โครงการการพัฒนาแบบผสมผสานเพื่อสังคมศูนย์กลางทางการแพทย์ศิริราช

Page 1


2


CONTENTS Analysis Part วังหลัง แผนนโยบาย ประวัติความเป็นมา ศิริราช-วังหลัง CIRCULATION แผนที่วังหลัง LANDMARKS โครงการอาคารสถานี ศิริราช ORIENTATION ZONING CONCEPTUAL DIAGRAM SCHEMATIC PLAN การแบ่ง ZONE การพั ฒนาย่านวังหลัง ผังการสัญจรภายในย่านวังหลัง วิเคราะห์กลุ่มผู้ใช้ S.W.O.T. ANALYSIS VISION GOALS OBJECTIVE

หน้า 5 7 10 12 14 15 16 18 19 20 21 22 23 28 30 32

Design Part MASTER PLAN การวิเคราะห์โปรแกรมออกแบบย่านศิ ริราช โครงการพั ฒนาพื้ นที่โดยรอบสถานีศิริราชเพื่ อการใช้งานแบบผสมผสาน รูปตัด Sky Walk ในโรงพยาบาลศิริราช รูปตัด Mixed-Use ในโรงพยาบาลศิริราช โครงการ Sky Park ศิริราช : พื้ นที่สําหรับบุคลากรเเละผู้ป่วย รูปตัด Sky Park ในโรงพยาบาลศิริราช การวิเคราะห์โปรแกรมออกแบบย่านบ้านบุ โครงการออกแบบสวนสาธารณะโดยแนวคิดธรรมชาติบําบัด รูปตัดสวนสาธารณะโดยแนวคิดธรรมชาติบําบัด โครงการพั ฒนาที่อยู่อาศัยแบบใหม่เพื่ อรองรับการพั ฒนาของสถานีศิริราช รูปตัดคอนโดที่อยู่อาศัย Sky Walk และตลาด โครงการออกแบบเส้นทางเดินริมคลองบางกอกน้อยเพื่ อส่งเสริมการเดิน โครงการปรับปรุงพื้ นที่สาธารณะในชุมชนบ้านบุ การวิเคราะห์โปรแกรมออกแบบย่านวังหลัง-วัดระฆัง โครงการพั ฒนาทางเดินริมนํ้า วังหลัง-วัดระฆัง รูปตัดทางเดินริมนํ้า วังหลัง-วัดระฆัง โครงการพั ฒนาทางเดินเท้ามาตฐานใหม่สําหรับทุกคนวังหลัง-ศิริราช รูปตัดทางเดินเท้า ศิริราช-วังหลัง IMPLEMENTATION คณะผู้จัดทํา

หน้า 34 35 40 47 49 50 54 55 59 66 67 72 73 78 82 87 93 94 98 99 100

3


4


ย่านวังหลัง ถือได้ว่าเป็นย่านที่สําคัญของคนกรุงเทพมหานคร ทั้งเป็นตลาดที่มีร้านค้าร้านอาหาร อร่อยๆมากมาย และสามารถเดินเที่ยวไปยังวัดระฆังเพื่ อศักการะหลวงพ่ อโต ไหว้พระทําบุญได้ อีกทั้ง ยังมีโรงพยาบาลศิริราช ที่ถือได้ว่าเป็นโรงพยาบาลที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นโรงพยาบาลชั้น นําของเอเชีย

5


6


7


8


ที่มา : สํานักการวางผังและพั ฒนาเมืองกรุงเทพมหานคร

9


ที่มา : โรงพยาบาลศิริราช

10


ที่มา : โรงพยาบาลศิริราช

11


12


13


14


15


ที่มา : การรถไฟแห่งประเทศไทย

16


ที่มา : การรถไฟแห่งประเทศไทย

17


ORIENTATION

พื้ นที่บรรยากาศดีที่สุด

อยู่บริเวณหน้าโรงซ่อมรถจักร ธนบุรี เนื่องจากได้รับแสงแดดรําไรในตอน บ่าย-เย็นจากตลาด และทางด่วน จึง ทําให้มีอุณหภูมิที่พอเหมาะตลอดทัง ้ วัน แต่ปัญหาอาจตามมาหลังจากทางด่วน สร้างเสร็จ จึงควรมีการเลือกสรรพั นธุ์ ไม้ที่สามารถกรองอากาศเสียและผลิต อากาศดีได้

18


ZONING

19


CONCEPTUAL PLAN

20


21


โครงการพั ฒนาย่านศิริราชเแบบผสมผสาน เพื่ อรองรับการมาของสถานีศิริราช

โครงการฟื้ นฟู ชุมชนบ้านบุ สู่การเป็นชุมชนสําหรับการบําบัดด้านสุขภาพ

ZONE A

ZONE B ZONE C

โครงการปรับปรุงทัศนียภาพ ตลาดวังหลัง วัดระฆัง เพื่ อส่งเสริม การเดินริมแม่นํ้าเจ้าพระยา

การแบ่ง ZONE การพั ฒนาย่านวังหลัง 22


ผังการสัญจรภายในย่านวังหลัง 23


ผังการสัญจรภายในย่านวังหลัง

24


ผังการสัญจรภายในย่านวังหลัง เส้นทางรถจักรยานยนต์

เส้นทางรถจักยานยนต์ เป็นการสัญจร หลักสําหรับคนในชุมชนที่สามารถเข้าถึง ได้สะดวกที่สุด ในโครงการมีการสนับสนุน ให้มีการใช้เส้นทางที่เป็นระบบมากขึ้น และ ปรับปรุงเส้นทางให้สะดวก และปลอดภัย ต่อการสัญจร

เส้นทางรถยนต์

เส้นทางรถยนต์ เป็นเส้นทางหลักและมี ปัญหามากที่สุด ภายในโครงการจะ สนับสนุนให้มีเส้นทางใต้ดิน และกําหนด ทางเข้าออก เพื่ อลดปัญหา และเอื้อ ประโยชน์ต่อรถที่ต้องเข้าไปภายในโรง พยาบาลศิริราช

เส้นทางเรือ เส้นทางเรือริมแม่น้าํ เจ้าพระยา ช่วย เชื่อมต่อพื้ นที่ริมแม่น้าํ ผ่านระบบเรือ และพื้ นที่ริมนํ้า เช่น ทางเดินตลาด วังหลัง - วัดระฆัง และทางเดินริม คลองบางกอกน้อย

25


ผังการสัญจรภายในย่านวังหลัง เส้นทาง Sky walk ชัน 3 เส้นทาง Sky Walk ชัน ้ 3 ออกแบบเพื่ อ ส่งเสริมการเดินภายในโรง พยาบาลศิริราชชัน ้ 3 ที่จําเป็นจะต้องมีค วามเป็นส่วนตัว สําหรับผู้ป่วยและ บุคลากร มีการแยกการใช้งานชัดเจน และส่งเสริมพื้ นที่สีเขียวด้วย Sky Park ที่จะช่วยผ่อนคลายบรรยากาศให้​้กับผู้ ป่วยและบุคลากรได้

เส้นทาง Sky walk ชัน 2 เส้นทาง Sky Walk ชัน ้ 2 เน้นเชื่อต่อ พื้ นที่ชน ั้ 2 เข้าด้วยกัน เพื่ อส่งเสริมการ เดิน ที่สามารถกระจายผู้คนออกจาก สถานีวังหลังได้ และหลีกเลี่ยงการ จราจรที่ติดขัดโดยเฉพาะภายในศิริราช และถนนสายหลักต่างๆ ซึ่งอาจก่อให้เกิด อันตรายได้

เส้นทางเดินชันพื นดิน ทางเดินชัน ้ 1 เน้นเชื่อมต่อพื้ นที่สาธารณะ เข้ากับพื้ นที่ต่างๆในโครงการ อาทิ ย่าน วังหลัง ย่านบ้านบุ และสวนสาธารณะ แห่งใหม่ เพื่ อสนับสนุนการเดิน และพื้ นที่ สีเขียว

ผังการสัญจรภายในย่านวังหลัง

26


เส้นทางสัญจรฉุกเฉินกรณีฉุกเฉินพิ เศษ

ทางสัญจรฉุกเฉินพิ เศษ กําหนดให้เข้าได้ทางสะพานอรุณอมรินทร์ เพื่ อตรงไปยังอาคารปิยมหาราชการุณย์เข้าไปยังห้องฉุกเฉินภายใน อาคาร และกําหนดเส้นทางพิ เศษ เพื่ อกําหนดทางออกไปยังสะพาน อรุณอมรินทร์ และไปเส้นตลาดรถไฟธนบุรีโดยที่แต่ละเส้นทางจากไม่มี การทับซ้อนกัน

เส้นทางสัญจรทั่วในกรณีฉุกเฉินพิ เศษ ลักษณะของเส้นทางสัญจรทัว่ ไปในกรณีที่มีเส้นทางฉุกเฉิน พิ เศษคือ กําหนดให้เข้าได้เพี ยงทางเดียวคือเส้นของถนน อาคารจอดรถ 1 ตรงไปเรื่อยๆ เลี้ยวขวาตรงหน้าอาคาร ปิยมหาราชการุณย์ และอ้อมไปออกยังเส้นทางวังหลังผ่าน อาคารอาคาร 4 วรินทิรา ตรงไปเรื่อยๆไปออกทางคณะ พยาบาลศาสตร์เข้าสู่ถนนเส้นวังหลัง โดยกําหนดให้เป็นวัน เวย์เท่านัน ้

เส้นทางสัญจรฉุกเฉินของรถพยาบาลและรถฉุกเฉิน จะเข้าได้สองทางคือทางด่วนที่ลงจากสะพานอรุณอมรินทร์ และทางวัน เวย์ที่มาจากตลาดรถไฟธนบุรี ตรงไปเรื่อยๆ เข้าไปยังอาคารปิยมหาราช การุณย์ เพื่ อเข้าสู่พื้นที่จอดรถฉุกเฉิน เมื่อออกจากพื้ นที่จอดรถ เพื่ อให้ ทางที่สะดวกที่สุดคือวนกลับมายังทางเดิม และออกได้ 2 ทางคือตรงไป ยังตลาดรถไฟธนบุรีและขึ้นไปยังทางด่วน เพื่ อออกไปทางสะพานอรุณ อมรินทร์

เส้นทางสัญจรทั่วไป กําหนดให้สามารถเข้าได้ 2 ทาง ตัง ้ แต่สะพานอรุณอมรินทร์และเส้นทาง ที่มาจากตลาดหัวรถไฟธนบุรี เมื่อต้องการเข้าสู่พื้นที่ฉุกเฉินเพื่ อส่งผู้ ป่วยแล้วจะกําหนดให้ออกได้ทางเดียวคือเลี้ยวขวาบริเวณอาคารหอ รถไฟ เพื่ อส่งไปยังเส้นถนนวังหลังศิริราช และเลี้ยวขวาออกมาสู่ถนน หลักอีกครัง ้ หนึ่งทัง ้ นี้ เพื่ อลดการจราจรที่ติดขัดในศิริราช ด้วยระบบวัน เวย์และเพื่ อไม่ให้รถที่ไม่ใช่รถฉุกเฉินซึ่งคาดการณ์ว่าจะน้อยลงจากการ มาของโครงการต่างๆ ไม่ให้ไปรบกวนเส้นทางของรถทุกเฉิน

27


28


ที่มา : โรงพยาบาลศิริราช

29


S.W.O.T. ANALYSIS STRENGTHS ศักยภาพ ศิ ริราช ● ● ●

เป็นพื้ นที่ศูนย์กลางทางการแพทย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ การเข้าถึงได้หลากหลายเส้นทาง หน่วยงานต่างๆพร้อมเข้ามาพั ฒนา และมีเงินลงทุนจํานวนมาก

เป็นย่านค้าขายที่เป็นที่นิยมของคนกรุง และมีร้านค้าร้านอาหารอร่อยๆมากมาย เดินทางเข้าในพื้ นที่ได้หลายช่องทาง ถือได้ว่าเป็นแหล่งช๊อปปิ้ งยอดฮิตที่หลากหลาย ใกล้วัดระฆัง เป็นที่เที่ยวที่ผู้คนนิยมเข้ามาเที่ยว เป็นพื้ นที่รองรับบุคลากรจากโรงพยาบาลศิริราช

วังหลัง ● ●

บ้านบุ ● ●

ชุมชนบ้านบุเป็นพื้ นที่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน และเป็นชุมชนที่มีอายุมากกว่า 200 ปี มีการทําขันลงหินที่เหลือ แห่งเดียวในประเทศไทย

WEAKNESSES จุดอ่อน ศิ ริราช ● ● ●

การจราจรติดขัด พื้ นที่รองรับผู้คนในรูปแบบต่างๆยังไม่เพี ยงพอ และยังขาดการเชื่อมต่อของพื้ นที่ได้สะดวก ความต่อเนื่องของการใช้งานยังไม่ทวั่ ถึง

● ●

การเข้าถึงยังประสบกับปัญหารถติดค่อนข้างมาก ทางเดินในการเข้ามาซื้อของยังแคบและ เดินไม่สะดวก ร้านค้าแผงลอยมีจํานวนมาก ทางเดินแคบ ส่งผลด้านทัศนยภาพที่ไม่สวยงาม

● ● ● ●

มีการเข้าถึงยาก เส้นทางภายในชุมชนไม่เหมาะต่อการการเดิน พื้ นที่สาธารณะภายในชุมชนไม่น่าใช้งาน รูปแบบสถาปัตยกรรมภายในตลาดไร้คานไม่สอดคล้องต่อการใช้งานในปัจจุบัน

วังหลัง

บ้านบุ

30


S.W.O.T. ANALYSIS OPPORTUNITIES โอกาส ศิ ริราช ● ● ●

การเกิดขึ้นของสถานีศิริราช มุ่งสู่การเป็น MEDICAL TRANSIT HUB ของประเทศไทย การพั ฒนาอาคารสถานีศิริราช รองรับการใช้งานได้อีกหลายรูปแบบ

ในการพั ฒนาทางเดินเท้าวังหลัง-วัดระฆัง เพื่ อเชื่อมโยงพื้ นที่ท่องเที่ยวทัง ้ สองให้ นักท่องเที่ยวหรือบุคลทัว่ ไปเดินทางได้สะดวกมากยิ่งขึ้น การใช้งานในตอนกลางคืนเพิ่ มมากขึ้น นักท่องเที่ยวเข้ามามากขึ้น เศษฐกิจในพื้ นที่ดียิ่งขึ้น

วังหลัง ●

บ้านบุ ● ● ●

รัฐบาลเล็งเห็นที่จะพั ฒนาพื้ นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีพื้นที่ว่างเหมาะกับการสร้างโครงการสารธารณะให้ชุมชน พื้ นที่ที่ติดกับคลองบางกอกน้อยสามารถพั ฒนาการสัญจรทางเรือ เพื่ อเพิ่ มความสะดวก ในการสัญจรทางนํ้าได้

THREATS อุปสรรค ศิ ริราช ● ● ●

วังหลัง ● ● ●

บ้านบุ ● ● ● ●

การแก้ปัpหาการจราจรในปัจจุบันยังไม่มามารถลดความหนาแน่นของปริมาณรถ ที่เข้ามาในโรงพยาบาลศิริราชลงได้ มีความหนาแน่นของอาคารมาก ไม่มีพื้นที่เปิดโลงที่เพี ยงพอ ขาดพื้ นที่สีเขียวภายในพื้ นที่ ด้านการจราจร การเข้าถึงที่ยังไม่สะดวก ขาดการดุแลจากภาครัฐในการจัดสรรทางเดินซื้อของ กิจกรรมส่วนมากในพื้ นที่เกิดขึ้นแค่ช่วงกลางวัน ช่วงกลางคืนข่อนข้างซบเซา พื้ นที่ขาดพื้ นที่สีเขียว ขาดการพั ฒนาโครงการภายในชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีจํานวนประชากรที่ลดลง เส้นทางที่สามรถเข้าถึงพื้ นที่ได้ มีน้อย และรถยนต์ไม่สามารถเข้าถึงชุมชนในบางพื้ นที่ได้ ขาดการอนุรักษ์รูปแบบอาคารภยาในชุมชน ทัง ้ ที่บ้านบุเป็นชุมชนเก่าที่มีประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่

31


VISION พั ฒนาย่านวังหลัง เพื อรองรับการเข้ามาของรถไฟฟา สถานีศิริราช มุ่งสู่การเปน MEDICAL TRANSIT HUB ของประเทศไทย

32


GOALS

OBJECTIVE

1. พั ฒนาย่านศิริราชเแบบผสมผสาน เพื่ อรองรับการมาของสถานีศิริราช และเป็นสังสมศูนย์กลางทางการแพทย์

1. ที่อยู่อาศัยสําหรับญาติผู้ป่วยศิริราช Mixed Use project

2. ฟื้ นฟู ชุมชนบ้านบุ สู่การเป็นชุมชนสําหรับการบําบัดด้านสุขภาพ ยกระดับ วิถีชีวิต ทํานุบํารุงร่องรอยทางประวัติศาสตร์

3. ออกแบบสวนสาธารณะโดยแนวคิดธรรมชาติบําบัด

3. ปรับปรุงทัศนียภาพ ตลาดวังหลังวัดระฆัง เพื่ อส่งเสริมการเดินการ ท่องเที่ยวริมแม่น้าํ เจ้าพระยา

5.ออกแบบเส้นทางเดินริมคลองบางกอกน้อยและพื้ นที่สาธารณะในชุมชน

2. พั ฒนา sky walk ,sky park เชื่อมสถานีศิริราชไปยังวังหลัง 4.พั ฒนาที่อยู่อาศัยในรูปแบบ Condominium 6.พั ฒนาทางเดินริมนํ้า วังหลัง-วัดระฆัง และทางเดินเท้ามาตฐานใหม่

33


34


35


ZONE A โครงการพั ฒนาย่านศิริราชเแบบผสมผสาน เพื่ อรองรับการมาของสถานีศิริราช

36


37


SECTION ZONE A

การวิเคราะห์โปรแกรมออกแบบด้วย 5W1H Analysis

การวิเคราะห์โครงการใน ZONE A เพื่ อแสดงข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ โครงการ

ข้อมูลเชิงคุณภาพ

ข้อมูลเชิงปริมาณ

โครงการ ที่อยู่อาศัยสําหรับญาติผู้ปว ่ ย ศิริราช (Mixed-Use Project)

โครงการจัดสรรอาคารที่จะเกิดขึ้นใหม่ในพื้ นที่ตลาด อมรินทร์เก่า เพื่ อเป็นอาคาร Mixed-Use สําหรับ ญาติและผู้โดยสารสถานีศิริราช

ขนาด 1242 ตรม./ชัน ้ เฉลี่ยชัน ้ ละ 62 ห้อง (4 คน/ ห้อง) ทัง ้ หมด 620 ห้อง (2480 คน) คิดเป็น 29% ของญาติผู้ป่วยทําให้สามารถลดจํานวน รถยนต์ส่วนตัวได้ถึง 827 คัน/วัน

Co-Living Space บนอาคาร ศิริราช Mixed-Use

ชัน ้ ล่าง เป็นพื้ นที่ส่วนกลาง ระหว่างญาติและผู้โดย สารสามารถเข้าใช้งานได้ ชัน ้ 4 ขึ้นไป ของอาคารถูก ดัดแปลงเป็นที่ทํางานและพั กอาศัย

มีพื้นที่ทง ั้ หมด 1775 ตร.ม. ประกอบด้วยพื้ นที่พักผ่อน, สวน, ห้องนํ้า, ห้องสมุด

โครงการ SKYWALK เชื่อมสถานีศิริราช-วังหลัง เส้นทางสัญจรสําหรับผ่านโรงพยาบาล

โครงการจัดทําเพื่ อเชื่อมโยงพื้ นที่จากสถานีศิริราชให้ ผู้คนกระจายตัวไปยัง อาคาร Mixed Use และเชื่อม เข้าไปภายในโีงพบาลศิริราช ไปจนถึงวังหลัง

ระยะทาง 0.8 กิโลเมตร พื้ นที่รวมทั้งหมด 3476 ตารางเมตร

โครงการ SKYPARK ศิริราช : พื้ นที่สําหรับบุคลากร เเละผู้ปว ่ ย

พื้ นที่พักผ่อนสําหรับบุคลากรเเละผู้ป่วยผู้ต้องการ สัมผัสบรรยากาศธรรมชาติภายในโรงพยาบาล

ระยะทาง 233 เมตร จากสถานีศิริราช - อาคาร ศิริราช Mixed-Use

โครงการ พื้ นที่ Mix Use รองรับผู้โดยสารสถานี ศิริราช

พื้ นที่ด้านล่างของอาคาร Mixed Use เป็นพื้ นที่รอง รับคนที่มาจากสถานีศิริราช เป็นพื้ นที่สาธารณะ เพื่ อ พั กผ่อนหรือทํากิจกรรมต่างๆ หลากหลายรูปแบบ

โครงการมีเนื้อที่ชน ั้ ละ 1242 ตร.ม. (ไม่รวมทางสัญจร) จํานวน 4 ชัน ้ เท่ากับมีพื้นที่รวม 4968 ตร.ม

38


การวิเคราะห์โปรแกรมออกแบบด้วย 5W1H Analysis

อาคาร Mix use เพื่ อรองรับญาติผู้ป่วยภายในโรง พยาบาล พื้ นที่ Co walking space เพื่ อรองการใช้งาน

39


Sky walk จากสถานีศิริราชเชื่อมมายัง อาคาร Mixed-use และเข้ามาภายในโรงพยาบาลจนถึง วังหลัง

อาคาร Mixed-use เพื่ อรองรับญาติผู้ป่วยภายใน โรงพยาบาล พื้ นที่ Co-working space เพื่ อรอง การใช้งาน

ZONE A

KEY MAP

โครงการพั ฒนาพื้ นที่โดยรอบสถานีศิริราช เพื่ อการใช้งานแบบผสมผสาน

ปรับปรุงพื้ นที่พื้นที่โดยรอบโรงพยาบาลศิราช เพื่ อรองรับการใช้งานสําหรับญาติภายใน โรงพยาบาลศิริราช และเพื่ อรองรับผู้โดยสารที่มายังสถานีศิริราช

อาคาร Mixed-use รองรับญาติผู้ป่วยและ พื้ น สาธารณะที่รองรับกิจกรรมที่หลากหลาย และ สะดวกสบาย 40


41


Sky walk เชื่อมต่อทางเดินมายังอาคาร Mixed-Use และเชื่อมายังภายในโรงพยาบาลไปจนถึงวังหลัง

BEFORE

KEY MAP

42


Sky walk เชื่อมต่อทางเดินมายังอาคาร Mixed-Use และเชื่อมายังภายในโรงพยาบาลไปจนถึงวังหลัง

BEFORE

KEY MAP

43


ภายในห้องพั กในอาคาร Mixed Use Transit สําหรับญาติ ผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลศริราช

BEFORE

KEY MAP

44


พื้ นที Co-working space ที่รองรับผู้คนที่มาจากสถานีศิริราชบุคลากร และญาติผู้ป่วย เป็นพื้ นที่สาธารณะที่สามารถใช้พื้นที่ได้หลากหลาย เพิ่ มความสะดวกสบายได้เต็มรูปแบบ

BEFORE

KEY MAP

45


รูปตัดถนนและ Sky Walk ในโรงพยาบาลศิ ริราช

46


รูปตัดถนนและ Sky Walk ในโรงพยาบาลศิ ริราช

47


รูปตัด Mixed-Use ในโรงพยาบาลศิ ริราช

48


รูปตัด Mixed-Use ในโรงพยาบาลศิ ริราช

49


Sky Park ชัน ้ 2-3 เป็นสวนสําหรับพั กผ่อนของ บุคลากร ผู้ป่วยและญาติ

บริเวณทางเดินเชื่อมระหว่างตึกเป็นสวน และพื้ นที่ ให้นง ั่ พั กผ่อนในบริเวณส่วน เพื่ อเป็นจุดรองรับของ ผู้ใช้งานจากภายในอาคาร

ZONE A

KEY MAP

โครงการ SKYPARK ศิ ริราช : พื้ นที่สําหรับบุคลากร เเละผู้ป่วย

ออกแบบพื้ นที่พักผ่อนสําหรับบุคลากรเเละผู้ป่วยผู้ต้องการ สัมผัสบรรยากาศธรรมชาติ ภายในโรงพยาบาล และเพื่ อการเชื่อมต่อการสัญจรภายในโรงพยาบาล

มีบริเวณที่เป็นในส่วนเพิ่ มพื้ นที่สีเขียว และปลูก ต้นไม้กรองอากาศ ช่วยดูดสารพิ ษลดมลภาวะ เพื่ อ สัมผัสบรรยากาศธรรมชาติ 50


51


Sky Park เชื่อมต่อทางเดินภายในโรงพยาบาลศิริราชเป็น บริเวณสวนเพื่ อพั กผ่อนของบุคลากร ผู้ป่วยและญาติ

BEFORE

KEY MAP

52


รูปตัด Sky Park ในโรงพยาบาลศิ ริราช

53


รูปตัด Sky Park ในโรงพยาบาลศิ ริราช

54


55


ZONE B โครงการฟืนฟู ชุมชนบ้านบุ สู่การเป็นชุมชนสําหรับการบําบัดด้านสุขภาพ

56


57


SECTION ZONE B

การวิเคราะห์โปรแกรมออกแบบด้วย 5W1H Analysis

การวิเคราะห์โครงการใน ZONE B เพื่ อแสดงข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ โครงการ

ข้อมูลเชิงคุณภาพ

ข้อมูลเชิงปริมาณ

ชื่อโครงการพั ฒนาที่อยู่อาศั ยแบบใหม่เพื่ อ รองรับการพั ฒนาของสถานีศิริราช

ปรับปรุงพื้ นที่ชุเดิม และพื้ นที่โดยรอบหอพั ก ของบุคลากรนักศึกษาแพทย์และเพื่ อการรับ จํานวนผู้คนที่จะเพิ่ มขึ้นหลังจากเกิด โครงการ และพื้ นที่จอดรถใต้ดิน สําหรับผู้ อยู่อาศัยภายในคอนโด

-ขนาดพื้ นที่ 2240 ตร.ม. 2ชัน ้ แรก การบริการต่างๆ เป็นห้องพั ก จํานวน 6 ชัน ้ มีจํานวน 112 ห้อง/ชัน ้ สามารถ อาศัยได้ ห้องละ2 คน จะสามารถอยู่อาศัยได้ ทัง ้ หมด 1344 คน จํานวน 8 ตึก เพื่ อรองรับ นักศึกษาและบุคลากรในอนาคต -พื้ นที่จอดรถ ขนาด 3600 ตร.ม. สามารถ จํานวน2ชัน ้ จอดรถได้ 402 คัน

โครงการ สวนสาธารณะ และพื้ นที่สําหรับ จอดรถใต้ดิน

พื้ นที่จอดรถใต้ดิน สําหรับผู้อยู่อาศัยโดย รอบและ ผู้ใช้งานตลาด

พื้ นที่จอดรถ ขนาด 4160 ตร.ม. สามารถ จํานวน2 ชัน ้ จอดรถได้ 465 คัน

พื้ นที่สําหรับจอดรถใต้ดิน

พื้ นที่จอดรถใต้ดิน สําหรับผู้อยู่อาศัยโดย รอบ

พื้ นที่จอดรถ ขนาด 12000 ตร.ม. สามารถ จํานวน2 ชัน ้ จอดรถได้ 1344 คัน

58


มีการออกแบบปรับปรุงพื้ นที่บริเวณชัน ้ 2 ของ ตลาด เป็นสวน ที่เชื่อมโยงกับคอนโดมิเนียมแห่ง ใหม่

สวนบริเวณตลาดชัน ้ ที่ 2 ที่เชื่อมโยงไปยัง คอนโดมิเนียมแห่งใหม่ เพื่ อส่งเสริมการเดินตัง ้ แต่ ที่อยู่อาศัยใหม่ไปยังสถานีศิริราช

ZONE B

KEY MAP

โครงการออกแบบสวนสาธารณะโดยแนวคิด ธรรมชาติบําบัด

ช่วยกระจายผู้คนออกจากสถานีศิริราชด้วยการเดินไปยังชุมชนและคอนโดแห่งใหม่ นอกจากนี้ยัง เป็นสวนสาธารณะที่ใหญ่ที่สุดในย่านวังหลัง ออกแบบโดยการนําฉากประทับใจจากเรื่องคู่กรรม ที่มี ประวัติศาสตร์ร่วมกันกับพื้ นที่ เพื่ อให้สามารถบําบัดจิตใจของผู้ป่วยได้

สวนบริเวณหน้าโรงรถจักรธนบุรี ที่มีอนุสรณ์ สถานจากเรื่องคู่กรรม เพื่ อบอกเล่าเรื่องราว ประวัติศาสตร์ของพื้ นที่

59


Public Space

P P

P

1.พื้ นที่อยู่อาศัย อาคารอยู่อาศัยคอนโดมิเนียม สําหรับบุคลากร และนักศึกษาแพทย์และบุคคล ทัว่ ไป

Underground Parking

Transportation

Design Area

1

2 3

2.พื้ นที่ตลาด เป็นพื้ นที่สวนธรรมชาติบําบัดสําหรับผู้ป่วย บุคลากรและคนในพื้ นที่โดยรอบ

3.พื้ นที่หน้าโรงรถจักร สวนที่นําเอาเรื่องราวประวัติศาสตร์เข้ามาในพื้ นที่ เพื่ อบอกเล่าเรื่ิองราว จริงที่เกิดขึ้นในอดีต

4

ZONE B OVERALL DIAGRAM

4.พื้ นที่ชุมชนบ้านบุ ปรับปรุงพื้ นที่เดิมให้พื้นที่มีความใช้งานมากยิ่งขึ้นเป็นพื้ นที่สาธารณะ สําหรับคนในพื้ นที่ในชุมชน

60


สวนสาธารณะธรรมชาติบําบัด ออกแบบโดยการนําฉากประทับใจจาก เรื่องคู่กรรม ที่มีประวัติศาสตร์ร่วมกันกับ พื้ นที่ เพื่ อให้สามารถบําบัดจิตใจของผู้ ป่วย และคนในพื้ นที่ได้

พื้ นที่สาธารณะใต้สะพานอรุณอมรินทร์ ปรับปรุงพื้ นที่พื้นที่ใต้สะพานให้เป็นสวน สาธารณะที่เชื่อมต่อกับ สถานนีศิริราช รองรับการใช้งานของบุคลากร และผู้ใช้ งานโดยรอบ สวนสาธารณะที่มีการผสมผสานกับตํานานโกโบริ

TIMING

สวนใต้สะพานอรุณอัมรินทร์เชื่อมจากสถานนีศิริราช

61


Sky walk มีการออกแบบ sky walk เพื่ อส่งเสริมการเดิน และเพื่ อความปลอดภัยในการข้ามถนนจาก สวน ที่เป็นตัวเชื่อม ขึ้นมายังชัน ้ 2 ของตลาดสู่พื้นที่ อยู่อาศัยคอนโดบุคลากร

สวนสาธารณะธรรมชาติบําบัด มีการออกแบบปรับปรุงสวนหน้าตลาด และ พื้นทีบ ่ ริเวณชัน ้ 2 ของตลาด ช่วย กระจายผู้คนออกจากสถานีศิริราชด้วย การเดินไปยังชุมชนและคอนโดแห่งใหม่

Sky walk ข้ามถนน และเชื่อมอาคารต่างๆ

สวนหน้าตลาดเป็นจุดกระจายคนจากสถานนีศิริราช

62


สวนที่นําเอาเรื่องราวประวัติศาสตร์เข้ามาในพื้ นที่ เพื่ อบอกเล่าเรื่ิองราวจริงที่เกิดขึ้นในอดีต พร้อมกับการสร้างประติมากรรมรูปปั้น โกโบริ ตามจุดต่างๆในสวน

BEFORE

KEY MAP

63


Sky walk เชื่อมจากพื้ นที่สาธารณะบนดาดไปสู่พื้นที่อยู่อาศัย คอนโดบุคลากรเพื่ อส่งเสริมการเดิน และเพื่ อความปลอดภัย ในการข้ามถนน

BEFORE

KEY MAP

64


เป็นพื้ นที่สีเขียวขนาดใหญ่ของเมืองและเป็นพื้ นที่สวนธรรมชาติบําบัด สําหรับผู้ป่วย บุคลากรและคนในพื้ นที่โดยรอบ

BEFORE

KEY MAP

65


รูปตัดสวนสาธารณะโดยแนวคิดธรรมชาติบําบัด

66


Condominium ที่รองรับผู้คนภายนอกพื้ นที่ ที่จะ เพิ่ มขึ้นเมื่อเกิดโครงการสถานีศิริราช

Condominium สูง 6 ชัน ้ จํานวน 8 ตึก เพื่ อรอง รับคนในพื้ นที่ บุคลากรภายในโรงพยาบาล และ บุคคลทัว่ ไป

ZONE B

KEY MAP

โครงการพั ฒนาที่อยู่อาศั ยแบบใหม่ เพื่ อรองรับการพั ฒนาของสถานีศิริราช

ปรับปรุงพื้ นที่ชุมชนแออัดเดิม และพื้ นที่โดยรอบหอพั กของบุคลากร นักศึกษาแพทย์เพื่ อ ให้พื้นที่มีความน่าใช้งานมากยิ่งขึ้น และเพื่ อการรับจํานวนผู้คนที่จะเพิ่ มขึ้นหลัง จากเกิดโครงการ

สวนเชื่อมโยงเส้นทาง Sky Walk จากชัน ้ ที่ 2 ของ ตลาด ไปยังคอนโดมิเนี่ยมแห่งใหม่

67


USERS บันไดและ ลิฟต์ การใช้งาน sky walk ได้โดยมี บันไดและลิฟต์สําหรับผู้พิการใน การใช้งาน ลงสู่พื้นที่สาธารณะ ส่วนกลางของคอนโด

บุคลากร ใช้ในการอยู่อาศัยของ

บุคลากรทางการแพทย์จากโรงพยาบาล ศิริราช นักศึกษา ใช้สําหรับอยู่อาศัยของผู้ใช้ เดิมที่เป็นนักศึกษาเพทย์

Condo ปรับปรุงพื้ นที่ชุมชนแออัดเดิม และพื้ นที่โดยรอบหอพั กของ บุคลากรนักศึกษาแพทย์เพื่ อให้ พื้ นที่มีความใช้งานมากยิ่งขึ้น Condominium สูง 6 ชัน ้ จํานวน 8 ตึก

ทางขึ้น - ลง sky walk

DETAIL CONDOMINIUM ปรับปรุงพื้ นที่ชุมชนแออัดเดิม และพื้ นที่โดยรอบหอพั ก เพื่ อให้พื้นที่มีค วามน่าใช้งานมากยิ่งขึ้น และรองรับบุคลากรที่จะเพิ่ มขึ้น

68


อาคารอยู่อาศัยคอนโดมิเนียม สําหรับบุคลากร และนักศึกษา แพทย์และบุคคลทัว่ ไป

BEFORE

KEY MAP

69


Sky walk และบันไดเลื่อน ลงจาก sky walk สู่อาคารฝั่ง คอนโดมิเนียม

BEFORE

KEY MAP

70


อาคารอยู่อาศัยคอนโดมิเนียม สําหรับบุคลากร และนักศึกษา แพทย์และบุคคลทัว่ ไป

BEFORE

KEY MAP

71


รูปตัดคอนโดที่อยู่อาศั ย Sky Walk และตลาด

72


พื้ นที่สวนสาธารณะใต้สะพานอรุณอมรินทร์ เชื่อม จากสถานีศิริราช และเชื่อมไปยังส่วนต่างๆ

ทางเดินริมนํ้า ขนาด 2 m. ระยะทาง 600 m. ไปถึง ชุมชนบ้านบุ

ZONE B

KEY MAP

โครงการออกแบบเส้นทางเดินริมคลองบางกอกน้อย เพื่ อส่งเสริมการเดิน ปรับปรุงเส้นทางเดินริมนํ้าเดินเชื่อมจากสถานนี้ศิริราชไปยังท่าเรือบ้านบุ และท่าเรือวัดสุวรรณ

ปรับปรุงท่าเรือหน้าวัดวัดสุวรรณและ ท่าเรือบ้านบุ เพื่ อรองรับการสัญจรทางนํ้า

73


คนในพื้ นที่ชุมชน

มีการใช้พื้นที่สําหรับพบปะ พู ดคุย และกินข้าวร่วมกัน

นักท่องเที่ยว มีการเข้ามาท่องเที่ยวตามจุดต่างๆ

พื้ นที่สาธารณะของชุมชน ปรับปรุงพื้ นที่ให้มีความน่าใช้งาน มากขึ้น

ตลาดไร้คาน ปรับปรุงพื้ นที่ให้เหมาะแก่ การทํากิจกรรมต่างๆ และเพื่ อรองรับผู้ สูงอายุ

พื้ นที่จอดรถ ปรับปรุงพื้ นที่จอดรถใน ชุมชนซึ่งอยู่บริเวณวัดสุวรรณ

ตลาดไร้คานเป็นพื้ นที่รวมตัวกันของผู้สูงอายุ

พื้ นที่สาธารณะในชุมชน เป็นพื้ นที่ขายของและกินอาหาร

DETAIL ชุมชนบ้านบุ ปรับปรุงพื้ นที่สาธารณะต่างๆ ของชุมชนบ้านบุให้มีความน่าใช้งาน และ เพื่ อการรองรับให้เป็นพื้ นที่สาธารณะให้ผู้สูงอายุสามารถใช้งานได้ รวมถึงนักท่องเที่ยว

74


ทางเดินริมนํ้าต่อจากสวนใต้สะพาน ไปตามแนว แม่น้าํ ถึงวัดสุวรรณ

BEFORE

KEY MAP

75


ปรับปรุงท่าเรือหน้าวัดวัดสุวรรณและ ท่าเรือบ้านบุเพื่ อรองรับ การสัญจรทางนํ้าให้สะดวกสะบายยิ่งขึ้น

BEFORE

KEY MAP

76


ปรับปรุงพื้ นที่เชื่อมต่อจากสถานีศิริราช ให้มีการใช้งานที่ มีการแบ่งแยกการใช้งาน

BEFORE

KEY MAP

77


ปรับปรุงทางเดินและทางสัญจร กําหนดรูปแบบ การเดินและการสัญจรในชุมชน

ปรับปรุงพื้ นที่ตลาดไร้คานให้เป็นพื้ นที่สาธารณะ สําหรับพบปะพู ดคุยและทํากิจกรรมของคนใน ชุมชนและผู้สูงอายุ

ZONE B

KEY MAP

โครงการปรับปรุงพื้ นที่สาธารณะในชุมชนบ้านบุ เพื่ อส่งเสริมการใช้พื้นที่สาธารณะในชุมชน ด้วยการปรับปรุงลานกิจกรรมของ คนในชุมชนและพื้ นที่สาธารณะต่างๆ

สวนสาธารณะของชุมชน เป็นพื้ นที่พักผ่อน

78


ปรับปรุงพื้ นที่เดิมให้พื้นที่มีความใช้งานมากยิ่งขึ้นเป็นพื้ นที่ สาธารณะ สําหรับคนในพื้ นที่ในชุมชน และเป็นพื้ นที่ขายของ

BEFORE

KEY MAP

79


ปรับปรุงทางเดินและทางสัญจร กําหนดรูปแบบการเดินและ การสัญจรในชุมชนให้ชัดเจนและปลอดภัย

BEFORE

KEY MAP

80


ปรับปรุงพื้ นที่ตลาดไร้คานให้เป็นพื้ นที่สาธารณะ สําหรับพบปะ พู ดคุยและทํากิจกรรมของคนในชุมชนและผู้สูงอายุ

BEFORE

KEY MAP

81


82


ZONE C โครงการปรับปรุงทัศนียภาพ ตลาดวังหลัง วัดระฆัง เพื่ อส่งเสริมการเดินริมแม่นําเจ้าพระยา

83


84


SECTION ZONE C

การวิเคราะห์โปรแกรมออกแบบด้วย 5W1H Analysis

การวิเคราะห์โครงการใน ZONE C เพื่ อแสดงข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ โครงการ โครงการพั ฒนาทางเดินริมนํ้า วังหลัง-วัดระฆัง

ข้อมูลเชิงคุณภาพ

ข้อมูลเชิงปริมาณ

โครงการจัดทําเพื่ อเชื่อมโยงพื้ นที่ท่องเที่ยว ทัง ้ 2ด้วยทางเดินเท้าที่สามารถเดินได้สะดวก ต่อเติมจากที่มีโครงสร้างริมนํ้าเดิมบางส่วน พั ฒนาต่อยอด และขยายขนาดให้กว้างและ ยาวมากขึ้นรองรับนักท่องเที่ยว และคน ทั่วไปที่เข้ามาในพื้ นที่

ขนาดพื้ นที่ของโครงการ พื้ นที่จากท่า วังหลัง-วัดระฆัง ระยะประมาณ 260M กว้าง 3M เป็นพื้ นที่ทางเดินริมนํ้า จะมีบางจุดที่จะเป็นพื้ นที่นั่งพั ก ชมวิวแม่นํ้า เจ้าพระยา เป็นขั้นบันใด สูงประมาณ1.2M สามารถจุคนได้780คน/วัน ซึ่งจะช่วยลดการจราจรในตลาดวังหลังที่มี ผู้คนเข้ามาค่อนข้างมาก ทําให้เดินเท้า สะดวกยิ่งขึ้น จากปัญหาในการเชื่อมโยง การเดิืนที่ไม่สะดวกจาก วังหลัง-วัดระฆัง

85


USERS

บุคคลทั่วไป มีการเข้ามาใช้งาน ท่องเที่ยวบ้าง ส่วนมากพบเข้ามาจับจ่ายซื้อ ของ ทานอาหาร และเข้ามาไหว้พระที่วัดระฆัง

บุคลากร จากโรงพยาบาลศิริราชซึ่งเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่มีบุคลากร

จํานวนมาก ทําให้มีบุคลากรเข้ามายังวังหลังค่อนมากและส่วนมากมาซื้อของกิน และพั กผ่อน นักท่องเที่ยว มีการเข้ามาใช้งาน ท่องเที่ยว ส่วนมากตัง้ แต่เวลา 09.00-17.00น. จะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาซื้อของกินเเละเดินไปไหว้พระที่วัด ระฆัง

ท่าเรือวัดระฆัง มีนักท่องเที่ยวเข้ามาในพื้ นที่ค่อนข้างมาก พบมากในเวลา 14.00-17.00น.

ท่าวังหลัง เป็นจุดสําคัญของย่านวังหลัง มีของกิน เสื้อผ้าของใช้ต่างๆ และเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว.

RIVERSIDE พั ฒนาทางเดินริมนํ้าแห่งใหม่ เพื่ อลดปัญหาการเชื่อมต่อ ระหว่างท่าเรือวังหลังไปยังวัดระฆัง และส่งเสริมการเดินให้เป็นที่พักผ่อน ของนักท่องเที่ยวเพื่ อได้ชมทัศนยภาพพระนครได้

ท่างเดินริมนํ้าแห่งใหม่ ระหว่างท่าวังหลังไปยังวัดระฆัง เป็นที่ทางเดิน พื้ นที่พักผ่อน และเป็นจุดชมทัศนยภาพ ฝั่งพระนคร ในยามเย็น

TIMING

86


ท่าวังหลังในยามเย็น พั ฒนาพื้ นที่ให้ใช้งานได้มาก ขึ้น มีกิจกรรมการค้าในช่วงเย็นดึงดูด นักท่องเที่ยว

จากท่าวังหลังสู่ทางเดินริมนํ้า เพื่ อเชื่อมไปยังวัด ระฆัง

ZONE C

KEY MAP

โครงการพั ฒนาทางเดินริมนํ้า วังหลัง-วัดระฆัง ปรับปรุงทางเดินริมนํ้า เพื่ อเชื่อมพื้ นที่วังหลังไปวัดระฆัง และเป็นพื้ นที่นง ั่ พั กผ่อนชมวิว แม่น้าํ เจ้าพระยาได้

ทางเดินริมนํ้าจะมีจุดนัง ่ ชมวิวแม่น้าํ เจ้าพระยา และ เป็นพื้ นที่พักผ่อนของผู้คนที่เข้ามาได้ด้วย

87


88


ท่าวังหลังในยามเย็น พั ฒนาพื้ นที่ให้ใช้งานได้มากขึ้น มีกิจกรรมการค้าในช่วงเย็นดึงดูดนักท่องเที่ยว

BEFORE

KEY MAP

89


ทางเดินริมนํ้าท่าวังหลังไปยังวัดระฆัง พร้อมพื้ นที่นง ั้ พั กผ่อมชมทัศ นยภาพแม่น้าํ เจ้าพระยา

BEFORE

KEY MAP

90


ทางเดินริมนํ้าท่าวังหลังไปยังวัดระฆัง พร้อมพื้ นที่นง ั้ พั กผ่อมชมทัศ นยภาพแม่น้าํ เจ้าพระยา

BEFORE

KEY MAP

91


รูปตัดทางเดิ ทางเดินนริริมมนํนํ้า้าวัวังงหลั งง -วั-วั ดด ระฆั งง หลั ระฆั

ท่าวังหลังในยามเย็น พั ฒนาพื้ นที่ให้ใช้งานได้มากขึ้น มีกิจกรรม การค้าในช่วงเย็นดึงดูดนักท่องเที่ยว

92


รูปตัดทางเดินริมนํ้า วังหลัง-วัดระฆัง

93


พื้ นที่ทางเดินเท้า ฝั่งวังหลัง ที่ติดกับร้านค้า แผงลอย ปรับปรุงทางเดินให้ทุกคนใช้งานได้

มาตฐานทางเดินเท้าแบบใหม่ curve cut ตลอกแนว สําหรับทุกคนสามารถใช้งานได้ แม้กระ ทัง ้ คนพิ การก็สามารถใช้งานได้

ZONE C

KEY MAP

โครงการพั ฒนาทางเดินเท้ามาตรฐานใหม่ สําหรับทุกคน วังหลัง-ศิ ริราช

ปรับปรุงทางเดินเท้ามาตฐานใหม่ เพื่ อเชื่อมระหว่าง ศิริราช-วังหลัง ให้ทุกคนสามารถ เข้ามาใช้งานได้

พื้ นที่ทางเดินเชื่อมระหว่างสิริราช-วังหลัง เพื่ อให้ เดินเชื่อมกันําได้สะดวกมากขึ้น

94


95


พื้ นที่ปรับปรุงทางเดินเท้ามาตฐานใหม่ สิริราช-วังหลัง พั ฒนาให้ ทุกคนสามารถใช้งานได้ และปลอดภัย

BEFORE

KEY MAP

96


รูปตัดทางเดินเท้า ศิ ริราช-วังหลัง

1.5M

2M

12M 20.5M

2M

2M

97


98


IMPLEMENTATION ช่วงเวลา

ชื่อโครงการ

ระยะเวลา(ปี) 2

โครงการที่1 ที่อยู่อาศัยสําหรับญาติผู้ป่วยศิริราช

Mixed-Use Project

4

6

8

10 12

14

หน่วยงานที่รับผิดชอบหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขนาดพื้ นที่(ตรม.) ราคากลาง(บาท) ภาคเอกชน

โครงการที่2 Co Living Space บนอาคารศิริราช Mixed Use

ระยะแรก (3ปี)

26,625

20,000

532,500,000

ภาครัฐ ภาครัฐ ภาคเอกชน

ภาครัฐ

3,476

14,000

48,664,000

ภาครัฐ

68,160

20,000

1,363,200,000

ภาครัฐ

ภาครัฐ

2,240

4,000

8,960,000

ภาครัฐ ภาคเอกชน

ภาครัฐ

6,240

18,000

112,320,000

ภาครัฐ

ภาครัฐ

17,781

15,000

1,076,715,000

โครงการที่7 พั ฒนาที่อยู่อาศัยแบบใหม่เพื่ อรอง รับการพั ฒนาของสถานีศิริราช 4ตึก

ภาคเอกชน

ภาครัฐ

68,160

20,000

1,363,200,000

โครงการที่10 พั ฒนาทางเดินริมนํ้า วังหลัง-วัด ระฆัง

ภาครัฐ

ภาครัฐ

780

15,000

11,700,000

โครงการที่7 พั ฒนาที่อยู่อาศัยแบบใหม่เพื่ อรอง รับการพั ฒนาของสถานีศิริราช 4ตึก โครงการที่ 11 โครงการพั ฒนาทางเดินเท้ามาตฐาน ใหม่สําหรับทุกคน วังหลัง-ศิริราช โครงการที่4 sky park ศิริราช

โครงการที่6 ออกแบบสวนสาธารณะโดยแนวคิด ธรรมชาติบําบัด

ระยะสอง(3ปี)

ภาครัฐ ภาครัฐ

โครงการที่5 พื้ นที่รองรับ Transition โครงการที่3 sky walk เชื่อมสถานีศิริราชไปยังวังหลัง

งบประมาณ (บาท)

ภาครัฐ โครงการที่8 ออกแบบเส้นทางเดินริมคลอง บางกอกน้อย

ภาครัฐ

ภาครัฐ

1,600

15,000

24,000,000

โครงการที่9 ปรับปรุงพื้ นที่สาธารณะในชุมชนบ้านบุ

ภาครัฐ

ภาครัฐ

2,630

15,000

39,450,000

ระยะสาม(4ปี)

4,580,709,000

99


100



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.