THE LION เ รื่ อง / ภ า พ : สื บ ส าย สํ าเ ริ ง
纯 THE LION KID
เด็กเชิดสิงโต: ความเชื่อ ความงาม ความซื่อ
ภาพ/เรื ่ อ ง : สื บ สาย สำ า เริ ง
เรามักจะมองเห็นอะไรกันที่ปลายทางเสมอ เช่นกันกับ ขบวนแห่ ปึงเถ่ากงม่า ขอนแก่นนี้ ในขบวนประกอบไปด้วยองค์ ประกอบต่างๆที่สวยงาม นักแสดงที่แสดงท่วงท่าลีลา ที่สวยงาม พร้อมเพียงเราดูชื่นชม และมองผ่านไป แต่กว่าจะมาถึงจุดนี้ต้อง ผ่านอะไรมาบ้างนั้น จะมีสักกี่คนที่จะมองลึกลงไป นอกจากรูปขบวนที่เห็นแล้วนั้นตั้งข้อสังเกตุดีๆจะพบว่า กว่า 80 เปอร์เซ็นนั้นจะเป็นเด็กอายุตั้งแต่ 3 -15 ปีเป็นส่วนใหญ่ เด็กเหล่านี้นั้นมาจากไหน มีจุดประสงค์หรืออะไรที่ดึงดูดพวกเขา เหล่านี้เข้ามา หรือเป็นเพียงการบังคับจากผู้ใหญ่เพื่อตอบสนอง ความเชือ่ ของตน ผูว้ จิ ยั อยากได้ลองลงไปสำารวจหาความเป็นจริง และเรื่องราว โดยการจัดนำาเสนอผ่านภาพถ่าย ซึง่ ภาพถ่ายนัน้ สามารถ บอกเล่าเรื่องราวได้มากกว่าบรรทัดกระดาษนับสิบบรรทัดที่กำาลัง พิมพ์ขึ้นมาอยู่นี้ เพราะในภาพถ่ายภาพเดียวมีทั้งสัญญะ การสื่อ ความหมาย และเรื่องราวที่แสดงออกจากองค์ประกอบโดยรวม อยู่นั้น
สารบัญ ประวัติการเชิดสิงโต
7
สมาคมกีฬาเชิดสิงโต-มังกรลูกเจ้าพ่อหลักเมือง
11
ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า
20
บทบาทศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่น
23
เด็กเชิดสิงโต(The Lion Kids)
29
ประเภทของสิงโต
30
สิงโตปักกิ่ง
32
สิงโตกวางตุ่ง
42
อุปกรณ์การแสดงผาดโผน
58
แปะยิ้ม
62
เครื่องดนตรีให้จังหวะ
66
บันทึกค่าตอบแทน
72
งานสมโภชศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่น
78
6
ประวัติ การเชิดสิงโต การเชิดสิ งโตเป็ นการแสดงรู ปแบบหนึ่ง ในวัฒนธรรมจีน ซึ่งใช้ผแู ้ สดง 2 คนใน ชุดเชิดสิ งโต 1 ตัว โดยการแสดงเลียนแบบท่าทางหรื อ การเคลือ่ นไหวของสิ งโตประกอบ กับจังหวะ ดนตรี การเชิดสิ งโตใช้แสดงในช่วงวันตรุ ษจีน เทศกาลทางศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี ของ จีน รวมถึงการแสดงในโอกาสสําคัญอื่น ๆ เช่น งานฉลองเปิ ดธุรกิจ ใหม่ งานแต่งงาน และงานต้อนรับแขก การแสดงดังกล่าวได้มีการแพร่ หลาย ในประเทศ ต่างๆ ทัว่ โลกตามการอพยพย้ายถิ่ น ของคนจี นและการขยายตัวของวัฒนธรรมจี น ปัจจุบนั การเชิดสิ งโตมิได้เป็ นเพียงแค่การ แสดงออกทางวัฒนธรรมจีนในเทศกาลสําคัญ เท่านั้น แต่ได้มีการพัฒนาไปสู่ กีฬาโดยมีการ แข่งขันในระดับนานาชาติดว้ ย การเชิดสิ งโตได้เริ่ มต้นขึ้นในสมัยราชวงศ์ ฮัน่ (206 ปี ก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 220) (Mo, 2013) เมื่อชาวอินเดียและชาวตะวันออกกลางได้เดินทาง เข้าสู่ประเทศจีนเพือ่ ค้าขาย ในเส้นทางสายไหม คนเหล่านี้พบว่า ในขณะนั้นไม่มีสิงโตในประเทศ จีน จึงได้นาํ สิ งโต อินเดียมาถวายแด่จกั รพรรดิจีน และได้นาํ ผูฝ้ ึ กสิ งโตมาฝึ กสิ งโตในประเทศจีน เพื่อฝึ ก และทําการแสดงสิ งโตในราชสํานัก เหตุการณ์ดงั กล่าวน่าจะเป็ นที่มาของการแสดง การ เชิดสิ งโตในเวลาต่อมา ในสมัยราชวงศ์ถงั (ค.ศ. 618 - 907) พบว่ามีเพลง “Tai Ping Yue” (Music of Peace) ซึ่งใช้ประกอบการเชิดสิ งโต การเชิดสิ งโตในยุคนั้นใช้ผเู ้ ชิด 2 คนที่ แต่งกาย ด้วยชุดที่มีขนและมีลกั ษณะคล้ายสิ งโต และมีอีก 2 คนทใช้เชือกและผ้าผืนยาว เล่นสนุกรอบสิ งโต
7
8
9
10
สมาคมกีฬาเชิดสิงโต-มังกร ลูกเจ้าพ่อหลักเมืองขอนแก่น สมาคมกีฬาเชิดสิ งโต-มังกร ลูกเจ้าพ่อหลักเมทองขอนแก่น เป็ นคณะ สิ งโตเดียวที่มีในเมืองขอนแก่นตามข้อมูลที่ คุณสุรัตน์ อมรงพงศ์กลุ ประธาน สมาคม กล่าว จุดมุ่งหมายหลักของการก่อตั้งสมาคม เพื่อใช้ในงานพิธีปึงเถ่า กง-ม่า ประจําปี ของจังหวัดขอนแก่ น แต่เดิ มต้องจ้างคณะเชิ ดสิ งโตจาก กรุ งเทพ มาเชิดในวันงาน คุณสุ รัตนเกิดความชอบเมื่อครั้งได้ชมในตอนเด็ก พอโตเป็ นหนุ่มจึงรวมตัวกับกลุ่มเพื่อน จัดตั้งคณะเชิดสิ งโตขึ้น ในปี พ.ศ. 2516 ในตอนนั้นมีสมาชิกประมาณ 30 คน โดยเชิญอาจารย์จากกรุ งเทพมา สอน โดยเริ่ มแรกมีเพียงเชิดสิ งโตเท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 จึงมีการเชิด มังกร เอ็งกอ สิ งโตปั กกิ่ง กลอง 24 ใบและ สัตว์มงคล ตามมาภายหลังตาม ลําดับ นอกจากใช้ในพิธีปึงเถ่ากงม่า ยังใช้ในงานพิธีมงคลเช่น ขึ้นบ้านใหม่ งานกฐิน งานบวช เป็ นต้น แต่เดิมสมาคมจะใช้พ้นื ที่ของ ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ขอนแก่น เป็ นจุด ซ้อม แต่ต่อมาเมื่อมีการก่อตั้งศาลเจ้าปึ งเถ่ากงม่าขึ้น ก็ยา้ ยไปซ้อมที่บริ เวณ ศาลเจ้าแทน และทางสมาคมยังคอยสนับสนุนและยังสร้างโกดังเก็บชุดการ แสดงให้ดว้ ย บริ เวณหลังศาลเจ้า จุดเด่นของสมาคมเชิดสิ งโตขอนแก่นคือ การไปชนะการประกวดสิ งโตบนเสาดอกเหมย ในระดับประเทศ และต่าง ประเทศ
11
12
13
14
พิธีปึงเถ่ากงม่า ยังเป็นตัวสะท้อน ระบบเศรษฐกิจของ จังหวัดขอนแก่นสังเกตุได้จาก บ้านส่วนใหญ่ที่ จัดโต๊ะไหว้ ต้อนรับ จะเป็ร้านค้าและสถานที่สําคัญทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้ เห็นถึงอิทธิพลของกลุ่มคนไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดขอนแก่น
15
16
ร้านล้างอัดฉีดแห่งนี้ แม้ไม่ได้อยู่ในเส้นทางเดินขบวน แต่เถ่าแก่เจ้าของร้าน ก็ลงทุนเดินไปดักรอระหว่างทางและเชิญ สิงโตเข้ามาร่ายรําในร้านตน เพื่อความเป็นสิริมงคลต่อกิจการ แสดงถึงความ ศรัทธา และความเชื่อต่อพิธีนี้
17
18
19
ศาลเจ้ า ปึ ง เถ่ า กง-ม่ า ชาวจีน มีความเชือ่ เรือ่ งทีด่ นิ ว่า แผ่นดินมีสงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิค์ มุ้ ครอง จากหลักฐานตัง้ แต่ยคุ หินใหม่คนจีนมีการไหว้ฟา้ ไหว้ดนิ และรูปดิน พระธรณี หรือเทพแห่งดิน ในยุคแรกๆเป็นผู้หญิง จะเรียกอะไรนั้นยังไม่ชัดเจน ต่อมาราชวงศ์โจว และราชวงศ์ซาง จีนมีตัวอักษรสมบูรณ์มากในราชวงศ์โจว ซึ่ง 2 ราชวงศ์ดังกล่าว คนจีนเรียกเจ้า แห่งทีด่ นิ ว่า “เสือ้ ” (เสียงจีนโบราณ) “เซ่อ” (เสียงจีนปัจจุบนั ) และ “เสีย” (จีนแต้จวิ๋ ) โดยการเซ่นไหว้สงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิส์ มัยนัน้ มีการนําหินมาวางซ้อนกันเป็นร้านเล็กๆ และ พัฒนาเรื่อยมาเป็นศาลขนาดเล็กผู้ช่วยศาตราจารย์ถาวร อธิบายว่า “เสีย” เทพแห่งที่ดินหรือเจ้าแห่งที่ดิน ได้มีการผูกตํานานว่า “กงก้ง” ซึ่งเป็นเทวดาองค์หนึ่ง มีลูกชาย ชื่อโกวหลง ซึ่ง “กงก้ง” ได้ปราบประเทศจีนได้ทั้งหมด แบ่งออกเป็น 9แคว้น โดยโกวหลง เป็นผู้ปกครองได้อย่างสุขสงบ สันติสุข ประชาชนเคารพ เมื่อตายไปผู้คนก็ ไหว้เป็น “เสีย” คําว่าโฮ่วถู่(โฮ่วโท่ว) หรือตัวอักษร โฮ่ว จีนโบราณเป็นรูปหญิงให้นมลูก คนจีนใช้เรียก หญิงผู้เป็นหัวหน้า ต่อมาเมื่อสังคมจีนผู้ชายเป็นใหญ่ โฮ่ว จึงหมายถึง ผู้ชาย เช่น โฮ่วอี้ เป็นนักยิงธนูในเทพปกรณัมจีน ได้ชื่อว่าเป็นผู้ยิงธนูดับดวงอาทิตย์ โดยธนูเพียงดอกเดียวทําให้ดวงอาทิตย์ตกลงมาถึง 9 ดวง เมื่อมาถึงยุคของราชวงศ์ฮั่น ก็มีความเชื่อเรื่องหยิน-หยาง แพร่หลายมาก คือ ฟ้า เป็น หยาง(ชาย) ดิน เป็น หยิน(หญิง) ดังนั้น โฮ่วโท่ว จึงกลายมาเป็นหญิง และ “เสีย” แยกออกมาเป็นเจ้าทีด่ นิ ของชุมชนทีต่ วั เองอยู ่ แต่ “โฮ่วโท่ว” คือแผ่นดินทัง้ โลก สําหรับการเซ่นไหว้สมัยก่อน คนทีจ่ ะไหว้ฟา้ ทัง้ หมด และดินทัง้ แผ่นดินต้องเป็น กษัตริย์องค์เดียวคือ “เทียนจื่อ” โอรสสวรรค์ ส่วนชาวบ้านไหว้ได้เฉพาะ เสีย เทพแห่งที่ดินของชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ โดยใน 1ปี จะมีพิธีเซ่นไหว้ “เสีย” 2 ครั้ง คือ ใน ฤดูใบไม้ผลิ เพื่อขอพรให้การทําไร่ ทํานา ฝนตกต้องตามฤดูกาล เมื่อถึงวันไหว้พระจันทร์ ซึ่งตรงกับการเก็บเกี่ยวผลผลิต ก็ไหว้เพื่อขอบคุณ ปุนเถ้ากง-ตี้จูเอี๊ยในเมืองไทย เมือ่ ชาวจีนออกไปทํามาหากิน ออกมาสูโ่ พ้นทะเล ก็ไม่สามารถเอาป้ายสถิตวิญญาณมาด้วยได้ เพราะรากฐานยังต้องอยูท่ เี่ ดิม หากนําป้ายสถิตวิญญาณมาถือว่า คนๆ นั้นขาดจากเมืองจีน ดังนั้นคนจีนจึงไม่มีผีบรรพบุรุษคุ้มครอง ทั้งนี้ในเอเชียอาคเนย์คําเรียกเจ้าแห่งชุมชนจะต่างกัน มาเลเซีย และสิงคโปร์ มักจะเรียกว่า ตั่วแป๊ะ กง แต่ในไทยจะเรียก ปุนเถ้ากง ตั่วแปะกง ซึ่ง ปุนเถ้ากง มีลักษณะที่เหมือนกันคือ ไม่ใช่โถวตี่ เพราะที่นี่ไม่ใช่ประเทศจีน ดังนั้นคนจีนที่มาก่อนโดยเฉพาะรุ่นบุกเบิก มาตายในเมืองไทยบางคนมีคุณงามความดีมีความรู้สูงเมื่อตายแล้วคนในท้องถิ่นก็ยกย่องเซ่นไหว้เป็นเจ้าจึงเอาไปโยงกับโถวตี่ ของจีน เรียกว่า ปุนเถ้ากง (ผู้ช่วยศาตราจารย์ถาวร สิกขโกศล ผู้รู้ด้านวัฒนธรรมไทยและจีน)
20
ศาลเจ้าปึงเถ่ากงม่าในสมัยอยุธยา
ในสมัยอยุธยาเมื่อคนจีนอพยพเข้ามามากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อง่ายต่อการควบคุมคนจีน กษัตริย์ในสมัยนั้นได้ทรงแต่งตั้งขุนนางเป็นคนจีนในตําแหน่ง พระยาโชฏึกราชเศรษฐี มาควบคุมคนจีนด้วยกันเอง คนจีนในเมืองไทยเมื่อมีความเดือดร้อนก็มักพากันมาหาพระยาโชฏึกฯ บ้านของพระยาโชฏึกฯ ก็กลายเป็นสถานที่สังสรรค์ของคนจีนทั้งหลาย เวลามี งานเลีย้ งมีสารทพิธตี า่ ง ๆ ก็ใช้บา้ นของพระยาโชฏึกฯ เป็นทีจ่ ดั งาน เมือ่ นานวันเข้าคนจีนมีจาํ นวนมาก แบ่งกันเป็นชุมชนหลาย ๆ ชุมชน เห็นว่าบ้านของพระยาโชฏึกฯ คับแคบ ไม่ เหมาะแก่การจัดงานสังสรรค์และจัดทําพิธีกรรมต่าง ๆ จึงได้ร่วมใจกันจัดสร้างศาลเจ้าของแต่ละชุมชน แรกเริ่มได้สร้างเป็นศาลเจ้า เรียกกันว่า ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า และก็ได้นิยม สร้างเป็นศาลเจ้าเผยแพร่ออกไปตามแต่ละชุมชนแต่ละจังหวัด นอกจากนี ้ ก็ยงั มีการสร้างศาลเจ้าของเทพเจ้าองค์อนื่ ตามมาด้วย เช่น ศาลเจ้าพ่อกวนอู และศาลเจ้าแม่กวนอิม เป็นต้น
ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่น
สมัยก่อนรอบบึงแก่นนครเป็นถนนลูกรัง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพทําสวนและเลี้ยงสุกร ในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ เทศบาลเมืองขอนแก่น มีโครงการปรับปรุงบึงแก่นนคร มีการขุดลอกบึงโดยให้ชุมชนต่าง ๆ รอบบึงแก่นนครมีส่วนร่วม โดยเทศบาลจ้างชาวชุมชนรอบบึงแก่นนครขุดดินในบึง ในอัตราตารางเมตรละ ๒ บาท มีคนมาร่วมงานขุดลอกบึงเป็นจํานวนมาก ดินที่ขุดได้ส่วนหนึ่งทางเทศบาลนํามาถมถนน อีกส่วนหนึ่งนํามาถมที่ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ซึ่งในขณะนั้นมีพื้นที่ต่ํากว่าถนน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ร้านง้วนกิมฮง ประธานคณะกรรมการศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่นในขณะนั้น ได้ประชุมปรึกษาหารือคณะกรรมการ ซึ่งมีจํานวนทั้งสิ้น ๑๒ คน เห็น สมควรให้ดําเนินการก่อสร้างและขยายพื้นที่ศาลเจ้าใหม่แทนศาลเจ้าเดิมที่ก่อสร้างมานาน มีขนาดเล็ก และเริ่มจะเสื่อมโทรมตามกาลเวลา คณะกรรมการศาลเจ้าฯ ในปีนั้นและปี ต่อ ๆ มาจึงได้ระดมเงินบริจาคเพื่อเป็นทุนในการก่อสร้างศาลเจ้าฯ หลังใหม่ จนในราวปี พ.ศ. ๒๕๓๖ คณะกรรมการศาลเจ้าฯ ได้ก่อสร้างอาคารศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่าและศาลเจ้า ปู่ครูเย็นหลังใหม่ขึ้นในบริเวณศาลเจ้าปู่ครูเย็น ริมบึงแก่นนคร ด้วยงบประมาณ ๑๒ ล้านบาท จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้ก่อสร้างศาลเจ้าทั้งสองแล้วเสร็จ นายชุมพล อรุณยะเดช ซึ่ง เป็นประธานคณะกรรมการศาลเจ้าฯ ในขณะนั้นได้จัดงานฉลองสมโภชศาลเจ้าหลังใหม่ เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ (คณะกรรมการจัดงานประจําปี ๒๕๔๙ สมาคมปึงเถ่า กง-ม่า ขอนแก่น และสื่อมวลชนจังหวัดขอนแก่น, ๒๕๔๙)
21
22
บทบาทศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่น นอกจากการเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของคนไทยเชือ้ สายจีนในจังหวัด ขอนแก่นแล้วยังทําหน้าที่เป็นแหล่งจัดกิจกรรมต่าง รวมทั้งยังถูกใช้เป็นที่ ฝึกซ้อมของสมาคมเชิดสิงโตอีกด้วย แต่เดิมการซ้อมเชิดสิงโตในขอนแก่น จะซ้อมบริเวณศาลหลักเมือง แต่พื้นที่คับแคบและประชากรคนเพิ่มมากขึ้น หลังจากสร้างศาลเจ้าเสร็จ จึงให้มีการนํามาซ้อมยังศาลเจ้าซึ่งมีอาณาบริเวณ ที่กว้างขวาง และไม่มีปัญหาเรื่องของการใช้เสียงที่จะไปรบกวนชุมชนและ คณะกรรมการ สมาคมปึงเถ่าเกง-ม่า ยังสร้างโกดังเก็บอุปกรณ์ชุดการแสดง ให้กับคณะสิงโต ด้วยเงินลงทุนถึงสองล้านบ้าน โดยไม่หวังค่าตอบแทนใด กลับ
< ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่าและศาลเจ้าปู่คูเย็น สะท้อนการอยู่ร่วมกันของความเชื่อ ชาวไทยเชื้อสายจีนกับ ชุมชนบ้านโนนทัน แม้จะต่างพิธีความเชื่อแต่ก็ตั้งอยู่บนพื้นฐานการอยู่ร่วมกันในชุมชนและสนับสนุนกัน
23
24
< ห้องเก็บหัวซ้อม มีทั้งหัว สิ ง โตกวางตุ้ ง และสิ ง โตปากกิ่ ง วางอย่างกึ่งเป็นระเบียบอยู่บนชั้น วาง หั ว ซ้ อ มแต่ ล ะหั ว มี ร่ อ งรอย ของการถูกใช้งานมาอย่างหนักพอ 25
< ลานกว้างหน้าศาลเจ้า เปลีย่ นเป็นลานกิจกรรม ถูกจับจอง โดยกลุม่ นักเชิดสิงโตรุน่ ใหม่ เพือ่ ฝึกซ้อมสำาหรับงานปึงเถ่ากงม่าทีใ่ กล้ เข้ามา คนทีเ่ ก่งแล้วก็ออกมาทำาให้ดู คนทีย่ งั ไม่คล่องก็ตอ้ งฝึกหัวเปล่า
26
27
28
เด็กเชิด
สิงโต
การเชิดสิ งโตเป็ นกิจกรรม ที่ตอ้ งใช้พละกําลัง ใช้ความแข็งแรง ดูเป็ นกิจกรรม ของผูใ้ หญ่ แต่ภาพที่ได้พบเบื้องหน้าของการซ้อมกลับเต็มไปด้วยเด็กอายุต้ งั แต่นอ้ ย สุ ด3ขวบ ไปจนถึงอายุมากสุ ดเพียง 15 เท่านั้น เป็ นเรื่ องที่น่าแปลกใจ เพียงแค่หวั สิ งโตก็ มีขนาดใหญ่กว่าเด็กหลายคนเท่าตัวแล้ว แต่ภาพที่เห็นกลับเต็มไปด้วยความกระตือรื อร้น สนุกสนาน ราวกับว่าวินาทีที่ได้จบั หัวสิ งโตแล้วเชิดนั้นพวกเขาได้หลุดลอยเข้าไปในอีก ห่วงหนึ่งเลยทีเดียว หลังจากเกิดข้อสงสัยนั้นแล้ว จึงได้นาํ คําถามไปถามกับคุณสุ รัตน์ประธาน สมาคมว่า ทําไมผูฝ้ ึ กซ้อมทั้งหมดนี้จึงมีแต่เด็กเท่านั้น คุณสุ รัตน์ให้คาํ ตอบว่างานนี้เป็ น งานอาสา เราเปิ ดรับสมัครเข้ามา ต้องใช้เวลาซ้อมกว่าหนึ่งเดือน คนที่โตแล้วเขาก็ไม่มี เวลามาทํา เพราะเรามีค่าตอบแทนให้กจ็ ริ งแต่กเ็ พียงวันละสามสิ บบาท มันก็ไม่คุม้ เขา ส่ วนมากที่มาสมัครที่น้ ีจึงเป็ นเด็กที่มีความสนใจ งานนี้จึงแถบจะเรี ยกว่าเป็ นงานจับปูใส่ กระด้งเลยทีเดียว แต่จากการสังเกตุเด็ก ที่มาฝึ กนั้นค่อนข้างมีระเบียบวินยั และให้ความเคารพ ร่ วมมือกับผูฝ้ ึ กสอนเป็ นอย่างดี และรู ้สึกลึกได้วา่ เด็กที่มาแต่ละคนดูมีความเป็ นผูใ้ หญ่และมีเหตุผลมากมายที่น่าสนใจใน ตัวแต่ละคน
29
ประเภทของสิงโต ประเภทของการเชิ ดสิ งโตในปั จจุบนั ความ แตกต่างของลักษณะของสิ งโตและ การเชิดนั้นขึ้นอยู่ กับความแตกต่างของสภาพ ภูมปิ ระเทศและวัฒนธรรม ในแต่ละภาคของ ประเทศจีน ปั จจุบนั การเชิดสิ งโต จีนแบ่งออกได้ เป็ น 2 ประเภท ได้แก่ สิงโตเหนือ(สิงโต ปั กกิ่ง) และสิ งโตใต้(สิ งโตกวางตุง้ ) สิงโตใต้/สิงโตกวางตุง้ (Chinese Southern Lion Dance, Cantonese Lion Dance) สิ งโตใต้ มีหวั ที่ทาํ ด้วยกระดาษและมีโครงทํา ด้วยไม้ไผ่ และลําตัวทําจากผ้าที่ทนทานประดับด้วยขน ในปั จจุบนั ใช้วสั ดุทนั สมัยและมีน้ าํ หนักเบากว่า เช่น การนําอลูมิเนียมแทนไม้ไผ่ กางเกงของผูเ้ ชิดใช้ผา้ ที่มี ความทนทานและกันนํ้าได้ สิ งโตใต้มีตน้ กําเนิ ดใน มณฑลกวางตุง้ และได้แพร่ หลายไปสู่ เขตอื่นๆ ได้แก่ ไห่ หนาน กวางสี ผฝู เจี ู้ ยง ฮ่องกง มาเก๊า และไต้หวัน รวมไปถึงประเทศต่างๆ ทัว่ โลกที่ชาวจีนจากกวางตุง้ ั ่นฐาน อพยพย้ายถิ่นไปต้ง ถิ
30
สิงโตเหนือ/สิงโตปักกิ่ง(Chinese Northern Lion Dance, Peking/ Beijing Lion Dance) สิงโตเหนือ/สิงโตปักกิง่ (Chinese Northern Lion Dance, Peking/ Beijing Lion Dance) สิ งโตเหนือมีเครื่ องแต่งกายที่ปกคลุมไปด้วย ขนที่ ยาวสี เหลืองและส้ม และมีผา้ สี แดงหรื อเขียวผูก ที่ หัวซึ่งขึ้นนอยูก่ บั เพศของสิ งโต กล่าวคือ สี แดง สําห รับตัวผู ้ และสี เขียวสําหรับตัวเมีย แต่ปัจจุบนั การแบ่ง เพศของสิ งโตอาจสังเกตได้จากสี ขนของ หัวและหลัง แทนการผูกผ้าบนหัว ในการแสดง บางคร้ังจะปรากฏ สิ งโตเหนือในลักษณะของ ครอบครัวคือตัวใหญ่(พ่อ แม่)ตัวเล็ก(ลูก) โดยตัวผูใ้ หญ่มีผเู ้ ชิด 2 คน แต่ตวั เด็ก ใช้ ผู ้เ ชิ ด คนเดี ย ว การเชิ ด สิ ง โตเหนื อ มี ท่ า ทางที่ คล้ายคลึงกับ สุ นขั ปั กกิ่ง จะแสดงท่าทางและอารมณ์ ต่างๆ ใน ลักษณะของการแสดงกายกรรม เช่น ท่าเดิน คล่องแคล่ว มีความสุ ข การเล่นอย่างสนุกสนาน และ การไล่ตามลูกบอลโดยการ กระโดดขึ้นบนโต๊ะและเก้าอี้การหมุนรอบตัวและพลิก ตัวการเดิ นบนเสาไม้ไผ่และการทรงตัวบนลูกบอล ใหญ
31
32
- กลุ่มนักเชิดสิงโตปักกิ่ง กําลังสักซ้อมทําข้อ ตกลงกัน โดยมีผคู้ มุ การฝึกสอนเป็นเด็กทีเ่ คยเล่น มาก่อนแล้ว 2 - 3 ปี
33
34
35
36
- เด็กกําลังทําการร่ายรํากับหัวสิงโต ปักกิง่ เป็นท่วงท่าทีพ่ ริว้ ไหว แต่ดดุ นั การขยับไปพร้อมกับการโบกสบัด ของขนสิงโต
37
38
- การฝึ กซ้อมล้อแก้วสิ งโตปั กกิ่ง แต่ในท่าทางที่ออกไปในลักษณะ เด็กเล่นกันมากกว่า ตามประสา
39
40
41
42
- สิงโตกวางตุ้งเป็นสิงโตที่เด็กให้ความสนใจมากเป็นพิเศษด้วยความ สวบงามท่วงท่าที่หลากหลายกว่า แถมยังดูเหมือนจะเป็นพระเอกใน งาน สีสันที่สวยงาม หนวดเคราที่พริ้วไหว สอดคล้องกันอย่างลงตัว ไปกับการอวดโชว์ลีลาของผู้แสดง
43
44
45
46
47
48
- ขนาดของหัวที่มีขนาดใหญ่กว่าขนาดของตัวผู้เชิดเสียด้วยซ้ํา เด็กคนไหนที่มี ขนาดตัวเล็กมากๆสามารถเข้าไปซ่อนในหัวของสิงโตได้เลย
49
- เด็กสองคนที่พ่ ึงมาฝึ ก เป็ นปี แรก จับคู่กนั เป็ นส่ วนหัวและหาง ใครจะ เป็ นหัวเป็ นหางตามแต่การตกลงกันเหตุผลของการมาที่น้ ีเนื่องจากว่าทางโรงเรี ยน รับอาสาสมัคร สองคนนี้เกิดความสนใจจึงมา ในทีแรกมีเพือ่ นมาหลายคนกว่านี้ แต่ สุ ดท้ายก็ค่อยๆหายไปจนเหลือเพียงพวกตนสองคน
50
51
52
- คนที่โตและฝึ กมาหลายปี กว่า เห็นชัดได้ในท่า ที่แสดงออกมา ไม่วา่ จะ เป็ นความแข็งแรงของการจับหัวสิ งโตเชิด ท่าทีที่พริ้ วไหว ราวกับเป็ นส่วนหนึ่งของ ร่ างกาย และกล่าวกันว่าคนไหนที่เก่งจะดูได้จาก ลักษณะที่แสดงออกมาเหมือน สิ งโ๖มากแค่ไหน
53
54
- ผูป้ กครองของเด็ก มานัง่ เฝ้ ารอลูกหลานซ้อม จากการสัมภาษหลายคน มีความ ยินดีที่จะให้ลกู หลานตนมาฝึ กซ้อมที่น้ ี เพราะมองว่าเป็ นการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ แถมยังเป็ นการออกกําลังกายอีกด้วย
55
56
- ช่วงเวลาของการฝึ กซ้อม จะเริ้ มตั้งแต่ 16.00 น - 18.00 โดยประมาณ เพราะความเป็ นเด็ก จะกลับคํ่าไม่ได้ และหลังจากหนึ่งทุม่ จะเป็ นช่วงฝึ ก ซ้อมของมังกรซึ่งชุดของผูใ้ หญ่แสดง
57
กิจกรรมการแสดงท่าผาดโผดของสิ งโตจะมีสาํ หรับผูเ้ ชิดที่มีประสบการณ์หรื อมีคุณสมบัติร่างกายถึงแล้วเท่านั้นในส่ วนของเด็กที่พ่ ึงฝึ ก หรื อมีขนาดร่ างกายที่ไม่พร้อมจะยัง ไม่อนุญาติให้เล่น โดยการแสดงท่าของสิ งโตจะแบ่งตามประเภท สิ งโตกวางตุง้ จะเต้นบนเสาดอกเหมย ลักษณะเป็ นเสาร์เหล็กสูงสองเมตร(ภาพข้างบน)ตั้งขึ้นเล่าถึงการผจญ ภัยของสิ งโตเพื่อไปชิงดอกเหมยมาให้ได้ ส่ วนของสิ งโตปั กกิ่ง จะแสดงบนโต๊ะตามลักษณะ(ภาพทางขวามือ)
58
59
สิงโตบนเสาดอกเหมย (Lion Pole Dance)
จุดเร่ิมต้น ของการแข่งขันเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย (Lion Pole Dance) เกิดขึ้นที่ ประเทศมาเลเซียเป็นคร้ัง แรก (Ministry of Culture, Republic of China (Taiwan), 2010; The Lion Arts, 2012c) โดยอดีต ผู้เชิดสิงโตจะแสดงบนโต๊ะและเก้าอ้ี จนกระทั่ง ในปลาย ยุค 70 “Hing Tung Lok Lion Dance Association” ได้ประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์เสา สําหรับ ใช้ในการแสดงท่ีเรียกว่า “เสาดอกเหมย” หรือ “Plum Blossom Poles” แต่เดิมใช้เสาไม้ 5 ต้น ที่มีความสูง 33 นิ้ว การแสดงบนเสาดอก เหมยดังกล่าวเป็นที่นิยมในประเทศมาเลเซีย จนกระทั่งมีการแข่งขันเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมย ข้ึนในปี ค.ศ. 1983 ต่อมาการแข่งขันได้ เร่ิมสร้าง ความเป็นมาตรฐานและได้แพร่หลายไปทั่วเอเชีย โดยมีหน่วยงาน คือ “International Dragon and Lion Dance Federation” (เดิมอยู่ท่ีฮ่องกง ปัจจุบันอยู่ที่ปักก่ิง) ได้ออก กฎมาตรฐานสากลที่ ใช้ในการแข่งขันเชิดสิงโตบนเสาดอกเหมยขึ้นใน ปี ค.ศ. 1992
60
61
หัวเซียน(แปะยิ้ม) “แปะยิ้ม” ที่ เห็ นคู่กนั กับสิ งโตเสมอนั้น มาจาก เทพนิยายเรื่ อง แปดเซียน ตอนที่แปดเซียนเดินทาง ไปอวยพรวันเกิดอ๊วงบ๊อบนสวรรค์ ขณะผ่านทะ เลต้งไฮ้ ปรากฏว่ามีสตั ว์ประหลาดโผล่มาจากทะเล ชาวจีนเรี ยกว่า “สี่ ปุ๊กเสี ยว” แปลว่า ไม่เหมือนสี่ แบบคือ รู ปร่ างเหมือนม้าแต่ไม่ใช่มา้ มีเกล็ดคล้าย ปลาแต่ ไ ม่ ใ ช่ ป ลา มี ห างเหมื อ นโคแต่ ไ ม่ ใ ช่ โ ค ศรี ษะคล้ายมังกรแต่ไม่ใช่มงั กร ในครั้งนั้น “แน่ไซฮัว” เซียนจิ๋ว ที่มีรูปร่ างคล้ายผู ้ หญิงทําผมแกละ มีกระเช้าดอกไม้ประกอบด้วย ดอกเบญจมาศ ดอกไหน กิ่งไผ่ และใบไผ่ เป็ นอาวุธ พิเศษ และด้วยความเป็ นเด็กจึงเข้าไปแหย่เจ้าสัตว์ ประหลาดให้ติดตามเพือ่ ที่จะนําไปถวายอ๊วงบ๊อ ซึ่ง เป็ นเซียนสูงสุ ด ส่วนหัวเซียนในประเทศไทย ช่างผูป้ ระดิษฐ์หวั หุ่น เห็นว่าสร้างยาก จึงได้ดดั แปลงเป็ น “แป๊ ะโล้นหน้า ยิม้ ” แต่ยงั คงถือพัดเหมือนเดิม
62
< หัวซ้อมแปะยิม้ มีร่องรอยของการถูกใช้งานมาอย่างหนักและเป็ น เวลานาน เป็ นอีกสี สนั ต์หนึ่งที่ไปพร้อมคู่โดดเด่นไม่แพ้สิงโตเช่นกัน
63
64
< เด็กน้อยกําลังเรียนแบบท่าทางของแปะยิ้มจากการที่เขาได้เห็นและจดจํามา
65
66
< ขบวนเครื่ องดนตรี นาํ พาความสนุก ประกอบจังหวะ การร่ ายรําของเหล่าสิ งโต เป็ นอีกองค์ประกอบหนึ่งที่ ขาดกันไม่ได้
67
< ผูเ้ ชิดสิ งโตทุกคน ต้ อ งเข้ า ใจในจั ง หวะของ เครื่ องดนตรี เช่นกันดังนั้น ทุก คนที่เชิดจึงจําเป็ นต้องเริ่ มจาก ก ารเ ล่ น เ ค รื่ อง ป ระ ก อบ จังหวะเหล่านี้
68
< เด็กชายพี เล่นอยู่ ที่น้ ีมาสามปี ได้ เริ่ มจากการที่ ตามพี่ชายเข้ามา ด้วยความที่ อยู่มาก่อนและเข้าใจในสิ่ งที่ ทําพีจึงถูกวางตัวให้ช่วยสอน รุ่ นน้องที่ พ่ ึงเข้ามาใหม่ อีกที จากอาจารย์ผฝู ้ ึ ก แต่เขาก็กล่าว ว่า “ ไม่ค่อยมี คนเชื่ อฟั งเขา เท่าไร สุดท้ายอาจารย์กต็ อ้ งลง มาจัดการเองเสม อ”
69
70
< ชุดการแสดงกลอง 24 ใบ เป็ นอีกหนึ่งการแสดงในพิธีแห่ ลักษณะของ กลองเป็ นลักษณะเดียวกับกลองที่ให้จงั หวะกับสิ งโตกวางตุง้ และสิ งโตปั กกิ่ง
71
72
< สมุดจดบันทึก การมาซ้อมในแต่ละ เพือ่ ใช้เป็นหลักฐานจ่ายเงิน ตอบแทนให้กบั อาสาสมัครทีม่ าร่วมแสดง เงินทีไ่ ด้ตกวันละ 30 บาท ระยะ เวลาซ้อม1 เดือน เท่ากับเงิน 900 บาทในการซ้อม เด็กจะได้เงินตามจํานวน การเช็ควันทีม่ าซ้อม เป็นการป้องกันในเรือ่ งของการจ่ายทีผ่ ดิ พลาด และการ ขาดทุนหากจ่ายเงินให้ทกุ วัน แล้วสุดท้ายเด็กคนนัน้ หายไป ก็จะเป็นการจ่าย ที่สูญเปล่านอกจากเงินที่ได้รับแล้วยังมีอาหารให้ทานทุกเย็นที่มาซ้อม
73
74
75
76
77
งานสมโภชศาลเจ้า ปึ งเถ่ากง-ม่า ขอนแก่น งานสมโภชศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า เดิมทํากันที่ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ขอนแก่น ถนนศรีจันทร์ แต่หลังจากศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่าหลังใหม่สร้างเสร็จ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ และมีการฉลองสมโภชในปีเดียวกันนั้น ในปีต่อมาคณะ กรรมการจัดงานศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่น ประจําปี ๒๕๔๐ ได้กําหนด ทําพิธสี มโภชศาลเจ้าทีศ่ าลหลังใหม่รมิ บึงแก่นนคร ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นเวลา ๑๐ วัน ๑๐ คืน และสมาคมปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่นจึงได้ถือ เอาเดือนพฤศจิกายนของทุกปีเป็นเทศกาลจัดงานสมโภชศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่น เป็นงานประจําปี โดยมีงานสมโภช ๑๐ วัน ๑๐ คืนนับแต่นั้นมา งานสมโภชศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า วันแรกของการเปิดงานเริ่มที่ศาลเจ้าพ่อ หลักเมืองขอนแก่น มีการจุดประทัด จุดพลุเปิดงาน หลังจากนัน้ จัดให้มขี บวน แห่เทพเจ้า แป๊ะยิม้ ล้อโก้ว เจ้าแม่กวนอิม ธงทิว ขบวนฟ้อนรํา ขบวนดนตรีจนี และการแสดงต่าง ๆ ของสมาคมดนตรีจีนขอนแก่น รําพัด รําไท้เก๊ก ขบวน เทพเจ้าน้อย สุดท้ายขบวนอัญเชิญแห่เจ้ารอบเมืองรับการเซ่นไหว้จากสาธุชน พร้อมกับขบวนสิงโต-มังกรทอง เอ็งกอ คนตีฆ้องและกอง อีกมากมาย มีการ แห่มังกรและเชิดสิงโตไปรอบเมืองตามถนนสายต่าง ๆ ในตัวเมืองขอนแก่น ในการทําพิธีวันแรกซึ่งเป็นวันอัญเชิญเจ้ามาสถิตที่ศาล โดยผู้อัญเชิญได้นํา รูปและกระถางธูปมาจากศาลอื่น ๆ ในขอนแก่นเหมือนเป็นการเชิญเจ้าต่าง ๆ และสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ วั่ เมืองขอนแก่นมาร่วมงานด้วย ได้แก่ ไต้ฮงกง เจ้าปูจ่ างวาง โป๊ยเซียนโจ้วซือ เจ้าแม่กิมบ้อหรือพระแม่ทรงธรรม เจ้าพ่อหนองไผ่ พระแม่ ธรณี เจ้าพ่อเกษม ท้าวเพี้ยเมืองแพน ศาลบือบ้าน เจ้าพ่อหนองสะแบง เจ้าแม่ สองนาง เจ้าพ่อเซียงแก้ว เจ้าพ่อมเหศักดิ ์ เจ้าพ่อขุนภักดี เจ้าพ่อหมืน่ เตา-เจ้าแม่ ศรีมาลา และเจ้าพ่อมอดินแดง
78
79
80
สิ งโตกวางตุง้ และสิ งโตดอกเหมย นอกจจากจะแยกกันออกด้วยลักษณะทางกายภาพแล้ว สี กส็ าํ คัญ เช่นกัน รู ปแบบของสิ งโตกวางตุง้ นั้นจะมีอยูห่ ลายสี หลายประเภท แต่ในพิธีแห่จะใช้สีแดงเป็ นหลักรวมทั้งชุด ผูแ้ สดงด้วยจะเป็ นสี แดงมีแถบสี เขียวสว่าง ส่ วนสิ งโตปั กกิ่งกก็เช่นกันจะเป็ นสี เหลืองเป็ นหลักมีแถบสี เขียว สว่างเหมือนกันสิ งโตกวางตุง้ ทั้งนี้คุณสุ รัตน์ได้ให้เหตุผลว่า เพื่อความสวยงามของรู ปขบวนเวลาชมจึงเลือก ใช้สีที่เป็ นสี เหมือนกันโทนเดียวกัน
81
82
< หัวสิงโตกวางตุ้ง สําหรับใช้ในวันจริงเตรียมจะออกไป โชว์การร่าย
83
84
เหล่าเด็กน้อยกําลังวุ่นวายกับการหาอุปกรณ์เครื่องแต่งกายของตนที่ต้องรับผิดชอบ
85
86
เอ็นกอ(ร้อย8ผูก้ ล้าแห่ งเขาเหลียนซาน) อีหนึ่ งสี สันต์ของขบวน คุณสุ รัตน์ ประธานชมรม กล่าวว่า จํานวนอาจมีขาดบ้างเกินบ้าง ขึ้นอยูก่ บั จํานวนผูม้ าสมัครมากน้อยแค่ไหน ไม่ได้มีขนบว่าต้อง ครบถึงทั้ง 108 คนจริ งๆ
87
บริเวณแต่งตัวของเหล่านักแสดง โกดังเก็บชุดอุปกรณ์และชุดที่เตรียมเอาไว้ สำาหรับการแสดง ช่างแต่งหน้ากำาลังแต่งหน้าอย่างเร่งรีบแข่งกับเวลาที่ใกล้เข้า มา มีรปู แบบหน้ากากเอ็งกอสำาหรับเป็นตัวอย่างให้ชา่ งเลือกใช้แต่งหน้านักแสดง
88
จังหวะเร่งรีบเอ็งกอน้อยวุ่นหาหมวกของตนในโกดังเก็บของใหญ่ ซึ่งเต็มไปด้วยอุปกรณ์มากมาย ทั้งหัวสิงโต มังกร เครื่องแต่งกาย ต่างๆของชุดขบวน เปรียบกับการงมเข็มในมหาสมุทรก็ไม่ปาน
89
การเตรียมพร้อมนัดแนะจากครูฝึก ไม่ต่างจากโค้ชที่ให้คำาแนะนำานักกีฬาที่กำาลังจะ ลงสนาม แต่นี้เป็นการแข่งขันกับตนเอง ออกไปร่ายรำารับใช้ความเชื่อของพิธีกรรม
90
91
เด็กน้อยวัยสามขวบ มาร่วมการแสดง กับผู้เป็นพ่อ โดยได้รับหน้าที่เป็นเด็กต่อตัวชั้น บนสุด แม้อายุเท่านี้แต่ก็สามารถทำาหน้าที่ของ ตนได้ดี จนไม่อยากเชื่อว่าอายุเพียงสามขวบ
92
เด็กที่กำาลังยกแขน อายุเพียงสามขวบเช่นกัน แต่การพูดและท่าทางนั้น น่าจะประมาณอายุ 7 -8 ขวบได้
93
94
95
96
โต๊ะไหว้เจ้า สําหรับบ้านที่มีความเชื่อความศรัทธา จะจัดโต๊ะไว้หน้าบ้านในเส้นทางที่สิงโต เดินผ่าน ก็จะเข้าไปร่ ายรํา โชว์การแสดงกินผลส้ม และจบด้วยการจุดประทัดปัดเป่ าไล่ส่ิ งชัว่ ร้ายออกไป
97
98
การแสดงสิ ง โตกิ น ส้ ม พ่น นํ้า ทิ พ ย์ สิ ง โตกิ น ส้ ม คื อ ส้ ม มงคลหรื อ แก้ว สารพัด นึ ก นึ ก คิ ด สิ่ ง ใด สมปรารถนา สุ ขภาพพลานามัยแข็งแรง สิ งโตพ่นนํ้าทิพย์ คื อนํ้ามนต์อนั ศักดิ์สิทธิ์จากสิ งโต
99
หัวกับหางเปลี่ยนแปลงได้เรื่ อยๆตามข้อตกลงของคู่ นั้นๆแต่ที่สาํ คัญต้องจับคู่กบั คู่ซอ้ มตนเองแต่เดิมสําหรับเด็ก ใหม่เพราะจะได้เข้าใจกัน จากระยะเวลาหนึ่งเดือนที่ฝึกกันมา
100
101
102
< หัวสิงโตสีแดงมีไม่เพียงพอจึงจําเป็นต้องใช้สีเหลืองเข้ามาประกอบด้วยเพื่อให้ได้ จํานวนบางคราที่มองผ่านๆอาจนึกว่าเป็นสิงโตปักกิ่งได้
103
< เด็กที่ได้พบเจอสิงโต สแดงทั้งความกล้า ความกลัว ความใคร่รู้ไปพร้อมกัน สอบถามเด็กที่ได้ดูบางคนว่าอยาก เล่นไหม ก็ตอบว่าอยาก แล้วกลัวไหม ก็ตอบว่ากลัวเป็นความคิดที่ซับซ้อนในตัวเด็กที่น่าค้นหาลงไป
104
105
ในกิจกรรมที่เดินในงานแห่ปึงเถ่ากงม่านั้น นอกจากพิธีไหว้บนโต๊ะไหว้หน้าบ้าน แล้ว สําหรับบ้านที่มีความเชื่อ ความสนใจก็จะเชิญสิ งโตเข้าไปในบ้าน เพื่อไปไหว้ ตี่จูเ้ อี๊ยะ ที่ต้งั อยูภ่ ายใน แล้วเดินออกมาโดยจะมีการรับบริ จาคตามศรัทธาไปพร้อมด้วย ซึ่งเท่าที่สงั เกตุ ส่ วนใหญ่จะเป็ นส่ วนของร้านค้า ที่จะเชิญสิ งโตเข้าไป สพท้อนถึงอาชีพของคนไทยเชื้อสาย จีนที่มีจุดเด่นเรื่ องของธุรกิจการค้าขาย
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
- เด็กน้อยวัยสามขวบถอดรองเท้าเตรียมที่จะต่อตัว เพื่อไปเก็บซองเงินที่ ถูกแขวนไว้ตามหน้าจั่วบ้านการวางท่ายืน ดูผิดแปลกจากเด็กสามขวบ แต่ กลับให้ความรู้สึกถึงเด็กที่โตแล้วระดับหนึ่ง แต่ก็สันนิษฐานได้ว่าเกิดจาก การเลียนแบบจากสิ่งแวดล้อมโดยรอบ เป็นเพราะเขาออกมาเจอโลกเร็วกว่า ปกติ หรือเป็นเราเองที่อยู่ในความปลอดภัยนานกว่าปกติ
121
122
123
124
125
126
รอยยิ้มภายในหัวสิงโตกวางตุ้ง โครงที่ถูกทําด้วยไม้ไผ่และแปะกระดาษทับลงไปจนเกิด เป็นหัวสิงโตที่สวยงาม แม้ว่าเดินทางมาระยะไกล แต่พลังชีวิตของเด็กนั้นก็มีมากมายซะ เหลือเกิน ไม่มีร่องรอยของความเหนื่อยล้าใดๆเลย
127
128
129
130
131
132
133
การเชิดเล่นกับประทัดตามบ้านต่างๆ แม้อยู่ห่างไกลหลายวาแต่ก็ยังรับรู้ได้ถึงเสียง อันดังสนั่นของประทัดที่แผดออกมา เกิดมลภาวะทางหูในระดับสูงกว่าปกติชีวิตประจําวัน ทีเ่ ราเจอได้ อีกทัง้ ยังต้องคอยภาวนาหลบสเก็ตประทัดทีไ่ ม่ตา่ งจากปลอกกระสุนกระเด็นมา ใส่ตัวอีกด้วย นอกจากความกล้าแล้วผู้เชิดที่อยู่ใกล้เพียงนั้นยังต้องมีความอดทนอีกด้วย
134
135
พลังชีวติ พลังกายอันเหลือล้น ไม่แสดงถึงความเหนื่อยล้า แม้จะผ่านการเดิน ทางมาแล้วหลายชัว่ โมงหลายกิโลเมตรเด็กก็ยงั เป็ เด็ก แม้จะทําหน้าที่ ตอบสนองความ เชื่อของผูใ้ หญ่ แต่พอถอดหัวสิ งโตออกแล้ว เขาก็กลับกลายเป็ นเด็กที่ยงั คงวิง่ เล่นด้วย ความสนุกสนาน แล้วยังแสดงถึงพลังบริ ษุทธิ์ ที่เข้ามีจริ งๆ หากในมุมมมองจึงคิดว่า ความเป็ นมงคลจากการนําเอาเด็กมาเชิดนี้แหละคือพลังบริ ษุทธิ์ที่ปัดเป่ าสิ่ งชัว่ ร้ายโดย
136
137
138
139
140
ผลของการฝึกซ้อมอย่างทุ่มเทของเหล่าเด็กนักเชิด สิงโตกลายเป็นผลงานให้ ผู้ที่ผ่านไปมาได้รับชมระหว่างสอง ข้างทางตอบสนองต่อความเชื่อของชาวไทยเชื้อสายจีนใน จังหวัดขอนแก่นตอบสนองต่อความตั้งใจของผู้ฝึกซ้อม ไม่วา่ เด็กเหล่านีจ้ ะวางเป้าหมายของอนาคตหรือมีมมุ มองต่อการเชิดสิงโตเป็นอย่างไรก็ตาม แต่สิ่งที่สัมผัสได้คือ ความตั้งใจของพวกเขา และความสนุกที่เขาได้รับจากการ เชิด ออกมาทาง ใบหน้า โดยที่พวกเขาอาจยังไม่รู้ตัว และ เกิดความรักความเชื่อขึ้นภายในใจ
เด็กชิดสิงโต: ความงาม ความเชื่อ ความซื่อ
141
ประวัติ ผู้จัดทำา สื บ สาย สํ า เริ ง (เอ็ ม) เกิด 4 พฤษจิกายน 2537 อาชีพ video Editor / photographer จบการศึกษา ปริญญาตรี สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ แขนง ถ่ายภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Contact: tell:080-405-3808 Email: Supsai04@gmail.com
142