ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ผู้บริหารระดับสูง
ดิจิทัลฯ
ฝ่ายข้าราชการการเมือง
กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม
นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ รัฐมนตรีวา่ การ
กระทรวงดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
นายทศพล เพ็ งส้ม
ผู้ชว ่ ยรัฐมนตรีประจ�านายกรัฐมนตรี ปฏิบัติหน้าที่ประจ�ากระทรวงดิจท ิ ัลเพื่ อ เศรษฐกิจและสังคม
นายเนวินธุ์ ช่อชัยทิพฐ์
ผู้ชว ่ ยรัฐมนตรีประจ�ากระทรวง ดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
นายเอกสิทธิ์ คุณานันทกุล เลขานุการรัฐมนตรีวา่ การ
กระทรวงดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
นางสาวนพวรรณ หัวใจมั่น
ประจ�าส�านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในบังคับบัญชาของรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
นายจักรวี วิสุทธิผล
ประจ�าส�านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในบังคับบัญชาของรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
พั นต�ารวจโท อนุรก ั ษ์ จิรจิตร
ประจ�าส�านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในบังคับบัญชาของรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
นายนรพล ตันติมนตรี
ประจ�าส�านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในบังคับบัญชาของรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
19
ผู้บริหารระดับสูง ฝ่ายข้าราชการประจ�า
กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม
นางสาวอัจฉรินทร์ พั ฒนพั นธ์ชย ั ปลัดกระทรวง
ดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
นายเวทางค์ พ่ วงทรัพย์
นางสาวสุกันยาณี ยะวิญชาญ
นางสาวชมภารี ชมภูรต ั น์
ดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
กระทรวงดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
กระทรวงดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคม
รองปลัดกระทรวง
ผู้ตรวจราชการ
ผู้ตรวจราชการ
โฆษก
กระทรวงดิทัลเพื่ อเศรษฐกิจและสั งคม
นางสาวนพวรรณ หัวใจมั่น โฆษกกระทรวง ฝ่ายข้าราชการการเมือง
20
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
นายภุชพงค์ โนดไธสง โฆษกกระทรวง ฝ่ายข้าราชการประจ�า
นางปิยนุช วุฒิสอน
รองโฆษกกระทรวง ฝ่ายข้าราชการประจ�า
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
คณะผู้บริหาร
หน่วยงานในสังกัด
นายณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ อธิบดีกรมอุตน ุ ิยมวิทยา
นายภุชพงค์ โนดไธสง
เลขาธิการคณะกรรมการ ดิจท ิ ัลเพื่ อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นางปิยนุช วุฒิสอน
ผู้อา� นวยการส�านักงานสถิติแห่งชาติ
นาวาอากาศเอก สมศักดิ์ ขาวสุวรรณ์ กรรมการ/รักษาการกรรมการผู้จด ั การใหญ่ บมจ.โทรคมนาคมแห่งชาติ
ดร.ชัยชนะ มิตรพั นธ์
ผู้อา� นวยการ ส�านักงานพั ฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
ดร.ดนันท์ สุภัทรพั นธุ์ กรรมการผู้จด ั การใหญ่ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ากัด
ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพั ชรินทร์ ผู้อา� นวยการส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจท ิ ัล
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
21
การแบ่งส่วนราชการ
กระทรวงดิจท ิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
22
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Ministry of Digital Economy and Society)
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม (Ministry of Digital Economy and Society) เป็นหน่วยงานราชการ ส่วนกลางประเภทกระทรวงของไทย มี อ�านาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผน ส่ง เสริม พัฒนา และด�าเนินกิจการเกี่ยว กับดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม การ อุตุนิยมวิทยา การสถิติ และราชการ อื่ น ตามที่ มี ก ฎหมายก� า หนดให้ เ ป็ น อ�านาจหน้าที่ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม หรือส่วนราชการ ที่สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม
ประวัติ
กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ภายใต้ชื่อ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีอ�านาจหน้าที่ เกี่ยวกับการวางแผน ส่งเสริม พัฒนา และด�าเนินกิจการที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร การอุตุนิยมวิทยา และการสถิติ ต่อมาวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 คณะรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราช บัญญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม เพือ่ จัดตัง้ กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและ สังคมขึน้ มาแทนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร และเมือ่ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2559 ได้มีการตราพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2559 ส่งผลให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ต้องสิน้ สุดลง และจัดตัง้ กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคมขึน้ แทน กระทรวง เปลี่ยนชื่ออย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2559 ใช้อักษรย่อ ดศ. ต่อมาในวันที่ 15 กันยายน 2559 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้เผย วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
29
แพร่ประกาศพระราชบัญญัติ ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2559 โดยมีสาระส�าคัญคือให้ยกเลิก กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร และให้จัดตั้งกระทรวงดิจิทัล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมขึ้ น มาแทน (เปลี่ยนชื่อกระทรวง) ต่ อ มาในวั น ที่ 26 กั น ยายน พ.ศ. 2559 มีการประกาศใช้พระราช บัญญัติสภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2559 โดยให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นสมาชิกสภาความมั่นคงแห่งชาติ จึงเท่ากับให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คม เป็ น สมาชิกสภาความมั่นคงแห่งชาติ ปลัด คนแรกของกระทรวงได้แก่ นางทรงพร โกมลสุรเดช ด�ารงต�าแหน่ง 1 เดือน 20 วันก่อนถูกโยกย้ายพ้นจากต�าแหน่ง ปลัดกระทรวง และได้ด�ารงต�าแหน่งผู้ ตรวจราชการพิเศษประจ�าส�านักนายก รัฐมนตรีในวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 มีประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อ
30
เศรษฐกิจและสังคม เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระท�าความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550, พ.ศ. 2560 แต่งตัง้ วิไลลักษณ์ ชุลวี ฒ ั นกุล ปลัดกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและ สังคม เป็นประธานคณะกรรมการกลัน่ กรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยให้มผี ลในวัน ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ในวันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม ได้เปิดศูนย์ป้องกันข่าวปลอม ขึ้นในกระทรวง หรือที่รู้จักใน ศูนย์เฟ คนิวส์
เครื่องหมายประจ�ากระทรวง
พระพุธ เป็นเทพเจ้าวันพุธมีกายสีเขียว เปี่ยมด้วย ภูมิปัญญามีความรอบรู้เป็นเลิศ พระหัตถ์ขวาถือคัมภีรแ์ สดงถึง ความรอบรู้ ในวิทยาการต่างๆ พระหัตถ์ซ้ายถือพระ ขรรค์ แสดงถึงความเฉียบคมมีอ�านาจ พระเศียรเปล่งรัศมี แสดงถึงพระปัญญา ญาณ ลายรูปพระเกศตอนบนของกรอบ เป็ น การเสริ ม ภาพพระพุ ธ ซึ่ ง แสดงสติ ปัญญาและความรอบรู้ ลายขมวดตอนล่าง ของกรอบแสดงถึงศูนย์รวมของความรู้ข่าวสาร ข้อมูลต่างๆ
วิสัยทัศน์
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
“ผลักดันการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล เพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ประเทศไทย 4.0”
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
พั นธกิจ
1. เสนอนโยบาย แผนระดับชาติ และกฎหมาย ว่าด้วยการพัฒนาดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมด้านสถิติ ด้านอุตุนิยมวิทยา รวมทั้งด้านความมั่นคง ปลอดภัยทางไซเบอร์ 2. พัฒนาและบริหารจัดการโครงข่ายสือ่ สารโทรคมนาคม เพือ่ การพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 3. ส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม การวิจยั และพัฒนา รวมทั้งการพัฒนาก�าลังคน ด้านดิจิทัลเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่ง ขัน ของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน 4. ส่งเสริม สนับสนุนการน�าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการยกระดับการ ท�างานของหน่วยงานภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล 5. บริหารจัดการระบบสถิติของประเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจรวม ทั้งส่งเสริมและพัฒนา การอุตุนิยมวิทยา ให้มีประสิทธิภาพ ทันต่อเหตุการณ์ 6. ก�ากับดูแลและติดตาม ประเมินผลตามนโยบาย แผนระดับชาติ และกฎหมาย ว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ด้านสถิติ ด้าน อุตุนิยมวิทยา รวมทั้งด้านความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์
อ�านาจหน้าที่
พระราชบัญญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พศ. 2559 (เพือ่ จัดตั้งกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม) หมวด 8/1มาตรา 21/1 กระทรวง ดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม มีอา� นาจหน้าทีเ่ กีย่ วกับการวางแผนส่งเสริม พัฒนา และด�าเนินกิจการเกี่ยวกับดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม การอุตุนิยมวิทยา การ สถิติและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายก�าหนดให้เป็นอ�านาจหน้าที่ของกระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม มาตรา 21/2 กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม มีสว่ นราชการ ดังนี้ 1. ส�านักงานรัฐมนตรี 2. ส�านักงานปลัดกระทรวง 3. กรมอุตุนิยมวิทยา 4. ส�านักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5. ส�านักงานสถิติแห่งชาติ นอกจากนี้ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมยังมีหน่วยงาน องค์การมหาชนและรัฐวิสาหกิจ ในสังกัดอีก 5 แห่งประกอบด้วย 1. บริษัท ทีโอที จ�ากัด (มหาชน) 2. บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ากัด (มหาชน) 3. บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ากัด 4. ส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล 5. ส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
31
ข่าวแวดวง
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ข่าวดี! ส�ำหรับ SMEs
ภาคอุตสาหกรรมธุรกิจและการเกษตร
depa ขอชวน SMEs และเกษตรกร ทีม่ คี วามพร้อม ความ ตั้งใจในการปรับเปลี่ยนและยกระดับธุรกิจด้วยดิจิทัล ครั้งที่ 2
เปิดรับข้อเสนอโครงการ ตัง ั นี-้ วันที่ 28 กุมภาพั นธ์ 2565 ้ แต่บด สนใจสมัครได้ที่ Line Official Account: @depaThailand ศึกษารายละเอียดเพิ่ มเติมที่ www.depa.or.th
28
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
ส่งต่อควำมรู้ ส่งเสริมคนไทย
สู่พลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพ มีคนไทยจ�ำนวนมำกที่ยังตกเป็น เหยือ่ ของเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทัง้ ถูกหลอก ลวง กำรถูกละเมิดสิทธิสว่ นบุคคล และ อีกมำกมำย ETDA จึงได้รวบรวมควำม รูใ้ นทุกมิตทิ จี่ ะช่วยให้คนไทยได้มแี หล่ง ข้อมูล แหล่งเรียนรู้ และที่ปรึกษำเมื่อ พบกับปัญหำทำงออนไลน์ EDC หรือ ETDA Digital Citizen จึงเกิดขึ้น เพื่อรวบรวมควำมรู้ที่ส�ำคัญ และจ�ำเป็นส�ำหรับคนไทย เพรำะกำร ที่เรำจะรู้เท่ำทันได้นั้น เรำต้องรู้จักและ เข้ำใจหลำยสิง่ หลำยอย่ำงรอบๆ ตัวเรำ ในโลกดิจทิ ลั เช่น กำรพิสจู น์และยืนยัน ตัวตน กำรสื่อสำร กำรจัดกำรควำม
ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์
รู้เท่าทันภัยออนไลน์ ปลอดภัย และกำรรู้จักใช้เทคโนโลยีอย่ำงเหมำะสม กำรเรียนรูท้ ดี่ ี ต้องไม่ยดั เยียด ETDA จึงค่อยๆ ทยอยปล่อยควำมรูใ้ นรูปแบบ ต่ำงๆ ทัง้ หลักสูตรออนไลน์ หนังสือ คลิปวิดโี อ แถมบำงครัง้ เรำยังออกไปให้ควำม รูร้ ว่ มกับพันธมิตรทีส่ นใจ และอยำกให้ ETDA เป็นส่วนหนึง่ ในกำรร่วมแบ่งปันสิง่ ทีเรำมี EDC ยินดีเป็นส่วนหนึง่ เล็กๆ ในชีวติ คุณทุกคน เรำไม่กดดันให้คณ ุ ต้องเรียน รู้ เรำค่อยๆ เรียนรูไ้ ปด้วยกัน และเมือ่ มีปญ ั หำ เรำยินดียนื เคียงข้ำงคนไทยทุกคน แล้วเรำจะมำปลดล็อคข้อจ�ำกัดทำงเทคโนโลยีดิจิทัลไปด้วยกัน เตรี ยมพบกับกิจกรรมเพื่อ…ส่ งต่ อความรู้ สู่พลเมืองดิจทิ ัล…เร็วๆ นี้
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
29
“ชัยวุฒิ”เร่งจัดระบบฐำนข้อมูลติดตำมคดีออนไลน์
ร่วมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปรับปรุงแนวทางปฏิบัติ
นำยชัยวุฒิ ธนำคมำนุสรณ์ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธำนกำรประชุมหำรือแนวทำง กำรปรับปรุงพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกำระท�ำควำมผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ ณ ห้องประชุม MDES1 ชั้น 9 กระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม โดยที่ประชุมได้พิจำรณำวำระส�ำคัญ เรื่อง แนวทำงกำรปรับปรุงพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกำระท�ำควำมผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม รวมถึงกำร ด�ำเนินกำรกับเนือ้ หำทีเ่ ผยแพร่ในอินเทอร์เน็ตและสือ่ ออนไลน์กรณี ที่เกี่ยวข้องกับสถำบัน . ทั้งนี้ แนวทำงปรับปรุงฯ ได้แก่ โครงการจัด ท� า ระบบฐานข้ อ มู ล คอมพิวเตอร์ และแนวทางปฏิ บตั ิ เพือ่ ควบคุมและติ ดตามคดีทีเ่ กี ย่ วข้องกับ การเผยแพร่ ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ อนั เป็ นเท็จและการกระท�าความผิ ดทางสือ่ สังคมออนไลน์ ซึง่ กระทรวงฯ มีเป้ำหมำยกำรสร้ำงระบบฐำนข้อมูลของดีอี เอส รูปแบบระบบ OAS (Office Automation System) ทีบ่ ริหำรจัดกำรโดย ระบบปัญญำประดิษฐ์ เป็นระบบรวบรวม ติดตำม และเชือ่ มต่อฐำนข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์กับหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้อง และผู้ให้บริกำรคอมพิวเตอร์ เป็นต้น นอกจำกนี้ยังหำรือโครงกำรปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยเพื่อป้องกัน ปรำบปรำมอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอร์จำกเทคโนโลยีสมัยใหม่
30
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
รมว.ดิจิทัลฯ เข้าพบ ประธานศาลฎีกา
เผยศาลยุตธ ิ รรมพร้อมเปิดรับฟ้องคดีออนไลน
ทางอิเล็กทรอนิกส์ปลายเดือนมกราคม
หวังช่วยเหลือประชำชนผู้เสียหำยจำกกำรซื้อขำยออนไลน์
ภำยหลั ง จำกที่ พ ลเอกประยุ ท ธ์ จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรี ได้มีข้อสั่ง กำร ก�ำชับ ให้ นำยชัยวุฒิ ธนำคมำนุ สรณ์ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงดิจิทัล เพื่ อ เศรษฐกิ จ เเละสั ง คม (ดี อี เ อส) เร่งรัด ดูแล เรื่องกำรเเก้ปัญหำให้กับ ประชำชนที่ถูกหลอกลวงเกี่ยวกับกำร สั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ ำ ออนไลน์ และได้ สิ น ค้ ำ ไม่ตรงปก หรือได้ไม่ครบตำมจ�ำนวน เป็นปัญหำที่ส่งผลกระทบต่อผู้บริโภค เป็นจ�ำนวนมำก แต่ยังไม่มีช่องทำง ใดที่จะด�ำเนินกำรเอำผิดกับผู้ขำยได้ โดยตรง ล่ำสุด นำยชัยวุฒิ ธนำคม ำนุ ส รณ์ รั ฐ มนตรี ว ่ ำ กำรกระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจเเละสังคม ได้เข้ำ พบ น.ส.ปิยะกุล บุญเพิ่มประธำนศำล ฎีกำ เพื่อติดตำมควำมคืบหน้ำ เกี่ยว กั บ ปั ญ หำดั ง กล่ ำ ว โดย น.ส.ปิ ย ะ กุล บุญเพิ่ม ประธำนศำลฎีกำ กล่ำว ว่ำ เรำตระหนักถึงควำมเดือดร้อนของ ประชำชน เเละพยำยำมที่ จ ะดู เ เลผู ้ เสียหำยในทุกมิตภิ ำยใต้สโลแกนควำม ยุติธรรมที่เข้ำถึงง่ำย จึงตั้งโจทย์ว่ำท�ำ อย่ำงไรจึงจะท�ำให้ประชำชนที่ได้รับ
ควำมเสียหำยเข้ำถึงกำรฟ้องคดีแพ่งได้ง่ำย ซึ่งขณะนี้ ก�ำลังสร้ำงช่องทำงกำร รับฟ้องคดีทำงอิเล็กทรอนิกส์ โดยมุ่งเน้นไปที่คดีแพ่งเป็นหลัก เพื่อแก้ปัญหำผู้ บริโภคได้รับสินค้ำไม่ตรงปก หรือได้รับสินค้ำไม่เป็นไปตำมที่ตกลงไว้ ซึ่งพบว่ำ มีเพิ่มมำกขึ้นเป็นจ�ำนวนมำกในยุคปัจจุบัน นำยชัยวุฒิ ธนำคมำนุสรณ์ รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจเเละ สังคม กล่ำวว่ำกระทรวงดิ จิทลั ฯพร้อมท�างานขับเคลือ่ นควบคูไ่ ปกับศาลยุติธรรม เพือ่ เเก้ปัญหาเรื ่องดังกล่าวให้กบั ประชาชน โดยสนับสนุนเครื ่องมือในการท�างาน เเละประสานความร่ วมมือกันระหว่างศาลยุติธรรมเเละส�านักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิ เล็กทรอนิ กส์(ETDA) ซึ่งเป็ นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงดิ จิทลั เพือ่ เศรษฐ กิ จเเละสังคม ทั้งนี้กำรซื้อขำยออนไลน์จะสำมำรถยื่นฟ้องคดีได้ 24 ชั่วโมงเรียกว่ำยื่น ฟ้องได้ทุกวันตลอดเวลำ ผู้เสียหำยไม่ต้องน�ำกระดำษมำยื่นฟ้องศำลเหมือนคดี ปกติ ช่วยในกำรอ�ำนวยควำมสะดวกเรือ่ งกำรทีไ่ ม่ตอ้ งเดินทำงมำศำลให้ทนั เวลำ ท�ำกำร และสำมำรถท�ำได้ที่ไหนก็ได้ กำรกรอกข้อมูลในระบบที่ใช้ในกำรฟ้องคดี ซื้อขำยออนไลน์ได้ก�ำหนดให้ไม่มีควำมซับซ้อน จะมีช่องกรอกข้อมูลพร้อมเเนบ หลักฐำนที่จะเป็นไฟล์ท�ำได้ไม่ยำก ถือว่ำเป็นกำรเเก้ปัญหำ เเละอ�ำนวยควำม สะดวกให้กับประชำชน อย่ำงไรก็ตำมศำลยุติธรรมเตรียมที่จะเปิดระบบกำรรับ ฟ้องคดีทำงอิเล็กทรอนิกส์อย่ำงเป็นทำงกำรได้ภำยในเดือนมกรำคมนี้ ขณะนีอ้ ยู่ ระหว่ำงกำรพัฒนำเว็บไซต์ เพื่อให้ง่ำยต่อกำรติดต่อสื่อสำร ส�ำหรับคดีนี้ผู้เสียหำยสำมำรถยื่นฟ้องตรงได้ โดยเข้ำไปกรอกเอกสำร ยืนยันตัวตนในเว็บไซต์ โดยมีกำรตั้งองค์คณะผู้พิพำกษำ 5 คณะ เพื่อท�ำกำรรับ เรื่องรำว และจะเป็นกำรพิจำรณำควำมรวมถึงกำรสื่อควำมเสียหำยผ่ำนระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะท�ำให้เกิดควำมสะดวกแก่ผู้เสียหำย แม้วงเงินเสียหำยจะไม่ มำกนัก
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
31
“ชัยวุฒ”ิ น�ำร่องฟื้ น ศก.รำกหญ้ำเปิ ดตลำดสดยุคใหม่
ชวนลงทะเบียนคนละครึ่งเฟส 4 ชัยวุฒิ รมว.ดีอีเอส ชวน 14 ก.พ นี้ ลงทะเบียนคนละครึ่งเฟส 4 หนุนแบ่ง เบำค่ำใช้จ่ำยประชำชน พร้อมเตือน อย่ำหลงเชื่อคอลเซ็นเตอร์ อ้ำงเป็นเจ้ำ หน้ำที่รัฐโทรตรวจสอบเงินในบัญชี นำยชั ย วุ ฒิ ธนำคมำนุ ส รณ์ รั ฐ มนตรี ว ่ ำ กำรกระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คม กล่ ำ วว่ ำ ขอ เชิ ญ ชวนให้ ป ระชำชนลงทะเบี ย น โครงกำรคนละครึ่งเฟส 4 ซึ่งเป็นหนึ่ง ในมำตรกำรช่วยเหลือด้ำนภำระค่ำใช้ จ่ำยจำกรัฐบำล และแก้ปัญหำสินค้ำ รำคำแพงด้วย พร้ อ มกั น นี้ อ ยำกขอย�้ ำ เตื อ น ประชำชน อย่ ำ หลงเชื่ อ แกงค์ ค อล
32
เซ็นเตอร์ ทีโ่ ทรผ่ำนอินเทอร์เน็ต อ้ำงตัว เป็นเจ้ำหน้ำที่รัฐ ต�ำรวจ จะตรวจสอบ กำรเงินบัญชีของประชำชน โดยยืนยัน ว่ำ เจ้ำหน้ำที่รัฐไม่มีหน้ำที่จะโทรไปหำ ประชำชนเป็นอันขำด “ทีส่ �าคัญเรื ่องนี ้ ผมและภาคส่วนที ่ เกี ย่ วข้องพยายามจะทลายแกงค์เหล่า นี ้ โดยมี การตัง้ คณะท�างานขึ้นมา และ เร่ งแก้ไขปั ญหาให้ดีที่สดุ พร้ อมย�้ าว่า เมื ่อใช้เทคโนโลยี ออนไลน์ ในการโอน เงิ นจ� าเป็ นจะต้องระมัดระวังมิ จฉาชี พ ด้วย” นำยชัยวุฒิกล่ำว ล่าสุด รมว.ดีอีเอส พร้อมด้วยนาง สาวอัจฉริ นทร์ พัฒนพันธ์ ชยั ปลัดกระ ทรวงดิ จิทลั ฯ และ นายณัฐพล นิ มมาน พัชริ นทร์ ผูอ้ �านวยการใหญ่ ส�านักงาน ส่งเสริ มเศรษฐกิ จดิ จิทลั (ดี ป้า) เปิ ด โครงการ Transform ตลาดสดยุค วิ ถีใหม่ (New Normal) ที ่ตลาดสด สิ งห์บรุ ี พร้อมพบปะพูดคุยกับพ่อค้ำ แม่ค้ำ ให้ยกระดับกำรค้ำขำย โดยน�ำ เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ำมำสร้ำงโอกำสใน กำรเข้ำถึงลูกค้ำ ทั้งด้ำนกำรขำยและ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
กำรให้บริกำร เพื่อรองรับกำรจับจ่ำย ใช้สอยที่ก�ำลังจะกลับมำคึกคักอีกครั้ง หลังวิกฤตโควิด–19 และมำตรกำรผ่อน ปรนจำกภำครัฐเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ จำกกำรท่องเที่ยวภำยในประเทศ ซึ่ง จั ง หวั ด สิ ง ห์ บุ รี ถื อ เป็ น อี ก หนึ่ ง ใน 6 พื้นที่น�ำร่องของโครงกำร Transform ตลำดสดยุควิถีใหม่ ทั้ง นี ้ น ายชั ย วุ ฒิ กล่ า วว่ า การ ด�าเนิ นโครงการนีอ้ ย่างน้อยเป็ นจุดเริ่ ม ต้นให้กลุม่ พ่อค้าแม่คา้ ใช้เทคโนโลยีเข้า มาเสริ มการขายโดยเฉพาะการช� าระ เงิ น ผ่านระบบคิ วอาร์ โค้ดหรื อออนไลน์ จากนัน้ ดี ป้า จะเข้ามาแนะน� าการใช้ เทคโนโลยีต่างๆเสริ ม ซึ่งเป็ นจุดเริ่ มต้น ให้พอ่ ค้าแม่คา้ ได้ปรับตัว
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
ไปรษณีย์ไทย อัพดีกรีบริการ “EMS”
รับส่งไม่มีวันหยุดทุกพื้นที่
CF ทุกวัน ส่ งทุกวัน EMS ทุกวัน บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด อัด แคมเปญ “EMS ทุกวัน พีไ่ ปรฯ ทุกวัน เพื ่อทุกวันที ่ดีของคุณ” อ�ำนวยควำม สะดวกให้คนไทย ใช้บริกำร EMS ได้ ทุกวันไม่มีวันหยุด เดินหน้ำให้บริกำร น�ำจ่ำยสิ่งของทุกประเภท ทุกวัน ทุก พื้นที่ทั่วไทย พร้อมจัดรำคำพิเศษให้ พ่อค้ำแม่ค้ำออนไลน์ หรือผู้ประกอบ กำรธุรกิจ e-Commerce ขำยได้ ขำย ดี เริ่มต้นกิโลกรัมละ 25 บำท ตั้งแต่วัน นี้ - มิ.ย. 2565 ดร.ดนันท์ สุภัทรพันธุ์ กรรมกำร ผู ้ จั ด กำรใหญ่ บ ริ ษั ท ไปรษณี ย ์ ไ ทย จ�ำกัด กล่ำวว่ำ กำรขนส่ง และโลจิ สติ ก ส์ ยั ง เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ของภำค ธุรกิจ รวมถึงภำคประชำชนอย่ำงต่อ เนื่อง โดยเฉพำะบริกำรไปรษณีย์ด่วน พิ เ ศษหรื อ EMS ซึ่ ง เป็ น มำตรฐำน บริกำรที่ผู้ใช้บริกำรเลือกใช้กันเป็นล�ำ ดับต้นๆ เนื่องจำกมีควำมรวดเร็ว ตอบ สนองพฤติ ก รรมผู ้ บ ริ โ ภคที่ ต ้ อ งกำร ของถึงมือแบบรวดเร็วทันใจ รวมทั้งยัง เป็นแรงขับเคลื่อนที่ส�ำคัญของธุรกิจ อีคอมเมิรซ์ แบบ B2C ทีใ่ นภำพรวมของ ประเทศไทยมีมูลค่ำกำรเติบโตเกือบ 7 แสนล้ำนบำท เนื่องมำจำกกำรปรับตัว ของแบรนด์สินค้ำต่ำงๆ ที่หันเข้ำสู่ช่อง ทำงออนไลน์ ผนวกกับผูบ้ ริโภคเลือกซือ้ สินค้ำจำกแพลตฟอร์ม – แอปพลิเคชัน ออนไลน์ภำยใต้มำตรกำรล็อกดำวน์ใน ช่วงกำรระบำดของเชื้อโควิด – 19 มำก ขึ้น ไปรษณี ย ์ ไ ทย ในฐำนะหน่ ว ย งำนกำรสื่อสำรและขนส่งแห่งชำติ ใน
สังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม จึงได้ยกระดับบริกำร EMS ให้ มีประสิทธิภำพและสอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ของคนไทยมำกยิ่งขึ้นผ่ำนแคมเปญ “EMS ทุกวัน พีไ่ ปรฯ ทุกวัน เพือ่ ทุกวันทีด่ ีของคุณ” ซึ่งจะให้บริกำรกับคนไทย ทุกวันโดยไม่มีวันหยุดเพื่ออ�ำนวยควำมสะดวกให้ทั้งกับประชำชนทั่วไป หน่วย งำนต่ำงๆ รวมถึงธุรกิจ e-Commerce ให้สำมำรถใช้บริกำรฝำกส่งสิ่งของผ่ำน ไปรษณีย์ไทยได้อย่ำงไม่สะดุด ทุกพื้นที่ทั่วประเทศ ตั้งแต่ที่ท�ำกำรไปรษณีย์ใน จังหวัดห้ำงสรรพสินค้ำ เคำน์เตอร์บริกำรไปรษณีย์ นอกจำกนี้ ไปรษณีย์ไทย และพี่ไปรฯ กว่ำ 20,000 คนทั่วประเทศ พร้อมเดินหน้ำน�ำจ่ำยสิ่งของถึงมือผู้รับ ปลำยทำงทุกประเภท ทุกวัน ทุกพื้นที่ทั่วไทยแบบไม่มีวันหยุด เพื่อให้คนไทยได้ รับสิ่งของฝำกส่งรวดเร็วตำมมำตรฐำนกำรให้บริกำร ที่มั่นใจได้ว่ำคุ้มค่ำ รวดเร็ว และเช็กสถำนะสิ่งของได้ตลอดเวลำแน่นอน ทัง้ นี ้ ส�าหรับพ่อค้าแม่คา้ ออนไลน์ หรื อผูป้ ระกอบการธุรกิ จ e-Commerce ไปรษณี ย์ไทย มี ราคาพิ เศษช่วยสนับสนุนและตอบโจทย์ ธุรกิ จได้อย่างคล่องตัว โดยราคาเริ่ มต้นเพียงกิ โลกรัมละ 25 บาท และยิ่ งส่งมาก ยิ่ งราคาถูก โดยสามารถ ติ ดต่อใช้บริ การกับพีไ่ ปรฯ ใกล้บา้ นได้ทกุ แห่ง ทัว่ ประเทศ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
33
สดช. เร่งผลักดันหลักสูตร
เพื่ อพั ฒนาทักษะดิจท ิ ัล
ของหน่วยงานภาครัฐอย่างมีมาตรฐาน
นำยภุชพงค์ โนดไธสง เลขำธิกำร คณะกรรมกำรดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสังคมแห่งชำติ ได้เป็นประธำนกำร ประชุมคณะกรรมกำรรับรองหลักสูตร กำรพั ฒ นำก� ำ ลั ง คนด้ ำ นดิ จิ ทั ล ครั้ ง ที่ 1/2565 ผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ณ ห้องประชุม ONDE-1 ส�ำนักงำนคณะ กรรมกำรดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และ สังคมแห่งชำติ (สดช.) ชั้น 9 อำคำร รั ฐ ประศำสนภั ก ดี ศู น ย์ ร ำชกำร เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษำ 5 ธันวำคม 2550 ในกำรประชุ ม คณะกรรมกำร รั บ รองหลั ก สู ต รกำรพั ฒ นำก� ำ ลั ง คน ด้ำนดิจิทัล ที่ประชุมได้รับทรำบถึงมติ คณะรัฐมนตรี วันที่ 23 พฤศจิกำยน 2564 เรื่อง ขอขยำยกลุ่มเป้ำหมำยใน กำรรับรองหลักสูตรเพื่อพัฒนำทักษะ ด้ำนดิจิทัลของหน่วยงำนภำครัฐ ซึ่ง มี ม ติ เ ห็ น ชอบตำมที่ ก ระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.) เสนอ ขอขยำยกลุ่มเป้ำหมำยในกำรรับรอง หลักสูตรเพื่อพัฒนำทักษะด้ำนดิจิทัล ของหน่ ว ยงำนภำครั ฐ ครอบคลุ ม บุ ค ลำกรและข้ ำ รำชกำรภำครั ฐ ทั้ ง 6 กลุ ่ ม 1. ผู้บ ริ หารระดับ สู ง 2. ผู้ อ� านวยการ 3. ผูท้ �างานด้านนโยบาย และวิ ชาการ 4. ผู้ท�างานด้านบริ หาร 5. ผู้ปฏิ บตั ิ งานด้านเทคโนโลยี 6. ผู้ ปฏิ บัติ ง านอื ่ น ๆ และมอบหมำยให้ ดศ. โดย สดช. เร่งก�ำหนดมำตรฐำน
34
ของหลักสูตรกำรพัฒนำทักษะดิจิทัล ส�ำหรับข้ำรำชกำรและบุคลำกรของรัฐ ในแต่ละกลุ่มเป้ำหมำย ก�ำหนดกลไก กำรติดตำมและประเมินผลกำรด�ำเนิน งำนอย่ำ งเป็น ระบบ และสร้ำงเครือ ข่ำยควำมร่วมมือกับองค์กรที่มีควำม เชี่ยวชำญและเป็นที่ยอมรับในสำขำ ที่เกี่ยวข้อง นอกจำกนี้ ที่ประชุมได้รับ ทรำบกำรติด ตำมผลกำรด�ำเนินงำน หลั ก สู ต รที่ ผ ่ ำ นกำรรั บ รอง เพื่ อ เป็ น ข้อมูลประกอบกำรด�ำเนินกำรรับรอง ในระยะต่อไป โดยในกำรประชุมครั้ง นี้ คณะกรรมกำรรับรองหลักสูตรกำร พัฒนำก�ำลังคนด้ำนดิจิทัล ได้เห็นชอบ ในร่ำงหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไข กำรรับรองหลักสูตรฯ เพือ่ อ�ำนวยควำม สะดวกแก่หน่วยงำน และได้พิจำรณำ สรุปผลกำรรับรองหลักสูตรที่ได้รับกำร ยื่นเสนอขอรับกำรรับรองจำก สดช. ทั้งนี้ สดช. ได้ก�ำหนดเป้ำหมำย มีกำรรับรองหลักสูตรฯ จ�ำนวน 100
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
หลั ก สู ต ร และจะมี ก ำรด� ำ เนิ น กำร จัดแถลงข่ำวประชำสัมพันธ์เกี่ยวกับ กำรรับรองหลักสูตรเพื่อพัฒนำทักษะ ดิ จิ ทั ล ของหน่ ว ยงำนภำครั ฐ ในวั น ที่ 8 กุมภำพันธ์ 2565 โดยจะด�ำเนิน กำรประชำสัมพันธ์ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง รั บ ทรำบถึ ง กำรด� ำ เนิ น งำนด้ ำ นกำร รับรองหลักสูตรเพือ่ พัฒนำทักษะดิจทิ ลั ของหน่วยงำนภำครัฐ พร้อมทั้งเปิด ให้ ส ถำบั น อบรม สถำบั น กำรศึ ก ษำ หน่วยงำนภำครัฐที่มีบทบำทหน้ำที่จัด อบรม ยื่ น เสนอรั บ รองหลั ก สู ต รจำก สดช. ตลอดจนเปิดให้ผเู้ ชีย่ วชำญ ผูท้ รง คุณวุฒิ ยื่นสมัครเพื่อเป็นผู้ประเมิน หลักสูตรอย่ำงเป็นทำงกำร ในกำรนี้ จะ มีกำรน�ำระบบสำรสนเทศทีไ่ ด้ออกแบบ และพัฒนำขึ้น เข้ำมำช่วยสนับสนุน และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ ำพในกำรบริ ห ำร จัดกำรและติดตำมกำรรับรองหลักสูตร ต่อไป
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
นำยชั ย วุ ฒิ ธนำคมำนุ ส รณ์ รั ฐ มนตรี ว ่ ำ กำรกระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิจและสังคม ได้ให้กำรต้อนรับ และแสดงควำมยิ น ดี ใ นโอกำสเข้ ำ รั บ ต� ำ แหน่ ง ใหม่ ข องนายหาน จื้ อ เฉี ย ง (H.E. Mr. Han Zhiqiang) เ อ ก อั ค ร ร า ช ทู ต ส า ธ า ร ณ รั ฐ ประชาชนจีน ประจ�า ประเทศไทย ในโอกำสเข้ำเยีย่ มคำรวะ ณ ห้องรับรอง ชั้น 9 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม โดยได้ร่วมหำรือเกี่ยวกับ ควำมสัมพันธ์ด้ำนดิจิทัล และควำม ร่วมมือในกำรลงทุนด้ำนดิจทิ ลั ระหว่ำง สองประเทศ ซึ่งทั้งสองฝ่ำยยืนยันจะ สนับสนุนควำมร่วมมือในด้ำนต่ำงๆ ที่ผ่ำนมำ อำทิ การส่งเสริ มศักยภาพ แรงงานด้านดิ จิทลั อุตสาหกรรมดิ จิทลั เทคโนโลยีและนวัตกรรม และเศรษฐกิ จ ดิจิทลั รวมทัง้ กำรหำรือเรือ่ งกำรประชุม ระดับรัฐมนตรี และกำรประชุมคณะ
ดิจิทัลฯ
ชัยวุฒิ หารือ เอกอัครราชทูตฯ จีน
เร่งผลักดันความร่วมมือด้านดิจิทัล
ท�ำงำนร่วมไทย – จีน ด้ำนควำมร่วมมือ ในสำขำเศรษฐกิจดิจิทัล ครั้งที่ 2 หลัง จำกที่จีนเป็นเจ้ำภำพจัดกำรประชุมฯ ครั้งที่ 1 ณ นครคุนหมิง สำธำรณรัฐ ประชำชนจีน เมื่อปี 2562 ในโอกำสนี้ ทั้ ง สองฝ่ ำ ยได้ ห ำรื อ แนวทำงกำรด�ำเนินควำมร่วมมือใหม่ๆ ได้แก่ ความมั่น คงปลอดภัยไซเบอร์
ความปลอดภัยของข้อมูล และความ ร่ ว มมื อ เรื ่ อ งดาวเที ย มและกิ จการ อวกาศ ซึ่งเป็นประเด็นที่ทั้งสองฝ่ำย ให้ควำมส�ำคัญ โดยนำยหำน จื้อเฉียง ได้แจ้งว่ำ ไทยและจีนมีควำมร่วมมือ ด้ำนดิจิทัลที่สำมำรถผลักดันให้เกิดรูป ธรรมร่วมกันได้ต่อไป
ดีอีเอส เผยศาลสั่งปิด 50 ยูอาร์แอล ประเดิมเปิ ดสัปดำห์แรกปี 65
โฆษกดีอีเอสฝ่ำยกำรเมือง เผยประเดิมต้นปี 65 มีค�ำสั่งศำลปิดกั้นและลบ เนื้อหำผิดกฎหมำย 50 ยูอาร์ แอล ย�้ำกระทรวงดิจิทัลฯ ท�ำงำนเชิงรุกต่อเนื่อง หวังขจัดปัญหำข้อควำมเท็จให้หมดจำกสังคมโซเชียล นำงสำวนพวรรณ หัวใจมั่น โฆษกกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ฝ่ำยกำรเมือง (ดีอีเอส) กล่ำวว่ำ จำกแนวโน้มปัญหำกำรโพสต์ข้อควำมเท็จ ที่ยัง มีกำรแพร่กระจำยบนช่องทำงโซเชียลต่ำงๆ จ�ำนวนมำก สร้ำงควำมตื่นตระหนก ควำมสับสนให้กับประชำชน และกระทบต่อควำมมั่นคงของชำติ นำยชัยวุฒิ ธนำคมำนุสรณ์ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงดิจิทัลฯ ได้เร่งติดตำมปัญหำเชิงรุก มี กำรมอนิเตอร์สถำนกำรณ์ทั้งในและต่ำงประเทศทุกวัน ทั้งนี้ สถำนกำรณ์ข่ำวปลอมและกำรด�ำเนินกำรตำม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ระหว่ำงวันที่ 27 ธ.ค.64 – 2 ม.ค.65 พบว่ำมีกำรด�ำเนินกำรกับผู้กระท�ำควำมผิด ตำม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ จ�ำนวน 19 ยูอำร์แอล แบ่งเป็น เฟซบุ๊ก 11 ยูอำร์แอล ยูทูบ 6 ยูอำร์แอล และทวิตเตอร์ 2 ยูอำร์แอล ทำงด้ำนกำรด�ำเนินคดีกับผู้กระท�ำควำมผิด ดีอีเอส ได้ประสำนหน่วยงำน เจ้ำของเรื่องมำร้องทุกข์ด�ำเนินคดีกับผู้กระท�ำควำมผิดแล้ว โดยในช่วงสัปดำห์
ดังกล่ำว ศำลสัง่ ปิดกัน้ และลบเนือ้ หำที่ ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ แล้ว 2 ค�ำสั่ง จ�ำนวน 50 ยูอำร์แอล โดยเป็นเนื้อหำ เกี่ยวกับควำมมั่นคง “ขอฝากความห่วงใยให้แก่พีน่ อ้ ง ประชาชน ที ่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ ให้ ระมัดระวังและไตร่ ตรองข้อมูลให้รอบ ด้าน หากโพสต์ ข้อความที ่เ ป็ นเท็ จ สร้ างข่าวปลอมในระบบคอมพิ วเตอร์ รวมถึ ง ผู้ ที่ แ ชร์ ข้ อ ความนั้น ถื อ ว่ า มี ความผิ ดตามกฎหมาย” นำงสำวนพ วรรณกล่ำว
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
35
ดีอีเอส เร่งเครื่อง ฟรีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง สำ�หรับผู้มีร�ยได้น้อย
นำยเนวิ น ธุ ์ ช่ อ ชั ย ทิ พ ฐ์ ผู ้ ช ่ ว ย รัฐมนตรี ดีอีเอส กล่ำวว่ำ “รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงดิ จิ ทั ล ฯ นายชั ย วุ ฒิ มี น โยบายให้ อิ น เทอร์ เน็ ต เป็ น สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน และเป็ นเครื ่อง มื อ ส� า คัญ ในการลดความเหลื ่อ มล�้ า ทางเศรษฐกิ จและสังคมมอบหมายให้ ท� าโครงการฟรี อินเทอร์ เน็ตส�าหรับผูม้ ี รายได้นอ้ ยเสร็ จโดยเร็ ว” นำยเนวินธุ์ ช่อชัยทิพฐ์ ผู้ช่วย รั ฐ มนตรี ป ระจ� ำ กระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คม(ดี อี เ อส) เป็ น
36
ประธำนกำรประชุ ม คณะท� ำ งำน อิ น เทอร์ เ น็ ต ส� ำ หรั บ ผู ้ มี ร ำยได้ น ้ อ ย และด้อยโอกำส ครั้งที่ 1/2565 ตำม ข้ อ สั่ ง กำรของ รั ฐ มนตรี ว ่ ำ กำรกระ ทรวงดิจิทัลฯ นำยชัยวุฒิ ธนำคมำนุ สรณ์ ที่มีนโยบำยให้อินเทอร์เน็ตเป็น สำธำรณูปโภคพื้นฐำน เป็นเครื่องมือ ส�ำคัญในกำรลดควำมเหลื่อมล�้ำทำง เศรษฐกิ จ และสั ง คม และให้ เ ร่ ง จั ด ท�ำโครงกำรฟรีอินเทอร์เน็ตผู้มีรำยได้ น้อยเสร็จโดยเร็ว โดยมี นำยเวทำงค์ พ่วงทรัพย์ รองปลัดกระทรวงดิจิทัล
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม ร่วมประชุม ณ ห้องประชุม mdes 2 ชั้น 9 ที่ประชุมได้ พิจำรณำโครงกำรฟรีไวไฟเพื่อผู้มีรำย ได้น้อย ผู้ด้อยโอกำส และชุมชนเป้ำ หมำย โดยเป้ำหมำยของโครงกำรคือ (1) ลดภาระค่าใช้จ่ายอิ นเทอร์ เน็ต ส� าหรับ ผู้มีรายได้น้อย ผู้ด้อยโอกาส และชุมชนเป้ าหมาย (2) ส่งเสริ มการสร้างรายได้ ลดค่า ใช้จ่าย และอ� านวยความสะดวกกลุ่ม เป้ าหมายผ่านอิ นเตอร์ เน็ต (3) ลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐใน การให้บริ การและการให้ข้อมูลส�าหรับ กลุ่มเป้ าหมาย รวมทัง้ การโอนเงิ น การ สือ่ สารเป็ นต้น ทีป่ ระชุมได้ทำ� กำรพิจำรณำเกณฑ์ กำรคัดเลือกชุมชนส�ำหรับด�ำเนินกำร ในระยะเร่งด่วน ตลอดจนข้อมูลชุมชน ของหน่วยงำนต่ำงๆ อำทิ ข้อมูลชุมชน ของกรมส่งเสริ มการปกครองส่วนท้อง ถิ่ น กระทรวงมหาดไทย ข้อมูลชุมชน ผูม้ ี รายได้นอ้ ย ของการเคหะแห่งชาติ ข้อมูลชุมชนแออัดของสถาบันพัฒนา องค์ กรชุมชน กระทรวงพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนุษย์ ทั้งนี้คำด ว่ำในระยะแรก จะเร่งด�ำเนินกำรส�ำหรับ ชุมชนแออัดและชุมชนผู้มีรำยได้น้อย ได้มำกกว่ำ2,000 ชุมชนทั่วประเทศ ที่ ผ ่ ำ นมำกระทรวงดิ จิ ทั ล เร่ ง ผลั ก ดั น ให้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ควำมเร็ ว สู ง เป็นสำธำรณูปโภคพื้นฐำน เนื่องจำก ปัจจุบนั อินเทอร์เน็ตมีบทบำทส�ำคัญใน ชีวติ ประจ�ำวันของทุกคน ทัง้ กำรท�ำงำน กำรศึ ก ษำ กำรติ ด ต่ อ สื่ อ สำร และ กระทรวงฯได้แต่งตั้งคณะท�ำงำนเพื่อ เสนอแนวทำงผลักดันให้อินเทอร์เน็ต ควำมเร็วสูงเป็นเครือ่ งมือส�ำคัญในกำร ลดควำมเหลื่อมล�้ำทำงเศรษฐกิจและ สังคม ตลอดจนมีค่ำบริกำรรำคำถูก หรือไม่มีค่ำใช้จ่ำย
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
“ชัยวุฒ”ิ รมว.ดีอีเอส เดินหน้ า แผนจั ดตั้ ง คณะท�า งานขั บ เคลื่ อ น บุหรี่ ไฟฟ้าถูกกฎหมาย ย�้าเพื่อปิ ด ช่ อ งว่ า งลั ก ลอบขายออนไลน์ ย�้า ไม่ มีผลประโยชน์ แอบแฝง นำยชั ย วุ ฒิ ธนำคมำนุ ส รณ์ รั ฐ มนตรี ว ่ ำ กำรกระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) กล่ำวว่ำ ผูแ้ ทนกลุม่ ลำขำดควันยำสูบ นำยอำสำ ศำลิคุปต และนำยมำริษ กรัณยวัฒน์ เดินทำงเข้ำพบเพื่อร้องเรียนเกี่ยวกับ ควำมเดือดร้อนของประชำชนเรือ่ งบุหรี่ ไฟฟ้ำ ซึง่ โดยส่วนตัวสนับสนุนกำรผลัก ดันบุหรีไ่ ฟฟ้ำให้ถกู กฎหมำย โดยจะจัด ตั้งคณะท�ำงำนขึ้นมำ เพื่อหำกระบวน กำรทำงกฎหมำยในกำรขับเคลื่อน ปั จ จุ บั น ในข้ อ เท็ จ จริ ง มี ก ำรน� ำ เข้ำบุหรี่ไฟฟ้ำ และกำรจ�ำหน่ำยทำง ออนไลน์ผิดกฏหมำยอย่ำงแพร่หลำย ซึ่ ง ทำงกระทรวงดิ จิ ทั ล ฯ พยำยำม ด�ำเนินกำรแก้ไขปัญหำนี้อยู่ แต่ต้อง ยอมรับว่ำด้วยระบบเทคโนโลยีโชเชีย ลมีเดียของไทยเป็นระบบเปิด จึงมีข้อ จ�ำกัดอย่ำงมำกในกำรปิดกั้นช่องทำง ผิดกฎหมำยดังกล่ำว “ผมเชื ่อว่าการห้ามใช้บุหรี ่ ไฟฟ้ า ไม่ ใ ช่ น่ า ใช่ สิ่ ง ที ่ ถู ก ต้ อ ง เพราะมี ผ ล ศึ ก ษาจากหลายประเทศว่ า บุ ห รี ่ ไฟฟ้ าเป็ นทางเลื อกที ป่ ลอดภัยกว่า มี อันตรายต่อสุขภาพน้อยกว่าบุหรี ่ มวน และในหลายประเทศก็ ย อมรั บ เรื ่ อ ง การใช้บุหรี ่ ไฟฟ้ าแล้ว อย่ างไรก็ ตาม ในประเทศไทยยังมี ข้อจ� ากัดจากเสี ยง คัด ค้า นของบุค ลากรทางการแพทย์ กลุ่ ม หนึ่ ง ท� า ให้ ก ารขออนุ ญ าตน� า เข้าโดยตรงเป็ นไปได้ยาก และมี กฎ ระเบี ยบห้ามน�าเข้าบุหรี ่ไฟฟ้ า” นำยชัย วุฒิกล่ำว ทัง้ นี้ หลังจัดตัง้ คณะท�ำงำน ก็จะมี
ดิจิทัลฯ
“ชัยวุฒิ” ยัน
เดินหน้าตั้งคณะทำางาน
บุหรี่ ไฟฟ้าถูกกม. กำรจัด Forum สัมมนำ และจัดหน่วยเผยแพร่ควำมรูใ้ ห้ประชำชนเกิดควำมเข้ำใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้ำต่อไปด้วย โดยท�ำงำนร่วมกับเครือข่ำยกลุ่มผู้ให้กำร สนับสนุนกำรใช้บุหรี่ไฟฟ้ำ โดยมองว่ำสิง่ ส�ำคัญคือ ถ้ำท�ำให้ถกู กฎหมำย รัฐบำลก็สำมำรถทีจ่ ะควบคุม ได้ โดยใช้กระบวนกำรทำงกฏหมำยเหมือน พ.ร.บ. ยำสูบฯ และใช้มำตรกำรภำษี จัดเก็บภำษีในกำรควบคุมด้วย รัฐก็ได้รำยได้เพิ่มขึ้น มีประโยชน์หลำยอย่ำง พร้อมกันนี้ ย�ำ้ ว่ำกำรขับเคลือ่ นบุหรีไ่ ฟฟ้ำถูกกฎหมำย ไม่มผี ลประโยชน์แอบ แฝงใดๆ และไม่มีผลกระทบต่อคะแนนเสียงทำงกำรเมือง เพรำะเป็นสิ่งที่เป็น ประโยชน์ต่อประชำชน ที่ไม่สำมำรถเลิกบุหรี่มวนได้แล้วหันมำสูบบุหรี่ไฟฟ้ำซึ่ง ปลอดภัยกว่ำ และจำกที่ได้คุยกับหลำยพรรคกำรเมือง รวมถึงประชำชนหลำย กลุ่ม มีควำมเห็นด้วยกับกำรผลักดันในเรื่องนี้ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
37
“ดีอีเอส”โชว์ตัวเลขคนไทย แชร์ข่าวปลอมมากถึง 23 ล้านคน พบสื่อมวลชนให้ความสนใจปัญหาข่าวปลอมเพิ่ มขึ้น
“ชัยวุฒ”ิ รมว.ดีอีเอส เปิ ดสถิติ เชิงลึกจากศูนย์ ต่อต้ านข่ าวปลอม พบยอดสะสมจ�านวนผู้แชร์ ข่าวปลอม มากกว่ า 23 ล้ านคน อายุ 18-24 ปี หัว แถวผู้โพสต์ และแชร์ ข่าวปลอม ด้ าน กลุ่มอาชีพทีเ่ ข้ าข่ ายเผยแพร่ มากสุด คือกลุ่มผู้สอื่ ข่าวเพราะประชาชนเชือ่ ถือ เปิ ดโรดแมปปี 65 ปูพรมสร้ างการ รับรู้เน้ นกิจกรรมให้ ประชาชนมีส่วน ร่ วม ตัง้ แต่ระดับเยาวชน จนถึงเครือ ข่ ายภาคประชาชน นำยชั ย วุ ฒิ ธนำคมำนุ ส รณ์ รั ฐ มนตรี ว ่ ำ กำรกระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) กล่ำว ว่ำ จำกกำรติดตำมข่ำวสำร และกำร สนทนำบนโลกออนไลน์เกี่ยวกับข่ำว ปลอม ตั้งแต่จัดตั้งศูนย์ต่อต้ำนข่ำว ปลอมวันที่ 1 พ.ย 62 ถึง 23 ธ.ค 64 มี จ�ำนวน ผู้โพสต์ข่ำวปลอม 1,167,543 คน และจ� ำ นวนผู ้ แ ชร์ ข ่ ำ วปลอม 23,785,145 คน โดยช่วงอำยุของผู้ โพสต์และแชร์มำกทีส่ ดุ คือ อำยุ 18-24 ปี คิดเป็นสัดส่วน 54.5% ขณะที่อำยุ
38
55-64 ปี มีพฤติกรรมแพร่กระจำยข่ำว ปลอมต�ำ่ สุด คิดเป็น 0.1% ส�ำหรับกลุม่ อำชีพที่สนใจประเด็นข่ำวปลอมมำก ที่สุด 3 อันดับแรก คือ กลุ่มผู้สื่อข่าว คิ ดเป็ นสัดส่วนเกื อบ 16.7% เนือ่ งมา จากเป็ นกลุม่ อาชีพทีป่ ระชาชนให้ความ สนใจ และเกิ ดเชื ่อถื อในการเผยแพร่ มากทีส่ ดุ รองลงมา คือ กลุ่มผูจ้ ดั การ/ ผูบ้ ริ หาร 9.3% และผูป้ ระกอบกิ จการ ต่างๆ 8% ขณะที่ กลุ่มอำชีพของผู้แชร์ข่ำวที่ เข้ำข่ำยเป็นข่ำวปลอมมำกที่สุด 3 อ้น ดับแรก ได้แก่ กลุม่ อาชีพคุณครูอาจารย์ 14.0% ตามมาด้ ว ย กลุ่ ม นัก เรี ยน นัก ศึ ก ษา และกลุ่ ม อาชี พ ช่ า งภาพ 9.4% และกลุ่มอาชี พวิ ศวกร 7.0% “ทัง้ นี้ เราต้ องขอขอบคุณส�านัก ข่ าว และอินฟลูเอนเซอร์ หลายราย ที่สนับสนุนการท�างานของศูนย์ ต่อ ต้ านข่ าวปลอม ในการสร้ างการรั บ รู้ และเผยแพร่ ข้อมูลทีถ่ ูกต้ องไปยัง ประชาชน และสาธารณะในวงกว้ าง อย่ างต่ อเนื่อง” นำยชัยวุฒิกล่ำว
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
โดยในรอบปี 64 มีรำยชื่อส�ำนัก ข่ำว และ Influencer ที่ช่วยเผยแพร่ ประชำสัมพันธ์ข่ำวจำกศูนย์ต่อต้ำน ข่ำวปลอมมำกสุด 10 อันดับแรก ดังนี้ ไทยรัฐ จส.100 มติ ชน บางกอกโพสต์ FM91 Trafficpro ข่าวจริ งประเทศไทย ฐานเศรษฐกิ จ News.ch 7 โพสต์ทู เดย์ และคมชัดลึก ตำมล�ำดับ ส� ำ หรั บ ภำพรวมผลกำรด� ำ เนิ น กำรของศูนย์ตอ่ ต้ำนข่ำวปลอม (วันที่ 1 พ.ย. 62 – 23 ธ.ค. 2564) มีขอ้ ควำมข่ำว ที่ต้องคัดกรอง 455,121,428 ข้อควำม หลั ง จำกคั ด กรองพบข้ อ ควำมข่ ำ วที่ ต้องด�ำเนินกำรตรวจสอบ 13,262 เรือ่ ง แบ่งเป็น โดยหมวดหมู่สขุ ภาพ 6,855 เรื ่อง ตามมาด้วย หมวดหมู่นโยบายรัฐ 5,865 เรื ่อง หมวดหมู่เศรษฐกิ จ 282 เรื ่อง และหมวดหมู่ภยั พิ บตั ิ 260 เรื ่อง ด้ ำ นนำงสำวอั จ ฉริ น ทร์ พั ฒ น พันธ์ชัย ปลัดกระทรวงดิจิทัลฯ กล่ำว ว่ำ ตั้งแต่ปีที่ผ่ำนมำ ศูนย์ต่อต้ำนข่ำว ปลอมเริม่ จัดเก็บข้อมูลกำรเปรียบเทียบ Trend ของหมวดหมู่ข่ำวทั้ง 4 หมวด
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
โดยระหว่ำงวันที่ 1 ม.ค. 63 - 23 ธ.ค. 64 พบว่ำ หมวดนโยบำย มีแนวโน้มสูงสุด มียอดเฉลี่ยกำรพูดถึง 53,017 ครั้งต่อวัน คิดเป็น 46.77% โดยพบว่ำข่ำวปลอม สูง ในช่วงที่มีกำรแพร่ระบำดโควิด-19 เนื่องจำกเป็นช่วงที่รัฐบำลมีนโยบำยออก มำเพื่อเยียวยำให้กับประชำชน มียอดกำรพูด กำรสนทนำ กำรโพสต์ บทควำม ถึงนโยบำยเยียวยำ กำรแชร์ข้อมูลควำมถี่สูงขึ้น รองลงมำเป็น หมวดหมู่สุขภำพ มียอดเฉลี่ยกำรพูดถึง 29,329 ครั้งต่อวัน คิดเป็น 25.87% พบว่ำข่ำวปลอมสูงในช่วงกำรแพร่ระบำดโควิด-19 เช่นกัน โดย คำดกำรณ์ในอนำคต มีแนวโน้มว่ำ หำกมีกำรพบโรคระบำดใหม่กเ็ ป็นไปได้วำ่ จะ มีกำรน�ำประเด็นเกีย่ วกับสุขภำพกำรรับประทำน กำรรักษำด้วยตนเองมำบิดเบือน และแชร์ข้อมูล เกิดควำมเข้ำใจผิดวนซ�้ำได้อีก ขณะที่ หมวดหมูเ่ ศรษฐกิจ มียอดเฉลีย่ กำรพูดถึง 15,966 ครัง้ ต่อวัน คิดเป็น 14.09% พบข่ำวบิดเบือน และข่ำวปลอมในช่วงที่มีกำรปรับ เปลี่ยนแปลงรำคำ ของสินค้ำอุปโภคและบริโภค ส่วนหมวดหมู่ภัยพิบัติ มีแนวโน้มที่จ�ำนวนกำรพูด ถึงเฉลี่ย 15,042 ครั้งต่อวัน คิดเป็น 13.27% โดยพบข่ำวปลอมสูงในบำงช่วง ใน สถำนกำรณ์วิกฤตช่วงเกิดภัยพิบัติต่ำง ๆ กระแสข่ำวเกี่ยวกับมีผู้ประสบภัยพิบัติ ของทั้งในและต่ำงประเทศ นำงสำวอัจฉรินทร์ กล่ำวว่ำ ในปี 65 ศูนย์ต่อต้ำนข่ำวปลอม จะมุ่งเน้น กิจกรรมให้ประชำชนมีส่วนร่วม โดยครอบคลุมตั้งแต่ระดับเยำวชน จนถึงเครือ ข่ำยภำคประชำชน โดยกลุ่มเป้ำหมำยนักเรียน นักศึกษำ ได้จัดกิจกรรมจัด ประกวดกำรผลิตคลิปวีดีโอสั้น เพื่อสร้ำงกำรรับรู้เพื่อรู้เท่ำทันและรับมือกับข่ำว ปลอม ทีมชนะเลิศจะได้รับทุนกำรศึกษำทีมละ 80,000 บำท เปิดรับผลงำน ช่วง
ม.ค. 65 – มี.ค 65 และประกำศผล พ.ค. 65 โดยทุกคลิปวิดีโอที่ได้รับรำงวัลจะ ได้รับกำรเผยแพร่ผ่ำนช่องทำงต่ำงๆ รวมถึงบนสถำนีโทรทัศน์ ส�ำนักงำนต�ำรวจแห่งชำติ เล็งเห็นควำมส�ำคัญของปัญหำข่ำวและข้อมูล ปลอม ที่มีกำรเผยแพร่ส่งต่ออยู่บนสื่อสังคมออนไลน์อยู่เป็นจ�ำนวนมำก และมี ผู้กระท�ำผิดอยู่ในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ เพื่อให้กำรแก้ปัญหำเป็นไปอย่ำงรวดเร็ว และทันเหตุกำรณ์ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในกำรตรวจสอบ พิสจู น์ทรำบตัวผูก้ ระท�ำผิดทีแ่ ท้จริง และกำรด�ำเนินกำรติดตำมตัว มำด�ำเนิน คดีตำมกฎหมำย จึงได้ จัดตั้งศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมและความมัน่ คงส�านักงาน
ดิจิทัลฯ
ต�ารวจแห่งชาติ หรื อ ANSCOP เพื่อ ให้กำรควบคุม ก�ำกับดูแล สัง่ กำร และ บริหำรรำชกำร ให้เป็นเอกภำพ ภำย ใต้ ยุ ท ธศำสตร์ แ ละมำตรกำรบั ง คั บ ใช้กฎหมำยที่ชัดเจน พร้อมกันนี้ ได้ ก�ำหนดให้มีกำรจัดตั้ง ศูนย์ต่อต้ำน ข่ ำ วปลอมและควำมมั่ น คงของกอง บัญชำกำรต�ำรวจนครบำลและต�ำรวจ ภูธรภำค 1-9 เพื่อให้กำรปฏิบัติงำน ครอบคลุ ม พื้ น ที่ แ ละสำมำรถด� ำ เนิ น กำรแก้ไขปัญหำข่ำวและข้อมูลปลอม ได้อย่ำงรวดเร็วและมีประสิทธิภำพ ส� ำ นั ก งำนต� ำ รวจแห่ ง ชำติ โดย ศู น ย์ ต ่ อ ต้ ำ นข่ ำ วปลอมและควำม มั่ น คง ส� ำ นั ก งำนต� ำ รวจแห่ ง ชำติ หรื อ ANSCOP มี ก ำรบู ร ณำกำร ประสำนงำนกับกระทรวงดิจิตอลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม ในกำรด�ำเนินกำร แก้ไขปัญหำข่ำวและข้อมูลปลอมอย่ำง ต่อเนื่อง โดยมีศูนย์ต่อต้ำนข่ำวปลอม แห่งประเทศไทย หรือ AFNC รับผิด ชอบในกำรรับเรือ่ ง ติดตำม ตรวจสอบ ข้อมูลข่ำวที่อำจมีลักษณะปลอมหรือ บิดเบือนอยู่ตลอดเวลำ มีกำรประสำน งำนกับศูนย์ต่อต้ำนข่ำวปลอมทุกส่วน รำชกำร หรือหน่วยงำนของรัฐ เพื่อ ตรวจสอบและยืนยันข่ำว เป็นไปอย่ำง มีประสิทธิภำพ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
39
เมื่ อ ได้ รั บ กำรยื น ยั น ว่ ำ เป็ น ข่ ำ ว ปลอมหรือข่ำวบิดเบือนแล้ว ก็จะส่ง ต่อข้อมูลดังกล่ำวมำยัง ศูนย์ต่อต้ำน ข่ำวปลอม และควำมมั่นคงส�ำนักงำน ต�ำรวจแห่งชำติ หรือ ANSCOP เพื่อ ด� ำ เนิ น กำรพิ จ ำรณำควำมผิ ด ตำม หลั ก กฎหมำยที่ ก� ำ หนดไว้ อำทิ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ประมวลกฎหมำย อำญำ และกฎหมำยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หำกเข้ ำ ข่ ำ ยกระท� ำ ผิ ด กฎหมำยจะ ด�ำเนินกำรพิสูจน์ทรำบตัวผู้กระท�ำผิด เมื่อผู้เสียหำยได้มีกำรร้องทุกข์กล่ำว โทษแล้ ว เจ้ ำ หน้ ำ ที่ ต� ำ รวจสื บ สวน สอบสวน ติดตำมจับกุม เพื่อด�ำเนินคดี ตำมกฎหมำยต่อไป ผลกำรปฏิบตั งิ ำนของศูนย์ตอ่ ต้ำน ข่ำวปลอมและควำมมั่นคงส�ำนักงำน ต�ำรวจชำติ หรือ ANSCOP ในรอบ 8 เดือน ( 1 พ.ค. จนถึง ปัจจุบัน) พบว่ำ ศูนย์ตอ่ ต้ำนข่ำวปลอมแห่งประเทศไทย หรือ AFNC ได้ส่งโพสต์ที่ตรวจพบ และตรวจสอบแล้ ว ได้ รั บ กำรยื น ยั น ว่ ำ เป็ น ข่ ำ วปลอมหรื อ ข่ ำ วบิ ด เบื อ น จ�ำนวน 1193 รำย (Urls) มีโพสต์ที่เข้ำ ข่ำยกระท�ำผิดกฎหมำยและเจ้ำหน้ำที่ ต�ำรวจได้ท�ำกำรพิสูจน์ทรำบผู้กระท�ำ ผิดแล้ว จ�ำนวน 287 รำย (Urls) ซึ่งมี ผู้เสียหำยได้มำร้องทุกข์กล่ำวโทษ ต่อ พนักงำนสอบสวนเพื่อด�ำเนินคดีกับผู้ กระท�ำผิดแล้ว จ�ำนวน 53 คดี ซึ่งอยู่ ในระหว่ำงสืบสวนสอบสวน รวบรวม พยำนหลักฐำน และท�ำส�ำนวนคดี ส่ง ฟ้องตำมกระบวน กำรยุติธรรมต่อไป ทั้งนี้ เจ้ำหน้ำที่ต�ำรวจยังได้ด�ำเนินกำร ตั ก เตื อ น ให้ แ ก้ ไ ขข่ ำ วหรื อ ลบโพสต์ จ� ำ นวน 36 รำย ตำมที่ ก ฎหมำยให้ อ�ำนำจเจ้ำหน้ำที่จะท�ำได้ในกรณีข่ำว ปลอมหรือข่ำวบิดเบือน ที่เกี่ยวกับกำร แพร่ระบำดของโรคติดต่อโควิด 19 ที่ ไม่รุนแรง อีกทั้งยังได้ขึ้นบัญชี ที่ต้อง
40
เฝ้ำติดตำมผู้ที่มีพฤติกำรณ์โพสต์ข่ำว ปลอมหรือข่ำวบิดเบือน จ�ำนวน 906 รำย (Urls) หำกพบมีกำรโพสต์ขำ่ วหรือข้อมูล ปลอม ทีเ่ ข้ำข่ำยผิดกฎหมำย เจ้ำหน้ำที่ ต�ำรวจจะด�ำเนินกำรตำมกฎหมำยทันที ในขณะเดี ย วกั น ผู ้ บั ญ ชำกำรต� ำ รวจ แห่งชำติ ยังมีนโยบำยให้จัดตั้งศูนย์ วิเครำะห์ข่ำว ของ กองบัญชำกำร ต�ำรวจสืบสวนสอบสวนอำชญำกรรม ทำงเทคโนโลยี หรือ บช.สอท. เพือ่ ปบัติ กำรชี้แจงและตอบโต้ข ้อมูล ข่ำวสำร เพื่อสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจ เพื่อให้ หยุดเคลื่อนไหวหรือลบโพสต์ ที่ไม่ถูก ต้องหรือเข้ำข่ำยผิดกฎหมำย โดยกำร เข้ำไป ติดต่อด้วยควำมสุภำพ แจ้ง ข้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้ อ งจำกหน่ ว ยงำนผู ้ รั บ ผิดชอบ เพื่อป้องกันไม่ให้มีกำรแพร่ กระจำยของข่ ำ ว ที่ อ ำจปลอมหรื อ บิดเบือน ไปบนสื่อสังคมออนไลน์ใน วงกว้ำง โดยที่ผ่ำนมำมีผลกำรด�ำเนิน กำรแล้ว จ�ำนวน423 รำย (Urls) ท�ำให้ ผู้โพสต์หยุดเคลื่อนไหวหรือมีกำรลบ โพสต์ดังกล่ำว ฝำกควำมห่ ว งใยให้ แ ก่ พี่ น ้ อ ง ประชำชนที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ไม่ ระมัดระวัง หรือไม่ไตร่ตรองข้อมูลให้ รอบด้ำน อำจตกเป็นเหยื่อเกิดควำม เสียหำยได้ผบู้ ญ ั ชำกำรต�ำรวจแห่งชำติ พล.ต.อ.สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข ได้มอบ หมำยให้เจ้ำหน้ำที่ต�ำรวจทุกนำย โดย เฉพำะอย่ำงยิ่งกองบัญชำกำรต�ำรวจ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
สื บ สวนสอบสวนอำชญำกรรมทำง เทคโนโลยี มุ่งเน้นกำรประชำสัมพันธ์ อย่ ำ ให้ ป ระชำชนตกเป็ น เหยื่ อ ของ อำชญำกรรมทำงเทคโนโลยี เสมือน กับ “การฉีดวัคซี นให้กบั ประชาชน” แต่ หำกมีบคุ คลหรือกลุม่ บุคคลใดอำศัยใช้ ช่องทำงสื่อสังคมออนไลน์ในกำรกระ ท�ำควำมผิด ทั้งกำรหลอกลวงฉ้อโกง กำรน�ำเข้ำข้อมูลอันเป็นเท็จ ปลอม หรือบิดเบือน ก่อให้เกิดควำมเสียหำย แก่ประชำชน สังคม เศรษฐกิจของ ประเทศ จะต้ อ งถู ก ด� ำ เนิ น กำรตำม กฎหมำยโดยเคร่งครัด ซึ่งเป็นไปตำม นโยบำยของรัฐบำล และขอฝำกข้อคิด ส�ำหรับพี่น้องประชำชน ในกำรใช้สื่อ สังคมออนไลน์ว่ำ ขอให้ท่ำนระลึกอยู่ ตลอดเวลำ เมื่อใช้สื่ออนไลน์ “ไม่ เชื่อ ไม่ รีบ ไม่ โอน” ทุกท่ำนจะปลอดภัย จำกกำรถูกฉ้อโกง หลอกลวง บนสื่อ สังคมออนไลน์อย่ำงแน่นอน “ในปี หน้ า เราจะเดิ นหน้ า ขั บ เคลื ่อนการสร้ างการรับรู้ เท่าทันข่ าว ปลอมอย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง และรณรงค์ ต่ อ ต้า นการเผยแพร่ ข่ า วปลอม เพื ่อ ให้ ป ระชาชนได้ ใ ช้ ง านบนสื ่ อ สัง คม ออนไลน์ อย่างปลอดภัย และรู้เท่าทัน สือ่ ในยุคดิ จิทลั ตลอดจนมี ส่วนร่ วมใน การจัดการกับปั ญหาข่าวปลอม สร้าง ภูมิคมุ้ กันทีด่ ีให้กบั สังคม โดยเจาะกลุ่ม เป้ าหมาย อาทิ กลุม่ สมาคมวิทยุสือ่ สาร กลุ่ม อสม. และกลุ่ม อสด.” นำงสำว อัจฉรินทร์กล่ำว
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
กำรตัง้ รหัสผ่ำนเป็นส่วนหนึง่ ทีม่ คี วำมส�ำคัญในกำรรักษำควำมปลอดภัยของ บัญชีผู้ใช้งำน หรือในระบบที่ต้องกำรควำมปลอดภัยอย่ำงมำก เพรำะรหัสผ่ำนถือเป็นสิ่งที่ใช้ส�ำหรับยืนยันควำมถูกต้องของตัวบุคคลนั้นๆ กำรใช้งำนรหัสผ่ำนจึงช่วยป้องกันควำมปลอดภัย กำรเข้ำถึงข้อมูลโดยมิชอบ นั้นได้ หำกผู้ใช้งำนไม่ให้ควำมส�ำคัญในกำรตั้งค่ำรหัสผ่ำนก็จะท�ำให้ผู้ไม่หวังดี สำมำรถคำดเดำรหัสผ่ำน และเข้ำถึงข้อมูลของท่ำนได้อย่ำงง่ำยดำย แนวทางและข้อแนะน�าในการตั้งค่ารหัสผ่านให้ปลอดภัย
1) ควรใช้ รหัสความยาวอย่ างน้ อย 8 ตัวอักษร หรือมากกว่ านัน้ แนะน�ำ ว่ำอย่ำงน้อยควรใช้รหัสผ่ำนที่ยำว 12 ตัวอักษรขึ้นไป โดยเฉพำะส�ำหรับป้องกัน ข้อมูลด้ำนกำรเงิน คละ ตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ ตัวอักษรพิมพ์เล็ก เพื่อเป็นกำรสร้ำงรหัสที่ยำกต่อกำรเดำสุ่ม 2) รหัสผ่ านประกอบด้ วยอักขระดังต่อไปนี้อย่ำงน้อย 2 ใน 3 มีตัวอักษร (a-z, A-Z) มีตวั เลข (0-9) และมีเครือ่ งหมำยหรืออักขระพิเศษ (!@#$%^&*()_+|~=\`{}[]:”;’<>?,./) 3) ไม่ ควรใช้ คา� ศัพท์ ในพจนานุกรม (Dictionary) ไม่ว่ำจะเป็นค�ำศัพท์ แบบเดี่ยว เช่น building หรือน�ำหลำย ๆ ค�ำมำรวมกัน เช่น NiceGreenBuilding เนือ่ งจำกแฮกเกอร์สำมำรถใช้โปรแกรมกำรเดำรหัสผ่ำนโดยเปรียบเทียบจำกฐำน ข้อมูลค�ำศัพท์ได้ 4) หลีกเลี่ยงการตัง้ รหัสผ่านที่เป็ นรูปแบบ (Pattern) ทีน่ ยิ มใช้กนั ทัว่ ไป อำทิ – ตัวพิมพ์ใหญ่ 1 ตัว + ตัวอักษรพิมพ์เล็ก 5 ตัว + ตัวเลข 3 หลัก เช่น Komand123 – ตัวพิมพ์ใหญ่ 1 ตัว + ตัวพิมพ์เล็ก 6 ตัว + ตัวเลข 2 หลัก เช่น Komando12 – ตัวพิมพ์ใหญ่ 1 ตัว + ตัวพิมพ์เล็ก 3 ตัว + ตัวเลข 5 หลัก เช่น Koma12345 5) อย่ าแทนตัวอักษร หรืออักขระบางตัวด้ วยตัวเลขที่ดคู ล้ ายกัน เช่น ตัง้ รหัสผ่ำนว่ำ H0use โดยใช้เลข 0 (เลขศูนย์) แทน o (อักษรโอ) คนทั่วไปก็สำมำรถ คำดเดำได้ถึงแม้จะผสมกัน หรือ BigHouse$123 รหัสผ่ำนลักษณะนี้ก็คำดเดำ ได้ง่ำยเช่นกัน
สิ่งที่ไม่ควรน�ามาใช้ เป็นรหัสผ่าน
1) ข้ อมูลที่ใช้ ในการระบุตวั ตน ทั่วไป เช่น ชือ่ นำมสกุล เลขบัตรประจ�ำ ตัวต่ำงๆ หรือวันเดือนปีเกิด 2) ข้ อมูลการติดต่ อ เช่น เบอร์ โทรศัพท์ 3) ชื่อบุคคลรอบข้าง หรือสัตว์เลีย้ ง 4) ค�าที่พบในพจนานุกรม 5) ค�าทั่วๆ ไปที่มีกำรสะกดจำก หลังไปหน้ำ เช่น password -> drowssap, admin -> nimda 6) ใช้ รู ป แบบตั ว อั ก ษรหรื อ ตัวเลขที่เป็ นที่นิยม เช่น aaabbb, qwerty, 12345 7) ใช้ รูปแบบการตัง้ รหัสผ่ าน ที่คล้ ายคลึงกันในแต่ ละบัญชี เช่น secret1, 1secret, secret?
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
41
“ชัยวุฒิ” รับเรื่องร้องเรียน
ติดตามกวาดล้างแก๊งคอลเซ็นเตอร์
รมต.ดิ จิ ทั ล รั บ เรื่ องร้ องเรี ย นจากกลุ่ ม ผู้ เ สี ย หายที่ ถู ก แก๊ ง คอล เซ็นเตอร์ อ้างเป็ นต�ารวจหลอก โดยผู้เสียหำยได้ให้ข้อมูลว่ำระหว่ำงทีต่ นเองท�ำงำน WFH อยู่กบั บ้ำน ก็ได้มี ผู้โทรศัพท์เข้ำมำ โดยอ้ำงเป็นบริษัทขนส่งแห่งหนึ่ง และขอแอดไลน์ ระบุโปรไฟล์ ว่ำ มำจำกสถำนีตำ� รวจภูธร อ.เมือง เชียงใหม่ เพือ่ ตรวจสอบคดีฟอกเงิน ซึง่ ผูเ้ สีย หำยมีชื่อไปเกี่ยวพันกับแก๊งยำเสพติดที่ส่งพัสดุยำไปต่ำงประเทศ โดยมีชื่อเป็น ผูร้ บั บัญชีฟอกเงินของขบวนกำรด้วยควำมหลงเชือ่ ว่ำ คนร้ำยทีโ่ ทรมำเป็นต�ำรวจ จริง จึงโอนเงินในบัญชีไปทั้งหมด ซึ่งในขณะนี้ทำงกระทรวงฯ ไม่ได้นิ่งนอนใจ และอยู่ในระหว่ำงประสำนงำน เร่งรัดเพื่อติดตำมจับกุมคนร้ำยฯ อย่ำงต่อเนื่อง จำกกำรประสำนให้ทำงกำร กัมพูชำจับกุมให้เมื่อปลำยปีที่แล้ว พบว่ำจับได้เพียงบำงส่วน แต่ยังจับตัวกำร ใหญ่ไม่ได้ รวมถึงได้เร่งประสำนแอปพลิเคชันไลน์ไทยแลนด์ในกำรช่วยเหลือให้ ข้อมูล เพื่อกำรติดตำมจับกุมคนร้ำยอย่ำงเร่งด่วน • เป็ นหูเป็ นตา ช่ ว ยกำรสอดส่ อ งดู เ ว็ บ ไซต์ ที่ ไ ม่ เหมำะสม และผิดกฎหมำยตำมพระ รำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท�ำควำม ผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติมชี้เบำะแสกำรกระ ท�ำควำมผิด สร้ำงสังคมออนไลน์ที่มี ควำมรับผิดชอบร่วมกัน • แจ้ ง DES ด้วยกำรส่งข้อมูลทีผ่ ดิ กฎหมำยให้ เจ้ำหน้ำที่กระทรวงตรวจสอบ โดยเจ้ำ หน้ำที่จะรับเรื่องตลอด 24 ชม. และ ด�ำเนินกำรพิจำรณำตำมข้อกฎหมำย • ไม่ กด Like ไม่กด Follow เนื้อหำไม่ดีไม่สนใจ พวกกระท�ำควำมผิดกฎหมำย • กด Report แจ้งให้บริกำรสือ่ ออนไลน์ทรำบถึง ร่วมสร้ำงสังคม รับรูข้ ำ่ วสำรทีเ่ ท่ำทัน อย่ำงมีภมู คิ มุ้ กัน ด้วยกำรเป็นพลเมือง เนื้อหำไม่เหมำะสม เพื่อลบข้อมูลออก ที่ดีไม่ปล่อยผ่ำนเว็บไซต์ผิดกฎหมำย ไม่ว่ำจะมีผลกระทบต่อตนเองหรือไม่ ท�ำ และปิดเนื้อหำไม่ดีออกไป ง่ำยๆ ได้ดังนี้
คุณท�ำได้! ไม่น่ิงเฉย
ดล
42
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ด
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
แชทยืมเงินแบบไหน? ใช้เป็นหลักฐานกู้ยืมได้
ปัจจุบันเทคโนโลยีกำรสื่อสำรเข้ำมำมีบทบำทในชีวิตเรำ • แชทบนแอปที่มีควำมปลอดภัย เชื่อถือได้ มำก แม้แต่ในเรื่องเงินๆ ทองๆ โดยข้อควำมแชทที่ไม่ได้ท�ำ (มีระบบยืนยันตัวตนก่อนเข้ำใช้) สัญญำ แต่ถำ้ มีองค์ประกอบครบก็สำมำรถใช้เป็นหลักฐำนกำร • รู้ช่อื บัญชีผู้สนทนำ รู้ว่ำใครยืม ใครเป็นผู้ให้ยืม • ข้อควำมสนทนำ จะยืมเงินเท่ำไหร่ จะคืนเงินเมื่อไหร่ กู้ยืมได้ แต่ต้องมีข้อมูลตำมนี้ • หลักฐำนกำรโอนเงิน และช�ำระหนี้
กลลวงที่ ขบวนการแชร์ลูกโซ่
มักใช้โน้มน้ำวคุณ
สมัยนี้มีช่องทำงกำรหำรำยได้หลำกหลำยรูป แบบ จึงเป็นช่องทำงให้มิจฉำชีพใช้เป็นอุบำยมำ หลอกล่อ ไม่ว่ำจะเป็นบ้ำนออมเงิน ออมทอง หรือที่ ฮิตที่สุดก็คือแชร์ลูกโซ่นั่นเอง ขบวนกำรนี้มีเหยื่อถูก หลอกมำกขึ้นทุกปี ท�ำให้เสียหำยเงินทองแถมบำง คนหวังปลดหนี้ แต่ตอ้ งเป็นหนีเ้ พิม่ ขึน้ โดยไม่รตู้ วั วัน นี้มำรู้เท่ำทันวิธีกำรหลอกลอง ของขบวนกำรนี้กันดี กว่ำ จะได้ระวังตัวได้ทันก่อนที่จะหมดตัว • ถูกชักชวนจำกสื่อโซเชียลต่ำง ๆ • อ้ำงถึงบุคคลที่ประสบควำมส�ำเร็จ จำกกำรที่ เข้ำร่วมลงทุน • อ้ำงหลักฐำนผลประโยชน์ และเงินจ�ำนวนมำก ที่ได้รับ • ผู้ที่ลงทุน ต้องหำสมำชิกเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ • ใช้โฆษณำชวนเชื่อ จ�ำไว้เลยเจอแบบนีเ้ ป็นขบวนกำรแชร์ลกู โซ่แน่นอน พบเห็นแจ้ง • ลงทุนน้อย แต่ได้รับผลประโยชน์สูงในระยะ เบำะแสได้ที่สำยด่วน กรมสอบสวนคดีพิเศษ โทร.1202 หรือ www. เวลำอันสั้น • จัดฉำกกำรอบรมสัมมนำ แสดงถึงควำมส�ำเร็จ dsi.go.th วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
43
Aarticles
นำยกฯ สั่งกำรเร่งมำตรกำรลดภำระประชำชน กระตุ้นกำรบริโภคภำยในประเทศ ก.คลัง ประชุมด่วน เดินหน้ำ “คนละครึ่งเฟส 4” เร็วขึ้น เปิ ดลงทะเบียน 14 ก.พ. 65 เริ่มใช้ จ่ายจริงในวันที่ 21 ก.พ. 65 เพื่ อ เป็ น กำรกระตุ้น เศรษฐกิจและก�ำ ลัง ซื้อใน ประเทศ โดยทำงรัฐบำล พร้อมสนับสนุนเงินค่ำใช้ จ่ำยในโคงกำรคนละครึ่งจ�ำนวน 50% เป็นจ�ำนวน 150 บำทต่อวัน ใช้ได้ในวงเงินทีร่ ฐั ก�ำหนดตลอดระยะ เวลำทีโ่ ครงกำรก�ำหนด ใช้ไม่หมดในแต่ละวัน ระบบจะ คืนสิทธิที่ไม่ได้ใช้ เข้ำยอดรวมของผู้ได้รับสิทธิและจะ ค�ำนวณสิทธิใหม่ในเวลำ 06.00 น.ของทุกวัน สำมำรถ ใช้สิทธิได้ตั้งแต่ช่วงเวลำ 06.00-23.00 น. กับทำงร้ำน ที่ร่วมรำยกำรเท่ำนั้น เพื่อเป็นกำรเตรียมพร้อมก่อนลงทะเบียนคนละ ครึ่งเฟส 4 ไปทบทวนวิธีกำรลงทะเบียนรับสิทธิ์ ทั้งคน ใหม่ที่สนใจจะลงทะเบียน และคนเก่ำที่ต้องมีกำร ยืนยันเพื่อรับสิทธิ ผู้ได้สิทธิในโครงการ
• คนเก่ำที่ได้สิทธิคนละครึ่งเฟส 3 จ�ำนวน 27.98 ล้ำน รำย ต้องกดยืนยันตัวตนผ่ำน แอปเป๋าตัง โดยไม่ต้อง ลงทะเบียนใหม่ • คนใหม่ก็คือผู้ที่ไม่เคยลงทะเบียนใช้สิทธิ จะต้อง สมัครผ่ำนทำงเว็บไซต์ www.คนละครึ่ง.com
44
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
เรื่องที่ต้องรู้
ก่อนลงทะเบียน
ล
คนละครึ่งเฟส 4 ได้วงเงินคนละเท่าไหร่
ก่อนหน้ำนี้ คนละครึง่ เฟสแรก วงเงิน 3,000 บำท คนละครึง่ เฟส 2 เพิม่ วงเงินสนับสนุนเป็น 3,500 บำท รำยใหม่ได้ 3,500 บำท ส่วน รำยเก่ำยืนยันเข้ำสูค่ นละครึง่ เฟส 2 โอนเงินให้อกี 500 บำท รวมเป็น 3,500 บำท คนละครึ่งเฟส 3 ผู้มีสิทธิจะได้เงินทั้งสิ้น 4,500 บำท ตลอดโครงกำร ส่วนโครงกำรที่ได้รับกำรสำนต่อ คนละครึ่งเฟส 4 ยังไม่ชดั เจน เพรำะกระทรวงกำรคลัง ยังอยูใ่ นระหว่ำงกำรพิจำรณำ ช่องทางในการลงทะเบียน
• ลงทะเบียนผ่ำนเว็บไซต์ www.คนละครึ่ง.com • ลงทะเบียนผ่ำนแอปฯเป๋ำตัง พร้อมผูก G-wallet (กดแถบโครงกำร คนละครึ่ง)
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
เงื่อนไขและคุณสมบัติ
• มีบัตรประจ�ำตัวประชำชน และเป็นบุคคลสัญชำติไทย • อำยุตั้งแต่ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ณ วันที่ลงทะเบียน • ไม่เป็นผู้ได้รับสิทธิโครงกำรบัตรสวัสดิกำรแห่งรัฐ • ผู้ได้ รับสิทธิบัตรสวัสดิการแห่ งรั ฐ สามารถตรวจ สอบมาตรการสนั บสนุ นเพิ่มเติมจากภาครั ฐฯ ได้ ที่ กรมบัญชีกลาง วิธีเติมเงินผ่านแอพฯเป๋าตัง
• เติมเงินผ่ านระบบโมบายแบงก์ กงิ ้ (Mobile Banking) - เปิดแอพฯ เป๋ำตัง - เมนูเติมเงินเข้ำ G-Wallet - ธนำคำรที่ต้องกำรเติมเงิน - คัดลอกรหัส G-Wallet 15 หลัก - เปิดแอพฯ ธนำคำรเลือกเติมเงินพร้อมเพย์ - จ�ำนวนเงินที่ต้องกำรเติม กดตกลง • เติมเงินผ่ าน QR Code ในระบบพร้ อมเพย์ - เข้ำแอพฯ เป๋ำตัง เลือก G-Wallet เลือกเมนู เติมเงิน - ธนำคำรที่ต้องกำรเติมเงิน - เติมเงินผ่ำน QR Code พร้อมเพย์ - บันทึกรูป QR Code พร้อมเพย์ วิธีการใช้จา่ ย - เปิดแอพฯ ธนำคำร เลือกซือ้ สินค้ำและสัง่ ฟูด้ เดลิเวอรี่ กับร้ำนค้ำทีม่ สี ญ ั ลักษณ์ - เลือกสแกนเพื่ออัพโหลด ของโครงกำรคนละครึ่ง - จ�ำนวนเงินที่ต้องกำร กดตกลง • เติมเงินที่หน้ าตู้เอทีเอ็มธนาคาร ท�ำได้ 7 ธนำคำร ทั้งนี้ วงเงินที่จะน�ามาใช้ จ่ายในโครงการคนละครึ่ ง เฟส 4 จะน�ามาจาก พ.ร.ก.เงินกู้ฉุกเฉิน 5 แสนล้ านบาท ทีถ่ ูกจัดไว้ เพื่อใช้ ในการดูแลเศรษฐกิจทีไ่ ด้ รับผลกระทบ จากโควิด-19 และก่ อนหน้ านี้ โครงการคนละครึ่ง เฟส 3 ยังมียอดใช้ จ่ายไม่ เต็มจ�านวน โดยเหลือวงเงินทีส่ ่ งคืนรั ฐ อีกประมาณ 1 หมื่นล้ านบาท
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
45
Aarticles
แม้เทคโนโลยีจะช่วยในกำรอ�ำนวย ควำมสะดวกสบำยในชีวิตประจ�ำวัน ของเรำอย่ำงมำก แต่สิ่งที่แฝงตำมมำ ก็คือกลุ่มมิจฉำชีพ ก็ได้คิดค้นวิธี ก่อ อำชญำกรรมโดยใช้ เ ทคโนโลยี เ ป็ น
5 อาชญากรรม
ที่ม มำกับเทคโนโลยี เครือ่ งมือเช่นกัน และอ และอำชญำกรรมใดบ้ำงทีม่ ำพร้อมกับเทคโนโลยี ทีพ่ ฒ ั นำอย่ำง ก้ำวกระโดด ในยุคปัจจุบัน เพื่อที่จะได้รู้เท่ำทัน กลโกงของกลุ่มมิจฉำชีพ จะได้ ระมัดระวังไม่ตกเป็นเหยื่อต่อไป ท ญญำ ตัวอย่ำง กำรเอำรูปภำพอันมีลขิ สิทธิข์ อง 1. กำรละเมิดทรัพย์สนิ ทำงปั ผูอ้ นื่ มำใช้ เพือ่ ประโยชน์สว่ นตนเช่นกำรก๊ ก อปรูปสินค้ำ ของคนอืน่ มำใช้ขำยสินค้ำ ตัวเอง 2. เครือข่ำยกำรค้ำมนุษย์และค้ำประเวณีในรูปแบบต่ำงๆ ตัวอย่ำง กำรค้ำ ประเวณีเด็กต�่ำกว่ำ 18 ปี บังคับฝืนใจ รวมถึงกำรผลิตและเผยแพร่สื่อลำมกเด็ก ประม 3. กำรหมิน่ ประมำทออนไลน์ ทัง้ กำรโพสต์ด่ำผู้อื่น และโพสต์ประจำนผู้อื่น 4. เครือข่ำยแก๊งอำชญำกรในรูปแบบต่ำงๆ ทั้งเครือข่ำยหลอกให้รัก (Romance scam), เครือข่ำยปลอมอีเมลหลอกโอนเงิน (Business E-mail Compromise), และแก๊ง call center เป็นต้น 5. ฉ้อโกงในรูปแบบต่ำงๆ ที่ไม่เคยเจอมำก่อน ทั้งกำรสั่งซื้อของแล้วได้ของ อีกอย่ำง หรือไม่ได้รบั สินค้ำเลย, หลอกลงทุนแชร์ลกู โซ่ในรูปแบบออนไลน์, หลอก ลงทุนในเงินดิจิตอล เป็นต้น
46
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ใช้ Video Conference
ช่วง Work From Home อย่างไร
ให้ปลอดภัยและข้อมูลไม่รั่วไหล
ดิจิทัลฯ
จำกกำรแพร่ ร ะบำดของเชื้ อ โค วิด-19 ท�ำให้องค์กรต่ำงๆ ต้องปรับตัว และเปลี่ยนรูปแบบกำรท�ำงำน และได้ น�ำนโยบำย “Work From Home” มำ ใช้ อนุญำตให้พนักงำนสำมำรถท�ำงำน ทีบ่ ำ้ นโดยน�ำเทคโนโลยีกำรประชุมทำง ไกลผ่ำนจอภำพ (Video Conference)
มำประยุกต์ใช้ แต่ก็มีภัยรูปแบบใหม่ 1. การตัง้ ค่ าเพื่อความปลอดภัย (Setting) • ตั้งค่ำไม่ให้คนอื่น นอกจำก “ผู้จัดกำรประชุม (Host)” แชร์หน้ำจอได้ ทีม่ ำพร้อมกับกำรใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ที่ ช่วยในกำรท�ำงำนนี้ เช่น พบเหตุกำรณ์ • ตั้งค่ำไม่ให้ผู้เข้ำร่วมประชุมแชร์ไฟล์กันได้ • ตั้งค่ำไม่ให้คนที่ถูกน�ำออกจำกห้องกลับเข้ำมำอีก ที่มี “ผู้ไม่ ประสงค์ ดี” แอบแฝงเข้ำมำ ในกำรประชุมหรือห้องเรียนออนไลน์ 2. สิ่งที่ควรท�า (DO) ท�ำกำรก่อกวน และน�ำข้อมูลไปเผยแพร่ • สร้ำงรหัสผ่ำนใหม่ทุกครั้งที่เริ่มกำรประชุม โดยไม่ได้รับอนุญำต • หมัน่ ตรวจสอบรำยชือ่ ของผูท้ อี่ ยูใ่ นห้องประชุม หำกพบ “ผูเ้ ข้ำร่วมกำร เพื่อให้กำร Work From Home มี ประชุมที่ไม่พึงประสงค์” ให้รีบรำยงำนให้ผู้จัดกำรประชุม (Host) ทรำบ เพื่อน�ำ ประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น จึงขอเสนอวิธี บุคคลนัน้ ออกจำกห้องโดยเร็ว กำรใช้เครือ่ งมือ Video Conference ใน • อัปเดตโปรแกรมให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ • อบรมพนักงำนเพือ่ ให้ตระหนักถึงควำมส�ำคัญของควำมปลอดภัยทำง กำรประชุมทำงไกลให้มคี วำมปลอดภัย ไซเบอร์ ดังนี้ 3. สิ่งที่ไม่ ควรท�า (DON’T) • ไม่ควรเปิดให้กำรประชุมของท่ำนเป็นแบบ “สำธำรณะ” • ไม่แชร์ลิงก์หรือรหัสประจ�ำห้องบน “พื้นที่สำธำรณะ” วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
47
Aarticles
โควิด-19 เป็นเหตุสังเกตได้
Gen Z ใช้เน็ตสูงสุด ปีแรก ชนะ Gen Y แชมป์ 6 สมัย
ส� า นั ก งานพั ฒ นาธุ ร กรรมทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (สพธอ.) หรื อ Electronic Transactions Development Agency (ETDA) (เอ็ตด้ า) กระทรวงดิจทิ ลั เพื่อ เศรษฐกิจและสังคม เปิ ดผลส�ารวจพ ฤติกรรมผู้ใช้ อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย ปี 256 4 หรื อ Thailand Internet User Behavior 2021 พบ Gen Z ทุบสถิตเิ ป็ น ปี แรก ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตนานที่สุด เฉลี่ยวันละ 12 ชั่วโมง 5 นาที ชนะ Gen Y แชมป์ 6 สมัย ส่ วนใหญ่ ใช้ ไป กับการเรี ยนออนไลน์ กว่ า 5 ชั่ว โมง รองลงมาคือ ดู รายการโทรทัศน์ ดูคลิป ดูหนัง ฟั งเพลงออนไลน์ กว่ า 4 ชั่วโมง พร้ อมเผย กิจกรรมออนไลน์ 10 อันดับแรก ที่มีแนวโน้ มจะกลายเป็ น New Normal ในอนาคต ดร.ชัยชนะ มิตรพันธ์ ผู้อา� นวยการ ETDA กล่ำวว่ำ ETDA ได้ส�ำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ต่อเนื่องเป็นปีที่ 9 (นับตั้งแต่ปี 2556) โดยในปี 2564 นี้ ได้ ท�ำกำรส�ำรวจ โดยกำรเก็บข้อมูลผ่ำนแ บบสอบถำมทำง ออนไลน์กับกลุ่มตัวอย่ำง 44,545 คน ช่วงเดือนเมษำยน
48
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
– มิถุนำยน 2564 และน�ำข้อมูลที่ได้ม ำวิเครำะห์ พบว่ำ สถานการณ์ โควิด-19 ท�าให้ ปีนี้เป็ นปี แรกที่ กลุ่ม Gen Z (อายุน้อยกว่ า 21 ปี ) ทุบสถิตใิ ช้ งานอินเทอร์ เน็ตมาก ทีส่ ุด เฉลี่ยวันละ 12 ชั่วโมง 5 นาที ชนะกลุ่ม Gen Y (อายุ 21-40 ปี ) อดีตแชมป์ 6 สมัยทีใ่ ช้ อนิ เทอร์ เน็ตสูงทีส่ ุด ซึ่ง ที่ปีนี้ Gen Y ใช้อินเทอร์เน็ต เฉลี่ยวันละ 11 ชั่วโมง 52 นำที ส่วน Gen X (อำยุ 41-56 ปี) ใช้เฉลี่ยวันละ 9 ชั่วโมง 12 นำที และปิดท้ำยด้วย Baby Boomer (อำยุ 57-75 ปี) ใช้น้อยที่สุด เฉลี่ยวันละ 6 ชั่วโมง 21 นำที ตำมล�ำดับ ส�ำหรับกิจกรรม ออนไลน์ที่กลุ่ม Gen Z ใช้เวลำกับอินเทอร์เน็ตมำกที่สุด คือ เรียนออนไลน์ เฉลี่ยวันละ 5 ชั่วโมง 23 นำที รองลงมำคือ ดู รำยกำรโทรทัศน์ ดูคลิป ดูหนัง ฟังเพลงออนไลน์ เฉลี่ยวันละ 4 ชั่วโมง 11 นำที และติดต่อสื่อสำรออนไลน์ เฉลี่ยวันละ 3 ชั่วโมง 39 นำที ตำมล�ำดับ ขณะที่ ในภำพรวม พบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบส�ำรวจฯ ส่วน ใหญ่มีกำรใช้อินเทอร์เน็ต เฉลี่ยวันละ 10 ชั่วโมง 36 นำที โดย วันท�ำกำรทีต่ อ้ งเรียนหรือท�ำงำน จะใช้อนิ เทอร์เน็ตเฉลีย่ วันละ
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
10 ชัว่ โมง 55 นำที มำกกว่ำวันหยุดทีใ่ ช้ 9 ชั่วโมง 49 นำที ดร.ชัยชนะ ให้เหตุผลถึงแนวโน้ม กำรใช้อินเทอร์เน็ตที่ลดลงจำกปี 2563 ที่ ก ำรใช้ เ ฉลี่ ย 11 ชั่ ว โมง 25 นำที เหลื อ 10 ชั่ ว โมง 36 นำที ว่ ำ “ผล กำรศึกษำของบริษัท SEA พบว่ำ มี ผู ้ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต รำยใหม่ เ ข้ ำ มำใช้ อินเทอร์เน็ตถึง 9 ล้ำนคนในปีที่ผ่ำน มำ แล้วผู้ใช้อินเทอร์เน็ตรำยใหม่ เรำ ก็พบว่ำ มีกำรใช้อินเทอร์เน็ตที่ยังอำจ จะไม่มำกเท่ำกับรำยที่ใช้อยู่เป็นปกติ แล้วเข้ำมำกรอกแบบส�ำรวจของเรำ จึง ท�ำให้ดึงตัวเลขใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยลง ไปในปีนี้เหลือสิบชั่วโมง” กิจกรรมออนไลน์ ทน่ี ยิ มท�ามาก ที่สุด 10 อันดับแรก คือ กำรติดต่อ สื่อสำร สูงถึง 77.0% อำจเพรำะช่วง ที่ผ่ำนมำหลำยองค์กรต่ำงมีมำตรกำร ให้พนักงำนท�ำงำนที่บ้ำน (Work from Home) และเรี ย นออนไลน์ เกื อ บ 100% จึ ง ท� ำ ให้ ก ำรสื่ อ สำรอยู ่ ใ นรู ป แบบออนไลน์มำกขึ้น และรองลงมำ คือ กิจกรรมดูรำยกำรโทรทัศน์ ดูคลิป ดู หนัง ฟังเพลงออนไลน์ 62.4% และเพื่อ
ค้นหำข้อมูลออนไลน์ 60.1% ในขณะที่ ล�ำดับถัด ๆ ไป จะมีในส่วนของอ่ำนข่ำว บทควำม หรือหนังสือ 54.2% ซือ้ สินค้ำ บริกำร 47.7% รับ-ส่งอีเมล 45.0% และ ท�ำธุรกรรมทำงกำรเงิน 41.7% ส�ำหรับ กิจกรรมใหม่ๆ ที่ติดอันดับ Top 10 ใน ครั้งนี้ คือ กำรใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อกำร ช่วยเรื่องกำรออกก�ำลังกำย ติดตำม ประเมินเกี่ยวกับสุขภำพ 34.8% กำร สั่ง Food Delivery 34.1% และกำรเข้ำ ร่วมกลุม่ ทีม่ คี วำมสนใจในเรือ่ งเดียวกัน 32.7% ตำมล�ำดับ ส่วนปั ญหาในการใช้อนิ เทอร์ เน็ต ่ บส่ วนใหญ่ มกั เป็ นประเด็นทีเ่ คย ทีพ พบเจอในช่ วงทีผ่ ่ านมา โดย 5 อันดับ ่ บมากทีส่ ุด คือ ควำมล่ำช้ำ แรกทีพ ในกำรเชื่ อ มต่ อ หรื อ ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต 70.1% ปริมำณโฆษณำออนไลน์ที่มำ รบกวน 65.2% ควำมไม่มั่นใจว่ำข้อมูล ที่ปรำกฏบนอินเทอร์เน็ตเชื่อถือได้หรือ ไม่ 38.0% กำรให้บริกำรอินเทอร์เน็ต ยังไม่ทั่วถึง 37.1% และกำรเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตยำกหรือหลุดบ่อย 26.9% ในเรื่องของพฤติกรรมกำรชอปปิ งออนไลน์พบว่ำ ช่องทำงที่ผู้ซื้อนิยม
ดิจิทัลฯ
ซื้ อ สิ น ค้ ำ /บริ ก ำรออนไลน์ ม ำกที่ สุ ด คือ ผ่ำนแพลตฟอร์ม e-Marketplace สูงสุดจะเป็น Shopee 89.7% รองลง มำคือ Lazada 74.0% และ Facebook 61.2% โดยผู้ซ้ือส่วนใหญ่เลือก แพลตฟอร์มจำกกำรที่สินค้ำมีรำคำถูก คุ้มค่ำกับกำรซื้อ แพลตฟอร์มใช้งำน ง่ำย สินค้ำมีควำมหลำกหลำย ผู้ซื้อ มีควำมเชื่อมั่นในระบบช�ำระเงินของ แพลตฟอร์ม รวมถึงกำรมี โปรโมชันใน ช่วงวันส�ำคัญต่ำงๆ ในแต่ละเดือนอย่ำง ต่อเนื่อง ส่ ว นช่ อ งทางที ่ ผู้ ข ายนิ ย มขาย สิ นค้าผ่าน Social Commerce มาก ทีส่ ดุ คือ Facebook 65.5% รองลงมา คือ Shopee 57.5% และ LINE 32.1% โดยผู้ขายส่วนใหญ่ให้เหตผุลว่าเลื อก แพลตฟอร์ มจากการที ่แพลตฟอร์ มใช้ งานง่ าย มี ชื่อเสี ยง สามารถท� าการ ตลาดได้ตรงตามวัตถุประสงค์/ตรงกลุม่ เป้ าหมาย ค่าใช้จ่ายในการด�าเนิ นการ ถูก และมี ช่องทางการช�าระเงิ นทีห่ ลาก หลาย เมื่อมองในมุมของสิ่งที่กังวลหรือ ปั ญ หำที่ เ กิ ด ขึ้ น ในกำรซื้ อ ขำยของ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
49
ออนไลน์ ส�ำหรับผูซ้ อื้ แล้วหนีไม่พน้ ในประเด็นสินค้ำไม่ตรงตำมทีส่ งั่ เช่น ผิดสี ผิด ขนำด ไม่ตรงปก อวดอ้ำงสรรพคุณเกินจริง นอกจำกนี้จะมีประเด็นสินค้ำที่ได้รับ เกิดควำมเสียหำย ค่ำขนส่งแพง สินค้ำไม่ได้มำตรฐำนหรือไม่ผำ่ นกำรรับรองจำก หน่วยงำนทีร่ บั ผิดชอบดูแล และเรือ่ งควำมไม่เชือ่ มัน่ ในกำรรักษำควำมปลอดภัย ของข้อมูลส่วนบุคคลในแพลตฟอร์ม ส่วนปัญหำที่ผู้ขำยพบมำกสุด คือ ค่ำใช้จ่ำยในกำรด�ำเนินกำรที่สูง เช่น ค่ำ ธรรมเนียมกำรขำย/ค่ำคอมมิชชัน ค่ำธรรมกำรช�ำระเงิน ค่ำขนส่ง ปัญหำต่อมำ คือ สินค้ำช�ำรุด สูญหำยระหว่ำงกำรขนส่ง นอกจำกนี้ ยังมีในมุมของกำรแข่งขัน ที่สูง กำรที่ผู้ขำยส่วนใหญ่ยังขำดควำมรู้ในกำรท�ำธุรกิจออนไลน์ และเรื่องอัตรำ ค่ำจัดส่งที่ค่อนข้ำงสูง ส� าหรับช่องทางการช� าระเงิ นค่าสิ นค้า บริ การออนไลน์ ที่คนเลื อกใช้มาก ทีส่ ดุ 5 อันดับแรก คือ แอปพลิ เคชันของธนาคาร (Mobile Banking) 59.9%
50
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
รองลงมาคื อ การช� าระเงิ นปลายทาง (Cash on Delivery) 53.4% การใช้ บัตรเครดิ ต/บัตรเดบิ ต 46.8% การโอน เงิ น หรื อช� าระเงิ นผ่านบัญชี โดยไปที ่ ธนาคาร 38.4% และการใช้ Wallet ของแพลตฟอร์ มที ่เปิ ดให้บริ การ เช่น Lazada Wallet, Shopee Wallet อยู่ ที ่ 34.7% เมื่อมีกำรใช้ช่องทำงออนไลน์ใน กำรช�ำระเงินเป็นจ�ำนวนเพิม่ มำกขึน้ ใน มุมของควำมกังวล พบว่ำประเด็นทีค่ น ท�ำธุรกรรมกำรเงินออนไลน์กังวลหรือ
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เป็นปัญหำมำกที่สุด คือ ควำมไม่เชื่อมั่นในกำรรักษำควำม มั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลของแพลตฟอร์ม รอง ลงมำ คือ ควำมกังวลเรื่องกำรถูกหลอกลวง เช่น ในรูปแบบ ของกำรใช้อีเมลหรือหน้ำเว็บไซต์ปลอมเพื่อหลอกเอำข้อมูล และปัญหำที่อำจจะส่งผลต่อควำมไม่สะดวกในกำรซื้อของ ออนไลน์ในบำงร้ำน คือ กำรไม่มีบริกำรรับช�ำระเงินออนไลน์ ไว้ให้บริกำรกับลูกค้ำ ในปีนี้ทำง ETDA ได้มีกำรส�ำรวจเพิ่มเติม เพื่อดูควำม กังวลของคนเมื่อสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของ โควิด-19 ได้สง่ ผลให้ทกุ คนต้องกำรปรับวิถชี วี ติ โดยกำรพึง่ พำออนไลน์ มำกขึ้ น ไม่ ว ่ ำ จะเป็ น กำรท� ำ งำนหรื อ กำรเรี ย นหนั ง สื อ ก็ สำมำรถท�ำได้ทุกที่เพียงแค่มีอินเทอร์เน็ต แต่ก็ยังมีควำม กังวลในเรื่องกำรท�ำงำนหรือกำรเรียนออนไลน์อยู่ ซึ่งจำกผล ส�ำรวจฯ พบว่ำ สิ่งที่คนกังวลมำกที่สุดในกำรท�ำงำนออนไลน์ คือ รูส้ กึ ไม่มนั่ คงในหน้ำทีก่ ำรงำน 38.6% กังวลเรือ่ งค่ำใช้จำ่ ย ที่สูงขึ้นจำกกำรท�ำงำนที่บ้ำน 37.5% รู้สึกอึดอัด และท�ำงำน ยำกขึน้ เนือ่ งจำกขำดอุปกรณ์ทจี่ ำ� เป็น หรือกำรติดต่อสือ่ สำร ผ่ำนอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร 29.2% มีควำมกังวลกับวิถี/รูป แบบท�ำงำนที่เปลี่ยนแปลงไปจำกเดิม ทั้งในระดับพนักงำน และระดับองค์กร 27.0% และสุดท้ำยคือมีควำมเครียดที่ไม่ สำมำรถแบ่งเวลำในกำรท�ำงำนกับเวลำส่วนตัวได้เนื่องจำก มีสิ่งรบกวนระหว่ำงกำรท�ำงำน 25.5% ส่วนประเด็นทีค่ นกังวลมากทีส่ ดุ ในกลุม่ ทีม่ ีการเรี ยนผ่าน ออนไลน์ คือ กังวลเรื ่องค่าใช้จ่ายทีต่ อ้ งจ่าย เนือ่ งจากเรี ยนใน ทีท่ ีไ่ ม่ใช่สถานศึกษา 36.2% มี ความรู้สึกอึดอัดและท�างาน
ดิจิทัลฯ
ส่งได้ยากขึ้น เพราะขาดอุปกรณ์ บางอย่างทีจ่ � าเป็ นต้องใช้ ในการเรี ยน 30.8% มี ความกังวลกับวิ ถีรูปแบบการเรี ยน ทีเ่ ปลี ย่ นแปลงไปจากเดิ ม 29.3% คิ ดว่ารู ปแบบการเรี ยน การสอนของหลักสูตรที เ่ รี ยน ยังไม่ตอบโจทย์ รูปแบบการ เรี ยนออนไลน์ 27.8% และมีความกังวลเรื ่องความผิดพลาด ความคลาดเคลือ่ นทีอ่ าจจะเกิ ดจากการสือ่ สาร 27.6% แม้ จะมีสิ่งทีก่ งั วลแต่จากการสอบถามความพึงพอใจ กลับพบ ว่า ส่วนใหญ่พึงพอใจมากถึงมากที ส่ ดุ กับการท� างานและ การเรี ยนวิ ถีใหม่ สิ่ งเหล่านี ้เป็ นการสะท้อนความคิ ดเห็น และวิ ธีคิดของคนในยุคปั จจุบนั และเป็ นประโยชน์ ในการ วางแผนในมิ ติต่างๆ เพื อ่ หาแนวทางเพื อ่ รองรับวิ ถีของผู้ บริ โภคในยุคดิ จิทลั ต่อไป พร้อมกันนี้ ปีนี้ ETDA ได้มีประเด็น Hot Issue เกี่ยว กับกิจกรรมออนไลน์ทมี่ แี นวโน้มจะกลำยเป็น New Normal สูงที่สุด 10 อันดับแรก ซึ่งถือเป็นกิจกรรมออนไลน์ที่จะมี กำรท�ำอย่ำงต่อเนือ่ งแม้วำ่ สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของ โควิด-19 จะลดลงแล้วก็ตำม คือ กำรซื้อขำยสินทรัพย์เพื่อ กำรลงทุนออนไลน์, กำรช�ำระค่ำสำธำรณูปโภคออนไลน์, กำรท�ำธุรกรรมทำงกำรเงินระหว่ำงบุคคล เช่น โอน ให้ยืม เงิน, กำรช�ำระค่ำสินค้ำ บริกำรออนไลน์, กำรอ่ำนโพสต์ ข่ำว บทควำม หนังสือออนไลน์ (e-Book), กำรโอนเงิน บริจำค เงินออนไลน์ (e-Donation), กำรใช้บริกำรภำครัฐออนไลน์, กำรขำยอำหำรเครือ่ งดืม่ ออนไลน์, กำรค้นหำข้อมูลโดยกำร สัง่ กำรด้วยเสียงผ่ำนอุปกรณ์ (Voice Command) และกำร เข้ำร่วมกลุ่มที่มีควำมสนใจในเรื่องเดียวกัน
ข้อมูล / ภาพประกอบ : www.etda.or.th วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
51
Aarticles
ลัคนาไหนก็ปังรับปี 65! ETDA (เอ็ตด้ำ) เปิ ดควำมลับ
5 ลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ e-Signature
แบบไม่รูต ้ ัว
รูแ ้ ล้วพาชีวต ิ ไหลลื่น ธุรกิจปัง รับยุคดิจท ิ ัล
เพรำะลำยมื อ ชื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ส�ำคัญประเภทหนึ่งของบุคคลในกำร แสดงเจตนำที่จะผูกพันตนเองเข้ำกับ ข้ อ ควำมที่ ร ะบุ ใ นเอกสำร ซึ่ ง ทุ ก คน หลีกหนีกำรเซ็นชื่อไม่ได้...ส�ำนักงำน พั ฒ นำธุ ร กรรมทำงอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (สพธอ.) หรือ ETDA(เอ็ตด้ำ) (Electronic Transactions Development Agency) กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม จึงขอพำทุกคนโดยเฉพำะ กลุ่มวัยทีน และกลุ่มธุรกิจ e-Commerce ที่ชอบช้อปปิ้งกับร้ำนค้ำทำง ออนไลน์ หรือใช้บริกำรผ่ำนเว็บไซต์
52
และแอปพลิ เ คชั น รวมถึ ง ช� ำ ระค่ ำ ใช้ จ ่ ำ ยต่ ำ งๆ เปลี่ ย นจำกกำรใช้ น�้ ำ หมึ ก จั บ ปำกกำจรดลำยเซ็ น ลงบน กระดำษแบบเดิมๆ ทรำนส์ฟอร์มสู่รูป แบบ ลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ Electronic Signature (e-Signature) เครื่ อ งมื อ ทำงอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ช ่ ว ย ยืนยันควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลกับ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งช่วยยกระดับ ชีวิตให้สะดวกสบำยยิ่งขึ้นรับยุคดิจิทัล พร้อมทั้งมีผลทำงกฎหมำย ทรงพลัง เทียบเท่ำกำรเซ็นกระดำษ! อย่ำงไร ก็ตำม ลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ไม่ได้
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
มีเพียงกำรเซ็นลงบนโทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต หรือเซ็นลงบนกระดำษ แล้วสแกนเป็นอิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้ งำนเท่ำนั้น แล้วลำยมือชื่อดังกล่ำว มีประเภทใด ลักษณะใดบ้ำง รวมถึง สิ่งส�ำคัญที่ท�ำให้ลำยมือมีผลทำงกฏ หมำย ใช้งำนได้จริง ดีลธุรกิจคล่อง ชีวิตไหลลื่นรับปีขำล 2565 วันนี้ เอ็ ตด้ ำ จึ ง หยิ บ 5 ตั ว อย่ำงลำยมื อ ชื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Signature มำ แนะน�ำให้ทกุ คนได้รว่ มท�ำควำมรูจ้ กั ไป พร้อมๆ กัน
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
1. ตวั ด ลำยเซ็ น บนหน้ ำ จอ เป็น ชื่อ-นำมสกุล ชื่อย่อ ชื่อเล่น หรือ สมัครใช้บริกำรต่ำงๆ ทำงออนไลน์ที่ โบกมือลำกระดำษตัวจริง ก�ำกับด้วยต�ำแหน่งหรือชื่อองค์กรต่อ ก่อนที่จะท�ำธุรกรรมหรือใช้บริกำรใดๆ
กำรตวัดลำยเซ็น ด้วยชือ่ -นำมสกุล หรือชื่อเล่น บนหน้ำจอโทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต สำมำรถเป็นลำยมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์ได้ แม้ไม่ได้มีรูปแบบ กำรเซ็ น เฉพำะตั ว เหมื อ นเซ็ น ลงบน กระดำษตั ว จริ ง ตำมควำมเชื่ อ ส่ ว น บุคคล เช่น ต้องมีจุดหลังชื่อเพื่อเสริม ควำมส�ำเร็จ เลี่ยงกำรขีดเส้นทับกลำง ชื่ อ เพื่ อ ป้ อ งกั น กำรโดนหั ก หลั ง หรื อ ห้ำมมีช่องว่ำงระหว่ำงตัวอักษรมำก เกินไปจะท�ำให้เก็บเงินไม่อยู่ เพรำะ ตำมกฎหมำยว่ ำ ด้ ว ยธุ ร กรรมทำง อิเล็กทรอนิกส์ ส�ำหรับค�ำว่ำลำยมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้มีค�ำนิยำมที่กิน ควำมถึง “อักษร อักขระ ตัวเลข เสียง หรือสัญลักษณ์ใดๆ ที่สร้ำงขึ้นให้อยู่ ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งน�ำมำใช้ ประกอบกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ แสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลกับ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ระบุตวั บุคคล ผูเ้ ป็นเจ้ำของลำยมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ นั้ น และเพื่ อ แสดงว่ ำ บุ ค คลดั ง กล่ ำ วยอมรั บ ข้ อ ควำมใน ข้ อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ นั้ น ” ซึ่ ง กำรใช้ ลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบนี้ได้ กระจำยอยู ่ ใ นชี วิตประจ�ำ วัน ของทุก คนแล้วไม่มำกก็น้อย ไม่ว่ำจะเป็น กำร เซ็นชื่อในไฟล์เอกสำรอิเล็กทรอนิกส์ กำรเซ็ น ชื่ อ ผ่ ำ นอุ ป กรณ์ ล งลำยมื อ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์เวลำท�ำธุรกรรมกับ ธนำคำร หรือตอนช�ำระค่ำสินค้ำด้วย บัตรเครดิตในห้ำงสรรพสินค้ำ เป็นต้น
ท้ำย เช่น “นายเอ็ตด้า เจ้าหน้าทีใ่ ห้ค�า ปรึ กษาด้านธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์” “นางสาวมะลิ มะลิ ลา” สามารถเป็ น ลายมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน โดย ชื่อท้ำยอีเมลจะเปรียบเสมือนลำยมือ ชื่ อ ที่ เ ซ็ น ก� ำ กั บ ไว้ ท ้ ำ ยข้ อ ควำมของ จดหมำยหรือหนังสือ เพื่อแสดงเจตนำ ยอมรับหรือให้กำรรับรองข้อควำมใน จดหมำยหรือหนังสือดังกล่ำว
จะมีข้อควำม ข้อก�ำหนด หรือเงื่อนไข ปรำกฏขึ้นเป็นข้อควำม popup ขึ้นมำ เพื่อให้ผู้ที่จะท�ำธุรกรรมหรือใช้บริกำร ได้อ่ำน และคลิกปุ่ม “I Accept” หรือ “ฉันยอมรับ” ซึ่งกำรคลิกนี้จะแทนกำร ลงลำยมือชื่อเพื่อแสดงเจตนำยอมรับ ข้อตกลง ข้อก�ำหนด หรือเงือ่ นไขในกำร ท�ำธุรกรรมหรือกำรใช้บริกำรนั่นเอง
กำรใส่ Username กับ Password ล็อกอินเข้ำระบบ เว็บไซต์ แอปพลิเค ชันต่ำงๆ เช่น LINE (ไลน์) Lazada (ลำซำด้ำ) Shopee (ช้อปปี้) เพื่อท�ำ ธุ ร กรรม ติ ด ต่ อ สื่ อ สำร หรื อ ซื้ อ ขำย สินค้ำออนไลน์ รู้หรือไม่ว่ำ เหล่ำนี้ก็ สำมำรถเป็นลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Signature ได้ ยกตัวอย่างกรณี การทัก หาเพื ่ อ นผ่ า นแชทไลน์ เพื ่ อ ขอยื มเงิ น แม้ไม่มีเอกสารสัญญา แต่ เมื ่อผูใ้ ห้ยืมเงิ นไม่ได้รับเงิ นคื นตามข้อ ตกลง ก็สามารถน�าหลักฐานข้อความ สนทนาในแชทไลน์มาใช้เป็ นหลักฐาน ทางกฏหมายได้ เนื่องจำกกำรล็อกอิน Username กับ Password ของผู้ยืม เงินนั้น จะเปรียบเสมือนลำยมือชื่อที่ ได้เซ็นบนเอกสำรสัญญำกู้เงินนั่นเอง
ส่งท้ำยด้วย กำรใช้บัตร ATM กด เงินจำกตู้ ATM ซึ่งต้องใส่รหัสส่วนตัว 4-6 หลัก ก่อนเข้ำเมนูถอนเงิน ระบุ จ� ำ นวนเงิ น และรั บ เงิ น สดออกจำก ตู้ ATM ไป ซึ่งกำรเสียบบัตรและใส่ รหั ส ส่ ว นตั ว นี้ สำมำรถเป็ น ลำยมื อ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Signature ได้ โดยปัจจุบันมีค�ำพิพำกษำฎีกำที่ 8089/2556 ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งของกำรน� ำ บัตรกดเงินสดไปกดเงินจำกตู้เบิกถอน เงินอัตโนมัติ โดยศำลได้มีค�ำวินิจฉัย ตัดสินแล้วว่ำ กำรน�ำบัตรกดเงินสดไป ถอนเงินและใส่รหัสส่วนตัวเปรียบได้ กับกำรลงลำยมือ ชื่อตนเองในกำรท�ำ รำยกำรเบิกถอนเงิน จะเห็นว่ำ ลำยมือชือ่ อิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Signature ข้ำงต้นนั้นมีหลำย รู ป แบบ และล้ ว นมี บ ทบำทส� ำ คั ญ เกี่ยวข้องกับกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวัน ค่อนข้ำงมำกทีเดียว พร้อมมีประโยชน์ ช่วยให้ชีวิตมีควำมสะดวกรวดเร็วขึ้น ประหยัดพื้นที่จัดเก็บเอกสำร ประหยัด กำรใช้กระดำษ ประหยัดค่ำส่งเอกสำร และช่วยลดควำมเสี่ยงกำรแพร่ระบำด ของเชื้อโควิด-19 ในสถำนกำรณ์เช่นนี้ ได้ด้วย
5 . เ สี ย บ บั ต ร แ ล ะ ใ ส่ ร หั ส 3. เพียงกรอก Username A T M แ ส ด ง ล ำ ย มื อ ชื่ อ และ password ก็สำมำรถเป็น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ สู่ อ้ อ มกอด เงินที่รก ั ลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
4. คลิก “I Accept” หรือ “ฉัน ยอมรับ” ถือเป็นกำรลงลำยมือ ชื่ออิเล็กทรอนิกส์
กำรคลิก “I Accept” หรือ “ฉั น
2. ลงชื่อท้ำยอีเมล เป็นลำยมือ ยอมรั บ ” บนหน้ำเว็บไซต์ หรือแอป ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้นะรูย ้ ัง! พลิเคชันต่ำงๆ สำมำรถเป็นลำยมือชื่อ
กำรติ ด ต่ อ ลู ก ค้ ำ หรื อ ประสำน อิเล็กทรอนิกส์ได้ในยุคดิจิทัลนี้ โดย งำนต่ำงๆ ผ่ำนทำงอีเมล แล้วพิมพ์ชื่อ มักจะพบเห็นได้ในกำรท�ำธุรกรรมทำง ต่ อ ท้ ำ ยข้ อ ควำมของอีเมล ไม่ว ่ำ จะ ออนไลน์ เช่น กำรกู้ยืมเงิน หรือกำร
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
53
ทั้งนี้ กำรน�ำรูปแบบของลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตำม ตัวอย่ำงข้ำงต้นมำใช้งำน สิ่งที่ต้องค�ำนึงถึงเป็นส�ำคัญ คือ องค์ประกอบของลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพรำะเป็นสิ่งที่ กฎหมำยว่ำด้วยธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ก�ำหนดให้ต้องมี โดยหำกขำดองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งแล้วอำจส่ง ผลถึงผลผูกพันหรือกำรบังคับใช้ทำงกฎหมำยของลำยมือ ชือ่ อิเล็กทรอนิกส์ดงั กล่ำวได้ โดยองค์ประกอบของลำยมือชือ่
54
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
อิเล็กทรอนิกส์ตำมที่กฎหมำยก�ำหนด อย่ำงน้อยต้อง 1. ระบุได้ ว่าเป็ นลายมือชื่อของใครหรื อใครเป็ น เจ้ าของลายมือชื่อ โดยไม่ว่ำลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้น จะอยูใ่ นรูปแบบใด ไม่วำ่ จะเป็น ตัวอักษร ตัวหนังสือ ตัวเลข หรือ สัญลักษณ์ใดๆ จะต้องสำมำรถเชือ่ มโยงไปยังตัวบุคคล ผู้เป็นเจ้ำของสิ่งเหล่ำนี้ได้ 2. ระบุเจตนาของเจ้าของลายมือชื่อต่อข้อความที่ลง
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
นามได้ โดยต้องบอกได้วำ่ มีเจตนำอะไร เช่น ยอมรับ รับรอง หรืออนุมัติตำม ข้อควำมที่ระบุในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หรือยอมรับข้อควำมซึง่ เป็นข้อตกลงใน สัญญำอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น 3. ใช้ วธิ ีการที่เชื่อถือได้ โดยอำจ ดูจำกวิธีกำรว่ำมีควำมมั่นคงปลอดภัย หรื อ ไม่ มี ลั ก ษณะและขนำดของ ธุรกรรมเป็นอย่ำงไร มีควำมเหมำะสม กับวิธีกำรที่ใช้หรือไม่ หรือมีระบบกำร สือ่ สำรทีร่ ดั กุมมำกน้อยเพียงใด เป็นต้น อย่ำงไรก็ดี ETDA ได้จัดท�ำ ข้อ เสนอแนะมำตรฐำนด้ ำ นเทคโนโลยี สำรสนเทศ และกำรสื่อสำรที่จ�ำเป็น ต่ อ ธุ ร กรรมทำงอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ว่ ำ ด ้ ว ย แ น ว ท ำ ง ก ำร ล ง ล ำ ย มื อ ชื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signature) เลขที่ ขมธอ.23-2563 และได้ประกำศ เผยแพร่ใช้อย่ำงเป็นทำงกำรเมื่อวันที่ 29 พฤษภำคม 2563 เพื่อเป็นแนวทำง และมำตรฐำนให้กับหน่วยงำนภำครัฐ และเอกชน ในกำรเลือกใช้วิธีกำรลง ลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้เหมำะสม กับกำรท�ำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ โดยตำมข้ อ เสนอแนะมำตรฐำนดั ง
กล่ำว จะแบ่งลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้ 3 ประเภท ได้แก่ ป ร ะ เ ภ ท ที่ 1 ล า ย มื อ ชื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทั่ วไป โดยจะเป็ น อั ก ษร อั ก ขระ ตั ว เลข เสี ย ง หรื อ สัญลักษณ์อื่นใดที่สร้ำงขึ้นให้อยู่ในรูป แบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ซึ่ ง เป็ น ลั ก ษณะ ของลำยมื อ ชื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ตำม มำตรำ 9 ของกฎหมำยว่ำด้วยธุรกรรม ทำงอิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่ำงเช่น กำรใช้ สไตลัส (Stylus) เขียนลำยมือชื่อด้วย มือลงบนหน้ำจอโทรศัพท์มือถือหรือ แท็บเล็ต กำรเข้ำล็อกอิน Username กับ Password กำรใส่รหัสบัตร ATM เป็นต้น ป ร ะ เ ภ ท ที่ 2 ล า ย มื อ ชื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ท่ ี เ ชื่ อ ถื อ ได้ โดย เป็ น ลำยมื อ ชื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ มี ลั ก ษณะตำมที่ ก� ำ หนดในมำตรำ 26 ของแห่งกฎหมำยว่ำด้วยธุรกรรม ทำงอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เช่ น ลำยมื อ ชื่ อ ดิจทิ ลั ทีอ่ ำศัยโครงสร้ำงพืน้ ฐำนกุญแจ สำธำรณะ หรือ Public Key Infrastructure (PKI) ซึง่ สำมำรถยืนยันตัวบุคคลผู้ เป็นเจ้ำของได้วำ่ คน ๆ นัน้ เป็นใคร และ
ดิจิทัลฯ
สำมำรถตรวจพบกำรเปลีย่ นแปลงของ ข้อควำมและลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้ หำกว่ำมีใครมำแก้ไขข้อมูล ป ร ะ เ ภ ท ที่ 3 ล า ย มื อ ชื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ ท่ ีเชื่อถือได้ ซึ่งใช้ใบ รับรองที่ออกโดยผู้ให้บริกำรออกใบรับ รอง โดยเป็นลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทที่ 2 ที่มีลักษณะตำมที่ก�ำหนด ในมำตรำ 26 ของแห่งกฎหมำยว่ำด้วย ธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบกับ อำศัยใบรับรองที่ออกโดยผู้ให้บริกำร ออกใบรั บ รองเพื่ อ สนั บ สนุ น ลำยมื อ ชื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ตำมที่ ก� ำ หนดใน มำตรำ 28 ของแห่งกฎหมำยว่ำด้วย ธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่ำงเช่น ลำยมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ออกโดยผู้ ให้บริกำรออกใบรับรอง ซึ่งปัจจุบัน มี หน่วยงำนที่ให้บริกำรออกใบรับรองดัง กล่ำวแล้ว เช่น บริษัทไทยดิจิทัล ไอดี (TDID) บริษทั อินเทอร์เน็ตประเทศไทย จ�ำกัด (มหำชน) (INET) หรือ บริษัท โทรคมนำคมแห่งชำติ จ�ำกัด (มหำชน) (NT) เป็นต้น
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
55
Aarticles
เตือนภัย e-Payment ป้องกันเงินหายไม่รู้ตัว
ที่มำของปัญหำ 1. ช่วงกำรแพร่ระบำดของโควิด-19 เรำต่ำงปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตไปเป็นแบบ New Normal รวมไปถึงกำรท�ำธุรกรรมทำงออนไลน์ที่เพิ่มสูงขึ้น จึงพบมิจฉำชีพ หลอกลวงประชำชนในรูปแบบต่ำง ๆ จ�ำนวนมำก ล่ำสุดคือ “กำรถูกตัดเงินจำก บัญชีธนำคำรโดยไม่รู้ตัว” 2. เกิด Case ที่เงินหำยจำกบัญชีมีหลำยรูปแบบ เช่น จำก App ซื้อของ ออนไลน์, จำกโฆษณำใน Facebook, จำกเครื่องรับบัตรหรือเครื่องรูดบัตร EDC (Electronic Data Capture) 3. จำกกำรตรวจสอบของธนำคำรแห่งประเทศไทยและสมำคมธนำคำร ไทยพบว่ำเป็นกำรท�ำธุรกรรมช�ำระค่ำสินค้ำและบริกำรกับร้ำนค้ำออนไลน์ ที่จด ทะเบียนในต่ำงประเทศ ไม่ใช่ “App ดูดเงิน” ปัญหำที่พบ 1. ประชำชนผู้ถือบัตรเครดิตและบัตรเดบิตจ�ำนวนมำกประสบปัญหำท�ำ รำยกำรช�ำระเงิน โดยที่ไม่ได้ท�ำธุรกรรมด้วยตนเองหรือถูกหักเงินจำกบัญชี ธนำคำรโดยไม่ทรำบสำเหตุ 2.กลุ่มที่ค่อนข้ำงมีเอกลักษณ์เป็นพิเศษ คือกลุ่มที่เงินถูกหักออกจำกบัญชี ในจ�ำนวนไม่มำกทีละหลักสิบบำท แต่โดนไปหลำยร้อยครัง้ ในคนเดียว เมือ่ อำยัด บัตรและเช็กข้อมูลพบว่ำเป็นกำรซื้อของในเกมออนไลน์ 3. มีผเู้ สียหำยหลำยรำยถูกมิจฉำชีพเข้ำถึงข้อมูลส่วนตัวบัญชีธนำคำร/บัตร เดบิต โดยมิจฉำชีพจะท�ำกำรหักเงินออกจำกบัตรเดบิตผ่ำนเครื่อง EDC หรือ เครื่องรูดบัตร แต่ไม่มี SMS แจ้งเตือนไปยังเจ้ำของบัตร เนื่องจำกในกำรถอนเงิน ออกในทุกครั้งเป็นกำรถอนเงินออกจ�ำนวนไม่มำก เช่น 34 บำท แต่ท�ำหลำยครั้ง แนวทำงกำรรับ มื อ เมื่ อ เงิน หำยไปจำกบั ญ ชีโดยไม่ ทรำบสำเหตุ 1. แจ้งอำยัดบัตรเดบิต/เครดิตทันที เพื่อป้องกันไม่ให้มีกำรน�ำเลขหน้ำบัตร รวมถึงรหัส cvv ไปใช้ 2. ติดต่อ call center ของธนำคำรต้นเรื่อง และด�ำเนินกำรตำมขั้นตอน ธนำคำรเพื่อปฏิเสธกำรจ่ำยรำยกำรหรือธุรกรรมต่ำง ๆ ที่ผิดปกติ 3. เก็บหลักฐำนทั้งหมดที่ได้รับ เช่น SMS หน้ำจอ วงเงิน statement ไปลง บันทึกประจ�ำวันที่สถำนีต�ำรวจ
56
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
แนวทำงป้องกันและลดผลกระทบ 1. ไม่กรอกข้อมูลส่วนตัวหรือให้ข้อมูลส�ำคัญทำงธุรกรรมผ่ำนทำงโทรศัพท์ หรืออีเมล หรือแอปพลิเคชัน/เว็บไซต์ที่ไม่น่ำเชื่อถือ เช่น แอปพลิเคชันสินเชื่อให้ เงินกู้ เกมออนไลน์ 2. ก�ำหนดวงเงินกำรใช้จำ่ ยของบัตรเดบิต/บัตรเครดิต ให้เหมำะสมเพือ่ จ�ำกัด มูลค่ำควำมเสียหำย บำงกรณีอำจเลือกตัง้ ค่ำวงเงินให้ตำ�่ สุดทีร่ ะบบรองรับได้ และ ปรับแต่งอีกครั้งเมื่อมีกำรเรียกใช้งำน 3.ใช้ช่องทำงกำรแจ้งเตือนกำรท�ำธุรกรรม เช่น แจ้งยอดกำรเคลื่อนไหวของ บัญชีออมทรัพย์/ยอดใช้จำ่ ยบัตรเครดิตผ่ำน SMS กำรตัง้ ค่ำเตือนผ่ำนแอปพลิเค ชัน 4. หมั่นสังเกตเงินในบัญชีตนเองว่ำมียอดลดลงหรือไม่ หรือพบกำรใช้งำนที่ ผิดปกติรีบติดต่อ call center หรือสำขำของธนำคำรผู้ออกบัตรโดยด่วนเพื่อแจ้ง ตรวจสอบ/แก้ไขกำรท�ำธุรกรรมในทันที 5. หำกได้รบั กำรประสำนจำกธนำคำรถึงควำมผิดปกติทงั้ จำกทำงอีเมล หรือ โทรศัพท์ เช่น กำรล็อกอินเข้ำสู่ระบบที่ผิดปกติ กำรเปลี่ยนข้อมูลเบอร์โทรศัพท์ที่ ผูกกับบัญชีบัตร ให้รับทรำบ และประสำนกลับตำมช่องทำง call center ปกติ ของธนำคำร เพื่อให้แน่ใจว่ำเป็นช่องทำงจำกธนำคำรจริง หำกเป็นกำรแจ้งจำก ธนำคำรจริง ให้เฝ้ำระวังควำมเสี่ยงที่อำจเกิดขึ้นต่อจำกนี้ เช่น กำรน�ำรหัสผ่ำน ไปใช้งำนต่อ กำรเปลีย่ นอำจมีกำรฝังมัลแวร์ลงในเครือ่ งคอมพิวเตอร์ผใู้ ช้งำนเพือ่ เฝ้ำดูพฤติกรรมตลอดเวลำ นอกจำกนี้ ธปท. และ สมำคมธนำคำรไทย ได้ร่วมกันก�ำหนดมำตรกำรเพิ่ม เติมเพื่อป้องกันและแก้ปัญหำ ดังนี้ 1. ยกระดับควำมเข้มข้นในกำรตรวจจับธุรกรรมที่ผิดปกติ ให้ครอบคลุมทั้ง ธุรกรรมที่มีจ�ำนวนเงินต�่ำและที่มีควำมถี่สูง หำกพบธุรกรรมที่ผิดปกติ ธนำคำร จะระงับกำรใช้บัตรทันทีและแจ้งลูกค้ำในทุกช่องทำง รวมทั้งติดตำมเฝ้ำระวัง รำยกำรธุรกรรมจำกต่ำงประเทศเป็นพิเศษ 2. เพิ่มกำรแจ้งเตือนลูกค้ำในกำรท�ำธุรกรรมทุกรำยกำร ตั้งแต่รำยกำรแรก ผ่ำนช่องทำงต่ำง ๆ เช่น ระบบ Mobile banking อีเมล หรือ SMS 3. กรณีที่ตรวจสอบพบว่ำลูกค้ำได้รับผลกระทบจำกกำรทุจริตตำมข้ำงต้น กรณีบตั รเดบิต ลูกค้ำจะได้รบั กำรคืนเงินภำยใน 5 วันท�ำกำร ส่วนกรณีบตั รเครดิต ธนำคำรจะยกเลิกรำยกำรดังกล่ำว ลูกค้ำไม่ตอ้ งช�ำระเงินตำมยอดเรียกเก็บทีผ่ ดิ ปกติ และจะไม่มีกำรคิดดอกเบี้ย 4. ธปท. และสมำคมธนำคำรไทยจะเร่งหำรือกับผูใ้ ห้บริกำรเครือข่ำยบัตร เช่น Visa Mastercard เพื่อก�ำหนดให้มีกำรใช้กำรยืนยันตัวตนเพิ่มเติม เช่น OTP กับ บัตรเดบิตส�ำหรับร้ำนค้ำออนไลน์ กรณีลูกค้ำพบควำมผิดปกติของธุรกรรมด้วยตนเอง สำมำรถติดต่อคอล เซ็นเตอร์หรือสำขำของธนำคำรผูอ้ อกบัตร เพือ่ แจ้งตรวจสอบและยืนยันควำมถูก ต้องของธุรกรรมในทันที โดยธนำคำรจะดูแลแก้ไขปัญหำที่เกิดขึ้นโดยเร็วที่สุด
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
57
คดีผู้บริโภค ผ่านระบบ e-Filing ศาลยุติธรรม ยื่นฟ้ องออนไลน์
ศาลยุตธิ รรมเปิดทดลองระบบ ยืน่ ค�าฟ้องออนไลน์ e-Filing ส�าหรับประชาชน เวอร์ขั่น 3 ให้ประชาชนสามารถยื่นฟ้องคดีผู้บริโภคได้ด้วยตัวเองโดยไม่ต้องเดิน ทางไปศาล โดยมี 29 ศาลทดลองน�าร่องเปิดให้บริการแล้วตัง้ แต่ 3 มิถนุ ายน 2564 โดยนายสุริยัณห์ หงส์วิไล โฆษกศาลยุติธรรมได้ออกมาเปิดเผยว่า ศาล ยุติธรรมได้ปรับปรุงระบบการยื่น ส่ง รับค�าคู่ความและเอกสารทางระบบรับ-ส่ง อิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Filing Vertion 3 ให้ประชาชนสามารถยื่นฟ้องคดีผู้บริโภค ได้ดว้ ยตนเองผ่านทางสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ตอ้ งเดินทางไปยืน่ ฟ้องทีศ่ าลและ ไม่มีค่าใช้จ่าย ปธ.ศาลฎีกา ลงนามระเบียบด�าเนินคดีแพ่ งใหม่ฯ บังคับใช้ชว ่ งโควิด-19 ระบาดหนัก
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 (COVID-19) ที่ท�าให้ต้องค�านึงถึงเรื่องสุขอนามัยอย่างมาก เฉพาะอย่างยิ่งความปลอดภัย ที่ต้องป้องกันความเสี่ยงการรับเชื้อ ที่ต้องเน้นการเว้นระยะห่างสัมผัสใกล้ชิด ระหว่างบุคคลและการระมัดระวังต่อการเดินทางไปยังสถานที่มีผู้คนพลุกพล่าน โดยสถานการณ์ที่ยังคงต้องเฝ้าระวังอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่องนั้น ในส่วนของ ผู้ที่อาจจะมีข้อพิพาทเกิดขึ้นเป็นคดีหรือต้องใช้สิทธิทางศาลระหว่างนี้อาจเกิด ความกังวลตามมาว่าหากมีความจ�าเป็นต้องขึน้ ศาลจะท�าอย่างไร นางเมทินี ชโล ธร ประธานศาลฎีกาตระหนักถึงความไม่สะดวกของคู่ความและความปลอดภัย ของทั้งคู่ความและบุคลาการศาลยุติธรรมในช่วงสถานการณ์เช่นนี้ซ่ึงจะต้อง บริหารจัดการคดีในวิถีใหม่ new normal
58
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ฟรี
สาระส�าคัญของระเบียบราชการฝ่าย ตุลาการศาลยุตธิ รรมว่าด้วยการด�าเนิน คดีแพ่งฯ ได้ก�าหนดให้ใช้วิธีการทาง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ ป็ น หลั ก ในการยื่ น ค�าฟ้อง การนั่งพิจารณา การอ่านค�า พิพากษาหรือค�าสั่งให้คู่ความฟัง ซึ่ง การด� า เนิ น การนั้ น ให้ ป ฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก�าหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วย วิ ธี พิ จ ารณาคดี ท างอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ พ.ศ.2563 และประกาศส�านักงานศาล ยุตธิ รรมทีเ่ กีย่ วข้องเท่าทีพ่ อจะใช้บงั คับ ได้ ส�าหรับวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ ใช้ในการยื่นค�าฟ้องนั้น เช่น บริ การ ฟ้ องออนไลน์ผ่านระบบ e-Filing, การ ติ ด ตามผลคดี - การขอคัด ค� า สั่ง /ค� า พิ พากษา ผ่านระบบ CIOS โดยการ ส่ ง หมายสามารถส่ ง ผ่ า นไปรษณี ย ์ อิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-mail ได้ ส่วนการ นั่งพิจารณาและการอ่านค�าพิพากษา หรือค�าสัง่ ให้คคู่ วามฟัง สามารถใช้การ
ร ปน ร
ประชุมทางไกลผ่านจอภาพ (Video Conference) ได้ผา่ นโปรแกรมบนสมา ร์ทโฟนหรือคอมพิวเตอร์ เช่น Google meet, โปรแกรม Zoom, Cisco WebEx, Microsoft team หรื อผ่านแอป พลิ เ คชั่น อื ่น เมื่ อ ศาลมี ค�า พิ พ ากษา หรือค�าสั่งใดๆ ในคดีแล้วให้เจ้าหน้าที่ น� า เข้ า ข้ อ มู ล ค� า พิ พ ากษาหรื อ ค� า สั่ ง นั้นลงในระบบอิเล็กทรอนิกส์ของศาล ให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันด้วย เพื่อ ให้คู่ความตรวจดูและขอคัดส�าเนาค�า พิพากษาหรือค�าสั่งในรูปแบบข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ขณะที่เพื่อให้การปฏิบัติตามระเบียบ ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมว่า ด้วยการด�าเนินคดีแพ่งฯ เป็นไปด้วย ความเรียบร้อย แต่ละศาลอาจก�าหนด แนวทางปฏิบตั ขิ องแต่ละศาลเองได้เท่า ที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ โดยศาลยุติธรรมตระหนักอย่าง ยิ่งถึงการอ�านวยความยุติธรรมที่ต้อง เป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม ทั่วถึงและปลอดภัยในด้านสุขอนามัย ของทุกคนที่เกี่ยวข้องที่ต้องจัดการคดี ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค ขณะเดียวกันช่วงทีผ่ า่ นมาศาลยุตธิ รรม และส�านักงานศาลยุติธรรม ได้พัฒนา ระบบอิเล็กทรอนิกส์และช่องทางการ บริการผ่านระบบออนไลน์ต่าง ๆ อย่าง ต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนให้คู่ความและ ทนายความใช้บริการทางศาลผ่านทาง ออนไลน์ได้สะดวก ขณะที่หากมีการ พิจารณาคดีศาลก็ยังต้องปฏิบัติตาม มาตรการคัดกรอง รวมทั้งมาตรการ ทางสาธารณสุขทีก่ ระทรวงสาธารณสุข ก�าหนดอย่างเคร่งครัด ข้อมูล / ภาพประกอบ : www.itax.in.th / www.isranews.org / thainews.prd.go.th / ictlawcenter.etda.or.th
น
ดิจิทัลฯ
ขั้นตอนการสมัครใช้งาน e-Filing ส�าหรับยื่นฟ้องคดีผู้บริโภค
ไปที่เว็บไซต์ www.efiling3.coj.go.th เลือกประเภทผู้ใช้งานเป็น “ประชาชน-ยื่นฟ้องในฐานะประชาชน” กด “ลงทะเบียน” ยอมรับนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของส�านักงานศาลยุติธรรมแล้ว กด “ด�าเนินการต่อ” เพื่อกรอกข้อมูลการลงทะเบียน 5. กรอกข้อมูลส่วนตัวและที่อยู่ 6. ตั้งรหัสผ่านส�าหรับการเข้าสู่ระบบ (รหัสผ่านต้องมีอย่างน้อย 8 ตัวอักษร ประกอบด้วยตัวอักษรใดๆ และต้องมีอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก และตัวเลขอารบิกอย่างน้อยอย่างละ 1 ตัวอักษร) 7. กรอกอีเมลและเบอร์โทรศัพท์มือถือที่จะใช้เป็นช่องทางการติดต่อรับข้อมูล การยื่นค�าฟ้อง/ค�าร้อง 8. แนบไฟล์ “บัตรประจ�าตัวประชาชน” และ “ภาพถ่ายสี (หน้าตรงสุภาพ)” ขนาดไฟล์ต้องไม่เกิน 1 MB. 9. กด “ยืนยันการลงทะเบียน” 10. เมื่อลงทะเบียนเสร็จแล้วสามารถกลับเข้าสู่ระบบและด�าเนินการฟ้องคดี ผู้บริโภคในฐานะประชาชนเป็นผู้ฟ้องคดีได้ 1. 2. 3. 4.
รายชื่อ 29 ศาลน�าร่องทดลองให้บริการระบบ “ยื่นค�าฟ้องออนไลน์” ศาลน�าร่องทัง้ 29 ศาล ประกอบไปด้วย ศาลแพ่ง ศาลแขวง และศาลจังหวัด ดังต่อไปนี้ 16. ศาลจังหวัดธัญบุรี 1. ศาลแพ่ง 17. ศาลจังหวัดชลบุรี 2. ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ 18. ศาลจังหวัดพัทยา 3. ศาลแพ่งพระโขนง 19. ศาลจังหวัดฉะเชิงเทรา 4. ศาลแพ่งมีนบุรี 20. ศาลแขวงนครราชสีมา 5. ศาลแพ่งธนบุรี 21. ศาลจังหวัดนครราชสีมา 6. ศาลแพ่งตลิ่งชัน 22. ศาลจังหวัดภูเขียว 7. ศาลแขวงพระนครเหนือ 23. ศาลจังหวัดอุบลราชธานี 8. ศาลแขวงพระนครใต้ 24. ศาลจังหวัดเชียงใหม่ 9. ศาลแขวงดอนเมือง 25. ศาลจังหวัดแพร่ 10.ศาลแขวงดุสิต 26. ศาลจังหวัดสมุทรสาคร 11.ศาลแขวงธนบุรี 27. ศาลจังหวัดเพชรบุรี 12.ศาลแขวงนนทบุรี 28. ศาลจังหวัดภูเก็ต 13.ศาลจังหวัดนนทบุรี 29. ศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานี 14.ศาลแขวงสมุทรปราการ 15.ศาลจังหวัดสมุทรปราการ โดยประชาชนทีม่ ีความประสงค์ จะยืน่ ฟ้องคดีผ้ ูบริโภคผ่ านทางระบบ e-Filing version 3 สามารถสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ ที่ เจ้ าหน้ าทีง่ าน คดีศาลน�าร่ องทัง้ 29 ศาลข้ างต้ น ซึง่ จะให้ ความช่ วยเหลือในการตรวจสอบ ความถูกต้ องของค�าฟ้อง ตลอดจนการด�าเนินคดีทางกฎหมาย วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
59
60
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
หรือว่า... โควิด-19
จะกลายเป็นโรคประจำาถิ่น
การระบาดของโรคโควิด 19 ที่ยืด เยื้อมาเกือบสองปี และส่งผลกระทบ ต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ ทั่ ว โลกเป็ น ระยะ เวลายาวนาน ถึ ง แม้ ว ่ า จะมี วั ค ซี น หลายชนิด และยาอย่างน้อยสองชนิด ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการรั ก ษาโรคโค วิ ด ได้ โ ดยตรงซึ่ ง จะเป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ส�าคัญในการควบคุมโรคระบาด แต่มี ค�าถามต่อมาว่า เมื่อไหร่โรคโควิด 19 จะไม่เป็นโรคระบาดอีกต่อไป แต่เป็น เพียงสายพันธุห์ นึง่ ของโรคไข้หวัดใหญ่ ตามฤดูกาลเท่านั้น ซึ่งหมายความว่า อิทธิฤทธิข์ องโรคโควิด 19 จะลดลง และ สามารถควบคุมได้ และไม่เป็นปัญหา ต่อระบบสาธารณสุข ผู้เชี่ยวชาญทางระบาดวิทยา จาก มหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริกา อาร์โน มอลโต กล่าวว่ามันเป็นเรื่อง ของมุ ม มองว่ า โรคโควิ ด 19 จะเป็ น โรคระบาดหรือโรคประจ�าถิ่นขึ้นอยู่กับ การบริหารจัดการโรค แต่ถึงแม้ว่าจะ มีวัคซีนในการป้องกันการติดเชื้อและ ลดความรุนแรงของโรค แต่สงิ่ ทีน่ า่ กลัว
86
?
คือเชื้อไวรัสมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา และไม่มีใครสามารถคาดการณ์ได้ว่าใน อนาคตโรคโควิด19 จะเป็นแบบไหน ซึง่ การเปลีย่ นแปลงของสายพันธุอ์ ยูต่ ลอดเวลาท�าให้เป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะบอก ว่าโรคระบาดจะจบสิ้นเมื่อใด แต่อย่างไรก็ตามเขามีความเชื่อว่า ท้ายที่สุดแล้ว การติดตามเฝ้าระวังโรคโควิด 19 จะไม่แตกต่างจากการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดตาม ฤดูกาล เนือ่ งจากมีตวั อย่างมาหลายกรณีแล้วว่า เชือ้ ไวรัสโคโรน่าในทีส่ ดุ จะกลาย เป็นสายพันธุ์ประจ�าฤดูกาลของไข้หวัดใหญ่ ถึงแม้ว่ายังไม่มีใครรู้ว่าโควิด 19 จะ เป็นเช่นนั้นหรือไม่ แต่อย่างน้อยมันก็มีความน่าจะเป็นว่า จะเป็นเช่นนั้น ผู้เชี่ยวชาญทางด้านระบาดวิทยาหลายคนเชื่อว่าโรคโควิด 19 ในอนาคต จะไม่เป็นโรคระบาดที่ส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณะสุขหรือการใช้ชีวิตของ คนทั่วไป ถ้ามีการฉีดวัคซีนอยางครอบคลุมทั่วโลกภายในระยะเวลาที่เหมาะสม และการติดเชื้ออาจมีมากน้อยได้ตามสถานการณ์แต่จะไม่ส่งผลกระทบต่อการ ด�าเนินชีวิตประจ�าวันอย่างที่เป็นอยู่ในขณะนี้
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ในขณะที่กรมสุขภาพและบริการบุคคลในสหรัฐอเมริกาเอง ก�าลังพิจารณา ถึงแนวทางที่จะน�ามาใช้พิจารณาในการประกาศการสิ้นสุดของการระบาดของ โรคโควิด 19 และวิธีเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคเมื่ออยู่ในสถานะโรคประจ�า ถิน่ แต่กว่าจะถึงขัน้ ตอนนัน้ มีหลายสิง่ ทีจ่ ะต้องเตรียมการ โดยประการแรกจะต้อง มีการสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสโดยการฉีดวัคซีน ในสหรัฐอเมริกาเอง ยังมีบาง กลุ่มที่ปฎิเสธการฉีดวัคซีนและไม่ยอมสวมหน้ากาก ซึ่งอาจจะต้องใช้ระยะเวลาอีกนานที่จะประกาศการเปลี่ยนผ่านจากโรค ระบาด ไปยังโรคประจ�าถิ่น ปัจจุบัน 58% ของประชากรในสหรัฐอเมริกาที่ฉีด วัคซีนครบโดส ซึง่ ในความเป็นจริงควรได้รบั วัคซีนประมาณ 80-90% ของจ�านวน ประชากรเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน หรือการเกิดภูมิคุ้มกันจากการติดเชื้อในปริมาณ เดียวกัน โดยเทียบเคียงจากการระบาดของโรคหัด ในอเมริกา ซึ่งจะต้องสร้าง ภูมิคุ้มกันประมาณ 95% ของประชากร ปัจจุบันตัวเลขการติดเชื้อรายวันในสหรัฐอเมริกายังคงสูงอย่างต่อเนื่อง อัตราเฉลี่ยอยู่ที่ 70,000 รายต่อวัน และอัตราตายก็ยังสูงถึง 1,000 รายต่อวัน ซึ่ง รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเองก็ทา� การรณรงค์อย่างหนักให้ประชาชนทีม่ อี ายุตงั้ แต่หา้ ปีขนึ้ ไปเข้ารับการฉีดวัคซีน โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวทีเ่ ชือ้ สามารถแพร่กระจาย ได้อย่างรวดเร็ว จึงจ�าเป็นต้องมีการเร่งให้มีการฉีดวัคซีน และรวมถึงการปฎิบัติ ตามมาตรการป้องกันโรคอื่นๆ เช่น การล้างมือ การรักษาระยะห่าง และการสวม หน้ากากในที่สาธารณะเป็นต้น
ดิจิทัลฯ
ถึงแม้ว่าสถานการณ์โควิด 19 มี แนวโน้มที่ดีขึ้นในหลายพื้นที่ แต่การ เปลี่ยนผ่านจากภาวะโรคระบาด ไปสู่ โรคประจ�าถิ่นนั้นยังเป็นเรื่องที่ท้าทาย เพราะการฉี ด วั ค ซี น ยั ง ไม่ มี ค วาม ครอบคลุมเพียงพอ การกระจายวัคซีน หรือการกระจุกตัวของวัคซีนในประเทศ พัฒนาแล้ว ท�าให้เป็นปัญหาอย่างมาก ต่ อ การเข้ า ถึ ง วั ค ซี น ในประเทศด้ อ ย โอกาส ถึงแม้ว่าองค์การอนามัยโลกจะ ออกมาขอความร่วมมือในการกระจาย วัคซีนอย่างเป็นธรรม เท่าเทียม ในราคา ทีเ่ ข้าถึงได้ แต่กย็ งั ไม่มผี ลทีเ่ ป็นรูปธรรม อย่างชัดเจน นอกจากนี้ ยั ง มี ป ั จ จั ย เสี่ ย งจาก การกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสโควิด 19 ซึ่งไม่มีใครบอกได้ว่า สายพันธุ์ใหม่จะ รุนแรงกว่าเดิมหรือไม่ และถ้าโชคร้าย โลกยังคงต้องต่อสู้กับการระบาดของ เชื้อโควิดไปอีกหลายปี การระบาดของโรคติดต่อ มี 4 ระดับ ได้แก่
นอกจากนีส้ า� นักงานควบคุมโรค ของสหรัฐออกมาให้คา� แนะน�าว่าประชาชน ทุกคน รวมถึงทารกทีม่ อี ายุตงั้ แต่ 6 เดือนขึน้ ไปควรจะต้องได้รบั วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ทุกปี แต่ในช่วงสองปีที่ผ่านมา ประชากรเพียง 51.8% ปฎิบัติตามค�าแนะน�าดัง กล่าว ซึง่ มีการประเมินกันว่าโรคไข้หวัดใหญ่คร่าชีวติ ประชากรประมาณ 12,00052,000 คนในช่วงเวลาดังกล่าว ในขณะที่จ�านวนผู้ติดเชื้อโควิดที่เสียชีวิตมี มากกว่า 750,000 ราย “เราก�าลังคิ ดว่าเมือ่ โควิ ด 19 กลายเป็ นโรคประจ�าถิ่ น สถานการณ์ตอนนัน้ จะ เป็ นอย่างไร และข้อมูลแบบไหนทีเ่ ราต้องให้ความส�าคัญในการรายงาน ตอนนีเ้ รา เก็บข้อมูลจ�านวนผูป้ ่ วย และผูเ้ สียชีวิต แต่ค�าถามทีส่ �าคัญคือตัวชีว้ ดั ในอนาคตจะ ใช้แบบไหนจึงจะเหมาะสมทีส่ ดุ ซึ่งตัวอย่างของการรายงานไข้หวัดใหญ่ในระบบ ปั จจุบนั อาจจะสามารถน�ามาปรับใช้ได้ในกรณี ของโรคโควิ ด”ดร.ราเชล วาเลน สกาย ผูอ้ า� นวยการศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค กล่าวกับคณะกรรมาธิการรัฐสภา
1) Endemic (โรคประจ�ำถิ่น) คือ โรคที่เกิดขึ้นประจ�าในพื้นที่นั้น กล่าว คือมีอัตราป่วยคงที่และสามารถคาด การณ์ได้ โดยขอบเขตของพื้นที่อาจ เป็นเมือง ประเทศ หรือใหญ่กว่านั้น อย่างกลุ่มประเทศ หรือทวีป เช่น ไข้ หวัดใหญ่ ไข้เลือดออกในประเทศไทย โรคมาลาเรียในทวีปแอฟริกา 2) Outbreak (กำรระบำด) คือ เหตุการณ์ที่มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นผิดปกติ ทั้ง ในกรณีโรคประจ�าถิ่น แต่มีจ�านวนผู้ ป่วยมากกว่าที่คาดการณ์ หรือในกรณี โรคอุบตั ใิ หม่ ถึงแม้จะมีผปู้ ว่ ยเพียงราย เดียว 3) Epidemic (โรคระบำด) เป็นการระบาดของโรคที่แพร่กระจาย กว้างขึน้ ในเชิงภูมศิ าสตร์ ซึง่ โรคระบาด
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
87
ที่แผ่ไปในพื้นที่ที่กว้างขึ้นนั้นเป็นการ ระบาดที่เพิ่มขึ้นอย่างฉับพลัน และมี จ�านวนผู้ติดเชื้อเกินกว่าที่คาดการณ์ ได้ เช่ น โรคอี โ บลาที่ ร ะบาดในทวี ป แอฟริกาตะวันตกในปี 2557-2559 4 Pandemic (กำรระบำดใหญ่ / ทั่วโลก) หรือ ระดับการระบาดสูงสุด เช่น การระบาดของไข้หวัดใหญ่ที่ย้อน กลับไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2461 (Spanish flu) หรือการระบาดของไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ 2009 และล่าสุดคือการ คาดเดาอัตราการติดเชือ้ ได้ เช่น โรคไข้เลือดออก เป็นต้น The Economist (2021) ระบาดของ COVID-19 ในอย่างน้อย ระบุวา่ การระบาดเฉพาะถิน่ เกิดขึน้ เมือ่ อัตราการแพร่ระบาดอยูใ่ นระดับคงทีแ่ ละ คาดการณ์ได้แต่การติดเชือ้ อาจเพิม่ ขึน้ หรือลดลงได้ การติดเชือ้ จะเข้าสูด่ ลุ ยภาพ 122 ประเทศทั่วโลก (Equilibrium) ที่อัตราการติดเชื้อของประชากรมีแนวโน้มลดลงในระดับเดียวกับ โรคประจ�าถิ่น คืออะไร โอกาสในการแพร่เชื้อและภาวะดุลยภาพจะต�่าลงด้วยการฉีดวัคซีน นั บ ตั้ ง แต่ เ กิ ด การระบาด (Outทัง้ นี้ ปั จจัยทีส่ ่ งผลต่ อกำรกลำยเป็ นโรคประจ�ำถิน่ และกำรแพร่ กระจำย break) ของเชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019 ้ ่ เชือทีแต่ ละประเทศจะต้ องเผชิญขึ้นอยู่กับ (1) สัดส่ วนของประชำกรทีม่ ี (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่เมื่อ ภูมคิ ้ มุ กันต่ อไวรัส คุณภำพ และควำมทนทำนของภูมคิ ้ มุ กันทีม่ ี (2) ควำม เดือนธันวาคม 2562 ที่เมืองอู่ฮั่นของ สำมำรถในกำรดูแลรักษำผู้ป่วยติดเชือ้ และ (3) กำรกลำยพันธุ์ของไวรัส สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น หลั ง จาก นั้นได้มีผู้ติดเชื้อเป็นจ�านวนมากทั้งใน เกณฑ์การพิ จารณาโรคประจ�าถิ่น การพิจารณาว่าโรคโควิด 19 เป็นโรคประจ�าถิน่ ในประเทศใด หรือไม่ อย่างไร ประเทศจีนและหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยจนท�าให้การระบาด ต้องพิจารณาจา 1) เชื้อลดความรุนแรง (ปัจจุบันความรุนแรง อัตราป่วยตายโรคโควิด 19 ลด ของเชื้อไวรัส COVID-19 กลายเป็น โรคระบาด (Epidemic) อย่างเต็มรูป ลงเหลือ เสียชีวิต ~ 1 ราย จากผู้ติดเชื้อ 1,000 ราย) 2) ประชาชนมีภูมิคุ้มกันค่อนข้างดี เช่น การฉีดวัคซีน การติดเชื้อก่อนหน้า แบบ จนกระทั่งวันที่ 11 มีนาคม 2563 3) ประเทศนัน้ ๆ มีระบบการบริหารจัดการ การดูแลรักษา และควบคุม/ชะลอ องค์การอนามัยโลกได้ออกมาประกาศ การระบาดได้ อย่างดี (ตัวอย่างที่ดีในประเทศไทย และอีกหลายๆประเทศ) อย่างเป็นทางการถึงสถานการณ์การ สรุปได้วา่ “โรคประจ�ำถิ่น” เป็นโรคทีเ่ กิดขึน้ ประจ�าเฉพาะบริเวณพืน้ ทีน่ นั้ ๆ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่ได้กลายเป็นการระบาดใหญ่ (Pan- มีการแพร่กระจายและสามารถคาดเดาอัตราการติดเชื้อได้ เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ โรคเอดส์ demic) การทีโ่ ควิด 19 จะปรับเปลีย่ นเป็น “โรคประจ�าถิน่ ” ได้หรือไม่ มิใช่เกิดจากตัว ปั จ จุ บั น เป็ น เวลากว่ า 1 ปี 10 เดือน ที่โลกต้องรับมือกับสถานการณ์ เชือ้ หรือระบบสาธารณสุขเท่านัน้ แต่ตอ้ งได้รบั ความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนและ ดังกล่าว หลายประเทศทั่วโลกก�าลัง ประชาชนในการร่วมเดินหน้ารับมือให้โควิด 19 สู่โรคประจ�าถิ่น เช่น การป้องกัน เฝ้ารอการกลายเป็น “โรคประจ�ำถิ่น ตนเองสูงสุด มาตราการส�าคัญ และรับการ) รับการฉีดวัคซีนเพือ่ เพิม่ ภูมคิ มุ้ กันทัง้ (Endemic)” ของเชื้อไวรัส COVID-19 ระดับบุคคลและประเทศ ซึง่ เป็นสัญญาณทีบ่ ง่ บอกถึงการสิน้ สุด สธ.ไทยคาดใน 1 ปี โควิดอาจเป็นโรคประจ�าถิ่น ของการระบาดใหญ่ ปลัดสธ.เผยโอมิครอนอีก 2 เดือนค่อยๆ ลด คาดว่าใน 1 ปีอาจเป็นโรคประจ�า “โรคประจ�ำถิน่ ” เป็นโรคที่เกิดขึ้น ถิ่น แต่ต้องปัจจัยเอื้อ ทั้งวัคซีน ภูมิต้านทานปชช. ไม่กลายพันธุ์เพิ่ม และติดเชื้อ ประจ�าเฉพาะบริเวณพื้นที่นั้นๆ มีการ ไม่รุนแรง การจะเป็นโรคประจ�าถิ่นต้องดูลักษณะตัวโรคเองว่า ลดความรุนแรง แพร่กระจายในระดับต�่าและสามารถ ลง ประชาชนมีภูมิต้านทาน และเรื่องสภาพแวดล้อมต่างๆ มีการดูแลรักษาที่
88
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
มีประสิทธิภาพ ลดอัตราการป่วยหนักและเสียชีวิตลงได้ เนื่องจากโรคโควิดที่ ระบาดรุนแรง เพราะเป็นโรคทีพ่ บอัตราการเสียชีวติ สูง ซึง่ ตอนนัน้ มีอตั ราเสียชีวติ ถึง 3% และค่อยๆลดลงเหลือ 1% ซึ่งปัจจุบันก็จะต�่ากว่านั้น ถ้าเหลือ 0.1% ก็จะ เข้าข่ายโรคประจ�าถิ่นได้ ส่วนจะใช้เวลานานหรือไม่ในการเป็นโรคประจ�าถิ่นนั้น ได้สอบถามทางกรมควบคุมโรค ขณะนีเ้ ป็นเวฟที่ 4 ซึง่ โอมิครอน หากเป็นไปตาม คาดหมายก็นา่ จะประมาณ 2 เดือนก็จะค่อยๆลดลงอีกสักระยะ คาดว่าภายใน 1 ปีจะเป็นโรคประจ�าถิ่น หากเราจัดการตามมาตรการได้ ทั้งการจัดการวัคซีนได้ดี ประชาชนต้องร่วมกันฉีดวัคซีนให้ได้ถงึ ขนาดทีม่ ภี มู ติ า้ นทาน และโรคไม่ได้กลาย พันธุ์เพิ่ม การติดเชื้อไม่ได้รุนแรงมากขึ้นก็จะเป็นโรคประจ�าถิ่นได้ WHO เตือน โควิดยังไม่ใช่ “โรคประจ�าถิ่น” เหมือนไข้หวัดใหญ่
องค์ กำรอนำมัยโลก (WHO) กล่าวว่าขณะนี้ยังเร็วเกินไปที่จะมองว่าโค วิด-19 เป็นโรคประจ�าถิ่นเหมือนกับไข้หวัดใหญ่ ขณะที่โควิด-19 สายพันธุ์โอมิค รอนก�าลังแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจ�านวนมากและ กลายเป็นสายพันธุ์หลักในหลายพื้นที่ แคทเธอรีน สมอลวูด เจ้าหน้าทีอ่ าวุโสขององค์การอนามัยโลกประจ�าภูมภิ าค ยุโรปกล่าวว่า “โรคประจ�าถิ่น” นั้นจ�าเป็นต้องมีการแพร่เชื้อที่เสถียรและคาดเดา ได้ แต่ขณะนี้การแพร่ระบาดของโควิด-19 เต็มไปด้วยความไม่แน่นอน ไวรัสยัง คงพัฒนาอย่างรวดเร็ว ท�าให้เกิดความท้าทายใหม่ๆ อยู่เสมอ ดังนั้น เราไม่ได้อยู่ ในจุดที่เรียกว่าโรคประจ�าถิ่นอย่างแน่นอน พร้อมเสริมว่า ท้ายที่สุดแล้วโควิด-19 อาจกลายเป็นโรคประจ�าถิ่นอย่างที่หลายๆ คนคาดการณ์ แต่จะเกิดขึ้นภายในปี นี้หรือไม่เป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากในสถานการณ์เช่นนี้ โดยฮันส์ คลูจ ผู้อ�านวยการองค์การอนามัยโลกประจ�าภูมิภาคยุโรปกล่าว ว่ายุโรปพบผู้ติดเชื้อรายใหม่มากกว่า 7 ล้านรายในสัปดาห์แรกของปี 2022 และมีจ�านวนผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นมากกว่าเท่าตัวภายในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ซึ่งผู้ เชี่ยวชาญคาดการณ์ว่ากว่าครึ่งหนึ่งของประชากรในยุโรปจะติดเชื้อโอมิครอน ในอีก 6 ถึง 8 สัปดาห์ข้างหน้าแม้อัตราป่วยหนักน้อยลง ในทางกลับกันนายกรัฐ
ดิจิทัลฯ
มนตรีเปโดร ซานเชซ ของสเปนกล่าว เมือ่ วันที่ 10 ม.ค. ทีผ่ า่ นมาโดยเสนอให้ ประชาคมยุโรปหารือทีจ่ ะเปลีย่ นนิยาม ของโควิด-19 จาก “การระบาดใหญ่” (pandemic) มาเป็น “โรคประจ� าถิ่ น” (endemic) เนือ่ งจากพบว่ามีอตั ราการ เสียชีวิตที่ลดลง โดยก่อนหน้านีอ้ งค์การอนามัยโลก เปิดเผยว่ามีการพบหลักฐานเพิม่ เติมที่ บ่งชี้ว่าโควิ ด-19 สายพันธุ์โอมิ ครอนส่ง ผลกระทบต่อระบบทางเดิ นหายใจส่วน บน มากกว่าทีเ่ ชื อ้ จะลงปอด ซึ่งท�าให้ เกิ ด อาการรุ น แรงน้อ ยกว่ า น้อ ยกว่ า สายพันธุ์ก่อนหน้านีอ้ ย่างเดลตา และ พบว่ าอัตราการเข้าโรงพยาบาลและ เสียชีวิตจากโอมิ ครอนยังอยูใ่ นระดับต�่า อย่างไรก็ตาม องค์การอนามัยโลกเน้น ย�้าว่าอย่าเพิ่ งชะล่าใจ เนือ่ งจากยังคง มี ความจ� าเป็ นที จ่ ะต้องศึกษาเพิ่ มเติ ม เพือ่ พิ สูจน์ต่อไป อย่ ำ งไรก็ต ำม ไม่ ว่ ำ โควิด -19 จะกลำยเป็ นโรคประจ�ำถิ่นหรื อไม่ กำรปฏิบัติตัวก็ยังคงต้ องเข้ มงวด เหมื อ นเดิม เวยกำร ใส่ ห น้ ำ กำก เว้ นระยะห่ ำง ล้ ำงมื อ เพรำะกำร ป้องกันตัวเองไม่ ให้ ตดิ เชื่อโควิด-19 ย่ อมต้ องดีกว่ ำกำรเข้ ำรั บกำรรั กษำ แน่ นอน
ข้อมูล / ภาพประกอบ : bangkokbiznews / posttoday.com / thaigov.go.th วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
89
6 แอปพลิเคชัน ดูแลสุขภาพภาครัฐ
ที่ต้องมีติดมือถือไว้ 1. สมุดสุขภาพประชาชน • โดย กระทรวงสาธารณสุข • ส�าหรับบันทึกข้อมูลสุขภาพของประชาชน
2. Thai First Aid
• โดย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ • ให้ข้อมูลการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเพื่อ รับมือกับสถานการณ์ฉกุ เฉินจากค�าแนะน�า ของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และสามารถแจ้ง เหตุฉุกเฉินไปยัง 1669 ได้
90
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ดิจิทัลฯ
3. ยากับคุณ (YaAndYou) • โดย มูลนิธิเพื่อการวิจัยและ พัฒนาระบบยา (มูลนิธิ วพย.) และ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอ นิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) • ส�าหรับสืบค้นและบริการข้อมูล ความรู้ด้านยาและสุขภาพเพื่อ ส่งเสริมการใช้ยาและการดูแล สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม
4. Mental Health Check Up • โดย กรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข • เป็นเครื่องมือประเมินสุขภาพ จิตเบื้องต้น และคัดกรองความ เสี่ ย งต่ อ ปั ญ หาจิ ต เวช ได้ แ ก่ ความเครี ย ด ภาวะซึ ม เศร้ า ภาวะสมองเสื่อม ความสุข พลัง สุขภาพจิต และความฉลาดทาง อารมณ์
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565
91
5. หมอชนะ • โดย คณะรวมอาสาสมัคร • ระบบเก็บข้อมูลการเดินทาง ของประชาชน เพื่อให้ผู้ใช้งาน สามารถตรวจสอบและประเมิน ระดับความเสี่ยงในการติดเชื้อ โควิด-19 จากสถานที่ต่าง ๆ ได้ ด้วยตัวเอง
6. สปสช.
• โดย ส�านักงานหลักประกันสุข ภาพแห่งชาติ • ตรวจสอบสิทธิด้านหลักประ กันสุขภาพด้วยตัวเอง พร้อม แสดงแผนที่หน่วยบริการหลัก ประกันสุขภาพ และหน่วยรับ เรื่องร้องเรียน
ข้อมูล / ภาพประกอบ : www.dga.or.th
92
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประจำาปี 2565