ผู้บริกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หารระดับสูง
ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
14
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
นายประภัตร โพธสุธน
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
ดร.ทองเปลว กองจันทร์
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นางสาวนฤมล สงวนวงศ์
ผู้ช่วยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายส�าราญ สาราบรรณ์
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายสมชวน รัตนมังคลานนท์
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายประยูร อินสกุล
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายโอภาส ทองยงค์
รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
15
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงาน
ราชการส่วนกลางประเภทกระทรวง ของไทย มีหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตร กรรม การจัดหาแหล่งน�้าและพัฒนา ระบบชลประทาน ส่งเสริมและพัฒนา เกษตรกร ส่งเสริมและพัฒนาระบบ สหกรณ์ รวมตลอดทัง้ กระบวนการผลิต และสินค้าเกษตรกรรม และราชการอืน่ ทีก่ ฎหมายก�าหนดให้เป็นอ�านาจหน้าที่ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือ ส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์
เกษตรและสหกรณ์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Ministry of Agriculture and Cooperatives
ประวัติ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรั ช สมั ย ของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวง เกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกร วงศ์ (พร บุนนาค) ขณะมีบรรดาศักดิ์ที่ “พระยาภาสกรวงศ์ “ เป็นเสนาบดีคน แรก ใน พ.ศ. 2439 ได้ ยุ บ รวม กระทรวงเกษตรพานิ ช การเข้ า กั บ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ พร้อมกับ
ลดฐานะลงเป็นกรมๆ หนึ่ง ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2442 มีพระบรมราชโองการ แยกกรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็น กระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตร าธิการ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมี บรรดาศักดิ์ที่พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์เป็นเสนาบดีคนแรก โดยใช้ หอรัษฎากร พิพัฒน์ เป็นที่ท�าการชั่วคราว ใน พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวงเกษตราธิการเข้ากับ กระทรวง พาณิชย์และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ ต่อมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อและอ�านาจหน้าที่จากกระทรวง เกษตรพาณิชยการเป็น กระทรวงเศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2515 มี ประกาศของคณะปฏิวัติ ที่ 216 ก่อให้เกิดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และมี ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คนแรก ได้แก่ ดร.ปรี ดา กรรณสูต
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
23
หน่วยงานในสังกัด
• ส่ วนราชการ - ส�านักงานรัฐมนตรี - ส�านักงานปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ - กรมวิชาการเกษตร - กรมประมง - กรมปศุสัตว์ - กรมชลประทาน - กรมพัฒนาที่ดิน - กรมส่งเสริมการเกษตร - กรมส่งเสริมสหกรณ์ - กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ - ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร - ส�านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - ส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ - กรมฝนหลวงและการบินเกษตร - กรมการข้าว - กรมหม่อนไหม • รั ฐวิสาหกิจ - องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก.) - องค์การส่งเสริมกิจการโคนม แห่งประเทศไทย - องค์การสะพานปลา - การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) • อดีตรั ฐวิสาหกิจที่กา� กับดูแล - ส�านักงานกองทุนสงเคราะห์ การท�าสวนยาง (สกย.) - องค์การสวนยาง (อสย.) - องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป., โอนไปสังกัด กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) • องค์ การมหาชน - สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) - ส�านักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) - ส�านักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
24
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
เครื่องหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตามพระราชบัญญัติ เครื่องหมายราชการ พุ ทธศักราช 2482 (ฉบับที่ 313)
ค�ำอธิบำย
เป็นรูปวงกลมซ้อนกัน 2 วง ภายในวงกลมชั้นในเป็นพื้นสี เขียว มีลายกระหนกเปลวสีทองกึ่งกลาง เป็นรูปพระพิรุณทรง พระภูษาและฉลองพระบาทสีทอง พระหัตถ์ขวาทรงพระขรรค์ ทรงยืนบนหลังนาค ภายในวงกลมชัน้ นอกเป็นพืน้ สีขาว ด้านบน มีอกั ษรภาษาไทยสีเขียวเข้มว่า “กระทรวงเกษตรและสหกรณ์” ด้านล่างมีอักษรภาษาอังกฤษสีเขียวเข้มว่า “MINISTRY OF AGRICULTURE AND COOPERATIVES”
ควำมหมำย
• พระพิรุณ เป็นเทพแห่งน�า้ เป็นทีน่ บั ถือกันมาตัง้ แต่ครัง้ โบราณ ว่าเป็นผู้บันดาลให้ฝนตก • นาค เป็นพาหนะของพระพิรุณ และเป็นก�าลังของการให้น�้า พระพิรุณทรงนาค เป็นเครื่องหมายแห่งความอุดมสมบูรณ์
โครงสร้างส่วนราชการ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
25
วิสัยทัศน์
“ ภาคเกษตรมั่นคง เกษตรกรมั่งคั่ง ทรัพยากรเกษตรยั่งยืน “
พันธกิจ
1) พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้มีความมั่นคง 2) พัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ 3) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพตลอดห่วงโซ่ อุปทานให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และส่งเสริม งานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อน�ามาใช้ประโยชน์ 4) ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร และสิ่ง แวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
ค่ำนิยมองค์กำร “MOAC”
M = Morality มีคุณธรรม O = Openness ตรงไปตรงมา A = Accountability ตรวจสอบได้ C = Creativity มีความสามารถในการสร้างสรรค์
เป้ำหมำย
(1) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในสาขาเกษตรเพิม่ ขึน้ (2) ผลิตภาพการผลิตของภาคเกษตรเพิ่มขึ้น (3) รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้นอย่างกระจายและต่อเนื่อง (4) ความมัน่ คงด้านน�า้ ทางการเกษตรของประเทศเพิม่ ขึน้
เป้ำประสงค์
เป้าประสงค์ คือ เกษตรกรมีรายได้อย่างน้อย 97,860 บาท ภายในปี 2565 โดย (1) เกษตรกรกินดีอยู่ดี มีทักษะ และความเชี่ยวชาญในการประกอบอาชีพ (2) ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตร (3) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมภาคการเกษตร (4) การเจริญเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (5) การบริหารจัดการภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ช่องทางการติดต่อกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ตั้ง : เลขที่ 3 ถนนราชด�าเนินนอก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ : 0-2281-5884 E-mail : webmaster@opsmoac.go.th แจ้งเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ : moacbfa@gmail.com MOAC Call Center : 1170 Facebook : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Youtube : MOAC Thailand Twitter : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
26
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
นับถอยหลัง Covod-19 จากโรคระบาด สู่ โรคประจำาถิ่น
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ มีมติเห็นชอบแผน 4 เดือนปรับโควิด-19 ออกจากโรคระบาด เข้าสูโ่ รคประจ�าถิน่ ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ค.นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มีการเตรียมมาตรการในการ บริหารจัดการให้สอดคล้องกับระดับ สถานการณ์ ค�านึงถึงทุกมิติ เช่น การ เดินทางเข้าประเทศไทยตามโปรแกรม Test &Go ที่ มี เ งื่ อ นไขด้ า นสุ ข ภาพ พร้อมกับการอ�านวยความสะดวกให้ กับนักเดินทางต่างชาติและคนไทย ช่วย สร้างรายได้เข้าประเทศ การเข้าสู่โรคประจ�าถิ่นจะมีการ จัดเตรียมแผนเป็นเฟสๆ หลักๆ คือ 4 เดือน โดยจะมีแนวทางครอบคลุมทุก มิติ เตียง การรักษาพยาบาล อัตรา ความรุนแรงของโรคควบคุมได้ จ�านวน ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต อยู ่ ภ ายใต้ อั ต ราส่ ว นของ สากล สอดคล้องกับมาตรฐานองค์การ อนามั ย โลก มี ย ารั ก ษาพร้ อ ม การ เข้ า ถึ ง ยาได้ อ ย่ า งรวดเร็ว การให้ย า อย่างเหมาะสม ไม่ใช่ครอบจักรวาล ที่ ส�าคัญการเตรียมเข้าสู่โรคประจ�าถิ่น ประชาชนต้ อ งปฏิ บัติต ามมาตรฐาน ป้องกันโรคเช่นเดิม และหากทุกคนได้ รับวัคซีนครบถ้วน โดยเฉพาะบูสเตอร์ โดส จะลดความรุนแรงได้
วางแผน 3 บวก 1 รองรับเข้าสู่ “โรคประจ�าถิ่น”
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติเห็นชอบแผนรองรับการเข้าสูโ่ รคประจ�าถิน่ โดยแบ่งออกเป็น 4 เดือน เรียกว่า 3 บวก 1 (4 ระยะ) ดังนี้ ระยะที่ 1 (12 มี.ค.-ต้น เม.ย.) เรียกว่า Combatting ต้องออกแรงกดตัวเลข ไม่ให้สงู กว่านี้ เป็นระยะต่อสู้ เพือ่ ลดการระบาด ลดความรุนแรงลง จะมีมาตรการ ต่างๆ ออกไป การด�าเนินการให้กักตัวลดลง ระยะที่ 2 (เม.ย.-พ.ค.) เรียกว่า Plateau คือ การคงระดับผู้ติดเชื้อไม่ให้สูง ขึ้น ให้เป็นระนาบจนลดลงเรื่อยๆ ระยะที่ 3 (ปลาย พ.ค.-30 มิ.ย.) เรียกว่า Declining การลดจ�านวนผู้ติดเชื้อ ลงให้เหลือ 1,000-2,000 คน และอีกบวก 1 หรือ ระยะ 4 ตั้งแต่ 1 ก.ค.2565 เป็นต้นไป เรียกว่า Post pandemic คือ ออกจากโรคระบาด เข้าสู่โรคประจ�าถิ่น
ข้อมูล : news.thaipbs.or.th วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
33
ชี ว ต ิ เราจะเป็ น อย่ า งไร เมื่อ Covid-19 กลายเป็ นโรคประจำาถิ่น ใน
ขณะที่โลกก�าลังเข้าสู่ปีที่ 3 ที่ต้องเผชิญการระบาด ใหญ่ของโควิด-19 หลายประเทศได้เริ่มพิจารณา จะจัดให้โรคติดต่อชนิดนี้เป็น “โรคประจ�ำถิ่น” (endemic) ในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขเปิดเผยว่า ก�าลัง พิจารณาแผนรับมือการระบาดของโควิด-19 ระลอกเดือน ม.ค. ปีนี้ให้เข้าสู่การเป็น “โรคประจ�าถิ่น” เนื่องจากเชื้อกลาย พันธุโ์ อมิครอนมีระดับความรุนแรงน้อย แม้จะแพร่กระจายได้ รวดเร็ว แต่อัตราการเสียชีวิตอยู่ในระดับต�่า ขณะที่ทางการสหราชอาณาจักรก็มีการพิจารณาเรื่อง การเปลี่ยนผ่านในการรับมือกับโควิดจาก “โรคระบำด” ให้ เป็น “โรคประจ�ำถิ่น” เช่นกัน
โรคประจ�าถิ่นหมายความว่าอย่างไร แล้วมันจะส่งผลอย่างไรต่อชีวิตประจ�าวันของเรา
เมื่อเดือน มี.ค. ปีที่แล้ว นางนิโคลา สเตอร์เจียน นายกรัฐมนตรีสกอตแลนด์ ระบุว่า ต้องการจะขจัดโควิดให้หมดไป จากสกอตแลนด์ แต่บรรดาผู้เชี่ยวชาญด้านโรคส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่า นี่จะเป็นเรื่องที่ท�าได้ยากมาก ศาสตราจารย์มาร์ก วูลเฮาส์ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านระบาดวิทยาโรคติดเชือ้ ประจ�ามหาวิทยาลัยเอดินเบอระ ในสกอตแลนด์ ระบุว่า ไวรัสก่อโรคโควิด-19 จะคงอยู่กับเราต่อไป และที่ผ่านมารัฐบาลหลายประเทศต้องเสียเวลาไปมากมายกว่าที่จะ ตระหนักได้ว่าจะไม่สามารถขจัดเชื้อไวรัสชนิดนี้ให้หมดสิ้นไปได้ ศาสตราจารย์วูลเฮาส์ กล่าวกับบีบีซี สกอตแลนด์ ว่า บรรดานักระบาดวิทยาทราบเรื่องนี้อย่างชัดเจนมาตั้งแต่เดือน ก.พ. ปีที่แล้ว “เรารู้มาตัง้ แต่ตอนนัน้ ว่าไวรัสชนิ ดนีจ้ ะต้องกลายเป็ นโรคประจ� าถิ่ น” “เราเข้าสู่การล็อกดาวน์ครัง้ แรกเมื อ่ ม.ค. 2020 โดยทีค่ นส่วนใหญ่มีความเชื อ่ ผิ ดๆ ว่าหากเราตัง้ ใจต่อสูก้ บั มันเป็ น เวลาไม่กีส่ ปั ดาห์ เชื อ้ ไวรัสนีก้ ็จะหมดสิ้ นไป”
34
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
“มันไม่มีโอกาสทีจ่ ะเป็ นเช่นนัน้ ได้ พวกเราจะต้องอยู่ร่วมกับไวรัสชนิ ดนี ้ ต่อไปในอนาคต” แม้นี่จะฟังดูสิ้นหวัง แต่นักระบาด วิ ท ยาหลายคนคาดว่ า “ภำระโรค” (disease burden) ซึ่งหมายถึงความ สู ญ เสี ย ทางสุ ข ภาพทั้ ง การเจ็ บ ป่ ว ย พิ ก าร และเสี ย ชี วิ ต นั้ น จะลดลงทุ ก ขณะ โดยทีจ่ ะมีคนเสียชีวติ หรือเข้าโรง พยาบาลเพื่อรักษาโควิดน้อยลงเรื่อยๆ ศาสตราจารย์ พ อล ฮั น เตอร์ อาจารย์ด้านการแพทย์จากมหาวิทยา ลัยอีสต์ แองเกลีย ในอังกฤษ ระบุวา่ ใน ขณะทีเ่ ชือ้ ไวรัสชนิดนีจ้ ะ “คงอยู่ตลอด ไป” แต่โรคที่สร้างความเจ็บป่วยจะไม่ อยู่ตลอดไป เขาอธิบายเรื่องนี้ว่า “คุณอาจได้ รับเชื อ้ ไวรัสชนิ ดนีท้ กุ 2-3 ปี ตลอดไป แต่ความเจ็บป่ วยรุนแรงจากการติ ดเชือ้ จะน้อยลงกว่าการติ ดเชื อ้ ครัง้ ก่อนหน้า เสมอ” มุ ม ม อ ง นี้ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ศาสตราจารย์ เดม ซาราห์ กิลเบิร์ต หั ว หน้ า ที ม พั ฒ นาวั ค ซี น แอสตร้ า เซเนก้ า ที่ ก ล่ า วในการสั ม มนาของ ราชสมาคมการแพทย์ แ ห่ ง สหราช อาณาจักรว่า โควิด-19 จะกลายเป็น โรคคล้ายกับไข้หวัดทั่วไป ค�านิยามของ “โรคประจ�าถิ่น”
เส้นกราฟที่พุ่งสูงมาก และแนวโน้มนี้ ยังสะท้อนให้เห็นในอัตราการเข้าโรง พยาบาลและการเสียชีวิตด้วย อย่างไรก็ตาม แนวโน้มดังกล่าว อาจมีขึ้นและลงได้ โดยเฉพาะเมื่อโรค เกิดขึน้ ตามฤดูกาล โดยจะพบยอดผูต้ ดิ เชื้อมากขึ้นในช่วงฤดูหนาว ศาสตราจารย์ฮันเตอร์ยกตัวอย่าง โรคประจ� า ถิ่ น ซึ่ ง มี ร ะดั บ การเกิ ด โรค และการเสียชีวิตที่สังคมยอมรับไม่ได้ เช่น มาลาเรีย “มาลาเรียเป็ นโรคประจ�าถิน่ ซึง่ คร่ าชีวติ เด็กหลายแสนคนในแต่ ละ ปี ” ศาสตราจารย์ ฮั น เตอร์ อ ธิ บ าย ต่อว่า โรคประจ�าถิ่นไม่ได้หมายความ ว่าจะมีความรุนแรงน้อยกว่าเสมอไป แต่เป็นโรคทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชนเป็นประจ�า และมีแนวโน้มจะคงอยู่เช่นนั้นต่อไป
เกษตรและสหกรณ์
จะมีการประกาศอย่างเป็นทางการ ไหมให้โควิดเป็นโรคประจ�าถิ่น
ไม่น่าจะเป็นเช่นนั้น แม้องค์การ อนามัยโลก (World Health Organization หรือ WHO) จะก�าหนดให้การ ระบาดของไวรัสโคโรนาเป็นการระบาด ใหญ่ในเดือน มี.ค. 2020 แต่ปัจจุบัน WHO ก็ไม่ได้ “ประกำศ” ให้มนั เป็นโรค ระบาดใหญ่อีกต่อไปแล้ว และไม่น่าจะ ประกาศให้โควิดกลายเป็นโรคประจ�า ถิ่นในตอนนี้ แต่ WHO ได้ ป ระกาศให้ โ รคนี้ เป็น “ภำวะฉุกเฉินทำงสำธำรณสุข ระหว่ ำ งประเทศ” (public health emergency of international concern หรื อ PHEIC) แทน เมื่อเจ้าหน้าที่ WHO ประเมินแล้ว ว่าบริการสาธารณสุขทั่วโลกไม่อยู่ใน ความเสี่ยงจากยอดผู้ติดโควิดในระดับ
โรคที่จะถือว่าเป็นโรคประจ�าถิ่น ได้นั้นจะต้องเป็นโรคที่เกิดขึ้นอย่างต่อ เนื่อง และสามารถคาดการณ์การเกิด ขึ้นได้ในเขตภูมิศาสตร์หนึ่ง ศาสตราจารย์ฮันเตอร์ระบุว่า โรค ประจ�าถิ่นส่วนใหญ่จะแตะจุดที่เรียก ว่ า “จุ ด สมดุ ล ที่ มี โ รคประจ� ำ ถิ่ น ” (endemic equilibrium) ซึง่ หมายความ ว่า เมื่อดูระดับยอดผู้ติดเชื้อ ก็จะเห็น เป็ น เส้ น กราฟแนวราบคงที่ม ากกว่า วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
35
สูงอีกต่อไปแล้ว ก็จะมีการยกเลิกประกาศ PHEIC แต่ศาสตรา จารย์ฮันเตอร์คิดว่ายังไม่น่าจะเกิดขึ้นในปีนี้ เขาชี้ว่า WHO จะต้องแน่ใจเสียก่อนว่า บริการด้าน สาธารณสุขทั่วโลกจะรอดพ้นจากความเสี่ยงดังกล่าวแล้ว ก่อนที่จะยกเลิกการประกาศ PHEIC ศาสตราจารย์ฮันเตอร์เชื่อว่า การระบาดของเชื้อกลาย พันธุ์เดลตา ได้แตะ “จุดสมดุลที่มีโรคประจ�ำถิ่น” เมื่อฤดู ใบไม้รว่ งทีผ่ า่ นมา และมีสญ ั ญาณการเกิดขึน้ ในสกอตแลนด์ เนื่องจากยอดผู้ติดเชื้ออยู่ในระดับคงที่อยู่นานประมาณ 1 เดือน แต่แนวโน้มดังกล่าวได้เปลีย่ นแปลงไปจากการอุบตั ขิ อง เชื้อกลายพันธุ์โอมิครอน เมื่อปลายเดือน พ.ย. ที่ผ่านมา ซึ่ง ท�าให้ยอดผู้ติดเชื้อพุ่งสูงขึ้นมากในช่วงคริสต์มาสและปีใหม่ และมีโอกาสที่เหตุการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นอีก
แม้ขณะนี้ยอดผู้ติดเชื้อจะสูงกว่าในตอนนั้นมาก แต่ ประชาชนส่วนใหญ่มีภูมิคุ้มกันโรคที่ได้จากการฉีดวัคซีน จึงท�าให้มีการบังคับใช้มาตรการควบคุมโรคน้อยกว่าเมื่อ ปีที่แล้วมาก ศาสตราจารย์วลู เฮาส์ระบุวา่ เป็นเรือ่ งส�าคัญทีร่ ฐั บาล ประเทศต่างๆ จะต้องปรับปรุงกลยุทธ์เพื่อหาทางใช้ชีวิต ร่วมกับโควิดโดยที่ไม่สร้างความเดือดร้อนและเสียหาย แบบที่เกิดจากการล็อกดาวน์ แต่เขาคิดว่าจะยังมีการคง มาตรการควบคุมโรคบางอย่างเอาไว้ ศาสตราจารย์ฮันเตอร์ก็เชื่อว่า เราจะยังมีมาตรการ ควบคุมโรคเล็ก ๆ น้อย ๆ ต่อไป แต่เขาชี้ว่า มาตรการคุม เข้มทางสังคมจะส่งผลน้อยกว่า เมื่อโรคแตะ “จุดสมดุลที่ มีโรคประจ�ำถิ่น” เพราะเมื่อถึงจุดนั้น ปัจจัยหลักที่จะส่ง ผลต่อจ�านวนผู้ติดเชื้อคือ ผู้คนจะสูญเสียภูมิคุ้มกันโรคไป รวดเร็วเพียงใด เขาชีว้ า่ “ภูมคิ ้ มุ กันการติดเชือ้ และแม้ แต่ ความร้ าย การใช้ชีวิตกับโรคประจ�าถิ่นจะเป็นอย่างไร ตอนนี เ้ ราใช้ชีวิตร่ วมกับโควิ ดในแบบที ่แตกต่างไปจาก แรงของโรคจะไม่ คงอยู่ตลอดไป” “มันเป็ นไปได้ มากว่ าถ้ าคุณได้ รับเชื้อทุก 6 เดือน เมื อ่ 1 ปี ก่อนมาก ตอนทีย่ อดผูต้ ดิ เชือ้ พุง่ สูงขึน้ ในเดือน ธ.ค. 2020 เนือ่ งจาก คุณจะมีอาการติดเชื้อไม่ รุนแรง แต่ หากคุณได้ รับเชื้อ เชื้อสายพันธุ์อัลฟา ก็ท�าให้ทางการสหราชอาณาจักรต้อง ทุก 5 ปี คุณก็จะลงเอยด้ วยการป่ วยหนัก” ยกเลิกแผนผ่อนคลายมาตรการควบคุมโรคในช่วงคริสต์มาส และต้องกลับเข้าสู่การล็อกดาวน์เต็มรูปแบบเป็นเวลาสั้นๆ ข้อมูล : bbc.com/thai หลังปีใหม่
36
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
37
ข่าวแวดวง การเกษตรและสหกรณ์
นายกฯ สั่งด่วน ตรวจสต๊อกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
องกับผลผลิ ตทีพ่ อ่ ค้ารับซื อ้ จาก เอาผิดพวกกักตุน-ฉวยท�าก�าไร สอดคล้ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด ดันให้ราคา “บิ๊กตู่” สั่งเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่ตรวจสอบสต๊อกข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ทวั่ ประเทศโดยด่วน หากพบกักตุน สินค้า ฉวยโอกาสท�าก�าไร ให้ด�าเนิน การตามกฎหมายทุกรายโดยไม่ละเว้น นายธนกร วังบุญคงชนะ โฆษก ประจ�า ส� า นั ก นายกรั ฐ มนตรี เผย ว่า จากกรณีปรากฏปริมาณข้าวโพด เลี้ ย งสั ต ว์ ใ นตลาดมี ร าคาพุ ่ ง สู ง ขึ้ น อย่างต่อเนื่อง โรงงานผลิตอาหารสัตว์ ไม่ ส ามารถหาซื้ อ ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ได้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม สั่งการส�านักงานต�ารวจแห่ง ชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ
38
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
กระทรวงพาณิชย์ ลงพื้นที่ตรวจสอบ สต๊ อ กข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ข องพ่ อ ค้ า คนกลางทั่วประเทศโดยด่วน พร้ อ มกั น นี้ ให้ ร ายงานนายก รัฐมนตรีรับทราบข้อเท็จจริง หากพบ มีพฤติกรรมที่ฝ่าฝืนกฎหมาย กักตุน สิน ค้า ปั่น ราคาแพง ฉวยโอกาสท�า ก�าไรในสภาวการณ์ที่ราคาวัตถุดิบสูง ในขณะนี้ ให้เจ้าหน้าที่ด�าเนินการตาม กฎหมายกับผู้ที่กระท�าผิดทุกรายโดย ไม่ละเว้น “มี การตัง้ ข้อสังเกตว่า ทีผ่ ่านมามี การเก็บเกี ่ยวผลผลิ ตข้าวโพดเพือ่ ขาย เข้าสู่ตลาดแล้ว แต่กลับพบว่าปริ มาณ ข้ า วโพดในตลาดมี น้อ ยผิ ด ปกติ ไม่
ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์ พ่งุ ขึ้ นทุกวัน ซึ่ งเข้า ข่ ายพฤติ กรรมการกักตุนสิ นค้า รวม ทั้ง เป็ นการกดดัน ผู้ผ ลิ ต อาหารสัต ว์ ให้ต้องจ่ ายราคาพิ เศษเพิ่ มขึ้ นอี ก ถื อ เป็ นการซ�้ าเติ มผู้ผลิ ตอาหารสัตว์ และ เกษตรกรผูเ้ ลี ้ยงสัตว์ ทีก่ � าลังเดื อดร้ อน ในสถานการณ์ ปัจจุบนั อย่างมาก ซึ่ ง ท่ า นนายกฯ รั บ ทราบกรณี ด ัง กล่ า ว โดยก� า ชับ ให้มี ก ารตรวจสอบข้ อ เท็ จ จริ ง อย่าให้มีการฉวยโอกาส หรื อใช้ ประโยชน์จากสถานการณ์ซ�้าเติ มภาระ ให้ประชาชนในขณะที ร่ ัฐบาลก� าลังเร่ ง แก้ปัญหาต่างๆ อยู่ในขณะนี ้ และขอ ให้ทุก ฝ่ ายเห็ น แก่ ป ระโยชน์ ส่ ว นรวม ของประเทศด้วย”
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
ครม.เคาะแล้ว! พักหนี้ 50% เกษตรกร 5 หมื่นราย
ส่วนที่เหลือให้ ไปปรับโครงสร้างหนี้ ครม.เห็น ชอบหลั ก การแก้ ห นี้ เ กษตรกรสมาชิ ก กองทุนฟื้ นฟูและพัฒนาเกษตรกร กลุ่มเป้าหมายทีเ่ ป็ น ลูกหนี้ ธนาคาร 4 แห่ งของรั ฐ จ�านวน 50,621 คน ยอด หนี้เงินต้ น 9,282.92 ล้ านบาท นายธนกร วั ง บุ ญ คงชนะ โฆษกประจ� า ส� า นั ก นายก รัฐมนตรี เผยมติคณะรัฐมนตรี เห็นชอบในหลักการโครงการ แก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรสมาชิกกองทุนฟื้นฟูและพัฒนา เกษตรกร ส�าหรับลูกหนีธ้ นาคารของรัฐ 4 แห่ง ได้แก่ ธนาคาร ออมสิน ธ.ก.ส. ธอส. และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ส�าหรับช�าระหนีแ้ ทนเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการ จ�านวน 50,621 คน ยอดหนี้เงินต้นจ�านวน 9,282.92 ล้านบาท ระยะ เวลาด�าเนินโครงการ 3 ปี นับจากวันที่ ครม.อนุมัติ แบ่งการ ด�าเนินการ ออกเป็น 3 ระยะ -ปีที่ 1 จ�านวน 10,000 คน ขอใช้ งบกลางฯ รายการเงินส�ารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ�าเป็น ปี 65 รวม 2,000 ล้านบาท -ปีที่ 2 จ�านวน 22,000 คน และ -ปี ที่ 3 จ�านวน 18,621 คน นายธนกร ยังกล่าวว่า ปัจจุบนั มีสมาชิกทีเ่ ป็นหนีใ้ นระบบ และประสงค์ทจี่ ะให้กองทุนช่วยเหลือแก้ปญ ั หาหนีส้ นิ และได้ น�าหนี้มาขึ้นทะเบียน ซึ่งเป็นหนี้เร่งด่วน ผิดนัดช�าระหนี้ และ เป็นลูกหนี้ธนาคารของรัฐทั้ง 4 แห่ง ตรวจสอบแล้วก�าลังรอ การแก้ปัญหาทั้งสิ้น จ�านวน 50,621 คน รวมมูลหนี้เงินต้นจ�านวน 9,282.92 ล้านบาท ประกอบ ด้วย ธ.ก.ส. 47,973 คน มูลค่าหนี้เงินต้นจ�านวน 8, 520.41
ล้านบาท ธนาคารออมสิน 552 คน มูลค่าหนี้เงินต้น 162.37 ล้านบาท ธอส. 2,008 รายมูลหนี้เงินต้น 306.41 ล้านบาท และ ธพว. 88 ราย มูลหนี้เงินต้น 293.72 ล้านบาท แนวทางการด�าเนินการ ในการปรับโครงสร้างหนี้กับ สถาบันเจ้าหนีโ้ ดยพักช�าระเงินต้นครึง่ หนึง่ (ร้อยละ 50) และ ดอกเบีย้ ทัง้ หมดไว้กอ่ น และให้เกษตรกรผ่อนช�าระหนีเ้ งินต้น ครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ50) ตามระยะเวลาที่ตกลง แต่ไม่เกิน 15 ปี เมื่อเกษตรกรช�าระหนี้คืนเสร็จสิ้นแล้ว เงินต้น (ร้อยละ 50 ที่พักไว้) และดอกเบี้ยที่พักไว้ จะได้รับการยกให้เกษตรกร ทั้งหมด โดยสถาบันเจ้าหนี้จะได้รับการชดเชยเงินต้นจาก รัฐบาล ส�าหรับการชดเชยดอกเบี้ยให้เป็นไปตามมติ ครม. โดยเงือ่ นไขส�าคัญ เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการจะต้องไม่กอ่ หนี้เพิ่มกับสถาบันการเงินอื่นใดอีก ส�าหรับดอกเบี้ยค้างช�าระของธนาคาร 4 แห่งนั้น ครม. เห็นชอบให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกระทรวงการ คลัง หารือก่อนให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป โฆษกประจ�าส�านักนายกรัฐมนตรียา�้ เป้าหมาย ครม. ใน การแก้ปญ ั หาหนีเ้ กษตรในครัง้ นี้ เพือ่ ให้เกษตรกรได้มโี อกาส ได้พักฟื้นเรื่องหนี้สิน รักษาที่ดินท�ากินและที่อยู่อาศัยของ เกษตรกร เข้าถึงแหล่งเงินทุนเพือ่ พัฒนาและฟืน้ ฟูตนเองและ สร้างรายได้ในการประกอบอาชีพ ตามนโยบายของนายก รัฐมนตรี ที่ให้ความส�าคัญในแก้ปัญหาหนี้ทั้งระบบทั้งหนี้ ครัวเรือนและหนี้เกษตรกร ตามที่ประกาศ ปี 65 นี้ เป็นการ แก้หนี้ให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
39
เกษตรฯ-พาณิชย์ หารือแนวทางการดำาเนินงาน
เพื่อเตรียมพร้อมรองรับ สถานการณ์ราคาและการน�าเข้า/ส่งออก
ดร.ทองเปลว กองจันทร์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หารือร่วม กับ นายบุณยฤทธิ์ กัลยาณมิตร ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ถึงแนวทางการด�าเนิน งานเพื่อเตรียมพร้อมรองรับสถานการณ์ราคาและการน�าเข้า/ส่งออก ทั้งในส่วน ของปุ๋ย อาหารสัตว์ และผลไม้ ณ ห้องประชุมกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย ในเรือ่ งของราคาปุย๋ ทีม่ รี าคาสูงขึน้ นัน้ กระทรวงเกษตรฯ และกระทรวงพาณิชย์ ได้ ร่วมกันหามาตรการทีจ่ ะช่วยในเรือ่ งดังกล่าว โดยพิจารณาในเรือ่ งต้นทุนทีเ่ หมาะ สม อย่างไรก็ตาม หากมีการปรับราคาปุ๋ยสูงขึ้น ก็จะหาช่องทางให้เกษตรกรเข้า ถึงปุ๋ยในราคาถูกได้ กระทรวงเกษตรฯ จึงมีโครงการลดราคาปุ๋ยเคมี โดยมอบ หมายกรมส่งเสริมการเกษตรเป็นหน่วยงานหลัก นอกจากนี้ ยังส่งเสริมการผลิต ปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้ 5 ล้านตัน จากปัจจุบันที่มีการผลิตประมาณ 3.2 ล้านตัน เพื่อ เป็นมาตรการเสริมใช่ช่วงปุ๋ยแพงต่อไป ส�าหรับในเรื่องการส่งออกผลไม้ของไทยนั้น ในช่วงฤดูการเก็บเกี่ยวที่คาด ว่าจะมีผลผลิตออกมาเป็นจ�านวนมาก ทั้งสองกระทรวง ได้ร่วมหารือถึงตลาด ส่งออก โดยตลาดส่งออกส�าคัญคือจีน ซึ่งฑูตเกษตรฯ ได้มีการประสานงานกับ หน่วยงานของจีนอย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันจีนยังคงยึดมาตรการ Zero Covid โดยสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิดในจีนยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท�าให้จีนมี มาตรการควบคุมทั้งคนและการขนส่งสินค้าอย่างเข้มงวด โดยเป็นมาตรการทั้ง
40
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ระดับส่วนกลางและระดับท้องถิ่นซึ่ง แตกต่ า งกั น ไปตามความเสี่ ย งของ แต่ละพื้นที่ ส�าหรับสินค้าที่ขนส่งผ่าน ห่วงโซ่ความเย็น เช่น ผลไม้ จะต้องถูก ตรวจ 3 อย่าง และต้องได้รบั ใบรับรอง ได้แก่ ใบรับรองผ่านตรวจสอบกักกัน ใบรับรองผลตรวจโควิ ด และใบรับรอง การผ่านการฆ่าเชื อ้ อย่างไรก็ตาม กระ ทรวงเกษตรฯ จะด�าเนินการในส่วนที่ เกีย่ วข้อง เพือ่ ให้ผลไม้ของไทยสามารถ ส่งออกไปจีนได้ นอกจากนี้ ได้หารือถึงวัตถุดิบใน การผลิตอาหารสัตว์ (ข้าวโพด ข้าวสาลี ถัว่ เหลื อง) ที่มีราคาสูงขึ้น ซึ่งจะท�าให้ เกิดผลกระทบต่อเกษตรกร ผู้ประกอบ การ และสมาคมต่ า งๆ กระทรวง พาณิชย์จึงได้เชิญผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม หารือ เพือ่ เสนอความคิดเห็นในประเด็น ดังกล่าว โดยให้มีการชะลอมาตรการ ก�าหนดสัดส่วนการน�าเข้าข้าวสาลีต่อ การรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศ อัตราส่วน 1 ต่อ 3 ของกระทรวงพาณิชย์ ไว้ชวั่ คราวจนถึงวันที่ 31 ก.ค. 65 นี้ รวม ถึงต้องก�าหนดปริมาณที่จะน�าเข้าว่า ไม่เกินเท่าไหร่ เพื่อไม่ให้เกิดผลกระ ทบด้ ว ย โดยกระทรวงพาณิ ช ย์ จ ะมี การตั้ ง คณะท� า งานวงเล็ ก เพื่ อ หารื อ ประเด็นดังกล่าว ซึ่งในส่วนของกระทร วงเกษตรฯ ได้มอบหมายกรมปศุสัตว์ และส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตรเข้า ร่วมด้วย เพื่อให้ข้อมูลตัวเลขส�าหรับ ใช้ประกอบการพิจารณา เพื่อจะเป็น ประโยชน์ต่อเกษตรกรต่อไป
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
รัฐบาลลาวมอบ “ประกาศเกียรติคุณสูงย้องยอ”
แด่ “ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รมว.เกษตรฯ”
ในวาระ 70 ปี ความสัมพันธ์ลาว-ไทย
รั ฐบาลสาธารณรั ฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้ มอบประกาศเกียรติคุณสูงสุดระดับ “ประกาศเกียรติคุณ สูงย้ องยอ” แด่ ดร.เฉลิมชัย ศรี อ่อน รั ฐมนตรี ว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะผูท้ า� คุณประโยชน์ให้ แก่รัฐบาลและประชาชน สปป.ลาว ในโอกาสครบรอบ 70 ปี แห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่าง สปป.ลาว กับราชอาณาจักรไทย ณ สถานเอกอัครราชทูตแห่ง สปป.ลาว โดย ฯพณฯ แสง สุขะทิวง (H.E. Mr. Seng Soukhathivong) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นผู้มอบในนามรัฐบาลลาว ดร.เฉลิมชัย กล่าวว่า ขอขอบคุณรัฐบาล สปป.ลาว และ รู้สึกเป็ นเกียรติอย่างยิ่ งทีไ่ ด้รบั ประกาศเกียรติคณ ุ สูงย้องยอใน วาระ70 ปี แห่งความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศไทยกับ สปป. ลาว ซึ่งเสมื อนบ้านพีเ่ มื องน้องทีม่ ี ความสัมพันธ์ อนั แนบแน่น และจะต้องช่วยกันเสริ มสร้างความร่ วมมื อในทุกมิ ติระหว่าง 2 ประเทศให้ยงั่ ยืนตลอดไป. วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
41
ดร.ทองเปลว กองจันทร์ ปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็น ประธานเปิดการสัมมนา การขับเคลือ่ น แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบ วงจร ปี ก ารผลิ ต 2565/66 และให้ เกี ย รติ ขึ้ น บรรยายในหั ว ข้ อ “ความ ท้ าทายของเกษตรไทยในยุค Next Normal” โดยมี นายณัฏฐกิตติ์ ของทิพย์
อธิ บ ดี ก รมการข้ า ว นางสาวนนทิชา วรรณสว่ า ง รองอธิ บ ดี ก รมการข้ า ว ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่กรมการข้าว เข้าร่วมพิธีเปิดในครั้งนี้ ซึ่งการสัมมนา ดังกล่าวฯ จัดขึน้ ในระหว่างวันที่ 21 -23 มีนาคม 2565 ณ โรงแรมเดอะไพรเวซี่ บีช รีสอร์ท แอนด์สปา อ�าเภอสามร้อย ยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ดร.ทองเปลว เปิ ด เผยว่ า การ ด�าเนินงานตามแผนการผลิตและการ ตลาดข้ า วครบวงจร ถื อ เป็ น การขั บ เคลื่ อ นนโยบายที่ ส� า คั ญ ของรั ฐ บาล และคณะกรรมการนโยบายและบริหาร จัดการข้าว (นบข.) โดยใช้หลักการ “ตลาดน� า การผลิ ต ” มี เ ป้ า หมายที่ จะให้เกิดผลสัมฤทธิ์ 3 ประการ คือ 1) สามารถบริหารจัดการอุปทานของ ข้าวให้อยู่ในปริมาณสมดุลกับอุปสงค์
42
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ปลัดเกษตรฯ
ชูนโยบาย
ขับเคลื่อนแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร
หวังช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตพี่น้องชาวนา
ผ่านหลัก “ตลาดนำาการผลิต”
2) การผลิตข้าวให้มีผลผลิตต่อไร่เพิ่ม ขึ้ น และลดต้ น ทุ น การผลิ ต และ 3) ราคาข้าวเปลือกมีเสถียรภาพคุ้มค่า กั บ ต้ น ทุ น การผลิ ต ข้ า วของชาวนา ตลอดจนเพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายใน การยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ชาวนาให้ ดี ขึ้ น หลุ ด พ้ น จากความยากจน ซึ่ ง ถื อ ว่ า สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แผนระดับที่ 1 และแผนระดับที่ 2 คือ แผนแม่ บ ทภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แผนปฏิรูปประเทศ และแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 นอกจากนีย้ งั สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ การขับเคลือ่ นของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ 5 ด้าน ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ ตลาดน� า การผลิ ต 2) ยุ ท ธศาสตร์ เทคโนโลยีเกษตร 4.0 3) ยุทธศาสตร์ 3’S (Safety/Security/Sustainability)
4) ยุทธศาสตร์บริหารเชิงรุกแบบบูรณ าการทุกภาคส่วนและ 5) ยุทธศาสตร์ เกษตรกรรมยัง่ ยืนตามแนวศาสตร์พระ ราชา อย่างไรก็ตามถึงแม้มีการวางแผน การผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร มาแล้ว 6 ปี แต่แนวโน้มการผลิตและ การตลาดข้ า วยั ง คงมี ค วามผั น ผวน จากสถานการณ์ ก ารระบาดของโรค โควิด-19 รวมไปถึงสภาพภูมิอากาศ ที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ภัยธรรมชาติ และความตึงเครียดทางการเมือง รวม ทั้งการแข่งขันในตลาดโลกค่อนข้างสูง จากทั้งอินเดีย เวียดนาม กัมพูชา เมีย นมาและสหรั ฐ อเมริ ก า ปั ญ หาด้ า น โลจิสติกส์ ตลอดจนการแข่งขันทาง ด้านการวิจัยและพัฒนาข้าว กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ จึงมีความจ�าเป็น
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ที่จะต้องมีการวางแผนการผลิตและการตลาดให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาดโลก มุ่งเน้นหลักการตลาดน�าการผลิต เชื่อมโยงเกษตรกรกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาค รัฐ และภาคเอกชน ควบคูก่ บั การน�าเทคโนโลยีและนวัตกรรมทีเ่ หมาะสมกับพืน้ ที่ มาปรับใชเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิตให้เกษตรกรท�าการเกษตร แบบปลอดภัย และมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ยกระดับความเป็นอยู่ รายได้ และความสุขของเกษตรกรอย่างยั่งยืน ด้านนายณัฏฐกิตติ์ ของทิพย์ อธิบดีกรมการข้าว กล่าวเพิ่มเติมว่า สินค้า ข้าว เป็นสินค้าเกษตรชนิดแรกที่ใช้นโยบาย “ตลาดน�าการผลิต” โดยรัฐบาลและ คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว ได้มอบหมายกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง (ธ.ก.ส) และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บูรณาการจัดท�าแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ภายใต้หลักการ “การ ตลาดน�าการผลิต” ซึ่งแบ่งการด�าเนินงานออกเป็น 5 ช่วงได้แก่ 1) ช่วงก�าหนด อุปสงค์ อุปทาน 2) ช่วงการผลิต 3) ช่วงการเก็บเกี่ยวและหลังเก็บเกี่ยว 4) ช่วง การตลาดภายในประเทศ และ 5) ช่วงการตลาดต่างประเทศ โดยกรมการข้าวได้ รับมอบหมายเป็นหน่วยงานหลักของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการด�าเนิน การตามแผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ซึ่งได้ด�าเนินงานตั้งแต่ปีการ
เกษตรและสหกรณ์
ผลิต2559/60 จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2565 กรม การข้ า วได้ ขั บ เคลื่ อ นนโยบายและ โครงการส�าคัญภายใต้แผนการผลิต และการตลาดข้าวครบวงจร ซึ่งเป็น หนึ่งในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น� า ไป สู่การปฏิบัติในพื้นที่ สร้างความร่วม มือ ร่วมใจให้แก่บุคลากร ก่อให้เกิด การบูรณาการร่วมกัน เพื่อหาแนวทาง ปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพและสามารถ ด�าเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน ส่งผล ให้ภารกิจที่ได้รับมอบหมายบรรลุผล ส�าเร็จตามวัตถุประสงค์และสามารถ แก้ปัญหาให้กับเกษตรกรได้อย่างเป็น รูปธรรม
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
43
ก.เกษตรฯ จัดแถลงข่าวการเข้าร่วม “มหกรรมพืชสวนโลก EXPO 2022 Floriade Almere”
ดร.ทองเปลว กองจันทร์ ปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อม ด้ ว ยนายแร็ ม โก โยฮั น เนิ ส ฟั น ไวน์ คาร์ เดิ น (H.E. Mr. Remco van Wijngaarden) เอกอัครราชทูต เนเธอร์ แลนด์ ประจ�าประเทศไทย และนายเข้ ม แข็ ง ยุ ติ ธ รรมด� า รง อธิบดีกรมส่ งเสริมการเกษตร ร่วม แถลงข่าวการเข้าร่วมงาน The International Horticultural Expo (EXPO 2022 Floriade Almere) ที่จะจัดขึ้น ณ ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ โดย มีผู้บริหารกระทรวงเกษตรฯ เข้าร่วม ณ ห้องประชุมกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่ า วว่ า ประเทศไทยได้ รั บ เชิ ญ ให้ เข้าร่วมงานมหกรรมพืชสวนโลก The International Horticultural Expo (EXPO 2022 Floriade Almere) ระหว่างวันที่ 13 เมษายน – 9 ตุลาคม 2565 ณ ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์
44
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
โดยประเทศไทยจะเข้าร่วมจัดงานภายใต้แนวคิด “TRUST Thailand” ท�าให้เกิด ความเชื่อมั่นประเทศไทยในคุณภาพมาตรฐานของสินค้าเกษตรและสินค้าเพื่อ สุขภาพของไทย การแลกเปลี่ยนและขยายความร่วมมือด้านพืชสวนระหว่างกัน รวมทั้งสร้างความตระหนักรู้ถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนด้านการท่องเที่ยว และเพื่อแสดงให้ชาวต่างชาติเห็นถึงศักยภาพและ ความก้าวหน้าด้านการเกษตรของประเทศไทย โดย “TRUST” มาจาก “เป็นที่ นิยม (Trendy) เข้าถึงง่าย (Reachable) ใช้ประโยชน์ได้ (Utility) มีความปลอดภัย (Safety) และยัง่ ยืน (Sustainability) และใช้เทคโนโลยี (Technology)” และหัวข้อ ย่อย (Sub-Theme) คือ “3S” ความปลอดภัยของอาหาร (Safety) ความมั่นคง ของภาคเกษตรและอาหาร (Security) และและความยั่งยืนของภาคการเกษตร (Sustainability) ตลอดจนใช้โมเดลเศรษฐกิจ BCG และ Smart City ซึ่งจะ
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ช่วยส่งเสริมโอกาสในการขยายตลาดสินค้าเกษตรไทยไปสู่ผู้บริโภคหรือคู่ค้าใน ระดับสากล อีกทัง้ การร่วมงานในครัง้ นี้ ยังเป็นโอกาสอันดีในการร่วมฉลองความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างราชอาณาจักรไทยและราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ครบรอบ 418 ปี ในปี 2565 นี้ ซึ่งที่ผ่านมาทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ที่ดีมา โดยตลอด ทั้งในระดับพระราชวงศ์ รัฐบาล และประชาชน นอกจากนี้ การเข้ า ร่ ว มงานมหกรรมพื ช สวนโลก ณ ราชอาณาจั ก ร เนเธอร์แลนด์ ยังสอดคล้องกับแนวคิดหลักในการจัดงาน “Growing Green Cities” ความก้าวหน้าในด้านนวัตกรรมอาหารและสินค้าเกษตรของไทย การ พัฒนากระบวนการผลิตที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง น�าเสนอสินค้าเกษตรที่มีศักยภาพในการส่งออก รวมทั้งจะเป็นเวทีเชื่อมโยงผู้ ผลิต ผู้ประกอบการ และผู้ส่งออกสินค้าเกษตรของไทย กับผู้น�าเข้าสินค้าของ เนเธอร์แลนด์ เพื่อเปิดโอกาสในการขยายธุรกิจสินค้าพืชสวนของไทย ซึ่งการ เข้าร่วมการจัดงาน Floriade ของประเทศไทยในอดีตสามารถเปิดตลาดสินค้า กล้วยไม้ในประเทศเนเธอร์แลนด์ได้ส�าเร็จมาแล้วด้วย ด้าน นายเข้มแข็ง ยุติธรรมด�ารง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวเพิ่มเติม ว่า ส�าหรับพื้นที่จัดแสดงภายในอาคาร Thailand Pavilion แบ่งออกเป็น 3 โซน ได้แก่ โซนที ่ 1 : Welcome to Thailand น�าเสนอเรือ่ งราวเกีย่ วกับประเทศไทย เช่น ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างประเทศไทยและเนเธอร์แลนด์ ตัวอย่างโครงการ ตามแนวคิด BCG Model การท่องเที่ยวไทยและท่องเที่ยวเชิงเกษตร โซนที ่ 2 : Future Products น�าเสนอระบบการรับรองมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรตัง้ แต่ ต้นน�า้ กลางน�า้ ปลายน�า้ สินค้ากลุม่ Future food เช่น เห็ดแครง จิง้ หรีด มะพร้าว ล�าไย ขมิ้นชัน ที่พลาดไม่ได้คือ Landmark สุดอลังการ สูง 5 เมตร ซึ่งประดับ ด้วยกล้วยไม้สกุลหวายและแวนด้า โดยเฉพาะกล้วยไม้สกุลแวนด้า ซึง่ ในปี 2565 นี้ กรมส่งเสริมการเกษตรมีเป้าหมายที่จะกระตุ้นตลาดประเทศเนเธอร์แลนด์อีก
เกษตรและสหกรณ์
ครัง้ และโซนที ่ 3 : Showroom น�าเสนอ ตัวอย่างสินค้าที่มีศักยภาพในการส่ง ออก เช่น สินค้ากลุม่ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร สปา และเวชส�าอาง กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชุมชน และอุปกรณ์ตกแต่ง กลุม่ ผ้าไหม และผลิตภัณฑ์จากไหม เป็นต้น ส�าหรับกิจกรรมพิเศษ ประกอบ ด้วย พิธีเปิดอาคาร Thailand Pavilion ในวันที่ 14 เมษายน 2565 น�า เสนอกิ จ กรรมทางด้ า นวั ฒ นธรรมที่ สอดคล้องกลับช่วงเวลา คือ เทศกาล สงกรานต์ โดยเชิญชวนชุมชนไทยใน ประเทศเนเธอร์แลนด์เข้าร่วมงาน ส่วน กิจกรรมสัปดาห์ประเทศไทย ก�าหนด จั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 28 กรกฎาคม 2565 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระวชิ ร เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เนื่ อ งในวั น เฉลิมพระชนมพรรษา โดยกระทรวง วั ฒ นธรรมจะน� า ชุ ด การแสดงศิ ล ป วัฒนธรรมไทยไปจัดแสดงตามแนวคิด เทศกาลลอยกระทง เพือ่ ให้ผเู้ ข้าชมงาน ได้รู้จักวัฒนธรรมไทยที่สวยงาม รวม ถึงนิทรรศการหมุนเวียนด้านพืชสวน 6 เรื่อง ได้แก่ กล้วยไม้ไม้ฟอกอากาศ ผล ไม้ภาคตะวันออก สมุนไพร ผัก ผลไม้ ภาคใต้ และไม้ดอกไม้ประดับ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวอีกว่า ส�าหรับผู้ที่ไม่สามารถเดิน ทางไปร่ ว มชมงานในสถานที่ จ ริ ง ได้ กรมส่งเสริมการเกษตรขอเชิญเข้าชม ความสวยงามของอาคาร Thailand Pavilion นิทรรศการ และกิจกรรมต่างๆ ที่จะจัดขึ้นได้ผ่านทางเว็บไซต์ https:// thailandfloriade2022.com ซึ่งจะมี ข้อมูลข่าวสารการจัดงาน และกิจกรรม Live สด พาชมบรรยากาศภายในงาน EXPO 2022 Floriade Almere ตลอด ระยะเวลาการจัดงาน พร้อมกิจกรรม ร่วมสนุกรับของทีร่ ะลึกจากงานอีกด้วย
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
45
รมช.มนั ญ ญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่ าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เปิดเผยว่า ในช่วงฤดูกาล ส่งออกผลไม้ของทุกภาคได้ก�าชับให้ กรมวิชาการเกษตรเข้มงวดตรวจสอบ และเฝ้าระวังปัญหาการน�าผลไม้มา สวมสิทธิ์เป็นผลไม้ไทย และสวมใบรับ รอง GAP เพื่อส่งออกไปประเทศที่ 3 เนื่องจากจะส่งผลกระทบต่อเกษตรกร ในประเทศและอาจท�าให้มีแมลงศัตรู พืชกักกันที่ไม่เคยมีในประเทศติดเข้า มาแพร่ ร ะบาดภายในประเทศ โดย สถานการณ์ล่าสุด ได้รับรายงานจาก กรมวิชาการเกษตร ว่า ได้ระงับการ ส่ ง ออกส้ ม โอที่ โ รงงานคั ด บรรจุ แ ห่ ง หนึ่ง ที่ต�าบลโพธิ์ประทับช้าง อ�าเภอ โพธิป์ ระทับช้าง จังหวัดพิจติ ร เนือ่ งจาก น�าส้มโอจ�านวนหนึ่งมาสวมสิทธิ์ใบรับ รอง GAP เตรียมส่งออกไปจีนจึงได้ สั่งการให้กรมวิชาการเกษตรเข้มงวด ตรวจสอบผลผลิตส้มโอทีจ่ ะส่งออกเพิม่ ขึ้นโดยเฉพาะการตรวจสอบปริมาณ ผลผลิตทีข่ ออนุญาตส่งออกว่าสัมพันธ์ กับพื้นที่แปลง GAP หรือไม่ นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดี กรมวิชาการเกษตร กล่าวว่า ได้มอบ หมายให้ ส� า นั ก วิ จั ย และพั ฒ นาการ เกษตรเขตที่ 2 จ.พิษณุโลก (สวพ.2) ซึ่งเป็นหน่วยงานในส่วนภูมิภาคของ กรมวิชาการเกษตร ด�าเนินการตรวจ โรงคัดบรรจุส้มโอในพื้นที่จังหวัดพิจิตร เพือ่ ตรวจสอบปริมาณผลผลิตทีท่ า� การ ส่งออกป้องกันการน�าผลผลิตที่ไม่ผ่าน การรับรองแหล่งผลิต GAP มาสวมสิทธิ์ รวมทั้งป้องกันการลักลอบน�าเข้าส้มโอ จากประเทศเพือ่ นบ้านมาสวมสิทธิเ์ ป็น ส้มโอไทยแล้วส่งออกไปประเทศจีน ซึง่ ได้รับรายงานจากนางสาวฉันทนา คง นคร ผอ.สวพ 2 ว่า จากการลงพื้นที่สุ่ม ตรวจโรงคัดบรรจุสม้ โอในจังหวัดพิจติ ร
46
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
‘รมช.มนัญญา’ สั่งเข้มกรมวิชาการเกษตร
ลุยตรวจผลผลิตส้มโอส่งออก
ป้องปัญหาสวมสิทธิ์ GAP
จ�านวน 3 โรง พบข้อสังเกตในโรงคัดบรรจุผลไม้ส่งออกจ�านวน 1 โรง ที่ ต�าบล โพธิ์ประทับช้าง อ�าเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร มีผลผลิตส้มโอเตรียมส่ง ออกจ�านวน 22.15 ตัน ซึ่งจากการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่พบว่าเป็นส้มโอที่ เป็นผลผลิตมาจากแปลงGAP จ�านวน 1.30 ตัน ส่วนที่เหลืออีกจ�านวน 20.85 ตัน เป็นผลผลิตทีน่ า� มาสวมสิทธิแ์ ปลง GAP จึงไม่อนุญาตให้นา� ส้มโอทีส่ วมสิทธิ์ ใบรับรอง GAP จ�านวนดังกล่าวส่งออกไปจีน จากการตรวจสอบพบว่า ตามฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน ไว้กบั กรมส่งเสริมการเกษตร มีพนื้ ทีป่ ลูกส้มโอทีใ่ ห้ผลผลิตแล้ว จ�านวน 14,705 ไร่ และมีผลผลิตทัง้ หมด 18,510 ตัน และจากฐานข้อมูลการรับรองแหล่งผลิต GAP พืช ของกรมวิชาการเกษตร มีพนื้ ทีท่ ผี่ า่ นการรับรองแหล่งผลิต GAP ส้มโอ จ�านวน 484 ราย 713 แปลง 6,359 ไร่ และคาดการณ์ปริมาณผลผลิต 2,986 ตัน มีโรงคัด บรรจุส้มโอที่ขึ้นทะเบียนโรงงานผลิตสินค้าพืชกับกรมวิชาการเกษตรทั้งหมด 11 โรง มีปริมาณผลผลิตทีไ่ ด้ตรวจสอบข้อมูลเลขทะเบียนสวน GAP เพือ่ การส่งออก ตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2564 ถึงปัจจุบนั จ�านวน 3,649 ตัน ซึง่ ปริมาณการส่งออกสูง ที่สุดในช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม 2565 ปริมาณ 2,655 ตัน “เพือ่ ให้การส่งออกส้มโอไทยไปประเทศจี นเป็ นส้มโอทีไ่ ด้มาตรฐาน GAP ตามทีป่ ระเทศคูค่ า้ ก�าหนด จึงได้ก�าชับให้ สวพ. 2 แจ้งเจ้าหน้าทีใ่ นพืน้ ทีเ่ พิ่มความ เข้มงวดตรวจสอบผลผลิ ตทีจ่ ะท�าการส่งออกโดยตรวจสอบปริ มาณการส่งออกว่า มี ความสัมพันธ์ กบั การรับรองแหล่งผลิ ต GAP พืชหรื อไม่ เนือ่ งจากส้มโอจัดเป็ น สิ่ งต้องห้ามตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และตามพระราชบัญญัติ กักพืชพ.ศ.2507 ซึ่งการน�าเข้าหรื อน�าผ่านต้องผ่านการวิ เคราะห์ความเสีย่ งศัตรู พืชก่อนจึงจะสามารถน�าเข้าหรื อน�าผ่านมาในราชอาณาจักรได้ เพือ่ รักษาภาพ ลักษณ์คณ ุ ภาพสินค้าผลไม้ของไทยตามข้อสัง่ การของ รมช.มนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรี ชว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์” อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กล่าว
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
“รมว.กษ.” ลงนาม MOU
ไทย-บราซิล
พร้อมสนับสนุน
ความร่วมมือ ด้านการเกษตร
ในสาขาต่าง ๆ ดร.เฉลิมชัย ศรี อ่อน รั ฐมนตรี ว่ าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิ ด เผยภายหลั ง พิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้าน การเกษตร ระหว่างกระทรวงเกษตร และสหกรณ์แห่งราชอาณาจักรไทย กับ กระทรวงเกษตร ปศุสัตว์ และอุปทาน อาหารแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล โดยมี นายอลงกรณ์ พลบุตร ที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ นายธนา ชีรวินิจ เลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และ นายสมชวน รัตนมังคลา นนท์ รองปลั ด กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์์ พร้ อ มด้ ว ยผู ้ บ ริ ห ารกระทร วงเกษตรฯ และผู้แทนจากกระทรวง การต่างประเทศ เข้าร่วม ณ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ซึง่ ความร่วมมือครัง้ นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนความ ร่วมมือด้านการเกษตรในสาขาต่าง ๆ อาทิ พืช ประมง ปศุสตั ว์ ดิน การจัดการ น�้า การพัฒนาสหกรณ์การเกษตรและ สถาบันเกษตรกร รวมถึงสาขาอื่น ๆ ที่ ทั้งสองฝ่ายให้ความสนใจร่วมกัน โดย ผ่านรูปแบบความร่วมมือของการแลก เปลีย่ นข้อมูลทางวิชาการ การวิจยั การ ฝึกอบรม การสัมมนา รวมไปถึงการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งนับ ว่าจะเป็นอีกหนึ่งก้าวส�าคัญของความ ร่วมมือในภาคการเกษตรระหว่างไทย และบราซิล ที่จะเกิดการด�าเนินงานที่ เป็นรูปธรรม เพือ่ ประโยชน์ตอ่ เกษตรกร ของทั้งสองประเทศ รวมถึงการสร้าง ความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่าย “กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รู้สึก ยิ น ดี เ ป็ นอย่ า งยิ่ ง ที ่ก ระทรวงเกษตร ปศุ ส ัต ว์ และอุ ป ทานอาหาร แห่ ง สหพันธ์ สาธารณรัฐบราซิ ล จะเริ่ มมีการ ด�าเนินการความร่วมมือด้านการเกษตร ร่วมกันอย่างเป็ นทางการ นับตัง้ แต่วนั นี ้ หลังจากที ่มีความสัมพันธ์ ทางการทูต ระหว่างกันตัง้ แต่ปี 2502 ซึ่งเป็ นระยะ เวลายาวนานถึง 63 ปี ทางประเทศไทย และสหพันธ์ สาธารณรัฐบราซิ ล ต่างให้ ความส�าคัญต่อภาคการเกษตร และมีน โยบายภาคเกษตรกรรมอย่ างจริ งจัง และต่อเนือ่ ง แม้วา่ จะห่างไกลกัน แต่ทงั้ สองประเทศก็อยู่ในเขตการเกษตรของ ภูมิอากาศเขตร้ อนเหมื อนกัน ดังนัน้ ภาควิ ชาความรู้จะสามารถแลกเปลีย่ น และน� า สู่ ก ารปฏิ บัติ ไ ด้จ ริ ง ซึ่ ง ความ ร่ วมมื อครั้งนี ้ จะเป็ นการกระชับความ สัม พัน ธ์ ด้า นการเกษตรให้แ น่ น แฟ้ น และใกล้ชิดยิ่ งขึ้ น และสามารถก่อให้ เกิ ดประโยชน์ ต่อภาคการเกษตรและ เกษตรกรได้โดยตรง เพื ่อน� าไปสู่การ พัฒนาศักยภาพด้านการเกษตรของ ทัง้ สองประเทศ อันจะส่งผลให้บรรลุ เป้ าหมายการพัฒนาที ่ยงั่ ยื น 2030”
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กล่าว ทั้ ง นี้ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ได้ขอให้ เอกอั ค รราชทู ต สหพั น ธ์ ส าธารณรั ฐ บราซิ ล ประจ� า ประเทศไทย น� า ส่ ง บันทึกความเข้าใจฉบับที่ได้ลงนามใน วันนี้ ให้กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตร ปศุสตั ว์ และอุปทานอาหาร แห่ง สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล และหวังว่า ทั้งสองกระทรวงฯ จะใช้กรอบนี้ในการ ขยายความร่วมมือด้านการเกษตร และ หารือประเด็นทีส่ นใจร่วมกัน เพือ่ น�าไป สู่การปฏิบัติต่อไป นายสมชวน รั ต นมั ง คลานนท์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า ส�าหรับการลงนาม บั น ทึ ก ความเข้ า ใจฉบั บ นี้ กระทรวง เกษตร ปศุสตั ว์ และอุปทานอาหารแห่ง สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ได้จดั พิธลี ง นามฯ ไปแล้วเมือ่ วันที่ 11 มีนาคม 2565 และในวันนี้เป็นโอกาสอันดีที่กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ประเทศไทย จะ จัดพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจฉบับ นี้ โดยมีท่านเอกอัครราชทูตสหพันธ์ สาธารณรัฐบราซิล ประจ�าประเทศไทย ได้ให้เกียรติมาร่วมเป็นสักขีพยาน ซึ่ง การลงนามในวันนีจ้ ะท�าให้บนั ทึกความ เข้าใจฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์ และน�าไป สู่การเริ่มต้นของการด�าเนินความร่วม มือด้านการเกษตรระหว่างกันอย่างเป็น ทางการต่อไป วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
47
รมช.ประภัตร นั่งหัวโต๊ะ คกก.มาตรฐานสินค้าเกษตร เห็นชอบ 5 ร่างมาตรฐาน
“หัวพั นธุ์มันฝรั่ง-ข้าวยั่งยืน-GAP พื ชต้นอ่อน” นายประภัตร โพธสุ ธน รั ฐมนตรี ช่วยว่ าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร ครั้งที่ 1/2565 ณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีนายพิศาล พงศาพิชณ์ เลขาธิการ ส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) หัวหน้าส่วน ราชการ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเข้าร่วม ซึง่ ทีป่ ระชุมได้พจิ ารณาการก�าหนดให้ ตลาดกลางเป็น “กิจการต่อเนื่องอื่นที่เกี่ยวกับสินค้าเกษตรตามที่คณะกรรมการ ก�าหนด” ตามบทนิยามค�าว่า “ผู้ผลิต” (2) ตามมาตรา 3 แห่ง พ.ร.บ.มาตรฐาน สินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 และเห็นชอบให้ส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและ อาหารแห่งชาติ (มกอช.) เริ่มด�าเนินการก�าหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรเกี่ยวกับ ตลาดกลางสินค้าเกษตรและเสนอคณะกรรมการเพื่อขอแต่งตั้งคณะกรรมการ วิชาการต่อไป นอกจากนี้ ยังได้พิจารณาเห็นชอบร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร 5
เรื่อง ได้แก่ 1.หัวพันธุ์มันฝรั่ง 2.ข้าวยั่งยืน 3.การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�าหรับ พืชงอกและพืชต้นอ่อน 4.หลักปฏิบัติส�าหรับการป้องกันและลดการปนเปื้อนโอ คราทอกซิน เอ ในเมล็ดโกโก้ และ 5.การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีส�าหรับฟาร์ม สัตว์ปกี แบบเลีย้ งปล่อย เพือ่ ด�าเนินการประกาศเป็นมาตรฐานทัว่ ไปของประเทศต่อไป นายพิศาล พงศาพิชณ์ เลขาธิการ มกอช. กล่าวว่าเพิ่มเติมว่า ส�าหรับสาระ ส�าคัญของร่างมาตรฐาน 5 เรือ่ ง คือ 1.หัวพันธุม์ นั ฝรัง่ ปัจจุบนั หัวพันธุม์ นั ฝรัง่ ผลิต เองในประเทศมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการ จึงต้องน�าเข้าหัวพันธุม์ นั ฝรัง่ จากต่างประเทศ โดยในปี 2564 ไทยน�าเข้าหัวพันธุม์ นั ฝรัง่ จ�านวน 7,099,072 กก. คิดเป็นมูลค่า 207,361,418 บาท ซึง่ การน�าเข้าหัวพันธุม์ นั ฝรัง่ จากต่างประเทศส่ง ผลให้ตน้ ทุนการผลิตสูง อีกทัง้ อาจมีโรคและแมลงติดมากับหัวพันธุม์ นั ฝรัง่ ได้ กระ ทรวงเกษตรฯ จึงได้สนับสนุนให้กรมวิชาการเกษตรศึกษาแนวทางผลิตหัวพันธุ์
48
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
มันฝรัง่ คุณภาพ เพือ่ ทดแทนการน�าเข้า และส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตหัวพันธุ์ มันฝรั่งที่มีคุณภาพเหมาะส�าหรับน�า ไปขยายพันธุไ์ ด้เอง ดังนัน้ มกอช. จึงได้ จัดท�ามาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง หัว พันธุ์มันฝรั่งขึ้น โดยครอบคลุมเฉพาะ หัวพันธุม์ นั ฝรัง่ ทีผ่ ลิตในประเทศเท่านัน้ เนื่องจากคุณภาพของหัวพันธุ์มันฝรั่ง ที่ผลิตในแต่ละประเทศจะแตกต่างกัน ไปตามสภาพอากาศ ชนิดของศัตรูพืช และการจัดการของประเทศนั้นๆ 2.ข้าวยั่งยืน ข้าวเป็นสินค้าเกษตร ที่มีความส�าคัญทางเศรษฐกิจ ปี 2564 มีเนือ้ ทีเ่ พาะปลูกข้าวนาปี 62.599 ล้าน ไร่ ผลผลิต 26.019 ล้านตัน เนื้อที่เพาะ ปลูกข้าวนาปรัง 8.442 ล้านไร่ ผลผลิต 4.996 ล้านตัน มีการส่งออก ประมาณ 6.117 ล้านตัน คิดเป็นมูลค่า 1.078 แสนล้านบาท กระทรวงเกษตรฯ มีน โยบายส่งเสริมการเกษตรที่ย่ังยืน ซึ่ง สอดคล้องตามเป้าหมายการพัฒนา ที่ ยั่ ง ยื น ขององค์ ก ารสหประชาชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มาตรฐาน สินค้าเกษตรนี้ ได้ก�าหนดเกี่ยวกับการ จัดการฟาร์ม การเตรียมการก่อนปลูก การใช้น�้า การจัดการธาตุอาหาร การ จัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน การ เก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บ เกี่ยว สุขภาพและความปลอดภัยของ บุ ค ลากรสิ ท ธิ แ รงงานในฟาร์ ม การ แปรสภาพข้าวเปลือกเป็นสินค้าข้าว และการแสดงฉลากและการกล่าวอ้าง ของข้าวเปลือกและสินค้าข้าว เพื่อให้
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกิ ด ความปลอดภั ย ด้ า นอาหารและ การพั ฒ นาการผลิ ต ที่ ยั่ ง ยื น รวมทั้ ง ครอบคลุมข้าวเปลือก และสินค้าข้าว ประเภทข้าวซ้อมมือ ข้าวกล้อง และข้าว ขาวที่ได้จากระบบการผลิตข้าวยั่งยืน 3.การปฏิ บั ติ ท างการเกษตรที่ ดี ส�าหรับพืชงอกและพืชต้นอ่อน ซึ่งเป็น พืชที่นิยมบริโภค เช่น ถั่งงอก ต้นอ่อน ทานตะวัน ต้นอ่อนผักบุง้ จากความเชือ่ ว่าเป็นพืชที่ปลอดสารพิษ มีเอนไซม์ที่ ช่วยในการต้านอนุมูลอิสระ มีวิตามิน และสารอาหารสูงกว่าพืชชนิดเดียวกัน ที่เจริญเต็มที่แล้ว แต่มักพบปัญหาที่ โรคพืชที่เกิดจากความชื้นที่ไม่เหมาะ สม ขึ้นรา รากเน่า ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพ และปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรค Salmonella, E. coli, Listeria ท�าให้เกิดปัญหา ด้านความปลอดภัย มกอช. จึงเห็นควร
ก�าหนดมาตรฐาน GAP พืชงอกและ พืชต้นอ่อน เพื่อส่งเสริมการผลิตพืช งอกและพืชต้นอ่อนที่มีความปลอดภัย และมีคุณภาพ ตั้งแต่การเตรียมเมล็ด พันธุ์ การเพาะ การเก็บเกี่ยว การจัด เตรียมก่อนการบรรจุ การบรรจุ จนถึง การเก็บรักษาเพื่อรอการจ�าหน่าย เพื่อ ให้ได้พชื งอกและพืชต้นอ่อนทีป่ ลอดภัย มีคณ ุ ภาพเหมาะสมส�าหรับการบริโภค 4.หลักปฏิบัติส�าหรับการป้องกัน และลดการปนเปื้อนโอคราทอกซิน เอ ในเมล็ดโกโก้ ในปี 2564 (มกราคมพฤศจิกายน 2564) ประเทศไทยส่งออก เมล็ดโกโก้ (ทัง้ เมล็ดหรือทีแ่ ตก ดิบหรือ คั่ว) ปริมาณ 5,411 กิโลกรัม คิดเป็น มูลค่า 1,167,720 บาท และมีการน�า เข้าปริมาณ 18,435 กิโลกรัม คิดเป็น มูลค่า 3,499,588 บาท ทั้งนี้ มาตรฐาน
เกษตรและสหกรณ์
อาหารระหว่ า งประเทศ Codex ได้ ก�าหนดมาตรฐาน Code of Practice for the Prevention and Reduction of Ochratoxin A contamination in cocoa (CAC/RCP 72-2013) เพื่อเป็น ข้อแนะน�าการปฏิบัติเพื่อป้องกันและ ลดการปนเปื้อนโอคราทอกซิน เอ ใน เมล็ดโกโก้ มกอช. จึงได้ด�าเนินการจัด ท�ามาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง กับการผลิตโกโก้ เพื่อรองรับแผนการ ส่งเสริมการปลูกโกโก้ในอนาคต เพื่อ ให้ได้ผลผลิตและผลิตภัณฑ์โกโก้ที่ได้ มีคุณภาพตรงกับความต้องการของ ตลาดและลดการปนเปื้อนสารโอครา ทอกซิน เอ 5.การปฏิ บั ติ ท างการเกษตรที่ ดี ส�าหรับฟาร์มสัตว์ปีกแบบเลี้ยงปล่อย การเลีย้ งสัตว์ปกี แบบปล่อยจ�าเป็นต้อง มีแนวทางทีช่ ดั เจนเพือ่ รองรับการขยาย ตัวของตลาด การพัฒนาการจัดการ ฟาร์มให้ได้มาตรฐาน เพิ่มขีดความ สามารถด้านการผลิตและสร้างความ เชื่อมั่นต่อผู้บริโภค ซึ่งมาตรฐานสินค้า เกษตรนี้ ก� า หนดเกณฑ์ ก ารปฏิ บั ติ ทางการเกษตรทีด่ สี า� หรับฟาร์มสัตว์ปกี ทีเ่ ลีย้ งไว้ผลิตเนือ้ หรือไข่เพือ่ การค้า เช่น ไก่ เป็ด ไก่งวง นกกระทา นกกระจอก เทศ ห่าน แบบเลี้ยงปล่อย ครอบคลุม ข้อก�าหนด องค์ประกอบฟาร์ม การ จัดการการเลี้ยง การจัดการไข่สัตว์ปีก การท� า ความสะอาดและบ� า รุ ง รั ก ษา บุคลากร สุขภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์ สิ่งแวดล้อม และการบันทึกข้อมูล โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สัตว์ปีก มีอิสระ ในการแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ มีสุขภาพแข็งแรง และได้ผลิตผลที่มี คุณภาพในการน�าไปใช้ผลิตเป็นอาหาร ที่ปลอดภัยต่อการบริโภค
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
49
กรมส่งเสริมการเกษตร แนะเกษตรกรเฝ้าระวัง “โรคและแมลงศัตรูพืช”
กรมส่ งเสริ มการเกษตร แนะ เกษตรกรให้ เฝ้าระวังโรคและแมลง ศัตรูพชื ในช่ วงฤดูแล้ งอย่ างเข้ มงวด เน้ นการป้องกันควบคุมอย่ างถูกวิธี พร้ อมให้เกษตรกรหมัน่ ส�ารวจแปลง ปลูกเพื่อป้องกันและก�าจัดโรคหรื อ แมลงศัตรูพชื ได้ อย่ างทันท่ วงที นายเข้ ม แข็ ง ยุ ติ ธ รรมด� า รง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เปิดเผย ว่า หลังจากที่ประเทศไทยเข้าสู่ฤดูร้อน อย่างเป็นทางการมาตั้งแต่ปลายเดือน กุมภาพันธ์ท่ีผ่านมา ท�าให้พ้ืนที่ส่วน ใหญ่ของประเทศไทยมี อุณหภูมิสูงขึ้น ตั้งแต่ 35 องศาเซลเซียสขึ้นไป อากาศ ร้อนอบอ้าว ความชื้นในอากาศมีน้อย และคาดว่าฤดูร้อนจะสิ้นสุดประมาณ กลางเดือนพฤษภาคม ด้วยเหตุนี้จึง ท�าให้พชื ผัก หรือผลิตผลทางการเกษตร มีโอกาสสูงที่จะโดนแดดเผาไหม้จนถึง ขั้นยืนต้นตาย รวมไปถึงการเกิดโรค และแมลงศั ต รู พื ช เข้ า ท� า ลายสร้ า ง
50
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ความเสียหายให้กับผลผลิต ฉะนั้ น จึ ง อยากจะฝากเตื อ นให้ เกษตรกรมีการเตรียมความพร้อมใน ช่วงฤดูร้อนนี้ เพราะด้วยสภาพอากาศ ทีม่ คี วามชืน้ ต�า่ ติดต่อกันยาวนานหลาย เดือน นับเป็นสภาวะทีเ่ หมาะสมส�าหรับ ศัตรูพืชเจ้าประจ�าที่ส่วนใหญ่จะเป็น แมลงในกลุม่ ปากดูดต่าง ๆ อย่างเพลีย้ ไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยกระโดดสีน�้าตาล (ทีม่ กั ระบาดในนาข้าวช่วงอากาศร้อน) แมลงหวี่ขาว และกลุ่มไรแดง เป็นต้น ซึ่งสามารถสร้างความเสียหายให้กับ พืชที่ปลูกได้เป็นจ�านวนมาก ส่วนโรค พืชในหน้าแล้งที่ต้องระวัง คือ โรคพืช จากเชื้อไวรัส ที่มาพร้อมกับแมลง ปาก ดูดเหล่านี้ที่เป็นพาหะแพร่กระจายโรค ทั้งนี้ แมลงปากดูดจ�าพวกเพลี้ย ต่างๆ รวมถึงเพลี้ยไฟและไรต่างๆ เป็น ศั ต รู พื ช ที่ พ บระบาดมากในช่ ว งหน้ า แล้ง ฝนทิ้งช่วง สามารถท�าลายพืชโดย การดูด กิน น�้า เลี้ยงจากใบอ่อน ยอด
ในฤดูแล้ง
อ่อน ตาใบ ตาดอก ของพืชหลายชนิด เช่น แตงโม มะเขือเปราะ มะเขือยาว แตงกวา มะระ ฟักเขียว ถัว่ ฝักยาว หน่อ ไม้ฝรัง่ ไม้ผล เช่น มะม่วง ส้มโอ มะนาว ส้มเขียวหวาน องุ่น พืชไร่ เช่น ฝ้าย ยาสูบ งา ทานตะวัน ข้าวโพด นอกจาก นี้ ยังพบเป็นปัญหาส�าคัญในการเพาะ ปลูกไม้ดอกหลายชนิด เช่น กล้วยไม้ เบญจมาศ กุหลาบ เยอร์บีร่า มะลิ ดาว เรือง อีกด้วย อธิ บ ดี ก รมส่ ง เสริ ม การเกษตร กล่าวอีกว่า การป้องกันและก�าจัดโรค และแมลงศัตรูพืชในช่วงหน้าแล้ง กรม ส่งเสริมการเกษตรแนะน�าให้เกษตรกร ใช้วธิ เี ขตกรรมทีเ่ หมาะสม เพือ่ เป็นการ สร้างความแข็งแรงให้ตน้ พืชให้สามารถ ทนทานและป้ อ งกั น การเข้ า ท� า ลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ได้แก่ เลือก ใช้ เ มล็ ด พั น ธุ ์ ห รื อ ส่ ว นขยายพั น ธุ ์ ที่ ปราศจากโรคและแมลงศั ต รู พื ช มา ปลูก หมั่นท�าความสะอาดแปลง บ�ารุง ดูแลต้นพืชให้แข็งแรง โดยการใส่ปยุ๋ ให้ น�้าที่เหมาะสม ก�าจัดวัชพืชที่เป็นแหล่ง อาศัยของโรคและแมลงศัตรูพชื รวมถึง การส�ารวจแปลงอย่างสม�่าเสมอ เพื่อ ที่จะควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชได้ ทันเวลา และหากพบการเข้าท�าลาย ก็ท�าการควบคุมโดยใช้ชีวภัณฑ์ หรือ สารสกัดธรรมชาติ หรือสารเคมีปอ้ งกัน และก� า จั ด ศั ต รู พื ช ที่ เ หมาะสมตาม ล�าดับ โดยค�านึงถึงความปลอดภัยของ ผลผลิต ตัวเกษตรกร และผู้บริโภคเป็น ส�าคัญ
Aarticles
ทำ�คว�มรู้จัก
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
“ภัยแล้ง”กับพืชที่ควรปลูก
้ งชีพ เพิ่ มผลผลิตมีรายได้เลีย ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า “ภัยแล้ ง” เป็น ปัญหาทางธรรมชาติที่เกษตรกรหลาย คนไม่อยากให้เกิดขึ้น แต่ถึงกระนั้นเรา ก็ ไ ม่ อ าจหลี ก เลี่ ย งได้ เ นื่ อ งจากเมื อ ง ไทยของเรามักมีปญ ั หาเรือ่ งน�า้ ไม่เพียง พอต่ อ การเกษตรบ่ อ ยๆ โดยเฉพาะ ช่วงหน้าร้อน จะท�าอย่างไรดีเพื่อให้ยัง คงเพิ่มผลผลิตมีรายได้เลี้ยงชีพต่อไป เป็นสิ่งที่ต้องมองหาแนวทางอย่างถูก ต้อง เพื่อรู้จักกับปัญหาดังกล่าวรวมถึง เข้าใจวิธีแก้ไข ท�าความรู้จัก “ภัยแล้ง” คืออะไร?
ต้องอธิบายว่าภัยแล้ง คือ ความ แห้งแล้งทีเ่ กิ ดขึ้นทางธรรมชาติ จากภัย ทางอากาศและพืน้ ดิ น ทีเ่ ราไม่สามารถ ควบคุมหรื อคาดเดาได้ เมื่อฝนที่ควร ตกลงมาให้ความชุ่มชื้นกลับไม่เป็นไป ตามฤดูกาล หรือตกลงมาน้อยกว่าปกติ พื้นดินจึงเกิดความแห้งแล้ง ส่งผลกระ ทบต่อผูค้ น เศรษฐกิจ สังคม โดยเฉพาะ ภาคเกษตรกร ประเทศไทยเราพบได้ บ่อยในภาคอีสาน หรือภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ซึ่งจะเกิดมากหรือน้อยขึ้น อยู่กับปัจจัยหลายด้าน ทั้งความชื้นใน อากาศ ความชืน้ ในดิน ระยะเวลาทีแ่ ห้ง แล้ง ขนาดของพืน้ ดินทีแ่ ห้งแล้ง เป็นต้น อย่างไรแล้ว ภัยแล้วเกิดขึ้นได้ทั้ง ทางธรรมชาติ อย่างที่บอกคือสภาพ
อากาศที่เปลี่ยนแปลงไป อุณหภูมิโลห ระดับน�า้ ทะเล ภัยทางธรรมชาติ อย่าง ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลอย่างที่ควรจะเป็น ฝนตกน้อย ทิ้งช่วง เกิดแผ่นดินไหว วาตภัย (พายุ) ฯลฯ รวมทั้งเกิดจากฝีมือมนุษย์เราเอง ได้แก่ การตัดไม้ท�าลายป่า พฤติกรรมทีท่ า� ให้เกิดภาวะโลกร้อน ท�าลายชัน้ บรรยากาศของโลก โดยผลกระทบ นั้นเกิดขึ้นครอบคลุม ทั้งขาดแคลนน�้าไว้ดื่มกิน หรือใช้งาน มีฝุ่นละอองเยอะ ภูมิ ทัศน์เกิดการกัดเซาะ เกิดปัญหาดินพังทลาย ผลกระทบต่อสัตว์บก สัตว์นา�้ ทีเ่ ป็น ระบบนิเวศน์ด้านที่อยู่อาศัย ไปจนถึงภาคอุตสาหกรรมที่ไม่มีน�้าใช้ ปลูกพื ชทนแล้ง ช่วยเสริมรายได้ยามฝนทิ้งช่วง ฝนตกน้อย
ด้วยความที่ต้องหาเลี้ยงชีพสร้างรายได้แม้จะอยู่ในเวลาฝนทิ้งช่วง ฝนตก น้อย แน่นอนว่าควรเลือกปลูกพืชทนแล้ง เพราะมีคุณสมบัติในการเจริญเติบโต ได้ดกี รณีดนิ แห้งแล้งก็ไม่หวัน่ ไหว หรือฝนตกน้อย ฝนทิง้ ช่วง สามารถทนทานและ อยูร่ อดได้สบาย ซึง่ ลักษณะของพืชประเภทนีจ้ ะเป็นพืชไร่ทมี่ ชี ว่ งการเก็บเกีย่ วสัน้ ออกผลผลิตไม่นาน แบ่งออกเป็น วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
51
Aarticles พื ชทางเศรษฐกิจ
• งาด�า งาขาว • พืชตระกูลแตง ได้แก่ ฟักแฟง แตงโม ฟักทอง แตงกวา • ถั่วต่างๆ ทั้งถั่วฝักยาว ถั่วด�า ถั่วแดง ถั่วเขียว • ข้าวไร่ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง • สมุนไพรบางชนิด เช่น ข่า มะกรูด ขมิ้นชันไพร ผลไม้ที่ทนแล้งได้ดี อายุยืนยาว
• อินทผลัม ทนทุกสภาพดินโดยเฉพาะช่วงภัยแล้ง • มะละกอ ปลูกได้ทุกสภาพดิน อายุปานกลาง ผลผลิตมีให้ต่อเนื่อง • มะพร้าว ทนแล้งได้ดีมาก • มันส�าปะหลัง ปลูกในหน้าแล้งได้ดี แต่เหมาะสม จะเป็นดินร่วนปนทราย • ตะบองเพชร หรือแก้วมังกร จะทนแล้งได้ดีปลูก ในพื้นที่ดอน ซึ่งแก้วมังกรจะมีรากอากาศที่เติบโตได้ดีแม้ ตรงนั้นดินจะไม่มากก็ตาม ต้องการปลูกไม้ทนแล้ง แต่ไม่รู้มีต้นอะไรบ้าง?
เกษตรกรคนใดเกิดความสงสัยปลูกไม้ทนแล้ง อะไร บ้าง? วันนีเ้ ราได้รวบรวมมาให้ศกึ ษาหลากหลาย ชนิดทีน่ า� ไปปรับใช้ได้ตามความต้องการ โดยไม้ทนแล้งจะเป็นต้นไม้ ทีเ่ ราสามารถน�าไปปลูกได้แม้จะอยูใ่ นช่วงภัยแล้งก็ตาม ยัง คงเติบโตได้ดีไม่มีปัญหา ใช้น�้าน้อย ไม่มีเวลาดูแลแค่ไหน ก็ไม่ตายง่ายๆ ซึ่งไม้ทนแล้งที่น่าสนใจ ได้แก่ • สะเดา ถือเป็นต้นไม้ที่ท้องตลาดต้องการ สามารถ ปลูกได้ทุกสภาพอากาศ ขึ้นง่าย ให้คุณประโยชน์ต่อ ร่างกาย • หมาก เป็นไม้ยนื ต้นทีเ่ ติบโตได้ดใี นดินร่วนปนทราย ทนแดด ใบร่วงน้อย ล�าต้นตรงเป็นปล้อง • ดาวเรือง เป็นดอกไม้ทที่ อ้ งตลาดต้องการ สามารถ น� า มาท� า อาหาร จ� า หน่ า ยไม้ ป ระดั บ ด้ า นความงาม
52
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
เนื่องจากดูแลง่ายและไม่ต้องลงทุนมาก • ต้ นลิน้ มังกรแคระ เป็นต้นทีม่ ใี บเป็นแท่งกลมยาว ขอบ ใบเรียบ หนามัน ทนทุกสภาพอากาศจะร้อนจัด แห้งแล้ง หนาว แสงแดดน้อย ได้หมด • ทองหลาง เป็นต้นไม้ขนาดกลางที่ล�าต้นจะมีหนาม ใบ ทน ทนต่อพื้นดินที่แห้งแล้ง โดยดูดกักเก็บน�้าไว้ในล�าต้น • สับปะรดสี เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่ขยายพันธุ์ได้ง่าย จะ น�าไปประดับตกแต่ง ท�าสวน ได้หมด ทนทุกสภาพอากาศ • กันเกรา เป็นไม้มงคลทีข่ นึ้ ได้ทกุ สภาพพืน้ ดิน ล�าต้นสูง ใหญ่ออกดอกเป็นสีเหลือง มีกลิ่นหอม ให้ร่มเงาได้ดี • ไผ่ ตงลืมแล้ ง ใช้น�้าน้อย ไม่ต้องการมาก มักถูกปลูกไว้ ตามหัวไร่ปลายนา • พริก ซึง่ จัดเป็นพืชทนแล้งทีป่ ลูกได้ทกุ สภาพพืน้ ดิน ออก ผลผลิตตลอด ทนภัยแล้งได้ดี • แก้ วมุกดา หรือโกงกางเขา ใบรูปวงรี หนา มัน เหนียว ไม้พุ่มทรงเตี้ย มีกลิ่นหอมคล้ายดอกแก้ว ไม่ค่อยผลัดใบ ชอบ แสงแดดจัดๆ • ว่ านหางจระเข้ สามารถใช้ในภาคเครื่องส�าอางได้ ไม่ ต้องรดน�้ามากก็เจริญเติบโตได้ดี ท้องตลาดมีความต้องการ อย่างที่สุด • ไทรเกาหลี เป็นไม้ทรงพุม่ สวย สามารถน�ามาใช้ตกแต่ง บ้านได้ ก�าบังสายตาได้ความเป็นส่วนตัว สามารถปลูกแล้วน�า ไปขายให้นักตกแต่งบ้านได้ก�าไรงาม หลักการในการดูแลบรรดาไม้ทนแล้งเหล่านีน้ นั้ ต้องหมัน่ ใส่ปุ๋ยที่มีทั้งอนินทรีย์และอินทรีย์ เพื่อช่วยเร่งการเจริฐเติบโต คอยก�าจัดวัชพืช ท�าให้เจริญเติบโตเพิ่มมากขึ้น อย่างน้อย เดือนละครัง้ อาจจะคอยป้องกันสิง่ รบกวน ก�าจัดโรคพืชต่าง ๆ ด้วยให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมที่สุด เพื่อให้ได้ผลผลิตออกมา เป็นก�าไรน�าไปขายต่อได้ตามความต้องการท้องตลาด มีราย ได้เลี้ยงชีพแม้จะอยู่ในช่วงภัยแล้งก็ไม่ต้องกลัวไปโดยปริยาย ข้อมูล / ภาพประกอบ : สำานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
เกษตรและสหกรณ์
เกษตรกรรม ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ทางเลือก - ทางรอด ภาคเกษตรนับว่ามีความส�าคัญต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยเป็น อย่างมาก จากข้อมูลการท�าส�ามะโนการเกษตรของส�านักงานสถิตแิ ห่งชาติ พบว่า ประเทศไทยมีจา� นวนประชากรในภาคเกษตรมากถึง 25 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อย ละ 40 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งนับว่าเป็นแหล่งรองรับแรงงานที่ขนาดใหญ่ที่สุด ทัง้ นี้ ภาคเกษตรยังสามารถสร้างรายได้ตอ่ ระบบเศรษฐกิจของประเทศประมาณ ร้อยละ 9 ของ GDP โดยมีผลผลิตทางการเกษตรที่ส�าคัญ อาทิ ข้าว ยางพารา อ้อย มันส�าปะหลัง และปาล์มน�้ามัน ที่เป็นสินค้าเกษตรและมีมูลค่าการส่งออก รวมกันคิดเป็นร้อยละ 80 ของ GDP ภาคเกษตร โดยเฉพาะข้าวและยางพาราที่ ไทยเป็นผูน้ า� ในการผลิตและส่งออกสูงสุดเป็นอันดับต้นๆ ของโลก นอกจากนี้ เมือ่ ปี 2563 ประเทศไทยได้รับการจัดอันดับเป็นผู้ผลิตและส่งออกอาหารในอันดับที่ 11 ของโลก ซึ่งสอดคล้องกับการด�าเนินการของภาครัฐที่ต้องการพัฒนาและส่ง เสริมให้สินค้าเกษตรและอาหารของไทยให้สามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้ ภายใต้นโยบาย “ครั วไทยสู่ครั วโลก” (Kitchen of the World) จากที่กล่าวมาข้างต้น ภาคเกษตรเป็นแหล่งรองรับแรงงานที่ขนาดใหญ่ ที่สุดของประเทศ เป็นแหล่งสร้างรายได้ส�าคัญแก่ครัวเรือนของประชากรจ�านวน มาก แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาผลตอบแทนทางด้านรายได้ของภาคเกษตร พบว่า ภาคเกษตรที่ใช้แรงงานคนส่วนใหญ่ของประเทศหรือกว่าร้อยละ 40 ของ แรงงานทั้งหมดในประเทศ กลับไม่สามารถสร้างรายได้มากเท่าที่ควร เกษตรกร เป็นกลุ่มที่มีรายได้เฉลี่ยต�่ากว่าอาชีพอื่นๆ อีกทั้งยังขาดความมั่นคงทางรายได้ มีความผันผวนตามฤดูกาล จึงก่อให้เกิดปัญหาคุณภาพชีวติ ของเกษตรกรตกต�า่ เกิดความเหลือ่ มล�า้ ทางรายได้ และปัญหาด้านคุณภาพชีวติ ความเป็นอยูต่ ามมา ดังนัน้ การยกระดับรายได้ตอ่ หัวของเกษตรกรให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และการลด
ปัญหาความเหลื่อมล�้า จึงเป็นประเด็น ปัญหาทางเศรษฐกิจทีม่ คี วามส�าคัญใน ล�าดับต้นๆ ของการพัฒนาประเทศมา โดยตลอด เพราะหากประเทศสามารถ ยกระดับรายได้ของเกษตรกรให้สูงขึ้น ได้ ประชากรกลุ่มใหญ่ของประเทศก็ จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตามไปด้วย ที่ ผ่านมาปัญหาความเหลื่อมล�้าในภาพ รวมของประเทศมีแนวโน้มลดลง แต่ พบว่ายังมีปัญหาเชิงลึกที่ซับซ้อนและ ไม่ทีท่าว่าจะคลี่คลายได้โดยเร็ว ถึง แม้ประเทศไทยจะประสบความส�าเร็จ ในการลดปั ญ หาความยากจนลงได้ ตามล�าดับ ซึ่งจะเห็นได้จากรายงาน สถานการณ์ความยากจนและเหลื่อม ล�้าในปี พ.ศ. 2562 ของส�านักงานสภา พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ที่แสดงตัวเลขสัดส่วนคนยากจน ทีม่ จี า� นวนลดลงเหลือเพียงร้อยละ 6.24 (4.3 ล้านคน)
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
53
Aarticles อย่างไรก็ดี จากข้อมูลภาวะความ ยากจนของประชากรไทย พบว่า กลุ่ม คนที่ป ระสบภาวะยากจนจ�า นวน มากนั้ น อยู่ ใ นภาคเกษตรแทบทั้ ง สิ้ น โดยครั ว เรื อ นที่ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชนบท ซึ่งหากพิจารณาในมิติของรายได้ พบ ว่า จัดเป็นกลุ่มผู้มีรายได้ต�่าเพียงเฉลี่ย เดือนละประมาณ 5,000 บาท คิดเป็น 1 ใน 3 ของรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของ แรงงานนอกภาคเกษตรที่อยู่ที่ 16,000 บาท และหากพิจารณา ในเชิงลึก จะ พบว่าในจ�านวนนั้นส่วนใหญ่เป็นเพียง เกษตรกรรายเล็ก ประมาณร้อยละ 40 ถือครองที่ดินเพียง 1-10 ไร่ และอีก ร้อยละ 8 ไม่มีที่ดินท�ากิน และพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ต้องพึ่งพาสภาพ ภูมิอากาศในการท�าการเกษตร ซึ่งเป็น ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ และส่ง ผลกระทบต่อปริมาณและคุณภาพของ ผลผลิ ต ของเกษตรกรเป็น อย่า งมาก ท�าให้สมาชิกครัวเรือนบางส่วนจึงต้อง เคลื่อนย้ายแรงงานไปยังนอกภูมิภาค และนอกภาคเกษตรเพือ่ หารายได้อนื่ ๆ เป็นแหล่งรายได้สนับสนุนอีกทางหนึ่ง ซึ่งจากปัจจัยทั้งทางด้านมิติของราย ได้ และการพึ่งพาสภาพภูมิอากาศนั้น มีส่วนเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกันเป็นผล ให้เกษตรกรเป็นอาชีพที่ไม่สามารถให้ ความมั่นคงกับครัวเรือน มีรายได้ไม่ เพียงพอต่อการใช้จ่าย ซึ่งตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบันหากวิเคราะห์ลึกลงไป ถึ ง สาเหตุ และปั จ จั ย ส� า คั ญ ที่ ส ่ ง ผล ต่อรายได้ของกลุ่มเกษตรกรที่มีรายได้ ค่อนข้างต�่านั้น พบว่า สอดรับประเด็น ของต้นทุนการผลิตและผลิตภาพ ซึ่ง เป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลกระทบต่อรายได้ของ เกษตรกรเป็นหลัก โดยจากการศึกษา ข้อมูลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2504-2558 พบว่า
54
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
อัตราการเติบโตเฉลี่ยของมูลค่าผลผลิตการเกษตรต่อแรงงานต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 2.8 และมูลค่าผลผลิตการเกษตรต่อไร่ต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 2.3 ซึ่งถือว่าเป็นอัตรา ที่ต�่ามาก อีกทั้งจากข้อมูลของ World Bank ระบุว่ามูลค่าผลผลิตการเกษตรต่อ แรงงานต่อปีของไทยอยู่ที่ประมาณ 1,200 ดอลลาร์สหรัฐหรือประมาณ 36,000 บาท ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มร้อยละ 10 ของกลุ่มต�่าสุด แตกต่างจากกลุ่มมูลค่าผลผลิต การเกษตรต่อแรงงานสูงสุดถึงเกือบ 50 เท่า ส่งผลให้ความสามารถทางการ แข่งขันการผลิตสินค้าเกษตรของไทยต�่ากว่าประเทศคู่แข่งสูงมาก เช่น ผลผลิต ทางการเกษตรในส่วนของข้าว ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของไทยอยู่ที่ 459 กิโลกรัมต่อ ไร่ ในขณะที่เวียดนามมีผลผลิตต่อไร่เฉลี่ยสูงกว่าไทยเกือบ 2 เท่าตัว และไทยมี ต้นทุนการผลิตสูงกว่าประมาณร้อยละ 30-40
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
โดยตั ว อย่ า งความส� า เร็ จ ของ ประเทศพั ฒ นาแล้ ว ที่ ส ามารถขจั ด ปัญหามูลค่าผลผลิตทางการเกษตร ต�่าได้อย่างดีเยี่ยมนั้น พบว่า มีการน�า เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมดิ จิ ทั ล เข้ า มาประยุกต์ใช้ได้อย่างผสมผสานและ ลงตัวอย่างยิ่ง ดังจะเห็นได้จากความ ส�าเร็จของกรณีของสหรัฐอาหรับเอมิ เรตส์ (UAE) ซึ่งเป็นประเทศที่มีสภาพ ภูมิอากาศและสภาพพื้นดินที่แห้งแล้ง การเพาะปลูกพืชต่างๆ บนพื้นดินปกติ จึ ง ท� า ได้ อ ย่ า งยากล� า บากมากกว่ า ในประเทศไทยหลายเท่า ตัว โดยใน ปีพ.ศ. 2561 ที่ผ่านมาทางการ UAE ร่ ว มกั บ คณะนั ก วิ จั ย ด้ า นสายพั น ธุ ์ ข้าวจากจีน ได้ทดลองปลูกข้าวสาย พันธุ์ทนเค็มในนาข้าวกลางทะเลทราย โดยใช้ เ ทคโนโลยี AgriTech ได้ แ ก่ BioTech (เทคโนโลยีชีวภาพ) ในการ ปรั บ ปรุ ง สายพั น ธุ ์ แ ละคั ด เลื อ กพั น ธุ ์ ข้าวจากจีนที่ทนความเค็มได้ราว 80 สายพั น ธุ ์ เพื่ อ น� า มาทดลองปลู ก ใน แปลงนากลางทะเลทราย นอกจากนี้ ยังมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Internet of Thing (IoT) จากการใช้อุปกรณ์ เซ็นเซอร์เพื่อวัดระดับความเค็มของน�้า ใต้ดินและปริมาณแร่ธาตุในแปลงนา เพื่อช่วยเตือนให้เกษตรกรปรับระดับ น�้ า และเติ ม แร่ ธ าตุ หากระดั บ ความ เค็มของน�้าใต้ดินและปริมาณแร่ธาตุ ในแปลงนาอยู ่ ใ นระดั บ ที่ ไ ม่ เ หมาะ สม ท� า ให้ ข ้ า วในแปลงนาดั ง กล่ า ว ให้ผลผลิตสูงถึง 9.4 ตันต่อเฮกตาร์ มากกว่าค่าเฉลี่ยของผลผลิตข้าวทั่ว โลกซึ่ ง อยู ่ ที่ ร าว 4.6 ตั น ต่ อ เฮกตาร์ สามารถแก้ ไ ขปั ญ หามู ล ค่ า ผลผลิ ต ทางการเกษตรตกต�่ า ได้ อ ย่ า งเป็ น ที่ ประจักษ์ ส�าหรับประเทศไทยนั้น ก็มีความ มุ ่ ง มั่ น ในการพั ฒ นาประเทศส� า หรั บ
เกษตรกร และชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง ดังที่ ปรากฏจาก แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศ 20 ปี (พ.ศ. 2560–2579) ภาย ใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน เป็ นประเทศพัฒนาแล้ ว ด้วยการพัฒนาปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” ซึ่งก�าหนดให้เกิดการพัฒนา ศั ก ยภาพด้ า นภาคการเกษตรของ ประเทศ ไว้ในมิติที่ 2 ด้านการสร้าง ความสามารถในการแข่งขัน เพื่อส่ง เสริ ม เกษตรกรให้ มี ศั ก ยภาพสู ่ ก าร ท�าการเกษตรยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อม โดยส่วนทีส่ า� คัญประการหนึง่ ในการเพิ่ ม ศั ก ยภาพภาคการเกษตร ด้วยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล อีกทั้งยัง เป็นการสร้างโอกาสและความเท่าเทียม กันในการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัล จาก สภาพประเด็นปัญหาและเป้าหมาย การพัฒนาประเทศตามยุทศาสตร์ของ ประเทศดังกล่าว ส�านักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัล (depa) ซึ่งมีภารกิจ ในการช่วยเหลือหรือการอุดหนุนเพื่อ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมดิ จิ ทั ล และ นวัตกรรมดิจิทัล พัฒนาให้เกิดการส่ง เสริมและเกิดการน�าไปใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล โดยสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ การจัดตัง้ ส�านักงานตามมาตรา 34 แห่ง พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อ
เกษตรและสหกรณ์
เศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560 จึงมี กลไกส�าคัญในการขับเคลือ่ นเกษตรกร ในชุ ม ชนชนบทให้ ส ามารถเพิ่ ม ผลิ ต ภาพ เพิ่มรายได้ ลดต้นทุนได้อย่าง ยั่งยืน ผ่าน 2 มาตรการด้วยกัน ส่ วนแรก มาตรการคูปองดิจิทัล เพื่ อ การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมดิจทิ ลั (depa-mini Transformation Voucher) เพือ่ ส่งเสริมและสนับ สนุนให้กิดการกระตุ้นเศรษฐกิจของ ประเทศโดยผลักดันให้ภาคการเกษตร ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการลดต้นทุน การผลิตสินค้าและบริการ ตลอดจน พัฒนาไปสู่การแข่งขันเชิงธุรกิจในรูป แบบใหม่ในระยะยาวได้อย่างกระจาย ตัว และทั่วถึงในวงกว้าง โดยสนับสนุน ทุนรูปแบบเงินให้เ ปล่า (Grant) ใน สัดส่วน 100% แต่อยู่ในวงเงินสูงสุดไม่ เกิน 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นบาท) ซึ่งมี กลุม่ เป้าหมายคือ ผูป้ ระกอบการ SMEs เกษตรกรรายย่อย ซึ่งมีการด�าเนินงาน ส่งเสริมและสนับสนุนอย่างต่อเนื่องไป แล้วกว่าหลายหมื่นรายทั่วประเทศ ส่ วนที่สอง มาตรการส่งเสริมและ สนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และนวั ต กรรมดิ จิ ทั ล เพื่ อ ชุ ม ชนใน ชนบท (depa Digital Transformation Fund for Community) โดยเป็นการ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
55
Aarticles ส่งเสริมและสนับสนุนการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล ซึ่งเป็น เงินให้เปล่า (Grant) เพื่อสนับสนุนการ ช่ ว ยเหลื อ หรื อ อุ ด หนุ น ส� าหรั บ หน่ ว ย งานภาครัฐ สถาบันเฉพาะทางของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์การเอกชน สถาบัน การศึกษาของรัฐและเอกชน วิสาหกิจ ชุ ม ชน นิ ติ บุ ค คลหรื อ กลุ ่ ม บุ ค คลใน ระดับชุมชนทีม่ กี ารจัดตัง้ ตามกฎหมาย เฉพาะหรื อ พระราชบั ญ ญั ติ เ ฉพาะ ส�าหรับใช้เป็นค่าใช้จา่ ยในการประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อ ชุมชนในชนบท เป็นเงินทุนหมุนเวียน และเป็นเงินลงทุนในเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมดิจิทัล ในวงเงินสูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท (สองแสนบาท) ต่อราย ของผู้ขอรับการอุดหนุน ยั่งยืน ซึ่งจาก การด�าเนินการส่งเสริมและสนับสนุนที่ ผ่านมา ได้สนับสนุนเงินทุนไปแล้วกว่า 179 ชุมชนทั่วประเทศ โดย ส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ ดิจิทัล มุ่งหวังให้ภาคเกษตรซึ่งมีขนาด แรงงานที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และ ชุมชนซึง่ เป็นเศรษฐกิจฐานรากทีส่ า� คัญ ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงและสามารถ เพิ่มรายได้และผลิตภาพการผลิตให้ สูงยิ่งขึ้น เพื่อต่อยอดภูมิปัญญาท้อง ถิ่ น ด้ ว ยการประยุ ก ต์ เ ทคโนโลยี แ ละ
นวัตกรรมดิจิทัล น�าไปสู่การยกระดับ คุณภาพชีวิตของเกษตรกร ชุมชน และ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเพิ่ม ขีดความสามารถ ผลิตภาพและรายได้ ของชุมชนในด้านต่างๆ ได้อย่างยั่งยืน ซึ่ ง จากการด� า เนิ น การส่ ง เสริ ม และ สนับสนุนที่ผ่านมามีการสร้างรายได้ ลดต้นทุนเป็นผลกระทบทางเศรษฐกิจ กว่าร้อยล้านบาท เพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งให้แก่เกษตรกรและชุมชน ให้ พร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงทางด้าน การเกษตรในทุกรูปแบบได้อย่างยั่งยืน ข้อมูล / ภาพประกอบ : สำานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
Internet of
Things ในโลกการเกษตร คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าปัจจุบันเป็น ยุคของการพัฒนาและเจริญเติบโตของ เทคโนโลยี เพราะเทคโนโลยีมีบทบาท และแทรกซึมไปอยู่ในทุกที่ทุกเวลาทั้ง ในชีวิตประจ�าวันและการท�างาน หนึ่ง ในนัน้ คือ Internet of Things หรือ IoT Internet of Things (IoT) คื อ เทคโนโลยี ท่ีเ ชื่ อ มต่ อ กั บ อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต่ างๆ ท� า ให้ มั น สามารถเชื่ อ มโยง รั บ ส่ งข้ อมู ล สั่ ง การเพื่ อ ควบคุ ม อุ ป กรณ์ ผ่ าน เครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ ตได้ จะเรียก ว่าอุปกรณ์พวกนี้ ‘คุย’ กันเองโดยไม่ ต้องผ่านมนุษย์ก็ว่าได้ ไม่ว่าจะเป็น Smart Device, Smart Home, Smart Network, Smart Intelligent Transport
56
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ฯลฯ ซึง่ การเชือ่ มโยงนัน้ จะสามารถเก็บ และรวบรวมข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ยังมีระบบคลาวด์ที่จัดเก็บ และประมวลผลข้อมูลผ่านออนไลน์ที่ เราสามารถควบคุมและสามารถเข้าถึง ข้อมูลได้ตลอดเวลา ตัวอย่างของการใช้งาน IoT ใน ชี วิ ต ประจ� า วั น เช่ น การสั่ง เปิ ดปิ ด อุปกรณ์ ภายในบ้านต่างๆ ผ่านสมาร์ ท โฟนหรื อคอมพิ วเตอร์ ไม่ว่าเป็ น หลอด ไฟ เครื ่องปรับอากาศ โทรทัศน์ การสัง่ อุปกรณ์ ให้อาหารสัตว์ เลี ้ยงในขณะที ่ ไม่มีคนอยู่ทีบ่ า้ น รวมไปถึงเรื ่องระบบ ความปลอดภัยของคนในบ้าน ตัวบ้าน และรถยนต์ ที ่จะมี การเชื ่อมต่อรับส่ง ข้ อ มู ล จากระบบเครื ่ อ งจับ สัญ ญาณ
หรื อเซ็นเซอร์ กบั สมาร์ ทโฟน ซึ่งนับได้ ว่า IoT เป็นหนึง่ ในเทคโนโลยีทนี่ า� มาใช้ เพือ่ ความสะดวกสบาย ลดภาระในการ ท�างาน อีกทัง้ ยังเป็นตัวช่วยทีท่ า� ให้การ ท�างานง่ายขึ้นมาก นอกจากจะมีการใช้ IoT ในชีวิต ประจ�าวันแล้ว ปัจจุบนั ยังมีธรุ กิจหลาย ประเภทที่น�าเทคโนโลยี IoT มาใช้กัน อย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นในภาค อุตสาหกรรมที่ใช้โครงข่ายข้อมูลขนาด ใหญ่ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งจั ก ร เครื่องวัดและระบบควบคุมต่างๆ การ คมนาคมและการจัดการโลจิสติกส์ที่มี การเชือ่ มต่อข้อมูลระหว่างยานพาหนะ และระบบควบคุมการจราจร เช่น ระบบ สัญญาณไฟจราจร สภาพการจราจร
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
บนท้องถนน ในภาคธุรกิจบริการ็มีการ ใช้ IoT เช่นกัน ตัวอย่ างเช่ น ธุรกิจร้านอาหารที่ ใช้ระบบการสัง่ อาหารด้วยตนเอง ตูเ้ ย็น อัจฉริยะทีช่ ว่ ยดูแลปริมาณวัตถุดบิ หรือ สินค้าในร้าน รวมไปถึงร้านค้าต่างๆ ที่ ใช้ในระบบการจ่ายเงินแบบอัตโนมัติ การจ่ายเงินผ่านโทรศัพท์มือถือ หรือ ในทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ใช้ อุปกรณ์ IoT ในการเก็บข้อมูลสุขภาพ เช่น อัตราการเต้นของหัวใจ การดัน โลหิต คุณภาพการนอน การเคลือ่ นไหว ร่างกาย เป็นต้น ส่วนในภาคเกษตรกรรม มีการน�า IoT และเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ใน การบริหารจัดการการเพาะปลูกและ เลี้ยงสัตว์ รวมไปถึงกระบวนการดูแล และควบคุมการผลิตให้มีประสิทธิภาพ เพื่อแก้ปัญหาผลผลิต ที่เกิดจากขาด การวิเคราะห์และจัดการกับข้อมูลเชิง ลึก เช่น สภาพอากาศ สภาพดิน สิ่ง แวดล้อมที่มีความจ�าเป็นและส�าคัญ ต่อการเจริญเติบโตของพืช/เลี้ยงสัตว์ โดย IoT จะเป็นตัวช่วในการบริหาร จัดการข้อมูลให้เป็นระบบระเบียบและ วิเคราะห์ผลอย่างถูกต้องแม่นย�า เพื่อ ให้ได้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ ช่วยลดต้นทุน
เกษตรและสหกรณ์
และความสามารถควบคุมความเสี่ยงได้ ซึ่งจะน�าไปสู่การเป็น Smart Farming และสามารถแข่งขันในภาคเกษตรเชิงธุรกิจได้ หลักการท�างานของ IoT ในภาคเกษตรอย่างหนึง่ คือการน�าเทคโนโลยี RFID Sensors (Radio Frequency Identification Sensors) เข้ามาใช้ในการเชื่อมต่อ กับอุปกรณ์ทางการเกษตรต่างๆ เพือ่ ให้อปุ กรณ์ สามารถเชือ่ มโยงและสือ่ สารกับ อุปกรณ์ควบคุมหลักได้ ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตแบบเรียลไทม์ ตัวอย่างเช่น • เซ็นเซอร์ตรวจสอบคุณสมบัตขิ องดิน เพือ่ ปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับการ ปลูกพืช และน�ามาใช้ในการตัดสินใจในการวางแผนการปลูกพืชในรอบต่อไปได้ • เซ็นเซอร์วดั ค่าความชืน้ และปริมาณน�า้ ในดิน เพือ่ ใช้ในการค�านวณปริมาณ และเวลาในการรดน�้าได้ • เซ็นเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิ เพื่อใช้ควบคุมและเฝ้าระวังโรคและแมลงศัตรู พืช • เซ็นเซอร์เก็บรวบรวมข้อมูลสถานที่และต�าแหน่งของฝูงปศุสัตว์ รวมถึง ตรวจสุขภาพสัตว์ หรือตรวจสอบสภาพความเป็นอยู่ภายในโรงเรือน ซึ่งช่วยลด ค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน และป้องกันการแพร่กระจายโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ • การใช้ระบบเซ็นเซอร์ควบคู่กับการเชื่อมโยงข้อมูลเรดาห์ติดตามสภาพ อากาศและภาพถ่ายดาวเทียม และใช้ซอฟต์แวร์วิเคราะห์และคาดการณ์สภาพ อากาศและแจ้งเตือนข่าวสารเกี่ยวกับภัยพิบัติต่างๆ เช่น เส้นทางพายุ ปริมาณ น�้าฝน เพื่อช่วยให้เกษตรกรลดต้นทุนจากความเสียหายของผลผลิตจากปัญหา ภัยธรรมชาติได้ • การใช้โดรน (Drone) ส�าหรับจัดการแปลงเกษตร เช่น ส�ารวจพื้นที่ ฉีดพ่น ปุ๋ย-ยาฆ่าแมลง หรือเก็บข้อมูลผลผลิต โดยสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบ แผนที่ในการก�าหนดพิกัดแปลงพืช เพื่อให้โดรนเข้าไปท�างานได้อัตโนมัติ จึงช่วย ลดต้นทุนแรงงาน ข้อมูล / ภาพประกอบ : สำานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
57
Aarticles 6 เทรนด์
“AGTECH”
เปลี่ยนอนาคต “การเกษตร” ไทย
การท�าเกษตรยุคใหม่ที่ก�าลังเป็นเทรนด์ไปทั่วโลกนั้น เต็ม ไปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตรมากมาย ซึง่ ถูกน�ามาใช้พฒ ั นาวิถกี ารท�าการเกษตร อ�านวยความสะดวก ให้กับชีวิตของเกษตรกรยุคใหม่ (Smart Farmer) แทบทุก ด้าน รวมถึงช่วยแก้ปัญหาทั้งด้านพื้นที่การเกษตรที่ลดลง เพราะการขยายตัวของสังคมเมือง สภาพดินฟ้าอากาศที่ เอาแน่เอานอนไม่ได้ จ�านวนเกษตรกรที่น้อยลง ผลกระทบ จากภัยพิบัติ ฯลฯ เพื่อให้พวกเรายังคงมีผลผลิตเพียงพอต่อ ความต้องการบริโภคได้ แล้วเราจะเห็น “นวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่ ” แบบ ไหนเกิดขึ้นในประเทศไทยบ้าง? วันนี้เราได้รวบรวมเทรนด์ ด้านนวัตกรรมการเกษตรที่เหมาะสมกับประเทศไทย เพื่อ เป็นไอเดียให้เกษตรกร และผู้ประกอบการนวัตกรรม ได้น�า ไปพัฒนาการท�าการเกษตร และสร้างโอกาสใหม่ๆ ให้กับ ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
เกษตรที่เหมาะสม แม่นย�าและมีประสิทธิภาพสูงสุดให้กับ เกษตรกร ทีส่ า� คัญคือเราสามารถน�าข้อมูลทีม่ อี ยูม่ าต่อยอดควบคู่ กับปัญญาประดิษฐ์ (AI) เช่น การน�า AI ช่วยควบคุมดูแล แปลงพืช โดยเกษตรกรแทบจะไม่ต้องลงไปคลุกคลีด้วยตัว เอง น�ามาวิเคราะห์ความแตกต่างของวัชพืชในแปลงเกษตร เพื่อหาวิธีก�าจัดได้ตรงจุด หรือน�ามาวิเคราะห์ความเสี่ยงที่ เกิดจากสภาพดินฟ้าอากาศ เพื่อช่วยลดความเสี่ยงการเกิด โรค เพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้น
การเกษตรดิจิทัล
เกษตรดิจิทัล เป็นการใช้ประโยชน์จากการเก็บข้อมูล ด้านการเกษตรต่างๆ ทั้ง สภาพดิน สภาพน�้า อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณแสง พื้นที่เพาะปลูก สถานการณ์เจริญ เติบโต ฯลฯ ซึ่งจะท�าให้เข้าใจถึงปัญหาและความต้องการ ที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ ช่วยหาแนวทางการท�าการ เครื่องจักรกลเกษตร หุ่นยนต์ โดรน และระบบอัตโนมัติ
แม้ ค วามต้ อ งการผลผลิ ต ด้ า นการเกษตรจะเป็ น ที่ ต้องการเพิ่มขึ้นตามจ�านวนประชากรโลก แต่ในทางกลับ กั น จ� า นวนเกษตรกรปั จ จุ บั น กลั บ ลดน้ อ ยลงเข้ า ไปทุ ก ที นวัตกรรมเครื่องจักรกลเกษตร หุ่นยนต์ โดรน และระบบ อัตโนมัติต่างๆ จึงมีบทบาทที่ส�าคัญ เพื่อช่วยให้เกษตรกร ประหยัดเวลา ประหยัดแรงงาน แต่ยงั คงสร้างผลผลิตได้เท่า เดิม (หรือมากขึ้นกว่าเดิม) แต่ประโยชน์ของการใช้นวัตกรรมเหล่านี้ ไม่ได้มีดีแค่ การเป็นเครื่องทุ่นแรง แต่ยังหมายถึงประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น ต้นทุนถูกลง และพัฒนาคุณภาพชีวิตดีๆ ให้กับเกษตรกร โดยไม่รตู้ วั เช่น หุน่ ยนต์ AI ตัวแรกของอิสราเอล ทีจ่ ะท�างาน
58
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
อัตโนมัตเิ มือ่ ดอกไม้พร้อมส�าหรับการผสมเกสร ในอุณหภูมิ และความชืน้ เหมาะสม ช่วยให้โอกาสส�าเร็จเพิม่ ขึน้ มากกว่า ปล่อยไว้ตามธรรมชาติ หรือ การน�าโดรนไปใช้ในการปลูก ข้าวได้อย่างแม่นย�าและสามารถเพิ่มผลลิตได้ถึงสองเท่า เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร
อย่าเพิง่ นึกถึงภาพยนตร์ Sci-Fi ทีม่ กี ารตัดต่อพันธุกรรม พืชและสัตว์จนเป็นปัญหาใหญ่โตไป เพราะแท้ท่ีจริงแล้ว เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร เป็นการประยุกต์ศาสตร์ ความรู้ที่หลากหลาย ทั้งชีววิทยา เคมี และองค์ความรู้ด้าน การเกษตร เพื่อพัฒนาจุลินทรีย์ที่การใช้งานทางการเกษตร การดัดแปลงยีน ปรับปรุงพืชหรือสัตว์ ให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ ธุรกิจ และแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตร ท�าโรงงานปลูกพืชระบบปิ ด (Plant Factory) ทีค่ วบคุมสภาพ แวดล้อมได้ ทั้งการให้น�้า ให้แสง อุณหภูมิและความชื้นที่ เหมาะสม ซึ่งนอกจากจะช่วยให้พชื เจริญเติบโตได้ดแี ล้ว ยัง สามารถปลูกพืชนอกฤดูกาลได้ เทรนด์การท�าเกษตรแนว ตั้ง (Vertical Farm) ที่เหมาะส�าหรับการท�าเกษตรในเมือง แก้ปัญหาขาดพื้นที่เพาะปลูก รวมถึงเทรนด์การท�า “ฟาร์ ม เลีย้ งแมลง” แหล่งโปรตีนแห่งอนาคตที่ทั่วโลกก�าลังจับตา การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและขนส่ง
เทคโนโลยีชีวภาพถูกเริ่มน�ามาใช้อย่างแพร่หลายใน วงการเกษตร เช่น การใช้ประโยชน์จากจุลินทรี ย์ในดิ น เพือ่ กระตุน้ ให้เกิ ดการเติ บโตและทนต่อสภาวะแล้ง ทนทานต่อ วัชพืช ลดการใช้ปยและยาฆ่ ุ๋ าแมลง หรื อแม้แต่การปรับปรุง พันธุ์สตั ว์ให้ทนทานต่อโรคระบาด
ประเด็นที่ท้าทายให้กับเกษตรกรไทย นั่นคือ การเป็น ประเทศเมืองร้อน ซึง่ ส่งผลให้สนิ ค้าเกษตรต่างๆ มีผวิ เปลือก บาง ง่ายต่อการเน่าเสีย จนท�าให้เกษตรกรขายผลผลิตได้ไม่ เต็มเม็ดเต็มหน่วย
การจัดการฟาร์มรูปแบบใหม่
ทีผ่ า่ นมาวิถชี วี ติ ของเกษตรกรแขวนไว้บนความเสีย่ ง ทุก อย่างขึน้ อยูก่ บั สภาพดินฟ้าอากาศซึง่ ยากทีจ่ ะควบคุม จนเกิด เป็นปัญหาผลผลิตทีไ่ ม่แน่นอน จึงเกิดเป็นเทรนด์การจัดการ ฟาร์มรูปแบบใหม่ๆ ทีช่ ว่ ยเพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิต ควบคุมปัจจัยการเติบโตของพืชและสัตว์ และช่วยให้เกษตรกร ไม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งความเสียหายของผลิตผล ตัวอย่างฟาร์มรูปแบบใหม่ทกี่ า� ลังเป็นทีน่ ยิ ม ได้แก่ การ
ข้อมูล / ภาพประกอบ : สำานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
59
Aarticles
จึงเป็นทีม่ าของการพัฒนานวัตกรรมทีก่ า� ลังเป็นทีส่ นใจ อย่าง บรรจุภัณฑ์ที่ยืดอายุและเก็บรักษาที่เป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อม กระบวนการยืดอายุแบบไม่ใช้สารเคมี รวมถึง ระบบการตรวจสอบคุณภาพผลผลิตที่สะดวกแม่นย�า ไม่ ท�าลายผลผลิต และนวัตกรรมที่ใช้ในการขนส่งได้รวดเร็ว หลังการเก็บเกี่ยว เช่น ตู้คอนเทนเนอร์ควบคุมบรรยากาศ ด้วยโอโซน ซึ่งช่วยยืดอายุผลไม้กลุ่มเบอรี่ ท�าให้เกษตรกร สามารถเปลีย่ นการขนส่งผ่านทางเรือแทนเครือ่ งบิน หรือการ พัฒนาสารเคลือบผิวชนิดใหม่ โดยฝีมอื สตาร์ทอัพ AgTech ไทย เป็นต้น บริการทางธุรกิจเกษตร
แม้จะรู้ว่านวัตกรรม AgTech จะเป็นประโยชน์ต่อการ ประกอบอาชีพ แต่ด้วยโครงสร้างอุตสาหกรรมการเกษตร ที่ ส่วนมากเป็นการท�าการเกษตรขนาดปานกลางถึงเล็ก ท�าให้ ตัวเกษตรกรไม่สามารถลงทุนซือ้ ตัวนวัตกรรมมาเป็นของตัว เองได้ จึงเกิดเป็นเทรนด์บริการทางธุรกิจเกษตร ทีใ่ ห้เกษตรกร สามารถเช่ายืมนวัตกรรมด้านการเกษตรได้ในที่จับต้อง
ได้ เช่น ระบบจองโดรนพ่นปุ๋ ย พ่นยาฆ่าแมลง ระบบจอง เครื ่องจักรด้านการเกษตร ฯลฯ รวมถึงบริการแพลตฟอร์ม ขายผลผลิตการเกษตรออนไลน์ ช่วยให้เกษตรกรสามารถ เข้าถึงผูบ้ ริโภคโดยไม่ตอ้ งผ่านพ่อค้าคนกลาง แก้ปญ ั หาการ กดราคาผลผลิต และช่วยเชื่อมโยงเกษตรกร กับผู้บริโภค โรงงานอุตสาหกรรม หรือร้านอาหาร และให้พวกเขาสามารถ ค้าขายได้อย่างต่อเนื่อง.
เกษตรทางเลือก เพิ่มโอกาสในการทำาเกษตรอย่างยั่งยืน
คงมีคนจ�านวนไม่น้อยเคยได้ยินค�าว่า “เกษตรทางเลือก” กันมาเยอะพอ สมควร ซึ่งจริงๆ แล้วแนวทางนี้ถือว่ามีบทบาทส�าคัญต่อรูปแบบการท�าเกษตร ในปัจจุบันมากๆ ด้วยการใช้สารเคมีที่มากขึ้นเพื่อผลผลิตเติบโต แต่กลายเป็น ว่าความยัง่ ยืนทีแ่ ท้จริงกลับไม่เกิดขึน้ ด้วยปัจจัยหลายๆ ด้าน เกษตรกรคนไหนที่ สนใจหรือแม้แต่บคุ คลทัว่ ไปทีอ่ ยากหันมาให้ความส�าคัญกับเรือ่ งนี้ จะขออธิบาย ให้ละเอียดและน�าไปท�าตามกันได้จริง เกษตรทางเลือก คืออะไร
เกษตรทางเลือก คือ การท�าเกษตรกรรมอีกประเภทหนึ่งทีจ่ ะไม่มีการน�าเอา สารเคมี ใดๆ เข้ามาปนเปื ้ อนในผลผลิ ตของตนเองเลย เน้นหนักไปทางวัตถุดิบที ่ ได้จากธรรมชาติ เป็ นส่วนใหญ่ เช่น ปุย๋ คอก, ปุย๋ หมัก, หรือวัสดุปกคลุมดินจ�าพวก หญ้า, ฟาง ฯลฯ รวมถึงการน�าเอาเกษตรแบบผสมผสานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ทั้ง การปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ให้เกื้อกูลระหว่างกัน หรือบางคนที่เคยใช้สารเคมี
60
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
หนักๆ ส�าหรับท�าเกษตรก็พยายามลด ในส่วนดังกล่าวลงจนเหลือ 0 และไม่ หันกลับไปใช้อีกในอนาคต ซึ่งประเภท ของเกษตรทางเลือก มีดังนี้ ประเภทของการท� า เกษตรทาง เลือก
1. เกษตรแบบธรรมชาติ เป็นการเกษตรทีเ่ น้นเอาธรรมชาติ มามีส่วนร่วมส�าคัญเพื่อให้ได้ผลผลิต ตามที่ตนเองคาดหวัง เช่น การปรับ หน้าดิ น การพัฒนาดิ นในบริ เวณพืน้ ที ่ การเกษตรของตนเองให้มีความอุดม สมบูรณ์อย่างเป็ นธรรมชาติ มีการสร้าง ระบบนิ เวศใหม่ให้เกิ ดการใช้งานร่ วม กันอย่างเกิ ดประโยชน์ ผลผลิตที่ได้จะ เน้ น มาจากธรรมชาติ เ ป็ น หลั ก โดย ไม่มีการใช้สารเคมีใดๆ มาเจือปน ดัง นั้นสิ่งที่ได้ก็จะเป็นแบบสะอาด เหมาะ สมกับการน�าไปบริโภคเองและการท�า รายได้ อีกทั้งยังเป็นการสร้างคุณค่า
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
ทางอาหารที่ดีให้กับผู้บริโภคห่างไกล จากความอั น ตรายของสารเคมีชนิด ต่างๆ ในการท�าเกษตรทางเลือกแบบ นีจ้ ะพยายามมุง่ เน้นให้เกิดความสมดุล ระหว่างผลผลิตและธรรมชาติมากทีส่ ดุ ปั จ จั ย ภายนอกที่ เ คยท� า ให้ เ กิ ด การ เติบโตจะใช้น้อยลง 2. เกษตรแบบอินทรี ย์ จะต่างกับเกษตรแบบธรรมชาติ ตรงทีส่ ามารถน�าเอาปัจจัยภายนอกเข้า มาเป็นส่วนผสมเพื่อท�าให้เกิดผลผลิต ตามที่ตนเองคาดหวังเอาไว้ เช่น ปุ๋ ย คอก ปุ๋ ยหมัก ปุ๋ ยชี วภาพ ปุ๋ ยพื ชสด หรื อการใช้หญ้าคลุมบริ เวณหน้าดิน แต่ จะไม่มีการน�าเอาสิ่งที่เกี่ยวข้องกับสาร เคมีทุกชนิดมาใช้งานเด็ดขาด อธิบาย ง่ายๆ คือ จะต้องเป็นกลุ่มของอินทรีย วัตถุเท่านั้น สร้างผลผลิตที่ได้ออกมา อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ แม้ ก ระทั่ ง การ ก�าจัดศัตรูพืชก็จะใช้วิธีแบบชีวภาพไม่ ส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม หรือท�าให้ ผลผลิตทีไ่ ด้ตอ้ งปนเปือ้ นไปกับสารเคมี ทุกชนิด 3. เกษตรแบบผสมผสาน เป็ น แนวทางเกษตรทางเลื อ กที่ เหมาะกับคนมีพื้นที่จ�ากัด แต่เน้นสร้าง ผลผลิตให้ออกมาเยอะที่สุด มีการใช้ พื้นที่บริเวณดังกล่าวให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ซึง่ จริงๆ แล้วถ้ามีพนื้ ทีข่ นาดใหญ่ แต่สามารถจัดการให้ใช้งานทุกตาราง ได้อย่างมีคณ ุ ค่าก็ถอื ว่าเป็นเรือ่ งทีต่ อบ โจทย์เช่นกัน การเกษตรแบบผสมผสาน นี้ จ ะต้ อ งมี ก ารท� า เกษตรอย่ า งน้ อ ย มากกว่า 2 ประเภทขึ้นไป อาจเป็นการ ปลูกพืชล้วน, การเลี้ยงสัตว์อย่างเดียว หรือจะท�าควบคู่ทั้ง 2 แบบก็ได้ เพียง แค่ต้องมีการท�าให้มากกว่า 2 ประเภท ขึ้นไป เช่น การท�านาแล้วขุดร่ องสร้าง บ่อเลี ้ยงปลา, การท� าปลูกพื ชที ่อยู่ใน สภาพเดียวกันมากกว่า 2 ชนิ ด เป็นต้น
เกษตรและสหกรณ์
4. เกษตรแบบทฤษฎีใหม่ เป็นพระราชด�าริของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่เน้นในเรื่องความเรียบง่าย แต่มี การน�าเอาเทคนิคใหม่ ๆ ที่ผ่านการยอมรับในเชิงวิชาการเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างมี เหตุผล พร้อมทั้งยังไม่ท�าให้ธรรมชาติเสียสมดุล หลักๆ แล้วแนวทางของเกษตร ทางเลือกลักษณะนี้จะต้องแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน คือ • พืน้ ทีห่ ลักในการท�าเกษตร ขึ้นอยู่กบั ตัวเลือกของเกษตรกร เช่น ท�านา, เลีย้ งสัตว์, ปลูกพืชยืนต้น ฯลฯ 30% • พืน้ ทีส่ �าหรับการท�าเกษตรเพือ่ ใช้บริ โภคภายในครัวเรื อน 30% • พืน้ ทีเ่ ฉพาะส�าหรับการปลูกพืชเอาไว้ใช้ได้ทงั้ ประโยชน์ของตนเองและ สร้างรายได้ เช่น ปลูกพืชสวนครัว, พืชไร่ , พืชสมุนไพร 30% • พืน้ ทีเ่ พือ่ การอยู่อาศัย และท�าสิ่ งอืน่ ๆ 10% หากสามารถแบ่งพื้นที่ออกได้ใกล้เคียงกับแนวทางนี้จะช่วยสร้างผลผลิตที่ ดีให้กับเกษตรกรในระยะยาว เพราะไม่ใช่แค่การมุ่งเน้นไปยังเรื่องใดเพียงอย่าง เดียว แต่จะท�าให้เกิดผลผลิตแบบควบคูก่ นั ทัง้ กินอยูด่ ว้ ยตนเองและการสร้างรายได้
5. วนเกษตร เป้าหมายหลักของเกษตรประเภทนี้คือ เน้นการปลูกพืชหรื อเลีย้ งสัตว์ให้ได้ ปริ มาณสูงที ส่ ดุ อาจมีความซับซ้อนเพื่อให้เกิดผลผลิตแนวใหม่ หรือการสร้าง ความหลากหลายทางชีวภาพให้เกิดผลดีต่อธรรมชาติ ทั้งนี้ยังอาจรวมถึงเกษตร เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ การรักษาไว้ซึ่งธรรมชาติเฉพาะถิ่นที่หาได้ยาก เช่น สมุนไพรบางชนิด, พืชผักบางประเภท เป็นต้น โดยรวมแล้วการท�าเกษตร ประเภทนี้จึงต้องอาศัยแนวคิ ด ทัศนคติ ความพร้อม และความเหมาะสมของ พืน้ ทีน่ นั้ ๆ เป็นตัวก�าหนดด้วย ในการเลือกท�าเกษตรทางเลือกประเภทใดก็ตาม ปัจจัยส�าคัญจะเห็นว่า ตัวเกษตรกรต้องมุ่งเน้นในเรื่องการจัดสรรที่ดินอย่างเหมาะสม พร้อมทั้งท�าให้ ผลผลิตที่ออกมานั้นมีความเป็นธรรมชาติมากที่สุด ไม่มีการน�าเอาสารเคมีทุก ชนิดเข้ามาเกีย่ วข้อง ซึง่ ไม่ใช่แค่การมองเห็นถึงความส�าคัญของตนเองเพียงอย่าง เดียว แต่ยังใส่ใจไปถึงผู้บริโภคในการรักษาสุขภาพให้ดียิ่งขึ้น แข็งแรง เป็นการ เกษตรที่มีเผื่อเอาไว้ให้คนอื่นได้รับผลดีตอบแทนกลับไปด้วยเช่นกัน เกษตรกร คนไหนสนใจก็สามารถท�าได้ทันที เริ่มต้นจากงดใช้สารเคมีเท่านั้น ข้อมูล / ภาพประกอบ : สำานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
61
Aarticles
เกษตรยุคใหม่
ผันตัวสู่นักธุรกิจเต็มรูปแบบ
ปัจจุบันเป็นโลกแห่ง เกษตรยุคใหม่ ด้ ว ยความก้ า วหน้ า ของโลกดิ จิ ต อล ท� า ให้ ผู ้ ที่ ป ระกอบ อาชี พ เกษตรกร ก้ า วเข้ า สู ่ ก ารเป็ น smart farmer หรื อ เกษตรกรอั จ ฉริ ย ะ ด้ ว ยการ ใช้ เทคโนโลยี ต ่ า งๆ เข้ า มาช่ ว ยให้ ชีวิตแบบ เกษตร 4.0 ง่ายขึ้น และ ผั น ตั ว จากการเป็ น ผู ้ ผ ลิ ต มาเป็ น ผู ้ ผลิตพร้อมทั้งแปรรูปและจัดจ�าหน่าย กลายเป็นนักธุรกิจเต็มตัว เพราะใน ปัจจุบันเกษตรกรสามารถค้าขายผ่าน ระบบออนไลน์บนเครื่องโทรศัพท์มือ ถือได้อย่างสะดวกสบาย เชื่อมโยงให้ เกิดการสั่งซื้อผ่าน Application ต่างๆ การรั บ โอนเงิ น ผ่ า นระบบออนไลน์ แบงก์กิ้ง และการส่งของด้วยบริษัท เอกชนที่รวดเร็ว ซึ่งท�าให้ตัดเรื่องการ สูญเสียผลก�าไรบางส่วนให้แก่พ่อค้า คนกลาง ขอเพียงแค่เราสามารถต่อ เชือ่ มอินเตอร์เน็ตทุกอย่างก็งา่ ยดายขึน้
62
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
แนวทางที่ เ กษตรกรสามารถน� า มาใช้ ไ ด้ ใ นทั น ที คื อ การถ่ า ยรู ป สิ น ค้ า การเกษตรของงตนเอง เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการปลูก ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว แล้วน�า ไปเผยแพร่ผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อยืนยันการมีตัวตนของเรา และหา เวลาโพสต์ความเคลือ่ นไหวเป็นระยะ ขณะเดียวกันควรถ่ายรูปผลิตภัณฑ์ของเรา เพื่อน�าไปลงทะเบียนเปิดร้านใน แพลทฟอร์มอีคอมเมิร์ซ ที่เราไม่ต้องเสียเงินค่า สมัครใดๆ ทัง้ สิน้ แค่นกี้ จ็ ะท�าให้เรามีรา้ นค้าออนไลน์เป็นของตนเอง และสามารถ ขายผลผลิตของเราไปยังลูกค้าโดยตรงได้ ด้วยวิธีการที่ เกษตรยุคใหม่ น�ามาใช้ ท�าให้เกิดรายได้เต็มเม็ดเต็มหน่วยกันเลยทีเดียว อาชีพเกษตรกร กับ เทคโนโลยีการเกษตร
นอกจากเรื่องการขายหรือการท�าการตลาดแล้ว เรามามองที่เทคโนโลยี การเกษตรที่เน้นแต่เรื่องกระบวนการผลิตกัน เราจะพบว่า อาชี พเกษตรกรยุค ใหม่ เป็ นเรื ่องของการน�าแนวคิ ดการจัดการพืน้ ที เ่ พาะปลูกโดยใช้เทคโนโลยี ที่ ทันสมัยมาใช้งาน เพือ่ เพิ่ มปริ มาณและคุณภาพของผลผลิ ตในแปลงนาหรื อใน ฟาร์ มของเราเอง มีการน�าระบบ GPSมาใช้เพื่อสแกนคุณภาพและสมบัติของ ดิน มีการจัดการข้อมูลและการเชื่อมต่อเครื่องมือต่างๆ เข้ากับอินเทอร์เน็ต เพื่อ ให้เราสามารถบริหารกระบวนการการท�าการเกษตรได้สะดวกขึน้ โดยใช้เซ็นเซอร์ ช่วยตรวจวัดความเปลีย่ นแปลงและความผันผวนทีเ่ กิดในหน้างานได้อย่างแม่นย�า และเมื่อเราเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็ว ก็ท�าให้เราสามารถปรับกลยุทธ์ในการ เพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ได้ ผู้ที่ประกอบ อาชีพ เกษตรกร อย่างเราสามารถเพิ่มประสิทธิผลในการควบคุมโรคและก�าจัดศัตรู
ใครเป็นใคร ... ในแวดวง
เกษตรและสหกรณ์
พืชและปุ๋ยได้เต็มที่เพียงแค่อ่านข้อมูลบนมือถือเท่านั้น ยุค เกษตร 4.0 นี้เกษตรกรยังสามารถตรวจสอบความต้องการ อาหารของสัตว์แต่ละตัวได้ดขี นึ้ และปรับโภชนะให้สอดคล้อง กัน เพือ่ ป้องกันโรคและเสริมสร้างสุขภาพของฝูงปศุสตั ว์ได้อกี ด้วย Smart Farmer คื อ ผู้ ขั บ เคลื่ อ นความมั่ น คงทาง อาหารของโลก
ทั่วโลกก�าลังให้ความสนใจกับ smart technology ที่ มีบทบาทส�าคัญในการเพิ่มผลผลิตและลดผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะปัจจุบัน ทุกประเทศต่างก�าลังมอง หาความมั่นคงทางอาหาร เพราะหลังจากยุคโควิดระบาด ใครๆ ต่างกักตุนสินค้า กิจการใหญ่น้อยได้รับผลกระทบ จน ลูกจ้างส่วนใหญ่ว่างงาน และขาดก�าลังในการจับจ่ายซื้อหา อาหาร จึงท�าให้ อาชีพเกษตรกร กลายเป็นหัวใจหลักทีท่ กุ คน หวังพึง่ พา เพือ่ ผลิตอาหารให้เพียงพอแก่คนทัง้ โลก เทคโนโลยี ต่างๆ ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เกษตรกรท�างานได้แม่นย�าขึ้น Smart farmer คื อกลุ่มเกษตรกรหัวก้าวหน้า ที ่สนใจ ใน การเกษตรสมัยใหม่ เน้นเทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื อ่ สารที ท่ นั สมัย โดยได้น�านวัตกรรมต่างๆ มาเพิ่มปริมาณ และคุณภาพของผลผลิต ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีการเก็บ ข้อมูลสถิตแิ ละการคาดการณ์ตา่ งๆ ผ่านระบบเซ็นเซอร์ ได้แก่ การตรวจวัดสภาพดิน น�า้ แสง และความชืน้ ตลอดจนถึงการ จัดการกับสภาวะอากาศ หรือแม้กระทั่งการใช้แอปพลิเคชั่น ซอฟต์แวร์ หรือโซลูชันซอฟต์แวร์พิเศษเฉพาะทาง ส�าหรับ การท�าการเกษตรแต่ละประเภท และเกษตรปราดเปรื่องบาง คนยังได้น�าหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติมาใช้ในฟาร์มอีกด้วย ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อรับมือกับความท้าทาย ของการท�าการเกษตรแบบเดิม เกษตร 4.0 ถูกขนานนาม ว่า เป็น “การปฏิ วตั ิ การเกษตร ครั้งที ่ 4” การน�า Internet of Things (ภาษาไทยเรียกว่า อินเตอร์เน็ตของสรรพสิง่ ) ซึง่ คือการน�าทุกสิง่ มาเชือ่ มต่อผ่าน อินเตอร์เน็ต และน�ามาใช้ในการท�าการเกษตร โดยน�าฐาน ข้อมูลทั้งหมดไปเก็บไว้บน Cloud computer เพื่อประมวล ผลข้อมูลต่างๆ ที่เกษตรกรต้องการน�ามาใช้เพื่อการตัดสินใจ ในการวางแผนบริหารจัดการฟาร์มของตนเอง การน�าเทคโนโลยีเกษตรกรรม มาใช้ในการเลี้ยงปศุสัตว์ การท�าประมง การท�าสวน ท�าไร่ แบบปราดเปรือ่ ง เป็นการน�า ความแม่นย�าของระบบมาใช้คา� นวณในทุกเรือ่ ง ทีเ่ ราเรียกกัน ว่า เกษตรแม่นย�า การน�าเซ็นเซอร์ตรวจวัดธาตุอาหารในดิน วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
63
Aarticles การน�าโดรนหรืออากาศยานไร้คนขับมาพ่นสารก�าจัดวัชพืช หรือการน�าหุ่นยนต์ มาช่วยรีดนมวัวและให้อาหารไก่ ซึ่งสิ่งเรานี้เราสามารถโปรแกรมได้ ท�าให้เราลด ปัญหาเรือ่ งการขาดแคลนแรงงาน และสามารถลดต้นทุนการผลิตในระยะยาวอีก ด้วย แนวคิดหลักๆ ของเกษตรยุคใหม่คืออะไร
การมุ่งเป้าไปที่ความยั่งยืนของการประกอบ อาชีพเกษตรกร โดยให้ความ ส�าคัญกับการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเกษตรกรรม ในการเพิ่มผลผลิต เพื่อ ท�าก�าไรสูงขึ้น โดยเน้นว่าจะต้องไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อมด้วย จึงเท่ากับว่าการท�า เกษตรสมัยใหม่ จะเกิดผลกระทบเชิงบวกแก่ระบบเศรษฐกิจและระบบนิเวศวิทยา ไปพร้อมกัน แนวคิดนี้กลายเป็นแนวคิดที่หลายประเทศน�ามาใช้ในการก�าหนด นโยบายด้านการเกษตร โดยหากทุกประเทศสามารถพลิกให้เกษตรกรทัง้ โลกผัน ตัวเองเป็น smart farmer ได้ เราทั้งโลกจะหมดความกังวลเรื่องความมั่นคงด้าน อาหารไปได้ทันที การเปลี่ยนแปลงของเกษตรกรรม กระทบใครบ้าง
การเข้าสู่โลก เกษตรยุคใหม่ จะมีผลกระทบในหลายระดับ ไม่ใช่แค่เพียง อุตสาหกรรมการเกษตร ชาวไร่ชาวนา ชาวสวน ชาวประมงเท่านั้น แต่ยังกระทบ ถึงชุมชนต่างๆ รวมถึงผู้บริโภค การที่โลกใบนี้มีอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัยขึ้น จะท�าให้การปรับปรุงคุณภาพของอาหารที่ถูกผลิตจากภาคเกษตรให้มีคุณภาพ ยิ่งขึ้น เพราะการน�า เกษตรแม่นย�า มาใช้ จะท�าให้เกิดกระบวนควบคุมคุณภาพ แบบครบวงจร เริม่ ตัง้ แต่การปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับเมล็ดพันธุ์ ผ่านระบบฐาน ข้อมูลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และวัดผลอย่างแม่นย�าด้วยเซ็นเซอร์ทเี่ กษตรกรสามารถ ใช้ได้เพียงคลิกเดียว การใส่ปุ๋ยในอัตราที่เหมาะสมกับดิน การผสมพันธุ์ พัฒนา พันธุ์พืชให้มีผลผลิตที่ดีขึ้นทั้งคุณภาพและปริมาณด้วยระบบชีววิทยาสมัยใหม่ ซึ่งท้ายที่สุดจะออกมาเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพส�าหรับผู้บริโภคนั่นเอง ส�าหรับครอบครัวและชุมชนนัน้ เมือ่ การท�า เกษตรสมัยใหม่ ท�าให้ผปู้ ระกอบ อาชีพเกษตรกร อยู่ดีกินดี ท�างานง่ายขึ้น มีความมั่นคงยั่งยืนยิ่งขึ้น กลุ่มคนวัย ท�างาน ทีเ่ คยทิง้ บ้านเกิด เพือ่ เข้าไปหางานท�าในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมใหญ่ เพือ่ แลก กับรายได้ทมี่ นั่ คง ก็จะปรับเปลีย่ นความคิด กลับไปสูภ่ มู ลิ า� เนา เพือ่ ท�าการเกษตร มากขึน้ คนสูงอายุในชุมชน ก็จะกลับมามีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี เพราะมีลกู หลานคอย อยู่ดูแลใกล้ชิด ขณะเดียวกัน เมื่อคนบางส่วนหันไปประกอบ อาชีพเกษตรกร กลุ่มคนที่กระจุกตัวในเมืองใหญ่ ก็จะลดความแออัดลง ซึงก็คือการลดมลภาวะ ในเมืองใหญ่ตามไปด้วย บทสรุป
เกษตรยุคใหม่ หรือทีเ่ ราเรียกว่ า เกษตรสมัยใหม่ นั้น คือช่ วงเวลาทีจ่ ะ ท�าให้เกษตรกรพลิกวิถชี วี ติ ด้ วยการไม่ จา� นนต่ อดินฟ้าอากาศ น�าเทคโนโลยี ่ ฒ ทีพ ั นาขึน้ มาใช้ ประโยชน์ ในการรับมือกับสภาพความแปรปรวนผันผวนที่ เราควบคุมไม่ ได้ เปลีย่ นมาท�าให้ เราควบคุมสถานการณ์ การเพาะปลูกหรือ เลีย้ งปศุสตั ว์ ได้ ใครเรียนรู้และปรับใช้ ได้ เร็วกว่ า ก็ย่อมมีโอกาสสร้ างความ มัน่ คงในสาย อาชีพเกษตรกร ได้ ก่อนนั่นเอง ข้อมูล / ภาพประกอบ : สำานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
64
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2565
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 65
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 66
กาแฟ
ก
กระสอบ
ร้านโครโพลีแบ็ก ....................0-4441-5250 บจก.ธนันต์กิตติ ....................0-2222-4739 บจก.ลีแปะม้อ ......................0-2452-8518 บจก.ไทยฟอร์โมซาพลาสติกอินดัสทรี ............................................0-2234-4334 หจก.เลี้ยงเช้งค้ากระสอบ ....0-32234-4050 หจก. ศ.ไทยพาณิชย์ .............0-2221-7220 บจก.กระสอบเกษตร ......... 0-2709-4060-1 บจก.กระสอบเคลือบเอเชียแปซิฟิค ........................................ 0-2461-5774-5 บจก.กระสอบปากช่อง ....0-2294-9222-41 บจก.กระสอบแหลมทองอุตสาหกรรม ........................................ 0-2226-5707-9 หจก.กรุงเทพคิมส่งหลี ..........0-2267-2196 บจก.กรุงเทพไทยโพลีพลาสติก ............................................0-2472-4708 หจก.กิมส่งหลี ......................0-2236-6907 หจก.คี้เช้งพาณิชย์.................0-2233-0109 บจก.เคียมฮั้วเช้ง...................0-2221-3213
หจก.จรัญ 13 .......................0-2410-1883 หจก.ชวงหงส์........................0-2611-6550 หจก.ชิดโชคเจริญ.............. 0-2428-9892-3 โชคดีการค้า ..........................0-2457-1681 บจก.ลี้แปะม้อ ......................0-2452-8518 ร้านตรีเทพสุทธิ์ธารา ..............0-3528-5685 บจก.เฮียบเฉ้งเฮง ............. 0-2225-4973-4 หจก.ย่งฮวดค้ากระสอบ ........0-2221-0526 บจก.เอ็มอีพีอสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม ........................................ 0-2271-4213-6 บจก.อุตสาหกรรมผ้าเคลือบพลาสติกไทย ........................................ 0-2464-3260-6 หจก.หลีเชียงสหพาณิชย์ .......0-2221-6007 บจก.สีมาคอนแทนเนอร์แม็ก ............................................0-2294-6674 บจก.กระสอบปากช่อง ..........0-2294-9222 บจก.กรุงเทพไทยโพลีเทคนิค ............................................0-3420-6164 บจก.ต.ยิ่งเช้ง........................0-2895-6631 บจก.ไทยอินเตอร์เวฟริ่ง.........0-2420-7060 บจก.พี.บี.ไฮเทคคอร์ปอเรชั่น ............................................0-2462-5512 บจก.แปซิฟิคอุตสาหกรรมกระสอบ ............................................0-2909-2481 บจก.กระสอบเกษตร ......... 0-2709-4060-1 บจก.กระสอบแหลมทองอุตสาหกรรม ........................................ 0-2226-5707-9 บจก.กิมส่งหลี ......................0-2236-6907 หจก.จรัญ 13 .......................0-3410-1883 ร้านโชคดีการค้า ....................0-2457-1681 หจก.ชัยสวัสดิ์ ......................0-2234-8224 หจก.ชินหมง .........................0-2233-0032 หจก.ณัฐนิชาค้ากระสอบ........0-2490-1281 บจก.ธรรมอุตสาหกรรม .........0-2431-0045 บจก.บี-บี โพลีเมอร์........... 0-2385-0851-2 บจก.แปซิฟิคอุตสาหกรรมกระสอบพลาสติก ........................................ 0-2909-2481-5 บจก.พี.ซี.ไฮเฟคคอร์ปอเรชั่น
............................................0-2462-5512 ร้านยงฉังจัน..........................0-2234-5896 โรงงาน อ.เสริมกิจ ................0-2892-0622 โรงงานกระสอบสงวนค้ากระสอบ ............................................0-2234-8466 หจก.ฮั่วหลีเชียงค้ากระสอบ ............................................0-2223-7881 กล้วยไม้
ไทยออคิดส์แอนด์แฟนซีพีชฟาร์ม ..........................................08-1647-8050 บจก.ดรีมฟลาวเวอร์อินเตอร์เนชั่นแนล ..........................................08-1694-2775 หจก.อุดมออคิดส์ .................0-2510-9241 บจก.บางกอกฟลาวเวอร์เซ็นเตอร์ ............................................0-2421-0020 บจก.กุลธนาออร์คิดส์ ........ 0-2565-5463-4 ฟาร์มกล้วยไม้เกษมบุญชู ........................................ 0-2642-7522-3
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 67
ซุปเปอร์มาร์เก็ตกล้วยไม้ ..............08-9494-9900, 08-9494-9090 ไก่-ผลิตภัณฑ์, จำาหน่าย
บจก.ฟ้าใสการเกษตร ........ 0-3423-4186-3 บจก.ตะนาวศรีไก่ไทย ......0-3422-7288-95
บจก.บ้านไก่ไทย ....................0-2587-0707 บจก.เกษมชัยฟาร์มกรุ๊ป ........0-3430-1531 ชุนเซ้งฟาร์ม ........................0-3732-4262, ............................................0-3732-4263 บจก.โกลเด้นฟู้ดส์สยาม ........0-2530-0550 สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่แปดริ้ว ....0-3859-5627 ก่อสร้าง
เกลือ บจก.กิจทรัพย์อุดม ................0-2513-4433 หจก.เกลือแหลมทอง ............0-2437-1711 บจก.ฟาร์สเบ็ค .................. 0-2539-0101-2
บจก.รีเฟอร์เทรดดิ้ง ...............0-2399-1345
บจก.อุตสาหกรรมเกลือ.........0-2236-8962 บจก.เกลือเจริญอินเตอร์เนชั่นแนล ............................................0-2675-8430 จิบฮั่วเฮงโรงเกลือทะเลแท้ ....0-2221-3423 ไทยยงค์โรงเกลือ ..................0-2468-4474 โรงงานย่งง่วนเช่ง ..................0-2437-3467 บจก.อาณาจักรเกลือ ......... 0-2477-3087-9 โรงเกลือดีเช่งฮะ 1989 .... 0-2477-2603-7 โรงเกลืออินเตอร์เนชั่นแนล ...0-2675-8430 ไก่ชน
เกษตรกรรม
กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร ............................................0-3453-1466 หจก.วิชัยพืชผลสีคิ้ว .............0-4441-1078 หจก.เจริญชัยค้าพืช ...............0-4227-2909 โชคประเสริฐลานมัน .............0-4343-1068 เจริญภัณฑ์พืชผล ..................0-4447-1378 บจก.ฝ้ายเมืองเลย ................0-4281-2171 โรงงานอัดเม็ดคำาปิงเกษตรกรรม ............................................0-4485-9032 อุบลถาวรการค้าพืช...............0-4545-2566 เอเชียผลิตภัณฑ์นำ้ามันพืช......0-2512-1052 บจก.มาลัยพืชผล .............. 0-2532-9173-5 ศูนย์เกษตรกรรมบางไทร .......0-2947-9115 บจก.ชุ่นฮั้วเช่งไรซ์.................0-2383-8735 หจก.เช้งฮวด ........................0-2224-5486 ฟาร์มเห็ดดาวเกษตรพัฒนา...0-2905-4593, ..........................................08-9414-9094 บจก.เซ็นทรัลการเกษตร ........0-2416-9083 บจก.โซนาต้าไซเอนซ์ ............0-2983-3988 บจก.โซเบ็กซ่า (ปท)..............0-2636-0507 บจก.ดรากอน อะกรี.......... 0-2976-4185-9 บจก.ดารินกรีน......................0-2929-6739 บจก.ดารินกรีน......................0-2929-6739 หจก.ดีซี ล้านนา................ 0-2383-2754-5 บจก.ไดมอนด์ไฮท์ ................... 0-2881-752 หจก.ต.แซเช้ง .......................0-2754-3507 บจก.ตลาดไทยพืชผล............0-2933-9449 บจก.ตะวันพืชผล .............. 0-2461-5080-5 หจก.ตั้งเตี้ยไต๋ ......................0-2224-2839 บจก.ตั้งยิ่งวัฒนา ...................0-2312-4182 หจก.ตั้งแสงชัย .....................0-2394-0569 เตียกวงหยู่เอี๊ยะจั๊ว ...............0-2221-5541 บจก.เคียงเฮงจั่น ...................0-2281-3905
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 68
แต้เอี๊ยะฮั้ว ...........................0-2222-9366 บจก.ไตรตรอง .................. 0-2322-7960-1 หสน.ไถ่เส็ง ..........................0-2437-5885 บจห.ทนงชัยวัฒน์พืชผล ........0-2281-0332 หจก.ทรงพลพืชผล ...............0-2221-5660 บจก.ทรัพย์สมุทร .............. 0-2634-3051-3 หจก.ทวีผลผลิต................ 0-2501-2330-1 ทองไทย ...............................0-2214-2498 หจก.ทางไพบูลย์พืชผล..........0-2221-4210 บจก.ทักษิณอุตสาหกรรมนำ้ามันปาล์ม (1993) ........................................ 0-2513-8747-9 บจก.ทีออคิด ........................0-2573-9645 บจก.ทีเอสทีอีซี.....................0-2814-3134 บจก.เทพสถาพร (ตั้งซุ่นหยู)..0-2284-0065 บจก.ไทยซีเรียล์เวิลด์ ........ 0-2927-7606-9 บจก.บจก.ไทยออร์คิดส์ แล็บ ............................................0-2429-0519 บจก.ไทยออร์จิ้น ............... 0-2349-5101-3 โรงปั่นใยมะพร้าวตั้งเป้งเส็ง ...0-3267-1191 บจก.ไทยอโกลชายน์ 6162 ........................................ 0-2420-7405-6 บจก.ธนลาภมหรัตน์ ..............0-2718-0721 โรงงานนิพันธ์ สุวรรณดาลัด ........................................ 0-2589-2721-2 บจก.บุญการเกษตร ..............0-2377-6341, ..........................................08-1377-7945 บจก.ปาล์มไทยพัฒนา ...........0-2253-5768 บจก.พงศ์ชัยกรุ๊ป ..................0-2688-5810 บจก.พีดีไอเทรดดิ้ง................0-2691-3579 พูนผล ..................................0-2221-2418 บจก.ฟิวเจอร์อินโนเวชั่นเทคโนโลยี ........................................ 0-2969-3173-5 สนง.มานพ เจียรรุ่งแสง .........0-2222-8028 บจก.มาสเตอร์โปรดักส์...... 0-2964-8001-2 โรงงานสิ่งแซ่อึ้ง ....................0-2468-2540 บจก.มิตรแสงไทย .................0-2221-5684 บจก.ยูไนเต็ดเกรนส์ .......... 0-2394-1482-4 บจก.รติสุข ....................... 0-2897-0417-9
หจก.รวมกิจพืชผล ................0-2221-2681
ไทยวัฒนสิน ไฮซ์มิลล์....... 0-2599-1395-6
ข
ข้าวสาร-จำาหน่าย-โรงสี บจก.ราชวงศ์ค้าข้าว ........... 0-2226-1460-2 หจก.เฮ็งสมบูรณ์พาณิชย์ .......0-3568-1037 บจก.ข้าวมาบุญครอง .............0-2661-7900 บจก.สุธาทิพย์ฟาร์ม ............08-1813-1767
ประสิทธิ์ค้าข้าว .....................0-3459-5106 บจก.ข้าวหงส์ทอง .................0-2832-2888
หจก.โรงสีข้าวกิจอุดม ............0-4548-1011 หจก.โรงสีแสงทองวัฒนา ........................................ 0-2979-3392-3 หจก.โรงสีอุดมธัญญะ............0-3426-1256
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 69
หจก.โรงสีสหพิทักษ์กิจ 1991 ........................................ 0-3542-6347-8 บจก.โรงสีบุญส่งบ้านแพน ......0-3520-1353 บจก.ไฮโครคัสซ์อินเตอร์เนชันแนล ........................................ 0-2750-9535-7 ข้าวธัญทิพย์........................08-2493-8383 ธีระไรซ์ค้าข้าว .......................0-2222-2717 สมาคมโรงสีข้าวสุพรรณบุรี ....0-3552-3305 ข้าวแสนดี .............................0-2683-7543
เจียเม้ง .................................0-2527-3888 บุรีรัมย์สหสินข้าวไทย ............0-4461-3250 อุดมสินไพบูลย์ค้าข้าว ...........0-4293-1644 อุดรไรซ์ ................................0-4723-9012 ไพโรจน์ค้าข้าว.......................0-4243-1131 ข้าวศรีไทยใหม่......................0-4794-1111 เจ-นี-ไรซ์-อินเตอร์เนชั่นแนล ............................................0-4455-8944 โรงสีอุดร .............................0-4729-0378 โรงสีธัญนคร .........................0-4433-2366 บจก.เหลียวฮวกไรซ์เซ็นเตอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล .............0-3525-5066 โรงสีไทยวัฒนลินไรซ์มิลล์ ........................................ 0-2599-1395-6 เล็งนกทาพงษ์เจริญ ...............0-4578-1667 โรงสีขายข้าว .......................08-1780-3930 ขนม-ของฝาก
แม่บ้านเกษตรนาดำา .............08-1966-5890 จิรวัฒน์ข้าวแต๋นหนองหล่าย ..........................................08-1992-8015
ร้านแม่บุญล้น .....................08-1793-6851 ร้านติ๋มเค้กมะพร้าวอ่อน ......08-0619-8525 ขนส่ง บจก.รุจโฮฬารทรานสปอร์ต ........................................ 0-3471-6711-2 เอ.ที.ขนส่งการเกษตร ...........0-2331-1746 นิวแหลมทองฟู้ดส์ ........................................ 0-3422-9476-7 ข้าวโพด-ผลิตภัณฑ์
บจก.บีแอนด์บี ทูลาสกี้..........0-2955-0460 บจก.ไพบูลย์โปรดักส์ ........................................ 0-2813-8001-3 โรงงานแรงฤทธิ์เบเกอร์รี่ ........0-2533-0500 บจก.แอกโกร-ออน (ไทยแลนด์) ............................................0-2984-1489 บจก.บางกอกโนเวล ........0-2655-1409-12 ไข่-ขายส่ง พงศ์ศักดิ์การเกษตร .......... 0-3875-8214-6 มิตรไก่ฟาร์ม .........................0-2583-4119 บจก.เอนกฟาร์มไข่นกกะทา
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 70
............................................0-3561-1444 หมวดเคมีเกษตร
บจก.แองโกลไทยเคมีซัพพลาย ......................................0-2529-5658-61 บจก.ซีบราย์อโกรซายน์ .........0-2158-4766
โพลีแอร์พลัส..................0-2328-0455-57 ไทยอะโกรโทรสิก ..................0-2751-7048 บจก.นาโนเฮาส์.....................0-2509-5910 หจก.แสงศิริอุบลเคมีเกษตร...0-4532-1775 บจก.เคมีเกษตร ....................0-4284-1848 สหเคมีการเกษตร .................0-4281-1690 พงศ์ศักดิ์เคมีการเกษตร.........0-4431-1134 บจก.จีเควส (กุ้งทองไคโตซาน) ..........................................08-7764-6336 บจก.เวสโก้เคมี .....................0-2932-4993 บจก.ชาร์ฟฟอร์มูเลเตอร์........0-2455-4193 ร้านพบพระเกษตรกรรม ......08-1822-5253 บจก.อรุณอะโกร ...................0-2622-9839 บัวทองการเกษตร .................0-3548-1499 ร้าน ดี.ดี.เคมีการเกษตร ......08-9044-4809
เอ็ม.พี.เค.การเกษตร .............0-5621-7067 ร้านสามแยกเกษตร ...............0-3803-7051 บจก.เอ.พี.เบสท์โปรเท็ค ........0-2551-3605 บจก.กรีนเวย์อินโนเวชั่น ......08-9202-8603 บจก.เทคชาย์ ........................0-2101-1030 บจก.ชดช้อยอกริคัลเจอร์ ..........................................08-1302-9684 บจก.ห้าดาวเคมีเกษตร ..........0-3626-8777 หจก.สมพรพานิชเคมีเกษตร ........................................ 0-3644-2474-5
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 71
บจก.พรชัยเกษตร 1 ชีวภาพ พีซี ............................................0-3888-6325 บจก.แพลนท์โปรเทคอะโกร ..........................................08-9524-4315 บจก.เจ.อาร์.ที.เทคโนโลยีแอนด์เอ็นจิเนียริ่ง ............................................0-2375-2990 บจก.ไอบีเอ ...................... 0-3499-5661-2 บจก.ไทยฟาร์เมอร์โปรดักส์ซัคเซส ........................................ 0-3499-3411-4 รอดอนันต์กรุ๊ป .....................0-2921-7785 บจก.โซตัสอินเตอร์เนชั่นแนล ............................................0-2984-0999 บจก.ลัดดา ..........................0-2954-3120 ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ ........................................ 0-2986-1680-2 บจก.ซินเจนทาครอปโปรเทคชั่น .................. 0-2201-4999, 0-2709-4900 ลัดดาการเกษตร ...................0-2978-3282 ร้านประสิทธิ์การค้า ...............0-3457-1059 บจก.เคโมฟายส์ ....................0-2369-3800 บจก.สหายเกษตรเคมีภัณฑ์ ...0-2448-7567 บจก.ซาธิวา (ไทย) ............ 0-2813-7867-9 บจก.ที.เจ.ซี.เคมี ............... 0-2254-8301-7 บจก.ไบเออร์ไทย...................0-2232-7000 บจก.เทพวัฒนา.....................0-2721-3510 บจก.แอพพลายเค็ม (ประเทศไทย) ........................................ 0-2971-7287-8 บจก.ป๊อกซ์ฟอร์มูเลท............0-2978-6922 บจก.แอ็กสเปค (ไทยแลนด์) ............................................0-2714-3038 ร้านส่องแสงพาณิชย์ .............0-3555-1363 บจก.เวสโก้เคมีประเทศไทย ........................................ 0-2932-4993-4 บจก.ดูปองท์ (ประเทศไทย) ............................................0-2659-4172 ร้านราชพฤกษ์เกษตร .............0-2549-1294 บจก.ฟาร์มโพรเทคชั่น ...........0-2512-5389 บจก.ซันคร็อพกรุ๊ป ..............08-1781-8009
บจก.ไทยเบสท์โฮลดิ้ง............0-2940-1860 บจก.เอฟเอ็มซีเคมิคัล (ประเทศไทย) ............................................0-2664-4322 บจก.โฮลี่วอน .....................08-1903-7035 บจก.เคมิเฟอร์ .....................0-2539-3748, ............................................0-2539-3730 บจก.สร้างสรรค์การเกษตร .....0-4289-1969
บจก.เกียรติศรีมาพัฒนา ........0-4528-4278 หจก.แสงจิตเครื่องจักรการเกษตร ............................................0-2553-1261 เครื่องสับหญ้า
ค
เครื่องหวาย ร้านมิตรภาพเครื่องหวาย .......0-3247-2316 เครื่องพ่นยา-จำาหน่าย บจก.เอ.ที.เพื่อนเกษตรกรไทย ...............0-5521-6009, 0-5532-6172-3 เคมีอุตสาหกรรม-จำาหน่าย บจก.บี เอ เอส (ไทย) ...........0-2664-9222 หัตถ์ตชัยพาณิชย์ ..................0-4581-0660 บจก.ไอบีเอ ....................0-3823-4215-19 ร้านยอดการเกษตร ...............0-3225-4068 บจก.พี.อาร์.กรีน .................08-9341-3122 บจก.ไอเอฟซี ซีสเต็มส์ ..... 0-2998-7190-2 บจก.รุ่งสยามเคมเทรดดิ้ง ........................................ 0-2294-3252-4 ร้านนิวอภิชาติ .....................08-1651-4467 เครื่องจักร-ผู้ผลิต-จำาหน่าย
บจก.ไมท์ตี้เอ็นจิเนยริ่ง ....0-3231-2278-79 บจก.รุ่งเรืองการช่าง ..............0-5993-6713
เครื่องปรุง ฉั่วฮะเส็งฟู๊ดโปรดักซ์ ........ 0-2889-5655-7 บจก.ไทยชูรส.................... 0-2237-2630-5 เกษตรซอสพริก ....................0-3534-1192 โรงงานนำ้าปลาไทย (ตราปลาหมึก) ............................................0-2234-3402 บจก.ดาวมังกรฟู๊ดโปรดักส์.....0-3235-7343 โรงงานซีอิ้วยิ่งฮะฮวด............0-3554-1048 บจก.ซัลซอสอุตสาหกรรม .....0-3249-4343 เครื่องจักรการเกษตร
บจก.ไทยศรันย์จักรกล 2007 ..........................................08-1981-1539
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 72
เครื่องสีข้าว
บจก.เกษตรพัฒนา........... 0-3859-9135-4 บจก.เคแอนด์โอเอ็นจิเนียริ่ง ........................................ 0-2917-9125-7 บจก.ทะเลททองแพคเตอรี่.....0-3846-1350 รวงทองรับเบอร์แนอด์แมชชีน ........................................ 0-3485-4462-4 พรเจริญ (ช่างคิด)2014 ........0-3626-6725 บจก.ไทยอาซาโกร...........0-2294-6329-31 บจก.นำ่าเฮงคอนสตรั๊คชั่นอีควิปเมนท์ ............................................0-2599-1586 บจก.ตั้งง่วนเฮง (2535.........0-2571-7337 บจก.ยนต์ตระการเครื่องจักรกล ........................................ 0-3521-9167-9 บจก.เกียรติศรีมาพัฒนา ........0-4542-2088 เครื่องมือ-อุปกรณ์การเกษตร กนกโปรดักส์ ......................08-0551-1957 เจริญพานิช ...........................0-4563-6159 บจก.วาสเซอร์แคร์ .............08-1400-8319, ............................................0-2616-3885 บจก.ซิลแมทช์ ....... 0-2203-0357 ต่อ 203
บจก.อโชคพัฒนา ..................0-4449-2136 บจก.ยโสธรศุภนิมิต ..............0-4572-2443 หจก.อุบลกรุงไทย .................0-4526-3909 สยามกรีนโปรดักส์อินเตอร์เนชั่นแนล ............................................0-2533-8432 ศูนย์ทะเลทอง ......................0-4531-3711 เครื่องทำาความเย็น
บจก.สยามโคอกริเวิลด์..........0-4224-4001 เครื่องดักแมลงไฟฟ้า บจก.เอกอนันตชัย ................0-2152-0303
ง
เงินทุน-หลักทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองกระทุ่มพัฒนา ............................................0-3259-6046 ชากาแฟ-ชาเขียว
ช
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 73
บจก.กาแฟผงไทย ............. 0-2393-5460-1 บจก.ใบชาอ๋องอิวกี.่ ...............0-2424-2120 บจก.เจเนอรัลฟาร์มซัพพลายส์........0-29124223-4 ...................................................... ชั่ง-เครื่อง หจก.ก.ศูนย์กลางเครื่องชั่ง.....0-2221-1683 หจก.กรุงธนเครื่องชั่ง......... 0-2746-7270-1 บจก.แกรนด์ไพไลน์มาร์เก็ตติ้ง ........................................ 0-2322-6656-7 บจก.ควอลิตี้ เทรดดิ้ง แอนด์คาลิเบรชั่น ............................................0-2808-3403 หจก.เครื่องชั่งมุ้ยฮวดอิมปอร์ต ............................................0-2639-1056 บจก.เคเอ็มปรุ๊ฟเมนท์............0-2938-0411 หจก.ง่วนเฮงเส็ง ...................0-2236-1151 หจก.เจซีซี เอ็นจิเนียริ่ง..........0-2744-5855 หจก.ช.เจริญเทรดดิ้ง .............0-2890-1144 หจก.ซัพพลายการช่าง ...........0-2222-8395 ห้างซินฮะเส็ง ......................0-2222-0360 ซี.ซี.การช่าง ..........................0-2750-1942 บจก.เซ็นเตอร์สเกล ..............0-2874-9098 หจก.ดอนเมืองเครื่องชั่ง .... 0-2521-9288-9 หจก.ลิเนียอินสทรูเม้นท์ .... 0-2807-9181-6 บจก.ดิจิตอลสเกลและเอ็นจิเนียริ่ง ........................................ 0-2662-5225-7 บจก.ดีทแฮล์ม .....................0-2221-4167, ............................................0-2652-9414 บจก.สหภัณฑ์ดิจิตอลสเกล ..........................................08-1358-0554 บจก.ตราชูเอเชีย ...................0-2221-1378 บจก.ท็อปโกลบอลเทค ..........0-2703-7117 บจก.เทคนิเคิล แอ๊ดวานซ์ (1995) ........................................ 0-2948-5703-6 ซีซี การช่าง .........................0-2750-1942, ............................................0-2312-4010 บจก.ไทย-ไลออน เทค...........0-2946-2900 บจก.ไทยเครื่องชั่ง .................0-2420-1610 บจก.ไทยทวีอุตสาหกรรมเครื่องชั่ง
............................................0-2533-8331 หจก.ไทยสวัสดิ์โลหะกิจ ........0-2234-9659 หจก.ไทยแสงเจริญเครื่องชั่ง ............................................0-2214-3936 บจก.ไทยแสงเมดริก ..............0-2236-1165 บจก.บราโนเทค.....................0-2274-4323 บมจ.เบอร์ลียุคเกอร์ ..............0-2367-1111 พรฟ้า ...................................0-2755-0887 บจก.พรีม่าอินเตอร์เอ็นจิเนียริ่ง ............................................0-2954-4400 หจก.มาตรฐานเครื่องชั่ง .........0-2887-8441 บจก.มานิด แอนด์ ทูล ..........0-2266-9982 ห้างมุ้ยเช้งเฮงกี.่ ....................0-2221-0488 บจก.เมทเล่อร์-โทเลโด (ปท) ............................................0-2723-0300 บจก.ยูนิ-โปร สเกลล์เอ็นจิเนียริ่ง (ปท) ............................................0-2742-9639 บจก.ยูนิเวอร์แซล เยนเนอรัลอีควิปเมนท์ ........................................ 0-2644-4584-5 บจก.รุ่งเรืองกิจ เวท แอนด์สเกล ............................................0-2413-3173 บจก.ศรีฟ้าไทย......................0-2286-8663 ศูนย์บริการซ่อมเครื่องชั่ง.......0-2742-6647 บจก.สเกล่าร์ เทคโนโลยี ........................................ 0-2612-0334-6 ห้างส่งเสริม ..........................0-2226-0325 บจก.สยามเครื่องชั่งและวิศวกรรม ........................................ 0-2224-8941-2 สหภัณฑ์เครื่องชั่ง .................0-2466-3772 บจก.สากลภัณฑ์แมชินเนอรี่ ........................................ 0-2381-4730-1 หจก.สิริชัยการช่าง ................0-2893-7239 หจก.อ.เจริญชัยเทรดดิ้ง.........0-2236-1102 บจก.อินเตอร์เนชั่นแนลเอนจิเนียริ่ง ............................................0-2736-3535 หจก.เอ็นพีอาร์ แมชชีนเนอรี่ ............................................0-2752-4846 บจก.เอ็นคอร์ป ................. 0-2332-3707-9
บจก.เอสทีเอฟ (ปท) ............0-2581-5393 บจก.ไอซีอี แอดวานซ์ ....... 0-2722-6525-6 เชือก สนง.ก้วงเฮงเส็ง...................0-2222-1749, ............................................0-2222-5547 โรงงานกิมเฮง .......................0-2420-0479 บจก.เชือกและอวนสยาม ......0-2675-8504 บจก.โชคเจริญพลาสติก ..... 0-2807-7001-2 บจก.ทอรุ่งเรือง .....................0-2457-3338 หจก.ทีแม็ชเปเปอร์................0-2897-6140 หจก.ไทยศรีไพศาล................0-2223-4477 หจก.ธนสยามการทอง ....... 0-2892-3551-3 ปรีดาพลาสติก ......................0-2394-2306 พีเอ พลาสติกโรงงานเชือก ....0-2811-2637 บจก.มิชูโย่ (ปท) ...................0-2294-7536 เมธากร ................................0-2225-7642 ย่งหลี ............................... 0-2223-0904-5 หจก.โยธินอุตสาหกรรม.........0-2455-3375 รุ่งเจริญอุตสาหกรรม ......... 0-2815-4991-2 หจก.รุ่งทิพย์พลาสติก........ 0-2328-0354-6 บจก.รุ่งเรืองยงเจริญ ..............0-2899-5422 วัชระพลาสติก .................. 0-2393-8203-4 ศรีธงทอง .............................0-2222-8584 บจก.ศิริชัยวัฒนาและบุตร ....0-2221-2608, ............................................0-2223-9906 บจก.สกายวีฟวิ่ง ............... 0-2223-7882-3 บจก.สยามบราเดอร์ ........0-2675-8505-35 สหรวมทอง ..........................0-2426-4055 หจก.สุพัฒน์ .........................0-2222-1792 หจก.แสงฟ้าอุตสาหกรรม ......0-2466-3063 บจก.หยกสิน .................... 0-2429-4925-7 หจก. อ.เจือเจริญ ..................0-2226-3515 บจก.อุดมทรัพย์อุตสาหกรรม .0-2416-7723 บจก.เอเชียดริ๊ง .....................0-2622-8186 เอส เอส เค ค้าเชือก ............0-2472-3102 โรงงานโอเชียน โรพ .......... 0-2429-2122-3 แชมพู ศศิมาสมุนไพร ......................0-2546-2335
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 74
แช่เย็น บจก.ไพศาลโรจน์ทรานสปอร์ต ......................................0-3442-1148-52
ต
หมวดเตาอบ บจก.สยามโคอกริเวิลด์..........0-4224-4001
ตาข่าย
บจก.ซิงหยาง ........................0-3432-1555 บจก.เอกสุวรรณเกษตร (2001) .................. 0-2448-0327, 0-2885-0793 ต้นไม้เพาะชำา
สวนภูตะวัน ..........................0-3559-9100 สวนชวนชมทุ่งเศรษฐี ..........08-9709-3363 สวนหัสดี ............................08-1973-4161 สวนคุณประสิทธิ์.................08-9079-2520 สวนศรีอัมพร ........................0-2272-4286 สวนนำาโชค .........................08-9245-3858 สวนกล้วยไม้เมืองโคราช......08-1547-2745 สวนมดตะนอย (ชลบุรี) ......08-6710-0301 สวนโป๊ยเซียน .......................0-2870-7174 สวนชวนชมดอนเงิน............08-1592-0667 สวนไผ่ปทุม ........................08-1348-4723 สวนสวยรังสิต ......................0-2911-3647 ป๋องพันธุ์ไม้.........................08-4271-6627 สวนปากเกร็ด .....................08-1850-4374 สวนวิเศษพันธุ์ไม้เพชรเกษม ..........................................08-1920-9642 กระถางไทยพัฒน์................08-1333-4916 สวนวิชาพันธุ์ไม้...................08-1983-1415 สวนหนุ่มหนองแหน ............08-9033-7717 พรรัตน์การ์เด้น ...................08-9009-8371 โป๊ยเซียนแห่งประเทศไทย ..........................................08-1853-7971 สวนนาถยา .........................08-1926-6232 ไบโอเนียร์โปรโมชั่น ...............0-2527-1976 อิมพอร์ท เอ็กบอร์ด ..............0-2998-1338 วนเกษตรสยาม.....................0-2960-5301
ถ
หมวดถังสเตนเลส บจก.มนต์ชัยการช่าง บ้านโป่ง (1985) ........................................ 0-3550-0184-6 ถุงพลาสติก-ถุงข้าวสาร
ถ่าน ถ่านอัดแท่ง ........................08-1867-7014 ถัง บจก.มนต์ชัยการช่างบ้านโป่ง ..........................................08-1806-1936 ถุงเพาะชำา
ธ
ธนาคาร ธกส. ธกส. สาขาสีคิ้ว ....................0-4441-1909 ธกส. สาขาสามพราน ............0-3432-4070 ธกส.สาขาปราณบุรี ...............0-3262-1442 ธกส.สิงห์บุรี .........................0-3652-4219 ธกส.บางปะอิน .....................0-3526-1560 ------------------------------
ธกส.อุทัยธานี .......................0-3535-6252 ธกส.ท่ายา ............................0-3246-1557 ธกส.จอมบึง .........................0-3226-1170 ธกส.โพธาราม.......................0-3235-5265
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 75
ธกส.ลำานารายณ์ ...................0-3646-1256 ธกส.ลพบุรี ...........................0-3661-8571 ธกส.ระยอง ..........................0-3661-1099 ธกส.บางไทร.........................0-3537-1035 ธกส.มหาสารคาม .................0-4372-1939 ธกส.นครชัยศรี .....................0-3433-1124 ธกส.ทับสะแก .................. 0-3254-6395-6 ธกส.ราชบุรี ..........................0-3232-1389 ธกส. สาขาบัวใหญ่................0-4429-2118 ธกส. สาขาปากช่อง ..............0-4431-4863 ธกส. สาขาราชสีมา ...............0-4432-9055 ธกส. สาขาห้วยแถลง............0-4439-1487 ธกส.สาขาบึงโขงหลวง...........0-4241-6187 ธกส.สาขาน้ำาพอง.............. 0-4344-1502-3 ธกส.สาขาภูผาม่าน ...............0-4339-6021 ธกส.สาขาย่อยบ้านทุ่ม ..........0-4338-2275 ธกส.สาขาหนองเรือ ..............0-4329-2259 ธกส.สาขาแก่งคร้อ................0-4483-1371 ธกส.สาขาบางเลน.................0-3439-1222 ธกส.สาขาประจวบคีรีขันธ์ .....0-3255-0846 ธกส.สาขาบางระจันต์ ............0-3653-4608 ธกส.สาขาอ่างทอง ................0-3561-1150 ธกส.สาขาเสนา.....................0-3520-1811 ธกส.สาขาชะอำา ....................0-3247-2077 ธกส.สาขาบ้านแหลม.............0-3248-1984 ธกส.สาขาปากท่อ .................0-3235-8520 ธกส.สาขาบางแพ ..................0-3238-1147 ธกส.สาขาสมุทรสงคราม .......0-3471-1259 ธกส.สาขาเลาขวัญ ................0-3457-6100 ธกส.สาขาสองพี่น้อง .............0-3432-4070 ธกส.สาขาเขาไม้แก้ว .............0-3262-1442 ธกส.สาขาศรีประจันต์............0-3652-4219 ธกส.สาขาบางบาล ................0-3526-2456 ธกส.สาขาชัยภูมิ ...................0-4483-5431 ธกส.สาขาหนองบัวแดง .........0-4487-2425 ธกส.สาขาคง ........................0-4445-9118 ธกส.สาขาชุมพวง .................0-4441-7447 ธกส.สาขากำาแพงแสน ...........0-3435-1784
ธกส.สาขากุยบุรี....................0-3568-1603 ธกส.สาขาหัวหิน ...................0-3551-1543 ธกส.สาขาอู่ทอง....................0-3555-1456 ธกส.สาขาอยุธยา ..................0-3525-2248 ธกส.สาขาท่าเรือ ...................0-3534-1931 ธกส.สาขาเขาย้อย ................0-3243-9877 ต้นไม้-เพาะชำา-ปลูก ชมรมบอนไซ ฉะเชิงเทรา ..........................................08-1577-3751 กลุ่มชะอมเพาะเมล็ด ..........08-1848-6472
กลุ่มปลูกมะละกอ ชะอม แก้วมังกร ..........................................08-1977-2988 เมล็ดพันธ์แตงกวา ..............08-1874-7901 นัทธพงษ์พันธ์ไม้ .................08-1580-6064 กลุ่มต้นไม้มงคล ต.ท่าผา ..........................................08-9910-6669 เมล็ดพันธ์ทานตะวันและข้าวสาลี ..........................................08-4002-0023 ตลาดต้นไม้ครบวงจร ...........08-1833-9487 เจริญสวนเฟื่องฟ้า .................0-3432-1786 แทรคเตอร์-อุปกรณ์
ท
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 76
บจก.สยามคูโบค้า .................0-2909-0300 บจก.จ.เจริญชัย (นายเจ่า)......0-3524-1852 สยามยนต์แทรคเตอร์ ............0-3630-3515 สหชัยแทรคเตอร์ ..................0-3622-1845 พินิจแทรคเตอร์.....................0-3643-6202
ดี เอ็มแมชีนเนอรี่ .................0-2802-6660 เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม .......0-2675-9401 ณัฐพงษ์แทรคเตอร์................0-2691-4072 มิตรอะไหล่แทรคเตอร์...........0-3536-1380 ณัฐวุฒิเครน..........................0-3454-2628 พัฒนาเกษตรยนต์ .................0-3643-6088 บจก.บีทีแทรคเตอร์ ...............0-2215-4904 ท่อสูบนำ้า-จำาหน่าย สวนแตงกลการ ..................... 035-599202
นำ้าตาล
นำ้าปลา-ซี่อิ๊ว-เครื่องปรุง โรงงานนำ้าปลาศิริบางปู...........0-2330-1888 โรงงานนำ้าปลาไทย (ตราปลาหมึก) ............................................0-2234-3402
น นำ้ามันงา-ผลิต-จำาหน่าย บจก.ชัยเสรี ..........................0-3650-1025 เนื้อสัตว์-ขายส่ง
บจก.แหลมทองโปรตีนฟู้ด ............................................0-2420-4717 นำ้า-ติดตั้ง
บจก.นำ้าตาลทรายกำาแพงเพชร ........................................ 0-2224-2994-8 นม-ผลิตภัณฑ์ พี.ที.จี.สตีลดีเวลลอปเม้นท์....0-4429-1790 รามอินทราธีรกิจ....................0-2971-8924 ราชบุรีแทรคเตอร์ ..................0-3228-1055 เคแมนชั่น......................... 0-2934-1203-5
หจก.สุพจน์การ์เด้นดีไซน์ .......0-2992-9363
บ
เบ็ดเตล็ด ผ้าห่ม 3 ฤดู .......................08-1371-3589 สมุนไพรรีชสิทธิ์ ..................08-1432-2472 บจก.แดรี่โฮม......................08-1876-7234 กรุงเทพเครื่องสวน ................0-2618-4961
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 77
บจก.แพลนโปรเทคอะโกร ..........................................08-9524-4315 บจก.ไบโอเกษตรกรรม ..........0-2570-5312
ปุ๋ย-ปุ๋ยชนิดนำ้า
ป บจก.ไบโออาร์ท ................ 0-2448-9104-5 บจก.ไทยฟาร์เมอร์โปรดักส์ซัคเซล ........................................ 0-3499-3411-4 บจก.ไทยเซ็นทรัลเคมี ............0-2639-8888 บจก.เอ็กซ์ตร้าอโกรเคมีคอล .................. 0-2312-1051, 0-2750-6852 บจก.วาน.วี.พี.เปอร์ติไลเซอร์ ............................................0-2928-1299
หจก.โปรบิซิเนสบุญทองสุข ..........................................09-3584-6654 ปุ๋ยนาโน ทรานฟอร์ม...........09-8898-8294 ปุ๋ยมูลไส้เดือนแท้ 100% ....08-3133-4114 บจก.เคโมคาฟ .................. 0-2448-9104-5
บจก.ไทยธุรกิจเกษตร ......0-2954-5777-84 บจก.ไทยยูเนี่ยนโบน .............0-2395-1012
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 78
ปุ๋ยตรากุญแจ ......................08-1725-7341 บีเค. รุ่งเรืองพืชผล ...............0-2654-5770 ปุ๋ยอินทรีย์ตราเทพวานร ........0-3648-1657 ปุ๋ยอินทรีย์ P.K. ตราห้าม้าแข่ง ..........................................08-1851-6225 ร้านประสิทธิ์การค้า ...............0-3457-1059
บจก.ซาโกร (ประเทศโทย) ......................................0-2957-8360-76 บจก.ดาวฟ้าเคมี ..............0-2363-7538-41 ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 79
........................................ 0-2986-1680-2 ร้านมาลีการเกษตร ................0-2278-5016
บจก.ลุมพินีอุตสาหกรรม ......0-2250-1144, ............................................0-2654-5449
วรพงษ์การเกษตร (คุณทิพย์) ........................................ 0-2272-4768-9 บจก.ปุ๋ยตราโอ ....................08-1268-3139 บจก.ปุ๋ยไก่ตราเพชร ............08-4319-4411 บจก.เอสทีเฟอร์ทัลตี้ .............0-3499-1614 ร้านไทยโค๊ท...................... 0-2435-4714-5 บจก.สยามไบโอเทค ........0-2361-5059-61 บจก.เชนเฟอร์ติไลเซอร์ ...0-3583-8668-69 บจก.วี.พี.เฟอร์ติไลเซอร์ ......................................0-2363-7537-41 เกษตรรำ่ารวย ........................0-4572-4242 ร้านราชพฤทกษ์เกษตร ..........0-2549-1294 บจก.ปุ๋ยไวกิ้ง ..................0-2423-9580-90 บจก.ออร์กานิคไซเคิล ...........0-2926-0016 ร้านยอดการเกษตร .............08-9529-9333 บจก.ศรีวิโรจน์ฟาร์ม ............08-1988-4313 บจก.บุรีรัมย์โชคศักดิ์ชัย ........0-4468-1211 สินศักดาการเกษตร...............0-2985-5586 บจก.กู๊ดวิลอะโกร ...............08-1943-3688 บจก.แอ็กโกร (ประเทศไทย) ............................................0-2308-2102 ปลูกผักออร์แกนิกไร้สารพิษ ..........................................08-1629-0807 บจก.กุ้งหลวงไคโตซาน ..........0-2448-0395 ร้านอำานวยการเกษตร............0-2577-1480 ชัยเจริญการเกษตร................0-4323-7117 รัตนาพาณิชย์การเกษตร ........0-4458-1052 ร้านสมานการเกษตร..............0-4371-1515 อยู่พิพัฒน์การเกษตร.............0-4431-2771 พัฒนาการเกษตร ..................0-4444-7035 เรียงเจริญการเกษตร .............0-4488-2867 รุ่งเรืองการเกษตร..................0-4327-2938 สุรชัยฟาร์ม..........................0-3844-4306, ............................................0-3875-0280 บจก.ไร่อรุณวิทย์รีสอร์ท...0-2423-9500-20 หจก.โคราชโพลีแบ็ก .............0-4441-5250 บจก.ปุ๋ยอินทรีย์เกษตรไทย ....0-3464-3444 บจก.บุญพืช (ประเทศไทย) ...0-5331-1528
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 80
บจก.พี.ที.ยอดปุ๋ยไทย ...........0-3226-8017 บจก. ศ.วัฒนาการเกษตร ...............0-2487-5540-2, 0-2811-2778 ร้านหัตถ์ตชัยพาณิชย์ ...........0-4581-0660, ............................................0-4563-5967 ร้านหลีเม้ง ...........................0-3461-1225, ............................................0-3461-1157 บจก.เอเชียอุตสาหกรรมปุ๋ย ............................................0-2533-0152 บจก.ทีพีไอโพลีนชีวะอินทรีย์ ............................................0-2285-5090 บจก.นนท์เกษตร ...................0-2589-8821 บจก.เทพเกษตรอุตสาหกรรม ........................................ 0-2463-9623-4 บจก.กรุงเทพวรรณกิจ ...........0-2462-5512 บจก.กำาไลทองการเกษตร ......0-2883-4481 บจก.เจียไต๋ ...........................0-2233-8191 ศรีนครการเกษตร..................0-4571-1665 ร้านนิมิตการค้าจำาหน่ายปุ๋ยเคมี ..............08-7221-7999, 08-9854-5224 ร้านสมานการเกษตร..............0-4371-1515 ปุ๋ยไทย .................................0-2266-9028 จิตรชัยการเกษตร .................0-3262-3115 มิตรสมบูรณ์ .........................0-2511-1666 สยามอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี ............................................0-3438-1759 ปราโมทการเกษตร ................0-2905-9600 บจก.ไทยเจริญเกษตร ............0-4467-9118 อาร์แอนด์การเกษตรพัฒนา ............................................0-5214-8668 เอเชียอุตสาหกรรม ...............0-2531-3117 ร้านเกษตรภัณฑ์....................0-2577-1692 เกษมพานิช ..........................0-4457-1984
พันล้านการเกษตร.................0-4327-4666 ปากช่องเคมีเกษตร ...............0-4424-9416 ชำานาญการเกษตร .................0-4277-1881 ชุมแพการเกษตร...................0-4338-4513 เมืองพลพืชผล .....................0-4327-2909 ถังนำ้าการเกษตร ....................0-4287-1167 ศรีนครการเกษตร..................0-4571-1665 จิตรชัยการเกษตร .................0-3262-3115 บี-อาร์เอสฟู้ดส์ ...................08-1995-1266 ปุ๋ยเคมีอินทรีย์การเกษตร ..........................................08-9629-0961 ร้านธนการเกษตร ................08-9550-9415 บจก.เพาะพรการเกษตร.........0-2832-8770 ร้านสายสุนีย์การเกษตร ................08-1926-6093, 0-2737-7766 บจก.ไทยสมบูรณ์ 1984 .......0-5622-4721 ปุ๋ยแคปซูล .........................08-8216-4769 กรีนเมจิกอะโกร ....................0-3554-7175 บจก.ทีเคออคิดฟาร์ม ..........08-1654-3814 ดาวทองการเกษตร................0-2598-3890 ปุ๋ยต้นโพธิ์ ............................0-2985-5779 ดีสิงห์ทวีโชค.........................0-4571-5612 สยามซีฟู้ด............................0-2591-1327 ปุ๋ยคุณลี ...............................0-2748-1750 บจก.บางกอกไทย-ยูเรเชีย .................. 0-4528-9191, 0-4531-1727 บิ๊กสกายเทรดดิ้ง ............... 0-2935-2581-3 เกษตรนำาโชค.................... 0-2689-2420-1 ปุ๋ยอะโกรนิค.........................0-3432-5709 ทรัพย์เจริญผลการเกษตร ......0-3626-6165 เกษตรรุ่งเรืองพัฒนา .............0-3499-2111 ร้านอำานวยการเกษตร............0-3447-3955 สหกิจตะพานหิน ...................0-3534-1739 รวมเกษตรอุตสาหกรรม ........0-4445-9214 ไพศาลการเกษตร ..................0-4424-1937 เสรีการเกษตร................... 0-4420-7627-8 บจก.กรีนอะโกรพลัส......... 0-3496-2320-1 ปุ๋ยกรีนมิกซ์กรีนกู๊ด.............08-0230-7792
ขายปุ๋ยอินทรีย์ ....................08-1098-3541 บจก.สยามยิ้มยิ้ม 2005 .......0-3438-1759 บจก.ปุ๋ยแคปซูลนาโน ..........08-4916-8234 บจก.รุ่ง 99 โคราช..............08-5351-1814 บจก.ดวงตะวันเพชร..............0-2749-8597 ปุ๋ยขี้ไก่อัดเม็ด (98 ฟาร์ม) ..........................................08-9902-8719 แป้ง-ผลิตและจำาหน่าย
บจก.แป้งมันเอี่ยวเฮง ............0-4445-7040 บจก.ลพบุรีสตาร์ซ............. 0-3646-2361-2 บจก.โค้วชังเอี๊ยะ...................0-3824-9045 หจก.โรงแป้งกิจรุ่งเรือง ..........0-3802-9800 ปาล์ม-พันธุ์-ต้นกล้า
บุษกรพันธุ์ไม้ ................... 08-11192-9344 บจก.ซีพีไออะโกรเทค ............0-7759-9680 สวนภูผาลัม. ...081-3567199
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 81
ป้ายหิน สระบุรีหินแกรนิต..................0-3636-9058 ปลา-จำาหน่าย ปาล์มแปรรูป บจก.โกลเด้นออยปาล็ .........08-9663-6605 บจก.เอเชียผลิตภัณฑ์นำ้ามันพืช ............................................0-2512-1051 บจก.สุขสมบูรณ์ ชลบุรี ............................................0-3844-2999 บจก.ทักษิณอุตสาหกรรมนำ้ามันปาล์ม (1993) ........................................ 0-2513-8747-9
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 82
ปศุสัตว์ จ.ชัยภูมิ...................0-4481-2334
ผลไม้แปรรูป
ผลิตผลทางการเกษตร
ปศุสัตว์ ปศุสัตว์ จ.ขอนแก่น ..............0-4322-2154 ปศุสัตว์ จ.บึงกาฬ .................0-4249-2734 ปศุสัตว์ จ.บุรีรัมย์ .................0-4461-1988 ปศุสัตว์ จ.ราชบุรี ..................0-3233-7802
ปศุสัตว์ จ.เพชรบุรี ................0-3242-4909 ปศุสัตว์ จ.เพชรบุรี ................0-5672-2094 ปศุสัตว์ จ.ลำาพูน ...................0-5351-1288 ปศุสัตว์ จ.พัทลุง ...................0-7461-3297
ปศุสัตว์ จ.สุราษฎร์ธานี..........0-7727-2900 ปศุสัตว์ จ.หนองคาย .............0-4425-1822 ผลไม้ส่ง-ออก
บุษยาธรพืชผล.....................0-2986-3077, ............................................... 2986-3079 บจก.tim food.................. 0-2691-7886-8 หจก.กรีนเดลี่ฟู้ดส์ ................0-2832-6676 บจก.เอเยนต์เทรดเซอร์วิชส์ ........................................ 0-2985-8601-2 บจก.ไทยเพื่องฟูเทรดดิ้ง ........0-2520-3391 บจก.ยูนิตี้กูดส์ ......................0-2285-4115 ผลไม้อบแห้ง บจก.เจริญอุตสาหกรรม .........0-3449-8246 บจก.ซีแพค...........................0-2840-0058 บจก.ดารินกรีน......................0-2929-6739
สง่าพืชผลการเกษตร.............0-4466-1311 เครื่องห่อผลไม้ ...................08-3177-0374 บจก.ไฮทิพย์ .........................0-2927-7607
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 83
บจก.ผลไม้จามจุรี ..................0-2468-1615 กลุม่ แปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรบ้านป่าคา ..........................................08-6092-7477
ผลไม้-ผัก-ส่งออก เกษตรอินทรีย์.......................0-2992-3104 ทวีผลเกษตรธรรมชาติ ..........0-3482-4563 สวนสันธนาธร ......................0-5334-6555 กลุ่มขายมะละกอ ...............08-9958-5461 พลาสติก
บจก.คิวแพ็คโปรเกรซ........ 0-2983-3695-6 บจก.เอกสุวรรณเกษตร (2001) ...............0-2448-0327, 0-2885-0793-4 ร้านส่องแสงพาณิชย์ .............0-3555-1363 โรงงานสยามพลาสติกเกษตร (บจก.เห็ดสยาม) ................0-2377-0680 บจก.อุตสาหกรรมผ้าเคลือบพลาสติกไทย ........................................ 0-2464-3260-6 บจก.เอ็มจีพี สังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม ........................................ 0-2271-4213-6 ร้านหฤทัยกระถาง ............. 0-2422-0813-4 บจก.สรมาคอนแทนเนอรแม็ก ............................................0-2294-6674 ถาวรพลาสติกบรรจุภัณฑ์ ............................................0-3559-5085 พันธุ์ไม้ ผ้าไหม
ตลาดต้นไม้ครบวงจร ...........08-1833-9487 พันธุ์ไม้ผล ..........................05-1785-7375
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี .........................................08-9760-8838, ..........................................08-6049-5349 เมล็ดพันธุ์ทานตะวันและต้นข้าวสาลี ..........................................08-4002-0023 พลังงานแสงอาทิตย์
ฟาร์ม
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 84
จิรวัฒน์แฮบบัทฟาร์ม ..........08-3859-4290 ไพศาลฟาร์ม .........................0-4329-6012
ฟาร์มเป็ดเสียเหลิง ..............08-1864-6353 เอี่ยมจิตต์อีโคฟาร์ม ............08-1929-2626
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 85
ฟาร์มเห็ด บจก.เจริญฟาร์ม ................ 0-3436-3378-9 อุดมเกษตรฟาร์ม ..................0-3550-0993 เคทีฟาร์มเทรดดิ้ง..................0-2382-0304 ศรีสวัสดิ์ฟาร์ม 081-0540806
ลัลลิลณ์ฟาร์มเห็ด ...............08-9977-1414 ฟาร์มเส้นทางเห็ด................08-1971-5155
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 86
โรงงานอัดเม็ด คำาปิงเกษตรกรรม ............................................0-4485-9032 บจก.มาลัยพืชผล ..................0-2532-9173 เมล็ดพันธุ์-พันธุ์ไม้
ฟาร์มเส้นทางเห็ดบ้านผักน้ำาฟ้าbyส.รัตนตรัย . ...........................................098-2653765 ฟาร์มเห็ดวิราภา ..................08-1570-7068 มันสำาปะหลัง-และหัวพืช โชคประเสริฐลานมัน .............0-4343-1068 หจก.เจริญชัยค้าพืช ...............0-4327-2909 มหพืชผล .............................0-4331-1198 สหสุรินทร์พืชผล...................0-4452-8311 สถาบันพัฒนามันสำาปะหลังแห่งประเทศไทย ............................................0-2679-9112
บจก.เอ.เอ็ฟ.เอ็ม.ฟลาวเวอร์ชีล ......................................0-5335-38410-5 บจก.แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ ..... 0-3626-6316-9 ตันหยงมัสเนอร์สเซอรี่ ........08-1738-7277 ร้านประสิทธิ์การค้า ...............0-3457-1059 ร้านวัดพร้าวพันธุ์ไม้ .............08-9975-5533 ลัดดาการเกษตร ...................0-2978-3282 บจก.ซีพีไอ อะโกรเทค ..........0-7759-9680 บจก.เพื่อนเกษตรกร..............0-5321-1810 บจก.ที.เอส.เอ. ................. 0-2579-7761-2 บจก.อีสท์เวสท์ซีด ................0-2831-7777 บจก.ที.อาร์.กรีน....................0-3879-7448 ข้าวโพดแปดแถว ................08-4866-1761 อำานาจดอกอุบล ..................08-7082-2765 ไร่ขิงพันธุ์ไม้ .......................08-1943-2231, ..........................................08-1435-5332 ร้านราชพฤกษเกษตร .............0-2549-1294 บจก.ออไรซาเวิลด์.................0-4347-0297 บจก.พืชพันธุ์ตราสิงโต ...........0-2887-6788 บจก.มอนซานโต้ไทยแลนด์ ....0-2793-4888 บจก.ฮอทีโกร........................0-5387-9224 พลาสติก
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 87
เกษตรรุ่งเรืองพัฒนา .............0-3499-2111 วันชัยการเกษตร ...................0-4338-8068 พันล้านการเกษตร.................0-4327-4666 เจริญสินการเกษตร ...............0-4578-1144 ยางพารา
ยา
ยาฆ่าแมลง ปรีดาการเกษตร ....................0-3238-3642 EIM SUK...........................0-2908-8941 บจก.นูตริเคมส์ .....................0-2529-1301 บจก.พีชายน์ .........................0-2582-1071 บจก.มิวไบโอเคม ..................0-2987-1935 บจก.สยามกรีนโปรดักส์.........0-2533-8432 บจก.ไบโอเทค.......................0-2908-3308 บจก.ซันฟีด ..........................0-2561-1461 บจก.บางกอกฟาร์ม ...............0-2914-1527 บจก.บ.บางกอกฟาร์ม............0-2581-6168 ศิริชัยเคมีการเกษตร..............0-3236-2199 ป. ประทีปทอง 2000...........0-3471-7829 ทรัพย์เจริญผลการเกษตร ............................................0-3626-6165
โรงเรือน-โรงเพาะชำา เกษมโรงเรือน.061-1065107
โรงสี-ข้าว บจก.suppersave 1982.........044-670721
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 88
ช้างแทรคเตอร์่ ....................... 034-571297
โรงสีกิจธนา ...................... 0-3426-1288-9 สินศักดาการเกษตร...............0-2985-5586 โรงสีทุ่งน้อย .........................0-3235-3122 โรงสีข้าวนำ้าพอง ....................0-4243-1332 โรงสีข้าวทิพย์รุ่งเรืองกิจ .........0-4441-3058 โรงสีข้าวอุดรเอกสิริ ..............0-4729-0429 โรงสีโชคชัยรวงทอง ..............0-4409-1557 โรงสีข้าวเกษตรอินทรีย์ ..........0-4385-9490 โรงสีเศรษฐกิจรวมผล............0-4553-6300 โรงสีข้าวหอมหนองหารไทยง่วน ............................................0-4220-9133 โรงสีข้าวอุดรเอกศิริ ..............0-4229-0423 โรงสีข้าวอยุธยาค้าข้าว...........0-2908-2742 อุดมข้าวสยาม ......................0-2459-5454 โรงสีข้าวชัยรุ่งเรือง ................0-4341-4674 โรงสีฉีเฉียงธงไชย ............. 0-4332-9930-1 โรงสีข้าววิเชียรทรัพย์ ............0-4526-7054 โรงสีธัญนคร .........................0-4433-2366 โรงสีข้าวโพนทอง ..................0-4229-0082 โรงสีข้าวพิบูลทองทวี.............0-4544-1084 ข้าวศรีไทยใหม่......................0-4794-1111 โรงสีธัญนคร .........................0-4433-2366 รถแทรคเตอร์-เครื่องจักรการเกษตร บจก.พศุตม์ เอ็นเตอร์ไพร์ .....081-3999938
คนสร้างสวน by mr.seal. ....092-3650464 KL จักรการเษตร.................083-5635965 พีอาร์ จักรกลการเกษตร......02-4293990-1
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 89
ไร่ผลไม้-ฟาร์ม
รับซื้อ-ขายพืชไร่ ตลาดนัดสีเขียว อ.กมลาไสย ..........................................08-5511-1609 รับซื้อนำ้ามันปาล์ม ............. 0-8-5665-8088 ส.สมบูรณ์พืชผล...................0-3626-6748 ศิลปหัตถกรรม
สหกรณ์การเกษตร
หจก.ดวงดีเทคโนโลยีการเกษตร. .................. ...........................................061-9695959 หจก.วี บี เค โฟร์เอส ..........02-6913203-4 บจก.ยูโรแทรค ....................... 038-799911 เกษตรพอดี .........................097-1315052
รั้วเหล็ก-โลหะ บจก.บุนย์วานิช .....................0-2271-0967
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 90
ชุมนุมสหกรณ์ยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย ........................................ 0-2373-0020-1 สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คขามทะเลสอ ............................................0-4433-3388 สหกรณ์เคดิตยูเนี่ยนไทย สาขาขอนแก่น ............................................0-4321-0763 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส. ปทุมธานี ..............................0-2978-0392
สหกรณ์การเกษตร อ.ผาขาว ............................................0-4281-8098 สหกรณ์การเกษตรโพนสวรรค์ ............................................0-4259-5069 สหกรณ์การเกษตรนำ้าเย็น ......0-4537-1039 สหกรณ์การเกษตร จ.ชัยภูมิ ............................................0-4278-1023 สหกรณ์-รับซื้อ สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี ............................................0-3238-9234 สหกรณ์สวนการยาง ขอนแก่น ............................................0-4325-2216 สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย ............................................0-2561-4567 ชุมนุมสหกรณ์ จ.พระนครศรีอยุธยา
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 91
............................................0-3535-9097 สหกรณ์การเกษตร (เนินนกทา) ............................................0-4578-1327 สหกรณ์เคดิตยูเนี่ยนไทย (สาขาเชียงใหม่) ............................................0-5339-0893 สหกรณ์เคดิตยูเนี่ยนบ้านหนองกระทุ่มพัฒนา ............................................0-3259-6046 สหกรณ์สุราษฎร์ธานี (จำากัด) ............................................0-7744-1050 สหกรณ์ข้าวฉางอำานาจเจริญ ..........................................08-9849-9322 สหกรณ์การเกษตรกันทรลักษณ์ ............................................0-4566-1358 สหกรณ์การเกษตร (สามหมอ) ............................................0-4486-1346 สำานักงาน
หจก.หกพันนา .....................0-4548-2297, ..........................................08-1876-1971 กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรบ้านป่าคา 08-6092-7477
กลุ่มแม่บ้านสมุนไพรคุณธรรม ..........................................08-3255-0604 สวนผัก-ผลไม้-สวนพรรณไม้
สนง.งานเกษตรกาฬสินธุ์ .......0-4381-1714 สมาคมค้าข้าวไทย .................0-2234-9187 สนง.ตลาดวโรรส ..................0-5323-5688 สถานีที่ดิน จ.ขอนแก่น ..........0-4324-6759 เส้นก๋วยเตี๋ยว
สินค้าเกษตรแปรรูป
สวนกุหลาบอังกฤษ .............09-0702-4385 สวนเทพทิพย์โภคา ..............08-9663-7298 สวนคุณปู่ ...........................09-2403-9566 สวนประสมทรัพย์ ..............08-1481-6598, ..........................................08-1377-3056
สวนสุนีย์พันธุ์ไม้ .................08-7110-6283 สวนชนากานต์พันธุ์ไม้..........08-4908-1066 บุษกรพันธุ์ไม้ ......................08-1192-9344
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 92
สวนบางไผ่พันธุ์ไม้ ...............08-6569-6225 สวนไผ่ธิดาโชค ..................08-1634-3646, ..........................................08-1424-4647 บจก.ชูนินนาทกรุ๊ป ................0-3637-1131 สวนกล้วยไข่.......................08-9085-0966 สวนคุณลี ...........................08-1886-7398
สปิงเกอร์-วาล์วไฟฟ้า
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 93
บจก.เอกสุวรรณเกษตร (2001) ...............0-2885-0793-4, 0-2448-0327 บจก.เค.ยู.การ์เด้นเซ็นเตอร์ ........................................ 0-2272-4661-2 ชลกิจสปิงเกอร์ ...................08-6802-4195
ร้านประสิทธิ์การค้า ...............0-3457-1059 วรพงษ์การเกษตร (คุณทิพย์) ........................................ 0-2272-4768-9 ร้านมาลีการเกษตร ................0-2278-5016
หจก.สมพรพานิชการเกษตร ........................................ 0-3644-2474-5
หินอ่อน สระบุรีหินอ่อนแกรนิต ............. 0-3636-9058 ห้องเย็นบริการ กิจการห้องเย็นสัตหีบ ............0-3843-7402 อุปกรณ์การเกษตร
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 94
บจก.เอบีแอนด์ดี คลูลิ่ง ........0-2948-0456 อะไหล่การเกษตร
ร้านนฤมลการเกษตร ..........................................08-5105-5614 ร้านประยูรการค้า ................08-1558-9221 ร้านนำาพาณิช ........................0-4569-1488 บจก.อัศวคอนสตรัคชั่น ........................................ 0-3236-2586-7 บจก.ชุมสินอิมสปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต ........................................ 0-3433-9751-5 บจก.ชินเกษม .......................0-2448-1313 กรเดช พืชผล .......................0-4459-1081 ออกแบบ-ติดตั้ง
บจก.เค.เค. เกษตรกลการบ้านโป่ง ............................................0-3233-0088 หจก.พี.อาร์.จักรกล ...............0-2811-2405 หจก.สามัญตะวันซัพพลาย ....0-2462-0756 บจก.อรุณไทยอิมสปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต ............................................0-2403-8509 อาหารแปรรูป
วิสาหกิจชุมชนแปรรูปและผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร ...................08-6250-5751
บจก.โมเดอร์นฟู้ดอินดัสตรี้ ..........................................0-29798-6530 หจก.สหโภคภัณฑ์ .................0-3242-7801 โรงงานนำ้าปลา (ตราทิพย์รส)..0-2234-3402 อาหารสัตว์-ผลิต-จำาหน่าย
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 95
อาหาร R3 .........................08-1403-5965 บจก.พีเคพี โอเวอร์ซีล์ ......................................0-29641-9510-4 บจก.เอเซียพลัส ...................0-3543-1575
บจก.โพรเทคเตอร์นิวทริชั่น (ประเทศไทย)..... ............................................0-3420-2480 บจก.เอ็นทีเจแมชชีนเนอร์ ......0-2915-7407 บจก.เคซีรุ่งเรือง ....................0-4337-0333 รัตนอุตสาหกรรมการเกษตร ............................................0-2449-7590 เอเพ็กรีเสริช.........................0-2914-4223 บจก.สหมิตรปลาป่น.......... 0-3449-7518-9
..........................................0-2923-99110 กรุงเทพโปรดิวส์....................0-4428-6058 เจริญโภคภัณฑ์อีสาน .............0-4324-2361 ขอนแก่นฟูดส์โปรดักส์ ..........0-4327-2323 พงษ์วัฒนาการเกษตร ............0-4545-1446 บางกอกโนเวจ ......................0-2655-1409 กว้างไพศาลฟาร์ม .................0-3548-1188 เกษตรรุ่งเรืองพัฒนา ............................................0-3499-2111 เกื้อกูลการเกษตร ........................................ 0-4231-2322-3 เกษตรรุ่งเรืองสุรินทร์ ............................................0-4453-8656 กิจธนาอาหารสัตว์ .................0-3426-1288 การุณบราเชอร์......................0-3659-9599 กิตติธนาภัณฑ์ ............................................0-2211-7860 อุตสาหกรรมอาหาร
บจก.เอสเอฟขอนแก่น ........08-1988-4313 อาหารกระป๋อง บจก.อุตสาหกรรมสัปปะรดกระป๋องไทย ............................................0-3262-2059 บจก.ทิปโก้ฟู้ด................... 0-2271-0041-3 บจก.มหาชัยอาหารไทย .........0-3481-2914 อาหารแช่แข็ง ชัยสิทธิ์ฟาร์ม ........................0-4327-2489 บจก.เวทโปรดักส์แอนด์คอนสแตน ............................................0-2937-4902 บจก.จีเอสอาร์โอ ...................0-2524-2491 บจก.เอ็มจีเคมีคอล
ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 565 96
ฮ
อวน-แห
อวนประมง ...........................0-3442-2012 บจก.ขอนแก่นแหอวน ...........0-2691-5256 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย บจก. 3 เอ็มประเทศไทย .......0-2260-8577 อบยาพืชไร่
สหกิจตะพานหิน ...................0-3534-1500 บจก.ไทยอบยาพืชไร่ .............0-2457-4243 สวน-พันธุ์ไม้ เกษตรอินทรีย์................... 0-2992-3104-5 สวนพิทักษ์ .........................08-9249-1092 สวนชวนพิศชวนชม.......... 08-18722-0536
อาหารเสริม
ไฮโดรลิก ป.สินยนต์อะไหล่ .................0-3555-1332, .................. 0-3425-5655, 0-3425-7549 นครชัยศรีไฮโดรลิค ...............0-3423-0102 นครปฐมกลการ ...................0-3439-5263, ............................................0-3439-5037 พรชัยการช่าง........................0-3439-1489 เอสพีสายไฮโดรลิก ...............0-3425-8136 เอส-เอส ไฮดรอลิก ........0-3422-7429-30 บจก.สยามเมทัลเทคโนโลยี ...............0-3895-7300-7, 0-3895-4313 บจก.อัสโน่โฮริเอะ (ไทยแลนด์) .................. 0-3895-4697, 0-3895-4692 บจก.อาร์พีทีเอเซีย ...............0-3895-5375, ............................................0-3895-5380 บจก.อาร์วินเมอร์ริทอร์ (ประเทศไทย) ...............0-3895-4343-9, 0-3895-7372 บจก.อาโอยาม่าไทย .......... 0-2756-5254-5 บมจ.เดอะโดเจเนอเรชั่น ... 0-2207-0970-1, ........................................ 0-2207-0910-1 สวนแม่แตงไผ่ทอง ..............08-3573-4554 สวนมะนาวภูเขียว ...............08-1869-4882 สวนหม่องพันธุ์ไม้ ...............08-1155-6199 ไร่อนุรักษ์ ...........................09-8096-5981
บัวทองพันธุ์ไม้ ....................08-9000-1334