คู่มือ….ลพบุรี
มาตรการเฝ้าระวัง และ เข้า-ออกจังหวัดลพบุรี
สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อของ Covid-19 ระรอกใหม่ได้เกิดขึ้นในหลายพื้ นที่และ
่ ทีผ ่ า่ นมาทางจังหวัดลพบุรไี ด้กา� หนดมาตรการ แพร่กระจายอย่างรวดเร็วไปทุกจังหวัดในประเทศไทย ซึง ควบคุมการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดมาแล้วระยะหนึ่ง ซึ่งประชาชนก็ได้ให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี แต่ถึงอย่างไรมาตรการต่างๆ ที่เข้มข้นนี้ก็ต้องยังคงด�าเนินต่อไป เพื่ อความปลอดภัยของชาวลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
19
20
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
21
รวมช่องทาง ติดต่อ ช่วยเหลือ ผู้ป่วย
องค์กรภาครัฐ ที่ให้บริการประสานงานเรื่องเตียงโดยตรง • กรมการแพทย์ ติดต่อได้ที่เบอร์ 1668 ในช่วงเวลา 08.00 – 22.00 น. โดยจะท�าหน้าที่ประสานหาเตียงให้ผู้ป่วย • ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่ งชาติ (สปสช.) ติดต่อได้ที่เบอร์ 1330 ตลอด 24 ชั่วโมง ท�าหน้าที่ประสานหาเตียงให้ผู้ป่วย • สบายดีบอต ติดต่อได้ท ี่ Line ID : @sabaideebot ท�าหน้าทีป่ ระสานหาเตียง ให้ผปู้ ว่ ย
หมายเลขติดต่อ ภายในจังหวัดลพบุรี
22
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
หน่วยงานภาคประชาชน • โครงการเราต้ องรอด ติดต่อได้ที่ Inbox Fanpage ‘เราต้ องรอด’ ท�าหน้าที่ประสานหาเตียงให้ผู้ป่วย • โครงการเป็ นโควิดต้ องมีท่ รี ั กษา ติดต่อได้ที่ Line ID : @missgrand ท�าหน้าที่ประสานหาเตียง ให้ผู้ป่วย • ศูนย์ ประสานฉุกเฉิน ไทยพีบเี อสสู้โควิด-19 ติดต่อได้ที่เบอร์ 02-790-2111 หรือ Line ID : @RongTookThaiPBS ทุกวันจันทร์ – อาทิตย์ เวลา 09.00 – 16.00 น. โดยจะท�าหน้าที่เป็นสื่อกลางประสานงานทุกภาคส่วน
สอบถามข้อมูลโควิด-19 • สายด่วน 1669 • โทรศัพท์ 06-3202-3921, 06-3202-3923 เรื่องร้องเรียน-ร้องทุกข์ • สายด่วนศูนย์ด�ารงธรรมจังหวัดลพบุรี 1567 • โทรศัพท์ 0-3677-0001 Facebook • ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี • ลพบุรีบ้านเรา • ศูนย์ด�ารงธรรมจังหวัดลพบุรี
คู่มือ….ลพบุรี
ที่นี่...
ลพบุรี
ลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของ ประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อ�าเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัด อื่นจ�านวน 8 จังหวัด โดยวนตามเข็มนาฬิ กา จากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรีและจังหวัดนครสวรรค์ ลพบุรีเป็นจังหวัดที่ มีพ้ื นที่ยุทธศาสตร์ทางการทหารที่ส�าคัญแห่งหนึ่ง ของประเทศ เนื่ อ งจากตั้ ง อยู่ ต รงกึ่ ง กลางของ ประเทศไทย มี พ้ื น ที่ ท่ี อุ ด มสมบู ร ณ์ เ หมาะแก่ ก าร ประกอบอาชี พ เกษตรกรรมและการเพาะปลู ก ลพบุ รี เ ป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ค วามส� า คั ญ ในด้ า น ประวัติศาสตร์ โดยมีการค้นพบโบราณ สถาน โบราณวัตถุและการตัง ้ ถิน ่ ฐาน ของคนยุ ค ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ และในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของ ศูนย์กลางอาณาจักรละโว้
Lopburi วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
29
ประวัติจังหวัดลพบุรี ลพบุ รี เป็ น เมื อ งที่ มี แ ห่ ง ควำมหลำกหลำย และต่อเนื่องของ ควำมเจริญทำงวัฒนธรรมยำวนำน กว่ ำ 3,000 ปี ตั้ ง แต่ ส มั ย ก่ อ น ประวัติศำสตร์ มีหลักฐำนส�ำคัญ แสดงถึงควำมเจริญ ดังกล่ำว ได้แก่ • การขุ ด พบโครงกระดู ก มนุ ษ ย์ พร้ อ มภาชนะดิ นเผา ที ่ แ หล่ ง โบราณคดีบา้ นท่าแค อายุระหว่าง 3,500-4,500 ปี • การขุดพบโครงกระดูกมนุษย์ ยคุ หิ น ใหม่ ที ่บ้า นโคกเจริ ญ อายุ ระหว่าง 2,700-3,500 ปี • การขุดพบโครงกระดูกมนุษย์ ยคุ ส�าริ ด ทีศ่ นู ย์การทหารปื นใหญ่ อายุ ระหว่าง 2,300 - 2,700 ปี • การขุดพบชุมชนโบราณในสมัย ทวารวดี ที ่เมื องโบราณซับจ� าปา อ.ท่ าหลวง เมื องโบราณดงมะรุ ม อ.โคกส� าโรง เมื องใหม่ไพศาลี ซึ่ ง สันนิ ษฐานว่ามีอายุประมาณ 1,000 ปี • การพบหลัก ฐานที ่ เ ป็ นเครื ่ อ ง มื อ เครื ่ องใช้ เช่น เหรี ยญท� าด้วย เงิ น มี ล ายดุ น เป็ นรู ป สัญ ลัก ษณ์ ต่างๆ ตามคติ นิยมของทีต่ .หลุมข้าว อ.โคกส�าโรง กำรพบหลักฐำนต่ำงๆ เหล่ำนี้ แสดงว่ำ ลพบุรี เป็นที่ตั้งของชุมชน มำตัง้ แต่สมัยก่อนประวัตศิ ำสตร์ ใน ส่วนของกำร สร้ำงเมืองลพบุรีนั้น ตำมประวั ติ ศ ำสตร์ ใ นพงศำวดำร โยนก กล่ำวว่ำ ผู้สร้ำงเมืองลพบุรี หรือทีเ่ รียกว่ำ “ละโว้” ในสมัยโบรำณ คือ “พระเจ้ำกำฬวรรณดิษ” รำชโอรส แห่งพระเจ้ำกรุงขอม ซึ่งสร้ำงขึ้นใน ปี พ.ศ.1002 และเป็นเมืองที่มีควำม ส�ำคัญมำตั้งแต่สมัยทวำรวดีเคยอยู่
30
ใต้อ�ำนำจของมอญและขอม จนกระทั่งในตอนต้นพุทธศตวรรษที่ คนไทย เริ่มมีอ�ำนำจในดินแดนแถบนี้ ในรัชสมัยของพระเจ้ำอู่ทอง ปฐมกษัตริย์ แห่งกรุงศรีอยุธยำ ลพบุรีด�ำรงฐำนะเป็นเมืองลูกหลวง กล่ำวคือ พระเจ้ำ อู่ทองได้โปรดให้พระรำเมศวร รำชโอรสองค์ใหญ่เสด็จมำครองเมืองลพบุรี ซึง่ พระรำเมศวรโปรดให้สร้ำงป้อม คูเมืองและสร้ำงก�ำแพงเมืองอย่ำงมัน่ คง เมื่อพระเจ้ำอู่ทองสวรรคตในปีพ.ศ.1912 พระรำเมศวรได้ถวำยรำชบัลลัง ค์ให้แก่พระปิตุลำของพระองค์ ซึ่งได้ครองรำชย์ พระนำมว่ำ พระบรม รำชำธิรำชที่ 1 ส่วนพระ รำเมศวรยังคงครองเมืองลพบุรีต่อไปจนถึง พ.ศ. 1931 สมเด็จพระบรมรำชำธิรำชที่ 1 สวรรคต พระรำเมศวรจึงขึ้นครอง รำชย์ ณ กรุงศรีอยุธยำ
หลังจำกนั้น เมืองลพบุรีได้ลดควำมส�ำคัญลง จนกระทั่งถึงสมัย สมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำช เมืองลพบุรีได้รับกำรท�ำนุบ�ำรุงขึ้นมำอีก ครั้ง ทั้งนี้สืบเนื่องจำกกำรคุกคำมของชนชำติฮอลันดำที่ติดต่อ ค้ำขำย กับกรุงศรีอยุธยำ สมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำชทรงเห็นว่ำกรุงศรีอยุธยำ ไม่ปลอดภัยจำกกำรปิดล้อมและระดมยิงของข้ำศึกยำมเกิดศึกสงครำม จึงได้สร้ำงเมืองลพบุรเี ป็นรำชธำนีแห่งที่ 2 ขึน้ เพรำะเมืองลพบุรมี ที ตี่ งั้ ทำง ยุทธศำสตร์เหมำะสมซึ่งในกำรสร้ำงเมืองลพบุรีนั้น สมเด็จพระนำรำยณ์ มหำรำชได้รับควำมช่วยเหลือจำกช่ำงชำวฝรั่งเศสและอิตำเลียน ได้สร้ำง พระรำชวังที่มีป้อมปรำกำรเป็นแนวป้องกันอย่ำงมั่นคง ซึ่งสมเด็จพระ นำรำยณ์มหำรำชทรงโปรดประทับที่เมืองลพบุรี ตำมหลักฐำนปรำกฏว่ำ พระองค์ประทับอยู่ที่เมืองลพบุรี ปีละ 8-9 เดือน โปรดให้ทูตและชำวต่ำง ประเทศเข้ำเฝ้ำที่เมืองลพบุรีหลำยครั้ง
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
เมื่อสมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำชสวรรคต ในปี พ.ศ.2231 ณ พระ ที่นั่งสุทธำสวรรค์ ภำยในพระนำรำยณ์รำชนิเวศน์ เมืองลพบุรีก็หมดควำม ส�ำคัญลง สมเด็จพระเพทรำชำได้ทรงย้ำยหน่วยรำชกำรทั้งหมดกลับกรุง ศรีอยุธยำ และในสมัยต่อมำก็ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดเสร็จมำประทับที่ เมืองลพบุรีอีก จนกระทั่งถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบำทสมเด็จ พระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว พระองค์โปรดให้บูรณะเมืองลพบุรีขึ้นมำอีกครั้ง ในปีพ.ศ.2406 มีกำรซ่อมก�ำแพงเมือง ป้อมและประตู รวมทั้งมีกำรสร้ำง พระที่นั่งพิมำนมงกุฎในพระรำชวัง พร้อมทั้งพระรำชทำนนำมพระรำชวัง ว่ำ “พระนารายณ์ ราชนิเวศน์ ” ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์สมเด็จ พระนำรำยณ์มหำรำช ภำยหลังกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครอง ลพบุรีได้รับกำรท�ำนุบ�ำรุง อีกครั้งสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครำม เป็นนำยกรัฐมนตรี ได้มีกำรวำง ผังเมืองใหม่และตั้งหน่วยทหำรขึ้นมำในเมืองลพบุรี ลพบุรีจึงได้ชื่อว่ำเป็น เมืองทหำรเพรำะมีหน่วยทหำรตั้งอยู่ถึง 11 หน่วย ลพบุรีในปัจจุบันจึงเป็น “เมืองเศรษฐกิจ เมืองท่ องเทีย่ ว และเมืองทหาร” ตราประจ�าจังหวัดลพบุรี รูปพระนำรำยณ์ประทับเหนือพระ ปรำงค์สำมยอด หมำยถึง กำรระลึกถึง สมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำชผู้สร้ำงเมือง ลพบุรีขึ้นใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2208 และสร้ำง มเจริญให้กับแผ่นดินลพบุรีนับเอนก ควำมเจริ ณ อนันต์สว่ นพระปรำงค์สำมยอดเป็นโบรำณ นที่ถือเป็นสัญลักษณ์ของเมืองลพบุรี สถำนที ดอกไม้ประจ�าจังหวัด ดอกพิกุล (Mimusops elengi) ต้นไม้ประจ�าจังหวัด พิกุล (Mimusops elengi) ค�าขวัญประจ�าจังหวัดลพบุรี วังนารายณ์คู่บ้าน ศาลพระกาฬคู่เมือง ปรางค์สามยอดลือเลื่อง เมืองแห่งดินสอพอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์เกริกก้อง แผ่นดินทองสมเด็จพระนารายณ์ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
31
32
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
ตา ม ร อยป ร ะ วั ติ ศา สต ร ์ จังหวัดลพบุรี
ลพบุ ร ี เป็ น เมื อ งเก่ า ที่ ท รงคุ ณ ค่ า ทาง ประวัตศิ าสตร์เทียบเท่ากับอยุธยา และสุโขทัย มีโบราณ สถานเก่าแก่ทสี่ วยงามและน่าหลงใหลทีท่ า� ให้อยากมา ย้อนเวลาสัมผัสความรู้สึกในอดีต เป็นเมืองใกล้กรุงที่ สามารถเที่ยวได้ตลอดทั้งปี ควรค่าแก่การปักหมุดมา เที่ยวสักครั้ง
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
33
พระนารายณ์ ประวัติ พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์ เ ป ็ น พ ร ะ ร า ช วั ง ที่ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ นารายณ์มหาราชโปรดให้สร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื้นที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรี เพื่อใช้เป็นที่ประทับ ล่า สัตว์ ออกว่าราชการ และต้อนรับ แขกเมือง พระองค์ทรงประทับ ณ พระราชวั ง แห่ ง นี้ ป ระมาณ 8-9 เดือนในช่วงปลายรัชกาลและเสด็จ สวรรคต ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 ภายหลังการเสด็จสวรรคต ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระนารายณ์ราชนิเวศน์ถูกทิ้งร้าง จนถึ ง รั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ โปรดให้บรู ณะพระราชวังของสมเด็จ
34
ราชนิเวศน์
พระนารายณ์ ม หาราช และสร้ า ง พระทีน่ งั่ ขึน้ ใหม่ในปี พ.ศ. 2399 และ พระราชทานนามว่า “พระนารายณ์ ราชนิเวศน์ ” สิ่งก่อสร้างภายในพระราชวัง หลั ง สิ้ น รั ช กาลพระราชวั ง แห่ ง นี้ ก็ ถู ก ทิ้ ง ร้ า งไป จนกระทั่ ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู ่ หั ว ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้บูรณะซ่อมแซมพระราชวังแห่งนี้ และโปรดให้สร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่ ปัจจุบัน พระนารายณ์ราชนิเวศน์ได้ ใช้เป็นพิพิธภัณฑ์ พื้ น ที่ ทั้ ง ห ม ด ภ า ย ใ น พระราชวังแบ่งออกเป็น 3 เขตคือ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
เขตพระราชฐานชัน้ นอก มี อ าคารที่ ส ร้ า ง ในสมั ย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้แก่ • อ่ างเก็บน�า้ ซับเหล็ก จาก บันทึกของชาวฝรัง่ เศสกล่าวว่าระบบ การจ่ายทดน�้า เป็นผลงานของชาว ฝรั่งเศสและอิตาลี โดยน�้าที่เก็บใน ถังเป็นน�้าที่ไหลมาจากอ่างซับเหล็ก โดยผ่านมาทางท่อดินเผาที่เชื่อมมา จากอ่างซับเหล็ก เพื่อน�าน�้ามาใช้ ภายในพระราชวัง • หมู่ตึกพระคลังศุภรั ตน์ หรื อหมู่ตึกสิบสองท้ องพระคลัง ตั้ ง อยู ่ ร ะหว่ า งอ่ า งเก็ บ น�้ า และตึ ก เลี้ ย งต้ อ นรั บ แขกเมื อ งมี ลั ก ษณะ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนผนังประตู และหน้าต่างเจาะเป็นช่องโค้งแหลม
คู่มือ….ลพบุรี
จ�านวน 12 ห้องโดยเรียงกันเป็นแถว ยาว 2 แถว แถวละ 6 ห้องมีถนนตัด ผ่าตรงกลางระหว่างแถวสันนิษฐาน ว่าใช้เป็นสถานที่เก็บทรัพย์สมบัติ หรือเก็บของ • ตกึ พระเจ้าเหา สนั นิษฐาน ว่าคงเป็นหอพระประจ�าพระราชวัง และมี พ ระพุ ท ธรู ป ประดิ ษ ฐานอยู ่ ภายในตึก ซึ่งพระพุทธรูปองค์นี้อาจ มีชื่อว่า พระเจ้าเหา จึงเป็นที่มาของ ชื่อตึกแห่งนี้ • ตึกเลียงต้ ้ อนรับแขกเมือง ตั้งอยู่กลางอุทยานทางตอนใต้ของ หมู ่ ตึ ก พระคลั ง ผั ง อาคารเป็ น รู ป สี่เหลี่ยมผืนผ้าลักษณะเป็นตึกชั้น เดียวก่ออิฐถือปูนผนังเจาะเป็นช่อง ประตูและหน้าต่างลายโค้งแหลม
ล้อมรอบด้วยสระน�้าขนาดใหญ่ 3 สระตรงกลางสระมีน�้าพุมากกว่า 20 จุด สมเด็จพระนารายณ์ฯ ได้พระราชทานเลีย้ งแก่คณะทูตจากประเทศฝรัง่ เศส ณ สถานที่นี้ใน พ.ศ. 2228 และ พ.ศ. 2230 • โรงช้ างหลวง มีทงั้ หมด 10 โรงด้วยกันและช้างทีย่ นื โรงอยูค่ งเป็น ช้างทรงของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชหรือเจ้านาย เขตพระราชฐานชัน้ กลาง มีพระที่นั่งที่สร้างในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช 2 องค์ และ สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้แก่ • พระที่น่ ังจันทรพิศาล พระที่นั่งจันทรพิศาลตามบันทึกของชาวฝรั่งเศสกล่าวว่า เป็นหอ ประชุมองคมนตรีสร้างในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชต่อมาเมือ่ ปีพ.ศ. 2401โปรดเกล้าให้สร้างขึ้นใหม่บริเวณที่เดิมเป็นพระที่นั่งสถาปัตยกรรม แบบไทยแท้ใช้เป็นท้องพระโรงด้านหน้ามีมุขเด็จส�าหรับออกให้ข้าราชการ เฝ้าภายในแบ่งเป็นท้องพระโรงหน้าด้านทิศตะวันออกและท้องพระโรง ด้านทิศตะวันตกกั้นด้วยประตูซึ่งกั้นระหว่างเขตพระราชฐานชั้นกลางและ เขตพระราชฐานชั้นในซึ่งในส่วนท้องพระโรงหลังมีบันไดเข้าออก4ช่องทาง นอกจากนั้นยังมีทางเชื่อมต่อกับพระที่นั่งพิมานมงกุฏ • พระที่น่ ังดุสิตสวรรค์ ธัญญมหาปราสาท พระที่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาทสร้างขึ้นในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช เมื่อปี พ.ศ. 2209 เป็นพระที่นั่งท้องพระโรงส�าหรับ เสด็จออกรับคณะราชทูตในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ที่เป็นการ ส่วนพระองค์) มียอดแหลมทรงมณฑป ศิลปกรรมแบบไทยผสมผสานกับ ฝรั่งเศส ประตูและหน้าต่างท้องพระโรงด้านหน้าท�าเป็นรูปโค้งแหลมแบบ ฝรัง่ เศส ส่วนตัวมณฑปด้านหลังท�าประตูหน้าและหน้าต่างเป็นซุม้ เรือนแก้ว ฐานสิงห์แบบไทย ตรงกลางท้องพระโรงมีสีหบัญชร เป็นที่เสด็จออกเพื่อมี ปฏิสันถารกับผู้เข้าเฝ้าในท้องพระโรงตอนหน้า
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
35
ผนั ง ภายในท้ อ งพระโรง ประดับด้วยกระจกเงา ซึ่งโปรดให้ คนไปจัดซื้อมาจากประเทศฝรั่งเศส ดาวเพดานเป็นช่องสี่เหลี่ยมประดับ ลายดอกไม้ ท องค� า และแก้ ว ผลึ ก ผนังด้านนอกพระที่นั่งตรงมณฑป ชั้นล่าง เจาะเป็นช่องเล็กๆ รูปโค้ง แหลมคล้ายบัว ส�าหรับตั้งตะเกียง ในเวลากลางคืน เช่นเดียวกับที่ซุ้ม ประตู แ ละก� า แพงพระราชฐานชั้ น กลางและชัน้ ใน ซึง่ มีชอ่ งส�าหรับวาง ตะเกียง ประมาณ 2,000 ช่อง • หมู่พระที่น่ งั พิมานมงกุฏ หมู ่ พ ระที่ นั่ ง พิ ม านมงกุ ฎ ประกอบไปด้วยอาคารทัง้ หมด4หลัง โดยด้านหน้าสูง 2 ชั้นด้านหลังมี ความสูง 3 ชั้นส่วนหน้าตรงกลาง เป็นบันไดขนาดใหญ่ขนาบด้วยมุข ซึ่งยื่นออกมาทั้งด้านซ้ายและด้าน ขวาหลังคาเป็นโครงสร้างไม้ทรงปั้น หยายกจั่วสูงชายคาสั้นกุดมุงด้วย กระเบื้องกาบกล้วยทับแนวด้วยปูน ปั้นแบบจีนผนังเจาะช่องหน้าต่าง ระหว่างเสาและมีทุกชั้น - พระที่น่ ังพิมานมงกุฎ ตัง้ อยู่ด้านหลังสุดเป็นพระที่นั่ง 3 ชั้น
36
มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสามารถ เข้าออกทางบันไดด้านนอกอาคาร ที่อยู่ด้านหน้าและด้านหลังโดยไม่ ต้องผ่านบันไดใหญ่ด้านหน้าและ ท้องพระโรงห้องบนสุดเป็นห้องพระ บรรทมชั้น 2 เป็นห้องเสวยหน้าบัน เป็ น รู ป พระราชลั ญ จกรณ์ ป ระจ� า รัชกาลที4่ รูปพระมหาพิชยั มงกุฎวาง บนพาน - พระที่น่ ั งวิสุทธิวินิจฉั ย เป็นท้องพระโรงอยูด่ า้ นหน้าหน้าบัน ประดับด้วยลายปูนปั้นรูปพระแท่น ราชบั ล ลั ง ก์ ภ ายใต้ น พปฎลมหา เศวตฉัตร -พระที่ น่ ั งไชยศาสตรา กร เป็นห้องเก็บอาวุธตั้งขนาบกับ พระที่นั่งวิสุทธิวินิจฉัยทางทิศใต้ -พระที่น่ ั งอักษรศาสตรา คม เป็นห้องทรงพระอักษรตั้งขนาบ กั บ พระที่ นั่ ง วิ สุ ท ธิ วิ นิ จ ฉั ย ทางทิ ศ เหนือ เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2467 สมเด็ จ ฯ กรมพระยาด� า รง ราชานุภาพ และสมเด็จฯ กรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ ทรงร่วมกันจัดตั้ง
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
พิพธิ ภัณฑ์ขนึ้ ทีพ่ ระทีน่ งั่ จันทรพิศาล เรียกว่า ลพบุรีพิพิธภัณฑ์สถาน ต่อ มาปี พ.ศ. 2504 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น พิ พิธภัณฑสถานแห่ งชาติ สมเด็ จ พระนารายณ์ ปัจจุบันมีการขยาย ห้องจัดแสดงมาถึงพระที่นั่งพิมาน มงกุฎ มีสิ่งน่าสนใจดังนี้ ชั น้ ที่ 1 จั ด แสดงโบราณ วั ต ถุ ส มั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ อ ายุ ราว 3,500-4,000 ปี เช่น ภาชนะดิน เผารูปวัว โครงกระดูกมนุษย์ ขวาน หิน ขวานส�าริด จารึกโบราณ เครื่อง ประดับท�าจากหินและเปลือกหอย พระพิมพ์ท่ีพบตามกรุในลพบุรี รูป เคารพในศาสนาพราหมณ์ - ฮิ น ดู โบราณวัตถุสมัยทวารวดี ฯลฯ ชัน้ ที่ 2 จัดแสดงโบราณวัตถุ ต่างๆ ทีพ่ บในลพบุร ี เช่น ทับหลังแกะ สลักรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ พระพุ ท ธรู ป สมั ย ลพบุ รี แ บบต่ า งๆ เครื่องถ้วยกระเบื้องทั้งของจีน และ ไทย เป็นต้น ชัน้ ที่ 3 เป็นห้องบรรทมของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว จัดแสดงฉลองพระองค์ เครื่อง
คู่มือ….ลพบุรี
แก้ ว และภาชนะที่ มี ต ราประจ� า พระองค์ • ทิมดาบ ทิ มดาบตั้ งอยู่บริเวณด้าน ข้างประตูทางเข้าเขตพระราชฐาน ชั้นกลางมีจ�านวนทั้งสิ้น 2 หลังทาง ทิศเหนือ1หลังทางทิศใต้ 1 หลังเป็น อาคารก่ออิฐถือปูน 1 ชั้นมีช่องวง โค้งหันหน้ามาที่ทางเดินด้านหลัง ติ ด ก� า แพงพระราชวั ง หลั ง คามุ ง กระเบื้องดินเผาเป็นที่ตั้งของทหาร รั ก ษาการณ์ เ มื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ มา ประทับ เขตพระราชฐานใน มี พ ระที่ นั่ ง ที่ ส ร้ า งขึ้ น ใน รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และมี อ าคารที่ ส ร้ า งขึ้ น ในรั ช กาล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว ดังต่อไปนี้ • พระที่น่ ั งสุ ทธาสวรรย์ เป็นพระที่นั่งในเขตพระราชฐานชั้น ในเป็ น พระที่ นั่ ง 2ชั้ น ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น มุงหลังคากระเบื้องเคลือบแบบจีน เป็นพระที่นั่งที่ประทับของสมเด็จ พระนารายณ์ ม หาราช พระองค์ เสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งองค์นี้เมื่อ วันที่ 11 กรกฎาคม 2231 โดยทาง พิพิธภัณฑ์ไม่อนุญาตให้ขึ้นไปบน ฐานของพระที่นั่งองค์นี้ • หมู่ตกึ พระประเทียบ ตัง้ อยู่หลังพระที่นั่งพิมานมงกุฎเป็นตึก ชั้นเดียว 2 หลัง ก่อด้วยอิฐปูน 2 ชั้น มี 8 หลัง สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่พักของ ข้าราชการฝ่ายใน สร้างขึน้ ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
37
ข้อพิพาทด้านการบูรณะก�าแพงและประตู ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการบูรณะก�าแพงและ ประตูพระนารายณ์ราชนิเวศน์โดยเริ่มจากก�าแพงวัง ฝั่งตะวันตกฝั่งท่าขุนนาง โดยกรมศิลปากร ลักษณะ ของการบูรณะโดยการสกัดปูนเก่าทีฉ่ าบมาแต่เดิมเมือ่ 344 ปีก่อน แล้วท�าการโบกปูนใหม่แล้วทาสีขาวทับ อย่างไรก็ตามเมือ่ วันที ่ 27 มิถนุ ายน พ.ศ. 2553 ทางด้านของนายภูธร ภูมะธน ประธานชมรมอนุรักษ์ โบราณวัตถุสถานและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลพบุรี เปิด เผยกรณีส�านักศิลปากรที่ 4 ท�าการบูรณะก�าแพงพระ นารายณ์ราชนิเวศน์อายุ 344 ปี ว่า การบูรณะดังกล่าว ไม่คา� นึงถึงหลักวิชาการในการอนุรกั ษ์โบราณสถาน คือ มีการสกัดปูนเก่าลวดลายดั้งเดิมออกทั้งหมด ทุบและ โบกปูนสีขาวเกลี้ยงทับเสมือนสร้างขึ้นมาใหม่ ซึ่งทาง ชมรมเห็นว่า ก�าแพงพระนารายณ์ราชนิเวศน์ มีคุณค่า ด้วยความเป็นโบราณสถานร้าง ดังนั้นการบูรณะควร เป็นแบบรักษาคุณค่าความเก่าแก่มากกว่าการสร้าง ขึ้นมาใหม่ด้วยการโบกปูนทับ จึงยื่นหนังสือคัดค้านไป หลายครัง้ แต่ไม่สามารถหยุดยัง้ ได้เพราะกรมศิลปากร ยืนยันว่าบูรณะอย่างถูกต้องแล้ว ตนจึงเห็นว่าเป็นการ บูรณะโดยไม่ฟังเสียงทัดทานจากภาคประชาชน นาย ภูธรยังกล่าวว่า ที่ผ่านมาทางชมรมได้ต่อสู้มาจนถึง ทีส่ ดุ แล้วทัง้ ส่งหนังสือไปยัง รมว.วัฒนธรรม, อธิบดีกรม ศิลปากร, ผูอ้ า� นวยการส�านักกรมศิลปากรที ่ 4 และคณะ กรรมการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง แต่ก็ไม่มีผลต่อการหยุดยั้ง จากนี้ไปจะไม่ด�าเนินการใดๆ อีก เพราะถือว่าสาย เกินไปที่จะหยุดการบูรณะซึ่งแล้วเสร็จไปกว่าร้อยละ 80 ทั้งนี้นายภูธรยังเรียกการกระท�าดังกล่าวว่า ความ อัปยศใหม่ ไม่ใช่การบูรณะใหม่ พร้อมตั้งข้อสังเกต เรื่องการบูรณะที่ท�ากันอย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการใช้ งบประมาณ พร้อมติติงเรื่องมุมมองการบูรณะโบราณ สถานของกรมศิลปากร และตั้งค�าถามถึงปัญหาด้าน ข้อมูล / ภาพประกอบ : museumthailand.com / th.wikipedia.org
38
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
จรรยาบรรณทางวิชาชีพ รวมทั้งยกกรณีนี้เป็นอุทาหรณ์ เตือนประชาชนว่าอย่าวางใจการบูรณะโบราณสถาน ต่าง ๆ และต้องช่วยกันรักและหวงแหนมรดกของประเทศ พร้อมกันนี้ ได้ออกแถลงการณ์เสนอให้มีการท�าประชา พิจารณ์ก่อนการตัดสินใจต่างๆ เพื่อให้ประชาชนมีส่วน ร่วม ทางด้านนายเขมชาติ เทพไชย รองอธิบดีกรม ศิลปากร ยืนยันว่า การบูรณะนัน้ เป็นไปตามหลักการและ ถูกต้อง เนือ่ งจากภายในก�าแพงพระนารายณ์ราชนิเวศน์ มีพิพิธภัณฑ์ จึงจัดว่าเป็นโบราณสถานที่ยังมีชีวิต หรือ มีประโยชน์ใช้สอยอยู่ การบูรณะจึงต้องท�าให้เกิดความ มั่นคง แข็งแรงตามหลักฐานที่ปรากฏ ก่อนเริ่มบูรณะได้ มีการศึกษารูปแบบ เทคนิค วิธีการสร้าง พร้อมทั้งศึกษา ประวัตคิ วามเป็นมา จึงทราบว่าโบราณสถานแห่งนีไ้ ด้ถกู ซ่อมแซมและบูรณะมาแล้วหลายครัง้ เริม่ ตัง้ แต่พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที ่ 4 เป็นต้นมา และ มีการใช้ปูนซีเมนต์ในการบูรณะกว่าร้อยละ 70 ซึ่งตาม หลักการแล้วปูนซีเมนต์ไม่ควรน�ามาบูรณะโบราณสถาน เพราะก่อให้เกิดความเค็มและผุกร่อนได้งา่ ย จึงต้องมีการ สกัดปูนฉาบเก่านัน้ ออกให้หมด และฉาบด้วยปูนหมักทีม่ ี ส่วนผสมของซีเมนต์ กระดาษสา และทราย เป็นต้น เพื่อ แก้ปัญหาการผุกร่อน ส่วนนางสาวนารีรัตน์ ปรีชาพีชคุปต์ ผู้อ�านวย การส�านักศิลปากรที่ 4 กล่าวว่า ก่อนหน้านี้ชาวลพบุรี ได้ส่งเรื่องร้องเรียนมายังผู้ว่าราชการจังหวัด ว่าก�าแพง พระนารายณ์ราชนิเวศน์มีสภาพทรุดโทรมดังนั้น ส�านัก ศิลปากรจึงได้เริ่มท�าการบูรณะ ซึ่งการบูรณะไม่ใช่เพียง เพื่อปกป้องอนุรักษ์โบราณสถานเท่านั้น แต่เพื่อรองรับ ประโยชน์การใช้สอยในปัจจุบันด้วย เพราะสถานที่ดัง กล่าว เป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์และสถานที่จัดงานประจ�า จังหวัด
คู่มือ….ลพบุรี
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
สมเด็จพระนารายณ์
King Narai National Museum
ตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2466 แบ่งอาคารจัดแสดงศิลปะโบราณวัตถุเป็น 4 อาคาร 1. พระที่น่ ังพิมานมงกุฎ เป็นตึก 3 ชัน้ สร้างขึน้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว (รัชกาลที่ 4) โดยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งนี้และหมู่ตึกต่างๆ เพื่อใช้ ในการแปรพระราชฐาน ปัจจุบนั ใช้เป็นอาคารจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกีย่ ว กับพัฒนาการเมืองลพบุรี ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ถึงสมัยปัจจุบัน ดังนี้ ชัน้ ที ่ 1 - จัดแสดงโบราณวัตถุและศิลปวัตถุที่บอกเล่าเรื่องราว เมืองลพบุรีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ (ราว 3,500 ปี ที่แล้ว) ต่อเนื่องมาจนถึง วัฒนธรรมทวารวดี ซึ่งเชื่อว่าเป็นต้นประวัติศาสตร์ไทย และการเริ่มติดต่อสัมพันธ์กับดินแดนโพ้นทะเล เป็นต้น ชัน้ ที ่ 2 - จัดแสดงนิทรรศการล�าดับพัฒนาการเมืองลพบุรีเป็น เรื่องราวต่อเนื่องจากชั้นที่ ๑ ซึ่งต่อจากช่วงวัฒนธรรมทวารวดี เข้าสู่ช่วง ความเจริญของวัฒนธรรม-อิทธิพลศิลปะเขมรในประเทศไทย อายุราว พุทธศตวรรษที่ 16-18 จัดแสดงศิลปวัตถุและโบราณวัตถุที่ส�าคัญ เช่น ทับ หลัง พระพุทธรูปนาคปรก และเทวรูปต่างๆ ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยอยุธยา จัดแสดงงานศิลปกรรมและงานช่างในสมัยอยุธยา เรื่อยมาจนถึงสมัย รัตนโกสินทร์ ชัน้ 3 - เดิมเป็นห้องบรรทมพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 4) จัดแสดงเหมือนครั้งที่ยังประทับอยู่ มีพระแท่นบรรทม ฉลอง พระองค์ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ พระสาทิสลักษณ์ แท่นบรรทม เหรียญ เงินต่างๆ เครื่องแก้ว เครื่องประกอบโต๊ะพระกระยาหารที่มีตราประจ�า พระองค์ (มงกุฎ) เป็นต้น 2. พระที่น่ ังจันทรพิศาล 3. หมู่ตกึ พระประเทียบ 4. พิพธิ ภัณฑ์ หนังใหญ่ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
39
ห้ องภาคกลางประเทศไทย พ.ศ. 800-1500 รั บอิ ทธิ พลของวั ฒ นธรรมอิ นเดี ยที่ เ รี ยกว่ า สมัยทวารวดี จัดแสดงเรื่องการเมือง การตั้งถิ่นฐาน เทคโนโลยี และ การด�าเนินชีวิต อักษร ภาษา ศาสนสถาน ศาสนา และความเชื่อถือ หลักฐานที่จัดแสดงได้แก่ พระพุทธ รูป พระพิมพ์ดินเผา เหรียญตราประทับดินเผา จารึก ภาษาบาลี สันสกฤต และรูปเคารพต่างๆ ห้ องอิทธิพลศิลปะเขมร - ลพบุรี จัดแสดงหลัก ฐานทางประวัติศาสตร์ อายุราวพุทธศตวรรษที่ 15-18 โบราณคดี ส มั ย ชนชาติ ข อมแผ่ อิ ท ธิ พ ล เข้าปกครองเมืองลพบุรี และบริเวณภาคกลางของ ประเทศไทย ได้แก่ ทับหลัง พระพุทธรูปปางนาคปรก พระพุทธรูปปางประทานอภัย เป็นต้น ห้ องประวัตศิ าสตร์ ศลิ ปะในประเทศไทย จัดแสดงศิลปกรรมที่พบตามภาคต่างๆ ของ ประเทศไทย ตัง้ แต่พทุ ธศตวรรษที ่ 12-18 ได้แก่ ศิลปะ แบบหริภุญไชย ศิลปะล้านนา ศิลปะสมัยลพบุรี เช่น พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระพิมพ์ และพระพุทธรูป ส�าริดสมัยต่างๆ ห้ อ งประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปกรรมสมั ย อยุ ธ ยา รั ตนโกสินทร์ ตัง้ แต่ พุทธศตวรรษที่ 18-24 ได้แก่ พระพุทธรูป เครื่องถ้วย เงินตรา อาวุธ เครื่องเงิน เครื่องทอง และชิ้นส่วนสถาปัตยกรรมปูน ปั้น และไม้แกะสลักต่างๆ ห้ องศิลปะร่ วมสมัย จัดแสดงภาพเขียน และภาพ พิมพ์ ศลิ ปะร่ วมสมัยของศิลปิ นไทย ห้องประวัตศิ าสตร์ การเมือง สังคม วัฒนธรรม และพระราชประวั ติ ข องสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ซึ่งโปรดฯ ให้ สร้างพระราชวัง ณ เมืองลพบุรี เมื่อ พ.ศ. 2399 ได้แก่ ภาพพระบรมสาทิสลักษณ์ ฉลองพระองค์ เครื่องใช้ แท่นบรรทม เหรียญทอง และจานชามมีรูปมงกุฎ ซึ่ง เป็นพระราช ลัญจกรประจ�าพระองค์ เป็นต้น
40
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
ข้อมูล / ภาพประกอบ : museumthailand.com / lopburi.org
คู่มือ….ลพบุรี
พระบรมราชานุสาวรีย์
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org
ตั้งอยู่กลางวงเวียนเทพสตรีใกล้ศาลากลาง จารึกข้อความว่า “สมเด็จพระนารายณ์ มหาราช พระมหา จังหวัดลพบุรบี ริเวณหัวถนนนารายณ์มหาราชก่อนเข้า กษัตริ ย์ไทยผูย้ ิ่ งใหญ่พระองค์หนึ่ง ทรงพระราชสมภพ ณ สูย่ า่ นตัวเมือง อนุสาวรียส์ มเด็จพระนารายณ์มหาราช กรุงศรี อยุธยา พ.ศ. 2175 สวรรคต ณ เมื องลพบุรี เมื อ่ เป็นรูปปั้นในท่าประทับยืนผินพระพักตร์ไปทางทิศ พ.ศ. 2231 พระองค์ ทรงมี พระบรมราชกฤษดาภิ นิหาร ตะวันออก พระหัตถ์ขวาทรงพระแสงดาบ ก้าวพระบาท เป็ นอย่างยิ่ ง” ปัจจุบันพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระ ซ้ายออกมาข้างหน้าเล็กน้อย นารายณ์มหาราชตั้งอยู่กลางวงเวียนเทพสตรี หรือที่ชาว พลังศรัทธาของชาวลพบุรีที่ให้ความเคารพ บ้านเรียกว่า ‘วงเวียนพระนารายณ์ มหาราช’ นักท่องเที่ยว บู ช าสมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราชเป็ น อย่ า งมาก ที่มาเยือนลพบุรีควรไปเยือนสักครั้งในชีวิต เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ในราชวงศ์ปราสาท รู้ ก่อนเที่ยว : ระหว่างวันที่ 16-22 กุมภาพันธ์ ทององค์สุดท้ายจึงร่วมกันสร้างอนุสาวรีย์สมเด็จพระ ของทุกปี จังหวัดลพบุรีมีการจัดงานแผ่นดินสมเด็จพระ นารายณ์มหาราชขึ้นเป็นรูปปั้นท่าประทับยืนผินพระ นารายณ์ และเพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์ พักตร์ไปทางทิศตะวันออก พระหัตถ์ขวาทรงพระแสง มหาราช ได้จัดกิจกรรมเทิดพระเกียรติ ณ บริเวณ ลาน ดาบก้าวพระบาทซ้ายออกมาข้างหน้าเล็กน้อยที่ฐาน พระบรมราชานุสาวรีย์
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
41
บ้านวิชาเยนทร์
“บ้ านวิชาเยนทร์ ” หรือ “บ้ านหลวงรั บราชทูต” ตั้งอยู่ทางด้าน ทิศเหนือของพระนารายณ์ราชนิเวศน์ สร้างขึน้ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช เนื่องจากสถานการณ์ที่น้ีเป็นที่พ�านักของ เจ้าพระยาวิชาเยนทร์ ขุนนางส�าคัญในสมัยนั้น จึงได้ชื่อว่า “บ้านวิ ชาเยนทร์ ” นอกจากนี้เนื่องจากเมื่อครั้งทูตจากประเทศฝรั่งเศสชุดแรกที่เข้า มาเมื่อปี พ.ศ. 2228 ก็ได้พัก ณ สถานที่แห่งนี้ จึงได้ชื่อว่า “บ้านหลวงรับ ราชทูต” อีกชื่อหนึ่ง พื้นที่ในบริเวณบ้านหลวงรับราชทูต แบ่งเป็น 3 ส่วน สังเกตได้จาก ประตูเข้าด้านหน้าซึ่งสร้างไว้ส�าหรับเป็นทางเข้า-ออก แต่ละส่วน คือ ส่วน ทิศตะวันตกส่วนกลาง และส่วนทางทิศตะวันออก ทางด้านทิศตะวันตกเป็นกลุ่มอาคาร ได้แก่ ตึก 2 ชั้น หลังใหญ่ก่อ ด้วยอิฐ และอาคารชั้นเดียว แคบยาว ซุ้มประตูทางเข้าเป็นรูปโค้งค รึ่งวง กลม ส่วนกลางมีอาคารส�าคัญ คือ ฐานของสิ่งก่อสร้าง ซึ่งเข้าใจว่าเป็นหอ ระฆังและโบสถ์คริสต์ศาสนาซึง่ อยูท่ างด้านหลัง ซุม้ ประตูทางเข้าเป็นรูปจัว่ ส่วนทิศตะวันออก ได้แก่ กลุม่ อาคารใหญ่ 2 ชัน้ มีบนั ไดขึน้ ทางด้าน หน้าเป็นรูปโค้งครึ่งวงกลม ซุ้มประตูทางเข้ามีลักษณะเช่นเดียวกั บทางทิศ ตะวันตก ด้วยเหตุที่มีสิ่งก่อสร้างหลายหลังดังกล่าว จึงต้องสันนิษฐานว่า ส่วนใดเป็นที่พ�านักของเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ และส่วนใดเป็นที่พ�านักของ คณะทูตชาวฝรั่งเศส จากแผนผังบริเวณบ้านวิชาเยนทร์พบว่า ส่วนกลาง และส่วนทางทิศตะวันออก มีสงิ่ ก่อสร้างซึง่ ถูกสร้างขึน้ ให้มคี วามสัมพันธ์กนั คือ โบสถ์และตึกหลังใหญ่ 2 ชั้น และได้รับการก่อสร้างอย่างมั่นคงแข็งแรง
42
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
ดูสวยงาม บริเวณดังกล่าวจึงควรเหมาะสมใช้เป็นทีต่ อ้ นรับ ทูตชาวต่างประเทศ โบสถ์คริสต์ศาสนา คงใช้เป็นที่ประกอบพิธีทาง ศาสนาของบาทหลวงคณะเจซูอิด ซึ่งเข้ามาพร้อมกับคณะ ทูตหลายรูป ส่วนอาคารบริเวณทางทิศตะวันตก คงเป็นทีพ่ กั อาศัยของเจ้าพระยาวิชาเยนทร์ ลักษณะของสถาปัตยกรรมในบ้านวิชาเยนทร์ บาง หลังเป็นแบบยุโรปอย่างแท้จริง โดยเฉพาะอาคารใหญ่ทาง ทิศตะวันออก ก่ออิฐถือปูนสูง 2 ชั้น หน้าต่างและซุ้มประตู ของอาคารแสดงให้เห็นลักษณะศิลปะตะวันตกแบบเรอ เนสซองค์ ซึ่งแพร่หลายในระยะเวลาเดียวกัน ที่ส�าคัญอีก คือ อาคารที่เป็นโบสถ์คริสต์ศาสนา ผังและแบบของโบสถ์ เป็นแบบยุโรป มีซุ้มประตู หน้าต่าง เป็นซุ้มเรือนแก้ว มีเสา ปลายเป็นรูปกลีบบัวยาว ซึ่งเป็นศิลปะแบบไทย ถือว่าเป็น โบสถ์คริสต์ศาสนาหลังแรกในโลก ที่ตกแต่งด้วยลักษณะ ของโบสถ์ทางพระพุทธศาสนา เจ้าพระยาวิชาเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) เป็นนักผจญภัยชาวกรีก ผูก้ ลายมาเป็นสมุหนายกในรัชสมัย ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา เกิด ที่แคว้นเซฟาโลเนีย (ประเทศกรีซ) เมื่อ ค.ศ. 1647 (พ.ศ. 2190) โดยมีเชื้อสายของชาวกรีกและเวนิช เข้าท�างานให้ กับบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ค.ศ. 1662 (พ.ศ. 2205) ฟอนคอนออกจากบ้าน และเดินเรือสินค้าไปค้าขายยังแดนต่างๆ ค.ศ. 1675 (พ.ศ. 2218) เดินทางมายังสยามใน ฐานะพ่อค้า เนื่องจากมีความสามารถพิเศษในการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศอย่างง่ายดาย
นอกจากภาษากรีกแล้ว ฟอลคอนมีความ สามารถในการพู ด ภาษาอั ง กฤษ ภาษาฝรั่ ง เศส ภาษาโปรตุเกส ฯลฯ และเรียนรู้การใช้ภาษาไทย อย่างคล่องแคล่วในเวลาไม่กี่ปี ต่อมา ฟอลคอนเข้ารับราชการในราชส�านัก สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในต�าแหน่งล่าม และ เป็ น ตั ว กลางการค้ า ระหว่ า งอยุ ธ ยากั บ ฝรั่ ง เศส จนกระทั่งได้กลายมาเป็นสมุหเสนา ในสมัยพระ นารายณ์มหาราชในเวลาอันรวดเร็ว เจ้าพระยาวิ ชาเยนทร์ หรื อ คอนสแตนติ น ฟอลคอน จึงนับเป็ นชาวตะวันตกคนแรกทีเ่ ข้ามารับ ราชการในสมัยอยุธยา ข้อมูล / ภาพประกอบ : museumthailand.com / Lopburi.org / th.wikipedia.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
43
พระที่นังไกรสรสีหราช(พระที่นั่งเย็น) สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงโปรดเกล้าฯ กั้นน�้าขนาดใหญ่ เพื่อชักน�้าจากทะเลชุบศรผ่านท่อน�้าดิน ให้สร้าง ต�าหนักทะเลชุบศร หรือ พระที่น่ ังเย็น หรือ เผาไปยังเมืองลพบุรี ในปัจจุบันยังเห็นเป็นสันดินปรากฏ พระที่น่ ังไกรสรสีหราช ขึ้น ณ กลางทะเลชุบศร เพื่อ อยู่ ใช้เป็นที่ประทับพักผ่อนพระราชอิริยาบถ เป็นอาคาร ตามบันทึกของชาวฝรั่งเศส กล่าวว่า สมเด็จพระ ชั้นเดียวก่ออิฐถือปูนทรงสูง มีผังเป็นรูปจัตุรมุข มีมุข นารายณ์ฯ ทรงใช้เป็นที่สังเกตปรากฏการณ์จันทรุปราคา เด็จยืน่ ออกมา และมีสหี บัญชรกลางมุขเด็จ ปัจจุบนั ยัง เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2228 และทอดพระเนตรการเกิด คงเหลือก�าแพง ผนัง และช่องหน้าต่าง ที่มีอยู่รายรอบ สุริยุปราคาแบบบางส่วน เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2231 ซึง่ น่าจะเป็นอีกเหตุผลหนึง่ ทีท่ า� ให้พระต�าหนักแห่งนีม้ ี โดยบันทึกระบุว่าบริเวณพระที่นั่งเย็นสามารถเห็นท้องฟ้า ความเย็น ให้ได้ชมและจินตนาการถึงความงดงามของ โดยรอบชัดเจนทุกด้าน และมีพื้นที่กว้างมากพอส�าหรับ พระที่นั่ง บริเวณภายนอกโปรดเกล้าฯ ให้สร้างท�านบ ที่จะติดตั้งเครื่องมือ จึงเป็นสถานที่ส�าคัญของการศึกษา
44
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
ดาราศาสตร์ในสมัยแรกของสยาม โดยมีภาพจ�าลองจาก ภาพแกะสลักไม้ ฝีมือจิตรกรชาวฝรั่งเศส ขณะที่สมเด็จ พระนารายณ์มหาราชก�าลังทรงกล้องโทรทรรศน์เพื่อทอด พระเนตรจันทรุปราคา ทีพ่ ระทีน่ งั่ เย็น ริมทะเลชุบศร จังหวัด ลพบุรี ปรากฎอยู่ เอกลักษณ์ประจ�าพระที่นั่งเย็น ที่ใครไปก็ต้องถ่าย ภาพกับ “ต้ นไม้ ใหญ่ ” ล�าต้นขนาดกว่า 2 คนโอบ ที่แผ่กิ่ง ก้านสาขาสวยงามเหมือนกับวาดโดยจิตรกร และหลักหมุด ส�าคัญทางดาราศาสตร์ของประเทศไทยรูป “นาฬิกาแดด”
บอกพิกดั ละติจดู ลองจิจดู ของพระทีน่ งั่ เย็นบนแผนที่ โลก ท่านทีส่ นใจอยากไปย้อนจินตนาการยังสถาน ทีเ่ ริม่ ต้นการศึกษาด้านดาราศาสตร์ไทย ก็สามารถไป ชมพระที่นั่งเย็น ซึ่งอยู่ภายในซอยพระที่นั่งเย็น ห่าง จากพระปรางค์สามยอด ประมาณ 5 กิโลเมตร เปิด ทุกวัน 8.30-16.00 น. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร 036–413 779 ข้อมูล / ภาพประกอบ : museumthailand.com / th.wikipedia.org / thai.tourismthailand.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
45
พ ร ะ ป ร า ง ค์ ส า ม ย อ ด จังหวัดลพบุรี เป็นโบราณสถานและ แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ที่ ส� า คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด ลพบุ รี ลั ก ษณะเป็ น ปราสาทขอมในศิลปะบายน (พ.ศ. 1720-1773) โครงสร้างเป็นศิลาแลง ประดับปูนปั้น สร้างขึ้นในรัชสมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (ครองราชย์ พ.ศ. 1724-ประมาณ 1757) เพือ่ เป็น พุทธสถานในลัทธิวัชรยานประจ�า เมืองละโว้หรือลพบุรี ซึ่งในขณะนั้น เป็ น เมื อ งลู ก หลวงของอาณาจั ก ร เขมร แต่เดิมภายในปราสาทประธาน ประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกทรง เครือ่ ง ปราสาททิศใต้ประดิษฐานรูป พระโลเกศวร (พระโพธิสัตว์อวโลกิ เตศวร) สี่กร และปราสาททิศเหนือ ประดิษฐานรูปพระนางปรัชญาปาร มิตาสองกร
สถานที่ตั้งและลักษณะทางกายภาพ ตั้งอยู่ที่ต�าบลท่าหิน อ�าเภอ เมืองลพบุร ี จังหวัดลพบุร ี บนเนินดิน ด้านตะวันตกของทางรถไฟ ใกล้กับ ศาลพระกาฬ เป็นปราสาทศิลาแลง แบบขอมเรียงต่อกัน 3 องค์ เชื่อม ต่อกันด้วยมุขกระสัน ภายในบริเวณ นอกจากปราสาททั้ง 3 องค์นี้แล้ว ทางด้านทิศตะวันออกของปราสาท ประธานมี ก ารต่ อ เติ ม วิ ห ารก่ อ อิ ฐ ถือปูนเชื่อมต่อกับปราสาทประธาน เพื่อ ประดิษฐานพระพุ ท ธรู ปในรั ช สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) ประวัติ กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้น ทะเบี ย นเป็ น โบราณสถานในราช กิจจานุเบกษา เล่ม 53 หน้า 904 ลง วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2479 และได้ ก� า หนดเขตที่ ดิ น ให้ มี พื้ น ที่ โ บราณ
สถานประมาณ 3 ไร่ 2 งาน 54 ตาราง วา ตามความในมาตรา 7 แห่งพระ ราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณ วัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพธิ ภัณฑสถาน แห่งชาติ พ.ศ. 2504 ในราชกิจจา นุเบกษา เล่ม 119 ตอนพิเศษ ลงวัน ที่ 4 ธันวาคม 2545 ลักษณะทางสถาปัตยกรรม เป็นปราสาทขอม 3 องค์ เชือ่ ม ต่ อ กั น ด้ ว ยมุ ข กระสั น (อั น ตรละ) โดยวางตัวในแนวเหนือ-ใต้ หันหน้า สู่ทิศตะวันออก ปราสาทประธาน มี ค วามสู ง ใหญ่ ก ว่ า อี ก 2 องค์ โครงสร้างของปราสาทท�าจากศิลา แลงฉาบปูน มีการประดับประดา ตามส่ ว นต่ า งๆ ของปราสาทด้ ว ย ปู น ปั ้ น อั น เป็ น ลั ก ษณะของงาน สถาปัตยกรรมในยุคของพระเจ้าชัย วรมันที่ 7 (ครองราชย์ พ.ศ. 1724- ประมาณ 1757) ที่นิยมใช้ศิลาแลง
พระปรางค์สามยอด
46
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
เป็นวัสดุในการก่อสร้าง เช่น ปรางค์ พรหมทัตที่ปราสาทพิมาย จังหวัด นครราชสีมา ซึ่งประดิษฐานพระรูป ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปราสาท วัดก�าแพงแลง จังหวัดเพชรบุรี ที่ สร้างเป็นปราสาทศิลาแลง 3 องค์ เรี ย งกั น ในลั ก ษณะเดี ย วกั บ พระ ปรางค์ ส ามยอด และปรางค์ อ งค์ กลางของวัดพระพายหลวง จังหวัด สุโขทัย เป็นต้น ลวดลายประดับ ส่ ว นยอดหรื อ ศิ ข ระ สร้ า ง ด้วยหินทรายเป็นรูปบัวคว�า่ บัวหงาย ซ้อนกัน 3 ชั้น ถัดลงมาเป็นการยก เก็จสามเก็จตรงด้านและมุมประดับ ด้วยกลีบขนุนท�าจากศิลาแลง และ บางส่วนท�าจากปูนปัน้ เป็นรูปบุคคล ยืนอยู่ในซุ้มเรือนแก้ว ส่วนที่ยกเก็จ ชั้นที่ 4 เดิมทั้ง 4 ทิศ จะมีการปั้น เทพประจ�าทิศอยู่ในกลีบขนุนและ ตอนล่าง ได้แก่ พระอินทร์ทรงช้าง เอราวัณประจ�าทิศตะวันออก พระ
วรุณทรงหงส์ ประจ�าทิศตะวันตก ท้าวกุเวรทรงมกร ทิศเหนือ และ พระ ยมทรงกระบือ ทิศใต้ ปัจจุบันเหลือ เพี ย งบางส่ ว น สั น หลั ง คาของมุ ข กระสันประดับด้วยบราลีศลิ าแลงปัน้ เป็นพระพุทธรูปประทับสมาธิราบ ปางสมาธิ ในซุ้มเรือนแก้ว ปัจจุบัน เสียหายทั้งหมด • บัวรั ดเกล้ าเรื อนธาตุ มีการประดับลวดลายปูนปัน้ ประกอบไปด้วย แถวบนสุดเป็นลาย ดอกไม้กลม ถัดลงมาปั้นปูนเป็นรูป
กลีบบัวหงาย แถวถัดลงมาเป็นลาย ดอกซีกดอกซ้อน รูปหงส์ ลายกลีบ บัวหงาย ลายก้านขด และดอกบัวตูม เรียงเป็นแถว ลวดลายละ 1 แถวรวม เป็น 3 แถว จบด้วยลายกรวยเชิงเป็น รูปเกียรติมุข (หน้ากาล) คายเฟื่อง อุบะ • ตอนกลางของเรือนธาตุ มี ล ายปู น ปั ้ น ประดั บ เป็ น ลายก้านขดที่แถวบนสุด ถัดลงมา เป็นบัวฟันยักษ์คว�่า หน้ากระดาน เป็นลายกระจังประกอบกันเป็นลาย กากบาทแทรกด้วยลายประจ�ายาม ลายเล็กและลายดอกซีกดอกซ้อน ถัดลงมาเป็นลายกลีบบัวหงาย ลาย กระหนกวงโค้ง ลายดอกบัว ตอนล่าง สุดเป็นลายกรวยเชิงตามล�าดับ • บัวเชิงเรื อนธาตุ ด้ า นบนสุ ด เป็ น รู ป ใบหน้ า ของชาวจามที่เป็นศัตรูกับชาวเขมร ที่ถูกประดิษฐ์เป็นใบหน้าของยักษ์ ประกอบกับลายกรวยเชิง อันเป็น ที่นิยมมากในศิลปะแบบบายนของ กัมพูชา ถัดลงมาเป็นลายดอกบัว สัน ลูกแก้วอกไก่เป็นลายรักร้อย และบัว ฟันยักษ์คว�่า ลายก้านขด และดอก ซีกดอกซ้อน ลายละหนึ่งแถวตาม ล�าดับ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
47
ในส่วนของลวดลายหน้าบัน และทับหลังนั้น ปัจจุบันไม่ปรากฏ ร่องรอยหลักฐานเนือ่ งจากส่วนใหญ่ เป็ น การปั ้ น ปู น ประดั บ ลงบนศิ ล า แลง เมื่อเวลาผ่านไปรูอากาศของ ศิลาแลงจะมีการขยายตัว ท�าให้ลว ยลายปูนทีป่ น้ั ประดับอยูน่ นั้ กะเทาะ ออกมารวมถึงลิงที่มาอาศัยก็มีส่วน ท�าให้เกิดความเสียหาย นอกจากนี้ ใ นสมั ย อยุ ธ ยา ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ได้ มี ก ารบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ แ ละ ดัดแปลงพระปรางค์สามยอดเพื่อ ใช้เป็นพุทธศาสนสถานอีกครัง้ ดังจะ เห็นได้จากการซ่อมแซมส่วนที่เป็น เพดาน โดยยังคงเห็นร่อยรอยของ การปิดทองเป็นรูปดาวเพดาน และ การสร้างฐานภายในพระปรางค์สาม ยอดหลายฐานลั ก ษณะคล้ า ยกั บ ฐานชุกชีด้วยอิฐ อันเป็นวัสดุที่แตก ต่างไปจากส่วนอืน่ ๆ ของพระปรางค์ สามยอดซึ่งส่วนใหญ่เป็นศิลาแลง รูปเคารพในพระปรางค์สามยอด ปัจจุบันไม่พบหลักฐานรูป เคารพประธานในพระปรางค์สาม ยอด พบเพี ย งฐานสนานโทรณิ ที่ ใช้เป็นแท่นรองสรง แต่จากรูปแบบ ของพระพิมพ์รูปปราสาท 3 องค์ที่ พบภายในกรุปรางค์ประธานวัดราช บูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หรื อ ที่ นิ ย มเรี ย กกั นว่า “พระพิ ม พ์ รัตนตรัยมหายาน” ท�าให้ทราบว่า แต่ เ ดิ ม ภายในปราสาทประธาน ของพระปรางค์ ส ามยอดคงเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกทรง เครื่อง พระโลเกศวรสี่กรในปราสาท ทิศใต้ และพระนางปรัชญาปารมิตา ในปราสาททิศเหนือ เช่นเดียวกับที่ ปรากฏในพระพิมพ์ โดยพระพิมพ์
48
ดังกล่าวสร้างขึ้นภายใต้คติความเชื่อพุทธศาสนาลัทธิวัชรยานจากขอม ส�าหรับพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครื่อง ได้แก่ พระอาทิพุทธะ หรือ พระมหาไวโรจนะ ซึง่ เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์ท ี่ 6 ของพุทธศาสนาลัทธิวชั ร ยานที่จารึกของอาณาจักรเขมร เรียกว่า พระวัชรสัตว์ ในศิลปะเขมรนิยม สร้างเป็นพระพุทธรูปทรงเครือ่ งนาคปรก ส่วนพระโลเกศวรอันเป็นพระนาม ที่ปรากฏในจารึกของกัมพูชาใช้เรียกพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ผู้ทรงเป็น บุคลาธิษฐานของความเมตตากรุณาและสัญลักษณ์ของอุบาย (อุปายะ) และพระนางปรัชญาปารมิตา เทวนารีผู้ทรงเป็นสัญลักษณ์ของปัญญาอัน ล�้าเลิศบุคลาธิษฐานของคัมภีร์ปรัชญาปารมิตาสูตร รูปเคารพทั้ง 3 นี้นิยม สร้างในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที ่ 7 ซึง่ ทรงนับถือพุทธศาสนาลัทธิวชั รยาน โดยประกอบกันเป็นความหมายเชิงพุทธปรัชญาของลัทธิวชั รยาน กล่าวคือ พระโลเกศวรทรงเป็นตัวแทนของอุบาย หรือวิธกี ารอันแนบเนียนซึง่ ใช้ไขเข้า สู่ปราชฺญา หรือปัญญาที่มีพระนางปรัชญาปารมิตาเป็นสัญลักษณ์ อันจะ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
เป็ น วิ ห ารก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น มี แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หัน หน้าไปทางทิศตะวันออก สภาพของ วิหารคงเหลือเพียงผนังทั้ง 2 ข้าง และผนังหุ้มกลองทางด้านทิศตะวัน ออก ส่วนเครื่องบนพังทลายไปหมด แล้ว ประตูของผนังหุ้มกลองด้าน ทิศตะวันออกก่ออิฐเป็นซุ้มโค้งหรือ อาร์ช (arch) แบบตะวันตก ส่วน ประตู ท างเข้ า ที่ ผ นั ง ด้ า นข้ า งของ วิหารและหน้าต่างที่ผนังด้านหลัง ของวิหารก่ออิฐเป็นซุ้มโค้งกลีบบัว (pointed arch) แบบศิลปะอิสลาม ป้จจุบันเหลือเพียงซุ้มหน้าต่างด้าน ทิ ศ เหนื อ เท่ า นั้ น โครงสร้ า งผนั ง ของก่ออิฐหนาทึบสลับกับศิลาแลง บางส่วน อันเป็นเทคนิคที่ใช้ในงาน น�าไปสูก่ ารบรรลุพทุ ธสภาวะหรือศูนยฺ ตา ซึง่ แทนด้วยพระวัชรสัตว์นาคปรก สถาปัตยกรรมในรัชสมัยของสมเด็จ ส�าหรับรูปเคารพอื่นๆ ที่พบในพระปรางค์สามยอดนั้น ส่วนมาก พระนารายณ์ ม หาราช เช่ น เดี ย ว เป็นพระพุทธรูปนาคปรก ซึ่งกรมศิลปากรได้อัญเชิญไปเก็บรักษาไว้ใน กั บ กั บ อาคารที่ ส ร้ า งขึ้ น รั ช สมั ย นี้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี ที่ นิ ย มก่ อ สร้ า งด้ ว ยอิ ฐ แทรกด้ ว ย วิหารหน้าพระปรางค์สามยอด ศิ ล าแลงเป็ น ชั้ น ๆ เช่ น พระที่ น่ั ง
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
49
สุ ริ ย าศน์ อ มริ น ทร์ ในพระราชวั ง โบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และอาคารหลายหลั ง ในพระ นารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุร ี ด้ า นหลั ง ของวิ ห ารยกเก็ จ เป็ น กะ เปาะเชื่อมต่อกับประตูทางเข้าด้าน ทิศตะวันออกของปราสาทประธาน ซึ่งการยกเก็จเป็นกะเปาะนี้เป็นรูป แบบทางสถาปัตยกรรมของวิหาร ซึ่งนิยมสร้างในรัชสมัยสมเด็จพระ นารายณ์ เช่น พระที่นั่งจันทรพิศาล ภายในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ และ วิหารหลวงวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี ภายในวิหารประดิษฐานพระ ประธานเป็ น พระพุ ท ธรู ป ประทั บ สมาธิราบ ปางสมาธิ ท�าจากศิลา อายุเวลาของพระปรางค์สามยอด อายุ เ วลาของพระปรางค์ สามยอด พิจารณาจากรูปแบบการ ก่อสร้างที่ใช้ศิลาแลงเป็นโครงสร้าง พอกด้ ว ยปู น และประดั บ ด้ ว ย ลวดลายปูนปั้น อันเป็นรูปแบบทาง สถาปัตยกรรมที่นิยมมากในศิลปะ บายนของกัมพูชา โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งงานสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นใน รั ช สมั ย ของพระเจ้ า ชั ย วรมั น ที่ 7
50
และยังสอดคล้องกับรูปแบบของพระพิมพ์รูปปราสาทสามยอด ที่ภายใน แต่ละยอดประดิษฐานพระพุทธรูปทรงเครื่องนาคปรก พระโลเกศวรสี่กร และพระนางปรัชญาปารมิตา อันเป็นรูปเคารพที่เคยประดิษฐานภายใน ปราสาททัง้ 3 หลังของพระปรางค์สามยอดด้วย โดยพระพิมพ์ดงั กล่าวสร้าง ขึน้ ในพุทธศาสนาลัทธิวชั รยานทีร่ งุ่ เรืองเป็นอย่างยิง่ ในรัชสมัยพระเจ้าชัยว รมันที่ 7 แห่งอาณาจักรเขมร จากเหตุผลดังกล่าว จึงสันนิษฐานได้ว่าพระ ปรางค์สามยอดสร้างขึ้นในรัชสมัยของพระองค์ที่ทรงครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1724-ประมาณ 1757 ส่วนวิหารด้านหน้าของพระปรางค์สามยอดคงสร้างขึ้นในรัชสมัย สมเด็จพระนารายณ์ โดยพิจารณาจากเทคนิคการสร้างซุ้มโค้งของประตู และหน้าต่างทีก่ อ่ อิฐตะแคงเป็นซุม้ โค้งหรืออาร์ช (arch) อันเป็นรูปแบบของ สถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มนิยมสร้างในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ดัง ตัวอย่างจากซุม้ โค้งของบ้านวิชาเยนทร์ จังหวัดลพบุร ี ซึง่ สร้างในรัชสมัยดัง กล่าวเช่นกัน นอกจากนี ้ ผนังของวิหารซึง่ มีการเสริมศิลาแลงเข้าไประหว่าง
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
อิฐเพื่อให้โครงสร้างแข็งแรงขึ้น เป็นเทคนิคที่นิยมใน รัชสมัยนี้เช่นเดียวกัน ดังปรากฏในอาคารหลายหลัง ที่พระนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี อิทธิพลทางด้านศาสนาและการเมือง จากหลักฐานที่ปรากฏแสดงให้เห็นว่า พระ ปรางค์สามยอดสร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธสถานในลัทธิ วัชรยานประจ�าเมืองละโว้ เพือ่ ประดิษฐานรูปพระวัชร สัตว์นาคปรก พระโลกิเตศวร และพระนางปรัชญาปาร มิตา อันเป็นรูปเคารพที่นิยมสร้างขึ้นในพุทธศาสนา ลัทธิวชั รยานในรัชกาลของพระเจ้าชัยวรมันที ่ 7 ซึง่ เป็น ช่วงระยะเวลาทีพ่ ทุ ธศาสนาลัทธิวชั รยานเจริญรุง่ เรือง อย่างมากในอาณาจักรเขมร เทียบได้กบั ศาสนาประจ�า อาณาจักรภายใต้พระราชูปถัมภ์ของพระองค์ ดังจารึก ปราสาทพระขรรค์ที่กล่าวถึงพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ว่า หลังทรงครองราชย์ได้ 10 ปี ได้ทรงสร้างเทวรูปท�าด้วย ทองค�า เงิน สัมฤทธิ ์ และศิลา เพือ่ ส่งไปพระราชทานยัง เมืองต่าง ๆ ในราชอาณาจักรของพระองค์เป็นจ�านวน ถึง 20,400 องค์ และทรงส่งพระชัยพุทธมหานาถ ซึ่ง เป็นพระพุทธรูปนาคปรกทรงเครือ่ งอีก 23 องค์ไว้ตามเมือง ใหญ่ๆ ในอาณาจักร เช่นที่ “ละโว้ทยปุระ” (จังหวัดลพบุรี) “สุวรรณปุระ” (จังหวัดสุพรรณบุร)ี “ศัมพูกปั ฏฏนะ” (เมือง หนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย) “ชยราชบุรี” (จังหวัด ราชบุรี) “ชยสิ งหบุรี” (เมืองสิงห์ จังหวัดกาญจนบุรี) “ชย วัชรบุรี” (จังหวัดเพชรบุรี) ซึ่งในขณะนั้นเมืองละโว้ในรัช สมัยของพระองค์กม็ ศี กั ดิเ์ ป็นเมืองลูกหลวงของอาณาจักร เขมรด้วย ดังปรากฏในจารึกของอาณาจักรเขมรว่า เจ้า ชายอินทรวรมัน (ต่อมา คือ พระเจ้าอินทรวรมันที่ 2) พระ ราชโอรสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กับพระนางชัยราชเทวี ทรงครองเมือง “ละโว้ ” ต่อมาหลังการล่มสลายของพุทธศาสนาลัทธิวัชร ยานในอาณาจักรเขมร พระปรางค์สามยอดจึงได้รับการ ดัดแปลงให้เป็นพุทธสถานในนิกายเถรวาท ดังเห็นได้ จากการสร้างวิหารเชือ่ มต่อกับปราสาทประธานในรัชสมัย สมเด็จพระนารายณ์ ซึง่ ทรงสร้างพระนารายณ์ราชนิเวศน์ และบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ ในเมืองลพบุรี ใน ช่วงระยะเวลาที่เสด็จแปรพระราชฐานมายังเมืองลพบุรี เกือบตลอดรัชกาล ข้อมูล / ภาพประกอบ : museumthailand.com / th.wikipedia.org / thai.tourismthailand.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
51
ศาลพระกาฬ หรือเดิมเรียก ว่า ศาลสูง เป็นโบราณสถานและ ศาสนสถานทีต่ งั้ อยูก่ ลางวงเวียนชื่อ วงเวียนศรีสุนทร บนถนนนารายณ์ มหาราช ในเขตต�าบลทะเลชุบศร อ�าเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตั้ง อยู่ทางด้านทิศตะวันออกของพระ ปรางค์สามยอด และเส้นทางรถไฟ สายเหนือ ภายในเป็นที่ประดิษฐาน เจ้าพ่อพระกาฬ เทวรูปโบราณยุค ขอมเรืองอ�านาจ ประวัติ ศาลพระกาฬ หรือเดิมเรียก ว่า ศาลสูง เนื่องจากศาลตั้งอยู่บน ฐานศิลาแลงทีอ่ ยูส่ งู จากพืน้ ดิน เป็น ศาสนสถานทีเ่ ป็นฐานศิลาแลงขนาด มหึ ม า สั น นิ ษ ฐานกั น ว่ า ฐานศิ ล า แลงดังกล่าวเป็นฐานพระปรางค์ที่ ยังสร้างไม่เสร็จ หรือสร้างส�าเร็จแต่ พังถล่มลงมาภายหลังโดยมิได้รับ
52
การซ่อมแซมให้ดีดังเดิม ศาลพระกาฬเป็นสิ่งก่อสร้างของขอม สืบเนื่องมา จากเมืองลพบุรีในอดีตเคยเป็นส่วนหนึ่งของขอมโบราณ ซึ่งได้กลายเป็น ศูนย์กลางการปกครองของขอมในลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยา อย่างไรก็ตามฌ็อง บวสเซอลิเยร์ ได้สนั นิษฐานจากฐานพระปรางค์ทสี่ งู มากนี ้ ว่าเขายังมิได้ขอ้ ยุติว่าเป็นสถาปัตยกรรมขอมโบราณพุทธศตวรรษที่ 16 “อาจเป็นฐานพระ ปรางค์จริงที่สร้างไม่เสร็จ หรือเสร็จแล้วแต่พังทลายลงมา” ทั้งนี้มีที่ศาลสูง มีการค้นพบศิลาจารึกศาลสูงภาษาเขมร หลักที่ 1 และศิลาจารึกเสาแปด เหลี่ยม (จารึกหลักที่ 18) อักษรหลังปัลลาวะภาษามอญโบราณ จากกรณี จารึกเสาแปดเหลี่ยมที่หักพังนั้น พบว่าเสานี้ถูกทุบท�าลายให้ล้มพังอยู่กับ ที่มิได้เคลื่อนย้ายมาจากที่อื่น จึงสันนิษฐานว่าศาลพระกาฬอาจเคยเป็น ศาสนสถานของนิกายเถรวาทมาก่อน ภายหลังถูกดัดแปลงเป็นเทวสถาน ในนิกายไวษณพของศาสนาฮินดูแทน
ศาลพระกาฬ ข้อมูล / ภาพประกอบ : museumthailand.com / th.wikipedia.org / thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ทรงให้สร้างศาลเทพารักษ์ ขนาดย่อมก่ออิฐถือปูน มีลักษณะ สถาปัตยกรรมตามพระราชนิยม ทรง ตึกเป็นแบบฝรั่งหรือเปอร์เซียผสม ผสานกับไทยบนฐานศิลาแลงเดิม ตัวศาลเป็นอาคารชัน้ เดียวหลบแดด ขนาดสามห้อง ภายในบรรจุทับหลัง นารายณ์บรรทมสินธุ ์ กับเทวรูปสีดา� องค์หนึ่ง ประมาณกันว่าเป็นศาล ประจ�าเมืองก็ว่าได้ รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จ ประพาสเมืองลพบุรีในปี พ.ศ. 2421 ทรงให้ ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ ศาลสู ง ความว่า “ออกจากพระปรางค์ สาม ยอดเดิ นไปสักสองสามเส้น ถึงศาล พระกาล ที ่หน้าศาลมี ต้นไทรย้อย รากจดถึงดิ น เป็ นหลายราก ร่ มชิ ด ดี เขาท� าแคร่ ไ ว้ส� าหรับนัง่ พัก ...ที ่ ศาลพระกาลนัน้ เป็ นเนิ น สู ง ขึ้ น ไป มาก มี บนั ใดหลายสิ บขัน้ ข้างบน เป็ นศาลหรื อ จะว่ า วิ ห ารสามห้ อ ง เห็นจะเป็ นช่อฟ้ า ใบระกา แต่บดั นี ้ เหลืออยูเ่ พียงแต่ผนัง ทีแ่ ท่นมีรูปพระ นารายณ์ สูงประมาณ 4 ศอก เป็ น เทวรู ปโบราณท�าด้วยศิ ลา มี เทวรู ป เล็ก ๆ เป็ นพระอิ ศวรกับพระอุมาอีก 2 รู ป ออกทางหลังศาลมี บนั ใดขึ้ น ไปบนเนิ นสูงอีกชัน้ หนึ่ง มี หอเล็กอีก หอหนึ่ง มี แผ่นศิ ลาเป็ นรู ปนารายณ์ ทรงครุฑแผ่นหนึ่ง มีรูปนารายณ์ประ ทมสิ นธุ์แผ่นหนึ่งวางเปะปะ ไม่ได้ตงั้ เป็ นที.่ ..” ราวปี พ.ศ. 2465 ศาล เทพารั ก ษ์ ห ลั ง เดิ ม ขนาดสาม ห้องได้ทรุดโทรมลงมาก จึงมีการ อัญเชิญเทวรูปองค์ด�าดังกล่าวลง มาประดิษฐาน ณ เรือนไม้มงุ สังกะสี
บริเวณพระปรางค์ชนั้ ล่าง มีตน้ ไทรและกร่างปกคลุมทัว่ บริเวณ ในปี พ.ศ. 2480 จึงมีการสร้างก�าแพงเตี้ยๆ ก่อด้วยศิลาแลงโดยรอบ ต่อมาในปี พ.ศ. 2494 บ้างว่า พ.ศ. 2495 ได้มีการสร้างศาลพระ กาฬขึ้นใหม่เนื่องจากเรือนไม้สังกะสีเดิมได้ทรุดโทรมลง บางแห่งว่ามา จากการริเริ่มของศักดิ์ ไทยวัฒน์ ข้าหลวงประจ�าจังหวัดลพบุรีในขณะ นั้นจากการสนับสนุนของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีใน ขณะนั้น บางแห่งว่าชลอ วนะภูติ ผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรีเป็นหัวเรี่ยว หัวแรงส�าคัญร่วมกับองค์กรอื่นๆ รวมทั้งชาวลพบุรีและผู้ศรัทธาจ�านวน มาก เงินส�าหรับก่อสร้างได้มาจากการเรี่ยไรจากชาวลพบุรีและใกล้เคียง รวมทั้งสิ้น 304,586.22 บาท ศาลพระกาฬหลังใหม่จึงถูกออกแบบด้วย สถาปัตยกรรมทรงไทยร่วมสมัยของกรมศิลปากรสมัยหม่อมเจ้ายาใจ จิตร พงศ์ เป็นหัวหน้ากองสถาปัตยกรรม ก่อสร้างส�าเร็จในปี พ.ศ. 2496 ซึ่งดู เด่นเป็นสง่า ณ บริเวณหน้าฐานพระปรางค์โบราณ และท�าพิธีเปิดเมื่อวัน ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2495
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
53
เจ้าพ่อพระกาฬ เจ้าพ่อพระกาฬเป็นเทวรูป รุน่ เก่าซึง่ อาจเป็นพระวิษณุ หรือพระ โพธิสัตว์อวโลกิเตศวร เป็นเทวรูปรุ่น เก่า ศิลปะลพบุรี แต่เดิมเจ้าพ่อพระ กาฬมีพระกายสีดา� ท�าจากศิลา ไม่มี พระเศียร และพระกรทั้งหมด กล่าว กันว่าเจ้าพ่อพระกาฬได้ไปเข้าฝัน ผู้ประสงค์ดีท่านหนึ่ง นัยว่าขอพระ เศียรและพระกรเท่าทีจ่ ะหามาได้ ซึง่ ได้มีผู้ศรัทธาได้จัดหาเศียรพระศิลา ทรายศิลปะสมัยอยุธยา ส่วนพระกร นั้นได้เพียงข้างเดียวจากทั้งหมดสี่ ข้าง ปัจจุบันเจ้าพ่อพระกาฬไม่ เหลือเค้าเดิมซึ่งมีสีด�าอีกแล้ว ด้วย ถูกปิดทองจากผู้ศรัทธาแลดูเหลือง อร่ามจนสิน้ กล่าวกันว่าปีหนึง่ มีผมู้ า นมัสการไม่ต�่ากว่าหนึ่งแสนคน ลิงศาลพระกาฬ ลิ ง ศาลพระกาฬ หรื อ ลิ ง เจ้าพ่อพระกาฬ ดั้งเดิมเป็นลิงแสม ปัจจุบันมีอยู่ทั้งหมดกว่า 500 ตัว ไม่ ๆ ในลพบุรที มี่ กี ว่า นับรวมลิงกลุม่ อืน่ ๆ ในลพบุ
54
2,000 ตัว ทั้งนี้ทั้งนั้นลิงฝูงดังกล่าวมิได้มีความเกี่ยวข้องกับศาลพระกาฬ เลยแต่อย่างใด แต่เดิมบริเวณโดยรอบศาลพระกาฬเป็นป่าคงมีลงิ ป่าอาศัย อยู ่ ลิงดังกล่าวยังชีพด้วยของถวายแก้บน ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นผลไม้ ปัจจุบนั ลิง ทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม คือ ลิงศาล หรือ ลิงเจ้ าพ่ อ เป็นลิงฝูงใหญ่อาศัยบริเวณโดยรอบ ศาลพระกาฬช่วงเที่ยง และอาศัยที่พระปรางค์สามยอดและบางส่วนของ โรงเรียนพิบูลวิทยาลัยช่วงเช้าและเย็น เมื่อพลบค�่าพวกมันจะกลับมานอน ที่ศาลพระกาฬ กลุ่มนี้มีความเป็นอยู่ค่อนข้างดี มักได้รับของเซ่นไหว้จากผู้ ศรัทธาเสมอ ซึง่ ลิงศาล อาจแบ่งย่อยได้อกี สามกลุม่ คือ กลุ่มศาลพระกาฬ, กลุ่มพระปรางค์สามยอด และกลุ่มโรงเรี ยนพิ บูลวิ ทยาลัย ลิงมุมตึก หรือ ลิงนอกศาล หรือ ลิงตลาด เป็นลิงจรจัดซึ่งแตก หลงฝูงและมิได้รบั การยอมรับกลับเข้าฝูง มักเร่รอ่ นตามมุมตึก ร้านค้าบ้าน เรือนในชุมชนเมืองลพบุรี ลิงกลุ่มนี้มักสร้างปัญหาและความเสียหายอยู่ เสมอ จ�านวนลิงก็เพิ่มจ�านวนมากขึ้นตลอดในเขตเมืองเก่า และเริ่มออก มาจากแหล่งเดิมไปอาศัยอยู่ย่านขนส่งสระแก้ว และสี่แยกเอราวัณซึ่งเป็น เขตเมืองใหม่ ก่อนหน้านี้เคยมีแนวคิดที่จะควบคุมประชากรลิงมาตลอด อาทิ การท�าหมันลิง จนในปลายปี พ.ศ. 2557 ได้มีการร้องเรียนจากชาว บ้าน ว่าลิงทีศ่ าลพระกาฬบางตาลงเนือ่ งจากทางเทศบาลเมืองลพบุรไี ด้สง่ เจ้าหน้าทีม่ าจับ การนีจ้ า� เริญ สละชีพ นายกเทศมนตรีเมืองลพบุร ี และกรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้มาชี้แจงว่าลิงที่ถูกจับนั้นเป็นลิงที่ แตกฝูงและเกเรไปไว้ทสี่ วนสัตว์ลพบุรจี า� นวน 74 ตัว ทีส่ ว่ นใหญ่อดิ โรยและ มีแผลทัว่ ตัว นอกจากนีย้ งั พบว่ามีลงิ ศาลพระกาฬจ�านวน 30-40 ตัวถูกจับ และปล่อยทิ้งไว้ที่ต�าบลดอนดึง อ�าเภอบ้านหมี่ ภายหลังจึงมีแผนจัดการที่ จะน�าลิงไปไว้ทตี่ า� บลโพธิเ์ ก้าต้น อ�อ�าเภอเมืองลพบุร ี โดยท� โดยท�าในลักษณะสวนลิง
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
เทวสถานปรางค์แขก
เทวสถานปรางค์ แขก หรือเรียกสั้นๆ ว่า ปรางค์แขก เป็นโบราณ สถานอยู่ในเขตต�าบลท่าหิน อ�าเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันตั้งอยู่บน เกาะกลางถนนบริเวณแยกถนนวิชาเยนทร์กับถนนสุระสงคราม หน้าศาล แขวงลพบุรี ถือเป็นปราสาทขอมที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี ประวัติ ในยุคปัจจุบันนักวิชาการบางท่านได้สันนิษฐานว่าปรางค์แขกถูก สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 15 บ้างก็ว่าสร้างตั้งแต่ช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 มีรปู แบบสถาปัตยกรรมแบบสมัยพระเจ้าสุรยิ วรมันที ่ 2 ทีน่ จี่ งึ เป็นปราสาท ขอมที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดลพบุรี และภาคกลาง ทัง้ นีม้ ทิ ราบว่าใครเป็นผูร้ เิ ริม่ ในการสร้างปรางค์แขก โดยอาจสร้าง ขึน้ ตามพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย ์ หรือสร้างจากการอุปถัมภ์ ของผู้น�าท้องถิ่น องค์ประกอบ ตัวเทวสถานประกอบด้วยปราสาทอิฐ 3 องค์ เรียงตัวกันในแนว เหนือใต้หันหน้าไปทางทิศตะวันออกตามธรรมเนียมที่พบในกัมพูชา องค์ กลางมีขนาดใหญ่กว่าองค์อื่นๆ มีประตูทางเข้าเพียงประตูเดียวในแต่ละ ปรางค์ ส่วนอีกสามประตูเป็นประตูหลอก และไม่มีฉนวนเชื่อมดังพระ ปรางค์สามยอด แต่เดิมก่อด้วยอิฐไม่สอปูนและคาดว่าคงพังทลายลง ช่วง
กรุงศรีอยุธยาตอนปลายในรัชสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราชจึงมี การปฏิสังขรปรางค์ทั้งสามองค์ขึ้น ใหม่ ใ นรู ป แบบถื อ อิ ฐ สอปู น แต่ ล ะ ก้ อ นเชื่ อ มด้ ว ยยางไม้ และสร้ า ง อาคารอีกสองหลังขึ้นเพิ่มเติม โดย อาคารแรกเป็นวิหารทางด้านหน้า ส่วนอาคารอีกหลังทางทิศใต้สร้าง เป็นถังเก็บน�้าประปา และอาคาร ทั้ ง สองเป็ น ศิ ล ปะไทยผสมยุ โ รป ตามพระราชนิ ย ม โดยประตู ท าง เข้ามีลักษณะโค้งแหลม ต่อมาเมื่อ เทวสถานปรางค์แขกช�ารุดทรุดโทรม ลง กรมศิ ล ปากรจึ ง เข้ า ไปท� า การ บูรณะเพิ่มเติมและเทคอนกรีตเสริม ฐานราก ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org / m-culture.go.th / museumthailand.com
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
55
วัดสันเปาโล 56
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
หอดู ด าววั ด สั น เปาโล เป็ น หอดู ด าว (Saint Paulo) โดยชาวบ้านมักจะเรียกกันว่า ตึกสันเปา มาตรฐานสากลที่ใช้ในกิจกรรมทางวิชาดาราศาสตร์ หล่อ ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นแบบไทยผสมยุโรป อย่างแท้จริงแห่งแรกในประเทศไทย อยู่ในจังหวัด คล้ายกับบ้านวิชาเยนทร์ เชื่อกันว่าสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ ลพบุรี สร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ท�าพิธีทางศาสนาและมีหอดูดาวซึ่งเป็นหอคอยทรงแปด เมื่อ พ.ศ. 2230 โดยเป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มอาคารที่ เหลีย่ มไว้ใช้สงั เกตการณ์ดาราศาสตร์แห่งแรกในกรุงสยาม ประกอบด้วยศาสนสถานและหอดูดาว ด�าเนินการ มีบนั ทึกของบาทหลวงตาชาร์ดกล่าวถึงวัดแห่งนีว้ า่ สมเด็จ โดยบาทหลวงคณะเยสุอิตชาวฝรั่งเศส เมื่อสิ้นรัชกาล พระนารายณ์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างตามแบบหอดูดาวที่ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช หอดูดาวก็ถูกทิ้งร้างไม่ ฝรัง่ เศสและได้พบว่าหอดูดาวทีป่ ารีส ซึ่งสร้างในสมัยพระ ได้ใช้งานอีกต่อไป เจ้าหลุยส์ท ี่ 14 มีการวางผังอาคารทีค่ ล้ายคลึงกันจึงเป็นไป ตั้ ง อยู ่ บ นถนนร่ ว มมิ ต ร ทางเข้ า วิ ท ยาลั ย ได้ที่อาคารทั้งสองแห่งนี้มีความสัมพันธ์กัน แม้ปัจจุบันจะ นาฏศิลป์ลพบุร ี เป็นวัดของพวกบาทหลวงเยซูอติ สร้าง เหลือเพียงซากของหอดูดาวแปดเหลี่ยม แต่ก็ยังเหลือร่อง ขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ รอยให้พอนึกภาพตามได้ นอกจากนีย้ งั พบฐานของอาคาร จากหลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร์ กล่ า วว่ า ที่สันนิษฐานว่าเป็นที่พักและโบสถ์ของฝรั่งแต่อาจจะยัง วัดสันเปาโลเป็นวัดในคริสต์ศาสนา สร้างขึ้นในสมัย สร้างไม่เสร็จ เมือ่ มีการเปลีย่ นแผ่นดินเกิดการเปลีย่ นแปลง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ค�าว่า “สันเปาโล” นี้ หลายด้านวัดแห่งนี้ก็ถูกทิ้งร้างเหลือเพียงซากปรักหักพัง เพี้ยนมาจากค�าว่า เซนต์ ปอล หรือ แซงต์ เปาโล ตามที่เห็น
ข้อมูล / ภาพประกอบ : museumthailand.com / th.wikipedia.org / thai.tourismthailand.org วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
57
วั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ เป็นวัดอารามใน ต�าบลท่าหิน อ�าเภอ เมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ตั้งอยู่ตรง ข้ามกับสถานีรถไฟลพบุรี สร้างใน สมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชดั แต่ มีการปรับปรุงซ่อมแซมหลายครัง้ ทัง้ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระราเมศวร และสมเด็จพระ มหาจักรพรรดิ องค์ประธานวัดพระศรีรัตน มหาธาตุยังปรากฏบนผลงานภาพ จิตรกรรมฯ 8 จอมเจดีย์แห่งสยาม ณ วัดเบญจมบพิตร อีกด้วย องค์ประกอบภายในวัด • ศาลาเปลือ้ งเครื่ อง เป็นส่วนแรกนับจากทางเข้า ศาลาเปลือ้ งเครือ่ งนีใ้ ช้เป็นทีส่ า� หรับ พระเจ้ า แผ่ น ดิ น เปลื้ อ งเครื่ อ งทรง ก่อนที่จะเข้าพิธีทางศาสนาในพระ วิหารหรือพระอุโบสถ ปัจจุบันศาลา เปลื้องเครื่องคงเหลือเพียงเสาเอน อยูเ่ ท่านัน้ ส่วนอืน่ ปรักหักพังไปหมด แล้ว • วิหารหลวง หรือ วิหารเก้าห้อง เป็นส่วน ทีถ่ ดั จากศาลาเปลือ้ งเครือ่ ง ซึง่ สร้าง ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ เป็น วิหารขนาดใหญ่มาก ประตูท�าเป็น เหลี่ยมแบบไทย หน้าต่างเจาะช่อง แบบกอธิคของฝรั่งเศส ภายในสร้าง ฐานชุกชีประดิษฐานพระพุทธรูป คือ “พระพุทธลวบุรารักษ์ ” เป็นพระพุทธรูปปางสมาธินาคปรก ขนาดหน้าตักกว้าง 1.5 เมตรสูง 3 เมตร แกะสลักจากหินทรายเขียว โดยเป็นพระพุทธรูปทีม่ พี ทุ ธลักษณะ งดงามยิ่ง ซึ่งจังหวัดลพบุรี ร่วมกับ พุทธศาสนิกชนผูม้ จี ติ ศรัทธาร่วมกัน สร้างขึน้ โดยได้รบั ประทานนามจาก
58
วัดพระศรีรตั นมหาธาตุ
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ว่า ”พระพุทธลวบุรารักษ์ ” แปล ว่า พระพุทธเจ้าทรงปกปั กรักษา ประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ (โบราณสถาน) เพือ่ ให้เป็นสิง่ เคารพบูชาของชาวลพบุรแี ละประชาชนทัว่ ไป • พระอุโบสถขนาดย่ อม ทางทิศใต้ของวิหารหลวงเป็นพระอุโบสถขนาดย่อม ประตูหน้าต่าง เป็นแบบฝรั่งเศสทั้งหมด • พระปรางค์ ประธาน ห่างไปทางทิศตะวันตกของวิหารหลวงเป็นพระปรางค์องค์ใหญ่ที่ สูงทีส่ ดุ ในลพบุร ี สร้างเป็นพุทธเจดีย ์ องค์ปรางค์กอ่ ด้วยศิลาแลงโบกปูน มี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
เครื่องประดับลวดลายเป็นพระพุทธ รู ป และพุ ท ธประวั ติ ที่ ล ายปู น ปั ้ น หน้าบันพระปรางค์แสดงถึงอิทธิพล ของพุ ท ธศาสนา นิ ก ายมหายาน และซุ้มโคปุระของปรางค์องค์ใหญ่ เป็นศิลปะละโว้ มีลายปูนปัน้ ทีถ่ อื ว่า งามมาก เดิมคงจะสร้างในสมัยขอม เรืองอ�านาจ แต่ได้รับการซ่อมแซม ในสมัยสมเด็จพระราเมศวร สมเด็จ พระมหาจักรพรรดิ และ สมเด็จพระ นารายณ์ ลวดลายจึงปะปนกันหลาย สมัย ปรางค์องค์นเี้ ดิมบรรจุพระพุทธ รู ป ไว้ เ ป็ น จ� า นวนมาก ที่ ขึ้ น ชื่ อ คื อ พระเครื่องสมัยลพบุรี เช่น พระหู ยาน พระร่วง ซึ่งมีการขุดพบเป็น จ�านวนมาก อีกสิ่งหนึ่งที่สมควรจะ กล่าวถึงคือปรางค์รายทางทิศตะวัน ตกเฉียงเหนือที่มุมกลีบมะเฟืองทุก มุมปั้นเป็นรูป เทพพนมหันออกรอบ ทิศ พระพักตร์เป็นสีเ่ หลีย่ ม พระขนง ต่อกัน ลักษณะเป็นศิลปะแบบอูท่ อง ชฎาเป็นทรงสามเหลี่ยมมีรัศมีออก ไปโดยรอบ เป็นศิลปะที่มีความงาม แปลกตาหาดูได้ยากในเมืองไทย วั ด มหาธาตุ แบ่ ง พื้ น ที่ ออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนพุทธาวาส และสัง ฆาวาส ซึ่ ง ส่ ว นหลั ง นี้ ถู ก บุกรุกไปหมดแล้วคงเหลือพื้นที่ส่วน พุทธาวาส มีพื้นที่ประมาณ 20 ไร่ มี ถนนตัดรอบวัด ไม่ได้เข้าไปชมวิ่งรถ วนชมรอบๆ วัดก็ได้เมื่อผ่านประตู เข้าไปจะเห็น ดังนี้ พระอุโบสถ มี
ขนาดใหญ่โตมากและเหลือแต่ผนังทั้ง 4 ด้าน แต่ก็ไม่สมบูรร์นักกับกอง พระพุทธรูปที่หักๆ ทางซ้ายของพระอุโบสถมี “ศาลาเปลือ้ งเครื่ อง” ซึ่ง สันนิษฐานว่า คงสร้างขึ้นภายหลัง เชื่อว่าเมื่อสมเด็จพระนารายณ์ ฯ จะมา ประกอบพิธีทางศาสนาคงจะต้องมาเปลื้องเครื่องทรงที่ศาลาหลังนี้ศาลา เปลื้องเครื่อง อยู่ติดกับวิหารเล็กๆ แต่ปิดประตูใส่กุญแจไว้ มีพระพุทธ ไสยาสน์ประทับอยู่มองเห็น ด้านหลังพระอุโบสถคือ พระปรางค์ซึ่งพระปรางค์เป็นพระปรางค์ องค์เดียวโดดๆ ไม่ใช่เรียงกันสามองค์เช่น พระปรางค์สามยอดแต่เชื่อว่า สร้างในรุน่ เดียวกัน คือ ระหว่าง พ.ศ. 1500-1800 บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ และได้ชอื่ ว่ามีลวดลายปูนปัน้ งามเป็นเลิศ แต่นา่ เสียดายในการบูรณะท�าให้ เสียหายไปไม่ใช่นอ้ ยแต่ยงั พอหลงเหลือให้ชมความงามคือทางซ้ายหรือทาง
ใต้ของพระปรางค์ เงยหน้ามองสูงสักหน่อย ที่หน้าบันจะเห็นภาพพระอมิ ตาประทับบนดอกบัวมีก้านในสวรรค์สุขาวดี ตามคติพุทธมหายาน ลาย ปูนปั้นที่หน้ากระดานแถวบนสุด เป็นลายกระหนกที่รับอิทธิพลขอมศิลปะ สมัยละโว้ ลายปูนปั้น มกรคายนาคหน้าบันซุ้มโคปุระ หรือซุ้มหน้าของ ปรางค์ประธาน เป็นศิลปะละโว้ กับอโยธยา วิหารหลวง อยูท่ างขวาของพระ อุโบสถ เข้าใจว่าปฏิสังขรณ์จนกลายแบบไปแล้ว เดิมประตูเป็นศิลปะไทย แต่หน้าต่างนั้นเป็นศิลปะแบบโกธิค ของฝรั่งเศสแสดงว่าสร้างสมัยสมเด็จ พระนารายณ์ฯ เจดีย์รายอยู่รอบพระปรางค์ใกล้ชิดก�าแพงวัด หลายองค์ ยังมีภาพลวดลายปูนปัน้ ทีง่ ดงามอยู ่ วิหารคด ยังมีสภาพทีด่ เี หลือให้ชมมา บรรจบกันที่ท้ายวิหารหลวง
ข้อมูล / ภาพประกอบ : museumthailand.com / th.wikipedia.org / thai.tourismthailand.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
59
วั ด นครโกษา ตั้ ง อยู ่ ท าง ตอนเหนื อ ของสถานี ร ถไฟลพบุ ร ี ด้านตะวันออกใกล้กับศาลพระกาฬ ในท้องที่ต�าบลท่าหิน อ�าเภอเมือง ลพบุร ี จังหวัดลพบุร ี เป็นศาสนสถาน ทีส่ ร้างซ้อนทับกันหลายสมัย เดิมคง เป็นเทวสถานของขอม มีพระปรางค์ แบบลพบุรีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17 อยู่ด้านหน้า แต่พระพุทธรูปปูน ปั้นแบบอู่ทองบนปรางค์นั้นคงสร้าง เพิ่มเติมขึ้นภายหลัง ได้พบเทวรูป หินขนาดใหญ่แบบลพบุรี ซึ่งมีร่อง รอยดัดแปลงเป็นพระพุทธรูป 2 องค์ (ปั จจุบนั น�าไปไว้ในพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ ) ส่วน พระอุ โ บสถ วิ ห าร สร้ า งในสมั ย กรุงศรีอยุธยาในสมัยที่สมเด็จพระ นารายณ์มหาราชสร้างเมืองลพบุรี และสันนิษฐานว่าเจ้ าพระยาโกษ าธิบดี (เหล็ก) เป็นแม่งานด�าเนิน
60
การในครั้งนั้นจึงได้ชื่อว่า “วัดนครโกษา” ในปี พ.ศ. 2529-2530 กรม ศิลปากรท�าการขุดแต่งที่ฐานเจดีย์องค์ใหญ่ ได้พบประติมากรรมในสมัย ทวารวดี เช่น พระพุทธรูป รูปบุคคล ยักษ์ ลวดลายประกอบสถาปัตยกรรม และพระพิมพ์ดินเผา และได้รวบรวมเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่ง ชาติ สมเด็จพระนารายณ์ วัดนครโกษาได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็น โบราณสถานส�าคัญส�าหรับชาติเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2479
ข้อมูล / ภาพประกอบ : th.wikipedia.org / thai.tourismthailand.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
วัดนครโกษา
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 61
62 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
กาแฟ
กระจก-ขายส่งและผลิต
พิชิตการช่าง .........................0-3643-6571 รวมเจริญอุดมอลูมิเนียม .......0-3679-9427 ส.รุ่งกิจอลูมินั่ม .....................0-3642-2466 ส.มงคลการกระจก................0-3644-6203 ......................................... 081-720 7875
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 63
อ.มานะกิจกระจกแอนด์อลูมินั่ม ............................................0-3641-2456 เลิศการช่างร้านกระจก...........0-3641-1355 กระเบื้องเซรามิค-ผู้จำาหน่าย พิคแอนด์เปย์........................0-3661-6049 มหพันธ์กระเบื้องคอนกรีต .....0-3663-4555 กระเบื้อง-หลังคา
สนามกอล์ฟจอมพล ป. .........0-3641-3133 ก่อสร้าง-อุปกรณ์
กลึง-ผู้รับจ้าง-ผู้รับเหมา
สามยอดออโต้ ......................0-3661-2756 ลพบุรีพร้อมเซอร์วิส..............0-3645-1069 หจก.โคกสำาโรงการโยธา .........0-3642-6656 เกษตรกรรม-การค้าผลิตผล หจก.จงพรชัย .......................0-3644-1259 หจก.ชัยชนะเกษตร ...............0-3646-1355
ร้านชูศิลป์การช่าง .................0-3646-1332 ไชยยศการช่าง ......................0-3646-1842 เทิดธนาโรงกลึง ....................0-3646-2437 โรงกลึงเปี๊ยกการช่าง .............0-3641-2916 หจก.ลพบุรีรวมช่าง ...............0-3641-1318 หจก. ส.สหมิตรกลการ..........0-3641-1964 หจก.อภิวัฒน์เอ็นจิเนียริ่งแอนด์เซอร์วิส ............................................0-3661-0457 กอล์ฟ-สนาม
ร้านแสงชัยการเกษตร ...........0-3646-1488 ร้านทรัพย์ไพศาล...................0-3643-1178 ร้านจักรพันธ์ .........................0-3644-1180 สหกรณ์การเกษตรท่าโขลง ....0-3642-6656 ไร่ลุงชิด ..............................08-9918-2302 กล้องวงจรปิด-จานดาวเทียม กล้องวงจรลพบุร.ี .................081-9465791 ศูนย์PSI ลพบุรี ...................086-7933856
64 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
ร้านต๋อยของฝาก..................089-7794017
แก๊ส
ขนมไทย
ของฝาก ของเก่า
ข้าว-ผู้ค้า กิจเจริญ ...............................0-3644-1316 ข้าวธารา ...............................0-3661-3600 เจริญผลค้าข้าว .....................0-3644-1176 ชาติวัฒนา ............................0-3641-1337 โชคชัย .................................0-3641-1189 ไทยบัณฑิตย์ค้าข้าว ...............0-3647-1005 ธาราค้าข้าว ...........................0-3641-1207 พูลผลค้าข้าว ........................0-3644-1136 ภิรมย์ภัณฑ์ค้าข้าว .................0-3641-3321 รุ่งโรจน์.................................0-3647-1191 ล้อมุยเทียว...........................0-3644-1182 วัฒนาพาณิช .........................0-3661-7183 ขับรถ-โรงเรียนสอน เจ้เซี้ยมขนมหวาน .................0-3644-1919 ขนมหวานคุณยายต้อย .........086-8003497 วุ้นครูกี ................................081-8534215
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 65
ระเวงจิตร .............................0-3644-1017 วิริยะพานิช ...........................0-3643-1099 ศิริพงษ์ .................................0-3641-1790 แอนด์ (พยนต์) .....................0-3646-1461 ง่วนเตียงเบเกอรี่ ...................0-3641-1032 เจ เจ ....................................0-3643-1150 เพื่อนเบเกอร์รี่ ......................0-3661-7112 ร้านเพื่อนวงเวียนสระแก้ว......0-3642-0101 เลี่ยงเส็ง...............................0-3647-1348 สุกัญญาเบเกอรี่ ....................0-3641-2340 ลพบุรีเตาอบ.........................0-3641-2998 ขนส่ง
ขนมปัง-ขนมอบ-เบเกอรี่
อุปกรณ์ วัตถุดิบ เบเกอรี่
เป็นหนึ่งเบเกอร์รี่ ..................0-3647-1391 พรสมบัติ ..............................0-3647-1282 พูลทรัพย์..............................0-3641-1758 มลฤดีเบเกอร์รี่ .....................0-3661-3108 มิสเตอร์โดนัท .......................0-3678-0720
เครื่องครัว ซังง้วน..................................0-3641-2784 ใต้ฟ้า....................................0-3641-1232 ร้านพัฒนประเสริฐ ................0-3641-1693 บจก.ศรีไทยซุปเปอร์แวร์.... 0-3661-3914-5 ร้านสหะกิจขยาย...................0-3641-1889 โชคดีพานิช...........................0-3644-1781 คลินิก คลินิกยุทธนา........................0-3642-2725 คลินิกลพบุรีการแพทย์ ..........0-3641-2376 คลินิกละโว้...........................0-3642-1572
66 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
คลินิกแพทย์ทวีชัย-สุวรีย์ ......0-3642-6946
เดอะเมโทรช็อปลพบุรี ...........0-3641-2049 ร้านทีเซอร์วิส........................0-3642-1832 มายคอมพิวเตอร์ ..................0-3646-2333 วี.เค.โอ.เอ.เซ็นเตอร์..............0-3641-1119 เคมีภัณฑ์-ขายส่งและผู้ผลิต บจก.แซนด์แอนด์ซอยล์อุตสาหกรรม ........................................ 0-3643-6511-5
คลินิกชัยยุทธทันตแพทย์.......0-3641-3351 คลินิกแพทย์วสันต์ ................0-3641-1552 คลินิกแพทย์สุพรชัย..............0-3642-4863
บจก.สุรินทร์ออมย่าเคมิคอล (ปท) ............................................0-3643-6131 บจก.เอิร์ธคอนเซ็ฟท์ .............0-3641-3123 บจก.โอลิโอฟายน์ออกานิค (ปท) ............................................0-3649-1507 เครื่องเขียน-ขายปลีก ร้านเจริญการค้า ....................0-3641-1300 ร้านฉวีวรรณเสาธง ................0-3648-6548 ร้านทวีรัตน์ ...........................0-3644-1394 ร้านพัฒนศึกษา .....................0-3641-2885 ร้านพิมลภัณฑ์ ......................0-3661-8664 ร้านวันชัย ............................0-3646-1142, ............................................0-3646-1344 ร้านสินอุดมการณ์ค้า .............0-3649-7018 หจก.เสริมชาติ ......................0-3642-1939 เครื่องดื่ม-ผู้จำาหน่าย
คลินิก-เสริมความงาม
ร้านจิรวัฒนา .........................0-3641-1025 ร้านเจ๊ติ๋ม ..............................0-3647-1328 ร้านชลพัฒนา........................0-3641-1827 หจก.นารายณ์พานิช ..............0-3646-1382 เพ้งนำ้าแข็ง ............................0-3644-1804 ค่าย-ลูกเสือ
คาร์แคร์
เครื่องสำาอาง-ขายปลีก คลินิกนิติพล.........................0-3661-6038 คลินิกพรรณทิพย์ ..................0-3662-3090 บจก.แพนบิวตี้แคร์ ................0-3641-3114 คอมพิวเตอร์-อุปกรณ์ต่อพ่วง บจก.คอมพิวเตอร์คอนเนอร์ ..0-3661-2620 คอมวันไอทีช็อป ...................0-3663-0640 ดีคอมชอป ...........................0-3662-7250
หจก.สมุนไพรตราหมอจุฬา ....0-3642-5142 อาวียองซ์ช้อป ......................0-3661-4423
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 67
ร้านจอม ...............................0-3663-1291 ร้านบุญประคอง ....................0-3643-1325 ร้านเฟริท ..............................0-3647-1612 จำาหน่ายและเพาะพันธุ์สัตว์
กีฬาสยามแอนด์มิวสิค ..........0-3641-1896 รร.สยามกลการสุจินดา ลพบุรี ............................................0-3641-2186 เดอะไวท์เฮ้าส์แบนด์ .............0-3662-6332 ดอกไม้-ขายปลีกและรับจัด
ร้านคุณหญิงอ้อฟลอร์ริสท์ .....0-3661-2437 บ้านดอกไม้สวย ....................0-3662-6266 ตัดเสื้อผ้า
ซักรีด-ร้าน ร้านไข่มุกซักแห้ง ...................0-6346-1004 ร้านซิลแอนด์สูท ...................0-3662-7016 เทคนิคซักแห้ง ......................0-3641-3027 สากลซักแห้ง ........................0-3641-3842 ซุปเปอร์มาร์เก็ต หจก.ฉันทิต-นริศรา................0-3662-7388 บจก. ช. พัฒนามาร์ค ............0-3646-1172 บจก.ซี.พี.ออลล์ (มหาชน).....0-3663-0128 ดนตรี-เครื่อง-ขายส่ง
ร้านรัตนาภรณ์.......................0-3643-1416 ร้านวัฒนไทย ........................0-3643-1137 ร้านวารี.................................0-3641-1651 ร้านเหมือนฝัน ......................0-3641-1272 ร้านอัมพร .............................0-3641-2402 ตกแต่ง-จัดเลี้ยง
ถ่ายรูป-ร้านเว็ดดิ้ง
68 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
ร้านกิ่งแก้วคัลเลอร์แล็ป 1 ....0-3664-6300 ร้านกิ่งแก้วคัลเลอร์แล็ป 2 ....0-3649-7234 ห้องภาพคิงส์ ........................0-3664-3114 ร้านฉัตรชัยเอ็กซ์เพรส ...........0-3661-4414 ห้างภาพดวง .........................0-3644-1341 ร้านดารากรคับเลอร์แล็ป .......0-3649-1130 ห้องภาพดาวรุ่ง .....................0-3644-1582 ห้องภาพดีจริง .......................0-3641-3241 ห้องภาพนารายณ์ศิลป์ดิจิตอลแล็ป ............................................0-3646-1067 เปเป้เอ็กเพรส .......................0-3661-3054 สตูดิโอโฟโต้เฮาส์..................0-3661-4462 ห้องภาพภูมินทร์ 2................0-3643-1135 บจก.มายโฟโต้ ......................0-3661-2909 ห้องภาพเมโทร......................0-3641-1219 ร้านหลีฮงโฟโต้กรุ๊ป ...............0-3663-3198 ถ่ายเอกสาร-บริการ
ร้านควิกก๊อปปี้ 2,000 ..........0-3646-1945 ร้านชนะการปริ้น ...................0-3641-2991 ร้านถ่ายเอกสารไทยแก้ว ........0-3644-1326 หจก.พีเคเซ็นเตอร์ ................0-3642-0880 ร้านอิมเมจ............................0-3661-0063 ร้านอุดมเครื่องเย็น................0-3642-0479
ทอง ห้างทองคุณทองดี .................0-3642-0545 ห้างทองเจียระสุวรรณ ...........0-3662-4101 ร้านทองชัยธานี .....................0-3663-1053 ร้านทองโชคทวีชัย .................0-3646-1364 ห้างทองดาวทอง ...................0-3641-1947 ห้างเพชรทองตั้งเซ่งเฮง .........0-3646-1232 ห้างขายทองแต้เซ่งเฮง ..........0-3643-1765 ร้านทองทวีศักดิ์ ....................0-3641-1057 ร้านทองมหาชนก ..................0-3643-1070 ร้านทองแหลมทอง ................0-3662-4258 โทรศัพท์-บริษัท-องค์การ ร้านคุณชัย ............................0-3646-1002 ร้านจุ๊บแจง ............................0-3646-1510 บจก.พีเอ็นวีคอมมิวนิเคชั่น ....0-3663-0666
ร้านมือถือมานพ....................0-3648-9893 บจก.ราชบุรินทร์ ....................0-3641-2735 ร้านสมาร์ทโฟน .....................0-3661-8775 ร้านเอ็มโมบาย ......................0-3644-1865 ร้านเอสซีโมบาย....................0-3643-6099 ธุรกิจ หจก.เจษฎาธุรกิจ.................08-4941-1749 บจก.ศรีสมบูรณ์ธุรกิจเซ็นเตอร์ ............................................0-3613-6981 หจก.บึงเคียงเส็งทรัพย์รุ่งเรือง ............................................0-3647-1363 ศรีสมบูรณ์ธุรกิจเซ็นเตอร์ (ลำานารายณ์) ............................................0-3663-1334 ลำานารายณ์พานิช ..................0-3646-1933 ฤทธิ์ไพศาล.........................08-1825-0975 ฟิวเจอร์สมาร์ท .....................0-3641-1777 หจก.บี.เค.เค.อินโฟมีเดีย .....08-2343-6257 โยธินเทรดดิ้ง ........................0-3636-0203
ไอซีเบบี้................................0-3665-8213 ธนาคาร
ธ.กรุงเทพ (สาขาบ้านหมี่)......0-3647-1153 ธ.กสิกรไทย (สาขาโคกสำาโรง) ........................................ 0-3662-4992-3
ธ.กสิกรไทย (สาขาบ้านหมี่) ...0-3662-8729 ธ.กรุงศรีอยุธยา (สาขาวงเวียนสระแก้ว) ............................................0-3642-0082 ธ.กรุงศรีอยุธยา (สาขาพัฒนานิคม) ............................................0-3643-6066 ธกส.สาขาท่าวุ้ง.....................0-3662-2593 ธกส.สาขาบ้านหมี่ .................0-3647-1090 ธกส.สาขาลพบุรี ............... 0-3661-8571-2 ธกส.สาขาหนองม่วง ......... 0-3664-8263-4 ธ.ไทยพาณิชย์ (สาขาลพบุรี)..0-3641-2626 ธกส.โคกสำาโรง .....................0-3644-1732 ธกส.สาขาท่าม่วง ..................0-3664-8263 นม-ผลิตภัณฑ์
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 69
บจก.ทีดีแดรี่ฟู๊ดส์ ..................0-3649-4265 หจก.ธรรมสุรีย์........................ 0-364-6328 บจก.พีวีพัฒนานมสด ............0-3649-1434 สหกรณ์โคนมชัยบาดาล .... 0-3665-4145-6 นาฬิกา-ร้าน ร้านจำารองนาฬากา ................0-3649-1213 ร้านเจริญวิทยุ .......................0-3644-1274 ร้านเทพชุมนุม ......................0-3646-1531 ร้านสากลนาฬิกา...................0-3641-1479 ร้านออไทม์โฮมโปร ...............0-3661-5314 นำ้าแข็ง-โรงงาน โรงนำ้าแข็งชาญชัยลำานารายณ์ ........................................ 0-3685-1747-8 ไอศกรีมตราดาว....................0-3641-1522 ร้านนำ้าแข็ง บ.เจ้าพระยา ........0-3644-1693 โรงนำ้าแข็งบ้านหมี่..................0-3647-1155 โรงนำ้าแข็งตรีสุวรรณ ..............0-3641-3317 โรงนำ้าแข็งไทยกวง .................0-3647-2098 โรงนำ้าแข็งลพบุรี....................0-3641-1058 บจก.ลพบุรีนำ้าแข็งหลอด (ดีไอซ์) ............................................0-3641-1809 นำ้าบาดาล-ขุดเจาะ
นวดแผนโบราณ
นำ้ามันเชื้อเพลิง บจก.ปิโตรเลียมไทยคอร์ปอเรชั่น ............................................0-3665-3149 บจก.ทรัพย์สิน ................0-3646-2438-40 บจก.ศรีชลสิทธิ์ปิโตรเลียม
......................................0-3661-3058-60 เนื้อสัตว์-ขายปลีก ชยันต์ รักงาม .......................0-3641-2564 รจนา แสงอรุณ .....................0-3662-6352 ไอชา บุนนาค........................0-3661-8645 บัญชี สนง.พุฒิกิจบัญชี...................0-3661-2196 สนง.เอซีซี (ที่ปรึกษาการเงินและบัญชี) ........................................ 0-3662-6130-1 บจก.อินติเกรท .....................0-3641-2341 บ้านที่ดิน-ผู้จัดสรร
บจก.เจ แอนด์ เอส กรุ๊ป .......0-3642-0048 บจก.พีพีอินเตอร์ลิสซิ่ง ..........0-3661-4755 บจก.มิตรนำาโชคแลนแอนด์เฮาส์ ............................................0-3648-6421 หมู่บ้านเกียรติยศนคร............0-3648-6737 บริการกำาจัดปลวก
เบรค-ตรวจ-ซ่อม
ละโว้ผ้าเบรค ........................0-3662-0208 อุดมฟ้าเบรค (เมือง) .............0-3662-0599 อุดมผ้าเบรค (โคกสำาโรง) ......0-3644-1678 เบียร์และเหล้า-ผู้จำาหน่าย หจก.คงสมบัติ ......................0-3644-1211 ร้านเดอะแบงค์ .....................0-3641-2359 ร้านปรีชาเวชภัณฑ์ ................0-3661-5417 บจก.ป้อมโชค .......................0-3641-1554 บจก.สิงห์ภาคกลางตอนบน ...0-3662-7341 ปั๊มนำ้ามัน
ปั๊มนำ้ามันคาลเท็กซ์ดาวบ้านชี ............................................0-3648-9222 ปั๊มจุมพลบริการ ....................0-3644-2145 หจก.ณราพงศ์บริการ .............0-3642-0475 นันทนาลพบุรี 2000 .............0-3641-1301 หจก.นิ่มสุวรรณปิโตรเลี่ยม ............................................0-3647-1206 ปั๊มนิยมชัย ...........................0-3646-1268 สถานีบริการจ่ายนำ้ามันเชื้อเพลิงกระทิงแดง ............................................0-3648-6581 ปั๊มนำ้ามันมิตรเกื้อกูล (1995) ............................................0-3649-7014 หจก. ป. อนพลค้านำ้ามัน ........................................ 0-3663-1377-8 หจก.สนามชัยบริการลำานารายณ์ ............................................0-3646-1174 บจก.วีเคอาร์เซอร์วิส
70 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
........................................ 0-3641-4544-5 หจก.ลพบุรีชูชื่นบริการ ..........0-3643-1017 สถานีบริการยานยนต์ ............0-3648-6671 สถานีบริการนำ้ามันท่าวุ้ง .........0-3648-1450 ปูนปั้น-กระถาง อ่างบัว
ปูนซีเมนต์ ปูนซีเมนต์นครหลวง..............0-3649-9177 ป้ายโฆษณา ร้านเจริญศิลปะการ ...............0-3642-0868 เซียนอีไซด์ป้านอิงค์เจ็ท .........0-3662-7699 ใบเฟิร์นโฆษณา .....................0-3661-6122 ปริ๊นช็อปอิงค์เจ็ท ..................0-3646-1444 ร้านปริ๊นติ้ง ...........................0-3642-6788 ป้านสกรีนวิสิฏฐ์โฆษณา .........0-3641-3273 ร้านสิทธิกรโฆษณา.................0-3641-3325 ผลไม้และผัก ร้านดวงพร............................0-3641-1528 ร้านลำาไย ..............................0-3641-1481 บจก.บลูแองเจิลด์ (ไทยแลนด์) ............................................0-3665-2972 ผ้าขายปลีก ร้านกิตติภัณฑ์ .......................0-3647-1189 เตียท้วงเพ้น..........................0-3644-1016 ร้านไทยสวัสดิ์ .......................0-3641-1712 ร้านนวรัตน์ ...........................0-3641-1713 ร้านพรสวัสดิ.์ ........................0-3643-1124 ร้านภรภัณฑ์..........................0-3642-0421 ร้านมัดหมี่มหาโพธิ์ ................0-3678-7045 ร้านยงสวัสดิ์ .........................0-3641-1288 ร้านรัตนาพาณิช ....................0-3641-1711 ร้านศรีอารีย์ ..........................0-3641-3453 ร้านผ้าไหม ร้านดารณีไหมไทย .................0-3641-1736
ร้านบ้านนำาไทย .....................0-3641-1550 ร้านเจริญรุ่งเรืองกินไหมไทย ........................................ 0-3662-0351-2 ผ้า-ย้อมผ้า ร้านช้างไทยพัฒนา.................0-3643-3190 บจก.ซิงเกอร์ประเทศไทย ......0-3641-1302 พลาสติก
บจก.เบอร์ลี่ไดน่าพลาส ..... 0-3665-2623-4 บจก.ลพบุรีพลาสติก ......... 0-3665-6886-7 ร้านนัฐชาพลาสติก ................0-3643-6063 เพชรพลอย-ทองรูปพรรณ ห้างทองช่างหลีโม .................0-3641-1449 ห้างทองทองคำา .....................0-3667-8684 ไฟฟ้า-เครื่องใช้
ร้านทองชัย ...........................0-3646-1169 ร้านธนวัฒนาวิทยุ ..................0-3643-1331 ร้านพรเจริญ..........................0-3663-0633 บจก.เพียรทิพย์เซ็นเตอร์........0-3641-2901 ห้างเคมีภัณฑ์ ........................0-3641-1258 ฟาร์ม ร้านกมลการไฟฟ้า .................0-3641-1328 หจก.กิจนิยม (สมัยใหม่) .......0-3641-3122 ห้างจงเจริญอิเลคทริก............0-3641-1933
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 71
ยา
ฟาร์มไก่ชนท่านขุน ..............08-1851-3273 สงวนฟาร์ม .........................08-1801-8091 สหกรณ์ลพบุรี ฟาร์มโคนม .................. 0-3641-1008, 0-3641-1603 ฟาร์มอำานวยสุขโคกสำาโรง .....0-3662-4671 เฟรน์ ไชน์
เฟอร์นิเจอร์
ร้านก๊อปเปอร์มาร์กเฟอร์นิเจอร์ ............................................0-3663-0331 บจก.คอสต้าวู้ดเด้นแอนด์ฟอเรสท์ ............................................0-3663-8383 ร้านท่าหลวงเฟอร์นิเจอร์ ........0-3664-6262 มอเตอร์ ไฟฟ้า
ร้านชัยมอเตอร์ .....................0-3646-1025 ร้านศิริมอเตอร์......................0-3661-3535 ห้างจงเจริญอิเลคทริก............0-3641-1933 ร้านไทยพัฒนา ......................0-3643-3190 บจก.ซูเกอร์ประเทศไทย ........0-3641-1115 มูลนิธิ-การกุศล บจก.ไพโอเนียไฮ-เบรด (ไทยแลนด์) ............................................0-3649-9169 บจก.ไพโอเนียไฮ-เบรด (ไทยแลนด์) ............................................0-3665-8043 ร้านศรีพงษ์ ...........................0-3646-1185 ร้านช่องเจริญ ........................0-3646-1437 ไม้-ค้าไม้
ร้านค้าไม้นายไล้ ....................0-3644-1219 ร้านรุ่งเรืองค้าไม้ ....................0-3641-2112 ร้านรุ่งเรืองพานิช 85.............0-3641-3489 โรงเลื่อยจักรลพบุรี ...............0-3641-1427
ร้านเกรียงศักดิ์ฟาร์มมาซี .......0-3646-1250 ร้านเกียรติศิริเภสัช ................0-3641-3435 ร้านโคกสำาโรงฟาร์มาซี ...........0-3644-1997 ร้านเจริญเภสัช ......................0-3641-2421 ร้านเจริญเวช.........................0-3645-1082 ร้านชนะเภสัช .......................0-3646-2135 ร้านทองคำาโอสถ ...................0-3647-1118 ร้านทองใบฟาร์มาซี ...............0-3649-9167 ยารักษาโรค-สัตว์ บจก.โกลเด้นไลน์บิสซิเนส ........................................ 0-3664-3342-3 บจก.เบ็ทเทอร์ฟาร์มา ......................................0-3663-8610-21 รพ.สัตว์ละโว้ ........................0-3642-4492 ร้านวิโรจน์ปศุสัตว์ .................0-3646-1832 ยางรถยนต์-ผู้ขาย ชัยพรยางยนต์ ......................0-3649-1354 ธวัชการยาง ..........................0-3647-1143 พฤกษ์อำานวยการยาง ............0-3644-1231 ยางลำานารายณ์ .....................0-3646-1589 ยางสามัคคี ...........................0-3641-1909 ลพบุรียางยนต์ ......................0-3641-1125 วีเอ็นออโต้แคร์ ................. 0-3661-4990-1 รถยนต์-ทำาเบา ร้านจำาลองทำาเบาะ .................0-3641-2323 โรงหล่อ
72 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
โรงหล่อทองเหลืองบ้านท่ากระยาง ................ ............................................0-3642-1469 ราชการ
อบต.ศิลาทิพย์ .................. 0-3679-2627-9 ชมรมแม่บ้านกองพันปฏิบัติการจิตวิทยา ............................................0-3641-1618 การประปาส่วนภูมิภาค ..........0-3641-1480
โรงพิมพ์-ป้ายอิงค์เจ็ท
กรุงไทยการพิมพ์...................0-3664-5302 โรงพิมพ์เกษมการพิมพ์..........0-3641-3178 บจก.เจแอนด์เค ปริ้นติ้ง ........0-3661-4668 โรงพิมพ์ไพศาลการพิมพ์ ........0-3644-1396 สำานักพิมพ์มานิตย์วิทยา ........0-3641-2214 โรงพิมพ์ลพบุรีดีไซน์..............0-3661-3730 โรงพิมพ์ลำานารายณ์การพิมพ์ ............................................0-3646-1841 ร้านตู๋สติ๊กเกอร์ .....................0-3646-1680 รถโดยสาร บขส.ลพบุรี...........................0-3641-1888 เชื้อเพ็ชร์ทรานสปอร์ต ...........0-3660-4546 เพชรประเสริฐ ......................0-3646-1133 ลพบุรีสหกิจการขนส่ง ...........0-3649-1368
วัชรินทร์ทัวร์ .........................0-3641-3473 ศรีนครลพบุรี ........................0-3641-1054 สถานีรถไฟลพบุรี ..................0-3641-1022 รถยนต์ ใหม่
ร้านรถจักรยาน ร้าน ช.พาณิชย์จักรยาน .........0-3641-1182 ร้านชิงชัย..............................0-3643-1248 ร้านจักรยานไพโรจน์ ..............0-3647-1017 ร้านรุ่งเจริญ ..........................0-3644-1203 ร้านลพบุรีจักรยาน.................0-3641-1898 ร้านเลิศจักรยาน....................0-3641-3303 ร้าน 21 การช่าง ...................0-3649-1177 ร้านแสงรุ่งเรืองจักรยาน ............................................0-3644-2011 รถจักรยานยนต์ คาวาซากิ ภัทรลพบุรี .............0-3641-2172 ร้านเกียรติเจริญยนต์ .............0-3663-0650 ร้านโคกสำาโรงมอเตอร์ (ศิริชัย) ............................................0-3643-2138 บจก.เฉลิมชัยพัฒนากลการ ...0-3663-8400 บจก.เฉลิมชัยลพบุรี ..............0-3641-1362 ร้านนำ่ายงเส็ง.........................0-3661-3767 ร้านประสิทธิ์มอเตอร์ .............0-3661-7672 ร้านประเสริฐบริการ...............0-3648-6385 หจก.พงษ์เจริญ .....................0-3641-1290 ร้านภัทรยนต์ ........................0-3641-3623 ร้านรุ่งชัย ..............................0-3646-1421 ร้านวิชัยการยาง ....................0-3649-1124 บจก.ศรีสมบูรณ์ธุรกิจเซ็นเตอร์ ............................................0-3661-8765 รถยนต์-อะไหล่-ซ่อม-ประดับยนต์
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 73
รถเช่า-บริการ
เทพธัญญะ ...........................0-3665-3048 ไทยประดิษฐ์.........................0-3646-1159 ไทยสมบูรณ์ .........................0-3647-1234 บุญฤทธิ์การเกษตร ................0-3648-9120 ประดิษฐ์กุล ..........................0-3661-7058 มงคลชัยวัฒนา .....................0-3665-3032 โรงสีไทยบัณฑิตย์..................0-3647-1395 โรงสีปรีชานุกูลกิจ ............. 0-3661-5464-5 โรงสีไฟธาราเจริญ..................0-3642-0385 โรงสีไฟยงสวัสดิ์ ...................0-3644-1007 ว.เทพมงคลพาณิชย์ ..............0-3641-2769 ศรีธัญญาวัฒนา.....................0-3647-1432 สหพันธ์พานิช .......................0-3641-2749 โรงแรม-รีสอร์ท
โรงสี
หจก.สปีดเวย์ 3 เซอร์วิส ......0-3641-2918 ร้านเสริมยนต์ (พัฒนานิคม) ..0-3649-1220 ร้านเสริมยนต์ (ชัยบาดาล) ....0-3646-1204 ร้านหล่อวัฒนา (อ๊อกเชื่อมโลหะ) ............................................0-3641-2237 ร้านอิทธิเจริญยนต์ ................0-3643-1122 รถแทรคเตอร์-ซ่อม อู่ขวัญเจริญการช่าง ...............0-3646-1407 อู่เปี๊ยกการช่าง ......................0-3646-1798 อู่พ้งการช่าง ..........................0-3646-1797 ร้านไพโรจน์การช่าง ...............0-3643-1226 ร้านสวัสดีบริการ ...................0-3647-1254
โรงสีบ้านคลอง .....................0-3642-6555 เจริญประภา..........................0-3648-9026 โชคชัยใหม่ ...........................0-3665-3159 ซัวเจริญชัย ...........................0-3647-1241 ทีเอ็มพีไรซ์มิลล์ ....................0-3653-1007
เก็ทอินน์........................... 0-3664-3354-6 ฉิมพลีดี................................0-3643-6233 ชาญเวชดีพาร์ทเม้นสโตร์ ... 0-3646-1251-3
74 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
ไทยเปฮอล์ลิเดย์ ..................0-3641-1523, ............................................0-3641-1661 รามาพลาซ่า ..........................0-3641-1663
เจพีแลนด์รีสอร์ท ..................0-3678-0088 ลพบุรีอินทร์รีสอร์ท ..............0-3642-1453, ............................................0-3642-0777
ลพบุรีเรสสิเด้นท์............... 0-3661-3410-2 ไร่องุ่นปภัสรา........................0-3636-4475 พนาสิริรีสอร์ท ......................0-2661-7555 ..............................................ต่อ 306-317 ป่าสักฮิลล์ไซต์รีสอร์ท ..........0-3646-2428, ..........................................08-4099-6448 โรงพยาบาล
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 75
รพ.เบญจรมย์ .......................0-3641-2160 รพ.เมืองนารายณ์ ..................0-3661-6300
โรงเรียน รร.โคกสำาโรงวิทยา ................0-3644-1641 รร.บ้านหนองแขม .................0-3678-0292 รร.นิคมลำานารายณ์ ...............0-3679-2451 รร.ดงตาลวิทยา.....................0-3665-6309 ว.เกษตรลพบุรี......................0-3649-1370
รพ.อานันทมหิดล.............. 0-3641-4350-5 รพ.ลำาสนธิ............................0-3663-3184 รพ.ชัยบาดาล .......................0-3646-1022 รพ.ท่าหลวง ..........................0-3649-7105 โรงพยาบาลสัตว์ รพ.บ้านรักสัตว์ .....................0-3648-1616 คลินิกพิชัยสัตวแพทย์ ...........0-3641-2874 คลินิกเพื่อนสัตว์เลี้ยง............0-3644-2555
ร้านเพื่อนสุนัข.... 0-3647-2816 รองเท้า-จำาหน่าย รร.อารีสวัสดิ์ ........................0-3646-1024 รร.นารายณ์วิทยา ..................0-3646-1476 รร.พาณิชยการชัยบาดาล .......0-3663-0818
76 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
ว.นาฎศิลป์ลพบุรี .............. 0-3642-4185-6 รร.พัฒนานิคมอนุบาล ...........0-3663-9289 รร.ปิยบุตรลพบุรี ...................0-3662-9175 ว.เอเซียเทคโนโลยีลพบุรี.......0-3661-3444 รร.เซนต์จอห์นแมรี่................0-3621-8600 รร.บรรจงรัตน์ .......................0-3641-1678 รร.สามัคคีวิทยา ....................0-3646-1175 รร.นารายณ์วิทยา ..................0-3641-3111
ข้าวต้าฮ้อ .............................0-3641-1672 ครัวกุ้งหลวง .........................0-3649-4405 ครัวไทย................................0-3641-4262
วิทยาลัยเทคโนโลยีลพบุรี ......0-3641-2568 รร.ปิยะบุตร ..........................0-3662-9175 รร.ลำาจรวิทย์ .........................0-3641-1442 รร.พิบูลย์วิทยาลัย.................0-3668-9762 รร.บ้านสามเรือน ...................0-3641-2569 รร.ราชประชานุเคราะห์ 33 ....0-3679-6833 รร.บ้านหมี่วิทยา....................0-3647-2080 รร.อนุบาลลำานารายณ์ ...........0-3646-1040 รร.อนุบาลสระโบสถ์..............0-3643-9116 ร้านอาหาร
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 77
เจิน เจิน ...............................0-3663-2080 เจ๊ แจ้ว .................................0-3647-1715 เดอะซิสคาราโอเกะ...............0-3661-2649 สะอาดไทย ...........................0-3641-3897 บัวหลวง ...............................0-3641-1014 เก๋ปลาทอด.........................08-1947-0923
น้อยสเต็กโฮม ......................0-3642-0354 นายเปา ................................0-3646-1050 มังกรโภชนา ..........................0-3641-2839
78 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
ก๋วยเตี๋ยวเรือกะทิสด ..........08-7004-4433, ..........................................08-1991-9188 ก๋วยเตี๋ยวหนิงหน่องลพบุรี ....088-8615852
ร้านแพบ้านริมนำ้า...................0-3661-8005 ร้านกังหันลม ......................08-5813-6424 ร้านพิกุลไก่ทอดโบราณ.........083-0722844
ข้าวแกงฉัตรชัย ...................0-3646-1055ฃ วาสนา..................................0-3642-0777 สหายจัน...............................0-3641-4064
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 79
สวนอาหารบัวหลวง ..............0-3641-3009 สุกี้แหลมทอง .......................0-3662-7331 เล็กๆ ชวนชิม .......................0-3661-7107 แก้วเจ้าจอม ..........................0-3662-7899 แสงสว่าง..............................0-3641-1632 ไทยสว่าง ..............................0-3641-1881 ไวท์เฮาท์การ์เดน ..................0-3641-3085, สวนอาหารพันธ์พฟกษาตาพุ่ม ....................... ...........................................089-8202780 สุขภาพ-นวด-ชมรม-โยคะ ชมรมรักสุขภาพ...................062-5511655 โอเคโฮม..............................082-4469959
สหกรณ์
สหกรณ์ออมทรัพย์กองบิน.....0-3648-6787 สหกรณ์ออมทรัพย์กองพลทหารปืนใหญ่ .................. 0-3648-6170, 0-3678-6389 สปา
สักลาย
สเตนเลส-ผลิตภัณฑ์ ร้านนารายณ์บัดกรี ................0-3646-1298
สถานที่ท่องเที่ยว หมู่บ้านทำาดินสอพอง ............0-3646-0504
80 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
พระปรางค์สามยอด ...........................................0-3642-5510, ............................................0-3641-3779 ป่าจำาปีสิรินธร .......................0-3646-2254
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาสมโภชน์ ..........................................08-9581-1128 เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ..........................................09-2263-9195 สวนต้นไม้ / ฟาร์ม พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติสมเด็นพระนารายณ์ ............................................0-3641-1458 สนามกอล์ปกองพลทหารปืนใหญ่ ..................... 0-3642-6573-6 ต่อ 35108 สนง. พิพิธภัณฑ์ทหารรบพิเศษ ............................................0-3661-2395 ศูนย์การทหารปืนใหญ่ ....... 0-3648-6433-4 ต่อ 39039, 39048 สนามยิงปืนค่ายอดิศร ...........0-3623-0323 ศูนย์กีฬากอล์ฟค่ายอดิศร .....0-3621-2945 สนง.การท่องเที่ยวศูนย์การทหารม้า ............ 0-3621-2058-9, 08-9519-4216 พิพิธภัณฑ์สถานชุมชนบ้านโป่งมะนาว ..........................................08-1294-7790
สวนสัตว์ สวนสัตว์ลพบุรี ....................0-3641-3551, ............................................0-3662-6206
สินค้า OTOP เสน่ห์ของดินสอพอง ...........08-1853-1195
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 81
ดอกไม้บ้านสมสนอง ...........08-1775-9433 ดอกไม้ประดิษฐ์จากดิน........08-1292-2459 กลุ่มจักสานหวายมหาสอน ....0-3664-4108 ศิริธรรมแก้วนิมิต ...............08-9090-6525, ..........................................08-1292-1745 กลุ่มโรลออนสารส้ม............08-9900-3198 ไข่เมดินสอพอง...................08-1982-4309 ไข่เค็มระวีวรรณ .................08-7791-0498, ............................................0-3644-1102 กลุ่มกะลาฯ บ้านเขาสว่างวงศ์ ..........................................08-9233-3133 สลัด-อาหารเพื่อสุขภาพ
สี-จำาหน่าย-ขายปลีก ร้านเกียวการค้า.....................0-3647-1337 หจก.ลพบุรีสงวนพานิช..........0-3641-1916 สูบส้วมสิ่งปฏิกูล-บริการ วิสาหกิจชุมชนแม่แม้นศรี ....08-7223-7707 ปลาทับทิมปลาร้าทอด .........08-3779-8953 กลุ่มปั้นลิง ..........................08-9087-8647 กลุ่มทอผ้าพื้นเมือง ...............0-3665-1156 หมูทุบ ..................................0-3652-8940
สินค้าอุปโภค-บริโภค-ผู้ผลิต ร้านกรรณิการ์ .......................0-3646-1286 บจก.คาโอคอมเมอร์เซียล (ปท) ........................................ 0-3661-5128-9 ร้านชัยธานี ...........................0-3646-1286 หจก.ลพบุรีไทยศิลป์..............0-3665-6957 ร้านล้อฮงไถ่ .........................0-3641-1271
บจก.สู่เสถียรภาพ .................0-3662-6093 เสียง-ระบบอุปกรณ์ ดี.เจ.สตูดิโอ .........................0-3661-0588 บจก.ลานไทยวิชั่นแอนด์ซัพพลาย ............................................0-3662-6332 บจก.เอ็นเอสอีกรุ๊ป ...............0-3641-2390 ศิลป-หัตถกรรม-เครื่องใช้-ขายปลีก ร้านสินทวีพานิช . 0-3644-1095 ศาสนา-เครื่องอัฐบริขาร ร้านงามศิล์ปไทย ...................0-3641-1716 ร้านฉะอ้อนอุดมทรัพย์ ...........0-3641-1193 แว่นตา ร้านเจริญการแว่น ..................0-3664-1954 บจก.ร่วมเจริญพัฒนา ............0-3661-8053 ร้านละโว้การแว่น ..................0-3642-0571 โลหะ
82 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
ตะแกรงร่อน-ข้าวโพด
ตลาดนัด ช.โลหะภัณฑ์กรุ๊ป..................0-3626-8890 โลงศพ อพาร์ทเมนต์แฟลตและเกสต์เฮ้าส์
เศษเหล็ก-ของเก่า ร้านชุมสายของเก่า ................0-3647-1009 ร้านนีย์ .................................0-3647-1512 ร้าน ป. ชัยมงคล ..................0-3662-4142 ร้านรวมช่างเชียงกง ...............0-3663-2118 บจก.ลิ้มอิมหลีค้าเหล็ก..........0-3642-0448 ห้างสรรพสินค้า บจก.เซ็นคาร์.........................0-3678-0777 บจก.บิ๊กซีซุเปอร์เซ็นเตอร์ .....................................0-3661-5816-48, ............................................0-3661-5864 บจก.ลพบุรีอินท์พลาซ่า .........0-3661-5564 ร้านเสรีภัณฑ์ ........................0-3646-1227 ปุ๋ย-อุปกรณ์การเกษตร
อาหารสัตว์-ขายส่ง-ผลิต ร้านลออการค้า .................. 098-576 3147 บ.พี ที เค พัฒนาอาหารสัตว์ .036-491 504
ผ้าม่าน-มู่ลี่-วอลเปเปอร์
คู่มือ...ลพบุรี
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน 83
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
องค์การบริหารส่วนตำาบล(อบต.) แ อร์-ติดตั้ง บจก.เวิลด์คอร์ด ...................0-3641-1331 องค์การบริหารส่วนตำาบล
อุตสาหกรรรมอิฐบล็อก
แอร์-ติดตั้ง-จำาหน่าย
ร้านเพอร์เฟคแอร์ลพบุรี .... 083 229 2884
เที่ยวฟินๆCheck in @Lopburi ลพบุรี จังหวัดท่องเที่ยวใกล้กรุงเทพฯ ที่ใคร
หลายคนมักนึกถึงเวลาไปเที่ยวต่างจังหวัดใกล้ๆ เพราะ ที่นี่ก็มีทั้งที่กินที่เที่ยวให้เราได้สนุกกันทั้งวัน มีนักท่อง เที่ยวมาเที่ยวกันตลอด ซึ่งเป็นพวกสถานที่ท่องเที่ยวทาง ประวัตศิ าสตร์เสียส่วนใหญ่ แต่จริงๆ แล้วยังมีทเี่ ทีย่ วลพบุรี เจ๋งๆ รอให้เราไปเช็คอินอีกเพียบ มีที่ไหนน่าไปบ้าง...ตาม มา...
¹Ñè§Ã¶ä¿Å͹íéÒ
เขื่ อ นป่ า สั ก ชลสิ ท ธิ์ เป็ น เขื่ อ นกั ก เก็ บ น�้ า ที่ ใ หญ่ ยาว ลึ ก ที่ สุ ด ในประเทศไทย[3]ตามแนว พระราชด� า ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ย เดชเพื่ อ ป้ อ งกั น ปั ญ หาน�้ า ท่ ว มใน ลุ ่ ม แม่ น�้ า ป่ า สั ก และ ลุ ่ ม แม่ น�้ า เจ้าพระยา เริ่มด�าเนินการก่อสร้าง ในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2537 โดย กรมชลประทาน เป็นผู้รับผิดชอบ นอกจากเขือ่ นป่าสักชลสิทธิ์ จะท� า การกั ก เก็ บ น�้ า แล้ ว ยั ง เป็ น สถานที่ท่องเที่ยวส�าคัญของจังหวัด ลพบุรี ซึ่งทางด้านสถานที่ท่องเที่ยว ในบริ เ วณเขื่ อ นป่ า สั ก ชลสิ ท ธิ์ มี หลากหลายสถานที่ ดังนี้
88
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
• ฝั่ งจังหวัดลพบุรี อาคารอเนกประสงค์ริมอ่างเก็บน�้า มีสถานที่ปล่อยปลา และ จุด นั่งชมวิวริมอ่างเก็บน�้าเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ หอคอยเฉลิมพระเกียรติ พิพิธภัณฑ์ฯ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ สันเขือ่ นป่าสักชลสิทธิ ์ ซึง่ มีบริการรถลากจูง ชมสันเขือ่ นฯ ไป - กลับ ความยาว 9,720 เมตร • ฝั่ งจังหวัดสระบุรี พระพุทธรัตนมณีมหาบพิตรชลสิทธิ์มงคลชัย (หลวงปู่ใหญ่ป่าสัก) อยู่บริเวณท้ายเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่หยุดรถไฟเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่หยุดรถไฟเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (อังกฤษ: Pa Sak Jolasid Dam) เป็นที่หยุดรถไฟของการรถไฟแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณทางเข้าเขื่อน ป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี อยู่ในเขตทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยที่หยุดรถนี้จะมีรถไฟสายพิเศษ เพือ่ การท่องเทีย่ ว คือ สายกรุงเทพ-เขือ่ นป่าสักชลสิทธิ ์ เปิดให้บริการในช่วง เทศกาลการท่องเทีย่ ว ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคมของ ทุกปี ประวัติ สืบเนื่องจากการก่อสร้างเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ในเส้นทางรถไฟช่วง สถานีรถไฟแก่งเสือเต้นถึงสถานีรถไฟสุรนารายณ์ (เดิม) ซึ่งเส้นทางรถไฟ ตัง้ อยูต่ า�่ กว่าระดับการกักเก็บน�า้ ของเขือ่ น ท�าให้การรถไฟแห่งประเทศไทย ต้องย้ายเส้นทางรถไฟทีจ่ ะถูกน�า้ ท่วมให้ทนั กับการสร้างเขือ่ น พร้อมทัง้ สร้าง ทีห่ ยุดรถไฟบริเวณดังกล่าวเพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ทัง้ นัน้ ได้เริม่ ก่อสร้าง เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2540 ใช้เวลา 14 เดือน แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ทางรถไฟที่ย้ายมาสร้างใหม่จะอยู่ติดกับอ่างเก็บน�้า เป็นระยะทางรวม 24 กิโลเมตร เมื่อสร้างเสร็จแล้วได้เริ่มมีการเดินรถผ่าน เส้นทางดังกล่าว ซงึ่ จะเห็นขบวนรถวิง่ บนสันเขือ่ นลัดเลาะไปข้างๆ อา่ งเก็บน�า้
มองดูเหมือนขบวนรถวิง่ ไปบนผิวน�า้ จนชาวบ้านเรียกกันว่า รถไฟลอยน�า้ ตลอด 2 ข้างทางจะได้ชมทัศนียภาพ ข้างทางรถไฟอันงดงาม เส้นทางรถไฟก่อนถึงเขื่อน ป่าสักชลสิทธิ ์ ก่อนถึงสถานีรถไฟหิน ซ้อน จะผ่านไร่ดอกทานตะวันบาน สะพรั่งตลอดเส้นทางรถไฟสวยงาม มาก ว่ากันว่าเป็นไร่ดอกทานตะวัน ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย การรถไฟ แห่ ง ประเทศไทย ได้ จั ด ขบวนรถ พิเศษน�าเทีย่ วชมความงามของเขือ่ น ป่าสักชลสิทธิ์ ในช่วงฤดูหนาวทุกปี ขบวนรถออกจากกรุงเทพ 06.40 น. ถึงกรุงเทพ 17.45 น.
ข้อมูล / ภาพประกอบ : Facebook : ทีมพีอาร์การรถไฟแห่งประเทศไทย / th.wikipedia.org
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
89
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ซับลังกา ป่ าซับลังกา เป็นป่าต้นน�้าล�าธารของล�าสนธิ ไหลลงสู่แม่น�้าป่า สัก จึงเป็นป่าผืนสุดท้ายของจังหวัดลพบุรี ที่มีสภาพป่าค่อนข้างสมบูรณ์ ประกอบด้วยป่าหลายชนิด มีแหล่งน�้าและแหล่งอาหารของสัตว์ป่าอัน สมบูรณ์มสี ตั ว์ปา่ อาศัยอยูห่ ลากหลายชนิด โดยเฉพาะเลียงผาซึง่ เป็น สัตว์ ป่าสงวนอาศัยอยู ่ กรมป่าไม้ได้ดา� เนินการส�ารวจเพือ่ ประกาศเป็นเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าแห่งชาติ เพื่อรักษาป่าไม้และสัตว์ป่าให้ป่าผืนนี้คงอยู่ตลอด ไป และได้มีพระราชกฤษฎีกา ก�าหนดให้ป่าซับลังกาเป็นเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่า เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2529 ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ หน้า 13 เล่ม 103 ตอนที่ 235 ลงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2529 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา จึงมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2530 ที่ตงั ้ และอาณาเขต เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าซับลังกา ตั้งอยู่ในท้องที่ต�าบลล�าสนธิ และ ต�าบลกุดตาเพชร อ�าเภอล�าสนธิจงั หวัดลพบุร ี มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 155 ตาราง กิโลเมตรหรือประมาณ 96,875 ไร่ มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ จดเขตท้อง ที่อ�าเภอภักดีชุมพล จังหวัดชัยภูมิ ทิศใต้ จดเขตหมู่บ้านป่าไม้ซับลังกา ต�าบลกุดตาเพชร อ�าเภอล�าสนธิ จังหวัดลพบุรี ทิศตะวันออก จดเขตท้อง ที่อ�าเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ ทิศตะวันตก จดเขตท้องที่อ�าเภอวิเชียรบุรี และอ�าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบอยู่ใน หุบเขา ล้อมด้วยเทือกเขาเป็นรูปก้ามปู ด้านทิศตะวันออกถูกกั้นด้วยเทือก เขาพังเหย ด้านทิศตะวันตากถูกกั้นด้วยเทือกเขารวก มีความสูงจากระดับ น�้าทะเล 140 - 846 เมตร ในเทือกเขาทั้งหมดประกอบด้วยยอดเขา คือ เขา เรดาร์ เขาทหาร เขาพังเหย เขาซับหวาย เขานกกก เขาน�้าดั้น เขาผาผึ้ง เขา ผาแดง เขาไม้รวก เขาถ�้าพระ เขาผาไม้แก้ว เขาตะโก เขาอ้ายจัน และยอด
90
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
เขาที่สูงที่สุดคือ ยอดเขาพังเหย สูงจากระดับน�้าทะเล 846 เมตร จึงเป็นป่า ต้นน�า้ ของล�าห้วยหลายสาย เช่น ห้วยพริก ห้วยกุดตาเพชร ห้วยหินลาว ห้วย สีดา ห้วยประดู่ ห้วยท่าแจง ห้วยใหญ่ ห้วยวังจัน ห้วยวังอิน ห้วยยาง ห้วย พลู ห้วยหนองกระโดน และห้วยล�าสนธิ รวมกันเป็นล�าสนธิ ไหลลงสู่แม่น�้า ป่าสักที่อ�าเภอชัยบาดาล ความส�าคัญของพืน้ ที่ เนือ่ งจากป่าซับลังกา เป็นป่าผืนสุดท้ายของจังหวัดลพบุรที มี่ สี ภาพ ป่าค่อนข้างสมบูรณ์เป็นป่าต้นน�้าล�าธาร และเป็นป่าต้นน�้าล�าสนธิ เป็น แหล่งน�้า แหล่งอาหารของสัตว์ป่า ต้องรักษาไว้เพื่อรักษาความสมดุลใน ระบบนิเวศ ประเภทของแหล่งธรรมชาติที่น่าสนใจ 1. ประเภทถ�้า ได้แก่ ถ�้าพระนอก, ถ�้าสมุยกุย, ถ�้าสีดา, ถ�้าผาไม้แก้ว, ถ�้าผาผึ้ง และถ�้าผานกกก 2. ประเภทหน้าผา ได้แก่ หน้าผาไม้แก้ว หน้าผาแดง หน้าผานกกก หน้าผา น�้าย้อย หน้าผาโนนสวรรค์และหน้าผาสุดแผ่นดิน 3. ประเภทน�้าตก ได้แก่ น�้าตกผาผึ้ง น�้าตกสามสวย ได้ไหลรวมกันเป็นห้วยล�าสนธิลงแม่น้�าป่าสัก ที่บ้านบัวชุม อ.ชัยบาดาล เป็นป่า อาทิ น�้าหยดแรกป้อน เขื่อนป่าสัก 4. ประเภทป่า ได้แก่ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น ป่าหญ้า และป่าไผ่ เส้นทางเดินป่า มี 2 เส้นทาง 4.1 เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ ห้วยพริก - น�า้ ตกผาผึง้ เหมาะส�าหรับการเดินป่า ได้สมั ผัสธรรมชาติทหี่ ลาก หลายตลอดเส้นทาง ชมความงามของล�าห้วยพริก , น�า้ ตกผาผึง้ และถ�า้ ผาผึง้ ปีนเขาอีกเล็กน้อย ก็จะพบเทือกเขาจันทร์ ระยะทางไป - กลับ3,200 เมตร 4.2 เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติห้วยประดู่ - ถ�้าพระนอก - ถ�้าสมุยกุย (เป็น เส้นทางสะเทินน�้าสะเทินบก) ระยะทางไปกลับ ประมาณ 1,800 เมตร หรือ ระยะทางการล่องแพ ไปกลับ 1,400 เมตร ชมธรรมชาติที่สวยงาม ความ ลึกลับของถ�้าผานอกและถ�้าสมุยกุย
ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / thailandtourismdirectory.go.th วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
91
ทุ่ง ดอก ทาน ตะ วัน
ว่ า กั น ว่ า ...หากจะดู ท่ ุ ง ดอกทานตะวั น จะต้ อ งมาถึ ง ถิ่ น ลพบุ รี เพราะที่ นี่ เ ป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ก ารปลู ก ดอกทานตะวั น มาก ที่สุดในประเทศไทยหรือประมาณ 200,000-300,000 ไร่ โดยเฉพาะ ช่ ว งเดื อ นพฤศจิ ก ายน-มกราคม ดอกทานตะวันจะบานสะพรัง่ เหลือง อร่ า มสุ ด สายตาซึ่ ง โดยปกติ แ ล้ ว แหล่ ง ปลู ก ทานตะวั น จะกระจาย ไปใน เขตอ� า เภอเมื อ ง อ� า เภอ พัฒนานิคม อ�าเภอชัยบาดาล โดย เฉพาะบริ เ วณเขาจี น แล ใกล้ วั ด เวฬุวัน ต�าบลโคกตูม อ�าเภอเมือง ส� าหรั บนั กท่ องเที่ ยวที่ ตั้ง ใจมาชม ทุ ่ ง ทานตะวั น สามารถเลื อ กขั บ รถ ชมความงามตามเส้นทางต่างๆ หรือ จะเลือกจุดทีล่ งไปถ่ายรูปใกล้ชดิ กับ ทานตะวันก็ได้เช่นกัน โดยสามารถ เลื อ กตามจุ ด ท่ อ งเที่ ย วที่ จั ด ไว้ ใ ห้ ดังนี้ • เส้ นทางที่ 1 สระบุรี-หล่ มสัก จุดแรกจากแยกพุแคระยะ ทางประมาณ 10-15 กิโลเมตร จุดที่ สองพอถึงสี่แยกตลาดซอย 12 เลี้ยว ขวาไปเขื่ อ นป่ า สั ก ชลสิ ท ธิ์ จ ะมี ด อกทานตะวันสองข้างทางจนถึงตัว เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์และจุดที่สามขา กลับจากเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ขับรถ ตรงเข้าเมืองลพบุร ี สามารถแวะถ่าย รูปได้ตลอดเส้นทาง ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / hellowinter.60เส้นทางความสุข.com
92
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
• เส้ นทางที่ 2 ลพบุรี-พัฒนานิคมวังม่ วง จุดแรกเขาจีนแล ระยะทาง ประมาณ 10 กิโลเมตร เป็นจุดที่ สวยที่สุดเนื่องด้วยทิวทัศน์ด้านหลัง ทุง่ ทานตะวันเป็นภูเขาสูงต�า่ ลดหลัน่ กันไป จุดทีส่ องบ้านหนองถ�า้ -ซับเสือ แมบ ห่างจากจังหวัดลพบุรรี ะยะทาง ประมาณ 15 กิโลเมตร จุดทีส่ ามอ่าง ซับเหล็กจุดนี้จะมีอ่างเก็บน�้าขนาด ใหญ่และมีทงุ่ ทานตะวันอยูด่ า้ นล่าง ด้านหลังทุ่งทานตะวันจะมีภูเขาที่ สวยงาม เรียกว่า เขาตะกร้า ทัง้ นีย้ งั มีมที งุ่ ทานตะวันของ เอกชนให้ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารมากมาย ดังนี้ 1. ทุ่งทานตะวั น ชอนน้อย ต� า บลชอนน้ อ ย อ.พั ฒ นานิ ค ม จ.ลพบุรี 2. ไร่ ทานตะวันคุณจ�าปี ต.พัฒนานิคม อ.พัฒนานิคม กม.3031 ทางหลวง 3017 ซอย 15-16 3. ทุ่ง ทานตะวันไร่ คุณณรงค์ มุกดารา ต.หนองบัว อ.พัฒนานิคม ทางหลวง หมายเลข 3017 ก่ อ นถึ ง เขื่ อ น 4 กม. 4. ทุ่งทานตะวั นเขาจีนแล (วัดเวฬุวัน) บริเวณทางเข้าวัดเวฬุ วัน บ้านท่าเดื่อ ต.นิคมสร้างตนเอง อ.เมือง 5.ทุ่งทานตะวันบาน ไร่ คณ ุ ปู่ อ.พัฒนานิคม ก.ม. 11-12 ถนน หมายเลข 21 6.ทุ่งทานตะวันบ้ าน ซับราง ตั้งอยู่บริเวณนิคมบ่อ 6 สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ มเติ ม ททท. ส�านักงานลพบุรี โทร. 0 3642 2768-9 หรื อ 1672 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
93
น�้าตก
วังก้านเหลือง
เยี่ยมชมน�้าตกธรรมดาที่ไม่ธรรมดา รรมดา น�า้ ตกวัง ก้ านเหลื อง ตั้งอยู่ภายในสวนรุกขชาติน�้าตกวังก้าน เหลืองมีความพิเศษต่างจากน�้าตกทั่วๆ ไปที่ไม่ได้เกิด จากตาน�้าบนภูเขา แต่เกิดจากตาน�้าใต้ดินจากล�าห้วย เล็กๆ หลายจุดรวมตัวกันกลายเป็นทางน�้าไหลคดเคี้ยว เป็นระยะทางถึง 1 กิโลเมตร ก่อนไปบรรจบกันที่อ่างน�้า หรือ วังหว้าง ซึ่งบริเวณนั้นจะมีสันหินปูนเป็นแนวขวางอยู่ น�้า ทีเ่ อ่อล้นจึงไหลลงไปปะทะกับหินปูนเกิดเป็นน�า้ ตกกว้าง 20 เมตร ลดหลั่นไปตามชั้นหิน บริเวณรอบด้านน�้าตก รายล้อมไปด้วยธรรมชาติที่งดงามอุดมสมบูรณ์ นักท่อง เทีย่ วสามารถเดินชมความงามของสายน�า้ และผืนป่าโดย รอบได้จากบนสะพานแขวนยาว 66 เมตร ซึ่งเป็ นสะพาน แขวนทีไ่ ด้ชือ่ ว่ายาวทีส่ ดุ ในจังหวัดลพบุรี อีกข้อทีท่ า� ให้ทนี่ พี่ เิ ศษกว่าทีอ่ นื่ ก็คอื การทีน่ กั ท่อง เที่ยวสามารถมาเที่ยวที่นี่ได้ตลอดทั้งปี เพราะน�้าตกที่นี่ เกิดจากตาน�้าจึงมีน�้าไหลตลอดทั้งปี ไม่มีฤดูกาลเฉพาะ เหมือนน�้าตกทั่วไป สอบถามข้อมูลเพิ่ มเติ ม โทร. 086-043-9582
ข้อมูล / ภาพประกอบ : tourismtreasures.org / Facebook : น�า้ ตกวังก้านเหลือง / thai.tourismthailand.org
94
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
ได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น ทะเลน�้ าจื ดที ่ ใหญ่ ที่สุดในภาคกลาง อยู ่ ใ นเขต ต� า บลนิ ค มสร้ า งตนเอง ห่ า งจาก ศาลากลางจังหวัดลพบุรีไปทางทิศ ตะวันออกประมาณ 16 กิโลเมตร อ่ างเก็ บ น� ้า ซั บ เหล็ ก เป็ น อ่ า ง เก็บน�้าธรรมชาติที่มีมาแต่โบราณ ในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระนาราย ณ์ ฯ ทรงโปรดให้ ช ่ า งชาวฝรั่ ง เศส และชาวอิตาเลียนเป็นผู้วางท่อส่ง น�้าจากอ่างซับเหล็กน�ามาใช้ในเขต พระราชฐานอ่ า งซั บ เหล็ ก มี เ นื้ อ ที่ ประมาณ 1,760 ไร่ เมื่ อ ปี พ.ศ. 2497 สมั ย จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายก รัฐมนตรี ได้ให้สร้างเขื่อนดินกั้นน�้า เพื่อเก็บน�้าไว้ใช้เพื่อการเกษตร ต่อ
มาในปี พ.ศ. 2520 จังหวัดลพบุรีได้ ปรับปรุงอ่างซับเหล็กให้เป็นแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ โดยท� า ถนนรอบอ่างเก็บน�้า ปลูกต้นไม้และ สร้างศาลาพักร้อน เปิดให้นักท่อง เที่ยวแวะเวียนเข้ามาพักผ่อนหย่อน ใจ ท่ามกลางทัศนียภาพอันงดงาม ของอ่างเก็บน�้าอันกว้างใหญ่ พร้อม รับประทานอาหารแสนอร่อย เช่น ส้มต�า ปลาเผา อาหารทะเลเลิศรส นอกจากนี้ที่นี่ยังมี อ่างซับเหล็ก ส ปีดเวย์คลับ คอยให้บริการกิจกรรม ต่ า งๆ เพื่ อ เอาใจนั ก ท่ อ งเที่ ย วขา ลุ ย โดยเฉพาะ ไม่ ว ่ า จะเป็ น รถเอ ทีวี สไลเดอร์ และเจ็ตสกี พร้อมทั้ง ร้านอาหารริมน�้าและห้องพักที่มีสิ่ง อ�านวยความสะดวกครบครัน
อ่างเก็บน�้า
ซับเหล็ก
การเดิ นทาง นักท่องเที ่ยว สามารถใช้ เ ส้น ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 311 (ลพบุรี-สิ งห์บรุ ี ) แล้ว เลี ้ยวขวาเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 3028 ตรงสีแ่ ยกไฟแดง (กม.ที ่ 18) เข้าไปอีกระยะทางประมาณ 6 กม. มี รถโดยสารประจ� าทางผ่านหลาย สาย คือ สายลพบุรี-ท่าโขลง, สาย โคกส�าโรง-บ้านหมี ่ และสายสิ งห์บรุ ี บ้านหมี ่
ข้อมูล / ภาพประกอบ : tourismtreasures.org / lopburi.org วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
95
บริ เ วณเชิ ง เขาจะเป็ น ที่ ตั้งของวัดเขาวงพระจันทร์ จะมี ทางบันไดขึ้นไปสู่ยอดเขาประมาณ 3,790 ขั้น ยอดเขานี้สูงจากระดับ น�้าทะเลประมาณ 650 เมตร ถ้าวัด จากเชิงเขาถึงยอดเขาโดยแนวบันได จะยาว 1,680 เมตร ใช้เวลาเดินทาง จากเชิงเขาถึงยอดเขาประมาณ 2 ชัว่ โมง สองข้างทางจะเต็มไปด้วยป่า ไม้ขึ้นสลับซับซ้อนเต็มไปหมด บาง แห่งจะเป็นที่ลาด บางแห่งจะเป็นที่ ชัน เมือ่ ขึน้ ไปถึงยอดเขาวงพระจันทร์ จะมองเห็นทิวทัศน์เบื้องล่างได้ไกล สุดสายตา เขาวงพระจั น ทร์ ตั้ ง อยู ่ ใ น เขตอ�าเภอห้วยโป่ง อ�าเภอโคกส�าโรง จังหวัดลพบุร ี ห่างจากตัวเมืองลพบุรี ไปประมาณ 28 กิโลเมตร เป็นภูเขา ที่สูงที่สุดในจังหวัดลพบุรี เหตุที่ชื่อ เขาวงพระจันทร์ เพราะบริเวณเขา
ทั้งสี่ด้านเป็นรูปเขาโค้ง ไม่ว่ามอง จากทางไหนก็ จ ะเห็ น เป็ น วงโอบ ล้อมอยู่ จึงมีชื่อว่าเขาวงพระจันทร์ บริ เ วณเชิ ง เขาจะเป็ น ที่ ตั้ ง ของวั ด เขาวงพระจั น ทร์ จะมี ท างบั น ได ขึ้ น ไปสู ่ ย อดเขาประมาณ 3,790 ขั้น ยอดเขานี้สูงจากระดับน�้าทะเล ประมาณ 650 เมตร ถ้าวัดจากเชิง เขาถึ ง ยอดเขาโดยแนวบั น ไดจะ ยาว 1,680 เมตร ใช้เวลาเดินทาง จากเชิงเขาถึงยอดเขาประมาณ 2 ชั่วโมง สองข้างทางจะเต็มไปด้วย ป่ า ไม้ ขึ้ น สลั บ ซั บ ซ้ อ นเต็ ม ไปหมด บางแห่งจะเป็นที่ลาด บางแห่งจะ เป็ น ที่ ชั น เมื่ อ ขึ้ น ไปถึ ง ยอดเขาวง พระจันทร์จะมองเห็นทิวทัศน์เบื้อง ล่างได้ไกลสุดสายตา ในส่วนของวัด เขาวงพระจันทร์นั้นได้ชื่อว่าเป็นวัด ที่มีสิ่งมหัศจรรย์ 9 ประการ ได้แก่ รอยพระพุทธบาทแท้ รอยที่ 4 รอย
พระเขี้ยวแก้วพระพุทธเจ้าแท้ หลวง ปู่ฟัก อายุ 93 ปี เจ้าอาวาสผู้ฉัน มังสวิรัติและไม่อาบน�้าตลอดชีวิต พระบรมสารีริกธาตุ พิพิธภัณฑ์พัน ล้าน มีบันไดขึ้นเขาที่ยาวที่สุด มีต้น ปลัดขิกธรรมชาติ มีควายสามเขา แห่งเดียวในโลก และมีงาช้างสีด�า แห่งเดียวในโลก อีกทั้งในช่วงเดือน กุ ม ภาพั น ธ์ ข องทุ ก ปี จะมี ก ารจั ด งานไหว้พระพุทธบาทประจ�าปี ผู้คน จ�านวนมาก โดยเฉพาะชาวไทยเชื้อ สายจีนจะหลั่งไหลกันมานมัสการ รอยพระพุทธบาทและพระพุทธรูป นั บ เป็ น เทศกาลส� า คั ญ ของเมื อ ง ลพบุรี ผู้ ส น ใ จ ส า ม า ร ถ ติ ด ต่ อ สอบถามได้ที่ วัดเขาวงพระจันทร์ โทร. 089-215-1160 และการท่อง เที ่ยวแห่ งประเทศไทย ส� านักงาน ลพบุรี โทร. 036-770-0967
ข้อมูล / ภาพประกอบ : thailandtourismdirectory.go.th / thai.tourismthailand.org
วัดเขาวงพระจันทร์
96
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
คู่มือ….ลพบุรี
วัดห้วยแก้ว
วัดห้ วยแก้ ว มีอายุวัด 140 ปีอยูท่ ตี่ า� บลมหาสอน อ�าเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุร ี วัดนีม้ เี จดียก์ ลางน�า้ รูป ทรงในยุคขอมซึ่งสอดคล้องกับวิถี ชีวิตคนริมคลองบางขาม ด้วยแรง ศรัทธาของชุมชนและผู้ที่เลื่อมใสใน พุทธศาสนามาร่วมกันสร้างทัง้ ก�าลัง กาย ก�าลังใจ ก�าลังปัจจัยจึงเกิดเป็น เจดีย์กลางน�้าที่สวยงาม ข้อมูล / ภาพประกอบ : thailandtourismdirectory.go.th
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
97
เมืองโบราณ
พิ พิธภัณฑ์
ซับจ�ำปำ
ปรากฏการตั้งถิ่นฐานที่อยู่ อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยก่อน ประวัติศาสตร์จากการค้นพบหลัก ฐานทางโบราณคดี เช่น ก�าไลหิน แกนก�าไลหิน กระดูกมนุษย์ และ ภาชนะดินเผาก่อนประวัตศิ าสตร์ใน รูปแบบต่างๆ การมาเยือนยังเมืองโบราณ ซับจ�าปา ซึ่งเป็นเมืองโบราณสมัย ทวารวดีนอกจากนักท่องเที่ยวจะได้ สูดอากาศบริสุทธิ์จนเต็มปอดแล้ว จะยั ง ได้ สั ม ผั ส กั บ ร่ อ งรอยอาราย ธรรมอันเก่าแก่ของมนุษย์ ตัง้ แต่สมัย ก่อนประวัติศาสตร์ จากการค้นพบ หลักฐานทางโบราณคดี เช่น กระดูก มนุษย์ ก�าไลหิ น แกนก�าไลหิ น และ ภาชนะดิ นเผา ซึ่ งมี อายุประมาณ 3,000-2,500 ปี จากหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์เชื่อกันว่าที่นี่เคยเป็น ศูนย์กลางของศาสนามาก่อน เพราะ
98
และ
มีการค้นพบประติมากรรมของพุทธ ศาสนานิกายต่างๆ เช่น พระพุทธ รูปประทับเหนือพนัสบดี พระพุทธ รูปประทับนั่งห้อยพระบาท ตลอด จนธรรมจักรและกวางหมอบอีกทั้ง การค้นพบสินค้า ทีที่ติดตัวพ่อค้าหรือ นักเดินทาง เช่น เครื่องรางของขลัง เงินตรา รวมถึงสินค้าต่างๆ ที่พ่อค้า ชาวต่างชาติน�าเข้ามา อันได้แก่ ขัน ส�าริด ลูกปัด และชิน้ ส่วนก�าไลงาช้าง จึงสันนิษฐานได้ว่าเมืองนี้เคยเป็น ศูนย์กลางทางการค้าอีกด้วย ส�าหรับการมาเที่ยวชม นัก ท่องเที่ยวสามารถเช่าจักรยานปั่น ไปรอบๆ พื้นที่เพื่อชื่นชมบรรยากาศ แสนสบายรายล้อมไปด้วยธรรมชาติ อันร่มรื่นหรือหากต้องการพักแรม ที่ นี่มีบริการกางเต้นท์ให้อีกต่างหาก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 036461992
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / Facebook : เมืองโบราณซับจ�าปา / museumthailand.com
คู่มือ….ลพบุรี
เมืองโบราณซับจ�าปา เป็น เมืองโบราณ ยุคทวารวดี จากร่องรอยคูน้�าคันดินและหลัก ฐานโบราณวัตถุที่พบทั่วไป ในแถบอ�าเภอท่า หลวง จังหวัดลพบุรี ถือว่าเป็นอาณาจักรที่ยิ่ง ใหญ่อีกแห่งของยุคทวารวดี และสิ่งที่อยู่คู่กับ เมืองโบราณ คือ ป่ าจ�าปี สิรินธร จ�าปีสายพันธุ์ ใหม่ของโลกที่พบเฉพาะในพื้นที่นี้เท่านั้น ด้วยความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์ ของชุมชนและต้นไม้อันมีคุณค่า หน่วยงาน ภาครัฐและประชาชนในพื้นที่ จึงช่วยกันจัดตั้ง ศูนย์ข้อมูลเมืองโบราณซับจ�าปาและป่าจ�าปีสิ รินธร ขึ้นที่โรงเรียนท่าหลวงวิทยาคม ต่อมาได้ รับความร่วมมือกับสถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียน รูแ้ ห่งชาติ(สพร.) พัฒนาปรับปรุงให้เป็นต้นแบบ พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ และใช้ชื่อว่า พิพธิ ภัณฑ์ ซับจ�าปา การจัดแสดงภายในอาคาร แบ่งเป็น 7 ห้อง ประกอบด้วย • ห้ องที่ 1 ซับจ�าปา น�าเสนอเรื่องราว ของเมืองโบราณที่หายสาบสูญไปนับพันปี • ห้ องที่ 2 ทรั พย์ สา� แดง “ตัก๊ แตนปา ทังก้า” จะชักพาให้ไปพบกับเมืองโบราณทีซ่ อ่ นเร้น • ห้ องที่ 3 ทรัพย์ บงั เกิด จัดแสดงเรือ่ ง ราวของพระมหาการุณาธิคณ ุ ในสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ในการเสด็จ ทอดพระเนตรหลุมขุดค้นทางโบราณคดี “ซับ จ�าปา” • ห้ องที่ 4 ทรั พย์ สมบัต ิ แสดงเรื่อง ราวของซับจ�าปา เมื่อ 3,000 ปีก่อน ที่เป็นชุม ทางการค้าและแหล่งรวมสมบัติที่สร้างความ มั่งคั่ง • ห้องที่ 5 ทรัพย์อกั ษร ไขปริศนาจารึก โบราณพันปี มรดกทางวัฒนธรรมและศาสนา • ห้ องที่ 6 ทรั พย์ ทางปั ญญา ค�าสอน ของพระพุทธเจ้า สถิตเป็นสัญลักษณ์อย่าง แยบยลใน กงล้อธรรมจักร เสาธรรมจักรแปด เหลี่ยม และกวางหมอบ • ห้องที่ 7 ทรัพย์แผ่นดิน “ซับจ�าปา” คือ ทรัพย์แผ่นดินทีด่ งึ ดูดให้ผคู้ นเข้ามาอาศัยพึง่ พิง วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564
99
บ้ านดิ น มดแดงตั้ ง อยู ่ ที่ 98/2 หมู่ 5 ต�าบลโคกตูม อ�าเภอ เมือง จังหวัด ลพบุรี เป็นแหล่งผลิต เครือ่ งปัน้ ดินเผาแลสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ชื่อดังของจังหวัด ลพบุรี และยังมี ศูนย์เรียนรูก้ ารผลิตเครือ่ งปัน้ ดินเผา ซึ่งในแต่ละปีจะมีผู้มาเรียนอย่างไม่ ขาดสาย และยังถือเป็นสถานที่แวะ พักริมทาว ที่นักท่องเที่ยวนิยมมา เยือน ภายในบ้านดินมดแดง ถูก ตกแต่ ง เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผามากมาย จั ด เรี ย งไว้ อ ย่ า งสวยงาม มี ตั้ ง แต่ กระถางต้นไม้ เตา หม้อดิน ไห ไป จนถึงประติมากรรมจากดิน อย่างรูป ปั้นที่มีทั้งเทวรูป ตัวการ์ตูน สัตว์ ที่มี ความสวยงามและความหลากหลาย ให้ เ ลื อ กมองได้ อ ย่ า งเพลิ ด เพลิ น นอกจากนี้ยังมีบ้านสร้างจากดิน ที่ สะท้อนความพอเพียง ตกแต่งใน บรรยากาศที่ร่มรื่น ซึ่งนอกจากจะ แวะช็อป
บ้ า นดิ น มดแดงนอกจาก จะเป็ น สถานที่ ผ ลิ ต และจ� า หน่ า ย เครื่องปั้นดินเผาและประติมากรรม ดินเผาแล้ว ยังเป็นสถานที่เรียนรู ้ การผลิตเครือ่ งปัน้ ดินเผาทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภาคกลาง โดยรั บ อบรมอาชี พ ให้กับผู้ที่สนใจมีอาชีพเป็นของตัว เองที่เรียนจากที่นี่และพร้อมน�าไป ประกอบอาชีพแล้วกว่า 5,000 คน ซึง่ ลักษณะการสอนจะให้แนวคิด ให้ ไอเดีย เป็นพี่เลี้ยง จนสามารถน�าไป ประกอบอาชีพได้ ส� า หรั บ คนเรี ยนหากเป็ น บุคคลทัว่ ไป 12 ชัว่ โมง 3,000 บาท ส่วนคนที ่จะให้ไปสอนข้ามจังหวัด อย่างกรุงเทพฯ คิ ดต่อคอร์ ส 5,000 บาท แต่ ห ากสอนเป็ นกลุ่ม อย่ า ง บริ ษั ท หรื อ หน่ ว ยงาน ตัง้ แต่ 10 คนขึ้ นไป หรื อเป็ นองค์ กรการกุศล จะคิ ด คนละ 1,000 บาท แต่หาก เป็ นนักเรี ยนจะคิ ดคนละ 200-400 บาท หรื ออย่างโครงการของรัฐบาล
มี ตงั้ แต่ 200 คนขึ้นไป ซึ่ งราคาจะ ถูกลงมาอีก ส่ ว นการบริ ห ารจั ด การ ของบ้ า นดิ น มดแดง จะเน้ น การ เปิดโอกาสให้คนในพื้นที่ที่ไม่มีงาน ท�าอย่างผู้สูงอายุ ผู้ที่มีปัญหา ติด ยาเสพติดหรือท้องก่อนวัย ที่ไม่มี โอกาสมีงานท�าโดยเปิดโอกาสให้ ท� า งาานโดยจ่ า ยเงิ น เป็ น ชิ้ น งาน ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ นผู ้ สู ง อายุ บ้ า นดิ น มดแดงนั บ เป็ น อี ก สถานที่ ที่ มี ก าร จัดการอย่างเป็นระบบ นอกจากจะ จ�าหน่ายเครื่องปั้นดินเผาแล้ว ยัง เป็ น สถานที่ เ รี ย นรู ้ แ ละศึ ก ษางาน เครื่องปั้นดินเผาเพื่อเปิดโอกาสทาง อาชีพให้กับผู้ที่สนใจ น�าไอเดียไป ต่อยอด และยังจัดเป็นสถานที่ท่อง เที่ยวรองรับนักท่องเที่ยวที่มาเยือน ลพบุรีได้แวะซื้อของฝากก่อนกลับ อีกด้วย
ศูนย์เรียนรู้เครื่องปั้นดินเผาที่ ใหญ่
ที่สุดในภาคกลาง
บ้านดินมดแดง ข้อมูล / ภาพประกอบ : Facebook : บ้านดินมดแดง / thailandtourismdirectory / lopburi.org
100
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2564