Formulate research questions by PICO & study designs
เอกสารประกอบการจัดประชุม โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO และออกแบบการวิจัย (Formulate research questions by PICO & study designs) ระหว่างวันที่ 16-17 กุมภาพันธ์ 2559 ณ โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม
โดย
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม http://www.med.msu.ac.th/ceu/
1
Formulate research questions by PICO & study designs
เอกสารประกอบ กาหนดการจัดประชุม การตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO การออกแบบการวิจัยทางคลินิกและวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสารเพิ่มเติม แผนการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ พ.ศ.2559 กาหนดการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 – 4 พ.ศ. 2559 ประวัติโดยสังเขปวิทยากรของคณะวิทยากร
หน้า 3 5 13 15 16 17 21
2
Formulate research questions by PICO & study designs กาหนดการจัดประชุมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO และออกแบบการวิจัย (Formulate research questions by PICO & study designs) ระหว่างวันที่ 16-17 กุมภาพันธ์ 2559 ณ โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม ******************************
วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.15 น. คากล่าวต้อนรับ และความสาคัญของการตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO และออกแบบ การวิจัยทางคลินิก โดย...ผศ.ดร.พญ.ศิรินาถ ตงศิริ รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 09.00-12.00 น. แนวคิดการตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO, การกาหนดคาสาคัญจาก PICO และตัวอย่างการตั้งคาถามโดยใช้สถานการณ์ทางคลินิก และวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดย...อ.ดร.ศุภวิตา แสนศักดิ์ หัวหน้าหน่วยระบาดวิทยาคลินิก อ.ดร.พัชรวรรณสูจยานนท์ คณะแพทยศาสตร์ ม.มหาสารคาม อ.เจษฎา สุราวรรณ โรงพยาบาลบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น ฝึกปฏิบัติ (1) วิทยากร: ผศ.ดร.พิศมัย หอมจาปา ประธานสาขาวิชาระดับบัณฑิตศึกษา อ.วราทิพย์ แก่นการ คณะพยาบาลศาสตร์ มรภ.อุบลราชธานี 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. การออกแบบการวิจัยจากคาถามวิจัยที่ได้จาก PICO และตัวอย่างการออกแบบการวิจัยทางคลินิก และวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดย...อ.ดร.ศุภวิตา แสนศักดิ์ หัวหน้าหน่วยระบาดวิทยาคลินิก อ.ดร.พัชรวรรณสูจยานนท์คณะแพทยศาสตร์ ม.มหาสารคาม อ.เจษฎา สุราวรรณ โรงพยาบาลบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น ฝึกปฏิบัติ (2) วิทยากร: ผศ.ดร.ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล หัวหน้าหน่วยวิจัยปราสิต อ.อริณรดา ลาดลา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนนีขอนแก่น
3
Formulate research questions by PICO & study designs วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-12.00 น. การออกแบบงานวิจัย และระเบียบวิธีวิจัยในระบาดวิทยาคลินิก (1) การศึกษาสาเหตุของโรค (2) การคัดกรอง และวินิจฉัยโรค (3) การพยากรณ์โรค และการทานาย (4) การศึกษาผล และความเสีย่ งของการรักษา (5) การศึกษาความปลอดภัยด้านยา และเวชภัณฑ์ (6) การศึกษาความคุ้มทุน และเศรษฐศาสตร์ด้านสุขภาพ (7) การศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพ โดย...อ.ดร.ศุภวิตา แสนศักดิ์ หัวหน้าหน่วยระบาดวิทยาคลินิก อ.ดร.พัชรวรรณสูจยานนท์ คณะแพทยศาสตร์ ม.มหาสารคาม อ.เจษฎา สุราวรรณ โรงพยาบาลบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น ฝึกปฏิบัติ(3)จำแนกกำรออกแบบงำนวิจัยและระเบียบวิธีวิจัยแต่ละประเภท วิทยากร:อ.ปัทมาล้อพงค์พานิชย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มรภ.อุบลราชธานี อ.ดร.รติกร ชาติชนะยืนยง คณะแพทยศาสตร์ ม.มหาสารคาม 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. ฝึกปฏิบัติ (4)ควำมสอดคล้องของกำรตั้งคำถำมวิจัยโดย PICO และออกแบบงำนวิจัย วิทยากร: อ.จุน หน่อแก้ว คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.วงศ์ชวลิตกุล อ.วรารัตน์ สังวะรี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 16.00-16.30 น. ซัก-ถามและ ปิดการประชุม
หมายเหตุ1. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30-10.45 น., 14.30-14.45 น. 2. กาหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
4
Formulate research questions by PICO & study designs
บทเรียนและทดลองฝึกปฏิบัติ การตั้งคาถามวิจัยและออกแบบการวิจัยโดยใช้ PICO
***************** 1. แนวคิดการตั้งคาถามวิจัย และการกาหนดคาสาคัญโดยใช้ PICO ตั้งคาถามอย่างไร ให้ตรงประเด็น การที่จะได้มาซึ่งหลักฐานหรือเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ (Evidence-Based Medicine) ที่ดีและมีความ น่าเชื่ อถือที่ จะมาช่วยในการตอบปัญหาหรือมาสนับสนุนการตัดสินใจในการแก้ ไขปัญหา จาเป็นจะต้องมี คาถามที่ดี ซึ่งคาถามที่ดี จะต้องมีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง บ่งบอกถึงประชากรกลุ่มเป้าหมาย บ่งบอกถึง ประเภทของคาถาม (diagnosis, prognosis, etiology, effects and experiences) และรูปแบบการศึกษา (systematic review, randomize control trial, cohort study, case control study and cross-sectional study) PICOคือ เครื่องมือที่จะช่วยในการตั้งคาถามที่จะนาไปสู่คาตอบที่ต้องการจากการสืบค้นหาข้อมูล P ย่อมาจากคาว่า People, หรือ Patient หรือ Problem นั่นคือโจทย์ที่จะนาไปสืบค้นนั้นเป็นโรคที่เกิด ขึ้นกับคนกลุ่มไหน หรือเป็นปัญหาประเภทไหน I ย่อมาจากค าว่า Intervention นั่นคือจากปัญหาดังกล่าวได้รับการรักษาอย่ างไรหรือได้รับการ วินิจฉัยโรคอย่างไร ด้วยวิธีการใด C ย่อมาจาก Comparator หมายถึง มีเหตุการณ์หรือสถานการณ์ใดบ้างที่จะสามารถนามาเปรียบเทียบ กันได้ในการรักษาเรื่องนั้นๆ ซึ่งอาจเป็นโจทย์ที่ผู้วิจัยต้องการข้อมูลเชิงเปรียบเทียบกับสิ่งที่ผู้วิจัย นั้นๆ กาลังกระทาอยู่ก็ได้ O ย่อมาจากคาว่า Outcome หรือผลการรักษาในโรคนั้นๆ หรือการแสวงหาผลตามคาถามที่ต้องการ คาตอบ
5
Formulate research questions by PICO & study designs Anatomy of a good clinical question: PICO Asking the Well Built Clinical Question 1.1 ASSESSthe patient: Start with the patient -- a clinical problem or question arises from the care of the patient 1.2 ASKthe question: Construct a well built clinical question derived from the case P
Population/ Patient Problem How would you describe a group of patients similar to yours? What are the most important characteristics of the patient? This may include the primary problem, disease, or co-existing conditions. Sometimes the gender, age or race of a patient might be relevant to the diagnosis or treatment of a disease.
I
Intervention/ prognostic factor or exposure: Which main intervention, prognostic factor, or exposure are you considering? What do you want to do for the patient? Prescribe a drug? Order a test? Order surgery? Or what factor may influence the prognosis of the patient - age, co-existing problems, or previous exposure?
C Comparison: What is the main alternative to compare with the intervention? Are you trying to decide between two drugs, a drug and no medication or placebo, or two diagnostic tests? Your clinical question may not always have a specific comparison. O Outcome: What can you hope to accomplish measure, improve or affect? What are you trying to do for the patient? Relieve or eliminate the symptoms? Reduce the number of adverse events? Improve function or test scores?
6
Formulate research questions by PICO & study designs ตัวอย่างการตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO “The patient is a 65 year old male with a long history of type 2 diabetes and obesity. Otherwise his medical history is unremarkable. He does not smoke. He had knee surgery 10 years ago but otherwise has had no other major medical problems. Over the years he has tried numerous diets and exercise programs to reduce his weight but has not been very successful. His granddaughter just started high school and he wants to see her graduate and go on to college. He understands that his diabetes puts him at a high risk for heart disease and is frustrated that he cannot lose the necessary weight. His neighbor told him about a colleague at work who had his stomach stapled and as a result not only lost over 100 lbs. but also "cured" his diabetes. He wants to know if this procedure really works.” Patient Problem (P)
obese, diabetes type 2, male
Intervention (I)
stomach stapling (gastric bypass surgery; bariatric surgery)
Comparison (C)
standard medical care
Outcome (O)
remission of diabetes; weight loss; mortality
For our patient, the clinical question might be: In patients with type 2 diabetes and obesity, is bariatric surgery more effective than standard medical therapy at increasing the probability of remission of diabetes? หมายเหตุ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
7
Formulate research questions by PICO & study designs ตัวอย่างการตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO…โดยผู้เข้าร่วมการอบรม (1) …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… Patient Problem (P) Intervention (I) Comparison (C) Outcome (O) ดังนั้น คาถามของงานวิจัยนี้คือ ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. หมายเหตุ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
8
Formulate research questions by PICO & study designs ตัวอย่างการตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO…โดยผู้เข้าร่วมการอบรม (2) …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… Patient Problem (P) Intervention (I) Comparison (C) Outcome (O) ดังนั้น คาถามของงานวิจัยนี้คือ ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. หมายเหตุ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
9
Formulate research questions by PICO & study designs ฝึกปฏิบัติการตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO “Jenny is expecting her first baby in two months. She has been reading about the potential benefits and harms of giving newborn babies vitamin K injections. She is alarmed by reports that vitamin K injections in newborn babies may cause childhood leukemia. She asks you if this is true and, if so, what the risk for her baby will be.” Patient Problem (P) Intervention (I) Comparison (C) Outcome (O) Research question: ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. Key words:
หมายเหตุ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
10
Formulate research questions by PICO & study designs การตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… Patient Problem (P) Intervention (I) Comparison (C) Outcome (O) ดังนั้น คาถามของงานวิจัยนี้คือ ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………. หมายเหตุ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………
11
Formulate research questions by PICO & study designs วิธีการและขั้นตอนใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ 1. การวิเคราะห์และการกาหนดปัญหาสามารถกาหนดปัญหาจากการวิเคราะห์สถานการณ์ในคลินิก จากการประชุมกลุ่ม จากตัวชี้วัด หรือต่อยอดความคิดเห็นของผู้อื่น 2. การสืบค้นหลักฐานการค้นหาหลักฐานเชิงประจักษ์โดยใช้คาถามที่ดีครอบคลุม 4 องค์ประกอบดังนี้ ปัญหาคืออะไร จะดูแลอย่างไร เปรียบเทียบกับวิธีดูแลอื่นแล้วดีอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร
ปัญหา: ลักษณะของผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ กลุ่มประชากร หรือภาวะโรคที่ท่านกาลังดูแลหรือให้ความสนใจ วิธีการให้การดูแลที่ท่านพิจารณาใช้เป็นอย่างไร การเปรียบเทียบ (อาจไม่จาเป็นในบางกรณี) ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการ
ตัวอย่างแหล่งข้อมูลที่สามารถค้นได้มีดังนี้ แหล่งข้อมูล Cochrane Library
ทางผ่านที่เข้าถึง ข้อดี http://gateway.ovid.com มีบทความที่ทบทวน หรือผ่าน website ของ อย่างเป็นระบบดีมาก สถาบัน Bibliographic www.pubmed.com มีบทความใหม่ที่เพิ่ง database (MEDLINE) ตีพิมพ์ในวารสารต่างๆ CATs (Critically www.ebem.org/cats/ เป็นเรื่องที่มีผู้ทาการ appraised topics) appraise มาแล้ว TRIP (Turning www.tripdatabase.com มีเรื่องสรุปที่ผ่านการ Research Into กลั่นกรองแล้ว Practice)
ข้อด้อย มีจานวนเรื่องน้อยต้องเป็น สมาชิก ยังไม่ได้มีการทบทวนหรือ รวบรวมอย่างเป็นระบบ มักจะ appraise เพียง การศึกษาเดียว ต้องเป็นสมาชิก
3. การวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักฐานโดยเลือกใช้หลักฐานหรืองานวิจัยที่มีคุณภาพที่ดีที่สุดและต้อง พิจารณาว่ามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด ข้อค้นพบงานวิจัยตรงตามความเป็นจริงโดยไม่มีอคติและต้อง พิจารณาตัดสินใจต่อไปว่าจะนาไปใช้ในบริบทปัญหาของผู้ป่วยที่เรารับผิดชอบได้หรือไม่ 4. การนาไปใช้ต้องพิจารณาถึงผลดีผลเสียความชอบหรือการยอมรับของผู้ป่วย สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ การปฏิบัติ ความร่วมมือของทีม รวมถึงการสนับสนุนของผู้บริหาร 5. การประเมินผล ติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติ ถ้าบรรลุผลลัพธ์ที่ดีใช้ต่อไป ถ้าไม่บรรลุเป้าหมาย จะต้องทบทวนปัญหาใหม่
12
Formulate research questions by PICO & study designs 2. การออกแบบงานวิจัยในระบาดวิทยาคลินิก “คาถามวิจัยมีส่วนสาคัญในการเลือกรูปแบบหรือประเภทการวิจัย” ชนิดของคาถาม Diagnosis การคัดกรอง และวินิจฉัยโรค Therapy การศึกษาผล และความเสี่ยงของการรักษา การศึกษาความปลอดภัยด้านยา และเวชภัณฑ์ การศึกษาความคุ้มทุน และเศรษฐศาสตร์ด้านสุขภาพ การศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพ Prognosis การพยากรณ์โรค และการทานาย ชนิดของคาถาม Harm/Etiology การศึกษาสาเหตุ และธรรมชาติของการเกิดของโรค
รูปแบบหรือประเภทการวิจัย prospective, blind comparison to a gold standard or cross-sectional randomized controlled trial > cohort study
cohort study > case control > case series รูปแบบหรือประเภทการวิจัย cohort > case control > case series
Move up the pyramid: the study designs are more rigorous and allow for less bias or systematic error.
13
Formulate research questions by PICO & study designs ตัวอย่าง In patients with type 2 diabetes and obesity, is bariatric surgery more effective than standard medical therapy at increasing the probability of remission of diabetes? It is a therapy questionand the best evidence would be a randomized controlled trial (RCT). If we found numerous RCTs จากคาถามวิจัยเพื่อฝึกปฏิบัตกิ ารตั้งคาถามวิจัยโดยใช้ PICO “Jenny……………” ควรออกแบบงานวิจัย แบบใดเหมาะสมที่สุด
............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ...............................................................................................................................
เพราะเหตุใด ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ...............................................................................................................................
14
Formulate research questions by PICO & study designs
เอกสารอ่านเพิ่มเติม เอกสารและตาราหลัก 1. Applied Epidemiology : Theory to Practice. By: Brownson, Ross C.; Petitti, Diana B. New York : Oxford University Press. 1998. 2. Epidemiology: A Very Short Introduction. By: Saracci, Rodolfo. In: Very Short Introductions. Oxford : Oxford University Press. 2010. 3. Introduction to Epidemiology. By: Carneiro, Ilona; Howard, Natasha. In: Understanding Public Health. Edition: 2nd ed. Maidenhead, Berkshire, England : McGraw Hill/Open University Press. 2011. เว็บไซต์ที่อ่านเพิ่มเติม 1. http://guides.mclibrary.duke.edu/ebm 2. http://www.cochrane.org 3. http://www.cochrane.org/about-us/evidence-based-health-care 4. http://www.isi.com
15
Formulate research questions by PICO & study designs
แผนการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ พ.ศ. 2559 การพัฒนาศักยภาพสหสาขาวิชาชีพในการดาเนินงานวิจัยทางคลินิก และวิทยาศาสตร์สุขภาพ โครงการ 1. Formulate research questions by PICO & study designs 2. Research methodology & tools 3. Biostatistics for clinical research & health science 4. How to write scientific paper for publication 5. Systematic review and Meta-analysis 6. Good Clinical Practice (GCP) และ จริยธรรมการวิจัย (EC) 7. การวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยโปรแกรม SPSS 8. การวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยโปรแกรม STATA 9. การวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยโปรแกรม R
วันเดือนปี มค. กพ. มีค. เมย พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. 1617 8-9 2224 1415 2-3 2730 1012
911 1517
2830 7-9
16
Formulate research questions by PICO & study designs กาหนดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ระเบียบวิธีวิจัยสาหรับงานวิจัยทางคลินิกและวิทยาศาสตร์สุขภาพ ระหว่างวันที่ 8-9 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมตักสิลา อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ****************************** วันที่ 8 มีนาคม 2558 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-10.30 น. แนวคิด/หลักการเขียนระเบียบวิธีวิจัยทางคลินิก และ วิทยาศาสตร์สุขภาพ และตัวอย่างระเบียบวิธีวิจัยแต่ละประเภท 10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45-12.00 น. ฝึกปฏิบัติ (1)กำรเขียนระเบียบวิธีวิจัยตำมปัญหำกำรวิจัยของ ผู้เข้ำร่วมประชุม 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. ฝึกปฏิบัติ (1)กำรเขียนระเบียบวิธีวิจัยตำมปัญหำกำรวิจัยของ ผู้เข้ำร่วมประชุม 14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.45-16.00 น. การออกแบบเครื่องมือสาหรับการวิจัยทางคลินิก และ วิทยาศาสตร์สุขภาพ ฝึกปฏิบัติ (2)กำรออกแบบเครื่องมือสำหรับกำรวิจัยให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์กำรวิจัย 16.00-16.30 น. ซักถามปัญหา วันที่ 9 มีนาคม 2559 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-12.00 น. การตรวจสอบความสอดคล้องของระเบียบวิธีวิจัย และเครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ฝึกปฏิบัติ (3)กำรตรวจสอบและปรับปรุงควำมสอดคล้องของ ระเบียบวิธีวิจัย และเครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. ฝึกปฏิบัติ (4)ทดลองใช้เครื่องมือวิจัย แล้วปรับแก้เครื่องมือให้ เหมำะสม 16.00-16.30 น. ซัก-ถาม และปิดการประชุม หมายเหตุ กาหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
17
Formulate research questions by PICO & study designs กาหนดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ชีวสถิติสาหรับการวิจัยทางคลินิก และวิทยาศาสตร์สุขภาพ วันที่ 22-24 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม ******************* วันที่ 22 มิถุนายน 2559 08:30-09:00น. 09:00-12.00 น.
12.00-13.00 น. 13.00-16.00 น. 16.00-16.30 น. วันที่ 23 มิถุนายน 2559 08.30-09.00 น. 09.00-12.00 น.
ลงทะเบียน (1) แนวคิดการใช้ชีวสถิติสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยทาง คลินิกและวิทยาศาสตร์สุขภาพ (2) ข้อตกลง/เงื่อนไขในการเลือกใช้สถิติสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลและ ตัวอย่างการเลือกใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัติ (1) การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล พักรับประทานอาหารกลางวัน การสร้างฐานข้อมูล และกาหนดค่าตัวแปร ฝึกปฏิบัติ (2)กำรสร้ำงฐำนข้อมูล และกำหนดค่ำตัวแปร ซักถาม
ลงทะเบียน การวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบด้วยจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ฝึกปฏิบัติ (3)
12.00-13.00 น. 13.00-16.00 น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน การวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนในการศึกษาแบบ Cohort ฝึกปฏิบัติกำร (4) กำรวิเครำะห์ข้อมูลในกำรศึกษำแบบ Cohort การวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบสัดส่วนในการศึกษาแบบ Case-control ฝึกปฏิบัติกำร (5) กำรวิเครำะห์ข้อมูลในกำรศึกษำแบบCase-control
16.00-16.30 น.
ซักถาม
18
Formulate research questions by PICO & study designs วันที่ 24 มิถุนายน 2559 08.30-09.00 น. 09.00-12.00 น.
12.00-13.00 น. 13.00-15.00 น. 15.00-16.00 น. 16: 00 – 16:30
ลงทะเบียน Regression analysis สาหรับงานวิจัยทางคลินิก และวิทยาศาสตร์สุขภาพ * ข้อตกลงเบื้องต้น * การวิเคราะห์ข้อมูล * การอ่านผลการวิเคราะห์ข้อมูล * การแปลผล ฝึกปฏิบัติกำร (6) พักรับประทานอาหารกลางวัน การสร้างตารางนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัติกำร (7) สร้ำงตำรำงนำเสนอผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล การตีความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูล ฝึกปฏิบัติกำร (8) ทบทวนความรู้ทงั้ หมด ซักถาม-ตอบ
หมายเหตุ 1. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30-10.45 น.และ 14.30-14.45 น. 2. กาหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
19
Formulate research questions by PICO & study designs
20
กาหนดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การเขียนรายงานการวิจัยอย่างไรให้ได้ตีพิมพ์ วันที่ 14-15 กรกฎาคม 2559 ณ โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม ************************ วันที่ 14 กรกฎาคม 2559 08.30-09.00น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. กล่าวต้อนรับ และความสาคัญของการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยในระดับนานาชาติ สาหรับสหสาขาวิชาชีพด้านการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ 09.30-12.00 น. เปรียบเทียบประเภท และลักษณะที่เหมาะสมของผลงานวิจัยที่ควรได้รับการ ตีพิมพ์ ฝึกปฏิบัติกำร (1) เปรียบเทียบประเภท และลักษณะที่เหมำะสมของผลงำนวิจัย 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. การออกแบบและเขียน Manuscript อย่างไรให้ได้ตีพิมพ์ ฝึกปฏิบัติกำร (2) ออกแบบและเขียน Manuscript 16: 00 – 16:30 ซักถาม-ตอบ วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 08.30-09.00น. 09.00-10.30 น.
ลงทะเบียน ข้อผิดพลาดด้านการเขียนภาษาอังกฤษสาหรับนักวิจัย ฝึกปฏิบัติกำร (3) ตรวจสอบข้อผิดพลำดด้ำนกำรเขียนภำษำอังกฤษ 10.30-12.00 น. การเลือกฐานข้อมูลเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยในระดับนานาชาติ สาหรับสหสาขาวิชาชีพด้านการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ฝึกปฏิบัติกำร (4) กำรเลือกฐำนข้อมูลเพื่อกำรตีพิมพ์งำนวิจัย 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 น. การเขียน Manuscript ให้ตรงตามเงื่อนไขของวารสารที่ต้องการตีพิมพ์ ฝึกปฏิบัติกำร (5) เขียน Manuscript ให้ตรงตามเงื่อนไขของวารสาร 15.00-16.00 น. การตรวจสอบ Manuscript ก่อนส่งตีพิมพ์ ฝึกปฏิบัติกำร (6) ตรวจสอบ Manuscript ก่อนส่งตีพิมพ์ 16: 00 – 16:30 ซักถาม-ตอบ หมายเหตุ 1. พักรับประทานอาหารว่าง 10.30-10.45 น.และ 14.30-14.45 น. 2. กาหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
Formulate research questions by PICO & study designs
ประวัติวิทยากรโดยสังเขป
21
Formulate research questions by PICO & study designs อาจารย์ ดร.ศุภวิตา แสนศักดิ์ อาจารย์, ประธานหลักสูตรวทม.(วิทยาศาสตร์สุขภาพ) ตาแหน่ง และสถานที่ หัวหน้าหน่วยระบาดวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทางาน suprawita.s@msu.ac.th อีเมล์ติดต่อ ประวัติโดยย่อ Education: PhD in Clinical Epidemiology MSc in Reproductive Health and Population Planning Nurse and the Highest Midwifery Special Training in associated clinical research and biostatistics. Teaching subject: 1. Postgraduate PhD in Health Science: Applied epidemiology, Clinical Epidemiology and Evidence-Based Medicine, Experimental and clinical research, Seminar in Health Science. 2. Undergraduate: Epidemiology and Research, Evidence-Based Medicine. Researchinterest: 1. Any complementary and alternative medicine for chronic illness (hypertension & DM) and co-morbidities during menopausal transition and elderly. 2. Research on monitoring and evaluatinghealth research projects. 3. Systematic review of complementary and alternative therapy in subinfertile elderly. Cochrane Database. 4. Randomized Controlled Trials for the treatment of hypertension and/or DM in elderly. 5. Thalassemia in pregnancy: model for controlling the severity, comorbidities, and motality. 6. Yoga for a good health. 7. STATA for clinical research analysis.
22
Formulate research questions by PICO & study designs อาจารย์ ดร.พัชรวรรณสูจยานนท์ อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ตาแหน่งและสถานที่ทางาน นักวิจัยหน่วยระบาดวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม patcharawan.s@msu.ac.th อีเมล์ติดต่อ ประวัติการทางาน: ประวัติโดยย่อ 2006-2007: Lecturer at Faculty of Science, Mahasarakham University 2008-2013: Ph.D. study at Faculty of Medicine, Siriraj Hospital, Mahidol University 2013-present: Lecturer at Faculty of Medicine, Mahasarakham University 2015-present: Researcher at Clinical Epidemiology Unit, Faculty of Medicine, Mahasarakham University ประวัติการตีพิมพ์: 1. Wanikiat P, Panthong A, Sujayanon P, Yoosook C, Rossi AG, Reutrakul V. 2007. “The anti-inflammatory effects and the inhibition of neutrophil responsiveness by Barlerialupulina and Clinacanthusnutans extracts.” J Ethnopharmacol. 2. Sujayanont P, Chininmanu K, Tassaneetrithep B, Tangthawornchaikul N, Malasit P, Suriyaphol P. 2014. “Comparison of phi29-based whole genome amplification and whole transcriptome amplification in dengue virus.” J Virol Methods. 3. Sujayanont P, Chininmanu K, Teo YY, Malasit P, Suriyaphol P. “Viral Diversity in Patients with Dengue Infection.” Paper in preparation. งานวิจัย 1. Chlorpyrifos in pregnancy 2. Thalassemia gene transfer in pregnancy at border area
23
Formulate research questions by PICO & study designs อาจารย์ธิดารัตน์ ขวัญสวัสดิ์ ตาแหน่งและสถานที่ทางาน อีเมล์ติดต่อ ประวัติโดยย่อ
อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, นักวิจัยหน่วยระบาดวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม thidarutnew@hotmail.com ประวัติการทางาน: 2010-present: Lecturer at Faculty of Medicine, Mahasarakham University 2015-present: Researcher at Clinical Epidemiology Unit, Faculty of Medicine, Mahasarakham University ประวัติการตีพิมพ์: 1. Wongwastanasatean O, Gulthinee S, Kwuansawat T. 2016. “Osteoporosis prevention for elderly using local Thai wisdom through community-based participation in Haisoke Sub district, Buddaisong District, Burirum Province.” Poster presentation in the fourth Higher education research promotion congress. Ubonratchathanirajabhat university. 2. Weerapreeyakul N, Anorach R, Kwuansawat T. 2007. “Synthesis of Bioreductive Ester from Fungal Compounds.” Chemical and Pharmaceutical Bulletin. 3. Kwuansawat T, Weerapreeyakul N. 2006. “In Vitro Stability Study of Bioreductive Compounds in the Presence of Esterase Enzyme” Poster presentation in Guangxi Traditional Chinese Medical University. 4. ธิดารัตน์ ขวัญสวัสดิ์ และนาถธิดา วีระปรียสกูร. 2006. “การวิเคราะห์หา ปริมาณสารไบโอรีดักทีฟ” วารสารวิทยาศาสตร์ ม.ข. งานวิจัยที่สนใจ 1. Aging and the use of herbal medicine. 2. Osteoporosis prevention for elderly.
24
Formulate research questions by PICO & study designs
นายเจษฎา สุราวรรณ์ ตาแหน่งและสถานที่ทางาน อีเมล์ติดต่อ ประวัติโดยย่อ
นักวิชาการชานาญการ Surawanjesada@gmail.com ประวัติการศึกษา: 1996: Bachelor’s degree of public Health, SukhothaiThammathirat Open University 2007: Master’s degree of public Health, KhonKaen University 2014-present: Ph.D. Candidate (Health Science),Faculty of Medicine, Mahasarakham University ประวัติการตีพิมพ์และผลงาน Self care’s competency Development in Unknown 2007: การพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองของผูป้ ่วยโรคความดัน โลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ โดยเทคนิคกระบวนการวางแผนแบบมี ส่วนร่วม ตาบลโนนฆ้อง อาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น 2009: การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการพัฒนาความ สามารถในการดูแลสุขภาพ ตนเองของผูป้ ่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ กรณีศกึ ษาบ้าน หนองชาด หมู่ที่ 2 บ้านหนองสุขเจริญ หมูท่ ี 13 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอ บ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น 2010: การสอบสวนการระบาดของโรคอหิวาตกโรค อาเภอบ้านฝาง จังหวัด ขอนแก่น 2011: การสอบสวนโรคมือ เท้า ปาก โรงเรียนประถมศึกษาแห่งหนึ่ง ตาบลบ้านเหล่า อาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น 2015: Oral Presentation: Cholangiocarcinoma Prevalence and Spatial Analysis of Geographic Information System, Roi Et Province, Thailand.
25
Formulate research questions by PICO & study designs นางสาวอริณรดา ลาดลา ตาแหน่งและสถานที่ทางาน
ตาแหน่ง: พยาบาลวิชาชีพชานาญการ สถานที่ทางาน: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น ภาควิชาการพยาบาลเด็ก ผู้ใหญ่ ผูส้ ูงอายุ ปัจจุบัน: นิสิตปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ใบอนุญาตเลขที่ 4511167252
อีเมล์ติดต่อ
Arinrada.ladla@gmail.com
ประวัติโดยย่อ
ประวัติการศึกษา: 2002: Bachelor of Nursing Science. Affiliated to Mahidol University. 2011: Master of Nursing Science (Gerontological Nursing) ,KhonKaen University. 2014-present: Ph.D. Candidate (Health Science),Faculty of Medicine, Mahasarakham University งานวิจัย: 2013: การสร้างเสริมสมรรถนะนักศึกษาพยาบาล ด้านการป้องกันและการควบคุม การบาดเจ็บโดยประยุกต์ใช้หลักสูตรขององค์การอนามัยโลก ( WHO SEARO) กรณีศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี ขอนแก่น 2014: The learning achievement from physical examination by using simulation in nursing students. 2015: The development model of holistic continuing home based care in elders and disabled people in Chaiyaphum province. 2015: Poster Presentation: Metabolic Risk Factors for Cardiovascular Diseases Prediction in Elderly: A Systematic Reviews
26
Formulate research questions by PICO & study designs
อาจารย์ ปัทมา ล้อพงค์พานิชย์ ตาแหน่งและสถานที่ อาจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทางาน อุบลราชธานี อีเมล์ตด ิ ต่อ Pattama.pattama@gmail.com ประวัตโิ ดยย่อ
ประวัติการศึกษา: 1985 – 1989
Diploma of Nursing and
Midwifery (Bachelor's degree) Saraburi Nursing College 1990
Certificate of Nursing Specialty in Cardiovascular Nursing, Faculty of Nursing, Mahidol University
2007 – 2012
Master of Nursing Science,
Program in Nursing Administration, School of Nursing, SukhothaiThammathirat Open University 2015 – current 1st year student, Doctor of Philosophy, Program in Health Science, Faculty of Medicine, Mahasarakham University ประวัติการตีพิมพ์: 3. ปัทมา ล้อพงค์พานิชย์. (2556). การวิเคราะห์ ต้นทุนกิจกรรมการพยาบาลผูป ้ ่วยเด็กโรคมะเร็ง เม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสติก รักษาด้วยยาเคมีบาบัดระยะที่ 1 ในโรงพยาบาล สรรพสิทธิประสงค์. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช.
27
Formulate research questions by PICO & study designs 26(2), 121 – 138.
งานวิจัย 2010 An Evaluation of the Bachelor Degree Program in Public Health Community of UbonRatchathaniRajabhat University in Budget year 2509 2013
An Evaluation of Economic Values of the Developing Skills in Health Promotion’s Management Project for Sub district Administrative Office
2014
Analyzing Graduate Production Costs of Faculty of Public Health UbonRatchathaniRajabhat University in Budget year 2013
28
Formulate research questions by PICO & study designs อาจารย์จุน หน่อแก้ว ตาแหน่งและสถานที่ทางาน อาจารย์ประจาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล, Jun181920@gmail.com อีเมล์ติดต่อ ประวัติการศึกษา: ประวัติโดยย่อ 2009-2011: Lecturer at Faculty of Public Health, Nakhonratchasima College 2011-present: Lecturer at Faculty Public Health, Vongchavalitkul University 2015-present: Ph.D. study at Faculty of Medicine, Mahasarakham University งานวิจัย - ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างพลังในการควบคุมภาวะทุพโภชนาการในเด็ก อายุ 1- 5 ปี จังหวัดอานาจเจริญ - สภาวะการสุขาภิบาลอาหารของผู้ประกอบการจาหน่ายอาหารในโรงอาหาร วิทยาลัยนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา - ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างพลังกลุ่มสตรีอายุ 35 – 60 ปี ในการตรวจมะเร็ง ปากมดลูก กรณีศึกษา : บ้านแปรงใหม่พัฒนา ตาบลบ้านแปรง อาเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา - ชุมชนร่วมพัฒนาเพื่อป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นบ้านกุดตาดาหมูท่ ี่ 2 และ บ้านโนนสง่า หมูท่ ี่ 5 ตาบลทัพรั้ง อาเภอพระทองคา จังหวัดนครราชสีมา - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของ นักศึกษาในสถาบันเครือข่ายสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ประวัติการตีพิมพ์: 1. Benefits of Metformin Use for Cholangiocarcinoma 2. Adolescent Students’ Pregnant Behavior in a Sub-district ofNakhonRatchasima Province in Thailand 3. Helicobacter Species are Possible Risk Factors of Cholangiocarcinoma 4. Re-Examination of Opisthorchisviverriniin NakhonRatchasima Province, Northeastern Thailand, Indicates Continued Needs for Health Intervention 5. Evaluation of Bachelor of Science Program in Public Health atVongchavalitkul University in the academic year 2014
29
Formulate research questions by PICO & study designs
30
Miss. WararatSangwalee ตาแหน่งและสถานที่ทางาน Ph.D. in Health Science Student, (The Royal Golden Jubilee Ph.D Program) Faculty of Medicine, Mahasarakham University, Thailand. tukwararat@gmail.com อีเมล์ติดต่อ ประวัติการศึกษา: ประวัติโดยย่อ 2006-2009: Bachelor’s Degree of Science (Public Health) Awarded the First Class Honor College of Medicine and Public Health, Ubonratchathani University, Thailand. 2011-2013: Master’s Degree of Public Health (Epidemiology) Faculty of Public Health, KhonKaen University, Thailand 2015-present: Doctor of Philosophy Program in Health Science, (The Royal Golden Jubilee Ph.D Program) Faculty of Medicine, Mahasarakham University, Thailand ประวัติการทางาน: 2013-2015: A Lecturer in Public Health, College of Medicine and Public Health, Ubonratchathani University, Thailand. 2013Public Health Technical Officers at Office of Disease Prevention and Control Region 6, KhonKaen, Thailand. 2010-2013: Public Health Technical Officers at Mahasarakham Hospital, Thailand. ผลงานและประวัติการตีพิมพ์: 1. Sungwalee W, Vatanasapt P, Kamsa-ard S, et al (2013). Reproductive Risk Factors for Thyroid Cancer: A Prospective Cohort Study in KhonKaen, Thailand. Asian Pac J Cancer Prevention, 14, 5153-5. 2. Awarded Complimentary Poster Presentation on “The Investigation Outbreaks of Measles Disease of Construction Workers, Mahasarakham Province”, at The Seminar on The Epidemiology Network Northeast. The Department of Disease Control, Ministry of Public Health, Thailand. 3. Awarded The Winner Oral Presentation on “The Investigation Outbreak of Hand, Foot and Mouth Disease”, at The Seminar on The Epidemiology Network, Mahasarakham Provincial Health Office. 4. Poster Presentation on “The Investigation Outbreaks of Measles Disease in Prison, Mahasarakham Province”, at The Seminar on The Epidemiology Network. 5. Oral Presentation on “The Investigate Suspected Cases of Acute Flaccid Paralysis (AFP)”, at The Seminar on the Epidemiology Network, Office of Disease Prevention and Control Region 6, KhonKaen. 6. Poster Presentation Pesticide impact on onion growing farmer health in Yangchumnoy village, Yangchumnoy sub-district, Yangchumnoy district, Si-Sa-Ket province.
7. Poster Presentation Knowledge and Prevention Behaviors to the Leptospirosis of the People in Repetitious Flood Areas in Warinchamrab District, Ubonratchatani Province.
Formulate research questions by PICO & study designs งานวิจัย: 1. Incidence and Risk Factors for Thyroid Cancer: A Prospective Cohort Study in KhonKaen 2. Stress and Quality of life among Medical Students, College of Medicine and Public Health, UbonRatchathani University. 3. Knowledge and Prevention Behavior Regarding Melioidosis of People in Warinchamrab District, Ubonratchatani Province. 4.Prevalence and Health Risk Behaviors to Chronic Disease of Monks in Warinchamrab District, Ubonratchatani Province.
31
Formulate research questions by PICO & study designs
32