําปาง 52190 โทรศัพท 0 5426 9531-4 โทรสาร 0 5426 9527 E-mail : lp.adoffice@stou.ac.th ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.อุดรธานี หมู 10 บานคํากลิ้ง ต.บานจั่น อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 โทรศัพท 0 42292 500 โทรสาร 0 4229 2494 E-mail : ud.adoffice@stou.ac.th ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.จันทบุรี หมู 1 ถ.จันทบุรี-สระแกว อ.มะขาม จ.จันทบุรี 22150 โทรศัพท 0 3938 9430-3 โทรสาร 0 3938 9434 E-mail : cb.adoffice@stou.ac.th

พื้นที่ใหบริการ สุโขทัย, พิษณุโลก, อุตรดิตถ, กําแพงเพชร, ตาก

ลําปาง, แพร, นาน, พะเยา, เชียงราย, ลําพูน, เชียงใหม, แมฮองสอน

อุดรธานี, หนองคาย, สกลนคร, หนองบัวลําภู, เลย, ขอนแกน, ชัยภูม,ิ นครราชสีมา, มหาสารคาม, กาฬสินธุ

จันทบุร,ี ตราด, ระยอง, ชลบุรี, สระแกว


51 ศูนยวิทยพัฒนา 9. ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.ยะลา 116 หมู 4 ถ.หาดใหญ-ยะลา ต.ทาสาป อ.เมือง จ.ยะลา 95000 โทรศัพท 0 7322 2922-31 โทรสาร 0 7322 2923 E-mail : yl.adoffice@stou.ac.th 10. ศูนยวิทยพัฒนา มสธ.นครนายก หมู 5 ต.ศรีกะอาง อ.บานนา จ.นครนายก 26110 โทรศัพท 0 3730 6247-9 โทรสาร 0 3730 6244 ตอ 113 E-mail : nk.adoffice@stou.ac.th

พื้นที่ใหบริการ ยะลา, ปตตานี, นราธิวาส, สงขลา, สตูล, พัทลุง, ตรัง

นครนายก, ปราจีนบุร,ี พระนครศรีอยุธยา, ปทุมธานี, นนทบุร,ี ฉะเชิงเทรา, สมุทรปราการ, สระบุรี, กรุงเทพมหานคร


52 2.2 ศูนยวิทยบริการบัณฑิตศึกษา ปจจุบันมหาวิทยาลัยจัดตั้งศูนยวทิ ยบริการบัณฑิตศึกษา จํานวน 2 แหง ไดแก หอสมุด รัชมังคลาภิเษก วังไกลกังวัล และหอสมุดติณสูลานนท โรงเรียนมหาวชิราวุธ ซึ่งเปนหนวยงาน ภายนอกของมหาวิทยาลัยที่ใหความรวมมือกับมหาวิทยาลัย โดยมีรายชื่อและสถานที่ติดตอ ดังนี้ 1. หอสมุดรัชมังคลาภิเษก วังไกลกังวล ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ 77110 โทรศัพท 0 3252 0171 โทรสาร 0 3252 0172 2. หอสมุดติณสูลานนท โรงเรียนมหาวชิราวุธ ภายในโรงเรียนมหาวชิราวุธ ต.บอยาง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 โทรศัพท 0 7431 1006, 0 7431 2598 โทรสาร 0 7432 6107


53 2.3 หองสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สํานักบรรณสารสนเทศ มีความรวมมือระหวางหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ จํานวน 28 แหง ซึง่ นักศึกษาสามารถใชบริการได ดังนี้ 1. ศูนยวทิ ยทรัพยากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (http://www.car.chula.ac.th) 2. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (http://www.lib.ku.ac.th) 3. สํานักหอสมุดและทรัพยากรการเรียนรู มหาวิทยาลัยขอนแกน (http://www.library.kku.ac.th) 4. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม (http://library.cmu.ac.th) 5. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (http://www.lib.kmutt.ac.th) 6. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ (http://www.lib.tsu.ac.th) 7. ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (http://library.sut.ac.th) 8. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (http://library.tu.ac.th) 9. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร (http://www.lib.nu.ac.th) 10. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา (http://www.lib.buu.ac.th)


54 11. สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (http://www.library.msu.ac.th) 12. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยมหิดล (http://www.li.mahidol.ac.th) 13. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแมโจ (http://www.library.mju.ac.th) 14. ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง (http://www.mfu.ac.th/center/lib) 15. สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคําแหง (http://www.lib.ru.ac.th) 16. ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ (http://clm.wu.ac.th) 17. สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (http://lib.swu.ac.th) 18. หอสมุด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ (http://oklib.swu.ac.th) 19. หอสมุดพระราชวังสนามจันทร สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (http://www.snc.lib.su.ac.th) 20. หอสมุดสาขาวังทาพระ สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (http://www.thapra.lib.su.ac.th) 21. หอสมุดจอหน เอฟ.เคนเนดี้ สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี (http://tanee.oas.psu.ac.th)


55 22. สํานักทรัพยากรการเรียนรู คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ (http://www.clib.psu.ac.th) 23. สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (http://library.stou.ac.th) 24. สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (http://www.lib.ubu.ac.th) 25. สํานักหอสมุดกลาง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (http://www.lib.kmitl.ac.th) 26. สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (http://library.kmutnb.ac.th) 27. สํานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (http://library2.nida.ac.th) 28. หองสมุด ศูนยมานุษยวิทยา (องคการมหาชน) (http://www.sac.or.th/library) หมายเหตุ : 1. ขอมูลลาสุดตรวจสอบเมื่อเมษายน 2553 2. เว็บไซตหองสมุดแตละสถาบันลิงกไวทหี่ นาเว็บไซตของสํานักบรรณสารสนเทศ


56 2.4 ขายงานหองสมุดมหาวิทยาลัยสวนภูมิภาค (Pulinet) สํานักบรรณสารสนเทศ มีความรวมมือระหวางหองสมุดกับสมาชิกขายงานหองสมุด มหาวิทยาลัยสวนภูมิภาค จํานวน 20 แหง ซึ่งนักศึกษาสามารถใชบริการไดจากหองสมุดกลาง ดังนี้ 1. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม (http://library.cmu.ac.th) 2. สํานักหอสมุดและทรัพยากรการเรียนรู มหาวิทยาลัยขอนแกน (http://www.library.kku.ac.th) 3. หอสมุดจอหน เอฟ.เคนเนดี้ สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี (http://tanee.oas.psu.ac.th) 4. สํานักทรัพยากรการเรียนรู คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ (http://www.clib.psu.ac.th) 5. สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (http://www.library.msu.ac.th) 6. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแมโจ (http://www.library.mju.ac.th) 7. หอสมุดพระราชวังสนามจันทร สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (http://www.snc.lib.su.ac.th) 8. สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (http://www.lib.ubu.ac.th) 9. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร (http://www.lib.nu.ac.th)


57 10. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา (http://www.lib.buu.ac.th) 11. ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (http://library.sut.ac.th) 12. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ (http://www.lib.tsu.ac.th) 13. ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ (http://clm.wu.ac.th) 14. ศูนยบรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง (http://www.mfu.ac.th/center/lib) 15. สํานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (http://library.stou.ac.th) 16. หองสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา (http://www.pyo.nu.ac.th/lib) 17. สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน (http://lib.kps.ku.ac.th) 18. สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม (http://library.npu.ac.th) 19. หองสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา (http://lib.vit.src.ku.ac.th) 20. หองสมุด มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร (http://lib1.pnu.ac.th) หมายเหตุ : 1. ขอมูลลาสุดตรวจสอบเมื่อเมษายน 2553 2. เว็บไซตหองสมุดแตละสถาบันลิงกไวทหี่ นาเว็บไซตของสํานักบรรณสารสนเทศ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.