คู่มือ อยุธยา

Page 1



























คู่มือ….อยุธยา

แบบฟอร์มรายงานตัวส�าหรับผู้ที่เดินทาง มาจากพื้ นที่อื่นเพื่ อเข้าสู่พ้ื่ นที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เอกสารรับรองความจ�าเป็นในการเดินทางออก นอกพื้ นที่จังหวัดควบคุมสูงสุดและเข้มงวด

่ นย้ายแรงงาน แบบบันทึกส�าหรับผู้ที่เดินทางมาจากพื้ นที่เสี่ยง แบบค�าขอการเดินทางและเคลือ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ต่างด้าวข้ามพื้ นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส�าหรับภาคเอกชนและสถานประกอบการ การท�างาน วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาเพื ปี ่ อ2564

27


28

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

29


สายด่ ว น โควิ ด -19 โรงพยาบาลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

โทร. 035-241520

สสจ. พระนครศรีอยุธยา

โทร. 081-7806767

โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา

โทร. 065-5248088, 089-9012872

โรงพยาบาลท่าเรือ

โทร. 098-9638036

โรงพยาบาลนครหลวง

โทร. 091-7256654, 086-8187172

โรงพยาบาลบางปะอิน

โทร. 089-9016693, 089-9017611

โรงพยาบาลบางปะหัน

โทร. 090-9439547, 089-8027550

โรงพยาบาลบางไทร

โทร. 035-371029, 089-9019298

โรงพยาบาลบางบาล

โทร. 081-9940505, 081-8194542

โรงพยาบาลภาชี

โทร. 089-7682010, 081-9074991

โรงพยาบาลบ้านแพรก

โทร. 086-1235741, 082-7275701

โรงพยาบาลผักไห่

โทร. 080-0426844, 094-4527575

โรงพยาบาลมหาราช

โทร. 081-8524406, 083-7736721

โรงพยาบาลบางซ้าย

โทร. 081-9087809, 085-9070791

โรงพยาบาลอุทย ั

โทร. 098-9012599

โรงพยาบาลลาดบัวหลวง

โทร. 089-9596859, 083-6152578

โรงพยาบาลเสนา

โทร. 064-3455989

โรงพยาบาลวังน้อย

โทร. 095-7701759

30

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


อยุธยา คู่มือ….อยุธยา

ที่นี่...พระนครศรี

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึง่ ใน ภาคกลางและมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชอื่ เสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวทีส่ าำ คัญ จังหวัด พระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดทีไ่ ม่มอี าำ เภอเมือง มีอาำ เภอ พระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้าน ต่างๆ ชาวบ้านโดยทัว่ ไปนิยมเรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า “กรุงเก่า” หรือ “เมืองกรุงเก่า” ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 75 กิโลเมตร

ประวัติศาสตร์

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอดีตราชธานีของ ไทย มีหลักฐานของการเป็นเมืองในลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยา ตั้งแต่ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 16-18 โดยมีร่องรอย ของที่ตั้งเมือง โบราณสถาน โบราณวัตถุ และเรื่องราว เหตุการณ์ในลักษณะ ตำานานพงศาวดาร ไปจนถึงหลัก ศิลาจารึก ซึ่งถือว่าเป็นหลักฐานร่วมสมัยที่ใกล้เคียง เหตุการณ์มากที่สุด ซึ่งเมืองอโยธยา หรืออโยธยาศรีราม เทพนคร หรือเมืองพระราม มีท่ีตั้งอยู่บริเวณด้านตะวัน ออกของเกาะเมืองอยุธยา มีบ้านเมืองที่มีความเจริญ ทางการเมือง การปกครอง และมีวฒ ั นธรรมทีร่ งุ่ เรืองแห่ง หนึ่ง มีการใช้กฎหมายในการปกครองบ้านเมือง ๓ ฉบับ คือ พระอัยการลักษณะเบ็ดเสร็จพระอัยการลักษณะทาส พระอัยการลักษณะกู้หนี้ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือ พระเจ้าอู่ทอง ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมือ่ พ.ศ. 1893 กรุงศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลางของประเทศ สยามสืบต่อมายาวนานถึง 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ ปกครอง 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ คือ 1. ราชวงศ์อู่ทอง 2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ 3. ราชวงศ์สุโขทัย 4. ราชวงศ์ปราสาททอง 5. ราชวงศ์บ้านพลูหลวง วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

31


อยุธยาได้สญ ู เสียเอกราชแก่ พม่า 2 ครั้ง ครั้งแรกใน พ.ศ. 2112 สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราชทรง กู้เอกราชคืนมาได้ใน พ.ศ. 2127 และ เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชทรงกอบกู ้ เ อกราชได้ ใ น ปลายปีเดียวกันแล้วทรงสถาปนา กรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่ โดย กวาดต้อนผู้คนจากกรุงศรีอยุธยา ไปยังกรุงธนบุรีเพื่อสร้างเมืองใหม่ แต่กรุงศรีอยุธยาไม่ได้ กลายเป็น เมืองร้าง ยังคงมีคนรักถิ่นฐานบ้าน เดิมอาศัยอยู่และราษฎรที่หลบหนี ไปได้กลับเข้ามาอยู่รวมกัน ต่อมา ได้ รั บ การยกย่ อ ง เป็ น เมื อ งจั ต วา เรียก “เมืองกรุงเก่า” พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงยกเมืองกรุงเก่าขึ้นเป็นหัวเมือง จั ต วาเช่ น เดี ย วกั บ สมั ย กรุ ง ธนบุ รี หลั ง จากนั้ น พระบาทสมเด็จพระ จุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว โปรดให้ จัดการปฏิรูป การปกครองทั้งส่วน กลางและส่ ว นภู มิ ภ าค โดยการ ปกครองส่วน ภูมิภาคนั้นโปรดให้ จั ด การปกครอง แบบเทศาภิ บ าล ขึ้นโดยให้รวม เมืองที่ใกล้เคียงกัน 3-4 เมือง ขึ้นเป็นมณฑล มีข้าหลวง เทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง โดยใน ปี พ.ศ. 2438 ทรงโปรให้ จั ด ตั้ ง มณฑลกรุงเก่าขึ้น ประกอบด้วยหัว เมืองต่างๆ คือ กรุงเก่าหรื อ อยุธยา อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี พรหมบุรี อิ นทร์ บรุ ี และสิ งห์บรุ ี ต่อมาโปรดให้ รวมเมืองอินทร์ และเมืองพรหม เข้า กับเมืองสิงห์บรุ ี ตัง้ ทีว่ า่ การมณฑลที่ อยุธยา และในปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยน ชื่อจากมณฑลกรุงเก่า เป็นมณฑล อยุ ธ ยา ซึ่ ง จากการจั ด ตั้ ง มณฑล

32

อยุธยา มีผลให้อยุธยามีความสำาคัญทางการบริหาร การปกครองมาก ขึ้น การสร้างสิ่งสาธารณูปโภคหลายอย่างมีผลต่อการพัฒนาเมืองอยุธยา ในเวลาต่อมา จนเมื่อยกเลิกการปกครองระบบเทศาภิบาล ภายหลังการ เปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยุธยาจึง เปลีย่ นฐานะเป็ นจังหวัด พระนครศรี อยุธยาจนถึงปัจจุบนั ในสมัยจอมพล ป.พิบลู สงคราม เป็นนายก รัฐมนตรีได้มีนโยบายบูรณะโบราณสถานภายในเมืองอยุธยา เพื่อเป็นการ ฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ประกอบกับในปี พ.ศ.2498 นายกรัฐมนตรีประเทศ พม่าเดินทางมาเยือนประเทศไทย และมอบเงินจำานวน 200,000 บาท เพื่อ ปฏิสังขรณ์วัดและองค์พระมงคลบพิตร เป็นการเริ่มต้นการบูรณะโบราณ สถานในอยุธยาอย่างจริงจัง ซึ่งต่อมากรมศิลปากรเป็นหน่วยงานสำาคัญ ในการดำาเนินการ จนองค์ การศึ กษาวิ ทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ หรื อยูเนสโกมี มติ ให้ประกาศขึ้นทะเบี ยนนครประวัติศาสตร์ พระนครศรี อยุธยาเป็ น “มรดกโลก“ เมื อ่ วันที ่ 13 ธันวาคม 2534 มี พืน้ ที ่ ครอบคลุมในบริ เวณโบราณสถานเมื องอยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

สัญลักษณ์ประจ�าจังหวัด

• ตราประจ�าจังหวัดพระนคร ศรีอยุธยา รู ป หอยสัง ข์ ประดิ ษ ฐาน อย อยู่บนพานแว่นฟ้ าภายในปราสาท ใต้ต้นหมัน ดวงตราประจำาจังหวัด นี้ ม าจากต าจากตำ า นานการสร้ า งเมื อ ง พระนครศรีอยุธยา ยา ซึง่ เล่ากันว่าในปี พ.ศ.1890 พ.ศ.1890 โรคห่าระบาดจนผูค้ นล้ม ตายเป็นจจำานวนมาก พระเจ้าอู่ทอง จึงอพยพย้ายผูค้ นออก นออก จากเมืองเดิม มาตั้งเมื อ งใหม่ ที่ ตำ า บลหนองโสน ซึ่งมีแม่นำ้าล้อมรอบ ระหว่างที่ปัก เขตราชวัติฉัตรธง ตั้งศาลเพียงตา กระทำาพิธีกลบบัตร สุมเพลิง ปรับ สภาพพื้นที่เพื่อตั้งพระราชวังอยู่นั้น ปรากฎว่าเมื่อขุดมาถึงใต้ต้นหมัน ได้พบหอยสังข์ทักษิณาวัตรบริสุทธิ ์ พระเจ้าอูท่ อง ทรงโสมนัสในศุภนิมติ นั้นจึงสร้างปราสาทน้อยขึ้นเป็นที่ ประดิษฐานหอยสังข์ดงั กล่าว

• ดอกไม้ ประจ�าจังหวัดพระนครศรี อยุธยา ดอกโสน เป็นต้นไม้ในตระกูล Leguminosae เป็น ไม้ลม้ ลุก (Shrub) เนือ้ อ่อนโตเร็ว ลำาต้นอวบ ปลูกและขึน้ เองตามแม่นำ้าลำาคลองหนองบึงทั่วไปในภาคกลาง ดอก สีเหลืองออกเป็นช่อห้อยและเหลืองอร่ามคล้ายทองไปทัว่ ทุกแห่งใช้รบั ประทานเป็นอาหารได้

เมื่อ พ.ศ. 1893 พระเจ้าอู่ทองทรงตั้งเมืองขึ้น ใหม่ทตี่ าำ บลเวียงเหล็ก ทรงเลือกชัยภูมทิ จี่ ะตัง้ พระราชวัง ทรงเห็นว่าที่ตำาบลหนองโสนเหมาะสม เพราะมี ตน้ โสน มาก ดอกโสนออกดอกเหลืองอร่ามคล้ายทองค�าสะพรัง่ ตา ดังนัน้ ดอกโสนจึงถือได้วา่ เป็น ดอกไม้ประจำาจังหวัด พระนครศรีอยุธยา

ค�าขวัญประจ�าจังหวัด

ราชธานี เ ก่า อู่ข ้าวอู่น�้า เลิศล�้ากานท์กวี คนดี ศ รี อ ยุ ธยา เลอคุ ณค่ า มรดกโลก

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

33


34

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

พระนครศรีอยุธยา ราชธานีกรุงเก่าเมื่อครั้งอดีตของไทย ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากว่า 417 ปี แม้ว่าจะถูกท�าลายจากภัยสงคราม แต่ก็ยังคงเหลือโบราณสถาน และโบราณวัตถุส�าคัญต่างๆ ที่สะท้อนให้เห็นถึง ความเจริญรุ่งเรืองของยุคสมัย จนในปี 2534 องค์กรยูเนสโกประกาศขึ้นทะเบียน อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ให้เป็นเมืองมรดกโลก และนั่นยิ่งท�าให้อยุธยากลายเป็น หนึ่งในจุดหมายปลางทางท่องเที่ยว ที่ได้รับความสนใจทั้งจาก นักท่องเที่ยวชายไทยและต่างชาติ .......... ซึ่งนอกเหนือจากโบราณสถาน และโบราณวัตถุส�าคัญแล้ว อยุธยายังมีสถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆ ทั้งตลาดน�้า พิพิธภัณฑ์ และที่เที่ยวเชิงธรรมชาติสวยๆ เหมาะส�าหรับเป็นโปรแกรม เที่ยววันหยุดอีกเพียบ วันนี้เราจึงรวบรวม สถานที่ท่องเที่ยวอยุธยามาฝาก บอกเลยว่า เที่ยวได้แบบไม่มีเบื่อ ..........

ที่เที่ยว...

พระนครศรี

อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

35


วัดมหาธาตุ ต�าบล ท่าวาสุกรี อ�าเภอ พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา 13000

วั ด ม ห า ธ า ตุ จั ง ห วั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น หนึ่ ง ใน วั ด ในเขตอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา วั ด มหาธาตุ เป็ น วั ด ที่ มี ค วามส� า คั ญ ยิ่ ง ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เพราะเป็ น วั ด ที่ ประดิ ษ ฐานพระบรมธาตุ ใ จกลาง พระนคร และเป็นทีพ่ า� นักของสมเด็จ พระสังฆราชฝ่ายคามวาสีอกี ด้วย วัด แห่งนี้จึงได้รับการก่อสร้างและดูแล ตลอดเวลาจวบจนถูกท�าลายและถูก ทิ้งร้างลงหลังเสียกรุงครั้งที่ 2 วัดมหาธาตุเป็นพระอาราม หลวง ตั้ ง อยู ่ ใ กล้ วั ด ราชบู ร ณะ ในบริ เ วณอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สร้ า งในสมั ย สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ขุน หลวงพะงั่ว เมื่อปี พ.ศ. 1917 แต่ไม่ แล้วเสร็จ ทรงเสด็จสวรรคตเสียก่อน

36

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

และได้สร้างเพิม่ เติมจนเสร็จ ในสมัย สมเด็จพระราเมศวร โดยได้โปรด เกล้าฯ ให้สร้างพระปรางค์ประธาน และอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมา บรรจุไว้ใต้ฐานพระปรางค์ประธาน ของวัดมหาธาตุ เมื่อปี พ.ศ. 1927 ซึ่ ง ปรากฏในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ความส�าคัญของวัดมหาธาตุ นั้น นอกจากจะเป็นที่ประดิษฐาน องค์พระบรมสารีริกธาตุแล้ว ยังถือ เป็นวัดทีเ่ ป็นศูนย์กลางเมืองและเป็น สถานทีจ่ ดั พระราชพิธตี า่ ง ๆ ของกรุง ศรีอยุธยา โดยมีสมเด็จพระสังฆราช ฝ่ายคามวาสีประทับอยู่ภายในวัด ส่วนพระสังฆราช ฝ่ายอรัญวาสีนั้น ประทั บ อยู ่ ที่ วั ด ป่ า แก้ ว (วั ด ใหญ่ ชัยมงคล) นอกจากนี้ยังเป็นสถาน ที่ๆ พระศรีศิลป์และจหมื่นศรีสรรั กษ์ พร้อมคณะได้ซุ่มพลที่ปรางค์วัด มหาธาตุ ก่อนยกพลเข้าพระราชวัง ทางประตูมงคลสุนทร เพื่อจับกุม สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์ ในสมั ย สมเด็ จ พระเจ้ า ทรงธรรม ปรางค์ของวัดองค์เดิมที่ สร้างด้วยศิลาแลง ยอดพระปรางค์ ได้ทลายลงมาเกือบครึ่งองค์ถึงชั้น ครุฑ แต่จะด้วยเหตุผลประการใด ไม่ทราบ จึงยังมิได้ซ่อมแซมให้คืนดี ดั้งเดิมในรัชกาลนั้น ต่อมาสมเด็จ พระเจ้าปราสาททอง ทรงบูรณะใหม่ รวมเป็นความสูง 25 วา เมื่อปี พ.ศ. 2176 และในสมัยสมเด็จพระเจ้า บรมโกศ เมื่อปี พ.ศ. 2275 - 2301 จนถึงช่วงเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่2 วั ด มหาธาตุ โ ดนท� า ลายจนเหลื อ เพียงซากปรักหักพังและถูกทิ้งร้าง ต่อมายอดพระปรางค์ได้พงั ทลายลง มาอีกครั้งในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

37


วัดไชยวัฒนาราม วัดไชยวัฒนาราม หมู่ 2 ต.บ้านป้อม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

วัดไชยวัฒนาราม ได้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2173 โดย สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ขึ้นบนที่ที่เป็นบ้านเดิมของพระองค์เพื่ออุทิศพระราชกุศล ถวายพระราชมารดา แต่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรม พระยาด�ารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าวัดนี้สร้างขึ้นเพื่อ เป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะเหนือนครละแวกโดยจ�าลองแบบมา จากปราสาทนครวัด วัดไชยวัฒนารามเป็นวัดหลวงทีบ่ า� เพ็ญพระราชกุศล ของพระมหากษัตริย์สืบต่อมาหลังจากนั้นทุกพระองค์ จึง ได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อมาทุกรัชสมัย เป็นสถานที่ถวาย พระเพลิงศพพระบรมวงศานุวงศ์เกือบทุกพระองค์ สมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศสิน้ พระชนม์กไ็ ด้ถวายพระเพลิงทีว่ ดั นี้ ก่อนกรุงแตก พ.ศ. 2310 วัดไชยวัฒนารามถูกแปลง เป็นค่ายตั้งรับศึก หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง วัด ไชยวัฒนารามได้ถูกปล่อยทิ้งให้ร้างเรื่อยมา บางครั้งมีผู้ร้าย เข้าไปลักลอบขุดหาสมบัติ เศียรพระพุทธรูปถูกตัดขโมย มี การรื้ออิฐที่พระอุโบสถ และก�าแพงวัดไปขาย แต่ในปี พ.ศ. 2530 กรมศิลปากรจึงได้เข้ามาอนุรกั ษ์จนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535

38

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

ï สถาปั ตยกรรม ï • ฐานภายใน วัดไชยวัฒนาราม มีปรางค์ประธานและปรางค์มุม อยู่บนฐานเดียวกัน พระปรางค์ประธานน�ารูปแบบของพระ ปรางค์สมัยอยุธยาตอนต้นมาก่อสร้าง แต่ปรางค์ประธานที่ วัดไชยวัฒนารามท�ามุขทิศยื่นออกมามากกว่า บนยอดองค์ พระปรางค์ใหญ่อาจเคยประดิษฐานพระเจดีย์ขนาดเล็ก สื่อ ถึงพระเจดีย์จุฬามณีบนยอดเขาพระสุเมรุ รอบพระปรางค์ ใหญ่ล้อมรอบไปด้วยระเบียงคตที่เดิมนั้นมีหลังคา ภายใน ระเบียงคตประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัยที่เคย ลงรักปิดทองจ�านวน 120 องค์ เป็นเสมือนก�าแพงเขตศักดิส์ ทิ ธิ์ ตามแนวระเบียงคตตรงทิศทั้งแปดสร้างเมรุทิศ และ เมรุมุม (เจดียร์ อบ ๆ พระปรางค์ใหญ่) ภายในเมรุทกุ องค์ประดิษฐาน พระพุทธรูป ภายในซุ้มเรือนแก้วล้วนลงรักปิดทอง ฝาเพดาน ท�าด้วยไม้ประดับลวดลายลงรักปิดทองเช่นกัน • พระอุโบสถ พระอุโบสถ สร้างอยู่ทางด้านหน้าก�าแพงเมรุทิศเมรุ ราย นอกระเบียงคต ปัจจุบนั เหลือแต่ฐาน ข้าง ๆ มีเจดียย์ อ่ มุม

ไม้สิบสอง มีก�าแพงล้อมรอบโบราณสถานส�าคัญ แหล่านี้ถึง 3 ชั้น และ มีปรางค์เจดีย์ขนาดย่อมอีก จ�านวนหนึ่งซึ่งสร้างเพิ่มในภายหลัง • เมรุทิศเมรุราย เมรุ ทิ ศ เมรุ ร าย ตั้ ง ล้ อ มรอบพระปรางค์ อยู่ทั้งสิ้น 8 องค์ โดยผนังภายในเมรุเขียนภาพ จิตรกรรมฝาผนังรูปใบไม้ใบกนก ซึง่ ลบเลือนไปมาก แล้ว ผนังด้านนอกของเมรุมภี าพปูนปัน้ พุทธประวัติ จ�านวน 12 ภาพ ซึ่งในปัจจุบันเลือนไปแล้วเช่นกัน แต่เมือ่ 20 ปีทแี่ ล้วยังสามารถเห็นได้ชดั เมรุเป็นทรง ปราสาท ซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป 7 ชั้น รองรับส่วน ยอดที่ ชื่อที่มานั้นน�ามาจากเมรุ พระบรมศพพระ มหากษัตริยส์ มัยพระนครศรีอยุธยา ซึง่ มีแนวความ คิด มาจากคติเขาพระสุเมรุอีกต่อหนึ่ง พระพุทธรูป ปูนปั้นที่ประดิษฐานอยู่ภายในเมรุทิศเมรุมุม ของ ระเบียงคตวัดไชยวัฒนาราม มีลักษณะคล้ายคลึง กับพระพุทธนิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรม ไตรโลกนาถ (หรือพระพุทธนิมิต) ซึ่งเป็นพระพุทธ รูปทรงเครื่องใหญ่ ประดิษฐานอยู่ที่วัดหน้าพระ เมรุ ซึ่งสันนิษฐานว่าได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เช่นเดียวกัน ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org / museumthailand.com

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

39


วัดหน้าพระเมรุ ต�าบลท่าวาสุกรี อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

วัดหน้ าพระเมรุ หรือ วัด พระเมรุราชิการามวรวิหาร ตั้งอยู่ ที่อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ริ ม คลองสระ บั ว ด้ า นเหนื อ ของคู เ มื อ ง (แม่ น�้ า ลพบุรีเก่า) ตรงข้ามกับพระราชวัง หลวง มีชื่อเดิมว่า “วัดพระเมรุราช การาม” แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่า ใครเป็นผู้สร้างและสร้างในสมัยใด พิจารณาได้ว่า น่าจะเป็นวัดสร้าง ขึ้นตรงที่ถวายพระเพลิงกษัตริย์องค์ ใดองค์ ห นึ่ ง ต้ น สมั ย อยุ ธ ยา มี แ ต่ เพียงต�านานกล่าวว่าพระองค์อินทร์ ในรั ช กาลสมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ที่ 2 ได้สร้างวัดนี้ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2046

40

แต่ไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอน วัด หน้ า พระเมรุ เ ป็ น วั ด เดี ย วในกรุ ง ศรีอยุธยาที่ไม่ถูกพม่าท�าลาย และ ยังคงสภาพที่ดีมาก บ้างสันนิษฐาน ว่าอาจเป็นเพราะพม่าได้ไปตั้งกอง บัญชาการอยูท่ วี่ ดั นีก้ บั วัดหัสดาวาส (ซึ่ งปั จจุบนั เป็ นวัดร้ างและยังเหลื อ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

สิ่ งก่ อสร้ างที ่ไม่ ถูกท� าลายอยู่บ้าง) พระอุโบสถของวัดหน้าพระเมรุเป็น แบบอยุธยาซึ่งมีเสาอยู่ภายใน แต่ น่าจะมาเพิ่มเสารับชายคาที่หลังใน รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ พระประธานในอุโบสถซึง่ สร้างปลาย สมัยอยุธยา หรือได้รบั การบูรณะครัง้ ใหญ่ในช่วงนั้น เป็นพระพุทธรูปทรง เครื่องหล่อส�าริดขนาดใหญ่ ด้าน หลังพระอุโบสถยังมีอีกองค์หนึ่งแต่ เล็กกว่า คือ พระศรีอริยเมตไตรย์ สิ่ ง ส� าคั ญ ที่ปรากฏภายใน วัดนี้ คือ พระอุโบสถและพระพุทธรูป ประธานทรงเครือ่ งใหญ่ ซึง่ อาจจะได้ รับการบูรณะครัง้ ใหญ่ในรัชกาลของ สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง หน้า บันของพระอุโบสถเป็นไม้แกะสลัก ปิดทองที่แสดงรูปนารายณ์ทรงครุฑ ยุ ด นาคประทั บ ราหู แ วดล้ อ มด้ ว ย เหล่าเทวดา (ด้านหน้าพระอุโบสถ มี เ ทวดาแวดล้อ ม 26 องค์ ด้า น หลัง พระอุโ บสถมี เ ทวดาแวดล้อ ม 22 องค์ รวมเทวดา 48 องค์ ) คติ ดังกล่าวเป็นที่นิยมในสมัยโบราณ ที่ ถื อ ว่ า พระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงเป็ น สมมติ เ ทพ คื อ เป็ น พระนารายณ์ อวตาร ดั ง นั้ น หน้ า บั น ของโบสถ์ วิหาร หรือปราสาทราชวังทีพ่ ระมหา กษัตริย์ทรงสร้างหรือทรงบูรณะก็ มักจะท�ารูปพระนารายณ์ทรงครุฑ เป็นส�าคัญ อันมีความหมายว่าวัด แห่งนี้เป็นพระอารามหลวง ตัวพระ อุ โ บสถไม่ มี ห น้ า ต่ า ง แต่ ท� า เป็ น ช่องลูกกรงให้แสงแดดและลมผ่าน เข้าไปภายใน ลูกกรงดังกล่าวยังท�า เป็นดอกเหลี่ยมหรือที่เรียกว่าผนัง ลูกกรงมะหวดเหลีย่ ม (แบบเดียวกับ ผนังวิ หารหลวง วัดมหาธาตุ ซึ่งเป็ น ศิ ลปะอยุธยาตอนต้น)

ส�าหรับพระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถซึง่ ทรงเครือ่ งใหญ่กส็ ร้าง ในคติของพระพุทธเจ้าปางโปรดพญามหาชมพู ตามความในมหาชมพูบดี สูตร ซึง่ เป็นรูปแบบของพระพุทธรูปทีน่ ยิ มมากในสมัยอยุธยาตอนกลางต่อ ลงมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น พระพุทธรูปองค์นี้อาจเปรียบเทียบ ได้กับพระพุทธรูปทรงเครื่องภายในเมรุทิศเมรุรายของวัดไชยวัฒนาราม ที่ สร้างขึ้นในรัชกาลพระเจ้าปราททองได้เป็นอย่างดี ด้วยเหตุนี้ จึงอนุมาน ได้ว่าพระพุทธรูปประธานภายในพระอุโบสถวัดหน้าพระเมรุก็คงจะสร้าง ขึน้ ในช่วงเวลานัน้ ด้วยเช่นกัน หรือไม่กค็ งได้รบั การบูรณะครัง้ ใหญ่ในคราว นัน้ ภายหลังรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์พระราชทานนามว่า พระพุทธ นิมิตวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ (นิ ยมเรี ยกย่อว่า พระพุทธ นิ มิต) ทางทิศตะวันออกของพระอุโบสถมีวหิ ารน้อยทีส่ ร้างขึน้ โดยพระยา ชัยวิชิต (เผือก) ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยมีรูปแบบ ลอกเลียนมาจากพระอุโบสถ แต่ลดขนาดให้เล็กลงกับทั้งเปลี่ยนหน้าบัน ให้เป็นลายพรรณษาตามความนิยมของศิลปะในช่วงนั้น ด้านในวิหาร น้อยยังมีภาพจิตรกรรมเล่าเรื่องการค้าส�าเภาและพุทธชาดกต่างๆ และ ภายในประดิษฐาน พระคันธารราฐ พระพุทธรูปสมัยทวารวดีขนาดใหญ่ ซึ่งอัญเชิญมาจากวัดมหาธาตุ อยุธยา เชื่อกันว่าพระพุทธรูปองค์นี้แต่เดิม วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

41


คงประดิษฐานอยู่ที่จังหวัดนครปฐมมาก่อน และได้ย้ายมายังวัดมหาธาตุ อยุธยา ราวรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิก็เป็นได้ พระพุทธรูปองค์นี้ เป็นพระพุทธรูปศิลาเขียวประทับนั่งห้อยพระบาทที่ใหญ่และสมบูรณ์ที่สุด ในปัจจุบัน ซึ่งมีอยู่ไม่กี่องค์ในเมืองไทยเวลานี้ ความเก่าแก่นั้นกล่าวได้ว่า เก่าแก่ก่อนสมัยสุโขทัย ไล่เลี่ยกับยุคสมัยของโบโรบูดูร์ หรือบรมพุทโธ บน เกาะชวาในอินโดนีเซียเมื่อกว่า 1,000 ปีมาแล้ว นับเป็น 1 ใน 6 พระพุทธ รูปที่สร้างจากศิลาที่มีอยู่ในโลก เป็น 1 ใน 5 องค์ที่มีอยู่ในประเทศไทย จึง นับเป็นสิ่งที่มีค่ามาก เจดีย์ราย 3 องค์ ที่มีรากไทรแผ่เข้าครอบคลุม ที่อยู่ด้านหลังพระ อุโบสถของวัดหน้าพระเมรุ ได้ปรากฏในภาพวาดกรุงศรีอยุธยาในหนังสือ ของ อ็องรี มูโอ นักส�ารวจชาวฝรั่งเศส ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยสมัย รัชกาลที่ 5 วัดหน้าพระเมรุนปี้ รากฏในพระราชพงศาวดารเป็นครัง้ แรกว่า ราวปี พ.ศ. 2106 พระเจ้าบุเรงนอง (ภายหลังนับเป็ นมหาราชองค์ที่ 2 ของพม่า) และสมเด็จพระมหาจักรพรรดิทรงท�าสัญญาสงบศึก โดยได้ตั้งพลับพลา ส�าหรับเป็นทีเ่ สด็จมาทรงท�าสัญญาในระหว่างวัดหน้าพระเมรุแห่งนีก้ บั วัด หัสดาวาส ซึ่งก็ได้เจรจาสงบศึกกันได้ส�าเร็จในที่สุด โดยกรุงศรีอยุธยายอม มอบช้างเผือก 4 ช้างให้แก่หงสาวดี มอบบุคคลที่เคยทัดทานมิให้มอบช้าง เผือกแก่หงสาวดีไปเป็นตัวประกัน ยอมส่งช้างปีละ 30 เชือก และเงินอีกปี ละ 300 ช่าง และยอมให้หงสาวดีมีสิทธิเก็บภาษีอากรในเมืองมะริด ฝ่าย กรุงศรีอยุธยาก็ทรงต่อรองขอดินแดนที่ฝ่ายหงสาวดียึดไว้คืนทั้งหมด ฝ่าย หงสาวดีก็ยอมคืนแต่โดยดี และถอยกลับสู่หงสาวดี ท�าให้ครั้งนั้นพระเจ้า บุเรงนองยังไม่ได้กรุงศรีอยุธยาเป็นประเทศราช เหตุการณ์เจรจาสงบศึก ได้นี้เกิดขึ้นก่อนเหตุการณ์กรุงศรีอยุธยาฯ เสียเอกราชครั้งที่ 1 ที่เกิดขึ้นใน ภายหลัง (ในปี พ.ศ. 2112) อีกครั้งหนึ่งคือ ราวปี พ.ศ. 2303 พระเจ้าอลองพญา (ภายหลังนับ เป็ นมหาราชองค์ที่ 3 ของพม่า) ได้ยกทัพเข้าล้อมกรุงศรีอยุธยา และตั้งทัพ หลวงไว้ตรงทุ่งพระเมรุ พระเจ้าอลองพญาได้ทรงบัญชาการศึกและทรงสั่ง การให้น�าปืนใหญ่เข้ามาตั้งในเขตวัดหน้าพระเมรุ และให้จุดไฟยิงปืนใหญ่ ข้ามไปยังพระราชวังหลวงฝั่งตรงข้าม ปรากฏว่าเกิดเหตุลูกปืนอุดท�าให้ ปืนใหญ่ระเบิดแตกออก ต้องพระวรกายของพระเจ้าอลองพญาจนสาหัส จนต้องถอยทัพและสิ้นพระชนม์เมื่อถอยยังไม่พ้นเมืองตาก เป็นอันยุติการ รุกรานกรุงศรีอยุธยาไปอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์พระเจ้าอลองพญาบาดเจ็บ จนต้องถอยทัพและสิน้ พระชนม์นเี้ กิดขึน้ ก่อนเหตุการณ์กรุงศรีอยุธยาฯ เสีย เอกราชครั้งที่ 2 ที่เกิดขึ้นในภายหลัง (ในปี พ.ศ. 2310)

42

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

ในงานวรรณกรรม สุนทรภู่ ได้กล่าวไว้ในนิราศภูเขาทองที่แต่งขึ้นในสมัย รัชกาลที่ 3 (หลังสิ้ นรัชกาลที ่ 2 ซึ่งเป็ นสมัยทีส่ นุ ทรภู่ได้รบั ราชการอยู่) ว่า ...มาจดหน้ าท่าวัดพระเมรุข้าม ริมอารามเรือเรียงเคียงขนาน บ้างขึน้ ล่ องร้ องร�าเล่ นส�าราญ ทัง้ เพลงการเกีย้ วแก้ กนั แซ่ เซ็ง ...บ้างฉลองผ้ าป่ าเสภาขับ ระนาดรับรัวคล้ ายกับนายเส็ง มีโคมรายแลอร่ ามเหมือนสามเพ็ง (ส�าเพ็ง) เมือ่ คราวเคร่ งก็มใิ คร่ จะได้ดู ...อ้ ายล�าหนึ่งครึ่ งท่ อนกลอนมัน มาก ช่างยาวลากเลือ้ ยเจือ้ ยจนเหนือ่ ยหู ไม่ จบบทลดเลีย้ วเหมือนเงีย้ วงู จนลูกคู่ขอทุเลาว่ าหาวนอน ...ได้ฟังเล่ นต่างต่างทีข่ ้ างวัด ดึกสงัดเงียบหลับลงกับหมอน ประมาณสามยามคล�า้ ในอัมพร อ้ ายโจรจรจู่จ้วงเข้ าล้ วงเรือ ...นาวาเอียงเสียงกุกลุกขึน้ ร้ อง มันด�าล่ องน�า้ ไปช่ างไวเหลือ ไม่ เห็นหน้ าสานุศษิ ย์ทชี่ ดิ เชือ้ เหมือนเนือ้ เบือ้ บ้าเลอะดูเซอะซะ ...แต่หนูพดั จัดแจงจุดเทียนส่ อง ไม่ เสียของขาวเหลืองเครื่องอัฏฐะ ด้วยเดชะตบะบุญกับคุณพระ ชัยชนะมารได้ดงั ใจปอง ฯ

ในกลอน 6 บทของนิราศภูเขาทองนี้ สุนทรภู่เล่าว่ามาจอดเรือพัก ที่ท่าน�้าข้างวัดหน้าพระเมรุ เพื่อจะพักผ่อนนอนหลับ รอไปสักการะเจดีย์ ภูเขาทองในเช้าวันรุ่งขึ้น แต่คืนนั้นมีงานวัด พอพักหลับไปได้ กลางดึกมี เสียงกุกกักในเรือแสดงว่ามีคนเข้ามาค้นในเรือแล้วกระโดดน�า้ หนีไป สุนทรภู่ ทีต่ กใจตืน่ กับผูต้ ดิ ตามก็จดุ เทียนขึน้ ส่องและตรวจดูขา้ วของ ก็พบว่าเครือ่ ง อัฐบริขารที่ตั้งใจน�ามานั้นยังอยู่ครบ ก็นึกถึงคุณงามความดีที่เคยบ�าเพ็ญ มา ซึ่งก็คงหมายถึงที่ได้บวชเรียน และขอบคุณในพุทธคุณของพระพุทธรูป ทีช่ ว่ ยให้ชนะผูร้ า้ ยได้ ดังทีก่ ล่าวว่า ‘...ด้วยเดชะตบะบุญกับคุณพระ ชัยชนะ มารได้ดงั ใจปอง...’ คาดว่าคงพูดถึงพระพุทธนิมติ เนือ่ งจากเป็นพระพุทธรูป ที่แสดงถึงการเอาชนะมารขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / dhammathai.org / thai.tourismthailand.org วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

43


วิหารพระมงคลบพิตร 12 / 2 หมู่ 1 ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

วิ ห ารพระมงคลบพิ ต ร ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� า บลประตู ชั ย อ� า เภอ พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า จั ง ห วั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ทางทิ ศ ใต้ ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ มีจุดเด่น ที่ส�าคัญคือ เป็นวิหารเก่าแก่ในเขต ก�าแพงเมือง ทีไ่ ด้รบั การบูรณะอย่าง ดี ภายในวิหารมีพระมงคลบพิตร พระพุทธรูปประธานขนาดใหญ่ที่ เสี ย หายตั้ ง แต่ เ สี ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ครั้งที่สอง แต่ได้รับการบูรณะใหม่ ทั้งหมด ด้วยทองส�าริดหุ้มทองตาม ปัจจุบัน

44

สั น นิ ษ ฐานกั น ว่ า สร้ า ง ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นราว แผ่ น ดิ น สมเด็ จ พระบรมไตรโลก นาถ โดยตามพงศาวดารวิหารพระ มงคลบพิตรนั้น เดิมประดิษฐานอยู่ ด้านทิศตะวันออกของ พระราชวัง หลวง บางคนสั น นิ ษ ฐานว่ า เคย ประดิษฐานอยูก่ ลางแจ้งทีว่ ดั ชีเชียง มาก่อน ในปี พ.ศ. 2146 สมเด็จ พระเจ้าทรงธรรมโปรดฯ ให้ชลอมา ไว้ทางด้านทิศตะวันตก แล้วให้สร้าง มณฑปขึ้นครอบไว้ โดยมีหลักฐาน จากภาพวาดของชาวตะวันตกทีเ่ ข้า

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

มาในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาท ทองว่าเป็นรูปร่างคล้ายๆ มณฑป ต่อมาในปี พ.ศ. 2246 สมัย สมเด็จพระเจ้าเสือ ยอดมณฑปต้อง อสนีบาต (ฟ้าผ่า) ไฟไหม้เครื่องบน มณฑปหั ก พั ง ลงมาต้ อ งพระเศี ย ร หัก สมเด็จพระเจ้าเสือ จึงโปรดฯ ให้แปลงมณฑปเป็นวิหารแต่ยังคง ส่วนยอดของมณฑปไว้ แล้วซ่อม พระเศียรพระพุทธรูปใหม่ กระทั่ง ในรัชกาล สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรม โกศ ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่หมด เปลี่ยนหลังคาคล้ายในปัจจุบัน เมื่อ


คู่มือ….อยุธยา

เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งสุดท้ายวิหาร พระศรีสรรเพชญ์ และพระพุทธรูปถูกไฟไหม้ ช�ารุดทรุด วัดมงคลบพิตรมีสถานทีใ่ ห้นกั ท่องเทีย่ วได้จอดรถจักรยานและท่อง โทรม เครื่องบนวิหารหักลงมาต้อง เที่ยวภายในวัด พร้อมกับสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พระเมาฬี และพระกรข้างขวาหัก ในปี พ.ศ. 2474 พระยา โบราณราชธานินทร์ ต�าแหน่งสุมุห เทศาภิบาลมณฑลอยุธยา คุณหญิง อมเรศร์สมบัตกิ บั พวก ได้ขอยืน่ เรือ่ ง ซ่อมแซมวิหาร แต่รฐั บาลไม่อนุญาต เนื่ อ งจากต้ อ งการที่ จ ะรั ก ษาตาม แบบอย่ า งทางโบราณคดี โดยจะ ออกแบบให้ปูชนียสถานกลางแจ้ง เหมือนไดบุซึของญี่ปุ่น แต่ด้วยเวลา นัน้ รัฐบาลยังไม่มงี บประมาณพร้อม ในการด�าเนินการ ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2499 รัฐบาลสมัยจอมพล ป.พิบลู สงคราม จึงได้เริ่มการบูรณปฏิสังขรณ์พระ วิ ห ารและองค์ พ ระพุ ท ธเสี ย ใหม่ ดั ง ที่ เ ห็ น อยู ่ ใ นปั จ จุ บั น นี้ ในคราว บูรณะพระมงคลบพิตรในปี พ.ศ. 2500 กรมศิลปากรได้พบพระพุทธ รุปบรรจุไว้ในพระอุระด้านขวา เป็น จ�านวนมาก ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ เจ้ า สามพระยา และ พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ จันทรเกษม พระมงคลบพิ ต ร เป็ น พระพุ ท ธรู ป ใหญ่ ห ล่ อ ด้ ว ยทอง สั ม ฤทธิ์ อ งค์ เ ดี ย วในประเทศไทย ลงรักปิดทองมีแกนเป็นอิฐ ส่วนผิว นอกบุด้วยส�าริด ท�าเป็นท่อน ๆ มา เชื่อมกัน สูง 12.54 เมตร หน้าตัก กว้าง 4 วาเศษ สันนิษฐานว่าสร้าง ในสมั ย สมเด็ จ พระไชยราชา ราว พ.ศ. 2081 เดิมประดิษฐานอยูก่ ลาง แจ้ง ต่อมาในสมัยสมเด็จพระเจ้า ทรงธรรม โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญ มาไว้ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของวัด ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

45


46

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

วัดพนัญเชิงวรวิหาร หมู่ 12 ต.คลองสวนพลู อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

วัดพนัญเชิงเป็นวัดเก่า สร้างสมัยเมืองอโยธยา เป็ น ราชธานี ก่ อ นสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป็ น ราชธานี พระเจ้าดวงเกรี ยงกฤษณราช (พระเจ้าสายน�้าผึ้ง) ครอง เมื องเสนาราชนครตัง้ อยู่ปากน�้าแม่เบี ย้ เป็ นผูส้ ร้างวัดนี ้ เพือ่ เป็ นอนุสรณ์ แด่พระนางสร้ อยดอกหมาก พระเจ้า ศรีธรรมโศกราช (สมเด็จพระเอกาทศรฐ) เป็นผู้สร้าง พระเจ้าพะแนงเชิง คือ องค์พระพุทธไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต) สร้างก่อนกรุงศรีอยุธยา 26 ปี สร้างเพื่อ เป็นอนุสรณ์แด่พระเจ้าสายน�า้ ผึง้ ผูเ้ ป็นพระอัยยกา นาม เดิมหลวงพ่อโตเรียกว่า พระเจ้าพะแนงเชิง ในรัชกาลที่ 4 คือ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระราชทานนามใหม่ ว่า พระพุทธไตรรัตนนายก จึงได้นามมาตลอดปัจจุบัน นี้ พระมหากษัตริย์ได้อุปถัมภ์ตลอดมาโดยส�าคัญ วัด นี้เป็นพระอารามหลวงมาแต่สมัยโบราณ และปัจจุบัน นี้ก็เป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิกวรวิหาร วัดนี้เป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ คือองค์พระพุทธ ไตรรัตนนายก (หลวงพ่อโต) และพระพุทธรูปทองสมัย สุโขทัยประดิษฐานในพระอุโบสถ 2 องค์ จึงเป็นที่

เคารพสักการะทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศ วัดพนัญเชิงเป็นวัดเก่า มานาน เสนาสนะสงฆ์และปูชนีย สถานได้ช�ารุดทรุดโทรมไปเป็นอัน มาก ทางคณะสงฆ์และทางราชการ ได้ช่วยกับบูรณะปฏิสังขรณ์มาโดย ล�าดับตลอด ปัจจุบันนี้ก็ได้ด�าเนิน การบูรณะปฏิสังขรณ์อยู่เสมอ วัดพนัญเชิ ง เป็ นวัดเก่าแก่ และส�าคัญวัดหนึ่งของอยุธยา มี ชือ่ เสียงระบื อไปทัว่ ประเทศโดยเฉพาะ หลวงพ่ อ โตหรื อ เจ้ า พ่ อ ซ� า ปอกงที ่ พุทธศาสนิ กชนทัง้ ชาวไทยและชาว จี นต่างให้ความเคารพนับถื อมาช้า นาน เมื อ่ มายังวัดแห่งนีจ้ ะไม่แปลก ที ่จะต้องพบเจอผู้คนจ� านวนมากที ่ ไหลเวียนมานมัสการหลวงพ่อโตกัน อย่างเนืองแน่น

ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

47


วัดพระศรีสรรเพชญ์ เขตพระราชวังโบราณ ถนนศรีสรรเพชญ์ ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

วัดพระศรีสรรเพชญ์ หรือ วั ด พระศรี ส รรเพชญ เป็ น อดี ต วัดหลวงประจ�าพระราชวังโบราณ อยุ ธ ยา ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� า บลประตู ชั ย อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ทางทิศเหนือของ วิหารพระมงคลบพิตรในเขตอุทยาน ประวั ติ ศ าสตร์ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา สร้างขึน้ ราวปี พ.ศ. 2035 โดยสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ วัดพระศรีสรรเพชญ์ มีจุดที่ น่าสนใจที่ส�าคัญคือเจดีย์ทรงลังกา จ�านวนสามองค์ที่วางตัวเรียงยาว ตลอดทิ ศ ตะวั น ออกและทิศ ตะวัน ตก สร้ า งขึ้ น เป็ น องค์ แ รกทางฝั ่ ง ตะวันออก เมื่อปี พ.ศ. 2035 โดย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เพื่อบรรจุ พระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมไตร

48

โลกนาถ (พระราชบิดา) ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2042 ก็ทรงให้สร้างเจดีย์ องค์ต่อมา (องค์กลาง) ของสมเด็จ พระบรมราชาธิราชที่ 3 (พระเชษฐา ต่ า งพระมารดาของสมเด็ จ พระ รามาธิบดีที่ 2) และในรัชสมัยสมเด็จ พระบรมราชาธิราชที่ 4 ก็ทรงสร้าง เจดีย์อีกองค์ในฝั่งทิศตะวันตกให้ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 พระปิตลุ า (หรือพระเจ้าอาของสมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ 4 (พระหน่อพุทธางกูร)) รวมเป็นสามองค์ตามปัจจุบัน วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็นวัด ประจ�าวังที่ไม่มีพระสงฆ์จ�าพรรษา แตกต่างจากวัดมหาธาตุ สุโขทัย ทีม่ ี พระสงฆ์จ�าพรรษา จึงกลายเป็นต้น แบบของ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ที่ไม่มีพระ

สงฆ์จ�าพรรษา ในเวลาต่อมา วั ด พระศรี ส รรเพชญ์ เดิ ม ในสมั ย สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ที่ 1 ใช้ เ ป็ น ที่ ป ระทั บ ต่ อ มาสมเด็ จ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงสร้ า ง พระราชมณเฑียรขึ้นใหม่ทางตอน เหนือ แล้วจึงโปรดฯให้ยกเป็นเขต พุทธาวาส เพื่อประกอบพิธีส�าคัญ ต่าง ๆ ของบ้านเมือง จึงเป็นวัดในเขต พระราชวังที่ไม่มีพระสงฆ์จ�าพรรษา แตกต่างกับวัดมหาธาตุสุโขทัย ที่มี พระสงฆ์จ�าพรรษา ทั้งวัดมหาธาตุ สุโขทัย วัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่าง ก็ถูกสถาปนาขึ้นในมูลเหตุการสร้าง วัดเดียวกันนั่นคือสร้างเพื่อเป็นวัด ประจ�าพระราชวัง

ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

ต่อมาในปี พ.ศ. 2035 รัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 พระองค์ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระสถูปเจดียอ์ งค์ตะวันออก เพือ่ บรรจุพระอัฐขิ องพระ ราชบิดา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และพระสถูปเจดียอ์ งค์กลางเพือ่ บรรจุ พระอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 ผู้เป็นพระเชษฐา หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2042 พระองค์ โปรดให้ สร้ างพระวิหาร หลวงขึน้ ในปีตอ่ มา พ.ศ. 2043 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงสร้างพระวิหาร ทรงหล่อพระพุทธรูป ยืนสูง 8 วา (ประมาณ 16 เมตร) หุ้มด้วยทองค�าหนัก 286 ชั่ง (ประมาณ 171 กิโลกรัม) ประดิษฐานไว้ในวิหาร ถวายพระนามว่า พระศรีสรรเพชญดาญาณ ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 1โปรดเกล้าฯ ให้ย้าย มาประดิษฐานวัดพระเชตุพน และบรรจุชิ้นส่วนซึ่งบูรณะไม่ได้เหล่านั้นไว้

ในเจดียอ์ งค์ใหญ่ทสี่ ร้างขึน้ แล้วพระราชทานชือ่ เจดียว์ า่ เจดียศ์ รีสรรเพชญ ดาญาณ เจดีย์องค์ที่ 3 ถัดมาจากด้านทิศตะวันตกเป็น เจดีย์บรรจุพระอัฐิ ของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ซึ่งสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (พระหน่อ พุท ธางกูร) พระราชโอรสได้โปรดให้สร้างขึ้น เจดีย์ทั้งสามองค์นี้เป็นเจดีย์ แบบลังกา ในรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรมพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง พระที่นั่ง จอมทอง ตั้งอยู่ใกล้ ๆ ก�าแพงทางด้านติดกับ วิหารพระมงคลบพิตร เพื่อให้ เป็นสถานที่ให้พระสงฆ์บอกเล่าหนังสือพระสงฆ์ ราวรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีการบูรณะปฏิสังขรณ์ วัดหลวงแห่งนีเ้ ป็นครัง้ แรก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว พระยาโบราณราชธานินทร์ สมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่าได้ด�าเนิน การขุดสมบัตจิ ากกรุภายในเจดีย์ พบพระพุทธรูป เครือ่ งทอง มากมาย และ ในสมัย จอมพล ป.พิบลู สงคราม ได้มกี ารบูรณะวัดนีจ้ นมีสภาพทีเ่ ห็นอยูใ่ น ปัจจุบัน วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

49


ปราสาทนครหลวง 184/1 หมู่ 1 นครหลวง, พระนครศรีอยุธยา

50

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

ปราสาทนครหลวง ตั้งอยู่ ริมแม่น�้าป่าสักฝั่งทิศตะวันออก ใน เขตต�าบลนครหลวง เดิ มเป็ นต�าหนัก ที ่ ป ระทับ ของกษั ต ริ ย์ ใ นระหว่ า ง เสด็ จ ไปนมั ส การพระพุ ท ธบาท สระบุ รี และเป็ นที ่ ป ระทับ แรมใน ระหว่างเสด็จไปลพบุรี ปู ช นี ย สถานคู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ ง อยุธยาอีกแห่งซึ่งผสมผสานศิลปะ ไทยและขอมได้ อ ย่ า งน่ า ทึ่ ง เดิ ม เป็ น ต� า หนั ก ที่ ป ระทั บ ของกษั ต ริ ย ์ ในระหว่ า งเสด็ จ ไปลพบุ รี แ ละไป นมั ส การพระพุ ท ธบาทสระบุ รี สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยสมเด็จ พระเจ้าทรงธรรมแต่สร้างแบบก่อ อิฐถือปูนในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้า ปราสาททองเมื่อ พ.ศ. 2147 โดย


คู่มือ….อยุธยา

โปรดเกล้าฯ ให้ช่างถ่ายแบบมาจาก ปราสาทศิลา ‘เมืองพระนครหลวง’ หรื อ ศรี ย โสธรปุ ร ะหรื อ นครวั ด ใน กรุ ง กั ม พู ช า เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ที่ ไ ด ้ ก รุ ง กั ม พู ช า ก ลั บ ม า เ ป ็ น ประเทศราชอี ก หากการก่ อ สร้ า ง ไม่ เ สร็ จ สมบู ร ณ์ ต่ อ มาใน พ.ศ. 2352 ตาปะขาวปิ่นได้มาสร้างวัด นครหลวงขึ้ น ในบริ เ วณใกล้ เ คี ย ง อีกทั้งยังสร้างพระพุทธบาทสี่รอย ประดิษฐานในมณฑปบนชั้นสูงสุด เป็นพระพุทธบาทซ้อนกันสี่รอยบุ๋ม ลึ ก ลงไปในเนื้ อ หิ น รอยใหญ่ ที่ สุ ด กว้างประมาณ 2.50 เมตร ยาว 5.50 เมตร มีจารึกทีห่ น้าบันว่าปฏิสงั ขรณ์ เมื่อ ร.ศ. 122 (พ.ศ. 2446 ตรงกับ สมัยรัชกาลที ่ 5) เดินชมฝีมอื ช่างไทย โบราณที่อุตสาหะก่อสร้างปราสาท ก่อด้วยอิฐทั้งหลัง ตั้งอยู่บนเนินเขา มนุษย์สร้างโดยการถมดินให้สูงที่ น่าอัศจรรย์คือมีปรางค์ถึง 30 องค์ รูปทรงคล้ายปรางค์ขอมย่อมุมไม้ ยี่สิบพร้อมระเบียงคดในศิลปะขอม ที่เชื่อมต่อปรางค์แต่ละองค์ซึ่งช่าง ท� า ลู ก มะหวด ลั ก ษณะเหมื อ นซี่ ลูกกรงตัน และต�าหนักนครหลวง หรือศาลพระจันทร์ลอย เป็นอาคาร จัตุรมุขซึ่งบูรณะใหม่ในสมัยรัชกาล ที่ 5 โดยมี พ ระปลั ด (ปลื้ ม ) หรื อ พระครูวิหาร-กิจจานุการน�าแผ่นหิน แกรนิตทรงกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 2 เมตร หนา 6 นิ้ว ที่เรียก ว่ า พระจั น ทร์ ลอยมาจากวั ด เทพ จันทร์ลอย อ�าเภอนครหลวงทีอ่ ยูใ่ กล้ เคียงมาประดิษฐานไว้ เป็นโบราณ สถานที่ ไ ด้ รั บ การขึ้นทะเบีย นและ บรรยากาศเงียบสงบ ควรค่าแก่การ ศึกษาเรียนรู้ เข้าชมได้ทุกวัน ตั้งแต่ เวลา 08.00-17.00 น. ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / museumthailand.com / thai.tourismthailand.org วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

51


พระราชวัง

บางปะอิน 27 ม.8 อุดมสรยุทธิ์ ต.บ้านเลน อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา 13160

พระราชวังบางปะอิน เป็น พระราชวังโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึน้ โดยสมเด็จพระเจ้าปราสาท ทอง เนื่ อ งจากเป็ น ที่ ป ระสู ติ ข อง พระองค์ และใช้เป็นพระราชวังฤดู ร้ อ นส� า หรั บ พระมหากษั ต ริ ย ์ ก รุ ง ศรีอยุธยาจวบจนกระทัง่ เสียกรุงศรีฯ ให้พม่า

52

หลั ง จากการเสี ย กรุ ง ศรี ฯ พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้ รกร้ า ง และกลั บ มาเป็ น ที่ รู ้ จั ก อี ก ครั้งเมื่อครั้งสุนทรภู่ ซึ่งได้ตามเสด็จ รัชกาลที่ 1 ไปนมัสการพระพุทธบาท สระบุรี โดยได้ประพันธ์ถงึ พระราชวัง บางปะอินไว้ใน นิราศพระบาท จน กระทั่งในสมัยรัชกาลที่ 4 จึงได้เริ่ม

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

มีการบูรณะพระราชวัง และในสมัย รัชกาลที่ 5 ได้มีการบูรณะครั้งใหญ่ โดยได้สร้างพระที่นั่ง พระต�าหนัก และต�าหนักต่างๆ ขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ ประทั บ รั บ รองพระราชอาคั น ตุ ก ะ และพระราชทานเลี้ ย งในโอกาส ต่างๆ


คู่มือ….อยุธยา

ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอิน อยู่ในความดูแลของ ส�านักพระราชวัง และยังใช้เป็น สถานทีแ่ ปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึง ประกอบพระราชพิธสี งั เวยพระป้าย แต่กไ็ ด้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเทีย่ วเข้าชมได้ โดย ต้องแต่งกายให้สุภาพ พื้นทีข่ องพระราชวังบางปะอิน แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน ได้ แก่ ï เขตพระราชฐานชัน้ นอก ประกอบด้ วย • หอเหมมณเฑียรเทวราช หรือ ศาลพระเจ้าปราสาททอง มีลกั ษณะเป็นปรางค์ศลิ า จ�าลองแบบจากปรางค์ขอม ภายในประดิษฐานเทวรูปพระเจ้าปราสาททอง ตัง้ อยู่ ณ ริมสระ น�้าใต้ต้นโพธิ์ • พระทีน่ งั่ ไอศวรรย์ ทิพยอาสน์ เป็นพระที่นั่งทรงปราสาท จ�าลองมาจากพระที่นั่ง อาภรณ์ภิโมกข์ปราสาทในพระบรมมหาราชวัง รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สร้างพระบรมรูปหล่อส�าริดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ขนาดเท่าพระองค์ จริงในฉลองพระองค์เต็มยศจอมพลทหารบก เพือ่ น�ามาประดิษฐาน ณ พระทีน่ งั่ องค์นจี้ นถึง ปัจจุบัน

• พระทีน่ งั่ วโรภาษพิมาน เป็นอาคาร 2 ชัน้ ศิลปะ แบบคอรินเทียนออร์เดอร์ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ เพือ่ ใช้เป็นทีเ่ สด็จออกว่าราชการ และใช้เป็นที่ประทับ ปัจจุบันพระที่นั่งองค์นี้ยังใช้เป็นที่ ประทับแรมของพระบรมวงศ์เมื่อเสด็จแปรพระราชฐาน มาประทับ ณ พระราชวังบางปะอิน • สภาคารราชประยูร เป็นตึก 2 ชั้น ตั้งอยู่ริมน�้า ใช้เป็นทีป่ ระทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ในรัชกาล ที่ 5สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามหาวชิรณ ุ หิศ และเจ้า นายฝ่ายหน้า ปัจจุบันใช้เป็นที่แสดงนิทรรศการเกี่ยวกับ พระราชวังบางปะอิน • กระโจมแตร เป็นกระโจมขนาดกลางแบบ Gazebo สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๖ ตัง้ อยูเ่ ยือ้ งกับพระทีน่ งั่ ไอศวรรย์ทิพยอาสน์ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

53


• เรื อนแพพระทีน่ งั่ เป็นเรือนแพแบบไทยสร้าง ด้วยไม้สักทอง หลังคามุงด้วยจาก ภายในจัดแบ่งห้อง เป็นสัดส่วนรัชกาลที่ 5 ทรงใช้เป็นที่ประทับในการเสด็จ ประพาสต้นและทรงส�าราญพระอิริยาบถทางน�้า โดย พระองค์เคยประทับเรือนแพพระที่นั่ง ไปทรงรับพระราช ชายาเจ้าดารารัศมีจากเมืองเชียงใหม่ด้วย ï เขตพระราชฐานชั้นใน ประกอบด้วย • พระทีน่ งั่ อุทยานภูมิเสถี ยร เป็นพระที่น่ังองค์ ประธานของพระราชวังบางปะอิน เดิมเป็นเรือนไม้ ๒ ชั้น ทาสีเขียวอ่อนและเขียวแก่สลับกัน เมื่อปี พ.ศ.2481 เกิด ไฟไหม้พระที่นั่ง และในปี พ.ศ.2537 สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 จึงได้ขอพระบรม ราชานุญาตให้สร้างพระที่นั่งองค์นี้ขึ้นมาใหม่ เพื่อเป็นที่ ประทับในการเสด็จแปรพระราชฐานและรับรองพระราช อาคันตุกะ • หอวิ ฑูรทัศนา ใช้เป็นที่ทอดพระเนตรโขลงช้าง ป่า และภูมิประเทศโดยรอบพระราชวัง เป็นหอสูง 3 ชั้น ทาสีเหลืองสลับแดง • เก๋งบุปผาประพาส สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5 ทรง ใช้เป็นทีพ่ กั ผ่อนพระราชอิรยิ าบถภายในพระราชอุทยาน • พระที ่น ั่ง เวหาศน์ จ� า รู ญ เป็ น พระที่ นั่ ง องค์ สุ ด ท้ า ยที่ ส ร้ า งขึ้ น มี รู ป แบบสถาปั ต ยกรรมจี น เป็ น พระที่นั่งที่สร้างขึ้นโดยชาวสยามเชื้อสายจีนฮากกาเพื่อ ถวายแด่รชั กาลที่ 5 และพระทีน่ งั่ องค์นยี้ งั ใช้ประกอบพระ ราชพิธีสังเวยพระป้ายจนถึงปัจจุบัน

54

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

• หมู่พระต�าหนักฝ่ ายใน เป็น อาคารทีม่ สี ถาปัตยกรรมแบบตะวันตก ชั้นเดียวและสองชั้นตั้งเรียงรายกัน แต่ ในปัจจุบนั ได้มกี ารรือ้ ต�าหนักบางส่วน ลง • อนุส าวรี ย์ ส มเด็ จ พระนาง เจ้าสุนนั ทากุมารี รตั น์ เป็นอนุสาวรีย์ที่ รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ เพือ่ ระลึกถึงสมเด็จพระนาง เจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ ซึ่งสวรรคตใน ระหว่ า งการเสด็ จ แปรพระราชฐาน มายังพระราชวังบางปะอิน • อนุสาวรี ย์ราชานุสรณ์ เป็น อนุสาวรีย์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ระลึ ก ถึ ง พระอรรคชายาเธอพระองค์ เ จ้ า เสาวภาคย์นารีรัตน์ สมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ , สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้า พาหุ รั ด มณี มั ย และสมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าตรีเพ็ชรุตม์ธา� รง ซึง่ สิ้นพระชนม์ภายในปีเดียวกัน • ประตูเทวราชครรไล ปัจจุบัน ใช้เป็นพิพธิ ภัณฑ์รถม้าพระทีน่ งั่ รถม้า ในประเทศไทยเริ่มใช้กันตั้งแต่สมัยต้น รัตนโกสินทร์ และแพร่หลายในสมัย รัชกาลที่ 5 หลังจากที่พระองค์เสด็จ กลับมาจากการประพาสยุโรป ต่อมา ในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้โปรดเกล้าให้จัด ตั้งกรมพระอัศวราชขึ้น โดยให้มีหน้าที่ จัดหารถม้าและม้าเพื่อใช้ในราชการ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

55


ตลาดน�้า

อโยธยา 65/19 หมู่ 7 พระนครศรีอยุธยา,

พระราชานุสาวรีย์

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ต�าบล ลุมพลี อ�าเภอ พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา 13000

ในอดีตเคยเป็นสมรภูมิรบหลายครั้งหลายคราว เมื่อ พ.ศ. 2129 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ทรงกระท�าศึกอย่างเหีย้ มหาญ เป็นผลให้อริ ราชศัตรูตอ้ งพ่ายแพ้ไป ปัจจุบนั พืน้ ทีน่ ไี้ ด้รบั การพัฒนาสร้างเป็นพระบรม ราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อเทิดพระเกียรติและเป็น อนุสรณ์สถาน และร�าลึกถึงมหาวีรกรรมในครัง้ นัน้ พระบรมราชานุสาวรีย์ มีพื้นที่ทั้งหมด 1,075 ไร่ ประกอบด้วยสระเก็บน�้า พื้นที่จัดกิจกรรม มี ภูมิทัศน์บริเวณรอบอนุสาวรีย์สวยงาม สวนสาธารณะพักผ่อนหย่อนใจ ส�าหรับประชาชน พื้นที่รับน�้าท�าการเกษตร ตั้งอยู่ริมถนนสายอยุธยาอ่างทอง อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา ห่างจากเกาะเมืองไปทางทิศเหนือ ประมาณ 1 กม. บริเวณนี้เรียกว่าทุ่งภูเขาทอง ข้อมูลและภาพ : thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org

56

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

ตลาดน� า้ อโยธยาเป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ที่ พยายามคงความงามและคุณค่า ของศิลปวัฒนธรรมไทยตัง้ แต่สมัย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ทั้ ง การแต่ ง กาย สถาปั ต ยกรรม ขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี การละเล่น การแสดงพื้น บ้าน ของกินของใช้ยุคเก่า รวมไป ถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่อย่าง ไทยๆ ที่เรียบง่าย ตลาดน�้ า อโยธยาเป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย นักท่องเที ย่ ว สามารถเดิ น ชมร้ า นค้ า บริ เวณ เรื อนไทย และบนเรื อ ทีม่ ีรวมกันถึง


คู่มือ….อยุธยา

249 ร้าน เพื่อชมบรรยากาศตลาดโบราณ ชิมอาหาร และเลือกซื้อของกินของใช้กลับไปเป็นของฝาก นอกจากนี้ ยังสามารถใช้บริการล่องเรือชมตลาดน�้า และสนุกสนานกับการแสดงละครประวัติศาสตร์ไทยได้อีกด้วย ข้อมูลและภาพ : museumthailand.com / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org

ตลาดน�้าวัดท่าการ้อง วัดท่าการ้อง หมู่ 6 ต.บ้านป้อม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

วั ด ท่ า การ้ อ งเป็ น วั ด เก่ า แก่ ส มั ย อยุ ธ ยาตั้ ง อยู ่ ริ ม แม่ น�้ า เจ้ า พระยาทางทิ ศ ตะวั น ตก ของ เกาะเมืองจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นั ก ท ่ อ ง เ ที่ ย ว นิ ย ม แ ว ะ ม า สั ก การะพระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ นาม ว่า”พระพุทธรัตนมงคล”หรือที่เรียก กันว่า”หลวงพ่อยิ้ ม”สันนิษฐานว่า สร้ า งขึ้ น ในสมั ย อยุ ธ ยาตอนต้ น ภายในบริเวณด้านหลังของวัดท่า การ้องได้จดั ให้เป็นตลาดน�า้ ซึง่ ของ ขายในตลาดก็จะเป็นพวกของกิน หลากหลายชนิด ทั้งก๋วยเตี๋ยวเรือ ข้าวผัด ของกินเล่น ราคาของกินที่นี่ ราคาก็ไม่แพง บริ เวณตลาดน�้าวัดท่า การ้องเปิ ดทุกวันเสาร์ - อาทิ ตย์ และ วันหยุดนักขัตฤกษ์ ติ ดต่อสอบถาม วัดท่าการ้ องโทร. 0-3532-3088 , 0-3521-1074

ข้อมูลและภาพ : FB : ตลาดน�้ากรุงเก่า วัดท่าการ้อง -เพจใหม่ / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

57


พิพิธภัณฑ์ล้านของเล่น

เกริกยุ้นพันธ์ เลขที่ 45 หมู่ 2 ถนนอู่ทอง ต.ท่าวาสุกรี อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

พิพิธภัณฑ์ ลานของเล่ นเกริ กยุ้นพันธ์ เกิดมาจากแรงบันดาล ใจอันยิ่งใหญ่ของ รศ. เกริ ก ยุน้ พันธ์ ท่านเป็ น อาจารย์ประจ� าสาขาวิ ชา วรรณกรรมส�าหรับเด็ก ทีม่ หาวิ ทยาลัยศรี นคริ นทรวิ โรฒ หลังจากได้ไปรับ รางวัลนอมา(NOMA) ที่ประเทศญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2525 ได้ไปศึกษาดูงาน และเข้าชมพิพธิ ภัณฑ์ของเล่นคีตาฮารา (Kitahara Tin Toy Museum) ซึง่ มี ของเล่นจัดแสดงจ�านวนมากพอกลับมาเมืองไทยจึงเริม่ ต้นเก็บของเล่นบ้าง สะสมมาตลอด 20 กว่าปีที่ผ่านมา และเมื่อ 10 ปีที่แล้วก็มาเจอที่ดินผืนนี้ (พื้นที่เขตหัวแหลม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) จึงตัดสินใจซื้อไว้และค่อยๆ สร้างพิพธิ ภัณฑ์ขนึ้ มาจนเกิดเป็น ‘พิพิธภัณฑ์ลา้ นของเล่นเกริ กยุน้ พันธ์ ’ ใน ทุกวันนี้ ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / FB : Milllion Toy Museum by Krirk Yoonpun

มี ด อรั ญ ญิ ก ได้ รั บ การ สืบทอดจากช่างตีเหล็กเมื่อครั้งกรุง ศรี อ ยุ ธ ยา เพื่ อ ใช้ ใ นการสู ้ ร บกั บ ข้าศึก แต่ปัจจุบันได้มีการออกแบบ เป็นข้าวของเครือ่ งใช้ตา่ งๆ โดยยังใช้ กรรมวิธีแบบโบราณ เป็นผลิตภัณฑ์ โอทอปที่ มี คุ ณ ภาพและมี ชื่ อ เสี ย ง มากของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท� า กั น มาก ที่ บ ้ า นต้ น โพธิ์ แ ละ บ้านไผ่หนอง ซึ่งกลุ่มชาติพันธุ์ ชาว บ้านต้นโพธิ์และชาวบ้านไผ่หนอง สามารถเข้ า ไปเยี่ ย มชมการตี มี ด ได้ที่บ้านต้นโพธิ์ อ. นครหลวง จ. พระนครศรีอยุธยา โดยมีพธิ กี ารเปิด ย่านการค้า “ผลิตภัณฑ์อรัญญิก” จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 โดยเปิดให้เข้าชม ทุกวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์

58

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

หมู่บ้านหัตถกรรม

มีดอรัญญิก


คู่มือ….อยุธยา

พิพิธภัณฑ์เรือไทย

12 หมู่ 1 ซอยบางเอี่ยน 8 บางเอี่ยน ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

พิพธิ ภัณฑ์เรือไทย เป็นพืน้ ที่ ส่วนบุคคลของเอกชน จัดแสดงเรือ ที่ใช้กันในหลากหลายโอกาส และ หลากหลายประโยชน์ใช้สอย มีทั้ง เรือของชาวบ้านหาปลาไปจนถึงเรือ ที่ใช้ในการค้าขายในอดีต และยังมี การประดิษฐ์เรือจ�าลอง เรือพระราช พิธตี า่ งๆ โดยต่อขึน้ ตามแบบเรือจริง ทุกประการ ปัจจุบนั มีผลงานนับร้อย

ล�าตั้งแต่เรือเดินสมุทรไปจนถึงเรือ แจวล�าเล็กๆ และมีส่วนที่จัดแสดง เรือไทยพื้นบ้านนานาชนิดหลายรูป แบบทีป่ จั จุบนั หาดูได้ยากตามแม่นา�้ ล�าคลอง พิพิธภัณฑ์เรือไทยจึงมีชื่อ เสียงโด่งดังไปจนถึงต่างประเทศ แต่ ไม่ได้เปิดให้ชมเพื่อเป็นที่ท่องเที่ยว แต่เป็นศูนย์เรียนรู้ประวัติศาสตร์

ข้อมูลและภาพ : museumthailand.com / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 59 หมู่ 4 ต�าบลช้างใหญ่ อ�าเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13290

จัดตั้งขึ้นในเขตที่ดินปฏิรูป ไปทางรถยนต์ เมื ่อถึงอ�าเภอบางปะอิ นแล้วมี ทางแยกเข้าสู่สายบางไทรเพื่ อ การเกษตร ต� า บลช้ า งใหญ่ สามโคก ระยะทาง 24 กิ โลเมตร ศูนย์ศิลปาชี พบางไทรเปิ ดให้เข้าชมทุก อ� า เภอบางไทร มี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง หมด วัน ไม่เว้นวันหยุดราชการ และวังปลาจะปิ ดเฉพาะวันจันทร์ และวันอังคาร เกื อ บ 1,000 ไร่ ศู น ย์ ศิ ล ปาชี พ นี้ มุ ่ ง ฝึ ก อบรมอาชี พ เกี่ ย วกั บ งาน ศิลปหัตถกรรมต่างๆ วิชาที่สอนให้ แก่ เ กษตรกรได้ แ ก่ การประดิ ษ ฐ์ ผลิตภัณฑ์จากเส้นใย พืช การแกะ สลั ก การท� า ตุ ๊ ก ตาการประดิ ษ ฐ์ ดอกไม้เทียม การท�าเครือ่ งเรือน การ ทอผ้า การย้อมสีและผลิตภัณฑ์จาก ผ้า ผลิตภัณฑ์ที่เสร็จแล้วมีจ�าหน่าย ข้อมูลและภาพ : museumthailand.com / thai.tourismthailand.org / FB : ศูนย์ศลิ ปาชีพ บางไทร ในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ที่ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรฯ การเดิ นทางไปยั ง ศู น ย์ ฯ สามารถไปทางเรื อตามล� าน�้ า เจ้าพระยามาขึ้นทีท่ ่าของศูนย์ หรื อ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

59


หมู่บ้าน

โปร ตุเกส บ้านโปรตุเกส ต.ส�าเภาล่ม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

หมู่ บ้านโปรตุ เกส ตั้งอยู่ ที่ต�าบลส�าเภาล่ม จังหวัดพระนค รศรีอยุธยา เป็นที่อยู่ชาวโปรตุเกส ซึ่ ง เป็ น ชาวยุ โ รปชาติ แ รกที่ เ ข้ า มา ติดต่อค้าขายกับกรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2054 โดยอัล ฟองโซ เดอ อัล บู เ คอร์ ก ผู ้ ส� า เร็ จ ราชการของ โปรตุเกส ประจ�าเอเซีย ได้ส่งนายดู อาร์ เต้ เฟอร์ นนั เดส เป็นทูตเข้ามา เจริญสัมพันธไมตรีกับสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา ชาว โปรตุเกสเข้ามาตัง้ หลักแหล่งค้าขาย และเป็นทหารอาสาในกองทัพกรุง ศรีอยุธยา สร้างโบสถ์ขน้ึ เพือ่ เผยแพร่ ศาสนาและเป็นศูนย์กลางของชุมชน

60

ปัจจุบัน ซากสิ่งก่อสร้างคือ โบราณสถานซานเปโตรหรือเรียกใน สมัยอยุธยาว่าโบสถ์เซนต์โดมินคิ เป็นโบสถ์ในคณะโดมินกิ นั นับเป็นโบสถ์ แห่งแรกที่สร้างขึ้นในแผ่นดินไทยเมื่อ พ.ศ. 2083 ตั้งอยู่ในบริเวณเกือบ กึ่งกลางหมู่บ้านโปรตุเกส มีเนื้อที่ประมาณ 2,400 ตารางเมตร ยาวตาม แนวทิศตะวันออกไปตะวันตกหันหน้าสู่แม่น�้าเจ้าพระยา โบราณสถานซานเปโตรประกอบไปด้วย ส่วนหน้า เป็นสุสาน ของ ชาวคาทอลิคคณะโดมินกิ นั ส่วนกลางใช้ประกอบพิธที างศาสนาและฝังศพ บาทหลวง ส่วนในด้านหลังเและด้านข้างเป็นทีพ่ กั อาศัย มีการค้นพบโบราณ วัตถุ โครงกระดูกมนุษย์ กล้องยาสูบ เหรียญกษาปณ์ เครือ่ งปัน้ ดินเผา เครือ่ ง ประดับก�าไลแก้วและเครือ่ งประกอบพิธที างศาสนาเช่น ไม้กางเขน เหรียญ รูปเคารพในศาสนา ลูกประค�า

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 61


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

62 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน

กุญเเจ

กระจก-ช่าง บจก.เอเชียกลาสคอนสตรัคชั่น ................ 0-3533-6191, 08-1913,6811 ..........................................08-1806-8917 ร้านศรีอยุธยากระจก-อลูมิเนียม ............................................0-3524-1751 กระจกรถยนต์ บจก.ไทยออโต้กลาส............08-9129-8684 ร้านโอเคกลาส.....................08-9239-3462 กระเบื้องเคลือบ-ผลิตภัณฑ์ บจก.ซีพีเซรามิค...................0-3531-4199, ............................................0-3531-4128

...........................................0-3524-1648, .................. 0-3524-2909, 0-3524-2667 ร้านเจริญรุ่งเรือง.....................0-3525-1461 ร้านก๋วยเตี๋ยวไก่แม่ประนอม .................. 0-3523-2476, 0-3525-1337

กล่องกระดาษ-ผลิต-จำาหน่าย บจก.เอส.เอ็น.พี.บรรจุภัณฑ์...0-3527-5445 หจก.ฐิติการช่าง................. 0-3522-4251-2

กลึง-ผู้รับจ้าง-ผู้รับเหมา บจก.ทีดีอีอินดัสเทรียลไลซ์ ........................................ 0-3571-3550-2

กล้องวงจรปิด แก๊ส-ติดตั้ง ประเสริฐออโต้เซอร์วิส.........0-3523-4090, ..........................................08-1347-0972 บางปะอินสเปเชียลแก๊ส.... 0-3526-2630-1 ร้านกิตติชัยแก๊ส...................0-3525-1269, ............................................0-3523-2458 สิริรัฐก๊าซ..............................0-3524-2460 ก๋วยเตี๋ยว ร้านเพ็ญวัฒนา.(ย่งเฮงจั่น)


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 63

ก่อสร้าง-วัสดุ

กอล์ฟ-สนาม

กก่อสร้าง-รับเหมาทั่วไป

ส.รุ่งเรืองเสาเข็ม.................08-1947-6997 สุชาติอิควิปเม้นคอนสตรัคชั่น ............................................0-3525-2153 หจก.ซีดับบลิวซัพพลายแอนด์เซอร์วิส ........................................ 0-3523-6590-1

วงเดือนการผ้าใบ...................0-3530-1581 ร้านศิริโรจน์พานิช..................0-3524-5880 บจก.บ้านแพนวิสาหกิจ.........0-3520-1461, ............................................0-3520-1451 บจก.ควอลิตี้คอนสตรัคชั่น ......................................0-3522-1264-72 ร้านเจริญไพศาล.....................0-3524-1801 ร้านไทยศรีพานิช...................0-3524-1801 ร้านประกิจพาณิชย์...............0-3524-2986, ............................................0-3521-0174 ร้านประมวลพาณิชย์.............0-3525-1849, ............................................0-3525-1249 ร้านล้อซุ้ยเซ้ง........................0-3525-1093 ร้านวรภัณฑ์.........................0-3524-1077, ...........................................0-3524-3383, ............................................0-3524-5789 ร้านศิริโภคา...........................0-3524-2605 บจก.สหกิจ..........................0-3543-1500, ............................................0-3534-1739 หจก.โสภณวัสดุก่อสร้าง.... 0-3521-1294-6, ............................................0-3524-1011 บจก.วรวิทย์วัสดุก่อสร้างอยุธยา ...........................................0-3524-1422, ............................................0-3524-2258 อุตสาหกรรมซัพพลาย........ 0-3533-0963-5 กีฬา-อุปกรณ์-เสื้อ-จำาหน่าย

บจก.เอเอ็มเสรีกรุ๊ป...............0-3531-1562

ป.เกียรติศักดิ์เสริมทรัพย์... 0-3572-3446-8 บจก.อยุธยานานาภัณฑ์..........0-3524-4388 เกษตร-ผลิตผล-อุปกรณ์ บจก.แหลมทองเกษตรภัณฑ์ ..............0-3534-1342-3, 0-3534-1097, ............................................0-3534-1109


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

64 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน โรงสีบุญส่งบ้านแพน............08-1933-4939 ของที่ระลึก

กลุ่มผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน ของฝาก

ขนมปัง-ขนมอบและเค้กขายส่ง-ปลีกและผู้ผลิต บจก.ฟูรูทราโพเทล............. 0-3522-6581-4 รุ่งเบเกอรี่.............................0-3525-2033 สมัญญา.เบเกอรี.่ ..................0-3524-1633 ร้านบริบูรณ์เบเกอรี่...............0-3525-1126, ..........................................08-1420-5973 ขนม-ลูกอม-สาหร่ายช็อกโกแลต-ผู้ผลิต บจก.อินบิสโก้.(ปท)...............0-3522-1422 ขนส่งสินค้าทางบก-บริการ

หจก.อัจฉริยะคอนโทร....... 0-3523-0112-3, ........................................ 0-3527-5462-3 หจก..ส.ศรีสง่าอินเตอร์เนชั่นแนล ........................................ 0-3523-0557-8

ข้าว-ผู้ค้า

ข้าว-โรงสี


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 65

เครื่องจักรกล-ผลิต-จำาหน่าย

คอมพิวเตอร์-อุปกรณ์ต่อพ่วงผู้จำาหน่าย บจก.สปีดพลัสเทคโนโลยี ............................................0-3526-2374 บจก.ไอดี.ซัพพลาย............0-3533-6233-7 เครื่องเขียน-ขายปลีก

บจก.อุตสาหกรรมเครื่องเขียนไทย ..........................................08-6010-4881 คอนกรีต-ผลิตภัณฑ์

เครื่องเขียน-ขายส่ง-ผู้ผลิต ร้านดีจริงศึกษาภัณฑ์..............0-3521-1277 หจก.ป.วัฒนากรุ๊ป.(บึงง่วนจั๊ว) ............................................0-3525-1282 เครื่องเสียง ร้านแจ่มมณีซาวด์................08-1353-3590 บจก.โทโฮกุโอเนียร์...............0-3533-0910

หจก.เอกพงษ์ก่อสร้าง........ 0-3536-1132-3 บจก.เจมส์ซิตี้เอ็นจิเนียริ่งแมนนูแฟคเจอริ่ง ........................................ 0-3525-8941-4 เครื่องดื่ม-ผู้บรรจุและจัดจำาหน่ายขวดกระป๋อง บจก.โคคา-โคล่า.(ปท).....0-3535-0008-15 บจก.พี.เอ็กซ์ยูเนี่ยนแดรี่พล้าน ........................................ 0-3531-1741-3 เครื่องใช้ ไฟฟ้า-จำาหน่าย หจก.แหลมทองอยุธยาเอ็นจิเนียริ่ง ............................................0-3525-2655 เครื่องสำาอาง-ผู้จำาหน่าย กาแฟทรีเมจิก.....................08-9786-2929 เครื่องปรับอากาศ

คาร์แคร์ หจก.นวบดินทร์คาร์แคร์.......08-1835-7278 เคาะ-พ่นสี

เครื่องถ่ายเอกสาร-บริการ

บจก.อาร์-วายก็อปปี้ซัพพลาย ............................................0-3521-1025 เครื่องประดับ บจก.อาควา.นิธิอาร่าคอร์ปอเรชั่น ........................................ 0-3571-6375-7 คลังสินค้า

คลินิค

งานหล่อ-งานแกะ-งานสี ร้านเชิญแก้ววัสดุ...................0-3538-9499


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

66 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน จัดหางาน-บริการ บจก.เอ.ท็อปไทม์..................0-3523-4109, ............................................0-3523-4110 ชมรม

ชุบโลหะ

ช่างมอเตอร์-เครื่องจักร บจก.บางปะอิน.กรุ๊ป..............0-3522-0392

เต็นท์

เช็คปั๊ม-หัวฉีก

ดนตรี-เครื่อง-ผู้ผลิต สถาบันดนตรี.KPN...............0-3533-7155 ดับเพลิง-เคมี

เชือก-อวนดักปลา

ไดนาโม-ซ่อมและพันมัดข้าวต้ม

ซื้อ-ขาย แลกเปลี่ยนรถบรรทุก

ซ่อมบำารุง

ตัดเลเซอร์

ต้นไม้

เต็นท์รถมือสอง

ตัดเสื้อผ้า ร้านเด่นภูษา..........................0-3525-1383, ............................................0-3532-2500 ถมดิน

ถ่ายภาพทางพาณิชยกิจ ร้านประเสริฐวีดีโอ................0-3524-2500, ............................................0-3524-1300


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 67

ศรีอยุธยาโฟโต้เอ็กซ์เพรส......0-3525-1124 ถ่ายรูป-ล้างจัด-ขนาดฟิล์มขาวดำา และฟิล์มสี พรหมโฟโต้...........................0-3524-1880 บ้านแพนโฟโต้เอ็กซ์เพรส.......0-3520-1376 ถ่ายภาพ-บริการล้างอัด ไนท์ดิจิตอลแล็บ................ 0-3523-1446-7 บ้านแพนโฟโต้.......................0-3520-1376

ทอง-ทองแดง-ช่าง

ธนาคาร

หมวดท่องเที่ยว นิสชินทราเวลเซอร์วิส ......................................0-3535-6868-70 บจก.นิสชินทราเวลเซอร์วิส ............................................0-3571-1720 พระอาทิตย์ทราเวลอยุธยา ..............08-9476-6487, 08-6568-3844 ทนายความ สนง.จิรศักดิ์.ธะนีสันทนายความ ................. 0-3520-1364, 0-3521-6244, ..........................................08-1991-7702 ที่ดิน-ซื้อ-ขาย บจก.สหรัตนนคร............... 0-3536-4011-3 ที่นอน

ท่าเรือ ท่าเรือป้าอ้วน.......................06-2235-1946

บมจ.อยุธยา.แคปปิตอลออโต้ลีส ............................................0-3571-4555 ธ.กรุงศรีอยุธยา.จำากัด.(มหาชน).สาขาเสนา ............................................0-3520-2009 ธ.ไทยพาณิชย์.จำากัด.(มหาชน).สาขาวังน้อย ........................................ 0-3521-5404-8 ธ.ไทยพาณิชย์.จำากัด.(มหาชน).สาขาอยุธยา ........................................ 0-3521-1530-3 ธ.กสิกรไทย.จำากัด.(มหาชน).สาขาวังน้อย ............................................0-3521-5287 ธ.เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. .สาขาพระนครศรีอยุธยา ...............0-3524-4841-3, 0-3525-1507 ธกส.อยุธยา..........................0-3525-2248


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

68 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ธ.ออมสิน.สาขาบางปะอิน.....0-3526-1023 ธ.ออมสิน.สาขานครหลวง......0-3535-9500 ธ.ออมสิน.สาขาพระนครศรีอยุธยา.(หัวรอ) .................. 0-3525-1131, 0-3525-2374 ธ..ซีไอเอ็มบีไทย................ 0-3523-2993-6 ธ.กรุงเทพ.สาขาถนนโรจนะ-อยุธยา ............................................0-3522-9389 ธ.กรุงเทพ.สาขาท่าเรือ-อยุธยา ............................................0-3534-1022 ธ.กรุงเทพ.สาขาเทศโก้โลตัส.เสนา ............................................0-3520-2794 ธ.กรุงเทพ.สาขานครหลวง......0-3535-9131 ธ.กรุงเทพ.สาขาบิ๊กซีอยุธยา...0-3574-7047 ธ.กรุงเทพ.สาขาประตูนYhkพระอินทร์ ........................................ 0-3536-1067-8 ธ.กรุงเทพ.สาขาย่อยเทศโก้โลตับางประอิน .......................................0-35-74-2453-4 ธ.กรุงเทพ.สาขาย่อยนิคมอุสาหกรรมบาง ประอิน............................ 0-3522-1888 ธ.กรุงเทพ.สาขาย่อยนิคมอุสาหกรรมไฮเทค ........................................ 0-3535-1401-3 ธ.กรุงเทพ.สาขาสาขาศุนย์การค้าอยุธยาพาร์ค ........................................ 0-3534-6666-7 ธ.กรุงเทพ.สาขาสวนอุตสาหรรมโรจนะ ........................................ 0-3533-2142-4 ธ.กรุงเทพ.สาขาเสนา.............0-3520-1759 ธ.กรุงไทย.สาขาตลาดหัวรอ....0-3525-2699 ธ.กรุงไทย.สาขาท่าเรือ...........0-3534-1089 ธ.กรุงไทย.สาขานิคมอุตสาหกรรมโรจนะ ........................................ 0-3570-6301-2 ธ.กรุงไทย.สาขาบางประอิน ........................................ 0-3522-1025-7 ธ.กรุงไทย.สาขาผักไห่...........0-3539-1459 ธ.กรุงไทย.สาขาภาชี..............0-3531-1089 ธ.กรุงไทย.สาขาย่อยบิ๊กซีอยุธยา ........................................ 0-3574-7150-1 ธ.กรุงไทย.สาขาโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. ........................................ 0-3532-3017-8

ธ.กรุงไทย.สาขาสาขาโรจนะ0-3524-3829 ธ.กรุงไทย.สาขาเสนา.......0-3521-7169-70 ธ.กรุงไทย.สาขาอยุธยา..........0-3524-2663 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาลาดบัวหลวง ........................................ 0-3537-9350-2 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาถนนโรจนะ ........................................ 0-3532-3597-9 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาท่าเรือ..0-3534-1119 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขานิคมอุตสาหรรมไฮเทค ........................................ 0-3531-4337-8 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาบางไทร ........................................ 0-3574-1111-5 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาบิ๊กซีอยุธยา ........................................ 0-3574-7152-4 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาประตูนำ้าพระอินทร์ ........................................ 0-3521-9850-4 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาพระนครศรีอยุธยา ............................................0-3524-1783 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาวังน้อย ............................................0-3527-1073 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาศูนย์การค้าอยุธยาพาร์ค. ........................................ 0-3533-7122-4 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาเสนา ............................................0-3520-2009 ธ.กสิกรไทย.สาขาตลาดอุสาหกรรมอุสาหกรรม ..บางประอิน.................... 0-3522-1954-5 ธ.กสิกรไทย.สาขาถนนโรจนะ ........................................ 0-3521-3870-2 ธ.กสิกรไทย.สาขานิคมอุตสาหรรมไฮเทค ............................................0-3535-1686 ธ.กสิกรไทย.สาขาตูนำ้าพระอินทร์ ........................................ 0-3536-1124-6 ธ.กสิกรไทย.สาขาผักไห่ ............................................0-3539-1299 ธ.กสิกรไทย.สาขาเสนา..........0-3521-7333 ธ.กสิกรไทย.สาขาอยุธยา ............................................0-3525-2255 ธ.ทหารไทย.สาขาเทสโก.โลตัส

............................................0-3574-2030 ธ.ทหารไทย.สาขาบางบาล ........................................ 0-3530-7942-3 ธ.ทหารไทย.สาขาตูนำ้าพระอินทร์ ........................................ 0-3521-9784-8 ธ.ทหารไทย.สาขาวังน้อย ......................................0-3521-5649-51 ธ.ทหารไทย.สาขาอยุธยา ........................................ 0-3524-1417-8 ธ.ทหารไทย.สาขาอยุธยา.พาร์ค ........................................ 0-3521-3061-2 ธ.ทหารไทย.สาขาอุทัย ............................................0-3533-5417 ธ.ไทนพาณิชย์.สาขาตลาดบางประอิน ............................................0-3526-1547 ธ.ไทยพาณิชย์.สาขาถนนโรจนะ ........................................ 0-3521-3453-4 ธ.ไทยพาณิชย์.สาขาท่าเรือ ............................................0-3534-1713 ธ.ทหารไทย.สาขาเทศโก้โลตัสเสนา ........................................ 0-3520-2928-9 ธ.ไทยพาณิชย์.สาขาบางประอิน ........................................ 0-3526-1980-4

นิคมอุตสาหกรรม หสกิจท่าเรือ..........................0-3534-1500

นำ้าแข็ง


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 69

นำ้าดื่ม

นำ้ามันรี ไซเคิล บจก.วังจุฬา.ดีเวลลอปเม้นท์.(2004) ............................................0-3572-2002 นวดแผนโบราณ-คาราโอเกะ

อลิษานวดแผนไทย.............08-6058-8563, นมเปรี้ยว-ผู้จำาหน่าย

บ้าน-ที่ดินและสวนเกษตร บ้านเรือนไทยนางพยุง..........08-1757-9699

ประกันภัย-สำานักงาน สำานักงานAIA......................0-3570-0396, ............................................0-3570-0395

บ้านจัดสรร

นำ้ามัน

แบตเตอรี่ ประดับยนต์

บัญชี-สำานักงาน เอส.แอนด์.เจ.การบัญชี........0-3524-3432

ประปา


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

70 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ป้าย ร้านอาณาจักรอิงค์เจ็ท...........0-3533-5588, ............................................0-3533-7002 ป.กิจทวีวัฒนา.......................0-3525-4211 ปั๊มนำ้ามัน บจก.อยุธยาจังหวัดพาณิชย์....0-3524-1156 หจก.ม.บริการ........................0-3535-1251

จันเจริญโฟม...................... 0-3571-8050-5 ส.พลาสติก.อยุธยา..............08-3077-2754 ฟาร์ม

ฟ เฟอร์นิเจอร์-ผู้จำาหน่าย

แปรรูป โลหะ

ผลิตลูกอม บจก.อินปิสโก้.(ประเทศไทย) ............................................0-3522-1422 ผ้าม่าน ร้านวารุณีผ้าม่าน....................0-3522-4089 เพชรพลอย

พลาสติก-รับฉีด

ไฟฟ้าโรงงาน-อุปกรณ์ หจก.โรจนะอีควิปเม้นท์.1994 ........................................ 0-3570-9816-9 บจก.ประสิทธิ์อุตสาหกรรม.ซัพพลาย .........................................0-3522-6120-1,. ................0-3533-0963-5,.0-3522-6528

ฟุตบอล-สโมสร บางปะอิน.อยุธยา.เอฟซี ..........................................08-1852-4206


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 71

ร้านซาลาเปาอาม่า.................0-3523-2880 ไอศกรีมกรุงเก่า...................08-1295-5014 บ้านไม้ริมนำ้า..........................0-3521-1516 ร้านอาหารสุนทรี....................0-3637-5072 ไฟฟ้า-เครื่องติดตั้ง-จำาหน่าย

ร้านอาหารลูกศิษย์เท้ง............0-3524-1246 ร้านอาหารเอมโอษฐ........... 0-3536-6901-2

อยุธยาอุปกรณ์ไฟฟ้า ...........................................0-3522-9399,

ภัตตาคารและร้านอาหาร ร้านเปี๊ยกก๋วยเตี๋ยวเรือ........08-1907-9054, ............................................0-3524-5196

ร้านตุ๊ก-ตุ๊ก.ก๋วยเตี๋ยวไก่-เนื้อ ................0-3538-1418, 08-1434-5184

ร้านก๋วยเตี๋ยวเรือสูตรกะทิสด ..........................................08-1822-9098 ครัววังน้อย............................0-3527-2055 ร้านอาหารนิมิตดี...................0-3525-1033 ร้านลุงนวย...........................0-3536-1248, ..........................................08-1657-7438


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

72 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน

ร้านไก่ย่างแม่ผ่องศรี.............0-3525-1554, ..........................................08-4136-2366

ร้านอาหารแสนสุข...............08-1372-5555 ร้านลุงนวย...........................0-3536-1248, ..........................................08-1657-7438

ครัวบ้านใหญ่.........................0-3527-2055


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 73

ร้านอาหารสายนำ้าป้อมเพชร....0-3524-3354

มีด-ผลิต-จำาหน่าย

บจก.เอเอสออโต้เทค.............0-3534-5017 หจก.สมออโต้เซอร์วิส...........0-3534-6357 ล.อรัญญิกพัฒนา...................0-3535-9333 มอเตอร์-ศูนย์บริการ ร้านเอกเซอร์วิส.....................0-3533-7025 สมชายมอเตอร์................. 0-3533-5597-8 บจก.บางปะอินกรุ๊ป.........0-3522-0392-93 พินิจอยุธยา...........................0-3525-2153 บจก.ศุภวิศว์ซัพพลายแอนด์เอ็นจิเนียริ่ง ............................................0-3523-4753 แม่พิมพ์-ชุบแข็ง บจก.ควอริตี้..........................0-3528-7500 ยาสีฟัน

มอเตอร์ ไฟฟ้า ร้านพินิจ.จ.อยุธยา.................0-3525-2153 ไม้-ขายปลีก โรงไม้ขายถูก.........................0-3539-1049 พงษ์รุ่งเรืองค้าไม้...................0-3520-1415 บจก.เอ็มแอนด์เอส.เทรด.......0-3521-0056 พรพนาค้าไม้.........................0-3524-1459

แม่อุ้ย.(ผงระงับกลิ่นกายและกลิ่นเท้า) ..............08-1876-3823, 08-1264-1924

รักษาความปลอดภัย บจก.ชัมม์.(ปท).....................0-3536-1639 บจก.เทมการ์ดเซอร์วิส...........0-3533-0548

ยางรถ-ผู้ผลิต-จำาหน่าย หจก.อยุธยาศูนย์ล้อ..............0-3524-3165 บจก.เอเอสออโต้เทค.............0-3534-5017 ยางรถ-หล่อดอกยางและ ซ่อมอุปกรณ์เครื่องใช้ เป้าการยาง.อยุธยา............ 0-3521-3134-5 ยารักษาโรค-ผลิต-จำาหน่าย

รถจักรยานยนต์และรถสกูดเตอร์ หจก..3.จ.เจริญทรัพย์...........0-3527-1097 รถทัวร์-ให้เช่า-รับ-ส่ง หจก.สกุลนิทัวร์...................08-1946-2158 รับเหมาทั่วไป บจก..ช..เชิดศิริวัฒน์.............0-3539-1157

รถแทรคเตอร์ ให้เช่า


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

74 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน รางนำ้าฝน

รถยนต์-ชิ้นส่วน-ขายปลีก บจก.เอช-วัน.พาร์ทส์.(ปท)...0-3533-0785, ............................................0-3520-1478 ประเสริฐออโต้เซอร์วิส..........0-3523-4090 รอกเครนไฟฟ้า-จำาหน่าย-ติดตั้ง เรือต่อและซ่อม-อุปกรณ์-เครื่องใช้ คานเรือศรีเจริญ. 0-3524-2503 รี ไซเคิล

รถจักรยานยนต์-จำาหน่าย

โรงงานลูกชิ้น รถยนต์-ตกแต่ง-เครื่องเสียง บจก.เพาเวอร์ซาวด์................0-3570-8301 ร้านแจ่มมณีซาวด์................08-1353-3590 รถมือสอง

รถยนต์-อู่ซ่อม เฟรชโฟล์วเซอร์วิส..............08-6393-5739 ร้านเอกเซอร์วิส.....................0-3533-7025 รถยนต์-ทัวร์-รับส่งพนักงาน หจก.ชลอการท่องเที่ยว..... 0-3534-6036-8, ............................................0-3522-6268 หจก.สกุลนิทัวร์.....................0-3534-5115

รถบรรทุก-ผู้ผลิต

รับดีดบ้าน

บจก.มีเทคอินเตอร์เนชั่นแนล ........................................ 0-3531-4364-5 รถแทรคเตอร์-รถแม็คโฮ รถเทรนเลอร์ บจก.วีรวรรณ.........................0-3526-1240 นิวอภิชาติ.............................0-3537-9591 รีสอร์ท

โรงเรียน รร.อุดมศิลวิทยา....................0-3526-4100

ม.เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ............................................0-3570-9091 รร.เซนต์จอห์นบัปติสต์ ............................................0-3521-7138 รร.เทศบาลท่าเรือประชานุกูล ............................................0-3534-1088 รร.ประชาศึกษา.(เคียงฮั้ว) ............................................0-3521-1629


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 75

รร.วัดกระโดมทอง.................0-3530-1529 รร.คุมอง.............................08-1337-2595 รร.วัดพระญาติการาม...........08-1947-8267 รร.วัดนางคุ้ม.........................0-3522-3233 ว.เทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ............................................0-3533-5694

รร.คุมอง........................... 0-3532-3434-5 รร.ศรีประจันต์.เมธีประมุข ............................................0-3558-1970

รร.ชุมชนโคกม่วง...................0-3531-1267 รร.เอกอโยธยา......................0-3571-9078

รร.ประเสริฐวิทยาทาน............0-3534-1732 รร.จอมสุรางค์อุปถัมภ์...........0-3525-2270 รร.จิระศาตร์วิทยา..................0-3524-1559 รร.ชุมชนป้อมเพชร................0-3524-1966 รร.วัดสำาพะเนียน...................0-3538-6118 รร.บ้านคลองตะเคียน.............0-3570-1205 รร.ประชาศึกษา.....................0-3525-1629 รร.ประตูชัย...........................0-3524-5419 รร.ประสาทวิทย์....................0-3520-1717

รร.ไตรราชวิทยา................. 0-3574-1051-2

รร.วัดธรรมนาวา....................0-3521-9764

รร.วัดบ้านหว้า.....................08-1946-5385 รร.หนองนำ้าส้ม....................08-9672-9595

รร.ดำารงวิทยา........................0-3532-2980 รร.วัดบ้านแพน(ศรีรัตนานุกูล) ............................................0-3520-3042 รร.วัดป่าโค.............................. 0-324-3031

รร.เทคโนโลยีอยุธยา..............0-3524-5996 รร.เทพประสิทธิ์วิทยา.............0-3539-1281

รร.บางปะหัน.........................0-3538-1630 รร.บางประอิน(ราชานุเคราะห์.1) ............................................0-3526-1922 รร.ปราสาททองวิทยา.............0-3522-1243 รร.ภาชีสุนทรวิทยานุกูล.........0-3531-1274 รร.ยอเซฟอยุธยา...................0-3570-5418 รร.รอตเสวกวิทยา..................0-3531-1042 รร.ราษฎร์นิรมิตร....................0-3523-6221 รร.ราฎร์บำารุงศิลป์..................0-3521-6543


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

76 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน รร.ลาดงาประชาบำารุง............0-3572-0063 รร.วังน้อย(พนมยงค์วิทยา).....0-3527-1123 รร.วังน้อยวิทยาภูมิ................0-3527-1290 รร.เทศบาลวัดกลาง................0-3534-2600 รร.วัดกลางคลองสระบัว........0-3532-8818 รร.เทศบาลวัดเขียน................0-3525-1923 รร.วัดโคกช้าง(ราษฎร์บำารุง)....0-3535-6243 รร.วัดทำาใหม่.........................0-3533-0426 รร.วัดพระญาติการาม.............0-3524-3026 รร.วัดโพธิ์เผือก.....................0-3579-3702 รร.เทศบาลวัดรัตนไชย...........0-3524-1829 รร.วัดลาดบัวหลวง(สหมิตรศึกษา) ............................................0-3537-9182 รร.วัดหัวหัวเวียง.(เขมะสุทธิวิทยาคาร) ............................................0-3539-6085 รร.วัดใหญ่ชัยมงคล(ภาวนารังสี) ............................................0-3524-3207 รร.วิเชียนกลิ่นสุคลธ์อุปถัมภ์ ............................................0-3527-1010 รร.ศรีบางไทร.........................0-3537-1246 รร.ศิริเสนาวิทยา....................0-3524-1715 รร.อนุบาลศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ............................................0-3536-6016 รร.สาธิตสถาบันราชภัฎ..........0-3524-5506 รร.อุดมศิลวิทยา................ 0-3526-4100-1 รร.อุทัย................................0-3571-1450 รร.เอกอโยธยา......................0-3571-9079

โรงเรียนกวดวิชา โรงเรียนคุมอง................... 0-3532-3434-5 โรงเรียนกวดวิชานัมเบอร์วัน...0-3524-5053 โรงเรียนกวดวิชาบ้านครูแอน...0-3532-1165 โรงเรียนกวดวิชาภัทรศึกษา.....0-3524-4969 โรงเรียนกวดวิชาแม็กส์.อยุธยา

............................................0-3533-5012 โรงเรียนกวดวิชาก้าวหน้าบ้านวิศวะ ............................................0-3532-3474 สถาบันพัฒนาทักษะคณิตศาตร์.คิงแมทส์ ............................................0-3532-3280 โรงเรียนกวดวิชาเอ็นคอนเช็ป ........................................ 0-3534-5702-3 โรงพยาบาล รพ.บางไทร............................0-3537-1029

รพ.เสนา...... 0-3520-1037, 0-3521-7118 รพ.บางปะหัน........................0-3538-1635

รพ.บางบาล....................... 0-3530-7746-7 รพ.ผักไห่..............................0-3539-1309 รพ.ภาชี................................0-3531-1112 รพ.ลาดบัวหลวง....................0-3537-9094 รพ.วังน้อย.............................0-3527-1033 รพ.สมเด็จพระสังฆราช....... 0-3574-3341-2 รพ.อุทัย..........................0-3571-1469-70 ร้านเช่าชุด

โรงพยาบาลสัตว์

โรงแรม-รีสอร์ท-เกสต์เฮ้าส์ รพ.มหาราช....................... 0-3538-9027-8 รพ.วังน้อย.............................0-3527-1033 รพ.ราชธานี...........................0-3533-5555 รพ.ศุภมิตรเสนา................ 0-3528-9572-9 รพ.บ้านแพรก........................0-3538-6121 รพ.ราชธานี.....................0-3533-5555-60 รพ.โรจนเวช..........................0-3524-9249 รพ.ศุภมิตรเสนา....................0-3528-9573 รพ.พระนครศรีอยุธยา............0-3521-1888 รพ.ท่าเรือ.............................0-3534-1330 รพ.บางซ้าย...........................0-3537-5223 รพ.บางไทร......................0-3537-1029-30

โรงแรมอยุธยาธานี................0-3523-2776 สวิทอินน์............................08-1482-4248


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 77

โอเชี่ยน.โกล์ด.การ์ด.............0-3533-5887 ดีโอลด์พาเลชรีสอร์ท............0-3525-1774, ..........................................08-1351-2355 พียู.เกสต์เฮาส์......................0-3525-1213 อยุธยาเพลส.........................0-3521-0941, ............................................0-3524-1754

ปิยวรรณรีสอร์ท....................0-2619-8352 วรบุรีอโยธยาคอนเวนชั่นรีสอร์ท ......................................0-3524-9600-49 JITVILAI.GROUP..AYUTTHAYA โรงแรมเวียงฟ้า......................0-3524-3252 โรงแรมอยุธยาแกรนด์โฮเต็ล ......................................0-3533-5483-91 โรงแรมโรสอินน์..............0-3521-2149-50 บ้านไม้รีสอร์ท....................08-1994-3863, ..........................................08-1450-2884 โฮมสเตย์คลองรางจระเข้ ............................................0-3572-0147 อยุธยากอล์ฟคลับ............. 0-3570-3664-6 โรงแรมกู๊ด.อินน์....................0-3527-2099 โรงแรมกรุงศรีริเวอร์..............0-3524-4483 แคทารีอยุธยา........................0-3533-7177 บริษัทโชคนาบุญ....................0-3533-6408 โรงแรมเซเว่นอินน์.................0-3533-5333 เดอะ.ลิม่า.เพลส.............0-3580-1808-10 โรงแรมไทยไท.พาเลส ......................................0-3521-2338-40 โรงแรมนครอินน์...................0-3535-9160 บริษัทนำาชัยเสรีโฮลดิ้ง...........0-3524-1444 บ้านจิตต์วิไล..........................0-3532-1260 โรงแรมบ้านแรมอินน์............... 0-3523-547 โรงแรมพร้อมสุขเพลส...........0-3532-3999 โรงแรมพระอินทร์ราชา...........0-3536-1081

โรงแรมริเวอร์วิวเพลส ............................................0-3524-1444 บริษัทโรจนะเอสเตท..............0-3533-6933 โรงแรมโรสการ์เด้น................0-3524-3653 โรงแรมวรบุรี.อโยธายา.คอนเวนชั่น.รีสอร์ท ......................................0-3524-9600-49 โรงแรมวิชัยเพลส77..............0-3533-5477 โรงแรมศรีอยุธยาธานี............0-3523-3041 โรงแรมแสงฟ้านนท์...............0-3520-3190 โรงแรมอยุธยาแกรนด์โฮเต็ล ......................................0-3533-5483-91 บ้านจิตต์วิไล..........................0-3532-1260 โรงแรมบ้านแรมอินน์............... 0-3523-547 โรงแรมพร้อมสุขเพลส...........0-3532-3999 โรงแรมพระอินทร์ราชา...........0-3536-1081 โรงแรมริเวอร์วิวเพลส............0-3524-1444 บริษัทโรจนะเอสเตท..............0-3533-6933 โรงแรมโรสการ์เด้น................0-3524-3653 โรงแรมวรบุรี.อโยธายา.คอนเวนชั่น.รีสอร์ท ......................................0-3524-9600-49 โรงแรมวิชัยเพลส77..............0-3533-5477 โรงแรมศรีอยุธยาธานี............0-3523-3041 โรงแรมแสงฟ้านนท์...............0-3520-3190 โรงแรมอยุธยาแกรนด์โฮเต็ล .......................................0-3533-5483-91 โรงแรมอยุธยาธานี................0-3523-2776 โรงแรมโรสอินน์....................0-3521-2150 โรงแรมอยุธยา................... 0-3523-2855-8 อุทัยคีรีรีสอร์ท.................. 0-3577-3540-4 โรงแรมแอท.อยุธยา...............0-3534-6747 โรงแรมแอมโปร.เรสชิเดนช์ ............................................0-3533-5577 โรงแรมไอยูเดีย.ออน.เดอะ.ริเวอร์ ............................................0-3532-3208 โรงกลึง โรงกลึงที.จี.แอสโซซิเอท.......0-3526-1003, ............................................0-3526-1501 บจก.ทีเอสพีทูลแอนด์ฮาร์ดเวย์.....................

........................................ 0-3535-6893-4 ร้านผ้าใบ วงเดือนการผ้าใบ...................0-3530-1581 โรงพิมพ์ หจก.โรงพิมพ์ศรีอยุธยา.........0-3533-5377, ............................................0-3533-5410 โรงพิมพ์เทียนวัฒนา..............0-3524-3386, ............................................0-3532-3396 โรงสี บจก.โรงสีบุญส่งบ้านแพน......0-3520-1353, ..........................................08-1933-4939

เลื่อย-โรง ป่าไม้สันติ.............................0-3528-3284 โรงเลื่อยจักรหว่าเฮงลี่...........0-3533-5456

วัด วัดท่าการ้อง.........................09-3020-6658

เวดดิ้ง U.Smile..Studio................0-3521-2231, ..............08-1643-8351, 08-7810-4455

ศูนย์คุ้มครอง


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

78 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน หจก.วันชัยเมทัลเวิร์ค ............................................0-3523-0369 ..........................................0-3524-99878 ศูนย์การเรียนรู้ เสริมสวย ศาลไม้

สวน

สถานีตำารวจภูธรผักไห่ ............................................0-3539-1789 สถานีตำารวจภูธรช้างใหญ่ ............................................0-3536-6019 สถานีภูธรอุทัย ............................................0-3535-6181 สถานีตำารวจภูธรวังน้อย ............................................0-3527-2191 สถานีภูธรวังน้อย ............................................0-3527-1063 สถานีตำารวจภูธรบางปะหัน.(ใหม่) ............................................0-3575-0228 เค.ซี.สแตนเลส......................0-3574-2972 บจก.สาวิกา.สแตนเลส........08-1571-4251.

สิ่งทอ บจก.เมโทรสปินนิ่งอยุธยา ........................................ 0-3572-1620-2 สหกรณ์

สุนัข-ของใช้ The..Pet.Shop.Boys..........0-3533-2246, ............................................0-3521-2856 เสาเข็ม บจก.ศรีอยุธยาคอนกรีต..... 0-3536-1314-5 บจก.บางปะอินเสาเข็มคอนกรีต ......................0-3535-3591-5 สังกะสี-สแตนเลส-ผลิต

สถานีตำารวจ สถานีตำารวจภูธรพระนครศรีอยุธยา ............................................0-3524-3444 สถานีตำารวจภูธรนครหลวง ..........................................08-7310-1441 สถานีตำารวจภูธรอำาเภอท่าเรือ ...........................................0-3534-1111. สถานีตำารวจภูธรบางปะอิน.สาขาเชียงราก น้อย(โรงพักใหม่) ............................................0-3522-1287 สถานีตำารวจภูธรพระอินทร์ราชา ............................................0-3536-2016 สถานีตำารวจภูธรบางไทร ............................................0-3537-1249 สถานีตำารวจภูธรบางปะอิน.(สาขาบ้านเลน) ............................................0-3524-6947 สถานีตำารวจภูธรท่าช้าง ............................................0-3536-0777

สถานที่ราชการ สหกรณ์การเกษตรบางปะอิน .................. 0-3526-2859, 0-3526-1560

อบต.บ้านหว้า........................0-3535-0776 ชุมนุมสหกรณ์จังหวัดอยุธยา ...........................................0-3535-9097, ..........................................08-1851-3539


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 79

เส้นหมี่-ผลิตและจำาหน่าย

อบต.ธนู................................0-3525-2235 อบต.บ้านชุ้ง..........................0-3576-0170 อบต.ลุมพี.............................0-3579-6501 สปริงอุตสาหกรรม

เทศบาลราชคาม....................0-3536-6434 สำานักงานพาณิชย์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ............................................0-3533-6525 สำานักงานที่ดินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ............................................0-3525-1016

สวน-จัด

............................................0-3525-1016

สอนขับรถ โรงเรียนสอนขับรถอโยธยา ..........................................08-6550-5000 ศิริเจริญสอนขับรถยนต์........08-6330-3437 พีระพัฒน์สอนขับรถ...............0-3521-1262


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

80 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน สติ๊กเกอร์

ไส้กรอก

ส่งออก

สำานักดาบ

เหล็ก บจก.สยามไฟว์สตีบ.1995 ......................................0-3536-1906-10 บมก.ค้าเหล็กไทย.............. 0-3527-2550-2 บจก.จิรวัฒน์พิบูลย์................0-3536-1104 หจก.เจ้าปลุกค้าเหล็ก............0-3525-5254 หจก.วังน้อยโลหะภัณฑ์.........0-3527-1644

บจก.กรุงเทพเหล็กกล้า ......................................0-2294-1879-85 บจก.เคจีเอสสตีล.............. 0-2689-9047-9 บจก.จุฑาวรรณ.................. 0-2294-0066-8 บจก.สตีลแอนด์ทูลส์ ......................................0-2294-5809-11 บจก.สเปเชียลสตีล.แอนด์เซอร์วิส ........................................ 0-2705-2201-5 บจก.สินไทยสเปเชียลสตีล ........................................ 0-2705-0930-2 หัวฉีด-ทำาพรบ. ร้านอยุธยาดีเซล.....................0-3524-2576 หลังคารถ-ขาย-ซ่อม หจก.โลบราเอ็นยิเนียริ่ง.........0-2294-1207 ไอดู-แอร์โรพาร์ท..................08-9992-0441

อาหารสัตว์-ผู้ขาย กิตติศักดิ์เพ็ทมาร์ท................0-3524-5076 สาหร่าย-ผลิต-นำาเข้า บจก.เอส.แอนด์.ที.เยนเนอร์รัลฟู้ด ........................................0-3535-3571-2, ..........................................08-9203-7455

เหล็กกล้า-โรงงานผลิตภัณฑ์ หจก.โลบราเดอร์เอ็นยิเนียริ่งแอนด์คอนแทร็ค เตอร์ .............................................0-2294-1207 เหล็กกล้า-ผู้จำาหน่ายและคลังสินค้า

แอร์-จำาหน่าย หจก.ยูทิลิตี้อินเตอร์เทค ........................................ 0-3571-8501-2 เมืองทองเซอร์วิสและบริการ ............................................0-3521-1456 บจก.ที.อาร์.แอร์เซอร์วิส ..........................................08-6127-9154 ร้านสมพงษ์แอร์.....................0-3521-1477 เมืองทองแอร์.................... 0-3521-1456-7


คู่มือ...อยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 81

อะไหล่

บจก.ชัยมงคลอุตสาหกรรมซัพพลาย ............................................0-3533-0218 หจก.สุรพลการช่าง ............................................0-3534-1420 จำาหน่ายรถไถ

บจก.แปซิฟิคอินซูเลติ้งเมททีเรียล.(ปท) ........................................ 0-3533-0772-4 บจก.ทีดีดี.อินดัสเทรียลไลซ์ ........................................ 0-3571-3550-2 บจก.แอดลาสคอปโก้ดีสแฮล์ม .................. 0-3652-9006, 0-3566-1004 พระเครื่อง

อุปกรณ์ของใช้ทั่วไป ร้านต้นมะขามเรือง.................0-3524-2738 ออกแบบตกแต่งเรือนไทย ส.รวยเจริญ...........................0-3538-9331 แอร์ขนาดเล็กและชนิดแยกส่วน รัตน์แอร์.............................08-9410-4421

อาคาร สมบัติไพบูลย์.วิศวกรรม........0-3520-3111

อุตสาหกรรม บจก.ศูนย์เทคโนโลยีไฮเทคอยุธยา ............................................0-3535-0137 อาหาร-เครื่องปรุง บจก.รถรุ่งเรือง.......................0-2617-9642 บจก.ศรีธรรมราชขนส่ง....0-2531-6916-20 อิเล็คทรอนิคส์-ผลิต หจก.ทูลส์เซอร์เคิล............0-3521-9961-3 บจก.ทีดีอีอินดัสเทรียลไลซ์ ........................................0-3571-3550-2

ค้าไม้

อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ ห้างสรรพสินค้า

อัลลอย-ตัด-พับ สาวิกาอัลลอย.......................0-3522-6116

อาหาร-นม-เนย


ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2564

82 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน

อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ ฟาร์ม

............................................0-3535-0137

อิฐทนไฟ อุตสาหกรรมกระดาษ บจก..โรงงานอุตสาหกรรมกระดาษ.บางปะอิน ............................................0-3526-1430 บริษัท.อุตสาหกรรมกล่องสยาม.จำากัด ...........................................0-3520-0993 ออกแบบตกแต่งเรือนไทย ส.รวยเจริญ...........................0-3538-9331 อิเล็คทรอนิคส์-ผลิต

อาหารสัตว์

อาหาร-นม-เนย ห้างสรรพสินค้า

จำาหน่ายรถไถ แบตเตอรี่ อาหารขบเคี้ยว

ไฮโดรลิค-อุปกรณ์จำาหน่าย บจก.อยุธยาไฮดรอลิค..........0-3521-3597, ............................................0-3533-5707 หจก.ซีดับบลิวซัพพลายแอนด์ซัพพลาย ...........................................0-3531-4198, ........................................ 0-3523-6590-1 ฮาร์ดแวร์-จำาหน่าย





Check In Here @ayutthaya

พระนครศรีอยุธยา ยา ไม่ใช่มีดีแค่วัดและโบราณ สถานเท่านั้น แต่ยังมีของอร่อยและมุมถ่ายรูปชิคๆ เก๋ๆ อีกมากมาย ตามมาเลย...

µÅÒ´

â¡Œ§ โค้ง หมู่ 5 บางปะอิน, พระนครศรีอยุธยา

86

ตลาดโก้ งโค้ ง ตั้งอยู่บริเวณบ้านแสงโสม ต�าบลขนอนหลวง ซึ่งใน อดีตเป็นด่านขนอน และเป็นสถานทีท่ มี่ กี ารซือ้ ขายแลกเปลีย่ นสินค้านานา ชนิด ทั้งสินค้าในชุมชนและสินค้าที่มาจากต่างเมืองค�าว่า ตลาดโก้งโค้ง มาจากการที่คนขายสินค้าจะนั่งอยู่บนพื้นดิน คนที่มาซื้อจะต้องโก้งโค้ง เพื่อเลือกดูของที่ตนสนใจ การโก้งโค้งของคนไทยนั้น ท�าได้สุภาพ นุ่มนวล เป็นกิริยาที่แสดงถึงความอ่อนน้อมถ่อมตน ภาพการซื้อขายจะเต็มไปด้วย อัธยาศัยไมตรีระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

ตลาดโก้ ง โค้ ง แม้ ที่ นี่ จ ะ เป็นตลาดเล็กๆ แต่ก็ให้ความรู้สึก ดี ๆ ชอบที่ พ ่ อ ค้ า แม่ ค ้ า แต่ ง ตั ว ชุ ด ไทยแบบชาวบ้าน ติดป้ายชื่อด้วย สินค้าก็ให้ความรู้สึกว่าเป็นสินค้า ของชุมชนทีท่ า� ขึน้ มาขายด้วยใจแล้ว ทีแ่ ปลกกว่าทีอ่ นื่ ก็คอื มีสถานทีไ่ ว้รบั จัดงานแต่งงานในบรรยากาศแบบ ไทยๆ ด้วย ในปัจจุบันตลาดโก้งโค้งได้ รับการรรื้อฟื้นขึ้นมา พร้อมกับน�้าใจ ไมตรีของพ่อค้าแม่ค้าที่มีต่อคนซื้อ เช่นในอดีต ตลาดนี้จึงเต็มไปด้วย รอยยิ้ม จากกรุงเทพฯ ขึ้นทางด่วน ไปลงบางประอิน ผ่านสถานีรถไฟ ประมาณ 6-7 กิโ,เมตร พอเจอวัด บ้ า นเลนทาซ้ า ยมื อ ให้ ชิ ด ซ้ า ยไว้ ตลาดจะอย่าทางซ้ายมือ ถ้ามาจาก ทางวัดพนัญเชิงตรงมาเรื่อยๆ ถึง แยกทางหลวง 356 ตรงสะพานข้าม แม่น้�าเจ้าพระยา ให้เลี้ยวขวาลอด

ใต้สะพานวนมาฝั่งตรงงข้าม เพื่อ เลี้ยวขวาเข้าถนน 3477 อีกที่ เข้าไป ประมาณ 3 กิโลเมตร ตลาดจะอยู่ ทางขวามือ มีที่จอดรถจัดไว้ภายใน สองฝั่งของตลาด ตลาดโก้ ง โค้ ง เปิ ดตลาด สัปดาห์ ละ 4 วัน ทุกวันพฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดนักขัต ฤกษ์ 09.00-16.00 น. สอบถามเพิ่ มเติ ม โทร 035728286, 089-1078443 ททท. ส� านักงานพระนครศรี อยุธยา โทร. 035-246076-7

ข้อมูลและภาพ : FB : ตลาดโก้งโค้ง / thai.tourismthailand.org วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

87


วังช้างอยุธยา

แล เพนียด

วังช้างแลเพนียดคล้องช้าง ถนนป่าโทน ต.ประตูชัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

88

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

วังช้ างอยุธยา แล เพนียด ตั้งอยู่ที่ริมถนนป่าโทน ไม่ไกลจาก คุ้มขุนแผน อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ต�าบลประตูชัย อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถานที่ส�าคัญๆ ในวังช้างแห่งนีท้ แี่ รกคือ ลานพักช้างใหญ่ บริเวณนีจ้ ะเป็นทีพ่ กั ผ่อนของ ช้างและควาญช้าง ตรงส่วนนี้มีเชือกกั้นระหว่างคนกับช้างไว้ นักท่อง เที่ยวเข้าไปเก็บภาพความน่ารักของช้างได้จากด้านนอกลานพร้อมทั้ง สามารถเข้าไปป้อนอาหารให้ชา้ งได้เอางวงเกีย่ วมากินอย่างเอร็ดอร่อย ด้านหน้าของลานพักช้างใหญ่ คือ ลานพักช้างน้อย ลานนีถ้ อื เป็นจุดเด่น ของวังช้างแห่งนี้เลยก็ว่าได้ เพราะมีกิจกรรมให้นักท่องเที่ยงได้เล่นกับ ช้างแสนน่ารักมากมาย เมื่อเข้าไปจะมีเจ้าหน้าที่คอยต้อนรับ มีบริการ การถ่ายภาพกับช้าง ค่าบริการเพียงท่านละ 40 บาท หากไปในวันเสาร์ อาทิ ตย์ หรื อ วันหยุดนักขัตฤกษ์ จะได้ชมการโชว์ความสามารถของช้าง น้อยประกอบกับเสี ยงดนตรี มี คนพากษ์ และเสริ มด้วยกิ จกรรมลอด ท้องช้าง ให้เป็ นสิ ริมงคลส�าหรับผูม้ าเยือน เป็ นกิ จกรรมทีน่ า่ ตืน่ เต้นมาก กิ จกรรมหนึ่ง

วังช้างอยุธยา แล เพนียด ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที ่ 17 กุมภาพันธุ ์ พ.ศ. 2540 เดิมชือ่ ว่า ปางช้างอยุธยา แล เพนียด ได้เปลีย่ นชือ่ ใหม่เพือ่ เป็นสิรมิ งคลแก่ เจ้าของและสถานที่ วังช้างอยุธยา แล เพนียด ได้รับการสนับสนุนจากกรม ศิลปากร การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย โดยช่วงก่อตั้งนั้นเป็นช่วงวิกฤติ ช้าง ภาคเหนือถูกบังคับให้กินยาบ้าเพื่อให้ลากซุง แล้วขายช้างลงมาภาค กลางและภาคอีสาน ช้างแก่จ�านวนมาก ป่วย และตายลง วังช้างอยุธยา แล เพนียดและมูลนิธิพระคชบาล จึงตั้งมั่นในการอนุรักษ์และสืบสานสาย พันธ์ช้างไทยให้ยั่งยืน มีการจัดระบบ ระเบียบการเลี้ยงช้างที่ได้มาตรฐาน และเริ่มโครงการสืบสานสายพันธุ์ช้าง (วิวาห์ช้าง) เป็นครั้งแรกในโลก ซึ่ง ประสบความส�าเร็จโดยปัจจุบันมีลูกช้างที่เกิดที่เพนียดหลวงเป็นจ�านวน มาก

ข้อมูลและภาพ : FB : วังช้างอยุธยา แล เพนียด Ayutthaya Elephant Palace & Royal Kraal / changdee.com วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

89


ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพี ยง

ºŒÒ¹¢Í§¾‹Í 158 ม.2 ต.ภูเขาทอง อ.อยุธยา จ.อยุธยา 13000

บ่อยครั้งที่เราได้ยินค�าว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” มาเนิ่นนาน แต่ แต่จะ มีใครสักคนที่จะเข้าใจความหมายที่แท้จริงของค�านี้ที่เป็นปรัชญาและพระ จะดีแค่ไหนหากจะ ราชด�ารัสของในหลวง รัชกาลที ่ 9 ทีม่ แี ก่ปวงชนชาวไทย จะดี เปิดโอกาสให้เราได้เข้าไปเรียนรู้หลักเศรษฐกิจพอเพียง มีสถานที่สักที่หนึ่ง เปิ ด้วยตัวเอง จากพืน้ ทีว่ า่ งเปล่า สูสูก่ ารสร้างแหล่งเรียนรูเ้ กษตรทฤษฎีใหม่บน วิถีแห่งความพอเพียง ที่รอให้คุณไปเช็คอิน ก้าวตามรอยพ่อ ณ ศูนย์การเรี ยนรู้เศรษฐกิ จพอเพียงบ้านของพ่อ จ.อยุธยา เพียงแค่ชวั่ โมงเดียวจากกรุงเทพ สู ่ “บ้านของพ่อ” ชืชือ่ เรียกสัน้ ๆแต่ เข้าใจง่ายของศูนย์การเรียนรู้เน้นไปที่ “เศรษฐกิจพอเพียง” แห่งนี้ ด้วยจุด ตาม ประสงค์ทตี่ อ้ งการเผยแพร่ความรูเ้ กษตรทฤษฎีใหม่แก่ประชาชนทัว่ ไป ตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัรัชกาลที่ 9 โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทัง้ สิ้ น นอกจากโซนทางการเกษตรที่แล้ว ยังมีฐานกิจกรรมต่างๆ อยู่ ภายในพื้นที่กว่า 3.5 ไร่ ให้ผู้มาเยือนได้ร่วมท�ากิจกรรม ซึ่งเหมาะกับทั้ง

90

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

เด็กและผูใ้ หญ่ หรือแม้กระทัง่ การท�า กิจกรรมด้วยกันทั้งครอบครัว ได้แก่ ฐานกิจกรรมปักด�านา, ฐานกิจกรรม เลี้ ย งแพะและแกะ, ฐานกิ จ กรรม ปลาตะเพียนสาน, ฐานกิจกรรมไก่ ไข่ , ฐานกิ จ กรรมอาหารบ้ า นของ พ่อ, และฐานกิจกรรมบ้านของพ่อ บ้านของฉัน นอกจากจะสนุกไปกับ กิจกรรมในแต่ละฐานแล้ว ที่นี่ยังมี การจัดแสดงเกี่ยวกับโครงการพระ ราชด�าริมากมาย ทัง้ แปลงสาธิต การ เพาะพืชผักสวนครัวและผลไม้ การ เลี้ยงสัตว์ ซึ่งช่วยสร้างรายได้เสริม ให้กับชาวบ้านอีกหนึ่งช่องทาง และ ทีส่ า� คัญทีน่ ยี่ งั มีคาเฟ่เล็กๆ ให้บริการ ทัง้ เครือ่ งดืม่ และของหวาน ท�าให้คณ ุ ใช้เวลาอยูท่ นี่ ไ่ี ด้ตลอดทัง้ วันโดยไม่รู้ สึกเบื่อเลย ข้อมูลและภาพ : FB : ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านของพ่อ / thailandtourismdirectory.go.th

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

91


วัดนิเวศน์ธรรมประวัติ วัดนิเวศธรรมประวัติ ตั้ง อยู่บนเกาะกลางแม่น�้าเจ้าพระยา ด้านทิศใต้คนละฝั่งกับพระราชวัง พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างเลียนแบบ โบสถ์ฝรั่ง เมื่อ พ.ศ.2421 ด้านหน้า พระประธานจะเห็นภาพประดิษฐ์ กระจกสีเป็นพระบรมฉายาลักษณ์ ของรัชกาลที่ 5 ด้านขวามือของพระ อุ โ บสถนั่ น มี ห อแห่ ง หนึ่ ง คื อ หอ ประดิษฐานพระคันธารราษฎร์ เป็น กอประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธศิ ล าเก่ า แก่ปางนาคปรก อันเป็นพระพุทธ

92

รู ป สมั ย ลพบุ รี ฝ ี มื อ ช่ า งขอมอายุ เก่าแก่นับพันปี นอกจากนี้วัดนิเวศ ธรรมประวั ติ ยั ง มี ก ารตกแต่ ง ท� า แบบโกธิค มีกระจกสีประดับอย่าง สวยงามภายในเป็นแบบฝรั่ง แม้แต่ ฐานที่ประดิษฐานพระประทานคือ พระพุทธนฤมลธรรโมภาสและพระ สาวกก็ไม่ได้ท�าเป็นฐานชุกชีอย่าง ในโบสถ์ทั่วไป แต่ท�าเหมือนที่ตั้งไม้ กางเขนในโบสถ์คริสต์ชอ่ งหน้าต่างที่ เจาะ ไว้ก็เป็นหน้าต่างโค้ง ที่ฝาผนัง โบสถ์

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

60 หมู ่ 12 ต.บ้านเลน อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา 13160


คู่มือ….อยุธยา

การเดินทางไปยังวัดนิเวศธรรมประวัติ ราชวรวิหาร การเดินทางมายังวัดนิเวศธรรมประวัตนิ นั้ สามารถท�าได้หลายทาง เช่น การเดิ นทางโดยรถยนต์ ส่วนตัว ถ้ามาจากกรุงเทพฯ ให้มาตามถนน พหลโยธิน เมือ่ ถึงประตูนา�้ พระอินทร์ ให้ขา้ มสะพานวงแหวนรอบนอก หลัง จากนั้น ให้เลี้ยวซ้ายบริเวณกิโลเมตรที่ 35 สู่ทางหลวงหมายเลข 308 อีก ประมาณ 7 กิโลเมตรก็จะถึงพระราชวังบางปะอิน ให้สังเกตว่าที่จอดรถวัด นิเวศธรรมประวัติจะอยู่ติดกับที่จอดรถของพระราชวังบางปะอิน เมื่อจอด รถแล้วสามารถขึ้นกระเช้าไฟฟ้า ข้ามแม่น�้าเจ้าพระยาไปยังวัดนิเวศธรรม ประวัติ การเดิ นทางโดยรถโดยสารประจ� าทาง ถ้ามาจากกรุงเทพฯ สถานี ขนส่งสายเหนือ นัง่ รถสายกรุงเทพฯ-บางปะอิน มาลงทีบ่ ขส.บางปะอิน (สุด สาย) จากนัน้ นัง่ รถสามล้อเครือ่ งไปลงบริเวณทีจ่ อดรถวัดนิเวศธรรมประวัต ิ แล้วขึ้นกระเช้าไฟฟ้า ข้ามแม่น�้าเจ้าพระยาไปยังวัดนิเวศธรรมประวัติ นอกจากนี้ ยั งสามารถเดิ น ทางโดยรถไฟ มาลงที่ ส ถานี ร ถไฟ อ�าเภอบางปะอิน หรือเดินทางโดยรถโดยสารประจ�าทาง มาลงที่จังหวัด พระนครศรีอยุธยา แล้วต่อรถโดยสารไปลงบริเวณที่จอดรถวัดนิเวศธรรม ประวัติแล้วสามารถขึ้นกระเช้าไฟฟ้า ข้ามแม่น�้าเจ้าพระยาไปยังวัดนิเวศ ธรรมประวัติ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

93


ÇÑ´ ¹Ñ¡ºØÞ ÂÍá«¿ เลขที่ 30 หมู่ 11 ต.ส�าเภาล่ม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org

94

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

วั ด นั ก บุ ญ ยอแซฟ ส ร ้ า ง ม า ตั้ ง แ ต ่ ส มั ย ก รุ ง ศรีอยุธยา เมื่อปี แยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต กับบาทหลวงอีก 2 องค์ ได้เข้ามาทูลขอสร้างโบสถ์ คริสต์และโรงเรียน สมเด็จพระ นารายณ์จึงทรงพระราชทาน ที่ ดิ น แปลงหนึ่ ง ให้ ซึ่ ง เป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ในสมั ย นั้ น ว่ า “ค่ า ย นักบุญยอแซฟ” จนถึงการเสีย กรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง โบสถ์ ได้ถูกเผาท�าลายและถูกปล้น สะดมทรั พย์ สิ น ไปหมด บาท หลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว จึง ได้กลับมาบูรณะวัดอีกครั้ง ใน ปี พ.ศ. 2374 และโบสถ์หลัง ปัจจุบันคือในสมัยคุณพ่อแปร์ โร ที่ ไ ด้ ท� า พิ ธี เ สกในวั น ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2426 โบสถ์ ได้ท�าการบูรณะครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2547 ปั จจุบนั ตัวโบสถ์ หลังนีม้ ี อายุกว่า 134 ปี


คู่มือ….อยุธยา

¾Ø·¸ÍØ·ÂÒ¹ÁËÒÃÒª

พุทธอุทยานมหาราช แต่ เดิม พื้นที่บริเวณนี้ในอดีต เป็นเส้น ทางเดินทัพของสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ด้วยเหตุนี้เองจึงเป็นที่มา ของชื่ อ “พุ ท ธอุ ท ยานมหาราช” ภายในบริ เ วณได้ ส ร้ า งรู ป เหมื อ น ของพระสงฆ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน โลก คือ สมเด็จหลวงพ่อทวดเหยียบ น�้าทะเลจื ด เป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ เส้ น ทางเดิ น ทั พ ของสมเด็ จ พระ นเรศวรมหาราช จึงได้ตงั้ ชือ่ โครงการ เป็น “พุทธอุทยานมหาราช” เพื่อ ความเป็นสิริมงคลจากความตั้งใจ ของ นายวั ช รพงศ์ ระดมสิ ทธิ พัฒน์ ประธานมู ลนิ ธิพระเทวราช โพธิ ส ัต ว์ ร่ ว มกับ คณะสงฆ์ ได้ มี แนวคิดที่จะด�าเนินการที่จะด�าเนิน โครงการให้ส�าเร็จ จึงได้ท�าการซื้อ ที่ดินจ�านวน 200 ไร่ เพื่อสร้างวัด และโรงเรียนในพื้นที่เดียวกัน และ ทางวั ด ตั้ ง ใจว่ า จั ด โครงการนี้ เ พื่ อ

ËÅǧ»Ù†·Ç´

เป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมชินีนาถ ปัจจุบันนี้ได้ตั้ง เป็นวัดแล้ว ชื่อ “วัดวชิธรรมาราม” โดยมีเจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต รักษาการเจ้าอาวาสรูปแรก

ข้อมูลและภาพ : FB : ตลาดหลวงปู่ทวด อยุธยา / thailandtourismdirectory.go.th thailandtourismdirectory.go.th วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

95


หมู่บ้าน

ญี่ปุ่น 25/3 หมู่ 7 ต.เกาะเรียน อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

96

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

หมู่ บ้ า นญี่ ปุ่ นเป็ น ชุ ม ชนชาวญี่ ปุ ่ น ในกรุงศรีอยุธยานั้นเริ่มมีขึ้นราวสมัยสมเด็จ พระมหาธรรมราชา ช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 21 โดยเริ่มต้นมาจากชุมชนเล็กๆ ของพ่อค้า เรื อ ส� า เภาชาวญี่ ปุ ่ น ซึ่ ง ภายในหมู ่ บ ้ า นนั้ น สันนิษฐานว่ามีชาวญี่ปุ่นอยู่ 3 กลุ่มด้วยกัน คือ พ่อค้าโรนินหรือนักรบญี่ปุ่นที่เข้ามาเป็น ทหารอาสาญี่ปุ่นในอยุธยา และชาวญี่ปุ่นที่ นับถือศาสนาคริสต์ เดินทางออกจากญี่ปุ่นเพื่อ เสรีภาพในการนับถือศาสนา ต่อมาได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก พระมหากษัตริยพ์ ระราชทานทีด่ นิ ให้ตงั้ หมูบ่ า้ น ที่ตั้งของหมู่บ้านญี่ปุ่นนี้ก็อยู่ในบริเวณที่ตั้งเดิม ของชุมชนชาวญี่ปุ่นเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา ที่ตั้ง อยู่ทางฝั่งตะวันออก ริมแม่น�้าเจ้าพระยาทาง ตอนใต้ของเกาะเมือง โดยในสมัยนั้น ฝั่งตรง ข้ามแม่น�้าเป็นชุมชนชาวโปรตุเกส ส่วนที่ติด กับด้านเหนือของหมู่บ้านญี่ปุ่นจะมีคลองเล็กๆ


คู่มือ….อยุธยา

คั่ น เป็ น ชุ ม ชนอั ง กฤษและชุ ม ชน ฮอลันดา • นิทรรศการยามาดะ นางามา ซะ (ออกญาเสนาภิมุข) และท้ าว ทองกีบม้ า • แสดงอยู ่ ใ นอาคารริ ม น�้ า ภายในจะมี เ รื่ อ งราวของยามาดะ นางามาซะ ขุนนางชาวญี่ปุ่นในราช ส�านักอยุธยา เป็นหัวหน้าชาวญี่ปุ่น และเจ้ากรมอาสาญี่ปุ่นในรัชสมัย สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ต่อมาได้ รับการแต่งตั้งให้เป็นออกญาเสนาภิ มุข ออกญาเสนาภิมุข มี บทบาทใน การเชือ่ มสัมพันธ์ทางการค้าระหว่าง ไทยและญี่ปุ่น ได้รับการยกย่องใน ความซื่อสัตย์จงรักภักดีต่อพระมหา กษัตริย์ผู้เป็นเจ้านาย และมีการจัด แสดงรูปปั้นของออกญาเสนาภิมุข ท้าวทองกีบม้า (มารี ดอญา กีมาร์ เดอ ปีนา) ซึ่งเป็นชาวอยุธยาลูกครึ่ง เชือ้ สายโปรตุเกส-ญีป่ นุ่ อาศัยอยูใ่ น หมู่บ้านโปรตุเกส ต่อมาได้สมรสกับออกญา วิ ช าเยนทร์ หรื อ คอนสแตนติ น ฟอลคอน (เสนาบดีกรมท่าในสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช) โดย ในช่วงปลายชีวิตได้เข้ารับราชการ ในต�าแหน่งท้าวทองกีบม้า หัวหน้า พนักงานวิเสทกลาง (ครัว) ดูแลของ หวานแบบเทศ และได้รบั การยกย่อง ว่ า เป็ นต้ น ต� า รั บ ขนมตระกู ล ทอง ไม่ว่าจะเป็ น ทองหยิ บ ทองหยอด ฝอยทอง ซึ่ งได้รับอิ ทธิ พลมาจาก อาหารของโปรตุเกสนัน่ เอง

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

97


ในสมัยอยุธยา ชาวสยาม ใช้ ค� า ว่ า “วิ ลั น ดา” หมายถึ ง เนเธอร์แลนด์หรือชาวดัตช์ มาจาก ค�าภาษามลายูวา่ “โอรังเบอลันดา” หมายถึ ง ชาวดั ต ช์ ใ นชวาและที่ อื่นๆ ในหมู่เกาะอินเดียตะวันออก (อินโดนีเซียในปัจจุบัน) ค�าว่า “เบอ ลั น ดา” เองอาจมาจากค� า ภาษา โปรตุเกสว่า “ออลันดา” (ฮอลแลนด์) ช า ว วิ ลั น ด า ห รื อ ช า ว ฮอลันดานั้นเป็นชาวต่างชาติท่ีเข้า มาเจริ ญ สั ม พั น ธไมตรี กั บ สยาม อย่างเป็นทางการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2147 (ค.ศ. 1604) ตรงกับปลาย ช่วงรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ต่อมาใน พ.ศ. 2151 (ค.ศ. 1608) จึงได้รบั พระบรมราชานุญาต จากสมเด็ จ พระเอกาทศรถให้ ตั้ ง

98

หมูบ ่ า้ น

ฮอลันดา ถนนป่าโทน ซอยคานเรือ ต.หอรัตนไชย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / baanhollanda.org / museumthailand.com / FB : บ้านฮอลันดา : Baan Hollanda

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

สถานีการค้าแห่งแรก ซึ่งเชื่อว่าตั้ง อยู่ทางด้านใต้ภายในเกาะเมือง แต่ มีพื้นที่จ�ากัด ใน พศ. 2177 (ค.ศ. 1634) สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ทรงตอบแทนการที่ วี โ อซี (VOC หรื อ Dutch East India Company) ให้ความช่วยเหลือทางการ ทหารด้วยการส่งเรือไปช่วยกองทัพ สยามในกรณีพพิ าทกับปัตตานี โดย พระราชทานที่ ดิ น ผื น ใหญ่ ส�า หรั บ ก่ อ ตั้ ง สถานี ก ารค้ า ซึ่ ง ติ ด แม่ น�้ า เจ้ า พระยาและอยู ่ น อกเกาะเมื อ ง สะดวกต่อการขนถ่ายสินค้าขึ้นลง เรือเป็นอย่างมาก บ้านฮอลันดาในปั จจุบนั ได้ ถูกสร้ างขึ้ นใหม่เพื อ่ เป็ นศูนย์ ข้อมูล

ประวัติศาสตร์ ระหว่างราชอาณาจักร ไทยและราชอาณาจักรเนเธอร์ แลนด์ บอกเล่าความเป็นมาเมื่อครั้งอดีต ของการเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานการท�าการ ค้ า และวิ ถี ค วามเป็ น อยู ่ ข องชาว ฮอลั น ดาในประเทศไทย รวมถึ ง ความสั ม พั น ธ์ กั บ ชาวไทย บ้ า น ฮอลันดาตั้งอยู่บนพื้นที่ซึ่งครั้งหนึ่ง เคยเป็นที่ตั้งของสถานีการค้าบริษัท อิ น เดี ย ตะวั น ออกของฮอลั น ดา (หรือเรียกว่า เฟโอเซ) และชุมชนที่ ประกอบด้วยชาวฮอลันดาและผู้คน เชื่อชาติอื่น ในวาระเฉลิ ม ฉลอง 400 ปี ความสัมพันธ์ ไทย-เนเธอร์ แลนด์ เมื ่อ ปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004)

สมเด็จพระราชิ นีนาถเบี ยทริ กซ์ แห่ง เนเธอร์ แลนด์ และเจ้าชายวิ ลเลม-อ เล็กซานเดอร์ เจ้าชายแห่งออเรนจ์ เสด็ จพระราชด� าเนิ นพร้ อมสมเด็ จ พระกนิ ษฐาธิ ราชเจ้ า กรมสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ทรงเยื อนที ่ตงั้ ของบ้าน ฮอลันดาซึ่ งกรมศิ ลปากรได้ท�าการ ขุดค้นและขุดแต่งส่วนทีเ่ หลืออยูข่ อง สถานีการค้าวีโอซี สมเด็จพระราชิ นี นาถเบี ยทริ กซ์ พระราชทานพระราช ทรั พ ย์ ส่ ว นพระองค์ เ พื ่อ การก่ อ ตัง้ ศูนย์ ข้อมูลและจัดแสดงนิ ทรรศการ เป็ นอนุสรณ์ แสดงสัมพันธภาพอัน ยัง่ ยืนระหว่างสองประเทศ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

99


ทุ่งบัวแดง

บ้านคลองทราย

ทุ่งบัวแดง OTOP นวัตวิถี บ้านคลองทราย-คลองจิก ดอกบัว แดงนับหมื่นนับแสนต้น พากันบานสะพรั่งสดใสรับแสงแดด ท่ามกลาง ผืนน�า้ ขนาดประมาณ 15 ไร่ เวลาทีเ่ หมาะกับการชมทุ่งบัวแดงคือ 06.00 – – 10.00 น. หลั งจากนัน้ บัวจะหุบ โดยนัง่ เรือไม้ทมี่ ใี ห้พายเล่นฟรี ลัดเลาะ ไปตามเส้นทางชมดอกบัว หรือจะยืนรับลมเย็นๆ ถ่ายรูปบัวแดงจากบน สะพานไม้ก็ได้ ข้อมูลและภาพ : th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org

100

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

พิชิตโรคที่มากับ

น อ ้ ร า ้ หน ช่วงฤดูรอ้ นนีผ้ คู้ นมักเจ็บป่วยกันง่าย ยิง่ ถ้าเป็นช่วง ที่มีวันหยุดต่อเนื่องยาวนานหลายวัน ประชาชนส่วนใหญ่ ต่างพากันเดินทางกลับภูมิล�าเนาหรือท่องเที่ยวกัน เรียกว่า คับคัง่ หนาตามากกว่าเทศกาลอืน่ ๆ ช่วงนีเ้ องทีม่ กั ท�าให้เกิด โรคจากน�า้ ดืม่ และอาหารไม่สะอาด รวมถึงโรคอืน่ ๆ ทีม่ ากัน ไม่ขาด มารู้จักกับโรคที่มากับหน้าร้อนก่อนเกิดขึ้นดีกว่า

1. โรคอุจจาระร่วง เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส หรือโปร โตซัว ตกค้างอยู่ในอาหารที่ไม่สะอาดพอ สุกๆ ดิบๆ หรือบูดเสีย ท�าให้เกิดปัญหาท้องเสีย ส่วน ใหญ่ที่ติดเชื้อจะไม่มีอาการหรือมีไม่มาก แต่ใน รายทีต่ ดิ เชือ้ รุนแรงอาจเสียชีวติ ได้ในเวลาไม่นาน หลังเกิดอาการ เช่น อหิวาตกโรค เนื่องจากมีการ สูญเสียของน�้าและเกลือแร่ในปริมาณมาก หาก มีอาการท้องเสียควรทดแทนด้วยน�้าและเกลือแร่ ที่สูญเสียไปกับการถ่ายอุจจาระและการอาเจียน แต่หากรุนแรงต้องให้ทางเส้นเลือดควบคู่กับการ ใช้ยาปฏิชีวนะ แต่หากมีโรคประจ�าตัวอื่นๆ อยู่ ด้วย เช่น โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง ไตวาย ควร พบแพทย์เพราะการดืม่ เครือ่ งดืม่ เกลือแร่เอง หาก มากเกินไป อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้เช่นกัน

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

101


2. โรคอาหารเป็นพิ ษ เป็นโรคทางเดินอาหารที่พบบ่อยมาก ติดต่อ โดยการรับประทานอาหารหรือน�า้ ดืม่ ทีม่ สี ารพิษ (toxin) ทีส่ ร้างจากเชือ้ โรคบางชนิดเข้าไป ส่วนใหญ่มกั มีอาการ คลืน่ ไส้อาเจียน บางรายอาจมีถา่ ยเหลวเป็นน�า้ มักไม่มี ไข้ หายได้เอง แต่ถ้าเป็นมากต้องได้รับน�้าเกลือเสริม อาจดื่มหรือให้ทางเส้นเลือดแล้วแต่ความรุนแรง 3. โรคระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ ปอดบวม ปวดหัว ตัวร้อน ไอจาม ทัง้ นีเ้ พราะอากาศเปลีย่ นไปมา หรืออยู่ ในทีท่ อี่ ากาศถ่ายเทไม่ด ี ร่วมกับร่างกายทีอ่ อ่ นแอ แต่ถา้ ภูมติ า้ นทานแข็งแรงดี เราจะไม่ปว่ ยง่าย เมือ่ รูส้ กึ ตัวว่า เป็นหวัด ให้พกั ผ่อน ดืม่ น�า้ อุน่ ให้มากๆ ถ้าตัวร้อนให้ใช ้ ผ้าขนหนูชบุ น�า้ คอยประคบระบายความร้อนออก และ แยกนอนร่วมกับผู้อื่น หากยังไม่ดีขึ้นควรไปพบแพทย์ ในบางกรณี น�า้ มูกอาจเปลีย่ นเป็นสีเหลืองหรือเขียวได้ ซึ่งมักเป็นจากการมีการติดเชื้อแบคทีเรียซ�้าเติม อาจ ต้องกินยาปฏิชีวนะร่วมด้วย

4. โรคผิวหนัง ได้แก่ เม็ดผดผืน่ คัน ป้องกันได้ดว้ ยการอาบน�า้ ช�าระร่างกายและรักษาความสะอาดบ่อยๆ หลีกเลี่ยง การสัมผัสน�้าสกปรก หรือ น�้าที่ไม่สะอาด

102

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

5. โรคเครียด ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งที่พบบ่อยในหน้าร้อน ท�าให้ เกิดอาการปวดศีรษะ นอนไม่หลับ โมโหง่าย หงุดหงิดง่าย จนกระทบไปถึงความสัมพันธ์กบั บุคคลรอบข้าง และอาจ ท�าให้เกิดทะเลาะกันง่ายขึน้ วิธคี ลายเครียดง่ายๆ คือ หนี ร้อนไปอยูใ่ นทีท่ มี่ อี ากาศเย็นสบาย เช่น ในห้องแอร์ ใต้รม่ ไม้ หรือหางานอดิเรกท�า ฝึกสมาธิ เป็นต้น 6. โรคที่เกิดจากสัตว์เลี้ยง โรคพิษสุนัขบ้า หรือโรคกลัวน�้า เป็นโรคติดต่อ ร้ายแรงชนิดหนึง่ ทีแ่ พร่ระบาดทุกปี ส่งผลให้มผี เู้ สียชีวติ จากโรคนีป้ หี นึง่ ๆ ไม่นอ้ ย ทัง้ ทีม่ วี คั ซีนป้องกันแล้ว แต่ยงั มีผเู้ สียชีวติ จากโรคนีอ้ ยูด่ ี โดยมีพาหะหลักจากสุนขั ทีน่ า� เชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งอาจกัด ข่วน หรือเลียผิวหนัง คนมีแผล ที่ส�าคัญ เชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้านี้ เมื่อปรากฏ อาการของโรคจะเสียชีวิตทุกราย แต่ป้องกันได้ด้วยการ ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนขั บ้า หากถูกสุนขั ทีส่ งสัยอาจมี เชือ้ โรคพิษสุนขั บ้ากัด ข่วน หรือเลียผิวหนังดังนัน้ ผูเ้ ลีย้ ง สุนัข จึงควรน�าสุนัขรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัข บ้าทุกปี โดยเฉพาะช่วงหน้าร้อน เพือ่ ความปลอดภัยของ ตัวท่านเองและคนรอบข้าง


ท�าอย่างไร

ให้ร้อนนี้

มีสุขภาพ

´Õ

คู่มือ….อยุธยา

1. เลือกบริโภคอาหาร น�า้ ดื่ม และ นม โดยพิถพี ถิ นั ความสด ใหม่ สะอาด หมั่นสังเกตสินค้าที่อาจหมดอายุ ซึ่ง เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อสุขภาพและ ชีวติ ผูบ้ ริโภค ทีส่ า� คัญ แหล่งท่องเทีย่ ว ตามชายทะเล มีการขายอาหารสด ทั้ง ส้มต�า ลาบ น�้าตก อาหารทะเลสดที่ อาจปนเปื้อนน�้ายาฟอร์มาลีนจากผู้ ขายทีข่ าดความรับผิดชอบ ฯลฯ เหล่านี ้ ยิ่งต้องระวังให้มาก มิฉะนั้นท่านอาจ ต้อ งนอนซมด้วยพิ ษ ไข้ จากท้ องร่ ว ง ท้องเสีย อาหารเป็นพิษ อาจถึงขัน้ หาม ส่งโรงพยาบาลหรือเสียชีวิต 2. ฟิ ตร่ างกายให้ ส มบู ร ณ์ แข็งแรง หมัน่ ออกก�าลังกายสม�า่ เสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 2-3ครั้งๆ ละ 30 นาที การออกก�าลังกายช่วงหน้าร้อน ไม่ควรหักโหมจนเกินไป ที่ส�าคัญควร พักเหนือ่ ยบ่อยๆ เป็นระยะๆ ซงึ่ การออก ก�าลังกายนัน้ จะท�าให้ร่างกายหลั่งสาร แห่งความสุขทีเ่ รียกว่า สารเอนดอร์ ฟิน ออกมา ท�าให้นอนหลับสบายหลับนาน ร่างกายได้พักผ่อนเต็มที่ และดื่มน�้า สะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว เพื่อ ทดแทนเหงื่อที่สูญเสียไป นอกจากนี้ ควรเลือกเสื้อผ้าบางเบา ระบายความ ร้อนได้ดี สีอ่อน ไม่อมความร้อน เช่น ผ้าฝ้าย 3. ปรั บสภาพแวดล้ อมใน ที่พักอาศัยให้ เหมาะสม เช่น ที่พัก อาศัยไม่มแี อร์ ใช้วธิ เี ปิดประตูหน้าต่าง

มากบานที่สุด เพื่อให้อากาศร้อน ระบายถ่ายเทได้ดี ทั้งนี้ต้องค�านึง ถึ ง ความปลอดภั ย มากที่ สุ ด ด้ ว ย โดยเฉพาะยามค�่ า คื น ให้ พ ้ น จาก โจรขโมย ส่ ว นที่ พั ก ที่ มี แ อร์ ก ่ อ น เปิดเครื่อง ควรเปิดประตูหน้าต่าง ระบายอากาศร้อนออกก่อน 1 ชัว่ โมง หรืออย่างน้อย 30 นาที เพือ่ ประหยัด เงินในกระเป๋าคุณและพลังงานในยุค รัฐบาลเร่งรณรงค์ให้คนไทยประหยัด 4. ควรหลีกเลี่ยงการออก นอกบ้ าน หรืออยู่กลางแดดในวัน ที่อากาศร้ อนจัดจ้ าน โดยเฉพาะ ช่ ว งเวลาอากาศร้ อ นมากถึ ง ร้ อ น สูงสุดระหว่าง 10.00-15.00 น. แต่ หากจ�าเป็นต้องออกในช่วงเวลาดัง กล่าว ขอแนะน�าให้ดื่มน�้าสะอาด เย็นๆ สัก 1-2 แก้ว จากนั้นควรหา โอกาสดื่มน�้าอีก เพื่อทดแทนน�้าใน ร่างกายที่สูญเสียไปกับเหงื่อ การ ปฏิบัติเช่นนี้จะเป็นผลดีต่อร่างกาย ช่วยให้ไม่อ่อนเพลียและท�าธุระนอก บ้านได้อย่างปลอดภัย 5.งดดื่ ม เครื่ องดื่ ม แอล กอฮอล์ ทกุ ประเภท โดยเฉพาะผู้ที่ มีโรคประจ�าตัวอยู่ก่อนแล้ว เช่น โรค ความดันโลหิตสูง หรือโรคหัวใจ ยิ่ง อากาศร้อนอบอ้าวมาก แอลกอฮอล์ จะซึมผ่านเข้าสู่กระแสเลือดอย่าง เร็ว ท�าให้แรงดันโลหิตสูงขึน้ กว่าช่วง อากาศหนาวเย็นหรือช่วงปกติ การ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาจท�าให้ ร่างกายปรับสภาพไม่ทันถึงขั้นเกิด ภาวะช็อกได้ ถ้ าปฏิบัตไิ ด้ ครบทั้ง 5 ข้ อ ไม่ เพี ย งสนุ กกั บหน้ าร้ อนนี้ สุขภาพก็ดอี ีกด้ วย

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

103


à·ÕèÂÇÍ‹ҧäÃ...ãËŒ

การ์ด

äÁ‹µ¡ จากการแพร่ระบาดของ โควิด รอบใหม่ ในประเทศไทยของเรา ท�าให้ สายเที่ยวทั้งหลายที่วางแผนไปเที่ยวกัน ไว้ ก็มคี วามนอยด์ไปตามๆ กัน ส�าหรับใคร ที่ยังจ�าเป็นต้องเดินทางอยู่ เรามี 12 วิธ ี ป้องกันโควิดเมือ่ ไปเทีย่ วมาฝาก เดินทาง ยังไงให้ไม่เสี่ยงโควิด ที่สายเที่ยวทุกคน ต้องรู้ งานนี้เที่ยวได้แต่การ์ดอย่าตก! มา ดูกันได้เลย 1. อัพเดทข้อมูลข่าวสารการระบาดของโควิค19 จาก ศูนย์ข้อมูล COVID-19 (ศบค.) ว่าพื้นที่ที่จะ เดินทางไปมีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใดต่อการติดเชื้อ 2. ควรฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ เพื่อสร้าง ภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย

104

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564


คู่มือ….อยุธยา

3. สวมหน้ากากอนามัยในทุกที่ โดยเฉพาะแหล่งชุมชน สนามบิน หรือ บนเครื่องบินขณะเดินทาง 4. ใช้รถยนต์ส่วนตัวเดินทาง ปลอดภัยกว่าการเดินทางด้วยขนส่ง สาธารณะ แต่หากมีความจ�าเป็นต้องใช้บริการรถสาธารณะ หรือ เครือ่ งบิน ต้องใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลา รวมถึงพยายามเลีย่ งการสัมผัสตามจุด ต่างๆ 5. พกแอลกอฮอล์เจลล้างมือ หรือสเปรย์แอลกอฮอล์ลา้ งมือ ตลอด เวลา และใช้ทุกครั้งเมื่อมีการสัมผัสตามสถานที่ต่างๆ โดยล้างมือด้วย แอลกอฮอล์เจลล้างมือ อย่างน้อย 20 วินาที 6. เช็คอิน แอป ไทยชนะ และ หมอชนะ ก่อนเข้าสถานที่ท่องเที่ยว ต่างๆ และหลีกเลี่ยงการอยู่ในแหล่งชุมชน สถานที่ที่มีผู้คนแออัด 7. Social Distancing เดินเว้นระยะห่างจากคนข้างหน้า 2 เมตร เพื่อลดโอกาสสัมผัส 8. รับประทานอาหารปรุงสุกร้อน หลีกเลี่ยงอาหารที่ต้องใช้มือจับ 9. หากเข้าห้องน�้าสาธารณะ ต้องไม่จับบริเวณที่กดน�้าในห้องน�้า โดยตรง ควรใช้ทิชชู่ครอบที่กดน�้าก่อนใช้มือสัมผัส เพราะบริเวณที่กดน�้า ในห้องน�้า เป็นจุดที่สะสมของเชื้อโรคได้ง่าย 10. หลีกเลี่ยงการสัมผัส ลิฟต์ บันไดเลื่อน ราวบันได ให้ใช้ข้อนิ้ว ด้านหลังในการกดปุม่ ลิฟต์แทน เป็นต้น และรีบล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล 11. เลือกเข้าพักโรงแรมที่สะอาด ได้มาตรฐาน 12. เมื่อกลับมาจากการเดินทาง กักตัวเองอย่างน้อย 14 วัน ควร เข้ารับการตรวจเช็คร่างกาย และไม่อยูร่ ว่ มกับคนอืน่ ในครอบครัวทีไ่ ม่ได้ไป เทียวกับเรา โดยเฉพาะผู้สูงอายุ และเด็ก 13. หากมีอาการป่วยทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกับอาการของโรคโควิด-19 ควรรีบพบแพทย์ หรือ ติดต่อ สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร.1422 ทันที อย่างไรก็ตาม จากการแพร่ระบาดของ โควิด รอบ ใหม่ในประเทศไทยของเรานั้นก็ถือว่า รุนแรงกว่ารอบเก่า เพราะฉะนั้น ส�าหรับใครที่ยังจ�าเป็นต้องเดินทางอยู่ หรือ ไปเที่ยวได้แต่การ์ดอย่าตก ต้องเตรียมตัวในการเดินทาง ให้ไม่เสี่ยงโควิด

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

105


บ้านฟ้าเคียงดาว บ้านฟ้าเคียงดาว 2 เสนา

» ตั้งอยูท่ี ต.บ้านแถว อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา » อยู่ใกล้โรงพยาบาล โรงเรียน สถานที่ราชการ ธนาคารและตลาดสด เสนา หรือถ้าชอบทําบุญ ก็อยูใกล้วัดเจ้าเจ็ด วัดบางนมโค » การเดินทางสะดวกสบาย มีถนนตัดผ่านหมู่บ้านหลายสาย เชื่อมต่อ กรุงเทพฯ ใช้เวลาเดินทางประมาณหนึ่งชั่วโมง เส้นอยุธยา-บางลี่สุพรรณ (เส้นทางหลวงหมายเลข 3111) หรือเส้นปทุม-สามโคก-เสนา

บ้านเดี่ยวชั้นเดียว (หลังสุดท้าย) ทาวน์เฮาส์ 2 ชั้น • พื้ นที่ 70 ตร.วา • จอดรถได้ 2 คัน

• 3 ห้องนอน 2 ห้องนํา้ 1 ห้องครัว

ราคา 2.89 ล้านบาท

• พื้ นที่ 25 ตร.วา • 2 ห้องนอน 2 ห้องนํา้ 1 ห้องครัว • จอดรถได้ 1 คัน

เริ่มต้น 2.09 ล้านบาท

บ้านฟ้าเคียงดาว 6 เสนา โครงการบ้านฟ้าเคียงดาว 6 เสนา ตั้งอยู่ท่ี ต.เจ้าเจ็ด อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา » อยู่ใกล้โรงพยาบาล โรงเรียน สถานที่ราชการ ธนาคาร และตลาดสดเสนา อยู่ใกล้วัดเจ้าเจ็ด วัดบางนมโค » การเดินทางสะดวกสบาย มีถนนตัดผ่านหมู่บ้านหลายสาย เชื่อมต่อกรุงเทพฯ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง เส้นอยุธยา-บางลี่สุพรรณ (เส้นทางหลวงหมายเลข 3111) หรือเส้นปทุม-สามโคก–เสนา

ทาวน์เฮาส์ 2 ชั้น

106

• พื้ นที่ 22 ตร.วา • 2 ห้องนอน 2 ห้องนํา้ 1 ห้องครัว • จอดรถได้ 1 คัน

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

ราคา 2.59 ล้านบาท


คู่มือ….อยุธยา

“บ้านหรู อยู่สบาย วัสดุเกรดเอ ท�าเลดี

บ้านฟ้าเคียงดาว

ในราคาที่คุณเป็นเจ้าของได้”

baanfahkiangdao

baanfahkiangdao @qje27521 085-3659999

บ้านเดี่ยว 2 ชั้น • พื้ นที่ 60.2 ตร.วา

บ้านฟ้าเคียงดาว 9 สี่ร้อย

• จอดรถได้ 2 คัน

• 3 ห้องนอน 2 ห้องนํา้ 1 ห้องครัว

ราคา 3.29 ล้านบาท

โครงการบ้านฟ้าเคียงดาว 9 สีร ่ อ ้ ย ตัง ่ ่ี ต.สีร ่ อ ้ ย อ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง ้ อยูท » อยู่ใกล้วัดสี่ร้อย เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เก่าแก่ทางประวัติศาสตร์ ตลาดสด ร้านสะดวกซื้อ » การเดินทางสะดวกสบาย เส้นทางหลวงหมายเลข 3454 (วิเศษชัยชาญ-ผักไห่) เชื่อมทางติดต่อ เข้าไปยังตัวเมืองอ่างทอง สุพรรณบุรี

บ้านเดี่ยวชั้นเดียว • พื้ นที่ 60.2 ตร.วา • 3 ห้องนอน 2 ห้องนํา้ 1 ห้องครัว • จอดรถได้ 2 คัน

เริ่มต้น 2.49 ล้านบาท

บ้านฟ้าเคียงดาว 6 ป่าโมก

โครงการบ้านฟ้าเคียงดาว 6 ป่าโมก ตั้งอยู่ท่ี อ.ป่าโมก จ.อ่างทอง » อยูต ่ รงข้ามทางเข้าวัดพายทอง ติดถนนใหญ่ ถนนสายหลักห่างจาก ตัวเมืองอ่างทองประมาณ 6 กิโลเมตร อยู่บนถนนอยุธยา–ป่าโมก– อ่างทอง » การเดินทางสะดวก สบาย จากกรุงเทพมหานครใช้เวลาประมาณ ชั่วโมงกว่าๆ ก็ถึงแล้ว

ทาวน์เฮาส์ 2 ชั้น • พื้ นที่ 31 ตร.วา • จอดรถได้ 1 คัน

• 3 ห้องนอน 2 ห้องนํา้ 1 ห้องครัว

ราคา 2.09 ล้านบาท

บ้านเดี่ยว 2 ชั้น

บ้านเดี่ยวชั้นเดียว

• พื้ นที่ 56 ตร.วา • 3 ห้องนอน 2 ห้องนํา้ 1 ห้องครัว

• พื้ นที่ 56 ตร.วา • 3 ห้องนอน 2 ห้องนํา้ 1 ห้องครัว

• จอดรถได้ 2 คัน

• จอดรถได้ 2 คัน

เริม ่ ต้น 3.29 ล้านบาท

ราคา 2.49 ล้านบาท

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564

107











Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.