Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
สายด่วน โควิด-19 โรงพยาบาลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำ�นักง�นบริก�รส�ธ�รณสุข จังหวัดพระนครศรีอยุธย� โรงพย�บ�ลบ�งบ�ล โรงพย�บ�ลล�ดบัวหลวง โรงพย�บ�ลบ�งซ้�ย โรงพย�บ�ลบ�งไทร โรงพย�บ�ลผักไห่ โรงพย�บ�ลบ�งปะหัน โรงพย�บ�ลบ�งปะอิน โรงพย�บ�ลเสน� โรงพย�บ�ลพระนครศรีอยุธย� โรงพย�บ�ลอุทัย โรงพย�บ�ลมห�ร�ช โรงพย�บ�ลสมเด็จสังฆร�สเจ้�ฯ โรงพย�บ�ลภ�ชี
081-7806767, 098-2573876 081-8470947, 081-8194542 089-9596859, 083-6152578 081-9087809, 085-9070791 035-371029, 089-9019298 035-391306 ต่อ 146, 080-0426844, 089-4522972 090-9439547, 089-8027550 089-9016693, 089-9043118, 089-9017611 063-2310688, Line : covid19sena 065-5248088 098-9012599 081-8524406, 064-7418126 091-7256654, 086-8187172 089-7682010, 081-9074991
โรงพย�บ�ลบ้�นแพรก โรงพย�บ�ลท่�เรือ โรงพย�บ�ลวังน้อย
086-1235741, 082-7275701 092-3806544 089-9002703
สายด่วนรับจองฉีดวัคซีน โควิด-19 โรงพยาบาลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โรงพย�บ�ลบ�งบ�ล โรงพย�บ�ลล�ดบัวหลวง โรงพย�บ�ลบ�งซ้�ย โรงพย�บ�ลบ�งไทร โรงพย�บ�ลผักไห่ โรงพย�บ�ลบ�งปะหัน โรงพย�บ�ลบ�งปะอิน โรงพย�บ�ลเสน� โรงพย�บ�ลพระนครศรีอยุธย� โรงพย�บ�ลอุทัย โรงพย�บ�ลมห�ร�ช โรงพย�บ�ลสมเด็จสังฆร�สเจ้�ฯ โรงพย�บ�ลภ�ชี
035-302961 035-379094, 035-379242 035-375908 ต่อ 34 และ 18, 035-375929 061-3844248 035-391306 ต่อ 146 090-9439547 035-261173 ต่อ 1022, 0625900880 092-9051948, 092-8631973 035-211888 ต่อ 7313 098-9012599 065-1208871 035-200910, 081-7806559 035-311112 ต่อ 113
โรงพย�บ�ลบ้�นแพรก โรงพย�บ�ลท่�เรือ โรงพย�บ�ลวังน้อย
035-386121 ต่อ 133, 086-1235741, 081-8506051 089-9019300, 094-3642659 089-9019038
สายด่วน COVID-19 ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร. 081-7806767, 098-2573876 (เวลา 08.00-22.00 น.) วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
25
รู้จักลองโควิด“Long COVID” อ
ือ
ือ ค
เป็นโควิด-19 รักษาหายแล้ว แต่ ท�าไมยังป่วยอยู่ หลายคนมีข้อสงสัย เนื่องจากผู้ป่วยโควิด-19 ที่รักษาหาย ไปใช้ชวี ติ ได้อย่างเดิม ซึง่ มีโอกาสเกิดขึน้ ได้ 30-50% จากจ�านวนผูต้ ดิ เชือ้ โควิด-19 แล้วบางราย ยังรู้สึกมีอาการหลงเหลือ ที่รักษาหายแล้ว ต่อเนือ่ งเป็นเวลานาน ซึง่ จะพบมากใน กลุ่มเสี่ยงที่อาจจะพบอาการ Long COVID • ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภาวะอ้วน หรือน�้าหนัก • ผูท้ ีมีภาวะอ้วน เกิน และผู้ที่มีโรคประจ�าตัว ซึ่งกลุ่มที่ • ผูท้ ี่มีโรคประจ�าตัว มีอาการอาจจะมีอาการตั้แต่ 1 เดือน • ผูท้ ี่มีระบบภูมิคุ้มกันต�่า หรือมากกว่า 4-6 สัปดาห์ จะเป็นอาการ • ผูม้ ีในขณะติดเชื้อโควิด-19 มีอาการรุนแรง กลุ่มนี้จะมีความเสี่ยงในการ ที่เรียกว่า Post Covid Syndrome หรือ Long COVID คือ อาการหลงเหลือหลัง เกิด Long COVID ได้มากกว่ากลุ่มที่ติดเชื้อและไม่มีอาการ แต่ในกลุม่ ผูป้ ว่ ยทีม่ อี าการไม่หนักหรือผูป้ ว่ ยทีต่ ดิ เชือ้ แบบไม่แสดงอาการ ก็ ติดเชื้อโควิด-19 สามารถมีโอกาสที่จะเกิดอาการ Long COVID ได้เช่นเดียวกัน แต่จะไม่พบในผู้ Long COVID คืออะไร Long COVID หรือ อาการหลง ที่มีภูมิคุ้มกันที่ได้จากการรับวัคซีน เหลื อ หลั ง ติ ด เชื้ อ โควิ ด -19 ในระยะ อาการ Long Covid หรือผลกระทบระยะยาวต่อสุขภาพ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ ยาว เนื่องจากในขณะที่ป่วยโควิด-19 มีอะไรบ้าง ร่ า งกายมี ก ารสร้ า งแอนติ บ อดี บ าง • ปวดหัว มึนงง ไม่สดชื่น อย่างขึ้นมา และไปจับกับโปรตีนเซลล์ • ความจ�าสั้น สมาธิสั้น ของอวัยวะบางส่วนในร่างกาย และไป • แสบตา คันตา น�้าตาไหล ท�าลายอวัยวะส่วนต่างๆ อาการ Long • คัดจมูก จมูกไม่ได้กลิ่น COVID • การรับรสชาติอาหารเปลี่ยนไป หรือพบอาการชาที่ลิ้นในบางราย เป็นอาการเจ็บป่วยทีไ่ ม่มลี กั ษณะ • มีอาการไอ หอบเหนื่อย หายใจไม่ทัน ตายตัว อาจเหมือนหรือต่างกันในแต่ละ • ใจสั่น เจ็บแน่นหน้าอก หายใจล�าบาก บุคคล ซึง่ ผลกระทบของ Long COVID • มีไข้ สามารถเกิดขึ้นได้ทั่วร่างกาย ตั้งแต่ • ปวดท้อง อาหารไม่ย่อย ระบบหายใจ, ระบบประสาท,ระบบทาง • ปวดข้อ กล้ามเนื้อลีบ กล้ามเนื้ออ่อนแรง เดินอาหาร,หัวใจและหลอดเลือด ท�าให้ • มีภาวะสมองล้า ผูท้ หี่ ายป่วยบางรายยังไม่สามารถกลับ • นอนไม่หลับ
26
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
• ความดันโลหิตสูง • วิตกกังวล ซึมเศร้า
10 อาการ ที่พบมากที่สุดใน Long COVID คือ
1) เหนื่อยล้า 2) หายใจไม่อิ่ม 3) ปวดกล้ามเนื้อ 4) ไอ 5) ปวดหัว 6) เจ็บข้อต่อ 7) เจ็บหน้าอก 8) การรับรู้กลิ่นเปลี่ยนไป 9) อาการท้องร่วง 10) การรับรสเปลี่ยนไป
ภาวะแทรกซ้อนของโควิด-19 ที่อาจเกิดขึ้นได้
• ภาวะลิ่มเลือดอุดตัน • มีปัญหาเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด • ไตวายเฉียบพลัน • ตับอักเสบเฉียบพลัน • ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท • ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ผลข้างเคียงจากการรักษาโควิด-19
• กล้ามเนื้ออ่อนแรง • ภาวะเครียดหลังผ่านเหตุการณ์ร้ายแรง (PTSD) โดยแพทย์จะพิ จารณาอาการต่าง โดยแบ่งออกเป็น
1. อาการที่เกิดขึน้ เกิดจากการนอนโรงพยาบาลเป็ น ระยะเวลานาน เช่น อาการจิตตก ซึมเศร้า ติดเตียง แผลกด ทับ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อในส่วนต่างๆ 2. อาการเกิดจากผลแทรกซ้ อนที่ได้ รับจากยาขณะ เข้ ารั บการรั กษาโควิด-19 ส่วนใหญ่ยารักษาโรคโควิด-19
มักจะไม่พบผลแทรกซ้อนในระยะยาว เนื่องจากผู้ป่วยจะ ได้รับยาในระยะสั้นๆ แต่อาจสามารถพบได้กับยาที่รักษา อาการข้างเคียงอื่นๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างรักษาโควิด-19 เช่น ยากลุ่ม สเตียรอยด์ อาการที่อาจพบได้หลังกลับบ้าน เช่น แสบกระเพาะ รู้สึกเหมือนมีอาการกรดไหลย้อน ค่าน�้าตาล ไม่คงที่ หรือมีอาการทางเบาหวาน 3. อาการที่เกิดจากผลแทรกซ้ อนของโควิด-19 อาจ เกิดขึ้นได้ในระยะ 1 เดือนถึง 1 เดือนครึ่ง แบ่งออกเป็น • กลุ่มทีม่ อี าการต่ อเนื่อง มาตรวจและไม่ พบความ ผิดปกติ เช่น หอบเหนื่อย เพลีย รู้สึกเหมือนร่างกายยังไม่ ฟื้น การรักษา จะรักษาตามอาการ รอจนร่างกายปรับและ ฟื้นตัว • กลุ่มทีม่ ีอาการต่ อเนื่อง มาตรวจและพบความ ผิดปกติ เช่น พบผังผืดที่ปอด หรือพบความผิดปกติที่ปอด เกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตัน พบความผิดเกี่ยวกับหัวใจและ หลอดเลือด ภาวะติดเชื้อ เกิดการอักเสบภายในอวัยวะ ส�าคัญ ซึ่งพบได้น้อย แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้ การรักษาอยู่ ภายใต้การดูแลของแพทย์ • กลุ่มทีไ่ ม่ มีอาการ แต่ ตรวจพบอาการผิดปกติที่ ปอด การรักษาอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ วิธีทดี่ ที สี่ ุดในการป้องกันการติดเชื้อไวรั สโคโรนา (SARS-CoV-2) และป้ องกั น การพั ฒ นาไปสู่ ภ าวะ อาการ Long COVID คือ การฉีดวัคซีน ซึ่งเรารู้ ดีว่า วัคซีนต้ านโควิด-19 ช่ วยลดการเข้ ารั บการรั กษาใน โรงพยาบาลและลดอัตราการเสียชีวิตได้ นอกจากนี้ ยังต้ องปฎิบัติตามมาตรการป้องกันโควิด-19 อย่ าง เคร่ งครั ด โดยการสวมหน้ ากาก, เว้ นระยะห่ างทาง กายภาพ ล้ างมือบ่ อย ๆ ไม่ ไปในพื้นที่ท่ีแออัด หรื อ แหล่ งชุมชน อมู
อ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
.
27
LONG COVID โควิด-19 เป็นโรคติดเชื้อจ�กไวรัส SARS-CoV-2 ที่ มีก �รระบ�ดกระจ�ย เป็นวงกว้�งตั้งแต่ปี 2019 เป็นต้นม�จนถึง ปัจจุบัน ซึ่งระยะเวล�ที่ผ่�นม�เกือบสอง ปี ข้อมูลด้�นก�รแพทย์เกี่ยวกับเชื้อไวรัส นี้มีเพิ่มขึ้นอย่�งม�ก ไม่ว่�จะเป็นวิธีก�ร แพร่กระจ�ยของเชื้อ พย�ธิสรีรวิทย�ของ ก�รเกิดโรค อ�ก�รและอ�ก�รแสดงของ
กับอาการ า
า
โรค ก�รป้ อ งกั น ก�รติ ด เชื้ อ ก�รรั ก ษ� และคว�มรู้เกี่ยวกับวัคซีนที่ช่วยป้องกัน ไวรัสนี้ โดยหลังจ�กที่ผู้ป่วยบ�งร�ยห�ย จ�กโควิด-19 แล้ว พบว่�ยังมีกลุ่มอ�ก�ร เรื้อรังที่เกิดขึ้นในระบบต่�ง ๆ ของร่�งก�ย ซึง่ หนึง่ ในนัน้ คือ อ�ก�รท�งสมองและระบบ ประส�ท
อาการ LONG COVID
นิยามของกลุ่มอาการโพสต์โควิด (Post – COVID 19 Condition) หรือ ลอง โควิด (Long COVID) คือ กลุม่ อาการทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังจากการติดเชือ้ โควิดตัง้ แต่ 4 สัปดาห์ขึ้นไป ซึ่งเกิดขึ้นได้กับหลายระบบในร่างกาย โดยมีอาการและอาการ แสดงในแต่ละระบบที่แตกต่างกันไปดังนี้ • ระบบทางเดินหายใจ อาการเหนื่อย หายใจไม่อิ่ม หายใจไม่สะดวก • ระบบหัวใจและหลอดเลือด อาการใจสั่น แน่นหน้าอก หัวใจเต้นเร็ว • ระบบทางเดินอาหาร ปวดท้อง ท้องเสีย ลดความอยากอาหาร อาการอืน่ ๆ ทีไ่ ม่จา� เพาะเจาะจงต่อระบบใดๆ ปวดเมือ่ ยตามตัว ปวดตามข้อ ไม่มี แรง อ่อนเพลีย • ความผิดปกติที่พบได้จากการตรวจเลือดโดยไม่มีอาการ เช่น ค่าเอนไซม์ ตับสูงขึ้นผิดปกติ ค่าการกรองและการท�างานของไตลดลง ค่าการท�างานของ ฮอร์โมนไทรอยด์ผิดปกติ ความสามารถในการควบคุมระดับน�้าตาลลดลงในผู้ ป่วยเบาหวาน และค่าระบบการแข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติ เป็นต้น LONG COVID กับอาการทางระบบประสาท
อีกหนึ่งในกลุ่มอาการของโพสต์โควิด (Post – COVID 19 Condition) หรือ ลองโควิด (Long COVID) ที่พบได้บ่อย คือ อาการในส่วนของระบบประสาท และจิตเวชศาสตร์ ได้แก่ อาการปวดศีรษะ มึนศีรษะ นอนไม่หลับ ภาวะสมองล้า (Brain Fog) ภาวะสับสน (Delirium) ความผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Dysfunction) ภาวะเครียดภายหลังภยันตรายหรือพีทีเอสดี (Post Traumatic Stress Disorder: PTSD) อาการซึมเศร้า กลุม่ อาการย�า้ คิดย�า้ ท�า และ ภาวะวิตกกังวล (Anxiety) เป็นต้น ภาวะสมองล้า (Brain Fog) คือ ภาวะที่สมองมีการท�างานลดลง โดยส่งผล ให้การคิดและตัดสินใจช้าลง การวางแผนและแก้ปัญหาลดลง รวมถึงการลดลง
28
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ของสมาธิ (Attention) บางคนอาจเป็น มากจนส่งผลให้ลืมความจ�าระยะสั้น หรือท�าให้ไม่สามารถท�างานที่เคยท�า เป็นประจ�าได้ ความผิดปกติของระบบประสาท อัตโนมัติ มี 2 ภาวะที่มักพบ ได้แก่ • กลุ่ มอาการหั ว ใจเต้ นเร็ ว ระหว่ างเปลี่ ยนท่ า (Postural Orthostatic Tachycardia Syndrome: POTS) ซึ่ ง ลั ก ษณะของกลุ ่ ม อาการ นี้คือ หัวใจเต้นเร็วมากกว่าปกติเวลา เปลี่ยนท่า เช่น ลุกขึ้นยืนหรือนั่ง ท�าให้ เกิดอาการใจสั่น แน่นหน้าอก หายใจ ล�าบาก ปวดศีรษะ มึนศีรษะ ไปจนถึง หน้ามืดและหมดสติได้ • ภาวะเหนื่ อยล้ าเรื อ้ รั ง (Myalgia Encephalitis/Chronic Fatigue Syndrome, ME/CFS) อาการของ ภาวะนี้คือ อ่อนเพลียอย่างรุนแรง ปวด ตามข้ อ และกล้ า มเนื้ อ เจ็ บ คอ ปวด ศีรษะ เวียนศีรษะ สมองล้า คิดได้ช้าลง ขาดสมาธิ และมีปัญหาเรื่องการนอน
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
LONG COVID ที่พบไม่บ่อยแต่อาการรุนแรง
มีกลุ่มอาการหนึ่งที่พบได้ไม่บ่อยในกลุ่มเด็กที่อายุน้อยกว่า 21 ปี โดยเป็น ภาวะที่พบได้หลังจากการติดเชื้อโควิด-19 เป็นเวลา 2 – 8 สัปดาห์ เรียกว่า กลุ่ม อาการอักเสบหลายระบบในเด็ก (Multisystem Inflammatory Syndrome in Children, MIS-C, โรคมิสซี) ซึ่งจะมีการอักเสบในหลายระบบและมีอาการต่างๆ คล้ายกับภาวะ Long COVID ได้ เมื่อกลางเดือนกันยายน 2564 มีการรวบรวมข้อมูลและตีพิมพ์ในวารสาร ทางการแพทย์โดยระบุว่า พบภาวะนี้ในผู้ใหญ่เช่นกัน เรียกว่า Multisystem Inflammatory Syndrome in Adult (MIS-A) ซึง่ ผูป้ ว่ ยจะมีอาการอักเสบทัว่ ร่างกาย ในหลายๆ ระบบ ท�าให้เกิดอาการต่าง ๆ เช่น ท้องเสีย ปวดท้อง คลื่นไส้ ไม่อยาก อาหาร ใจสั่น แน่นอก หอบเหนื่อย หัวใจเต้นผิดจังหวะ ปวดศีรษะ รวมถึงความ ผิดปกติจากการตรวจเลือด เช่น เกล็ดเลือดต�่า ค่าการอักเสบสูงขึ้น ค่าการบาด เจ็บของหัวใจสูงขึ้น เป็นต้น
โรคพบว่า ผูป้ ว่ ยทีม่ อี าการรุนแรงหรือมี อาการหลายระบบในช่วงทีม่ กี ารติดเชือ้ โควิด-19 จะมีความเสี่ยงต่อการเป็น Long COVID มากกว่า อย่างไรก็ตาม ปัจจัยเสี่ยงในการเกิด Long COVID ดังกล่าวข้างต้นเป็นข้อมูลจากผุ้ป่วย จ�านวนไม่มาก หากเทียบกับจ�านวน ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อโควิด-19 ที่มีเป็น หลักล้านคน ดังนั้นอาจจะต้องรอการ ศึกษาในอนาคตที่มีการเก็บรวมรวม คนไข้ได้มากกว่านี้ ถึงจะสรุปได้แน่ชัด ว่าปัจจัยเสีย่ งของภาวะดังกล่าวมีอะไร บ้าง LONG COVID กับโรคทางระบบ ประสาทและสมอง
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง LONG COVID
สาเหตุของโพสต์โควิด (Post – COVID 19 Condition) หรือ ลองโควิด (Long COVID) นั้นยังไม่เป็นที่รู้แน่ชัด แต่จากหลักฐานข้อมูลที่มีอยู่ ณ ปัจจุบันคาด การณ์ว่า ภาวะนี้น่าจะเกิดจาก 3 สาเหตุที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ 1. เชื้อไวรัสไปท�าลายสมดุลระบบต่างๆ ในร่างกาย ท�าให้เกิดความผิดปกติ ขึ้น 2. ติดเชื้อไวรัสแล้วร่างกายถูกกระตุ้นให้สร้างภูมิคุ้มกันและสารอักเสบมาก ขึ้นจนไปท�าลายการท�างานของระบบอวัยวะต่างๆ 3. ผลกระทบหลังการเจ็บป่วยรุนแรง (Post–Critical Illness) ซึ่งผู้ป่วยที่มี การเจ็บป่วยรุนแรงจะมีการท�าลายของระบบไหลเวียนขนาดเล็ก (Microvascular Injury) รวมถึงมีความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่และสารน�้าในร่างกาย จึงท�าให้ ระบบต่างๆ ในร่างกายมีการท�างานที่ผิดปกติหลังจากผ่านพ้นการเจ็บป่วยดัง กล่าว ในแง่ของปัจจัยเสี่ยงของการเกิด Long COVID มีรายงานเบื้องต้นว่า เพศ หญิง การมีโรคประจ�าตัวหอบหืด และช่วงอายุ 35 – 49 ปี เป็นกลุ่มที่มีความ เสี่ยงที่จะเกิดอาการ Long COVID มากกว่ากลุ่มอื่น ส่วนปัจจัยเสี่ยงเกี่ยวกับตัว
จากข้อมูลปัจจุบันพบว่า การมี โรคประจ�าตัวทางสมอง เช่น โรคหลอด เลือดสมอง โรคลมชัก โรคสมองเสื่อม หรือโรคพาร์กินสัน ไม่ถือว่าเป็นปัจจัย เสีย่ งต่อการเกิดภาวะโพสต์โควิด (Post – COVID 19 Condition) หรือ ลองโควิด (Long COVID) แต่ผปู้ ว่ ยทีม่ โี รคประจ�า ตัวดังกล่าว หากมีการติดเชื้อโควิด-19 มีความเสี่ยงที่จะกระตุ้นให้โรคก�าเริบ และท�าให้อาการของตัวโรคแย่ลงเร็ว กว่าคนที่ไม่มีการติดเชื้อ ยิ่งไปกว่านั้น มีข้อมูลพบว่าการติดเชื้อโควิด-19 จะ ท�าให้มีโอกาสเป็นโรคแทรกซ้อนทาง สมอง หรือท�าให้อาการโรคเดิมแย่ลง ได้มากกว่าการติดเชื้อทางเดินหายใจ ชนิดอื่น โดยพบว่าผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิด-19 นั้นมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอด เลือดสมอง (สมองขาดเลือดและเลือด ออกในสมอง) โรคสมองเสื่อม และโรค ทางจิตเวช (เช่น ซึมเศร้า วิตกกังวล) มากกว่าคนที่ติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ หรือเชื้อไวรัสทางเดินหายใจชนิดอื่น อย่างมีนัยส�าคัญ และยังพบว่าคนไข้ จะมี ค วามเสี่ ย งต่ อ โรคดั ง กล่ า วมาก วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ขึ้น หากมีประวัติการติดเชื้อโควิด-19 ที่ต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาล หรือได้รับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤติ (Intensive Care Unit, ICU) หรือมี ภาวะสับสน (Delirium) ขณะรักษาใน โรงพยาบาล ดังนั้นไม่ว่าจะมีโรคประจ�าตัวทาง ระบบประสาทมาก่อนหรือไม่ การติด เชื้อโควิด-19 สามารถส่งผลกระทบต่อ ร่างกายได้ทั้งหมด หากไม่มีโรคประจ�า ตัวจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรค ต่างๆ หลังการติดเชื้อ แต่หากมีโรค ประจ�าตัวมาก่อน การติดเชื้อจะท�าให้ การด�าเนินโรคนั้นแย่ลงเร็วขึ้น ซึ่งจะ
ส่งผลให้มีอาการต่างๆ ในภาวะ Long COVID ตามมาด้วยเช่นกัน และถึง แม้ ว ่ า การมี โ รคประจ� า ตั ว ทางระบบ ประสาทจะไม่ได้เพิม่ ความเสีย่ งต่อการ เป็น Long COVID มากกว่าประชากร โดยทั่วไป แต่การที่โรคประจ�าตัวแย่ลง เร็วกว่าที่ควรจะเป็นย่อมส่งผลอย่าง มากต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย รักษา LONG COVID
ส่วนใหญ่การรักษาภาวะโพสต์โค วิด (Post – COVID 19 Condition) หรือ ลองโควิด (Long COVID) จะเป็นการ รั ก ษาตามอาการเป็ น หลั ก ยั ง ไม่ มี
การรักษาจ�าเพาะต่อภาวะนี้ อย่างไร ก็ตามมีการศึกษาวิจัยจ�านวนมากเพื่อ ค้นหาการรักษา รวมถึงแนวทางในการ ป้องกันภาวะนี้ ซึ่งคงต้องรอติดตามผล การศึกษาดังกล่าวต่อไป สิ่งที่สามารถ ท�าได้ดีที่สุดในตอนนี้เพื่อป้องกันภาวะ Long COVID คือการป้องกันตัวเองให้ ไม่เป็นโควิด-19 ดูแลสุขภาพร่างกาย ออกก�าลังกายสม�่าเสมอ นอนหลับพัก ผ่อนให้เพียงพอ และหากมีอาการผิด ปกติควรรีบพบแพทย์เพื่อท�าการตรวจ วินิจฉัยเพิ่มเติม น�าไปสู่การรักษาที่ถูก ต้องและทันท่วงที
อมู
อ
.
ลองโควิ ด -มิ ส ซี ย อา า าย ย แตกต่างกันอย่างไร เทียบความต่าง
“ภาวะลองโควิด ภาวะมิสซี” อาการที่พบในผู้ป่วย ที่หายจากโรคโควิด-19
พบได้ทั้งในเด็ก และผู้ใหญ่ 30
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ผู้ทหี่ ายจากการป่ วยเป็ นโรคโควิด-19 มักจะมีการฟื้ นฟูระบบร่ างกายที่ แตกต่ างกัน บางคนอาจหายเป็ นปกติ แต่ บางคนกับรู้สกึ ว่ าร่ างกายไม่ แข็ง แรงตามปกติเสียที โดยสามารถพบได้ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ใครเสี่ยงเป็นภาวะลองโควิดมากที่สุด
ผู้ป่วยโควิด-19 กลุ่มสีแดงหรือผู้ป่วยที่มีอาการป่วยรุนแรง จะมีโอกาส เกิดภาวะลองโควิดสูงกว่าผู้ป่วยที่มีอาการน้อย เนื่องจากอาจมีปัจจัยเรื่อง ความเครียดที่สะสมมาตั้งแต่ช่วงป่วยเป็นโรคโควิด-19 จึงส่งผลต่อเนื่องอาจ ยาวนาน 3-6 เดือนได้กว่าจะกลับมาเป็นปกติ สามารถพบได้ทงั้ ในเด็กและผูใ้ หญ่ อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลให้เกิดภาวะลองโควิดด้วย เช่น อายุ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ เรื่องเพศ โดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย รวมทั้ง ผู้ที่มีโรคประจ�าตัวอื่นๆ ด้วย เช่น โรคหอบหืด และผู้ที่เคยเข้ารับการรักษาในโรง พยาบาล ซึ่งผู้ที่หายป่วยแล้วไม่ต้องกังวลใจแต่อย่างใด
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
เ ป็ น ภ า ว ะ ล อ ง โ ค วิ ด ต้ อ ง ท� า อย่างไร
อาการลองโควิดเป็นผลจากความ ผิ ด ปกติ ภ ายในร่ า งกาย เนื่ อ งจาก ร่างกายยังฟื้นฟูไม่เต็มที่ ผู้ที่เคยติด เชื้อโควิดจึงควรให้ความส�าคัญกับการ สั ง เกตอาการตนเอง พบแพทย์ เ พื่ อ ประเมินสภาพร่างกาย และวางแผน การฟื ้ น ฟู ที่ ถูก ต้ อ ง เนื่องจากอาการ ดังกล่าวอาจเกิดขึ้นได้ระยะยาวและ ส่งผลกระทบต่อชีวิตประจ�าวันอย่าง รุนแรง รวมถึงปล่อยนานเกินไปอาจ เป็นอันตรายได้ ภาวะมิสซีคืออะไร
ส�าหรับภาวะมิสซีนั้น นพ.พรเทพ สวนดอก กุมารแพทย์ สาขาโรคติดเชื้อ โรงพยาบาลกรุงเทพ ระบุวา่ คือภาวะที่ มีอาการอักเสบของอวัยวะหลายระบบ ในร่างกาย เช่น ปอด ไต สมอง ผิวหนัง ตา ทางเดินอาหาร หัวใจหลอดเลือด และยั ง ไม่ ท ราบสาเหตุ ข องการเกิ ด ภาวะนี้
แต่จะมีอาการเกิดขึน้ หลังหายจาก • มีไข้ การติดเชื้อโควิด-19 เป็นภาวะที่พบไม่ • ตาแดง บ่อย และในบางคนไม่มีอาการแสดง • มือเท้าบวมแดง ปากแดง แห้ง หรือแสดงอาการเพียงเล็กน้อย อาจ แตก เริ่มมีอาการได้ตั้งแต่ระยะที่ก�าลังจะ • ต่อมน�้าเหลืองโต หายจากโรค หรือตามหลังการติดเชื้อ • มีอาการในระบบหัวใจและหลอด ประมาณ 2-6 สัปดาห์ เลื อ ด หรื อ อาการในระบบทางเดิ น ใครเสี่ยงเป็นภาวะมิสซีมากที่สุด อาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย ล�าไส้ ส� า หรั บ ประเทศไทยมี ร ายงานผู ้ อักเสบ ตับอักเสบ และอาการคล้าย ป่วยที่เกิดภาวะนี้เพิ่มขึ้น ตามจ�านวน ไส้ติ่งอักเสบ • อาการทางระบบประสาท คือ ผูป้ ว่ ยเด็กทีต่ ดิ เชือ้ มากขึน้ ส่วนใหญ่จะ เกิดในเด็กผู้ชายมากกว่าเด็กผู้หญิง ปวดศีรษะ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เกิดขึน้ ทัง้ ในเด็กและผูใ้ หญ่ ทัง้ จาก เป็นภาวะมิสซีต้องท�าอย่างไร โควิด-19 และโรคอื่นที่เกิดจากไวรัส เด็กที่มีอาการของภาวะมิสซีเกิด เช่น โรค SLE โรคที่เกิดจากการกระตุ้ ขึน้ อาจท�าให้รา่ งกายอ่อนแอลงได้อย่าง นภูมิคุ้มกันของตนเอง หรือการกินยา รวดเร็วทุกเวลา และอาจส่งผลให้เป็น บางยาก็กระตุ้นให้เกิดการอักเสบทั่ว อันตรายแก่ชีวิตได้ เพราะฉะนั้น หาก ร่างกายได้ สงสัยว่า บุตรหลานที่เพิ่งหายป่วยจาก โรคโควิด-19 เกิดภาวะนีค้ วรรีบปรึกษา อาการภาวะมิสซี ภาวะมิสซีจะแสดงอาการในหลาย แพทย์ทันทีเพื่อการวินิจฉัย และได้รับ ระบบร่วมกัน โดยจะมีอาการลักษณะ การรักษาได้อย่างทันท่วงที ดังต่อไปนี้ อมู อ .
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ที่นี่...
อยุธยา
พระนครศรี
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางและมี
ประวัตศิ าสตร์ความเป็นมาทีย่ าวนาน เคยมีชอื่ เสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูก ข้าวที่ส�าคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดที่ไม่มีอ�าเภอเมือง มี อ�าเภอพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่างๆ ชาวบ้านโดยทัว่ ไปนิยมเรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า “กรุงเก่า” หรือ “เมืองกรุงเก่า” ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 75 กิโลเมตร ประวัติศาสตร์
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอดีตราชธานีของไทย มีหลักฐานของ การเป็นเมืองในลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยา ตั้งแต่ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 16-18 โดยมีร่องรอยของที่ตั้งเมือง โบราณสถาน โบราณ วัตถุ และเรื่องราวเหตุการณ์ใ นลักษณะ ต�า นาน พงศาวดาร ไปจนถึงหลักศิลาจารึก ซึง่ ถือว่าเป็น หลักฐานร่วมสมัยทีใ่ กล้เคียงเหตุการณ์มาก ทีส่ ดุ ซึง่ เมืองอโยธยา หรืออโยธยาศรีราม เทพนคร หรือเมืองพระราม มีที่ตั้งอยู่ บริเวณด้านตะวันออกของเกาะเมือง อยุธยา มีบ้านเมืองที่มีความเจริญ ทางการเมือง การปกครอง และมี วัฒนธรรมทีร่ งุ่ เรืองแห่งหนึง่ มีการใช้ กฎหมายในการปกครองบ้านเมือง ๓
32
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
ฉบับ คือ พระอัยการลักษณะเบ็ดเสร็จ พระอัยการลักษณะทาส พระอัยการ ลั กษณะกู ้ ห นี้ สมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 1 หรือ พระเจ้าอู่ทอง ทรงสถาปนา กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมื่อ พ.ศ. 1893 กรุงศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลาง ของประเทศสยามสืบต่อมายาวนาน ถึง 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครอง 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ คือ 1. ราชวงศ์อู่ทอง 2. ราชวงศ์สุพรรณภูมิ 3. ราชวงศ์สุโขทัย 4. ราชวงศ์ปราสาททอง 5. ราชวงศ์บ้านพลูหลวง
อยุธยาได้สูญเสียเอกราชแก่พม่า 2 ครั้ง ครั้งแรกใน พ.ศ. 2112 สมเด็จ พระนเรศวรมหาราชทรงกู ้ เ อกราช คืนมาได้ใน พ.ศ. 2127 และ เสียกรุง ศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราชทรงกอบกู ้ เอกราชได้ ใ นปลายปี เ ดี ย วกั น แล้ ว ทรงสถาปนา กรุงธนบุรีเป็นราชธานี แห่งใหม่ โดยกวาดต้อนผู้คนจากกรุง ศรี อ ยุ ธ ยาไปยั ง กรุ ง ธนบุ รี เ พื่ อ สร้ า ง เมืองใหม่ แต่กรุงศรีอยุธยาไม่ได้ กลาย เป็ น เมื อ งร้ า ง ยั ง คงมี ค นรั ก ถิ่ น ฐาน บ้ า นเดิ ม อาศั ย อยู ่ แ ละราษฎรที่ ห ลบ หนี ไ ปได้ ก ลั บ เข้ า มาอยู ่ ร วมกั น ต่ อ มาได้รับการยกย่อง เป็นเมืองจัตวา
เรียก “เมืองกรุงเก่า” พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรง ยกเมืองกรุงเก่าขึ้นเป็นหัวเมืองจัตวา เช่นเดียวกับสมัยกรุงธนบุรี หลังจาก นั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว โปรดให้จัดการปฏิรูป การ ปกครองทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยการปกครองส่วน ภูมิภาคนั้นโปรด ให้จัดการปกครอง แบบเทศาภิบาล ขึ้ น โดยให้ ร วม เมื อ งที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น 3-4 เมือง ขึ้นเป็นมณฑล มีข้าหลวง เทศาภิ บ าลเป็ น ผู ้ ป กครอง โดยในปี พ.ศ. 2438 ทรงโปรให้จดั ตัง้ มณฑลกรุง เก่าขึ้น ประกอบด้วยหัวเมืองต่างๆ คือ กรุงเก่าหรือ อยุธยา อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี และสิงห์บุรี ต่ อ มาโปรดให้ ร วมเมื อ งอิ น ทร์ และ เมืองพรหม เข้ากับเมืองสิงห์บุรี ตั้งที่ ว่าการมณฑลที่อยุธยา และในปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยนชื่อจากมณฑลกรุงเก่า เป็นมณฑลอยุธยา ซึ่งจากการจัดตั้ง มณฑลอยุธยา มีผลให้อยุธยามีความ ส� า คั ญ ทางการบริ ห าร การปกครอง มากขึ้ น การสร้ า งสิ่ ง สาธารณู ป โภค หลายอย่ า งมี ผ ลต่ อ การพั ฒ นาเมื อ ง อยุธยาในเวลาต่อมา จนเมือ่ ยกเลิกการ ปกครองระบบเทศาภิบาล ภายหลังการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยุ ธ ยาจึ ง เปลี่ ย นฐานะเป็ น จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยาจนถึงปัจจุบัน ใน สมัยจอมพล ป.พิบลู สงคราม เป็นนายก รั ฐ มนตรี ไ ด้ มี น โยบายบู ร ณะโบราณ สถานภายในเมืองอยุธยา เพื่อเป็นการ ฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ประกอบกับใน ปี พ.ศ.2498 นายกรัฐมนตรีประเทศ พม่าเดินทางมาเยือนประเทศไทย และ มอบเงินจ�านวน 200,000 บาท เพื่อ ปฏิสงั ขรณ์วดั และองค์พระมงคลบพิตร เป็นการเริม่ ต้นการบูรณะโบราณสถาน ในอยุธยาอย่างจริงจัง ซึ่งต่อมากรม วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
33
ศิลปากรเป็นหน่วยงานส�าคัญในการด�าเนินการ จนองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโกมีมติให้ประกาศขึ้นทะเบียนนคร ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาเป็น “มรดกโลก“ เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2534 มีพื้นที่ครอบคลุมในบริเวณโบราณสถานเมืองอยุธยา สัญลักษณ์ประจ�าจังหวัด
• ตราประจ�าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รูปหอยสังข์ ประดิษฐานอยูบ่ นพานแว่นฟ้าภายในปราสาทใต้ตน้ หมัน ดวง ตราประจ�าจังหวัดนีม้ าจากต�านานการสร้างเมือง พระนครศรีอยุธยา ซึง่ เล่ากันว่า ในปี พ.ศ.1890 โรคห่าระบาดจนผูค้ นล้มตายเป็นจ�านวนมาก พระเจ้าอูท่ องจึงอพยพ ย้ายผูค้ นออก จากเมืองเดิมมาตัง้ เมืองใหม่ทตี่ า� บลหนองโสน ซึง่ มีแม่นา�้ ล้อมรอบ ระหว่างทีป่ กั เขตราชวัตฉิ ตั รธง ตัง้ ศาลเพียงตา กระท�าพิธกี ลบบัตร สุมเพลิง ปรับ สภาพพืน้ ทีเ่ พือ่ ตัง้ พระราชวังอยูน่ นั้ ปรากฎว่าเมือ่ ขุดมาถึงใต้ตน้ หมันได้พบหอย สังข์ทกั ษิณาวัตรบริสทุ ธิ์ พระเจ้าอูท่ อง ทรงโสมนัสในศุภนิมติ นัน้ จึงสร้างปราสาท น้อยขึน้ เป็นทีป่ ระดิษฐานหอยสังข์ดงั กล่าว • ดอกไม้ประจ�าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดอกโสน เป็นต้นไม้ในตระกูล Leguminosae เป็นไม้ลม้ ลุก (Shrub) เนือ้ อ่อนโต เร็ว ล�าต้นอวบ ปลูกและขึน้ เองตามแม่นา�้ ล�าคลองหนองบึงทัว่ ไปในภาคกลาง ดอก สีเหลืองออกเป็นช่อห้อยและเหลืองอร่ามคล้ายทองไปทัว่ ทุกแห่งใช้รบั ประทานเป็น อาหารได้ เมือ่ พ.ศ. 1893 พระเจ้าอูท่ องทรงตัง้ เมืองขึน้ ใหม่ทตี่ า� บลเวียงเหล็ก ทรงเลือก ค�าขวัญประจ�าจังหวัด ชัยภูมิที่จะตั้งพระราชวังทรงเห็นว่าที่ต�าบลหนองโสนเหมาะสม เพราะมีต้นโสน ราชธานีเ ก่า อู่ข ้าวอู่น�้า มาก ดอกโสนออกดอกเหลืองอร่ามคล้ายทองค�าสะพรัง่ ตา ดังนัน้ ดอกโสนจึงถือ เลิศล�้า กานท์กวี คนดีศรีอยุธ ยา ได้วา่ เป็น ดอกไม้ประจ�าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เลอคุณค่ามรดกโลก
34
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
35
ไหว้พระ
๑
9 วัดอยุธยา
ได้ท้ังเที่ยว ได้ท้ังทำ�บุญ
วัดใหญ่ชัยมงคล
ในปั จ จุ บั น นี้ หมู ่ บ ้ า นแต่ ล ะ
สั ง คมไทยตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ของประชาชน และเป็นศูนย์รวมทาง ด้านจิตใจของพุทธศาสนิกชน ส่วนพระ หมูบ่ า้ นต่างมีวดั ประจ�าหมูบ่ า้ นของตน สงฆ์เป็นดั่งเช่นตัวแทนของวัดในการ เป็นศูนย์กลาง ซึ่งถือว่าเป็นสมบัติรวม แสดงบทบาทต่าง ๆ เป็นผู้น�าทางด้าน ของคนทั้งหมู่บ้าน และวัดในปัจจุบันมี จิตใจของประชาชน และเป็นยังศูนย์ มากกว่าสามหมืน่ วัดจากทัว่ ทัง้ ประเทศ รวมแห่งความเคารพ เชื่อถือ และการ วัดจึงถือได้ว่าเป็นโบรานสถานที่อยู่คู่ ร่วมมือกันให้เกิดความสามัคคีความ กับคนไทยมาแต่ช้านาน เป็นศูนย์รวม เป็นระเบียบเรียบร้อยอีกด้วย เช่นนั้น
36
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ทุกศาสนพิธี ทุกพิธีกรรมล้วนเกิดขึ้น จากการประกอบกิจกรรมทางศาสนา ที่วัด จึงเชื่อได้ว่าวัดมีความส�าคัญกับ คนไทยไม่วา่ จะอยูใ่ นยุคสมัยไหนก็ตาม และสถานทีส่ า� คัญอีกแห่งหนึง่ ของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ วัดใหญ่ ชัยมงคล ถือว่าเป็นวัดที่เก่าแก่อีกแห่ง หนึง่ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดย
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
วัดใหญ่ชัยมงคลถือว่าเป็นวัดมีความส�าคัญทางประวัติศาตร์มากที่สุดและเป็น วัดที่นักท่องเที่ยวนิยมมามากที่สุดวัดหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงเป็น ธรรมดาที่จะพบเห็นนักท่องเที่ยวจ�านวนมากเดินทางมายังวัดแห่งนี้ จุดสนใจ ของวัดใหญ่ชัยมงคลนี้ คือ เรื่องราวทางประวัติศาตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา รวม ไปถึงสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น ชมเจดีย์ที่สูงที่สุดในอยุธยา ด้านหลังวัดมีต�าหนัก สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ให้ผู้นับถือศรัทธาเข้ามากราบไหว้ นอกจากนี้ บริเวณ รอบๆ ยังมีสวนหย่อมทีส่ วยงามให้พกั ผ่อนอีกด้วย นักท่อง เที่ยวที่ต้องการมาเที่ยวอยุธยาจึงไม่ควรพลาดอย่างยิ่ง เป็นวัดที่ถูกสร้างขึ้นใน สมัยพระเจ้าอู่ทอง และใน พุทธศักราช 2135 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงท�า ศึกยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชแห่งพม่าทีต่ า� บลหนองสาหร่าย เมืองสุพรรณบุรี ทรงสร้างพระเจดียใ์ หญ่ขนึ้ ทีว่ ดั นีเ้ ป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะ ขนานนามว่า “พระเจดีย์ ชัยมงคล” ปัจจุบนั มีการสร้างพระต�าหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีผนู้ ยิ มไป นมัสการอย่างสม�่าเสมอเป็นจ�านวนมาก โดยจุดสนใจจะอยู่ที่พระเจดีย์ชัยมงคล อุโบสถ วิหารพระนอน พระบรมราชานุสาวรีย์พระนเรศวรมหาราช และอื่นๆ อีก มากมาย วัดใหญ่ชยั มงคล เดิ มชื อ่ “วัดป่ าแก้ว” หรื อ “วัดเจ้าไท” ตัง้ อยู่ทางทิ ศตะวัน ออกเฉี ยงใต้ของเกาะพระนคร ปั จจุบนั เป็ นพื ้นที ่ต�าบลคลองสวนพลู อ� าเภอ พระนครศรี อยุธยา จังหวัดพระนครศรี อยุธยา จุดเด่นของวัดได้แก่เจดี ย์องค์ ใหญ่ทีเ่ ชื อ่ กันว่า ได้รบั การปฏิ สงั ขรณ์ ขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที ่ภ ายในได้มี ก ารค้น พบชัย มงคลคาถาบรรจุอยู่ ภายในพระอุโบสถ เป็ นที ่ ประดิ ษฐานพระพุทธชัยมงคล พระประธานทีเ่ ป็ นสิ่ งศักดิ์ สิทธิ์ ของวัด นอกจากนี ้ แล้ว ภายในวัดยังเป็ นทีป่ ระดิ ษฐานศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทีก่ ่อสร้าง แล้วเสร็ จในปี พ.ศ. 2544 อีกด้วย
โปรดเกล้าฯให้ขุดศพเจ้าแก้วและเจ้า ไท ซึ่งทิวงคตด้วยอหิวาตกโรคขึ้นมา เผา ที่ปลงศพนั้นโปรดให้สถาปนาเป็น พระอาราม นามว่า วัดป่ าแก้ว ต่อมา คณะสงฆ์ ส� า นั ก วั ด ป่ า แก้ ว ที่ ไ ด้ บ วช เรียนมา จากส�านักรัตนมหาเถระใน ประเทศศรีลังกาคณะสงฆ์นี้ได้เป็นที่ เคารพเลื่อมใสแก่ชาวกรุงศรีอยุธ ยา เป็ น อั น มาก ท� า ให้ ผู ้ ค นต่ า งมาบวช เรียนในส�านักสงฆ์คณะป่าแก้วมากขึ้น สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จึงทรงตั้งอธิบดี สงฆ์นิกายนี้เป็นสมเด็จพระวันรัตน์ มี ต�าแหน่งเป็นพระสังฆราชฝ่ายขวาคู่ กั บ สมเด็ จ พระพุ ท ธโฆษาจารย์ ซึ่ ง มี ต�าแหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายคันถธุระ กาล ต่อมาเป็นที่พ�านักของพระภิกษุคณะ ป่าแก้ว ซึ่งมี สมเด็จพระวันรัตน์เป็น ประธานสงฆ์ จึงได้ชื่อว่า วัดเจ้าพระยา ไทยคณะป่าแก้ว เรื่องราวส�าคัญในประวัติศาสตร์ ของวัดป่าแก้วมีอยู่ว่า อุโบสถของวัด เคยเป็ น ที่ ซ่ึ ง คณะคิ ด ก� า จั ด ขุ น วรวง ศาธิราชกับท้าวศรีสดุ าจันทร์มาประชุม เสี่ยงเทียนอธิษฐาน ครั้งนั้นได้รับผล ประวัติ ส� า เร็ จ จึ ง อั ญ เชิ ญ พระเฑี ย รราชาลา สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้นรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรืออีก ผนวช ขึ้นครองราชสมบัติทรงพระนาม พระนามหนึ่งคือ สมเด็จพระเจ้าอู่ทองพระมหากษัตริย์ผู้สถาปนากรุงศรีอยุธยา ว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิพ.ศ. 2104 ตามต�านานกล่าวว่า เมื่อครั้ง พ.ศ. 1900 สมเด็จพระเจ้าอู่ทองได้ทรงพระกรุณา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
37
ในรัชกาลของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ นั้นเอง ได้มีพระบรมราชโองการให้เอา สังฆราชวัดป่าแก้วไปส�าเร็จโทษ ฐาน ฝักใฝ่ให้ฤกษ์ยามแก่ฝ่ายกบฏพระศรี ศิลป์ พ.ศ. 2135 ในแผ่ น ดิ น ของ พระ น เรศ ว ร มหาราช มีเหตุการณ์ส�าคัญที่ชวนให้ เข้าใจว่ามีการสร้างปฏิสังขรณ์เจดีย์ ประธานวัด เพือ่ เฉลิมพระเกียรติยศของ พระองค์ที่ได้ชัยชนะพระมหาอุปราช แห่งพม่า จึงท�าให้เชื่อว่าเป็นที่มาของ ชื่อวัดใหญ่ชัยมงคล เจดียช์ ยั มงคลอนุสรณ์แห่งชัยชนะ อั น ยิ่ ง ใหญ ที่ ส มเด็ จ พระนเรศวร มหาราชทรงรบชนะ มังกะยอชวาพระ มหาอุปราชาของหงษาวดี ที่ต.หนอง สาหร่าย จ.สุพรรณบุรใี นครัง้ นัน้ พม่าได้ ยกทัพเข้ามาในขอบขันฑสีมา สมเด็จ พระนเรศวรฯ และสมเด็จพระเอกาทศ รถผูเ้ ป็นพระอนุชาจึงได้นา� ทัพไปรับศึก และได้ขับช้างเข้าไปอยู่ในวงล้อมของ ข้าศึกทีคอยระดมยิงปืนเข้าใส่พระและ พระคชาธาร โดยที่เหล่าแม่ทัพนายก องวิ่งตามพระองค์มาไม่ทัน พระองค์ จึงประกาศด้วยพระสุรเสียงอันดังว่า พระเจ้าพี่เราจะยืนอยู่ไยในร่มไม้เล่า เชิญออกมาท�ายุทธหัตถีดว้ ยกัน ให้เป็น เกียรติยศไว้ในแผ่นดินเถิด ภายหน้าไป ไม่มกี ษัตริยท์ จี่ ะได้กระท�ายุทธหัตถีแล้ว พระมหาอุปราชาของพม่าจึงไสยช้าง ออกมากระท�ายุทธหัตถีด้วยกันในการ ท�ายุทธหัตถีครั้งนั้นสมเด็จพระนเรศวร ได้ทรงใช้พระแสงพลพ่ายฟาดฟันพระ มหาอุปราชาขาดตะพายแล่ง เ มื่ อ ก ลั บ ม า สู ่ พ ร ะ น ค ร แ ล ้ ว พระองค์ก็จะลงโทษเหล่าทหารที่ตาม ไปไม่ทันตอนกระท�าศึกยุทธหัตถี ซึ่ง ตามกฏระเบี ย บแล้ ว ต้ อ งโทษถึ ง ขั้ น ประหารชี วิ ต ช่ ว งเวลาที่ ร ออาญา สมเด็จพระพันรัตน พระสังฆราชพร้อม
38
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ด้วยพระสงฆ์ 25 รูปได้ขอให้พระนเรศวรพระราชทานอภัยยกเว้นโทษให้กบั ทหาร เหล่านั้น โดยให้เหตุผลว่าพระองค์เปรียบดังพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่แวดล้อม ด้วยหมูม่ ารก่อนทีจ่ ะตรัสรู้ เป็นการประกาศเกียรติและบารมีความกล้าหาญและ เก่งกาจของพระองค์ให้ขจรกระจายไปทัว่ แคว้นทัว่ แผ่นดิน สมเด็จพระนเรศวรจึง โปรดให้สร้างเจดีย์องค์ใหญ่ขึ้น เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะและความมีน�้า พระทัยของพระองค์ ที่มีต่อเหล่าทหารเหล่านั้น และพระะราชทานนามว่า เจดีย์ ชัยมงคล ในปี พ.ศ. 2135 มีความสูง 1 เส้น 1 วา เป็นเจดีย์ ที่สูงที่สุดในจังหวัด พระนครศรีอยุธยามาจนทุกวันนี้ วัดป่ าแก้ว หรื อวัดเจ้าไท ต้องร้ างลงเมื ่อคราวเสี ยกรุงศรี อยุธยาครั้งที ่ 2 ประมาณ พ.ศ. 2309 อาณาจักรคองบองได้ยกพลมาประชิ ดพระนครศรี อยุธยา สมเด็จพระที น่ ง่ั สุริยาตรมริ นทร์ โปรดเกล้า ให้ยกทัพเรื อออกจากพระนครไปตัง้ อยู่ทีว่ ดั ป่ าแก้ว แต่ทพั เรื อสยามเสียที ข้าศึก พระยาเพชรบุรีถูกสังหาร กองทัพ อาณาจักรคองบองบางส่วนได้ยึดเอาวัดป่ าแก้วเป็ นฐานปฏิ บตั ิ การ เมื ่อกรุ ง ศรี อยุธยาแตกใน พ.ศ. 2310 วัดแห่งนีจ้ ึงได้ร้างลง ยุคฟื้นฟู
หลังจากที่วัดใหญ่ หรือ วัดป่าแก้ว หรือ วัดเจ้าไท ได้ร้างลงกว่า 400 ปี ได้มี พระภิกษุ สามเณร แม่ชี กลุ่มหนึ่ง โดยการน�าของพระฉลวย สุธมฺโม ได้เข้ามาหัก ร้างถางพงทีร่ กเรือ้ ปกปิดอารามอันเก่าแก่แห่งนีเ้ พือ่ เป็นทีป่ ฏิบตั ธิ รรมได้ประมาณ
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
4 ปี ท่านต้องการออกจาริกอีกครั้งจึง ได้ไปนิมนต์พระครูภาวนาพิริยคุณ เจ้า อาวาส วัดยม อ�าเภอบางบาล ให้มา ดูแลวัดใหญ่ชัยมงคลต่อ พระครู ภ าวนาพิ ริ ย คุ ณ (เปลื้ อ ง วิ ส ฏฺ โ ฐ) ได้ น� า คณะพระภิ ก ษุ ส งฆ์ สามเณร และแม่ชี หักร้างถางพง ฟื้นฟู วั ด แห่ ง นี้ จ นได้ รั บ การยกฐานะจาก วัดร้างเป็นวัดราษฎร์ที่มีพระภิกษุจ�า พรรษา ในปี พ.ศ. 2500 โดยได้ชื่อว่า วัดใหญ่ชัยมงคล ส่วนพระครูภาวนา นเรศวรมหาราช ให้ผู้นับถือศรัทธาเข้า พิริยคุณ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ มากราบไหว้ นอกจากนี้ บริเวณ รอบๆ เป็นพระครูภาวนารังสี ยังมีมีสวนหย่อมที่สวยงามให้พักผ่อน ยุคปัจจุบัน อีกด้วย หลั ง จากที่ พ ระครู ภ าวนารั ง สี ไ ด้ เมื อ่ พ.ศ. 2557 วัดใหญ่ชยั มงคล มรณภาพในปี พ.ศ. 2536 พระปลัด ได้รั บ การยกสถานะเป็ นพระอาราม แก่ น ปุ ญฺ ญ สมฺ ป นฺ โ น หรื อ ปั จ จุ บั น หลวงชัน้ ตรี ชนิ ดสามัญ เป็นพระครูพิสุทธิ์บุญสาร ได้รับการ วั ด ใหญ่ ชั ย มงคลถื อ ได้ ว ่ า เป็ น แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส และได้ร่วมกับ โบราณสถานทีค่ วรค่าแก่การรักษา และ คณะพระภิกษุสงฆ์ สามเณร และแม่ บูรณะ เนื่องในปัจจุบันนักท่องเที่ยวได้ ชี พัฒนาวัดใหญ่ชัยมงคล จนได้รับ แวะเวี ย นกั น มากราบไหว้ จ ากทั่ ว ทุ ก การยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง สารทิศเป็นจ�านวนมาก และมีในช่วง วั ด พั ฒ นาตั ว อย่ า งที่ มี ผ ลงานดี เ ด่ น เทศกาลต่างๆอย่างไม่ขาดสาย ท�าให้ และส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัด วั ด เป็ น ที่ รู ้ จั ก มากยิ่ ง ขึ้ น จากทั้ ง ชาว พระนครศรีอยุธยา แห่งที่ 3 ไทยและชาวต่างชาติ นั่นก็ถือเป็นการ วัดใหญ่ชัยมงคลถือว่าเป็นวัดที่มี แสดงว่า วัดยังไม่ถกู ลงลืมไปจากจิตใจ ความส�าคัญทางประวัติศาสตร์หลาย คนไทยและคนต่างชาติ เพราะเนื่อง ยุคสมัย และเป็นวัดทีน่ กั ท่องเทีย่ วนิยม ในปัจจุบันนี้บทบาทของวัดและพระ มามาก ด้ววยสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น สงฆ์เริ่มสูญเสียไป ท่ามกลางกระแส ชมเจดียท์ สี่ งู ทีส่ ดุ ในพระนครศรีอยุธยา การเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรม ด้ า นหลั ง วั ด มี ต� า หนั ก สมเด็ จ พระ ตะวันตกที่ไหลบ่าเข้ามาสู่สังคมไทย
ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org / museumthailand.com
ท�าให้เด็ก เยาวชน และประชาชน หัน ไปยึดติดในวัตถุนิยมมากเกินไป เป็น ผลให้คนห่างไกลจากวัดโดยไม่รตู้ วั วัด จึงได้ลดบทบาทจากในอดีตลงไปมาก เริ่มจากสังคมเมืองไปสู่สังคมชนบท อย่างไรก็ตามท�าให้วัดยังคงมีบทบาท มากบ้างน้อยบ้าง ทั้งนี้ขึ้นก็อยู่กับการ เปลีย่ นแปลงของสังคมแต่ละสังคมโดย เฉพาะในชนบทหรือท้องถิ่นที่ห่างไกล มากๆ วัดยังคงมีบทบาทหลายอย่าง เหมือนเดิมและเป็นความจริงที่ว่าคน ไทยเกือบทุกคนจะต้องกลับเข้าสูว่ ดั อีก ครัง้ หนึง่ ในวาระสุดท้ายของชีวติ กล่าว คือ เมื่อทุกคนถึงแก่กรรมลง โดยทั่วไป ต้องไปท�าพิธี ฌาปนกิจศพ ทีว่ ดั จึงสรุป ได้ว่า ห้วงชีวิตของพุทธศาสนิกชนต้อง เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาตลอดเวลา ตั้งแต่สมัย อดีต ปัจจุบัน และอนาคต จนกว่าพุทธศาสนาจะสูญสิ้นไปจาก แผ่นดินไทยอันเป็นที่อยู่ของสังคมไทย วัดกับคนไทยจริงเป็นสิ่งที่คู่กัน ดังนั้น การให้ความส�าคัญกับโบราณสถาน ในแต่ ล ะจั ง หวั ด จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ค นไทย ควรพึ ง ปฎิ บั ติ เพื่ อ ที่ จ ะได้ มี โ บราณ สถานที่ เ ก่ า แก่ ไ ปยั ง รุ ่ น ลู ก รุ ่ น หลาน สืบต่อไป ปัจจุบันนี้ได้มีการพัฒนาวัด ใหญ่ชัยมงคล จนได้รับการยกย่องให้ เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างทีม่ ผี ลงานดีเด่น และส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัด พระนครศรีอยุธยา แห่งที่ 3 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
39
วัดสุกรี อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา
ราชบูรณะ ตั้งอยู่ต�าบลท่าวา หลบหนี ไ ป ต่ อ มากรมศิ ล ปากรเข้ า ท�าการบูรณะขุดแต่งต่อภายหลัง พบ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บริเวณเชิง ทรัพย์สมบัตทิ หี่ ลงเหลือและเครือ่ งทอง สะพานป่ า ถ่ า น ติ ด กั บ วั ด มหาธาตุ จ�านวนมากมาย ปัจจุบันทรัพย์สมบัติ ทางบริ เ วณทิ ศ ตะวั น ออก ห่ า งจาก ภายในกรุ ถู ก เก็ บ รั ก ษาไว้ ที่ ห ้ อ งราช พระราชวังโบราณ เพียงเล็กน้อย จัด บูรณะ ภายในพิพิธ ภัณฑสถานแห่ง เป็นหนึ่งในวัดที่ใหญ่และมีความเก่า ชาติ เจ้าสามพระยา แก่มากทีส่ ดุ ในพระนครศรีอยุธยา สร้าง ประวัติ โดยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือ วัดราชบูรณะสร้างขึ้นในรัชสมัย เจ้าสามพระยา ในปี พ.ศ. 1967 วัด ของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ใน ราชบูรณะมีชื่อเสียงและความโด่งดัง บริเวณพืน้ ทีแ่ ละต�าแหน่งเดิมทีพ่ ระองค์ มากในเรื่องการถูกกลุ่มคนร้ายจ�านวน ได้ทรงถวายพระเพลิงศพให้กบั เจ้าอ้าย หนึ่ง ลักลอบขุดกรุภายในพระปรางค์ พระยาและเจ้ายี่พระยา พระเชษฐาทั้ง ประธาน ในปี พ.ศ. 2499 และลักขโมย สองพระองค์ที่สิ้นพระชนม์ภายในหลัง ทรัพย์สมบัติจ�านวนมากมายมหาศาล จากการกระท�ายุทธหัตถี เพื่อแย่งชิง
๒
40
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ราชสมบัตขิ องสมเด็จพระนครอินทราธิ ราชพระราชบิดาทีเ่ สด็จสวรรคตลงในปี พ.ศ. 1967 เมื่ อ ครั้ ง ที่ ส มเด็ จ พระนครอิ น ทราธิ ร าช เสด็ จ ขึ้ น ครองราชสมบั ติ เป็นพระมหากษัตริย์ล�าดับที่ 6 แห่ง กรุงศรีอยุธยา และพระมหากษัตริย์ พระองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์สุพรรณภูมิ โปรดเกล้าให้พระราชโอรสของพระองค์ ทัง้ 3 พระองค์ได้แก่ เจ้าอ้ายพระยา เจ้า ยี พ่ ระยาและเจ้าสามพระยา แยกย้าย กันปกครองหัวเมืองต่าง ๆ โดยทรงมอบ หมายให้เจ้าอ้ายพระยา พระราชโอรส องค์ใหญ่ปกครองเมืองสุพรรณบุรี เจ้ายี่ พระยา พระราชโอรสองค์กลางปกครอง
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
กรุชั้นที่ 2
เป็นชั้นกลาง มีถาดทองค�า 3 ใบเต็มไปด้วยเครื่องทอง กรมศิลปากรได้รื้อพื้นออก จึงท�าให้กรุห้องที่ 2 และ 3 เชื่อม กัน มีจิตรกรรมเป็นภาพอดีตชาติพระพุทธเจ้า วาดอยู่ใน ช่องสี่เหลี่ยมและรอบๆ มีโต๊ะส�าริดเล็กๆ ตั้งอยู่ทุกซุ้มเว้น ด้านใต้ ใช้วางเครื่องทอง และผ้าทองที่ขโมยให้การว่าแค่ แตะก็ป่นเป็นผงแล้ว กรุชั้นที่ 3
เป็ น ห้ อ งที่ อ ยู ่ ใ นสุ ด เป็ น ห้ อ งที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด บรรจุ พระบรมธาตุ ซึง่ เก็บรักษาอย่างดีในเจดียท์ องค�าและรอบๆ เมืองแพรกศรีราชา และเจ้าสามพระยาพระราชโอรสองค์เล็ก ยังเต็มไปด้วยพระพุทธรูปต่างๆ การลักลอบขุดกรุ ปกครองเมืองชัยนาท (พิษณุโลก) การค้นพบกรุเมื่อปี พ.ศ. 2499 เป็นข่าวโด่งดังไปทั่ว ในปี พ.ศ. 1967 สมเด็จพระนครินทราธิราชเสด็จสวรรคต โดยที่ยังมิได้สถาปนาพระมหาอุปราชผู้เป็นรัชทายาทครอบ ประเทศ ปีถดั มาท�าให้มขี โมยกลุม่ ใหญ่ลกั ลอบมาขุดกรุวดั ครองกรุงศรีอยุธยา เมื่อเจ้าอ้ายพระยากับเจ้ายี่พระยาทราบ ราชบูรณะ พบเครือ่ งทองและอัญมณีจา� นวนมาก แต่ทว่าฝน ข่าวการสวรรคต จึงยกกองทัพเข้ากรุง เพื่อชิงราชสมบัติสืบ ตกหนักและรีบเร่งกลุม่ ขโมยจึงขนของไปไม่หมด เจ้าหน้าที่ แทนพระราชบิดา ทัง้ สองพระองค์ยกทัพมาเวลาเดียวกันพอดี ต�ารวจใช้เวลาไม่กวี่ นั ก็จบั และยึดของกลางได้บางส่วน หลัง เจ้าอ้ายพระยาตัง้ ทัพอยูใ่ กล้วดั พลับพลาไชย ป่ามะพร้าว เจ้า จากนั้นกรมศิลปากรได้เข้ามาขุด ปรากฏว่าพบสิ่งของกว่า ยี่พระยาตั้งทัพอยู่ใกล้วัดชัยภูมิ ป่ามะพร้าว แล้วทั้งสองพระ 2,000 รายการ พระพิมพ์กว่าแสนองค์ ทองค�าหนักกว่า 100 องค์กเ็ คลือ่ นทัพเข้าสูก้ นั บริเวณสะพานป่าถ่านในปัจจุบนั ทัง้ กิโลกรัม ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ 2 พระองค์ทรงพระแสงของ้าวฟันต้องพระศอขาดพร้อมกัน เจ้าสามพระยา เมื ่อ พ.ศ. 2548 มี ข่าวว่าพบพระมาลาทองค� าอยู่ที่ ท�าให้สวรรคตพร้อมๆ กัน เจ้าสามพระยาซึ่งไม่ได้มาร่วมด้วย จึงเสด็จจากเมืองชัยนาท ขึน้ ครองราชย์ในกรุงศรีอยุธยา แทน พิ พิธภัณฑ์ ทีส่ หรัฐอเมริ กา ซึ่ งยังเป็ นที ถ่ กเถี ยงว่าเป็ นของ พระราชบิดาทันที มีพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราช ที่ โบราณจริ งหรื อไม่ และหากจริ ง จะเป็ นของกรุวดั ราชบูรณะ 2 เมื่อเจ้าสามพระยาทรงขึ้นครองราชย์แล้ว จึงจัดการถวาย หรื อไม่ ซึ่งยังคงเป็ นข้อถกเถียงงกันอยู่ในปั จจุบนั เพลิงพระศพ พระเชษฐาธิราชทัง้ สองพระองค์พร้อมกัน สถาน ที่ที่ถวายพระเพลิงนั้น ก็ทรงอุทิศสร้างพระปรางค์และพระ วิหาร มีนามว่า เจดีย์เจ้าอ้ายพระยาเจ้ายี่พระยา โบราณสถาน
พระปรางค์วัดราชบูรณะมีกรุใหญ่และลึก กรมศิลปากร ท�าการขุดเรียบร้อยแล้ว เมื่อปี พ.ศ. 2500 ในปัจจุบันเปิดให้ เข้าไปชมกรุได้ตามปกติ กรุพระปรางค์วดั ราชบูรณะมีทงั้ หมด 3 ห้องใหญ่ๆ เรียงกันลงไปแนวดิ่ง โดยชั้นล่างสุดอยู่ในแนว ระดับพื้นดิน ดังนี้ กรุชั้นที่ 1
เป็นชัน้ ทีอ่ ยูบ่ นสุด เดิมมีผนังก่อปิดภาพทัง้ หมด (ภาพคน จีน เทพชุมนุม ฯลฯ) หลังผนังท�าเป็นช่องเล็กๆ ใส่พระพิมพ์ และพระพุทธรูปไว้จนเต็ม และในนั้น คนร้ายพบพระพุทธรูป ทองค�าขนาดหน้าตัก 1 ศอก อยู่ 3-4 องค์ ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / th.wikipedia.org วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
41
ผจญภัย กรุมหาสมบัติ 3 ชั้น
42
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
เชื่ อ เถอะว่ า “รอบอาณาจั ก ร อยุธยาทีร่ ่ ุ งเรืองแห่ งนี้ ย่ อมมีสมบัติ ล�า้ ค่ า ทีบ่ รรพบุรุษได้ ซ่อนไว้ เมือ่ ครั้ง เสียกรุ งอย่ างแน่ นอน” วั ด ราชบู ร ณะก็ เ ป็ น หนึ่ ง ในวั ด ที่ ได้ขุดพบสมบัติล�้าค่าของมหากษัตริย์ แห่งกรุงสยามไว้อย่างมากมาย สมัย ก่อนวัดราชบูรณะถือเป็นพระอาราม หลวงในสมัยอยุธยา ถูกสร้างขึน้ ในแผ่น ดินของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือ เจ้าสามพระยา ในปี พ.ศ. 1967 ภายหลังที่สมเด็จพระนครินทราธิราชา สวรรคต โดยเรื่องราวมีอยู่ว่า พระราชโอรส องค์ใหญ่สองพระองค์ คือ “เจ้าอ้าย พระยา” ทรงครองเมืองสุพรรณบุรี และ “เจ้ า ยี ่พ ระยา” ทรงครองเมืองสรรค์ บุรี สองพระองค์เสด็จลงมาชิงพระราช สมบัตกิ นั เอง ทัง้ สองพระอางค์ตา่ งทรง ช้างเคลือ่ นพลมาปะทะกัน ทรงพระแสง ของ้าวต้องพระศอขาดพร้อมกัน ท�าให้ “เจ้าสามพระยา” ที่เป็นพระโอรสองค์ ที่สามที่เสด็จลงมาจากชัยนาท มาถึง ภายหลั ง จึ ง ได้ เ สวยราชสมบั ติ แ ทน พระพระเชษฐาทั้งสองพระองค์ โดย พระโอรสองค์ที่สามได้ทรงพระนามว่า “สมเด็จพระบรมราชาธิ ราชที ่ 2” เมื่อเจ้าสามพระยาทรงขึ้นครอง ราชย์แล้ว จึงจัดการถวายเพลิงพระศพ พระเชษฐาธิราชทั้งสองพระองค์พร้อม กัน และสถานที่ที่ถวายพระเพลิงนั้น ก็ ทรงอุทศิ สร้างพระปรางค์และพระวิหาร มีนามว่า “เจดี ย์เจ้าอ้ายพระยาเจ้ายี ่ พระยา” โดยภายในวัดประกอบด้วย องค์ปรางค์ประธาน ซึ่งล้อมรอบด้วย ระเบียงคต มีพระวิหารตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันออก ส่วนพระอุโบสถตั้งอยู่ทาง ด้านหลังของวัดทางทิศตะวันตกในแนว ประธานเดียวกัน
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
โดยสิ่งที่น่าสนใจของวัดราชบูรณะแห่งนี้ นอกจากสมบัติที่ขุดพบแล้ว ยังมี ปรางค์ประธาน ที่มีขนาดสูงใหญ่ ก่อสร้างด้วยศิลาแลงบนฐาสี่เหลี่ยม มีเจดีย์ อยูท่ งั้ สีท่ ศิ บันไดขึน้ สูอ่ งค์ปรางค์ทางทิศตะวันออกถือเป็นปรางค์แบบไทยทีน่ ยิ ม ท�าฐานสูง ต่างจากปรางค์แบบขอมทีม่ กั มีฐานเตีย้ นอกจากนีห้ น้าปรางค์เป็นมุข ใหญ่ ยืนออกมาเป็นห้องคูหา ส่วนยอดเรียวแหลมสูง คล้ายฝักข้าวโพด ยอดมีฝกั เพกาในขณะที่ขอมไม่มี และสิ่งยอดฮิตในวัดที่นักท่องเที่ยวมักจะมาเยี่ยมชมนั้นก็คือ กรุมหาสมบัติ ที่นอนหลับไหลเป็นร้อยปี ภายในปรางค์ประธาน โดยเรื่องราวของการน�าไปสู่ การค้นพบนัน้ มีอยูว่ า่ เมือ่ ประมาณปี 2499 ขณะนัน้ กรมศิ ลปากรได้ก�าลังท�าการ บูรณะวัดมหาธาตุอยู่นนั้ ก็ได้มีคนร้ ายเข้าไปลักลอบขุดกรุมหาสมบัติ โดยได้ ความร่ วมมื อจากข้าราชการและต�ารวจบางนายในสมัยนัน้ เป็ นผูส้ มรู้ร่วมคิ ด ใน ตอนนัน้ โจรขุดกรุไปเพียงชัน้ เดียว คือชัน้ ที ่ 1 เท่านัน้ แต่ดว้ ยความบังเอิ ญท�าให้ 1 ในโจรเคาะไปทีพ่ ืน้ ท�าให้ทราบว่าภายใต้พืน้ ชัน้ ยังน่าจะมี หอ้ ง ทีค่ าดว่าจะมี สมบัติซ่อนไว้อยู่ท�าให้ท�าการขุดลงไปถึงชัน้ ที ่ 3 โดยในชัน้ ที ่ 2 สมบัติทีพ่ บก็ได้ ท�าการขนย้าย ถ่ายเท ไปให้แก่ผูส้ มรู้ร่วมคิ ด มี หนึ่งในโจรทีไ่ ม่พอใจกับการแบ่ง ทรัพย์ จึงได้ดืม่ เหล้าเมามาย ไปร� าอยู่ในตลาดหัวรอพร้อมกับดาบเล่มส�าคัญของ พระมหากษัตริ ย์อย่างพระแสงขรรค์ชยั ศรี ท�าให้ชาวบ้านทีอ่ ยู่ภายในตลาดสงสัย และน�าไปสู่การจับกุมในทีส่ ดุ โดยส�าหรับกรุแต่ละชั้น มีรายละเอียดดังนี้ กรุชั้นบน สูงจากระดับพื้นดินประมาณ 5 เมตร มีลักษณะเป็นกรุสี่เหสี่ยม จัตุรัสขนาดกว้างด้านละ 4 เมตร มีภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยาตอนต้น มี ภาพเทพชุมนุมลอยอยูบ่ างองค์มดี อกไม้เป็นก้านชูออกไปข้างหน้า ลวดลายเครือ่ ง ประดับต่างๆ มีลกั ษณะแบบศิลปะ สุโขทัย และมีรปู กษัตริย์ หรือนักรบจีนองค์หนึง่ สวมชุดเขียวองค์หนึง่ สวมชุดขาว และอีกองค์สวมชุดแดง ภาพแสดงเป็นเรือ่ งราว
กรุ ชั้ น ล่ า ง อยู ่ สู ง จากพื้ น ดิ น ประมาณ 2.20 เมตร มีลักษณะเป็นรูป สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั กว้างด้านละ 1.20 เมตร สูง 2.65 เมตรฝาผนังกรุชนั้ ล่างเจาะลึก เข้าไปเป็นช่องคูหาทั้ง 4 ด้าน เพดาน เขียนลายดาวตรงกลางล้อมรอบด้วย ลายและเขียนกรอบด้วยเส้นลวดเขียน เป็นลายเส้นดอกไม้สีแดงปิดทองเป็น วงกลมๆ ผนังเหนือซุ้มคูหาแบ่งเป็น 4 ชั้น ชั้นบนเขียนรูปพระพุทธรูปสลับกับ สาวก ผนังซัมคูหา สันนิษฐานว่า เขียน ภาพชาดกในพระพุทธศาสนานับได้ 60 ชาติ มีภาพพระโพธิสัตว์ในชาดกต่างๆ นั้น มีภาพที่พอเห็นชัดคือภาพโพธิสัตว์ เสวยพระชาติเป็น นก กวาง ช้าง กา เผือก คนขี ่ม้า นกเขา สุนขั และหงส์ นอกนั้นเลือนลาง ภายในห้องกรุชั้นนี้ เคยเป็นสถานที่เก็บสมบัติและของมี ค่าไว้มากมาย อาทิ เช่น พระแสงขันธ์ มงกุฎ และมงกุฏราชิ นี เสือ้ ทองค�า และ พระพุทธรู ปต่างๆ พระแก้ว พระทอง ค�า พระนาก เป็นต้น ปัจจุบันสมบัติ ทั้ ง หมดที่ ถู ก ค้ น พบ ได้ ถู ก น� า ไปจั ด แสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้า สามพระยาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เข้าชมได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น. ค่าเข้าชม • ชาวไทย 10 บาท • ชาวต่างชาติ 30 บาท การเดินทาง
หากดินทางมาจากกรุงเทพฯ โดย ใช้ถนนสายเอเชีย (ทางหลวงหมายเลข 32) เลี้ ย วซ้ า ยตรงสี่ แ ยกเข้ า อยุ ธ ยา ตรงเข้ามาผ่านสะพานนเรศวร ตรงไป จนถึงสี่แยกไฟแดงที่ 2 เลี้ยวขวา ตรง ไปไม่ไกลนัก ผ่านบึงพระราม จะเห็น วัดมหาธาตุอยู่ทางซ้ายมือ แล้ววัดราช บูรณะจะอยู่ถัดออกไป ข้อมูล / ภาพประกอบ : ayutthaya.mots.go.th
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
43
๓
วัดมหาธาตุ
วัด
มหาธาตุ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น หนึ่ ง ในวั ด ในเขตอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา วัดมหาธาตุเป็นวัดที่มีความส�าคัญยิง่ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เพราะเป็นวัดที่ประดิษฐานพระบรมธาตุใจกลางพระนคร และเป็นที่พ�านักของสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายคามวาสีอีกด้วย วัดแห่งนี้จึงได้รับ การก่อสร้างและดูแลตลอดเวลาจวบจนถูกท�าลายและถูกทิ้งร้างลงหลังเสียกรุง ครั้งที่ 2
ประวัติ
วัดมหาธาตุเป็นพระอารามหลวง ตั้งอยู่ใกล้วัดราชบูรณะ ในบริเวณอุทยาน ประวัตศิ าสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างในสมัย สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ขุน หลวงพะงั่ว เมื่อปี พ.ศ. 1917 แต่ไม่แล้วเสร็จ ทรงเสด็จสวรรคตเสียก่อน และได้ สร้างเพิ่มเติมจนเสร็จ ในสมัย สมเด็จพระราเมศวร โดยได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง พระปรางค์ประธาน และอัญเชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุมาบรรจุไว้ใต้ฐานพระปรางค์ ประธานของวัดมหาธาตุ เมื่อปี พ.ศ. 1927 ซึ่งปรากฏในพระราชพงศาวดารฉบับ พระราชหัตถเลขา ความส�าคัญของวัดมหาธาตุนนั้ นอกจากจะเป็นทีป่ ระดิษฐานองค์พระบรม สารีรกิ ธาตุแล้ว ยังถือเป็นวัดทีเ่ ป็นศูนย์กลางเมืองและเป็นสถานทีจ่ ดั พระราชพิธี ต่างๆ ของกรุงศรีอยุธยา โดยมีสมเด็จพระสังฆราช ฝ่ายคามวาสีประทับอยูภ่ ายใน วัด ส่วนพระสังฆราช ฝ่ายอรัญวาสีนนั้ ประทับอยูท่ วี่ ดั ป่าแก้ว (วัดใหญ่ชยั มงคล) นอกจากนีย้ งั เป็นสถานทีๆ่ พระศรีศลิ ป์และจหมืน่ ศรีสรรักษ์ พร้อมคณะได้ซมุ่ พล ที่ปรางค์วัดมหาธาตุ ก่อนยกพลเข้าพระราชวังทางประตูมงคลสุนทร เพื่อจับกุม สมเด็จพระศรีเสาวภาคย์
44
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
ในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ปรางค์ของวัดองค์เดิมที่สร้างด้วยศิลา แลง ยอดพระปรางค์ ไ ด้ ท ลายลงมา เกือบครึ่งองค์ถึงชั้นครุฑ แต่จะด้วย เหตุผลประการใดไม่ทราบ จึงยังมิได้ ซ่อมแซมให้คืนดีดั้งเดิมในรัชกาลนั้น ต่อมาสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ทรง บู ร ณะใหม่ ร วมเป็ น ความสู ง 25 วา เมื่อปี พ.ศ. 2176 และในสมัยสมเด็จ พระเจ้าบรมโกศ เมื่อปี พ.ศ. 2275 2301 จนถึงช่วงเสียกรุงศรีอยุธยาครั้ง ที่2 วัดมหาธาตุโดนท�าลายจนเหลือ เพียงซากปรักหักพังและถูกทิ้งร้าง ต่อ มายอดพระปรางค์ได้พงั ทลายลงมาอีก ครั้งในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 สิ่งก่อสร้าง
• พระปรางค์ ขนาดใหญ่ ซึ่งใน ปัจจุบันพังทลายลงมาหมดแล้ว แต่ ราชทู ต ลั ง กาที่ ไ ด้ เ คยมาเยี่ ย มชมวั ด มหาธาตุ ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรม โกศไว้ว่า ที่ฐานของพระปรางค์ มีรูป ราชสีห์ หมี หงส์ นกยูง กินนร โค สุนัข ป่ า กระบื อ มั ง กร เรี ย งรายอยู ่ โ ดย รอบ รูปเหล่านี้อาจหมายถึงสัตว์ในป่า
หิมพานต์ทรี่ ายล้อมอยูเ่ ชิงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นแกนกลางของจักรวาล • เจดีย์แปดเหลี่ยม เป็นเจดีย์ ลดหลั่นกัน 4 ชั้น 8 เหลี่ยม ชั้นบนสุด ประดิษฐานปรางค์ขนาดเล็ก ซึ่งเจดีย์ องค์นี้จัดว่าเป็นเจดีย์ที่แปลกตา พบ เพียงองค์เดียวในอยุธยา • วิ ห ารที่ ฐ านชุ ก ชี ของพระ ประธานในวิหาร กรมศิลปากรพบว่ามีผู้ ลักลอบขุดลงไปลึกถึง 2 เมตร จึงด�าเนิน การขุดต่อไปอีก 2 เมตร พบภาชนะดิน เผาขนาดเล็ก 5 ใบ บรรจุแผ่นทองเบา รูปต่างๆ • วิหารเล็ก วิหารเล็กแห่งนี้ มีราก ไม้แผ่รากขึ้นเกาะเต็มผนัง รากไม้ส่วน หนึ่งได้ล้อมเศียรพระพุทธรูปไว้ • พระปรางค์ ขนาดกลาง ภายใน พระปรางค์ มีภาพจิตรกรรม เรือนแก้ว ซึ่งเป็นตอนหนึ่งในพุทธประวัติ • ต�าหนักพระสังฆราช บริเวณ พื้ น ที่ ว ่ า งทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก เคย เป็นที่ตั้งพระต�าหนักพระสังฆราช ฝ่าย คามวาสี ราชทูตลังกาได้เล่าไว้ว่า เป็น ต�าหนักที่สลักลวดลายปิดทอง มีม่าน
ปักทอง พืน้ ปูพรม มีขวดปักดอกไม้เรียง รายเป็นแถวเพดานแขวนอัจกลับ (โคม) มีบังลังก์ 2 แห่ง จารึกแผ่นดีบุก
เมื่ อ พ.ศ. 2500 มี ก ารขุ ด ค้ น พบจารึกแผ่นดีบุกบริเวณกรุฐานพระ ปรางค์ พร้อมกับโบราณวัตถุอีกหลาย อย่าง ตัวจารึกเป็นอักษรไทยอยุธยา เนื้อหาโดยสังเขปเป็นค�าอุทิศส่วนกุศล จากการหล่อพระพุทธพิมพ์เท่าจ�านวน วันเกิด การภาวนา และการบูชาพระ รัตนตรัย ตอนท้ายระบุชื่อและอายุของ ผู้สร้างพระพิมพ์คือ พ่ออ้ายและแม่เฉา อายุ 75 ปี และระบุจ�านวนวันตามอายุ ของตนว่า “..ญิ บหมื ่นเจ็ ดพันห้าร้ อย วัน..” (หมายถึง 27,500 วัน ซึ่งหากค�า นวนแล้วจะพบว่าจ� านวนวันมากกว่า ตามความจริ งเล็กน้อย) เนือ้ หาในจารึก แผ่นนี้จึงท�าให้ทราบถึงการสร้างพระ พิ ม พ์ ใ นสมั ย อยุ ธ ยาว่ า นอกจากจะ สร้างเพือ่ สืบทอดศาสนาแล้ว ยังมีขนบ การสร้างตามจ�านวนเท่ากับวันเกิดของ ตนด้วย ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
45
เศียรพระในต้นโพธิ์
Unseen in Thailand
ที่วัดมหาธาตุ
“ วั ด ม ห า ธ า ตุ ” ใ น จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยา เป็นหนึ่งในอุทยาน ประวัติศาสตร์ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน เป็นมรดกโลก ในปีพ.ศ. 2534 โดยส่วน ที่เป็นไฮไลท์ เป็น Unseen in Thailand ที่ โ ด่ ง ดั ง ไปทั่ ว โลกจนมี นั ก ท่ อ งเที่ ย ว จ�านวนมากมายเข้ามาเยี่ยมชมก็คือ “เศียรพระพุทธรู ปในรากต้ นโพธิ์” เศี ย รพระพุ ท ธรู ป ในรากต้ น โพธิ์ นี้ เป็ น เศี ย รพระพุ ท ธรู ป หิ น ทรายซึ่ ง สันนิษฐานกันว่า ราว 50 ปีมาแล้ว ส่วน เศียรของพระพุทธรูปน่าจะตกลงมาใน บริเวณโคนของต้นโพธิ์ที่อยู่ข้างวิหาร รายพอดี โดยที่มีเฉพาะส่วนเศียรพระ เท่านั้น ส่วนองค์พระหายไป เมื่อเวลา ผ่านมานานหลายสิบปี รากของต้นโพธิ์ ก็คอ่ ยๆ งอกและเลือ้ ยมาปกคลุมห่อหุม้ เศียรพระไว้แน่น ดูคล้ายกับมีเศียรพระ ผุดออกมาจากต้นโพธิ์จริงๆ ข้อมูล / ภาพประกอบ : ayutthaya.mots.go.th
46
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
๔ วัดไชยวัฒนาราม Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
วัด
ไชยวั ฒ นาราม หรื อ วั ด ชั ย วั ฒ นาราม เป็ น วั ด เก่ า แก่ สมั ย อยุ ธ ยาตอนปลายในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� า บล บ้านป้อม อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บริเวณริม ฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยา ทางฝั่งตะวันตก นอกเกาะเมือง วั ด ไชยวั ฒ นารามเป็ น วั ด สร้ า ง ขึ้นในสมัยพระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2173 โดยเดิมบริเวณที่ตั้งของวัดแห่ง นี้เคยเป็นที่อยู่ของพระราชมารดาที่ได้ สิ้นพระชนม์ไปก่อนที่พระเจ้าปราสาท ทองได้เสวยราชสมบัตเิ ป็นกษัตริย์ เมือ่ พระองค์ได้เสวยราชสมบัติ พระองค์จึง ได้สร้างวัดไชยวัฒนารามขึ้นเพื่ออุทิศ ผลบุ ญ นี้ ใ ห้ กั บ พระราชมารดาของ
พระองค์ และอีกประการหนึ่งวัดนี้อาจถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะ เหนือเขมรด้วย จึงท�าให้มีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมส่วนหนึ่งมาจากปราสาท นครวัด
ประวัติ
วัดไชยวัฒนาราม ได้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2173 โดยสมเด็จพระเจ้าปราสาท ทอง พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นบนที่ที่เป็นบ้านเดิมของพระองค์เพื่ออุทิศ พระราชกุศลถวายพระราชมารดา แต่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยา ด�ารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าวัดนีส้ ร้างขึน้ เพือ่ เป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะเหนือ นครละแวกโดยจ�าลองแบบมาจากปราสาทนครวัด วัดไชยวัฒนารามเป็นวัดหลวงที่บ�าเพ็ญพระราชกุศลของพระมหากษัตริย์ สืบต่อมาหลังจากนั้นทุกพระองค์ จึงได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อมาทุกรัชสมัย เป็นสถานที่ถวายพระเพลิงศพพระบรมวงศานุวงศ์เกือบทุกพระองค์ สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสิ้นพระชนม์ก็ได้ถวายพระเพลิงที่วัดนี้ ก่อนกรุงแตก พ.ศ. 2310 วัดไชยวัฒนารามถูกแปลงเป็นค่ายตั้งรับศึก หลัง การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง วัดไชยวัฒนารามได้ถูกปล่อยทิ้งให้ร้างเรื่อยมา บางครั้งมีผู้ร้ายเข้าไปลักลอบขุดหาสมบัติ เศียรพระพุทธรูปถูกตัดขโมย มีการ รื้ออิฐที่พระอุโบสถ และก�าแพงวัดไปขาย แต่ในปี พ.ศ. 2530 กรมศิลปากรจึงได้ เข้ามาอนุรักษ์จนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535
“วัดไชยวัฒนาราม” พระอารมหลวงคู่เมืองอยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
47
รอบ ๆ พระปรางค์ใหญ่) ภายในเมรุทุก องค์ประดิษฐานพระพุทธรูป ภายในซุม้ ฐานภายใน วั ด ไชยวั ฒ นาราม มี ป รางค์ เรือนแก้วล้วนลงรักปิดทอง ฝาเพดาน ประธานและปรางค์ มุ ม อยู ่ บ นฐาน ท�าด้วยไม้ประดับลวดลายลงรักปิดทอง เดียวกัน พระปรางค์ประธานน�ารูปแบบ เช่นกัน ของพระปรางค์สมัยอยุธยาตอนต้นมา พระอุโบสถ ก่อสร้าง แต่ปรางค์ประธานที่วัดไชย พระอุโบสถ สร้างอยู่ทางด้านหน้า วัฒนารามท�ามุขทิศยืน่ ออกมามากกว่า ก�าแพงเมรุทิศเมรุราย นอกระเบียงคต บนยอดองค์พระปรางค์ใหญ่อาจเคย ปัจจุบันเหลือแต่ฐาน ข้างๆ มีเจดีย์ย่อ ประดิษฐานพระเจดีย์ขนาดเล็ก สื่อถึง มุมไม้สบิ สอง มีกา� แพงล้อมรอบโบราณ พระเจดียจ์ ฬุ ามณีบนยอดเขาพระสุเมรุ สถานส�าคัญแหล่านี้ถึง 3 ชั้น และ มี รอบพระปรางค์ใหญ่ล้อมรอบไปด้วย ปรางค์เจดีย์ขนาดย่อมอีกจ�านวนหนึ่ง ระเบียงคตที่เดิมนั้นมีหลังคา ภายใน ซึ่งสร้างเพิ่มในภายหลัง ระเบี ย งคตประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป เมรุทิศเมรุราย ปูนปั้นปางมารวิชัยที่เคยลงรักปิดทอง เมรุทิศเมรุราย ตั้งล้อมรอบพระ จ�านวน 120 องค์ เป็นเสมือนก�าแพงเขต ปรางค์อยูท่ งั้ สิน้ 8 องค์ โดยผนังภายใน ศักดิส์ ทิ ธิ์ ตามแนวระเบียงคตตรงทิศทัง้ เมรุเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังรูปใบไม้ แปดสร้างเมรุทิศ และ เมรุมุม (เจดีย์ ใบกนก ซึ่งลบเลือนไปมากแล้ว ผนัง สถาปัตยกรรม
48
ด้ า นนอกของเมรุ มี ภ าพปู น ปั ้ น พุ ท ธ ประวัติ จ�านวน 12 ภาพ ซึ่งในปัจจุบัน เลือนไปแล้วเช่นกัน แต่เมื่อ 20 ปีที่ แล้วยังสามารถเห็นได้ชัด เมรุเป็นทรง ปราสาท ซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป 7 ชั้น รองรั บ ส่ ว นยอดที่ ชื่ อ ที่ ม านั้ น น� า มา จากเมรุ พระบรมศพพระมหากษัตริย์ สมัยพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีแนวความ คิด มาจากคติเขาพระสุเมรุอีกต่อหนึ่ง พระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานอยู ่ ภายในเมรุทศิ เมรุมมุ ของระเบียงคตวัด ไชยวัฒนาราม มีลกั ษณะคล้ายคลึงกับ พระพุทธนิมติ วิชติ มารโมลีศรีสรรเพชญ บรมไตรโลกนาถ (หรือพระพุทธนิมิต) ซึ่ ง เป็ น พระพุ ท ธรู ป ทรงเครื่ อ งใหญ่ ประดิษฐานอยู่ที่วัดหน้าพระเมรุ ซึ่ง สันนิษฐานว่าได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้ง ใหญ่ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาท ทอง เช่นเดียวกัน
ข้อมูล / ภาพประกอบ :th.wikipedia.org / museumthailand.com วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
วัดอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร
นิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร เป็นพระ
๕
วัดนิเวศธรรมประวัติ
ราชวรวิหาร
ในสั ง กั ด คณะสงฆ์ ธ รรมยุ ติ ก นิ ก าย ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� า บลบ้ า นเลน อ� า เภอบางปะอิ น จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั โปรดฯ ให้สร้างขึน้ เพือ่ ทรง ใช้เป็นสถานที่ส�าหรับบ�าเพ็ญพระราชกุศล เมื่อ เสด็จฯ แปรพระราชฐานมาประทับที่พระราชวัง บางปะอิน ใช้รูปแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเลียน แบบโบสถ์คริสต์
ลักษณะสถาปัตยกรรม
พระอุโบสถของวัดนั้นสร้างเลียนแบบโบสถ์ คริสต์ โดยภายในประดิษฐาน “พระพุทธนฤมล ธรรโมภาส” เป็นพระประธาน โดยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐวรการทรงออกแบบ โดย ลักษณะที่ผสมผสานศิลปะแบบประเพณีนิยม และศิลปะแบบตะวันตกเข้าด้วยกัน ซึ่งมีพุทธ ลักษณะคล้ายสามัญชน นอกจากนี้ บริเวณฐาน ชุกชีกม็ ลี กั ษณะเหมือนทีต่ งั้ ไม้กางเขนแบบโบสถ์ และฝาผนั ง โบสถ์ ด ้ า นหน้ า ของพระประธาน นั้น เป็นพระบรมฉายาลักษณ์ของรัชกาลที่ 5 ที่ ประดับด้วยกระจกสี ไม่เสียค่าเข้าชม สถานที่ส�าคัญภายในวัด
• พระอุโบสถ เป็นพระอุโบสถแบบโกทิก ภายในประดิษฐานพระพุทธนฤมลธรรโมภาส • หอพระคั น ธารราษฎร์ เป็ น หอพระ ภายในประดิษฐานพระคันธารราษฎร์ ปางขอฝน • หอพระพุ ทธศิลา เป็นหอพระภายใน ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธศิ ล า ปางนาคปรกสมั ย ลพบุรี • พระบรมรู ป พระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั เป็นพระบรมรูปทรงม้า • สุสานสวนหินดิศกุลอนุสรณ์ เป็นสวน หินส�าหรับประดิษฐานพระอัฐขิ องสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ เจ้า จอมมารดาชุม่ ในรัชกาลที่ 4 และราชสกุลดิศกุล • ต้ นพระศรี มหาโพธิ์ เป็นต้นที่พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงปลูกไว้หน้า พระอุโบสถ ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / th.wikipedia.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
49
๖วัดพนัญเชิงวรวิหาร วัดสวนพลู อ� า เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระพุทธรูปขนาดใหญ่ และใหญ่ที่สุดในพระนครศรีอยุธยา พนั ญ เชิ ง วรวิ ห าร ตั้ ง อยู ่ ที่ ห มู ่ 2 ต� า บลคลอง
พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อซ�าปอกง เป็น
พระนครศรีอยุธยา เป็นพระอารามหลวงชัน้ โท ชนิดวรวิหาร แบบมหานิกาย มีจดุ เด่นส�าคัญ คือ พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อซ�าปอกง ซึง่ เป็นพระพุทธรูปทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ในพระนครศรีอยุธยา
หน้าตักกว้าง 20 เมตรเศษ สูง 19 เมตร เป็นพระพุทธรูปปูน ปั้นปางมารวิชัย เคยได้รับความเสียหายในสมัยเสียกรุง แต่ ก็ได้รับการบูรณะซ่อมแซมมาโดยตลอด จนกระทั่งในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2394 ได้โปรดเกล้าให้บูรณะใหม่หมดทั้งองค์ และ พระราชทานนามใหม่ว่า พระพุทธไตรรัตนนายก หรือที่รู้จัก กันในหมู่พุทธศาสนิกชนชาวไทยเชื้อสายจีนว่า หลวงพ่อ ซ�าปอกง ค�าว่า พแนงเชิง มีความหมายว่ า นั่งขัดสมาธิ ฉะนัน้ ค�าว่า วัดพนัญเชิง (วัดพระแนงเชิง หรือ วัดพระเจ้ า พแนงเชิง) จึงหมายถึงวัดแห่งพระพุทธรูปนั่งปางมารวิชยั คือ หลวงพ่ อโต หรือ พระพุทธไตรรัตนนายก นั้นเอง หรือ อาจสืบเนือ่ งมาจากต�านานเรือ่ งพระนางสร้อยดอกหมาก คือ เมือ่ พระนางสร้อยดอกหมากกลัน้ ใจตายนัน้ พระนางคงนัง่ ขัด
ประวัติ
วัดพนัญเชิง เป็นวัดที่มีประวัติอันยาวนาน ก่อสร้าง ก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา และไม่ปรากฏหลักฐานที่ แน่ชัดว่าใครเป็นผู้สร้าง ตามหนังสือพงศาวดารเหนือกล่าว ว่า พระเจ้าสายน�้าผึ้งเป็นผู้สร้าง และพระราชทานนามว่า วัดเจ้าพระนางเชิง และพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับ หลวงประเสริฐอักษรนิตกิ์ ล่าวไว้วา่ ได้สถาปนาพระพุทธรูป พุทธเจ้าพแนงเชิง เมือ่ ปี พ.ศ. 1867 ซึง่ ก่อนพระเจ้าอูท่ องจะ สถาปนากรุงศรีอยุธยาถึง 26 ปี
50
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
สมาธิ เพราะชาวจีนนิยมนั่งขัดสมาธิ มากว่านั่งพับเพียบจึงน�ามาใช้เรียกชื่อ วัด บางคนก็เรียกว่า วัดพระนางเอา เชิง ตามสาเหตุที่ท�าให้พระนางถึงแก่ ชีวิต ฉะนั้น ถ้าเรียกนามวัดตามความ หมายของค�าว่า วัดพนัญเชิง ก็ย่อม หมายความถึ ง วั ด ที่ มี พ ระพุ ท ธรู ป นั่ ง ขัดสมาธิ คือหลวงพ่อโต (อ้างอิ งจาก ประวัติวดั พนัญเชิ งข้อมู ลของทางวัด ในปั จจุบนั ) จุดน่าสนใจ หลวงพ่ อโต
หลวงพ่อโตหรือพระพุทธไตรรัตน นายกพระพุ ท ธรู ป ศิ ล ปะอู ่ ท องตอน ปลาย ปางมารวิชยั ขัดสมาธิราบ ขนาด หน้าตักกว้าง 14.20 เมตร สูง 19.20 เมตร วัสดุปนู ปัน้ ลงรักปิดทอง หลวงพ่อ โตหรือพระพุทธไตรรัตนนายก หรือพระ โตของชาวอยุธยาองค์นี้ ถือกันว่าเป็น พระโบราณคู่บ้านคู่เมืองกรุงศรีอยุธยา มาแต่แรกสร้างกรุง พงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ระบุว่า สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ. 1868 หรือสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 1 สถาปนากรุงศรีอยุธยา 26 ปี แ ละเมื่ อ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาใกล้ จ ะ แตกปรากฏในค�าให้การขาวกรุงเก่า ว่าพระปฏิมากรใหญ่ที่วัดพนัญเชิงมี น�้าพระเนตรไหลเป็นที่อัศจรรย์ หลวง พ่อโตเป็นพระองค์หนึ่งซึ่งเป็นที่เคารพ นับถือในหมูช่ าวจีนมากโดยเรียกกันว่า “ซ�าปอกง” นอกจากชาวไทยแล้วยังมีผู้ มีเชื้อสายจีนหลั่งไหลกันมากราบไหว้ บูชาจ�านวนมากและเป็นประจ�าทุกปี พระพุ ทธรู ป ทองค� า ในพระ อุโบสถ
ในพระอุ โ บสถวั ด พนั ญ เชิ ง นั้ น มี พระพุทธรูปส�าคัญ 3 องค์ คือ พระพุทธ รูปทองค�า พระพุทธรูปปูน และพระพุทธ รูปนาค พระพุทธรูปทองเป็นพระพุทธ
รูปสมัยสุโขทัยท�าจากทองสัมฤทธิ์ หน้าตักกว้าง 3 ศอก สูง 4 ศอก มีสีทองอร่าม ใสเป็นเงาสะท้อนอย่างชัดเจน องค์กลางเป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ สมัยอยุธยาหน้า ตักกว้าง 4 ศอก สูง 5 ศอก ส่วนพระพุทธรูปนาคเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยนั้น จะมีสีออกแดงๆ หน้าตักกว้าง 3 ศอก สูง 5 ศอก กล่าวกันว่าพระพุทธรูปทองและ นาคนีเ้ พิง่ ถูกพบว่าเป็นพระทองและพระนาคด้วยบังเอิญ เนือ่ งจากแต่เดิมทีพระ ทัง้ สององค์ถกู ฉาบเคลือบด้วยปูน จนมีลกั ษณะคล้ายกับพระพุทธรูปปูนปัน้ ทัว่ ไป สาเหตุคงเพราะว่าช่วงเวลาก่อนที่กรุงศรีอยุธยาจะถูกข้าศึกบุกตีพระนคร คนใน สมัยนั้นเกรงว่าพระพุทธรูปทองและพระพุทธรูปนาคนี้จะถูกขโมยหรือเผาเอา ทองไปจึงได้ฉาบปูนเคลือบและปัน้ ปูนในขณะทีป่ นู ยังไม่แห้งเพือ่ ท�าเป็นลายจีวร และลักษณะต่างๆ เช่น ปั้นรูปพระพักตร์ พระเกศา เพื่อให้เข้าใจว่าไม่ใช่พระทอง ค�าและพระนาค จนกระทั่งในภายหลังมีผู้ไปค้นพบว่าเป็นพระพุทธรูปทองค�า เนื่องจากเศษปูนได้กะเทาะออกมาและเนื้อภายในเป็นทอง จึงได้ค่อยๆ กะเทาะ ปูนออกให้หมด จึงได้เห็นว่าเป็นพระทองค�าทัง้ องค์และน�ามาประดิษฐานอยูภ่ าย พระอุโบสถของวัด เจ้าแม่สร้อยดอกหมาก
นอกจากหลวงพ่ อ โตหรื อ เจ้ า พ่ อ ซ� า ปอกง แห่ ง วั ด พนั ญ เชิ ง จ.พระ นครศรีอยุธยา ทีผ่ คู้ นมาสักการะกันอย่างหนาตาทุกวันแล้ว ใกล้กนั นัน้ ยังมี “ศาล พระนางสร้อยดอกหมาก” หรื อ “ศาลเจ้าแม่แอเนีย้ ” อันเป็นอนุสรณ์แห่งความรัก ทีจ่ บลงด้วยโศกนาฏกรรมในยุคก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยา ทีม่ ผี คู้ นทีต่ อ้ งการขอ พรแห่งความรักมาสักการะไม่น้อยเช่นกัน ตามต�านานพระราชพงศาวดารเหนือ กล่าวถึงพระนางสร้อยดอกหมากไว้ ว่า พระเจ้ากรุงจีนทรงมีบุตรบุญธรรมจากจั่นหมากชื่อว่า สร้อยดอกหมาก ครั้น นางจ�าเริญวัยเป็นสาวแรกรุน่ ทีม่ าพร้อมรูปลักษณ์อนั งดงาม โหรหลวงได้ทา� นาย ว่าจะได้กษัตริยก์ รุงอโยธยาเป็นพระสวามี พระเจ้ากรุงจีนจึงทรงมีพระราชสาสน์ มาถวายพระเจ้าสายน�้าผึ้ง พระเจ้าสายน�้าผึ้งหลังจากรับราชสาสน์จึงเสด็จไป กรุงจีนด้วยเรือพระทีน่ ง่ั เอกชัยด้วยพระบารมีพระราชกุศลทีส่ งั่ สมมาแต่ปางหลัง น�าพาให้พระองค์ฝ่าภยันตรายไปถึงกรุงจีนด้วยความปลอดภัย พระเจ้ากรุงจีน ทรงโสมนัสเป็นยิ่งนัก จึงมีรับสั่งให้จัดกระบวนแห่ออกไปรับพระเจ้าสายน�้าผึ้ง วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
51
เข้ามาภายในพระราชวัง พร้อมทั้งให้ ราชาภิเษกพระนางสร้อยดอกหมาก ขึน้ เป็นพระมเหสีของพระเจ้าสายน�า้ ผึง้ เวลากาลผ่านไป พระเจ้าสายน�้าผึ้ง จึ ง กราบถวายบั ง คมลาพระเจ้ า กรุ ง จี น กลั บ พระนคร พระเจ้ า กรุ ง จี น จึ ง พระราชทานเรือส�าเภา 5 ล�า กับชาวจีน ที่มีฝีมือในการช่างสาขาต่างๆ จ�านวน 500 คน ให้เดินทางกลับสู่กรุงอโยธ ยาด้วย เมื่อเดินทางถึงปากน�้าแม่เบี้ย ใกล้แหลมบางกะจะ (บริเวณหน้าวัด พนัญเชิงในปัจจุบนั ) พระเจ้าสายน�า้ ผึง้ เสด็จเข้าพระนครก่อน เพื่อจัดเตรียม ต� า หนั ก ซ้ า ยขวามาต้ อ นรั บ พระนาง สร้อยดอกหมาก ครั้นรุ่งเช้าก็จัดขบวน ต้อนรับโดยให้เสนาอ�ามาตย์ชั้นผู้ใหญ่ มาอัญเชิญพระนางสร้อยดอกหมาก เข้าเมือง โดยพระองค์ไม่ได้เสด็จไปด้วย พระนางสร้อยดอกหมากไม่เห็นพระเจ้า สายน�า้ ผึง้ มารับก็เกิดความน้อยพระทัย จึงไม่ยอมเสด็จขึ้นจากเรือ พร้อมกล่าว ว่า “มาด้วยพระองค์ โดยยาก เมื ่อมา ถึ ง พระราชวัง แล้ ว เป็ นไฉนพระองค์ จึ ง ไม่ ม ารั บ ถ้ า พระองค์ ไ ม่ เ สด็ จ มา รับ ก็ จะไม่ ไป” เสนาบดีน�าความขึ้น กราบทูล พระเจ้าสายน�้าผึ้งคิดว่านาง หยอกเล่น จึงกล่าวสัพยอกว่า “เมื อ่ มา ถึงแล้ว จะอยู่ทีน่ นั่ ก็ตามใจเถิ ด” ครั้น รุ่งขึ้น พระเจ้าสายน�้าผึ้งก็เสด็จมารับ
52
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ด้วยพระองค์เอง เมื่อเสด็จขึ้นไปบน เรือส�าเภา พระนางสร้อยดอกหมากจึง ตัดพ้อต่อว่ามากมาย พระเจ้าสายน�า้ ผึง้ จึงทรงสัพยอกอีกว่า “เมือ่ ไม่อยากขึน้ ก็ จงอยู่ที่นี่เถิด” ฝ่ายพระนางสร้อยดอก หมากได้ฟังดังนั้น เข้าพระทัยผิดคิดว่า ตรัสเช่นนั้นจริงๆ ก็เสียพระทัยยิ่งนัก จึงกลั้นพระหฤทัยจนถึงแก่ทิวงคต ณ บนส�าเภาเรือพระที่นั่ง ที่ท่าปากน�้าแม่ เบีย้ นัน่ เอง ยังความโศกสลดพระทัยแก่ พระเจ้าสายน�า้ ผึง้ ยิง่ นัก จึงโปรดเกล้าฯ ให้ อั ญ เชิ ญ พระศพมาพระราชทาน เพลิงที่แหลมบางกะจะ และสถาปนา บริเวณนั้นเป็นพระอารามนามว่า “วัด พระเจ้าพระนางเชิ ง” หรื อ “พแนงเชิ ง” ซึ่งแปลว่า “พระนางผูม้ ี แง่งอน” พร้อม ทั้งสร้างศาลขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่ง ความรักนั่นก็คือ ศาลเจ้าแม่สร้อยดอก หมากนั่นเอง และศาลแห่งนี้ยังถือเป็น เครื่องยืนยันความสัมพันธ์แนบแน่น ระหว่างไทย-จีนมาช้านานตั้งแต่สมัย ก่ อ นอยุ ธ ยาจนปั จ จุ บั น ยั ง มี ก ารจั ด งานสืบสานประเพณีจีน เช่น งานเท กระจาด งานล้างป่าช้าจีน เป็นต้น ศาลพระนางสร้อยดอกหมากนั้น เต็มไปด้วยสถาปัตยกรรมและศิลปะ แบบจีน ป้ายหน้าศาลมีทั้งอักษรไทย และจีน เขียนว่า เปยเหนียง หากแปล แยกจะได้ ค วามว่ า หญิ ง สาวผู ้ โ ศก
เศร้า แต่หากแปลรวมจะหมายถึง พระ แม่ผู้เปี่ยมเมตตา ตัวศาลเป็นอาคาร ก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น ตกแต่งลวดลาย ปูนปั้นสวยงาม ชั้นล่างเป็นเจ้าที่ ส่วน ชั้น 2 ประดิษฐานเจ้าแม่กวนอิม ซึ่ง นับถือกันว่าเป็นตัวแทนรูปเคารพของ พระนางสร้ อ ยดอกหมาก อี ก ทั้ ง ยั ง เป็นที่ประดิษฐานรูปปั้นเจ้าแม่สร้อย ดอกหมากที่แต่งองค์แบบจีน ชาวจีน ให้ความเคารพนับถือมาก แทบทุกคน เมื่อมาปิดทองหลวงพ่อโตในพระวิหาร แล้ว จะต้องแวะมาสักการะองค์เจ้าแม่ สร้อยดอกหมากด้วย ที่ส�าคัญศาลแห่ง นี้ยังเก็บสมอเรือเก่าแก่ไว้อันหนึ่ง เชื่อ กันว่าเป็นสมอเรือของพระนางสร้อย ดอกหมากนั่นเอง ความศักดิ์สิทธิ์และ อภินิหารของเจ้าแม่สร้อยดอกหมากมี ผู้กล่าวขานมาเนิ่นนาน ว่ากันว่าท่าน เป็ น ผู ้ ถื อ พระองค์ และมี รั ก เดี ย วใจ เดียวต่อพระเจ้าสายน�้าผึ้ง ไม่โปรดให้ ผู้ชายเข้าไปแตะต้องพระรูปของท่าน ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น เมื่อหลายสิบปี ก่อนเคยมีผู้ชายเข้าไปท�าความสะอาด พระรูปเจ้าแม่ ปรากฏว่าเมื่อชายผู้นั้น กลับไปบ้านก็เกิดเจ็บอย่างกะทันหัน และถึงแก่ความตายไปโดยไม่รู้สาเหตุ และหากย้อนหลังไปอีกเหตุการณ์เช่น กรณี นี้ ก็ เ คยมี ผู ้ ช ายเข้ า ไปท� า ความ สะอาดพระรูปเจ้าแม่แล้วถึงแก่ความ
ตายถึง 2 คน และเป็นความตายโดย ฉับพลันทั้งสิ้น จึงเป็นที่รู้กันว่าเจ้าแม่ ไม่ ยิ น ดี แ ละไม่ ย อมให้ ช ายคนใดถู ก พระวรกายของท่านแม้กระทั่งปัจจุบัน นี้ เวลามีงานงิว้ เดือน 9 ของวัดพนัญเชิง ซึง่ มีความเกีย่ วข้องกับศาลเจ้าแม่สร้อย ดอกหมาก จะมีการท�าพิธีบูชาเจ้าแม่ การแห่เจ้าแม่ออกนอกศาลก็เพียงแต่ ใช้วธิ อี ญ ั เชิญเอาเฉพาะกระถางธูปออก ไปเท่านั้น ในงานนี้จะมีบรรดาคนทรง เจ้าแม่สร้อยดอกหมากมาจากทั่วทุก สารทิศ เล่ากันว่าเมือ่ ประทับทรงเจ้าแม่ สร้อยดอกหมากนั้น ร่างทรงซึ่งปกติจะ พูดภาษาจีนไม่ได้เลย ก็กลับกลายเป็น พูดจีนได้อย่างน่าอัศจรรย์ สมัยก่อนเจ้า หน้าที่ประจ�าศาลเจ้าแม่เป็นคนจีน ฟัง ภาษาจีนและพูดภาษาจีนได้เล่าว่า เจ้า แม่สร้อยดอกหมากเคยถามหาทรัพย์ สมบัตโิ บราณทีพ่ ระองค์นา� มาจากเมือง จีนและเคยเก็บรักษาไว้ที่นี่ ตอนนี้เอา ไปเก็บเสียที่ไหนแล้ว และที่ส�าคัญเจ้า หน้าทีท่ ดี่ แู ลศาลเคยเห็นเจ้าแม่มาแล้ว ท่านจะแต่งชุดจีนสีขาว พระพักตร์สวย มาก ปัจจุบันความศักดิ์สิทธิข์ องเจ้าแม่ ก็ยงั คงมีอยู่ ใครมาบนบานขออะไรท่าน ไม่วา่ จะขอลูก ขอความส�าเร็จหรือขอให้ มีความรักก็มักจะได้ตามนั้น จนมีผู้น�า ของมาแก้บนเต็มไปหมด โดยส่วนมาก จะบนด้วยสร้อยไข่มุก เครื่องส�าอาง สิงโตเชิด และเครื่องสังเวย ต�านานรักเรื ่อง “เจ้าชายสายน�้าผึ้ง กับพระนางสร้ อยดอกหมาก” ยังเป็ น ต� า นานแห่ ง การสร้ า งวั ด พนัญ เชิ ง วรวิ หาร ซึ่ งท� าให้ต่างมี ความเชื ่อกัน ว่า เจ้าแม่สร้อยดอกหมากสามารถดล บันดาลให้ผทู้ ีก่ ราบไหว้ได้สมปรารถนา ดังทีข่ อไว้ได้ทกุ เรื ่องทุกประการ
๗
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
วัดพุทไธศวรรย์
วัด
พุทไธศวรรย์ เป็นพระอารามหลวงตั้งอยู่ริมแม่น�้าเจ้าพระยาฝั่งตะวัน ตก ในต�าบลส�าเภาล่ม อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา ในสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดพุทไธศวรรย์เป็นพระอารามหลวงทีใ่ หญ่โตและมีชอื่ เสียงวัดหนึง่ ปรากฏตาม ต�านานว่าสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอูท่ อง) ทรงสร้างขึน้ ในบริเวณทีซ่ งึ่ เป็นทีต่ งั้ พลับพลาทีป่ ระทับเมือ่ ทรงอพยพมาตัง้ อยูก่ อ่ นสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี ทีต่ รงนีม้ ชี อื่ ปรากฏในพระราชพงศาวดารว่า “ต�าบลเวียงเล็ก หรือ เวียงเหล็ก” ครัน้ เมือ่ สถาปนากรุงศรีอยุธยาแล้ว ถึง พ.ศ. 1896 จึงโปรดให้สร้าง วัดนีข้ นึ้ เป็นพระราชอนุสรณ์ ณ ต�าบลซึง่ พระองค์เสด็จมาตัง้ มัน่ อยูแ่ ต่เดิม และ พระมหากษัตริย์องค์ต่อๆ มาก็คงจะได้โปรดให้สร้างถาวรวัตถุ เพิ่มเติมขึ้นอีก หลายอย่าง เมือ่ เสียกรุงฯ ในปี พ.ศ. 2310 วัดพุทไธศวรรย์เป็นอีกวัดหนึง่ ทีม่ ไิ ด้ ถูกข้าศึกท�าลายเหมือนวัดอื่นๆ ทุกวันนี้จึงยังมีโบราณสถานไว้ชมอีกมากมาย
สิ่งที่น่าสนใจ
ภายในวัดมีสงิ่ ทีน่ า่ สนใจ คือ ปรางค์ประธาน องค์ใหญ่ศลิ ปะแบบขอม ตัง้ อยูก่ งึ่ กลางอาณาเขตพุทธาวาสบนฐานไพที ซึง่ มีลกั ษณะย่อเหลีย่ มมีบนั ไดขึน้ 2 ทาง คือ ทางทิศตะวันออก และทางทิศตะวันตก ส่วนทิศเหนือทิศใต้มมี ณฑป สองหลังภายในพระมณฑปมีพระประธาน พระต�าหนักสมเด็จพระพุทธโฆษา จารย์ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์เป็นพระเถระชัน้ ผูใ้ หญ่ประจ�าอยูใ่ นสมัยกรุง ศรีอยุธยา ต�าหนักนี้อยู่ในสภาพค่อนข้างทรุดโทรมแต่ภายในผนังของต�าหนัก มีภาพสีเกี่ยวกับเรื่องหมู่เทวดา นักพรต นมัสการพระพุทธบาท และเรือส�าเภา ตอนพระพุทธโฆสะไปลังกา ภาพเหล่านี้อยู่ในสภาพไม่ชัดเจนนัก นอกจากนี้ ยังมีพระอุโบสถอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของปรางค์ หมู่พระเจดีย์สิบสององค์, วิหารพระนอน และต�าหนักท้าวจตุคามรามเทพ ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org
ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
53
วัดพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิด
กษั ต ราธิ ร าชวรวิ ห าร เป็ น
วรวิ ห าร ตั้ ง อยู ่ ริ ม แม่ น�้ า เจ้ า พระยา อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา นอกเกาะ เมืองทางด้านทิศตะวันตก ตรงข้ามกับ วังหลังหรือวังสวนหลวง เดิมชื่อ “วัด กษัตรา” หรือ “วัดกษัตราราม” วัดกษัตราธิราชวรวิหาร เป็นวัด โบราณสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี มีพระปรางค์เป็นประธาน ของวัด ในสมัยรัชกาลที่ 1 เจ้าฟ้ากรม หลวงอนุรักษ์เทเวศร์ กรมพระราชวัง และกรมขุ น อิ ศ รานุ รั ก ษ์ (เกศ) ทรง ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ทั้งพระอาราม วั ด กษั ต ราเปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “วั ด กษัตราธิราช” ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สถานที่ส�าคัญภายในวัด คือ พระ ประธานในพระอุโบสถที่มีแท่นฐานผ้า ทิพย์ปูนปั้น ฝีมือประณีตงดงาม ใบ เสมาของพระอุโบสถเป็นใบเสมาคูแ่ กะ สลักลวดลายวิจิตรบรรจง
๘
วัดกษัตราธิราชวรวิหาร
ปั จจุบันเป็ นวัดที่มีพระสงฆ์ จ�า พรรษา พระสงฆ์ ทเ่ี ป็ นทีน่ ับถือ คือ พระเกจิอาจารย์ หลวงปู่ เทียม
ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org
54
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
วัดเขต พระราชวัง ทางด้านทิศ
พระราม เป็นวัดที่ตั้งอยู่นอก
๙ วัดพระราม
ตะวั น ออก ต� า บลประตู ชั ย อ� า เภอ พระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ตรงข้ามกับวิหาร พระมงคลบพิตร วัดพระราม คาดว่า สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1912 ในรัชสมัย สมเด็ จ พระราเมศวร ซึ่ ง เป็ น บริ เ วณ ที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จ พระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) พระ ราชบิดา แต่พระองค์ทรงครองราชย์ได้ เพียงแค่ปีเดียว จึงเข้าใจกันว่าสมเด็จ พระบรมราชาธิ ร าชที่ 1 ทรงได้ ช ่ ว ย สร้างจนส�าเร็จหรืออาจสร้างเสร็จเมื่อ สมเด็จพระราเมศวรเสวยราชย์ครั้งที่ 2 ก็เป็นไปได้ บริ เ วณหน้ า วั ด พระรามคื อ บึ ง พระราม ปัจจุบนั ซากปรักหักพังภายใน วั ด เหลื อ เพี ย งแต่ เสาในพระอุ โ บสถ พระพุทธเจ้าประทับนัง่ ปางมารวิชยั บนบัลลังก์ สีทใี่ ช้เป็นสีแดง คราม เหลืองและ วิหาร 7 หลัง ก�าแพงด้านหนึ่ง และที่ ด�า เป็นภาพจิตรกรรมยุคอยุธยาตอนต้น ปัจจุบันลบเลือนไปมาก ส�าคัญคือพระปรางค์ ซึง่ เป็นพระปรางค์ พระปรางค์ พระปรางค์องค์ใหญ่ ตัง้ อยูบ่ นฐานสีเ่ หลีย่ ม สูงแหลมขึน้ ไปด้านบน ทางด้าน ทรงขอมโบราณขนาดใหญ่ ภายในมี จิตรกรรมฝาผนังทั้งสองด้าน เป็นภาพ ทิศตะวันออก มีพระปรางค์องค์ขนาดกลาง ส่วนทางตะวันตกท�าเป็นซุ้มประตู มี วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
55
บันไดสูงจากฐานขึน้ ไปทัง้ สองข้าง ทีม่ มุ ปรางค์ประกอบด้วยรูปสัตว์หิมพานต์ มีปรางค์ขนาดเล็กตั้งอยู่ทางทิศเหนือ และใต้ รอบๆ ปรางค์เล็กมีเจดีย์ล้อม รอบอีก 4 ด้าน นอกจากนีย้ งั มีเจดีย์เล็กบ้าง ใหญ่ บ้างอยู่รอบๆ องค์พระปรางค์ประมาณ 28 องค์ วัดพระรามนี้เป็นที่น่าสังเกต คื อ ก� า แพงวั ด พระรามด้ า นเหนื อ มี แนวเหลื่อมกันอยู่ ก�าแพงด้านตะวัน ออก ตะวันตก และด้านใต้ มีซุ้มประตู ค่ อ นไปทางทิ ศ ตะวั น ตกได้ ร ะดั บ กั บ มุมระเบียงด้านตะวันตกเฉียงเหนือของ ปรางค์ ส่วนแนวเหลื่อมนั้นได้ระดับกับ มุมระเบียงตะวันออกเฉียงเหนือของ ปรางค์ ไม่มซี มุ้ ประตู คล้ายเจตนาสร้าง ไว้เพื่อประสงค์อะไรอย่างหนึ่ง วิหาร
- วิหารใหญ่ อยู่ทางตะวันออก ของพระปรางค์ อยู่ด้านหน้าวัด มีทาง เดินต่อกับประปรางค์ - วิหารน้ อย อยูท่ างด้านทิศใต้ หัน หน้าไปทางทิศตะวันออก เป็นวิหารที่มี ด้านหลัง เชื่อมต่อกับเจดีย์ใหญ่ ซึ่งหัก พังไปแล้ว - วิหารน้ อย หันหน้าไปทางทิศ ตะวันออก ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้มี เจดีย์เล็กอีกองค์หนึ่ง - วิหารเล็ก อยู่ด้านหน้าของพระ อุโบสถ มีประตูด้านละ 1 ประตู - วิหาร อยู่ทางมุมด้านตะวันออก เฉียงเหนือ เป็นวิหารขนาดกลาง หัน หน้าไปทางทิศตะวันออก มีเจดีย์ใหญ่ ฐานสี่เหลี่ยมอยู่หลังวิหาร - วิหาร หันหน้าไปทางทิศตะวัน ออก ด้านหลังวิหารมีเจดียฐ์ านสีเ่ หลีย่ ม องค์หนึ่ง ซึ่งหักพังไปแล้วเช่นกัน - วิหาร อยู่ทางด้านทิศตะวันตก ของปรางค์ มีขนาดเล็กกว่าวิหารด้าน ตะวันออก ปัจจุบันเหลือแต่ฐาน
56
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org
หู เปิดตา อยุธยามีอะไรเที่ยวอีกบ้าง Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
เปิด
หมูท่ า ง ช า ติ พั น ธุเป็์ ญีน่ ปุชุ่ มนชนใ น บ้ า น ญี่ ปุ่ น
อดีต (นิฮมมาจิ) นอกเมืองหลวงของ อาณาจั ก รอยุ ธ ยาที่ เ จริ ญ รุ ่ ง เรื อ งใน คริ ส ต์ ศ ตวรรษที่ 14 ถึ ง กลางคริ ส ต์ ศตวรรษที่ 18 ปั จจุบัน อยู่ในอ�าเภอ พระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ฝั่งตะวันออก ของแม่น�้าเจ้าพระยา หันหน้าเข้าหา หมู่บ้านโปรตุเกสที่อยู่ฝั่งตะวันตกของ แม่น�้า และอยู่ติดกับหมู่บ้านอังกฤษ และหมู่บ้านดัตช์ เชื่อกันว่ามีชาวญี่ปุ่น อาศัยอยู่ในบริเวณนี้ประมาณ 1,000 ถึง 1,500 คน (ไม่รวมทาสและแรงงาน ผู ก มั ด ที่ เ ป็ น ชาวพื้ น เมื อ ง เช่ น ชาว ไท) ในหนังสือญี่ปุ่น ชามุ-โคกุฟูโดกุ งกิ ประมาณการว่ามีผู้มีเชื้อชาติญี่ปุ่น ถึง 8,000 คนในศักราชคังเอ (ค.ศ. 1624–1644) ผู้อยู่อาศัยในบริเวณนี้ เป็นทหารรับจ้าง, พ่อค้า, ชาวญี่ปุ่นที่ นับถือศาสนาคริสต์ และทาสชาวไทย
หมู่บ้าน
ญี่ปุ่น
ประวัติ
แม้ ว ่ า ชุ ม ชนนี้ อ าจก่ อ ตั้ ง ขึ้ น ประมาณคริสต์ทศวรรษ 1300 ในช่วง ความปั่นป่วนทางการเมืองยุคเซ็งโงกุ โรนิง (ซามูไรที่ไม่มีเจ้า) เริ่มอพยพ หมู่ ออกจากญีป่ นุ่ ไปเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้หลังจีนสมัยราชวงศ์หมิงห้ามการค้า และเดินทางระหว่างจีนกับญี่ปุ่น โดย วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
57
อยูใ่ นช่วงสูงสุดหลังสงครามเซกิงาฮาระ อาณาจักรอยุธยาหลังประสบความพ่าย แพ้ทางทหารกับจักรวรรดิตองอู หวังที่จะจ้างซามูไรที่มีประสบการณ์ทางทหาร เป็นทหารรับจ้าง ซึ่งน�าไปสู่การอพยพเข้าของชาวญี่ปุ่น พร้อมกับการจ้างกอง ก�าลังทหารปืนชาวโปรตุเกส แต่ทหารรับจ้างชาวโปรตุเกสมักถูกคัดค้านเพราะ ฝ่ายตองอูกจ็ า้ งกองก�าลังทหารโปรตุเกสด้วย เพือ่ แก้ปญ ั หานี้ พวกเขาจึงต้องจ้าง ชาวญี่ปุ่นมาแทน ทหารรับจ้างญี่ปุ่นเริ่มเพิ่มขึ้นถึงประมาณ 200–800 คน และเริ่มมีอิทธิพล ทางการเมืองด้วย อ�านาจของชาวญี่ปุ่นเหล่านี้สามารถพบได้ในกฎหมายตรา สามดวง ทหารรับจ้างชาวญี่ปุ่นมักอยูในระดับพระยา โดยยามาดะ นางามาซะ เป็นหนึง่ ในพระยาทีไ่ ด้ตา� แหน่งนีจ้ ากทักษะศิลปะการต่อสูแ้ ละได้รบั ความชืน่ ชม จากสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ชาวคริสต์ในชุมชน
มีชาวญี่ปุ่นที่นับถือศาสนาคริสต์จ�านวนมากหลังการกดขี่ชาวคริสต์ของ รัฐบาลโชกุน เพราะอยุธยาแทบไม่มกี ารกดขีท่ างศาสนา อังตอนียู ฟรังซิชกู การ์ดิ ง มิชชันนารีชาวโปรตุเกสทีม่ าเยีย่ มชมบริเวณนีก้ ล่าวว่าตนได้ทา� พิธศี กั ดิส์ ทิ ธิแ์ ก่ ชาวญี่ปุ่นที่นับถือศาสนาคริสต์ประมาณ 400 คนใน ค.ศ. 1627 ยุบเลิก
ใน ค.ศ. 1629 สมเด็จพระเจ้าปราสาททองพยายามตัดอิทธิพลญีป่ นุ่ ด้วยการ เปลี่ยนเส้นทางการค้า ยามาดะ นางามาซะ ผู้น�าหมู่บ้านญี่ปุ่นในขณะนั้นและผู้
ต่อต้านการครองราชย์ของปราสาททอง ถูกส่งไปเป็นผูว้ า่ การนครศรีธรรมราชหลัง เจ้าหน้าที่สยามคนอื่นๆ ต่อต้านเขา ที่อยู่อาศัยนี้พบกับจุดจบใน ค.ศ. 1630 เมื่อ นางามาซะถูกลอบสังหาร ที่อยู่อาศัยถูกเผาทิ้ง และผู้อยู่อาศัยถูกฆ่าโดยเฉกอะ หมัด ภายใต้ข้ออ้าง “ท�ำกิจกรรมทีเ่ ป็ นกบฏ” ชาวญี่ปุ่นหลายคนจึงหลบหนีไป ที่จักรวรรดิเขมร ใน ค.ศ. 1633 ชาวญี่ปุ่นประมาณ 400 สามารถก่อตั้งที่อยู่อาศัยใหม่ใน อยุธยา โชกุนได้ตพี มิ พ์พระราชกฤษฎีกาซาโกกุหวั ข้อนางาซากิบเู กียวทีห่ า้ มผูค้ น อพยพไปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และสัง่ ให้ผทู้ ยี่ า้ ยไปแล้วให้กลับมาทีญ ่ ปี่ นุ่ เมือ่ เส้นทางการค้าถูกตัด อิทธิพลและจ�านวนชาวญีป่ นุ่ จึงลดลงด้วย และเมือ่ สูญเสีย สถานะทางทหารและอ�านาจ ชาวญีป่ นุ่ จึงเริม่ ท�างานเป็นนายหน้าหรือพ่อค้าดีบกุ (ซึ่งพบมากในภาคใต้ของไทย) ชุมชนญี่ปุ่นที่ฟื้นฟูขึ้นมาใหม่น่าจะอยู่ถึงคริสต์ ศตวรรษที่ 18 และผู้อยู่อาศัยถูกดูดกลืนไปเป็นส่วนหนึ่งกับชาวไทย สถานะปัจจุบัน
ปัจจุบนั ไม่มสี งิ่ ก่อสร้างใดในหมูบ่ า้ นญีป่ นุ่ หลงเหลือเลย แต่มสี วนอนุสรณ์ที่ ข้างในมีอนุสรณ์ร�าลึกและพิพิธภัณฑ์ขนาดเล็ก ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org / japanesevillage.org / Facebook - หมู่บ้านญี่ปุ่น Japanese Village
58
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
หมู่บ้าน
ฮอลันดา
ตั้งขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเมื่อปี พ.ศ. 2177 หรือ ปี ค.ศ. 1634 บ้ า น โดยตั้งอยู่บริเวณริมแม่น�้าเจ้าพระยา ติดกับอู่ต่อเรือขนาดใหญ่ ต�าบลสวนพลู ฮอลันดา หรือ หมูบ ่ า้ นของชาววิลนั ดา (ชาวฮอลันดา) ซึง่ ถูกก่อ
อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในปัจจุบันได้มีการสร้าง พิพธิ ภัณฑ์บา้ นฮอลันดาขึน้ ในบริเวณทีเ่ ป็นบ้านฮอลันดาเดิม เพือ่ เป็นศูนย์ขอ้ มูล ประวัตศิ าสตร์เพือ่ การศึกษาและเรียนรูเ้ กีย่ วกับสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศไทย และประเทศเนเธอร์แลนด์ ในสมัยอยุธยา ชาวสยามใช้ค�าว่า “วิ ลนั ดา” หมายถึง เนเธอร์แลนด์หรือชาว ดัตช์ มาจากค�าภาษามลายูว่า “โอรังเบอลันดา” หมายถึง ชาวดัตช์ในชวาและที่ อืน่ ๆ ในหมูเ่ กาะอินเดียตะวันออก (อินโดนีเซียในปัจจุบนั ) ค�าว่า “เบอลันดา” เอง อาจมาจากค�าภาษาโปรตุเกสว่า “ออลันดา” (ฮอลแลนด์)
ชาววิ ลั น ดาหรื อ ชาวฮอลั น ดา นั้ น เป็ น ชาวต่ า งชาติ ที่ เ ข้ า มาเจริ ญ สั ม พั น ธไมตรี กั บ สยามอย่ า งเป็ น ทางการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2147 (ค.ศ. 1604) ตรงกับปลายช่วงรัชสมัยของ สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช ต่ อ มา ใน พ.ศ. 2151 (ค.ศ. 1608) จึงได้รับ พระบรมราชานุญาตจากสมเด็จพระ เอกาทศรถให้ตั้งสถานีการค้าแห่งแรก ซึ่งเชื่อว่าตั้งอยู่ทางด้านใต้ภายในเกาะ เมือง แต่มีพื้นที่จ�ากัด ใน พศ. 2177 (ค.ศ. 1634) สมเด็จพระเจ้าปราสาท ทองทรงตอบแทนการที่วีโอซี (VOC หรือ Dutch East India Company) ให้ความช่วยเหลือทางการทหารด้วย การส่งเรือไปช่วยกองทัพสยามในกรณี พิ พ าทกั บ ปั ต ตานี โดยพระราชทาน ทีด่ นิ ผืนใหญ่สา� หรับก่อตัง้ สถานีการค้า ซึงติดแม่นา�้ เจ้าพระยาและอยูน่ อกเกาะ เมือง สะดวกต่อการขนถ่ายสินค้าขึน้ ลง เรือเป็นอย่างมาก บ้ า นฮอลั น ดาในปั จ จุ บั น ได้ ถู ก สร้ า งขึ้ น ใหม่ เ พื่ อ เป็ น ศู น ย์ ข ้ อ มู ล ประวัติศาสตร์ระหว่างราชอาณาจักร ไทยและราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ บอกเล่าความเป็นมาเมื่อครั้งอดีตของ การเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานการท�าการค้า และ วิถีความเป็นอยู่ของชาวฮอลันดาใน ประเทศไทย รวมถึงความสัมพันธ์กับ ชาวไทย บ้านฮอลันดาตัง้ อยูบ่ นพืน้ ทีซ่ ง่ึ ครั้งหนึ่งเคยเป็นที่ตั้งของสถานีการค้า บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดา (หรื อ เรี ย กว่ า เฟโอเซ) และชุ ม ชนที่ ประกอบด้วยชาวฮอลันดาและผูค้ นเชือ่ ชาติอื่น ในวาระเฉลิมฉลอง 400 ปี ความ สัมพันธ์ไทย-เนเธอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) สมเด็จพระราชินี นาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์และ เจ้าชายวิลเลม-อเล็กซานเดอร์ เจ้าชาย วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
59
แห่งออเรนจ์ เสด็จพระราชด�าเนินพร้อม สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯสยาม บรมราชกุมารี ทรงเยือนที่ตั้งของบ้าน ฮอลันดาซึ่งกรมศิลปากรได้ท�าการขุด ค้นและขุดแต่งส่วนทีเ่ หลืออยูข่ องสถานี การค้าวีโอซี สมเด็จพระราชินีนาถเบีย ทริกซ์พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วน พระองค์เพื่อการก่อตั้งศูนย์ข้อมูลและ จัดแสดงนิทรรศการ เป็นอนุสรณ์แสดง สั ม พั น ธภาพอั น ยั่ ง ยื น ระหว่ า งสอง ประเทศ
เครื ่องปั้ นดิ นเผา กล้องสูบยาของดัตช์ และเหรี ยญเงิ นตราดัตช์ เป็นต้น อาคารจั ด แสดงสร้ า งใหม่ เป็ น อาคารก่ออิฐ สูง 2 ชั้น สีส้มสดใส ยึด รูปแบบสถาปัตยกรรมดัง้ เดิมของสถานี การค้าดัตช์ โดยได้รับทุนสนับสนุน จากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของ สมเด็จพระราชินนี าถเบียทริกซ์ และงบ ประมาณจากรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ ส่วน ที่ดินเป็นกรรมสิทธิ์ของวัดพนัญเชิง ซึ่ง อยู่ติดกัน
สั ม พั น ธ์ 400 ปี ระหว่ า งไทยและ เนเธอร์แลนด์ • ชัน้ ล่าง มีนทิ รรศการชัว่ คราวเรือ่ งการ จัดการน�้าของเนเธอร์แลนด์ , ส่วนร้าน ของขายที่ระลึกและคาเฟ่ นอกจากนั้น ยังสามารถเดินชม บริเวณด้านนอกอาคาร ที่เป็นส่วนขุด แต่งโบราณสถานเป็นสถานีการค้าเดิม และทางเดินริมแม่น�้าได้
ข้อมูลพิ พิธภัณฑ์บ้านฮอลันดา
ส่วนจัดแสดงหลักอยู่บริเวณ ชั้น
บ้านฮอลันดา เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ ใช้พื้นที่ที่เคยเป็นสถานีการค้าบริษัท อิ น เดี ย ตะวั น ออก ของฮอลั น ดาใน สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งหลงเหลือเพียง ฐานรากโบราณสถานอาคารคลังสินค้า เดิม โดย กรมศิลปากรได้เข้ามาขุดแต่ง ในระหว่างปี พ.ศ.2546-2548 และ ในปี พ.ศ.2552-2553 ได้ขุดพบเครื่อง มือเครื่องใช้ อาทิ เครื ่ องกระเบื ้องจี น
2 แบ่งเป็น
การเล่ า เรื่ อ ง การค้ า ทางทะเล ระหว่างเมืองท่าในเอเชียและบทบาท ของฮอลั น ดา โดยในนิ ท รรศการใช้ สื่ อ เทคโนโลยี แ บบ interactive ที่ ผู ้ ชมสามารถกดปุ ่ ม ดู เ ส้ น ทางการค้ า ว่าแต่ละเส้นทางมีสินค้าใดที่ค้าขาย ระหว่างกัน และตัวอย่างสินค้าที่หาดู ได้ยาก เช่น • หนังปลากระเบนทีส่ ง่ ออกไปขาย ถึงญี่ปุ่น เพื่อน�าด้ามจับดาบซามูไร หนังกวางที่มีความเบา ยืดหยุ่นและ แกร่ง ส�าหรับท�าชิน้ ส่วนชุดเกราะนักรบ ญี่ปุ่น • ไม้ฝาง ที่มีคุณภาพในการย้อม ผ้า • ไม้กฤษณามีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ที่น�าไปผลิตน�้ามันหอม • ดีบกุ ทีใ่ ช้เป็นวัสดุบดุ า้ นในกล่อง ชาเพื่อป้องกันความชื้น เป็นต้น
• ส่วนนิทรรศการแนะน�าให้รู้จักว่าชาว ดัตช์ คือ ใคร เหตุใดบริษทั อินเดียตะวัน ออกของฮอลันดาหรือวีโอซี(VOC) จึง มาท�าการค้ากับอยุธยา การค้าขายใน สมัยอยุธยา วิถีชีวิตชาวดัตช์ • ส่วนจัดแสดงจ�าลองหลุมขุดค้นทาง โบราณคดีที่เป็นสถานีการค้าดัตช์ ส่วนสุดท้ายเล่าเรื่องการฉลองความ
วัตถุจัดแสดงที่มีความส� าคัญ / สิ่งที่น่าสนใจ
ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org / previous.thailandtourismdirectory.go.th
60
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
หมู่บ้าน
โปรตุเกส หมูอ่ ยู ่ ที่ ต� า บ ล ส� า เ ภ า ลตั่ ้มง บ้ า น โ ป ร ตุ เ ก ส
อ� า เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป็ น ที่ อ ยู ่ ช าว โปรตุ เ กสซึ่ ง เป็ น ชาวยุ โ รปชาติ แ รกที่ เข้ามาติดต่อค้าขายกับกรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2054 โดยอาฟงซู ดึ อัลบู แกร์กึ ผู้ส�าเร็จราชการของโปรตุเกส ประจ�าเอเชีย ได้ส่งดูวาร์ตึ ฟือร์นังดึช เป็นทูตเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับ สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี ที่ 2 แห่ ง กรุ ง ศรีอยุธยา ชาวโปรตุเกสเข้ามาตั้งหลัก แหล่งค้าขายและเป็นทหารอาสาใน กองทัพกรุงศรีอยุธยา สร้างโบสถ์ขึ้น เพื่อเผยแพร่ศาสนาและเป็นศูนย์กลาง ของชุมชน ปัจจุบนั ซากสิง่ ก่อสร้างคือโบราณ สถานซานเปโตรหรื อ เรี ย กในสมั ย อยุธยาว่าโบสถ์เซนต์ดอมินกิ เป็นโบสถ์ ในคณะดอมินิกัน นับเป็นโบสถ์แห่ง แรกที่สร้างขึ้นในแผ่นดินไทยเมื่อ พ.ศ. 2083 ตั้งอยู่ในบริเวณเกือบกึ่งกลาง หมู ่ บ ้ า นโปรตุ เ กส มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ
2,400 ตารางเมตร ยาวตามแนวทิศ ตะวันออกไปตะวันตกหันหน้าสู่แม่น�้า เจ้าพระยา โบราณสถานซานเปโตรประกอบ ไปด้วย ส่วนหน้า เป็นสุสานของชาว คาทอลิ ก คณะโดมิ นิ กั น ; ส่ ว นกลาง ใช้ประกอบพิธีทางศาสนาและฝังศพ บาทหลวง; ส่วนในด้านหลังเและด้าน ข้าง เป็นทีพ่ กั อาศัย มีการค้นพบโบราณ วัตถุ โครงกระดูกมนุษย์ กล้องยาสูบ เหรียญกษาปณ์ เครือ่ งปัน้ ดินเผา เครือ่ ง ประดับก�าไลแก้ว และเครื่องประกอบ พิธีทางศาสนา เช่น ไม้กางเขน เหรียญ รูปเคารพในศาสนา ลูกประค�า หมู่บ้านโปรตุเกสถูกสร้างขึ้นเพื่อ เผยแพร่ ศ าสนาและเป็ น ศู น ย์ ก ลาง ของชุมชน ปัจจุบันบริเวณนี้ยังมีร่อง รอยซากสิ่งก่อสร้างปรากฏให้เห็นคือ โบราณสถานซานเปโตรหรือเรียกใน สมัยอยุธยาว่าโบสถ์เซนต์โดมินิค เป็น โบสถ์ในคณะโดมินิกันนับเป็นโบสถ์ แห่งแรกที่สร้างขึ้นในแผ่นดินไทยเมื่อ ปี พ.ศ. 2083 ตั้งอยู่ในบริเวณเกือบ
กึ่ ง กลางหมู ่ บ ้ า นโปรตุ เ กส มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 2,400 ตารางเมตร ยาว ตามแนวทิศตะวันออกไปตะวันตกหัน หน้าสู่แม่น�้าเจ้าพระยา ตัวอาคารแบ่ง ออกเป็นสามส่วน คือ ส่วนหน้าเป็น สุสานของชาวคาทอลิคคณะโดมินิกัน ส่วนกลางใช้ประกอบพิธีทางศาสนา และฝังศพบาทหลวง ส่วนในด้านหลัง เและด้ า นข้ า งเป็ น ที่ พั ก อาศั ย และมี การขุ ด ค้ น พบโบราณวั ต ถุ ที่ ส� า คั ญ ได้แก่ โครงกระดูกมนุษย์ กล้องยาสูบ เหรียญกษาปณ์ เครือ่ งปัน้ ดินเผา เครือ่ ง ประดับก�าไลแก้วและเครื่องประกอบ พิธีทางศาสนาเช่น ไม้กางเขน เหรียญ รูปเคารพในศาสนา ลูกประค�า มีโครง กระดูกจ�านวนมากมายถึง 254 โครง ฝัง เรียงรายอย่างเป็นระเบียบและทับซ้อน กันหนาแน่นทั้งภายในและภายนอก อาคาร จากแนวโครงกระดูกที่พบแบ่ง ขอบเขตสุสานออกเป็น 3 ส่วน ส่วน ในสุดกลางตัวอาคารที่เป็นฐานโบสถ์ อาจเป็นโครงกระดูกของบาทหลวงหรือ นักบวช ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
61
ศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง
ºŒÒ¹¢Í§¾‹Í
ย นรู ้ เ ศรษฐกิ จ พอ ศูนย์การเรี เพียงบ้านของพ่อ จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา เป็นสถานที่เรียนรู้ เชิงเกษตร ที่ต้องการน�าเสนอแนวคิด แรงบันดาลใจ และการสร้างจิตส�านึก ดีๆ ผ่านหลักค�าสอนและหลักการทรง งานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกา ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร(รัชกาลที่ ๙) เพื่อส่ง ต่อให้เด็กเยาวชน รวมทั้งประชาชน ได้ น�าไปต่อยอดพัฒนาตนเองและสังคม ต่อไป ภายในมี ก ารสาธิ ต และฐาน กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอ เพียงให้ความรู้ด้านต่างๆ อาทิ
• พื้นที่นา • พื้นที่เพาะปลูก • พื้นที่เลี้ยงสัตว์ • พื้นที่กักเก็บน�้า • สัมผัสกับสัตว์เลีย้ งต่างๆ อาทิ ไก่ เป็ด แพะ เป็นต้น วัตถุจัดแสดงที่มีความส� าคัญ / สิ่งที่น่าสนใจ
• ส�ำหรั บหน่ วยงำนภำครั ฐและ เอกชน บ้านของพ่อ มีกิจกรรมดีดี ที่ พร้ อ มน� า เสนอให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานของ ท่านได้เข้ามาร่วมสนุกและร่วมเรียนรู้ ไปด้วยกัน (กรุณาโทรศัพท์นัดจองวัน
และรับทราบรายละเอียดล่วงหน้า) • ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั่ ว ไป สามารถเข้ามาเดินชม ถ่ายรูป และ เข้าร่วมกิจกรรมย่อยกับบ้านของพ่อ อาทิ กิ จ กรรมสานปลาตะเพี ย นใบ ลาน , กิจกรรมท�าไข่เค็ม ,กิจกรรมปลูก ข้าว,กิจกรรมปลูกไม้มงคล
ข้อมูล / ภาพประกอบ : previous.thailandtourismdirectory.go.th / museumthailand.com
62
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
ศูนย์ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
สถาบันอยุธยาศึกษา
ใน
ปี พ.ศ.2548 ส�านักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ได้ยกสถานะเป็น สถาบันอยุธยาศึกษา ท�าหน้าที่ทางวิชาการในด้านการ อนุรักษ์ ส่งเสริมเผยแพร่ วิจัย ศิลปวัฒนธรรม โดยจัดตั้งขึ้นตามโครงสร้างของ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 ที่ได้ก�าหนดไว้ในมาตรา 7 คือ ให้มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันอุดมศึกษา เพือ่ การพัฒนาท้องถิน่ ทีเ่ สริมสร้าง พลังปัญญา ของแผ่น ดินฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยา เพื่อ ความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชน มีส่วนร่วมในการจัดการ การบ�ารุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง สมดุลแล ดังนัน้ สถาบันอยุธยาศึกษา จึงได้ดา� เนินการก่อสร้างอาคารเรือนไทย โดยได้ รับงบประมาณสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาและจังหวัด พระนครศรีอยุธยา เพือ่ จัดตัง้ เป็นศูนย์ทอ่ งเทีย่ วทางวัฒนธรรมและภูมปิ ญ ั ญาท้อง ถิ่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้โดย ชั้นบนของเรือนไทย เป็นสถานที่น�าเสนอนิทรรศการเกี่ยวกับ “วัฒนธรรมอยุธยา” ทางด้านต่างๆและ เป็นสถานทีจ่ ดั งานพิธกี ารต่างๆ ส่วนชัน้ ล่างจัดเป็นส�านักงานและโถงนิทรรศการ หมุนเวียน โดยมีสักษณะอาคารแบบเรือนหมู่ทรงไทยภาคกลาง ตั้งอยู่บริเวณ ถนนปรีดพี นมยงค์ ระหว่างจวนผูว้ า่ ราชการจังหวัดและศุนย์ศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
63
นิทรรศการวัฒนธรรมอยุธยา ประกอบด้วย
• เรือนกรุงศรีอยุธยาเมืองมรดกโลก จัดแสดงให้ความรู้เกี่ยวกับอยุธยา เมืองมรดกโลก ประกอบด้วย โมเดล จ�าลองกายภาพเกาะเมืองอยุธยา : เวนิสแห่งโลกตะวันออก เรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับอาณาจักร อยุ ธ ยา แบบจ� า ลองแสดงความส� า คั ญ ของสถานที่ ตั้ ง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาในอดีต รวมทั้ง ข้อมูลการขึ้นทะเบียนเป็นเมืองมรดกโลกและการเป็นแม่ แบบของกรุงรัตนโกสินทร์ • เรือนโขนที่สุดแห่งมหรสพไทย เรื อ นโขน จั ด แสดงความรู ้ เ กี่ ย วกั บ การแสดงโขน ที่สุดของมหรสพไทย โขนเป็นมหรสพชั้นสูง ซึ่งเป็นเครื่อง ราชูปโภคของพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา และจัดแสดงหัวโขนที่เป็นตัวเอก และเป็นตัวเดินเรื่องใน รามเกียรติ์ จัดแสดงความรู้เรื่องพัตราภรณ์โขน รวมทั้ง กรรมวิธี เครื่องมือที่ใช้ในการท�าหัวโขน และน�าเสนอสื่อ เกี่ยวกับการแสดงโขนประเภทต่างๆ
• เรือนมรดกของแผ่นดิน มรดกศิลปกรรมในสมัยอยุธยา ประกอบด้วย จิตรกรรม ประติมากรรม การดนตรี นาฏศิลป์และมหรสพพืน้ บ้านต่างๆ รวมทัง้ วรรณกรรม ทีไ่ ด้รบั การยกย่อง จัดแสดงในรูปแบบสือ่ ผสมโดยมีหุ่นจ�าลองกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค จัด แสดงสมุดข่อยขาว สมุดข่อยด�าและใบลาน ซึ่งเป็นเอกสาร โบราณที่ส�าคัญยิ่ง • โถงนิทรรศการหมุนเวียน จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียนที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม อยุธยา และวาระส�าคัญต่างๆ ตามธรรมเนียมและประเพณี ไทย • ลานวัฒนธรรม เพื่อจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม มหรสพทางศิลปะนาฏ ดุรยิ างค์ไทย การจัดนิทรรศการและงานวิชาการ เพือ่ การท�านุ บ�ารุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ วัตถุจัดแสดงที่มีความส�าคัญ / สิ่งที่น่าสนใจ
• เรือนไทยหมู่ภาคกลาง • นิทรรศการเรือไทยภาคกลาง (เรือจ�าลอง)
ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / museumthailand.com/th/museum / Facebook - สถาบันอยุธยาศึกษา
64
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
ษาประวัติศาสตร์อยุธยา จัดตั้งขึ้นตามโครงการที่นัก ศูนย์ศึวิชกาการไทยและนั กวิชาการญี่ปุ่นได้ปรับขยายมาจาก
ศูนย์ศึกษา ประวัติศาสตร์
อยุธยา
ข้อเสนอเดิมของสมาคมไทย-ญี่ปุ่น และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ เคยเสนอปรับปรุงบริเวณที่เคยเป็นหมู่บ้านญี่ปุ่นและสร้างพิพิธภัณฑ์ หมู่บ้านญี่ปุ่นมาเป็นการเสนอให้จัดตั้งเป็นศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์ อยุธยา ซึ่งจะท�าหน้าที่เป็นสถาบันวิจัยและพิพิธภัณฑสถานเกี่ยวกับ ราชอาณาจักรอยุธยาโดยส่วนรวม และได้รับงบประมาณช่วยเหลือ แบบให้เปล่าจากรัฐบาลญี่ปุ่นเป็นเงิน 999 ล้านเยน เพื่อเป็นการ เฉลิมพระเกียรติในพระราชวโรกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรง เจริญพระชนมพรรษาครบ 60 พรรษา และเพื่อเป็นที่ระลึกในโอกาสที่ มิตรภาพระหว่างประเทศญีป่ นุ่ กับราชอาณาจักรไทยได้สถาวรยืนนาน มาครบ 100 ปี นอกจากผังจ�าลองเมืองกรุงเก่าแล้ว พิพธิ ภัณฑ์ของศูนย์ศกึ ษาฯ นี้ ยังมีลักษณะที่พิเศษแตกต่างจากพิพิธภัณฑ์อื่นในประเทศ คือ การที่ พยายามสร้างชีวติ สังคมวัฒนธรรมในอดีตให้กลับขึน้ มาใหม่ดว้ ยข้อมูล การวิจัย (Researched-based Reconstruction) โดยการน�าวิชาการ เทคโนโลยีของการจัดพิพิธภัณฑ์สมัยใหม่มาจัดแสดงนิทรรศการซึ่ง จะท�าให้ผู้ชมสามารถเข้าใจชีวิตในอดีตได้ง่าย การจัดแสดงมีทั้งสิ้น 5 หัวข้อ 1.อยุธยาในฐานะราชธานี 2.อยุธยาในฐานะของเมืองท่า 3.อยุธยาในฐานะรัฐรวมศูนย์อา� นาจ 4.ชีวติ ชุมชนชาวบ้านไทย 5.ความ สัมพันธ์ของอยุธยากับนานาชาติ นิทรรศการทุกอย่างที่น�ามาแสดงใน ศูนย์ศกึ ษาฯ ได้รบั การตรวจสอบข้อมูลทางประวัตศิ าสตร์อย่างละเอียด จากคณะอนุกรรมการด้านวิชาการของคณะกรรมการอ�านวยการฯ มา แล้ว ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / db.sac.or.th
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
65
ด า ล ต น ิ ด เ ช้อป ชิม ชิลล์ ตลาดน�้าอโยธา
สถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางศิลปวัฒนธรรมไทย ที่ใหญ่ที่สุดใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีวตั ถุประสงค์เพือ่ ทีจ่ ะให้สถานทีแ่ ห่งนีเ้ ป็น สถานที่ท่องเที่ยวและศึกษาเชิงอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมไทยตั้งแต่สมัยอยุธยา ทั้งด้านการแต่งกายสถาปัตยกรรมที่งดงามและคงเอกลักษณ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี การละเล่น และแสดงพื้นบ้าน ของกินของใช้ในยุคเก่า วิถีชีวิตความ เป็นอยู่อย่างไทยๆ ที่เรียบง่าย ตลาดน�า้ อโยธยา เป็นจุดศูนย์รวมนัก ท่องเทีย่ วชาวไทยและชาวต่างชาติทจี่ ะ ได้เพลิดเพลินไปกับบรรยากาศ และทัศนียภาพอันงดงามแบบไทยๆด้วยการเดิน ชมตลาดเพื่อชิมอาหารรสชาดอร่อยๆ เรียบคลองยาว หรือจะซื้อหาของกินของ ฝากบนร้านค้าที่ตั้งเรียงรายอยู่ในเรือนไทยอันงดงาม รอบตลาดน�้าอโยธยาของ เรา ก็เพลิดเพลินไม่แพ้กัน พร้อมกันนี้ก็ยังมีเรือบริการรับส่งไปยังท่าเรือภายใน ตลาดอีกด้วยเพื่อ สะท้อนถึงวิถีการ เดินทางในสมัยก่อน
เป็น
ลักษณะเด่น
• จ�าหน่ายอาหาร ของฝาก และของที่ระลึก • การแสดงศึกในสงครามในสมัยอยุธยา ข้อมูล / ภาพประกอบ : ayothayafloatingmarket.in.th / Facebook - ตลาดน้ำาอโยธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
66
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
ย ตลาดนานาชาติ แหล่ ง อโยเดี ท่ อ งเที่ ย วเก๋ ๆ ในจั ง หวั ด
ตลาดอโยเดีย
พระนครศรีอยุธยา ที่ก�าลังได้รับความ นิยมจากนักท่องเที่ยว ด้วยการตกแต่ง ที่น่าสนใจ มีมุมให้ถ่ายภาพสวย ๆ สไต ลวินเทจ และยังเป็นแหล่งช็อปปิ้ง ให้ พักผ่อนหย่อนใจ เหมาะกับการมาเดิน ชิล ๆ กับครอบครัว หรือคนรู้ใจ มีจุดให้ นักท่องเที่ยวขี่ช้างชมรอบๆตลาดและ ให้อาหารแพะ ตลาดนานาชาติอโยเดีย เดิมคือ ตลาดเศียรช้าง ฮิปมาร์เก็ต เมื่อเข้า มาเดินเล่น จุดแรกที่จะพบคือการให้ อาหารน้ อ งแกะเหมื อ นที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ทัว่ ไป พอเมือ่ เดินเข้ามาก็จะพบกับโซน ชอปปิง้ เสือ้ ผ้า ร้านขายของทีร่ ะลึก ร้าน อาหารเครือ่ งดืม่ ต่างๆ ฯ กลางตลาดคือ ลานรูปปั้นพระพิฆเนศองค์ใหญ่ให้สัก การะบูชา ใกล้ๆกันมีบันไดขึ้นไปดูวิว เจดียช์ า้ งล้อมจากมุมชัน้ สอง แต่จดุ เด่น ที่สุดของตลาดนานาชาติอโยเดียก็คือ มีพร๊อพให้ถ่ายรูปมากมาย เหมาะกับ การพาน้องๆเด็กๆมาถ่ายรูปเล่น หรือ จะมาเป็นครอบครัวก็ได้ นักท่องเที่ยว มักเดินควบคู่กับตลาดน�้าอโยธยาและ นั่งช้างเล่นที่หมู่บ้านช้างอโยธยาที่อยู่ ติดๆกัน ลักษณะเด่น
• รูปปัน้ พระพิฆเนศองค์ใหญ่ให้สกั การะบูชา • ร้านค้าต่างๆ • ปางช้างอโยธยา
ข้อมูล / ภาพประกอบ : previous.thailandtourismdirectory.go.th / archived.tatcontactcenter.com
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
67
ตลาดน้�า
กรุงศรี
ตลาดสไตล์ยอ้ นยุคแหล่งใหม่ทเี่ พิง่ เกิดขึน้ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพราะมีครบเครื่องเรื่องของกิน เช่น อาหารไทย, ขนมไทย และของใช้ ทีเ่ ป็นสินค้าโอทอปของชุมชนคนอยุธยา มาซึมซับบรรยากาศและทานของอร่อยๆ เดินเล่นชมบรรยากาศย้อนยุคเมืองเก่าอยุธยา ตอนกลางวันที่นี่จะเป็นตลาดน�้ากรุงศรี แต่ในวันศุกร์-อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 4 โมงเย็นเป็นต้นไป ตลาดน�า้ กรุงศรีกจ็ ะเปลีย่ นเป็น อยุธยาไนท์มาร์เก็ต แทน เรียก ว่าช้อปกันได้ทั้งวันทั้งคืน นอกจากนี้ ทีน่ ยี่ งั จ�าลองท่าน�า้ บ้านท่านออกญาโหราธิบดีมาให้เราถ่ายภาพ สวยๆ อีกด้วย ตลาดน�้ากรุงศรีมีอาหารมากมายให้เลือกชิม ไม่ว่าจะเป็นก๋วยเตี๋ยว ผัดไทย ไก่ทอด หอยทอด ไอติมกะทิ ขนมหวาน และอื่นๆ อีกมากมาย ที่ส�าคัญราคาไม่ แพงด้วย และที่ไม่ควรพลาด สนุกไปกับการแสดงอันน่าตื่นตาตื่นใจ การละเล่นพื้น บ้าน ร�าวงชาวบ้าน และละครอิงประวัติศาสตร์ มีให้ชมกันฟรีๆ ทุกวัน
เป็น
ข้อมูล / ภาพประกอบ : previous.thailandtourismdirectory.go.th / tatcontactcenter.com
68
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
ลักษณะเด่น
• มีร้านค้าหลากหลาย • เป็นตลาดย้อนยุคอาหารอร่อย • ขนมไทย
Ayutthaya
คู่มือ.. อยุธยา
ตลาดน�้าทุ่งบัวชม ตลาด
น�า้ ทุง่ บัวชมเป็นตลาดน�า้ ทีเ่ ปิดโครงการใหญ่จา� ลองวิถี ชีวิตกรุงเก่า ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่บน เนือ้ ที่ 18 ไร่ ในพืน้ ทีต่ า� บลสนับทึบ อ�าเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กม.78 พื้นที่ติด ถนน พหลโยธินขาออก สู่ภาคอีสาน เดิมทีเป็นพื้นที่ว่าง ติดเขต วัดสหกรณ์ธรรมนิมติ ต่อมาจึงได้มกี ารพัฒนากลายมาเป็นตลาดน�า้ โดยมี คุณไพศาล ทุ่งทอง เป็นผู้ริเริ่ม ตลาดน�้าทุ่งบัวชมเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 ส�าเร็จและเปิดเป็นทางการ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 ตลาดน�้าทุ่งบัวชมเกิดจากกลุ่มนักลงทุนที่มีความรักในการท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ และชื่นชมในศิลปวัฒนธรรมของไทย และมีความปรารถนา อยาก ให้ความรู้สึกรักในศิลปวัฒนธรรมไทยได้ถูกถ่ายทอดไปสู่กลุ่มคนรุ่นใหม่ ในประเทศ ซึ่งผู้มาเยือนจะสามารถศึกษาวิถีชีวิต ความเป็นอยู่แบบไทยๆ ได้เห็นความเจริญรุ่งเรืองของแผ่นดินที่เราอาศัยอยู่มาช้านาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ ควรอนุรักษ์ไว้ทั้งสิ้น ตลาดน�้าทุ่งบัวชมเป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจส�าหรับ ครอบครัวและเพื่อนๆ ที่ชอบบรรยากาศแบบไทยๆสไตล์เก่าๆดีไซน์เก๋ๆซึ่ง มีแนวคิดผสมผสานระหว่างสมัยเก่าย้อนยุคกับแนวคิดร่วมสมัยเข้าไว้ด้วย กันอย่างลงตัวและยังมีกิจกรรมต่างๆอีกมากมายไว้ส�าหรับนักท่องเที่ยวได้ เพลิดเพลิน ตลาดน�้าทุ่งบัวชม ถนนพหลโยธิน ถนนวังน้อย-สระบุรี ต�าบล สนับ ทึบ อ�าเภอ วังน้อย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา 13170
ลักษณะเด่น
• พิพิธภัณฑ์ เมืองจิ๋ว วิถีไทย • การแสดง แสง สี เสียง
ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / previous.thailandtourismdirectory.go.th
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
69
ตลาด
โก้ง โค้ง
หากเดินทางมาเอง ใช้ทางหลวง ค โบราณ ซื้ อ ขายแลกเปลี่ ย นสิ น ค้ า นานาชนิ ด ตลาดย้ณอบ้นยุานแสงโสม ทั้งที่เป็นสินค้าชุมชนและสินค้าที่มา หมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ผ่าน บริเวณบ้านเรือนไทย จ�าหน่ายพืช ผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ อาหารคาว-หวาน ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ ตลาดโก้งโค้ง ตั้งอยู่หมู่ 5 ถนน บางปะอิน-วัดพนัญเชิง (ติดวัดบ้าน เลน) ต� า บลขนอนหลวง อ� า เภอ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับบริเวณ “บ้านแสงโสม” (ลักษณะเป็นบ้านเรือนไทยหมู่ใหญ่ คงความเป็นสถาปัตยกรรมไทยแบบ โบราณ) เป็นตลาดโบราณบรรยากาศ ย้อนยุค ค�าว่า “ตลำดโก้ งโค้ ง” เป็น ค�าที่ใช้เรียกตลาดในสมัยโบราณ คือ ที่คนนั่งขายสินค้าจะนั่งอยู่บนพื้น คน ที่ ม าซื้ อ จะต้ อ งโก้ ง โค้ ง เลื อ กดู สิ น ค้ า ที่ตนสนใจ สถานที่แห่งนี้ในอดีตกาล เป็นด่านขนอน หรือ ด่านเก็บภาษีใน สมั ย อยุ ธ ยาและเป็ น สถานที่ ที่ มี ก าร
จากต่างเมือง ผู้ที่สนใจสามารถเข้ามา สัมผัสบรรยากาศเก่าๆ แบบสมัยกรุง ศรีอยุธยา พบวิถชี วี ติ ไทยในอดีต มีการ จัดจ�าหน่ายพืช ผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ จากสวน สินค้าอุปโภคบริโภค รวมทั้ง อาหารคาว หวาน นานาชนิด พ่อค้า แม่ค้าแต่งกายย้อนยุค นอกจากนี้ใน ช่วงเช้าก่อนเปิดตลาด พ่อค้า แม่คา้ จะ มีพิธีร�าวงถวายพ่อปู่โสม สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในบริเวณตลาดแห่งนี้ หากใครมาตอน เช้าๆ หรือมากับเป็นหมูค่ ณะ ชาวตลาด สวมชุดไทยงดงามจะออกมาร�ากลอง ยาวต้อนรับด้วย ไม่เพียงเท่านั้น เหล่า บรรดาพ่อค้าแม่ขายก็แต่งกายชุดย้อน ยุครอให้ลูกค้าได้ยลโฉมเช่นกัน สิ่งน่า รักๆ เหล่านี้นับเป็นอีกเสน่ห์หนึ่งของ ตลาดโก้งโค้งเลยก็ว่าได้ ข้อมูลการเดินทาง
ประตู น�้ า พระอิ น ทร์ แล้ ว แยกเข้ า ทางหลวงหมายเลข 32 เลี้ยวซ้ายไป ตามทางหลวงหมายเลข 309 เข้ า สู ่ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา หรื อ หากมาโดยรถโดยสารประจ� า ทาง สามารถโดยสารปรับอากาศไปจังหวัด พระนครศรีอยุธยา มีบริการทุกวัน วัน ละหลายเทีย่ ว โดยออกจากสถานีขนส่ง หมอชิต ถนนก�าแพงเพชร 2 ตลาดโก้งโค้ง จะเปิดให้มาเลือก ซื้ อ ของทุ ก วั น พฤหั ส บดี - อาทิ ต ย์ แ ละ วันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 09.0016.00 น. สอบถามข้อมูลการท่องเที่ยว และเส้นทางได้ที่ คุณนภาพร เวชพฤกษ์ พิ ทั ก ษ์ หมายเลขโทรศั พ ท์ 0 3572 8286, 08 9107 8443 หรือ 08 9925 1174
ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / thailandtourismdirectory.go.th
70
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2565
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 71
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
72 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
กุญเเจ
ก
กระจก-ช่าง บจก.เอเชียกลาสคอนสตรัคชั่น ................ 0-3533-6191, 08-1913,6811 ..........................................08-1806-8917 ร้านศรีอยุธยากระจก-อลูมิเนียม ............................................0-3524-1751 กระจกรถยนต์ บจก.ไทยออโต้กลาส............08-9129-8684 ร้านโอเคกลาส.....................08-9239-3462 กระเบื้องเคลือบ-ผลิตภัณฑ์ บจก.ซีพีเซรามิค...................0-3531-4199, ............................................0-3531-4128
...........................................0-3524-1648, .................. 0-3524-2909, 0-3524-2667 ร้านเจริญรุ่งเรือง.....................0-3525-1461 ร้านก๋วยเตี๋ยวไก่แม่ประนอม .................. 0-3523-2476, 0-3525-1337
กล่องกระดาษ-ผลิต-จำาหน่าย บจก.เอส.เอ็น.พี.บรรจุภัณฑ์...0-3527-5445 หจก.ฐิติการช่าง................. 0-3522-4251-2
กลึง-ผู้รับจ้าง-ผู้รับเหมา บจก.ทีดีอีอินดัสเทรียลไลซ์ ........................................ 0-3571-3550-2
กล้องวงจรปิด แก๊ส-ติดตั้ง ประเสริฐออโต้เซอร์วิส.........0-3523-4090, ..........................................08-1347-0972 บางปะอินสเปเชียลแก๊ส.... 0-3526-2630-1 ร้านกิตติชัยแก๊ส...................0-3525-1269, ............................................0-3523-2458 สิริรัฐก๊าซ..............................0-3524-2460
ก๋วยเตี๋ยว ร้านเพ็ญวัฒนา.(ย่งเฮงจั่น)
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 73
ก่อสร้าง-วัสดุ
กอล์ฟ-สนาม
กก่อสร้าง-รับเหมาทั่วไป
ส.รุ่งเรืองเสาเข็ม.................08-1947-6997 สุชาติอิควิปเม้นคอนสตรัคชั่น ............................................0-3525-2153 หจก.ซีดับบลิวซัพพลายแอนด์เซอร์วิส ........................................ 0-3523-6590-1
วงเดือนการผ้าใบ...................0-3530-1581 ร้านศิริโรจน์พานิช..................0-3524-5880 บจก.บ้านแพนวิสาหกิจ.........0-3520-1461, ............................................0-3520-1451 บจก.ควอลิตี้คอนสตรัคชั่น ......................................0-3522-1264-72 ร้านเจริญไพศาล.....................0-3524-1801 ร้านไทยศรีพานิช...................0-3524-1801 ร้านประกิจพาณิชย์...............0-3524-2986, ............................................0-3521-0174 ร้านประมวลพาณิชย์.............0-3525-1849, ............................................0-3525-1249 ร้านล้อซุ้ยเซ้ง........................0-3525-1093 ร้านวรภัณฑ์.........................0-3524-1077, ...........................................0-3524-3383, ............................................0-3524-5789 ร้านศิริโภคา...........................0-3524-2605 บจก.สหกิจ..........................0-3543-1500, ............................................0-3534-1739 หจก.โสภณวัสดุก่อสร้าง.... 0-3521-1294-6, ............................................0-3524-1011 บจก.วรวิทย์วัสดุก่อสร้างอยุธยา ...........................................0-3524-1422, ............................................0-3524-2258 อุตสาหกรรมซัพพลาย........ 0-3533-0963-5 กีฬา-อุปกรณ์-เสื้อ-จำาหน่าย
ป.เกียรติศักดิ์เสริมทรัพย์... 0-3572-3446-8 บจก.อยุธยานานาภัณฑ์..........0-3524-4388 เกษตร-ผลิตผล-อุปกรณ์ บจก.แหลมทองเกษตรภัณฑ์ ..............0-3534-1342-3, 0-3534-1097, ............................................0-3534-1109
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
74 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน โรงสีบุญส่งบ้านแพน............08-1933-4939 ของที่ระลึก
กลุ่มผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน ของฝาก กำาจัดปลวก
ข้าว-ผู้ค้า
ข
ขนมปัง-ขนมอบและเค้กขายส่ง-ปลีกและผู้ผลิต บจก.ฟูรูทราโพเทล............. 0-3522-6581-4 รุ่งเบเกอรี่.............................0-3525-2033 ร้านบริบูรณ์เบเกอรี่...............0-3525-1126, ..........................................08-1420-5973 ขนส่งสินค้าทางบก-บริการ
หจก.อัจฉริยะคอนโทร....... 0-3523-0112-3, ........................................ 0-3527-5462-3
ข้าว-โรงสี
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 75
เครื่องจักรกล-ผลิต-จำาหน่าย
ค
คอมพิวเตอร์-อุปกรณ์ต่อพ่วงผู้จำาหน่าย บจก.สปีดพลัสเทคโนโลยี ............................................0-3526-2374 บจก.ไอดี.ซัพพลาย............0-3533-6233-7 เครื่องเขียน-ขายปลีก
บจก.อุตสาหกรรมเครื่องเขียนไทย ..........................................08-6010-4881 คอนกรีต-ผลิตภัณฑ์
เครื่องเขียน-ขายส่ง-ผู้ผลิต ร้านดีจริงศึกษาภัณฑ์..............0-3521-1277 หจก.ป.วัฒนากรุ๊ป.(บึงง่วนจั๊ว) ............................................0-3525-1282 เครื่องเสียง ร้านแจ่มมณีซาวด์................08-1353-3590 บจก.โทโฮกุโอเนียร์...............0-3533-0910
หจก.เอกพงษ์ก่อสร้าง........ 0-3536-1132-3 บจก.เจมส์ซิตี้เอ็นจิเนียริ่งแมนนูแฟคเจอริ่ง ........................................ 0-3525-8941-4 เครื่องดื่ม-ผู้บรรจุและจัดจำาหน่ายขวดกระป๋อง บจก.โคคา-โคล่า.(ปท).....0-3535-0008-15 บจก.พี.เอ็กซ์ยูเนี่ยนแดรี่พล้าน ........................................ 0-3531-1741-3 เครื่องใช้ ไฟฟ้า-จำาหน่าย หจก.แหลมทองอยุธยาเอ็นจิเนียริ่ง ............................................0-3525-2655 เครื่องสำาอาง-ผู้จำาหน่าย กาแฟทรีเมจิก.....................08-9786-2929 เครื่องปรับอากาศ
คาร์แคร์ หจก.นวบดินทร์คาร์แคร์.......08-1835-7278 เคาะ-พ่นสี
เครื่องถ่ายเอกสาร-บริการ
บจก.อาร์-วายก็อปปี้ซัพพลาย ............................................0-3521-1025 เครื่องประดับ บจก.อาควา.นิธิอาร่าคอร์ปอเรชั่น ........................................ 0-3571-6375-7 คลังสินค้า
คลินิค
งานหล่อ-งานแกะ-งานสี ร้านเชิญแก้ววัสดุ...................0-3538-9499
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
76 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน จัดหางาน-บริการ บจก.เอ.ท็อปไทม์..................0-3523-4109, ............................................0-3523-4110
บจก.บางปะอิน.กรุ๊ป..............0-3522-0392
ช
ดนตรี-เครื่อง-ผู้ผลิต สถาบันดนตรี.KPN...............0-3533-7155 ดับเพลิง-เคมี
ชมรม
ด
ชุบโลหะ
ไดนาโม-ซ่อมและพันมัดข้าวต้ม
เช็คปั๊ม-หัวฉีก
ดูดวง
เชือก-อวนดักปลา ตัดเลเซอร์
ซ
ซื้อ-ขาย แลกเปลี่ยนรถบรรทุก ต้นไม้
ซ่อมบำารุง
ช่างมอเตอร์-เครื่องจักร
ต
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 77
เต็นท์
ศรีอยุธยาโฟโต้เอ็กซ์เพรส......0-3525-1124 ถ่ายรูป-ล้างจัด-ขนาดฟิล์มขาวดำา และฟิล์มสี พรหมโฟโต้...........................0-3524-1880 บ้านแพนโฟโต้เอ็กซ์เพรส.......0-3520-1376 ถ่ายภาพ-บริการล้างอัด ไนท์ดิจิตอลแล็บ................ 0-3523-1446-7 บ้านแพนโฟโต้.......................0-3520-1376
เต็นท์รถมือสอง
ท
หมวดท่องเที่ยว นิสชินทราเวลเซอร์วิส ......................................0-3535-6868-70 บจก.นิสชินทราเวลเซอร์วิส ............................................0-3571-1720
ตัดเสื้อผ้า ร้านเด่นภูษา..........................0-3525-1383, ............................................0-3532-2500 ถมดิน
พระอาทิตย์ทราเวลอยุธยา ..............08-9476-6487, 08-6568-3844 ทนายความ สนง.จิรศักดิ์.ธะนีสันทนายความ ................. 0-3520-1364, 0-3521-6244, ..........................................08-1991-7702 ที่ดิน-ซื้อ-ขาย บจก.สหรัตนนคร............... 0-3536-4011-3 ที่นอน
ถ ท่าเรือ ท่าเรือป้าอ้วน.......................06-2235-1946
ถ่ายภาพทางพาณิชยกิจ ร้านประเสริฐวีดีโอ................0-3524-2500, ............................................0-3524-1300
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
78 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ทอง-ทองแดง-ช่าง
ธนาคาร
ธ
บมจ.อยุธยา.แคปปิตอลออโต้ลีส ............................................0-3571-4555 ธ.กรุงศรีอยุธยา.จำากัด.(มหาชน).สาขาเสนา ............................................0-3520-2009 ธ.ไทยพาณิชย์.จำากัด.(มหาชน).สาขาวังน้อย ........................................ 0-3521-5404-8 ธ.ไทยพาณิชย์.จำากัด.(มหาชน).สาขาอยุธยา ........................................ 0-3521-1530-3 ธ.กสิกรไทย.จำากัด.(มหาชน).สาขาวังน้อย ............................................0-3521-5287 ธ.เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. สาขาพระนครศรีอยุธยา ...............0-3524-4841-3, 0-3525-1507 ธกส.อยุธยา..........................0-3525-2248
ธ.กรุงไทย.สาขาสาขาโรจนะ0-3524-3829 ธ.กรุงไทย.สาขาเสนา.......0-3521-7169-70 ธ.กรุงไทย.สาขาอยุธยา..........0-3524-2663 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาลาดบัวหลวง ........................................ 0-3537-9350-2 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาถนนโรจนะ ........................................ 0-3532-3597-9 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาท่าเรือ..0-3534-1119 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขานิคมอุตสาหรรมไฮเทค ........................................ 0-3531-4337-8 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาบางไทร ........................................ 0-3574-1111-5 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาบิ๊กซีอยุธยา ........................................ 0-3574-7152-4 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาประตูนำ้าพระอินทร์ ........................................ 0-3521-9850-4 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาพระนครศรีอยุธยา ............................................0-3524-1783 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาวังน้อย ............................................0-3527-1073 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาศูนย์การค้าอยุธยาพาร์ค. ........................................ 0-3533-7122-4 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาเสนา ............................................0-3520-2009 ธ.กสิกรไทย.สาขาตลาดอุสาหกรรมอุสาหกรรม ..บางประอิน.................... 0-3522-1954-5 ธ.กสิกรไทย.สาขาถนนโรจนะ ........................................ 0-3521-3870-2 ธ.กสิกรไทย.สาขานิคมอุตสาหรรมไฮเทค ............................................0-3535-1686 ธ.กสิกรไทย.สาขาตูนำ้าพระอินทร์ ........................................ 0-3536-1124-6 ธ.กสิกรไทย.สาขาผักไห่ ............................................0-3539-1299 ธ.กสิกรไทย.สาขาเสนา..........0-3521-7333 ธ.กสิกรไทย.สาขาอยุธยา ............................................0-3525-2255 ธ.ทหารไทย.สาขาเทสโก.โลตัส
............................................0-3574-2030 ธ.ทหารไทย.สาขาบางบาล ........................................ 0-3530-7942-3 ธ.ทหารไทย.สาขาตูนำ้าพระอินทร์ ........................................ 0-3521-9784-8 ธ.ทหารไทย.สาขาวังน้อย ......................................0-3521-5649-51 ธ.ทหารไทย.สาขาอยุธยา ........................................ 0-3524-1417-8 ธ.ทหารไทย.สาขาอยุธยา.พาร์ค ........................................ 0-3521-3061-2 ธ.ทหารไทย.สาขาอุทัย ............................................0-3533-5417 ธ.ไทนพาณิชย์.สาขาตลาดบางประอิน ............................................0-3526-1547 ธ.ไทยพาณิชย์.สาขาถนนโรจนะ ........................................ 0-3521-3453-4 ธ.ไทยพาณิชย์.สาขาท่าเรือ ............................................0-3534-1713 ธ.ทหารไทย.สาขาเทศโก้โลตัสเสนา ........................................ 0-3520-2928-9 ธ.ไทยพาณิชย์.สาขาบางประอิน ........................................ 0-3526-1980-4
น
นิคมอุตสาหกรรม หสกิจท่าเรือ..........................0-3534-1500
นำ้าแข็ง
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 79
นำ้าดื่ม
นำ้ามันรี ไซเคิล บจก.วังจุฬา.ดีเวลลอปเม้นท์.(2004) ............................................0-3572-2002 นวดแผนโบราณ-คาราโอเกะ
อลิษานวดแผนไทย.............08-6058-8563, นมเปรี้ยว-ผู้จำาหน่าย
บ้าน-ที่ดินและสวนเกษตร บ้านเรือนไทยนางพยุง..........08-1757-9699
ประกันภัย-สำานักงาน สำานักงานAIA......................0-3570-0396, ............................................0-3570-0395
บ้านจัดสรร
นำ้ามัน
แบตเตอรี่ ประดับยนต์
บ
บัญชี-สำานักงาน เอส.แอนด์.เจ.การบัญชี........0-3524-3432
ประปา
ป
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
80 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ป้าย ร้านอาณาจักรอิงค์เจ็ท...........0-3533-5588, ............................................0-3533-7002 ป.กิจทวีวัฒนา.......................0-3525-4211 ปั๊มนำ้ามัน บจก.อยุธยาจังหวัดพาณิชย์....0-3524-1156 หจก.ม.บริการ........................0-3535-1251
พลาสติก-รับฉีด
จันเจริญโฟม...................... 0-3571-8050-5 ส.พลาสติก.อยุธยา..............08-3077-2754 ฟาร์ม
ฟ เฟอร์นิเจอร์-ผู้จำาหน่าย
ผลไม้
ผ
ผลิตลูกอม บจก.อินปิสโก้.(ประเทศไทย) ............................................0-3522-1422 ผ้าม่าน ร้านวารุณีผ้าม่าน....................0-3522-4089 เพชรพลอย
พ
ไฟฟ้าโรงงาน-อุปกรณ์ หจก.โรจนะอีควิปเม้นท์.1994 ........................................ 0-3570-9816-9 บจก.ประสิทธิ์อุตสาหกรรม.ซัพพลาย .........................................0-3522-6120-1,. ................0-3533-0963-5,.0-3522-6528
ฟุตบอล-สโมสร บางปะอิน.อยุธยา.เอฟซี ..........................................08-1852-4206
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 81
ร้านซาลาเปาอาม่า.................0-3523-2880 ไอศกรีมกรุงเก่า...................08-1295-5014 บ้านไม้ริมนำ้า..........................0-3521-1516 ร้านอาหารสุนทรี....................0-3637-5072 ร้านอาหารลูกศิษย์เท้ง............0-3524-1246 ร้านอาหารเอมโอษฐ........... 0-3536-6901-2
ไฟฟ้า-เครื่องติดตั้ง-จำาหน่าย
อยุธยาอุปกรณ์ไฟฟ้า ...........................................0-3522-9399,
ภ
ภัตตาคารและร้านอาหาร
ร้านเปี๊ยกก๋วยเตี๋ยวเรือ........08-1907-9054, ............................................0-3524-5196
ร้านตุ๊ก-ตุ๊ก.ก๋วยเตี๋ยวไก่-เนื้อ ................0-3538-1418, 08-1434-5184
ครัววังน้อย............................0-3527-2055 ร้านอาหารนิมิตดี...................0-3525-1033 ร้านลุงนวย...........................0-3536-1248, ..........................................08-1657-7438
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
82 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
ร้านไก่ย่างแม่ผ่องศรี.............0-3525-1554, ..........................................08-4136-2366
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 83
ครัวบ้านใหญ่.........................0-3527-2055 ร้านอาหารสายนำ้าป้อมเพชร....0-3524-3354
พรพนาค้าไม้.........................0-3524-1459 มีด-ผลิต-จำาหน่าย
บจก.เอเอสออโต้เทค.............0-3534-5017 หจก.สมออโต้เซอร์วิส...........0-3534-6357 ล.อรัญญิกพัฒนา...................0-3535-9333 มอเตอร์-ศูนย์บริการ ร้านเอกเซอร์วิส.....................0-3533-7025 สมชายมอเตอร์................. 0-3533-5597-8 บจก.บางปะอินกรุ๊ป.........0-3522-0392-93 พินิจอยุธยา...........................0-3525-2153 บจก.ศุภวิศว์ซัพพลายแอนด์เอ็นจิเนียริ่ง ............................................0-3523-4753 แม่พิมพ์-ชุบแข็ง บจก.ควอริตี้..........................0-3528-7500 ยาสีฟัน
แม่อุ้ย.(ผงระงับกลิ่นกายและกลิ่นเท้า) ..............08-1876-3823, 08-1264-1924
ร
รักษาความปลอดภัย บจก.ชัมม์.(ปท).....................0-3536-1639 บจก.เทมการ์ดเซอร์วิส...........0-3533-0548
ย รถจักรยานยนต์และรถสกูดเตอร์ หจก..3.จ.เจริญทรัพย์...........0-3527-1097 รถยก
ม
มอเตอร์ ไฟฟ้า ร้านพินิจ.จ.อยุธยา.................0-3525-2153 ไม้-ขายปลีก โรงไม้ขายถูก.........................0-3539-1049 พงษ์รุ่งเรืองค้าไม้...................0-3520-1415 บจก.เอ็มแอนด์เอส.เทรด.......0-3521-0056
ยางรถ-ผู้ผลิต-จำาหน่าย หจก.อยุธยาศูนย์ล้อ..............0-3524-3165 บจก.เอเอสออโต้เทค.............0-3534-5017 ยารักษาโรค-ผลิต-จำาหน่าย รับเหมาก่อสร้าง
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
84 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน รับเหมาทั่วไป บจก..ช..เชิดศิริวัฒน์.............0-3539-1157
หจก.ชลอการท่องเที่ยว..... 0-3534-6036-8, ............................................0-3522-6268 หจก.สกุลนิทัวร์.....................0-3534-5115
รถแทรคเตอร์ ให้เช่า รถบรรทุก-ผู้ผลิต
รางนำ้าฝน
รถจักรยานยนต์-จำาหน่าย
รถยนต์-ตกแต่ง-เครื่องเสียง บจก.เพาเวอร์ซาวด์................0-3570-8301 ร้านแจ่มมณีซาวด์................08-1353-3590 รถมือสอง
รถยนต์-อู่ซ่อม เฟรชโฟล์วเซอร์วิส..............08-6393-5739 ร้านเอกเซอร์วิส.....................0-3533-7025 รถยนต์-ทัวร์-รับส่งพนักงาน
รถยนต์-ชิ้นส่วน-ขายปลีก บจก.เอช-วัน.พาร์ทส์.(ปท)...0-3533-0785, ............................................0-3520-1478 ประเสริฐออโต้เซอร์วิส..........0-3523-4090 รอกเครนไฟฟ้า-จำาหน่าย-ติดตั้ง
เรือต่อและซ่อม-อุปกรณ์-เครื่องใช้ คานเรือศรีเจริญ. 0-3524-2503 รี ไซเคิล
โรงงานลูกชิ้น
รับดีดบ้าน
บจก.มีเทคอินเตอร์เนชั่นแนล ........................................ 0-3531-4364-5 รถแทรคเตอร์-รถแม็คโฮ รถเทรนเลอร์ บจก.วีรวรรณ.........................0-3526-1240 นิวอภิชาติ.............................0-3537-9591 รีสอร์ท
โรงเรียน รร.อุดมศิลวิทยา....................0-3526-4100
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 85
ม.เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ............................................0-3570-9091 รร.เซนต์จอห์นบัปติสต์ ............................................0-3521-7138 รร.เทศบาลท่าเรือประชานุกูล ............................................0-3534-1088 รร.ประชาศึกษา.(เคียงฮั้ว) ............................................0-3521-1629
รร.ไตรราชวิทยา................. 0-3574-1051-2
รร.วัดบ้านหว้า.....................08-1946-5385 รร.หนองนำ้าส้ม....................08-9672-9595 รร.วัดกระโดมทอง.................0-3530-1529 รร.คุมอง.............................08-1337-2595 รร.วัดพระญาติการาม...........08-1947-8267 รร.วัดนางคุ้ม.........................0-3522-3233 ว.เทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ............................................0-3533-5694
รร.คุมอง........................... 0-3532-3434-5 รร.ศรีประจันต์.เมธีประมุข ............................................0-3558-1970
รร.ชุมชนโคกม่วง...................0-3531-1267
รร.ประเสริฐวิทยาทาน............0-3534-1732 รร.จอมสุรางค์อุปถัมภ์...........0-3525-2270 รร.จิระศาตร์วิทยา..................0-3524-1559 รร.ชุมชนป้อมเพชร................0-3524-1966 รร.วัดสำาพะเนียน...................0-3538-6118 รร.บ้านคลองตะเคียน.............0-3570-1205 รร.ประชาศึกษา.....................0-3525-1629 รร.ประตูชัย...........................0-3524-5419 รร.ประสาทวิทย์....................0-3520-1717
รร.เทคโนโลยีอยุธยา..............0-3524-5996 รร.เทพประสิทธิ์วิทยา.............0-3539-1281
รร.บางปะหัน.........................0-3538-1630
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
86 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน รร.บางประอิน(ราชานุเคราะห์.1) ............................................0-3526-1922 รร.ปราสาททองวิทยา.............0-3522-1243 รร.ภาชีสุนทรวิทยานุกูล.........0-3531-1274 รร.ยอเซฟอยุธยา...................0-3570-5418 รร.รอตเสวกวิทยา..................0-3531-1042 รร.ราษฎร์นิรมิตร....................0-3523-6221 รร.ราฎร์บำารุงศิลป์..................0-3521-6543 รร.ลาดงาประชาบำารุง............0-3572-0063 รร.วังน้อย(พนมยงค์วิทยา).....0-3527-1123 รร.วังน้อยวิทยาภูมิ................0-3527-1290 รร.เทศบาลวัดกลาง................0-3534-2600 รร.วัดกลางคลองสระบัว........0-3532-8818 รร.เทศบาลวัดเขียน................0-3525-1923 รร.วัดโคกช้าง(ราษฎร์บำารุง)....0-3535-6243 รร.วัดทำาใหม่.........................0-3533-0426 รร.วัดพระญาติการาม.............0-3524-3026 รร.วัดโพธิ์เผือก.....................0-3579-3702 รร.เทศบาลวัดรัตนไชย...........0-3524-1829 รร.วัดลาดบัวหลวง(สหมิตรศึกษา) ............................................0-3537-9182 รร.วัดหัวหัวเวียง.(เขมะสุทธิวิทยาคาร) ............................................0-3539-6085 รร.วัดใหญ่ชัยมงคล(ภาวนารังสี) ............................................0-3524-3207 รร.วิเชียนกลิ่นสุคลธ์อุปถัมภ์ ............................................0-3527-1010 รร.ศรีบางไทร.........................0-3537-1246 รร.ศิริเสนาวิทยา....................0-3524-1715 รร.อนุบาลศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ............................................0-3536-6016 รร.สาธิตสถาบันราชภัฎ..........0-3524-5506 รร.อุดมศิลวิทยา................ 0-3526-4100-1 รร.อุทัย................................0-3571-1450 รร.เอกอโยธยา......................0-3571-9079 โรงเรียนกวดวิชา โรงเรียนคุมอง................... 0-3532-3434-5 โรงเรียนกวดวิชานัมเบอร์วัน...0-3524-5053
โรงเรียนกวดวิชาบ้านครูแอน...0-3532-1165 โรงเรียนกวดวิชาภัทรศึกษา.....0-3524-4969 โรงเรียนกวดวิชาแม็กส์.อยุธยา ............................................0-3533-5012 โรงเรียนกวดวิชาก้าวหน้าบ้านวิศวะ ............................................0-3532-3474 สถาบันพัฒนาทักษะคณิตศาตร์.คิงแมทส์ ............................................0-3532-3280 โรงเรียนกวดวิชาเอ็นคอนเช็ป ........................................ 0-3534-5702-3 โรงพยาบาล รพ.บางไทร............................0-3537-1029
รพ.ท่าเรือ.............................0-3534-1330 รพ.บางซ้าย...........................0-3537-5223 รพ.บางไทร......................0-3537-1029-30 รพ.บางบาล....................... 0-3530-7746-7 รพ.ผักไห่..............................0-3539-1309 รพ.ภาชี................................0-3531-1112 รพ.ลาดบัวหลวง....................0-3537-9094 ร้านเช่าชุด
โรงพยาบาลสัตว์ รพ.เสนา...... 0-3520-1037, 0-3521-7118 รพ.บางปะหัน........................0-3538-1635
โรงแรม-รีสอร์ท-เกสต์เฮ้าส์ รพ.มหาราช....................... 0-3538-9027-8 รพ.วังน้อย.............................0-3527-1033 รพ.ราชธานี...........................0-3533-5555 รพ.ศุภมิตรเสนา................ 0-3528-9572-9 รพ.บ้านแพรก........................0-3538-6121 รพ.ราชธานี.....................0-3533-5555-60 รพ.โรจนเวช..........................0-3524-9249 รพ.ศุภมิตรเสนา....................0-3528-9573 รพ.พระนครศรีอยุธยา............0-3521-1888
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 87
โอเชี่ยน.โกล์ด.การ์ด.............0-3533-5887 ดีโอลด์พาเลชรีสอร์ท............0-3525-1774, ..........................................08-1351-2355 พียู.เกสต์เฮาส์......................0-3525-1213 อยุธยาเพลส.........................0-3521-0941, ............................................0-3524-1754
ปิยวรรณรีสอร์ท....................0-2619-8352 วรบุรีอโยธยาคอนเวนชั่นรีสอร์ท ......................................0-3524-9600-49 JITVILAI.GROUP..AYUTTHAYA โรงแรมเวียงฟ้า......................0-3524-3252 โรงแรมอยุธยาแกรนด์โฮเต็ล ......................................0-3533-5483-91 โรงแรมโรสอินน์..............0-3521-2149-50 บ้านไม้รีสอร์ท....................08-1994-3863, ..........................................08-1450-2884 โฮมสเตย์คลองรางจระเข้ ............................................0-3572-0147 อยุธยากอล์ฟคลับ............. 0-3570-3664-6 โรงแรมกู๊ด.อินน์....................0-3527-2099 โรงแรมกรุงศรีริเวอร์..............0-3524-4483 แคทารีอยุธยา........................0-3533-7177 บริษัทโชคนาบุญ....................0-3533-6408 โรงแรมเซเว่นอินน์.................0-3533-5333 เดอะ.ลิม่า.เพลส.............0-3580-1808-10 โรงแรมไทยไท.พาเลส ......................................0-3521-2338-40 โรงแรมนครอินน์...................0-3535-9160 บริษัทนำาชัยเสรีโฮลดิ้ง...........0-3524-1444 บ้านจิตต์วิไล..........................0-3532-1260 โรงแรมบ้านแรมอินน์............... 0-3523-547 โรงแรมพร้อมสุขเพลส...........0-3532-3999 โรงแรมพระอินทร์ราชา...........0-3536-1081 โรงแรมริเวอร์วิวเพลส
............................................0-3524-1444 บริษัทโรจนะเอสเตท..............0-3533-6933 โรงแรมโรสการ์เด้น................0-3524-3653 โรงแรมวรบุรี.อโยธายา.คอนเวนชั่น.รีสอร์ท ......................................0-3524-9600-49 โรงแรมวิชัยเพลส77..............0-3533-5477 โรงแรมศรีอยุธยาธานี............0-3523-3041 โรงแรมแสงฟ้านนท์...............0-3520-3190 โรงแรมอยุธยาแกรนด์โฮเต็ล ......................................0-3533-5483-91 บ้านจิตต์วิไล..........................0-3532-1260 โรงแรมบ้านแรมอินน์............... 0-3523-547 โรงแรมพร้อมสุขเพลส...........0-3532-3999 โรงแรมพระอินทร์ราชา...........0-3536-1081 โรงแรมริเวอร์วิวเพลส............0-3524-1444 บริษัทโรจนะเอสเตท..............0-3533-6933 โรงแรมโรสการ์เด้น................0-3524-3653 โรงแรมวรบุรี.อโยธายา.คอนเวนชั่น.รีสอร์ท ......................................0-3524-9600-49 โรงแรมวิชัยเพลส77..............0-3533-5477 โรงแรมศรีอยุธยาธานี............0-3523-3041 โรงแรมแสงฟ้านนท์...............0-3520-3190 โรงแรมอยุธยาแกรนด์โฮเต็ล .......................................0-3533-5483-91 โรงแรมอยุธยาธานี................0-3523-2776 โรงแรมโรสอินน์....................0-3521-2150 โรงแรมอยุธยา................... 0-3523-2855-8 อุทัยคีรีรีสอร์ท.................. 0-3577-3540-4 โรงแรมแอท.อยุธยา...............0-3534-6747 โรงแรมแอมโปร.เรสชิเดนช์ ............................................0-3533-5577 โรงแรมไอยูเดีย.ออน.เดอะ.ริเวอร์ ............................................0-3532-3208 โรงกลึง โรงกลึงที.จี.แอสโซซิเอท.......0-3526-1003, ............................................0-3526-1501 บจก.ทีเอสพีทูลแอนด์ฮาร์ดเวย์..................... ........................................ 0-3535-6893-4
ร้านผ้าใบ วงเดือนการผ้าใบ...................0-3530-1581 โรงพิมพ์ หจก.โรงพิมพ์ศรีอยุธยา.........0-3533-5377, ............................................0-3533-5410 โรงพิมพ์เทียนวัฒนา..............0-3524-3386, ............................................0-3532-3396
ล
เลื่อย-โรง ป่าไม้สันติ.............................0-3528-3284 โรงเลื่อยจักรหว่าเฮงลี่...........0-3533-5456
ว
วัด วัดท่าการ้อง.........................09-3020-6658
แว่น
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
88 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน สวน
เวดดิ้ง
U.Smile.Studio..................0-3521-2231, ..............08-1643-8351, 08-7810-4455 ศูนย์คุ้มครอง
ศ
ศูนย์การเรียนรู้
สินค้ามือ 2
เสาเข็ม บจก.ศรีอยุธยาคอนกรีต..... 0-3536-1314-5 สังกะสี-สแตนเลส-ผลิต
ศาลไม้
0-3524-99878
สหกรณ์ สุนัข-ของใช้ สปา
ส เสริมสวย
สักลาย
สถานีตำารวจ สถานีตำารวจภูธรพระนครศรีอยุธยา ............................................0-3524-3444 สถานีตำารวจภูธรนครหลวง ..........................................08-7310-1441 สถานีตำารวจภูธรอำาเภอท่าเรือ ...........................................0-3534-1111. สถานีตำารวจภูธรบางปะอิน.สาขาเชียงราก น้อย(โรงพักใหม่) ............................................0-3522-1287 สถานีตำารวจภูธรพระอินทร์ราชา ............................................0-3536-2016 สถานีตำารวจภูธรบางไทร ............................................0-3537-1249 สถานีตำารวจภูธรบางปะอิน.(สาขาบ้านเลน) ............................................0-3524-6947 สถานีตำารวจภูธรท่าช้าง ............................................0-3536-0777 สถานีตำารวจภูธรผักไห่ ............................................0-3539-1789 สถานีตำารวจภูธรช้างใหญ่
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 89
............................................0-3536-6019 สถานีภูธรอุทัย ............................................0-3535-6181 สถานีตำารวจภูธรวังน้อย ............................................0-3527-2191 สถานีภูธรวังน้อย ............................................0-3527-1063 สถานีตำารวจภูธรบางปะหัน.(ใหม่) ............................................0-3575-0228 เค.ซี.สแตนเลส......................0-3574-2972 บจก.สาวิกา.สแตนเลส........08-1571-4251.
สถานที่ราชการ สหกรณ์การเกษตรบางปะอิน .................. 0-3526-2859, 0-3526-1560
อบต.บ้านหว้า........................0-3535-0776 ชุมนุมสหกรณ์จังหวัดอยุธยา ...........................................0-3535-9097, ..........................................08-1851-3539
อบต.ธนู................................0-3525-2235 อบต.บ้านชุ้ง..........................0-3576-0170 อบต.ลุมพี.............................0-3579-6501
สำานักงานพาณิชย์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ............................................0-3533-6525 สำานักงานที่ดินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ............................................0-3525-1016
............................................0-3525-1016
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
90 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน เส้นหมี่-ผลิตและจำาหน่าย
สติ๊กเกอร์
ไส้กรอก
สปริงอุตสาหกรรม ส่งออก
ห
เหล็ก บจก.สยามไฟว์สตีบ.1995 ......................................0-3536-1906-10 บมก.ค้าเหล็กไทย.............. 0-3527-2550-2 บจก.จิรวัฒน์พิบูลย์................0-3536-1104 หจก.เจ้าปลุกค้าเหล็ก............0-3525-5254 หจก.วังน้อยโลหะภัณฑ์.........0-3527-1644
สวน-จัด สำานักดาบ
เหล็กกล้า-โรงงานผลิตภัณฑ์ หจก.โลบราเดอร์เอ็นยิเนียริ่งแอนด์คอนแทร็ค เตอร์ .............................................0-2294-1207 เหล็กกล้า-ผู้จำาหน่ายและคลังสินค้า
สอนขับรถ โรงเรียนสอนขับรถอโยธยา ..........................................08-6550-5000 ศิริเจริญสอนขับรถยนต์........08-6330-3437 พีระพัฒน์สอนขับรถ...............0-3521-1262
สาหร่าย-ผลิต-นำาเข้า บจก.เอส.แอนด์.ที.เยนเนอร์รัลฟู้ด ........................................0-3535-3571-2, ..........................................08-9203-7455 บจก.กรุงเทพเหล็กกล้า ......................................0-2294-1879-85 บจก.เคจีเอสสตีล.............. 0-2689-9047-9 บจก.จุฑาวรรณ.................. 0-2294-0066-8
คู่มือ...อยุธยา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 91
บจก.สตีลแอนด์ทูลส์ ......................................0-2294-5809-11 บจก.สเปเชียลสตีล.แอนด์เซอร์วิส ........................................ 0-2705-2201-5 บจก.สินไทยสเปเชียลสตีล ........................................ 0-2705-0930-2 หัวฉีด-ทำาพรบ. ร้านอยุธยาดีเซล.....................0-3524-2576 หลังคารถ-ขาย-ซ่อม หจก.โลบราเอ็นยิเนียริ่ง.........0-2294-1207 ไอดู-แอร์โรพาร์ท..................08-9992-0441
อพาร์ทเม้นต์
หจก.ยูทิลิตี้อินเตอร์เทค ........................................ 0-3571-8501-2 เมืองทองเซอร์วิสและบริการ ............................................0-3521-1456 บจก.ที.อาร์.แอร์เซอร์วิส ..........................................08-6127-9154 ร้านสมพงษ์แอร์.....................0-3521-1477 อะไหล่
บจก.แปซิฟิคอินซูเลติ้งเมททีเรียล.(ปท) ........................................ 0-3533-0772-4 บจก.ทีดีดี.อินดัสเทรียลไลซ์ ........................................ 0-3571-3550-2 บจก.แอดลาสคอปโก้ดีสแฮล์ม .................. 0-3652-9006, 0-3566-1004 อาหาร-เครื่องปรุง บจก.รถรุ่งเรือง.......................0-2617-9642 บจก.ศรีธรรมราชขนส่ง....0-2531-6916-20 อิเล็คทรอนิคส์-ผลิต
อ
อุปกรณ์ของใช้ทั่วไป ร้านต้นมะขามเรือง.................0-3524-2738 ออกแบบตกแต่งเรือนไทย ส.รวยเจริญ...........................0-3538-9331 อาหารสัตว์-ผู้ขาย กิตติศักดิ์เพ็ทมาร์ท................0-3524-5076 ค้าไม้
แอร์-จำาหน่าย
อัลลอย-ตัด-พับ สาวิกาอัลลอย.......................0-3522-6116 บจก.ชัยมงคลอุตสาหกรรมซัพพลาย ............................................0-3533-0218 หจก.สุรพลการช่าง ............................................0-3534-1420
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2565
92 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ห้างสรรพสินค้า
จำาหน่ายรถไถ
อาหาร-นม-เนย
ฟาร์ม อาหารขบเคี้ยว
อาคาร สมบัติไพบูลย์.วิศวกรรม........0-3520-3111 อิฐทนไฟ อุตสาหกรรม บจก.ศูนย์เทคโนโลยีไฮเทคอยุธยา ............................................0-3535-0137
อาหารสัตว์
อาหาร-นม-เนย
อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์
แบตเตอรี่
ฮ
ไฮโดรลิค-อุปกรณ์จำาหน่าย บจก.อยุธยาไฮดรอลิค..........0-3521-3597,