คู่มือเพชรบูรณ์&ลพบุรี

Page 1





















Phetchabun

พ รบร ลพบุรี Lopburi

คู่มือ..

ที่นี่...

เพชรบูรณ์

ชื่อของจังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อ สมัยก่อนน่าจะชื่อว่าเมือง “เพชบุระ” ตามที่ปรากฏในจารึกลานทองค�า ที่ พบจากเจดี ย ์ ท รงพุ ่ ม ข้ า วบิ ณ ฑ์ วั ด มหาธาตุ ซึ่งหมายถึงเมืองแห่งพืชพันธุ์ ธัญญาหาร แต่ในระยะหลังต่อมาได้ เพื้ยนหรือเปลี่ยนเป็นชื่อ “เพ็ชร์ บรู ณ์ ” และเปลี่ยนเป็น “เพชรบูรณ์ ” กลาย ความหมายเป็นเมืองที่อุดมด้วยเพชร และได้น�าไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของตรา สัญลักษณ์ประจ�าจังหวัด เพชรบูรณ์ แปลว่าเมืองพระ หรื อ เมื อ งวิ ถี พุ ท ธ หมายถึ ง เมื อ งที่ ป ร ะ ช า ช น ด� า เ นิ น ชี วิ ต ต า ม ห ลั ก พระพุทธศาสนา ค�าว่า “เพชร” ในค�า ว่า เพชรบูรณ์ เป็นศัพท์ทางศาสนา ไม่ ได้หมายถึงเพชรที่เป็นอัญมณี (Diamond) แต่มาจากค�าว่า สัพพัญญู แปล ว่า ผู้รู้ทุกอย่าง (หมายถึงพระพุทธเจ้า) แล้วท�าให้เหลือสองพยางค์ตามหลัก อักขระวิธีเป็น สรรเพชญ์ และเอาค�า ว่า เพชญ์ ค�าเดียวมาสนธิกับค�าว่า ปุ ระ รวมกันเป็น เพ็ชญปุระ เพีย้ นมาเป็น เพชรบูรณ์ในปัจจุบนั คล้ายกับชือ่ เมือง จันทบูร แผลงมาเป็น จันทบุรี เพชรบูรณ์ แปลว่า เมืองพระ, พิษณุโลก แปลว่า เมืองพระวิษณะ, สวรรคโลก แปลว่า เมืองสวรรค์ ประวัติศาสตร์ ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว มี ก าร รวบรวมหัวเมืองตามชายแดนที่ส�าคัญ ตั้งเป็นเขตการปกครองใหม่ ขึ้นเป็น ระบบมณฑลเทศาภิบาล ในปี พ.ศ. 2442 มณฑลเพชรบูรณ์ได้ตั้งขึ้นเป็น อิสระ เนื่องจากท้องที่มีภูเขาล้อมรอบ

มี ก ารเชื่ อ มต่ อ คมนาคมกั บ มณฑล อื่ น ไม่ ส ะดวก ล� า บากแก่ ก ารติ ด ต่ อ ราชการ และโอนเมืองหล่มสัก อ�าเภอ หล่ ม เก่ า อ� า เภอวั ง สะพุ ง มาขึ้ น กั บ มณฑลเพชรบูรณ์ ยุบเมืองวิเชียรบุรี เป็นอ�าเภอ โอนอ�าเภอบัวชุม (ปัจจุบัน เป็น ต�า บล) อ�า เภอชัยบาดาลขึ้นกับ เมืองเพชรบูรณ์ มณฑลเพชรบูรณ์จึงมี สองเมือง คือ หล่มสัก กับ เพชรบูรณ์ พ.ศ. 2447 ได้ ยุ บ มณฑล เพชรบูรณ์ และได้ตงั้ เป็นมณฑลอีกในปี พ.ศ. 2450 และได้ยุบอีกครั้งในปี พ.ศ. 2459 จังหวัดเพชรบูรณ์ในขณะนั้นมี 4 อ�าเภอ ได้แก่ อ�าเภอเมือง อ�าเภอวัดป่า (ปัจจุบันคือต�าบลในอ�าเภอหล่มสัก) อ�าเภอวิเชียรบุรี และกิ่งอ�าเภอชนแดน จนกระทัง่ พ.ศ. 2476 ได้ยกเลิกมณฑล ต่างๆ ทั่วประเทศ ภูมศ ิ าสตร์ ที่ ตั้ ง : จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ มี ต� า แหน่ ง ทางอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาในเขต

phetchabun

ภาคเหนื อ ตอนล่ า งของประเทศไทย โดยเกณฑ์การแบ่งภาคของ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน ได้ ก� า หนดให้ เพชรบู ร ณ์ เ ป็ น จั ง หวั ด ในภาคกลาง จังหวัดเพชรบูรณ์เป็นจังหวัดที่มีแนว เขตติ ด ต่ อ ระหว่ า งภาคกลาง ภาค เหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย ประมาณเส้นรุ้งที่ 16 องศาเหนือ กับเส้นแวง 101 องศาตะวัน ออก ส่วนที่กว้างที่สุดวัดจากทิศตะวัน ออกถึงทิศตะวันตกยาว 55 กิโลเมตร ส่ ว นที่ ย าวที่ สุ ด วั ด จากทิ ศ เหนื อ ถึ ง ทิศใต้ยาว 296 กิโลเมตร อยู่ห่างจาก กรุงเทพมหานคร 346 กิโลเมตร ตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 อาณาเขต : ทิ ศเหนื อ มี อาณาเขตติดกับอ�าเภอด่านซ้าย อ�าเภอ ภูหลวง และอ�าเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดกับอ�าเภอ ภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น, อ�าเภอคอน สาร อ�าเภอหนองบัวแดง และอ�าเภอ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

21


ภักดีชุมพล จังหวัดชัยภูมิ ทิ ศใต้ มีอาณาเขตติดกับอ�าเภอโคกเจริญ อ�าเภอ ชัยบาดาล และอ�าเภอล�าสนธิ จังหวัดลพบุรี ทิ ศตะวันตก มีอาณาเขตติดกับ อ�าเภอนครไทย อ�าเภอวังทอง และอ�าเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก, อ�าเภอ วังทรายพูน อ�าเภอทับคล้อ และอ�าเภอดงเจริญ จังหวัดพิจิตร, อ�าเภอหนองบัว และอ�าเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ ภูมป ิ ระเทศ จังหวัดเพชรบูรณ์มีพื้นที่ประมาณ 12,668.416 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 7,917,760 ไร่ สูงจากระดับน�้าทะเลประมาณ 114 เมตร มีพื้นที่ใหญ่ เป็นอันดับที่ 9 ของประเทศ ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดเพชรบูรณ์นั้นเป็น พืน้ ทีร่ าบลุม่ แบบท้องกระทะ ประกอบด้วยเนินเขา ป่า และทีร่ าบเป็นตอนๆ สลับ กันไป พื้นที่มีลักษณะลาดชันจากเหนือลงไปใต้ ตอนเหนือมีทิวเขาสูง ตอนกลาง เป็นพื้นที่ราบและมีเทือกเขาขนาบกันไปทั้งสองข้างมีลักษณะเป็นรูปเกือกม้า มี แม่น�้าป่าสักเป็นแม่น�้าสายส�าคัญโดยไหลจากจังหวัดเลย เพชรบูรณ์ ผ่านไปสู่ จังหวัดในภาคกลาง แล้วลงสู่แม่น�้าเจ้าพระยา ตามล�าดับ จึงส่งผลให้พื้นที่ดีมี ทรัพยากรธรรมชาติมากมาย ดินมีสภาพอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก พืชท�าการเกษตร ภูมอ ิ ากาศ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศล้อมรอบด้วยภูเขา ท�าให้สภาพภูมิอากาศ แตกต่างกันมากในแต่ละฤดูกาล คือ อากาศจะร้อนมากในฤดูร้อน และหนาวจัด ในฤดูหนาว โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในพืน้ ทีอ่ า� เภอน�า้ หนาว อ�าเภอเขาค้อ และอ�าเภอ หล่มเก่า ส่วนพื้นที่บนภูเขาจะมีอากาศเย็นตลอดทั้งปี ในฤดูฝนมีฝนตกชุก และ มีน�้าป่าไหลหลากมาท่วมในที่ราบ โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่น�้าป่าสักตอนใต้ของ จังหวัด ในฤดูแล้งน�า้ จะขาดแคลนไม่เพียงพอกับการเกษตรกรรม ในฤดูรอ้ นและ ฤดูฝน จะมีอุณหภูมิ 20-24 องศาเซลเซียส

22

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

ทรัพยากรธรรมชาติ จั ง ห วั ด เ พ ช ร บู ร ณ ์ มี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หลายชนิด ดังนี้ - แหล่ งน�า้ ธรรมชาติ ประกอบ ด้วยแม่น�้าป่าสัก ลุ่มน�้าเชิญ ลุ่มน�้าเข็ก ซึง่ เป็นแหล่งต้นน�า้ ของแม่นา�้ สายต่าง ๆ - ป่ าไม้ ในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ 2,006.51 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของพื้นที่จังหวัด เป็นป่าสงวน แห่ ง ชาติ จ� า นวน 13 แห่ ง อุ ท ยาน แห่งชาติ 3 แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่า 2 แห่ง เขตห้ามล่าสัตว์ป่า 2 แห่ง สวนรุ ก ขชาติ 3 แห่ ง วนอุ ท ยาน 1 แห่ง สามารถจ�าแนกตามเขตการ ใช้ ประโยชน์ ท รั พ ยากรที่ ดิ น และป่ า ไม้ ได้ แ ก่ เขตเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ คิ ด เป็ น ร้อยละ 58.59 ของพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมด เขตเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ร้อย ละ 28.67 และเขตพื้นที่เหมาะสมแก่ การเกษตร ร้อยละ 6.67


Phetchabun

พ รบร ลพบุรี Lopburi

คู่มือ..

ค�าขวัญประจ�าจังหวัด เมืองมะขามหวาน อุทยานน�้า หนาว ศรีเทพเมืองเก่า เขาค้ออนุสรณ์ นครพ่อขุนผาเมือง สัญลักษณ์ประจ�าจังหวัด ตราประจ�าจังหวัดเพชรบูรณ์ ประกอบด้วยเพชรกับภูเขาและไร่ยาสูบ อยู่ในรูปวงกลมมี ลายกนกไทยล้อม โดยรอบ เพชรเจียรนัยเป็นรูปหัวแหวน รูปคล้ายสามเหลีย่ มหัวกลับลงดินลอย อยู่บนท้องฟ้า เหนือภูเขา พื้นดินเป็น ไร่ยาสูบ และมีอักษรเขียนว่า “จังหวัด เพชรบูรณ์ ” ความหมายของ ตราประจ�าจังหวัด มีความหมาย 2 ประการ ประการที่ 1 เนือ่ งจากจังหวัด ชื่อเพชรบูรณ์ ซึ่งแปลว่าอุดมสมบูรณ์ ด้ ว ยเพชร และมี ผู ้ เ คย ขุ ด พบหิ น ที่ มี ค วามแข็ ง มากกว่ า หิ น ธรรมดา มี ประกายแวววาวสุกใส เหมือนเพชรขุด ได้ในเขตบ้านทุ่งสมอ นายาว อ�าเภอ หล่มสัก หินทีข่ ดุ ได้นี้ เรียกกันว่า “เขี้ยว หนุ ม าณ” ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น หิ น ตระกู ล

เดียวกันกับเพชร แต่มีความแข็งน้อยกว่าเพชร มีผเู้ ชือ่ ว่าเขีย้ วหนุมาณนี้ ถ้าทิง้ ไว้ ตามสภาพเดิมนานต่อไปอีกประมาณ 1,000 ปี จะกลาย เป็นเพชรจริงๆ ได้และ นอกจากนี้ยังมีผู้เชื่อว่า ภูเขาชื่อ “ผาซ่ อนแก้ ว” ในเขตอ�าเภอหล่มสักมีเพชร จึง ตั้งชื่อว่า “ผาซ่ อนแก้ ว” ประการที่ 2 เนื่องจากจังหวัดเพชรบูรณ์ มีทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีค่า อุดมสมบูรณ์ เช่น ไม้สักในดินมีแร่ธาตุที่มีค่า ตนประมาค่ามิได้ ซึ่งนับว่ามีค่าสูง เช่นเดียวกันกับค่าของเพชรทีเดียวและปรากฏกว่าในเขตต�าบลน�้าก้อ อ�าเภอ หล่มสัก เดิมชาวบ้านเรียกว่า “บ้ านน�้าบ่ อค�า” ซึง่ มี ประวัตวิ า่ เคยเป็นทีต่ งั้ โรงหล่อ แร่ทองค�าของฝรั่งชาวยุโรป ไม่ทราบสัญชาติ มีซากวัตถุก่อสร้างปรากฏร่องรอย เหลืออยู่ความหมายเกี่ยวกับภูเขา เนื่องจากด้วยพื้นที่ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีภูเขา มากมายสลับซับซ้อนเป็นทิวเขาเทือกใหญ่เรียกว่า “เทือกเขาเพชรบูรณ์ ”ความ หมายเกี่ยวกับไร่ยาสูบ เนื่องจากจังหวัดเพชรบูรณ์มียาสูบพื้นเมืองพันธุ์ดีเป็นสินค้าส�าคัญของ จังหวัดเพชรบูรณ์ แต่นานมาแล้ว มีรสเป็นเลิศกว่ายาสูบ ที่อื่น ทั้งหมดของเมือง ไทย ยาสูบพันธุ์ดี ที่มีชื่อ เสียงนี้ ปลูกได้ผลที่บ้านป่าแดง อ�าเภอเมือง เพชรบูรณ์ แต่ ในปัจจุบนั นีย้ าสูบพืน้ เมืองชนิด นีม้ ี น้อย ลง เพราะราษฎรชาวบ้าน กลั บ มานิ ย มปลู ก ยาสู บ พั น ธุ ์ เ บอร์ เล่ ย ์ เพื่ อ บ่ ม ให้ แก่ส�านักงานไร่ ยาสู บ เพราะ ได้ราคาดีกว่า ยาสูบพื้นเมือง

ต้นไม้ประจ�าจังหวัด ต้ นมะขาม : ลักษณะทัว่ ไป เป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ ใบ เป็นใบประกอบ ออกเป็นคู่ เรียงกันตามก้านใบ ปลายใบและโคนใบมน ออกดอก เป็นช่อเล็กๆ อยู่ตามบริเวณปลายกิ่ง ขนาดเล็ก มีกลีบสีเหลือง ผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดฝักกลมเล็กยาวเรียกว่า “มะขามขี้แมว” ชนิดฝักใหญ่แบนเรียกว่า “ มะขาม กระดาน” เมล็ดเป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกเกลี้ยงสีน�้าตาลเข้ม ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด หรือตอนกิ่ง ดอกไม้ประจ�าจังหวัด ดอกมะขาม

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

23


24

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
















Check In

Phetchabun

คู่มือ.. เพชรบูรณ์

ลพบุรี Lopburi

สกายวอลค

ภูเลิศเขาค้อ

ทีน่ เี่ ป็นจุดชมวิวทีอ่ ยูต่ รงข้ามกับวัดพระธาตผาซ่อนแก้ว โดยในจุดนี้มีการสร้างสกายวอล์คไว้รองรับนักท่องเที่ยวใน การเดินขึ้นไปชมวิว สุดอลังการด้านบน ซึ่ ง จากสกายวอล์ ค นี้ เ ราจะได้ เ ห็ น วิ ว พระพุ ท ธเจ้ า ห้าพระองค์ ที่วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว ที่โอบล้อมไปด้วย ทะเลภูเขาสวยงาม เป็นวิวธรรมชาติที่ผสมผสานกับศิลปะ วัฒนธรรมได้อย่างลงตัว หากเปิดให้บริการแบบเต็มรูปแบบเมื่อใด เรียกได้ว่าที่ นีจ่ ะกลายเป็นแลนด์มาร์คด้านการท่องเทีย่ วแห่งใหม่อย่าง แน่นอน เป็นมุมถ่ายรูปสวยทีเ่ ปิดมุมมองใหม่ให้กบั เขาค้อได้ เป็นอย่างดีเลยทีเดียว

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

39


จุดชมวิววัดกองเนียม ตั้งอยู่ใกล้ กับหอสมุดนานาชาติ ติดกับทางขึ้นไป ชมอนุสรณ์สถานเขาค้อ ริมเส้นทางสาย 2196 เป็นจุดที่สามารถมองเห็นทะเล หมอกในทางทิศตะวันออก พร้อมกับ แสงสีส้มของอาทิตย์

ทะเลหมอกในจุดนี้เกิดค่อนข้าง ยากพอสมควร ต้องในวันที่มีอากาศ เย็นจัดและไม่มลี มจริงๆ เท่านัน้ แต่เมือ่ เกิดทะเลหมอกแล้วก็จะสวยงามกว่า ทุกๆ ทีเ่ พราะเป็นทะเลหมอกท่ามกลาง เนินเขาสลับซับซ้อน โดยมีต้นค้อสูง

จุดชมทะเลหมอก

ใหญ่เป็นฉากหน้า และฉาบทาด้วยแสง สีส้มของพระอาทิตย์ ส่วนฉากหลังก็ เป็นดวงอาทิตย์สีส้มดวงใหญ่ ทะเลหมอกที่วัดกองเนียมพบได้ บ่อยในช่วงปลายฝนต้นหนาว ในวันที่ ไม่มีกระแสลม

วัดกองเนียม

40

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565


Phetchabun

คู่มือ.. เพชรบูรณ์

ลพบุรี Lopburi

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

41


อย่างทีร่ กู้ นั ว่า เขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีจุดชมวิวสวยๆ มากมาย หนึ่งในนั้นก็ คือ จุดชมวิวไปรษณียเ์ ขาค้อ สาขาหนึง่ ของไปรษณียไ์ ทยทีต่ งั้ บนเนินเข้าสูง ริม เส้นทางสาย 2196 นับได้ว่าเป็นจุดชม วิวยอดนิยมมากทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ในเขาค้อ เพราะนอกจากจะเห็นวิวทะเลหมอก แบบ 180 องศาแล้ว ยังมีจุดกางเต็นท์ มากมายหลายจุด รอบๆ จุดชมวิวไปรษณียเ์ ขาค้อ นัน้ มีจะเป็นที่ตั้งของจุดกางเต็นท์ส�าหรับ คนที่รักการแคมป์ปิ้งและอยากดื่มด�่า กั บ ธรรมชาติ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด ลานกาง เต็นท์มีพื้นที่กว้างขวางพอสมควร โดย ไม่ต้องห่วงเรื่องความเป็นส่วนตัว หรือ พื้นที่ท�ากิจกรรมต่างๆ ค่าเช่าเต็นท์พร้อมชุดเครื่องนอน จะอยู่ที่ 300 บาท ต่อ 2 ท่าน และเต็นท์ เปล่า 120 บาท บริการบ้านพักส�าหรับ 6 คน เสริมได้อีก 2 คน คืนละ 1,500 บาท

จุดชมวิว ไปรษณีย์เขาค้อ

42

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

















ที่น่.ี ..

ลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลาง ของประเทศไทย แบ่งการปกครองออก เป็น 11 อ�าเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับ จังหวัดอืน่ จ�านวน 8 จังหวัด โดยวนตาม เข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัด เพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บรุ แี ละ จังหวัดนครสวรรค์ ลพบุรีเป็นจังหวัดที่ มี พื้ น ที่ ยุ ท ธศาสตร์ ท างการทหารที่ ส�าคัญแห่งหนึ่งของประเทศ เนื่องจาก ตั้ ง อยู ่ ต รงกึ่ ง กลางของประเทศไทย มี พื้ น ที่ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ เ หมาะแก่ ก าร ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการ เพาะปลูก ลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีความ ส� า คั ญ ในด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ โดยมี การค้นพบโบราณสถาน โบราณวัตถุ และการตั้ ง ถิ่ น ฐานของคนยุ ค ก่ อ น

58

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

ลพบุรี

ประวัติศาสตร์และในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางอาณาจักรละโว้

ประวัติจังหวัดลพบุรี

ลพบุรี เป็นเมืองที่มีแห่งความหลากหลาย และต่อเนื่องของความเจริญ ทางวัฒนธรรมยาวนานกว่า 3,000 ปี ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีหลักฐาน ส�าคัญแสดงถึงความเจริญ ดังกล่าว ได้แก่ • การขุดพบโครงกระดูกมนุษย์พร้อมภาชนะดินเผา ที่แหล่งโบราณคดี บ้านท่าแค อายุระหว่าง 3,500-4,500 ปี • การขุดพบโครงกระดูกมนุษย์ยคุ หินใหม่ ทีบ่ า้ นโคกเจริญ อายุระหว่าง 2,700-3,500 ปี • การขุดพบโครงกระดูกมนุษย์ยุคส�าริด ที่ศูนย์การทหารปืนใหญ่ อายุ ระหว่าง 2,300 - 2,700 ปี • การขุดพบชุมชนโบราณในสมัยทวารวดี ทีเ่ มืองโบราณซับจ�าปา อ.ท่า หลวง เมืองโบราณดงมะรุม อ.โคกส�าโรง เมืองใหม่ไพศาลี ซึง่ สันนิษฐานว่ามีอายุ ประมาณ 1,000 ปี • การพบหลักฐานที่เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ เช่น เหรียญท�าด้วยเงิน มี ลายดุนเป็นรูปสัญลักษณ์ต่างๆ ตามคตินิยมของที่ต.หลุมข้าว อ.โคกส�าโรง


Phetchabun

พ รบร ลพบุรี Lopburi

คู่มือ..

การพบหลักฐานต่างๆ เหล่า นี้ แสดงว่า ลพบุรี เป็นที่ตั้งของชุมชน มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ใน ส่วนของการ สร้างเมืองลพบุรีนั้น ตาม ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นพงศาวดารโยนก กล่าวว่า ผู้สร้างเมืองลพบุรีหรือที่เรียก ว่า “ละโว้ ” ในสมัยโบราณ คือ “พระเจ้ า กาฬวรรณดิษ” ราชโอรสแห่งพระเจ้า กรุงขอม ซึ่งสร้างขึ้นในปี พ.ศ.1002 และเป็นเมืองที่มีความส�าคัญมาตั้งแต่ สมัยทวารวดีเคยอยูใ่ ต้อา� นาจของมอญ และขอม จนกระทั่ ง ในตอนต้ น พุ ท ธ ศตวรรษที่ คนไทยเริ่มมีอ�านาจในดิน แดนแถบนี้ ในรัชสมัยของพระเจ้าอูท่ อง ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ลพบุรี ด�ารงฐานะเป็นเมืองลูกหลวง กล่าวคือ พระเจ้าอู่ทองได้โปรดให้พระราเมศวร ราชโอรสองค์ใหญ่เสด็จมาครองเมือง ลพบุรี ซึ่งพระราเมศวรโปรดให้สร้าง ป้อม คูเมืองและสร้างก�าแพงเมืองอย่าง มั่นคง เมื่อพระเจ้าอู่ทองสวรรคตใน ปีพ.ศ.1912 พระราเมศวรได้ถวายราช บัลลังค์ให้แก่พระปิตุลาของพระองค์ ซึ่งได้ครองราชย์ พระนามว่า พระบรม ราชาธิราชที่ 1 ส่วนพระ ราเมศวรยังคง ครองเมืองลพบุรตี อ่ ไปจนถึง พ.ศ.1931 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 สวรรคต พระราเมศวรจึงขึ้นครองราชย์ ณ กรุง ศรีอยุธยา หลังจากนั้น เมืองลพบุรีได้ ลดความส�าคัญลง จนกระทั่งถึงสมัย สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช เมื อ ง ลพบุ รี ไ ด้ รั บ การท� า นุ บ� า รุ ง ขึ้ น มาอี ก ครั้ง ทั้งนี้สืบเนื่องจากการคุกคามของ ชนชาติฮอลันดาที่ติดต่อ ค้าขายกับ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา สมเด็ จ พระนารายณ์ มหาราชทรงเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาไม่ ปลอดภัยจากการปิดล้อมและระดม ยิ ง ของข้ า ศึ ก ยามเกิ ด ศึ ก สงคราม จึงได้สร้างเมืองลพบุรีเป็นราชธานีแห่ง

ที่ 2 ขึ้น เพราะเมืองลพบุรีมีที่ตั้งทางยุทธศาสตร์เหมาะสมซึ่งในการสร้างเมือง ลพบุรนี นั้ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้รบั ความช่วยเหลือจากช่างชาวฝรัง่ เศส และอิตาเลียน ได้สร้างพระราชวังที่มีป้อมปราการเป็นแนวป้องกันอย่างมั่นคง ซึ่งสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงโปรดประทับที่เมืองลพบุรี ตามหลักฐาน ปรากฏว่า พระองค์ประทับอยู่ที่เมืองลพบุรี ปีละ 8-9 เดือน โปรดให้ทูตและชาว ต่างประเทศเข้าเฝ้าที่เมืองลพบุรีหลายครั้ง เมือ่ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสวรรคต ในปี พ.ศ.2231 ณ พระทีน่ งั่ สุทธา สวรรค์ ภายในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ เมืองลพบุรกี ห็ มดความส�าคัญลง สมเด็จ พระเพทราชาได้ทรงย้ายหน่วยราชการทัง้ หมดกลับกรุงศรีอยุธยา และในสมัยต่อ มาก็ไม่มกี ษัตริยพ์ ระองค์ใดเสร็จมาประทับทีเ่ มืองลพบุรอี กี จนกระทัง่ ถึงสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์โปรดให้ บูรณะเมืองลพบุรีขึ้นมาอีกครั้งในปีพ.ศ.2406 มีการซ่อมก�าแพงเมือง ป้อมและ ประตู รวมทัง้ มีการสร้างพระทีน่ งั่ พิมานมงกุฎในพระราชวัง พร้อมทัง้ พระราชทาน

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

59


นามพระราชวังว่า “พระนารายณ์ ราชนิเวศน์ ” ซึ่งปัจจุบัน เป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภายหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง ลพบุรไี ด้รบั การท�านุบา� รุงอีกครัง้ สมัยจอมพล ป.พิบลู สงคราม เป็นนายก รัฐมนตรี ได้มกี ารวางผังเมืองใหม่และตัง้ หน่วยทหารขึน้ มาใน เมืองลพบุรี ลพบุรีจึงได้ชื่อว่าเป็นเมืองทหารเพราะมีหน่วย ทหารตั้งอยู่ถึง 11 หน่วย ลพบุรีในปัจจุบันจึงเป็น “เมือง เศรษฐกิจ เมืองท่ องเทีย่ ว และเมืองทหาร”

ตราประจ�าจังหวัดลพบุรี

รูปพระนารายณ์ประทับเหนือพระปรางค์สามยอด หมายถึง การระลึกถึงสมเด็จพระนารายณ์มหาราชผูส้ ร้างเมือง ลพบุรีขึ้นใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2208 และสร้างความเจริญให้กับแผ่น ดินลพบุรีนับเอนกอนันต์ส่วนพระปรางค์สามยอดเป็นโบราณ สถานที่ถือเป็นสัญลักษณ์ของเมืองลพบุรี

ดอกไม้ประจ�าจังหวัด

ดอกพิกุล (Mimusops elengi)

ต้นไม้ประจ�าจังหวัด

พิกุล (Mimusops elengi)

ค�าขวัญประจ�าจังหวัดลพบุรี

วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์

60

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565


Phetchabun

พ รบร ลพบุรี Lopburi

คู่มือ..

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

61


·Õèà·ÕèÂÇ ลพบุรี พระปรางค์ สามยอด จังหวัด ลพบุรี เป็นโบราณสถานและ แหล่งท่อง เทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์และโบราณคดี ที่ ส� า คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด ลพบุ รี ลั ก ษณะเป็ น ปราสาทขอมในศิ ล ปะ บายน (พ.ศ. 1720-1773) โครงสร้าง เป็นศิลาแลงประดับปูนปั้น สร้างขึ้น ในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (ครอง ราชย์ พ.ศ. 1724-ประมาณ 1757) เพื่ อ เป็ น พุ ท ธสถานในลั ท ธิ วั ช รยาน ประจ�าเมืองละโว้หรือลพบุรี ซึง่ ในขณะ นั้นเป็นเมืองลูกหลวงของอาณาจักร เขมร แต่เดิมภายในปราสาทประธาน ประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกทรง เครื่อง ปราสาททิศใต้ประดิษฐานรูป พระโลเกศวร (พระโพธิ สั ต ว์ อ วโลกิ เตศวร) สี่ ก ร และปราสาททิ ศ เหนื อ ประดิษฐานรูปพระนางปรัชญาปารมิ ตาสองกร สถานที่ตั้งและลักษณะทางกายภาพ ตั้งอยู่ที่ต�าบลท่าหิน อ�าเภอ เมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี บนเนินดิน ด้านตะวันตกของทางรถไฟ ใกล้กับ ศาลพระกาฬ เป็นปราสาทศิลาแลง แบบขอมเรียงต่อกัน 3 องค์ เชือ่ มต่อกัน ด้วยมุขกระสัน ภายในบริเวณนอกจาก ปราสาททั้ง 3 องค์นี้แล้ว ทางด้านทิศ ตะวันออกของปราสาทประธานมีการ ต่อเติมวิหารก่ออิฐถือปูนเชื่อมต่อกับ ปราสาทประธาน เพื่ อ ประดิ ษ ฐาน พระพุ ท ธรู ป ในรั ช สมั ย สมเด็ จ พระ นารายณ์มหาราช (ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231)

62

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

ประวัติ กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในราชกิจ จานุเบกษา เล่ม 53 หน้า 904 ลงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2479 และได้ ก�าหนดเขตทีด่ นิ ให้มพี นื้ ทีโ่ บราณสถานประมาณ 3 ไร่ 2 งาน 54 ตารางวา ตาม ความในมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอนพิเศษ ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2545 ลักษณะทางสถาปัตยกรรม เป็นปราสาทขอม 3 องค์ เชือ่ มต่อกันด้วยมุขกระสัน (อันตรละ)โดยวางตัว ในแนวเหนือ-ใต้ หันหน้าสูท่ ศิ ตะวันออก ปราสาทประธานมีความสูงใหญ่กว่าอีก 2 องค์ โครงสร้างของปราสาทท�าจากศิลาแลงฉาบปูน มีการประดับประดาตาม ส่วนต่างๆ ของปราสาทด้วยปูนปั้น อันเป็นลักษณะของงานสถาปัตยกรรมใน ยุคของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (ครองราชย์ พ.ศ. 1724- ประมาณ 1757) ที่นิยมใช้ ศิลาแลงเป็นวัสดุในการก่อสร้าง เช่น ปรางค์พรหมทัตที่ปราสาทพิมาย จังหวัด นครราชสีมา ซึ่งประดิษฐานพระรูปของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปราสาทวัดก�าแพง แลง จังหวัดเพชรบุรี ที่สร้างเป็นปราสาทศิลาแลง 3 องค์เรียงกันในลักษณะเดียว กับพระปรางค์สามยอด และปรางค์องค์กลางของวัดพระพายหลวง จังหวัดสุโขทัย เป็นต้น

พระปรางค์สามยอด

ลวดลายประดับ ส่วนยอดหรือศิขระ สร้างด้วยหินทรายเป็นรูปบัวคว�่าบัวหงายซ้อนกัน 3 ชัน้ ถัดลงมาเป็นการยกเก็จสามเก็จตรงด้านและมุมประดับด้วยกลีบขนุนท�าจาก ศิลาแลง และบางส่วนท�าจากปูนปัน้ เป็นรูปบุคคลยืนอยูใ่ นซุม้ เรือนแก้ว ส่วนทีย่ ก เก็จชั้นที่ 4 เดิมทั้ง 4 ทิศ จะมีการปั้นเทพประจ�าทิศอยู่ในกลีบขนุนและตอนล่าง ได้แก่ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณประจ�าทิศตะวันออก พระวรุณทรงหงส์ ประจ�า ทิศตะวันตก ท้าวกุเวรทรงมกร ทิศเหนือ และ พระยมทรงกระบือ ทิศใต้ ปัจจุบัน เหลือเพียงบางส่วน สันหลังคาของมุขกระสันประดับด้วยบราลีศิลาแลงปั้นเป็น พระพุทธรูปประทับสมาธิราบ ปางสมาธิ ในซุม้ เรือนแก้ว ปัจจุบนั เสียหายทัง้ หมด


Phetchabun

คู่มือ.. เพชรบูรณ์

ลพบุรี Lopburi

• บัวรัดเกล้าเรือนธาตุ มีการประดับลวดลายปูนปัน้ ประกอบไปด้วย แถวบน สุดเป็นลายดอกไม้กลม ถัดลงมาปั้นปูนเป็นรูปกลีบบัวหงาย แถวถัดลงมาเป็นลายดอกซีกดอกซ้อน รูปหงส์ ลายกลีบบัว หงาย ลายก้านขด และดอกบัวตูม เรียงเป็นแถว ลวดลายละ 1 แถวรวมเป็น 3 แถว จบด้วยลายกรวยเชิงเป็นรูปเกียรติมุข (หน้ากาล) คายเฟื่องอุบะ • ตอนกลางของเรือนธาตุ มีลายปูนปั้นประดับเป็นลายก้านขดที่แถวบนสุด ถัดลงมาเป็นบัวฟันยักษ์คว�่า หน้ากระดานเป็นลายกระจัง ประกอบกันเป็นลายกากบาทแทรกด้วยลายประจ�ายามลาย เล็กและลายดอกซีกดอกซ้อน ถัดลงมาเป็นลายกลีบบัวหงาย ลายกระหนกวงโค้ง ลายดอกบัว ตอนล่างสุดเป็นลายกรวยเชิง ตามล�าดับ • บัวเชิงเรือนธาตุ ด้านบนสุดเป็นรูปใบหน้าของชาวจามที่เป็นศัตรูกับ ชาวเขมรที่ถูกประดิษฐ์เป็นใบหน้าของยักษ์ประกอบกับลาย กรวยเชิง อันเป็นที่นิยมมากในศิลปะแบบบายนของกัมพูชา ถัดลงมาเป็นลายดอกบัว สันลูกแก้วอกไก่เป็นลายรักร้อย และบัวฟันยักษ์คว�่า ลายก้านขด และดอกซีกดอกซ้อน ลาย ละหนึ่งแถวตามล�าดับ

ในส่วนของลวดลายหน้าบันและทับหลังนัน้ ปัจจุบนั ไม่ปรากฏร่องรอยหลักฐานเนื่องจากส่วนใหญ่เป็นการปั้น ปูนประดับลงบนศิลาแลง เมื่อเวลาผ่านไปรูอากาศของศิลา แลงจะมีการขยายตัว ท�าให้ลวยลายปูนที่ปั้นประดับอยู่นั้น กะเทาะออกมารวมถึงลิงที่มาอาศัยก็มีส่วนท�าให้เกิดความ เสียหาย นอกจากนี้ในสมัยอยุธยาตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระ นารายณ์ได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์และดัดแปลงพระปรางค์ สามยอดเพือ่ ใช้เป็นพุทธศาสนสถานอีกครัง้ ดังจะเห็นได้จาก การซ่อมแซมส่วนที่เป็นเพดาน โดยยังคงเห็นร่อยรอยของ การปิดทองเป็นรูปดาวเพดาน และการสร้างฐานภายในพระ ปรางค์สามยอดหลายฐานลักษณะคล้ายกับฐานชุกชีดว้ ยอิฐ อันเป็นวัสดุที่แตกต่างไปจากส่วนอื่นๆ ของพระปรางค์สาม ยอดซึ่งส่วนใหญ่เป็นศิลาแลง รูปเคารพในพระปรางค์สามยอด ปั จ จุ บั น ไม่ พ บหลั ก ฐานรู ป เคารพประธานใน พระปรางค์ ส ามยอด พบเพี ย งฐานสนานโทรณิ ท่ี ใ ช้ เ ป็ น แท่นรองสรง แต่จากรูปแบบของพระพิมพ์รูปปราสาท 3 องค์ที่พบภายในกรุปรางค์ประธานวัดราชบูรณะ จังหวัด วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

63


พระนครศรีอยุธยา หรือที่นิยมเรียกกันว่า “พระพิมพ์รัตนตรัยมหายาน” ท�าให้ ทราบว่า แต่เดิมภายในปราสาทประธานของพระปรางค์สามยอดคงเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครื่อง พระโลเกศวรสี่กรในปราสาททิศใต้ และพระนางปรัชญาปารมิตาในปราสาททิศเหนือ เช่นเดียวกับที่ปรากฏในพระ พิมพ์ โดยพระพิมพ์ดงั กล่าวสร้างขึน้ ภายใต้คติความเชือ่ พุทธศาสนาลัทธิวชั รยาน จากขอม ส�าหรับพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครื่อง ได้แก่ พระอาทิพุทธะ หรือพระ มหาไวโรจนะ ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 6 ของพุทธศาสนาลัทธิวัชรยาน ที่จารึกของอาณาจักรเขมร เรียกว่า พระวัชรสัตว์ ในศิลปะเขมรนิยมสร้างเป็น พระพุทธรูปทรงเครื่องนาคปรก ส่วนพระโลเกศวรอันเป็นพระนามที่ปรากฏใน จารึกของกัมพูชาใช้เรียกพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ผู้ทรงเป็นบุคลาธิษฐานของ ความเมตตากรุณาและสัญลักษณ์ของอุบาย (อุปายะ) และพระนางปรัชญาปาร มิตา เทวนารีผู้ทรงเป็นสัญลักษณ์ของปัญญาอันล�้าเลิศบุคลาธิษฐานของคัมภีร์

ปรัชญาปารมิตาสูตร รูปเคารพทั้ง 3 นี้นิยมสร้างในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ซึ่งทรงนับถือพุทธศาสนาลัทธิวัชรยาน โดยประกอบกันเป็นความหมายเชิงพุทธ ปรัชญาของลัทธิวัชรยาน กล่าวคือ พระโลเกศวรทรงเป็นตัวแทนของอุบาย หรือ วิธีการอันแนบเนียนซึ่งใช้ไขเข้าสู่ปราชฺญา หรือปัญญาที่มีพระนางปรัชญาปาร มิตาเป็นสัญลักษณ์ อันจะน�าไปสู่การบรรลุพุทธสภาวะหรือศูนฺยตา ซึ่งแทนด้วย พระวัชรสัตว์นาคปรก ส� า หรั บ รู ป เคารพอื่ น ๆ ที่ พ บในพระปรางค์ ส ามยอดนั้ น ส่ ว นมาก เป็ น พระพุ ท ธรู ป นาคปรก ซึ่ ง กรมศิ ล ปากรได้ อั ญ เชิ ญ ไปเก็ บ รั ก ษาไว้ ใ น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี วิหารหน้าพระปรางค์สามยอด เป็นวิหารก่ออิฐถือปูน มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก สภาพของวิหารคงเหลือเพียงผนังทั้ง 2 ข้างและผนังหุ้มกลอง ทางด้านทิศตะวันออก ส่วนเครื่องบนพังทลายไปหมดแล้ว ประตูของผนังหุ้ม กลองด้านทิศตะวันออกก่ออิฐเป็นซุ้มโค้งหรืออาร์ช (arch) แบบตะวันตก ส่วน

64

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

ประตูทางเข้าที่ผนังด้านข้างของวิหาร และหน้าต่างที่ผนังด้านหลังของวิหาร ก่ อ อิ ฐ เป็ น ซุ ้ ม โค้ ง กลี บ บั ว (pointed arch) แบบศิลปะอิสลาม ป้จจุบนั เหลือ เพียงซุ้มหน้าต่างด้านทิศเหนือเท่านั้น โครงสร้างผนังของก่ออิฐหนาทึบสลับ กับศิลาแลงบางส่วน อันเป็นเทคนิค ที่ใช้ในงานสถาปัตยกรรมในรัชสมัย ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เช่น เดียวกับกับอาคารที่สร้างขึ้นรัชสมัยนี้ ที่นิยมก่อสร้างด้วยอิฐแทรกด้วยศิลา แลงเป็นชั้นๆ เช่น พระที่นั่งสุริยาศน์ อมรินทร์ ในพระราชวังโบราณ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และอาคารหลาย หลังในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัด ลพบุรี ด้านหลังของวิหารยกเก็จเป็น กะเปาะเชื่อมต่อกับประตูทางเข้าด้าน ทิศตะวันออกของปราสาทประธาน ซึ่ง การยกเก็จเป็นกะเปาะนี้เป็นรูปแบบ ทางสถาปัตยกรรมของวิหารซึ่งนิยม สร้างในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ เช่น พระที่นั่งจันทรพิศาล ภายในพระ นารายณ์ราชนิเวศน์ และวิหารหลวง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ภายใน วิ ห ารประดิ ษ ฐานพระประธานเป็ น พระพุ ท ธรู ป ประทั บ สมาธิ ร าบ ปาง สมาธิ ท�าจากศิลา อายุเวลาของพระปรางค์สามยอด อายุเวลาของพระปรางค์สาม ยอด พิจารณาจากรูปแบบการก่อสร้าง ที่ใช้ศิลาแลงเป็นโครงสร้างพอกด้วย ปู น และประดั บ ด้ ว ยลวดลายปู น ปั ้ น อั น เป็ น รู ป แบบทางสถาปั ต ยกรรมที่ นิยมมากในศิลปะบายนของกัมพูชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานสถาปัตยกรรม ที่สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าชัยว รมันที่ 7 และยังสอดคล้องกับรูปแบบ ของพระพิมพ์รูปปราสาทสามยอด ที่ ภายในแต่ละยอดประดิษฐานพระพุทธ รูปทรงเครื่องนาคปรก พระโลเกศวรสี่


Phetchabun

คู่มือ.. เพชรบูรณ์

ลพบุรี Lopburi

กร และพระนางปรัชญาปารมิตา อัน เป็นรูปเคารพที่เคยประดิษฐานภายใน ปราสาททั้ ง 3 หลั ง ของพระปรางค์ สามยอดด้วย โดยพระพิมพ์ดังกล่าว สร้างขึ้นในพุทธศาสนาลัทธิวัชรยานที่ รุ่งเรืองเป็นอย่างยิ่งในรัชสมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรเขมร จาก เหตุผลดังกล่าว จึงสันนิษฐานได้วา่ พระ ปรางค์สามยอดสร้างขึ้นในรัชสมัยของ พระองค์ที่ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1724-ประมาณ 1757 ส่วนวิหารด้านหน้าของพระ ปรางค์สามยอดคงสร้างขึ้นในรัชสมัย สมเด็ จ พระนารายณ์ โดยพิ จ ารณา จากเทคนิคการสร้างซุ้มโค้งของประตู และหน้ า ต่ า งที่ ก ่ อ อิ ฐ ตะแคงเป็ น ซุ ้ ม โค้งหรืออาร์ช (arch) อันเป็นรูปแบบ ของสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มนิยม สร้างในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ดังตัวอย่างจากซุม้ โค้งของบ้านวิชาเยน ทร์ จังหวัดลพบุรี ซึ่งสร้างในรัชสมัยดัง กล่าวเช่นกัน นอกจากนี้ ผนังของวิหาร ซึ่งมีการเสริมศิลาแลงเข้าไประหว่าง อิฐเพื่อให้โครงสร้างแข็งแรงขึ้น เป็น เทคนิคที่นิยมในรัชสมัยนี้เช่นเดียวกัน ดังปรากฏในอาคารหลายหลังที่พระ

อมู

.

.

นารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี อิทธิพลทางด้านศาสนาและการเมือง จากหลักฐานที่ปรากฏแสดง ให้เห็นว่า พระปรางค์สามยอดสร้าง ขึ้นเพื่อเป็นพุทธสถานในลัทธิวัชรยาน ประจ�าเมืองละโว้ เพื่อประดิษฐานรูป พระวัชรสัตว์นาคปรก พระโลกิเตศวร และพระนางปรัชญาปารมิตา อันเป็น รูปเคารพทีน่ ยิ มสร้างขึน้ ในพุทธศาสนา ลั ท ธิ วั ช รยานในรั ช กาลของพระเจ้ า ชัยวรมันที่ 7 ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาที่ พุทธศาสนาลัทธิวัชรยานเจริญรุ่งเรือง อย่างมากในอาณาจักรเขมร เทียบได้ กั บ ศาสนาประจ� า อาณาจั ก รภายใต้ พระราชูปถัมภ์ของพระองค์ ดังจารึก ปราสาทพระขรรค์ที่กล่าวถึงพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 ว่า หลังทรงครองราชย์ ได้ 10 ปี ได้ทรงสร้างเทวรูปท�าด้วย ทองค�า เงิน สัมฤทธิ์ และศิลา เพื่อส่ง ไปพระราชทานยังเมืองต่าง ๆ ในราช อาณาจักรของพระองค์เป็นจ�านวนถึง 20,400 องค์ และทรงส่งพระชัยพุทธ มหานาถ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปนาคปรก ทรงเครือ่ งอีก 23 องค์ไว้ตามเมืองใหญ่ๆ ในอาณาจักร เช่นที่ “ละโว้ ทยปุระ” (จังหวัดลพบุรี) “สุวรรณปุระ” (จังหวัด

.

.

สุพรรณบุรี) “ศัมพูกปั ฏฏนะ” (เมือง หนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย) “ชยราชบุรี” (จังหวัดราชบุรี) “ชยสิงห บุรี” (เมืองสิงห์ จังหวัดกาญจนบุรี) “ชยวั ชรบุรี” (จังหวั ดเพชรบุรี) ซึ่ ง ในขณะนั้ น เมื อ งละโว้ ใ นรั ช สมั ย ของ พระองค์กม็ ศี กั ดิเ์ ป็นเมืองลูกหลวงของ อาณาจักรเขมรด้วย ดังปรากฏในจารึก ของอาณาจักรเขมรว่า เจ้าชายอินทรว รมัน (ต่อมา คือ พระเจ้าอินทรวรมันที่ 2) พระราชโอรสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กับพระนางชัยราชเทวี ทรงครองเมือง “ละโว้ ” ต่อมาหลังการล่มสลายของ พุทธศาสนาลัทธิวัชรยานในอาณาจักร เขมร พระปรางค์สามยอดจึงได้รับการ ดั ด แปลงให้ เ ป็ น พุ ท ธสถานในนิ ก าย เถรวาท ดังเห็นได้จากการสร้างวิหาร เชื่ อ มต่ อ กั บ ปราสาทประธานในรั ช สมัยสมเด็จพระนารายณ์ ซึ่งทรงสร้าง พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์ แ ละบู ร ณ ปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ ในเมือง ลพบุรี ในช่วงระยะเวลาทีเ่ สด็จแปรพระ ราชฐานมายังเมืองลพบุรีเกือบตลอด รัชกาล

. วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

65


ศาลพระกาฬ ศาลพระกาฬ หรือเดิมเรียก ว่า ศาลสูง เป็นโบราณสถานและศาสน สถานที่ตั้งอยู่กลางวงเวียนชื่อ วงเวียน ศรี สุ น ทร บนถนนนารายณ์ ม หาราช ในเขตต�าบลทะเลชุบศร อ�าเภอเมือง ลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่ทางด้าน ทิศตะวันออกของพระปรางค์สามยอด และเส้นทางรถไฟสายเหนือ ภายในเป็น ที่ประดิษฐาน เจ้าพ่อพระกาฬ เทวรูป โบราณยุคขอมเรืองอ�านาจ ประวัติ ศาลพระกาฬ หรือเดิมเรียก ว่า ศาลสูง เนื่องจากศาลตั้งอยู่บนฐาน ศิลาแลงที่อยู่สูงจากพื้นดิน เป็นศาสน สถานที่เป็นฐานศิลาแลงขนาดมหึมา สันนิษฐานกันว่าฐานศิลาแลงดังกล่าว เป็นฐานพระปรางค์ที่ยังสร้างไม่เสร็จ หรือสร้างส�าเร็จแต่พังถล่มลงมาภาย หลังโดยมิได้รับการซ่อมแซมให้ดีดัง เดิม ศาลพระกาฬเป็นสิ่งก่อสร้างของ

66

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

ขอม สืบเนือ่ งมาจากเมืองลพบุรใี นอดีต เคยเป็นส่วนหนึง่ ของขอมโบราณ ซึง่ ได้ กลายเป็นศูนย์กลางการปกครองของ ขอมในลุ่มแม่น้�าเจ้าพระยา อย่างไรก็ ตามฌ็อง บวสเซอลิเยร์ ได้สันนิษฐาน จากฐานพระปรางค์ที่สูงมากนี้ ว่าเขา ยั ง มิ ไ ด้ ข ้ อ ยุ ติ ว ่ า เป็ น สถาปั ต ยกรรม ขอมโบราณพุทธศตวรรษที่ 16 “อาจ เป็นฐานพระปรางค์จริงที่สร้างไม่เสร็จ หรือเสร็จแล้วแต่พงั ทลายลงมา” ทัง้ นีม้ ี ที่ศาลสูงมีการค้นพบศิลาจารึกศาลสูง ภาษาเขมร หลักที่ 1 และศิลาจารึก เสาแปดเหลีย่ ม (จารึกหลักที่ 18) อักษร หลังปัลลาวะภาษามอญโบราณ จาก กรณีจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่หักพังนั้น พบว่าเสานี้ถูกทุบท�าลายให้ล้มพังอยู่ กับที่มิได้เคลื่อนย้ายมาจากที่อื่น จึง สันนิษฐานว่าศาลพระกาฬอาจเคยเป็น ศาสนสถานของนิกายเถรวาทมาก่อน ภายหลังถูกดัดแปลงเป็นเทวสถานใน

นิกายไวษณพของศาสนาฮินดูแทน รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ทรงให้สร้างศาลเทพารักษ์ ขนาดย่ อ มก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น มี ลั ก ษณะ สถาปัตยกรรมตามพระราชนิยม ทรง ตึ ก เป็ น แบบฝรั่ ง หรื อ เปอร์ เ ซี ย ผสม ผสานกับไทยบนฐานศิลาแลงเดิม ตัว ศาลเป็นอาคารชัน้ เดียวหลบแดดขนาด สามห้อง ภายในบรรจุทบั หลังนารายณ์ บรรทมสินธุ์ กับเทวรูปสีด�าองค์หนึ่ง ประมาณกันว่าเป็นศาลประจ�าเมืองก็ ว่าได้ รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้เสด็จประพาส เมืองลพบุรีในปี พ.ศ. 2421 ทรงให้ ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ศาลสู ง ความว่ า “ออกจากพระปรางค์สามยอดเดินไป สั ก สองสามเส้ น ถึ ง ศาลพระกาล ที่ หน้าศาลมีต้นไทรย้อย รากจดถึงดิน เป็นหลายราก ร่มชิดดี เขาท�าแคร่ไว้ ส�าหรับนั่งพัก...ที่ศาลพระกาลนั้นเป็น เนินสูงขึ้นไปมาก มีบันใดหลายสิบขั้น ข้างบนเป็นศาลหรือจะว่าวิหารสาม ห้อง เห็นจะเป็นช่อฟ้า ใบระกา แต่บดั นี้ เหลืออยู่เพียงแต่ผนัง ที่แท่นมีรูปพระ นารายณ์สงู ประมาณ 4 ศอก เป็นเทวรูป โบราณท�าด้วยศิลา มีเทวรูปเล็ก ๆ เป็น พระอิศวรกับพระอุมาอีก 2 รูป ออกทาง หลังศาลมีบันใดขึ้นไปบนเนินสูงอีกชั้น หนึ่ง มีหอเล็กอีกหอหนึ่ง มีแผ่นศิลา เป็นรูปนารายณ์ทรงครุฑแผ่นหนึ่ง มี รูปนารายณ์ประทมสินธุ์แผ่นหนึ่งวาง เปะปะ ไม่ได้ตั้งเป็นที่...” ราวปี พ.ศ. 2465 ศาลเทพารักษ์ หลังเดิมขนาดสามห้องได้ทรุดโทรมลง มาก จึงมีการอัญเชิญเทวรูปองค์ด�าดัง กล่าวลงมาประดิษฐาน ณ เรือนไม้มุง สังกะสีบริเวณพระปรางค์ชั้นล่าง มี ต้นไทรและกร่างปกคลุมทั่วบริเวณ ใน ปี พ.ศ. 2480 จึงมีการสร้างก�าแพงเตีย้ ๆ


Phetchabun

คู่มือ.. เพชรบูรณ์

ลพบุรี Lopburi

ก่อด้วยศิลาแลงโดยรอบ ต่อมาในปี พ.ศ. 2494 บ้างว่า พ.ศ. 2495 ได้มีการสร้างศาลพระกาฬ ขึ้นใหม่เนื่องจากเรือนไม้สังกะสีเดิมได้ทรุดโทรมลง บางแห่งว่ามาจากการริเริ่ม ของศักดิ์ ไทยวัฒน์ ข้าหลวงประจ�าจังหวัดลพบุรีในขณะนั้นจากการสนับสนุน ของจอมพลแปลก พิบลู สงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนัน้ บางแห่งว่าชลอ วนะ ภูติ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดลพบุรเี ป็นหัวเรีย่ วหัวแรงส�าคัญร่วมกับองค์กรอืน่ ๆ รวมทัง้ ชาวลพบุรีและผู้ศรัทธาจ�านวนมาก เงินส�าหรับก่อสร้างได้มาจากการเรี่ยไรจาก ชาวลพบุรีและใกล้เคียง รวมทั้งสิ้น 304,586.22 บาท ศาลพระกาฬหลังใหม่จึง ถูกออกแบบด้วยสถาปัตยกรรมทรงไทยร่วมสมัยของกรมศิลปากรสมัยหม่อมเจ้า ยาใจ จิตรพงศ์ เป็นหัวหน้ากองสถาปัตยกรรม ก่อสร้างส�าเร็จในปี พ.ศ. 2496 ซึ่ง ดูเด่นเป็นสง่า ณ บริเวณหน้าฐานพระปรางค์โบราณ และท�าพิธีเปิดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 เจ้าพ่อพระกาฬ เจ้าพ่อพระกาฬเป็นเทวรูปรุน่ เก่าซึง่ อาจเป็นพระวิษณุ หรือพระโพธิสตั ว์ อวโลกิเตศวร เป็นเทวรูปรุน่ เก่า ศิลปะลพบุรี แต่เดิมเจ้าพ่อพระกาฬมีพระกายสีดา� ท�าจากศิลา ไม่มีพระเศียร และพระกรทั้งหมด กล่าวกันว่าเจ้าพ่อพระกาฬได้ไป

เข้าฝันผูป้ ระสงค์ดที า่ นหนึง่ นัยว่าขอพระเศียรและพระกรเท่าทีจ่ ะหามาได้ ซึง่ ได้ มีผศู้ รัทธาได้จดั หาเศียรพระศิลาทรายศิลปะสมัยอยุธยา ส่วนพระกรนัน้ ได้เพียง ข้างเดียวจากทั้งหมดสี่ข้าง ปัจจุบนั เจ้าพ่อพระกาฬไม่เหลือเค้าเดิมซึง่ มีสดี า� อีกแล้ว ด้วยถูกปิดทอง จากผู้ศรัทธาแลดูเหลืองอร่ามจนสิ้น กล่าวกันว่าปีหนึ่งมีผู้มานมัสการไม่ต�่ากว่า หนึ่งแสนคน ลิงศาลพระกาฬ ลิงศาลพระกาฬ หรือ ลิงเจ้าพ่อพระกาฬ ดัง้ เดิมเป็นลิงแสม ปัจจุบนั มีอยู่ ทัง้ หมดกว่า 500 ตัว ไม่นบั รวมลิงกลุม่ อืน่ ๆ ในลพบุรที มี่ กี ว่า 2,000 ตัว ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ ลิงฝูงดังกล่าวมิได้มคี วามเกีย่ วข้องกับศาลพระกาฬเลยแต่อย่างใด แต่เดิมบริเวณ โดยรอบศาลพระกาฬเป็นป่าคงมีลงิ ป่าอาศัยอยู่ ลิงดังกล่าวยังชีพด้วยของถวาย แก้บน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลไม้ ปัจจุบันลิงทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ อมู

.

.

.

. .

.

ลิงศาล หรือ ลิงเจ้าพ่อ เป็นลิง ฝูงใหญ่อาศัยบริเวณโดยรอบศาลพระ กาฬช่วงเที่ยง และอาศัยที่พระปรางค์ สามยอดและบางส่ ว นของโรงเรี ย น พิ บู ล วิ ท ยาลั ย ช่ ว งเช้ า และเย็ น เมื่ อ พลบค�่าพวกมันจะกลับมานอนที่ศาล พระกาฬ กลุ่มนี้มีความเป็นอยู่ค่อน ข้างดี มักได้รบั ของเซ่นไหว้จากผูศ้ รัทธา เสมอ ซึ่ง ลิงศาล อาจแบ่งย่อยได้อีก สามกลุ่มคือ กลุ่มศาลพระกาฬ, กลุ่ม พระปรางค์สามยอด และกลุ่มโรงเรียน พิบูลวิทยาลัย ลิ ง มุ ม ตึ ก หรื อ ลิ ง นอกศาล หรือ ลิงตลาด เป็นลิงจรจัดซึ่งแตกหลง ฝูงและมิได้รับการยอมรับกลับเข้าฝูง มักเร่ร่อนตามมุมตึก ร้านค้าบ้านเรือน ในชุมชนเมืองลพบุรี ลิงกลุ่มนี้มักสร้าง ปัญหาและความเสียหายอยู่เสมอ จ�านวนลิงก็เพิ่มจ�านวนมาก ขึ้นตลอดในเขตเมืองเก่า และเริ่มออก มาจากแหล่งเดิมไปอาศัยอยูย่ า่ นขนส่ง สระแก้ว และสี่แยกเอราวัณซึ่งเป็นเขต เมืองใหม่ ก่อนหน้านี้เคยมีแนวคิดที่จะ ควบคุมประชากรลิงมาตลอด อาทิ การ ท�าหมันลิง จนในปลายปี พ.ศ. 2557 ได้มีการร้องเรียนจากชาวบ้าน ว่าลิงที่ ศาลพระกาฬบางตาลงเนื่องจากทาง เทศบาลเมื อ งลพบุ รี ไ ด้ ส ่ ง เจ้ า หน้ า ที่ มาจั บ การนี้ จ� า เริ ญ สละชี พ นายก เทศมนตรีเมืองลพบุรี และกรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้มา ชี้แจงว่าลิงที่ถูกจับนั้นเป็นลิงที่แตกฝูง และเกเรไปไว้ที่สวนสัตว์ลพบุรีจ�านวน 74 ตัว ที่ส่วนใหญ่อิดโรยและมีแผลทั่ว ตัว นอกจากนี้ยังพบว่ามีลิงศาลพระ กาฬจ�านวน 30-40 ตัวถูกจับและปล่อย ทิ้งไว้ที่ต�าบลดอนดึง อ�าเภอบ้านหมี่ ภายหลังจึงมีแผนจัดการที่จะน�าลิงไป ไว้ทตี่ า� บลโพธิเ์ ก้าต้น อ�าเภอเมืองลพบุรี โดยท�าในลักษณะสวนลิง .

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

67


ประวัติ พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์ เป็นพระราชวังที่สมเด็จพระนารายณ์ มหาราชโปรดให้ ส ร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2209 บนพืน้ ที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรี เพือ่ ใช้เป็นทีป่ ระทับ ล่าสัตว์ ออกว่าราชการ และต้ อ นรั บ แขกเมื อ ง พระองค์ ท รง ประทับ ณ พระราชวังแห่งนี้ประมาณ 8-9 เดือนในช่วงปลายรัชกาลและเสด็จ สวรรคต ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ เมื่อ วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 ภายหลั ง การเสด็ จ สวรรคต ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระ นารายณ์ราชนิเวศน์ถกู ทิง้ ร้าง จนถึงรัช สมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว พระองค์ โ ปรดให้ บู ร ณะ พระราชวั ง ของสมเด็ จ พระนารายณ์ มหาราช และสร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่ใน ปี พ.ศ. 2399 และพระราชทานนามว่า “พระนารายณ์ ราชนิเวศน์ ”

สิ่งก่อสร้างภายในพระราชวัง หลังสิ้นรัชกาลพระราชวังแห่ง นี้ ก็ ถู ก ทิ้ ง ร้ า งไป จนกระทั่ ง พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะซ่อมแซม พระราชวั ง แห่ ง นี้ แ ละโปรดให้ ส ร้ า ง พระทีน่ งั่ ขึน้ ใหม่ ปัจจุบนั พระนารายณ์ ราชนิเวศน์ได้ใช้เป็นพิพิธภัณฑ์ พืน้ ทีท่ งั้ หมดภายในพระราชวัง แบ่งออกเป็น 3 เขตคือ เขตพระราชฐานชั้นนอก มีอาคารทีส่ ร้าง ในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช ได้แก่ • อ่ างเก็บน�า้ ซับเหล็ก จาก บันทึกของชาวฝรั่งเศสกล่าวว่าระบบ การจ่ า ยทดน�้ า เป็ น ผลงานของชาว ฝรั่งเศสและอิตาลี โดยน�้าที่เก็บในถัง เป็นน�้าที่ไหลมาจากอ่างซับเหล็ก โดย ผ่านมาทางท่อดินเผาที่เชื่อมมาจาก อ่างซับเหล็ก เพื่อน�าน�้ามาใช้ภายใน

พระนารายณ์ 68

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

พระราชวัง • หมู่ ตึ ก พระคลั ง ศุ ภ รั ต น์ หรือหมู่ตึกสิบสองท้องพระคลัง ตั้งอยู่ ระหว่างอ่างเก็บน�า้ และตึกเลีย้ งต้อนรับ แขกเมืองมีลักษณะเป็นอาคารก่ออิฐ ถื อ ปู น ผนั ง ประตู แ ละหน้ า ต่ า งเจาะ เป็นช่องโค้งแหลมจ�านวน 12 ห้องโดย เรียงกันเป็นแถวยาว 2 แถว แถวละ 6 ห้องมีถนนตัดผ่าตรงกลางระหว่างแถว สันนิษฐานว่าใช้เป็นสถานที่เก็บทรัพย์ สมบัติหรือเก็บของ • ตึกพระเจ้ าเหา สันนิษฐาน ว่าคงเป็นหอพระประจ�าพระราชวัง และ มีพระพุทธรูปประดิษฐานอยู่ภายใน ตึก ซึ่งพระพุทธรูปองค์นี้อาจมีชื่อว่า พระเจ้าเหา จึงเป็นที่มาของชื่อตึกแห่ง นี้ • ตึกเลีย้ งต้ อนรับแขกเมือง ตั้งอยู่กลางอุทยานทางตอนใต้ของหมู่ ตึกพระคลังผังอาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยม


Phetchabun

คู่มือ.. เพชรบูรณ์

ลพบุรี Lopburi

ผืนผ้าลักษณะเป็นตึกชั้นเดียวก่ออิฐ ถื อ ปู น ผนั ง เจาะเป็ น ช่ อ งประตู แ ละ หน้าต่างลายโค้งแหลมล้อมรอบด้วย สระน�้าขนาดใหญ่ 3 สระตรงกลางสระ มีน�้าพุมากกว่า 20 จุด สมเด็จพระนา รายณ์ฯ ได้พระราชทานเลี้ยงแก่คณะ ทูตจากประเทศฝรัง่ เศส ณ สถานทีน่ ใี้ น พ.ศ. 2228 และ พ.ศ. 2230 • โรงช้ า งหลวง มี ทั้ ง หมด 10 โรงด้วยกันและช้างที่ยืนโรงอยู่คง เป็นช้างทรงของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชหรือเจ้านาย เขตพระราชฐานชั้นกลาง มี พ ระที่ นั่ ง ที่ ส ร้ า งในสมั ย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช 2 องค์ และสร้ า งในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้แก่ • พระทีน ่ งั่ จันทรพิศาล พระที่ นั่ ง จั น ทรพิ ศ าลตาม บันทึกของชาวฝรัง่ เศสกล่าวว่า เป็นหอ ประชุมองคมนตรีสร้างในสมัยสมเด็จ

พระนารายณ์มหาราชต่อมาเมื่อปีพ.ศ. 2401โปรดเกล้าให้สร้างขึน้ ใหม่บริเวณ ที่เดิมเป็นพระที่นั่งสถาปัตยกรรมแบบ ไทยแท้ใช้เป็นท้องพระโรงด้านหน้ามี มุขเด็จส�าหรับออกให้ข้าราชการเฝ้า ภายในแบ่งเป็นท้องพระโรงหน้าด้าน ทิศตะวันออกและท้องพระโรงด้านทิศ ตะวันตกกั้นด้วยประตูซึ่งกั้นระหว่าง เขตพระราชฐานชั้นกลางและเขตพระ ราชฐานชั้นในซึ่งในส่วนท้องพระโรง หลังมีบนั ไดเข้าออก4ช่องทางนอกจาก นัน้ ยังมีทางเชือ่ มต่อกับพระทีน่ งั่ พิมาน มงกุฏ • พระทีน ่ ง่ั ดุสิตสวรรค์ ธัญญมหาปราสาท พระที่ นั่ ง ดุ สิ ต สวรรค์ ธั ญ ญ มหาปราสาทสร้างขึ้นในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์ ม หาราช เมื่ อ ปี พ.ศ. 2209 เป็ น พระที่ นั่ ง ท้ อ งพระโรง ส� า หรั บ เสด็ จ ออกรั บ คณะราชทู ต ใน สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ที่

เป็นการส่วนพระองค์) มียอดแหลม ทรงมณฑป ศิลปกรรมแบบไทยผสม ผสานกับฝรั่งเศส ประตูและหน้าต่าง ท้ อ งพระโรงด้ า นหน้ า ท� า เป็ น รู ป โค้ ง แหลมแบบฝรัง่ เศส ส่วนตัวมณฑปด้าน หลังท�าประตูหน้าและหน้าต่างเป็นซุ้ม เรือนแก้วฐานสิงห์แบบไทย ตรงกลาง ท้องพระโรงมีสหี บัญชร เป็นทีเ่ สด็จออก เพือ่ มีปฏิสนั ถารกับผูเ้ ข้าเฝ้าในท้องพระ โรงตอนหน้า ผนั ง ภายในท้ อ งพระโรง ประดับด้วยกระจกเงา ซึ่งโปรดให้คน ไปจัดซื้อมาจากประเทศฝรั่งเศส ดาว เพดานเป็นช่องสี่เหลี่ยมประดับลาย ดอกไม้ทองค�าและแก้วผลึก ผนังด้าน นอกพระที่นั่งตรงมณฑปชั้นล่าง เจาะ เป็นช่องเล็กๆ รูปโค้งแหลมคล้ายบัว ส� า หรั บ ตั้ ง ตะเกี ย งในเวลากลางคื น เช่นเดียวกับทีซ่ มุ้ ประตูและก�าแพงพระ ราชฐานชั้นกลางและชั้นใน ซึ่งมีช่อง ส�าหรับวางตะเกียง ประมาณ 2,000 ช่อง วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

69


• หมู่พระที่น่งั พิมานมงกุฏ หมู ่ พ ระที่ นั่ ง พิ ม านมงกุ ฎ ประกอบไปด้วยอาคารทั้งหมด4หลัง โดยด้านหน้าสูง 2 ชั้นด้านหลังมีความ สูง 3 ชั้นส่วนหน้าตรงกลางเป็นบันได ขนาดใหญ่ ข นาบด้ ว ยมุ ข ซึ่ ง ยื่ น ออก มาทั้ ง ด้ า นซ้ า ยและด้ า นขวาหลั ง คา เป็นโครงสร้างไม้ทรงปั้นหยายกจั่วสูง ชายคาสั้ น กุ ด มุ ง ด้ ว ยกระเบื้ อ งกาบ กล้วยทับแนวด้วยปูนปั้นแบบจีนผนัง เจาะช่องหน้าต่างระหว่างเสาและมีทุก ชั้น - พระที่น่ ังพิมานมงกุฎ ตั้ง อยู่ด้านหลังสุดเป็นพระที่นั่ง 3 ชั้นมีผัง เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสามารถเข้าออก ทางบั น ไดด้ า นนอกอาคารที่ อ ยู ่ ด ้ า น หน้าและด้านหลังโดยไม่ตอ้ งผ่านบันได ใหญ่ด้านหน้าและท้องพระโรงห้องบน สุดเป็นห้องพระบรรทมชั้น 2 เป็นห้อง เสวยหน้าบันเป็นรูปพระราชลัญจกรณ์ ประจ�ารัชกาลที4่ รูปพระมหาพิชยั มงกุฎ วางบนพาน - พระที่น่ ังวิสทุ ธิวนิ จิ ฉัย เป็น ท้องพระโรงอยูด่ า้ นหน้าหน้าบันประดับ ด้วยลายปูนปัน้ รูปพระแท่นราชบัลลังก์ ภายใต้นพปฎลมหาเศวตฉัตร -พระที่ น่ ั งไชยศาสตรากร เป็นห้องเก็บอาวุธตัง้ ขนาบกับพระทีน่ งั่ วิสุทธิวินิจฉัยทางทิศใต้ -พระที่น่ ังอักษรศาสตราคม เป็ น ห้ อ งทรงพระอั ก ษรตั้ ง ขนาบกั บ พระที่นั่งวิสุทธิวินิจฉัยทางทิศเหนือ เมื่ อ วั น ที่ 11 ตุ ล าคม พ.ศ. 2467 สมเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชา นุภาพ และสมเด็จฯ กรมพระยานริศรา นุวดั ติวงศ์ ทรงร่วมกันจัดตัง้ พิพธิ ภัณฑ์ ขึ้ น ที่ พ ระที่ นั่ ง จั น ทรพิ ศ าล เรี ย กว่ า ลพบุรีพิพิธภัณฑ์สถาน ต่อมาปี พ.ศ. 2504 ได้เปลีย่ นชือ่ เป็นพิพธิ ภัณฑสถาน แห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ปัจจุบัน

70

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

มีการขยายห้องจัดแสดงมาถึงพระทีน่ งั่ พิมานมงกุฎ มีสิ่งน่าสนใจดังนี้ ชัน้ ที่ 1 จัดแสดงโบราณวัตถุ สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์อายุราว 3,5004,000 ปี เช่น ภาชนะดินเผารูปวัว โครง กระดูกมนุษย์ ขวานหิน ขวานส�าริด จารึกโบราณ เครื่องประดับท�าจากหิน และเปลือกหอย พระพิมพ์ที่พบตามกรุ ในลพบุรี รูปเคารพในศาสนาพราหมณ์ฮินดู โบราณวัตถุสมัยทวารวดี ฯลฯ ชั ้น ที่ 2 จั ด แสดงโบราณ วั ต ถุ ต ่ า งๆ ที่ พ บในลพบุ รี เช่ น ทั บ หลั ง แกะสลั ก รู ป พระอิ น ทร์ ท รงช้ า ง เอราวัณ พระพุทธรูปสมัยลพบุรีแบบ ต่างๆ เครื่องถ้วยกระเบื้องทั้งของจีน และไทย เป็นต้น ชัน้ ที่ 3 เป็นห้องบรรทมของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว จัดแสดงฉลองพระองค์ เครื่องแก้ว และภาชนะที่มีตราประจ�าพระองค์ • ทิมดาบ ทิ ม ดาบตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณด้ า น ข้างประตูทางเข้าเขตพระราชฐานชั้น กลางมีจ�านวนทั้งสิ้น 2 หลังทางทิศ เหนือ1หลังทางทิศใต้ 1 หลังเป็นอาคาร ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น 1 ชั้ น มี ช ่ อ งวงโค้ ง หั น หน้ามาที่ทางเดินด้านหลังติดก�าแพง พระราชวังหลังคามุงกระเบื้องดินเผา เป็ น ที่ ตั้ ง ของทหารรั ก ษาการณ์ เ มื่ อ

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวเสด็จมาประทับ เขตพระราชฐานใน มีพระทีน่ งั่ ทีส่ ร้างขึน้ ในรัชกาล สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และมี อาคารที่ ส ร้ า งขึ้ น ในรั ช กาลพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังต่อ ไปนี้ • พระที่ นั่ ง สุ ท ธาสวรรย์ เป็ น พระที่ นั่ ง ในเขตพระราชฐานชั้ น ในเป็ น พระที่ นั่ ง 2ชั้ น ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น มุ ง หลังคากระเบื้องเคลือบแบบจีน เป็น พระที่ นั่ ง ที่ ป ระทั บ ของสมเด็ จ พระ นารายณ์ ม หาราช พระองค์ เ สด็ จ สวรรคต ณ พระที่นั่งองค์นี้เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2231 โดยทางพิพธิ ภัณฑ์ไม่ อนุญาตให้ขึ้นไปบนฐานของพระที่นั่ง องค์นี้ • หมู่ตึกพระประเทียบ ตั้ ง อยู ่ ห ลั ง พระที่ นั่ ง พิ ม านมงกุ ฎ เป็ น ตึกชั้นเดียว 2 หลัง ก่อด้วยอิฐปูน 2 ชั้น มี 8 หลัง สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่พักของ ข้าราชการฝ่ายใน สร้างขึ้นในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ข้อพิพาทด้านการบูรณะก�าแพงและ ประตู ในปี พ.ศ. 2553 ได้ มี ก าร บูรณะก�าแพงและประตูพระนารายณ์ ราชนิเ วศน์โดยเริ่มจากก�า แพงวังฝั่ง


Phetchabun

คู่มือ.. เพชรบูรณ์

ลพบุรี Lopburi

ตะวันตกฝัง่ ท่าขุนนาง โดยกรมศิลปากร ลักษณะของการบูรณะโดยการสกัดปูน เก่าที่ฉาบมาแต่เดิมเมื่อ 344 ปีก่อน แล้วท�าการโบกปูนใหม่แล้วทาสีขาวทับ อย่ า งไรก็ ต ามเมื่ อ วั น ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ทางด้านของนาย ภูธร ภูมะธน ประธานชมรมอนุรักษ์ โบราณวั ต ถุ ส ถานและสิ่ ง แวดล้ อ ม จั ง หวั ด ลพบุ รี เปิ ด เผยกรณี ส� า นั ก ศิลปากรที่ 4 ท�าการบูรณะก�าแพงพระ นารายณ์ราชนิเวศน์อายุ 344 ปี ว่า การบูรณะดังกล่าว ไม่ค�านึงถึงหลัก วิชาการในการอนุรกั ษ์โบราณสถาน คือ มีการสกัดปูนเก่าลวดลายดั้งเดิมออก ทั้งหมด ทุบและโบกปูนสีขาวเกลี้ยง ทั บ เสมื อ นสร้ า งขึ้ น มาใหม่ ซึ่ ง ทาง ชมรมเห็นว่า ก�าแพงพระนารายณ์ราช นิเวศน์ มีคุณค่าด้วยความเป็นโบราณ สถานร้ า ง ดั ง นั้ น การบู ร ณะควรเป็ น แบบรักษาคุณค่าความเก่าแก่มากกว่า การสร้างขึ้นมาใหม่ด้วยการโบกปูน ทับ จึงยื่นหนังสือคัดค้านไปหลายครั้ง แต่ ไ ม่ ส ามารถหยุ ด ยั้ ง ได้ เ พราะกรม ศิลปากรยืนยันว่าบูรณะอย่างถูกต้อง แล้ว ตนจึงเห็นว่าเป็นการบูรณะโดย ไม่ฟังเสียงทัดทานจากภาคประชาชน นายภู ธ รยั ง กล่ า วว่ า ที่ ผ ่ า นมาทาง ชมรมได้ต่อสู้มาจนถึงที่สุดแล้วทั้งส่ง หนังสือไปยัง รมว.วัฒนธรรม, อธิบดี

กรมศิลปากร, ผู้อ�านวยการส�านักกรม ศิลปากรที่ 4 และคณะกรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง แต่ก็ไม่มีผลต่อการหยุดยั้ง จากนีไ้ ปจะไม่ดา� เนินการใดๆ อีก เพราะ ถือว่าสายเกินไปที่จะหยุดการบูรณะ ซึ่ ง แล้ ว เสร็ จ ไปกว่ า ร้ อ ยละ 80 ทั้ ง นี้ นายภูธรยังเรียกการกระท�าดังกล่าวว่า ความอัปยศใหม่ ไม่ใช่การบูรณะใหม่ พร้อมตั้งข้อสังเกตเรื่องการบูรณะที่ท�า กันอย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการใช้งบ ประมาณ พร้อมติติงเรื่องมุมมองการ บูรณะโบราณสถานของกรมศิลปากร และตั้ ง ค� า ถามถึ ง ปั ญ หาด้ า นจรรยา บรรณทางวิชาชีพ รวมทัง้ ยกกรณีนเี้ ป็น อุทาหรณ์เตือนประชาชนว่าอย่าวางใจ การบูรณะโบราณสถานต่าง ๆ และ ต้องช่วยกันรักและหวงแหนมรดกของ ประเทศ พร้อมกันนี้ ได้ออกแถลงการณ์ เสนอให้มีการท�าประชาพิจารณ์ก่อน การตัดสินใจต่างๆ เพื่อให้ประชาชนมี ส่วนร่วม ทางด้ า นนายเขมชาติ เทพ ไชย รองอธิ บ ดี ก รมศิ ล ปากร ยื น ยั น ว่า การบูรณะนั้นเป็นไปตามหลักการ และถูกต้อง เนื่องจากภายในก�าแพง พระนารายณ์ราชนิเวศน์มีพิพิธภัณฑ์ จึงจัดว่าเป็นโบราณสถานที่ยังมีชีวิต หรือมีประโยชน์ใช้สอยอยู่ การบูรณะ จึงต้องท�าให้เกิดความมั่นคง แข็งแรง อมู

ตามหลักฐานทีป่ รากฏ ก่อนเริม่ บูรณะ ได้มีการศึกษารูปแบบ เทคนิค วิธีการ สร้าง พร้อมทั้งศึกษาประวัติความ เป็นมา จึงทราบว่าโบราณสถานแห่ง นี้ได้ถูกซ่อมแซมและบูรณะมาแล้ว หลายครั้ง เริ่มตั้งแต่พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา และมีการใช้ปูนซีเมนต์ ในการบูรณะกว่าร้อยละ 70 ซึ่งตาม หลักการแล้วปูนซีเมนต์ไม่ควรน�ามา บูรณะโบราณสถาน เพราะก่อให้เกิด ความเค็มและผุกร่อนได้ง่าย จึงต้อง มีการสกัดปูนฉาบเก่านั้นออกให้หมด และฉาบด้วยปูนหมักทีม่ สี ว่ นผสมของ ซีเมนต์ กระดาษสา และทราย เป็นต้น เพื่อแก้ปัญหาการผุกร่อน ส่วนนางสาวนารีรัตน์ ปรีชา พีชคุปต์ ผู้อ�านวยการส�านักศิลปากร ที่ 4 กล่าวว่า ก่อนหน้านี้ชาวลพบุรี ได้ส่งเรื่องร้องเรียนมายังผู้ว่าราชการ จังหวัด ว่าก�าแพงพระนารายณ์ราช นิเวศน์มีสภาพทรุดโทรมดังนั้น ส�านัก ศิลปากรจึงได้เริม่ ท�าการบูรณะ ซึง่ การ บูรณะไม่ใช่เพียงเพื่อปกป้องอนุรักษ์ โบราณสถานเท่านั้น แต่เพื่อรองรับ ประโยชน์การใช้สอยในปัจจุบันด้วย เพราะสถานที่ดังกล่าว เป็นที่ตั้งของ พิพิธภัณฑ์และสถานที่จัดงานประจ�า จังหวัด อ

.

.

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

.

71


ตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2466 แบ่งอาคารจัดแสดงศิลปะโบราณวัตถุ เป็น 4 อาคาร 1. พระที่นั่งพิมานมงกุฎ เป็นตึก 3 ชัน้ สร้างขึน้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) โดยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งนี้และหมู่ ตึกต่างๆ เพื่อใช้ในการแปรพระราชฐาน ปัจจุบันใช้เป็นอาคารจัด แสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับพัฒนาการเมืองลพบุรี ตั้งแต่ก่อน ประวัติศาสตร์ถึงสมัยปัจจุบัน ดังนี้ ชัน้ ที่ 1 - จัดแสดงโบราณวัตถุและศิลปวัตถุที่บอกเล่าเรื่อง ราวเมืองลพบุรสี มัยก่อนประวัตศิ าสตร์ (ราว 3,500 ปี ทีแ่ ล้ว) ต่อเนือ่ ง มาจนถึงวัฒนธรรมทวารวดี ซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นประวัติศาสตร์ไทย และ การเริ่มติดต่อ-สัมพันธ์กับดินแดนโพ้นทะเล เป็นต้น ชัน้ ที่ 2 - จัดแสดงนิทรรศการล�าดับพัฒนาการเมืองลพบุรี เป็นเรือ่ งราวต่อเนือ่ งจากชัน้ ที่ ๑ ซึง่ ต่อจากช่วงวัฒนธรรมทวารวดี เข้า สู่ช่วงความเจริญของวัฒนธรรม-อิทธิพลศิลปะเขมรในประเทศไทย อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16-18 จัดแสดงศิลปวัตถุและโบราณวัตถุที่ ส�าคัญ เช่น ทับหลัง พระพุทธรูปนาคปรก และเทวรูปต่างๆ ต่อเนือ่ งมา จนถึงสมัยอยุธยา จัดแสดงงานศิลปกรรมและงานช่างในสมัยอยุธยา

พิ พิธภัณฑสถานแห่งชาติ

สมเด็จพระนารายณ์ King Narai National Museum เรื่อยมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ชัน้ 3 - เดิมเป็นห้องบรรทมพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 4) จัดแสดงเหมือนครัง้ ทีย่ งั ประทับอยู่ มีพระแท่น บรรทม ฉลองพระองค์ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ พระสาทิสลักษณ์ แท่นบรรทม เหรียญเงินต่างๆ เครื่องแก้ว เครื่องประกอบโต๊ะพระ กระยาหารที่มีตราประจ�าพระองค์ (มงกุฎ) เป็นต้น 2. พระที่นั่งจันทรพิศาล 3. หมู่ตึกพระประเทียบ 4. พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่

ห้องภาคกลางประเทศไทย พ.ศ. 800-1500

รับอิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดียที่เรียกว่า สมัยทวารวดี จัด แสดงเรื่องการเมือง การตั้งถิ่นฐาน เทคโนโลยี และ การด�าเนินชีวิต อักษร ภาษา ศาสนสถาน ศาสนาและความเชื่อถือ หลักฐานที่จัดแสดงได้แก่ พระพุทธรูป พระพิมพ์ดินเผา เหรียญตรา ประทับดินเผา จารึกภาษาบาลี สันสกฤต และรูปเคารพต่างๆ

72

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

อมู

.

.


Phetchabun

คู่มือ.. เพชรบูรณ์

ลพบุรี Lopburi

ห้องอิทธิพลศิลปะเขมร - ลพบุรี จัด แสดงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ อายุ ราวพุทธศตวรรษที่ 15-18 โบราณคดี ส มั ย ชนชาติ ข อม แผ่ อิ ท ธิ พ ลเข้ า ปกครองเมื อ งลพบุ รี และบริเวณภาคกลางของประเทศไทย ได้แก่ ทับหลัง พระพุทธรูปปางนาคปรก พระพุทธรูปปางประทานอภัย เป็นต้น ห้องประวัติศาสตร์ศิลปะใน ประเทศไทย จัดแสดงศิลปกรรมที่พบตาม ภาคต่างๆ ของประเทศไทย ตั้งแต่พุทธ ศตวรรษที่ 12-18 ได้แก่ ศิลปะแบบหริ ภุญไชย ศิลปะล้านนา ศิลปะสมัยลพบุรี เช่น พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระ พิมพ์ และพระพุทธรูปส�าริดสมัยต่างๆ ห้ อ งประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปกรรมสมั ย อยุ ธ ยา - รั ต นโกสิ น ทร์ ตั้ ง แต่ พุ ท ธ ศตวรรษที่ 18-24 ได้แก่ พระพุทธรูป เครื่องถ้วย เงินตรา อาวุธ เครื่องเงิน เครื่องทอง และชิ้นส่วนสถาปัตยกรรมปูนปั้น และ ไม้แกะสลักต่างๆ

พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

ตั้งอยู่กลางวงเวียนเทพสตรี ใกล้ศาลากลางจังหวัดลพบุรีบริเวณ หัวถนนนารายณ์มหาราชก่อนเข้าสู่ ย่านตัวเมือง อนุสาวรีย์สมเด็จพระ นารายณ์ ม หาราชเป็ น รู ป ปั ้ น ในท่ า ประทั บ ยื น ผิ น พระพั ก ตร์ ไ ปทางทิ ศ ตะวันออก พระหัตถ์ขวาทรงพระแสง ดาบ ก้าวพระบาทซ้ายออกมาข้างหน้า เล็กน้อย พลั ง ศรั ท ธาของชาวลพบุ รี ที่ ใ ห้ ค วามเคารพบู ช าสมเด็ จ พระ นารายณ์ ม หาราชเป็ น อย่ า งมาก เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ใน ราชวงศ์ปราสาททององค์สุดท้ายจึง ร่ ว มกั น สร้ า งอนุ ส าวรี ย ์ ส มเด็ จ พระ นารายณ์ ม หาราชขึ้ น เป็ น รู ป ปั ้ น ท่ า ประทั บ ยื น ผิ น พระพั ก ตร์ ไ ปทางทิ ศ ตะวันออก พระหัตถ์ขวาทรงพระแสง ดาบก้ า วพระบาทซ้ า ยออกมาข้ า ง หน้าเล็กน้อยที่ฐานจารึกข้อความว่า

“สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช พระมหากษั ต ริ ย์ ไ ทยผู้ ย่ิ ง ใหญ่ พระองค์หนึ่ง ทรงพระราชสมภพ ณ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา พ.ศ. 2175 สวรรคต ณ เมืองลพบุรี เมือ ่ พ.ศ. 2231 พระองค์ทรงมีพระบรมราช กฤษดาภินิหารเป็นอย่างยิ่ง”

ปัจจุบันพระบรมราชานุสาว รี ย ์ ส มเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราชตั้ ง อยู่กลางวงเวียนเทพสตรี หรือที่ชาว บ้านเรียกว่า ‘วงเวียนพระนารายณ์ มหาราช’ นักท่องเทีย่ วทีม่ าเยือนลพบุรี ควรไปเยือนสักครั้งในชีวิต รู้ ก่อนเที่ยว : ระหว่างวันที่ 16-22 กุมภาพันธ์ ของทุกปี จังหวัด ลพบุ รี มี ก ารจั ด งานแผ่ น ดิ น สมเด็ จ พระนารายณ์ และเพื่อเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้จัด กิจกรรมเทิดพระเกียรติ ณ บริเวณ ลานพระบรมราชานุสาวรีย์

ห้องศิ ลปะร่วมสมัย จัดแสดง ภาพเขียน และภาพพิมพ์ศิลปะ ร่วมสมัยของศิลปินไทย

ห้องประวัติศาสตร์ การเมือง สังคม วัฒนธรรมและพระราชประวัติ ของสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว (รั ช กาลที่ 4) ซึ่ ง โปรดฯ ให้ ส ร้ า งพระราชวั ง ณ เมื อ งลพบุ รี เมื่อ พ.ศ. 2399 ได้แก่ ภาพพระบรม สาทิสลักษณ์ ฉลองพระองค์ เครื่องใช้ แท่นบรรทม เหรียญทอง และจานชาม มี รู ป มงกุ ฎ ซึ่ ง เป็ น พระราช ลั ญ จกร ประจ�าพระองค์ เป็นต้น อมู

.

. วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

73


“บ้ านวิชาเยนทร์ ” หรือ “บ้านหลวงรับราชทูต” ตั้งอยู่ทางด้านทิศเหนือ ของพระนารายณ์ราชนิเวศน์ สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เนื่องจากสถานการณ์ที่นี้เป็นที่พ�านักของ เจ้าพระยาวิชาเยนทร์ ขุนนางส�าคัญ ในสมัยนั้น จึงได้ชื่อว่า “บ้ านวิชาเยนทร์ ” นอกจากนี้เนื่องจากเมื่อครั้งทูตจากประเทศฝรั่งเศสชุดแรกที่เข้ามาเมื่อ ปี พ.ศ. 2228 ก็ได้พัก ณ สถานที่แห่งนี้ จึงได้ชื่อว่า “บ้านหลวงรับราชทูต” อีกชื่อ หนึ่ง พืน้ ทีใ่ นบริเวณบ้านหลวงรับราชทูต แบ่งเป็น 3 ส่วน สังเกตได้จากประตู เข้าด้านหน้าซึ่งสร้างไว้ส�าหรับเป็นทางเข้า-ออก แต่ละส่วน คือ ส่วนทิศตะวันตก ส่วนกลาง และส่วนทางทิศตะวันออก ทางด้านทิศตะวันตกเป็นกลุ่มอาคาร ได้แก่ ตึก 2 ชั้น หลังใหญ่ก่อด้วย อิฐ และอาคารชั้นเดียว แคบยาว ซุ้มประตูทางเข้าเป็นรูปโค้งค รึ่งวงกลม ส่วน กลางมีอาคารส�าคัญ คือ ฐานของสิ่งก่อสร้าง ซึ่งเข้าใจว่าเป็นหอระฆังและโบสถ์ คริสต์ศาสนาซึ่งอยู่ทางด้านหลัง ซุ้มประตูทางเข้าเป็นรูปจั่ว

บ้านวิชาเยนทร์

ส่วนทิศตะวันออก ได้แก่ กลุ่มอาคารใหญ่ 2 ชั้น มีบันไดขึ้นทางด้าน หน้าเป็นรูปโค้งครึง่ วงกลม ซุม้ ประตูทางเข้ามีลกั ษณะเช่นเดียวกั บทางทิศตะวัน ตก ด้วยเหตุที่มีสิ่งก่อสร้างหลายหลังดังกล่าว จึงต้องสันนิษฐานว่าส่วนใดเป็นที่ พ�านักของเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ และส่วนใดเป็นทีพ่ า� นักของคณะทูตชาวฝรัง่ เศส จากแผนผังบริเวณบ้านวิชาเยนทร์พบว่า ส่วนกลางและส่วนทางทิศตะวันออก มี สิ่งก่อสร้างซึ่งถูกสร้างขึ้นให้มีความสัมพันธ์กัน คือ โบสถ์และตึกหลังใหญ่ 2 ชั้น และได้รบั การก่อสร้างอย่างมัน่ คงแข็งแรง ดูสวยงาม บริเวณดังกล่าวจึงควรเหมาะ สมใช้เป็นที่ต้อนรับทูตชาวต่างประเทศ โบสถ์คริสต์ศาสนา คงใช้เป็นที่ประกอบพิธีทางศาสนาของบาทหลวง คณะเจซูอดิ ซึง่ เข้ามาพร้อมกับคณะทูตหลายรูป ส่วนอาคารบริเวณทางทิศตะวัน ตก คงเป็นที่พักอาศัยของเจ้าพระยาวิชาเยนทร์

อมู

74

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

ลั ก ษณะของสถาปั ต ยกรรม ในบ้านวิชาเยนทร์ บางหลังเป็นแบบ ยุโรปอย่างแท้จริง โดยเฉพาะอาคาร ใหญ่ทางทิศตะวันออก ก่ออิฐถือปูนสูง 2 ชั้น หน้าต่างและซุ้มประตูของอาคาร แสดงให้เห็นลักษณะศิลปะตะวันตก แบบเรอเนสซองค์ ซึง่ แพร่หลายในระยะ เวลาเดียวกัน ที่ส�าคัญอีก คือ อาคาร ที่เป็นโบสถ์คริสต์ศาสนา ผังและแบบ ของโบสถ์ เป็นแบบยุโรป มีซุ้มประตู หน้าต่าง เป็นซุ้มเรือนแก้ว มีเสาปลาย เป็นรูปกลีบบัวยาว ซึ่งเป็นศิลปะแบบ ไทย ถือว่าเป็นโบสถ์คริสต์ศาสนาหลัง แรกในโลก ที่ตกแต่งด้วยลักษณะของ โบสถ์ทางพระพุทธศาสนา เจ้ าพระยาวิชาเยนทร์ (คอน สแตนติน ฟอลคอน) เป็นนักผจญภัย ชาวกรีก ผูก้ ลายมาเป็นสมุหนายกในรัช สมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แห่งกรุงศรีอยุธยา เกิดที่แคว้นเซฟาโล เนีย (ประเทศกรีซ) เมื่อ ค.ศ. 1647 (พ.ศ. 2190) โดยมีเชื้อสายของชาว กรีกและเวนิช เข้าท�างานให้กับบริษัท อินเดียตะวันออกของอังกฤษ นอกจากภาษากรีกแล้ว ฟอล คอนมีความสามารถในการพูดภาษา อังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโปรตุเกส ฯลฯ และเรียนรู้การใช้ภาษาไทยอย่าง คล่องแคล่วในเวลาไม่กี่ปี ต่อมา ฟอลคอนเข้ารับราชการ ในราชส� า นั ก สมเด็ จ พระนารายณ์ มหาราช ในต� า แหน่ ง ล่ า ม และเป็ น ตั ว กลางการค้ า ระหว่ า งอยุ ธ ยากั บ ฝรัง่ เศส จนกระทัง่ ได้กลายมาเป็นสมุห เสนา ในสมัยพระนารายณ์มหาราชใน เวลาอันรวดเร็ว เจ้าพระยาวิ ชาเยนทร์ หรื อ คอน สแตนติ น ฟอลคอน จึ ง นับ เป็ นชาว ตะวันตกคนแรกที เ่ ข้ามารับราชการใน สมัยอยุธยา .

.

.

.


Check In

Phetchabun

พ รบร ลพบุรี Lopburi

คู่มือ..

เขื่ อ นป่ าสั ก ชลสิ ท ธิ์ เป็ น เขื่อนกักเก็บน�้ำที่ใหญ่ ยำว ลึก ที่สุดใน ประเทศไทย[3]ตำมแนวพระรำชด�ำริ ของพระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำ ภูมิพลอดุลยเดชเพื่อป้องกันปัญหำน�้ำ ท่วมในลุ่มแม่น�้ำป่ำสัก และ ลุ่มแม่น�้ำ เจ้ ำ พระยำ เริ่ ม ด� ำ เนิ น กำรก่ อ สร้ ำ ง ในวันที่ 2 ธันวำคม พ.ศ. 2537 โดย กรมชลประทำน เป็นผู้รับผิดชอบ ที่ ห ยุ ด รถไฟเขื่ อ นป่ ำ สั ก ชล สิทธิ์ เป็นทีห่ ยุดรถไฟของกำรรถไฟแห่ง ประเทศไทย ตัง้ อยูบ่ ริเวณทำงเข้ำเขือ่ น ป่ำสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี อยู่ในเขต

รถไฟลอยน�้ำ

เขื่อนป่าสัก

ชลสิทธิ์

ทำงรถไฟสำยตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสร้ำงขึ้นเพื่อส่งเสริมกำรท่องเที่ยว โดยที่ หยุดรถนี้จะมีรถไฟสำยพิเศษเพื่อกำรท่องเที่ยว คือ สำยกรุงเทพ-เขื่อนป่ำสักชล สิทธิ์ เปิดให้บริกำรในช่วงเทศกำลกำรท่องเทีย่ ว ระหว่ำงเดือนพฤศจิกำยนถึงเดือน มกรำคมของ ทุกปี ประวัติ สืบเนื่องจำกกำรก่อสร้ำงเขื่อนป่ำสักชลสิทธิ์ ในเส้นทำงรถไฟช่วง สถำนีรถไฟแก่งเสือเต้นถึงสถำนีรถไฟสุรนำรำยณ์ (เดิม) ซึ่งเส้นทำงรถไฟ ตั้งอยู่ต�่ำกว่ำระดับกำรกักเก็บน�้ำของเขื่อน ท�ำให้กำรรถไฟแห่งประเทศไทย ต้องย้ำยเส้นทำงรถไฟที่จะถูกน�้ำท่วมให้ทันกับกำรสร้ำงเขื่อน พร้อมทั้งสร้ำง ที่หยุดรถไฟบริเวณดังกล่ำวเพื่อส่งเสริมกำรท่องเที่ยว ทั้งนั้นได้เริ่มก่อสร้ำง เมื่อวันที่ 25 เมษำยน พ.ศ. 2540 ใช้เวลำ 14 เดือน แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 15 มิถุนำยน พ.ศ. 2541 ทำงรถไฟที่ย้ำยมำสร้ำงใหม่จะอยู่ติดกับอ่ำงเก็บน�้ำ เป็นระยะทำงรวม 24 กิโลเมตร เมื่อสร้ำงเสร็จแล้วได้เริ่มมีกำรเดินรถผ่ำน เส้นทำงดังกล่ำว ซึ่งจะเห็นขบวนรถวิ่งบนสันเขื่อนลัดเลำะไปข้ำงๆ อ่ำงเก็บน�้ำ มองดูเหมือนขบวนรถวิง่ ไปบนผิวน�ำ้ จนชำวบ้ำนเรียกกันว่ำ รถไฟลอยน�ำ้ ตลอด 2 ข้ำงทำงจะได้ชมทัศนียภำพข้ำงทำงรถไฟอันงดงำม เส้นทำงรถไฟก่อนถึงเขื่อนป่ำสักชลสิทธิ์ ก่อนถึงสถำนีรถไฟหินซ้อน จะ ผ่ำนไร่ดอกทำนตะวันบำนสะพรั่งตลอดเส้นทำงรถไฟสวยงำมมำก ว่ำกันว่ำเป็น ไร่ดอกทำนตะวันที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย กำรรถไฟแห่งประเทศไทย ได้จัด ขบวนรถพิเศษน�ำเที่ยวชมควำมงำมของเขื่อนป่ำสักชลสิทธิ์ ในช่วงฤดูหนำวทุก ปี ขบวนรถออกจำกกรุงเทพ 06.40 น. ถึงกรุงเทพ 17.45 น. วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

75


ปรำกฏกำรตั้ ง ถิ่ น ฐำนที่ อ ยู ่ อำศั ย ของมนุ ษ ย์ ม ำตั้ ง แต่ ส มั ย ก่ อ น ประวัติศำสตร์จำกกำรค้นพบหลักฐำน ทำงโบรำณคดี เช่น ก�ำไลหิน แกนก�ำไล หิน กระดูกมนุษย์ และภำชนะดินเผำ ก่อนประวัติศำสตร์ในรูปแบบต่ำงๆ กำรมำเยือนยังเมืองโบรำณซับ จ�ำปำ ซึ่งเป็นเมืองโบรำณสมัยทวำรวดี นอกจำกนักท่องเที่ยวจะได้สูดอำกำศ บริสุทธิ์จนเต็มปอดแล้วจะยังได้สัมผัส กับร่องรอยอำรำยธรรมอันเก่ำแก่ของ มนุษย์ ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศำสตร์ จำกกำรค้นพบหลักฐำนทำงโบรำณคดี เช่ น กระดู ก มนุ ษ ย์ ก� ำ ไลหิ น แกน ก�ำไลหิน และภำชนะดินเผำ ซึ่งมีอำยุ ประมำณ 3,000-2,500 ปี จำกหลัก ฐำนทำงประวัติศำสตร์เชื่อกันว่ำที่นี่ เคยเป็นศูนย์กลำงของศำสนำมำก่อน เพรำะมีกำรค้นพบประติมำกรรมของ พุทธศำสนำนิกำยต่ำงๆ เช่น พระพุทธ รูปประทับเหนือพนัสบดี พระพุทธรูป ประทั บ นั่ ง ห้ อ ยพระบำท ตลอดจน ธรรมจักรและกวำงหมอบอีกทัง้ กำรค้น พบสินค้ำ ทีต่ ดิ ตัวพ่อค้ำหรือนักเดินทำง เช่น เครื่องรำงของขลัง เงินตรำ รวมถึง สินค้ำต่ำงๆ ที่พ่อค้ำชำวต่ำงชำติน�ำ เข้ำมำ อันได้แก่ ขันส�ำริด ลูกปัด และ ชิ้นส่วนก�ำไลงำช้ำงจึงสันนิษฐำนได้ว่ำ

76

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

เมืองโบราณ และ พิพิธภัณฑ์

ซับจ�ำปำ

เมืองนีเ้ คยเป็นศูนย์กลำงทำงกำรค้ำอีก ด้วย ส�ำหรับกำรมำเทีย่ วชม นักท่อง เที่ยวสำมำรถเช่ำจักรยำนปั่นไปรอบๆ พื้นที่เพื่อชื่นชมบรรยำกำศแสนสบำย รำยล้อมไปด้วยธรรมชำติอันร่มรื่นหรือ

หำกต้องกำรพักแรม ที่นี่มีบริกำรกำง เต้นท์ให้อีกต่ำงหำก สอบถำมข้อมูล เพิ่มเติม โทร. 036-461992 เมื อ งโบรำณซั บ จ� ำ ปำ เป็ น เมืองโบรำณยุคทวำรวดี จำกร่องรอย คูน�้ำคันดินและหลักฐำนโบรำณวัตถุ ที่ พ บทั่ ว ไป ในแถบอ� ำ เภอท่ ำ หลวง จังหวัดลพบุรี ถือว่ำเป็นอำณำจักรที่ ยิ่งใหญ่อีกแห่งของยุคทวำรวดี และ สิ่งที่อยู่คู่กับเมืองโบรำณ คือ ป่ำจ�ำปีสิ รินธร จ�ำปีสำยพันธุ์ใหม่ของโลกที่พบ เฉพำะในพื้นที่นี้เท่ำนั้น ด ้ ว ย ค ว ำ ม ภ ำ ค ภู มิ ใ จ ใ น ประวั ติ ศ ำสตร์ ข องชุ ม ชนและต้ น ไม้ อั น มี คุ ณ ค่ ำ หน่ ว ยงำนภำครั ฐ และ ประชำชนในพืน้ ที่ จึงช่วยกันจัดตัง้ ศูนย์ ข้อมูลเมืองโบรำณซับจ�ำปำและป่ำจ�ำปี สิรินธร ขึ้นที่โรงเรียนท่ำหลวงวิทยำคม


Phetchabun

พ รบร ลพบุรี Lopburi

คู่มือ..

ต่อมำได้รับควำมร่วมมือกับสถำบันพิพิธภัณฑ์กำร เรียนรู้แห่งชำติ(สพร.) พัฒนำปรับปรุงให้เป็นต้นแบบ พิพธิ ภัณฑ์กำรเรียนรู้ และใช้ชอื่ ว่ำ พิพธิ ภัณฑ์ซบั จ�ำปำ กำรจัดแสดงภำยในอำคำร แบ่งเป็น 7 ห้อง ประกอบด้วย • ห้ องที่ 1 ซับจ�าปา น�ำเสนอเรื่องรำวของ เมืองโบรำณที่หำยสำบสูญไปนับพันปี • ห้ องที่ 2 ทรั พย์ ส�าแดง “ตั๊กแตนปำทังก้ำ” จะชักพำให้ไปพบกับเมืองโบรำณทีซ่ อ่ นเร้น • ห้ องที่ 3 ทรั พย์ บังเกิด จัดแสดงเรื่องรำว ของพระมหำกำรุณำธิคุณในสมเด็จพระเทพรัตนรำช สุดำ สยำมบรมรำชกุมำรี ในกำรเสด็จทอดพระเนตร หลุมขุดค้นทำงโบรำณคดี “ซับจ�ำปำ” • ห้ องที่ 4 ทรั พย์ สมบัติ แสดงเรื่องรำวของ ซับจ�ำปำ เมื่อ 3,000 ปีก่อน ที่เป็นชุมทำงกำรค้ำและ แหล่งรวมสมบัติที่สร้ำงควำมมั่งคั่ง • ห้ องที่ 5 ทรั พย์ อักษร ไขปริศนำจำรึก โบรำณพันปี มรดกทำงวัฒนธรรมและศำสนำ • ห้ องที่ 6 ทรั พย์ ทางปั ญญา ค�ำสอนของ พระพุทธเจ้ำ สถิตเป็นสัญลักษณ์อย่ำงแยบยลใน กงล้อธรรมจักร เสำธรรมจักรแปดเหลี่ยม และกวำง หมอบ • ห้องที่ 7 ทรัพย์แผ่นดิน “ซับจ�ำปำ” คือ ทรัพย์ แผ่นดินที่ดึงดูดให้ผู้คนเข้ำมำอำศัยพึ่งพิง

ทุ่งดอกทานตะวัน

ว่ ากันว่ า...หากจะดูท่ ุงดอกทานตะวัน จะต้ องมาถึงถิ่น ลพบุรี เพรำะที่นี่เป็นจังหวัดที่มีกำรปลูกดอกทำนตะวันมำกที่สุดใน ประเทศไทยหรือประมำณ 200,000-300,000 ไร่ โดยเฉพำะช่วงเดือน พฤศจิกำยน-มกรำคม ดอกทำนตะวันจะบำนสะพรั่งเหลืองอร่ำมสุด สำยตำซึ่งโดยปกติแล้วแหล่งปลูกทำนตะวันจะกระจำยไปใน เขต อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอพัฒนำนิคม อ�ำเภอชัยบำดำล โดยเฉพำะบริเวณ เขำจีนแล ใกล้วัดเวฬุวัน ต�ำบลโคกตูม อ�ำเภอเมือง ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ตั้งใจมำชมทุ่งทำนตะวันสำมำรถเลือก ขับรถชมควำมงำมตำมเส้นทำงต่ำงๆ หรือจะเลือกจุดที่ลงไปถ่ำยรูป ใกล้ชิดกับทำนตะวันก็ได้เช่นกัน โดยสำมำรถเลือกตำมจุดท่องเที่ยวที่ จัดไว้ให้

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

77


บ้ านดินมดแดง ตัง้ อยูท่ ี่ 98/2 หมู่ 5 ต�ำบลโคกตูม อ�ำเภอเมือง จังหวัด ลพบุรี เป็นแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผำ แลสถำนที่ท่องเที่ยวชื่อดังของจังหวัด ลพบุ รี และยั ง มี ศู น ย์เรีย นรู้ก ำรผลิต เครือ่ งปัน้ ดินเผำ ซึง่ ในแต่ละปีจะมีผมู้ ำ เรียนอย่ำงไม่ขำดสำย และยังถือเป็น สถำนที่แวะพักริมทำว ที่นักท่องเที่ยว นิยมมำเยือน ภำยในบ้ ำ นดิ น มดแดง ถู ก ตกแต่งเครื่องปั้นดินเผำมำกมำย จัด เรียงไว้อย่ำงสวยงำม มีตั้งแต่กระถำง ต้ น ไม้ เตำ หม้ อ ดิ น ไห ไปจนถึ ง ประติมำกรรมจำกดิน อย่ำงรูปปั้นที่ มีทั้งเทวรูป ตัวกำร์ตูน สัตว์ ที่มีควำม สวยงำมและควำมหลำกหลำยให้เลือก มองได้อย่ำงเพลิดเพลิน นอกจำกนี้ยัง มีบ้ำนสร้ำงจำกดิน ที่สะท้อนควำมพอ เพียง ตกแต่งในบรรยำกำศที่ร่มรื่น ซึ่ง นอกจำกจะแวะช็อป บ้ ำ นดิ น มดแดงนอกจำก จะเป็ น สถำนที่ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ ำ ย เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผำและประติ ม ำกรรม

78

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565

ู ค ือ

บ้านดินมดแดง

ดินเผำแล้ว ยังเป็นสถำนที่เรียนรู้ กำรผลิตเครื่องปั้นดินเผำที่ใหญ่ที่สุดในภำค กลำง โดยรับอบรมอำชีพให้กบั ผูท้ สี่ นใจมีอำชีพเป็นของตัวเองทีเ่ รียนจำกทีน่ แี่ ละ พร้อมน�ำไปประกอบอำชีพแล้วกว่ำ 5,000 คน ซึ่งลักษณะกำรสอนจะให้แนวคิด ให้ไอเดีย เป็นพี่เลี้ยง จนสำมำรถน�ำไปประกอบอำชีพได้ ส�ำหรับคนเรี ยนหำกเป็ นบุคคลทัว่ ไป 12 ชัว่ โมง 3,000 บำทส่วนคนที ่ จะให้ไปสอนข้ำมจังหวัด อย่ำงกรุงเทพฯ คิ ดต่อคอร์ ส 5,000 บำท แต่หำกสอน เป็ นกลุ่มอย่ำงบริ ษทั หรื อหน่วยงำน ตัง้ แต่ 10 คนขึ้นไป หรื อเป็ นองค์กรกำรกุศล จะคิ ด คนละ 1,000 บำท แต่หำก เป็ นนักเรี ยนจะคิ ดคนละ 200-400 บำท หรื อ อย่ำงโครงกำรของรัฐบำลมี ตงั้ แต่ 200 คนขึ้นไป ซึ่งรำคำจะถูกลงมำอีก ส่วนกำรบริหำรจัดกำรของบ้ำนดินมดแดง จะเน้นกำรเปิดโอกำสให้ คนในพื้นที่ที่ไม่มีงำนท�ำอย่ำงผู้สูงอำยุ ผู้ที่มีปัญหำ ติดยำเสพติดหรือท้องก่อน วัย ที่ไม่มีโอกำสมีงำนท�ำโดยเปิดโอกำสให้ท�ำงำำนโดยจ่ำยเงินเป็นชิ้นงำน ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นผูส้ งู อำยุบำ้ นดินมดแดงนับเป็นอีกสถำนทีท่ มี่ กี ำรจัดกำรอย่ำงเป็น ระบบ นอกจำกจะจ�ำหน่ำยเครื่องปั้นดินเผำแล้ว ยังเป็นสถำนที่เรียนรู้และศึกษำ งำนเครือ่ งปัน้ ดินเผำเพือ่ เปิดโอกำสทำงอำชีพให้กบั ผูท้ สี่ นใจ น�ำไอเดียไปต่อยอด และยังจัดเป็นสถำนทีท่ อ่ งเทีย่ วรองรับนักท่องเทีย่ วทีม่ ำเยือนลพบุรไี ด้แวะซือ้ ของ ฝำกก่อนกลับอีกด้วย



























Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.