หนังสือถอดบทเรียน กิจกรรมส่งเสริมทักษะความรู้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจทัลฯ

Page 1

การประเมินผลและถอดบทเรียน กิจกรรมส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อฝึกอบรมการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีดอ้ ยโอกาส และการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ)

สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ร่วมกับ ศูนย์วิจัยการจัดการความรู้การสื่อสารและการพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช


การประเมินผลและถอดบทเรียน กิจกรรมส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อฝึกอบรมการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีดอ้ ยโอกาส และการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ)

สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ร่วมกับ ศูนย์วิจัยการจัดการความรู้การสื่อสารและการพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช


คํานํา สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สํานักงาน กสทช.) ได้นําร่องจัดให้มีบริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (USO NET) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายทางสังคม (เด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้มีรายได้น้อย) สามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีโทรคมนาคมและการสื่อสารผ่านโครงข่ายบรอดแบนด์ความเร็วสูงได้อย่างทั่วถึง และเท่าเทียมกับบุคคลทั่วไป ตามมาตรา 17 พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม 2544 ในพื้นที่ หน่วยงานของรัฐที่ดูแลรับผิดชอบกลุ่มเป้าหมายทางสังคม จํานวน 40 แห่งทั่วประเทศ และขับเคลื่อนกิจกรรม สนับสนุนศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม เป็นระยะเวลา 3 ปี นับตั้งแต่ปี 2556 – 2559 เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งศูนย์ USO NET สํานักงาน กสทช. ได้ร่วมกับกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัดกิจกรรม ส่งเสริมการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีด้อยโอกาส โดยทําการ คัดเลือกศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม จํานวน 3 แห่ง เพื่อนําร่องจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การ ส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อฝึกอบรมการจัดทํา สื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีผู้ด้อยโอกาส” ณ จังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีษะเกษ ในช่วงไตรมาส 4 ของปีงบประมาณ 2558 ในรูปแบบต่างๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ทางสังคมและสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประเทศด้วยการ ใช้เทคโนโลยีในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (digital economy) ต่ อ มาสํ า นั ก งาน กสทช. ได้ ร่ ว มกั บ ศู น ย์ วิ จั ย การจั ด การความรู้ ก ารสื่ อ สารและการพั ฒ นา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ดําเนินการ “ประเมินผลและถอดบทเรียนกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อฝึกอบรมการจัดทําสื่อการตลาด ออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส และการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (USO Net) ที่มีต่อ การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ)” โดยมุ่งหมายที่จะนําผลที่ได้รับจากการ ประเมินผลกิจกรรมและการถอดบทเรียนที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ไปใช้ในการปรับปรุงกลยุทธ์การบริหาร จัดการศูนย์อินเทอร์เน็ต ต่อไป กรกฏาคม 2559

หน้ า ก


สารบัญ คํานํา สารบัญ สารบัญภาพ การนําผลการศึกษามาแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO บทสรุปผูบ้ ริหาร บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็นมา 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ประโยชน์ที่ได้รับ 1.4 นิยามศัพท์ บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง 2.1 บริบทเชิงพื้นที่ของจังหวัดลําปาง 2.2 บริบทเชิงสังคมของจังหวัดลําปาง 2.3 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสของจังหวัดลําปาง : ถอดบทเรียน 2.4 ความต้องการและความคาดหวังของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปางในการเข้าร่วม กิจกรรมของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 2.5 ประโยชน์และสิ่งที่สตรีดอ้ ยโอกาสจังหวัดลําปางได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม 2.6 ผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง จากการจัด กิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารใน ยุคเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ 2.7 ผลการประเมินศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ภายใต้ความรับผิดชอบของศูนย์การ เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปาง 2.8 การวิเคราะห์ SWOT ในมุมของกลุ่มตัวอย่าง : กลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง 2.9 การวิเคราะห์ SWOT ในมุมของการให้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย 3.1 บริบทเชิงพื้นที่ของจังหวัดเชียงราย

หน้า ก ข ง ซ 1 19 19 20 20 21 23 23 25 26 30 30 31

36 38 39 40 40

3.2 ด้านเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดเชียงราย

43

3.3 บริบทเชิงสังคมของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย : ถอดบทเรียน

44

3.4 ผลการศึกษาความสามารถด้าน ICT ของกลุม่ ตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย

45

3.5 ความต้องการและความคาดหวังของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงรายฯ

47 หน้ า ข


สารบัญ(ต่อ) หน้า บทที่ 3

ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย (ต่อ) 3.6 ประโยชน์และสิ่งที่สตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงรายได้รับ

48

3.7 ผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย

48

3.8 ผลการประเมินศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ภายใต้การดูแลของศูนย์การเรียนรู้การ

52

พัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดเชียงราย 3.9 การวิเคราะห์ SWOT กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย

54

3.10 การวิเคราะห์ SWOT ด้านที่เกี่ยวข้องกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมจังหวัดเชียงราย

55

ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ 4.1 บริบทเชิงพื้นที่ของจังหวัดศรีสะเกษ 4.2 บริบทเชิงสังคมของจังหวัดศรีสะเกษ 4.3 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ : ถอดบทเรียน 4.4 ผลการศึกษาความสามารถด้าน ICTของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ 4.5 ความต้องการและความคาดหวังของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษในการเข้าร่วม กิจกรรม 4.6 ประโยชน์ที่กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษได้รับ 4.7 ผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ 4.8 ผลการประเมินศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 4.9 การวิเคราะห์ SWOT ภาพรวมที่เกี่ยวข้องของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ 4.10 การวิเคราะห์ SWOT ด้านที่เกี่ยวข้องกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษาและถอดบทเรียน 5.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก กรณีศึกษากลุม่ สตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง เชียงราย และศรีสะเกษ ภาคผนวก ข ภาพประกอบกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ ภาคผนวก ค เอกสารประกอบกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ

57 57 60 62 64 66

บทที่ 4

67 67 71 72 73 75 75 81 85 86 87 109 112

หน้ า ค


สารบัญภาพ ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ภาพที่ 6 ภาพที่ 7 ภาพที่ 8 ภาพที่ 9 ภาพที่ 10 ภาพที่ 11 ภาพที่ 12 ภาพที่ 2.1 ภาพที่ 2.2 ภาพที่ 2.3 ภาพที่ 2.4 ภาพที่ 2.5 ภาพที่ 2.6 ภาพที่ 2.7 ภาพที่ 2.8 ภาพที่ 2.9 ภาพที่ 2.10 ภาพที่ 2.11 ภาพที่ 2.12 ภาพที่ 2.13 ภาพที่ 2.14 ภาพที่ 2.15 ภาพที่ 2.16 ภาพที่ 2.17 ภาพที่ 2.18 ภาพที่ 2.19 ภาพที่ 2.20 ภาพที่ 2.21 ภาพที่ 2.22

เว็บไซต์กลุ่มหมวกคาวบอย เว็บไซต์กลุ่มผ้าทอมือกะเหรี่ยง เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านห้วยฮี สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มแปรรูปกาแฟปางซาง สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มแม่สาย wine สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มกาแฟตอเซีย สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มผ้าด้นมือเปิงเปียณ สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มเย็บผ้าสตรีบ้านหนองแล้ง เว็บไซต์กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านแสงน้อย สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มท่องเที่ยววัฒนธรรมบ้านหนองเข็งน้อย สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนา แผนภูมิแสดงอัตราการมีงานทําของประชากรจังหวัดลําปาง แผนภูมิการรายงานผลการสํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ครัวเรือน พ.ศ. 2557 แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลจําแนกตามเพศ แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลจําแนกตามอายุ แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลจําแนกตามระดับการศึกษา แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลจําแนกตามสมาชิกในครอบครัว แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปางจําแนกตามรายได้เฉลี่ย ต่อเดือน สถานที่ในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทีใ่ ช้เป็นประจํา ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต/เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทข้อมูล/ข่าวสารที่ค้นคว้าด้วยอินเทอร์เน็ต/เทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อออนไลน์/เทคโนโลยีสารสนเทศทีใ่ ช้เป็นประจํา สตรีกลุ่มตัดเย็บผ้าสตรีบ้านผึ้ง ผู้นําสตรีและบุตรชายกลุ่มเย็บผ้าบ้านต้นต้อง เว็บไซต์กลุ่มทอผ้าด้นด้ายลายงาม เว็บไซต์กลุ่มผ้าทอมือกะเหรี่ยง เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านห้วยฮี เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านต้นต้อง เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บผ้าฝ้ายเปิงใจ๋ เว็บไซต์กลุ่มหมวกคาวบอย เว็บไซต์กลุ่ม Like Knitting เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าผึ้งหลวงผ้างาม

หน้า 9 9 9 9 11 11 11 11 13 13 13 13 25 25 26 26 26 26 27 28 28 28 28 29 32 33 33 33 34 34 34 34 35 35 หน้ า ง


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 2.23 ภาพที่ 2.24 ภาพที่ 2.25 ภาพที่ 2.26 ภาพที่ 3.1 ภาพที่ 3.2 ภาพที่ 3.3 ภาพที่ 3.4 ภาพที่ 3.5 ภาพที่ 3.6 ภาพที่ 3.7 ภาพที่ 3.8 ภาพที่ 3.9 ภาพที่ 3.10 ภาพที่ 3.11 ภาพที่ 3.12 ภาพที่ 3.13 ภาพที่ 3.14 ภาพที่ 3.15 ภาพที่ 3.16 ภาพที่ 3.17 ภาพที่ 3.18 ภาพที่ 3.19 ภาพที่ 4.1

สื่อสังคมออนไลน์กลุ่ม Like Knitting สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มทอผ้าด้นด้ายลายงาม สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านต้นต้อง สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มหมวกคาวบอย แผนภูมิแสดงอัตราการมีงานทําของประชากรจังหวัดเชียงราย แสดงอายุของกลุ่มตัวอย่าง แสดงระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง แสดงจํานวนสมาชิกในครอบครัวของกลุ่มตัวอย่าง แสดงรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่าง แสดงร้อยละการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของกลุ่มตัวอย่าง แสดงร้อยละการมีการใช้อุปกรณ์สื่อสารของกลุ่มตัวอย่าง แสดงจํานวนคนที่ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาประเภทข้อมูล/ข่าวสารที่ค้นคว้า แสดงความถี่ของจํานวนคนที่เข้าใช้อินเทอร์เน็ต แสดงร้อยละการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของกลุ่มตัวอย่าง แสดงเหตุผลทีใ่ ช้สื่อสังคมออนไลน์ของกลุ่มตัวอย่าง เกษตรกรและสวนแก้วมังกร เว็บไซต์กลุ่มแม่สาย Strawberry เว็บไซต์กลุ่มสวนแก้วมังกร เว็บไซต์กลุ่มผ้าด้นมือเปิงเปียณ เว็บไซต์กลุ่มพรมเช็ดเท้า สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มแม่สาย Strawberry wine สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มแปรรูปกาแฟปาง สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มกาแฟตอเซีย แผนภูมิการรายงานผลการสํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ครัวเรือน พ.ศ. 2557 ภาพที่ 4.2 แสดงร้อยละช่วงอายุของกลุ่ม ภาพที่ 4.3 แสดงร้อยละระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ภาพที่ 4.4 แสดงจํานวนสมาชิกในครอบครัวของกลุ่มตัวอย่าง ภาพที่ 4.5 แสดงร้อยละรายได้ต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่าง ภาพที่ 46. สถานที่ในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศของกลุ่มตัวอย่าง ภาพที่ 47. สื่ออุปกรณ์เทคโนโลยีสื่อสารที่ใช้เป็นประจําของกลุ่มตัวอย่าง ภาพที่ 4.8 ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ตของกลุ่มตัวอย่าง ภาพที่ 49. ประเภทข้อมูล/ข่าวสารที่เข้าถึงด้วยอินเทอร์เน็ตของกลุ่มตัวอย่าง ภาพที่ 410. ข้อมูล/ข่าวสารที่กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการ ภาพที่ 411. สื่อออนไลน์/เทคโนโลยีสารสนเทศที่กลุ่มตัวอย่างใช้เป็นประจํา ภาพที่ 4.12 สมาชิกกลุ่มทอผ้ามัดหมี่นิคมพัฒนาเขต7

หน้า 35 35 36 36 43 44 44 44 44 45 45 46 46 46 46 49 50 50 51 51 51 51 52 61 62 62 63 63 64 64 65 65 65 65 68 หน้ า จ


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 4.13 ภาพที่ 4.14 ภาพที่ 4.15 ภาพที่ 4.16 ภาพที่ 4.17 ภาพที่ 4.18 ภาพที่ 4.19 ภาพที่ 4.20 ภาพที่ ผ1. ภาพที่ ผ2. ภาพที่ ผ3. ภาพที่ ผ4. ภาพที่ ผ5. ภาพที่ ผ.6 ภาพที่ ผ7. ภาพที่ ผ8. ภาพที่ ผ.9 ภาพที่ ผ10. ภาพที่ ผ.11 ภาพที่ ผ12. ภาพที่ ผ13. ภาพที่ ผ.14 ภาพที่ ผ15. ภาพที่ ผ16. ภาพที่ ผ17. ภาพที่ ผ18. ภาพที่ ผ 19. ภาพที่ ผ20. ภาพที่ ผ21. ภาพที่ ผ22. ภาพที่ ผ23. ภาพที่ ผ24. ภาพที่ ผ25. ภาพที่ ผ26.

สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มเย็บผ้าสตรีบ้านหนองแล้ง เว็บไซต์กลุ่มเย็บผ้าสตรีบ้านหนองแล้ง สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มท่องเที่ยววัฒนธรรมบ้านหนองเข็งน้อย เว็บไซต์กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านภูสิงค์ กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนา เว็บไซต์กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมีน่ ิคมพัฒนา สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านภูสิงค์ สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มขนมบ้านหมากเขียบ สตรีกลุ่ม Like Knitting ฝึกถ่ายภาพผลิตภัณฑ์ สตรีกลุ่ม Like Knitting ฝึกแต่งภาพและลงขายบนเว็บไซต์ เว็บไซต์ของกลุ่ม Like Knitting และผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการตกแต่งภาพ การนําเสนอร้านค้าของกลุ่มตัดเย็บผ้าสตรีบ้านผึ้งหลวง เว็บไซต์ของกลุ่มตัดเย็บผ้าสตรีบ้านผึ้งหลวง หัวหน้ากลุ่มหมวกคาวบอยฝึกอบรมด้านการถ่ายภาพผลิตภัณฑ์ หน้าเพจ Facebook ของกลุ่มคาวบอย คุณหนิงเจ้าของสวนแก้วมังกร เว็บไซต์กลุ่มแก้วมังกร เมล็ดกาแฟของกลุ่มกาแฟปางซาง คุณวุฒิ เจ้าของกลุ่มกาแฟปางซาง เว็บไซต์กลุ่มกาแฟงปางซาง ศูนย์ฝึกอาชีพสตรีจังหวัดเชียงราย เว็บไซต์กลุ่มพัฒนาอาชีพของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดเชียงราย ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนาเขต 7 จัดวางผลิตภัณฑ์เพื่อการถ่ายภาพ วิทยากรชาวต่างชาติแนะนําการแต่งภาพ เว็บไซต์กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมีน่ ิคมพัฒนาเขต7 สมาชิกกลุ่มจักสารบ้านโนนกลางและผลิตภัณฑ์ เว็บไซต์กลุ่มจักสานบ้านโนนกลาง สตรีกลุ่มชมรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อมบ้านหนองเข็งน้อยสวมใส่เสื้อผ้าของกลุ่ม นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมกลุม่ เว็บไซต์ชมรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อมบ้านหนองเข็งน้อย บรรยากาศการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ จังหวัดลําปาง พิธีมอบวุฒิบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยผู้ดํานวยการศูนย์สตรีฯจังหวัดลําปาง ตัวแทนจากสํานักงาน กสทช. รับมอบของที่ระลึกจากผู้อํานวยการศูนย์สตรีฯจังหวัด ลําปางและผู้เข้าร่วมโครงการ ภาพที่ ผ27. บรรยากาศการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ จังหวัดเชียงราย

หน้า 69 69 69 69 70 70 70 70 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 102 103 104 105 106 107 107 109 109 109 110 หน้ า ฉ


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ ผ28. ผู้เข้าร่วมการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ ใช้สอื่ สังคมออนไลน์ ในการทําการตลาดออนไลน์ จังหวัดเชียงราย ภาพที่ ผ29. พิธีมอบวุฒิบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการฯจังหวัดเชียงราย ภาพที่ ผ30. บรรยากาศการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ จังหวัดศรีสะเกษ ภาพที่ ผ31. ผู้เข้าร่วมการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ ฝึกปฏิบัติเรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตกแต่งภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ ภาพที่ ผ32. ผู้เข้าร่วมการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ จังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 110 110 111 111 111

หน้ า ช


การนําผลการศึกษามาแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO “การประเมินผลและถอดบทเรียนกิจกรรมส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสาร ในยุ ค เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล เพื่ อ ฝึ ก อบรมการจั ด ทํ า สื่ อ การตลาดออนไลน์ ใ ห้ แ ก่ ก ลุ่ ม สตรี ด้ อ ยโอกาสและการ ดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ)” ______________ สํานักงาน กสทช. ได้นําผลการศึกษาการประเมินผลและถอดบทเรียนกิจกรรมส่งเสริมทักษะ ความรู้ฯ ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ภายใต้ความรับผิดชอบของกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ซึ่ง ได้จัดตั้งขึ้นและเปิดให้บริการกลุ่มสตรีด้อยโอกาส นับตั้งแต่ พ.ศ.2556 เป็นต้นมา พบว่ามีประเด็นปัญหาอัน เป็นสาระสําคัญหลายประการ ดังจะได้อธิบายแนวทางการแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO ของสํานักงาน กสทช. เกี่ยวกับการจัดให้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ดังนี้ ประเด็นปัญหา 1. ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ปัญหาที่ 1

ปัญหาที่ 2

การดําเนินการแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO

ปีพ.ศ.2560 สํานักงาน กสทช. เร่งรัดดําเนินการ จัดทําโครงการจัดให้มีบริการศูนย์อินเทอร์เน็ต เพิ่มเติม ดังนี้ 1) โครงการจัดให้มีบริการอินเทอร์เน็ตให้แก่ หน่วยงานทางสังคม จํานวน 165 แห่ง พื้นที่ เป้าหมายได้แก่หน่วยงานของรัฐที่มีภารกิจ รับผิดชอบดูแลกลุ่มเป้าหมายทางสังคม เช่น กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ 2) โครงการจัดให้มีสญ ั ญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ และบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพื้นที่ชาย ขอบ จํานวน 3,920 แห่ง 3) โครงการจัดให้มีสญ ั ญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ และบริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในพื้นที่ ห่างไกล 15,732 หมู่บ้าน อิ น เทอร์ เ น็ ต ล่ า ช้ า ไม่ เ หมาะสมกั บ การ 1) ปีพ.ศ.2560 สํานักงาน กสทช. กําหนดมาตรฐาน ฝึกอบรมที่ต้องเปิดใช้งานพร้อมกันหลาย การให้บริการสัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่ ต้องมีความเร็วการเชื่อมต่อไม่น้อยกว่า 30 Mbps เครื่อง จากเดิมในปีพ.ศ.2553 ที่เคยกําหนดเงื่อนไข USO ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : สําหรับการจัดให้บริการอินเทอร์เน็ตที่ไม่ต่ํากว่า เพิ่มความเร็วเน็ต และให้บริการ WiFi 2 Mbps จํานวนศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมมีน้อย ไม่เพียงพอต่อการเข้าถึงของกลุ่มสตรีด้อย โอกาส กลุ่ ม แม่ บ้ า น กลุ่ ม เยาวชนสตรี กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไปใน พื้ น ที่ มี ค วามยากลํ า บากในการเดิ น ทางเข้ามาใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อ สังคม ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : เพิ่มจํานวนศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ใน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


(ต่อ) ประเด็นปัญหา 1. ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม (ต่อ)

การดําเนินการแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO 2) การให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงในมิติ USO ที่ จ ะเชื่ อ มต่ อ สั ญ ญาณอิ น เทอร์ เ น็ ต ไปยั ง หน่วยงานเป้าหมายปลายทางต่างๆ ของภาครัฐ ในพื้นที่โครงการ (Last miles) ตลอดจนไปยังจุด บริการ Free WiFi ณ พื้นที่ชุมชนของหมู่บ้าน โดยค่าใช้จ่าย ดังกล่าวจะคิดรวมไว้ในส่วนใของ ต้นทุนโครงการจัดให้มีสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ และบริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ความเร็ ว สู ง ฯ และ ให้บริการฟรีตลอดระยะเวลา 5 ปี

ปัญหาที่ 3

อั ต ราค่ า บริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต แพงเกิ น ไป สําหรับกลุ่มผู้ด้อยโอกาสที่มีรายได้น้อย ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : ลดอั ต ราค่ า บริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ให้ ก ลุ่ ม ผู้ด้อยโอกาส

ปีพ.ศ.2558 มีประกาศ กสทช. กําหนดให้ผู้ได้รับ ใบอนุ ญ าตใช้ ค ลื่ น ความถี่ ต้ อ งดํ า เนิ น การ โทรคมนาคมเพื่อสังคม โดยเฉพาะในเรื่องการจัด ให้มีบริการโทรคมนาคมสาธารณะ และบริการ อํานวยความสะดวกในการใช้บริการโทรคมนาคม สาธารณะอย่างทั่วถึง แก่ผู้มีรายได้น้อย คนพิการ เด็ก คนชรา ผู้ที่อยู่ห่างไกลในชนบท และผู้ด้อยโอกาส ในสั งคม ตามหลั กเกณฑ์ ที่ คณะกรรมการกํ าหนด ดังนี้ 1) มีประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตให้ใช้คลื่น ความถี่สําหรับกิจการโทรคมนาคม ย่าน 1800 MHz ลงราชกิจจานุเบกษา 24 สิงหาคม 2558 และ 2) มีประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่ อ ง หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารอนุ ญ าตให้ ใ ช้ คลื ่ น ค ว า ม ถี ่ สํ า ห รั บ กิ จ ก า ร โ ท ร ค ม น า ค ม ย่ า น 895-915 MHz/940-960MHz ลงราชกิจจานุเบกษา 18 กันยายน 2558


(ต่อ) ประเด็นปัญหา 2. เจ้าหน้าที่ดแู ลศูนย์ ปัญหาที่ 1

เจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ขาดทักษะด้าน IT และขาดทักษะการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ผู้ด้อยโอกาสและประชาชนในพื้นที่ ทําให้ การจัดกิจกรรมของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อ สังคมขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้อํานวยการ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ก ารพั ฒ นาสตรี ฯ และ คณะกรรมการบริหารศูนย์อินเทอร์เน็ต ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : 1) ควรหารือกับหน่วยงานต้นสังกัดใน การจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอสําหรับ การจัดจ้างเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต แบบประจํ า และมี แ นวทางเพิ่ ม โอกาส ความก้ า วหน้ า และสวั ส ดิ ก ารให้ แ ก่ เจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต เพื่อเป็น ขวัญกําลังใจและแรงจูงใจให้ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและมีวุฒิการศึกษาด้าน IT สมัครเข้ามาเป็นผู้ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต 2) เจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต ควร มี อํ า นาจในการบริ ห ารจั ด การศู น ย์ อินเทอร์เน็ตได้อย่างคล่องตัว และจัดทํา แผนการฝึกอบรมและการประสานข้อมูล กิ จ ก ร ร ม กั บ ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ก ลุ่ ม ผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ได้สะดวกและรวดเร็ว

การดําเนินการแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO ปี พ.ศ.2560 สํ า นั ก งาน กสทช. มี แ นวทาง สําหรับการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงใน พื้นที่ชายขอบ และพื้นที่ห่างไกล และในส่วนของ การจั ดจ้ างเจ้ าหน้า ที่ดู แ ลศู นย์ อิน เทอร์ เน็ ต ได้ ปรับเปลี่ ยนรู ปแบบการดําเนินการจั ดจ้างแบบ ใหม่ เป็นจัดจ้างผู้จัดการศูนย์อินเทอร์เน็ต เพิ่ม งบประมาณในส่ ว นอั ต ราค่ า ตอบแทนจากเดิ ม 7,000 บาทต่อเดือน เป็น 15,000 บาทต่อเดือน และกํ า หนดคุ ณ สมบั ติ ผู้ ส มั ค รให้ ต้ อ งมี วุ ฒิ การศึกษาด้าน IT โดยตรง


(ต่อ) ประเด็นปัญหา 3.ปัญหาด้านหลักสูตรการฝึกอบรมและการจัดกิจกรรม ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ปัญหาที่ 1 กลุ่มสตรีด้อยโอกาสส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ ด้านการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อสารในยุ ค ดิจิ ทั ล ให้ เกิ ด ประโยชน์ สูงสุดแก่ตนเองและครอบครัว ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : 1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและ เอกชน ควรดําเนินการส่งเสริมให้กลุ่มสตรี ด้อยโอกาสมีทักษะความรู้และสามารถใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้ เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้มากขึ้น 2) ควรเน้นการทํางานร่วมกันระหว่าง เครื อ ข่ายภาคี เช่ น ภาครั ฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสั ง คม อย่ า งครบวงจร เริ่ ม ตั้งแต่การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นภายใน ชุมชนของตนเอง การใช้ทรัพยากรร่วมกัน (share resources) เพื่อให้เทคโนโลยีการ สื่อสารในยุคดิจิทัลสามารถที่จะเป็นหนึ่ง ในเครื่องมือสําคัญที่ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนได้อย่างชัดเจน 3) ควรส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรการ เรี ย นรู้ ICT พื้ น ฐานในระดั บ ต่ า งๆ ให้ เหมาะกับบริบทของชุมชนและกลุ่มสตรี ด้อ ยโอกาสในแต่ ล ะพื้ น ที่ ทั ก ษะความรู้ และภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และควรแบ่ ง หลักสูตรออกเป็น 3 ระดับ คือ หลักสูตรระดับแรก : เป็นหลักสูตรที่เน้น การสอนเกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ เบื้องต้นและการเข้าใช้อินเทอร์เน็ต หลักสูตรระดับสอง : เป็นหลักสูตรที่เน้น สอนการสร้างร้านค้าออนไลน์ของตนเอง หลักสูตรระดับสาม : เป็นหลักสูตรที่สอน การทํากราฟฟิกดีไซน์ (Graphic design) และการถ่ายรูปและการตกแต่งรูปภาพ

การดําเนินการแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO 1) ปี พ .ศ.2560 สํ า นั ก งาน กสทช. มี ก าร ดําเนินการจัดทําโครงการฝึกอบรมความรู้ในการ ใช้งาน ICT ให้กลุ่มเป้าหมายทางสังคม จํานวน ประมาณ 500,000 คน ในพื้นที่ให้บริการศูนย์ อินเทอร์เน็ต USO net ทั่วประเทศ พร้อมกับ การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม 2) การแบ่ ง หลั ก สู ต รออกเป็ น 3 ระดั บ สํ า นั ก งาน กสทช. จะนํ า แนวคิ ด ไปพิ จ ารณา ความเหมาะสมในการจั ด ทํ า แนวทางพั ฒ นา หลักสูตรการฝึกอบรมกลุ่มเป้าหมายทางสังคม และกลุ่มประชาชนทั่วไป ภายใต้การดําเนินงาน ของศูนย์อินเทอร์เน็ต (USO net) ต่อไป


(ต่อ) ประเด็นปัญหา 3.ปัญหาด้านหลักสูตรการฝึกอบรมและการจัดกิจกรรม ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (ต่อ) ปัญหาที่ 2 กลุ่ ม สตรี ด้ อ ยโอกาสขาดแนวคิ ด การนํ า วั ต ถุ ดิ บ หรื อ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ใ นท้ อ งถิ่ น ของตนเองมาสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ น ค้ า ที่ มี ความหลากหลาย และ การอยู่ อ าศั ย ใน พื้นที่แบบกลุ่มชาติพันธุ์เป็นชนเผ่า การมี วัฒนธรรมชนเผ่ าตามประเพณีเดิม และ ภาษาท้องถิ่นเป็นของตนเอง ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : 1) ควรปรั บ รู ป แบบกิ จ กรรมและ วิ ธี ก ารดํ า เนิ น กิ จ กรรมที่ แ ตกต่ า งกั น ให้ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของหมู่บ้านและ วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นชนเผ่าเดิม 2) ควรมี ก ารพั ฒ นหลั ก สู ต รและ ระบบการเรี ยน การอบรมออนไลน์ (MOOC) ที่ตรงกับความต้องการของชุมชน โดยต้องเข้าถึงได้ง่าย ถ่ายทอดได้ดี และมี ความทันสมั ยของเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริม และสนั บ สนุ น ให้ ส ตรี ก ลุ่ ม ด้ อ ยโอกาส สามารถที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองผ่าน เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารในยุ ค ดิ จิ ทั ล เช่ น MOOC เพื่อที่จะทําให้สามารถติดตามองค์ ความรู้ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ตนเองหรื อ ชุมชนได้ 3) ควรจัดทําฐานข้อมูลองค์ความรู้ กลางหรือ Smart HUB เผยแพร่ข้อมูล ข่ า วสาร เพื่ อ ให้ เ ป็ น ฐานข้ อ มู ล ถ่ า ยทอด ความรู้ ใ ห้ แ ก่ ก ลุ่ ม ผู้ ด้ อ ยโอกาสและ ประชาชนทุกคน ที่ไม่มีเวลาหรือไม่สะดวก เข้ารับบริการที่ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ก็ ส ามารถสื บ ค้ น ข้ อ มู ล องค์ ค วามรู้ ต่ า งๆ ทั้งแบบวีดีโอออนไลน์

การดําเนินการแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO สํ า นั ก งาน กสทช. จะนํ า ไปพิ จ ารณาความ เหมาะสมและความเป็ น ไปได้ ใ นการกํ า หนด หลั ก เกณฑ์ ก ารให้ บ ริ ก ารและจั ด ทํ า โครงการที่ เกี่ยวข้องต่อไป


(ต่อ) ประเด็นปัญหา 3.ปัญหาด้านหลักสูตรการฝึกอบรมและการจัดกิจกรรม ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (ต่อ) ปัญหาที่ 3 ไม่มีการติดตามประเมินผลผู้เข้าใช้บริการ ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม และผู้เข้าร่วม กิจกรรมการฝึกอบรมของศูนย์ฯ ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : ควรมี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผลกระทบ (impact) ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ผู้ ที่ เ คยเข้ า ร่ ว ม กิ จ กรรมการฝึ ก อบรมทั ก ษะความรู้ กั บ ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 4. การประชาสั มพั น ธ์ กิจ กรรมต่ า งๆของศูน ย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ปัญหาที่ 1 การประชาสัมพันธ์ข่าวสารเพื่อให้สตรีด้อย โอกาสในชุมชนทราบวัตถุประสงค์ของการ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ อิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ สั ง คมมี น้ อ ย เกินไป ทําให้มีผู้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารเพียง บางกลุ่ ม เท่ า นั้ น ไม่ ค รอบคลุ ม กลุ่ ม แม่บ้าน กลุ่มเยาวชนสตรี และประชาชน ทั่วไปทุกชุมชน

การดําเนินการแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO สํ า นั ก งาน กสทช. จะนํ า ไปพิ จ ารณาความ เหมาะสมและความเป็ น ไปได้ ใ นการกํ า หนด หลั ก เกณฑ์ ก ารให้ บ ริ ก ารและจั ด ทํ า โครงการที่ เกี่ยวข้องต่อไป

สํ า นั ก งาน กสทช. จะนํ า ไปพิ จ ารณาความ เหมาะสมและความเป็ น ไปได้ ใ นการกํ า หนด หลั ก เกณฑ์ ก ารให้ บ ริ ก ารและจั ด ทํ า โครงการที่ เกี่ยวข้องต่อไป

ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : 1) ควรส่ ง เสริ ม ให้ มี ป ระชาสั ม พั น ธ์ กิ จ กรรมต่างๆของศู นย์ อินเทอร์เน็ ตเพื่ อ สังคมอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาต่างๆ เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ก ลุ่ ม แม่ บ้ า น กลุ่ ม เยาวชนสตรี กลุ่ ม ผู้ ด้ อ ยโอกาส และ ประชาชนทั่ ว ไปในพื้ น ที่ ข องจั ง หวั ด สามารถเลือกสมัครเข้าร่วมกิจกรรมของ ศู น ย์ อิ น เทอร์ เ น็ ต ได้ ต ามช่ ว งเวลาที่ ต้องการ 2) ควรมีการประชาสัมพันธ์ผ่านกลุ่ม ผู้ นํ า ชุ ม ชนในแต่ ล ะหมู่ บ้ า น เพื่ อ ให้ ก ลุ่ ม สตรีด้อยโอกาสภายในชุมชนได้รับข่าวสาร อย่ า งทั่ ว ถึ ง และสามารถเข้ า รั บ การ ฝึกอบรมอย่างน้อยปีละ 2-3 ครั้ง และ ดําเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี


(ต่อ) ประเด็นปัญหา 5. ปั ญ หาด้ า นรู ป แบบการให้ บ ริ ก ารและการบริ ห าร จัดการของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ปัญหาที่ 1 ประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นกลุ่มแม่บ้านหรือ เป็ น กลุ่ ม เป้ า หมายทางสั ง คมไม่ส ามารถ เข้ า มาร่ ว มรั บ การฝึ ก อบรมได้ เ พราะ ช่วงเวลาที่ศูนย์อินเทอร์เน็ตเปิดให้บริการ หรือจัดอบรมคือ 8.30 น.-16.30 น. ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : ควรสร้ า งกลุ่ ม วิ ท ยากรประจํ า ชุ ม ชนขึ้ น (Local trainers)โดยให้เยาวชนในพื้นที่ เข้ามาเรียนรู้กระบวนการพัฒนาแนวคิดใน การนํา ICT ไปใช้ประโยชน์ในชุมชน และ ใ ห้ ส า ม า ร ถ ทํ า ห น้ า ที่ ใ ห้ คํ า แ น ะ นํ า สอดแทรกความรู้ด้านการใช้ ICT ให้แก่ ประชาชนในหมู่บ้านหรือในพื้นที่ได้อย่าง ต่ อ เนื่ อ ง โดยที่ ป ระชาชนในพื้ น ที่ จ ะไม่ เสียเวลาต้องเดินทางเข้ามาร่วมฝึกอบรม ปัญหาที่ 2

รูปแบบการให้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตแก่ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและประชาชนในพื้นที่ ข้อเสนอแนะของที่ปรึกษา : 1) ในช่วงที่ไม่มีกิจกรรมการฝึกอบรม ควร เปิดศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมให้บริการ แบบประชุมรวมกลุ่มได้หรือเรียกว่าแบบ Community Co-working Space หรือ พื้นที่ใ ช้งานที่สามารถนั่งประชุม คุยงาน วางแผนการทํางานหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชนได้ 2) ควรผลั ก ดั น ให้ ศู น ย์ อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ข อง ชุมชนเกี่ยวกับกิจกรรมการฝึกอบรม และ การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการการ ผลิตสินค้าต่างๆ

การดําเนินการแก้ไขปรับปรุงภารกิจ USO สํ า นั ก งาน กสทช. จะนํ า ไปพิ จ ารณาความ เหมาะสมและความเป็ น ไปได้ ใ นการกํ า หนด หลั ก เกณฑ์ ก ารให้ บ ริ ก ารและจั ด ทํ า โครงการที่ เกี่ยวข้องต่อไป

สํ า นั ก งาน กสทช. จะนํ า ไปพิ จ ารณาความ เหมาะสมและความเป็ น ไปได้ ใ นการกํ า หนด หลั ก เกณฑ์ ก ารให้ บ ริ ก ารและจั ด ทํ า โครงการที่ เกี่ยวข้องต่อไป


บทสรุปผู้บริหาร ตามที่ กสทช. ได้กํา หนดให้มีก ารจัด ให้มีบ ริก ารศู น ย์ อิน เทอร์เ น็ ต เพื่อ สั ง คม (USO NET) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายทางสังคม (เด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้มีรายได้น้อย) สามารถเข้า ถึง และใช้ป ระโยชน์จ ากเทคโนโลยีโ ทรคมนาคมและการสื่อ สารผ่า นโครงข่า ยบรอดแบนด์ ความเร็วสูงได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกับบุคคลทั่วไป ตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ โทรคมนาคม พ.ศ.2544 ทั้งนี้ สํานักงาน กสทช. ได้มีการนําร่องจัดตั้งศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ในหน่วยงาน ที่ให้บริการกลุ่มเป้าหมายทางสังคม จํานวน 40 แห่งทั่วประเทศ เพื่อให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสสามารถเข้าใช้บริการ ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ได้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายอีกทั้งสอดคล้องกับนโยบายของ รัฐบาลที่มุ่งเน้นทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมประเทศด้วยการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจ ดิจิทัล (Digital Economy) เช่น การจัดทําโครงการจัดตั้งและเสริมสร้างศักยภาพเครือข่ายอาสาสมัคร การจัด ประชุ ม สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะความรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การใช้ ง านคอมพิ ว เตอร์ แ ละ อินเทอร์เน็ต และรวมทั้งการส่งเสริมให้ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมเป็นแหล่งเรียนรู้และเป็นศูนย์กลางของการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของคนทุกกลุ่มในสังคม โดยเฉพาะกลุ่มผู้ด้อยโอกาสต่างๆ

1. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.1 เพื่อประเมินผลและถอดบทเรียนกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อฝึกอบรมการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส และ การดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ในพื้นที่นําร่อง จํานวน 3 แห่ง ณ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนา สตรีและครอบครัวจังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ 1.2 เพื่อศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และเชิงสังคมของพื้นที่เป้าหมายจังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ และการวิเคราะห์ SWOT ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้แก่กลุ่มสตรีด้อย โอกาส 1.3 เพื่อประเมินผลการบริหารจัดการและการดําเนินงานศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมจํานวน 3 แห่ง ณ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ 1.4 เพื่อจัดทําข้อเสนอแนะ และแนวทางการปรับกลยุทธ์การบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อ สังคม ที่สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสกลุ่มต่างๆในสังคมของแต่ละพื้นที่ และนําผลที่ ได้ไปใช้เพื่อการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 1


2. การดําเนินการศึกษา 2.1 พื้นที่ดําเนินการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลได้คัดเลือกมาจากศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมที่เข้า ร่วมกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล จํานวน 3 แห่ง ได้แก่ ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมในความรับผิดชอบของศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัด ลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ 2.2 กลุ่มเป้าหมายคือ กลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ ภายใต้ การดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ได้แก่ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชนสตรีที่ยังไม่มีงานทําเป็นประจํา และเจ้าหน้าที่ของศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัด กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ 2.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 แนวทาง ได้แก่ (1) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทุตยภูมิ ในบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเพื่อสัมของจังหวัด ลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อหาจุดอ่อนและจุดแข็งของพื้นที่ดําเนินการจัดให้มีบริการ ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (2) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ การสัมภาษณ์กลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่ผ่าน การเข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ ดูแลศูนย์ฯ และเก็บรวมบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามเพื่อนํามาวิเคราะห์ความคาดหวังและความต้องการใช้ บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตที่แท้จริง เพื่อนําไปสู่การจัดทําข้อเสนอแนะแนวทางการกําหนดกลยุทธ์และปรับปรุง การดําเนินการของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่และความต้องการของประชาชน

3. ผลการศึกษา ผลการศึกษาสรุปเป็น 4 ประเด็นหลักดังนี้ คือ ประเด็นที่ 1 : ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และเชิงสังคมในพื้นที่เป้าหมาย 3 จังหวัด (จังหวัด ลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ) และการวิเคราะห์ SWOT ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจชุมชน กลุ่มสตรี และกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และสภาพการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประเด็นที่ 2 : การประเมินผลและถอดบทเรียนกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลฯ และการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ในพื้นที่นําร่อง ณ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ ประเด็นที่ 3 : การประเมินผลและการบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ประเด็นที่ 4 : ข้อเสนอแนะ และแนวทางการปรับกลยุทธ์การบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อ สังคมที่สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคม และความต้องการของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางสังคม โดยเฉพาะกลุ่มสตรีด้อยโอกาส บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 2


3.1 ประเด็นที่ 1 ผลการศึกษาเกี่ยวกับบริบทเชิงพื้นที่และเชิงสังคมของพื้นที่นําร่อง 3 จังหวัด และการวิเคราะห์ SWOT ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเศรษฐกิจชุมชน 3.1.1 จังหวัดลําปาง บริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมของจังหวัดลําปาง พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น ภูเขาพื้นที่ราบ มีและต้นกําเนิดของแม่น้ําหลายสายที่สําคัญของประเทศไทย อัตราการจ้างงานของเพศหญิงมี ใกล้เคียงกับเพศชาย และสภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับภาคเกษตรกรรม และในส่วน ภาคอุตสาหกรรมได้มีการลงทุนด้านธุรกิจโรงแรมและบริการต่างๆ มีการส่งเสริมการลงทุนของผู้ประกอบการ และธุรกิจขนาดย่อม เช่น การส่งเสริมด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน ธุรกิจชุมชน และการส่งเสริมการท่องเที่ยวของ จังหวัด นอกจากนี้ในตัวเมืองยังมีตลาดจําหน่ายสินค้าซึ่งเป็นแหล่งชุมชนขนาดใหญ่ และพบว่าอาชีพเสริมเพื่อ สร้างรายได้ให้แก่ครอบครัวของกลุ่มสตรีที่ไม่ใช่งานประจํา ได้แก่ การตัดเย็บเสื้อผ้าส่งขาย การทําเกษตร อินทรีย์ การค้าขาย งานฝีมือประดิษฐ์ ฯลฯ การวิเคราะห์ SWOT ของจังหวัดลําปาง จุดแข็งและโอกาส ปัญหา อุปสรรคหรือความท้าทายต่างๆ ด้านบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคม - มี ถ นนสายหลั ก ผ่ า นจั ง หวั ด ลํ า ปางขึ้ น สู่ เ มื อ ง -การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของลําปางมีน้อย นักท่องเที่ยวจึงมุ่งเป้าหมายไปที่เชียงใหม่ เชียงใหม่ได้ -นักท่องเที่ยวที่เดินทางโดยสารเครื่องบินมีน้อยกว่า - มีสนามบินลําปางรองรับผู้โดยสาร เชียงใหม่และเชียงราย ดูจากจํานวนสายการบินที่ - มีดินลําปางเป็นแหล่งผลิตเครื่องปั่นเซรามิกส์ ให้บริการและจํานวนเที่ยวบิน - อากาศเย็นสบาย อาหารราคาไม่แพง - มีความสมบู ร ณ์ของธรรมชาติ แหล่งทรัพยากร -ในช่วงที่อากาศเย็นแห้งมากไม่เหมาะแก่การ เพาะปลูกพืชล้มลุกหรือเก็บเกี่ยวระยะสั้น และวัตถุดิบ - มีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่น่าสนใจทุกคนรู้จักในนาม -ในช่วงที่อากาศร้อนๆมาก เพราะเป็นพื้นที่สูง -การลงทุนในจังหวัดมีน้อยเนื่องจากไม่ใช่เมืองหลัก “เมืองรถม้า”และมีโบราณสถานและวัดสําคัญๆ ของภาคเหนือ ชุมชนและกลุม่ สตรีด้อยโอกาส -มี ชุ ม ชนหลายแห่ ง ใช้ ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ในการ -กลุ่ ม สตรี ไ ม่ มี ทั ก ษะความรู้ ใ นการออกแบบชุ ด เสื้อผ้าให้ทันสมัยนิยมทําให้ความต้องการของตลาด พัฒนาอาชีพของชุมชน เช่น ผ้าทอมือ -มี ก ารรวมกลุ่ ม ผลิ ต สิ น ค้ า ชุ ม ชน เช่ น รวมกลุ่ ม มีน้อยหรือมีความต้องการเฉพาะกลุ่ม -กลุ่ม สตรี ข าดทัก ษะความรู้ แ ละความสามารถใน รับจ้างตัดเย็บเสื้อผ้าพื้นเมืองสําเร็จรูปจําหน่าย การ การประยุ ก ใช้ เ ทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารเพื่ อ การค้ า ตั ด เย็ บ หมวกคาวบอยจํ า หน่ า ย และงานฝี มื อ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้เกิดประสิทธิภาพ ประดิษฐ์ต่างๆ เช่น การถักกระเป๋า การนําผ้ามาตัด -การรวมกลุ่มและการผลิตสินค้าชุมชนยังขาดการ ส่งเสริมที่ต่อเนื่องจากภาครัฐและเอกชน ทั้งในเรื่อง เย็บเป็นกระเป๋า ผ้าปูโต๊ะ ผ้าม่าน เป็นต้น เงินทุน และแหล่งจําหน่ายสินค้า บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 3


3.1.2 จังหวัดเชียงราย บริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมของจังหวัดเชียงราย พบว่าเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ เหนือสุดของประเทศไทย มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนพื้นเมืองที่ราบสูง (ชาวไทยภูเขาเผ่า ต่างๆ) และชุมชนในเมือง มีการติดต่อสื่อสารกับเพื่อนบ้านเนื่องจากชายแดนอยู่ติดประเทศสาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมีย นมาร์ ตอนใต้ของประเทศจีน และประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ดังนั้น จึง สะท้อนให้เห็นความโดดเด่นด้านการค้าขายและการคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศ และเป็นพื้นที่เป้าหมายการ จัดตั้งเขตเศษฐกิจพิเศษ ประชากรส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพด้านการเกษตรบนพื้นที่ราบสูง เช่น ทําไร่ ทํา สวนผลไม้ การท่องเที่ยว และงานที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมภาคบริการ นอกจากนี้ในตัวเมืองยังมีการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนโดยมีตลาดนัดเป็นครั้งคราวจําหน่ายสินค้าประเภทต่างๆ และอาชีพ เสริมของกลุ่มสตรีและการสร้ างรายได้ใ ห้แ ก่ครอบครัวที่ ไม่ ใ ช่งานประจํา ได้แ ก่ การค้ าขาย รับจ้ างทั่ วไป การเกษตรกรรม ร้านเสริมสวย ฯลฯ การวิเคราะห์ SWOT ของจังหวัดเชียงราย จุดแข็งและโอกาส ปัญหา อุปสรรคหรือความท้าทายต่างๆ ด้านบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคม -ภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงสลับภูเขา ทิวทัศน์สวยงาม -ในช่วงที่อากาศเย็นมากไม่เหมาะแก่การเพาะปลูก พืชล้มลุกหรือเก็บเกี่ยวระยะสั้น -มีความสมบูรณ์ของธรรมชาติ -มีการปลูกพืชเมืองหนาว ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจ เช่น -ในช่วงที่อากาศร้อนๆมาก เพราะเป็นพื้นที่สูง -สภาพภูมิประเทศยากลําบากต่อการเดินทางและ กาแฟ ผลไม้ ขนส่งสินค้าทางการเกษตร ทําให้มีต้นทุนค่าขนส่ง -มีวัฒนธรรมชุมชนชาวเขาหลายเผ่าบนเขาที่ราบสูง -มีวัฒนธรรมชุมชน โบราณสถาน และวัดสําคัญๆที่ สูงขึ้น -ไม่ มี ก ารจั ด สรรตลาดรั บ ซื้ อ และแหล่ ง จํ า หน่ า ย ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยว เช่น วัดร่องขุ่น -มีการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เช่น การท่องเที่ยว ผลิตผลทางการเกษตรให้แก่ชาวเขา การจําหน่วย เชิงธรรมชาติ ร้านอาหารและโบราณสถานเก่าแก่ของ สินค้าและราคาพืชผลทางการเกษตรขึ้นกับพ่อค้า จังหวัด คนกลาง -มีตลาดการค้าชายแดนหลายแห่ง สินค้าราคาถูก -ชุ ม ชนชาวเขาบนที่ ร าบสู ง มี ปั ญ หาเรื่ อ งสั ญ ชาติ และเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ เช่น ตลาดแม่สาย สาธารณสุข และความยากจน -มีการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของจังหวัด ทําให้ -มีการอพยพของชาวเขาในวัยแรงงานเข้าสู่เมืองเพื่อ มีนักท่องเที่ยวนิยมเดินทางไปเชียงรายมากขึ้น หางานทําและเป็นแรงงานต่ําระดับ -มีสนามบินเชียงรายรองรับผู้โดยสาร -ไม่มีการควบคุมแรงงานข้ามชาติหรือแรงงานต่าง -มี ก ารแข่ ง ขั นให้ บ ริ ก ารโรงแรมหลายแห่ ง หลาย ด้ า ว ทํ า ให้ ส ามารถเดิ น ทางข้ า มชายแดนเข้ า มา ราคา ที่นักท่องเที่ยวสามารถเลือกพักได้ โดยง่ายเพราะพื้นที่ติดชายแดนหลายประเทศ บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 4


จุดแข็งและโอกาส

ปัญหา อุปสรรคหรือความท้าทายต่างๆ ชุมชนและกลุม่ สตรีด้อยโอกาส -มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาอาชีพเพื่อ -กลุ่ ม สตรี ส่ ว นใหญ่ ที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมกั บ ศู น ย์ สร้างรายได้ให้แก่ของชุมชน เช่น การท่องเที่ยวเชิง อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม มีระดับการศึกษาน้อย พอ อนุรักษ์ การปลูกพืชไร่ การปลูกสตอเบอรี่ การทอ อ่านออกเขียนได้ และเป็นเยาวชน จึงมุ่งหวังพัฒนา ความรู้ ด้ า นคอมพิ ว เตอร์ เ พื่ อ หางานทํ า และเป็ น ผ้าจากเส้นใยธรรมชาติ การทําลวดลายผ้า แรงงานในระบบ มากกว่ า การเป็ น เจ้ า ของธุ ร กิ จ ท้องถิ่น -กลุ่ม สตรี ข าดความรู้แ ละความเข้าใจในการปรั บ ประยุกต์ใช้วัตถุดิบหรือสิ่งที่มีในท้องถิ่นของตนเอง มาสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน -กลุ่มสตรียังไม่มีทักษะความรู้ในการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์หรือออกแบบชุ ดเสื้อผ้าให้ทั น สมัยนิ ยมตาม ความต้องการของตลาด -กลุ่ม สตรี ข าดทัก ษะความรู้ แ ละความสามารถใน การประยุ ก ใช้ เ ทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารเพื่ อ การค้ า พาณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ ห้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ และ ประสิทธิผล -การรวมกลุ่มและการผลิตสินค้าชุมชนยังขาดการ ส่งเสริมที่ต่อเนื่องจากภาครัฐและเอกชน ทั้งในเรื่อง เงินทุน และแหล่งจําหน่ายสินค้า

3.1.3 ศรีสะเกษ บริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมของจังหวัดศรีสะเกษ พบว่าเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ สูงแล้วค่อยๆ ลาดลงสู่แม่น้ําสายหลัก มีชายแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านคือประเทศกัมพูชา และมีความ หลากหลายทางวัฒนธรรมและภาษาพื้นเมืองประชาชนยังอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นเมืองและดํารงวิถีชีวิตแบบ ดั่งเดิม ประชากรส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพด้านการเกษตรทํานาเพาะปลูกข้าว สลับกับการปลูกพืชล้มลุก ระยะการเก็บเกี่ยวสั้น ผลผลิตโดดเด่นของจังหวัดศรีสะเกษ คือ กระเทียม หัวหอม และพริก นอกจากนี้ ยังมี แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่สําคัญหลายแห่ง เช่น เขาพระวิหาร ปราสาทหิน โบราณสถานที่สําคัญ ฯลฯ และอาชีพเสริมของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสและการสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว ได้แก่ การทอผ้าพื้นเมือง การเกษตรกรรม และรับจ้างทั่วไป บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 5


การวิเคราะห์ SWOT ของจังหวัดศรีสะเกษ จุดแข็งและโอกาส ปัญหา อุปสรรคหรือความท้าทายต่างๆ ด้านบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคม - มีภูมิประเทศติดกับประเทศกัมพูชา - มีความเปราะบางทางการเมืองระหว่างประเทศ - มีความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ โดยเฉพาะประเด็นเขาพระวิหาร และพื้นที่ชายแดน - มี ส ถานที่ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมและสถานที่ - การประชาสั ม พั น ธ์ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วของ ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่สําคัญหลายแห่ง เช่น เขา จังหวัดยังมีน้อย พระวิ หาร ปราสาทหินโบราณ และวัดที่สําคั ญทาง - อุตสาหกรรมภาคบริการเพื่อรองรับการท่องเที่ยว ยังมีน้อย เช่น โรงแรม และร้านอาหาร เนื่องจากอยู่ ประวัติศาสตร์ - มีค วามหลากหลายของวัฒ นธรรมชุม ชนท้อ งถิ่น ใกล้จังหวัดอุบลราชธานีซึ่งเป็นเมืองหลักของภาค และมีภ าษาท้อ งถิ ่น ของตนเอง บางคนพูด ภาษา อีสานใต้ เขมรได้ - การทําเกษตรกรรมในพื้นที่ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ - ผลผลิตทางการเกษตรที่โดดเด่นและมีชื่อเสียงของ ตามช่วงฤดูกาล จังหวัด คือ กระเทียม หัวหอม และพริก - ไม่มีสนามบินพาณิชย์ -มีพื้นที่ชายแดนติดประเทศกัมพูชาเหมาะกับการค้า ชายแดน ชุมชนและกลุม่ สตรีด้อยโอกาส - มีกลุ่มของสตรีในหลายชุมชนใช้เวลาว่างรวมกลุ่มกัน -ชุ ม ชนยั ง ขาดความรู้ แ ละการปรั บ ประยุ ก ต์ นํ า ทอผ้าและจําหน่ายราคาถูก โดยลวดลายผ้าทอของแต่ วัตถุดิบหรือสิ่งที่มีในท้องถิ่นของตนเองมานําเสนอ ละชุมชนมีเอกลักษณ์เฉพาะ เช่น ผ้ามัดหมี่ ทอผ้ายก หรือใช้ให้เกิดประโยชน์ - มีการรวมกลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหมภายในชุมชนทํา - ชุมชนส่วนใหญ่ในจังหวัดศรีสะเกษอยู่แบบพึงพา ให้เส้นไหมมีคุณภาพ ทําให้ผ้าทอมีความงามต่างจาก ตนเอง หลายครอบครัวยังมีฐานะยากจน - กลุ่ ม สตรี ส่ ว นใหญ่ ที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมกั บ ศู น ย์ ที่อื่น อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม มีระดับการศึกษาน้อย พอ - มีการพัฒนาผ้าทอเป็นสินค้า OTOP อ่านออกเขียนได้ -กลุ่มสตรีขาดทักษะพื้นฐานในด้านการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สาร ขาดความรู้ ใ นการใช้ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตพื้นฐาน -กลุ่มสตรีส่วนใหญ่ทําอาชีพเกษตรกรรม ไม่มีเวลา เข้ า รั บ การอบรมความรู้ ทํ า ให้ ไ ม่ ส ามารถพั ฒ นา ตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตได้ -การรวมกลุ่มและการผลิตสินค้าชุมชนยังขาดการ ส่งเสริมที่ต่อเนื่องจากภาครัฐและเอกชน ทั้งในเรื่อง เงินทุน การพัฒนาผลิตภัณฑ์และแหล่งจําหน่าย บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 6


3.1.4 การวิเคราะห์ SWOT การให้บริการของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ภายใต้ ค วามร่ ว มมื อ ของสํ า นั ก งาน กสทช. และกรมกิ จ การสตรี แ ละสถาบั น ครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งมีภาระกิจในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตทั้งในด้าน การศึกษา การฝึกอาชีพ ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาสในพื้นที่รับผิดชอบ โดยความร่วมมือดังกล่าว เป็นการจัดให้มี บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ภายในศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จํานวน 3 จังหวัดนําร่อง ได้แก่ ลําปาง ศรีสะเกษ และเชียงราย เพื่อเป็นการส่งเสริมทักษะความรู้และยกระดับคุณภาพชีวิตให้แก่กลุ่ม สตรีด้อยโอกาส การวิเคราะห์ SWOT ในการให้บริการของศูนย์อนิ เทอร์เน็ตเพื่อสังคม จุดแข็งและโอกาส - ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม มีการสนับสนุนจาก นโยบายของรัฐที่ชัดเจนและปฏิบัติได้จริง - ได้ รั บ การสนั บ สนุ น และความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง สํานักงาน กสทช. และหน่วยงานในพื้นที่อย่างดี - ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ตั้งอยู่ภายในศูนย์การ เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว ทําให้สะดวก ในการส่ ง เสริ ม ให้ ก ลุ่ ม สตรี ด้ อ ยโอกาสที่ พั ก อยู่ ประจํ า ภายในศู นย์ก ารเรี ย นรู้ฯ ใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ เต็มที่ทุกเวลา - มี ก ารสนั บ สนุ น ค่ า ใช้ จ่ า ยในการบริ ห ารจั ด การ และค่าจ้างเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์ฯ ตามเงื่อนไข USO - มีการซ่อมแซมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ต่ า งๆ ให้ อ ยู่ใ นสภาพที่ ใ ช้ ง านได้ เ ป็น ปกติต ลอด ระยะ 3 ปี ตามเงื่อนไข USO

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

ปัญหา อุปสรรคหรือความท้าทายต่างๆ - เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ไม่เพียงพอต่อ การฝึ ก อบรมและทํ า กิ จ กรรมที่ มี ผู้ ส นใจครั้ ง ละ จํานวนมากๆ โดยสามารถฝึกอบรมได้เพียงครั้งละ ไม่เกิน 20 คน (2 คนต่อ 1 เครื่อง) -สั ญ ญาณอิ น เทอร์ เ น็ ต มี ค วามช้ า และบางครั้ ง ไม่ สามารถเชื่อมต่อสัญญาณได้เป็นระยะๆ หรือเป็น เวลานาน ส่ ง ผลต่ อ การให้ บ ริ ก ารที่ ไ ม่ ค่ อ ยมี ประสิทธิภาพ - ไม่มีสัญญาณ WiFi ให้บริการ เพราะบางครั้ง ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารนํ า เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารของตนเองมาใช้ จําเป็นต้องเข้าถึงสัญญาณอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย - การประชาสัมพันธ์ข้อมูลของศูนย์ฯ มีน้อยมากจึง ยังเข้าไม่ถึงกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและประชาชนทั่วไปใน ชุ ม ชน ส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ท ราบว่ า มี ศู น ย์ อิ น เทอร์ เ น็ ต ให้บริการ - มีการประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ น้อยมากใน การทําแผนกิจกรรมการทํางานร่วมกันกับหน่วยงาน อื่นๆ ในพื้นที่และส่วนกลาง - ขาดการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมให้ตรงกับความ ต้ อ งการของกลุ่ ม สตรี ด้ อ ยโอกาสและชุ ม ชนโดย ภาพรวม หรื อ ที่ เ หมาะสมกั บ ความต้ อ งการของ ท้องถิ่นโดยเฉพาะ (tailor made academies) - ผู้ดูแลศูนย์ขาดความรู้และทักษะด้าน IT และการ แก้ปัญหาเกี่ยวกับศูนย์ฯ ทําให้เกิดอุปสรรคในการ ให้บริการโดยเฉพาะในการจัดกิจกรรมฝึกอบรม

หน้า 7


3.2 ประเด็นที่ 2 การประเมินผลและถอดบทเรียนการจัดกิจกรรมของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อ สังคม เรื่อง “การส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลฯ” ภายใต้ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัด (ลําปาง เชียงราย และศรีสะเกษ) 3.2.1 จังหวัดลําปาง 3.2.1.1 ข้อมูลเบื้องต้นของผู้เข้าอบรม ส่วนใหญ่ มีช่วงอายุอยู่ระหว่าง 41-50 ปี มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนประมาณ 5,000 บาท มีสมาชิกใน ครอบครัว 1-5 คน เป็นครัวเรือนขนาดเล็ก มีอาชีพหลักคือรับจ้างทั่วไป ค้าขาย ตัดเย็บผ้าพื้นเมือง ประกอบ ธุรกิจส่วนตัว เกษตรกร และนักศึกษา ตามลําดับ 3.2.1.2 เหตุผลที่เข้าสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ เพื่อเป็นการเสริมทักษะในการนํา เทคนิคจากเทคโนโลยีมาใช้ในการขายผลิตภัณฑ์ทางออนไลน์ เพื่อเสริมสร้างเพิ่มเติมความรู้ที่มีอยู่ในด้านการ ขายของทางออนไลน์ 3.2.1.3 ความต้องการและความคาดหวังฯ คือต้องการนําเอา เทคโนโลยีการ สื่อสารในยุคดิจิทัล ไปใช้เพื่อทําสื่อการตลาดออนไลน์เพื่อการเสนอขายสินค้า เอาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวัน และต้องการเพิ่มความรู้ วิธีการใหม่ๆ หาแหล่งงาน และหาแหล่งรายได้ 3.2.1.4 สิ่งที่นํากลับไปพัฒนาตนเองหลังจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ นําไป พัฒนาด้านการขายสินค้าทางตลาดออนไลน์ และการสร้างหรือก่อตั้งธุรกิจออนไลน์เป็นของตนเอง การใช้สื่อ สังคมออนไลน์ การตัดแต่งภาพ โปรแกรมการสร้างงานด้านเอกสาร เช่น Microsoft Word, Microsoft Powerpoint, Microsoft Excel และการใช้มือถือ Smartphone เพื่อส่งต่อข้อมูล รูปภาพ และการ ประชาสัมพันธ์ 3.2.1.5 ความรู้เบื้องต้นในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของกลุ่มสตรี บริบทของ การใช้ เ ทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารของสตรี ด้ อ ยโอกาสจั ง หวั ด ลํ า ปางทั้ ง ในด้ า นที่ เ กี่ ย วกั บ ความรู้ แ ละด้ า น ประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล พบว่า มีประสบการณ์ในการใช้โดยเฉลี่ย 10 ปี โดยสถานที่ที่ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารส่วนใหญ่คือที่บ้านโดยใช้ร่วมกันในครอบครัว ประเภทเทคโนโลยีการ สื่อสารที่ใช้เป็นประจําคือใช้โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน รองลงมาคือคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค และแท็ปเล็ต หรือไอแพต ตามลําดับ ในส่วนที่เกี่ยวกับสัญญาณอินเทอร์เน็ตในชุมชนพบว่า ส่วนใหญ่ในชุมชนมีสัญญาณ อินเทอร์เน็ต โดยชุมชนมีค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย 530.75 บาท/เดือน ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ส่วนใหญ่ใช้ทุกวัน รองลงมาคือสัปดาห์ละ 5 ครั้ง 4 ครั้ง และ 3 ครั้ง ตามลําดับ ส่วนใหญ่ค้นข้อมูล เกี่ยวกับอาชีพ การศึกษา และแหล่งงานตามลําดับ 3.2.1.6 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังจากการจัดกิจกรรมฯ คือ ได้เว็บไซต์และสื่อสังคม ออนไลน์เป็นของกลุ่มตนเองเพื่อการประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ กิจกรรม และเผยแพร่ความรู้ ภูมิปัญญา บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 8


ท้องถิ่นเดิมของชุมชนให้คนภายนอกได้รับรู้จากผลที่เป็นรูปธรรมชัดเจน ตัวอย่างผลงานการสร้างร้านค้าชุมชน ออนไลน์ของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เข้าร่วมกิจกรรมฯ มีดังนี้ ตัวอย่างการสร้างร้านค้าออนไลน์ประชาสัมพันธ์ขายสินค้าของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง

ภาพที่ 1 เว็บไซต์กลุ่มหมวกคาวบอย http://cowboybanleng.bentoweb.com/th

ภาพที่ 2 เว็บไซต์กลุ่มผ้าทอมือกะเหรี่ยง http://tribaifashion27.bentoweb.com/th

ภาพที่ 3 เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านห้วยฮี http://hauyheefashion.bentoweb.com/th

ภาพที่ 4 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า https://www.facebook.com/ผึ้งหลวง-ผ้างาม643299382579907/

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 9


3.2.2 จังหวัดเชียงราย 3.2.2.1 ข้อมูลเบื้องต้นของผู้เข้าอบรม กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง 21-30 ปี มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ํากว่า 5,000 บาท มีสมาชิกในครอบครัว 1-5 คน มีอาชีพหลักคือค้าขาย เกษตรกร แม่บ้าน ครู และพนักงานรับจ้าง ทั่ว ไป ตามลํ าดั บ ก่อ นที่ จ ะมาประกอบอาชีพ ปัจ จุ บั น ส่ว นมากประกอบอาชี พรั บ จ้า งทั่ ว ไป ค้ าขาย และ เกษตรกรมาก่อน 3.2.2.2 เหตุผลที่เข้าสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ เนื่องจากอยากมีความรู้ความสามารถ เพิ่มขึ้นในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนําความรู้ไปปรับและประยุกต์กับธุรกิจของตนเอง อยากทราบ เกี่ยวกับวิธีการเปิดร้านค้าออนไลน์เช่น การประชาสัมพันธ์ร้านค้า การเพิ่มช่องทางการเปิดร้านค้าให้มีช่องทาง มากขึ้น และเพื่อเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจตนเองและชุมชน 3.2.2.3 ความต้องการและความคาดหวังจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ คือเปิด ร้านค้าออนไลน์เป็นของตนเอง โดยไม่ต้องไปเสียค่าใช้จ่ายในการจ้าง เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย และช่วยกันฟื้นฟู ภูมิปัญญาของพื้นบ้านของชุมชน 3.2.2.4 ความรู้เบื้องต้นในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของกลุ่มสตรี บริบทการใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล ของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย พบว่า มีประสบการณ์การใช้เทคโนโลยี การสื่อสารในยุคดิจิทัลโดยเฉลี่ย 7 ปี โดยสถานที่ที่ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล ส่วนใหญ่คือที่บ้านโดย ใช้ร่วมกันในครอบครัว ประเภทของเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล ที่ใช้เป็นประจําคือโทรศัพท์เคลื่อนที่ แบบสมาร์ทโฟน รองลงมาคือคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบธรรมดา และทีวีดาวเทียมตามลําดับ และในส่วนที่เกี่ยวกับสัญญาณอินเทอร์เน็ตในชุมชนพบว่า ส่วนใหญ่ในชุมชนมีสัญญาณอินเทอร์เน็ต โดยชุมชน มีค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย 464 บาท/เดือน ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ตพบว่า ส่วนใหญ่ใช้ทุกวัน รองลงมาคือใช้สัปดาห์ละ 5 ครั้ง 3 ครั้ง 4 ครั้ง และ 6 ครั้งตามลําดับ ประเภทการสืบค้นข้อมูลของกลุ่มสตรี ด้อยโอกาส พบว่าส่วนใหญ่ค้นข้อมูลเพื่อใช้ในด้านการศึกษา รองลงมาคือค้นหาแหล่งงาน และสิทธิประโยชน์ ด้านต่างๆ ตามลําดับ การใช้สื่อสังคมออนไลน์พบว่าใช้เฟสบุ๊คเป็นประจําทุกวัน รองลงมาคือ Google 3.2.2.5 ผลลัพธ์ที่เกิดหลังจากการจัดกิจกรรมฯ คือ ได้เว็บไซต์และสื่อสังคม ออนไลน์เป็นของกลุ่มตนเองเพื่อการประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ กิจกรรม และถ่ายทอดความรู้ของกลุ่ม ตนเองของชุมชนออกสู่สังคมภายนอกในจังหวัดเชียงรายได้ผลงานที่เป็นรูปธรรม และตัวอย่างผลงานการสร้าง ร้านค้าชุมชนออนไลน์ของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เข้าร่วมกิจกรรมฯ มีดังนี้

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 10


ตัวอย่างการสร้างร้านค้าออนไลน์ประชาสัมพันธ์ขายสินค้าของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย

ภาพที่ 5 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มแปรรูปกาแฟปางซาง https://www.facebook.com/profile.php?id=10 0007302124734

ภาพที่ 6 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มแม่สาย wine https://www.facebook.com/The-Maesaistrawberry-wine555158527969664/?hc_location=ufi

ภาพที่ 7 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มกาแฟตอเซีย https://www.facebook.com/Torsia-Cafe777286562394908/?fref=ts

ภาพที่ 8 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มผ้าด้นมือเปิงเปียณ https://www.facebook.com/profile.php?id= 100010366635580&fref=ufi&pnref

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 11


3.2.3 จังหวัดศรีสะเกษ 3.2.3.1 ข้อมูลเบื้องต้นของผู้เข้าอบรม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุอยู่ระหว่าง 21-30 ปี มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ํากว่า 5,000 บาท มีสมาชิกในครอบครัว 1-5 คน มีอาชีพหลักคือเกษตรกร ค้าขาย นักศึกษา และเสริมสวย ตามลําดับ มีอาชีพ เสริมคือเย็บผ้า ค้าขาย และธุรกิจส่วนตัว 3.2.3.2 ความต้องการและความคาดหวังฯ สามารถใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุค ดิจิทัล เพื่อการจัดทําการตลาดออนไลน์ เพื่อให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 3.2.3.3 สิ่งที่นํากลับไปพัฒนาตนเองหลังจากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ สามารถ สร้างร้านค้าออนไลน์เป็นของตนเอง สามารถประชาสัมพันธ์ร้านค้าหรือธุรกิจตนเองได้ 3.2.3.4 ความรู้เบื้องต้นในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของกลุ่มสตรี บริบทของ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษพบว่า มีประสบการณ์ในการใช้ โดยเฉลี่ย 6 ปี โดยสถานที่ที่ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล ส่วนใหญ่คือที่บ้านโดยใช้ร่วมกันในครอบครัว ประเภทเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารที่ ใ ช้ เ ป็ น ประจํ า คื อ ใช้ โ ทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ แ บบสมาร์ ท โฟน รองลงมาคื อ โทรศัพ ท์ เคลื่อ นที่แ บบธรรมดาและคอมพิวเตอร์โน้ ตบุ๊ค ตามลํ าดั บ และพบว่ าพื้ นที่ข องชุ มชนมี สัญ ญาณ อินเทอร์เน็ตเข้าถึง โดยกลุ่มสตรีมีค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย 389 บาท/เดือน ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ส่วนใหญ่ใช้ทุกวัน รองลงมาคือสัปดาห์ละ 6 ครั้ง และใช้สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพ รองลงมาคือเพื่อสิทธิ ประโยชน์และค้นหาแหล่งงานตามลําดับ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์พบว่า มีการใช้เฟสบุ๊ค เป็นประจําทุกวัน รองลงมาคือ Google และ Youtube 3.2.3.5 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังจากการจัดกิจกรรมฯ ทุกกลุ่มอาชีพได้เว็บไซต์และสื่อ สังคมออนไลน์ เป็ นของกลุ่มตนเองเพื่อการประชาสัม พันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ กิจกรรม และเผยแพร่ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่สังคมภายนอก และตัวอย่างผลงานการสร้างร้านค้าชุมชนออนไลน์ของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่ เข้าร่วมกิจกรรมฯ มีดังนี้

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 12


ตัวอย่างการสร้างร้านค้าออนไลน์ประชาสัมพันธ์ขายสินค้าของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีษะเกษ

ภาพที่ 9 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มเย็บผ้าสตรีบ้านหนองแล้ง https://www.facebook.com/กลุ่มสตรีหนองแล้งเย็บผ้า จักสานพลาสติก-849664205132941/

ภาพที่ 10 เว็บไซต์กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านแสงน้อย http://weavingblog.wordpress.com

ภาพที่ 11 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มท่องเที่ยววัฒนธรรมบ้าน ภาพที่ 12 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคม หนองเข็งน้อย พัฒนา https://www.facebook.com/Nongkengnoi-Thai- https://www.facebook.com/rutravee.srisingsrising? Culture-กลุ่มท่องเที่ยววัฒนธรรมบ้านหนองเข็งน้อยfref=ufi 415721951960174/

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 13


3.3 ประเด็นที่ 3 การประเมินผลการบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม การประเมินผลจะใช้วิธีการสัมภาษณ์และเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามโดยใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators; KPIs) ของศูนย์อินเทอร์เน็ตทั้ง5 มิติในการ ประเมินผลการปฏิบัติงานและวัดความสําเร็จของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ที่ได้กําหนดไว้เป็นเงื่อนไขการจัด ให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม ประจําปี พ.ศ.2553 สรุปสาระสําคัญได้ดังนี้ 3.3.1 การประเมินผลตัวชี้วัดในมิติด้านบุคลากร (Man) 3.3.1.1 ผู้ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม พบว่ามีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ประจําศูนย์ เพื่อทําหน้าที่ให้บริการภายในศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และ จังหวัดศรีสะเกษ ครบทั้ง 3 แห่ง 3.3.1.2 ความรู้ แ ละความสามารถด้ า นคอมพิ ว เตอร์ ข องเจ้ า หน้ า ที่ ดู แ ลศู น ย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมพบว่ายังขาดความรู้และทักษะเกี่ยวกับการจัดการและบริหารศูนย์อินเทอร์เน็ตฯ ขาด ทักษะการใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ขาดความชํานาญในการเป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ผู้ เข้ า ใช้ บ ริก ารศู น ย์ อิน เทอร์ เ น็ต นํ า ไปใช้ป ระโยชน์ใ นการประกอบอาชีพ ขาดทั ก ษะการดูแ ลรั ก ษาเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ทั้ง Software และ Hardware 3.3.1.3 ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมมีการจัดตั้งกรรมการบริหารจัดการศูนย์ฯ และมี การรายงานผลการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ต USO NET เป็นครั้งคราวกับสํานักงาน กสทช. 3.3.1.4 เจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตขาดความคล่องตัวในการบริหารจัดการ ศูนย์ฯ เนื่องจากไม่มีอํานาจในการกําหนดหลักเกณฑ์การบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตด้วยตนเอง จึงไม่ สามารถกําหนดตารางการจัดอบรมและไม่สามารถเบิกงบปราณมาจัดกิจกรรมการฝึกอบรมได้เอง เนื่องจาก หลักเกณฑ์ของ กสทช. ให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์ฯ จึงทําให้ไม่มีความคล่องตัวในการ บริหารจัดการ 3.3.2 การประเมินผลตัวชี้วัดในมิติด้านพัสดุ (Material) 3.3.2.1 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม มีครบตาม ข้อกําหนดคือ เครื่องให้บริการ 10 เครื่องและเครื่องสําหรับเจ้าหน้าที่ 1 เครื่อง 3.3.2.2 ความพร้อมใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม พบว่าไม่สามารถใช้ งานได้อย่างเป็นปกติครบทั้ง 10 เครื่องพร้อมกัน เนื่องจากขั้นตอนการแจ้งซ่อมและ ดําเนินการซ่อมแซมเครื่องไปยังบริษัทที่รับผิดชอบนั้น บริษัทไม่มีเครื่องที่พร้อมใช้งานมาเปลี่ยนแทนให้ทันที ต้องรอจนกว่าเครื่องจะซ่อมแซมเสร็จจึงจะสามารถติดตั้งให้ใช้งานได้ 3.3.2.3 เครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีความเร็วที่ไม่เพียงพอต่อการเปิดอินเทอร์เน็ตใช้งาน พร้อมกัน ทั้ง 10 เครื่อง เกิดปัญหาอินเทอร์เน็ตล่าช้า และไม่มีสัญญาณ Wifi เพื่อรองรับอุปกรณ์ส่วนตัวของ ผู้ใช้บริการหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรม บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 14


3.3.2.4 ขาดการดูแลรักษาความสะอาดของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ เวลาเข้าใช้บริการแสดงให้เห็นถึงเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์ยังขาดการเอาใจใส่และดูแล 3.3.3 การประเมินผลตัวชี้วัดในมิติด้านงบประมาณ (Money) 3.3.3.1 มีวินัยในการบริหารจัดการเรื่องงบประมาณและมีการทํารายงานประจําปี ทุกครั้ง ซึ่งค่าใช้จ่ายภายในศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม เป็นค่าไฟฟ้าและค่าเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลศูนย์ฯ รวมถึงมีการ เปิดเผยข้อมูลตามไตรมาสที่กําหนดไว้ 3.3.3.2 มีก ารกํา หนดนโยบายในการบริ ห ารจั ด การระบบงบประมาณ เน้น การ พึ่งตนเอง เน้นความโปร่งใสและคล่องตัว เพื่อให้สามารถที่จะบริหารจัดการตัวเองได้ โดยเฉพาะในรูปแบบของ ธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) 3.3.3.3 ยังไม่มีการเตรียมความพร้อมเรื่องงบประมาณหลังจากหมดระยะเวลาตาม เงื่อนไข 3 ปี ของสํานักงาน กสทช. 3.3.4 การประเมินผลตัวชี้วัดด้านการบริหารจัดการ (Management) 3.3.4.1 การบริหารจัดการของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม พบว่ามีการประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในท้องถิ่น โดยได้รับการสนับสนุนจากศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและ ครอบครัวจังหวัด เช่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัด วิทยาลัยการอาชีพจังหวัด ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการ ฝึกอาชีพให้แก่สตรีด้อยโอกาส และมีการประสานงานกับกลุ่มสตรีในพื้นที่ชุมชนเพื่อฝึกอบรมและส่งเสริม ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่างๆ แต่ติดขัดเรื่องงบประมาณในการฝึกอบรมมีจํากัดและไม่เพียงพอ 3.3.4.2 มี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ข่ า วสารเพื่ อ ให้ ส ตรี ด้ อ ยโอกาสในชุ ม ชนทราบ วัตถุประสงค์ ของการจั ดตั้งศู นย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสั งคมน้อยเกินไป และดํ าเนินการผ่านช่องทางสื่ อสังคม ออนไลน์ เช่น เฟสบุ๊ค facebook ของศูนย์การเรียนรู้และพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปาง จังหวัดศรี สะเกษ และประชาสัมพันธ์ผ่านทางสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ เป็นต้น ทําให้มีผู้เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ของศูนย์อินเทอร์เน็ตมีเพียงบางกลุ่มเท่านั้น ไม่ครอบคลุม กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชนสตรี และประชาชนทั่วไปทุกชุมชน 3.3.5 การประเมินผลตัวชี้วัดด้านผลผลิตของศูนย์ฯ (Output) 3.3.5.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมอบรมการใช้งาน คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาต่อยอดความรู้และสร้างเครือข่ายผ่านสื่อสังคมออนไลน์ได้ โดยภายหลังจากผ่าน กิจกรรมการฝึกอบรม พบว่า ทุกคนสามารถสร้างร้านค้าออนไลน์เฟสบุ๊ค facebook และทําเว็ปไซต์ของตนเอง ได้เพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าและแนะนําความเป็นมาของชุมชนท้องถิ่นได้ 3.3.5.2 ไม่มีก ารเก็บข้อมูล ผู้เ ข้า ร่ว มกิจ กรรมการฝึก อบรมกับ ศูน ย์อิน เทอร์เ น็ต เพื่อสังคม และยังขาดกระบวนการติดตามผลสัมฤทธิ์ของผู้ผ่านการฝึกอบรมว่านําความรู้ไปใช้ทําอะไรใน ชีวิตประจําวันบ้าง

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 15


3.4 ประเด็นที่ 4 ข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 3.4.1 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อฝึกอบรมการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส 3.4.1.1 นโยบาย (1) ควรกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการเข้าถึงเทคโนโลยีการสื่อสารในยุ ค เศรษฐกิจดิจิทัลของกลุ่มคนด้อยโอกาสทุกกลุ่ม ในประเด็นอัตราค่าใช้ บริการ และพฤติกรรมการใช้งานให้เกิดประโยชน์ ตัวอย่างเช่น การลด อัตราราคาค่าบริการให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาส หรือการให้สิทธิการเข้าถึง เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลในรูปแบบอื่นๆ ที่จะเป็นการเอื้อให้ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสเกิดการเข้าถึงเพิ่มมากขึ้น หรือได้รับความสะดวก มากขึ้น (2) ควรมี ก ารขยายจํ า นวนศู น ย์ อิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ สั ง คมในหน่ ว ยงานที่ เกี่ ยวข้องกั บกลุ่มเป้าหมายทางสังคม โดยเฉพาะกลุ่ม ผู้ ด้อยโอกาส กลุ่มแม่ บ้าน กลุ่มเยาวชนเกษตร และที่สําคัญคือการขยายผลองค์ ความรู้สู่ประชาชน 3.4.1.2 การจัดกิจกรรมการฝึกอบรม และพัฒนาหลักสูตร (1) ในการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมทักษะความรู้แต่ละครั้ง ควรคัดเลือก ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมที่มีพื้นฐานทักษะความรู้ใกล้เคียงกันเข้าอบรมในรุ่น เดียวกัน (2) ควรมีการให้คําแนะนําแก่กลุ่มสตรีในชุมชนและต่อยอดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้งานอินเทอร์เน็ต เพื่อส่งเสริมการขาย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนผ่ า นสื่ อ ออนไลน์ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ย อดขายสู ง ขึ้ น ตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้ ปลอดภัย โดยพยายามที่จะลดขั้นตอนการค้าขาย ผ่านพ่อค้ากลาง หรือลดต้นทุนการเดินทาง การขนส่ง ฯลฯ (3) ควรมี ก ารพั ฒ นหลั ก สู ต รและระบบการเรี ย น การอบรมออนไลน์ (MOOC) ที่ตรงกับความต้องการของชุมชน โดยต้องเข้าถึงได้ง่ายถ่ายทอด ได้ดี และมีความทันสมัยของเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ สตรีกลุ่มด้อยโอกาสสามารถที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองผ่านเทคโนโลยี การสื่อสารในยุคดิจิทัล เช่น MOOC เพื่อที่จะทําให้สามารถติดตามองค์ ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตนเองหรือชุมชนได้ (4) ควรมีการจัดทําศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้กลาง (HUB) หรือแหล่งกลาง (Platform) เพื่ อ ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางในการประสานงานสํ า หรั บ การ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ การปรึ ก ษาหารื อ ระหว่ า งทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยเฉพาะกับกลุ่มสตรีด้อยโอกาสเพราะยังต้องการพี่เลี้ยงเกี่ยวกับ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล และรวมทั้งด้านอื่นๆ ด้วย เช่น การ บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 16


พัฒนาหลักสู ตรร่วมกันระหว่างทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง การแลกเปลี่ยน เรียนรู้กิจกรรมหรือสินค้าซึ่งกันและกัน (5) ควรมีการสร้างกลุ่มวิทยากรชุมชน (Local trainers) ขึ้นในทุกชุมชน หรือทุกหมู่บ้าน เพื่อทําหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ในการใช้อินเทอร์เน็ต ให้กับประชาชนที่ไม่มีเวลาเดินทางเข้ามารับใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ต เพื่อสังคม 3.4.1.3 การติดตามประเมินผล ควรมีการติดตามประเมินผลกระทบ (impact) ที่เกิดขึ้น กับผู้ที่เคยเข้าร่วมกิจกรรม การฝึกอบรมทักษะความรู้กับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ว่ามีการพัฒนาต่อยอดความรู้ไปใช้ประโยชน์มี ศักยภาพหรือไม่ และควรมีการขยายผลในระยะต้น กลาง และสูง ตัวอย่างเช่น เรื่องการเขียน Application หรือการใช้ Application เพื่อตอบโจทย์ธุรกิจของตนเองและชุมชน และเพื่อตรวจสอบราคากลางในท้องตลาด 3.4.2 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบการให้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 3.4.2.1 ควรเน้นการทํางานร่วมกันระหว่างเครือข่ายภาคี เช่น ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสั งคม อย่างครบวงจร เริ่ ม ตั้ งแต่ก ารพั ฒ นาหลัก สู ตรท้อ งถิ่น ภายในชุ ม ชนของตนเอง การใช้ ทรัพยากรร่วมกัน (share resources) เพื่อให้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลสามารถที่จะเป็นหนึ่งใน เครื่องมือสําคัญที่ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนได้อย่างชัดเจน 3.4.2.2 ควรมีการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ให้เป็นศูนย์กลางประสานงานชุมชนแบบ Community Co-Working Space สําหรับให้บริการพื้นที่ทํางานแก่ กลุ่มผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่ต้องการพื้นที่นั่งประชุมวางแผนธุรกิจ บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ และบริการ อินเทอร์เน็ต คล้ายกับลักษณะให้เช่าพื้นที่บริษัทเสมือนจริง (Visual Company) เพื่อให้สตรีด้อยโอกาสใน ชุมชนได้มีสถานที่สําหรับทํางานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านต่างๆ พร้อมมีเจ้าหน้าที่คอยให้คําปรึกษาแนะนะ เกี่ยวกับการใช้ IT โดยมีกระบวนการคัดเลือกเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล เพื่อทําหน้าที่ให้คําปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ 3.4.2.6 ควรเพิ่มประสิทธิภาพของความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพราะเมื่อมี การอบรม จําเป็นต้องเข้าระบบอินเทอร์เน็ตพร้อมกันทุกเครื่อง ความล่าช้าของสัญญาณอินเทอร์เน็ตจะส่งผล ให้การฝึกอบรมขาดประสิทธิภาพได้ และเพิ่มบริการ WiFi อินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย สําหรับผู้ใช้บริการที่มี อุปกรณ์ของตนเองมาใช้งาน 3.4.3 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต 3.4.3.1 หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตควรหารือกับหน่วยงานต้น สังกัดในการจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอสําหรับการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตแบบประจํา และมี แนวทางเพิ่มโอกาสความก้าวหน้าและสวัสดิการให้แก่เจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นขวัญกําลังใจ และแรงจูงใจให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีวุฒิการศึกษาด้าน IT สมัครเข้ามาเป็นผู้ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต 3.4.3.2 เจ้าหน้ าที่ ดูแลศู นย์ อินเทอร์ เน็ ต ควรมี อํานาจในการบริ หารจั ดการศูนย์ อินเทอร์เน็ตได้อย่างคล่องตัว และจัดทําแผนการฝึกอบรมและการประสานข้อมูลกิจกรรมกับประชาชนและ บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 17


กลุ่มผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ได้สะดวกและรวดเร็ว ทั้งนี้ ในแต่ละปีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต ควรมีการจัดสรรงบประมาณที่ใช้ในการบริหารจัดการศูนย์และการจัดกิจกรรมฝึกอบรมแยกไว้เป็นการเฉพาะ เพื่อให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและประชาชนทั่วไปสามารถเข้ามาใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตได้อย่างสะดวกและเกิด ประโยชน์สูงสูด 3.4.3.3 เจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต ต้องมีทักษะความรู้ความสามารถเพียงพอ ในการให้คําปรึกษาแนะนําแก่ประชาชนทั่วไป กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรีด้อยโอกาส ในการใช้คอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ และสามารถสอนหลักสูตรการฝึกอบรมต่างๆ ได้ โดยในการคัดเลือกจะต้อง ผ่านการสอบทั้งข้อเขียนและสัมภาษณ์ 3.4.4 ข้อเสนอแนะการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 3.4.4.1 ควรส่งเสริมให้มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อ สังคมอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาต่างๆ เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชนสตรี กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และประชาชนทั่ ว ไปในพื้ น ที่ ข องจั ง หวั ด ได้ รั บ ทราบและสามารถเลื อ กสมั ค รเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมของศู น ย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมได้ตามช่วงเวลาที่ตนเองต้องการ และควรมีการประชาสัมพันธ์ผ่านกลุ่มผู้นําชุมชนในแต่ ละหมู่บ้านด้วย เพื่อให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสภายในชุมชนได้รับข่าวสารอย่างทั่วถึงและเข้ามาใช้บริการภายใน ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 3.4.4.2 ควรมี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ก ารจั ด ฝึ ก อบรมทั ก ษะความรู้ แ ละหลั ก สู ต ร เกี่ยวกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Community e-shop, Community e-Commerce) เพื่อให้แต่ละ ชุมชนที่มีความเข้มแข็ง สามารถตั้งร้านค้า ตั้งกลุ่มร้านค้าของตนเองได้หรืออย่างน้อยที่สุด คือชุมชนในแต่ละ ระดับไม่ว่าจะเป็นระดับเบื้องต้น ระดับกลุ่ม หรือทั้งชุมชน สามารถที่จะใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล เพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์ชุมชน ผลิตภัณฑ์ และการท่องเที่ยวของตนเองได้อย่างหลากหลาย และมี ประสิทธิภาพมากขึ้นและควรเพิ่มการให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย (Internet Safety) 3.4.4.3 ควรส่งเสริมให้ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมประสานกับหน่วยงานในท้องถิ่น หรือกลุ่มผู้นําชุมชน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน กํานัน ในการสนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาสและผู้สนใจทั่วไป เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชนเกษตร กลุ่ ม นักเรียน เพื่อให้สามารถเข้ารับการฝึกอบรมทักษะความรู้ในการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างน้อยปีละ 2-3 ครั้ง และ ดําเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี

บทสรุปสําหรับผู้บริหาร

หน้า 18


บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็นมา ปัจจุบันสถานการณ์ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium Enterprise หรือ SME) ของประเทศไทยเริ่มปรับตัวดีขึ้น ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล เช่น การให้เงินช่วยเหลือชาวนา การสร้างการจ้างงานในชนบท การลงทุนในระบบโครงสร้างพื้นฐาน การออก นโยบายและมาตรการต่างๆ ที่สนับสนุนเศรษฐกิจฐานราก เช่น เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) การ เร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงานราชการ รวมถึงมาตรการช่วยเหลือ และส่งเสริมการลงทุน ให้แก่ธุรกิจ SMEs ฯลฯ จากนโยบายดังกล่าวส่งผลให้สถานการณ์ SME ขยายตัวเพิ่มขึ้น พร้อมกับการพัฒนา ศักยภาพของ SME ด้วยนวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีและการจัดการสมัยใหม่ เช่น การพัฒนากระบวนการ ผลิตและการบริหารจัดการให้ความรวดเร็ว สามารถปรับเปลี่ยนได้ทันตามสถานการณ์ทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง ได้อย่างทันท่วงที ความสามารถในการแข่งขัน การเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารประเภทต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมในสินค้าหรือบริการเพื่อให้เกิดโอกาสทาง การตลาดใหม่ๆ การเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านช่องทางการขาย และการตลาดให้มากขึ้น ทั้งยังช่วยลดต้นทุน ในการดําเนินธุรกิจได้อีกด้วย คณะกรรมการกิ จการกระจายเสียง กิจการโทรทัศ น์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. ได้กําหนดให้มีการจัดให้มีบริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (USO NET) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายทางสังคม (เด็ก ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้มีรายได้น้อย) สามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีโทรคมนาคมและการสื่อสารผ่านโครงข่ายบรอดแบนด์ความเร็วสูงได้อย่าง ทั่วถึงและเท่าเทียมกับบุคคลทั่วไป ตามมาตรา 17 พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม 2544 โดยปัจจุบันได้มีการนําร่องจัดตั้งศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมในพื้นที่เป้าหมายเพื่อสังคม จํานวน 40 แห่ง ทั่วประเทศ และเปิดทําการให้บริการกลุ่มเป้าหมายทางสังคมเป็นระยะเวลา 3 ปี โดยดําเนินการจัดให้บริการ กลุ่มเป้าหมายดังนี้ ประเภทกลุ่มเป้าหมายทางสังคม

1. ผู้ด้อยโอกาส - กลุ่มสตรีด้อยโอกาส จํานวน 3 แห่ง - กลุม่ สถานสงเคราะห์เด็กและคนไร้ที่พงึ่ จํานวน 3 แห่ง - โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์และราชประชานุเคราะห์ จํานวน 11 แห่ง 2. ตาบอด 3. ผู้สูงอายุ 4. คนพิการ - คนพิการทุกประเภท จํานวน 12 แห่ง - คนพิการร่างกายและการเคลื่อนไหว จํานวน 3 แห่ง - คนพิการสติปัญญาและการเรียนรู้ จํานวน 4 แห่ง - คนพิการหูหนวก จํานวน 2 แห่ง รวมทั้งหมด บทที่ 1 บทนํา

จํานวน 17 แห่ง

1 แห่ง 1 แห่ง 21 แห่ง

40 แห่ง หน้า 19


สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สํานักงาน กสทช.) ได้ร่วมกับกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส จังหวัดเชียงราย จังหวัดลําปาง และ จังหวัดศรีสะเกษ ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส ในรูปแบบและลักษณะการให้บริการที่เหมาะสมกับกลุ่มสตรีด้อยโอกาสในแต่ละพื้นที่ทั่วประเทศ สํานักงาน กสทช. จึงได้ร่วมกับศูนย์วิจัยการจัดการความรู้การสื่อสารและการพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เพื่อดําเนินการถอดบทเรียนและประเมินผลกิจกรรมส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี การสื่อสารในยุคดิจิทัลของกลุ่มสตรีด้อยโอกาส ภายใต้การบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวใน 3 จังหวัดนําร่อง เพื่อนําผลการศึกษาและถอด บทเรียนไปดําเนินการกําหนดกลยุทธ์หรือแผนการดําเนินงานเพื่อให้การดําเนินการของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อ สังคมสําหรับกลุ่มสตรีด้อยโอกาสให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อกลุ่มสตรีด้อยโอกาสและเศรษฐกิจ ชุมชนท้องถิ่น ต่อไป

1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อประเมินผลและถอดบทเรียนกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส และการ ดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ในพื้นที่นําร่อง จํานวน 3 แห่ง ณ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรี และครอบครัวจังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ 1.2.1 เพื่อศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และเชิงสังคมของพื้นที่เป้าหมายจังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ และการวิเคราะห์ SWOT ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้แก่กลุ่มสตรี ด้อยโอกาส 1.2.3 เพื่อประเมินผลการบริหารจัดการและการดําเนินงานศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม จํานวน 3 แห่ง ณ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ 1.2.4 เพื่อจัดทําข้อเสนอแนะ และแนวทางการปรับกลยุทธ์การบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ต เพื่อสังคม ที่สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสกลุ่มต่างๆในสังคมของแต่ละพื้นที่ และนํา ผลที่ได้ไปใช้เพื่อการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม

1.3 ประโยชน์ที่ได้รับ ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาในครั้งนี้คือมีแนวทางพัฒนาต่อยอดกิจกรรมการส่งเสริมทักษะ ความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่ม สตรีด้อยโอกาส และพัฒนาต่อยอดการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม จากข้อเสนอแนะที่ได้จาก การถอดบทเรียน การประเมินผลตัวชี้วัด และการวิเคราะห์บริบทเชิงพื้นที่และเชิงสังคม โดยเฉพาะแนวทาง การปรับกลยุทธ์การบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ที่ยั่งยืนและสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่ม สตรีด้อยโอกาส บทที่ 1 บทนํา

หน้า 20


1.4 นิยามศัพท์ 1.4.1 ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม หมายถึง สถานที่ให้บริการคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตแก่ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางสังคม (คนพิการ เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีรายได้น้อย) และประชาชนทั่วไปเพื่อ ลดความเหลื่ อมล้ํ าในการเข้ า ถึง บริ ก ารโทรคมนาคม โดยดํ าเนิ น การร่วมกั บ หน่ วยงานรั ฐ ที่ มีภ ารกิ จดูแ ล รับผิดชอบกลุ่มเป้าหมายทางสังคม 1.4.2 พื้นที่เป้าหมายของการศึกษา หมายถึง ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม จํานวน 3 แห่ง ที่กสทช. ใช้นําร่องจัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การส่งเสริมทักษะความรู้การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการ สื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส” ณ ศูนย์การเรียนรู้การ พัฒนาสตรีและครอบครัว 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และ จังหวัดศรีสะเกษ 1.4.3 สตรีด้อยโอกาส หมายถึง กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรีที่ไม่มีงานประจําทํา หรือสตรีที่ประสบ ปัญหาความเดือดร้อนและได้รับผลกระทบในด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการขาดโอกาสในการเข้าถึง บริ การขั้ นพื้นฐานของรั ฐในเรื่ องการเข้ าถึงและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารอันส่งผลให้ไม่ สามารถดํารงชีวิตได้เท่าเทียมกับผู้อื่น 1.4.4 ประชากรกลุ่มตัวอย่าง หมายถึง สตรีด้อยโอกาสที่เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมทักษะ ความรู้การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่ม สตรีด้อยโอกาส” ณ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และ จังหวัด ศรีสะเกษ 1.4.5 เศรษฐกิจชุมชน หมายถึง กิจกรรมที่ชุมชนผลิตเพื่อการค้าและการบริการตามศักยภาพที่ มีอยู่ในชุมชน บนรากฐานวิถีชีวิตชุมชนและแหล่งทรัพยากรท้องถิ่น เช่น วิถีการผลิต ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ 1.4.6 บริบทเชิงพื้นที่ หมายถึง ลักษณะภูมิประเทศที่ส่งผลต่อลักษณะความเป็นอยู่ วิถีชีวิตของ ประชาชนในพื้นที่นั้นๆ เช่น ลักษณะการทํางาน การประกอบอาชีพของประชาชนในพื้นที่นั้นๆ 1.4.7 บริบทเชิงสังคม หมายถึง ลักษณะโครงสร้างทางสังคมในแต่ละสังคม อันประกอบด้วย คุณภาพชีวิตของคนในสังคม วัฒนธรรมประเพณี การประกอบอาชีพ การศึกษา การสาธารณสุข ความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงการดํารงชีวิตของประชาชนในสังคมนั้นๆ 1.4.8 การส่งเสริมทักษะความรู้ หมายถึง กิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้การใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทลั เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส ในรูปแบบ ของการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการอันประกอบด้วย การออกแบบหลักสูตรและการจัดกระบวนการอบรม สัมมนาเกี่ยวกับการใช้ ICT ที่เหมาะสมกับสตรีด้อยโอกาส เช่น การใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต การสืบค้น เนื้อหา การออกแบบเนื้อหาเรื่องราว และการสร้างร้านค้าออนไลน์ 1.4.9 สื่อการตลาดออนไลน์ หมายถึง ช่องทางในการติดต่อ ประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์หรือ บริการที่เหมาะสมกับสตรีด้อยโอกาส ณ ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมนําร่อง 3 จังหวัดคือจังหวัดลําปาง จังหวัด เชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ ในที่นี้ได้แก่ช่องทางผ่านระบบอินเทอร์เน็ตทั้งหมด 4 ช่องทาง คือ Facebook, Line, e-Mail และเว็ปไซต์ คือ Wordpress.com และ Bentoweb.com บทที่ 1 บทนํา

หน้า 21


1.4.10 การประเมินผล หมายถึง การประเมินประสิทธิภาพเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อการพัฒนาแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นหลักคือ 1) การประเมินผลการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การ ส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาด ออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีผู้ด้อยโอกาส” และ 2) การประเมินประสิทธิภาพของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม โดยการ ประเมินทั้ง 2 ประเด็นข้างต้นใช้เกณฑ์หลัก 2 เกณฑ์คือ 1) กรอบแนวคิดในการติดตามและประเมินผลศูนย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม และ 2) ตัวชี้วัดผลการดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตชุมชน (Key Performance Indicators: KPIs) 1.4.11 การถอดบทเรียน หมายถึง ข้อสรุปทั้งเชิงเปรียบเทียบการดําเนินงาน 2 กิจกรรมหลักคือ 1) การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการ สื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีผู้ด้อยโอกาส” และ 2) การดําเนินงาน ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม นําร่อง 3 จังหวัด คือจังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ

บทที่ 1 บทนํา

หน้า 22


บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

การศึกษาครั้งนี้ได้ทําการศึกษาองค์รวมเกี่ยวกับบริบทเชิงพื้นที่ บริบทเชิงสังคม ศึกษาผลของ การจัดกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส โดยทําการศึกษาจุดอ่อน จุดแข็ง ปัญหาและ อุปสรรค โอกาสต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อสร้างรายได้ให้แก่ กลุ่มสตรีด้อยโอกาสพื้นที่เป้าหมาย อีกทั้งการประเมินผลการดําเนินงานศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมด้วย โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้

2.1 บริบทเชิงพืน้ ที่ของจังหวัดลําปาง 2.1.1 สภาพภูมิประเทศจังหวัดลําปาง ตั้งอยู่ในพื้นที่ของภาคเหนือที่ประกอบด้วยภูเขากระจาย อยู่ 3 ใน 4 ของภาคมีทิวเขาที่มีลักษณะซับซ้อน โดยแนวของทิวเขาจะเชื่อมต่อกันเป็นโครงข่ายอยู่ทางซีก ตะวันออกของภาคเหนือ ที่มาของชื่อ “ผีปันน้ํา” มาจากแหล่งต้นกําเนิดของแม่น้ําหลายสายที่แยกทิศทางกัน ไป ได้แก่ แม่น้ําปิง แม่น้ําวัง แม่น้ํายม และแม่น้ําน่าน ที่ไหลลงใต้สู่แม่น้ําเจ้าพระยา และกลุ่มแม่น้ําแม่ลาว น้ํา แม่กก และน้ําแม่อิง ที่ไหลขึ้นเหนือไปลงแม่น้ําโขง มีทิวเขาผีปันน้ําทอดตัวไปมาอย่างสลับซับซ้อน เริ่มจากเส้น แบ่งเขตจังหวัดระหว่างอําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่จนสิ้นสุดทิวเขาที่จุดบรรจบกับทิวเขาหลวงพระบาง รวม ความยาวประมาณ 475 กิโลเมตร (สํานักงานจังหวัดลําปาง, 2550) ด้วยเหตุที่สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ จังหวัดลําปางอาจถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางคมนาคมติดต่อได้สะดวกหลายเส้นทาง ทั้งทางรถยนต์ รถไฟ และทาง เครื่องบิน และยังเป็นเมืองผ่านจังหวัดที่สําคัญของภาคเหนือ 2.1.2 ทรัพยากร โดยพิจารณาจากปริมาณหิน (หินปูน-ก่อสร้าง) ที่ใช้ผลิตปูนซีเมนต์มีจํานวน 162.1 พันตัน ปริมาณดินขาวขยายตัวร้อยละ 10.9 ตามความต้องการผลิตเซรามิก และการผลิตสินค้าที่ใช้ดิน ขาวเป็นส่วนประกอบมากขึ้น (สํานักงานคลังจังหวัดลําปาง, 2558) ดังนั้น สินค้าที่โดดเด่นของจังหวัดลําปาง คือเซรามิก โดยนับเป็นอุตสาหกรรมหลักที่สําคัญ มีแหล่งวัตถุดิบที่เอื้ออํานวยต่อการผลิตเซรามิกมีคุณภาพ และพบว่าลําปางเป็นจังหวัดที่มีดินขาวมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นแร่ที่ทนความร้อนได้สูงมาก ให้เนื้อ ผลิตภัณฑ์เป็นสีขาว วัตถุดิบสําคัญอีกชนิดหนึ่งคือดินเหนียวคุณภาพดีมีมากที่ลําปางเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ ปั จ จั ย ทางตลาดแรงงานลํ า ปาง มี ก ารจ้ า งงานที่ ไ ม่ สู ง เป็ น เหตุ ใ ห้ สิ น ค้ า เซรามิ ก สามารถแข่งขันกับตลาดต่างประเทศได้ด้วยคุณภาพ ซึ่งในจังหวัดลําปางมีโรงงานผลิตมากกว่า 300 โรงงาน กระจายอยู่ทั้งในเมืองและอําเภอต่างๆ รอบเมืองผลิตสินค้าหลากหลายชนิดสวยงาม เช่น ชุดอาหาร ถ้วยชาม ของตกแต่งบ้าน ของที่ระลึก ฯลฯ ด้วยเหตุนี้เองจึงส่งผลถึงการจ้างงานของคนในจังหวัดลําปางด้วย

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 23


บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 24


2.2 บริบทเชิงสังคมของจังหวัดลําปาง จากการศึกษาบริบทเชิ งสังคมของจังหวัดลําปาง พบว่าประชาชนในจังหวัดลําปางส่วนมาก ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยมีการปลูกข้าว ทั้งข้าวนาปีและนาปลัง เพราะมีน้ําอุดมสมบูรณ์ตลอดปี สภาพ การดําเนินชีวิตของชาวลําปางเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น เมื่อมีการสร้างทางรถไฟจากกรุงเทพมหานครไปยังหัว เมืองภาคเหนือ ทําให้สภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดขยายตัวเพิ่มมากขึ้น แสดงให้เห็นได้จากการเติบโตในภาค เกษตรกรรม โดยพิจารณาจากดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมขยายตัวร้อยละ 100 เมื่อเทียบจากช่วงเดียวกันกับ ปี 2557 จากตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม เช่น ปริมาณผลผลิตสับปะรดที่สูงขึ้นถึง 67,790 ตัน และในส่วนของ ภาคอุตสาหกรรม พบว่ามีการขยายตัวโดยพิจารณาจากดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมที่ขยายตัวร้อยละ 6.3 เมื่อเทียบจากช่วงเดือนเดียวกันกับปี 2557 อีกทั้งยังมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด จึงส่งผลต่อการใช้ จ่ายโดยภาพรวมที่พบว่ามีการขยายตัว ดังที่สะท้อนจากการบริโภคของภาคเอกชนที่เพิ่มขึ้นจากดัชนีการ บริโภคของภาคเอกชน อีกทั้งกําลังซื้อของภาคการเกษตรและนอกการเกษตรที่ปรับตัวดีขึ้นประกอบกับราคา น้ํามันที่อยู่ในระดับต่ําอย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้มีการจับจ่ายใช้สอยในจังหวัดมากขึ้น (สํานักงานคลังจังหวัด ลําปาง, 2558) ในส่วนของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรงงานและการมีงานทํา จําแนกตามอาชีพและเพศ พ.ศ.2558 พบว่า จากกลุ่มผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปมีจํานวน 739,378 คน เป็นผู้ที่อยู่ในกําลังแรงงาน 436,700 คน โดย จําแนกเป็นผู้มีงานทํา 31,754 คน (ร้อยละ 98.86) ขณะที่เป็นผู้ว่างงาน 4,493 คน (ร้อยละ 1.02) และเป็นผู้ที่ รอทํางานตามฤดูกาล 452 คน (ร้อยละ 0.10) หากเปรียบเทียบกับการมีงานทําระหว่างเพศ พบว่า เพศหญิงมี อัตราส่วนการทํางานหรืออัตราการจ้างงานใกล้เคียงกับเพศชาย (คํานวณจากผู้ที่มีงานทําจําแนกตามเพศที่อยู่ ในกําลังแรงงาน) กล่าวคือเพศหญิงมีอัตราร้อยละ 99.77 ขณะที่เพศชายมีร้อยละ 98.77 (สํานักงานสถิติ จังหวัดลําปาง, 2558)

ภาพที่ 2.1 แผนภูมิแสดงอัตราการมีงานทําของประชากร จังหวัดลําปาง

ภาพที่ 2.2 แผนภูมิการรายงานผลการสํารวจการมีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557

จากรายงานผลการสํา รวจการมีก ารใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารในครั ว เรื อ น พ.ศ. 2557 (สํานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2558) พบว่า ประชาชน ในจังหวัดลําปางทั้งหมด 271,973 คน มีการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 26,204คน ไม่ใ ช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ 245,769 คน ใช้โทรสาร 3,387 คน ไม่ใช้โทรสาร 22,817 คน ใช้คอมพิวเตอร์ 77,978 คน ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 25


193,995 คน ใช้งานอินเทอร์เน็ต 50,335 คน และไม่ใช้งานอินเทอร์เน็ต 221,638 คน แสดงให้เห็นว่าประชาชนใน จังหวัดลําปางยังคงมีส่วนน้อยที่ใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ในชีวิตประจําวัน จากการศึกษาทั้งบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมของจังหวัดลําปางข้างต้น จะเห็นได้ว่าพื้นที่ ของจังหวัดลําปางส่วนใหญ่เป็นภูเขาและเป็นต้นกําเนิดของแม่น้ําหลายสายที่สําคัญของประเทศไทย อัตราการ จ้างงานของเพศหญิงมีใกล้เคียงกับเพศชาย และสภาพทางเศรษฐกิจอยู่ในภาคเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ จึง แสดงให้เห็นถึงการใช้ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในจังหวัดลําปางทําการเกษตรเป็นอาชีพหลัก และในส่วน ภาคอุตสาหกรรมได้มีการลงทุนด้านธุรกิจโรงแรมและบริการต่างๆ เนื่องจากมีการส่งเสริมด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน ธุรกิจชุมชน และการส่งเสริมการท่องเที่ยว จึงส่งผลให้การจ้างงานในจังหวัดลําปางเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน

2.3 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสของจังหวัดลําปาง : ถอดบทเรียน จากการสั ม ภาษณ์ ก ลุ่ ม ตัว อย่ า งที่ เป็ น สตรี ด้ อ ยโอกาสในแต่ แ ละกลุ่ ม อาชี พ และด้ ว ยวิ ธี ก าร สัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์พบว่าข้อมูลพื้นฐานดังต่อไปนี้ ชาย 25%

40 30 20 10 0

หญิง 75%

ภาพที่ 2.3 แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลจําแนกตามเพศ

น้อยกว่ า 20 21-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี 51 ปีขึ้นไป ปี

ภาพที่ 2.4 แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลจําแนกตามอายุ

35 30 25 20 15 10 5 0

ภาพที่ 2.5 แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลจําแนกตามระดับ การศึกษา

ภาพที่ 2.6 แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลจําแนกตามสมาชิก ในครอบครัว

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 26


จากรูปดังกล่าวข้างต้นพบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ เป็นเพศหญิงมีมากว่า เพศชาย ผู้เข้ ร่ วมอบรมมีอายุ อยู่ใ นช่ วงวัย 41-50 ปี ส่วนระดับการศึกษานั้นพบว่ าร้อ ยละ 30 จบระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น รองลงมาร้อยละ 25 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและร้อยละ 25 จบ การศึกษาระดับปริญญาตรี โดยที่ระดับการศึกษานั้นจะแสดงให้เห็นถึงความรู้ความสามารถในการใช้งาน เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล และการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารมาสนับสนุนและส่งเสริมเศรษฐกิจ ชุมชนท้องถิ่น หรือความสามารถในการเรียนรู้และเข้ารับการฝึกอบรม นอกจากนี้ สมาชิกในครอบครัวของผู้ เข้าอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 85 มีจํานวน 1-5 คน หรือเป็นขนาดครอบครัวเดี่ยว รองลงมาร้อยละ 10 มีจํานวน สมาชิก 6-10 คนคือเป็นแบบครอบครัวขยาย ทั้งนี้ จํานวนสมาชิกในครอบครัวแสดงให้เห็นถึงกําลังแรงงานใน ครัวเรือนและศักยภาพในการผลิตของแต่ละครัวเรือน รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของกลุม่ ตัวอย่าง

15% 5% 45%

ตํ่ากว่ า 5,000 บาท 5,001-15,000 บาท 15,001-20,000 บาท

35%

20,001 ขึน ้ ไป

ภาพที่ 2.7 แผนภูมิแสดงปัจจัยส่วนบุคคลของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปางจําแนกตามรายได้เฉลี่ยต่อเดือน

การประกอบอาชีพของสตรีด้อยโอกาสที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับเกษตรกรรม การปลูกฝ้าย การ ทอผ้า การตัดเย็บผ้าพื้นเมือง ฯลฯ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนสตรีด้อยโอกาสให้เข้าถึง และใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ในการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การประกอบอาชีพ การสร้างรายได้ โดยเฉพาะด้านการทําสื่อการตลาดออนไลน์ เพื่อให้กลุ่มสตรีดังกล่าวมี ความรู้และมีทักษะในการใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อการสร้างโอกาส และพัฒนา โอกาสเกี่ยวกับธุรกิจของตนเองได้มากยิ่งขึ้น เช่น การประชาสัมพันธ์ การเปิดช่องทางการขายสินค้าออนไลน์ที่ ควรให้มีการประชาสัมพันธ์หรือนําเสนอของดีต่างๆ ที่มีอยู่ในชุมชนให้มากยิ่งขึ้น เช่น การทอผ้าพื้นเมืองที่เป็น เอกลักษณ์ของจังหวัด ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้ จึงทําการศึกษาในประเด็นที่เกี่ยวข้อง 2 ด้าน คือ 1) ด้านความถนัด และ 2) ด้านประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ดังมีรายละเอียดคือ บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 27


2.3.1 ด้านความถนัดในการใช้เทคโนโลยีสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2.3.1.1 สามารถใช้สื่อสังคมออนไลน์ โปรแกรมพื้นฐานคอมพิวเตอร์ การถ่ายภาพ การเขียนบรรยายเรื่องราว (story writing) เนื้อหาต่างๆ การตกแต่งภาพผลิตภัณฑ์ 2.3.1.2 สามารถใช้โปรแกรมในการสร้างงานด้านเอกสารและคํานวณ ที่นําไปปรับใช้ เพื่อเป็นเครื่องมือในการสร้างและพัฒนาธุรกิจของตนเองและหรือของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น Microsoft Word, Microsoft Powerpoint, Microsoft Excel เป็นต้น 2.3.1.3 สามารถใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟนเพื่อส่งต่อข้อมูล รูปภาพ เพื่อ การโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ 2.3.1.4 สามารถใช้สื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook Line ในการประชาสัมพันธ์ สินค้าและบริการของชุมชน 2.3.2 ด้านประสบการณ์การการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล จากการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์พบว่าข้อมูลพื้นฐานดังต่อไปนี้ ใช้ที่บ้าน

มือถือธรรมดา 7% 7%

20% ใช้ในสถานที่ ทํางาน

4%

76%

23%

ใช้ร่วมกันใน ครอบครัว

63%

มือถือแบบสมา ทโฟน คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค เท็ปเล็ต/ไอ แพต

ภาพที่ 2.8 สถานที่ในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาพที่ 2.9 สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้เป็นประจํา

15

12 10

10

8 6

5

4 2

0 ทุกวัน

สัป ดาห์ละ 5 ครั้ง

สัป ดาห์ละ 4 ครั้ง

สัป ดาห์ละ 3 ครั้ง

ภาพที่ 2.10 ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต/เทคโนโลยี สารสนเทศ

0 การฝึกอาชีพ

การศึกษา

หาแหล่งงาน

ภาพที่ 2.11 ประเภทข้อมูล/ข่าวสารที่ค้นคว้าด้วย อินเทอร์เน็ต/เทคโนโลยีสารสนเทศ

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 28


5%

Facebook Google YouTube

30% 65%

Instagram Twitter e‐Mail

ภาพที่ 2.12 สื่อออนไลน์/เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้เป็นประจํา

จากแผนภูมิภาพ 2.8-2.12 ดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นบริบทของการใช้ เทคโนโลยีการสื่อสาร ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง ทั้งในด้านที่เกี่ยวกับความรู้และด้านประสบการณ์พบว่า กลุ่มสตรีด้อยโอกาสของจังหวัดลําปาง มีดังนี้ 1) มีประสบการณ์ในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารโดยเฉลี่ยประมาณ 10 ปี และสถานที่ที่ใ ช้ เทคโนโลยีการสื่อสารส่วนใหญ่ร้อยละ 76 ใช้ที่บ้าน รองลงมาร้อยละ 20 ใช้ร่วมกันในครอบครัว และร้อยละ 4 ใช้ในที่ทํางาน ตามลําดับ 2) ประเภทเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารในยุ ค เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล ที่ ใ ช้ เ ป็ น ประจํ า ร้ อ ยละ 63 เป็ น โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน ร้อยละ 23 เป็นคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค และร้อยละ 7 เป็นแท็ปเล็ต/ไอแพต และ ร้อยละ 7 เป็นใช้โทรศัพท์มือถือแบบธรรมดา ตามลําดับ 3) ในส่วนที่เกี่ยวกับสัญญาณอินเทอร์เน็ตชุมชนพบว่าส่วนใหญ่ในชุมชนมีสัญญาณอินเทอร์เน็ต โดยชุมชนมีค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย 530.75 บาท/เดือน ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ตพบว่า ส่วนใหญ่ใช้ ทุกวัน รองลงมาคือสัปดาห์ละ 5 ครั้ง 4 ครั้ง และ 3 ครั้ง ตามลําดับ 4) ในส่วนที่เกี่ยวกับประเภทข้อมูล/ข่าวสารที่ค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ตพบว่า กลุ่มสตรีด้อยโอกาส ส่วนใหญ่ค้นข้อมูลเกี่ยวกับการฝึกอาชีพ การศึกษา และแหล่งงานตามลําดับ 5) ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์พบว่า มีการใช้ Facebook เป็นประจําทุกวัน รองลงมาคือ Google และ Youtube โดยเหตุผลที่ใช้คือต้องการติดตามข้อมูล/ข่าวสาร เหตุการณ์ต่างๆ การ ระวังภัย รองลงมาคือ หาโอกาสต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น แหล่งอบรม แหล่งอาชีพ แหล่งงาน แหล่งเรียนของ ลูกหลานหรือแม้แต่ของตนเอง การพัฒนาชุมชน เช่น แหล่งงบประมาณที่สนับสนุนโครงการพัฒนาต่างๆ ใน ชุมชน และที่เกี่ยวกับความบันเทิงต่างๆ

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 29


2.4 ความต้องการและความคาดหวังของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปางในการเข้าร่วมกิจกรรม ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ผลที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับความต้องการและความคาดหวังของสตรีด้อยโอกาสในจังหวัด ลําปางที่เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลฯ” พบความต้องการและความคาดหวังคือ 2.4.1 ต้องการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุค เศรษฐกิจดิจิทัล รวมทั้งนวัตกรรมต่างๆ เพื่อนํามาใช้ในการขายผลิตภัณฑ์ออนไลน์ 2.4.2 ต้องการมีความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล รวมทั้ง นวัตกรรมต่างๆ ในการขายผลิตภัณฑ์ออนไลน์ 2.4.3 ต้ อ งการมี ค วามรู้ แ ละวิ ธี ก ารใหม่ ๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ การจั ด ทํ า สื่ อ การตลาดออนไลน์ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ต่อกิจการของครอบครัว เป็นการเพิ่มยอดขายสินค้าออนไลน์ให้มากขึ้น รวมทั้งแหล่งข้อมูล/ข่าวสาร อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การหาแหล่งวัตถุดิบ แหล่งตลาด แหล่งงาน และหาแหล่งรายได้อื่นๆ 2.4.4 ต้องการโอกาสทางธุรกิจ และการตลาดที่มากขึ้น และสามารถนําไปสอนผู้อื่นในกลุ่ม ใน ชุมชน รวมทั้งในครอบครัว และสามารถนําไปใช้พัฒนาให้กับกลุ่มอาชีพที่มีอยู่ในชุมชนได้

2.5 ประโยชน์และสิ่งที่สตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปางได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมฯ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับประโยชน์และสิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม “การส่งเสริม ทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลฯ” พบรายละเอียดดังนี้ 2.5.1 ประโยชน์ที่ได้รับจากกิจกรรมการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ 1) ได้ รับ ความรู้ เรื่ องการนํ าสื่อ เทคโนโลยี การสื่อ สารในยุ ค เศรษฐกิจดิ จิ ทั ล มาใช้ ใ นการ ปรับแต่งผลิตภัณฑ์ให้มีความโดดเด่นและมีเอกลักษณ์ 2) ได้เรียนรู้การสร้างเพจร้านค้าและสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อขายสินค้าของตนเองใน ท้องถิ่น 3) ได้เรียนรู้การถ่ายภาพ ตัดต่อภาพที่สามารถสื่อถึงผู้ดูได้มากขึ้น และมีการเขียนเรื่องราว ของผลิตภัณฑ์ การสมัครใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ เช่น Facebook e-Mail เป็นต้น 4) ได้ความรู้ที่เกี่ยวกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อขายสินค้าออนไลน์เพื่อไม่ให้ผ่านคนกลาง 5) ได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เทคนิคในการใช้งาน การ ค้นหาแหล่งความรู้ แหล่งงาน ข่าวสาร และสิ่งต่างๆ ที่สนใจเพื่อการประกอบอาชีพ 6) สามารถใช้โ ปรแกรมตกแต่ง รูป ภาพเพื่อ เพิ่ม จุด เด่ น ของสิ นค้า ในการนํา เสนอการขาย ออนไลน์ ด้วยโปรแกรม iPiccy ซึ่งเป็นโปรแกรมออนไลน์ที่ใช้ได้ง่าย สะดวก และเหมาะสมกับคนที่ไม่เคยใช้ โปรแกรมกราฟิกมาก่อน 7) ได้เพื่อน ได้เครือข่าย ได้เพื่อนร่วมธุรกิจหรือกลุ่มที่มีความสนใจร่วมกันและช่วยเหลือกัน ต่อไปในอนาคต บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 30


8) ได้ความมั่นใจ ได้ทักษะในการใช้ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ในทุกทักษะ ตั้งแต่ทักษะจากตัว I=Information คือได้ทักษะในการค้นหา จัดทํา และออกแบบเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาธุรกิจออนไลน์ของตัวเอง C=Communication ได้ทักษะการสื่อสาร การนําเสนอ การออกแบบต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจออนไลน์ของตนเองและของครอบครัว และ T=Technology คือ ได้ทั้งความรู้และทักษะใน การใช้เทคโนโลยีต่างๆ ที่เหมาะสมกับตัวเอง ที่เหมาะสมกับศักยภาพและความพร้อมของตัวเอง ทําให้สามารถ ปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีความมั่นใจในการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ออนไลน์ 2.5.2 สิ่งที่จะนํากลับไปพัฒนาตนเองหลังจากกิจกรรมการฯ พบประเด็นหลักๆ คือ 1) นําไปพัฒนาในด้านการเสนอขายสินค้าทางตลาดออนไลน์ 2) นําไปสร้างหรือก่อตั้งธุรกิจออนไลน์เป็นของตนเอง ของครอบครัว และของกลุ่มอาชีพต่างๆ ในชุมชน 3) นําเทคนิคการถ่ายภาพและการตกแต่งภาพไปใช้ในการนําเสนอสินค้าเพื่อขายออนไลน์ และนําไปต่อยอดให้กับคนในชุมชนเพื่อเพิ่มยอดขายของชุมชน 4) นําทักษะทางด้าน เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ทั้งระบบไปออกแบบเนื้อหา ข้อมูลข่าวสาร ที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ สินค้า และศักยภาพของตนเอง

2.6 ผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง จากการจัดกิจกรรม การส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ จากผลการศึกษาเกี่ยวกับผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารฯดังกล่าว ที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลักๆ คือ ให้ผู้เข้าอบรมรู้จัก การใช้งาน เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เบื้องต้น การใช้สื่อสังคมออนไลน์และเว็บไซต์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ การถ่ายภาพและตกแต่งภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ การเขียนเรื่องราวและรายละเอียด ประกอบสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ รวมถึงการศึกษาในพื้นที่ซึ่งพบผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนการพัฒนา ด้านต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรมคือ 2.6.1 สามารถใช้งาน เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เบื้องต้นได้ คือ ผู้เข้าร่วม กิจกรรมรู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์สามารถบอกได้ว่าส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์แต่ละชิ้นชื่อ อะไรและมีหน้าที่การใช้งานอะไรบ้างสามารถพิมพ์งานหรือข้อความได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วขึ้น รวมถึงการใช้ งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นคือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเลือกใช้งาน Browser ได้ถูกต้องกับข้อมูลที่ต้องการ สืบค้นรวมถึงการใช้คําสําคัญในการค้นหาสืบค้นข้อมูล 2.6.2 สามารถใช้สื่อสังคมออนไลน์และเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ได้ คือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถสร้าง email เป็นของกลุ่มตนเอง โดยผ่าน www.gmail.com และการสร้าง facebook facebook fanpage รวมถึงการสร้างเว็บไซต์ซึ่งใช้ www.bentoweb.com เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ร้านค้าออนไลน์ การติดต่อสื่อสารกับลูกค้าหรือผู้รับบริการของกลุ่มที่ทําให้มีความสะดวกมากขึ้น รวมถึงการถ่ายภาพและ ตกแต่งภาพเพื่อการประชาสั ม พั นธ์ที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถใช้ โทรศั พท์ เคลื่ อนที่ แบบสมาร์ ทโฟนหรือ บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 31


แท็บเล็ตที่มีอยู่ใช้ในการถ่ายภาพสินค้าและผลิตภัณฑ์ โดยการถ่ายภาพสินค้าและผลิตภัณฑ์จะนําสินค้าหรือ ผลิตภัณฑ์มาประยุกต์ใช้กับฉากหลังสีขาวที่ทําจากกระดาษแข็ง เพื่อให้ถ่ายภาพสินค้า ผลิตภัณฑ์ ออกมา สวยงามมีความโดดเด่นมากยิ่งขึ้น รวมถึงการตกแต่งภาพโดยใช้เว็บไซต์ www.ipiccy.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ใช้ บริการ ตัด ตกแต่ง สามารถใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและการใช้งานไม่ซับซ้อนง่ายต่อการใช้งาน 2.6.3 สามารถเขียนเรื่องราวและรายละเอียดประกอบสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของตนเองได้ คือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียน อธิบาย เรื่องราวความเป็นมาของสินค้าหรือกลุ่มที่มีความเป็นมาตั้งแต่ดั้งเดิม หรือมีเรื่องราวที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่ม ทําให้ตัวสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ต้องการนําเสนอดูมีความน่าสนใจ มี คุณค่า คู่ควรในการซื้อหามาเก็บไว้ รวมถึงการเขียนเกี่ยวกับรายละเอียดสินค้าเช่น สี ขนาด รูปร่าง ซึ่งจะทําให้ ง่ายต่อการที่ผู้บริโภคจะตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า 2.6.4 สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานในพื้นที่ คือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ เครือข่ายกลุ่มผู้ที่มีความสนใจเหมือนกันหรือคล้ายกัน ได้ความมั่นใจในการนําความรู้และประสบการณ์จากทุก กิจกรรมที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจรรมนําไปปรับใช้ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกิจการของตนเอง ฯลฯ โดยมีการลง พื้นที่ตัวอย่างกลุ่มอาชีพของสตรีในชุมชนที่มีความโดดเด่นในจังหวัดลําปาง ได้แก่ กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีบ้าน ผึ้งและศูนย์ฝึกอาชีพสตรีกลุ่มเย็บผ้าบ้านต้นต้อง โดยกลุ่มอาชีพทั้ง 2 กลุ่มมีความโดดเด่นแตกต่างกัน ดังนี้ กลุ่ ม ที่ 1 กลุ่ ม ตั ด เย็ บ เสื้ อ ผ้ า สตรีบ้านผึ้ง ตั้งอยู่ที่ อ.เกาะคา จ.ลําปาง ตัด เย็บเสื้อผ้าสตรี เสื้อผ้าบรุษ เป็นกลุ่มอาชีพที่ รวมตั ว กั น ของแม่ บ้ า นในชุ ม ชนที่ ต้ อ งการมี รายได้เสริมจากการประกอบอาชีพหลักอย่าง เกษตรกรรม การเลี้ยงไส้เดือนเพื่อทําเป็นปุ๋ย จําหน่ายและบริบทของชุนบ้านผึ้งแต่เดิมมีการ ตัดเย็บเสื้อผ้าเพื่อไว้ใส่เองในครัวเรือนทุกบ้าน อยู่แล้วจึงมีการพัฒนาการตัดเย็บเสื้อผ้าเพื่อ ออกจําหน่ายในเวลาต่อมาเพื่อให้คนชุมชนมี อาชีพและสร้างรายได้เพิ่มขึ้น

ภาพที่ 2.13 สตรีกลุ่มตัดเย็บผ้าสตรีบ้านผึ้ง

มีการพัฒนาต่อยอดของกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีบ้านผึ้ง โดยมีการนําเทคโนโลยีและการสื่อสารเข้า มามีส่วนช่วยในการสืบค้นหาข้อมูลเช่น การค้นหาแหล่งตลาดเพื่อจําหน่ายสินค้า การค้นหาเกี่ยวกับลายผ้า วิธีการเย็บผ้าที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การค้นหาเกี่ยวกับหน้าร้านที่จําหน่ายผ้าสําเร็จรูปที่มีราคาถูก รวมถึง การใช้สื่อสังคมออนไลน์ เช่น การใช้ facebook เพื่อนําเสนอสินค้าและผลิตภัณฑ์ของตนเองให้เป็นที่รู้จักมาก ขึ้ น ซึ่ ง จากการที่ ไ ด้ ใ ห้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มอบรมได้ ล งพื้ น ที่ ไ ปศึ ก ษาดู ง านในสถานที่ จ ริ ง ทํ า ให้ มี ก ารแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ในการทํางานของกลุ่มตนเอง การนําเสนอแนวคิด วิธีการ การดําเนินงานที่ต่างกัน มาร่วมแสดง ความคิดเห็น รวมถึงหาทางออกของปัญหา การขยายตลาดและสร้างเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น รวมถึงกลุ่มอาชีพ อื่นๆ ที่เข้ามาศึกษาดูงานทําให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ หรือสามารถนําสินค้า ผลิตภัณฑ์มาประยุกต์กับกลุ่มอาชีพ ตนเองเป็นการเพิ่มมูลค่างานขึ้นได้อีกทางหนึ่ง บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 32


กลุ่ มที่ 2 ศูน ย์ฝึกอาชี พสตรี กลุ่มเย็บผ้าบ้านต้นต้อง เป็นการรวมตัวของ สตรีทุกวัยในชุมชนที่ว่างจากการประกอบ อาชีพหลัก คือ การทําการเกษตร เช่น การ ปลูกผักปลอดสารพิษ การทํานา เมื่อเสร็จ งานจากอาชีพหลักที่ทําจะมารวมกลุ่มกันตัด เย็บเสื้อผ้าทั้งของบุรุษและสตรี จนต่อมาเกิด การรวมตัวกันเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ภาพที่ 2.14 ผู้นําสตรีและบุตรชายกลุ่มเย็บผ้าบ้านต้นต้อง ซึ่งส่วนใหญ่การตัดเย็บเสื้อผ้าของกลุ่มบ้านต้นต้องนี้จะรับงานจากหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่และ พื้นที่ใกล้เคียง จึงทําให้สมาชิกภายในกลุ่มมีงานเข้ามาตลอด ต่อมาผู้นําสตรีบ้านต้นต้องได้เห็นถึงความสําคัญ ในการนําเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาต่อยอดอาชีพของกลุ่ม เพื่อให้สินค้าและผลิตภัณฑ์ของกลุ่มมีการพัฒนามาก ยิ่งขึ้น เป็นที่นิยมในท้องตลอดทั่วไป ไม่เพียงแต่ในชุมชน จังหวัดของตนเองเท่านั้นเช่น การใช้เทคโนโลยีและ อินเทอร์เน็ตในการหาแหล่งจัดจําหน่ายเสื้อผ้าตัดเย็บสําเร็จรูป พัฒนาการตัดเย็บที่มีรูปแบบหรือลวดลายใหม่ๆ ที่มีความทันสมัยมากขึ้น สามารถให้สวมใส่ได้ทุกเพศทุกวัย และการใช้ facebook line ประชาสัมพันธ์ นําเสนอสินค้า ผลิตภัณฑ์ และของตนเองให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น และจากลงพื้นที่ศึกษาดูงาน ทําให้กลุ่มอาชีพที่ ลงพื้นที่เกิดการสร้างเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น มีการติดต่อ ประสานงานของหน่วยงานในพื้นที่ที่ต้องการเสื้อเย็บ จากผ้าฝ้ายและกลุ่มเย็บผ้าจากกลุ่มอื่นๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วม เกิดการกระจายรายได้เพิ่มมากขึ้น ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปางหลังจากการจัดกิจกรรมฯ สตรีด้อยโอกาสทุก กลุ่มอาชีพ คือ ได้เว็บไซต์และสื่อสังคมออนไลน์เป็นของกลุ่มตนเองเพื่อการประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ กิจกรรม และองค์ความรู้ของกลุ่มตนเองในท้องถิ่นให้แก่กลุ่มคนภายนอกได้รับรู้ ในจังหวัดลําปางมีเว็บไซต์ และสื่อสังคมออนไลน์ ดังนี้ เว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ขายสินค้าออนไลน์ของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง

ภาพที่ 2.15 เว็บไซต์กลุ่มทอผ้าด้นด้ายลายงาม http://ddahandbagslp.bentoweb.com/th บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

ภาพที่ 2.16 เว็บไซต์กลุ่มผ้าทอมือกะเหรี่ยง http://tribaifashion27.bentoweb.com/th หน้า 33


ภาพที่ 2.17 เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านห้วยฮี http://hauyheefashion.bentoweb.com/th

ภาพที่ 2.18 เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านต้นต้อง http://faingamlp.bentoweb.com/th

ภาพที่ 2.19 เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บผ้าฝ้ายเปิงใจ๋ http://pengjaicotton.bentoweb.com/th

ภาพที่ 2.20 เว็บไซต์กลุ่มหมวกคาวบอย http://cowboybanleng.bentoweb.com/th

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 34


ภาพที่ 2.21 เว็บไซต์กลุ่ม Like Knitting http://likeknitting.bentoweb.com/th

ภาพที่ 2.22 เว็บไซต์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าผึ้งหลวงผ้างาม http://37812aoi.bentoweb.com/th

สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง

ภาพที่ 2.23 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่ม Like Knitting https://www.facebook.com/Like-Knitting1495733990720730/?fref=ts

ภาพที่ 2.24 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มทอผ้า ด้นด้ายลายงาม https://www.facebook.com/ด้นด้านลายงาม 890523797700437/?fref=ts

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 35


ภาพที่ 2.25 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า บ้านต้นต้อง https://www.facebook.com/ต้นต้อง-ฝ้ายงาม749938238400212/?fref=ts

2.7

ภาพที่ 2.26 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มหมวกคาวบอย https://www.facebook.com/cowboybanleng/

ผลการประเมินศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ภายใต้ความรับผิดชอบของศูนย์การเรียนรู้ การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปาง

ใช้วิธีการสัมภาษณ์และแบบสอบถามโดยใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators; KPIs) ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 5 มิติในการประเมินผลการปฏิบัติงานและวัดความสําเร็จ ของศู นย์ฯ (การจั ดให้ มี บริ การโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึ งและบริการเพื่ อสังคม ประจําปี พ.ศ.2553 (Universal Service Obligation) ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม, 2553) ดังผลที่ได้จากการประเมินในแต่ละมิติ ดังนี้ 2.7.1 มิติด้านบุคลากร (Man) 2.7.1.1 การคัดเลือกผู้ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม สํานักงาน กสทช.มอบหมายให้ เป็นความรับผิดชอบของศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวในการคัดเลือกและการจ้างงาน ดังนั้น การพัฒนาทักษะความรู้ต่างๆที่จําเป็นในการเป็นเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม จึงขาดการฝึกอบรม และพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุที่ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปางไม่มี งบประมาณมากเพียงพอที่จะสนับสนุนการฝึกอบรมทักษะความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ให้แก่ผู้ดูแลศูนย์ 2.7.1.2 การบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ดูแล ศูนย์ฯ ไม่มีความคล่องตัว ขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากไม่สามารถตัดสินใจเปิดการฝึกอบรมให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาส เองได้ ด้วยเหตุผลของระเบียบทางราชการต้องผ่านความเห็นชอบและความยินยอมจากทางผู้บริหารศูนย์การ เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปางก่อน ซึ่งถ้าหากไม่มีงบประมาณสนับสนุนในกิจกรรมการ

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 36


ฝึกอบรม ก็ทําให้ไม่สามารถผลักดันให้ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมเกิดประโยชน์สูงสุดตามเจตนารมณ์ของการจ รัดตั้งศูนย์อินเทอร์เน็ตได้ 2.7.2 มิติด้านพัสดุ (Material) 2.7.2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์หรือ เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจ ดิจิทัล ที่ใช้ยังไม่มีความทันสมัย ด้านความสะอาดของเครื่องคอมพิวเตอร์ยังไม่สะอาดเท่าที่ควร เนื่องจากไม่ ค่อยเปิดใช้บริการบ่อย แต่สามารถใช้งานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ได้ตามความต้องการของผู้รับบริการ เมื่อพบ เจอปัญหาจะทําการแจ้งและดําเนินการซ่อมแซม ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่อยู่ระหว่างการรอซ่อม 2.7.2.2 จํานวนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ภายในศูนย์อินเทอร์ เน็ตเพื่อสังคม มีจํานวน 20 เครื่อง (ศูนย์การเรียนรู้และพัฒนาสตรีฯ นํามาเพิ่มเติมอีก 10 เครื่อง) พบว่าสามารถใช้งานได้จํานวน 18 เครื่อง ไม่สามารถใช้งานได้จํานวน 2 เครื่อง เนื่องจากอุปกรณ์ไม่พร้อม โปรแกรมคอมพิวเตอร์มีปัญหาและ อยู่ระหว่างการดําเนินการซ่อมแซม 2.7.3 ด้านงบประมาณ (Money) 2.7.3.1 การบริหารจัดการเรื่องงบประมาณและทํารายงานประจําปี เป็นไปตาม เงื่อนไขที่สํานักงาน กสทช. กําหนด เนื่องจากค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ภายในศูนย์ฯ จะเป็นค่าไฟฟ้าและค่าเจ้าหน้าที่ ผู้ดูแลศูนย์ฯ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลตามไตรมาสที่กําหนดไว้ และยังได้รับงบประมาณสนับสนุนตามเงื่อนไขที่ สํานักงาน กสทช. กําหนดให้ผู้รับใบอนุญาตดูแลรับผิดชอบภายใต้ภารกิจ USO 2.7.4 ด้านการบริหารจัดการ (Management) 2.7.4.1 ศูนย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ภายใต้การสนั บสนุนของศูนย์การเรียนรู้การ พัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดลําปาง สํานักงานจังหวัดลําปาง เทศบาลตําบลเมืองลําปาง รวมถึงสถาบัน พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดลําปาง ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการฝึกอาชีพให้แก่สตรีด้อยโอกาส 2.7.4.2 การประชาสัมพันธ์ให้สตรีด้อยโอกาสในชุมชนทราบวัตถุประสงค์ของการ จัดตั้งศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (USO NET) มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ facebook ของศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพสตรีภาคเหนือจังหวัดลําปาง รวมถึงกิจกรรมการ ฝึกอบรมต่างๆและประชาสัมพันธ์ผ่านทางสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ เป็นต้น 2.7.5

ด้านผลผลิต (Output)

ผู้เข้าใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เข้ามา รับการฝึกอบรมเพิ่มทักษะความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพ จากศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัด ลําปาง ซึ่งพักอาศัย (แบบอยู่ประจํา) ภายในศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวอยู่แล้ว และส่วนหนึ่ง เป็นประชาชนภายนอกหรือผู้สนใจทั่วไปเข้ามาใช้บริการในกรณีที่ได้รับทราบข่าวสารประชาสัมพันธ์รับสมัคร ฝึกอบรมทักษะความรู้คอมพิวเตอร์เป็นครั้งคราวไป

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 37


2.8 การวิเคราะห์ SWOT ในมุมของกลุ่มตัวอย่าง : กลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง การวิเคราะห์ SWOT ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เน้นการศึกษาภาพรวมเป็น 2 ประเด็นหลัก คือ 1) ประเด็นที่เกี่ยวกับจุดแข็งและโอกาส 2) ประเด็นที่เกี่ยวกับปัญหา อุปสรรคหรือความท้าทายต่างๆ โดยในที่นี้จะทําการวิเคราะห์ SWOT ใน 2 ประเด็นหลักคือ (1) การวิเคราะห์ SWOT ของกลุ่ม สตรีกลุ่มนี้เกี่ยวกับเรื่องการสร้าง การพัฒนา การแก้ปัญหาเศรษฐกิจชุมชนตนเอง โดยเฉพาะเรื่องการขายสินค้า ออนไลน์และที่เกี่ยวข้อง (2) การวิเคราะห์ SWOT ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ดังผลการวิเคราะห์ภาพรวม ดังนี้คือ 2.8.1 ด้านที่เกี่ยวข้องกับสตรีด้อยโอกาสรวมทั้งความรู้และทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีการ สื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 2.8.1.1 ประเด็นเกี่ยวกับจุดแข็งและโอกาส (1) กลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปางมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาอาชีพ ของชุมชน คือ ผ้าทอมือ เพราะมีหลายชุมชนในพื้นที่จังหวัดลําปางโดยเฉพาะชุมชนชาวเขาดั่งเดิม นิยมทอผ้า เป็นอาชีพเสริมและการทอผ้ายังเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ช่วยสร้างรายได้ให้กับชุมชนเป็นอย่างมาก ซึ่งแต่ละ ท้องถิ่นแต่ละชุมชนจะมีความโดดเด่นของผ้าแตกต่างกั น นอกจากจะทอผ้าเป็นผืนและตัดเย็บเป็ นเสื้อผ้า สําเร็จรูปจําหน่ายแล้วนั้น ชาวบ้านในชุมชนยังมีการพัฒนาต่อยอดโดยการนําผ้ามาดัดแปลงให้เป็นผลิตภัณฑ์ อย่างอื่นเพื่อเพิ่มช่องทางการจําหน่าย เช่น นําผ้ามาตัดเย็บเป็นกระเป๋า ผ้าปูโต๊ะ ผ้าม่าน เป็นต้น (2) กลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปางมีการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายของแต่ละกลุ่ม อาชีพที่มีการรวมตัวกันอย่างเข็มแข็งในการสร้างและพัฒนาต่อยอดกลุ่มอาชีพ สินค้าและผลิตภัณฑ์ให้มีความ ทันสมัยกับยุคปัจจุบัน (3) ทรัพยากรทางธรรมชาติ และวัฒนาธรรมท้องถิ่น ในจังหวัดลําปางยังมีศักยภาพมาก สามารถบริหารจัดการทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาสและประชาชน ในพื้นที่ของจังหวัดลําปางได้ เช่น ส่งเสริมการผลิตสินค้าชุมชน ส่งเสริมการท่องเทียวท้องถิ่น เป็นต้น 2.8.1.2 ประเด็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค รวมทั้งความท้าทายต่างๆ (1) กลุ่มสตรีด้อยโอกาสส่วนใหญ่ยังขาดทักษะด้านการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเองและครอบครัว ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน ควรดําเนินการส่งเสริมให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสมีทักษะความรู้และสามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้มากขึ้น (2) กลุ่มสตรีด้อยโอกาส ส่วนใหญ่มีที่อยู่อาศัยและครอบครัวในพื้นที่ชนบท ห่างไกล มีความยากลําบากในการเดินทางและต้องเสียค่าใช้จ่ายในการมีการใช้อุปกรณ์โทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟนเป็นของ ตนเอง เนื่องจากมีราคาค่อนข้างแพง และการส่งเสริมให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารจําเป็นต้องส่งเสริมควบคู่ไปกับการฝึกอบรมการประกอบอาชีพไปพร้อมกันด้วย จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 38


2.9 การวิเคราะห์ SWOT ในมุมของการให้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 2.9.1 ประเด็นเกี่ยวกับจุดแข็งและโอกาส ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ตั้งอยู่ภายในศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัด ลําปาง ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการประสานความร่วมมือในเชิงบูรณาการกับกลุ่มสตรีผู้ด้อยโอกาสตามภารกิจ ของศูนย์การเรียนรู้ฯ โดยตรง จึงทําให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เข้ารับบริการฝึกอบรมเกี่ยวกับวิชาชีพกับศูนย์การ เรียนรู้ฯ ได้ใช้ประโยชน์จากศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมไปด้วย และการที่ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมตั้งอยู่ใน หน่วยงานราชการ จึงได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจากวิทยาลัยการอาชีพจังหวัดลําปางที่เข้ามามีส่วน ร่วมให้ความรู้และเสริมทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพให้แก่กลุ่มสตรี ด้อยโอกาส เป็นต้น 2.9.2 ประเด็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค รวมทั้งความท้าทายต่างๆ (1) เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ไม่ เพียงพอต่อการใช้งาน การฝึกอบรม การทํากิจกรรม ทําให้ผู้เข้าอบรมไม่สามารถฝึกได้ครบทุกคน ดังนั้น จึงควร จะจัดหาอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อจํานวนผู้เข้าอบรมหรือคัดผู้เข้าอบรมให้เหมาะสมตามจํานวนอุปกรณ์ที่มีอยู่ (2) สัญญาณอินเทอร์เน็ตมีความช้าและบางครั้งไม่สามารถเชื่อมต่อสัญญาณได้เป็น ระยะๆ หรือเป็นเวลานาน ส่งผลต่อการให้บริการที่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการเข้ามาใช้ศูนย์ฯ ควรจะมี สัญญาณ Wifi เพราะบางครั้งมีการนําเครื่องมือสื่อสารของตนเองมาใช้ จึงมีความจําเป็นต้องเข้าถึงสัญญาณ อินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย (3) การประชาสัมพันธ์ข้อมูลของศูนย์ฯ ไม่เพียงพอ ทําให้ชุมชนใกล้เคียงไม่สามารถ ทราบได้ว่าศูนย์ฯ มีเพื่ออะไรและไม่ทราบเรื่องการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ฯ เช่น การอบรมคอมพิวเตอร์ พื้นฐานสําหรับสตรีด้อยโอกาส การอบรมสร้างอาชีพ การอบรมการถ่ายภาพ เป็นต้น (4) การประสานแผนและกิจกรรมการทํางานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่รวมทั้ง ส่วนกลางพบว่า มีการประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ น้อยมาก ทําให้การใช้ประโยชน์จากศูนย์ฯ และการ พัฒนาศูนย์ฯ เกิดขึ้นน้อยมาก (5) ขาดแนวคิดและบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในการพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมกับ ความต้องการของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส หรือที่เหมาะสมกับความต้องการของท้องถิ่นโดยเฉพาะ (tailor made academies) ทําให้สิ่งที่ให้บริการหรือที่ให้การอบรมไม่ตรงกับความต้องการของกลุ่มสตรีด้อยโอกาส และชุมชน โดยภาพรวม

บทที่ 2 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดลําปาง

หน้า 39


บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย การศึกษาครั้งนี้ได้ทําการศึกษาองค์รวมเกี่ยวกับบริบทเชิงพื้นที่ บริบทเชิงสังคม ศึกษาผลของการจัด กิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลเพื่อการ จัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส โดยทําการศึกษาจุดอ่อน จุดแข็ง ปัญหาและอุปสรรค โอกาสต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ ICT เพื่อสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาสพื้นที่เป้าหมาย อีกทั้งการ ประเมินผลการดําเนินงานศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมด้วย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

3.1 บริบทเชิงพื้นที่ของจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีความสําคัญทาง ประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา ในปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อําเภอ มีแม่น้ําสําคัญหลายสาย คือ แม่น้ํากก แม่น้ําอิง และแม่น้ําโขง ส่วนทําเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณ รอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศลาว และประเทศพม่า หรือรู้จักกันในนามของดินแดน สามเหลี่ยมทองคํา จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ มี "คําเมือง" เป็น ภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ใน รูปแบบล้านนา ไทลื้อ ไทใหญ่ และไทเขิน จากสิบสอบปันนาผสมผสานเข้าด้วยกัน และมีแหล่งท่องเที่ยวทั้ง ทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเป็นจํานวนมาก (ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง, 2553) ด้วยความโดดเด่นทางธรรมชาติ ศิลปะ ประเพณี วัฒนธรรมที่เป็นแบบพื้นเมืองดั้งเดิม สะท้อนถึงวิถี ชีวิตความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพของผู้คนในจังหวัดเชียงรายคือมีการรวมกลุ่มทอผ้าเพื่อใช้ในงานสําคัญ ของท้องถิ่น เช่น งานประเพณีตักบาตรเที่ยงคืน หรือประเพณีเพ็งพุทธ ซึ่งได้อิทธิพลมาจากประเทศพม่า และ ประเพณีนี้เองทําให้ เกิดการท่องเที่ยวในชุมชนที่โดดเด่นและสามารถสร้างรายได้ให้ แก่ชุมชนของจังหวั ด เชียงรายเป็นอันมาก เป็นพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษที่อยู่ติดชายแดน มีทางเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้านและมีตลาดการค้า ชายแดน เช่น ตลาดชายแดนอําเภอแม่สาย ตลาดชายแดนอําเภอเชียงของ เป็นต้น และการที่เป็นเมือง เศรษฐกิจชายแดนทําให้มีการย้ายถิ่นข้ามชาติของแรงงานต่างด้าวจากประเทศพม่าเข้ามาเป็นจํานวนมาก

บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 40


 การแบ่งพืน้ ที่ออกเป็ น คลัสเตอร์1 แบ่งพืน้ ทีก่ ารพัฒนาของจังหวัดเชียงราย ออกเป็ น 5 คลัสเตอร์ คลัสเตอร์ 1 : กลุ่มอําเภอชายแดน กลุ่มอําเภอด้านเหนือของจังหวัด ใกล้ชายแดนทีม่ ลี กั ษณะเป็ นด่านหรือจุดผ่าน แดนถาวร ตัง้ อยู่บนแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้ ประกอบด้วย 3 อําเภอ คือ แม่สาย เชียงแสน เชียง ของ มีศกั ยภาพในการพัฒนาด้านการค้าชายแดน ธุรกิจโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมและการท่องเทีย่ ว โดยมี การค้าชายแดนและการเชื่อมต่อกับประเทศเพือ่ นบ้านในกลุ่มอนุภาคเป็ นจุดดึงดูด คลัสเตอร์ 2 : กลุ่มอําเภอติ ดชายแดน กลุ่มที่เป็ นชายแดน แต่ไม่มจี ุดผ่านแดนถาวร อยู่ห่างจากแนวระเบียง NSEC ไม่เกิน 50 กิโลเมตร ประกอบด้วย 5 อําเภอ แม่ฟ้าหลวง แม่จนั ขุนตาล ดอยหลวง และเวียงแก่น มี ศักยภาพและแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็ นพืน้ ที่อุตสาหกรรมต่อเนื่องหรืออุตสาหกรรมที่ใช้วตั ถุดบิ จากการ นําเข้าผ่านชายแดนกลุ่มแรก ในกลุ่มนี้ อําเภอดอยหลวงและเวียงแก่น ซึง่ อยูห่ า่ งจากเส้นทาง R3E มาก อาจมีการพัฒนาเศรษฐกิจต่างจากแม่ฟ้าหลวงและแม่จนั แต่อาจเป็ นจุดผ่านของการเคลื่อนย้ายแรงงาน ข้ามชาติ คลัสเตอร์ 3 : เมืองศูนย์กลาง เป็ นศู น ย์ ก ลางทางการพาณิ ช ย์ ท่ี อ ยู่ อ าศัย การท่ อ งเที่ ย ว ที่ ต ั ง้ โรงงาน อุตสาหกรรม และการผลิต และเป็ นศูนย์กลางการเชื่อมโยงต่างๆ คืออําเภอเมืองเชียงราย คลัสเตอร์ 4 : กลุ่มอําเภอเกษตรกรรมด้านเหนื อ เป็ นพื้น ที่ท่ีมีผ ลผลิต ด้า นการเกษตรออกสู่ต ลาด มีศ ัก ยภาพหลัก ด้า นการ เกษตรกรรม การปศุสตั ย์ และผลิตภัณฑ์ชุมชน ประชาชนในพื้นที่ยงั ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็ น หลัก ประกอบด้วย 4 อําเภอ เวียงเชียงรุง้ เวียงชัย พญาเม็งราย และเทิง คลัสเตอร์ 5 : กลุ่มอําเภอเกษตรกรรมด้านใต้ เป็ นพื้น ที่ท่ีมีผ ลผลิต ด้ า นการเกษตรออกสู่ ต ลาด มีศ ัก ภาพหลัก ด้า นการ เกษตรกรรม การปศุสตั ว์ การท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํ าและผลิตภัณฑ์ชุมชน ประชาชนในพื้นที่ยงั ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็ นหลัก ประกอบด้วย 5 อําเภอ คือเวียงป่ าเป้ า แม่ สรวย แม่ลาว พาน และป่ าแดด

1 อ้ างอิงจาก อนุวตั ิ

อินทร. เอกสารนําเสนอเรื่ องเขตพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน

บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 41


บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 42


3.2 ด้านเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดเชียงราย จากการศึกษาสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดเชียงรายบ่งชี้ว่ามีสัญญาณชะลอตัวลงจากการ บริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ขณะที่การใช้จ่ายภาครัฐและด้านการค้าชายแดนขยายตัว ภาคเกษตรกรรม ขยายตัวดีขึ้น ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการชะลอตัวลดลง เสถียรภาพเศรษฐกิจอัตราเงินเฟ้อยังคงอยู่ใน ระดับสูงจากการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น รายได้เกษตรกรขยายตัวในอัตราที่เพิ่มขึ้น ผลผลิตพืชเศรษฐกิจสําคัญ ได้แก่ ข้าว ลิ้นจี่ ลําไย สภาพคล่องในระบบสถาบันการเงินมีการขยายตัวของเงินฝากต่อกว่าสินเชื่อรายละเอียดของ ภาวะเศรษฐกิ จ จั ง หวั ด เชี ย งราย ด้ า นการผลิ ต พบว่ า ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น สะท้ อ นจากดั ช นี ป ริ ม าณผลผลิ ต ภาค เกษตรกรรม ซึ่งเป็นโครงสร้างหลักได้ปรับตัวสูงขึ้น (ร้อยละ 0.1) ตามปริมาณผลผลิตข้าวนาปรัง ในขณะที่ ผลผลิตด้านอุตสาหกรรมลดลง (ร้อยละ 0.3) ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรมลดลง (ร้อยละ 2.3) ด้าน การค้าชายแดนขยายตัว (ร้อยละ 26.1) ตามการส่งออกสินค้าไปยังจีนตอนใต้พม่าและลาวมีปริมาณเพิ่มขึ้น การนําเข้าเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มการนําเข้าสินค้าเกษตรจากจีนตอนใต้ (ศูนย์ข้อมูลแรงงานจังหวัดเชียงราย สํานักงานแรงงาน, 2558) ในส่วนของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรงงานและการมีงานทํา พบว่าจังหวัดเชียงรายมีจํานวนประชากรที่มี อายุ 15 ปีขึ้นไปมีจํานวน 956,106 คน โดยเป็นผู้ที่อยู่ในกําลังแรงงาน 675,501 คน (ร้อยละ 70.65) และเป็น ผู้ที่ไม่อยู่ในกําลังแรงงาน 280,605 คน (ร้อยละ 29.35) เมื่อเปรียบเทียบการมีงานทําระหว่างเพศจะพบว่าเพศ ชายมีอัตราส่วนของการมีงานทํามากกว่าเพศหญิง (สํานักงานแรงงานจังหวัดเชียงราย, 2558)

ภาพที่ 3.1 แผนภูมิแสดงอัตราการมีงานทําของประชากรจังหวัดเชียงราย

จากการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมของจังหวัดเชียงรายข้างต้น จะเห็นได้ว่าจังหวัด เชียงรายตั้งอยู่เหนือสุดของประเทศไทย มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีการติดต่อสื่อสารกับเพื่อนบ้าน ดังนั้นจึงสะท้อนให้เห็นความโดดเด่นด้านการค้าขายและการคมนาคมขนส่ง แต่ด้านกําลังแรงงานมีการจ้างงาน ของเพศชายมากกว่าเพศหญิง ด้วยบริบทดังกล่าว จึงส่งผลต่อการประกอบอาชีพของผู้คน รวมทั้งสตรีด้อย โอกาสที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับเกษตรกรรม ด้วยเหตุนี้เองจึงต้องมีการส่งเสริมสนับสนุนด้าน ICT ให้สตรีด้อย บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 43


โอกาสเหล่านี้นําความรู้และทักษะด้าน ICT มาประยุกต์ใช้กับผลผลิตที่มีอยู่ในท้องถิ่นหรือรวมตัวกันตั้งกลุ่ม อาชีพให้ตนได้ทัดเทียมกับคนในชุมชนที่มีงานทํา เช่น กลุ่มอาชีพด้านการเกษตรกรรม มีการส่งผลิตผลสู่ ตลาดโลกให้เป็นที่รู้จักว่าสตรีในจังหวัดเชียงรายมีทักษะและความสามารถที่จะนําศักยภาพที่ตนเองมีมาพัฒนา ตนและชุมชนท้องถิ่นบ้านเกิดให้เป็นที่รู้จักและสร้างเศรษฐกิจให้ก้าวไกลได้ด้วยการพึ่งพาตนเอง

3.3 บริบทเชิงสังคมของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย : ถอดบทเรียน จากการศึกษาบริบทเชิงสังคมที่เกี่ยวข้องกับสตรีด้อยโอกาสของจังหวัดเชียงราย ได้ผลของการศึกษา ของข้อมูลพื้นฐานดังนี้

ภาพที่ 3.2 แสดงอายุของกลุ่มตัวอย่าง

ภาพที่ 3.3 แสดงระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง

ภาพที่ 3.5 แสดงรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่าง ภาพที่ 3.4 แสดงจํานวนสมาชิกในครอบครัวของกลุ่ม ตัวอย่าง บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย หน้า 44


จากการศึกษาบริบทเชิงสังคมที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสของจังหวัดเชียงราย ได้ผลของการศึกษาดังนี้ (1) กลุ่มอายุของสตรีด้อยโอกาสที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ร้อยละ 50 มีอายุอยู่ระหว่าง 21-30 ปี รองลงมาร้อยละ 40 มีอายุอยู่ระหว่าง 31-40 ปี (2) ระดับการศึกษาของสตรีด้อยโอกาสที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ร้อยละ 55 จบระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. รองลงมาคือมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 30 และระดับปริญญาตรี ร้อยละ 10 ตามลําดับ (3) จํานวนสมาชิกในครอบครัวของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง พบว่าร้อยละ 80 อยู่ในครอบครัวที่มีจํานวนสมาชิก ไม่เกิน 5 คน และร้อยละ 20 อยู่ในครอบครัวที่มีจํานวนสมาชิก 6-10 คน (4) รายได้เฉลี่ยของสตรีด้อยโอกาสที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ร้อยละ 50 มีรายได้เฉลี่ย ต่ํากว่า 5,000 บาทต่อเดือน และร้อยละ 40 มีรายได้เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 5,001-15,000 บาทต่อเดือน ส่วนที่ เหลืออีก ร้อยละ 10 มีรายได้เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 15,001-20,000 บาทต่อเดือน

3.4 ผลการศึกษาความสามารถด้าน ICT ของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย 1) สามารถนําผลิตภัณฑ์ของชุมชนจําหน่ายหน้าร้านและออนไลน์ได้ 2) สามารถเขียน เรื่องราวของธุรกิจ เทคนิควิธีการนําพาธุรกิจให้ประสบความสําเร็จได้ 3) สามารถค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับลวดลายเพื่อนํามาพัฒนางานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น เช่น การ พัฒนารูปแบบให้ทันสมัยหรือสอดคล้องกับกระแส หรือความต้องการของตลาดมากยิ่งขึ้นได้

ภาพที่ 3.6 แสดงร้อยละการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของ กลุ่มตัวอย่าง

ภาพที่ 3.7 แสดงร้อยละการมีการใช้อุปกรณ์สื่อสารของ กลุ่มตัวอย่าง

บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 45


ภาพที่ 3.8 แสดงจํานวนคนที่ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหา ประเภทข้อมูล/ข่าวสารที่ค้นคว้า

ภาพที่ 3.9 แสดงความถี่ของจํานวนคนที่เข้าใช้ อินเทอร์เน็ต

ภาพที่ 3.10 แสดงร้อยละการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ของกลุ่มตัวอย่าง

ภาพที่ 3.11 แสดงเหตุผลที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์ ของกลุ่มตัวอย่าง

บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 46


จากแผนภูมิภาพที่ 3.6-3.11 ข้างต้นแสดงให้เห็นว่าบริบทการใช้ ICT ของสตรีด้อยโอกาส จังหวัดเชียงรายทั้งในด้านที่เกี่ยวกับความรู้และด้านประสบการณ์ พบว่า (1) กลุ่ม สตรี ด้อ ยโอกาสของจัง หวัด เชีย งรายมี ป ระสบการณ์ ก ารใช้ ICT เฉลี่ ย 7 ปี โดย สถานที่ที่ใช้ ICT ส่วนใหญ่คือร้อยละ 49 ใช้ที่บ้านโดยใช้ร่วมกันในครอบครัว รองลงมาร้อยละ 22 ใช้ในที่ทํางาน (2) ประเภทของ ICT ที่ใช้เป็นประจําคือร้อยละ 60 ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟน รองลงมาคือร้อยละ 30 ใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค และร้อยละ 7 ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบธรรมดา และร้อยละ 3 ใช้ทีวีดาวเทียมตามลําดับ (3) สัญญาณอินเทอร์เน็ตในชุมชนพบว่า ส่วนใหญ่ในชุมชนมีสัญญาณอินเทอร์เน็ต โดยชุมชน มีค่าใช้จ่ายอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย 464 บาท/เดือน ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ตพบว่า ส่วนใหญ่จํานวน 11 คน ใช้ทุกวัน รองลงมาคือจํานวน 3 คน ใช้สัปดาห์ละ 5 ครั้ง และจํานวน 3 คน ใช้สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ตามลําดับ (4) ประเภทข้อมูล/ข่าวสารที่ค้นคว้าด้วยอินเทอร์เน็ตพบว่า ส่วนใหญ่ จํานวน 10 ใช้เพื่อค้น ข้อมูลเพื่อใช้ในด้านการศึกษา รองลงมาคือจํานวน 7 คน ใช้เพื่อค้นหาแหล่งงาน และจํานวน 2 คน ใช้เพื่อสิทธิ ประโยชน์ด้านต่างๆ ตามลําดับ (5) การใช้สื่อสังคมออนไลน์พ บว่า ร้อยละ 96 มีก ารใช้ Facebook เป็น ประจํา ทุกวัน รองลงมาคือร้อยละ 15 มีการใช้ Google โดยเหตุผลที่ใช้คือต้องการรู้เหตุการณ์ ต้องการนําไปใช้เกี่ยวกับการ พัฒนาตนเอง พัฒนาชุมชน ต้องการความบันเทิง ต้องการนําไปใช้เกี่ยวกับการระวังภัยที่จะเกิดกับตนเองและ ชุมชน

3.5

ความต้องการและความคาดหวังของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงรายในการเข้าร่วม กิจกรรม

ผลที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับความต้องการและความคาดหวังของสตรีด้อยโอกาสในจังหวัด เชียงรายที่เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลฯ” พบความต้องการและความคาดหวังคือ 3.5.1 ต้องการมีความรู้และความสามารถในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ติดตัวเพื่อนําไปใช้กับ ธุรกิจตนเอง เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้เกี่ยวกับการสร้างร้านค้าออนไลน์ จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เมื่อได้รับการสัมมนาเชิงปฏิบัติการฯ ในครั้งนี้ ตนเองและชุมชนจะสามารถนําไปปรับใช้และสร้างร้านค้าได้ 3.5.2 ต้องการมีความรู้ที่นําไปปรับและประยุกต์ใช้กับธุรกิจของตนเองสําหรับผู้ที่มีร้านค้าแล้ว และส่วนใหญ่คาดหวังในการสร้างการประชาสัมพันธ์ให้ร้านค้าตัวเองให้มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จัก การปรับปรุง ร้านค้าให้ดียิ่งขึ้น ร่วมถึงการสร้างแนวคิดใหม่ๆ เพื่อให้นําไปปรับใช้ได้ 3.5.3 ต้องการมีแนวคิดการเปิดร้านค้าออนไลน์ เช่น การประชาสัมพันธ์ร้านค้าอย่างไรให้เป็น ที่รู้จักทั้งในประเทศและต่างประเทศ การเพิ่มช่องทางการเปิดร้านค้าให้มีช่องทางมากขึ้น เพื่อเพิ่มยอดขาย ให้กับธุรกิจตนเองและชุมชน บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 47


3.6 ประโยชน์และสิ่งที่สตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงรายได้รับ จากการสัม ภาษณ์ เชิงลึกเกี่ยวกับประโยชน์และสิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่ วมกิจกรรม “การ ส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลฯ” พบรายละเอียดดังนี้ 3.6.1 ได้รับความรู้ด้านการใช้ ICT เช่น ความสามารถและทักษะในการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาตนเอง การพัฒนาอาชีพ ฯลฯ ความสามารถในการใช้และออกแบบข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นเข้า มาประกอบกับเรื่องราวที่เป็นทุนเดิม ที่เป็นภูมิปัญญาเดิมของตนเองในการบอกเล่าเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาในข้างต้น 3.6.2 ได้ รับความรู้ด้านการใช้งานโปรแกรมตกแต่งรู ปภาพ การนําไปใช้ใ นตกแต่ งภาพ ตกแต่งผลิตภัณฑ์เพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3.6.3 ได้พัฒนาร้านค้าออนไลน์ เครือข่ายการค้าขายสินค้าออนไลน์ผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์เพื่อนําสินค้าที่มีของตนเองและชุมชนออกสู่ตลาดมากขึ้น 3.6.4 ได้แรงบันดาลใจ ความเชื่อมั่นในการสร้างร้านค้า สร้างฝันให้เป็นจริง 3.6.5 ได้รับความรู้ ความมั่นใจ และทักษะในการสื่อสาร การนําเสนอ การเขียนหรือการ บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของตนเอง ของครอบครัว และของชุมชน 3.6.6 ได้ร้านค้าออนไลน์เป็นของตนเอง โดยไม่ต้องไปเสียค่าใช้จ่ายในการจ้าง 3.6.7 สามารถนําภูมิปัญญาของพื้นบ้าน ชุมชน และสิ่งรอบตัวของตนเอง ชุมชน ให้มากขึ้น เพื่อที่จะนํามาต่อยอดให้สินค้า มีร้านค้าที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นและเป็นที่รู้จักในระดับสากล 3.6.8 สามารถสร้างสรรค์รายได้และการพัฒนาต่างๆ จากการใช้ ICT ในชุมชนของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นแนวคิดเกี่ยวกับท่องเที่ยว การสร้างสรรค์งาน รายได้ที่มากขึ้นหากว่ามีการสร้างสรรค์เพิ่ม

3.7 ผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย จากผลการศึกษาเกี่ยวกับผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกิจกรรมการส่งเสริมทักษะ ความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารฯดังกล่าว ที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลักๆ คือ ให้ผู้เข้าอบรม รู้จักการใช้งาน ICT เบื้องต้น การใช้สื่อสังคมออนไลน์และเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ การถ่ายภาพและ ตกแต่งภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ การเขียนเรื่องราวและรายละเอียดประกอบสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ รวมถึง การศึกษาในพื้นที่ซึ่งพบผลลัพท์และการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนการพัฒนาด้านต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรมคือ 3.7.1 สามารถใช้งาน ICT เบื้องต้นได้ คือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของ คอมพิวเตอร์สามารถบอกได้ว่าส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์แต่ละชิ้นชื่ออะไรและมีหน้าที่การใช้งานอะไรบ้าง และสามารถพิม พ์ง านหรือ ข้ อ ความได้ อ ย่ า งถูก ต้ อ งและรวดเร็ว ขึ้น อีก ทั้ง ยัง ใช้ Microsoft Office เช่น Microsoft word, Microsoft PowerPoint, Microsoft Excel ซึ่งสามารถนํามาใช้กับการค้าขาย คือ การทํา รายรับรายจ่าย การจดบันทึกสินค้า การนําเสนอสินค้า รวมถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 48


3.7.2 สามารถใช้ สื่อสั งคมออนไลน์แ ละเว็บไซต์ เพื่อการประชาสั มพั นธ์ ได้ คื อ ผู้เข้าร่วม กิจกรรมสามารถสร้าง e-Mail เป็นของกลุ่มตนเอง โดยผ่าน www.gmail.com และสามารถสร้าง facebook facebook fanpage รวมถึงการสร้างเว็บไซต์ขายสินค้าออนไลน์ ซึ่งใช้ www.wordpress.com เพื่อใช้ในการ ประชาสัมพันธ์ขายสินค้าออนไลน์ การติดต่อสื่อสารกับลูกค้าหรือผู้รับบริการของกลุ่มที่ทําให้มีความสะดวกมาก ขึ้น สามารถใส่ภาพถ่ายสินค้าลงประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์ได้ ใช้เครื่องมือในการปรับแต่งเว็บไซต์ที่เป็นพื้นฐาน ได้ เช่น การโพสต์หน้าข่าว การเขียนเรื่องราวเพื่อประชาสัมพันธ์บนหน้าเว็บไซต์ การจัดหมวดหมู่เมนูบน เว็ บ ไซต์ ส่ ว นการถ่ า ยภาพและการตกแต่ ง ภาพ เพื่ อ การประชาสั ม พั น ธ์ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมสามารถใช้ โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟนหรือแท็ปเล็ตที่มีอยู่ใช้ในการถ่ายภาพสินค้าและผลิตภัณฑ์ โดยการถ่ายภาพ สินค้าและผลิตภัณฑ์จะนํามาประยุกต์ใช้กับฉากหลังสีขาวที่ทําจากกระดาษแข็ง เพื่อให้ภาพที่ถ่ายออกมา สวยงามมีความโดดเด่นมากยิ่งขึ้น อีกทั้งการตกแต่งภาพที่ใช้เว็บไซต์ www.ipiccy.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่ใช้ บริการตกแต่งภาพ สามารถใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและการใช้งานไม่ซับซ้อนง่ายต่อการใช้งาน รวมถึงการ ออกแบบโลโก้ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูปอย่างง่าย ซึ่งมีกลุ่มอาชีพของสตรีด้อยโอกาสให้ความสนใจและต้องการ มีโลโก้สินค้าเป็นของตนเอง เช่น กลุ่มแม่สาย StrawberryWine เป็นต้น 3.7.3 สามารถเขียนเรื่องราวและรายละเอียดประกอบสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ของตนเองได้ คือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเขียน อธิบาย เรื่องราวความเป็นมาของสินค้าหรือกลุ่มที่มีความเป็นมาตั้งแต่ดั้งเดิม การเขียนเรื่องราวที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่ม ทําให้ตัวสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ต้องการนําเสนอดูมีความน่าสนใจ มีคุณค่า รวมถึงการเขียนเกี่ยวกับรายละเอียดสินค้า เช่น สี ขนาด รูปร่าง ซึ่งจะทําให้ง่ายต่อการที่ผู้บริโภคจะ ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า 3.7.4 สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานในพื้นที่ คือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้สร้างเครือข่ายภายในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง เกิดความมั่นใจในการนําทักษะความรู้และประสบการณ์จาก กิจกรรมที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจรรมนําไปปรับใช้ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกิจการของตนเอง ฯลฯ โดยการลง พื้นที่ตัวอย่างกลุ่มอาชีพของสตรีด้อยโอกาสในชุมชนอย่างเช่น กลุ่มสวนแก้วมังกรที่มีความโดดเด่นในการพัฒนา ต่อยอดอาชีพของกลุ่มตนเอง คือ กลุ่ ม ที่ 1 กลุ่ ม สวนแก้ ว มั ง กร เป็ น กลุ่ ม เกษตรกรของชาวบ้ า นในอํ า เภอพาน จังหวัดเชียงราย จากการได้ลงพื้นที่ศึกษาดูงาน ภายในสวนแก้วมังกร ทําให้ผู้เข้าร่วมได้เรียนรู้ เกี่ยวกับขั้นตอนการดูแล การปลูก แก้วมังกรให้ ได้ผลดี ซึ่งชาวบ้านสามารถทําไปปลูกภายใน บริ เ วณบ้ า นหรื อ ชุ ม ชนของตนเองได้ หากมี พื้น ที่ ที่ เ หมาะสม ซึ่ ง ต่ อ มาได้ มี ก ารพั ฒ นาต่ อ ยอดอาชี พ ของกลุ่ ม ที่ เ กิ ด จากแนวคิ ด การทํ า ภาพที่ 3.12 เกษตรกรและสวนแก้วมังกร บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 49


สวนแก้วมังกรให้เป็นโฮมสเตย์ ศูนย์การเรียนรู้เชิงเกษตรกรรม จะเป็นอีกทางสําหรับการสร้างรายได้ให้กับกลุ่ม ด้วยการใช้สื่อเทคโนโลยีต่างๆเข้ามาช่วยในการทําตลาดออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ การใช้ ICT สื่อสังคม ออนไลน์ในการพัฒนากิจการของตนเอง เพิ่มช่องทางในการค้าขาย วิธีการสร้างร้านค้าออนไลน์ และการ พัฒนาต่ อยอดร้านค้า การเผยแพร่ประชาสัมพั นธ์ การภาพถ่ายเพื่อการประชาสัม พันธ์ การสร้างร้านค้ า ออนไลน์บนเว็บไซต์ การสร้างร้านค้าออนไลน์บน facebook เป็นต้น ซึ่งเป็นการเปิดโลกทัศน์ด้าน ICT มี โอกาสในการเข้าถึงสื่อและเพิ่มโอกาสในการจําหน่ายผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้น รวมถึงการที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ลง พื้นที่ศึกษาดูงานในสถานที่จริง ทําให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการขยายตลาด การหาที่ทางส่งออก ผลผลิต ซึ่งเมื่อผู้เข้าอบรมได้เข้ามายังพื้นที่จึงทําให้เกิดแนวคิดในการรับผลผลิตแก้วมังกรนําไปขาย หรือวางที่ หน้าร้านต่างๆ เกิดรายได้ให้แก่กลุ่มอาชีพอื่นๆ ได้ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงรายหลังจากการจัดกิจกรรมฯ สตรีด้อยโอกาสทุกกลุ่ม อาชีพ คือ ได้ เว็บ ไซต์ แ ละสื่อสั งคมออนไลน์เป็นของกลุ่มตนเองเพื่อการประชาสัม พั นธ์ สิ นค้ า ผลิ ตภั ณฑ์ กิจกรรม และองค์ความรู้ของกลุ่มตนเองในท้องถิ่นให้แก่กลุ่มคนภายนอกได้รับรู้ ในจังหวัดเชียงรายมีเว็บไซต์ ทั้งหมด 6 เว็บไซต์ และสื่อสังคมออนไลน์ทั้งหมด 4 สื่อสังคมออนไลน์ดังนี้ ตัวอย่างเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ขายสินค้าออนไลน์ของสตรีดอ้ ยโอกาสจังหวัดเชียงราย

ภาพที่ 3.13 เว็บไซต์กลุ่มแม่สาย Strawberry http://Winethemaesaistrawberrywine. wordpress.com

ภาพที่ 3.14 เว็บไซต์กลุ่มสวนแก้วมังกร http://teezaploynil.wordpress.com

บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 50


ภาพที่ 3.15 เว็บไซต์กลุ่มผ้าด้นมือเปิงเปียณ http://puengpian.wordpress.com

ภาพที่ 3.16 เว็บไซต์กลุ่มพรมเช็ดเท้า http://doingamphancarpets.wordpress.com

ภาพที่ 3.17 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มแม่สาย Strawberry wine

ภาพที่ 3.18 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มแปรรูปกาแฟปางซาง

บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 51


ภาพที่ 3.19 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มกาแฟตอเซีย

3.8

ผลการประเมินศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมภายใต้การดูแลของศูนย์การเรียนรู้การพัฒนา สตรีและครอบครัว จังหวัดเชียงราย

ใช้ วิ ธี ก ารสั ม ภาษณ์ แ ละแบบสอบถามโดยใช้ เ กณฑ์ ตั ว ชี้ วั ด ผลการปฏิ บั ติ ง าน (Key Performance Indicators; KPIs) ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 5 มิติในการประเมินผลการปฏิบัติงานและ วัดความสําเร็จของศูนย์ฯ (การจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม ประจําปี พ.ศ.2553 (Universal Service Obligation) ศูนย์อินเทอร์เน็ตชุมชน, 2553) ดังผลที่ได้จากการประเมินในแต่ ละมิติดังนี้ 3.8.1 มิติด้านบุคลากร (Man) มีลักษณะเหมือนกับจังหวัดลําปาง กล่าวคือ 3.8.1.1 การคัดเลือกผู้ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม สํานักงาน กสทช.มอบหมาย ให้เป็นความรับผิดชอบของศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวในการคัดเลือกและการจ้างงาน ดังนั้น การพัฒนาทักษะความรู้ต่างๆที่จําเป็นในการเป็นเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม จึงขาดการฝึกอบรม และพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุที่ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดเชียงรายไม่มี งบประมาณมากเพียงพอที่จะสนับสนุนการฝึกอบรมทักษะความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ให้แก่ผู้ดูแลศูนย์ 3.8.1.2 การบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตในความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ดูแล ศูนย์ฯ ไม่มีความคล่องตัว เนื่องจากไม่สามารถตัดสินใจดําเนินการจัดกิจกรรมหรือเปิดรับสมัครผู้สนใจทั่วไป บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 52


ฝึกอบรมให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสเองได้ ด้วยเหตุผลของระเบียบทางราชการต้องผ่านความเห็นชอบและความ ยินยอมจากทางผู้บริหารศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดเชียงรายก่อน ซึ่งถ้าหากไม่มี งบประมาณสนับสนุนในกิจกรรมการฝึกอบรม ก็ทําให้ไม่สามารถผลักดันให้ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมเกิด ประโยชน์สูงสุดตามเจตนารมณ์ของการจรัดตั้งศูนย์อินเทอร์เน็ตได้ 3.8.2 มิติด้านพัสดุ (Material) มีลักษณะเหมือนกับจังหวัดลําปาง กล่าวคือ พบประเด็ น ในเรื่ องของการดูแ ลรักษาความสะอาดของเครื่ อ งคอมพิวเตอร์ แ ละ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ไม่ได้รับการดูแลรักษาความสะอาดเท่าที่ควร และจํานวน เครื่องคอมพิวเตอร์ภายในศูนย์มีทั้งหมด 20 เครื่อง (ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ นํามาเพิ่มเติม 10 เครื่อง) พบว่ามีสภาพพร้อมใช้งานจริง 15 เครื่อง นอกนั้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระหว่างการดําเนินการซ่อมแซม และมีปัญหาเรื่องสัญญาณอินเทอร์เน็ตที่มีความช้าและไม่เสถียรเท่าที่ควร 3.8.3 มิติด้านงบประมาณ (Money) 3.8.3.1 การบริหารจัดการเรื่องงบประมาณได้รับการสนับสนุนจากชุมชนและหน่วยงาน ท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย เพื่อใช้ในการบริหารจัดการศูนย์ฯ ซึ่งมีความโปร่งใสตรวจสอบได้ มีการบริหาร จัดการเรื่องงบประมาณและทํารายงานประจําปีทุกครั้ง ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ภายในศูนย์ฯ จะเป็นค่าไฟฟ้าและ ค่าเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลศูนย์ 3.8.3.2 การกําหนดนโยบายในการบริหารจัดการระบบงบประมาณ เน้นการพึ่งตนเอง เน้นความโปร่งใสและคล่องตัว เพื่อให้สามารถที่จะบริหารจัดการตัวเองได้ โดยเฉพาะในรูปแบบของธุรกิจเพื่อ สังคม (Social Entreprise) 3.8.4 มิติด้านการบริหารจัดการ (Management) 3.8.4.1 ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์เรียนรู้การพัฒนา สตรีและครอบครัวจังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นสถานที่จัดตั้งศูนย์ฯ และองค์การบริหารส่วนตําบล รวมถึงหน่วยงาน ด้านการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงรายที่ให้การสนับสนุนด้านการฝึกอบรม เป็นการร่วมมือกัน ส่งเสริมให้สตรีด้อยโอกาสในท้องถิ่นเกิดความตระหนักในการใช้ประโยชน์จากศูนย์ฯ 3.8.4.2 การประชาสัมพันธ์ให้สตรีด้อยโอกาสในชุมชนทราบวัตถุประสงค์ของการ จัดตั้งศูนย์ฯ และแผนการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แก่ประชาชน โดยมีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ เช่น เว็บไซต์และ facebook ของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดเชียงราย รวมถึงกิจกรรมการฝึกอบรม การประชาสัมพันธ์ ผ่านทางสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ เป็นต้น 3.8.4.3 การกําหนดระเบียบหรือหลักเกณฑ์ที่เน้นต่อการเอื้อประโยชน์ในการให้บริการ แก่ประชาชนในรูปแบบที่ประชาชนต้องการหรือตรงกับความต้องการของประชาชน

บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 53


3.8.5 มิติด้านผลผลิต (Output) 3.8.5.1 ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม มีอินเทอร์เน็ตความเร็วไม่เพียงพอต่อการใช้งาน และบริการของชุมชน ไม่มีสัญญาณ Wifi เพื่อรองรับอุปกรณ์ส่วนตัวของผู้ใช้บริการหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3.8.5.2 มีการจัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับทักษะการใช้งาน คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นเป็นประจํา โดยมีหลักสูตรฝึกอบรมเป็นหลักสูตรระยะสั้น (ตัดเย็บเสื้อผ้า สตรี เสริมสวยและตัดผม โภชนาการ) งานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชีเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย สาขา การตลาด ซึ่งผู้ที่ต้องการเข้าเรียนในหลักสูตรต่างๆ ของศูนย์ฯ สามารถเข้ามาสมัครออนไลน์ได้ที่เว็บไซต์ (http://www.vtw-cr.go.th/) เป็นการใช้เทคโนโลยีเข้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์และหากมีผู้เข้ามาใช้บริการ ภายในศูนย์ฯ จะมีเจ้าหน้าที่คอยแนะนําให้คําปรึกษา 3.8.5.3 มีการพัฒนาเว็บไซต์สําหรับการบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตผ่านทาง เว็บไซต์ของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดเชียงราย (http://www.vtw-cr.go.th/) เพื่อเป็น สื่อกลางในการค้นคว้าแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ การเชื่อมโยงเข้ากับแหล่งข้อมูลและสื่อการเรียนรู้ของ หน่วยงานท้องถิ่นในชุมชน

3.9 การวิเคราะห์ SWOT กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย การศึกษาในครั้งนี้เน้นการศึกษาภาพรวมที่ใช้หลักการของ SWOT เข้ามาวิเคราะห์ แต่เป็น การวิเคราะห์โดยรวมเป็น 2 ประเด็นหลักคือ 1) ประเด็นเกี่ยวกับจุดแข็งและโอกาส และ 2) ประเด็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค รวมทั้ ง ความท้ า ทายต่ า งๆของกลุ่ ม สตรี ก ลุ่ ม นี้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสร้ า ง การพั ฒ นา การ แก้ปัญหาต่างๆเกี่ยวกับเศรษฐกิจชุมชนที่ดําเนินการอยู่ ดังนี้ 3.9.1 ประเด็นเกี่ยวกับจุดแข็งและโอกาส กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงรายมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาอาชีพของ ชุมชน คือ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่มีบริบทเชิงพื้นที่เป็นธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนเพื่อพัฒนา ให้เกิดอาชีพ เช่น การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การทําไร่สตอเบอรี่ การทอผ้าจากเส้นใยธรรมชาติ การทําลวดลาย ผ้าพื้นเมืองที่มีมาตั้งแต่บรรพบุรุษถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ทําให้ต่อมามีการพัฒนาต่อยอดเป็นการรวมกลุ่มและการ สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพที่รวมตัวกันอย่างเข็มแข็ง เพื่อพัฒนากลุ่มอาชีพ สินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีความ ทันสมัยกับยุคปัจจุบันและมีเอกลักษณ์เฉพาะชุมชนที่โดดเด่น 3.9.2 ประเด็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค รวมทั้งความท้าทายต่างๆ (1) กลุ่ม ตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสขาดทักษะด้านการใช้งานอุปกรณ์ เทคโนโลยีส ารสนเทศ เบื้องต้น เช่น การใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นส่งผลกระทบต่อการเข้าร่วมกิจกรรม โดยต้องมีการ จัดแบ่งกลุ่มผู้เข้าอบรมที่มีพื้นฐานความรู้เท่ากันเรียนรู้ด้วยกัน หรืออาจจะให้ผู้อบรมที่มีความรู้คอยช่วยผู้ที่ไม่มี บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 54


พื้นฐานจึงได้รับการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาส ไม่สามารถใช้แป้นพิมพ์ได้ อย่ า งถู ก ต้ อ ง ไม่ รู้ จั ก เมนู ใ นหน้ า จอคอมพิ ว เตอร์ ทํ า ให้ ไ ม่ ส ามารถใช้ ง านเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ไ ด้ แต่ ส ตรี กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เครื่องมือที่เป็นของตนเองได้อย่างชํานาญ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต เป็นต้น (2) กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสขาดความรู้และการปรับประยุกต์ด้านการนําวัตถุดิบหรือสิ่งที่ มีในท้องถิ่นของตนเองมานําเสนอหรือใช้ให้เกิดประโยชน์ (3) กลุ่ ม ตั ว อย่ า งสตรี ด้ อ ยโอกาสที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมส่ ว นใหญ่ เ ป็ น เยาวชนจึ ง ยั ง ไม่ เ ห็ น ความสําคัญของการสร้างรายได้จากสินค้า ผลิตภัณฑ์ที่มีในท้องถิ่นหรือในชุมชนของตนเอง ยังมีความคิดเป็น เรื่องไกลตัว

3.10 การวิเคราะห์ SWOT ด้านที่เกี่ยวข้องกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมจังหวัดเชียงราย 3.10.1 ประเด็นเกี่ยวกับจุดแข็งและโอกาส หน่ วยงานดู แลรั บผิ ดชอบศู นย์อินเทอร์ เน็ตเพื่อสังคมมีความแข้ ม แข็ งในการประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อคัดเลือกสตรีด้อยโอกาสเข้ารับการฝึกอบรม และมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ทําให้ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมได้ใช้ประโยชน์ในส่งเสริมกลุ่มเป้าหมายทางสังคมโดยตรง และทําให้นักเรียน สตรีด้อยโอกาสที่เข้ารับการฝึกอบรมวิชาชีพกับศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวเชียงรายมีโอกาสใช้ งานอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ตลอดระยะเวลาของการเรียนหลักสูตรฝึกอบรมวิชาชีพ และสามารถ สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเพื่อใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น การออกแบบเสื้อผ้า การออกแบบ ลวดลายเล็บและสีผม การทํารายงาน และการทําการบ้าน นอกจากนี้ ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ยังใช้เป็นแหล่งเรียนรู้อิสระควบคู่ไปกับการฝึกอาชีพ ของสตรีด้อยโอกาส เมื่อสําเร็จการศึกษาแล้วสามารถออกไปประกอบอาชีพอิสระของตนเองได้ และใช้สื่อ สังคมออนไลน์ในอนาคต ต่อไป 3.10.2 ประเด็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค รวมทั้งความท้าทายต่างๆ (1) จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ไม่เพียงพอต่อการใช้งานของนักเรียนสตรีด้อย โอกาสทําให้ต้องนั่งเรียน 2 คนต่อ 1 เครื่อง ซึ่งนักเรียนจะไม่สามารถฝึกทักษะความชํานาญในการใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตทําสื่อสังคมออนไลน์ได้อย่างคล่องตัว (2) ความเร็ ว อิ น เทอร์ เ น็ ต ไม่ เ หมาะสมต่ อ การใช้ ง านและกิ จ กรรมฝึ ก อบรม เนื่ อ งจาก สัญญาณอินเทอร์เน็ตไม่สามารถเชื่อมต่อสัญญาณได้เร็วพอ บางครั้งใช้ระยะเวลานานในการเชื่อมต่อ ส่งผลต่อ การดําเนินกิจกรรมต่างๆ เป็นไปอย่างล่าช้า และการบริการที่ไม่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการเข้ามาใช้บริการที่ สัญญาณอินเทอร์เน็ตต้องใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ของทางศูนย์ฯ เท่านั้น ไม่มีบริการสัญญาณ Wifi สําหรับผู้ที่ ใช้เครื่องมือสื่อสารของตนเองมาใช้ บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 55


(3) การเข้าใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมของประชาชนทั่วไป มีข้อจํากัดและมีความ ยุ่งยากค่อนข้างมาก เช่น ข้อกําหนดเกี่ยวกับเวลาเข้าออกศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ และขั้นตอนการขอ อนุญาตใช้ห้องอินเทอร์เน็ต เนื่องจากศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวเป็นหน่วยงานของรัฐที่มี ระดับความเข้มงวดของการเข้าออกอาคารสถานที่ และไม่ได้เปิดกว้างให้บุคคลทั่วไปเข้ามาใช้บริการศูนย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมอย่างกว้างขวาง เหมือนศูนย์อินเทอร์เน็ตที่ตั้งอยู่ในชุมชน

บทที่ 3 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดเชียงราย

หน้า 56


บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ การศึกษาครั้งนี้ได้ทําการศึกษาองค์รวมเกี่ยวกับบริบทเชิงพื้นที่ บริบทเชิงสังคม ศึกษาผลของ การจัดกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส โดยทําการศึกษาจุดอ่อน จุดแข็ง ปัญหาและ อุปสรรค โอกาสต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสร้างรายได้ให้แก่กลุ่ม สตรีด้อยโอกาสพื้นที่เป้าหมาย อีกทั้งการประเมินผลการดําเนินงานศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมด้วย โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้

4.1 บริบทเชิงพื้นที่ของจังหวัดศรีสะเกษ1 ภู มิ ป ระเทศ จั ง หวั ด ศรี ส ะเกษนั้ น ตอนใต้ มี ทิ ว เขาพนมดงรั ก ซึ่ ง ทอดตั ว ในแนวตั ว ตก และ ตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา ยอดเขาสูงสุดในจังหวัดชื่อ "พนมโนนอาว" สูงหกร้อย เจ็ดสิบเอ็ดเมตรจากระดับทะเลปานกลาง โดยตั้งอยู่ในเขตอําเภอกันทรลักษ์ จากเขาพนมโนนอาวนี้ พื้นที่ค่อย ๆ ลาดต่ําขึ้นไปทางเหนือลงสู่ที่ราบลุ่มแม่น้ํามูล ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลอนลาด มีระดับความสูง ระหว่างหนึ่งร้อยห้าสิบเมตรถึงสองร้อยเมตรจากระดับทะเลปานกลาง มีลําน้ําหลายสายไหลผ่านที่ราบลอน ลาดนี้ลงไปยังแม่น้ํามูลซึ่งได้แก่ ห้วยทับทัน ห้วยสําราญ และห้วยขะยุง ตัวเมืองตั้งอยู่ฝั่งห้วยสําราญ ห่างจาก แม่น้ํามูลไปทางทิศใต้ประมาณสิบกิโลเมตร และอยู่สูงจากระดับทะเลปานกลางหนี่งร้อยยี่สิบหกเมตร ทางตอนเหนือของจังหวัดมีแม่น้ํามูลไหลผ่านเขตอําเภอราษีไศล อําเภอยางชุมน้อย และอําเภอ กันทรารมย์ เป็นระยะทางยาวประมาณหนึ่งร้อยยี่สิบกิโลมเตร บริเวณนี้ถือเป็นแหล่งอุดมสมบูรณ์ที่สุดของ จังหวัด เนื่องจากเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ําขนาดใหญ่อันอยู่สูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 115-130 เมตร อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร และจังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี ทิศใต้ ติดต่อกับราชอาณาจักรกัมพูชา ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดร้อยเอ็ด ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไปของจังหวัดศรีสะเกษ มีอากาศร้อนจัดในฤดูร้อนและ ค่อนข้างหนาวจัดในฤดูหนาว ส่วนฤดูฝนจะมีฝนตกหนักในเดือนกันยายน โดยมักจะตกหนักในพื้นที่ตอนกลาง และตอนใต้ของจังหวัด ส่วนพื้นที่ทางตอนเหนือของจังหวัดจะมีปริมารฝนตกน้อย และไม่ค่อยสม่ําเสมอ โดย เฉลี่ยแล้วในปีหนึ่ง ๆ จะมีฝ นตก 100 วัน ปริมาณฝนเฉลี่ย 1,200-1,400 มิลลิเมตรต่อปี อุณหภูมิต่ําสุด 1

http://th.wikipedia.org/wiki

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 57


ประมาณ 10 องศาเซลเซี ยส สู ง สุ ด ประมาณ 40 องศาเซลเซี ยส เฉลี่ ย ประมาณ 26-28 องศาเซลเซี ย ส ความชื้นสัมพันธ์เฉลี่ยร้อยละ 66-73 ทรัพยากรป่าไม้ ลักษณะป่าไม้ของจังหวัดศรีสะเกษ ส่วนใหญ่เป็นป่าโปร่ง ประกอบด้วยป่ายาง ไม้เต็ง ไม้ประดู่ ไม้แดง ไม้กระบาก และไม้เบญจพรรณ จังหวัดศรีสะเกษมีพื้นที่ป่าไม้แยกเป็นป่าอนุรักษ์ (3 แห่ง 472,075 ไร่) ป่าสงวน (4 ป่า 92,042 ไร่) ป่าชุมชน (อยู่ในเขตป่าสงวน 25,621 ไร่ ป่าไม้ 1,845 ไร่ ป่าสาธารณะประโยชน์ 7,094 ไร่) ป่าเศรษฐกิจ (Zone E: 825,246 ไร่) พื้นที่ป่าไม้ที่สมบูรณ์ร้อยละ 11.67 ของพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ แหล่งน้ํา จังหวัดศรีสะเกษ มีแหล่งน้ําที่สําคัญและมีผลต่อกิจกรรมการเกษตร การประมง ดังนี้ แม่น้ํามูล ต้นน้ําเกิดจากเทือกเขาดงพญาเย็นในท้องที่อําเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ไหลเข้าสู่จังหวัดศรี สะเกษ บริเวณอําเภอราษีไศล ไหลผ่านอําเภอยางชุมน้อย อําเภอเมืองศรีสะเกษ และอําเภอกันทรารมย์ แล้ว ไหลไปบรรจบแม่น้ําชี ที่จังหวัดอุบลราชธานี พื้นที่ทางทิศเหนือของแม่น้ํามูลลักษณะเป็นที่ราบลุ่มมีสภาวะน้ํา ท่วมขังในฤดูฝน ห้วยทับทัน ไหลมาจากอําเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ เป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างจังหวัดสุรินทร์และ จังหวัดศรีสะเกษในเขตอําเภออุทุมพรพิสัย ไหลลงไปบรรจบแม่น้ํามูลบริเวณอําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ ห้วยสําราญ ไหลมาจากเขตอําเภอปรางค์กู่ ผ่านอําเภอเมืองศรีสะเกษ แล้วไหลลงแม่น้ํามูล ที่เขต อําเภอเมืองศรีสะเกษ ห้วยศาลา เป็นแหล่งน้ําธรรมชาติที่ดัดแปลงทําเป็นเขื่อนเก็บน้ําที่ไหลมาจากห้วยสําราญและมี ต้นน้ําจากห้วยพนมดงรัก สามารถบรรจุน้ําได้สูงสุด 52.5 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพื้นที่ทําการชลประทาน จํานวน 20,400 ไร่ มีน้ําตลอดปี เขื่อนราษีไศล เป็นเขื่อนคอนกรีต มีบานประตูระบายน้ํา 7 บาน กั้นแม่น้ํามูลที่บ้านห้วย-บ้าน ดอน ตั้งอยู่ อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ เขื่อนเริ่มเก็บกักน้ําในปี พ.ศ. 253 กายเป็นแหล่งผลิตข้าวหอม มะลิที่สําคัญของประเทศ และกลายเป็นอู่ข้าวอู่น้ําที่มีชื่อเสียงของไทย การคมนาคม แผนที่ท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษจากกรุ งเทพมหานครสามารถเดินทางไปยั ง จังหวัดศรีสะเกษได้ดังนี้ โดยรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ มาลงที่สถานีศรีสะเกษ ระยะทาง 515.09 กิโลเมตร โดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถึงทางแยกเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ที่กิโลเมตรที่ 107 แล้วไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 ถึงจังหวัดนครราชสีมา แยก ทางขวาเข้ าทางหลวงหมายเลข 226 ผ่ านจั งหวั ดบุรีรั ม ย์แ ละจั งหวั ดสุ ริ น ทร์ จึงถึง จั งหวัดศรีส ะเกษ รวม ระยะทาง 571 กิโลเมตร โดยรถโดยสารประจํ า ทาง สามารถเดิ น ทางจากสถานี ข นส่ ง ผู้ โ ดยสารกรุ ง เทพฯ สาย ตะวันออกเฉียงเหนือ มาลงที่สถานีรขนส่งผู้โดยสารจังหวัดศรีสะเกษได้โดยตรง โดยเครื่องบิน สามารถเดินทางโดยสายการบินภายในประเทศมายังท่าอากาศยานอุบลราชธานี และเดินทางต่อมายังจังหวัดศรีสะเกษ ด้วยระยะทางอีกประมาณ 60 กิโลเมตร

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 58


การปกครอง มีทั้งหมดอําเภอ 22 อําเภอ มีประชากรราว 1.45 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติ พันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่างๆ กัน อาทิ ภาษาลาว ภาษากูย ภาษาเยอ และภาษาเขมรลือ ส่วนใหญ่ ประชากรในจังหวัดศรีสะเกษเป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิม มีการตั้งถิ่นฐานในจังหวัดศรีสะเกษมา แต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนเกิดพัฒนาการที่เข้มข้นในสมัยอาณาจักรขอมซึ่งได้ทิ้งมรดกทางวัฒนธรรมหลาย ประการไว้ เช่น ปราสาทหินและปรางค์กู่ ศิลปะขอมตั้งกระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง มีแหล่งท่องเที่ยวและ สถานที่สําคัญในจังหวัดศรีสะเกษ เช่น อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ศรีสะเกษ ปรางค์กู่ ปราสาทหินวัดสระกําแพงน้อย ปราสาทสระกําแพงใหญ่ ปราสาทเยอ ปราสาทหินบ้านปราสาท ปราสาทหินโดนตวล บึงนกเป็ดน้ําไพรบึง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าพนมดงรัก และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยศาลา ส่วนด้านเศรษฐกิจนั้นพึ่งพาเกษตรกรรมเป็นหลัก พืชเศรษฐกิจที่สําคัญ คือ ข้าวหอมมะลิ ผลไม้ เช่น ทุเรียน และเงาะ พืชสวน เช่น หอมแดง กระเทียม และยางพาราตลอดจนพืชไร่ เช่น มันสําปะหลัง และถั่วลิสง (ศูนย์ สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง, 2553)

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 59


4.2 บริบทเชิงสังคมของจังหวัดศรีสะเกษ ประชากรจังหวัดศรีสะเกษส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรม จะเห็นได้จากครัวเรือน เกษตรกรมีถึง 176,439 ครัวเรือน จํานวนเกษตรกร 1.1 ล้านคน สภาพทางเศรษฐกิจจึงขึ้นอยู่กับปริมาณ ผลผลิตและระดับราคาพืชผลทางเศรษฐกิจ พืชผลหลักทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ข้าว มันสําปะหลัง หอมแดง กระเทียม ข้าวโพด ปอแก้ว ถั่วลิสง ส่วนอาชีพที่สําคัญรองลงมาคือ อุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการ แปรรูปผลผลิตการเกษตร การค้าและการบริการ ในปี พ.ศ.2539 จังหวัดศรีสะเกษมีพื้นที่ทางการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 63.37 ของพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัด พืชผลทางเศรษฐกิจที่สําคัญ คือ ข้าว เป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญทํารายได้มากเป็นอันดับ 1 ของ จังหวัด มีการเพาะปลูกทุกอําเภอ ผลผลิตทีทั้งข้าวเหนียวและข้าวเจ้า ประมาณร้อยละ 86.64 เป็นข้าวเจ้า ซึ่ง เป็นข้างหอมมะลิที่ปลูกได้ดีในเขตดินเค็มบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ ปริมาณผลิตข้าวของจังหวัดศรีสะเกษอยู่อันดับ ที่ 7 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่ปลูกข้าวมาก ได้แก่ อ.ขุขันธ์ อ.เมือง อ.ราษีไศล อ.อุทุมพรพิสัย อ.ไพรบึง อ.กันทรลักษ์ อ.กันทรารมย์ อ.ปรางค์กู่ และอ.วังหิน การทํานาได้พัฒนาจากการทํานาดําเป็นนา หว่าน ซึ่งทําให้เวลาการทํานาลดลง แต่เพิ่มค่าใช้จ่ายคือย่าฆ่าหญ้าที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสภาพแวดล้อมและ เพิ่มต้นทุนการผลิต ภาวะเศรษฐกิจปี 2558 โดยรวมขยายตัวพิจารณาจากภาคการเกษตรขยายตัวจากมูลค่าข้าวและ ยางพารา ด้านปศุสัตว์และด้านประมงมีมูลค่าลดลง ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวจากจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม ทุนจดทะเบียนโรงงานสะสม และปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นตามปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้น ภาคบริการและการท่องเที่ยวขยายตัวจากจํานวนนักท่องเที่ยวอุทยาน แห่งชาติเขาพระวิหาร จํานวนผู้เข้าชม ศูนย์แสดงพันธุสัตว์น้ําเทศบาลเมืองศรีสะเกษ และจํานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้าออกราชอาณาจักรเพิ่มขึ้น และด้านอุปสงค์ขยายตัวพิจารณาจากการลงทุนภาคเอกชนจากจํานวนรถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่ และ ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคธุรกิจเพิ่มขึ้น การบริโภคภาคเอกชนขยายตัวจากจํานวนรถยนต์นั่งสวนบุคคลและ รถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ปริมาณการใช้ไฟฟ้าครัวเรือนเพิ่มขึ้น ส่วนการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มลดลง เล็กน้อยสอดคล้องกับรายได้เกษตรกรที่เพิ่มขึ้น การใช้จ่ายภาครัฐหดตัว (ร้อยละ 34.80) จากการเบิกจ่ายงบ ประมาณลดลง ในส่วนของงบปีระมาณรายจ่ายประจําและรายจ่ายงบลงทุนการค้า ชายแดนมีมูลค่าเพิ่มขึ้น จากมูลค่าการนําเข้า ภาคเกษตรโดยรวมขยายตัว (ร้อยละ 131.12) จากมูลค่าผลผลิตด้านเกษตรกรรม (ร้อยละ194.48) จากข้าวนาปีสามารถเก็บเกี่ยวได้เร็วกว่าปี 2557 และปริมาณยางพาราเพิ่มขึ้น ถึงแม้ราคาจะ ตกต่ํา มูลค่าด้านผลผลิตรวมด้านปศุสัตว์ลดลง (ร้อยละ 1.19) จากมูลค่าผลผลิตโคเนื้อ ไก่ และกระบือลดลง และมูลค่าผลผลิตด้านประมงลดลง (ร้อยละ1.49) ภาคอุตสาหกรรมโดยรวมขยายตัว ภาคการค้าระหว่าง ประเทศมูลค่าการค้าชายแดนไทย–กัมพูชา มีมูลค่า 75.75 ล้านบาท (ร้อยละ 1.75) จากการนําเข้ามีมูลค่าเพิ่ม ขึ้น ส่งผลให้ดุลการค้าเกินดุล ส่งผลให้การจ้างงานในจังหวัดเพิ่มขึ้น พิจารณาจากจํานวนลูกจ้างในระบบ ประกันสังคม (สํานักงานแรงงานจังหวัดศรีสะเกษ, 2558) ในส่วนของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแรงงานและการมีงานทํา ประชากรในจังหวัดศรีสะเกษมีสัดส่วน ของเพศชายมีน้อยกว่าเพศหญิงเล็กน้อย กล่าวคือ เพศชาย มีจํานวน 506,955 คน (ร้อยละ 48.6) เพศหญิง มีจํานวน 536,253 คน (ร้อยละ 51.4) โดยประชากรทั้งหมดพบว่าเป็นผู้อยู่ในวัยทํางานจํานวน 800,650 คน (ร้อยละ 76.75) พบว่าเป็นผู้อยู่ในกําลังแรงงาน 602,098 คน โดยจําแนกเป็นผู้มีงานจํานวน 600,313 คน (ร้อยละ 74.98) เพศชายมีอัตราส่วนการมีงานทําร้อยละ 99.86 เพศหญิงมีร้อยละ 99.53 ส่วนอัตราว่างงาน บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 60


พบว่าชายมีอัตราการว่างงานต่ํากว่าหญิงเล็กน้อย ทั้งนี้ อัตราการว่างงงานขึ้นอยู่กับช่วงฤดูการเกษตรต้องมี การจ้างแรงงานมากขึ้น (สํานักงานแรงงานจังหวัดศรีสะเกษ, 2558) 300,000

ใช้

250,000

ไม่ใช้

200,000 150,000 100,000 50,000 0 โทรศัพท์

โทรสาร

คอมพิวเตอร์

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

ภาพที่ 4.1 แผนภูมิการรายงานผลการสํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557 (ที่มา สํานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2558)

จากภาพที่ 4.1 แสดงให้เห็นดังนี้ การเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประชาชนใน จังหวัดศรีสะเกษมีสัดส่วนน้อยมาก เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าถึงการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์ ประชาชนในจังหวัดศรีสะเกษมีการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ 7,636 คน ไม่ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ 280,259 คน ใช้โทรสาร 2,210 คน ไม่ใช้โทรสาร 5,425 คน ใช้คอมพิวเตอร์ 67,435 คน ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ 220,460 คน ใช้งานอินเทอร์เน็ต 53,484 คน และไม่ใช้งานอินเทอร์เน็ต 234,411 คน นั่นแสดงให้เห็นว่า ประชาชนในจังหวัดศรีสะเกษยังคงมีส่วนน้อยที่ใช้ ICT ในชีวิตประจําวัน

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 61


4.3 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ : ถอดบทเรียน จากการศึกษาบริบทเชิงสังคมที่เกี่ยวข้องกับสตรีด้อยโอกาสของจังหวัดศรีสะเกษ ได้ผลของการศึกษา ของข้อมูลพื้นฐานดังนี้ 40 35 30 25 20 15 10 5 0 น้อยกว่า 20 ปี

21-30 ปี

31-40 ปี

41-50 ปี

51 ปีขึ้นไป

ภาพที่ 4.2 แสดงร้อยละช่วงอายุของกลุ่ม

45

50 35

40 30 20 10 0

10

10 0

0

0

ภาพที่ 4.3 แสดงร้อยละระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 62


ต่ํากว่า 5,000 บาท 5,001-15,000 บาท 15,001-20,000 บาท 20,001 ขึ้นไป

100 80

20%

5%

60 40

75%

20 0 1-5 คน

6-10 คน

11-15 คน

ภาพที่ 4.4 แสดงจํานวนสมาชิกในครอบครัวของ กลุ่มตัวอย่าง

ภาพที่ 4.5 แสดงร้อยละรายได้ต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่าง

จากภาพที่ 4.2-4.5 จากการศึกษากลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสที่เข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรม ของสํานักงาน กสทช. จํานวน 33 คน พบว่า (1) ช่วงอายุของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาส พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 35 มีอายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี รองลงมา ร้อยละ 30 มีอายุอยู่ในช่วง 41-50 ปี ร้อยละ 25 มีอายุอยู่ในช่วง 31-40 ปี ตามลําดับ (2) ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาส พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 45 จบการศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. รองลงมา ร้อยละ 35 จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น และร้อยละ 10 จบ การศึกษาต่ํากว่ามัธยมศึกษาตอนต้น ตามลําดับ (3) ลักษณะครอบครัวของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาส พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 95 อยู่ในครัวเรือน ขนาดเล็กมีสมาชิกในครอบครัว 1-5 คน รองลงมา ร้อยละ 5 อยู่ในครัวเรือนขยายขนาดกลาง มีสมาชิกใน ครอบครัว 6-10 คน ตามลําดับ (4) รายได้ต่อเดือนของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาส พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 75 มีรายได้ต่อเดือน โดยเฉลี่ยต่ํากว่า 5,000 บาท รองลงมาร้อยละ 20 มีรายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 5,001-15,000 บาท และร้อยละ 5 มีรายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 20,001 ขึ้นไป

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 63


4.4 ผลการศึกษาความสามารถด้าน ICT ของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสที่เข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรม เมื่อผ่านการฝึกอบรมจากวิทยากร แล้วพบว่า สามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์เทคโนโลยีการสื่อสาร ทั้งคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์แบบ สมาร์ทโฟน เพื่อจําหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เช่น ผ้าพื้นเมือง ผ้าไหม ที่ตอนเองผลิตจําหน่ายหรือมีในชุมชน ท้องถิ่นของตนเอง เช่น การตกแต่งรูปภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูปจากมือถือ สมาร์ท โฟน หรือการใช้โปรแกรมการสร้างงานด้านเอกสาร เช่น Microsoft Word, Microsoft Powerpoint, Microsoft Excel และสามารถใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบสมาร์ทโฟน เพื่อส่งต่อข้อมูล เพื่อการจัดการเกี่ยวกับ รูปภาพไม่ว่าจะเป็นการถ่ายภาพ การตกแต่งภาพ การเลือกสรรภาพ เพื่อนําไปสู่การพัฒนาช่องทางการตลาดที่ มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณาหรือการประชาสัมพันธ์ เนื่องจากกลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เข้าร่วมกิจกรรมมีทั้งกลุ่มแม่บ้านที่มีผลิตภัณฑ์ชุมชนของตนเอง และกลุ่มเยาวชนสตรีที่เข้ารับการฝึกอบรมเกี่ยวกับวิชาชีพภายในศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งอยู่ในช่วงวัยที่สามารถเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีได้ในระดับดี และกลุ่มแม่บ้านที่เข้าร่วม กิจกรรมส่วนใหญ่มีความต้องการที่จะพัฒนาตนเองในด้าน ICT จึงให้ความร่วมมือกับกระบวนการจัดการเรียน การสอนและการบรรยายของคณะวิทยากร และพื้นฐานการใช้ ICT ของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาส มีดังนี้

9% 17%

4%

0%

0%

ใช้ที่บ้าน ใช้ในสถานที่ทํางาน ใช้ร่วมกันในครอบครัว ใช้ในที่บริการต่างๆ

9%

4%

13%

มือถือธรรมดา มือถือแบบสมาทโฟน คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ทีวีดาวเทียม

70% 74%

ภาพที่ 4.6 สถานที่ในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกลุ่มตัวอย่าง

ภาพที่ 4.7 สื่ออุปกรณ์เทคโนโลยีสื่อสารที่ใช้เป็นประจํา ของกลุ่มตัวอย่าง

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 64


12

10

10

8

8

6

6 4

4

2

2

0

ทุกวัน สัปดาห์ละ สัปดาห์ละ สัปดาห์ละ สัปดาห์ละ 6 ครั้ง 5 ครั้ง 4 ครั้ง 3 ครั้ง

ภาพที่ 4.8 ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ตของกลุ่มตัวอย่าง

0 การฝึกอาชีพ สิทธิประโยชน์

แหล่งงาน

ภาพที่ 4.9 ประเภทข้อมูล/ข่าวสารที่เข้าถึงด้วย อินเทอร์เน็ตของกลุ่มตัวอย่าง

Facebook

12

15%

10 8

10%

Google 45%

6 2

Instagram Twitter

15%

4

YouTube

e-Mail 15%

0 การศึกษา

สุขภาพ

แหล่งงาน

ภาพที่ 4.10 ข้อมูล/ข่าวสารที่กลุ่มตัวอย่าง

ภาพที่ 4.11 สื่อออนไลน์/เทคโนโลยีสารสนเทศ

มีความต้องการ

ที่กล่มตัวอย่างใช้เป็นประจํา

จากแผนภูมิภาพที่ 4.6-4.11 ข้างต้นแสดงให้เห็นบริบทของการใช้ ICT ของกลุ่มตัวอย่างสตรี ด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษพบว่า (1) กลุ่ม ตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสของจังหวัดศรีสะเกษมีประสบการณ์ใ นการใช้ ICT เฉลี่ย ประมาณ 6 ปี โดยส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ใช้ ICT ที่บ้านของตนเอง รองลงมาคือร้อยละ 17 ใช้ในที่ทํางาน

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 65


(2) ประเภทสื่ออุปกรณ์เทคโนโลยีสื่อสารที่ใช้เป็นประจําของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ร้อยละ 74 ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่หรือมือถือแบบสมาร์ทโฟน รองลงมาร้อยละ 13 ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบธรรมดา และ ร้อยละ 9 ใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ตามลําดับ (3) ความบ่อยครั้งในการเข้าใช้อินเทอร์เน็ตของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบข้อคําถามทั้งหมด 20 คน พบว่า มีจํานวน 10 คน หรือร้อยละ 50 ได้ใช้อินเทอร์เน็ตทุกวัน รองลงมา มีจํานวน 4 คน หรือร้อยละ 20 ใช้ อินเทอร์เน็ตสัปดาห์ละ 6 ครั้ง และมีจํานวน 4 คน หรือร้อยละ 20 เช่นกันที่ใช้อินเทอร์เน็ตสัปดาห์ละ 5 ครั้ง (4) ประเภทข้อมูล /ข่าวสารที่กลุ่ มตัวอย่างใช้อินเทอร์เน็ตสืบค้นของกลุ่ มตัวอย่างที่ ตอบข้อ คําถามทั้งหมด 18 คน พบว่า มีจํานวน 8 คน หรือร้อยละ 44.5 ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูลด้านการ ฝึกอาชีพ รองลงมา มีจํานวน 6 คน หรือร้อยละ 33.3 ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ ต่างๆ และมีจํานวน 4 คน หรือร้อยละ 22.2 ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งงานเพื่อหางานทํา (5) ข้อมูลข่าวสารที่กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสคิดว่ามีความจําเป็นต่อตนเอง และอินเทอร์เน็ต สามารถทําให้สืบค้นข้อมูลได้ง่าย จากกลุ่มตัวอย่างที่ตอบข้อคําถามทั้งหมด 19 คน พบว่า มีจํานวน 10 คน หรือร้อยละ 52.63 คิดว่าข้อมูลข่าวสารด้านการศึกษาสําคัญที่สุด รองลงมา มีจํานวน 5 คนหรือร้อยละ 26.32 คิดว่าข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพสําคัญที่สุด และมีจํานวน 4 คน หรือร้อยละ 21.05 คิดว่าข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับแหล่งงานสําคัญที่สุด (6) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ของกลุ่มตัวอย่างพบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 45 มีการใช้สื่อออนไลน์จาก Facebook ติดต่อสื่อสารเป็นประจํา รองลงมาร้อยละ 15 ใช้สื่อออนไลน์ Google และ e-mail ติดต่อสื่อสาร ตามลําดับ โดยเหตุผลที่ใช้คือต้องการนําไปใช้เกี่ยวกับการพัฒนาตนเองและชุมชน รองลงมาคือต้องการสร้าง โอกาสให้ตนเอง และรู้เท่าทันเหตุการณ์ในปัจจุบัน

4.5 ความต้องการและความคาดหวังของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษในการเข้าร่วม กิจกรรม ผลที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับความต้องการและความคาดหวังของกลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสใน จังหวัดศรีสะเกษ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลฯ” พบว่า กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสมีความคาดหวัง และความต้องการมีความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์หรือ ICT โดยเฉพาะทักษะพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับ การนําไปใช้เพื่อเพิ่มรายได้ เพิ่มโอกาส เพิ่มช่องทาง และเพิ่มเพื่อน เพิ่มเครือข่ายโดยการใช้สื่อสังคมออนไลน์ สร้างเครือข่ายในชุมชน การทําการตลาดแบบออนไลน์ และรวมทั้งต้องการนําความรู้ไปการบูรณาการกับ ทุนเดิมที่ตนเองและชุมชนมีอยู่ และใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาในมิติต่างๆ เช่น การพัฒนาอาชีพ การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาตน พัฒนาความรู้ ทําให้เกิดความเชื่อมั่นในการดํารงชีวิตมากยิ่งขึ้น

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 66


4.6 ประโยชน์ที่กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษได้รับ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับประโยชน์และสิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม “การส่งเสริม ทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลฯ” พบรายละเอียดดังนี้ (1) ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์หรือ ICT ในการสร้างธุรกิจ การเพิ่มโอกาสทาง การตลาด การขายและการเผยแพร่สินค้าที่มากขึ้นกว่าเดิม ที่จะขายทั่วไปตามงานต่างๆ แต่สิ่งที่ได้ในครั้งนี้คือ ความรู้ ทักษะและความมั่นใจเกี่ยวกับการทําร้านค้าออนไลน์ผ่านช่องทางต่างๆ ถือว่าเป็นประโยชน์ที่ชัดเจน มาก และไม่เคยทํากิจกรรมด้านนี้มาก่อน อยากให้มีการติดตามผล ต่อยอด และขยายผลให้มากยิ่งขึ้นเรื่อยๆ (2) มีความมั่นใจ มีเพื่อน และมีความคิดที่ทันสมัยยิ่งขึ้นที่เกี่ยวข้องกับการนํา ICT ไปใช้ประโยชน์ เพื่อการพัฒนาตนเอง พัฒนาอาชีพ และพัฒนาภูมิปัญญา และแหล่งท่องเที่ยวของชุมชนตนเอง ฯลฯ (3) สามารถสร้างร้านค้าออนไลน์เป็นของตนเองได้ และเรียนรู้การเขียน content สร้างเนื้อหา การประชาสัมพันธ์ให้กับร้านค้าหรือธุรกิจของตนเองได้ เช่น การเขียนเรื่องราวของผลิตภัณฑ์ การถ่ายภาพเพื่อ การประชาสัมพันธ์ เป็นต้น

4.7 ผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ จากผลการศึกษาเกี่ยวกับผลลัพธ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารฯดังกล่าว ที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลักๆคือ ให้ผู้เข้าอบรมรู้จักการ ใช้งาน ICT เบื้องต้น การใช้สื่อสังคมออนไลน์และเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ การถ่ายภาพและตกแต่งภาพ เพื่อการประชาสัมพันธ์ การเขียนเรื่องราวและรายละเอียดประกอบสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ รวมถึงการศึกษาใน พื้นที่ซึ่งพบผลลัพท์และการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนการพัฒนาด้านต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้ 4.7.1 สามารถเรียนรู้ใช้งาน ICT เบื้องต้นได้ โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของ คอมพิวเตอร์สามารถบอกได้ว่าส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์แต่ละชิ้นชื่ออะไรและหน้าที่การใช้งาน รวมถึงการ ใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้นคือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเลือกใช้งาน Browser ได้ถูกต้องกับข้อมูลที่ต้องการ สืบค้นได้ 4.7.2 สามารถเรียนรู้การใช้แอพพลิเคชั่นสร้างสื่อสังคมออนไลน์และเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ของตนเองได้คือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถสร้าง e-Mail เป็นของกลุ่มตนเอง โดยผ่าน www.gmail.com และการ สร้าง facebook, facebook fanpage การสร้างเว็บไซต์ซึ่งใช้ www.wordpress.com เพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ ร้านค้ าออนไลน์ รวมถึงการถ่ายภาพและตกแต่งภาพโดยใช้สมาร์โฟนหรือแท็บเลตที่มี อยู่ถ่ายภาพสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ และปรับแต่รูปให้สวยงามมีความโดดเด่นมากยิ่งขึ้นก่อนจะนํารูปสินค้าหรือผลิตภัณฑ์มา Upload ขึ้น เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นของตนเอง 4.7.3 สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์จริง โดยการลงพื้นที่จริงเพื่อศึกษาดูงานในพื้นที่คือ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เครือข่ายกลุ่มผู้ที่มีความสนใจเหมือนกันหรือคล้ายกัน ได้ความมั่นใจในการนําความรู้และ ประสบการณ์จากทุกกิจกรรมที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจรรมนําไปปรับใช้ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกิจการของ ตนเอง ฯลฯ โดยมีการลงพื้นที่ตัวอย่างกลุ่มอาชีพของสตรีด้อยโอกาสในชุมชนที่มีความโดดเด่นในจังหวัดศรีสะ เกษคือ กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนาเขต 7

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 67


กลุ่มที่ 1 : กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนาเขต 7 เป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ชาวบ้านในเขต นิคมพัฒนาเขต 7 มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทําเกษตรกรรม มีการพัฒนาต่อยอดสินค้าและบริการสู่โลกออนไลน์ เพิ่มมากขึ้น การถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชน โดยคนในชุมชนจะสามารถใช้เครื่องมือต่างๆ ในการค้าขาย ออนไลน์ได้ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค Tablet การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ที่เพิ่มช่องทางในการ ค้าขายมากขึ้น สร้างร้านค้าออนไลน์ ต่อยอดผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่มีอยู่ให้เป็นที่รู้จักของผู้คนภายนอกและเป็น การเพิ่มรายได้อีกด้วย รวมถึงการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น การพิมพ์งาน การใช้ตัวอักษรในการ ประชาสัม พันธ์ เทคนิ ค การใช้ งานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แ ละอินเทอร์ เน็ต และอื่นๆ ที่ สามารถช่ว ยในการ ติดต่อสื่อสารประสานงานได้ เพิ่มความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการต่อยอดการพัฒนาตนเอง การต่อยอดการพัฒนา ชุมชน หรือบ้านเกิดของตนเองและเมื่อได้ลงพื้นที่ศึกษาดูงานนั้น ทําให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการ ทอผ้าที่เป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มและลวดลายผ้าที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของกลุ่ม คือ ผ้าไหมมัดหมี่ และลวดลาย ที่คิดค้นขึ้นเอง ทําให้ผู้เข้าร่วมศึกษาดูงานได้มีการพูดคุยถึงลายผ้าใหม่ๆ วิธีการทอผ้าที่ประณีต เพื่อนําไปปรับ ใช้กับกลุ่มอาชีพตนเองได้

ภาพที่ 4.12 สมาชิกกลุ่มทอผ้ามัดหมี่นิคมพัฒนาเขต7 นอกจากนี้ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษหลังจากการจัดกิจกรรมฯ สตรี ด้อยโอกาสทุกกลุ่มอาชีพ คือ ได้เว็บไซต์และสื่อสังคมออนไลน์เป็นของกลุ่มตนเองเพื่อการประชาสัมพันธ์สินค้า ผลิตภัณฑ์ กิจกรรม และองค์ความรู้ของกลุ่มตนเองในท้องถิ่นให้แก่กลุ่มคนภายนอกได้รับรู้ ในจังหวัดศรีสะ เกษมีเว็บไซต์ และสื่อสังคมออนไลน์ดังนี้

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 68


เว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์ขายสินค้าออนไลน์ของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีษะเกษ

ภาพที่ 4.13 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มเย็บผ้าสตรีบ้านหนองแล้ง https://www.facebook.com/กลุ่มสตรีหนองแล้งเย็บผ้าจัก สานพลาสติก-849664205132941/

ภาพที่ 4.14 เว็บไซต์กลุ่มเย็บผ้าสตรีบ้านหนองแล้ง http://nongleanwomengroup.wordpress.com

ภาพที่ 4.15 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มท่องเที่ยววัฒนธรรม บ้านหนองเข็งน้อย

ภาพที่ 4.16 เว็บไซต์กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านภูสิงค์ http://viewandrerphusing.wordpress.com

https://www.facebook.com/Nongkengnoi-ThaiCulture-กลุ่มท่องเที่ยววัฒนธรรมบ้านหนองเข็งน้อย415721951960174/

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 69


ภาพที่ 4.17 กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนา https://www.facebook.com/rutravee.srisingsrising?fref=ufi

ภาพที่ 4.18 เว็บไซต์กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนา http://youndbloodmudmeesilk.wordpress.com

ภาพที่ 4.19 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ บ้านภูสิงค์ https://www.facebook.com/Viewandriverphusing -กลุ่มท่องเที่ยวบ้านภูสิงห์--896017567156485/

ภาพที่ 4.20 สื่อสังคมออนไลน์กลุ่มขนมบ้านหมากเขียบ https://www.facebook.com/Banmakkiab-sweets1638582529735741/

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 70


4.8 ผลการประเมินศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ใช้วิธีการสัมภาษณ์และแบบสอบถามโดยใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators; KPIs) ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 5 มิติในการประเมินผลการปฏิบัติงานและวัดความสําเร็จ ของศูนย์ฯ (การจั ดให้มี บริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่ วถึงและบริการเพื่ อสังคม ประจําปี พ.ศ.2553 (Universal Service Obligation) ศูนย์อินเทอร์เน็ตชุมชน, 2553) ดังผลที่ได้จากการประเมินในแต่ละมิติดังนี้ 4.8.1 มิติด้านบุคลากร (Man) การที่สํานักงาน กสทช. มอบหมายให้ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัด ศรีสะเกษเป็นผู้รับผิดชอบดําเนินการคัดเลือกเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์เอง ทําให้บุคลากรที่มาทําหน้าที่ดูแลศูนย์ อินเทอร์เน็ตไม่มีความรู้ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต รวมทั้ง ไม่สามารถถ่ายทอด ความรู้และประสบการณ์ให้แก่ประชาชนและกลุ่มสตรีผู้ด้อยโอกาสได้ตามเจตนารมและวัตถุประสงค์ของการ จัดตั้งศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม และบางครั้งเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมก็จะต้องไปปฏิบัติ หน้าที่หรือไปช่วยงานศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษตามที่ได้รับมอบหมาย จึง ทําให้ไม่สามารถพัฒนาตนเองด้าน ICT และไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.8.2 มิติด้านพัสดุ (Material) เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ไม่มีการรักษาความสะอาดของเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้ดีเท่าที่ควร เนื่องจากไม่ค่อยเปิดใช้บริการบ่อย แต่สามารถใช้งานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ได้ตามความ ต้องการของผู้รับบริการ และจํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ภายในศูนย์อินเทอร์เน็ตชุมชน (USO NET) มีจํานวน 20 เครื่อง ตัวคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้ทุกเครื่อง ส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด ไม่ สามารถใช้งานได้ร้อยละ 20 ซึ่งอยู่ในระหว่างการแจ้งเรื่องและดําเนินการซ่อมแซม 4.8.3 มิติด้านด้านงบประมาณ (Money) เนื่องจากเป็นหน่วยงานราชการดังนั้น การบริหารจัดการงบประมาณ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ มี ก ารทํ า รายงานประจํ าปี ทุ ก ครั้ ง ซึ่ งค่า ใช้ จ่า ยส่ว นใหญ่ภ ายในศู นย์ฯ เป็ นค่ าไฟฟ้า และค่ า เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลศูนย์ฯ 4.8.4 มิติด้านการบริหารจัดการ (Management) 4.8.4.1 การบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ที่ตั้งอยู่ในศูนย์การเรียนรู้การ พัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษไม่มีความคล่องตัวในการบริหารงาน เนื่องการกําหนดให้มีกิจกรรม การเรียนรู้ ICT กับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ไม่ใช่ภารกิจหลักของศูนย์การเรียนรู้ฯ จึงทําให้ศูนย์อินเทอร์เน็ตถูกปิดทิ้ง ไว้และไม่ได้รับการใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ 4.8.4.2 ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ก ารพั ฒ นาสตรี แ ละครอบครั ว จั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ มี ก าร ประสานงานกั บ หน่ ว ยงานท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ ห ลายหน่ ว ยงานเช่ น สํ า นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ สํานักงานจังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มแม่บ้านแต่ละชุมชนได้เข้ามาฝึกอาชีพ รวมถึง สตรีด้อยโอกาสและเยาวชนด้อย โอกาสเข้ามาเพื่อฝึกทักษะเกี่ยวกับวิชาชีพด้วย จึงทําให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นสตรีด้อยโอกาสน่าจะมีโอกาสเข้า รับการฝึกอบรมทักษะความรู้ด้าน ICT มากขึ้น

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 71


4.8.4.3 มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ผ่านเว็บไซต์ของ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษ รวมถึง ประชาสัมพันธ์ข่าวกิจกรรมการฝึกอบรม ที่ได้เคยจัดฝึกอบรมไปแล้วในแต่ละครั้งเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ทราบ 4.8.5 มิติด้านผลผลิต (Output) 4.8.5.1 ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม มีอินเทอร์เน็ตความเร็วไม่เพียงพอต่อการใช้งาน และบริการของชุมชน ไม่มีสัญญาณ Wifi เพื่อรองรับอุปกรณ์ส่วนตัวของผู้ใช้บริการหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรม 4.8.5.2 การพัฒนาเว็บไซต์สําหรับการบริห ารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตชุม ชน (USO NET) ผ่านทางเว็บไซต์ของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดศรีสะเกษ (http://61.19.255.77/web/northeasterntraining) เพื่อเป็นสื่อกลางในการค้นคว้าแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และการเชื่อมโยงเข้ากับแหล่งข้อมูล และสื่อการเรียนรู้ของหน่วยงานต่างๆ

4.9 การวิเคราะห์ SWOT ภาพรวมที่เกี่ยวข้องของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ การวิเคราะห์ SWOT ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เน้นการศึกษาภาพรวมเป็น 2 ประเด็นหลักคือ 1) ประเด็นที่เกี่ยวกับจุดแข็งและโอกาส 2) ประเด็นที่เกี่ยวกับปัญหา อุปสรรคหรือความท้าทายต่างๆ 4.9.1 ประเด็นเกี่ยวกับจุดแข็งและโอกาส 4.9.1.1 กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ พัฒนาอาชีพของตนเองหลายหลาย เช่น การพัฒนาลวดลายผ้ามัดหมี่ การทอผ้ายก การพัฒนาคุณภาพของ ไหมที่มีผลต่อการทอและความงามของผ้าทอ การพัฒนาวิถีการเลี้ยงไหมไว้เองตามครัวเรือนเพื่อประหยัด ค่าใช้จ่าย และมีการสร้างเครือข่ายเพื่อรวมตัวกันของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรในการประกอบอาชีพ ปลูกหม่อน เลี้ยงไหมมากขึ้น ลักษณะการจับกลุ่มรวมตัว การทอและการรับซื้อ ที่มีความเข้มแข็งมากภายในชุมชน จึงนับว่า กลุ่มสตรีด้อยโอกาสในชุมชนมีการรวมกลุ่มกันสร้างอาชีพ และพัฒนาทรัพยากรในท้องถิ่นและภูมิปัญญาดั่งเดิม มาสร้างผลผลิตให้แก่ตนเองได้ 4.9.1.2 กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสที่ยังเป็นเยาวชนในพื้นที่และไม่ได้เรียนต่อในระดับสูง เป็นกลุ่มที่มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารมาก และมีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนให้ ดีขึ้น จึงเป็นกลุ่มเป้าหมายที่น่าสนใจสําหรับทํากิจกรรมส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ด้วยการนํา เทคโนโลยีการสื่อสารไปใช้เพื่อช่วยสร้างการตลาดและเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิต 4.9.2 ประเด็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค รวมทั้งความท้าทายต่างๆ 4.9.2.1 กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนต่ํากว่า 5,000 บาท ซึ่งมี ฐานะค่อนข้างยากจน ประกอบกับข้อมูลการถึงและการใช้งานอินเทอร์เน็ตของประชาชนในจังหวัดศรีสะเกษมี สัดส่วนค่อนข้างต่ํามาก และประชาชนมีทักษะการใช้งาน ICT ค่อนข้างน้อยกว่าจังหวัดอื่นๆ และจากการศึกษา พบว่ากลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสส่วนใหญ่ ขาดทักษะพื้นฐานในด้านการใช้ ICT เช่น การใช้คอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ตพื้นฐาน เช่น ไม่สามารถใช้แป้นพิมพ์ได้อย่างถูกต้อง ไม่รู้จักเมนูในหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทําให้ไม่ สามารถใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างคล่องแคล่ว บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 72


4.9.2.2 กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาส สามารถนําทรัพยากรในท้องถิ่น วัตถุดิบในท้องถิ่น ของตนเองมาใช้ประโยชน์ในการสร้างอาชีพใหม่ๆ แต่ยังขาดความรู้ในการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ดูทันสมัย และยังขาดความรู้ในการทําการตลาด การนําเสนอสินค้าให้น่าสนใจ รวมทั้ง บางพื้นที่ของจังหวัดศรีสะเกษถึง จะมี แ หล่ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ หรื อ วัฒ นธรรมท้ องถิ่ น แต่ ป ระชาชนในท้ องถิ่ นยั งไม่ไ ด้ส นใจหรือ เห็ น ประโยชน์ของการสร้างรายได้เสริมจากการท่องเที่ยวในท้องถิ่น และไม่มีความรู้ในการประชาสัมพันธ์การ ท่องเที่ยว 4.9.2.3 จากสภาพปัญหาความยากจนของประชาชนในจังหวัด การอยู่อาศัยในพื้นที่แบบ กลุ่มชาติพันธุ์เป็นชนเผ่า การมีวัฒนธรรมชนเผ่าตามประเพณีเดิม และภาษาท้องถิ่นเป็นของตนเอง ทําให้การ กําหนดนโยบายหรือการทํากิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้กลุ่มตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก ICT นั้น จําเป็นต้องปรับรูปแบบกิจกรรมและวิธีการดําเนินกิจกรรมที่แตกต่างกันให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของ หมู่บ้านและวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นชนเผ่าเดิม เช่น การส่งเสริมนวัตกรรมการใช้ ICT เพื่อทําการตลาด ออนไลน์ให้แก่กลุ่มทอผ้าให้มีความทันสมัยเป็นสากลตามแนวแฟชั่นสมัยนิยม แต่กลุ่มชนเผ่าดั่งเดิมในท้องถิ่นมี ประเพณีทอผ้าสีดําหรือการแต่งกายชุดสีดําเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ไม่นิยมทอผ้าสีอื่นหรือแต่งกายสีอื่น จึงทํา ให้การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทําการตลาดให้แก่กลุ่มทอผ้าในจังหวัดศรีสะเกษ ดังนั้น ควรส่งเสริมกิจกรรม การฝึกอบรมแบบพิเศษเฉพาะกลุ่มที่นิยมผ้าทอมือสีดํา เป็นต้น 4.9.2.4 การที่ประชาชนส่วนใหญ่ในจังหวัดศรีสะเกษทําอาชีพเกษตรกรรม และมีการนิยม ปลูกพืชเศรษฐกิจที่แตกต่างจากภูมิภาคอื่นเป็นการเฉพาะ เช่น ปลูกกระเทียม ปลูกหอม มันสําปะหลัง และมี กลุ่มแม่บ้านเริ่มเรียนรู้วิธีการถนอมอาหารและแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น ทํากระเทียมดองใส่โหลเพื่อเพิ่มมูลค่า ให้กับผลผลิตของตนเองและท้องถิ่น ดังนั้น ควรส่งเสริมการสร้างอาชีพควบคู่ไปกับการใช้ ICT เพื่อทําการตลาด ออนไลน์ หรือสร้างเครือข่ายกลุ่มแม่บ้านเพื่อเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนความรู้ในการผลิตและถนอมอาหารให้แก่ ชุมชนในท้องถิ่น เป็นต้น

4.10 การวิเคราะห์ SWOT ด้านที่เกี่ยวข้องกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 4.10.1 ประเด็นเกี่ยวกับจุดแข็งและโอกาส การที่ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมตั้งอยู่ในศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งมีภารกิจโดยตรงในการให้ความช่วยเหลือกลุ่มสตรีด้อยโอกาสในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่างหลายจังหวัด จึงมีจุดแข็งและโอกาสประสบความสําเร็จอยู่ 2 ประการคือ (1) ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ ทําหน้าที่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมการฝึกอบรมส่งเสริม ความรู้ ICT ให้แก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและบุคคลภายนอกได้รับทราบกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ทําให้กลุ่มสตรีด้อย โอกาสและบุคคลภายนอกสามารถเข้ามาใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมได้ (2) มีความเพียงพอของงบประมาณที่ใช้ในการบริหารศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม และการ เบิกจ่ายงบประมาณมีการกําหนดขั้นตอนการเบิกจ่ายที่โปร่งใสตามระเบียบราชการ นอกจากนี้ศูนย์การเรียนรู้ การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษ ยังสามารถจัดสรรงบประมาณเพื่อทํากิจกรรมส่งเสริมการพัฒนา กลุ่มสตรีด้อยโอกาสให้มีความรู้ด้าน ICT ได้ดีและมีประสิทธิภาพ บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 73


4.10.2 ประเด็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค รวมทั้งความท้าทายต่างๆ 4.10.2.1 เนื่องจากงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนมีจํากัดในการจ้างบุคลากรและบริหาร ค่าน้ําค่าไฟ วงเงินไม่เกิน 9,500 บาท ทําให้ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษ สามารถดําเนินการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ซึ่งมีวุฒิการศึกษาระดับต่ํากว่าปริญญาตรี และไม่มีความชํานาญในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต จึงไม่สามารถทําหน้าที่ในการถ่ายทอด ความรู้ใ ห้แ ก่ประชาชนในพื้ นที่แ ละกลุ่ ม ผู้ ด้อยโอกาสได้ ดังนั้น เมื่อศูนย์ อินเทอร์ เน็ตเพื่ อสัง คมเปิ ดอบรม หลักสูตร ICT ให้แก่ประชาชนทั่วไปและกลุ่มสตรีด้อยโอกาส จึงเป็นการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ศูนย์การ เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวทําการฝึกอบรมให้แทน ดังนั้น ควรเพิ่มงบประมาณให้ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อ สังคมสําหรับค่าจ้างเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีได้ 4.10.2.2 การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมมีปัญหาที่ความล่าช้า ของอินเทอร์เน็ต และในห้องคอมพิวเตอร์ไม่มีสัญญาณ WiFi จึงไม่สามารถจัดกิจกรรมการฝึกอบรมได้คล่องตัว เพราะติดปัญหาเรื่องการ Upload และ Download รูปและข้อมูลผ่านทางอินเทอร์เน็ต 4.10.2.3 การที่จังหวัดศรีสะเกษมีพื้นที่ขนาดใหญ่ การเดินทางในแต่ละอําเภอมีระยะทาง ห่างไกล ดังนั้น การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและฝึกอบรมจึงทําได้ไม่เต็มประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากกลุ่ม ตัวอย่างสตรีด้อยโอกาสที่เป็นกลุ่มแม่บ้านหรือกลุ่มเป้าหมาย ไม่สามารถเดินทางมาเข้าร่วมฝึกอบรมได้เต็มเวลา และช่วงเวลาที่จัดอบรม 8.30 น.-16.30 น. ประชาชนในพื้นที่ไม่สามารถเข้ามาร่วมรับการฝึกอบรมได้ เนื่องจาก ต้องไปทํางานในอาชีพเกษตรกรรมของตนเอง หากเสียเวลามาร่วมอบรมครบตามหลักสูตรที่จัดก็จะส่งผลเสีย ต่อพืชผลทางการเกษตรที่ปลูกหรือเก็บเกี่ยวไว้ ดังนั้น ควรสร้างกลุ่มวิทยากรประจําชุมชนขึ้น โดยให้เยาวชนใน พื้นที่เข้ามาเรียนรู้กระบวนการพัฒนาแนวคิดในการนํา ICT ไปใช้ประโยชน์ในชุมชน และให้สามารถทําหน้าที่ให้ คําแนะนําสอดแทรกความรู้ด้านการใช้ ICT ให้แก่ประชาชนในหมู่บ้านหรือในพื้นที่ได้อย่างต่อเนื่อง โดยที่ ประชาชนในพื้นที่ไม่เสียเวลาต้องเดินทางเข้ามาร่วมฝึกอบรม

บทที่ 4 ผลการศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และบริบทเชิงสังคมจังหวัดศรีสะเกษ

หน้า 74


บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษาและถอดบทเรียน จากการศึกษาและถอดบทเรียนศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ภายใต้การบริหารจัดการของศูนย์ การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวจังหวัด 3 จังหวัดนําร่อง ได้แก่ จังหวัดเชียงราย ลําปาง และศรีสะเกษ ในบทที่ 2 บทที่ 3 และบทที่ 4 ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วนั้น สรุปประเด็นสําคัญ ได้ดังนี้ 5.1.1 การใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นเพื่อสร้างรายได้และดํารงชีพ (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ) จากข้อมูลทางกายภาพและภูมิศาสตร์พบว่าทุกจังหวัดมีความหลากหลายของทรัพยากรในพื้นที่ และในแต่ละจังหวัดจะมีทรัพยากรท้องถิ่น วัฒนธรรมชุมชน และประเพณีดั่งเดิมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ จังหวัด ดังนี้ (1) จังหวัดลําปาง จังหวัดลําปาง มีความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งน้ํา เป็นศูนย์กลางการ คมนาคมหลายเส้นทาง (รถยนต์ รถไฟ และเครื่องบิน) และมีแหล่งท่องเที่ยวที่สําคัญของจังหวัดหลายแห่ง เช่น วัดพระธาตุลําปางหลวง สภาพเศรษฐกิจของจังหวัดในปี 2558 ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 100 เมื่อเปรียบเทียบ กับปี 2557 นอกจากนี้ อัตราการว่างงานในจังหวัดลําปางค่อนข้างต่ํามาก พบว่าประชาชนวัยแรงงานมีอัตรา การว่างงานเพียง ร้อยละ 1.02 ของวัยแรงงานทั้งหมด ส่วนที่เหลือร้อยละ 98.86 มีงานทํา และมีเพียงร้อยละ 0.1 กําลังรองานตามฤดูกาล เมื่อพิจารณากลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เข้ารับการฝึกอบรมทักษะความรู้กับศูนย์ อินเทอร์เน็ตสังคม พบว่า สามารถเรียนรู้วิธีการนําทรัพยากรในท้องถิ่นมาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อเพิ่ม มูลค่าและสร้างรายได้ให้กับครอบครัว เช่น การทอผ้าของชนเผ่ากระเหรี่ยง การตัดเย็บเสื้อผ้าพื้นเมืองล้านนา การทําหมวกคาวบอย การตัดเย็บกระเป๋าและเครื่องหนัง การถักเน็ตติ้ง การทําอาหาร การทําเกษตรทฤษฏี ใหม่ การเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน ฯลฯ (2) จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงราย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสลับภูเขาสูง มีความโดดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติ ประเพณี และวัฒนธรรมชนเผ่า เป็นจังหวัดที่มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจค่อนข้างสูง และ มีการขยายตัวทาง เศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง มีการขยายตัวของรายได้ครัวเรือนภาคเกษตรกรรม และการท่องเที่ยว และมีการลงทุน โครงสร้างพื้นฐานเพิ่มขึ้นนับตั้งแต่จังหวัดเชียงรายประกาศให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพราะเป็นจังหวัดที่มีพี้น ที่ติดชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน 3 ประเทศ จึงมีจุดผ่านแดนและตลาดชายแดน (แม่สาย เชียงของ) มีการ นําเข้า-ส่งออก สินค้าระหว่างประเทศไปยังจีนตอนใต้ พม่า และลาว ซึ่งเป็นผลมาจากการค้าชายแดนขยายตัว ร้อยละ 26.1 จึงทําให้อัตราการว่างงานลดน้อยลง และมีแรงงานต่างด้าวจากประเทศเพื่อนบ้านย้ายถิ่นเข้ามา รับจ้างในภาคเกษตกรรมและรับจ้างทั่วไป เนื่องจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของไทยสูงกว่า ประเทศพม่าและลาวจึงเป็นปัจจัยดึงดูดแรงงานต่างด้าว เมื่อพิจารณากลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เข้ารับการฝึกอบรมทักษะความรู้กับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อ สังคม แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มที่มีอาชีพเสริมหรือมีความตั้งใจที่จะผลิตสินค้าของตนค้าขายอยู่ก่อนแล้ว บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 75


เช่น ไวน์สตอเบอร์รี่ ร้านอาหาร และ (2) กลุ่มที่ยังไม่เคยมีแนวคิดที่จะนําทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นของ เชี ย งรายมาพั ฒ นาเป็ น ผลิ ตภั ณ ฑ์ ที่ จ ะสร้า งรายได้ใ ห้ ต นเองและครอบครั ว การเข้ า ร่ วมกิ จ กรรมกับ ศู น ย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมจึงเป็นการเปิดแนวคิดและมุมมองใหม่ๆ จากเดิมที่ต้องการเข้าร่วมกิจกรรมเนื่องจาก ต้องการความรู้ในการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพิ่มเติม (3) จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นจังหวัดที่มีลักษณะทางภูมิศาสตร์เป็นที่ราบกว้างใหญ่เหมาะแก่การ เพาะปลูก ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรปลูกพืชเศรษฐกิจระยะสั้น เช่น ข้าว มันสําปะหลัง กระเที ย ม หั ว หอม พริ ก และมี ช ายแดนติ ด กั บ ประเทศกั ม พู ช า นอกจากนี้ ยั ง มี ค วามโดดเด่ น ในด้ า น ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น โบราณสถานหลายแห่งที่มีชื่อเสียง และมีแหล่งท่องเทียวทางธรรมชาติ ภาวะเศรษฐกิจ ในปี 2558 มีการขยายตัวทั้งในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว ทําให้อัตราการว่างงานลด น้อยลง นอกจากนี้ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร มีการรวมกลุ่มกันพัฒนาอาชีพเสริมโดยเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมา พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ทอผ้า เลี้ยงไหม แปรรูปอาหาร เมื่อพิจารณากลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เข้าร่วม กิจกรรมการฝึกอบรมทักษะความรู้กับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม พบว่า ร้อยละ 75 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ํา กว่า 5,000 บาท ซึ่งมีฐานะค่อนข้างยากจน และเป็นกลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่จําเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือจาก หน่วยงานภาครัฐในการส่งเสริมการประกอบอาชีพและการเพิ่มรายได้ครัวเรือน 5.1.2 ความรู้และความถนัดในการใช้ ICT ของประชาชน (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ) จากรายงานผลการสํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของครัวเรือน พ.ศ. 2557 (สํานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2558) พบว่าครัวเรือนใน จังหวัดลําปาง จังหวัดเชียงราย และจังหวัดศรีสะเกษ มีสัดส่วนการมีการใช้อุปกรณ์การสื่อสารน้อยมาก (โทรศัพท์ โทรสาร คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต) เมื่อเปรียบเทียบกับครัวเรือนที่ไม่ใช้ เมื่ อ พิ จ ารณากลุ่ ม สตรี ด้ อ ยโอกาสที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมการฝึ ก อบรมทั ก ษะความรู้ กั บ ศู น ย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม พบว่า สตรีด้อยโอกาสที่ตอบข้อคําถามส่วนใหญ่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตจากที่บ้านโดย ผ่านอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟนและมีบางส่วนที่เข้าใช้งานอินเทอร์เน็ตจากเครื่องโน้ตบุค ส่วนสื่อ สังคมออนไลน์ที่เลือกใช้เป็นประจํามากที่สุดคือ Facebook ประเภทข้อมูลข่าวสารที่กลุ่มสตรีด้อยโอกาสสนใจ มากที่สุดคือการฝึกอาชีพ การศึกษา สิทธิประโยชน์ต่างๆ และแหล่งงาน ความคาดหวังของกลุ่มสตรีด้อย โอกาสในการเข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรมกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม คือต้องการมีความรู้และทักษะการใช้ เทคโนโลยีมาสร้างธุรกิจออนไลน์ของตนเอง การทําการตลาดแบบออนไลน์ การนําความรู้ไปบูรณาการกับ ทุนเดิมที่มีอยู่ของตนเองและชุมชน หลังจากผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรมกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมแล้ว พบว่า กลุ่ม สตรีด้อยโอกาสมีความสามารถเรียนรู้การใช้งาน ICT เพิ่มมากขึ้น โดยสามารถสร้าง e-mail เป็นของตนเอง ผ่าน www.gmail.com การสมัครเป็นสมาชิก Facebook การสร้างร้านค้าออนไลน์ของตนเองโดยใช้ โปรแกรม www.wordpress.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์หรือบล็อคสําเร็จรูปในการสร้างการประชาสัมพันธ์เชื่อมต่อ กับ facebook fanpage รวมทั้ง การถ่ายภาพและตกแต่งภาพสินค้าผ่านอุปกรณ์สมาร์ทโฟนหรือแท็บเลต และการ Upload รูปขึ้นเว็ปไซต์ของตนเอง นอกจากนี้ ยังเรียนรู้การเขียนข้อความอธิบายเรื่องราวชุมชนท้องถิ่น และความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ให้มีความน่าสนใจ เป็นเอกลักษณ์สร้างความโดดเด่นให้แก่สินค้าของตนเองได้ มี link ผลงานของกลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่น่าสนใจ ดังนี้ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 76


กลุ่มทอผ้าด้นด้ายลายงาม

ddahandbagslp.bentoweb.com/th

กลุ่มผ้าทอมือกะเหรี่ยง

tribaifashion27.bentoweb.com/th

กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านห้วยฮี

hauyheefashion.bentoweb.com/th

กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านต้นต้อง

faingamlp.bentoweb.com/th

กลุ่มตัดเย็บผ้าฝ้ายเปิงใจ๋

pengjaicotton.bentoweb.com/th

กลุ่มหมวกคาวบอย

cowboybanleng.bentoweb.com/th

กลุ่ม Like Knitting

likeknitting.bentoweb.com/th

กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าผึ้งหลวงผ้างาม 37812aoi.bentoweb.com/th กลุ่มแม่สาย Strawberry Wine themaesaistrawberrywine.wordpress.com กลุ่มสวนแก้วมังกร teezaploynil.wordpress.com กลุ่มผ้าด้นมือเปิงเปียณ puengpian.wordpress.com กลุ่มพรมเช็ดเท้า doingamphancarpets.wordpress.com กลุ่มข้าวแต๋น amricesweet.wordpress.com กลุ่มแปรรูปกาแฟปางซาง pangsangcoffee.wordpress.com กลุ่มท่องเที่ยววัฒนธรรมบ้านหนองเข็งน้อย nknthaiculture.wordpress.com กลุ่มเย็บผ้าสตรีบ้านหนองแล้ง nongleanwomengroup.wordpress.com กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านแสงน้อย weavingblog.wordpress.com กลุ่มขนมบ้านหมากเขียบ banmakkiabsweets.wordpress.com กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านภูสิงค์ viewandrerphusing.wordpress.com กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนา youndbloodmudmeesilk.wordpress.com

           

5.1.3 การวิเคราะห์ SWOT กลุ่มสตรีด้อยโอกาส (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ) 5.1.3.1 ผลการวิเคราะห์จุดแข็งและโอกาส (1) ลําปาง : กลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่เป็นกลุ่มแม่บ้าน พบว่ามีการใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นในการพัฒนาอาชีพของชุมชนคือ ผ้าทอมือ โดยเฉพาะชุมชนดั่งเดิมนิยมทอผ้าเป็นอาชีพเสริมและการ ทอผ้ายังเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ช่วยสร้างรายได้ให้กับชุมชนเป็นอย่างมาก ซึ่งแต่ละท้องถิ่นแต่ละชุมชนจะมี ความโดดเด่นของผ้าแตกต่างกัน นอกจากจะทอผ้าเป็นผืนและตัดเย็บเป็นเสื้อผ้าสําเร็จรูปจําหน่ายแล้วนั้น ชาวบ้ านในชุมชนยั งมีการพัฒนาต่อยอดโดยการนําผ้ ามาดัดแปลงให้ เป็ นผลิตภัณฑ์ อย่างอื่นเพื่อเพิ่ มช่ อง ทางการจําหน่าย เช่น นําผ้ามาตัดเย็บเป็นกระเป๋า ผ้าปูโต๊ะ ผ้าม่าน เป็นต้น นอกจากนี้ กลุ่มสตรีด้อยโอกาส จังหวัดลําปางมีการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายของแต่ละกลุ่มอาชีพที่มีการรวมตัวกันอย่างเข็มแข็งในการสร้าง และพัฒนาต่อยอดกลุ่มอาชีพ สินค้าและผลิตภัณฑ์ให้มีความทันสมัยกับยุคปัจจุบัน และทรัพยากรทาง ธรรมชาติและวัฒนาธรรมท้องถิ่นในจังหวัดลําปางยังมีศักยภาพมาก สามารถบริหารจัดการทรัพยากรให้เกิด บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 77


ประสิทธิภาพ เพื่อสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาสและประชาชนในพื้นที่ของจังหวัดลําปางได้ เช่น ส่งเสริมการผลิตสินค้าชุมชน ส่งเสริมการท่องเทียวท้องถิ่น เป็นต้น (2) เชียงราย : กลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงรายมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นใน การพั ฒ นาอาชี พ ของชุ ม ชน คื อ วิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ที่ มี บ ริ บ ทเชิ ง พื้ น ที่ เ ป็ น ธรรมชาติ การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนเพื่อพัฒนาให้เกิดอาชีพ เช่น การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การทําไร่สตอเบอรี่ การทอ ผ้าจากเส้นใยธรรมชาติ การทําลวดลายผ้าพื้นเมืองที่มีมาตั้งแต่บรรพบุรุษถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ทําให้ต่อมามี การพัฒนาต่อยอดเป็นการรวมกลุ่มและการสร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพที่รวมตัวกันอย่างเข็มแข็ง เพื่อพัฒนากลุ่ม อาชีพ สินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีความทันสมัยกับยุคปัจจุบันและมีเอกลักษณ์เฉพาะชุมชนที่โดดเด่น (3) ศรีสะเกษ : กลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นใน การพัฒนาอาชีพของตนเองหลายหลาย เช่น การพัฒนาลวดลายผ้ามัดหมี่ การทอผ้ายก การพัฒนาคุณภาพ ของไหมที่มีผลต่อการทอและความงามของผ้าทอ การพัฒนาวิถีการเลี้ยงไหมไว้เองตามครัวเรือนเพื่อประหยัด ค่าใช้จ่าย และมีการสร้างเครือข่ายเพื่อรวมตัวกันของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรในการประกอบอาชีพ ปลูกหม่อน เลี้ยงไหมมากขึ้น ลักษณะการจับกลุ่มรวมตัว การทอและการรับซื้อ ที่มีความเข้มแข็งมากภายในชุมชน จึง นับว่ากลุ่มสตรีด้อยโอกาสในชุมชนมีการรวมกลุ่มกันสร้างอาชีพ และพัฒนาทรัพยากรในท้องถิ่นและภูมิปัญญา ดั่งเดิมมาสร้างผลผลิตให้แก่ตนเองได้ นอกจากนี้ กลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่ยังเป็นเยาวชนในพื้นที่และไม่ได้เรียน ต่อในระดับสูง เป็นกลุ่มที่มีความสนใจในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารมาก และมีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงวิถี ชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น จึงเป็นกลุ่มเป้าหมายที่น่าสนใจสําหรับทํากิจกรรมส่งเสริมการเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการนําเทคโนโลยีการสื่อสารไปใช้เพื่อช่วยสร้างการตลาดและเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิต 5.1.3.2 ผลการวิเคราะห์จุดอ่อน อุปสรรค หรือความท้าทาย (1) กลุ่มสตรีด้อยโอกาสส่วนใหญ่ยังขาดทักษะด้านการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในยุคดิจิทัลให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ตนเองและครอบครัว ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง ภาครัฐและเอกชน ควรดําเนินการส่งเสริมให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสมีทักษะความรู้และสามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองได้มากขึ้น (2) กลุ่มสตรีด้อยโอกาส ส่วนใหญ่มีที่อยู่อาศัยและครอบครัวในพื้นที่ชนบท ห่างไกล มีความยากลําบากในการเดินทางและต้องเสียค่าใช้จ่ายในการมีการใช้อุปกรณ์โทรศัพท์แบบสมาร์ทโฟนเป็นของ ตนเอง เนื่องจากมีราคาค่อนข้างแพง (3) กลุ่มสตรีด้อยโอกาสยังขาดแนวคิดการนําวัตถุดิบหรือทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น ของตนเองมาสร้างผลิตภัณฑ์สินค้าที่มีความหลากหลาย ส่วนใหญ่เรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดต่อกัน มาเท่านั้น เช่น การทอผ้าก็จะทําแบบดั้งเดิมไม่มีการศึกษาแนวแฟชั่นตามสมัยนิยม ดังนั้น การนําความรู้ด้าน เทคโนโลยีการสื่อสารไปฝึกอบรมให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสจึงควรทําควบคู่กับหลักสูตรการฝึกอบรมเกี่ยวกับ วิชาชีพ และควรสอดแทรกแนวคิดการสร้างรายได้จากวัตถุดิบหรือทรัพยากรในท้องถิ่นไปพร้อมกันด้วยจึงจะ เกิดประโยชน์สูงสุด (4) กลุ่มแม่บ้านที่มีอาชีพเกษตรกรและนิยมปลูกพืชเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน ควร ส่งเสริมการสร้างอาชีพให้แก่กลุ่มแม่บ้านควบคู่ไปกับการใช้ ICT เพื่อทําการตลาดออนไลน์ หรือสร้างเครือข่าย บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 78


กลุ่มแม่บ้านเพื่อเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนความรู้ในการผลิตและถนอมอาหารให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น เป็นต้น (4) จากสภาพปัญหาความยากจนของสตรีด้อยโอกาส การอยู่อาศัยในพื้นที่แบบกลุ่ม ชาติพันธุ์เป็นชนเผ่า การมีวัฒนธรรมชนเผ่าตามประเพณีเดิม และภาษาท้องถิ่นเป็นของตนเอง ทําให้การ กําหนดนโยบายหรือการทํากิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก ICT สําเร็จ นั้น จําเป็นต้องปรับรูปแบบกิจกรรมและวิธีการดําเนินกิจกรรมที่แตกต่างกันให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของ หมู่บ้านและวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นชนเผ่าเดิม 5.1.4 การวิเคราะห์ SWOT ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ) 5.1.4.1 ผลการวิเคราะห์จุดแข็งและโอกาส ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ตั้งอยู่ภายในศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัด ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐและเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลักในการประสานความร่วมมือในเชิงบูรณาการ กับกลุ่มสตรีผู้ด้อยโอกาสในจังหวัดต่างๆ ตามภารกิจของศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ โดยตรง จึงทําให้กลุ่ม สตรีด้อยโอกาสที่เข้ารับบริการฝึกอบรมเกี่ยวกับวิชาชีพกับศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ ได้ใช้ประโยชน์จาก ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมไปด้วย ตลอดระยะเวลาของการเรียนหลักสูตรฝึกอบรมวิชาชีพ และสามารถสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเพื่อใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น การออกแบบเสื้อผ้า การออกแบบลวดลายเล็บ และสีผม การทํารายงาน และการทําการบ้าน และการที่ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมตั้งอยู่ในหน่วยงานราชการ จึงมีข้อได้เปรียบในเรื่องต่างๆ ดังนี้ (1) ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยงาน อื่นๆ ในท้องถิ่น เช่น วิทยาลัยการอาชีพจังหวัดลําปาง สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดศรีสะเกษ ที่เข้ามามี ส่วนร่วมให้ความรู้และเสริมทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการประกอบอาชีพให้แก่กลุ่ม สตรีด้อยโอกาสอย่างต่อเนื่องด้วย (2) ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ ทําหน้าที่เป็นหน่วยงานประชาสัมพันธ์กิจกรรม การฝึกอบรมส่งเสริมความรู้ ICT ให้แก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและบุคคลภายนอกได้รับทราบกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ทําให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสและบุคคลภายนอกสามารถเข้ามาใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมได้ (3) มีความเพียงพอของงบประมาณที่ใช้ในการบริหารศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม และการเบิกจ่ายงบประมาณมีการกําหนดขั้นตอนการเบิกจ่ายที่โปร่งใสตามระเบียบราชการ นอกจากนี้ศูนย์ การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ ยังสามารถจัดสรรงบประมาณเพื่อทํากิจกรรมส่งเสริมการพัฒนากลุ่มสตรีด้อย โอกาสให้มีความรู้ด้าน ICT ได้ดีและมีประสิทธิภาพ 5.1.4.2 ผลการวิเคราะห์จุดอ่อน อุปสรรค หรือความท้าทาย (1) เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ไม่เพียงพอต่อการใช้งานของผู้รับบริการ และการ ทํากิจกรรมฝึกอบรมต้องนั่งเรียน 2 คนต่อ 1 เครื่อง ทําให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรมจะไม่สามารถฝึกทักษะ ความชํานาญในการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตทําสื่อสังคมออนไลน์ได้อย่างคล่องตัว จึงควรจัดหา อุปกรณ์ให้เพียงพอต่อจํานวนผู้เข้าอบรมหรือคัดผู้เข้าอบรมให้เหมาะสมตามจํานวนอุปกรณ์ที่มีอยู่ (2) สัญญาณอินเทอร์เน็ตมีความช้าและบางครั้งไม่สามารถเชื่อมต่อสัญญาณได้เป็น ระยะๆ หรือเป็นเวลานาน ส่งผลต่อการให้บริการที่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการเข้ามาใช้ศูนย์ฯ ควรจะมี บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 79


สัญญาณ Wifi เพราะบางครั้งมีการนําเครื่องมือสื่อสารของตนเองมาใช้ จึงมีความจําเป็นต้องเข้าถึงสัญญาณ อินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย นอกจากนี้ ความเร็วอินเทอร์เน็ตไม่เหมาะสมต่อกิจกรรมฝึกอบรม เนื่องจากสัญญาณ อินเทอร์เน็ตไม่สามารถเชื่อมต่อสัญญาณได้เร็วพอในกรณีที่ผู้เข้าอบรมเปิดใช้งานอินเทอร์เน็ตพร้อมๆกัน จึงไม่ สามารถจัดกิจกรรมการฝึกอบรมได้คล่องตัว เพราะติดปัญหาเรื่องการ Upload และ Download รูปและข้อมูล ผ่านทางอินเทอร์เน็ต (3) การประชาสั ม พั น ธ์ ข้ อ มู ล ของศู น ย์ อิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ สั ง คม เช่ น กิ จ กรรมการ ฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ การอบรมสร้างอาชีพ การอบรมถ่ายภาพ ให้แก่ผู้ด้อยโอกาสและบุคคลที่สนใจ ยังไม่ ครอบคลุมทุกพื้นที่หรือทุกกลุ่มเป้าหมาย มีเฉพาะผู้ด้อยโอกาสบางกลุ่มหรือบางชุมชนเท่านั้นที่เข้าถึง (4) ศูนย์อินเทอร์ เน็ตเพื่อสังคมไม่ มีหลักสูตรที่ เหมาะสมกั บความต้ องการของกลุ่ ม ผู้ด้อยโอกาส หรือที่เหมาะสมกับความต้องการของท้องถิ่นโดยเฉพาะ (tailor made academies) ทําให้สิ่งที่ ให้บริการหรือที่ให้การอบรมไม่ตรงกับความต้องการของกลุ่มสตรีด้อยโอกาส และชุมชนโดยภาพรวม (5) การเข้าใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมของประชาชนทั่วไป มีข้อจํากัดและมี ความยุ่งยากค่อนข้างมาก เช่น ข้อกําหนดเกี่ยวกับเวลาเข้าออกศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ และขั้นตอน การขออนุญาตใช้ห้องอินเทอร์เน็ต เนื่องจากศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯเป็นหน่วยงานของรัฐที่มีระดับ ความเข้มงวดของการเข้าออกอาคารสถานที่ และไม่ได้เปิดกว้างให้บุคคลทั่วไปเข้ามาใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ต เพื่อสังคมอย่างกว้างขวาง เหมือนศูนย์อินเทอร์เน็ตที่ตั้งอยู่ในชุมชน (6) เนื่องจากงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนมีจํากัด วงเงินไม่เกิน 9,500 บาท ทําให้ ศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ ไม่สามารถดําเนินการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมที่มีความ ชํานาญในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต จึงไม่สามารถทําหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ ประชาชนในพื้นที่และกลุ่มผู้ด้อยโอกาสได้ตามเจตนารมณ์ของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ดังนั้น เมื่อศูนย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมมีการจัดกิจกรรมเปิดอบรมหลักสูตร ICT จึงเป็นการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ประจํา ของศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรีฯ หรือวิทยากรจากภายนอกมาทําการฝึกอบรมให้แทน ดังนั้น ควรเพิ่ม งบประมาณให้ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมสําหรับค่าจ้างเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตที่สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์โดยตรง (7) ระยะทางห่างไกลและการเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เป็นอุปสรรคสําคัญที่ทําให้ ผู้ด้อยโอกาสและประชาชนทั่วไป ไม่สามารถเข้ามารับบริการจากศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมได้ จึงมีผลกระทบ ต่อการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและฝึกอบรม ICT ไม่สามารถกระทําได้เต็มประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากกลุ่ม สตรีด้อยโอกาสส่วนใหญ่ที่เป็นกลุ่มแม่บ้านหรือผู้มีรายได้น้อยไม่สามารถเดินทางมาเข้าร่วมฝึกอบรมได้ (8) ช่วงเวลาที่ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมเปิดให้บริการหรือจัดอบรมคือ 8.30 น.16.30 น. ประชาชนในพื้นที่ซึ่งเป็นกลุ่มแม่บ้านหรือเป็นกลุ่มเป้าหมายทางสังคมไม่สามารถเข้ามาร่วมรับการ ฝึ กอบรมได้ เนื่องจากต้องไปทํ างานในอาชี พเกษตรกรรมของตนเอง หากเสียเวลามาร่ ว มอบรมครบตาม หลักสูตรที่จัดก็จะส่งผลเสียต่อพืชผลทางการเกษตรที่ปลูกหรือเก็บเกี่ยวไว้ ดังนั้น ควรสร้างกลุ่มวิทยากรประจํา ชุมชนขึ้น โดยให้เยาวชนในพื้นที่เข้ามาเรียนรู้กระบวนการพัฒนาแนวคิดในการนํา ICT ไปใช้ประโยชน์ในชุมชน และให้สามารถทําหน้าที่ให้คําแนะนําสอดแทรกความรู้ด้านการใช้ ICT ให้แก่ประชาชนในหมู่บ้านหรือในพื้นที่ ได้อย่างต่อเนื่อง โดยที่ประชาชนในพื้นที่ไม่เสียเวลาต้องเดินทางเข้ามาร่วมฝึกอบรม บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 80


5.2 ข้อเสนอแนะ จากการประเมินผลและถอดบทเรียนกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส ภายใต้การ ดํ า เนิ น การของศู น ย์ อิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ สั ง คม ในจั ง หวั ด ลํ า ปาง จั ง หวั ด เชี ย งราย และจั ง หวั ด ศรี ส ะเกษมี ข้อเสนอแนะหลักๆ ดังนี้ 5.2.1 ข้อเสนอแนะการพัฒนาศักยภาพการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารของกลุ่มสตรีด้อยโอกาส เนื่องจากกลุ่ มสตรี ด้อยโอกาสที่เข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรมกั บศูนย์ อินเทอร์เน็ตเพื่ อสั งคม ส่วนมากมีฐานะยากจน ขาดโอกาสที่จะได้รับการพัฒนาทักษะความรู้ในการประยุกต์ใช้ ICT การเข้าถึง อินเทอร์เน็ตค่อนข้างน้อยเพราะเสียค่าบริการแพงเกินไปเมื่อเทียบกับรายได้ และการประกอบอาชีพของสตรี ด้อยโอกาสจะแบ่งพิจารณาเป็นกลุ่มแม่บ้าน และกลุ่มเยาวชนสตรีด้อยโอกาส ทั้ง 2 กลุ่มนี้มีลักษณะต่างกันคือ กลุ่มที่ 1 สตรีกลุ่มแม่บ้าน มีการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและการนําทรัพยากรธรรมชาติ และวัตถุดิบในท้องถิ่นมาประยุกต์เพื่อการประกอบอาชีพ เช่น ทอผ้า ทําอาหาร ถนอมอาหาร งานฝีมือ เป็น กลุ่มสตรีที่มีอาชีพของตนเองอยู่ก่อนแล้ว ยังขาดการนําเทคโนโลยีการสื่อสารหรือ ICT ไปช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีความทันสมัยและเป็นที่ต้องการของตลาด เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์สินค้าที่มีอยู่เดิม กลุ่มที่ 2 กลุ่มเยาวชนสตรีด้อยโอกาส เป็นกลุ่มที่กําลังค้นหาแนวทางการประกอบอาชีพและ การศึกษาเกี่ยวกับวิชาชีพของตนเองในอนาคต จึงเป็นกลุ่มที่ควรส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพควบคู่ไปกับการ ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารและการพัฒนาแนวคิดการเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ หรือการพัฒนาทักษะฝีมือ แรงงานให้มีความชํานาญจนสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานได้ จากคุ ณ ลั ก ษณะและความแตกต่ า งของกลุ่ ม สตรี ด้ อ ยโอกาสดั ง กล่ า ว ทํ า ให้ ก ารพั ฒ นา ศักยภาพในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส จําเป็นต้องกําหนดกรอบกลยุทธ์ นโยบาย และกิจกรรมการพัฒนาที่มีลักษะเฉพาะเจาะจงให้เหมาะสมกับความต้องการและการใช้งานจริงของสตรีด้อย โอกาส และยังมีประเด็นในเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นและชุมชนชาวเขาและชนเผ่าดั่งเดิมที่ต้องนํามาพิจารณาใน การจัดกิจกรรมฝึกอบรมของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมด้วย โดยสรุปข้อเสนอแนะ ดังนี้ 5.2.1.1 ข้อเสนอแนะเชิงกลยุทธ์และนโยบายด้าน USO เกี่ยวกับกลุ่มสตรีด้อยโอกาส (1) ควรส่งเสริมการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตและการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตเพื่อ พัฒนาศักยภาพทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านสังคมให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส เนื่องจากกลุ่มสตรีด้อยโอกาสมีฐานะ ยากจนและขาดโอกาสในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต ดังนั้น กสทช.ควรใช้กลไก USO เข้ามา ช่วยเหลือหรือสนับสนุนค่าบริการอินเทอร์เน็ตให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่มีฐานะยากจน โดยอาศัยช่องทางตาม พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2544 มาตรา 17 (3) และ (4) มอบอํานาจให้ กสทช. ดําเนินการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมสาธารณะในบางลักษณะหรือบางประเภทแก่ผู้มีรายได้น้อย และจัดให้มี บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 81


บริ ก ารอํ า นวยความสะดวกในการใช้ บ ริ ก ารโทรคมนาคมสาธารณะสํ า หรั บ คนพิ ก าร เด็ ก คนชรา และ ผู้ด้อยโอกาสในสังคม (2) ควรประสานงานกับหน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนากลุ่มสตรีด้อยโอกาส หรือผู้มีรายได้น้อย เพื่อขยายพื้นที่เพิ่มจํานวนศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมให้มากขึ้น เพื่อให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาส และผู้สนใจทั่วไปสามารถเข้าใช้บริการใกล้บ้านได้สะดวก ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย (3) ควรจัดทําฐานข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมายทางสังคมเชื่อมกับฐานข้อมูลของ หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มแม่บ้าน กลุ่ม OTOP กลุ่มเยาวชนสตรี กลุ่มสตรีผู้พิการ ฯลฯ เพื่อใช้วางแผนการจัดสรรงบประมาณและการจัดทําโครงการสนับสนุนกิจกรรมการฝึกอบรมให้กับศูนย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมอย่างต่อเนื่องในแต่ละพื้นที่และทุกจังหวัด (4) กสทช.ควรกําหนดอัตราค่าบริการด้านโทรคมนาคมในอัตราพิเศษให้กับกลุ่มสตรี ด้อยโอกาสหรือกลุ่มเป้าหมายทางสังคมทุกกลุ่ม เพื่อให้สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากบริการโทรศัพท์และ บริการอินเทอร์เน็ตได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 5.2.1.2 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรการฝึอบรมรมกลุ่มสตรีด้อยโอกาสของ ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (1) ควรส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ ICT พื้นฐานในระดับต่างๆ ให้เหมาะ กับบริบทของชุมชนและกลุ่มสตรีด้อยโอกาสในแต่ละพื้นที่ ทักษะความรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น และควรแบ่ง หลักสูตรออกเป็น 3 ระดับ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถปรับพื้นฐานและเตรียมความพร้อม คือ หลักสูตรระดับแรก : เป็นหลักสูตรที่เน้นการสอนเกี่ยวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ เบื้องต้นและการเข้าใช้อินเทอร์เน็ต โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ ได้เรียนรู้ ICT พื้นฐานได้ เช่น สามารถใช้แป้นคีย์ บอร์ดพิมพ์งานได้อย่างถูกต้อง รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ และการใช้อินเทอร์เน็ตสืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับจังหวัดของตนเองได้ เช่น สืบค้นเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ลายผ้าพื้นเมืองมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว การสมัครใช้งานอีเมล (e-mail) การสมัครสมาชิกสื่อสังคม ออนไลน์ ได้แก่ เฟสบุ๊ค (Facebook) กูเกิล (Google) และ ยูทูป (Youtube) เป็นต้น หลักสูตรระดับสอง : เป็นหลักสูตรที่เน้นสอนการสร้างร้านค้าออนไลน์ของตนเอง เป็นการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่เรียนในหลักสูตรระดับแรกแล้ว การสร้างเนื้อหาสาระ (content) เพิ่มเติมให้เป็น ร้า นค้ า ออนไลน์ ที่ ใ ช้ ง านได้ จ ริ ง และเน้ น การสอนเพื่ อ พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ การเพิ่ ม มู ล ค่ า ผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนหรือผลผลิตในชุมชนให้มีจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ การตั้งราคาสินค้า และการ สร้างแบรนด์และโลโก้สินค้าให้เป็นที่ยอมรับของตลาดโลก การทํากิจกรรมทัวร์ท่องเทียวเชิงวัฒนธรรมท้องถิ่น หรือการเขียนเรื่องราวชุมชนของตนเองเพื่อเพิ่มมูลค่าการท่องเที่ยว การรับคําสั่งซื้อ การโต้ตอบลูกค้า การทํา บัญชีรายรับ-รายจ่าย ขั้นตอนการขนส่งสินค้า และแหล่งทุน เป็นต้น หลักสูตรระดับสาม : เป็นหลักสูตรที่สอนการทํากราฟฟิกดีไซน์ (Graphic design) และการถ่ายรูปและการตกแต่งรูปภาพให้สวยงาม เพื่อนําขึ้น Upload วางในระบบตลาดร้านค้าออนไลน์ บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 82


(2) ควรจัดหลักสูตรอบรมให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาสอย่างน้อยปีละ 2-3 ครั้งและ ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งควรติดตามประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้น (impact) จากกลุ่มสตรีด้อยโอกาสที่ ผ่านการฝึกอบรมจากศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมไปแล้ว และควรมีแนวทางในการพัฒนาต่อยอดกลุ่มสตรีด้อย โอกาสที่ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรมกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมด้วย (3) ในการจั ดกิ จกรรมฝึกอบรมแต่ละรุ่นควรควรคัดเลือกผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ มี ทักษะพื้นฐานในการใช้ ICT ระดับเดียวกันหรือใกล้เคียงกันเข้าอบรมในรุ่นเดียวกัน เพื่อให้สามารถจัดการ อบรมได้ตรงตามศักยภาพของกลุ่มเป้าหมาย (4) ควรมีการแบ่งปันประสบการณ์จากกลุ่มสตรีด้อยโอกาสหรือบุคคลตัวอย่างที่ นําเอาความรู้ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการฝึกอบรมกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมไปใช้ประโยชน์ในการสร้างอาชีพ และรายได้ให้แก่ตัวเอง กลับมาเป็นวิทยากรรับเชิญเพื่อแบ่งปันประสบการณ์จริงแก่สตรีด้อยโอกาสอื่นๆ มีแรง บันดาลใจในการพัฒนาตนเองให้ประสบความสําเร็จ (5) ควรส่งเสริมให้มีวิทยากรท้องถิ่น (local trainers) ในระดับหมู่บ้าน โดยส่งเสริม ให้กลุ่มเยาวชนสตรีที่เข้าร่วมกิจกรรมกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม และเป็นบุคคลหรือกลุ่มที่มีศักยภาพ สามารถถ่ายทอดความรู้ในการใช้งานเทคโนโลยีการสื่อสารตามหลักสูตรต่างๆ ทําหน้าที่ต่อยอดเปิดอบรมให้ ความรู้แก่ประชาชนในท้องถิ่นของตนเองได้ และให้กลุ่มวิทยากรท้องถิ่นทําหน้าที่ประสานงานระหว่างหมู่บ้าน หรือชุมชนกับศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมในการประชาสัมพันธ์ข่าวสารและกิจกรรมต่างๆของศูนย์อินเทอร์เน็ต 5.2.2 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม 5.2.2.1 ข้อเสนแนะรูปแบบการให้บริการของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม (1) ควรเพิ่มความเร็วอินเทอร์เน็ตให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมและ เพิ่มจํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ในศูนย์ที่มุ่งหวังให้บริการฝึกอบรมทักษะความรู้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาสและ ประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆพัฒนาศักยภาพ ตนเองได้เต็มที่ และควรมีการติดตั้ง WiFi ให้บริการแก่ประชาชนที่เอาถือโน้ตบุค หรือสมาร์ทโฟนมาใช้บริการ (2) ในช่วงที่ไม่มีกิจกรรมการฝึกอบรม ควรเปิดศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมให้กลุ่ม สตรีด้อยโอกาสและประชาชนทั่วไปเข้ามาใช้บริการได้อย่างสะดวก โดยจัดพื้นที่ให้บริการแบบประชุมรวมกลุ่ม ได้หรือเรียกว่าแบบ Coworking Space1 หรือพื้นที่ใช้งานที่สามารถนั่งประชุม คุยงาน วางแผนการทํางาน หรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ Coworking Space เป็นพื้นที่ทํางานที่มีบริการพร้อมทั้งโต๊ะ เก้าอี้ เครื่อง คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ที่จัดอาหารและน้ํา เป็นต้น 1

แบบ Coworking Space หมายถึงพื้นฐานบริการเชื่อมต่อ WiFi และสิ่งอํานวยความสะดวกด้านไอที บริการเครื่องโทรสาร โปรเจคเตอร์ เครื่องพิมพ์ โทรศัพท์ เครื่องสแกนทําปกหนังสือ กระดานไวท์บอร์ด กระดาษ เฟอร์นิเจอร์ ที่จําเป็นต่อการทํางาน ห้องประชุม ห้องนั่งเล่น ห้องพักผ่อนหย่อนใจ ห้องสมุด บริการน้ําดื่มกาแฟและอาหารว่าง ที่เก็บ เอกสาร คล้ายกับการให้บริการที่ตั้งของบริษัทเสมือนจริง (Virtual Company) เหมาะสําหรับกลุ่มคนที่ไม่มีบริษัทของตนเอง บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 83


(3) ควรจัดทําศูนย์กลางเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและศูนย์กลางติดต่อประสานงาน เพื่อให้เป็นฐานข้อมูลถ่ายทอดความรู้ให้แก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและประชาชนทุกคน ที่ไม่มีเวลาหรือไม่สะดวกเข้า รับบริการที่ศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ก็สามารถสืบค้นข้อมูลองค์ความรู้ต่างๆ ทั้งแบบวีดีโอออนไลน์ และ แบบเอกสาร ผ่านฐานข้อมูลกลางหรือ Smart HUB ซึ่งจะมีการเผยแพร่หลักสูตรการฝึกอบรม และความรู้อัน เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มสตรีด้อยโอกาสและประชาชนทั่วไป เช่น การประกอบวิชาชีพต่างๆ การสร้างผลิตภัณฑ์ จากวัตถุดิบในท้องถิ่น การใช้สื่อสังคมออนไลน์ประชาสัมพันธ์สินค้า เป็นต้น (4) ควรผลักดันนโยบายการบริหารจัดการศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมให้เป็นศูนย์กลาง ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับกิจกรรมการฝึกอบรม และการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นในการการผลิต สินค้าต่างๆ เพื่อให้กลุ่มสตรีด้อยโอกาสในชุมชนได้มีเครือข่ายทางสังคม เป็นเพื่อนกันและสามารถช่วยเหลือ กันได้ และในที่สุดจะสามารถสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจและสังคมให้แก่ชุมชนได้ 5.2.2.2 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต (1) หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ตควรหารือกับหน่วยงานต้นสังกัดใน การจั ดสรรงบประมาณให้ เพี ยงพอสําหรั บการจัดจ้างเจ้ าหน้าที่ดูแ ลศูนย์อินเทอร์เน็ตแบบประจํา และมี แนวทางเพิ่มโอกาสความก้าวหน้าและสวัสดิการให้แก่เจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นขวัญกําลังใจ และแรงจูงใจให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีวุฒิการศึกษาด้าน IT สมัครเข้ามาเป็นผู้ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต (2) เจ้ า หน้ า ที่ ดู แ ลศู น ย์ อิ น เทอร์ เ น็ ต ควรมี อํ า นาจในการบริ ห ารจั ด การศู น ย์ อินเทอร์เน็ตได้อย่างคล่องตัว และจัดทําแผนการฝึกอบรมและการประสานข้อมูลกิจกรรมกับประชาชนและ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ได้สะดวกและรวดเร็ว ทั้งนี้ ในแต่ละปีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต ควรมีการจัดสรรงบประมาณที่ใช้ในการบริหารจัดการศูนย์และการจัดกิจกรรมฝึกอบรมแยกไว้เป็นการเฉพาะ เพื่อให้กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและประชาชนทั่วไปสามารถเข้ามาใช้บริการศูนย์อินเทอร์เน็ตได้อย่างสะดวกและเกิด ประโยชน์สูงสูด (3) เจ้าหน้าที่ดูแลศูนย์อินเทอร์เน็ต ต้องมีทักษะความรู้ความสามารถเพียงพอใน การให้คําปรึกษาแนะนําแก่ประชาชนทั่วไป กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรีด้อยโอกาส ในการใช้คอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ และสามารถสอนหลักสูตรการฝึกอบรมต่างๆ ได้ โดยในการคัดเลือกจะต้อง ผ่านการสอบทั้งข้อเขียนและสัมภาษณ์ 5.2.2.3 ข้อเสนอแนะการประชาสัมพันธ์กิจกรรมของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ควรส่งเสริมให้มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม อย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาต่างๆ เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชนสตรี กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และ ประชาชนทั่วไปในพื้นที่ของจังหวัดได้รับทราบและสามารถเลือกสมัครเข้าร่วมกิจกรรมของศูนย์อินเทอร์เน็ต เพื่อสังคมได้ตามช่วงเวลาที่ตนเองต้องการ และควรมีการประชาสัมพันธ์ผ่านกลุ่มผู้นําชุมชนในแต่ละหมู่บ้าน ด้ ว ย เพื่อ ให้ ก ลุ่ม สตรี ด้อ ยโอกาสภายในชุ ม ชนได้ รั บ ข่ า วสารอย่ า งทั่ว ถึ ง และเข้ า มาใช้ บ ริ ก ารภายในศู น ย์ อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

หน้า 84


บรรณานุกรม กมลรัฐ อินทรทัศน์ และคณะ. (2010). ศึกษาเกี่ยวกับสถานการณ์และความเป็นไปได้เกี่ยวกับการใช้ ICT ใน กลุ่มของผู้รับงานไปทําที่บ้านของประเทศไทย. กรุงเทพฯ, สํานักพิมพ์บูรพาสาสน์. กมลรัฐ อินทรทัศน์ และคณะ. (2016). Preliminary Research on WIDI Development for ASEAN Countries (2016) . Asia Pacific Women’s Information Network Center, Sookmyung Women’s University, Seoul, KOREA. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2559). Coworking Space WeWork มูลค่าติดอันดับโลก. ออนไลน์. สืบค้นจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1466405260. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 1 กรกฎาคม 2559. ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. (2553). ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดเชียงราย. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. ศูนย์ข้อมูลแรงงานจังหวัดเชียงราย สํานักงานแรงงาน. (2558). ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัด เชียงราย สํานักการบริการอย่างทั่วถึง สํานักงาน กสทช. (2554). การจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและ บริการเพื่อสังคม ประจําปี พ.ศ.2553 (Universal Service Obligation) ศูนย์อินเทอร์เน็ตชุมชน. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ. สํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (2554). แผนพัฒนาสตรีในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559). กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. สํานักงานจังหวัดลําปาง. (2550). ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดลําปาง. ออนไลน์. สืบค้นจาก http://www.lampang.go.th/lamp.html. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 5 มีนาคม 2559. สํานักงานแรงงานจังหวัดศรีสะเกษ. (2558). ข้อมูลด้านสังคมของจังหวัดศรีสะเกษ. สํานักงานสถิติจังหวัดลําปาง. (2558). “ข้อมูลแรงงานและการมีงานทําจําแนกตามอาชีพและเพศ พ.ศ. 2558 กลุ่มผู้อยูใ่ นวัยทํางาน (ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป)”. ออนไลน์. สืบค้นจาก http://satun.old.nso.go.th/nso/project/search_option/index.jsp?province_id=58. เข้าถึง ข้อมูลวันที่ 18 เมษายน 2559. สํานักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน พ.ศ. 2557. ออนไลน์. สืบค้นจาก http://service.nso.go.th/nso/web/survey/surtec5-13.html. เข้าถึงข้อมูลวันที่ 1 กรกฎาคม 2559.

บรรณานุกรม

หน้า 85


ภาคผนวก ภาคผนวก ก

กรณีศึกษากลุม่ สตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง เชียงราย และศรีสะเกษ

ภาคผนวก ข ภาพประกอบกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี การสื่ อ สารในยุ ค ดิ จิ ทั ล เพื่อ การจั ดทํ า สื่ อ การตลาดออนไลน์ ใ ห้ แ ก่ ก ลุ่ ม สตรี ด้ อ ยโอกาส และการ ดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคม ที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ) ภาคผนวก ค เอกสารประกอบกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี การสื่ อ สารในยุ ค ดิ จิ ทั ล เพื่ อ การจั ดทํ า สื่ อ การตลาดออนไลน์ ใ ห้ แ ก่ ก ลุ่ ม สตรี ด้ อ ยโอกาส และการ ดําเนินงานของศูนย์อินเทอร์เน็ตเพื่อสังคมที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ)

ภาคผนวก

หน้า 86


ภาคผนวก ก กรณีศึกษากลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง เชียงราย และศรีสะเกษ 1. กรณีศึกษากลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง ประกอบด้วย 3 กลุ่มอาชีพ คือ 1) สตรีด้อยโอกาสกลุ่ม Like Knitting จังหวัดลําปาง 2) สตรีด้อยโอกาสกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีบ้านผึ้งหลวง จังหวัดลําปาง 3) สตรีด้อยโอกาสกลุ่มหมวกคาวบอยจากยางพารา จังหวัดลําปาง กลุ่มที่ 1 สตรีด้อยโอกาสกลุม่ Like Knitting จังหวัดลําปาง

ภาพที่ ผ.1 สตรีกลุ่ม Like Knitting ฝึกถ่ายภาพผลิตภัณฑ์

กลุ่ม Like Knitting เป็นกลุ่มที่รวมตัวกันเพื่อสร้างรายได้ สร้างอาชีพให้กับแม่บ้านในหมู่บ้าน โดยมีคุณณัฐวลัญธ์ คําบรรณรักษ์ หรือ “ปาล์มมี่” หัวหน้ากลุ่ม Like Knitting ที่คอยดูแลและจัดหาลูกค้า หน้าร้านหรือสถานที่เพื่อจัดจําหน่ายสินค้า โดยพื้นฐานของสมาชิกที่เข้าร่วมกลุ่มเป็นผู้ที่ชอบงานฝีมือ จึง นําเอาพื้นฐานความรู้ที่ตนเองมีอยู่มาพัฒนาต่อยอดความคิดในการ “ถักกระเป๋าเชือกร่ม” มีการศึกษาลวดลาย และได้ทํากระเป๋าขนาดต่าง ๆ ขึ้นอีกเป็นจํานวนมาก นานไปเริ่มมีลูกค้าสั่งเพิ่มมากขึ้น ปริมาณงานที่เพิ่มมาก ขึ้น จึงได้ชักชวนบุคคลที่มีความสนใจการ “ถักกระเป๋าเชือกร่ม” และพอมีพื้นฐานเรื่องนี้อยู่บ้างแล้วมารวมตัว กันเป็นกลุ่มอาชีพและในสภาพปัจจุบันมีสินค้าที่เกี่ยวกับงานฝีมือมีความหลากหลายมากในท้องตลาดทําให้ ผู้บริโภคมีตัวเลือกมากขึ้น กลุ่มจึงมีความจําเป็นต้องหาวิธีเพิ่มช่องทางการตลาด เช่น การสร้างร้านค้าออนไลน์ การขายสินค้าบนสื่อสังคมออนไลน์ แต่สมาชิกภายในกลุ่มยังขาดความรู้และทักษะด้านนี้

ภาคผนวก

หน้า 87


ภาพที่ ผ.2 สตรีกลุ่ม Like Knitting ฝึกแต่งภาพและลงขายบนเว็บไซต์

ประจวบเหมาะกับช่วงเวลาดังกล่าวได้มี การจัดกิจกรรมการใช้ ICT เพื่อร้านค้าออนไลน์ โดยสํานักงาน กสทช. ศูนย์ USO NET และศูนย์สตรีจังหวัดลําปาง เข้ามาจัดการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริม ทักษะความรู้ในใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์และ พร้อมเข้าสู่เศรษฐกิจ ยุค ดิจิทัล ทําให้สมาชิกในกลุ่ม ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และมีทักษะในการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ การเข้าร่วมกิจกรรมครั้ง นี้ ทําให้เกิดแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างร้านค้าออนไลน์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการนําเสนอสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มในหลายรูปแบบนอกเหนือจากการจําหน่ายตามหน้าร้านต่างๆ รวมถึงมีความรู้เกี่ยวกับการ ใช้โซเซียลมีเดียในการทําธุรกิจหรือกิจการของตนเอง เช่น การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สินค้าบนกลุ่มไลน์ การ ภาพถ่ายและตกแต่งภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ การสร้างร้านค้าออนไลน์บนเว็บไซต์ โดยใช้เว็บไซต์สําเร็จรูป ที่ง่ายต่อการใช้งานและเหมาะสําหรับผู้ที่ต้องการมีร้านค้าออนไลน์แต่ไม่มีพื้นฐานด้านICTมากนัก การสร้าง ร้านค้าออนไลน์บน Facebook การเขียนเรื่องราวหรือรายละเอียดสินค้าเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ซึ่งกิจ กรรมต่างๆเป็น การเปิ ด โลกทัศ น์ด้ าน ICT มีโ อกาสในการเข้าถึง สื่อและเพิ่ม โอกาสในการจํา หน่า ย ผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้น รวมถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์และใช้อย่างถูกต้อง ไม่ตกเป็นเหยื่อของ ผู้ค้าคนกลางหรือนายทุน สามารถนําไปประยุกต์ใช้กับอาชีพได้ จากเดิมที่สตรีภายในกลุ่มไม่มีพื้นฐานด้านการ ใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต เมื่อได้รับความรู้จากหลักสูตรด้าน ICT แล้วสามารถใช้ประโยชน์จาก คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตามหลักการของสิ่งนั้นๆ

ภาคผนวก

หน้า 88


ภาพที่ ผ.3 เว็บไซต์ของกลุ่ม Like Knitting และผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม Like Knitting ที่ผ่านการตกแต่งภาพ

สิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์และสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดในกลุ่มอาชีพตนเองคือ จากจุดเริ่มต้นที่เน้น การเข้าถึงการเริ่มเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานต่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้ ICT ก็ได้รับการพัฒนาต่อยอดเกี่ยวกับ การเริ่มใช้ ICT เพื่อการหารายได้ เพื่อนําไปสนับสนุนด้านฝึกอาชีพ การสร้างช่องทางการตลาด การออกแบบ การสร้างสรรค์งาน และการเรียนรู้จากคนกลุ่มอื่น ๆ ที่ผลิตสินค้าคล้ายคลึงกัน จากนั้นก็มีการเริ่มสนับสนุน ช่วยเหลือให้กลุ่มของเราเริ่มค้าขายสินค้าออนไลน์ สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมเกิดการเปลี่ยนแปลง สามารถใช้ ทักษะและประโยชน์จาก ICT เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ มีร้านค้าออนไลน์เป็นของกลุ่มตนเอง สร้าง เครือข่ายกลุ่ม การถ่ายภาพให้ดูสวยขึ้นมีความโดดเด่นมากยิ่งขึ้น ที่แตกต่างจากเดิมโดยใช้สมาร์ทโฟนที่มีอยู่ใน การถ่ายภาพ สมาชิกในกลุ่มเกิดแนวคิดและวิธีการเกี่ยวกับการทําการค้า การประกอบธุรกิจแนวใหม่ ที่จะต้อง ใช้ ICT เข้าไปเป็นเครื่องมือคือ “ความมั่นใจที่มากขึ้นเกี่ยวกับการค้าขายผ่านระบบตลาดออนไลน์ และการ ใช้ ICT ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาธุรกิจเครือข่าย และเป็นมืออาชีพมากยิ่งขึ้น หลัก ๆ ที่พวกเรา สามารถนําไปใช้ได้คือ สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความมั่นใจเพิ่มมากขึ้นที่จะก้าวเดินต่อและพัฒนาต่อยอด เพราะตลอดเกือบ 10 ปีที่เราทํามาอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นว่าเราทําได้ ดังนั้น ในการเป็นผู้ประกอบการที่ใช้ ICT ในการขับเคลื่อนสินค้าตนเองให้โด่งดังยิ่งขึ้นไปพวกเราก็เชื่อมั่นว่า เราสามารถทําได้แน่นอน”

ภาคผนวก

หน้า 89


กลุ่มที่ 2 สตรีด้อยโอกาสกลุม่ ตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีบ้านผึ้งหลวง จังหวัดลําปาง

ภาพที่ ผ.4 การนําเสนอร้านค้าของกลุ่มตัดเย็บผ้าสตรีบ้านผึ้งหลวง

กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีบ้านผึ้ง ตั้งอยู่ที่ อ.เกาะคา จ.ลําปาง เป็นกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าที่มีทั้งตัดเย็บ เสื้อผ้าสตรี เสื้อผ้าบุรุษ กระเป๋า หรือตัดเย็บตามที่ลูกค้าต้องการ ซึ่งกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีบ้านผึ้ง รวมตัวจัดตั้ง เพื่อหารายได้เสริมในการเลี้ยงชีพ จากอาชีพหลักที่ทําเกษตรกรรม ซึ่งกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าบ้านผึ้งมีจุดเด่นของ กลุ่มคือผ้าฝ้ายทอมือที่มีความละเอียด มีรูปแบบการตัดเย็บที่ละเอียด การตัดเย็บเป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มตัด เย็บเสื้อผ้าสตรีบ้านผึ้ง มีทั้งชนิดที่เป็นเสื้อผ้าฝ้ายพื้นเมืองที่ตัดเป็นชุดสําเร็จรูป เสื้อสตรี เสื้อบุรุษ หรือตัดตาม ลูกค้าต้องการเช่น ตามหน่วยงานราชการต่างๆ หรือเป็นผ้าผืนเช่น ผ้าสําเร็จรูป ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ ผ้าปูโต๊ะ ที่สําคัญผ้าทุกชิ้นจะมีคุณสมบัติพิเศษคือสวมใส่แล้วเย็นสบายดีต่อสุขภาพและเนื้อผ้าจะมีความนุ่ม ผลิตด้วย ความใส่ใจ และทางกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีบ้านผึ้งยังร่วมออกโชว์ในงานสําคัญๆ ระดับจังหวัดและระดับภาค รวมถึงเป็นแหล่งการเรียนรู้การสอนตัดเย็บเสื้อผ้า หากมีผู้ที่สนใจจะนําไปขยายและต่อยอดให้ตนเอง เพื่อให้ เกิดรายได้ให้ครอบครัวและชุมชนมากขึ้น แต่เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการผลิตสินค้าประเภทเสื้อผ้าสําเร็จรูปที่ ผลิตจากผ้าพื้นเมืองเป็นจํานวนมาก จึงทําให้สมาชิกกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีบ้านผึ้ง ต้องการที่จะพัฒนาฝีมือ ลวดลายการตัดเย็บ ขยายฐานตลาดให้มากขึ้น เจาะกลุ่มผู้ซื้อให้ตรงเป้าหมาย แต่ก็ยังไม่มีทักษะประสบการณ์ ดังกล่าว จึงได้สมัครเข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ในใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาด ออนไลน์ เพราะหวังว่าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะ สามารถเป็นเครื่องมือช่วยกลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรีบ้านผึ้ง ได้มีคนรู้จักมากขึ้น สามารถขายได้มากขึ้น ทําให้กลุ่ม และชุมชนในหมู่บ้านได้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น

ภาคผนวก

หน้า 90


ภาพที่ ผ.5 เว็บไซต์ของกลุ่มตัดเย็บผ้าสตรีบ้านผึ้งหลวง

จากการเข้าร่วมกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้ สิ่งแรกที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมคือ ทํา ให้ตนเองและสมาชิกในกลุ่มเกิดความคิดที่จะพัฒนากลุ่มอาชีพของตนเอง การส่งเสริมให้สมาชิกในกลุ่มมี ทักษะการใช้ICTมากขึ้น สามารถใช้เทคโนโลยีส่งเสริมสินค้าผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ให้เกิดการขยายตลาดมากขึ้น มี ความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ สามารถใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการทําสื่อการตลาดออนไลน์เช่น การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์อย่าง e-mail ที่ทาง กลุ่มได้ทําการสมัครและมี e-Mail เป็นของกลุ่ม เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร รวมถึงใช้ในการขายสินค้าเช่น การ สั่งจอง การยืนยันการสั่งจอง การส่งหลักฐานการเงินต่างๆ จากลูกค้าที่อยู่ไกล ทําให้ไม่เกิดปัญหาการทํา หลักฐานการเงินต่างๆหายและมีปัญหาในการซื้อขาย รวมถึงกลุ่มตัดเย็บผ้าสตรีบ้านผึ้งหลวงได้มี facebook fanpage เป็นของกลุ่ม ที่จะใช้นําเสนอ โชว์สินค้าและผลิตภัณฑ์ที่ทางกลุ่มได้ทําขึ้น ให้ลูกค้าเห็นภาพได้อย่าง ชัดเจน ง่ายต่อการตัดสินใจเลือกซื้อและลูกค้าสามารถเข้าถึงสินค้าของกลุ่มได้ง่ายขึ้น การถ่ายภาพและตกแต่ง ภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ให้ดูทันสมัยขึ้น การใช้เว็บไซต์เพื่อทําการสื่อตลาดออนไลน์ที่จะเป็นอีกช่องทาง หนึ่งในการเพิ่มช่องทางการตลาดในกลุ่ม การเขียนเนื้อหาเพื่อการประชาสัมพันธ์ที่ทําให้ลูกค้าเห็นว่าสินค้าของ เราน่าซื้อและน่าสนใจ อีกทั้งการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ทําให้กลุ่มของตนเองสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตในการ ค้นหาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเรื่องลวดลายผ้าพื้นเมือง เทคนิควิธีการตัดเย็บ สิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์และสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดในกลุ่มอาชีพตนเองคือ การเปิดร้านค้า ออนไลน์บนเว็บไซต์และทาง facebook รวมถึงเทคนิคการถ่ายภาพสินค้าที่น่าสนใจดึงดูดลูกค้า อีกทั้งยังเป็น การเพิ่มโลกทัศน์ เพิ่มความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการต่อยอดการพัฒนาตนเอง การต่อยอดการพัฒนาชุมชน หรือ บ้านเกิดของตนเอง เพราะทางกลุ่มได้เห็นช่องทางที่มากขึ้น เห็นเครือข่ายที่มากขึ้น ทําให้สามารถรู้ถึงช่อง ทางการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ เป็นต้น เกิดแนวคิดในการขายสินค้าทางออนไลน์เพิ่มขึ้นมี แรงบันดาลใจในการขายออนไลน์มากขึ้น สิ่งที่หวังไว้หลังจากที่ได้ฝึกอบรมโครงการนี้คือ การขยายตลาด ภาคผนวก

หน้า 91


การค้าของชุมชนให้กว้างขึ้น ทําการบริหารจัดการร่วมกันเป็นเครือข่าย โดยการส่งสินค้าขึ้นสู่โลกออนไลน์ และสามารถเพิ่มช่องทางการค้าขายได้มากขึ้น มีการติดต่อประสานงาน การประชาสัมพันธ์ และยังสามารถ ค้นคว้าหาวิธีการทางการตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การสร้างแบรนด์และโลโก้สินค้าให้เป็นที่ยอมรับของ ตลาดโลกได้อีกด้วย กลุ่มที่ 3 สตรีด้อยโอกาสกลุม่ หมวกคาวบอยจากยางพารา จังหวัดลําปาง

ภาพที่ ผ.6 หัวหน้ากลุ่มหมวกคาวบอยฝึกอบรมด้านการถ่ายภาพผลิตภัณฑ์

แต่เดิมสมาชิกในกลุ่มมีอาชีพเป็นเกษตรกรและรับจ้างทํางานทั่วไป หนึ่งในสมาชิกเห็นว่าหมวก เดิมที่ชาวบ้านใช้เป็นหมวกกะโล้ที่ทํามาจากใบลานหรือใบตาล แต่ต่อมาได้มีผู้ที่นําแผ่นยางพารามาจําหน่าย เพื่อนํามาเป็นแผ่นรองพื้นหรือทําหลังคากันฝน และมีกระแสนิยมในการใส่หมวกเพื่อความเท่ห์ ความสวยงาม จึงมีแนวคิดที่นําแผ่นยางพาราที่เป็นวัสดุอยู่ในท้องถิ่นและหาซื้อง่ายมาทําเป็นหมวก มีการพัฒนาขึ้นมาให้มี รูปแบบคล้ายหมวกคาวบอย จนมีคนนิยมใช้หมวกคาวบอยจากยางพารามากขึ้น ชาวบ้านจึงเกิดแนวความคิด รวมตัวกันเป็นกลุ่มโดยใช้ชื่อว่า “กลุ่มหมวกคาวบอยจากยางพารา” ผลิตหมวกคาวบอยจากแผ่นยางพารา แผ่นหนังเทียมและได้พัฒนาฝีมือ โดยการออกแบบลวดลายให้ทันสมัย ให้มีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ เช่นหมวกนักรบ หมวกอัศวิน ชุดนักรบฯ ฝีมือและแรงงาน คือคนในชุมชนอย่างแท้จริงที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ด้วยฝีมือที่ประณีตและในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ในปัจจุบันจําเป็นต้องมีการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา เพื่อให้มีความทันสมัยและความต้องการของตลาด ทําให้สมาชิกในกลุ่มต้องคอยค้นคว้าหา ข้อมูล ลวดลาย รูปแบบต่างๆอยู่ตลอดเวลา ภาคผนวก

หน้า 92


ภาพที่ ผ.7 หน้าเพจ Facebook ของกลุ่มคาวบอย

แต่เนื่องด้วยสมาชิกในกลุ่มส่วนใหญ่เป็นสตรีด้อยโอกาสและผู้สูงอายุจํานวนมาก จึงทําให้ไม่มี ความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ตในการศึกษาข้อมูล จึงต้องอาศัยลูกๆหลานๆคอยช่วยเหลือใน การค้นหาข้อมูลต่างๆ ประจวบเหมาะกับการเข้ามาสัมมนาเชิง ปฏิบัติการฯในการ สร้างร้านค้ออนไลน์ของ สํานักงาน กสทช. ที่มีหลักสูตรเกี่ยวกับการสร้างร้านค้าออนไลน์ การเพิ่มช่องทางในการประกอบธุรกิจ การ เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ ทําให้สมาชิกในกลุ่มได้เพิ่มทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสาร ในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ การสร้างอาชีพและการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ทั้งบริบทเชิงพื้นที่ และเชิ งสังคมเพื่ อการสร้ างเศรษฐกิจชุ มชน การทําเว็ บ ไซต์ เพื่ อการขายของออนไลน์ ทําให้กลุ่ม มีร้านค้า ออนไลน์เป็นของตนเอง ไม่ต้องไปเสียเงินในการจ้างทําหรือต้องไปฝากสินค้ากับเว็บไซต์อื่นๆ ซึ่งทําให้เสีย ค่าใช้จ่ายเกิดความสิ้นเปลือง มีเทคนิคการถ่ายภาพและตกแต่งให้ดูมีความทันสมัยมากขึ้นจากสมาร์ทโฟนที่มี อยู่และนําภาพมาตกแต่งในโปรแกรมของเว็บไซต์ฟรีที่สําคัญเป็นโปรแกรมที่ง่ายต่อการใช้งาน ไม่ซับซ้อน ทํา ให้สมาชิกในกลุ่มที่ไม่มีพื้นฐานด้านICTมากนัก ก็สามารถทําได้ ทําเป็น เมื่อนําภาพมาลงในสื่อโซเซียลมีเดีย และมีผู้คนสนใจจึงทําให้เกิดความมั่นใจมากขึ้น เกิดความภูมิใจจากสิ่งเล็กๆที่พวกเขาทํา การเขียนเนื้อหาเพื่อ การประชาสัมพันธ์ การให้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการขายของออนไลน์ เช่น e-mail facebook website line เป็นต้น โดยส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อ การตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่ม หากไม่มีโครงการนี้ สตรีด้อยโอกาสจะไม่ได้รับการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารใน ยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ สิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์ และสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดในกลุ่มอาชีพตนเองคือ นอกจากจะมีพื้นฐานเรื่องการใช้เทคโนโลยีและสื่อ โซเซียลมีเดียในการทําร้านค้าออนไลน์บนเว็บไซต์และ facebook แล้ว ยังสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตให้เกิด ประโยชน์ ประยุกต์ใช้กับอาชีพได้ โดยสร้างเครือข่ายสังคมร้านค้าออนไลน์จากสื่อโซเซียลที่มีให้เป็นที่รู้จักอย่าง กว้างขวางมากขึ้น แนวคิดและวิธีการเกี่ยวกับการทําการค้า การประกอบธุรกิจแนวใหม่ ที่จะต้องใช้ ICT เข้า ไปเป็นเครื่องมือคือ “ความมั่นใจ เกิดแนวคิดในการทําร้านค้าออนไลน์ เกี่ยวกับ การใช้เครื่องมือเทคโนโลยี ต่าง ให้เป็นเครื่องมือทั้งทางตรงและทางอ้อมในการพัฒนาธุรกิจและเครือข่ายของเรามากยิ่งขึ้น และเป็น มืออาชีพมากยิ่งขึ้น” ภาคผนวก

หน้า 93


2. กรณีศึกษากลุ่มสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย 3 กลุ่มอาชีพ คือ 1) สตรีด้อยโอกาสกลุ่มสวนแก้วมังกร จังหวัดเชียงราย 2) สตรีด้อยโอกาสกลุ่มกาแฟปางซาง จังหวัดเชียงราย 3) สตรีด้อยโอกาสกลุ่มพัฒนาอาชีพของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดเชียงราย กลุ่มที่ 1 สตรีด้อยโอกาสกลุม่ สวนแก้วมังกร จังหวัดเชียงราย

ภาพที่ ผ.8 คุณหนิงเจ้าของสวนแก้วมังกร

กลุ่มสวนแก้วมังกร จังหวัดเชียงรายของกลุ่มเกษตรกรชาวบ้านในอําเภอพาน จังหวัดเชียงราย ที่เริ่มต้นมาจากหัวหน้ากลุ่มสวนแก้วมังกร นางกิติมา รุ่งเรือง หรือ “หนิง” ที่ผันตัวจากสาวยาคูลย์ที่เร่ขายใน กรุงเทพฯ กลับมาเป็นเกษตรกรที่บ้านเกิดเป็นที่ดินของสามี ในขณะที่ทําสวนแก้วมังกรเริ่มมีคนจากชุมชนและ นักท่องเที่ยวจากจังหวัดใกล้เคียงเข้ามาศึกษาดูงาน วิธีการปลูกแก้วมังกรให้มีผลผลิตดีตลอดปี โดยมีสมาชิก ภายในกลุ่มสวนแก้วมังกรคอยบริการนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชม และคอยดูแลถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการทํา สวนแก้วมังกรให้แก่ผู้ที่สนใจ และผนวกกับการที่ระหว่างนั้นได้มีหน่วยงานของสํานักงาน กสทช. และศูนย์วิจัย การจัดการความรู้การสื่อสารและการพัฒนา มสธ. ได้เข้ามาจัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริม ทักษะความรู้ในใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ มี วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการสามารถใช้ทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุค ดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ได้ ในการเข้าร่วมกิจกรรม ทําให้หนิงได้เกิดมุมมองใหม่ๆขึ้นมาว่า หากเราจะทําสวนแก้วมังกรให้เป็นโฮมสเตย์จะเป็นอีกทางสําหรับการสร้างรายได้ให้กับกลุ่มและหนิงเองได้ มองเห็นว่า ปัจจุบันมีสื่อเทคโนโลยีต่างๆเข้ามามากมาย ที่น่าจะเข้ามาช่วยในการทําตลาดออนไลน์ของตนได้ ภาคผนวก

หน้า 94


แต่ตนเองก็ยังไม่มีทักษะในด้านประชาสัมพันธ์ การใช้ ICT มากนัก จึงมีเป้าหมายที่จะพัฒนากิจการสวนแก้ว มังกร ด้วยความเชื่อมั่นว่า เทคโนโลยีต่างๆจะเข้ามาช่วยให้กิจการพัฒนาและมีรายได้เพิ่มขึ้น ซึ่งหนิงเองก็มี เป้าหมายของตนเองอยู่แล้วว่า อยากจะมีการประชาสัมพันธ์กิจการที่จะทําเรื่อง “โฮมสเตย์” ให้เป็นที่รู้จักของ คนทั่วไปที่สนใจ ทําให้มีความรู้เกี่ยวกับการใช้โซเซียลมีเดียในการทําธุรกิจหรือกิจการของตนเอง เพิ่มช่องทาง ในการค้าขาย วิธีการสร้างร้านค้าออนไลน์ และแนวคิดในการพัฒนาต่อยอดร้านค้า การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การภาพถ่ า ยเพื่ อ การประชาสั ม พั นธ์ การสร้ า งร้า นค้า ออนไลน์ บ นเว็ บ ไซต์ การสร้ า งร้า นค้ า ออนไลน์บ น Facebook เป็นต้น ซึ่งเป็นการเปิดโลกทัศน์ด้าน ICT มีโอกาสในการเข้าถึงสื่อและเพิ่มโอกาสในการจําหน่าย ผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้น สิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์และสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดในกลุ่มอาชีพตนเองคือ ปรับปรุงกิจการของ ตนเอง โดยนําหลักการในการทําธุรกิจที่มีแนวคิดอย่างกว้างขว้าง การคิดต้นทุน กําไร ขาดทุน และการส่งเสริม การขาย ฯลฯ โดยจะนําเอาไปประยุกต์ใช้ สําหรับการเพิ่มช่องทางในการขายสินค้า นํามาเชื่อมต่อและขยายผล ต่อ ชุม ชนทั้ง ในกลุ่ม ที่มีค วามรู้เ รื่อ งการใช้ ICTและกลุ่ม ที่ยัง ไม่เ ข้า ถึง สื่อ ออนไลน์ ก็จ ะทํา ให้มีค วามรู้ ความสามารถและเพิ่มรายได้ให้กับตนเอง ชุมชนได้ โดยคุณหนิงตัวแทนกลุ่มสวนแก้วมังกรได้กล่าวไว้ว่า “ ในการอบรมครั้งนี้ทําให้ตนเองได้มีการเปิดโลกมากยิ่งขึ้น ทําให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการสร้างร้านค้า ออนไลน์ที่นอกเหนือจากของตนเองและชุมชนที่ตนอยู่แล้ว แต่ยังมีชุมชนอื่นๆ ที่เข้ามาแลกเปลี่ยนความรู้เปิด ประสบการณ์ต่างๆ ที่ตนได้พบเจอมาเล่าสู่กันฟัง เพื่อเป็นแนวทางหรือเป็นตัวอย่าง มาปรับใช้กับร้านค้าของ ตนเอง โดยเฉพาะการใช้ ICT เพื่อการประชาสัมพันธ์ โดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ การใช้ งานพวกเครือข่ายสังคมออนไลน์ต่าง ๆ ที่มีอยู่มากและหลากหลายช่องทางในปัจจุบัน ทําให้ผู้ประกอบการ ชุมชนอย่างเราเริ่มมองเห็นช่องทางที่จะใช้สื่อดังกล่าว เพื่อการทํามาหากิน เพื่อการค้าขายกันมากขึ้น ไม่ใช่ เพียงการใช้เพื่อการสื่อสารพูดคุยกันอย่างเดียวเหมือนกับที่ผ่าน ๆ มา และจากความรู้ความสามารถต่างๆ ที่ คุณหนิงได้ศึกษามา ทําให้ตัวเธอได้มีความรู้มากขึ้น และสามารถพัฒนาอาชีพได้ มีความมั่นใจและกล้าที่จะก้าว ต่อไปอย่างสมบูรณ์แบบ”

ภาพที่ ผ.9 เว็บไซต์กลุ่มแก้วมังกร ภาคผนวก

หน้า 95


กลุ่มที่ 2 สตรีด้อยโอกาสกลุม่ กาแฟปางซาง จังหวัดเชียงราย

ภาพที่ ผ.10 เมล็ดกาแฟของกลุ่มกาแฟปางซาง

กลุ่มกาแฟปางซาง สมาชิกกลุ่มกาแฟปางซางส่วนใหญ่เป็นชาวเผ่าอาข่าที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน ปางซางชาวบ้านยึดอาชีพปลูกกาแฟ ยางพารา ถั่วแดง ถั่วดํา และข้าวโพด แต่พืชที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่ ชุมชนเป็นอย่างมาก คือ กาแฟ ชาวบ้านปางซางมีการจัดตั้งกลุ่มแปรรูปกาแฟปางซาง โดยการนําของ คุณวุฒิ ภาวัต ฐิติยารวิภา ซึ่งมีเป้าหมายเบื้องต้น คือ การพัฒนากาแฟปางซางให้เป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้บริโภคเพื่อ สนับสนุนในกลุ่มเกษตรกรมีรายได้จากการปลูกกาแฟ และเพื่อยกระดับคุณภาพกาแฟให้เป็นที่ยอมรับในกลุ่ม ผู้บริโภค พร้อมทั้งสร้างฐานพลังชุมชนต่อการซื้อขายกาแฟ อย่างยุติธรรม ซึ่งปัจจุบันคุณวุฒิเป็นผู้นําชุมชนของ บ้านปางซางที่รวมตัวกันตั้งกลุ่มกาแฟออแกนนิค ที่กาแฟสายพันธุ์อาราบิก้าแท้ 100% เหมาะกับพื้นที่ดอยสูง จากระดับน้ําทะเล ที่สําคัญคือเน้นการใช้ปุ๋ยจากวัตถุดิบต่างๆ มุ่งเน้นความปลอดภัยของผู้บริโภค และการ รักษาสิ่งแวดล้อมโดยภาพรวม และที่สําคัญคือ เป็นการทํางานร่วมกันของชุมชนบ้านปางซาง และร่วมมือกับ บ้านอื่นๆ ที่มีความเห็นหรือแนวความคิดเดียวกันในเรื่องการผลิตอาหาร หรือการเกษตรแบบออแกนนิค การได้เข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ในใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี การสื่อสารในยุคดิจิทัล เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์และพร้อมเข้าสู่เศรษฐกิจยุคใหม่ครั้งนี้ถือว่าเป็น โอกาสอันดีที่มีกิจกรรมนี้เข้า เพราะเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการนี้เพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ในการ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อย โอกาส การศึกษาบริบทเชิงพื้นที่และเชิงสังคมของพื้นที่ในการสร้างเศรษฐกิจชุมชนให้แก่กลุ่ม สตรีและ ผู้ด้อยโอกาสพื้นที่เป้าหมายด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารยุคดิจิทัล ซึ่งกิจกรรมในโครงการได้ทําให้สมาชิกในกลุ่มมี พื้นฐานความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้นข้อมูล การสร้างร้านค้าออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ผ่านสื่อโซเซียลมีเดียอย่าง facebook line ที่เป็นสื่อโซเซียลมีเดียที่ทั่วโลกนิยมใช้ กัน การถ่ายภาพและตกแต่งภาพผลิตภัณฑ์ให้มีความสวยงาม ดูน่าดึงดูดลูกค้า เทคนิควิธีการเขียนเชิญชวน การประชาสัมพันธ์ผ่านทางสื่อโซเซียลมีเดีย ภาคผนวก

หน้า 96


การใช้ ICT ของกลุ่มในหมูบ้าน“ผมในฐานะผู้นํากลุ่ม หรือประธานกลุ่ม ผมจําเป็นต้องมีข้อมูล ข่าวสาร ผมเริ่มใช้มือถือ เพราะจําเป็นต่อการติดต่อสื่อสาร ต่อคุณภาพชีวิตของคนในหมู่บ้านของผม จากนั้นมา ผมก็ได้รับคําแนะนํา ได้รับการอบรมให้ค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต โชคดีมากที่บนบ้านดอย ช้างบ้านของผมมีอินเทอร์เน็ต”

ภาพที่ ผ.11 คุณวุฒิ เจ้าของกลุ่มกาแฟปางซาง

กิจกรรมที่ได้อบรมจากโครงการฯทําให้เห็นความสําคัญของ ICT ที่กลายเป็นเครื่องมือสําคัญ ส่วนหนึ่งของชีวิตคนบนดอยอย่างพวกเรา เริ่มตั้งแต่การติดต่อสารสื่อเพื่อการติดต่อซื้อขาย การับใบสั่งสินค้าที่ เราผลิต ฯลฯ การค้นหาราคาพืชผล เริ่มค้นหาแหล่งซื้อขายเมล็ดพันธุ์คุณภาพ เริ่มเรียนรู้จากความสําเร็จของ คนอื่นๆ หมู่บ้านอื่นๆ ฯลฯ ผลลัพธ์ที่เกิดความเปลี่ยนแปลงของชุมชน ในการนํา ICT เข้ามาช่วยพัฒนาทักษะ ด้านธุรกิจให้แก่กลุ่มคนรายได้น้อยและด้อยโอกาสและให้เข้าถึงแหล่งทุนซึ่งจําเป็นสําหรับการทําธุรกิจเพราะ วิธีที่ดีที่สุดของการแก้ปัญหาความยากจน คือช่วยให้เขาพึ่งพาตัวเอง ด้วยการประกอบอาชีพตามสมรรถนะ ของแต่ละบุคคล เพื่อให้ตนเองและชุมชนมีความยั่งยืน การให้ชาวบ้านและชุมชนได้เข้ามาใช้บริการของศูนย์ USO NET ซึ่งเป็นศูนย์ให้บริการอินเทอร์เน็ตแก่ชาวบ้านพื้นที่และบริเวณใกล้เคียง เพื่อช่วยส่งเสริมให้ได้รับ โอกาสในการเข้าถึงบริการอินเทอร์เน็ต สามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ได้อย่างเท่าเทียมและ ทั่วถึง และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ส่งเสริมการพึ่งพาตนเอง และยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์และสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดในกลุ่มอาชีพ ตนเองคื อ ได้ เ รี ย นรู้ เ พิ่ม เติ ม จากการเข้า ร่ ว มโครงการนี้ทํ า ให้ไ ด้ เ รีย นรู้ เกี่ ย วกับ ICT เพิ่ ม มากขึ้ น การใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์เป็นโครงการที่ช่วยส่งเสริม แนวคิดและวิธีการเกี่ยวกับการทําการค้า การประกอบธุรกิจแนวใหม่ที่จะต้องใช้ ICT เข้าไปเป็นเครื่องมือ แต่ ต้องเริ่มที่การคิดให้ละเอียดครบถ้วน เกี่ยวกับธุรกิจของตนเอง จากนั้นก็เริ่มที่จะคิดเป็นแผนการดําเนินการที่ ชัดเจน เริ่ม ที่เล็กๆ ก่ อน จากนั้นก็เริ่ม เรียนรู้ว่าจะเอา ICT เข้าไปใช้อย่างไร ตั้งแต่การใช้ e-Mail การใช้ ออนไลน์โซเซียลมีเดีย ภาคผนวก

หน้า 97


ภาพที่ ผ.12 เว็บไซต์กลุ่มกาแฟงปางซาง

การใช้ ICT เพื่อการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการตลาดในรูปแบบต่างๆ การสร้างแบ รนด์ของตนเอง ฯลฯ จากเดิมที่ไม่มีพื้นฐานทางด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์มากนักหรือไม่ค่อยได้ใช้ประโยชน์ จากอินเทอร์เน็ตเท่าที่ควร ก็สามารถใช้ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์แ ละอินเทอร์เน็ตได้อย่างถูกต้องตาม หลักการของสิ่งนั้นๆ โครงการนี้จึงเป็นก้าวแรกในการเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้ ความสามารถเกี่ยวกับเรื่องการ ใช้งานคอมพิวเตอร์ การใช้งานอินเทอร์เน็ตมากขึ้นกว่าเดิมและสามารถนําไปประยุกต์ใช้กับอาชีพของตนเองได้ “หลักๆ ที่พวกเราชาวหมู่บ้านปางซางได้รับจากการอบรมครั้งนี้คือ สร้างความเชื่อมั่น มีเพื่อน ร่วมเครือข่าย สินค้าจากกลุ่มชาติพันธุ์ของพวกเราที่รอคอยตลาดด้วย เราจะเริ่มคิดเกี่ยวกับการทําแผน ธุรกิจ ณ ตอนนี้ หลังจากอบรมแล้ว พวกเราได้มีการพัฒนาทั้งรูปแบบผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การประสานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหน่วยงานในท้องถิ่น การสร้างร้านค้าออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ โซเซียลมีเดียต่างๆที่ได้จากการเข้ารับการอบรม การออกร้านด้วยความมั่นใจ การเข้าสู่โลกเครือข่ายสังคม ออนไลน์แบบมืออาชีพมากยิ่งขึ้นในนามของชุมชนบ้านปางซาง”

ภาคผนวก

หน้า 98


กลุ่มที่ 3 สตรีด้อยโอกาสกลุม่ พัฒนาอาชีพของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดเชียงราย

ภาพที่ ผ.13 ศูนย์ฝึกอาชีพสตรีจังหวัดเชียงราย

กลุ่มพัฒนาอาชีพของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดเชียงราย เดิมชื่อศูนย์ สงเคราะห์และฝึกอาชีพสตรีจังหวัดเชียงราย เป็นศูนย์ที่ดําเนินการแก้ไขปัญหาสตรีด้อยโอกาสในด้านต่างๆ และภายในศูนย์สตรีฯ แห่งนี้ ยังมีศูนย์ USO NET ที่ได้รับการสนับสนุนจาก สํานักงาน กสทช. จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อินเทอร์เน็ต ให้นักเรียนที่อยู่ภายในศูนย์และชาวบ้านที่ต้องการใช้บริการ ค้นหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร สามารถเข้ามาใช้บริการที่นี้ได้ โดยไม่ต้องเดินทางไปไกลถึงในตัวเมืองและ ค่าบริการก็ไม่แพง ชาวบ้านสามารถเข้ามาใช้บริการได้โดยไม่กังวลเรื่องค่าใช้จ่าย รวมถึงมีเจ้าหน้าที่ศูนย์คอย แนะนําให้คําปรึกษาปัญหาต่างๆ “น้องเอม” ญาณิศา อุ่นฟอง เจ้าหน้าที่ศูนย์ USO NET เด็กรุ่นใหม่ที่รักบ้าน เกิด ที่เพิ่งจบการศึกษามาหมาดๆก็ได้เข้ามาสมัครเป็นเจ้าหน้าที่ศูนย์ USO NET ที่จังหวัดเชียงราย หลังจาก ทํางานและคลุกคลีกับนักเรียนที่เข้ามาฝึกอาชีพภายในศูนย์ จึงเห็นว่าทางศูนย์สตรีฯ น่าจะมีการตั้งหน้าร้าน และร้านค้าออนไลน์ เพื่อจัดจําหน่ายของที่ทางนักเรียนได้ทําขึ้นมาเอง เป็นงานฝีมือของนักเรียนภายในศูนย์ เพื่อเป็นช่องทางการหารายได้ระหว่างที่เรียนอยู่ในศูนย์สตรีฯไม่ให้ศูนย์เปล่า ผนวกกับทางสํานักงาน กสทช. ได้เข้ามาจัดอบรมเชิงปฏิบัติส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อ การจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส การเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ ทําให้พัฒนาทักษะ ความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดอาชีพของตนเองและนําไปขยายต่อนักเรียน ชุนชน ให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เรื่องเทคโนโลยี การใช้ ICT การทําร้านค้าออนไลน์บนเว็บไซต์มีผลิตภัณฑ์จากงานฝีมือมากมายเช่น กระเป๋าผ้า ด้นมือ กระเป๋าผ้าต่อลาย พวงกุญแจ ซึ่งสามารนําไปเป็นของที่ระลึกสําหรับผู้ที่เข้ามาเยี่ยมเยียนศูนย์สตรีฯ หรือซื้อไว้เป็นของฝากได้ การสร้างเฟสบุ๊คแฟนเพจ facebook fanpage ที่สามารถนําเสนอสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ผ่านสื่อโซเซียลมีเดียได้ รวมถึงการเขียนเรื่องราวที่จะใช้ในการเชิญชวนลูกค้าใช้สนในสินค้ามาก ยิ่งขึ้น

ภาคผนวก

หน้า 99


ภาพที่ ผ.14 เว็บไซต์กลุ่มพัฒนาอาชีพของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว จังหวัดเชียงราย

“เราก็เข้าไปค้นดูลวดลายผ้า หรือการใช้สี เพื่อนํามาปรับปรุงของเราให้ดีขึ้น เราใช้ค้นหา แหล่งวัตถุดิบ แหล่งผลิตวัตถุดิบที่เกี่ยวข้อง เราใช้ค้นหาความรู้ใหม่ๆ วิธีการผลิตใหม่ๆ หลายครั้งเราได้ ICT เพื่อ การ ความรู้ ใ หม่ๆ จากการใช้ ICT ในการค้น หา เรีย นรู้ แลกเปลี่ ย นระหว่ า งกัน ใช้ ประชาสัมพันธ์สินค้า หาลูกค้า” เมื่อได้รับคําแนะนําในด้านการใช้ประโยชน์จาก ICT เพื่อแสวงหารูปแบบ ความคิดสร้างสรรค์ ในการพัฒนาสินค้าชุมชน มีความตั้งใจที่จะทําให้งานฝีมือของสตรีภายในศูนย์สตรีฯ แห่งนี้ เป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับจากชุมชนอื่นๆ ในโลกยุคใหม่ที่การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร สามารถเกิดขึ้นได้ อย่างเท่าเทียม อําเภอเล็กๆ ห่างไกล ไม่ได้ดํารงอยู่อย่างล้าสมัยเหมือนเช่นอดีต หากแต่สามารถพัฒนา ศักยภาพที่แท้จริงของชุมชนให้เกิดขึ้นได้ จากการทํางานจริงจัง มีความหวัง ความฝันและความรักใน ถิ่นเกิด และที่สําคัญไม่อาจละเลยก็คือการจัดหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมจากภาครัฐที่เชื่อมั่นในศักยภาพของประชาชน ซึ่งการขายและพัฒนาผลิตภัณฑ์เหล่านี้ต้องใช้ความรู้และความสามารถในการคิดค้น บางครั้งจะได้ความรู้ เพิ่มเติมจากการค้นคว้าในอินเทอร์เน็ต สิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์และสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดคือ เพิ่มความ ตระหนักเกี่ยวกับใช้ ICT ในการพัฒนาธุรกิจของตนเอง ที่เดิมก็พยายามทําอยู่ แต่เป็นการทําแบบลองผิดลอง ถู ก ไม่ มี ก ารวางแผน และสั ง เกต เรี ย นรู้ ตามสถานการณ์ ห รื อ เหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น พอได้ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการฯ นี้ ทําให้มองการทําอย่างเป็นระบบมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเรื่องการวางแผน การทําแผนธุรกิจ การคิด ราคาผลิตภัณฑ์ การออกแบบ การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ ฯลฯ ความรู้ดังกล่าวได้นําไปใช้ในการวางแผน การสร้างเครือข่าย การต่อยอดการสร้างอาชีพและแนวทางการพัฒนาธุรกิจของเราต่อไปและที่สําคัญคือ การ เพิ่มโอกาสในการเปิดช่องทางการค้าขายออนไลน์ “สิ่งที่พวกเราสามารถนําไปใช้ได้เลยคือ การทําร้านค้า ออนไลน์ การถ่ายภาพเพื่อประชาสัมพันธ์สินค้า การใช้facebookเพื่อขายสินค้าออนไลน์ ซึ่งเราทุกคน และสมาชิกตระหนักและเห็นชัดว่ารัฐบาลสนับสนุนการใช้ ICT เพื่อการอาชีพอย่างจริงจัง ทําให้พวกเรา บอกกันว่า พวกเราต้องรีบพัฒนาตัวเอง พัฒนาสินค้า พัฒนากลุ่ม พัฒนาเครือข่าย เพื่อการเตรียมพร้อม กับโอกาสที่กําลังจะมาถึงอีกเยอะ” ภาคผนวก

หน้า 100


3. กรณีศึกษากลุ่มสตรีดอ้ ยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ ประกอบด้วย 3 กลุ่มอาชีพ คือ 1) สตรีด้อยโอกาสกลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนาเขต7 จังหวัดศรีสะเกษ 2) กลุ่มจักสานบ้านโนนกลาง จังหวัดศรีสะเกษ 3) สตรีด้อยโอกาสชมรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อมบ้านหนองเข็งน้อย จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มที่ 1 สตรีด้อยโอกาสกลุม่ ทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนาเขต 7 จังหวัดศรีสะเกษ

ภาพที่ ผ.15 ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนาเขต 7

กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนาเขต 7 เป็นกลุ่มที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ชาวบ้านในเขตนิคมพัฒนา เขต 7 มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทําเกษตรกรรมเพราะเมื่อถึงฤดูแล้งชาวบ้านจะไม่มีอาชีพ ไม่มีรายได้ จึงทําให้ เกิดการจัดตั้งกลุ่มทอผ้าไหมขึ้น โดยมีการทอผ้าหลายรูปแบบ เช่น ผ้าไหมมัดหมี่ ผ้าฝ้าย ผ้าไหมลายลูกแก้ว ขึ้น มา ซึ่ง เป็น สิ่งที่ มีก ารสื บ ทอดจากบรรพบุ รุษ ที่ เห็ น จากภู มิปั ญ ญาท้อ งถิ่น ในหมู่บ้ าน ที่มี ค วามโดดเด่ น เฉพาะตัว ฝีมือประณีต การจําหน่ายผลิตภัณฑ์จะมีลูกค้ามารับซื้อในกลุ่มภายในหมู่บ้าน เพื่อนําไปเป็นของฝาก ซึ่งถือว่าผ้าทอมือของชาวบ้านเขตนิคมพัฒนา แต่เนื่องด้วยในยุคปัจจุบันมีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศทางการตลาด เพื่ อ ให้ ก ารค้ า ขายมี ก ารบุ ก ตลาดมากยิ่ ง ขึ้ น และด้ ว ยสาเหตุ นี้ เ องจึ ง ทํ า ให้ นางสาวรุจรจี ศรีสิงห์ หรือ “ป็อก” อายุ 16 ปี พื้นเพเดิมของป็อกและพี่ๆ ช่วยทางบ้านทอผ้ามาตั้งแต่ยังเด็ก ป็อกเริ่มจากการทอผ้าไหมมัดหมี่ ผ้าไหมลายลูกแก้ว ผ้าฝ้าย ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่อยู่คู่ชุมชนมานาน ร่วมสิบปี แต่ด้วยความที่ผ้าไหมทอมือเป็นการทอทีต้องใช้ฝีมือ ความประณีตและระยะเวลาในการทอ ระยะ หลังชาวชุมชนจึงหันไปสวมใส่เสื้อผ้าสําเร็จรูป เพราะซื้อหาง่าย ราคาถูก ไม่ต้องทอเอง หรือไม่ก็ซื้อผ้าไหมจาก หมู่บ้านอื่นมาตัดเย็บเสื้อผ้า ทําให้ภูมิปัญญาการทอผ้าไหมในชุมชนเลือนรางลง ด้วยสาเหตุนี้ “ป็อก” จึงมี ความคิดที่จะอนุรักษ์การทอผ้าไว้ให้คงอยู่กับชาวบ้านนิคมพัฒนาต่อไปจากรุ่นสู่รุ่น โดยป็อกได้กล่าวว่า “เมื่อ ก่อนที่ชุมชน แต่ละบ้านจะทอผ้าไหมไว้ใช้เอง ไม่มีใครทอขายเพราะทํายาก และมีราคาแพง เวลามีงาน ชุมชน ส่วนมากก็จะเป็นผู้ใหญ่ที่มีชุดผ้าไหมอยู่แล้วที่ใส่มาร่วมงาน เริ่มศึกษาเพื่อที่จะทอไว้ใช้งานเอง ต่อมาเราเห็นว่าเราควรจะให้ผ้าไหมทอมือของเราเป็นที่รู้จักแก่ผู้อื่น จึงได้มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มทอผ้า ไหมทอมือ เพื่อออกจําหน่าย” ภาคผนวก

หน้า 101


ภาพที่ ผ.16 จัดวางผลิตภัณฑ์เพื่อการถ่ายภาพ

ภาพที่ ผ.17 วิทยากรชาวต่างชาติแนะนําการแต่งภาพ

ระหว่างนั้นได้มีหน่วยงานของสํานักงาน กสทช. และศูนย์วิจัยการจัดการความรู้การสื่อสารและ การพัฒนา มสธ. ได้เข้ามาจัดกิจกรรมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ในใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์และพร้อมเข้าสู่เศรษฐกิจยุคใหม่ การเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ทําให้สามารถใช้ทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุค ดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ได้ โดยป็อกได้รับคัดเลือกให้เป็นตัวแทนกลุ่มผ้าทอมือ ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับการใช้โซเซียลมีเดียประกอบกับธุรกิจหรือกิจการของตนเอง ให้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เพิ่ม ช่องทางในการค้าขายมากขึ้น จึงเกิดมีแนวคิดทางด้านการใช้ ICT กับการประกอบการ วิธีการสร้างร้านค้า ออนไลน์ ต่อยอดผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่มีอยู่ให้เป็นที่รู้จักของผู้คนภายนอกและเป็นการเพิ่มรายได้อีกด้วย ความรู้และทักษะที่เพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ที่เห็นได้ชัดคือ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น การพิมพ์งาน การใช้ตัวอักษรในการประชาสัมพันธ์ เทคนิคการใช้งานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต ทําให้ป๊อกและสมาชิกในกลุ่มใช้อินเทอร์เน็ตได้คล่องขึ้น ได้เปิดเฟสบุ๊คแฟนเพจ Facebook Fanpage สําหรับประชาสัมพันธ์ขายสินค้าในชุมชนของตนเอง การสมัครe-Mail รวมถึงการสร้างเว็บไซต์ร้านค้าออนไลน์ โดยนํ า IT มาใช้ ใ นการ นํ า เสนอสิ น ค้ า ส่ ง เสริ ม การขายออนไลน์ ได้ เ ห็ น ช่ อ งทางการจํ า หน่ า ยและการ ประชาสัมพันธ์มากขึ้น มีการเพิ่มเครือข่ายและเกิดแรงบันดาลใจในการทําการตลาดออนไลน์ เทคนิคการ ถ่ายภาพสินค้าเพื่อนําเสนอ แหล่งและช่องทางการทําการตลาดออนไลน์กับสินค้าอื่นๆ และคิดไว้ว่าเพื่อการต่อ ยอดในอนาคตซึ่งจะเป็นการส่งเสริม สนับสนุนให้กับคนในชุมชนคือการให้ความรู้และสามารถนําความรู้ไปลง มือปฏิบัติจริงให้ชุมชนมีรายได้ สิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์และสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดในกลุ่มอาชีพตนเองคือ มีความมั่นใจ ในศักยภาพที่จะพัฒนาต่อยอดสินค้าและบริการสู่โลกออนไลน์เพิ่มมากขึ้น การถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชน โดยคนในชุมชนจะสามารถใช้เครื่องมือต่างๆ ในการค้าขายออนไลน์ได้ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ภาคผนวก

หน้า 102


Tablet และอื่นๆ ที่สามารถช่วยในการติดต่อสื่อสารประสานงานได้ เพิ่มความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการต่อยอดการ พัฒนาตนเอง การต่อยอดการพัฒนาชุมชน หรือบ้านเกิดของตนเอง และเพื่อให้เพื่อนๆ ได้เห็นช่องทางที่มาก ขึ้น ทําให้สามารถรู้ถึงช่องทางการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ เป็นต้น

ภาพที่ ผ.18 เว็บไซต์กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนาเขต7

โดยป็อกตัวแทนกลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรมได้กล่าวว่า “สิ่งที่เราจะเริ่มและพัฒนาต่อยอดต่อไปคือ เริ่มจากการสืบค้นข้อมูลผ้าไหมทอมือในด้านต่างๆ เช่น วิธีการทอผ้า ลวดลายของผ้า ช่องทางในการ จําหน่ายสินค้า เพื่อทําความรู้จักผ้าไหมทอมือมากขึ้นและนําข้อมูลที่ได้มาถ่ายทอดภูมิปัญญาการทอผ้า ไหมลายลูกแก้ว ผ้าฝ้าย ผ้าไหมมัดหมี่ ให้แก่กลุ่มทอผ้าในชุมชน ด้วยความตั้งใจจริงนี้ เราเชื่อมั่นว่าใน ระยะเวลาไม่นานนี้ กลุ่มทอผ้าไหมมัดหมี่นิคมพัฒนาเขต 7 ของเราก็จะมีความชํานาญมากขึ้น สามารถ ผลิตผ้าทอที่มีลวดลายทันสมัยและมีการประชาสัมพันธ์ร้านค้าออนไลน์ได้มากขึ้น”

ภาคผนวก

หน้า 103


กลุ่มที่ 2 กลุ่มจักสานบ้านโนนกลาง จังหวัดศรีสะเกษ

ภาพที่ ผ.19 สมาชิกกลุ่มจักสารบ้านโนนกลางและผลิตภัณฑ์

กลุ่มจักสานบ้านโนนกลาง บ้านโนนกลาง หมู่ที่ 3 ตําบลเมืองจันทร์ อําเภอเมืองจันทร์ จังหวัด ศรีสะเกษ ชาวบ้านในชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรกรรมเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ วิถีชีวิตที่ ดํารงไว้ซึ่งความเป็นตัวตนมีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น คือ คนในหมู่บ้านมีภูมิปัญญาด้านการสานกระติบข้าวจากต้น ไหล หรือการสานหัถตกรรมต่างๆ เช่น กระติบ กระเป๋า หวดข้าวเหนียว ฯ ถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นจากรุ่นสู่ รุ่นจากความคิดในการนําเอาต้นไหลเป็นวัตถุดิบที่มีอยู่ในหมู่บ้าน มาดัดแปลงใช้ประโยชน์ในวิถีชีวิตประจําวัน ต่อมาได้มีการตั้งกลุ่มจักสานบ้านโนนกลาง ทางกลุ่มจักสานจึงได้มีการให้เยาวชนได้เข้ามาอบรมเพื่อการ เข้าถึงการใช้ ICT จึงได้ให้นางสาวนันทิยา คําเกตุ หรือ “น้องแป๊ก” เป็นตัวแทนของกลุ่มจักสานบ้านโดน กลางเป็นแกนนําในการพัฒนากลุ่มจักสาน เพื่อช่วยให้มีการขยายตลาดในการส่งออกสินค้าและผลิตภัณฑ์มาก ยิ่งขึ้น จึงทําให้เข้ามาสมัครเรียนเกี่ยวกับอาชีพที่ศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพสตรีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดศรีสะเกษ อีกทั้งภายในศูนย์สตรีฯแห่งนี้ยังได้มีความอนุเคราะห์จากสํานักงาน กสทช. ในการจัดตั้ง ศูนย์ USO NET ให้บริการคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตในราคาถูก “แป๊ก”และสมาชิกของกลุ่มจักสานบ้าน โนนกลางได้เข้ามาใช้บริการอยู่บ่อยครั้ง เพราะความที่อยากจะสร้างอาชีพ สร้างรายได้เพิ่มขึ้นจึงได้พยายาม ศึกษาเกี่ยวกับการค้าขายออนไลน์ และในขณะเดียวกันได้มีโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะ ความรู้ในใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัล เพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์และพร้อมเข้า สู่เศรษฐกิจยุคใหม่ได้เข้ามาจัดโครงการเพื่อส่งเสริมเกี่ยวกับการใช้ ICT การเข้ า ร่ ว มกิจ กรรมในครั้ ง นี้ ทํา ให้ ได้ ทํ า ความเข้า ใจในเรื่อ งการใช้ เทคโนโลยีส ารสนเทศ เบื้องต้นเช่น การรู้จักส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ลักษณะการใช้งานที่ถูกต้อง การสมัคร e-Mail และการ ใช้ e-Mail ในการติดต่อสื่อสารกับลูกค้าไม่ว่าจะเป็นการสั่งชื่อสินค้า การส่งหลักฐานการเงิน ที่สามารถเก็บได้ เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ งานต่อการเก็บข้อมูล และเห็นความสําคัญของการขยายตลาดสินค้าบนฐานของร้านค้า ออนไลน์ รวมถึงเทคนิคการถ่ายภาพและตกแต่งให้ดูมีความทันสมัยมากขึ้น ในการทําประชาสัมพันธ์สินค้าและ ผลิตภัณฑ์ของตนเองให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น สมาชิกภายในกลุ่มจักสานบ้านโนนกลาง จึงนําความรู้ที่ได้เพิ่มเติม ภาคผนวก

หน้า 104


เกี่ยวกับการใช้โซเซียลมีเดียช่องทางต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น Facebook Line การถ่ายภาพผลิตภัณฑ์เบื้องต้นที่ใช้ ในการประชาสัมพันธ์ รวมถึงการพบปะกับผู้ประกอบการรายอื่นๆ ที่ได้มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แนะนํา เรื่องราวต่างๆ ซึ่งเราเองก็สามารถนํามาประยุกต์ใช้กับอาชีพของเราได้เช่นกันผลลัพธ์ที่ได้รับประโยชน์จริงๆ เป็นการสร้างรายได้ที่มากกว่าเดิมและเกิดการเปลี่ยนแปลง “ผลิตภัณฑ์ของเราได้เข้าร่วมกับกลุ่มสินค้าชุมชน อ.ขุขันธ์และได้รับการพัฒนาคุณภาพและการ สร้างสรรค์ในระดับคุณภาพโดยหน่วยงานพัฒนาชุมชน โดยได้มีการพัฒนาสินค้าให้มีหลากหลายรูปแบบ มากขึ้นบนฐานของภูมิปัญญาดั้งเดิมของเราเอง” และได้รับการรับรองจากหน่วยงานทางภาครัฐจากหลาย ภาคส่วนมาก หนึ่งในภาครัฐที่ส่งผลสําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเรา สอนให้เรารู้จักการใช้สื่อ ICT คือ กระทรวง ICT ที่ได้มาจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนที่ศูนย์สตรีจังหวัดศรีสะเกษ เริ่มจากการที่ต้องการให้ สตรีได้มีโอกาสในการเรียนรู้เกี่ยวกับ ICT ได้เห็นโลกที่กว้างขึ้น ได้มีโอกาสในการเข้าถึงโอกาสที่มากยิ่งขึ้น ฯลฯ

ภาพที่ ผ.20 เว็บไซต์กลุ่มจักสานบ้านโนนกลาง

สิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์และสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดในกลุ่มอาชีพตนเองคือ การเข้าถึง ICT ของกลุ่มจักสานบ้านโนนกลาง ได้รับการฝึกให้เป็นผู้นําเกี่ยวกับการใช้ ICT เพื่อการพัฒนา โดยเป็นการฝึกให้พี่ ไปสอนน้อ ง ลูก ไปสอนพ่อ แม่ ลูก หลานกลับ ไปสอนชุม ชน เมื่อ กลับ ไปที่บ้า นเกิด ที่อ ยู่ห่า งไกล อยู่บ น เ ข า บ น ด อ ย ฯ ล ฯ จ า ก จุ ด เ ริ่ ม ต้ น ที่ เ น้ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง ก า ร เ ริ่ ม เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น ต่างๆ เกี่ยวกับการใช้ ICT พวกเราก็ได้รับการพัฒนาต่อยอดเกี่ยวกับการเริ่มใช้ ICT เพื่อการหารายได้ เพื่อการ เอาไปหนุนเสริมเรื่องการฝึกอาชีพ การสร้างช่องทางการตลาด การออกแบบ การสร้างสรรค์งาน และการ เรียนรู้จากคนกลุ่มอื่นๆ ที่ผลิตสินค้าคล้ายคลึงกัน จากนั้นก็มีการเริ่มสนับสนุนช่วยเหลือให้กลุ่มของเราเริ่ม ค้าขายสินค้าออนไลน์ การค้าขายปัจจุบันทางกลุ่มเรามีการขายสินค้าผ่านทางโปรแกรมไลน์ (Line) และ เฟสบุ๊ค (Facebook) ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่ดีมาก ที่ได้พัฒนาไปอีกขั้นหนึ่งแต่การพัฒนาจะต้องไม่หยุดอยู่เพียง ภาคผนวก

หน้า 105


เท่านี้ สิ่งที่เราได้เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ ที่เป็นโครงการร่วมหลายฝ่ายเป็นโครงการพัฒนาส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีกับผู้ประกอบการให้มีศักยภาพด้วย ICT คือ “ความมั่นใจที่มากขึ้นเกี่ยวกับการค้าขายผ่านระบบ ตลาดออนไลน์ และการใช้เครื่องมือ ICT ให้เป็นเครื่องมือทั้งทางตรงและทางอ้อมในการพัฒนาธุรกิจและ เครือข่ายของเรามากยิ่งขึ้น และเป็นมืออาชีพมากยิ่งขึ้นและสามารถใช้ช่องทางอินเทอร์เน็ตเช่น สื่อสังคม ออนไลน์ ในการขายของออนไลน์ได้อย่างถูกต้อง” กลุ่มที่ 3 สตรีด้อยโอกาสชมรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อมบ้านหนองเข็งน้อย จังหวัดศรีสะเกษ

ภาพที่ ผ.21 สตรีกลุ่มชมรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อมบ้านหนองเข็งน้อยสวมใส่เสื้อผ้าของกลุ่ม

ชมรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อม บ้านหนองเข็งน้อย ต.กฤษณา อ.ขุขันธ์ จ.ศรีสะเกษ เริ่มต้นแนวคิด การจัดตั้งชมรมมาจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอยู่ในขั้นวิกฤต มีการบุกรุกเข้าใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรต่างๆ เกินศักยภาพ ก่อให้เกิดความเสื่อมโทรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรน้ําเป็นผลมาจากการ ขาดความสมดุลของระบบนิเวศและการใช้ประโยชน์ของประชาชน ตัวแทนชาวบ้านและชาวบ้านในชุมชนบ้าน หนองเข็งน้อย จึงมีความตั้งใจในการนําเสนอโครงการเข้าร่วม ชมรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อดําเนินการ อนุรัก ษ์ฟื้นฟู แ หล่ งน้ําที่ มี สภาพเสื่ อมโทรมให้กลับ คืนสู่ ส ภาพสมบู ร ณ์ ควบคู่ ไ ปกับ การเพิ่ ม ปริม าณน้ําให้ เพียงพอกับการใช้ประโยชน์ของประชาชน เปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์ ของโครงการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่และมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเข้า มาพักและเข้ามาเรียนรู้การทําการเกษตร ไม่ว่าจะเป็นการ ทํานา การเลี้ยงปลา การเลี้ยงหมู การปลูกผัก เป็น ต้น เรียนรู้วิถีชีวิตในแบบฉบับของชาวบ้าน แต่อย่างไรก็ตามหากมีการประชาสัมพันธ์และบอกเรื่องราวต่างๆ ของชุมชนให้มากกว่านี้จะสามารถกระจายข่าวอย่างรวดเร็ว จึงจําเป็นต้องมีการพัฒนาเรื่องการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการเข้ามาช่วยเป็นอย่างมาก ลูกหลานๆ ที่พอจะช่วยได้ก็จะช่วยในการทํา FACEBOOK ซึ่งคิดว่า น่าจะเป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ได้ แต่ก็ยังทําได้แบบผิดๆ ถูกๆ ถ่ายภาพสวยบ้าง ไม่สวยบ้าง ปะปนกัน ไปทางศูนย์สตรีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ.ศรีสะเกษ

ภาคผนวก

หน้า 106


ภาพที่ ผ.22 นักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชมกลุ่ม

ภาพที่ ผ.23 เว็บไซต์ชมรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อม บ้านหนองเข็งน้อย

หนึ่งในสมาชิกเครือข่ายการใช้สื่อเพื่อการสื่อสารได้เล่งเห็นความสําคัญ ในเรื่องนี้ จึงได้แ จ้ง ข่าวสารการอบรมกับชมรมพิทักษ์สิ่งแวดล้อมบ้านหนองเข็งน้อย และในขณะเดียวกันผู้ดําเนินการจัดอบรมคือ สํานักงาน กสทช. ศูนย์ USO NET ที่ได้มีการจัดกิจกรรมเรื่องสื่อการตลาดออนไลน์ เพื่อใช้ในการ ประชาสัมพันธ์ ทําให้การเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ สมาชิกในกลุ่มมีความรู้เกี่ยวกับการใช้โซเซียลมีเดียในการทํา ธุรกิจหรือกิจการของตนเอง มีทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการ จัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ ได้แก่ การสร้างร้านค้าออนไลน์ที่จะใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวของ ชุ ม ชน การสร้ า งFacebook เพื่ อ ใช้ ใ นการประชาสั ม พั น ธ์ แ ละติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว สามารถใช้ เทคโนโลยีส่งเสริมสินค้าผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ให้เกิดการขยายตลาดมากขึ้น ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการทําสื่อการตลาด ออนไลน์เช่น การใช้งานสื่อสังคมออนไลน์อย่าง e-mail ที่ทางกลุ่มได้ทําการสมัครและมีอีเมล์เป็นของกลุ่ม เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารกับลูกค้าที่อยู่ไกล และที่สําคัญคือการเรียนรู้เกี่ยวกับการถ่ายภาพ ตกแต่งภาพ เพื่อ การประชาสัมพันธ์ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่สําคัญมากสําหรับการประชาสัมพันธ์เรื่องท่องเที่ยวที่ต้องใช้ภาพเป็นหลัก ในการดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาในชุมชนและเกิดความประทับใจเมื่อแรกเห็นดูทันสมัยขึ้น การใช้เว็บไซต์ เพื่อทําการสื่อตลาดออนไลน์ที่จะเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการเพิ่มช่องทางการตลาดในกลุ่ม การเขียนเนื้อหาเพื่อ การประชาสัมพันธ์ที่ทําให้ลูกค้าเห็นว่าสินค้าของเราน่าซื้อและน่าสนใจ อีกทั้งการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ทําให้ กลุ่มของตนเองสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลไม่ว่าจะเป็นเรื่องลวดลายผ้าพื้นเมือง เทคนิค วิธีการตัดเย็บ สิ่งที่นําไปใช้ประโยชน์และสามารถนําไปพัฒนาต่อยอดในกลุ่มอาชีพตนเองคือ “การที่เราได้ เรียนรู้วิธีการเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ที่ดี ให้ดึงดูดนักท่องเที่ยวมากยิ่ง การถ่ายภาพประชาสัมพันธ์อย่างไร ให้สวยและน่าจดจํา เกิดความอยากมาเที่ยวในสถานที่นี้ เราได้แง่คิด ข้อคิดดีๆ หลายๆ ด้านในการทํา ภาคผนวก

หน้า 107


การตลาดออนไลน์ จากสิ่งที่เรามีอยู่ในชุมชนอยู่แล้ว ไม่ต้องไปไขว่คว้าสิ่งที่อยู่ไกลตัวให้ยาก ทําสิ่งที่อยู่ใน ชุมชนให้มีค่า เกิดคุณค่าให้แก่สังคม” ตัวแทนสมาชิกที่ได้เข้ารับการฝึกอบรมในโครงการนี้จะเป็นตัวแทนใน การเปลี่ยนแปลงให้เกิดพัฒนาและเป็นก้าวแรกสู่การสร้างรายได้ให้แก่ผู้ที่เสียเปรียบในตลาดแรงงาน โดยนํา คอมพิวเตอร์มาใช้เป็นหลักในการฝึกอบรม รวมถึงการใช้งานอินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์ สามารถนําไป ประยุกต์ใช้กับอาชีพได้ จากเดิมสตรีที่มีพื้นฐานด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตแต่ไม่สามารถใช้ ส่ ว นประกอบ ประโยชน์ข องคอมพิ ว เตอร์แ ละอิน เทอร์ เ น็ต ได้อ ย่ า งถูก ต้ อ งตามหลั ก การของสิ่ ง นั้ น ๆ เป็นประโยชน์และสามารถใช้ได้จริงกับอาชีพของตนเองและชุมชน

ภาคผนวก

หน้า 108


ภาคผนวก ข ภาพประกอบ กิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจทิ ัลเพื่อ การจัดทําสือ่ การตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส และการดําเนินงานของ ศูนย์ USO NET ที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ) ภาพกิจกรรมของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดลําปาง

ภาพที่ ผ.24 บรรยากาศการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ จังหวัดลําปาง

ภาพที่ ผ.25 พิธีมอบวุฒิบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยผู้ดํานวยการศูนย์สตรีฯจังหวัดลําปาง

ภาพที่ ผ.26 ตัวแทนจากสํานักงาน กสทช. รับมอบของที่ระลึกจากผู้อํานวยการศูนย์สตรีฯจังหวัดลําปางและ ผู้เข้าร่วมโครงการ ภาคผนวก

หน้า 109


ภาพกิจกรรมของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดเชียงราย

ภาพที่ ผ.27 บรรยากาศการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ จังหวัดเชียงราย

ภาพที่ ผ.28 ผู้เข้าร่วมการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ จังหวัดเชียงราย

ภาพที่ ผ.29 พิธีมอบวุฒิบัตรแก่ผู้เข้าร่วมโครงการฯจังหวัดเชียงราย

ภาคผนวก

หน้า 110


ภาพกิจกรรมของสตรีด้อยโอกาสจังหวัดศรีสะเกษ

ภาพที่ ผ.30 บรรยากาศการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ จังหวัดศรีสะเกษ

ภาพที่ ผ.31 ผู้เข้าร่วมการประชุม ฝึกปฏิบัติเรื่องเทคนิคการถ่ายภาพและตกแต่งภาพ

ภาพที่ ผ.32 ผู้เข้าร่วมการประชุมเชิงสัมมนากิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ฯ จังหวัดศรีสะเกษ

ภาคผนวก

หน้า 111


ภาคผนวก ค เอกสารประกอบกิจกรรมการส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการ สื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ให้แก่กลุ่มสตรีด้อยโอกาส และการดําเนินงานของศูนย์ USO NET ที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น (ลําปาง เชียงราย ศรีสะเกษ) ประกอบด้วย

1. แบบสอบถามการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ 2. แบบสอบถามเกี่ยวกับศูนย์ USO NET 3. แบบสัมภาษณ์สตรีด้อยโอกาสการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ ในใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์

ภาคผนวก

หน้า 112


แบบสอบถาม การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ในการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ ------------------------------------------------------------------ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนต้ว คําชี้แจง: กรุณาทําเครื่องหมาย  ลงใน  ข้างหน้าตัวเลือกที่เป็นคําตอบของท่าน 1. ชื่อ................................................สกุล..................................ชื่อเล่น................................ 2. เพศ  ชาย  หญิง 3. อายุ ....................ปี 4. ภูมิลําเนาของท่าน ……………………………………………………… 5. การศึกษาของท่าน................................................................ 6. รายได้ของท่านเฉลี่ยต่อเดือน .......................บาท 7. อาชีพหลักของท่าน …………………………………………………………………………………. อาชีพเสริมของท่าน ……………………………………………………………………………… 8. จํานวนคนในครอบครัว รวมตัวท่าน ……………… คน 9. ก่อนที่ท่านจะมาประกอบอาชีพนี้ท่านประกอบอาชีพอะไรมาก่อน 10. ทําไมท่านจึงอยากเข้าอบรม/ประชุมสัมมนาในครั้งนี้ 11. สิ่งที่ท่านอยากได้ หรือหวังที่จะได้จากการเข้าอบรม/ประชุมในครั้งนี้ 12. สิ่งที่ท่านได้รับประโยชน์ จากการเข้าอบรม/ประชุมในครั้งนี้ 14. สิ่งที่ท่านอยากจะกลับไปทํา หรือกลับไปริเริ่ม/พัฒนาหลังจากที่ได้เข้าการอบรมในครั้งนี้ 15. ท่านมีความถนัด หรือเก่ง หรือชอบเกี่ยวกับเรื่องใด/วิชาใด หรือเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์/ICTด้านใดมากที่สุด ส่วนที่ 2 ประสบการณ์ ความรู้และทักษะเกี่ยวกับ ICT 1. ท่านใช้สื่อ ICT มานานเท่าใดแล้ว ...................เดือน ......................ปี 2. ท่านใช้สื่อ IT ที่ไหน  ที่บ้าน  ที่ทํางาน  ใช้ร่วมกันในครอบครัว  ใช้ในที่บริการต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ตคาเฟ่/ศูนย์ ICT ชุมชน  อื่นๆ 3. สื่อ IT ที่ท่านใช้คืออะไรบ้าง  มือถือธรรมดา  มือถือแบบสมาทโฟนต่อเน็ตได้/ต่อไลน์ได้ เท็ปเล็ต/ไอเพด  คอมพิวเตอร์โน้ตบุค  คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ  ทีวีดาวเทียม  อื่นๆ ระบุ......... 4. สัญญาณอินเทอร์เน็ตในหมู่บ้าน/ชุมชนของท่านมีหรือไม่ หากว่ามีสัญญาณดีเพียงใด  มีสัญญาณอินเทอร์เน็ตในหมู่บ้าน/ชุมชน  ไม่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ตในหมู่บ้าน/ชุมชน  สัญญาณดี  สัญญาณไม่มี  อื่นๆ ระบุ................... 5. ท่านจ่ายค่าอินเทร์เน็ต/ดาวเทียมต่อเดือนเท่าไหร่ 6. ความถี่ในการใช้อินเทอร์เน็ต/ IT เพื่อค้นหาข้อมูล/ข่าวสาร  ทุกวัน  สัปดาห์ละ 6 ครั้ง  สัปดาห์ละ 5 ครั้ง  สัปดาห์ละ 4 ครั้ง  สัปดาห์ละ 3 ครั้ง  สัปดาห์ละ 2 ครั้ง  สัปดาห์ละ 1 ครั้ง  อื่นๆ ระบุ................ 7. ประเภทข้อมูล/ข่าวสารที่ท่านค้นหาด้วยอินเทอร์เน็ต/ IT (ตอบได้มากกว่า 1ข้อ) เรียงตามลําดับมากไปหาน้อยคือ 1,2,3,4,5  การศึกษา/แหล่งที่เรียน/ทุน  การฝึกอาชีพ  สิทธิประโยชน์และสวัสดิการ  ศิลปะ วัฒนธรรม  กฎหมาย ระเบียบต่างๆ  แหล่งงาน/ แหล่งสร้างรายได้  การเมือง การปกครอง  องค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวกับท่าน  การออกกําลังกายและกีฬา/นันทนาการ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  สุขภาพ/อนามัย/โรคต่างๆ  ความรู้ / วิธีการใหม่ๆเกี่ยวกับท่าน  บันเทิง/เพลง/หนัง/ละคร/ตลก  เทคโนโลยีต่างๆที่เกี่ยวกับท่าน เครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับท่าน  อื่นๆ ภาคผนวก

หน้า 113


8. ข้อมูล/ข่าวสารประเภทใด ที่ท่านต้องการมากที่สุด (ตอบได้มากกว่า 1ข้อ) เรียงตามลําดับมากไปหาน้อยคือ 1,2,3,4,5  การศึกษา/แหล่งที่เรียน/ ทุน  การฝึกอาชีพ  สิทธิประโยชน์และสวัสดิการ  กฎหมาย ระเบียบต่างๆ  แหล่งงาน/แหล่งสร้างรายได้  องค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวกับท่าน  สุขภาพ/อนามัย/โรคต่างๆ  การออกกําลังกายและกีฬา นันทนาการ  การเมือง การปกครอง  ความรู้/วิธีการใหม่ๆเกี่ยวกับท่าน  เทคโนโลยีต่างๆที่เกี่ยวกับท่าน  ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  เครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับท่าน  ศิลปะ วัฒนธรรม  บันเทิง/เพลง/หนัง/ละคร/ตลก  อื่นๆ 9. สื่อออนไลน์/IT ที่ท่านมักจะใช้ประจํามีอะไรบ้าง (ต่อสัปดาห์) ความถี่ในการใช้ต่อสัปดาห์ สื่อออนไลน์ที่ ท่านมักจะใช้ประจํา

ทุกวัน (5)

5-6 วันต่อ สัปดาห์ (4)

4-3 วันต่อ สัปดาห์ (3)

1-2 วันต่อ สัปดาห์ (2)

น้อยกว่า 1 วันต่อสัปดาห์ (1)

Facebook เฟชบุ๊ค Google กูเกิ้ล YouTube ยูทูป Sanook เว็ปสนุกดอทคอม Twitter ทวิตเตอร์ e-mail อีเมล 13.15 อื่นๆ โปรด ระบุ……………. 10. เหตุผลที่ท่านใช้คอมพิวเตอร์/IT/อินเทอร์เน็ตเพื่อประโยชน์ใดบ้าง เหตุผลในการใช้ประโยชน์จากIT

มาก ที่สุด (5)

ปาน มาก กลาง (4) (3)

น้อย (2)

น้อย ที่สุด (1)

1. ต้องการรู้เหตุการณ์ และติดตามความเคลื่อนไหว ข่าวสารต่างๆ เช่น ข่าว ของรัฐบาล/ขององค์กร/หน่วยงานในพื้นที/่ ชุมชน 2. ต้องการหาข้อมูลเพื่อเอาไปใช้ในการตัดสินใจ ใช้ในการทํามาหากิน 3. ต้องการความบันเทิง เพลิดเพลิน 4. ต้องการนําไปใช้เกี่ยวกับการเรียนของท่านเอง/คนในครอบครัว 5. ต้องการนําไปใช้เกี่ยวกับการระวังภัยต่างๆ จากการถูกหลอกลวงใน สารพัดรูปแบบของกลุ่มมิจฉาชีพ กลุ่มอาชญากร 6. ต้องการสร้างโอกาสให้กับตนเองเพิ่มมากขึ้น เช่น สมัครงาน หาแหล่งทุน 7. ต้องการข้อมูลเพื่อนําไปใช้ในการเล่นการพนัน เล่นเกมต่างๆ 8. ต้องการข้อมูลเกี่ยวเรื่องเพศ ความรัก หาคู่ หาแฟน 9. ต้องการเลียนแบบคนดังในสังคม เช่น ศิลปิน ดารานักร้องนักแสดง ใน ด้านการแต่งตัวใส่เสื้อผ้ายี่ห้อดังหรูหรา ใช้เครื่องประดับราคาแพง ใช้รถ ราคาแพง เป็นต้น 10. ใช้ค้นหา/ตรวจสอบเกี่ยวกับภัยภิบัติต่างๆ 11. อื่นๆ โปรดระบุ.... ขอขอบคุณและขอให้ทุกท่านประสบความสําเร็จยิ่งๆขึ้น ศูนย์วิจัยการจัดการความรู้การสื่อสารและการพัฒนา มสธ. www.CCDKM.org 081 7550131 ภาคผนวก

หน้า 114


แบบสอบถามเกี่ยวกับศูนย์ USO NET ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัว คําชี้แจง: กรุณาทําเครื่องหมาย  ลงใน  ข้างหน้าตัวเลือกที่เป็นคําตอบของท่าน 1. ชื่อ................................................สกุล.................................................................................................. e-Mail............................................................. ไอดีไลน์................................... เบอร์โทร.................................................. อื่นๆ.......................................................... 2. เพศ  ชาย  หญิง 3. อายุ ....................ปี 4. การศึกษา................................................... 4. ภูมิลําเนาของท่าน ……………………………………………………. 5. อาชีพของท่าน………………………………………………………………………………… 6. รายได้เฉพาะของตัวท่านเฉลี่ยต่อเดือน .......................บาท 7. ปกติแล้วท่านใช้ ICT อะไรบ้าง เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน/แท็บเล็ต/ศูนย์ USO NET/เน็ตคาเฟ่หรือ อื่นๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………… อุปกรณ์ ICT ที่ท่านใช้ในการทํางานมีอะไรบ้างเช่น.............................................................................................. อุปกรณ์ ICT ที่ท่านใช้ในชีวิตประจําวันมีอะไรบ้างเช่น......................................................................................... 8. ปกติท่านใช้ ICT ที่ไหน เช่น ที่บ้าน/โรงเรียน/อบต./ศูนย์ USO NET/เน็ตคาเฟ่ เป็นต้น 9. ปกติท่านใช้สื่อออนไลน์ประเภทใดบ้าง เช่น Facebook/ไลน์/อินสตาแกรม เป็นต้น 10. ท่านมีความรู้ หรือความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ ICT ในด้านใดบ้าง? ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับชุมชน และศูนย์ USO NET 1. ชื่อชุมชน.......................................................... ตําบล.........................................อําเภอ.........................................................จังหวัด............................................ 2. ในชุมชนของท่าน มีเน็ตคาเฟ่..........แห่ง และหรือมีที่ให้บริการเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต/ICT ที่ใดบ้าง 3. ศูนย์ USO NET ตั้งอยู่ที่หน่วยงานใด ............................................................................................................ 4. ท่านรู้จัดศูนย์ USO NET ที่ใดบ้าง ............................................................................................................. 5. ท่านเคยใช้บริการจากศูนย์ USO NET บ้างหรือไม่  เคยใช้  ไม่เคยใช้ หากว่าท่านเคยใช้ ท่านใช้บริการอะไรบ้าง หากว่าท่านไม่เคยใช้ เป็นเพราะเหตุผลใด 6. ที่ศูนย์ USO NET มีให้บริการอะไรบ้าง? ให้บริการกี่วัน? เวลา เปิด-ปิดคือเวลาใด และเปิดกี่วัน ฯลฯ 7. ท่านคิดว่าศูนย์ USO NET ที่ตั้งอยู่ในชุมชนของท่านมีประโยชน์หรือไม่ 8. คนที่มาใช้บริการที่ศูนย์ USO NET บ่อยๆ คือ 9. บริการที่คนนิยมใช้ท่ศี ูนย์ USO NET คือ ส่วนที่ 3 แนวทางการพัฒนาศูนย์ USO NET ให้เป็นศูนย์ที่ชุมชนต้องการใช้/ ได้ประโยชน์จริง 1. หากต้องการให้ชุมชนมาใช้ศูนย์ USO NET มากขึ้น ควรจะต้องทําอย่างไรบ้าง? 2. ในศูนย์ USO NET น่าจะต้องมีรูปแบบ/แนวทางในการบริหารจัดการอย่างไร 3. ในศูนย์ USO NET ควรจะต้องมีการให้บริการอะไรบ้าง? 4. ปัญหา หรืออุปสรรคหลักๆ ของศูนย์ USO NET คืออะไร? 5. ท่านอยากให้ศูนย์ USO NET ในชุมชนของท่านเป็นอย่างไร หรือต้องให้บริการอะไรบ้าง?

ภาคผนวก

หน้า 115


แบบสัมภาษณ์สตรีด้อยโอกาส การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ในใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ หัวข้อ

รายละเอียด

ชื่อ นามสกุล ข้อมูลการติดต่อ เช่น ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ อีเมล/line/Facebook/Instagram หรืออื่นๆ คุณใช้อุปกรณ์ IT อะไรบ้าง? คุณใช้ IT ที่ไหน? และคุณใช้ IT เพื่อประโยชน์อะไร/วัตถุประสงค์อะไร? แถวบ้านคุณ/ชุมชนคุณมีสัญญาณอินเทอร์เน็ตดีหรือไม่ คุณรู้จักศูนย์ USO Net หรือไม่ คุณเคยใช้ศูนย์ USO Net หรือไม่ คุณมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ USO Net หรือไม่ หากว่าคุณเคยใช้ศูนย์ USO Net คุณใช้บริการอะไร หากว่าจะมีการปรับปรุง/พัฒนาให้ศูนย์ USO Net ดีขึ้น ควรจะมีการปรับปรุง/พัฒนาในเรื่องใดบ้าง ชื่อหน่วยงานของคุณ/หน่วยงานที่คุณทํางานอยู่ หน่วยงานที่คุณติดต่อ/ประสานงาน/ขอความช่วยเหลือประจําคือ กรุณาบอกเราเกี่ยวกับชุมชน/หมู่บ้านของคุณ เช่น มีอะไรเด่นดัง มีแหล่งท่องเที่ยว/มีผลิตภัณฑ์อะไร ฯลฯ สิ่งที่คุณภูมิใจมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับคุณเอง/ครอบครัวของคุณ/ชุมชนของคุณ บอกเกี่ยวกับตัวคุณ การศึกษา/อาชีพหลัก/อาชีพรอง/รายได้ในปัจจุบัน/งานอดิเรก/ความถนัด/ความชอบ/ ความเชี่ยวชาญ หรืออื่นๆ บอกเกี่ยวกับครอบครัวของคุณ การทํางาน/อาชีพของคุณในปัจจุบันเป็นอย่างไรบ้าง (ทั้งปัญหา/ความสําเร็จ/ความต้องการ สิ่งที่คุณอยากทํามากๆ ตอนนี้คืออะไร (ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับคุณเอง/เกี่ยวกับคนในครอบครัว/เกี่ยวกับ ชุมชนของคน) เพราะเหตุผลใด คุณคิดว่า คุณจะสามารถใช้ IT ช่วยแก้ปัญหาหรือสนับสนุนการทําอาชีพได้หรือไม่ อย่างไร เช่น การค้าขาย ออนไลน์/โฆษณาออนไลน์ ฯลฯ สิ่งที่คุณอยากได้จากการเข้าร่วมการกิจกรรมในครั้งนี้/ หลังการอบรมในครั้งนี้ คุณคิดว่าน่าจะเกิดการพัฒนา รายได้เพิ่มขึ้นหรือไม่อย่างไร การประชุมอบรม/สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ในใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการสื่อสาร ในยุคดิจิทัลเพื่อการจัดทําสื่อการตลาดออนไลน์ มีผลอย่างไรกับตัวคุณ/ครอบครัว/ชุมชน คุณได้รับโอกาส/ประโยชน์อะไรเพิ่มจากการอบรม/ประชุมในครั้งนี้ ในการร่วมอบรม/ประชุมครั้งนี้คณ ุ พบปัญหา/อุปสรรคอะไรบ้าง และมีข้อเสนอเกี่ยวกับวีธีการอย่างไรในการ แก้ไข/ปรับปรุง ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น เกี่ยวกับการอบรม/ประชุมสัมมนาในครั้งนี ข้อเสนอ/ข้อคิดเห็นอื่นๆ

ภาคผนวก

หน้า 116


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.