‘ ¡ Ç Ò ‹ ¨ Ð à » ¹ š . . . Ã Ò Â ¡ Ò Ã â · à · È Ñ ¹ ã ¹ ´ Ç § ã ¨ ¤ Ã Í º ¤ Ã Ç Ñ ’ ¤ ÍË × ¹ § Ñ Ê Í × · ¶ è Õ Í ´ » Ã Ð Ê º ¡ Ò Ã ³ · Ó § Ò ¹ ¢ Í § À Ò ¤ » à Рª Ò ª ¹ Í Í ¡ Á Ò ä ´ Í Œ Â Ò ‹ § Á ª Õ ¹ é Ñ à ª § Ô · Ò § Ç ª Ô Ò ¡ Ò Ãá µ Í ‹ Ò ‹ ¹ Ê ¹ ¡ä Ø ´ » Œ à Рâ  ª ¹ µ Í ‹ · § é Ñ ¼ Í Œ Ù Ò ‹ ¹ · Ç è Ñ ä » á Å Ð ¼ · Œ Ù Ê è Õ ¹ ã ¨ § Ò ¹ ´ Ò Œ ¹ ¹ à Ô · È È Ò Ê µ à ¼ È . ´ à . ° µ Ô ¹ Ô ¹º Ñ ÞÀ Ø Ò ¾¤ Í Á Á Í ¹ Ë ¹ § Ñ Ê Í × . . . à Å Á ‹ ¹ é Õ ¡ à Рµ ¡ Ø Ê § Ñ ¤ Á ã Ë ¤ Œ ´ Ô ã Ë Á ‹ â ´  ¤ ´ Ô ¶ § Ö à » Ò ‡ Ë Á Ò Â ¢ Í § ¡ Ò Ã ã Ë Ã Œ Ò § Ç Å Ñ Ç Ò ‹ ¤ Ç Ã ¨ Ð Í Â · ‹ Ù è Õ ¡ Ò Ã à Ã Â Õ ¹ à ¢ Œ Ù Í § Ê § Ñ ¤ Á . . . ã ª ¡ Œ à Рº Ç ¹ ¡ Ò Ã á º º Á Ê Õ Ç ‹ ¹ Ã Ç ‹ Á ¢ Í § Ë Å Ò Â æ ½ Ò †  . . . ¶ Í × ä ´ Ç Œ Ò ‹ à » ¹ š ¹ Ç µ Ñ ¡ à à Á ª ¹ é Ô Ë ¹ § è Ö ¢ Í § Ê § Ñ ¤ Áà ¾ Ã Ò Ð à ¢ Â Õ ¹ ¢ ¹ é Ö ¨ Ò ¡ ¡ Ò Ã » ¯ º Ô µ Ñ ¡ Ô Ò Ã ¨ à §Å Ô Í § ¼ ´ Ô Å Í § ¶ ¡¶ Ù Í ´ º · à Ã Â Õ ¹ Á Ò ¶ § Ö 3» ‚ Á ¤ Õ Ò ‹ Í Â Ò ‹ §  § è Ô · ¨ è Õ Ð ã ª à Œ » ¹ š µ Ó Ã Ò Ê Í ¹ ¹ ¡ Ñ È ¡ Ö É Ò Ê Ò ¢ Ò ¹ à Ô · È È Ò Ê µ à á Å Ð à Ë Á Ò Ð ¡ º Ñ ¡ Å Á ‹ Ø µ Ò ‹ § æ · ¡ è Õ Ó Å § Ñ ¼ Å ¡ Ñ ´ ¹ Ñ § Ò ¹ ´ Ò Œ ¹ ¡ Ò Ã ¾ ²¹ Ñ Ò Ê Í è × . . . à ¢ Á ç ¾ ÃÇ Ã Ô ³Ã Ø Ò ¾ ¹ Ñ ¸ . . . » Ã Ð Ê º ¡ Ò Ã ³ · ¼ è Õ Ò ‹ ¹ Á Ò2» ã ‚ ¹ ¡ Ò Ã ¤ ´ Ñ à Å Í × ¡ Ã Ò Â ¡ Ò Ã¡ Ò Ã ã Ë à Œ ¤ Ã Í × ¢ Ò ‹  ¤ Ã Í º ¤ Ã Ç Ñ · Ç è Ñ » Ã Ð à · È ä ´ à Œ Ç ‹ Á Å § ¤ Ð á ¹ ¹á Å Ð ã Ë ¢ Œ Í Œ ¤ ´ Ô à Ë ¹ ç µ Í ‹ Ã Ò Â ¡ Ò Ã â · à · È Ñ ¹ ã ¹ ´ Ç § ã ¨ · Ê è Õ Í ´ ¤ Å Í Œ § ¡ º Ñ à ¡ ³± ª Ç é Õ ´ Ñ Ã Ò Â ¡ Ò Ã · ¤ è Õ Ç Ã Ê § ‹ à Ê Ã Á Ô á Å Ð ¤ Ç Ã Ë Å ¡ Õ à Å Â è Õ §â ´  㠪 Ë Œ Å ¡ Ñ Ç ª Ô Ò ¡ Ò Ã ã ¹ ¡ Ò Ã Ã Ç º Ã Ç Á á Å Ð Ê Ã » Ø ¢ Í Œ Á Å Ù · § é Ñ Ë Á ´ ¨ ¹ ä ´ Œ Í Í ¡ Á Ò à » ¹ š Ã Ò Â ¡ Ò Ã â · à · È Ñ ¹ · à è Õ Ë Á Ò Ð Ê Á ã ¹ ¡ Ò Ã ä ´ à Œ º Ñ Ã Ò § Ç Å» Ñ Ã Ð Ê º ¡ Ò Ã ³ à Ë Å Ò ‹ ¹ é Õ ä ´ Á Œ ¡ Õ Ò Ã º ¹ Ñ · ¡ Ö Å § ã ¹ Ë ¹ § Ñ Ê Í × à Å Á ‹ ¹ . é Õ . . Ç ¹ Ñ ª º Ñ Þ» Ø Ã Ð ª Ò
á ¼ ¹ § Ò ¹ Ê Í è × Ê Ã Ò Œ § Ê ¢ Ø À Ò Ç Ð à Â Ò Ç ª ¹( Ê Ê Â . ) Ê Ó ¹ ¡ Ñ § Ò ¹ ¡ Í § · ¹ Ø Ê ¹ º Ñ Ê ¹ ¹ Ø ¡ Ò Ã Ê Ã Ò Œ § à Ê Ã Á Ô Ê ¢ Ø À Ò ¾( Ê Ê Ê . )
I S B N9 7 8 9 7 4 7 8 7 0 3 8 1
Ê ¹ º Ñ Ê ¹ ¹ Ø â ´ Â
Ã Ò ¤ Ò2 0 0º Ò ·
: á ¹ Ç ¤ ´¡ Ô Ã Ð º Ç ¹ ¡ Ò Ã á Å Ð » Ã Ð Ê º ¡ Ò Ã ³ à ¤ Ã Í × ¢ Ò ‹  ¤ Ã Í º ¤ Ã Ç Ñ à ½ Ò ‡ Ã Ð Ç § Ñ á Å Ð Ê Ã Ò Œ § Ê Ã Ã ¤ Ê Í è ×
. . . F a mi l yA w a r d sà ¡ ´ Ô ¢ ¹ é Ö â ´  ¤ ¹ · à è Õ Ë ¹ ç Ç Ò ‹ ¤ Ã Í º ¤ Ã Ç Ñ à » ¹ š Ê § è Ô Ê Ó ¤ Þ· Ñ ¤ è Õ Ç Ã Á ¾ Õ Å § Ñ ã ¹ ¡ Ò Ã à Å Í × ¡ ¡ Ó Ë ¹ ´á Å Ð ª Ç ‹  » · Ù Ò § ã Ë Ã Œ Ò Â ¡ Ò Ã ´ æ Õ . . . Ê Ã Ò Œ § ¤ Ç Ò Á à » ¹ š Ê § Ñ ¤ Á Á ¹ É Ø Â . . . Ã È . ´ à . Ê Ò Â Ä ´ Õ Ç Ã ¡ ¨ Ô â À ¤ Ò · Ã
¡Ç‹ Ò¨Ð à »š ¹. . . ÃÒ¡ÒÃâ ·Ã·Ñ È¹ ã ¹´Ç§ã ¨¤Ãͺ¤ÃÑ Ç( Fami l yAwar ds) á¹Ç¤Ô ´¡ÃÐ ºÇ¹¡ÒÃáÅÐ »ÃРʺ¡Òó
Ë ¹ § Ñ Ê Í × à Å Á ‹ ¹ à é Õ » ¹ š ¤ Ç Ò Á ¾ Â Ò Â Ò Á Í ¡ Õ ¤ à § é Ñ Ë ¹ § è Ö ¢ Í § à ¤ Ã Í × ¢ Ò ‹  ¤ Ã Í º ¤ Ã Ç Ñ à ½ Ò ‡ Ã Ð Ç § Ñ á Å Ð Ê Ã Ò Œ § Ê Ã Ã ¤ Ê Í è × ¡ º Ñ ¡ Ò Ã · ¨ è Õ Ð Á Ê Õ Ç ‹ ¹ Ã Ç ‹ Á ã ¹ ¡ Ò Ã ¾ ²¹ Ñ Ò Ã Ò Â ¡ Ò Ã â · à · È Ñ ¹ Ê Ó Ë Ã º Ñ à ´ ¡ ç á Å Ð ¤ Ã Í º ¤ Ã Ç Ñ . . . ¹ ¾ .  §  · Ø ¸Ç § È À Ã Ô Á Â È Ò ¹ µ ì Ô
. . . ¹ š » à Ð ¨ Ò ‹ Ç ¡
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว (Family Awards) แนวคิด กระบวนการ และประสบการณ์
เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ พ.ศ.2555
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว (Family Awards) : แนวคิด กระบวนการ และประสบการณ์ ISBN 978-974-7870-38-1 ผู้เขียน บรรณาธิการ ภาพปก รูปเล่ม ภาพประกอบ
ธีรพัฒน์ อังศุชวาล อัญญาอร พานิชพึง่ รัถ มิล บ้ านสวน เอกา นาทองสุก สานักพิมพ์ ปิ่ นโต พับลิชชิ่ง
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย สนับสนุนโดย ปี ที่พิมพ์ จานวนที่พิมพ์ โรงพิมพ์
เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้ างสรรค์สื่อ www.familymediawatch.org แผนงานสื่อสร้ างสุขภาวะเยาวชน (สสย.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุขภาพ (สสส.) 2555 500 เล่ม สินทวีกิจ พริน้ ติ ้ง
ข้ อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่ งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ธีรพัฒน์ อังศุชวาล. กว่าจะเป็ น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว (Family Awards): แนวคิด กระบวนการ และประสบการณ์, 2555. 1.Family Awards. 2.การจัดระดับความเหมาะสมของสื่อโทรทัศน์. 3.การประเมิน รายการโทรทัศน์. 4.อิทธิพลของสื่อโทรทัศน์. 5.การรู้เท่าทันสื่อ. 6.รายการโทรทัศน์สาหรับเด็ก เยาวชนและครอบครัว. I.ธีรพัฒน์ อังศุชวาล. II.เครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้ างสรรค์สื่อ III.ชื่อเรื่อง. ISBN 978-974-7870-38-1
เครื อข่ ายครอบครั วเฝ้าระวังและสร้ างสรรค์ ส่ อื ภายใต้ การสนับสนุนของแผนงานสือ่ สร้ างสุขภาวะเยาวชน (สสย.) และ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) คณะที่ปรึกษา นพ.ยงยุทธ รศ.ดร.สายฤดี ผศ.ดร.ฐิ ตินนั นางสาวเข็มพร นายวันชัย
วงศ์ภิรมย์ศานติ์ วรกิจโภคาทร บุญภาพ คอมมอน วิรุณราพันธ์ บุญประชา
คณะกรรมการ นางอัญญาอร นายธีรพัฒน์ นายชาญไชย นางสาวจิตติมา นางสาวเกณิกา นายอิมรอน นางสาวทิพวัลย์
พานิชพึง่ รัถ อังศุชวาล วิกรวงษ์ วนิช ชัยประดิษฐ์ พร พงษ์ วิรัช เชษฐวัฒน์ รามรง
ประธานที่ปรึกษาฯ
ประธานเครื อข่ายฯ เลขาฯประธานเครื อข่ายฯ รองประธานเครื อข่ายฯ ประสานงาน ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม เลขาฯ
คำนิยม
หนัง สื อ เล่ ม นี เ้ ป็ นความพยายามอี ก ครั ง้ หนึ่ ง ของเครื อ ข่ า ย ครอบครัวเฝ้าระวังและสร้ างสรรค์สื่อ กับการที่จะมีสว่ นร่ วมในการพัฒนา รายการโทรทัศน์สาหรับเด็กและครอบครัว นอกจากนันยั ้ งเป็ นการกระตุ้น ให้ ภาคผู้ผลิ ต และผู้บ ริ ห ารสื่อ ต่า งๆ ได้ เ ห็ น ความสาคัญ พร้ อมๆไปกับ ส่งเสริ มการมี ส่ว นร่ ว มของพ่อแม่ผ้ ูปกครอง สาหรั บผมแล้ ว แม้ ว่า มัน ดู เหมื อ นจะเป็ นก้ าวเล็ ก ๆของเครื อ ข่ า ย แต่ เ ป็ นก้ า วที ่ ยิ่ ง ใหญ่ ส าหรั บ สังคมไทยในการเปลีย่ นมุมของเรื ่องสือ่ ให้มาอยู่บนผลประโยชน์ของสังคมเป็ น ที ่ตงั้ และเป็ นส่วนสาคัญของระบอบประชาธิ ปไตยที่ประชาชนมีสว่ นร่ วม ซึง่ น่าจะเป็ นทางออกสาคัญของสังคมไทย พ่อแม่จานวนมากอาจมิได้ ตระหนักถึงบทบาทของโทรทัศน์ทมี่ ตี อ่ พัฒนาการและการเรี ยนรู้ทงด้ ั ้ านบวกและด้ านลบ แม้ ว่าโลกจะได้ ก้าวเข้ า สู่ยุค ดิจิ ตอลแล้ ว แต่โทรทัศ น์ ก็ยังเป็ นส่วนสาคัญ ในชี วิต ของครอบครั ว โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยและวัยเรี ยนซึ่งยังอยู่ในการดูแลอย่างใกล้ ชิดของ พ่อแม่ ถ้ าพ่อแม่เองสามารถดูแลลูกให้ ใช้ เวลาและดูรายการที่เหมาะสม ประกอบกับมีผ้ ผู ลิตและผู้บริ หารสื่อที่สร้ างสื่ออย่างมีคุณภาพทังรู ้ ปแบบ และเนื ้อหา ส่วนรัฐก็เข้ ามาจัดการควบคุมดูแลอย่างเหมาะสมด้ านองค์กรที่ เป็ นกลางและมี ธ รรมาภิ บ าล สัง คมไทยก็ จ ะได้ ใช้ ทรั พ ยากรนี เ้ พื่ อ พัฒนาการเด็กแทนที่จะสร้ างปั ญหาอย่างที่ผา่ นมา
ก | คานิยม
ขอขอบคุณทุกชีวิตในเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์ สื่อที่ตงั ้ ใจทางานนีอ้ ย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ มูลนิธิ เครื อข่ายครอบครั วและ สานัก งานกองทุน สนับสนุน การสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) ที่ให้ การสนับสนุน ด้ วยความริ เริ่ มนี ้ อี ก 20 ปี ข้ า งหน้ า โทรทั ศน์ จะมี บ ทบาทในทาง สร้ างสรรค์ กับเด็กและครอบครัวอย่ างน่ าอัศจรรย์ นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมสุขภาพจิต
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ข
คำนิยม
Family Awards สาหรั บ สื่อ โทรทัศ น์ ที่ ดี เปิ ดมุม มองใหม่ใ ห้ สังคมไทย ที่ควรมองโทรทัศน์ด้วยสติมากขึ ้น ด้ วยสมองที่มองเผื่อคนใกล้ และคนไกลในเวลาใกล้ ๆ และเวลาไกลๆ มากขึ ้น Family Awards เกิดขึ ้น โดยคนที่เห็นว่าครอบครัวเป็ นสิ่งสาคัญ ที่ควรมีพลังในการเลือก กาหนด และช่วยปูทาง ให้ รายการดีๆ ที่ให้ ปัญญา ให้ ความสุขที่บริ สทุ ธิ์ และเต็มไป ด้ วยความสานึก รู้ คณ ุ ค่า สร้ างความเป็ นสังคมมนุษย์ ไม่ใช่เพียงเป็ นกลุม่ ‘คน’ ที่มามีชีวิตร่วมกันเท่านัน้ รศ.ดร.สายฤดี วรกิจโภคาทร นักวิชาการอิสระด้ านครอบครัวและการพัฒนาเด็ก
ค | คานิยม
คำนิยม
กว่ าจะเป็ น...รายการโทรทัศน์ ในดวงใจครอบครั ว คือหนังสือ ที่ถอดประสบการณ์ทางานของภาคประชาชนออกมาได้ อย่างมีชนเชิ ั ้ งทาง วิชาการ แต่อ่านสนุก ได้ ประโยชน์ต่อทังผู ้ ้ อ่านทัว่ ไปและผู้ที่สนใจงานด้ าน นิเทศศาสตร์ ผศ.ดร.ฐิ ตินนั บุญภาพ คอมมอน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจาภาควิชาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ง
คำนิยม
เชื่อว่าหลายคนต้ องเคยชมรายการโทรทัศน์ถ่ายทอดพิธีให้ รางวัล สือ่ ดีเด่น สือ่ ยอดเยี่ยม ฯลฯ รวมไปถึงสือ่ ยอดแย่กนั มาบ้ าง และหลายคน น่าจะมีการตังค ้ าถามอยู่ในใจ หรื อกระทัง่ ออกอาการอย่างใดอย่ างหนึ่ง ว่าทาไมรายการนันได้ ้ รายการนี ้ไม่ได้ ในทานองว่า “นี ่ เข้าข่ายค้านสายตา ผู้ช มทั้ง ประเทศ แต่ ไ ด้ ร างวัล มาได้ย ัง ไง” อะไรประมาณนี ้ มิ ห น าซ า้ ปั จจุบนั มีการจัดงานให้ รางวัลคล้ ายๆกัน แต่เป็ นแบบค่ายใครค่ายมัน ให้ รางวัลเฉพาะค่ายของตนเอง ทาเอาผู้ชมหลายคนเกิดอาการงงว่าจะเชื่อ ค่ายไหนดี และหลายคนคงเกิดคาถามว่า ‘ใคร’ เป็ นคนตัดสินรางวัล และ ‘ใช้ เกณฑ์ ’ อะไรในการตัดสิน ถ้าอยากให้เกิ ดการเปลีย่ นแปลงและพัฒนา การตัง้ คาถามอย่าง เดียวคงไม่พอ หนังสือ ‘กว่ าจะเป็ น…รายการโทรทัศน์ ในดวงใจครอบครั ว (Family Awards): แนวคิด กระบวนการ และประสบการณ์ ’ เล่มนี ้ กระตุกสังคมให้ คิดใหม่ โดยคิดถึงเป้าหมายของการให้ รางวัลว่าควรจะอยู่ ที่การเรี ยนรู้ ของสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรี ยนรู้ ของเด็กเยาวชนและ ครอบครัว เมื่อเป้าหมายชัด กระบวนการก็ตามมา แทนที่ ‘ใคร’ ก็ไม่ร้ ู เป็ น คนตัดสินใจให้ รางวัล ก็ใช้ กระบวนการแบบมีสว่ นร่ วมของหลายๆฝ่ าย ที่ สาคัญที่สดุ คือผู้ชม รวมทังเกณฑ์ ้ ในการตัดสินก็เชื่อมไปสู่สิ่งที่เราอยาก เห็นสังคมเรี ยนรู้
จ | คานิยม
ที่สาคัญกระบวนการเบื ้องหลัง กว่าจะเป็ นหนังสือออกมา เป็ น กระบวนการที่ ขับ เคลื่ อ นสัง คมให้ ก้ าวไปข้ า งหน้ า โดยการพัฒ นาสื่ อ สร้ างสรรค์ ถ้ าได้ เข้ ามาเรี ยนรู้ใกล้ ชิด จะรู้วา่ ‘กว่าจะเกิดเครื อข่ายครอบครัว เฝ้าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ ’ ซึง่ เป็ นผู้ขบั เคลื่อนงาน และทาหนังสือนี ้ให้ เกิด ในสังคมได้ นนั ้ เป็ นเรื่ องที่ต้องใช้ พลังมหาศาลจริ งๆ หนังสือเล่มนี ้ ถื อได้ ว่ าเป็ นนวัตกรรมชิ น้ หนึ่งของสังคม เพราะ เขียนขึ ้นจากการปฏิบตั ิการจริ ง ลองผิดลองถูก ถอดบทเรี ยนมาถึง 3 ปี มี ค่าอย่างยิ่งที่จะใช้ เป็ นตาราสอนนักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์ และเหมาะกับ กลุม่ ต่างๆที่กาลังผลักดันงานด้ านการพัฒนาสื่อจะได้ ศึ กษาประสบการณ์ และต่อยอดเพื่อยกระดับสังคมของเรา ให้ เป็ นสังคมที่ปกป้องเด็ก เยาวชน และครอบครัว และเป็ นสังคมแห่งการเรี ยนรู้อย่างแท้ จริ ง เข็มพร วิรุณราพันธ์ ผู้จดั การแผนงานสือ่ สร้ างสุขภาวะเยาวชน (สสย.)
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ฉ
คำนิยม
รางวัล ‘Family Awards’ อาจยังไม่ค้ ุนเคยมากนักสาหรับสื่อ โทรทัศน์ แต่ถ้าเอ่ยถึง ‘เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สื่อ ’คง พอจะคุ้นเคยสาหรับสือ่ โทรทัศน์ดฟู รี ในบ้ านเราอยูบ่ ้ าง ด้ วยการทางานเฝ้ า ระวังสื่อที่มีผลกระทบต่อเด็กและครอบครั วอย่างเข้ มข้ นที่ผ่านมา ทาให้ รายการโทรทัศน์หลายรายการ หลายสถานีต้องปรับปรุงรูปแบบและเนื ้อหา ในรายการให้ เหมาะสมมากขึน้ แต่นนั่ เป็ นแค่บทบาทหนึ่งของเครื อข่าย ครอบครัวเฝ้าระวังฯ บทบาทอีกหนึ่งอย่างที่สาคัญ คือช่วยสร้ างสรรค์ให้ มี สือ่ ดีๆ เพื่อเด็กและครอบครัว มีมากขึ ้นๆ ผ่านหน้ าจอโทรทัศน์ของไทยเรา ปี พ.ศ.2555 นี ้ เป็ นปี ที่ 3 ที่ทางเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังฯ ได้ จัดให้ มีการมอบรางวัล ‘Family Awards’ ประสบการณ์ที่ผ่านมา 2 ปี ใน การคัด เลื อ กรายการ การให้ เครื อ ข่ า ยครอบครั ว ทั่ ว ประเทศได้ ร่ ว ม ลงคะแนน และให้ ข้อคิดเห็นต่อรายการโทรทัศน์ในดวงใจที่สอดคล้ องกับ เกณฑ์ชี ้วัดรายการที่ควรส่งเสริ มและควรหลีกเลี่ยง โดยใช้ หลักวิชาการใน การรวบรวมและสรุ ปข้ อมูลทัง้ หมดจนได้ ออกมาเป็ นรายการโทรทัศน์ ที่ เหมาะสมในการได้ รับรางวัล ประสบการณ์ เหล่านี ้ ได้ มีการบันทึกลงใน หนัง สือเล่ม นี ้ ‘กว่ า จะเป็ น…รายการโทรทั ศน์ ในดวงใจครอบครั ว (Family Awards)’ คุณค่าของรางวัล ‘Family Awards’ อยู่ที่กระบวนการคัดสรร รายการ การมี ส่ ว นร่ ว มของเครื อ ข่ า ยครอบครั ว ที่ เ ฝ้ าดูร ายการและ กระบวนการทางวิชาการในการจัดการข้ อมูลอย่างเป็ นระบบ ผมหวังว่า ช | คานิยม
กระบวนการเหล่านี ้คงมีคณ ุ ค่าสาหรับผู้ผลิตรายการที่คานึงถึงคุณภาพที่มี อยูใ่ นหน้ าจอโทรทัศน์ของไทยเรา ถึงแม้ รางวัลจะไม่ยิ่งใหญ่เหมือนรางวัลที่ วงการสื่อมอบให้ กัน แต่นี่อาจจะเป็ นรางวัลเดียวที่เกิดขึ ้นในประเทศไทย ที่มาจากผู้ชมกลุ่มหนึ่ง ที่ลกุ ขึ ้นมาให้ กาลังใจผู้ผลิตรายการคุณภาพ เพื่อ สร้ างการเปลีย่ นแปลงที่ดีให้ เกิดขึ ้นในสังคม ส าหรั บ สมาชิ ก ทุก คนในครอบครั ว ที่ เ ป็ นผู้รั บ ชมสื่ อ โทรทัศ น์ การได้ อ่านหนังสือเล่มนี ้ คงทาให้ เราได้ เรี ยนรู้ และรู้ ทนั สื่อมากยิ่งขึ ้น และ เมื่ อ ครอบครั ว ของท่ า นสนใจที่ จ ะร่ ว มดูแ ลสื่ อ ให้ ส ร้ างสรรค์ สนใจใน กระบวนการทางานของ ‘เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สื่อ ’ หนังสือเล่มนี ้คงเป็ นจุดเริ่ มต้ น ของการทางานอาสาของครอบครัวท่าน ผมขอขอบคุณ ครอบครัวอาสาที่เข้ าร่ วมกระบวนการ ‘เครื อข่าย ครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์ สื่อ ’ ทุกท่าน สิ่งดีๆ ที่ช่วยกันทามาได้ ผลิ ด อก ออกผล จนเรามี ร ายการดี ๆ ที่ ส ร้ างสรรค์ เ กิ ด มากขึ น้ ในทุ ก สถานี โทรทัศน์ เรามีเ ด็กๆและครอบครั วมากมายที่ได้ เรี ยนรู้ จากสื่อดี ๆ เหล่านี ้ ขอบคุณครับ วันชัย บุญประชา กรรมการเลขานุการมูลนิธิเครื อข่ายครอบครัว
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ซ
บทบรรณาธิการ เมื่อประมาณ พ.ศ. 2548 จากบทบาทคุณแม่เลี ้ยงเดี่ยวที่ทา กิจกรรมต่างๆ กับมูลนิธิเครื อข่ายครอบครั วได้ ผนั ตัวเองมาทาหน้ าที่เฝ้ า ระวังสื่อโดยชวนเพื่อนๆ ครอบครั วอาสาด้ วยกันมาเป็ นสมัครพรรคพวก ด้ วยเห็นว่าสือ่ มีอิทธิพลอย่างมากกับผู้บริ โภค โดยเฉพาะผู้บริ โภคที่อ่อนแอ ไม่ร้ ูเท่าทัน จากวันนันจนถึ ้ งวันนี ้นับเป็ นเวลากว่า 7 ปี ที่ผ้ เู ขียนได้ เรี ยนรู้และ สะสมประสบการณ์ จ ากการท าหน้ า ที่ เ ฝ้ าระวัง สื่อ การท าห้ อ งเรี ย นให้ ความรู้ กับ ครอบครั ว ที่ ต้ อ งการทัก ษะต่า งๆ ต่อ การเลือ กรั บ สื่ อ ไปดูแ ล ครอบครัว การทางานด้ านเฝ้ าระวังสื่อทาให้ ผ้ เู ขียนต้ องขับเคลื่อนงานไป ตามประเด็นที่พบจากการเฝ้ าระวัง ซึ่งบางเรื่ องก็ส่งผลกระทบให้ ผ้ เู ขียน ต้ องกลับมาเพิ่มพลังให้ กบั ตัวเองอย่างเร่ งด่วน ด้ วยกังวลว่าหากปล่อยไว้ จนกาลังใจถดถอยเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังฯ ก็จะขาดแม่ทพั หญิงไป จากการได้ รับสื่อต่างๆของผู้เขียน ทังสื ้ ่อที่เป็ นสื่อสารมวลชน สื่อ บุคคล ฯลฯ ทาให้ ผ้ เู ขียนตระหนักดีกว่า การรู้ จกั เลือกบริ โภคสื่อ การรู้ เท่า ทันสื่อเป็ นสิ่งสาคัญ และเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังฯ ก็ คงทาหน้ าที่ได้ เพียงเป็ นกลไกเพื่อผลักดันมาตรการต่างๆ อันจะเป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวม มิได้ ทาเรื่ องต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว เนื่องจากเครื อข่ายครอบครัว เฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สื่อ เกิดจากการร่ วมตัวของครอบครัวอาสา ดังที่ กล่า วมาข้ า งต้ น ดัง นัน้ เครื อ ข่ า ยฯ จึ ง กล้ า ที่ จ ะออกมาแสดงความคิ ด ความเห็นต่างๆ ในกรณีที่พบเห็นสือ่ ไม่เหมาะสม
ฌ | บทบรรณาธิการ
นอกจากบทบาทการเฝ้ าระวังสื่อแล้ ว เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวัง และสร้ างสรรค์สอื่ ยังทาหน้ าที่เป็ นกลไกเพื่อต้ องการผลักดันให้ เกิดรายการ ที่ส่งเสริ มทักษะและพัฒนาการสาหรั บเด็ก เยาวชน และครอบครั วมาก ยิ่งขึ ้น จึงได้ พยายามทาในสิ่งที่ไม่เคยมีกลุ่มครอบครั วใดทามาก่อน คือ การอาจหาญลุกขึ ้นมาจัดงานมอบรางวัลให้ กับรายการโทรทัศน์ในดวงใจ ครอบครัว (Family Awards) โดยเริ่ มครัง้ แรกเมื่อปี พ.ศ.2552 และกว่าจะ ถึ ง วั น จั ด งานมอบรางวั ล ผู้ เขี ย นและเหล่ า สมาชิ ก ครอบครั ว อาสา ต้ อ งท างานกัน อย่า งหนัก (ถึ ง หนัก มาก) เนื่อ งมาจากการทางานนี ม้ ี รายละเอียดและชิ ้นงานค่อนข้ างมาก แต่ก็เป็ นงานที่เมื่อถึงบทส่งท้ ายก็จบ ลงด้ วยความปิ ติยินดีทงผู ั ้ ้ ให้ และผู้รับ หนังสือเล่ม นีเ้ กิ ด ขึน้ เพราะผู้เขี ยนต้ อ งการให้ การมอบรางวัล รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครั ว (Family Awards) เป็ นปรากฏการณ์ ใหม่ของสังคมไทยและสังคมโลก เป็ นที่ร้ ู จกั และได้ รับการยอมรับจากภาค ส่วนต่างๆ ว่าการดาเนิ นงานของครอบครัวอาสามิ ได้ทางานกันแบบตามใจ ฉัน แต่คานึงถึงหลักการที ่นกั วิ ชาการให้การยอมรับ สิ่งสาคัญคือต้ องการ ให้ ผ้ ผู ลิตมีกาลังใจสาหรับการผลิตรายการที่ดีและเหมาะสม ยอมรับกับ กฎเกณฑ์ตา่ งๆ ที่สงั คมต้ องการและรักษากติการ่วมกัน ซึง่ การมอบรางวัล นี ้มาจากผู้ชมตัวจริ งจากกลุม่ เป้าหมายที่เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและ สร้ างสรรค์สอื่ พยายามให้ ครอบคลุมทุกจังหวัดของประเทศไทย และทาสุด ความสามารถให้ งานออกมาดีที่สดุ ในการนี ้ ขอขอบพระคุ ณ ศ.เกี ย รติ คุ ณ พญ.ชนิ ก า ตู้ จิ น ดา ที่กรุ ณาให้ เกียรติมาเป็ นประธานในพิธีมอบรางวัล ขอขอบพระคุณคณะที่ ปรึ กษาทุกท่านที่คอยให้ คาแนะนากับเครื อข่ายตลอดมา ขอขอบพระคุณ ผู้ท รงคุณ วุฒิ ขอขอบคุณ ภาคี เ ครื อ ข่า ย คณะท างานและสมาชิ ก ของ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ญ
เครื อ ข่ า ยครอบครั ว เฝ้ าระวัง และสร้ างสรรค์ สื่ อ ทุ ก ท่ า น สุด ท้ ายต้ อง ขอขอบคุณผู้สนับสนุนให้ เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สื่อได้ มีโอกาสท าสิ่ง ที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่อ สัง คม คื อ แผนงานสื่อ สร้ างสุข ภาวะ เยาวชน (สสย.) และสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) อัญญาอร พานิชพึง่ รัถ ประธานเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่
ฎ | บทบรรณาธิการ
คำนำผู้เขียน แล้ วรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวก็ได้ ดาเนินมาครบ 3 ปี ตลอดการเดินทางเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สื่อได้ พบเจอ สิ่งต่างๆมากมาย ทังที ้ ่ดีและทังที ้ ่ไม่ดี หรื อทังที ้ ่น่าจดจาและที่ไม่น่าจดจา ในระหว่างทางเราต้ องเรี ยนรู้ แนวคิดต่างๆ เกี่ ยวกับสื่อ โดยเฉพาะกับ แนวคิดการจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ +6-3 ที่เราได้ มี โอกาสเป็ นส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นให้ เกิดนโยบายดังกล่าว เราได้ ใช้ เวลา ร่ ว มเรี ย นรู้ กับ มัน มาเป็ นปี ๆ ตลอดจนเทคนิ ค และกระบวนการท างาน Family Awards จนปรากฏสูส่ าธารณะเฉกเช่นปั จจุบนั กว่ าจะเป็ น…รายการโทรทัศน์ ในดวงใจครอบครั ว เล่มนี ้ ผม ตังใจเขี ้ ยนขึ ้นในเบื ้องแรกเพื่อรวบรวมกระบวนการทางาน Family Awards ของเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สื่อให้ เป็ นระบบมากยิ่งขึ ้น และเผยแพร่ ใ ห้ แ ก่ ผ้ ูที่ ส นใจได้ ศึก ษาตลอดจนสาธารณะ มิ ใ ช่ เ ป็ นการ ทางานอยู่ภายในกลุ่มสังคมบางกลุ่ม กระนันก็ ้ ตาม ในระหว่างการเขียน ผมค้ นพบว่าหากไม่มีเรื่ องแนวคิดเข้ ามาเกี่ยวข้ องเลย มีแต่กระบวนการ ท างานและประสบการณ์ อ ย่า งเดี ย ว ผมคงไม่สามารถอธิ บ าย Family Awards ที่ทกุ ท่านเห็นอยูไ่ ด้ อย่างสมบูรณ์นกั ผมเชื่อว่าการกระทาทุกอย่าง ของมนุษย์ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะโดยมนุษย์ที่เป็ นปั จเจกเองหรื อ ผ่ า นกลไกทางสถาบั น ต่ า งๆ เอง ล้ วนแล้ วแต่ เ ป็ นไปบนฐานของ แนวความคิดทัง้ สิ ้น ดังนัน้ ผมจึงเริ่ มอุทิศเวลาเขียนแนวคิดที่เกี่ยวข้ องซึ่ง เป็ นรากฐานของการจัดทารางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวขึ ้นใน เวลาต่ อ มา หนัง สือ เล่ม นี จ้ ึ ง ออกมาเป็ น 2 ส่ว นหลัก คื อ ในส่ว นที่ เ ป็ น กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ฏ
‘แนวคิด’ และส่วนที่เป็ น ‘กระบวนการและประสบการณ์ ’ อันเป็ นที่มาของ ชื่อรองหนังสือเล่มนี ้ คือ แนวคิด กระบวนการ และประสบการณ์ ผมตังใจไว้ ้ ว่าผมจะเขียนบทเรี ยนและแนวคิดต่างๆให้ ออกมาใน รู ปแบบที่บุคคลทั่วไปสามารถเข้ าใจได้ แต่เนื่องด้ วยชั่ว ขณะที่ผมกาลัง เขียนหนังสือเล่มนี ้ ได้ เกิ ดปรากฏการณ์ ธรรมชาติที่ส่งผลกระทบต่อการ ทางานของผมรวมถึง ผู้อื่นที่ประสบด้ วยเช่นกัน ดังนัน้ หากมีสิ่งผิ ดพลาด ประการใดในหนังสือเล่มนี ้ ผมขอน้ อมรั บเพื่อนาไปปรั บปรุ งแก้ ไขต่อไป อย่างไรก็ตาม ผมและสมาชิกทุกคนในเครื อข่ายฯ ได้ พยายามอย่างสุดฝี มือ ในการถ่ายทอดแนวคิดและกระบวนการทางาน Family Awards อย่าง มากเท่าที่จะเป็ นได้ อยู่ในหนังสือเล่มนี ้แล้ ว ผมหวังว่าคงจะเป็ นประโยชน์ ต่อสาธารณะต่อไป เพราะผมเชื่อว่า ‘สือ่ ’ กับ ‘มนุษย์’ สะท้ อนซึง่ กันและกัน ขอขอบคุณ ธีรพัฒน์ อังศุชวาล ผู้เขียน
ฐ | คานาผู้เขียน
สารบัญ หน้า คานิยม โดย นพ.ยงยุทธ คานิยม โดย รศ.ดร.สายฤดี คานิยม โดย ผศ.ดร.ฐิตินัน คานิยม โดย คุณเข็มพร คานิยม โดย คุณวันชัย บทบรรณาธิการ คานาผูเ้ ขียน สารบัญ สารบัญแผนภาพ/ภาพ สารบัญตาราง สารบัญกล่อง
วงศ์ภริ มย์ศานติ์ วรกิจโภคาทร บุญภาพ คอมมอน วิรณ ุ ราพันธ์ บุญประชา
ก ค ง จ ช ฌ ฏ ฑ ณ ด ธ
เกริน่ นา
1
ส่วนที่ 1 สถานการณ์สอื่ โทรทัศน์ไทย
5
บทที่ 1 สถานการณ์รายการโทรทัศน์ที่นาเสนอ ในสังคมไทย
6
บทที่ 2 สถานการณ์การชมโทรทัศน์ของเด็ก เยาวชนและครอบครัว
15
บทที่ 3 สถานการณ์การรับรูข้ องเด็ก เยาวชน และครอบครัวและทัศนคติที่มีตอ่ เนือ้ หาที่นาเสนอในสือ่ มวลชน
20
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ฑ
สารบัญ (ต่อ) หน้า
ส่วนที่ 2 แนวคิด
30
บทที่ 4 สือ่ โทรทัศน์เป็นอย่างไร?
31
บทที่ 5 โทรทัศน์กับเด็ก เยาวชน ครอบครัวและสังคม
50
บทที่ 6 การรู้เท่าทันสือ่ (Media Literacy)
103
บทที่ 7 การจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ โทรทัศน์
127
ส่วนที่ 3 กระบวนการและประสบการณ์
223
บทที่ 8 รางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว (Family Awards) คืออะไร?
224
บทที่ 9 กระบวนการดาเนินงานรางวัลรายการ โทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว
227
บทที่ 10 รางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปี 3 (Family Awards 2011)
264
บรรณานุกรม
295
ภาคผนวก
313
ฒ | ส า ร บั ญ
สารบัญแผนภาพ/ภาพ หน้า แผนภาพที่ 2.1 แสดงอัตราการชมโทรทัศน์ของประชากร อายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามกลุ่มวัย พ.ศ.2532-2551 17 แผนภาพที่ 4.1 แสดงคุณสมบัติพนื้ ฐานของโทรทัศน์ ในฐานะของการสือ่ สารมวลชนแบบสือ่ กระจายภาพและเสียง 32 แผนภาพที่ 5.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างโลกทางกายภาพ และโลกแห่งสัญลักษณ์และสถาบันทางสังคม 60 แผนภาพที่ 6.1 แสดงแบบจาลองทักษะการรูเ้ ท่าทันสือ่ 106 แผนภาพที่ 6.2 แสดงองค์ความรูเ้ ท่าทันสือ่ ในประเทศไทย 117 แผนภาพที่ 9.1 แสดงกระบวนการดาเนินงานรางวัลรายการ โทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว 227 ภาพที่ 9.1 แสดงตัวอย่างแบบประเมินรายการโทรทัศน์ โดยใช้แนวคิด +6-3 229 ภาพที่ 9.2 แสดงตัวอย่างแบบสอบถาม (Family Poll) ปีท่ี 1 และ 2 253 ภาพที่ 10.1 แสดงตัวอย่างแบบสอบถาม (Family Poll) ปีท่ี 3 271
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ณ
สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1.1 แสดงสัดส่วนรายการโทรทัศน์แบ่งตามกลุ่มรายการ ตารางที่ 1.2 แสดงสัดส่วนรายการโทรทัศน์แบ่ง ตามรูปแบบรายการ ตารางที่ 1.3 แสดงสัดส่วนรายการโทรทัศน์เพือ่ เด็กและเยาวชนเรียงลาดับตามจานวนรายการ ตารางที่ 1.4 แสดงเปรียบเทียบสัดส่วนกลุ่มเนือ้ หารายการ สาหรับเด็กและเยาวชนระหว่างปี 2552 และ 2553 ตารางที่ 2.1 แสดงจานวนและอัตราการชมโทรทัศน์ของ ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามภาคเขตการปกครอง และเพศ พ.ศ. 2551 ตารางที่ 2.2 แสดงร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปที่รบั ชมโทรทัศน์ จาแนกตามประเภทรายการที่ชมมากทีส่ ุด และกลุ่มวัย ตารางที่ 2.3 แสดงจานวนและอัตราการชมโทรทัศน์ของ ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามกลุ่มวัย และช่วงเวลา ที่รับชมเป็นประจามากทีส่ ดุ ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละของการรับรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของความคิดเห็นเกีย่ วกับปริมาณ การนาเสนอเนือ้ หาในด้านเพศ ภาษา และความรุนแรงในสือ่ ต่างๆ ตารางที่ 4.1 แสดงการเปรียบบทบาทหน้าที่ทเี่ ป็น ตามประสงค์ (functions) และบทบาทที่ไม่เป็นไปตามประสงค์ (dysfunctions) ของสือ่ ตารางที่ 7.1 แสดงการจัดผังรายการตามช่วงเวลา ที่เหมาะสม (Watershed) ในประเทศต่างๆ ทีอ่ นุญาต ให้รายการทีม่ ีเนือ้ หาไม่เหมาะสมสาหรับเด็กออกอากาศ ตารางที่ 7.2 แสดงพฤติกรรมโต้ตอบทีม่ ีตอ่ เนือ้ หาที่ ไม่เหมาะสมในรายการโทรทัศน์ ตารางที่ 7.3 แสดงระบบจาแนกประเภทเนือ้ หารายการ โทรทัศน์ของ RTÉ ด | ส า ร บั ญ
7 10 12 13 16 18 19 21 25 43 134 142 146
สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 7.4 แสดงระบบจาแนกประเภทเนือ้ หารายการ โทรทัศน์ของ MPAA ตารางที่ 7.5 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการ โทรทัศน์ของ TV Parental Guidelines ตารางที่ 7.6 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการ โทรทัศน์ของ Australia ตารางที่ 7.7 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการ โทรทัศน์ของ Canada ตารางที่ 7.8 แสดงระบบจาแนกประเภทเนือ้ หารายการ โทรทัศน์ของ New Zealand ตารางที่ 7.9 แสดงระบบจาแนกประเภทเนือ้ หารายการ โทรทัศน์ของ France ตารางที่ 7.10 แสดงข้อเสนอของระบบจาแนกประเภท เนื้อหารายการโทรทัศน์ที่เป็นสากล ตารางที่ 7.11 แสดงการจัดระบบจาแนกประเภท เนื้อหารายการโทรทัศน์ในประเทศไทย ตารางที่ 7.12 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรม และความรุนแรงในรายการสาหรับเด็กปฐมวัย ตารางที่ 7.13 แสดงเนือ้ หาทีค่ วรจากัดด้านเพศในรายการ สาหรับเด็กปฐมวัย ตารางที่ 7.14 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการ สาหรับเด็กปฐมวัย ตารางที่ 7.15 แสดงเนือ้ หาทีค่ วรจากัดด้านพฤติกรรม และความรุนแรงในรายการสาหรับเด็ก ตารางที่ 7.16 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านเพศในรายการ สาหรับเด็ก ตารางที่ 7.17 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการ สาหรับเด็ก ตารางที่ 7.18 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรมและ ความรุนแรงในรายการที่เหมาะสาหรับผู้ชมทุกวัย
148 149 151 153 154 155 156 170 173 175 176 179 183 184 188
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ต
สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 7.19 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านเพศใน รายการที่เหมาะสาหรับผู้ชมทุกวัย ตารางที่ 7.20 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านภาษาใน รายการที่เหมาะสาหรับผู้ชมทุกวัย ตารางที่ 7.21 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรม และความรุนแรงในรายการทีเ่ หมาะกับผู้ชมที่มอี ายุ 13 ปี ขึ้นไปผู้ชมที่มอี ายุนอ้ ยกว่า 13 ปีควรได้รับคาแนะนา ตารางที่ 7.22 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านเพศในรายการ ที่เหมาะกับผู้ชมที่มอี ายุ 13 ปีขึ้นไปผู้ชมที่มอี ายุนอ้ ยกว่า 13 ปีควรได้รบั คาแนะนา ตารางที่ 7.23 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการ ที่เหมาะกับผู้ชมที่มอี ายุ 13 ปีขึ้นไปผู้ชมที่มอี ายุนอ้ ยกว่า 13 ปีควรได้รบั คาแนะนา ตารางที่ 7.24 แสดงเนือ้ หาทีค่ วรจากัดด้านพฤติกรรม และความรุนแรงในรายการทีเ่ หมาะกับผู้ชมที่มอี ายุ 18 ปีขึ้นไป ผู้ชมที่มอี ายุนอ้ ยกว่า 18 ปี ควรได้รับคาแนะนา ตารางที่ 7.25 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านเพศในรายการที่ เหมาะกับผู้ชมที่มอี ายุ 18 ปีขึ้นไป ผู้ชมที่มอี ายุนอ้ ยกว่า 18 ปี ควรได้รับคาแนะนา ตารางที่ 7.26 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการที่ เหมาะกับผู้ชมที่มอี ายุ 18 ปีขึ้นไป ผู้ชมที่มอี ายุนอ้ ยกว่า 18 ปี ควรได้รับคาแนะนา ตารางที่ 7.27 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรมและ ความรุนแรงในรายการเฉพาะ ไม่เหมาะสาหรับเด็กและเยาวชน ตารางที่ 7.28 แสดงเนือ้ หาทีค่ วรจากัดด้านเพศในรายการเฉพาะ ไม่เหมาะสาหรับเด็กและเยาวชน ตารางที่ 7.29 แสดงเนือ้ หาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการเฉพาะ ไม่เหมาะสาหรับเด็กและเยาวชน ตารางที่ 7.30 แสดงการเปรียบเทียบระดับความเหมาะสม ในเนือ้ หาที่ควรจากัด 3 ด้านตามสัญลักษณ์ตา่ งๆ ถ | ส า ร บั ญ
193 194 197 200 201 203 207 207 209 212 213 214
สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 9.1 แสดงการเปรียบเทียบระดับความเข้มข้น ของเนือ้ หาทีค่ วรส่งเสริม 6 ด้าน ตารางที่ 9.2 แสดงการเปรียบเทียบระดับความเข้มข้น ของเนือ้ หาทีค่ วรจากัด 3 ด้าน ตารางที่ 9.3 แสดงรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปีท่ี 1 (Family Awards 2009) ตารางที่ 9.4 แสดงรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปีท่ี 2 (Family Awards 2010) ตารางที่ 9.5 แสดงสรุปเปรียบเทียบกระบวนการจัดทา รางวัล Family Awards 2009 -2010 ตารางที่ 10.1 แสดงรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปีท่ี 3 (Family Awards 2011) ประเภทรางวัลมาตรฐาน ตารางที่ 10.2 แสดงรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปีท่ี 3 (Family Awards 2011) ประเภทรางวัลพิเศษ รางวัลรายการโทรทัศน์เกียรติยศในดวงใจครอบครัว (Hall of Fame) ตารางที่ 10.3 แสดงประเด็นคุณค่าทีอ่ ยากให้โทรทัศน์ มีบทบาทส่งเสริม 3 ประเด็น ตารางที่ 10.4 แสดงรายการโทรทัศน์ทสี่ ่งเสริมคุณค่า 3 ด้านในสังคมไทย
230 233 256 259 263 276
283 286 288
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | ท
สารบัญกล่อง หน้า กล่องที่ 1.1 ประเภทรายการโทรทัศน์ 6 กล่องที่ 4.1 บทบาทหน้าทีข่ องการสือ่ สารต่อปัจเจกชนและสังคม 41 กล่องที่ 4.2 พัฒนาการของสือ่ โทรทัศน์ในประเทศไทย 45 กล่องที่ 4.3 ประเภทของสือ่ โทรทัศน์ไทย 48 กล่องที่ 5.1 โทรทัศน์เปรียบเสมือนหลอดไฟซึ่งเปิดอยู่ตลอดเวลา 51 กล่องที่ 5.2 อิทธิพลของสือ่ โทรทัศน์กับการเปลีย่ นแปลง 54 กล่องที่ 5.3 สือ่ โทรทัศน์มอี ทิ ธิพลสูง? 56 กล่องที่ 5.4 เด็กจานวนกว่า 50% มีโทรทัศน์ไว้ในครอบครอง 58 กล่องที่ 5.5 บทบาทแม่แบบของสือ่ 64 กล่องที่ 5.6 ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อการรับรูส้ อื่ ของเด็กและเยาวชน 66 กล่องที่ 5.7 รายการโทรทัศน์สาหรับเด็ก 70 กล่องที่ 5.8 โทรทัศน์ในภาวะวิกฤติทางสังคม 72 กล่องที่ 5.9 การเสพติดโทรทัศน์ไม่ใช่เรื่องเล่นๆ 75 กล่องที่ 5.10 10 เทคนิคสร้างนิสยั ที่ดีในการดูโทรทัศน์ให้แก่เด็ก 80 กล่องที่ 5.11 อิทธิพลของความรุนแรงในโทรทัศน์ตอ่ การผ่อนคลายความก้าวร้าว 85 กล่องที่ 5.12 การเข้าถึงเนือ้ หาทางเพศของเด็กๆ 88 กล่องที่ 5.13 โทรทัศน์ เหล้า บุหรี่ กับภาพสะท้อนความเป็นชาย 91 กล่องที่ 5.14 ค่านิยม ‘ความงามของสตรี’ ในสื่อโทรทัศน์ไทย 97 กล่องที่ 5.15 มาตรการปัจจุบันในการป้องกันพิษภัยที่เกิดจากสื่อ 102 กล่องที่ 6.1 ความสาคัญของการรู้เท่าทันสือ่ 109 กล่องที่ 6.2 เด็กกับการรู้เท่าทันสือ่ 121 กล่องที่ 7.1 การสนับสนุนการจัดผังรายการตามช่วงเวลา ที่เหมาะสม (Watershed) 136 กล่องที่ 7.2 อดีตกับเรตติ้งเชิงปริมาณ (Quantity Rating) และการกลัน่ กรองเนือ้ หา (Censor) 160 กล่องที่ 7.3 กฎหมายทีเ่ กี่ยวกับการจัดเรตติ้งไทย 165 กล่องที่ 7.4 ข้อแนะนาเพิม่ เติมสาหรับผู้ผลิตรายการระดับ ‘ป’ และ ‘ด’ 177 กล่องที่ 7.5 ข้อควรระวังในการนาเสนอประเด็นในรายการระดับ ‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’ 185 ธ | ส า ร บั ญ
สารบัญกล่อง (ต่อ) หน้า กล่องที่ 7.6 การรับรูแ้ ละทัศนคติของประชาชนต่อ การจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ โทรทัศน์ กล่องที่ 9.1 Pre-Rate VS Post-Rate กล่องที่ 9.2 โพลล์กับความน่าเชือ่ ถือ กล่องที่ 10.1 ‘ฉ’ ไม่ใช่ ‘ไม่ด’ี กล่องที่ 10.2 บางเสียงสะท้อนของผู้ผลิตต่อรางวัลรายการ โทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวที่ผา่ นมา กล่องที่ 10.3 ความสาคัญของ Family Awards ต่อสถานีโทรทัศน์
221 249 252 269 289 294
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | น
บ | ส า ร บั ญ
เกริ่นนำ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 1
ในบริ บททางสั ง คมทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย สื่อเป็ นสถาบันหนึ่งในสังคมที่ได้ รับความเชื่อมัน่ ว่ามีอานาจพอสมควรในสังคม จะมากหรื อน้ อย แล้ วแต่มิติด้านเวลา (time) และสถานที่ (space) ที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดี ในยุคสมัยปั จจุบนั ซึง่ สือ่ เข้ าสู่ยุคสมัยแห่ง การแพร่ หลาย (popularized) โดยเฉพาะสือ่ โทรทัศน์ที่เป็ นสือ่ สารมวลชนกระแสหลัก เมื่อเทียบกับสื่อที่มี มาก่อนหน้ า เราต้ องยอมรับว่าสื่อโทรทัศน์นบั เป็ นสุดยอดของสื่อมวลชนที่ ทรงพลังมากที่สดุ สื่อหนึ่งในยุคสมัย ทังด้ ้ านภาพและเสียงที่สวยงามและ น่าตื่นเต้ น สะดวกต่อการเข้ าถึง ฯลฯ ทุกวันนี ้ในชีวิตประจาวันของผู้คน สื่อโทรทัศน์ได้ แทรกตัวเข้ ามา เป็ นส่วนหนึง่ ของชีวิตอย่างแทบจะขาดเสียไม่ได้ กล่าวได้ วา่ คนจานวนมาก ล้ วนเข้ านอนได้ เมื่อปิ ดโทรทัศน์ในยามค่าคืนแล้ วเท่านัน้ ในประเทศที่มีการ พัฒนาสังคมอย่างมากและได้ ก้าวเข้ าสู่สงั คมข่าวสารที่สื่อมวลชนเริ่ มมี บทบาทเป็ นหลายสิ่งหลายอย่างในสังคมที่แนบแน่นกับทุกเสี ้ยวส่วนของ ชีวิตและสังคม การขยายตัวของสือ่ อย่างกว้ างขวางจึงส่งผลให้ อิทธิพลของ สือ่ ขยายตามด้ วย กล่าวได้ ว่าโทรทัศน์ มีนยั ยะที่สาคัญอย่างยิ่งต่อมนุษย์ ปั จจุบนั ทุกครัวเรื อนจะมีโทรทัศน์ไว้ ในครอบครัวอย่างน้ อย 1 เครื่ อง และบริ โภคมัน ในฐานะงานอดิเรกชนิดหนึ่งเวลาว่าง กระนัน้ โทรทัศน์ ได้ ทาให้ คนส่วน ใหญ่ไม่มีโอกาสรับรู้ ความเป็ นจริ งจากสภาพชีวิตของตัวเอง แต่กลับรับรู้ ผ่านเรื่ องราวที่ปรากฏในสือ่ ต่างๆ จนบางครัง้ สื่อมวลชนมิได้ ทาหน้ าที่เป็ น ‘กระจกส่องสะท้อนความเป็ นจริ ง’ อย่างถูกต้ อง หรื อกล่าวให้ รุนแรงกว่านัน้ คือ สือ่ มิใช่ ‘กระจกส่องโลก’ หากแต่เป็ น ‘ตัวโลก’ เสียเอง 2 | เ ก ริ่ น นา
ไม่นานมานี ้ มีรายการโทรทัศน์ แบบเรี ยลลิตีโ้ ชว์รายการหนึ่ง ใน ประเทศอังกฤษ ซึ่งผลิตโดย BBC รายการนัน้ เป็ นการผลิตเรี ยลลิตี ้เชิ ง ทดลอง โดยให้ ค รอบครั ว อาสาสมัค รจ านวนสองครอบครั ว มาท าการ ทดลองในรายการเรี ยลลิตี ้นี ้ โดยทังสองครอบครั ้ วต้ องเป็ นครอบครัวที่ ติด รายการโทรทัศน์มากเป็ นชีวิตจิตใจ ใช้ โทรทัศน์เลี ้ยงลูกและขาดโทรทัศน์ ไม่ได้ การทดลองของเรี ยลลิตี ้นี ้ให้ ครอบครัวอาสาสมัครมามีชีวิตอยู่โดยไม่ ต้ องดูโทรทัศน์เลย คือ ยกโทรทัศน์ออกไปจากบ้ าน เป็ นเวลาทังสิ ้ ้น 3 เดือน เพื่อจะได้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนในครอบครั ว และใช้ ชีวิตร่ วมกัน อย่างมีความสุข รวมถึงทากิจกรรมอื่นๆที่ปราศจากการดูโทรทัศน์ รายการ ดังกล่าวได้ ติดตามดูชีวิตครอบครั ว นันๆว่ ้ าเขาจะมีความสุขมากขึน้ หรื อ น้ อยลง ผลปรากฏว่า 3 เดือนผ่านไป ชีวิตของสองครอบครัวอาสาสมัครที่ อยูโ่ ดยไม่มีโทรทัศน์ดเู ป็ นเวลา 3 เดือนนัน้ พบว่า ชีวิตครอบครัววุ่นวายขึ ้น มาก ที่วนุ่ วายมากขึ ้นเพราะว่าชีวิตของพ่อแม่ใช้ โทรทัศน์เลี ้ยงลูก คุณพ่อก็ ดูฟตุ บอลหรื อดูการ์ ตนู กับลูก คุณแม่ก็ทาอาหาร คาถามสาคัญคือ เวลาไม่ มี โทรทัศน์ ใครจะเป็ นคนเลีย้ งลูก? คุณแม่ทางานบ้ านไม่ได้ ทาอาหารไม่ได้ เพราะต้ องดูแลสามี ดูแลลูก โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง ต้ อ งคอยห้ า มลูก ตี กัน ทะเลาะกัน กลายเป็ นว่าโทรทัศน์เป็ นส่วนหนึ่งของชี วิตเราและเราอยู่โดย ปราศจากโทรทัศน์ ไม่ได้ เมื่อ 3 เดือนผ่านไป รายการเรี ยลลิตีน้ นถามว่ ั้ า คุณต้องการนาโทรทัศน์กลับมาไว้ในบ้านหรื อไม่ ? ปรากฏว่า ทุกคนต่างเห็น พ้องกันว่าต้องการโทรทัศน์ ดังนันแล้ ้ ว เมื่อ เราอยู่โดยปราศจากโทรทัศน์ ไม่ได้ คาถามสาคัญคือ แล้วเราจะอยู่ร่วมกับโทรทัศน์ อย่างไรจึ งจะอยู่ได้ อย่างมี ความสุข?
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 3
จากที่กล่าวมา เราจึง ไปถึงข้ อสรุ ปที่ ว่า ทุกวันนี เ้ ราไม่สามารถ หลีกเลี่ยงจากสื่อประเภทนี ้ได้ เราจึงจาเป็ นต้ องมีภมู ิค้ มุ กันเพื่อบริ โภคสื่อ เหล่านี ้ อย่างไรก็ตาม จะเป็ นการดี กว่าหรื อไม่ หากในขณะนี ้มีรายการ โทรทัศน์ดีๆให้ดูมากกว่ารายการทีไ่ ม่ดี? ด้ วยเหตุนีเ้ อง แนวความคิดใน การสนั บสนุ น ให้ เกิดรายการโทรทัศน์ ที่ดีและเหมาะสมตลอดจน ส่ งเสริ มพัฒนาสาหรั บเด็ก เยาวชนและครอบครั วจึงเกิดขึน้ และนี่ คื อ จุ ด ก าเนิ ด ของ รางวั ล รายการโทรทั ศ น์ ในดวงใจครอบครั ว (Family Awards)
4 | เ ก ริ่ น นา
ส่วนที่ 1
สถานการณ์ สื่อโทรทัศน์ไทย
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 5
บทที่ 1 สถานการณ์รายการโทรทัศน์ ที่นาเสนอในสังคมไทย รายการโทรทัศน์ในประเทศไทยนัน้ สามารถจาแนกได้ เป็ นหลาย ประเภท หลายรูปแบบ บ้ างนาเสนอเพื่อความบันเทิง บ้ างก็นาเสนอเพื่อให้ ความรู้ ในส่วนนี ้เราจะมาดูกันว่าในหน้ าจอโทรทัศน์ของสังคมไทยเรา มี รายการประเภทใดบ้ างและสถานการณ์ในการนาเสนอเป็ นอย่างไร? กล่องที่ 1.1
ประเภทรายการโทรทัศน์
เราสามารถจาแนกประเภทรายการโทรทัศน์ไทยได้เป็น 5 กลุม่ เนือ้ หารายการหลัก ได้แก่ 1.กลุม่ รายการข่าว คือ รายการที่มุ่งรายงานข่าวเหตุการณ์บา้ นเมือง ทัง้ ที่ เป็นข่าวการเมือง เศรษฐกิจ สังคม กีฬา และข่าวบันเทิง เช่น รายการข่าวภาคเช้า ข่าว ภาคค่า ข่าวต้นชัว่ โมง สนทนาข่าว เป็นต้น 2.กลุม่ รายการสาระ คือ รายการที่มุ่งนาเสนอเนือ้ หาสาระที่เป็นข้อมูล ความรูด้ ้านต่างๆ เป็นหลัก เช่น รายการสารคดี สนทนาธรรมะ รายการที่นาเสนอ ปัญหากิจการบ้านเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เป็นต้น 3.กลุ่มรายการสาระบันเทิง คือ รายการที่มุ่งนาเสนอเนือ้ หาสาระที่เป็น ข้อมูล ความรู้แต่สอดแทรกความบันเทิง หรือเน้นความเพลิดเพลินในการชม เช่น รูปแบบรายการปกิณกะ รายการสนทนา รายการเกมโชว์ รายการตอบปัญหา เป็นต้น 4.กลุม่ รายการบันเทิง คือ รายการที่มงุ่ นาเสนอเนือ้ หาเพือ่ ความบันเทิงเป็น หลัก เช่น รายการละคร ภาพยนตร์ การ์ตนู เพลง โชว์การแสดง เป็นต้น 5.กลุ่มรายการบริหารธุรกิจ คือ รายการที่ผลิตขึ้นอย่างมีจุดมุ่งหมายเพือ่ นาเสนอข้อมูลของสินค้าและบริการต่างๆ พร้อมข้อมูลเพือ่ ผู้ชมสามารถติดต่อขอ รายละเอียดหรือแสดงความจานงทีจ่ ะซือ้ สินค้าหรือบริการนั้นๆ 6 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
ล่าสุด มีการศึกษาของโครงการศึกษาเฝ้ าระวังสือ่ และพัฒนาการ รู้ เท่าทันสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม(Media Monitor) เรื่ อง ‘สารวจผังฟรี ทีวี (มีนาคม 2553)’ เพื่อสารวจผังรายการโทรทัศน์ฟรี ทีวี (ช่อง 3, 5, 7, 9, สทท. และThaiPBS) ในเดือนมีนาคม พ.ศ.2553 ด้ วยวิธีการสารวจ (Survey) ผังรายการโทรทัศน์ที่ประกาศจากช่องสถานีนนๆ ั ้ (TV Program Schedule) โดยตรวจสอบความถูกต้ องกับการวิเคราะห์เนื ้อหารายการ โทรทัศน์ (Content Analysis) เพื่อพิจารณาว่ารายการโทรทัศน์นนๆ ั ้ มี รู ปแบบรายการใด กลุ่มเป้าหมายผู้ชมเป็ นใคร มีกลุ่มประเภทเนื ้อหา อย่างไร จากผลการศึกษาพบดังตารางด้ านล่าง ตารางที่ 1.1 แสดงสัดส่วนรายการโทรทัศน์แบ่งตามกลุ่มรายการ
อันดับ 1 กลุ่มรายการ ข่าว กลุ่มรายการ สาระ กลุ่มรายการ สาระบันเทิง กลุ่มรายการ บันเทิง กลุ่มรายการ บริหารธุรกิจ
อันดับ 2
อันดับ 3
อันดับ 4
อันดับ 5
อันดับ 6
สทท. และ ช่อง 3 36.3%
MCOT 31.2%
ThaiPBS 27.2%
ช่อง 7 26.1%
ช่อง 5 19.5%
สทท. 49%
ThaiPBS 26.6%
ช่อง 5 13.6%
MCOT 9.4%
ช่อง 7 4.1%
ช่อง 3 1.9%
MCOT 21.6%
ThaiPBS 17.4%
ช่อง 5 17.1%
ช่อง 3 17%
สทท. 9.3%
ช่อง 7 4.2%
ช่อง 7 61.8%
ช่อง 3 44.8%
ช่อง 5 42.1%
MCOT 31.9%
ThaiPBS 9.9%
สทท. 5.4%
ช่อง 5 6.9%
MCOT 5.6%
ช่อง 7 3.8%
ช่อง 3 , สทท. และ ThaiPBS 0%
ที่มา ดัดแปลงจาก โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). 2553, น.2. โดยผู้เขียน กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 7
ในการนี ้ เมื่อนาผลที่ได้ มาเปรี ยบเทียบผลการสารวจกับของปี 2552 เราจะพบการเปลีย่ นแปลงของสัดส่วนรายการที่แตกต่างกันไป ได้ แก่ -ช่ อง 3 รายการข่าวค่อนข้ างคงตัว (ราว 3,600 นาที/สัปดาห์ หรื อราว 8 ชัว่ โมง 30 นาทีต่อวัน) ขณะที่กลุม่ รายการบันเทิงก็ เช่นเดียวกัน (ราว 4,600 นาที/สัปดาห์ หรื อราว 11 ชัว่ โมงต่อวัน) ที่เปลี่ยนแปลงไปเล็กน้ อยคือกลุ่มรายการสาระบันเทิงที่เพิ่มขึ ้น ประมาณเกือบ 300 นาที/สัปดาห์ (หรื อราว 43 นาทีตอ่ วัน) -ช่ อง 5 รายการข่าว ค่อนข้ างคงตัว (ออกอากาศ 1,970 นาที/ สัปดาห์ หรื อเฉลี่ย 4 ชัว่ โมง 40 นาทีต่อวัน) ขณะที่กลุม่ รายการ บันเทิง เพิ่มขึ ้นกว่าเดิมมากราว 710 นาที/สัปดาห์ (หรื อราว12 นาทีต่อวัน) กลุม่ สาระบันเทิงมีสดั ส่วนลดลงค่อนข้ างมาก ราว 450 นาที/สัปดาห์ (หรื อราว 8 นาทีต่อวัน) กลุม่ รายการบริ การ สินค้ าคงตัวที่ 700 นาที/ สัปดาห์ (หรื อราว 12 นาทีตอ่ วัน) -ช่ อง 7 รายการข่าวเพิ่มขึ ้นเล็กน้ อย 159 นาที รายการสาระ เพิ่มขึ ้น 145 นาที ที่เพิ่มขึ ้นมาก คือ รายการบันเทิง จากเดิม 5,531 นาที เพิ่มเป็ น 6,227 นาที/สัปดาห์ (ประมาณ 14 ชัว่ โมง 50 นาทีตอ่ วัน) -ช่ อง 9 รายการข่าวเพิ่มขึ ้นเล็กน้ อย กว่า 390 นาที (จากเดิม 2,750 นาที เป็ น 3,140 นาที/สัปดาห์) ขณะที่รายการสาระลดลง ค่อนข้ างมาก จาก 2,054 นาที เหลือ 950 นาที/สัปดาห์ (ลดลง มากถึง 1,104 นาที) ปั จจุบนั ราว 2 ชัว่ โมง 15 นาทีต่อวันที่ เพิ่มขึ ้นมาก คือรายการบันเทิง กว่า 786 นาที/สัปดาห์ (1 ชัว่ โมง 50 นาทีตอ่ วัน)
8 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
-ช่ อง สทท. รายการข่าวลดลงมาก 494 นาที (หรื อลดลงราว 1 ชัว่ โมง 12 นาทีต่อวัน) รายการสาระเพิ่มขึ ้นมาก 809 นาที (หรื อ เพิ่มขึ ้นราว 1 ชัว่ โมง 54 นาทีต่อวัน) รายการสาระบันเทิงและ รายการบันเทิงค่อนข้ างคงตัว จาก 1,044 นาที เหลือ 937 นาที และ 452 นาที เพิ่มเป็ น 540 นาที ตามลาดับ -ช่ อง ThaiPBS รายการข่าวลดลง (จากเดิม 3,239 นาทีเหลือ 2,745 นาที/สัปดาห์ ปั จจุบนั มีรายการข่าวราว 6 ชัว่ โมง 30 นาที ต่อวัน) และเพิ่มในส่วนของรายการสาระและสาระบันเทิง ที่ เพิ่มขึ ้นจาก 2,475 นาทีเป็ น 2,686 นาที/สัปดาห์ และจาก 1,396 นาที เป็ น 1,758 นาที ตามลาดับ ส่วนรายการบันเทิงสัดส่วน ค่อนข้ างคงตัว ประมาณ 1,000 นาที ดังนัน้ ในภาพรวมเราจะพบว่าช่องที่ มีการปรั บเปลี่ยนผังมาก ที่สดุ คือช่อง 9 ซึ่งเพิ่มเวลารายการประเภทบันเทิงกับรายการข่าว และลด เวลารายการประเภทสาระลงไปจากเดิมกว่าครึ่ง ซึง่ มีลกั ษณะใกล้ เคียงกับ ช่อง 7 ที่เพิ่มเวลาให้ กบั รายการประเภทบันเทิงและข่าวมากขึ ้นกว่าเดิม ต่างที่ช่อง 7 ลดเวลาของรายการประเภทบริ การธุรกิจลงจากเดิมประมาณ 3 เท่า ช่อง 5 จะเพิ่มเวลาให้ กับรายการบันเทิง ส่วนรายการประเภท สาระบันเทิงลดลง สาหรับช่อง ThaiPBS ลดเวลารายการข่าวลงและเพิ่ม เวลาให้ กับรายการประเภทสาระและสาระบันเทิงมากขึน้ ในขณะที่ช่อง สทท. ใกล้ เคียงกับช่อง ThaiPBS คือลดสัดส่วนรายการข่าวลงและเพิ่มใน ส่วนของรายการประเภทสาระ สาหรั บช่อง 3 สัดส่ว นผังรายการไม่ เปลีย่ นแปลงจากเดิม เมื่ อ จาแนกในลักษะของรู ปแบบรายการ ผลการศึก ษาพบว่า รายการโทรทัศน์ในสังคมไทย สามารถแบ่งได้ 15 ประเภท ดังนี ้ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 9
ตารางที่ 1.2 แสดงสัดส่วนรายการโทรทัศน์แบ่งตามรูปแบบรายการ
ประเภท รายการ ข่าว
ข้อค้นพบ
มากทีส่ ุดคือช่อง 3 (3,629 นาที/สัปดาห์ หรือราว 8 ชั่วโมง 38 นาทีตอ่ วัน) รองลงมาคือช่อง สทท. (3,605 นาที/สัปดาห์ หรือ ราว 8 ชั่วโมง 30 นาทีตอ่ วัน) และช่องThaiPBS (2,090 นาที/ สัปดาห์ หรือราว 5 ชั่วโมง/วัน) ขณะที่ชอ่ งทีม่ ีรายการข่าวน้อย ที่สุดคือ ช่อง 5 (เพียง 1,970 นาที/สัปดาห์ หรือราว 4 ชั่วโมง 40 นาทีตอ่ วัน) พบ 2 ช่อง คือ ช่องThaiPBS พบ 500นาที/สัปดาห์ มี 3 วิเคราะห์ขา่ ว รายการ คือ ชั่วโมงทากิน, ทันโลกและที่นTี่ haiPBS และช่อง 9 มี 1 รายการ คือ ชีพจรโลกวันนี้กับสุทธิชัย หยุ่น (วิเคราะห์ขา่ ว ต่างประเทศ) 50 นาที/สัปดาห์ มากทีส่ ุด คือ ช่อง 3 (3,035 นาที/สัปดาห์ หรือราว 7 ชั่วโมง 12 ละคร นาทีตอ่ วัน) รองลงมา คือ ช่อง 7 (2,661 นาที/สัปดาห์ หรือราว 6 ชั่วโมง 17 นาทีตอ่ วัน) และช่อง 9 (965 นาที/สัปดาห์ หรือราว 2 ชั่วโมง 17 นาทีตอ่ วัน) ช่อง 5 (840 นาที/สัปดาห์หรือ 2 ชั่วโมงต่อวัน) ช่อง ThaiPBS (426 นาที/สัปดาห์ หรือ 1 ชั่วโมง 5 นาทีตอ่ วัน) น้อยทีส่ ดุ คือช่อง สทท.(240 นาที/สัปดาห์หรือ ราววันละ 33 นาทีตอ่ วัน) มากทีส่ ุด คือ ช่อง 7 (1,195 นาที/สัปดาห์ หรือราว 2 ชั่วโมง 48 ภาพยนตร์ นาทีตอ่ วัน) มากทีส่ ุด คือ ช่องThaiPBS (425 นาที/สัปดาห์ หรือราว 1 การ์ตนู ชั่วโมงต่อวัน)รองลงมาคือช่อง 9 (381 นาที/สัปดาห์หรือราว 1 ชั่วโมงต่อวัน) มากทีส่ ุด คือ ช่อง 5 (5,020 นาที/สัปดาห์ หรือ 12 ชั่วโมงต่อ แม็กกาซีน วัน) เกมโชว์/ควิซโชว์ มากทีส่ ุด คือ ช่อง 3 (380 นาที/สัปดาห์ หรือราว 53 นาทีตอ่ วัน) มากทีส่ ุด คือ ช่อง 9 (316 นาที/สัปดาห์ หรือราว 45 นาทีตอ่ โชว์/ประกวด วัน) มากทีส่ ุด คือ ช่อง 5 (490 นาที/สัปดาห์ หรือราว 1 ชั่วโมง 10 วาไรตี้ นาทีตอ่ วัน) มากทีส่ ุด คือ ช่อง สทท. (1,040 นาที/สัปดาห์ หรือ 2 ชั่วโมง ทอล์คโชว์ 10 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
ถ่ายทอดสด เรียลลิตี้ สารคดี โฆษณาสินค้า และบริการ ธุรกิจ
30 นาทีตอ่ วัน)รองลงมาคือช่องThaiPBS (705 นาที/สัปดาห์หรือ 1 ชั่วโมง 42 นาทีตอ่ วัน) มากทีส่ ุด คือ ช่อง 7และสทท.(265 นาที/สัปดาห์ หรือราววันละ 35 นาทีตอ่ วัน) มากทีส่ ุดในช่อง 9 (385 นาที/สัปดาห์ หรือราววันละ 55 นาทีตอ่ วัน) มากทีส่ ุดในช่องThaiPBS (1,630 นาที/สัปดาห์ หรือวันละ 3 ชั่วโมง 54 นาทีตอ่ วัน) มากทีส่ ุดในช่อง 5 (700 นาที/สัปดาห์ หรือราว 1ชั่วโมง 40 นาที ต่อวัน)
ที่มา ดัดแปลงจาก โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). 2553, น.5. โดยผู้เขียน
การศึกษาชิ ้นนี ้ ยังค้ นพบกลุม่ สัดส่วนรายการอีกประเภทหนึ่งซึ่ง ถือว่ามีความสาคัญยิ่งในปั จจุบนั คือ กลุ่มรายการเพื่อเด็กและเยาวชน อันหมายถึงรายการที่มีเนือ้ หาและวัตถุประสงค์ เพื่อ ผู้ชมที่เป็ นเด็กและ เยาวชน โดยพิจารณาจากเนื ้อหาสาระ รู ปแบบรายการ (เช่นการ์ ตนู แม็ก กาซีน วาไรตี ้ เกมโชว์ โชว์) และมีการนาเสนอโดยใช้ เด็กและเยาวชนเป็ น พิธีกร ผู้ร่วมรายการ หรื อเป็ นเจ้ าของเนื ้อหารายการหรื อรายการที่ทาเพื่อ กลุม่ วัยรุ่น (เช่นเรื่ องดารา นักร้ อง ศิลปิ น) รายการประกวด ผลการศึกษาพบว่า เมื่อรวมทุกช่องมาแล้ ว รายการโทรทัศน์ที่มี เนื ้อหาเพื่อเด็กและเยาวชนมีจานวน 97 รายการ รวม 3,591 นาที/สัปดาห์ คิดเป็ น 7.63% ของรายการทัง้ หมด เมื่อนามาเรี ยงลาดับตามจานวน รายการแล้ ว พบดังตารางด้ านล่าง
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 11
ตารางที่ 1.3 แสดงสัดส่วนรายการโทรทัศน์เพื่อเด็กและเยาวชนเรียงลาดับตามจานวนรายการ
อันดับ 1 2 3 4 5 6
จานวน 26 รายการ (1,096 นาที/สัปดาห์, 10.87%)
ช่อง ThaiPBS
20 รายการ (864 นาที/สัปดาห์, 8.57%)
7
16 รายการ (1,120 นาที/สัปดาห์, 11.11%)
5
13 รายการ (500 นาที/สัปดาห์, 4.96%)
3
13 รายการ (465 นาที/สัปดาห์, 4.61%)
สทท.
9 รายการ (513 นาที/สัปดาห์, 5.09%)
MCOT
ที่มา ดัดแปลงจาก โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). 2553, น.13-14. โดยผู้เขียน
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณารายการเด็กข้ างต้ น จาก 97 รายการ พบว่าเนื ้อหารายการเด็กส่วนมากมีเนื ้อหามุ่งไปที่ ความบันเทิ งเป็ นหลัก มากกว่ากลุ่มเนือ้ หาสาระ โดยที่กลุ่มเนื ้อหาบันเทิงทุกช่องรวมกัน กว่า 2,852 นาที/สัปดาห์ คิดเป็ น 62.57% ของรายการเด็กทังหมด ้ รองลงมา คือ กลุม่ เนื ้อหา ‘สาระบันเทิง’ ทุกช่องรวมกันกว่า 1,436 นาที/สัปดาห์ หรื อ คิดเป็ น 31.51% ของรายการเด็กทังหมด ้ ขณะที่กลุม่ เนื ้อหาด้ านสาระ
12 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
จริ งๆ มีเพียง 270 นาที หรื อคิดเป็ น 5.92% เท่านัน้ แต่ก็ถือว่าเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนเล็กน้ อย ทังนี ้ ้ไม่ปรากฏกลุม่ เนื ้อหาข่าวเลยในปี 2553 ตารางที่ 1.4 แสดงเปรียบเทียบสัดส่วนกลุ่มเนื้อหารายการสาหรับเด็กและเยาวชน ระหว่างปี 2552 และ 2553
เม.ย. 52 กลุ่มเนือ้ หา เวลาออกอากาศ จริง (นาที) ข่าว 15 สาระ 185 สาระบันเทิง 1,989 บันเทิง 2,702 รวม 4,891
มี.ค.53 ร้อยละ เวลาออกอากาศ จริง (นาที) 0.31 3.78 270 40.67 1,436 55.24 2,852 100 4,558
ร้อยละ 0.00 5.92 31.51 62.57 100
ที่มา ดัดแปลงจาก โครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). 2553, น.13-14. โดยผู้เขียน
จากการสารวจผังรายการโทรทัศน์ฟรี ทีวีทงั ้ 6 ช่องดังกล่าว ในช่วงเดือนมีนาคม 2553 เราสามารถสรุ ปประเด็นที่ พบสาคัญๆ ซึ่ง สะท้ อนถึงสถานการณ์สดั ส่วนรายการโทรทัศน์ไทย ดังนี ้ 1) กลุม่ เนื ้อหารายการข่าว และกลุม่ เนื ้อหารายการบันเทิง ยังคง เป็ นกลุม่ เนื ้อหาหลักๆ ของช่อง 3,5,7,9 ในขณะที่ช่อง 11 และ ThaiPBS เน้ นกลุ่มเนือ้ หารายการข่าวและกลุ่มสาระเป็ นหลัก เมื่อเปรี ยบเทียบกับ การศึกษาปี 2552 สาหรับรายการข่าวโดยเฉลี่ยแล้ วพบว่ามีสดั ส่วนลดลง เกือบทุกช่อง ยกเว้ นช่อง 7 และช่อง 9 ที่เพิ่มขึ ้นเล็กน้ อย เมื่อเปรี ยบเทียบ กับโครงการสารวจผังปี 2549 (กุมภาพันธ์ ) และปี 2552 (กุมภาพันธ์ เมษายน) ยังแสดงให้ เห็นว่ากลุม่ เนื ้อหาสาระ, สาระบันเทิงเป็ นกลุม่ เนื ้อหา
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 13
รายการที่มีการเปลี่ยนแปลง (ในมิติสดั ส่วน) ได้ ง่ายกว่ารายการข่าวและ รายการบันเทิง 2) ผังรายการสะท้ อนให้ เห็นจุดยืน นโยบาย และเป้าหมายของ องค์กรได้ ชดั เจน กล่าวคือ 2.1) สถานีโทรทัศน์เชิงพาณิชย์ ได้ แก่ช่อง 3 และช่อง 7 ซึ่งสะท้ อนผ่านผังรายการว่าเน้ นไปที่กลุม่ เนื ้อหาบันเทิงค่อนข้ าง สูง (สาหรับช่อง 3 เน้ นรายการข่าวและรายการบันเทิง ส่วนช่อง 7 เน้ นรายการละครเกมโชว์ วาไรตี ้โชว์) 2.2) สถานีโทรทัศน์เพื่อบริ การสาธารณะ ได้ แก่ช่อง 9 เน้ นรายการสาระและสาระบันเทิงส่วนช่องสทท.เน้ นรายการข่าว และรายการประเภทสาระ สาหรับช่อง ThaiPBS เน้ นรายการ ข่าว-สาระและเพิ่มในส่วนของสาระบันเทิง อย่างไรก็ตาม สาหรับช่อง 5 ซึง่ โดยลักษณะองค์กรและเป้าหมาย พันธกิจของสถานีแล้ วควรเป็ นสถานีโทรทัศน์เพื่อบริ การสาธารณะ แต่จาก การเปรี ยบเทียบผังรายการ พบว่าค่อนข้ างมีลกั ษณะคล้ ายคลึง’ กับการจัด วางผังของช่อง 3 และช่อง 7 ซึง่ มีเป้าหมายทางธุรกิจมากกว่า
14 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
บทที่ 2 สถานการณ์การชมโทรทัศน์ของเด็ก เยาวชนและครอบครัว ผลการสารวจการใช้ สื่อโทรทัศน์ของประชากรไทยในช่วง 20 ปี (2532-2551) พบว่าคนไทยมีแนวโน้ มการใช้ สื่อโทรทัศน์สงู ขึ ้น โดยเฉพาะ ในช่ วงต้ น ที่สูงขึน้ อย่า งรวดเร็ ว ล่าสุดในปี พ.ศ.2551 สานักงานสถิ ติ แห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้ จดั ทาโครงการ สารวจการรับชมโทรทัศน์ของบุคคลผู้อาศัยอยู่ในครัวเรื อนส่วนบุคคลทัว่ ประเทศ ซึง่ โครงการนี ้ เป็ นการสารวจประจาทุก 5 ปี ในการสารวจครัง้ นี ้ มี จานวนครั วเรื อนตัวอย่างทัง้ สิ ้น 79,560 ครั วเรื อน โดยพนักงานของ สานักงานสถิติแห่งชาติดาเนินการสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรื อนตัวอย่างที่ มีอายุตงแต่ ั ้ 6 ปี ขึ ้นไป โดยใช้ แผนการสุม่ ตัวอย่างแบบ Stratified Two Stage Sampling กล่าวคือ มีกลุม่ ตัวอย่างลาดับแรก คือระดับจังหวัดทัง้ 76 จังหวัด และในแต่ละจังหวัดแบ่งเป็ น 2 กลุ่มย่อยตามลักษณะการ ปกครอง คือในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล ผลการสารวจพบว่า จากผู้ชมโทรทัศน์จานวน 57.0 ล้ านคนหรื อ คิดเป็ นร้ อยละ 94.6 พบว่าผู้ที่อาศัยในเขตเทศบาลจะมีอัตราการชม โทรทัศน์สงู กว่าผู้ที่อาศัยนอกเขตเทศบาล คือ ร้ อยละ 95.7 และร้ อยละ 94.2 ตามลาดับ และทุกภาคมีการรับชมโทรทัศน์ มากกว่าร้ อยละ 93.0 ขึ ้น กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 15
ไป โดยภาคกลางมีอตั ราการชมโทรทัศน์สงู สุด คือ ร้ อยละ 95.6 รองลงมา คือ กรุงเทพมหานคร ร้ อยละ 95.4 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้ อยละ 94.4 ส่วนภาคเหนือกับภาคใต้ มีอตั ราการชมโทรทัศน์ที่ใกล้ เคียงกัน คือ ร้ อยละ 93.6 ตารางที่ 2.1 แสดงจานวนและอัตราการชมโทรทัศน์ของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามภาค เขตการปกครองและเพศ พ.ศ. 2551
ร้อยละการชมโทรทัศน์ ภาค ทั่ว ราชอาณาจักร กรุงเทพฯ กลาง เหนือ ตะวันออกเฉียง เหนือ ใต้
จานวน ประชากรอายุ 6 ปีขนึ้ ไป
รวม
60,218,302
94.6
6,433,531 14,904,870 10,780,601 20,016,627
95.4 95.6 93.6 94.4
95.4 96.1 95.6 95.8
95.9 93.1 94.2
94.4 95.6 93.3 94.6
96.3 96.0 93.9 94.2
8,082,673
93.6
95.5
93.0
93.7
93.4
เขตการปกครอง เพศ ในเขต นอกเขต ชาย หญิง เทศบาล เทศบาล 95.7 94.2 94.5 94.7
ที่มา ดัดแปลงจากสานักงานสถิติแห่งชาติ (2551). โดยผู้เขียน
ที่สาคัญ การสารวจค้ นพบว่า กลุ่มวัยเด็ก (6-14 ปี ) ยังเป็ นกลุ่ม วัยที่มีอตั ราการชมสูงสุด คือ ร้ อยละ 97.0 และกลุม่ วัยสูงอายุจะมีอตั รา การชมที่ต่าสุดเช่นเดิม คือ พบร้ อยละ 84.6
16 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
แผนภาพที่ 2.1 แสดงอัตราการชมโทรทัศน์ของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามกลุ่มวัย พ.ศ.2532-2551
ที่มา สานักงานสถิติแห่งชาติ (2551).
ประเภทรายการที่รับชมเป็นประจา ประเภทรายการโทรทัศน์ที่ประชาชนรับชมมากที่สดุ คือ รายการ ประเภทบันเทิง ซึ่งคิดเป็ นร้ อยละ 57.7 รองลงมา คือ ข่าว ร้ อยละ 40.0 สารคดีหรื อความรู้ ทวั่ ไป ร้ อยละ 2.0 ส่วนรายการความคิดเห็น/วิเคราะห์ รายการเพื่อการศึกษา และธุรกิจ/โฆษณา พบร้ อยละ 0.3 สาหรับประเภทรายการที่ชม พบว่า มีความผันแปรตามกลุม่ วัย คือ การชมรายการข่าวจะพบมากที่สดุ ในกลุม่ วัยสูงอายุ คือ ร้ อยละ 67.3 แล้ วลดลงตามกลุ่มอายุที่น้อยลง ส่วนการชมรายการบันเทิง จะพบมาก ที่สดุ ในกลุม่ วัยเด็ก คือ ร้ อยละ 95.2 แล้ วจะลดลงตามกลุม่ อายุที่เพิ่มขึ ้น
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 17
ตารางที่ 2.2 แสดงร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปที่รับชมโทรทัศน์ จาแนกตามประเภทรายการที่ชมมากที่สุด และกลุ่มวัย
ประเภทรายการที่ชมมากทีส่ ุด ข่าว กลุ่มวัย รวม วัยเด็ก (6-14 ปี) วัยเยาวชน (15-24 ปี) วัยแรงงาน (25-59 ปี) วัยสูงอายุ (60 ปีขนึ้ ไป)
40.0 3.2 16.6 51.9 67.3
สารคดี/ ความ บันเทิง ความรู้ คิดเห็น/ ทั่วไป วิเคราะห์ 2.0 0.2 57.7 1.4 0.1 95.2 2.1 0.2 81.0 2.2 0.2 45.5 1.7 0.2 30.7
อื่นๆ
0.1 0.1 0.2 0.1 -
ที่มา ดัดแปลงจาก สานักงานสถิติแห่งชาติ (2551). โดยผู้เขียน
ช่วงวันและเวลาที่ชมโทรทัศน์เป็นประจา จากจานวนผู้ที่รับชมโทรทัศน์ประมาณ 57.0 ล้ านคน พบว่าเกือบ ทังหมดชมโทรทั ้ ศน์ในวันจันทร์ -วันศุกร์ และวันเสาร์ -วันอาทิตย์ สาหรับ ช่วงเวลาที่มีการรับชมมากที่สดุ คือ เวลา 16.01–20.00 น. ทุกกลุม่ วัย ยกเว้ นในกลุ่มวัยเด็กที่พบว่าในวันเสาร์ -วันอาทิตย์ จะรั บชมโทรทัศน์ ใน ช่วงเวลา 04.01-10.00 น. เป็ นประจามากที่สดุ
18 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
ตารางที่ 2.3 แสดงจานวนและอัตราการชมโทรทัศน์ของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามกลุ่มวัย และช่วงเวลาที่รับชมเป็นประจามากที่สุด
จานวน ประชากรที่ ชมโทรทัศน์
จันทร์ – ศุกร์ ช่วงเวลาที่ชม ชม เป็นประจามาก ที่สุด
เสาร์ – อาทิตย์ ช่วงเวลาที่ชม ชม เป็นประจามาก ที่สุด
รวม
56,989,281
99.9
99.9
วัยเด็ก
8,542,430
99.5
16.01-20.00 น. (80.0) 16.01-20.00 น. (89.0)
วัยเยาวชน (15-24 ปี)
10,112,297
99.9
99.9
วัยแรงงาน (25-59 ปี)
32,253,964
100. 0
วัยสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป)
6,080,690
100. 0
16.01-20.00 น. (77.6) 16.01-20.00 น. (78.2) 16.01-20.00 น. (80.7)
กลุ่มวัย
(6-14 ปี)
99.9
99.9 99.9
16.01-20.00 น. (68.8) 16.01-20.00 น. (54.0) 16.01-20.00 น. (62.4) 16.01-20.00 น. (73.9) 16.01-20.00 น. (79.2)
ที่มา ดัดแปลงจาก สานักงานสถิติแห่งชาติ (2551). โดยผู้เขียน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 19
บทที่ 3 สถานการณ์การรับรู้ของเด็ก เยาวชน และครอบครัวและทัศนคติที่มีต่อเนื้อหา ที่นาเสนอในสื่อมวลชน ในปี พ.ศ.2554 กลุม่ เฝ้ าระวังทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ได้ ดาเนิ นการสารวจความคิ ดเห็นในเรื ่ องของการรับรู้ และทัศนคติ ที่มีต่ อ เนือ้ หาที ่นาเสนอในสือ่ มวลชน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อสารวจทัศนคติของ ประชาชนที่มีต่อสื่อต่างๆ ในด้ านเพศ ภาษา และความรุ นแรง ตลอดจน การรั บ รู้ ความเข้ า ใจ และทัศ นคติ ข องประชาชนต่อ การจัด ระดับ ความเหมาะสมของสื่อ โดยศึกษากลุ่มประชากรที่มีอายุ 13 ปี ขึ ้นไป ประกอบด้ ว ย นัก เรี ย นระดับ ชัน้ มัธ ยมศึก ษา นิ สิต นัก ศึก ษาระดับ อุดมศึกษา พ่อแม่ผ้ ูปกครองของนักเรี ยนระดับชัน้ มัธยมศึกษา และ ประชาชนทัว่ ไปจากทุกภูมิภาค โดยใช้ แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือในการ สารวจ จานวน37,500 ชุด ปรากฏผลดังนี ้
20 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
1) การรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดระดับ ความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ การศึกษาพบว่า คนมากกว่าร้ อยละ 50 เคยพบเห็นสัญลักษณ์ การจัด ระดับ ความเหมาะสมของรายการโทรทัศ น์ บ นหน้ า จอที วี โดย จาแนกสัดส่วนของการพบเห็นสัญลักษณ์ ดังนี ้ ตารางที่ 3.1 แสดงร้อยละของการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดระดับความเหมาะสม ของรายการโทรทัศน์
สัญลักษณ์
เคยพบเห็น
ระบุความหมายได้ถูกต้อง
66.3 %
53.6 %
84.8 %
63.7 %
97.8 %
90.3 %
96.4 %
87.3 %
93.9 %
87.4 %
56.9 %
56.5 %
ที่มา ดัดแปลงจาก กลุ่มเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม. 2554, น.4. โดยผู้เขียน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 21
สัง เกตได้ ว่าสัญ ลัก ษณ์ ที่ ก ลุ่ม ตัวอย่างพบเห็ นมากที่ สุด คื อ สัญลักษณ์ รายการที่เหมาะกับผู้ชมทุกวัย เนื่องจากว่ารายการดังกล่าว สามารถดูได้ ทงครอบครั ั้ ว โดยเนื ้อหาของรายการไม่ได้ มีจุดประสงค์เพื่อ เด็กและเยาวชนโดยเฉพาะ เช่น รายการเกมโชว์ สารคดี รายการปกิณกะ (Variety Show) รายการสนทนา (Talk Show) รายการเพลง รายการ เกี่ยวกับศาสนา การแสดง การประกวดต่างๆ รวมทังละคร ้ ที่มีภาพเสียง และเนื ้อหาที่ไม่เหมาะสมในเรื่ องเพศ ภาษา พฤติกรรม และความรุ นแรง ได้ เพียงเล็กน้ อย ระดับ 1 (มี พฤติ กรรมที ่ไม่เหมาะสมในเรื ่องเพศ ภาษา ในระดับเล็กน้อย ไม่ ขดั ต่อศี ลธรรมอันดี ของสังคม มี ความรุนแรง และ ความถี ่ของภาพในระดับเล็กน้อยหรื อต่อเนื ่องไม่ ยาวนาน) หรื อรายการ ดังกล่าวมีเนื ้อหาที่สง่ เสริ มสนับสนุนการสร้ างและพัฒนาสติปัญญา จิตใจ พฤติกรรมทางสังคมของเด็ก ในด้ านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ น การคิดวิเคราะห์ อย่างเป็ นระบบ การสร้ างความรู้ ที่สามารถนาไปใช้ ในชีวิตประจาวัน การ ตระหนักในเรื่ องคุณธรรมจริ ยธรรม ข้ อเท็จจริ งและความแตกต่างทางสังคม จัดการปั ญหาโดยสันติวิธี มีการพัฒนาตนเองในการออกกาลังกาย การ รู้จกั สิทธิและหน้ าที่ของตนและบุคคลรอบข้ าง รวมถึงการสร้ างแรงบันดาล ใจให้ เกิดความรักของคนในครอบครัวและชุมชน สัญลักษณ์ที่กลุม่ ตัวอย่างเคยพบเห็นรองลงมา คือ สัญลักษณ์ รายการที่เหมาะกับผู้ชมที่มีอายุ 13 ปี ขึน้ ไป ผู้ชมที่มีอายุน้อยกว่ า 13 ปี ควรได้ รับคาแนะนา ซึ่งรายการ ‘น13+’ นี ้ อาจมีภาพ เสียงและ เนื ้อหาที่ไม่เหมาะสม ในเรื่ องเพศ ภาษา ได้ เพียงเล็กน้ อย (ระดับ1) ส่วน พฤติกรรมและความรุ นแรงได้ บ้าง ระดับ 2 (มี พฤติ กรรมไม่ เหมาะสม ในทางเพศ ภาษา ระดับปานกลาง ไม่ขดั ต่อศี ลธรรมอันดี มี ความรุนแรง และความถี ่ของภาพในระดับน้อย) หรื อเป็ นรายการที่มีเนื ้อหาที่ส่งเสริ ม กระบวนการเรี ยนรู้ ในด้ านใดด้ านหนึ่ง อาทิ การส่งเสริ มให้ เกิดแนวคิดเชิง 22 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
สร้ างสรรค์ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจาวันได้ อย่างเหมาะสม การเรี ยนรู้ ด้านคุณธรรม รู้ จกั สภาพความแตกต่างในสังคมมิติต่าง ๆ และ การรู้ จักสิทธิ และหน้ าที่ของตน รวมไปถึงการสร้ างแรงจูงใจในการอยู่ ร่วมกับคนในครอบครัวบนพื ้นฐานความรักและความเข้ าใจ ส่วนสัญลักษณ์ที่กลุม่ ตัวอย่างพบเห็นน้ อยที่สดุ คือ สัญลักษณ์ รายการสาหรั บผู้ใหญ่ โดยเฉพาะ ไม่ เหมาะสาหรั บเด็กและเยาวชน เนื่องจากเป็ นรายการที่มีเนื ้อหา ภาพ และเสียงที่ไม่เหมาะสมในเรื่ องเพศ ภาษา พฤติกรรมและความรุ นแรงระดับ 3 (มี พฤติ กรรมที ่ไม่เหมาะสม ในทางเพศ ภาษา ในระดับมาก มี เนื ้อหาขัดต่ อศี ลธรรมและขัดต่ อ กฎหมายอย่างชัดเจน ความรุนแรงอยู่ในระดับมาก และมี ความถี ่ของภาพ ที ่ต่อเนือ่ งและยาวนาน) ที่ต้องใช้ วิจารณญาณในการรับชม และไม่ขดั ต่อ กฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง อาจทาให้ เด็กและเยาวชนเลียนแบบ ได้ ฉะนันรายการประเภทนี ้ ้ไม่สามารถออกอากาศได้ ก่อน 22.00 น. เพื่อให้ ระหว่าง 16.00-20.00 น. หรื อ 4 ชัว่ โมง เป็ นช่วงเวลาสะอาดสาหรับเด็ก แต่อย่างไรก็ตามรายการ ‘ฉ’ นี ้ ก็มีการนาเสนอเนื ้อหาที่ช่วยในการพัฒนา สติปัญญา จิตใจ และพฤติกรรมทางสังคมกับผู้ชมในด้ านการคิดแบบ เชื่อมโยงและบูรณาการ สามารถนาไปประยุกต์ ใช้ ในชีวิตประจาวันได้ เรี ยนรู้ ด้านคุณธรรมและจริ ยธรรม รู้ จกั สภาพสังคม การดาเนินชีวิต แสดง ให้ เห็นผลเสียของประเด็นต่าง ๆ โดยไม่ได้ ชี ้ให้ ปฏิบตั ิตาม รู้ จกั สภาพความ แตกต่างของสังคมในมิติต่าง ๆ การที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสขุ รวมถึง ความรับผิดชอบในฐานะเป็ นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 23
2) ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ปริ ม าณการน าเสนอ เนื้อหาในด้านเพศ ภาษา และความรุนแรงใน สื่อต่างๆ ปั จจุบนั สือ่ ต่างๆ ได้ นากลยุทธ์ในการชักชวนผู้ชมให้ สนใจบริ โภค สื่อของตนมากขึ ้น สังเกตได้ จากเนื ้อหาที่นาเสนอจะเน้ นความเข้ มข้ นใน เนื ้อหาในด้ านเพศ ภาษาและความรุ นแรง เพราะจะทาให้ ผ้ ชู มสนใจและ ขายได้ แต่เมื่อมองอีกด้ านหนึง่ ก็พบว่า สือ่ มีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของ คนเราเช่นกัน นัน่ คือ สังคมได้ เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสังคมยุคเก่าไปสู่ สังคมยุคใหม่ที่ทนั สมัย สือ่ มวลชนมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุม่ เด็กและ เยาวชน ซึ่งมักคลัง่ ไคล้ ในพฤติกรรมของดารานักแสดงและนักร้ อง โดย พยายามเลียนแบบหรื อปฏิบตั ิตาม จะเห็นได้ ว่าเด็กและเยาวชนสามารถ เรี ยนรู้ สิ่งต่างๆ ที่สื่อนันน ้ าเสนอและแสดงออกมาเป็ นพฤติกรรม หากสิ่งที่ ได้ นาเสนอนันเป็ ้ นสิ่งที่ดีงาม ก็จะส่งผลให้ เด็กและเยาวชนซึมซับความดี งามนันและเป็ ้ นคนดีของสังคมได้ แต่ในทางกลับกัน หากสื่อได้ นาเสนอ หรื อปลูกฝั งแนวคิดในด้ านลบที่เน้ นแต่เรื่ องเพศ ภาษาที่ผิดเพี ้ยน และ ความก้ าวร้ าวรุนแรง ก็จะทาให้ เด็กและเยาวชน นาไปปฏิบตั ิเป็ นแบบอย่าง ที่ไม่ดีได้ การนาเสนอเนื ้อหาในด้ านเพศ ภาษา ความรุ นแรงของสื่อต่าง ๆ ทางโทรทัศน์ในปั จจุบนั ยังพบเห็นอยู่บ้าง การศึกษาชิ ้นนี ้จึงทาการสารวจ ในเรื่ องการนาเสนอเนื ้อหาในด้ านเพศ ภาษาและความรุ นแรง โดยจาแนก ประเภทสือ่ ออกเป็ น 10 ประเภท ได้ แก่ รายการโทรทัศน์ที่ไม่ใช่ละคร ละคร โทรทัศน์ เพลงที่เปิ ดในรายการวิทยุ มิวสิควิดีโอ ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์
24 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
นิตยสาร หนังสือการ์ ตนู เว็บไซต์ และเกมคอมพิวเตอร์ ผลการศึกษา พบว่า ตารางที่ 3.2 แสดงร้อยละของความคิดเห็นเกี่ยวกับปริมาณการนาเสนอเนื้อหา ในด้านเพศ ภาษา และความรุนแรงในสือ่ ต่างๆ
กลุ่มตัวอย่าง เห็นว่า…. (น้อย/ปานกลาง/มาก) ประเภท
รายการโทรทัศน์ที่ ไม่ใช่ละคร ละครโทรทัศน์ เพลงที่เปิดใน รายการวิทยุ มิวสิควิดีโอ ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หนังสือการ์ตูน เว็บไซต์ เกมคอมพิวเตอร์
ปริมาณการ นาเสนอด้าน เพศ
ความเหมาะสม ทางภาษา
ปริมาณการ นาเสนอความ รุนแรง
ปานกลาง
มาก
ปานกลาง
ปานกลาง ปานกลาง
ปานกลาง ปานกลาง
มาก ปานกลาง
ปานกลาง มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก ปานกลาง
ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
ปานกลาง มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก มาก
ที่มา ดัดแปลงจาก กลุ่มเฝ้าระวังทางวัฒนธรรม. 2554, น.6. โดยผู้เขียน
จากผลการศึกษาจะเห็นได้ ว่า เรื่ องความเหมาะสมของการใช้ ภาษาในสือ่ ต่าง ๆ จากการสารวจกลุม่ ตัวอย่างพบว่า ส่วนใหญ่มีความเห็น ว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากและระดับปานกลาง ส่วนในด้ านเพศ และความรุ นแรง พบว่า สื่อที่มีการนาเสนอด้ านเพศปริ มาณมาก คือ สื่อ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 25
ภาพยนตร์ และเว็บไซต์ ส่วนการนาเสนอเนื ้อหาด้ านความรุ นแรง กลุ่ม ตัวอย่างมีความเห็นว่า ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เว็บไซต์ และเกม คอมพิวเตอร์ มีปริ มาณความรุ นแรงที่นาเสนออยู่ในระดับมากเช่นกัน สรุ ป ได้ วา่ สือ่ ภาพยนตร์ และเว็บไซต์ มีการนาเสนอทังด้ ้ านเพศและความรุนแรง ในระดับมาก จากผลการศึกษา ทาให้ ทราบว่ากลุม่ ตัวอย่างมีความเห็นถึงสื่อ ปั จจุบนั ว่ายังมีการนาเสนอที่เน้ นไปในด้ านเพศและความรุนแรงอยูม่ าก ซึ่ง การนาเสนอในส่วนของเรื่ องเพศนันอาจน ้ าเสนอได้ ใน 2 ลักษณะ คือ สื่อที่ ให้ ความรู้ความเข้ าใจในเรื่ องเพศที่ถกู ต้ อง ได้ แก่ การมีเพศสัมพันธ์ ที่ถกู วิธี การป้องกันตนเองจากการตังครรภ์ ้ เป็ นต้ น ส่วนสือ่ เรื่ องเพศที่ไม่สร้ างสรรค์ แบ่งออกได้ เป็ น 2 ระดับ คือ ระดับของสื่อทางเพศที่ห้ามมีการเผยแพร่ ใน สังคมไทยอย่างเด็ดขาด ส่วนระดับที่สอง เป็ นสื่อทางเพศที่ต้องห้ าม เนื่องมาจากศีลธรรมอันดีงามของสังคมไทย ในส่วนของการนาเสนอด้ าน ความรุ นแรงต่อเด็กและเยาวชนนัน้ ถือเป็ นข้ อห้ ามอย่างยิ่ง แต่อย่างไรก็ ตามในปั จจุบนั การนาเสนอความรุ นแรงในสื่อกลับทวีความรุ นแรงและมี มากขึ ้นเรื่ อยๆ ดังเราจะเห็นเป็ นข่าวที่ปรากฏอยู่ตามหน้ าหนังสือพิมพ์ รายวันทัว่ ไป เช่น เด็กนักเรี ยนอาชีวะยกพวกตีกนั เด็กวัยรุ่ นใช้ ปืนยิงคู่อริ และยิงตัวตาย กลุม่ เด็กวัยรุ่นรุมโทรมเด็กผู้หญิง ฯลฯ ทังยั ้ งมีการใช้ อาวุธที่ รุนแรงและอันตราย เช่น มีด ปื น วัตถุระเบิด ฯลฯ
3) คว า มคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ สื่ อ ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ สร้างสรรค์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในการสารวจความคิดเห็นเรื่ องความสาคัญของสือ่ ปลอดภัยและ สร้ างสรรค์ได้ มีการกาหนดประเด็นของลักษณะสือ่ ปลอดภัยและสร้ างสรรค์ 26 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
ใน 9 ประเด็นด้ วยกัน ได้ แก่ สือ่ ที่มีการอบรมสัง่ สอนหรื อแนะนาให้ ทาดีและ เป็ นคนดีของสังคม สือ่ ที่สง่ เสริ มความรัก ความเข้ าใจ ของคนในครอบครัว สือ่ ที่สง่ เสริ มให้ เกิดความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์และจินตนาการ สื่อที่สง่ เสริ ม ให้ เกิดการคิดอย่างเป็ นระบบ คิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล สื่อที่มีเนื ้อหา ส่งเสริ มให้ ร้ ูจกั และเรี ยนรู้เกี่ยวกับทักษะการใช้ ชีวิตในสังคมที่เหมาะสมกับ กาลเทศะ สื่อที่มีเนื ้อหาส่งเสริ มให้ เกิดการเรี ยนรู้ ยอมรับและเข้ าใจความ หลากหลายในสังคม ให้ สามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างสันติ สื่อที่มีเนื ้อหา ส่งเสริ มวัฒนธรรมและประเพณี ไทย สื่อที่มีเนือ้ หาที่ไ ม่ขัดหรื อละเมิ ด กฎหมาย และสื่ อ ที่ มี เ นื อ้ หาส่ง เสริ ม ความรู้ ความเข้ า ใจเรื่ อ งวิ ช าการ ตลอดจนความรู้ในศาสตร์ สาขาต่าง ๆ ซึ่ ง ผลจากการส ารวจพบว่ า ลัก ษณะของสื่ อ ปลอดภั ย และ สร้ างสรรค์ที่เรี ยงลาดับความสาคัญโดยกลุม่ ตัวอย่างปรากฏดังนี ้ -สือ่ ที่มีการอบรมสั่งสอนหรือแนะนาให้ทาดี และเป็นคนดีของสังคม ร้อยละ 42.7 -สือ่ ทีส่ ่งเสริมความรัก ความเข้าใจ ของคนในครอบครัว ร้อยละ 42.4 -สือ่ ที่มเี นือ้ หาส่งเสริมวัฒนธรรม และประเพณีไทย ร้อยละ 36.8 -สือ่ ที่มเี นือ้ หาส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ยอมรับและเข้าใจ ความหลากหลายในสังคม ให้สามารถอยู่รว่ มกันได้อย่างสันติ ร้อยละ 35.6 -สือ่ ที่มเี นือ้ หาส่งเสริมให้รู้จักและเรียนรูเ้ กี่ยวกับทักษะการใช้ชวี ิตใน สังคมทีเ่ หมาะสมกับกาลเทศะ ร้อยละ 34.6 -สือ่ ที่มเี นือ้ หาทีไ่ ม่ขดั หรือละเมิดกฎหมาย ร้อยละ 33.3 -สือ่ ทีส่ ่งเสริมให้เกิดการคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล ร้อยละ 33.1
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 27
-สือ่ ทีส่ ่งเสริมให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ ร้อยละ 32.9 -สือ่ ที่มเี นือ้ หาส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเรือ่ งวิชาการ ตลอดจน ความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ ร้อยละ 31.1
4) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาด้านสื่อ ในการดาเนินการแก้ ไขปั ญหาด้ านสือ่ ต้ องอาศัยความร่วมมือจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย เพื่อให้ เกิดกลไกในการทางานโดยการบูรณา การนโยบายเข้ าด้ ว ยกัน สัง คมมี ความสาคัญ อย่า งยิ่ ง ในการร่ วมกัน สอดส่องดูแล และแจ้ งเหตุเมื่อพบเห็นสือ่ ที่ไม่ปลอดภัย แต่การแก้ ไขปั ญหา อย่างยัง่ ยืนควรเริ่ มต้ นที่ครอบครัวและชุมชน โดยเฉพาะพ่อแม่ ผู้ปกครอง ควรให้ คาแนะนากับเด็กและเยาวชนในการเลือกบริ โภคสือ่ ที่เหมาะสมและ ชี ้แนะลูกหลานเมื่อพบเห็นสื่อที่ไม่ปลอดภัย ในส่วนของสถานศึกษาควรมี การเรี ยนการสอนในเรื่ องทักษะชี วิตให้ กบั เด็กและเยาวชน เพื่อให้ เด็กและ เยาวชนมีจิตสานึกที่ดีตงแต่ ั ้ อายุยงั น้ อย และมีภมู ิค้ มุ กันในตนเอง ในการสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการแก้ ไขปั ญหาสื่อของกลุ่ม ตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นว่าการแก้ ปัญหาสื่อในทุกด้ านนัน้ มี ความสาคัญอยูใ่ นระดับมาก ซึง่ แบ่งออกเป็ น 9 ประเด็น ดังนี ้ 1.ควรมีการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อหรื อเรตติง้ ของสื่อ ทุกชนิด 2.ปรับปรุงกฎหมาย พระราชบัญญัติตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับสือ่ ให้ มี ความทันสมัย 3.นากฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับการควบคุมสื่อที่มีอยู่แล้ วมาบังคับ ใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ 28 | ส ถ า น ก า ร ณ์ สื่ อ โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย
4.ส่งเสริ มให้ ประชาชน มีสว่ นร่วมในการเฝ้ าระวัง ตรวจสอบสื่อที่ ไม่เหมาะสม 5.มีนโยบายการดาเนินการปราบปรามสือ่ ที่ไม่เหมาะสมที่ชดั เจน 6.ให้ ความรู้เกี่ยวกับการรู้ เท่าทันสื่อ ตังแต่ ้ ระดับเด็กและเยาวชน ในการเลือกรับสือ่ อย่างเหมาะสม 7.ต้ องสร้ างจิตสานึกให้ กบั ทุกภาคส่วน ไม่ใช่เด็กเพียงอย่างเดียว 8.ส่งเสริ มการผลิตสื่อที่สร้ างสรรค์ต่อสังคม ให้ มีปริ มาณมากขึ ้น มีความหลากหลายทังคุ ้ ณภาพและเนื ้อหา 9.มีการสร้ างหลักความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ผลิตสือ่ การควบคุมดูแลกันเองและผู้ที่เกี่ยวข้ องกับสือ่
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 29
ส่วนที่ 2
แนวคิด
30 | แ น ว คิ ด
บทที่ 4
?
สื่อโทรทัศน์เป็นอย่างไร? สือ่ กระจายเสียง นับเป็ นสื่อที่มีอายุยงั ไม่มากนักเมื่อเทียบกับสื่อ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อภาพยนตร์ โดยเฉพาะโทรทัศน์นนั ้ มีอายุกว่า 80 ปี เท่านัน้ โทรทัศน์ (television) เป็ นระบบโทรคมนาคมสําหรับการกระจาย และรับภาพเคลื่อนไหวและเสียงระยะไกล (broadcasting) คํานี ้ยังหมาย รวมถึ ง รายการโทรทัศ น์ แ ละการแพร่ ภ าพอี ก ด้ วย คํ า ว่ า โทรทัศ น์ ใ น ภาษาไทยมีที่มาจากคําในภาษาอังกฤษ คือ television ซึง่ เป็ นคําผสมจาก ภาษากรี ก tele- (‘ระยะไกล’ — โทร-) และ -vision ที่มาจากภาษาละติน visio (‘การมองเห็น’ — ทัศน์ ) มักเรี ยกย่อเป็ น TV (ทีวี) โทรทัศน์สีขาว-ดํา เครื่ องแรกของโลกที่ถูกสร้ างขึ ้นในปี พ.ศ. 2468 เป็ นผลงานการประดิษฐ์ ของชาวสกอตแลนด์ ชื่อ John Logie Baird
1) คุ ณ ลั ก ษณะของโทรทั ศ น์ ใ นฐานะสื่ อกระจาย เสียงและภาพ (Broadcasting) โดยธรรมชาติพื ้นฐานของสือ่ กระจายภาพและเสียง ประกอบด้ วย วิทยุและโทรทัศน์ มีลกั ษณะร่วมบางประการที่เหมือนกับสื่ออื่นๆ ก่อนหน้ า กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 31
นัน่ คือ เป็ นช่องทางของการสือ่ สารมวลชน (mass communication) กล่าว คือ เป็ นการสื่อสารที่สามารถนําสารหรื อพกพาความหมายจากผู้ส่งสาร กลุ่มหนึ่ง ไปยังผู้รับสารที่ประกอบด้ วยคนจํานวนมากซึ่งอยู่ต่างพื ้นที่กัน ภายในเวลาที่ใกล้ เคียงหรื อในเวลาเดียวกันอย่างรวดเร็ ว (สมสุข 2554: 3) ในการนี ้ M.Kunczik (1991) ได้ อธิบายภาพรวมของการสื่อสาร มวลชนอย่างโทรทัศน์ไว้ ว่าต้ องมีคณ ุ สมบัติพื ้นฐานอย่างน้ อย 9 ประการ ได้ แก่ แผนภาพที่ 4.1 แสดงคุณสมบัติพื้นฐานของโทรทัศน์ในฐานะของการสื่อสารมวลชน แบบสื่อกระจายภาพและเสียง
วัตถุดิบมีอายุสั้น มีลักษณะต่อเนือ่ ง ไม่สิ้นสุด มีปัจจัยเวลา กาหนด
ผลิตจากองค์กรทีเ่ ป็นทางการ
โทรทัศน์ในฐานะของ การสือ่ สารมวลชน แบบสือ่ กระจายภาพ และเสียง
ปฏิกิริยาตอบกลับ แบบทางอ้อม ใช้การสือ่ สารทางเดียว
32 | แ น ว คิ ด
ผลิตโดยใช้เทคนิค ด้านสือ่ ผู้รับสารเป็น มวลชน การสือ่ สารอยู่ใน ระดับสาธารณะ
1.1 วัตถุดิบของสื่อโทรทัศน์ มอี ายุสนั ้ เมื่อเปรี ยบเทียบกับสื่อพื ้นบ้ าน เช่น นิทาน เรื่ องเล่า ที่เน้ นความ มัน่ คงยาวนาน โทรทัศน์กลับเป็ นสือ่ ที่มีวตั ถุดิบในการผลิตแบบอายุสนหรื ั้ อ วัตถุดิบดํารงอยู่เพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งๆแล้ วก็หมดคุณค่าลง ดังนัน้ การ แข่งขันกับเวลาในการทํางานจึงเกิดขึ ้นเพื่อให้ รายการที่ออกอากาศมีความ ใหม่และทันสมัย 1.2 รายการผลิตโดยองค์ กรที่เป็ นทางการ เมื่อเปรี ยบกับช่องทางการสื่อสารที่มีมาก่อน เช่น สื่อพื ้นบ้ าน จะ เห็ น ได้ ว่า เป็ นการรวมตัว กัน ของศิ ลปิ นชาวบ้ า นที่ มัก มี ลัก ษณะไม่เ ป็ น ทางการ แต่การทํางานของสื่อโทรทัศน์ จะเกิ ดขึน้ ในลักษณะขององค์ กร วิ ช าชี พ ที่ เ ป็ นทางการเท่ า นัน้ เนื่ อ งจากโทรทัศ น์ เ ป็ นสื่ อ ที่ ไ ม่ ส ามารถ ดําเนินการได้ ด้วยตัวคนเดียว ดังนัน้ เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพ การรวมกลุม่ หรื อจัด องค์ ก รสื่อ มวลชนแบบเป็ นทางการจึ งถูกเรี ยกร้ องขึน้ มาในการ ทํางานโทรทัศน์ 1.3 โทรทัศน์ เป็ นช่ องทางการสื่อสารที่ผลิตโดยอาศัย เทคนิคด้ านสื่อ โทรทั ศ น์ นั บ เป็ นสื่ อ รุ่ น หลัง ที่ อ าศั ย เทคนิ ค ด้ านสื่ อ (media techniques) อันซับซ้ อนและหลากหลาย ทัง้ ทางด้ านการผลิต การแผย แพร่ และการบริ โภค ในเทคนิคการผลิต โทรทัศน์เป็ นสื่อที่มีต้นทุนการผลิตสูงและมี งบประมาณในการลงทุนเป็ นจํานวนมากซึ่งต้ องกระจายไปในส่วนต่างๆ โดยเฉพาะอุปกรณ์ เทคนิคการสร้ างสรรค์งานที่ราคาสูงเมื่อเปรี ยบกับสื่อ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 33
อื่นๆ เช่น การลงทุนกับเทคนิคพิเศษด้ านภาพและเสียง เทคนิคการรายงาน ข่าวผ่านระบบดิจิตอล เป็ นต้ น ในกรณี ข องเทคนิ ค ด้ านการเผยแพร่ อ อกอากาศ เนื่ อ งจาก โทรทัศน์มีลกั ษณะเป็ นสื่อรุ ก (active media) ที่มีศักยภาพในการทะลุ ทะลวง สือ่ สารข้ ามเวลาและพื ้นที่ ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดในโลก โทรทัศน์สามารถ ทําให้ ผ้ ชู มรับชมรายการได้ พร้ อมกัน เช่น การแข่งขันฟุตบอล ซึ่งศั กยภาพ ดังกล่าวนี ้จึงเรี ยกร้ องเทคนิคของตัวสือ่ ที่จะเผยแพร่ เข้ าถึงผู้รับสารได้ อย่าง มีประสิทธิภาพ ในด้ านเทคนิคการบริ โภค จากประวัติศาสตร์ การพัฒนาของสื่อ ได้ พิสจู น์ให้ เห็นแล้ วว่าเทคโนโลยีด้านเครื่ องรับโทรทัศน์มีพฒ ั นาการที่ไม่ เคยหยุดนิ่ง จากสีขาว-ดําสูโ่ ทรทัศน์สี จากระบบอนาล็อกสูร่ ะบบดิจิตอล ที่ สําคัญทุกครัง้ ที่มีปรับเปลี่ยนในเทคนิค มันจะส่งผลต่อประสบการณ์ การ รับรู้ของผู้รับสารเสมอ 1.4 ผู้รับสารของโทรทัศน์ มีลักษณะเป็ นมวลชน รู ป แบบการสื่ อ สารของโทรทัศ น์ นัน้ เป็ นช่ อ งทางที่ ส่ง ข้ อมู ล ข่าวสารไปยังผู้รับสารในขอบเขตพืน้ ที่อนั กว้ างไกล และด้ วยสถานะของ ช่องทางที่เผยแพร่ ผ่านคลื่นวิทยุ โทรทัศน์จึงสามารถเข้ าถึงผู้รับสารได้ เป็ น จํานวนมาก อย่างไรก็ตาม แม้ ในเชิงปริ มาณผู้รับสารของโทรทัศน์จะมีขนาด ใหญ่ แต่ในเชิงคุณภาพแล้ ว สถานภาพของผู้รับสารไม่ได้ มีลกั ษณะเป็ น กลุม่ (group audience) แต่เป็ นผู้รับสารในระดับมวลชน เนื่องจากแม้ จะมี ปริ มาณมาก แต่ทว่าผู้รับสารเหล่านี ้มีลกั ษณะกระจัดกระจาย (dispersed) ไม่ได้ รวมกันเป็ นกลุ่มหรื อไม่ร้ ู จักว่าใครเป็ นใคร (anonymous) เช่น ผู้ชม 34 | แ น ว คิ ด
ผู้ฟังจะมีลกั ษณะต่างคนต่างดูในบ้ านของแต่ละคน และไม่มีทางรู้ได้ เลยว่า มีใครกําลังดูช่องเดียวกับเรา หรื อหากจะมีในบางโอกาสที่สื่อดังกล่าวอาจ สร้ างให้ เกิ ดการรวมกลุ่มเฉพาะกิ จขึน้ มา แต่นั่นก็ เป็ นเพียงสายสัมพันธ์ แบบชัว่ คราวเท่านัน้ 1.5 โทรทัศน์ เป็ นช่ องทางการสื่อสารในระดับสาธารณะ ด้ ว ยลัก ษณะที่ โ ทรทัศ น์ สามารถสื่อ สารถึ ง มวลชนในวงกว้ า ง โทรทัศน์ จึง มีสถานภาพเป็ นช่องทางการสื่อสารสาธารณะ และมีความ พยายามเรี ยกร้ องให้ ตนทําหน้ าที่เป็ นกระบอกเสียงของสาธารณชนอยู่เป็ น ระยะๆ ในขณะเดี ย วกัน ด้ ว ยความที่ โ ทรทัศ น์ ทํ า งานอยู่ใ นปริ ม ณฑล สาธารณะ (public sphere) การบริ ห ารจัด การของสื่อ ดัง กล่า วจึ ง มี ความสั ม พั น ธ์ กั บ กฎระเบี ย บ (regulation) ที่ เ ข้ ามากํ า หนดวิ ถี ก าร ดําเนินงานมากมาย เช่น ห้ ามใช้ ภาษาไม่สภุ าพออกอากาศ ห้ ามนําเสนอ ประเด็นลามกอนาจาร เป็ นต้ น 1.6 การไหลของข้ อมูลข่ าวสารทางโทรทัศน์ เป็ นไปใน ทิศทางเดียว เมื่อเปรี ยบเทียบกับการสื่อสารระหว่างบุคคลแล้ ว โทรทัศน์เป็ น ช่ อ งทางการสื่อ สารแบบทางเดี ย ว (one-way communication) โดย ส่ว นมากจะตัด คุณ ลัก ษณะการมี ส่ว นร่ ว มของผู้รั บ สารออกไป ในทาง ตรงกันข้ าม โอกาสที่ผ้ รู ับสารจะสื่อสารผ่านสื่อโทรทัศน์กลับแทบจะเป็ นไป ไม่ได้ เลย เนื่องมาจากเงื่อนไขของความซับซ้ อนในการผลิตสือ่ 1.7 โทรทัศน์ มกี ารสื่อสารปฏิกริ ิยาตอบกลับแบบทางอ้ อม โทรทัศน์เป็ นสือ่ ที่สอื่ สารจากคนกลุม่ น้ อย ไปยังคนกลุม่ ใหญ่ผ่าน ช่องทางของสือ่ ระยะไกล (distant channel) ด้ วยเหตุนี ้ ไม่เพียงแต่เส้ นทาง กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 35
การไหลของข่าวสารในสื่อโทรทัศน์มกั จะเป็ นการสื่อสารทางเดียวแล้ ว ใน แง่ของปฏิกิริยาตอบกลับ (feedback) ก็มกั เป็ นไปโดยอ้ อมด้ วย เช่น การ ส่ง ข้ อ ความสัน้ (SMS) กลับ ไปยัง สถานี การส่ง สิน ค้ าไปชิ งรางวัล การ โทรศัพท์กลับเข้ าไปในรายการ ฯลฯ ซึ่งมักเป็ นรู ปแบบของการสื่อสารที่ ไม่ได้ เกิดในช่วงเวลาออกอากาศสด เหตุผลสําคัญที่เป็ นเช่นนี ้ มาจากผู้สง่ สารและผู้รับสารไม่ได้ อยูร่ ่วมในพื ้นที่และเวลาการสือ่ สารเดียวกัน อย่างไรก็ดี ปั จจุบนั มีความพยายามในหลายๆสถานีโทรทัศน์ที่ให้ ผู้ชมทางบ้ านมีส่วนร่ วมในรู ปแบบต่างๆเพิ่มมากขึ ้น เช่น การร่ วมรายการ การตอบปั ญหา การจัดเวทีรับฟั งความคิดเห็น เป็ นต้ น แต่กระนันก็ ้ จํากัด อยู่ใ นโทรทัศ น์ ที่ มี ลัก ษณะเป็ นสื่ อ สาธารณะ (public broadcasting service) หรื อรายการประเภทข่าวสดเป็ นหลัก 1.8 โทรทัศน์ เป็ นสื่อที่มีปัจจัยเรื่องเวลาเป็ นตัวกาหนด โดยหลั ก การทํ า งานแล้ ว วั ฒ นธรรมการกระจายเสี ย ง (broadcasting culture) มีลกั ษณะเป็ นวัฒนธรรมที่มีเวลาเป็ นตัวกําหนด (clock culture) ด้ วยเหตุนี ้ ในการผลิต การเผยแพร่ และการบริ โภคของสื่อ โทรทัศ น์ ทัง้ ผู้ส่ง สารและผู้รั บ สารต่ า งก็ อ ยู่ภ ายใต้ ก ารกํ า หนดขึน้ โดย เงื่อนไขของนาฬิกาหรื อเวลา เช่น คนทําข่าวต้ องรี บเร่ งไม่ให้ เรื่ องราวมัน ล้ าสมัย การออกอากาศจะถูกจัดทําเป็ นผังรายการเพื่อให้ ทราบว่าเวลาใด จะเผยแพร่รายการใด กระทัง่ วิถีการบริ โภคก็จะถูกจัดไว้ ตามจังหวะเวลาใน ชีวิตประจําวันของแต่ละกลุ่ม อาทิ รายการสําหรับเด็กควรอยู่ในช่ วงเย็น หลังเด็กกลับจากโรงเรี ยน รายการข่าวควรอยูห่ วั คํ่าสําหรับผู้ปกครองที่เพิ่ง เลิกงานและกลับถึงบ้ าน เป็ นต้ น
36 | แ น ว คิ ด
1.9 โทรทัศน์ มีลกั ษณะการทางานที่ต่อเนื่องและไม่ สนิ ้ สุด โดยหลักของความเป็ นอุตสาหกรรมสื่อมวลชนแล้ ว เมื่อสถานี วิทยุหรื อโทรทัศน์ได้ เริ่ มต้ นเดินสายพานการผลิตขึ ้น กระบวนการทํางานจะ ดําเนินอย่างต่อเนื่องและไม่สิ ้นสุดเพื่อเป้าหมายในการทํากําไรสูงสุด เช่น รายการข่าวต้ องมีการป้อนเข้ ามาในสถานีอย่างต่อเนื่อง ละครเมื่อเรื่ องหนึง่ จบ ต้ องมีเรื่ องใหม่มาต่อ เป็ นต้ น อย่ างไรก็ดี ในอนาคต คุณลักษณะของโทรทัศน์ อาจมีความ เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย โดยเฉพาะยุคที่เรี ยกว่ า ‘ยุคหลังโทรทัศน์ ’ (post-TV era) (Nicholas 2006) คือ เมื่อโทรทัศน์ เริ่ มเข้ าสู่ระบบ ดิจิตอลมากขึน้ เช่ น เมื่อเครื อข่ ายโทรทัศน์ ได้ กลายเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของระบบมัลติมีเดียหรื อเข้ าสู่ระบบการสื่อสารแบบออนไลน์ ฯลฯ คุณสมบัติใหม่ ๆอาจเกิดขึน้ ซึ่งมีวิถกี ารสื่อสารที่ไม่ ใช่ ทางเดียว ผู้รับ สารสามารถตอบโต้ ได้ ทันที
2) ธรรมชาติของสื่อโทรทัศน์ในฐานะเครื่องมือใน การสร้างอารมณ์ กาญจนา แก้ วเทพ (2551) ได้ อธิ บ ายถึ ง ธรรมชาติ ข องสื่ อ โทรทัศน์ ในการสร้ างอารมณ์ ผ่า นบทความ โทรทัศน์ กับ วัฒ นธรรมแห่ ง อารมณ์ ไว้ ว่า สื่อโทรทัศน์เป็ นสื่อที่มีความแตกต่าง จากสือ่ รุ่นก่อน อาทิ หนังสือพิมพ์ วิทยุ ในแง่ของการ ป่ าวประกาศพั น ธกิ จ หน้ าที่ ข องตนต่ อ สั ง คม กล่าวคือ สื่อโทรทัศน์ มิได้ บอกว่าจะทําหน้ าที่อันมี สาระจริ งจังอย่างหนักหน่วง แต่สื่อโทรทัศน์ซึ่งเป็ น สื่อภาพและเสียงได้ เปิ ดเผยตัวเองอย่างชัดเจนว่า กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 37
เป็ น ‘สื่อเพื่อสร้ างความบันเทิง (Entertainment Media)’ เป็ นหลัก ดังนัน้ สื่อโทรทัศน์จึงมีความเกี่ยวพันกับอารมณ์ความรู้ สกึ ของมนุษย์อย่างเลี่ยง มิได้ โดยอารมณ์ นนั ้ หมายถึง ปฏิกิริยาด้ านความรู้ สึกของเราที่มีต่อวัตถุ เหตุการณ์ หรื อต่อผู้คน ซึ่ง จะเหนี่ยวรัง้ ดึงดูดให้ เราเข้ าไปมีสว่ นร่ วมกับสิ่ง นันๆในรู ้ ปแบบใดรูปแบบหนึง่ ความสัมพันธ์ ระหว่างอารมณ์ของมนุษย์กบั สื่อโทรทัศน์นนั ้ ต้ อง พิจารณาที่คณ ุ สมบัติเด่นของสือ่ โทรทัศน์ ดังนี ้ 2.1 ธรรมชาติของสื่อร้ อน (Hot Media) เป็ นแนวคิดของ M.McLuhan ที่นํามาใช้ แยกแยะประเภทของสื่อ โดยใช้ เกณฑ์พื ้นที่ว่างที่ให้ ผ้ ใู ช้ ได้ เข้ าไปมีส่วนร่ วมในการสร้ างเนื ้อหาหรื อ ความหมาย กล่าวคือ โทรทัศน์เป็ นสื่อร้ อนเนื่องจากในรายการโทรทัศน์จะ เรี ยกร้ องให้ ผ้ รู ับสารต้ องเข้ ามามีส่วนร่ วมอยู่ตลอดเวลา และจะไม่ปล่อย พื ้นที่วา่ งให้ ผ้ ชู มคิดหรื อจินตนาการมากนัก ดังนันกลยุ ้ ทธ์ การสร้ างอารมณ์ ของโทรทัศน์จึงต้ องบอกอารมณ์ ให้ หมดทุกอย่าง ตีความมาให้ เสร็ จและ ติด ตัง้ อารมณ์ ม าให้ เ ลย อี ก ทัง้ โทรทัศ น์ เ ป็ นสื่อ ร้ อนที่ มี ก ารปรั บ เปลี่ย น อารมณ์อยูต่ ลอดเวลา เนื่องจากมีการแบ่งช่วงเวลาออกเป็ นช่วงเวลาย่อยๆ อารมณ์ที่อยู่ในแต่ละช่วงจะเป็ นอิสระต่อกัน ทําให้ ลกั ษณะอารมณ์ในสื่อ โทรทัศน์เป็ นอารมณ์แบบติดเร็ ว ดับเร็ ว มาเร็ วไปเร็ ว ประเดี๋ยวประด๋าว ซึ่ง เป็ นอารมณ์ผิวเผิน ไม่ลมุ่ ลึก 2.2 โทรทัศน์ เป็ นสื่อที่สร้ างอารมณ์ ด้วยภาพและเป็ นภาพ แบบเคลื่อนไหว การสร้ างอารมณ์ ด้ วยภาพนัน้ จะสร้ างอารมณ์ ที่สมจริ ง สมจัง มากกว่าสื่อที่ไม่ใช่ภาพ ในขณะที่การสร้ างภาพจากโทรทัศน์ นนั ้ แม้ จ ะ
38 | แ น ว คิ ด
สร้ างอารมณ์ ความรู้ สึกที่สมจริ งเท่าใด แต่ความจริ งที่จริ งยิ่งกว่านัน้ คือ ภาพที ่เห็นในโทรทัศน์ นนั้ มี จานวนไม่น้อยเป็ นภาพที ่ไม่ มีวนั จะเกิ ดขึ้ นเลย ในความเป็ นจริ งหรื อในชี วิตจริ งของผูช้ ม ร่วมกับเทคนิคต่างๆของการสร้ าง ภาพทําให้ ผ้ ผู ลิตสามารถควบคุมกระบวนการกระตุ้นอารมณ์ความรู้สกึ ของ ผู้ชมได้ 2.3 โทรทัศน์ เป็ นสื่อที่สร้ างอารมณ์ ด้วยเสียง นอกจากโทรทัศน์จะสื่อสารด้ วยภาพแล้ ว ยังสื่อสารด้ วยเสียงไป พร้ อมๆกัน ซึ่งเสียงนีเ้ ป็ นช่องทางที่สามารถสร้ างอารมณ์ ความรู้ สึกได้ ดี เช่ น กั น ยกตั ว อย่ า ง เสี ย งดนตรี หรื อ เสี ย งประกอบจะช่ ว ยเสริ ม ให้ ความหมายที่ได้ สร้ างอารมณ์ มาแล้ วจากการพูดนันชั ้ ดเจนขึ ้น อีกทังยั ้ ง สามารถสร้ างเอกลักษณ์ ของรายการได้ อีก จึงกล่าวได้ ว่าเสียงดนตรี ที่ถูก นํามาใช้ ตลอด นอกจากจะสามารถปรับเปลีย่ นอารมณ์ของผู้ชมได้ แล้ ว ยัง มีพลังมากพอที่จะทําให้ คนมีอารมณ์ที่จะเคลื่อนไหวหรื อพร้ อมที่จะลงมือ กระทําการอะไรบางอย่างอีกด้ วย 2.4 การสร้ างอารมณ์ ด้วยคาพูดและข้ อมูล คําพูดนับเป็ นเครื่ อ งมื อสร้ างอารมณ์ ที่จัด ว่า เป็ นเสียง แต่เป็ น เสียงพิเศษที่ออกมาจากมนุษย์ มีการจัดระบบ มีโครงสร้ างพิเศษ ซึ่งในสื่อ โทรทัศน์จะมีวิธีการใช้ คําพูดและข้ อมูลในการสร้ างอารมณ์ที่อาจมีลกั ษณะ เฉพาะตัวที่ต่างไปจากวิธีการพูดในชี วิตประจํ าวัน เรี ยกว่า ‘คําพูดแบบ โทรทัศน์’ ซึง่ จะเป็ นการกระตุ้นอารมณ์และปรับเปลี่ยนอารมณ์ของผู้ชมได้ อย่างเฉียบพลัน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 39
2.5 การเล่ าเรื่อง (Narration) การเล่าเรื่ อง ถือเป็ นเครื่ องมือที่สําคัญมากในการสร้ างอารมณ์ ของผู้ชม ซึง่ อานุภาพของการเล่าเรื่ องนี ้อาจจะสําคัญมากกว่าตัวเนื ้อเรื่ องที่ จะเล่าอีกด้ วย เนื่องจากการเล่าเรื่ องด้ วยภาพและเสียงของสื่อโทรทัศน์ ดังนันการเล่ ้ าเรื่ องในสือ่ ชนิดนี ้จึงทําหน้ าที่ ได้ แก่ บอกเล่าเรื่ องราวให้ ร้ ู เรื่ อง สือ่ สารอารมณ์ประเภทต่างๆของผู้สง่ ไปยังผู้รับ สร้ างความรู้สกึ ตื่นตาตื่นใจ จากการได้ เห็น และกระตุ้นความคิดบางอย่างของผู้รับสาร กล่าวได้ วา่ เมื่อมีการนําเอาเนื ้อหาแบบใดแบบหนึง่ มานําเสนอใน รูปแบบของการเล่าเรื่ อง หมายความว่า วิธีการนําเสนอนันต้ ้ องเป็ นไปตาม องค์ประกอบของการเล่าเรื่ อง คือ มีตวั ละคร มีความขัดแย้ ง มีฉากที่เป็ นไป ตามลําดับขันตอน ้ ซึง่ อาจเป็ นเรื่ องแต่งหรื อเรื่ องจริ ง เป็ นต้ น ดังนันการเล่ ้ า เรื่ องจึงเป็ นสิ่งที่ทรงพลังอย่างยิ่งในการสร้ างสรรค์ อารมณ์ แบบต่างๆให้ เกิ ด ขึ น้ ได้ ม ากกว่ า วิ ธี ก ารนํ า เสนอรู ป แบบอื่ น และโดยเฉพาะเมื่ อ สื่ อ โทรทัศน์ เป็ นสื่อที่ เล่าเรื่ องด้ วยภาพประกอบเสีย ง ก็ ยิ่ งทวีคูณการสร้ าง อารมณ์ได้ มากยิ่งขึ ้น
3) บทบาทของโทรทัศน์ในการสื่อสาร หากเราพิจารณาคําว่า ‘บทบาท’ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ให้ ความหมายว่าเป็ น ‘การทาตามหน้าที ่ที่กาหนดไว้’ ซึ่ง ตรงกับภาษาอังกฤษคําว่า ‘Role’ หรื อ ‘Function’ เมื่อนํามารวมเข้ ากับ โทรทัศน์ คําว่า ‘บทบาทของโทรทัศน์’ จึงหมายถึง การทําหน้ าที่ของสือ่ วิทยุ และโทรทัศน์ตามความต้ องการของปั จเจกบุคคลหรื อสังคม (อารดา 2554
40 | แ น ว คิ ด
ข: 39) ด้ วยเหตุนี ้บทบาทของสื่อโทรทัศน์ในฐานะเป็ นสื่อมวลชนประเภท หนึง่ จึงไม่สามารถแยกออกจากคนและสังคมได้ กล่องที่ 4.1
บทบาทหน้าที่ของการสือ่ สารต่อปัจเจกชนและสังคม
องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งองค์การสหประชาชาติ (UNESCO) ได้แต่งตั้ง คณะกรรมาธิการขึ้นคณะหนึ่งเรียกว่า “แม็คไบรด์” (McBride Commission) ในปี พ.ศ. 2523 (ค.ศ. 1980) ทาหน้าที่ในการศึกษาปัญหาการสือ่ สารของโลก เพื่อนามาแก้ไข วิกฤติการณ์ทางการสือ่ สาร คณะกรรมาธิการชุดนี้ได้วเิ คราะห์บทบาทหน้าทีข่ องการ สือ่ สารมวลชนโดยแบ่งออกเป็น 2 ด้านคือ บทบาทที่มีตอ่ บุคคลหรือปัจเจกชนและบทบาท หน้าที่ทมี่ ีตอ่ สังคมโดยรวม บทบาทหน้าที่ของการสือ่ สารต่อปัจเจกชนมี 8 ประการคือ 1. การให้ขา่ วสาร (Information) หมายถึง การเก็บ รวบรวม ประมวลและการ เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร รูปภาพ ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นไปยังผูร้ ับสาร เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจ และมีปฏิกิรยิ าตอบสนองอย่างถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์และสภาพแวดล้อม 2. การขัดเกลาสังคม (Socialization) หมายถึง การทาให้บุคคลมีความรู้ความ เข้าใจที่จะดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้ โดยมีความสานึกในการอยู่รว่ มสังคมกับบุคคลอื่น ซึ่งจะ นาไปสูค่ วามร่วมมือร่วมใจกันเพือ่ ประโยชน์ของส่วนรวม 3. การกระตุ้นเร้า (Motivation) หมายถึง บทบาทในการส่งเสริมสนับสนุนให้ บุคคลไปสูเ่ ป้าหมายของสังคมทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว กระตุ้นให้บคุ คลเกิดความพยายาม และตัดสินใจเลือกแนวทางและพฤติกรรมที่จะนาไปสู่เป้าหมายที่กาหนดไว้ เช่น การรณรงค์งด สูบบุหรี่ เป็นต้น 4. การถกเถียงอภิปราย (Debate or Discussion) หมายถึง การเป็นเวที แลกเปลีย่ นข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นระหว่างฝ่ายต่างๆ ในสังคม เพือ่ ก่อให้เกิดความตกลงเพือ่ ผลประโยชน์ของส่วนรวมไม่วา่ จะเป็นระดับท้องถิ่น ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ 5. การให้การศึกษา (Education) การสือ่ สารมวลชนมีสว่ นช่วยถ่ายทอดความรู้ ศิลปะ วิทยาการต่างๆ ทาให้เกิดการพัฒนาทางสติปัญญา อุปนิสยั ทักษะและสมรรถภาพ ของบุคคลทุกช่วงเวลาของชีวติ 6. การส่งเสริมวัฒนธรรม (Cultural Promotion) หมายถึง การสือ่ สารมี บทบาทในการเผยแพร่ศลิ ปวัฒนธรรม เพือ่ ธารงรักษาไว้ซึ่งมรดกที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ และการพัฒนาวัฒนธรรมโดยการส่งเสริมสติปัญญาและจินตนาการของปัจเจกชน รวมทั้ง กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ในทางสุนทรียภาพ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 41
กล่องที่ 4.1
บทบาทหน้าที่ของการสือ่ สารต่อปัจเจกชนและสังคม (ต่อ)
7. การให้ความบันเทิง (Entertainment) หมายถึง บทบาทในการให้ความ สนุกสนานรืน่ เริง และการพักผ่อนหย่อนใจ โดยการเสนอความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ เช่น ละคร ภาพยนตร์ ดนตรี การละเล่น เป็นต้น 8. การบูรณาการ (Integration) หมายถึง บทบาทในการให้บุคคลและกลุ่ม บุคคลได้รับรู้ขา่ วสารที่จาเป็นต่อการเพิ่มพูนความรู้ทุกด้านเพือ่ นามาบูรณาการร่วมกัน ก่อให้เกิดความเข้าใจซึง่ กันและกันในการดารงชีวิตและสร้างสังคมให้เป็นสุข ส่วนบทบาทของสือ่ มวลชนที่มีตอ่ สังคมนั้น คณะกรรมาธิการแม็คไบรด์เห็นว่า มี ความสาคัญมากนั่นคือ “บทบาทหน้าที่ในการจรรโลงสังคมให้ดารงอยู่ได้” การทีส่ ังคมจะ ดารงอยู่ได้ สถาบันต่างๆ ในสังคมจะต้องรับรู้ขา่ วสาร เช่น รัฐบาลย่อมจะต้องรู้เกีย่ วกับ จานวนประชากร แหล่งน้า ผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม ตลาดสินค้า วงการธุรกิจ และอุตสาหกรรมจะต้องรู้เกีย่ วกับวิธีการผลิตที่มปี ระสิทธิภาพ ธนาคารจะต้องรูเ้ กี่ยวกับ เศรษฐกิจ การเงินทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นต้น ไม่เฉพาะแต่องค์กรใหญ่ๆ เท่านั้น แม้แต่องค์กรขนาดเล็ก เช่น บริษัท ห้างร้านก็จะต้องได้รบั ข่าวสารที่จาเป็นอย่างเพียงพอ เพือ่ ที่จะนาไปใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจในการประกอบกิจการ การรับรู้ข่าวสารทีท่ ันสมัยและ ทันเหตุการณ์จะช่วยพัฒนากิจการของสถาบันต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนให้มีความ เจริญก้าวหน้า นอกจากนี้ขา่ วสารต่างๆ ยังมีส่วนช่วยให้เกิดความเจริญงอกงามทางด้าน ความคิดจิตใจ สติปญ ั ญา เช่น การเห็นคุณค่าของเสรีภาพ การพึง่ ตนเอง การเคารพใน ศักดิ์ศรีของเพือ่ นมนุษย์ การช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน เป็นต้น Charles R. Wright (1974) ได้ อธิ บายว่าสื่อมวลชนมีบทบาท หน้ าที่ที่เป็ นตามประสงค์ (functions) ต่อสังคมหนึ่งๆ แต่บทบาทหน้ าที่นนั ้ อาจเกิดขึ ้นพร้ อมกับบทบาทที่ไม่เป็ นไปตามประสงค์ (dysfunctions) หรื อ บทบาทในเชิงลบที่ไม่สนองตามความต้ องการของปั จเจกบุคคลหรื อสังคม ได้ ซึ่งอาจเกิ ดจากการที่บุคคลหรื อองค์ กรให้ ข่าวสารโดยเจตนาหรื อไม่ เจตนาทําให้ เกิดความเข้ าใจผิด จนเกิดผลกระทบต่อสังคม ตัวอย่างเช่น การที่สอื่ มวลชนเสนอข่าวเกี่ยวกับอุทกภัยซึง่ เกิดขึ ้นทัว่ โลกในทํานองว่าโลก กําลังเผชิ ญวิกฤตการณ์ ภยั ธรรมชาติอย่างรุ นแรง โดยมีเจตนาเป็ นการ เตือนภัย แต่อาจทําให้ เกิดความหวาดกลัวจนถึงขันไม่ ้ สามารถใช้ ชีวิตอย่าง 42 | แ น ว คิ ด
ปกติ หรื อการเผยแพร่ขา่ วลือในรูปแบบต่างๆ ก็นบั ได้ ว่าเป็ นบทบาทหน้ าที่ ในทางลบได้ เป็ นอย่างมาก ตารางที่ 4.1 แสดงการเปรียบบทบาทหน้าที่ที่เป็นตามประสงค์ (functions) และบทบาทที่ไม่เป็นไปตามประสงค์ (dysfunctions) ของสือ่
บทบาทหน้าที่ทเี่ ป็นตาม ประสงค์ (functions) - รายงานสถานการณ์ที่ เกิดขึ้น - เตือนภัย บอกข่าวให้คน ระวังภัย
บทบาทหน้าที่ที่ไม่เป็นไปตาม ประสงค์ (dysfunctions) - ทาให้กลัวภัยบางอย่างโดยไม่มี 1.สังเกตการณ์ เหตุผล และรายงาน - ทาให้รสู้ ึกว่าชีวิตไม่มั่นคง สภาพแวดล้อม ปลอดภัย - ทาให้เกิดความเคยชินต่อการ กระทาผิด การเอาเยีย่ งอย่าง และนาไปกระทาผิดอาชญากรรม - ช่วยระดมสรรพกาลัง - ทาให้ไม่มคี วามแตกต่างทาง 2.ประสาน ลดความรูส้ ึกไม่มั่นคง ความคิด ลดความหลากหลาย สัมพันธ์สว่ น ปลอดภั ย ลดความตื น ่ ส่งผลให้ชวนเชือ่ ได้ง่าย ต่างๆ ในสังคม ตระหนก - ทาให้ลดการเปลีย่ นแปลงทาง สังคม เพิ ม ่ เอกภาพทางสั ง คมท า - ทาให้สงั คมมีลักษณะเป็นสังคม 3.ถ่ายทอดมรดก มวลชนและมีวฒ ั นธรรมมวลชน ทางวัฒนธรรม ให้เกิดกระบวนการหล่อ หลอมทางสังคม มากขึน้ - ผ่อนคลายความตึงเครียด - ลดความสานึกต่อส่วนรวม 4.ความบันเทิง - เพิ่มโอกาสพักผ่อนหย่อนใจ เพราะทาให้เกิดความงมงาย มอมเมา สร้างค่านิยมที่ผดิ - ลดปฏิบัติการหรือการบาเพ็ญ ประโยชน์ตอ่ สังคม นอกจากนี ้ ในสือ่ แต่ละประเภท อาจมี บทบาทหน้าที ่แฝง (latent function) ที่ เ ป็ นบทบาทหน้ า ที่ซึ่ง ไม่ป รากฏออกมาให้ เห็ น อย่า งชัด แจ้ ง กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 43
เหมือนบทบาทหน้า ที ่ประจัก ษ์ (manifest function) เช่น การโฆษณา สินค้ าในนิตยสารหรื อสือ่ สิง่ พิมพ์ที่นิยมทําในรูปบทความรู้ (advertorial) มี บทบาทเชิ งประจักษ์ คือ ให้ ความรู้ เช่น ความรู้ เกี่ ย วกับสุข ภาพ ความรู้ เกี่ ย วกับ ความงาม เป็ นต้ น แต่ ใ นขณะเดี ย วกัน ก็ มี ชื่ อ ของตนเองหรื อ ผลิตภัณฑ์ซงึ่ เป็ นส่วนประกอบของสินค้ าแฝงอยู่ อีกทัง้ การไม่ทาหน้าทีข่ องสือ่ (non-function) หรื อการที่สอื่ ไม่ทํา หน้ าที่ตอ่ สังคมอย่างที่สงั คมคาดหวัง เช่น รายการข่าวไม่ทําหน้ าที่นําเสนอ ข่าวอย่างตรงไปตรงมาหรื อตามหลักจรรยาบรรณและหลักการคุณค่าข่าว หรื อ การที่ละครโทรทัศน์ สามารถแสดงบทบาทจรรโลงสังคมได้ ใ นช่วงที่ สังคมมีปัญหาแต่กลับมีแต่ละครที่มีความไม่เหมาะสมทังเพศ ้ ภาษาและ ความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง เป็ นต้ น บทบาทหน้ าที่ท่ ีไม่ เป็ นไปตามประสงค์ และบทบาทหน้ าที่ แฝงจะเกิดขึน้ โดยเจตนาหรื อไม่ ก็ตาม รวมทัง้ การไม่ ทาหน้ าที่ของ สื่อ ถือเป็ นบทบาทหน้ าที่ในทางลบซึ่งอาจส่ งให้ เกิดผลกระทบต่ อ สังคมในวงกว้ าง
44 | แ น ว คิ ด
กล่องที่ 4.2
พัฒนาการของสื่อโทรทัศน์ในประเทศไทย
ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2498 ประเทศไทยได้เริ่มแพร่ภาพออกอากาศโดยสถานีโทรทัศน์ชอ่ ง 4 บางขุน พรหมเป็นครัง้ แรก ถือว่าเป็นยุคบุกเบิกวงการโทรทัศน์ในประเทศไทย เริ่มแรกโทรทัศน์แพร่ ภาพในระบบอนาล็อกที่ยา่ นความถี่ VHF และ UHF ต่อมาเมือ่ เทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามาก ขึ้นก็ได้มอี อกอากาศผ่านดาวเทียม หรือโทรทัศน์ดิจิตอลที่ใช้ความสามารถในการบีบอัด สัญญาณเพือ่ ให้คลื่นความถีส่ ามารถนาไปใช้งานได้มากขึ้น เป็นการประยุกต์ใช้งานโดยเอา เทคโนโลยีดา้ นโทรทัศน์ซึ่งเป็นการแพร่สญ ั ญาณภาพและเสียงผ่านทางคลื่นความถีม่ าใช้งาน บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตแบบมัลติมีเดีย จึงสามารถให้บริการได้ทั้งภาพ เสียง และข้อมูลได้ พร้อมกัน (อารดา 2554ก) 1.โทรทัศน์อนาล็อก (Analog Television) ได้แก่ระบบแพร่ภาพทีย่ า่ นความถี่ VHF และ UHF ระบบ VHF เป็นระบบคลื่นความถีท่ ี่ใช้ในกิจการวิทยุกระจายเสียงแพร่ภาพโทรทัศน์ การสือ่ สารระยะใกล้ ด้วยความถี่ 30-300 MHz นับเป็นระบบแรกทีน่ ามาใช้ในประเทศไทย โดยสถานีโทรทัศน์ชอ่ ง 4 บางขุนพรหม จัดเป็นระบบเปิดสาธารณะ หรือเรียกว่า ฟรีทีวี (Free TV) เช่น ช่อง 5, 7, 9 และ 11 ระบบ UHF (Ultra High Frequency) เป็นระบบที่ใช้แพร่ภาพด้วยสัญญาณ อนาล็อก ในย่านความถี่ 300-3,000 MHz เช่น ช่อง 3 และทีวีไทย 2.โทรทัศน์ดิจิตอล (Digital Television) คุณสมบัติทสี่ าคัญของเทคโนโลยี ดิจิตอล คือ ความสามารถในการบีบอัดสัญญาณ เพือ่ ให้คลื่นความถีส่ ามารถนาไปใช้งาน ได้มากขึ้น ส่งผลให้สถานีโทรทัศน์มีช่องรายการมากขึน้ จากคลื่นความถีเ่ พิ่มขึ้น เช่น ช่องสัญญาณของสถานีโทรทัศน์หลักที่ปจั จุบันออกอากาศได้เพียง 1 ช่องต่อ 1 สถานี จะถูก แตกเป็นหลายช่องสัญญาณ ถ้าพิจารณาพัฒนาการของระบบโทรทัศน์อนาล็อก และโทรทัศน์ดิจิตอลของไทย ยังใช้การผสมผสานระหว่างสองระบบ โดยการดาเนินการด้านการเปลีย่ นผ่านระบบโทรทัศน์ ดิจิตอลเต็มรูปแบบ ยังอยู่ในขั้นตอนด้านเทคนิคต่างๆ และระเบียบด้านโทรคมนาคมทั้งใน ประเทศและความเกี่ยวข้องกับระบบโลกที่ตอ้ งศึกษาถึงกรอบของเวลาที่เป็นไปได้ในอนาคต อย่างไรก็ดี ในด้านพัฒนาการตามช่วงเวลาแล้ว สถานีโทรทัศน์แห่งแรกของประเทศ ไทย คือ สถานีโทรทัศน์ชอ่ ง 4 บางขุนพรหม แพร่ภาพในระบบขาวดา ต่อมาจึงพัฒนาสู่ ระบบภาพสี สถานีโทรทัศน์สีแห่งแรกของไทย คือ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดย รายการแรกทีอ่ อกอากาศในระบบสี คือ การถ่ายทอดสดการประกวดนางสาวไทย ปี พ.ศ. 2510 ต่อมาจึงเกิดสถานีโทรทัศน์ประเภทบอกรับสมาชิก และสถานีโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม ต่างๆ (สินทิ ธ์ 2543) ในการนี้ จึงขอสรุปประวัติโดยย่อของสถานีโทรทัศน์ตา่ งๆในประเทศ ไทย รายละเอียดดังนี้ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 45
กล่องที่ 4.2
พัฒนาการของสื่อโทรทัศน์ในประเทศไทย (ต่อ)
1.สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีชอ่ ง 4 บางขุนพรหม (ปัจจุบันคือสถานีโทรทัศน์ MCOT) สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีชอ่ ง 4 บางขุนพรหม เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกของประเทศ ไทย เกิดขึ้นในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบภาพขาวดา มีตราสัญลักษณ์ประจาสถานีเป็นรูป “วิชชุประภาเทวี” หมายถึงเทวดาผูห้ ญิง ราว พ.ศ. 2519 ได้เปลี่ยนระบบการออกอากาศ จากภาพขาวดา เป็น ภาพสี ในระบบ 625 เส้น ทางช่อง 9 อย่างสมบูรณ์ พร้อมกับเปลีย่ นชื่อเป็น สถานีโทรทัศน์ ไทยทีวสี ีชอ่ ง 9 และจัดตั้งองค์การสือ่ สารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) ในปี พ.ศ. 2510 เพื่อบริหารจัดการสถานี ต่อมาสถานีโทรทัศน์ไทยทีวสี ีชอ่ ง 9 อ.ส.ม.ท. เปลีย่ นชือ่ เป็น สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ในปี พ.ศ. 2545 เพือ่ สร้างภาพลักษณ์ให้มคี วามรวดเร็ว ฉับไวและ ทันสมัย และการบริหารจัดการอยู่ในความดูแลขององค์การสือ่ สารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.) เช่นเดิม 2.สถานีวิทยุกองทัพบกช่อง 5 สถานีวทิ ยุกองทัพบกช่อง 5 เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2500 เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งทีส่ อง ของไทย อยู่ในความดูแลของกองทัพบก ก่อตั้งขึ้นในสมัย พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บญ ั ชา การทหารบกในขณะนั้น ในระยะแรกออกอากาศทางช่องสัญญาณที่ 7 ในระบบ NTSC 525 เส้น ภาพขาวดา โดยใช้ชอื่ ว่า สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 (ททบ. 7) ต่อมามีการ เปลี่ยนแปลงระบบโทรทัศน์ของไทยจากระบบ NTSC 525 เส้น ขาวดา เป็น PAL 625 เส้น ภาพสีจงึ เปลีย่ นช่องออกอากาศเป็นช่องสัญญาณที่ 5 ‘สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5’ ออกอากาศครั้งแรกใน พ.ศ. 2517 ด้วยการถ่ายทอดสด พิธถี วายสัตย์ปฏิญาณตนและสวน สนามของทหารรักษาพระองค์ จากลานพระราชวังดุสิต 3.สถานีวทิ ยุโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 สถานีวทิ ยุโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นสถานีโทรทัศน์สแี ห่งแรกในระบบ PAL 625 เส้น ภาพสี ดาเนินการแบบสถานีโทรทัศน์เอกชนเช่าสัมปทาน โดย บริษัท กรุงเทพ โทรทัศน์และวิทยุ จากัด ภายใต้สญ ั ญาสัมปทานกับกองทัพบก ออกอากาศครั้งแรกในปี พ.ศ. 2510 ด้วยการถ่ายทอดสดการประกวดนางสาวไทยที่จัดขึ้นในงานวชิราวุธานุสรณ์ สถานี วิทยุโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 นาเสนอรายการหลากหลาย เป็นผู้รเิ ริ่มรายการข่าวภูมิภาค และละครพื้นบ้าน หรือละครจักรๆ วงศ์ๆ 4.สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสชี อ่ ง 3 สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ีชอ่ ง 3 เป็นสถานีโทรทัศน์แบบเอกชนเช่าสัมปทาน ปัจจุบันดาเนินการโดย บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จากัด ในกลุ่มบริษัท บีอีซี เวิล์ด จากัด (มหาชน) ภายใต้สัญญาสัมปทานกับ บริษัท อ.ส.ม.ท. จากัด (มหาชน)
46 | แ น ว คิ ด
กล่องที่ 4.2
พัฒนาการของสื่อโทรทัศน์ในประเทศไทย (ต่อ)
ออกอากาศครั้งแรกเมือ่ พ.ศ. 2513 ระบบ PAL 625 เส้น ภาพสี ในระยะแรก สามารถให้บริการได้เพียงในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียงในระบบ VHF ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 ไทยทีวสี ีชอ่ ง 3 ได้รับอนุมัติจัดสรรคลื่นความถี่ในระบบ UHF จาก คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กกช.) เพื่อใช้ออกอากาศ แทนคลื่นความถีเ่ ดิม (ระบบ VHF) ทาให้มีกาลังออกอากาศกว้างไกลมากขึน้ และกระจายไปใน ส่วนภูมิภาคตามลาดับ 5.สถานีวทิ ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ช่อง 11 สถานีวทิ ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (สทท.11) เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งชาติ โดยมีรัฐ ดาเนินการบริหารจัดการ สังกัดกรมประชาสัมพันธ์ สานักนายกรัฐมนตรี โดยมีรัฐมนตรี ประจาสานักนายกรัฐมนตรี และปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กากับดูแล ออกอากาศ อย่างเป็นทางการในวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (สทท. 11) ได้เปลีย่ นภาพลักษณ์และตราสัญลักษณ์เป็น NBT ย่อมาจาก National Broadcasting Services of Thailand ในปี พ.ศ. 2551 ก่อนจะได้รบั การเปลี่ยนตรา สัญลักษณ์ใหม่อีกครั้ง เป็นรูปหอยสังข์สีมว่ งในปี พ.ศ. 2552 จนถึงปัจจุบัน 6.สถานีโทรทัศน์ Thai PBS ทีวีไทย เป็นสถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย ภายใต้การกากับดูแล โดยองค์การกระจายเสียงและการแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) เกิดขึ้นเมือ่ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551 ภายหลังจากทีส่ ถานี TITV (เดิมคือ ITV) ยุติการดาเนินการแพร่ ภาพออกอากาศโดยใช้ชอื่ ในครั้งแรกว่าไทยพีบีเอส (Thai PBS) ซึง่ พันธกิจของทีวไี ทย คือ การดาเนินการผลิตรายการ ให้ขา่ วสาร ความรู้ สาระบันเทิงทีม่ ีคุณภาพ และมาตรฐาน ตามข้อบังคับจริยธรรมองค์การฯ เพือ่ เผยแพร่ โดยยึดถือประโยชน์สาธารณะเป็นสาคัญ โดย ได้รับเงินสนับสนุนจากเงินภาษีของประชาชนในการดาเนินงาน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 47
กล่องที่ 4.3
ประเภทของสือ่ โทรทัศน์ไทย
ปัจจุบันสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทยมีเป็นจานวนมาก จึงได้อธิบายเพิม่ เติมโดยจาแนก สถานีโทรทัศน์ตา่ งๆ ออกเป็น 3 ลักษณะตามเกณฑ์ที่ผู้ชมสามารถเลือกรับชม ได้แก่ สถานีโทรทัศน์แบบไม่เสียค่าใช้จ่าย สถานีโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิก และสถานีโทรทัศน์ ดาวเทียม ดังนี้ 1.สถานีโทรทัศน์แบบไม่เสียค่าใช้จา่ ย (Free TV) หมายถึง สถานีโทรทัศน์ที่ผู้ รับชมสามารถเปิดรับชมได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายหรือค่าสมาชิกใดๆ เพียงเปิดรับสัญญาณ ด้วยเสาอากาศโทรทัศน์ ได้แก่ - สถานีโทรทัศน์ของกองทัพบก ได้แก่ สถานีวทิ ยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 ดาเนินการโดยกองทัพบก -สถานีโทรทัศน์ของรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ดาเนินการโดย บริษัท อ.ส.ม.ท. จากัด (มหาชน) - สถานีโทรทัศน์เอกชนเช่าสัญญาสัมปทาน ได้แก่ สถานีโทรทัศน์ของ กองทัพบกช่อง 7 ดาเนินการโดย บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จากัด ภายใต้ สัญญาสัมปทานกับ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ไทยทีวสี ี ช่อง 3 อ.ส.ม.ท. ดาเนินการโดยบริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จากัด ในกลุ่ม บริษัท บีอีซี เวิล์ด จากัด (มหาชน) ภายใต้สัญญาสัมปทานกับ บริษทั อ.ส.ม.ท. จากัด (มหาชน) - สถานีโทรทัศน์แห่งชาติ ได้แก่ สถานีวทิ ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (สทท., NBT) ดาเนินการโดย กรมประชาสัมพันธ์ สานักนายกรัฐมนตรี - สถานีโทรทัศน์สาธารณะ ได้แก่ สถานีโทรทัศน์ทวี ีไทย - สถานีโทรทัศน์สาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย ออกอากาศในระบบ UHF ดาเนินการโดยองค์การกระจายเสียงและการแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศ ไทย (ส.ส.ท.) - สถานีโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจ ได้แก่ สถานีโทรทัศน์รวมการเฉพาะ กิจ ดาเนินการโดย ช่อง 3 ททบ. 5 ช่อง 7 สี และโมเดิร์นไนน์ทวี ี (มี สทท. และ ทีวีไทย เป็นสมาชิกจร) เพือ่ ร่วมกันแพร่ภาพออกอากาศ เหตุการณ์สาคัญต่างๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ทั้งการถ่ายทอดสด และเทปบันทึกภาพ 2.สถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับสมาชิก หมายถึง สถานีโทรทัศน์ทผี่ ู้รบั ชมต้องเสีย ค่าสมาชิก หรือ ค่าใช้จ่ายเพือ่ รับชมรายการจากชุดช่องรายการของสถานีนั้นๆ
48 | แ น ว คิ ด
กล่องที่ 4.3
ประเภทของสือ่ โทรทัศน์ไทย (ต่อ)
- สถานีโทรทัศน์เคเบิลทรูวิชนั่ ส์ ดาเนินการโดย บริษัท ทรูวิชั่นส์ จากัด (มหาชน) ภายใต้สญ ั ญาสัมปทานกับ บริษัท อ.ส.ม.ท. จากัด (มหาชน) ออกอากาศด้วยระบบเคเบิล และระบบดาวเทียม จานวนรวมมากกว่า 100 ช่อง รายการ - โทรทัศน์เคเบิลท้องถิ่น ดาเนินการโดยบริษัทเอกชนต่างๆ ที่ดาเนินการจัด ช่องและขายให้แก่ผู้รับชมโดยการบอกรับเป็นสมาชิก 3.สถานีโทรทัศน์ระบบดาวเทียม ผู้ชมสามารถรับชมรายการจากจานดาวเทียมที่ รับสัญญาณดาวเทียมได้โดยตรง (โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ยในการเป็นสมาชิก) ได้แก่ สถานีวิทยุ โทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมวังไกลกังวล, Nation Channel, ETV ของ กระทรวงศึกษาธิการ ฯลฯ ในระยะแรกในทางปฏิบัตถิ ้าต้องการชมโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมทั้ง ในประเทศและต่างประเทศต้องติดตัง้ จานดาวเทียมขนาดใหญ่ แต่ปัจจุบันนี้ มีการส่งสัญญาณ ด้วยระบบดิจิตอล โดยมีบริษัทของสถานีโทรทัศน์บอกรับสมาชิกจัดช่องชุดสัญญาณที่มี รายการจากดาวเทียมต่างๆ ได้เช่นกัน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 49
บทที่ 5 โทรทัศน์กับเด็ก เยาวชน ครอบครัว และสังคม ‚หนูไม่สามารถอยู่ได้โดยไม่มีทีวีของหนู‛ ‚ผมคงรู้สึกแย่มากๆ ถ้าไม่มีทีวีอีกต่อไป‛ ‚ชี วิตทีป่ ราศจากทีวี…ไม่มีทาง‛ ‚หนูคงโกรธและหงุดหงิ ดมากๆ หากหนูไม่ ได้ดูทีวี เพราะหนูไม่รู้ว่าจะทา อะไร‛ คําพูดข้ างต้ นเป็ นบทสัมภาษณ์ส่วนหนึ่งถึงทัศนคติของเด็กอายุ 8-11 ขวบ ที่มีต่อโทรทัศน์ซึ่งถือเป็ นเรื่ องที่น่าตกใจสําหรับผู้ใหญ่อย่างยิ่ง ในงานการศึกษาของศาสตราจารย์ Livingstone และ Moira Bovill (2001) ค้ นพบว่าความสําคัญของโทรทัศน์ที่มีต่อเด็กและเยาวชนนันเป็ ้ นที่ ชดั แจ้ ง เนื่องจากโทรทัศน์เป็ นสื่อที่มีความแพร่ หลายในทุกๆบ้ าน เด็กๆจึงใช้ เวลา จํานวนมากไปกับมัน อีกทังเด็ ้ กผู้ชายและเด็กผู้หญิงจาก 12 ประเทศใน ยุโรปจํานวนมากกล่าวว่าโทรทัศน์เป็ นสือ่ ที่พวกเขาต้ องการมากที่สดุ เด็กๆ จึงมีโทรทัศน์ไว้ ในครอบครองเป็ นการส่วนตัวในห้ องนอนเช่นเดียวกับการมี ตู้หนังสือ สิง่ ที่น่าสนใจคือ พวกเขาค้ นพบว่าสื่อมีบทบาทที่สําคัญในฐานะ ของตัว สร้ างเอกลัก ษณ์ แ ละวัฒ นธรรมของเด็ ก และเยาวชน ตลอดจน ความสัมพันธ์ตา่ งๆกับครอบครัว เพื่อน โรงเรี ยน และชุมชน ในทางกลับ กัน 50 | แ น ว คิ ด
เอกลัก ษณ์ แ ละวัฒ นธรรมของเด็ ก และเยาวชนรวมถึ ง ความสัม พัน ธ์ เหล่านัน้ ก็มีผลต่อการสร้ างบทบาทของสื่อเช่นกัน ท่ามกลางยุคของการ เปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี เด็ ก ๆเติ บ โตโดยมี ลัก ษณะที่ ไ ม่ เ หมื อ น สมัยก่อน เด็กๆจะชอบออกไปเล่นนอกบ้ านมากกว่าอยู่ในบ้ าน อย่างไรก็ ตาม ปั จจุบันการดูโทรทัศน์ กลายเป็ นกิ จกรรมยามว่างหลักในบ้ านของ เด็กๆและสมาชิกในครอบครัว เด็กสมัยนี ้ส่วนมากไม่สามารถจินตนาการ ถึงชีวิตที่ปราศจากโทรทัศน์ได้ กล่องที่ 5.1
โทรทัศน์เปรียบเสมือนหลอดไฟซึง่ เปิดอยู่ตลอดเวลา
ในหลายๆบ้าน สิ่งทีส่ มาชิกในครอบครัวจะทาเป็นอันดับแรกหลังจากการตื่นนอนตอน เช้า คือ การเปิดโทรทัศน์ และบ่อยครั้ง โทรทัศน์มักเป็นสิ่งสุดท้ายทีเ่ ปิดอยู่จนกระทั่ง เวลาเข้านอน ในหลายๆบ้าน โทรทัศน์เป็นเสมือนสมาชิกอย่างถูกต้องคนหนึ่งในครอบครัว โทรทัศน์เป็นสิง่ ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะบ้านใดที่มีรายการโทรทัศน์ระบบ ดาวเทียมหรือมีสญ ั ญาณรายการที่หลากหลายตลอดจนมีรายการใหม่ๆตลอดเวลา ในบ้านนั้นก็เป็นไปไม่ได้เลยทีเ่ ด็กๆจะปิดโทรทัศน์เนือ่ งจากมีสิ่งให้พวกเขาดูอยูต่ ลอดเวลา ในหลายๆบ้าน เปิดโทรทัศน์อยู่แม้วา่ จะไม่มีคนดู บางครอบครัวให้เหตุผลว่าเปิดโทรทัศน์ ไว้เพือ่ ป้องกันโจรเข้าบ้าน บางครอบครัวเปิดโทรทัศน์ไว้เพือ่ ผ่อนคลายความเบือ่ หน่าย ในขณะทางานบ้าน หลายๆครอบครัวชอบมีเสียงอะไรสักอย่างในบ้านเพื่อให้รสู้ ึกไม่โดด เดี่ยวเปรียบเหมือนเป็นเสียงพื้นหลัง (background noise) ดังนั้น โทรทัศน์จึงถูกเปิด ทิ้งไว้แม้วา่ จะมีคนดูหรือไม่กต็ าม ปั จ จุบัน หลายๆ ครั ว เรื อ นจะมี โ ทรทัศ น์ ติ ด บ้ า นไว้ ม ากกว่า 1 เครื่ อง และคาดว่าในอนาคตจะเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ โดยเฉพาะบ้ านที่มีเด็ก จะพบว่ามีโทรทัศน์ติดตังไว้ ้ เกือบทุกห้ องในบ้ าน บางครอบครัวมีมากถึง 7 เครื่ อ งในบ้ า น ตัง้ แต่ ห้ อ งนั่ง เล่น ห้ อ งนอนของผู้ใ หญ่ ห้ อ งครั ว จนถึ ง ห้ องนอนของเด็กๆ จนเหลือแต่ห้องนํ ้าเท่านัน้ ที่ดเู หมือนว่าส่วนใหญ่จะไม่ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 51
มี โทรทัศ น์ ติ ด ตัง้ อยู่ ทัง้ นี ไ้ ม่ไ ด้ ห มายความว่ า พวกเขาจะไม่ มี โ ทรทัศ น์ สําหรับพกพาเครื่ องเล็กๆที่สามารถถือเข้ าไปในห้ องนํ ้าได้ ด้ วย ดังนัน้ จึงไม่ แปลกเลยที่จะเห็นว่ามีทีวีหลายเครื่ องพร้ อมๆกันในบ้ านหลังเดียว
1) อิ ท ธิ พ ลของโทรทั ศ น์ ต่ อ เด็ ก เยาวชน และ ครอบครัว Denis McQuail (2002) ให้ คํ า จํ า กัด ความของอิ ท ธิ พ ลของ สือ่ มวลชน (effects of mass media) ว่าหมายถึง “ผลจากการทางานหรื อ จากการทาหน้าที ่ของสื ่อมวลชน และผลจากการเปิ ดรับสือ่ ของผูร้ ับสารที ่ เกิ ดขึ้ นโดยตัง้ ใจหรื อไม่ ตงั้ ใจก็ตาม วิ ธีการศึกษาอิ ทธิ พลของสือ่ มวลชนมี ความแตกต่ า งกันขึ้ น อยู่ กับ ระดับ การวิ เ คราะห์ ท างสัง คม อิ ท ธิ พ ลของ สือ่ มวลชนแบ่งออกเป็ นหลายประเภท ที ่สาคัญได้แ ก่ อิ ทธิ พลต่อการรับรู้ (cognitive) อิ ทธิ พลต่อทัศนคติ (attitudinal of affective) และอิ ทธิ พลต่อ พฤติ กรรม (behavior) อิ ทธิ พลต่างจากประสิ ทธิ ผล (effectiveness) ซึ่ ง หมายถึ งประสิ ทธิ ภาพ (efficiency) ในการทาให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ของ การสือ่ สาร” จากความหมายดังกล่าว เราจะเห็นได้ ว่าอิทธิพลของสื่อมวลชน นัน้ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ 1. อิทธิพลที่เกิดขึน้ ด้ วยความตัง้ ใจหรื อเจตนา (intended) ของผู้ส่งสาร ตัวอย่างที่เห็นได้ ชดั ก็คือการโฆษณา ซึ่งผู้ส่งสารต้ องการมี อิทธิพลในการจูงใจผู้รับสารให้ ซื ้อสินค้ าที่ตนโฆษณา จึงมีการวางแผนการ โฆษณา นับตังแต่ ้ แผนกลยุทธ์ ในการสื่อสาร การวางแผนการสร้ างสรรค์ และผลิตงานโฆษณา การวางแผนซื ้อสื่อโฆษณา เป็ นต้ น อีกตัวอย่างหนึ่ง
52 | แ น ว คิ ด
คือการที่สื่อมวลชนมีเจตนาที่หยิบยกประเด็นที่คิดว่าสําคัญและน่าสนใจ ในขณะนันมาเสนอเป็ ้ นประจํา (agenda setting) เพื่อให้ เกิดผลอย่างใด อย่ า งหนึ่ ง เช่ น เพื่ อ ขุ ด คุ้ ยการทุ จ ริ ตในวงราชการออกมาตี แ ผ่ ใ ห้ สาธารณชนได้ รับทราบ ก็จะมีการหยิบยกประเด็นนี ้ขึ ้นมานําเสนอทุกวัน และเป็ นการเสนอในรูปแบบวิเคราะห์เจาะลึก จนกว่าผู้กระทําความผิดจะ ถูกลงโทษ เป็ นต้ น หรื อในบางกรณี สื่อมวลชนต้ องการสร้ างสาธารณมติ เพื่อให้ ได้ ความคิดเห็นจากประชาชนในทางใดทางหนึ่ง อิทธิ พลที่เกิดขึ ้น โดยเจตนาเรี ยกอีกอย่างหนึง่ ว่า อิทธิพลจากการวางแผน (planned effect) 2. อิ ท ธิ พ ลที่ เกิ ด ขึ น้ ด้ วยความไม่ ตั ้ง ใจหรื อ ไม่ เจตนา (unintended) ของผู้ส่งสาร ตัวอย่างเช่น การเสนอข่าวอาชญากรรม เกี่ ย วกับ โจรชิ ง ทรั พ ย์ แ ละทํ า ร้ ายร่ า งกายเจ้ าทรั พ ย์ อ ย่ า งโหดเหี ย้ มบน สะพานลอยทําให้ ผ้ รู ับสารเกิดความหวาดกลัว ไม่กล้ าเดินบนสะพานลอย ยอมเสี่ ย งภั ย จากการข้ ามถนน เป็ นต้ น ในการเสนอข่ า วสารต่ า งๆ สื่อมวลชนมีวตั ถุประสงค์รายงานข้ อเท็จจริ งตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้น ไม่มี เจตนาจะจูงใจให้ ผ้ รู ับสารเกิดความหวาดกลัวแต่ประการใด แต่บางข่าว หรื อบางสถานการณ์ กลับมีอิทธิ พลต่อความเชื่อและการรับรู้ ของคนเป็ น จํานวนมาก เพราะไปสอดคล้ องกับความสนใจและความต้ องการของผู้รับ สารในขณะนัน้ อิทธิ พลที่เกิ ดขึ ้นโดยไม่เจตนา เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็ น อิทธิพลที่ไม่มีการวางแผน (unplanned effect) นอกจากแบ่งประเภทของอิทธิพลเป็ นอิทธิพลที่เกิดขึ ้นโดยเจตนา และอิทธิพลที่เกิดขึ ้นโดยไม่เจตนาแล้ ว ยังสามารถแบ่งออกได้ อีกมิติหนึ่ง คือมิติของเวลาที่อิทธิ พลเกิดขึ ้นและคงอยู่ หรื อเวลาที่มีผลทําให้ ผ้ รู ับสาร เกิดความเปลีย่ นแปลง โดยแบ่งเป็ นอิทธิพลระยะสัน้ (short-term effect) กับอิทธิพลระยะยาว (long-term effect) ซึ่งอิทธิพลของสื่อมวลชนทัง้ 2 กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 53
ประเภท คือ อิทธิพลที่เกิดขึ ้นโดยไม่เจตนา หรื อโดยเจตนา กับระยะเวลามี ความสัมพันธ์ กัน และนักวิชาการส่วนใหญ่ จะศึกษาไปพร้ อมๆ กันทัง้ 2 ด้ าน หรื อ 2 มิติ กล่องที่ 5.2
อิทธิพลของสือ่ โทรทัศน์กบั การเปลีย่ นแปลง
เมือ่ มองในระดับบุคคลนั้น สือ่ โทรทัศน์มอี ิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง 3 ด้านเป็นอย่าง น้อย ได้แก่
ความรู้
ทัศนคติ
พฤติกรรม
การเปลี่ยนแปลงทั้งสามประการนีม้ ีความสัมพันธ์กัน โทรทัศน์จะเป็น ตัวกระตุ้นให้คนรับรูเ้ รือ่ งต่างๆ ที่เผยแพร่ เข้าสู่กระบวนการคิด ตีความ จดจา และ ประมวลเป็นความรู้ หลังจากนั้นจะนาไปสู่การเปลีย่ นแปลงทัศนคติที่บุคคลนั้นมีอยูเ่ ดิม และเมือ่ มีทัศนคติอย่างใดอย่างหนึง่ แล้วจึงแสดงพฤติกรรมออกมา ซึ่งปัจจัยที่ทาให้ โทรทัศน์มอี ิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงบุคคล สามารถพิจารณาได้จากปัจจัยภายในของ โทรทัศน์เอง เช่น ความมีคณ ุ สมบัติในฐานะสือ่ มวลชน คุณสมบัติในฐานะผูส้ ง่ สาร เนือ้ หาและเทคนิคการนาเสนอ เนือ้ หา ปัจจัยด้านผู้รับสารและปัจจัยด้านบริบทของ สังคม นอกจาก โทรทัศน์จะมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรมของแต่ละบุคคลแล้วยังส่งผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลงในระดับสังคมซึ่งเป็น ระดับที่กว้างขึ้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือการเปลีย่ นแปลงในระดับบุคคลนั้นก่อให้เกิดผล ต่อการเปลีย่ นแปลงทางสังคม และเป็นการเปลีย่ นแปลงทีม่ ีความสัมพันธ์กันซึ่งมีความ สลับซับซ้อนจนแยกออกจากกันได้ยาก ในการศึกษาเกีย่ วกับผลกระทบของสือ่ มวลชนต่อสังคม ส่วนใหญ่จะศึกษาใน เรือ่ งสือ่ มวลชนกับการเปลีย่ นแปลงบทบาทหน้าที่ และการเปลี่ยนแปลงในด้าน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรือ่ งสือ่ มวลชนกับกระบวนการขัด เกลาทางสังคม (mass media and socialization) ซึ่งเป็นการศึกษาผลกระทบของ สือ่ มวลชนที่มีตอ่ กระบวนการขัดเกลาทางสังคมอันเป็นการหล่อหลอมความเชือ่ ค่านิยม และพฤติกรรมของคนให้เป็นไปตามทีส่ งั คมต้องการ อาจหมายถึงให้คนรู้ บทบาทหน้าที่ของตนเองและของบุคคลอื่น รู้จักการดาเนินชีวติ ในสังคมนับตัง้ แต่ การกินอยู่ การพูดจา การแต่งกาย การแสดงท่าทาง ฯลฯ รวมทั้งปลูกฝังความเชือ่ และ ค่านิยมของกลุ่มให้เด็กและเยาวชน ที่สาคัญโทรทัศน์ยงั มีอิทธิพลในการถ่ายทอดมรดก ทางสังคมและวัฒนธรรมไปยังอนุชนรุ่นต่อไป 54 | แ น ว คิ ด
อย่างที่เราทราบกัน สือ่ โทรทัศน์มีผลกระทบทังด้ ้ านบวกและด้ าน ลบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอิทธิพลของโทรทัศน์ที่มีตอ่ สังคมและการพัฒนาเด็ก และวัยรุ่ น โทรทัศน์ เป็ นสื่อที่มีอิทธิ พลทังในเชิ ้ งปริ มาณและคุณภาพ จน กลายเป็ นศูนย์กลางของการสร้ างสรรค์วฒ ั นธรรมในสังคมยุคนี ้ เกือบทุก บ้ านของไทยมีโทรทัศน์ประจําบ้ าน ประกอบกับช่วงเวลาออกอากาศของ รายการโทรทัศน์ก็ยาวนานเกือบตลอด 24 ชัว่ โมง จึงปรากฏในงานวิจัย หลายชิน้ ว่า เด็กใช้ เวลาว่างในการดูโทรทัศน์มากที่สดุ สอดคล้ องกับ ผลการวิจยั ไลฟ์ สไตล์เด็กในเอเชีย ‘นิวเจเนอเรเชี่ยนส์ ทีเอ็ม (New Gener Asians TM)’ ของการ์ ตนู เน็ตเวิร์ค พบว่า เด็กไทยเป็ นกลุม่ ผู้ชมรายการ โทรทัศน์กลุม่ ใหญ่ที่สดุ ใน 14 ประเทศทัว่ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และ 89% ของเด็กไทยจะดูทีวีทุกวัน (คํานวร 2543) และจากการสํารวจของ สํานักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2546 พบว่า กิจกรรมที่เด็กและเยาวชนไทยอายุ 6-24 ปี ทํามากที่สดุ ได้ แก่ การดูโทรทัศน์ดวู ิดีโอ ซึ่งคิดเป็ นร้ อยละ 39.62 เมื่อเทียบกับการเลือกทํากิจกรรมอื่นๆ รองลงมาคือการฟั งวิทยุ-เทป การ สังสรรค์กบั เพื่อนเด็กจะเลือกทํามากเป็ นอันดับสาม และอันดับสี่ได้ แก่การ อ่านหนังสือ จึงกล่าวได้ วา่ โทรทัศน์เป็ นสื่อที่เข้ าถึงเด็กและมีโอกาสในการ ชี ้นําเด็กไทยได้ มาก ทังนี ้ ้ รายการโทรทัศน์ที่เผยแพร่ อยู่มีทงดี ั ้ และด้ อยคุณค่า ส่วนที่ ด้ อยคุณค่าที่เรามองเห็นกันได้ อย่างชัดเจน คือ เรื่ องของการแพร่ภาพความ รุ นแรง การแสดงออกทางเพศที่ไม่เหมาะสม และภาษาก้ าวร้ าวรุ นแรง หยาบคาย การที่เด็กได้ ดภู าพความรุนแรงสะสมและซํ ้าซาก จะเป็ นบ่อเกิด บ่มเพาะนิสยั ก้ าวร้ าวและนิยมชมชอบความรุ นแรงของเด็กๆ และยังส่งผล ต่อสุขภาพทังด้ ้ านสุขภาพกาย ก่อให้ เกิดโรคอ้ วนจากการนัง่ เฝ้ าหน้ าจอ โทรทัศน์ทงวั ั ้ นและการพัฒนาของสติปัญญา เพราะโทรทัศน์จะดึงดูดให้ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 55
เด็กนัง่ ชมรายการบันเทิงสนุกสนานเฮฮาอยู่หน้ าจอ โดยไม่สนใจเรื่ อง วิชาการหรื อการเรี ยน โทรทัศน์ยงั เป็ นสาเหตุที่ทําให้ เด็กๆ พลาดโอกาสที่จะ ได้ รับความสนุกสนานอื่นๆ ร่ วมกับเพื่อนๆ หรื อกับครอบครัว ไม่ว่าจะเป็ น การเล่นกับเพื่อนๆ การอ่านหนังสือ การเรี ยนหัดพูดของเด็กเล็ก การเล่า นิทาน การออกกําลังกาย และการพัฒนาร่ างกายและสติปัญญาให้ สมกับ วัย เมื่อเด็กขาดพัฒนาการที่ดีก็ยอ่ มกลายเป็ นเด็กอ่อนแอและตกเป็ นเหยื่อ ได้ ง่ายๆ ที่เห็นได้ ชดั เจนคือ การที่เด็กตกเป็ นเหยื่อของการโฆษณาสินค้ าที่ ไม่จําเป็ น นอกจากนัน้ ระยะเวลาที่เด็กดูโทรทัศน์นนมี ั ้ ผลต่อพัฒนาการ ของเด็ก นัน่ คือ ยิ่งดูนานเด็กๆ ก็จะได้ รับอิทธิพลจากโทรทัศน์ มากขึน้ จนทาให้ พวกเขาสับสนและขาดความสามารถในการแยกโลกมายา ในจอโทรทัศน์ ออกจากโลกแห่ งความเป็ นจริง กล่องที่ 5.3
สือ่ โทรทัศน์มอี ทิ ธิพลสูง?
สือ่ โทรทัศน์นับเป็นสือ่ ที่มอี ทิ ธิพลสูงเมือ่ เทียบกับสือ่ ประเภทอื่น เนือ่ งจากเครือ่ งรับ โทรทัศน์มีใช้อย่างกว้างขวาง สามารถเข้าถึงคนได้งา่ ย ทุกเพศ ทุกวัย และทุกสถานะ การศึกษา รวมทั้งยังมีอทิ ธิพลต่อการใช้ประสาทสัมผัสในการรับรู้ทั้งรูปและเสียง เพราะ อวัยวะรับรู้ทมี่ นุษย์ใช้มากทีส่ ุด คือ ตา ใช้ถึง 75% รองลงมาคือหู 13% ดังนั้นในการดู โทรทัศน์เราจึงใช้ประสาทสัมผัสในการรับรูถ้ ึง 88% แสดงให้เห็นว่าสือ่ โทรทัศน์มอี ิทธิพล ต่อความนึกคิดของเราได้มากกว่าสือ่ อื่นๆ นอกจากนัน้ ความรวดเร็วของสือ่ โทรทัศน์ ดังที่ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2543) อธิบายว่า การมีอยู่ของโทรทัศน์ในปัจจุบนั ที่ มีการใช้การสือ่ สารผ่านระบบดาวเทียม เป็นการย่นย่อระยะเวลาการเดินทางระหว่างกัน ให้เหลือเพียงเศษเสี้ยววินาที สิ่งทีแ่ พร่ภาพออกไปจะสามารถรับได้พร้อมกันทั่วประเทศ แม้จะอยู่ตา่ งสถานที่กันแต่กส็ ามารถรับรูไ้ ด้ในสิ่งเดียวกัน อย่า งไรก็ ต าม จากผลการวิ จัยของหลายๆ หน่ว ยงานใน ต่างประเทศ รวมทังประเทศไทยได้ ้ ค้นพบว่า พฤติกรรมในการดูโทรทัศน์ ของเด็กๆ นันสามารถเปลี ้ ่ยนแปลงได้ ถ้ าหากบิดา มารดา หรื อผู้ปกครอง 56 | แ น ว คิ ด
ให้ ความสนใจเอาใจใส่อย่างแท้ จริ ง เพราะสื่อโทรทัศน์มีทงแง่ ั ้ บวกและแง่ ลบ ในแง่บวกเราสามารถใช้ โทรทัศน์เป็ นเครื่ องมือสําหรับการเรี ยนรู้ ก็ได้ โทรทัศน์ยงั มีรายการดีๆ ที่สร้ างสรรค์สําหรับเด็ก ซึ่งสามารถเปิ ดโลกทัศน์ ของเด็กให้ กว้ างขวาง ทําให้ เด็กได้ เรี ยนรู้ แง่มมุ ต่างๆ ของชีวิตและสังคม รอบตัว รวมถึงสิง่ ที่เกิดขึ ้นในโลกนี ้ เช่น โลกของเราประกอบด้ วยคนหลาย เชื ้อชาติ ซึ่งสามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยให้ ความร่ วมมือ เอาใจใส่ซึ่งกันและ กัน มีเมตตาต่อกัน หรื อโทรทัศน์อาจใช้ เพื่อการศึกษาเสริ มจากชันเรี ้ ยน เช่น การสอนคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ การหัดอ่าน หัดเขียน เป็ นต้ น รายการโทรทัศน์สําหรับเด็กบางรายการ มีการถ่ายทําจัดพาไปเยี่ยมชม สวนสัตว์ ห้ องสมุดพิพิธภัณฑ์ และกิจกรรมสันทนาการต่างๆ รายการ โทรทัศน์ที่ผลิตออกมาในเชิ งบวก ก็จะให้ ผลเชิ งบวก ดังเช่น รายการ Sesame Street มีผลในการช่วยพัฒนาทักษะด้ านการอ่านและการเรี ยนรู้ ให้ แก่เด็ก จากงานวิจยั ของ Fisch (อ้ างถึงใน นฤมล 2552: 13-14) ค้ นพบ เพิ่มเติมอีกว่า สําหรับเด็กที่ติดตามดูรายการ Sesame Street อย่าง ต่อเนื่องจะมีพฒ ั นาการทางวิชาการที่ดี โดยเฉพาะเด็กอายุระหว่าง 3-5 ปี โดยเฉพาะการเรี ยนเขียนอ่าน ความทรงจําที่เกี่ยวกับตัวอักษร ตัวเลข การ เรี ยนรู้ อวัยวะส่วนต่างๆของร่ างกาย รู ปทรง ถ้ อยคําที่สมั พันธ์ กนั และการ จําแนกแยกจําพวก เป็ นต้ น นอกจากนัน้ จากการวิจยั กับเด็กก่อนวัยเรี ยน พบว่าเด็กมีความพร้ อมในการเข้ าเรี ยนมากกว่าเด็กกลุม่ อื่นๆ ที่ไม่ได้ ชม รายการ Sesame Street เช่น มีความสามารถในการพูดและการใช้ ภาษา ได้ ดี มีทศั นคติที่ดีตอ่ โรงเรี ยน มีความสัมพันธ์ที่ดีกบั เพื่อนๆ อีกทังยั ้ งพบว่า เด็กกลุม่ นี ้มีความรักการอ่านและใส่ใจในการเรี ยนดีกว่า และมีสภาวะทาง จิตใจ ในการเข้ าสังคมได้ ดีอย่างเห็นได้ ชดั นัน่ คือ มีความเป็ นมิตรกับเด็ก กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 57
อื่นๆ มองโลกในแง่ดี แสดงออกในเชิงบวก ไม่เห็นแก่ตวั และพร้ อมที่จะให้ ความร่วมมือกับผู้อื่น อย่างไรก็ ดี มีทัศนะวิพ ากษ์ รายการดัง กล่าวในสังคมไทยจาก เครื อ ข่ า ยครอบครั ว ฯ เนื่ อ งจากพั ฒ นาการและการเจริ ญ เติ บ โตใน สภาพแวดล้ อมทางสังคมแบบไทยที่แตกต่างจากตะวัน ตก ส่งผลให้ บาง แง่มมุ ที่ดีในฝั่ งตะวันตกผ่านการออกอากาศบางตอน กลายเป็ นสิง่ ที่อาจไม่ เหมาะสมนัก ในบริ บ ทสัง คมไทย ดัง นัน้ หากจะมี ก ารสร้ างรายการดี ๆ สําหรับเด็กควรคํานึงถึงข้ อดีโดยเอาของเขาเป็ นต้ นแบบแต่มาพัฒนาให้ เหมาะสมในบริ บทของไทยยิ่งขึ ้น กล่องที่ 5.4
เด็กจานวนกว่า 50% มีโทรทัศน์ไว้ในครอบครอง
ในต่างประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ มีการศึกษาที่คน้ พบว่าเด็กจานวนร้อยละ 57 มีโทรทัศน์ไว้ในครอบครองเป็นของตนเองโดยตั้งไว้ในห้องนอน และมีจานวนมากถึง 78% ในเด็กที่มอี ายุมากกว่า 11 ปี (Millwood-Hargrave 2003c: 10) ซึ่งประเทศ อังกฤษขึ้นชือ่ อย่างมากในเรือ่ งที่โทรทัศน์มีบทบาทแทรกซึมอยู่ทุกที่ในสังคม อีกประเทศหนึ่งทีม่ ีจานวนการครอบครองโทรทัศน์ไม่แพ้กันเห็นจะเป็นประเทศไอร์แลนด์ ดูได้จากตัวเลขการสารวจการเป็นเจ้าของโทรทัศน์ทเี่ พิ่มขึ้นจากในปี 1987 ซึ่งมีจานวน 61.2 % เป็น 96.2 % ในปี 2000 (Central Statistics Office, Ireland 2000) ยังมีงานวิจยั เปิดเผยอีกว่าจานวนเวลาที่เด็กใช้ในการดูโทรทัศน์นั้นอยู่ใน ระดับสูงทีเดียว ในปี 2000-2002 มีการคิดค่าเฉลีย่ ระดับชาติในจานวนเด็กอายุ 4-14 ปีที่รับชมรายการโทรทัศน์ ปรากฏว่าอยู่ที่ระดับซึ่งน่าตกใจ คือ ประมาณ 161 นาที หรือคิดเป็น 2.5 ชั่วโมง ซึ่งอัตราการดูโทรทัศน์ของเด็กจะขึ้นลงตามฤดูกาลที่เด็ก ดูโทรทัศน์ โดยจะมากในช่วงฤดูหนาวและน้อยในช่วงฤดูรอ้ น (Broadcasting Commission of Ireland 2003: 5) ที่เราต้องใส่ใจในเรือ่ งของจานวนเวลาที่ดู เป็นเพราะโทรทัศน์เป็นสือ่ ทีร่ ับชมได้ ง่ายไม่วา่ จะในห้องนั่งเล่นหรือห้องนอน ซึ่งถ้ายิง่ ดูมาก อิทธิพลทีเ่ ราได้รับจากโทรทัศน์ ก็จะมากตาม
58 | แ น ว คิ ด
2) โทรทัศน์ทาการปลูกฝันและส่งอิทธิพลได้ อย่างไร ? หากเราอธิบายตามทฤษฎีการบ่มเพาะความเป็ นจริ งทางสังคม (Cultivation Theory) การมองว่าสือ่ มวลชนโดยเฉพาะโทรทัศน์ เป็ นตัวการ สํ า คั ญ ในการปลู ก ฝั ง หรื อ สร้ างโลกให้ กลายเป็ นความจริ ง ขึ น้ มาใน ความรู้สกึ ของผู้รับสาร โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ถือเป็ นแนวคิดหลักของ สายนี ้ซึง่ ให้ ความสนใจสือ่ โทรทัศน์มากที่สดุ เพราะโทรทัศน์เป็ นสื่อที่อาศัย การเล่าเรื่ องด้ วยภาพและเสียง ราคาถูก และไม่ต้องออกไปดูข้างนอกเมื่อ เปรี ย บเที ยบกับ ภาพยนตร์ โทรทัศ น์ จึง สามารถเข้ าถึ งคนได้ ทุก ระดับ การศึกษา ทุกชนชัน้ ทุกเพศทุกวัย จนกระทัง่ โทรทัศน์กลายเป็ นศูนย์กลาง ของชีวิตประจําวันของผู้คนทัว่ โลก เป็ นตัวนําข่าวสารเรื่ องราวต่างๆ ไปยัง คนส่วนใหญ่เกือบตลอดเวลา ทฤษฎีนี ้ให้ ความสนใจในการศึกษาโลกที่แวดล้ อมตัวบุคคล โดย ตังแนวคิ ้ ดพื ้นฐานไว้ ว่า โทรทัศน์ทําหน้ าที่ปลูกฝั งสมาชิกในสังคมได้ ด้วย แนวคิดเรื่ อง ‘การสร้างความเป็ นจริ งทางสังคม’ (Social Construction of Realty) ซึง่ แนวคิดนี ้มองว่าโลกที่แวดล้ อมตัวเราอยูม่ ี 2 โลก ได้ แก่ - โลกทางกายภาพ ซึง่ ได้ แก่ วัตถุ สิง่ ของ บุคคล บรรยากาศด้ าน กายภาพทังหลายที ้ ่แวดล้ อมตัวบุคคล ซึง่ เป็ นโลกที่เกิดขึ ้นตามธรรมชาติ - ส่วนอีกโลกหนึ่งมีชื่อเรี ยกหลายอย่าง เช่น โลกทางสังคม (Social World) สิ่งแวดล้ อมเชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Environment) หรื อความเป็ นจริ งทางสังคมนัน่ เอง ซึ่งโลกนี ้จะเกิดขึ ้นจากการทํางาน ของสถาบันต่างๆ ในสังคม เช่น ครอบครัว โรงเรี ยน ศาสนา ที่ทํางาน รัฐ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 59
และสือ่ มวลชน ทําให้ การรับรู้และพฤติกรรมของบุคคลแตกต่างกัน แม้ การ มองเห็นโลกทางกายภาพจะเหมือนกัน แผนภาพที่ 5.1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างโลกทางกายภาพและโลกแห่งสัญลักษณ์ และสถาบันทางสังคม
ที่มา มนัสวินี 2548: 17
ในการวิเคราะห์อิทธิพลของสื่อโทรทัศน์ตามแนวคิดนี ้ เริ่ มจากมี สมมติฐานเบื ้องต้ น 3 ประการ (Casey, and others 2002: 35-39) ดังนี ้ 1.อิ ทธิ พลของโทรทัศน์ เป็ นสิ่ งที ่วดั ได้ยาก เนื่องจากโทรทัศน์นนั ้ ไม่ได้ ส่ง ผลกระทบในระยะสัน้ แต่ก่ อ ผลกระทบระยะยาว (long-term) ดังนัน้ สิ่งสําคัญคือมุ่งศึกษาผลรวมของรายการผ่านทางเนื ้อหา ข้ อความ และรูปภาพต่างๆ ซึง่ ปรากฏขึ ้นซํ ้าไปซํ ้ามา 2.อิ ท ธิ พลของโทรทัศ น์ จ ะเป็ นไปในลัก ษณะเชิ งสัญ ลัก ษณ์ (symbolic) มากกว่าเชิ งพฤติ กรรม (behavioural) ยกตัวอย่างเช่น ความ รุ นแรงในรายการโทรทัศน์จะไม่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของคนโดยตรง แต่จะมีอิทธิพลส่งผลกับมุมมองของพวกเขาในการมองโลกและการรับรู้ ถึง ความสิง่ ต่างๆ ที่รายล้ อมพวกเขา 60 | แ น ว คิ ด
3.อิ ทธิ พลของโทรทัศน์ จะเป็ นตัวเกื ้อหนุนและส่งผลให้ระเบี ยบ ทางสังคมและระบบอุดมการณ์ต่างๆ ดารงอยู่มากกว่าเปลี ่ยนแปลงมัน ซึ่ง อิทธิพลเช่นนี ้เองเป็ นส่วนหนึง่ ที่ทําให้ โทรทัศน์แตกต่างจากสื่อเก่าๆที่สง่ ผล กระทบต่อการเปลี่ย นแปลงความคิ ดคนมากกว่าเป็ นตัวเสริ ม ความคิ ด เหล่านัน้ อย่ า งไรก็ ต าม จากการศึ ก ษาวิ จั ย ของนัก วิ ช าการในสายนี ้ George Gerbner ได้ ให้ สตู รสันๆ ้ ที่สรุ ปข้ อค้ นพบว่าโทรทัศน์มีบทบาทต่อ คนในสังคมผ่านทาง 3B (อ้ างถึงใน กาญจนา 2547: 344) กล่าวคือ - Blurring คือ โทรทัศน์จะค่อยๆ ลบภาพหรื อทําให้ โลกของความ เป็ นจริ งที่คนเคยมี (ซึ่งอาจจะมาจากประสบการณ์ตรงหรื อการเรี ยนรู้ จาก แหล่งอื่นๆ) จางหายไป - Blending คือ โทรทัศน์ได้ ค่อยๆ ผสมผสานความเป็ นจริ งของ คนเข้ ากับกระแสหลักทางวัฒนธรรมที่มีอยูใ่ นโทรทัศน์ - Bending คือ โทรทัศน์ได้ ค่อยๆ โน้ มให้ โลกของคนเป็ นไปตาม กระแสหลักที่ตอบสนองต่อผลประโยชน์ของโทรทัศน์เอง เช่นเดียวกับ โลกของเด็ก เด็กจะสัมผัสโลกที่เป็ นจริ งหรื อโลกทาง กายภาพได้ จากการมี ป ระสบการณ์ ต รงจากสภาวะแวดล้ อ มรอบตัว ในขณะที่โลกในจอโทรทัศน์ก็จะให้ ความเป็ นจริ ง หรื อประสบการณ์ โดย อ้ อมผ่านสือ่ อีกทีหนึง่ เด็กซึง่ จัดเป็ นผู้บริ โภคสือ่ โทรทัศน์มากก็มีแนวโน้ มว่า หากโลกจริ งๆ กับโลกในจอขัดแย้ งกัน เด็กอาจจะเลือกเชื่อโลกในจอก็ เป็ นได้ หรื อกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ โลกในจอได้ ปลูกฝั งวัฒนธรรมทาง สังคมให้ แก่เด็กมากกว่าสถาบันอื่นๆ แม้ วา่ ในความเป็ นจริ งเด็กจะมีพ่อแม่ ครู เพื่อน เป็ นกลุม่ อ้ างอิงอยู่ แต่โดยลักษณะของโทรทัศน์ที่นําเสนอเฉพาะ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 61
กระแสหลัก (mainstream) ย่อมทําให้ เด็กคล้ อยตามมากกว่า รวมทัง้ ผู้ใหญ่หรื อเพื่อนๆ เองก็ได้ รับการปลูกฝั งจากโทรทัศน์มาไม่แตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื ้นที่ของประสบการณ์จริ งของเราเริ่ มจํากัดแคบเข้ ามา เรื่ อยๆ จากบ้ านที่ลานกว้ าง สามารถวิ่งเล่น มีเพื่อนบ้ านแวดล้ อม มาสูบ่ ้ าน เป็ นห้ องแถว เป็ นห้ องสี่เหลี่ยม โทรทัศน์ ในฐานะสื่อซึ่งสามารถเปิ ด ประสบการณ์ นําโลกอันกว้ างใหญ่มาให้ เราได้ สมั ผัสจึงทรงอิทธิ พลอย่าง แท้ จริ ง ในประเทศไทย มีงานวิจัยบทบาทและผลกระทบของโทรทัศน์ ผ่านการวิ เคราะห์ อิ ทธิ พลของภาพยนตร์ โฆษณาทางโทรทัศ น์ ตามแนว ทฤษฎีการอบรมบ่มนิสยั ทางวัฒนธรรมต่อเยาวชนในสถานศึกษา โดย นภวรรณ ตันติเวชกุล (2543) ซึ่งค้ นหาอิทธิ พลของโฆษณาทางโทรทัศน์ ไทยที่มีตอ่ เยาวชนตามแนวทฤษฎีการอบรมบ่มนิสยั ทางวัฒนธรรม โดยใช้ วิธีการจัดสนทนากลุ่มกับเยาวชนในสถานศึกษาอายุระหว่าง 12-18 ปี และได้ พบว่า ลักษณะการอบรมบ่มนิสยั ทางวัฒนธรรมแบบกระแสหลักนัน้ พบมากในกลุม่ เยาวชนผู้รับชมโฆษณาโทรทัศน์มาก (heavy users) ทั ง้ นี ส้ ามารถจํ า แนกลัก ษณะอิ ท ธิ พ ลที่ สํ า คั ญ ออกได้ เป็ น 3 ลักษณะ คือ 1.อิ ทธิ พลในการอบรมบ่มนิ สยั เชิ งข้อมู ลต่อเยาวชน ซึ่งเกิดขึ ้น เมื่อโฆษณาได้ ทําหน้ าที่บอกเล่าแนวคิดเกี่ ยวกับข้ อมูลสินค้ าแก่เยาวชน ผู้ชมโฆษณาโทรทัศน์มาก 2.อิ ท ธิ พ ลที ่มี ต่ อ พฤติ ก รรมการซื ้ อ สิ น ค้า ของเยาวชนที ่ รับ ชม โทรทัศน์ มาก ซึ่งเกิดขึ ้นเมื่อโฆษณาแสดงให้ เห็นว่าสินค้ าสามารถตอบ สนองความต้ องการส่วนบุคคลของเยาวชนได้
62 | แ น ว คิ ด
3.อิ ทธิ พลทีม่ ี ต่อการใช้ภาษาแบบโฆษณาโทรทัศน์ ซึง่ เกิดขึ ้นเมื่อ โฆษณาได้ นําเสนอแนวคิดด้ วยภาษาโฆษณาซํ ้าๆ และคล้ ายคลึงกันอย่าง สะสมและสมํ่าเสมอ จนเยาวชนที่ชมโฆษณาโทรทัศน์มากได้ ซึมซับภาษา โฆษณาเหล่านันอย่ ้ างไม่ตงใจ ั้ เหตุที่โทรทัศน์มีอิทธิ พลอย่างมากมายนัก เป็ นเพราะธรรมชาติ ของสื่อโทรทัศน์ที่มีลกั ษณะของการนําเสนอแบบภาพ ที่ ‘มาแรง มาบ่อย และมาเร็ ว’ ซึง่ เมื่อนําเสนอแล้ ว ผู้รับสารจะมองเห็นคุณลักษณะบางอย่าง ของสิง่ ที่นําเสนอนันทั ้ นที ดังนัน้ สือ่ โทรทัศน์จึงมีลกั ษณะของความเป็ นสื่อ ที่โปร่ งใส ความโปร่ งใสดังกล่าวจึงทําให้ ดคู ล้ ายกับว่า สื่อเป็ นเพียงตัว นําเอา ‘สิ่งที่เกิดขึ ้น’ มานําเสนอ ทังที ้ ่อนั ที่จริ งภาพที่เห็นในจอโทรทัศน์นนั ้ มิใช่ ‘ภาพที่เกิดขึ ้นจริ งๆ เท่านัน’้ หากแต่เป็ น ‘ภาพจริ งที่ถกู สร้ างขึ ้นมา’ ถูก ปรุงแต่งอย่างหนักหน่วงโดยผ่านมุมกล้ องระยะห่าง แสงสี เป็ นต้ น อีกกลุ่มแนวคิดหนึ่งที่สําคัญอย่างยิ่งในการศึกษาอิทธิ พลของ โทรทัศน์ตอ่ เด็ก คือ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม ซึง่ มองว่าสือ่ ทําทังหน้ ้ าที่ ในการเป็ นผู้อบรมบ่มเพาะและทําหน้ าที่ในการเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ทางอ้ อมใน การหาประสบการณ์ ต่างๆของมนุษย์ เ ช่น กัน และจะนํา ไปสู่พฤติ กรรม เลียนแบบของเด็กจากการรับสือ่ Albert Bandura (1977) มีแนวคิดว่าพฤติกรรมของบุคคล เรี ยนรู้ โดยการสังเกตหรื อการเลียนแบบ (Observational หรื อ Modeling Learning) โดยสิ่งแวดล้ อมและตัวผู้เรี ยนมีความสําคัญเท่าๆ กัน ผู้เรี ยน และสิ่งแวดล้ อมมี อิทธิ พ ลต่อกันและกัน เนื่องจากการเรี ย นรู้ เกิ ดจาก ปฏิสมั พันธ์กบั สิง่ แวดล้ อม พฤติกรรมของมนุษย์หลายอย่างจึงเกิดจากการ เรี ยนรู้ ทางสังคม ดังนัน้ การเลียนแบบเป็ นกระบวนการเรี ยนรู้ ทางสังคม อย่างหนึง่ ของเด็ก โดยการสังเกตและกระทําตามอย่างบุคคลใกล้ ชิดที่ชอบ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 63
หรื อพอใจ ไม่วา่ จะเป็ นพ่อแม่ ครู เพื่อน ตลอดจนสิง่ แวดล้ อมรอบๆ ตัว เช่น สื่อต่างๆ โดยเด็กในช่วงทารกถึง 2 ปี จะเลียนแบบในด้ านพฤติกรรมและ บทบาททางเพศ เห็นอย่างไรจะทําตามอย่างนัน้ ส่วนช่วง 2-6 ปี จะ เลียนแบบทังทางด้ ้ านสังคมและจริ ยธรรม กล่องที่ 5.5
บทบาทแม่แบบของสือ่
การอบรมบ่มเพาะของสือ่ ตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม เปรียบสือ่ มวลชนเสมือนว่า กาลังทาหน้าที่เป็น‚แม่แบบ‛ (modeling) ให้กับผู้รับสารในกลุม่ ต่างๆ ทัง้ นี้ คาว่า ‚แม่แบบ‛ สาหรับการเรียนรู้ โดยการสังเกตของ Bandura (1977) สามารถสรุปได้ - behavioral modeling หมายถึง แม่แบบที่แสดงพฤติกรรมจริงให้ผู้ สังเกตได้เห็น โดยทัว่ ไปแล้วแม่แบบจริงจะมีอิทธิพลต่อผูส้ ังเกตมาก - symbolic modeling หมายถึง แม่แบบทีเ่ ป็นกลุ่มคนในโทรทัศน์ ภาพยนตร์หรือในสือ่ รูปภาพอืน่ ๆ ปัจจุบันเนือ่ งจากสภาพทางสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไป ทาให้แม่แบบจริง เช่น พ่อ แม่ ครู จะมีอิทธิพลน้อยลง แต่แม่แบบโทรทัศน์จะเข้ามามีอิทธิพลในการสอนพฤติกรรมทางสังคม ให้กับผู้สงั เกตมากขึ้นกว่าเดิม - verbal modeling หมายถึง แม่แบบที่แสดงการกระทาพฤติกรรมให้ผู้ สังเกตเห็นโดยการบอกเล่าผ่านการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือ หนังสือเล่ม ยกตัวอย่างเช่น การใช้แม่แบบทีเ่ ป็นตัวละครในเรือ่ งสั้น ในนวนิยาย เป็นต้น ในทัศนะของ Bandura ถือว่าถ้าพัฒนาการด้านความสามารถทางปัญญา ของผูส้ ังเกตมีมากขึ้น แม่แบบทีเ่ ป็นสือ่ สิ่งพิมพ์หรือหนังสือเล่มจะเข้ามามีความสาคัญ และแทนทีแ่ ม่แบบจริง โดยผูส้ ังเกตจะเรียนรู้พฤติกรรมที่พึงประสงค์จากการอ่าน การได้ เห็นพฤติกรรมต่างๆ จากตัวละครในเรือ่ ง ซึ่งแม่แบบที่เป็นบุคคลจริงไม่มีเวลาและไม่ สามารถแสดงแบบให้เห็นพฤติกรรมอย่างมากมายในเวลาเดียวกันได้อย่างแม่แบบในสือ่ สิ่งพิมพ์
64 | แ น ว คิ ด
โดยกระบวนการเลียนแบบมี ลาดับขัน้ ดังนี ้ 1. ความตังใจที ้ ่จะมอง สังเกตหาตัวแบบจากสิ่งแวดล้ อมรอบตัว (Attention) -ตัวแบบ (model) ต้ องมีบคุ ลิกลักษณะเป็ นที่น่าสนใจ ชื่นชอบของเด็ก มีความคล้ ายกับตัวเด็ก -บุคลิกลักษณะของเด็กส่งผลต่อความตังใจ ้ เด็กจะมี ความสามารถในการรับรู้มากน้ อยแค่ไหนขึ ้นอยูก่ บั การรับรู้ที่มีอยู่ ก่อนด้ วยว่าขัดแย้ งหรื อสอดคล้ องกัน และยังขึ ้นอยู่กบั ระดับการ กระตุ้นเร้ า หรื อการได้ รับแรงเสริ ม 2.การจดจํ าตัว แบบ (Retention) คือ สามารถจดจํ าได้ ถึ ง บุคลิกลักษณะ การกระทําของตัวแบบและสามารถทบทวนสิง่ ที่จดจํามาได้ 3.ส ม ร ร ถ ภ า พ ใ น ก า ร แ ส ด ง พ ฤ ติ ก ร ร ม อ อ ก ม า (Motor Reproduction) ซึ่งจะมีการสังเกตตนเองและสิ่งแวดล้ อม ถ้ าเจอสภาพ แวดล้ อมคล้ ายกับตัวแบบก็ จะแสดงพฤติกรรมออกมา หรื อมีแรงจูงใจ ได้ รับแรงเสริ มในทางบวก เช่น มีความภาคภูมิใจก็ จะเกิ ดการแสดง พฤติกรรมเลียนแบบ ถ้ าได้ รับแรงเสริ มในทางลบก็มีแนวโน้ มที่จะไม่แสดง พฤติกรรมเลียนแบบ การเลียนแบบสามารถเกิดขึ ้นได้ ทนั ที หรื อภายหลัง จากนัน้ หากเด็กอยูใ่ นสภาพแวดล้ อมที่เหมาะกับการเลียนแบบ ดังนัน้ สือ่ ส่งผลกระทบต่อเด็กได้ ในหลายลักษณะ ซึ่งอาจต้ องใช้ เวลาหรื อเกิดขึ ้นได้ ในปั จจุบนั ทันที แต่ที่สําคัญ เด็กแต่ละคนแต่ละกลุม่ จะ ได้ รับอิทธิพลจากโทรทัศน์ที่แตกต่างกัน Schramm, Lyle และ Parker (1961) เคยสรุ ปไว้ ว่า สําหรั บเด็กบางกลุ่มภายใต้ เงื่ อนไขบางอย่า ง โทรทัศน์บางรายการก็เป็ นอันตราย แต่สําหรับเด็กคนอื่นๆ ภายใต้ เงื่อนไข กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 65
เดียวกัน หรื อแม้ เป็ นเด็กกลุม่ เดียวกันนี ้ภายใต้ เงื่อนไขอื่น รายการโทรทัศน์ นันก็ ้ อาจเป็ นประโยชน์ได้ และสําหรับเด็กส่วนใหญ่โดยปกติแล้ ว ก็ไม่อาจ ยืนยันได้ ว่ารายการโทรทัศน์สว่ นมากจะไม่มีโทษหรื อไม่เป็ นประโยชน์ เสีย ทีเดียว เพราะในปั จจุบนั แม้ ผลกระทบจากสือ่ ที่ปรากฏให้ เห็นก็ยงั ไม่ได้ เกิด กับเด็กทังหมดทุ ้ กคนทุกกลุม่ ในวัยเดียวกัน กล่องที่ 5.6
ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อการรับรูส้ อื่ ของเด็กและเยาวชน
พญ.พรรณพิมล วิปลุ ากร (2554) ได้อธิบายไว้วา่ การรับรูส้ อื่ ของเด็กและเยาวชนจะ ขึ้นอยู่กับตัวแปรสาคัญอย่างน้อย 2 ประการ คือ วัยของเด็กและพฤติกรรมการรับชม โทรทัศน์ 1.วัยของเด็ก เด็กและเยาวชนอยู่ในช่วงของการเจริญเติบโตทั้งด้านร่างกาย จิตใจและทักษะทางสังคม สมองของเด็กมีการเจริญเติบโตพัฒนาอย่างรวดเร็วใน 6 ปี แรก และจนกระทั่ง 10 ปี แต่ละช่วงวัยมีโอกาสของการพัฒนาด้านต่างๆ หากปล่อย ปละละเลยเรือ่ งสือ่ ทีเ่ ด็กได้รบั จะส่งผลให้เกิดความไม่ตอ่ เนือ่ งของพัฒนาการที่ควรจะเป็น และอาจเกิดการเรียนรู้ที่ไม่เหมาะกับวัย - 0-2 ปี เป็นช่วงเวลาทีส่ าคัญของพัฒนาการทางสมองทีส่ ร้างพื้นฐานการ เรียนรู้ที่ดีให้กับเด็ก กิจกรรมที่เหมาะกับการเรียนรู้ของเด็กคือการใช้ประสาทสัมผัสทุก ด้าน ค้นคว้าเรียนรูส้ ิ่งทีอ่ ยู่รอบตัว ด้วยการเคลือ่ นไหวร่างกาย สัมผัสจัดการเรียนรู้ ผ่านความสัมพันธ์ที่ใกล้ชดิ จากผู้เลีย้ งดู และกระทาการเรียนรู้ซาๆ ้ จนเกิดการบันทึก จดจา หัวใจการเรียนรูอ้ ยู่ที่การใช้สมั ผัสทุกด้าน การเคลือ่ นไหว การเข้ากลุ่ม ซึ่งเป็น แบบที่มีการโต้ตอบ ไม่ใช่การนั่งรับชม และต้องมีเวลาในการพักผ่อนทีเ่ พียงพอ ในวัยนี้ จึงไม่แนะนาให้เด็กรับชมโทรทัศน์หรือสือ่ เคลือ่ นไหวแบบต่อเนือ่ งเป็นเวลานาน เนือ่ งจากโทรทัศน์หรือคอมพิวเตอร์ดึงให้เด็กจ้องมองทีห่ น้าจอที่มีแสงสว่าง มีการ เคลือ่ นไหวภาพที่รวดเร็ว เด็กไม่มีโอกาสเรียนรูแ้ บบโต้ตอบกับสิ่งที่รับเข้ามา และยังมี ความเสี่ยงจากแสงสว่างทีว่ าบขึ้นมาเป็นระยะรวมทัง้ การไม่ได้เคลือ่ นไหวร่างกาย - 3-5 ปี เด็กเริ่มพัฒนาการเรียนรู้จากการเล่นแบบสมมุติ ชอบการทดลอง การเลียนแบบ มีพัฒนาการด้านภาษา สามารถรับรูอ้ ารมณ์ได้มากขึน้ ระบบคิดจะยัง ไม่สามารถแยกระหว่างความจริงกับจินตนาการ การรับรู้ผา่ นสือ่ จะรับรู้ขอ้ มูลแบบซึม ซับว่าเป็นจริง เลียนแบบพฤติกรรมที่เห็น ไม่สามารถตัดสินใจแยกแยะได้ดว้ ยตนเองถึง อันตรายที่จะตามมา การรับชมภาพที่น่าหวาดกลัวจะสร้างความตื่นตระหนก และมอง ว่าสิ่งแวดล้อมภายนอกน่ากลัว วัยนี้เป็นวัยที่เริม่ สร้างรูปแบบพฤติกรรมสุขภาพ โดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพที่เชือ่ มโยงในชีวติ ประจาวัน สือ่ มีโอกาสสร้างทั้งรูปแบบ พฤติกรรมที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม นอกจากนี้การรับชมมากเกินไปทาให้รบกวนการ การที่เด็กนั่งนิ่งหน้าจอ ไม่ได้หมายความว่าเด็กมีสมาธิ ในทางตรง 66พั| ฒ แ นนาด้ ว คิานสมาธิ ด ข้ามเป็นการกระตุ้นเร้าสมองด้วยภาพที่มคี วามเร็วสูง เด็กมักจะหงุดหงิดง่าย ขาด สมาธิในการทากิจกรรมด้วยตนเอง และมีความเข้าใจผิดว่าเด็กจะพัฒนาทางภาษาได้ดี
กล่องที่ 5.6
ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อการรับรูส้ อื่ ของเด็กและเยาวชน (ต่อ)
พฤติกรรมที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม นอกจากนี้การรับชมมากเกินไปทาให้รบกวนการ พัฒนาด้านสมาธิ การที่เด็กนั่งนิ่งหน้าจอ ไม่ได้หมายความว่าเด็กมีสมาธิ ในทางตรง ข้ามเป็นการกระตุ้นเร้าสมองด้วยภาพที่มคี วามเร็วสูง เด็กมักจะหงุดหงิดง่าย ขาด สมาธิในการทากิจกรรมด้วยตนเอง และมีความเข้าใจผิดว่าเด็กจะพัฒนาทางภาษาได้ดี แต่กลับพบว่าเด็กที่อยู่กับสือ่ ประเภทโทรทัศน์นานเกินไปมีปญ ั หาเรือ่ งพัฒนาการทาง ภาษา - 6-12 ปี เด็กจะมีความอยากรูอ้ ยากเห็น มีประสบการณ์ทางสังคมเพิ่ม มากขึน้ เป็นวัยทีส่ ร้างการเรียนรู้ การมีวินยั และความรับผิดชอบ แยกแยะการใช้เวลา เล่นกับการเรียนรู้ ยังมีลักษณะการเลียนแบบสูง เนือ่ งจากระบบคิดยังอยู่ในช่วงการ พัฒนาความเป็นเหตุเป็นผล การแยกแยะข้อมูลที่ได้รบั ว่ามีความหมายเช่นไร มีแนวโน้ม สูงทีจ่ ะทดลองด้วยการเลียนแบบพฤติกรรมโดยไม่เข้าใจความหมายของพฤติกรรมนั้นๆ และยังสร้างค่านิยมต่อพฤติกรรมที่รับรู้ผา่ นสือ่ ว่าเป็นค่านิยมที่ยอมรับทางสังคม การ รับรู้ขอ้ มูลที่ดูเหมือนผ่านไปอย่างรวดเร็วในขณะที่ใช้สอื่ เป็นการรับรู้ทกี่ ระตุ้นเด็กในวัยนี้ เด็กมักรับข้อมูลทีถ่ ูกตอกย้าเข้ามาเป็นแบบแผนวิธีคิดได้โดยง่าย - 13-18 ปี เป็นวัยที่มีการพัฒนาระบบคิด การรับรูแ้ ยกแยะวิเคราะห์ขอ้ มูล ที่ได้รับ มีประสบการณ์ทางสังคมเพิ่มมากขึ้นตามวัย ต้องการการยอมรับและเลือกรับ สิ่งทีเ่ ป็นตามกระแสหลักได้งา่ ย ทีส่ าคัญ เป็นวัยทีม่ ีการแสวงหาต้นแบบในอุดมคติ นักร้อง นักดนตรี ดารา เป็นต้นแบบในการเลียนแบบของเด็กวัยรุน่ โดยเฉพาะการ นาเสนอทีส่ ร้างภาพลักษณ์ สร้างความรูส้ ึกร่วม จะมีอิทธิพลมากต่อความคิดและ พฤติกรรมของวัยรุ่น นอกจากนี้เด็กจะมีความต้องการเป็นแบบผู้ใหญ่ อยากแสดง พฤติกรรมเลียนแบบผู้ใหญ่เพือ่ แสดงว่าตนเองโตแล้ว 2.พฤติกรรมการรับชมโทรทัศน์ เด็กแต่ละคนมีพฤติกรรมการรับชม แตกต่างกันไป ปัจจัยทีส่ ง่ ผลมากมาจากจานวนชั่วโมงที่รับชมและการได้รับการดูแลจาก ผู้ใหญ่ จากการศึกษาพบว่า การทีเ่ ด็กรับชมรายการที่เหมาะกับการเรียนรู้ตามวัยใน จานวนชัว่ โมงที่พอเหมาะส่งผลดีตอ่ การเรียนรู้ของเด็ก ดีกว่าเด็กที่ไม่มีโอกาสรับชม รายการที่เหมาะและเด็กที่รับชมมากเกินไป การรับชมโทรทัศน์มากเกินไป เพิ่มความถี่ใน การเห็นภาพที่แสดงความรุนแรง พฤติกรรมทางเพศแบบผู้ใหญ่ การใช้ภาษาที่ไม่ เหมาะสม รวมทั้งพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมอื่น ๆ เช่น การดื่มสุรา ใช้ยา อาชญากรรม ความรูส้ ึกต่อร่างกายตนเอง และโฆษณา
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 67
กล่องที่ 5.6
ปัจจัยทีส่ ่งผลต่อการรับรูส้ อื่ ของเด็กและเยาวชน (ต่อ)
ในส่วนของการขาดการดูแลของผู้ใหญ่ อาจเป็นไปได้ใน 3 ลักษณะ คือ -การปล่อยให้เด็กใช้สอื่ อย่างไม่มขี อบเขต ซึ่งจะนาไปสู่การใช้สอื่ อย่างไม่มีที่ สิ้นสุด กลายเป็นส่วนประกอบหนึง่ ในชีวิต เกิดภาวะการติด ซึ่งส่งผลต่อกิจวัตร ประจาวันและการเรียนรู้ เมือ่ เกิดอาการติด เด็กจะไม่สามารถควบคุมการใช้สอื่ ของ ตนเอง จนเกิดผลกระทบด้านอารมณ์และด้านการใช้ชวี ิต -การไม่คัดเลือกสือ่ ทีเ่ หมาะสมกับวัย ปล่อยให้เด็กใช้สอื่ ที่มีเนือ้ หาแบบ ผู้ใหญ่ ซึ่งจะมีผลต่อระบบการคิด การตัดสินใจ รูปแบบพฤติกรรมของเด็ก การปล่อย ให้อยู่กับสือ่ โดยขาดการมีสว่ นร่วมและการชีแ้ นะจากผู้ปกครอง ทาให้เด็กรับข้อมูลและ ประสบการณ์ทเี่ กินกว่าจะใช้เหตุใช้ผลตามวัยของตนพิจารณาทาความเข้าใจ และ ตัดสินใจไม่ได้ว่าข้อมูลทีไ่ ด้รับเป็นอย่างไร การรับชมภาพที่ไม่เหมาะสมในเด็กเล็กเกิด ความหวาดหวั่น ตกใจกลัว ไม่สบายใจ ในเด็กโต นอกจากความตกใจ เด็กจะเริม่ คุ้นชิน กับภาพทีไ่ ด้รับ มีความคิดอยากเลียนแบบพฤติกรรม เกิดค่านิยมและสร้างพฤติกรรม ของตนเอง -พืน้ ฐานภูมหิ ลังของเด็กแต่ละคน นอกจากเรือ่ งวัย เรื่องพฤติกรรมการ รับชม ผลทางลบของสือ่ โทรทัศน์ได้รับอิทธิพลจากลักษณะและสิ่งแวดล้อมอื่นของเด็ก ทาให้เด็กบางกลุม่ เพิ่มความเสี่ยงทีจ่ ะได้รับผลทางลบ ได้แก่ เด็กที่มีแนวโน้มก้าวร้าว รุนแรง เด็กที่ถูกปล่อยปละละเลยทอดทิง้ รายได้และสถานภาพของครอบครัว ระดับ การศึกษาของพ่อและแม่ การเห็นความรุนแรงในสังคม เป็นต้น
3) อิทธิพลด้านบวกและด้านลบของสื่อโทรทัศน์ จากการที่สอื่ โทรทัศน์นบั เป็ นสือ่ ที่ทรงพลังเมื่อเปรี ยบเทียบกับสื่อ ประเภทอื่นๆ ด้ วยเป็ นสื่อที่ง่ายต่อการเข้ าถึง และพบได้ แพร่ หลายแทบทุก ครัวเรื อนในปั จจุบนั จึงจัดเป็ นสือ่ ที่เราควรจะให้ ความสนใจเป็ นพิเศษ เพื่อ จะพิจารณาถึงอิทธิพลของสื่อโทรทัศน์ที่มีต่อเด็ก เยาวชน ครอบครัว และ สังคม แน่นอนว่าโทรทัศน์ยอ่ มมีอิทธิพลทังในแง่ ้ บวกและแง่ลบ ซึ่งสามารถ อธิบายได้ ดงั ต่อไปนี ้ 68 | แ น ว คิ ด
3.1 อิทธิพลด้ านบวกของโทรทัศน์ ดังที่ได้ กล่าวแล้ วว่าสื่อโทรทัศน์เป็ นสื่อที่มีลกั ษณะพิเศษ เป็ นนัก เล่าเรื่ องตัวฉกาจ เป็ นผู้ถ่ายทอดภาพของสังคมและวัฒนธรรมมากกว่า สถาบันอื่นๆ ในสังคม ความสามารถในการสร้ างคําอธิบายด้ วยภาพและ เสียงอย่างพิสดาร ทําให้ เด็กๆ ไม่อาจละสายตา หรื อลบตารางการดู โทรทัศน์ออกไปจากชีวิตประจําวันได้ เลย ซึ่งแม้ แต่ผ้ ใู หญ่เองก็เป็ นเช่นนัน้ เราจึงสามารถจะใช้ ศกั ยภาพดังกล่าวของสื่อโทรทัศน์เพื่อให้ เกิดอิทธิ พล ด้ านบวกแก่เด็ก เยาวชน และครอบครัวได้ เช่นกัน ยกตัวอย่างการศึกษาของ Stein และ Friedrich (1972) ซึ่ง ทดลองให้ เด็กดูรายการโทรทัศน์เรื่ อง Mister Roger’s Neighbourhood ซึง่ เป็ นรายการเด็กที่สอนประเด็นสําคัญต่างๆของชีวิต เช่น การมีเพื่อน การ แบ่งปั น ฯลฯ กล่า วคือ มีเนือ้ หาส่ง เสริ ม พฤติก รรมที่ เหมาะสมในสังคม หลังจากให้ เด็กทดลองดู พบว่า เด็กๆที่ดูสามารถตอบคําถามเกี่ยวกับ พฤติกรรมที่เหมาะสมในสังคมได้ ดีก ว่าเด็กที่ไม่ได้ ดู นอกจากนี ้ ยังพบว่า การให้ เด็กดูรายการส่งเสริ มพฤติกรรมที่เหมาะสม และเสริ มด้ วยการเล่น จําลองบทบาท (Role Playing) จะให้ ผลต่อการเรี ยนรู้ ของเด็กมากยิ่งขึ ้น ทังนี ้ ้ เราจะเห็นได้ วา่ เด็กสามารถใช้ ตวั อย่างจากโทรทัศน์มาเป็ นแบบอย่าง ที่ดีในการปฏิบตั ิตน การแต่งกาย ตลอดจนการปฏิสมั พันธ์กบั ผู้อื่น
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 69
กล่องที่ 5.7
รายการโทรทัศน์สาหรับเด็ก
รายการโทรทัศน์สาหรับเด็กทีส่ ามารถนาไปใช้กล่อมเกลาเด็กทั้งทางวิชาการและ ทางสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพนัน้ มักจะมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ คือ “ เป็นรายการที่แฝงไปด้วยอารมณ์ขัน เป็นเรือ่ งสนุกสนานเฮฮา สาหรับเด็ก (เรือ่ งขบขันในแต่ละวัยอาจแตกต่างกันไป) “ นาเสนอเรือ่ งราวทีล่ ึกลับซับซ้อน (mysteries) “ เสนอเกมทีส่ นุกสนาน “ เลือกเรือ่ งราวทีเ่ หมาะสมกับอายุเด็กและสอดคล้องกับความสนใจ ของเด็ก หรือเป็นสิง่ ที่เกีย่ วข้องกับชีวิตรอบๆ ตัว หรือวิถีชวี ติ ของพวกเขา “ เนื้อหา การใช้ภาษา และระดับความยากง่าย ความรู้ที่ให้ เหมาะสม กับอายุและพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัย “ กรณีเป็นรายการเพือ่ การศึกษา สามารถสอนให้เข้าใจได้กระจ่างชัด ตรงไปตรงมา และชัดเจน สอนไปตามขัน้ ตอนและตรงจุด ไม่ออ้ มค้อมวกวนไปมา สอนหลักการทางวิทยาศาสตร์ทสี่ ามารถนามาพิสูจน์เรือ่ งลีล้ ับได้ สอนไปทีละ ส่วน หรือนาเสนอความคิดทีละหนึ่งความคิด ไม่นาหลายๆความคิด หรือ หลายๆ บทเรียนมาสอนพร้อมกันในทีเดียว “ ส่งเสริมวิธีการหรือให้ความรู้ที่จะทาให้เด็กสามารถนาไปใช้แก้ปัญหา ด้วยตัวเองได้ ในสถานการณ์ที่ตา่ งๆ กัน “ ใช้ภาพเคลือ่ นไหวหรือมีปฏิกิรยิ าอาการต่างๆ “ สร้างตัวละครหรือตัวแสดงให้มเี อกลักษณ์ มีทา่ ทางฉลาดเฉลียวและ สามารถจดจาได้ง่าย “ สนับสนุนให้เด็กเข้ามามีสว่ นร่วมในบทเรียน เช่น การมาร่วมเล่นเกม โชว์ การตอบปัญหา “ กระตุ้นให้เด็กใส่ใจในการเรียนรูแ้ ละวัดผลการเรียนรู้ เช่น การแจก แบบฝึกหัดให้เด็กลองทาหลังเลิกรายการ หรือการให้เล่นเกมทีส่ อดคล้องกับ เนือ้ หาของการเรียนรู้ เป็นต้น กล่าวโดยสรุป สือ่ โทรทัศน์มีอิทธิพลด้ านบวก โดย -เป็ นสื่อ ในเชิ งสร้ างสรรค์ ซึ่ง เป็ นแหล่ง บัน เทิ งและแหล่งข้ อมูล สารสนเทศ
70 | แ น ว คิ ด
-เป็ นแหล่งสร้ างสรรค์ แลกเปลีย่ นวัฒนธรรมระหว่างคนรุ่นใหม่ -เป็ นแหล่งบันเทิงสําหรับสมาชิกในครอบครัว ได้ ใช้ เวลาร่ วมกัน ในการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น -บิดามารดาสามารถใช้ โทรทัศน์เป็ นตัวเร่ งหรื อเป็ นแรงจูงใจให้ เด็กๆ มีความกระตือรื อร้ นในการอ่าน เช่น รายการโทรทัศน์ที่สร้ างจาก หนังสือหรื อเรื่ องราวที่เด็กๆ ชอบอ่าน -รายการโทรทัศน์ ที่มีคุณภาพจะช่วยสอนเด็กเกี่ ยวกับบทเรี ยน ของคุณค่าและความหมายแห่งชีวิต -รายการโทรทัศน์บางรายการอาจนําเสนอประเด็นที่ขดั แย้ งหรื อ ประเด็นละเอียดอ่อน ที่ทําให้ บิดามารดาและเด็กๆ ใช้ เป็ นประเด็นในการ พิจารณาพูดคุยกันได้ -รายการที่ เ กี่ ย วกับ การศึ ก ษาสามารถช่ ว ยให้ เ ด็ ก เล็ก ๆ มี พัฒนาการด้ านกระบวนการขัดเกลาทางสังคม (socialization) และทักษะ ในการเรี ยนรู้ -รายการข่าว รายการสะท้ อนเรื่ องปั จจุบนั และรายการเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ ช่วยให้ คนรุ่ นใหม่เกิดจิตสํานึกเกี่ยวกับวัฒนธรรมและผู้คน ในชาติ -รายการสารคดีชว่ ยในการพัฒนาความคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับ สังคมและโลก -รายการเกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรม ช่วยเปิ ดโลกทางดนตรี และศิลปะให้ แก่เด็กและเยาวชน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 71
กล่องที่ 5.8
โทรทัศน์ในภาวะวิกฤติทางสังคม
อิทธิพลด้านบวกอันหนึ่งที่สื่อโทรทัศน์ในฐานะสื่อกระแสหลักสามารถสร้างประโยชน์ แก่สังคมได้นั้น คือ ทาหน้าที่เป็น แหล่งข้อ มูล ข่าวสาร ให้ความรู้ รวมถึงเสนอแนะ ทางออกและการปรับตัวให้คนในสังคมในภาวะที่สังคมกาลังเกิดปัญหา ยกตัวอย่างในกรณีการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ สื่อมวลชนโดยเฉพาะ อย่างยิ่งโทรทัศน์ที่เข้าถึงประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศได้มากที่สุด ต้องทาหน้าที่ใน การบอกเล่าถ่ายทอดเรื่องราวที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์จริงรวมถึงให้ความรู้ข้อมูล เกี่ยวกับประเด็นปัญหาว่าภัยพิบัตินั้นเกิดขึ้ นมาอย่างไร และทาไมถึงเกิด รวมถึง เสนอแนะทางออกในการปรับตัวเพื่อให้ประชาชนสามารถหลีกเลี่ยงความเสียหายที่ สามารถป้องกันได้ (Tirol 2005) มีงานศึกษาที่ระบุว่าโทรทัศน์มีส่วนนาเสนอทางออกในภาวะทางเศรษฐกิจ เช่นกัน โดยโครงการศึกษาและเฝ้าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor) (2552ข) ทาการสารวจบทบาทและเนื้อหารายการโทรทัศน์ด้านเศรษฐกิจว่ามีส่วนใน การให้ความรู้ ให้ข้อมูล ให้ข้อเสนอแนะ รวมถึงทางออกและแนวทางการปรับตัวเพื่อ รองรับวิกฤติเศรษฐกิจแก่ผู้ชมอย่างไร ในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ.2552 ผลการศึกษาพบว่ามีรายการที่มีเนื้อหาลักษณะดังกล่าวรวม 1,850 นาทีต่อสัปดาห์ ผ่านแนวทางอย่างน้อย 4 แนวทาง ได้แก่ การให้แนวความคิด การให้ข้อมูลข่าวสาร การให้วิธีการและการเปิดพื้นที่เพื่อสะท้อนสภาพปัญหา ทั้งนี้ มีเนื้อหาใน 3 ลักษณะ กล่าวคือ 1.การให้ข้อ มูล ข่าวสารในฐานะผู้บริโภค โดยให้ แนวทางการใช้จ่ายเงินที่ คุ้มค่า การประหยัดเก็บออม รวมถึงให้ข้อมูลสิทธิของผู้บริโภค เช่น แนะนาร้านค้า ตลาด ร้านอาหารคุณภาพดีแต่ราคาย่อมเยา เสนอแนวคิดเรื่องการประหยัดและใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายความรับผิดชอบต่อการเสียหายใน สินค้าที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้น 2.การให้ข้อมูลข่าวสารในฐานะเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต โดยให้แนวทางใน การแสวงหารายได้ ให้แนวทางในการลงทุน ตลอดจนให้แนวทางการใช้ปัจจัยการผลิต ให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด เช่น การให้ข่าวการรับสมัครงาน แนะนาอาชีพ แนะนา การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ การนาเสนอธุรกิจใหม่ๆที่น่าสนใจ การให้ความรู้เพื่อ เพิ่มผลผลิต เป็นต้น 3.การให้ข้อมูลข่าวสารในฐานะพลเมืองของชาติ โดยให้แนวทางการดาเนิน นโยบายทางเศรษฐกิ จ ของรั ฐ บาลและแนวทางเพื่ อ น าไปสู่ ก ารเปลี่ ย นแปลงทาง เศรษฐกิจอย่างสร้างสรรค์ เช่น ให้ความรู้เกี่ยวกับนโยบายรัฐ ให้คาแนะนาเกี่ยวกับ วิกฤติเศรษฐกิจ นาเสนอการหารายได้ที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐ ให้ความสาคัญกับ ปัญหาคนว่างงาน เป็นต้น 72 | แ น ว คิ ด
อย่ างไรก็ตาม รายการโทรทัศน์ ท่ ีมีอิทธิพลทางบวกเหล่ านี ้ ก็ไม่ ได้ เป็ นรายการกระแสหลักของสื่อโทรทัศน์ รายการเหล่ านีจ้ ะมี สัดส่ วนการออกอากาศต่ าถึงต่ ามากเมื่อเทียบกับรายการประเภท อื่นๆ หรื อกระทั่ง บางสถานี ไม่ มีร ายการประเภทนี อ้ ยู่เลย ซึ่งการ ปรากฏของรายการที่น้อยครั ง้ รวมถึงอยู่ไม่ ได้ นานก็ต้องยุบเลิกไป ทาให้ การติดตามไม่ เป็ นไปอย่ างต่ อเนื่ อง ส่ งผลให้ เด็กไม่ ได้ ดูแต่ เพียงรายการโทรทัศน์ สาหรับเด็กที่เหมาะสมกับพวกเขาเท่ านัน้
3.2 อิทธิพลด้ านลบของโทรทัศน์ อย่างที่กล่าวไป ในขณะที่โทรทัศน์เป็ นสื่อที่จรรโลงสังคมได้ ใน ขณะเดียวกัน หากมีการผลิตและบริ โภคในทิศทางที่ไม่เหมาะสม โทรทัศน์ ก็สง่ ผลเสียได้ เช่นกัน และยิ่งกว่านัน้ ยังเป็ นผลเสียที่กระจายวงกว้ างและ ฝั งลึกในสังคมอย่างมหาศาลอีกด้ วย ในที่ นี ้ ขอนํ า เสนออิ ท ธิ พ ลด้ า นลบในบทบาทของสื่อ โทรทัศ น์ อย่างน้ อย 4 ด้ าน ดังนี ้ 3.2.1 โทรทัศน์ กับพัฒนาการของเด็ก เด็กๆ ที่เติบโตขึ ้นมาหน้ าจอโทรทัศน์ จะเป็ นเด็กที่มีแนวโน้ ม ภาวะทางโภชนาการที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากเด็กๆ จะห่วงกับการดูรายการ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 73
โทรทัศน์จนไม่สนใจอยากจะออกไปเล่น ออกกําลังกาย หรื อไปกินอาหารที่ เหมาะสม นอกจากนัง่ กินอะไรจุบๆ จิกๆ อยู่หน้ าจอโทรทัศน์ โดยเฉพาะ อาหารขบเคี ้ยวที่อดุ มไปด้ วยไขมันและคาร์ โบไฮเดรตสูง ทําให้ เด็กกลุม่ นี ้จะ มีสุขภาพไม่แข็งแรง หรื อพูดง่ายๆ ว่าเด็กที่ใช้ เวลาอยู่แต่หน้ าจอจะ กลายเป็ นเด็กอ้ วน นอกจากนัน้ รายการโทรทัศน์สาํ หรับเด็กยังโฆษณาขาย อาหารฟาสต์ฟดู๊ ลูกกวาด ลูกอม ขนมขบเคี ้ยว อาหารว่างกันแบบกระหนํ่า ซึ่งล้ วนแต่เพิ่มแคลอรี ให้ เด็กอย่างมหาศาล และยังเป็ นสาเหตุให้ เด็กมี ระดับคอเลสเตอรอลเพิ่มขึ ้น นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ จิตแพทย์เด็กและที่ปรึ กษากรม สุขภาพจิต ให้ ความเห็นว่า (อ้ างถึงในแผนงานสื่อสร้ างสุขภาวะเยาวชน 2552: 10) ‚โดยปกติ เด็กๆ ควรดูทีวีวนั ละครึ่ งถึง 1 ชม. เท่านัน้ แต่ปรากฏ ว่าเด็กเราดู 3-5 ชม. ซึ่ งการดูทีวีมากๆ นัน้ จะทาให้เกิ ดผลเสียต่อร่ างกาย และจิ ตใจ ทางร่ างกายคื อ สายตาสัน้ สมาธิ สนั้ ไอคิ วลดลง ความคิ ด สร้างสรรค์นอ้ ยลง ส่วนด้านจิ ตใจนัน้ ส่งผลถึงอี คิว การควบคุมอารมณ์ อี ก ทัง้ การรู้จกั ประหยัดอดออมเสียไป ไม่ยอมช่วยพ่อแม่ทาอะไร ความรุนแรง เพิ่ ม ขึ้ น เกิ ด การเลี ยนแบบที ่จ ะใช้ความรุ นแรงเป็ นแบบอย่ างในการ แก้ปัญหา เด็กจะชิ นชากับความรุนแรง และส่งผลให้เด็กลดความยับยัง้ ชัง่ ใจในการกระทาความรุนแรงในรู ปแบบต่างๆ เมื ่อโตขึ้น‛ ประกอบกับในเว็บไซต์ Time ด้ านสุขภาพ Alice Park (2009) ได้ เขียนบทความชิ ้นหนึ่งซึ่งระบุถึงอิทธิ พลของสื่อโทรทัศน์ว่าเป็ นตัวขัดขวาง พัฒนาการทางภาษาของเด็ก รวมถึงยืนยันว่าการที่เด็กให้ เวลากับหน้ าจอ โทรทัศ น์ จ ะส่ง ผลให้ พัฒ นาการทางด้ า นสติ ปั ญ ญาและภาษาของเด็ ก ประสบปั ญหาอุปสรรค เนื่องจากโทรทัศน์จะไปลดทักษะการเรี ยนรู้ คําศัพท์ ใหม่ๆ ของเด็ก การพูด การเล่นรวมถึงการมีปฏิสมั พันธ์กบั คนอื่น 74 | แ น ว คิ ด
ดังนันแล้ ้ ว ยิ่งดูโทรทัศน์ มาก พัฒนาการยิ่งน้ อยตาม เพราะ นอกจากโทรทัศน์จะไม่ส่งเสริ มพัฒนาการเด็กแล้ ว ยังทําให้ เด็กสมาธิ สนั ้ รวมถึ ง เป็ นโรคอ้ ว นและโรคอื่ น ๆตามมา อย่ า งไรก็ ต าม โทรทัศ น์ จ ะมี ผลกระทบกับเด็ก มากน้ อ ยเพีย งไรขึน้ อยู่กับปั จจัย หลายอย่าง ได้ แ ก่ จํานวนเวลาที่ดู อายุและพื ้นฐานบุคลิกภาพของเด็ก การปล่อยให้ เด็กดูคน เดียวหรื อดูกบั ผู้ใหญ่ และพ่อแม่ได้ อธิบายสิ่งที่เห็นในโทรทัศน์ให้ ลกู เข้ าใจ หรื อไม่ กล่องที่ 5.9
การเสพติดโทรทัศน์ไม่ใช่เรือ่ งเล่นๆ
ในปี ค.ศ.2002 มีบทความชิ้นหนึง่ จากวารสาร Scientific American เรือ่ ง Television Addiction Is No Mere Metaphor โดย Robert Kubey และ Mihaly Csikszentmihalyi (2002) ได้ทาการสารวจพฤติกรรมในการดูโทรทัศน์ของเด็กและ ผู้ใหญ่ โดยมีคาถามนาว่า เพราะเหตุใดจึงนั่งดูโทรทัศน์ได้ยาวนานโดยไม่อยากปิด เครื่องรับ ? ทัง้ นี้ ผลการศึกษาปรากฏเหตุผลว่า ผู้ชมโทรทัศน์ต่างเห็นพ้องต้องกันที่ การดูโทรทัศน์ให้ความรูส้ ึกสบายๆ ผ่อนคลาย แต่ความรูส้ ึกเช่นนีจ้ ะหมดไปในทันที เมือ่ ปิดโทรทัศน์ นอกจากนั้น เมือ่ เปรียบเทียบกับคนทีเ่ ล่นกีฬาหรือออกกาลังกาย ความรูส้ ึกที่หลงเหลืออยูห่ ลังจากเล่นก็จะแตกต่างกัน ขณะที่คนเล่นกีฬาหรือออกกาลังกาย เมือ่ เลิกเล่นแล้วจะยังคงรูส้ ึก กระปรี้กระเปร่า แต่ความรูส้ ึกที่หลงเหลือของคนดูหลังจากปิดโทรทัศน์แล้วก็คอื ความเหนือ่ ยอ่อนราวกับสูญเสียพลังงาน นั่นเป็นเพราะคนดูโทรทัศน์มักจะเสียเวลาไป กับการนั่งหน้าจอยาวนานกว่าทีค่ ดิ เอาไว้ ขณะเดียวกันยิง่ นั่งดูนานกลับยิ่งทาให้ อ่อนเพลียมากยิ่งขึ้น นอกจากโทรทัศน์จะสามารถยือ้ ยุดให้ผู้ชมนั่งหน้าจอนานๆ (grabbing attention) โดยไม่เคลือ่ นไหวแล้ว โทรทัศน์ยังเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เด็กเป็นโรคอ้วน อันเนือ่ งมาจากโฆษณาบ้าเลือดของพวกอาหารขยะทั้งหลาย ที่มีเป้าหมายการตลาด อยู่ที่เด็กและวัยรุ่น โฆษณาดังกล่าวได้แก่ พวกอาหารจานด่วน พิซซ่า เบอร์เกอร์ ไก่ ทอด ลูกกวาด ขนมขบเคี้ยว น้าอัดลม และซีเรียลปรุงแต่งรสหวาน เป็นต้นดังนัน้ จึงไม่เป็นที่นา่ สงสัยเลยว่า พวกบริษัทอาหารจานด่วนจะทุ่มงบโฆษณาทางโทรทัศน์ จานวนมหาศาล กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 75
กล่องที่ 5.9
การเสพติดโทรทัศน์ไม่ใช่เรือ่ งเล่นๆ (ต่อ)
โทรทัศน์มีผลต่อการเรียนรู้และความสามารถในการเรียนของเด็กๆ ที่เห็น ได้ชัดคือ ถ้าเด็กใช้เวลาในการดูโทรทัศน์มากเกินไป เวลาที่จะให้กับการเรียนและ กิจกรรมอื่นทีเ่ กี่ยวข้องกับการพัฒนาร่างกายและสมองก็จะน้อยลงไปอย่างแน่นอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กเล็กๆ ในวัยเริ่มแรกเข้าเรียนจะยังคงเรียนไม่หนักและมีเวลาว่าง เหลือเฟือ ก็ควรใช้เวลาไปกับกิจกรรมทีส่ ่งเสริมพัฒนาการ เช่น การได้เล่นกลางแจ้ง การเล่นกีฬา การอ่าน การท่องเทีย่ วสารวจธรรมชาติ และการเรียนดนตรี อีกทั้ง การที่ปล่อยให้เด็กดูโทรทัศน์ขณะรับประทานอาหาร ก็ยังทาให้เด็กขาดความใส่ใจในสิ่ง รอบข้างหรือคนรอบข้าง เช่น ไม่สนใจหรือไม่ให้ความใส่ใจที่จะสนทนากับพ่อแม่หรือ สมาชิกคนอื่นๆ ในครอบครัวเพราะมุ่งจดจ่อแต่จะดูโทรทัศน์ เด็กบางรายอาจขาด พัฒนาการด้านการสือ่ สาร สือ่ สารกับคนรอบข้างได้ไม่ดีนัก เพราะมักใช้เวลาอยูแ่ ต่ หน้าจอโทรทัศน์โดยไม่คอ่ ยได้พูดกับใคร เด็กบางรายอาจมีพัฒนาการไปในทางชอบ โต้เถียงหรือไม่ใส่ใจกับการกินอาหารก็ได้ 3.2.2 โทรทัศน์ กับความรุ นแรง รายการโทรทัศน์ในปั จจุบนั หลายรายการ ไม่วา่ จะเป็ นภาพยนตร์ การ์ ตนู หรื อรายการสด มักจะนําเสนอภาพความรุนแรงหรื อความรุ นแรงใน เชิงจินตนาการ (fantasy violence) การเสนอภาพกราฟิ กที่แสดงออกซึ่ง ความรุ นแรง (graphic violence) การใช้ ภาษาหยาบคายหรื อถ้ อยคําที่ รุนแรง (strong and crude languages) สือ่ เหล่านี ้มีผลด้ านลบต่อเด็กและ เยาวชน ทําให้ เด็กมีพฤติกรรมก้ าวร้ าว ซึ่งสะสมมาจากการชมรายการ โทรทัศน์ที่มีเนื ้อหารุนแรง มีงานการศึก ษาความรุ นแรงในละครโทรทัศ น์ ในประเทศไทย (โครงการศึกษาและเฝ้ าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor) 2551ข) พบว่าในปี พ.ศ.2551 มีละครที่ออกอากาศจํานวนทังสิ ้ ้น 113 เรื่ อง มีรูปแบบของปมความขัดแย้ งอันนําไปสูค่ วามรุ นแรงในละคร 13 รู ปแบบ 76 | แ น ว คิ ด
ตามลําดับที่ พบมาก ได้ แก่ ความรั ก ความสัม พันธ์ ในครอบครั ว ความ อาฆาตแค้ น การต่อสู้กับผู้มี อิทธิ พล ความโลภและการแย่งชิงสมบัติ การ ปราบปรามยาเสพติด ความอิจฉาริ ษยาและการแก่งแย่งชิงดีชิงเด่น การฝ่ า ฟั นอุปสรรค การหลอกลวง การเมืองและการแย่งชิงอํานาจ การพยายาม รักษาอุดมการณ์ที่ดีของตน การรังเกียจกีดกันและการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ ป้องกัน ในการนี ้ การศึกษาชิ น้ ดังกล่าวได้ จําแนกความรุ นแรงที่พบใน ละครโทรทัศน์ไทยออกเป็ น 2 ประเภท คือ ความรุ นแรงทางกายภาพและ ความรุนแรงเชิงโครงสร้ าง 1.ความรุ นแรงทางกายภาพ ประกอบด้ วยประเด็นอย่างน้ อย 4 ด้ าน ได้ แก่ -ความรุ นแรงต่ อ ร่ า งกาย ซึ่ง มีทัง้ ที่ส่ง ผลให้ บ าดเจ็ บตลอดจน ส่งผลให้ เสียชีวิต เช่น การทําร้ ายด้ วยมือเปล่า การใช้ อาวุธมีคม การทําให้ ขาดอากาศโดยการกดนํ ้าหรื อผลักตกนํ ้า การบีบคอ การฝั งดิน การขับรถ ชน การใช้ ของร้ อน การตัดสายเบรกรถยนต์เพื่อหวังให้ เกิดอุบตั ิเหตุ การทํา ให้ แท้ ง การใช้ ยา อาวุธปื น เวทมนตร์ คาถา เป็ นต้ น นอกจากนี ้ ยังค้ นพบว่า วิธีการฆ่าตัวตายที่พบมากที่สดุ ในละครโทรทัศน์ไทย คือ การใช้ อาวุธปื นยิง ตนเอง -ความรุ น แรงต่ อ จิ ตใจ ซึ่ ง เป็ นการกระทํ า ที่ ก่ อ ให้ เกิ ด ความ เสียหายต่อจิตใจของบุคคล ผ่านรูปแบบการด่า การกักขังหน่วงเหนี่ยว การ เพิกเฉย การดูถกู เหยียดหยาม การหมิ่นประหมาท การแบ่งแยกกีดกัน การ หักอก การทําให้ ผิดหวัง ทังนี ้ ้ รูปแบบวิธีการที่พบมากที่สดุ ในการก่อให้ เกิด ความรุนแรงทางจิตใจ คือ การทําร้ ายด้ วยวาจา
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 77
-ความรุนแรงทางเพศ เป็ นการกระทําที่สร้ างความเสียหายต่อ ร่ างกาย จิตใจ โดยมีจุดมุ่งหมายคือบรรลุเป้าหมายทางเพศของผู้กระทํา โดยที่ผ้ ถู กู กระทําไม่ได้ ยินยอมหรื ออยู่ในสภาพที่ตดั สินใจได้ เช่น หลับ ถูก วางยา การไม่ร้ ู ตัว การที่ยงั เป็ นเด็ก โดยวิธีการที่พบมากในละครไทย คือ การข่มขืน และการลวนลามทังจากการสั ้ มผัสและการมอง -ความรุนแรงต่อวัตถุ เป็ นการกระทําที่ผ้ กู ระทําจงใจปฏิบตั ิเพื่อ ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อวัตถุซงึ่ อยูใ่ นครอบครองของบุคคลใดบุคคลหนึง่ เช่น การแย่ง การทําลาย รวมไปถึงการแย่งกรรมสิทธิ์ในการครอบครัว โดย ที่พบมากสุดจากการศึกษาชิ น้ นี ้ คือ การขโมย การปล้ น และการแย่งชิ ง มรดก ตลอดจนการทําลายข้ าวของ การทําลายกิจการ 2.ความรุ นแรงเชิงโครงสร้ าง ประกอบด้ วยประเด็นอย่างน้ อย 4 ด้ านเช่นกัน ได้ แก่ -ความรุนแรงเชิ งโครงสร้างทางสังคม มีรากฐานมาจากความไม่ เท่าเทียมหรื อความแตกต่างในสังคม จําแนกเป็ นด้ านชนชัน้ /อาชีพ ด้ าน ค่านิยม/ทัศนคติ ด้ านชาติพนั ธุ์ ด้ านวัฒนธรรม และด้ านความพิการ ทังนี ้ ้ ความรุนแรงดังกล่าวเป็ นสิง่ ที่พฒ ั นามาจากค่านิยม ทัศนคติและรูปแบบวิธี คิ ด การให้ คุณ ค่ า ซึ่ ง เป็ นกระแสหลัก ของสัง คม ซึ่ ง มี ร ากฐานมาจาก ความคิด ความเชื่อ และการให้ คณ ุ ค่าของคนด้ วย ‘ชนชัน’้ ‘อาชีพ’ ‘ชาติ พันธุ์’ ‘สภาพร่ างกาย’ หรื อ ‘วัฒนธรรม’ และส่งผลกระทบด้ านลบกับคน นันๆด้ ้ วย เช่น ทําให้ ถกู รังเกียจ ถูกแบ่งแยก บ่อยครัง้ ที่สญ ู เสียผลประโยชน์ โอกาสและสิทธิ ต่างๆในคุณภาพชีวิต การศึกษา การรักษาพยาบาล เป็ น ต้ น
78 | แ น ว คิ ด
-ความรุนแรงเชิ งโครงสร้างทางเพศ เป็ นความรุ นแรงที่มีรากฐาน มาจากความแตกต่ างและความไม่เท่าเทีย มระหว่างเพศ ได้ แก่ การให้ คุณค่าแต่ละเพศอย่างไม่เท่าเทียมกัน การแบ่งแยกกีดกัน ฯลฯ ซึ่งส่งผลลบ ต่อเพศใดเพศหนึง่ ถูกรังเกียจ และเสียผลประโยชน์ โอกาสและสิทธิตา่ งๆ -ความรุนแรงเชิ งโครงสร้างทางการเมื อง พัฒนามาจากความไม่ เท่าเทียมเชิงอํานาจ รูปแบบการปกครองที่ก่อให้ เกิดความไม่เท่าเทียมทาง สังคม ทําให้ บคุ คลใดบุคคลหนึ่งได้ รับผลกระทบทางลบ เช่น การตกอยู่ใต้ ระบอบการปกครองที่ ต นอยู่ ใ นฐานะที่ ตํ่ า ต้ อ ย ขาดสิ ท ธิ โอกาสและ คุณภาพชีวิต -ความรุนแรงเชิ งโครงสร้างทางเศรษฐกิ จ มีรากฐานมาจากความ ไม่ เ ท่ า เที ย มทางเศรษฐกิ จ ส่ ง ผลให้ บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง สู ญ เสี ย ผลประโยชน์ ถูกกีดกันขับไล่รวมถึงขาดสิทธิต่างๆทางเศรษฐกิจ เช่น การ รักษาพยาบาล การประกอบอาชีพ เป็ นต้ น
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 79
กล่องที่ 5.10
10 เทคนิคสร้างนิสยั ที่ดีในการดูโทรทัศน์ให้แก่เด็ก
ข้อแนะนาในการสร้างนิสยั ที่ดีในการดูโทรทัศน์ให้แก่เด็กและเยาวชนทีบ่ ดิ ามารดาและ ผู้ปกครองพึงตระหนัก มีดังต่อไปนี้ 1.จากัดเวลา ในการให้เด็กได้ดูโทรทัศน์ รวมทั้งการดูวิดีโอ ซีดี หรือดีวีดี และการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ตา่ งๆ ด้วย กิจกรรมทั้งหมดนี้ไม่ควรเกินวันละ 1 หรือ 2 ชั่วโมง ยิ่งระหว่างทาการบ้านไม่ควรให้เด็กดูโทรทัศน์เด็ดขาดและในห้องนอนลูกก็ ไม่ควรจะมีเครือ่ งรับโทรทัศน์ 2.วางแผนในการดูโทรทัศน์ แทนที่จะกดเปลีย่ นช่องไปมาช่องโน้นช่องนี้ ควรวางแผนในการดูโทรทัศน์ดว้ ยการเปิดจากหนังสือรายการโทรทัศน์ หรือรายการ โทรทัศน์ทตี่ ีพมิ พ์ในหนังสือพิมพ์รายวันต่างๆ แล้วเลือกรายการที่นา่ ดูหรือเหมาะสม ต่อการดูจริงๆ จากนั้นก็เปิดดูเฉพาะรายการทีว่ างแผนไว้ และปิดเครือ่ งรับเมือ่ จบ รายการนั้นๆ 3.ดูโทรทัศน์ไปพร้อมกับลูกๆ ถ้าเป็นไปได้ คุณควรดูโทรทัศน์ไปพร้อมกับ ลูกๆ ทุกครั้ง และชวนลูกพูดคุยถึงเรื่องหรือรายการที่กาลังดูกัน ถ้าลูกของคุณยัง เล็กมาก พวกเขาอาจจะยังไม่สามารถบอกได้ถึงความแตกต่างระหว่างรายการแสดง ภาพยนตร์โฆษณา หนังการ์ตูน หรือชีวิตจริง รายการทีค่ ุณเองจะต้องระวังและให้ ความสนใจเป็นพิเศษก็คอื รายการประเภทที่เรียกว่า ‘เรือ่ งจริงผ่านจอ’ นั่นคือ รายการที่นามาจากเหตุการณ์ของชีวิตคนจริงๆ เพราะเรือ่ งราวต่างๆ เหล่านัน้ มัก ไม่คอ่ ยจะเหมาะกับเด็ก 4.ให้ลกู ดูแต่รายการที่สะท้อนทัศนะที่ถูกต้องเหมาะสม รายการโทรทัศน์ บางรายการจะแสดงให้เห็นถึงทัศนคติที่เป็นค่านิยมทีเ่ ป็นแบบอย่าง เช่น การแสดง อาการกรี๊ดของนางร้ายในละคร วัยรุ่นจะต้องมัว่ สุมและติดยา หรือเล่นการพนัน คนรวยย่อมดูถูกคนจน ชนชาติ เพื่อนบ้านของไทยมักเป็นคนเด๋อด๋า โง่เง่า เหล่านี้ เป็นต้น ในฐานะพ่อแม่หรือผู้ปกครอง คุณจะต้องเฟ้นหารายการทีส่ ะท้อนค่านิยมที่ เหมาะสม เช่น บทบาทที่แท้จริงของหญิงยุคใหม่ในปัจจุบัน บทบาทของคนชรา หรือ ชีวิตของคนเชือ้ ชาติอื่นๆ เป็นต้น 5.ช่วยลูกต่อต้านการโฆษณาบ้าเลือด บางครั้งเมือ่ ลูกของคุณถูก กระหน่ากรอกหูดว้ ยภาพยนตร์โฆษณา เขาอาจจะอยากซือ้ นั่น ซื้อนีต่ ามที่โฆษณา ชักชวน คุณจะต้องคอยช่วยเหลือเขา โดยอธิบายให้เด็กๆ ฟังว่าภาพยนตร์โฆษณา เหล่านั้นมีเป้าหมายเพียงเพือ่ ให้คนดูไปซือ้ ของ ทัง้ ทีจ่ ริงๆ แล้วพวกเขาอาจจะไม่จาเป็น จะต้องใช้ของนัน้ เลยก็ได้
80 | แ น ว คิ ด
กล่องที่ 5.10
10 เทคนิคสร้างนิสยั ที่ดีในการดูโทรทัศน์ให้แก่เด็ก (ต่อ)
6.มองหาวิดีโอ ซีดี หรือดีวีดที ี่มคี ุณภาพให้ลกู ดู ตามห้างร้านต่างๆ มี ม้วนวีดิโอ แผ่นซีดี หรือดีวีดีทสี่ นุกและมีคณ ุ ภาพดีเหมาะสมกับเด็กมากมาย ก่อนซือ้ คุณสามารถตรวจสอบเนือ้ หาและคุณภาพของภาพยนตร์ตา่ งๆ เหล่านั้นได้จากบท วิจารณ์ตา่ งๆ 7.หาทางเลือกอื่นให้ลูกที่นอกเหนือจากการดูโทรทัศน์ ถ้าปล่อยให้ลกู ดู โทรทัศน์บอ่ ยๆ เด็กๆ ก็จะติด และนั่นก็เท่ากับคุณเพาะนิสัยในการชอบดูโทรทัศน์ให้ เขา เพราะฉะนั้นถ้าเป็นไปได้คอยมองหาทางเลือกอื่นให้เขาบ้าง เช่น ออกไปเล่น กลางแจ้ง ไปห้องสมุด อ่านหนังสือ ทางานอดิเรกอืน่ ๆ เล่นกีฬา เล่นดนตรี ทางาน ศิลปะ หรืออาจจะไปเทีย่ วพักผ่อนหย่อนใจกับครอบครัว เพื่อนๆ หรือเพื่อนบ้าน 8.สร้างตัวอย่างที่ดีให้แก่ลูก ในฐานะพ่อแม่ คุณต้องเป็นตัวอย่างที่ดีให้ลูก โดยการไม่ดูโทรทัศน์พร่าเพรือ่ หากแต่ตอ้ งจากัดเวลาดูทีวดี ้วยเช่นกัน และเลือกดูแต่ รายการดีๆทีม่ ีประโยชน์ จะทาให้ลกู ของคุณได้เรียนรู้จากตัวคุณ 9.ออกความเห็นดังๆ เมือ่ คุณดูรายการโทรทัศน์แล้วรูส้ ึกว่าชอบรายการ ใดไม่ชอบรายการใด ขอให้แสดงความคิดเห็นออกมาดังๆ ด้วยการเขียนจดหมาย อีเมล ส่งไปยังสถานีโทรทัศน์หรือผูผ้ ลิตรายการ เพราะคนที่ดแู ลด้านรายการอยูเ่ ขา ย่อมยินดีที่จะรับฟังความคิดเห็นจากผู้ชมทางบ้านเสมอ ถ้าคุณคิดว่ามีรายการ โฆษณาอันไหนที่ไม่เหมาะสม หรือสร้างค่านิยมทีผ่ ิดๆ ให้แก่ผู้ชม ขอให้ระบุชอื่ ผลิตภัณฑ์ ช่องโทรทัศน์ และเวลาที่คุณได้ดู พร้อมกับระบุว่ารายการโฆษณานั้นไม่ดี อย่างไร 10.หาข้อมูลเพิ่มเติม แหล่งข้อมูลต่างๆ เหล่านีส้ ามารถช่วยให้ขอ้ มูลกับ คุณได้เกีย่ วกับบทบาทของโทรทัศน์ที่มอี ิทธิพลต่อชีวิตคุณและเด็กๆ “ กลุ่มองค์กรสาธารณะหรือองค์กรทางสังคมต่างๆ ที่มีการตีพมิ พ์ จดหมายข่าวซึง่ ให้ความเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์รายการโทรทัศน์ รวมทั้งให้คาแนะนา ในการที่จะให้ครอบครัวคุณและเด็กๆ สามารถดูโทรทัศน์ได้อย่างมีประโยชน์และ ปลอดภัย “ กลุ่มสมาคมผู้ปกครองและครูที่โรงเรียนของลูกคุณ “ คุณพ่อคุณแม่ของเพือ่ นๆ ลูกและเพือ่ นๆ ร่วมชั้นเรียนของลูกควรจะได้มี การจัดเสวนา พบปะพูดคุย เพือ่ ถกปัญหาเกี่ยวกับอิทธิพลของสือ่ และผลักดัน มาตรการในการดูโทรทัศน์อย่างเป็นน้าหนึง่ ใจเดียวกัน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 81
อย่ างไรก็ตาม ความรุ นแรงในโทรทัศน์ ทัง้ ภาพและภาษา ได้ ส่งอิทธิพลต่ อผู้ชมโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนเป็ นอย่ างน้ อยใน 3 ลักษณะ ได้ แก่ 1.การเลียนแบบและเพิ่มพูนพฤติกรรมก้ าวร้ าว การชมรายการโทรทัศน์ที่แสดงภาพก้ าวร้ าวหรื อใช้ ภาษาหยาบ คาย รุ นแรง จะมีปัญหากับเด็กๆ เป็ นอย่างยิ่งโดยเฉพาะเด็กผู้ชาย และมี ส่วนช่วยบ่มเพาะนิสยั หรื อพฤติกรรมก้ าวร้ าวให้ แก่เด็กๆ เนื่องจากเด็กยังไม่ สามารถแยกแยะได้ ระหว่างเหตุการณ์ สมมุติกับเหตุการณ์ จริ ง ดังนัน้ ผู้ปกครองจะต้ องเพิ่มความระมัดระวังและคอยแนะนําลูกขณะที่ดรู ายการ ข่าวที่อาจเสนอภาพความรุ นแรง เช่น ข่าวฆาตกรรม ข่าวอาชญากรรม เพราะจะมี ผลสร้ างความหวาดกลัวให้ แ ก่เด็ก พืน้ ฐานของความกลัว ดังกล่าวอาจฝั งแน่นติดตัวไปกับเด็กแม้ เมื่อเด็กเติบโตขึ ้น ดังนันเด็ ้ กจึงควร ได้ รับการสัง่ สอนให้ แยกแยะเหตุการณ์ระหว่างความจริ งกับจินตนาการเพ้ อ ฝั น ปั จจุบนั มีงานการศึกษาเป็ นจํานวนมากที่ระบุแน่ชดั ว่าโทรทัศน์มี อิทธิพลในการเสริ มสร้ างความรุ นแรงให้ แก่ผ้ ชู มแม้ ว่าคนดูจะรู้ ตวั หรื อไม่ก็ ตาม Joy, Kimbell และ Azbrack (1986) ได้ ทําการศึกษาชิ ้นหนึ่งใน ประเทศแคนาดา โดยการเก็บข้ อมูลความก้ าวร้ าวรุนแรงของเด็กๆ ในเมือง โดยศึกษาจากก่อนที่จะมีโทรทัศน์และหลังรับสัญญาณโทรทัศน์ได้ แล้ ว ผล ปรากฏว่าเวลาผ่านไป 2 ปี มีเมืองหนึง่ ที่เด็กๆมีพฤติกรรมก้ าวร้ าวรุนแรงทัง้ การแสดงออกและคําพูดในสนามเด็กเล่นเพิ่มขึ ้น เช่น แบ่งปั นของเล่นกัน น้ อยลง ใช้ กําลังมากขึ ้นเมื่อเกิดปั ญหาหรื อเกิดความไม่พอใจ ทังนี ้ ้มาจาก การดูรายการโทรทัศน์โดยเฉพาะการ์ ตนู ที่มีความรุนแรง 82 | แ น ว คิ ด
ที่สําคัญ ความรุ นแรงในหน้ าจอโทรทัศน์ ยังสามารถทําให้ เด็ก ลอกเลียนแบบได้ อีกด้ วย งานวิจยั ของ Stein และ Friedrich (1973) ซึ่ง ทําการศึกษาในเด็ก ก่อนวัยเรี ยนด้ วยการให้ ดูหนังเรื่ อง Batman และ Superman เป็ นเวลา 20 นาที จํานวน 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ นานติดต่อกัน 4 อาทิตย์ ผลปรากฏว่าในช่วงท้ ายของการทดสอบ เด็กๆมีอาการก้ าวร้ าวต่อ เพื่อทังทางการกระทํ ้ าและคําพูด มีอาการไม่เชื่อฟั งและความอดทนในการ รอคอยลดน้ อยลง นอกจากนีพ้ บว่าเด็กที่มีอาการก้ าวร้ าวรุ นแรงอยู่ก่อน การทดลองมีอาการก้ าวร้ าวมากยิ่งขึ ้นเมื่อดูรายการที่มีภาพและเนื ้อหาที่ รุ นแรง เช่นเดียวกับงานวิจยั ของ Steuer, Applefield และ Smith (1971) ซึ่งทดลองให้ เด็กวัยเรี ยนดูการ์ ตนู เช้ าวันเสาร์ ทกุ วัน วันละ 10 นาที เป็ น เวลา 11 วันติดต่อกัน ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นการ์ ตนู ที่ไม่ระบุประเภทและบางครัง้ เป็ นรายการสด ผลการศึกษาพบว่า เด็กที่ชมภาพยนตร์ การ์ ตนู ที่มีความ ก้ าวร้ าวรุนแรงจะมีพฤติกรรมก้ าวร้ าวทางกายเมื่อเล่นกับเพื่อนมากขึ ้นเมื่อ เปรี ยบเทียบกับที่ชมการ์ ตนู ซึ่งไม่มีความก้ าวร้ าวรุ นแรง ที่สําคัญมีความ น่าสนใจว่าปริ มาณความก้ าวร้ าวทางกายภาพของเด็กที่ชมการ์ ตนู เช้ าวัน เสาร์ เพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆตลอดระยะเวลาของการทดสอบ 2.การบิดเบือนความรุ นแรงและก่ อให้ เกิดความเคยชิน รายการโทรทัศน์บางรายการอาจแสดงภาพความรุ นแรงออกมา ในลักษณะที่ไม่ใช่สิ่งน่ากลัว แต่เป็ นความตลกขบขัน เช่น ในภาพยนตร์ การ์ ตนู Steven J. Kirsh (2006b) ได้ อธิบายไว้ ในบทความของเขาที่ชื่อ ‘Cartoon violence and aggression in youth’ ไว้ ว่า ความรุ นแรงใน การ์ ตนู นันถื ้ อเป็ นส่วนสําคัญที่ขาดไม่ได้ ของเนื ้อหาการ์ ตนู อันที่จริ งความถี่ ของเนื ้อหาความรุ นแรงในการ์ ตูน มีจํานวนครั ง้ ที่สูงกว่าความรุ นแรงใน รายการละครหรื อรายการตลกเสียด้ วยซํ ้า แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณา กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 83
ในเชิงคุณภาพนัน้ ภาพและเนื ้อหาความรุ นแรงในการ์ ตูนกับในรายการ ละครมีความแตกต่างกัน ความรุนแรงของการ์ ตนู จะตังใจทํ ้ าเพื่อกลุม่ ผู้ชม ที่เป็ นเด็กและเยาวชนซึ่งแตกต่างอย่างสิ ้นเชิงกับรายการที่มีคนแสดงจริ ง ซึง่ เจาะจงทําเพื่อกลุม่ ผู้ชมที่เป็ นผู้ใหญ่ กล่าวได้ วา่ เป็ นภาพและเสียงความ รุ นแรงที่ลดระดับความรุ นแรงลงแล้ วซึ่งไม่ตรงกับความเป็ นจริ งมากนัก ยกตัวอย่างเช่น ฉากความตายที่สมจริ งสมจังจะไม่ปรากฏชัดเจนในการ์ ตนู เด็ก แต่ในละครที่มีคนแสดงจริ ง ความเจ็บปวดและความทรมานจากฉาก การตายจะเป็ นจุดเด่นของเรื่ อง อีกทัง้ Potter และ Warren (1998) ได้ อธิบายความรุ นแรงใน รายการการ์ ตูนไว้ ว่า การนําเสนอความรุ นแรงในการ์ ตูนเพื่อให้ เด็กและ เยาวชนดูจะมีการประกอบด้ วยความตลกขบขันเพื่อลดระดับความรุ นแรง ลง ในขณะที่ความรุนแรงในละครจริ งนันจะไม่ ้ คอ่ ยมีสว่ นประกอบอื่นๆเพื่อ ลดระดับความรุ นแรงลงเลย ยิ่งไปกว่านันความรุ ้ นแรงยังปรากฏตังแต่ ้ ตนั ้ เรื่ องจนจบเสียด้ วยซํ ้า ดังนัน้ การแต่งเติมฉากความตลกในเนื ้อหาความ รุนแรงถือเป็ นส่วนสําคัญยิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อต้ องการประเมินผลกระทบ ของการดูการ์ ตูนต่อเด็ก เพราะว่ามันเป็ นการบิดเบือนความรู้ สกึ ว่าความ รุนแรงไม่ใช่เรื่ องน่ากลัว การบิดเบือนดังกล่าวที่ทําให้ ความรุนแรงดูเป็ นเรื่ องปกติธรรมดา นัน้ หรื ออาจจากความรู้สกึ ต่อต้ านความก้ าวร้ าวลดลง มิหนําซํ ้าในบางครัง้ ยังกลายเป็ นความตลก จะก่อให้ เกิดความรู้ สึกคุ้นชินและชินชาต่อความ รุนแรง หลังจากได้ เห็นความก้ าวร้ าวรุนแรงบ่อยครัง้ อยูเ่ สมอ Cline, Croft และ Courier (1973) ได้ ศึกษาการตอบสนองทาง กายภาพของเด็กชายอายุ 5-14 ปี ที่มีนิสยั การดูโทรทัศน์มาก คือ ดู มากกว่า 25 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ เปรี ยบเทียบกับเด็กที่มีนิสยั การดูโทรทัศน์ 84 | แ น ว คิ ด
น้ อย คือ ดูน้อยกว่า 4 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์ พบว่าเด็กที่มีนิสยั การดูโทรทัศน์ มากจะมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อภาพยนตร์ ประเภทก้ าวร้ าวรุ นแรงตํ่า กว่าผู้ ที่มีนิสยั การดูโทรทัศน์น้อย นัน่ หมายความว่าเด็กที่ดคู วามรุ นแรงมากๆจะ เห็นความรุ นแรงเป็ นปกติ ไม่มีปฏิกิริยาต่อต้ าน นอกจากนี ้ การศึกษาของ Thomas, Horton, Lippencott และ Drabman (1977) ยังแสดงให้ เห็นอีก ว่า เมื่อให้ เด็กอายุ 8-10 ปี ชมภาพยนตร์ ประเภทก้ าวร้ าวรุนแรงและตื่นเต้ น เร้ าใจ ซึง่ มีความยาว 11 นาทีเท่าๆ กัน หลังจากนันให้ ้ เด็กดูเทปบันทึกภาพ การต่อสู้ ผลจากการวัดกระแสไฟฟ้ าชี ้ให้ เห็นว่า เด็กที่ดภู าพยนตร์ ประเภท ก้ าวร้ าวรุ นแรงจะมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อเทปบันทึกภาพการต่อสู้ตํ่ากว่า เด็กที่ชมภาพยนตร์ ประเภทตื่นเต้ นเร้ าใจ กล่องที่ 5.11
อิทธิพลของความรุนแรงในโทรทัศน์ต่อ การผ่อนคลายความก้าวร้าว
เราจะเห็นได้วา่ อิทธิพลของภาพและเนื้อหาความรุนแรงในรายการโทรทัศน์นั้น ส่งผล ในด้านลบเป็นจานวนมาก แต่กระนัน้ มีงานวิจัยชิ้นหนึ่งทีม่ สี มมติฐานว่า การชม รายการโทรทัศน์ประเภทก้าวร้าวรุนแรงนาไปสู่การลดพฤติกรรมก้าวร้าว การศึกษา ชิน้ นีจ้ ดั ทาโดย Feshbach และ Singer (1971) ซึ่งศึกษาเด็กชายวัย 9-15 ปี ที่ อาศัยอยู่ในโรงเรียนประจาและสถานที่คุมประพฤติ โดยแบ่งเด็กๆเป็น 2 กลุ่ม กลุม่ หนึ่งชมรายการที่มีความรุนแรง และอีกกลุม่ ชมรายการทีไ่ ม่มีความรุนแรง เป็นเวลา 6 อาทิตย์ติดต่อกัน โดยมีการประเมินพฤติกรรมและความคิดเพ้อฝันเกี่ยวกับความ ก้าวร้าวก่อนและหลังช่วง 6 สัปดาห์นี้ ผลการศึกษาพบว่า รายการโทรทัศน์ที่มภี าพ และเนือ้ หาความรุนแรงไม่ได้เป็นสาเหตุให้เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงเพิม่ ขึ้น มิหนาซ้า เด็กซึ่งมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงสูงกลับมีความก้าวร้าวลดลงจากเดิม อย่างไรก็ตาม งานวิจยั ของชิน้ นี้ถกู วิจารณ์จานวนมากโดยนักวิชาการด้วยกันว่าไม่มี การควบคุมการทดลองและเป็นงานวิจยั เพียงชิน้ เดียวทีส่ นับสนุนสมมติฐานนี้ เช่น Freedman (2002) วิจารณ์ว่างานดังกล่าวมีสมมติฐานซึ่งขัดกับงานการศึกษา จานวนมากและวิธีการศึกษาบางด้านของงานชิ้นนี้ก็มีปญ ั หา (methodological problems)
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 85
3.การก่ อให้ เกิดความกลัว รายการโทรทัศน์สว่ นใหญ่จะสือ่ ภาพของความรุนแรง โดยมีเหยื่อ ของความรุ นแรงเป็ นเด็กผู้หญิ ง และนี่คือสาเหตุที่ทําให้ เด็กเกิ ดความ หวาดกลัวต่อโลกภายนอกรอบตัว อีกทัง้ การที่โทรทัศน์หรื อหนังสือพิมพ์ เผยแพร่ ภาพศพหรื อกรณีที่มีคนฆ่าตัวตาย ก็ยงั มีสว่ นทําให้ เด็กมีโอกาส เสี่ยงที่จะฆ่าตัวตายเพิ่มขึ ้นอีกด้ วย เนื่องจากได้ รับอิทธิพลจากสื่อและไม่ อาจวินิจฉัยได้ เองว่าสิง่ ไหนถูก สิง่ ไหนผิด มีงานวิจยั ที่ยืนยันถึงอิทธิพลของโทรทัศน์ที่สอนให้ คนเกิดอาการ กลัวโดย Gerbner, Gross, Morgan และ Jackson-Buck (1979) ที่แสดง ให้ เห็นว่า คนที่เจอกับความรุนแรงในชีวิตประจําวันอยูแ่ ล้ วนัน้ ปริ มาณการ ดูโทรทัศน์จะสัมพันธ์ กบั ความกลัวต่อคดีอาชญากรรมต่างๆ อีกทังพบว่ ้ า วัยรุ่นที่มีนิสยั การดูโทรทัศน์ที่มีความรุนแรงเป็ นจํานวนมากจะกลัวการเดิน คนเดียวในที่เปลีย่ วมืดและจะมีความกังวลมากกว่าคนปกติวา่ จะมีผ้ กู ่อคดี อาชญากรรม อย่างไรก็ตาม ความก้ าวร้ าวรุ นแรงทางโทรทัศน์จะส่งผลกระทบ ต่อเด็กมากน้ อยเพียงใด ก็ขึ ้นอยูก่ บั ปั จจัยต่างๆ ได้ แก่ แบบอย่างของพ่อแม่ ความรักความผูกพันภายในบ้ าน ประสบการณ์กบั เพื่อนฝูงในโรงเรี ยน การ ลงโทษทางร่ างกายที่รุนแรงที่เด็กเคยประสบ ซึ่งมีผลทําให้ เด็กพร้ อมที่จะ ปฏิเสธหรื อยอมรับความก้ าวร้ าวรุ น แรงในระดับที่แตกต่างกัน โทรทัศน์จะ เป็ นตัวกระตุ้นเร้ าภายในให้ อารมณ์ของเด็กออกมารุนแรงได้
86 | แ น ว คิ ด
3.2.3 โทรทัศน์ กับเรื่องทางเพศ สือ่ ปั จจุบนั มีเนื ้อหาที่เต็มไปด้ วยเรื่ องเพศ ไม่วา่ จะเป็ นในลักษณะ เปิ ดเผย โจ่งแจ้ ง หรื อแฝงอยูใ่ นเนื ้อเรื่ อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสื่อโทรทัศน์ ที่มีบทบาทและผลกระทบเป็ นอย่างสูงต่อทัศนคติ ค่านิยม และความเชื่อ ในเรื่ องเพศของเด็ก ดังนัน้ เด็กจึงหลีกเลี่ยงแทบไม่พ้นที่จะสัมผัสกับเรื่ อง เพศที่ปรากฏออกมาทางสื่อแม้ แต่ในโทรทัศน์ผ้ ปู กครองที่มีความตระหนัก เพียงพอจึงต้ องคอยหมัน่ ตรวจสอบว่า เรื่ องราวที่ลกู ดูผ่านทางจอโทรทัศน์ นัน้ มีเนื ้อหาที่สะอาดเหมาะสมกับเด็กๆ หรื อไม่แม้ วา่ โทรทัศน์จะเป็ นสือ่ ชัน้ เยี่ยมอันทรงพลังในการให้ ก ารศึก ษาเด็ก เกี่ ยวกับความรั บผิดชอบและ ความเสี่ยงที่เกี่ยวกับเรื่ องเพศ แต่ดเู หมือนว่าจะยังไม่มีผ้ ผู ลิตรายการราย ใดตระหนักถึงประเด็นนี ้นัก ดังนันสื ้ ่อที่ถ่ายทอดผ่านทางโทรทัศน์บางครัง้ จึงมีการนําเสนอภาพทางด้ านเพศ (sexual content) บทเจรจาประเภท สองแง่สองง่ามที่สอ่ ไปในทางเพศ และการนําเสนอภาพกิจกรรมทางเพศ อย่างโจ่งแจ้ ง (explicit sexual activity) เมื่อเด็กๆ ได้ ชมภาพประเภทนี ้ จะ ทําให้ เด็กได้ รับการกระตุ้นให้ คิด อยากรู้ อยากเห็นและฝั กใฝ่ กับเรื่ องเพศ โดยเฉพาะเด็กวัยรุ่น ซึง่ ฮอร์ โมนกําลังเริ่ มเปลีย่ นแปลงเข้ าสูว่ ยั ผู้ใหญ่ ส่งผล ให้ เด็กต้ องการทําพฤติกรรมที่เลียนแบบผู้ใหญ่ และอาจก่อให้ เกิดปั ญหา สังคมตามมา เนื่องจากไม่สามารถยับยังชั ้ ่งใจหรื อรับผิดชอบในสิ่งที่ตน กระทําลงไปได้ เช่น ปั ญหาข่มขืนในเด็กวัยรุ่ นชายหรื อปั ญหาตังครรภ์ ้ เมื่อ ยังไม่พร้ อมในเด็กวัยรุ่นหญิง เป็ นต้ น อย่างไรก็ตาม มีผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ องบางกลุม่ เชื่ อ ว่ า โทรทัศ น์ ส ามารถใช้ เป็ นสื่ อ ที่ มี ป ระโยชน์ ใ นการส่ ง เสริ ม การ คุมกําเนิด เช่น การใช้ ถงุ ยางอนามัย แต่แนวคิดเช่นนี ้ยังไม่เป็ นที่ยอมรับกัน อย่างแพร่หลายมากนัก
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 87
ส่วนมากนัน้ สื่อมักจะทําหน้ าที่เป็ นตัวการสําคัญในการสร้ าง ภาพลักษณ์ของเพศ (sexuality) และเพศสภาพ (gender) กล่าวคือเป็ นตัว ประกอบสร้ างความภาพความเป็ นตัวแทน (representation) ในการรับรู้ ทางเพศของคน (Casey, and others 2002) สําหรับประเทศตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริ กาหรื อแคนาดา โทรทัศน์เป็ นสือ่ ตัวหลักที่ใช้ ในการสอนเรื่ องเพศ ให้ แก่เด็กๆและวัยรุ่น และมีผลทําให้ เด็กกลุม่ นี ้มีปฏิสมั พันธ์ทางเพศเพิ่มขึ ้น อย่างเห็นได้ ชดั จากอดีตถึงปั จจุบนั ทังนี ้ ้เพราะเด็กๆ เข้ าถึงรายการทางเพศ สําหรับผู้ใหญ่ในโทรทัศน์ได้ โดยง่ายดายและเปิ ดเผย และยังได้ รับทัศนคติ ผิดๆ ที่วา่ เรื่ องเพศเป็ นเรื่ องปกติ ไม่ทําให้ เกิดภาวะเสีย่ งใดๆ และสามารถมี เพศสัมพันธ์ได้ บอ่ ยๆ ตามต้ องการ ทําให้ เด็กคิดว่าเรื่ องเพศเป็ นเรื่ องที่ใครๆ ก็ ‘ทําได้ ’ ใครๆ เขาก็มีกนั ในสังคมตะวันตกจึงปรากฏว่ามีคทู่ ี่มีเพศสัมพันธ์ โดยไม่ผา่ นการแต่งงานเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ บางรายนําไปสูภ่ าวะสํา ส่อนทาง เพศ นอกจากนัน้ รายการโทรทัศน์เรื่ องเพศเหล่านี ้ ยังไม่เคยมีการกล่าวถึง โรคร้ ายแรงที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ หรื อการตังท้ ้ องโดยปราศจากการ แต่งงาน และบิดามารดาวัยรุ่นก็ยงั ไม่พร้ อม จากการสํารวจพบว่าเด็กวัยรุ่น สัมผัสกับเรื่ องราวทางเพศเป็ นหลัก ในบทเรี ยนเพศศึกษาที่โรงเรี ยนและมี สือ่ โทรทัศน์เป็ นแหล่งที่สองสําหรับพวกเขาในการเรี ยนรู้เรื่ องเพศ กล่องที่ 5.12
การเข้าถึงเนือ้ หาทางเพศของเด็กๆ
ในงานการศึกษาของ Buckingham และ Bragg (2003) ค้นพบว่าบ่อยครั้งที่เด็กๆ ตอบสนองต่อรายการที่มเี นือ้ หาทางเพศมากกว่าเรือ่ งอืน่ ๆ และสือ่ ได้กลายเป็นแหล่ง เรียนรู้เรือ่ งความรัก เพศและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลของเด็กๆ ทีส่ าคัญ การศึกษาชิ้นนีย้ ังค้นพบอีกว่าเด็กๆดูรายการทีม่ ีเนือ้ หาทางเพศพร้อมกับคนอื่นๆใน ครอบครัว แต่กระนั้นผู้ปกครองของเขากลับไม่ได้กังวลมากนักในการจากัดหรือ ควบคุมการรับรูข้ องเด็กในเรือ่ งทางเพศที่ปรากฏทางโทรทัศน์
88 | แ น ว คิ ด
กล่องที่ 5.12
การเข้าถึงเนือ้ หาทางเพศของเด็กๆ (ต่อ)
จากผลการศึกษามีเด็กจานวนร้อยละ 50 ที่เล่าว่าผู้ปกครองของพวกเขามี การพูดถึงเนือ้ หาเกีย่ วกับเพศในขณะที่รายการที่มเี นือ้ หาดังกล่าวกาลังฉาย แต่มี เพียงแค่ครึ่งหนึง่ จากครอบครัวเด็กๆกลุม่ ดังกล่าวทีย่ ินดีในการพูดถึงมัน อย่างไรก็ ตาม ร้อยละ 73 ของเด็กอายุระหว่าง 12 ถึง 14 ปีได้บอกว่าพวกเขาไม่ชอบดู รายการที่มีภาพและเนือ้ หาเกี่ยวกับเพศพร้อมกับแม่ของพวกเขา หรือว่าร้อยละ 65 ของเด็กๆ ก็พูดเช่นเดียวกันว่าไม่ตอ้ งการดูเนือ้ หาดังกล่าวพร้อมกับพ่อของพวกเขา อีกทั้งเด็กๆ กล่าวว่าพวกเขาสามารถตัดสินใจได้เองว่ารายการใดที่ควรดู รายการใด ที่ไม่ควรดู เด็กจานวน 2 ใน 3 ของเด็กที่ได้มีโอกาสดูรายการที่ประกอบด้วยภาพและ เนือ้ หาทางเพศที่มากเกินไปและไม่เหมาะสมกับวัยพวกเขาเลือกที่จะดูตอ่ ไปในขณะที่เด็ก จานวนน้อยทีเ่ หลือเลือกที่จะหยุดดู การศึกษาชิ้นนีส้ ะท้อนให้เราเห็นเป็นอย่างดีว่า ทีเ่ ด็กๆต่างคิดว่าตนมี วิจารณญาณทีด่ ีแล้วนั้น ในทางเป็นจริงเราพบบ่อยครั้งทีไ่ ม่ได้เป็นไปตามที่พวกเขาคิด เด็กๆยังถือเป็นวัยที่ตอ้ งเรียนรู้ในสิง่ ที่เหมาะสมกับพวกเขา ทุกวันนีเ้ ราสามารถเห็น เด็กๆดูรายการที่มเี นือ้ หาไม่เหมาะสมกับช่วงวัยของพวกเขาเลยและไม่มผี ู้ใหญ่คอย ห้ามปราม ตักเตือนหรือให้คาแนะนา ดังนั้นการเข้าถึงเนือ้ หาทีไ่ ม่เหมาะสมกับวัยพวก เขาจะส่งผลกระทบต่อความคิด พฤติกรรมและกลายเป็นปัญหาในอนาคต - โทรทัศน์ กบั การสะท้ อนภาพความเป็ นชาย โดยปกติแล้ ว การที่เด็ก ผู้ชายคนหนึ่งจะเติบโตขึ ้นมา เป็ นหนุม่ ตลอดจนมีความเป็ นลูกผู้ชายนัน้ ควรเป็ นหน้ าที่ของพ่อ แม่ ครอบครัว เพื่อน ครู อาจารย์ และผู้นําชุมชน ที่จะต้ องมี บทบาทในการขัดเกลาเลี ้ยงดูให้ เด็กชายคนนันเติ ้ บโตขึ ้นมาเป็ น ชายหนุม่ ที่ดี แต่ในปั จจุบนั บทบาทของสื่อที่แพร่ หลายไปทุกซอก ทุก มุม ของประเทศกลับ มี บ ทบาทที่ สํา คัญ ยิ่ ง กว่ า ในการเป็ น ต้ นแบบของเด็กๆ กล่าวให้ ชัดคือ มีอิทธิ พลในการสร้ างเด็กให้ เติบโตขึน้ มาเป็ นผู้ชายตามที่ สื่อสะท้ อนออกมา แต่เป็ นที่น่า เสียดายว่าบทบาทตัวอย่างของสื่อที่สะท้ อนถึงความเป็ นชายนัน้ กลับกลายเป็ นภาพของผู้ชายที่จะต้ องควบคุมตัวเองและควบคุม กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 89
ผู้อื่นตลอดเวลา อีกทังยั ้ งต้ องแสดงออกถึงความก้ าวร้ าว รุ นแรง ใช้ ชีวิตรํ่ ารวย หรู หรา และมีรูปร่ างหน้ าตาหล่อเหลา สะอาด สะอ้ าน ลํ่าสัน ตัวอย่างของอุปกรณ์ หรื อสัญลักษณ์ ที่ใช้ เป็ น ตัวแทนความเป็ นชาย (Masculinity) เช่น รถไฟ ปื น ดาบ บุหรี่ เป็ นต้ น (Casey, and others 2002: 158) อันที่จริ ง สื่อในปั จจุบนั ไม่ได้ สร้ างปั ญหาให้ เด็กผู้ชายต่างๆ แต่สื่อ ทํ า หน้ าที่ เ ป็ นตั ว นํ า เสนอภาพและ ข้ อ ความต่า งๆ ที่ ส นับ สนุน คํ า นิ ย าม ของความเป็ นชาย ซึ่งเป็ นอิทธิพลที่ไม่ สามารถหลี ก เลี่ย งได้ ในประเทศ สหรัฐอเมริ กาปี ค.ศ. 1999 Children and the Media Program ภายใต้ กลุม่ อิสระชื่อ Children Now ได้ จดั ประชุมประจําปี เรื่ องสื่อกับ เด็กครัง้ ที่ 6 ภายใต้ หวั ข้ อ ‘Boys to Men : Media Messages about Masculinity’ ซึ่ง พูดคุยกันถึง วิถีการเจริ ญเติบโตของ เด็กผู้ชายจนกระทัง่ กลายเป็ นชายหนุม่ ผลการศึกษาพบว่าสือ่ โดยเฉพาะโทรทัศน์นนมี ั ้ อิทธิพล อย่างมากในการเป็ นต้ นแบบเส้ นทางการเติบโตของเด็กผู้ชาย อีก ทังพบว่ ้ าภาพของผู้ชายที่สื่อสะท้ อนออกมา จะเป็ นผู้ชายที่ต้อง หล่อเหลา มีเสน่ห์ และมีแรงดึงดูดทางเพศ ซึ่งผู้ชายในสื่อจะมี ชีวิตที่ต้องออกไปทํางานนอกบ้ านมากกว่าจะอยู่กบั บ้ าน รวมถึง มักจะให้ ความสําคัญกับปั ญหาที่เกิดขึ ้นจากการทํางานมากกว่า ปั ญหาส่วนตัว ปั ญหาในบ้ านหรื อครอบครัว ทังยั ้ งมีการแฝงถึง 90 | แ น ว คิ ด
เรื่ องชายผิวดําที่สื่อสะท้ อนออกมาจะมีปัญหาส่วนตัวมากกว่า ชายผิ วขาวและมีแ นวโน้ มที่ จะแก้ ปัญหาโดยใช้ ความก้ า วร้ าว รุนแรงมากกว่า ทังนี ้ ้ เด็กๆ เองก็ยอมรับว่า บทบาทของเพศชายที่สื่อ สะท้ อนออกมามีอิทธิพลและมีผลต่อทัศนคติทางสังคม ทําให้ เกิด ภาพลักษณ์ที่วา่ เป็ นผู้ชายจะต้ องแข็งแรงมีพลัง เป็ นผู้ครอบครอง มีอํานาจเหนือกว่าเพศหญิงและสามารถควบคุมโลกไว้ ในมือได้ และการแสดงออกถึงความเป็ นชายก็คือ จะต้ องมีการกระทําที่ดู รุนแรงก้ าวร้ าว นัน่ แหละ คือลูกผู้ชายตัวจริ ง กล่องที่ 5.13
โทรทัศน์ เหล้า บุหรี่ กับภาพสะท้อนความเป็นชาย
สาหรับประเทศตะวันตกบางประเทศ ผู้ผลิตเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ตอ้ งเสีย งบประมาณในการโฆษณาขายเหล้าต่อปีเป็นจานวนมาก คิดเป็นจานวนหลายร้อย ล้านบาทต่อปี และแนวคิดในการโฆษณาเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์พวกนี้กค็ ือ ‘ถ้าเป็นชาย แท้ตอ้ งดืม่ เหล้าหรือเบียร์’ หรือ ‘บทพิสจู น์ของความเป็นชาย’ หรือ ‘ถ้าคุณมีรสนิยม ดี มีชีวิตหรูหรา ต้องดืม่ เหล้าหรือเบียร์ยี่หอ้ นี’้ โฆษณาเหล่านีม้ ีเป้าหมายตั้งแต่กลุ่ม วัยรุ่นไปจนถึงผู้ใหญ่วยั ทางาน ในช่วงที่โฆษณาเครือ่ งดืม่ ประเภทเบียร์โหมกระหน่า อัตราบริโภคก็เพิ่มขึ้น เป็นเงาตามตัว แต่เมือ่ มีการประกาศห้ามโฆษณาเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ทาง จอโทรทัศน์ อัตราการบริโภคก็ลดลงเช่นกัน ส่วนการโฆษณาบุหรี่นั้น มีหลายๆ ประเภทที่ไม่ได้ทากันตรงๆในโทรทัศน์ แต่มักจะมีแบบอ้อมๆ ในภาพยนตร์หรือละคร เช่น พระเอกมาดแมนจุดบุหรีส่ ูบ หรือคีบซิการ์แบบเท่เก๋ไก๋ไว้ในมือ หรืออาจมียี่หอ้ บุหรี่โฆษณาอยู่บนรถแข่งฟอร์มลู าวันหรือติดป้ายโฆษณาไว้ในสนามกีฬายามเมือ่ มี การถ่ายทอดการแข่งขัน เป็นต้น สิ่งเหล่านีล้ ว้ นแต่บ่งบอกเป็นนัยๆ ถึงความเท่ของการสูบบุหรี่ จุดที่น่าเป็น ห่วง คือ การโฆษณาโดยอ้อมที่ผ่านจอโทรทัศน์ หรือภาพทีส่ อื่ ในภาพยนตร์ละคร เช่นนี้ และบางครั้งน่าเป็นห่วงเสียยิง่ กว่าการโฆษณาแบบตรงๆ เพราะการโฆษณา ทางอ้อมส่งผลแทรกซึมลึกโดยที่ไม่มีใครรู้ตวั หรือไม่ได้สังเกตด้วยซ้า
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 91
-บทบาทของโทรทัศน์ ต่อความสวยงาม รูปลักษณ์ และเรือนร่ างของผู้หญิง ความงามเป็ นเรื่ อ งที่ สัม พัน ธ์ โดยตรงกับ วัฒ นธรรม เพราะการนิยามว่าสิ่งใดงามหรื อไม่งามหรื อสิ่งใดที่เสริ มความ งามก็ แ ตกต่า งกัน ไปในแต่ละสัง คมด้ ว ยเช่ น กัน ความงามได้ ผลักดันให้ มนุษย์ปรุงแต่งร่างกาย และสร้ างผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้ อง กับความสวยงามสําหรับสตรี เพศ บุรุษเพศ หรื อ เพศที่สาม ไม่ว่า จะเป็ นเสื ้อผ้ า เครื่ องสําอาง เครื่ องประทินความงามหรื อการสร้ าง บริ ก าร ในรู ป แบบธุ ร กิ จ เสริ ม ความงาม และ สถานบริ ก าร/ โรงพยาบาลด้ า นศัล ยกรรมตกแต่ ง ความงามจึ ง ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ ง ‘ไร้ สาระ’ อย่างที่หลายๆ คนมักจะเอ่ยขึ ้น เพราะเพียงเห็นใครสัก คนจับจ่ายไปกับผลิตภัณฑ์หรื อบริ การเพื่อเสริ มสร้ างความงาม ให้ กบั ร่างกาย ในทางตรงข้ ามเราน่าจะตังคํ ้ าถามที่ว่า เพราะเหตุ ใดเขาหรื อ เธอเหล่ า นั น้ จึ ง ยอมลงทุ น กั บ การปรุ ง แต่ ง หรื อ ปรับเปลี่ยนร่ างกายไปตาม ‘มาตรฐานความงาม’ และใครเป็ น ผู้ส ร้ างแบบอย่ า งความงามนัน้ ๆ หรื อ ทํ า ไมสัง คมจึ ง ยอมรั บ ภาพลักษณ์ความงาม การจับจ่ายใช้ สอยเพื่อความงามเป็ นส่วน หนึ่ง ของการบริ โภคในสังคมร่ ว มสมัย แต่น อกจากสิน ค้ า และ บริ การแล้ วสือ่ โฆษณายังเป็ นประดิษฐกรรมที่มีความสําคัญพอๆ กับสินค้ าและบริ การ เพราะโฆษณาสร้ างความหมายให้ กบั สินค้ า และบริ ก ารและส่ ง อิท ธิ พ ลต่อ การตัด สิน ใจของผู้บ ริ โภคว่า จะ เลือกใช้ สินค้ าและบริ การนันๆ ้ หรื อไม่ อีกทัง้ สารในสื่อโฆษณา เกี่ยวกับความงามปรากฏจะไม่ได้ มีเพียงแต่เนื ้อหาที่เกี่ยวข้ องกับ สินค้ าและบริ การ หากแต่สารในสื่อกํ าลังสร้ างภาพมาตรฐาน
92 | แ น ว คิ ด
ความงามและค่านิยมบางประการ รวมทังยั ้ งสะท้ อนความคิด และความเชื่อของสังคมที่สง่ อิทธิพลต่อโฆษณาด้ วยเช่นกัน ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ (2549) ได้ ทดลองศึกษาโฆษณา ความงามในสือ่ ต่างๆช่วงเดือนตุลาคม -ธันวาคม พ.ศ.2548 และ ได้ ตั ง้ ข้ อสั ง เกตว่ า โฆษณาในสื่ อ ได้ สถาปนาภาพลั ก ษณ์ อุดมการณ์ และความเชื่อทางสังคมบางประการ ทังที ้ ่เกี่ยวข้ อง กับความงามและความสัมพันธ์ ทางอํานาจของผู้คนในสังคมไว้ อย่างน่าสนใจ ซึ่งเขาได้ เสนอการวิเคราะห์เป็ น 3 ประเด็น ได้ แก่ ความงามและเรื อนร่ า งในอุด มคติ การจัดการความงามด้ ว ย ผู้เชี่ยวชาญ และภาพลักษณ์ของธรรมชาติ เขาอธิ บ ายว่ า ร่ า งกายของสตรี เ พศนัน้ กลายเป็ น ภาพประกอบหลักในสื่อโฆษณา โดยปรากฏในหลายลักษณะ ของการนําเสนอร่ างกายผู้หญิ งที่มีสดั ส่วนองค์เอวในเสื ้อผ้ าที่ดู เซ็กซี่หรื อเสื ้อผ้ าที่เปิ ดเผยบางส่วนของร่ างกาย ผิวที่ขาวนวล หน้ าตาที่ถกู แต่งเติมให้ ดโู ฉบเฉี่ยว ทังนี ้ ้ นางแบบที่ปรากฏในสื่อ โฆษณาเช่นนี ้มักเป็ นดาราหรื อบุคคลที่คนทัว่ ไปรู้ จัก รวมถึงการ ใช้ ภาพเปรี ยบเทีย บความเปลี่ย นแปลงของเรื อ นร่ างของคนๆ เดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน จากร่ างกายที่อ้วนดูไม่ได้ สดั ส่วน กั บ เธอคนนั น้ ในโฉมใหม่ ที่ หุ่ น เพรี ยวดู ก ระชั บ ได้ สั ด ส่ ว น ภาพลักษณ์ของความงามจะเกี่ยวข้ องตังแต่ ้ เรื่ องของผิวหน้ า ผิว กาย ใบหน้ า เส้ นผม เส้ นขน เรื อนร่ าง ทรวดทรง ภาพของความ งามเช่ น นี ถ้ ูก นํ า เสนอขายพร้ อมกับ บริ ก ารและการปรั บ แต่ ง ร่างกายตามอุดมคติความงาม สื่อโฆษณาได้ นําเสนอการเข้าไป จัดการกับร่างกายในลักษณะต่างๆ ตังแต่ ้ การใช้ เครื่ องสําอาง ซึ่ง กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 93
ถือว่าเป็ นการปรับแต่งชัว่ คราว การใช้ สารเคมีเข้ าไปเปลีย่ นแปลง ปฏิกิริยาทางเคมีในร่ างกาย เช่น ยาลดความอ้ วน นํ ้ายาปลูกผม อาหารชนิดพิเศษที่ทําหน้ าที่แทนอาหาร หรื อให้ สารอาหารสกัด บางตัว (ที่ปราศจากไขมัน) หรื อการผ่าตัดเปลี่ยนแปลงร่ างกายที่ สามารถกระทําต่อส่วนต่างๆ ของร่ างกายที่แตกต่างกันไป ไม่ว่า จะเป็ น หน้ าอก หน้ าท้ อง ต้ นขา หรื อแม้ แต่เพศ โฆษณาที่นําเสนอเรื อนร่ าง และความงามในอุดมคติ พยายามสร้ างตัวแบบของความงาม ทังภาพของความงามที ้ ่ สมบูรณ์แบบ และภาพเปรี ยบเทียบ ภาพของดารา นักแสดง กลายเป็ นรู ปลักษณ์ (idol) ของความงามที่ควรจะเป็ น และเย้ า ยวนให้ ผ้ บู ริ โภคชื่นชอบต่อสภาพความงามเช่นนัน้ สัดส่วนที่โค้ ง เว้ าของร่ างกาย หัวไหล่ที่เปลือยเปล่า ต้ นขาที่ขาวนวล เสื ้อผ้ าที่ เปิ ดเผยเรื อนร่างบางส่วน รอยยิ ้มแห่งความเสน่หา และใบหน้ าที่ เอิบอิ่มไปด้ วยความสมบูรณ์พนู สุขเหล่านี ้ ได้ ผลักดันให้ ผ้ บู ริ โภค จินตนาการตัวตนไปในทํานองเดียวกัน
94 | แ น ว คิ ด
ภาพเปรี ยบเทียบเสนอความชิ งชังต่อสภาพที่เป็ นอยู่ ของผู้บริ โภค การใช้ ภาพร่ างกายที่ไม่ได้ เป็ นไปตามเรื อนร่ างและ ความงามในอุดมคติปรากฏเคียงข้ างความงามที่สมบูรณ์ แบบ ร่ างกายที่ไม่ได้ สดั ส่วน ใบหน้ าที่อ้วนฉุหรื อขาวผ่อง เสื ้อผ้ าที่ดู แสนจะธรรมดา ถูก เปรี ย บกับ ร่ า งกายที่ ผ่า นขัน้ ตอนของการ จัดการ ทําให้ ผ้ บู ริ โภคอาจตังคํ ้ าถามต่อความพึงใจต่อสภาพเรื อน ร่ า งของตนเองในปั จ จุบัน และชี ช้ วนว่า หากคุณ ไม่พ อใจและ ปรารถนาจะครอบครองเรื อนร่ างและความงามในอุดมคติ คุณก็ ควรชื ้อผลิตภัณฑ์หรื อบริ การของเรา ในปั จจุ บั น มี สื่ อ โทรทัศ น์ ม ากมายหลายประเภทที่ สะท้ อนทัศนคติตอ่ รูปลักษณ์และเรื อนร่างของผู้หญิงไปในทํานอง ประเภท ‘สัตว์โลกที่สวยงาม’ นัน่ คือ แสดงถึงเรื อนร่ างเปลือยของ หญิงสาว หรื อสวมใส่เสื ้อผ้ าน้ อยชิ ้น เพื่อที่จะแสดงความสวยงาม ให้ เต็มที่ เราจึงพบว่าโลกปั จจุบนั มีการใช้ ผ้ หู ญิงและเรื อนร่ าง ของผู้หญิงเป็ นจุดขายในทุกๆที่ นับตังแต่ ้ สินค้ าประเภทอาหาร จนถึงรถยนต์ ดาราหญิงในจอโทรทัศน์ก็จะต้ องเป็ นสาวเอ๊ าะๆ สูง ยาวเข่าดีหรื อขาว สวย หมวย อึ๋ม หรื อโฆษณาสินค้ าเครื่ อง สําอางก็จะสื่อออกมาในทางว่า ถ้ าคุณเป็ นผู้หญิงสาว สวย ขาว หน้ าใส คุณก็จะประสบความสําเร็ จในเรื่ องความรัก การแต่งงาน การมีลกู ๆ ที่นา่ รัก ได้ พบกับผู้ชายหล่อๆ หรู ๆ มีชีวิตเคลิ ้มลอยใน ความฝั นราวกับเจ้ าหญิงในนิยาย ทังนี ้ ้ แนวคิดของการโฆษณาที่ต้องการสร้ างภาพของ หญิงสาวที่จะต้ องขาวหมดจด ผุดผ่องไปตลอดทังตั ้ ว โดยเฉพาะ ที่หน้ าและรักแร้ ซงึ่ จะต้ องขาวเนียน ก็คือ ถ้ าขาวเนียน ผู้หญิงคน กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 95
นันก็ ้ จะมีแต่ผ้ ชู ายมารุ มล้ อม หลงรัก แต่ถ้าดํา หมองคลํ ้า ชีวิตก็ จะถึงแก่กาลวิบตั ิเพราะมีแต่คนไม่คบหา ดูเป็ นคนน่ารังเกียจไป เลย แม้ แต่แฟนก็หาไม่ได้ หรื อมีอยูแ่ ล้ วก็ถกู แย่งชิงไป โฆษณาเช่นนี ้มีผลต่อสุขภาพจิตของผู้หญิงอย่างรุ นแรง เพราะทําให้ ผ้ หู ญิงมากมายเสียศูนย์เมื่อคิดว่าตนไม่ผอม ไม่สวย ไม่แลดูออ่ นเยาว์ ไม่เซ็กซี่ ทําให้ ผ้ หู ญิงมีอาการทางจิต ขาดความ เชื่อมัน่ ในตัวเอง ขาดความรู้สกึ ที่ดีตอ่ ตัวเองและเริ่ มมีนิสยั ในการ กินที่ไม่ดี สือ่ โทรทัศน์ประเภทนี ้ จึงมักทําให้ เกิดพฤติกรรมการกิน อาหารที่แปรปรวน (eating disorders) โดยเฉพาะในเด็กวัยรุ่ นที่ ได้ รับการโฆษณาชวนเชื่อว่าควรจะผอมเหมือนอย่างนางแบบจึง เกิดการกินอาหารไม่ครบหมู่ขาดอาหาร เกิดเป็ นโรคต่างๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับพฤติกรรมในการกิน เช่น โรค Anorexia ซึง่ ผู้หญิงจะ ใช้ วิธีลดความอ้ วนโดยการอดอาหาร งดมื ้อใดมื ้อหนึ่ง ออกกําลัง กายอย่างหักโหม กินยาระบาย หรื ออาเจียนเอาอาหารที่กิน ออกมา สื่อทัง้ หลายได้ สร้ างวัฒนธรรมแห่งความผอม (The culture of thinness) ขึ ้นมา โดยบิดเบือนว่ากลายเป็ นผอมเพื่อ สวย แต่ไม่ใช่ผอมเพื่อสุขภาพดี ดังนันผู ้ ้ หญิงจึงต้ องทําทุกวิถีท าง ไม่ ว่ า จะเป็ นการอดอาหารการออกกํ า ลั ง หรื อแม้ กระทั่ ง การทําศัลยกรรมความงาม (cosmetic surgery) โดยเฉพาะสื่อ โทรทัศน์นนั ้ จะยิ่งเน้ นถึงรู ปลักษณ์ ของผู้หญิ งที่สวยอ้ อนแอ้ น โดยเฉพาะเท่านัน้ พวกดาราโทรทัศน์จึงมักมีเรื อนร่ างผอมบาง ทังนี ้ ้ เป็ นเพราะตราบใดที่โฆษณายังครองตลาด ความผอมของ ผู้หญิงก็จะยังคงได้ รับการเชิดชูวา่ เป็ นความสวยชันเลิ ้ ศและยังคง นํามาเป็ น ‘จุดขาย’ ได้ เสมอ 96 | แ น ว คิ ด
กล่องที่ 5.14
ค่านิยม ‘ความงามของสตรี’ ในสื่อโทรทัศน์ไทย
มีการศึกษาของโครงการศึกษาและเฝ้าระวังสือ่ เพือ่ สุขภาวะของสังคม (Media Monitor) ในปี พ.ศ.2551 เรื่อง ‘ค่านิยมความงามในโฆษณาทางโทรทัศน์’ ซึ่งศึกษา ค่านิยมความงามและกลวิธีการนาเสนอค่านิยมในโฆษณาผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง ผลิตภัณฑ์อื่นที่ใช้ความงามเป็นจุดขายในช่วงวันทีอ่ อกอากาศ 2-8 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ทางสถานีโทรทัศน์ชอ่ ง 3, 5, 7, 9 และ NBT ผลการศึกษาพบว่ามีโฆษณาสินค้าและบริการเพือ่ ความงามทั้งหมด 122 ชิ้น ซึ่งมีถึง 94 ชิ้นหรือ 3 ใน 4 ของโฆษณาเหล่านั้นทีม่ ุ่งสือ่ สารไปยังกลุ่มผู้ชมเพศ หญิง โดยลักษณะค่านิยมความงามที่โฆษณาโทรทัศน์นาเสนอมากทีส่ ดุ คือ ‘การมี ผิวขาว’ ที่นาเสนอใช้กับผิวหน้า ผิวกายและรักแร้ ซึ่งมักนาเสนอว่าความขาวเป็น คุณลักษณะในอุดมคติสาหรับผู้หญิง รองลงมาคือ ‘การมีรูปร่างผอม’ ที่ใช้วิธีการสื่อสารให้เข้าใจว่าการที่ผู้นา เสนอมี รู ป ร่ า งผอมเป็ น ผลมาจากการรั บ ประทานสิ น ค้ า ที่ โ ฆษณา นอกจากนี้ การศึกษายังพบความงามแบบ ‘เต่งตึง อ่อนวัย ’ โดยความอ่อนวัยนั้นจะต้องมี ผิวหน้าที่ไร้ริ้วรอย ผมดกหนา เป็นต้น ตลอดจน ‘การไม่มีกลิ่นกายหรือการมีกลิ่น หอม’ สาหรับผู้หญิงนั้น รักแร้หรือจุดซ่อนเร้นจะต้องไม่มีกลิ่นไม่พึงประสงค์ซึ่งจะทา ให้ผู้หญิงรู้สึกบกพร่องต่อร่างกายของตนทั้งขณะอยู่ตามลาพังในบ้านหรืออยู่ในที่ สาธารณะ ทั้งนี้ วิธีการนาเสนอที่พบหลักๆของโทรทัศน์ไทยในการนาเสนอคุณค่า ความงามมี 2 ลักษณะ ได้แก่ นาเสนอคุณสมบัติของสินค้านั้นโดยตรง และโฆษณา นาเสนอสินค้าผ่านเหตุการณ์สมมติ อย่างไรก็ตาม โฆษณานั้นถือเป็นตัวบท (text) ที่สร้างอยู่ในสังคมบริโภคที่สอดแทรกความหมายให้สังคมอยู่เสมอ จากการศึกษาชิ้น นี้ค้นพบความคิดและค่านิยมความงามที่น่าเป็นกังวลสอดแทรกอยู่ในโฆษณาอย่าง น้อย 3 ประเด็น 1.การทาให้ผู้บริโภคซึ่งส่วนใหญ่เน้นไปที่ผู้หญิงเป็นฝ่ายรองรับการจ้องมอง ทั้งด้วยความเต็มใจหรือถูกกดดันจากตัวเองและคนรอบข้าง อีกทั้งโฆษณาบางตัวยัง ใช้วิธีการกดดันผู้หญิงผ่านสายตาผู้ชายที่จับจ้องตัวละครหญิง 2.ความสวยงามทางกายภาพเป็นปัจจัยสาคัญที่จะนาไปสู่โอกาสด้านความ รัก ซึ่ ง มีค วามส าคั ญกว่ า ศัก ยภาพด้ า นอื่ น ๆ โฆษณาที่ เ จาะกลุ่ม เป้ าหมายผู้ ห ญิ ง นาเสนอให้เห็นว่าการได้รับการยอมรับเพื่อเข้าสู่โลกสาธารณะของผู้หญิงต้องใช้ความ งามเข้าเกี่ยวข้องมากกว่าความสามารถและศักยภาพ ด้วยเหตุนี้จึงนับเป็นการลดรูป ความสาเร็จและโอกาสแห่งความก้าวหน้าในชีวิตให้เหลือเพียงความงามในแต่ละส่วน ของร่างกาย เช่น การมีใบหน้าขาว เต่งตึง รักแร้ขาวเรียบเนียน รูปร่างต้องผอมสม ส่วน ไม่มีไขมันส่วนเกิน และกลิ่นตัวหอม เป็นต้น 3.ค่านิยมเรือ่ งความผอมอาจทาให้ผู้หญิงตกอยู่ในความเสี่ยงด้านสุขภาพ กว่าจะเป็นว…รายการโทรทั ในดวงใจครอบครั ฯ | 97 าคัญ เนือ่ งจากโฆษณาหลายชิ้นนาเสนอภาพของตั ละครที่มเี ป้ศาน์หมายหรื อจุดวหมายส คือจะต้องผอม โดยความผอมนี้มคี วามหมายเท่ากับความงาม
กล่องที่ 5.14
ค่านิยม ‘ความงามของสตรี’ ในสือ่ โทรทัศน์ไทย (ต่อ)
3.ค่านิยมเรือ่ งความผอมอาจทาให้ผู้หญิงตกอยู่ในความเสี่ยงด้านสุขภาพ เนือ่ งจากโฆษณาหลายชิ้นนาเสนอภาพของตัวละครที่มเี ป้าหมายหรือจุดหมายสาคัญ คือจะต้องผอม โดยความผอมนี้มคี วามหมายเท่ากับความงาม 3.2.4 โทรทัศน์ กับอคติ การเหยียดและภาพตัวแทน บางครัง้ สือ่ ได้ แสดงทัศนคติหรื อค่านิยมที่เกี่ยวกับเรื่ องผิวหรื อเชื ้อ ชาติในทํานองที่ไม่เหมาะสม เช่น เราอาจจะเคยได้ ยินมาว่าคนผิวขาว ฉลาดกว่าคนผิวดํา คนอังกฤษเชื่องช้ า ขณะที่คนอเมริ กนั ว่องไว คนไทย ฉลาดกว่าคนลาวซึ่งเป็ นเพื่อนบ้ าน หรื อชาวเขามักแสดงอะไรที่ดูโง่เง่า เงอะงะเหล่านี ้ เป็ นต้ น ซึ่งค่านิยมหรื อทัศนคติดงั กล่าวเป็ นเรื่ องที่บิดเบือน ความเป็ นจริ ง และเป็ นเพี ย งสิ่ ง ที่ สื่ อ สะท้ อนออกมาให้ แลดู เ ป็ นเรื่ อ ง สนุกสนานเย้ ยหยันกัน สิ่งเหล่านี ้เป็ นเรื่ องค่อนข้ างละเอียดอ่อนสําหรับ ประเทศที่ประกอบด้ วยประชากรหลายเชื ้อชาติและชนกลุม่ น้ อยอย่างเช่น สหรัฐอเมริ กา ออสเตรเลีย แคนาดา โดยทัว่ ไปแล้ ว รายการโทรทัศน์ที่สะท้ อนภาพเหล่านี ้ออกมามาก ที่สุดรวมถึง มีอิทธิ พลต่อ สังคมและผู้ชมมากที่สุด เห็น จะไม่พ้นรายการ ประเภท ‘ซิทคอม’ (Situation Comedy) ซึ่งมีโครงเรื่ องและแก่นเรื่ องเป็ น การจําลองสถานการณ์ ที่ถือเป็ นแก่นหลักของรายการประเภทนี ้ รวมถึง กํ าหนดทิ ศทางของเรื่ องราวทัง้ หมดว่าจะดํ าเนิ นไปในแนวทางใด ทัง้ นี ้ เนื ้อหาส่วนใหญ่จะเป็ นการนําเสนอถึงความสัมพันธ์ ของผู้ชายและผู้หญิ ง ความรัก การสะท้ อนภาพสังคมเมือง-ชนบท บทบาทหน้ าที่ของคนในสังคม ฯลฯ
98 | แ น ว คิ ด
การศึกษาของโครงการศึกษาและเฝ้ าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของ สังคม (Media Monitor) ในปี พ.ศ.2550 เรื่ อง ‘อคติ และภาพตัวแทนใน ละครซิ ท คอม’ ซึ่ง ศึก ษาวิ เ คราะห์ เ นื อ้ หารายการในละครซิ ท คอมของ สถานีโทรทัศน์ฟรี ทีวีช่วงเดือนกันยายน-ธันวาคม พ.ศ. 2550 ผลการศึกษา พบว่าละครซิทคอมมีการแสดงภาพความเป็ นตัวแทนของคนต่างๆในสังคม อย่างน้ อย 7 บทบาทหลัก ได้ แก่ -ภาพตัวแทนของพระเอก ซึ่งมักเป็ นศูนย์กลางของเรื่ อง เป็ นชน ชันกลาง ้ มีลกั ษณะของความเป็ นชายแท้ เช่น เป็ นผู้นํา สุภาพบุรุษ มีเสน่ห์ ทางเพศ ตลกอารมณ์ดี เป็ นต้ น -ภาพตัวแทนของนางเอก ซึ่งมีลกั ษณะเด่น คือ สวย ตลก มอง โลกในแง่ดี มีกิริยาเปิ่ นๆเพื่อแสดงออกถึงความน่ารัก ไม่มีภาพลักษณ์เซ็กซี่ ไม่ใ ห้ นํา้ หนัก ด้ า นหน้ าที่ ก ารงานเพราะบทบาทของเพศหญิ ง เป็ นเพี ย ง บุคคลเป้าหมายของภารกิจพิชิตดอกฟ้ าโดยพระเอก ลักษณะเช่นนี ้สะท้ อน ถึงผู้หญิงยังเป็ นฝ่ ายถูกเลือกอยู่เสมอ ที่สําคัญ ภาพตัวแทนของผู้หญิงนัน้ ค่อนข้ างมีบทบาทเป็ นรองผู้ชายอย่างมากและในบางเรื่ อง ผู้หญิงไม่ได้ เป็ น อะไรมากนอกจากเป็ นตัวประกอบ ตัวตลก รวมถึงเป็ นวัตถุทางเพศ -ภาพตัว แทนของเพื ่อ นพ้อ งน้อ งพี ่ เป็ นกลุ่ม ตัว ละครหลัก ที่ มี ความสําคัญต่อตัวละครซิทคอมไทยมาก เพราะมีความสัมพันธ์ ใกล้ ชิดกับ ตัวละอรอื่นๆ ทําให้ สร้ างมุขตลกได้ อย่างแยบคาย -ภาพตัวแทนของพ่อแม่ ญาติ ผูใ้ หญ่ มีลกั ษณะเป็ นคนขําขัน ไม่ น่ากลัว ไม่อาวุโสจนเป็ นที่น่าเคารพเกรงขาม สามารถหยอกล้ อ ล้ อเล่น เล่นหัวได้ หรื อมีบคุ ลิกเจ้ าระเบียบ เข้ มงวด งก ดุ แต่ก็มีบางครัง้ ที่ต้องสวม บทบาทตักเตือน อบรมสัง่ สอนและให้ คติเตือนใจตลอดจนข้ อคิดในการ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 99
ดํารงชีวิต อย่างไรก็ดี บทบาทการหาเลี ้ยงชีพดูจะเป็ นบทบาทรอง หากแต่ บทบาทสํา คัญ อยู่ที่ ก ารเล่น ตลกจากอุป นิ สัย และพฤติ ก รรมบางอย่า ง มากกว่า -ภาพตัวแทนของเจ้านายและลูกน้อง ปรากฏไม่มากนัก เพราะ ซิทคอมส่วนมากไม่คอ่ ยเน้ นเรื่ องราวเชิงวิชาชีพของตัวละคร แต่ในส่วนที่มี นัน้ ภาพตัวแทนของเจ้ านายก็ไม่ได้ น่าเกรงขามอย่างที่ควรจะเป็ น แต่เป็ น เจ้ านายที่เล่นมุขตลกกับลูกน้ องได้ -ภาพตัวแทนของเด็ก ซึ่งเป็ นมิติที่พบน้ อยมาก ส่วนมากที่พบจะ มีลกั ษณะพูดจาดูเฉลียวฉลาด น่ารัก ซุกซน แก่แดดในบางเรื่ อง สอดรู้ สอด เห็น และจิตใจดี -ภาพตัวแทนของสาวเซ็ กซี ่ ซึ่งเป็ นตัวละครที่สําคัญ ขาดไม่ได้ เพราะถือเป็ นตัวประกอบที่มีหน้ าที่สร้ างสีสนั ให้ กบั ผู้ชายในเรื่ อง มักแสดง กิริยาเสนอตัวรวมถึงพยายามหาทางใกล้ ชิดพระเอกอยู่เสมอ บทบาทใน มิตินี ้ นอกจากจะเป็ นสิ่งสวยงามที่ไม่มีบทพูดที่ฉลาดๆหรื อกระทําตัวที่ดู เข้ า ท่ า แล้ ว ยัง เป็ นตัว ละครที่ มี ไว้ เ พื่ อ ยั่ว ยวนหว่า นเสน่ห์ ตัว ละครชาย หรื อไม่ตวั ละครชายก็มกั แสดงพฤติกรรมชีกอกับพวกเธอด้ วยมุขตลกต่างๆ ลักษณะเช่นนี ้ถือเป็ น ‘การสร้ างภาพตายตัว’ (stereotype) ที่ตอกยํ ้าความ เชื่อของสังคมที่มีตอ่ ผู้หญิงรูปร่างหน้ าตาดี ในด้ านของอคติ (bias) และการเหยี ย ดนั น้ (discriminate) การศึกษาชิ ้นนี ้ค้ นพบว่าในละครซิทคอมไทย มีมิติของอคติและการเหยียด ใน 6 ด้ านหลัก ได้ แก่ ชนชัน้ เชื ้อชาติ /ชาติพนั ธุ์ เพศ อายุ คนพิการ และ รู ปร่ างหน้ าตา โดยพิจารณาจากเนือ้ หาที่แสดงถึงความไม่เท่าเทียมหรื อ ทัศนคติเชิงคุณค่าในการตัดสินบุคคลล่วงหน้ าตลอดจนเนื ้อหาที่แสดงถึง
100 | แ น ว คิ ด
การเลือกปฏิบตั ิตอ่ บุคคลใดบุคคลหนึง่ อย่างไรก็ตาม การเหยียดและอคติ ในคนลาว คนอีสาน คนการศึกษาตํ่า ฯลฯ ซึ่งอยู่ในด้ านดังกล่าวนัน้ อยู่ใน ระดับที่ไม่น่ากังวลยกเว้ นเพียงด้ านเดียว คือ เพศ ที่มีอคติและการเหยียด ในเพศหญิง เพศที่สามและความงามอย่างน่ากังวล อีกทังซิ ้ ทคอมเกือบทุกเรื่ องมักใช้ มขุ ตลกล้ อเลียนเกี่ยวกับความ สวยงามของรู ปร่ างหน้ าตาไม่ทางใดก็ ทางหนึ่งเสมอ ในการศึกษาชิ น้ นี ้ ค้ นพบวิธีการใช้ มุขตลกในซิ ทคอมว่า เกิ ดจากกลวิธีทางภาษามากกว่า กลไกของเนื ้อเรื่ อง เช่น การด่า ว่า หยอด กัด หยิก ประชดประชัน การพูด คําผิด ฯลฯ ขณะที่ความตลกที่เกิ ด จากสถานการณ์ นนั ้ มักไม่ค่อยได้ รั บ เสียงหัวเราะมากดท่าที่ควรจะเป็ น รวมถึงมุขตลกเจ็บตัว (ทําร้ ายร่ างกาย) เช่น หยิกนม ตบหัว เตะก้ น จิ ้มก้ น ดึงขนจมูก ฯลฯ ก็ยงั พบมากในละครซิท คอมเกือบทุกเรื่ อง ที่สําคัญ ตลอดหลายสิบปี ที่ผ่านมารายการโทรทัศน์ประเภทซิท คอมนี ้ ได้ มีอิทธิ พลอย่างมากต่อการปรับเปลี่ยนบทบาททางเพศรวมถึง ภาพลักษณ์ และระบบครอบครัวของคนในสังคมให้ เป็ นไปในลักษณะที่มี พฤติกรรมบางอย่างคล้ ายคลึงกับการเป็ นตัวแทนของตัวละครในรายการ (Olson and Douglas 1997) ดังนัน้ อิทธิพลของสื่อโทรทัศน์ ย่อมเข้ าถึงและปรั บเปลี่ยน ตัวเราโดยที่เราไม่ ร้ ูตัวไม่ ทางใดก็ทางหนึ่ง อิทธิพลที่เกิดขึน้ มีทงั ้ ด้ าน ลบและด้ านบวก อยู่ท่ ีเราจะสามารถไตร่ ตรองและพิจารณาในการ รับสื่อต่ างๆได้ อย่ างไร ทัง้ นี ้ กระบวนการที่ดีท่ ีสุดในการเลือกรั บสื่อ ถูกรู้จักภายใต้ ‘การรู้เท่ าทันสื่อ’ ซึ่งจะพูดถึงในเรื่องถัดไป
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 101
กล่องที่ 5.15
มาตรการปัจจุบันในการป้องกันพิษภัยที่เกิดจากสือ่
ปัจจุบันแต่ละประเทศต่างก็มีความตระหนักถึงอิทธิพลของสือ่ และพิษภัยจากสือ่ ไร้ คุณภาพ การรับมือกับอิทธิพลของสือ่ นัน้ โดยทัว่ ไปแบ่งออกเป็น 2 วิธีหลักๆ (นฤมล 2552: 33-34) คือ 1. การกลั่นกรองสื่อที่จะนามาเผยแพร่ทางโทรทัศน์ เช่นการเซ็นเซอร์ ภาพและเสียง หรือมีการคิดค้นอุปกรณ์เพื่อใช้ในการบล็อกรายการที่ไม่เหมาะสม สาหรับเด็ก เช่น ในสหรัฐอเมริกาได้มีการคิดค้นอุปกรณ์เพื่อช่วยในการเลือก รายการโทรทัศน์ที่เหมาะกับเด็ก เรียกว่า V-chip ซึ่งเป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ติดตั้งกับเครื่องรับโทรทัศน์ ทาหน้าที่บล็อกรายการโทรทัศน์ที่ไม่เหมาะสมสาหรับ เด็กโดยพิจารณาจากการจัดเรตติ้ง ซึ่งปัจจุบันเครื่องรับโทรทัศน์ทุกเครื่องจะต้อง มีการติดตั้งอุปกรณ์ V-chip นี้ 2. การให้การศึกษาเกี่ยวกับสื่อเพื่อให้เยาวชนและประชาชนได้รู้เท่า ทันสื่อ จากกรณีของต่างประเทศ เช่น ประเทศแคนาดา พบว่าการให้การศึกษา เกี่ยวกับสื่อแก่เด็ก โดยให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม ช่วยทาให้เกิดการตระหนักรู้ และการเฝ้าระวังมากขึ้น ทัง้ นี้ การศึกษาเกี่ยวกับสื่อจะต้องมีเป้าหมายสอนเด็กให้ เข้าใจว่าสื่อจะมีอิทธิพลในทางสังคมอย่างไร อย่างไรก็ตาม ในหลายๆประเทศ การให้การศึกษาเกี่ยวกับสื่อ จะดาเนินงานโดยองค์กรอิสระ หรือเป็นองค์กรที่ รวมตัวกันขึ้นมาโดยไม่เกี่ยวกับรัฐบาล หน่วยงานเหล่านี้จะจัดหาข้อมูลข่าวสาร และแหล่งสารสนเทศไว้ให้ผู้สนใจนาไปใช้ในการส่งเสริมสภาวะการรูเ้ ท่าทันสือ่ แหล่ง สารสนเทศที่มีไว้บริการจะประกอบด้วยเนื้อหาที่หลากหลาย ครอบคลุมหลาย ด้าน และที่สาคัญคือต้องเหมาะสมกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนในประเทศ
102 | แ น ว คิ ด
บทที่ 6 การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) กล่าวกันว่าสังคมในยุคปั จจุบนั คือ สังคมยุคข้ อมูลข่าวสาร ที่ เปรี ยบเสมือนสายธารที่มีกระแสอันไหลท่วมท้ น เชี่ยวกราก ด้ วยยุคสมัย เช่นนี ้ ประชาชนจําเป็ นจะต้ องมีทกั ษะและความสามารถในการนําข้ อมูล ข่าวสารที่ไหลท่วมท้ นนันมาใช้ ้ ให้ เป็ นประโยชน์ และจะต้ องรู้ จกั ใช้ สื่อหรื อ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ สามารถเข้ าถึงแหล่งข้ อมูลข่าวสารในยุค อิเล็กทรอนิกส์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนันใน ้ ‘สังคมที่ช่มุ ฉํ่าไปด้ วย สื่อ’ (mediasaturated society) ยังมีความจําเป็ นอย่างยิ่งที่ประชาชนทุก กลุ่มจะต้ องมีทักษะในการรู้ เท่าทันสื่อ ไม่ว่าจะเป็ นกลุ่มเด็กหรื อผู้ใหญ่ ทักษะและความสามารถในการนําข้ อมูลข่าวสารมาใช้ ให้ เป็ นประโยชน์นี ้ นับว่า มีความสัมพันธ์ กบั เราในทุกๆ เรื่ อง ไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องของการศึกษา การนําความรู้ไปใช้ ในการทํางาน ชีวิตประจําวันภายในบ้ าน เวลาพักผ่อน สภาพแวดล้ อมในการสื่อสาร และอื่นๆ ซึ่งในแต่ละด้ านก็จะต้ องใช้ ทกั ษะ และความสามารถในการนําข้ อมูลข่าวสารมาใช้ ให้ เป็ นประโยชน์แตกต่าง กันไป ขึ ้นอยูก่ บั ระดับของการใช้ งาน การรู้ เท่า ทันสื่อ เป็ นแนวคิ ดที่ ได้ รั บการยอมรั บ ในระดับสากล ตามที่ร ะบุไว้ ในยุทธศาสตร์ การดําเนิน งานด้ านสื่อ มวลชนขององค์ การ การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ซึง่ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 103
อยู่ในกรอบแนวคิดเรื่ อง ‘การส่งเสริ มเสรี ภาพในการแสดงออกและการ เสริ มสร้างสมรรถนะในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและความรู้อย่างทัว่ ถึงและ เท่าเที ยมกัน’ โดยมีหลักการหนึ่งระบุไว้ ว่าด้ วย ’การยกระดับการรู้เท่าทัน สื ่อให้สูงขึ้ น’ ส่งผลให้ ประเทศสมาชิกต่างๆ ยอมรั บหลักการนีแ้ ละนําไป ขับเคลือ่ นในประเทศของตน
1) การรู้เท่าทันสื่อ คือ อะไร? นักวิชาการตะวันตก Stanley J. Baran (2002) ได้ รวบรวมคํา นิยามของการรู้ เท่าทันสื่อไว้ ในหนังสือของเขา ชื่อ ‘Introduction to Mass Communication: Media Literacy and Culture’ ไว้ จํานวนมาก เช่น คํานิยามจาก The National Leadership Conference on Media Literacy ที่อธิ บายการรู้ เท่าทันสื่อว่าหมายถึง ความสามารถที่จะ เข้ าถึงสือ่ วิเคราะห์ ประเมินและสือ่ สาร คํานิยามของ Paul Messaris ที่ว่า คือ ความรู้ เกี่ยวกับบทบาท หน้ าที่ของสือ่ ในสังคม คํานิยามของ Justin Lewis และ Sut Jhall ที่ว่า คือ ความเข้ าใจ ข้ อจํากัดทางวัฒนธรรม เศรษฐศาสตร์ การเมือง และเทคโนโลยีในการสร้ าง การผลิต และการถ่ายทอดสาร คํานิยามของ Alan Rubin ที่อธิ บายว่า หมายถึง ความเข้ าใจ เทคโนโลยี แ ละผู้ ส่ง สาร (source) รหัส ที่ ถู ก ใช้ (code) สารที่ ถู ก ผลิ ต ออกมา และการคัดเลือกสาร (message and selection) การตีความ (interpretation) และผลกระทบของสารเหล่านัน้ (impact)
104 | แ น ว คิ ด
และโดยตัวของเขาเอง Baran ได้ ให้ ความหมายของการรู้ เท่าทัน สือ่ ว่าเป็ นความสามารถที่จะเข้ าใจและใช้ การสื่อสารรู ปแบบต่างๆ อย่างมี ประสิทธิภาพ (Baran 2002: 50) อี ก ทัง้ นัก วิ ช าการจาก The National Communication Association ระบุ ว่ า การรู้ เท่ า ทั น สื่ อ คื อ การเป็ นผู้ บริ โ ภคสื่ อ ที่ ร้ ู จั ก วิพากษ์ วิจารณ์ ไตร่ตรองและจําเป็ นที่จะต้ องเข้ าใจว่า คํา ภาพกราฟิ กและ เสี ย งทํ า งานร่ ว มกั น อย่ า งไร ทั ง้ ในวิ ธี ก ารที่ แ นบเนี ย นและซั บ ซ้ อน สื่อ มวลชน เช่ น วิ ท ยุ โทรทัศ น์ ภาพยนตร์ และสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เช่ น โทรศัพท์ อินเตอร์ เน็ต และการประชุมผ่านจอคอมพิวเตอร์ ได้ สง่ อิทธิพลต่อ ความหมายร่วมในสังคมร่วมสมัย ในการนี ้ UNESCO ได้ ให้ นิยามความหมายของการรู้ เท่าทันสื่อ ไว้ ว่า ‚เป็ นความสามารถในการวิ เคราะห์ วิ จ ารณ์ และประเมิ น ค่ า สื ่อ ความสามารถในการเข้าถึงสือ่ นาเสนอสือ่ ในแบบฉบับของตนเองและผลิ ต สือ่ เพือ่ สือ่ สารได้หลายรู ปแบบ นอกจากนี ้ การรู้เท่าทันสือ่ ยังหมายรวมถึง กิ จกรรมทางการศึ กษาเพื ่อพัฒนาทักษะการวิ เคราะห์ วิจารณ์ และสร้ าง โอกาสในการเข้าถึงสือ่ ‛ (อ้ างถึงใน พรทิพย์ 2552: 13) ซึง่ การจะพัฒนาทักษะการเรี ยนรู้ เพื่อการที่จะเท่าทันสื่อได้ นนั ้ มี องค์ประกอบที่สาํ คัญ 4 ประการเรี ยงลําดับกัน ได้ แก่
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 105
แผนภาพที่ 6.1 แสดงแบบจาลองทักษะการรู้เท่าทันสื่อ
ที่มา พรทิพย์ 2552: 13
1.1 การเข้ าถึง (Access) การเข้ าถึงสื่อ คือ การได้ รับสื่อประเภทต่างๆ ได้ อย่างเต็มที่และ รวดเร็ ว สามารถรับรู้ และเข้ าใจเนื ้อหาของสื่อประเภทต่างๆ ได้ อย่างเต็ม ความสามารถ มีการแสวงหาข่าวสารได้ จากสื่อหลายประเภทและไม่ถูก จํากัดอยู่กับสื่อประเภทใดประเภทหนึ่งมากเกินไป ความสามารถในการ เก็ บ ข้ อมู ล ที่ เ กี่ ย วข้ องและเป็ นประโยชน์ พร้ อมทั ง้ ทํ า ความเข้ าใจ ความหมายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยอ่านเนื ้อหาจากสือ่ นันๆ ้ และทําความ เข้ า ใจอย่ า งถ่ อ งแท้ จากนัน้ จดจํ า และเข้ าใจความหมายของคํ า ศัพ ท์ สัญลักษณ์ และเทคนิคที่ใช้ ในการสื่อสาร ต่อมาพัฒนากลยุทธ์ เพื่อหา ตําแหน่งที่มาของข้ อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่หลากหลาย และเลือกกรอง ข้ อมูลประเภทต่างๆ ที่เกี่ ยวข้ องให้ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ กล่าวอีกนัยหนึ่ง เราสามารถบอกว่าการเข้ าถึง เป็ นความสามารถที่จะ 106 | แ น ว คิ ด
เลือกสื่อที่มีเนือ้ หาตามความต้ องการหรื อหลีกเลี่ยงสื่อที่มีเนือ้ หาไม่ตรง ตามที่ต้องการ (Buckingham 2004: 5) Buckingham (2004) อธิบายว่าการเข้ าถึงนันมี ้ มมุ มองอยู่ 2 มิติ ด้ วยกั น ด้ านแรกมั น หมายถึ ง เป็ นการเข้ าถึ ง อุ ป กรณ์ ท างกายภาพ (physical access to equipment) ซึง่ อยู่ภายใต้ สภาวะที่ไม่มีข้อจํากัด ใน ด้ านที่สอง มันหมายถึงความสามารถในการจัดการกับสื่อเพื่อเลือกเนื ้อหา หรื อ ข้ อ มูล ที่ ต้ อ งการ โดยในสื่ อ ประเภทเก่ า ๆนัน้ การเข้ า ถึ ง แบบทาง กายภาพแบบแรกแทบจะไม่ถูกพิจารณาเป็ นประเด็นที่มีความสําคัญนัก แต่ในโทรทัศน์ซงึ่ เป็ นสื่อที่สามารถใช้ ได้ อย่างไม่มีข้อจํากัดรวมถึงเป็ นสื่อที่ เด็กๆเข้ าถึงได้ จากพื ้นที่สว่ นตัวผ่านทางห้ องนอนของเด็กๆ เอง การเข้ าถึง จึงเป็ นประเด็นสําคัญอย่างยิ่งที่ต้องให้ ความสําคัญ 1.2 การวิเคราะห์ (Analyze) การวิเ คราะห์ คื อการตี ความเนือ้ หาสื่อ ตามองค์ ป ระกอบและ รู ปแบบที่สื่อแต่ละประเภทนําเสนอ ว่าสิ่งที่สื่อนําเสนอนัน้ ส่งผลกระทบ อะไรบ้ า งต่อ สังคม การเมื อ ง หรื อ เศรษฐกิ จ โดยใช้ พื น้ ความรู้ เดิม และ ประสบการณ์ ใ นการคาดการณ์ ถึ ง ผลที่ จ ะเกิ ด ขึ น้ ที่ อ าจมาจากการ วิเคราะห์ถึงวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร การวิเคราะห์กลุม่ เป้าหมายของ สือ่ (กลุม่ ผู้เปิ ดรับสือ่ ) จุดยืนของสื่อ บริ บทต่างๆ ของสื่อที่สง่ ผลกระทบต่อ การนําเสนอของสื่อ โดยอาจใช้ วิธีการของการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ การ แตกองค์ ป ระกอบย่ อ ยต่ า งๆ หรื อ การวิ เ คราะห์ ข้ อ มูล เชิ ง เหตุ แ ละผล ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการตรวจสอบรู ปแบบการใช้ สื่อ โครงสร้ าง และลําดับการเรี ยงเนื ้อหาสื่อ ซึ่งสามารถใช้ แนวคิดจากศาสตร์ ต่างๆ ได้ แก่ ศิ ลปะ วรรณกรรม สังคม การเมือง และเศรษฐกิ จ เพื่อทํ า ความเข้ าใจเนื ้อหาบริ บทที่ต้องการสือ่ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 107
ตัวอย่างเช่น ใช้ ความรู้ และประสบการณ์เดิมเพื่อทํานายผลที่จะ เกิ ด ใช้ ตีความเนื ้อหา โดยใช้ หลักการวิเคราะห์พืน้ ฐาน เช่น วิเคราะห์ ‘วัตถุประสงค์’ ‘ผู้รับสาร’ ‘ความคิดเห็น’ ‘รู ปแบบที่กําหนด’ ‘ประเภท รายการ’ ‘บุคลิก’ ‘พล็อต’ ‘แนวคิดรวม’ ‘อารมณ์’ ‘ภาพที่เห็น’ และ ‘เนื ้อหา’ ใช้ ยทุ ธวิธีซงึ่ รวมถึงการเปรี ยบเทียบ/หาความแตกต่าง ข้ อเท็จจริ ง/ ความเห็นเหตุ/ผล การลําดับความสําคัญ /การเรี ยง ใช้ ความรู้ เกี่ยวกับ บริ บ ททางประวัติ ศ าสตร์ การเมื อ ง เศรษฐกิ จ ซึ่ ง เป็ นที่ ม าของการ สร้ างสรรค์และตีความหมาย 1.3 การประเมินค่ าสื่อ (Evaluate) การประเมินค่าของสื่อเป็ นผลมาจากการวิเคราะห์สื่ อที่ผ่านมา ทําให้ สามารถที่จะประเมินค่าคุณภาพของเนื ้อหาสารที่ถกู ส่งออกมาได้ ว่า มีคณ ุ ค่าต่อผู้รับมากน้ อยเพียงใด สามารถนําไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ต่อผู้รับ ในด้ า นใดได้ บ้ า ง คุณ ค่ า ที่ เ กิ ด ขึ น้ เป็ นคุณ ค่ า ที่ เ กิ ด ขึ น้ ทางใจ อารมณ์ ความรู้ สึก หรื อมีคณ ุ ค่าทางศีลธรรม จรรยาบรรณ สังคม วัฒนธรรมหรื อ ประเพณีอย่างไรบ้ าง สิง่ ที่สอื่ นําเสนอมีประโยชน์ตอ่ การเรี ยนรู้ในศาสตร์ ใด ศาสตร์ หนึ่งหรื อไม่ อย่างไร ในขณะเดียวกันการประเมินค่าที่เกิดขึ ้นอาจ เป็ นการประเมินคุณภาพของสื่อว่า การนําเสนอของสื่อนันมี ้ กระบวนการ ผลิตที่มีคณ ุ ภาพหรื อไม่เมื่อเปรี ยบกับสื่อประเภทเดียวกัน ความสามารถใน การประเมินเนื ้อหา โดยสร้ างความเกี่ยวข้ องของเนื ้อหากับประสบการณ์ พร้ อมเสนอความเห็นในแง่มุมของความหลากหลาย คุณภาพ และความ เกี่ยวข้ องกับเนื ้อหาโดยใช้ วิธีต่างๆ อาทิ ชื่นชอบและเกิดความพึงพอใจใน การตี ค วามหมายสื่อ จากประเภทรายการและรู ป แบบที่ ห ลากหลาย สนองตอบโดยการพิมพ์หรื อพูดถึงความซับซ้ อนที่หลากหลายและเนื ้อหา สื่อ ประเมินคุณภาพของเนื ้อหา จากเนือ้ หาสื่อและรู ปแบบ ตัดสินให้ 108 | แ น ว คิ ด
คุณ ค่ า ของเนื อ้ หา โดยพิ จ ารณาจากหลัก จริ ย ธรรม ศาสนา และหลัก ประชาธิปไตย 1.4 การสร้ างสรรค์ (Create) การสร้ างสรรค์ได้ ขยายการรับรู้ คําว่ารู้ เท่าทันสื่อจากการ ‘อ่าน เป็ น’ เป็ น ‘การเขียนสื่อ’ ได้ (Buckingham 2004: 5) เมื่อเรามีความรู้ ความเข้ าใจ สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าสื่อได้ อย่างถ่องแท้ แล้ ว เราอาจเปลีย่ นบทบาทเป็ นผู้ผลิตที่จะต้ องวางแผน เขียนบท ค้ น คว้ าข้ อมูล เนื ้อหามาประกอบตามเทคโนโลยีของสื่อหรื อรู ปแบบองค์ประกอบของสื่อ แต่ละประเภท เพื่อที่จะสามารถสื่อให้ ได้ ตามวัตถุประสงค์การสื่อสารที่ตน ได้ วางไว้ ในการสร้ างสรรค์นี ้สิ่งจําเป็ นที่ต้องมีคือการเข้ าถึงและจัดการกับ สื่อได้ รวมถึงเข้ าใจสื่อ ซึ่งหมายความได้ ว่าเราต้ องมีทกั ษะ 3 ด้ านข้ างต้ น เรี ยบร้ อยแล้ ว ซึง่ การพัฒนาทักษะนี ้จึงเป็ นบทสรุปที่ทําให้ ครบกระบวนการ รู้เท่าทันสือ่ ได้ สมบูรณ์ที่สดุ อย่ างไรก็ตามไม่ ได้ หมายความว่ าทุกคนต้ องเขียนสื่อ หัวใจ สาคัญของทักษะการรู้เท่ าทันสื่อที่ต้องการให้ ทุกคนได้ รับรู้ อยู่ท่ ีเรา จะสามารถบริโภคสื่อได้ อย่ างไรโดยไม่ ตกเป็ นทาสของมัน? กล่องที่ 6.1
ความสาคัญของการรูเ้ ท่าทันสือ่
เราจะต้องรู้เท่าทันและมีความรอบรู้ด้านสื่อ (media literacy) นั่นคือ เรียนรู้ใน การใช้สื่อ เข้าใจว่าสื่อมีบทบาทหน้าที่อย่างไร และสื่อจะช่วยในการสร้างภาพลักษณ์ ได้อย่างไร ในการที่จะมีส่วนร่วมกับกระบวนการขัดเกลาทางสังคม เพื่อนาไปสู่การ สร้างความเป็นประชาธิปไตย และทาให้เกิดความเป็นธรรมในสังคม โดยการกาหนด ขอบเขตทางสังคมให้เท่าเทียมกันและแต่ละกลุ่มตระหนักถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ ของตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้ผลิตสื่อและผู้บริโภคสื่อ ควรมีมาตรการ สาคัญในการปลูกฝังทัศนคติที่ดีในการผลิตสื่ออย่างสร้างสรรค์และพัฒนาให้สังคม ส่วนรวมมีความรับผิดชอบ ประชาชนจะต้องรู้จักคิดในเชิงวิเคราะห์ และสามารถ สื่อสารในเชิงสร้างสรรค์ได้ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 109
2) หลักการเบือ้ งต้นเกี่ยวกับสื่อโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทัน ในการจะเท่าทันสือ่ ได้ นนั ้ ผู้รับสารจําเป็ นต้ องเข้ าใจถึงธรรมชาติ ของสือ่ อันเป็ นหลักการเบื ้องต้ นที่ยอมรับอย่างกว้ างขวางในหลายประเทศ เช่ น อัง กฤษ ออสเตรเลีย แคนาดา สหรั ฐ อเมริ ก า เป็ นต้ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด กระบวนการเรี ยนรู้เท่าทันสือ่ ดังนี ้ (อุณาโลม 2549: 4-6) 1.สือ่ ทัง้ หลายล้วนแต่เป็ นการประกอบสร้ าง (all media are constructions) ข้ อ นี ถ้ ื อ ว่ า เป็ นแนวคิ ด ที่ มี ค วามสํ า คัญ มากที่ สุด ตาม แนวคิดนี ้ สื่อไม่ได้ สะท้ อนความเป็ นจริ งของโลกภายนอกแบบเรี ยบง่าย ทว่า สื่อได้ สร้ างมัน ขึน้ อย่า งประณี ต และเป็ นผลของปั จจัย หลายอย่า ง ประกอบกัน เช่น เทคนิคพิเศษ มุมกล้ อง สี เสียง ฉะนันการรู ้ ้ เท่าทันสื่อ ก็ คือ การรื อ้ ถอน (deconstructing) การประกอบสร้ างเหล่านี ้ออกมา เช่น แยกเทคนิควิธีการ ออกจากเนื ้อหา เพื่อดูวา่ เมื่อรื อ้ ส่วนประกอบเหล่านี ้ออก มาแล้ ว แต่ละส่วนส่งผลอย่างไรต่อผู้ชมบ้ าง 2.สือ่ สร้างภาพความเป็ นจริ ง (the media construct reality) การที่พวกเรามีภาพต่างๆ หรื อเข้ าใจสิ่งต่างๆ ในโลกนันเป็ ้ นเพราะเราได้ เห็นสิง่ เหล่านันจากสื ้ อ่ ซึง่ ถูกสร้ างขึ ้น ถูกตีความและสรุ ปโดยสื่อ ดังนันสื ้ ่อ จึงเป็ นแหล่งสร้ างภาพความเป็ นจริ งที่สาํ คัญ 3.ผู้ รั บ สารสามารถต่ อ รองความหมายของสื ่ อ (audiences negotiate meaning in media) แม้ ว่าสื่อจะถ่ายทอดภาพใดออกมา แต่ ผู้ รั บ สารก็ จ ะมี ภ าพในใจของตนเองอยู่ แ ล้ ว ก่ อ นที่ จ ะรั บ ภาพหรื อ ความหมายต่างๆ จากสื่อ ซึ่งเป็ นกระบวนการ “ต่อรอง” ความหมาย ทังนี ้ ้ กระบวนการดังกล่าวขึ ้นกับความต้ องการส่วนตัว ความพึงพอใจ ปั ญหาที่
110 | แ น ว คิ ด
เผชิญในแต่ละวัน เชื ้อชาติ เพศ วัฒนธรรม จุดยืนทางศีลธรรม และปั จจัย อื่นๆ 4.สารมี นยั ของธุรกิ จการค้าแอบแฝงอยู่ (media messages have commercial implications) การรู้ เท่าทันสื่อ มุ่งที่จะสนับสนุนผู้รับ สารให้ พิจารณาถึงอิทธิพลทางการค้ าที่มีอยู่ในสื่อ และพิจารณาว่ามันถูก นําเสนอและเผยแพร่ออกไปอย่างไรการผลิตสือ่ ส่วนใหญ่คือธุรกิจ ฉะนันจึ ้ ง ต้ องการกํ าไรกรรมสิทธิ์ ในสื่อหรื อเจ้ าของสื่อและการควบคุม จึงถื อเป็ น หัวใจสําคัญที่ต้องพิจารณา เพราะมีเพียงคนกลุม่ เล็กๆ หรื อ บุคคลไม่กี่คน เท่านันที ้ ่ควบคุมสือ่ เหล่านี ้ 5.สารในสื ่ อ เต็ ม ไปด้ ว ยอุ ด มการณ์ และค่ า นิ ยม (media messages contain ideological and value messages) สื่อทุกสื่อล้ วน นําเสนอวิถีการดําเนินชีวิตและคุณค่า เช่น สือ่ กระแสหลักที่มกั จะถ่ายทอด ค่านิยม ไม่วา่ จะโดยทางตรงหรื อทางอ้ อมเกี่ยวกับชีวิตที่ดีและบริ โภคนิยม (consumerism) บทบาทของสตรี เช่ น การเป็ นกุล สตรี การยอมรั บ ใน อํานาจต่างๆ และค่านิยมชายเป็ นใหญ่ (patriotism) โดยไม่ตงคํ ั ้ าถามใดๆ กับค่านิยมเหล่านี ้ 6.มี น ัย ทางการเมื อ งและสัง คมในสื ่อ (media messages contain social and political implications) สื่อมีอิทธิพลสูงมากในทาง การเมือง และสามารถทําให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น โทรทัศน์ สามารถมีอิทธิพลอย่างใหญ่หลวงต่อการเลือกตังและภาพพจน์ ้ ของผู้สมัคร รั บเลือ กตัง้ สื่อยังได้ ดึง เราเข้ ามาเกี่ ยวข้ อ งกับ การตระหนัก ถึงสิทธิ ของ พลเมื อ ง การแพร่ ร ะบาดของโรคเอดส์ ทํ า ให้ เ ราตระหนัก ถึ ง ประเด็ น ระดับ ชาติ แ ละเหตุก ารณ์ ต่ า งๆ ในโลก จนกลายเป็ นโลกที่ Marshall Mcluhan เรี ยกว่า ‘Global village’ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 111
7.รู ป แบบและเนื ้ อ หาของสื ่ อ มี ค วามเกี ่ ย วข้ อ งสัม พัน ธ์ กั บ ความหมายที ่ถ่ายทอด (form and is the messages) สื่อแต่ละประเภท จะมี ไ วยากรณ์ แ ละรหั ส การสื่ อ สารในแบบฉบั บ ของตนเอง เช่ น หนั ง สื อ พิ ม พ์ ก็ ใ ช้ ภาษาเขี ย น ภาพนิ่ ง ช่ อ งว่ า ง และสี โ ทรทั ศ น์ ใ ช้ ภาพเคลือ่ นไหว มุมกล้ อง สี แสง ฉาก การแสดง แม้ วา่ เราจะใช้ สอื่ ต่างชนิด เพื่อสือ่ สารเรื่ องเดียวกันแต่ความหมายที่ออกมานันย่ ้ อมแตกต่างกันไปใน แต่ละสือ่ 8.สือ่ แต่ละชนิ ดมี รูปแบบทางสุนทรี ยศาสตร์ ที่แตกต่างกันออกไป (each medium has a unique aesthetic form) การรู้ เท่าทันสื่อมิได้ หมายความแต่เพียงการดูความหมายของสาร และนัยต่างๆ ที่อยู่ในสังคม และวัฒนธรรมของเรา แต่ยังหมายถึงการรู้ จักชื่ นชมกับสุนทรี ย ศาสตร์ ต่างๆ ในสื่อ ฉะนันเราจึ ้ งควรมีความสามารถที่จะรั บความพึงพอใจจาก รูปแบบต่างๆ ของสือ่ ที่แตกต่างกัน นอกจากหลัก การเบื อ้ งต้ นดัง กล่ า วแล้ ว การให้ คํ า นิ ย ามที่ น่าสนใจ ของนักวิชาการอีกคนหนึ่งคือ W. James Potter (1998) ซึ่ง อธิบายถึง ความหมายของการรู้ เท่าทันสื่อไว้ เพิ่มเติมว่า คือ ทัศนะชุดหนึ่ง (a perspective) ที่พวกเรามีตอ่ สือ่ และใช้ แปลความหมายที่พวกเราได้ รับ จากสื่อ เราสามารถสร้ างทัศนะชุดนี ้ (การรู้ เท่าทันสื่อ) ได้ จากโครงสร้ าง ความรู้ (knowledge structures) เครื่ องมือ (tools) และข้ อมูลดิบ (raw material) จะเห็นได้ ว่า ตามคํานิยามนี ้มีความสําคัญคือ โครงสร้ างความรู้ เครื่ องมือและข้ อมูลดิบ ซึง่ ตามกระบวนการนี ้เครื่ องมือหมายถึง ทักษะการ รู้ เท่าทันสื่อ และข้ อมูลดิบก็คือ ข้ อมูลต่างๆ จากสื่อและโลกแห่งความเป็ น จริ ง และโครงสร้ างความรู้ คือ ความรู้ ความสามารถในการรู้ เท่าทันสื่อ ที่ 112 | แ น ว คิ ด
สําคัญ Potter ยังกล่าวด้ วยว่า คนที่มีการรู้ เท่าทันสื่อดี จะควบคุมสื่อได้ มากกว่า เพราะรู้ ว่าจะจัดการกับสารต่างๆ ที่ประดังเข้ ามาจากมุมมองใด เช่ น มุม มองจากความรู้ ความเข้ าใจ (cognition) อารมณ์ (emotion) ศีลธรรม (moral) หรื อสุนทรี ยศาสตร์ (aesthetics) ในทางตรงกันข้ าม คนที่ มีความรู้จํากัดเกี่ยวกับสื่อ การพัฒนาโครงสร้ างความรู้ จึงตํ่า และไม่เพียง พอที่จะรับมือกับการแปลความหมายสือ่ อย่างเท่าทัน ดังนันจึ ้ งเป็ นไปไม่ได้ ที่คนที่มีการรู้ เท่าทันสื่อตํ่าจะสร้ างความหมายอันหลากหลายจากสื่อได้ นอกจากนี ้ยังมีแนวโน้ มที่จะยอมรับความหมายผิวเผินซึง่ มีอยูใ่ นสือ่ อีกด้ วย ดังนัน้ หากเรามีความรู้เท่ าทันสื่อในระดับดี ก็เท่ ากับเราจะ มีทางเลือกมากขึน้ ในการตีความสารต่ างๆ และจะนาไปสู่อานาจใน การควบคุมความเชื่อ และพฤติกรรมส่ วนตัวได้ ด้วย ตรงข้ ามกับบุคคลที่มีความรู้ เท่าทันสื่อน้ อย เปรี ยบเสมือนกับอยู่ ในโลกที่ปิด ถูกบังคับให้ ยอมรั บ แก่นค่านิยมที่ถูกครอบงํ าในสังคม โดย ไม่เคยตังคํ ้ าถามเกี่ยวกับค่านิยม ความเชื่อ และการตีความผ่านสื่อเลย (อุณาโลม 2549: 7)
ด้ วยคํานิยามข้ างต้ นของ Potter ได้ กําหนดความรู้ พืน้ ฐาน 4 ประการของการรู้เท่าทันสือ่ 1.การรู้ เท่ าทั น สื่ อเป็ นกระบวนการที่ ต่ อเนื่ อง (Media Literacy is a continuum) ไม่ใช่เป็ นชุด หรื อสูตรสําเร็ จ หรื อเป็ นการคิด กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 113
แบบ categorical conditions เช่น คุณเป็ นนักศึกษามหาวิทยาลัย หรื อไม่ ก็เป็ นคนไทย แต่การรู้เท่าทันสือ่ หมายถึง ความรู้ที่เป็ นไปอย่างต่อเนื่องและ เป็ นระดับ (a continuum in which there are degrees) และไม่ได้ หมายความว่า บุคคลหนึ่งไม่มีความรู้ เท่าทันสื่อเลย และอีกคนหนึ่งรู้ ถึง จุดสูงสุดแล้ ว ในความเป็ นจริ ง ไม่มีใครที่ไม่ร้ ู เกี่ยวกับสื่อ และไม่มีใครที่มี ความรู้สงู สุด การรู้เท่าทันสือ่ ต้ องมีการพัฒนาและสามารถพัฒนาได้ เสมอ 2.การรู้ เท่ าทั น สื่ อจ าเป็ นต้ องได้ รั บ การพั ฒ นา (Media Literacy needs to be developed) บุคคลที่ได้ ฝึกฝนและพัฒนาทักษะ ด้ านนี ้จะไม่รับสือ่ ด้ วยท่าทีแบบยอมรับ (passive) เช่น ยอมรับการตีความ แบบผิ วเผิ นของนักโฆษณา แต่จะตัง้ ข้ อสงสัย ในสิ่ง ที่ เห็ น และจะสร้ าง ความหมายด้ วยตัวเขาเอง บางครัง้ อาจจะยอมรั บการตีความจากสื่อ แต่ เป็ นการยอมรับด้ วยเหตุผลและมีการไตร่ตรองแล้ ว อย่างไรก็ตาม แม้ แต่คน ที่มีความรู้เกี่ยวกับสือ่ ดี หากไม่ได้ พฒ ั นาทักษะเหล่านี ้อย่างต่อเนื่อง ก็จะมี ข้ อมูลที่ล้าสมัยและไม่สามารถปรับใช้ ได้ เช่น การไม่พฒ ั นาความรู้เกี่ยวกับ เรื่ องกรรมสิทธิ์ การควบคุมสื่อ เศรษฐศาสตร์ และรู ปแบบองค์กร ซึ่งเป็ น ประเด็นที่มีการเปลีย่ นแปลงทุกปี 3.การรู้ เท่ าทันสื่อมีหลายมิติ (Media Literacy is multidimensional) Potter ได้ เสนอสีม่ ิติที่เกี่ยวข้ อง คือ การรับรู้และความเข้ าใจ (cognitive) อารมณ์ (emotional) สุนทรี ยศาสตร์ (aesthetic) และศีลธรรม หรื อค่านิยม (moral) -ในมิ ติของการรับรู้ และความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถใน การตระหนักรู้ ในสาระต่างๆ ตังแต่ ้ ขนง่ ั ้ ายสุดไปถึงเรื่ องที่ซบั ซ้ อน เช่น รู้ ว่าสื่อถูกผลิต ขึ ้นมาได้ อย่างไร และทําไมสิ่งนีจ้ ึงกลายเป็ น แฟชัน่ ซึง่ ถือว่าเป็ นมิติด้านปั ญญา 114 | แ น ว คิ ด
-มิ ติด้านอารมณ์ มีตวั อย่างที่ชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเด็ก หากเด็กๆ ดูภาพยนตร์ สยองขวัญ พวกเขาจะกลัวและอาจจะติด ตา หรื อ ฝั ง ใจไปตลอดอี ก นาน ความจริ ง แล้ ว มิ ติ ด้ า นนี ไ้ ม่ ใ ช่ เฉพาะอารมณ์ กลัว เกลี ย ด โกรธ รั ก แค้ น ซึ่ ง เป็ นลัก ษณะ อารมณ์ ที่ เ ห็ น ได้ เ ด่น ชัด เท่ า นัน้ แต่ ผ้ ูผ ลิต สื่อ ยัง สามารถสร้ าง อารมณ์ที่คลุมเครื อ สับสน วิตก กังวลได้ การรู้เท่าทันสือ่ ในขันนี ้ ้ก็ คือการตระหนักถึงสัญลักษณ์ (the symbols) ซึ่งผู้สร้ างต้ องการ สร้ างอารมณ์หรื อความรู้สกึ ต่างๆ ขึ ้นในสือ่ -มิ ติด้านสุนทรี ยศาสตร์ หมายถึงความสามารถที่จะเพลิดเพลิน เข้ าใจ และชื่ นชมเนือ้ หาของสื่อจากมุมมองของศิลปะการรู้ จัก ชื่นชม หมายถึงการที่มีความรู้เกี่ยวกับทักษะในการผลิตสื่อต่างๆ รวมทังความสามารถในการแยกแยะ ้ ตรวจสอบระหว่างศิลปะ และของปลอม และความสามารถในการเจาะจงบ่ ง ชี ไ้ ด้ ว่ า รูปแบบหรื อเอกลักษณ์ของนักเขียน ผู้ผลิต หรื อผู้กํากับคืออะไร -มิ ติด้านค่านิ ยม หรื อศี ลธรรม หมายถึง ความสามารถที่จะเห็น ค่านิยมต่างๆ ที่ปรากฏในสื่อ สําหรั บบุคคลที่มีการรู้ เท่าทันสื่อ น้ อย ก็จะมีแนวโน้ มที่จะยอมรับค่านิยมต่างๆ ในสือ่ หรื อแยกแยะ ได้ แบบคลุ ม เครื อ แต่ สํ า หรั บ บุ ค คลที่ มี ค วามรู้ จะสามารถ ตระหนักถึงรูปแบบต่างๆ ของค่านิยมที่สง่ ผ่านมาทางสื่อ และจัด บทบาทตนเองได้ ด้วยว่า ควรจะยืนอยู่จุดไหนของค่านิยมและ ศีลธรรมนันๆ ้ 4.จุดประสงค์ ของการรู้ เท่ าทันสื่อ คือ มีความสามารถในการ ควบคุมการตีความสาร (message) มากขึ ้น เพราะสารในสื่อทุกชนิดคือ การตีความทังสิ ้ ้น เช่น นักข่าวบอกว่าข่าวนี ้มีความสําคัญจึงนํามาไว้ หน้ า กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 115
หนึ่ง (นักข่าวหรื อผู้ผลิตสื่อตีความมาแล้ วว่ามันสําคัญ แต่ความจริ งแล้ ว อาจสํา คัญ สํา หรั บ บางคน หรื อ สํา หรั บหัวหน้ าข่าวเท่านัน้ ) นัก โฆษณา พยายามบอกว่า เรากํา ลังมีปัญหาบางอย่าง (เช่น ขาไม่เรี ยวงามเหมือน นางแบบ) และสินค้ าตัวนีจ้ ะช่วยเราได้ (สารลดความอ้ วน) หลักการของ การรู้ เท่าทันสื่อไม่ได้ ต้องการค้ นหาสัจจะ หรื อความเป็ นกลางในข่าวสาร แต่เ ป็ นการตระหนัก รู้ ถึ ง กระบวนการตี ค วาม และตื่ น ตัว ในการค้ น หา รูปแบบการตีความในสือ่ นันๆ ้
3) การรู้เท่าทันสื่อในประเทศไทย โครงการ ‘การพัฒนาองค์ความรู้ การรู้ เท่าทันสื่อในประเทศไทย’ ได้ พฒ ั นาแนวคิดของการรู้ เท่าทันสื่อของ UNESCO เพื่อให้ สอดคล้ องกับ บริ บทของสังคมไทย โดยให้ ความหมายของการรู้ เท่าทันสื่อไว้ ว่า คือ การ อ่านสื ่อให้ออกเพื ่อพัฒนาทักษะในการเข้าถึ งสื ่อ การวิ เคราะห์ สื่อ การ ตี ความเนื ้อหาของสื ่อ การประเมิ นค่าและเข้าใจผลกระทบของสือ่ และ สามารถใช้สือ่ ให้เกิ ดประโยชน์ ได้ (อ้ างถึงใน พรทิพย์ 2552: 21) อีกทัง้ พัฒนาองค์ความรู้ การรู้ เท่าทันสื่อในบริ บทสังคมไทยผ่านองค์ประกอบ 5 ด้ าน ได้ แก่ มิติในการรับสือ่ การวิเคราะห์สื่อ การเข้ าใจสื่อ การประเมินค่า สือ่ และการใช้ สอื่ ให้ เกิดประโยชน์
116 | แ น ว คิ ด
แผนภาพที่ 6.2 แสดงองค์ความรู้เท่าทันสื่อในประเทศไทย
ที่มา พรทิพย์ 2552: 22
3.1 มิติในการรับสื่อ คนเราจะมีการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทัง้ 5 ที่เป็ นสือ่ กลางในการ ส่งผ่านสารจากผู้สง่ สารไปยังผู้รับ อันได้ แก่ หู ตา จมูก ลิ ้น สัมผัส จะเป็ น สิง่ ที่เปิ ดมิติการรับสือ่ ของผู้รับ โดยสือ่ มวลชนจะส่งผ่านประสาทสัมผัส ทางด้ านหูกบั ตามากกว่าประสาทสัมผัสด้ านอื่นๆ เนื่องจากข้ อจํากัดของ สือ่ เอง และในการนี ้ประสาทสัมผัสจะส่งข้ อมูลไปยังระบบสมองเพือ่ ตีความและรับรู้ตอ่ ไป องค์ประกอบนี ้ จึงเป็ นการรู้ เท่าทันการเปิ ดรับสื่อของประสาท สัมผัสของตนเอง เมื่อเปิ ดรับแล้ ว สมองจะสัง่ การคิดและปรุ งแต่งให้ เกิด อารมณ์ตา่ งๆ ตามมา การรู้เท่าทันสือ่ ในขันของการรั ้ บรู้ อารมณ์ของตนเอง จึงเป็ นสิ่งสําคัญ ที่ต้องแยกความคิดและอารมณ์ออกจากกัน ไม่หลงใหล กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 117
ไปตามการชี ้นําของสื่อ เช่น การทําให้ เกิดความต้ องการสินค้ าที่โฆษณา การเลียนแบบดาราที่เห็นว่าสวย หล่อตามแฟชัน่ การแสดงอารมณ์รัก โลภ โกรธ หลง ตามภาพยนตร์ หรื อละครต่างๆ ความคิดจะทําให้ เรารับรู้ ความ จริ งว่าอะไรเป็ นสิ่งที่สื่อสร้ างขึ ้น อะไรเป็ นความจริ งที่มีอยู่จริ ง อารมณ์ ที่ เกิดขึ ้นจากการนําเสนอสื่อที่เร้ าอารมณ์ประเภทต่างๆ เป็ นการรู้ ไม่เท่าทัน สื่อ เพราะถ้ าเรารู้ เท่าทันสื่อ เราจะเห็นเหตุและผลต่างๆ อันเป็ นที่มาของ ผลประโยชน์ทางธุรกิจของสือ่ 3.2 การวิเคราะห์ ส่ อื การวิเคราะห์สื่อหรื อการอ่านสื่อ เป็ นการแยกแยะองค์ประกอบ ในการนําเสนอของสือ่ โดยเฉพาะประเด็นของวัตถุประสงค์ของสือ่ เช่น - กลุม่ เป้าหมายของสือ่ - สิ่ง ที่ สื่อ นํ า มาเสนอส่ง ผลกระทบต่อ สัง คม เศรษฐกิ จ และ การเมืองอย่างไร - รูปแบบการนําเสนอของสือ่ - ข้ อมูลที่นํามาเสนอเป็ นข้ อเท็จจริ งหรื อความเห็น - ปั จจั ย เกี่ ย วกั บ บริ บ ททางสัง คม ศี ล ธรรม ประวั ติ ศ าสตร์ ประเพณี ค่ า นิ ย มที่ สื่ อ นํ า เสนออยู่ใ นกรอบของจรรยาบรรณ หรื อไม่ ส่งเสริ มคุณธรรมให้ กบั สังคมหรื อไม่ - การวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ เหล่านี ้ จะทําให้ เราเห็นภาพความ เป็ นจริ งของสือ่ ได้ อย่างชัดเจนขึ ้น
118 | แ น ว คิ ด
3.3 การเข้ าใจสื่อ การเข้ าใจสื่อ หรื อการตีความสื่อ เป็ นสิ่งที่เกิดขึ ้นในตัวผู้รับสาร หลังจากเปิ ดรับสือ่ ไปแล้ ว เพื่อที่จะทําความเข้ าใจในสิง่ ที่สอื่ นําเสนอ เข้ าใจ ภาษาเฉพาะของสือ่ แต่ละประเภทและรู้จกั ที่มาของข้ อมูลประเภทต่างๆ ซึ่ง ผู้รับสารแต่ละคนจะมีความเข้ าใจสือ่ ได้ ไม่เหมือนกัน ตีความไปคนละแบบ ขึ ้นอยูก่ บั ประสบการณ์เดิม พื ้นฐานการศึกษา และคุณสมบัติต่างๆ ในการ เรี ยนรู้ ตลอดจนการรับรู้ข้อมูลของแต่ละบุคคลที่ไม่เท่ากันมาก่อน 3.4 การประเมินค่ าสื่อ หลังจากการที่ผ้ รู ับสารผ่านการวิเคราะห์และการทําความเข้ าใจ สือ่ แล้ ว ผู้รับสารควรที่จะทําการประเมินค่าสิง่ ที่สอื่ นํามาเสนอว่ามีคณ ุ ภาพ และคุณค่ามากน้ อยเพียงไร ไม่ว่าจะเป็ นเนื ้อหาที่สื่อนําเสนอ หรื อวิธีการ นําเสนอในรู ปแบบใดก็ตาม สื่อได้ ใช้ เทคนิคอะไรก่อให้ เราเกิดความสนใจ ความพอใจขึ ้น หรื อทําให้ หลงเชื่อไปโดยขาดการวิเคราะห์อย่างถ่องแท้ 3.5 การใช้ ส่ อื ให้ เกิดประโยชน์ ถ้ าผู้รับสารได้ ใช้ การวิเคราะห์และทําความเข้ าใจในองค์ประกอบ ขันต้ ้ นทัง้ 4 มาได้ เป็ นอย่างดีแล้ ว เท่ากับว่าผู้นนได้ ั ้ ผ่านกระบวนการรู้ เท่า ทันสื่อที่ครบถ้ วน แต่ยังไม่เพียงพอเพราะเมื่อเราเข้ าใจองค์ ประกอบสื่อ อ่านสื่อได้ ประเมิ นค่าได้ โดยใช้ อ งค์ ปัญญาที่เกิ ดขึน้ นี ้ แต่เราทุกคนไม่ สามารถออกไปจากโลกของสื่อได้ ความจําเป็ นที่จะต้ องอยู่ในโลกของสื่อ ต่อไปเราควรที่จะปฏิบตั ิได้ ดังนี ้ - นําสิง่ ที่ตนวิเคราะห์ไปใช้ ประโยชน์ได้ - เลือกรับสือ่ เป็ น - สามารถส่งสารต่อได้ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 119
- มีปฏิกิริยาตอบกลับสือ่ สุดท้ ายอาจเป็ นผู้ผลิตสื่อเองตามวัตถุประสงค์เฉพาะกิ จต่างๆ อันก่อให้ เกิดสือ่ ดีๆ ขึ ้นในสังคมได้ โดยการมีการวางแผนการจัดการเพื่อใช้ สื่อให้ เหมาะสม ใช้ สื่อ ใช้ ภาพและเสียงให้ มีประสิทธิ ภาพ สอดคล้ องกับ วัต ถุป ระสงค์ ที่ ว างไว้ มี ก ารเลื อ กข้ อ มูล เพื่ อ การคิ ด เขี ย นและพูด ให้ สอดคล้ อ งกั บ วัต ถุป ระสงค์ ที่ ต้ องการ ที่ สํ า คัญ ผลิ ต สื่ อ อย่ า งมี ค วาม รับผิดชอบต่อสังคม องค์ประกอบทัง้ 5 เกี่ยวพันต่อเนื่องตามลําดับดังกล่าว เป็ นองค์ ความรู้ ‘การรู้ เท่า ทันสื่อ ’ ที่ต้ องการการพัฒนาและปรั บใช้ ให้ เหมาะกับ กระบวนการการเรี ยนรู้ ของทุกกลุม่ ชนในสังคมไทยต่อไป อย่างไรก็ ตาม การให้ความสาคัญกับการรู้เท่าทันสือ่ จะแสดงออกให้เห็นอย่างชัดเจนเป็ น รู ป ธรรมที ่สุด ผ่า นทางการก าหนดนโยบายและหลักสู ต รการศึ ก ษา (Livingstone 2001)
4) เราจะวิเคราะห์ ‘สือ่ ’ อย่างไร? เมื่อเราเข้ าใจถึงความหมายและองค์ประกอบของการรู้ เท่าทันสื่อ แล้ ว การที่เราจะสามารถนําแนวคิดนี ้ไปปฏิบตั ิให้ เกิดขึ ้นจริ งนัน้ เราต้ องมี การฝึ กฝนและรู้เทคนิคในการดูสอื่ ผ่านการวิเคราะห์ คือ การนําเนื ้อหาของ สื่อมาผ่านกระบวนการคิดอย่างเป็ นขันตอนและมี ้ ระเบียบแบบแผน โดย อาศัยแนวทางของคําถาม 5 หลักข้ อ (พรทิพย์ 2552: 27-30) ดังต่อไปนี ้
120 | แ น ว คิ ด
กล่องที่ 6.2
เด็กกับการรู้เท่าทันสือ่
ดูเหมือนว่าเด็กจะเป็นกลุ่มเป้าหมายสาคัญที่นา่ เป็นห่วงทีส่ ดุ และมีหลายๆ ครอบครัวทีเ่ ลี้ยงลูกด้วยโทรทัศน์ หรือปล่อยให้ลูกเติบโตขึ้นมากับการเล่นเกม คอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงพบว่า เด็กๆ เป็นจานวนมากมีความสามารถในการใช้งาน สือ่ มากกว่าผู้ใหญ่ ไม่วา่ จะเป็นในเรือ่ งของการเปิดเครือ่ งรับโทรทัศน์ เปิดเครือ่ งเล่น ดีวีดี หรือคอมพิวเตอร์โดยไม่ตอ้ งอาศัยผู้ใหญ่ ดังนั้นการเข้าถึงสือ่ ของเด็กๆ จึง อาจจะไม่คอ่ ยมีปญ ั หาในเรือ่ งทักษะ แต่ที่จะมีปญ ั หาก็คอื การวิเคราะห์ การประเมิน และการสร้างสรรค์หรือเข้าใจเนือ้ หาทีส่ อื่ แสดงออกมา ซึ่งแน่นอนว่าเด็กๆ จะไม่มี ความสามารถทางด้านนั้นๆ นอกจากนี้ ปัญหาความรุนแรงที่ก่อขึ้นโดยเด็ก ไม่ว่า จะเป็นเรือ่ งการใช้อาวุธปืนกราดยิงเพือ่ นในชั้นเรียน หรือพฤติกรรมต่อต้านสังคม (anti-social behaviour) ในหลายๆ ประเทศทางแถบตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส นอร์เวย์ ล้วนแต่ทาให้หลายๆ หน่วยงานที่เกีย่ วข้องในประเทศเหล่านั้นหัน มาให้ความสนใจเกี่ยวกับการรู้เท่าทันสือ่ และการศึกษาเกีย่ วกับสือ่ รวมทั้งการสร้าง ความตระหนักรู้ให้ประชาชนในสังคมทั่วทุกระดับ สาหรับเด็กๆ ก็เช่นกัน พวกเขา ควรได้รับการสั่งสอนให้มีทักษะในการประเมิน วิเคราะห์ และใช้วิจารณญาณของ ตัวเองตัดสินได้วา่ ข้อมูลข่าวสารทีส่ อื่ แสดงออกมานั้นมันเป็นความจริงหรือมันเป็น ประโยชน์ตอ่ ตัวเขามากแค่ไหน ควรมีการส่งเสริมให้ตระหนักถึงอิทธิพลของสือ่ และ สอนให้ติดตามและรู้เท่าทันสือ่ เพือ่ ทาให้เด็กๆ ได้มีบทบาททีเ่ ข้มแข็งในฐานะผูบ้ ริโภค สือ่ เข้าใจได้ว่าสือ่ มีกระบวนการทางานอย่างไร สือ่ ต้องการสือ่ ความหมายอะไร มี การจัดการอย่างไร และจะใช้มันอย่างชาญฉลาดได้อย่างไร รวมทั้ง ควรต้องมีการ ป้องกันสภาวะแวดล้อมด้านสือ่ สาหรับเด็กและเยาวชนด้วย 4.1 ใครเป็ นผู้สร้ างเนือ้ หาสาระของสื่อขึน้ มา เนื อ้ หาสื่ อ เช่ น ข่ า วในหนั ง สื่ อ พิ ม พ์ รายการโทรทั ศ น์ มี ส่วนประกอบที่ผ้ ปู ระกอบการสือ่ สร้ างขึ ้น มีความหลากหลายตามลักษณะ ของสื่ อ ประเภทต่า งๆ เช่ น ข่ า วหนัง สื อ พิ ม พ์ ใช้ คํ า ที่ มี ข นาดและแบบ ตัว อัก ษร ภาพถ่ า ย สี การจัด หน้ า ที่ แ ตกต่า งกัน รายการโทรทัศ น์ ห รื อ ภาพยนตร์ ใช้ การตัดต่อ มุมกล้ อง และแสงสี ไปจนถึงเพลงประกอบและ เสียงประกอบเข้ ามาช่วยเล่าเรื่ อง
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 121
ดังนัน้ การวิเคราะห์สอื่ ในประเด็นนี ้ จึงควรตอบคําถามที่วา่ -ใครเป็ นผูส้ ร้างสือ่ นีข้ ึ้นมา -มี ผทู้ ีเ่ กี ่ยวข้องกีค่ น และแต่ละคนมี บทบาทหน้าทีอ่ ย่างไร -สาระของสือ่ คืออะไร -ในการนาเสนอรู ปแบบเดียวกัน แต่ละรายการมีความเหมื อน หรื อแตกต่างกันอย่างไร -มี การใช้เทคโนโลยีอะไรบ้างในการผลิ ต -มี อะไรทีข่ าดหายไปบ้าง 4.2 มีการใช้ เทคนิคดึงดูดใจหรือไม่ และมีในลักษณะ อย่ างไร สื่อแต่ละแขนงไม่ว่าจะเป็ นหนังสือพิมพ์ รายการโทรทัศน์ หรื อ ภาพยนตร์ มีการใช้ เทคนิคที่แตกต่างกันไป เช่น ภาพถ่ายระยะใกล้ ๆ จะ โน้ มน้ าวใจให้ ร้ ูสกึ ถึงความใกล้ ชิด (โทรทัศน์หรื อภาพยนตร์ ) ตัวอักษรขนาด ใหญ่ในพาดหัวข่าวเป็ นสัญญาณบอกว่าเป็ นเรื่ องที่มีความสําคัญ จะเห็น ได้ วา่ ภาษาภาพและเสียงนี ้จะทําให้ ผ้ รู ับสือ่ เข้ าใจความหมายได้ ลกึ ซึ ้ง เห็ น คุณค่าและความน่ารื่ นรมย์ของสือ่ มากขึ ้น ดังนัน้ การวิเคราะห์สอื่ ในประเด็นนี ้ จึงควรตอบคําถามที่วา่ -มี การใช้สีสนั และรู ปลักษณ์อย่างไร -อุปกรณ์ประกอบฉาก การจัดฉาก เสือ้ ผ้า มี ลกั ษณะอย่างไร มี ความสมจริ งหรื อไม่ -มี การใช้สญ ั ลักษณ์หรื อไม่ และสัญลักษณ์นนั้ สือ่ ถึ งอะไร
122 | แ น ว คิ ด
-มุมกล้องทีใ่ ช้แตกต่างกันให้อารมณ์หรื อความรู้สึกทีต่ ่างกัน หรื อไม่ อย่างไร -เสียงดนตรี ประกอบ เพลงประกอบ บทสนทนา การเล่าเรื ่อง และความเงียบ 4.3 คนอื่นๆ ตีความเนือ้ หาสาระของสื่อต่ างจากเราอย่ างไร ผู้เปิ ดรั บสื่อเป็ นผู้ตีความเนือ้ หาสื่อ การตีความจึงแตกต่างกัน ออกไปตามประสบการณ์ การดําเนินชีวิต อายุ เพศ การศึกษา วัฒนธรรม เช่น ผู้ร่ว มอยู่ในเหตุการณ์ สงครามโลก ครั ง้ ที่ 2 จะมีความรู้ สึกร่ วมกับ ภาพยนตร์ เรื่ องคูก่ รรม มากกว่าผู้ชมคนอื่นๆ ผู้ปกครองและบุตรหลานที่ ชม รายการโทรทัศน์รายการเดียวกันก็จะมีมมุ มองในรายการดังกล่าวต่างกัน ด้ วย ดังนัน้ การวิเคราะห์สอื่ ในประเด็นนี ้ จึงควรตอบคําถามที่วา่ -เนือ้ หาสาระของสือ่ ตรงกับประสบการณ์ของเราอย่างไร -เราเรี ยนรู้อะไรจากเนือ้ หาสาระสือ่ บ้าง -เราเรี ยนรู้อะไรบ้างจากการตอบคาถามของคนอืน่ ทีม่ ีต่อเนือ้ หา สาระของสือ่ -มี มมุ มองอืน่ ใดอีกบ้างไหมทีม่ ี เหตุผลเท่ากับของเราทีใ่ ช้ในการ ตีความแต่ละครัง้ 4.4 สื่อได้ นาเสนอวิถชี วี ติ ค่ านิยม และมุมมองอะไรบ้ าง สือ่ เป็ นสิง่ ที่ถกู สร้ างขึ ้นมาจากบุคคลหรื อกลุม่ บุคคล ทําหน้ าที่ใน การเล่าเรื่ อง องค์ประกอบต่างๆ ที่ประกอบกันขึ ้นมาเป็ นสื่อจะต้ องอาศัย การเตรี ยมการ การศึกษาค้ นคว้ า โดยกลุ่มผู้ผลิต เพื่อให้ สามารถบรรลุ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 123
วัตถุประสงค์ของตนเองและผู้ชมได้ เช่น การคัดเลือกตัวแสดง โครงเรื่ อง การเดินเรื่ อง จะต้ องสอดคล้ องกับวิถีชีวิต ทัศนคติและพฤติกรรมทางสังคม โดยผ่านทางภาพ บทสนทนา คําพูด การเลือกใช้ สถานที่ การแสดงฐานะ ซึง่ ทังหมดล้ ้ วนแล้ วแต่มีสว่ นปลูกฝั งค่านิยมให้ กบั ผู้รับสือ่ ดังนัน้ การวิเคราะห์สอื่ ในประเด็นนี ้ จึงควรตอบคําถามที่วา่ -เกิ ดคาถามอะไรขึ้นในใจเราบ้างขณะทีเ่ รารับสือ่ -สือ่ นาเสนอค่านิ ยมทางสังคม การเมื อง หรื อเศรษฐกิ จอย่างไร -ความคิ ดเห็นทีเ่ กิ ดขึ้นสะท้อนความสัมพันธ์ ทางสังคมหรื อส่วน บุคคลอย่างไร -บริ บททางสังคมและวัฒนธรรมขณะนัน้ เป็ นอย่างไร -สือ่ นาเสนอความคิ ดหรื อค่านิ ยมใดบ้าง -สือ่ สร้างบุคลิ กลักษณะของตัวแสดงต่างๆ อย่างไร -เป้ าหมายของสือ่ คือกลุ่มใด -เมื ่อรับสือ่ แล้ว น่าจะมี พฤติ กรรมหรื อผลสืบเนือ่ งอย่างไร -มี เรื ่องใดบ้างในสือ่ นัน้ ทีไ่ ม่ได้นาเสนอออกมา (ทัง้ ๆ ทีค่ วร นาเสนอ) 4.5 ใครเป็ นผู้ได้ รับผลประโยชน์ อย่ างแท้ จริงจากการ นาเสนอของสื่อ สื่อถูกสร้ างขึ ้นมาด้ วยเหตุผลหลายๆ ประการ ประการหนึ่งคือ เพื่อธุรกิจ หนังสือพิมพ์ และนิตยสารจัดหน้ าด้ วยโฆษณาเป็ นอันดับแรก ก่อนการจัดพื ้นที่ขา่ วหรื อเนื ้อหาสาระ ในทํานองเดียวกันโฆษณาก็เป็ นส่วน 124 | แ น ว คิ ด
หนึง่ ของรายการโทรทัศน์ โดยมุง่ ที่จะสร้ างกลุม่ เป้าหมายของตนเองขึ ้นหรือ แม้ แต่การขยายขนาดของกลุม่ เป้าหมายด้ วย สถานีหรื อผู้ตีพิมพ์นิตยสาร หรื อหนัง สือ พิม พ์ สามารถขยายเวลาหรื อ พืน้ ที่ใ ห้ กับเจ้ า ของผลิต ภัณ ฑ์ สิ น ค้ าที่ มี ค วามต้ องการทํ า การตลาดโดยการโฆษณาสิ น ค้ าของตน (โดยทั่ ว ไปแล้ ว จะเรี ย กกั น ว่ า ผู้ สนั บ สนุ น รายการหรื อ สปอนเซอร์ ) ผู้สนับสนุนจะจ่ายค่าเวลาตามจํานวนคนซึ่งสถานีคาดว่ากํา ลังดูโทรทัศน์ อยู่ ใ นช่ ว งเวลานั น้ ซึ่ ง จะนํ า มากํ า หนดอั ต ราค่ า โฆษณาที่ สู ง ตํ่ า กั น ตามลําดับ ดังนัน้ การวิเคราะห์สอื่ ในประเด็นนี ้ จึงควรตอบคําถามที่วา่ -ใครคือเจ้าของสือ่ อย่างแท้จริ ง -สือ่ กาลังขายอะไร -การนาเสนอของสือ่ ในครัง้ นี ้ ก่อให้เกิ ดผลประโยชน์ใดบ้าง -อะไรทีม่ ี อิทธิ พลต่อการสร้างหรื อการนาเสนอของสือ่ -ใครได้รบั ผลประโยชน์อย่างแท้จริ ง -บริ ษัทเจ้าของผลิ ตภัณฑ์ -สาธารณชน ประชาชน ดังนัน้ การรู้เท่าทันสือ่ ก็คือการรู้จกั เลื อกบริ โภคสือ่ ด้านบวกและ ปฏิ เสธสือ่ ด้านลบ กล่าวคื อ หากเปรี ยบการบริ โภคสือ่ ด้านลบเหมื อนการ กิ น อาหารที ่ไม่ ส ะอาด มี ไ ขมันมาก มี ส ดั ส่ว นของผงชู ร สสู ง ซึ่ ง ไม่ ดี ต่ อ สุขภาพ ถึงแม้ว่าจะอร่ อยแต่มนั ก็ไม่ได้ก่อให้เกิ ดผลดีต่อสุขภาพแต่อย่างใด มิ หนาซ้ ายังก่ อให้เกิ ดผลเสี ยต่อสุขภาพ แก่ เร็ ว ผมร่ วง อ้วน ไขมันอุดตัน เส้นเลื อด และโรคต่างๆ ที ่จะตามมาอี กมากมาย การบริ โภคสือ่ ด้านลบก็ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 125
จะท าให้เ กิ ด ผลเสี ย ต่ อ สุข ภาพเช่ น กัน หากเป็ นโฆษณาชวนเชื ่อ ที ่เ รารู้ ไม่เท่าทัน เราก็จะตกเป็ นเหยื ่อของโฆษณาสิ นค้านัน้ หากเราตกเป็ นเหยื ่อ ของสื ่อลามกและสื ่อ ความรุ น แรง เราจะซึ ม ซับ พฤติ ก รรมเหล่ านัน้ และ หมกมุ่นอยู่กบั มันจนอาจก่อให้เกิ ดปั ญหาสังคมตามมาดังที ่เห็นกันทัว่ ไป ตามข่าวในหน้าหนังสือพิ มพ์ ฉะนั น้ การรู้ เท่ าทันสื่อหรื อรู้ จักเลือกบริ โภคสื่อด้ านบวกที่ เหมาะสมกับตนและถูกสุขลักษณะจึงเป็ นเรื่ องสาคัญสาหรั บทุกคน ในสังคมที่ดาเนินชีวิตท่ ามกลางสื่อนานาชนิด
126 | แ น ว คิ ด
บทที่ 7 การจัดระดับความเหมาะสม ของสื่อโทรทัศน์ ตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2549 เป็ นต้ นมา เราสามารถสังเกต ได้ วา่ บนหน้ าจอรายการโทรทัศน์ไทยมีการแสดงสัญลักษณ์บางอย่าง เช่น ท , น13+ เป็ นต้ น ซึง่ หลายๆ คนอาจเกิดความสงสัยว่ามันคืออะไร? ทําไม ต้ องมี? หรื อความสงสัยอีกนานัปการถึงสัญลักษณ์เหล่านัน้ อย่างไรก็ ดี สัญลักษณ์ เหล่านัน้ เราสามารถเรี ยกมันได้ ว่าเป็ น ‘สัญ ลัก ษณ์ ข องการจัด ระดับ ความเหมาะสมของรายการโทรทัศ น์ ’ ซึ่ง นับเป็ นความร่วมมือกันระหว่างสถานีโทรทัศน์ 6 สถานี เพื่อจัดระดับความ เหมาะสมของรายการโทรทัศน์ต่ างๆ ตลอดจนเป็ นการแนะนํากับผู้ชมว่า รายการที่นําเสนอผ่านทางสื่อวิทยุโทรทัศน์นนั ้ มีความเหมาะสมกับตัวเอง และคนรอบข้ างเช่นไร อาทิ รายการใดที่เด็กควรดู รายการใดที่ผ้ ใู หญ่ควร ให้ คําแนะนํา หรื อรายการใดที่ไม่เหมาะสมต่อเด็กและเยาวชน ซึง่ แนวคิดนี ้ จะทํ าให้ เ ด็ก และเยาวชนได้ รั บประโยชน์ จากการบริ โภคสื่อโทรทัศ น์ ได้ สูงสุดอันจะก่อให้ เกิดการพัฒนาศักยภาพได้ อย่างเต็มที่และเติบโตเป็ น มนุษย์ที่มีคณ ุ ภาพในด้ านต่างๆ ต่อไป
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 127
แนวคิดการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อโทรทัศน์จึงนับเป็ น พัฒ นาการที่ สํ า คัญ ของการพัฒ นาระบบการกํ า กั บ ดู แ ลกั น เองของ สถานีโทรทัศน์ (Self-Regulation) ในการพัฒนาระบบที่เป็ นผลให้ เกิดการ คุ้มครองเด็ ก เยาวชนและครอบครั ว ในฐานะผู้บริ โภค โดยทุกสถานีได้ ดําเนินการร่ วมกันอย่างเป็ นรู ปธรรมและสอดคล้ องไปในทิศทางเดียวกัน ยกเว้ นเพียงสถานีเดียวในปั จจุบนั คือ สถานีโทรทัศน์ ThaiPBS อย่างไร ก็ตาม ThaiPBS ในฐานะที่เป็ นสื่อสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทยก็มี มาตรการในการควบคุมการผลิตรายการภายใต้ กรอบจริ ยธรรมของตน โดยเฉพาะอยูแ่ ล้ ว ในการนี ้ คณะรั ฐมนตรี จึงได้ มีมติเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2550 เห็นชอบข้ อเสนอในการพัฒนาระบบของการจัดระดับความเหมาะสมของ สือ่ โทรทัศน์ เพื่อให้ แนวคิดนี ้เกิดประสิทธิภาพรวมถึงตอบสนองต่อกลไกใน การสนับสนุนสื่อสร้ างสรรค์ และเป็ นเครื่ องมือในการเลือกรับสื่อโทรทัศน์ ให้ กบั เด็กอย่างเกิดประโยชน์สงู สุด โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 1. จัดทําระบบการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อโทรทัศน์ โดย ให้ ประกอบด้ วยระบบประเมินคุณภาพเนื ้อหา และระบบการจําแนกเนื ้อหา ตามช่วงอายุ รวมถึ งการกํ าหนดช่วงเวลาในการออกอากาศตามความ เหมาะสมของรายการแต่ละประเภท 2. จัดทํากฎหมาย และนโยบาย เพื่อรองรับระบบของการจัด ระดั บ ความเหมาะสมของสื่ อ โทรทั ศ น์ แ ละทํ า การชี แ้ จงกั บ สถานี โทรทัศน์ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้ อง 3. พัฒนาโครงสร้ างและกลไกในการจัดทําระบบการจัดระดับ ความเหมาะสมของสื่อในกลุ่มภาคสังคม ซึ่งเป็ นการสร้ างการมีส่วนร่ วม
128 | แ น ว คิ ด
ของภาคประชาชนในการติดตาม เฝ้ าระวัง ประเมินและสะท้ อนความ คิดเห็นในการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อโทรทัศน์ต่อสังคม และให้ จัดตังคณะกรรมการร่ ้ วมระหว่างกระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ และตัวแทนจาก ภาคประชาชน 4. สือ่ สารความรู้ในการจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ พร้ อมทัง้ การรณรงค์ สร้ างกระแสสังคมเพื่อให้ เกิ ดการมี ส่วนร่ วมในการจัดระดับ ความเหมาะสมของสื่ อ เพื่ อ สร้ างความรู้ ความเข้ าใจถึ ง ความ จําเป็ น ช่องทางของการมีสว่ นร่ วมในการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อ และการกระตุ้นให้ เกิดการดําเนินการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อใน ภาคประชาชน ทังนี ้ ้ หน่วยงานที่ดําเนินการพัฒนาระบบของการจัดระดับความ เหมาะสมของรายการโทรทัศน์นี ้ จะเป็ นความร่ วมมือของภาครัฐและส่วน ต่างๆ ในสังคม ซึ่งเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สื่อ ได้ เป็ น หนึ่งในผู้ที่มีบทบาทพัฒนาระบบนี ้ด้ วย ดังนัน้ เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจใน เรื่ องการจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ โทรทัศน์มากยิ่งขึ ้น จึงจําเป็ นอย่าง ยิ่งที่ต้องอธิบายถึงที่มาของแนวคิดดังกล่าว
1) รากฐานทางความคิด คําว่า ‘การจัดระดับความเหมาะสมของสื่อโทรทัศน์ในประเทศ ไทย’ ถื อได้ ว่าเป็ นแนวความคิดใหม่ของสังคมไทย เป็ นนวัตกรรมในการ สนับสนุนให้ เกิดรายการโทรทัศน์ที่สง่ เสริ มการศึกษาและการเรี ยนรู้ กบั เด็ก
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 129
และเยาวชน ในขณะเดีย วกัน ก็ เป็ นกลไกสํา คัญในการปกป้องเด็ กและ เยาวชนที่จะไปบริ โภคสือ่ ที่ไม่เหมาะสมกับช่วงวัยของพวกเขา รากฐานทางความคิดของการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อ โทรทัศ น์ ดัง กล่า ว เราขอเรี ย กว่ า เป็ น ‘การแต่ ง งานของสองแนวคิ ด ที ่ แตกต่างกันเพือ่ มาเสริ มพลังแก่กนั และกัน’ ระหว่าง - แนวคิดการจัดผังรายการตามช่ วงเวลาที่เหมาะสม หรื อ Watershed - แนวคิดระบบจาแนกประเภทเนื อ้ หาตามช่ วงอายุ หรื อ Classification Systems and Warning กล่าวคือ ในด้ านหนึ่ง แนวคิดระบบจําแนกประเภทเนื ้อหาตาม ช่วงอายุ ได้ วางรากฐานของประเภทเนื ้อหาตลอดจนภาพและเสียงของ รายการที่ มี ค วามแตกต่ า งกัน อย่ า งเป็ นระบบให้ กับ แนวคิ ด การจัด ผัง รายการตามช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสมเพื่ อ ให้ สามารถออกอากาศประเภท รายการที่แตกต่างกันนันตามความเหมาะสมกั ้ บกลุม่ ผู้ชมตามช่วงวัยต่างๆ ซึ่งมีวิจารณญาณที่เหมาะสม (decency) และรสนิยม (taste) ที่แตกต่าง กัน ในอีกด้ านหนึ่ง แนวคิดการจัดผังรายการตามช่วงเวลาที่เหมาะสมก็ เกื อ้ หนุนให้ ระบบจํ าแนกประเภทเนือ้ หาตามช่วงอายุเกิ ดประสิทธิ ภาพ ตลอดจนเป็ นเครื่ องมือในการปกป้องเด็กได้ ดียิ่งขึ ้น
130 | แ น ว คิ ด
2) การจั ด ผั ง รายการตามช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสม (Watershed) โดยทั่ว ไปแล้ ว การจั ด ผัง รายการตามช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสม (Watershed) ถูกพิจารณาในฐานะเป็ นเครื่ องมือในการคุ้มครองเด็กจาก รายการโทรทัศ น์ ที่ มีเ นื อ้ หาไม่เ หมาะสม อีก ทัง้ มันยังเป็ นสิ่งที่ ผ้ ูใ หญ่ ใ ช้ ปกป้องเด็กจากรายการที่มีแนวโน้ มเนื ้อหา คุกคาม (offensive) (Quinn 2005: 8) อย่างไรก็ ตาม ในหลายๆ ประเทศเลือกที่จะนิยามแนวคิด นี ้ แตกต่างกันไป มีทงประเทศที ั้ ่ใช้ ในความหมายอย่างแคบและมีทงประเทศ ั้ ที่ใช้ ความหมายอย่างกว้ าง ในอดีต Broadcasting Standards Commission (BSC) ของ ประเทศสหราชอาณาจักรได้ ให้ นิยามอย่างแคบเอาไว้ วา่ ‘การจัดผังรายการ โทรทัศน์ตามช่วงเวลาที ่เหมาะสม (The television Watershed) คื อ สิ่ งที ่ ได้รับการยอมรับ เป็ นอย่ างดี ในฐานะเป็ นสิ่ งที ่ใ ช้ จัด ตารางออกอากาศ (scheduling marker) เพือ่ จาแนกให้ชดั เจนระหว่างรายการที ่เหมาะสม กับผูช้ มกลุ่มครอบครัวและผูช้ มที ่เป็ นผูใ้ หญ่ โดยมี ระยะเวลาตัง้ แต่ 3 ทุ่ม จนถึงตี 5 ครึ่ ง’ ในการนี ้ Broadcasting Authority (2003) ของ Hong Kong ได้ ขยายความแนวคิดดังกล่าวเพิ่มขึ ้น โดยพูดถึง ‘ชัว่ โมงการรับชมโทรทัศน์ สาหรับครอบครัวทีถ่ ูกพิ จารณาว่าอยู่ระหว่าง 4 โมงเย็น ถึง 2 ทุ่มครึ่ งของ แต่ละวัน ซึ่ งระหว่างช่วงเวลาดังกล่าวต้องไม่ มีรายการซึ่ งประกอบด้วย เนื ้อหาที ่ไม่เหมาะสมต่อเด็กออกอากาศอยู่ หลังจากนัน้ บนความคิ ดที ่ว่า จานวนเด็ กที ่รับชมโทรทัศ น์ ตลอดทั้งเย็ นจะลดลงอย่ างต่ อเนื ่อง ดังนัน้ ในช่วงเวลาหลัง 2 ทุ่มครึ่ ง เงือ่ นไขทีถ่ ูกจากัดว่าไม่ให้มีในรายการที ่เนือ้ หา เหมาะสมสาหรับเด็กก็จะค่อยๆ เพิ่ มขึ้นอย่างช้าๆ ซึ่ งทึกทักได้ว่าหลัง 2 ทุ่ม กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 131
ครึ่ งแล้ว ผู้ปกครองทัง้ หลายควรจะแสดงความรับผิ ดชอบต่อเด็กๆ ของ พวกเขาเองว่าจะอนุญาตให้ดูต่อหรื อไม่’ Commonwealth Broadcasters Association’s (CBA) ได้ นิยาม ความหมายที่สนและกระชั ั้ บยิ่งขึ ้น โดยอธิบายว่า ‘หลักการพืน้ ฐานของการ จัดผังรายการตามช่ วงเวลาที ่เหมาะสม คื อ เนื ้อหาที ่ไม่ เหมาะสมสาหรับ เด็ กไม่ สามารถออกอากาศก่ อ นเวลาที ่มี ผู้ช มจานวนมากเป็ นเด็ ก โดย รายการที ่ไม่ เหมาะสมเหล่ านี ้ คื อ รายการที ่มีเนื ้อหาซึ่ งจงใจผลิ ตขึ้ นมา สาหรับผูช้ มที ่เป็ นผูใ้ หญ่ เช่น มี รูปแบบรายการที ่ถกเถี ยงกัน หรื อภายใน รายการประกอบด้วยฉากความรุนแรง มี เรื ่ องเพศที ่โจ่ งครึ่ มหรื อลามก มี การสาปแช่ ง และใช้ ภาษาที ่รุ น แรง หยาบคาย ดัง นั้น หลัง มี ก ารจัด ผัง รายการตามช่ วงเวลาที ่เหมาะสมแล้ว รายการเหล่ านัน้ จะไม่ ได้ เผยแพร่ อย่างดีนกั ในช่วงเวลาไหนก็ได้’ จากคํานิยามทังหลายข้ ้ างต้ น เราสามารถดึงเอาคุณลักษณะร่ วม ของแนวคิดดังกล่าวได้ ดงั นี ้ -
ตามการจัดผังรายการตามช่วงเวลาที่เหมาะสม หลังเวลาที่ มีการตกลงกันแล้ วในแต่ละเย็น (ช่วงที่กลุม่ ผู้ชมเป็ นเด็กมาก ที่สุด ) ผู้รับชมรายการโทรทัศน์ ที่เป็ นกลุ่มเด็กจะมีจํานวน ลดลงอย่างต่อเนื่อง
-
เช่ น เดี ยวกัน หลัง เวลาที่ มี ก ารตกลงกันแล้ ว ในแต่ละเย็ น รายการที่ มี เ นื อ้ หาสํ า หรั บ ผู้ใ หญ่ ก็ จ ะค่อ ยๆ ออกอากาศ เพิ่มขึ ้น
132 | แ น ว คิ ด
-
รายการที่ประกอบด้ วยภาพและเนื ้อหาที่มีความรุ นแรง เพศ และภาษาที่หยาบคาย จะไม่ได้ รับการยอมรั บให้ ดูในช่วง เวลาที่กําหนด
-
หลังเวลาที่มีการตกลงกันแล้ วในแต่ละเย็น ครอบครัวควรจะ เพิ่มความรับผิดชอบต่อการดูโทรทัศน์ของเด็ก
-
ที่ สํ า คัญ เนื อ้ หาต่ า งๆ ที่ ไ ม่ไ ด้ รั บ อนุญ าตให้ อ อกอากาศ ในช่ ว งที่ เ วลาที่ ต กลงกัน ไม่ ค วรมี ก ารเปลี่ ย นแปลงทัน ที กล่าวคือ ระดับความรุ นแรง เพศและภาษาที่ไม่เหมาะสม ต้ องค่อยๆ เพิ่มขึ ้นทีละน้ อย เนื่องจากต้ องคํานึงถึงเวลาที่ เด็กเลิกดูโทรทัศน์และไปเข้ านอนด้ วย
ดั ง นั ้น กล่ า วอย่ า งง่ า ยๆ แนวคิ ด การจั ด ผั ง รายการตาม ช่ วงเวลาที่เหมาะสม คือ การแบ่ งเวลาว่ าช่ วงเวลาใดที่รายการที่มี เนื อ้ หาสาหรั บเด็กควรออกอากาศ และช่ วงเวลาใดที่รายการซึ่งมี เนื ้อ หาส าหรั บ ผู้ ใหญ่ ควรออกอากาศ การจั ด ผั ง รายการตาม ช่ วงเวลาที่เหมาะสมจึงเป็ นตัวบ่ งชีช้ ่ วงเวลาที่เนือ้ หารายการสาหรั บ ผู้ใหญ่ สามารถออกอากาศได้ 2.1 การจัดช่ วงเวลาที่เหมาะสม (Watershed) ในประเทศ ต่ างๆ เราไม่สามารถกล่าวได้ ว่ามีช่วงเวลาที่กําหนดไว้ เป็ นสากล ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยู่กบั กลุม่ ผู้ชมที่เป็ นเด็กและครอบครัวที่จะมีเวลาในการดูโทรทัศน์ซึ่ง แตกต่างกันไปตามบริ บทหน้ าที่การงานตลอดจนสภาพแวดล้ อมต่างๆ ใน สังคม ในบางประเทศที่มีเนือ้ หารายการไม่เหมาะสมน้ อยก็ จะมีการจัด ช่วงเวลาที่รายการเหล่านันจะออกอากาศได้ ้ เร็ วกว่าในบางประเทศที่ต้อง กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 133
อากาศตอนดึกมากแต่ก็ต้องถูกจํากัด บางประเทศอาจมีการจัดช่วงเวลาทัง้ ในโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกตลอดจนฟรี ทีวี ตารางที่ 7.1 แสดงการจัดผังรายการตามช่วงเวลาที่เหมาะสม (Watershed) ในประเทศต่างๆ ที่อนุญาตให้รายการที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสมสาหรับเด็กออกอากาศ
ประเทศ
เวลาเริ่มต้น
เวลาสิน้ สุด
นิวซีแลนด์
2 ทุ่มครึ่ง
ตี 5
ไอร์แลนด์
3ทุ่ม หรือ 4 ทุม่
6 โมงครึ่งตอนเช้า หรือ จนกระทั่งสถานีปิดการ ออกอากาศ
ขึ้นกับระดับของ เนือ้ หา แคนาดา
3 ทุม่
6 โมงเช้า
สเปน
4 ทุม่
7 โมงเช้า
ออสเตรเลีย
3 ทุ่มครึ่ง
ตี 4 ครึ่ง
แอฟริกาใต้
4 ทุม่
ตี 4 ครึ่ง
สหราชอาณาจักร
3 ทุม่
ตี 5 ครึ่ง
สหรัฐอเมริกา
4 ทุม่
6 โมงเช้า
อาร์เจนตินา
4 ทุม่
8 โมงเช้า
ฝรั่งเศส
4 ทุม่
อิตาลี
4 ทุ่มครึ่ง
7 โมงเช้า
ออสเตรีย
5 ทุม่
ตี 5 ครึ่ง
134 | แ น ว คิ ด
เยอรมนี
4 ทุม่
ตี 5 ครึ่ง
บราซิล
5 ทุม่
6 โมงเช้า
โปแลนด์
5 ทุม่
6 โมงเช้า
โปรตุเกส
4 ทุม่
6 โมงเช้า
ฟินแลนด์
3 ทุม่
ตี 5
เดนมาร์ก
3 ทุม่
ฮ่องกง
2 ทุ่มครึ่ง-4 ทุ่มครึ่ง
สวีเดน
3 ทุม่
สวิสเซอร์แลนด์
2 ทุม่
ฮังการี
5 ทุม่
นอร์เวย์
3 ทุม่
โรมาเนีย
4 ทุม่
9 โมงเช้า
6 โมงเช้า
ที่มา รวบรวมและดัดแปลงจากเอกสารหลายชิ้น อาทิ Quinn (2005), European Platform of Regulatory Authorities (1998), DVB Regulatory Group (2000), ASTRA (2007) เป็นต้น
หมายเหตุ ข้อมูลที่นาเสนออาจไม่ใช่ข้อมูลที่มีการจัดผังเวลาในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ส่วน สาคัญอยู่ที่เวลาเริ่มต้นในการจัดช่วงเวลา ผู้เขียนเพียงนาเสนอเบื้องต้นให้เห็นความแตกต่าง ของการจัดช่วงเวลาที่เหมาะสม (Watershed) ในหลายๆ ประเทศ ทั้งนี้ ข้อจากัดต่างๆ มา จากปัญหาด้านเวลาในการค้นคว้าเองของผู้เขียนเอง
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 135
ในหลายๆ ประเทศ มีการจัดช่วงเวลาดังกล่าวตลอดทังอาทิ ้ ตย์ หรื อทัง้ 7 วันโดยไม่มีการเปลี่ยน บางประเทศ เช่น ประเทศนิวซีแลนด์ แม้ จะมีการจัดช่วงเวลาแล้ ว แต่รายการที่มีเนือ้ หาสาระสําหรั บผู้ใหญ่ ก็ยัง สามารถฉายได้ ในเวลากลางวันจนถึงบ่าย 3 โมงช่วงวันที่เด็กไปโรงเรี ยน รวมถึงเวลาสิ ้นสุดสําหรับบางประเทศเป็ นเวลาประมาณการขึ ้นอยู่กบั ว่า รายการนัน้ ๆ ออกอากาศฟรี หรื อ ไม่ จากข้ อ มูลข้ างต้ นเราสามารถเห็ น ช่วงเวลาซึง่ หลายๆ ประเทศเลือกใช้ ในการเริ่ มจัดผังรายการเพื่อให้ รายการ ที่มีภาพและเนื ้อหาสําหรับผูใ่ หญ่คอ่ ยๆ เผยแพร่ได้ คือ ช่วงเวลาระหว่าง 34 ทุม่ อย่างไรก็ดี แม้ ว่าแนวคิดนี ้จะเป็ นความพยายามในการคุ้มครอง เด็กจากรายการที่มีเนือ้ หาไม่เหมาะสม แต่เราก็ ต้องไม่หลงลืมผู้ใหญ่ไป ด้ วย การใช้ ระบบดังกล่าวจะต้ องคุ้มครองเด็กในขณะที่ให้ ความชอบธรรม กับผู้ใหญ่ ที่เป็ นคนส่วนมากในบ้ านและมีสิทธิ ที่จะดูรายการซึ่งมีเนือ้ หา สําหรับกลุ่มตนเช่นกัน เพราะสมาชิ กในบ้ านไม่ได้ ประกอบไปด้ วยเด็ก เพียงอย่างเดียว กล่องที่ 7.1
การสนับสนุนการจัดผังรายการตามช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม (Watershed)
มีการศึกษาในประเทศอังกฤษ ปี 2003 โดย Gillian Ramsay ซึ่งพบแรงสนับสนุน ที่แข็งขันสาหรับการจัดผังเวลาที่เริ่มต้นตอน 3 ทุ่ม ทั้งจากตัวเด็กเองและผู้ใหญ่ จากการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมที่เป็นผู้ใหญ่ ร้อยละ 95 เห็นว่าควรจะมี การจัดผังรายการเช่นนี้เพื่อปกป้องเด็ก และผู้ใหญ่มากกว่าครึ่งถึงร้อยละ 77 เห็น ว่าเป็นสิ่งจาเป็น ในร้อยละ 72 ของเด็กนั้นก็เห็นด้วยว่ามันเป็นแนวคิดที่ดี อีกทั้ง ประเด็นหลักในการศึกษาที่ทุกคนพูด ถึงคือ ในตอนเย็น สื่อ โทรทัศน์ควรจะเพิ่ม ระดับของเนื้อหาแบบค่อยเป็นค่อยไป กล่าวคือ เมื่ออยู่ในเวลาที่กาหนด จากเนื้อหา ที่เหมาะสมส าหรับเด็ก ก็ค่อ ยๆ เพิ่มระดับของเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมไปเรื่อ ยๆ ที่ สาคัญ พวกเขาคาดหวังว่าเนื้อหาที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลานี้จะมีความสาคัญ เท่ากับรูปแบบและประเภทเนื้อหาของรายการ การที่ระบบเช่นนี้จะเป็นที่ฝากความหวังของผู้ปกครองในการดูแลเด็กๆ 136เบื| อ น วนคิไม่ดใช่เรือ ้ แ งต้ ่ งแปลก การศึกษาชิ้นนี้ยังพบผู้ปครองบางคนทีแ่ สดงออกถึงความ กังวลเกี่ยวกับการที่มีการจัดผังรายการตามช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมแบบนี้จะถูกล้มเลิก เนือ่ งมาจากพวกเขาเชือ่ ว่าหากไม่มรี ะบบเช่นนี้แล้ว ภาระความรับผิดชอบในการดูแล
กล่องที่ 7.1
การสนับสนุนการจัดผังรายการตามช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม (Watershed) (ต่อ)
การที่ระบบเช่นนี้จะเป็นที่ฝากความหวังของผู้ปกครองในการดูแลเด็กๆ เบือ้ งต้นไม่ใช่เรือ่ งแปลก การศึกษาชิ้นนี้ยังพบผู้ปกครองบางคนทีแ่ สดงออกถึง ความกังวลเกี่ยวกับการทีม่ ีการจัดผังรายการตามช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมแบบนี้จะถูก ล้มเลิก เนือ่ งมาจากพวกเขาเชือ่ ว่าหากไม่มีระบบเช่นนี้แล้ว ภาระความรับผิดชอบใน การดูแลเด็กๆ ในการดูโทรทัศน์จะเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล ทีส่ าคัญ ผู้ปกครอง มากกว่าครึ่ง (78%) คิดว่าควรมีการจัดผังตามช่วงเวลาแบบนี้ในทุกสถานีโทรทัศน์ และ 2 ใน 3 ของพวกเขาเห็นด้วยว่าควรจะเริ่มที่เวลา 3 ทุ่ม เป็นต้นไป
อันที่จริ ง ไม่เพียงแต่ประเทศอังกฤษเท่านันที ้ ่คนส่วนมากในบ้ าน ไม่ได้ เป็ นเด็ก เราสามารถคาดเดาได้ ว่าประเทศอื่นๆ ก็มีลกั ษณะนี ้เช่นกัน มีไม่มากนักหรอกที่ในบ้ านหลังหนึ่งจะมีเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ แต่ที่สําคัญ ที่สดุ อย่าลืมไปว่าผู้ใหญ่กบั เด็กนันมี ้ วิจารณญานการรับรู้ในระดับที่ตา่ งกัน การคัดกรองสิ่งต่างๆ ที่เข้ ามาในการรับรู้ ของเด็กต้ องได้ รับการดูแลจาก ผู้ใหญ่ ดังนันถึ ้ งแม้ ว่าจะมีประเด็นถกเถีย งในต่างประเทศถึงสิทธิในการดู รายการของผู้ใหญ่อย่างเสมอมาในทํานองว่าการจัดผังรายการในลักษณะ นี ้ก่อให้ เกิดความลําบากของผู้ใหญ่ที่ต้องการดูรายการที่มีเนื ้อหาสําหรับ กลุม่ วัยตน อย่างไรก็ตามเราต้ องตระหนักถึงสิ่งที่สําคัญที่สดุ ซึ่งเป็ นหัวใจ ของแนวคิ ด นี ้ คื อ ปกป้ องเด็ ก จากเนื อ้ หาที่ ไม่ เ หมาะสมเพราะเด็ ก ไม่ สามารถกลัน่ กรองสิ่งต่างๆ ได้ ดีเท่าผู้ใหญ่ อิทธิพลของสื่อจะส่งผลต่อเด็ก เป็ นอย่างมาก คาถามคือ เราต้องการสร้างเด็กทีไ่ ด้รบั อิ ทธิ พลด้านลบจาก สือ่ อย่างนัน้ หรื อ?
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 137
2.2 อะไรคือจุดมุ่งหมายของการจัดผังรายการตามช่ วงเวลา ที่เหมาะสม (Watershed) โดยภาพรวมแล้ ว เราพบว่ า ระบบการจั ด ผั ง รายการฯมี วัตถุประสงค์ 3 ประการเป็ นสําคัญ (Ramsay 2003) ได้ แก่ 1.เพือ่ ปกป้ องเด็กจากเนือ้ หาอันไม่พึงประสงค์ เช่น ฉากและเสียง ทางเพศ ความรุ นแรงที่มีความถี่ ตลอดจนภาษาที่ไม่เหมาะสม ผ่านการ จํากัดเนื ้อหารายการโทรทัศน์ ในมุมนี ้การจัดผังฯได้ ทําให้ เด็กมีช่วงเวลาใน การดูโทรทัศน์โดยไม่ต้องได้ รับคําแนะนํา 2.จัด หาช่ ว งเวลาในการดู โ ทรทัศ น์ ที่ป ลอดภัย ในขณะที่ ก าร ปกป้องเด็กเป็ นสิ่งสําคัญในกรณีที่เขาดูตามลําพัง การจัดหาช่วงเวลาจะ ทําให้ ผ้ ปู กครองดูโทรทัศน์ด้วยกันกับลูกเพิ่มขึ ้น เนื่องจากเด็กๆ ก็ต้องการ ช่วงเวลาที่ปลอดภัยเพื่อเวลาที่ต้องดูโทรทัศน์กับพ่อแม่ พวกเขาจะได้ ไม่ รู้สกึ อายหรื อทําตัวไม่ถกู เวลาฉากที่ไม่เหมาะสมปรากฏขึ ้นมา 3.ควบคุมผู้ผลิ ตรายการโทรทัศน์ เนื่องจากระบบการจัดผังฯจะ เป็ นตัวเบรกที่สําคัญให้ ผ้ ูผลิตไม่ทํารายการที่มีเนือ้ หาไม่เหมาะสมมาก เกินไปโดยปราศจากการควบคุม 2.3 ครอบครั ว กั บ การจั ด ผั ง รายการตามช่ ว งเวลาที่ เหมาะสม (Watershed) สําหรับครอบครัวแล้ ว การจัดผังรายการจะมีประโยชน์อย่างมาก เช่น มันสามารถบ่งบอกถึงเวลาที่เด็กควรเข้ านอน (Towler 2001) ที่สําคัญ กว่านัน้ มันสามารถเป็ นเครื่ องมือในการป้ องกันเด็กๆ โดยเตือ นให้ ร้ ู ว่า เนื ้อหาในรายการกําลังจะเปลี่ยนในขณะที่กําลังชมโทรทัศน์อยู่ ซึ่งจะช่วย ให้ พอ่ แม่ร้ ูวา่ ควรรับผิดชอบต่อพฤติกรรมการดูโทรทัศน์ของลูกๆ อย่างไร 138 | แ น ว คิ ด
อย่างที่ทราบกัน คําแนะนําของผู้ปกครองถือเป็ นสิ่งจําเป็ นอย่าง มากต่อพฤติกรรมการรับสื่อของเด็ก แต่อนั ที่จริ งในการจัดผังรายการตาม ช่วงเวลาที่เหมาะสม บางคนเชื่อว่าการแนะนําของพ่อแม่นนเป็ ั ้ นการติดต่อ โดยอ้ อมระหว่ า งผู้ ชมกั บ ผู้ ผลิ ต ที่ ต้ องเชื่ อ ฟั งและรั ก ษามาตรฐานที่ ครอบครัวต้ องการ รวมถึงตกลงกันว่าหลังจากเวลาที่กําหนดผู้ปกครองต้ อง ทําหน้ าที่ดแู ลมากขึ ้น ผู้ผลิตก็ควรที่จะร่ วมแบ่งปั นความรับผิดชอบในการ ดูแลเด็กต่อการรับสือ่ เช่นกัน ตามที่ Millwood-Hargrave (2000) อธิ บายว่า นอกจากการจัด ผังรายการตามช่วงเวลาที่ เหมาะสม (Watershed) ถูก ตระหนักอย่า ง ชัดเจนว่าเป็ นตัวบ่งชี ถ้ ึงเนื ้อหาที่ไม่เหมาะสมสําหรับเด็ก และครอบครั ว ส่วนมากยอมรับว่าพวกเขาต้ องแสดงความรับผิดชอบอย่างมากต่อการดู โทรทัศน์ของเด็กๆ ในช่วงเวลาดังกล่าว การจัดผังรายการฯ ยังมีฐานะเป็ น การติดต่อระหว่างผู้ปกครองกับสถานีโทรทัศน์หรื อผู้ผลิตอีกด้ วย กล่าวคือ เขาเชื่ อว่ามันจะเป็ นการแบ่งปั นความรั บผิดชอบต่อเด็กๆ ซึ่งกันและกัน ระหว่างครอบครัวกับสถานีฯ เคยมีงานวิจยั ของ Cumberbatch (1999) ที่แสดงให้ เห็นว่า คนดู ต่างไม่ยอมรับว่าผู้ผลิตมีความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ในการปกป้องเด็กจาก เนื ้อหาที่ไม่เหมาะสม ทังนี ้ ้มาจากคําถามในงานวิจัยที่ว่า ‘คุณคิ ดว่าเป็ น ความรับผิ ดชอบของผู้ปกครองหรื อของผู้ผลิ ตที ่ต้องทาให้แน่ใจว่าเด็กจะ ไม่ได้ดูรายการซึ่ งมี เนือ้ หาสาระทีไ่ ม่เหมาะสม?’ ในการนี ้ คําตอบแตกต่าง กันไปใน 3 ลักษณะ คือ ส่วนมาก (62%) ตอบว่าเป็ นความรับผิดชอบที่ กองอยู่กับ ผู้ป กครอง มี 31% ที่ บ อกว่า เป็ นความรั บ ผิ ด ชอบของทัง้ ผู้ป กครองและผู้ผ ลิต แต่ มี เ พี ย งแต่ 6% เท่ า นัน้ ที่ บ อกว่ า เป็ นความ รับผิดชอบของผู้ผลิตแต่เพียงผู้เดียว กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 139
ข้ อค้ นพบข้ างต้ นชี ใ้ ห้ เห็นว่าทุกคนยังคาดหวังให้ ผ้ ูปกครองคง ความรั บ ผิ ด ชอบของตนในการดูแ ลพฤติ ก รรมการดูโ ทรทัศ น์ ข องเด็ ก ในขณะที่ผ้ ูผลิตหรื อ สถานี โทรทัศน์ ก็ยัง เป็ นกลุ่ม ที่ถูกคาดหวังน้ อยกว่า อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั ผู้ผลิตควรจะจัดผังรายการไปในทํานองที่สอดคล้ อง กับ กลุ่ม ผู้ชม นั่น หมายถึ งสถานี โทรทัศ น์ ค วรแสดงความรั บผิ ด ชอบต่อ ครอบครัวโดยเป็ นตัวแนะนําในเบื ้องต้ นว่ารายการอะไรที่เด็กๆ ควรดู ซึ่ง สอดคล้ องกับผลการศึกษาในปี ค.ศ.2001 โดย Broadcasting Standards Commission (BSC) สรุ ปความสําคัญว่า ครอบครั วที่มีเด็กๆ ในบ้ านถึง ร้ อยละ 71 กล่าวว่าพวกเขาเป็ นส่วนที่แสดงความรับผิดชอบหลักต่อสิ่งที่ เด็กๆดูก่อนช่วงเวลาของการจัดผังฯ (pre-watershed) ซึ่งจะไม่มีเนื ้อหาที่ ไม่เหมาะสมสําหรับเด็กปรากฏ ยิ่งกว่านัน้ ตัวเลขได้ กระโดดสูงขึ ้นเป็ นถึง ร้ อยละ 87 ในช่วงหลังการจัดผังฯ ที่จะมีรายการไม่เหมาะสมออกอากาศ กระนันก็ ้ ตาม ครอบครัวหลายๆ ครอบครัวเชื่อว่าระบบการจัดผัง ในลัก ษณะนี เ้ ป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ ไม่ เ พี ย งพอ มัน จํ า เป็ นต้ อ งผนวกรวมกับ เครื่ องมืออื่นๆ อีกเพื่อให้ ระบบการปกป้องเด็กจากการรั บชมรายการที่มี เนื ้อหาไม่เหมาะสมเกิดสัมฤทธิผล ดังนัน้ บางครอบครัวจึงใช้ ระบบการจัด ผั ง ฯ ร่ ว มกั บ การประกาศก่ อ นการออกอากาศ (pre-transmission announcement) และกลไกอื่ นๆเพื่ อ ช่ว ยในการตัด สิน ใจเนือ้ หาใดที่ ไม่ เหมาะสมสําหรับลูกๆ พวกเขา ดังนัน้ สิ่งต่ างๆ ได้ ชีช้ ัดว่ า ‘ครอบครัว’ ยังเป็ นตัวแสดงหลัก ที่ รั บ ภาระในการดู แ ลการรั บ ชมโทรทั ศ น์ ของเด็ ก โดยก็ มี ค วาม คาดหวังให้ ผ้ ูผลิตร่ วมแบ่ งปั นความรั บผิดชอบเหล่ านั น้ ผ่ านกลไก ของการจัดผังรายการตามช่ วงเวลาฯ ซึ่งระบบการจัดผังเช่ นนี ค้ วร ผนวกรวมกับระบบอื่นๆ อีกเพื่อให้ ระบบการปกป้องเด็กดาเนินไป อย่ างมีประสิทธิภาพ 140 | แ น ว คิ ด
2.4.สรุ ป กล่าวโดยสรุ ป หลักการพืน้ ฐานของ การจัด ผัง รายการตามช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสม (Watershed) คือเนื ้อหารายการที่ไม่เหมาะสม สํา หรั บเด็ก จะไม่สามารถออกอากาศในช่ ว ง เวลาซึ่งกลุ่มผู้รับชมส่วนใหญ่ เป็ นเด็ ก ดังนัน้ โดยส่วนมากการจัดผังรายการที่มีเนื ้อหาไม่เหมาะสมสําหรับเด็กจะเริ่ ม จากประมาณ 3 ทุ่ม ถึง ตี 5 ครึ่ ง ในการนี ้ผู้ผลิตรวมถึงสถานีโทรทัศน์ จํ า เป็ นต้ อ งตระหนัก และเข้ า ใจข้ อ เท็ จ จริ ง ว่า เด็ ก อาจจะดูโ ทรทัศ น์ ต่ อ หลังจากมีการเริ่ มจัดผังรายการฯด้ วย ดังนันจึ ้ งมีความสําคัญอย่างมากที่ ต้ องขึ ้นสัญลักษณ์เตือนที่เหมาะสมก่อนการเผยแพร่รายการเหล่านัน้ อีกทัง้ เป็ นสิง่ สําคัญที่การเปลีย่ นแปลงของรายการจะต้ องเกิดขึ ้น อย่างค่อยเป็ นค่อยไปตามลําดับ ไม่ได้ เปลี่ยนเนื ้อหารายการอย่างทันที ใน การนี ้ ความรุ นแรงไม่ใช่เป็ นเพียงเนื อ้ หาที่ไม่เหมาะสมเพียงอย่างเดียวใน การพิจารณา แต่มนั ยังรวมถึงเรื่ องอื่นๆ อีก เช่น ภาษาที่ไม่สภุ าพ เพศและ ความลามก ฉากที่มีภาวะกดดันอย่างรุนแรง เรื่ องตลกขําขันที่ไม่เหมาะสม การเหยียดและอคติ การใช้ ไสยศาสตร์ หรื อเรื่ องเหนือธรรมชาติ เป็ นต้ น เพราะว่ามันจะทําให้ เด็ก ๆ ได้ รับผลกระทบ โดยเด็กอาจลอกเลียนแบบ ฝั งใจ เก็บไปฝั นร้ าย ฯลฯ ที่สาํ คัญที่สดุ ผู้ปกครองไม่ได้ เพียงต้ องรับผิดชอบ ต่อการดูโทรทัศน์ ของเด็กๆเท่านัน้ แต่ต้องใส่ใจถึงว่าเด็กๆ ตีความและ เข้ า ใจรายการนัน้ ๆ อย่า งไร รวมถึ ง ผู้ผลิต และสถานี ค วรมี ส่ว นในการ แบ่งปั นความรับผิดชอบในการดูแลเด็กๆ ด้ วย
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 141
3) ระบบจ าแนกประเภทเนื้ อ หาตามช่ ว งอายุ (Classification Systems and Warning) หลัง จากที ่มีร ะบบการจัด ผัง รายการตามช่ ว งเวลาแล้ว เราจะ ตอบสนองกับเนือ้ หารายการทีไ่ ม่เหมาะสมเหล่านัน้ อย่างไร ? ในปี ค.ศ.2001 Broadcasting Standards Commission (BSC) ของประเทศสหราชอาณาจักร ได้ ทําการศึกษาเพื่อหาคําตอบต่อคําถาม ดังกล่าว ตารางที่ 7.2 แสดงพฤติกรรมโต้ตอบที่มตี ่อเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมในรายการโทรทัศน์
คาหยาบและ ภาษาที่ไม่ เหมาะสม (%)
เพศ (%)
ความรุนแรง (%)
รับชมต่อไป
82
74
81
เปลี่ยนช่อง
8
13
6
ปิดโทรทัศน์
5
5
4
หั น ไปมองทางอื่ น เมื่ อ มี ฉ ากดั ง กล่ า ว แต่ก็ยังรับชมต่อไป
5
8
10
ที่มา ดัดแปลงจาก Quinn (2005)
จากข้ างต้ น เราจะเห็นได้ ว่าจํ านวนผู้ชมส่วนใหญ่ก็ยงั คงรับชม ต่อไปโดยไม่ได้ ตอบสนองใดๆ ต่อเหตุการณ์หรื อฉากเหล่านัน้ ถ้ าเช่นนัน้ แล้ ว ในเมื่อคนดูเหล่านันยั ้ งได้ รับการคุกคามจากสือ่ ที่ไม่เหมาะสม พวกเขา จะมี ตวั ช่วยอะไรในการหลีกเลีย่ งสิ่ งเหล่านัน้ ? 142 | แ น ว คิ ด
ในการศึกษาจากหลายๆ ประเทศ จะพบว่ามีทางเลือกที่สามารถ สรุปได้ 3 ลักษณะเพื่อแก้ ปัญหาดังกล่าว 1. เลือกสรรช่วงเวลาในการออกอากาศ (หรื อก็คือหลักคิดของ watershed) 2. มีเสียงเตือน (acoustic warning) ก่อนรายการจะเริ่ ม 3. มีสญ ั ลักษณ์เตือน (visual symbol) ซึง่ แนวคิดนี ้นํามาสูห่ ลัก ในการจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ ในยุโรป ดังนัน้ ในส่วนนี ้จึงนําเสนอถึง สองทางเลือกหลังที่ยงั ไม่ได้ พูดถึง และในการทํ า เช่ น นัน้ จํ า เป็ นอย่า งยิ่ ง ต้ อ งพิ จ ารณาถึ ง พัฒ นาการและ ตรรกะของการจัดระดับ/จําแนกสัญลักษณ์ตา่ งๆ (classification symbols) รวมถึงการแปะ (labeling) สัญลักษณ์เหล่านันไว้ ้ กับรายการโทรทัศน์ ซึ่ง จะทําให้ ผ้ ชู มได้ รับการเตือนโดยอัตโนมัติถึงธรรมชาติของเนื ้อหารายการ เหล่านัน้ 3.1 ความหมาย ระบบการจํ าแนกประเภทเนื อ้ หา หรื อที่ มักถูก เรี ยกว่า การจัด เรตติ้ ง (rating) เป็ นระบบที่มีใจความสําคัญ คือ ความคิดในการปกป้อง ความเชื่อนี ้ได้ อธิบายว่า ผู้ชมที่อายุตํ่ากว่า 18 ปี ควรจะได้ รับการคุ้มครอง ในระดับต่างๆ ตามที่ได้ จําแนกเป็ นชันต่ ้ างๆ ไว้ สําหรับผู้ชมที่อายุมากกว่า 18 ปี นัน้ จะมีอิสระในการเลือกว่าอะไรที่พวกเขาจะดูหรื อฟั งโดยปราศจาก การแทรกแซง ทังนี ้ ้ต้ องอยูภ่ ายใต้ กฎหมายกําหนด ในการพิจารณาการจําแนกเนื ้อหานี ้ แต่ละระดับจะต้ องมีความ แน่นอนและชัดเจน Australian Broadcasting Authority (ABA) เคยระบุ ไว้ ว่า ‚…ในแต่ละวันของการออกอากาศจะถูกการจาแนกระดับเนือ้ หาซึ่ ง กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 143
ยึดตามผูช้ มส่วนใหญ่ในเวลานัน้ ๆ ประกอบกับคานึงถึงส่วนประกอบของ ผู้ชมที ่เป็ นเด็กเป็ นการเฉพาะ‛ (European Platform of Regulatory Authorities 2003: 2) นัน่ หมายความว่า มีเพียงเนื ้อหาที่ถกู พิจารณาว่า เหมาะสมต่อระดับต่างๆ แล้ วเท่านันที ้ ่จะได้ รับการออกอากาศในระดับนันๆ ้ เมื่อดูถึงแนวการมองดังกล่าว ABA ได้ ให้ รายละเอียดที่ลกึ ไปกว่า นันอี ้ ก โดยชี ้เฉพาะถึงจํานวนตัวแปรซึง่ ส่งผลต่อการตัดสินใจของคน ‚เนือ้ หาที ่เหมาะสมสาหรับออกอากาศทางโทรทัศน์จะ ขึ้ น อยู่ กับ ระดับ ความถี ่ (frequency) และระดับ ความรุ น แรง (intensity) ของสาระสาคัญ ต่ า งๆ เช่ น ประเด็ น การใช้ ค วาม รุ นแรง (violence) พฤติ กรรมทางเพศ (sexual behaviour) ภาพโป๊ /เปลื อ ย (nudity) และภาษาที ่ ห ยาบคาย (coarse language) รวมถึงช่ วงเวลา (time) ของวันในการออกอากาศ อี กทัง้ มันอาจขึ้ นอยู่ กบั ปั จจัยจาพวกจริ ยธรรมและคุณธรรมใน การผลิ ต (merit of production) จุดประสงค์ ของเหตุการณ์ ที่ นาเสนอ (purpose of sequence) ระดับ (tone) มุมกล้อง (camera work) ความสัมพันธ์ กบั เนือ้ หา (relevance of the material) และการดูแล (treatment) ซึ่ งปั จจัยต่างๆเหล่านี ้ต้อง ได้รบั การพิ จารณาอย่างระมัดระวังด้านน้าหนัก โดยหมายถึงว่า การกระทาบางอย่ าง การพรรณนา รู ปแบบ หัวข้อ ภาษา ควร ตอบสนองมาตรฐานการยอมรับปั จจุบนั ในรายการหนึ่งๆแต่ใน รายการอื ่นๆอาจมี การเรี ยกร้ องในการจัดระดับที ่สูงกว่านี ้ หรื อ กระทัง่ เป็ นรายการทีม่ ี เนือ้ หาไม่เหมาะสมสาหรับออกอากาศ‛ Bard J. Bushman และ Joanne Cantor (2003) ได้ อธิบาย ประโยชน์ของระบบการจัดระดับแบบนี ้ไว้ อย่างน่าสนใจว่า คนจํานวนมาก 144 | แ น ว คิ ด
พิ จ ารณาการจัด ระดับ เหล่า นี เ้ ป็ นรากฐานที ่สมเหตุส มผลระหว่ า งการ เซ็ น เซอร์ (censorship) ซึ่ ง สุด โต่ ง กับ การที ่ผลัก ภาระหรื อไม่ ช่ ว ยเหลื อ ครอบครัวในการดูแลเด็ ก พวกเขาได้ จําแนกระบบออกเป็ น 2 ประเภท ได้ แก่ การจัดระบบประเภทเนื ้อหาแบบประเมินผล (evaluative) และ การ จัด ระบบประเภทเนื อ้ หาแบบพรรณนา/อธิ บ าย (descriptive) โดยการ จัดระบบประเภทเนื ้อหาแบบประเมินผลนัน้ ได้ ผลิต คําแนะนําสําหรับผู้ที่ ควรหรื อ ไม่ ค วรที่ จ ะบริ โ ภคสื่ อ ที่ นํ า เสนออย่ า งจํ า เพาะเจาะจง ซึ่ ง ใน ลักษณะนี ้แนะนําการดูโดยอิง อายุที่เหมาะสมหรื อจัดให้ มีการแนะนําคํา เตื อนต่า งๆ ในทางตรงกัน การจัดระบบประเภทเนื อ้ หาแบบพรรณนา/ บรรยาย หรื อสามารถบอกได้ ว่าอิงตามเนื ้อหานัน้ จะประกอบด้ วยข้ อมูล ต่างๆเกี่ยวกับเนื ้อหาของผลิตภัณฑ์สื่อ บ่อยครัง้ ที่ระบบในลักษณะหลังนี ้ จะเป็ นตัวบ่งชี ้การปรากฏของระดับความรุ นแรง เพศ ภาษาที่ไม่เหมาะสม แต่ไม่มีการแนะนําเกี่ยวกับว่าใครควรหรื อไม่ควรดูเนือ้ หาเหล่านัน้ และ ระบบทังสองนี ้ ้ได้ มีการผสมกันกลายเป็ นเรตติ ้งประเภทอื่นๆ ต่อไป อย่ า งไรก็ ดี ความแตกต่ า งระหว่ า งระบบทัง้ สองประเภทนี ม้ ี ความสําคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากมันช่วยแนะนําเราเมื่อต้ องการพิจารณา ระบบการจัดระบบประเภทเนื ้อหาต่างๆ 3.2 การจัดระบบจาแนกประเภทเนือ้ หาในประเทศต่ างๆ การจัดประเภทเนื ้อหาเพื่อแนะนําผู้ชมเป็ นแนวคิดที่นําไปใช้ อย่าง แพร่ หลายในประเทศต่างๆ อันที่จริ งแล้ ว เราไม่สามารถกล่าวได้ ว่ามันมี รู ป แบบสากลหรื อ สัญ ลัก ษณ์ / ตัว อัก ษรสากล อย่า งไรก็ ต าม ในที่ นี ไ้ ด้ พยายามนําเสนอระบบต่างๆ ในเบื ้องต้ นเพื่อให้ เห็นถึงตัวอย่างของการใช้ แนวคิดดังกล่าวของหน่วยงานในประเทศต่างๆ พอสังเขป ดังนี ้
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 145
1.RTÉ RTÉ หรื อ Ireland's National Television and Radio Broadcaster (2002) ได้ จัดระบบจําแนกประเภทเนื ้อหาเพื่อบอกผู้ชม เกี่ยวกับกับเนื ้อหารายการว่าส่วนใดที่เหมาะสมและระดับของการคุกคาม ซึ่งการแจ้ งนีจ้ ะปรากฏอยู่บนหน้ าจอโทรทัศน์ ตอนเริ่ มออกอากาศ ตาม ด้ านล่าง ตารางที่ 7.3 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการโทรทัศน์ของ RTÉ
ประเภท เนือ้ หาที่ จาแนก GA Ch YA
PS
MA
146 | แ น ว คิ ด
คาอธิบาย สาหรับผู้ชมทัว่ ไป (General Audience) -รายการนี้ ผู้ชมทุกวัยและทุกรสนิยมสามารถชมได้ สาหรับเด็ก (Children) -รายการทีม่ ุ่งนาเสนอถึงเด็กโดยเฉพาะ ซึ่งอาจรวมถึงวัยก่อนวัยรุ่นหรือ ผู้ชมที่เป็นเยาวชนตอนต้น สาหรับวัยรุ่น (Young Adult) -รายการทีม่ ุ่งกลุ่มผู้ชมทีเ่ ป็นวัยรุ่น ซึ่งกล่าวได้ว่ารายการที่จะอยู่ใน ประเภทนี้ไม่เป็นทีส่ นใจของผู้ใหญ่นกั อย่างไรก็ดี มันได้นาเสนอเกี่ยวกับ ประเด็นต่างๆ ที่มผี ลต่อวัยรุ่น เช่น ความสัมพันธ์ กิจกรรมทางเพศ การดื่ม เป็นต้น ผูป้ กครองสามารถคาดได้วา่ รายการประเภทนีอ้ าจจะ ประกอบด้วยเนือ้ หาที่ไม่เหมาะสมและอาจจากัดการเข้าถึงของเด็กๆ ได้ ควรอยู่ภายใต้การแนะนาของผู้ปกครอง (Parental Supervision) -รายการประเภทนี้มุ่งไปที่ผู้ชมกลุม่ ผู้ใหญ่ ซึ่งมันอาจมีประเด็นเกี่ยวกับ ผู้ใหญ่ เช่น การใช้ความรุนแรง การข่มขู่ หรือประกอบด้วยการสบถ การใช้ถอ้ ยคาหยาบคาย และรายการประเภทนี้ สัญลักษณ์ที่ปรากฏจะ เชิญชวนให้ผู้ปกครองพิจารณาว่าควรจากัดไม่ไห้เด็กๆ เข้าถึง สาหรับผู้ใหญ่ (Mature Audience) -รายการประเภทนี้เป็นรายการทีเ่ รียกได้วา่ เป็น ‘หลังการจัดผังรายการ ตามช่วงเวลาที่เหมาะสม’ (post-watershed) ซึ่งอาจมีเนือ้ หาเกี่ยวกับ กิจกรรมทางเพศหรือความรุนแรงหรือบทสนทนาที่ดหู มิ่นพระเจ้า เป็นต้น
ในการนี ้ RTÉ ได้ สรุปถึงหลักการเบื ้องต้ นของระบบนี ้ใน ทํานองเป็ นข้ อสังเกตว่า -รายการโทรทัศน์ควรจะได้ รับอนุญาตให้ เข้ าถึงกลุม่ ผู้ชมที่เหมาะสมอย่างกว้ างที่สดุ -ผู้ชมที่เป็ นเด็กและวัยรุ่นควรจะได้ รับการคุ้มครองจาก เนื ้อหาที่มีลกั ษณะทําร้ ายพวกเขา -ผู้ใหญ่ควรจะมีอิสระในการเลือกว่ารายการใดที่พวก เขาต้ องการดู ตราบเท่าที่รายการต่างๆ ยังคงอยูภ่ ายใต้ กฎหมาย และไม่กระตุ้นให้ เกิดความเสียหาย -การตัดสินใจควรคํานึงถึงทัศนคติของสาธารณะใน ปั จจุบนั และความเกี่ยวโยงของงานวิจยั -ต้ องคงความสมดุลระหว่าง อิสระ (freedom) และ ความรับผิดชอบ (responsibility) 2.Monitor Picture Association of America (MPAA) MPAA ใช้ มาตรฐานการจําแนกประเภทรายการซึ่งเป็ น การดูถึงกลุม่ ผู้ชมที่มีความคล้ ายคลึงกันด้ านอายุ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 147
ตารางที่ 7.4 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการโทรทัศน์ของ MPAA
ประเภทเนือ้ หาทีจ่ าแนก
คาอธิบาย
G
ผู้ชมทัว่ ไป (General Audiences) ” ผู้ชมทุกวัยสามารถเข้าถึงได้
PG
ผู้ปกครองควรแนะนา (Parental Guidance suggested) ” เนือ้ หาบางประการอาจไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก
PG-13
ผู้ปกครองต้องตักเตือนอย่างเข้มงวด (Parents strongly cautioned) ” เนือ้ หาบางด้านอาจจะไม่เหมาะสมสาหรับเด็กอายุ ต่ากว่า 13 ปี
R
ถูกจากัด (Restricted) ” ผู้ชมอายุตากว่ ่ า 17 ปี ควรได้รบั คาแนะนาจาก ผู้ปกครอง
NC-17
ผู้ชมอายุต่ากว่า 17 ปีห้ามรับชม (No one 17 and under admitted)
อย่างไรก็ตาม การจําแนกแบบนี ้ ได้ รับคําวิจารณ์ จาก นักวิชาการในทํานองว่ายึดติดกับอายุมากเกินไป ซึง่ การอิงตามช่วงอายุนนั ้ เป็ นระบบที่ ว างอยู่ บ นสมมติ ฐ านว่ า เด็ ก ทุ ก คนในวั ย เดี ย วกั น จะมี ความสามารถในการรั บมื อ เนือ้ หาโทรทัศ น์ ต่า งๆ อย่างเท่ากัน (Potter 2003: 201) ในการนี ้ MPAA ได้ ตอบโต้ คําวิจารณ์ด้วยการพูดว่าการจัด ประเภทเหล่านี ้เป็ นเพียงคําแนะนําและผู้ปกครองต้ องใช้ ความสามารถของ พวกเขาเองในการดูแลเด็กๆ ซึ่งมันเป็ นคําตอบที่ไม่น่าพึงพอใจนักในมุม 148 | แ น ว คิ ด
ของนัก วิ ช าการดัง กล่า ว ดัง นัน้ นัก วิ ช าการที่ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ เ รื่ อ งนี จ้ ึ ง พัฒนาคําถามที่สําคัญอย่างมากต่อไปว่า ถ้าการจัดประเภทเหล่านี ้เป็ น เพียงการแนะนา ผูป้ กครองจะสามารถหาข้อมูลเพือ่ ตัดสิ นใจในเรื ่องต่างๆ ด้านนีไ้ ด้จากทีใ่ ด? 3.TV Parental Guidelines ตามข้ อมูล ที่ ร ะบุจ าก MPAA การจัด ประเภทใน ลักษณะนี ้เป็ นที่ร้ ูจกั และยอมรับกันอย่างแพร่หลาย อีกทังประเทศแคนาดา ้ ยังได้ นํ าไปใช้ ค วบคู่กับ ระบบวี -ชิ ป (V-chip) อี กด้ ว ย ซึ่ง มีลักษณะตาม ตารางด้ านล่าง ตารางที่ 7.5 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการโทรทัศน์ของ TV Parental Guidelines
ประเ ภท คาอธิบาย เนือ้ ห าที่ จาแน ก TVY สาหรับเด็กทุกคน (All Children) -รายการประเภทนี้ถูกออกแบบให้มีความเหมาะสมกับเด็กทุกวัย TVY7 สาหรับเด็กโต (Directed to Older Children) -รายการนี้ถูกออกแบบสาหรับเด็กที่อายุ 7 ปีขึ้นไป ซึ่งอาจมีความ เหมาะสมสาหรับเด็กที่ต้องการพัฒนาทักษะในการจาแนกระหว่างสิ่งที่ สร้างขึ้นและความเป็นสิ่ง TVG สาหรับผู้ชมทั่วไป (General Audience) -ผู้ปกครองส่วนมากจะค้นหารายการที่เหมาะสมกับทุกวัย ถึงแม้ว่า รายการประเภทนี้ไม่ได้แสดงรายการที่ถูกออกแบบโดยเฉพาะสาหรั บ เด็ก แต่ผู้ปกครองก็ส ามารถปล่อ ยให้เด็กดูโดยที่ไม่ต้อ งใส่ใจได้ ซึ่ ง รายการประเภทนี้อาจประกอบด้วยเนื้อหาความรุนแรงเล็กน้อยหรือไม่ มีเลย ไม่มีภาษาที่หยาบคาย และมีเหตุการณ์หรือบทสนทนาทางเพศ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 149
เล็กน้อยหรือไม่มีเลย TVP ผู้ปกครองควรแนะนา (Parental Guidance Suggested) -รายการประเภทนี้ ผู้ปกครองอาจจะพบว่ามีเนื้อ หาที่ไม่เหมาะสม G สาหรับเด็ก ผู้ปกครองจานวนมากจึงต้องการรับชมรายการประเภทนี้ พร้อมกับเด็กๆ ทั้งนี้รูปแบบรายการดังกล่าวโดยตัวของมันเรียกร้อง ค าแนะน าจากผู้ ป กครองเนื่ อ งมาจากรายการจะมี เ นื้ อ หาที่ ประกอบด้วยความรุนแรง เพศ ภาษาที่หยาบคายเป็นครั้งคราว Strongly TV14 ผู้ ป กครองต้ อ งตั ก เตื อ นอย่ า งเข้ ม งวด (Parents Cautioned) -รายการประเภทนี้ประกอบด้วยเนื้อหาซึ่งไม่เหมาะสมสาหรับเด็กอายุ ต่ากว่า 14 ปี ผู้ปกครองจาเป็นต้องตื่นตัวในการเฝ้าระวังรายการ ประเภทนี้และไม่ปล่อยให้เด็กอายุต่ากว่า 14 ปีรับชม TVM สาหรับผู้ใหญ่ (Mature Audience Only) -รายการประเภทนี้ถูกออกแบบเพื่อกลุ่มผู้ชมที่เป็นผู้ใหญ่โดยเฉพาะ A ดังนั้นจึงมีภาพและเสียงความรุนแรง กิจกรรมทางเพศที่ชัดเจนและ ภาษาที่ไม่เหมาะสม 4.Australia ในประเทศออสเตรเลียนัน้ ได้ ใช้ แนวคิดระบบดังกล่าว ใน 2 ลักษณะควบคู่กัน คือ มีการใช้ ระบบจําแนกประเภทรายการตาม เนื ้อหาควบคูก่ บั การคํานึงถึงช่วงเวลาที่ใช้ ด้วย เนื่องจากการดูโทรทัศน์ของ เด็กนันไม่ ้ แน่นอน ในวันเปิ ดเรี ยนและวันหยุดจะส่งผลให้ ช่วงเวลาในการ รับชมโทรทัศน์ของเด็กแตกต่างกัน
150 | แ น ว คิ ด
ตารางที่ 7.6 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการโทรทัศน์ของ Australia
ประเภทเนือ้ หาที่ จาแนก G-General
PG-Parental Guidance
M-Mature Audience programs and MA-Mature Adult Audience programs X programs and unmodified R programs (ไม่ เหมาะสาหรับ ออกอากาศทาง โทรทัศน์)
ตารางเวลา คาอธิบาย
วันธรรมดา
เหมาะสมสาหรับทุกวัย -รายการนี้ถูกออกแบบ สาหรับเด็กก่อนวัยเรียน และวัยเรียน ซึ่งสามารถ ให้เด็กรับชมได้ด้วย ตัวเอง ผู้ที่อายุต่ากว่า 15 ปี ควรได้รับคาแนะนาจาก ผู้ปกครอง -รายการนี้อาจ ประกอบด้วยรูปแบบและ เนื้อหาของผู้ใหญ่ ซึ่งผู้ที่ อายุต่ากว่า 15 ปีเมื่อ รับชมรายการนีค้ วรมี ผู้ใหญ่ให้คาแนะนา รายการนี้อาจมีเนื้อหาที่ เหมาะสมสาหรับผู้ที่มี อายุ 15 ปีขึ้นไป
รายการนี้ประกอบด้วย เนื้อหาที่ไม่สามารถจัด ประเภทตามข้างต้น อย่างเหมาะสมได้ เนื่องจากเนื้อหาดังกล่าว ไม่เหมาะสมสาหรับ ออกอากาศทางโทรทัศน์ ดังนั้นจึงไม่สามารถ นาเสนอได้
วันหยุดสุด สัปดาห์
6.00-8.30 น.
4.00-19.30 น.
เปิดเทอม: 5.00-6.00 น. 8.30-12.00 น. 19.30-20.30 น.
5.00-6.00 น. 19.30-20.30 น.
วันหยุดนักขัตฤกษ์: 5.00-6.00 น. 8.30-16.00 น. 19.30-20.30 น. เปิดเทอม: 0.00-5.00 น. 12.00-15.00 น. 20.30-24.00 น. วันหยุดนักขัตฤกษ์: 20.30-5.00 น. ไม่สามารถ ออกอากาศทาง โทรทัศน์ได้
20.30-5.00 น.
ไม่สามารถ ออกอากาศทาง โทรทัศน์ได้
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 151
5.Canada ในประเทศแคนาดา ได้ มีหน่วยงานชื่ อ The Action Group on Violence on Television หรื อชื่อย่อ AGVOT (1997) ซึ่ง ประกอบด้ วยตัวแทนจากสถานีโทรทัศน์ต่างๆ ทังจากเคเบิ ้ ล ระบบตอบรับ สมาชิ ก ผู้ผ ลิ ต ผู้โ ฆษณา ภายใต้ ก ารจัด ตัง้ ของ Canadian Radiotelevision Telecommunications Commission (CRTC) ในปี 1997 ซึ่งมี อํ า นาจหน้ าที่ ใ นการพั ฒ นาระบบจํ า แนกประเภทเนื อ้ หารายการ (classifications) โดยแต่เดิมนัน้ ทางหน่วยงานดังกล่าวได้ ม่งุ ไปที่ความ รุ นแรงในรายการโทรทัศน์เพียงอย่างเดียว ต่อมาภายหลังจึงได้ ข ยายไป พิจารณาด้ านเพศและภาษาที่ไม่เหมาะสมด้ วย ระบบการจําแนกประเภทเนื ้อหารายการของ AGVOT นี ้ มี ลกั ษณะเป็ นการประเมิ น เนื อ้ หาที่ กํา หนดขึน้ ตามลํา ดับ ต่า งๆ ของ พัฒนาการเด็กที่ได้ รับการยอมรั บ ซึ่งได้ นําไปใช้ แนะนําในสื่ออื่นๆ ด้ วย ภายหลัง เช่น ภาพยนตร์ หนังสือ เกม ของเล่น เป็ นต้ น โดยการจัดประเภท นี ้มี ก ารน าไปใช้ ใ นทุก ประเภทรายการไม่ ว่ า รายการนัน้ จะออกอากาศ หรื อไม่ อย่างไรก็ตาม ประเภทที่ได้ รับการยกเว้ นก็ไม่ต้องมีสญ ั ลักษณ์ก็ได้ ซึ่ง ประกอบด้ ว ยรายการข่า ว กี ฬ า สารคดี มิ ว สิค วิ ดี โอ ทอล์ ค โชว์ แ ละ รายการวาไรตี ้
152 | แ น ว คิ ด
ตารางที่ 7.7 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการโทรทัศน์ของ Canada
ประเภทเนือ้ หาที่ จาแนก
คาอธิบาย
E
รายการที่ได้รับการยกเว้น (Exempt)
C
รายการสาหรับเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับเด็กที่อายุต่า กว่า 8 ปี
C8+
รายการที่เหมาะสาหรับเด็กอายุ 8 ปีขึ้นไป ผู้ปกครอง ควรให้คาแนะนาสาหรับเด็กที่อายุต่ากว่า 8 ปี เนื่องจาก มีภาพความรุนแรงเล็กน้อยซึ่งเป็นไปตามบริบทของเรื่อง
G
รายการที่เหมาะส าหรับทุกวัย สามารถดูร่วมกันได้ทั้ง ครอบครัว โดยเนื้อหาอาจมีความรุนแรงเพียงเล็กน้อย แต่อาจคุกคามต่อผู้ชมที่เป็นเด็กเล็กได้
PG
รายการนี้ ไ ม่ เ หมาะส าหรั บ เด็ ก ที่ อ ายุ ต่ ากว่ า 8 ปี เนื่องจากอาจมีภาพและเสียงหรือฉากความขัดแย้งที่ไม่ เหมาะสม เด็กที่อายุ 8-13 ปีควรได้รับคาแนะนาจาก ผู้ใหญ่
14+
รายการนี้ประกอบด้วยเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก อายุต่ากว่า 14 ปี ผู้ปกครองควรดูแลไม่ให้เด็กในวัยก่อน เรียนและวัยเรียนรับชมรายการประเภทนี้ เนื่องจากอาจ เกิดพฤติกรรมเลียนแบบความรุนแรง
18+
รายการนี้เ หมาะส าหรับ ผู้ ชมอายุ 18 ปีขึ้ น ไป ซึ่ ง ประกอบด้วยเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 153
6.New Zealand หากเปรี ยบเทียบกับที่อื่นๆ แล้ ว ประเทศนิวซีแลนด์นบั ได้ วา่ มีขอบข่ายการจําแนกที่กว้ างมาก เนื่องจากแบ่งประเภทรายการเป็ น 3 ประเภทเท่านัน้ ดังนี ้ ตารางที่ 7.8 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการโทรทัศน์ของ New Zealand
ประเภทเนือ้ หาทีจ่ าแนก
คาอธิบาย
G – General
รายการนี้จะไม่ประกอบด้วยเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม สาหรับเด็ก แต่ไม่ได้อ อกแบบเพื่อ ผู้ชมที่เป็นเด็ก โดยเฉพาะ อย่างไรก็ตามต้องไม่มีเนื้อ หาที่ทาให้ เกิ ด ความกลั ว ความเศร้ า โศก เป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ สามารถออกอากาศได้ทุกเวลา
PGR – Parental Guidance Recommended
รายการนี้ ป ระกอบด้ ว ยเนื้ อ หาที่ เ หมาะส าหรั บ ผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก แต่ก็ไม่ได้ไม่เหมาะสมต่อผู้ชมที่ เป็ น เด็ กเมื่ อ มี ผู้ใหญ่ ค อยให้ ค าแนะน า รายการ ประเภทนี้ อ าจออกอากาศในช่ ว งเวลา 9.0016.00 น. และ หลัง 19.00 น.
AO – Adults Only
รายการนี้ ป ระกอบด้ ว ยรู ป แบบและเนื้ อ หาที่ เหมาะสมสาหรับผู้ใหญ่ โดยสามารถออกอากาศ ได้ภายในช่วงเวลา 0.00-3.00 น.ในวันธรรมดา ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์
154 | แ น ว คิ ด
7.France แนวทางในการจําแนกประเภทรายการของฝรั่งเศสนัน้ เป็ นไปตามช่วงอายุเช่นกัน แต่มีความแตกต่างกับที่อื่นๆ เนื่องจากประเภท รายการนันสู ้ งสุดอยู่ที่อายุ 18 ปี ไม่มีมากกว่านั้น (Conseil Supérieur de l’Audiovisuel 2004: 15) รายการดังด้านล่าง
ตารางที่ 7.9 แสดงระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการโทรทัศน์ของ France
ประเภทเนือ้ หาทีจ่ าแนก
คาอธิบาย
-10
รายการนี้มีเนื้อหาที่มีแนวโน้มก่อให้เกิดอันตราย แก่เด็กอายุต่ากว่า 10 ปี
-12
รายการประเภทนี้มีภาพและเสียงที่ไม่เหมาะต่อ เด็กอายุต่ากว่า 12 ปี เนื่องจากมีฉากของความ รุนแรงทั้งทางกายภาพและทางจินตภาพ
-16
รายการนี้มีภาพและเสียงที่ไม่เหมาะต่อเด็กอายุตา่ กว่า 16 ปี เนื่องจากมีฉากความรุนแรง ฉากที่ กระตุ้นอารมณ์ทางเพศ เป็นต้น
-18
รายการประเภทนี้มีภาพและเสียงที่ไม่เหมาะต่อ เด็กอายุต่ากว่า 18 ปี เนื่องจากมีความรุนแรงที่ ชัดแจ้งรวมถึงเรื่องราวทางเพศและภาษาที่รุนแรง
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 155
สังเกตได้ วา่ ในแต่ละที่นนั ้ มีการจําแนกประเภทเนื ้อหาที่แตกต่าง กันไปตามการพิจารณาถึงความสําคัญของเด็ก ช่วงเวลา รวมถึงบริ บททาง สังคมอื่นๆ กระนันก็ ้ ตาม ได้ มีความพยายามในการจัดทํามาตรฐานสากล ของระบบดังกล่าวโดยนักวิชาการ เช่น Marianna Aletaria (2003) ได้ นําเสนอว่าควรมีการแบ่งประเภทเป็ น 5 ระดับ ได้ แก่ K, 12, 15, 18 และ A ตารางที่ 7.10 แสดงข้อเสนอของระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการโทรทัศน์ที่เป็นสากล
ประเภทเนือ้ หาทีจ่ าแนก
คาอธิบาย
K
รายการต่อไปนี้เหมาะสาหรับผู้ชมทั่วไป
12
รายการต่อไปนี้จากัดผู้ชมที่มีอายุต่ากว่า 12 ปี
15
รายการต่อไปนี้จากัดผู้ชมที่มีอายุต่ากว่า 15 ปี
18
รายการต่อไปนี้จากัดผู้ชมที่มีอายุต่ากว่า 18 ปี
A
รายการต่อไปนี้มีเนื้อหาทางเพศที่รุนแรง
อย่ า งไรก็ ต าม ความเป็ นไปไม่ ไ ด้ ข องกรอบมาตรฐานสากล ดังกล่าวได้ กลายเป็ นที่ถกเถียงของสาธารณะ แม้ กระทัง่ ในกลุม่ สมาชิก EU เองที่มีหลายๆ อย่างร่วมกันก็ออกมาอธิบายในทํานองว่าระบบการจําแนก ประเภทรายการก็ยงั คงเป็ นความรับผิดชอบของสมาชิกแต่ละประเทศเอง (Commission of the European Communities 2003: 15) เหตุผล ประการหนึ่ ง คื อ ‚…โดยธรรมชาติ ประเด็ น เนื ้ อ หาต่ า งๆนั้น ถื อ เป็ น องค์ประกอบสาคัญของชาติ ซึ่ งเชื ่อมโยงอย่างใกล้ชิดและโดยตรงกับสังคม 156 | แ น ว คิ ด
วัฒ นธรรมแบบประชาธิ ปไตยที ่จาเป็ นต้องมี ลัก ษณะเฉพาะของสัง คม ดังนัน้ เพื ่อให้สอดคล้องกับหลักการดังกล่าว การควบคุมเนื ้อหาจึ งเป็ น ความรับผิ ดชอบหลักของแต่ละประเทศ…‛ 3.3
ความจาเป็ นที่ ต้อ งมีก ารจั ดระบบจ าแนกประเภท
เนือ้ หา จากที่กล่าวมาถึงระบบการจําแนกประเภทรายการของที่ต่างๆ คําถามสําคัญที่ทวั่ โลกมักจะตังคื ้ อ ทาไมระบบเช่นนีจ้ ึ งสาคัญ? Conseil Supérieur de l’Audiovisuel หรื อ CSA (2004) ได้ ตอบ คําถามดังกล่าวไว้ อย่างน่าสนใจว่าวัตถุประสงค์ของการจําแนกประเภท รายการเช่นนี ้มี 2 ประการ ได้ แก่ 1.เพื่อเพิ่มการเฝ้ าระแวดระวังสถานีโทรทัศน์ 2.เพื่ อ ให้ สามารถเลื อ กเวลาออกอากาศที่ เ หมาะสม โดย ครอบครัวสามารถเห็นสัญลักษณ์ เตือนปรากฏระหว่างตัวอย่าง รายการและรายการ อย่างไรก็ดี การจําแนกประเภทรายการในลักษณะนี ้ ทําไปเพื่อให้ มัน่ ใจว่าเด็กๆ และเยาวชนได้ รับการปกป้อง 3.4 การเตือน (warnings) และสิ่งที่ควรจากัด (restricted) เป็ นที่ย อมรั บโดยทั่ว กันว่าการเตือ น (warnings) ควรจะทําไป พร้ อมๆ กั บ การจํ า แนกประเภทรายการ (classification) ก่ อ นการ ออกอากาศ และ/หรื อหลังโฆษณา ในบางประเทศการเตือนนี ้อาจมีเพียง เสียง บางแห่งอาจมีเพียงภาพ หรื อบางแห่งอาจมีทงภาพและเสี ั้ ยง โดย กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 157
ระยะเวลาของการเตือนด้ วยภาพและเสียงก็จะแตกต่างกันไป อย่างเช่นใน ประเทศออสเตรเลียจะมีการแสดงสัญลักษณ์ เตือนอย่างน้ อย 5 วินาที ดังนัน้ หากกล่าวถึงที่สดุ แล้ ว รหัส (code) หรื อสัญลักษณ์ที่ทําหน้ าที่เตือน อันมาจากการจําแนกประเภทรายการนัน้ มีจดุ มุง่ หมายเพื่อ -ควบคุ ม เนื อ้ หารายการโทรทั ศ น์ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ ใ ห้ สอดคล้ องกับมาตรฐานทางสังคมปั จจุบนั -ยื น ยัน ว่า ผู้ช มจะได้ รั บ การช่ ว ยเหลือ ว่า มี ข้ อ มูลเพื่ อ เลือกเกี่ยวกับการชมโทรทัศน์ของเขารวมถึงเด็กๆ ของพวกเขา -ก่อให้ เกิ ดกระบวนการที่รวดเร็ ว มีประสิทธิ ภาพและ เป็ นแบบเดี ย วกัน สํ า หรั บ การติ ช มรายการโทรทัศ น์ ข องผู้ช ม ภายใต้ รหัสนันๆ ้ คําถามสําคัญที่เกิดขึ ้น คือ เนือ้ หาประเภทใดบ้างทีค่ วรจากัด? หากศึกษาดูจากประเทศต่างๆ เราสามารถสรุ ปได้ ใน 5 หมวด สํา คัญ ได้ แ ก่ ภาษาหยาบคาย (Coarse Language) ความรุ น แรง (Violence) เพศ (Sex) ยาเสพติด (Drugs) และอื่นๆ (Other) เช่น สําหรับ ผู้ใหญ่ สยองขวัญ เป็ นต้ น โดยประเด็นทัง้ 5 เหล่านี ้ ในบางประเทศถือเป็ น ตัวสําคัญในการแนะนําผู้ชมถึงความถี่ (frequency) และความเข้ มข้ น (intensity) ของมัน (Federation of Australian Commercial Television Stations 1999: 16-17) การเตือนต่างๆนี ้ ดูเหมือนว่าจําเป็ นก่อนออกอากาศในรายการ ข่าวและเหตุการณ์ปัจจุบนั อีกด้ วย และเมื่อการเตือนเช่นนี ้ปรากฏขึ ้น การ จัด ตารางเวลาจึ ง เข้ า มาเกี่ ย วข้ อ งด้ ว ย Federation of Australian Commercial Television Stations (1999) ได้ อธิบายว่า ในการสนับสนุน 158 | แ น ว คิ ด
รายการ ผู้ได้ รับใบอนุญาตจะต้ องมีคําแนะนําในรายการว่ารายการนันมี ้ เนื ้อหาที่ทําให้ เกิดความเศร้ าโศกหรื อคุกคามผู้ชมซึ่งการแนะนํานันต้ ้ อง เป็ นไปตามคํ า เรี ย กร้ องสําหรั บ การสนับ สนุน รายการทุก อย่า งในช่ ว งที่ ออกอากาศ ส่วนในประเทศนิวซีแลนด์นนั ้ ก็ได้ ระบุว่าการเตือนต่างๆ ควร จะระบุโดยธรรมชาติขณะที่หลีกเลี่ยงรายการซึ่งอาจจะก่อให้ เกิ ดความ เศร้ าโศกหรื อคุกคามผู้ชม Commonwealth Broadcasting Association ได้ ระบุความ จําเป็ นของการเตือนขยายไปไกลกว่าเป็ นเพียงสิ่งที่นําไปสูเ่ นื ้อหาว่า การ เตือนล่วงหน้ าหมายถึงว่าผู้ชมสามารถสร้ างทางเลือกของพวกเขาเกี่ยวกับ สิ่งที่พวกเขาต้ องการดูและได้ ยิน รวมถึงสิ่งที่คุกคามต้ องถูกเก็บให้ เหลือ น้ อยที่สดุ ประชาชนอาจจะตอบสนองในทางลบน้ อยลงต่อความรุ นแรง และฉากที่ทําให้ โศกเศร้ าถ้ าพวกเขาได้ รับการเตือนล่วงหน้ า
4) การจัดระดับความเหมาะสมของสื่อโทรทัศน์ใน ประเทศไทย ภายหลังจากวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2546 ที่รัฐบาลได้ จดั ทํามติ คณะรั ฐ มนตรี เ พื่ อ กํ า หนดแนวทางและมาตรการการใช้ สื่อ ของรั ฐ เพื่ อ การศึกษาและการเรี ยนรู้ สําหรับเด็ก เยาวชนและครอบครัว รวมถึงการที่ คณะรัฐมนตรี ได้ มีมติจัดตังคณะกรรมการสื ้ ่อสร้ างสรรค์สงั คมไทยในวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2548 ได้ สร้ างแรงกระเพื่อมให้ สงั คมไทยเกิดการจัดการสือ่ เพื่ อ ให้ ต อบสนองต่อ การศึ ก ษาและการเรี ย นรู้ สํา หรั บ เด็ ก เยาวชน ครอบครัว ตลอดจนสังคมมากยิ่งขึ ้น
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 159
หากมองทฤษฎี ใ นการจัด การที่ เ ป็ นระบบเพื่ อ ให้ สื่ อ สามารถ ตอบสนองต่อการสร้ างและขยายสุขภาวะของมนุษย์ในสังคมไทย ไม่อาจ ปฏิเ สธได้ ว่าการเข้ ามาแก้ ปัญ หาที ่ตวั สื ่อ โดยตรงเป็ นจุด เริ่ ม ต้ น สํา หรั บ กระบวนการที่จําเป็ นต้ องรี บสร้ างความชัดเจนและระบบนอกเหนือจากการ แก้ ปัญหาเรื่ องความเข้ มแข็งและการมีสว่ นร่วมของเด็ก เยาวชน ครอบครัว และสังคมไทย อีกทัง้ การแก้ปัญหาที ่ตวั ผู้ประกอบการ เพื่อส่งเสริ มการ ประกอบการ และการปรามการประกอบการ รวมถึง การจัดการแหล่งของ สือ่ อันเป็ นการปิ ดช่องทางของแหล่งในการเข้ าถึงสื่อรวมทังการส่ ้ งเสริ มให้ เกิดแหล่งเข้ าถึงสือ่ ที่มีคณ ุ ภาพก็เป็ นส่วนสําคัญอีกด้ วย ดังนัน้ ในการเข้ าไปแก้ ปัญหาที่ตวั สื่อ เราจึงต้ องหาคําตอบให้ ได้ เสีย ก่ อ นว่า อะไรคื อ สื่อ ที่ ส่ง เสริ ม การศึก ษาและการเรี ย นรู้ สํา หรั บ เด็ ก เยาวชนและครอบครัว และการแสวงหาคําตอบว่าสื่อสร้ างสรรค์สําหรั บ สังคมไทยนันมี ้ ความหมายอย่างไร ซึ่งนัน่ ก็เท่ากับการพยายามหาคําตอบ เกี่ ยวกับการประเมิ น คุณ ภาพของเนื อ้ หาสื่อ หรื อ เรี ย กว่า เรตติ ง้ ในเชิ ง คุณภาพนัน่ เอง กล่องที่ 7.2
อดีตกับเรตติง้ เชิงปริมาณ (Quantity Rating) และการกลั่นกรองเนือ้ หา (Censor)
นคร เจือจันทร์ และคณะ (2549) ได้อธิบายว่าในระบบการประเมินคุณภาพแบบเดิมที่มี อยู่ในอดีตที่ผา่ นมา ในกลุ่มภาคธุรกิจการประเมินคุณภาพรายการโทรทัศน์จะใช้ระดับ ความนิยมเชิงปริมาณ หรือพูดง่ายๆก็คอื การใช้จานวนตัวเลขของผู้ชมเป็นเครือ่ งชี้วดั ซึ่ง เป็นระบบที่ใช้อยู่ในส่วนของภาคธุรกิจ เรตติ้งเชิงปริมาณเป็นกลไกทีส่ าคัญในการตัดสิน ชะตาชีวิตและการอยูร่ อดของรายการต่างๆ ด้วยเหตุนเี้ องเพือ่ ตอบสนองต่อปริมาณของ ผู้บริโภคทาให้หลายฝ่ายที่เกีย่ วข้องกับการผลิตรายการโทรทัศน์หันหลังให้กับคุณภาพ เนือ้ หาที่มีผลต่อการศึกษาและการเรียนรูข้ องผู้ชม และในขณะเดียวกัน ข้อกังขาที่เกิดขึ้น สาหรับเรตติ้งเชิงปริมาณก็คอื ความไม่ชัดเจนของกระบวนการจัดทาการสารวจของ บริษัทเอกชนที่เป็นผู้รับผิดชอบ อีกทั้งข้อกังขาเรือ่ งของกลุ่มเป้าหมายของการสารวจซึ่ง 160 | แ น ว คิ ด
กล่องที่ 7.2
อดีตกับเรตติง้ เชิงปริมาณ (Quantity Rating) และการกลั่นกรองเนือ้ หา (Censor) (ต่อ)
อาจไม่มีความครอบคลุมในทุกกลุม่ และทุกพื้นที่ รวมทั้งไม่สามารถแยกแยะกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่ดว้ ย ตลอดจนการผูกขาดของบริษัทสารวจเรตติง้ ผลก็คอื เนือ้ หาของสือ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโทรทัศน์ตอ้ งตอบสนองต่อเรตติ้งเชิงปริมาณของ ผู้บริโภค จึงไม่ตอ้ งสงสัยว่าเหตุใดโทรทัศน์จึงเป็นพาหะของการขยายทุกขภาวะให้กับสังคม อย่างต่อเนือ่ ง แทนที่จะเป็นทรัพยากรพัฒนาคน ดังนั้น รายการที่มคี วามสนุกสนานมีผลให้มีผู้ชมติดตามมาก ทาให้ได้รับการ ประเมินคุณภาพรายการว่าเป็นรายการดีเพราะมีคนดูจานวนมาก แต่ไม่ได้เป็นเครือ่ งชี้วดั ว่าเป็นรายการที่มเี นือ้ หาสาระที่ให้การศึกษาและการเรียนรูส้ าหรับเด็ก เยาวชน ครอบครัวและสังคมไทย สังคมจึงมีปัญหาว่าทาอย่างไรเราจึงจะได้มีการจัดเรตติ้งรายการ ที่ดีทั้งในเชิงน่าติดตาม และมีคณ ุ ภาพในเชิงเนือ้ หาสาระด้วย ภาครัฐของประเทศไทยใช้แนวคิดเกีย่ วกับการกลัน่ กรองเนือ้ หามาตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ผ่านพระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและปราบปรามการทาให้แพร่หลาย และการค้าวัตถุอัน ลามก พ.ศ.2471 อีก 2 ปีต่อมาเกิดพระราชบัญญัติภาพยนตร์ พ.ศ.2473 และตามด้วย กฎหมายอีกหลายฉบับ เช่น มาตรา 287 แห่งประมวลกฎหมายอาญาพระราชบัญญัติ ยา พ.ศ.2510 พระราชบัญญัตอิ าหาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติเครือ่ งสาอาง พ.ศ. 2535 โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระราชบัญญัติควบคุมกิจการเทปและวัสดุโทรทัศน์ พ.ศ.2530 ซึ่งเป็นทีม่ าของกฎกระทรวงฉบับที่ 14 (พ.ศ.2537) และประกาศกระทรวงมหาดไทยว่า ด้วยหลักเกณฑ์วธิ ีการตรวจพิจารณาและให้ความเห็นชอบในเทปหรือวัสดุโทรทัศน์ พ.ศ. 2543 ในการกาหนดเนือ้ หาของเทปและวัสดุโทรทัศน์ซงึ่ กาหนดรายละเอียดของการตรวจ เนือ้ หาของเทปและวัสดุโทรทัศน์ จะเห็นได้ว่า ประเทศไทยมีฐานคิดเรือ่ งของการกลั่นกรองเนือ้ หามายาวนาน ไม่ได้หมายความว่าการกลั่นกรองนี้จะวางอยู่บนฐานคิดที่ผิด เพราะในความเป็นจริงแล้ว จุดเริ่มต้นหรือแนวคิดพืน้ ฐานของเรื่องดังกล่าวถูกวางอยู่บนพื้นฐานของความมั่นคงของ ชาติ สังคม วัฒนธรรม และมนุษย์ในสังคมไทยเป็นหลัก แต่ในขณะเดียวกันข้อกังขาที่เกิด ขึ้นกับระบบการตรวจสอบทั้งในแง่ขององค์กรทีท่ าหน้าที่ซึ่งเกิดขึ้นตามกฎหมายแต่ละฉบับ ที่มอี งค์ประกอบจากภาครัฐและเจ้าหน้าทีต่ ารวจเป็นหลัก ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นจากการมีส่วน ร่วมของประชาสังคม ทาให้ผลการพิจารณาขององค์กรได้รับการตั้งข้อสงสัยจากสังคม เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตั้งข้อสงสัยถึงเกณฑ์ในการชีว้ ัด และความทันยุคสมัยของผู้ ตรวจสอบ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 161
การที่สงั คมจะมีกติการ่ วมกันในการดูแลสื่อนัน้ ยังมีอีกหนึ่งมิติ ของการนําไปใช้ งานนัน่ ก็คือ การแยกแยะเนื ้อหาว่ามีความเหมาะสมกับ ผู้ชมในช่วงอายุเท่าใด ซึ่งมีผลต่อการจัดสรรช่วงเวลาในการออกอากาศ เช่น รายการที่คําพูดไม่เหมาะสม หรื อเนื ้อหาที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก ควรจะ อยูใ่ นเวลาดึก เป็ นต้ น ตลอดจนมีผลต่อการทําสัญลักษณ์ หรื อโลโก้ ที่จะติด ไว้ ที่หน้ าจอโทรทัศน์เพื่อบอกช่วงอายุของผู้ชม ซึ่งมีความสําคัญต่อการ พิจารณาเพื่อรับชมรายการนันๆ ้ ปั ญหาของแนวคิดเกี่ยวกับการประเมินคุณภาพแบบเดิม การวัด ระดับคุณภาพรายการด้ วยระดับความนิยมเชิงปริ มาณที่เน้ นปริ มาณของ ผู้ช มเป็ นหลักในการประเมิ นคุณภาพรายการ หรื อกระบวนการในการ กลัน่ กรองเนื ้อหาหรื อเซ็นเซอร์ กลับไม่ได้ วางหลักการหรื อแนวคิดที่จะเป็ น เครื่ องชี ้ว่ารายการโทรทัศน์นนๆ ั ้ เหมาะกับกลุม่ ผู้ชมอายุเท่าใด ก็ยิ่งซํ ้าเติม ให้ เด็ก เยาวชน ได้ รับสือ่ ที่ไม่เหมาะสมมากยิ่งขึ ้น สําหรับในต่างประเทศ เช่น ในสหรัฐอเมริ กา ในญี่ปนุ่ ในอังกฤษ หรื อแม้ แต่ในออสเตรเลีย การแยกแยะกลุม่ เนื ้อหาให้ เหมาะสมกับช่วงอายุ ของผู้บริ โภคมีมาเป็ นเวลานานแล้ ว (ดังรายละเอียดข้ างต้ นที่กล่าวมาแล้ ว ) ซึ่งรายละเอียดและวิธีการกําหนดรหัสและช่วงอายุก็จะแตกต่างกันไปใน แต่ละประเทศ โดยการจําแนกรายการดังกล่าวใช้ เกณฑ์ต้องห้ ามจากเรื่ อง ภาษา ความรุ น แรง และเพศ ซึ่ ง ก็ ถึ ง เวลาแล้ ว ที่ ป ระเทศไทยจะต้ อ ง ดําเนินการเช่นกัน ระบบเรตติ ้งแบบเดิมถูกจํากัดด้ วยการไม่คํานึงถึงวัย และการวัด ระดับคุณภาพด้ วยปริ มาณของผู้ชมอย่างเดียว ทําให้ รายการโทรทัศน์เน้ น ความบันเทิงจนลืมการสื่อสารเพื่อสร้ างประโยชน์ด้านการศึกษาและการ เรี ย นรู้ ที่ จ ะต้ อ งสื่อ สารให้ กับ มนุษ ย์ ใ นสัง คมไทย มี ผลต่อ มาทํ า ให้ เ ป็ น 162 | แ น ว คิ ด
แบบอย่างอันไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็ นค่านิยมฟุ้งเฟ้ อ บริ โภคนิยม ความ รุนแรง และค่านิยมทางเพศที่ไม่เหมาะสม ในความเป็ นจริ งแล้ ว ผลกระทบของสื่อสามารถเป็ นเครื่ องมือใน การสร้ างสุข ภาวะให้ กับ มนุษ ย์ ใ นสัง คมได้ และในขณะเดี ย วกัน สื่ อ ก็ สามารถเป็ นเครื่ องมือในการสร้ างทุกขภาวะให้ กับสังคมได้ เช่นเดียวกัน และจากสถานการณ์ ดัง กล่า ว ประกอบกับ การอธิ บ ายเชิ ง พฤติ ก รรม จิตวิทยา นิเทศศาสตร์ ไม่สามารถปฏิเสธได้ วา่ สือ่ เป็ นเครื่ องมือในการสร้ าง ทุกขภาวะให้ กบั สังคมมากกว่าสุขภาวะ ในการนี ้ สัง คมจึ ง เริ่ ม ตัง้ คํ า ถามถึ ง คุณ ภาพของเนื ้อ หาของ รายการและการจัด ประเภทเนื ้อ หารายการ ที่ ไม่ได้ เน้ น การวัดคุณภาพ รายการโทรทัศน์ที่ตอบสนองต่อผลประโยชน์เชิงพาณิชย์ และการบริ โภค เพี ย งอย่ า งเดี ย ว แต่ เ น้ นเนื อ้ หาสาระในรายการโทรทัศ น์ จนกระทั่ง คณะรั ฐมนตรี ได้ จัดทํ ามติค ณะรั ฐ มนตรี ฉบับ วัน ที่ 4 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2546 ว่าด้ วยการใช้ สอื่ ของรัฐเพื่อส่งเสริ มการศึกษาและการเรี ยนรู้ สําหรับ เด็ก เยาวชน และครอบครัว และมติคณะรั ฐมนตรี ฉบับวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2548 ในการจัดตังคณะกรรมการสื ้ ่อสร้ างสรรค์สงั คมไทย เพื่อทําให้ เกิดสือ่ สร้ างสรรค์และสือ่ เพื่อการศึกษา และการเรี ยนรู้ ให้ กบั สังคมไทย ซึ่ง นับแต่นนเป็ ั ้ นต้ นมา ความพยายามในการสร้ างเกณฑ์ชี ้วัดคุณภาพเนื ้อหา รายการโทรทัศ น์ แ ละการจัด ประเภทเนื อ้ หารายการที่ เ ป็ นมาตรวัด ถึ ง คุณภาพเชิงการศึกษาและการเรี ยนรู้และเพื่อจะนํามาซึ่งสุขภาวะในสังคม จึงพัฒนามาเรื่ อยๆ และวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2549 สังคมเราจึงได้ มี ปรากฏการณ์ใหม่บนหน้ าจอโทรทัศน์จนกระทัง่ ปั จจุบนั
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 163
4.1 หลักการจัดระดับความเหมาะสมของสื่อโทรทัศน์ ไทย การจัดระดับความเหมาะสมสื่อโทรทัศน์ เป็ นเครื่ องมือที่สําคัญ ในการให้ คําแนะนําสําหรับผู้ชม โดยเฉพาะพ่อแม่หรื อผู้ปกครอง ในการ เลือ กรั บ ชมสื่อ ทางโทรทัศ น์ ที่ เ หมาะสมกับ วัย ของเด็ ก และเยาวชนใน ครอบครัว โดยมีหลักในการจัดระดับความเหมาะสมของรายการดังนี ้ 1. เป็ นแนวทางและสร้ างแรงจูงใจในการสร้ างสรรค์ รายการ โทรทัศน์ที่สง่ เสริ มการศึกษาและเรี ยนรู้ให้ กบั ผู้ชม 2. ส่ง เสริ ม และพัฒ นาระบบการกํ า กับ ดู แ ลตัว เอง (SelfRegulation) ของกิจการวิทยุโทรทัศน์ 3. รักษาไว้ ซึ่งสิทธิเสรี ภาพในการแสดงออกและการได้ รับข้ อมูล ข่าวสาร 4. คํานึงถึงประโยชน์ สุข ความปลอดภัยและพัฒนาการด้ าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์และศักดิ์ศรี ของเด็กและเยาวชน 5. สร้ างมาตรฐานในการตรวจสอบเนื ้อหาและเฝ้ าระวังสื่อบน หลักเกณฑ์และความเข้ าใจเดียวกัน ซึ่งการจําแนกเนื ้อหาและการนําเสนอของรายการโทรทัศน์ตาม ช่วงอายุของผู้ชมตามหลักการข้ างต้ นมีแนวคิดในการพิจารณา โดยแบ่ง เนื ้อหาของรายการโทรทัศน์ออกเป็ น 2 ประเภท ได้ แก่ 1.เนื อ้ หาที่ควรมีการจากัด เป็ นระบบการจําแนกเนื ้อหาและ การนําเสนอของรายการโทรทัศน์ เพื่อปกป้องเด็กและเยาวชนจากภาพ เสียง และ เนื ้อหาของรายการโทรทัศน์ที่ไม่เหมาะสมต่อพัฒนาการและการ 164 | แ น ว คิ ด
เรี ยนรู้ และเป็ นแนวทางแก่สถานีวิทยุโทรทัศน์ในการพิจารณาจัดเวลาใน การออกอากาศรายการให้ เหมาะสมกับกลุม่ ผู้ชม 2.เนื อ้ หาที่ควรมีการส่ งเสริ ม เป็ นระบบการพิจารณาเนื ้อหา ของรายการโทรทัศน์ที่สนับสนุน ด้ านการศึกษาและการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของเด็ก และ เยาวชน อันจะนําไปสู่การสร้ างสรรค์ รายการที่มีคุณภาพ และการกําหนดทิศทางเพื่อการสนับสนุนรายการที่มีคณ ุ ภาพ รวมทัง้ เป็ น การให้ ความรู้กบั พ่อแม่ผ้ ปู กครอง ในการเลือกรับชมรายการที่มีประโยชน์ สําหรับเด็กและเยาวชนในครอบครัว กล่องที่ 7.3
กฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดเรตติง้ ไทย
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ โทรทัศน์ไทยเกีย่ วข้องกับกฎ ระเบียบ และ นโยบายต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1.พระราชบัญญัตวิ ิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ.2498 แก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ.2530 2.กฎกระทรวงฉบับที่ 14 พ.ศ.2537 ออกตามความในพระราชบัญญัติ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ.2498 3.กฎกระทรวงฉบับที่ 15 พ.ศ.2537 ออกตามความในพระราชบัญญัติ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ.2498 4.คาสั่งสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 504/2549 5.มติคณะรัฐมนตรี เรือ่ งการใช้สอื่ ของรัฐเพือ่ ส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ สาหรับเด็ก เยาวชนและครอบครัว เมือ่ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2546 6.มติคณะรัฐมนตรี เรือ่ ง การขอปรับระบบการจัดระดับความเหมาะสมของ สือ่ โทรทัศน์ เมือ่ วันที่ 5 มิถุนายน 2550 7.กฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ได้แก่ ประมวลกฎหมายอาญา พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พระราชบัญญัตสิ ถานบริการ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พระราชบัญญัติปอ้ งกันและปราบปรามการค้าประเวณี พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพของคนพิการ พระราชบัญญัติการพนัน ฯลฯ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 165
4.2 หลักเกณฑ์ การพิ จารณาระดั บความเหมาะสมของ รายการโทรทัศน์ ไทย การพิ จ ารณาระดั บ ความเหมาะสมของรายการโทรทั ศ น์ ประกอบด้ วย 2 หลักเกณฑ์ ดังนี ้ 1.หลักเกณฑ์ ของระบบการจาแนกเนือ้ หาที่ควรมีการจากัด พิ จ ารณาจากภาพ เสีย ง และเนื อ้ หาในรายการประกอบกับ เจตนาในการผลิตและการจัดทํา วัตถุประสงค์และวิธีการ ในการนําเสนอ ภาพหรื อเสียง นํ ้าหนักของการดําเนินเรื่ อง รวมทังมุ ้ มกล้ องของการถ่ายทํา ที่ทําให้ ผ้ ชู มรับรู้ ในทางที่ไม่เหมาะสม และอาจมีผลต่อการพัฒนาค่านิยม และพฤติกรรมในด้ านลบ โดยพิจารณาใน 3 ประเด็น คือ พฤติกรรมและ ความรุนแรง เรื่ องทางเพศ และภาษา ประเด็นที ่ 1 พฤติ กรรมและความรุนแรง พิจารณาจากภาพ เสียง และเนื ้อหา ที่อาจทําให้ เกิดการเรี ยนรู้ ที่ไม่เหมาะสม ในเรื่ องพฤติกรรมที่ รุนแรง หรื อนําไปสูค่ วามรุนแรงและอันตราย ประกอบด้ วย -การแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม รวมทังการนํ ้ าเสนอ ที่ ก่ อ หรื อ ชัก นํ า ให้ เ กิ ด ผลรุ น แรงต่ อ จิ ต ใจของผู้ช ม ทํ า ให้ เ กิ ด ความรู้ สึกทางจิ ตใจ เช่น ความหดหู่ ความเศร้ า ความเครี ย ด ความสะเทือนใจอย่างรุ นแรง รวมถึงองค์ประกอบของรายการที่ ทําให้ ผ้ ชู มตกใจกลัว ความน่าเกลียด สยดสยอง ขยะแขยง - การใช้ ความรุ นแรงกระทําต่อตนเอง ต่อวัตถุ และต่อ บุคคลอื่น
166 | แ น ว คิ ด
- การใช้ อาวุธ ยาเสพติด การแสดงภาพของการกระทํา ความผิดในรู ปแบบต่างๆ รวมถึง เนื ้อหาที่ขดั ต่อศีลธรรม และ ความสงบสุขของสังคม - การนําเสนอที่ก่อหรื อชักนําให้ เกิดการอคติ การเลือก ปฏิบัติอันนํ ามาซึ่ง การต่อต้ านหรื อ ล่ว งละเมิดบุคคลหรื อ กลุ่ม บุคคล รวมถึง การส่งเสริ ม การสร้ างทัศนคติ ความเชื่อ การชัก จูงใจให้ เกิ ดการล่วงละเมิดหรื อการต่อต้ าน การดูหมิ่นเหยียด หยาม การลดทอนหรื อ การละเมิ ด ศัก ดิ์ ศ รี ค วามเป็ นมนุ ษ ย์ ละเมิดสิทธิ มนุษยชน ตลอดจนการส่งเสริ มหรื อชักจูงให้ เกิดการ ต่อต้ าน ดูหมิ่น สร้ างทัศนคติเชิ งลบ การล้ อเลียนให้ เกิ ดความ อับอาย กลายเป็ น ‘ตัวตลกในสังคม’ ที่มีผลต่อตัวบุคคล กลุ่ม บุคคล ทังในประเด็ ้ นของเชื ้อชาติ สัญชาติ ชาติพนั ธุ์ เพศ รสนิยม ทางเพศ ชนชัน้ สถานะ สภาพทางเศรษฐกิจ อายุ ศาสนา สีผิว โรคหรื อภาวะสุข ภาพ ความพิ การทัง้ ทางร่ ายกาย จิ ตใจ และ สติปัญญา ประเด็นที ่ 2 เรื ่องทางเพศ พิจารณาจากภาพ เสียงและเนื ้อหา ที่ อาจทําให้ เกิดการเรี ยนรู้ที่ไม่เหมาะสม ในด้ านการแต่งกาย การแสดงออก ทางเพศ การแสดงท่า ทางหรื อกิ ริ ยาที่ ไม่เหมาะสมในทางเพศ การล่ว ง ละเมิดทางเพศ การสนทนาหรื อใช้ คําพูดเกี่ยวกับเนื ้อหาทางเพศที่ลอ่ แหลม หรื อ ไม่เ หมาะสม การสร้ างทัศ นคติท างลบเกี่ ย วกับ เนื อ้ หาทางเพศใน ประเด็นต่างๆ เช่น การเหยียดเพศ เป็ นต้ น ประเด็นที ่ 3 ภาษา พิจารณาจากภาพ เสียงและเนื ้อหา ที่อาจทํา ให้ เกิดการเรี ยนรู้ ที่ไม่เหมาะสมในเรื่ องการใช้ ภาษา ไวยากรณ์ ทางภาษา
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 167
การใช้ ภาษาที่ล่อแหลม หมิ่นเหม่ สื่อความหมายในเชิงลบ รวมถึงการใช้ ภาษาที่ก้าวร้ าว ดูหมิ่น นํามาซึง่ การลดทอนศักดิ์และศรี ของผู้ฟัง 2.หลั ก เกณฑ์ ของระบบการจ าแนกเนื อ้ หาที่ ค วรมี ก าร ส่ งเสริม พิจารณาเนื ้อหาของรายการโทรทัศน์ที่สนับสนุนด้ านการศึกษา และการพัฒนาการเรี ยนรู้ของเด็กและเยาวชน โดยใช้ เกณฑ์ด้านการศึกษา และการเรี ยนรู้ 6 ประเด็น เป็ นตัวชี ้วัด ดังนี ้ ประเด็นที ่ 1 เนือ้ หาที ่ส่งเสริ มให้เกิ ดระบบวิ ธีคิด กล่าวคือ ให้ คิด เป็ นตามความสามารถของสมองในแต่ละวัย ตลอดจนการส่งเสริ ม ด้ าน พัฒนาการทางสมองและสติปัญญา ให้ สามารถมีความรู้ มีความเข้ าใจ มี ความสามารถในการประยุกต์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลได้ อย่างเป็ นระบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทําให้ เกิดความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์ การวางแผน การตัดสินใจ การแก้ ไขปั ญหาอย่างเป็ นระบบ ประเด็ นที ่ 2 เนื ้อหาที ่ส่งเสริ มความรู้ ในเรื ่ องวิ ชาการ ลอดจน ความรู้ ใ นศาสตร์ สาขาต่ า งๆ ให้ ส ามารถเรี ย นรู้ วิ ช าการในศาสตร์ สาขาวิชาต่างๆ ตลอดจน ศาสตร์ ป ระยุกต์ และศาสตร์ ในเชิงบูรณาการที่ สามารถนํ า ไปใช้ ประโยชน์ ใ นชี วิ ต ประจํ า วัน ได้ เช่ น ความรู้ ในด้ า น ภาษาศาสตร์ ตรรกะและคณิตศาสตร์ ดนตรี กีฬา ตลอดจนความรู้ ใน ด้ านวิชาชีพ รวมถึง การสร้ างความรักในการเรี ยนรู้ ประเด็ นที ่ 3 เนื ้อหาที ่ส่ง เสริ มให้เ กิ ดการพัฒ นาด้านคุณ ธรรม และจริ ยธรรม ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ และเข้ า ใจถึ ง คุณ ธรรมและจริ ย ธรรม ตลอดจน เกิดความรู้ สึกนึกคิดและความเชื่อ แรงบันดาลใจที่จะประพฤติ ปฏิบตั ิตามคุณธรรมและจริ ยธรรมในมาตรฐานของความเป็ นมนุษย์ 168 | แ น ว คิ ด
ประเด็นที ่ 4 เนือ้ หาทีส่ ่งเสริ มให้เกิ ดการเรี ยนรู้เกี ่ยวกับทักษะชี วิต ให้ ร้ ู จัก และเรี ย นรู้ เกี่ ย วกับ ทัก ษะในการใช้ ชี วิต ในสังคมที่เ หมาะสมกับ กาลเทศะ สามารถนําทักษะดังกล่าวไปใช้ ในชีวิตของตนเองได้ ตลอดจน สามารถแก้ ไขปั ญหาในชีวิตอย่างเหมาะสมได้ ประเด็นที ่ 5 เนื ้อหาที ่ส่งเสริ มให้เกิ ดการเรี ยนรู้ ยอมรับ เข้าใจ และชื ่น ชมความหลากหลายในสังคม ทัง้ ในเรื่ องของสัง คม วัฒ นธรรม เชื ้อชาติ สัญชาติ ภาษา สถานะทางสังคม เพศและวัย เป็ นต้ น เพื่อให้ เกิด การเรี ยนรู้ ในความแตกต่างหลากหลาย และสามารถอยู่ร่วมกันกับความ แตกต่างหลากหลายนัน้ ได้ อย่างสัน ติ ตลอดจนใช้ เป็ นแนวทางในการ แก้ ปัญหาและขจัด ความขัดแย้ งอันเกิดจากความแตกต่างหลากหลายนัน้ ได้ ประเด็นที ่ 6 เนือ้ หาทีส่ ่งเสริ มการพัฒนาความสัมพันธ์ ของคนใน ครอบครั ว และความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คล ทํ า ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ใน ความสัมพันธ์ ที่ดีของคนในครอบครัว ทังเรี ้ ยนรู้ และเข้ าใจกันและกันของ คนในครอบครั ว ตลอดจนการทํ า ให้ เ กิ ด ศรั ท ธาและแรงบัน ดาลใจใน สถาบันครอบครัว 4.3 การจัดระบบจาแนกประเภทเนือ้ หารายการโทรทัศน์ ใน ประเทศไทย สําหรั บประเทศไทย รายการโทรทัศ น์ ได้ ถูกจํ า แนกออกเป็ น 6 ประเภท แสดงตามสัญลักษณ์ซงึ่ ระบุระดับความเหมาะสมของรายการกับ กลุม่ ผู้ชม ประกอบด้ วยรูปภาพ สีและตัวอักษร รวมทังเสี ้ ยงประกอบ ดังนี ้
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 169
ตารางที่ 7.11 แสดงการจัดระบบจาแนกประเภทเนื้อหารายการโทรทัศน์ในประเทศไทย
สัญลักษณ์ ป
เสียงประกอบ รายการต่อไปนีเ้ ป็นรายการ สาหรับเด็กปฐมวัย ผลิตขึน้ สาหรับผู้ชมในวัย 3 – 5 ปี
ด
รายการต่อไปนีเ้ ป็นรายการ สาหรับเด็กผลิตขึน้ สาหรับผู้ชมใน วัย 6 – 12 ปี
ท
รายการต่อไปนี้ เป็นรายการทัว่ ไป สามารถรับชมได้ทุกวัย รายการต่อไปนี้ เหมาะสาหรับ ผู้ชมทีม่ อี ายุ 13 ปีขนึ้ ไป อาจมี ภาพ เสียง หรือเนือ้ หาที่ตอ้ งใช้ วิจารณญาณในการรับชมผู้ชมที่ มีอายุนอ้ ยกว่า 13 ปี ควรได้รบั คาแนะนา รายการต่อไปนี้ เหมาะสาหรับ ผู้ชมทีม่ อี ายุ 18 ปีขนึ้ ไป อาจมี ภาพ เสียง หรือเนือ้ หาที่ไม่ เหมาะสมด้านพฤติกรรม ความ รุนแรง เพศ และการใช้ภาษาซึ่ง ต้องใช้วิจารณญาณในการรับชม ผู้ชมทีม่ อี ายุนอ้ ยกว่า 18 ปี ควรได้รบั คาแนะนา รายการต่อไปนี้ อาจมีภาพ เสียง หรือเนือ้ หาที่ไม่เหมาะสม ด้านพฤติกรรม ความรุนแรง เพศ และการใช้ภาษา เด็กและ เยาวชนไม่ควรรับชม
น13
น18
ฉ
170 | แ น ว คิ ด
ในด้ านของวิธีการแสดงสัญลักษณ์ นนั ้ สถานีโทรทัศน์ จะแสดง สัญลักษณ์ระบุระดับความเหมาะสมของรายการกับกลุม่ ผู้ชมใน 2 รู ปแบบ คือ - แสดงสัญลักษณ์ ก่อนเสนอรายการในทุกระดับ โดยมีเสียง อธิบายสัญลักษณ์ - แสดงสัญลักษณ์ระหว่างรายการในทุกระดับที่มุมซ้ ายด้ านล่าง ของจอภาพเป็ นระยะๆ ตามความเหมาะสม โดยรายการ ‘น13’ ‘น18’ และ ‘ฉ’ ให้ แสดงสัญลักษณ์ทกุ ครัง้ ที่เข้ ารายการหลังจากช่วงโฆษณา ทัง้ นี ้ ในแต่ ล ะประเภทรายการจะมี ก ารจํ า กัด เนื อ้ หารวมถึ ง รายละเอียดประเด็นที่ควรส่งเสริ มแตกต่างกันไป ดังนี ้ (กรมประชาสัมพันธ์ 2551) 4.3.1 รายการสาหรับเด็กปฐมวัย อายุ 3-5 ปี
รายการ ‘ป’ เป็นรายการที่เด็กตั้งแต่วัย 3 ปีขึ้นไปสามารถรับชมได้ โดยเนื้อหาหลักของรายการมุ่งเน้นความสนใจ และความรู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการ ของเด็ก ในช่วงวัย 3 – 5 ปี และไม่มีภาพ เสียง และเนื้อหาที่ไม่หมาะสม ในเรื่องเพศ ภาษา พฤติกรรมและความรุนแรง (ระดับ 0)
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 171
ด้ านเนือ้ หาที่ควรส่ งเสริม รายการ ‘ป’ เป็ นรายการที่ควรเน้ นเนื ้อหาเกี่ยวกับพัฒนาการ ทางด้ านการสร้ างกระบวนการคิดที่เป็ นระบบ ทักษะทางด้ านภาษา เน้ น การปลูกฝั งทางด้ านคุณธรรมและจริ ยธรรม เสริ มสร้ างความรักความอบอุน่ ทางด้ านครอบครัว และส่งเสริ มให้ เกิดการเรี ยนรู้ในมิติใดมิติหนึง่ หรื อหลาย มิติ โดยทางตรงหรื อทางอ้ อม ดังนี ้ 1.กระบวนการของการใช้ ค วามคิด ริ เ ริ่ ม สร้ างสรรค์ ทํ าให้ เ กิ ด จินตนาการทางความคิด รวมทังจิ ้ นตนาการในแง่มมุ ต่างๆ ผ่านกิจกรรม การเคลือ่ นไหว งานศิลปะ ดนตรี กิจกรรมตามจังหวะอย่างเหมาะสม 2.การเรี ยนรู้ในด้ านวิชาการระดับปฐมวัยที่จําเป็ นต่อการสร้ างพื ้น ฐานความรู้ เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง ส่งเสริ มพัฒนาการด้ านภาษาและการสือ่ สารตามวัย 3.การเรี ยนรู้ ปลูกฝั งศีลธรรมอันดี ขนบธรรมเนียมที่ดีงาม และ จริ ยธรรมที่มีคณ ุ ค่าต่อการพัฒนาด้ านจิตใจ 4.การเรี ยนรู้ ทางด้ านทักษะในการใช้ ชีวิต สร้ างแรงบันดาลใจให้ รักการทํางานมีความเพียร และพึ่งตัวเอง ส่งเสริ มให้ เด็ กพัฒนาการเรี ยนรู้ สภาพแวดล้ อมใกล้ ตวั รู้ จกั พัฒนาความสัมพันธ์ ของตนกับบุคคลอื่น รู้ จกั อารมณ์และการควบคุมอารมณ์และแสดงออกอย่างเหมาะสม 5.การเรี ยนรู้และเข้ าใจในความแตกต่างของสรรพสิง่ ในสังคม 6.การเรี ยนรู้ ทัศนคติที่ดีต่อความสัมพันธ์ สิ ทธิ หน้ าที่ และการ ปฏิบตั ิตอ่ กันของคนในครอบครัว
172 | แ น ว คิ ด
ด้ านเนือ้ หาที่ควรจากัด 1.พฤติกรรมและความรุนแรง ระดับ 0 ตารางที่ 7.12 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรมและความรุนแรง ในรายการสาหรับเด็กปฐมวัย
ประเด็น
คาอธิบาย
การแสดงทีท่ าให้ผู้ชมเกิด ความรูส้ ึกสะเทือนใจ สะเทือนขวัญ หวาดกลัว หรือวิตก
- ไม่มี
การใช้ความรุนแรงต่อ ตนเอง
- ไม่มี
การใช้ความรุนแรงต่อ ผูอ้ ื่น
- ไม่มี
การใช้ความรุนแรงต่อ สิ่งมีชีวิตอื่น หรือวัตถุ สิ่งของ
- ไม่มี เว้นแต่เป็นการสาธิตเพือ่ ให้ความรู้ หรือ พัฒนาการเรียนรู้ เช่น การฝึกสัตว์เลีย้ ง
การแสดงให้เห็น เหตุการณ์ หรืออันตราย ร้ายแรง
- ไม่มี
การใช้อาวุธในการทาร้าย - ไม่มี เว้นแต่เป็นการแสดงของตัวละครที่ไม่ใช่มนุษย์ หรือไม่มลี ักษณะคล้ายคลึงมนุษย์ หรือไม่เป็นเนือ้ หา ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ หลักของเรือ่ ง หรือการนาเสนอ โดยไม่นาเสนอใน ลักษณะชี้นา ชักจูง - ไม่มี เว้นแต่เป็นการแสดงของตัวละครที่ไม่ใช่มนุษย์ การดัดแปลงสิง่ ของ รอบตัวให้เป็นอาวุธในการ หรือไม่มลี ักษณะคล้ายคลึงมนุษย์ หรือไม่เป็นเนือ้ หา หลักของเรือ่ ง โดยไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง ทาร้ายผูอ้ ื่น ตนเอง สิ่งของ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 173
ความรุนแรงในรูปแบบ จินตนาการ (Fantasy Violence) การกระทาอันผิด กฎหมาย รวมทัง้ การใช้ หรือการแสดงให้เห็นสาร เสพติด ของมึนเมาทุก ประเภท การพนันและ การค้าประเวณี
- ไม่มี เว้นแต่เป็นการแสดงของตัวละครที่ไม่ใช่มนุษย์ หรือไม่มลี ักษณะคล้ายคลึงมนุษย์ เช่น การ์ตูน บีโธเฟน (สุนัขทัง้ เรือ่ ง) โดยไม่เป็นเนื้อหาหลักของ เรือ่ งหรือการนาเสนอ และไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง - ไม่มี
พืน้ ที่ หรือสถานที่เฉพาะที่ - ไม่มี เว้นแต่เป็นการสาธิตให้ความรู้ หรือ พัฒนาการเรียนรู้ หรือเป็นเรือ่ งในจินตนาการ (แฟน ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก ตาซี) หรือการ์ตูนสาหรับเด็ก โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง 3) ไม่เน้นการแสดงถึงกิจกรรมที่ดาเนินในสถานที่นนั้ เช่น เรือ่ งเกี่ยวกับโรงงานผลิตตุ๊กตา การ์ตูน มิกกี้ เมาส์เต้นราในบาร์ เป็นต้น - ไม่มี เหตุการณ์ กิจกรรม พฤติกรรม หรือความเชือ่ ที่ชักจูงไปสูอ่ นั ตราย หรือ เสีย่ งต่อการดาเนินชีวติ ใน วัยเด็ก การดูหมิ่น เหยียดหยาม ในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับ เชือ้ ชาติ ชาติพันธุ์ เพศ ศาสนา สถานะ ชนชัน้ หรือการแสดงที่กอ่ ให้เกิด ทัศนคติในทางลบ ต่อ 174 | แ น ว คิ ด
- ไม่มี
บุคคล หรือกลุ่มบุคคล อื่น การใช้ไสยศาสตร์ เวท มนตร์ปาฏิหาริย์ เรือ่ ง เหนือธรรมชาติ
- ไม่มี
2.เรื่ องทางเพศ ระดับ 0 ตารางที่ 7.13 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านเพศในรายการสาหรับเด็กปฐมวัย
ประเด็น
คาอธิบาย
สรีระและการแต่งกาย
- ไม่มีการแต่งกายที่ไม่มิดชิดไม่เหมาะสมกับ กาลเทศะ และประเพณี โดยเฉพาะตัวละคร พิธีกร หรือผู้รว่ มรายการที่เป็นเด็ก หรือเยาวชน ควรแต่ง กายให้เหมาะสมกับวัย เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของ เรือ่ งที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเป็นเรือ่ งใน จินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตนู สาหรับเด็ก หรือเป็นการแต่งกายในกิจกรรมที่ได้รับการยอมรับ ในสังคม ถูกต้องตามกาลเทศะ และตามกติกา สากล (Dress Code) เช่น การ์ตนู ป๊อปอายใส่แต่ กางเกงใน หรือใช้แต่ใบไม้ปิดร่างกายส่วนล่าง
การแสดงออกถึง สัมพันธภาพทางเพศที่ ส่งผลให้เกิดความรู้สึกทาง เพศ และกิริยาท่าทางทีส่ อื่ ความหมายทางเพศที่ ไม่หมาะสม
- ไม่มี
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 175
ค่านิยมเรือ่ งเพศที่ไม่ เหมาะสมกับสังคม และ วัฒนธรรมไทย
- ไม่มี
3.ภาษา ระดับ 0 ตารางที่ 7.14 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการสาหรับเด็กปฐมวัย
ประเด็น
คาอธิบาย
การใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมาะสม ล่อแหลม หมิ่นเหม่ สือ่ ความหมายในเชิงลบ
- ไม่มี
การใช้ภาษาทีไ่ ม่สุภาพ ก้าวร้าว รุนแรง ดูหมิ่น นามาซึ่งการลดทอน ศักดิ์ศรีของผูฟ้ งั
- ไม่มี
ภาษาสแลง
- ไม่มี
176 | แ น ว คิ ด
ข้ อเสนอแนะเพิ่มเติมสาหรับรายการ ‘ป’ มีดังนี ้ - ประเด็นหรื อเนื ้อหาของรายการควรมีความเกี่ยวข้ องหรื อเป็ น ประสบการณ์เกี่ยวกับช่วงวัย 3 – 5 ปี - ในกรณี ที่ เ ด็ ก เป็ นผู้แ สดง (โดยเฉพาะรายการละคร)/ผู้ร่ ว ม รายการ ควรเป็ นศูนย์กลางของรายการ ไม่ใช่เป็ น ‘องค์ประกอบ’ ของการ ดําเนินเรื่ องหรื อการดําเนินรายการ และเป็ นการแสดงบทบาทตามวัยของ เด็ก - รายการ ‘ป’ ไม่ได้ หมายถึงรายการที่เด็กในช่วง 3 – 5 ปี ชอบ เท่านัน้ แต่เป็ นรายการที่ผลิต/จัดขึ ้นเฉพาะเพื่อความรู้ และพัฒนาการของ เด็กในวัยดังกล่าว - สําหรับการแจกรางวัลในรายการ ผู้ดําเนินรายการพูดได้ เฉพาะ ชื่อสินค้ า สโลแกน (Slogan) และมูลค่ารางวัลเท่านัน้ กล่องที่ 7.4
ข้อแนะนาเพิม่ เติมสาหรับผูผ้ ลิตรายการระดับ ‘ป’ และ ‘ด’
1.ไม่ควรใช้เทคนิคพิเศษ เช่น ภาพซ้า (Repeat) ภาพช้า (Slow) เอฟเฟ็กต์ (Effect) รวมทัง้ เสียงประกอบเพือ่ เพิ่มความตื่นเต้น ระทึกขวัญ สยองขวัญ เช่น เสียงดนตรีเร่งเร้าอารมณ์กอ่ นการทาร้าย เสียงระเบิด ฯลฯ 2.ไม่ควรนาเสนอเนือ้ หาและภาพเกีย่ วกับความรุนแรงในสถานการณ์ที่ คล้ายคลึงกับชีวติ จริง หรือในลักษณะที่ทาให้เห็นว่าเป็นเรือ่ งปกติ สนุกสนาน หรือตลก ขบขัน รวมถึง เหตุการณ์ที่เด็กหรือผู้หญิงตกเป็นเหยือ่ เช่น ความรุนแรงภายใน ครอบครัว ตัวละครที่มีบคุ ลิกลักษณะคล้ายกับพ่อแม่ ความรุนแรงต่อสัตว์เลี้ยง การ บันดาลโทสะในทีส่ าธารณะ ฯลฯ 3.ไม่ควรแสดงให้เห็นขั้นตอนวิธีการกระทาในฉากที่ใช้ความรุนแรง หรือการ กระทาผิด 4.ไม่ควรนาเสนอภาพการดื่มเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์และการใช้สารเสพติด
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 177
4.3.2 รายการสาหรับเด็ก อายุ 6-12 ปี
รายการ ‘ด’ เป็นรายการที่เด็กอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไปสามารถรับชมได้ มี เนื้อหาที่มุ่งเน้นความสนใจและความรู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วง อายุ 6–12 ปี หรือความบันเทิงโดยอาจมีภาพ เสียง และเนื้อหาที่ไม่ เหมาะสมในเรื่องพฤติกรรมและความรุนแรงได้เพียงเล็กน้อย (ระดับ 1) แต่ ไม่มีภาพ เสียง และเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม ในเรื่องเพศและภาษา (ระดับ 0) โดยพิจารณาจากเจตนาของการนาเสนอและการใช้ดุลยพินิจของผู้ผลิต ด้ านเนือ้ หาที่ควรส่ งเสริม รายการ ‘ด’ เป็ นรายการที่ควรมีเนื ้อหา เพื่อการพัฒนาของเด็ก ในช่วงอายุ 6-12 ปี ในด้ านการสร้ างกระบวนการคิดที่เป็ นระบบ ทักษะ ทางด้ านภาษา การปลูกฝั ง ทางด้ านคุณ ธรรมและจริ ยธรรม เสริ ม สร้ าง ความรักความอบอุน่ ทางด้ านครอบครัว ส่งเสริ มให้ เด็กสนใจใฝ่ รู้ แต่สิ่งที่ดี งาม มีความรับผิดชอบ มีความคิดสร้ างสรรค์ มีคณ ุ ธรรม รู้ จกั ประหยัดอด ออม และรู้ จกั ควบคุมตนเอง สามารถแยกแยะสิ่งถูก -ผิด โดยทางตรงหรื อ ทางอ้ อม ดังนี ้ 1.กระบวนการคิดอย่างเป็ นระบบ เป็ นเหตุเป็ นผล รู้ จักเชื่อมโยง เหตุและผลของความเปลีย่ นแปลงต่างๆ 2.ความรู้ ทางวิ ช าการในระดับ ประถมศึก ษา รู้ จัก การปรั บ ใช้ ความรู้ กับ การใช้ ชี วิ ต ประจํ า วัน ได้ อ ย่า งเหมาะสม หรื อ เป็ นความรู้ ที่ 178 | แ น ว คิ ด
ประกอบ เชื่ อ มต่ อ ความรู้ ในสาขาต่ า งๆ ร่ ว มกั น เช่ น ความรู้ ด้ าน วิทยาศาสตร์ ประกอบกับศิลปะ เป็ นต้ น 3.ความเข้ าใจและตระหนั ก ถึ ง ความจํ า เป็ นของคุ ณ ธรรม จริ ยธรรมที่ดีงามในสังคม ทังต่ ้ อตนเองและผู้อื่น การพัฒนาลักษณะนิสยั ที่ เหมาะสมและปลูกฝั งค่านิยมให้ ปรากฏในจิตใจของเด็ก 4.การเรี ยนรู้ การใช้ ชีวิตอย่างเหมาะสมในวัยเรี ยน นําเสนอภาพ หรื อเนื ้อหาที่สามารถใช้ เป็ นแบบอย่างในการแก้ ไขปั ญหา และการปรับตัว ในการดํารงชีวิตประจําวัน 5.การเรี ยนรู้ และเข้ าใจที่จะอยู่ร่วมกับความแตกต่างและความ หลากหลายในสังคมได้ อย่างดี 6.ความเข้ าใจในสภาพความเปลี่ยนแปลงของคนในครอบครั ว ทังทางด้ ้ านสภาพร่ างกายและจิ ตใจ รวมทังรู้ ้ จักการแก้ ปัญหาระหว่างคน ในครอบครัว ด้ านเนือ้ หาที่ควรจากัด 1.พฤติกรรมและความรุนแรง ระดับ 1 ตารางที่ 7.15 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรมและความรุนแรงในรายการสาหรับเด็ก
ประเด็น การแสดงทีท่ าให้ผู้ชม เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ สะเทือนขวัญหวาดกลัว หรือวิตก
คาอธิบาย - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา 3) หากการแสดงขั้นตอนการกระทา และ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 179
ผู้ถูกกระทาต้องไม่เน้นผลจากการกระทานัน้ ด้วย เทคนิคพิเศษและเสียงประกอบเพือ่ เพิ่มความตื่นเต้น ระทึกขวัญ (ดูเพิม่ เติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) 4) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคลให้ขึ้นข้อความกากับ เช่น การ ทะเลาะวิวาท ทีม่ ีการขว้างปาสิง่ ของ สาดน้า สาด สี การขู่กรรโชกให้มอบของทีต่ อ้ งการ หรือลักพา ตัว การตายที่ไม่เห็นการทรมาน การทุรนทุราย บาดแผลฟกช้าดาเขียว การบาดเจ็บมีเลือดออกทีไ่ ม่ สยดสยอง การใช้ความรุนแรงต่อตนเอง - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ และไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และผลจากการ กระทานัน้ 3) หากเป็นการแสดงความสามารถเฉพาะบุคคล ให้ขึ้นข้อความกากับ การใช้ความรุนแรงต่อผูอ้ ื่น - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ และไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ต้องไม่แสดงขั้นตอนการกระทาและผู้ถูกกระทา หรือหากแสดงขัน้ ตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา ต้องไม่เน้นผลจากการกระทา 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคลให้ขึ้นข้อความกากับ เช่น การ ต่อสูป้ อ้ งกันตนเอง หรือเพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ นื่ ชี้หน้า ผลักอก ชกต่อย ตบตี การตายที่ไม่เห็นการ ทรมาน การทุรนทุราย การบาดเจ็บมีเลือดออกที่ 180 | แ น ว คิ ด
ไม่สยดสยอง - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ การใช้ความรุนแรงต่อ สามารถหลีกเลีย่ งได้และไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา สิ่งมีชีวิตอื่น หรือวัตถุ ชักจูง โดย สิ่งของ 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และสิ่งทีถ่ ูกกระทา หรือหากแสดงขัน้ ตอนการกระทา และสิ่งทีถ่ ูก กระทา ต้องไม่เน้นผลจากการกระทา เช่น ภาพการ ตาย การทรมาน ความทุรนทุราย หรือการ บาดเจ็บเห็นบาดแผล เลือดตกยางออก สยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ การแสดงให้เห็นเหตุการณ์ - ไม่มี เว้นแต่เป็นการสาธิตให้ความรู้ หรือเป็นไป ตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ โดยไม่ หรืออันตรายร้ายแรง เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ (ดู เพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) การใช้อาวุธ ในการทาร้าย - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ 1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูง 2)ไม่แสดงถึงกระบวนการที่ชัดเจน หรือเน้นผลที่ ได้รับจากการใช้อาวุธ การดัดแปลงสิง่ ของรอบตัว - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ ให้เป็นอาวุธ ในการทาร้าย สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่แสดงถึงกระบวนการที่ ชัดเจนหรือเน้นผลที่ได้รบั (ดูเพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ และ 7.5) - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ ความรุนแรงในรูปแบบ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย จินตนาการ (Fantasy Violence) 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่เน้นขั้นตอนการกระทาและผูถ้ ูกกระทา กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 181
การกระทาอันผิดกฎหมาย รวมทัง้ การใช้หรือการ แสดงให้เห็นสารเสพติด ของมึนเมาทุกประเภท การพนัน และการ ค้าประเวณี
พืน้ ที่ หรือสถานที่เฉพาะที่ ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก
เหตุการณ์ กิจกรรม พฤติกรรม หรือความเชือ่ ที่ชักจูงไปสูอ่ นั ตราย หรือ เสีย่ งต่อการดาเนินชีวติ ใน วัยเด็ก การดูหมิ่น เหยียดหยาม ในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับ เชือ้ ชาติ ชาติพันธุ์ เพศ 182 | แ น ว คิ ด
รวมทั้งผลจากการกระทาด้วยเทคนิคพิเศษและเสียง ประกอบ (ดูเพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ และไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่แสดงกระบวนการกระทาที่ชดั เจน 3) แสดงให้เห็นถึงผล หรือโทษทีไ่ ด้รับจากการ กระทานัน้ 4) ขึ้นข้อความกากับว่าเป็นการกระทาที่ผดิ กฎหมาย - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเรือ่ งในจินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตูนสาหรับเด็ก โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง 3) ไม่เน้นการแสดงถึงกิจกรรมที่ดาเนินในสถานที่ นัน้ เช่น การถูกล่อลวงไปขายในสถานบริการทาง เพศ การทางานในสถานบันเทิงยามราตรี - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1)ไม่เป็นองค์ประกอบทีพ่ บบ่อยในการนาเสนอ 2) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับเตือนถึง อันตรายจากการเลียนแบบ - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยเป็นการเรียนรูเ้ กี่ยวกับ สภาพปัญหาสังคม หรือสะท้อนสังคมที่เป็นจริง
ศาสนา สถานะ ชนชัน้ หรือการแสดงที่กอ่ ให้เกิด ทัศนคติในทางลบ ต่อ บุคคล หรือกลุ่มบุคคลอื่น
เพือ่ ประโยชน์ในการเรียนรู้
การใช้ไสยศาสตร์ เวทมนตร์ ปาฏิหาริย์ เรือ่ งเหนือธรรมชาติ
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถ หลีกเลีย่ งได้ หรือเป็นการเรียนรู้ หรือให้ ความรูด้ ้านวิชาการ หรือเป็นเรือ่ งในจินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตูนสาหรับเด็ก โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูงให้หลงเชือ่ งมงาย 3) ขึ้นข้อความกากับ เตือนถึงเนือ้ หาที่ตอ้ งใช้ วิจารณญาณในการรับชม เช่น การทานายดวง ชะตา
2.เรื่ องทางเพศ ระดับ 0 ตารางที่ 7.16 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านเพศในรายการสาหรับเด็ก
ประเด็น สรีระและการแต่งกาย
คาอธิบาย - ไม่มีการแต่งกายที่ไม่มิดชิดไม่เหมาะสมกับ กาลเทศะ และประเพณี โดยเฉพาะตัวละคร พิธีกร หรือผู้รว่ มรายการที่เป็นเด็กหรือเยาวชนควรแต่ง กายให้เหมาะสมกับวัย เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของ เรือ่ งที่ไม่สามารถ หลีกเลีย่ งได้ หรือเป็นเรือ่ งใน จินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตนู สาหรับเด็ก หรือเป็นการแต่งกายในกิจกรรมที่ได้รับการยอมรับ ในสังคม ถูกต้องตามกาลเทศะ และตามกติกา
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 183
สากล (Dress Code) - ไม่มี การแสดงออกถึง สัมพันธภาพทางเพศทีส่ ่งผล ให้เกิดความรู้สกึ ทางเพศ และกิรยิ าท่าทางที่สอื่ ความหมายทางเพศที่ไม่ เหมาะสม ค่านิยมเรือ่ งเพศที่ไม่ เหมาะสมกับสังคม และ วัฒนธรรมไทย
- ไม่มี
3.ภาษา ระดับ 0 ตารางที่ 7.17 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการสาหรับเด็ก
ประเด็น
คาอธิบาย
การใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมาะสม ล่อแหลม หมิ่นเหม่ สือ่ ความหมายในเชิงลบ
- ไม่มี
การใช้ภาษาทีไ่ ม่สุภาพ ก้าวร้าว รุนแรง ดูหมิ่น นามาซึ่งการลดทอน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- ไม่มี
ภาษาสแลง
- ไม่มี
184 | แ น ว คิ ด
ข้ อเสนอแนะเพิ่มเติมสาหรับรายการ ‘ด’ มีดังนี ้ - ประเด็นหรื อเนื ้อหาของรายการควรมีความเกี่ยวข้ องหรื อเป็ น ประสบการณ์เกี่ยวกับช่วงวัย 6-12 ปี - ในกรณี ที่ เ ด็ ก เป็ นผู้แ สดง (โดยเฉพาะรายการละคร)/ผู้ร่ ว ม รายการ ควรเป็ นศูนย์กลางของรายการ ไม่ใช่เป็ น ‘องค์ประกอบ’ ของการ ดําเนินเรื่ องหรื อการดําเนินรายการ และเป็ นการแสดงบทบาทตามวัยของ เด็ก - รายการ ‘ด’ ไม่ได้ หมายถึงรายการที่เด็กในช่วง 6-12 ปี ชอบ เท่านัน้ แต่เป็ นรายการที่ผลิต/จัดขึ ้นเฉพาะ เพื่อความรู้และพัฒนาการของ เด็กในวัยดังกล่าว - สําหรับการแจกรางวัลในรายการ ผู้ดําเนินรายการพูดได้ เฉพาะ ชื่อสินค้ า สโลแกน (Slogan) และมูลค่ารางวัลเท่านัน้ กล่องที่ 7.5
ข้อควรระวังในการนาเสนอประเด็นในรายการระดับ ‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’
ผู้ผลิตรายการควรระมัดระวัง และใส่ใจเป็นพิเศษในการนาเสนอประเด็นต่างๆ ในรายการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายการระดับ ‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’ ดังต่อไปนี้ 1.การนาเสนอเรือ่ งเกี่ยวกับความรุนแรง โดยเฉพาะการแสดงถึงพฤติกรรมที่ นาไปสูอ่ นั ตรายและเด็กสามารถเลียนแบบได้ เช่น การพยายามทาร้ายตัวเองและผูอ้ นื่ การฆ่าตัวตาย การเลียนแบบกีฬาที่เป็นการต่อสู้ การใช้ไม้ขีดไฟ ฯลฯ รวมทั้ง การทาร้าย สัตว์ และการใช้หรือดัดแปลงสิ่งของที่หาได้งา่ ยใกล้ตวั หรืออุปกรณ์ที่หาได้ในบ้านเป็นอาวุธ เช่น มีดในครัว ค้อน ตะปู ขวดน้า แจกัน กรรไกร ฯลฯ ทั้งนี้ ผู้ผลิตควรพิจารณาใช้ เทคนิคพิเศษเพือ่ ลดความรุนแรงในกรณีที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งการนาเสนอได้ เช่น การ ลดความชัดเจนของภาพ (Blur) การเพิ่มความเร็วของภาพ (Fast Speed) การลดโทนสี ฯลฯ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 185
กล่องที่ 7.5
ข้อควรระวังในการนาเสนอประเด็นในรายการระดับ ‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’ (ต่อ)
2. รายการการ์ตูนสาหรับเด็กไม่ควรนาเสนอความรุนแรงเป็นเนือ้ หาหลักของ เรือ่ ง และควรหลีกเลีย่ งการเสนอความรุนแรงทีอ่ าจเลียนแบบได้ 3. การนาเสนอเนือ้ หาที่เกีย่ วข้องกับความมั่นคงทางจิตใจและความปลอดภัย ของเด็ก เช่น ประเด็นความขัดแย้งในครอบครัว ความตาย อาชญากรรม ฯลฯ 4. การนาเสนอภาพความรุนแรงทีส่ มจริงสมจัง ซึ่งอาจทาให้เกิดความเข้าใจว่า การใช้ความรุนแรงเป็นวิธีที่ดีทสี่ ดุ ในการแก้ไขปัญหา หรือความขัดแย้ง 5. การนาเสนอเนือ้ หาที่เป็นการชักจูงหรือสนับสนุนวิธีการแก้ปัญหาทีม่ อมเมา หรือขัดต่อหลักเหตุผลทีเ่ ป็นจริงและศีลธรรมอันดีของสังคม เช่น การทาแท้ง การมี เพศสัมพันธ์ทไี่ ม่ปลอดภัย 6. การนาเสนอภาพความรุนแรงทีส่ มจริงสมจังทีอ่ าจมีผลกระทบ ทัง้ กรณีที่ เด็กและเยาวชนเป็นเหยือ่ และเป็นผูก้ ระทา 7. การสัมภาษณ์เด็กหรือเยาวชน รวมถึงการให้เด็กทีย่ ังไม่สามารถช่วยเหลือ ตนเองได้รว่ มรายการ ต้องได้รบั ความยินยอมจากพ่อแม่ หรือผู้ปกครองก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสัมภาษณ์ในประเด็นทีล่ ะเอียดอ่อน เด็กไม่ควรต้องตอบคาถาม เกี่ยวกับเรือ่ งทีเ่ กินความสามารถทีจ่ ะตอบได้อย่างเหมาะสม 8.การร่วมรายการของเด็กไม่ควรส่งผลกระทบต่อเด็กในทางเสียหายแก่เด็กใน ภายหลัง เช่น ถูกทาโทษ กลั่นแกล้ง ทาร้ายร่างกายหรือล้อเลียนให้อบั อาย ฯลฯ 9.การนาเสนอภาพหรือเนือ้ หาที่เกีย่ วข้องกับการเสี่ยงอันตราย หรือบาดเจ็บ ต้องมีคาเตือนถึงอันตรายจากการเลียนแบบ เช่น การใช้เครือ่ งออกกาลังกาย การปีน ป่าย การขับขี่รถยนต์ จักรยานยนต์ ฯลฯ 10.การนาเสนอที่ทาให้เกิดทัศนคติในด้านลบเกีย่ วกับบุคคล เช่น ตารวจ พระภิกษุ และสถานที่ที่ควรจะปลอดภัย เช่น บ้าน โรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ 11.การใช้คาหรือภาษาทีไ่ ม่เหมาะสม ได้แก่ คาสบถเกีย่ วกับเรือ่ งเพศ ถ้อยคาที่ เหยียดเชือ้ ชาติ เผ่าพันธุ์ คาทีเ่ กีย่ วกับการคุกคามทางเพศหรือลดทอนความเท่าเทียมของ แต่ละเพศ การล้อเลียนเรือ่ งการเจ็บป่วย ความพิการ รสนิยมทางเพศ และความเชือ่ ทาง ศาสนา รวมทั้งการนาคาทางศาสนามาใช้ในลักษณะดูหมิน่ 12.การแต่งกายของพิธีกร ผู้ดาเนินรายการ และผู้รว่ มรายการในสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนา เช่น วัด โบสถ์ วิหาร หรือสถานทีเ่ ฉพาะ เช่น พระราชวัง พระที่นั่ง รวมถึงการร่วมกิจกรรมบางประเภท เช่น งานศพ ทาบุญใส่บาตร เวียนเทียน
186 | แ น ว คิ ด
4.3.3 รายการที่เหมาะสาหรับผู้ชมทุกวัย
รายการ ‘ท’ เป็นรายการที่เหมาะสาหรับผู้ชมทุกวัย โดยเนื้อหาหลักของ รายการอาจไม่ได้มีจุดประสงค์เพือ่ เด็กและเยาวชนโดยเฉพาะ เช่น รายการ เกมโชว์ สารคดี รายการปกิณกะ (Variety Show) รายการสนทนา (Talk Show) รายการเพลง รายการเกี่ยวกับศาสนา การแสดง การ ประกวดต่างๆ รวมทั้งละครที่มีภาพ เสียง และเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม ใน เรื่องเพศ ภาษา พฤติกรรมและความรุนแรง ได้เพียงเล็กน้อย (ระดับ 1) โดยพิจารณาจากเจตนาของการนาเสนอและการใช้ดุลยพินิจของผู้ผลิต ด้ านเนือ้ หาที่ควรส่ งเสริม รายการ ‘ท’ ที่มีจดุ ประสงค์ในการผลิตเพื่อเยาวชน ควรมีเนื ้อหา สนับสนุนการสร้ างและพัฒนาสติปัญญา จิตใจ และพฤติกรรมทางสังคม ของเด็ก ในด้ านใดด้ านหนึง่ หรื อหลายด้ าน ดังต่อไปนี ้ 1.การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็ นระบบ โดยพัฒนาให้ เกิดวิธีการ และส่งเสริ มความสามารถ ในการใช้ ความคิดเชิงบวก ที่จะทําให้ พฒ ั นา ความสามารถทางจิตใจ ในการรู้ จักความทุกข์และความสุข และควบคุม การแสดงออกทางอารมณ์ได้ ดี 2.การสร้ างความรู้ที่สามารถนําไปใช้ ในชีวิตประจําวัน 3.การสร้ างความรู้ ความตระหนัก ในประเด็ น เรื่ อ งคุณ ธรรม จริ ยธรรมที่ดีงาม กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 187
4.การเรี ยนรู้ เกี่ยวกับข้ อเท็จจริ งของสภาพสังคม ความแตกต่าง ในสังคม สิ่งแวดล้ อมและธรรมชาติ เพื่อประโยชน์ในการดําเนินชีวิตที่ เหมาะสม และการจัดการปั ญหาโดยสันติวิธี อันนํามาซึ่งความสงบสุขใน สังคม 5.การพัฒ นาตนเอง ด้ า นความแข็ ง แรง แข็ งแกร่ ง อดทนของ ร่างกาย เช่น การออกกําลังกาย เล่นกีฬา กิจกรรมกลางแจ้ ง 6.การรู้ จักบุคคลต่างๆ และสิทธิ /หน้ าที่ของตน และบุคคลอื่นใน สังคมรอบข้ าง รวมถึงการสร้ างแรงบันดาลใจให้ เกิ ดความรั กของคนใน ครอบครัวและในชุมชน ด้ านเนือ้ หาที่ควรจากัด 1.พฤติกรรมและความรุนแรง ระดับ 1 ตารางที่ 7.18 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรมและความรุนแรง ในรายการที่เหมาะสาหรับผู้ชมทุกวัย
ประเด็น การแสดงทีท่ าให้ผู้ชมเกิด ความรูส้ ึกสะเทือนใจ สะเทือนขวัญ หวาดกลัว หรือวิตก
คาอธิบาย - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา 3) หากการแสดงขั้นตอนการกระทา และ ผู้ถูกกระทาต้องไม่เน้นผลจากการกระทานัน้ ด้วย เทคนิคพิเศษและเสียงประกอบเพือ่ เพิ่มความตื่นเต้น
188 | แ น ว คิ ด
ระทึกขวัญ (ดูเพิม่ เติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) 4) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคลให้ขึ้นข้อความกากับ เช่น การ ทะเลาะวิวาท ทีม่ ีการขว้างปาสิง่ ของ สาดน้า สาด สี การขู่กรรโชกให้มอบของทีต่ อ้ งการ หรือลักพา ตัว การตายที่ไม่เห็นการทรมาน การทุรนทุราย บาดแผลฟกช้าดาเขียว การบาดเจ็บ มีเลือดออกที่ ไม่สยดสยอง การใช้ความรุนแรงต่อตนเอง - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ และไม่นาเสนอในลักษณะ ชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และผลจากการ กระทานัน้ 3) หากเป็นการแสดงความสามารถเฉพาะบุคคล ให้ขึ้นข้อความกากับ การใช้ความรุนแรงต่อผูอ้ ื่น - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถ หลีกเลีย่ งได้ และไม่นาเสนอในลักษณะ ชีน้ า ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ต้องไม่แสดงขั้นตอนการกระทาและผู้ถูกกระทา หรือหากแสดงขัน้ ตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา ต้องไม่เน้นผลจากการกระทา 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 189
เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ เช่น การ ต่อสูป้ อ้ งกันตนเอง หรือเพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ นื่ ชี้หน้า ผลักอก ชกต่อย ตบตี การตายที่ไม่เห็นการ ทรมาน การทุรนทุราย การบาดเจ็บมีเลือดออกที่ ไม่สยดสยอง การใช้ความรุนแรงต่อ สิ่งมีชีวิตอื่น หรือวัตถุ สิ่งของ
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ และไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และสิ่งทีถ่ ูกกระทา หรือหากแสดงขัน้ ตอนการกระทา และสิ่งทีถ่ ูก กระทาต้องไม่เน้นผลจากการกระทา เช่น ภาพการ ตาย การทรมาน ความทุรนทุราย หรือการ บาดเจ็บเห็นบาดแผล เลือดตกยางออก สยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ
การแสดงให้เห็นเหตุการณ์ หรืออันตรายร้ายแรง
- ไม่มี เว้นแต่เป็นการสาธิตให้ความรู้ หรือเป็นไป ตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ โดยไม่ เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ (ดู เพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5)
การใช้อาวุธ ในการทาร้าย ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูง 2)ไม่แสดงถึงกระบวนการที่ชัดเจน หรือเน้นผลที่
190 | แ น ว คิ ด
ได้รับจากการใช้อาวุธ การดัดแปลงสิง่ ของรอบตัว - ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ ให้เป็นอาวุธ ในการทาร้าย สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่แสดงถึงกระบวนการที่ ชัดเจนหรือเน้นผลที่ได้รบั (ดูเพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ และ 7.5) ความรุนแรงในรูปแบบ จินตนาการ (Fantasy Violence)
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่เน้นขั้นตอนการกระทาและผูถ้ ูกกระทา รวมทั้งผลจากการกระทาด้วยเทคนิคพิเศษและเสียง ประกอบ (ดูเพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5)
การกระทาอันผิดกฎหมาย รวมทัง้ การใช้หรือ การแสดงให้เห็นสารเสพติด ของมึนเมาทุกประเภท การพนัน และ การค้าประเวณี
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ และไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่แสดงกระบวนการกระทาที่ชดั เจน 3) แสดงให้เห็นถึงผล หรือโทษทีไ่ ด้รับจากการ กระทานัน้ 4) ขึ้นข้อความกากับว่าเป็นการกระทาที่ผดิ กฎหมาย
พืน้ ที่ หรือสถานที่เฉพาะที่ ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเรือ่ งในจินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตูนสาหรับเด็ก โดย กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 191
1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง 3) ไม่เน้นการแสดงถึงกิจกรรมที่ดาเนินในสถานที่ นัน้ เช่น การถูกล่อลวงไปขายในสถานบริการทาง เพศ การทางานในสถานบันเทิงยามราตรี เหตุการณ์ กิจกรรม พฤติกรรม หรือความเชือ่ ที่ชักจูงไปสูอ่ นั ตราย หรือ เสีย่ งต่อการดาเนินชีวติ ใน วัยเด็ก
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย
การดูหมิ่น เหยียดหยาม ในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับ เชือ้ ชาติ ชาติพันธุ์ เพศ ศาสนา สถานะ ชนชัน้ หรือการแสดงที่กอ่ ให้เกิด ทัศนคติในทางลบต่อบุคคล หรือกลุม่ บุคคลอืน่
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยเป็นการเรียนรูเ้ กี่ยวกับ สภาพปัญหาสังคม หรือสะท้อนสังคมที่เป็นจริง เพือ่ ประโยชน์ในการเรียนรู้
การใช้ไสยศาสตร์ เวทมนตร์ ปาฏิหาริย์ เรือ่ งเหนือธรรมชาติ
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเป็นการเรียนรู้ หรือให้ ความรูด้ ้านวิชาการ หรือเป็นเรือ่ งในจินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตูนสาหรับเด็ก โดย
1)ไม่เป็นองค์ประกอบทีพ่ บบ่อยในการนาเสนอ 2) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับเตือนถึง อันตรายจากการเลียนแบบ
1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูงให้หลงเชือ่ 192 | แ น ว คิ ด
งมงาย 3) ขึ้นข้อความกากับ เตือนถึงเนือ้ หาที่ตอ้ งใช้ วิจารณญาณในการรับชม เช่น การทานายดวง ชะตา 2.เรื่ องทางเพศ ระดับ 1 ตารางที่ 7.19 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านเพศในรายการที่เหมาะสาหรับผู้ชมทุกวัย
ประเด็น
คาอธิบาย
สรีระและการแต่งกาย
- ไม่มีภาพสรีระ และการแต่งกายทีโ่ ป๊ ไม่มิดชิด ที่ มีเจตนาเพือ่ ยัว่ ยุกามารมณ์ เว้นแต่เป็นการแต่ง กายในกิจกรรมทีไ่ ด้รับการยอมรับในสังคม ถูกต้องตามกาลเทศะ และตามกติกาสากล (Dress Code) เช่น การใส่ชุดว่ายน้า ที่ชายหาด หรือสระว่ายน้า การใส่ชุดกีฬาเฉพาะประเภท หรือ ชุดบัลเลต์ ชุดลีลาศ
การแสดงออกถึง สัมพันธภาพทางเพศที่ ส่งผลให้เกิดความรู้สึก ทางเพศ และกิรยิ าท่าทางที่ สือ่ ความหมายทางเพศที่ ไม่เหมาะสม
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง 3) เป็นการแสดงความรักทีเ่ หมาะสมตามประเพณี 4) ไม่แสดงถึงขั้นตอนการกระทา หรือการใช้กาลัง ที่ชัดเจน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 193
ค่านิยมเรือ่ งเพศที่ไม่ เหมาะสมกับสังคม และ วัฒนธรรมไทย
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเป็นเรื่องในจินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตูนสาหรับเด็ก หรือเป็นการ เรียนรู้เกีย่ วกับสภาพปัญหาสังคม หรือสะท้อน สังคมทีเ่ ป็นจริงเพือ่ ประโยชน์ในการเรียนรู้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง
3.ภาษา ระดับ 1 ตารางที่ 7.20 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการที่เหมาะสาหรับผู้ชมทุกวัย
ประเด็น
คาอธิบาย
การใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมาะสม ล่อแหลม หมิ่นเหม่ สือ่ ความหมายในเชิงลบ
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่เป็นองค์ประกอบที่พบ บ่อยในการนาเสนอ
การใช้ภาษาทีไ่ ม่สุภาพ ก้าวร้าว รุนแรง ดูหมิ่น นามาซึ่งการลดทอน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่เป็นองค์ประกอบที่พบ บ่อยในการนาเสนอ
ภาษาสแลง
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) หากเป็นคาพูดในชีวิตประจาวันตามยุคสมัย ต้องไม่หยาบคาย หรือก้าวร้าว
194 | แ น ว คิ ด
4.3.4 รายการที่เหมาะกับผู้ชมที่มีอายุ 13 ปี ขึน้ ไป ผู้ชมที่มี อายุน้อยกว่ า 13 ปี ควรได้ รับคาแนะนา
รายการ ‘น13’ เป็นรายการที่เหมาะสาหรับผู้ชมที่มีอายุ 13 ปีขึ้นไป และ ผู้ใหญ่ควรให้คาแนะนาแก่ผู้ชมที่มีอายุน้อยกว่า 13 ปี อาจมีภาพ เสียง และ เนื้อหาที่ไม่เหมาะสมในเรื่องทางเพศ ภาษา ได้เพียงเล็กน้อย (ระดับ 1) ส่วน พฤติกรรมและความรุนแรงได้บ้าง (ระดับ 2) โดยพิจารณาจากเจตนาของ การนาเสนอ และการใช้ดุลยพินิจของผู้ผลิต หรือเป็นไปตามบริบทของเรื่อง เนือ้ หาที่ควรส่ งเสริม รายการประเภท ‘น13’ เป็ นรายการที่ผ้ ชู มที่มีอายุน้อยกว่า 13 ปี จํ า เป็ นต้ อ งได้ รั บ คํ า แนะนํ า จากผู้ป กครอง และอาจมี เ นื อ้ หาที่ ส่ง เสริ ม กระบวนการในการเรี ยนรู้ ในด้ านใดด้ านหนึง่ หรื อหลายด้ าน ดังต่อไปนี ้ 1.การสร้ างระบบคิดอย่างเชื่อมโยง ส่งเสริ มให้ เกิดแนวความคิด เชิงสร้ างสรรค์ให้ มีความสมดุล ด้ วยการเรี ยนรู้ความสุขทางจิตใจ 2.การสร้ างความรู้ที่สามารถนําไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจําวันได้ อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุม่ วัยรุ่น รวมถึง ความรู้ ในวิชาชีพ ต่างๆเพื่อประโยชน์สาํ หรับการประกอบอาชีพ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 195
3.การเรี ย นรู้ คุณ ธรรม จริ ย ธรรมที่ ดี ง ามในสัง คม การเรี ย นรู้ คุณธรรมต่อตัวเองและคนรอบข้ าง รวมไปถึง การส่งเสริ มให้ เกิดการสร้ าง แรงจูงใจให้ เกิดการขยายต่อเรื่ องคุณธรรมไปยังบุคคลรอบข้ าง 4.การรู้ จั ก สภาพสัง คม และทัก ษะในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ทั่ว ไป รวมทังการส่ ้ งเสริ มให้ เกิ ดการแก้ ปัญหาอย่างถูกต้ อง โดยแสดงให้ เห็นถึง ผลเสีย ของประเด็นต่างๆ และไม่ชี น้ ําให้ เ กิ ดการปฏิบัติต ามในทางที่ไม่ ถูกต้ อง 5.การรู้จกั สภาพความแตกต่างในสังคมในมิติต่างๆ และการอยู่ รวมกันอย่างสันติสขุ รวมทังการเรี ้ ยนรู้ ในการระวังภัยที่มีอยู่ในสังคมอย่าง ถูกต้ อง เหมาะสม ไม่นํามาซึ่งการชีน้ ําให้ เกิ ดการเลียนแบบในทางที่ไม่ ถูกต้ อง 6.การรู้จกั บุคคลต่างๆ และสิทธิ/หน้ าที่ของตน และบุคคลอื่นๆใน สัง คมรอบข้ า ง รวมไปถึ ง การสร้ างแรงจู ง ใจในการอยู่ ร่ ว มกั บ คนใน ครอบครัวบนพื ้นฐานของความรักและความเข้ าใจ
196 | แ น ว คิ ด
เนือ้ หาที่ควรจากัด 1.พฤติกรรมและความรุนแรง ระดับ 2 ตารางที่ 7.21 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรมและความรุนแรงในรายการ ที่เหมาะกับผู้ชมที่มีอายุ 13 ปีขึ้นไปผู้ชมที่มีอายุน้อยกว่า 13 ปีควรได้รับคาแนะนา
ประเด็น การแสดงทีท่ าให้ผู้ชมเกิด ความรูส้ ึกสะเทือนใจ สะเทือนขวัญ หวาดกลัว หรือวิตก
คาอธิบาย - มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และ ผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจากการกระทานั้น 2) สามารถเห็นภาพการตาย การบาดเจ็บ บาดแผล เลือดตกยางออก โดยไม่เห็นการทรมาน การทุรนทุราย หรือความสยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคลให้ขึ้นข้อความกากับ
การใช้ความรุนแรงต่อตนเอง - มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) ไม่เน้นให้เห็นขั้นตอนการกระทา และผลจากการ กระทาที่ชดั เจน โดยควรใช้เทคนิคพิเศษเพือ่ ลด ความรุนแรง (ดูเพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) 2) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ การใช้ความรุนแรงต่อผูอ้ ื่น - มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 197
ผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจากการกระทานั้น 2) หากเป็นการแสดงการตาย การบาดเจ็บ บาดแผล เลือดตกยางออก ต้องไม่เห็นการทรมาน การทุรนทุราย หรือความสยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ เช่น การ ต่อสูป้ อ้ งกันตนเอง หรือเพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ นื่ การใช้ เท้าเตะ ถีบ กระทืบ ชกหน้า เตะก้านคอ การรุม ทาร้าย การใช้ความรุนแรง ต่อ สิ่งมีชีวิตอื่น หรือวัตถุ สิ่งของ
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และสิ่งทีถ่ ูก กระทา รวมทัง้ ผลจากการกระทานั้น 2) หากเป็นการแสดงการตาย การบาดเจ็บ บาดแผล เลือดตกยางออก ต้องไม่เห็นการทรมาน การทุรนทุราย หรือความสยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ
การแสดงให้เห็นเหตุการณ์ หรืออันตรายร้ายแรง
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง
การใช้อาวุธ ในการทาร้าย ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดยสามารถแสดง ถึงกระบวนการแต่ไม่เน้นผลที่ได้รับจากการใช้อาวุธ
การดัดแปลงสิง่ ของรอบตัว - มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดยสามารถแสดง ให้เป็นอาวุธ ในการทาร้าย ถึงกระบวนการ แต่ไม่เน้นผลที่ได้รบั (ดูเพิ่มเติม
198 | แ น ว คิ ด
ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ
กล่องที่ 7.4 และ 7.5)
ความรุนแรงในรูปแบบ จินตนาการ (Fantasy Violence)
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดยสามารถแสดง ขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจาก การกระทานั้น
การกระทาอันผิดกฎหมาย รวมทัง้ การใช้ หรือ การแสดงให้เห็นสารเสพติด ของมึนเมาทุกประเภท การพนัน และ การค้าประเวณี
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูง 2) สามารถแสดงกระบวนการของการกระทา 3) แสดงให้เห็นถึงผลหรือโทษที่ได้รบั จากการกระทา นัน้ 4) ขึ้นข้อความกากับว่าเป็นการกระทาที่ผดิ กฎหมาย
พืน้ ที่ หรือสถานที่เฉพาะที่ ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดยไม่นาเสนอใน ลักษณะชี้นา ชักจูง
เหตุการณ์ กิจกรรม พฤติกรรม หรือความเชือ่ ที่ชักจูงไปสูอ่ นั ตราย หรือ เสีย่ งต่อการดาเนินชีวติ ใน วัยเด็ก
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย
การดูหมิ่น เหยียดหยาม ในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับเชือ้ ชาติ ชาติพันธุ์ เพศ ศาสนา สถานะ ชนชัน้
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง
1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูง 2) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับเตือนถึง อันตรายจากการเลียนแบบ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 199
หรือการแสดงที่กอ่ ให้เกิด ทัศนคติในทางลบ ต่อ บุคคล หรือกลุ่มบุคคลอื่น การใช้ไสยศาสตร์ เวทมนตร์ ปาฏิหาริย์ เรือ่ งเหนือธรรมชาติ
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูงให้หลงเชือ่ งมงาย 2) ขึ้นข้อความกากับเตือนถึงเนือ้ หาที่ตอ้ งใช้ วิจารณญาณในการรับชม
2.เรื่ องทางเพศ ระดับ 1 ตารางที่ 7.22 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านเพศในรายการที่เหมาะกับผู้ชมที่มีอายุ 13 ปีขึ้นไป ผู้ชมที่มีอายุนอ้ ยกว่า 13 ปีควรได้รับคาแนะนา
ประเด็น สรีระและการแต่งกาย
คาอธิบาย - ไม่มีภาพสรีระ และการแต่งกายทีโ่ ป๊ ไม่มิดชิด ที่ มีเจตนาเพือ่ ยัว่ ยุกามารมณ์ เว้นแต่เป็นการแต่ง กายในกิจกรรมทีไ่ ด้รับการยอมรับในสังคม ถูกต้องตามกาลเทศะ และตามกติกาสากล (Dress Code) เช่น การใส่ชุดว่ายน้า ที่ชายหาด หรือสระว่ายน้า การใส่ชุดกีฬาเฉพาะประเภท หรือ ชุดบัลเลต์ ชุดลีลาศ
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ การแสดงออกถึง สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย สัมพันธภาพทางเพศที่ ส่งผลให้เกิดความรู้สึก 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ ทางเพศ และกิรยิ าท่าทางที่ 200 | แ น ว คิ ด
สือ่ ความหมายทางเพศที่ ไม่เหมาะสม
2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง 3) เป็นการแสดงความรักทีเ่ หมาะสมตามประเพณี 4) ไม่แสดงถึงขั้นตอนการกระทา หรือการใช้กาลัง ที่ชัดเจน
ค่านิยมเรือ่ งเพศที่ไม่ เหมาะสมกับสังคม และ วัฒนธรรมไทย
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเป็นเรื่องในจินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตูนสาหรับเด็ก หรือเป็นการ เรียนรู้เกีย่ วกับสภาพปัญหาสังคม หรือสะท้อน สังคมทีเ่ ป็นจริงเพือ่ ประโยชน์ในการเรียนรู้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง
3.ภาษา ระดับ 1 ตารางที่ 7.23 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการที่เหมาะกับผู้ชมที่มีอายุ 13 ปีขึ้นไป ผู้ชมที่มีอายุนอ้ ยกว่า 13 ปีควรได้รับคาแนะนา
ประเด็น
คาอธิบาย
การใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมาะสม ล่อแหลม หมิ่นเหม่ สือ่ ความหมายในเชิงลบ
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่เป็นองค์ประกอบที่พบ บ่อยในการนาเสนอ
การใช้ภาษาทีไ่ ม่สุภาพ ก้าวร้าว รุนแรง ดูหมิ่น นามาซึ่งการลดทอน
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่เป็นองค์ประกอบที่พบ บ่อยในการนาเสนอ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 201
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ภาษาสแลง
- ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยในการนาเสนอ 2) หากเป็นคาพูดในชีวิตประจาวันตามยุคสมัย ต้องไม่หยาบคาย หรือก้าวร้าว
4.3.5 รายการที่เหมาะกับผู้ชมที่มีอายุ 18 ปี ขึน้ ไป ผู้ชมที่มี อายุน้อยกว่ า 18 ปี ควรได้ รับคาแนะนา
รายการ ‚น18‛ เป็นรายการเหมาะสาหรับผู้ชมที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และ ผู้ใหญ่ควรให้คาแนะนาแก่ผู้ชมที่มีอายุน้อยกว่า 18 ปี มีภาพ เสียง และ เนื้อหาที่ไม่เหมาะสม ในเรื่องเพศ ภาษา พฤติกรรมและความรุนแรงได้บ้าง (ระดับ 2) โดยพิจารณาจากเจตนาของการนาเสนอ และการใช้ดุลยพินิจ ของผู้ผลิต หรือเป็นไปตามบริบทของเรื่อง เนือ้ หาที่ควรส่ งเสริม รายการ ‘น18’ อาจมีการนําเสนอเนื ้อหาเพื่อช่วยในการพัฒนา สติปัญญา จิตใจ และพฤติกรรมทางสังคม ในด้ านใดด้ านหนึ่งหรื อหลาย ด้ าน ดังต่อไปนี ้ 202 | แ น ว คิ ด
1.การสร้ างระบบคิดอย่างเชื่อมโยงในเชิงบูรณาการ 2.การสร้ างความรู้ที่สามารถนําไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจําวัน 3.การเรี ย นรู้ คุณ ธรรม จริ ย ธรรมที่ ดี ง ามในสัง คม การเรี ย นรู้ คุณธรรมต่อตัวเองและคนรอบข้ าง 4.การรู้ จกั สภาพสังคม และทักษะในการดําเนินชีวิตทัว่ ไป การ แก้ ปัญหาอย่างถูกต้ อง โดยแสดงให้ เห็นถึงผลเสียของประเด็นต่างๆและไม่ ชี ้ให้ เกิดการปฏิบตั ิตาม 5.การรู้ จักสภาพความแตกต่างในสังคมในมิติต่างๆและการอยู่ รวมกันอย่างสันติสขุ 6.การรู้ จกั บุคคลต่างๆ ตลอดจนการรู้ จกั สิทธิและหน้ าที่ของตน และบุคคลอื่นๆ ในสังคมรอบข้ าง ความรับผิดชอบและการมีส่วนร่ วมใน ฐานะพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย เนือ้ หาที่ควรจากัด 1.พฤติกรรมและความรุนแรง ระดับ 2 ตารางที่ 7.24 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรมและความรุนแรงในรายการ ที่เหมาะกับผู้ชมที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ผู้ชมที่มีอายุนอ้ ยกว่า 18 ปี ควรได้รับคาแนะนา
ประเด็น การแสดงทีท่ าให้ผู้ชม เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ สะเทือนขวัญ หวาดกลัว
คาอธิบาย - มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และ ผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจากการกระทานั้น กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 203
หรือวิตก
2) สามารถเห็นภาพการตาย การบาดเจ็บ บาดแผล เลือดตกยางออก โดยไม่เห็นการทรมาน การทุรนทุราย หรือความสยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคลให้ขึ้นข้อความกากับ
การใช้ความรุนแรงต่อตนเอง - มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) ไม่เน้นให้เห็นขั้นตอนการกระทา และผลจากการ กระทาที่ชดั เจน โดยควรใช้เทคนิคพิเศษเพือ่ ลด ความรุนแรง (ดูเพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) 2) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ การใช้ความรุนแรงต่อผูอ้ ื่น - มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และ ผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจากการกระทานั้น 2) หากเป็นการแสดงการตาย การบาดเจ็บ บาดแผล เลือดตกยางออก ต้องไม่เห็นการทรมาน การทุรนทุราย หรือความสยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ เช่น การ ต่อสูป้ อ้ งกันตนเอง หรือเพือ่ ช่วยเหลือผูอ้ นื่ การใช้ เท้าเตะ ถีบ กระทืบ ชกหน้า เตะก้านคอ การรุม ทาร้าย การใช้ความรุนแรง ต่อ สิ่งมีชีวิตอื่น หรือวัตถุ 204 | แ น ว คิ ด
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และสิ่งทีถ่ ูก
สิ่งของ
กระทา รวมทัง้ ผลจากการกระทานั้น 2) หากเป็นการแสดงการตาย การบาดเจ็บ บาดแผล เลือดตกยางออก ต้องไม่เห็นการทรมาน การทุรนทุราย หรือความสยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ
การแสดงให้เห็นเหตุการณ์ หรืออันตรายร้ายแรง
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง
การใช้อาวุธ ในการทาร้าย ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดยสามารถแสดง ถึงกระบวนการแต่ไม่เน้นผลที่ได้รับจากการใช้อาวุธ
การดัดแปลงสิง่ ของรอบตัว - มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดยสามารถแสดง ให้เป็นอาวุธ ในการทาร้าย ถึงกระบวนการ แต่ไม่เน้นผลที่ได้รบั (ดูเพิ่มเติม กล่องที่ 7.4 และ 7.5) ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ ความรุนแรงในรูปแบบ จินตนาการ (Fantasy Violence)
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดยสามารถแสดง ขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจาก การกระทานั้น
การกระทาอันผิดกฎหมาย รวมทัง้ การใช้หรือ การแสดงให้เห็นสารเสพติด ของมึนเมาทุกประเภท การพนัน และ การค้าประเวณี
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูง 2) สามารถแสดงกระบวนการของการกระทา 3) แสดงให้เห็นถึงผลหรือโทษที่ได้รบั จากการกระทา นัน้ 4) ขึ้นข้อความกากับ ว่าเป็นการกระทาทีผ่ ิด กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 205
กฎหมาย พืน้ ที่ หรือสถานที่เฉพาะที่ ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดยไม่นาเสนอใน ลักษณะชี้นา ชักจูง
เหตุการณ์ กิจกรรม พฤติกรรม หรือความเชือ่ ที่ชักจูงไปสูอ่ นั ตราย หรือ เสีย่ งต่อการดาเนินชีวติ ใน วัยเด็ก
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย
การดูหมิ่น เหยียดหยาม ในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับเชือ้ ชาติ ชาติพันธุ์ เพศ ศาสนา สถานะ ชนชัน้ หรือการแสดงที่กอ่ ให้เกิด ทัศนคติในทางลบ ต่อ บุคคล หรือกลุ่มบุคคลอื่น
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง
การใช้ไสยศาสตร์ เวทมนตร์ ปาฏิหาริย์ เรือ่ งเหนือธรรมชาติ
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย
1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูง 2) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความ เสี่ยงเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับเตือนถึง อันตรายจากการเลียนแบบ
1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูงให้หลงเชือ่ งมงาย 2) ขึ้นข้อความกากับเตือนถึงเนือ้ หาที่ตอ้ งใช้ วิจารณญาณในการรับชม
206 | แ น ว คิ ด
2.เรื่ องทางเพศ ระดับ 2 ตารางที่ 7.25 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านเพศในรายการที่เหมาะกับผู้ชมที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ผู้ชมที่มีอายุนอ้ ยกว่า 18 ปี ควรได้รับคาแนะนา
ประเด็น
คาอธิบาย
สรีระและการแต่งกาย
- มีภาพสรีระและการแต่งกายทีไ่ ม่มิดชิดได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่อาจหลีกเลีย่ งได้
การแสดงออกถึง สัมพันธภาพทางเพศที่ ส่งผลให้เกิดความรู้สึกทาง เพศ และกิริยาท่าทางทีส่ อื่ ความหมายทางเพศที่ ไม่เหมาะสม
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่อาจหลีกเลีย่ ง ได้
ค่านิยมเรือ่ งเพศที่ไม่ เหมาะสมกับสังคม และ วัฒนธรรมไทย
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่อาจหลีกเลีย่ ง ได้
3.ภาษา ระดับ 2 ตารางที่ 7.26 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการที่เหมาะกับผู้ชมที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ผู้ชมที่มีอายุนอ้ ยกว่า 18 ปี ควรได้รับคาแนะนา
ประเด็น การใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมาะสม ล่อแหลม หมิ่นเหม่
คาอธิบาย - มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่อาจหลีกเลีย่ ง ได้ โดยไม่ทาให้เกิดความเข้าใจทางภาษาผิดเพี้ยน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 207
สือ่ ความหมายในเชิงลบ การใช้ภาษาทีไ่ ม่สุภาพ ก้าวร้าว รุนแรง ดูหมิ่น นามาซึ่งการลดทอน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่อาจหลีกเลีย่ ง ได้
ภาษาสแลง
- มีได้บ้าง ตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่อาจหลีกเลีย่ ง ได้ โดยไม่ทาให้เกิดความเข้าใจทางภาษาผิดเพี้ยน
4.3.6 รายการเฉพาะ ไม่ เหมาะสาหรับเด็กและเยาวชน
รายการ ‘ฉ’ เป็นรายการสาหรับผู้ใหญ่โดยเฉพาะ ไม่เหมาะสาหรับเด็กและ เยาวชน มีเนื้อหา ภาพ และเสียง ที่ไม่เหมาะสมในเรื่องเพศ ภาษา พฤติกรรมและความรุนแรง (ระดับ 3) ที่ต้องใช้วิจารณญาณในการรับชม และไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เนือ้ หาที่ควรส่ งเสริม รายการ ‘ฉ’ อาจมี ก ารนํ า เสนอเนื อ้ หาเพื่อ ช่ ว ยในการพัฒ นา สติ ปั ญญา จิ ต ใจ และพฤติ ก รรมทางสัง คมของผู้ช ม ในด้ า นต่ า งๆ ดังต่อไปนี ้ 1.การสร้ างระบบคิดอย่างเชื่อมโยงในเชิงบูรณาการ 2.การสร้ างความรู้ที่สามารถนําไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจําวันได้ 208 | แ น ว คิ ด
3.การเรี ย นรู้ คุณ ธรรม จริ ย ธรรมที่ ดี ง ามในสัง คม การเรี ย นรู้ คุณธรรมต่อตัวเองและคนรอบข้ าง 4.การรู้ จั ก สภาพสัง คม และทัก ษะในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ทั่ว ไป ส่งเสริ มให้ เกิดการแก้ ปัญหาอย่างถูกต้ อง โดยแสดงให้ เห็นถึงผลเสียของ ประเด็นต่างๆ และไม่ชี ้ให้ เกิดการปฏิบตั ิตาม 5.การรู้ จกั สภาพความแตกต่างในสังคมในมิติต่างๆ และการอยู่ รวมกันอย่างสันติสขุ 6.การรู้จกั บุคคลต่างๆ ตลอดจนการรู้จกั สิทธิและหน้ าที่ของตน และบุคคลอื่นๆ ในสังคมรอบข้ าง ความรับผิดชอบและการมีสว่ นร่วมใน ฐานะพลเมืองตามระบอบประชาธิปไตย เนือ้ หาที่ควรจากัด 1.พฤติกรรมและความรุนแรง ระดับ 3 ตารางที่ 7.27 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านพฤติกรรมและความรุนแรงในรายการเฉพาะ ไม่เหมาะสาหรับเด็กและเยาวชน
ประเด็น การแสดงทีท่ าให้ผู้ชม เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ สะเทือนขวัญ หวาดกลัว หรือวิตก
คาอธิบาย - มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 209
การใช้ความรุนแรงต่อตนเอง - มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง การใช้ความรุนแรง ต่อ ผูอ้ ื่น
- มีได้ โดยหากเป็นการแสดงถึงพฤติกรรมที่ โหดร้าย ป่าเถือ่ น ผิดมนุษย์ เช่นการฆ่าตัดคอ การสังหารหมู่ การข่มขืน ฯลฯ ต้องไม่เน้น ขั้นตอนของการกระทา ผู้ถูกกระทา และผลจาก การถูกกระทาที่ชัดเจน และต้องไม่ขัดต่อกฎระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง
การใช้ความรุนแรง ต่อ สิ่งมีชีวิตอื่น หรือวัตถุ สิ่งของ
- มีได้ โดยหากเป็นการแสดงถึงพฤติกรรมที่ โหดร้าย ป่าเถือ่ น ผิดมนุษย์ เช่นการเชือดคอ สัตว์ การทรมานสัตว์ดว้ ยวิธีตา่ งๆ ฯลฯ ต้องไม่ เน้นขัน้ ตอนของการกระทา สิง่ ที่ถกู กระทา และผล จากการถูกกระทาที่ชัดเจน และต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
การแสดงให้เห็นเหตุการณ์ หรืออันตรายร้ายแรง
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
การใช้อาวุธ ในการทาร้าย ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
การดัดแปลงสิง่ ของรอบตัว - มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย ให้เป็นอาวุธ ในการทาร้าย อืน่ ทีเ่ กี่ยวข้อง ผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ ความรุนแรงในรูปแบบ จินตนาการ(Fantasy Violence)
210 | แ น ว คิ ด
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
การกระทาอันผิดกฎหมาย - มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อืน่ ทีเ่ กี่ยวข้อง รวมทัง้ การใช้หรือ การแสดงให้เห็นสารเสพติด ของมึนเมาทุกประเภท การพนัน และ การค้าประเวณี พืน้ ที่ หรือสถานที่เฉพาะที่ ไม่เหมาะสมสาหรับเด็ก
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
เหตุการณ์ กิจกรรม พฤติกรรม หรือความเชือ่ ที่ชักจูงไปสูอ่ นั ตราย หรือ เสีย่ งต่อการดาเนินชีวติ ใน วัยเด็ก
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และ กฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
การดูหมิ่น เหยียดหยาม ในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับ เชือ้ ชาติ ชาติพันธุ์ เพศ ศาสนา สถานะ ชนชัน้
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
หรือการแสดงที่กอ่ ให้เกิด ทัศนคติในทางลบ ต่อ บุคคล หรือกลุ่มบุคคลอื่น การใช้ไสยศาสตร์ เวทมนตร์ ปาฏิหาริย์ เรือ่ งเหนือธรรมชาติ
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 211
2.เรื่ องทางเพศ ระดับ 3 ตารางที่ 7.28 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านเพศในรายการเฉพาะ ไม่เหมาะสาหรับเด็กและเยาวชน
ประเด็น
คาอธิบาย
สรีระและการแต่งกาย
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
การแสดงออกถึง สัมพันธภาพทางเพศที่ ส่งผลให้เกิดความรู้สึก ทางเพศ และกิรยิ าท่าทางที่ สือ่ ความหมายทางเพศที่ ไม่เหมาะสม
- มีได้ โดยหากเป็นการแสดงสัมพันธภาพทางเพศ ในลักษณะผิดประเพณี ผิดกฎหมาย หรือผิด ธรรมชาติ ต้องไม่เน้นขัน้ ตอนการกระทาอย่าง ชัดเจน และต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
ค่านิยมเรือ่ งเพศที่ไม่ เหมาะสมกับสังคม และ วัฒนธรรมไทย
- มีได้ โดยหากเป็นการแสดงค่านิยมเรือ่ งเพศทีไ่ ม่ เหมาะสม ต้องไม่เน้นขั้นตอนการกระทาอย่าง ชัดเจน และต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
212 | แ น ว คิ ด
3.ภาษา ระดับ 3 ตารางที่ 7.29 แสดงเนื้อหาที่ควรจากัดด้านภาษาในรายการเฉพาะ ไม่เหมาะสาหรับเด็กและเยาวชน
ประเด็น
คาอธิบาย
การใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมาะสม ล่อแหลม หมิ่นเหม่ สือ่ ความหมายในเชิงลบ
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
การใช้ภาษาทีไ่ ม่สุภาพ ก้าวร้าว รุนแรง ดูหมิ่น นามาซึ่งการลดทอน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
ภาษาสแลง
- มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมาย อื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
จากที่ กล่ าวมาทั ้ง หมด เมื่ อน ารายการแต่ ละประเภท สัญ ลั กษณ์ ม าเปรี ย บเทีย บโดยจ ากั ด เฉพาะเนื อ้ หาที่ ควรจ ากั ด 3 ด้ านอันเป็ นตัวชีว้ ัดสาหรั บการจัดประเภทรายการจะได้ ดังตาราง ด้ านล่ าง
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 213
ตารางที่ 7.30 แสดงการเปรียบเทียบระดับความเหมาะสมในเนือ้ หาที่ควรจากัด 3 ด้าน ตามสัญลักษณ์ต่างๆ
สัญลักษณ์ ‘ป’ (3 – 5 ปี) ‘ด’ (6 – 12 ปี) ‘ท’ (ทุกวัย) ‘น 13’ (น้อยกว่า 13 ค ว ร ไ ด้ รั บ คาแนะนา) ‘น 18’ (น้อยกว่า 18 ค ว ร ไ ด้ รั บ คาแนะนา) ‘ฉ’ (เฉพาะผู้ใหญ่)
214 | แ น ว คิ ด
ระดับความเหมาะสม พฤติกรรมและ เรือ่ งทางเพศ ภาษา ความรุนแรง ( sex ) ( language ) ( violence ) 0 0 0 1
0
0
1
1
1
2
1
1
2
2
2
3 มีได้ ต้องไม่ขัด ต่อกฎระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกี่ยวข้อง
3 มีได้ ต้องไม่ขัด ต่อกฎระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกี่ยวข้อง
3 มีได้ ต้องไม่ขัด ต่อกฎระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกี่ยวข้อง
4.4 จุดเด่ นและข้ อจากัดระบบการจัดระดับความเหมาะสม ของรายการโทรทัศน์ ไทย ในปี พ.ศ.2550 โครงการศึกษาและเฝ้ าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของ สังคม (Media Monitor) ได้ ทําการศึกษาถึงจุดเด่นและข้ อจํากัดของการใช้ ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ หรื อการจัดเรตติ ้ง ในฟรี ทีวี 6 สถานี ซึง่ ผลการวิเคราะห์เป็ นที่นา่ สนใจ ดังนี ้ 1.จุดเด่ นของระบบ - การคํานึงถึงเนื ้อหาด้ านสร้ างสรรค์ หรื อเนื ้อหาที่ควรส่งเสริ ม (ระบบ +6) ซึ่งถือว่าเป็ นความตังใจดี ้ เป็ นความพยายามสร้ างแรงจูงใจ ทางบวกให้ กบั ผู้ผลิตรายการ รวมทังอาจนํ ้ าไปสูก่ ลไกการสนับสนุนผู้ผลิต รายการคุณภาพในรูปแบบต่าง ๆ - การพิจารณาถึง ‘มิติเนื ้อหาที่ควรมีการจํากัด’ แล้ วแบ่งออกเป็ น 3 ประเด็ น ประกอบด้ ว ย ความรุ น แรง เรื่ อ งทางเพศ และภาษา นับ ว่ า สอดคล้ องกับ แนวทางการจัดระบบเรตติง้ ในต่างประเทศ ไม่ว่า จะเป็ น สหรัฐอเมริ กา อังกฤษ เป็ นต้ น - การสร้ างระบบหน่ว ยวัด เนื อ้ หาแบ่ง ออกเป็ นหมวดหมู่ได้ ละเอียด ครอบคลุมประเด็นที่เป็ นข้ อกังวลของสังคม อีกทังยั ้ งมีการจําแนก ระดับความรุนแรง ความเข้ ม ความอ่อนของเนื ้อหาเหตุการณ์ที่ปรากฏตาม ประเด็นต่างๆ ด้ วย - การพิจารณาคํานึงถึงความสําคัญ ‘ระดับความเข้ ม-อ่อนของ เนื ้อหา’ (degree of content) และ ‘ปริ มาณความถี่ของเนื ้อหาที่ควรจํากัด’ (frequency of limited content) ซึ่งเป็ นปั จจัยสําคัญที่ใช้ ในการพิจารณา ให้ ระดับเรตติ ้งที่หลายๆ ประเทศคํานึงถึง กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 215
- การสร้ างระบบจํ า แนกเนื อ้ หาตามอายุข องผู้ช มที่ มี ค วาม เหมาะสมกับสภาพสังคมไทย โดยพิจารณาอ้ างอิงองค์ความรู้ จากศาสตร์ ความรู้ หลากหลายสาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น พัฒ นาการและจิ ตวิ ท ยาการ เรี ยนรู้ของกลุม่ ผู้ชม โดยเฉพาะผู้ชมที่เป็ นเด็กและเยาวชน 2.ข้ อจากัดของระบบ - ในแง่มิติโครงสร้าง การวางระบบการจัดระดับความเหมาะสม ของเนื ้อหารายการโทรทัศน์ โดยมี ‘วิธีการพิจารณาเนื ้อหา’ 2 แบบ คือ 1. ระบบเนื ้อหาที่ควรส่งเสริ ม (+6) และระบบเนื ้อหาที่ควรจํากัด (-3) สร้ าง ความสับสนต่อผู้ชม ผู้ผลิตและหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง - ในมิ ติหน่วยวัด ในระบบ-3 การนําเอาหน่วยวัดที่มีความ แตกต่างในมิติ /ประเด็ น/ลักษณะเฉพาะทางสังคมศาสตร์ มารวมเอาไว้ ด้ วยกันในหมวดเดียวกัน (เช่นในหมวดพฤติกรรมและความรุนแรง) ทําให้ มี การกระจายเนื ้อหาที่ไม่สมดุล และหยาบมากเกินไป จนขาดนัยยะสําคัญ ของประเด็นเนื ้อหานันๆ ้ ไป - มี เนื ้อหาที ่มิสามารถตรวจจับได้ ระบบการจัดระดับความ เหมาะสมของรายการโทรทัศน์ไม่สามารถชี ้วัดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมบาง ประเภท - มี เนื ้อหาที ่มิควรตรวจวัด ในคู่มือเรตติง้ มีตวั แปรที่ครอบคลุม ประเด็นปั ญหาที่ควรกังวลเอาไว้ ครบถ้ วน แต่สําหรับบางตัวแปรอาจไม่มี ความจําเป็ น เช่นภาษาสแลง และสถานที่ที่ไม่เหมาะสมสําหรับเด็ก - การขาดคาอธิ บายในระดับตัวแปร ประเด็นเนื ้อหาที่ควรจํากัด บางประเด็นยังขาดการให้ อรรถาธิบายที่ชดั เจน ซึ่งอาจส่งผลให้ เกิดความ
216 | แ น ว คิ ด
เข้ าใจผิดต่อผู้ที่ต้องใช้ ระบบดังกล่าวในการจัดระดับความเหมาะสมของ เนื ้อหารายการ - รายการที ่ยงั ไม่ ถูกนิ ยามให้ชดั เจน ระบบการจัดระดับความ เหมาะสมของรายการโทรทัศ น์ ไ ม่ ส ามารถสะท้ อนเนื อ้ หากลุ่ ม ผู้ ชม เป้าหมายที่เหมาะสมตามคําจํากัดความของรายการอย่างแท้ จริ ง ดังจะ เห็นได้ จากกรณีรายการประเภท ‘แนะนําสินค้ า’ (advertorial program) - การให้ระดับความเข้ม-อ่อนและความถี ่-บ่อยของเนื ้อหา ใน เอกสารคู่มือการจัดระดับความเหมาะสมของเนื ้อหารายการโทรทัศน์ใน ส่วนที่เป็ นตารางแจงระดับ และตารางเปรี ยบเทียบระดับเนื ้อหาในตัวแปร แต่ละตัว เปรี ย บเทีย บแต่ละเรตติ ง้ นัน้ มี ทัง้ ความชัด เจนและคลุม เครื อ ตลอดจนความไม่สมํ่าเสมอของการประเมิน อีก ทัง้ การศึก ษาชิ น้ ดัง กล่า วยัง ได้ มี ค วามพยายามเสนอแนว ทางการพัฒนาระบบเรตติ ้งให้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ ้น ใน 4 ด้ านด้ วยกัน ดังนี ้ (โครงการศึกษาและเฝ้ าระวังสื่อเพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor) 2550ข) ต่ อ ระบบเรตติ ง้ ควรนํ า เอาระบบประเมิ น คุ ณ ภาพเนื อ้ หา รายการโทรทัศน์ (ระบบ +6) ออกจากการพิจารณาระบบเรตติ ้ง เพราะเป็ น ระบบการประเมินคุณภาพเนื ้อหาที่เน้ นใช้ เพื่อเป็ นมาตรการส่งเสริ มผู้ผลิต ให้ ผลิตผลงานสร้ างสรรค์ และไม่มีผลโดยตรงอย่างมีนยั ยะสําคัญต่อระบบ การจําแนกเนื ้อหาตามช่วงอายุผ้ ชู ม (ซึง่ พิจารณาจากเนื ้อหาที่ควรจํากัด-3) การนําเอาระบบ +6 ออกนัน้ มีผลทําให้ เกิดความชัดเจน ความ เข้ าใจง่าย และสะดวกต่อการพิจารณาให้ เรตติ ้งผู้ที่เกี่ ยวข้ อง (เพราะจะ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 217
เหลือเฉพาะเนื ้อหาที่ควรจํากัดเท่านัน้ ที่ต้องคํานึงถึง ) ซึ่งตรงกับหลักการ ทัว่ ไปในการพิจารณาเรตติ ้งที่นานาประเทศคํานึงถึง อย่างไรก็ตาม ระบบการประเมินเนื ้อหาที่ควรส่งเสริ มที่นําออกไป นัน้ สามารถใช้ เป็ นมาตรการทางบวกต่อผู้ผลิตในลักษณะการชมเชย/การ ยกคุณค่า/การมอบรางวัลแก่ผ้ ผู ลิต /รายการที่มีเนื ้อหาส่งเสริ มคุณค่าใน ด้ านต่างๆ ซึ่งอาจกระทําโดยหน่วยงานอิสระ รัฐ หรื อองค์กรภาคประชา สังคม หรื อองค์กรวิชาชีพสือ่ ที่มีความเป็ นกลาง ซึ่งจะทําให้ เกิดผลที่ชดั เจน และน่าเชื่อถือ และสร้ างความยอมรับในวงการผู้ผลิตสือ่ ซึง่ จะส่งผลให้ เกิด แรงจูงใจในการผลิตผลงานที่สร้ างสรรค์ตอ่ ไปในอนาคต ต่ อระดับหน่ วยวัด (content indicator) ควรคัดแยกเนื ้อหาที่ ต่าง ยุบรวมเนื ้อหาที่ซํ ้า ตัดออกเนื ้อหาที่ไม่จําเป็ น แล้ วจัดกลุ่มใหม่จาก เดิม ที่มี 3 ประเด็นเนื ้อหาหลักคือ ‚SEX-LANGUAGE-VIOLENCE‛ และมี จํานวนตัวแปรทังหมดรวม ้ 19 ตัว โดยนํา 19 ตัวแปรนันมาจั ้ ดกลุม่ ใหม่เป็ น 10 ประเด็นเนื ้อหาหลัก (โปรดดูคําอธิบายตัวแปรในส่วนถัดๆไป) ดังนี ้ - ความรุนแรง (violence) จากตัวแปร V2, V3, V4, V6, V7 - ความรุนแรงแบบจินตนาการ (fantasy violence) โดยมีตวั แปร V8 - เรื่ องน่าสะพรึงกลัว (horror) จากตัวแปร V1, V5 - ภาษา (language) โดยมีตวั แปร L1 - บทสนทนา (dialogue) จากตัวแปร L2 - เพศ (sex) โดยมีตวั แปร S2 - ฉากโป๊ เปลือย (nudity) จากตัวแปร S1 218 | แ น ว คิ ด
- แก่นเรื่ อง (theme) โดยมีตวั แปร V11, V13, S3 - การเหยียด (discriminate) จากตัวแปร V12 - สิง่ ผิดกฎหมาย, ยาเสพติด การพนัน, ประเวณี (illegal, drugs, gambling, sex trafficking) โดยมีตวั แปร V9 ส่วนตัวแปรที่ควรตัดออกจากการวัดคือ ตัวแปร V10, และ L3 เพราะไม่มีความจําเป็ นและยากในการวัด ต่ อการวัดระดับความเข้ ม-อ่ อนของเนือ้ หา เนื่องจากเดิมเป็ น การพิจารณาที่ ‘ภาพ เสียง และเนื ้อหา’ โดยใช้ กฎ 2 ข้ อ คือ ‘กฎความเข้ ม สูงสุด’ ที่คํานึงถึง ‘ระดับความเข้ ม-อ่อนของเนื ้อหาที่ควรจํากัดในแต่ละตัว แปร’ และ ‘กฎความถี่’ ที่คํานึงถึงความถี่บ่อยของเนื ้อหาที่ควรจํากัดในแต่ ละตัวแปร อย่างไรก็ดี กฎทังสองข้ ้ อมีข้อจํากัดในการวัดและตีความ ซึ่ง ก่อให้ เกิดความยากในการนําเอาไปใช้ (โดยเฉพาะเมื่อต้ องการความเที่ยง) ถึงกระนัน้ คําทังสองก็ ้ เป็ นสิ่งที่ควรคงเอาไว้ ในการพิจารณาเรตติ ้ง แต่ควร วางกฎเกณฑ์ให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกันทังระบบ ้ เพราะพบว่าบางตัวแปร ใช้ ระดับความเข้ มของเนื ้อหา และบางตัวแปรใช้ ความถี่หรื อการปรากฏ บ่อยของเนื ้อหา และบางตัวแปรก็ใช้ ทงความเข้ ั้ มและความถี่ของเนื ้อหาใน การพิจารณาเรตติ ้ง นอกจากนี ้แล้ ว ยังมี 4 ปั จจัย ที่ควรคํานึงถึงในการพิจารณาระดับ ความรุนแรงคือ 1.ความสมจริ งในฉาก เหตุ การณ์ (realism of setting) สามารถทําได้ จริ งในโลกหรื อชีวิตประจําวันได้ หรื อไม่ หรื อความรุ นแรงใน จินตนาการ (ที่ไม่สามารถทําได้ จริ ง)
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 219
2.รูปแบบวิธีการใช้ ความรุ นแรงนัน้ ๆ (physical forms of the violence) ยกตัวอย่างเช่น การใช้ อาวุธมีด ปื น ในการทําร้ ายผู้อื่น ย่อมมี ความรุนแรงกว่าการใช้ หมัด มือ ตบ ต่อย 3.ระดับความรุ นแรง ที่เกิดขึน้ กับเหยื่อ (degree of harm to victims) เช่น หากแค่โดนต่อย ตบ ก็จะมีระดับความรุนแรงน้ อยกว่าการฆ่า การข่มขืน 4.ความรุ นแรงที่เกิดขึน้ ในบ้ าน ที่พักอาศัย (physical setting of the violen) ซึง่ จะมีระดับความรุนแรงมากกว่านอกบ้ าน ต่ อการให้ อรรถาธิบายตัวแปร เนื่องจากเอกสารคู่มือได้ มี ความพยายามที่จ ะอธิ บ ายหน่วยวัดต่า งๆ ให้ มี ค วามละเอี ยด แต่ก ลับ พบว่าความละเอียดนันกลั ้ บได้ สร้ างความคลุมเครื อ ไม่ชัดเจน และเปิ ด ช่ อ งให้ ตี ค วามที่ มัก ก่ อ ให้ เ กิ ด ความผิ ด เพี ย้ นไป จึ ง ควรมี ก ารเขี ย น อรรถาธิบายหน่วยวัดแต่ละตัวให้ ชดั เจน อย่างประกันความคงตัวของการ ตีความได้ หรื อมีการนิยามศัพท์ไว้ อย่างกระจ่างชัด ด้ วยวิธีการยกตัวอย่าง พร้ อมอธิ บายวิธีการใช้ เรตติง้ ในกรณีต่างๆ เพื่อที่ผ้ ใู ช้ จะสามารถวินิจฉัย เนื ้อหาต่างๆ ไปได้ ในทิศทางเดียวกัน
220 | แ น ว คิ ด
กล่องที่ 7.6
การรับรู้และทัศนคติของประชาชนต่อ การจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ โทรทัศน์
ศูนย์เครือข่ายวิชาการเพือ่ สังเกตการณ์และวิจยั ความสุขชุมชน (ศูนย์วิจยั ความสุข ชุมชน) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (2551) ได้ทาการสารวจการรับรู้และทัศนคติของ ประชาชนต่อการจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชน อายุ 12 ปีขึ้นไป ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ผลสรุปสาระสาคัญของงาน ชิน้ นี้ ได้แก่ ด้านพฤติกรรมการดูโทรทัศน์ สถานีโทรทัศน์ทมี่ ีการติดตามรับชมบ่อย ที่สุด ได้แก่ ช่อง 7 และช่อง 3 โดยชอบดูชอ่ ง 3 มากกว่าช่อง 7 เล็กน้อย ซึ่งทั้ง 2 ช่องนีไ้ ด้รับความนิยมสูงกว่าช่องอืน่ ๆ อย่างชัดเจน สาหรับรายการประเภทสาระ ความรูท้ ี่ชอบดู ได้แก่ ข่าวประจาวัน รายการวิเคราะห์ข่าว และสารคดีชีวิตสัตว์ ป่า ไม้ พันธุ์พืช ส่วนรายการประเภทบันเทิงที่ชอบดู ได้แก่ ละคร ภาพยนตร์ และเกมโชว์ ตัวอย่างส่วนใหญ่มักดูโทรทัศน์ในช่วงเย็นถึงค่าตั้งแต่เวลา 18.01 ” 22.00 น. ทั้งใน วันจันทร์ ” ศุกร์ และวันเสาร์ ” อาทิตย์ ” วันหยุด และสังเกตได้วา่ ในช่วงกลางวัน ตั้งแต่เวลา 08.01 ” 16.00 น. มีตัวอย่างที่ดูโทรทัศน์ในวันเสาร์ ” อาทิตย์ ” วันหยุด ในสัดส่วนทีส่ ูงกว่าวันจันทร์ ” ศุกร์ อย่างชัดเจน ส่วนในด้านของการรับรู้ และทัศนคติตอ่ การจัดระดับความเหมาะสมของ สือ่ ผลการสารวจการเคยพบเห็นสัญลักษณ์เรตติ้งรายการโทรทัศน์ พบว่า สัญลักษณ์ ท เป็นสัญลักษณ์ที่เคยพบเห็นมากทีส่ ุด รองลงมาได้แก่สัญลักษณ์ น 13+ น 18+ ด 6+ ฉ และ ป 3+ ตามลาดับ และพบว่าตัวอย่างส่วนใหญ่ สามารถระบุปา้ ยสัญลักษณ์ได้ถูกต้องตรงกับความหมาย โดยเฉพาะ ‘รายการที่ เหมาะสาหรับผู้ชมทุกวัย’ มีตัวอย่างระบุปา้ ยสัญลักษณ์ได้ถูกต้องสูงทีส่ ุด ซึ่งการให้ ความสนใจฟังการบอกสัญลักษณ์เรตติ้งก่อนเริ่มรายการในระดับ ‘ปานกลาง’ และ เห็นว่าความชัดเจนในการบอกสัญลักษณ์เรตติ้งก่อนเริม่ รายการอยู่ในระดับ ‘ค่อนข้างชัดเจน’ เมือ่ พิจารณาความตรงกับเนือ้ หาในการแสดงสัญลักษณ์เรตติง้ พบว่า ตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่ารายการโทรทัศน์แต่ละรายการมีแนวโน้มจัดเรตติ้งตรงกับ เนือ้ หา โดยเฉพาะสารคดี รายการเด็ก และเกมโชว์ สาหรับสถานีโทรทัศน์ชอ่ งต่างๆ ก็มีแนวโน้มจัดเรตติ้งตรงกับเนือ้ หาเช่นกัน โดยเฉพาะช่อง 7 กับช่อง 3 เฉพาะตัวอย่างทีอ่ ายุต่ากว่า 18 ปี เมื่อพบสัญลักษณ์เรตติ้ง น 18+ หรือ ฉ ขณะดูโทรทัศน์คนเดียว พบว่าส่วนใหญ่มักจะดูตามปกติ ส่วนการปฏิบัติของพ่อ แม่ผู้ปกครองเมือ่ พบสัญลักษณ์ดงั กล่าวขณะดูโทรทัศน์กับบุตรหลาน พบว่าประมาณ เกือบครึ่งหนึ่ง ระบุดตู อ่ โดยพ่อแม่ ผู้ปกครองให้คาแนะนาว่าไม่เหมาะสมอย่างไร ข้อเสนอแนะในการจัดเรตติง้ รายการโทรทัศน์ประเด็นสาคัญที่พบ ได้แก่ 1) ควรควบคุมการจัด เรตติ้งให้ตรงกับเนือ้ หารายการ 2) ควรมีรายการสาระ ความรู้ในสัดส่วนที่มากขึ้น 3) ควรเพิ่มระดับเรตติ้งจากัดอายุผู้ชมในบางรายการ กว่าจะเป็ | 221แสดงเร 4) ควรระบุเกณฑ์การจัดเรตติ้งให้ชัดเจน และน…รายการโทรทั 5) ควรปรัศน์บในดวงใจครอบครั เปลีย่ นสัญลัวกฯ ษณ์ ตติ้งให้เข้าใจง่ายขึน้ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ตามลาดับ อีกทั้ง คณะผูศ้ ึกษา ได้จัดทาข้อเสนอแนะเพิ่มเติมทีน่ ่าสนใจไว้วา่
กล่องที่ 7.6
การรับรู้และทัศนคติของประชาชนต่อ การจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ โทรทัศน์ (ต่อ)
ข้อเสนอแนะในการจัดเรตติง้ รายการโทรทัศน์ประเด็นสาคัญที่พบ ได้แก่ 1)ควรควบคุมการจัดเรตติง้ ให้ตรงกับเนือ้ หารายการ 2)ควรมีรายการสาระความรู้ในสัดส่วนทีม่ ากขึ้น 3)ควรเพิ่มระดับเรตติ้งจากัดอายุผชู้ มในบางรายการ 4)ควรระบุเกณฑ์การจัดเรตติ้งให้ชดั เจน 5)ควรปรับเปลีย่ นสัญลักษณ์แสดงเรตติง้ ให้เข้าใจง่ายขึ้นทัง้ เด็กและผู้ใหญ่ ตามลาดับ อีกทั้ง คณะผูศ้ ึกษา ได้จัดทาข้อเสนอแนะเพิ่มเติมทีน่ ่าสนใจไว้ว่า 1.ควรเข้มงวดในการควบคุมความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ ประเภท ละคร รายการเพลง มิวสิควิดีโอ และภาพยนตร์ มากกว่ารายการประเภทอื่นๆ เพราะเป็นรายการทีม่ ีเยาวชนอายุตากว่ ่ า 18 ปี ชอบดูมากทีส่ ุด 2. ควรให้ความสาคัญมากเป็นพิเศษในการจัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์ที่ ออกอากาศในช่วงเวลา 18.01 ” 22.00 น. เพราะเป็นช่วงทีม่ ีการดูโทรทัศน์มากกว่า ช่วงเวลาอื่นๆ ในทุกเพศ ทุกวัย 3. ควรปรับปรุงการแสดงสัญลักษณ์เรตติ้งให้มีความน่าสนใจมากขึ้น และ ควรนาสัญลักษณ์เรตติ้งโดยเฉพาะระดับ น 13+ น 18+ หรือ ฉ แสดงค้างไว้บน จอโทรทัศน์มุมใดมุมหนึ่ง ตลอดรายการนัน้ ๆ 4. ควรรณรงค์ให้พอ่ แม่ ผู้ปกครองใส่ใจคุณภาพของสือ่ ที่บุตรหลานรับชม คอยควบคุมสือ่ ให้เหมาะสมกับอายุของบุตรหลาน และรณรงค์ให้ชว่ งเวลาที่ดูโทรทัศน์ เป็นช่วงเวลาของครอบครัว คือให้อยู่พร้อมหน้ากัน ดูโทรทัศน์ดว้ ยกันทั้งครอบครัว หากพบรายการใดที่ไม่เหมาะสมกับอายุของบุตรหลาน พ่อแม่ ผู้ปกครองก็ควร เปลี่ยนช่อง หรือให้คาแนะนาในสิง่ ที่ถูกที่ควร
222 | แ น ว คิ ด
ส่วนที่ 3
กระบวนการ และ ประสบการณ์
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 223
บทที่ 8 รางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว (Family Awards) คืออะไร? ‚…การติชมอย่างเดียวอาจไม่ช่วยให้พัฒนารายการโทรทัศน์ที่ดีได้ แต่ควรจะมี บทบาทในการเสริมแรงกระตุ้นเชิงบวกให้แก่ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ ซึ่งเป็นที่มา ของการจัดทารางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจ หรือ Family Awards…‛ - ผศ.ดร.ฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน การมอบรางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว หรื อ Family Awards เป็ นกิ จ กรรมสาคัญ หนึ่ง ของเครื อ ข่า ยครอบครั ว เฝ้ าระวัง และ สร้ างสรรค์ สื่อ ที่เกิดมาจากแนวคิดในการสนับสนุนผู้ผลิตสื่อโดยเฉพาะ ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ซงึ่ เป็ นสือ่ กระแสหลัก ทังนี ้ ้ เพื่อให้ กาลังใจต่อผู้ผลิต นันๆที ้ ่มีความตังใจในการผลิ ้ ตสือ่ ที่ดีและมีความเหมาะสม โดยเครื อข่ายฯ เห็ น ว่ า การมอบรางวัล ฯ จะส่ง เสริ ม ก าลัง ใจให้ ผ้ ูผ ลิต ที่ ท ารายการดี มี ประโยชน์ รวมถึ ง ท าให้ ส าธารณะเห็ น ว่ า รายการที่ ดี ควรเป็ นรายการ อย่างไร ผ่า นกระบวนการการด าเนิน งานที่ค รอบคลุมทัง้ มิ ติ วิธี การเชิ ง ปริ มาณ (Quantitative Method) และวิธีการเชิงคุณภาพ (Qualitative Method)
224 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
แนวคิดทั่วไปของรายการที่ได้ รับรางวัล Family Awards อย่างที่กล่าวมา Family Award คือรางวัลที่ทางเครื อข่ายฯมอบให้ ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ที่ทารายการดีและมีความเหมาะสม โดยคาว่า ‘ดี’ และ ‘เหมาะสม’ นี ้ ไม่ได้ หมายถึงดีและเหมาะสมในความหมายทัว่ ไป แต่ เป็ นในความหมายของ ดี ที่ต้องมี สาระประโยชน์ ใน 6 ประเด็น ที่ควร ส่งเสริ มให้ มีในรายการโทรทัศน์ เรี ยกว่า +6 และ เหมาะสม กล่าวคือ ต้ อง ไม่มีเนือ้ หาที่ควรหลีกเลี่ยงหรื อมีต้ องมีให้ เหมาะสมกับสัญ ลักษณ์ ใน 3 ประเด็น เรี ยกว่า -3 ทังนี ้ ้ เราเรี ยกแนวคิดดังกล่าวว่า ‘แนวคิ ดการจัดระดับ ความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ +6-3 (Rating)’ อันประกอบด้ วย เนือ้ หาทีค่ วรมี การส่งเสริ ม 6 ประเด็น ได้ แก่ 1)เนื ้อหาที่สง่ เสริ มให้ เกิ ด ระบบวิ ธีคิ ด 2)เนื อ้ หาที่ส่งเสริ มความรู้ ในเรื่ องวิ ช าการ 3)เนือ้ หาที่ ส่งเสริ มให้ เกิดการพัฒนาด้ านคุณธรรมและจริ ยธรรม 4)เนื ้อหาที่สง่ เสริ มให้ เกิ ดการเรี ยนรู้ เกี่ ย วกับ ทักษะชี วิต 5)เนือ้ หาที่ส่งเสริ มให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ยอมรั บ เข้ า ใจ และชื่ น ชมความหลากหลายในสัง คม และ 6)เนื อ้ หาที่ ส่งเสริ มการพัฒนาความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว และเนื ้อหาที่ควรมีการจากัด 3 ประเด็น ได้ แก่ 1)พฤติ กรรมและ ความรุนแรง พิจารณาจากภาพ เสียงและเนื ้อหา ที่อาจทาให้ เกิดการเรี ยนรู้ ที่ไม่เ หมาะสม ในเรื่ อ งพฤติ กรรมที่รุน แรง หรื อน าไปสู่ความรุ นแรงและ อันตราย 2)เรื่ องทางเพศ พิจารณาจากภาพ เสียงและเนื ้อหา ที่อาจทาให้ เกิดการเรี ยนรู้ ที่ไม่เหมาะสม ในด้ านการแต่งกาย การแสดงออกทางเพศ การแสดงท่าทางหรื อกิริยาที่ไม่เหมาะสมในทางเพศ การล่วงละเมิดทาง เพศ การสนทนาหรื อใช้ คาพูดเกี่ยวกับเนื ้อหาทางเพศที่ล่อแหลม หรื อไม่ เหมาะสม การสร้ างทัศนคติทางลบเกี่ยวกับเนื ้อหาทางเพศในประเด็นต่างๆ เช่น การเหยียดเพศ เป็ นต้ น และ 3)ภาษา พิจารณาจากภาพ เสียงและ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 225
เนื อ้ หา ที่ อ าจท าให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ที่ ไ ม่เ หมาะสมในเรื่ อ งการใช้ ภ าษา ไวยากรณ์ทางภาษา การใช้ ภาษาที่ลอ่ แหลม หมิ่นเหม่ สื่อความหมายใน เชิงลบ รวมถึงการใช้ ภาษาที่ก้าวร้ าว ดูหมิ่น นามาซึง่ การลดทอนศักดิ์และ ศรี ของผู้ฟัง เหตุที่เรานาแนวคิดดังกล่าวมาเป็ นแนวคิดหลักในการคัดเลือก รายการ เนื่องมาจากแนวคิดการจัดระดับความเหมาะสมของสือ่ โทรทัศน์นี ้ เป็ นกลไกสาคัญในการที่จะสนับสนุนให้ เกิ ด รายการโทรทัศ น์ ที่ส่ง เสริ ม การศึกษาและการเรี ยนรู้ ให้ กบั เด็กและเยาวชนมากขึ ้น ในขณะเดียวกันก็ เป็ นกลไกสาคัญ ในการปกป้ องเด็ ก และเยาวชนที่ จ ะไปบริ โภคสื่อ ที่ ไ ม่ เหมาะสมกับ วัย ของตนอี ก ด้ ว ย และเป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ ส าคัญ ในการให้ คาแนะนาสาหรับผู้ชมโดยเฉพาะพ่อแม่หรื อผู้ปกครอง ในการเลือกรับชม สือ่ ทางโทรทัศน์ที่เหมาะสมกับวัยของเด็กและเยาวชนในครอบครัว ดังนัน้ รายการที่ได้ รับรางวัล Family Awards จึงเป็ นรายการ ที่ดีและเหมาะสมอยู่บนฐานของแนวคิด +6-3 อย่ างที่กล่ าวมา
226 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
บทที่ 9 กระบวนการดาเนินงาน รางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว กว่าจะมาเป็ นรางวัลรายการโทรทัศน์ 1 รายการนัน้ เครื อข่ายฯ ต้ องดาเนินการเพื่อคัดเลือกรายการเป็ นจานวนมากผ่านทางกระบวนวิธี ต่างๆ อธิบายโดยสรุปได้ 5 ขันตอนหลั ้ ก ดังนี ้ แผนภาพที่ 9.1 แสดงกระบวนการดาเนินงานรางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว
คัดเลือก รายการ
การประเมิน รายการ
สารวจ ความคิดเห็นฯ
กระบวนการจัด Family Awards จัดทาและ มอบรางวัล
เก็บรวบรวมและ วิเคราะห์ขอ้ มูล
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 227
1) การประเมินรายการ ขัน้ ตอนแรกในการด าเนิ น งานเพื่ อ ค้ น หารายการโทรทัศ น์ ใ น ดวงใจครอบครั ว นัน้ คื อ เราต้ อ งท าการประเมิ น รายการโทรทัศ น์ นัน้ ๆ เสีย ก่อ น หรื อ ที่เ ราเรี ย กว่า ‘การประเมิ น รายการโทรทัศ น์ ภายหลัง การ ออกอากาศ (Post-rate)’ โดยรายการที่ น ามาประเมิ น ได้ แ ก่ รายการ โทรทัศ น์ ท างฟรี ที วี ทุ ก รายการซึ่ ง ถื อ เป็ นสถานี โ ทรทั ศ น์ แ บบไม่ เ ก็ บ ค่าบริ การจากผู้รับชมทัง้ 6 สถานี ได้ แก่ ช่อง 3, 5, 7, MCOT, สทท. และ ThaiPBS ประเมินอย่ างไร? วิธีก ารที่เ ราประเมิ น คือ ใช้ แบบประเมิ น แนวคิ ดการจัดระดับ ความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ +6-3 เป็ นเครื่ องมือในการประเมิน ร่ วมกับประสบการณ์ ในการรับชมในอดีต หมายความว่าการประเมินของ เราจะประกอบด้ วย - ส่ วนที่ดูอย่ างจริ งจังเพื่อการประเมินโดยเฉพาะ เราจะทา การเลือกรายการทุกรายการโดยจากัดช่วงเวลาที่ออกอากาศ เช่น อาจจะ เป็ นเวลา 1 เดือน 3 เดือน หรื อมากกว่านันตามแต่ ้ เป้าหมายและวิธีการใน แต่ละครัง้ - ส่ วนที่เราเคยรั บชมมาจากประสบการณ์ เป็ นส่วนที่ช่วย เสริ มความชัดเจนในการประเมิน เนื่องจากบางครัง้ รายการที่เราประเมิน อาจมีความไม่คงที่ในด้ านคุณภาพและเนื ้อหา ซึ่งส่งผลให้ ตอนที่ถูกเลือก มาประเมิ น ไม่เ ป็ นไปตามคุณภาพของรายการจริ ง ๆ ผู้ประเมิ นอาจน า ประสบการณ์ ก ารรั บชมรายการนัน้ ๆ ในอดีตมาร่ วมแลกเปลี่ยนรวมถึ ง ติดตามรายการนันๆ ้ อีกสักระยะเพื่อให้ ได้ ผลตรงกับความเป็ นจริ งมากทีส่ ดุ 228 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ภาพที่ 9.1 แสดงตัวอย่างแบบประเมินรายการโทรทัศน์ โดยใช้แนวคิด +6-3
จากแบบประเมิน จะเห็นได้ ว่า เรามีการจาแนกออกเป็ น 2 ส่วน ได้ แก่ ส่วนที่เป็ นการประเมินเนื ้อหาที่ควรส่งเสริ มในรายการโทรทัศน์ (+6) จานวน 6 ด้ าน และส่วนของการประเมินเนื ้อหาที่ควรจากัด (-3) จานวน 3 ด้ าน ครอบครัวอาสาซึ่งเป็ นผู้ประเมินจะทาการเลือกรายการในแบบ ประเมิน ที่ ต รงกับ รายการโทรทัศน์ ที่ ป ระเมิ น นัน้ ๆ เช่น หากรายการ ก. ส่งเสริ มทักษะชีวิตระดับ 2 ผู้ประเมินก็จะทาการเลือกที่ช่องระดับ 2 ในด้ าน ทักษะชีวิต (อยูใ่ น +6) และหากมีเรื่ องราวทางเพศที่ไม่เหมาะสมระดับ 1 ผู้ ประเมินก็จะทาการเลือกที่ช่องระดับ 1 ในด้ านเพศ (อยูใ่ น -3) แล้ วเรารู้ ได้อย่างไรว่ารายการนัน้ ๆ มี ความรุ นแรงหรื อระดับใน ด้านต่างๆ เท่าไร ? 1.1 ด้ านเนือ้ หาที่ควรส่ งเสริมในรายการโทรทัศน์ +6 หากเป็ นในส่วนที่หนึ่งซึ่งเป็ นการประเมินรายการด้ านเนือ้ หาที่ ควรส่งเสริ ม หรื อ +6 เราจะดูได้ ดังนี ้
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 229
ตารางที่ 9.1 แสดงการเปรียบเทียบระดับความเข้มข้นของเนื้อหาที่ควรส่งเสริม 6 ด้าน
ประเด็น กลุ่มที่ 1 ระบบคิด
ระดับ ระดับ 0 ไม่มี ระดับ 1 น้อย ระดับ 2 ปาน กลาง ระดับ 3 มาก
กลุ่มที่ 2 เสริมสร้าง ความรูท้ าง วิชาการ
ระดับ 0 ไม่มี ระดับ 1 น้อย ระดับ 2 ปาน กลาง ระดับ 3 มาก
ระดับ 0 ไม่มี กลุ่มที่ 3 เสริมสร้างด้าน ระดับ 1 น้อย คุณธรรมและ จริยธรรม ระดับ 2 ปาน กลาง ระดับ 3 มาก กลุ่มที่ 4 ความเข้าใจ เกี่ยวกับทักษะ
ระดับ 0 ไม่มี ระดับ 1 น้อย
คาอธิบาย ไม่มี คิดเป็นระบบ แสดงให้เห็นถึงวิธคี ิดที่เป็น ระบบ ไม่ซับซ้อน คิดแบบสร้างสรรค์ ทาให้เห็นแนวคิดในเชิง บวก สร้างสรรค์ และนาไปสู่การจุด ประกายการคิดทีส่ ร้างสรรค์ คิดแบบเชือ่ มโยง ทาให้เรียนรู้ และสร้างวิธี คิดทีส่ ามารถเชือ่ มโยงเหตุและผล ในเรือ่ ง ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ไม่มี ความรูว้ ิชาการในสาขาใดสาขาหนึง่ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ความรูว้ ิชาการหลายสาขาทีผ่ สมผสาน กัน เช่น นาเรือ่ งวิทยาศาสตร์รวมกับ ศิลปศาสตร์ ความรูว้ ิชาการหลายสาขาทีส่ ามารถทาให้ เห็นถึงการประยุกต์ใช้กับชีวิตได้ ไม่มี ทาให้เห็นและรู้จักเรือ่ งของคุณธรรมและ จริยธรรมในด้านต่างๆ ที่จาเป็นต้องมีใน สังคม ทาให้เข้าใจถึงความจาเป็นของคุณธรรม และจริยธรรมในด้านต่างๆ ที่จาเป็นต้องมี ในสังคม ทาให้เกิดแรงบันดาลใจทีจ่ ะนาคุณธรรม และจริยธรรมในรายการมาใช้กับชีวิต ไม่มี ทาให้เห็นและรู้จักเรือ่ งราวต่างๆ ในสังคม ทั้งในส่วนของปัญหาในสังคม รวมทั้ง ทักษะในการใช้ชวี ิตของคนในสังคมที่
230 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ในการใช้ชวี ิต ของคนในสังคม ระดับ 2 ปาน กลาง ระดับ 3 มาก กลุ่มที่ 5 ความรู้ในการ อยู่รว่ มกันใน ความแตกต่าง หลากหลายใน สังคม
ระดับ 0 ไม่มี ระดับ 1 น้อย
ระดับ 2 ปาน กลาง ระดับ 3 มาก
ระดับ กลุ่มที่ 6 ระดับ ความรัก ความเข้าใจใน เรือ่ งครอบครัว ระดับ กลาง ระดับ
0 ไม่มี 1 น้อย 2 ปาน 3 มาก
เหมาะสมกับแต่ละวัย ทาให้เกิดความรู้และเข้าใจถึงแนวทางใน การแก้ไขปัญหาให้กับตนเอง และผูอ้ ื่นได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม ทาให้เกิดแรงบันดาลใจในการดาเนินชีวิต อย่างถูกต้องเหมาะสม ไม่มี ทาให้รู้และเข้าใจถึงความแตกต่าง หลากหลายในด้านต่างของสังคม เช่น ชนชั้น สถานะ เชือ้ ชาติ ศาสนา ความ เชือ่ เพศ สังคม วัฒนธรรม ที่มอี ยู่ใน สังคม โดยปราศจากอคติเชิงลบ ทาให้เกิดการเรียนรู้ที่จะอยู่ในความ แตกต่างได้อย่างสมานฉันท์ ทาให้เกิดแรงบันดาลใจให้เกิดความรักใน สังคม รวมถึงการปกป้องสิทธิ การ เยียวยาความไม่เท่าเทียมในความแตกต่าง ที่เกิดขึ้นในสังคม เป็นเครือ่ งมือในการ เรียกร้องความเป็นธรรม ช่วยแก้ไขปัญหา ได้ ไม่มี ทาให้รู้และเข้าใจถึงบทบาทของคนใน ครอบครัว แสดงให้เห็นถึง หน้าที่ สิทธิ และแง่มมุ ต่างๆของคนในครอบครัว ทาให้เกิดความเข้าใจและเรียนรู้ในการแก้ไข ปัญหาภายในครอบครัวอย่างถูกต้อง สร้างแรงบันดาลใจให้เกิดความรัก ความเข้าใจของคนในครอบครัว
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 231
1.2 ด้ านเนือ้ หาที่ควรจากัด -3 ในส่วนของเนื ้อหาที่ควรจากัด หรื อ -3 นัน้ เราสามารถดูได้ เป็ น 3 ระดับเช่นกัน โดยถ้ าหากรายการนันมี ้ ระดับของ 3 ด้ านดังกล่าวในระดับ -
น้อย นั่นอาจหมายความว่า ไม่มี เว้ นแต่เลี่ยงไม่ได้ ไม่พบ บ่อย เป็ นไปตามบริ บทของเรื่ อง ไม่แสดงขัน้ ตอน ผลการ กระทา (พอให้ เข้ าใจว่ามีฉากนัน้ แต่ไม่บอ่ ย)
-
กลาง คือ มีการเน้ นผลของการกระทา ผู้ถูกกระทาไม่นาเสนอ ภาพการทรมาน ทุรนทุราย (ไม่เน้ นผลแต่เห็นขันตอน ้ ดูที่ตาม บริ บท เช่น ฉากข่มขืนให้ เห็นฉากแรกว่าดึงขึ ้นเตียงแล้ วตัดฉาก ไปเลย ต้ องไม่โป๊ )
-
มาก คือ มีการแสดงให้ เห็นถึงขันตอนและผล ้
อย่ า งไรก็ ต าม การประเมิ น ด้ านเนื อ้ ที่ ค วรจ ากั ด อั น ได้ แก่ พฤติกรรมและความรุ นแรง เพศ และภาษานี ้ ต้ องใส่ใจในรายละเอีย ด ปลีกย่อยอย่างมาก เนื่องจากเป็ นตัวนาไปสู่การจาแนกประเภทรายการ ตามสัญลักษณ์ ต่างๆ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การจาแนกประเภทรายการใน เป็ น ป, ด, ท, น13, น18 ,และ ฉ ขึ ้นอยู่กบั ระดับความเข้ มข้ นของเนื ้อหาที่ ควรจากัด 3 ด้ านนี ้ ทังนี ้ ้ เรามีการจาแนกกลุม่ ประเภทเนื ้อหาในแต่ละประเด็นอีกขัน้ หนึง่ เพื่อความสะดวกในการประเมินเป็ นรหัสต่างๆ เช่น V1, V2, S1, S2, L1 เป็ นต้ น
232 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ตารางที่ 9.2 แสดงการเปรียบเทียบระดับความเข้มข้นของเนื้อหาที่ควรจากัด 3 ด้าน
ประเด็น
ระดับ
คาอธิบาย
สาหรับ รายการ ประเภท
ประเด็นพฤติกรรมและความรุนแรง (Violence) (V1) การแสดงที่เศร้าโศกหรือน่ากลัว กลุ่มที่ 1 การแสดงทีท่ าให้ ผู้ชมเกิดความรูส้ ึก สะเทือนใจ สะเทือน ขวัญ หวาดกลัว หรือวิตก
ระดับ 0 ไม่มี (ดูเพิม่ เติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และ ผู้ถูกกระทา 3) หากการแสดงขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา ต้องไม่เน้นผลจาก การกระทานั้น ด้วยเทคนิคพิเศษและ เสียงประกอบเพือ่ เพิ่มความตื่นเต้น ระทึกขวัญ 4) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความเสีย่ งเฉพาะบุคคลให้ขนึ้ ข้อความกากับ ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจากการ กระทานัน้ 2) สามารถเห็นภาพการตาย การ บาดเจ็บ บาดแผล เลือดตกยางออก กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 233
‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’
‘น13’ และ ‘น18’
โดยไม่เห็น การทรมาน การทุรน ทุราย หรือความสยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความเสีย่ งเฉพาะบุคคลให้ขนึ้ ข้อความกากับ ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง
‘ฉ’
(V2) การใช้กาลังทาร้ายคนอื่น ตนเอง สิง่ ของ กลุ่มที่ 1 การใช้ความรุนแรง ต่อตนเอง
ระดับ 0 ไม่มี ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ และไม่ นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และ ผลจากการกระทานั้น 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ เฉพาะบุคคล ให้ขึ้นข้อความกากับ ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) ไม่เน้นให้เห็นขั้นตอนการกระทา และผลจากการกระทาที่ชัดเจน โดย ควรใช้เทคนิคพิเศษเพือ่ ลดความ รุนแรง (ดูเพิม่ เติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) 2) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความเสีย่ งเฉพาะบุคคล ให้ขึ้น ข้อความกากับ ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ
234 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’
‘น13’ และ ‘น18’
‘ฉ’
กลุ่มที่ 2 การใช้ความรุนแรง ต่อผูอ้ ื่น
ระดับ 0 ระดับ 1
ระดับ 2
ระดับ 3
และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ไม่มี ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ และไม่ นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ต้องไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา หรือหากแสดง ขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา ต้องไม่เน้นผลจากการกระทา 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความเสีย่ งเฉพาะบุคคล ให้ขึ้น ข้อความกากับ มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจากการ กระทานัน้ 2) หากเป็นการแสดงการตาย การ บาดเจ็บ บาดแผล เลือดตกยางออก ต้องไม่เห็นการทรมาน การทุรน ทุราย หรือความสยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความเสีย่ งเฉพาะบุคคล ให้ขึ้น ข้อความกากับ มีได้ โดยหากเป็นการแสดงถึง พฤติกรรมที่โหดร้าย ป่าเถือ่ น ผิดมนุษย์ เช่น การฆ่าตัดคอ การสังหารหมู่ การข่มขืน ฯลฯ ต้องไม่เน้นขั้นตอนของการกระทา กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 235
‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’
‘น13’ และ ‘น18’
‘ฉ’
ผู้ถูกกระทา และผลจากการถูก กระทาที่ชดั เจน และต้องไม่ขดั ต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง ระดับ 0 ไม่มี เว้นแต่เป็นการสาธิตเพือ่ ให้ กลุ่มที่ 3 ความรู้ หรือพัฒนาการเรียนรู้ การใช้ความรุนแรง ต่อสิ่งมีชีวิตอื่นหรือ ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง วัตถุสิ่งของ ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้และไม่ นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่แสดงขั้นตอนการกระทา และ สิ่งทีถ่ ูกกระทา หรือหากแสดง ขั้นตอนการกระทา และสิง่ ที่ถูก กระทา ต้องไม่เน้นผลจากการกระทา เช่น ภาพการตาย การทรมาน ความทุรนทุราย หรือการบาดเจ็บ เห็นบาดแผล เลือดตกยางออก สยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความเสีย่ งเฉพาะบุคคล ให้ขึ้น ข้อความกากับ ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และสิ่งทีถ่ ูกกระทา รวมทั้งผลจาก การกระทานั้น 2) หากเป็นการแสดงการตาย การ บาดเจ็บ บาดแผล เลือดตกยางออก ต้องไม่เห็นการทรมาน การทุรน ทุราย หรือความสยดสยอง 3) หากเป็นการแสดงความสามารถ 236 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’
‘น13’ และ ‘น18’
ระดับ 3
ระดับ 0 กลุ่มที่ 4 การใช้อาวุธในการ ทาร้ายผูอ้ ื่น ตนเอง สิ่งของ ระดับ 1
ระดับ 2
หรือความเสีย่ งเฉพาะบุคคล ให้ขึ้น ข้อความกากับ มีได้ โดยหากเป็นการแสดงถึง พฤติกรรมที่โหดร้าย ป่าเถือ่ น ผิดมนุษย์ เช่น การเชือดคอสัตว์ การทรมานสัตว์ดว้ ยวิธีตา่ งๆ ฯลฯ ต้องไม่เน้นขั้นตอนของการกระทา สิ่งทีถ่ ูกกระทา และผลจากการถูก กระทาที่ชดั เจน และต้องไม่ขดั ต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง ไม่มี เว้นแต่เป็นการแสดงของตัว ละครที่ไม่ใช่มนุษย์ หรือไม่มลี ักษณะ คล้ายคลึงมนุษย์ หรือไม่เป็นเนือ้ หา หลักของเรือ่ งหรือการนาเสนอ โดย ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูง 2) ไม่แสดงถึงกระบวนการที่ชัดเจน หรือเน้นผลที่ได้รบั จากการใช้อาวุธ มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย สามารถแสดงถึงกระบวนการแต่ไม่ เน้นผลทีไ่ ด้รับจากการใช้อาวุธ
ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ระดับ 0 ไม่มี เว้นแต่เป็นการแสดงของตัว กลุ่มที่ 5 ละครที่ไม่ใช่มนุษย์ หรือไม่มลี ักษณะ การดัดแปลงสิง่ ของ คล้ายคลึงมนุษย์ หรือไม่เป็นเนือ้ หา รอบตัวให้เป็นอาวุธ หลักของเรือ่ ง โดยไม่นาเสนอใน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 237
‘ฉ’
‘ป’
‘ด’ และ ‘ท’
‘น13’ และ ‘น18’ ‘ฉ’ ‘ป’
ในการทาร้ายผูอ้ ื่น ตนเอง สิง่ ของ
กลุ่มที่ 6 ความรุนแรงใน รูปแบบจินตนาการ (Fantasy Violence)
ลักษณะชี้นา ชักจูง ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่แสดง ถึงกระบวนการที่ชดั เจนหรือเน้นผลที่ ได้รับ (ดูเพิม่ เติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย สามารถแสดงถึงกระบวนการ แต่ไม่ เน้นผลทีไ่ ด้รับ (ดูเพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ระดับ 0 ไม่มี เว้นแต่เป็นการแสดงของตัว ละครที่ไม่ใช่มนุษย์ หรือไม่มลี ักษณะ คล้ายคลึงมนุษย์ เช่น สุนัข โดยไม่ เป็นเนือ้ หาหลักของเรือ่ งหรือการ นาเสนอ และไม่นาเสนอในลักษณะ ชี้นา ชักจูง ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่เน้นขั้นตอนการกระทาและ ผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจากการ กระทา ด้วยเทคนิคพิเศษและเสียง ประกอบ (ดูเพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย สามารถแสดงขั้นตอนการกระทา และผู้ถูกกระทา รวมทั้งผลจากการ
238 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
‘ด’ และ ‘ท’ ‘น13’ และ ‘น18’ ‘ฉ’ ‘ป’
‘ด’ และ ‘ท’
‘น13’ และ
กระทานัน้ ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง
‘น18’ ‘ฉ’
(V3) การกระทาทีผ่ ิดกฎหมายที่ไม่เกีย่ วข้องกับการใช้ความรุนแรง ระดับ 0 ไม่มี กลุ่มที่ 1 การพนัน การใช้ ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง สารเสพติด ของมึน ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ และไม่ เมา ค้าประเวณี นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่แสดงกระบวนการกระทาที่ ชัดเจน 3) แสดงให้เห็นถึงผล หรือโทษที่ ได้รับจากการกระทานั้น 4) ขึ้นข้อความกากับว่าเป็นการ กระทาทีผ่ ิดกฎหมาย ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูง 2) สามารถแสดงกระบวนการของ การกระทา 3) แสดงให้เห็นถึงผลหรือโทษที่ได้รบั จากการกระทานั้น 4) ขึ้นข้อความกากับว่าเป็นการ กระทาทีผ่ ิดกฎหมาย ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 239
‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’
‘น13’ และ ‘น18’
‘ฉ’
(V4) พฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสม กลุ่มที่ 1 พืน้ ทีห่ รือสถานที่ เฉพาะที่ไม่เหมาะ สาหรับเด็ก
กลุ่มที่ 2 เหตุการณ์ กิจกรรม หรือ พฤติกรรม หรือ
ระดับ 0 ไม่มี เว้นแต่เป็นการสาธิตให้ความรู้ หรือพัฒนาการเรียนรู้ หรือเป็นเรือ่ ง ในจินตนาการ (แฟนตาซี) หรือ การ์ตูนสาหรับเด็ก โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง 3) ไม่เน้นการแสดงถึงกิจกรรมที่ ดาเนินในสถานทีน่ ั้น ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเรือ่ งใน จินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตนู สาหรับเด็ก โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง 3) ไม่เน้นการแสดงถึงกิจกรรมที่ ดาเนินในสถานทีน่ ั้น ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ระดับ 0 ไม่มี ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของ เรือ่ งที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1)ไม่เป็นองค์ประกอบทีพ่ บบ่อยในการ
240 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
‘ป’
‘ด’ และ ‘ท’
‘น13’ และ ‘น18’ ‘ฉ’ ‘ป’ ‘ด’ และ
ความเชือ่ ที่ชักจูง ไปสูอ่ นั ตรายหรือ เสีย่ งต่อการดาเนิน ชีวิตในวัยเด็ก ระดับ 2
ระดับ 3 กลุ่มที่ 3 การแสดงให้เห็น เหตุการณ์หรือ อันตรายร้ายแรง
ระดับ 0 ระดับ 1
นาเสนอ 2) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความเสีย่ งเฉพาะบุคคล ให้ขนึ้ ข้อความกากับ เตือนถึงอันตราย จากการเลียนแบบ มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูง 2) หากเป็นการแสดงความสามารถ หรือความเสีย่ งเฉพาะบุคคล ให้ขึ้น ข้อความกากับเตือนถึงอันตรายจาก การเลียนแบบ มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ไม่มี (ดูเพิม่ เติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5) ไม่มี เว้นแต่เป็นการสาธิตให้ความรู้ หรือเป็นไปตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่เป็น องค์ประกอบทีพ่ บบ่อยในการนาเสนอ (ดูเพิ่มเติมกล่องที่ 7.4 และ 7.5)
ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง
กลุ่มที่ 4 เนือ้ หาที่กอ่ ให้เกิด อคติ ทัศนคติเชิง
ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ระดับ 0 ไม่มี ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยเป็นการ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 241
‘ท’
‘น13’ และ ‘น18’
‘ฉ’ ‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’ ‘น13’ และ ‘น18’ ‘ฉ’ ‘ป’ ‘ด’
เรียนรู้เกีย่ วกับสภาพปัญหาสังคม ลบ การดูหมิ่น หรือสะท้อนสังคมทีเ่ ป็นจริงเพือ่ เหยียดหยาม ประโยชน์ในการเรียนรู้ ในประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับเชือ้ ชาติ ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย ชาติพันธุ์ เพศ ต้องไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง ศาสนา สถานะ ให้เกิดการดูถูก เหยียดหยาม และ ชนชัน้ ทัศนคติ เกิดการเลือกปฏิบตั ิ ทางลบ ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ระดับ 0 ไม่มี กลุ่มที่ 5 การใช้ไสยศาสตร์ ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง เวทมนตร์ ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเป็น ปาฏิหาริย์ การเรียนรู้ หรือให้ความรู้ดา้ น เรือ่ งเหนือ วิชาการ หรือเป็นเรือ่ งในจินตนาการ ธรรมชาติ (แฟนตาซี) หรือการ์ตูนสาหรับเด็ก โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง ให้หลงเชือ่ งมงาย 3) ขึ้นข้อความกากับเตือนถึงเนือ้ หา ที่ตอ้ งใช้วิจารณญาณในการรับชม ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ ง โดย 1) ไม่นาเสนอในลักษณะชีน้ า ชักจูงให้ หลงเชือ่ งมงาย 2) ขึ้นข้อความกากับเตือนถึงเนือ้ หา ที่ตอ้ งใช้วิจารณญาณในการรับชม ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง 242 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
และ ‘ท’ ‘น13’ และ ‘น18’ ‘ฉ’ ‘ป’ ‘ด’ และ ‘ท’
‘น13’ และ ‘น18’
‘ฉ’
ประเด็นเรือ่ งเพศ (Sex) (S1) การแต่งกายของตัวละคร พิธีกร ผูอ้ ยู่ในรายการ ระดับ 0 ไม่มีการแต่งกายที่ไม่มิดชิดไม่ กลุ่มที่ 1 เหมาะสมกับกาลเทศะ และประเพณี การแต่งกายที่ไม่ โดยเฉพาะตัวละคร พิธีกร หรือผู้ สุภาพ แสดงให้เห็น ร่วมรายการทีเ่ ป็นเด็ก หรือเยาวชน สัดส่วนของร่างกาย ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับวัย อย่างชัดเจน เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ งทีไ่ ม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเป็นเรื่องใน จินตนาการ (แฟนตาซี) หรือการ์ตนู สาหรับเด็ก หรือเป็นการแต่งกายใน กิจกรรมที่ได้รับการยอมรับในสังคม ถูกต้องตามกาลเทศะ และตามกติกา สากล (Dress Code) ระดับ 1 ไม่มีภาพสรีระ และการแต่งกายที่โป๊ ไม่มิดชิด ทีม่ ีเจตนาเพือ่ ยัว่ ยุ กามารมณ์ เว้นแต่เป็นการแต่งกายใน กิจกรรมที่ได้รับการยอมรับในสังคม ถูกต้องตามกาลเทศะ และตามกติกา สากล (Dress Code) ระดับ 2 มีภาพสรีระและการแต่งกายที่ไม่ มิดชิดได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ งที่ไม่ อาจหลีกเลี่ยงได้ ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง
‘ป’ และ ‘ด’
‘ท’ และ ‘น13’
‘น18’
‘ฉ’
(S2) การแสดงออกในความสัมพันธ์ทางเพศ กลุ่มที่ 1 การแสดงออกถึง สัมพันธภาพทาง เพศทีส่ ่งผลให้เกิด
ระดับ 0 ไม่มี
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 243
‘ป’ และ ‘ด’
ความรูส้ ึกทางเพศ และกิรยิ าท่าทางที่ สือ่ ความหมายทาง เพศทีไ่ ม่เหมาะสม
กลุ่มที่ 2 ค่านิยมเรือ่ งเพศที่ ไม่เหมาะสมกับ สังคม และ วัฒนธรรมไทย
ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง 3) เป็นการแสดงความรักทีเ่ หมาะสม ตามประเพณี 4) ไม่แสดงถึงขั้นตอนการกระทา หรือการใช้กาลังที่ชัดเจน ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ งทีไ่ ม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ ระดับ 3 มีได้ โดยหากเป็นการแสดง สัมพันธภาพทางเพศในลักษณะผิด ประเพณี ผิดกฎหมาย หรือผิด ธรรมชาติ ต้องไม่เน้นขัน้ ตอน การกระทาอย่างชัดเจน และต้องไม่ ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่ เกี่ยวข้อง ระดับ 0 ไม่มี
ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ หรือเป็น เรือ่ งในจินตนาการ (แฟนตาซี) หรือ การ์ตูนสาหรับเด็ก หรือเป็นการ เรียนรู้เกีย่ วกับสภาพปัญหาสังคม หรือสะท้อนสังคมทีเ่ ป็นจริงเพือ่ ประโยชน์ในการเรียนรู้ โดย
244 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
‘ท’ และ ‘น13’
‘น18’ ‘ฉ’
‘ป’ และ ‘ด’ ‘ท’ และ ‘น13’
1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) ไม่นาเสนอในลักษณะชี้นา ชักจูง ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ งทีไ่ ม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ ระดับ 3 มีได้ โดยหากเป็นการแสดงค่านิยม เรือ่ งเพศที่ไม่เหมาะสม ต้องไม่เน้น ขั้นตอนการกระทาอย่างชัดเจน และ ต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และ กฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง
‘น18’ ‘ฉ’
ประเด็นด้านภาษา (Language) (L1) การใช้ภาษา ระดับ 0 ไม่มี กลุ่มที่ 1 การใช้ภาษาทีไ่ ม่ เหมาะสม ล่อแหลม หมิ่นเหม่ สือ่ ความหมาย ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ในเชิงลบ ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่เป็น องค์ประกอบทีพ่ บบ่อยในการนาเสนอ
กลุ่มที่ 2 การใช้ภาษาทีไ่ ม่ สุภาพ ก้าวร้าว ดูหมิ่น นามาซึ่ง
ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ งทีไ่ ม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ โดยไม่ทาให้เกิดความ เข้าใจทางภาษาผิดเพีย้ น ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ระดับ 0 ไม่มี
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 245
‘ป’ และ ‘ด’ ‘ท’ และ ‘น13’ ‘น18’
‘ฉ’ ‘ป’ และ ‘ด’
การลดทอนศักดิ์ศรี ของผูฟ้ ัง ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดยไม่เป็น องค์ประกอบทีพ่ บบ่อยในการนาเสนอ ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ งทีไ่ ม่อาจ หลีกเลี่ยงได้
กลุ่มที่ 3 การใช้ภาษาแสลง/ ไวยากรณ์/การออก เสียง
ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง ระดับ 0 ไม่มี
ระดับ 1 ไม่มี เว้นแต่เป็นไปตามบริบทของเรือ่ ง ที่ไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ โดย 1) ไม่เป็นองค์ประกอบที่พบบ่อยใน การนาเสนอ 2) หากเป็นคาพูดในชีวิตประจาวัน ตามยุคสมัย ต้องไม่หยาบคาย หรือ ก้าวร้าว ระดับ 2 มีได้บา้ ง ตามบริบทของเรือ่ งทีไ่ ม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ โดยไม่ทาให้เกิดความ เข้าใจทางภาษาผิดเพีย้ น ระดับ 3 มีได้ โดยต้องไม่ขัดต่อกฎ ระเบียบ และกฎหมายอืน่ ที่เกีย่ วข้อง
246 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
‘ท’ และ ‘น13’ ‘น18’ ‘ฉ’ ‘ป’ และ ‘ด’ ‘ท’ และ ‘น13’
‘น18’
‘ฉ’
ประเมินโดยใคร? ในขั น้ ตอนนี น้ ั บ ได้ ว่ า เป็ นขั น้ ตอนที่ ใ ช้ วิ ธี ก ารเชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative Method) และผู้ประเมินก็คือ ครอบครัวอาสาที่ผ่านการอบรม เรี ยนรู้ และฝึ กฝนการประเมินรายการโทรทัศน์อย่างเป็ นระบบบนพื ้นฐาน แนวคิด +6-3 ซึ่งต้ องใช้ เวลาในการดูและประเมินรายการโทรทัศน์ตลอด 24 ชัว่ โมงที่ออกอากาศ (ในทางปฏิบตั ิเรามีการอัดรายการนันๆ ้ ในรู ปแบบ ของ CD เพื่อความสะดวกในการประเมิน) การประเมินครัง้ ที่ผ่านๆ มา ในการประเมินครั ง้ แรกปี พ.ศ.2552 เครื อข่ายฯได้ นาผลการ ประเมินในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนมิถนุ ายน พ.ศ.2551 มาใช้ ในขณะที่ ครัง้ ที่สองปี พ.ศ.2553 เครื อข่ายฯได้ ประเมินรายการโทรทัศน์ทกุ รายการ ในช่วงวันที่ 1-7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 ที่สาคัญคือ ในขณะเดียวกันการ ประเมินก็เป็ นการจัดระดับความเหมาะสมของรายการนันไปพร้ ้ อมกันเพื่อ สารวจว่า รายการนัน้ ๆ ที่ อ อกอากาศมี ก ารจัด สัญ ลัก ษณ์ ที่ ต รงกับ ทาง เครื อข่ายฯหรื อไม่ หากไม่ตรง รายการนัน้ จะไม่ถูกนาเข้ าสู่กระบวนการ ต่อไป
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 247
2) การคัดเลือกรายการเพื่อเข้ารอบสาหรับการ สารวจความคิดเห็น ขันตอนนี ้ ้ เป็ นขันตอนที ้ ่ดาเนินการหลังจากการประเมินรายการ เสร็ จสิ ้น ซึง่ ถือเป็ นการคัดเลือกรายการที่ได้ รับการประเมินจากในรอบแรก เพื่อนาไปสูก่ ระบวนการต่อไป เมื่ อ ปรากฏผลการประเมิ น รายการทัง้ หมด เราจะน าผลการ ประเมินมาผ่านกระบวนการพูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ ผลการประเมินเหล่านัน้ โดยอาสาสมัครผู้ประเมินและผู้ที่เกี่ ยวข้ องเพื่ อ ทบทวนตลอดจนสร้ างความมัน่ ใจและความชัดเจนในผลการประเมิน ในกรณีที่รายการใดรายการหนึ่งมีผ้ ทู กั ท้ วงเป็ นจานวนมากว่าไม่ เป็ นไปตามสิ่งที่ปรากฏตามที่ผ้ อู ื่นเคยรับชม จะมีการนาไปประเมินใหม่ เพื่อทบทวนอีกครัง้ หนึ่ง เหตุที่เป็ นเช่นนีเ้ นื่องจากรายการบางรายการมี การนาเสนอที่ไม่แน่นอน บางตอนมีความรุ นแรงในระดับที่สงู ในขณะที่ บางตอนอาจไม่ มี เ ลย ส่ง ผลให้ ก ารประเมิ น อาจมี ค วามคลาดเคลื่ อ น อย่างไรก็ ต าม จากที่ก ล่าวไปว่า เรามี ก ารประเมิน จากทัง้ ส่ว นที่ ดูอย่า ง จริ ง จั ง เพื่ อ การประเมิ น โดยเฉพาะ และส่ ว นที่ เ ราเคยรั บ ชมมาจาก ประสบการณ์ ทาให้ เราสามารถตัดสินใจประเมินได้ อย่างลงตัวในความ เหมาะสมจากที่กระบวนการพูดคุยแลกเปลี่ ยนนัน้ กล่าวคือ หาจุดดุลย ภาพของผลจากการประเมินกับจากประสบการณ์ที่ผา่ นมาในการรับชม
248 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
กล่องที่ 9.1
Pre-Rate VS Post-Rate
ในการประเมิ น รายการโทรทั ศ น์เ พื่ อ จั ดระดั บ ความเหมาะสมหรือ จั ด เรตติ้ ง ตาม สัญลักษณ์ เราอาจกล่าวอย่างกว้างๆ ได้ว่ามีการประเมินอยู่ 2 รูปแบบ คือ การ ประเมิ น ก่ อ นการออกอากาศ (pre-rate) และการประเมิ นหลั งการออกอากาศ (post-rate) การประเมินก่อนออกอากาศนั้น เป็นหน้าที่ของสถานีโทรทัศน์แต่ละสถานีที่ จะต้อ งจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์นั้นๆ เป็นการภายใน โดยใช้ เกณฑ์การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ +6-3 เช่นเดียวกับการ ประเมินรายการหลังออกอากาศซึ่งดาเนินการโดยผู้ชมหรืออาสาสมัครผู้ประเมิน แต่ในทางปฏิบัติ บ่อยครั้งที่ผลการประเมินรายการก่อนออกอากาศและ หลังออกอากาศปรากฏไม่ตรงกัน อาจเนื่องมาจากดุลยพินิจและความเข้าใจในแนวคิด การประเมินที่มีความแตกต่างกัน ตลอดจนความรู้สึก/การรับรู้ในระดับความรุนแรง ของเนื้อหาที่ควรจากัดทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ พฤติกรรมและความรุนแรง เพศ และภาษา ที่แตกต่างกัน อาจมาจากจุดยืนที่แตกต่างกัน คือ เป็นผู้ผลิต /สถานี กับเป็นผู้ชม/ ครอบครัว อย่างไรก็ตาม ผลการประเมินที่จัดทาโดยเครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและ สร้างสรรค์สื่อ ยึดตามผลการประเมินหลังการออกอากาศ (post-rate) เป็นหลัก ตามเกณฑ์การคัดเลือกรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว (Family Awards) ใน กรณีที่รายการใดมีผลปรากฏไม่ตรงกับผลการประเมินหลังออกอากาศ เราถือว่า รายการนั้นๆ เป็นอันตกไป กล่าวคือ ไม่นาเข้าสู่กระบวนการต่อไป
หากผลการประเมิ น ลงตัว เรี ย บร้ อยแล้ ว ต่ อ มาเรามี ก ารตัง้ คณะกรรมการเพื่ อ คัด เลื อ กเป็ นการเฉพาะ หรื อ เป็ นคณะกรรมการ กลัน่ กรองเนื ้อหารายการอีกจานวน 2 ชุด เพื่อนาไปสารวจต่อไป แบ่งเป็ น -คณะกรรมการพิจารณากลัน่ กรองรายการประเภทสัญลักษณ์ ‘ป’ และ ‘ด’ ประกอบด้ วยจิตแพทย์เด็กและผู้เชี่ ยวชาญทางพัฒนาการทาง สมอง เป็ นต้ น
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 249
-คณะกรรมการพิจารณากลัน่ กรองรายการประเภทสัญลักษณ์ที่ ไม่ใช่ ‘ป’ และ ‘ด’ ประกอบด้ วย ผู้ที่ทางานด้ านเด็กและครอบครั ว ผู้ที่ ทางานด้ านการรู้เท่าทันสือ่ เป็ นต้ น เหตุที่เป็ นเช่นนี ้ เพราะเราตระหนักดีว่า รายการแต่ละประเภท สัญลักษณ์ มีเอกลักษณ์ รวมถึงความแตกต่างเฉพาะตัว ซึ่งต้ องใช้ ความ เชี่ยวชาญในการคัดกรองเนื่องจากต้ องคานึงถึงทังมิ ้ ติด้านคุณภาพเนื ้อหา คุณภาพการผลิต มิติด้านเด็ก เยาวชนและครอบครัว มิติด้านการเท่าทัน สื่อ เป็ นต้ น ส่งผลให้ เราจาเป็ นต้ องจาแนกคณะกรรมการออกเป็ น 2 ชุด เพื่อรองรับกลุม่ ประเภทรายการที่มีเอกลักษณ์และต้ องการความเชี่ยวชาญ ที่แตกต่างกันในการพิจารณาคัดเลือก การคัดเลือกฯครัง้ ที่ผ่านๆ มา ในปี พ.ศ.2552 เราคัด เลื อ กโดยมี ก ารตัง้ คณะกรรมการเพื่ อ คัดเลือกรายการขึ ้น จานวน 20 คน ผ่านการทาแบบคัดเลือกโดยใช้ เกณฑ์ การคัดเลื อกตามประเด็น +6 จานวนด้ านละ 5 รายการ ดังนันรายการที ้ ่ ผ่านการคัดเลือกในปี แรกนันจะมี ้ จานวนทังสิ ้ ้น 30 รายการ ในขณะที่ปีที่ 2 พ.ศ.2553 คัด เลือ กโดยยึด เกณฑ์ ข องสัญ ลัก ษณ์ ก ารจัด ระดับ ความ เหมาะสมของรายการโทรทัศน์ ประกอบด้ วย ป3+,ด6+,ท,น13+,น18+ และ ฉ
250 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
การเปลี่ย นแปลงเกณฑ์ ก ารคัด เลือ กจากปี แรก ส่ง ผลให้ มี รายละเอียดที่ แตกต่า งจากเดิม โดยรายการ ‘ป3+’ และ ‘ด6+’ จะถูก คัดเลือกโดยผู้เชี่ยวชาญด้ านรายการเด็กและไม่ นาเข้ ากระบวนการต่อไป เนื่ อ งจากการวิ เ คราะห์ ร ายการเด็ ก ที่ ดี แ ละเหมาะสมนัน้ ต้ องใช้ ค วาม เชี่ ย วชาญเฉพาะทาง รวมถึ ง รายการ ‘ฉ’ นัน้ จากการประเมิ น ไม่ พ บ รายการใดที่จดั สัญลักษณ์ดงั กล่าวอย่างถาวร ดังนันจึ ้ งมีเพียงรายการ ‘ท’ ที่นามาผ่านการคัดเลือกจากทางคณะกรรมการผู้มีประสบการณ์ ทางาน ด้ านเด็ก เยาวชน และครอบครัวในประเด็นการเท่าทันสือ่ จานวนทังสิ ้ น้ 10 ท่าน ให้ ได้ รายการที่มีคา่ คะแนนมากที่สดุ จานวน 15 รายการ จากรายการ ที่เข้ ารอบทังหมด ้ ในขณะที่รายการ ‘น13+’ และ ‘น18+’ เนื่องจากการ ประเมินพบรายการที่จดั สัญลักษณ์ตรงกันจานวนน้ อยจึงไม่จาเป็ นต้ องทา การคัดเลือกอีกครั ง้ โดยจานวนรายการที่ผ่านการคัดเลือกรอบแรกนัน้ จานวนทังสิ ้ ้น 37 รายการ
3) การสารวจความคิดเห็น (Family Poll) รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว หลังจากกระบวนการคัดเลือกรายการจากคณะกรรมการฯเป็ น อันเสร็ จสิ ้น เครื อข่ายฯนาผลที่ได้ มาสร้ างเครื่ องมือเพื่อสารวจความคิดเห็น โดยสารวจเฉพาะรายการประเภทสัญลักษณ์ ‘ท’, ‘น13+’ และ ‘น18+’ เท่านัน้ เนื่องจากเหตุผลที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ นถึงความเฉพาะของรายการ เด็ก และการไม่ปรากฏของสัญลักษณ์ ‘ฉ’ ที่ถาวร ในการนี ้ เครื่ องมือที่เราเลือกใช้ คือการออกแบบสารวจความ คิดเห็นที่เรี ยกว่า โพลล์ (Poll) โดยถือเป็ นวิธีการเชิงปริ มาณ (Quantitative Method) หนึ่ง ประกอบกับขนาดของตัวอย่างจานวนไม่น้อยที่เราสารวจ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 251
และความเป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร คือ เราสารวจจากกลุม่ เป้าหมายที่ เป็ นครอบครั ว ทั่ว ประเทศเพื่ อ มุ่ง หวัง ว่า รายการที่ ไ ด้ รั บ รางวัลจะเป็ น รายการที่สะท้ อนความนิยมของครอบครัวจริ งๆ ไม่ใช่การประกวดเพื่อรับ การคัดเลือกหรื อเป็ นการให้ รางวัลจากคณะกรรมการเพียงคนกลุม่ เดียว ทา ให้ ผ ลการส ารวจของเราได้ รั บ การยอมรั บ และมี ค วามแม่ น ย า/ความ น่าเชื่อถือ ถึงกับมีคากล่าวของผู้ที่ได้ รับรางวัล Family Awards มากมาย รวมถึงผู้ที่ได้ มาสัมผัสงานของเรา ในทานองเดียวกันว่า ‚รางวัลนี ้ แตกต่าง จากรางวัลอืน่ ๆ เพราะถือเป็ นรางวัลทีม่ าจากผูช้ มจริ งๆ‛ กล่องที่ 9.2
โพลล์กบั ความน่าเชือ่ ถือ
รศ.วัฒนา สุนทรธัย (2549) สานักวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อธิบายไว้ว่า โพลล์ (Poll) คือ การหยั่งเสียง หมายถึง การสารวจความคิดเห็นของประชาชนต่อ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ณ ช่วงเวลาหนึ่ง ดังนั้น ผลการสารวจดังกล่าวจะสะท้อนความ คิดเห็นของประชาชนต่อเรื่อ งนั้นๆ ณ ช่วงเวลาที่ทาการสารวจเท่านั้น เมื่อ เวลา เปลี่ยนแปลงไป ความคิดเห็นดังกล่าวก็เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ผลของโพลล์นั้นย่อม มีทั้งคนที่ชื่นชมและผิดหวัง โดยถ้าผลโพลล์ตรงกับความรู้สึกของตนก็รู้สึกชื่นชมและ มักกล่าวถึงโพลล์ในแง่ความแม่นยา ในทางตรงกันข้าม ถ้าผลโพลล์ขัดกับความรู้ สึก ของตนก็มักตั้งข้อสงสัยต่างๆ นานา อาทิ ขนาดตัวอย่างเพียงพอหรือไม่ ผู้ทามี ความเป็นกลางหรือไม่ บางคนถึงกับกล่าวว่า ‚ไม่เห็นมาถามตนเองเลย หากมาถาม แล้วผลการสารวจอาจไม่ออกมาเป็นแบบนั้นก็ได้‛ ทัง้ นี้ การประเมินความแม่นยาของโพลล์ ต้องดูจากปัจจัย 2 ประการเป็น สาคัญ ได้แก่ - ขนาดของตัว อย่าง คื อ ถ้า ตัว อย่ างมีขนาดใหญ่แล้ว โพลล์ก็ มีความ แม่นยามาก แต่ถ้าตัวอย่างมีขนาดเล็กแล้วโพลล์ก็มีความแม่นยาน้อย - ความเป็นตัวแทนที่ดขี องประชากร เนื่องจากความเป็นตัวแทนสามารถ สะท้อนภาพหรือความต้องการ/ความรูส้ ึกทีแ่ ท้จริงของประชากรออกมาได้
252 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
การสารวจความคิดเห็นฯครัง้ ที่ผ่านๆ มา โดยในปี แรก พ.ศ.2552 หรื อ Family Awards 2009 ที่เราจัดนัน้ ผลสารวจกลับมาทังสิ ้ ้นจานวน 3,275 ชุด และปี ต่อมา พ.ศ.2553 ผล สารวจจานวนทังสิ ้ ้น 3,295 ชุด โดยปรากฏจานวนรายการที่นาไปสอบถาม ทัง้ สิ น้ 30 รายการ (พ.ศ.2552) และ 24 รายการ (พ.ศ.2553) ซึ่ ง แบบสอบถามหรื อ Family Poll นี ้ ถือเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการวัดความ นิยมเชิงปริ มาณของรายการโทรทัศน์ที่สมควรได้ รับรางวัลหลังจากมีการ คัดเลือกเชิงคุณภาพแล้ วในเบื ้องต้ น โดยจัดสารวจครอบครัวทัว่ ประเทศ ไทย ผ่านทางไปรษณีย์ อีเมล์ และการลงพื ้นที่จดั กิจกรรม
ภาพที่ 9.2 แสดงตัวอย่างแบบสอบถาม (Family Poll) ปีที่ 1 และ 2
4) การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล อย่างที่กล่าวไปในขันตอนที ้ ่ผ่านมา เมื่อเราทาการสารวจด้ วยวิธี ต่า งๆ เช่ น ทางไปรษณี ย์ ลงพื น้ ที่ ทางสื่ อ สัง คมออนไลน์ ฯลฯ กับ กลุ่มเป้าหมายที่เป็ นผู้ชมทั่วประเทศ วิธีการที่เราได้ มาซึ่งผลการสารวจ เหล่านันมั ้ กจะเป็ นวิธีการเดียวกับที่เราส่งไป ซึ่งจะมีภาคีเครื อข่ายคอย อานวยความสะดวกและช่วยเหลือในการเก็บสารวจข้ อมูลทัว่ ประเทศ
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 253
จากนัน้ เมื่ อ เราได้ ผ ลการส ารวจข้ อ มู ล กลับ มาถึ ง วัน เวลาที่ ก าหนด เราจึ ง ด าเนิ น การป้ อน วิ เ คราะห์ แ ละประมวลผลข้ อ มูล ผ่ า น โปรแกรมสาเร็ จ รู ป เพื่อ ให้ ได้ ซึ่งจ านวนที่แน่นอนของผลสารวจจานวน ความนิยมในรายการต่างๆ กล่าวได้ ว่า ในขันตอนที ้ ่หนึ่งและสองนัน้ เป็ นวิธีการเชิงคุณภาพ เพื่อให้ ได้ มาซึ่งรายการโทรทัศน์ที่มี เนื ้อหาสาระที่ดีและเหมาะสมผ่านการ ประเมินและการคัดเลือกจากผู้เชี่ยวชาญบนฐานแนวคิดการจัดระดับความ เหมาะสมของรายการโทรทัศน์ +6-3 ต่อมาในขันตอนที ้ ่สามและขันตอนนี ้ ้ เป็ นการต่อยอดผลที่ได้ ในวิธีการเชิ งปริ มาณเพื่อสารวจความพึงพอใจ/ ความนิยมชมชอบรายการโทรทัศน์ตา่ งๆ ทีถ่ กู คัดกรองในเบื ้องต้ นแล้ วว่ามี เนื ้อหาสาระที่เหมาะสมต่อพัฒนาการตามวัยและสัญลักษณ์การจัดระดับ ความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ การเก็ บรวบรวมและวิเ คราะห์ ข้อ มูล ถื อเป็ นส่ว นที่ใ ช้ แรงกาย อย่างมากในการทางาน เนื่องจากครอบครั ว อาสาต้ องดาเนินการป้อน ข้ อมู ล จ านวนมากด้ วยตนเอง ประกอบกั บ ประมวลผล ตลอดจน ข้ อเสนอแนะต่างๆ เพื่อให้ ได้ รายการที่สมควรแก่รางวัลรายการโทรทัศน์ใน ดวงใจครอบครัว
5) การจัดทาและมอบรางวัลรายการโทรทัศน์ใน ดวงใจครอบครัว (Family Awards) เมื่อผลการสารวจถูกนามาประมวลโดยโปรแกรมสาเร็ จรู ปเสร็ จ สิ ้น เราก็ จะทราบแล้ วว่ารายการใดที่ ได้ รับความนิยมมากที่สุดและเป็ น
254 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
รายการที่ จ ะได้ รั บ รางวัลรายการโทรทัศ น์ ในดวงใจครอบครั ว (Family Awards) ซึง่ เราสามารถจาแนกประเภทรางวัลออกเป็ น 2 กลุม่ หลัก ได้ แก่ รางวัลมาตรฐาน คือ รางวัลสาหรับรายการที่ผ่านการคัดเลือกใน รอบแรกและได้ รั บ คะแนนเสี ย งจากการส ารวจ ซึ่ ง จะเป็ นไปตาม กระบวนการปกติดงั ที่กล่าวมา รางวัลพิ เศษ คือ รางวัลเพิ่มเติมที่ถูกจัดขึ ้นเนื่องในวาระพิเศษ อาจอยูน่ อกเหนือกระบวนการตามปกติที่กล่าวมา ทัง้ นี ้ ถ้ วยรางวัลที่เครือข่ ายจัดทานับเป็ นเอกลักษณ์ และไม่ มีท่ ีใดเหมือน เนื่ องจากเราได้ ออกแบบกันเองรวมถึงใส่ คุณ ค่ าของ ครอบครั วลงไปในรางวัล ดังที่กล่ าวมาว่ า เป็ นรายการขวัญใจของ ครอบครั วจริงๆ การจั ด ท าและมอบรางวั ล รายการโทรทั ศ น์ ในดวงใจ ครอบครัวที่ผ่านๆ มา การจัดเวทีมอบรางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครั วนัน้ ได้ รับการตอบรับเป็ นอย่างดีจากทังผู ้ ้ ผลิต ครอบครั ว และสังคมโดยรวม อย่างไรก็ตาม ในการจัดงานที่ผา่ นมาทังสองครั ้ ง้ มีความแตกต่างอย่างมาก ในประเภทของรางวัล สืบเนื่องมาจากเกณฑ์ในการคัดเลือกที่แตกต่างกัน แต่ ก ระนัน้ รางวัล นี ก้ ็ ยัง ถื อ เป็ นรางวัลที่ ม าจากผู้ช มจริ ง ๆ ไม่ ได้ มี ก าร ประกวดหรื อเปิ ดรับสมัครให้ เข้ าแข่งขัน แต่เป็ นรางวัลที่มีจากการบริ โภค จริ งจากผู้ชมจริ งทัว่ ประเทศ ซึง่ รายการที่ได้ ไม่มีโอกาสได้ ร้ ูลว่ งหน้ า รางวัลปี แรก (พ.ศ.2552) หรื อ Family Awards 2009 นัน้ ประกอบไปด้ วยรางวัลทังสิ ้ ้น 7 รางวัล จาแนกเป็ นรางวัลที่มาจากการ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 255
กระบวนการคัดเลือกตามปกติ 6 รางวัล (รางวัลมาตรฐาน) ซึ่งแบ่งตาม ประเด็นส่งเสริ มที่ควรมี 6 ด้ าน (+6) รางวัลที่ได้ นบั ว่าเป็ นรายการที่ได้ รับ การเลือกมากที่สดุ ในกลุ่มประเด็นของตน (ดังตารางด้ านล่าง) ในขณะที่ รางวัลพิเศษของปี นี ้ คือ ‘รางวัลรายการทรงคุณค่าขวัญใจครอบครัว ’ เป็ น รางวัล ที่ ม าจากการลงคะแนนในเวที ม อบรางวัล ณ วัน จั ด งานจาก ผู้ร่วมงาน โดยรายการที่ได้ รับรางวัลคือ รายการกบนอกกะลา ตารางที่ 9.3 แสดงรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปีที่ 1 (Family Awards 2009)
รางวัล +1 ด้านส่งเสริม ระบบคิด
+2 ด้านส่งเสริม ความรูท้ างด้าน วิชาการ
รายการ กบนอกกะลา ได้ 1,510 คะแนน จาก 3,275 ชุด คิดเป็น ร้อยละ 46.29
เหตุผลเพิ่มเติม -เป็นรายการทีเ่ สริมสร้างให้ความรูใ้ นสิ่ง ที่เราไม่เคยรูอ้ ย่างเป็นระบบ มีเหตุและผล -เป็นรายการทีเ่ จาะลึกถึงแก่นอย่าง ละเอียดเป็นขั้นเป็นตอนทีส่ ามารถเห็นกับ ตาอย่างน่าเชือ่ ถือ -ได้เรียนรูเ้ รือ่ งราวต่างๆ ทีไ่ ม่เคยได้รู้ ได้ เห็นนวัตกรรมสิ่งต่างๆที่ไม่เคยได้เห็น -การนาเสนอมีความแปลกใหม่ มีเนื้อหา หลากหลาย สนุก ข้อมูลที่นาเสนอก็ นามาจากบุคคลและสถานที่จริง -เป็นรายการทีม่ สี าระ มีความคิดใหม่ๆ ไม่นา่ เบือ่ ให้ประโยชน์และข้อคิดหลายๆ ด้าน สามารถนามาปรับใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ -เป็นรายการที่ดี ให้ความรูแ้ ก่เด็ก ถ้าคุณแน่ อย่าแพ้ ป.4 เยาวชน และคนทัว่ ไป ได้ 968 คะแนน -เป็นการทดสอบทักษะขั้นพืน้ ฐาน มี จาก 3,275 ชุด คาถามให้คิดตาม ให้เด็กได้ฝึกสมอง -ได้ทบทวนความรูเ้ ก่าๆ ทาให้รู้ถึงบางสิ่ง คิดเป็น ร้อยละ 29.56 ที่ลมื ไปแล้ว ถ้าเป็นเรือ่ งทีไ่ ม่เคยรู้ ก็จะได้ ความรูเ้ สริม -มีการสอดแทรกสาระ -เด็กๆ น่ารัก มีความสนุกสนาน
256 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
+3 ด้านส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม
+4 ด้านส่งเสริม ทักษะชีวิต
+5 ด้านส่งเสริม ความหลากหลาย ทางสังคม วัฒนธรรม
กล้าแสดงออก -เป็นรายการที่ดไู ด้ทั้งครอบครัว -ชี้ให้เห็นถึงกฎแห่งกรรม เห็นถึงความ ฟ้ามีตา ได้ 1,137 คะแนน ยุติธรรม จาก 3,275 ชุด -ให้รู้ซึ้งถึงบาปบุญคุณโทษว่า เวรกรรม นั้นมีจริง และได้เห็นผลกรรมในทันที คิดเป็น ร้อยละ 34.72 -สอนให้คนเป็นคนดี อย่าทาชั่ว อย่าเอา เปรี ย บผู้ อื่ น ให้ ล ะอายต่ อ บาป ไม่ พยายามสร้างเวรสร้างกรรม -ดู แ ล้ ว ได้ ข้ อ คิ ด สอดแทรกคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง หนทางในการ แก้ปัญหาได้ดี นาทีฉุกเฉิน -เป็ น รายการที่ น าเสนอสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ได้ 1,842 คะแนน สังคม ทาให้มีความรู้มากขึ้น จาก 3,275 ชุด -ให้รู้เท่าทันเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม ทา ให้รู้ถึงภัยที่แฝงมาในรูปแบบต่างๆ คิดเป็น ร้อยละ 56.24 -เตือนสติจะได้ระมัดระวังตนเอง ไม่ตั้งอยู่ บนความประมาท เพราะปั จ จุ บั น นี้ มี อันตรายอยู่รอบกาย -มี ส ติ ใ นการตั ด สิ น ใจแก้ ไ ขปั ญ หาได้ ถู ก ต้ อ ง สามารถป้ อ งกั น ตนเองจาก อันตรายได้ -เป็ น เรื่ อ งเตื อ นใจที่ น ามาปรั บ ใช้ ใ น ชีวิตประจาวันได้ -เป็ น รายการที่ มี ป ระโยชน์ ใ ห้ ค วามรู้ คนค้นฅน ได้ 1,510 คะแนน นาเสนอเรื่องราวของบุคคลที่น่าสนใจ จาก 3,275 ชุด -น าเสนอถึ ง ข้ อ คิ ด และวิ ถี ชี วิ ต ความ เป็นอยู่ของคนในแบบต่างๆ ได้ดี คิดเป็น ร้อยละ 46.12 -สะท้อนให้เห็นชีวิตที่แท้จริง ทาให้เห็นว่า มีคนที่ลาบากกว่าเราเขายังดาเนินชีวติ อยู่ ได้ เป็นกาลังใจในการดาเนินชีวิตต่อไป -ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง วั ฒ นธรรม ขนบธรรมเนี ย มประเพณี และการดาเนินชีวิตแบบเรียบง่ายของแต่ ละภูมิภาค กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 257
+6 ด้านส่งเสริม ความ สัมพันธ์ใน ครอบครัว
-เป็ น รายการที่ แ ปลก แตกต่ า งจาก รายการอื่นๆ เป็นธรรมชาติมากที่สุด -นาเรื่องราวชีวิตของบุคคลที่น่าสนใจมา นาเสนอ ถึงบุคคลนั้นจะไม่มีชื่อเสียงแต่ก็ กระทาตนในด้านที่ดีให้แก่สังคม ละครบ้านนีม้ รี ัก -เ ป็ น ร า ย ก า ร ที่ ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม รั ก ความสั ม พั น ธ์ และความสามั ค คี ใ น ได้ 2,076 ครอบครัว คะแนน จาก 3,275 ชุด -ท าให้ เ ข้ า ใจกั น มากขึ้ น ท าให้ รู้ จั ก รับผิดชอบ ทาให้รู้จักหน้าที่ของแต่ละคน คิดเป็น -สร้างความสุขความอบอุ่นในครอบครัว ร้อยละ 63.40 รู้จักให้อภัยกัน ถ้ามีปัญหาก็ใช้เหตุผลใน การแก้ไขปัญหาร่วมกันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ -เป็ น รายการที่ ส นุ ก สนาน แถมยั ง สอดแทรกความรัก ความผูกพัน ความ เอาใจใส่ของครอบครัว -เป็นละครที่ส นุก ให้ความบันเทิง ตลก เบาสมอง มีการให้แง่ คิดและสอดแทรก คุณธรรมในการอยู่ร่วมกันในครอบครัว -มีคติ ส อนใจ ท าให้ เห็ นถึง สถานการณ์ ต่างๆ ที่สามารถเกิดขึ้นจริงในครอบครัว ได้ -เป็นการนาเสนอในแบบที่วัยรุ่นเข้าใจง่าย -เป็นรายการที่ครอบครัวดูด้วยกันได้
ส่วนปี ที ่สอง (พ.ศ.2553) หรื อ Family Awards 2010 นัน้ เรามี การขยายรางวัลและปรับเปลี่ยนเกณฑ์การจาแนกรางวัลใหม่ ซึ่งแตกต่าง จากปี ก่อนหน้ า โดยรวมรางวัลจานวนทังสิ ้ ้น 9 รางวัล ได้ แก่ - รางวัลมาตรฐาน ในครัง้ นี ้เรามอบรางวัลโดยยึดตามประเภท สัญลักษณ์รายการ (ดังตารางด้ านล่าง)
258 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
- รางวัลพิเศษ คือ รางวัลส่งเสริ มความมุง่ มัน่ ผู้ผลิตรายการเพื่อ เด็กปฐมวัย จานวน 2 รางวัล ได้ แก่ รายการเจ้ าขุนทองร้ องวู้ และรายการ ป.ปลาตากลม ตารางที่ 9.4 แสดงรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปีที่ 2 (Family Awards 2010)
รางวัล ประเภทสัญลักษณ์ ‘ป3+’
รายการ บ้านมิคกีแ้ สนสนุก ได้รับการคัดเลือก จากคณะกรรมการ กลั่นกรองฯ
เหตุผลเพิ่มเติม -มีรูปแบบการนาเสนอที่เหมาะกับการ พัฒนาการของเด็กตามช่วงวัยบวกกับ การผลิตที่มีคณ ุ ภาพ โดยมิได้สนใจว่า เป็นรายการทีน่ าเข้าจากต่างประเทศ หรือรายการที่ผลิตในประเทศ -สือ่ สารชัดเจน ผลิตรายการได้ เหมาะสมตามช่วงอายุ 3-5 ปี -มีเนือ้ หากระตุ้นทาให้เกิดกระบวนการ คิด มีความสมบูรณ์ทงั้ ด้านส่งเสริม การเรียนรู้ด้านกระบวนการคิด -มีความสนุกในการเรียนรู้ -ดึงความสามารถของเด็กออกมา
ประเภทสัญลักษณ์ ‘ด6+’
Bubu Chacha เพือ่ นรักสีล่ อ้ ได้รับการคัดเลือก จากคณะกรรมการ กลั่นกรองฯ
-น่าจะเป็นรายการสาหรับ ‘ป3+’ มากกว่า เนือ้ หาการเรียนรูด้ ูน่าสนใจ เข้าใจได้งา่ ยสาหรับเด็กเล็ก มีการดึงเอา ครอบครัวมามีสว่ นร่วมกับเด็ก -มีความประณีต ใส่ใจรายละเอียดของ การสังเกต จนเกิดเป็นเรือ่ งราวนาไปสู่ การสอน แต่อาจไม่ชวนติดตามสาหรับ เด็กโต 6+ น่าจะจัดเป็น ‘ป3+’ -การนาเสนอชัดเจน -รูปแบบการนาเสนอเหมาะสมใช้ ครอบครัวเป็นองค์ประกอบหลัก -ใช้ประสบการณ์เด็กเป็นตัวนา
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 259
ประเภทสัญลักษณ์ ‘ท’ มี 3 รางวัล เนือ่ งจากรายการ ประเภทนี้มีจานวน มากเมือ่ เทียบกับ รายการประเภท สัญลักษณ์อื่นๆ ดังนั้นเพือ่ เป็นการ จัดสัดส่วนที่ เหมาะสม เราจึงให้มี รางวัลรายการ ประเภทนี้จานวน 3 รางวัล ไล่ตาม อันดับคะแนน
รางวัลอันดับ 1 คือ กบนอกกะลา คิดเป็นร้อยละ 23.49
-ได้รู้ถึงความเป็นมา แหล่งทีม่ า ของ สิ่งต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ดา้ นอาหาร สินค้าทางเกษตร อาชีพต่างๆ -พาไปดูสงิ่ ต่างๆ ทีเ่ ราไม่เคยรู้ น่า ติดตาม เสริมสร้างให้ความรู้ในสิ่งที่เรา ไม่เคยรูอ้ ย่างเป็นระบบ มีเหตุและผล -ทาให้ได้ความรู้มากยิ่งขึ้น -เป็นรายการทีเ่ หมาะกับทุกเพศทุกวัย -ส่งเสริมให้มีความรักบ้านเกิดท้องถิ่น ของตนเอง นาเสนอเกี่ยวกับวิถีชวี ติ ของผู้คนในวิถีชนบท -ได้เรียนรูส้ ิ่งที่มอี ยู่จริงในสังคมที่ไม่เคย นาเสนอมาก่อน -เนือ้ หาสาระดี มีความรู้จากโลก ภายนอกเยอะขึ้น -เป็นรายการทีเ่ จาะลึกถึงแก่นอย่าง ละเอียดเป็นขั้นเป็นตอน ที่สามารถเห็น กับตาอย่างน่าเชือ่ ถือ -เป็นรายการทีม่ สี าระ มีความคิดใหม่ๆ ไม่นา่ เบือ่ ให้ประโยชน์และข้อคิดหลายๆ ด้าน สามารถนามาปรับใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ -มีรูปแบบการนาเสนอที่แปลกใหม่
รางวัลอันดับ 2 คือ -ได้ทราบถึงวิถีการดาเนินชีวติ ของคน คนค้นฅน ในสังคมไทยที่ไม่เคยได้สัมผัส ในรูปแบบ คิดเป็นร้อยละ 14.99 ของคนจน คนพิการ คนรวย เป็นต้น -เหมาะสาหรับทุกเพศทุกวัย -เป็นรายการดูแล้วรูส้ ึกไม่ทอ้ และเป็น รายการที่ให้กาลังใจคน 260 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
-เห็นถึงความเป็นอยูข่ องคน การต่อสู้ ชีวิตทีม่ ีความลาเค็ญ -รายการนาเสนอได้ทุกแง่ทุกมุม -มีเรือ่ งราวของผู้คนทีม่ ีเกร็ดชีวติ เป็น บทเรียน -วิธีการนาเสนอดีมาก เป็นรายการที่ แปลก แตกต่างจากรายการอื่นๆ เป็น ธรรมชาติมากทีส่ ดุ -ให้เห็นถึงความหลากหลายทาง วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และการดาเนินชีวิตแบบเรียบง่ายของแต่ ละภูมิภาค -นาข้อคิด วิถีชวี ิตของคนทีม่ ี เอกลักษณ์ คุณประโยชน์ มานาเสนอ เป็นตัวอย่างให้ดู สามารถสร้างแรง บันดาลใจให้แก่ผู้ชมได้ รางวัลอันดับ 3 คือ คุณพระช่วย คิดเป็นร้อยละ 14.90
-เป็นรายการทีม่ ีคณ ุ ภาพ เรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม รวมถึงประวัติศาสตร์ ความเป็นไทย -พิธีกรรายการสามารถดึงดูดผู้ชมให้ เกิดความสนใจได้ดี -ฉากสวยสือ่ ถึงเนือ้ หาที่นาเสนอ -ส่งเสริมสืบทอดศิลปะและวัฒนธรรม ไทย รักษาความเป็นไทย -รายการสนุก ได้รับความบันเทิง ให้ ความรู้ แฝงแง่คิด -ช่วยให้เด็กได้รู้เกีย่ วกับวัฒนธรรม เช่น การไหว้ เครือ่ งดนตรีไทยและ เครือ่ งเล่นอีกหลายชนิด
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 261
ประเภทสัญลักษณ์ ‘น13+’
ละครคู่กกิ๊ พริก กับเกลือ คิดเป็นร้อยละ 50.59
-เป็นซิทคอมทีส่ อดแทรกสาระ และไร้ สาระเข้าด้วยกันอย่างลงตัว -ดูแล้วไม่เครียด ขาขัน เพลิดเพลิน อารมณ์ดีมคี วามสุข -เนือ้ หาสาระดี -รู้จักความสามัคคี การช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน -ได้ความรู้เกีย่ วกับคาสอนเวลาเราทา ผิดให้ความรู้หลายๆ อย่าง -รู้จักการแก้ปญ ั หาต่างๆ
ประเภทสัญลักษณ์ ‘น18+’
กรรมลิขิต คิดเป็นร้อยละ 40.27
-เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับบาปบุญคุณโทษ รู้ว่า คนทากรรมก็ตอ้ งได้รับกรรมไม่ชา้ ก็เร็ว -สะท้อนถึงการทาดีทาชัว่ การสร้าง เวรสร้างกรรม -ส่งเสริมความรู้ดา้ นธรรมะและผล กรรมที่ตอบสนอง -แสดงให้เห็นถึงด้านคุณธรรม จริยธรรม สะท้อนให้เห็นถึงเรือ่ งกรรม ต่างๆ ที่เกีย่ วข้องกับพระพุทธศาสนา ทาให้เกิดจิตสานึกถึงผลที่จะตามมา ของการกระทา
262 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
รางวัลในที่นี ้นอกเหนือจากตัวโล่รางวัลที่มีการออกแบบอย่างเป็ น เอกลักษณ์จากเครื อข่ายฯแล้ ว ยังมีคากลอนสลักอยูท่ ี่ฐานของโล่เพื่อเป็ นที่ ระลึกแสดงถึงความดีและเหมาะสมของรายการนันๆ ้ ที่สาคัญคือ สังคมจะ ได้ รับรู้ ว่ารายการที่ถือว่าเหมาะสมและดีสาหรับครอบครัวภายใต้ การจั ด ระดับความเหมาะสมที่ถกู ต้ องนันเป็ ้ นอย่างไร ตารางที่ 9.5 แสดงสรุปเปรียบเทียบกระบวนการจัดทารางวัล Family Awards 2009 -2010
ขัน้ ตอน 1.การประเมิน รายการ 2.คัดเลือก รายการ
พ.ศ. 2552 ม.ค.-มิ.ย. 51
พ.ศ. 2553 1-7 ก.พ. 53
คัดเลือกรายการที่ เหมาะสมในแต่ละด้าน(+6) โดยจัดทาแบบสอบถาม จานวน 20 ชุด แก่ คณะกรรมการฯ เพือ่ ให้ เหลือด้านละ 5 รายการ
คัดเลือกรายการที่เหมาะสม ตาม 6 สัญลักษณ์เรตติ้ง ได้แก่ ป3+, ด6+, ท, น13+, น18+ และ ฉ จาก คณะกรรมการผู้มี ประสบการณ์ทางานด้าน เด็ก เยาวชน และครอบครัว ในประเด็นการเท่าทันสือ่ จานวนทั้งสิน้ 10 ท่าน หมายเหตุ - รายการเด็ก ยกไปให้ผเู้ ชี่ยวชาญ พิจารณา และ ไม่ปรากฏ ฉ ถาวร 24 รายการ
30 รายการ 3.สารวจความ คิดเห็น โปรแกรมสาเร็จรูป โปรแกรมสาเร็จรูป – 3,295 4.เก็บรวบรวม 3,275 ชุด ชุด และวิเคราะห์ ข้อมูล 5.จัดทาและมอบ 7 รางวัล – 6 รางวัลตาม 9 รางวัล – 7 รางวัลตาม ประเด็น และ 1 รายการ สัญลักษณ์ และ 2 รางวัล รางวัล ทรงคุณค่าขวัญใจ ส่งเสริมความมุ่งมั่นผูผ้ ลิต ครอบครัว รายการเพือ่ เด็กปฐมวัย กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 263
บทที่ 10 รางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปี 3 (Family Awards 2011) อ ย่ า ง ที่ ท ร า บ กั น ว่ า ร า ง วั ล รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว หรื อ Family Awards คือรางวัลที่มาจากผู้ชม ซึง่ เป็ นครอบครัวทัว่ ประเทศ ให้ แก่รายการ ที่ดีและเหมาะสมบนฐานของแนวคิดการ จั ด ระดั บ ความเหมาะสมของรายการ โทรทัศน์ (เรตติง้ ) ซึ่งประกอบด้ วยระบบ จ าแนกประเภทเนื อ้ หาตามช่ ว งอายุ (Classification Systems) และการจัดผัง รา ย ก า รต า ม ช่ ว ง เ ว ลา ที่ เ ห ม า ะ ส ม (Watershed) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็ น กาลังใจแก้ ผ้ ผู ลิตรายการที่ปฏิบตั ิตามการ จั ด ระดั บ ความเหมาะสมของรายการ โทรทัศน์ที่ถกู ต้ อง 264 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
สาหรับประเทศไทย การจัดผังรายการตาม ช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม (Watershed) นี้ ยังไม่เกิดขึ้นจริงในทางปฏิบัติเท่าทีค่ วร ส่งผลให้การจัดระดับความเหมาะสมของ รายการโทรทัศน์ยังขาดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล อันทีจ่ ริงการจัดระดับความ เหมาะสมรายการที่ดีนนั้ ต้องประกอบด้วย 2 ขาหยั่ง คือ ระบบจาแนกประเภทเนือ้ หา ตามช่วงอายุ (Classification Systems) กับ การจัดผังรายการตามช่วงเวลาที่ เหมาะสม (Watershed) ซึ่งต้องทาควบคู่ กัน เพราะเมือ่ มีการจัดประเภทรายการตาม สัญลักษณ์เพือ่ ให้ผู้ชมทราบถึงเนือ้ หาของ รายการแล้ว ต้องมีการเรียงลาดับการ ออกอากาศให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้ชมส่วน ใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือกลุม่ ผู้ชมที่เป็น เด็ก เนือ่ งมาจากท้ายทีส่ ุด ระบบต่างๆ เหล่านี้มเี ป้าหมายสูงสุดเพือ่ ปกป้อง คุ้มครองเด็กจากการบริโภคสือ่ ทีไ่ ม่ เหมาะสมต่อพัฒนาการตามช่วงวัย
อย่างไรก็ตาม เครื อข่ายฯได้ หวังไปไกลกว่านัน้ เราหวังลึกๆ ว่า รางวัลของเราจะสามารถกระตุ้นสังคมให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้ านการ ผลิตสื่อเพื่อเด็กและครอบครัวให้ มีจานวนมากยิ่งขึ ้น ซึ่งครอบคลุมทังมิ ้ ติ ด้ านปริ มาณที่เพิ่มขึ ้นและมิติเชิงคุณภาพที่นา่ สนใจ เพื่อเป็ นการขยายพื ้นที่ สือ่ ดีแก่สงั คม โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อผู้ผลิต ถ้ าเป็ นไปได้ เราอยากให้ ผ้ ผู ลิต ตระหนักว่ารายการต่างๆ ที่ออกอากาศนัน้ กาลังมีผ้ ชู มซึ่งคอยจับตาดูอยู่ ว่า มี ค วามเหมาะสมหรื อ ไม่ ส่ง เสริ ม /สนับ สนุน เด็ ก และครอบครั ว หรื อ ทาลายเด็กและครอบครัว จากที่ก ล่า วมาถึง กระบวนการดาเนิ นการมอบรางวัลรายการ โทรทัศน์ ในดวงใจครอบครั วรวมถึงประสบการณ์ 2 ปี ที่ผ่านมา ได้ ใ ห้ บทเรี ย นตลอดจนแง่ คิ ด ต่ า งๆ กั บ เครื อ ข่ า ยฯเพื่ อ น ามาปรั บ ปรุ ง การ ดาเนินงานให้ ดียิ่งขึ ้น ดังนัน้ ในการดาเนินกิจกรรมการมอบรางวัลรายการ โทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปี ที่ 3 นี ้ (Family Awards 2011) เราจึงมีการ พัฒนาปรั บปรุ งรายละเอียดในทุกขัน้ ตอนให้ ดียิ่งขึน้ ตัง้ แต่การประเมิน รายการตลอดจนการจัดทารางวัล
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 265
1) การประเมินรายการ
การประเมิน รายการ
กระบวนการจัด Family Awards
การประเมิ นรายการโทรทัศน์ ภายหลังการออกอากาศ (Postrate) ปี นี ้ รายการที่นามาประเมินมีลกั ษณะเช่นปี ก่อนๆ คือ เราประเมิน รายการโทรทัศน์ทางฟรี ทีวีทกุ รายการจานวน 6 สถานี ได้ แก่ ช่อง 3, 5, 7, MCOT, สทท. และ ThaiPBS โดยใช้ วิธีการประเมินบนฐานของแนวคิดการ จัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ +6-3 เป็ นเครื่ องมือในการ ประเมิ น ร่ ว มกับ ประสบการณ์ ใ นการรั บ ชมในอดี ต ผ่ า นช่ ว งเวลาที่ ออกอากาศคือตังแต่ ้ วนั ที่ 1-7 เมษายน พ.ศ.2554 พร้ อมกันนัน้ เราได้ ทาการประเมินเพื่อสารวจการจัดระดับความ เหมาะสมของรายการโทรทัศน์นนๆ ั ้ ว่ามีการจัดสัญลักษณ์ตรงกับเครื อข่าย หรื อไม่ เพื่อนาผลที่ได้ ไปสูข่ นตอนต่ ั้ อไป เนื่องจากเกณฑ์สาคัญหนึง่ ของเรา ในการคัด เลื อ กรายการที่ รั บ รางวัล ฯคื อ รายการต่ า งๆ ต้ องมี ก ารใช้
266 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
สัญลักษณ์ หรื อประเมินรายการโทรทัศน์ก่อนการออกอากาศตรงกับการ ประเมินรายการโทรทัศน์ภายหลังการออกอากาศ ในการสารวจรายการจะสารวจครบทุกช่วงเวลาการออกอากาศ ของแต่ละสถานี แต่ไม่รวมรายการข่าว รายการถ่ายทอดสด (เนื่องจากเป็ น รายการที่ได้ รับการยกเว้ นไม่จาเป็ นต้ องแสดงสัญลักษณ์ ) โดยผู้ประเมิน รายการคือครอบครัวอาสาฯที่มีความชานาญในการใช้ แนวคิดการจัดระดับ ความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ +6-3 ผลการประเมินในครัง้ นี ้ ปรากฏว่ามีรายการจานวนหนึ่งที่ไม่ผ่าน ขันตอนในรอบแรกเนื ้ ่องจากทางสถานีไม่ได้ มีการจัดแสดงสัญลักษณ์ตาม หลัก การจัด ระดับ ความเหมาะสมของรายการโทรทัศ น์ สถานี นัน้ คื อ ThaiPBS ดังนัน้ รายการต่างๆ ที่ออกอากาศทางสถานีดงั กล่าวจึงขาด คุณสมบัติของรายการที่จะได้ รับรางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว
2) การคัดเลือกรายการเพื่อเข้ารอบสาหรับการ สารวจความคิดเห็น การคัดเลือก รายการ
กระบวนการจัด Family Awards
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 267
หลังจากที่อาสาสมัครผู้ประเมินแต่ละสถานี /รายการจัดทาผล เสร็ จสิ ้น เรามีการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อทบทวนและยืนยัน ถึงผลการประเมินอีกขันหนึ ้ ่งเพื่อความถูกต้ องและชัดเจนในข้ อมูลโดยใช้ ประสบการณ์ ในการรับชมจากผู้ประเมินคนอื่นๆ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้ องมา ประกอบการพิจารณา และคัดเลือกรายการในเบื ้องต้ นที่มีเนื ้อหาสาระที่ ‘ดี’ และ ‘เหมาะสม’ อยู่ในระดับที่สงู หมายความว่า หลังจากที่ผ่านการ พิจารณาในเบื ้องต้ นจะเป็ นรายการที่มี +6 ในระดับตังแต่ ้ 1 ขึ ้นไป และมี ระดับ ด้ า น -3 ที่ ต่า (หรื อ เป็ นไปตามระดับ ความเหมาะสมของแต่ละ ประเภทสัญลักษณ์ซงึ่ มีระดับได้ ไม่เท่ากัน) จากนัน้ จึ ง น าผลข้ อ มูล การประเมิ น ที่ ไ ด้ มาสู่ค ณะกรรมการ พิจารณากลัน่ กรองรายการจานวน 2 ชุด ได้ แก่ -คณะกรรมการพิ จ ารณากลั่ นกรองรายการประเภท สัญลักษณ์ ‘ป’ และ ‘ด’ ซึง่ ประกอบด้ วยจิตแพทย์เด็กและผู้ที่ทางานด้ าน เด็กตลอดจนผู้เชี่ยวชาญทางพัฒนาการสมอง เนื่องจากรายการเด็กเป็ น รายการที่มีจานวนน้ อยและผลิตได้ ยาก รวมถึงมีประเด็นที่ควรคานึงที่ต้อง อาศัยความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ ดังนัน้ ด้ วยความพิเศษของรายการ เด็ก จึงส่งผลให้ เราต้ องมีคณะกรรมการพิจารณาเป็ นการเฉพาะเพื่อให้ ได้ รายการเด็กที่มีคณ ุ ภาพและเหมาะสมกับเด็กจริ งๆ รายการที่ผ่านการคัดเลือกในรอบแรกจากผู้ป ระเมินมีจานวน ทังสิ ้ ้น 20 รายการ แบ่งเป็ น ‘ป’ 9 รายการ และ ‘ด’ 11 รายการ -คณะกรรมการพิ จ ารณากลั่ นกรองรายการประเภท สัญลักษณ์ ‘ท’ ซึ่งประกอบด้ วยผู้ทางานด้ านสื่อกับเด็กและครอบครั ว ตลอดจนพ่อแม่ผ้ ปู กครองรวมถึงผู้เชี่ยวชาญด้ านรู้ เท่าทันสื่ อ จานวน 20 ท่าน มาทาหน้ าที่พิจารณาอย่างละเอียดเพื่อคัดเลือกรายการประเภท ‘ท’ 268 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
จานวนมากเพื่อให้ ได้ รายการที่ดีและเหมาะสมที่สดุ ให้ สามารถนาไปสารวจ ความนิยมในขันตอนต่ ้ อไป รายการ ‘ท’ ที่ผา่ นการคัดเลือกในรอบแรกจากผู้ประเมินมีจานวน ทังสิ ้ ้น 26 รายการ ซึ่งหลังจากผ่านคณะกรรมการฯแล้ ว เหลือเพียง 10 รายการ สังเกตได้ ว่า รายการประเภทสัญลักษณ์ ‘น13’ , ‘น18’ และ ‘ฉ’ หายไป? ในประเทศไทย รายการประเภทสัญลักษณ์ ทงั ้ 3 สัญลักษณ์ ข้ างต้ นมีจานวนน้ อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายการที่ปรากฏสัญลักษณ์ ‘ฉ’ แบบถาวรยังไม่ปรากฏบนหน้ าจอโทรทัศ น์ จ นถึง ปั จ จุบัน ดังนัน้ จึง ไม่มี ความจาเป็ นที่ต้องนารายการประเภทสัญลักษณ์ ‘น13’ และ ‘น18’ ไป พิจารณาคัดเลือกอีกรอบ รายการประเภทสัญลักษณ์ ‘น13’ ที่ผ่านการคัดเลือกในรอบแรก จากผู้ประเมินมีจานวนทังสิ ้ ้น 5 รายการ และประเภทสัญลักษณ์ ‘น18’ อีก จานวน 4 รายการ กล่องที่ 10.1
‘ฉ’ ไม่ใช่ ‘ไม่ด’ี
จากการทางานที่ผ่านมา เครือข่ายฯไม่พบว่ามีรายการโทรทัศน์ใดในประเทศไทยเลย จนถึงปัจจุบันที่จัดแสดงสัญลักษณ์ ‘ฉ’ แบบถาวร อันที่จริง รายการประเภทดังกล่าว ไม่ได้ หมายความว่าเป็นรายการที่ไม่ดี อย่างที่หลายๆ คนหรือผู้ผลิตบางส่วนมักเข้าใจกัน การจัดประเภทสัญลักษณ์เป็น การจัดระดับความเหมาะสมของสื่อ ซึ่งเป็นไปตามความเหมาะสมของพัฒนาการตาม ช่ว งวั ยที่มนุ ษย์ส ามารถเสพสื่อ ได้อ ย่า งไม่ ก่อ ผลกระทบทางลบมากนั ก หากดูใน ต่างประเทศ รายการสาหรับผู้ใหญ่หลายๆ รายการของพวกเขาเป็นรายการที่ดีมากๆ รวมถึงให้แง่คิดแก่สังคมมากมาย
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 269
กล่องที่ 10.1
‘ฉ’ ไม่ใช่ ‘ไม่ด’ี (ต่อ)
ความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องนี้นาไปสู่ปญ ั หาต่างๆ ตามมา อาทิ การจัดระดับ ความเหมาะสมของรายการที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง บางรายการมีเนื้อหาระดับ ความรุนแรงถึงระดับ 3 ซึ่งจาเป็นต้องจัดสัญลักษณ์เป็น ‘ฉ’ แต่ติดภาพว่าถ้าเป็น ‘ฉ’ จะเป็นรายการไม่ดี จึงจัดให้เป็น ‘น18’ หรือ ‘น13’ หรือทีผ่ ู้ผลิตบางท่านมองว่าหาก สมมติถ้าจัดเป็น ‘ฉ’ แล้ว รายการนั้นจะต้องไปออกอากาศตอนดึกมากซึ่งกลัวว่าจะมี ยอดผู้ชมจานวนไม่มาก ทากาไรไม่ได้ ซึ่งการกระทาเหล่านีเ้ องถือเป็นการทาร้าย สังคมโดยเฉพาะเด็กๆ ทางอ้อม เพราะจะไม่เป็นการช่วยเตือนหรือร่วมรับผิดชอบใน การปกป้องเด็กๆ จากสือ่ ที่ไม่เหมาะสมต่อพัฒนาการตามวัยพวกเขา เป็นต้น
3) การสารวจความคิดเห็น (Family Poll) รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว การสารวจ ความคิดเห็นฯ
กระบวนการจัด Family Awards
270 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
จากขัน้ ตอนที่ แ ล้ ว ในการคัด เลือ กรายการประเภทต่า งๆ โดย แบ่งเป็ น 2 กลุม่ รายการหลัก ได้ แก่ รายการที่จดั แสดงประเภทสัญลักษณ์ ‘ป’ และ ‘ด’ กับรายการที่จดั แสดงประเภทสัญลักษณ์ที่ไม่ใช่ ‘ป’ และ ‘ด’ ในขันตอนนี ้ ้ เราถือว่าเป็ นการดาเนินงานที่แตกต่างจากขันตอน ้ ต่างๆ ที่ผา่ นมา เนื่องจากในการประเมินและคัดเลือกรายการใน 2 รอบแรก เป็ นวิธีการเชิงคุณภาพ ในขณะที่ขนตอนนี ั้ ้เป็ นการสารวจความนิยมซึ่งถือ เป็ นวิธีการเชิงปริ มาณ เครื่ อ งมื อที่ เ ราใช้ ในการสารวจความคิด เห็ น คื อ โพลล์ (poll) เช่ น เดี ย วกับ ทุก ๆ ปี ที่ ผ่ า นมา โดยสารวจกลุ่ม ตัว อย่ า งแบบสุ่ม ซึ่ ง เป็ น ครอบครัวทัว่ ประเทศไทยอันสะท้ อนถึงกลุม่ ตัวแทนที่เป็ นครอบครัว ตรงกับ เจตนารมณ์ของรางวัลคือ ‘เป็ นรางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ที่มาจากครอบครัวจริ งๆ’ ผ่านจานวนชุดตัวอย่างทังสิ ้ ้น 9,079 ตัวอย่าง โดยจัดส่งแบบสารวจทางไปรษณีย์ การลงพื ้นที่จัดกิจกรรมตลอดจนผ่าน ทางสือ่ สังคมออนไลน์
ภาพที่ 10.1 แสดงตัวอย่างแบบสอบถาม (Family Poll) ปีที่ 3
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 271
ในขันตอนนี ้ ้เราถือว่าเมื่อมีการคัดเลือกรายการที่ดีและเหมาะสม แล้ ว รายการที่สมควรจะได้ รับรางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว นัน้ หากไม่มีผ้ ชู มก็ไร้ ประโยชน์ ดังนัน้ เราจาเป็ นต้ องทาให้ แน่ใจว่ารายการ ดังกล่าวที่เราบอกว่า ‘ดี’ และ ‘เหมาะสม’ ต้ องมี ‘ผู้ชม’ ด้ วย ซึ่งการสารวจ ความคิดเห็ นนีเ้ ป็ นการสารวจความนิยมชมชอบรายการนัน้ ๆ ไปในตัว เนื่องจากเราเชื่อว่ า ‚รายการโทรทัศน์ ท่ีดีและเหมาะสม มิใช่ ว่าจะมี แต่ เนื้ อ หาสาระที่ ดี แ ต่ ขาดสี สั น หรื อ ความสนุ ก สนาน รายการ โทรทัศน์ ที่ดีและเหมาะสมจริ งๆ สาหรั บครอบครั ว ต้ องมีทั้งเนื้อหา สาระที่ดีและความบันเทิงควบคู่กัน‛
4) การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการจัด Family Awards เก็บรวบรวมและ วิเคราะห์ขอ้ มูล เมื่อเราทาการสารวจในขันตอนที ้ ่ผ่านมา โดยใช้ เครื่ องมือที่เรา เรี ยกว่า ‘Family Poll’ เสร็ จสิ ้น ขัน้ ต่อมาเราจึงเก็บรวบรวมข้ อมูลโดย ส่วนมากผ่านช่องทางที่เราจัดส่งไป รวมถึงที่สาคัญและขาดไม่ได้ คือ เรามี การทางานแบบเครื อข่ายกับภาคีเครื อข่ายต่างๆ ที่อยู่ทวั่ ประเทศ ซึ่งจะ ดาเนินการช่วยเหลือกันในการสารวจและเก็บข้ อมูล 272 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
จากนันเราจึ ้ งดาเนินการตรวจสอบความสมบูรณ์ ของคาตอบใน แบบสอบถามทุกฉบับ จากนัน้ จึงแจ้ งระดับคะแนน วิเคราะห์ ข้อมูลและ นาเสนอโดยเราน าข้ อ มูลที่ เ ก็ บ รวบรวมมาวิ เ คราะห์ ห าค่า สถิ ติ โดยใช้ โปรแกรมสาเร็ จรู ป เพื่อให้ ได้ จานวนที่ แน่นอนซึ่งจะส่งผลไปสู่การจัดทา รางวัล ทังนี ้ ้ การวิเคราะห์ข้อมูลจะประกอบไปด้ วยข้ อมูล 2 กลุม่ หลัก ได้ แก่ กลุ่ม ที่เ ป็ นการสารวจเกี่ ยวกับ ข้ อ มูลทั่วไปและรายละเอี ยดส่วนตัว ของ ผู้ ตอบแบบส ารวจ และการถามความเห็ น ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ รายการที่ ชื่นชอบและช่องที่ดเู ป็ นประจาการวิเคราะห์จะใช้ ความถี่ (frequency) และ ค่ า ร้ อยละ (percentage) และกลุ่ม ที่ เ ป็ นเหตุ ผ ลสนับ สนุ น ความนิ ย ม เหล่านัน้ รายการที่นามาพิจารณาในที่นี ้ จะประกอบด้ วยประเภทรายการ เฉพาะประเภทรายการ ‘ท’ รายการ ‘น13’ และรายการ ‘น18’ เท่านัน้
5) การจัดทาและมอบรางวัลรายการโทรทัศน์ใน ดวงใจครอบครัว (Family Awards)
กระบวนการจัด Family Awards จัดทาและ มอบรางวัล
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 273
จากผลการประมวลการสารวจว่า รายการใดควรได้ รั บรางวัล รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว จานวนทังสิ ้ ้น 9,079 ชุด ในปี นี ้เราได้ พัฒนาและขยายประเภทของรางวัล เพิ่มเติม สามารถอธิ บ ายได้ เป็ น 2 ประเภทหลัก ได้ แก่ รางวัลมาตรฐาน และรางวัลพิเศษ 1.รางวัลมาตรฐาน ในการจัด Family Awards 2011 รางวัลมาตรฐานนัน้ ยังคง เช่นเดียวกับเมื่อปี ที่ผ่านมา คือจาแนกรางวัลตามประเภทสัญลักษณ์ การ จัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ทงั ้ 6 ประเภทสัญลักษณ์ อย่างไรก็ดี ตามที่ได้ กล่าวมาข้ างต้ น รายการที่จดั แสดงสัญลักษณ์ ‘ฉ’ แบบ ถาวรยังไม่มี ดังนัน้ รางวัลของเราจึงเหลือเพียง 5 ประเภทสัญลักษณ์ ได้ แก่
โดยกระบวนการในการคัด เลื อ กรางวัล ประเภทนี ้ เป็ นไปตามกระบวนการมาตรฐานที่กล่าวมาข้ างต้ น โดย -รายการประเภท ‘ป’ และ ‘ด’ มาจากการประเมินโดย ใช้ แนวคิด +6-3 โดยอาสาสมัครผู้ประเมินฯที่มีความชานาญใน การใช้ แนวคิดการจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ 274 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
และการพิจารณากลั่นกรองอีกขัน้ หนึ่งโดยคณะกรรมการฯซึ่ง ประกอบด้ วยจิ ต แพทย์ เ ด็ ก และผู้ที่ ท างานด้ า นเด็ ก ตลอดจน ผู้เชี่ยวชาญทางพัฒนาการสมอง -รายการประเภท ‘ท’ มาจากการประเมินโดยใช้ แนวคิด +6-3 โดยอาสาสมัครผู้ประเมินฯดังที่กล่าวไป และการพิจารณา กลั่น กรองอี ก ขัน้ หนึ่ ง โดยคณะกรรมการฯ ซึ่ ง ประกอบด้ วย ผู้ทางานด้ านสือ่ กับเด็กและครอบครัว ตลอดจนพ่อแม่ผ้ ปู กครอง รวมถึง ผู้เชี่ยวชาญด้ านรู้ เท่าทันสื่อ จากนันจึ ้ งนารายการที่ผ่าน กระบวนการคัด เลื อ กทั ง้ สองขั น้ ไปส ารวจความนิ ย มจาก ครอบครัวทัว่ ประเทศอีกขันหนึ ้ ง่ -รายการประเภท ‘น13’ และ ‘น18’ มาจากการประเมิน โดยใช้ แนวคิด +6-3 โดยอาสาสมัครผู้ประเมินฯเช่นเดียวกับ รายการประเภท ‘ป’ , ‘ด’ และ ‘ท’ แต่ไม่มีการพิจารณากลัน่ กรอง อีกขันหนึ ้ ่งโดยคณะกรรมการฯเนื่องจากมีจานวนรายการที่น้อย อยูแ่ ล้ ว ดังนันจึ ้ งนาไปสารวจความนิยมจากครอบครัวทัว่ ประเทศ ได้ ทนั ที เมื่อเสร็ จสิ ้นกระบวนการ ดังนัน้ รายการที่ ได้ รับรางวัลรายการ โทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปี 3 หรื อ Family Awards 2011 ประเภท รางวัลรายการมาตรฐาน เป็ นไปตามตารางด้ านล่าง
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 275
ตารางที่ 10.1 แสดงรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปีที่ 3 (Family Awards 2011) ประเภทรางวัลมาตรฐาน
รางวัล ประเภทสัญลักษณ์ ‘ป3+’
ประเภทสัญลักษณ์ ‘ด6+’
รายการ การ์ตนู รอบรู้เจ้าหนูชิต ได้รับการคัดเลือกจาก คณะกรรมการ กลั่นกรองฯ
เหตุผลเพิ่มเติม (บางส่วน) -เป็นรายการที่นาเสนอเรือ่ งการ เจริญเติบโต การวางขั้นตอนเรือ่ ง ครอบครัวและสังคมไปในทิศทาง เดียวกัน ทาให้เด็กเรียนรูไ้ ด้อย่าง กว้างขวาง เห็นกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ มีระบบคิดที่ชัดเจน -มีน้าหนักการเรียนรู้นอก ห้องเรียนสอดคล้องกับวัย -สามารถสร้างสถานการณ์ที่ สอดคล้องและเน้นเรือ่ ง สัมพันธภาพในครอบครัว -มีความสนุกในการเรียนรู้ -เรียบเรียงเนือ้ เรือ่ งชัดเจนเรือ่ ง เดียวตลอดเรือ่ งทาให้เข้าใจได้ง่าย -เนือ้ หาสอนการค้นหาความรูแ้ บบ เด็กเข้ากับช่วงวัย -เด็กเรียนรูไ้ ด้เองอย่างกลมกลืน -โดดเด่นเรือ่ งครอบครัว ชี้ให้เห็น ความแตกต่างในสังคม -เนือ้ หาเข้าได้หลายมิติครบทั้ง ครอบครัว เพือ่ น และครู -มีจุดแข็งในเรือ่ งที่ให้เด็กลงมือ กล่องนักคิด ได้รับการคัดเลือกจาก ประดิษฐ์สิ่งของ ซึ่งตรงกับ พัฒนาการในช่วงวัยนี้ทเี่ ด็กต้องมี คณะกรรมการ ทักษะรู้คิดและต้องการปฏิบตั ิเอง กลั่นกรองฯ สามารถทาให้เด็กต่อยอดความคิด ได้ และในช่วงสุดท้ายมีการ สัมภาษณ์ผปู้ กครองซึง่ มีสว่ นใน การสนับสนุน -กระตุ้นจินตนาการ การลงมือทา
276 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ประเภทสัญลักษณ์ ‘ท’ มี 2 รางวัล เนือ่ งจากรายการ ประเภทนี้มีจานวน มากเมือ่ เทียบกับ รายการประเภท สัญลักษณ์อื่นๆ ดังนั้นเพือ่ เป็นการ จัดสัดส่วนที่ เหมาะสม เราจึงให้มี รางวัลรายการ ประเภทนี้จานวน 2 รางวัล ไล่ตาม อันดับคะแนน [โปรดดูรายละเอียด เพิ่มเติมในหัวข้อ รางวัลรายการ โทรทัศน์เกียรติยศ ในดวงใจครอบครัว (Hall of Fame)]
รางวัลอันดับ 1 คือ ทุ่งแสงตะวัน คิดเป็นร้อยละ 14.10 (คะแนนเป็นอันดับ 3 ของรายการประเภท สัญลักษณ์ ‘ท’ ใน รางวัลมาตรฐาน)
สิ่งประดิษฐ์ การทาชิ้นงานให้สาเร็จ -โดดเด่นในเรือ่ งระบบคิดและ ความรูท้ างวิชาการ -ผู้ชมรูส้ ึกมีสว่ นร่วม -ทดลองทาได้จริงกระตุ้นความรู้ได้ ดี -รูปแบบการนาเสนอเหมาะสมใช้ ครอบครัวเป็นองค์ประกอบหลัก -ใช้ประสบการณ์เด็กเป็นตัวนา -เป็นรายการที่ทาให้เด็กๆ มีความ กล้าที่จะแสดงออกในทางที่ดี -พิธีกรเป็นกันเอง ดูแล้วรูส้ ึกอบอุน่ -เป็นรายการทีส่ ะท้อนถึงวิถีชวี ิต ชนบทอย่างแท้จริง และมีการ ติดตาม ประเมินผลการดารงชีพ ของบุคคลนั้นๆ -เป็นรายการทีม่ ีเนือ้ หา สาระ น่าสนใจ เป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ชม -รายการนีเ้ ป็นรายการที่ให้ความรู้ มีสาระ มีความเพลิดเพลิน และ ได้รับความรู้จากเด็กๆ ที่ได้ไป สัมภาษณ์ -รายการนาเสนอวิถีชวี ิตของเด็ก ของชุมชน ในการดาเนินชีวติ ในแต่ ละภาค และได้รวู้ ถิ ีภมู ิปัญญาของ ชาวบ้าน และของท้องถิน่ -รายการพาเราไปดูหลายๆ ที่ ซึ่งมี แต่ทสี่ วยๆ -ส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียน ของเด็กๆ เปิดโลกกว้างให้คนดูรถู้ ึง ชีวิตความเป็นอยู่ตา่ งๆ ของคนใน ที่ต่างๆมากยิ่งขึ้น -ได้สาระ ความรู้ ความสนุก และ เหมาะสมทุกเพศ ทุกวัย -ดูแล้วมีความสุข ดูแล้วสบาย มี
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 277
ธรรมชาติมากมายหลายอย่าง มี พืชหลายชนิดในทุ่งแสงตะวัน ที่เรา ไม่เคยรูจ้ ักมาก่อน -เป็นรายการทีส่ ง่ เสริมเด็กและ เยาวชน ให้ใส่ใจในสิ่งแวดล้อม -ทาให้เด็กๆ มีความสามัคคี รัก ใคร่กลมเกลียว รู้จักสังเกต มีเหตุ มีผล และสามารถนาไปปฏิบัตไิ ด้ -ได้ท่องเทีย่ วไปในสถานที่ตา่ งๆ ผ่านทางรายการ ได้เห็นความคิดที่ สร้างสรรค์ของเด็กในแต่ละพื้นที่ ว่าเขาทาอะไร คิดอะไร นามาสอน มาบอกเล่าให้กับลูกหลานเราได้ -เป็นรายการที่ทาให้เเด็กในชุมชน นาของดีในท้องถิ่นมาพัฒนาเป็น สินค้า OTOP -สอนให้รู้จักศิลปะต่างๆ ในชุมชน และในประเทศไทย รางวัลอันดับ 2 คือ คบเด็กสร้างบ้าน คิดเป็นร้อยละ 13.97 (คะแนนเป็นอันดับ 4 ของรายการประเภท สัญลักษณ์ ‘ท’ ใน รางวัลมาตรฐาน)
278 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
-เห็นความขยันของเด็ก เยาวชนที่ น่าสงสาร ที่ตอ้ งขยันทางานเลีย้ ง ตนเอง ส่งตนเองเรียนหนังสือ และ ดูแลเลีย้ งคนในครอบครัว -รายการนีเ้ ป็นการสร้างเสริมการ พัฒนาการทางด้าน การใช้ชวี ิต -เป็นรายการที่ดี ให้ขอ้ คิดต่างๆ ได้ ดี ทาให้เป็นคนสู้ชวี ิต และสามารถ เผชิญปัญหาต่างๆ ได้ -เป็นรายการทีเ่ ชิดชูเด็กดี เด็ก กตัญญูตอ่ พ่อแม่ ปู่ ย่า ตา ยาย และผู้มอี ุปการะคุณ มีสาระเนือ้ หา ดี เหมาะแก่การรับชม เหมาะ สาหรับทุกคนในครอบครัว -เป็นรายการทีเ่ หมาะสมกับเด็กและ เยาวชน ส่งเสริมด้านคุณธรรม
ประเภทสัญลักษณ์ ‘น13+’
จริยธรรม และความพอเพียง -เป็นรายการทีส่ ร้างคุณธรรม ให้ ข้อคิดดีๆ ให้โอกาสแก่เด็กที่ ต้องการความช่วยเหลือ และมี โอกาสน้อยในการเรียนหนังสือ -เป็นรายการที่ให้ความรู้กับการใช้ ชีวิตประจาวัน และให้ความรู้กับ ความเป็นอยู่ของคน -เป็นรายการที่นามาจากชีวิตจริง ทาให้คนดูได้คิดว่า ยังมีคนที่ ลาบากกว่าเราอีกมากมาย -ให้รู้วา่ ความต้องการ และชีวติ ที่ ขาดความอบอุ่นเป็นเช่นไร -ได้เห็นชีวิตที่ตอ้ งต่อสูแ้ ละดิ้นรนหา รายได้เพือ่ จุนเจือคนในครอบครัว ของเด็ก -ได้เห็นถึงความขยันหมั่นเพียรใน การทางานของเด็กดี ทีเ่ ป็นคนดี ของครอบครัว -ความไม่มี คือ การไม่ดนิ้ รน คน ไม่จน คือ คนทีพ่ ากเพียร -เป็นรายการที่ชว่ ยเหลือเด็กยากไร้ ช่วยในทุนการศึกษา ให้เด็กมี อนาคตที่ดี -ให้รู้วา่ การทาความชัว่ หรือทาบาป บันทึกกรรม คิดเป็นร้อยละ 35.39 จะให้ผลแบบไหน และรูส้ าเหตุของ การทาสิ่งๆ นั้น ทาให้ลุ้น และสนุก ดี ช่วยปลูกจิตสานึกให้กับวัยรุ่นที่ กาลังลองผิด ลองถูก ให้ทาความ ดี -เป็นหนังสัน้ ที่ให้ขอ้ คิดในเรือ่ งเวร กรรมมีอยู่จริง ได้รู้ถงึ บาปบุญคุณ โทษ -ชอบทีส่ อนเราให้เป็นคนดี และช่วย ขัดเกลาจิตใจของคนเราได้ดี และ กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 279
สอนให้ดตู วั อย่างจากในละคร -ได้รับรูถ้ ึงชีวิตของผูอ้ ื่น -เป็นรายการทีแ่ สดงให้เห็นถึงการ ทาความดี การใช้ชีวติ จริงในการ ดารงชีวิตของตนเอง ให้ขอ้ คิด คติ ต่างๆ เกี่ยวกับการกระทาของตัว เรา ให้คนในสังคมรู้จักรักสามัคคี รู้จักละอายต่อบาป ในการที่จะทา ชั่ว เพือ่ ประเทศจะได้เจริญก้าวหน้า -สะท้อนถึงสังคมในปัจจุบัน และ ความเชือ่ ที่คนส่วนใหญ่ลืมมันไป -สะท้อนให้มนุษย์มีศลี ธรรม ใน การดารงชีวิต เพือ่ ให้สานึกดี กระทาดี ต่อตนเอง บุพการี ผู้อื่น และสังคม -ทาให้รู้จักตัวเองมากขึ้นว่าสิ่งไหน ควรทา ไม่ควรทา เป็นกระจกส่อง สะท้อนให้แก่ชวี ิตของเราเอง -เป็นรายการที่ดสี อนให้คนเป็นคน ดี หารายการประเภทนี้ได้ไม่คอ่ ย มาก ถ้ามีรายการประเภทนีม้ ากๆ คงจะดี ประชาชนคนไทยจะได้ทาแต่ สิ่งดีและประพฤติดี ประเภทสัญลักษณ์ ‘น18+’
เรือ่ งจริงผ่านจอ คิดเป็นร้อยละ 44.44
280 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
-ทาให้เห็นเหตุการณ์ทอี่ นั ตราย จะ ได้เตรียมตัว ระวังภัย ทีอ่ าจจะ เกิดขึ้นหลากหลายรูปแบบ -เป็นรายการทีม่ สี าระ มีคณ ุ ธรรม ให้แง่คิด น่าเชือ่ ถือเพราะเป็นเรือ่ ง จริง -เป็นรายการทีเ่ สนอจากเรือ่ งจริง ชีวิตจริง เหตุการณ์จริงที่นามาเล่า สู่กันฟัง หรือนามาเป็นคติสอนใจ -เป็นรายการทีส่ ะท้อนสังคม ระทึก ตื่นเต้นดี อีกทั้งยังน่ากลัว ในการ
รับชม -รายการนีท้ าให้รเู้ กีย่ วกับสิง่ ที่คิด ไม่ถงึ และไม่รวู้ ่ามีอยู่จริง กล่าคือ ได้รอู้ ะไรใหม่ๆ เช่น สัตว์ คน สิ่งของ หรือเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นใน โลก ที่รายการนามาให้รับชม -เป็นรายการทีส่ ะท้อนและตีแผ่ใน ด้านไม่ดีของสังคม มีขอ้ คิด อุทาหรณ์สอนใจให้เราระมัดระวังใน การใช้ชีวติ -ได้แง่คิดเมือ่ ชมรายการ ว่าถ้าเรา ประมาทหรือไม่ระมัดระวัง อาจมี อันตรายเกิดขึ้นจริงกับคุณ -นาเสนอเนือ้ หาสาระทีม่ ีประโยชน์ มากมาย การแบ่งช่วงแบ่งตอนทา ได้เหมาะสม ผู้ชมจะได้ศึกษากรณี ต่างๆ ที่รายการนาเสนอเพือ่ ไปใช้ให้ เป็นประโยชน์ -เป็นรายการทีเ่ จาะลึกสถานการณ์ จริง เพือ่ หาสาเหตุและต้นตอของ ปัญหา
2.รางวัลพิเศษ ในการจัด Family Awards 2011 นี ้ เรามีการพัฒนา รางวัลพิเศษสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท ซึ่งมีกระบวนการใน การได้ มาแตกต่างกันและอยู่นอกเหนือจากกระบวนการให้ ได้ มา ซึง่ รางวัลมาตรฐาน ดังนี ้
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 281
2.1.รางวัลรายการโทรทัศน์ เกียรติยศในดวงใจครอบครั ว (Hall of Fame) รางวัลรายการโทรทัศน์เกียรติยศในดวงใจครอบครัว เป็ นรางวัล ใหม่ที่เกิ ดขึน้ ในปี นี ้ กล่าวคือเป็ นรางวัลสาหรั บรายการโทรทัศน์ ที่ได้ รับ รางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว (Family Awards) 3 ปี ติดต่อกัน เพื่อยกย่องว่ารายการนันเป็ ้ นรายการโทรทัศน์ที่อยู่ในดวงใจของครอบครัว ที่มีคณ ุ ภาพ คือ มีเนื ้อหาสาระที่ ‘ดี’ และ ‘เหมาะสม’ ประกอบกับได้ รับ ความนิยมเป็ นอย่างมากจากครอบครัวทัว่ ประเทศ กระบวนการได้ มาซึ่งรางวัลดัง กล่าว คือเราได้ เลือกรายการที่ ได้ รับการสารวจความนิยมในรอบสุดท้ ายติดต่อกัน 3 ครัง้ ที่เคยมี Family Awards มา เพื่อยกระดับให้ รายการนันๆ ้ เป็ นรายการขวัญใจครอบครัว รวมถึงเปิ ดโอกาสให้ รายการอื่นๆ ได้ รับรางวัลอีกด้ วย กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เรานาผลการประเมิน และการคัด เลือกจากกระบวนการในรอบแรกมา สารวจเช่นเดียวกับรางวัลมาตรฐาน เมื่อผลการสารวจถูกนามาประมวล เสร็ จสิ ้น รายการใดที่ได้ รับการเลือกว่าจะต้ องได้ รับรางวัลรายการโทรทัศน์ ในดวงใจครอบครัวปี นี ้อีก ซึ่งเคยได้ รั บมาแล้ วอย่างติดต่อกันในครัง้ ผ่านๆ มา เราจะนารายการนันมาให้ ้ รางวัลพิเศษนี ้ รายการที่ ไ ด้ รั บ รางวัล รายการโทรทัศ น์ เ กี ย รติ ย ศในดวงใจ ครอบครัว (Hall of Fame) ไม่ใช่รายการใหม่ที่ไหนเลย แต่เป็ นรายการ ‘กบนอกกะลา’ และรายการ ‘คนค้ นตน’ ที่เคยได้ รับรางวัลรายการโทรทัศน์ ในดวงใจครอบครัวปี ที่ 1 และปี ที่ 2 อย่างต่อเนื่อง และในปี นี ้อยู่ในรางวัล รายการประเภทสัญลักษณ์ ‘ท’
282 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ตารางที่ 10.2 แสดงรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปีที่ 3 (Family Awards 2011) ประเภทรางวัลพิเศษ รางวัลรายการโทรทัศน์เกียรติยศในดวงใจครอบครัว (Hall of Fame)
รางวัลรายการโทรทัศน์เกียรติยศในดวงใจครอบครัว (Hall of Fame) รายการ รางวัลทีผ่ ่านมา เหตุผลเพิ่มเติม (บางส่วน) -รางวัลประเภท +1 -เป็นรายการทีเ่ กี่ยวกับวิทยาศาสตร์ กบนอกกะลา ด้านส่งเสริมระบบคิด การทดลอง เหมาะสาหรับเด็ก และ คิดเป็นร้อยละ ใน Family Awards เยาวชน 23.62 2009 -เป็นรายการที่นาความรู้ตา่ งๆ ทั้งใน (คะแนนเป็น ด้านการเกษตรและเทคโนโลยีมา อันดับ 1 ของ นาเสนอ ทาให้เรารู้ขั้นตอนในการผลิต รายการประเภท -รางวัลอันดับ 1 ประเภทรายการ สินค้าต่างๆ มากมายหลายชนิด สัญลักษณ์ ‘ท’ สัญลักษณ์ ‘ท’ ใน -ทาให้ได้ความรู้ตา่ งๆ มากยิ่งขึ้น ที่มา ในรางวัล Family Awards 2010 ถ่ายทอดให้เราชม ที่ไม่มีในห้องเรียน มาตรฐาน) -เป็นรายการทีเ่ หมาะกับทุกเพศทุกวัย และมีความรู้ให้เราทุกอย่างเกีย่ วกับการ อยูอ่ ย่างพอเพียง -เป็นรายการทีเ่ หมาะสมสาหรับคน ทั่วไป มีการถ่ายทอดความรู้ตา่ งๆ ให้ ผู้ชมได้ดแู ละฟัง ทั้งความรู้ดา้ นอาชีพ สิ่งต่างๆ รอบๆ ตัว -สนุกกับการได้ดูการผจญภัยและไปในที่ ต่างๆ -ได้รู้บางสิ่งบางอย่างที่เราไม่รู้ ประวัติ ที่มาทีไ่ ปว่ามาจากไหน เป็นอย่างไร เมือ่ ดูแล้วเราได้รบั ความเป็นมาเป็นไปในสิ่งที่ ถูกต้อง เช่น เรือ่ งของ ต้นตาล น้าผึ้ง -เป็นรายการที่ให้สาระ ความรูแ้ ก่ เยาวชนในด้านแง่คิดต่างๆ และวิถคี วาม เป็นอยู่ในแง่มมุ ต่างๆ -เป็นรายการ ที่ให้ความสาคัญกับผู้คน หรือบุคคลต่างๆ -เป็นรายการทีส่ ารวจเกี่ยวกับ การละเล่นของไทย และภูมปิ ัญญา กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 283
ท้องถิ่น -เป็นรายการที่นาเสนอถึงอาชีพหรือ เรือ่ งราวใกล้ตวั ที่เราไม่รู้ -เป็นรายการที่ดี มีสาระ นาเสนอวิถี ชีวิต แนวทางการทามาหากินของคนสู้ ชีวิต อย่างเช่นตอน ‘ชายสีห่ มี่เกีย๊ ว’ เป็นต้น -ทาให้เรารู้ในสิ่งที่เราคิดไม่ถึง และรูว้ า่ กว่าจะได้สงิ่ ใดสิ่งหนึ่งมานั้น มีวิธีการ หรือกระบวนการใดบ้าง ที่กว่าจะ ออกมาเป็นสิ่งๆ นั้น -ปลูกฝังให้เยาวชน ได้มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ -เป็นรายการที่ทาให้เราคิดนอกกรอบ อีกทั้งยังสอนให้ใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ คนค้นฅน คิดเป็นร้อยละ 17.54 (คะแนนเป็น อันดับ 2 ของ รายการประเภท สัญลักษณ์ ‘ท’ ในรางวัล มาตรฐาน)
-รางวัลประเภท +5 ด้านส่งเสริมความ หลากหลายทางสังคม วัฒนธรรมใน Family Awards 2009 -รางวัลอันดับ 2 ประเภทรายการ สัญลักษณ์ ‘ท’ ใน Family Awards 2010
284 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
-ได้ทราบถึงการนาเรือ่ งราวต่างๆ ของ บุคคลที่หลายคนอาจไม่รู้ที่ขยัน และ ตั้งใจที่จะทาความดีในสังคมไทย -เป็นรายการทีเ่ หมาะสมกับเด็ก เยาวชน และทุกคน เพราะรายการตาม หาคนที่เราจะรู้วา่ คนนั้นสามารถตาม หาได้จริง -ได้รู้จักกับคาว่า ‘ฅน’ ที่แท้จริง -ทาให้เราเห็นถึงคุณค่าในความเป็น มนุษย์ ทีม่ ีความแตกต่างกัน ทาให้เห็น ความอดทนในการต่อสู้กับปัญหาใน ชีวิต -มีวิธีการเล่าเรือ่ งที่น่าสนใจและชีวติ คน ต้นเรือ่ ง มีความน่าสนใจและน่าติดตาม ทั้งด้านเนือ้ หา และกระบวนการถ่ายทา ที่เข้าถึงอารมณ์ผู้ชม -เป็นรายการที่ให้แง่คิด ความเป็นอยู่ ของคนในชนบท และวิถคี วามเป็นอยู่
และให้รู้จักแง่คิดในการดารงชีวิตให้เป็น สุข -ทาให้มีกาลังใจที่จะสู้ชวี ติ และมีกาลังใจ ที่จะทาความดี -ส่งเสริมการช่วยเหลือคนสู้ชวี ิต -สะท้อนให้เห็นสภาพชีวติ ความเป็นอยู่ ของคนกลุ่มหนึ่ง ที่ใช้ชวี ิตในแต่ละวัน ด้วยความยากลาบาก -ได้รู้จักกับคนเก่งๆ ทีเ่ ราไม่เคยรู้จกั และน่าค้นหา -นาเสนอเรือ่ งราวทีม่ ีประโยชน์และ หลากหลายในมุมทีส่ ะท้อนให้ผู้ชมได้เห็น ข้อมูลที่กว้างขึ้น -ได้รู้จักคนทีไ่ ม่ปกติ เช่น คนพิการ คน ที่เป็นโรคร้าย คนยากจน ที่ทาอะไรได้ หลายๆ อย่าง ดูแล้วมีกาลังใจในการ ฮึดสูต้ อ่ ไป -เป็นแบบอย่างที่นา่ ชื่นชม น่าเอา เยีย่ งอย่าง 2.2.รางวัลรายการโทรทัศน์ ท่ สี ่ งเสริมคุณค่ าแก่ สังคม ในการดาเนินการ Family Awards 2011 นี ้ นอกเหนือจากรางวัล พิเศษข้ างต้ น เรายังจัดทารางวัลเพิ่มอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งมีกระบวนการ ได้ มาที่แตกต่างจากรางวัลมาตรฐานอย่างสิ ้นเชิง กล่าวคือ ในแรกเริ่ ม เรามีการสารวจประเด็นเรื่ องความต้ องการของผู้ชม ก่อนว่า เขาต้ องการให้ ร ายการโทรทัศน์ ไทยในปั จจุบัน มีบ ทบาทในการ ส่งเสริ มคุณค่าด้ านใดในสังคมขึ ้นมา เพื่อต้ องการสะท้ อนความคิดเห็นของ ผู้ชมกลับไปยังหน่วยงานที่เป็ นผู้ผลิต โดยสารวจระหว่างวันที่ 16 มิถนุ ายน
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 285
ถึง 6 กรกฎาคม พ.ศ.2554 สารวจจากกลุม่ ตัวอย่างที่มีความหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็ น เพศ วัย อาชีพ การศึกษา จานวนทังสิ ้ ้น 812 คน ในการนี ้ เราต้ อ งการให้ ผ้ ูช มเลื อ กว่ า รายการโทรทัศ น์ ค วร มี บทบาทในการส่งเสริ มคุณค่า ด้ านใดในสัง คมบ้ าง เราจึ งให้ ผ้ ูต อบแบบ สารวจเลือกคุณค่าขึ ้นมา 3 ประเด็น จากทังหมด ้ 9 ประเด็น ได้ แก่ ส่งเสริ ม ความรัก ความสามัคคี, ส่งเสริ มความมีระเบียบวินยั , ส่งเสริ มศักยภาพของ คนพิการ, ส่งเสริ มเอกลักษณ์ และวัฒนธรรมไทย, ส่งเสริ มความซื่อสัตย์ สุจริ ต, ส่งเสริ มความมีจิตอาสา ช่วยเหลือผู้อื่น, ส่งเสริ มความเสมอภาคที่ หลากหลาย, ส่งเสริ มความมีสมั มาคารวะ, และอื่นๆ ผลการสารวจปรากฏว่าผูช้ มส่วนใหญ่จานวน 58% บอกว่าสิ่ งที ่ ขาดหายไปจากสังคมไทยของเรา และอยากให้โทรทัศน์ มีบทบาทในการ เติ มเต็ม คือ อยากให้ส่งเสริ มเรื ่องความรัก ความสามัคคี รองลงมาอี กสอง ประเด็นคื อ อยากให้โทรทัศน์ มีบทบาทในการส่งเสริ มเรื ่ องจิ ตอาสา และ ส่งเสริ มเรื ่องความซื ่อสัตย์สจุ ริ ตของคนในสังคมไทย ตารางที่ 10.3 แสดงประเด็นคุณค่าที่อยากให้โทรทัศน์มีบทบาทส่งเสริม 3 ประเด็น
ประเด็นคุณค่าทีอ่ ยากให้โทรทัศน์ จานวน/คน มีบทบาทส่งเสริม 472 ส่งเสริมความรัก ความสามัคคี 428 ส่งเสริมความมีจิตอาสา ช่วยเหลือผูอ้ ื่น 412 ส่งเสริมความซือ่ สัตย์สุจริต
286 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ร้อยละ
ลาดับ
58.1 52.7
1 2
50.7
3
ผศ.ดร.ฐิ ตินนั บุญภาพ คอมมอน เคยกล่าวไว้ ในงานแถลงข่าว ผลการสารวจประเด็นคุณต้ อ งการให้ โทรทัศน์ ส่งเสริ มคุณค่าด้ านใดใน สังคม ไว้ วา่ ‚…โทรทัศน์ กบั สังคมเหมื อนกระจกเงา เพราะสะท้อนภาพของ กันและกัน สังคมไทยเมื ่อตกอยู่ในสภาวะใดก็ตามโทรทัศน์ก็มกั จะสะท้อน ภาพเหล่ า นัน้ ออกมา ขณะเดี ย วกัน สิ่ ง ที ่ น าเสนอทางโทรทัศ น์ ก็ มี พ ลัง เหมื อ นเป็ นกระจกวิ เศษที ่ ส ะท้ อ นไปยัง สัง คมและมี บ ทบาทในการ สร้ างสรรค์ พฒ ั นาสังคมด้วย เพราะฉะนัน้ การสารวจประเด็ นเรื ่ อง คุณ อยากให้รายการโทรทัศน์ ส่งเสริ มคุณค่ าใดในสังคมถื อเป็ นเสี ยงสะท้อน จากกระจกเงาของครอบครัวจิ ตอาสา ของเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและ สร้างสรรค์สือ่ ในฐานะที ่เป็ นส่วนหนึ่งของภาคสังคม…โทรทัศน์เป็ นสือ่ ที ่มี พลัง มี บ ทบาทในการเคลื ่ อ นสัง คม เพราะฉะนั้น สิ่ ง ที ่ ทุก คนใคร่ รู้ แ ละ อยากจะเห็ น เหมื อ นๆ กัน ก็ คื อ บทบาทของโทรทัศ น์ ใ นการเป็ นพลัง สร้างสรรค์ 3 ประเด็น ความรักความสามัคคี จิ ตอาสา และความซื ่อสัตย์ สุจริ ต เราหวังเป็ นอย่างยิ่ งว่าโทรทัศน์ จะเข้ามามี บทบาทในการเติ มเต็ ม ส่วนทีห่ ายไปให้กบั สังคมไทยของเรา…‛ เมื่อเราได้ ผลการสารวจความต้ องการในเบื ้องต้ นรวมถึงกาหนด ประเด็นคุณค่าเรี ยบร้ อยแล้ ว ต่อจากนันเรามี ้ วิธีการต่อมาซึง่ แตกต่างอย่าง สิ น้ เชิ ง กับ รางวัล ก่ อ นหน้ า คื อ เราเปิ ดรั บ สมัค รการประกวดรายการ โทรทัศน์จากสถานีต่างๆ กล่าวคือ เราได้ ดาเนินการแจ้ งสถานีต่างๆ ให้ สง่ รายการโทรทัศน์เข้ าประกวดในคุณค่า 3 ประเด็น โดยมีสถานีโทรทัศน์ที่สง่ จานวนทังสิ ้ ้น 4 สถานี ได้ แก่ ช่อง 5 , ช่อง 7, ช่อง สทท., ช่อง ThaiPBS แต่ละสถานีนนได้ ั ้ สง่ รายการเข้ ามาเป็ นจานวนมากที่เข้ าข่ายของ ประเด็นคุณค่าที่ควรส่งเสริ มด้ านใดด้ านหนึ่ง เราจึงดาเนินขันตอนต่ ้ อไป กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 287
โดยน ารายการต่ า งๆ เข้ า สู่ก ารพิ จ ารณาคัด เลื อ กโดยคณะกรรมการ พิ จารณาคั ด เลื อกรายการโทรทั ศ น์ ที่ ส่ ง เสริ มคุ ณ ค่ า แก่ ส ั ง คมซึ่ ง ประกอบด้ ว ยผู้ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้ า นเด็ ก ครอบครั ว และสื่ อ รวมถึ ง สาขาที่ เกี่ยวข้ องกับคุณค่าด้ านนันๆ ้ ปรากฎผลดังนี ้ ตารางที่ 10.4 แสดงรายการโทรทัศน์ที่ส่งเสริมคุณค่า 3 ด้านในสังคมไทย
ประเด็นคุณค่าที่ควร ส่งเสริม ความรักความสามัคคี จิตอาสา ความซื่อสัตย์สุจริต
รายการ
สถานี
ครอบครัวเดียวกัน 76 จังหวัด ตามหาคนดี ธรรมะคือคุณากร
ThaiPBS ช่อง 5 สทท.
รางวัลในที่นี ้ เครื อข่ายฯมีการออกแบบตัวโล่อย่างเป็ นเอกลักษณ์ ซึ่งรายการแต่ละประเภทจะได้ รับรางวัลที่แตกต่างกัน ทัง้ หมดทัง้ มวล เพื่อให้ สังคมได้ ร้ ูว่ารายการที่ถอื ว่ าเหมาะสมและดีสาหรั บครอบครั ว ภายใต้ การจัดระดับความเหมาะสมที่ถกู ต้ องนัน้ เป็ นอย่ างไร
288 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
กล่องที่ 10.2
บางเสียงสะท้อนของผูผ้ ลิตต่อรางวัลรายการโทรทัศน์ใน ดวงใจครอบครัวทีผ่ า่ นมา
คุณภัทราพร สังข์พวงทอง โปรดิวเซอร์รายการ ’กบนอกกะลา’ ได้กล่าว ความรูส้ ึกไว้วา่ ‚ขอบคุณค่ะ เชื่อว่าในวงการโทรทัศน์ไทย ยังมีผู้ผลิตที่มีความฝันที่ อยากจะผลิตรายการโทรทัศน์ดีๆ เพื่อให้เป็นรายการโทรทัศน์ในดวงใจอีกมาก แต่ว่า ขาดโอกาสและพลังใจบางอย่าง เพราะว่าการจะเป็นรายการโทรทัศน์ดๆี จาเป็นต้องมี ผู้สนับสนุนที่อดทนและเสียสละอยู่เคียงข้างเรา มีสถานีที่ให้โอกาส และมีภาค ประชาชนที่รู้เท่าทันสื่อให้การสนับสนุนด้วย เพราะฉะนัน้ นอกจากจะขอบคุณสาหรับ รางวัลนี้ในฐานะตัวแทนจาก ’กบนอกกะลา’ แล้ว ก็อยากขอบคุณที่มเี วทีแบบนี้ เพื่อที่จะเป็นกาลังใจให้ผู้ผลิตรรายการโทรทัศน์ทุกคนด้วย ขอบคุณค่ะ‛ คุณธีระรัช ดวงกมล โปรดิวเซอร์รายการ ’คนค้นฅน’ ได้กล่าวความรูส้ ึก ไว้วา่ ‚ขอขอบคุณสาหรับคากลอนครับ และก่อนอื่นคงต้องขอขอบคุณสาหรับรางวัล นี้ เชื่อว่าจะเป็นกาลังใจให้ทีมงานในการทางานต่อไปครับ ที่สาคัญที่สดุ ขอขอบคุณ เครือข่ายครอบครัวฯ ที่ทาให้เกิดโครงการดีๆ เช่นนี้ และเชื่อว่าจะเป็นแรงบันดาลใจให้ เกิดโครงการดีๆ เช่นนี้ต่อไป ขอบคุณครับ‛ คุณกษมา อุดมเกิดมงคล Creative group head ของรายการ ’คุณพระช่วย’ ได้กล่าวความรูส้ ึกไว้วา่ ‚รางวัลนี้ถือเป็นความภาคภูมิใจอย่างมาก สาหรับทีมงาน เพราะนี่คือรางวัลที่ผ่านการโหวตจากครอบครัว ขอขอบคุณทีมงาน จากบริษัท Work point และทีมงานรายการ จะนาความภาคภูมิใจวันนี้ไปสร้างสรรค์ รายการ รายการ ‘คุณพระช่วย’ เป็นรายการวัฒนธรรมซึ่งที่สามารถอยู่ได้ถึงขนาด นี้ถือว่าทางทีมงานตั้งใจและปรับตัวอย่างเต็มที่ และรายการ ‘คุณพระช่วย’ ไม่ใช่ของ บริษัท Work point หรือของใคร แต่เป็นของทุกคน เพราะเรื่องของวัฒนธรรมนั้น เป็นเรื่องของคนไทยทุกคน รายการ ‘คุณพระช่วย’ มีหน้าที่เพียงนามาเผยแพร่และทา ให้คงอยู่ ให้เด็กรุ่นหลังได้เห็น ได้ยิน ขอบคุณมากค่ะ‛ คุณชโรบล เรียงสุวรรณ รองผู้จดั การสานักกรรมการผู้จัดการ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ผู้ได้รางวัลรายการเด็ก ได้กล่าวความรูส้ ึกไว้วา่ ‚ในนามของสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบก ช่อง 7 ขอขอบคุณทีม่ อบรางวัลให้กับ รายการนี้ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้เป็นรายการที่เราผลิตเองทั้งหมด แต่กเ็ ป็นรายการที่เรา ตั้งใจจะผลิตและคิดว่ามีประโยชน์กับเด็กและเยาวชน ขอบคุณค่ะ‛
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 289
กล่องที่ 10.2
บางเสียงสะท้อนของผูผ้ ลิตต่อรางวัลรายการโทรทัศน์ใน ดวงใจครอบครัวทีผ่ า่ นมา (ต่อ)
คุณรังสิต ศิรนานนท์, คุณภัทราณี จารุวรรณสถิต และคุณณัฐวัฒน์ เปล่งศิรวิ ัธน์ คณะนักแสดงจากรายการ ’ละครคู่กิ๊กพริกกับเกลือ’ ได้กล่าว ความรูส้ ึกไว้วา่ ‚พวกเราเป็นตัวแทนของละครคู่กิ๊กพริกกับเกลือ ผมรู้สึกเป็นเกียรติ และดีใจมากที่ละครของเรา เป็นที่ชนื่ ชอบของครอบครัว‛, ‚ขอบคุณทุกเสียงโหวต และ จะตั้งใจทางานให้เต็มที่คะ่ ‛ และ ‚ขอบคุณมากนะครับ ที่มรี างวัลดีๆ แบบนี้มาเป็น กาลังใจให้เรามีแรงทีจ่ ะทางานเพื่อสังคมต่อไปครับ‛ ตามลาดับ คุณชวลิต พงษ์สขุ เวชกุล ผู้ดแู ลการผลิตรายการ ‘กรรมลิขติ ’ บริษทั กันตนา กรุ๊ป จากัด ได้กล่าวความรูส้ ึกไว้วา่ ‚ดีใจมากและภูมิใจมากสาหรับรางวัล ที่ได้รับครับ ขอขอบคุณทุกครอบครัว ทุกเสียงโหวตที่ให้มา ที่สาคัญคือ ขอบคุณ คณะกรรมการเครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวังและสร้างสรรค์สื่อ ที่จดั กลไกดีๆรวมถึง รางวัลดีๆแบบนีค้ รับ‛ คุณเกียรติสุดา ภิรมย์ ผู้ผลิตรายการ ‘เจ้าขุนทอง’ และ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ผองผล จากัด ได้กล่าวความรูส้ ึกไว้วา่ ‚ขอบคุณค่ะ ก่อนอื่นต้องบอกว่า รางวัลนี้ก็เป็นรางวัลในดวงใจเหมือนกัน เพราะพอทราบว่ามีรางวัลนี้ ก็รู้สึกอยากได้ ตั้งแต่ปที ี่แล้ว รางวัลนี้ถือเป็นการฉลองวันเกิดของรายการครบรอบ 19 ปีด้วย ขอขอบคุณทุกท่านที่สง่ เสริมสนับสนุนมาตลอดเวลา ขอบคุณสถานี คนดู โดย ส่วนตัวรู้สึกว่ายังไม่เหนื่อยค่ะ ยังทาได้อยู่ ขอบคุณค่ะ‛
290 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
6) ความพิเศษของ Family Awards ในปี พ.ศ.2548 นับเป็ นปี ที่กลุม่ พ่อแม่อาสารวมตัวกันทากิจกรรม อัน เป็ นประโยชน์ ต่อ สังคมโดยมุ่ง เน้ น พัฒ นาการรู้ เท่า ทัน สื่อ ให้ กับ เด็ ก เยาวชนและครอบครัว รวมถึงกระตุ้นระบบสื่อสารมวลชนให้ ตระหนักและ หันมาใส่ใจผลกระทบที่ผ้ บู ริ โภคได้ รับจากสื่อที่ไม่เหมาะสมอันจะนาไปสู่ การพัฒนาสังคมสุขภาวะ นับจากนัน้ เครื อข่ ายครอบครัวเฝ้ าระวังและ สร้ า งสรรค์ สื่อ จึ ง ถื อ ก าเนิ ด ขึ น้ ในฐานะที่ เ ป็ น ภาคประชาสัง คมด้ า น ครอบครัว ซึง่ ถือเป็ นส่วนที่เล็กที่สดุ ในสังคม แต่ก็สาคัญที่สดุ เช่นกัน ‘เฝ้ าระวังสือ่ ร้าย ขยายสือ่ ดี ’ ถือเป็ นวิสยั ทัศน์ที่เครื อข่ายฯยึดถือ มาตังแต่ ้ นนั ้ เนื่องจากเราตระหนักดีว่าสื่อที่ไม่เหมาะสมมีผลกระทบอย่าง ยิ่งต่อสังคม เพราะสื่อเป็ นสิ่งหนึ่งที่มีอิทธิพลอย่างมากในการปรับเปลี่ยน แนวคิดและพฤติกรรมการดารงชีวิตของมนุษย์ หรื อแม้ กระทัง่ ปรับเปลี่ยน วิถีชีวิตที่เป็ นอยู่ ดังนันการที ้ ่สงั คมได้ บริ โภคสือ่ ที่ดี ย่อมต้ องส่งผลดีต่อชีวิต และสังคม แต่หากบริ โภคสื่อที่ไม่เหมาะสม (มีเนื ้อหา ภาษา ความรุ นแรง เพศที่ไม่เหมาะสม) ย่อมไม่จรรโลงชีวิตและสังคมเป็ นแน่ ดังนัน้ การเฝ้ าระวังและขจัด สื่อ ร้ ายร่ ว มกับ สร้ า งหรื อสนับสนุน สื่อดีใ ห้ มากขึน้ จึง เป็ น ทิศทางที่สาคัญในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ สงั คมไทยมีความสุขใน การบริ โภคสือ่ จากที่ ก ล่า วมา แนวคิ ด ในการสนับ สนุน ผู้ผ ลิต สื่อ โดยเฉพาะ ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ซึ่งเป็ นสื่อกระแสหลักจึงเกิดขึ ้นเพื่อให้ กาลังใจต่ อ ผู้ผลิตนันๆ ้ ที่มีความตังใจในการผลิ ้ ตสือ่ ที่ดีและมีความเหมาะสม กิจกรรม หนึง่ ซึง่ เกิดขึ ้นเพื่อสนองตอบต่อความต้ องการดังกล่าว คือ การมอบรางวัล รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว หรื อ Family Awards
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 291
การมอบรางวัลฯ ที่เราทานัน้ จะส่งเสริ มกาลังใจให้ ผ้ ูผลิตที่ทา รายการดีมีประโยชน์ รวมถึงทาให้ สาธารณะเห็นว่ารายการที่ดี ควรเป็ น รายการอย่างไร ผ่านกระบวนการดาเนินงานที่ครอบคลุมทังมิ ้ ติวิธีการเชิง ปริ มาณ (Quantitative Method) และวิธีการเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) ผศ.ดร.ฐิ ติ นัน บุญ ภาพ คอมมอน อาจารย์ ป ระจ าภาควิ ช า วิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ เคยกล่าวถึงกระบวนการจัดทา Family Awards ไว้ วา่ ‚…วิ ธี ก ารในการคัด เลื อ กและเกณฑ์ ใ นการคัด เลื อ กรางวัล ของ Family Awards เป็ นระบบที ่มีระเบี ยบวิ ธีวิจยั ชนิ ดที ่ว่าอยากจะให้ วิ ทยานิ พนธ์ ดี เด่ นกับ เครื อ ข่ ายฯ เพราะมี เกณฑ์ มีร ะบบในการคัดเลื อ ก รายการทีม่ ี ความเป็ นวิ ทยาศาสตร์ ในเชิ งการวิ จยั โดยใช้ตวั +6 ที ่เน้นเรื ่อง ประเด็นการส่งเสริ มสารประโยชน์ ในด้านต่างๆ หรื อเกณฑ์ -3 ที ่เป็ นเรื ่อง ของการกากับเนื ้อหาในเรื ่ องของ เพศ ภาษา และความรุนแรง วิ ธีการที ่ เครื อข่ายฯ ใช้ในการมอบรางวัลก็คือ การเก็บข้อมูลในเชิ งปริ มาณและเชิ ง คุณภาพ ซึ่ งถ้าดูรายงานผลการสารวจรายการโทรทัศน์ในดวงใจเมื ่อสองปี ที ่ผ่านมาจะพบว่า รายงานเล่มหนาเท่ากับวิ ทยานิ พนธ์ หนึ่งเล่ม เท่าที ่ดูมี คุณค่าเชิ งวิ ชาการอย่างมาก มี ระบบระเบี ยบ มี การสารวจทัง้ เชิ งปริ มาณ และเชิ ง คุณ ภาพ เหมื อ นวิ ท ยานิ พ นธ์ ที ่ ดี เ ล่ ม หนึ่ ง และตนเองใช้ ส อน นักศึ กษาด้วย มี คุณ ค่ าเชิ ง วิ ชาการถึ ง ขนาดที ่นาไปใช้สอนนักศึ กษาได้ ด้วย…‛ ที่ผา่ นมาเราได้ รับการตอบรับจากสังคมเป็ นอย่างดีในการจัดงาน Family Awards เนื่องจากเหตุผลต่างๆ นานาที่กล่าวไป ประกอบกับ ความรู้ สึกพิเศษกับรางวัลนี ้ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนใคร รวมถึง 292 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
อาจเป็ นรางวัลแรกของโลกก็เป็ นได้ ผศ.ดร.ฐิ ตินนั บุญภาพ คอมมอน ยัง กล่าวเพิ่มเติมไว้ อีกว่า ‚…รางวัล Family Awards มี ที่มาของรางวัลซึ่ งมี ความพิ เศษ มาก ในต่ า งประเทศเวลาที ่แ จกรางวัลรายการโทรทัศ น์ ก็ มักจะทาโดย สมาคมหรื อสมาพันธ์ วิชาชี พ…ในประเทศไทยก็มีแต่ก็จะเป็ นการแจกจาก สมาคมสมาพันธ์ วิชาชี พ ไม่มีประเทศไหนในโลกที ่ครอบครัวลุกขึ้ นมาและ จัดทารางวัลของภาคประชาชนของครอบครัวและมอบให้กับคนทางาน ด้านสื ่อ เพราะฉะนัน้ โดยที ่มาของรางวัล Family Awards มาจากความ ตัง้ ใจจริ ง ของครอบครัวที ่มี จิตอาสาที ่อยากจะสร้ างแรงกระตุ้นเชิ งบวก อยากจะชื ่นชมความสร้างสรรค์ ของรายการโทรทัศน์ไทย และถื อเป็ นการ สร้ างแรงกระตุ้นเชิ งบวกอย่างเป็ นรู ปธรรม อยากบอกว่านี ่คือรางวัลแรก ของโลกทีม่ าจากภาคประชาชนอย่างแท้จริ ง…‛ อย่างไรก็ ตาม เราพบข้ อจากัดบางประการอันเนื่องมาจากว่า เครื อข่ายฯ เป็ นหน่วยงานที่เกิดจากการอาสา ดังนัน้ ผู้ดาเนินงานจึงเป็ น ครอบครัวอาสาที่มีพื ้นเพอันหลากหลาย ขาดความเป็ นวิชาชีพที่น่าเชื่อถือ ในยุคสมัยใหม่ ดังนัน้ การส่งผลสะท้ อนออกไปสูผ่ ้ ผู ลิตส่วนมากให้ ใส่ใจกับ การพัฒ นารายการเด็ ก จึ ง มี ไ ม่ ม ากเท่ า ที่ ค วร เพราะเครื อ ข่ า ยฯ ไม่ ใ ช่ หน่วยงานที่มีอานาจหน้ าที่ในการกากับดูแลหรื อสัง่ การ ดังนัน้ สิ่งที่เป็ น ภารกิ จของเครื อ ข่ า ยฯ และเราเห็น ว่ า สาคั ญ อย่ า งยิ่ง คื อ กระตุ้ น สังคมให้ สนใจและตื่นตัวในการเป็ นผู้บริ โภคสื่อที่ร้ ู เท่ าทันรวมถึง ร่ วมกันปกป้องเด็กจากสื่อที่ไม่ เหมาะสม และที่สาคัญเพื่อเป็ นกลไก หนึ่งในการสนับสนุนให้ เกิดพืน้ ที่ส่ อื สร้ างสรรค์ มากยิ่งขึน้
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 293
กล่องที่ 10.3
ความสาคัญของ Family Awards ต่อสถานีโทรทัศน์
เร็วๆ นี้ รางวัลรายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว หรือ Family Awards ได้ กลายเป็นตัวชีว้ ัดที่ 1.6 ของสถานี MCOT เกีย่ วกับด้านรางวัลสาระประโยชน์ ของบันทึกข้อตกลงผลการดาเนินงานฯ ปี 2554 จากตัวชี้วดั ด้านผลการ ดาเนินงาน 11 ตัวชีว้ ัด เนือ่ งจากช่องโมเดิร์นไนน์ (ช่อง 9) ในฐานะที่เป็นช่อง แห่งสังคมอุดมปัญญา มีแนวคิดและจุดยืนที่วา่ ‘เป็นผู้นาธุรกิจสือ่ สารมวลชน ครบวงจรในภูมิภาคอาเซียนที่รบั ผิดชอบต่อสังคม’ การได้รบั รางวัลจากผู้ชม จริงๆ ว่ามีรายการที่ดแี ละเหมาะสมจึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิง่ บมจ.อสมท ได้คัดเลือกรางวัลของสถาบันเครือข่ายครอบครัวเฝ้าระวัง และสร้างสรรค์สอื่ เป็นหนึ่งในตัวชีว้ ดั เนือ่ งมาจากรางวัลดังกล่าวมีการคัดเลือก โดยใช้กระบวนการวิธีเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณควบคู่กัน และรางวัลต่าง ๆ ตั้งอยู่บนฐานความคิดของแนวคิดการจัดระดับความเหมาะสมของรายการ โทรทัศน์
294 | ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
บรรณานุกรม
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 295
ภาษาอังกฤษ Action Group on Violence on Television (AGVOT). Canada. 1997. Broadcaster Manual for the Canadian program classification system using on-screen icons, September. Atwal, Kam., Millwood-Hargrave, Andrea., Sancho, Jane. with Agyeman, Leila., and Karet, Nicki. 2003. What Children Watch: An Analysis of Children’s Programming Provision Between 1997-2001, And Children’s Views. Broadcasting Standards Commission and Independent Television Commission. Aletari, Marianna. 2003. The need for a uniform rating system at th
European level, 18 EPRA meeting, Nicosia. Cyprus: 2224 October. ASTRA. 2007. Codes of Practice 2007: Subscription Narrowcast Television. Australian Subscription Television and Radio Association Inc. Baran, S.J. 2002. Introduction to Mass Communication: Media Literacy and Culture. New York: McGraw Hill. Bandura, Albert. 1977. Social Learning Theory. Eaglewood Cliffs, NJ.: Prentice-Hall. Bushman, Brad J. and Joanne Cantor. 2003. “Media Ratings for Violence and Sex – Implications for Policymakers and
296 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
Parents.” In American Psychologist, Volume 58, Number 2, 130-144. Buckingham, David. 2004. The Media Literacy of Children and Young People: a review of the research literature. London: Centre for the Study of Children, Youth and Media Institute of Education, University of London. Buckingham, David., and Bragg, Sara. 2003. Young People, Mediaand Personal Relationships. Advertising Standards Authority, British Board of Film Classification, British Broadcasting Corporation, Broadcasting Standards Commission and Independent Television Commission. Broadcasting Commission of Ireland. 2003. Research into children’s viewing patterns in Ireland. Dublin: BCI. Broadcasting Standards Commission. 2001. News Release: Briefing Update 8 - Concerning Regulation, 23 May. Broadcasting Authority, Hong Kong. 2003. Generic Code of Practice on Television Programming Standards, 27 June. Casey, Bernadette., Casey, Neil., Calvert, Ben., French, Liam., and Lewis, Justin. 2002. Television Studies: The Key Concepts. London: Routledge. Central Statistics Office, Ireland. 2000. 1999/2000 Household Budget Survey.
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 297
Children Now. 1999. Boys to Men: Media Messages About Masculinity. Sixth Annual Children and the Media Conference. Children and the Media Program. Children Now. Cline, V.B., Croft, R.G., Courier, S. 1973. “Desensitization of children to television violence.” In Journal of Personality and Social Psychology, 27, 360-365. Conseil Supérieur de l’Audiovisuel. 2004. The protection of children and adolescents on French television, May. Commission of the European Communities. 2003. Second evaluation report from the Commission to the Council and the European Parliament on the application of Council Recommendation of 24 September 1998 concerning the protection of minors and human dignity, 12 December. Cumberbatch, Guy. 1999. Television: The Public’s View. Independent Television Commission. DVB Regulatory Group. 2000. Parental Control in a Converged Communications Environment - Self-Regulation, Technical Devices and Meta-Information. Research by Daphne Keller and Stefaan G. Verhulst, Programme in Comparative Media Law and Policy, University of Oxford, October.
298 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
European Platform of Regulatory Authorities. 1998. Violence on Television. 7th EPRA meeting, Fredrikstad, Norway, 14-15 May. ______________. 2003. Presentation on: The need for a uniform rating system at European level, given by Marianna Aletrari, Radio Television Officer, Cyprus Radio-Television Authorith, 18th EPRA meeting, Nicosia: 22-24 October. Feshbach, S., and Singer, R.D. 1971. Television and Aggression: An Experimental Field Study. San Francisco: Jossey-Bass. Fisher, Deborah A., Hill, Douglas L., Grube, Joel W., and Gruber, Enid L. 2004. “Sex on American Television: An Analysis across Program Genres and Network Types.” In Journal of Broadcasting & Electronic Media, 48. Freedman, Jonathan L. 2007. “Television Violence and Aggression: Setting the Record Straight.” In Policy Views. The Media Institute. Federation of Australian Commercial Television Stations. 1999. Commercial Television Industry - Code of Practice, April. Gerbner, G., Gross, L., Morgan, M., Signorielli, N., and JacksonBeeck, M. 1979. “The Demonstration of Power: Violence Profile No. 10.” In Journal of Communication, 29, 177196.
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 299
Hanley, Pam. 2000. Copycat Kids? The Influence of Television Advertising on Children and Teenagers. Independent Television Commission. Joy, L.A., Kimball, M., and Zabrack, M.L. 1986. “Television exposure and children’s aggressive behavior.” In The Impact of Television: A natural Experiment Involving Three Towns. T.M. Williams (ed.). New York: Academic Press. Kirsh, Steven J. 2006a. Children, adolescents, and media violence: a critical look at the research. London: Sage Publication. ______________. 2006b. “Cartoon violence and aggression in youth.” In Aggression and Violent Behavior, 11, 547-557. Kubey, Robert., and Csikszentmihalyi, Mihaly. 2002. “Television Addiction Is No Mere Metaphor.” In Scientific American, February. Kunczik, M. 1991. Communication and Social Change: A Summary of Theories, Policies and Experiences for Media Practitioners in the Third World. Bonn: Friedrich-EbertStiftung. Livingstone, S., and Bovill, M. 2001. Children and Their Changing Media Environment A European Comparative Study. Livingstone, Sonia., Van-Couvering, Elizabeth., Thumim, Nancy. 2004. Adult Media Literacy: a review of the research literature on behalf of Ofcom. London: Department of 300 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
Media and Communications, London School of Economics and Political Science. McQuail, Denis. 2002. Mass Communication Theory. London: Sage Publication. 4th ed. Millwood-Hargrave, Andrea. 2003a. Broadcasting Standards Regulation. Broadcasting Standards Commission and Independent Television Commission. ______________. 2003b. How Children Interpret Screen Violence. British Broadcasting Corporation, British Board of Film Classification, Broadcasting Standards Commission and Independent Television Commission. ______________. 2000. Delete expletives. Advertising Standards Authority, British Broadcasting Corporation, Broadcasting Standards Commission and Independent Television Commission. ______________. 2003c. Violence and the Media: Integrated Project 2 – Responses to Violence in Everyday Life in a Democratic Society, June. Nicholas, K. 2006. “Post TV?: The Future of Television.” In TeleVisions: An Introduction to Studying Television. Glen Creeber (ed.). London: BFI. Ofcom. 2011. Research into parents’ and teenagers’ opinions and concerns on pre-watershed television programming. กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 301
Olson, Beth., and Douglas, William. 1997. “The Family on Television: Evaluation of Gender Roles in Situation Comedy.” In Sex Roles, 36, Nos.5/6, 409-427. Olken, Benjamin A. 2009. "Do Television and Radio Destroy Social Capital? Evidence from Indonesian Villages." In American Economic Journal: Applied Economics, American Economic Association, 1(4), October, 1-33. Park, Alice. 2009. Study: TV May Inhibit Babies' Language Development. Time Health, 1 June,<http://www.time.com /time/health/article/0,8599,1902209,00.html>, [accessed18.01.2011]. Potter, W.J. 1998. Media Literacy. Beverly Hills: Sage Publications. ______________. 2003. “The Myth that the Rating Systems and V-Chip will help Solve the Problem.” In Promote or Protect? Perspectives on Media Literacy and Media Regulations. Goteborg, Sweden: The International Clearinghouse on Children, Youth and Media (Nordicom), 197-211. Potter, W.J., and Warren, R. 1998. “Humor as a camouflage of televised violence.” In Journal of Communication, 48, 40-57.
302 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
Quinn, Ruth-Blandina. 2005. Taste and Decency: a review of national and international practice. Broadcasting Commission of Ireland. Ramsay, Gillian. 2003. The Watershed: Providing a Safe Viewing Zone. British Broadcasting Corporation, Broadcasting Standards Commission and Independent Television Commission. RTÉ. 2002. Programme Makers’ Guidelines. Schramm, Wilbur., Lyle, Jack., and Parker, Edwin B. 1961. Television in the Lives of Our Children. California: Stanford University Press. Stein, A.H., and Friedrich, L.K. 1972. "Television content and young children's behavior." In Television and social behavior (vol. 2): Television and social learning. J.P. Murray, E.A. Rubinstein and G.A. Comstock (Eds.). Washington D.C.: United States Government Printing Office, 202-317. ______________. 1973. “Aggressive and prosocial television programs and the natural behavior of preschool children.” In Monographs of the Society for Research in Child Development, 38, 1-110. Steuer, F. B., Applefield, J. M., and Smith, R. 1971. “Televised aggression and the interpersonal aggression of preschool
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 303
children. ” In Journal of Experimental Child Psychology, 11, 442-447. Thomas, M., Horton, R.W., Lippencott, E.C., and Drabman, R.S. 1977. “Desensitisation to portrayals of reallife aggression as a function of exposure to television violence. ” In Journal of Personality and Social Psychology, 35, 450 – 458. Tirol, Vicente G. 2005. “Role of Media in Desasters.” In In the Tsunami’s Wake: Media and the Coverage of Disasters in Asia. Bangkok: Friedrich-Ebert-Stiftung and the Southeast Asain Press Alliance. Towler, R.C. 2001. Viewers and Family Viewing Policy. British Broadcasting Corporation, Broadcasting Standards Commission and Independent Television Commission. Wright, Charles R. 1974. “Functional Analysis and Mass Communication Revisited.” In The Uses of Mass Communications. edited by Jay G. Blumler and Elihu Katz. Beverly Hills: SAGE Publications,197-212.
304 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
ภาษาไทย กรมประชาสัมพันธ์. กองงานคณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ. 2551. คู่มือการจัดระดับความ เหมาะสมของรายการโทรทัศน์ . กรุงเทพฯ: กรม ประชาสัมพันธ์. กลุม่ เฝ้ าระวังทางวัฒนธรรม. 2554. รายงานผลการสารวจ เรื่อง “การ รั บรู้และทัศนคติที่มีต่อเนื้อหาที่นาเสนอในสือ่ มวลชน.” โครงการพัฒนาสือ่ ปลอดภัยและสร้ างสรรค์. กระทรวง วัฒนธรรม. กาญจนา แก้ วเทพ. 2547. สื่อสารมวลชน: ทฤษฎีและแนวทาง การศึกษา. กรุงเทพฯ: Higher Press. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. ______________. 2551. “โทรทัศน์กบั วัฒนธรรมแห่งอารมณ์.” ใน รั ฐศาสตร์ สาร, ปี ที่ 29, ฉบับที่ 3, กันยายน-ธันวาคม, 131-167. เกรี ยงศักดิ์ เจริ ญวงศ์ศกั ดิ.์ 2543. “อิทธิพลโทรทัศน์กบั การนาสังคม.” ใน คนเฝ้าสือ่ : วิพากษ์ เพรียก เรียกสื่อไทยให้ ปฏิรูป. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย. เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ . 2553ก. รายงาน การศึกษาโครงการสารวจความคิดเห็น : เรื่อง “รายการ โทรทัศน์ ในดวงใจครอบครั วปี 2.” กรุงเทพฯ: เครื อข่าย ครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ . ______________. 2553ข. ดูได้ ดูดี 2: คู่มือสามัญประจาบ้ านเพื่อการ เรียนรู้เท่ าทันสือ่ ฉบับผู้ปกครอง. กรุงเทพฯ: เครื อข่าย ครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ . กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 305
______________. 2553ค. การใช้ ค่ มู ือการจัดระดับความเหมาะสม ของรายการโทรทัศน์ (ทฤษฎี+6-3). เอกสารประกอบเวที อบรมการใช้ คมู่ ือฯภายใต้ กิจกรรมการประเมินรายการโทรทัศน์ หลังออกอากาศ (Post-rate) วันที่ 2 มีนาคม 2553, กรุงเทพฯ. เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ . ______________. 2552ก. ดูได้ ดูดี : คู่มือสามัญประจาบ้ านเพือ่ การ เลือกรั บชมรายการโทรทัศน์ ฉบับครอบครั ว. กรุงเทพฯ: เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ . ______________. 2552ข. รายงานวิจัยโครงการสารวจความคิดเห็น: เรื่อง รายการโทรทัศน์ ในดวงใจครอบครั ว. กรุงเทพฯ: เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ . โครงการศึกษาและเฝ้ าระวังสือ่ เพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). 2553. สารวจผังฟรีทีวี (มีนาคม 2553). รายงานผลการศึกษา รอบที่ 47 ของโครงการศึกษาและเฝ้ าระวังสือ่ เพื่อสุขภาวะ ของ สังคม (Media Monitor). ______________. 2552ก. สารวจผังฟรีทีวี (กุมภาพันธ์ -เมษายน 2552). รายงานผลการศึกษารอบที่ 34 ของโครงการศึกษาและ เฝ้าระวังสือ่ เพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). ______________. 2552ข. รายการโทรทัศน์ เพือ่ การอยู่รอดในภาวะ วิกฤตเศรษฐกิจ. รายงานผลการศึกษารอบที่ 39 ของโครงการ ศึกษาและเฝ้ าระวังสือ่ เพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor).
306 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
______________. 2551ก. ค่ านิยมความงามในโฆษณาทางโทรทัศน์ . รายงานผลการศึกษารอบที่ 25 ของโครงการศึกษาและเฝ้ าระวัง สือ่ เพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). ______________. 2551ข. ความรุ นแรงในละครโทรทัศน์ ทางฟรีทีว.ี รายงานผลการศึกษารอบที่ 38 ของโครงการศึกษาและเฝ้ าระวัง สือ่ เพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). ______________. 2550ก. อคติและภาพตัวแทนในละครซิทคอม. รายงานผลการศึกษารอบที่ 19 ของโครงการศึกษาและเฝ้ าระวัง สือ่ เพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). ______________. 2550ข. เรตติง้ รายการโทรทัศน์ จุดเด่ น และ ข้ อจากัด (ในฟรีทวี ี 3, 5, 7, 9, 11 และ TITV ระหว่ าง 1-7 ตุลาคม 2550). รายรายงานผลการศึกษารอบที่ 14 ของโครงการ ศึกษาและเฝ้ าระวังสือ่ เพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). คานวร. 2543. “สือ่ ชี ้นาได้ มากแค่ไหน? ถ้ า 89% ของเด็กไทยดูทวี ีทกุ วัน.” ใน Thailand education Journal. กรุงเทพฯ : บริ ษัท บี เอ ซี มีเดีย เอ็ด. ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ. 2549. “โฆษณาสินค้ าและบริ การเพื่อความงาม: สาร สือ่ นัย และความหมาย.” ใน จดหมายข่ าวศูนย์ มานุษยวิทยา สิรินธร, 8(42), กุมภาพันธ์-มีนาคม, 1-4. ใบขาม. 2551. วัคซีนสือ่ สร้ างสรรค์ . กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.). แผนงานสือ่ สร้ างสุขภาวะเยาวชน (สสย.). 2552. เจาะจอตู้ดูแลเด็ก. กรุงเทพฯ: ปิ่ นโต พับลิชชิ่ง. กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 307
พรรณพิมล วิปลุ ากร. 2554. “ทาไมเด็กจึงจาเป็ นต้ องรู้ทนั สือ่ ?” ใน รู้ทัน สื่อ : รวมบทความแนวคิด ทฤษฎี เทคนิค และ ประสบการณ์ ด้านการรู้เท่ าทันสื่อ. กรุงเทพฯ : ปิ่ นโต พับลิชชิ่ง , 43-54. พรทิพย์ เย็นจะบก. 2552. ถอดรหัส ลับความคิด เพื่อการรู้เท่ าทันสือ่ : คู่มือการเรียนรู้เท่ าทันสือ่ . กรุงเทพฯ: ปิ่ นโต พับลิชชิ่ง. มนัสวินี จันทะเลิศ. 2548. “อิทธิพลและผลกระทบของสือ่ มวลชนต่อเด็ก และเยาวชน.” ใน รายงานการศึกษาเรื่องสื่อมวลชนเพื่อ การศึกษาและการเรียนรู้ 2. กรุงเทพฯ: โครงการยุทธศาสตร์ สอื่ เด็ก, 5-42. โตมร อภิวนั ทนากร. 2552. คิดอ่ านรู้เท่ าทันสื่อ: คู่มือสาหรั บจัด กระบวนการและกิจกรรมเพื่อพัฒนาเยาวชนรู้เท่ าทันสื่อ. กรุงเทพฯ : ปิ่ นโต พับลิชชิ่ง. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. ธีรพัฒน์ อังศุชวาล. 2554ก. “เกณฑ์การคัดเลือกและมอบรางวัลรายการ โทรทัศน์ในดวงใจครอบครัว ปี 3 (2011).” นาเสนอในการประชุม ร่วมของเครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ และคณะ ผู้ทรงคุณวุฒิฯ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554, กรุงเทพฯ. เครื อข่าย ครอบครัวเฝ้ าระวังและสร้ างสรรค์สอื่ . ______________. 2554ข. “ครอบครัวรู้ทนั สือ่ : ประสบการณ์จากแม่สลู่ กู .” ใน รู้ทันสือ่ : รวมบทความแนวคิด ทฤษฎี เทคนิค และ ประสบการณ์ ด้านการรู้เท่ าทันสื่อ. กรุงเทพฯ: ปิ่ นโต พับลิชชิ่ง, 109-123.
308 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
______________. 2554ค. รางวัลรายการโทรทัศน์ ในดวงใจครอบครั ว (Family Award): แนวคิดและกระบวนการ. เอกสารประกอบ งานแถลงข่าวผลการสารวจประเด็นคุณต้ องการให้ โทรทัศน์ ส่งเสริ มคุณค่าด้ านใดในสังคม วันที่ 16 สิงหาคม 2554, กรุงเทพฯ. เครื อข่ายครอบครัวเฝ้ าระวัง และสร้ างสรรค์สอื่ . ______________. 2553. “ถึงเวลาปฏิรูปรายการทีวีเด็กในประเทศไทย.” ใน VOTE นิตยสารฅนมีสฯี . ปี ที่ 6 ฉบับที่ 120 ปั กษ์ แรก ก.ค., 66-67. ______________. 2552, “คลิปความรุนแรง ผลกระทบต่อสังคมเด็กและ เยาวชน.” ใน มติชนรายวัน. 13 ตุลาคม, 10. นคร เจือจันทร์ และคณะ. 2549. คู่มือการประเมินคุณภาพเนื้อหาสื่อ. อิทธิพล ปรี ติประสงค์ (บก.). กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดระดับ ความเหมาะสมของสือ่ กระทรวงวัฒนธรรม และสถาบัน แห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. นฤมล รื่ นไวย์. 2550. คู่มือ พ่ อแม่ มือโปรดูโทรทัศน์ กับลูก. กรุงเทพฯ: แผนงานสือ่ สร้ างสุขภาวะเยาวชน (สสย.). พิมพ์ครัง้ ที่ 2. ______________. 2552. จอตู้ (ต่ างแดน) เลาะดูขบวนการปกป้อง เด็ก. กรุงเทพฯ: ปิ่ นโต พับลิชชิ่ง. นิษฐา หรุ่นเกษม. 2554. “รู้เท่าทันสือ่ : แนวคิดและทฤษฎี.” ใน รู้ทันสือ่ : รวมบทความแนวคิด ทฤษฎี เทคนิค และประสบการณ์ ด้าน การรู้เท่ าทันสือ่ . กรุงเทพฯ : ปิ่ นโต พับลิชชิ่ง, 23-40. นลินี สีตะสุวรรณ. 2552. ข้ อเสนอแนะการผลิตละครโทรทัศน์ ไทย การศึกษาประเด็น SLVR ในละครโทรทัศน์ ต่างประเทศ. กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 309
กรุงเทพฯ: โครงการศึกษาและเฝ้ าระวังสือ่ เพื่อสุขภาวะของสังคม (Media Monitor). นภวรรณ ตันติเวชกุล. 2543. “การวิเคราะห์อิทธิพลของภาพยนตร์ โฆษณา ทางโทรทัศน์ตามแนวทฤษฎีการอบรมบ่มนิสยั ทางวัฒนธรรมต่อ เยาวชนในสถานศึกษา.” ใน วารสารนิเทศศาสตร์ . ปี ที่ 18 ฉบับ ที่ 1 (มกราคม-มีนาคม), 36-55. ลักษมี คงลาภ และ คณะ. 2552. โทรทัศน์ สาหรั บเด็กวันนี้…สีอะไร. กรุงเทพฯ: โครงการเพื่อเด็กไทยใส่ใจสือ่ . วิลาสินี พิพิธกุล. 2548. “สภาพคุณภาพเนื ้อหาของรายการวิทยุและ โทรทัศน์.” ใน รายงานการศึกษาเรื่องสื่อมวลชนเพื่อ การศึกษาและการเรียนรู้ 2. กรุงเทพฯ: โครงการยุทธศาสตร์ สอื่ เด็ก, 43- 79. วัฒนา สุนทรธัย. 2549. ความแม่ นยาของโพลล์ (Poll). [ออนไลน์]. เข้ าถึงได้ จาก http://tulip.bu.ac.th /~wathna.s/poll.htm, 20 ม.ค. 2555. ศูนย์เครื อข่ายวิชาการเพื่อสังเกตการณ์และวิจยั ความสุขชุมชน (ศูนย์วิจยั ความสุขชุมชน). มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ. 2551. โครงการ สารวจการรั บรู้และทัศนคติของประชาชนต่ อการจัด ระดับ ความเหมาะสมของสื่อ: กรณีศึกษาตัวอย่ างประชาชนอายุ 12 ปี ขึ้นไป ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริมณฑล. รายงาน การวิจยั เสนอต่อกลุม่ เฝ้ าระวังทางวัฒนธรรม สานักงาน ปลัดกระทรวง กระทรวงวัฒนธรรม.
310 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
สมสุข หินวิมาน. 2554. “สถานภาพและคุณลักษณะของสือ่ วิทยุและ โทรทัศน์.” ใน ความรู้เบื้องต้ นทางวิทยุและโทรทัศน์ . กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2-14. สินิทธ์ สิทธิรักษ์ . 2543. กาเนิดโทรทัศน์ ไทย (พ.ศ.2493-2500). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . สานักงานสถิติแห่งชาติ. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. 2551. รายงานการสารวจสื่อมวลชน พ.ศ.2551 (วิทยุและ โทรทัศน์ ). กรุงเทพฯ: สานักสถิตพิ ยากรณ์ สานักงานสถิติ แห่งชาติ. อารดา ครุจิต. 2554ก. “ประวัติและพัฒนาการของสือ่ วิทยุกระจายเสียง และสือ่ โทรทัศน์.” ใน ความรู้ เบื้องต้ นทางวิทยุและโทรทัศน์ . กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 15-37. ______________. 2554ข. “บทบาทหน้ าที่ของสือ่ วิทยุและโทรทัศน์ตอ่ สังคม.” ใน ความรู้เบื้องต้ นทางวิทยุและโทรทัศน์ . กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 38-44. อิทธิพล ปรี ติประสงค์. 2552. กองทุนสื่อสร้ างสรรค์ สานฝั นเด็กไทย. กรุงเทพฯ : ปิ่ นโต พับลิชชิ่ง. อุณาโลม จันทร์ รุ่งมณีกลุ . 2549. “เปิ ดม่านการรู้เท่าทันสือ่ .” ใน เปิ ดประตู สู่การรู้เท่ าทันสือ่ : แนวคิด ทฤษฎีและประสบการณ์ ร้ ูเท่ า ทันสือ่ เพื่อสุขภาพ. นนทบุรี: โครงการสือ่ สร้ างสรรค์สขุ ภาพ. อุบลรัตน์ ศิริยวุ ศักดิ์ (แปลบทสัมภาษณ์ จอร์ จ เกิร์บเนอร์ ). 2535. “TV: ศาสนาใหม่ของชนชันไร้ ้ จิตสานึก.” ใน รั ฐศาสตร์ สาร, ปี ที่ 18, ฉบับที่ 3, ธันวาคม, 99-114. กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 311
อุบลรัตน์ ศิริยวุ ศักดิ.์ 2548. “บทสังเคราะห์: สือ่ มวลชนเพื่อการศึกษาและ การเรี ยนรู้.” ใน รายงานการศึกษาเรื่องสื่อมวลชนเพื่อ การศึกษาและการเรียนรู้ 1. กรุงเทพฯ: โครงการยุทธศาสตร์ สอื่ เด็ก, 5-21.
312 | บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
ภาคผนวก
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 313
ภาคผนวก ก ภาพบรรยากาศงาน Family Awards 2009
314 | ภ า ค ผ น ว ก
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 315
ภาคผนวก ข ภาพบรรยากาศงาน Family Awards 2010
316 | ภ า ค ผ น ว ก
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 317
318 | ภ า ค ผ น ว ก
กว่าจะเป็น…รายการโทรทัศน์ในดวงใจครอบครัวฯ | 319