เอกสาร ปริมาณสารสัมพันธ์

Page 1

ใบความรู เรื่อง มวลอะตอมและมวลอะตอมเฉลี่ย ************************************************************************************* อะตอม มาจากภาษากรีก “Atomos” ซึ่งมีความหมายวาแบงแยกไมได ดังนั้นอะตอมจึงเปน อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุที่ไมสามารถแบงแยกไดอีกโดยวิธีทางเคมี องคประกอบพื้นฐานของอะตอม ไดแก อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน ซึ่งมีประจุไฟฟาเปน ประจุลบ ประจุบวก และเปนกลาง ตามลําดับ โดยโปรตอนและนิวตรอนรวมกันอยูตรงกลางของอะตอม เรียกวา นิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนวิ่งอยูรอบ ๆ นิวเคลียส ดอลตันเชื่อวาอะตอมของธาตุตางชนิดกันจะมี มวลไมเทากัน จึงไดพยายามหามวลของอะตอมของธาตุแตละชนิด แตเนื่องจากอะตอมมีขนาดเล็กและมี มวลนอยมากจนนํามาชั่งไมได กลาวคืออะตอมที่มีขนาดเล็กที่สุดคืออะตอมของธาตุไฮโดรเจน มีมวล ประมาณ 1.66 x 10-24 กรัม และอะตอมที่ใหญที่สุดจะมีมวลไมเกิน 300 เทาของไฮโดรเจน เนื่องจาก อะตอมมีมวลนอยมาก และไมสะดวกแกการชั่งนั่นเอง ในทางปฏิบัติจึงใชวิธีเปรียบเทียบโดยพิจารณาวา อะตอมของธาตุหนึ่งมีมวลมากกวา หรือนอยกวาอะตอมของอีกธาตุหนึ่งกี่เทา คาที่ไดจากการเปรียบเทียบ ดังกลาวเรียกวา “มวลอะตอม”

การหามวลอะตอมโดยใชธาตุไฮโดรเจนเปนมาตรฐาน ดอลตันพบวาธาตุไฮโดรเจนเปนธาตุที่เบาที่สุด จึงเสนอใหใชไฮโดรเจนเปนธาตุมาตรฐานในการ เปรียบเทียบเพื่อหามวลของอะตอมของธาตุอื่น ๆ โดยกําหนดใหไฮโดรเจน 1 อะตอม มีมวล 1 หนวย หรือ 1 amu 1 amu = 1 atomic mass unit = 1.66 x 10-24 กรัม เมื่อใชธาตุไฮโดรเจนเปนมาตรฐานจึงกําหนดนิยามของมวลอะตอมดังนี้ “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกใหทราบวาธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเปนกี่เทาของธาตุ ไฮโดรเจน 1 อะตอม” เขียนเปนสูตรแสดงความสัมพันธไดดังนี้ มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลอะตอมของธาตุ = มวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม ตัวอยางเชน 1. มวลอะตอมของธาตุคารบอน = 12.000 หมายความวาธาตุคารบอน 1 อะตอม มีมวลเปน 12.000 เทาของมวลของธาตุไฮโดรเจน 1 อะตอม 2. มวลอะตอมของธาตุคลอรีน = 35.453 หมายความวา ธาตุคลอรีน 1 อะตอมมีมวลเปน 35.453 เทาของมวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม เปนตน


การทราบมวลอะตอมของธาตุสามารถใชบอกไดวาอะตอมของธาตุใดมีมวลมากหรือนอยกวากัน เชน มวลอะตอมของคารบอน = 12.000 มวลอะตอมของคลอรีน = 35.453 มวลอะตอมของไนโตรเจน = 14.000 หมายความวาอะตอมของธาตุคลอรีนมีมวลมากกวาอะตอมของธาตุไนโตรเจน และอะตอมของธาตุ ไนโตรเจนมีมวลมากกวาอะตอมของธาตุคารบอน นอกจากจะใชหาคามวลอะตอมแลว ยังสามารถใชหามวลของอะตอมไดดวย เนื่องจากมวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม = 1.66 x 10-24 กรัม มวลของธาตุ 1 อะตอม ดังนั้น มวลอะตอมของธาตุ = 1.66 x 10 - 24 หรือ มวลของธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10-24 กรัม ดังนั้น ถาทราบมวลอะตอมก็จะคํานวณคามวลของ 1 อะตอมได เชน มวลของคารบอน 1 อะตอม = มวลอะตอมของคารบอน x 1.66 x 10-24 กรัม = 12.000 x 1.66 x 10-24 กรัม มวลของคลอรีน 1 อะตอม = 35.453 x 1.66 x 10-24 กรัม มวลของไนโตรเจน 1 อะตอม = 14.000 x 1.66 x 10-24 กรัม นอกจากจะหามวลอะตอมโดยเปรียบเทียบกับไฮโดรเจน 1 อะตอมแลว นักวิทยาศาสตรในสมัยนั้น ยังใชวิธีหามวลอะตอมโดยเปรียบเทียบมวลของธาตุกับมวลของไฮโดรเจนที่มีจํานวนอะตอมเทากันดังนี้

มวลของธาตุ n อะตอม มวลของไฮโดรเจน n อะตอม ขอแตกตางระหวางมวลอะตอมกับมวล 1 อะตอม มวลอะตอมเปนคาเปรียบเทียบ ไมมีหนวย แตมวล 1 อะตอม เปนมวลที่แทจริงตองมีหนวย (เปน กรัมหรือกิโลกรัม) เชน มวลอะตอมของไฮโดรเจน = 1 มวล 1 อะตอมของไฮโดรเจน = 1 x 1.66 x 10-24 กรัม เปนตน มวลอะตอมของธาตุ =

การหามวลอะตอมโดยใชธาตุออกซิเจนเปนมาตรฐาน J.S Stas นักเคมีชาวเบลเยียม ไดเสนอใหใชธาตุออกซิเจนเปนมาตรฐานในการหาคามวลอะตอม แทนธาตุไฮโดรเจน โดยใชเหตุผลวาออกซิเจนมีอยูมาก และเปนอิสระในธรรมชาติ รวมทั้งยังเปนธาตุที่ สามารถทําปฏิกิริยากับธาตุอื่น ๆไดเกลืบหมด จึงนาจะใชเปนมาตรฐานแทนธาตุไฮโดรเจน และเปลี่ยน นิยามของมวลอะตอมใหมเปนดังนี้


“มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกใหทราบวาธาตุนั้น 1 อะตอม หนักเปนกี่เทาของ 1/16 มวล ขอองออกซิเจน 1 อะตอม” เขียนเปนสูตรแสดงความสัมพันธไดดังนี้ มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลอะตอมของธาตุ = 1 มวลของออกซิเจน 1 อะตอม 16 เชน ธาตุแมกนีเซียมมีมวลอะตอมเทากับ 24 หมายความวา ธาตุแมกนีเซียม 1 อะตอม หนักเปน 24 เทาของ

1 16

ของมวลออกซิเจน 1 อะตอม เปนตน

การหามวลอะตอมโดยใชคารบอน -12 เปนมาตรฐาน การใชธาตุออกซิเจนเปนมาตรฐานในการหามวลอะตอม ทําใหเกิดความขัดแยงกันระหวางนักเคมี และนักฟสิกสในการกําหนดมวลของธาตุออกซิเจน เนื่องจากนักเคมีคิดมวลอะตอมของออกซิเจนจาก ไอโซโทปของออกซิเจน – 16 เพียงอยางเดียว เนื่องจากมีอยูในธรรมชาติมากที่สุด ดังนั้นมวลอะตอมของ ธาตุตาง ๆที่คิดโดยนักเคมีและนักฟสิกสจึงไมเทากัน กอใหเกิดปญหาขึ้น ดังนั้นในป ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2504) นักวิทยาศาสตรจึงตกลงเลือกธาตุมาตรฐานเพื่อหามวลอะตอมใหมโดยใชคารบอน–12 เปนตัวเปรียบเทียบ และใหนิยามมวลอะตอมดังนี้ “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกใหทราบวาธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเปนกี่เทาของ 1 ของ 12

มวลของคารบอน –12 1 อะตอม เขียนเปนสูตรแสดงความสัมพันธไดดังนี้ มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลอะตอมของธาตุ = 1 มวลของคารบอน - 12 1 อะตอม 12 เชน มวลอะตอมของออกซิเจน = 16.00 หมายความวาธาตุออกซิเจน 1 อะตอม มีมวลเปน 16 เทาของ 1 มวลของคารบอน – 12 , 1 อะตอม 12

สรุปเกี่ยวกับมวลอะตอม มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม มวลของธาตุ 1 อะตอม = 1 มวลของคารบอน - 12 1 อะตอม 12 2.มวลของธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10-24 กรัม 3.มวลอะตอมไมมีหนวย เพราะเปนมวลเปรียบเทียบ แตมวล 1 อะตอมมีหนวย (กรัมหรือ กิโลกรัม) เพราะเปนมวลที่แทจริง 1.มวลอะตอมของธาตุ =


การคํานวณมวลอะตอม มวลอะตอมสามารถคํานวณไดหลายวิธี ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของขอมูล เชน อาจจะคํานวณมวล อะตอมโดยการเปรียบเทียบกับไฮโดรเจนหรือคารบอน – 12 อาจจะคํานวณโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมีของธาตุ และคํานวณจากไอโซโทป แตละวิธีลักษณะการคํานวณแตกตางกันดังนี้ 1. คํานวณมวลอะตอมโดยการเปรียบเทียบกับมวลมาตรฐาน สวนใหญไดแกการเปรียบเทียบกับ ธาตุไฮโดรเจนและคารบอน - 12 นอกจากนี้ก็ยังสามารถคํานวณมวลอะตอมไดจากการเปรียบเทียบกับธาตุอื่น ๆ ที่ทราบมวลอะตอม แลวรวมทั้งคํานวณไดจากมวลของธาตุ 1 อะตอมดวย 2. คํานวณมวลอะตอมจากปฏิกิริยาเคมีของธาตุ เมื่อธาตุตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปทําปฏิกิริยากันแลวได สารประกอบเพียงชนิดเดียว ถาทราบมวลของธาตุที่ทําปฏิกิริยากันพอดี และทราบมวลอะตอมของธาตุหนึ่ง จะสามารถคํานวณมวลอะตอมของธาตุอื่น ๆ ได ตัวอยาง เชน ธาตุ A + ธาตุ B  สารประกอบ AXBY สามารถจะหามวลอะตอมของธาตุ A หรือธาตุ B ไดโดยใชความสัมพันธดังนี้

WA WB

เชน

MA X . MB Y

เมื่อ WA , WB = มวลของธาตุ A และ B ตามลําดับที่ทําปฏิกิริยาพอดีกัน MA , MB = มวลอะตอมของธาตุ A และ B ตามลําดับ X , Y = ตัวเลขแสดงจํานวนอะตอมของธาตุ A และ B ตามลําดับ X คา X , Y หรือ หาไดจากสูตรของสารประกอบ Y N2 + 1/2 O2  N2O มี X = 2 H2 + Cl2  2HCl มี

Y X Y

=

1 1 1

ในกรณีที่มีธาตุมากกวา 2 ชนิด ทําปฏิกิริยากันก็หามวลอะตอมไดในทํานองเดียวกัน เชน ธาตุ A + ธาตุ B + ธาตุ C + …….  สารประกอบ AXBYCZ ……. เมื่อตองการจะหามวลของอะตอมของธาตุใด ใหนําธาตุนั้นไปเปรียบเทียบกับธาตุซึ่งทราบมวล อะตอมแลว เชน ถาทราบมวลอะตอมของ A จะหามวลอะตอมของ B และ C ไดโดยการเปรียบเทียบกับ A ดังนี้


WA MA X  . WB MB Y WA MA X  . WC MC Y จะเห็นไดวาการคํานวณมวลอะตอมจากปฏิกิริยาของธาตุดังกลาวนี้ สามารถทําไดโดยไมตองเขียน สมการและยังสามารถนําไปประยุกตหามวลโมเลกุลหรือหาน้ําผลึกในโมเลกุลไดอีกดวย

สรุปการคํานวณมวลอะตอมจากปฏิกิริยาของธาตุ 1. ตองเปนปฏิกิริยาที่เกิดสารประกอบชนิดเดียว 2. ตองทราบสูตรของสารประกอบที่เกิดขึ้น เพื่อหาคา

X Y

3. ตองทราบมวลของธาตุที่ทําปฏิกิริยากัน 4. ตองทราบมวลอะตอมของธาตุ ๆ หนึ่ง ตัวอยางที่ 1 ธาตุ A 1 อะตอมหนัก 3.818 x 10-23 กรัม จะมีมวลอะตอมเปนเทาใด วิธีทํา มวลของ A 1 อะตอม = มวลอะตอมของ A x 1.66 x 10-24 กรัม 3.818 x 10-23 กรัม = มวลอะตอมของ A x 1.66 x 10-24 กรัม

3.818 x 10 - 23

= 23.0 ตอบ 1.66 x 10 - 24 ตัวอยางที่ 2 ธาตุ A มีมวลอะตอม 107.8 ธาตุ A 2 อะตอม หนักกี่กรัม วิธีทํา มวล 1 อะตอม = มวลอะตอม x 1.66 x 10-24 กรัม เพราะฉะนั้นมวล 2 อะตอม = 2 x 107.8 x1.66 x 10-24 ตอบ = 3.58 x 10-22 กรัม ตัวอยางที่ 3 ธาตุ M 2 อะตอมมีมวลเปน 5 เทาของธาตุ N 3 อะตอม ถามวลอะตอมของ N เทากับ 9 จง คํานวณมวล 1 อะตอม และมวลอะตอมของ M วิธีทํา ธาตุ N 3 อะตอม หนัก = 3 x 9 x 1.66 x 10-24 กรัม เพราะฉะนั้น ธาตุ M 2 อะตอม หนัก = 5 (3 x 9 x 1.66 x 10-24 ) กรัม เพราะฉะนั้นมวลอะตอมของ A =

หรือ

ธาตุ M 1 อะตอม หนัก = จากมวล 1 อะตอม

5 2

(3 x 9 x 1.66 x 10-24 ) กรัม

= 1.12 x 10-22 กรัม = มวลอะตอม x 1.66 x 10-24 กรัม

เพราะฉะนั้นมวลอะตอมของ M =

5 2

x3x 9

= 67.5

ตอบ


ตัวอยางที่ 4 ธาตุโพแทสเซียมมีมวลอะตอม 39 ธาตุไนโตรเจนมีมวลอะตอม 14 ธาตุโพแทสเซียม 200 อะตอม หนักเปนกี่เทาของธาตุไนโตรเจน 50 อะตอม วิธีทํา K 200 อะตอม หนัก = 200 x 39 x 1.66 x 10-24 กรัม N 50 อะตอม หนัก = 50 x 14 x 1.66 x 10-24 กรัม เพราะฉะนั้น

มวลของ K มวลของ N

200 x 39 x 1.66 x 10 - 24

=

50 x 14 x 1.66 x 10 - 24 = 11.14 ตอบ K 200 อะตอม หนักเปน 11.4 เทาของ N 50 อะตอม ตัวอยางที่ 5 ธาตุ X 13.8 กรัม ทําปฏิกิริยาเคมีกับ O2 ไดเปน X2O เพียงชนิดเดียวหนัก 18.6 กรัม จง คํานวณมวลอะตอมของธาตุ X วิธีทํา X + O2  X2O WX MX X จาก  . WO MO Y จาก

X2O

ได

x y

=

2 1

WX = 13.8 กรัม , MO = 16 WO = WX 2 O - WX = 18.6 - 18.3 กรัม = 4.8 กรัม

เพราะฉะนั้นจากสูตร แทนคา จะได Mx 2 13.8 x  4.8 16 1 MX = 23 มวลอะตอมของ X = MX = 23

มวลอะตอมเฉลี่ยจากไอโซโทป

ตอบ

ธาตุแตละชนิดที่อยูในธรรมชาติมักจะมีไอโซโทปหลายชนิดปนกันอยู เชน ธาตุคารบอนจะมี ไอโซโทปในธรรมชาติที่สําคัญคือ C – 12 และ C –13 ธาตุออกซิเจนมี O – 16 , O – 17 และ O –18 เปน ตน ไอโซโทปของธาตุแตละชนิดจะมีปริมาณไมเทากันในธรรมชาติ และมีมวลอะตอมไมเทากันดวย เชน N - 14 มีในธรรมชาติ 99.64 % และมีมวลอะตอม 14.0031 N - 15 มีในธรรมชาติ 0.36 % และมีมวลอะตอม 15.0001 การพิจารณามวลอะตอมที่แทจริงจึงตองคิดจากไอโซโทปทุก ๆ ตัวที่มีอยูในธรรมชาติเปนคาเฉลี่ย เรียกวา “มวลอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทป” การหามวลอะตอมและปริมาณของไอโซโทปแตละธาตุ ใชเครื่องมือที่เรียกวา แมสสเปกโตร มิเตอร (mass spectrometer)


ธาตุ คารบอน ออกซิเจน

นีออน

คลอรีน แมกนีเซียม

อารกอน

โบรอน

ตาราง มวลอะตอมและปริมาณไอโซโทปของธาตุบางชนิดในธรรมชาติ ไอโซโทป มวลอะตอมของ ปริมาณไอโซโทป มวลอะตอมเฉลี่ย ไอโซโทป (%) 12 12.000 98.9 12.001 C 13 13.003 1.1 C 16 15.995 99.76 O 17 16.999 0.04 15.999 O 18 17.999 0.20 O 20 19.992 90.92 Ne 21 20.993 0.26 20.183 Ne 22 21.991 8.82 Ne 35 34.967 75.5 35.453 Cl 37 36.966 24.5 Cl 24 23.99 78.10 Mg 25 24.99 10.13 24.31 Mg 26 25.98 11.17 Mg 36 35.968 0.337 Ar 38 37.963 0.063 39.947 Ar 40 39.962 99.600 Ar 10 10.0130 19.9 10811 B 11 11.0093 80.1 B

การคํานวณมวลอะตอมเฉลี่ยจากไอโซโทป

การคํานวณมวลอะตอมเฉลี่ยจากไอโซโทป ตองคิดจากไอโซโทปทุก ๆ ตัวในธรรมชาติ โดยคิด (%)(A ) คาเฉลี่ยจากความสัมพันธดังนี้ M =  100 (% A)1  (% A) 2  (% A) 3  ......... = 100 M = มวลอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทป  = Summation (ผลบวก) % = เปอรเซ็นตของไอโซโทปแตละตัวในธรรมชาติ A = มวลอะตอมของแตละไอโซโทป


จากตัวอยางของไอโซโทปจากตารางที่ผานมา จะเห็นไดวาคามวลอะตอมของแตละไอโซโทป ใกลเคียงกับเลขมวลของไอโซโทปนั้น ๆ ดังนั้นในกรณีที่โจทยไมกําหนดมวลอะตอมของแตละไอโซโทป ให ถาทราบเลขมวลใหใชเลขมวลแทนได ตัวอยางที่ 6 จากการใชแมสสเปกโตรมิเตอรไดผลการทดลองวากาซอารกอนประกอบดวย 3 ไอโซโทป 38 40 คือ 36 18 Ar , 18 Ar และ 18 Ar ปริมาณของไอโซโทปมี 0.1% , 0.3 % และ 99.6 % ตามลําดับ ใหหา มวลอะตอมของอารกอน วิธีทํา เนื่องจากโจทยไมกําหนดมวลอะตอมของแตละไอโซโทปมาให จึงตองใชเลขมวลของแตละ ไอโซโทปแทน (%)(A ) จากสูตร M =  100 (% A)1  (% A) 2  (% A) 3 = 100 ชนิดที่ 1 36 มี % = 0.1 , A = 36 18 Ar ชนิดที่ 2 38 มี % = 0.3 , A = 38 18 Ar ชนิดที่ 3 40 มี % = 99.6 , A = 40 18 Ar 0.1 x 36  0.3 x 38  99.6 x 40 เพราะฉะนั้น M = = 39.99 100 มวลอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทป(อารกอน) = 39.99 ตอบ ตัวอยางที่ 7 ธาตุคารบอนมีไอโซโทปที่เสถียรในธรรมชาติ 2 ชนิด คือ C – 12 มีมวลอะตอม 12.000 และ C – 13 มีมวลอะตอม 13.003 ถามวลอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทปของคารบอนเปน 12.011 จงคํานวณ % ในธรรมชาติของแตละไอโซโทป (%)(A ) วิธีทํา M =  100 สมมติใหมี C – 12 ในธรรมชาติ X % , มวลอะตอม 12.000 เพราะฉะนั้นมี C – 13 ในธรรมชาติ 100 - X % , มวลอะตอม 13.003 (% A)1  (% A) 2 จาก M = 100 ( X ) x 12.000  (100 - X) x 13.003 12.001 = 100 X = 98.9 % เพราะฉะนั้นมี C – 12 ในธรรมชาติ เทากับ 98.9 % มี C – 13 ในธรรมชาติ 100-X % = 1.1 % --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


ใบความรู เรื่อง มวลโมเลกุล ************************************************************************************* การหามวลของสาร 1 โมเลกุล กรณีที่ตองการคํานวณมวลของสาร 1 โมเลกุล จากปริมาตรของสาร 1 โมเลกุล จําเปนตองทราบ ขอมูลเกี่ยวกับความหนาแนนของสาร ซึ่งจะนํามาหามวลของสาร 1 โมเลกุล ไดจากความสัมพันธตอไปนี้ มวลของสาร ความหนาแนนของสาร = ปริมาตรของสาร มวลของสาร n โมเลกุล = ปริมาตรของสาร n โมเลกุล มวลของสาร 1 โมเลกุล = ปริมาตรของสาร 1 โมเลกุล เพราะฉะนั้นมวลของสาร 1 โมเลกุล = ความหนาแนน x ปริมาตรของสาร 1 โมเลกุล ดังนั้นถาทราบความหนาแนนของสาร และทราบปริมาตรของสาร 1 โมเลกุล ก็จะสามารถคํานวณ มวลของสาร 1 โมเลกุลได พิจารณาตัวอยางการคํานวณมวลของสาร 1 โมเลกุล จากกรณีของกรดโอเลอิก ซึ่งมีขอมูลดังตอไปนี้ ปริมาตรของกรดโอเลอิก 1 โมเลกุล = 5.28 x 10-22 cm3 ความหนาแนนของกรดโอเลอิก = 0.89 g/cm3 เพราะฉะนั้นมวลของกรดโอเลอิก 1 โมเลกุล = 5.28 x 10-22 cm3 x 0.89 g/cm3 = 4.7 x 10-22 กรัม จะเห็นไดวามวลของกรดโอเลอิก 1 โมเลกุล มีคานอยมาก ในทางปฏิบัติไมสามารถจะชั่งหาคา มวลของกรด 1 โมเลกุล รวมทั้งไมสะดวกแกการนําไปใชเพราะเปนจํานวนที่นอยมาก จึงนิยมใชคา เปรียบเทียบซึ่งเรียกวา “มวลโมเลกุล” แทน การหามวลโมเลกุล ทําไดในทํานองเดียวกับมวลอะตอม มวลโมเลกุล หมายถึง “ตัวเลขที่แสดงใหทราบวาสารนั้น 1 โมเลกุล มีมวลเปนกี่เทาของธาตุ ไฮโดรเจน 1 อะตอม หรือมีมวลเปนกี่เทาของ 121 ของมวลของคารบอน – 12 1 อะตอม เขียนเปนความสัมพันธไดดังนี้ มวลโมเลกุลของสาร

=

มวลของสาร 1 โมเลกุล มวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม


มวลของสาร 1 โมเลกุล 1 ของมวลของคารบอน - 12 1 อะตอม 12 นอกจากจะคิดมวลโมเลกุลจากสาร 1 โมเลกุลแลว ยังสามารถเปรียบเทียบไดจากหลาย ๆ โมเลกุล ซึ่งสะดวกกวา ดังนี้ มวลของสาร n โมเลกุล มวลโมเลกุลของสาร = 1 ของมวลของคารบอน - 12 n อะตอม 12 ตัวอยางเชน ก. น้ํามีมวลโมเลกุลเทากับ 18 หมายความวา น้ํา 1 โมเลกุล มีมวลเปน 18 เทาของไฮโดรเจน 1 อะตอม หรือมีมวลเปน 18 เทาของ 121 ของมวลของคารบอน – 12 1 อะตอม เปนตน =

ข. กรดอะซิติกมีมวลโมเลกุลเทากับ 60 หมายความวา กรดอะซิติก 1 โมเลกุล มีมวลเปน 60 เทา ของไฮโดรเจน 1 อะตอม หรือมีมวลเปน 60 เทาของ 121 ของมวลของคารบอน – 12 1 อะตอม เปนตน จากคาของมวลโมเลกุลจะทําใหทราบไดวาสารใดมีมวลมากหรือนอยกวากัน เชน น้ํา มีมวลโมเลกุล = 18 คารบอนไดออกไซดมีมวลโมเลกุล = 44 คารบอนไดออกไซดมีมวลโมเลกุลมากกวาน้ํา แสดงวาคารบอนไดออกไซด 1 โมเลกุล มีมวล มากกวาน้ํา 1 โมเลกุล การหามวลของสาร 1 โมเลกุล เนื่องจากมวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม = 1.66 x 10-24 กรัม มวลของสาร 1 โมเลกุล เพราะฉะนั้นมวลโมเลกุลของสาร = 1.66 x 10 - 24 หรือ มวลของสาร 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุลของสาร x 1.66 x 10-24 กรัม ดังนั้น ถาทราบมวลโมเลกุลของสารก็สามารถจะคํานวณมวลของสาร 1 โมเลกุลได และในทาง กลับกัน ถาทราบมวลของสาร 1 โมเลกุล ก็สามารถจะคํานวณมวลโมเลกุลของสารไดเชนเดียวกัน มวลโมเลกุลไมมีหนวย เพราะเปนมวลเปรียบเทียบ แตมวลของ 1 โมเลกุล หรือ หลาย ๆ โมเลกุล จะตองมีหนวย (เปนกรัม หรือ กิโลกรัม) เพราะเปนมวลที่แทจริงของสาร

มวลไอออนและมวลสูตร มวลไอออน หมายถึง ตัวเลขที่แสดงวาไอออนนั้น 1 ไอออน มีมวลเปนกี่เทาของ ของคารบอน – 12 1 อะตอม เขียนแสดงความสัมพันธไดดังนี้

1 ของมวล 12


มวลของ 1 ไอออน 1 ของมวลของคารบอน - 12 n อะตอม 12 และมวล 1 ไอออน = มวลไอออน x 1.66 x 10-24 กรัม ตัวอยางเชน แอมโมเนียไอออนมีมวลไอออนเทากับ 18 หมายความวา แอมโมเนีย 1 ไอออนมีมวลเปน 18 เทาของ 121 ของมวลของคารบอน – 12 1 อะตอม มวลไอออน =

และมวลของแอมโมเนีย 1 ไอออน = 18 x 1.66 x 10-24 กรัม มวลสูตร หรือ Formula mass เปนมวลที่พิจารณาจากสูตรของสารตามที่เขียน โดยเฉพาะ สารประกอบไอออนิก ซึ่งไมมีสูตรโมเลกุล มีแตสูตรอยางงาย ทําใหสารประกอบไอออนิกไมมีมวล โมเลกุล มีแตมวลสูตร (แตอนุโลมใหใชแทนมวลโมเลกุลได) มวลสูตร หมายถึง ตัวเลขที่แสดงวาอนุภาคนั้น (ตามสูตรที่เขียน) 1 อนุภาค มีมวลเปนกี่เทาของ 1 ของมวลของคารบอน – 12 1 อะตอม เขียนสูตรแสดงความสัมพันธไดดังนี้ 12

มวลของ 1 อนุภาค 1 ของมวลของคารบอน - 12 n อะตอม 12 และมวลของ 1 อนุภาค(ตามสูตร) = มวลสูตร x 1.66 x 10-24 กรัม เชน โซเดียมคลอไรดมีสูตรอยางงายเปน NaCl มีมวลสูตรเทากับ 58.5 หมายความวา 1 อนุภาค มีมวลเปน 58.5 เทาของ 121 ของมวลของคารบอน – 12 1 อะตอม มวลสูตร =

มวล NaCl 1 อนุภาค = มวลสูตร x 1.66 x 10-24 กรัม = 58.5 x 1.66 x 10-24 กรัม ทั้งมวลไอออนและมวลสูตรเปนมวลเปรียบเทียบไมมีหนวย แตมวลของ 1 ไอออน และมวลของ 1 อนุภาค (ตามสูตรที่เขียน) เปนมวลที่แทจริงตองมีหนวย เชน เปนกรัม เปนตน

การคํานวณมวลโมเลกุล การคํานวณมวลโมเลกุลสามารถทําไดหลายวิธีเชนเดียวกับการคํานวณมวลอะตอม เชน อาจจะ คํานวณโดยการเปรียบเทียบกับธาตุไฮโดรเจน คํานวณจากสูตรโมเลกุล คํานวณจากกฎของกาซ และ คํานวณจากสมบัติคอลลิเกตีฟ เปนตน 1. การคํานวณมวลโมเลกุลโดยการเปรียบเทียบ อาจเปรียบเทียบกับธาตุไฮโดรเจน คารบอน– 12 หรือธาตุอื่น ๆ ที่ทราบมวลอะตอมแลว 2. การคํานวณมวลโมเลกุลจากสูตรโมเลกุล ซึ่งมีหลักการดังนี้  ตองทราบสูตรโมเลกุลของสาร เพื่อจะไดรูวาสารนั้นประกอบดวยธาตุอะไรบาง อยางละกี่อะตอม


 ตองทราบมวลอะตอมของทุก ๆ ธาตุที่มีอยูในโมเลกุล  คํานวณมวลโมเลกุลโดยอาศัยความสัมพันธ มวลโมเลกุล = ผลบวกของมวลอะตอมของธาตุทั้งหมดในสูตรโมเลกุล 3. การคํานวณมวลโมเลกุลของสารที่มีน้ําหนักผลึก น้ําผลึก หมายถึง จํานวนโมเลกุลของน้ําที่ยึดเหนี่ยวหรือเกาะอยูกับสารประกอบ เชน จุนสีมีน้ํา ผลึก 5 โมเลกุล มีสูตรเปน CuSO4 . 5H2O สารอื่น ๆ ที่มีน้ําผลึก เชน Na2CO3.10 H2O , MgSO4.7 H2O และ Na2CrO4.10 H2O เปนตน การคํานวณเกี่ยวกับสารที่มีน้ําหนักผลึก มีทั้งการคํานวณมวลโมเลกุลและการคํานวณจํานวนน้ํา ผลึก โดยใชวิธีการคํานวณทํานองเดียวกับการคํานวณมวลอะตอมของธาตุที่รวมกันเปนสารประกอบ ถา X คือสารประกอบที่ไมมีน้ําผลึก X. nH2O คือสารประกอบที่มีน้ําผลึก X. nH2O  X + nH2O หรือ X + nH2O  X. nH2O หรือ

X + nH2O  X (H2O)n

คํานวณกี่ยวกับมวลโมเลกุลและจํานวนน้ําผลึกไดโดยอาศัยความสัมพันธดังนี้ WX MX 1 = . WH 2 O M H 2O n เมื่อ

WX = มวลของสารที่ไมมีน้ําผลึก WH 2 O = มวลของน้ําผลึก

MX = มวลโมเลกุลของสารที่ไมมีน้ําผลึก M H 2 O = มวลโมเลกุลของน้ํา

n = จํานวนโมเลกุลของน้ํา ในทางปฏิบัตินําสารที่มีน้ําผลึกมาชั่งน้ําหนัก หลังจากนั้นนําไปเผาจนน้ําผลึกระเหยออกไปจนหมด เมื่อชั่งของแข็งที่เหลือจะไดมวลของสารที่ไมมีน้ําผลึก (WX ) ซึ่งสามารถนํามาใชคํานวณสิ่งที่ตองการได จากความสัมพันธดังกลาว ถาทราบสูตรโมเลกุลของ X จะหามวลโมเลกุลของ X จากสูตร ซึ่ง สามารถจะนําไปคํานวณน้ําผลึก (n) ได ในทํานองกลับกัน เมื่อทราบจํานวนน้ําผลึกก็สามารถหามวล โมเลกุลของสาร X ได รวมทั้งมวลอะตอมของธาตุตางๆ ในสาร X ไดดวย 4. การคํานวณมวลโมเลกุลจากโมล โดยอาศัยความสัมพันธระหวางโมล มวล ปริมาตร และโมเลกุล


n

=

เมื่อ

W M

=

V 22.4

=

N 6.02 x 10 23

n = จํานวนโมลของสาร w = มวลของสาร M = มวลโมเลกุลของสาร V = ปริมาตรเ ปนลิตรที่สภาวะมาตรฐาน เมื่อเปนกาซ N = จํานวนโมเลกุลของสาร 5. การคํานวณมวลโมเลกุลจากสมบัติคอลลิเกตีฟของสารละลาย ไดแกสมบัติของสารละลายเกี่ยวกับความดันไอที่ลดลง จุดเยือกแข็งที่ลดลง จุดเดือดที่ เพิ่มขึ้น และความดันออสโมซิส สมบัติคอลลิเกตีฟทั้งหมดสามารถใชคํานวณมวลโมเลกุลได ดังเชน การ คํานวณมวลโมเลกุลจากจุดเยือกแข็งที่ลดลง อาศัยความสัมพันธดังนี้ W 100 M = K1 x 1 x W2 Tf เมื่อ M = มวลโมเลกุลของสาร K1 = คาคงที่ของจุดเยือกแข็งของตัวทําละลาย W1 , W2 = มวลของตัวทําละลาย และมวลของสารตามลําดับ Tf = จุดเยือกแข็งที่ลดลง 6. การคํานวณมวลโมเลกุลจากกฎตาง ๆ ของกาซ เชน กฎรวมของกาซ กฎของแกรแฮม เปนตน การคํานวณมวลโมเลกุลจากกฎรวมของกาซ หรือจากสมการแสดงสภาวะของกาซ ใช ความสัมพันธดังนี้ PV = nRT = WM RT W RT M = x V P เมื่อ P = ความดันของกาซ W = มวลของกาซ V = ปริมาตรของกาซ R = คาคงที่ของกาซ T = อุณหภูมิของกาซ

การคํานวณมวลโมเลกุลจากกฎการแพรของแกรแฮม ใชความสัมพันธดังนี้


M1 V1 = V2 M2 เมื่อ V1 , V2 เปนอัตราการแพรของกาซชนิดที่ 1 และ 2 ตามลําดับ M1 , M2 เปนมวลโมเลกุลของกาซชนิดที่ 1 และ 2 ตามลําดับ ตัวอยางที่ 1 สารประกอบ A 1 โมเลกุลมีมวล 1.494 x 10-22 กรัม จงคํานวณมวลโมเลกุลของสาร A วิธีทํา จากสูตร มวลของสาร 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุลของสาร x 1.66 x 10-24 กรัม มวลของสาร 1 โมเลกุล เพราะฉะนั้น มวลโมเลกุล = 1.66 x 10 - 24 1.494 x 10 -22 = 1.66 x 10 -24 = 90 มวลโมเลกุลของ A เทากับ 90 ตอบ ตัวอยางที่ 2 จงคํานวณมวลโมเลกุลของสารประกอบตอไปนี้ ก. กรดกํามะถัน (H2SO4) ข. กรดฟอสฟอริก (H3PO4) ค. เอธานอล ( C2H5OH) วิธีทํา จากสูตร มวลโมเลกุล = ผลบวกของมวลอะตอมของธาตุในสูตรของสาร ก. มวลโมเลกุลของ H2SO4 = มวลอะตอมของ 2H + S + 4O = 2 x 1 + 32 + 4 x 16 = 98 ข. มวลโมเลกุลของ H3PO4 = มวลอะตอมของ 3H + P + 4O = 3 x 1 + 31 + 4 x 16 = 98 ค. มวลโมเลกุลของ C2H5OH = มวลอะตอมของ 2C + 5H + O = 2 x 12 + 5 x 1 + 16 = 46 ตัวอยางที่ 3 จงคํานวณหามวลโมเลกุลและมวล 1 โมเลกุลของอะซิโตน วิธีทํา สูตรโมเลกุลของอะซิโตน คือ CH3COCH3 หรือ C3H6O3 มวลโมเลกุลของ C3H6O3 = มวลอะตอมของ 3C + 6H + 3O = 3 x 12 + 6 x 1 + 3 x 16 = 90 มวล 1 โมเลกุล C3H6O3 = มวลโมเลกุลของ C3H6O3 x 1.66 x 10-24 กรัม


= 90 x 1.66 x 10-24 กรัม = 1.494 x 10-22 กรัม ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


ใบความรู เรื่อง โมล ************************************************************************************* การบอกปริมาตรของสิ่งของที่ใชในชีวิตประจําวัน อาจจะบอกเปนหนวยน้ําหนัก เชน กรัม กิโลกรัม หรือหนวยปริมาตร เชน ลิตร ลูกบาศกเซนติเมตร นอกจากนี้ยังสามารถบอกเปนหนวยที่แสดง จํานวนของสิ่งของ เชน โหล กุรุส เปนตน การบอกปริมาณของสารในวิชาเคมีก็สามารถบอกเปนหนวย น้ําหนัก หนวยปริมาตร หรือจํานวนอนุภาคไดเชนกัน แตเนื่องจากอนุภาคของสาร คือ โมเลกุล อะตอมและ ไอออนมีขนาดเล็กและมีมวลนอยมาก การบอกเปนจํานวนอนุภาค เชน ไฮโดรเจน 100 โมเลกุล โซเดียม 12 อะตอม ( 1 โหล) จึงมีปริมาณนอยมาก ในทางปฏิบัติไมสามารถจะนําไปชั่งหรือตวงโดยตรงได การที่อนุภาคของสารมีขนาดเล็ก การกําหนดหนวยที่ใชแสดงปริมาณของสารจึงตองเปนหนวยที่ ใหญ ใชแทนอนุภาคที่สารจํานวนมาก เพื่อใหสะดวกแกการนําไปชั่งหรือตวงปริมาตร นักเคมีจึงไดกําหนด หนวยที่ใชบอกจํานวนอนุภาคของสารขึ้นมาหนวยหนึ่ง เรียกวา “โมล”

1. จํานวนอนุภาคตอโมลของสาร

จากมวลของธาตุ 1 อะตอม เชน คารบอน-12 1 อะตอม มีมวล 19.92 x 10-24 กรัม ออกซิเจน 1 อะตอม มีมวล 26.56 x 10-24 กรัม เหล็ก 1 อะตอม มีมวล 92.71 x 10-24 กรัม ตัวเลขที่กลาวมามีคานอยมาก เมื่อพิจารณาหนวยที่ใหญขึ้น เชน คารบอน – 12 19.92 x 10-24 กรัม มี 1 อะตอม 12.00 ถาคารบอน-12 12.00 กรัม มี 19.92 x 10 -24 = 6.02 x 1023 อะตอม ในกรณีอื่น ๆ ก็เชนเดียวกัน 16.00 ออกซิเจน 16.00 กรัม มี = อะตอม - 24 26.56 x 10 = 6.02 x 1023 อะตอม 55.80 เหล็ก 55.80 กรัม มี = อะตอม - 24 92.71 x 10 = 6.02 x 1023 อะตอม คาตัวเลข 12.00 , 16.00, 55.80 คือมวลอะตอมของคารบอน, ออกซิเจน และเหล็ก ตามลําดับ ธาตุอื่น ๆ ก็เปนเชนเดียวกัน ดังในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 มวลและจํานวนอะตอมของธาตุตาง ๆ


ธาตุ C O Fe H S Br

มวลอะตอม 12.00 16.00 55.80 1.008 32.00 79.90

มวล (กรัม) 12.000 16.00 55.80 1.008 32.00 79.90

จํานวนอะตอม 6.02 x 1023 6.02 x 1023 6.02 x 1023 6.02 x 1023 6.02 x 1023 6.02 x 1023

จะเห็นไดวาธาตุตางๆ ที่มีมวลเทากับมวลอะตอม จะมีจํานวนอะตอมเทากับ 6.02 x 1023 อะตอม เทากัน จึงไดกําหนดนิยามของโมล ที่เกี่ยวของกับจํานวนอะตอมไวดังนี้ “โมล คือ หนวยที่ใชแทนปริมาณของธาตุ 6.02 x 1023 อะตอม” ดังนั้น ธาตุใด ๆ 1 โมล จึงมี 6.02 x 1023 อะตอม และเพื่อใหใชไดอยางกวางขวาง ทั้งกับอะตอม โมเลกุล ไอออน จึงใชจํานวนอนุภาคแทนจํานวน อะตอม โดยนิยามสาร 1 โมล ดังนี้ “สารใด ๆ 1 โมล คือ ปริมาณของสารที่มีจํานวนอนุภาค 6.02 x 1023 อนุภาค” คา 6.02 x 1023 เรียกวา “เลขอาโวกาโดร” ซึ่งเปนคาคงที่ (เลขอาโวกาโดร มีคาที่ถูกตองและ ยอมรับกันในปจจุบันคือ 6.02245 x 1023 แตอนุโลมใหใช 6.02 x 1023 แทนได) สําหรับหนวย S. I. “สาร 1 โมล หมายถึง ปริมาณของสารที่มีจํานวนอนุภาคเทากับจํานวน อะตอมที่มีอยูในคารบอน – 12 ที่มีมวล 0.012 กิโลกรัม” ดังนั้นสาร 1 โมล ยอมมี 6.02 x 1023 อนุภาค หรือ สาร 2 โมล ยอมมี 2 x 6.02 x 1023 อนุภาค เปนตน ประเภทของโมล “อนุภาค” ในวิชาเคมีเปนคํากลาวรวม ๆ ซึ่งอาจจะหมายถึง โมเลกุล อะตอม หรือ ไอออน หรือ อิเล็กตรอนก็ได การแบงประเภทของโมลจะแบงตามชนิดของอนุภาค คือ  โมลโมเลกุล  โมลอะตอม  โมลไอออน สําหรับโมลประเภทอื่น ๆ เชน โมลอิเล็กตรอนมีใชไมมากนัก โดยทั่ว ๆ ไปการบอกเปนโมลอาจจะไมระบุชนิดของอนุภาค การที่จะทราบวาเปนโมลประเภทใด จึงมักพิจารณาจากสูตรของสารหรือของอนุภาคนั้น ถาอนุภาค หมายถึง โมเลกุล โมลจะหมายถึง โมลโมเลกุล


ถาอนุภาค หมายถึง อะตอม โมลจะหมายถึง โมลอะตอม ถาอนุภาค หมายถึง ไอออน โมลจะหมายถึง โมลไอออน เปนตน เชน H2O O3 Ne Na Cl-

1 1 1 1 1

โมล หมายถึง โมล หมายถึง โมล หมายถึง โมล หมายถึง โมล หมายถึง

H2O 1 โมลโมเลกุล เพราะ H2O เปนโมเลกุล O3 1 โมลโมเลกุล เพราะ O3 เปนโมเลกุล Ne 1 โมลอะตอม เพราะ Ne เปนอะตอม Na 1 โมลอะตอม เพราะ Na เปนอะตอม Cl- 1 โมลไอออน เพราะ Cl- เปนไอออน เปนตน

 กรณีที่เปนสารปะกอบ โมลจะหมายถึง โมลโมเลกุล เชน สารประกอบ A 1 โมล หมายถึง สารประกอบ A 1 โมลโมเลกุล มี A 6.02 x 1023 โมเลกุล  กรณีเปนธาตุ โมลจะหมายถึง โมลอะตอม เชน ธาตุออกซิเจน 1 โมล หมายถึง ธาตุ ออกซิเจน 1 โมลอะตอม มีออกซิเจน 6.02 x 1023 อะตอม  กรณีของกาซ โมลจะหมายถึง โมลโมเลกุล (กาซที่ 1 โมเลกุลมี 2 หรือมากกวา 2 อะตอม) เชน กาซออกซิเจน 1 โมล หมายถึง กาซออกซิเจน 1 โมลโมเลกุล มีออกซิเจน 6.02 x 1023 โมเลกุล โดยทั่ว ๆ ไปธาตุที่ 1 โมเลกุล ประกอบดวย 2 อะตอมขึ้น ไป เชน H2 , O2 , O3 , Cl2 , Br2 , I2 และ F2 การบอกปริมาณเปนโมลของสารเหลานี้ถาไมระบุชนิดของอนุภาคจะหมายถึง โมลโมเลกุล เชน ออกซิเจน 1 โมล หมายถึง ออกซิเจน 1 โมลโมเลกุล มีออกซิเจน 6.02 x 1023 โมเลกุล  กรณีของสารที่ไมไดอยูในลักษณะเปนโมเลกุล สารบางชนิดไมไดอยูในลักษณะเปนโมเลกุล เชน แกรไฟต และ เพชร มีลักษณะเปนโครงผลึก รางตาขาย สารประกอบไอออนิก มีลักษณะของไอออนที่เกาะกันอยูเปนโครงผลึก การพิจารณาโมลก็จะ แตกตางกันไป ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. โพแทสเซียมคลอไรด (KCl) ประกอบดวยโพแทสเซียมไอออน (K+) และคลอไรดไอออน (Cl- ) เกาะกันอยูเปนโครงผลึก 1 โมลของ KCl จะไมไดประกอบดวย KCl 6.02 x 1023 โมเลกุล แต ประกอบดวย K+ 6.02 x 1023 ไอออน และ Cl- 6.02 x 1023 ไอออน 2. โซเดียมซัลไฟด (Na2S) ประกอบดวยโซเดียมไอออน (Na+) และซัลไฟดไอออน (S2- ) เกาะกัน อยูเปนโครงผลึก 1 โมลของ Na2S จะไมไดประกอบดวย Na2S 6.02 x 1023 โมเลกุล แตประกอบดวย Na+ 6.02 x 1023 ไอออน และ S2- 6.02 x 1023 ไอออน จะเห็นไดวาสารตางชนิดกัน ไมวาจะเปนอะตอม โมเลกุลหรือไอออน ถาจํานวนโมลเทากัน จํานวนอนุภาคจะเทากันดวย แตหนวยของอนุภาคอาจจะแตกตางกัน (หนวยของอนุภาคจะตองสอดคลอง กับชนิดของโมล เชน ถาโมลโมเลกุล หนวยอนุภาคตองเปนโมเลกุล)


อยางไรก็ตาม การที่จะกลาวถึงโมลใหถูกตองควรระบุชนิดของอนุภาคดวย เชน โซเดียมอะตอม 1 โมล คอลไรดไอออน 1 โมล เปนตน การบอกปริมาณของสารเปนโมลจะทําใหทราบจํานวนอนุภาคของสารนั้น ๆ ซึ่งสามารถนําไป สรางความสัมพันธกับมวลของสารและปริมาตรของสารที่อยูในภาวะกาซได

2. จํานวนโมลกับมวลของสาร

ความสัมพันธระหวางโมลกับมวลของสารขึ้นอยูกับชนิดของโมล นักวิทยาศาสตรพบความสัมพันธ ระหวางโมลและมวลของสารดังนี้ 1. ปริมาณของสาร 1 โมล (โมเลกุล) ก็คือปริมาณของสารที่มีมวลเปนกรัมเทากับมวลโมเลกุลของ สารนั้น เชน - คารบอนไดออกไซด (CO2) มีมวลโมเลกุล 44 ดังนั้น CO2 1 โมล จึงมีมวล 44 กรัม - ออกซิเจน (O2) มีมวลโมเลกุล 32 ดังนั้น O2 1 โมล จึงมีมวล 32 กรัม 2. อะตอมของธาตุใด ๆ ปริมาณ 1 โมล จะมีมวลเปนกรัมเทากับมวลอะตอมของธาตุนั้น เชน - ธาตุออกซิเจนมีมวลอะตอม 16 ดังนั้นออกซิเจน 1 โมลอะตอมจึงมีมวล 16 กรัม - ธาตุโซเดียมมีมวลอะตอม 23 ดังนั้นโซเดียม 1 โมลอะตอม จึงมีมวล 23 กรัม 3. ปริมาณของไอออน 1 โมล จะมีมวลเปนกรัมเทากับมวลไอออนของไอออนนั้น ๆ เชน - คลอไรดไอออน (Cl- ) มีมวลไอออน 35.5 ดังนั้น Cl- 1 โมลจึงมีมวล 35.5 กรัม

- ซัลเฟตไอออน ( SO 42- ) มีมวลไอออน 96 ดังนั้น SO 42- 1 โมล จึงมีมวล 96 กรัม 4. สารที่มีไมไดอยูในลักษณะเปนโมเลกุลอยางชัดเจน แตอยูในลักษณะของไอออนที่เกะกันเปน โครงผลึก ปริมาณของสาร 1 โมล จะมีมวลเปนกรัมเทากับผลบวกของมวลไอออนในโครงผลึกนั้น เชน - NaCl 1 โมล มี Na+ 1 โมล และ Cl- 1 โมล Na+ 1 โมล มีมวล 23 กรัม Cl- 1 โมลมีมวล 35.5 กรัม เพราะฉะนั้น NaCl 1 โมล จึงมีมวล เทากับ 23 + 35.5 = 58.5 กรัม - K2SO4 1 โมล มี K+ 2 โมล และ SO 42- 1 โมล

K+ 1 โมล มีมวล 39 กรัม SO 42- 1 โมล มีมวล 96 กรัม เพราะฉะนั้น K2SO4 1 โมล จึงมีมวล 2 x 39 + 96 = 174 กรัม (ถือวามวลของไอออนใด ๆ มีคาเทากับมวลอะตอมของธาตุนั้น ๆ )

โดยสรุป

สาร 1 โมล มีมวล = มวลโมเลกุล (หนวยเปนกรัม) ธาตุ 1 โมล มีมวล = มวลอะตอม (หนวยเปนกรัม) ไอออน 1 โมล มีมวล = มวลไอออน (หนวยเปนกรัม)


สาร HNO3 H2O Fe He NH4+ Cl-

ตารางที่ 2 จํานวนโมล จํานวนอนุภาค และมวลของสารบางชนิด มวลโมเลกุล* จํานวนโมล จํานวนอนุภาค** 63 1 6.02 x 1023 18 1 6.02 x 1023 55.8 1 6.02 x 1023 4 1 6.02 x 1023 18 1 6.02 x 1023 35.5 1 6.02 x 1023

มวล(กรัม) 63 18 55.8 4 18 35.5

* รวมทั้งมวลอะตอมและมวลไอออน ** อนุภาค คือ โมเลกุล อะตอม และไอออน จากตารางจะเห็นไดวาสารตาง ๆ ที่มีจํานวนเทากัน จะมีจํานวนอนุภาคเทากัน แตมวลไมเทากัน (ยกเวนกรณีที่มวลโมเลกุลเทากัน มวลจะเทากันดวย)

การหาจํานวนโมล พิจารณากรณี HNO3 63 กรัม

HNO3 = 1 โมล X เพราะฉะนั้น HNO3 X กรัม = โมล 63 หรือ เขียนเปนสูตรทั่วไปวา มวลของสาร (กรัม) จํานวนโมล = มวลโมเลกุลของสาร มวลของสาร (กรัม) จํานวนโมล = มวลอะตอมของสาร มวลของสาร (กรัม) จํานวนโมล = มวลไอออนของสาร

……….. สําหรับโมเลกุล ……….. สําหรับอะตอม ……….. สําหรับไอออน

3. ปริมาตรตอโมลของกาซ เนื่องจากปริมาตรของกาซขึ้นอยูกับอุณหภูมิและความดัน ดังนั้นการบอกปริมาตรของกาซจึงตอง ระบุอุณหภูมิและความดันดวยทุกครั้ง อุณหภูมิและความดันมาตรฐานของกาซ นักวิทยาศาสตรกําหนดใหอุณหภูมิ 0 0C หรือ 273 K และความดัน 1 บรรยากาศ (atm) เปน ภาวะมาตรฐาน เรียกวา อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน (Standard Temperature and Pressure) เขียนยอ ๆ วา STP


ความสัมพันธระหวางจํานวนโมลกับปริมาตร จากกฎของอาโวกาโดรที่วาภายใตอุณหภูมิและความดันเดียวกัน กาซที่มีปริมาตรเทากันยอมจะมี จํานวนโมเลกุลเทากัน แสดงวาปริมาตรของกาซมีความสัมพันธกับจํานวนโมเลกุล และเนื่องจากจํานวน โมเลกุลมีความสัมพันธกับจํานวนโมล กลาวคือ สารใด ๆ 1 โมล ยอมประกอบดวย 6.02 x 1023 โมเลกุล ดังนั้น ปริมาตรของกาซจึงควรจะมีความสัมพันธกับจํานวนโมลดวย ความสัมพันธระหวางปริมาตรกับ จํานวนโมลของกาซที่ STP แสดงดังขอมูลในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 การทดลองหาปริมาตรตอโมลของกาซบางชนิดที่ STP กาซ มวลของกาซ 1 มวลของกาซ 1 โมล ปริมาตรตอโมลของกาซ dm3(กรัม) (กรัม) (dm3 ) ออกซิเจน 1.43 32.0 22.4 ไนโตรเจน 1.25 28.0 22.4 คารบอนมอนอกไซด 1.24 28.0 22.5 คารบอนไดออกไซด 1.97 44.0 22.3 เฉลี่ย

22.4

จากผลการทดลองจะเห็นไดวากาซตาง ๆ 1 โมล จะมีปริมาตรตอโมล (คาเฉลี่ย) เทากัน ประมาณ 22.4 dm3 หรือ 22.4 ลิตร ที่ STP จึงไดนํามาสรุปแสดงความสัมพันธระหวางจํานวนโมลและปริมาตรของ กาซไวดังนี้ “ ปริมาตรตอโมลของกาซใด ๆ เทากับ 22.4 ลิตร ที่ STP หรือกาซใด ๆ 1 โมล จะมีปริมาตร เทากับ 22.4 dm3 ที่ STP ” ดังนั้นกาซใด ๆ ก็ตามไมวาโมเลกุลจะมีขนาดใหญหรือขนาดเล็ก ไมวาจะมีมวลโมเลกุลเทากัน หรือไม ปริมาณของกาซ 1 โมล จะตองมีปริมาตร 22.4 dm3 ที่ STP เสมอ เชน กาซ O2 1 โมล มีปริมาตร = 22.4 dm3 ที่ STP กาซ CO2 1 โมล มีปริมาตร = 22.4 dm3 ที่ STP ไอน้ํา 1 โมล มีปริมาตร = 22.4 dm3 ที่ STP

การหาจํานวนโมลของกาซ

กาซ 22.4 ลิตรที่ STP = 1

ถากาซ V ลิตร ที่ STP =

โมล

V โมล หรือเขียนเปนสมการไดดังนี้ 22.4

จํานวนโมลของกาซ =

ปริมาตรของกาซ (dm 3 ) ที่ STP 22.4


4. ความสัมพันธระหวางจํานวนโมล อนุภาค มวล และปริมาตร

สาร 1 โมล มีจํานวนอนุภาคเทากับ 6.02 x 1023 อนุภาค มีมวลเทากับมวลโมเลกุลหรือมวล อะตอม และถาเปนกาซจะมีปริมาตรเทากับ 22.4 dm3 ที่ STP ดังในตารางที่แสดงตอไปนี้ ตารางที่ 4 แสดงความสัมพันธระหวางโมล มวล ปริมาตร และจํานวนอนุภาค สาร สถานะ จํานวนโมล จํานวนอนุภาค มวล(กรัม) ปริมาตรที่ STP (dm3) O2 กาซ 1 6.02 x 1023 โมเลกุล 32.0 22.4 CO กาซ 1 6.02 x 1023 โมเลกุล 28.0 22.4 C2H2 กาซ 1 6.02 x 1023 โมเลกุล 28.0 22.4 CH3OH ของเหลว 1 6.02 x 1023 โมเลกุล 32.0 23 H2O ของเหลว 1 6.02 x 10 โมเลกุล 18.0 C6H12O6 ของแข็ง 1 6.02 x 1023 โมเลกุล 180.0 Na ของแข็ง 1 6.02 x 1023 อะตอม 23.0 C10H8 ของแข็ง 1 6.02 x 1023 โมเลกุล 128.0 จากตารางสรุปไดวาสารตางชนิดกันเมื่อจํานวนโมลเทากัน จะมีจํานวนอนุภาคและปริมาตร (สําหรับกาซ) เทากัน แตมวลไมเทากัน (ยกเวนกรณีที่สารเหลานั้นมีมวลโมเลกุลเทากัน) ความสัมพันธระหวางโมล มวล ปริมาตร และโมเลกุล อาจจะแสดงไดดวยแผนภาพดังตอไปนี้

รูป เปรียบเทียบความสัมพันธระหวางโมล มวล ปริมาตร ที่ STP และจํานวนโมเลกุลของกาซบางชนิด


การคํานวณเกี่ยวกับโมล การคํานวณเกี่ยวกับโมล มวล ปริมาตร และอนุภาค นอกจากจะอาศัยความสัมพันธดังที่กลาว มาแลว ยังอาจจะนํามาสรุปเปนสูตรที่เกี่ยวกับโมลไดดังนี้ มวลของสาร (กรัม) ปริมาณของกาซที่ STP จํานวนโมเลกุล จํานวนโมล = = = มวลโมเลกุล 22.4 6.02 x 10 23 W V N หรือ n = = = M 22.4 6.02 x 10 23 เมื่อ n = จํานวนโมล W = มวลของสาร (กรัม) M = มวลโมเลกุล (หรือมวลอะตอม มวลไอออน ขึ้นกับชนิดของอนุภาค) V = ปริมาตรของกาซที่ STP (dm3) N = จํานวนโมเลกุล (หรืออะตอม หรือไอออน ขึ้นกับชนิดของอนุภาค)

หมายเหตุ สําหรับจํานวนโมลของกาซที่สภาวะอื่น ๆ คํานวณไดจาก n

=

V ที่สภาวะเดียวกัน และหนวยเดียวกัน ปริมาตรตอโมล

5. ลักษณะทั่ว ๆ ไป ของโจทยเกี่ยวกับโมล

จะเกี่ยวของกับมวล ปริมาตรของกาซ และจํานวนอนุภาค ซึ่งอาจจะสรุปลักษณะของโจทยที่พบ เสมอ ๆ ไดดังนี้ 1. โจทยที่ถามเกี่ยวกับความสัมพันธของโมล – มวล – ปริมาตร - อนุภาค ของสารชนิดหนึ่ง ๆ โดย กําหนดตัวแปรใหอยางหนึ่ง แลวถามสวนที่เหลือ เชน กําหนดมวล (W) ถามโมล (n) ปริมาตร (V) และโมเลกุล (N) กําหนดปริมาตร (V) ถามโมล (n) มวล (W) และโมเลกุล (N) กําหนดโมล (n) ถามมวล (W) ปริมาตร (V) และโมเลกุล (N) เปนตน ตัวอยางเชน  กลูโคส 10 กรัม มีกี่โมเลกุล มีกี่โมล  กาซ CO2 10 ลิตร ที่ STP มีกี่โมล กี่โมเลกุล และกี่กรัม เปนตน การคํานวณโจทยในลักษณะนี้ ใหเลือกใชสูตรตามความเหมาะสม จาก W V N n = = = M 22.4 6.02 x 10 23


2. โจทยที่ถามเกี่ยวกับโมลอะตอม มวล และจํานวนอะตอม จากสารประกอบที่กําหนดให เชน กําหนดมวล (W) ของสารให แลวถามเกี่ยวกับโมล มวล และจํานวนอะตอมของธาตุที่เปน องคประกอบ หรือ กําหนดปริมาตรของกาซ (V) ให แลวถามเกี่ยวกับโมล มวล และจํานวนอะตอมของ ธาตุที่เปนองคประกอบ ลักษณะของโจทยจะคลายกับโจทยแบบที่ 1 แตถามเกี่ยวกับอะตอมของธาตุตาง ๆ ในสารประกอบนั้น ตัวอยางเชน - กลูโคส (C6H12O6) 10 กรัม  มีธาตุคารบอนกี่โมล กี่กรัม กี่อะตอม  มีธาตุไฮโดรเจนกี่โมล กี่กรัม กี่อะตอม  มีธาตุออกซิเจนกี่โมล กี่กรัม กี่อะตอม - คารบอนไดออกไซด (CO2) 10 ลิตร ที่ STP  มีธาตุคารบอนกี่โมล กี่กรัม กี่อะตอม  มีธาตุออกซิเจนกี่โมล กี่กรัม กี่อะตอม การคํานวณใชหลักการอยางเดียวกันกับแบบที่ 1 โดยการนําจํานวนโมลของสารที่โจทย กําหนดให และของธาตุที่โจทยถามมาเทียบอัตราสวนกัน หลังจากนั้นแทนคาตามความเหมาะสม แลวจะคํานวณสิ่งที่ ตองการได เชน กลูโคส 10 กรัม มีธาตุคารบอนกี่อะตอม คํานวณโดยการนําจํานวนโมลของกลุโคสและคารบอนมาเปรียบเทียบกัน C6H12O6  6 C โมลของ C 6 H 12 O 6 1 = โมลของ C 6 1 (เพราะวา C6H12O6 1 โมเลกุล มี C 6 อะตอม อัตราสวนจึงเปน ) 6 เมื่อแทนคาโมล ในแงของมวลและอะตอม จะหาสิ่งที่ตองการได 3. โจทยที่ถามเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจํานวนอะตอม หรือจํานวนโมเลกุลวาสารใดมีจํานวน มากกวากัน โจทยในลักษณะนี้จะกําหนดปริมาณของสารใหในแบบตางๆ อาจจะกําหนดเปนน้ําหนัก ปริมาตร โมล หรือโมเลกุล แลวถามวาสารใดมีจํานวนอะตอมหรือจํานวนโมเลกุลมากกวากัน เชน มีสาร H2SO4 W กรัม , CO2 V ลิตร และ H2O n โมล สารใดมีจํานวนอะตอม มากที่สุด หรือโมเลกุลมากที่สุด หรือ ปริมาตรมากที่สุด เปนตน การคํานวณจํานวนอะตอมหรือโมเลกุลที่มีมากที่สุด ใชหลักการดังนี้ ถาสารใดมีโมลอะตอมมากที่สุด จะมีอะตอมมากที่สุด ถาสารใดมีโมลโมเลกุลมากที่สุด จะมีโมเลกุลมากที่สุด


เพราะฉะนั้น ถาตองการจํานวนอะตอม ใหคิดเปรียบเทียบจากโมลอะตอม และถาตองการจํานวนโมเลกุล ใหคิดเปรียบเทียบจากโมลโมเลกุล

ตัวอยางการคํานวณเกี่ยวกับโมล

ตัวอยางที่ 1 กาซฮีเลียม 44.8 ลิตรที่ STP จะมีมวลกี่กรัม วิธีทํา เปนโจทยเกี่ยวกับปริมาตร และมวล จึงเลือกใชสูตร

W V = M 22.4 W = มวลฮีเลียม = ? กรัม M = มวลอะตอม = 4 V = ปริมาตรฮีเลียม = 44.8 ลิตร W 44.8 แทนคา จะได = 4 22.4 W = 8.0 กรัม ดังนั้น มีฮีเลียมเทากับ 8.0 กรัม หมายเหตุ ถาตองการคํานวณโดยการเทียบบัญญัติไตรยางค ทําไดดังนี้ มวลอะตอมของฮีเลียม = 4 ฮีเลียม 1 โมล หนัก 4 กรัม มีปริมาตร 22.4 ลิตรที่ STP ฮีเลียม 22.4 ลิตร ที่ STP หนัก = 4 กรัม 44.8 เพราะฉะนั้นฮีเลียม 44.8 ลิตร ที่ STP หนัก = 4 x = 8.0 กรัม 22.4 ตัวอยางที่ 2 กาซไฮโดรเจนคลอไรด (HCl) 3.65 กรัม มีกี่โมล และกี่โมเลกุล วิธีทํา มวลโมเลกุลของ HCl = 36.5 กาซ HCl 1โมล มีมวล 36.5 กรัม และมี 6.02 x 1023 โมเลกุล กาซ HCl 36.5 กรัม = 1 โมล เพราะฉะนั้นกาซ HCl 3.65 กรัม = 3.65 = 0.1 โมล 36.5

ตอบ

ตอบ

HCl 36.5 กรัม มี = 6.02 x 1023 โมเลกุล กาซ เพราะฉะนั้นกาซ HCl 3.65 กรัม มี = 6.02 x 1023 x 3.65 36.5 โมเลกุล

= 6.02 x 1022 โมเลกุล ตัวอยางที่ 3 ถังใบหนึ่งจุ 50 ลิตร ใชบรรจุกาซที่ STP


1. ถาบรรจุกาซฮีเลียมจนเต็มถัง จะไดกี่โมล ? 2. ถาบรรจุกาซออกซิเจนจนเต็มถัง จะไดออกซิเจนหนักเทาใด ? 3. ถาบรรจุกาซคารบอนไดออกไซดจนเต็มถัง จะไดคารบอนไดออกไซดกี่โมเลกุล ?

V 22.4 50 เพราะฉะนั้น n = = 2.23 โมล 22.4 บรรจุกาซฮีเลียมได 2.23 โมล V W ข. ใชความสัมพันธ = 22.4 M แทนคา จะได 50 W = 22.4 32 W = 71.43 กรัม บรรจุกาซออกซิเจนได 71.43 กรัม V N ค. ใชความสัมพันธ = 22.4 6.02 x 10 23 50 N แทนคาจะไดวา = 22.4 6.02 x 10 23 N = 1.34 x 1024 โมเลกุล บรรจุกาซคารบอนไดออกไซดได 1.34 x 1024 โมเลกุล ตัวอยางที่ 3 เมื่อนําคลอโรฟอรมจํานวนหนึ่งมาทําใหเปนไอทั้งหมด วัดปริมาตรที่ คํานวณ ก. จํานวนโมลของธาตุแตละตัว ข. จํานวนอะตอมของธาตุแตละตัว ค. มวลของธาตุแตละตัว วิธีทํา คลอโรฟอรมคือ CHCl3 คํานวณจํานวนโมล (n) ไดดังนี้ V 1.344 n{CHCL3} = = 22.4 22.4 = 0.06 โมล CHCL3  C + H + 3Cl 1 โมล 1 โมล 1 โมล 3 โมล วิธีทํา ก. ใชความสัมพันธ

n =

ตอบ

ตอบ

ตอบ STP ได 1.344 dm3 จง


เพราะฉะนั้น

0.06 โมล

0.06 โมล 0.06 โมล 3 x 0.06 โมล= 0.18 โมล

ก. มีธาตุ C และ H อยางละ 0.06 โมล มีธาตุ Cl 0.18 โมล ข. จากความสัมพันธ n =

ตอบ

N

6.02 x 10 23 N = n x 6.02 x 1023 อะตอม จํานวนอะตอมของ C = 0.06 x 6.02 x 1023 = 3.61 x 1022 อะตอม จํานวนอะตอมของ H = 0.06 x 6.02 x 1023 = 3.61 x 1022 อะตอม จํานวนอะตอมของ Cl = 0.18 x 6.02 x 1023 = 1.08 x 1023 อะตอม W ค. จากความสัมพันธ n = จะได W = nM M มวลของธาตุ C = 0.06 x 12 = 0.72 กรัม มวลของธาตุ H = 0.06 x 1 = 0.06 กรัม มวลของธาตุ Cl = 0.18 x 35.5 = 6.39 กรัม ตัวอยางที่ 4 ขอใดมีจํานวนอะตอมของสารสูงสุด ก. กาซออกซิเจน 0.5 ลิตรที่ STP ค. กาซไฮโดรเจน 0.25 โมล ข. กาซซัลเฟอรไดออกไซด 0.2 ลิตร ที่ STP ง. กาซไนโตรเจน 14 กรัม วิธีทํา พิจารณาจากหลักการที่วา “จํานวนอะตอม  จํานวนโมลอะตอม” สารใดที่มีจํานวนโมลอะตอมมากที่สุด จะมีจํานวนอะตอมมากที่สุด เนื่องจากโจทยกําหนดเปนโมเลกุล ดังนั้นขั้นแรกจึงตองคํานวณเปนโมเลกุลกอนแลวจึงเปลี่ยนเปน โมลอะตอมเพื่อเปรียบเทียบกันภายหลัง W V การหาจํานวนโมลใชสูตร n = = M 22.4 V 0.5 ก. O2 0.5 ลิตร ที่ STP = = โมลโมเลกุล 22.4 22.4 0.5 = 2x = 0.05 โมลอะตอม 22.4 V 0.2 ข. SO2 0.2 ลิตร ที่ STP = = โมลโมเลกุล 22.4 22.4 0.2 = 3x = 0.027 โมลอะตอม 22.4 = 2 x 0.25 = 0.50 โมลอะตอม ค. H2 0.25 โมล


ง. N2 14 กรัม

n = =

W = 14 โมลโมเลกุล 18 M 14 x 2 = 1 โมลอะตอม 18

กาซ N2 มีมวลอะตอมมากที่สุด จึงมีจํานวนอะตอมมากที่สุด ตอบ ตัวอยางที่ 5 ธาตุ X ซึ่งเปนของแข็ง มีความหนาแนน 1.8 g/cm3 ธาตุ X 10 cm3 มี X 1.2 x 1024 อะตอม มวลอะตอมของ X เปนเทาใด ? W N วิธีทํา จาก = M 6.02 x 10 23 กําหนด W ทางออม ตองคํานวณจากความหนาแนน W = ปริมาตร x ความหนาแนน = 10 x 1.8 กรัม N = 1.2 x 1024 อะตอม

10 x 1.8 = เพราะฉะนั้น M M = มวลอะตอมของ X

1.2 x 10 24 6.02 x 10 23 9.03 = 9.03

ตอบ

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


ใบความรู เรื่อง สารละลาย (ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 7-13) ****************************************************************** สารละลาย หมายถึง ของผสมเนื้อเดียวที่ประกอบดวยตัวทําละลายและตัวถูกละลาย การพิจารณา ตัวทําละลายและตัวถูกละลาย พิจารณาดังนี้ 1. ถาเปนสารละลายที่เกิดจากสารที่ซึ่งมีสถานะเดียวกับสารผสม สารที่มีปริมาณมากกวาจะเปนตัว ทําละลาย 2. ถาเปนสารละลายที่เกิดจากสารตางสถานะกัน สารที่มีสถานะเดียวกับสารละลายจะเปนตัวทํา ละลาย สารที่มีสถานะตางจากสารละลายจะเปนตัวถูกละลาย เชน สารละลายที่เกิดขากของแข็งละลายใน ของเหลว ของเหลวจะเปนตัวทําละลาย ของแข็งจะเปนตัวถูกละลาย สารละลายของกาซในของเหลว ของเหลวเปนตัวทําละลาย กาซจะเปนตัวถูกละลาย

ประเภทของสารละลาย

สารละลายอาจจะแบงไดเปนหลายประเภทเมื่อใชสถานะเปนเกณฑ เชน สารละลายของแข็ง สารละลายของเหลว และสารละลายกาซ ดังตัวอยางตอไปนี้ ตาราง ตัวอยางของสารละลายประเภทตางๆ ประเภทสารละลาย ตัวทําละลาย ตัวถูกละลาย ตัวอยาง สารละลายกาซ กาซ กาซ อากาศ กาซผสมตางๆ กาซ ของเหลว ไอน้ําในอากาศ (gas solution) กาซ ของแข็ง ไอของพิมเสนในอากาศ สารละลายของเหลว ของเหลว กาซ O2 ในน้ํา, น้ําโซดา ของเหลว ของเหลว น้ํากรด อัลกอฮอลในน้ํา (liquid solution) ของเหลว ของแข็ง น้ําเกลือ น้ําเชื่อม สารละลายของแข็ง ของแข็ง กาซ H2 ใน Pd ของแข็ง ของเหลว Hg ใน Ag (solid solution) ของแข็ง ของแข็ง ทองเหลือง, นิโครม สารละลายชนิดหนึ่งๆ อาจจะมีตัวถูกละลายมากกวา 1 ชนิดได แตจะมีตัวถูกละลายเพียงชนิดเดียว เชน สารละลายของฟวสไฟฟา ซึ่งเปนสารละลายของแข็งประกอบดวยบิสมัท ตะกั่ว และดีบุก โดยมี บิสมัท 50% โดยมวล เปนตัวทําละลาย


มีตะกั่วและดีบุกอยางละ 25% โดยมวล เปนตัวถูกละลาย

ความเขมขนของสารละลาย หนวยความเขมขน เปนหนวยที่ใชบอกปริมาณของตัวถูกละลายและตัวทําละลายในสารละลาย โดย ทั่วๆ ไปหนวยความเขมขนของสารละลายมักจะบอกเปนปริมาณของตัวถูกละลายในสารละลาย หนวยตางๆ ที่นิยมใชกันในระดับนี้ไดแก โมล/ลิตร โมล/กิโลกรัม รอยละ และสวนในลานสวน เปนตน 1. โมล/ลูกบาศกเดซิเมตร (mol/dm3) หรือโมลาริตี เปนหนวยความเขมขนในระบบเอสไอ สามารถ ใช โมล/ลิตร (mol/l) แทนได หนวยโมล/ลิตร เดิมเรียกวา โมลาร (molar) ใชสัญลักษณเปน “M” เปนหนวยความเขมขนที่แสดง “จํานวนโมลของตัวถูกละลายในสารละลาย 1 ลูกบาศกเดซิเมตร (1 ลิตร)” เชน - สารละลายกรด HNO3 0.5 โมล/ลิตร หมายความวาในสารละลาย 1 ลิตร มีเนื้อกรด HNO3 ละลายอยู 0.5 โมล - สารละลาย NH3 0.1 โมล/ลิตร หมายความวา ในสารละลาย 1 ลิตร มี NH3 ละลายอยู 0.1 โมล 2. หนวยรอยละ เปนหนวยของความเขมขนที่แบงยอยออกเปน 3 ประเภท ก. รอยละโดยมวลตอมวล (%W/W) หรือเรียกยอๆ วา รอยละโดยมวล (% byW) เปนหนวย ความเขมขนที่ใช “บอกมวลของตัวถูกละลายในสารละลาย 100 หนวยมวลเดียวกัน” เชน - สารละลายกรด HNO3 20% โดยมวล หมายความวา ในสารละลายกรด 100 กรัม มีเนื้อกรด HNO3 20 กรัม หรือในสารละลายกรด 100 กิโลกรัม มีเนื้อกรด มีเนื้อกรด HNO3 20 กิโลกรัม - สารละลาย NH3 30% โดยมวล หมายความวา สารละลาย 100กรัมมี NH3 ละลายอยู 30 กรัม เปนตน (มวลของตัวถูกละลายและมวลของสารละลาย จะตองเปนหนวยเดียวกัน) ข. รอยละโดยปริมาตรตอปริมาตร (%V/V) หรือเรียกยอๆ วา รอยละโดยปริมาตร (% by V) เปนหนวยที่ใชบอก “ปริมาตรของตัวถูกละลายในสารละลาย 100 หนวยปริมาตรเดียวกัน” เชน - สารละลายกรด HNO3 50% โดยปริมาตร หมายความวา ในสารละลาย 100 cm3 มีเนื้อกรด HNO3 50 cm3 หรือในสารละลายกรด 100 ลิตร มีเนื้อกรด NHO3 50 ลิตร - สารละลาย NH3 20% โดยปริมาตร หมายความวา ในสารละลาย 100 cm3 มี NH3 ละลายอยู 20 cm3 ค. รอยละโดยมวลตอปริมาตร(% W/V) เปนหนวยที่ใชบอก “มวลของตัวถูกละลายใน สารละลาย 100 หนวยปริมาตร” หนวยของมวลและปริมาตรจะตองสอดคลองกัน คือ ถามวลเปนกรัม ปริมาตรจะเปนลูกบาศกเซนติเมตร (cm3) หรือถามวลเปนกิโลกรัม ปริมาตรจะเปนลิตร เชน - สารละลายกรด HNO3 25% W/V หมายความวา ในสารละลาย 100 cm3 มีเนื้อกรด HNO3 ละลายอยู 25 กรัม หรือในสารละลายกรด 100 ลิตร มีเนื้อกรด NHO3 ละลายอยู 25 กิโลกรัม


- สารละลาย NH3 30% โดยมวล/ปริมาตร หมายความวา สารละลาย 100 cm3 มี NH3 ละลายอยู 30 กรัม การคํานวณหนวยรอยละของสารละลาย สามารถนํามาสรุปเปนสูตร สําหรับการคํานวณไดดังนี้ % โดยมวล

=

มวลของตัวถูกละลาย x 100 มวลของสารละลาย

% โดยปริมาตร =

ปริมาตรของตัวถูกละลาย x 100 ปริมาตรของสารละลาย

% โดยมวล/ปริมาตร =

มวลของตัวถูกละลาย x 100 ปริมาตรของสารละลาย

หมายเหตุ บางครั้งโจทยอาจจะไมกําหนดหนวยรอยละ วาเปนประเภทใด โดยทั่วๆ ไปใหเขาใจดังนี้  สารละลายของแข็งในของเหลว จะเปน % โดยมวล/ปริมาตร  สารละลายของของเหลวในของเหลว หรือ กาซจะเปน % โดยปริมาตร 3. โมล/กิโลกรัม (mol/kg) หรือ โมแลลิตี (molality) เปนหนวยความเขมขนที่ใชบอก “จํานวนโมลของตัวถูกละลายที่มีอยูในตัวทําละลาย 1 กิโลกรัม หรือ 100 กรัม” จึงมีหนวยเปนโมลตอกิโลกรัม หรือเรียกวา โมแลล ใชสัญลักษณเปน “m” เชน - สารละลายกรด HNO3 0.5 โมล/กิโลกรัม หมายความวาในน้ํา 1 กิโลกรัม มีกรด HNO3 ละลายอยู 0.5 โมล - สารละลาย NH3 0.2 โมล/กิโลกรัม หมายความวาในน้ํา 1 กิโลกรัม มี NH3 ละลายอยู 0.2 โมล 4. เศษสวนโมล (mole fraction) เปนหนวยความเขมขนของสารละลายอีกชนิดหนึ่งมักจะใช สัญลักษณเปน ” x ” เศษสวนโมล หมายถึง อัตราสวนระหวางจํานวนโมลของสารตอจํานวนโมลของสารทั้งหมด เศษสวนโมลของตัวทําละลาย จึงหมายถึงอัตราสวนระหวางจํานวนโมลของตัวทําละลายตอจํานวน โมลของสารละลาย เศษสวนโมลของตัวถูกละลาย จึงหมายถึง อัตราสวนระหวางจํานวนโมลของตัวถูกละลายตอจํานวน โมลของสารละลาย อาจจะเขียนเปนสูตรแสดงความสัมพันธของเศษสวนโมลไดดังนี้ โมลของสาร A โมลของสาร A เศษสวนโมล A = โมลของ (ตัวถูกละล าย  ตัวทําละลาย ) = จํานวนโมลรวม


เชน สารละลายชนิดหนึ่งประกอบดวยสาร A n1 โมล และสาร B n2 โมล จํานวนโมลรวม = n1 + n2 n1 เศษสวนโมลของ A (x1) = n1  n2 n2 เศษสวนโมลของ B (x2) = n1  n2 เศษสวนโมลของสารแตละชนิดจะตองมีคานอยกวา 1 เสมอ ไมวาจะเปนสารละลายที่เกิดจากสารกี่ ชนิดรวมกันก็ตาม ผลบวกของเศษสวนโมลของสารทั้งหมดรวมกันจะตองเปน 1 เสมอ  x i = x1 + x2 + x3 + ……. = 1 เชน สารละลายกรด HNO3 มีเศษสวนโมลของกรด HNO3 เทากับ 0.2 หมายความวา ใน สารละลาย 1 โมล จะมีกรด HNO3 0.2 โมล และมีน้ํา 0.8 โมล เศษสวนโมล สามารถเปลี่ยนเปนรอยละโดยมวล (% mol) ไดโดยอาศัยความสัมพันธดังนี้ รอยละโดยมวล = เศษสวนโมล x 100 5. สวนในลานสวน (part per million) ใชสัญลักษณ “ppm” เปนหนวยที่ใชในกรณีที่สารมี จํานวนนอยๆ ซึ่งใชอยูในรูป * หนวยสวนในลานสวนโดยมวลตอมวล ซึ่งหมายถึง มวลของตัวถูกละลายทีมีอยู ในสารละลาย 1 ลานหนวยมวลเดียวกัน เชน mg/kg หรือ  g/kg หนวยสวนในลานสวนโดยมวลตอปริมาตร ซึ่งหมายถึง มวลของตัวถูกละลายที่มี * อยูใน 1 ลานหนวยปริมาตร เชน มิลลิกรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร * เชน น้ําในแมน้ําเจาพระยามีปรอท 1 ppm อาจหมายความวา ในน้ํา 1 ลาน มิลลิกรัม (1 กิโลกรัม) มีปรอทละลายอยู 1 มิลลิกรัม หรือ หมายความวา ในน้ํา 1 ลานมิลลิลิตร (1 ลิตร) มี ปรอทละลายอยู 1 มิลลิกรัม นอกจากจะบอกความเขมขนของสารละลายในหนวยตางๆ ดังที่กลาวมาแลว ในบางครั้งยังมีการ บอกหนวยความเขมขนในเชิงเปรียบเทียบ เชน  ถาสารละลายมีตัวถูกละลายอยูนอย เรียกวา สารละลายเจือจาง  ถาสารละลายมีตัวถูกละลายอยูมาก เรียกวา สารละลายเขมขน  ถาสารละลายมีตัวถูกละลายอยูมากจนอิ่มตัว เรียกวา สารละลายอิ่มตัว เปนตน ตัวอยางที่ 1 เมื่อนํากลูโคส 0.54 กรัม ละลายในน้ํา 100 cm3 (ความหนาแนนของน้ําเปน 1 กรัม/cm3 จง คํานวณความเขมขนของสารละลายกลูโคสในหนวยตอไปนี้ ก. เปน mol/dm3


ข. เปนรอยละโดยมวล ค. เปน mol/dm3 ง. เปนเศษสวนโมล วิธีทํา กลูโคส C6H12O6 มวลโมเลกุล 180 C6H12O6 0.54 กรัม = H2O 100 cm3

w M

=

0.54 180

= 100 g

=

= 3.0 x 10-3 โมล 100 18

= 5.56 โมล

ก. หนวย mol/dm3 สมมติวากลูโคส 0.54 กรัม มีปริมาตรนอยมากเมื่อเทียบกับน้ํา 100 cm3 ไมตองนํามาคิด เพราะฉะนั้นปริมาตรของสารละลาย = 100 cm3 สารละลาย 100 cm3 มีกลูโคส 3.0 x 10-3 โมล เพราะฉะนั้นสารละลาย 1000 cm3 มีกลูโคส 3.0 x 10-3 x 1000 = 0.03 โมล 100

3

ความเขมขนเทากับ 0.03 mol/dm ข. หนวยรอยละโดยมวล มวลของสารละลาย = 100 + 0.54 = 100.54 กรัม มวลของกลูโ คส x 100 % โดยมวลของกลูโคส = มวลสารละลา ย 0.54 x 100 = 0.537 % = 100.54 ค. หนวย mol/kg น้ํา 100 กรัม มีกลูโคส = 3.0 x 10-3 โมล  น้ํา 1000 กรัม มีกลูโคส

ตอบ

ตอบ

= 3.0 x 10-3 x 1000 = 0.03 โมล 100

ตอบ

ความเขมขนเทากับ 0.03 mol/Kg ง. หนวยเศษสวนโมล เศษสวนโมลของกลูโคส (x1) = =

โมลของกลูโ คส โมลของสารล ะลาย

3.0 x 10 -3

5.56  3.0 x 10

จ. หนวย ppm โดยมวล สารละลาย 100 + 0.54 กรัม มีกลูโคส

-3

= 0.54 กรัม

= 5.39 x 10-4

ตอบ


0.54 x 10 6 = 5.37 x 103 กรัม  สารละลาย 10 กรัม มีกลูโคส = 100.54 3 ตอบ  มีความเขมขนเปน 5.37 x 10 ppm โดยมวล 6

การคํานวณจํานวนโมลของตัวถูกละลายในสารละลาย

สําหรับความเขมขน mol/dm3 เมื่อทราบปริมาตรของสารละลายจะคํานวณจํานวนโมลของ ตัวถูกละลายได เชน สารละลายกรด HNO3 0.5 mol/dm3 50 cm3 จะมี HNO3 ที่บริสุทธิ์กี่โมล จากนิยาม สารละลาย 0.5 mol/dm3 หมายความวา ในสารละลาย 1000 cm3 จะมี HNO3 ละลายอยู 0.5 mol สารละลาย 1000 cm3 มี HNO3 = 0.5 mol  สารละลาย

50 cm3 มี HNO3 =

จํานวนโมล (n)

=

50 x 0.5 1000 50 x 0.5 1000

mol

50 คือ ปริมาตร (V) เปน cm3 0.5 คือ ความเขมขน ( C) เปน mol/dm3 1000 คือ แฟกเตอรที่ทําใหปริมาตรเปน dm3 ( ในกรณีปริมาตรของสารละลายเปน dm3 ไมตองหารดวย 1000 ) จะเห็นไดวาจํานวนโมล (n) มีสวนสัมพันธกับปริมาตร (V) และความเขมขนของสารละลาย (C) จํานวนโมล หรือ n =

=

VC 1000

ปริมาตร x ความเขมขน 1000

******

จากสูตร สามารถคํานวณจํานวนโมลของตัวถูกละลายได หมายเหตุ ถา V มีหนวยเปน dm3 จะได n = VC ตัวอยางที่ 2 จงคํานวณจํานวนโมลและมวลของ HNO3 ในสารละลายกรด HNO3 เขมขน 0.2 mol/dm3 จํานวน 200 cm3 วิธีทํา จาก

n =

VC 1000

V = 200 cm3 , C = 0.2 mol/dm3 

n=

200 x 0.2 1000

= 0.04 mol

มี HNO3 = 0.04 mol HNO3 มีมวลโมเลกุล 63 หรือ 1 โมล หนัก 63 กรัม  HNO3 0.04 โมล = 0.04 x 63 = 2.53 กรัม 


สารละลายมีกรด HNO3 2.53 กรัม หรือ 0.04 โมล *************************************************************************************

สรุปความสัมพันธระหวางโมลกับสารละลาย จํานวนโมลของสารมีสวนเกี่ยวของกับมวล (w) ปริมาตรของกาซที่ STP (V) จํานวนอนุภาค (n) และความเขมขนของสารละลายดังนี้ n=

w M

=

V (g ) 22.4

=

N 6.02 x 10

23

=

VC 1000

V (g) หมายถึง ปริมาตรของกาซเปน dm3 ที่ STP V หมายถึง ปริมาตรของสารละลายเปน cm3 สูตรดังกลาวนี้จัดวาเปนสูตรที่แสดงความสัมพันธระหวางโมล มวล ปริมาตรของกาซ จํานวน อนุภาค และความเขมขนของสารละลาย ซึ่งเปนสูตรที่ใชกันมากในการคํานวณทางเคมี **********************************************************************************


ใบความรู เรื่อง การเตรียมสารละลาย (ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 14 และศึกษาเพิ่มเติม) ****************************************************************** การเตรียมสารละลายใหมีความเขมขนและปริมาตรตามที่ตองการ อาจจะเตรียมไดหลายวิธี เชน ก. เตรียมจากสารบริสุทธิ์ ซึ่งอาจจะทําไดโดยการชั่งสารบริสุทธิ์แลวนํามาละลายในตัวทําละลาย ข. เตรียมโดยทําใหเจือจาง โดยการนําสารละลายเขมขนมาเติมน้ํา ค. เตรียมโดยการนําสารละลายที่มีความเขมขนตางๆ กันมาผสมกัน เครื่องมือที่ใชในการเตรียมสารละลาย ไดแก เครื่องชั่งอยางละเอียด ขวดวัดปริมาตรขนาดตางๆ และปเปต

รูป เครื่องมือที่ใชสําหรับการเตรียมสารละลาย

1. การเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์ ในกรณีที่ ตองการเตรียมสารละลายจากของแข็ง หรือ ของเหลว โดยการนํามาละลายน้ํา สวนมากจะ ใชวิธีการชั่งสาร โดยการคํานวณลวงหนาวาถาตองการเตรียมสารละลายที่มีความเขมขนและปริมาตรตาม ตองการ จะตองชั่งสารหนักกี่กรัม การชั่งสารจะตองใชเครื่องชั่งอยางละเอียด นําสารที่ชั่งแลวเทใชขวดวัด ปริมาตรที่เตรียมไว แลวเติมน้ําลงไปจนถึงขีดบอกปริมาตร จะไดสารละลายที่มีความเขมขนตามตองการ การเตรียมสารละลายแบบนี้ เทคนิคสวนใหญจะอยูที่การชั่งน้ําหนักสารและการวัดปริมาตร สารละลาย ดังนั้น สารละลายที่เตรียมไดจะมีความเขมขนถูกตองมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับขั้นตอนดังกลาว


2. การเตรียมสารละลายโดยการทําใหเจือจาง ทําไดโดยนําสารละลายที่ทราบความเขมขนที่แนนอนแลวมาเติมน้ําใหเจือจางลงใหไดความเขมขน ใหม ปกติตองคํานวณปริมาตรของสารละลายเขมขนลวงหนาเชนเดียวกับกรณีชั่งน้ําหนัก หลังจาก คํานวณหาปริมาตรที่ตองการแลว จึงใชปเปตดูดสารละลายขึ้นมา นําไปถานลงในขวดวัดปริมาตรที่เตรียมไว แลวเติมน้ําจนถึงขีดบอกปริมาตร จะไดสารละลายที่มีความเขมขนใหมตามตองการ จะเห็นไดวาการเตรียมสารละลายโดยการทําใหเจือจางนั้น เทคนิคตางๆ จะอยูที่การใชปเปตดูด สารละลายเขมขนขึ้นมาและการวัดปริมาตรในขวดวัดปริมาตร ดังนั้นสารละลายที่ไดจะมีความเขมขน ถูกตองเพียงใดก็ขึ้นอยูกับขั้นตอนดังกลาว

3. การเตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายเขาดวยกัน

คลายๆ กับการเจือจาง จะตองคํานวณลวงหนากอนวาจะตองใชสารละลายซึ่งมีความเขมขนตางๆ อยางละเทาใดมาผสมกันจึงจะไดสารละลายที่มีความเขมขนตามตองการ การวัดปริมาตรยังคงใชขวดวัด ปริมาตร การดูดสารละลายก็ใชปเปตเชนเดียวกัน

การคํานวณเกี่ยวกับการเตรียมสารละลาย แบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ การเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์ เชน จากของแข็ง ของเหลว และ กาซ การเตรียมสารละลายจากการเจือจาง และการเตรียมสารละลายจากการผสมสารละลายหลายความ เขมขนเขาดวยกัน 1. การเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์ เปนการเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์ โดยการนําสารบริสุทธิ์ เชน ของแข็ง ของเหลว และกาซ ละลายในตัวทําละลาย - การเตรียมสารละลายจากของแข็ง สวนใหญจะใชวิธีการชั่งของแข็ง แลวนําไปละลายในตัวทํา ละลาย - การเตรียมสารละลายจากของเหลว อาจจะใชวิธีการชั่งน้ําหนัก หรือใชวัดปริมาตรของของเหลว ซึ่งจะตองคํานวณออกมาเปนน้ําหนัก โดยใชความหนาแนนเขาชวย - การเตรียมสารละลายจากกาซ สวนใหญจะใชวิธีการวัดปริมาตร เมื่อละลายในน้ํา หรือในตัวทํา ละลาย จะไดสารละลายตามตองการ - การคํานวณเกี่ยวกับการเตรียมสารละลายอาศัยหลักการที่วา “เมื่อนําสารบริสุทธิ์ (ของแข็ง ของเหลว หรือกาซ) มาละลายในน้ํา มวลของสารในขณะที่เปนสารบริสุทธิ์ ยอมเทากับมวลของสารในขณะที่ อยูในสารละลาย”


ในแงของโมล สารละลาย”

“จํานวนโมลของสารที่เปนสารบริสุทธิ์

n=

w M

V (g ) 22.4

=

=

N 6.02 x 10

23

=

ยอมเทากับจํานวนโมลของสารที่เปน

VC 1000

โมลสารบริสุทธิ์ = โมลของสารละลาย w M

=

VC 1000

w = มวลของสารบริสุทธิ์ (ตัวถูกละลาย) เปนกรัม V = ปริมาตรของสารละลายเปน cm3 M = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย C = ความเขมขนของสารละลายเปน mol/dm3 สูตรนี้สามารถใชคํานวณเกี่ยวกับการเตรียมสารละลายไดโดยตรง จากสูตรพบวามีตัวแปร 3 ตัว คือ w, V และ C ซึ่งการคํานวณโดยทั่วๆ ไปโจทยจะกําหนดตัว แปรให 2 ตัว แลวถามตัวที่ 3 เชน กําหนด w, V และถาม C หรือกําหนด w, V ถาม C เปนตน การกําหนดมวล (w) ของสารบางครั้งอาจจะกําหนดใหทางออม เชน กําหนดผานปฏิกิริยาเคมี กําหนดผานความหนาแนนและปริมาตร (ในกรณีของเหลว) w = ปริมาตร x ความหนาแนน ในกรณีที่เปนกาซ อาจจะกําหนดปริมาตรที่ STP ให ซึ่งจะคํานวณไดจาก V (g ) 22.4

=

VC 1000

ตัวอยาง ถาตองการสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด (KI) เขมขน 0.2 โมล/ลิตร จํานวน 200 cm3 จะตองใช KI กี่กรัม วิธีทํา จากสูตร โมลสารบริสุทธิ์ = โมลของสารละลาย w M

=

VC 1000

w = มวลของ KI กรัม M = มวลโมเลกุลของ KI = 166 V = ปริมาตรของสารละลาย= 200 cm3 C = ความเขมขนของสารละลายเปน 0.2 mol/dm3 

w 166

=

200 x 0.2 1000

w = 6.64 กรัม ตอบ ดังนั้น จะตองใช KI 6.64 กรัม ตัวอยาง ถามีกลูโคส (C6H12O6) 3.06 กรัม ตองการเตรียมสารละลายเขมขน 0.1 โมล/ลิตร จะเตรียม สารละลายไดกี่ cm3


วิธีทํา จากสูตร

โมลสารบริสุทธิ์ = โมลของสารละลาย w M

=

VC 1000

w = มวลของ C6H12O6 3.06 กรัม M = มวลโมเลกุลของ C6H12O6 = 180 V = ปริมาตรของสารละลาย= ? cm3 C = ความเขมขนของสารละลายเปน 0.1 mol/dm3 

3.60 180

=

V x 0.1 1000

V = 200 cm3 ดังนั้น จะเตรียมสารละลายได 200 cm3 ตอบ ตัวอยาง ถานําแอมโมเนียมซัลเฟต 264 กรัม มาละลายในน้ํา 1 ลิตร จะไดสารละลายที่มีความเขมขนเปนกี่ โมล/ลิตร (กําหนดความหนาแนนของแอมโมเนียมซัลเฟต = 1.77 g/cm3) วิธีทํา จากสูตร โมลสารบริสุทธิ์ = โมลของสารละลาย w M

=

VC 1000

w = มวลของ (NH4)2SO4 = 264 กรัม M = มวลโมเลกุล = 132 V = ปริมาตรของสารละลาย = ปริมาตรของน้ํา + ปริมาตรของแอมโมเนียมซัลเฟต = 1000 +

มวล (w) = 1000 + 264 = 1149.2 cm3 ความหนาแนน 1.77

C = ความเขมขนของสารละลายเปน 0.1 mol/dm3 

264 132

=

1149.2 x C 1000

C = 1.74 mol/dm3 ดังนั้น จะไดสารละลายเขมขน 1.74 mol/dm3 ตอบ ขอควรระวัง การเตรียมสารละลายโดยทั่วๆ ไปมักจะใชสารจํานวนเล็กนอย ละลายในตัวทําละลายจํานวน มาก ซึ่งถือวาปริมาตรของสารมีคานอย เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาตรของตัวทําละลาย ดังนั้น จึงถือวาปริมาตร ของสารละลายก็คือปริมาตรของตัวทําละลายนั่นเอง แตสําหรับตัวอยางนี้ ปริมาตรของ แอมโมเนียมซัลเฟตที่ใชมีคามาก จะตัดทิ้งแลวคิดเฉพาะปริมาตร ของน้ําไมได เพราะคาที่ไดจะแตกตางกันจากที่แทจริง ถาใช V = ปริมาตรของน้ํา = 1000 cm3 264 132

=

1000 x C 1000


C = 2 โมล/ลิตร จะไดความเขมขนเปน 2 โมล/ลิตร เพิ่มจากเดิมถึง 0.26 โมล/ลิตร หรือเพิ่มขึ้นถึง 14.94 % ตอบ ตัวอยาง เมื่อนําเอธานอล 50 cm3 (ความหนาแนน 0.8 g/cm3) ละลายในน้ํา 200 cm3 จะไดสารละลายที่มี ความเขมขนกี่โมล/ลิตร วิธีทํา จากสูตร โมลสารบริสุทธิ์ = โมลของสารละลาย w M

=

VC 1000

w = มวลของเอธานอล C2H5OH = ปริมาตร x ความหนาแนน = 50 x 0.8 = 40 กรัม M = มวลโมเลกุลของ C2H5OH = 46 V = ปริมาตรของสารละลาย= 50 + 200 cm3 C = ความเขมขนของสารละลายเปน ? mol/dm3 

40 46

=

250 x C 1000

C = 3.48 mol/dm3 ดังนั้น จะไดสารละลายเขมขน 3.48 mol/dm3 ตอบ ขอควรระวัง ตัวอยางนี้ก็เชนเดียวกัน ถาคิดปริมาตรของสารละลายจากปริมาตรของน้ําอยางเดียว 200 cm3 จะไดคําตอบที่ไมถูกตอง ตัวอยาง เมื่อนํากาซ NH3 11.2 ลิตร ละลายในน้ํา แลวทําใหสารละลายมีปริมาตร 10 ลิตร ก. ถา NH3 ละลายไดหมด จะไดสารละลายเขมขนกี่โมล/ลิตร ข. ถา NH3 ละลายไดเพียง 40 % จะไดสารละลายเขมขนกี่โมล/ลิตร วิธีทํา ก. โมลสารบริสุทธิ์ (กาซ) = โมลของสารละลาย V (g ) 22.4

VC 1000

=

V(g) = 11.2 ลิตร V = ปริมาตรของสารละลาย= 10 x 1000 cm3 C = ความเขมขนของสารละลายเปน ? mol/dm3 

11.2 22.4

=

10000 x C 1000

C = 0.05 mol/dm3 ดังนั้น จะไดสารละลายเขมขน 0.05 mol/dm3 ตอบ ข.

V (g ) 22.4

=

VC 1000

V(g) = 11.2 ลิตร แตละลายไดเพียง 40% =

40 x 11.2 100

= 4.48 ลิตร


V = ปริมาตรของสารละลาย = 10 x 1000 cm3 C = ความเขมขนของสารละลายเปน ? mol/dm3 

4.48 22.4

=

10000 x C 1000

จะได C = 0.02 mol/dm3

ตอบ

ตัวอยาง เมื่อผานกาซไฮโดรเจนคลอไรด 1.5 กิโลกรัม ลงไปในน้ําจํานวนหนึ่ง หลังจากที่ไฮโดรเจนคลอไรด ละลายหมด วัดความเขมขนได 2.0 โมล/ลิตร จงคํานวณปริมาตรของสารละลายที่เตรียมได วิธีทํา จากสูตร โมลสารบริสุทธิ์ = โมลของสารละลาย w M

=

VC 1000

w = มวลของกาซ HCl = 1.5 x 1000 = 1500 กรัม M = มวลโมเลกุลของ HCl = 36.5 V = ปริมาตรของสารละลาย= ? cm3 C = ความเขมขนของสารละลายเปน 2.0 mol/dm3 

1500 36.5

=

V x 2.0 1000

C = 20548 cm3 ดังนั้น จะไดสารละลาย 20.5 cm3 ตอบ ตัวอยาง จะตองใช NaNO3 กี่กรัม จึงจะเตรียมสารละลายที่มีความเขมขนของ Na+ เปน 70 mg/cm3 จํานวน 50 cm3 ไดพอดี วิธีทํา เปนการเตรียมสารละลายจากของแข็ง สารละลาย 50 cm3 มี Na+ = 50 x 70 = 3500 mg = 3.5 g จากสมการ NaNO3  Na+ + NO3มี Na+ 23. กรัม ( 1 โมล) จะไดจาก NaNO3 = 85 กรัม (1 โมล) มี Na+ 3.5 กรัม จะไดจาก NaNO3

=

เพราะฉะนั้นตองใช NaNO3 12.9 กรัม

85 x 3.5 23

กรัม

= 1.29 กรัม ตอบ

2. การเตรียมสารละลายโดยทําใหเจือจาง ทําไดโดย เติมน้ําลงในสารละลาย ในปริมาณที่เหมาะสม การคํานวณเกี่ยวกับการเจือจางอาศัย หลักการที่วา “เมื่อเติมน้ําลงไปในสารละลาย จะทําใหปริมาตรและความเขมขนของสารละลายเปลี่ยนแปลง ไป แตจํานวนโมลของสาร (ตัวถูกละลาย)จะเทาเดิม” จํานวนโมลกอนเติมน้ํา = จํานวนโมลหลังเติมน้ํา V1C1 1000

=

V2 C 2 1000


หรือ และ

V1C1 = V2C2 V

1 C

หมายความวา ถาปริมาตรของสารละลายเพิ่มขึ้น (V) ความเขมขน (C) ของสารละลายจะลดลง “ยิ่งมี ปริมาตรเพิ่มขึ้นเทาใด ความเขมขนก็จะยิ่งลดลงเทานั้น” เชน ถาเติมน้ําลงไปจนปริมาตรของสารละลายเปน 10 เทาของตอนแรก ความเขมขนจะลดลงเหลือ 1/10 เทาของตอนแรก ในทางกลับกัน ถาตองการใหสารละลายมีความเขมขนเพิ่มมากขึ้น ก็อาจจะทําไดโดยการนํา สารละลายไปเคี่ยวใหน้ําระเหยไปบางสวน ซึ่งการคํานวณก็ใชหลักการในทํานองเดียวกัน คือ จํานวนโม ลของสารกอนนําไปเคี่ยวและจํานวนโมลของสารหลังจากนําไปเคี่ยวแลวจะตองเทากัน พิจารณาตัวอยางเกี่ยวกับการเจือจางสารละลายตอไปนี้ ตัวอยาง ถานําสารละลาย HCl 1.0 โมล/ลิตร มา 20 cm3 แลวเติมนําจนมีปริมาตรเปน 300 cm3 จะได สารละลายเขมขนกี่โมล/ลิตร วิธีทํา จากสูตร โมลกอนเจือจาง = โมลหลังเจือจาง V1C1 = V2C2 V1 = 20 cm3 V2 = 300 cm3 C1 = 1.0 โมล/ลิตร C2 = ? โมล/ลิตร แทนคาจะได 20 x 1.0 = 300 x C2 C2 = 0.067 โมล/ลิตร ตอบ จะไดสารละลายเขมขน 0.067 โมล/ลิตร ตัวอยาง ถาตองการเตรียมสารละลายกรด H2SO4 เขมขน 0.2 โมล/ลิตร จํานวน 250 cm3 จากสารละลาย กรด H2SO4 เขมขน 0.5 โมล/ลิตร จะตองใชสารละลายกรด H2SO4 0.5 โมล/ลิตร จํานวนกี่ cm3 วิธีทํา จากสูตร V1C1 = V2C2 V1 = 250 cm3 V2 = ? cm3 C1 = 0.2 โมล/ลิตร C2 = 0.5 โมล/ลิตร แทนคาจะได 250 x 0.2 = V2 x 0.5 V2 = 100 cm3 ตองใชสารละลาย 0.5 โมล/ลิตร จํานวน 100 cm3 ตอบ ตัวอยาง มีสารละลาย NaOH 0.5 โมล/ลิตร 200 cm3 จะตองเติมน้ําลงไปเทาใด จึงจะได สารละลาย 0.2 โมล/ลิตร วิธีทํา จาก V1C1 = V2C2 V1 = 200 cm3 V2 = ? cm3


C1 = 0.5 โมล/ลิตร C2 = 0.2 โมล/ลิตร แทนคาจะได 200 x 0.5 = V2 x 0.2 V2 = 500 cm3 ตองเติมน้ําลงไป = 500 - 200 = 300 cm3

ตอบ

ตัวอยาง ถาสารละลาย NaOH 0.2 โมล/ลิตร 800 cm3 แบงสารละลายนี้มา 100 cm3 แลวเติมนําลงไป 400 cm3 จะไดสารละลาย ก. มี NaOH กี่โมล ข. มี NaOH กี่โมล/ลิตร วิธีทํา ปริมาตรของสารละลาย 800 cm3 ไมเกี่ยวกับการคํานวณ สวนที่เกี่ยวของกับการคํานวณคือ 100 cm3 ก. จํานวนโมลกอนเติมน้ํา = จํานวนโมลหลังเติมน้ํา =

VC 1000

 หลังการเจือจางจะมี NaOH

0.2 โมล

=

100 x 2.0 1000

ข.

= 0.2 ตอบ

โมลกอนเจือจาง = โมลหลังเจือจาง V1C1 = V2C2 V1 = 100 cm3 V2 = 100 + 400 cm3 C1 = 2.0 โมล/ลิตร C2 = ? โมล/ลิตร แทนคาจะได 100 x 2.0 = (100 + 400) x C2 C2 = 0.4 mol/dm3 หลังการเจือจางได NaOH 0.4 โมล/ลิตร ตอบ ตัวอยาง สารละลายกลูโคส 0.1 โมล/ลิตร 250 cm3 นํามาเติมน้ําจนไดสารละลาย 1500 cm3 อยากทราบวา น้ําหนักของกลูโคสในสารละลาย 200 cm3 กอนและหลังเติมน้ําเปนกี่กรัม วิธีทํา กลูโคส 1500 cm3 C=?

กลูโคส 0.1 โมล/ลิตร ปริมาตร 250 cm3 (ใน 200 cm3 มีกลูโคสกี่กรัม) กอนเติมน้ํา

(ใน 200 cm3 มีกลูโคสกี่กรัม) w M

=

VC 1000

w = ? กรัม M = มวลโมเลกุลของกลูโคส = 180 V = ปริมาตรของสารละลาย = 200 cm3 C = ความเขมขนของสารละลายเปน 0.1 mol/dm3


w 180

=

200 x 0.1 1000

w = 3.6 กรัม สารละลาย 200 cm3 กอนเติมน้ํามีกลูโคส 3.6 กรัม หลังเติมน้ํา V1C1 = V2C2 250 x 0.1 = 1500 x C2 C2 = 0.017 หลังการเจือจางไดสารละลาย 0.017 โมล/ลิตร w M

จาก

=

VC 1000

w = ? กรัม M = มวลโมเลกุลของกลูโคส = 180 V = ปริมาตรของสารละลาย = 200 cm3 C = ความเขมขนของสารละลายเปน 0.017 mol/dm3 

w 180

=

200 x 0.017 1000

w = 0.6 กรัม ตอบ สารละลาย 200 cm3 กอนเติมน้ํามีกลูโคส 0.6 กรัม ตัวอยาง จะตองใชสารละลาย CaCl2 เขมขน 0.4 mol/dm3 จํานวนกี่ cm3 มาเติมน้ําลงไป จึงจะไดสารละลายที่ มีปริมาณของ Cl- 20 mg/cm3 จํานวน 100 cm3 วิธีทํา ขั้นแรกคํานวณจํานวนโมลของ CaCl2 หลังเติมน้ํากอน โดยคิดจากปริมาณของ Cl ที่กําหนดให หลังจากนั้นจึงจะคํานวณโมลของ CaCl2 หลังเติมน้ํา CaCl2  Ca2+ + 2Clจํานวนโมล Cl- เปน 2 เทาของ CaCl2 สารละลาย 1 cm3 มี Cl- = 20 mg สารละลาย 100 cm3 มี Cl- = 20 x 100 mg = คิดเปนจํานวนโมล  มี

กอนเติมน้ํา

CaCl2 =

1 2

=

w = 2 M 35.5

20 x 100 1000

= 0.056 โมล

x 0.056 = 0.028 mol

จํานวนโมลกอนเติมน้ํา = จํานวนโมลหลังเติมน้ํา V1C1 1000

= 0.028

=2g


V1 x 0.4 1000

= 0.028

V1 = 70 cm3 3 3  ตองใช CaCl2 70 cm เติมน้ํา 30 cm

ตอบ

ตัวอยาง เมื่อนําสารละลายกรด HCl 2 โมล/ลิตร 20 cm3 เติมน้ําลงไป 80 cm3 หลังจากผสมกันจนเปน สารละลายเนื้อเดียวกันแลว แบงสารละลายมาใหม 50 cm3 เติมน้ําลงไป 250 cm3 จะไดสารละลายสุดทาย เขมขนกี่โมล/ลิตร วิธีทํา เขียนแผนภาพไดดังนี้ HCl 2 mol/dm+ 3H2O 80 cm3  HCl 3 20 cm C = ? mol/dm3 100 cm3 แบงมา 50 cm3 + H2O 250 cm3 C = ? mol/dm3 การเจือจางครั้งแรก V1C1 = V2C2 20 x 2 = (20 + 80) x C2 C2 = 0.4 mol/l หลังการเจือจางไดสารละลาย 0.4 โมล/ลิตร การเจือจางครั้งที่ 2 V1C1 = V2C2 50 x 0.4 = (50 + 250) x C2 C2 = 0.067 mol/l หลังการเจือจางไดสารละลาย 0.067 โมล/ลิตร

ตอบ

3. การเตรียมสารละลายโดยการผสมสารละลายเขาดวยกัน ใชหลักการที่วา เมื่อนําสารละลายชนิดเดียวกันที่มีความเขมขนตางๆ กัน มาผสมกัน “จํานวนโมล ของตัวถูกละลายกอนผสมกัน ยอมเทากับจํานวนโมลของตัวถูกละลายหลังผสมกัน” จํานวนโมลของตัวถูกละลายแตละความเขมขนคิดไดจาก n =

VC 1000

* จํานวนโมลของตัวถูกละลายกอนผสมคิดจาก V และ C ของแตละความเขมขน * จํานวนโมลของตัวถูกละลายภายหลังผสมคิดจาก V รวม และ C รวม เชน ผสมสารละลายกรดที่มีปริมาตรและความเขมขนตางๆ กันดังนี้


โมลกอนผสม = โมลหลังผสม n1 + n 2 = n V1C1 + V2C2 = VC เมื่อ V = ปริมาตรรวม = V1 + V2 + …. หนวย V, V1 , V2 , … เปนหนวยปริมาตรอยางไรก็ไดแตตองเปนหนวยเดียวกัน ตัวอยาง เมื่อผสมสารละลาย NaCl เขมขน 0.1 , 0.2, และ 0.5 mol/dm3 จํานวน 100 , 200 และ 300 cm3 ตามลําดับ จะไดสารละลายรวมที่มีความเขมขนเปนกี่ mol/dm3 วิธีทํา

V1 = 100 C1 = 0.1

V2 = 200 V3 = 300 V = V1 + V2 + V3 C2 = 0.2 C3 = 0.5 V = 600 โมลกอนผสม = โมลหลังผสม n1 + n2 + n3 = n V1C1 + V2C2 + V2C3 = VC (100 x 0.1) + (200 x 0.2) + (300 x 0.5) = 600 x C C = 0.33 mol/dm3 ไดสารละลายเขมขน 0.33 mol/dm3 ตอบ ตัวอยาง จะตองใชสารละลายกรด HCl 5 โมล/ลิตรจํานวนกี่ cm3 ใสลงในสารละลายกรด HCl 1 โมล/ลิตร 200 cm3 เพื่อใหไดสารละลายกรด HCl 0.2 โมล/ลิตร 5 ลิตร วิธีทํา HCl HCl HCl 5 M + 1 M  0.2 M ; M = mol/dm3 V cm3 200 cm3 5 ลิตร = 5 x 1000 cm3 โมลกอนผสม = โมลหลังผสม n1 + n2 = n V1C1 + V2C2 = VC


(V x 5) + (200 x 1)

= 5000 x 0.2 V = 160 cm3 ตองใชสารละลาย HCl 5 โมล/ลิตร จํานวน 160 cm3

ตอบ

ตัวอยาง เมื่อผสมสารละลายกรด HCl 0.1 mol/dm3 100 cm3 กับ 0.2 mol/dm3 200 cm3 เขาดวยกัน จะตองเติมสารละลาย HCl 0.5 mol/dm3 และน้ํากี่ cm3 ตามลําดับ จึงจะไดสารละลายสุดทายเขมขน 0.3 mol/dm3 จํานวน 2 dm3 วิธีทํา HCl 0.1 mol/dm3 + HCl 0.2 mol/dm3 + HCl 0.5 mol/dm3 + H2O  HCl 0.3 mol/dm3 V1 = 100 cm3 V2 = 200 cm3 V3 = V cm3 V = 2 x 1000 cm3 C1 = 0.1 C2 = 0.2 C3 = 0.5 C = 0.3 โมลกอนผสม = โมลหลังผสม n1 + n2 + n3 = n V1C1 + V2C2 + V2C3 = VC (100 x 0.1) + (200 x 0.2) + (V x 0.5) = 2000 x 0.3 V = 1100 cm3 ตองใชสารละลาย HCl 0.5 mol/dm3 = 1100 cm3 ตองใชน้ํา = 2000 - (1100 + 100 + 200) = 600 cm3 ตอบ ตัวอยาง จะตองใชสารละลาย NaOH 0.5 โมล/ลิตร กี่ cm3 ผสมกับสารละลาย NaOH 0.2 โมล/ลิตร กี่ cm3 จึง จะไดสารละลาย NaOH 0.3 โมล/ลิตร 400 cm3 วิธีทํา NaOH + NaOH  NaOH 0.5 M 0.2 M 0.3 M V1 = V cm3 V2 = 400-V cm3 V = 400 cm3 โมลกอนผสม = โมลหลังผสม n1 + n2 = n V1C1 + V2C2 = VC (V x 0.5) + [(400-V) x 0.2] = 400 x 0.3 V = 133.3 cm3 ตองใชสารละลาย NaOH 0.5 mol/dm3 = 133.3 cm3 และใชสารละลาย NaOH 0.2 mol/dm3 = 400 ตอบ - 133.3 = 266.7 cm3 ตัวอยาง เมื่อเติม NaOH ซึ่งเปนของแข็ง 0.8 กรัม ลงในสารละลาย NaOH 0.1 โมล/ลิตร 250 cm3 จะได สารละลายใหมมีความเขมขนกี่โมล/ลิตร


วิธีทํา

NaOH + NaOH  NaOH 0.8 g 0.1 M CM V2 = 250 cm3 V = 250 cm3 โมลกอนผสม = โมลหลังผสม n 1 + n2 = n w M 0.8 40

+ +

V2 C 2 1000 250 x 0.1 1000

= =

VC 1000 250 xC 1000

C = 0.9 โมล/ลิตร ปริมาตร NaOH ที่เปนของแข็ง ถือวานอยมากไมตองนํามาคิด ดังนั้นปริมาตรของสารละลายรวมกัน จึงเทากับปริมาตรของ NaOH 0.1 โมล/ลิตร คือ 250 cm3 เพราะฉะนั้น ไดสารละลายเขมขน 0.9 โมล/ลิตร ตอบ ตัวอยาง ถาผสมสารละลาย BaCl2 0.1 โมล/ลิตร 100 cm3 กับสารละลาย HCl 0.2 โมล/ลิตร 100 cm3 เขา ดวยกัน จะไดสารละลายที่มีคลอไรดไอออนเปนกี่โมล/ลิตร วิธีทํา หาปริมาณของ Cl- จาก BaCl2 และ HCl นํามารวมกัน แลวจึงทําใหเปน โมล/ลิตร ให BaCl2 และ HCl แตกตัวได 100 % กรณี BaCl2 BaCl2  Ba2+ + 2Clโมล Cl จากสมการอัตราสวนโมลระหวาง = 2 โมลของ BaCl 2 1 

โมลของ Cl- = 2 x (โมลของ BaCl2) = 2 x ( -

VC ) 1000

= 2 x 100x 0.2 = 0.02

ในสารละลาย BaCl2 มี Cl 0.02 โมล HCl  H+ + Clกรณี HCl จากสมการ โมล Cl- = โมล HCl 

โมลของ Cl- = (

VC ) 1000

=

100 x 0.2 1000

= 0.02

ในสารละลาย BaCl2 มี Cl- 0.02 โมล หาความเขมขนของ Clโมล Cl- ทั้งหมด = โมล Cl- จาก BaCl2 + โมล Cl- จาก HCl = 0.02 + 0.02 = 0.04 โมล ปริมาตรสารละลาย = 100 + 100 = 200 cm3 สารละลาย 200 cm3 มี Cl= 0.04 โมล

1000


 สารละลาย

= 0.04 x 1000 โมล

1000 cm3 มี Cl-

200

= 0.2 โมล/ลิตร ความเขมขนของ Cl- = 0.2 โมล/ลิตร

ตอบ

การคํานวณเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงหนวยความเขมขน

หนวยความเขมขนที่ใชกันมากไดแก mol/dm3 และหนวยรอยละแบบตางๆ การเปลี่ยนหนวยความ เขมขนสวนมากจะเปลี่ยน % โดยมวล, % โดยปริมาตร หรือ % โดยมวล/ปริมาตรใหเปน mol/dm3 ซึ่งการ คํานวณเกี่ยวกับการเปลี่ยนหนวยในทํานองนี้จะตองใชขอมูลเกี่ยวกับความหนาแนนดวย

1. การเปลี่ยน % โดยมวล เปน โมลตอลิตร

สารละลายชนิดหนึ่งเขมขน x % โดยมวล จะมีความเขมขนเปนกี่ mol/dm3 กําหนดมวลโมเลกุลของ สารเปน M และความหนาแนนเปน d g/cm3 การคํานวณใหเริ่มตนจากความหนาแนนของสารละลาย แลวเทียบสารละลาย 1000 cm3 (1 dm3) วามี กี่ mol จะไดความเขมขนเปน mol/dm3 ความหนาแนนของสารละลาย = d g/cm3 หมายความวา สารละลาย 1 cm3 หนัก d กรัม เพราะฉะนั้นสารละลาย 1000 cm3 หนัก 1000d กรัม  มีสารอยู x % โดยมวล หมายถึง สารละลาย 100 กรัม มีเนื้อสาร = x กรัม  สารละลาย 1000d

กรัม มีเนื้อสาร

= =

 ความเขมขน

= 10

dx M

x x 1000d 100 10 dx mol M

mol/dm3

สรุปเปนสูตรสําหรับการคํานวณเปลี่ยนหนวยดังนี้ mol/dm3 = 10

dx M

เมื่อ d = ความหนาแนนของสารละลาย g/cm3 x = % โดยมวล M = มวลโมเลกุลของสาร (ตัวถูกละลาย)

2. การเปลี่ยน % โดยปริมาตร เปน โมล/ลิตร

กรัม =

x . 1000d 100 . M

mol


ในทํานองเดียวกับการเปลี่ยน % โดยมวล เปน โมล/ลิตร นอกจากจะคํานวณโดยการเทียบ บัญญัติไตรยางคแลว ก็สามารถคํานวณโดยใชสูตรไดเชนเดียวกัน dx M

mol/dm3 = 10

เมื่อ d = ความหนาแนนของตัวถูกละลาย g/cm3 x = % โดยปริมาตร M = มวลโมเลกุลของสาร (ตัวถูกละลาย)

3. การเปลี่ยน % โดยมวล/ปริมาตร เปนโมล/ลิตร ใชสูตร

mol/dm3 = 10

x M

x = % โดยมวล/ปริมาตร M = มวลโมเลกุลของสาร (ตัวถูกละลาย) ตัวอยาง น้ําสมสายชูชนิดหนึ่งมีความหนาแนน 1.13 g/cm3 ระบุวามีกรดอะซิติกละลายอยูรอยละ 8 โดย น้ําหนัก น้ําสมสายชูนี้มีความเขมขนของกรดอะซิติกเปนกี่ mol/dm3 mol/dm3 = 10

วิธีทํา ก. โดยการใชสูตร

dx M

d = ความหนาแนนของสารละลาย = 1.13 g/cm3 x = % โดยมวล = 8 % M = มวลโมเลกุลของสาร (ตัวถูกละลาย; CH3COOH) = 60  mol/dm

3

= 10 x 1.13x8 = 1.51

ตอบ

60

ข. โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค ความหนาแนนของสารละลาย = 1.13 g/cm3 หมายความวา สารละลาย 1 cm3 หนัก 1.13 กรัม เพราะฉะนั้นสารละลาย 1000 cm3 หนัก 1000 x 1.13 กรัม  มีเนื้อกรดอยู 8 % โดยมวล หมายความวา สารละลาย 100 กรัม มีเนื้อสาร = 8 กรัม  สารละลาย 1000x1.3

กรัม มีเนื้อสาร =

8 x 1000 x 1.13 100

กรัม =

8 x 1000 x 1.13 100 x 60

mol

= 1.51 mol 3  ความเขมขนของกรดแอซิติก = 1.51 mol/dm ตอบ ตัวอยาง สารละลายกรด HNO3 เขมขน 20 % โดยปริมาตร ถากรด HNO3 ที่บริสุทธิ์มีความหนาแนน 1.4 g/cm3 จงคํานวณหาความเขมขนขอสารละลายกรด HNO3 นี้เปนโมล/ลิตร วิธีทํา ก. โดยการใชสูตร mol/dm3 = 10

dx M


d = ความหนาแนนของสารละลาย = 1.4 g/cm3 x = % โดยมวล = 20 % โดยปริมาตร M = มวลโมเลกุลของสาร (ตัวถูกละลาย; HNO3) = 63  mol/dm

3

= 10 x 1.4x 20 = 4.44 63

ตอบ

ความเขมขนของกรด HNO3 = 4.44 โมล/ลิตร ข. โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค  มีเนื้อกรดอยู 20 % โดยปริมาตร หมายความวา สารละลาย 100 cm3 มีเนื้อสารอยู 20 cm3  สารละลาย 1000

cm3 มีเนื้อสาร

=

20 x 1000 100

cm3

= 200 cm3

ความหนาแนนของสารละลาย = 1.4 g/cm3 หมายความวา สารละลาย 1 cm3 หนัก = 1.4 กรัม เพราะฉะนั้นสารละลาย 200 cm3 หนัก = 200 x 1.4 กรัม = = 4.44 mol/dm3 ตัวอยาง สารละลายกรดเกลือ 40% โดยมวล/ปริมาตร จะเปนกี่ mol/dm3  ความเขมขนของกรดแอซิติก

วิธีทํา ก. โดยการใชสูตร

mol/dm3 = 10

200 x 1.4 63

mol = 4.44 mol ตอบ

x M

x = % โดยมวล/ปริมาตร = 40% M = มวลโมเลกุลของสาร (ตัวถูกละลาย; HCl) = 36.5  mol/dm

3

= 10 x

40 36.5

= 10.96

ความเขมขนของกรด HNO3 = 10.96 โมล/ลิตร ข. โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค สารละลายกรด 40% โดยมวล/ปริมาตร หมายความวา สารละลาย 100 cm3 มีกรด = 40 กรัม 

ตอบ

สารละลาย 1000 cm3 มีกรด = 40 x 1000 = 400 กรัม =

100 400 = 36.5

10.96 mol

ความเขมขนของกรด HNO3 = 10.96 โมล/ลิตร ตอบ ตัวอยาง สารละลายแอมโมเนียมซัลเฟต เขมขน 21.6 % โดยมวล มีความหนาแนน 1.10 g/cm3 ถานํา สารละลายนี้มา 100 cm3 ตองการเตรียมสารละลายแอมโมเนียมซัลเฟต 0.1 โมล/ลิตร จะไดทั้งหมดกี่ cm3 วิธีทํา ขั้นแรกคํานวณความเขมขนเปน mol/l ของสารละลาย 21.6 % โดยมวลกอน ขั้นตอไปจึงพิจารณา


การเจือจาง หาความเขมขน mol/dm3 = 10

dx M

d = ความหนาแนนของสารละลาย = 1.10 g/cm3 x = % โดยมวล = 21.6 % M = มวลโมเลกุลของสาร (ตัวถูกละลาย; ) = 132  mol/dm

= 10 x 1.10x 21.6 = 1.8

3

132

ความเขมขนของกรด (NH4)2SO4 = 1.8 โมล/ลิตร หาปริมาตรจากการเจือจาง โมลกอนเติมน้ํา = โมลหลังการเติมน้ํา V1C1 = 1000 100 x1.8 1000

V2 C 2 1000 = V2 x 0.1 1000

V2 = 1800 cm3 จะเตรียมสารละลายได 1800 cm3 ตอบ ตัวอยาง เมื่อผานกาซไฮโดรเจนคลอไรดลงในน้ํา จนไดสารละลายที่มีความหนาแนนเปน 1.1 g/cm3 และมี ไฮโดรเจนคลอไรดละลายอยู 20 % โดยมวล สารละลายกรดที่ไดจะมีความเขมขนเปนกี่ g/dm3 วิธีทํา ความหนาแนนของสารละลาย = 1.1 g/cm3 สารละลาย 1 cm3 หนัก = 1.1 กรัม ถาสารละลาย 1000 cm3 หนัก = 1.1 x 1000 = 1100 กรัม  มีไฮโดรเจนคลอไรดละลายอยู 20 % โดยมวล หมายความวา สารละลาย 100 กรัม มี HCl ละลายอยู 20 กรัม ถาสารละลาย 1100 กรัม (1 dm3) มี HCl ละลายอยู

20 x1100 100

= 220 กรัม

ตอบ เพราะฉะนั้นความเขมขนของ HCl = 220 g/dm3 3 ตัวอยาง สารละลายชนิดหนึ่งเขมขน 1.0 g/dm จะเปนกี่ % โดยปริมาตร ถาสารบริสุทธิ์มีความหนาแนน 0.9 g/cm3 และเมื่อทําใหสารนี้ 1 กรัมกลายเปนไอจะได 450 cm3 ที่ STP วิธีทํา ไอของสาร 450 cm3 ที่ STP หนัก = 1 กรัม  ไอของสาร 22.4 x 1000 cm

3

(หรือ1 โมล)ที่ STP หนัก =

มวลโมเลกุลของสาร = 49.78

22.4 x1000 450

= 49.78 กรัม/โมล


dx M

จากสูตร

mol/dm3 = 10

แทนคา

1.0 = 10 x 0.9 x

x 49.78

x = 5.53 % โดยปริมาตร เพราะฉะนั้นสารละลายนี้เขมขน 5.53 % โดยปริมาตร

ตอบ

ตัวอยาง จะตองใชสารละลายอัลกอฮอล 60% โดยมวล กี่ cm3 ผสมกับน้ําแลวทําใหไดสารละลายเขมขน 40 % โดยมวล จํานวน 200 cm3 กําหนดความหนาแนนของแอลกอฮอล 60% และ 40% เปน 0.8 และ 0.9 g/cm3 ตามลําดับ วิธีทํา เปนการเตรียมสารละลายใหเจือจาง ขั้นแรกเปลี่ยนหนวยใหเปน mol/dm3 กอนแลวจึงทําใหเจือจาง 60% โดยมวล

mol/dm3 = 10

dx M

d = 0.8 g/cm3 x = % โดยมวล = 60 %  mol/dm

40% โดยมวล

3

= 10 x 0.8

mol/dm3 = 10

60 M

dx M

d = 0.9 g/cm3 x = % โดยมวล = 40 %  mol/dm

3

= 10 x 0.8

40 M

การเจือจาง V1C1 = V2C2 60 mol/dm3 M V2 = 200 , C2 = 10 x 0.8 40 mol/dm3 M 60  V1 x 10 x 0.8 = 200 x 10 x 0.8 40 M M

V1 = ? , C1 = 10 x 0.8

V1 = 150 cm3 ตองใชชนิด 60 % เทากับ 150 cm3

*************************************************************************************


ใบความรู เรื่อง สมบัติบางประการของสารละลาย (ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 15) ****************************************************************** ดังที่ทราบแลววาสารละลายเปนสารที่ไมบริสุทธิ์ ดังนั้น สารละลายจึงมีสมบัติบางประการแตกตาง จากสารบริสุทธิ์ เชน จุดเดือด จุดหลอมเหลว ไมเทากับสารบริสุทธิ์ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสาร บริสุทธิ์จะคงที่แตจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารละลายจะไมคงที่ เนื่องจากสารละลายเปนของผสม ดังนั้นจึงยังคงมีสมบัติทั้งทางเคมีและทางกายภาพบางประการ เหมือนกับสมบัติของสารเดิม เชน เกลือแกงประกอบดวย Na+และ Cl- และมีรสเค็มเมื่อทําใหเปนสารละลาย ก็ยังคงมีรสเค็ม และยังประกอบดวย Na+ และ Cl- แตสมบัติทางกายภาพบางอยางอาจจะเปลี่ยนไปเชน จุด เยือกแข็ง จุดเดือด ความดันไอ เปนตน สมบัติเหลานี้จะเปลี่ยนไปมากนอยขึ้นอยูกับปริมาณของตัวถูกละลาย สารละลายเปนของผสมเนื้อเดียวมีสมบัติตางๆ เชน ดัชนีหักเห ความหนาแนน และการนําไฟฟา เหมือนกันทุกทิศทางและทุกสวนของสารละลาย อยางไรก็ตามเนื่องจากยังคงมีสมบัติของสารเดิมอยู ดังนั้น จึงสามารถแยกสารที่เปนองคประกอบออกจากกันไดโดยไมยากนัก เชน อาจจะโดยการกลั่น การตกผลึก และการระเหย เปนตน สารละลายมีสมบัติบางอยางแตกตางจากสารบริสุทธิ์ เชน อุณหภูมิขณะเดือดของสารบริสุทธิ์จะคงที่ แตสารละลายมีอุณหภูมิขณะเดือดไมคงที่ ขึ้นอยูกับสัดสวนของตัวทําละลายและตัวถูกละลายในสารละลาย นั้น ปริมาณและชนิดของตัวถูกละลายจะมีผลตอจุดเดือดของสารละลาย ซึ่งจะกลาวรายละเอียดตอไป จุดเดือดของของเหลว คือ อุณหภูมิที่ความดันไอของของเหลวเทากับความดันบรรยากาศ วิธีการหาจุดเดือดของของเหลว ทําไดโดยจัดเครื่องมือ ดังรูป


รูป การหาจุดเดือดของของเหลว จากการทดลองพบวาในชวงแรก จะสังเกตเห็นวามีฟองกาซออกมาจากหลอดคาปลารีและปุก ออกมาเรื่อยๆ แสดงวาความดันไอในหลอดคะปลารี มากกวาความดันบรรยากาศ จนในที่สุดเมื่อความดันไอ ในหลอดคะปลารี เทากับความดันบรรยากาศ จะไมมีฟองกาซปุดออกมาอีก จึงถือวาอุณหภูมิขณะที่ฟอง สุดทายปุดออกมาเปนจุดเดือดของของเหลวนั้น จุดเดือดใชบอกความบริสุทธิ์ของของเหลว ถาเปนของเหลวบริสุทธิ์จะมีจุดเดือดคงที่ ถาเปนของ เหลวไมบริสุทธิ์จุดเดือดจะไมคงที่ (สูงกวา) และมีชวงของการเดือดกวาง จุดเดือดจะขึ้นอยูกับปริมาณของตัว ถูกละลาย หรือสารไมบริสุทธิ์ที่เจือปนอยู พิจารณาตัวอยาง จุดเดือดของสารบริสุทธิ์และสารละลายตอไปนี้ ตาราง จุดเดือดของสารบริสุทธิ์และสารละลาย สาร ความเขมขน จุดเดือด T (mol/kg) (0C) (0C) เอทานอล (บริสุทธิ์) 78.5 2.0 2 80.5 สารละลายกลีเซอรอลในเอทานอล 4.5 4 83.0 สารละลายกลีเซอรอลในเอทานอล 80.5 2.0 2 สารละลายกรดโอเลอิกในเอธานอล 4.0 4 82.5 สารละลายกรดโอเลอิกในเอธานอล  T คือ ผลตางระหวางจุดเดือดของสารบริสุทธิ์และสารละลาย จะเห็นไดวา เมื่อเปนสารละลายจะมีจุดเดือดสูงกวาสารบริสุทธิ์ และจุดเดือดจะสูงมากขึ้นเมื่อ สารละลายนั้นมีตัวถูกละลายมากขึ้น * จุดหลอมเหลว คือ อุณหภูมิที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะมาเปนของเหลว * จุดเยือกแข็ง หมายถึง อุณหภูมิที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเปนของแข็ง สําหรับสารหนึ่งๆ จุด หลอมเหลวและจุดเยือกแข็ง คือ จุดเดียวกัน เชน น้ําที่ 1 atm จะมีจุดหลอมเหลวและจุดเยือกแข็งเทากับ0 0C วิธีการหาจุดหลอมเหลว ทําไดโดยใชเครื่องมือ ดังรูป


รูป การหาจุดหลอมเหลวของของแข็ง สําหรับจุดหลอมเหลวหรือจุดเยือกแข็ง ใชทดสอบความบริสุทธิ์ของสารไดเหมือนจุดเดือด กลาวคือ สารบริสุทธิ์มีจุดหลอมเหลวคงที่ มีชวงของการหลอมเหลวสั้น(แคบ) สารไมบริสุทธิ์จะมีจุดหลอมเหลวไม คงที่ขึ้นอยูกับปริมาณของสารไมบริสุทธิ์ ยิ่งมีสิ่งเจือปนมากจุดหลอมหลวจะลดลงมาก แตชวงของการ หลอมเหลวจะกวาง พิจารณาตัวอยาง ของจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ และสารละลายตอไปนี้ ตาราง จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารละลาย ความเขมขน อุณหภูมิ (0C) ชวงของการ จุดหลอม  T สาร (mol/kg) เริ่มหลอม หลอมหมด หลอม (0C) เหลว (0C) (0C) แนพทาลีนบริสุทธิ์ 80.0 81.0 1.0 80.5 สารละลายกรดแบนโซอิก 0.5 73.5 81.0 7.5 77.25 3.25 ในแนพธาลีน สารละลายกรดแบนโซอิก 2.0 63.0 69.0 6.0 66.0 14.5 ในแนพธาลีน สารละลายพินิลเบนซีน 0.5 75.5 79.0 3.5 77.25 3.25 ในแนพธาลีน หมายเหตุ

1. ชวงของการหลอมเหลว = อุณหภูมิที่หลอมหมด - อุณหภูมิที่เริ่มหลอม 2. จุดหลอมเหลว หมายถึง คาเฉลี่ยระหวางอุณหภูมิเริ่มหลอมกับหลอมหมด จุดหลอมเหลว =

อุณหภูมิเร ิ่มหลอม  อุณหภูมิที หลอมหมด 2

3.  T = ความแตกตางระหวางจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์กับสารละลาย = จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ - จุดหลอมเหลวของสารละลาย ตัวอยางการหาจุดหลอมเหลวจากการทดลอง (ใชขอมูลจากตารางจุดหลอมเหลว) * แนพธาลีนบริสุทธิ์ เริ่มหลอม 80.0 0C หลอมหมด 81.0 0C


ชวงของการหลอมเหลว = 81.0 - 80.0 = 1.0 0C จุดหลอมเหลว *

=

80.0  81.0 2

= 80.5 0C

77.0  73.5 2

= 75.25 0C

สารละลายกรดเบนโซอิกในแนพธาลีน เริ่มหลอม 75.3 0C หลอมหมด 77.0 0C ชวงของการหลอมเหลว = 77.0 - 73.5 = 3.5 0C จุดหลอมเหลว

=

= 80.0 - 77.25 = 3.25 0C จากตารางสรุปไดวา จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์จะแตกตางจากสารละลาย สารบริสุทธิ์จะมีจุด หลอมเหลวคงที่ชวงของการหลอมเหลวสั้น สารละลายมีจุดหลอมเหลวไมคงที่ (ต่ํากวาของสารบริสุทธิ์) และมีชวงของการหลอมเหลวกวาง ยิ่งมีความเขมขนมากจะยิ่งมีจุดหลอมเหลวมาก T

สมบัติคอลลิเกตีฟของสารละลาย (collingative property)

สมบัติคอลลิเกตีฟ หมายถึง สมบัติทางกายภาพของสารละลายที่ขึ้นอยูกับจํานวนอนุภาคของตัวถูก ละลาย โดยไมขึ้นอยูกับชนิดของตัวถูกละลาย หมายความวา ถาสารละลายนั้นมีความเขมขนของตัวถูก ละลายเทากัน จะมีสมบัติคอลลิเกตีฟเทากัน สมบัติคอลลิเกตีฟไดแก ความดันดันที่ลดลง จุดเดือดที่เพิ่มขึ้น จุดเยือกแข็งที่ลดลง และความดันออสโมซิส (osmotic pessure) สมบัติคอลลิเกตีฟ จะใชไดดีกับตัวถูกละลายที่ระเหยยาก และไมแตกตัวเปนไอออน สารละลายที่มีตัวทําละลายชนิดเดียวกัน ถามีความเขมขนของตัวถูกละลาย (ชนิดระเหยยากและไม แตกตัวเปนไออน) เปน mol/kg เทากัน จะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลว ซึ่งเปนสมบัติคอลลิเกตีฟเทากัน ตัวอยางเชน เมื่อละลายกลูโคส 1 โมล ในน้ํา 1000 กรัม จะทําใหสารละลายมีจุดเดือดเพิ่มขึ้น 0.51 0 C (เดือดที่ 100.51 0C) และจุดเยือกแข็งลดลง 1.86 0C (จุดเยือกแข็งเทากับ -1.86 0C ) ในทํานองเดียวกัน เมื่อ นําซูโครส 1 โมล ในน้ํา 1000 กรัม จะไดสารละลายมีจุดเดือดเพิ่มขึ้น 0.51 0C (เดือดที่ 100.51 0C) และจุด เยือกแข็งลดลง 1.86 0C (จุดเยือกแข็งเทากับ -1.86 0C ) เชนเดียวกับกลูโคส ทั้งนี้เพราะสมบัติคอลลิเกตีฟของ สารละลายขึ้นอยูกับธรรมชาติของตัวทําละลาย แตไมขึ้นอยูกับธรรมชาติของตัวถูกละลาย ขึ้นอยูกับปริมาณ ของตัวถูกละลาย แตไมขึ้นกับชนิดของตัวถูกละลาย อยางไรก็ตาม ถาใชสารละลายที่มีความเขมขนตางกัน แมวาจะมีตัวทําละลายชนิดเดียวกัน จุดเดือด และจุดหลอมเหลวจะไมเทากัน เชน ถาเพิ่มความเขมขนของกลูโคสเปน 2 โมล ในน้ํา 1000 กรัม จะได สารละลายที่มีจุดเยือกแข็งเปน -3.72 0C และมีจุดเดือดเปน 100.02 0C เปนตน ถาใชความเขมขนของตัวถูกละลายเทากัน แตใชตัวทําละลายตางกันก็จะไดจุดเดือดและจุดเยือกแข็ง ไมเทากัน กลาวโดยสรุป คือ “จุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลายที่มีตัวทําละลายชนิดเดียวกันจะไม ขึ้นอยูกับชนิดของตัวถูละลาย แตจะขึ้นอยูกับปริมาณ (จํานวนโมล) ของตัวถูกละลาย” ตัวอยางเชน เบนซีน มีจุดเดือด 80.10 0C มีจุดเยือกแข็ง 5.50 0C ถานําตัวถูกละลายใดๆ เชน โทลูอีน, แนพธาลีน, ฯลฯ จํานวน 1 โมล ใสในเบนซีน 1 กิโลกรัม ทําใหไดสารละลายเขมขน 1 โมลตอกิโลกรัม


(หรือ 1 โมแลล) จะทําใหสารละลายมีจุดเดือดเปน 82.63 0C (จุดเดือดเพิ่มขึ้น 2.53 0C เทากัน) และมีจุดเยือก แข็ง 0.60 0C (จุดเยือกแข็งลดลง 4.90 0C เทากัน) คาคงที่ของการเพิ่มของจุดเดือด (molal boiling point elevation constant) คาคงที่ของการเพิ่มของจุดเดือด ใชสัญลักษณเปน Kb เนื่องจากจุดเดือดของสารละลายที่เขมขน เทากันจะเพิ่มขึ้นเทากันและเปนคาคงที่สําหรับตัวทําละลายชนิดหนึ่งๆ จึงไดมีการกําหนดคาคงที่ขึ้นมา เรียกวา คาคงที่ของการเพิ่มของจุดเดือด ซึ่งหมายถึง “ผลตางระหวางจุดเดือดของสาระละลายที่มีความ เขมขน 1 โมล/กิโลกรัม กับจุดเดือดของตัวทําละลายบริสุทธิ์” หรือหมายถึง “จุดเดือดที่เพิ่มขึ้นของ สารละลายเขมขน 1 โมล/กิโลกรัม”  Kb = จุดเดือด(ของสารละลาย 1 mol/kg) - จุดเดือด (ตัวทําละลาย) คาคงที่ของการลดของจุดเยือกแข็ง (molal freezing point depression constant) ใชสัญลักษณ Kf ซึ่งมีความหมายในทํานองเดียวกับ Kb ของจุดเดือด คือ หมายถึง “ผลตางระหวางจุด เยือกแข็งของตัวทําละลายบริสุทธิ์กับจุดเยือกแข็งของสารละลายที่มีความเขมขน 1 โมล/กิโลกรัม” ซึ่งมี คาคงที่ หรือ หมายถึง “จุดเยือกแข็งที่ลดลงของสารละลายที่มีตัวถูกละลายเขมขน 1 โมล/กิโลกรัม”  Kf = จุดเยือกแข็ง(ตัวทําละลาย) - จุดเยือกแข็ง (สารละลาย 1 mol/kg) คา Kb และ Kf เปนคาคงที่เฉพาะตัวของตัวทําละายชนิดหนึ่งๆ ขึ้นอยูกับธรรมชาติของตัวทําละลาย เทานั้น ไมเกี่ยวของกับตัวถูกละลาย ตาราง จุดเดือด, Kb , จุดเยือกแข็งและ Kf ของตัวทําละลายบางชนิด ตัวทําละลาย จุดเดือดของตัวทํา Kb จุดเยือกแข็งของ Kf ละลาย (0C) (0C/mol/kg) ตัวทําละลาย (0C) (0C/mol/kg) 1.71 โพรเพน 56.20 3.63 ไตรคลอโรมีเทน(คลอโรฟอรม) 61.70 0.83 64.96 เมธานอล 1.22 78.50 เอทานอล 4.90 5.50 2.53 80.10 เบนซิน 6.98 80.55 แนพธาลีน 1.86 0.00 0.51 100.00 น้ํา 3.90 16.60 3.07 117.90 กรดอะซิติก 4.90 10.50 camphor 7.27 42.00 ฟนอล 14.40 7.80 CHBr3 20.00 6.50 ไซโคลเฮกเซน


CCl4 อะซิโตน เอธิลอีเทอร

76.8 56.5 34.6

5.02 1.73 2.16

-

-

จุดเยือกแข็งที่เพิ่มขึ้น และจุดเยือกแข็งที่ลดลงของสารละลาย มีสวนสัมพันธกับความเขมขนของ สารละลาย สามารถนํามาใชคํานวณหามวลโมเลกุลของตัวถูกละลายได

1. การคํานวณเกี่ยวกับจุดเยือกแข็งที่ลดลง พิจารณาจุดเยือกแข็งที่ลดลง (  Tf) ของสารละลายยูเรียในน้ํา ดังตอไปนี้ ตาราง ความสัมพันธระหวางจุดเยือกแข็งที่ลดลงกับความเขมขนของสารละลายยูเรีย 0 0 ความเขมขน (mol/kg) ความเขมขน (mol/kg)  Tf ( C)  Tf ( C) 0.004235 0.007846 0.01887 0.03496 0.007645 0.01413 0.03084 0.05696 0.012918 0.02393 0.04248 0.07850 จะเห็นไดวา เมื่อความเขมขนของสารละลายเพิ่มขึ้น จุดเยือกแข็งของสารละลายจะลดลงมากขึ้น จึงนํามาสรุปไดวา “จุดเยือกแข็งที่ลดลงของสารละลายจะแปรผันโดยตรงกับปริมาณ (ความเขมขน) ของตัวถูกละลาย” ถา  Tf = จุดเยือกแข็งของสารละลายที่ลดลง = จุดเยือกแข็งของตัวทําละลาย - จุดเยือกแข็งของสารละลาย m = ความเขมขนของสารละลายเปน mol/kg หรือ molal จะได  Tf  m หรือ  Tf = Kfm ซึ่ง Kf = คาคงที่ของการลดของจุดเยือกแข็ง

การคํานวณโมแลลหรือ mol/kg

เมื่อนําสาร A ( ซึ่งมีมวลโมเลกุล = M2) จํานวน w2 กรัม ละลายในตัวทําละลาย w1 กรัม จะได


สารละลายเขมขนกี่ mol/kg คํานวณความเขมขนไดดังนี้ ตัวทําละลาย w1 กรัม มีตัวถูกละลาย (A)  ตัวทําละลาย

= w2 กรัม

1000 กรัม มีตัวถูกละลาย(A)

= =

 สารละลายเขมขน

w 2 1000 x w1 M 2

w2 x 1000 กรัม w1 w 2 1000 x โมล w1 M 2

mol/kg

หรือ m =

w 2 1000 x w1 M 2

mol/kg

จะเห็นไดวา  Tf ขึ้นอยูกับคา m และ m ขึ้นอยูกับมวลโมเลกุล (M2) ดังนั้น  Tf จึงขึ้นอยูกับกับ มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย เมื่อแทนคา m ลงใน  Tf = Kfm จะไดสมการที่แสดงความสัมพันธระหวาง  Tf , Kf และ M2 ดังนี้  Tf

หรือ

= Kf m = K f x

M2 = Kf x

w 2 1000 x w1 M 2

w 2 1000 x w 1 Tf

w1 = มวลของตัวทําละลาย (กรัม) w2 = มวลของตัวถูกละลาย (กรัม) M2 = มวลโมเลกุลของตัวถูกละลาย

2. การคํานวณเกี่ยวกับจุดเดือดที่เพิ่มขึ้นของสารละลาย

พิจารณาไดในทํานองเดียวกับจุดเยือกแข็งที่ลดลง “จุดเดือดที่เพิ่มขึ้นของสารละลาย จะแปรผัน โดยตรงกับปริมาณ (ความเขมขน) ของตัวถูกละลายในสารละลาย”  Tb  m หรือ  Tb = Kbm เมื่อแทนคา m จะได


 Tb

หรือ

w 2 1000 x w1 M 2

= K b m = Kb x

M2 = Kb x

w 2 1000 x w 1 Tb

ตัวอยางการคํานวณเกี่ยวกับจุดเยือกแข็งที่ลดลง ตัวอยาง ก.สารละลายชนิดหนึ่งประกอบดวยกลูโคส 1.00 % โดยมวล ที่เหลือเปนน้ําจะมีความเขมขนเปนกี่ mol/kg ข. สารละลายที่ประกอบดวยเอธานอล 20 กรัม และน้ํา 50 กรัมจะมีความเขมขนเปนกี่ mol/kg วิธีทํา ก. สารละลาย 100 กรัม มีกลูโคส 1.00 กรัม เพราะฉะนั้นมีน้ํา = 100 -1.00 = 99 กรัม น้ํา 99.0 กรัม มีกลูโคสอยู = 1.00 กรัม ถาน้ํา 1000 กรัม มีกลูโคส

=

1 99

x 1000 = 10.1 กรัม

มวลโมเลกุลของกลูโคส = 180 น้ํา 1000 กรัม (1 kg) มีกลูโคส = 10.1 กรัม = ข.

10.1 180

= 0.056 โมล ตอบ

ความเขมขนของกลูโคส = 0.056 โมล/กิโลกรัม มวลโมเลกุลของเอธานอล = 46 น้ํา 50 กรัม มีเอธานอล = 20 กรัม น้ํา 1000 กรัม มีอธานอล

=

20 50

x 1000 กรัม=

20 50

x 1000 โมล 46

= 8.70 โมล ตอบ ความเขมขนของเอธานอล = 8.70 mol/kg ตัวอยาง เมื่อนําสาร A 1.5 กรัม ละลายในเบนซีน 50 กรัม ปรากฏวาไดเปนสารละลายเนื้อเดียว เมื่อนําไปวัด จุดเยือกแข็งปรากฏวาได 2.5 0C ถาจุดเยือกแข็งของเบนซีนเทากับ 5.50 0C จงคํานวณหาโมเลกุลของสาร A กําหนด Kf ของเบนซีน = 4.90 0C วิธีทํา ก. โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค สมมติใหมวลโมเลกุลของ A= M สาร A 1.5 กรัม = เบนซีน

1.5 M

โมล

50 กรัม มีสาร A =

เพราะฉะนั้นเบนซีน 1000 กรัม มีสาร A

1.5 โมล M = 1.5 x 1000 M 50

โมล


หรือ ความเขมขนของสาร A =

1.5 1000 x M 50

โมล/กิโลกรัม

เพราะวาคา Kf ของเบนซีน = 4.90 0C เพราะฉะนั้นสารละลาย 1 โมล/กิโลกรัม จะมีจุดเยือกแข็งลดลง 4.90 0C ถาสารละลาย

1.5 1000 x M 50

โมล จะมีจุดเยือกแข็งลดลง = 4.90 x 1.5 x 1000 0C M

จากโจทย จุดเยือกแข็งของสารละลาย จุดเยือกแข็งของเบนซิน เพราะฉะนั้นจุดเยือกแข็งลดลง

= 2.5 0C = 5.5 0C = 5.50 - 2.50 = 3.0 0C

ดังนั้น 4.90 x 1.5 x 1000 M

= 3.0

50

M

= 49.0 = 49.0

มวลโมเลกุลของสาร A ข. โดยการใชสูตร  Tf

Kf w1 w2

50

 Tf

= Kf x

ตอบ

w 2 1000 x w1 M 2

= 5.50 - 2.50 = 3.0 0C = 4.90 0C/mol/kg = 50 g = 1.5 g

แทนคา 3.0 = 4.90 x 1.5 x 1000 50

M2

M2 = 49.0 ตอบ ตัวอยาง ถานํากลูโคส 3.6 กรัม ละลายในน้ํา 100 กรัม สารละลายที่ไดจะมีจุดเยือกแข็งเปนเทาใด กําหนด Kf ของน้ํา = 1.86 0C จุดเยือกแข็งปกติของน้ํา = 0.00 0C วิธีทํา จากสูตร

 Tf

Kf M2 w1 w2 แทนคา

= Kf x = = = =

 Tf  Tf

w 2 1000 x w1 M 2

1.68 0C/mol/kg มวลโมเลกุลของกลูโคส = 180 มวลของน้ํา = 100 g มวลของกลูโคส = 3.6 g = 1.86 x 0

3.6 100

x 1000 180

= 0.372 C จุดเยือกแข็งของสารละลายลดลง 0.372 0C


หรือ จุดเยือกแข็งของสารละลายเทากับ -0.372 0C ตอบ ตัวอยาง จะตองใชแนพธาลีน (C10H8) กี่กรัม ใสลงในเบนซีน 50 กรัม จึงจะทําใหสารละลายมีจุดเยือกแข็ง ลดลง 0.1 0C (กําหนด Kf ของเบนซีน = 4.9 0C) วิธีทํา จากสูตร

 Tf  Tf

w1 w2 M2

= Kf x

w 2 1000 x w1 M 2

= 0.1 0C/mol/kg = มวลของเบนซีน 50 g = มวลของแนพธาลีน ? g = มวลโมเลกุลของแนพธาลีน 128

แทนคา 0.1 = 4.90 x

w2 50

x 1000 128

w2 = 0.1306 กรัม ตองใชแนพธาลีน 0.131 กรัม

ตอบ

ตัวอยาง ถานํากลีเซอรอล (C3H8O3) 10 กรัม ใสลงในน้ําจะตองใชน้ํากี่กรัม จึงจะทําใหสารละลายมีจุดเยือก แข็งเปน -0.186 0C ที่ 1 atm วิธีทํา จากสูตร

 Tf  Tf

Kf w1 w2 M2

= Kf x

w 2 1000 x w1 M 2

= 0 - (-0.186) = 0.186 0C = 1.86 0C/mol/kg = มวลของ H2O = ? g = มวลของของกลีเซอรอล = 10 g = มวลโมเลกุลของกลีเซอรอล = 92

แทนคา 0.186 = 1.86 x

10 w1

x 1000 92

w1 = 1086.96 กรัม ตอบ ตองใชน้ํา 1086.96 กรัม ตัวอยาง ตัวทําละลายอินทรียชนิดหนึ่ง 100 กรัม เมื่อนําแนพธาลีน 5.0 กรัมละลายลงไปจนไดสารละลาย เนื้อเดียว ปรากฏวาสารละลายมีจุดเยือกแข็ง 3.0 0C ถาตัวทําละลายบริสุทธิ์มีจุดเยือกแข็ง 5.0 0C จงคํานวณ Kf ของตัวทําละลายนี้ วิธีทํา จากสูตร

 Tf  Tf

w1

= Kf x

w 2 1000 x w1 M 2

= 5.0 - 3.0 = 2.0 0C = มวลของตัวทําละลาย = 100 g


w2 = มวลของของ C10H8 = 5.0 g M2 = มวลโมเลกุลของ C10H8 = 128 แทนคา 2.0 = Kf x

5.0 100

x 1000 128

0

Kf = 5.12 C/mol/kg ตอบ ตัวอยาง เมื่อนํากรดเบนโซอิก 0.1 โมลละลายในตัวทําละลาย A 200 กรัม ปรากฏวาจุดเยือกแข็งลดลง 0.5 0 C ถานํากลูโคส 5.0 กรัม ละลายใน A 100 กรัม จะไดจุดเยือกแข็งลดลงกี่ 0C วิธีทํา ขั้นแรกหาคา Kf ของ A กอน โดยใชขอมูลชุดแรก หลังจากนั้นจึงจะนํา Kf มาคํานวณหาจุดเยือก แข็งที่ลดลงของสารละลายกลูโคส หาคา Kf

ความเขมขนของกรดเบนโซอิก =

0.1 x1000 200

= 0.5 โมล/กิโลกรัม

m = 0.5 โมล/กิโลกรัม  Tf = Kf m แทนคา จะได 0.5 = Kf x 0.5 Kf = 1.0 0C/mol/kg หาจุดเยือกแข็งที่ลดลงของกลูโคส 

 Tf

Kf M2 w1 w2 แทนคา

= Kf x = = = =

 Tf  Tf

w 2 1000 x w1 M 2

1.0 0C/mol/kg มวลโมเลกุลของกลูโคส = 180 มวลของ A = 100 g มวลของกลูโคส = 5.0 g = 1.0 x 0

5.0 100

x 1000 180

= 0.28 C จุดเยือกแข็งของสารละลายลดลง 0.28 0C ตัวอยาง

ตอบ

ก. จะตองใชเอธานอลกี่กรัม ละลายในกรดอะซิติก 100 กรัม จึงจะทําใหสารละลาย ทีจุดเยือก แข็งลดลงเทากับสารละลายที่ประกอบดวยแนพธาลีน 2.0 กรัม ในเบนซีน 100 กรัม ข. ถาใชเอธานอล 1.0 กรัม ละลายในกรดอะซิติก 100 กรัม ปรากฏวาไดสารละลายที่มีจุด เยือกแข็งลดลงเทากับสารละลายที่ประกอบดวยสาร X 2.0 กรัม ในเบนซีน 100 กรัม จงหามวลโมเลกุล ของ X กําหนด Kf ของกรดอะซิติกและเบนซีน = 3.90 และ 4.90 0C ตามลําดับ วิธีทํา ก.


 Tf ของกรดอะซิติก

(Kf x

Kf M2 w1 w2

= = = =

w 2 1000 x )ของกรดอะซิติก w1 M 2

=

 Tf ของเบนซีน

= (Kf x

กรดอะซิติก 0.90 0C มวลโมเลกุลของเอทานอล = 46 มวลของอะซิติก = 100 g มวลของเอทานอล 

3.90 x

w2 100

w 2 1000 x )ของเบนซีน w1 M 2

Kf M2 w1 w2

= = = =

x 1000 = 4.90 x

2.0 100

46

เบนซีน 4.90 0C มวลโมเลกุลแนพธาลีน = 128 มวลของเบนซีน = 100 g มวลของแนพทาลีน = 2.0 g x 1000 128

w2 = 0.903 กรัม  ตองใชเอธานอล 0.903 กรัม ข. พิจารณาในทํานองเดียวกันกับขอ ก. กรดอะซิติก w1 = มวลของอะซิติก = 100 g w2 = มวลของเอทานอล = 1.0 g 

3.90 x

1.0 100

w1 w2

x 1000 = 4.90 x 46

2.0 100

ตอบ

เบนซีน = มวลของเบนซีน = 100 g = มวลของ X = 2.0 g x 1000 M2

M2 = 115.6 กรัม ตอบ มวลโมเลกุลของ X = 115.6 กรัม ตัวอยาง เมื่อนําสาร B ซึ่งเปนพวกนอนอิเล็กโตรไลตที่ระเหยยากจํานวน 5.0 กรัม ใสลงในน้ํา 100 กรัม ปรากฏวาไดสารละลายที่มีจุดเยือกแข็งคาหนึ่ง ถาตองการใหจุดเยือกแข็งของสารละลายลดต่ําลงกวานี้อีก เทาตัว จะตองเติมสาร B เพิ่มลงไปอีกกี่กรัม วิธีทํา ให  Tf เปนจุดเยือกแข็งที่ลดลงในตอนแรก และ  T f/ เปนจุดเยือกแข็งที่ลดลงในตอนหลัง  Tf

Kf x

w 2 1000 x w1 M 2

= =

1  T f/ 2 / Kf x w 2 x 1000 w1 M 2

Kf , w1 , M2 เปนคาคงที่


 w2

1 2

=

w 2/

หรือ w 2/ = 2 w2 นั่นคือตองเติม B ลงไปอีก 2 เทา ตอบ ตัวอยาง สารละลายของสาร 1 กรัม ในน้ํา 20 ลูกบาศกเซนติเมตรในขอใดมีจุดเยือกแข็งต่ําที่สุด ก. น้ําตาลทราย (C12H22O11) ค. ยูเรีย (H2NCONH2) ข. น้ําตาลกลูโคส (C6H12O6) ง. สารละลายทั้ง 3 ชนิดมีจุดเยือกแข็งเทากัน วิธีทํา สารละลายที่มีจุดเยือกแข็งต่ําที่สุด คือสารละลายที่มี  T มากที่สุด จาก

 Tf

= Kf x

w 2 1000 x w1 M 2

Kf = เปนคาคงที่ w2 = มวลของสารทุกตัวที่ใช 1 กรัม จึงเปนคาคงที่ w1 = มวลของน้ํา 20 cm3 ซึ่งเทากัน เปนคาคงที่ ดังนั้น

 Tf

= (Kf x

w2 w1

1 M2 1  M2

= k หรือ

 Tf

x 1000)x (

1 M2

)

( เมื่อ k = Kf x

w2 w1

x 1000 )

สารที่มี M (มวลโมเลกุล) มาก จะมี  Tf นอย และสารที่มี M นอย จะมี  Tf มาก มวลโมเลกุลของน้ําตาลทราย = 342 มวลโมเลกุลของกลูโคส = 180 มวลโมเลกุลของยูเรีย = 60 เพราะฉะนั้นยูเรียมวลโมเลกุลต่ําสุด จะทําใหมีจุดเยือกแข็งต่ําสุด

ตัวอยางการคํานวณเกี่ยวกับจุดเดือดที่เพิ่มขึ้น

ตอบ

ตัวอยาง เมื่อนําสารอินทรียชนิดหนึ่ง 1.5 กรัมละลายในคลอโรฟอรม 50.0 กรัม จะไดสารละลายมีจุดเดือด เปนเทาใด กําหนดมวลโมเลกุลของสารอินทรีย = 100 จุดเดือดของคลอโรฟอรมบริสุทธิ์ = 61.70 0C คา Kb ของคลอโรฟอรม = 3.63 0C/mol/kg วิธีทํา จาก

 Tb

= Kb x

w 2 1000 x w1 M 2


w1 = มวลของคลอโรฟอรม = 50.0 กรัม M2 = มวลโมเลกุลของสารอินทรีย = 100 w2 = มวลของสารอินทรีย 1.5 กรัม แทนคาจะได

 Tb

= 3.63 x

1.5 1000 x 50.0 100

= 1.089 0C

จุดเดือดเพิ่มขึ้น 1.089 0C หรือจุดเดือดเทากับ 61.70 + 1.089 = 62.79 0C ตอบ ตัวอยาง เมื่อนําสาร A 2.5 กรัม ละลายในโพรพาโนน 100 กรัม ปรากฏวาไดสารละลายที่มีจุดเดือด 57.70 0 C จงคํานวณมวลโมเลกุลของสาร A กําหนดใหโพรพาโนนมีจุดเดือดและ Kb เปน 56.20 0C และ 1.71 0C ตามลําดับ วิธีทํา จาก

 Tb

= Kb x

w 2 1000 x w1 M 2

= 57.70 - 56.20 = 1.50 0C w1 = มวลของโพรพาโนน = 100.0 กรัม w2 = มวลของสาร A 2.5 กรัม Kb = 1.71 0C/mol/kg  Tb

แทนคาจะได1.50

= 1.71 x

2.5 1000 x 100 M 2

M2 = 28.5 มวลโมเลกุลของสาร A = 28.5

ตอบ

ตัวอยาง สาร A เปนตัวทําละลายอินทรีย เมื่อนําแนพธาลีน 5.0 กรัม ละลายใน A 100 กรัม ปรากฏวาจุดเดือด ของสารละลายเพิ่มขึ้น 0.25 0C ถานํา CCl4 1.0 กรัม ละลายในสาร A 100 กรัม จะไดจุดเดือดเพิ่มขึ้นเปน เทาใด วิธีทํา สําหรับแนพธาลีน (C10H8) จาก

 Tb

= Kb x

w 2 1000 x w1 M 2

= 0.25 0C w1 = มวลของสาร A = 100.0 กรัม w2 = มวลของแนพธาลีน 0.5 กรัม M2 = มวลโมเลกุลของแนพธาลีน 128 Kb = ? 0C/mol/kg  Tb

แทนคาจะได 0.25

= Kb x

0.5 1000 x 100 128

Kb = 6.4 0C/mol/kg


สําหรับ CCl4 จาก

 Tb

= Kb x

w 2 1000 x w1 M 2

w1 = มวลของ A = 100.0 กรัม M2 = มวลโมเลกุลของCCl4 = 145 w2 = มวลของCCl4 1.0 กรัม Kb = 6.4 0C/mol/kg แทนคาจะได

 Tb

= 6.4 x

1.0 1000 x 100 154

= 0.42 0C

จุดเดือดเพิ่มขึ้น 0.42 0C ตอบ ตัวอยาง จะตองใชแนพธาลีนกี่กรัมใสในเบนซีน 50.0 กรัม จึงจะไดสารละลายมีจุดเดือด 80.50 0C (จุดเดือด และ Kb ของเบนซีน = 80.10 และ 2.53 0C/mol/kg ตามลําดับ วิธีทํา จาก

 Tb

= Kb x

w 2 1000 x w1 M 2

= 80.50 - 80.10 = 0.40 0C w1 = มวลของเบนซีน = 50.0 กรัม Kb = 2.53 0C/mol/kg  Tb

แทนคาจะได 0.40

= 2.53 x

w2 50

M2 = มวลโมเลกุลของเบนซีน = 128 w2 = ? กรัม

x 1000 128

w2 = 1.012 g ตองใชแนพธาลีน 1.012 กรัม ตอบ ตัวอยาง กรดฟอรมิก (HCOOH) เปนอิเล็กโทรไลตออน สามารถละลายในน้ําและแตกตัวเปนไอออนได บางสวนเมื่ออยูในน้ํา จากการวัดจุดเดือดของสารละลายที่ประกอบดวยกรดฟอรมิก 2.3 กรัม ในน้ํา 50.0 กรัม ปรากฏวาได 100.25 0C จงคํานวณ % การแตกตัวของกรดฟอรมิกนี้ (Kb ของน้ํา = 0.51 0C/mol/kg วิธีทํา จาก  Tb = Kbm 0 0  Tb = 0.52 C, Kb = 0.51 C/mol/kg  0.52 = 0.51 x m m = 1.02 mol/kg HCOOH H+ + HCOO+  mol/kg ของ (HCOOH + H + HCOO ) = 1.02 …………..(1) หาความเขมขนของ HCOOH (M = 46) น้ํา 50.0 กรัม มี HCOOH = 2.3 กรัม 1000 = 1.00 โมล น้ํา 1000 กรัม มี HCOOH = 2.3 x 1000 กรัม = 2.3 x 50 x 46 50


ความเขมขนของกรด = 1.00 โมล/กิโลกรัม หา % การแตกตัว ให HCOOH แตกตัวไป y โมล/กิโลกรัม HCOOH  H+ + HCOOจากสมการ จะได H+ และ HCOO- อยางละ y โมล/กิโลกรัม HCOOH H+ + HCOOเริ่มตน 1.00 0 0 เปลี่ยนแปลง -y +y +y เหลือ 1.00-y y y +  จํานวนโมลทั้งหมด (HCOOH + H + HCOO ) = (1.00-y) + y +y = 1.00 + y ……… (2) สมการที่ (1) = (2) 1.00 + y = 1.02 y = 0.02 โมล/กิโลกรัม คิดเปน % การแตกตัว =

0.02 x 100 1.00

= 2.0 %

ตัวอยาง กําหนดจุดเดือดของสารละลายที่เกิดจากสาร A, B , C และ D อยางละ 1 กรัม ละลายในเบนซิน 100 กรัม ดังนี้ สาร จุดเดือด (0C) เบนซีน 80.10 สารละลาย A 80.50 สารละลาย B 81.05 สารละลาย C 80.92 สารละลาย D 80.20 จงเรียงลําดับโมเลกุลมวลโมเลกุลของสารจากนอยไปหามาก วิธีทํา จาก  Tb = Kb x

w 2 1000 x w1 M 2

w1 = มวลของเบนซีน = 100.0 กรัม มีคาคงที่ w2 = มวลของสาร = 1 กรัม มีคาคงที่ Kb = 2.53 0C/mol/kg มีคาคงที่ ดังนั้น

 Tb 

1 M

มวลโมเลกุลนอยที่สุด จะมีจุดเดือดมาก หรือ  Tb มากที่สุดนั่นเอง จากโจทย


สารละลาย A มี  Tb = 80.50 - 80.10 = 0.40 0C สารละลาย B มี  Tb = 81.05 - 80.10 = 0.95 0C สารละลาย C มี  Tb = 80.92 - 80.10 = 0.82 0C สารละลาย D มี  Tb = 80.20 - 80.10 = 0.10 0C ลําดับ  Tb = B < C < A < D  ลําดับมวลโมเลกุล B < C < A < D ตัวอยาง น้ําตาลกลูโคส 20 กรัม ในน้ํา 100 กรัม จะมีจุดเดือดสูงหรือต่ํากวาสารละลายที่เกิดจากน้ําตาลทราย (C12H22O11) 15 กรัมในน้ํา 50 กรัม วิธีทํา

จาก  Tb = Kb x

w 2 1000 x w1 M 2

น้ําตาลกลูโคส w1 = มวลของน้ํา = 100.0 กรัม w2 = มวลของกลูโคส = 20 กรัม น้ําตาลทราย w1 = มวลของน้ํา = 50.0 กรัม w2 = มวลของน้ําตาลทราย = 15 กรัม กลูโคส

Tb = 0.51 x

น้ําตาลทราย

Tb = 0.51 x

Kb = 0.51 0C/mol/kg M2 = มวลโมเลกุลกลูโคส 180

Kb = 0.51 0C/mol/kg M2 = มวลโมเลกุลน้ําตาลทราย 342

20 1000 x = 0.57 0C 100 180 15 1000 x = 0.45 0C 50 342

เพราะฉะนั้น สารละลายน้ําตาลกลูโคสมีจุดเดือดสูงกวาน้ําตาลทราย 0.57 - 0.45 = 0.12 0C ตอบ ตัวอยาง จะตองใชสาร A (มวลโมเลกุล = 115) กี่กรัมละลายในคลอโรฟอรม (Kb = 3.63 0C/mol/kg) 100 กรัม จึงจะมีจุดเดือดเทากับสารละลายที่เกิดจากสาร B (มวลโมเลกุล 46) 1.6 กรัม ในเมธานอล (Kb = 0.83 0 C/mol/kg) 100 กรัม กําหนดจุดเดือดของคลอโรฟอรมและเมธานอลเปน 61.70 0C และ 64.96 0C ตามลําดับ วิธีทํา เนื่องจากจุดเดือดของสารละลาย A และ B เทากันดังนั้นจึงคํานวณจุดเดือดของสารละลาย B กอน (เนื่องจากมีขอมูลครบ) หลังจากนั้นจึงจะนําไปคํานวณมวลของ A หาจุดเดือดของสารละลาย B/เมธานอล จาก  Tb = Kb x

w 2 1000 x w1 M 2

w1 = มวลของเมธานอล = 100.0 กรัม w2 = มวลของ B = 1.6 กรัม

Kb = 0.83 0C/mol/kg M2 = มวลโมเลกุลของ B 46


Tb = 0.83 x

1.6 1000 x 100 46

= 0.289 0C

Tb = T - 64.96 = 0.289 0C 0  T = จุดเดือดของสารละลาย = 65.249 C หามวลของ A ใน CHCl3 w1 = มวลของคลอโรฟอรม = 100.0 กรัม w2 = มวลของ A = ? กรัม Kb = 3.36 0C/mol/kg M2 = มวลโมเลกุลของ A 115 0  Tb = 65.249 - 61.70 = 3.549 C (จุดเดือดของ A และ B เทากันคือ 65.249 0C) 

 3.549

= 3.63 x

w 2 1000 x 100 115

w2 = 11.24 กรัม ตอบ ตองใชสาร A เทากับ 11.24 กรัม ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


ใบความรู เรื่อง การคํานวณมวลเปนรอยละจากสูตร (ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 16) *********************************************************** สูตรโมเลกุลนอกจากจะใชคํานวณมวลโมเลกุลของสารประกอบแลว ยังสามารถนํามาคํานวณหา มวลเปนรอยละของธาตุตางๆ ในสารประกอบได โดยทั่วๆ ไปการคํานวณรอยละของสารประกอบนอกจากจะคํานวณโดยการเทียบบัญญัติ ไตรยางคแลว ยังอาจจะพิจารณาไดจากสูตร %A =

wA wT

x 100

%A = รอยละของ A wA = มวลของ A wT = มวลของสารทั้งหมด ในกรณีที่เปนการคํานวณรอยละของธาตุ สามารถจะนํามาเขียนใหมเปน มวลของ A ใน 1 โมล

% ของธาตุ A = มวลโมเลกุลของสาร x 100 โดยทั่วๆ ไปการคํานวณรอยละของธาตุควรจะทราบสูตรโมเลกุลของสารและมวลอะตอมของธาตุ เพื่อหามวลของธาตุและมวลโมเลกุลของสาร ในกรณีที่โจทยกําหนดสูตรของสารประกอบใหหรือกําหนดขอมูลที่จะใชคํานวณสูตรโมเลกุลใหจะ สามารถนํามาคํานวณรอยละไดโดยตรง แตถาไมกําหนดสูตรของสารประกอบใหอาจจะตองใชโมล หรือ ปฏิกิริยาเคมีเขาชวย ตัวอยางที่ 1 จงคํานวณรอยละโดยมวลของธาตุตางๆ ในกรดกํามะถัน วิธีทํา กรดกํามะถันคือ H2SO4 มีมวลโมเลกุล 98 มวลของ A ใน 1 โมล

จาก % ของธาตุ A = มวลโมเลกุลของสาร x 100 H2SO4  2H + S + 4O 1 โมล 2โมล 1 โมล 4 โมล 98 กรัม 2 กรัม 32 กรัม 4x16 กรัม %H =

มวล 2H มวล H 2 SO 4

x 100 =

2 98

x 100 = 2.04%


%S = %O =

มวล S มวล H 2 SO 4 มวล O มวล H 2 SO 4

x 100 =

32 98

x 100 =

4x16 98

x 100 = 32.65% x 100 = 65.31%

ตัวอยางที่ 2 จงคํานวณรอยละโดยมวลของน้ําผลึกที่มีอยูในผลึกจุนสี วิธีทํา ผลึกจุนสี มีสูตรเปน CuSO4.5H2O มีมวลโมเลกุล 249.5 จาก % ของธาตุ A

มวลของ H 2 O ในจุนสี 1 โมล x 100 มวลโมเลกุล ของจุนสี มวลของ H 2 O 5 โมล = CuSO 4 .5H 2 O x 100 =

=

5x18 249.5

x 100 = 36.1%

ผลึกจุนสีมีน้ําผลึก 36.1% โดยมวล ตอบ ตัวอยางที่ 3 สารใดในขอตอไปนี้ มีกํามะถันเปนองคประกอบในปริมาณมากที่สุด ก. NaHSO3 ข. Na2S2O3 ค. H2S2O7 ง. Fe2(SO4)3 วิธีทํา สารที่จะมี S เปนองคประกอบมากที่สุด ก็คือสารที่มี % โดยมวลของ S มากที่สุดนั่นเอง ก. NaHSO3 มวลโมเลกุล = 104 %S =

มวล S มวล NaHSO 4

x 100 =

32 104

x 100 = 30.77%

ข. Na2S2O3 มวลโมเลกุล = 158 %S =

มวล 2S มวล Na 2 S 2 O 3

2 x 32 158

x 100 =

x 100 = 40.51%

ค. H2S2O7 มวลโมเลกุล = 178 %S =

มวล 2S มวล H 2 S 2 O 7

x 100 =

2 x 32 178

x 100 = 35.96%

ง. Fe2(SO4)3 มวลโมเลกุล = 399.7 %S =

มวล 3S มวล Fe 2 (SO 4 ) 3

x 100 =

3x 32 399.7

x 100 = 24.02%

Na2S2O3 มี %S มากที่สุด หรือเปนสารที่มี S เปนองคประกอบมากที่สุดนั่นเอง ตัวอยางที่ 4 สารประกอบชนิดหนึ่งเปนกาซประกอบดวยไนโตรเจนและออกซิเจน เมื่อนําสารประกอบนี้มา 3.24 กรัมทําใหสลายตัวจนหมด ปรากฏวาไดกาซ N2 672 cm3 ที่ STP ที่เหลือเปนกาซออกซิเจน จงคํานวณ รอยละโดยมวลของออกซิเจนในสารประกอบนี้


วิธีทํา เปนการคํานวณรอยละของธาตุในสารประกอบเชนเดียวกัน แตไมทราบสูตรโมเลกุลของสาร %O =

wO wT

x 100

wO = มวลของ O wT = มวลของสารทั้งหมด โจทยไมไดกําหนดมวลของออกซิเจนใหโดยตรง แตกําหนดผานปริมาตรของ N2 ซึ่งเมื่อทราบมวล ของ N2 จะหามวลของ O2 ได หามวลของ N2

จาก

w M

=

V 22.4

M = 28, V = 672 cm3 = 0.672 dm3 

w 28

=

0.672 22.4

w = 0.84 กรัม มวลของไนโตรเจนในสารประกอบเทากับ 0.84 กรัม หา % ของ O มวลของสาร = 3.24 มวลของ N = 0.84  มวลของ O = 3.24 - 0.84 = 2.40 กรัม wO = 2.40 , wT = 3.24  %O =

2.40 3.24

x 100

= 74.1 ตอบ

มีออกซิเจนเปนองคประกอบ 74.1 % โดยมวล

ตัวอยางที่ 5 สารละลายของกรดกํามะถันในน้ําจํานวนหนึ่ง จากการวิเคราะหพบวามีธาตุกํามะถันรอยละ 12.5 โดยมวล จงคํานวณรอยละโดยมวลของกรดกํามะถันในสารละลายดังกลาว วิธีทํา จากโจทย สารละลาย 100 กรัม มีธาตุ S 12.5 กรัม H2SO4  S ธาตุ S 32 กรัม (1 โมล) ไดจากกรด H2SO4 = 98 กรัม ( 1 โมล) 

ธาตุ S 12.5 กรัม ไดจากกรด H2SO4

= 98 x 12.5 กรัม 32

= 38.3 กรัม สารละลาย 100 กรัม มี S 12.5 กรัม มี H2SO4 38.3 กรัม  มีกรด H2SO4 38.3 % โดยมวล

ตอบ

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


ใบความรู เรื่อง สูตรเคมี (ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 17-18) *************************************************************** สูตรเคมี หมายถึง สัญลักษณที่ใชเขียนแทนธาตุหรือสารประกอบเพื่อแสดงองคประกอบของสาร เหลานั้นวาประกอบดวยธาตุใดบาง อยางละเทาใด หรือเปนอัตราสวนเทาใด สูตรบางประเภทยังให รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดเรียงอะตอมภายในโมเลกุลดวย สูตรเคมีอาจจะแบงเปน 3 ประเภท คือ สูตรโมเลกุล สูตรอยางงาย และสูตรโครงสราง ก. สูตรโมเลกุล (Molecular formula) หมายถึง สูตรที่แสดงจํานวนอะตอมของธาตุที่มีอยูใน 1 โมเลกุล สูตรโมเลกุลจะทําใหทราบวาสารนั้นประกอบดวยธาตุอะไรบาง อยางละกี่อะตอม เชน 1. กาซคลอรีน มีสูตรโมเลกุลเปน Cl2 หมายความวากาซคลอรีน 1 โมเลกุล ประกอบดวยธาตุ Cl อยางเดียว จํานวน 2 อะตอม 2. กรดอะซิติก มีสูตรโมเลกุลเปน C2H4O2 หมายความวา กรดอะซิติก 1 โมเลกุล ประกอบดวย ธาตุ C, H และ O จํานวน 2, 4 และ 2 อะตอม ตามลําดับ ตัวอยางสูตรโมเลกุล ไฮโดรเจนเพอรออกไซด มีสูตรโมเลกุลเปน H2O2 กรดไนตริก มีสูตรโมเลกุลเปน HNO3 กาซโพรเพน มีสูตรโมเลกุลเปน C3H8 ข. สูตรอยางงาย (Empirical formula) หมายถึง สูตรที่แสดงอัตราสวนอยางต่ําของจํานวน อะตอมของธาตุในสารประกอบ จะทําใหทราบวาสารประกอบนั้นประกอบดวยธาตุอะไรบาง มีอัตราสวน อยางต่ําของจํานวนอะตอมที่มารวมกันเปนสารประกอบเทาใด เชน 1. สูตรอยางงายของไฮโดรเจนเพอรออกไซด คือ HO หมายความวาไฮโดรเจนเพอรออกไซด ประกอบดวยธาตุ H และ O โดยมีอัตราสวนอยางต่ําของจํานวนอะตอม H : O = 1 : 1 2. สูตรอยางงายของกรดแอซิติก คือ CH2O หมายความวากรดแอซิติกประกอบดวยธาตุ C , H และ O โดยมีอัตราสวนอยางต่ําของจํานวนอะตอม C : H : O = 1 : 2 : 1 3. สูตรอยางงายของเอธานอล คือ C2H6O หมายความวาเอธานอลประกอบดวยธาตุ C , H และ O โดยมีอัตราสวนอยางต่ําของจํานวนอะตอม C : H : O = 2 : 6 : 1 สูตรอยางงายและสูตรโมเลกุลของเอธานอลเหมือนกันคือ C2H6O เนื่องจากอัตราสวนของจํานวน อะตอม C , H และ O ใน 1 โมเลกุลเปน C : H : O = 2 : 6 : 1 ซึ่งเปนเลขอยางต่ําอยูแลว ตัวอยางของสูตรอยางงาย น้ํา (H2O) มีสูตรอยางงายเปน H2O


กรดซัลฟูริก (H2SO4) มีสูตรอยางงายเปน กลูโคส (C6H12O6) มีสูตรอยางงายเปน

ความสัมพันธระหวางสูตรอยางงายกับสูตรโมเลกุล

H2SO4 CH2O

สูตรโมเลกุลเปนสูตรที่แสดงจํานวนอะตอมทั้งหมด ใน 1 โมเลกุล ในขณะที่สูตรอยางงาย แสดง อัตราสวนอยางต่ําของจํานวนอะตอมใน 1 โมเลกุล จากตัวอยางของสูตรโมเลกุลและสูตรอยางงาย จะเห็น ไดวาเมื่อทราบสูตรโมเลกุล ก็จะทราบสูตรอยางงาย เนื่องจากสูตรทั้งสองประเภทมีสวนสัมพันธกันดังนี้ สูตรโมเลกุล = (สูตรอยางงาย)n

เมื่อ n = 1, 2, 3, ……. เมื่อทราบสูตรโมเลกุล ก็จะสามารถหาสูตรยางงายได และในทางตรงกันขามเมื่อทราบสูตรอยาง งายก็สามารถหาสูตรโมเลกุลได ตารางที่ 1 ตัวอยางแสดงความสัมพันธของสูตรโมเลกุลและสูตรอยางงาย สารประกอบ สูตรโมเลกุล สูตรอยางงาย กรดแอซิติก C2H4O2 = (CH2O)2 CH2O กลูโคส C6H12O6 = (CH2O)6 CH2O น้ํา H2O = (H2O)1 H2O ไฮโดรเจนเพอรออกไซด H2O2 = (HO)2 HO เอธีลีน C2H4 = (CH2)2 CH2 อะเซธิลีน C2H2 = (CH)2 CH กรดคารบอนิก H2CO3 = (H2CO3 )1 H2CO3

ค. สูตรโครงสราง (Structural formula) หมายถึง สูตรที่แสดงวาใน 1 โมเลกุลของสาร

นั้นประกอบดวยธาตุใดบาง อยางละกี่อะตอม และแตละอะตอมจัดเรียงตัวกันอยางไร สูตรโครงสรางนอกจากจะทําใหทราบวาสารนั้นประกอบดวยธาตุอะไรบาง อยางละกี่อะตอม แลว ยังบอกตําแหนงของอะตอมที่จัดเรียงตัวในโมเลกุลดวย ทําใหทราบวาแตละอะตอมยึดเหนี่ยวกันอยางไร สูตรโครงสรางสามารถเขียนได 2 แบบ คือสูตรโครงสรางแบบจุด และสูตรโครงสรางแบบเสน เชน กรดแอซิติก มีสูตรโมเลกุลเปน C2H4O2 และ มีสูตรโครงสรางดังนี้

H O H C C O H H แบบจุด

H O H C C O H H แบบเสน


หมายความวา กรดอะซิติก 1 โมเลกุล ประกอบดวยธาตุ C, H และ O จํานวน 2 , 4 และ 2 อะตอม ตามลําดับ โดยแตละอะตอมจัดเรียงตัวกันดังแสดงในแผนภาพขางตน เอธานอล มีสูตรโมเลกุลเปน C2H6O และมีสูตรโครงสรางดังนี้

H H H C C O H H H

H H H C C O H H H

แบบจุด แบบเสน หมายความวา เอธานอล 1 โมเลกุล ประกอบดวย ธาตุ C, H และ O จํานวน 2 , 6 และ 1 อะตอม ตามลําดับ โดยแตละอะตอมจัดเรียงตัวกันดังแสดงในแผนภาพขางตน ตารางที่ 2 ตัวอยางสูตรโมเลกุล สูตรอยางงาย และสูตรโครงสรางของสารบางชนิด ชื่อสาร สูตรโมเลกุล สูตรอยางงาย สูตรแบบจุด สูตรแบบเสน คลอรีน Cl2 Cl2 Cl - Cl Cl Cl ออกซิเจน

O2

O2

ไนโตรเจน

N2

N2

คารบอนไดออกไซด

CO2

CO2

น้ํา

H2O

H2O

ไฮโดรเจนไซยาไนด

HCN

HCN

C2H5OH

C2H5OH

CH4

CH4

H2CO3

H2CO3

CH3COOH

CH3COOH

BCl3

BCl3

เอธานอล

มีเธน

กรดคารบอนิก กรดอะซิติก

โบรอนไตรคลอไรด

O=O O O N N N N O = C =O O C O H-O-H H O H H -C N H C N H H H H H C C O H H C C O H H H H H H H H C H H C H H H H O C O H H-O-C-O-H O O H O H O H C C O H H C C O H H H Cl B Cl Cl - B - Cl Cl Cl


เอธิลีน

C2H4

CH2

H C C H H H

H C C H H H

จากตารางจะเห็นไดวา 1. สารบางชนิดมีสูตรอยางงาย และสูตรโมเลกุลเปนสูตรเดียวกัน เชน น้ํา กาซออกซิเจน 2. สารบางชนิดมีสูตรอยางงาย และสูตรโมเลกุลแตกตางกัน เชน เอทิลีน เปนตน 3. สารตางชนิดกันอาจจะมีสูตรอยางงายเหมือนกัน แตมีสูตรโมเลกุลที่แตกตางกัน (บางชนิดมีสูตร โมเลกุลเหมือนกันดวย) เชน กรดแอซิติก กับฟอรมาลดีไฮด มีสูตรอยางงายเปน CH2O เหมือนกัน 4. สารบางชนิดมีสูตรอยางงาย และสูตรโมเลกุล เหมือนกัน แตมีสูตรโครงสรางที่ตางกัน เชน กรดโพรพาโนอิก กับเมธิลอะซิเตต และ เมธิลอีเทอร กับเอธานอล --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การคํานวณที่เกี่ยวของกับสูตรเคมี 1. การหาสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล

สูตรเคมีนั้นมีทั้งสูตรเอมพิริคัล (หรือเดิมเรียกวา สูตรอยางงาย) สูตรโมเลกุลและสูตรโครงสราง ซึ่ง ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะสูตรโมเลกุลเทานั้น สูตรแอมพิริคัลเปนสูตรที่แสดง “อัตราสวนของอะตอมของธาตุในสารประกอบ” ซึ่งก็คือ “อัตรา สวนของโมลอะตอมของธาตุในสารประกอบ” นั่นเอง เชน กรณีสูตรเอมพิริคัลของกรดอะซิติก (C2H4O2) คือ CH2O CH2O  C + 2H + O อัตราสวนจํานวนอะตอม C : H : O = 1 : 2 : 1 อัตราสวนจํานวนโมลอะตอม C : H : O = 1 : 2 : 1 สูตรเอมพิริคัลของเอธานอล คือ C2H6O C2H6O  2C + 6H + O อัตราสวนจํานวนอะตอม C : H : O = 2 : 6 : 1 อัตราสวนจํานวนโมลอะตอม C : H : O = 2 : 6 : 1 จะเห็นวา อัตราสวนของจํานวนอะตอมและอัตราสวนของจํานวนโมลอะตอม มีคาเทากัน ดังนั้นใน การหาสูตรเอมพิริคัลอาจจะพิจารณาจากจํานวนอะตอมหรือ จํานวนโมลอะตอมก็ได แลวแตวาวิธีการใดจะ สะดวกและงายกวากัน ปกติโจทยจะกําหนดปริมาณขององคประกอบใหในเทอมของมวล ซึ่งถานํามา คํานวณเปนจํานวนอะตอมจะยุงยากกวาการคํานวณเปนโมลอะตอม ดังนั้นการคํานวณสูตรอยางงายจึงนิยม ทําผานโมลอะตอม การกําหนดปริมาณของธาตุที่เปนองคประกอบจะกําหนดมวลของธาตุแตละชนิดโดยตรง หรือ


อาจจะกําหนดโดยทางออม เชน กําหนดเปนรอยละโดยมวลหรือกําหนดผานปฏิกิริยาเคมี จากมวลของธาตุ แตละชนิด จะคํานวณโมลไดโดยใชความสัมพันธดังนี้ มวล มวลอะตอม

หรือ จํานวนโมล =

w M

n =

ซึ่งเมื่อทราบจํานวนโมล ของธาตุทุกตัวแลว นํามาเทียบอัตราสวนกัน และทําใหเปนเลขลงตัวอยางต่ํา จะไดอัตราสวน ของจํานวนโมลอะตอม หรือไดสูตรเอมพิริคัลนั่นเอง การคํานวณสูตรเอมพิริคัล สรุปเปนหลักการทั่วๆ ไป ไดดังนี้ 1. ตองทราบวาสารประกอบนั้นมีธาตุอะไรบาง 2. ธาตุแตละชนิดมีมวลเปนเทาใด 3. คํานวณจํานวนโมลของธาตุแตละชนิด 4. นําจํานวนโมลมาเทียบอัตราสวนพรอมกับทําใหเปนเลขลงตัวอยางต่ํา จะไดสูตรเอมพิริคัล การทําอัตราสวนของจํานวนโมลอะตอมใหเปนเลขลงตัวอยางต่ําอาจจะทําไดดังนี้ 1. ทําจํานวนโมลของธาตุแตละตัวใหเปนเลขทศนิยม 2. นําจํานวนโมลที่มีคานอยที่สุดในขอ 1 หารตลอดอัตราสวนนั้น ถาไดเปนเลขลงตัวอยางต่ําจะได สูตรเอมพิริคัล 3. ในกรณีที่ทําขอ 2. แลวยังไดเปนเลขไมลงตัว ถาคาที่ไดใกลเคียงกับเลขจํานวนเต็มมาก ใหปดเปน เลขจํานวนเต็มได แตถาคาที่ไดตางจากเลขจํานวนเต็มมาก ใหหาตัวคูณที่เหมาะสมคูณตลอดเพื่อใหไดเปน เลขจํานวนเต็ม หรือใกลเคียงกับเลขจํานวนเต็มมากที่สุด ซึ่งจะไดสูตรเอมพิริคัล พิจารณาตัวอยางเพื่อประกอบความเขาใจดังตอไปนี้ ก. ถาโมลของ A : B : C =

54.6 12

:

9 .1 1

:

36.6 16

ใหหาสูตรเอมพิริคัลตามขั้นตอนดังกลาวคือ 1. ทําใหเปนเลขทศนิยม โมลของ A : B : C = 4.55 : 9.1 : 2.29 2. หารตลอดดวยตัวเลขคานอยที่สุดคือ 2.29 โมลของ A : B : C = 2 : 4 : 1  สูตรเอมพิริคัล คือ A2B4C ข. ถาโมลของ A : B : C = 2.93 : 5.02 : 1.01 ใหปดเปนเลขจํานวนเต็ม โมล A : B : C = 3 : 5 : 1  สูตรเอมพิริคัล คือ A3B5C ค. ถาโมลของ A : B : C = 1.98 : 2.50 : 0.49 กรณีนี้ปดใหเปนเลขจํานวนเต็มไมได ใหนําคาที่นอยที่สุดหารตลอด โมล A : B : C = 4.05 : 5.10 : 1.00 แลวจึงปดใหเปนเลขจํานวนเต็ม


โมล A : B : C = 4 : 5 : 1  สูตรเอมพิริคัล คือ A4B5C ง. ถาโมลของ A : B : C = 1.97 : 0.65 : 4.25 ใหหารตลอดดวย 0.65 (คานอยที่สุด) โมล A : B : C = 3.03 : 1.00 : 6.53 เนื่องจากไดอัตราสวนของเลขที่ไมลงตัวและปดใหเปนจํานวนเต็มไมได จึงตองหาตัวคูณที่ เหมาะสมมาคูณตลอด ในที่นี้คูณดวย 2 โมล A : B : C = 6.06 : 2.00 : 13.06 แลวจึงปดใหเปนเลขจํานวนเต็ม  สูตรเอมพิริคัล คือ A6B2C13 ตัวอยางที่ 1โลหะ A 0.81 กรัม ทําปฏิกิริยาพอดีกับออกซิเจน 0.32 กรัม ไดสารประกอบออกไซดเพียงชนิ เดียว สารที่ไดมีอัตราสวนจํานวนอะตอมของโลหะ A ตออกซิเจนเปนเทาใด (O = 16, A=27) วิธีทํา

จากสูตร n = โมลของ A = โมลของ O = โมลของ A : O =

w M 0.81 27 0.32 16 0.81 0.32 : 27 16

= 0.03 : 0.02 = 3:2 อัตราสวนของจํานวนโมล ก็คืออัตราสวนของจํานวนอะตอม  อัตราสวนของจํานวนอะตอม A : O = 3 : 2

ตอบ

ตัวอยางที่ 2 สารบริสุทธิ์ชนิดหนึ่งประกอบดวยธาตุไฮโดรเจน 0.250 กรัม คารบอน 1.500 กรัม และคลอรีน 8.875 กรัม จงคํานวณสูตรเอมพิริคัลของสานี้ วิธีทํา

โมลของ H

=

โมลของ C

=

โมลของ Cl

=

 โมลของ

C : H : Cl

 อัตราสวนจํานวนโมล

=

0.250 1 1.500 12 8.875 35.5 0.250 1.500 : 1 12

:

8.875 35.5

= 0.125 : 0.250 : 0.250 = 1:2:2 = อัตราสวนจํานวนอะตอม


 อัตราสวนจํานวนอะตอม =

1:2:2 ตอบ

สูตรเอมพิริคัล คือ CH2Cl2

ตัวอยางที่ 3 เหล็กมีมวลอะตอม 55.8 เหล็กออกไซดชนิดหนึ่ง 12.00 กรัม เมื่อนํามาวิเคราะหพบวามี ออกซิเจน 3.315 กรัมจงคํานวณสูตรเอมพิริคัลของเหล็กออกไซดชนิดนี้ วิธีทํา เหล็กออกไซด 12.00 กรัม มีออกซิเจน 3.315 กรัม  มีเหล็ก = 12.00 - 3.315 = 8.685 กรัม โมลของ Fe : O =

8.685 55.8

:

3.315 16

= 0.156 : 0.207 = 3 : 4

สูตรเอมพิริคัลของออกไซดคือ Fe3O4 ตอบ ตัวอยางที่ 4 สารประกอบไฮโดรคารบอนชนิดหนึ่ง 2.7 กรัม จากการวิเคราะหพบวามีคารบอน 85.7% โดย มวล สูตรเอมพิริคัลของไฮโดรคารบอนคืออะไร วิธีทํา สารประกอบมี C = 85.7% โดยมวล  มี H = 100 - 85.7 = 14.3 % หรือสารประกอบ 100 กรัม มี C 85.7 กรัม และ H 14.3 กรัม (มวลของไฮโดรคารบอน 2.7 กรัม ไมจําเปนตองนํามาคิก เพราะคิดจาก % ที่กําหนดใหแลว) โมลของ C : H

=

85.7 12

: 14.3 = 7.14 : 14.3 = 1 : 2 1

สูตรเอมพิริคัลคือ CH2 ตอบ ตัวอยางที่ 5 สารประกอบชนิดหนึ่ง ประกอบดวยธาตุ C, H และ O เทานั้น จากการวิเคราะหพบวา สารประกอบนี้มี C 40.0% , H 6.7 % โดยมวล ที่เหลือเปนออกซิเจน จงคํานวณสูตรเอมพิริคัลของ สารประกอบนี้ วิธีทํา สารประกอบมี C 40.0% , H 6.7 %  มี O = 100 - 40.0 - 6.7 = 53.3 % โมลของ C : H : O =

40.0 12

:

6 .7 1

:

53.5 = 16

3.33 : 6.7 : 3.34 = 1 : 2 : 1

สูตรเอมพิริคัลคือ CH2O ตอบ ตัวอยางที่ 6 สารประกอบ A และ B ตางก็มีธาตุไนโตรเจนและธาตุออกซิเจนเปนองคประกอบ เมื่อนํา สารประกอบทั้งสองนี้ไปทําการวิเคราะหพบวา 58 กรัมของสารประกอบ A มีธาตุไนโตรเจน 27 กรัม และ 72 กรัม ของสารประกอบ B มีธาตุไนโตรเจน 46 กรัม ถาสารประกอบ A คือ NO สารประกอบ B คืออะไร วิธีทํา โจทยถามสูตรของสารประกอบ B จึงพิจารณาเฉพาะมวลของธาตุใน B  มีธาตุออกซิเจน = 72 - 46 = 26 กรัม โมลของ N : O

=

46 14

:

26 = 32

3.29 : 1.63 = 2 : 1


 สูตรเอมพิริคัลของ B คือ N2O

ตอบ

ตัวอยางที่ 7 สารประกอบ A ประกอบดวยธาตุ C, H และ O เทานั้น เมื่อนําสาร A 2.95 กรัม เผาในบรรยากาศ ของกาซ O2 จํานวนมากเกินพอ หลังการเผาไหมอยางสมบูรณได CO2 และ H2O 6.60 และ 3.15 กรัม ตามลําดับ สูตรเอมพิริคัลของสาร A คืออะไร วิธีทํา เปนการหาสูตรเอมพิริคัลเชนเดียวกัน แตการกําหนดปริมาณของธาตุเปนการกําหนดทางออมอาศัย 2 ปฏิกิริยาเคมี A ( C, H,O) O CO2 + H2O  2.95 กรัม 6.60 กรัม 3.15 กรัม ขั้นแรก ตองหามวลของ C, H และ O กอน พิจารณาจากสมการ C ในสาร A จะกลายเปน CO2 และ H ในสาร A จะกลายเปน H2O โดย อาศัยกฎทรงมวล มวลของ C ในสาร A ยอมเทากับใน CO2 และมวลของ H ในสาร A ยอมเทากับใน H2O ก. คํานวณมวลของ C ใน CO2 ข. คํานวณมวลของ H ใน H2O ค. คํานวณมวลของ O โดยนํามวลของ C และ H ลบออกจากมวลของสาร A (มวลของ O จะคํานวณโดยตรงจาก CO2 และ H2O ไมได เพราะ O2 บางสวนจะไดจากกาซ O2) หลังทราบมวลของ C, H และ O แลวจึงนําไปคํานวณสูตรอยางงายในทํานองเดียวกับตัวอยางอื่นๆ หามวลของ C จาก CO2 CO2  C โมล CO 2 = โมล C

 โมลของ C w )C M w 12

(

= =

1 1

= โมลของ CO2 w ) CO2 M 6.60 44

(

w

= มวล C = 1.80 กรัม หามวลของ H จาก H2O H2O  2H โมล H 2 O โมล H

1 2 1  โมลของ H2O = โมลของ H 2 w 1 ( ) H 2O = x ( w )H M 2 M 3.15 1 w = x 18 2 1

=


w

= มวล H = 0.35 กรัม หามวลของ O มวล O = มวล A - มวล C - มวล H = 2.95 - 1.80 - 0.35 = 0.80 กรัม หาสูตรเอมพิริกัล  โมล C

1.80 , 12

=

0.35 , โมล O = 0.80 1 16 0.35 0.80 : = 0.15 : 0.35 : 0.05 1 16

โมล H =

 โมล C : H : O = 1.80 : 12

= 3:7:1

ดังนั้น สูตรเอมพิริคัลคือ C3H7O ตอบ ตัวอยางที่ 8 จากการวิเคราะหสารอินทรียชนิดหนึ่งพบวาประกอบดวยธาตุ C, H, O และ N เมื่อนําสาร ตัวอยางนี้มา 1.279 กรัม เผาไหมในอากาศจํานวนมาก หลังจากเกิดปฏิกิริยาสมบูรณได CO2 และ H2O 1.60 และ 0.77 กรัม ตามลําดับ เมื่อนําสารตัวอยางมาใหม 1.625 กรัม พบวามีธาตุ N 0.216 กรัม จงคํานวณสูตร เอมพิริคัลของสารตัวอยางนี้ วิธีทํา มวลของ C หาไดจาก CO2 1.60 กรัม มวลของ H หาไดจาก H2O 0.77 กรัม มวลของ N หาไดจากการวิเคราะหตัวอยางครั้งที่ 2 (ตองใชมวล 1.279 กรัมเทากัน) มวลของ O หาไดจากที่เหลือ หามวลของ C X (C,H,O,N)  CO2  C โมล C = โมล CO2 w )C M w 12

(

= =

w ) CO2 M 1.60 44

(

w

= มวล C = 0.436 กรัม หามวลของ H X (C,H,O,N)  H2O  2H โมล H 2 O โมล H

1 2 1  โมลของ H2O = โมลของ H 2 w 1 ( ) H 2O = x ( w )H M 2 M 0.77 1 w = x 18 2 1

=

w

= มวล H = 0.086 กรัม หามวลของ N สารตัวอยาง 1.625 กรัมมี N = 0.216 กรัม  สารตัวอยาง

1.279 กรัมมี N = 0.216 x 1.279 = 0.170 กรัม 1.625


(มวลของ N ตองคํานวณจากปริมาณของสารตัวอยางเทากับการทดลองครั้งแรก) หามวลของ O มวล O = มวล X - มวล C - มวล H - มวล N = 1.279 - 0.436 - 0.086 - 0.170 = 0.587 กรัม หาสูตรเอมพิริคัล โมล C =

0.436 12

0.086 , โมล N = 0.170 , โมล O = 0.587 1 14 16 0.436 0.086 0.170 0.587 : : : 12 1 14 16

, โมล H =

โมล C : H : N : O =

= 0.036 : 0.086 : 0.012 : 0.036 = 3 : 7 : 1 : 3  สูตรเอมพิริคัลคือ C3H7NO3 ตอบ ตัวอยางที่ 9 จากการวิเคราะหสารประกอบที่มีน้ําผลึกชนิดหนึ่งพบวาในสารประกอบนี้ 7.15 กรัม มี Na 1.15 กรัม C 0.30 กรัม และ O 5.20 กรัม ที่เหลือเปน H จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารประกอบที่มีน้ําผลึกนี้ วิธีทํา มวลของ H = มวลของสาร - มวล Na - มวล C - มวล O = 7.15 - 1.15 - 0.30 - 5.20 = 0.50 กรัม  โมล Na

=

1.15 , 23

0.30 , 12 1.15 0.30 : 23 12

โมล C =

 โมล Na : C : O : H =

โมล O = :

5.20 16

:

5.20 , 16 0 .5 1

โมล H =

0 .5 1

= 0.050 : 0.025 : 0.325 : 0.500 = 2 : 1 : 13 : 20 สูตรเอมพิริคัลคือ Na2CO13H20 หรือ Na2CO3.10H2O ตอบ การคํานวณสูตรเอมพิริคัลของแร การวิเคราะหแร สวนใหญจะทําในรูปของออกไซดของธาตุองคประกอบ เชน K2O, SiO2, CaO เปน ตน การหาสูตรเอมพิริคัลของแรก็คือ การหาอัตราสวนของจํานวนโมเลกุลของออกไซดในแรเหลานั้น การคํานวณสูตรเอมพิริคัลของแรทําไดทํานองเดียวกับการหาสูตรเอมพิริคัลทั่วๆไป แตสูตรเอมพิริ คัลเปนการหาอัตราสวนจํานวนอะตอม หรือ อัตราสวนของจํานวนโมลอะตอมของธาตุองคประกอบ แต สูตรเอมพิริคัลของแรเปนการหาอัตราสวนจํานวนโมเลกุลหรือจํานวนโมลของออกไซดตางๆ ที่มีในแรนั้น ตัวอยางที่ 10 จากการวิเคราะหแรชนิดหนึ่งพบวา แรชนิดนี้ 12.05 กรัม ประกอบดวย CaO 2.80 กรัม K2O 2.35 กรัม และ SO3 6.00 กรัม ที่เหลือเปนน้ํา จงคํานวณสูตรเอมพิริคัลของแรชนิดนี้ วิธีทํา หามวลของสารแตละชนิดกอน ทําใหเปนโมลแลวจึงนําไปคํานวณสูตรเอมพิริคัล มวล H2O = มวลแร - มวล CaO - มวล K2O - มวล SO3 = 12.05 - 2.80 - 2.35 - 6.00 = 0.90 กรัม  โมล CaO =

2.80 , 56

โมล K2O =

2.35 , 94

โมล SO3 = 6.00 , และโมล H2O = 80

0.90 18


 โมล CaO : K2O : SO3 : H2O

=

2.80 2.35 : 56 94

:

6.00 80

:

0.90 18

= 0.05 : 0.025 : 0.075 : 0.05 = 2 : 1 : 3 : 2 สูตรเอมพิริคัลคือ 2CaO.K2O.3SO3 .2H2O ตอบ ตัวอยางที่ 11 จงคํานวณสูตรเอมพิริคัลของแรซิลิเกตชนิดหนึ่งซึ่งประกอบดวย K2O 21.53% Al2O3 23.36 % และ SiO2 55.06% โดยมวล วิธีทํา จากความหมายของ % องคประกอบ แสดงวาแรซิลิเกต 100 กรัม มี K2O 21.53 กรัม Al2O3 23.36 กรัมและ SiO2 55.06 กรัม มวลโมเลกุลของ K2O = 94 , Al2O3 = 102 และ SiO2 = 60 โมลของ K2O =

21.53 94

23.36 , โมล SiO2 = 55.06 102 60 21.53 23.36 55.06 : : = 0.229 : 0.229 : 0.918 94 102 60

, โมล Al2O3 =

 โมล K2O : Al2O3 : SiO2 =  สูตรเอมพิริคัล คือ K2O.Al2O3.4SiO2

= 1:1:4

ตอบ

2. การคํานวณสูตรโมเลกุล สูตรโมเลกุลอาจจะคํานวณไดหลายวิธีตามลักษณะของขอมูลที่กําหนดให เชน คํานวณจากสูตร เอมพิริกัล คํานวณจากกฎของกาซ เปนตน ก. การคํานวณสูตรโมเลกุลจากสูตรเอมพิริคัล สูตรโมเลกุลและสูตรเอมพิริคัลมีความสัมพันธกัน ตามสมการ สูตรโมเลกุล = (สูตรเอมพิริคัล)n

เมื่อ n = 1, 2, 3, …. หมายความวา ถาทราบสูตรอมพิริคัล จะนําไปคํานวณสูตรโมเลกุลได ถามีขอมูลเพียงพอที่จะหาคา n เชน ขอมูลจากมวลโมเลกุล เปนตน การคํานวณสูตรโมเลกุลจากสูตรเอมพิริคัล มีโดยทั่วๆ ไป ดังนี้ 1. ตองคํานวณหาสูตรเอมพิริคัลกอน 2. สมมติสูตรโมเลกุล โดยใชความสัมพันธ สูตรโมเลกุล = (สูตรเอมพิริคัล)n

3. คํานวณหาคา n โดยใชขอมูลจากมวลโมเลกุล คือ มวลโมเลกลุ = ผลบวกของมวลอะตอมของธาตุทั้งหมดรวมกัน เมื่อไดคา n จะไดสูตรโมเลกุล ตัวอยางที่ 12 สารประกอบชนิดหนึ่งเกิดจากการรวมตัวของคารบอน 6 กรัม ไฮโดรเจน 1 กรัม และซัลเฟอร


8 กรัม ถาสารประกอบนั้นมีมวลโมเลกุลเทากับ 240 สูตรโมเลกุลของสารประกอบนี้เปนอยางไร ก. CH2S ข. C2H2S ค. C4H8S ง. C8H16S4 วิธีทํา หาสูตรเอมพิริคัล โมล C =

6 , 12

โมล C : H : S =

โมล H = 1 , โมล S = 1

6 12

:

1 1

:

8 32

8 32

= 0.5 : 1.0 : 0.25 = 2 : 4 : 1

สูตรเอมพิริกัลคือ C2H4S หาสูตรโมเลกุล มวลโมเลกุล 240 240 n

สมมติใหสูตรโมเลกุลเปน (C2H4S)n = (C2H4S)n = 240

= (2C + 4H + S)n = (2x12 + 4 x1 + 32)n = 4 ตอบ

สูตรโมเลกุล คือ (C2H4S)4 = C8H16S4

ตัวอยางที่ 13 สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบดวยธาตุคารบอน 24.3% ธาตุไฮโดรเจน 4.1 % และที่เหลือ เปนธาตุคลอรีน ถาสารนี้มีมวลโมเลกุลเทากับ 99 จงคํานวณสูตรโมเลกุลของสารนี้ วิธีทํา มี C = 24.3% , H = 4.1 %  มี Cl = 100 - 24.3 - 4.1 = 71.6 % หาสูตรเอมพิริคัล โมลของ C : H : Cl =

24.3 12

:

4.1 1

:

71.6 = 35.5

1:2:1

สูตรเอมพิริคัล คือ CH2Cl หาสูตรโมเลกุล มวลโมเลกุล

= (CH2Cl)n

99 = (12 + 2x1 + 35.5)n n = 2

สูตรโมเลกุล = (CH2Cl)2 = C2H4Cl2

ตอบ

ตัวอยางที่ 14 กาซไฮโดรคารบอนชนิดหนึ่งประกอบดวยธาตุคารบอน 82.7% และธาตุไฮโดรเจน 17.3% โดย มวล ถากาซนี้มีคาความหนาแนนเปน 2.59 กรัม/ลิตร ที่ STP จงคํานวณสูตรโมเลกุลของกาซนี้ วิธีทํา หาสูตรเอมพิริคัล


โมลของ C : H

=

82.7 12

: 17.3 1

= 2:5 สูตรเอมพิริคัล คือ C2H5 หามวลโมเลกุล กาซมีความหนาแนน = 2.59 กรัม/ลิตร ที่ STP ที่ STP กาซ 1 ลิตรหนัก = 2.59 กรัม  ที่ STP กาซ 22.4 ลิตรหนัก = 2.59 x 22.4 กรัม = 58.0 กรัม มวลโมเลกุลของกาซ = 58.0 หาสูตรโมเลกุล มวลโมเลกุล 58.0

= (C2H5)n

= (12x2 + 5x1)n = 2

n

ตอบ

สูตรโมเลกุล = (C2H5)2 = C4H10

ตัวอยางที่ 15 คลอไรดของโลหะ M ประกอบดวยโลหะ M 45.6% โดยมวลและมีมวลโมเลกุล 260 กําหนดใหวา 1 โมเลกุลของคลอไรดของโลหะ M มีโลหะ M เพียง 1 อะตอมเทานั้น จงคํานวณสูตร โมเลกุลของคลอไรดของ M วิธีทํา เนื่องจากคลอไรด 1 โมเลกุล มีธาตุ M หนึ่งอะตอม สูตรโมเลกุลจึงเปน MCln ซึ่งแสดงวาสูตร โมเลกุลและสูตรเอมพิริคัลเปนสูตรเดียวกัน เนื่องจากการหาสูตรเอมพิริคัลตองทราบมวลอะตอมของ M ดังนั้นจึงตองสมมติมวลอะตอมของ M กอน หลังจากนั้นจึงใชขอมูลจากมวลโมเลกุลคํานวณมวลอะตอมและสูตรโมเลกุล หาสูตรเอมพิริคัล ใหมวลอะตอมของ M = X คลอไรด 100 กรัม มี M 45.6 กรัม และ Cl 54.4 กรัม  โมล

 โมล

45.6 และโมล Cl x M : Cl = 45.6 : 54.4 x 35.5

M=

=

54.4 35.5

…………………………. (1)

หาสูตรโมเลกุล ใหสูตรโมเลกุลเปน MCln  โมล M : Cl = 1 : n …………………………. (2) จากสมการ (1) = (2) 1:n = จะได

1 n

=

45.6 x

:

54.4 35.5

45.6 54.4 / x 35.5

หรือ


1 n

=

45.6 35.5 x x 54.4

x = 29.76n …………………………. (3)  มวลโมเลกุล MCln = 260  โมล M + nCl = x + 35.5n = 260 ………………..(4) แทนคา x ในสมการ (3) ลงใน (4) จะไดคา n และ x ออกมาดังนี้ n = 4 ; x = 118  สูตรโมเลกุล คือ MCl4 ตอบ ตัวอยางที่ 16 สารอินทรียชนิดหนึ่งมีสูตรเอมพิริคัลเปน CH2O เมื่อนําสารชนิดนี้ 1.8 กรัม ละลายในเบนซีน 100 กรัม ปรากฏวาไดสารละลายที่มีจุดเยือกแข็งต่ํากวาเบนซีน 0.98 0C ถา Kf ของเบนซีนเทากับ 4.9 0C จง คํานวณสูตรโมเลกุลของสารนี้ วิธีทํา ขั้นแรกตองหามวลโมเลกุลของสารอินทรียกอน แลวจึงนํามาคํานวณสูตรโมเลกุล หามวลโมเลกุล จาก

 Tf

= Kf x

w 2 1000 x w1 M 2

= 4.9 0C/mol/kg 0  Tf = 0.98 C M2 = ?

Kf

แทนคา 0.98

= 4.9 x

1.8 100

w1 = มวลของเบนซีน = 100 g w2 = มวลของสาร = 1.8 g x 1000 M2

M2 = 90 มวลโมเลกุลของสาร = 90 หาสูตรโมเลกุล ใหสูตรโมเลกุลเปน (CH2O)n มวลโมเลกุลจากสูตร (CH2O)n = 90 (12 + 2x1 + 16)n = 90 n =3 สูตรโมเลกุลคือ (CH2O)3 หรือ C3H6O3 ตอบ ตัวอยางที่ 17 สารอินทรียชนิดหนึ่งประกอบดวยธาตุ C, H และ O เทานั้นสารชนิดนี้ละลายไดในเอธานอล และไมมีการแตกตัวเปนไอออน เมื่อนําสารนี้ 7.3 กรัม ละลายในเอธานอล 100 กรัม ปรากฏวาไดสารละลาย มีจุดเดือดเพิ่มขึ้น 0.61 0C จากการวิเคราะหพบวาสารนี้ประกอบดวย C 49.32% และ H 6.85% โดยมวล จง คํานวณสูตรโมเลกุล วิธีทํา หาสูตรเอมพิริคัล โมล C: H : O =

49.32 12

:

6.85 1

:

100 - 49.32 - 6.85 16


= 3:5:2 สูตรเอมพิริคัล คือ C3H5O2 หามวลโมเลกุล  Tb

= Kb x

w 2 1000 x w1 M 2

= 1.22 0C/mol/kg 0  Tf = 0.61 C M2 = ?

Kb

แทนคา 0.61

= 1.22 x

7 .3 100

w1 = มวลของเอธานอล = 100 g w2 = มวลของสาร = 7.3 g

x 1000 M2

M2 = 146 มวลโมเลกุลของสาร = 146 หาสูตรโมเลกุล ใหสูตรโมเลกุลเปน (C3H5O2)n มวลโมเลกุลจากสูตร (C3H5O2)n = 146 (12x3 + 5x1 + 16x2)n = 146 n =2 สูตรโมเลกุลคือ (C3H5O2)2 หรือ C6H10O4

ตอบ

ข. การคํานวณสูตรโมเลกุลของกาซ ในกรณีที่เปนกาซยังสามารถคํานวณสูตรโมเลกุลโดยการประยุกตใชกฎอาโวกาโดร หลักเกณฑทั่วๆ ไปสําหรับการหาสูตรโมเลกุลของกาซ มีดังนี้ 1. ใชไดกับกรณีที่สารทุกตัวในปฏิกิริยาเปนกาซ 2. ตองทราบปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันและปริมาตรของกาซที่เกิดจากปฏิกิริยา 3. ทําปริมาตรทั้งหมดใหเปนเลขลงตัวอยางต่ํา 4. ใชสมมติฐานของอาโวกาโดรเปลี่ยนปริมาตรของกาซใหเปนโมเลกุลและเขียนเปนสมการ 5. เทียบดูวา กาซที่โจทยถาม 1 โมเลกุล มีอะไรบาง อยางละกี่อะตอม จะไดสูตรโมเลกุล ตัวอยางที่18 กาซชนิดหนึ่งประกอบดวยธาตุ C, H, และ O เทานั้น กาซชนิดนี้ปริมาตรเมื่อนํามาเผาจะให CO2 3 ปริมาตร ไอน้ํา 4.5 ปริมาตร และ N2 0.5 ปริมาตร วัดปริมาตรที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน กาซนี้จะมีสูตรเอมพิริคัลเปนอยางไร ? วิธีทํา ขั้นแรก ตองหาสูตรโมเลกุลกอน แลวจึงเปลี่ยนเปน สูตรเอมพิริคัล


X + O2  CO2 + H2O + N2 1V 3 V 4.5 V 0.5 V เขียนเปนสมการ X + O2  3CO2 + 4.5H2O + 0.5N2 X ประกอบดวยธาตุ C ,H และ N จํานวน C ที่มีอยูใน X จะกลายเปน CO2 จนหมด ดังนั้นจึงหา จํานวนอะตอมของ C ไดจาก CO2 , H จาก H2O และ N จาก N2 X + O2  3CO2 + 4.5H2O + 0.5N2 3C 9H 1N จากจํานวนอะตอมของ C , H และ N ใน CO2 , H2O และ N2 แสดงวา 1 โมเลกุลของ X ประกอบดวย C 3 อะตอม , H 9 อะตอม , N 1 อะตอม  สูตรโมเลกุล คือ C3H9N สูตรเอมพิริคัล คือ C3H9N ตอบ ตัวอยางที่ 19 กาซชนิดหนึ่ง 80 cm3 เมื่อนํามาทําใหสลายตัวจนหมด จะไดกาซ H2 120 cm3 และกาซ N2 40 cm3 ถาการวัดปริมาตรของกาซเหลานี้ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน จงคํานวณสูตรเอมพิริคัลของกาซ วิธีทํา กาซ X  H2 + N2 80 cm3 120 cm3 40 cm3 เปลี่ยนเปนจํานวนโมลและเขียนเปนสมการ 1 โมเลกุล 3/2 โมเลกุล ฝ โมเลกุล X

3 H2 2

+ ฝ N2

X  3H + 1 N นั่นคือ X 1 โมเลกุลมี H 3 อะตอม , N = 1 อะตอม  สูตรโมเลกุลของ X คือ NH3 สูตรเอมพิริคัลของ X คือ NH3 ตอบ ตัวอยางที่ 20 กาซไฮโดรคารบอนชนิดหนึ่ง 20 cm3 เผารวมกับ O2 จํานวนมากเกินพอ ปรากฏวาไดกาซ CO2 80 cm3 และไอน้ํา 80 cm3 ถาการวัดปริมาตรของกาซทําที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันทุกครั้ง จงหา จํานวนอะตอมที่มีอยูใน 1 โมเลกุล และมวลโมเลกุลของกาซนี้ วิธีทํา ตองหาสูตรโมเลกุลกอนจึงจะหาจํานวนอะตอมและมวลโมเลกุลได กาซ X + O2  CO2 + H2O 20 cm3 80 cm3 80 cm3 หรือ 1 cm3 4 cm3 4 cm3 หรือ 1 โมเลกุล 4 โมเลกุล 4 โมเลกุล X + O2  4 CO2 + 4H2O 1 โมเลกุล 4C 8H C และ H ในกาซ X จะกลายเปน CO2 และ H2O ดังนั้นจึงหาจํานวนอะตอมของ Cจากจํานวน โมเลกุลของ CO2 และจํานวนอะตอมของ H จาก H2O หรือ


1 โมเลกุลของกาซ X มี C 4 อะตอม และ H 8 อะตอม สูตรโมเลกุล คือ C4H8 มวลโมเลกุล = (4 x 12) + (8 x1) = 56 จํานวนอะตอมใน 1 โมเลกุล = 12 อะตอม

ตอบ

ใบความรู เรื่อง สมการเคมี (ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 19) ************************************************************************************* สมการเคมี หมายถึง ภาษายอในการแสดงปฏิกิริยาเคมีตาง ๆ สมการเคมีเปนสัญลักษณที่ใช เขียนแทนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น และเขียนขึ้นไดจากผลการทดลองที่เกิดขึ้นจริง ๆ เทานั้น ลักษณะของสมการเคมี สมการเคมีประกอบดวย 2 สวน คือ สารตนตน (Reactant) และสารผลิตภัณฑ (Product) 1. สารตั้งตน (Reactant) หมายถึง สารที่เขาทําปฏิกิริยากัน กําหนดใหเขียนสัญลักษณและสูตร ของสารตั้งตนไวทางซายของสมการ 2. สารผลิตภัณฑ (Product) หมายถึง สารที่เกิดจากปฏิกิริยา กําหนดใหเขียนสัญลักษณและสูตร ของผลิตภัณฑไวทางขวาของสมการ คั่นอยู ระหวางสารตั้งตนและสารผลิตภัณฑ จะมีเครื่องหมาย  หรือ = หรือ รูปแบบของสมการทั่ว ๆ ไปเปนดังนี้ สารตังตน  ผลิตภัณฑ 2NO2  N2O4 เชน P4O10  2P2O5 ในกรณีที่สารตั้งตนและผลิตภัณฑมากกวา 1 ชนิด ใหใชเครื่องหมายบวกคั่นระหวางสารเหลานั้น 2H2 + O2  2H2O เชน 2KI + Pb(NO3)2  PbI2 + 2KNO3

สมการเคมีทําใหทราบอะไรบาง สมการเคมีที่ดุลแลวจะทําใหทราบถึงความสัมพันธเชิงปริมาณของสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของในปฏิกิริยา เชน - ทําใหทราบวามรสารใดเปนสารตั้งตน และสารผลิตภัณฑ - ปริมาณของสารตั้งตนที่ทําปฏิกิริยาพอดีกัน และปริมาณของสารผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นเปนเทาใด - ทําใหสามารถคํานวณปริมาณของสารใดสารหนึ่งในปฏิกิริยาได ถาทราบปริมาณของสารตัวหนึ่ง - ตัวเลขที่อยูขางหนาสูตรหรือสัญลักษณของสารที่ดุลแลวจะแสดงความสัมพันธของจํานวนโม ลของสารตาง ๆ ในปฏิกิริยา


ถึงแมวาสมการเคมีจะใหทราบละเอียดเกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นหลายอยาง แตก็มีบางสิ่ง บางอยางซึ่งสมการเคมีไมสามารถจะบอกได เชน  ปฏิกิริยาเคมีดังกลาวเกิดขึ้นไดเร็วหรือชาเพียงใด  การจัดเรียงตัวของโมเลกุลที่ทําปฏิกิริยากันเปนอยางไรจึงทําใหปฏิกิริยานั้นเกิดขึ้นได

ตัวอยางสมการเคมี

ปฏิกิริยาระหวาง N2 กับ H2 ดังนี้ N2 + H2  2NH3 จากสมการเคมีทําใหทราบวา 1.กาซ N2 และ H2 เปนสารตั้งตน กาซ NH3 เปนสารผลิตภัณฑ 2.กาซ N2 1 โมล จะทําปฏิกิริยาพอดีกับกาซ H2 3 โมล ไดเปนกาซ NH3 2 โมล (ตัวเลขที่อยู ขางหนาสูตรหรือสัญลักษณของสารที่ดุลแลวจะแสดงความสัมพันธของจํานวนโมลของสารตาง ๆ ใน ปฏิกิริยา) 3.ถาทราบความสัมพันธระหวางโมล มวล ปริมาตร และจํานวนอนุภาคของสารแตละตัวจะทําให สามารถคํานวณเกี่ยวกับปริมาณตาง ๆของสารตัวหนึ่งจากสารอีกตัวหนึ่งได เชน กาซ N2 28 กรัม จะทํา ปฏิกิริยาพอดีกับกาซ H2 6 กรัม ไดเปนกาซ NH3 34 กรัม การเขียนสมการเคมีถาตองการใหมีความหมายมากยิ่งขึ้น หรือใหมีความหมายสมบูรณมากขึ้น ควรจะเขียนแสดงสถานะหรือภาวะของสารนั้น ๆ ดวย โดยเขียนเปนสัญลักษณบอกไวในวงเล็บตอจาก สูตรของสารนั้น ๆ เชน ใช ( s ) แทนภาวะของแข็ง (Solid ) ( l ) แทนภาวะของเหลว ( Liquid ) ( g ) แทนภาวะของกาซ ( Gas ) (aq ) แทนภาวะละลายอยูในน้ํา (Aqueous ) ตัวอยางเชน NaOH ( aq) + HCl (aq)  NaCl (aq) + H2O ( l ) CaCO3 ( s ) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + H2O ( l ) + CO2 ( g ) N2 (g) + 3H2 (g)  2NH3 (g)

รูปแบบของสมการเคมี รูปแบบของสมการเคมีอาจจะแบงเปน 2 ประเภท คือ สมการโมเลกุล (Molecular equation) และ สมการไอออนิก (Ionic equation)


ก. สมการโมเลกุล หมายถึง สมการเคมีที่สารทั้งหมดในปฏิกิริยา ทั้งสารตั้งตน และผลิตภัณฑ เขียนอยูในรูปของโมเลกุล หรืออะตอม เชน 2KI (aq) + Pb(NO3)2 (aq)  PbI2 (s) + 2KNO3 (aq) Zn(s) + 2HCl (aq)  ZnCl2 (aq) + H2 (g) NaOH (aq) + HCl (aq)  NaCl (aq) + H2O ( l ) ข. สมการไอออนิก หมายถึง สมการเคมีที่เขียนอยูในรูปของไอออนเปนสวนใหญ สารบางชนิด อาจจะเขียนในรูปของโมเลกุล หรืออะตอม แตสวนใหญจะเขียนในรูปของไอออน สมการไอออนิกจะ เขียนเฉพาะไอออน หรือโมเลกุลที่มีสวนในการเกิดปฏิกิริยาเทานั้น โมเลกุลหรือไอออนของสารบางชนิด แมวาจะอยูในระบบ ถาไมเกี่ยวของกับปฏิกิริยาหรือไมมีสวนในการเกิดปฏิกิริยาไมตองเขียนลงในสมการ ตัวอยางเชน Ag+(aq) + Cl- (aq)  AgCl (s) H+ (aq) + OH- (aq)  H2O ( l ) CO32- (aq) + 2H+ (aq)  CO2 (g) + H2O (l ) การพิจารณาวาสารใดเปนสารที่กอใหเกิดปฏิกิริยาใหพิจารณาจากผลิตภัณฑ สวนการพิจารณาวา สารใดควรเขียนใหอยูในรูปโมเลกุลหรือไอออน ใหพิจารณาดังนี้ - สารที่เขียนในรูปของโมเลกุล ไดแก 1. สารพวกนอน-อิเล็กโตรไลต (Non-electrolyte) คือสารที่ละลายน้ําแลวไมแตกตัวเปนไอออน ทํา ใหนําไฟฟาไมได เชน C6H12O6 , CH3OH , C2H5OH เปนตน 2. สารพวกอิเล็กโตรไลตออน (Weak electrolyte) คือ สารที่ละลายน้ําและแตกตัวเปนไอออนได บาง นําไฟฟาได เชน กรดออน ( HCN , H2S , H2CO3 , H3PO4 ) เบสออน ( NH3 , NH2 – CH3 ) 3. สารพวกที่ไมละลายน้ํา หรือพวกที่ตกตะกอนในน้ํา เชน AgCl , PBI2 , BaSO4 , CaCO3 4. กาซตาง ๆ เชน H2 , O2 , CO , NO - สารที่เขียนอยูในรูปของไอออน ไดแก สารที่จัดวาเปนอิเล็กโตรไลตแก ( Strong electrolyte ) เชน กรดแก (HCl , HBr , HNO3 ) เบสแก ( NaOH , KOH ) เกลือที่ละลายน้ําและแตกตัวไดหมด เชน NaCl , KNO3 , (NH4)2SO4 สาร เหลานี้เมื่อละลายน้ําจะแตกตัวเปนไอออนบวกและไอออนลบ แลวไอออนเหลานี้จึงไปทําปฏิกิริยากัน ตัวอยางการเขียนสมการเปรียบเทียบระหวางสมการโมเลกุลกับสมการไอออนิก 1. ปฏิกิริยาระหวาง KI กับ Pb(NO3)2 ซึ่งไดสารผลิตภัณฑ คือ PbI2 และ KNO3 KI Pb(NO3)2 และ KNO3 เปนอิเล็กโทรไลตแก เขียนอยูในรูปไอออน สวน PbI2 (s) เปนของแข็งซึ่งไม ละลายน้ํา ตองเขียนในรูปของโมเลกุล ( K+ + I- ) + ( Pb2+ + 2NO3- )  PbI2 + ( K+ + NO3- )


จะเห็นไดวาทั้งทางซายและขวาของสมการมี K+ และ NO3- เหมือนกัน แสดงวาไอออนทั้งสองนี้ ไมเกี่ยวของกับปฏิกิริยาโดยตรง หรือไมใชสารที่ทําใหเกิดปฏิกิริยา ดังนั้นจึงไมตองเขียนลงในสมการ แต I- และ Pb2+ มีอยูเฉพาะทางซายของสมการ และ PbI2 มีอยูเพาะทางขวาของสมการ แสดงวาทั้ง 3 ตัวนี้ คือสารที่ทําใหเกิดปฏิกิริยา ตองเขียนลงในสมการ ดังนั้นจึงไดเปนสมการไอออนิกดังนี้ Pb2+ + 2 I-  PbI2 สมการไอออนิก คือ (สมการไอออนิกนอกจากจะตองทําจํานวนอะตอมใหดุลแลว ตองทําใหประจุดุลดวย) 2. ปฏิกิริยาระหวาง KMnO4 กับ H2S (aq) ใน H2SO4 ได K2SO4 , MnSO4 , S และ H2O สมการโมเลกุล คือ 2KMnO4 (aq) + 5H2S (aq) + 3H2SO4 (aq)  K2SO4 (aq) +2 MnSO4 (aq) +5S (s) + 8 H2O (l) สมการไอออนิกคือ 2MnO-4 (aq) + 5H2S (aq) + 6H+(aq)  2Mn+(aq) + 5S (s) + 8 H2O (l)

ประเภทของสมการเคมี

แบงออกเปน 4 ประเภท ตามลักษณะของการเกิดปฏิกิริยาเคมีดังนี้ 1. ปฏิกิริยาการรวมตัว (Combination reaction) เกิดจากสารตั้งตนตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป (ธาตุหรือ สารประกอบก็ได) รวมกันเปนสารใหม 1 ตัว เชน NH3 + HCl  NH4Cl 2CO + O2  2CO2 2. ปฏิกิริยาการแยกสลาย (Decomposition reaction) เกิดจากสารประกอบสลายตัวใหสารใหม ตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป เชน CaCO3  CaO + CO2 2KmnO4  K2MnO4 + MnO2 + O2 3. ปฏิกิริยาการแทนที่ (Substitution reaction) เกิดจากธาตุชนิดหนึ่งเขาไปแทนที่ธาตุอีกชนิดหนึ่ง ในสารประกอบ เชน Mg + H2SO4  MgSO4 + H2 2Al + 6NaOH  2Na2AlO3 + 3H2 4. ปฏิกิริยาการแลกเปลี่ยน (Exchange reaction) เกิดจากอนุมูล หรือไอออนในสารประกอบที่เขา ทําปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนสลับที่ซึ่งกันและกัน เชน KCl + AgNO3  AgCl + HNO3 นอกจากจะแบงประเภทของสมการโดยอาศัยลักษณะการเกิดปฏิกิริยาดังกลาวแลว อาจจะแบง ประเภทของสมการโดยการอาศัยการใหและรับอิเล็กตรอน ของสารในขณะเกิดปฏิกิริยาดังนี้ ก. ปฏิกิริยารีดอกซ (Redox reaction) หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการใหและรับ อิเล็กตรอน ระหวางสาร ที่เขาทําปฏิกิริยากัน เชน


Fe3+ + Ag  Fe2+ + Ag+ Fe + 2HCl  FeCl2 + H2 ข. ปฏิกิริยานอนรีดอกซ (Non – Redox reaction) หมายถึง ปฏิกิริยาที่ไมมีการใหและรับ อิเล็กตรอนระหวางสารที่เขาทําปฏิกิริยา เชน HCl + NaOH  NaCl + H2O Ag+ + Cl-  AgCl

การดุลสมการเคมี (Balance equation) เปนการนําตัวเลขที่เหมาะสมมาเติมหนาสัญลักษณ หรือสูตรของสาร เพื่อทําใหจํานวนอะตอมของแตละธาตุในสารตั้งตนเทากับในผลิตภัณฑ การเขียนและการดุลสมการตองใชขอมูลจากการทดลอง เพื่อใหทราบปริมาณของสารตั้งตนที่ทํา ปฏิกิริยาพอดีกัน จึงทําจํานวนอะตอมใหเทากัน เมื่อทราบชนิดของสารตั้งตนและผลิตภัณฑแลว อาจดุล สมการไดโดยอาศัยวิธีการตาง ๆ เชน การตรวจพินิจ โดยการใชเลขออกซิเดชัน และโดยการใชปฏิกิริยาครึ่ง เซลล ในที่นี้จะกลาวถึง เฉพาะการดุลโดยการตรวจพินิจ เทานั้น อีก 2 วิธี อยูในเรื่อง “ปฏิกิริยาไฟฟาเคมี”

การดุลสมการโดยการตรวจพินิจ(Balancing equation by trial and error) การตรวจพินิจ หรือ การทดลองเติม ไมมีหลักเกณฑที่แนนอน ใชวิธีนับจํานวนอะตอมของธาตุ ทางซาย และทางขวาของสมการ พิจารณาธาตุที่มีจํานวนอะตอมไมเทากัน พยายามทําจํานวนอะตอมให เทากันโดยการทดลองเติมตัวเลขลงไปขางหนาสูตรของสาร แกไขและเปลี่ยนแปลงตัวเลขไปเรื่อย ๆ จนกวาจะไดสมการที่ดุล วิธีนี้ตองใชประสบการณ และการสังเกตเปนสวนใหญ โดยทั่ว ๆไป อาจจะกําหนดวิธีการ ดังนี้ 1. พิจารณาจากสมการคราว ๆ กอนวามีธาตุอิสระหรือไม ถามีใหดุลธาตุอิสระเปนกรณีสุดทาย 2. เริ่มตนทําจํานวนอะตอมของธาตุตาง ๆ ในโมเลกุลใหญที่สุดใหเทากันกอน (ถาในโมเลกุลนี้มี ธาตุอิสระอยูดวย ยังไมตองดุลธาตุอิสระ) หลังจากนั้นจึงดุลอะตอมของธาตุในโมเลกุลที่เล็กลงตามลําดับ 3. หลังจากดุลอะตอมของธาตุตาง ๆ หมดแลว จึงดุลอะตอมของธาตุอิสระ (ถามี) 4. บางกรณีอาจจะตองทําจํานวนอะตอมของธาตุทางซายและทางขวาของสมการใหเปนเลขคูกอน เพื่อความสะดวกในการดุล ตัวอยาง จงทําสมการตอไปนี้ใหดุล CH3COOH + O2  CO2 + H2O วิธีทํา - จากสมการธาตุ O เปนธาตุอิสระ (ใน O2) ธาตุ C และ H เปนธาตุในสารประกอบ - ทําจํานวนอะตอมของ C และ H ใหเทากันกอน โดยเริ่มจากโมเลกุลที่ใหญคือ CH3COOH แลว จึงทํา O ใหเทากันตอนสุดทาย ทางซาย ทางขวา C 2 อะตอม C 1 อะตอม


H 4 อะตอม H 2 อะตอม - ทํา C ใหเทากัน โดยเติม 2 หนา CO2 และทํา H ใหเทากันโดยเติม 2 หนา H2O CH3COOH + O2  2CO2 + 2H2O - ขณะนี้ C และ H ดุลแลว จึงทํา O ใหเทากัน ทางขวามี O 6 อะตอม ( 4 อะตอม ใน CO2 และ 2 อะตอมใน H2O ) ทางซายมี O 2 อะตอม ใน CH3COOH ดังนั้นจึงเติม 2 หนา O2 จึงจะทําใหมี 6 อะตอม เทากัน และไดสมการที่ดุล

สมการเคมีที่นาสนใจ

ก. การเผาสารประกอบที่ควรทราบ 1. เกลือ CO32-  ออกไซด + CO2 (ยกเวนเกลือ ของธาตุอัลคาไล คือ Li , K , Na จะไม แยกสลายเมื่อเผา) เชน CaCO3  CaO + CO2 BaCO3  BaO + CO2 2. เผาเกลือ NO3- ของ Cu , Ba, Pb จะได ออกไซด + NO2 + O2 NO3- ( Cu , Ba, Pb )  ออกไซด + NO2 + O2 เชน 2Pb(NO3)2  2PbO + 4NO2 + O2 2Ba(NO3)2  2BaO + 4NO2 + O2 3. เผาเกลือ NO3- ของ Ag และ Hg จะได โลหะ + NO2 + O2 NO3- ( Ag , Hg )  โลหะ + NO2 + O2 เชน 2AgNO3  Ag + NO2 + O2 4. เผาออกไซดของ Pb , Mn , Cr จะไดออกไซดชนิดใหม + O2 ออกไซด(Pb , Mn , Cr)  ออกไซด + O2 เชน 2PbO2  2PbO + O2 3MnO2  Mn3O4 + O2 5. เผาสารประกอบที่มี O2 มาก ๆ จะได O2 เชน 4KMnO4  2KMnO4 + MnO2 + O2 2KclO3  2KCl + 3O2 ข. ปฏิกิริยาระหวาง H2O กับธาตุ หรือสารประกอบบางตัว 1. เกลือคารไบด + H2O  ไฮโดรคารบอน + ไฮดรอกไซด เชน CaC2 + 2 H2O  C2H2 + Ca(OH)2 Al4C3 + 12 H2O  3CH4 + 4Al(OH)3 2.เกลือไฮไดรด + H2O  H2 + ไฮดรอกไซด เชน NaH + H2O  H2 + NaOH


CaH2 + H2O  H2 + Ca(OH)2 3.เกลือไนไตรด + + H2O  NH3 + ไฮดรอกไซด เชน Mg3N2 + 6H2O  2NH3 + 3Mg(OH)2 Al + 3H2O  NH3 + Al(OH)3 4.ออกไซดของอโลหะ เชน C , S , N , P + H2O  กรด เชน CO2 + H2O  H2CO3 SO3 + H2O  H2SO4 5.ออกไซดของโลหะ + น้ํา  เบส เชน Na2O + H2O  2NaOH MgO + H2O  Mg(OH)2 ค. ปฏิกิริยาอื่น ๆ 1. กรด + เบส  เกลือ + น้ํา เชน HCl + NaOH  NaCl + H2O H2SO4 + NaOH  NaH2PO4 + H2O 2. โลหะ (Zn , Fe , Mg , Al) + กรด  เกลือ + H2 เชน Mg + H2SO4  MgSO4 + H2 Fe + 2HCl  FeCl2 + H2 ร อน เกลือ + H O + SO เชน 3. โลหะ (Zn , Cu , Ag) + H2SO4 conc  2 2 ร อน CuSO + H O + SO Cu + H SO conc  2

4

4

2

ตม เกลือ + H 4. โลหะ (Al, Zn , S I ) + เบส  2 ตม Na ZnO + 3H Zn + 2NaOH  2

2

2

2

เชน

5. เกลือ NH4+ + เบส  NH3 + H2O + เกลือ เชน NH4Cl + NaOH  NH3 + H2O + NaCl 6. เกลือ CO32- และ HCO3- + กรด  เกลือ + H2O + CO2 เชน Na2CO3 + 2HCl  2NaCl + H2O + CO2 7.เกลือ S2- ของโลหะ + กรด  เกลือ + H2S เชน MgS + 2HCl  MgCl2 + H2S CoS + 2HCl  CoCl2 + H2S


8.ไฮโดรคารบอน + O2  CO2 + H2O CXHY + (X + Y/4 (O2)  XCO2 + Y/2 (H2O) C3H8 + 5O2  3CO2 + 4H2O เชน 9. สารอินทรีย (C , H , O) + O2  CO2 + H2O C6H12O6 + 6O2  6CO2 + 6H2O

เชน

ใบความรู เรื่อง การคํานวณปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี (ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 20-22)

*************************************************************** ในใบความรูนี้จะไดศึกษาตอเนื่องเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับมวลของ สาร เชน กฏทรงมวล กฏสัดสวนคงที่ โมล มวลอะตอม มวลโมเลกุล สูตรเคมี และสมการเคมี เปนตน นิยามที่เกี่ยวของกับปริมาณสารสัมพันธ เชน สมมติฐาน กฏ และทฤษฎี เปนตน สมมติฐาน (Hypothesis) หมายถึง ขอความที่แสดงแนวความคิดเพื่ออธิบายความจริงที่ไดจากการ ทดลอง หรือเพื่อทํานายผลที่เกิดจากการทดลอง ขอความดังกลาวจะยังคงเปนสมมติฐานอยูโดยตลอดตราบ เทาที่ขอมูลจากการทดลองยังสอดคลองกับแนวความคิดนั้น แตถาขอมูลจากการทดลองขัดแยงตอ แนวความคิดดังกลาว สมมติฐานจะใชไมได ทฤษฎี (Theory) หมายถึง สิ่งที่พัฒนามาจากสมมติฐาน ถาขอความที่กําหนดขึ้นเปนสมมติฐาน สอดคลองกับขอมูลที่ไดจากการทดลองซ้ําหลาย ๆ ครั้ง และดวยวิธีการตาง ๆ โดยไมมีขอขัดแยง สมมติฐาน นั้นจะกลายเปนทฤษฎี กฎ (Law) หมายถึง สิ่งที่พัฒนาตอมาจากทฤษฎี ถาใชทฤษฎีอธิบายความจริงจากการทดลองได อยางถูกตองและแสดงผลออกมาไดโดยปราศจากขอสงสัย ไมวาจะทดลองดวยวิธีการใด ทฤษฎีนั้นจะ พัฒนากลายเปนกฎ กลาวไดวา กฎ คือ หลักความเปนจริงตามธรรมชาติซึ่งสามารถจะทดลองใหเห็นหรือ แสดงใหดูเปนตัวเลขได อยางไรก็ตามทั้งสมมติฐาน ทฤษฎี และกฎ สามารถจะเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกได เมื่อมีสิ่งที่ดีกวา หรือเมื่อไมสามารถจะอธิบายผลการทดลองได นอกจากนี้ สมมติฐานหรือทฤษฎี ยังสามารถที่จะพัฒนา เปลี่ยนเปนกฎไดเมื่อเปนที่ยอมรับกัน เชน สมมติฐานอาโวกาโดร ซึ่งใชอธิบายเกี่ยวกับสมบัติของกาซ ใน ปจจุบันไดมีการทดสอบดวยวิธีการตาง ๆ จนยอมรับกันวาเปน “กฎอาโวกาโดร” แลว มวลของสาร เปนสมบัติเฉพาะตัวของสาร มีคาคงที่เสมอ โดยไมขึ้นอยูกับสภาวะและสถานที่ ไม วาจะอยูที่ใด และไมวาจะมีอุณหภูมิหรือความดันเทาใดก็ตาม มวลของสารจะตองมีคาคงที่ น้ําหนักของสาร เปนสมบัติเฉพาะตัวของสารเชนเดียวกัน แตน้ําหนักมีคาไมคงที่ ขึ้นอยูกับแรง ดึงดูดของโลกที่มีตอสารนั้น เนื่องจากแรงดึงดูดของโลกมีคาแตกตางกันตามตําแหนงตาง ๆ บนผิวโลก ดังนั้นน้ําหนักของวัตถุกอนเดียวกันจึงสามารถเปลี่ยนแปลงไปไดตามแรงดึงดูดของโลกที่มีตอวัตถุกอนนั้น


หรือตามระยะทางที่วัตถุกอนนั้นอยูหางจากจุดศูนยกลางของโลก ถาแรงดึงดูดมากน้ําหนักจะมาก และถา แรงดึงดูดนอยน้ําหนักจะนอย อยางไรก็ตาม น้ําหนักของสารเปนปฎิภาคโดยตรงกับมวลของสาร และโดยทั่ว ๆ ไปพบวา น้ําหนักของสารและมวลของสารมีคาใกลเคียงกันมาก จึงถือวาน้ําหนักของสารและมวลของสารสามารถ ใชแทนกันได

ระบบปดและระบบเปด

ระบบ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่อยูภายในขอบเขตที่ศึกษา สิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่อยูนอกขอบเขตที่จะศึกษา ซึ่งอาจจะมีผลตอระบบหรือไมก็ได การแบงประเภทของระบบ อาศัยมวลและพลังงานเปนเกณฑ สามารถจําแนกไดดังนี้ 1. ระบบเปด (Open system) หมายถึง ระบบที่มีการถายเทมวลและพลังงานระหวางระบบกับ สิ่งแวดลอม 2. ระบบปด (Closed system) หมายถึง ระบบที่มีการถายเทพลังงานระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม แตไมมีการถายเทมวล 3. ระบบอิสระ (Isolated system) หมายถึง ระบบที่ไมมีการถายเทมวลและพลังงานระหวางระบบ กับสิ่งแวดลอม กลาวไดวาในระบบเปดทั้งมวลและพลังงานจะไมคงที่ ในระบบปดเฉพาะมวลคงที่ และในระบบ อิสระทั้งมวลและพลังงานคงที่

1. กฎทรงมวล (Law of mass conservation of mass)

เปนกฎที่ใชศึกษาความสัมพันธระหวางมวลสารกอนเกิดปฏิกิริยาและมวลสารภายหลังเกิดปฏิกิริยา เมื่อป ค.ศ. 1774 (พ.ศ. 2317) อองตวน - โลรอง ลาวัวซิเยร (Antoine - Lourent Lavoisier) นักเคมี ชาวฝรั่งเศส ไดทดลองเผาไหมสารในหลอดปด และพบวามวลของสารกอนการเผาไหมเทากับมวลของสาร ภายหลังการเผาไหม ซึ่งตอมาไดนํามาสรุปเปน “กฎทรงมวล” ดังนี้ “ในปฏิกิริยาเคมีใด ๆ มวลของสารทั้งหมดกอนทําปฏิกิริยา จะเทากับมวลของสารทั้งหมดหลังทํา ปฏิกิริยา” - มวลของสารกอนทําปฏิกิริยา หมายถึง มวลของสารทั้งหมดตอนเริ่มตนของปฏิกิริยา มวลของสาร เหลานี้อาจจะทําปฏิกิริยาพอดีกัน หรืออาจจะมีสารใดเหลืออยูก็ได - มวลของสารหลังทําปฏิกิริยา หมายถึง มวลของสารทั้งหมดหลังจากเกิดปฏิกิริยาแลว ทั้งมวลของ ผลิตภัณฑทั้งหมด และมวลของสารตั้งตนที่ยังเหลืออยู ตัวอยางเชน


เมื่อผสมโพแทสเซียมไอโอไดด กับ เลด (II) ไนเตรต เขาดวยกัน จะพบวามีปฏิกิริยาเกิดขึ้น เกิด ตะกอนของเลด (II) ไอโอไดด และอุณหภูมิของระบบเปลี่ยนแปลง เมื่อนําของผสมหลังปฏิกิริยาทั้งหมดไป ชั่ง พบวามวลเทากับมวลของโพแทสเซียมไอโอไดด กับ เลด(II) ไอโอไดด กอนผสมกัน แสดงวามวลของ สารทั้งหมดกอนและหลังทําปฏิกิริยาเทากัน เปนไปตามกฎทรงมวล และเนื่องจากไมมีการถายเทมวล แตมี การถายเทพลังงานระหวางระบบกับสิ่งแวดลอม จึงจัดวาเปนระบบปด ตัวอยางที่ 1 เมื่อนําดีบุก 118.7 กรัม เผาในกาซออกซิเจน 32.0 กรัม ปรากฏวาไดดีบุกออกไซดอยางเดียว 134.7 กรัม และมีออกซิเจนเหลือ 16.0 กรัม จงแสดงใหเห็นวาการทดลองนี้เปนไปตามกฎทรงมวล วิธีทํา มวลกอนเกิดปฏิกิริยา = มวลดีบุก + มวลออกซิเจน = 118.7 + 32.0 = 150.7 กรัม มวลหลังเกิดปฏิกิริยา = มวลดีบุกออกไซด + มวลออกซิเจนที่เหลือ = 134.7 + 16.0 = 150.7 กรัม  มวลกอนเกิดปฏิกิริยาเทากับมวลหลังเกิดปฏิกิริยา  การทดลองนี้เปนไปตามกฎทรงมวล ตอบ ตัวอยางที่ 2 เมื่อเผาแคลเซียมคารบอเนต จะไดแคลเซียมออกไซด และกาซคารบอนไดออกไซด ในการเผา แคลเซียมคารบอเนตครั้งแรก 20 กรัม ปรากฏวาไดแคลเซียมออกไซด 11.2 กรัม ดังนั้นถาเผาแคลเซียม คารบอเนต 50 กรัม จะไดกาซคารบอนไดออกไซดกี่กรัม กําหนดใหการทดลองนี้เปนไปตามกฎทรงมวล วิธีทํา เผา จากโจทย แคลเซียมคารบอเนต  แคลเซียมออกไซด + คารบอนไดออกไซด เนื่องจากเปนไปตามกฎทรงมวล มวลแคลเซียมคารบอเนต = มวลแคลเซียมออกไซด + มวลคารบอนไดออกไซด จากการเผาครั้งแรก 20 = 11.2 + มวลคารบอนไดออกไซด มวลคารบอนไดออกไซด = 8.8  เผาแคลเซียมคารบอเนต 20 กรัม ไดคารบอนไดออกไซด เทากับ 8.8 กรัม  เผาแคลเซียมคารบอเนต 50 กรัม ไดคารบอนไดออกไซด = 8.8 x 50 กรัม 20

= 22.0 กรัม ตอบ จะไดกาซคารบอนไดออกไซด 22.0 กรัม ตัวอยางที่ 3 โพแทสเซียมไอโอไดดทําปฏิกิริยากับเลด (II) ไนเตรตไดผลิตภัณฑเปนเลด (II) ไอโอไดด และ โพแทสเซียมไนเตรต ถานําโพแทสเซียมไอโอไดด 3.32 กรัม ละลายในน้ําแลวเติมเลด (II) ไนเตรตลงไป 3.50 กรัม หลังจากปฏิกิริยาสมบูรณไดตะกอนของเลด(II) ไอโอไดด 4.61กรัม และมีเลด(II)ไนเตรต เหลืออยู 0.19 กรัม ถาการทดลองนี้เปนไปตามกฎทรงมวล จงคํานวณมวลของโพแทสเซียมไนเตรตที่เกิดขึ้น


วิธีทํา จากกฎทรงมวล “มวลกอนเกิดปฏิกิริยา = มวลหลักเกิดปฏิกิริยา” มวลกอนเกิดปฏิกิริยา = มวลโพแทสเซียมไอโอไดด + มวลเลด(II) ไนเตรต = 3.32 + 3.50 + 6.82 กรัม มวลหลังเกิดปฏิกิริยา = มวลเลด(II) ไอโอไดด + มวลโพแทสเซียมไนเตรต + มวลเลด(II) ไนเตรต ที่เหลือ = 4.61 + มวลโพแทสเซียมไนเตรต + 0.19 กรัม  มวลกอนเกิดปฏิกิริยาเทากับมวลหลังเกิดปฏิกิริยา 6.82 = 4.61 + มวลโพแทสเซียมไนเตรต + 0.19 กรัม ตอบ มวลโพแทสเซียมไนเตรต = 2.02 กรัม

2. อัตราสวนโดยมวลของธาตุที่รวมกันเปนสารประกอบ ในศตวรรษที่ 18 โจเซฟ เพราสต นักวิทยาศาสตรชาวฝรั่งเศษ ไดทดลองและศึกษาเกี่ยวกับมวล ของธาตุที่มารวมกันเปนสารประกอบ และพบวา “อัตราสวนโดยมวลของธาตุที่มารวมกันเปนสารประกอบ หนึ่ง ๆ จะมีคาคงที่” จึงไดตั้งเปนกฎขึ้น เรียกวา “กฎสัดสวนคงที่ (Law of definite proportion) หรือ กฎสัดสวนคงตัว (Law of constant proportion)” กลาวไววา “สารประกอบชนิดหนึ่ง ๆ ยอม ประกอบดวยธาตุอยางเดียวกันรวมตัวกันทางเคมี ดวยอัตราสวนโดยมวลคงที่” ตามกฎสัดสวนคงที่ อัตราสวนโดยมวลของธาตุในสารประกอบจะตองมคาคงที่เสมอ ไมวา สารประกอบนั้นจะเตรียมดวยวิธีใด และจะเตรียมกี่ครั้งก็ตาม กฎสัดสวนคงที่ใชไดทั้งสารประกอบที่เกิด จากธาตุ 2 ชนิด มารวมกัน และสารประกอบที่เกิดจากธาตุมากกวา 2 ชนิด ตัวอยางกฎสัดสวนคงที่ 1. กรณีกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) อาจจะเตรียมไดหลายวิธี เชน C + O2  CO2  CaCO3  CaO + CO2 CaCO3 + 2 HCl  CaCl2 + H2O + CO2 เมื่อนํากาซ CO2 มาวิเคราะหอัตราสวนโดยมวลของธาตุ จะพบวา อัตราสวนโดยมวลของ C : O = 3 : 8 ดังนั้น อัตราสวนโดยมวลมวลของ C : O ใน CO2 จึงมีคาคงที่เสมอ ไมวา CO2 จะเตรียมกี่ครั้งโดยวิธีใด ๆ ก็ตาม 2. กรณีของน้ํา (H2O) ซึ่งก็สามารถเตรียมไดหลายวิธีเชนเดียวกัน เชน 2H2 + O2  2H2O NaOH + HCl  NaCl + H2O


CuO + H2  Cu + H2O จากการวิเคราะหอัตราสวนโดยมวลของ H : O ในน้ํา ซึ่งไดจากปฏิกิริยาตาง ๆ พบวา อัตราสวนโดยมวลของ H : O = 1 : 8 อัตราสวนโดยมวลของ H : O ใน H2O จึงมีคาคงที่เสมอ ไมวา H2O จะเตรียมกี่ครั้ง หรือ เตรียมโดยวิธีใด ตัวอยางที่ 4 ในการทดลองครั้งหนึ่งพบวาแมกนีเซียมออกไซด 6.25 กรัม มีแมกนีเซียม 3.75 กรัม ในการ ทดลองอีกครั้งหนึ่งพบวาเมื่อเผาลวดแมกนีเซียม 7.2 กรัม ในออกซิเจน 5.0 กรัม หลังจากเกิดปฏิกิริยา สมบูรณแลวมีออกซิเจนเหลือ 0.2 กรัม จงแสดงใหเห็นวาการทดลองนี้เปนไปตามกฎสัดสวนคงที่ วิธีทํา การทดลองครั้งแรก แมกนีเซียมออกไซด 6.25 กรัม มีแมกนีเซียม 3.75 กรัม เพราะฉะนั้นมีออกซิเจน = 6.25 - 3.75 = 2.5 กรัม มวลแมกนีเซียม : ออกซิเจน = 3.75 : 2.5 = 3:2 การทดลองครั้งที่ 2 ใชออกซิเจน = 5.0 - 0.2 = 4.8 กรัม ใชแมกนีเซียม = 7.2 กรัม มวลแมกนีเซียม : ออกซิเจน = 7.2 : 4.8 = 3 : 2 อัตราสวนโดยมวลของแมกนีเซียม : ออกซิเจน ในสารประกอบแมกนีเซียมออกไซดมีคาเทากัน ตอบ แสดงวาเปนไปตามกฎสัดสวนคงที่ ตัวอยางที่ 5 เมื่อเผาโลหะเงิน 2.16 กรัม กับผงกํามะถัน 0.40 กรัม ปรากฏวาไดสารปรกอบซัลไฟดอยาง เดียว และมีกํามะถันเหลือ 0.08 กรัม เมื่อนําซัลไฟดของโลหะเงินอีกจํานวนหนึ่งมาวิเคราะหพบวามี กํามะถัน 12.90 % โดยมวล จงพิสูจนใหเห็นจริงวาการทดลองนี้เปนไปตามกฎสัดสวนคงที่ วิธีทํา การทดลองครั้งแรก เริ่มตนใชผลกํามะถัน = 0.40 กรัม เหลือ = 0.08 กรัม เพราะฉะนั้นใชกํามะถัน = 0.40 - 0.08 = 0.32 กรัม ใชเงิน = 2.16 กรัม มวลของเงิน : กํามะถัน = 2.16 : 0.32 = 6.75 : 1 การทดลองครั้งที่ 2 ซัลไฟดของเงินมีกํามะถัน 12.90 % โดยมวล มีกํามะถัน = 12.90


มีเงิน = 100 - 12.90 = 87.10 กรัม มวลของเงิน : กํามะถัน = 87.10 : 12.90 = 6.75 : 1 จากการทดลองทั้งสองครั้ง อัตราสวนโดยมวลของเงิน : กํามะถันในสารประกอบซัลไฟด ตอบ มีคาเทากัน แสดงวาเปนไปตามกฎสัดสวนคงที่ ตัวอยางที่ 6 จากการวิเคราะหกาซแอมโมเนีย พบวาประกอบดวยไฮโดรเจน 18 % โดยมวล ถานํา ไฮโดรเจนและไนโตรเจนอยางละ 20 กรัม มาทําปฏิกิริยากัน จะไดกาซแอมโมเนียกี่กรัม กําหนดใหการ ทดลองนี้เปนไปตามสัดสวนคงที่ และกฎทรงมวล วิธีทํา จากโจทยกาซแอมโมเนียมีไฮโดรเจน = 18 % โดยมวล เพราะฉะนั้นมีไนโตรเจน = 100 - 18 = 82 % อัตราสวนโดยมวลของไนโตรเจน : ไฮโดรเจน = 82 - 12 ถาใชไนโตรเจน 82 กรัม ตองใชไฮโดรเจน = 12 กรัม เพราะฉะนั้นถาใชไนโตรเจน 20 กรัม ตองใชไฮโดรเจน = 12 x 20 กรัม = 2.93 กรัม 82

จากกฎทรงมวล “มวลแอมโมเนีย = มวลของไนโตรเจน + มวลไฮโดรเจน เพราะฉะนั้นมวลแอมโมเนีย = 20 + 2.93 = 22.93 กรัม ตอบ จะเตรียมกาซแอมโมเนียได 22.93 กรัม ตัวอยางที่ 7 จากการทดลองเผาลวดทองแดง 12.7 กรัม กับผงกํามะถัน 10.0 กรัม หลังจากเกิดปฏิกิริยา สมบูรณพบวาไดสารประกอบซัลไฟดอยางเดียว 19.1 กรัม และเหลือกํามะถันจํานวนหนึ่ง ถาเพิ่มมวลของ ลวดทองแดงเปน 2 เทา แตใชกํามะถันเทาเดิม จะไดสารประกอบซัลไฟดกี่กรัม และเหลือสารใดกี่กรัม กําหนดใหการทดลองนี้เปนไปตามกฎสัดสวนคงที่ วิธีทํา จากโจทย ทองแดง + กํามะถัน  สารประกอบซัลไฟด การทดลองครั้งแรก สารประกอบซัลไฟด 19.1 กรัม มีทองแดง = 12.7 กรัม เพราะฉะนั้นมีกํามะถัน = 19.1 - 12.7 กรัม = 6.4 กรัม ใชทองแดง 12.7 กรัม ตองใชกํามะถัน 6.4 กรัม การทดลองครั้งหลัง ใชทองแดง 2 เทา = 2 x 12.7 = 25.4 กรัม ใชกํามะถัน = 10.0 กรัม เพราะวา เปนไปตามกฎสัดสวนคงที่ ใชกํามะถัน 6.4 กรัม ใชทองแดง = 12.7 กรัม เพราะฉะนั้นใชกํามะถัน 100 ใชทองแดง = 12.7 x 10.0 กรัม = 19.84 กรัม 6.4


มวลของซัลไฟด = มวลทองแดง + มวลกํามะถัน = 19.84 + 10.00 = 29.84 กรัม เหลือทองแดง = 25.4 - 19.84 = 5.56 กรัม ตอบ เกิดสารประกอบซัลไฟด 29.84 กรัม เหลือทองแดง 5.56 กรัม ตัวอยางที่ 8 เมื่อนําสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2 ใสในหลอดทดลอง 7 หลอด ๆ ละ 2 ซม3 แลวเติมสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด (KI) ลงไป 0.5, 1.0, 1.5, 2.0, 2.5, 3.0 และ 3.5 ซม3 ตามลําดับ เติมน้ํากลั่นลงไปในหลอดทดลองใหเทากับหลอดที่ 7 (5.5 ซม3) วัดความสูงของตะกอนเลด (II)ไอโอไดด (PbI2) ซึ่งมีสีเหลืองไดดังนี้ หลอดที่

Pb(NO3)2 KI H2O ความสูงของตะกอน (cm3) (cm3) (cm3) (cm) 1 2 0.5 3.0 0.5 2 2 1.0 2.5 0.8 3 2 1.5 2.0 1.0 4 2 2.0 1.5 1.5 5 2 2.5 1.0 1.5 6 2 3.0 0.5 1.5 7 2 3.5 0 1.5 จงแสดงใหเห็นวาการทดลองนี้เปนไปตามกฎสัดสวนคงที่ วิธีทํา จากการทดลองในหลอดที่ 1 , 2 และ 3 จะเห็นไดวาเมื่อเพิ่มปริมาณ KI จะทําใหตะกอนมากขึ้น แสดงวาในหลอดที่ 1 , 2 และ 3 ปริมาณของ Pb(NO3)2 ยังมากเกินพออยู ยังเหลือ Pb(NO3)2จํานวนหนึ่งที่ ทําปฏิกิริยาตอกับ KI ได แตในหลอดที่ 4, 5, 6 และ 7 จะพบวาไดปริมาณของตะกอนเทากัน ถึงแมวาจะ เติม KI ลงไปเรื่อย ๆ การที่ตะกอนไมเพิ่มขึ้นแสดงวา Pb(NO3)2 ถูกใชไปหมด ซึ่งสามารถนํามาหา อัตราสวนที่สารทั้งสองทําปฏิกิริยาพอดีกันได ซึ่งถาจะใหไดผลที่ถูกตองควรจะพิจารณาอัตราสวนของสาร ที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันจากกราฟ


จากกราฟสารละลาย KI 2 cm3 ทําปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย Pb(NO3)2 2 cm3 ไดตะกอน PbI2 สูง 1.5 cm เนื่องจากมวลของสารที่ใชขึ้นอยูกับปริมาตรของสารละลาย การที่อัตราสวนปริมาตรของ สารละลายที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันมีคาคงที่ จึงยอมแสดงวาอัตราสวนโดยมวลของสารทั้งสอง ชนิด ที่ทํา ปฏิกิริยาพอดีกันมีคาคงที่ดวย ซึ่งเปนไปตามกฎสัดสวนคงที่

3. กฎสัดสวนพหุคูณ (Law of multiple proportion)

เปนกฎที่เกี่ยวของกับการศึกษาอัตราสวนโดยมวลของธาตุในสารประกอบอีกแบบหนึ่ง นักวิทยาศาสตรพบวาธาตุ 2 ธาตุ อาจจะรวมกันเปนสารประกอบไดมากกวาหนึ่งสาร ในสารประกอบแต ละชนิดจะมีอัตราสวนโดยมวลของธาตุไมเทากัน แตถาใหธาตุหนึ่งในสารประกอบหลายชนิดดังกลาวมี มวลคงที่ มวลของอีกธาตุหนึ่งถานํามาเปรียบเทียบกันจะไดเปนตัวเลขลงตัวอยางต่ํา จึงไดนําความสัมพันธ ดังกลาวมาสรางเปนกฎเรียกวา “กฎสัดสวนพหุคูณ” ซึ่งมีใจความที่สําคัญดังนี้ “เมื่อนําธาตุ 2 ธาตุมารวมกันเปนสารประกอบไดมากกวา 1 สาร ถาใหมวลของธาตุหนึ่งใน สารประกอบเหลานั้นคงที่ มวลของอีกธาตุหนึ่งที่รวมพอดีกันจะเปรียบเทียบไดเปนเลขจํานวนเต็มลงตัว นอย ๆ” ตัวอยางที่ 9 จากการศึกษาสารประกอบคลอไรดของธาตุฟอสฟอรัสพบวามี 2 ชนิด ชนิดแรกมีธาตุคลอรีน 77.45 % โดยมวล ชนิดที่ 2 มี 85.13 % โดยมวล จงแสดงใหเห็นวาการรวมตัวระหวางธาตุฟอสฟอรัส และคลอรีนเปนไปตามกฎสัดสวนพหุคูณ วิธีทํา ชนิดแรก มีธาตุ Cl  77.45 % โดยมวล เพราะฉะนั้นมีธาตุ P  100 - 77.45  22.55 % ชนิดที่ 2 มีธาตุ Cl  85.13 % โดยมวล เพราะฉะนั้นมีธาตุ P  100 - 85.13  14.87 % ในสารชนิดที่ 2 เมื่อใหมวลของ Cl เทากับชนิดที่ 1 จะไดดังนี้ มี Cl 85.13 กรัม จะมี P  14.87 กรัม เพราะฉะนั้นมี Cl 77.45 กรัม จะมี P 

14.87 85.13

x 77.45  13.53 กรัม

เมื่อใหมวลของ Cl ในสารทั้งสองชนิดคงที่  77.45 กรัม มวลของธาตุ P ในชนิดที่ 1 : ชนิดที่ 2 = 22.55 : 13.53 = 5 : 3 อัตราสวนโดยมวลของฟอสฟอรัสในสารประกอบทั้งสองชนิด เปรียบเทียบกันไดเปนเลขลง ตอบ ตัวอยางต่ํา แสดงวาเปนไปตามกฎสัดสวนพหุคูณ ตัวอยางที่ 10 ธาตุ A และธาตุ B รวมกันเกิดสารประกอบ 2 ชนิด ชนิดที่ 1 มี A 50 เปอรเซ็นตโดย มวล อัตราสวนโดยมวลของธาตุ B ในสารประกอบชนิดที่ 1 ตอ ชนิดที่ 2 เทากับ 1 : 3 (เมื่อใหมวล A คงที่) จงคํานวณเปอรเซ็นตโดยมวลของธาตุ A ในสารประกอบชนิดที่ 2


วิธีทํา สารชนิดที่ 1

มี A 50 % จะมี B 50 % หรือมี A 50 กรัม จะมี B 50 กรัม สารชนิดที่ 2 ถามี A 50 กรัม ใหมี B X กรัม เพราะวา ใหมวลของ A คงที่ เพราะฉะนั้นมวลของ B ในสารชนิดที่ 1 : 2  50 : X แตโจทยกําหนดใหมวลของ B ในชนิดที่ 1 : ชนิดที่ 2  1 : 3 เพราะฉะนั้น 50 : X  1 : 3 X  150 ในสารชนิดที่ 2 มี A 50 กรัม จะมี B 150 กรัม ไดสารประกอบ 200 กรัม สารประกอบ 200 กรัม มี A  50 เพราะฉะนั้นสารประกอบ 100 กรัม มี A  50 x

100 200

 25 กรัม

ตอบ ดังนั้น มี B 25 % โดยมวล ตัวอยางที่ 11 ไนโตรเจนและออกซิเจนสามารถรวมกันไดออกไซด 5 ชนิด คือ NO , NO2 , N2O , N2O3 และ N2O5 โดยมีองคประกอบดังนี้ สาร มวล N2 (กรัม) มวล O2 (กรัม) NO 7 8 NO2 14 32 N2O 28 16 N2O3 14 24 N2O5 28 80 จงแสดงใหเห็นวาการรวมตัวกันระหวาง N2 และ O2 เปนไปตามกฎสัดสวนพหุคูณ วิธีทํา ใหมวลของ N คงที่  14 กรัม คํานวณมวลของ O2 ในสารประกอบทั้ง 5 ชนิด เมื่อ N2 มีมวลคงที่ไดดังนี้ สาร มวล N2 (กรัม) มวล O2 (กรัม) NO 14 16 NO2 14 32 N2O 14 8 N2O3 14 24 N2O5 14 40 มวลของ O2 ใน NO : NO2 : N2O : N2O3 : N2O5


 16 : 32 : 8 : 24 : 40 2 : 4 :1 : 3 : 5 อัตราสวนโดยมวลของออกซิเจนเปนเลขลงตัวอยางต่ํา แสดงวา การรวมตัวเปนไปตามกฎสัดสวน ตอบ พหุคูณ

4. ทฤษฎีอะตอมของดอลตันกับกฎทรงมวล ทฤษฎีอะตอมของดอลตันอธิบายเกี่ยวกับกฎทรงมวลไววา “การที่มวลของสารกอนเกิดปฏิกิริยา และหลังการเกิดปฏิกิริยามีคาเทากัน เนื่องจากจํานวนอะตอมในสารตาง ๆ ไมไดสูญหายหรือเกิดขึ้นใหม เพียงแตเปลี่ยนตําแหนงกันเมื่อเกิดเปนสารประกอบชนิดใหม พิจารณาจากตัวอยางตอไปนี้ 1. ปฏิกิริยาระหวางคารบอนกับออกซิเจน ไดกาซคารบอนไดออกไซด 

+

คารบอน ออกซิเจน คารบอนไดออกไซด (กอนการเกิดปฏิกิริยา) (หลังการเกิดปฏิกิริยา) 2. ปฏิกิริยาระหวางไฮโดรเจนกับออกซิเจนไดน้ํา +

+

ไฮโดรเจน ออกซิเจน น้ํา น้ํา (กอนการเกิดปฏิกิริยา) (หลังการเกิดปฏิกิริยา) จากแผนภาพของปฏิกิริยาทั้งสองจะเห็นไดวา จํานวนอะตอมกอนการเกิดปฏิกิริยาและหลังการ เกิดปฏิกิริยามีคาเทากัน เพียงแตสลับกันเทานั้น ดังนั้นมวลกอนเกิดปฏิกิริยาและหลังปฏิกิริยาจึงตองเทากัน

5. ทฤษฎีอะตอมของดอลตันกับกฎสัดสวนคงที่ กลาวไววา “อัตราสวนโดยมวลของธาตุที่มารวมกันเปนสารประกอบชนิดหนึ่ง ๆ ยอมมีคาคงที่” การที่อัตราสวนโดยมวลของธาตุที่มารวมกันเปนสารประกอบมีคาคงที่ เนื่องจากเมื่ออะตอมของ ธาตุมารวมกันเปนสารประกอบ จะรวมกันดวยอัตราสวนของจํานวนอะตอมคงที่ และเนื่องจากอะตอมของ ธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกันจึงยอมมีมวลเทากัน ดังนั้นอัตราสวนโดยมวลของธาตุที่มารวมกันเปน สารประกอบจึงคงที่ดวย


ตัวอยางเชน ปฏิกิริยาระหวางคารบอนกับออกซิเจน ไดคารบอนไดออกไซด จะพบวา 1 โมเลกุล ของคารบอนไดออกไซดมีคารบอน 1 อะตอม และออกซิเจน 2 อะตอม เสมอ ดังนั้นไมวาจะเกิด คารบอนไดออกไซดกี่โมเลกุลกี่ตาม อัตราสวนจํานวนอะตอมของคารบอน ตอ ออกซิเจน จะเทากับ 1 : 2 เสมอ ซึ่งก็เปนเหตุผลที่ทําใหอัตราสวนโดยมวลของคารบอน ตอ ออกซิเจน มีคาคงที่ดวย ************************************************************************************

ใบความรู เรื่อง ปริมาณสัมพันธของกาซ (ประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 22-25)

***************************************************************

1. กฎของเกย-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law)

ในป ค.ศ. 1809 (พ.ศ. 2352) โจเซฟ หลุยส เกย-ลูสแซก (Joseph Louis Gay Lussac) นักเคมี ชาวฝรั่งเศสไดทดลองวัดปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันและก็าซที่เกิดจากปฏิกิริยา โดยวัดที่อุณหภูมิ และความดันเดียวกัน ซึ่งเมื่อเกย-ลูสแซกทําการทดลองหลายๆ ครั้ง ก็ไดพบความสัมพันธระหวางปริมาตร ของกาซและสรุปเปนกฎเรียกวา “กฎรวมปริมาตรกาซ” ซึ่งตอมาเรียกวา กฎของเกย-ลูสแซก มีใจความ ดังนี้ “อัตราสวนระหวางปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกัน และปริมาตรของกาซที่ไดจากปฏิกิริยา ซึ่งวัดที่อุณหภูมิ และความดันเดียวกัน จะเปนเลขจํานวนเต็มลงตัวนอยๆ” ตารางที่ 1 ตัวอยางของปฏิกิริยาที่เปนไปตามกฎของเกย-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law) ปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกัน กาซ ปริมาตร กาซ ปริมาตร (ลิตร) (ลิตร)

H2 H2 H2 N2 NO

1 2 3 2 2

Cl2 O2 N2 O2 O2

1 1 1 1 1

ปริมาตรของกาซที่วัดไดจากปฏิกิริยา ปริมาตร (ลิตร) กาซ

HCl H2O NH3 N2O NO2

2 2 2 2 2

อัตราสวนโดยปริมาตรของกาซ

H2 : Cl2 : HCl = 1 : 1 : 2 H2 : O2 : H2O = 2 : 1 : 2 H2 : N2 : NH3 = 3 : 1 : 2 N2 : O2 : N2O = 2 : 1 : 2 NO : O2 : NO2 = 2 : 1 : 2

จากขอมูลในตารางจะเห็นไดวา 1. ปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันและที่ไดจากปฏิกิริยา เปรียบเทียบกันไดเปนเลขลงตัว นอยๆ ตามกฎของเกย-ลูสแซก 2. ในแตละปฏิกิริยา กาซจะทําปฏิกิริยากันดวยอัตราสวนโดยปริมาตรคงที่ เชน ปริมาตรของ H2 : Cl2 : HCl = 1 : 1 : 2 เสมอ ถาใช H2 10 ลิตร จะตองใช Cl2 10 ลิตร และจะได HCl 20 ลิตร


3. ปริมาตรรวมของกาซ กอนทําปฏิกิริยา และปริมาตรรวมของกาซที่ได จากปฏิกิริยาจะเทากัน หรือไมเทากันก็ได เชน H2 10 ลิตร + Cl2 10 ลิตร  HCl 20 ลิตร ปริมาตรรวมกอนและหลังเกิดปฏิกิริยาเปน 20 ลิตร เทากัน แต H2 20 ลิตร + O2 10 ลิตร  H2O 20 ลิตร ปริมาตรรวมกอนและหลังเกิดปฏิกิริยาไมเทากัน

2. กฎของอาโวกาโดร (Avogadro’s law)

กฎของอาโวกาโดรใชศึ กษาความสัมพันธระหวางปริมาตรของกาซกับจํานวนอนุภาค หรือจํานวน โมเลกุลของกาซที่อยูภายใตอุณหภูมิและความดันเดียวกัน ในตอนแรกอามีดีโอ อาโวกาโดร (Amedeo Avogadro) นักวิทยาศาสตรชาวอิตาลีไดศึกษากฎของ เกย-ลูสแซก และใหเหตุผลวาการที่อัตราสวนโดยปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันและกาซที่ไดจาก ปฏิกิริยาเปนเลขจํานวนเต็มลงตัวนอยๆ เนื่องจากปริมาตรของกาซมีความสัมพันธกับจํานวนอนุภาคที่มา รวมกันเปนสารประกอบจึงเสนอสมมติฐานใน ปค.ศ. 1811 เรียกวา “สมมติฐานของอาโวกาโดร(Avogadro’s hypothesis)” สมมติฐานของอาโวกาโดร กลาววา “กาซที่มีปริมาตรเทากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันจะมี จํานวนอนุภาคเทากัน” ในตอนแรกสมมติฐานของอาโวกาโดรใชคําวาอนุภาคแทนอะตอม ซึ่งทําใหขัดแยงกับทฤษฎี อะตอมของดอลตัน อาโวกาโดรจึงเสนอใหเรียกอนุภาคของกาซวา “โมเลกุล” เพื่อใหแตกตางกับอนุภาค อะตอมตามที่ดอลตันเสนอไว โดยแตละโมเลกุลของกาซจะประกอบดวยอนุภาคที่เหมือนกันรวมกันอยูเปน เลขคู แตคาของเลขคูจะเปนเทาใดขณะนั้นยังไมทราบชัดเจน ในป ค.ศ. 1860 (พ.ศ.2403) สตานิสลาฟ คันนีดซาโร (Stanislav Cannizzaro) นักเคมีชาวอิตาลีไดทํา การทดลองเพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยากัน และเสนอใหธาตุที่เปนกาซโมเลกุลที่ ประกอบดวยอะตอมจํานวนคูนอยที่สุด คือ 1 คู ดังนั้น 1 โมเลกุลของธาตุที่เปนกาซจึงประกอบดวย 2 อะตอม เชน โมเลกุลของกาซออกซิเจน กาซไฮโดรเจน และกาซคลอรีน ตางมี 2 อะตอม เปนตน จากขอเสนอเกี่ยวกับจํานวนอนุภาคในหนึ่งโมเลกุลของกาซ ทําใหสมมติฐานของอาโวกาโดร เปลี่ยนจากเดิมที่วา “กาซมีปริมาตรเทากัน วัดที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน จะมีจํานวนอนุภาคเทากัน” เปน “กาซมีปริมาตรเทากัน วัดที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน จะมีจํานวนโมเลกุลเทากัน” โดยเปลี่ยนจาก อนุภาค เปน โมเลกุล ซึ่งทําใหสมมติฐานของอาโวกาโดรสามารถอธิบายกฎของ เกย-ลูสแซกไดโดยไมขัดแยงกับทฤษฎีอะตอมของดอลตัน ปจจุบันสมมติฐานอาโวกาโดรเปนที่ยอมรับทั่วไป เปนกฎ และเรียกวา “กฎของอาโวกาโดร” พิจารณาตัวอยางการใชกฎของอาโวกาโดรจากแผนภาพของปฏิกิริยาตอไปนี้


1. กาซไฮโดรเจนทําปฏิกิริยากับกาซออกซิเจนไดไอน้ํา

รูปที่ 1 แสดงอัตราสวนของปริมาตรและจํานวนโมเลกุลใน 1 หนวยปริมาตร ของไฮโดรเจน ออกซิเจน และไอน้ํา ไฮโดรเจน + ออกซิเจน  ไอน้ํา 2 cm3 1 cm3 2 cm3 หรือ 2n โมเลกุล n โมเลกุล 2n โมเลกุล หรือ

1 โมเลกุล

1 2

โมเลกุล

1 โมเลกุล

หรือ 2 อะตอม 1 อะตอม 1 โมเลกุล 2. กาซไฮโดรเจนทําปฏิกิริยากับกาซคลอรีนไดกาซไฮโดรเจนคลอไรด

รูปที่ 2 แสดงอัตราสวนของปริมาตรและจํานวนโมเลกุลใน 1 หนวยปริมาตร ของไฮโดรเจน ออกซิเจน และไอน้ํา ไอโดรเจน + คลอรีน  ไฮโดรเจนคลอไรด 1 cm3 1 cm3 2 cm3 หรือ n โมเลกุล n โมเลกุล 2n โมเลกุล หรือ 1/2 โมเลกุล 1/2 โมเลกุล 1 โมเลกุล หรือ 1 อะตอม 1 อะตอม 2 โมเลกุล กฎอาโวกาโดร นอกจากจะใชอธิบายกฎของเกย-ลูสแซกแลว ยังทํานายปฏิกิริยาเคมีของกาซรวม และสามารถนํามาประยุกตใชคํานวณเกี่ยวกับสมการเคมี และสูตรโมเลกุลของสารประกอบที่เปนกาซได เนื่องจากกาซตางๆ ที่อยูภายใตสภาวะของอุณหภูมิและความดันเดียวกัน เมื่อปริมาตรเทากันจํานวน โมเลกุลจะตองเทากันดวย แสดงวา จํานวนโมเลกุลและปริมาตรของกาซแปรผันโดยตรงตอกัน V  N เมื่อ V เปนปริมาตรของกาซ , N เปนจํานวนโมเลกุลของกาซ จากเหตุผลดังกลาวทําใหสามารถเปลี่ยนปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันใหเปนโมเลกุลได หรือในทางกลับกันก็สามารถเปลี่ยนจํานวนโมเลกุลที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันใหกลายเปนปริมาตรได


เชนเดียวกัน ทําใหสามารถนํามาประยุกตใชเกี่ยวกับสมการเคมีไดคือ ก. ถามีสมการที่ดุลแลว (สําหรับกาซ) สามารถเปลี่ยนจํานวนโมเลกุลที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันใหเปน ปริมาตรไดทันที เพราะตัวเลขที่แสดงจํานวนโมเลกุลยอมแสดงปริมาตรของกาซดวย 2NO (g) + O2 (g)  2NO (g) เชน 2 โมเลกุล 1 โมเลกุล 2 โมเลกุล หรือ 2 ปริมาตร 1 ปริมาตร 2 ปริมาตร 3 3 ปริมาตรอาจเปนหนวย cm , dm ก็ได เชน ถาใช NO 2 dm3 ทําปฏิกิริยาพอดีกับ O2 1 dm3 จะได NO2 2 dm3 เปนตน ข. ถาปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกัน และปริมาตรของกาซที่ไดจากปฏิกิริยาหลังจากทํา ปริมาตรเหลานั้นใหเปนเลขอยางต่ํา แลวสามารถเปลี่ยนปริมาตรใหเปนโมเลกุล และนําไปเขียนสมการที่ดุล ได ซึ่งจะนําหลักการนี้ไปใชประโยชนเกี่ยวกับการคํานวณสมการเคมี และการคํานวณสูตรโมเลกุล เชน N2 + H2  NH3 ปริมาตรที่รวมพอดี 5 cm3 15 cm3 10 cm3 เปลี่ยนเปนเลขอยางต่ํา 1 cm3 3 cm3 2 cm3 เปลี่ยนเปนจํานวนโมเลกุล n โมเลกุล 3n โมเลกุล 2n โมเลกุล 3 (ให 1 cm มี n โมเลกุล) จะได 1 โมเลกุล 3 โมเลกุล 2 โมเลกุล หรือ 2 อะตอม 6 อะตอม 2 โมเลกุล N2 + 3H2  2NH3 เขียนเปนสมการไดวา สําหรับภาพ แสดงการเปรียบเทียบระหวาง อัตราสวนโดยปริมาตร และโดยจํานวนโมเลกุลของกาซ ในปฏิกิริยาเปนดังนี้

อัตราสวนโดยปริมาตร ไนโตรเจน : ไฮโดรเจน : แอมโมเนีย = 1 : 3 : 2 อัตราสวนโดยจํานวนโมเลกุล ไนโตรเจน : ไฮโดรเจน : แอมโมเนีย = 1 : 3 : 2 ซึ่งอัตราสวนทั้งสองแบบมีคาเทากันแสดงใหเห็นวาสามารถเปลี่ยนปริมาตรใหเปนโมเลกุลหรือ สามารถเปลี่ยนโมเลกุลใหเปนปริมาตรได ขอควรระวัง การพิจารณาเกี่ยวกับกฎของเกย-ลูสแซก และกฎของอาโวกาโดรจะใชไดเฉพาะปฏิกิริยาเคมี เกี่ยวของกับกาซ ซึ่งอยูภายใตอุณหภูมิและความดันเดียวกันเทานั้น ตัวอยางที่ 1กาซไนโตรเจนมอนอกไซด (NO) และกาซออกซิเจน (O2) เปนกาซที่ไมมีสีและไมละลายน้ํา แต


กาซไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) มีสีน้ําตาลแดงละลายน้ําได เมื่อนํากาซ NO และ O2 มาทําปฏิกิริยากัน โดยการถายกาซ O2 จํานวนมากเกินพอเขาสูกระบอกตวง แลวถายกาซ NO จํานวน 1 หลอดเขาไป ดังรูป

หลังจากเกิดปฏิกิริยาสมบูรณแลว วัดปริมาตรของกาซที่เหลืออยูในกระบอกตวง ปรากฏขอมูลดังนี้ ครั้งที่ ปริมาตร O2 ปริมาตร NO ปริมาตรของกาซที่ (cm3) (cm3) เหลือ (cm3) 1 20 20 10.2 2 20 20 10.0 3 20 20 9.8 จงพิสูจนวาการทดลองนี้เปนไปตามกฎของเกย-ลูสแซก วิธีทํา เนื่องจากใชกาซ O2 มาเกินพอ ดังนั้นกาซที่เหลือจึงเปนกาซ O2 สําหรับกาซ NO2 ที่เกิดขึ้นละลายน้ํา ได จึงไมมีปริมาตรเหลือในกระบอกตวงในการทดลองแตละครั้ง ปริมาตรของ O2 ที่ทําปฏิกิริยาพอดี = ปริมาตรเริ่มตน – ปริมาตรที่เหลือ ครั้งที่ 1 2 3

ปริมาตรของกาซที่รวมพอดีกัน (cm3) O2 NO 9.8 20 10.0 20 10.2 20

อัตราสวนของปริมาตร O2 : NO 9.8 : 20 10.0 : 20 10.2 : 20

คาเฉลี่ยอัตราสวนโดยปริมาตรของ O2 : NO = 10 : 20 = 1 : 2 อัตราสวนโดยปริมาตรของกาซที่เขาทําปฏิกิริยากันเปนเลขอยางต่ํา ลงตัวนอยๆ แสดงวาเปนไปตาม ตอบ กฎของเกย-ลูสแซก ตัวอยางที่ 2 กําหนดผลการทดลองใหดังตอไปนี้ การทดลองที่ ผลการวัดปริมาตรของกาซที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน 1 H2 20 cm3 + O2 10 cm3  H2O 20 cm3 2 H2 10 cm3 + Cl2 10 cm3  HCl 20 cm3


3 4 5

CO 20 cm3 + O2 10 cm3  CO2 20 cm3 N2 10 cm3 + O2 10 cm3  NO 20 cm3 N2 10 cm3 + H2 30 cm3  NH3 20 cm3

ขอสรุปตอไปนี้ ขอใดถูกตอง 1. ปริมาตรของกาซที่เขาทําปฏิกิริยาพอดีกัน และปริมาตรของกาซที่เกิดจากปฏิกิริยาจะเปรียบเทียบ กันไดเปนอัตราสวนของเลขจํานวนเต็มลงตัวนอยๆ 2. ถาทําใหปริมาตรของกาซเปนเลขลงตัวอยางต่ํา ปฏิกิริยาที่เกี่ยวของกับกาซจะไดกาซที่เปน ผลิตภัณฑปริมาตรเทากัน 3. ปริมาตรรวมของกาซกอนเกิดปฏิกิริยาอาจจะเทากับหรือไมเทากับปริมาตรของกาซภายหลัง เกิดปฏิกิริยาก็ได 4. จากการทดลองทั้งหมดสรุปไดวากาซทุกชนิดมีจํานวนโมเลกุลเทากันเมื่ออยูภายใตอุณหภูมิและ ความดันเดียวกัน วิธีทํา ขอ 1 ถูกตอง เพราะเปนไปตามกฎของเกย-ลูสแซก การทดลองที่ อัตราสวนโดยปริมาตรของกาซ 1 H2 : O2 : H2O = 2 : 1 : 2 2 H2 : Cl2 : HCl = 1 : 1 : 2 3 CO : O2 : CO2 = 2 : 1 : 2 4 N2 : O2 : NO = 1 : 1 : 2 5 N2 : H2 : NH3 = 1 : 3 : 2 จะเห็นไดวาอัตราสวนโดยปริมาตรของกาซทุกๆ ปฏิกิริยา เปนเลขจํานวนเต็มลงตัวนอยๆ เปนไปตามกฎของเกย-ลูสแซก ขอ 2 ไมถูก ในปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับกาซ ไมจําเปนที่จะตองไดผลิตภัณฑที่เปนกาซซึ่งมีปริมาตรเทากัน H2 1 cm3 + Cl2 1 cm3  HCl 2 cm3 เชน NH3 1 cm3 + HCl 1 cm3  NH4Cl 1 cm3 ขอ 3 ถูกตอง ขอ 4 ไมถูก เนื่องจากไมไดกําหนดวาปริมาตรที่ใชตองเทากัน ตัวอยางที่ 3 ภายใตอุณหภูมิและความดันคาหนึ่ง กาซ O2 1 ลิตร ประกอบดวยกาซออกซิเจน 1.2 x 1022 โมเลกุล ดังนั้นภายใตสภาวะเดียวกันนี้กาซซึ่งไดจากภูเขาไฟ 1 ลิตรจะมีกี่โมเลกุล วิธีทํา ตามกฎของอาโวกาโดร “ภายใตอุณหภูมิและความดันเดียวกัน กาซที่มีปริมาตรเทากันยอมมีจํานวน โมเลกุลเทากัน”


ดังนั้น กาซจากภูเขาไฟ 1 ลิตร ยอมมี 1.2 x 1022 โมเลกุลดวย ตอบ ตัวอยางที่ 4 ถังใบหนึ่งบรรจุกาซ O2 จนเต็ม พบวามี O2 ทั้งหมด 6.02 x 1023 โมเลกุล ถาถายออกซิเจน บางสวน แลวเติมกาซโพรเพนและบิวเทนเขาไปแทนจนเต็มถังภายใตภาวะอุณหภูมิและความดันเดียวกัน จะ มีกาซ O2 โพรเพนและ บิวเทน รวมกันอยูกี่โมเลกุล วิธีทํา เนื่องจากอยูภายใตอุณหภูมิและความดันเดียวกัน เมื่อมีปริมาตรเทากัน จะตองมีจํานวนโมเลกุลเทากัน ตามกฎของอาโวกาโดร 23  จํานวนโมเลกุลของ O2 + โพรเพน + บิวเทน = 6.02 x 10 โมเลกุล ตอบ ตัวอยางที่ 5 ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน กาซ X 3.0 cm3 ทําปฏิกิริยากับกาซ Y 9.0 cm3 ไดกาซ Z อยาง เดียว 6.0 cm3 ก. อัตราสวนจํานวนโมเลกุลของกาซ X : Y : Z เปนเทาใด ข. ถาใหกาซ X 60 cm3 ทําปฏิกิริยากับกาซ Y 120 cm3 จะไดกาซ Z เกิดขึ้นกี่ cm3 และเหลือกาซ เทาใด ค. ถาตองการกาซ Z 120 cm3 จะตองใชกาซ X และ Y อยางละเทาใดมาทําปฏิกิริยากัน วิธีทํา ใชกฎของอาโวกาโดรและกฎของเกย-ลูสแซก X + Y  Z 3.0 cm3 9.0 cm3 6.0 cm3 หรือ 3n โมเลกุล 9n โมเลกุล 6n โมเลกุล หรือ 3 โมเลกุล 9 โมเลกุล 6 โมเลกุล ก. อัตราสวนโดยจํานวนโมเลกุล X : Y : Z = 3 : 9 : 6 = 1 : 3 : 2 ข. ถาใช Y 9 cm3 ตองใช X 3 cm3 ได Z 6 cm3  ถาใช

Y 120 cm3 ตองใช X = ได Z

3x120 = 9 = 6x120 9

40 cm3 = 80 cm3

เหลือ X = 60 - 40 = 20 cm3 ค. ถาตองการกาซ Z 6 cm3 ตองใชกาซ X 3 cm3 และกาซ Y 9 cm3  ถาตองการกาซ

Z 120 cm3 ตองใชกาซ X = ตองใชกาซ Y

3 x 120 = 60 cm3 6 = 9 x 120 = 180 cm3 6

ตัวอยางที่ 6 เมื่อนํากาซ A และ B ทําปฏิกิริยากันจะไดกาซ C อยางเดียว ผลการทดลองที่อุณหภูมิและ ความดันเดียวกันไดขอมูลเกี่ยวกับปริมาตรของกาซดังนี้ ครั้งที่ ปริมาตรของกาซเริ่มตน ปริมาตรของกาซที่เหลือ ปริมาตรของกาซทั้งหมด A (cm3) B(cm3) A (cm3) B (cm3) หลังเกิดปฏิกิริยา (cm3)


1 2

30 150

50 200

10 50

20 50

50 200

ก. จงพิสูจนวาการทดลองนี้เปนไปตามกฎของเกย-ลูสแซก ข. ถาใชกาซ A 50 cm3 ทําปฏิกิริยากับกาซ B จํานวนมากเกินพอจะไดกาซ C กี่ cm3 ค. ถาใชกาซ A และ B อยางละ 10 cm3 จะเหลือกาซใดและได C กี่ cm3 วิธีทํา ในการพิสูจนกฎของเกย-ลูสแซก ขั้นแรกตองหาปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันกอน หลังจาก นั้นจึงจะนําปริมาตรไปเทียบอัตราสวนกัน ให VT คือปริมาตรทั้งหมดหลังการเกิดปฏิกิริยา VA , VB , และ VC คือปริมาตรของกาซ A , B และ C ที่ทําปฏิกิริยาพอดีกัน VA = ปริมาตรเริ่มตน - ปริมาตรที่เหลือ VB = ปริมาตรเริ่มตน - ปริมาตรที่เหลือ VC = VT - ปริมาตร( A+B) ที่เหลือ จากขอมูลนํามาคํานวณปริมาตรที่รวมพอดีไดดังนี้ ปริมาตรที่รวมพอดีกัน A (cm3) B(cm3) 20 30 100 150

ปริมาตรที่เกิดขึ้น (cm3) 20 100

VA : VB : VC 2:3:2 2:3:2

ก. จากตารางจะเห็นวาอัตราสวนโดยปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยากันและกาซที่เกิดจากปฏิกิริยา เปนเลขจํานวนเต็มนอยๆ แสดงวาการทดลองนี้เปนไปตามกฎของเกย - ลูสแซก ข. จากตารางจะเห็นวากาซ A 20 cm3 ทําปฏิกิริยาพอดีกับกาซ B = 30 cm3 เกิดกาซ C 20 cm3  ถาใชกาซ

20 20

A 50 cm3 จะไดกาซ C =

x 50 = 50 cm3

ค.  ปริมาตรของกาซ B ใชมากกวากาซ A ดังนั้นจึงมีปริมาตรของกาซ A จํานวนหนึ่งเหลือ ถาใชกาซ B 30 cm3 จะตองใชกาซ A 20 cm3 ไดกาซ C = 20 cm3 20 x 10 = 6.67 cm3 30 = 20 x 10 = 6.67 cm3 30

ถาใชกาซ B 30 cm3 จะตองใชกาซ A = เกิดกาซ C

เหลือกาซ A = 10 - 6.67 = 3.33 cm3 ตอบ ตัวอยางที่ 7 จากขอมูลตอไปนี้ จงเขียนภาพแสดงอัตราสวนโดยปริมาตรและโดยจํานวนโมเลกุลของกาซ


ก. ระหวางกาซไนโตรเจน 2 ปริมาตร กับกาซออกซิเจน 1 ปริมาตร ไดกาซไฮโดรเจนมอนอกไซด 2 ปริมาตร ข. ระหวางกาซไฮโดรเจน 1 ปริมาตร กับกาซโบรมีน 1 ปริมาตร ไดกาซไฮโดรเจนโบรไมด 2 ปริมาตร วิธีทํา เขียนแผนภาพแสดงอัตราสวนโดยปริมาตร และโดยจํานวนโมเลกุลไดดังนี้ ก. กาซไนโตรเจน + กาซออกซิเจน  กาซไนโตรเจนมอนอกไซด 2 ปริมาตร 1 ปริมาตร 2 ปริมาตร ข.

กาซไฮโดรเจน + 1 ปริมาตร

กาซโบรมีน  กาซไฮโดรเจนโบรไมด 1 ปริมาตร 2 ปริมาตร

ตัวอยางที่ 8 ขวดสูญญากาศใบหนึ่งชั่งไดหนัก 150.0 กรัม เมื่อใสกาซออกซิเจนในขวดจนเต็ม ชั่งขวดได หนัก 154.0 กรัม แตถาสูบเอากาซออกซิเจนจากขวดจนหมด แลวบรรจุกาซ X จนเต็มจะชั่งขวดไดหนัก 152.0 กรัม ถาการทดลองทั้งหมดนี้ทําที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน เราจะบอกไดวากาซ X คือ ก. CH4 (มวลโมเลกุล = 16) ค. O2 (มวลโมเลกุล = 32) ข. N2 (มวลโมเลกุล = 28) ง. CO2 (มวลโมเลกุล = 44) วิธีทํา เนื่องจากเปนการทดลองที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันสามารถใชกฎของอาโวกาโดรได “ภายใต อุณหภูมิและความดันเดียวกัน กาซที่มีปริมาตรเทากัน จะมีจํานวนโมลหรือจํานวนโมเลกุลเทากัน”  ใชขวดใบเดียวกันบรรจุกาซ O2 และ X แสดงวาปริมาตรของ O2 และ X เทากัน ซึ่งตามกฎของ อาโวกาโดร จํานวนโมลของ O2 และ X เทากัน มวล (w) โมล = มวลโมเลกุล (M) โมลของออกซิเจน = จํานวนโมลของ X [ w ]O2 = [ w ]X M

M

สําหรับ O2 w = มวล(ภาชนะ + กาซ) - มวลภาชนะ = 154.0 - 150.0 = 4.0 กรัม


M = 32 สําหรับ X w = มวล(ภาชนะ + กาซ) - มวลภาชนะ = 152.0 - 150.0 = 2.0 กรัม แทนคา 4.0 32

=

2.0 MX

MX = 16 มวลโมเลกุลของ X = 16 ก็คือ CH4 ตอบ ตัวอยางที่ 9 ขวดแกวใบหนึ่งบรรจุ 30.0 dm3 ที่ 25 0C และ 1.1 atm บรรจุกาซคลอรีน 2.00 โมล เมื่อดูด กาซคลอรีนออกจนหมด แลวบรรจุกาซไนโตรเจนลงไปแทนที่ ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันจะบรรจุกาซ ไนโตรเจนไดกี่โมล ก. 0.79 ข. 2.00 ค. 2.40 ง. 5.07 วิธีทํา โจทยขอนี้พิจารณาอยางผิวเผินโดยใชกฎของอาโวกาโดรเปนหลัก “ภายใตอุณหภูมิและความดัน เดียวกัน กาซที่มีปริมาตรเทากัน จะมีจํานวนโมลหรือจํานวนโมเลกุลเทากัน” ก็ควรจะหาจํานวนโมลของ N2 ที่บรรจุแทน Cl2 ไดทันที เพราะใชอุณหภูมิและความดันเดียวกัน ภาชนะใบเดียวกันเมื่อบรรจุ Cl2 ไดเทาใดก็ บรรจุ N2 ไดเทานั้น ตอบ  ถาบรรจุ Cl2 ได 2.00 โมล ก็ควรจะบรรจุ N2 ได 2.00 โมลดวย ซึ่งตรงกับตําตอบขอ ข. -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3. การหาสูตรโมเลกุลของกาซจากปฏิกิริยาเคมี

ดังที่ไดกลาวแลววา กฎของอาโวกาโดรสามารถใชคํานวณหาสูตรโมเลกุลของกาซ ในกรณีที่สารตั้ง ตนทุกตัวเปนกาซ และผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นเปนกาซ พิจารณาตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยางที่ 10 N2 (g) 300 cm3 ทําปฏิกิริยากับ H2 (g) 900 cm3 ไดกาซชนิดหนึ่ง 600 cm3 ถาการวัดปริมาตร ของกาซทําที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน จงหาสูตรโมเลกุลของกาซที่เกิดขึ้น วิธีทํา ทําปริมาตรของกาซใหเปนเลขลงตัวอยางต่ํา แลวเทียบหาจํานวนอะตอมใน 1 โมเลกุล จะไดสูตร โมเลกุล X (g)  N2 (g) + H2 (g) 600 cm3 300 cm3 900 cm3 หรือ 1 cm3 1/2 cm3 3/2 cm3 ให 1 cm3 มี n โมเลกุล จะได N2 1/2 n โมเลกุล และ H2 3/2n โมเลกุล


X (g)  N2 (g) + H2 (g) n โมเลกุล 1/2n โมเลกุล 3/2n โมเลกุล หรือ 1 โมเลกุล 1/2 โมเลกุล 3/2 โมเลกุล = 1N = 3H 1 โมเลกุลของ X (g) มี N 1 อะตอม และ H 3 อะตอม  สูตรโมเลกุล คือ NH3

ตอบ

4. ความสัมพันธระหวางปริมาณของสารในสมการเคมี สมการเคมีที่ดุลแลวจะทําใหทราบความสัมพันธในเชิงปริมาณระหวางสารตางๆ ที่ทําปฏิกิริยาพอดี กันทั้งในแงของโมล มวล ปริมาตรของกาซ และจํานวนอนุภาค ทําใหทราบวาสารตั้งตนเทาใดที่ทําปฏิกิริยา พอดีกันและมีสารผลิตภัณฑเทาใดที่เกิดจากปฏิกิริยา โดยอาศัยความสัมพันธจากโมล มวล ปริมาตรของกาซ และจํานวนอนุภาค สามารถที่จะคํานวณปริมาณของสารตัวหนึ่งจากตัวอื่นๆ ในสมการที่ทราบปริมาณแลว ตัวอยางเชน ปฏิกิริยาระหวาง CaCO3 กับ HCl ดังนี้ CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + H2O (l) + CO2 (g) จํานวนโมล 1 2 1 1 1 มวล (g) (40+12+3x16) 2(1+35.5) (40+(2x35.5)) (1x2 + 16) (12+2x16) 23 23 โมเลกุล 6.02x10 2 x6.02x10 6.02x1023 6.02x1023 6.02x1023 ปริมาตร(ที่ STP) 22.4 dm3 จะเห็นไดวาถาเริ่มตนจากโมล จะสามารถเปลี่ยนเปนมวล โมเลกุล หรือปริมาตรได โดยทั่วๆ ไปการคํานวณจากสมการ โจทยอาจจะกําหนดใหเพียง 1 สมการ กําหนดปริมาณของสาร ให 1 ชนิดหรือหลายๆ ชนิดก็ได หรืออาจจะกําหนดใหมากกวา 1 สมการ ซึ่งการคํานวณแตละแบบจะ แตกตางกัน ในที่นี้จะแสดงใหดูทุกๆ แบบ ก. การคํานวณที่เกี่ยวของกับ 1 สมการ โดยทั่วๆ ไปมีหลักการดังนี้ 1. เขียนสมการใหถูกตอง (ทําสมการใหดุล) 2. พิจารณาเฉพาะสารที่โจทยถามและที่กําหนดให 3. นําจํานวนโมล ของสารที่โจทยถาม และที่กําหนดให (จากสมการที่ดุล) มาเทียบอัตราสวนกัน เมื่อ แทนคาโมลตามความเหมาะสม จะคํานวณสิ่งที่ตองการได 4. ในกรณีที่ตองการเทียบบัญญัติไตรยางค ก็พิจารณาเฉพาะตัวที่โจทยถามและที่กําหนดให เชนเดียวกัน โดยเริ่มตนพิจารณาเทียบจํานวนโมล แลวเปลี่ยนไปเปนสิ่งที่ตองการ


พิจารณาตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยางที่ 11 เมื่อนําแมกนีเซียมไนไตรต 10.0 กรัม ทําปฏิกิริยากับน้ําจํานวนมากเกินพอ ก. จงคํานวณปริมาตรของกาซแอมโมเนียมที่เกิดขึ้นที่ STP ข. ในขณะที่ไดกาซแอมโมเนีย 3.0 กรัม จะเหลือแมกนีเซียมไนไตรตกี่กรัม วิธีทํา ขั้นแรกเขียนสมการใหถูกตองกอน แมกนีเซียมไนไตรตคือ Mg2N2 มีมวลโมเลกุล 100 Mg2N2 + 6H2O  3Mg(OH)2 + 2 NH3 ก. หาปริมาตรของ NH3 ในที่นี้จะแสดงใหดูทั้งวิธีเทียบบัญญัติไตรยางคและวิธีเทียบอัตราสวนของโมล จะเห็นไดวา ตัวที่โจทยกําหนดใหคือ Mg3N2 10.0 กรัม ตัวที่โจทยถามคือ NH3 กี่ dm3 ที่ STP โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค พิจารณาเฉพาะ Mg2N3 และ NH3 จากสมการที่ดุลแลว Mg3N2  2NH3 1 โมล 2 โมล หรือ 100 กรัม ได 2 x 22.4 dm3 เพราะฉะนั้น 10.0 กรัม ได 2 x 22.4 x 10.0 = 4.48 dm3 100

จะไดกาซ NH3 4.48 ลิตรที่ STP โดยการเทียบอัตราสวนของโมล โมล NH 3 = โมล Mg 3 N 2

โมล NH3 V 22.4

1 2

= 2 ( โมล Mg3N2)

= 2( w ) M

สําหรับ NH3 ; V = ? สําหรับ Mg3N2 ; w = 10.0 กรัม , M = 100 V  = 2( 10.0 ) 22.4

100

V = 4.48 dm3 จะไดกาซแอมโมเนีย = 4.48 dm3 ที่ STP ข. หามวลของ Mg3N2 ที่เหลือ ตองหาวาใช Mg3N2 ไปเทาใดกอน โดยคิดจากสมการเคมีที่ดุลแลว แลวจึงนํามาลบออกจาก Mg3N2 ที่มีอยูเดิม ตัวที่โจทยถามคือ Mg3N2 กี่กรัม


ตัวที่โจทยกําหนด คือ NH3 3.0 กรัม โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค 2 NH3  Mg3N2 2 โมล 1 โมล หรือ 2 x 17 กรัม จะได 100 กรัม 100 x 3.0 2x17

3 กรัม จะได

ถา

= 8.82 กรัม

ใช Mg3N2 = 8.82 กรัม  เหลือ Mg3N2 = 10.0 - 8.82 = 1.18 กรัม

โดยการเทียบอัตราสวน โมล Mg 3 N 2 = โมล NH 3

โมล Mg3N2 = ( w ) Mg3N 2 = M

w 100

=

1 2

1 2

x โมล NH3

1 x( w ) NH3 2 M 1 3.0 ( ) 2 17

w = 8.82 กรัม ใช Mg3N2 = 8.82 กรัม  เหลือ Mg3N2 = 10.0 - 8.82 = 1.18 กรัม สําหรับการคํานวณโดยการเทียบอัตราสวนโมล อาจจะพิจารณาจากสมการทั่วๆ ไป ดังนี้ aA + bB  cC + dD เมื่อกําหนดปริมาณของสารตัวหนึ่งให จะสามารถคํานวณปริมาณของสารตัวอื่นๆ ไดโดยการเทียบ อัตราสวนโมล เชน โมล A = a หรือ โมล B b โมล B b = หรือ โมล C c

โมล โมล โมล โมล

A = C A = D

a c a d

เมื่อตองการแทนคาโมล ใหพิจารณาตามความเหมาะสมวาจะแทนคาในเทอมของมวล (w) โมล (n), ปริมาตร (V) , หรือจํานวนอนุภาค (N) แลวแตโจทยตองการ โดยเลือกใชสูตรดังนี้ n =

V 22.4

=

w M

=

N 6.02 x 10 23


ตัวอยางที่ 12 เมื่อนําเอธานอลมาเผาในกาซ O2 จะไดกาซ CO2 และ H2O ก. จงคํานวณมวลของ H2O ที่เกิดขึ้นเมื่อใชเอธานอล 0.1 โมล ผานใน O2 มากเกินพอ ข. ถาใช O2 1.12 dm3 ที่ STP ทําปฏิกิริยากับเอธานอลจํานวนมาก จะไดกาซ CO2 กี่ dm3 ที่ STP ค. ถาใชกาซ CO2 0.88 กรัมจะได H2O กี่โมเลกุล ง. ถาใชเอธานอล 2.3 กรัม ตองใช O2 กี่ dm3 จึงจะทําปฏิกิริยาพอดี วิธีทํา ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเปนดังนี้ C2H5OH + 3O2  2CO2 + 3H2O ก. หามวลของ H2O จาก C2H5OH โมล H 2 O

จากสมการ โมล C H OH = 3 1 2 5 โมล H2O = 3 x โมล C2H5OH ( w ) H2O = 3 x โมล C2H5OH M

w 18

= 3 x 0.1

w = 5.4 กรัม ได H2O = 5.4 กรัม ข. หาปริมาตรของ CO2 จาก O2 โมล CO 2 = โมล O 2

ตอบ

2 3

2 x โมล O2 3 ( V ) CO2 = 2 x ( V ) O2 22.4 3 22.4 V 2  = x ( 1.12 ) 22.4 3 22.4

โมล CO2 =

V = 0.75 dm3 ที่ STP ไดกาซ CO2 = 0.75 dm3 ที่ STP ค. หาจํานวนโมเลกุลของ H2O จากมวลของ CO2 โมล H 2 O = โมล CO 2

3 2 โมล H2O = 3 x โมล CO2 2 3 w N ( ) = ( x ) CO2 H O 2 2 M 6.02 x 10 23 3 0.88 N  = x 2 44 6.02 x 10 23

ตอบ


N = 1.8 x 1022 โมเลกุล ได H2O 1.8 x 1022 โมเลกุล ง. หาปริมาตรของ O2 จาก C2H5OH โมล C 2 H 5 OH = โมล O 2

ตอบ

1 3

1 x โมล O2 3 = 1 x ( V ) O2 3 22.4 1 1.12 x( ) 3 22.4

โมล C2H5OH = ( w ) C2H5OH M

2.3 46

=

V = 3.36 dm3 ที่ STP ไดกาซ O2 = 3.36 dm3 ที่ STP ตอบ ตัวอยางที่ 13 เมื่อเผาโพแทสเซียมคลอเรต จะไดโพแทสเซียมคลอไรดและกาซออกซิเจน จะตองใช โพแทสเซียมคลอเรตกี่โมล จึงจะสลายตัวใหกาซออกซิเจน 112 cm3 ที่ STP โมล KClO 3 = โมล O 2

วิธีทํา

โมล

2 3 KClO3 = 2 x โมล O2 3 2 = x ( V ) O2 3 22.4 2 = x ( 112 ) 3 1000 x 22.4

= 3.3 x 10-3 โมล ตอบ ตองใช KClO3 = 3.3 x 10-3 โมล ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ข. สารกําหนดปริมาณ (Limiting reagent)

สําหรับการคํานวณจากสมการทีมีสาตั้งตนตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป เชน A + B + C + ….  X + Y + …. และโจทยกําหนดปริมาณของสารตั้งตนให 2 ชนิด การคํานวณจะแตกตางจากเดิมซึ่งกําหนดปริมาณ ของสารใหเพียงตัวเดียว ดังนี้ 1. ถาสารตั้งตนหลายตัวที่กําหนดใหนั้นทําปฏิกิริยากันพอดี ภายหลังเกิดปฏิกิริยาสมบูรณจะ ไมมีสารใดเหลือ ในกรณี นี้การคํานวณปริมาณของผลิตภัณฑที่เกิดขึ้น จะคิดจากสารตั้งตนตัวใดก็ได 2. ถาสารตั้งตนหลายตัวที่กําหนดใหนั้น ทําปฏิกิริยาไมพอดีกัน มีสารตัวหนึ่งมากวาสารอีก ตัวหนึ่ง หรือสารตัวหนึ่งมีปริมาณมากเกินพอ ในกรณีนี้ปฏิกิริยาจะดําเนินไปเรื่อยๆ จนกระทั่งสารตั้งตนที่มี ปริมาณนอยถูกใชหมดไป หลังจากนั้นปฏิกิริยาจะไมเกิดขึ้นอีก กลาวไดวาหลังจากปฏิกิริยาสมบูรณแลวสาร


ตั้งตนบางตัวใชหมดไป และบางตัวยังเหลืออยู ในการคํานวณเกี่ยวกับสมการในกรณีนี้ สารที่ใชหมดไป จะมี ความสําคัญมากกวา เพราะใชสําหรับการหาปริมาณของผลิตภัณฑที่เกิดขึ้น เรียกสารตั้งตนที่ใชหมดนี้วา สารกําหนดปริมาณ โดยทั่วๆ ไป การคํานวณจากสมการที่มีสมการเพียง 1 สมการ แตกําหนดสารตั้ง ตนใหตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป มีหลักเกณฑดังนี้ 1. ตองคํานวณกอนวาสารใดใชหมด 2. นําสารที่ใชหมดไปคํานวณสิ่งที่ตองการ โดยการเทียบอัตราสวนของโมลในทํานองเดียวกับการ คํานวณจากสมการทั่วๆ ไป ตัวอยางที่ 14 เมื่อเผาโลหะเงิน 4.32 กรัม กับผงซัลเฟอร 0.64 กรัม ธาตุใดเหลือจากปฏิกิริยาและเหลือกี่กรัม วิธีทํา โจทยขอนี้กําหนดสารตั้งตนให 2 ชนิด และถามแตเพียงวาสารใดเหลือ และสารใดใชหมดไป ยัง ไมไดถามปริมาณของผลิตภัณฑ ดังนั้นการคํานวณจึงทําแตเพียงเขียนสมการใหถูกตองและพิจารณาวาสารใดเหลือเทานั้น ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ 2Ag + S  Ag2S ถาใช S 32 กรัม( 1 โมล) จะตองใช Ag = 2 x 108 กรัม (2 โมล) ถาใช S 0.64 กรัม จะตองใช Ag

= 2 x 108 x

0.64 32

= 4.32 กรัม

ใช S 0.64 กรัม จะตองใช Ag 4.32 กรัม  ใชหมดพอดีทั้ง 2 ชนิด ตอบ ตัวอยางที่ 15 จากการวิเคราะหสารประกอบ X พบวาประกอบดวยกํามะถัน 40 % โดยน้ําหนัก(หรือโดย มวล) ที่เหลือนอกนั้นเปนออกซิเจน ดังนั้นถาใชกํามะถันและออกซิเจนอยางละ 10 กรัม มาทําปฏิกิริยากันจะ ไดสาร X อยางละกี่กรัม วิธีทํา เปนการคํานวณสารที่กําหนดสารตั้งตนให 2 ชนิด ขั้นแรกจึงตองพิจารณากอนวาสารใดใชหมด จากโจทย สาร X มี S 40% โดยมวล หมายความวาสาร X 100 กรัม จะมี S 40 กรัม และมี O2 60 กรัม ถามี S 40 กรัม จะมี O2 = 60 กรัม เพราะฉะนั้นถามี S 10 กรัม จะมี O2 =

60 40

x 10 = 15 กรัม

จากโจทย มี S และ O2 อยางละ 10 กรัม แสดงวา O2 ใชหมด นําไปคํานวณปริมาณของ O2 ใช O2 60 กรัม ไดสาร X = 100 กรัม ถาใช

O2 10 กรัม ไดสาร X =

100 60

ไดสาร X อยางมาก 16.67 กรัม ตัวอยางที่ 16 เมื่อเผา Zn กับผงกํามะถัน จะได ZnS ดังนี้

x 10 = 16.67 กรัม ตอบ


Zn + S  ZnS ถานํา Zn มา 6.0 กรัม ทําปฏิกิริยากับ S 3.25 กรัม หลังจากเกิดปฏิกิริยาสมบูรณจะได ZnS กี่กรัม วิธีทํา ขั้นแรกพิจารณาวา Zn หรือ S ใชหมดไป หลังจากนั้นจึงนําสารตั้งตนที่ใชหมดไปคํานวณหา ZnS คํานวณหาสารที่ใชหมดไป ใช Zn 65.4 กรัม ( 1โมล) ตองใช S = 32 กรัม (1 โมล) ถาใช Zn

6.0 กรัม

ตองใช S =

32x 6.0 65.4

กรัม

= 2.94 กรัม จากสมการ เมื่อใช Zn 6.0 g ตองใช S 2.94 g จากโจทย มี Zn 6.0 g แตมี S 3.25 g เพราะฉะนั้นเหลือ S แต Zn ใชหมด นําไปคํานวณหา ZnS

คํานวณหา ZnS จากสมการ ใช Zn 65.4 กรัม(1 โมล) ได ZnS = 97.4 กรัม ( 1 โมล) ถาใช Zn 6.0 กรัม

ได ZnS =

97.4 x 6.0 65.4

กรัม = 8.94 กรัม ตอบ

ตัวอยางที่ 17 กาซ CO ทําปฏิกิริยากับกาซ O2 ไดผลิตภัณฑเปนกาซชนิดเดียว ซึ่งกาซดังกลาวทําปฏิกิริยากับ NaOH ได ถาใช CO 13.44 dm3 ที่ STP ทําปฏิกิริยากับ O2 10.0 กรัม จะไดกาซผลิตภัณฑอยางมากที่สุดกี่ กรัม วิธีทํา ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ 2CO + O2  2CO2 คํานวณสารที่ใชหมด สมมติให CO ใชหมด โมล CO = โมล O 2

2 1

โมล CO = 2 x โมล O2 (

V ) CO = 2 x ( w ) O2 22.4 M 13.44 = 2 x( w ) 22.4 32

w = 9.6 กรัม ถาใชกาซ CO 13.44 dm3 ตองใช O2 อยู 10.0 กรัม แสดงวาเหลือ O2 และ CO ใชหมด นํา CO มาคํานวณ CO2 โมล CO

คํานวณ CO2 โมล O = 2

2 2


โมล CO = โมล CO2 (

V ) CO = 22.4 V 22.4

( w ) CO2 =

M w 44

w = 26.4 กรัม ตอบ ไดกาซ CO2 26.4 กรัม ตัวอยางที่ 18 อะเซทิลีนเกิดการเผาไหมไดดังนี้ 2C2H2 (g) + 5O2 (g)  4CO2 (g) + 2H2O (l) เมื่อนํา C2H2 1.200 dm3 ที่ STP ทําปฏิกิริยากับ O2 5.0 กรัม ในขณะที่ได H2O 0.72 กรัม จะได กาซ CO2 กี่ dm3 ที่ STP เหลือ C2H2 และ O2 เทาใด วิธีทํา โจทยขอนี้ถึงแมวาจะกําหนดสารตั้งตนให 2 ตัวแตไมตองใชในการคํานวณ CO2 ทั้งนี้เพราะ ปริมาณของกาซ CO2 ขึ้นอยูกับปริมาณของ H2O ที่เกิดขึ้น ทั้ง C2H2 และ O2 ที่ใชจะมากเกินพอ หาปริมาตรของ CO2 โมล CO 2 = โมล H 2 O

4 2

โมล CO2 = 2 x โมล H2O (

V ) CO2 22.4 V 22.4

= 2 x ( w ) H 2O = 2

M x ( 0.72 ) 18

V = 1.792 dm3 ที่ STP ไดกาซ CO2 = 1.792 dm3 ที่ STP หาปริมาตรของ C2H2 และ O2 ที่เหลือโดยการเทียบกับ H2O ที่เกิดขึ้น สําหรับC2H2 โมล C 2 H 2 = โมล H 2 O

2 2

โมล C2H2 = โมล H2O (

V )C H 22.4 2 2 V 22.4

= ( w ) H 2O =

M ( 0.72 ) 18

ปริมาตร C2H2 = 0.896 dm3 ที่ STP เหลือ C2H2 = 1.200 - 0.896 = 0.304 dm3 สําหรับ O2 :


โมล O 2 = โมล H 2 O

โมล O2 = ( w ) O2 = M

w 32

=

5 2 5 2

x โมล H2O

5 x ( w ) H 2O 2 M 5 x ( 0.72 ) 2 18

w = 3.2 กรัม ใช O2 = 3.2 กรัม ตอบ เหลือ O2 = 5.0 - 3.2 = 1.8 กรัม -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ค. การคํานวณที่เกี่ยวของกับสมการมากกวา 1 สมการ

ในกรณีที่ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นตอเนื่องหลายขั้นตอน จะมีสมการเกี่ยวของมากกวา 1 สมการ การ คํานวณปริมาณของสารจากปฏิกิริยาที่กลาวมานี้ยังคงมีลักษณะคลายกับการคํานวณจากสมการเดียวที่ผานมา คือ พิจารณาเฉพาะตัวที่โจทยถามและที่โจทยกําหนดใหเทานั้น นําจํานวนโมลมาเทียบอัตราสวนกัน ซึ่งจะ ทําใหคํานวณสิ่งที่ตองการได ขอที่แตกตางไปจากการคํานวณจากสมการเดียวคือ ตองทําสมการหลายๆ สมการเหลานี้ใหดุลแบบตอเนื่อง (คือทําใหจํานวนโมลของสารที่เปนตัวเชื่อมระหวางสมการเทากัน) โดยทั่วๆ ไปการคํานวณที่เกี่ยวของกับสมการมากกวา 1 สมการ มีหลักเกณฑดังนี้ 1. เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นใหถูกตองและดุล 2. ทําสมการทั้งหมดใหดุลแบบตอเนื่อง โดยทําจํานวนโมลของตัวเชื่อม ระหวางสมการใหเทากัน 3. จากสมการที่ดุลแบบตอเนื่อง ใหนําจํานวนโมลของสารที่โจทยถาม และที่กําหนดใหมาเทียบ อัตราสวนกัน เมื่อแทนคาโมลตามความเหมาะสม จะหาสิ่งที่ตองการได

การทําสมการใหดุลแบบตอเนื่อง

เมื่อมีปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตอเนื่องหลายขั้นตอน เชน สารตั้งตน  สารผลิตภัณฑ (1) สารผลิตภัณฑ (1)  ผลิตภัณฑ (2) ในกรณีเชนนี้ ถาสารที่กําหนดใหและที่โจทยถามอยูคนละสมการ การคํานวณควรจะทําใหดุล แบบตอเนื่องกอน โดยหาสารซึ่งทําหนาที่เปนตัวเชื่อมระหวางสมการ ทั้งนี้สารที่จะเปนตัวเชื่อมจะตองมี สวนเกี่ยวของกับปฏิกิริยาทั้งสองหรือเปนตนเหตุใหเกิดปฏิกิริยาตอเนื่องกันไป พิจารณาจากตัวอยางตอไปนี้ ก. สาร A + สาร B  สาร C ข. สาร C + สาร P  สาร Q


สมมติวาการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นดังนี้ A + 2B  3C ………………….. (1) 2C + 3P  2Q ……………………(2) สมการทั้ง 2 จะทําใหดุลแบบตอเนื่องได จะตองอาศัยสาร C เปนตัวเชื่อม ทั้งนี้เพราะสาร C เปน ตนเหตุที่ทําใหการเปลี่ยนแปลงตอไปอีก สมการที่ดุลแบบตอเนื่องจะมีจํานวนโมลของ C เทากัน ซึ่งทําไดดังนี้ (1) x 2 ; 2A + 4B  6C ………………….. (3) (2) x 3 ; 6C + 9P  6Q ………………… ..(4) จากสมการที่ (3) และ (4) จะเห็นไดวามี C 6 โมลเทากัน เรียกสมการ (3) และ (4) ซึ่งมี C หรือ ตัวเชื่อมเทากันวาเปนสมการที่ดุลแบบตอเนื่อง ซึ่งสามารถนําไปคํานวณสิ่งที่ตองการได การพิจารณาวาสารใดจะเปนตัวเชื่อมระหวางสมการ เพื่อใหดุลแบบตอเนื่องตองยึดหลักวา “สารที่ จะเปนตัวเชื่อม คือสารที่เปนตนเหตุของการเกิดปฏิกิริยาแบบตอเนื่องนั้น” ตัวอยางที่ 19 จากสมการเคมี 2C (s) + O2 (g)  2CO (g) ………………. (1) Fe2O3 (s) + 3CO (g)  2Fe (s) + 3CO2 (g) …………… (2) จะตองใชคารบอนกี่กรัมไปรีดิวซ Fe2O3 100 กิโลกรัม วิธีทํา ทําสมการใหดุลแบบตอเนื่องกอน โดยทํา CO ใหเทากัน (1) x 3 ; 6C (s) + 3O2 (g)  6CO (g) (2) x 2 ; 2Fe2O3 (s) + 6CO (g)  6Fe (s) + 6CO2 (g) สารที่โจทยถามคือ C กี่กี่โลกรัม สารที่โจทยกําหนดให คือ Fe2O3 100 กิโลกรัม จากสมการที่ดุลแบบตอเนื่อง โมล C = โมล Fe 2 O 3

โมล C ( w )C M

w 12

6 2

= 3 x โมล Fe2O3

= 3 x ( w ) Fe2O3 = 3

M x ( 100x1000 ) 160

w = 22500 กรัม ใช C = 22500 กรัม หรือ 22.5 กิโลกรัม

ตอบ


ตัวอยางที่ 20 เมื่อเผา KClO3 จะไดกาซ O2 จํานวนหนึ่งซึ่งกาซ O2 จํานวนนี้จะทําปฏิกิริยาพอดีกับ S ได เปน SO2 5.6 dm3 ที่ STP จงคํานวณมวลของ KClO3 ที่ใช วิธีทํา เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาแตละขั้นตอนกอน 2KClO3  2KCl + 3O2 ………… (1) …………..(2) S + O2  SO2 แลวทําสมการใหดุลแบบตอเนื่อง โดยทํา O2 ใหเทากัน (2) x 3 ; 3S + 3O2  3SO2 …………..(3) จากสมการที่ (1) และ (3) จะไดวา โมล KClO 3 = โมล SO 2

2 3 โมล KClO3 = 2 x โมล SO2 3 w ( ) KClO3 = 2 x ( V ) SO2 M 3 22.4 w 2 = x ( 5 .6 ) 122.5 3 1000 x 22.4

w = 20.4 กรัม ตองใช KClO3 = 20.4 กรัม

ตอบ

5. สมการเคมีกับการคํานวณมวลอะตอม-มวลโมเลกุล ตัวอยางที่ 21 ธาตุ X เปนโลหะหมู IIIA ในตารางธาตุ เมื่อนํา X จํานวนหนึ่งมาทําปฏิกิริยากับกรด HCl จํานวนมากเกินพอจะไดกาซ H2 0.6 กรัม ถานํา X จํานวนเทาเดิมมาทําปฏิกิริยากับ O2 จํานวนมากเกิน พอจะได X2O3 อยางเดียว 10.2 กรัม มวลอะตอมของ X เปนเทาใด วิธีทํา ปฏิกิริยาเกิดขึ้นคือ 2X + 6H+  2X3+ + 3H2 โมล X = โมล H 2

โมล X = =

2 3 2 x โมล H2 3 2 0 .6 x 3 2

=

2 3

x ( w ) H2 M

 โมล X = 0.2 โมล ………………… (1) หามวลอะตอมของ X จาก 4X + 3O2  2X2O3 โมล X = โมล X 2 O 3

4 2


โมล X = 2 x โมล X2O3 = 2 x ( w ) X 2O3 = M

2 10.2 x 3 M

โมล X =

2 10.2 x 3 M

……………. (2)

จากสมการที่ (1) = (2) 0.2

=

2 10.2 x 3 M

M = 102 มวลโมเลกุลของ X2O3 = 102 นั่นคือ 2X + 3O = 102 X = 27 มวลอะตอมของ X = 27 ตอบ ตัวอยางที่ 22 ธาตุ M และ N ทําปฏิกิริยากันดังนี้ 4M + 3N2  2M2N3 ถาใช N2 1.28 กรัม ทําปฏิกิริยากับ M จํานวนมากเกินพอจะได M2N3 2.72 กรัม และเมื่อนํา N2 9.6 กรัม มาทําใหกลายเปนไอจะวัดปริมาตรได 6.72 dm3 ที่ STP จงคํานวณมวลโมเลกุลของ M2N3 และ มวลอะตอมของ M วิธีทํา ขั้นแรกหามวลโมเลกุลของ N2 กอน N2 6.72 dm3 หนัก = 9.6 กรัม เพราะฉะนั้น N2 22.4 dm3 หนัก = 9.6 x

22.4 6.72

= 32 กรัม

มวลโมเลกุลของ N2 = 32 หามวลโมเลกุลของ M2N3 โมล N 2 = โมล M 2 N 3

พิจารณาสมการ จะได โมล N2 = ( w ) N2 =

3 2

M

1.28 28

=

3 2

x โมล M2N3

x ( w ) M 2 N3

M 3 x ( 2.72 ) 2 M

M = 102 มวลโมเลกุลของ M2N3 = 102 2M + 2N = 102 2xM + 2 x 14 = 102 M = 37

3 2


มวลอะตอมของ M = 37 ตอบ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

6. สมการเคมีกับการคํานวณที่เกี่ยวกับปริมาตรของกาซ

อาศัยการประยุกตของสมมติฐานอาโวกาโดร “กาซทุกชนิดภายใตอุณหภูมิและความดันเดียวกัน ถา มีปริมาตรเทากันยอมจะมีจํานวนโมเลกุล (หรือโมล) เทากัน” นํามาใชเกี่ยวกับการคํานวณสมการเคมีได โดยการเปลี่ยนปริมาตรใหเปนโมล หรือเปลี่ยนโมลใหเปนปริมาตร กลาวคือ กาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันและ กาซที่เกิดจากปฏิกิริยา เมื่อเขียนสมการที่ดุลแสดงปฏิกิริยาเคมีนั้นๆ แลวตัวเลขที่แสดงจํานวนโมล ยอม แสดงถึงปริมาตรของกาซนั้น ๆ ดวย ก. จากสมการที่ดุลแลวสามารถเปลี่ยนจํานวนโมลใหเปนปริมาตรได เชน 2CO (g) + O2 (g)  2CO2 (g) 2 โมล 1 โมล 2 โมล 3 3 หรือ 2 cm 1 cm 2 cm3 ข. ถาทราบปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันและของกาซที่เกิดจากปฏิกิริยา หลังจากทําใหเปน เลขอยางต่ํา สามารถเปลี่ยนปริมาตรใหเปนโมลและเขียนเปนสมการเคมีที่ดุลได เชน กาซ A 20 cm3 ทําปฏิกิริยาพอดีกับกาซ B 15 cm3 ไดกาซ C อยางเดียว 25 cm3 เขียนเปน สมการไดดังนี้

A + B  C 20 cm3 15 cm3 25 cm3 หรือ 4 cm3 3 cm3 5 cm3 หรือ 4 mol 3 mol 5 mol หรือ 4A + 3B  5C ตัวอยางที่ 23 กาซผสมชนิดหนึ่งประกอบดวย H2 20 cm3 CH4 40 cm3 และ CO 10 cm3 ถานํากาซ ผสมทั้งหมดนี้มาทําปฏิกิริยาการเผาไหม จะตองใช O2 เทาใดจึงจะทําปฏิกิริยาพอดี ถาการวัดปริมาตรทุก ครั้ง ทําที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน วิธีทํา ขั้นแรกเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นใหถูกตอง แลวคํานวณปริมาตรของ O2 ที่ตองใชสําหรับ กาซแตละตัว 2H2 + O2  2H2O 2 cm3 1 cm3  ถา 10 cm3 ใช

1 x 20 2

= 10 cm3


CH4 + 2O2  CO2 + 2H2O 1 cm3 2 cm3  ถา 40 cm3 ใช 2 x 40 = 80 cm3 2CO + O2  2CO2 2 cm3 1 cm3  ถา 10 cm3 ใช

1 x 10 2

= 5 cm3

ใช O2 ทั้งหมด = 10 + 80 + 5 = 95 cm3 ตอบ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

7. สมการเคมีกับการคํานวณสูตรโมเลกุลของกาซ

การคํานวณสูตรโมเลกุลของกาซ นอกจากจะคํานวณจากสูตรอยางงายแลวยังสามารถนํากฎของอา โวกาโดรมาใชคํานวณสูตรไดดวย โดยทําปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันและปริมาตรของกาซที่เกิด จากปฏิกิริยาใหเปนเลขลงตัวอยางต่ํา แลวเปลี่ยนปริมาตรใหเปนจํานวนโมเลกุลที่ทําปฏิกิริยาพอดีกัน เมื่อ นําไปเขียนเปนสมการเคมีและทําสมการใหดุล จะหาสูตรของกาซจากสมการที่ดุลได หลักการทั่วๆ ไปในการหาสูตรโมเลกุลของกาซ 1. ตองทราบปริมาตรของกาซที่ทําปฏิกิริยาพอดีกันและกาซที่เกิดจากปฏิกิริยา 2. ทําใหเปนเลขอยางต่ํา 3. เปลี่ยนปริมาตรใหเปนโมเลกุลและเขียนเปนสมการเคมี 4. ทําสมการเคมีใหดุล จะไดสูตรโมเลกุล ตัวอยางที่ 24 X และ Y เปนธาตุที่มี 2 และ 3 อะตอมใน 1 โมเลกุล ตามลําดับ กาซ X 30 cm3 ทํา ปฏิกิริยาพอดีกับกาซ Y 10 cm3 ไดกาซ Z อยางเดียว 30 cm3 สูตรโมเลกุลของ Z เปนอยางไร วิธีทํา X2 + Y3  Z 30 cm3 10 cm3 30 cm3 หรือ 3 cm3 1 cm3 3 cm3 เปลี่ยนเปนสมการเคมีจะได 3X2 + Y3  3Z ทําสมการใหดุล คือทําอะตอมของ X และ Y ทางซายและขวาของสมการใหเทากัน 3X2 + Y3  3X2Y เพราะฉะนั้นสูตรของ Z คือ X2Y ตอบ 3 3 ตัวอยางที่ 25 กาซชนิดหนึ่ง 50 cm รวมกับ O2 100 cm ไดคารบอนไดออกไซดอยางเดียว มีปริมาตร 150 cm3 กาซนี้มีมวลโมเลกุลเทาใด วิธีทํา จะหามวลโมเลกุล ตองทราบสูตรโมเลกุลกอน


X + O2  CO2 50 cm3 100 cm3 150 cm3 หรือ 1 cm3 2 cm3 3 cm3 เปลี่ยนเปนสมการเคมี X + 2O2  3CO2 ทําสมการใหดุล C3O2 + 2O2  3CO2 สูตรของกาซนี้คือ C3O2 มวลโมเลกุลกาซนี้เทากับ 12 x 3 + 16 x 2 = 68 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

8. สมการเคมี กับการคํานวณรอยละ

ตัวอยางที่ 26 เมื่อนําเหรียญเงินหนัก 5.82 กรัมไปละลายในกรดไนตริก แลวเจิมสารละลายโซเดียมคลอไรด ลงไป จะไดตะกอน 7.20 กรัม เหรียญนั้นมีเงินบริสุทธิ์รอยละเทาใด วิธีทํา

w wT

% Ag =

x 100

wT = 5.82 g w = มวลของเงินบริสุทธิ์ โจทยกําหนดใหผานปฏิกิริยาเคมี Ag

Ag+

HNO

3   

โมล Ag โมล AgCl

=

Cl

 

AgCl

1 1

โมล Ag = โมล AgCl ( w ) Ag M

w 108

= ( w ) AgCl =

M ( 7.20 ) 143.5

w = 5.42 g ในเหรียญเงิน 5.82 กรัม มีเงิน 5.42 กรัม % Ag =

5.42 x 100 5.82

= 93.1 %

เหรียญเงินมีโลหะเงิน 93.1 % ตอบ ตัวอยางที่ 27 กาซ SO2 เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหอากาศเสีย ถานําถานหินมาหนัก 2 กิโลกรัม และถานหินมี ไพไรท (FeS2) อยู 2% มาเปนเชื้อเพลิง เกิดการเผาไหมดังสมการ 4FeS2 (s) + 11O2 (g)  2Fe2O3 (s) + 8SO2 (g) กาซ SO2 จะเกิดขึ้นสูบรรยากาศกี่กรัม วิธีทํา ตอนแรกหามวลของ FeS2 จากถานหินกอน


2 100

มี FeS2 2 % =

x 2 x 1000 = 40 กรัม

หามวลของ SO2 โมล SO 2 = โมล FeS 2

8 4

โมล SO2 = โมล FeS2 ( w ) SO2 = ( w ) FeS2 M

M

w 64

= 2x(

40 ) 119.8

w = 42.7 g เกิด SO2 = 42.7 กรัม ตอบ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

9. สมการเคมีกับการคํานวณสารละลาย

ตัวอยางที่ 28 จะตองใชอะลูมิเนียมหนักกี่กรัม จึงจะทําปฏิกิริยากับ 50 cm3 ของสารละลาย Zn(NO3)2 เขมขน 0.4 โมล/ลิตร ปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังนี้ 2Al + 3Zn(NO3)2  2Al(NO3)2 + 3 Zn โมล Al = โมล Zn(NO 3 ) 2

วิธีทํา

โมล Al ( w ) Al = M

w 27

=

2 3 = 2 x โมล Zn(NO3)2 3 2 x( VC ) Zn( NO3)2 3 1000 2 x ( 50x 0.4 ) 3 1000

w = 0.36 g ตองใช Al หนัก 0.36 กรัม ตอบ ตัวอยางที่ 29 ถานํา 0.55 dm3 ของ 0.10 mol/dm3 ของสารละลายโซเดียมคารบอเนตมาเติมลงในสารละลาย กรดเกลือ (กรดไฮโดรคลอริก) เขมขน 0.10 mol/dm3 จํานวน 0.2 dm3 จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้ Na2CO3 + 2HCl  2NaCl + H2O + CO2 ไดกาซ CO2 เกิดขึ้นกี่โมล วิธีทํา พิจารณากอนวาสารใดใชหมด แลวจึงนําสารที่ใชหมดไปคํานวณจํานวนโมลของ CO2 พิจารณาวาสารใดใชหมด เริ่มตนมี Na2CO3 = VC = 0.55 x 0.10 = 0.055 โมล เริ่มตนมี HCl = 0.2 x 0.10 = 0.02 โมล


Na2CO3 + 2HCl  2NaCl + H2O + CO2 เริ่ม 0.055 0.02 ใช 0.01 0.02 เหลือ 0.045 0 เหลือ Na2CO3 ในขณะที่ใช HCl หมด จึงนําไปคํานวณ CO2 คํานวณ CO2 จากสมการ ใช HCl 2 โมล ได CO2 = 1 โมล  ใช HCl 0.02 โมล ได CO2 = 1 x 0.02 โมล 2

= 0.01 โมล จะไดกาซ CO2 0.01 โมล

ตอบ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.