ใครเป็นใคร ในแวดวงเกษตรและสหกรณ์

Page 1



























ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เงินไร่ละ 500 รอบสอง

ช่วยเหลือชาวนา

เช็ ค ด่ ว น ธ.ก.ส. - ครม.อนุมตั จิ า่ ยอีก

28,000 ล้าน

ตรวจสอบจ่ ายเงินไร่ ละ 500 รอบสอง ช่ วยเหลือชาวนา เช็ค ด่ วน ธ.ก.ส. ตามที่ ครม. อนุมัตจิ ่ ายอีก 28,000 ล้ าน เช็คตรวจสอบเงิน โครงการสนั โครงการสนับสนุนค่าบริ หารจัดการและพัฒนา คุณภาพผลผลิ ตเกษตรกรผ เกษตรกรผูป้ ลลู​ูกข้าว ปี การผลิ ต 2563/64 จ�ำนวน เกษตรกรผ้ 28,000 นวน 28,000 ล้ำนบำท นบำท ระยะเวลำด�ำเนินกำรตั้งแต่เดือนสิงหำคม หำคม 2563 2563 จนถึงเดือน พฤษภำคม 2564 เพื่อลดต้นทุนกำรผลิตและจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษำ พฤษภำคม 2564 เพื ข้ำวให้มีคุณภำพดี และขำยข้ำวในรำคำสูง ช่วยเพิ่มรำยได้ให้มำกขึ้น บรรเทำควำมเดือดร้อนจำกสถำนกำรณ์โรคโควิด-19 ให้สำมำรถด�ำรงชีพ -19 ให้ อยู่ได้ เช็คตรวจสอบได้ ท่ี ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ หรือ ธ.ก.ส. หรื อเช็คผ่ านเว็บไซต์ https://chongkho.inbaac.com https://chongkho.inbaac.com เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมกำรเกษตรในปี 2563/64 2563/64 ประมำณ 4,500,000 ครัวเรือนทั่วประเทศ จะได้รับเงินช่วยเหลือไร่ละะ 500 500 ประมำณ 4,500,000 ครั ประเทศ จะได้ บำท ครัวเรือนละไม่เกิน 20 ไร่ 20 ไร่หรือไม่เกิน 10,000 บำท ซึ 10,000 บำท ซึ่ง ธ.ก.ส. จะโอน ธ.ก.ส. จะโอน บำท ครั เงินเข้ำบัญชีเงินฝำกของเกษตรกรโดยตรง

เกษตรและสหกรณ์

ขณะที่ นำยจุรินทร์ ลักษณ วิศิษฏ์ หัวหน้ำพรรคประชำธิปัตย์ รองนำยกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว่ำกำรกระทรวงพำณิชย์ ชี้แจงว่ำ คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ เ ห็ น ชอบเพิ่ ม กรอบวงวงเงินงบประมำณโครงกำร สนั บ สนุ น ค่ ำ บริ ห ำรจั ด กำรและ พัฒนำคุณภำพผลผลิตเกษตรกรผู้ ปลูกข้ำว ปีกำรผลิต 2563/64 วงเงิน รวมทั้งสิ้น 28,046 ล้ำนบำท จำก ที่ ค ณะกรรมกำรนโยบำยบริ ห ำร จัดกำรข้ำวได้เห็นชอบกำรสนับสนุน ค ่ ำ บ ริ ห ำ ร จั ด ก ำ ร แ ล ะ พั ฒ น ำ คุณภำพและผลผลิตเกษตรกรผูป้ ลูก ข้ำวในวันที ่ 18 มิย.63 วงเงิน 56,093 ล้ำนบำท เพือ่ ช่วยลดต้นทุนกำรผลิต ให้แก่เกษตรกรผูป้ ลูกข้ำวให้มรี ำยได้ เพิ่มมำกขึ้น และเพื่อให้เกษตรกรมี ก�ำลังใจในกำรเพิ่มประสิทธิภำพใน กำรผลิตข้ำว รวมถึ ง เพื่ อ บรรเทำควำม เดือดร้อนให้เกษตรกรสำมำรถด�ำรง ชีพอยูไ่ ด้ ไร่ละะ 1,000 บำท ครั 1,000 บำท ครัวเรือน ละไม่เกิน 20 ไร่ 20 ไร่ หรือ 20,000 บำท 20,000 บำท ซึ่งคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 33 พฤศจิกำยน 2563 อนุมตั ใิ นหลักกำร ก ำยน 2563 อนุ จัดสรรวงเงินจ่ำยขำดก่อนในเบื้อง ต้นก่อนน ไร่ ไร่ละะ 500 บำท โดย ธ.ก.ส. 500 บำท โดย ธ.ก.ส. ได้จ่ำยเงินให้เกษตรกรแล้ว 4.645 4.645 ล้ำนครัวเรือนน วงเงิน 26,756 ล้ 26,756 ล้ำน บำท ครม.ได้อนุมตั กิ ำรจ่ำยเงินใน ส่วนที่เหลืออีกไร่ละะ 500 บำท ครั 500 บำท ครัว เรือนละไม่เกิน 20 ไร่ 20 ไร่ ตำมทีก่ ระทรวง พำณิชย์น�ำเสนอ เสนอ ซึ่งรวมเพิ่มกรอบ วงเงินงบประมำณส�ำหรับสนับสนุน เงินช่วยเหลือเกษตรกร เกษตรกร อีกจ�ำนวน นวน 28,046 28,046 ล้ล้ำนบำท

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

27


28

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

29


30

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564










ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางประเภทกระทรวงของ ไทย มีหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตรกรรม การจัดหาแหล่งน�้าและพัฒนาระบบ ชลประทาน ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร ส่งเสริมและพัฒนาระบบสหกรณ์ รวมตลอดทั้งกระบวนการผลิตและสินค้าเกษตรกรรม และราชการอื่นที่ กฎหมายก�าหนดให้เป็นอ�านาจหน้าทีข่ องกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือ ส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประวัติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวงเกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ขณะ มีบรรดาศักดิ์ที่ “พระยาภาสกรวงศ์ “ เป็นเสนาบดีคนแรก ใน พ.ศ. 2439 ได้ยบุ รวมกระทรวงเกษตรพานิชการเข้ากับ กระทรวง พระคลังมหาสมบัต ิ พร้อมกับลดฐานะลงเป็นกรมๆ หนึง่ ในวันที ่ 3 กันยายน พ.ศ. 2442 มีพระบรมราชโองการแยกกรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็น กระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตราธิ การ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์ วิวฒ ั น์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมีบรรดาศักดิท์ พี่ ระยาเทเวศร์วงศ์ วิวฒ ั น์เป็นเสนาบดีคนแรก โดยใช้ หอรัษฎากรพิพฒ ั น์ เป็นทีท่ า� การชัว่ คราว ใน พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวงเกษตราธิการเข้ากับ กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิ ชยการ

เกษตรและสหกรณ์

Ministry of

Agriculture and

Cooperatives

ตราสัญลักษณ์ประจ�ากระทรวง พระพิ รุณทรงนาค

ต่ อมาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้ มีการเปลี่ยนแปลงชื่อ และอ�านาจหน้ าที่จากกระทรวง เกษตรพาณิชยการเป็ น กระทรวง เศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุ ลาคม พ.ศ. 2515 มีประกาศของคณะ ปฏิวัติ ที่ 216 ก่ อให้ เกิดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ และมีปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คน แรก ได้ แก่ ดร.ปรี ดา กรรณสูต

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

39


หน่วยงานในสังกัด

• ส่ วนราชการ - ส�านักงานรัฐมนตรี - ส�านักงานปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ - กรมวิชาการเกษตร - กรมประมง - กรมปศุสัตว์ - กรมชลประทาน - กรมพัฒนาที่ดิน - กรมส่งเสริมการเกษตร - กรมส่งเสริมสหกรณ์ - กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ - ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร - ส�านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม - ส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารแห่งชาติ - กรมฝนหลวงและการบินเกษตร - กรมการข้าว - กรมหม่อนไหม

40

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

• รั ฐวิสาหกิจ นอกจากนั้นยังมีหน่วยงานรัฐวิสาหกิจซึ่งมี การจัดองค์กรการบริหารในรูปรัฐวิสาหกิจ คือ - องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก.) - องค์การส่งเสริมกิจการโคนม แห่งประเทศไทย - องค์การสะพานปลา - การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) • อดีตรั ฐวิสาหกิจที่กา� กับดูแล - ส�านักงานกองทุนสงเคราะห์ การท�าสวนยาง (สกย.) - องค์การสวนยาง (อสย.) - องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป., โอนไปสังกัด กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) • องค์ การมหาชน - สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) - ส�านักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) - สา� นักงานพิพธิ ภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

โครงสร้างส่วนราชการ

ช่องทางการติดต่อกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ตงั ้ : เลขที ่ 3 ถนนราชด�าเนินนอก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ : 0-2281-5884 E-mail : webmaster@opsmoac.go.th

แจ้ งเรื่ องร้ องเรี ยนร้ องทุกข์ : moacbfa@gmail.com MOAC Call Center : 1170 Facebook : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Youtube : MOAC Thailand Twitter : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

41


ผูบ ้ ริหาร ระดับสูง กระทรวงเกษตร

และสหกรณ์

นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

42

นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นายประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

ดร.ทองเปลว กองจันทร์

ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นายส�าราญ สาราบรรณ์

รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นายประยูร อินสกุล

รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นางสาวนฤมล สงวนวงศ์

ผู้ช่วยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์

รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นายอ�าพันธุ์ เวฬุตันติ

รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นายวิชัย ไตรสุรัตน์

ผู้ช่วยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

43


วิสัยทัศน์ “ภาคเกษตรก้าวไกล ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลาดน�าการผลิต ชีวิตเกษตรกรมีคุณภาพ ทรัพยากรการเกษตร มีความสมดุลและยั่งยืน“

พันธกิจ 1) พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้มีความมั่นคง 2) พัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรให้เติบโตอย่างมี เสถียรภาพ 3) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพตลอด ห่วงโซ่อุปทานให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาด และส่งเสริมงานวิจัย เทคโนโลยี และ นวัตกรรมเพื่อน�ามาใช้ประโยชน์ 4) ส่งเสริมให้มกี ารบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน

ค่านิยมองค์การ “MOAC” M = Morality มีคุณธรรม O = Openness ตรงไปตรงมา A = Accountability ตรวจสอบได้ C = Creativity มีความสามารถในการสร้างสรรค์

เป้าหมาย 1) ความผาสุกของเกษตรกรเพิ่มขึ้นที่ระดับ 85 ในปี 2564 2) เกษตรกรมีรายได้เงินสดทางการเกษตรเพิ่มขึ้นเป็น 59,460 บาท ต่อครัวเรือน ในปี 2564 3) เศรษฐกิจภาคเกษตรเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3 ต่อปี 4) จ�านวนงานวิจยั เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการเกษตรถูกน�าไปใช้ประโยชน์ เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 ต่อปี 5) ทรัพยากรการเกษตรได้รับการฟื้นฟูและใช้ประโยชน์อย่างสมดุลและยั่งยืน เพิ่มขึ้น

เป้าประสงค์ 1) เพื่อสร้างความภูมิใจในอาชีพเกษตรกรรม สามารถพึ่งตนเองได้ มีการถ่ายทอดความรู้อย่างต่อเนื่อง เกิดการรวมกลุ่มเกษตรกรและเชื่อมโยงเครือข่ายกับภายนอกอย่างเข้มแข็ง และลดความเหลื่อมล�้า ทางรายได้ 2) เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรยกระดับผลิตภาพ ประสิทธิภาพ คุณภาพ มาตรฐาน รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร ให้ตอบสนองความต้องการของตลาด 3) เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตร รวมทั้งพัฒนางานวิจัย เทคโนโลยี และ นวัตกรรมมาใช้ประโยชน์ 4) เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร

44

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564


ข่าวแวดวง การเกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมลงนาม MOU โครงการบูรณาการเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ กลุม่ เปราะบาง รายครัวเรือน ให้สามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ

และสามารถพึง่ พาตนเองได้อย่างยัง่ ยืน

ดร.เฉลิ ม ชั ย ศรี อ่ อน รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ร่วมเป็นสักขีพยาน ในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่ ว มมื อ โครงการบู ร ณาการเพื่ อ พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง รายครัวเรือน ระหว่าง 12 กระทรวง 1 หน่วยงาน ประกอบด้วย ส� ำ นัก นำยกรั ฐ มนตรี กระทรวง มหำดไทย กระทรวงกำรพัฒ นำ สัง คมและควำมมั่น คงของมนุษ ย์ กระทรวงศึ ก ษำธิ กำร กระทรวง กลำโหม กระทรวงกำรท่ อ งเที ่ย ว และกี ฬำ กระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิ ท ยำศำสตร์ วิ จัย และนวัต กรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพำณิ ชย์ กระทรวงแรงงำน กระทรวงวั ฒ นธรรม กระทรวง สำธำรณสุข และกรุงเทพมหำนคร โดยมี พ ลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โอชา นายกรั ฐมนตรี เป็ น ประธาน และ ดร.ทองเปลว กอง จั น ทร์ ปลั ด กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ ร่ ว มลงนาม ณ ตึ ก ภั ก ดี บดินทร์ ท�าเนียบรัฐบาล ซึ่งการลง นามดั ง กล่ า ว มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ บูรณาการความร่วมมือในการช่วย เหลือกลุ่มเปราะบางให้ครอบคลุม ทุกมิติแบบองค์รวม รวมถึงให้กลุ่ม เปราะบางสามารถเข้าถึงสิทธิและ สวัสดิการ พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่ม เปราะบางและให้ครอบครัวมั่นคง มีความสุข สามารถพึ่งพาตนเองได้ อย่างยั่งยืน อีกทั้งให้มีฐานข้อมูล กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนระดับ ประเทศที่ เ กิ ด จากการบู ร ณาการ ข้อมูลจากทุกหน่วยงาน มีก�าหนด ระยะเวลาความร่วมมือ 5 ปี (พ.ศ. 2564 – 2568) ทั้ ง นี้ ค� า ว่ า “ครั ว เรื อ น เปราะบาง” นั้นหมายถึง ครัวเรือน ที่มีรายได้น้อย ครัวเรือนที่มีรายได้ น้ อ ยและมี บุ ค คลที่ อ ยู ่ ใ นภาวะพึ่ ง พิงที่ต้องการได้รับความช่วยเหลือ จากคนอื่น เช่น ครอบครัวยำกจน ทีม่ ี เด็กเล็ก แม่เลี ย้ งเดีย่ ว ผูส้ ูงอำยุ

คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียงมีปัญหาที่ อยู่อาศัย จ�าเป็นต้องร่วมกันพัฒนา คุณภาพชีวิตกลุ่มดังกล่าวอย่างเร่ง ด่วน จริงจัง และต่อเนื่อง ส�าหรับในส่วนของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ จะสนั บ สนุ น การเสริมสร้างองค์ความรู้ในด้าน การเกษตรและการผลิตสินค้าเกษตร เพือ่ พัฒนาอาชีพ และสร้างรายได้แก่ เกษตรกรที่เป็นกลุ่มเปราะบาง และ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การรวมกลุ ่ ม ของ เกษตรกรทีเ่ ป็นกลุม่ เปราะบางในรูป แบบต่าง ๆ เพือ่ ให้สามารถช่วยเหลือ กั น ในการบริ ห ารจั ด การผลผลิ ต ทางการเกษตรทีส่ อดคล้องกับความ ต้ อ งการของตลาดที่ จ ะช่ ว ยสร้ า ง ความเข้มแข็งในการประกอบอาชีพ อย่างยั่งยืน “บันทึ กข้อตกลงควำมร่ วม มื อ นี ้ จัด ท� ำ ขึ้ น จำกควำมร่ ว มมื อ กันของทุกฝ่ ำยที ่มีควำมมุ่งมัน่ และ เห็นควำมส� ำคัญในกำรช่วยเหลื อก ลุ่มเปรำะบำงเพื ่อลดควำมเหลื ่อม ล�้ ำของประชำชนในประเทศ รวม ถึ ง กำรพัฒ นำคนทุก ช่ ว งวัย เพื ่อ ให้ ป ระชำชนอยู่ ดี มี สุ ข ได้ รั บ ผล ประโยชน์ จำกกำรพัฒนำตำมหลัก ปรัชญำของเศรษฐกิ จพอเพียง โดย ไม่ทงิ้ ใครไว้ขำ้ งหลัง” ดร.เฉลิมชัย กล่าว

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

45


รมช.ธรรมนัส ลงพื้นที่ติดตามการแก้ไขปัญหา

เขตป่าไม้ถาวรทับซ้อนที่ท�ากิน

ของพี่น้องเกษตรกร จ.เพชรบุรี

ร้ อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ลงพื้นที่ตรวจราชการ จังหวัดเพชรบุรี พร้อมติดตามการ แก้ไขปัญหาเขตป่าไม้ถาวรตามมติ คณะรัฐมนตรีทับซ้อนที่ท�ากินของพี่ น้องเกษตรกร ณ องค์การบริหารส่วน ต�าบลท่าตะคร้อ อ.หนองหญ้าปล้อง จ.เพขรบุรี เนื่องด้วย ปัจจุบันเขต ป่าไม้ถาวร หมายเลข 86 และป่า หนองหญ้าปล้องมีสภาพเป็นบ้าน เรื อ นและที่ ท� า กิ น ของประชาชน ไม่มีสภาพเป็นป่าแล้ว ท�าให้พี่น้อง

‘รมช.ประภัตร’ ผุดโครงการปลูกพริกซุปเปอร์ฮอท

ลุยแจก 100,000 กล้า น�าร่อง จ.นครสวรรค์ ช่วยเกษตรกรสร้างรายได้สโู้ ควิด-19

นายประภั ต ร โพธสุ ธ น รั ฐ มนตรี ช ่ ว ยว่ า การ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวภายหลังลงพื้นที่ ตรวจเยี่ยมเกษตรกรในพื้นที่ต�าบลหนองกรด และต�าบล กลางแดด อ�าเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ ว่า รัฐบาลและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ตระหนักและ มีความเป็นห่วงเกษตรกร และประชาชนที่ได้รับผลกระ ทบจากสภาวะเศรษฐกิจตกต�่า และผลกระทบจากภัย พิบตั ิ ทัง้ อุทกภัยและภัยแล้ง ตลอดจนผลกระทบจากการ แพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ในช่วงที่ผ่านมา จึงมีนโยบายเร่งด่วนเพื่อให้ความช่วย เหลือเกษตรกรและประชาชน ให้สามารถประกอบอาชีพ และสร้างรายได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการช่วยเหลือเกษตรกร จึงได้สง่ เสริมอาชีพทางเลือกให้เกษตรกรมีรายได้ชว่ งภัย แล้ง 5 อาชีพ ได้แก่ 1.ปลูกพริกแดง 2.เลีย้ งปลาดุก 3.เลีย้ ง จิ้งหรีด 4. เลี้ยงเป็ดไข่และ 5.ไก่ไข่ ส�าหรับวันนี้ ได้น�าร่อง “โครงการปลูกพริกซุป เปอร์ฮอท สร้างรายได้สู้โควิด-19” ในพื้นที่ ต.หนองกรด และ ต.กลางแดด จ.นครสวรรค์ โดยศูนย์ขยายพันธุ์พืช ที่ 6 จังหวัดพิษณุโลก ได้ท�าการผลิตกล้าพริกเพื่อมอบ ให้แก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจ�านวน 200 ราย กล้า พริกจ�านวน 100,000 กล้า ในพื้นที่น�าร่อง 50 ไร่ พร้อม

46

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

ทัง้ แนะน�าและให้ความรูแ้ ก่เกษตรกรเพือ่ ปลูกในช่วงฤดู แล้ง วัตถุประสงค์เพื่อลดพื้นที่การปลูกข้าวนาปรังสลับ ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชทางเลือกหรือกิจรรมทางการ เกษตรทีม่ มี ลู ค่าสูงเพือ่ เป็นการเสริมรายได้ รวมทัง้ สร้าง โอกาสให้เกษตรกรได้เรียนรู้การเพาะปลูกพืชชนิดอื่น ในพื้นที่นาเป็นเกษตรกรรมทางเลือกให้ชาวนาในระยะ ยาว ซึ่งจะเป็นแนวทางหนึ่งในการสร้างรายได้เสริมให้ แก่เกษตรกร และจะผลักดันให้เกิดขึ้นในหลายพื้นที่ทั่ว ประเทศ ทั้งนี้ ได้มอบหมายให้ส�านักงานเกษตรจังหวัด นครสวรรค์ ประสานเกษตรกรที่สนใจเข้าร่วม ซึ่งเป็น การท� า งานบู ร ณาการร่ ว มกั น ของหน่ ว ยงานสั ง กั ด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกอบด้วย กรมส่งเสริม การเกษตร โดยส�านักงานเกษตรจังหวัดนครสวรรค์ กรม


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

พัฒนาที่ดิน ส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มก อช.) ศูนย์ขยายพันธุพ์ ชื ศูนย์สง่ เสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดพิษณุโลก ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร องค์การ บริหารส่วนต�าบลกลางแดด และบริษัทอีสท์ เวสท์ ซีด จ�ากัด (ศรแดง) ที่ ให้การสนับสนุนปัจจัยการผลิตที่จ�าเป็นแก่เกษตรกร รวมทั้งการถ่ายทอด ความรู้และเทคโนโลยี ตลอดจนประสานภาคเอกชนในการรับซื้อผลผลิต ของเกษตรกรในราคาที่เป็นธรรม

เกษตรและสหกรณ์

ประชาชนเกิดความเดือดร้อน จึง ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องยกเลิก เขตป่ า ไม้ ถ าวรนั้ น ทางกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ได้มอบหมาย ให้กรมพัฒนาทีด่ นิ พิจารณาข้อเรียน ชี้แจง ดังนี้ หากประชาชนมีที่ท�ากิน หรือที่อยู่อาศัย ในพื้นที่ป่าไม้ถาวร นอกเขตป่าสงวนแห่งชาติ ต้องการ เพิ กถอนเขตป่ าไมถาวร สามารถ ด�าเนินการได้ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2540 ที่เห็น ชอบตามมาตรการและแนวทางการ แก้ไขปัญหาเกีย่ วกับพืน้ ทีป่ า่ ไม้ โดย คณะอนุกรรมการจ�าแนกประเภท ที่ ดิ น ประจ� า จั ง หวั ด แต่ ง ตั้ ง คณะ ท�างานตรวจสอบพืน้ ที่ และเมือ่ คณะ อนุ ก รรมการจ� า แนกประเภทที่ ดิ น ประจ�าจังหวัดพิจารณาผลการตรวจ สอบของคณะท� า งานตรวจสอบ พื้นที่แล้ว ให้น�าเสนอคณะกรรมการ พัฒนาที่ดินพิจารณา เพื่อน�าเสนอ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาเปลีย่ นแปลง มติคณะรัฐมนตรี เพือ่ ก�าหนดเขตป่า ไม้ถาวรใหม่ ให้สอดคล้องกับความ เป็นจริง โดยจ�าแนกเป็นพืน้ ทีท่ ที่ า� กิน หรือพืน้ ทีใ่ ช้ประโยขน์อย่างอืน่ ๆ แล้ว มอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับไป ด�าเนินการ ต่อไป ทัง้ นี้ รมช.ธรรมนัส สัง่ การว่า หลังจำกนีอ้ ี ก 1 เดือนจะต้องมี กำร ประชุมผลกำรตรวจสอบของคณะ ท� ำ งำนตรวจสอบพื ้น ที ่ ของคณะ อนุก รรมกำรจ� ำ แนกประเภทที ่ดิ น ประจ� ำจังหวัด เพื ่อเร่ งส่ งให้คณะ กรรมกำรพัฒนำทีด่ ิ นพิ จำรณำ เพือ่ น�ำเสนอคณะรัฐมนตรี พร้อมทัง้ รับ ฟั งปั ญหำเกี ่ยวกับสถำนกำรณ์ น�้ำ ของพีน่ อ้ งเกษตรกรในพืน้ ที ่

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

47


ดร.เฉลิ ม ชั ย ศรี อ่ อ น รั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้ อ มด้ ว ยนาย อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม นายสาธิต ปิตุ เตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข และ นางกนกวรรณ วิลาวัลย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ เข้าร่วมรับการฉีดวัคซีนซิโนแวค เพื่อ เป็นตัวแทนของรัฐบาลในการสร้างความมั่นใจให้กับ ประชาชน โดยมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายก รัฐมนตรี เป็นสักขีพยาน และตรวจเยี่ยมการฉีดวัคซีน โควิด-19 ให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ครั้งแรกใน ประเทศไทย ณ สถาบันบ�าราศนราดูร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

รมว.เกษตร เข้าร่วมฉีดวัคซีนซิโนแวค สร้างความมั่นใจให้กับประชาชน

‘รมช.ประภัตร’ ดันเกษตรกรเลีย้ งควายไทย

สร้างมูลค่าหลักล้าน นายประภัตร โพธสุธน รั ฐมนตรีช่วย ว่ าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อม คณะ เยี่ยมชม ก.เจริญฟาร์ม พัฒนาสายพันธุ์ ควายไทย ของนายกล บัววังโปร่ง นายกอบต. นครป่าหมาก กลุ่มอนุรักษ์กระบือไทย ต.นคร ป่าหมากอ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก โดยฟาร์ม แห่งนี้มีการส่งเสริมเลี้ยงควายไทยที่มีน�้าหนัก มากกว่า 1 ตัน หรือ 1,000 กิโลกรัมเนื่องจากมี ความสวยงาม และยังสามารถสร้างรายได้ให้กบั เกษตรกรทีเ่ ลีย้ ง เพราะแต่ละตัวมีมลู ค่ากว่าหลัก แสนจนถึงหลักล้าน ทัง้ นี ้ รมช.เกษตรฯ ต้องกำรส่งเสริ มกำร อนุรกั ษ์ และพัฒนำควำยไทย เพือ่ เป็ นกำรกระตุน้ และสร้ำงแรงจูงใจให้เกษตรกรหันมำเห็นควำม ส�ำคัญต่อกำรผลิ ตควำยคุณภำพ ทัง้ กำรจัดกำร เลีย้ งดูในระบบทีไ่ ด้มำตรฐำน กำรปรับปรุงพันธุ์ กระบือ และร่วมกันอนุรกั ษ์ ควำยไทยมำกขึน้ ตลอด จนเลีย้ งเป็ นอำชีพเสริ มเพือ่ เป็ นกำรสร้ำงรำยได้และ มูลค่ำเพิ่มของควำยไทย ต่อไป

48

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

กรมส่งเสริมการเกษตร แนะเกษตรกรใช้พันธุ์มันส�าปะหลังสะอาด และทนทานโรคใบด่าง ก่อนปลูกฤดูใหม่ 2 สัปดาห์ เพื่อค้นหาต้นที่เป็นโรค 3)

กรมส่งเสริมการเกษตร แนะ เกษตรกรผู้ปลูกมันส�าปะหลัง ควร เลือกใช้ พนั ธุ์มนั ส�าปะหลังสะอาด และทนทานโรคใบด่าง ในฤดูใหม่ ทีก่ า� ลังจะมาถึง เพือ่ ลดอัตราการ ระบาดของโรคใบด่างมันส�าปะหลัง นายเข้มแข็ง ยตุ ธิ รรมด�ารง อธิบดีกรมส่ งเสริมการเกษตร เปิด เผยว่า ส�าหรับการผลิตมันส�าปะหลัง ของประเทศ ปั จ จุ บั น มี เ นื้ อ ที่ เ ก็ บ เกี่ยวเพิ่มขึ้นในทุกภาค เมื่อเทียบ กั บ ปี เ พาะปลู ก 2562/63 โดยมี แหล่ ง เพาะปลู ก มั น ส� า ปะหลั ง ที่ ส�าคัญ ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา ก� า แพงเพชร ชั ย ภู มิ กาญจนบุ รี อุ บ ลราชธานี นครสวรรค์ และ สระแก้ว ซึง่ ผลผลิตจาก 7 จังหวัดดัง กล่าว มีประมาณ 15.81 ล้านตัน คิด เป็นร้อยละ 50.82 ของผลผลิตรวม ทั้งประเทศ เนื่องจากความต้องการ

มันส�าปะหลังในตลาดโลกที่เพิ่มขึ้น ท�าให้เกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูกมัน ส�าปะหลังแทนอ้อยโรงงานที่ราคา มีแนวโน้มลดลง บางส่วนปลูกแทน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ซึ่งได้รับผลกระ ทบจากภัยแล้งเมื่อปีที่แล้ว จึงส่งผล ให้ภาพรวมผลผลิตเพิ่มขึ้น ในขณะที่สถานการณ์การ ระบาดของโรคใบด่างมันส�าปะหลัง ซึ่งเป็นโรคส�าคัญที่มีผลกระทบต่อ ผลผลิ ต ได้ มี ก ารควบคุ ม และเฝ้ า ระวังการระบาดอย่างต่อเนือ่ ง กรมฯ ได้กา� ชับให้ดา� เนินการตามมาตรการ ป้ อ งกั น และก� า จั ด โรคใบด่ า งมั น ส�าปะหลัง 5 มาตรการ ได้แก่ 1) สร้างการรับรูโ้ ดยการประชาสัมพันธ์ ผ่ า นสื่ อ แขนงต่ า งๆ รวมถึ ง การ อบรม สัมมนา และงานวันถ่ายทอด เทคโนโลยี (field day) 2) ส�ารวจ แปลงอย่างสม�่าเสมออย่างน้อยทุก

เมื่อพบต้นเป็นโรคด�าเนินการก�าจัด แมลงพาหะน�าโรคคือแมลงหวี่ขาว ยาสูบ 4) เลือกใช้พันธุ์มันส�าปะหลัง สะอาดจากแปลงพันธุ์ที่ไม่พบการ ระบาดของโรค และควรเป็นพันธุ์ ที่ ท นทานโรคใบด่ า ง เช่ น ระยอง 72 ระยอง 90 KU50 และห้วยบง 60 รวมถึงงดใช้พันธุ์อ่อนแอ ได้แก่ ระยอง 11 และ CMR 43-08-89 และมาตรการสุดท้าย มาตรการที่ 5) มาตรการป้องกันก�าจัดในระยะยาว ได้แก่ ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตพันธุ์ มันส�าปะหลังสะอาดและทนทานโรค ใบด่างใช้เองในชุมชน อ ธิ บ ดี ก ร ม ส ่ ง เ ส ริ ม การเกษตร กล่ า วว่ า นอกจาก มาตรการป้องกันและก�าจัดโรคใบ ด่ า งมั น ส� า ปะหลั ง แล้ ว กรมฯ ได้ มีการด�าเนินการส่งเสริมการปลูก มั น ส� า ปะหลั ง และมาตรการเพิ่ ม ผลผลิตต่อไร่ จ�านวน 2 โครงการ ดั ง นี้ 1.โครงการส่ ง เสริ ม การเพิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิตมันส�าปะหลัง ปี 2564 มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ จ�านวน 2,620 ราย ด�าเนินการ ใน พื้นที่ 44 จังหวัด และ 2.โครงการ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง ใหญ่มันส�าปะหลัง ปี 2564 เพื่อส่ง เสริ ม การรวมกลุ ่ ม เกษตรกร และ ร่วมกันผลิตมันส�าปะหลังในรูปแบบ แปลงใหญ่ ให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาด อย่างไรก็ตาม คาดว่าการด�าเนินงานทั้งด้านการ ส่งเสริมและการป้องกันก�าจัดโรค ใบด่างจะส่งผลให้เกษตรกรสามารถ ผลิ ต มั น ส� า ปะหลั ง ออกสู ่ ต ลาดได้ ตามที่คาดการณ์ไว้

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

49


‘รมช.มนัญญา’ลุยปักหมุดขับเคลื่อนกัญชาเมืองอุทัย

ดันเป็นพืชเศรษฐกิจทางเลือกใหม่

รมช.มนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กล่าวภายหลังลงพื้นที่ ตรวจติดตามและเยี่ยมชมโรงเรือน ปลูกกัญชาและร่วมตัดแต่งทรงพุ่ม กั ญ ชาให้ ส วยงาม ของวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสุ ข ฤทั ย เกษตรปลอดภั ย ตลอดจนรับฟังสรุปแนวทางการขับ เคลือ่ นการน�ากัญชามาใช้ประโยชน์ ทางการแพทย์จังหวัดอุทัยธานี ผู้ ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อลงกต วรกี รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุทยั ธานี และรั บ ฟั ง ความเป็ น มาของการ รวมกลุ ่ ม การปลู ก กั ญ ชาจั ง หวั ด อุทัย โดย นายชาติชาย วงศ์เฉลียว ประธานเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนผู้ ปลูกกัญชาจังหวัดอุทัยธานี จากนั้น ได้มอบแนวทางการขับเคลือ่ นกัญชา ในจั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ณ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสุ ข ฤทั ย เกษตรปลอดภั ย

50

ต�าบลสุขฤทัย อ�าเภอห้วยคต จังหวัด อุทัยธานี ว่า จังหวัดอุทัยธานี ได้ รับคัดเลือกให้เป็นจังหวัดที่เข้าร่วม โครงการพัฒนากัญชาเพือ่ ประโยชน์ ทางการแพทย์โดยโรงพยาบาลส่ง เสริมสุขภาพต�าบลและชุมชน ร่วม กับวิสาหกิจชุมชนจังหวัดอุทัยธานี โดยการขั บ เคลื่ อ นโครงการฯ ดั ง กล่าว ครอบคลุมครบทุกอ�าเภอ มี วิสาหกิจชุมชนเข้าร่วมโครงการ รวม 15 กลุ่ม ซึ่งการด�าเนินการดังกล่าว จะเป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ และขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัด ได้เป็นอย่างดี เนือ่ งจาก “กัญชา” จัด เป็นพืชทางเลือกชนิดใหม่ ทีส่ ามารถ จะพั ฒ นาและผลั ก ดั น ให้ เ ป็ น พื ช เศรษฐกิจของจังหวัดอุทัยธานีได้ใน อนาคต รมช.มนั ญ ญา กล่ า วเพิ่ ม เติมว่า ในส่วนของกระทรวงเกษตร

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

และสหกรณ์ ได้ร่วมกับ กระทรวง สาธารณสุ ข ขั บ เคลื่ อ นนโยบาย “กั ญ ชา พื ช เศรษฐกิ จ สุ ข ภาพ เพื่ อ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง เศรษฐกิ จ ฐานราก” โดยได้มอบนโยบายให้กรม วิชาการเกษตรเข้าไปดูแล สนับสนุน ให้เกษตรกรสามารถปลูกกัญชาได้ ทุกครัวเรือน โดยกรมวิชาการเกษตร ได้รับรองสายพันธุ์กัญชาพันธุ์แรก คือ “อิสระ 001” และพันธุ์กัญชง 4 สายพันธุ์ ซึ่งเกษตรกรสามารถปลูก ได้ โดยเป็ น ไปตามประกาศของ กระทรวงสาธารณสุข นอกจากนี้ ยัง มอบหมายให้มีการควบคุมการน�า เข้าให้ได้เมล็ดพันธุ์ที่ตรงตามพันธุ์ เมล็ดพันธุ์ ปลอดจากโรคและแมลง และเมล็ ด พั น ธุ ์ มี คุ ณ ภาพสู ง และ ได้มาตรฐานคุณภาพตามที่สากล ก�าหนด รวมถึงการควบคุมและตรวจ สอบการผลิตต้นกล้ากัญชาและกัญ ชงทุกขั้นตอน ตลอดจนเกษตรกร น�าไปปลูกสามารถตรวจสอบที่มาที่ ไปได้ในทุกกระบวนการ เพื่อให้ได้ ผลผลิตกัญชาและกัญชงตามความ ต้องการ พร้อมทั้งให้กรมวิชาการ เกษตรเร่งส�ารวจ รวบรวมสายพันธุ์ กั ญ ชาและกั ญ ชงในประเทศไทย สนับสนุน ส่งเสริม และเร่งรัดการขึ้น ทะเบียนพันธุ์กัญชาและกัญชงเพื่อ เป็นทรัพย์สินของประเทศ ตลอดจน มอบหมายให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ จัดท�าโครงการจัดตั้ง “ตลาดกลาง กั ญ ชาของสหกรณ์ ” เพื่ อ ก� า หนด ราคาตลาดกลางส�าหรับผู้ซื้อและผู้ ขายโดยต้องมีใบอนุญาตจาก อย. “วั น นี ้ ไ ด้ รั บ ฟั งและร่ วม ประชุมกับหน่วยงำนทีเ่ กี ย่ วข้อง ซึ่ง ได้มอบแนวทำงกำรด�ำเนิ นงำนเพือ่ ขับเคลื ่อนโครงกำรฯ ดังกล่ำวเพื อ่


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

ให้เกิ ดผลส� ำเร็ จอย่ ำงเป็ นรู ปธรรม ในจังหวัดอุทยั ธำนี โดยขอควำมร่วม มื อให้ส่วนรำชกำร องค์ กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ตลอดจนภำคี เ ครื อ ข่ ำย ที ่เกี ่ยวข้อง ตระหนักและให้ ควำมส� ำคัญต่อกำรบูรณำกำรเพื อ่ ขับเคลื ่อนงำนดังกล่ำวอย่ำงจริ งจัง ขอให้เ กษตรกรที ่เ ป็ นสมำชิ ก กลุ่ม วิ สำหกิ จชุมชน ให้ควำมร่ วมมื อรวม ถึ ง ปฏิ บัติ ก ำรตำมแนวทำง หลัก เกณฑ์ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ งระเบี ยบ และข้ อ กฎหมำยเนื ่อ งจำกกัญ ชำ ยังเป็ นพืชที ต่ อ้ งได้รับควำมควบคุม และด� ำเนิ นกำรตำมกฎหมำยอย่ำง เคร่ ง ครั ด และขอให้ ทุก ภำคส่ ว น บู ร ณำกำรกำรท� ำ งำน วำงแผน ยุทธศำสตร์ เพือ่ ก� ำหนดทิ ศทำงและ เป้ ำหมำยในกำรขั บ เคลื ่ อ นและ พัฒนำกัญชำ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ ง กำรพัฒนำกำรผลิ ตและกำรตลำด ในจังหวัด ให้เป็ นทำงเลื อกใหม่ ที่ ยั่ง ยื น ของพี ่น้อ งเกษตรกรต่ อ ไป” รมช.มนัญญา กล่าว ส� า หรั บ วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสุ ข ฤทัยเกษตรปลอดภัยแห่งนี้เป็นการ ด�าเนินการในระยะที่ 1 (ระยะต้น กล้า) มีโรงเรือนมาตรฐานผ่านเกณฑ์ การประเมิน ซึ่งปฏิบัติตามเงื่อนไข ข้อก�าหนดถูกต้องครบถ้วน จนได้ รับใบอนุญาต เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 และได้รบั เมล็ดพันธุเ์ พาะปลูก เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2563 ซึ่งขณะ นีไ้ ด้ทา� การเพาะปลูกมาแล้ว จ�านวน 70 วัน

เกษตรและสหกรณ์

ประชุมมอบนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้แก่หัวหน้าส่วนราชการ

สั งกันายระพี ดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภัทร์ จันทรศรี วงศ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ เป็นประธานประชุมมอบนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้แก่หัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อมลงพื้น ที่ตรวจเยี่ยมรับฟังบรรยายสรุปผลการด�าเนินงานโครงการ 1 ต�าบล 1 กลุ่ม เกษตรทฤษฎีใหม่,การส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่โดยใช้ตลาดน�าการผลิต ของอ�าเภอหนองวัวซอ และพบปะเกษตรกรที่เข้าร่วมฝึกอบรมฯ ณ ศพก. อ�าเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2564

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

51


รมช.ธรรมนัส แถลงความร่วมมือระหว่างกรมฝนหลวงฯ กับกองทัพอากาศ โครงการการปฏิบัติการฝนหลวงยับยั้งความรุนแรงของการเกิดพายุลูกเห็บ

และการบรรเทาปัญหาหมอกควันไฟป่า ประจ�าปี 2564

ร้ อยเอก ธรรมนั ส พรหมเผ่ า รั ฐมนตรี ช่ ว ยว่ า การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็ น ประธานจั ด งานแถลงข่ า วการปฏิ บั ติ ก ารฝนหลวง ยับยั้งความรุนแรงของการเกิดพายุลูกเห็บ และการ บรรเทาปัญหาหมอกควันไฟป่า ภายใต้ความร่วมมือ กับกองทัพอากาศ ประจ�าปี 2564 พร้อมมอบนโยบาย และตรวจเยี่ยมให้ก�าลังใจเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ณ ท่ำอำกำศยำนทหำรกองบิ น 41 อ�ำเภอเมื อง จังหวัด เชียงใหม่ ว่า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรมฝน หลวงและการบินเกษตร มีการตั้งหน่วยปฏิบัติการฝน หลวงยับยัง้ ความรุนแรงของการเกิดพายุลกู เห็บ ตัง้ แต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ และเกิดความเสียหาย จากพายุฤดูรอ้ น และพายุลกู เห็บเป็นประจ�าทุกปี เพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนของพี่น้องประชาชนจากการ เกิดพายุลูกเห็บ พร้อมช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากพายุ ลูกเห็บ

52

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า กล่าวว่า การปฏิบัติ การฝนหลวงยับยั้งความรุนแรงของการเกิดพายุลูกเห็บ และการบรรเทาปัญหาหมอกควันไฟป่า ภายใต้โครงการ ความร่วมมือกับกองทัพอากาศ ประจ�าปี 2564 และการ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากพายุลูกเห็บ ได้จัดขึ้นเพื่อสาน ต่อพระราชปณิธาน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบ ศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในการ ปฏิบตั กิ ารฝนหลวง เพือ่ ช่วยเหลือประชาชนจากภัยพิบตั ิ ทางธรรมชาติ กรมฝนหลวงและการบินเกษตร ได้กา� หนด ให้ จ.เชียงใหม่ เป็นจุดศูนย์กลางของภาคเหนือ ในการจัด ท�าโครงการครั้งนี้ นอกจากนี้ยังมีการปฏิบัติภารกิจช่วย เหลือพีน่ อ้ งประชาชนในด้านต่าง ๆ อย่างเช่น การช่วยดับ ไฟป่า ด้านอุปโภค - บริโภค น�้าเพื่อท�าการเกษตร รวมถึง การเติมน�า้ เขือ่ นและอ่างเก็บน�า้ ต่าง ๆ ทีม่ ปี ริมาณน�า้ น้อย ในขณะนี้ ด้าน นายสุรสีห์ กิตติมณฑล อธิบดีกรมฝน หลวงและการบินเกษตร กล่าวเพิ่มเติมว่า ส�าหรับ ในปี 2564 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร ได้ก�าหนด


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

ให้ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารฝนหลวงภาค เหนือ ด�าเนินการปฏิบตั กิ ารฝนหลวง บริเวณพื้นที่ปฏิบัติครอบคลุมพื้นที่ จังหวัดภาคเหนือ โดยในพืน้ ทีจ่ งั หวัด ภาคเหนือตอนล่าง และ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ด้านตะวันตก ใช้เครื่องบิน Super King Air 350 ของกรมฝนหลวงและ การบินเกษตร จ�านวน 2 ล�าในการ ด�าเนินการ และในพื้นที่จังหวัดภาค เหนือตอนบน ได้รับความร่วมมือ จากกองทัพอากาศในการสนับสนุน อากาศยานและบุ ค ลากรในการ ด�าเนินงาน ประกอบด้วยเครื่องบิน โจมตีแบบที่ 7 หรืออัลฟ่าเจ็ท ซึ่ง เป็นเครื่องบินที่มีสมรรถนะสูงและมี ความเร็วในการเข้าถึงเป้าหมาย โดย การใช้วิธีโจมตีด้วยพลุซิลเวอร์ไอโอ ไดด์ โดยการน�าสารฝนหลวงซิลเวอร์ ไอโอไดด์ เพื่อเร่งกระบวนการทาง ธรรมชาติ ท�าให้ผลึกน�้าแข็งเปลี่ยน สถานะเป็นเม็ดน�้า ตกลงมาเป็นน�้า ฝน ซึ่งจะช่วยบรรเทาความรุนแรง

และความเสียหายอันเกิดจากพายุ ลูกเห็บลงได้ นอกจากนี้ ในช่ ว งเดื อ น กุมภาพันธ์ – 10 มีนาคม 2564 ที่ ผ่านมา กรมฝนหลวงฯ ยังได้ปฏิบัติ ภารกิจบินส�ารวจโดยเฮลิคอปเตอร์ จ�านวน 6 เที่ยวบิน (10 ชั่วโมง) ที่ บริเวณพื้นที่ อ.แม่แจ่ม อ.เชียงดาว อ.กัลยานิวฒ ั นา อ.พร้าว จ.เชียงใหม่

เกษตรและสหกรณ์

อ.ลี้ จ.ล�าพูน และบริเวณรอยต่อ เขตรั กษาพั น ธ์ สัตว์ ป่ า อ.อมก๋ อย จ.เชียงใหม่ – ต.บ้านนา อ.สามเงา จ.ตาก – อ.บ้านโฮ่ง จ.ล�าพูน และ ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ช่ ว ยดั บ ไฟป่ า ดั ง นี้ 1.ภารกิ จ ตั ก น�้ า ดั บ ไฟป่ า บริ เ วณ พื้ น ที่ เ ขาดอยหลวง อ.เชี ย งดาว จ.เชียงใหม่ 2.ภารกิจตักน�้าดับไฟ ป่าบริเวณพื้นที่ อ.ฮอด จ.เชียงใหม่ 3.ภารกิจตักน�า้ ดับไฟป่าบริเวณพืน้ ที่ อ.สันก�าแพง จ.เชียงใหม่ 4.ภารกิจ ตักน�้าดับไฟป่าบริเวณพื้นที่ อ.แม่ วาง จ.เชี ย งใหม่ 5.ภารกิ จ ตั ก น�้ า ดับไฟป่าบริเวณพื้นที่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 6.ภารกิจตักน�้าดับไฟ ป่าบริเวณพื้นที่ อ.บ้านโฮ่ง จ.ล�าพูน 7.ภารกิจตักน�า้ ดับไฟป่าบริเวณพืน้ ที่ อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 8.ภารกิจตัก น�้าดับไฟป่าบริเวณพื้นที่ อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ รวมปฏิบตั ภิ ารกิจดับไฟ ป่าจ�านวนทัง้ สิน้ 93 เทีย่ วบิน (19.55 ชั่วโมง)

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

53


กระทรวงเกษตรฯ จัดพิธีมอบรางวัล

King Bhumibol World Soil Day Award

ประจ�าปี 2563 ให้แก่ สภาพัฒนาการเกษตรแห่งอินเดีย

(Indian Council of Agricultural Research: ICAR)

ดร.เฉลิ ม ชั ย ศรี อ่ อน รั ฐมนตรี ว่ าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานในพิธีมอบ เหรียญรางวัล King Bhumibol World Soil Day Award ประจ�าปี 2563 ณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยหน่วย งานที่ชนะเลิศรางวัล ได้แก่ สภำพัฒนำกำรเกษตรแห่ง อิ นเดีย (Indian Council of Agricultural Research: รมช.มนัญญา ไทยเศรษฐ์ รั ฐ มนตรี ช่ วยว่ าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กล่าวภายหลัง เป็นประธานในพิธมี อบเงินช่วยเหลือ เกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ อุทกภัย (ด้ า นพื ช ) ปี 2563 ซึ่ ง กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ โดยส�านักงาน เกษตรจั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ร่ ว มกั บ อ� า เภอลานสั ก และธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จัดขึ้น ณ ศาลาประชาคมอ�าเภอ ลานสัก จังหวัดอุทัยธานี โดยมีนาย ณรงค์ รักร้อย ผู้ว่าราชการจังหวัด อุทัยธานี กล่าวต้อนรับพร้อมด้วย นายประเสริ ฐ วณิ ช ชากรวิ วั ฒ น์ เกษตรจังหวัดอุทัยธานี หัวหน้าส่วน ราชการ และเกษตรกรเข้าร่วมว่า จากการที่ได้เกิดอุทกภัยท�าให้เกิด

54

ICAR) จำกประเทศอิ นเดีย ซึ่งมีผลงำนกำรจัดกิ จกรรม “Soil health awareness week” ในมหำวิ ทยำลัยและ สถำนศึกษำ เพือ่ สร้ำงควำมตระหนักถึงสุขภำพของดิ น และควำมส�ำคัญของกำรรักษำผลิ ตภำพดิ น ควบคู่ไป กับกำรปกป้ องสิ่ งแวดล้อม แต่ดว้ ยการแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19 ทีล่ กุ ลามไปทัว่ โลก และประเทศไทยอยูใ่ น ช่วงของการเฝ้าระวังส่งผลให้การเดินทางเข้ามาในราช อาณาจักรไทยมีมาตรการป้องกันเข้มงวดเพื่อป้องกัน การแพร่ระบาด ท�าให้หน่วยงานสภาพัฒนาการเกษตร แห่งอินเดีย (ICAR-IISS) ของสาธารณรัฐอินเดีย ไม่ สามารถเดินทางมาเข้ารับเหรียญรางวัลได้ จึงได้เรียน เชิญเอกอัครราชทูตอินเดียประจ�าประเทศไทย Mrs. Suchitra Durai (มิสซิส สุจติ รา ดูไร) เป็นผูแ้ ทนรับมอบ เหรียญรางวัลดังกล่าวแทน

“รมช.มนัญญา” มอบเงินช่วยเหลือ

เกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ

อุทกภัย จ.อุทัยธานี

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

ความเสียหายแก่พืชผลการเกษตร ตั้งแต่วันที่ 16 - 26 ตุลาคม 2563 ของจังหวัดอุทัยธานี รวม 4 อ�าเภอ พื้ น ที่ ก ารเกษตรได้ รั บ ความเสี ย หาย จ�านวน 14,687 ไร่ เกษตรกร ประสบภัยจ�านวน 2,225 ราย วงเงิน ช่วยเหลือรวมทั้งสิ้น 16,876,628 บาท ซึ่ ง คณะกรรมการให้ ค วาม ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด อุทัยธานีได้อนุมัติงบประมาณเงิน ช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ระสบภัยพิบตั ิ เพื่ อ บรรเทาความเดื อ ดร้ อ นของ เกษตรกร โดยโอนผ่านธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ไปยังบัญชีของเกษตรกรผู้ประสบ ภัยพิบัติทุกราย เพื่อน�าเงินที่ได้รับ การช่วยเหลือดังกล่าว ไปเป็นค่าใช้ จ่ายในการประกอบอาชีพต่อไป โดย ใช้เงินทดรองราชการในอ�านาจผู้ว่า ราชการจังหวัดอุทัยธานี

ส� า หรั บ การมอบเงิ น ช่ ว ย เหลือในครั้งนี้เป็นไปตามระเบียบ กระทรวงการคลั ง ซึ่ ง เกษตรกรผู ้ ปลู ก พื ช ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากภั ย ธรรมชาติ หากมีพื้นที่ท�าการเพาะ ปลูกเสียหายโดยสิ้นเชิง และเป็น เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรไว้ กับกรมส่งเสริมการเกษตร จะได้รับ ความช่วยเหลือ ตามจ�านวนพื้นที่ เพาะปลูกที่เสียหายจริง รายละไม่ เกิน 30 ไร่ ได้แก่ ข้าว อัตราไร่ละ 1,113 บาท พืชไร่ อัตราไร่ละ 1,148 บาท พืชสวนและอื่นๆ อัตรา ไร่ละ 1,690 บาท ทั้งนี้ เมื่อเกิดภัยพิบัติ และผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ประกาศ เขตพื้ น ที่ ก ารให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ฯ เกษตรกรต้องยื่นแบบความจ�านง ขอรับการช่วยเหลือ (กษ 01) โดย ให้ผนู้ า� ท้องถิน่ รับรอง ก่อนทีจ่ ะมีการ ตรวจสอบทะเบียนเกษตรกร และ

เกษตรและสหกรณ์

พื้นที่เสียหายจริง เพื่อพิจารณาให้ ความช่วยเหลือตามขั้นตอนต่อไป “กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ได้ตระหนักและได้ให้ควำม ส� ำ คัญ ต่ อ พี ่น้อ งเกษตรกรที ่ไ ด้ รั บ ควำมเดื อ ดร้ อ น ผลผลิ ต ทำงกำร เกษตรได้ รั บ ควำมเสี ย หำย จึ ง มี ค วำมจ� ำ เป็ นอย่ ำ งยิ่ ง ที ่ จ ะต้ อ ง ให้ ค วำมช่ ว ยเหลื อ อย่ ำ งเร่ ง ด่ ว น เพื ่ อ ให้ พี่ น้ อ งเกษตรกรสำมำรถ ประกอบอำชี พ ต่ อ ไปได้ โดยได้ เน้นย�้ ำเกษตรกรทุกรำยให้น้อมน� ำ แนวทำงเศรษฐกิ จพอเพี ย งของ ในหลวงรัชกำลที ่ 9 มำปรับใช้ใน กำรด� ำเนิ นชี วิต นอกจำกนี ้ ยังได้ มอบเงินช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ระสบ ภัยพิ บตั ิ อุทกภัย ซึ่งอ�ำเภอลำนสัก ได้ รั บ เงิ น ช่ ว ยเหลื อ รวมในครั้ ง นี ้ รวม10,572,054 บำท เกษตรกร ประสบภัย 1,446 รำย พร้อมกับมอบ กล้ำพืชผัก ประกอบด้วย กล้ำพริ ก กล้ำมะเขื อ ซึ่ งได้รับกำรสนับสนุน จำกศูนย์ ขยำยพันธุ์พืชที ่ 9 จังหวัด สุพรรณบุรี กรมส่งเสริ มกำรเกษตร จ� ำนวน 1,200 ต้น เพื อ่ ช่วยเหลื อ ฟื ้ นฟู ดูแล เกษตรกรผู้ประสบภัย ให้ ส ำมำรถประกอบอำชี พ และ เพื ่อ บรรเทำควำมเดื อ ดร้ อ นให้แ ก่ เกษตรกร ได้มีรำยได้หลังประสบภัย ต่อไป” รมช.มนัญญา กล่าว

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

55


ดร.เฉลิมชัย ศรีออ่ น รฐั มนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเป็นสักขีพยานใน พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วม มื อ พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม ระบบโลจิ สติกส์ภาคการเกษตร ระหว่างกรม ส่ งเสริ มการเกษตร กับ บริ ษัท เคอรี่ เอ็กซ์ เพรส (ประเทศไทย) จ� า กั ด (มหาชน) ณ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ว่า กระทรวง เกษตรฯ เล็งเห็นความส�าคัญในการ พัฒนาเกษตรกรให้มีคุณภาพชีวิต ที่ ดี มี ร ายได้ เ พี ย งพอในการด� า รง ชี วิ ต และสามารถพั ฒ นาต่ อ ยอด เป็นธุรกิจการเกษตรได้อย่างยั่งยืน จึงได้ก�าหนดนโยบายในการพัฒนา เกษตรกรครอบคลุมทุกด้าน ตั้งแต่ ต้นทางจนถึงปลายทาง โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง แนวนโยบาย “ตลำดน� ำ กำรเกษตร” ซึ่งจะท�าให้เกษตรกรมี ช่องทางในการสร้างรายได้ทแี่ น่นอน ประกอบกับยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศที่ มุ ่ ง เน้ น ส่ ง เสริ ม รู ป แบบ การท�าเกษตรแบบแปลงใหญ่ รวม ทัง้ ส่งเสริมเกษตรกรให้นา� เทคโนโลยี และนวัตกรรมสมัยใหม่มาใช้ในการ พัฒนาการผลิตให้ได้สินค้าคุณภาพ การขยายช่องทางการตลาดให้มาก ขึ้น โดยเฉพาะรูปแบบตลาดสินค้า เกษตรในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป สู่ตลาดแบบออนไลน์มากขึ้น ดังนั้น การเสริมสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันด้านการผลิตอย่างครบ วงจร ตลอดจนการจัดการระบบโล จิสติกส์ภาคการเกษตร จึงเป็นการ สร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูบ้ ริโภค และ สร้างความมั่นคงทางด้านรายได้แก่ เกษตรกร ส� า หรั บ การลงนามในครั้ ง นี้ เป็นการลงนามร่วมกันระหว่าง

56

กระทรวงเกษตรฯ โดยกรมส่งเสริมการเกษตร

จัพัฒบนาเกษตรกรจั มือ “เคอรี ่ เอ็ ก ซ์ เ พรส” ดการระบบโลจิสติกส์ตลอดห่วงโซ่

เน้นบริการจัดส่งสินค้าเกษตรรวดเร็ว และปลอดภัยจนถึงมือผู้บริโภค

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

นายเข้มแข็ง ยุติธรรมด�ารง อธิบดี กรมส่งเสริมการเกษตร และนายว ราวุธ นาถประดิษฐ์ กรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายงาน ปฏิบัติการ บริษัท เคอรี่ เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) เพื่อ ร่วมกันสนับสนุน ช่วยเหลือพัฒนา และส่งเสริมกิจกรรมของเกษตรกร เพื่ อ เชื่ อ มโยงเกษตรกรไทยกั บ ผู ้ บริโภคทั่วประเทศ และสนับสนุน ให้เกษตรกรมีช่องทางการจ�าหน่าย ผลผลิตที่สะดวกมากขึ้น ช่วยให้ผู้ บริโภคสามารถเข้าถึงสินค้าเกษตร ที่ส่งตรงจากสวนได้อย่างมั่นใจ “กำรลงนำมในวั น นี ้ ถื อ เป็ นโอกำสดี ที่ ภ ำคกำรเกษตรได้ พัฒนำไปอี กระดับหนึ่ ง ซึ่ งตรงกับ เป้ ำหมำยของรั ฐ บำลที ่ อ ยำกให้ เกษตรกรมี ชีวิตควำมเป็ นอยู่ที่ดีขึ้น ถ้ำเรำสำมำรถท� ำให้เกษตรกรเข้ม แข็ ง ประเทศไทยก็ จะมี เศรษฐกิ จ ที ่ เ ข้ ม แข็ ง ตำมไปด้ ว ย ซึ่ ง หนึ่ ง ใน กระบวนกำรที ่ จ ะท� ำ ให้ ก ำรขั บ เคลื ่อนภำคกำรเกษตรนัน้ คื อกำร บริ หำรจัดกำรระบบโลจิ สติ กที ่ดี ที ่ จะท� ำ ให้ ส ำมำรถกระจำยสิ น ค้ ำ ไปถึ งผู้บริ โภคได้อย่ำงรวดเร็ วและ ทัว่ ถึ งมำกที ่สุด ขณะเดี ยวกัน ทุก หน่วยงำนในสังกัดกระทรวงเกษตรฯ พร้อมทีจ่ ะขับเคลือ่ นกำรด�ำเนิ นงำน

และรั ก ษำมำตรฐำนระดับ สิ น ค้ ำ ให้มีคณ ุ ภำพ เพือ่ สร้ำงควำมมัน่ ใจ ต่อผูบ้ ริ โภคทัง้ ในและต่ำงประเทศ” ดร.เฉลิมชัย กล่าว ด้าน นายเข้มแข็ง ยุติธรรม ด�ารง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า กรมส่ ง เสริ ม การเกษตร ได้ ด� า เนิ น การตาม นโยบายตลาดน�าการเกษตร โดย มุ่งส่งเสริมเกษตรกรให้ผลิตสินค้า เกษตรตามอุปสงค์และอุปทานของ สินค้า รวมทั้งพัฒนาช่องทางการ ตลาด ทั้งในรูปแบบตลาดออนไลน์ และออฟไลน์ ระบบโลจิสติกส์จึงมี บทบาทส�าคัญในการจัดส่ง เพื่อให้ สินค้าเกษตรถึง มื อผู ้ บริ โ ภคอย่ า ง รวดเร็ว และไม่เกิดความเสียหาย เป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ บริ โ ภคในการสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า เกษตร จากเกษตรกร และเพิ่มช่องทางการ จ�าหน่ายสินค้าให้แก่เกษตรกรมาก ขึ้น ส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้ที่เพิ่ม ขึ้น และสร้างความมั่นคงในอาชีพ

เกษตรและสหกรณ์

การเกษตร ทั้งนี้ ในช่วงที่ผ่านมา บริษัท เคอรี่ เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) ได้ท�างานร่วมกับกรมส่ง เสริ ม การเกษตรในการสนั บ สนุ น ช่วยเหลือเกษตรกรมาอย่างต่อเนือ่ ง ได้ แ ก่ การสนั บ สนุ น การระบาย สินค้าเกษตร โดยด�าเนินการจัดตั้ง จุ ดให้ บริ การจั ดส่ ง ผลไม้ ที่จุ ดรวม สินค้า ส�าหรับกลุ่มเกษตรกรแปลง ใหญ่ไม้ผล พร้อมให้ส่วนลดค่าจัด ส่ง ในส่วนของเกษตรกรรายย่อย ที่ จ� า หน่ า ยสิ น ค้ า ออนไลน์ ยั ง ได้ รับส่วนลดเฉพาะค่าจัดส่งในอัตรา พิเศษ เพียงแค่เกษตรกรน�าทะเบียน เกษตรกรหรื อ ทะเบี ย นวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนมาแสดง ณ จุ ด ส่ ง สิ น ค้ า นอกจากนี้ยังสนับสนุนกิจกรรม “ส่ง ของขวัญปีใหม่ @ ตลาดเกษตรกร ออนไลน์. com” โดยลดราคาค่าจัด ส่งให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ รวมทั้งกิจกรรมพัฒนากระบวนการ จั ด ส่ ง สิ น ค้ า เกษตรในการค้ า ออนไลน์ โดยทางบริษทั ได้รว่ มลงพืน้ ที่พบปะเกษตรกรที่ต้องการพัฒนา กระบวนการจัดส่งสินค้าเกษตรเพื่อ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมและ การอ�านวยความสะดวกในการจัด ส่งและร่วมจัดกระบวนการเรียนรู้ ในการจัดการบรรจุภณ ั ฑ์และการจัด ส่งให้แก่เกษตรกรและเจ้าหน้าทีผ่ า่ น ช่องทางต่าง ๆ อีกด้วย

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

57


กระทรวงเกษตรฯ จับมือ ทอท. ขับเคลือ่ นโครงการ

รวมจุดตรวจด่านตรวจพืช (One Stop Service)

และโครงการศูนย์จัดเตรียมสินค้าเกษตรผ่านช่องทางพิเศษ (PPL)

ยกระดับมาตรฐานตรวจสอบสินค้าเกษตรไทยสู่สากล นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่ าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิ ด เผยภายหลั ง รั บ ฟั ง แผนการด�าเนินงานโครงกำรรวมจุดตรวจด่ำนตรวจพืช ท่ำ อำกำศยำนสุวรรณภูมิ (One Stop Service) และโครงกำร ศูนย์จดั เตรี ยมสิ นค้ำเกษตรผ่ำนช่องทำงพิ เศษ (Perishable Premium Lane) โดยมี นายนิตินัย ศิริสมรรถการ กรรมการ ผู้อ�านวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ากัด (มหาชน) เป็นผูบ้ รรยาย ว่าโครงการฯ ดังกล่าว เป็นความร่วมมือระหว่าง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และบริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ากัด (มหาชน) เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานการตรวจ สอบสินค้าเกษตรให้แก่ผสู้ ง่ ออกและเกษตรกรของไทย จึงผลัก ดันให้มีการจัดตั้งศูนย์ตรวจสอบคุณภาพสินค้าการเกษตร ก่อนส่งออก เป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้าการเกษตรของ ภูมิภาคอาเซียนไปยังประเทศปลายทางได้อย่างมีมาตรฐาน สากล อีกทั้งเป็นการสนับสนุนการส่งออกสินค้าภาคเกษตร เพิม่ มูลค่าประเภท พืช ผัก ผลไม้ ไปสูต่ ลาดต่างประเทศ ซึง่ จะ เป็นประโยชน์ในการส่งเสริมการขนส่งสินค้าทางอากาศและ ระบบโลจิสติกส์ในภาพรวมของประเทศ โดยในระยะแรกของ โครงการฯ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ากัด (มหาชน) ได้จัด ตั้งสถานที่ส�าหรับเตรียมสินค้าเกษตร และสินค้าเน่าเสียง่าย ผ่านทางช่องทางพิเศษ (Perishable Premium Lane) และ จัดเตรียมพื้นที่ให้บริการตรวจพืชแบบเบ็ดเสร็จ (One - Stop Service) ก่อนจะด�าเนินโครงการศูนย์ตรวจสอบคุณภาพ สินค้าก่อนส่งออก (Reshipment Inspection Center) ต่อไป ในอนาคต จากนั้น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ลงพื้ น ที่ ช มสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง านเจ้ า หน้ า ที่ ด ่ า น ตรวจพืชสุวรรณภูมิ ณ บริเวณอาคารขนถ่ายสินค้า บริษัท การบินไทย จ�ากัด (มหาชน) และเข้าเยี่ยมชมพื้นที่ส�าหรับ จัดตั้งโครงการรวมจุดตรวจด่านตรวจพืช ท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ และโครงการศูนย์จัดเตรียมสินค้าเกษตรผ่าน ช่องทางพิเศษ (Perishable Premium Lane) ณ อาคารคลัง

58

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

สินค้า 4 อีกทั้ง ได้มอบหมายให้กรม วิชาการเกษตร จัดท�าแผนย้ายสถาน ที่ออกใบรับรองสุขอนามัยพืชและ จุ ด ตรวจสิ น ค้ า เกษตรก่อ นการส่ง ออก ณ ด่านตรวจพืชท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ เดิมมี 5 จุด มาไว้เป็นที่ เดียวกัน เป็นระบบ One Stop Service โดย บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ากัด (มหาชน) ได้จัดสรรพื้นที่และ ปรับปรุงพืน้ ทีเ่ พือ่ เตรียมให้บริการดัง กล่าว คาดว่า บริษัท ท่าอากาศยาน ไทย จ� า กั ด (มหาชน) จะส่ ง มอบ อาคารทีป่ รับปรุงแล้วเสร็จประมาณ เดือนพฤศจิกายน 2564 และสามาถ ให้บริการผู้ส่งออกได้ปลายปี 2564 “ควำมร่ วมมื อในครั้งนี ้ ถื อ เป็ นกำรขั บ เคลื ่ อ นนโยบำยของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผลัก ดัน กำรส่ ง ออกสิ น ค้ ำ เกษตรของ ไทยไปยัง ประเทศต่ ำ งๆ ทั่ว โลก จึ ง มอบนโยบำยให้ ก รมวิ ช ำกำร เกษตร พัฒนำระบบกำรบริ กำรส่ง ออกสิ นค้ำเกษตร โดยเฉพำะด่ำน ตรวจพื ชท่ำอำกำศยำนสุวรรณภูมิ ซึ่ งสิ นค้ำเกษตรส่งออกส่วนใหญ่ มี มูลค่ำสูง ผูส้ ่งออกต้องกำรบริ กำรที ่ มี ควำมรวดเร็ ว เพือ่ รักษำควำมสด ของสิ นค้ำให้ตรงตำมควำมต้องกำร ของผู้ บ ริ โภคในต่ ำ งประเทศ ซึ่ ง โครงกำรรวมจุดตรวจด่ำนตรวจพืช ท่ ำอำกำศยำนสุวรรณภู มิ (One Stop Service) และโครงกำรศูนย์ จั ด เตรี ยมสิ น ค้ ำ เกษตรผ่ ำ นช่ อ ง ทำงพิ เศษ (Perishable Premium Lane) จะเป็ นส่วนขับเคลือ่ นส�ำคัญ ที ่ท� ำ ให้ผู้ส่ ง ออกสิ น ค้ำ เกษตรของ ประเทศไทยสำมำรถแข่งขันในตลำด โลกได้” รมช.มนัญญา กล่าว

เกษตรและสหกรณ์

“รมช.ธรรมนัส”เป็นประธานเปิดงาน กิจกรรม“ART FOR ELEPHANT”

ร้ อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่ า รั ฐมนตรี ช่วยว่ าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ประธานเปิดงานกิจกรรม “ART FOR ELEPHANT” งานประมูลภาพศิลป์เพื่อหารายได้การกุศล การรวมตัวกันของกลุ่มศิลปิน ภาคเหนือวาดภาพกับช้าง และน�าภาพมามอบให้เพือ่ ประมูลหารายได้โดย ไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ ภายใต้โครงการ ”ช้ างรอด เพราะเราช่ วย” และเพื่อ ระลึกในวันช้างไทย ซึ่งตรงกับวันที่ 13 มีนาคมของทุกปี เพื่อให้ประชาชน คนไทยสนใจช้าง ให้ความส�าคัญต่อการช่วยเหลือและอนุรักษ์ช้างมากขึ้น จังหวัดเชียงใหม่มปี างช้างจ�านวนกว่า 100 แห่ง มีชา้ งทีอ่ ยูใ่ นความ ดูแลมากกว่า 1,000 เชือก แต่เนือ่ งด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัลโควิด-19 ท�าให้นักท่องเที่ยวลดน้อยลง และเมื่อปางช้างไม่มีนักท่อง เทีย่ ว จึงท�าให้เหล่าช้างและควาญช้างขาดรายได้ ซึง่ รายได้เหล่านัน้ จ�าเป็นที่ จะต้องน�ามาใช้เป็นค่าอาหาร โดยในแต่ละวันช้างต้องการหญ้าและอาหาร ที่เหมาะสมอย่างน้อยวันละ 10% ของน�้าหนักตัว หรือประมาณ 200-300 กก./วัน/ตัว ทัง้ นี ้ ภำยในงำนยังได้มีกำรมอบทุนบริ จำค เพือ่ ช่วยเหลือปำงช้ำง เพือ่ ประคับประคองให้ปำงอยู่ต่อไปได้ และเพือ่ ดูแล ช่วยเหลือช้ำงทีอ่ ยู่ใน ควำมดูแลทัง้ หมด

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

59


กระทรวงเกษตรฯ จัดพิธีทอดผ้าป่าช่วยช้างไทย เนือ่ งในวันช้างไทย 13 มีนาคม

เพือ่ น�ารายได้ชว่ ยเหลือช้างทัว่ ประเทศ

นายประภัตร โพธสุธน รั ฐมนตรี ช่วยว่ าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังพิธีทอดผ้าป่าช่วยช้างไทย เนื่องในวันช้าง ไทย โดยมี คณ ุ หญิ งแจ่มใส ศิ ลปอำชำ และนำงสำวกัญจนำ ศิ ลปอำชำ เป็ นประธำน ณ บ้าน ช.ช้างชรา (Elephants World) ต.วังดง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ว่า เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 คณะรัฐมนตรีได้มี มติเห็นชอบให้วันที่ 13 มีนาคมของทุกปีเป็นวันช้างไทย เพื่อให้คนไทยหัน

60

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

มาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนช้าง ตลอดจนให้ความส�าคัญต่อการให้ ความช่วยเหลืออนุรักษ์ช้างมากขึ้น ส� า หรั บ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี มีปางช้าง จ�านวน 13 แห่ง มีช้างที่ อยู่ในความดูแลมากกว่า 200 เชือก แต่ดว้ ยสถานการณ์โควิด-19 นักท่อง เที่ยวลดน้อยลง ท�าให้ปางช้างเกิด ผลกระทบเป็นอย่างมาก เนื่องจาก ขาดแคลนรายได้ ขาดแคลนอาหาร สัตว์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมปศุสัตว์ จึงได้จัดงานทอด ผ้าป่าช่วยช้างไทยขึ้น โดยเงินที่ได้ รับในวันนี้จะน�าไปช่วยเหลือช้างทั่ว ประเทศ นอกจากนี้ กรมปศุสัตว์ ยัง ได้จัดเตรียมพืชอาหารช้าง อาหาร เสริม และเวชภัณฑ์ เพื่อดูแลและ เข้าช่วยเหลือช้างที่อยู่ในความดูแล ทั้งหมด อีกทั้งยังปรับปรุงการเลี้ยง ช้างให้ถูกต้องเหมาะสม เป็นไปตาม หลักสวัสดิภาพสัตว์ แก้ไขปัญหา การทารุณกรรมช้าง ตลอดจนมุ่งยก ระดับมาตรฐานปางช้างไทยด้วย ทั้งนี้ บ้าน ช.ช้างชรา (Elephants World) ต.วังดง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี มีเนื้อที่ 130 ไร่ เริ่ม ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคม2551 เนื่ อ งจากได้ เ ล็ ง เห็ น สภาพปั ญ หา ของช้างเลีย้ งทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ปัญหาช้าง บาดเจ็บ ช้างชราที่ประสบปัญหาใน การดูแลสุขภาพ ช้างเร่ร่อน ซึ่งเป็น ช้างด้อยโอกาสที่ไม่สามารถท�างาน ได้ จึงได้ด�าเนินการจัดท�าเป็นสถาน ที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ที่เลี้ยงดูช้าง ชรา เพื่อให้ช้างไทยมีชีวิตความเป็น อยู่ที่ดีขึ้น ปัจจุบัน บ้าน ช.ช้างชรา มีช้างอยู่ในความดูแลทั้งหมด 11 เชือก


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

นายอลงกรณ์ พลบุตร ที่ ปรึ กษารั ฐมนตรี ว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภาย หลังจากนายหวัง ลี่ผิง (Mr. Wang Liping) อัครราชทูตทีป่ รึกษาฝ่ าย เศรษฐกิ จ และพาณิ ช ย์ ประจ�า สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ ประชาชนจีนประจ�าประเทศไทย และคณะ เข้าเยีย่ มคารวะทีก่ ระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ว่า การหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็น ความร่วมมือระหว่างไทย-จีนเป็นไป ด้วยบรรยากาศที่ดียิ่ง ได้แก่ ความ ร่วมมือในการพัฒนาศักยภาพของ เกษตรกรและผู้ประกอบการ (Entrepreneurship Development) การพัฒนาเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ การพัฒนาเส้นทางขนส่งสินค้าทาง รถไฟเชื่ อ มระหว่ าง ไทย-ลาว-จีน และ ไทย-เวียดนาม-จีน การขยาย ความร่วมมือด้านตลาดอีคอมเมิร์ซ ในจี น ผ่ า นแพลตฟอร์ ม ออนไลน์ ยักษ์ใหญ่ อาทิ JD Alibaba (TAPBAO Tmall) Lazada และ Shopee เป็นต้น ร ว ม ทั้ ง ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ในโครงการนิ ค มอุ ต สาหกรรม เกษตรอาหาร ซึ่งขณะนี้มี 8 กลุ่ม จั ง ห วั ด ที่ เริ่ มแ ละอ ยู ่ ร ะห ว ่ า ง พิ จ ารณาด� า เนิ น การ เพื่ อ รองรั บ การลงทุ น จากผู ้ ป ระกอบการจี น เช่ น นิ ค มอุ ต สาหกรรมอุ ด รธานี ซึ่งขณะนี้มีความคืบหน้าไปแล้วก ว่ า 60%โดยฝ่ า ยจี น ยื น ยั น พร้ อ ม สนั บ สนุ น การลงทุ น ในโครงการ อุตสาหกรรมเกษตรอาหารและยัง เสนอที่จะสนับสนุนการพัฒนาขีด ความสามารถของเกษตรกรและผู้

ประกอบการ เช่น การศึกษาดูงาน ของผู้น�าเกษตรกรไทยในจีน การ ศึกษาดูงานด้านเกษตรกรอัจฉริยะ การสัมมนาการจับคู่ผู้ประกอบการ โครงการฝึกอบรม ฯลฯ และฝ่าย ไทยได้น�าเสนอโครงการความร่วม มื อ ภายใต้ ก รอบความร่ ว มมื อ แม่ โขง – ล้านช้าง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการ แข่งขัน และสร้างความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ รวมทัง้ ลดช่องว่างทาง เศรษฐกิ จ และส่ ง เสริ ม การพั ฒ นา อย่างยั่งยืนของประเทศสมาชิกลุ่ม น�้ า โขง และส่ ง เสริ ม กระบวนการ สร้ า งประชาคมอาเซี ย น ปั จ จุ บั น กระทรวงเกษตรฯ ได้รบั งบสนับสนุน ด� า เนิ น โครงการแล้ ว ทั้ ง หมด 7

เกษตรและสหกรณ์

โครงการ ในวงเงินราว 60 ล้านบาท และครั้งล่าสุด เมื่อปี2563 ได้เสนอ โครงการจ�านวน 8 โครงการ โดยกระ ทรวงเกษตรฯ พร้อมให้การสนับสนุน และมีสว่ นร่วมในกรอบความร่วมมือ นี้ และพร้อมที่จะด�าเนินงานร่วมกับ ประเทศสมาชิกทุกประเทศเพื่อให้ เกิดผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ต่ออนุ ภูมิภาคนี้อย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้จะ หารื อ ต่ อ เนื่ อ งในการประชุ ม คณะ ท�างานความร่วมมือด้านการเกษตร ไทย – จีน ครั้งที่ 12 ซึ่งกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ มีก�าหนดการ เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมฯ ในช่วง เดื อ นมิ ถุ น ายน 2564 ผ่ า นระบบ ออนไลน์

เร่งเครือ่ งโมเดล “เกษตรผลิต-พาณิชย์ตลาด” ผนึกความร่วมมือจีนพัฒนาเกษตรอัจฉริยะและอีคอมเมิรซ์

เพิ่มศักยภาพเกษตรกร ขยายส่งออกด่านใหม่ “ตงชิง-ผิงเสียง”

“อลงกรณ์” เผยจีนพร้อมส่งเสริมการลงทุน นิคมอุตสาหกรรมเกษตรอาหารในไทย

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

61


รมช.ประภัตรน�าทีมชีแ้ จงโครงการล้านละร้อย

มอบกรมปศุสตั ว์ผลิตอาหารเพือ่ สนับสนุนการเลีย้ งโค

พร้อมน�าบริษัทเข้ารับซื้อโคทั้งหมดจากเกษตรกรในพื้นที่

เพือ ่ ส่งไปยังประเทศลาวและจีนต่อไป นายประภั ต ร โพธสุ ธ น รั ฐ มนตรี ช่ วยว่ าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ลงพื้นที่ตรวจ ราชการในพื้ น ที่ ม.12 ต.หนอง ปลิงอ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ซึ่ง อ.เลาขวัญ นี้ มีสภาพพื้นที่แห้งแล้ง การประกอบอาชีพด้านการเกษตร จึงไม่ค่อยได้ผล อาชีพปศุสัตว์ เช่น การเลีย้ งโค-กระบือ จึงเป็นทางเลือก ของเกษตรกรในพื้ น ที่ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี จ� า นวนประชากรโคเนื้ อ ในพื้ น ที่ จ� า นวน72,084 ตั ว มี เ กษตรกรผู ้ เลี้ยง จ�านวน 2,275 ราย โดยอ�าเภอ ได้สนับสนุนโครงการต่าง ๆ ให้กับ เกษตรกรในพืน้ ที่ เช่นโครงการฟาร์ม โคเนือ้ สร้างอาชีพระยะที่ 2 โครงการ ปรับเปลี่ยนพื้นที่ท�านาไม่เหมาะสม เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ กลุ่ม เกษตรกรผู้ปลูกพืชอาหารสัตว์ และ กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคขุน เป็นต้น ส�าหรับการลงพื้นที่ในวันนี้ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ได้น�าผู้แทนจากกรม ปศุสตั ว์ และธนาคารเพือ่ การเกษตร

62

และสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) มา ชี้ แ จงแนวทางการรั บ ซื้ อ โคเนื้ อ ใน โครงการสนับสนุนสินเชื่อส่งเสริม การเลีย้ งสัตว์และกิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ในอัตราดอกเบี้ยเพียงร้อยละ 0.01 ต่อปี หรือล้านละร้อย (สินเชื่อธุรกิจ ชุมชนสร้างไทย) นายประภัตร กล่าวว่า ในวัน นีก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อม ด้วยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม มาร่ ว มกั น แก้ ไ ข ป ั ญห า ค ว า ม แห ้ ง แล้ ง ในเ ขต อ.เลาขวั ญ ซึ่ ง เป็ น ที่ ด อนที่ น�้ า ไม่ สามารถส่งมาได้ วันนี้จึงมาส่งเสริม ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรีที่ ต้องการส่งเสริมอาชีพและรายได้ ให้กับเกษตรกร ในขณะที่ฝนทิ้งช่วง หน้าแล้ง และช่วงโควิด-19 จึงได้ สนับสนุนโครงการสนับสนุนสินเชื่อ ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์และกิจการที่ เกี่ยวเนื่อง ในอัตราดอกเบี้ยเพียง ร้อยละ 0.01 ต่อปี หรือล้านละร้อย แต่ต้องเป็นวิสาหกิจชุมชน และต้อง มี ต ลาดรองรั บ โดยไม่ ต ้ อ งมี ห ลั ก

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

ทรัพย์ค�้าประกัน และส� า หรั บ ในพื้ น ที่ นี้ มี ความเหมาะสมในการเลี้ยงปศุสัตว์ ทั้งการเลี้ยงโค แพะ แกะ เป็นต้น โดยในพืน้ ทีน่ ม้ี กี ารเลีย้ งโคถึงจ�านวน 72,084 ตัว จึงมอบหมายให้กรม ปศุ สั ต ว์ ผ ลิ ต อาหารโคในราคาถู ก เพื่ อ ช่ ว ยพี่ น ้ อ งเกษตรกรที่ ไ ม่ มี น�้ า ซึ่ ง จะไปผลิ ต ที่ จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี และน�ามาส่งให้ เนื่องจากมีระยะ ทางห่างกันไม่เกิน 60 กิโลเมตร ใน ราคาต้นทุน ไม่เกิน 5 บาท ซึ่งจะ ท�าให้พี่น้องเกษตรกรสามารถขาย ได้อย่างมีก�าไร และหลังจากนี้ จะ มีบริษัทเข้ามารับซื้อโคทั้งหมด เพื่อ จะส่งไปประเทศลาวและจีนซึ่งคาด ว่ า จะท� า ให้ ร าคาโคขยั บ สู ง ขึ้ น ต่ อ ไป นอกจากนี้ ยังได้มาช่วยเจาะบ่อ บาดาลให้กบั พีน่ อ้ งเกษตรกรทีน่ ดี่ ว้ ย โดยส่วนหนึ่งจะใช้รถของประชาชน ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�าบล อย่างไรก็ตาม สิ่งส�าคัญที่สุดคือจะ ท�าอย่างไรให้มนี า�้ มีอาหารสัตว์ และ การปล่อยอนุมัติสินเชื่อของ ธ.ก.ส. ให้เกิดขึ้นได้จริง


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เรียนรู้จากประสบการณ์ ตรงผ่ านมุมมองผู้ บริหารระดับสูง จากบริษทั แนวหน้าของอุตสาหกรรม ปศุสตั ว์-อาหาร วีเอ็นยูฯรวมผู้เชีย่ วชาญทัง้ ภาครัฐเอกชนร่ วมแบ่งปั นวิสยั ทัศน์ ผ่านงาน DinnerTalk เมื่อวันที่ 10 มีนาคมที่ผ่านมา วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค จัดงาน Dinner Talk ภายใต้หัวข้อ Food for Good: Best Practices and Lesson Learned – เรี ยนรู้ จำกแนวทำงปฏิ บตั ิ สู่บทเรี ยนจริ งของกำร บริ หำรธุ ร กิ จ ซึ่งเป็นงานสุดพิเศษส�าหรับบรรดาผู้ บริหารและผู้น�าต่างๆ ทั้งจากภาครัฐ สมาคม สถาน ทูต ตลอดจนภาคเอกชน น�าโดย กระทรวงเกษตร และสหกรณ์, ส�านักงานส่งเสริมการจัดประชุมและ นิทรรศการ, ประธานคณะกรรมการขับเคลื่อนธุรกิจ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และทีป่ รึกษา รองนายกรัฐมนตรีจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ ซึ่งให้เกียรติ มาแบ่งปันมุมมองเชิงลึกและทิศทางเศรษฐกิจระดับ ประเทศ นอกจากนี้ ยังมีชว่ งเสวนาซึง่ เป็นไฮไลท์สา� คัญ ของงาน ด�าเนินรายการโดย คุณไฮโก เอ็ม ชตุสซิงเง อร์ ผู้อ�านวยการ วิฟ เวิร์ดไวด์ และ กรรมการผู้จัดการ บริษัท วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค และ บริษัท วีเอ็นยู ยุโรป ซึ่งได้รับเกียรติจาก คุณประสิทธิ์ บุญดวงประเสริฐ ประธานคณะผู้บริหาร บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ / คุณจักริน แต้ไพสิฐ พงษ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหาร กลุ่มงาน บริหารส่วนกลาง เครือเบทาโกร / คุณวิศิษฐ์ ลิ้มลือชา ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ที่ได้แบ่งปันประสบการณ์จากหลาก หลายมุมมองส�าหรับ วิธกี ารน�าหัวใจมาใช้ในการผลิต อาหาร – สร้างทรัพยากรบุคคล – สร้างบรรจุภัณฑ์ และ สร้างแบรนด์ให้ยั่งยืน ซึ่งน�าเสนอแนวทางการ บริหารอย่างมืออาชีพทีน่ า� มาใช้จริงในการบริหารงาน ขององค์กร เพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานได้ข้อคิดและกลยุทธ์ ใหม่ๆ ในการประยุกต์ใช้เข้ากับการพัฒนาธุรกิจต่อ ไป ภายในงานคับคัง่ ด้วยจ�านวนผูเ้ ข้าร่วมงานมากกว่า 170 ราย พร้อมด้วยแขกจากต่างประเทศทีไ่ ม่สามารถ มาร่วมงานได้และรับชมผ่านการถ่ายทอดสดมากกว่า 100 รายในวันดังกล่าว

เกษตรและสหกรณ์

วีเอ็นยูฯ ดึงผู้เชี่ยวชาญ

ภาครัฐ-เอกชน ร่วมแบ่งปันวิสัยทัศน์

ผ่านงาน Dinner Talk

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

63


รมช.มนั ญ ญา เปิ ด โครงการ ฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร

เพื่อการบริหารงานส�านักงานสหกรณ์จังหวัด

ขัยกระดั บเคลืบคุ่อณนงานสหกรณ์ ร ะดั บ พื น ้ ที ่ ภาพชีวต ิ สมาชิกและเกษตรกร

ให้ได้รับประโยชน์สูงสุด

นางสาวมนั ญ ญา ไทย เศรษฐ์ รั ฐมนตรี ช่ วยว่ าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเป็นประธานเปิด โครงการฝึ ก อบรมหลั ก สู ต ร “การ พั ฒ นาศั ก ยภาพผู ้ บ ริ ห ารเพื่ อ การ บริ ห ารงานส� า นั ก งานสหกรณ์ จังหวัด” พร้อมมอบนโยบาย “การ ส่งเสริมสหกรณ์ ภายใต้บริบทใหม่” ให้ กั บ สหกรณ์ จั ง หวั ด และเจ้ า ที่ หน้าของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ในวัน จันทร์ที่ 15 มีนาคม 2564 ณ โรงแรม รอยัลปริน๊ เซส หลานหลวง กรุงเทพฯ ว่ า การจั ด ฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รดั ง กล่าว เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ พั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ ทั ศ นคติ และ เกิดความพร้อมส�าหรับการบริหาร งานส่งเสริมสหกรณ์ ให้บรรลุเป้า หมาย ซึ่ ง จะสร้ า งความเข้ า ใจใน ทิศทางการขับเคลื่อนงานเพื่อผลัก ดันสหกรณ์ให้เป็นกลไกหลักในการ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและสังคม ของประเทศ และพร้อมบริหารงาน ด้ า นส่ ง เสริ ม สหกรณ์ ผลั ก ดั น ให้ สหกรณ์มีความเข้มแข็ง มีธรรมาภิ

64

บาล สามารถพึ่งพาตนเองได้ รมช.มนั ญ ญา ได้ ก ล่ า ว มอบนโยบายว่า ภารกิจส�าคัญของ สหกรณ์จงั หวัด จะต้องมีความรอบรู้ มีความพร้อมส�าหรับการปฏิบัติงาน อยู่เสมอ และเข้าใจหลักการบริหาร อย่างแท้จริง ทั้งบุคลากรในองค์กร บริหารงบประมาณที่ได้รับอย่างจ�า กัดให้เกิดความคุม้ ค่าและประโยชน์ สูงสุด บริหารแผนงานโครงการให้ บรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด และบริหาร จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ รวม ทั้ ง เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ที่ มี อ ยู ่ จ� า กั ด

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

ให้เกิดความเป็นธรรมและเท่าเทียม เพือ่ ส่งผลให้การส่งเสริมและพัฒนา สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยนโน บายส�าคัญที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ดา� เนินการขับเคลือ่ นโดยใช้กลไก สหกรณ์เข้ามาช่วยดูแลความเป็น อยู ่ แ ละการประกอบอาชี พ ให้ แ ก่ เกษตรกร ปัจจุบันมีหลายโครงการ ที่เร่งด�าเนินการ เช่น โครงการน�า ลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สาน ต่ออาชีพการเกษตร เป็นการสร้าง เกษตรกรรุ่นใหม่กลับสู่ถิ่นฐานบ้าน


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกิด เพื่อสานต่ออาชีพการเกษตร เน้ น การท� า เกษตรแบบอิ น ทรี ย ์ ท�าการเกษตรแนวใหม่ น�าเทคโนโลยี เข้ามาช่วยผลิตและบริหารจัดการ พร้ อ มทั้ ง ขยายตลาดให้ เ ข้ า ถึ ง ผู ้ บริ โ ภคมากขึ้ น การส่ ง เสริ ม การ ปลูกพืชผักปลอดภัย โดยสนับสนุน ให้สมาชิกสหกรณ์รวมกลุ่มปลูกพืช ผักที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน GAP รวมถึงการท�าเกษตรอินทรีย์ เพื่อ ให้มีความปลอดภัยต่อสุขภาพต่อ เกษตรกรและผู ้ บ ริ โ ภค โครงการ จัดตั้งซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ เพื่อ กระจายผลผลิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพของ สมาชิกสหกรณ์ มีชอ่ งทางการตลาด เพิม่ มากขึน้ รวมทัง้ การสร้างธรรมาภิ บาลในสหกรณ์ การพัฒนาอาชีพ ภายใต้ โ ครงการจั ด ที่ ดิ น ท� า กิ น ให้ ชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.) การสร้ า งความเข้ า ใจแก่ ส หกรณ์ ในเรื่องกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับ

สหกรณ์ การช่วยเหลือแก้ไขปัญหา ด้านหนี้สินของสมาชิก การปรับปรุง การบริหารสินเชื่อของสหกรณ์ และ นโยบายการตลาดน� า การผลิ ต เป็นต้น “ ก ร ม ส ่ ง เ ส ริ ม ส ห ก ร ณ ์ เป็นหน่วยงานที่ท�างานใกล้ชิดกับ สถาบันเกษตรกร จึงต้องน�านโยบาย และมาตรการต่างๆ ของรัฐบาล และ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าไป ช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หาและพั ฒ นาภาค การเกษตร เพื่อช่วยยกระดับการ ประกอบอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ของสมาชิกสหกรณ์และเกษตรกร ให้ดียิ่งขึ้นและได้รับประโยชน์สูงสุด ต้ อ งสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ ทุ ก สหกรณ์พึ่งพาตนเองได้ และหวั ง เป็นอย่างยิ่งว่าสหกรณ์จังหวัดทุก ท่าน จะสามารถน�าความรู้ที่ได้รับ ตลอดเวลาในสามวั น นี้ ไปปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก ารคิ ด วิ ธี ก ารท� า งาน

เกษตรและสหกรณ์

ทัศนคติ และน�าความรู้ไปประยุกต์ ใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านในหน้ า ที่ ไ ด้ อย่างมีประสิทธิภาพ และร่วมกัน พัฒนาสหกรณ์ไปสู่ความส�าเร็จได้ ในที่สุด” รมช.มนัญญา กล่าว ทั้ ง นี้ กลุ ่ ม เป้ า หมายหลั ก ในการจัดฝึกอบรมฯ เป็นสหกรณ์ จังหวัดจาก 36 จังหวัด ประกอบด้วย กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สุราษฎร์ธานี นราธิวาส ปัตตานี กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ร้ อ ยเอ็ ด ศรี ส ะเกษ อุ บ ลราชธานี ล� า ปาง นครสวรรค์ อุ ทั ย ธานี ประจวบคีรขี นั ธ์ กระบี่ เลย หนองบัว ล�าภู มหาสารคาม ยโสธร เชียงใหม่ ล�าพูน เพชรบูรณ์ นครนายก อ่างทอง ระนอง ยะลา พังงา สตูล บึงกาฬ แม่ฮ่องสอน มุกดาหาร สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ตราด สิงห์บุรี และ ภูเก็ต ก�าหนดจัดระหว่างวันที่ 15 – 17 มีนาคม 2564 รวม 3 วัน ณ โรงแรมรอยัล ปริ๊นเซส กรุงเทพฯ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

65


à»ÅÕ蹡ÒÃà¾ÒлÅ١Ẻ´Ñé§à´ÔÁ

ให้กลายเป็นธุรกิจเกษตรแบบใหม่ ´ŒÇÂ

เกษตร 5G

การท�าเกษตรสมัยใหม่ หรือ เกษตร 5G สามารถยกระดั บ วิ ถี ชีวิตเกษตรกรให้ดีขึ้นได้ ด้วยการ ท�าให้วิธีการเพาะปลูกแบบธรรมดา กลายเป็นการด�าเนินธุรกิจดิจิทัลที่ สามารถท�าให้ผลผลิตเข้าถึงผูบ้ ริโภค ได้ง่ายขึ้น และการน�าเทคโนโลยีมา ใช้จะท�าให้การด�าเนินธุรกิจในภาค อุตสาหกรรมเกษตรไม่ใช่เรื่องยาก อีกต่อไป เรามาดูกันว่าอินเทอร์เน็ต 5G มี ป ระโยชน์ กั บ อุ ต สาหกรรม เกษตรด้านไหนบ้าง ซึง่ แบ่งออกเป็น กับผู้บริโภคคนสุดท้าย แต่ในยุคนี้นอกจากเกษตรกรจะสามารถเพาะปลูก เองได้แล้ว ยังสามารถท�าบรรจุภัณฑ์เองได้ และท�าการตลาดเองได้ เพราะ 4 ด้านด้วยกัน ดังนี้ มีแพลตฟอร์มที่เข้ามาเอื้ออ�านวยต่อการท�าธุรกิจ ก่อนอื่นเกษตรกรจะต้อง • เชื่อมโยงสินค้าเกษตร เปลี่ยนทัศนคติจากที่ในอดีตมักถูกมองว่าเป็นเพียงผู้ปลูกผลผลิตให้กลาย กับแพลตฟอร์ม ใ น ห ่ ว ง โ ซ ่ อุ ป ท า น ข อ ง เป็นนักธุรกิจที่สามารถบริหารจัดการตั้งแต่การผลิตไปจนถึงการส่งมอบ การขายสิ น ค้ า เกษตรในอดี ต นั้ น สินค้าและบริการได้เองทุกขั้นตอน เกษตรกรต้ อ งพึ่ ง พาการล� า เรี ย ง • Realtime Planning กับเครื่องมือรับข้อมูลภูมิอากาศ การท�าเกษตรในอดีตคนที่เพาะปลูกสินค้าพืชผลทางเกษตรต้องมี สินค้าผ่านระบบการรับซือ้ จากพ่อค้า คนกลางก่อนที่สินค้าจะถูกส่งต่อให้ ความรู้เรื่องฤดูกาล เพื่อคาดการณ์สภาพอากาศว่าช่วงไหนแดดออกหรือ

66

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

เทคโนโลยีในอนาคต ้ ลูกสู่นก ั ธุรกิจ • เปลีย่ นจากผูป ที่เข้าใจเศรษฐกิจดิจิทัล

ช่วงไหนฝนตก เพื่อสามารถจัดการกับผลผลิตให้งอกเงยตามปริมาณ และคุณภาพที่ก�าหนด แต่ในปัจจุบันเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ยังไม่มีความรู้ เรือ่ งสภาพอากาศสามารถตรวจสอบการเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศ ได้ง่าย ๆ เช่น การดูผลในแอปพลิเคชัน ซึ่งจะท�าให้เกษตรกรมีผลผลิต ที่ถูกต้องและแม่นย�ามากขึ้น ดังนั้น การค�านึงถึงการติดตั้งอินเทอร์เน็ต เพือ่ การใช้งานด้านเกษตรถือว่าเป็นเรือ่ งส�าคัญทีเ่ ราทุกคนต้องพิจารณา อยู่เสมอ • ลดต้นทุนการด�าเนินงานด้วย 5G การท�าเกษตรในอดีตจะต้องใช้ทักษะจากแรงงานเป็นจ�านวน มาก และอุปกรณ์ที่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องมือหยิบจับที่ต้องใช้แรง คนเข้ามาเสริม แต่ในปัจจุบันอุตสาหกรรมเกษตรได้มีวิธีการท�าการ เพาะปลูกที่ง่ายขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เข้ามา ช่วย เช่น การควบคุมเครื่องจักรด้วยการสั่งการจากระยะไกล เป็นต้น นอกจากจะประหยัดเวลาแล้ว ยังสามารถลดต้นทุนการจ้างแรงงานได้ อีกด้วย การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เข้ามาเป็นผู้ช่วยในการ ด�าเนินธุรกิจเกษตร ถือว่าเป็นการปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัล หรือที่เรียกว่า Digital Transformation อย่างเต็มตัวเพือ่ รับมือกับการถูกแทรกแซงจาก

หลายคนอาจคิ ด ว่ า เกษตรกรเป็ น เพียงผู้เพาะปลูกผลผลิตในขั้นต้น ของห่ ว งโซ่ อุ ป ทานสิ น ค้ า เกษตร เท่านั้น แต่จริง ๆ แล้ว เกษตรกรก็ คือนักธุรกิจคนหนึ่งที่สามารถสร้าง แบรนด์ แ ละส่ ง มอบผลผลิ ต ให้ กั บ ลูกค้าได้ด้วยตนเอง และในปัจจุบัน นี้กิจกรรมทางธุรกิจได้ถูกขับเคลื่อน ด้ ว ยอิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น หลั ก จนน� า มาสู่การท�า Online Business ซึ่ง เกษตรกรสามารถสร้ า งธุ ร กิ จ ของ ตัวเองให้เติบโตได้ เช่น การตลาด

พาณิชย์แบบ e-Commerce, การ ขนส่งที่ทันสมัย หรือ e-Logistics และระบบช�าระเงินแบบ e-Payment เพื่อให้เกษตรกรสามารถน�าสินค้า มาขายด้ ว ยตนเองในราคาตลาด เป็นต้น การก้าวเข้าสูเ่ กษตรอัจฉริยะ หรื อ Smart Agriculture ไม่ ใ ช่ การเปลี่ ย นแปลงที่ น ่ า กลั ว ส� าหรั บ เกษตรกร เราสามารถร่วมมือกันส่ง เสริมให้ผู้ประกอบการสินค้าเกษตร พัฒนาธุรกิจของตัวเองให้มศี กั ยภาพ ในการแข่งขันตามยุทธศาสตร์พฒ ั นา ประเทศไทยแลนด์ 4.0 เราเชือ่ ว่าการ เปลี่ยนแปลงในก้าวแรกของคุณคือ การพัฒนาที่ดีเสมอ ขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบ : www.tot.co.th

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

67


à¡ÉµÃ¡ÃÃÙŒÂѧ...

์ น ล ไ น อ อ ด า ล ต ร ไซต์

็บ ฝากร้านกบั เว

กา

68

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

¿ÃÕ!

กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ขอชวนเกษตรกร ในทั่ ว ทุ ก ภาคฝากร้ า นกั บ เว็ บ ไซต์ ตลาดเกษตรกรออนไลน์ “www.ตลาด เกษตรกรออนไลน์ .com” โดยไม่เสีย ค่าใช้จ่ายใดๆ เพื่อส่งเสริมช่องทางการ จ�าหน่ายสินค้าทางการเกษตรทุกชนิด จากเกษตรกรทั่วทุกภาคของประเทศ ไทย ให้ลูกค้าได้พบกับสินค้าทางการ เกษตรได้ง่ายขึ้น อาทิ ผัก ผลไม้ และ ยังช่วยให้เกษตรกรได้ใกล้ชิดกับลูกค้า เพิ่มากขึ้น เกษตรกรที่ ส นใจสามารถ สอบถามข้ อมูลได้ท ่ี ส�านักงานเกษตร จังหวัด ทุกจังหวัด หรื อสแกน QR code คู่มอื การฝากร้ าน อ่านให้ละเอียด ท�าตามขัน้ ตอน โดยทางกรมส่ งเสริม การเกษตรจะมีคณะกรรมการพิจารณา ตามขัน้ ตอน และสามารถเข้าดูได้ทาง www.ตลาดเกษตรกรออนไลน์ .com


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 69


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 70

กาแฟ

กระสอบ

ร้านโครโพลีแบ็ก ....................0-4441-5250 บจก.ธนันต์กิตติ ....................0-2222-4739 บจก.ลีแปะม้อ ......................0-2452-8518 บจก.ไทยฟอร์โมซาพลาสติกอินดัสทรี ............................................0-2234-4334 หจก.เลี้ยงเช้งค้ากระสอบ ....0-32234-4050 หจก. ศ.ไทยพาณิชย์ .............0-2221-7220 บจก.กระสอบเกษตร ......... 0-2709-4060-1 บจก.กระสอบเคลือบเอเชียแปซิฟิค ........................................ 0-2461-5774-5 บจก.กระสอบปากช่อง ....0-2294-9222-41 บจก.กระสอบแหลมทองอุตสาหกรรม ........................................ 0-2226-5707-9 หจก.กรุงเทพคิมส่งหลี ..........0-2267-2196 บจก.กรุงเทพไทยโพลีพลาสติก ............................................0-2472-4708 หจก.กิมส่งหลี ......................0-2236-6907 หจก.คี้เช้งพาณิชย์.................0-2233-0109 บจก.เคียมฮั้วเช้ง...................0-2221-3213

หจก.จรัญ 13 .......................0-2410-1883 หจก.ชวงหงส์........................0-2611-6550 หจก.ชิดโชคเจริญ.............. 0-2428-9892-3 โชคดีการค้า ..........................0-2457-1681 บจก.ลี้แปะม้อ ......................0-2452-8518 ร้านตรีเทพสุทธิ์ธารา ..............0-3528-5685 บจก.เฮียบเฉ้งเฮง ............. 0-2225-4973-4 หจก.ย่งฮวดค้ากระสอบ ........0-2221-0526 บจก.เอ็มอีพีอสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม ........................................ 0-2271-4213-6 บจก.อุตสาหกรรมผ้าเคลือบพลาสติกไทย ........................................ 0-2464-3260-6 หจก.หลีเชียงสหพาณิชย์ .......0-2221-6007 บจก.สีมาคอนแทนเนอร์แม็ก ............................................0-2294-6674 บจก.กระสอบปากช่อง ..........0-2294-9222 บจก.กรุงเทพไทยโพลีเทคนิค ............................................0-3420-6164 บจก.ต.ยิ่งเช้ง........................0-2895-6631 บจก.ไทยอินเตอร์เวฟริ่ง.........0-2420-7060 บจก.พี.บี.ไฮเทคคอร์ปอเรชั่น ............................................0-2462-5512 บจก.แปซิฟิคอุตสาหกรรมกระสอบ ............................................0-2909-2481 บจก.กระสอบเกษตร ......... 0-2709-4060-1 บจก.กระสอบแหลมทองอุตสาหกรรม ........................................ 0-2226-5707-9 บจก.กิมส่งหลี ......................0-2236-6907 หจก.จรัญ 13 .......................0-3410-1883 ร้านโชคดีการค้า ....................0-2457-1681 หจก.ชัยสวัสดิ์ ......................0-2234-8224 หจก.ชินหมง .........................0-2233-0032 หจก.ณัฐนิชาค้ากระสอบ........0-2490-1281 บจก.ธรรมอุตสาหกรรม .........0-2431-0045 บจก.บี-บี โพลีเมอร์........... 0-2385-0851-2 บจก.แปซิฟิคอุตสาหกรรมกระสอบพลาสติก ........................................ 0-2909-2481-5 บจก.พี.ซี.ไฮเฟคคอร์ปอเรชั่น

............................................0-2462-5512 ร้านยงฉังจัน..........................0-2234-5896 โรงงาน อ.เสริมกิจ ................0-2892-0622 โรงงานกระสอบสงวนค้ากระสอบ ............................................0-2234-8466 หจก.ฮั่วหลีเชียงค้ากระสอบ ............................................0-2223-7881 กล้วยไม้

ไทยออคิดส์แอนด์แฟนซีพีชฟาร์ม ..........................................08-1647-8050 บจก.ดรีมฟลาวเวอร์อินเตอร์เนชั่นแนล ..........................................08-1694-2775 หจก.อุดมออคิดส์ .................0-2510-9241 บจก.บางกอกฟลาวเวอร์เซ็นเตอร์ ............................................0-2421-0020 บจก.กุลธนาออร์คิดส์ ........ 0-2565-5463-4 ฟาร์มกล้วยไม้เกษมบุญชู ........................................ 0-2642-7522-3


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 71

ซุปเปอร์มาร์เก็ตกล้วยไม้ ..............08-9494-9900, 08-9494-9090 ไก่-ผลิตภัณฑ์, จำาหน่าย

บจก.ฟ้าใสการเกษตร ........ 0-3423-4186-3 บจก.ตะนาวศรีไก่ไทย ......0-3422-7288-95

บจก.บ้านไก่ไทย ....................0-2587-0707 บจก.เกษมชัยฟาร์มกรุ๊ป ........0-3430-1531 ชุนเซ้งฟาร์ม ........................0-3732-4262, ............................................0-3732-4263 บจก.โกลเด้นฟู้ดส์สยาม ........0-2530-0550 สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่แปดริ้ว ....0-3859-5627 ก่อสร้าง

บจก.กิจทรัพย์อุดม ................0-2513-4433 หจก.เกลือแหลมทอง ............0-2437-1711 บจก.ฟาร์สเบ็ค .................. 0-2539-0101-2 บจก.รีเฟอร์เทรดดิ้ง ...............0-2399-1345 บจก.อุตสาหกรรมเกลือ.........0-2236-8962 บจก.เกลือเจริญอินเตอร์เนชั่นแนล ............................................0-2675-8430 จิบฮั่วเฮงโรงเกลือทะเลแท้ ....0-2221-3423 ไทยยงค์โรงเกลือ ..................0-2468-4474 โรงงานย่งง่วนเช่ง ..................0-2437-3467 บจก.อาณาจักรเกลือ ......... 0-2477-3087-9 โรงเกลือดีเช่งฮะ 1989 .... 0-2477-2603-7 โรงเกลืออินเตอร์เนชั่นแนล ...0-2675-8430 ไก่ชน

เกษตรกรรม

เกลือ

กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร ............................................0-3453-1466 หจก.วิชัยพืชผลสีคิ้ว .............0-4441-1078

หจก.เจริญชัยค้าพืช ...............0-4227-2909 โชคประเสริฐลานมัน .............0-4343-1068 เจริญภัณฑ์พืชผล ..................0-4447-1378 บจก.ฝ้ายเมืองเลย ................0-4281-2171 โรงงานอัดเม็ดคำาปิงเกษตรกรรม ............................................0-4485-9032 อุบลถาวรการค้าพืช...............0-4545-2566 เอเชียผลิตภัณฑ์นำ้ามันพืช......0-2512-1052 บจก.มาลัยพืชผล .............. 0-2532-9173-5 ศูนย์เกษตรกรรมบางไทร .......0-2947-9115 บจก.ชุ่นฮั้วเช่งไรซ์.................0-2383-8735 หจก.เช้งฮวด ........................0-2224-5486 ฟาร์มเห็ดดาวเกษตรพัฒนา...0-2905-4593, ..........................................08-9414-9094 บจก.เซ็นทรัลการเกษตร ........0-2416-9083 บจก.โซนาต้าไซเอนซ์ ............0-2983-3988 บจก.โซเบ็กซ่า (ปท)..............0-2636-0507 บจก.ดรากอน อะกรี.......... 0-2976-4185-9 บจก.ดารินกรีน......................0-2929-6739 บจก.ดารินกรีน......................0-2929-6739 หจก.ดีซี ล้านนา................ 0-2383-2754-5 บจก.ไดมอนด์ไฮท์ ................... 0-2881-752 หจก.ต.แซเช้ง .......................0-2754-3507 บจก.ตลาดไทยพืชผล............0-2933-9449 บจก.ตะวันพืชผล .............. 0-2461-5080-5 หจก.ตั้งเตี้ยไต๋ ......................0-2224-2839 บจก.ตั้งยิ่งวัฒนา ...................0-2312-4182 หจก.ตั้งแสงชัย .....................0-2394-0569 เตียกวงหยู่เอี๊ยะจั๊ว ...............0-2221-5541 บจก.เคียงเฮงจั่น ...................0-2281-3905 แต้เอี๊ยะฮั้ว ...........................0-2222-9366 บจก.ไตรตรอง .................. 0-2322-7960-1 หสน.ไถ่เส็ง ..........................0-2437-5885 บจห.ทนงชัยวัฒน์พืชผล ........0-2281-0332 หจก.ทรงพลพืชผล ...............0-2221-5660 บจก.ทรัพย์สมุทร .............. 0-2634-3051-3 หจก.ทวีผลผลิต................ 0-2501-2330-1 ทองไทย ...............................0-2214-2498


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 72

หจก.ทางไพบูลย์พืชผล..........0-2221-4210 บจก.ทักษิณอุตสาหกรรมนำ้ามันปาล์ม (1993) ........................................ 0-2513-8747-9 บจก.ทีออคิด ........................0-2573-9645 บจก.ทีเอสทีอีซี.....................0-2814-3134 บจก.เทพสถาพร (ตั้งซุ่นหยู)..0-2284-0065 บจก.ไทยซีเรียล์เวิลด์ ........ 0-2927-7606-9 บจก.บจก.ไทยออร์คิดส์ แล็บ ............................................0-2429-0519 บจก.ไทยออร์จิ้น ............... 0-2349-5101-3 โรงปั่นใยมะพร้าวตั้งเป้งเส็ง ...0-3267-1191 บจก.ไทยอโกลชายน์ 6162 ........................................ 0-2420-7405-6 บจก.ธนลาภมหรัตน์ ..............0-2718-0721 โรงงานนิพันธ์ สุวรรณดาลัด ........................................ 0-2589-2721-2 บจก.บุญการเกษตร ..............0-2377-6341, ..........................................08-1377-7945 บจก.ปาล์มไทยพัฒนา ...........0-2253-5768 บจก.พงศ์ชัยกรุ๊ป ..................0-2688-5810 บจก.พีดีไอเทรดดิ้ง................0-2691-3579 พูนผล ..................................0-2221-2418 บจก.ฟิวเจอร์อินโนเวชั่นเทคโนโลยี ........................................ 0-2969-3173-5 สนง.มานพ เจียรรุ่งแสง .........0-2222-8028 บจก.มาสเตอร์โปรดักส์...... 0-2964-8001-2 โรงงานสิ่งแซ่อึ้ง ....................0-2468-2540 บจก.มิตรแสงไทย .................0-2221-5684 บจก.ยูไนเต็ดเกรนส์ .......... 0-2394-1482-4 บจก.รติสุข ....................... 0-2897-0417-9 หจก.รวมกิจพืชผล ................0-2221-2681

หจก.โรงสีข้าวกิจอุดม ............0-4548-1011 หจก.โรงสีแสงทองวัฒนา ........................................ 0-2979-3392-3 หจก.โรงสีอุดมธัญญะ............0-3426-1256 หจก.โรงสีสหพิทักษ์กิจ 1991 ........................................ 0-3542-6347-8 บจก.โรงสีบุญส่งบ้านแพน ......0-3520-1353 บจก.ไฮโครคัสซ์อินเตอร์เนชันแนล ........................................ 0-2750-9535-7 ข้าวธัญทิพย์........................08-2493-8383 ธีระไรซ์ค้าข้าว .......................0-2222-2717 สมาคมโรงสีข้าวสุพรรณบุรี ....0-3552-3305 ข้าวแสนดี .............................0-2683-7543

ข้าวสาร-จำาหน่าย-โรงสี บจก.ราชวงศ์ค้าข้าว ........... 0-2226-1460-2 หจก.เฮ็งสมบูรณ์พาณิชย์ .......0-3568-1037 บจก.ข้าวมาบุญครอง .............0-2661-7900 บจก.สุธาทิพย์ฟาร์ม ............08-1813-1767

ประสิทธิ์ค้าข้าว .....................0-3459-5106 บจก.ข้าวหงส์ทอง .................0-2832-2888 ไทยวัฒนสิน ไฮซ์มิลล์....... 0-2599-1395-6


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 73

โรงสีไทยวัฒนลินไรซ์มิลล์ ........................................ 0-2599-1395-6 เล็งนกทาพงษ์เจริญ ...............0-4578-1667 โรงสีขายข้าว .......................08-1780-3930 ขนม-ของฝาก

เจียเม้ง .................................0-2527-3888 บุรีรัมย์สหสินข้าวไทย ............0-4461-3250 อุดมสินไพบูลย์ค้าข้าว ...........0-4293-1644 อุดรไรซ์ ................................0-4723-9012 ไพโรจน์ค้าข้าว.......................0-4243-1131 ข้าวศรีไทยใหม่......................0-4794-1111 เจ-นี-ไรซ์-อินเตอร์เนชั่นแนล ............................................0-4455-8944 โรงสีอุดร .............................0-4729-0378 โรงสีธัญนคร .........................0-4433-2366 บจก.เหลียวฮวกไรซ์เซ็นเตอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล .............0-3525-5066

แม่บ้านเกษตรนาดำา .............08-1966-5890 จิรวัฒน์ข้าวแต๋นหนองหล่าย ..........................................08-1992-8015 ร้านแม่บุญล้น .....................08-1793-6851 ร้านติ๋มเค้กมะพร้าวอ่อน ......08-0619-8525 ขนส่ง บจก.รุจโฮฬารทรานสปอร์ต ........................................ 0-3471-6711-2 เอ.ที.ขนส่งการเกษตร ...........0-2331-1746 นิวแหลมทองฟู้ดส์ ........................................ 0-3422-9476-7 ข้าวโพด-ผลิตภัณฑ์

บจก.บีแอนด์บี ทูลาสกี้..........0-2955-0460 บจก.ไพบูลย์โปรดักส์ ........................................ 0-2813-8001-3 โรงงานแรงฤทธิ์เบเกอร์รี่ ........0-2533-0500 บจก.แอกโกร-ออน (ไทยแลนด์) ............................................0-2984-1489 บจก.บางกอกโนเวล ........0-2655-1409-12 ไข่-ขายส่ง พงศ์ศักดิ์การเกษตร .......... 0-3875-8214-6 มิตรไก่ฟาร์ม .........................0-2583-4119 บจก.เอนกฟาร์มไข่นกกะทา ............................................0-3561-1444 หมวดเคมีเกษตร


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 74

พงศ์ศักดิ์เคมีการเกษตร.........0-4431-1134 บจก.จีเควส (กุ้งทองไคโตซาน) ..........................................08-7764-6336 บจก.เวสโก้เคมี .....................0-2932-4993 บจก.ชาร์ฟฟอร์มูเลเตอร์........0-2455-4193 ร้านพบพระเกษตรกรรม ......08-1822-5253 บจก.อรุณอะโกร ...................0-2622-9839 บัวทองการเกษตร .................0-3548-1499 ร้าน ดี.ดี.เคมีการเกษตร ......08-9044-4809

บจก.แองโกลไทยเคมีซัพพลาย ......................................0-2529-5658-61 บจก.ซีบราย์อโกรซายน์ .........0-2158-4766 โพลีแอร์พลัส..................0-2328-0455-57 ไทยอะโกรโทรสิก ..................0-2751-7048 บจก.นาโนเฮาส์.....................0-2509-5910 หจก.แสงศิริอุบลเคมีเกษตร...0-4532-1775 บจก.เคมีเกษตร ....................0-4284-1848 สหเคมีการเกษตร .................0-4281-1690

เอ็ม.พี.เค.การเกษตร .............0-5621-7067 ร้านสามแยกเกษตร ...............0-3803-7051 บจก.เอ.พี.เบสท์โปรเท็ค ........0-2551-3605

บจก.กรีนเวย์อินโนเวชั่น ......08-9202-8603 บจก.เทคชาย์ ........................0-2101-1030 บจก.ชดช้อยอกริคัลเจอร์ ..........................................08-1302-9684 บจก.ห้าดาวเคมีเกษตร ..........0-3626-8777 หจก.สมพรพานิชเคมีเกษตร ........................................ 0-3644-2474-5 บจก.พรชัยเกษตร 1 ชีวภาพ พีซี ............................................0-3888-6325 บจก.แพลนท์โปรเทคอะโกร ..........................................08-9524-4315 บจก.เจ.อาร์.ที.เทคโนโลยีแอนด์เอ็นจิเนียริ่ง ............................................0-2375-2990 บจก.ไอบีเอ ...................... 0-3499-5661-2 บจก.ไทยฟาร์เมอร์โปรดักส์ซัคเซส ........................................ 0-3499-3411-4 รอดอนันต์กรุ๊ป .....................0-2921-7785 บจก.โซตัสอินเตอร์เนชั่นแนล ............................................0-2984-0999 บจก.ลัดดา ..........................0-2954-3120 ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ ........................................ 0-2986-1680-2 บจก.ซินเจนทาครอปโปรเทคชั่น .................. 0-2201-4999, 0-2709-4900 ลัดดาการเกษตร ...................0-2978-3282 ร้านประสิทธิ์การค้า ...............0-3457-1059 บจก.เคโมฟายส์ ....................0-2369-3800 บจก.สหายเกษตรเคมีภัณฑ์ ...0-2448-7567 บจก.ซาธิวา (ไทย) ............ 0-2813-7867-9 บจก.ที.เจ.ซี.เคมี ............... 0-2254-8301-7 บจก.ไบเออร์ไทย...................0-2232-7000 บจก.เทพวัฒนา.....................0-2721-3510 บจก.แอพพลายเค็ม (ประเทศไทย) ........................................ 0-2971-7287-8 บจก.ป๊อกซ์ฟอร์มูเลท............0-2978-6922 บจก.แอ็กสเปค (ไทยแลนด์) ............................................0-2714-3038 ร้านส่องแสงพาณิชย์ .............0-3555-1363


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 75

บจก.เวสโก้เคมีประเทศไทย ........................................ 0-2932-4993-4 บจก.ดูปองท์ (ประเทศไทย) ............................................0-2659-4172 ร้านราชพฤกษ์เกษตร .............0-2549-1294 บจก.ฟาร์มโพรเทคชั่น ...........0-2512-5389 บจก.ซันคร็อพกรุ๊ป ..............08-1781-8009 บจก.ไทยเบสท์โฮลดิ้ง............0-2940-1860 บจก.เอฟเอ็มซีเคมิคัล (ประเทศไทย) ............................................0-2664-4322 บจก.โฮลี่วอน .....................08-1903-7035 บจก.เคมิเฟอร์ .....................0-2539-3748, ............................................0-2539-3730 บจก.สร้างสรรค์การเกษตร .....0-4289-1969

บจก.ไมท์ตี้เอ็นจิเนยริ่ง ....0-3231-2278-79 บจก.รุ่งเรืองการช่าง ..............0-5993-6713 บจก.เกียรติศรีมาพัฒนา ........0-4528-4278 หจก.แสงจิตเครื่องจักรการเกษตร ............................................0-2553-1261 เครื่องสับหญ้า

เครื่องหวาย ร้านมิตรภาพเครื่องหวาย .......0-3247-2316 เครื่องพ่นยา-จำาหน่าย บจก.เอ.ที.เพื่อนเกษตรกรไทย ...............0-5521-6009, 0-5532-6172-3 เคมีอุตสาหกรรม-จำาหน่าย บจก.บี เอ เอส (ไทย) ...........0-2664-9222 หัตถ์ตชัยพาณิชย์ ..................0-4581-0660 บจก.ไอบีเอ ....................0-3823-4215-19 ร้านยอดการเกษตร ...............0-3225-4068 บจก.พี.อาร์.กรีน .................08-9341-3122 บจก.ไอเอฟซี ซีสเต็มส์ ..... 0-2998-7190-2 บจก.รุ่งสยามเคมเทรดดิ้ง ........................................ 0-2294-3252-4 ร้านนิวอภิชาติ .....................08-1651-4467 เครื่องจักร-ผู้ผลิต-จำาหน่าย

เครื่องปรุง ฉั่วฮะเส็งฟู๊ดโปรดักซ์ ........ 0-2889-5655-7 บจก.ไทยชูรส.................... 0-2237-2630-5 เกษตรซอสพริก ....................0-3534-1192 โรงงานนำ้าปลาไทย (ตราปลาหมึก) ............................................0-2234-3402 บจก.ดาวมังกรฟู๊ดโปรดักส์.....0-3235-7343 โรงงานซีอิ้วยิ่งฮะฮวด............0-3554-1048 บจก.ซัลซอสอุตสาหกรรม .....0-3249-4343 เครื่องจักรการเกษตร

บจก.ไทยศรันย์จักรกล 2007 ..........................................08-1981-1539 บจก.เกษตรพัฒนา ............ 0-3859-9135-4 บจก.เคแอนด์โอเอ็นจิเนียริ่ง ........................................ 0-2917-9125-7 บจก.ทะเลททองแพคเตอรี่.....0-3846-1350 รวงทองรับเบอร์แนอด์แมชชีน ........................................ 0-3485-4462-4 พรเจริญ (ช่างคิด)2014 ........0-3626-6725 บจก.ไทยอาซาโกร...........0-2294-6329-31 บจก.นำ่าเฮงคอนสตรั๊คชั่นอีควิปเมนท์ ............................................0-2599-1586 บจก.ตั้งง่วนเฮง (2535.........0-2571-7337 บจก.ยนต์ตระการเครื่องจักรกล ........................................ 0-3521-9167-9 บจก.เกียรติศรีมาพัฒนา ........0-4542-2088 เครื่องมือ-อุปกรณ์การเกษตร กนกโปรดักส์ ......................08-0551-1957 เจริญพานิช ...........................0-4563-6159 บจก.วาสเซอร์แคร์ .............08-1400-8319, ............................................0-2616-3885 บจก.ซิลแมทช์ ....... 0-2203-0357 ต่อ 203


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 76

บจก.อโชคพัฒนา ..................0-4449-2136 บจก.ยโสธรศุภนิมิต ..............0-4572-2443 หจก.อุบลกรุงไทย .................0-4526-3909 สยามกรีนโปรดักส์อินเตอร์เนชั่นแนล ............................................0-2533-8432 ศูนย์ทะเลทอง ......................0-4531-3711 เครื่องทำาความเย็น

บจก.สยามโคอกริเวิลด์..........0-4224-4001 เครื่องดักแมลงไฟฟ้า บจก.เอกอนันตชัย ................0-2152-0303

เงินทุน-หลักทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองกระทุ่มพัฒนา ............................................0-3259-6046

เครื่องสีข้าว

ชากาแฟ-ชาเขียว บจก.กาแฟผงไทย ............. 0-2393-5460-1 บจก.ใบชาอ๋องอิวกี.่ ...............0-2424-2120 บจก.เจเนอรัลฟาร์มซัพพลายส์........0-29124223-4 ...................................................... ชั่ง-เครื่อง หจก.ก.ศูนย์กลางเครื่องชั่ง.....0-2221-1683 หจก.กรุงธนเครื่องชั่ง......... 0-2746-7270-1 บจก.แกรนด์ไพไลน์มาร์เก็ตติ้ง ........................................ 0-2322-6656-7 บจก.ควอลิตี้ เทรดดิ้ง แอนด์คาลิเบรชั่น ............................................0-2808-3403 หจก.เครื่องชั่งมุ้ยฮวดอิมปอร์ต

............................................0-2639-1056 บจก.เคเอ็มปรุ๊ฟเมนท์............0-2938-0411 หจก.ง่วนเฮงเส็ง ...................0-2236-1151 หจก.เจซีซี เอ็นจิเนียริ่ง..........0-2744-5855 หจก.ช.เจริญเทรดดิ้ง .............0-2890-1144 หจก.ซัพพลายการช่าง ...........0-2222-8395 ห้างซินฮะเส็ง ......................0-2222-0360 ซี.ซี.การช่าง ..........................0-2750-1942 บจก.เซ็นเตอร์สเกล ..............0-2874-9098 หจก.ดอนเมืองเครื่องชั่ง .... 0-2521-9288-9 หจก.ลิเนียอินสทรูเม้นท์ .... 0-2807-9181-6 บจก.ดิจิตอลสเกลและเอ็นจิเนียริ่ง ........................................ 0-2662-5225-7 บจก.ดีทแฮล์ม .....................0-2221-4167, ............................................0-2652-9414 บจก.สหภัณฑ์ดิจิตอลสเกล ..........................................08-1358-0554 บจก.ตราชูเอเชีย ...................0-2221-1378 บจก.ท็อปโกลบอลเทค ..........0-2703-7117 บจก.เทคนิเคิล แอ๊ดวานซ์ (1995) ........................................ 0-2948-5703-6 ซีซี การช่าง .........................0-2750-1942, ............................................0-2312-4010 บจก.ไทย-ไลออน เทค...........0-2946-2900 บจก.ไทยเครื่องชั่ง .................0-2420-1610 บจก.ไทยทวีอุตสาหกรรมเครื่องชั่ง ............................................0-2533-8331 หจก.ไทยสวัสดิ์โลหะกิจ ........0-2234-9659 หจก.ไทยแสงเจริญเครื่องชั่ง ............................................0-2214-3936 บจก.ไทยแสงเมดริก ..............0-2236-1165 บจก.บราโนเทค.....................0-2274-4323 บมจ.เบอร์ลียุคเกอร์ ..............0-2367-1111 พรฟ้า ...................................0-2755-0887 บจก.พรีม่าอินเตอร์เอ็นจิเนียริ่ง ............................................0-2954-4400 หจก.มาตรฐานเครื่องชั่ง .........0-2887-8441 บจก.มานิด แอนด์ ทูล ..........0-2266-9982


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 77

ห้างมุ้ยเช้งเฮงกี.่ ....................0-2221-0488 บจก.เมทเล่อร์-โทเลโด (ปท) ............................................0-2723-0300 บจก.ยูนิ-โปร สเกลล์เอ็นจิเนียริ่ง (ปท) ............................................0-2742-9639 บจก.ยูนิเวอร์แซล เยนเนอรัลอีควิปเมนท์ ........................................ 0-2644-4584-5 บจก.รุ่งเรืองกิจ เวท แอนด์สเกล ............................................0-2413-3173 บจก.ศรีฟ้าไทย......................0-2286-8663 ศูนย์บริการซ่อมเครื่องชั่ง.......0-2742-6647 บจก.สเกล่าร์ เทคโนโลยี ........................................ 0-2612-0334-6 ห้างส่งเสริม ..........................0-2226-0325 บจก.สยามเครื่องชั่งและวิศวกรรม ........................................ 0-2224-8941-2 สหภัณฑ์เครื่องชั่ง .................0-2466-3772 บจก.สากลภัณฑ์แมชินเนอรี่ ........................................ 0-2381-4730-1 หจก.สิริชัยการช่าง ................0-2893-7239 หจก.อ.เจริญชัยเทรดดิ้ง.........0-2236-1102 บจก.อินเตอร์เนชั่นแนลเอนจิเนียริ่ง ............................................0-2736-3535 หจก.เอ็นพีอาร์ แมชชีนเนอรี่ ............................................0-2752-4846 บจก.เอ็นคอร์ป ................. 0-2332-3707-9 บจก.เอสทีเอฟ (ปท) ............0-2581-5393 บจก.ไอซีอี แอดวานซ์ ....... 0-2722-6525-6 เชือก สนง.ก้วงเฮงเส็ง...................0-2222-1749, ............................................0-2222-5547 โรงงานกิมเฮง .......................0-2420-0479 บจก.เชือกและอวนสยาม ......0-2675-8504 บจก.โชคเจริญพลาสติก ..... 0-2807-7001-2 บจก.ทอรุ่งเรือง .....................0-2457-3338 หจก.ทีแม็ชเปเปอร์................0-2897-6140 หจก.ไทยศรีไพศาล................0-2223-4477 หจก.ธนสยามการทอง ....... 0-2892-3551-3

ปรีดาพลาสติก ......................0-2394-2306 พีเอ พลาสติกโรงงานเชือก ....0-2811-2637 บจก.มิชูโย่ (ปท) ...................0-2294-7536 เมธากร ................................0-2225-7642 ย่งหลี ............................... 0-2223-0904-5 หจก.โยธินอุตสาหกรรม.........0-2455-3375 รุ่งเจริญอุตสาหกรรม ......... 0-2815-4991-2 หจก.รุ่งทิพย์พลาสติก........ 0-2328-0354-6 บจก.รุ่งเรืองยงเจริญ ..............0-2899-5422 วัชระพลาสติก .................. 0-2393-8203-4 ศรีธงทอง .............................0-2222-8584 บจก.ศิริชัยวัฒนาและบุตร ....0-2221-2608, ............................................0-2223-9906 บจก.สกายวีฟวิ่ง ............... 0-2223-7882-3 บจก.สยามบราเดอร์ ........0-2675-8505-35 สหรวมทอง ..........................0-2426-4055 หจก.สุพัฒน์ .........................0-2222-1792 หจก.แสงฟ้าอุตสาหกรรม ......0-2466-3063 บจก.หยกสิน .................... 0-2429-4925-7 หจก. อ.เจือเจริญ ..................0-2226-3515 บจก.อุดมทรัพย์อุตสาหกรรม .0-2416-7723 บจก.เอเชียดริ๊ง .....................0-2622-8186 เอส เอส เค ค้าเชือก ............0-2472-3102 โรงงานโอเชียน โรพ .......... 0-2429-2122-3 แชมพู ศศิมาสมุนไพร ......................0-2546-2335 แช่เย็น บจก.ไพศาลโรจน์ทรานสปอร์ต ......................................0-3442-1148-52

หมวดเตาอบ บจก.สยามโคอกริเวิลด์..........0-4224-4001

ตาข่าย

บจก.ซิงหยาง ........................0-3432-1555 บจก.เอกสุวรรณเกษตร (2001) .................. 0-2448-0327, 0-2885-0793 ต้นไม้เพาะชำา

สวนภูตะวัน ..........................0-3559-9100 สวนชวนชมทุ่งเศรษฐี ..........08-9709-3363 สวนหัสดี ............................08-1973-4161 สวนคุณประสิทธิ์.................08-9079-2520 สวนศรีอัมพร ........................0-2272-4286 สวนนำาโชค .........................08-9245-3858 สวนกล้วยไม้เมืองโคราช......08-1547-2745


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 78

สวนมดตะนอย (ชลบุรี) ......08-6710-0301 สวนโป๊ยเซียน.......................0-2870-7174 สวนชวนชมดอนเงิน............08-1592-0667 สวนไผ่ปทุม ........................08-1348-4723 สวนสวยรังสิต ......................0-2911-3647 ป๋องพันธุ์ไม้.........................08-4271-6627 สวนปากเกร็ด .....................08-1850-4374 สวนวิเศษพันธุ์ไม้เพชรเกษม ..........................................08-1920-9642 กระถางไทยพัฒน์................08-1333-4916 สวนวิชาพันธุ์ไม้...................08-1983-1415 สวนหนุ่มหนองแหน ............08-9033-7717 พรรัตน์การ์เด้น ...................08-9009-8371 โป๊ยเซียนแห่งประเทศไทย ..........................................08-1853-7971 สวนนาถยา .........................08-1926-6232 ไบโอเนียร์โปรโมชั่น ...............0-2527-1976 อิมพอร์ท เอ็กบอร์ด ..............0-2998-1338 วนเกษตรสยาม.....................0-2960-5301

หมวดถังสเตนเลส บจก.มนต์ชัยการช่าง บ้านโป่ง (1985) ........................................ 0-3550-0184-6 ถุงพลาสติก-ถุงข้าวสาร

ถ่าน ถ่านอัดแท่ง ........................08-1867-7014 ถัง

บจก.มนต์ชัยการช่างบ้านโป่ง ..........................................08-1806-1936 ถุงเพาะชำา

ธนาคาร ธกส. ธกส. สาขาสีคิ้ว ....................0-4441-1909 ธกส. สาขาสามพราน ............0-3432-4070 ธกส.สาขาปราณบุรี ...............0-3262-1442 ธกส.สิงห์บุรี .........................0-3652-4219 ธกส.บางปะอิน .....................0-3526-1560 ------------------------------

ธกส.อุทัยธานี .......................0-3535-6252 ธกส.ท่ายา ............................0-3246-1557 ธกส.จอมบึง .........................0-3226-1170 ธกส.โพธาราม.......................0-3235-5265 ธกส.ลำานารายณ์ ...................0-3646-1256 ธกส.ลพบุรี ...........................0-3661-8571 ธกส.ระยอง ..........................0-3661-1099 ธกส.บางไทร.........................0-3537-1035 ธกส.มหาสารคาม .................0-4372-1939 ธกส.นครชัยศรี .....................0-3433-1124 ธกส.ทับสะแก .................. 0-3254-6395-6 ธกส.ราชบุรี ..........................0-3232-1389 ธกส. สาขาบัวใหญ่................0-4429-2118 ธกส. สาขาปากช่อง ..............0-4431-4863 ธกส. สาขาราชสีมา ...............0-4432-9055 ธกส. สาขาห้วยแถลง............0-4439-1487 ธกส.สาขาบึงโขงหลวง...........0-4241-6187 ธกส.สาขาน้ำาพอง.............. 0-4344-1502-3 ธกส.สาขาภูผาม่าน ...............0-4339-6021

ธกส.สาขาย่อยบ้านทุ่ม ..........0-4338-2275 ธกส.สาขาหนองเรือ ..............0-4329-2259 ธกส.สาขาแก่งคร้อ................0-4483-1371 ธกส.สาขาบางเลน.................0-3439-1222 ธกส.สาขาประจวบคีรีขันธ์ .....0-3255-0846 ธกส.สาขาบางระจันต์ ............0-3653-4608 ธกส.สาขาอ่างทอง ................0-3561-1150 ธกส.สาขาเสนา.....................0-3520-1811 ธกส.สาขาชะอำา ....................0-3247-2077 ธกส.สาขาบ้านแหลม.............0-3248-1984 ธกส.สาขาปากท่อ .................0-3235-8520 ธกส.สาขาบางแพ ..................0-3238-1147 ธกส.สาขาสมุทรสงคราม .......0-3471-1259 ธกส.สาขาเลาขวัญ ................0-3457-6100 ธกส.สาขาสองพี่น้อง .............0-3432-4070 ธกส.สาขาเขาไม้แก้ว .............0-3262-1442 ธกส.สาขาศรีประจันต์............0-3652-4219 ธกส.สาขาบางบาล ................0-3526-2456 ธกส.สาขาชัยภูมิ ...................0-4483-5431 ธกส.สาขาหนองบัวแดง .........0-4487-2425 ธกส.สาขาคง ........................0-4445-9118 ธกส.สาขาชุมพวง .................0-4441-7447 ธกส.สาขากำาแพงแสน ...........0-3435-1784 ธกส.สาขากุยบุรี....................0-3568-1603 ธกส.สาขาหัวหิน ...................0-3551-1543 ธกส.สาขาอู่ทอง....................0-3555-1456 ธกส.สาขาอยุธยา ..................0-3525-2248 ธกส.สาขาท่าเรือ ...................0-3534-1931 ธกส.สาขาเขาย้อย ................0-3243-9877 ต้นไม้-เพาะชำา-ปลูก ชมรมบอนไซ ฉะเชิงเทรา ..........................................08-1577-3751 กลุ่มชะอมเพาะเมล็ด ..........08-1848-6472


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 79

นัทธพงษ์พันธ์ไม้ .................08-1580-6064 กลุ่มต้นไม้มงคล ต.ท่าผา ..........................................08-9910-6669 เมล็ดพันธ์ทานตะวันและข้าวสาลี ..........................................08-4002-0023 ตลาดต้นไม้ครบวงจร ...........08-1833-9487 เจริญสวนเฟื่องฟ้า .................0-3432-1786 แทรคเตอร์-อุปกรณ์

บจก.สยามคูโบค้า .................0-2909-0300 บจก.จ.เจริญชัย (นายเจ่า)......0-3524-1852 สยามยนต์แทรคเตอร์ ............0-3630-3515 สหชัยแทรคเตอร์ ..................0-3622-1845 พินิจแทรคเตอร์.....................0-3643-6202

กลุ่มปลูกมะละกอ ชะอม แก้วมังกร ..........................................08-1977-2988 เมล็ดพันธ์แตงกวา ..............08-1874-7901

พี.ที.จี.สตีลดีเวลลอปเม้นท์....0-4429-1790 รามอินทราธีรกิจ....................0-2971-8924 ราชบุรีแทรคเตอร์ ..................0-3228-1055 เคแมนชั่น......................... 0-2934-1203-5 ดี เอ็มแมชีนเนอรี่ .................0-2802-6660 เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม .......0-2675-9401 ณัฐพงษ์แทรคเตอร์................0-2691-4072 มิตรอะไหล่แทรคเตอร์...........0-3536-1380 ณัฐวุฒิเครน..........................0-3454-2628 พัฒนาเกษตรยนต์ .................0-3643-6088 บจก.บีทีแทรคเตอร์ ...............0-2215-4904 ท่อสูบนำ้า-จำาหน่าย สวนแตงกลการ ..................... 035-599202

นำ้าตาล


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 80

บจก.นำ้าตาลทรายกำาแพงเพชร ........................................ 0-2224-2994-8 นม-ผลิตภัณฑ์

นำ้าปลา-ซี่อิ๊ว-เครื่องปรุง โรงงานนำ้าปลาศิริบางปู...........0-2330-1888 โรงงานนำ้าปลาไทย (ตราปลาหมึก) ............................................0-2234-3402

หจก.สุพจน์การ์เด้นดีไซน์ .......0-2992-9363 เบ็ดเตล็ด

ผ้าห่ม 3 ฤดู .......................08-1371-3589 สมุนไพรรีชสิทธิ์ ..................08-1432-2472 บจก.แดรี่โฮม......................08-1876-7234 กรุงเทพเครื่องสวน ................0-2618-4961 ปุ๋ย-ปุ๋ยชนิดนำ้า

นำ้ามันงา-ผลิต-จำาหน่าย บจก.ชัยเสรี ..........................0-3650-1025 เนื้อสัตว์-ขายส่ง

หจก.โปรบิซิเนสบุญทองสุข ..........................................09-3584-6654 ปุ๋ยนาโน ทรานฟอร์ม...........09-8898-8294

บจก.แหลมทองโปรตีนฟู้ด ............................................0-2420-4717 นำ้า-ติดตั้ง

ปุ๋ยมูลไส้เดือนแท้ 100% ....08-3133-4114 บจก.เคโมคาฟ .................. 0-2448-9104-5

บจก.ไทยธุรกิจเกษตร ......0-2954-5777-84 บจก.ไทยยูเนี่ยนโบน .............0-2395-1012 บจก.แพลนโปรเทคอะโกร ..........................................08-9524-4315 บจก.ไบโอเกษตรกรรม ..........0-2570-5312


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 81

บจก.ไบโออาร์ท ................ 0-2448-9104-5 บจก.ไทยฟาร์เมอร์โปรดักส์ซัคเซล ........................................ 0-3499-3411-4 บจก.ไทยเซ็นทรัลเคมี ............0-2639-8888 บจก.เอ็กซ์ตร้าอโกรเคมีคอล .................. 0-2312-1051, 0-2750-6852 บจก.วาน.วี.พี.เปอร์ติไลเซอร์ ............................................0-2928-1299

ปุ๋ยตรากุญแจ ......................08-1725-7341 บีเค. รุ่งเรืองพืชผล ...............0-2654-5770 ปุ๋ยอินทรีย์ตราเทพวานร ........0-3648-1657


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 82

ปุ๋ยอินทรีย์ P.K. ตราห้าม้าแข่ง ..........................................08-1851-6225 ร้านประสิทธิ์การค้า ...............0-3457-1059

บจก.ซาโกร (ประเทศโทย) ......................................0-2957-8360-76 บจก.ดาวฟ้าเคมี ..............0-2363-7538-41 ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ ........................................ 0-2986-1680-2 ร้านมาลีการเกษตร ................0-2278-5016

บจก.ลุมพินีอุตสาหกรรม ......0-2250-1144, ............................................0-2654-5449

วรพงษ์การเกษตร (คุณทิพย์) ........................................ 0-2272-4768-9 บจก.ปุ๋ยตราโอ ....................08-1268-3139

บจก.ปุ๋ยไก่ตราเพชร ............08-4319-4411 บจก.เอสทีเฟอร์ทัลตี้ .............0-3499-1614 ร้านไทยโค๊ท...................... 0-2435-4714-5 บจก.สยามไบโอเทค ........0-2361-5059-61 บจก.เชนเฟอร์ติไลเซอร์ ...0-3583-8668-69 บจก.วี.พี.เฟอร์ติไลเซอร์ ......................................0-2363-7537-41 เกษตรรำ่ารวย ........................0-4572-4242 ร้านราชพฤทกษ์เกษตร ..........0-2549-1294 บจก.ปุ๋ยไวกิ้ง ..................0-2423-9580-90 บจก.ออร์กานิคไซเคิล ...........0-2926-0016 ร้านยอดการเกษตร .............08-9529-9333 บจก.ศรีวิโรจน์ฟาร์ม ............08-1988-4313 บจก.บุรีรัมย์โชคศักดิ์ชัย ........0-4468-1211 สินศักดาการเกษตร...............0-2985-5586 บจก.กู๊ดวิลอะโกร ...............08-1943-3688 บจก.แอ็กโกร (ประเทศไทย) ............................................0-2308-2102 ปลูกผักออร์แกนิกไร้สารพิษ ..........................................08-1629-0807 บจก.กุ้งหลวงไคโตซาน ..........0-2448-0395 ร้านอำานวยการเกษตร............0-2577-1480 ชัยเจริญการเกษตร................0-4323-7117 รัตนาพาณิชย์การเกษตร ........0-4458-1052 ร้านสมานการเกษตร..............0-4371-1515 อยู่พิพัฒน์การเกษตร.............0-4431-2771


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 83

พัฒนาการเกษตร ..................0-4444-7035 เรียงเจริญการเกษตร .............0-4488-2867 รุ่งเรืองการเกษตร..................0-4327-2938 สุรชัยฟาร์ม..........................0-3844-4306, ............................................0-3875-0280 บจก.ไร่อรุณวิทย์รีสอร์ท...0-2423-9500-20 หจก.โคราชโพลีแบ็ก .............0-4441-5250

บจก.พี.ที.ยอดปุ๋ยไทย ...........0-3226-8017 บจก. ศ.วัฒนาการเกษตร ...............0-2487-5540-2, 0-2811-2778 ร้านหัตถ์ตชัยพาณิชย์ ...........0-4581-0660, ............................................0-4563-5967 ร้านหลีเม้ง ...........................0-3461-1225, ............................................0-3461-1157 บจก.เอเชียอุตสาหกรรมปุ๋ย ............................................0-2533-0152 บจก.ทีพีไอโพลีนชีวะอินทรีย์ ............................................0-2285-5090 บจก.ปุ๋ยอินทรีย์เกษตรไทย ....0-3464-3444 บจก.นนท์เกษตร ...................0-2589-8821 บจก.เทพเกษตรอุตสาหกรรม ........................................ 0-2463-9623-4 บจก.กรุงเทพวรรณกิจ ...........0-2462-5512 บจก.กำาไลทองการเกษตร ......0-2883-4481 บจก.เจียไต๋ ...........................0-2233-8191 บจก.บุญพืช (ประเทศไทย) ...0-5331-1528 ศรีนครการเกษตร..................0-4571-1665 ร้านนิมิตการค้าจำาหน่ายปุ๋ยเคมี ..............08-7221-7999, 08-9854-5224 ร้านสมานการเกษตร..............0-4371-1515 ปุ๋ยไทย .................................0-2266-9028 จิตรชัยการเกษตร .................0-3262-3115 มิตรสมบูรณ์ .........................0-2511-1666

สยามอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมี ............................................0-3438-1759 ปราโมทการเกษตร ................0-2905-9600 บจก.ไทยเจริญเกษตร ............0-4467-9118 อาร์แอนด์การเกษตรพัฒนา ............................................0-5214-8668 เอเชียอุตสาหกรรม ...............0-2531-3117 ร้านเกษตรภัณฑ์....................0-2577-1692 เกษมพานิช ..........................0-4457-1984 พันล้านการเกษตร.................0-4327-4666 ปากช่องเคมีเกษตร ...............0-4424-9416 ชำานาญการเกษตร .................0-4277-1881 ชุมแพการเกษตร...................0-4338-4513 เมืองพลพืชผล .....................0-4327-2909 ถังนำ้าการเกษตร ....................0-4287-1167 ศรีนครการเกษตร..................0-4571-1665 จิตรชัยการเกษตร .................0-3262-3115 บี-อาร์เอสฟู้ดส์ ...................08-1995-1266 ปุ๋ยเคมีอินทรีย์การเกษตร ..........................................08-9629-0961 ร้านธนการเกษตร ................08-9550-9415 บจก.เพาะพรการเกษตร.........0-2832-8770 ร้านสายสุนีย์การเกษตร ................08-1926-6093, 0-2737-7766 บจก.ไทยสมบูรณ์ 1984 .......0-5622-4721 ปุ๋ยแคปซูล .........................08-8216-4769 กรีนเมจิกอะโกร ....................0-3554-7175 บจก.ทีเคออคิดฟาร์ม ..........08-1654-3814 ดาวทองการเกษตร................0-2598-3890 ปุ๋ยต้นโพธิ์ ............................0-2985-5779 ดีสิงห์ทวีโชค.........................0-4571-5612 สยามซีฟู้ด............................0-2591-1327 ปุ๋ยคุณลี ...............................0-2748-1750 บจก.บางกอกไทย-ยูเรเชีย .................. 0-4528-9191, 0-4531-1727 บิ๊กสกายเทรดดิ้ง ............... 0-2935-2581-3 เกษตรนำาโชค.................... 0-2689-2420-1 ปุ๋ยอะโกรนิค.........................0-3432-5709

ทรัพย์เจริญผลการเกษตร ......0-3626-6165 เกษตรรุ่งเรืองพัฒนา .............0-3499-2111 ร้านอำานวยการเกษตร............0-3447-3955 สหกิจตะพานหิน ...................0-3534-1739 รวมเกษตรอุตสาหกรรม ........0-4445-9214 ไพศาลการเกษตร ..................0-4424-1937 เสรีการเกษตร................... 0-4420-7627-8 บจก.กรีนอะโกรพลัส......... 0-3496-2320-1 ปุ๋ยกรีนมิกซ์กรีนกู๊ด.............08-0230-7792 ขายปุ๋ยอินทรีย์ ....................08-1098-3541 บจก.สยามยิ้มยิ้ม 2005 .......0-3438-1759 บจก.ปุ๋ยแคปซูลนาโน ..........08-4916-8234 บจก.รุ่ง 99 โคราช..............08-5351-1814 บจก.ดวงตะวันเพชร..............0-2749-8597 ปุ๋ยขี้ไก่อัดเม็ด (98 ฟาร์ม) ..........................................08-9902-8719 แป้ง-ผลิตและจำาหน่าย

บจก.แป้งมันเอี่ยวเฮง ............0-4445-7040 บจก.ลพบุรีสตาร์ซ............. 0-3646-2361-2 บจก.โค้วชังเอี๊ยะ...................0-3824-9045 หจก.โรงแป้งกิจรุ่งเรือง ..........0-3802-9800 ปาล์ม-พันธุ์-ต้นกล้า


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 84

บุษกรพันธุ์ไม้ ................... 08-11192-9344 บจก.ซีพีไออะโกรเทค ............0-7759-9680 สวนภูผาลัม. ...081-3567199

บจก.โกลเด้นออยปาล็ .........08-9663-6605 บจก.ทองไพโรจน์ ..................0-2523-6753 บจก.เอเชียผลิตภัณฑ์นำ้ามันพืช ............................................0-2512-1051 บจก.สุขสมบูรณ์ ชลบุรี ............................................0-3844-2999 บจก.ทักษิณอุตสาหกรรมนำ้ามันปาล์ม (1993) ........................................ 0-2513-8747-9

ป้ายหิน สระบุรีหินแกรนิต..................0-3636-9058 ปลา-จำาหน่าย

ฟาร์มตาคลีใหญ่พันธุ์ปลา.....08-1596-8869 ปาล์มแปรรูป

ปศุสัตว์ ปศุสัตว์ จ.ขอนแก่น ..............0-4322-2154 ปศุสัตว์ จ.บึงกาฬ .................0-4249-2734

ปศุสัตว์ จ.บุรีรัมย์ .................0-4461-1988 ปศุสัตว์ จ.ราชบุรี ..................0-3233-7802


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 85

ปศุสัตว์ จ.เพชรบุรี ................0-3242-4909 ปศุสัตว์ จ.เพชรบุรี ................0-5672-2094 ปศุสัตว์ จ.ลำาพูน ...................0-5351-1288

บจก.ซีแพค...........................0-2840-0058 บจก.ดารินกรีน......................0-2929-6739 ผลไม้แปรรูป

กลุ่มเกษตรชีวภาพสอยดาว ..........................................08-1863-3820 บจก.ผลไม้จามจุรี ..................0-2468-1615 กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรบ้านป่าคา 08-6092-7477

ผลิตผลทางการเกษตร

ปศุสัตว์ จ.พัทลุง ...................0-7461-3297 ปศุสัตว์ จ.ชัยภูมิ...................0-4481-2334 ปศุสัตว์ จ.สุราษฎร์ธานี..........0-7727-2900 ปศุสัตว์ จ.หนองคาย .............0-4425-1822 ผลไม้ส่ง-ออก ผ้าไหม บุษยาธรพืชผล.....................0-2986-3077, ............................................... 2986-3079 บจก.tim food.................. 0-2691-7886-8 หจก.กรีนเดลี่ฟู้ดส์ ................0-2832-6676 บจก.เอเยนต์เทรดเซอร์วิชส์ ........................................ 0-2985-8601-2 บจก.ไทยเพื่องฟูเทรดดิ้ง ........0-2520-3391 บจก.ยูนิตี้กูดส์ ......................0-2285-4115 ผลไม้อบแห้ง บจก.เจริญอุตสาหกรรม .........0-3449-8246

สง่าพืชผลการเกษตร.............0-4466-1311 เครื่องห่อผลไม้ ...................08-3177-0374 บจก.ไฮทิพย์ .........................0-2927-7607

ผลไม้-ผัก-ส่งออก เกษตรอินทรีย์.......................0-2992-3104 ทวีผลเกษตรธรรมชาติ ..........0-3482-4563 สวนสันธนาธร ......................0-5334-6555 กลุ่มขายมะละกอ ...............08-9958-5461 พลาสติก


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 86

บจก.คิวแพ็คโปรเกรซ........ 0-2983-3695-6 บจก.เอกสุวรรณเกษตร (2001) ...............0-2448-0327, 0-2885-0793-4 ร้านส่องแสงพาณิชย์ .............0-3555-1363 โรงงานสยามพลาสติกเกษตร (บจก.เห็ดสยาม) ................0-2377-0680 บจก.อุตสาหกรรมผ้าเคลือบพลาสติกไทย ........................................ 0-2464-3260-6 บจก.เอ็มจีพี สังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม ........................................ 0-2271-4213-6 ร้านหฤทัยกระถาง ............. 0-2422-0813-4 บจก.สรมาคอนแทนเนอรแม็ก ............................................0-2294-6674 ถาวรพลาสติกบรรจุภัณฑ์ ............................................0-3559-5085 บจก.ไทยฟอร์โมซาอินดัสทริ ............................................0-2234-4334 ไทยเจริญทองการทอ .............0-2752-5127 พันธุ์ไม้ ตลาดต้นไม้ครบวงจร ...........08-1833-9487 พันธุ์ไม้ผล ..........................05-1785-7375 ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี .........................................08-9760-8838, ..........................................08-6049-5349 เมล็ดพันธุ์ทานตะวันและต้นข้าวสาลี ..........................................08-4002-0023 พลังงานแสงอาทิตย์

ฟาร์ม

จิรวัฒน์แฮบบัทฟาร์ม ..........08-3859-4290 ไพศาลฟาร์ม .........................0-4329-6012

ฟาร์มเป็ดเสียเหลิง ..............08-1864-6353 เอี่ยมจิตต์อีโคฟาร์ม ............08-1929-2626


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 87

ศรีสวัสดิ์ฟาร์ม 081-0540806

ฟาร์มเห็ด

สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่แปดริ้ว ............................................0-3859-5627 โค่ย-มาร์ท ฟาร์ม .............. 0-2964-9595-6

บจก.เจริญฟาร์ม ................ 0-3436-3378-9 อุดมเกษตรฟาร์ม ..................0-3550-0993 เคทีฟาร์มเทรดดิ้ง..................0-2382-0304

ลัลลิลณ์ฟาร์มเห็ด ...............08-9977-1414


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 88

ฟาร์มเส้นทางเห็ด................08-1971-5155

ฟาร์มเส้นทางเห็ดบ้านผักน้ำาฟ้าbyส.รัตนตรัย . ...........................................098-2653765 ฟาร์มเห็ดวิราภา ..................08-1570-7068 มันสำาปะหลัง-และหัวพืช โชคประเสริฐลานมัน .............0-4343-1068 หจก.เจริญชัยค้าพืช ...............0-4327-2909 มหพืชผล .............................0-4331-1198 สหสุรินทร์พืชผล...................0-4452-8311 สถาบันพัฒนามันสำาปะหลังแห่งประเทศไทย ............................................0-2679-9112 โรงงานอัดเม็ด คำาปิงเกษตรกรรม ............................................0-4485-9032 บจก.มาลัยพืชผล ..................0-2532-9173 เมล็ดพันธุ์-พันธุ์ไม้

ทำามะชาดฟาร์ม ....................094-9825526

บจก.เอ.เอ็ฟ.เอ็ม.ฟลาวเวอร์ชีล ......................................0-5335-38410-5 บจก.แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ ..... 0-3626-6316-9 ตันหยงมัสเนอร์สเซอรี่ ........08-1738-7277 ร้านประสิทธิ์การค้า ...............0-3457-1059 ร้านวัดพร้าวพันธุ์ไม้ .............08-9975-5533 ลัดดาการเกษตร ...................0-2978-3282 บจก.ซีพีไอ อะโกรเทค ..........0-7759-9680 บจก.เพื่อนเกษตรกร..............0-5321-1810 บจก.ที.เอส.เอ. ................. 0-2579-7761-2 บจก.อีสท์เวสท์ซีด ................0-2831-7777 บจก.ที.อาร์.กรีน....................0-3879-7448 ข้าวโพดแปดแถว ................08-4866-1761 อำานาจดอกอุบล ..................08-7082-2765 ไร่ขิงพันธุ์ไม้ .......................08-1943-2231, ..........................................08-1435-5332 ร้านราชพฤกษเกษตร .............0-2549-1294 บจก.ออไรซาเวิลด์.................0-4347-0297 บจก.พืชพันธุ์ตราสิงโต ...........0-2887-6788 บจก.มอนซานโต้ไทยแลนด์ ....0-2793-4888 บจก.ฮอทีโกร........................0-5387-9224 พลาสติก


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 89

พันล้านการเกษตร.................0-4327-4666 เจริญสินการเกษตร ...............0-4578-1144 ยางพารา

ยา

ยาฆ่าแมลง ปรีดาการเกษตร ....................0-3238-3642 EIM SUK...........................0-2908-8941 บจก.นูตริเคมส์ .....................0-2529-1301 บจก.พีชายน์ .........................0-2582-1071 บจก.มิวไบโอเคม ..................0-2987-1935 บจก.สยามกรีนโปรดักส์.........0-2533-8432 บจก.ไบโอเทค.......................0-2908-3308 บจก.ซันฟีด ..........................0-2561-1461 บจก.บางกอกฟาร์ม ...............0-2914-1527 บจก.บ.บางกอกฟาร์ม............0-2581-6168 ศิริชัยเคมีการเกษตร..............0-3236-2199 ป. ประทีปทอง 2000...........0-3471-7829 ทรัพย์เจริญผลการเกษตร ............................................0-3626-6165 เกษตรรุ่งเรืองพัฒนา .............0-3499-2111 วันชัยการเกษตร ...................0-4338-8068

โรงเรือน-โรงเพาะชำา เกษมโรงเรือน.061-1065107

โรงสี-ข้าว บจก.suppersave 1982.........044-670721


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 90

โรงสีกิจธนา ...................... 0-3426-1288-9 สินศักดาการเกษตร...............0-2985-5586 โรงสีทุ่งน้อย .........................0-3235-3122 โรงสีข้าวนำ้าพอง ....................0-4243-1332 โรงสีข้าวทิพย์รุ่งเรืองกิจ .........0-4441-3058 โรงสีข้าวอุดรเอกสิริ ..............0-4729-0429 โรงสีโชคชัยรวงทอง ..............0-4409-1557 โรงสีข้าวเกษตรอินทรีย์ ..........0-4385-9490 โรงสีเศรษฐกิจรวมผล............0-4553-6300 โรงสีข้าวหอมหนองหารไทยง่วน ............................................0-4220-9133 โรงสีข้าวอุดรเอกศิริ ..............0-4229-0423 โรงสีข้าวอยุธยาค้าข้าว...........0-2908-2742 อุดมข้าวสยาม ......................0-2459-5454 โรงสีข้าวชัยรุ่งเรือง ................0-4341-4674 โรงสีฉีเฉียงธงไชย ............. 0-4332-9930-1 โรงสีข้าววิเชียรทรัพย์ ............0-4526-7054 โรงสีธัญนคร .........................0-4433-2366 โรงสีข้าวโพนทอง ..................0-4229-0082 โรงสีข้าวพิบูลทองทวี.............0-4544-1084 ข้าวศรีไทยใหม่......................0-4794-1111 โรงสีธัญนคร .........................0-4433-2366 รถแทรคเตอร์-เครื่องจักรการเกษตร บจก.พศุตม์ เอ็นเตอร์ไพร์ .....081-3999938 ช้างแทรคเตอร์่ ....................... 034-571297

คนสร้างสวน by mr.seal. ....092-3650464 KL จักรการเษตร.................083-5635965 พีอาร์ จักรกลการเกษตร......02-4293990-1


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 91

กลุ่มผลิตชุมชน ..................08-5474-3096 สหกรณ์การเกษตร

หจก.ดวงดีเทคโนโลยีการเกษตร. .................. ...........................................061-9695959 หจก.วี บี เค โฟร์เอส ..........02-6913203-4 บจก.ยูโรแทรค ....................... 038-799911 เกษตรพอดี .........................097-1315052

รั้วเหล็ก-โลหะ บจก.บุนย์วานิช .....................0-2271-0967 ไร่ผลไม้-ฟาร์ม

รับซื้อ-ขายพืชไร่ ตลาดนัดสีเขียว อ.กมลาไสย ..........................................08-5511-1609 รับซื้อนำ้ามันปาล์ม ............. 0-8-5665-8088 ส.สมบูรณ์พืชผล...................0-3626-6748 ศิลปหัตถกรรม


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 92

............................................0-7744-1050 สหกรณ์ข้าวฉางอำานาจเจริญ ..........................................08-9849-9322 สหกรณ์การเกษตรกันทรลักษณ์ ............................................0-4566-1358 สหกรณ์การเกษตร (สามหมอ) ............................................0-4486-1346 สำานักงาน ชุมนุมสหกรณ์ยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย ........................................ 0-2373-0020-1 สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คขามทะเลสอ ............................................0-4433-3388 สหกรณ์เคดิตยูเนี่ยนไทย สาขาขอนแก่น ............................................0-4321-0763 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส. ปทุมธานี ..............................0-2978-0392

สหกรณ์การเกษตร อ.ผาขาว ............................................0-4281-8098 สหกรณ์การเกษตรโพนสวรรค์ ............................................0-4259-5069 สหกรณ์การเกษตรนำ้าเย็น ......0-4537-1039 สหกรณ์การเกษตร จ.ชัยภูมิ ............................................0-4278-1023 สหกรณ์-รับซื้อ สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี ............................................0-3238-9234 สหกรณ์สวนการยาง ขอนแก่น ............................................0-4325-2216 สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย ............................................0-2561-4567 ชุมนุมสหกรณ์ จ.พระนครศรีอยุธยา ............................................0-3535-9097 สหกรณ์การเกษตร (เนินนกทา) ............................................0-4578-1327 สหกรณ์เคดิตยูเนี่ยนไทย (สาขาเชียงใหม่) ............................................0-5339-0893 สหกรณ์เคดิตยูเนี่ยนบ้านหนองกระทุ่มพัฒนา ............................................0-3259-6046 สหกรณ์สุราษฎร์ธานี (จำากัด)

สนง.งานเกษตรกาฬสินธุ์ .......0-4381-1714 สมาคมค้าข้าวไทย .................0-2234-9187 สนง.ตลาดวโรรส ..................0-5323-5688 สถานีที่ดิน จ.ขอนแก่น ..........0-4324-6759 เส้นก๋วยเตี๋ยว

สินค้าเกษตรแปรรูป

หจก.หกพันนา .....................0-4548-2297, ..........................................08-1876-1971 กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรบ้านป่าคา 08-6092-7477


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 93

กลุ่มแม่บ้านสมุนไพรคุณธรรม ..........................................08-3255-0604 สวนผัก-ผลไม้-สวนพรรณไม้

สวนกุหลาบอังกฤษ .............09-0702-4385 สวนเทพทิพย์โภคา ..............08-9663-7298 สวนคุณปู่ ...........................09-2403-9566 สวนประสมทรัพย์ ..............08-1481-6598, ..........................................08-1377-3056

สวนสุนีย์พันธุ์ไม้ .................08-7110-6283 สวนชนากานต์พันธุ์ไม้..........08-4908-1066 บุษกรพันธุ์ไม้ ......................08-1192-9344

สวนบางไผ่พันธุ์ไม้ ...............08-6569-6225 สวนไผ่ธิดาโชค ..................08-1634-3646, ..........................................08-1424-4647 บจก.ชูนินนาทกรุ๊ป ................0-3637-1131 สวนกล้วยไข่.......................08-9085-0966 สวนคุณลี ...........................08-1886-7398

สวนแก้ววงศ์นุกูล.................0-3858-4402, ............................................0-3858-3734


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 94

ห้องเย็นบริการ กิจการห้องเย็นสัตหีบ ............0-3843-7402 อุปกรณ์การเกษตร

บจก.เอกสุวรรณเกษตร (2001) ................... 0-2885-0793-4, 0-2448-0327 บจก.เค.ยู.การ์เด้นเซ็นเตอร์ ........................................ 0-2272-4661-2 ชลกิจสปิงเกอร์ ...................08-6802-4195

ร้านประสิทธิ์การค้า ...............0-3457-1059 วรพงษ์การเกษตร (คุณทิพย์) ........................................ 0-2272-4768-9 ร้านมาลีการเกษตร ................0-2278-5016

หจก.สมพรพานิชการเกษตร ........................................ 0-3644-2474-5

สปิงเกอร์-วาล์วไฟฟ้า


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 95

บจก.เอบีแอนด์ดี คลูลิ่ง ........0-2948-0456 อะไหล่การเกษตร

ร้านนฤมลการเกษตร ..........................................08-5105-5614 ร้านประยูรการค้า ................08-1558-9221 ร้านนำาพาณิช ........................0-4569-1488 บจก.อัศวคอนสตรัคชั่น ........................................ 0-3236-2586-7 บจก.ชุมสินอิมสปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต ........................................ 0-3433-9751-5 บจก.ชินเกษม .......................0-2448-1313 กรเดช พืชผล .......................0-4459-1081 ออกแบบ-ติดตั้ง

บจก.เค.เค. เกษตรกลการบ้านโป่ง ............................................0-3233-0088 หจก.พี.อาร์.จักรกล ...............0-2811-2405 หจก.สามัญตะวันซัพพลาย ....0-2462-0756 บจก.อรุณไทยอิมสปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต ............................................0-2403-8509 อาหารแปรรูป

วิสาหกิจชุมชนแปรรูปและผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร ...................08-6250-5751


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 96

............................................0-2449-7590 เอเพ็กรีเสริช.........................0-2914-4223 บจก.สหมิตรปลาป่น.......... 0-3449-7518-9

อาหาร R3 .........................08-1403-5965 บจก.พีเคพี โอเวอร์ซีล์ ......................................0-29641-9510-4 บจก.เอเซียพลัส ...................0-3543-1575

บจก.โมเดอร์นฟู้ดอินดัสตรี้ ..........................................0-29798-6530 หจก.สหโภคภัณฑ์ .................0-3242-7801 โรงงานนำ้าปลา (ตราทิพย์รส)..0-2234-3402 อาหารสัตว์-ผลิต-จำาหน่าย

บจก.โพรเทคเตอร์นิวทริชั่น (ประเทศไทย)..... ............................................0-3420-2480 บจก.เอ็นทีเจแมชชีนเนอร์ ......0-2915-7407 บจก.เคซีรุ่งเรือง ....................0-4337-0333 รัตนอุตสาหกรรมการเกษตร

ชัยสิทธิ์ฟาร์ม ........................0-4327-2489 บจก.เวทโปรดักส์แอนด์คอนสแตน ............................................0-2937-4902 บจก.จีเอสอาร์โอ ...................0-2524-2491


ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 97

บจก.เอ็มจีเคมีคอล ..........................................0-2923-99110 เบสท์ 59 .............................0-2950-5566 กิจเสรี ..................................0-2416-0172 กรุงเทพอาหารสัตว์ ...............0-2522-1924 ส.พัฒนา ..............................0-2581-6653 อุตสาหกรรมกระดูกสัตว์ .......0-2516-2617 ประวิทย์อาหารสัตว์...............0-2521-2247 พีโออโกรเทค........................0-2927-1144 รุ่งโรจน์อาหารสัตว์ ................0-2927-7299 โมเดลเทรดดิ้ง ......................0-2951-3283 ครีนมิลเลอร์.........................0-2983-3720 ลาดหลุมแก้วพัฒนา ..............0-2599-1477 บจก.เอ.ที.พี. ฟาร์มาแล๊ป ......0-2997-5723 ส.ทรัพย์มงคล ....................08-5812-9181 เค.เอสเอ็นเตอร์ไพรส์............0-2541-9970 แหลมทองอาหารสัตว์............0-4436-5725 กรุงเทพโปรดิวส์....................0-4428-6058 เจริญโภคภัณฑ์อีสาน .............0-4324-2361 ขอนแก่นฟูดส์โปรดักส์ ..........0-4327-2323 พงษ์วัฒนาการเกษตร ............0-4545-1446 บางกอกโนเวจ ......................0-2655-1409 กว้างไพศาลฟาร์ม .................0-3548-1188 เกษตรรุ่งเรืองพัฒนา ............................................0-3499-2111 เกื้อกูลการเกษตร ........................................ 0-4231-2322-3 เกษตรรุ่งเรืองสุรินทร์ ............................................0-4453-8656 กิจธนาอาหารสัตว์ .................0-3426-1288 การุณบราเชอร์......................0-3659-9599 กิตติธนาภัณฑ์ ............................................0-2211-7860 กรีนเพาเวอร์อะโกรเทค ............................................0-2560-1605 อุตสาหกรรมอาหาร

สวนชวนพิศชวนชม.......... 08-18722-0536 สวนทรัพย์เจริญชวนชม .......08-1621-0768

บจก.เอสเอฟขอนแก่น ........08-1988-4313 อาหารกระป๋อง บจก.อุตสาหกรรมสัปปะรดกระป๋องไทย ............................................0-3262-2059 บจก.ทิปโก้ฟู้ด................... 0-2271-0041-3 บจก.มหาชัยอาหารไทย .........0-3481-2914 อาหารแช่แข็ง

อวน-แห อวนประมง ...........................0-3442-2012 บจก.ขอนแก่นแหอวน ...........0-2691-5256 อุปกรณ์ป้องกันอันตราย บจก. 3 เอ็มประเทศไทย .......0-2260-8577 อบยาพืชไร่

สหกิจตะพานหิน ...................0-3534-1500 บจก.ไทยอบยาพืชไร่ .............0-2457-4243 สวน-พันธุ์ไม้ เกษตรอินทรีย์................... 0-2992-3104-5 สวนพิทักษ์ .........................08-9249-1092

อาหารเสริม


ทำาเนียบธุรกิจ ประจำาป 98

บจก.วิรุฬท์อินดัสตรี้ .......... 0-3428-4562-3 บจก.สยามอมรไฃย ...............0-3426-1777

ไฮโดรลิก ป.สินยนต์อะไหล่ .................0-3555-1332, .................. 0-3425-5655, 0-3425-7549 นครชัยศรีไฮโดรลิค ...............0-3423-0102 นครปฐมกลการ ...................0-3439-5263, ............................................0-3439-5037 พรชัยการช่าง........................0-3439-1489 เอสพีสายไฮโดรลิก ...............0-3425-8136 เอส-เอส ไฮดรอลิก ........0-3422-7429-30 บจก.สยามเมทัลเทคโนโลยี ...............0-3895-7300-7, 0-3895-4313 บจก.อัสโน่โฮริเอะ (ไทยแลนด์) .................. 0-3895-4697, 0-3895-4692 บจก.อาร์พีทีเอเซีย ...............0-3895-5375, ............................................0-3895-5380 บจก.อาร์วินเมอร์ริทอร์ (ประเทศไทย) ...............0-3895-4343-9, 0-3895-7372 บจก.อาโอยาม่าไทย .......... 0-2756-5254-5 บมจ.เดอะโดเจเนอเรชั่น ... 0-2207-0970-1, ........................................ 0-2207-0910-1 สวนแม่แตงไผ่ทอง ..............08-3573-4554 สวนมะนาวภูเขียว ...............08-1869-4882 สวนหม่องพันธุ์ไม้ ...............08-1155-6199 ไร่อนุรักษ์ ...........................09-8096-5981

บัวทองพันธุ์ไม้ ....................08-9000-1334 บุษกรพันธุ์ไม้ ......................08-1192-9344 สวนบางไผ่พันธุ์ไม้ ...............08-6569-6225 สวนไผ่ธิดาโชค ..................08-1634-3646, ..........................................08-1424-4647 บจก.ชูนินนาทกรุ๊ป ................0-3637-1131 สวนกล้วยไข่.......................08-9085-0966 สวนคุณลี ...........................08-1886-7398 **บ้านสวนจันทร์สมุนไพร ..............08-1941-5730, 08-4782-7231 สวนไผ่ปทุม ........................08-1348-4723 ฟาร์มผู้พันอิ่ม .....................08-6313-2528 บ้านสวนอำาพันธ์..................09-1404-3598 สวนแก้ววงศ์นุกูล.................0-3858-4402, ............................................0-3858-3734

เกษตร-เบตล็ด หจก.ขันติหินอ่อน ................0-3634-7242, ............................................0-3634-7535 ณ วิษณุหินอ่อน...................0-3633-4170, ............................................0-3634-7145 สระบุรีหินอ่อนแกรนิต...........0-3636-9058 ป การช่าง.............................0-3634-7092 หจก.จรัญ 13 .......................0-2410-1883 หจก.ชวงหงส์........................0-2611-6550 หจก.ชิดโชคเจริญ.............. 0-2428-9892-3 โชคดีการค้า ..........................0-2457-1681 บจก.ลี้แปะม้อ ......................0-2452-8518 ร้านตรีเทพสุทธิ์ธารา ..............0-3528-5685 บจก.เฮียบเฉ้งเฮง ............. 0-2225-4973-4 หจก.ย่งฮวดค้ากระสอบ ........0-2221-0526 บจก.เอ็มอีพีอสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม ........................................ 0-2271-4213-6 บจก.อุตสาหกรรมผ้าเคลือบพลาสติกไทย ........................................ 0-2464-3260-6 หจก.หลีเชียงสหพาณิชย์ .......0-2221-6007 บจก.สีมาคอนแทนเนอร์แม็ก ............................................0-2294-6674 บจก.กระสอบปากช่อง ..........0-2294-9222 บจก.กรุงเทพไทยโพลีเทคนิค ............................................0-3420-6164 บจก.ต.ยิ่งเช้ง........................0-2895-6631 บจก.ไทยอินเตอร์เวฟริ่ง.........0-2420-7060 บจก.พี.บี.ไฮเทคคอร์ปอเรชั่น ............................................0-2462-5512 บจก.แปซิฟิคอุตสาหกรรมกระสอบ ............................................0-2909-2481 บจก.กระสอบเกษตร ......... 0-2709-4060-1 บจก.กระสอบแหลมทองอุตสาหกรรม ........................................ 0-2226-5707-9 บจก.กิมส่งหลี ......................0-2236-6907 หจก.จรัญ 13 .......................0-3410-1883 ร้านโชคดีการค้า ....................0-2457-1681 หจก.ชัยสวัสดิ์ ......................0-2234-8224




ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

แจ้งเตือนเกษตรกร ระวังพายุฤดูร้อน

¾ÃŒ

ÍÁ á ¹Ð Ç Ô § ¸Õ

ÃÐÂС‹Í¹áÅÐËÅѧà¡Ô´¾ÒÂØÄ´ÙÌ͹ ตามทีก่ รมอุตนุ ยิ มวิทยาได้ประกาศเตือนให้ระวัง ป้องกันไม่ให้ต้นไม้โค่นล้มง่ายเมื่อถูกลมพายุพัดแรง พายุฤดูรอ้ นในช่วงวันที่ 1-4 มีนาคม 2564 ซึง่ ประเทศไทย ขณะเดียวกันควรใช้เชือกโยงกิ่งและต้นเพื่อป้องกันกิ่ง ตอนบนจะมีพายุฤดูร้อนเกิดขึ้น โดยมีลักษณะของพายุ ฉีกหัก รวมทั้งใช้ไม้ค�้ากิ่งและค�้าต้นเพื่อช่วยพยุงไม่ให้ ฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง กับมีลูกเห็บตกบางพื้นที่ โค่นลงได้ง่าย 4) ส�าหรับสวนทีเ่ ริม่ ให้ผลผลิต ควรทยอยเก็บผล รวมถึงฟ้าผ่า ส�าหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาค ตะวันออกจะมีผลกระทบในวันที่ 1-3 มีนาคม 2564 ส่วน ผลิตที่แก่ออกไปบ่มหรือจ�าหน่ายก่อนเพื่อลดความเสีย ภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออก รวมทั้ง หายที่อาจได้รับจากพายุ กรณีผลไม้บางชนิดที่อ่อน ไม่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล จะเริ่มได้รับผลกระทบในวันที่ สมบูรณ์ รูปทรงไม่ปกติหรือมีขนาดเล็ก เช่น มะม่วง อาจ 2-4 มีนาคม 2564 ดังนั้น กรมส่งเสริ มการเกษตรจึงขอ เก็บไปจ�าหน่ายก่อนได้ เพื่อลดน�้าหนักบนกิ่งและต้นลง ระยะหลังจากเกิดพายุฤดูร้อน ควรดูแลดังนี้ ให้เกษตรกร เตรี ยมการป้ องกันและระวังความเสียหาย 1) สวนไม้ผลทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากพายุ สามารถ ทีจ่ ะเกิ ดต่อผลผลิ ตทางการเกษตรไว้ดว้ ย โดยเฉพาะสวน ที่จะฟื้นฟูได้โดยท�าการตัดแต่งกิ่งที่ฉีกหัก หรือต้นไม้ที่ ไม้ผลซึ่งเป็ นพืชทีป่ ลูกครัง้ เดียวอยู่ได้นานหลายปี กรมส่งเสริมการเกษตรขอแนะน�าวิธีการดูแล โค่นล้มออกทันทีที่พื้นดินในบริเวณสวนแห้ง 2) ขณะทีด่ นิ ยังเปียกชืน้ อยู่ เกษตรกรไม่ควรน�า สวนไม้ผลในระยะก่อนและหลังการเกิดพายุฤดูรอ้ น เพือ่ ป้องกันบรรเทาความเสียหายหรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้น เครือ่ งจักรกลเข้าไปในสวน เพราะจะท�าให้โครงสร้างดิน ถูกท�าลายและอัดแน่นได้ง่าย โดยในระยะก่อนการเกิดพายุฤดูร้อนควรดูแลดังนี้ 3) กรณีทมี่ ดี นิ โคลนทับถมเข้ามาในสวน เมือ่ ดิน 1) ขอให้เกษตรกรชาวสวนผลไม้ระวังผลผลิตที่ อยู่ในระยะพัฒนาจากผลอ่อนใกล้จะเป็นผลแก่ พร้อมที่ แห้งให้ขดุ หรือปาดเอาดินโคลนทีท่ บั ถมออกจากบริเวณ จะเก็บเกี่ยวอาจได้รับความเสียหายได้ และระมัดระวัง ทรงพุม่ ให้ลกึ ถึงระดับดินเดิมเพือ่ ให้การถ่ายเทอากาศดี การใช้เชือ้ เพลิงในการท�ากิจกรรมต่างๆ ในระยะนีไ้ ว้ดว้ ย ขึน้ และหากต้นไม้เอนลง ให้ใช้เชือกหรือลวดดึงล�าต้นให้ เนือ่ งจากบางช่วงอากาศจะแห้งมาก เสีย่ งต่อการเกิดอัคคี ตัง้ ตรง โดยยึดไว้กบั หลักหรือไม้ผลต้นอืน่ พร้อมตัดแต่ง กิ่งออก 1 ใน 3 ของที่มีอยู่ ซึ่งจะช่วยให้ต้นไม้ผลฟื้นตัว ภัยและไฟป่าได้ 2) เกษตรกรควรปลูกต้นไม้บงั ลม เช่น ไม้ไผ่ กระถิน เร็วขึน้ จากนัน้ ควรฉีดพ่นปุย๋ ทางใบให้แก่ไม้ผล และเมือ่ ณรงค์ ขีเ้ หล็กบ้าน และสะเดาอินเดีย เพือ่ ลดความรุนแรง ดินแห้งเป็นปกติ ควรพรวนดินเพื่อเพิ่มออกซิเจนให้แก่ ของลมก่อนที่จะเข้าถึงสวนผลไม้หรือพื้นที่เพาะปลูก จะ รากพืช ซึ่งจะท�าให้รากแตกใหม่ได้ดีขึ้น และควรใส่ปุ๋ย บ�ารุงต้นด้วย ช่วยลดความสูญเสียจากพายุลมแรงได้ 4) หากสังเกตเห็นต้นไม้ผลใบเหีย่ วเฉา ควรให้นา�้ 3) ควรตัดแต่งกิง่ ทีแ่ น่นทึบหรือกิง่ ทีไ่ ม่ให้ผลผลิต ออกเพือ่ ให้ทรงพุม่ โปร่ง ไม่ตา้ นลม ส�าหรับต้นไม้ผลทีอ่ ายุ อย่างน้อย 7-10 วันต่อครัง้ หรือปริมาณทีเ่ พียงพอต่อความ มากและมีล�าต้นสูง อาจตัดทอนส่วนยอดให้ต�่าลงเพื่อ ต้องการของพืชเพื่อช่วยให้ไม้ผลผ่านช่วงแล้งไปได้ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

101


˹ŒÒÌ͹ กับ

˄凁Τ 102

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

ปั ญหาภัยแล้ ง เป็นปัญหา อั น เนื่ อ งมาจากความผั น แปรทาง ธรรมชาติ ประกอบกับการกระท�า ของมนุษย์ ส่งผลกระทบต่อภาวะ ขาดแคลนน�้ า สะอาด เพื่ อ การ บริโภคและอุปโภค ขาดแคลนน�้า เพื่อการเกษตร ซึ่งยังคงเป็นอาชีพ ของประชากรส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ ในชนบท ดังนัน้ จึงจ�าเป็นอย่างยิง่ ใน การแก้ไข หรือป้องกันปัญหาภัยแล้ง ทีเ่ กิดขึน้ หรืออาจจะเกิดขึน้ พร้อมทัง้ หามาตรการและเทคโนโลยีทเี่ หมาะ สมในการน�าที่ดินมาใช้ประโยชน์ให้ มากขึ้น แนวทางการจั ด การพื้ น ที่ เกษตรเสี่ยงภัยแล้ง เป็นแนวคิดและ วิธปี ฏิบตั ใิ นการลดโอกาสทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบทางลบจากภัยแล้ง โดย การบริหารจัดการปัจจัยทีเ่ ป็นสาเหตุ และผลกระทบของภัยแล้ง ดังนี้ 1. การเพิม่ ปริมาณน�า้ ต้นทุน ที่จะใช้ท�าการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง เป็นการลดความถี่และความรุนแรง ของภั ย แล้ ง ซึ่ ง ภั ย แล้ ง เป็ น ภั ย ธรรมชาติ การลดความถี่อาจท�าได้ ยาก แต่สามารถท�าให้ความรุนแรง ลดลงได้โดยให้มีปริมาณน�้ามากขึ้น โดยการสร้างแหล่งกักเก็บน�้าเพื่อ เป็นแหล่งน�้าส�ารองในฤดูแล้ง หรือ ในระยะฝนทิ้งช่วงซึ่งแหล่งกักเก็บ น�้าจะต้องค�านึงถึงความเหมาะสม กั บ สภาพภู มิ ป ระเทศ สภาพทาง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เช่น การสร้างอ่างเก็บกักน�้าขนาด ใหญ่ อ่างเก็บน�า้ ขนาดกลาง อ่างเก็บ


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

น�า้ ขนาดเล็ก ฝายทดน�า้ การขุดลอก คู คลอง หนองบึง ทีต่ นื้ เขิน ให้สามารถ เก็ บ กั ก น�้ า ได้ ม ากขึ้ น และพั ฒ นา แหล่ ง น�้ า ขนาดเล็ ก ในไร่ น า โดย เฉพาะในพื้นที่นอกเขตชลประทาน เพื่อให้เกษตรกรใช้เก็บกักน�้าไว้ใช้ ในฤดูแล้ง นอกจากนี้การสร้างถัง เก็บน�้าฝนส�ารองรับน�้าฝนเก็บไว้ใช้ ประโยชน์ในฤดูแล้ง เพื่อการอุปโภค และบริโภคได้อีกทาง 2. งดหรือลดการเพาะปลูก เป็ น การลดความล่ อ แหลม หรื อ สภาวะการเปิดรับต่อความเสี่ยงภัย แล้ ง จากการวิ เ คราะห์ พื้ น ที่ เ สี่ ย ง ภัยแล้งพบว่าพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งส่วน ใหญ่ เ ป็ น พื้ น ที่ ท� า การเกษตรนอก เขตชลประทาน ดังนั้นกรณีพ้ืนที่ดัง กล่ า วมี ก ารปลู ก พื ช ที่ เ ป็ น พื ช อายุ ปีเดียว เช่น ข้าว ข้าวโพด ถ้าไม่มี แหล่ ง น�้ า ส� า รองควรงดการ เพาะ ปลูกในช่วงฤดูแล้ง ส่วนพืชที่มีอายุ มากกว่าหนึง่ ปี ควรมีการเพิม่ อินทรีย วัตถุในดินเพื่อเป็นการเพิ่ม ช่องว่าง ในดินท�าให้ดินสามารถเก็บกักน�้าไว้ ได้ ซึ่งปริมาณอินทรียวัตถุที่เพิ่มขึ้น ทุก 1 เปอร์เซ็นต์ จะช่วยเพิ่มความ จุ ข องน�้ า ที่ เ ป็ น ประโยชน์ เพิ่ ม ขึ้ น 1.5 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนีอ้ นิ ทรียวัตถุ ยั ง ช่ ว ยให้ ดิ น มี โ ครงสร้ า งดี ขึ้ น มี ความร่วนซุย การซาบซึมของน�า้ ดีขนึ้ จึ ง ท� า ให้ ดิ น สามารถเก็ บ กั ก น�้ า ไว้ ไ ด้ ม ากขึ้ น ส่ ว นในพื้ น ที่ ท� า การ เกษตรในเขตชลประทานโดยเฉพาะ พื้ น ที่ ท� า นาควรติ ด ตามข่ า วสาร แนวทางการบริหารจัดการน�้าจาก กรมชลประทานว่ า มี ป ริ ม าณน�้ า ต้นทุนที่สามารถท�านาได้หรือไม่ 3. การประหยัดน�า้ ในการท�า กิจกรรมทางการเกษตร ซึ่งเป็นการ

เกษตรและสหกรณ์

ลดความเปราะบาง หรือลดปัจจัยทีท่ า� ให้ขาดความสามารถในการรับมือกับ ภัยแล้ง เช่น การประหยัดน�้าในการท�านาโดยการน�าเทคนิคการท�านาแบบ เปียกสลับแห้ง การเปลี่ยนชนิดพืชที่จะเพาะปลูกจากพืชที่มีความต้องการ ใช้นา�้ ตลอดฤดูกาลเพาะปลูกมาก เป็นปลูกพืชทีต่ อ้ งการใช้นา�้ น้อยแทน เช่น ปลูกพืชตระกูลถั่ว หรือ พืชผักแทนการท�านา เป็นต้น 4. สร้างการรับรู้แก่เกษตรกรในเรื่องของภัยแล้ง เป็นการเพิ่ม ศักยภาพ หรือ ขีดความสามารถในการรับมือกับภัยแล้ง เช่น ให้ทราบถึง พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งก่อนท�าการเพาะปลูกในฤดูถัดไป มีการเฝ้าระวังและ ติดตามสถานการณ์ภัยแล้งในช่วงที่เกิดสภาวะแห้งแล้ง รวมถึงการรักษา ฟื้นฟูพื้นที่ป่า โดยเฉพาะพื้นที่ป่าต้นน�้า เป็นการเพิ่มศักยภาพของพื้นที่ให้ เกิดการสะสมน�า้ ในดิน และน�า้ ใต้ดนิ รวมทัง้ การปลูกไม้ยนื ต้นเพือ่ เพิม่ ความ ชุ่มชื้นให้กับพื้นที่ ช่วยชะลอการไหลของน�้า ไม่ให้ไหลลงสู่ที่ต�่าเร็วและแรง

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

103


9 ÇÔ¸ÕÃѺÁ×Í

โรคพืชและแมลงศัตรูพืช

㹪‹Ç§Ë¹ŒÒáÅŒ§

ตอนนี้ประเทศไทยเข้าสู่หน้าร้อนอย่างเป็นทางการแล้ว แต่จาก ประกาศของกรมอุตุนิยมวิทยาระบุว่า ประเทศไทยสิ้นสุดฤดูหนาว และ เริ่มต้นเข้าสู่ฤดูร้อนตั้งแต่วันที่ 29 ก.พ. 2563 โดยจะมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น ทั่วประเทศ มีอากาศร้อนในตอนกลางวันอย่างต่อเนื่อง ลมพัดที่ปกคลุม ประเทศไทยตอนบนจะเปลี่ยนจากลมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นลมใต้ และ ลมตะวันออกเฉียงใต้ปกคลุมพัดแทนที่ ซึง่ เป็นลักษณะของการเข้าสูฤ่ ดูรอ้ น ของประเทศไทยอย่างเต็มตัว และคาดว่าฤดูรอ้ นปีนจี้ ะสิน้ สุดประมาณกลาง เดือนพฤษภาคม 2563 เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น อากาศร้อนอบอ้าว ความชื้นในอากาศมีน้อย พืชผัก หรือผลิตผลทางการเกษตร ก็มโี อกาสสูงทีจ่ ะโดนแดดเผาไหม้จนถึง ขัน้ ยืนต้นตาย การเตรียมความพร้อมส�าหรับการเกษตรฤดูรอ้ นจึงเป็นเรือ่ ง จ�าเป็น อีกทั้งในฤดูร้อน เกษตรกรก็ยังต้องเผชิญกับโรคพืชหน้าแล้งและ ศัตรูพืชต่างๆ แบบที่ไม่น้อยหน้าฤดูกาลอื่นๆ เพราะด้วยสภาพอากาศที่มี ความชืน้ ต�า่ ติดต่อกันยาวนานหลายเดือน นับเป็นสภาวะทีเ่ หมาะสมส�าหรับ ศัตรูพืชเจ้าประจ�า ทั้งเพลีย้ ไฟ, เพลีย้ แป้ ง, เพลีย้ กระโดดสีน�้าตาล (ทีม่ กั ระบาดในนาข้าวช่วงอากาศร้อน), แมลงหวีข่ าว, ไรแดง เป็นต้น ซึ่งสร้าง ความเสียหายให้กับพืชที่ปลูกได้เป็นจ�านวนมาก ยิ่งที่ไหนปลูกพืชที่ก�าลัง แตกยอดอ่อน ยิ่งจะดึงดูดให้แมลงเหล่านี้แห่กันมาได้ ส�าหรับโรคพืชในหน้าแล้งที่ต้องระวังอีกอย่าง ก็คือโรคเชื้อรา ที่มา พร้อมกับความชื้น ซึ่งหลายคนอาจคิดว่าหน้าแล้งจะไม่มีปัญหา แต่ความ จริงแล้วในหน้าร้อนมักมีฝนหลงฤดู หรือพายุฤดูรอ้ นเกิดขึน้ บ่อย อีกทัง้ หน้า ร้อนดินแห้ง การระบายน�้าไม่ดีท�าให้น�้าขัง โรคเน่าก็เกิดขึ้นได้อีก เพือ่ ไม่ให้เกิ ดโรคพืชหน้าแล้งและแมลงศัตรู พืช เรามาดู 9 วิ ธีรบั มือ โรคพืชและแมลงศัตรู พืช ในช่วงหน้าแล้งกัน

104

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

1. หมั่นสังเกตความผิดปกติของพืชที่ปลูก หากต้นใดมีอาการของโรคพืชหน้าแล้งเกิดขึน้ ให้รบี ก�าจัดทิง้ แต่เนิน่ ๆ ป้องกันการ ลุกลาม ต้นที่เหลือก็ให้ฉีดสารเคมีที่ใช้กับโรคนั้นๆ 2. เมื่อเก็บเกี่ยวพืชผลแล้ วควรท�าลายซังตอ หรื อต้ นเก่ าทุกครั ง้ อย่าให้เหลือทิง้ อยูใ่ นแปลงปลูก โดยเฉพาะต้นทีเ่ คยเกิดโรค เพราะจะกลายเป็น แหล่งที่ท�าให้เชื้อโรคเข้าไปอยู่อาศัย และกลับไปก่อให้เกิดโรคได้อีก 3. หลีกเลี่ยงการปลูกพืชชนิดเดียวกัน การปลูกพืชทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ เดียวกัน เมือ่ เกิดโรคครัง้ หนึง่ ครัง้ ต่อไปก็จะเป็นโรคชนิด เดิมอีก และเมือ่ ท�าการปลูกพืชแบบเดิมต่อเนือ่ งไปเรือ่ ยๆ โรคก็จะเกิดขึน้ ไม่มที สี่ นิ้ สุด การ เปลีย่ นพืชทีป่ ลูกจะเป็นวิธที ที่ า� ให้เชือ้ นัน้ ไม่สามารถก่อความเสียหายให้กบั พืชชนิดใหม่ได้ 4. คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ท่ ดี จี ากต้ นที่พ่อแม่ แข็งแรง ควรหาซือ้ พันธุจ์ ากแหล่งทีเ่ ชือ่ ถือได้ และต้องมีการคลุกยาป้องกันโรค เพาะเมล็ด หรือพันธุ์ที่ปลอดโรคพืชหน้าแล้งถือเป็นการเริ่มต้นที่ดี 5. เปลี่ยนสภาพความเป็ นกรด-ด่ างของดิน ท�าได้ดว้ ยการเติมปูนขาวทีช่ ว่ ยลดปัญหาเชือ้ โรคในดิน หรือการเติมสารทีก่ อ่ ให้ เกิดกรดลงไป เพือ่ ไม่ให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของเชือ้ ราและแบคทีเรียทีอ่ ยูใ่ นดิน 6. เตรี ยมดินให้ เหมาะสมกับการเพาะปลูก โดยพลิกไถพรวนดิน ตากแดดเพื่อฆ่าเชื้อโรค และใส่ปุ๋ยอินทรีย์ให้ดินมีธาตุ อาหารสมบูรณ์ ท�าให้ต้นอ่อนไม่ขาดอาหาร แข็งแรง และมีภูมิคุ้มกันโรค 7. ให้ น�า้ พืชอย่ างสม�่าเสมอ เนื่องจากหน้าร้อนอุณหภูมิสูง ท�าให้พืชมีอัตราการคายน�้าสูง จึงจ�าเป็นต้องมี การให้น�้ามากขึ้นและต้องสม�่าเสมอมากเป็นพิเศษ โดยช่วงเวลาที่เหมาะสมในการให้ น�้าก็คือ 6.00-8.00 น. และ 17.00 น. จนถึงตะวันตกดิน เนื่องจากเป็นช่วงที่อากาศไม่ ร้อนจนเกินไป และควรหลีกเลี่ยงการรดน�้าในเวลากลางคืน เพราะมีความชื้นในอากาศ สูง ที่อาจท�าให้เกิดการสะสมของเชื้อรา และเกิดโรคพืชหน้าแล้งได้ 8. เพิ่มความชุ่มชืน้ หน้ าดิน โดยการหาวัสดุคลุมดินที่ช่วยลดการระเหยของน�้า เช่น กาบมะพร้าวสับ ฟาง ข้าว เศษหญ้า มาคลุมดินไว้ 9. ตัดแต่ งกิ่งที่ไม่ จา� เป็ นหรื ออ่ อนแอทิง้ ไป เพือ่ ลดการคายน�า้ การทีต่ น้ โปร่งยังเป็นการป้องกันโรคพืช และแมลงศัตรูพชื ทีจ่ ะมารบก วน ทั้งยังจะกระตุ้นการแตกยอดใหม่ ให้ผลิดอกออกผลตามฤดูกาล วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

105





à¡ÉµÃ¡ÃªÒÇäËÍÍŒ Â

ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

ก า ป ก อ อ ง ต่า

ขอขอบคุณ Covid-19

หากอ่ านเฉพาะหัวข้ อด้าน บนอาจจะเข้ า ใจว่ า เกิ ด ความ เข้ าใจผิด เพราะทุกคนต่ างกลัว และหวั่นวิตก เมื่อมีการระบาดของ เชือ้ ไวรัสโคโรน่า-19 ไปทัว่ โลกตัง้ แต่ ช่วงเดือนมีนาคม 2563 ซึง่ ท�าให้เกิด การเจ็บป่วยล้มตายหลายล้านคน รวมถึ ง มหาอ� า นาจอย่ า งประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก าที่ เ ป็ น เป็ น ผู ้ น� า ด้ า น เศรษฐกิจและด้านเทคโนโลยีของ โลก กลับต้องพ่ายแพ้ให้แก่โรคนี ้ จน มีผู้ติดเชื้อและล้มตายเป็นอันดับ 1 ของโลกจนความเชื่อผิดๆ เช่น ใคร ใส่หน้ากากคือคนป่วย ต้องยอมแพ้ ต่อโรคนี้ จนท�าให้ประธานธิบดีคน ก่อนแพ้การเลือกตั้งไป หรือแม้แต่ ในประเทศในแถบเอเชีย เช่น จีนและ อินเดีย ก็พบการระบาดเป็นจ�านวน มาก จนกระทั่งในปัจจุบันเริ่มมีการ ผลิตวัคซีนกระจายไปให้แก่ทั่วโลก ซึง่ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าเราจะสามารถ

รับมือกับโรคและท�าให้การใช้ชีวิต การเดินทางข้ามประเทศ ได้กลับมา ด�าเนินได้ตามปกติ อีกครั้ง ผลกระทบที่ มี ต ่ อ พี่ น ้ อ ง เกษตรกรชาวไร่ อ ้ อ ยของเราที่ มี ผลอย่างเห็นได้ชัดคือ ปัญกาการ ขาดแคลนแรงงาน เพราะเกิดการ จ�ากัดการเคลื่อนย้ายคนในประเทศ และที่ ห นั ก ที่ สุ ด คื อ แรงงานต่ า ง ชาติ ที่ปกติจังหวัดแถบชายแดน ก็ มีการใช้แรงงานคนงาน ในการตัด อ้อยจากต่างประเทศ เช่น กัมพูชา พม่า ลาว เป็นต้น ซึ่งในแต่ละปี พอ ท�าการตัดอ้อยเสร็จ จะต้องมีการมัด ต�าค่าแรงในปีถัดไปไว้ เพราะไม่เช่น นัน้ ทางแรงงานก็จะถือว่ายังไม่มีข้อ ผูกมัด และสามารถย้ายไปท�างาน กับเจ้าอื่นได้ จั ง หวั ด ที่ พ บปั ญ หาเป็ น อย่างมาก ส่วนใหญ่ก็จะเป็นจังหวัด ชายแดน เช่น สระแก้ว สุรินทร์ เลย

มุกดาหาร เป็นต้น จึงเกิดการตื่นตัว หาทางแก้ปัญหา ดังกล่าว เพราะ การหาแรงงานระดั บ 10-20 คน ต่อเถ้าแก่ 1 รายเป็นเรื่องใหญ่มาก เพราะไม่ ไ ด้ มี ก ารมั ด จ� า แรงงานที่ ในประเทศไว้ จวบจนจะถึงวันตัด หน่วนงานของรัฐก็ยังไม่มีการฟันธง ให้ว่าจะจัดหารอย่างไร จึงเกิดการ ร้องเรียนไปยังกระทรวงแรงงานเพื่อ ให้ช่วยเหลือผ่อนปรน ให้สามารถ อนุญาตให้แรงงานต่างด้าวเข้ามา ท� า งานได้ แต่ จ นแล้ ว จนรอดก็ ยั ง ติ ด ที่ ห น่ ว ยงานสาธารณสุ ข และ มหาดไทย เพราะหากเกิดการระบาด ของโรค โดยการน�ามาของแรงงาน ดังกล่าว ปัญหาก็จะขยายวงกว้าง ออกไปอีก จึงท�าให้เกิดปัญหาเป็น อย่างมาก ในภาวะดังกล่าว เกษตรกร จึ ง มองหาเครื่ อ งจั ก รเพื่ อ น� า มาใช้ งานให้ ทั น ฤดู ก ารเก็ บ เกี่ ย ว โดย

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

109


ทางเลือกหลักคือรถตัดอ้อยขนาด ใหญ่จากทั้งในและต่างประเทศ แต่ ปัญหาหลักๆ คือเงินทุน เนื่องจาก ราคาของรถตัดอ้อยใหม่ ก็มีตั้งแต่ 6-10 ล้านบาท หรือถ้าหากเป็นมือ สองก็ต้องมี 2-5 ล้านบาท ซึ่งจะ เหมาะส� า หรั บ แปลงอ้ อ ยที่ เ ตรี ย ม ความพร้อม ปรับพื้นที่ และมีระยะ การปลูกทีเ่ หมาะสม รวมถึงปริมาณ อ้อยทีเ่ พียงพอ เพราะหากมีปริมาณ อ้อยที่น้อยจะไม่คุ้มในการซื้อ หรือ บางคนใช้การว่าจ้างรถตัด แต่ต้อง มีการรอคิว และมีถึงขั้นใช้รถของ โรงงาน แต่เมื่อรถมีถึงเห็นอ้อย ขอ ยกเลิกการตัดก็มเี พราะปริมาณน้อย มาก ไม่คมุ้ ค่าน�า้ มัน รวมถึงช่วงก่อน ฤดูกาลตัด ปีนี้มีฝนล่าท�าให้ดินมี ความชุม่ ชืน้ หากน�ารถตัดลบางพืน้ ที่ จะไม่สามารถท�างานได้ เนือ่ งจากรถ ตัดมีขนาดใหญ่และน�้าหนักมาก

110

จากปั ญ หาดั ง กล่ า ว จึ ง มี พระเอกของชาวไร่อ้อย คือ เครื่อง ตัดอ้อยวางล�า ช้างแทรกเตอร์ ที่ สามารถใช้ทดแทนแรงงานในการ ตัดอ้อย โดยใช้ร่วมกับเครื่องสางใบ อ้อย ช้างแทรกเตอร์ โดยมีการใช้ งานอย่างแพร่หลาย ทางเราจึงได้ ลงไปหาข้อมูลการใช้งานว่าผลการ ใช้งานเป็นอย่างไร เพื่อน�ามาฝากพี่ น้องเกษตรกรเป็นแนวทาง และทาง เลือกในการเก็บเกีย่ วในฤดูกาลหน้านี้ ทางส� า นั ก พิ ม พ์ จึ ง ได้ ข อ สั ม ภาษณ์ คุ ณ วรกั น ต์ หงษ์ ก า ผู้ จั ด การทั่ ว ไป บริ ษั ท ช้ าง แทรกเตอร์ จา� กัด โดยคุณวรกันต์ ได้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล ดั ง นี้ “ในปี การเก็ บ เกี ่ยว 63/64 นี ้ ทางบริ ษัทมี ยอด ขายเฉพาะในประเทศที ่เติ บโตกว่า 3 เท่ า ตัว และในต่ า งประเทศที ่ เติ บโตอี ก 100% เหตุผลหลักคื อ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

ปั ญหาโควิ ด-19 ที ท่ �าให้ขาดแคลน แรงงาน เครื ่ องจักรของเราที ่มีผู้ใช้ กว่า 1,000 เครื ่องทัว่ ไปอยู่ก่อนจึ ง เป็ นฐานใหเกษตรกร ตัดสิ นใจเลือก ใช้ เพราะเรายืนหยัดนโยบายตามที ่ ผูบ้ ริ หารสูงสุด คื อ คุณจักรกฤษณ์ ทองไพโรจน์ (เฮี ยช้าง) ได้มอบไว้ ให้ทีว่ าง ลูกค้าไม่ตอ้ งจองเงิ น แจ้ง ยื นยันก� าหนดวัน เมื ่อส่งมอบและ ตัดให้เห็ นว่าท� างานได้จึงช� าระเงิ น เป็ นนโยบายหลักที เ่ ราปฏิ บตั ิ มาต่อ เนือ่ ง เพือ่ แสดงความรับผิ ดชอบต่อ ลูกค้า รวมถึงคลายคามกังวลในแง่ ของจ่ายเงิ นไปแล้วตัดไม่ได้ ปั ญหา นี จ้ ึ งหมดไป โดยการออกแบบของ เราลูกค้าต้องซ่อมแซมเองได้ อะไหล่ หาง่าย ท�าให้ลกู ค้ามีตน้ ทุนทีต่ �่าทีส่ ดุ อย่างเครื ่องตัดอ้อย ของเราราคาเริ่ ม ต้นที ่ 250,000 บาท ก� าลังการตัด ที ่ 2 ไร่ /1 ชัว่ โมง ถ้าเฉลีย่ ไร่ ละ 10 ตัน เกษตรกรก็จะได้ออ้ ยที ่ 20 ตัน/ ชัว่ โมง หรื อหากต้องการส่งอ้อยวัน ละพ่วง หรื อประมาณ 40 ตันก็ใช้ เวลาเพี ยง 2-3 ชัว่ โมง ก็ สามารถ ตัดเสร็ จ ตัวผมเองได้มีโอกาสลงไป สาธิ ต แนะน�าสิ นค้า และติ ดตามผล การใช้ และเมือ่ เจอเกษตรกรหลายๆ


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

ท่านพูดเป็ นเสี ยงเดี ยวกันว่า ขอขอบคุณโควิ ด 19 ซึ่ ง อย่าลืมเช็คก่อนว่าเป็ นเครื ่องตัดอ้อย และเครื ่องสางใบ เป็ นประโยคทีผ่ มสะดุดและประหลาดใจ จึ งได้มีโอกาส อ้อย ช้างแทรกเตอร์ หรื อไม่ครับ” สอบถามก็ได้ค�าตอบว่า ถ้าเราไม่เจอโควิ ด เกษตรกรก็ เครื่ อ งตั ด อ้ อ ยและเครื่ อ งสางใบอ้ อ ย ช้ า ง ยังใช้แรงงานคนเหมื อนเดิ ม 20-30 คน บางเจ้าไปถึง แทรกเตอร์ ก็ถือว่าเป็นทางช่วยให้เกษตรกรลืมตาอ้า 50 คน ค่าใช้จ่ายต่อปี ร่ วมล้าน แถมระหว่างท�างานต้อง ปากได้ และจากผลงานที่ผ่านมาทางบริษัทก็มีการ คอยบริ การ ข้าว น�้า ลิ โพ และบางครัง้ จะไม่มาหรื อหนี พัฒนาสินค้า และธรรมาภิบาลในการค้า ดังนัน้ ทางเรา ไป ทางเจ้าของไร่ ก็ตอ้ งรับสภาพ เมื อ่ หักค่าใช้จ่ายแล้ว จึงขอส่งเสริมเกษตรกรไทย ใช้สินค้าคุณภาพของไทย แทบไม่เหลืออะไร แถมยังเป็ นหนีโ้ รงงานเหมื อนเดิ ม แต่ ก่อนซื้อทุกครั้งมองหาโลโก้ ช้างแทรกเตอร์ เมื ่อลองเปลี ่ยนมาใช้เครื ่องตัดอ้อย ช้างแทรกเตอร์ ไม่ สนใจสินค้ าติดต่ อ บริ ษัท ช้ างแทรกเตอร์ ต้องดัดแปลงรถ หมดหน้างานก็ถอดออกได้ ซ่อมแซม จ�า กั ด โทร 089-907-6000,098-828-8383 และ เองได้ ราคา 250,000 – 350,000 บากอาจจะดูเป็ นเงิ น ตัวแทนจ�าหน่ ายทั่วประเทศ ทีม่ ากแต่อย่าลืมว่าเราจ่ายครัง้ เดียวทีเ่ หลือก็มีแค่เปลีย่ น ใบมี ด และเช็คน�้ามันอื ่นๆ ค่าใช้จ่าย หลักร้ อยเต็มที ก่ ็ หลักพัน แถมประหยัดทัง้ เวลา จึงขอบคุณโควิ ดทีท่ �าให้ เราได้เปิ ดใจลองใช้เครื ่องตัดอ้อย ช้างแทรกเตอร์ ซึ่ งใช้ แล้วก็ไม่ผิดหวัง รวมถึงในปี นีม้ ี หลายๆ โรงงานได้น�าไป แนะน�าและส่งเสริ มให้แก่เกษตรกรเป็ นจ� านวนมาก อาทิ โรงงานน�้ าตาลสุรินทร์ ซึ่ งเป็ นโรงงานที ่มีเกษตรกรราย ย่อย หลักหมื ่นราย ก็มอบความไว้วางใจ เลื อกเครื ่ อง ตัดอ้อยและเครื ่องสางใบ ช้างแทรกเตอร์ ไปส่งเสริ มโดย ได้ทงั้ อ้อยสดและประหยัดแรงงาน ส� าหรับหน่วยงาน ราชการของไทไม่ว่า ศูนย์ ส่งเสริ มอ้อยหรื อน�้าตาล และ ศูนย์ วิจยั พื ชไร่ ต่างๆ ก็ มีการส่งเสริ ม โดยจัดซื ้อเครื ่ อง ตัดอ้อยและเครื ่องสางใบอ้อย ช้างแทรกเตอร์ ไปแนะน�า เกษตรกร และต่างชาติ เองก็เริ่ มมีการสัง่ ไปหลายประเทศ อาทิ อิ นเดีย ฟิ จิ แมกซิ โก และอเมริ กา โดยเราให้การัน ตี คณ ุ ภาพทุกเครื ่องมาตรฐานเดี ยวกัน ก่อนซื ้อครั้งใหน วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

111


Cover NAcDrone Story โดรนคนไทย เพื่ อเกษตรกรไทย เรื่องจากปก

บริษัท อีซี่ (2018) จ�ำกัด ผู้ผลิตและพั ฒนำ NAcDrone โดรนเพื่ อ

กำรเกษตร ที่สำมำรถใช้ในกำรปฏิบัติกำรพ่ นสำรเคมี ปุ๋ย ฮอร์โมนพื ช ที่ใช้ได้ทั้งกับ ่ ย กำรท�ำเกษตรแบบทัว่ ไปหรือเกษตรอินทรีย ์ และเป็นทีน ิ มอย่ำงแพร่หลำยในปัจจุบน ั ่ ข้อดีทส นี ้ ซึง ี่ �ำคัญในกำรใช้โดรนทำงกำรเกษตรทัว่ ไปคือ เกษตรกรปลอดภัย ไม่ตอ ้ ง ่ี ะช่วย สัมผัสกับสำรเคมี ไม่ตอ ้ งเดินเข้ำสัมผัสแปลงปลูกพื ชถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทจ

พู ดถึงแบรนด์ NAcDrone คุณอัศวิน : แนคโดรนเป็นบริษทั ของคนไทย เป็นแบรนด์ทเี่ ข้าถึงเกษตรกรในหลายๆ

้ ทัง ้ ยังช่วยลดระยะเวลำกำรท�ำงำนของเกษตรกรได้ ให้เกษตรกรสะดวกสบำยมำกขึน

พื้นที่เพราะว่าเรามีศูนย์ตัวแทนจ�าหน่ายกระจายอยู่ในแต่ละพื้นที่มากถึง 60 แห่ง ทั่วประเทศ แถมยังมีศูนย์ซ่อมศูนย์ฝึกอบรมอีกกว่า 45 แห่ง ท�าให้ผู้ที่สนใจในโดรน การเกษตรนั้นสามารถที่จะสั่งซื้อหรือได้รับการบริการเป็นอย่างดีจึงท�าให้แบรนด์แนค โดรนเป็นที่รู้จักกับเกษตรกรยุคใหม่ที่ใช้โดรนในภาคการเกษตร

โดรนเพื่ อการเกษตรคืออะไร คุณอัศวิน : โดรนเพื่อการเกษตร คือ อากาศยานไร้คนขับประเภทหนึ่งทีใ่ ช้ส�าหรับ

การฉีดพ่นสารเคมี ฉีดพ่นสารน�้าการเกษตร ช่วยลดต้นทุนแรงงานเกษตรกรได้ถงึ 10 เท่า ช่วยลดการสัมผัสกับสารเคมีโดยตรง ท�าให้เกิดการประหยัดแรงงานด้วยรวมถึงปลอดภัย จากการใช้สารเคมีต่างๆ นอกเหนือจากนี้ โดรนการเกษตรของแนคโดรนยังสามารถ หว่านปุ๋ยเมล็ดพันธุ์พืชได้อีกด้วย ทางเราได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ท�าให้เกษตรกร หลายๆ พื้นที่หันมาเลือกใช้โดรนการเกษตรมากขึ้น ด้วยความที่โดรนการเกษตรนั้น ท�างานได้แม่นย�า ท�างานได้รวดเร็ว และปลอดภัย หรือพูดสั้นๆ คือ แม่ นย�ำ รวดเร็ว ปลอดภัย คุณเลิศฤทธิ์ : ในส่วนของโดรนเพื่อการเกษตรจะมีโดรนหลายประเภท เช่น โดรน ส�ารวจพื้นที่ ส�ารวจแปลง ประเมินสุขภาพพืช แม้กระทั่งศัตรูพืช โรคพืชต่างๆ ก็ยังมี โดรนที่มาใช้งานในลักษณะนี้ด้วย แต่ในส่วนโดรนที่เราผลิตขึ้นมา ณ ปัจจุบันนั้น จะตอบโจทย์ในเรือ่ งของแรงงาน จะเป็นโดรนส�าหรับฉีดพ่นสารน�า้ สารเคมี ก็จะช่วยให้ เกษตรกรไม่ต้องสัมผัสสารเคมีโดยตรง ชนิดหนึง่ ทีเ่ กษตรกรทุกคนคงจะต้องมีครับ

เสริมจำกคุณเลิศฤทธิ ์ : ต้องบอกว่า

จุดเริ่มต้นของโดรนการเกษตร คุณอัศวิน : จุดเริ่มต้นของโดรนการเกษตรนั้นเริ่มมาจากเรื่องของทางการทหาร

หลังจากนั้นก็มีการพัฒนาขึ้นมาเป็นโดรนถ่ายภาพ โดรนส�ารวจต่างๆ จนวันหนึ่งก็มี การน�าโดรนมาใช้ในเรือ่ งของการฉีดพ่นทางการเกษตร ฉีดพ่นพืชไร่พชื สวนต่างๆ โดยที่ น�าถังขึ้นไปบรรจุกับตัวโดรนครับ ใส่ปั๊มน�้าเข้าไปท�าให้เกิดการฉีดพ่น และมีการเขียน แอปพลิเคชัน่ ขึน้ มาให้โดรนสามารถท�างานอัตโนมัตไิ ด้ ท�าให้ผใู้ ช้สามารถใช้งานได้งา่ ยขึน้ และเริม่ เห็นว่าโดรนการเกษตรนัน้ สามารถใช้งานได้จริงก็เลยน�ามาใช้กนั อย่างแพร่หลาย และมากขึน้ เรือ่ ยๆ หากพูดถึงในอนาคต โดรนการเกษตรคงจะเป็นเครือ่ งมือทางการเกษตร

112

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

เราท�าโดรนส�าหรับหลากหลายภารกิจ ในส่วน ของแนคโดรนก่อนที่จะมาท�าโดรนเกษตร เคยท�าเกีย่ วกับโดรนกูภ้ ยั มาก่อน ส่วนโดรน การเกษตร ทางเราได้เล็งเห็นถึงโอกาสที่ จะน�านวัตกรรมโดรนมาใช้ในเรือ่ งของการ เกษตร เพระเนือ่ งจากในปัจจุบนั จะเห็นได้วา่ ประเทศไทยเริม่ เป็นสังคมทีม่ ผี สู้ งู วัยมากขึน้ ในภาคเกษตรกรรมนั้นจะมีปัญหาเรื่อง ของการขาดแคลนแรงงาน ไม่ว่าจะเป็น แรงงานทั่วไปหรือแรงงานที่มีทักษะก็ตาม รวมไปถึงแรงงานฉีดพ่นยาต่างๆ ก็คอ่ นข้าง จะขาดแคลนหรือว่ามีจา� นวนน้อยลง ฉะนัน้ เราเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้ประจวบกับ ทางเรามีทักษะและความรู้ในการสร้าง โดรน เราก็เลยน�าความรู้เหล่านั้นมาสร้าง โดรนการเกษตรและก็ เ พื่ อ ให้ ท ดแทน


ใครเป็นใคร ... ในแวดวง

เกษตรและสหกรณ์

แรงงานทีข่ าดแคลนในภาคการเกษตร นีเ่ ลย เป็นจุดเริ่มต้นของเราครับ

สิ่งที่ท�าให้ ประสบความส�าเร็จ คุณอัศวิน : ถ้าพูดถึงสิง่ ทีท่ า� ให้ประสบ

ความส�าเร็จในด้านโดรนการเกษตร ตอน เริ่มต้นมันก็มีความยากอยู่ครับ แต่พอเรา เริ่มท�าจริงจัง และเข้าไปถึงเกษตรกรจริงๆ เพื่อดูปัญหาการท�างาน เราจึงผลิตโดรน ขึ้นมาแล้วลองน�าไปใช้ดูก่อนว่าสามารถ ใช้งานจริงได้ไหม ในช่วงต้นทีย่ งั ไม่ได้จา� หน่าย เราได้น�าไปทดลองใช้ฉีดพ่นสารดูก่อนว่า อุปสรรคมันคืออะไร สิ่งไหนที่ต้องแก้ไข เพือ่ ให้สามารถประยุกต์ใช้กบั เกษตรกรได้ ถ้าสามารถน�าไปใช้ได้จริงท�างานได้จริงมี ประสิทธิภาพจริง มันก็จะมีผลท�าให้ผู้ที่ ใช้งานเชือ่ มัน่ กับเรา เอาง่ายๆ เลยนะครับสิง่ ที่ ท�าให้ประสบความส�าเร็จนั้นก็คือ ผลิต และให้ในสิง่ ทีเ่ กษตรกรน�าไปใช้ได้จริง คุม้ ค่า ประหยัด ปลอดภัย สามอย่างนีเ้ มือ่ รวมกัน จะท�าให้เกษตรกรเกิดความมัน่ ใจน�าไปใช้ และจะประสบความส�าเร็จ นอกเหนือจากนัน้ เราต้องไม่ขายอย่างเดียว ต้องมีการดูแลหลัง การขายให้ดว้ ย ให้ถอื ซะว่าเครือ่ งทุกเครือ่ ง ที่ออกไปจากเรานั้นเป็นเครื่องที่เราต้อง ดูแลอย่างต่อเนื่อง คุณเลิศฤทธิ์ : ทางเราเน้นในส่วนของ การรั ก ษาคุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ รา ส่ ง ออกไป รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า จะเห็ น ว่ า ทางแนคโดรนเรามี ตั้ ง แต่ การรับประกันชั้น 1 ท�าให้ลูกค้าไม่ต้องมี ความกังวลในการใช้งาน จะไปเฉีย่ วชน ตก หรือมีปัญหามา ทางเราซ่อมให้ได้ตลอด เพราะมีประกันนานถึง 1 ปี และเรายังมี การอบรมลูกค้าก่อน สอนเรื่องการบ�ารุง รักษาและสอนเรือ่ งการใช้สารอย่างไรให้มี ความถูกต้องเพือ่ ประสิทธิผล และเรือ่ งกฎ ระเบียบต่างๆ ในการใช้โดรน ความปลอดภัย ในการใช้งาน สิง่ เหล่านีท้ า� ให้แนคโดรนแตก ต่างด้วยครับเพราะเราเน้นเรือ่ งการบริการ

ไปใช้ในภาคการเกษตร ในเรื่องของชุดควบคุม รถเครื่องจักรทางการเกษตรไร้คนขับ รวมไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยี Smart Farm การพัฒนาเทคโนโลยีที่จะมาใช้ควบคุม การปลูกพืชการวิเคราะห์พืชต่างๆ ในอนาคตเพื่อให้เกิดความแม่นย�า อย่างไรก็ตาม การทีเ่ ราจะน�าองค์กรหนึง่ ไปสูก่ ารประสบความส�าเร็จได้นนั้ เราไม่สามารถทีจ่ ะด�าเนินการ เพียงล�าพัง เราต้องมีเครือข่ายการสร้างเครือข่ายเกษตรกรแต่ละพื้นที่ การสร้าง เครื อ ข่ า ยผู ้ ดู แ ล และผู ้ ที่ จ ะด� า เนิ น การในการน� า เทคโนโลยี ต ่ า งๆ ไปเผยแพร่ ใ ห้ เกษตรกรนั้ น จ� า เป็ น ต้ อ งท� า อย่ า งต่ อ เนื่ อ งแล้ ว ก็ มี ก ารให้ ค วามรู ้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มีการพัฒนาตัวแทน ผลักดันให้ผู้น�าเกษตรกรในท้องถิ่นได้พัฒนา ทุกอย่างที่เราให้ เค้ า ไปผลก็ จ ะส่ ง กลั บ มาที่ เ ราเช่ น กั น สิ่ ง แรกเลยคื อ เราจ� า เป็ น ต้ อ งให้ ก ่ อ นครั บ ถ้ า เรามองที่ ผ ลลั พ ธ์ ก ่ อ นว่ า เราจะได้ อ ะไรก่ อ นที่ เ ราจะให้ ก็ จ ะส่ ง ผลให้ เ รานั้ น ประสบผลส�าเร็จได้ชา้ หรืออาจจะไม่ประสบผลส�าเร็จเลยก็ได้ สิง่ ส�าคัญทีส่ ดุ ก็คอื ต้องให้ สิ่งที่เค้าต้องการก่อน สิ่งที่เราให้ไปจะกลับคืนมาหาเราอย่างแน่นอนครับ

พู ดถึงฟังก์ช่น ั ของแนคโดรน คุณอัศวิน : ฟังก์ชั่นการใช้งานของเราจะมีลักษณะที่แตกต่างจากหลายๆ ค่ายก็คือ

ของเราจะเป็นเมนูภาษาไทย มีการพัฒนาแอปพลิเคชั่นในรูปแบบของเรา ลักษณะที่ โดดเด่นก็คือสามารถปรับเปลี่ยนแอปพลิเคชันต่างๆ ให้เหมาะสมกับการใช้งานจริงได้ ซึง่ ของแนคโดรนนัน้ ค่อนข้างตอบโจทย์เพราะทางเรามีการร่วมมือกับผูเ้ ขียนแอปพลิเคชัน พูดคุยในเรื่องของการใช้งานอยู่ตลอด ตัวไหนที่ปล่อยไปแล้วดันเกิดอุปสรรคกับ เกษตรกรเราก็จะน�ากลับมาแก้ไขและพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยไม่หยุด คุณเลิศฤทธิ์ : เราสร้างโดรนมาเพื่อให้ใช้งานทางด้านการเกษตรที่ใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อนครับ สโลแกนคือ “ใครๆ ก็ใช้ แนคโดรนได้ ”

วิสัยทัศน์ขององค์กร คุณอัศวิน : แนคโดรนเป็นแบรนด์ๆ หนึง่

ที่ทางเราเองต้องการจะสร้างนวัตกรรม ด้านการเกษตรหลายๆ ด้าน ไม่ได้มแี ค่โดรน ภาคการเกษตรเพียงอย่างเดียว เรามีการ พัฒนาในเรือ่ งของ Software ต่างๆ ทีจ่ ะน�า วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

113


ความแตกต่าง วิเคราะห์ว่าเครื่องนั้นประสบปัญหาอะไรและช่วยแก้ ปัญหาให้ลกู ค้าทันท่วงที รวมถึงการบริการหลังการขาย จากค่ายอื่นๆ คุ ณ อั ศ วิ น : ความแตก ที่มีศูนย์บริการมากที่สุดในไทย มีศูนย์ฝึกอบรมกระจาย

เลิศฤทธิ์ สงวนชม ครูการบิน NAcDrone

ต่าง ปัจจุบนั โดรนการเกษตร แต่ละค่ายมีการพัฒนาและ ปรับปรุงกันอยูต่ ลอด ในส่วน การใช้งานของตัวโดรนจะไม่ แตกต่างกันมากมายนักแต่ สิ่งที่เรามีความแตกต่างจาก ค่ายอื่นๆ อีกอย่างคือ ห้อง ควบคุมการบินทีเ่ ราสามารถ ดู ร ะ บ บ ก า ร บิ น ผ ่ า น จ อ มอนิเตอร์ได้ กรณีที่ลูกค้ามี ปั ญ หาก็ จ ะมี ก ารแจ้ ง มาที่ ศูนย์ข้อมูล ทางเราจะมีการ

อยูใ่ นหลายพืน้ ที่ มีการกระจายข้อมูลความรูต้ า่ งๆ เข้าไป ยังมหาวิทยาลัย ณ ปัจจุบนั ท่านทีส่ นใจสามารถเข้าไปเรียนรู้ เรือ่ งข้อมูลของโดรนการเกษตรได้ที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท่านสามารถเข้าไปเรียนรู้ได้ครับ คุณเลิศฤทธิ์ : เรียกว่าแตกต่างตัง้ แต่แนวคิดแล้วครับ ของเราเน้นแนวคิดที่เราสามารถซ่อมได้ เมื่อโดรนขึ้น ท�างานมันก็มีโอกาสที่จะผิดพลาด ไม่ว่าจะเป็นผู้บังคับ พืน้ ที่ สิง่ แวดล้อมหรือแม้กระทัง่ ตัวโดรนเอง เราเน้นทีห่ ากเกิด ความเสียหายขึน้ มาแล้วเราสามารถซ่อมได้ในส่วนของโดรนทีเ่ รา ผลิตขึน้ มา ซึง่ ตรงจุดนีน้ า่ จะเป็นความแตกต่างจากคนอืน่ และการใช้งานโดรนของเราก็มคี วามยืดหยุน่ ในการใช้ด้วย ไม่วา่ จะเป็นการใช้งานกับนาข้าว พืชไร่ พืชสวน โดรนของเรามี การปรับเปลีย่ นการใช้หัวฉีดต่างๆ ให้เหมาะกับการใช้งาน ได้หลากหลายรูปแบบ

การใช้งานของโดรนการเกษตร คุณอัศวิน : การใช้งาน ง่ายมาก เพียงท่านเข้าไปเรียนรู้

เรือ่ งของทฤษฎีพนื้ ฐานผ่านแพลตฟอร์มการเรียนของ มหา วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และเข้ามาเรียนปฏิบตั ทิ แี่ นคโดรน ได้ทกุ สาขาทัว่ ประเทศ ศูนย์อบรมมี 45แห่ง ศูนย์จา� หน่าย มี 60 แห่งใกล้ที่ไหนไปที่นั่น ส่วนในอนาคตเราจะมี การกระจายพื้นที่การเรียนรู้ต่างๆ เข้าไปในชุมชนให้ได้ มากที่สุดเท่าที่จะท�าได้ คุณเลิศฤทธิ์ : การใช้งานโดรนของแนคโดรนนั้นใช้ง่าย ไม่ซับซ้อน ถ้าเป็นพื้นที่ๆ ไม่มีความซับซ้อน สามารถใช้ ระบบการบิน A-B หรือการบินอัตโนมัตไิ ด้เลย แค่ตงั้ ค่ามาร์ค จุดไม่ต้องคอยบังคับแบบ Manual ร้อยเปอร์เซ็นต์เพราะ สามารถใช้ระบบอัตโนมัติควบคู่ไปด้วยได้เลย

ระบบปฏิบัติการของ โดรนการเกษตร คุณอัศวิน : ระบบปฏิบตั กิ ารในการบินส่วนใหญ่จะเป็น

https://kasetdb.agr.ku.ac.th/drone

การบินอัตโนมัติเกือบทั้งหมด ซึ่งความแม่นย�าจะสูงมาก ระบบ Software จะเป็นผูอ้ า่ นค่าให้วา่ การบินนัน้ จะบินความเร็ว เท่าไหร่ ความสูงเท่าไหร่ ให้เครือ่ งบินตามทีก่ า� หนดได้เลย สมมติว่าเราจะบินพืชชนิดไหน ต้องการใช้น�้าเท่าไหร่ กี่ลิตร/ไร่ ก�าหนดผ่านแอปพลิเคชั่นได้เลยครับ คุณเลิศฤทธิ์ : เรามีแอปพลิเคชัน่ ภาษาไทยที่เข้าใจ ได้ ง ่ า ย สามารถตั้ ง ค่ า ได้ ส ะดวก รวมถึ ง เรามี ร ะบบ หลังบ้านสามารถช่วยเหลือผูใ้ ช้งานเมือ่ มีปญ ั หาเกิดขึน้ จากระบบ เราจะมีเจ้าหน้าทีค่ อยเฝ้าดูอยูค่ อยเตือนท่านก่อนทีจ่ ะเกิดความ เสียหายรุนแรง สอบถามข้อมูลเพิ่ มเติมได้ที่ บริษท ั อีซี่ (2018) จ�ากัด (ส�านักงานใหญ่) 24/11 หมูท ่ ี่ 4 ต.ไทรน้อย อ.ไทรน้อย จ.นนทบุร ี 11150

114

โทร: 092-882-9898 คุณอัศวิน โรมประเสริฐ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรฯ ประจำาปี 2564

www.nacdrone.com Facebook : NAcDrone ประเทศไทย YouTube : NAc Chanel












Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.