1
คำ�แนะนําการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 5 ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่อง การวิจัยในชั้นเรียน ประกอบไปด้วย คำ�นำ� สารบัญคำ� แนะนำ�การใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง แบบทดสอบก่อนเรียน ชื่อเรื่อง แนวคิด วัตถุประสงค์ หัวข้อเนื้อหากิจกรรมการอบรม สื่อการอบรม แบบทดสอบหลังเรียนและแบบ เฉลยคำ�ตอบขอใหท้่านดำ�เนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. พยายามศึกษาโครงสร้างของชุดฝึกอบรมด้วยตนเองอย่างตั้งใจ และทำ� กิจกรรมตามที่กำ�หนดไว้ทุกกิจกรรมอยา่งต่อเนื่องกันจนจบในแต่ละชุด 2. ศึกษารายเอียดของเนื่อหาในแต่ชุดผู้ศึกษาจะต้องทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน เสียก่อนแล้วจึงศึกษารายละเอียดเนื้อหาของชุด ฝึกอบรมด้วยตนเอง และทำ�กิจกรรมฝึก ปฏิบัติของแต่ละเรื่องตามลำ�ดับจนครบสมบูรณ์ 3. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียนแล้วตรวจคำ�ตอบกับแบบเฉลย
2
1
เล่มที่ 5 แบบ ประเมินตนเอง ....ก่อนเรียน การออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน คำ�ชี้แจง : โปรดทำ�เครื่องหมาย X ทับตัวเลือกที่ถูกที่สุดเพียงตัวเลือกเดียวตอบ ลงในกระดาษคาํตอบ 1. ข้อใดเป็นความหมายของการออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน ก. ประเด็นปัญหาการวิจัย ข. แผนโครงสร้างยุทธวิธี ค. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย ง. การกำ�หนดวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2. แผนการวิจัยในชั้นเรียนมีจุดมุ่งหมายอย่างไร ก. ตอบปัญหาการวิจัยถูกต้อง ข. มีประโยชน์คุ้ม ค่า ค. เพื่อจัดการความแปรปรวนที่เกิดขึ้นกับการทำ�วิจัย ง. ถูกทุกข้อ 3. Max Min Con คืออะไร 3ก. การจัดการความแปรปรวน ข. การออกแบบการวิจัย ค. การควบคุมตัวแปรเกิน ง. การกำ�จัดตัวแปรเกิน 4. หลักการกำ�จัด ความแปรปรวน Min คือการทำ�อยา่งไร ก. การสุ่มตัวอยา่งให้ได้มากที่สุด ข. การจัดการให้ตัวแปรที่เลือกมาศึกษาแสดงความแปรปรวนต่อกลุ่ม ตัวอย่าง ค. การลดความคลาดเคลื่อนใหเ้หลือน้อยสุด 2
5. แบบการวิจัยในชั้นเรียนมีจุดมุ่งหมายต่างจากแบบการวิจัยทั่วไปหรือไม่อย่างไร ก. ต่างเพื่อช่วยให้สามารถควบคุมตัวแปรเกิน ข. ต่างต้องการแกปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนในชั้นเรียน ค. ไม่แตกต่างกันเพราะเป็นการวิจัยเหมือนกัน ง. ไม่แตกต่างกันเพราะมีจุดมุ่งหมายเหมือนการวิจัยทั่วไป 6. วิธีการใดช่วยควบคุมตัวแปรเกินได้ดีที่สุด ก. การสุ่ม ข. การกำ�จัดตัวแปร ค. การออกแบบการวิจัย ง. การใช้สถิติ 7. แบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลอง (pre-experinental design) มีลักษณะ อย่างไร ก. เป็นการวิจัยที่ตัวแปรต่างๆ เกิดอยู่ ข. เป็นการวิจัยเชิงทดลองอย่างอ่อน ค. เป็นการวิจัยเชิงทดลองที่ไม่สมบูรณ์ ง. ถูกทั้ง ก และ ข 8. การวิจัยในขั้นเรียนมีรูปแบบการวิจัยลักษณะใด ก. การวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลองและแบบการวิจัยกึ่งทดลอง ข. แบบการวิ จัยเชิงกึ่งทดลองและแบบการวิจัยเชิงทดลอง 4 ค. แบบการวิจัยเชิงทดลอง ง. แบบการวิจัยเชิงทดลองและแบบการวิจัยมีแบบการวิจัยเชิง ทดลอง
3
9. X T2 เป็นแบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลองที่มีวิธีการศึกษา อยา่งไร ก. เลือกกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม ดำ�เนินการระยะสั้นๆ ข. ทดสอบก่อนเรียนแล้วทำ�การทดลองและทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง ค. กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ง. ทดสอบก่อนทดลองทั้ง 2 กลุ่ม 10. ข้อใดกล่าวถึงการวิจัยแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังเรียนได้ถูกต้อง ก. มีการทดสอบวัดก่อนและหลังการทดลอง ข. สามารถควบคุมการเลือกกลุ่มตัวอย่างได้ดี ค. การทดสอบก่อนมีอิทธิพลต่อการทดสอบหลังทดลอง ง. ถูกทุกข้อ
5
ศึกษาโครงสร้างชุดฝึกอบรมต่อเลยนะคะ
4
โครงสร้างชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 5 การออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน แนวคดิ 1. การออกแบบการวิจัยหมายถึง แผน (plan) โครงสร้าง (structure) และ ยุทธวิธี (strategy) ในการศึกษาค้นคว้า เป็นการกําหนดรูปแบบ ขอบเขต และแนวทางการ วิจัย ขึ้นอยู่กับธรรมชาติของการวิจัยแต่ละเรื่อง ประเด็นปัญหาที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา รวม ไปถึงวัตถุประสงค์ในการวิจัยซึ่งการออกแบบการวิจัย นี้จะเกี่ยวโยงไปถึงกลุ่มตัวอย่างที่ จะใช้ วิธีการและเครื่องมือมือเก็บรวบรวมข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยการ ออกแบบการวิจัยช่วยให้ได้คําตอบต่อปัญหาที่ทําการวิจัยอย่างถูกต้องแม่นยำ�เป็นปรนัย และด้วยวิธีที่ประหยัดที่สุดและช่วยควบคุมหรือขจัดอิทธิพลของตัวแปรเกินหรือตัวแปร แทรกซ้อนที่ส่งผลรบกวนต่อการทดลองที่ทำ�ให้ผลการวัดค่าตัวแปร คลาดเคลื่อนไป ผลจากการออกแบบการวิจัยทําให้ได้ตัวแบบที่เรียกว่า “ แบบการวิจัย ” ซึ่งเป็นประดุจ พิมพ์เขียวของการวิจัย 2. แบบการวิจัยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) แบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลอง 2) แบบการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง 3)6 เป็นแบบการวิจัยเชิงทดลอง วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเล่มที่ 5 จบแล้ว ท่านสามารถ 1. บอกจุดมุ่งหมาย และประโยชน์ของการออกแบบการวิจัยในชั้น เรียนได้ 2. อธิบายถึงแบบแผนการวิจัยได้
5
หัวข้อเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมาย จุดมุ่งหมายและประโยชน์ของการออกแบบการวิจัยใน ชั้นเรียน เรื่องที่ 2 แบบการวิจัย กิจกรรมการอบรม ให้ครูผู้สอนศึกษารายละเอียดของหัวข้อเนื้อหาของชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเล่มท่ี 5 จนครบสมบูรณ์แล้วทำ�กิจกรรมทบทวนความรู้ความเข้าใจเนื้อหาของชุดฝึกอบรมที่กำ�หนดให้ ตามลำ�ดับสื่อการอบรม 1. ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเล่มที่ 5 เรื่อง Design by Reserch 2. เอกสารแนวทางการจัดทำ�วิจัยในชั้นเรียน การประเมินผล ประเมินผลจากการทำ�แบบทดสอบก่อนและหลังการศึกษาชุดฝึก อบรมด้วยตนเองเล่มท่ี 5
7
6
เรื่องที่ 1 ความหมายจุดมุ่งหมายและประโยชน์ของการออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน การออกแบบการวิจัย (research design) หมายถึง แผน (plan) โครงสร้าง (structure) และยทุทธวิธี (strategy) ในการศึกษาค้นคว้าเป็นการกำ�หนดรูปแบบขอบเขต และแนวทางการวิจัยขั้นอยู่กับ ธรรมชาติของการ วิจัยแต่ละเรื่อง ประเด็นปัญหาที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา รวมไปถึงวัตถุประสงค์ใน การวิจัยซึ่ง การออกแบบการวิจัยนี้จะเกี่ยวโยงไปถึงกลุ่มตวัอยา่งที่จะใช้วิธีการและเครื่องมือมือเก็บ รวบรวมข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย นักการศึกษาได้ให้ความหมายของแบบการวิจัยไว้หลายท่านดังนี้ ธีรวฒุิ เอกะกลุ (2542:59) สรุปถึงการออกแบบวิจัย ว่า เป็นแผนการที่กำ�หนดไวข้องผู้วิจัย ที่แสดงถึงลักษณะวิธีการวิจัยเพื่อจะได้ดำ�เนินการเรื่องนั้นๆ อย่างมีแบบแผนและสอดคล้อง กับปัญหา วัตถุประสงค์ การวิจัย ที่กำ�หนดไว้ ให้มากที่สุด นิศารัตน์ศิลปะเดช (2542:77) สรุปว่าแบบการวิจัยเป็นรูปแบบ กลยุทธ์ โดยโครงสร้างและแผนการวิจัยทั้งหมดที่ทำ�ให้ผู้วิจัยมองเห็นแนวทางที่จะดำ�เนินงาน อย่างชัดเจนสามารถดำ�เนินการวิจัยได้อย่างถูกต้องเหมาะสมทุกขั้นตอนเพ่ื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ได้ เคอร์ลิงเจอร์ (Kerlinger,1986 : 279) ให้ความหมายของแบบวิจัยว่าหมายถึง แผนและโครงสร้างของการศึกษาที่ทำ�ให้ได้คำ�ตอบตามปัญหาการ วิจัย เคิร์ก (Kirk.1995 :1) กล่าวถึงแบบการวิจัยเชิงทดลองว่าเป็นแบบในการกำ�หนด ขนาดตัวอย่างเข้ารับเงื8่อนไขการทดลองและใช้สถิติที่เหมาะสม สรุป จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า แบบแผนการวิจัยเป็นโครงสร้าง การ วิจัยต่างๆ เช่น เกี่ยวกับวิธีการวิจัยกลุ่มตัวอย่าง และสถิติที่ใช้ ฯลฯ ตามความเหมาะสมที่ จะช่วยให้การวิจัยบรรลุวัตถุประสงค์
7
จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย การออกแบบการวิิจัยมีจุดมุ่งหมาย 3 ประการดังนี้
• ประการที่ 1 เพื่อให้ได้คำ�ตอบต่อปัญหาที่ทำ�การวิจัยอย่างถูกต้อง แม่นยำ�เป็นปรนัยหรือมีความตรงภายใน โดยปราศจากการรบกวนจาก อิทธิพลของสิ่งต่างๆ ที่ไม่ได้ศึกษา • ประการที่ 2 เพื่อให้มีประโยชน์คุ้มค่าผลการวิจัยมีความชัดเจนใช้ ประโยชน์ในวงการศึกษากว้างหรือสภาพที่คล้ายคลึงกันมีความตรง ภายนอก มีข้อจำ�กัดในการนำ�ไปใช้น้อย • ประการที่ 3 เพื่อจัดการความแปรปรวนที่เกิดขึ้นในการวิจัย การจัดการความแปรปรวน มีหลัก 3 ประการที่เรียกกันทั่วไปว่า แม็กซ์ (max) มิน (min) และคอน (con) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ทำ�ให้ความแปรปรวนของตัวแปรที่ศึกษามีค่าสูงสุด (To maximize the vaiance of the variable : max) เป็นการจัดการให้ตัว แปรที่เลือกมาศึกษาแสดง ความแปรปรวนต่อกลุ่มตัว อย่างหรือประชากรให้แตกต่างกันมากที่สุดเท่าที่จะทำ�ไดเ้พื่อให้ ได้ผลการวิจัยที่ชัดเจน เช่น - ถ้าศึกษาเวลาในการทำ�แบบฝึกหัดวิชาภาษาอังกฤษที่มีต่อความเข้าใจการเรียน ให้แบ่งเวลาให้ 10 ชั่วโมง แทนที่จะแบ่งเป็น 1 9 ห่างกันให้มากที่สุด เช่น 5 ชั่วโมง กับ กับ 2 ชั่วโมง 2. ลดความคลาดเคลื่อนให้เหลือน้อยที่สุด (to minnnimization the error min) โดยการลดความคลาดเคลื่อน จากการวัดหรือจากการเก็บข้อมูลหรือลดน้อยที่สุด ทั้งสาเหตุ จากเครื่องมือผู้เก็บรวบรวมข้อมูลและผู้ให้ข้อมูลฯลฯ 3. การควบคุมตัวแปรเกิน (control of extraneous:con) โดยการควบคุมตัวแป รอื่นๆ ที่ไม่ใช่ตัวแปรต้นที่ศึกษาแต่จะส่งผลต่อตัวแปรตามด้วยวิธีการ ดังนี้ - การสุ่ม (randomization) เป็นวิธีที่ควบคุมตัวแปรเกินได้ดีที่สุดเพราะประชากร มีโอกาสรับเลือกเท่าๆ กัน 8
- การกำ�จัดตัวแปรเกิน (elimination) กำ�จัดตัวแปรเกินที่คาดว่าจะมีให้มีความ เท่าเทียมกัน เช่น ความรู้พื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างจะเป็นตัวแปรเกิน ก็ให้จัดกลุ่มตัวอย่าง ให้มีความรู้พื้นฐานเท่ากันซึ่งตัวแปรดังกล่าวต้องใช้ แบบวัดคัดออกมาหรืออาจใช้เกรดเฉล่ีย ตัวแปรบางตัวเช่นน้ำ�หนักส่วนสูงหรือฐานะ จะวัดไม่ยากหรือสอบถามข้อเท็จจริงได้การ ควบคุมด้วยวิธีนี้จึงเหมาะกับการวิจัยที่มีประชากรจำ�นวนมาก - การจับคู่ (matching) เป็นการจับคู่ระหว่างตัวอย่างให้มีลักษณะ เหมือนกัน เพื่อความเท่าเทียมกัน เช่นฐานะผลการเรียนเป็นคู่ๆ เพื่อแยกเข้ากลุ่มควบคุมและกลุ่ม ทดลอง วิธีนี้จะหาตัวอย่างเพียงพอยาก - การใช้สถิติ (Statistic) วิธีนี้ต้องใช้สถิติเข้าช่วย กลุ่มที่ได้เปรียบจะน้อยกว่า กลุ่มที่เสียเปรียบมีลักษณะสมดุลสถิติที่นาํมาใช้เช่นการวิเคราะห์ความแปรปรวน หรือ วิเคราะห์สหสัมพันธ์ - นำ�มาเป็นตัวแปรที่ศึกษา ( built in to design) บางครั้งต้องนำ�ตัวแปร เกินที่ควบคุม ไม่ได้มาทําการศึกษาเป็นตัวแปรต้นเพิ่มเติมในแบบการวิจัยและต้องเพิ่ม วัตถุประสงค์ สาระทุกขั้นตอนการวิจัยจนกระทั่งสรุปผล การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยในชั้นเรียนจะเน้นจุดมุ่งหมายการเลือกแบบวิจัยต่างจากการ วิจัยทั่วไป เพราะต้องการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนในห้องเรียนถ้าสามารถนำ� ผลการวิจัย ไปใช้ ในการแก้ปัญหาหรือพั10ฒนาผู้เรียนได้ถือว่าได้รับความสำ�เร็จ นอกจากนี้ยังมีข้อจำ�กัดเรื่อง จำ�นวนกลุ่มตัวอยา่งหรือประชากรที่ศึกษา จึงยากที่จะให้ครอบคลุมจุดมุ่งหมายของการ เลือกแบบวิจัยดังที่กล่าวมาข้างต้นยกเว้น สถานศึกษาที่มีขนาดใหญ่และเน้นผลการวิจัยที่มี ความตรงภายใน
9
ประโยชน์ของการออกแบบการวิจัยและการออกแบบการทดลอง การออกแบบการวิจัยมีประโยชน์หลายประการดังนี้ - ช่วยให้สามารถวางแผนควบคุมตัวแปรเกินหรือตัวแปรแทรกซ้อนได้ - ช่วยให้สามารถตัดสินใจเลือกวิธีวิจัยได้ถูกต้อง - ช่วยให้การกำ�หนดและสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมลู - ช่วยให้การแนะแนวทางเกี่ยวกบัการสถิติในการวเิคราะห์ตลอดจน แปลผลข้อมูลได้ถูกต้อง - ช่วยให้ทราบรายละเอียดเก่ียวกับงบประมาณแรงงานและระยะเวลาในการทำ� - ช่วยในการประเมินผลการวิจัยได้ว่ามีความถูกต้องเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด
11
10
กิจกรรมที่ 1 ความหมายจุดมุ่งหมายและประโยชน์ของการออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน คำ�ชี้แจง : จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้ ข้อ1. การออกแบบการวิจัย หมายถึง .......................................................................................................... ...................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ข้อ2. การทำ�วิจัยในชั้นเรียนจำ�เป็นต้องมีการออกแบบการวิจัยหรือไม่เพราะเหตุใด .......................................................................................................... ...................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ข้อ3. การวิจัยในชั้นเรียนมีจุดมุ่งหมายเหมือนหรือแตกต่างกับการวิจัยทั่วไปหรือไม่ อย่างไร .......................................................................................................... ...................................................................................................................... 12 ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ข้อ3. การออกแบบการวิจัยในชั้นเรียนมีประโยชน์อย่างไร .......................................................................................................... ...................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... 11
เฉลย กิจกรรมที่ 1
ข้อ 1 แนวการตอบคำ�ถาม หน้า 6 ข้อ 2 แนวการตอบคำ�ถาม หน้า 6-8 ข้อ 3 แนวการตอบคำ�ถาม หน้า 8 ข้อ 4 แนวการตอบคำ�ถาม หน้า 8
13
ผิดข้อไหน.. ทบทวน....อีกครั้ง แล้วศึกษาเรื่องที่ 2 ต่อได้คะ
12
เรื่องที่ 2 แบบการวิจัยในชั้นเรียน การออกแบบการวิจัยและการออกแบบการทดลองเพื่อการปฏิบัติการวิจัยใน ชั้นเรียน การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยในรูปแบบการวิจัยและพัฒนาซึ่งมีความเหมาะ สมมากที่สุด เนื่องจากต้องมีการนำ�นวัตกรรมไปใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนากับผู้เรียน เสมอ โดยการวิจัยและพัฒนานี้จำ�เป็นที่จะต้องมี การออกแบบการวิจัย (Research Design) ซึ่งเป็นการกำ�หนดโครงสร้างและรายละเอียดแนวทางการดำ�เนินการ วิจัย เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�วิจัยที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำ�หนดไว้อย่างถูกต้อง ดัง นั้นการออกแบบการวิจัยก็เหมือนกับการออกแบบบ้านก่อนที่จะมีการสร้างบ้าน นั่นเอง อย่างไรก็ตามการออกแบบสร้างบ้านนี้คงจะต้องมีรายละเอียดต่างๆ เป็นส่วน ประกอบอีกหลายอย่าง จึงจะทำ�ให้ช่างสามารถสร้างบ้านได้ตามต้องการมากที่สุด การออกแบบการวิจัยก็เช่นเดียวกันจำ�เป็นที่จะต้องมีการออกแบบการทดลองควบคู่ ไปด้วยเสมอ สามารถเขียนสรุปความสัมพันธ์เป็น 14
การวิจัย
วัตถุประสงค์ /ต้องการ รู้อะไร ต้องการทำ�อะไรบ้าง การออกแบบการวิจัย - วิธีการวิจัย /ขั้นตอน/ตัวแปร วางแผนการวิจัย - เวลา งบประมาณ สถานที่ทดลอง
ออกแบบ การทดลอง รูปแบบการทดลอง นำ�นวัตกรรมไปใช้ การวิจัย
แผนภูมิที่ 1 ความสัมพันธ์ของการออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน 13
แบบการวิจัย แบบการวิจัยจะช่วยให้ผู้วิจัยสามารถหาคำ�ตอบของปัญหาที่ต้องการศึกษาอย่างถูก ต้องแบบการวิจัยมีหลายแบบซึ่งสามารถจัดเป็นกลุ่มได้ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็นแบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลอง (pre-experimental design) เป็นการวิจัยเชิงทดลองอย่างอ่อน (leaky design) เป็นการวิจัยที่ตัวแปรต่างๆ เกิด ขึ้นอยู่ก่อนแล้วในธรรมชาติไม่มีการทดลองจริง แต่ดำ�เนินการทำ�ทีเหมือนกับว่ามีการทดลอง ดังนั้น การวิจัยแบบนี้จะควบคุมอิทธิพลของตัวแปรแทรกซ้อนได้น้อยกว่าแบบอื่นๆ กลุ่มที่ 2 เป็นแบบการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (quasi-experimental design ) เป็น แบบการวิจัยสำ�หรับงานวิจัยที่ดำ�เนินการศึกษาแบบการทดลองที่ไม่สมบูรณ์หรือที่เรียก ว่าการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi experimental research ) กลุ่มที่ 3 เป็นแบบการวิจัยเชิงทดลอง (true-experimental design) เป็นแบบการ วิจัยสำ�หรับการวิจัยเชิงทดลองที่สมบูรณ์แบบที่สุด่ สำ�หรับแบบการวิจัยในชั้นเรียนจะมีลักษณะเป็นแบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัย เชิงทดลองและแบบการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง ทั้งนี้ด้วยข้อจำ�กัดเกี่ยวกับลักษณะของกลุ่มผู้เรียน ที่มีอยู่จริงตามสภาพปัญหาต่างๆ จึงทำ�ให้การวิจัยในชั้นเรียนไม่เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพราะไม่ม15ีการสุ่มตัวอย่าง (random selection) และสุ่มเงื่อนไขทดลองให้กับกลุ่มตัวอย่าง (random assignment)
14
แบบแผนการวิจัยในชั้นเรียน แบบแผนการวิจัยที่นิยมใช้ในการวิจัยในชั้นเรียน เป็นแบบแผนการวิจัยก่อนมี แบบการวิจัยเชิงทดลอง และแบบแผนการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง ดังนั้น ในที่นี้จะได้นำ�เสนอใน 2 แบบดังกล่าว เพื่อให้เข้าใจตรงกันในการใช้แบบการวิจัยจึงขอกำ�หนดสัญลักษณ์ที่ใช้สื่อ ความหมาย ดังนี้ X แทน การจัดกระทำ� หรือ การให้ตัวแปรทดลอง (treatment) ~X แทน ไม่มีการจัดกระทำ� หรือ ให้ตัวแปรทดลอง E แทน กลุ่มทดลอง (experimental group) C แทน กลุ่มควบคุม (control group) T1 แทน การสอบก่อนการทดลอง (pretest) T2 แทน การสอบหลังการทดลอง (posttest) R แทน การกำ�หนดกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม ไม่มี R หมายความว่าเลือกมาโดยไม่มีการสุ่ม X แทน ไม่มีการจัดกระทำ� หรือ 1. แบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลอง (pre-experimental deแบบที่ 1 แบบกลุ่มเดียวหรือรายกรณี (one shot case study) 16
X
T2
วิธีการ แบบการวิจัยแบบที่ 1 เป็นการศึกษาโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างมา 1 กลุ่ม หรือ ราย กรณีในระยะสั้น ๆ มีการทดลอง หรือมีการจัดกระทำ�กับกลุ่มตัวอย่าง จากนั้นจึงทำ�การ สังเกตหรือวัดผลเพื่อตรวจสอบดูว่าข้อค้นพบที่ได้ตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือไม่
15
ข้อดีและข้อบกพร่องของแบบการวิจัยแบบที่ 1 ข้อดี เป็นวิธีที่ง่ายและสะดวก เหมาะสำ�หรับการวิจัยเชิงปฏิบตั ิ (action research) ซึ่งเป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะกลุ่มเป็นแบบการวิจัยของการวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research) ซึ่งเป็นแบบการวิจัยของการวิจัยแบบการศึกษาย้อนหลัง (expost facto research) ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่องที่สำ�คัญ 2 ประการ คือ ประการที่ 1. กลุ่มตัวอย่างไม่มีการสุ่ม ทำ�ให้มีความแตกต่างกันมากภายในกลุ่ม ตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างไม่เป็นตัวแทนของประชากร ดังนั้นจึงไม่สามารถอ้างอิงไปสู่กลุ่มอื่นได้ ประการที่ 2. ไม่มีการควบคุมตัวแปร ผลที่ได้อาจไม่ใช่ผลอันเนื่องมาจากตัวแปร อิสระที่ต้องการศึกษาซึ่งวิธีแก้ไขก็คือเพิ่มกลุ่มควบคุมอีก 1 กลุ่มและเพิ่มการสอบวัดครั้งแรก เพื่อเปรียบเทียบกันได้ แนวทางการนำ�ไปใช้ ผู้วิจัยอาจจะคิดวิธีการสอนขึ้นมา 1 วีธี เพื่อแก้ปัญหานักเรียนช้า และไม่เข้าใจ 17 เนื้อหาซึ่งวิธีการออกแบบการวิจัยแบบที่ 1 มีดังนี้ 1. กำ�หนดนักเรียนที่จะต้องได้รับการแก้ปัญหามา 1 กลุ่ม หรือ 1 ราย 2. ทำ�การทดลองนักเรียนกลุ่มนี้โดยใช้วิธีการสอนที่ผู้วิจัยคิดขึ้น 3. ผู้วิจัยทำ�การทดสอบหลังการทดลอง เพื่อดูผลสัมฤทธิ์หลังจากการทดลองใช้วิธี สอนที่คิดขึ้น
16
แบบที่ 2 แบบกลุ่มเดียวสอบก่อนและหลัง (one-group pretest design) T1T1 X T X T2 2 วิธีการ แบบการวิจัยแบบที่ 2 เป็นการแก้ไขข้อบกพร่องของการวิจัยแบบที่ 1 โดยเพิ่มการ สอบวัดก่อนการทดลอง (pretest) จากนั้นจึงทำ�การทดลองหรือให้ตัวแปรทดลอง (treatment) แล้วทำ�การทดสอบหลังการทดลอง (posttest) จากนั้นจึงนำ�เอาผลจากการทดสอบ ก่อนการทดลองหลังการทดลองมาเปรียบเทียบกัน้
ข้อดี
แบบการวิจัยที่ 2 มีข้อดี ดังนี้ 1. การสอบวัดก่อนและหลังการทดลองทำ�ให้สามารถเปรียบเทียบผลการทดลอง ได้ 2. สามารถควบคุมการเลือกกลุ่มตัวอย่าง และการขาดหายไปของกลุ่มตัวอย่าง ได้ เนื่องจากสอบวัดเพียงกลุ่มเดียว ข้อบกพร่อง แบบการวิจัยที่ 2 มีข้อ18 บกพร่อง ดังนี้ 1. การสอบก่อนการทดลองอาจมีอิทธิพลต่อการสอบหลังการทดลอง 2. การเว้นระยะเวลาในการสอบก่อนและหลังการทดลองห่างกัน ผู้เข้ารับการ ทดลอง (subject) อาจมีความเจริญเติบโต มีวุฒิภาวะเพิ่มขึ้น ดังนั้น จึงไม่อาจมั่นใจได้ว่า ความแตกต่างของผลการสอบทั้ง 2 ครั้ง เป็นผลมาจากตัวแปรอิสระหรือตัวแปรทดลอง
17
แนวทางการนำ�ไปใช้ ผู้วิจัยอาจจะคิดชุดการเรียนขึ้นมา 1 ชุด เพื่อแก้ไขปัญหานักเรียนไม่เข้าใจเกี่ยวกับ การหาร ผู้วิจัยควรดำ�เนินการ ดังนี้ 1. เลือกกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับการบวกเศษส่วนมา 1 กลุ่ม 2. ทำ�การทดสอบนักเรียนกลุ่มนี้ก่อนการทดลอง 3. ผู้วิจัยทดลองโดยใช้วิธีการที่ผู้วิจัยคิดขึ้น เช่น อาจจะใช้ชุดการเรียนการหาร 4. ทดสอบนักเรียนกลุ่มนี้หลังการทดลอง 5. นำ�คะแนนก่อนและหลังการทดลองมาเปรียบเทียบกัน เพื่อดูความแตกต่างของ คะแนนทั้ง 2 ครั้ง ถ้าคะแนนหลังการทดลองสูงกว่าคะแนนก่อนการทดลอง แสดงว่าชุดการ เรียนที่ผู้วิจัยคิดขึ้นนี้มีประสิทธิภาพ 2. แบบการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (quasi experimental design) แบบที่ 3 แบบการวิจัยที่กลุ่มควบคุมไม่มีการสุ่มแต่มีการสอบ ก่อนและหลัง (nonrandomzed control group pretest posttest design) E
T1
X
T2
C
T1
˜X
T2
19
18
วิธีการ การวิจัยแบบที่ 3 นี้จะเลือกกลุ่มตัวอย่างมา 2 กลุ่ม โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มทดลอง 1 กลุ่มและกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม ทำ�การทดสอบก่อนการทดลองทั้ง 2 กลุ่ม แล้วทดสอบ ค่าเฉลี่ย และความแปรปรวน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทั้ง 2 กลุ่มมีความเท่ากัน จากนั้นจึง ดำ�เนินการทดลองโดยให้ตัวแปรทดลอง (X) กับกลุ่มทดลอง (E) เท่านั้น ส่วนกลุ่มควบคุม (C) จะไม่ได้รับตัวแปรทดลอง แต่จะจัดสภาพการณ์อื่นๆ ของทั้ง 2 กลุ่มให้เหมือนๆ กัน ทำ�การ ทดสอบหลังการทดลองทั้ง 2 กลุ่ม หาค่าเฉลี่ยของการทดลองทั้ง 2 กลุ่มแล้วนำ�มาเปรียบ เทียบกัน ข้อดี
แบบการวิจัยที่ 3 มีข้อดี ดังนี้ 1. การทดลองมีลักษณะค่อนข้างเป็นธรรมชาติ 2. มีการทดสอบก่อนการทดลอง ทำ�ให้ผู้วิจัยนำ�วิธีการวิเคราะห์ทาง สถิติมาช่วยควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้บางส่วน 3. การมีกลุ่มควบคุมซึ่งใช้ในการเปรียบเทียบ ทำ�ให้ยืนยันได้ว่าผลที่ได้ จากการทดลองดีกว่าวิธีการปกติหรือไม่ 20
19
ข้อบกพร่อง
แบบการวิจัยที่ 3 มีข้อบกพร่อง ดังนี้ 1. ถ้าทั้ง 2 กลุ่มมีคะแนนเฉลี่ย และความแปรปรวนในตอนแรกไม่เท่ากัน ผลการทดลองที่ ได้ถูกกระทบกระเทือนจากผลของประวัติกลุ่มตัวอย่าง วุฒิภาวะ การคัดเลือก และปฏิกิริยา ร่วมขององค์ประกอบเหล่านี้ 2. การสอบก่อนการทดลองทำ�ให้ไม่สามารถควบคุมปฏิกิริยาร่วมระหว่างการทดสอบก่อน (pretest) กับตัวแปรทดลอง (treatment) ได้ แนวทางการนำ�ไปใช้ ผู้วิจัยอาจจะคิดวิธีสอนขึ้นมา 1 วิธี แล้วต้องการเปรียบเทียบว่าวิธีการสอนที่คิดขึ้นกับ วิธีสอนตามปกติ วิธีใดจะให้ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนสูงกว่ากัน ซึ่งมีวิธีการดังนี้ 1. เลือกกลุ่มตัวอย่างมา 2 กลุ่ม (หรือ 2 ห้องเรียน) โดยให้กลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มทดลอง และอีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุม 2. ทำ�การทดสอบก่อนทำ�การทดลองทั้ง 2 กลุ่ม (หรือ 2 ห้องเรียน) 3. กลุ่มทดลองผู้วิจัยจะใช้วิธีการสอนที่ผู้วิจัยคิดขึ้น ส่วนกลุ่มทดลองจะสอนตามปกติ 4. ทำ�การทดสอบหลังการทดลองทั้ง 2 กลุ่ม 5. 21 นำ�คะแนนหลังการทดลองทั้ง 2 กลุ่ม มาเปรียบเทียบกัน ถ้าปรากฏว่าคะแนนของ กลุ่มทดลอง (กลุ่มที่ใช้วิธีสอนที่ผู้วิจัยคิดขึ้น) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (กลุ่มที่ได้รับการสอนแบบ ปกติ) แสดงว่าวิธีสอนที่ผู้วิจัยคิดขึ้นมีประสิทธิภาพ ทำ�ให้นักเรียนมีการเรียนรู้และมีผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น
20
แบบที่ 4 แบบอนุกรมเวลาแบบกลุ่มเดียว (one group time series design) T1
T2
T3
T4
X
T5 T6 T7 T8
T1 – T4 เป็นการวัดซํ้าเป็นระยะก่อนให้ตัวแปรทดลอง (treatment) เรียกว่า beseline T5 – T8 เป็นการวัดซํ้าเป็นระยะหลังให้ตัวแปรทดลอง เรียกว่า intervention วิธีการ แบบการวิจัยแบบที่ 4 นี้จะเลือกกลุ่มตัวอย่างมาเพียง 1 กลุ่ม ทำ�การสอบครั้งแรก ติดต่อกันหลาย ๆ ครั้งก่อนให้ตัวแปรทดลอง (X) โดยเว้นช่วงเวลาห่างกันพอสมควรจนพอที่จะ เห็นแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงโดยธรรมชาติ จากนั้นจึงทำ�การทดลองโดยให้ตัวแปรทดลอง (X) แล้วทำ�การทดสอบหลังการทดลองหลาย ๆ ครั้ง โดยเว้นช่วงระยะเวลาให้ห่างกันเช่นเดียว กับการสอบก่อนการทดลอง จากนั้นจึงวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างผลการสอบครั้งหลังสุดก่อน การทดลอง (T4) และผลการสอบครั้งแรกหลังการทดลอง (T5) ว่าแตกต่างไปจากเดิมหรือไม่ สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงจากการสอบ T1 ไป T2 T2 ไป T3 T3 ไป T4 T4 และ T5 ไป T6 T6 ไป T7 T7 ไป T8 เป็นอย่างไร ถ้าพบว่าการเปลี่ยนแปลงจาก T4 ไป T5 มากกว่าการเปลี่ยนแปลงของช่วงอื่น ๆ 22
21
ข้อข้ดีอดี
แบบการวิจัยที่ 4 มีข้อดี ดังนี้ 1. ไม่ยุ่งยากใช้กลุ่มตัวอย่างเพียงกลุ่มเดียว 2. ทำ�ให้เห็นแนวโน้มของลำ�ดับขั้นของพัฒนาการเพราะเป็นการศึกษาแบบติดตาม ผลระยะยาว (longitudinal study) 3. ผู้วิจัยสามารถสังเกตอัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไปตามปกติ และอัตราการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการจัดกระทำ� ข้อบกพร่อง
แบบการวิจัยที่ 4 มีข้อบกพร่อง ดังนี้ 1. ไม่มีการควบคุมตัวแปร ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ 2. ผลการทดสอบครั้งแรกอาจมีผลต่อการทดสอบครั้งหลัง ๆ 3. ถ้ากลุ่มตัวอย่างรู้ตัวว่าถูกทดลองอาจมีผลต่อผลการวิจัย 4. ไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบ 5. เสียเวลาในการศึกษานาน เพราะเป็นการศึกษาระยะยาว 23
22
แนวทางการนำ�ไปใช้
ผู้วิจัยอาจจะคิดหาวิธีการปรับพฤติกรรมการไม่กล้าแสดงออกของนักเรียนโดยวิธี การให้รางวัลซึ่งมีวิธีการ ดังนี้ 1. เลือกนักเรียนที่มีปัญหา (ไม่กล้าแสดงออก) มา 1 กลุ่ม (หรือ 1 ราย) 2. ทำ�การสังเกตและวัดผลพฤติกรรมการไม่กล้าแสดงออกเป็นระยะๆ 3. ทำ�การทดลอง (ซึ่งทดลองโดยการให้รางวัลสำ�หรับนักเรียนที่กล้าแสดงออก) 4. ทำ�การวัดผลพฤติกรรมหลังการทดลองเป็นระยะ ๆ 5. ทำ�การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลการวัดหลังสุดก่อนให้การทดลองกับ การวัดครั้งแรกหลังการทดลอง ถ้าพบว่ามีค่ามากกว่าผลการวัดก่อนการทดลอง ครั้งแรกกับครั้งที่สอง ครั้งที่สองกับครั้งที่สาม หรือมีค่ามากกว่าผลการวัดหลัง การทดลองครั้งแรกกับครั้งที่สอง หรือครั้งที่สองกับครั้ง ที่สาม แสดงว่าวิธีการแก้ปัญหานี้มีประสิทธิภาพ
24
23
กิจกรรมที่ 2 แบบการวิจัย คำ�ชี้แจง : ตอนที่ 1 จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้ ข้อที่ 1. แบบการวิจัยในชั้นเรียน มีกี่แบบ ประกอบด้วยแบบใดบ้าง ..................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ข้อที่ 2 จงบอกวิธีการ และข้อดีของแบบกลุ่มเดียวหรือรายกรณี ..................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... 25
ข้อที่ 3 จงเขียนแบบการวิจัยที่กลุ่มควบคุมไม่มีการสุ่มแต่มีการสอบก่อนและหลัง ..................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ...................................................................................................................................
24
คำ�ชี้แจง : ตอนที่ 2 โปรดพิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้ว กาaหน้าข้อที่เห็น ว่าถูก และ X หน้าข้อที่เห็นว่าไม่ถูกต้อง ........... 1. แบบการวิจัยเป็นการกำ�หนดโครงสร้างและแนวทางการดำ�เนินการ วิจัย ........... 2. แบบการวิจัยช่วยให้ผู้ศึกษา/ผู้วิจัยหาคำ�ตอบของปัญหาที่ต้องการ ศึกษาอย่างถูกต้อง ........... 3. pre-experimental design คือแบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัย เชิงทดลอง ........... 4. แบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลองเรียกอีกอย่างว่าการ วิจัยกึ่งทดลอง ........... 5. การวิจัยกึ่งทดลองเป็นแบบการวิจัยที่ดำ�เนินการทดลองที่มา สมบูรณ์ ........... 6. แบบการวิจัยเชิงทดลองเป็นแบบการวิจัยที่มีวิธีการสอดคล้องกับวิธี การทางวิทยาศาสตร์ ........... 7. การวิจัยในชั้นเรียนเป็นแบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลอง และแบบการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง ........... 8. การวิจัยในชั้นเรียนไม่มีการวิจัยเชิงทดลองเพราะไม่มีการสุ่ม ตัวอย่าง 26 2 เป็นแบบกลุ่มเดียวสอบก่อนและหลัง ........... 9. T1 X T ........... 10. แบบกลุ่มเดียวสอบก่อนและหลังสามารถเปรียบเทียบผลการ ทดลองได้
25
เล่มที่ 5 แบบประเมินตนเอง ....หลังเรียน การออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน คำ�ชี้แจง : โปรดทำ�เครื่องหมาย X ทับตัวเลือก ที่ถูกที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว ตอบลงในกระดาษคำ�ตอบ 1. ข้อใดเป็นความหมายของการออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน ก. ประเด็นปัญหาการวิจัย ข. แผนโครงสร้างยุทธวิธี ค. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย ง. การกำ�หนดวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2. แผนการวิจัยในชั้นเรียนมีจุดมุ่งหมายอย่างไร ก. ตอบปัญหาการวิจัยถูกต้อง ข. มีประโยชน์คุ้มค่า ค. เพื่อจัดการความแปรปรวนที่เกิดขึ้นกับการทำ�วิจัย ง. ถูกทุกข้อ 3. Max Min Con คืออะไร ก. การจัดการความแปรปรวน 27ข. การออกแบบการวิจัย ค. การควบคุมตัวแปรเกิน ง. การกำ�จัดตัวแปรเกิน 4. หลักการกำ�จัดความแปรปรวน Min คือการทำ�อย่างไร ก. การสุมตัวอย่างให้ได้มากที่สุด ข. การจัดการให้ตัวแปรที่เลือกมาศึกษาแสดงความแปรปรวนต่อกลุ่ม ตัวอย่าง ค. การลดความคลาดเคลื่อนให้เหลือน้อยสุด ง. การวัดหรือการเก็บข้อมูล 26
5. แบบการวิจัยในชั้นเรียนมีจุดมุ่งหมายต่างจากแบบการวิจัยทั่วไปหรือไม่อย่างไร ก. ต่าง เพื่อช่วยให้สามารถควบคุมตัวแปรเกิน ข. ต่าง ต้องการแกปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียนในชั้นเรียน ค. ไม่แตกต่างกัน เพราะเป็นการวิจัยเหมือนกัน ง. ไม่แตกต่างกันเพราะมีจุดมุ่งหมายเหมือนการวิจัยทั่วไป 6. วิธีการใดช่วยควบคุมตัวแปรเกินได้ดีที่สุด ก. การสุ่ม ข. การกำ�จัดตัวแปร ค. การออกแบบการวิจัย ง. การใช้สถิติ 7. แบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลอง (pre-experinental design) มีลักษณะ อย่างไร ก. เป็นการวิจัยที่ตัวแปรต่าง ๆ เกิดอยู่แล้ว ข. เป็นการวิจัยเชิงทดลองอย่างอ่อน ค. เป็นการวิจัยเชิงทดลองที่ไม่สมบูรณ์ ง. ถูกทั้ง ก และ ข 8. การวิจัยในชั้นเรียนมีรูปแบบการวิจัยลักษณะใด ก. การวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลองและแบบการวิจัยกึ่งทดลอง ข. แบบการวิ จัยเชิงกึ่งทดลองและแบบการวิจัยเชิงทดลอง 28 ค. แบบการวิจัยเชิงทดลอง ง. แบบการวิจัยเชิงทดลองและแบบการวิจัยมีแบบการวิจัยเชิง ทดลอง
27
X T2 9. X T2 เป็ นแบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลองที่มีวิธีการศึกษาอย่างไร ก. เลือกกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม ดำ�เนินการระยะสั้น ๆ ข. ทดสอบก่อนเรียนแล้วทำ�การทดลองและทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง ค. กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ง. ทดสอบก่อนทดลองทั้ง 2 กลุ่ม 10. ข้อใดกล่าวถึงการวิจัยแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังเรียนได้ถูกต้อง ก. มีการทดสอบวัดก่อนและหลังการทดลอง ข. สามารถควบคุมการเลือกกลุ่มตัวอย่างได้ดี ค. การทดสอบก่อนมีอิทธิพลต่อการทดสอบหลังทดลอง ง. ถูกทุกข้อ
29
28
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ข้อ 1.ข ข้อ 2. ง ข้อ 3. ก 5. ข ข้อข้อ2.6. งก ข้อข้อ3.7. กง ข้อข้อ1.ข ข้อข้อ5.9. ขก ข้อข้อ6.10.ก ง ข้อ 7. ง
ข้อ 9. ก
ข้อ 4. ค ข้อข้อ4.8. คก ข้อ 8. ก
ข้อ 10. ง
30
29
แบบบันทึกสรุปผลการศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 5 ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 31 ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………
30
บรรณานุกรม ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล. และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2543). การออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ทัศนา แขมมณี. (2540). “การวิจัยทางการศึกษา,”ใน แบบแผนและเครื่องมือ การวิจัยทางการศึกษา. บรรณาธิการโดย ทิศนา แขมมณี และสร้อยสน สกลรักษ์. หน้า 1 – 2 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิภา เพชรสมและคณะ. (2550). “ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้,” ใน ชุดฝึกอบรมการวิจัยเพื่อการเรียนรู้. เพชรบุรี : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี. ประวิต เอราวรรณ์ .(2545). การวิจัยในชั้นเรียน (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : สำ�นักพิมพ์ดอกหญ้าวิชาการจำ�กัด. ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล. และสุภาพ ฉัตราภรณ์. (2543). การออกแบบการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ และ สังคมศาสตร์. พิมพ์ครังที่ 7 . กรุงเทพฯ :32สำ�นักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. พิสนุ ฟองศรี. (2549). การวิจัยในชั้นเรียน : หลักการและเทคนิคปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด. ไพศาล หวังพานิช. (2526). วิธีการวิจัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร . ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น . 31
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครังที่ 7 . กรุงเทพฯ : สำ�นักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. พิสนุ ฟองศรี. (2549). การวิจัยในชั้นเรียน : หลักการและเทคนิคปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด. ไพศาล หวังพานิช. (2526). วิธีการวิจัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร . ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น . วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2546). การวิจัยในชั้นเรียน . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สุวีริยาสาส์น. สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม. (2540). “ แนวคิดและรูปแบบเกี่ยวกับการวิจัยใน ชั้นเรียน ” ในแบบแผนและเครื่องมือการวิจัยทางการศึกษา. บรรณาธิการโดย ทิศนา เขมมณี และสร้อยสน สกลรักษ์ . หน้า 27-36. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุวิมล ว่องวานิช. (2544). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ไทยอักษร. อุทุมพร จามรมาน. (2538). การวิจัยของครู. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ฟันนี่ . 33
32