โครงสร้างอะตอม

Page 1

เดโมเครตุสนักปราชญชาวกรีกโบราณกลาววา สสารประกอบดวยอนุภาคขนาด เล็กที่มองไมเห็น เขาจึงใหชื่อวา อะตอม ซึ่งแปลวาไมสามารถแบงแยกไดอีกแตใน ขณะนั้นมีนักปราชญหลายคนไมเห็นดวย จึงยังไมเปนที่ยอมรับ แตแนวความคิด ของเดโมเครตุสก็เปนแรงจูงใจในการศึกษาตอมา

จอหน ดาลตันนักเคมีชาวอังกฤษไดใหนิยามเกี่ยวกับสสารในป ค.ศ.1808 ดังนี้ 1) ธาตุประกอบดวยอนุภาคเล็กมาก เรียกวา อะตอม 2) อะตอมของธาตุหนึ่งๆจะมีลักษณะเฉพาะตัว มีขนาด มีมวล และคุณสมบัติทาง เคมีเหมือนกัน แตจะแตกตางจากอะตอมของธาตุชนิดอื่น 3) สารประกอบเกิ ด จากธาตุ ม ากกว า 1 อะตอมรวมกั น สารประกอบหนึ่ ง จะมี สัดสวนอะตอมของธาตุสองชนิดที่เปนเลขสัดสวนอยางต่ํา 4) ปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวของกับการแยก การรวม หรือการจัดเรียงตัวใหมของอะตอม ไมเกี่ยวกับการสรางหรือทําลายอะตอม

โครงสรางอะตอมของ Dalton เปนทรงกลมตัน


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 2| www.edu-deo.com

เจ.เจ. ทอมสันนักฟสิกสลูกศิษยของDalton ไดทําการทดลองหลอดรังสีแคโทด (Cathode ray’s experiment)ทําใหไดคาประจุตอมวลของประจุลบชนิดหนึ่งซึ่ง ตอมาพบวาคือ อิเล็กตรอน มีคาเทากับ 1.76x1011 C/Kg หรือ 1.76x108 C/g แบบจําลองอะตอมของ Thomson เปนทรงกลมซึ่ง เปนกลางทางไฟฟา มีประจุบวกและลบกระจาย ตัวอยางสม่ําเสมอ บางครั้งเรียกวา Plum Pudding เพราะคลายกอนขนมเคก

การทดลองหลอดรังสีแคโทด (Cathode ray’s experiment)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 3| www.edu-deo.com

มิลลิแกน ไดทําการทดลองหาคาประจุของอิเล็กตรอนจากการทดลองหยดน้ํามัน (Millikan’s oil drop experiment) เนื่องจาก Thomson หาคาประจุตอมวลได การทดลองของมิลลิแกนทําใหหาคาประจุได ดังนั้นก็สามารถหามวลไดดวย

รัทเทอรฟอรด ในป ค.ศ.1910 เขาไดทําการทดลองใชอนุภาคแอลฟา ሺ ସଶ‫ ݁ܪ‬ଶା ሻซึ่งเปนนิวเคลียสของอะตอมฮีเลียม(ประจุบวก) ยิงผานแผนทองคํา บางๆ โดยมีฉากเรืองแสงลอมรอบอยู

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 4| www.edu-deo.com

แบบฝกหัด 1. ขอมูลใดที่ทราบจากการทดลอง โดยใชหลอดรังสีแคโทด (ENT’22) (A1) ก. ข. ค. ง.

นิวเคลียสของธาตุมีโปรตอน สสารทุกรูปแบบประกอบดวยอิเล็กตรอน รังสีบวกเปนโปรตอน อนุภาคแอลฟาหนักกวาโปรตอน

2. การทดลอง มิลลิแกน เปนการทดลองเพื่อหา (ENT’18) (A8) ก. ข. ค. ง.

ประจุบนหยดน้ํามัน ประจุของอิเล็กตรอน มวลของอิเล็กตรอน อัตราสวนประจุตอมวลของอิเล็กตรอน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 5| www.edu-deo.com

3. กําหนดแบบจําลองอะตอมให 3 แบบ ดังแสดงขางลาง แบบใดเปนแบบจําลองของดอลตัน แบบจําลองของรัทเทอรฟอรด และแบบจําลองของทอมสัน ตามลําดับ (ENT’31) (A10)

ก. ข. ค. ง.

แบบจําลองขอ งดอลตัน I II II III

แบบจําลองของ รัทเทอรฟอรด II III I I

แบบจําลองของ ทอมสัน III I III II

สัญลักษณของธาตุและอนุภาคมูลฐาน เลขอะตอม (Atomic number) คือ จํานวนโปรตอนที่อยูภายในนิวเคลียส แตเนื่องจากอะตอมเปน กลางทางไฟฟา ดังนั้นอิเล็กตรอนก็ตองเทากับโปรตอนดวย (ประจุบวกเทากับประจุลบ)

เลขมวล (Mass number) คือ มวลของธาตุนั้นๆ ซึ่งหมายถึงมวลโปรตอนรวมกับนิวตรอน ในที่นี้จะ ไมคิดมวลของอิเล็กตรอนเพราะวามีคานอยมากๆ (**มวลโปรตอนและนิวตรอนมีคาใกลเคียงกัน)

การเขียนสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ

୅ ୞ܺ

Z = A= โปรตอน = อิเล็กตรอน =

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

นิวตรอน =

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 6| www.edu-deo.com

୅ ௡ା ୞ܺ

Z = A= n= โปรตอน = อิเล็กตรอน = นิวตรอน =

୅ ௡ି ୞ܺ

Z = A= n= โปรตอน = อิเล็กตรอน = นิวตรอน =

แบบฝกหัด ଵ଺ ଼ܱ

ଵ଺ ଶି ଼ܱ

ଶଷ ଵଵܰܽ

ଶଷ ା ଵଵܰܽ

ଶ଻ ଵଷ‫݈ܣ‬

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

ଶ଻

‫ ݈ܣ‬ଷା

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกด ଵଷวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 7| www.edu-deo.com

Ex. ธาตุ X มีเลขอะตอมเทากับ 8 เลขมวล 16 หากดึงโปรตอนและนิวตรอนออกอยางละ 2 ตัว ธาตุใหม ที่ไดจะมีสัญลักษณนิวเคลียรอยางไร (กําหนดให C มีเลขอะตอม 6 และ Ne มีเลขอะตอม 10)

ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร ไอโซอิเล็กทรอนิก ไอโซโทป (Isotope) คืออะตอมของธาตุชนิดเดียวกันที่มีเลขมวลตางกัน หรือกลาวไดวามี ଵସ จํานวนนิวตรอนตางกัน เชน ଵଶ଺‫ܥ‬ ଺‫ܥ‬ ଷଽ

ସ଴ ଶ଴‫ܽܥ‬

ଵସ ଺

ଵସ ଻

ไอโซโทน (Isotone) คืออะตอมของธาตุตางชนิดกันที่มีนิวตรอนเทากัน เชน ଵଽ‫ܭ‬

ไอโซบาร (Isobar) คืออะตอมของธาตุตางชนิดกันที่มีเลขมวลเทากัน เชน

ଶଷ

ไอโซอิเล็กทรอนิก(Isoelectronic) คือธาตุตางชนิดกันที่มีอิเล็กตรอนเทากัน เชน ଵଵ ା แบบฝกหัด 1. อะตอม

ସ଴ ଶ଴

ଷା และ ସହ มีความสัมพันธกันดังขอใด (PAT 2’ก.ค.52) (B3) ଶଵ

1. ไอโซโทป

2. ไอโซโทน

3. ไอโซบาร

4. ไอโซอิเล็กทรอนิก

2. ถาไอโซโทน คืออะตอมที่มีจํานวนนิวตรอนเทากัน และไอโซบาร คืออะตอมที่มีเลขมวลเทากัน จาก ଵଽ สัญลักษณนิวเคลียรตอไปนี้ ଵ଼ଽ ଵଽଽ ଵ଴ ขอใดไมถูกตอง (ENT’มีนาคม42) (A28)

ก. ข. ค. ง.

ଶ଴ ଶ଴ ଵ଴ ଵଵ

ଶଵ ଵଵ

ଶଷ ଶଵ ଵଶ ଵଶ

ଵ଼ ଵଽ ଽ กับ ଵ଴ เปนไอโซโทน แตไมเปนไอโซบาร ଵଽ ଶଷ ଽ กับ ଵଶ ไมเปนไอโซโทน และไมเปนไอโซบาร ଶଵ ଶ଴ ଵଵ กับ ଵଵ ไมเปนไอโซโทน แตเปนไอโซโทป ଶ଴ ଶଵ ଵ଴ กับ ଵଵ เปนไอโซบาร แตไมเปนไอโซโทน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

ଵଽ ି ଽ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 8| www.edu-deo.com

นีลส โบร ทําการทดลองเกี่ยวกับสเปกตรัมของไฮโดรเจน ซึ่งสเปกตรัมนั้นก็คือ พลังงานคลื่น เขาพบวาหากใหพลังงานคาตางๆแกอะตอมไฮโดรเจน จะได สเปกตรัมหลายเสน เขาจึงสรุปวาอะตอมมีลักษณะเปนชั้นๆ

สเปกตรัมเกิดจากการที่ใหพลังงานแกอะตอมนั้น ทําใหอิเล็กตรอนที่อยูในสภาวะพื้น (ground state) ถูก กระตุนใหขึ้นไปอยูในระดับพลังงานที่สูงขึ้น (excited state) ซึ่งไมเสถียรทําใหอิเล็กตรอนนั้นตองคายพลังงาน ออกมา พลังงานนั้นก็คือสเปกตรัมนั่นเอง

พลังงานของสเปกตรัมคํานวณไดดังนี้

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 9| www.edu-deo.com

ชนิดของสเปกตรัม 1) สเปกตรัมตอเนื่อง เปนสเปกตรัมที่เห็นแถบสีตอเนื่องกัน เชน แสงหรือสีตางๆ 2) สเปกตรัมไมตอเนื่อง เปนสเปกตรัมที่ไมตอเนื่องกัน จะเปนแถบบางชวง เชน สเปกตรัมของธาตุ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 10| www.edu-deo.com

Ex.คลื่นแสงหนึ่งมีความยาวคลื่น 500 nm จะมีความถี่เทาใดและมีพลังงานกี่จูล (h = 6.626x10-34Js)

แบบฝกหัด 1. ความยาวคลื่นของสเปกตรัม 4 เสน (ENT’30) (A60) A = 404 nm B = 450 nm C = 455 nm D = 608 nm เสนสเปกตรัมใดที่แสดงวาอิเล็กตรอนมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานนอยที่สุด ก. A เทานั้น ข. B และ C เทานั้น ค. C เทานั้น ง. D เทานั้น

2. เมื่ออิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับ a ไปยังระดับ c ปรากฏวา แสงที่ถูกปลอยออกมาเปนแสงสีมวง มีความยาวคลื่นเทากับ 400 nm แตเมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับ พลังงานจากระดับ c ไปยังระดับ b ปรากฏวา แสงที่ถูกดูดกลืนโดยอิเล็กตรอนเปนแสงสีแดง มีความยาว คลื่นเทากับ 600 nm ถาอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก a ไปยังระดับ b แสงที่ถูกปลอยออกมามี ความถี่เปนเทาไร ในหนวย 1012 เฮิรตซ (ENT’38 อัตนัย) (A82)

3. พิจารณาเสนสเปกตรัมที่ไดจากการคายพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจน (PAT2’มี.ค.54) เสนที่ การเปลี่ยนระดับพลังงาน A n = 6 ไป n = 4 B n = 3 ไป n = 1 C n =5 ไป n = 3 D n = 4 ไป n = 2 ขอใดเรียงพลังงานของสเปกตรัมไดอยางถูกตอง (B15) 1. A > C > D > B

2. B > D > C > A

3. C > B > D > A

4. D > B > A > C

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 11| www.edu-deo.com

4. จากระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ ถาให

οE1 เปนผลตางของระดับพลังงานที่ n = 1 กับ n = 2 οE2 เปนผลตางของระดับพลังงานที่ n = 2 กับ n = 3

οE3 เปนผลตางของระดับพลังงานที่ n = 3 กับ n = 4 จงเรียงลําดับจากพลังงานสูงไปพลังงานต่ํา (ENT’28) (A83) อนุกรมของสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 12| www.edu-deo.com

โครงสรางอะตอมแบบกลุมหมอก โครงสรางอะตอมแบบกลุมหมอก คิดโดยกลุมนักวิทยาศาสตรที่มีทั้งนักฟสิกสควอนตัมและนัก เคมี ปจจุบันเรายึดโครงสรางอะตอมแบบกลุมหมอกวาถูกตองที่สุดในขณะนี้ โครงสรางอะตอมแบบกลุมหมอกกลาวถึงความนาจะเปนของโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอน ซึ่งทําให อธิบายในสิ่งที่นลี ส โบร อธิบายไมได หลักการของแบบจําลองอะตอมนี้คือ “อะตอมประกอบดวย นิวเคลียส และรอบๆนิวเคลียสมีกลุมหมอกของอิเล็กตรอนรูปทรงตางๆ ตามระดับพลังงานของ อิเล็กตรอนที่หอหุมอยู บริเวณกลุมหมอกทึบมีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนไดมากกวากลุมหมอกจาง”

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 13| www.edu-deo.com

รูปแสดงรูปราง orbitalตางๆ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 14| www.edu-deo.com

การจัดเรียงอิเล็กตรอน มีอยู 3 ประเภท คือ 1) Shell 2) Subshell 3) Orbital 1. การจัดอิเล็กตรอนแบบ Shell (ระดับพลังงานหลัก) ระดับพลังงานหลักจะเรียกเปน n=1 n=2 …. หรืออาจจะเรียกเปน ตัวอักษรก็ได เริ่มจาก K L M ….. 2

จํานวนอิเล็กตรอนในแตละชั้น = 2n เมื่อ n คือระดับพลังงาน

n = 1 …………………….. n = 2 …………………….. n = 3 …………………….. n = 4 ……………………..

n = 5 ……………………. n = 6 ……………………. n = 7 …………………….

จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุหรือไอออนตอไปนี้ในระดับพลังงานหลัก 1. Li ……………………………………..

7. Na ………………………………….

2. C ……………………………………..

8. Ca ………………………………….

3. F ……………………………………..

9. Al …………………………………...

4. Ne ……………………………………

10. Al3+ ……………………………….

5. K …………………………………….. 6. K+ …………………………………… © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 15| www.edu-deo.com

2. การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบ Subshell (ระดับพลังงานยอย) ระดับพลังงานยอย s (Sharp)

มีอิเล็กตรอนไดไมเกิน 2 อิเล็กตรอน

ระดับพลังงานยอย p (Principle)

มีอิเล็กตรอนไดไมเกิน 6 อิเล็กตรอน

ระดับพลังงานยอย d (Diffuse) ระดับพลังงานยอย f (Fundamental)

มีอิเล็กตรอนไดไมเกิน 10 อิเล็กตรอน มีอิเล็กตรอนไดไมเกิน 14 อิเล็กตรอน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 16| www.edu-deo.com

รูปแสดงการซอนทับกันของระดับพลังงาน

รูปแสดงการแบงBlock ในตารางธาตุ 1. ธาตุ X มีเลขอะตอม 40 X2+ จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนอยางไร (ทุน king) (C128) 1. 2 8 18 10 2

2. 2 8 18 2

3. 2 8 18 8 2

4. 2 8 18 10

2. ขอใดเปนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ 24Cr3+ (PAT2’ต.ค.53) (B13) 1. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d2

2. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d3

3. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d1

4. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p3 4s1 3d5

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 17| www.edu-deo.com

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในออรบิทัล (Orbital) อิเล็กตรอนที่อยูในระดับพลังงานยอย (sub shell) จะวิ่งรอบนิวเคลียสในรูปแบบที่ตางกัน เรา เรียกบริเวณที่อิเล็กตรอนวิ่งอยูหรือบริเวณที่สามารถพบอิเล็กตรอนวิ่งอยูนั่นวา ออรบิทัล (Orbital) เราจะแทนออรบิทัลดวย

ซึ่ง 1 ออรบิทัล สามารถบรรจุอิเล็กตรอนไดไมเกิน 2 อิเล็กตรอน

s orbital บรรจุอิเล็กตรอนไดมากสุด 2 อิเล็กตรอน จึงมี p orbital บรรจุอิเล็กตรอนไดมากสุด 6 อิเล็กตรอน จึงมี d orbital บรรจุอิเล็กตรอนไดมากสุด ....... อิเล็กตรอน จึงมี .................................................. f orbital บรรจุอิเล็กตรอนไดมากสุด ....... อิเล็กตรอน จึงมี ..................................................

จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุหรือไอออนตอไปนี้ในออรบิทัล 1) Li

3) Na

2+ © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

2) C

4) Ca

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 18| www.edu-deo.com

พลังงานไอออไนเซชัน (IE) คือพลังงานนอยที่สุดที่ทําใหอะตอมในสภาวะแกสเสียอิเล็กตรอน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 19| www.edu-deo.com

จงหาวาธาตุหนึ่งๆอยูหมูใด จากการพิจารณาคาพลังงานไอออไนเซชัน 1) 2) 3)

4 5 8 15 220 ธาตุนี้อยูหมู .............................. 200 400 1200 23005 30250 ธาตุนี้อยูหมู .............................. 2100 4000 6200 9000 9900 ธาตุนี้อยูหมู ..............................

แบบฝกหัด 1. จากตารางพลังงานไอออไนเซชันตอไปนี้ (C101) ธาตุ P Q R S T

ลําดับที่ 1 ลําดับที่ 2 ลําดับที่ 3 ลําดับที่ 4 1090 2400 4600 6200 500 4600 6900 9500 740 1500 7700 10500 800 2400 3700 25000 580 1800 2700 11600

ธาตุคูใดที่มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากัน 1. 2. 3. 4.

P,Q R,T R,S S,T

สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (EA) คือ พลังงานที่อะตอมในสภาวะแกสคายออกมา เมื่อไดรับอิเล็กตรอน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 20| www.edu-deo.com

อิเล็กโตรเนกาติวิตี (EN) คาความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนในรูปสารประกอบ

แบบฝกหัด 1. ให IE1, IE2, IE3 … เปนพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1,2,3 … ขอใดถูกตอง (ENT’31) (A90) ก. ข. ค. ง.

C3+(g) + IE4 F(g) + eCa(g) + IE2 M+(g) + IE4

C4+(g) + eF-(g) + IE1 Ca2+(g) + 2eM4+(g) + 3e-

2. คาอิเล็กโทรเนกาติวิตี จะบอกใหทราบถึงสมบัติของธาตุ (ENT’18) (A116) ก. ข. ค. ง.

ความแข็งแรงของพันธะระหวางอะตอม ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนของธาตุ ความสามารถในการดึงดูดไฮโดรเจนของธาตุ ความสามารถในการกลายเปนไอออนบวก

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 21| www.edu-deo.com

ตารางธาตุ (Periodic table)

1. โยฮัน โวฟกังเดอเบอไรเนอร (Jahann WolfgangDoberreiner) ชุดสามหรือไตรแอด (Triad) ถานําธาตุสามชนิดเรียงตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้น แลว ธาตุที่อยูตรงกลางมีมวลอะตอมใกลเคียงกับคาเฉลี่ยของมวลอะตอมของธาตุอีกสอง ชนิด เชน Li Na K ซึ่งมีมวลอะตอมเทากับ 7 , 23 และ 39 ตามลําดับ จะมีสมบัติ คลายกัน 2. จอหน นิวแลนด (John Newlands) ถานําธาตุมาเรียงตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้นเปนแถวแถวละ 7 ธาตุ ธาตุที่ 8 จะมีสมบัติ คลายกับธาตุที่ 1 โดยเริ่มจากธาตุใดก็ได

3. ดิมิทรี อิวาโนวิช เมนเดเลเอฟ (Dimitri Ivanovich Mendeleev) ถานําธาตุมาเรียงตามมวลอะตอมจากนอยไปหามาก จะมีธาตุที่มีสมบัติคลายกันเปน ชวงๆ เรียกวา กฎพีรีออดิก (Periodic Law) © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 22| www.edu-deo.com

แนวโนมตามตารางธาตุ เราจะพิจารณาแนวโนมของคาตางๆดังนี้ 1. 2. 3. 4.

รัศมีอะตอม รัศมีไอออน พลังงานไอออไนเซชัน (IE) สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (EA)

5. อิเล็กโตรเนกาติวิตี (EN) 6. ความเปนโลหะและกรด-เบส 7. ความวองไวตอการเกิดปฏิกิริยา 8. ความหนาแนน

1. รัศมีอะตอม

1. ธาตุ Na อยูในหมู IA และธาตุ Mg อยูในหมู IIA ทั้งสองธาตุอยูในคาบเดียวกัน Na มีขนาดอะตอม ใหญกวา Mg เพราะเหตุใด (C164) 1. Na มีระดับพลังงานมากกวา Mg 3. Na มีประจุในนิวเคลียสนอยกวา Mg

2. Na มีความหนาแนนมากกวา Mg 4. Na มีเวเลนซอิเล็กตรอนมากกวา Mg

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 23| www.edu-deo.com

2. รัศมีไอออน

2. ธาตุ A และ B มีรัศมีอะตอม 180 และ 92 pm ตามลําดับ รัศมีไอออนของ A และ B เทากับ 90 และ 180 pm ตามลําดับ เลขอะตอมของ A และ B ในขอใดเปนไปไดมากที่สุด (C150) 1. 19 , 35

2. 20 , 25

3. 34 , 37

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. 30 , 31


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 24| www.edu-deo.com

3. พลังงานไอออไนเซชัน(IE)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 25| www.edu-deo.com

4. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (EA)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 26| www.edu-deo.com

5. อิเล็กโตรเนกาติวิตี(EN)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 27| www.edu-deo.com

6. ความเปนโลหะและกรด-เบส

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 28| www.edu-deo.com

7. ความวองไวตอการเกิดปฏิกิริยา

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 29| www.edu-deo.com

8. ความหนาแนน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 30| www.edu-deo.com

ขอสอบชุด A ขอสอบเขามหาวิทยาลัย (Entrance) ขอสอบเกา บทที่ 1 โครงสรางอะตอม 1. ขอมูลใดที่ทราบจากการทดลอง โดยใชหลอดรังสีแคโทด (ENT’22)

ก. นิวเคลียสของธาตุมีโปรตอน ข. สสารทุกรูปแบบประกอบดวยอิเล็กตรอน ค. รังสีบวกเปนโปรตอน ง. อนุภาคแอลฟาหนักกวาโปรตอน 2. การทดลองใดที่พิสูจนวาอะตอมประกอบดวยอิเล็กตรอน (ENT’22) ก. ใชหลอดรังสีแคโทด ข. ยิงอนุภาคแอลฟาผานแผนทองคํา ค. ใชอุปกรณตรวจการนําไฟฟา ง. ดูดวยกลองจุลทรรศนอิเล็กทรอนิกส 3. ถาทําการทดลองรังสีแคโทดที่สรางขึ้นเปนพิเศษ และจัดอุปกรณดังนี้ (ENT’27) ผลจากการทดลองตอไปนี้ ขอใดถูกตอง ก. เกิดจุดสวางตรงจุดกึ่งกลางของฉากเรืองแสง ก ข. เกิดจุดสวางเหนือจุดกึ่งกลางของฉากเรืองแสง ก ค. เกิดจุดสวางตรงกึ่งกลางของฉากเรืองแสง ข ง. เกิดจุดสวางเหนือจุดกึ่งกลางของฉากเรืองแสง ข 4. โลหะบางมากแผนหนึ่งถูกยิงดวยอนุภาคที่มีประจุบวก แผนภาพใดตอไปนี้แสดงทิศทางการ เคลื่อนที่ของอนุภาคเหลานี้ไดถูกตอง (ENT’23)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 31| www.edu-deo.com 5. เมื่อเราตั้งสมมติฐานวา อะตอมประกอบดวยนิวเคลียส ซึ่งมีขนาดเล็ก และมีประจุบวกนั้นเพราะ

(ENT’20) ก. โดยทั่วไปโลหะจะเปนตัวนําไฟฟาที่ดี ข. ในแมสสเปกโทรมิเตอรจะมีไอออนบวกเกิดขึ้น ค. ในการทําอิเล็กโทรลิซิสของเกลือ ทั้งโลหะและไฮโดรเจนจะไปรับอิเล็กตรอนที่แคโทด ง. อนุภาคแอลฟาบางสวนเมื่อชนกับแผนโลหะบางๆ จะเบนไปจากแนวเสนตรงหรือสะทอน กลับ 6. ในการทดลองของรัทเทอรฟอรด ไกเกอร และมารสเดน พบวา เมื่อยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผน ทองคําบางๆ ปรากฏวาอนุภาคสวนใหญเคลื่อนที่เปนเสนตรงทะลุแผนทองคําไป อนุภาคอีก สวนหนึ่งทะลุผานไปจากแนวเสนตรง และมีสวนนอยที่สะทอนกลับ ถาแบบจําลองของทอมสัน ถูกตอง การทดลองเชนเดียวกันนี้ควรไดผลอยางไร (ENT’27) ก. ไดผลเชนเดียวกันกับการทดลองของรัทเทอรฟอรด ไกเกอร และมารสเดน ข. อนุภาคสวนใหญจะถูกดูดหายไปในแผนทองคํา ค. อนุภาคสวนที่สะทอนกลับจะมากกวาในการทดลองของรัทเทอรฟอรด ไกเกอร และ มารสเดน ง. อนุภาคทั้งหมดจะถูกสะทอนกลับ 7. ในการทดลองของทอมสันเกี่ยวกับการนําไฟฟาของแกส พบวา

ୣ ୫

ของอนุภาคที่ปลอยออกมา

จากแคโทดมีคาเทากับ 1.70 x 108 คูลอมบตอกรัม และจากการทดลองหาคาประจุของอนุภาคนี้ โดยมิลลิแกน พบวามีคาเทากับ 1.60 x 10-19 คูลอมบ อนุภาคนี้จํานวน 1030 อนุภาคมีมวล เทาไหร (ENT’38) ก. 1.70 x 1038 กรัม ข. 1,060 กรัม ค. 1.06 x 1057 กรัม ง. 941 กรัม 8. การทดลอง มิลลิแกน เปนการทดลองเพื่อหา (ENT’18) จ. ประจุบนหยดน้ํามัน ฉ. ประจุของอิเล็กตรอน ช. มวลของอิเล็กตรอน ซ. อัตราสวนประจุตอมวลของอิเล็กตรอน © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 32| www.edu-deo.com 9. ขอมูลจากการทดลองใชหลอดรังสีแคโทดในขอใด สนับสนุนวามีนิวตรอนในนิวเคลียส (ENT’41)

1. อนุภาคบวกที่เกิดจากแกสไฮโดรเจนมีคาอัตราสวนประจุตอมวลไมเทากับคาที่มาจากอนุภาค บวกของนีออน 2. ในกรณีที่ใชแกสนีออน อนุภาคบวกมีคาอัตราสวนประจุตอมวล 2 คาที่ใกลเคียงกัน 3. อัตราสวนประจุตอมวลของอนุภาคลบมีคาเทากัน ไมวาจะใชแกสชนิดใด ก. 2 เทานั้น ข. 1 และ 2 เทานั้น ค. 1 และ 3 เทานั้น ง. 1,2 และ 3 10. กําหนดแบบจําลองอะตอมให 3 แบบ ดังแสดงขางลาง แบบใดเปนแบบจําลองของดอลตัน แบบจําลองของรัทเทอรฟอรด และแบบจําลองของทอมสัน ตามลําดับ (ENT’31)

ก. ข. ค. ง.

แบบจําลองขอ งดอลตัน I II II III

แบบจําลองของ รัทเทอรฟอรด II III I I

แบบจําลองของ ทอมสัน III I III II

สัญลักษณนิวเคลียร เลขมวล เลขอะตอม และไอโซโทป 11. สัญลักษณของธาตุที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 91 จํานวนนิวตรอนเทากบ 140 คือขอใด

(ENT’24) ก.

ଽଵ ଵସ଴

ข. ଵସ଴ ଽଵ

ค. ଶଷଵ ଽଵ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

ଽଵ ง. ଶଷଵ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 33| www.edu-deo.com 12. ଵଶ଺ และ ଶସ ଵଶ สองอะตอมนี้มีอะไรเหมือนกัน (ENT’18)

ก. จํานวนโปรตอน ข. จํานวนนิวตรอน ค. จํานวนโปรตอนเทากับจํานวนนิวตรอน ง. จํานวนโปรตอนกับจํานวนนิวตรอน 13. จงเลือกขอความที่ถูกตองที่สุด (ENT’20) ก. นิวเคลียสของ 17Cl- มีประจุลบ ข. 11Na+ มีจํานวนอิเล็กตรอนมากกวา 8O2- สามอิเล็กตรอน ค.

ଷ଺ ଷ଻ ଵ଻ มีจํานวนอิเล็กตรอนมากกวา ଵ଺ หนึ่งอิเล็กตรอน ଷହ ଷ଻ ଵ଺ กับ ଵ଻ มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน

ง. 14. พิจารณาขอมูลตอไปนี้

1. ถาทําใหโปรตอน 2 โปรตอน และอิเล็กตรอน 4 อิเล็กตรอนหลุดออกจาก ୠୟ จะเกิดเปน ୟିସ 2+ ୠିଶ

2. 19K+ มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 16S23. ଵସ଻ มีจํานวนอิเล็กตรอนนอยกวา ଵ଺଼ อยู 2 อิเล็กตรอน ସ଴ 4. ସ଴ ଵ଼ มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ ଵଽ ขอใดถูกตอง (ENT’34) ก. 1 และ 2 เทานั้น ข. 2 เทานั้น ค. 2 และ 3 เทานั้น ง. 2,3 และ 4 15. จงพิจารณาขอมูลตอไปนี้ 1. ธาตุ X มีอิเล็กตรอนเทากับ 21 และเลขมวลเทากับ 45 จะมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับจํานวน อิเล็กตรอนของ 24Cr3+ 3଺଼ 2. ଺଼ ଷଷ มีจํานวนนิวตรอนเทากับจํานวนนิวตรอนใน ଷହ 3. ไอโซโทปของ 17Cl ชนิดหนึ่งมีเลขมวลเทากับ 37 จะมีจํานวนโปรตอนเทากับธาตุที่มีเลข อะตอม 17 4. 20Ca2+ มีจํานวนอิเล็กตรอนนอยกวา 19K+

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 34| www.edu-deo.com

ขอใดถูกตอง (ENT’35) ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 4 ค. 1 และ 3 ง. 3 และ 4 16. อนุภาคใดมีจํานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดเทากับจํานวนอิเล็กตรอนของคลอรีนอะตอม (เลขอะตอม H = 1, O = 8, F = 9, Ne = 10, S = 16, Cl = 17) (ENT’32) ก. OF2 ข. Neค. OHง . S17. ไอออนหรืออะตอมในขอใดที่มีการจัดอิเล็กตรอนเหมือนกับคลอไรดไอออน (ENT’40) ก. Fข. Ne ค. Al3+ ง. Ca2+ 18. อนุภาคในขอใดที่มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับจํานวนนิวตรอน (ENT’26) ก. ข.

+ ଶଷ ଵଵ 2+ ସ ଶ ଽ ସ – ଵ଴ ଽ

ค. ง. 19. ขอใดมีจํานวนอิเล็กตรอนมากกวาจํานวนนิวตรอน (ENT’40) ก. ข. ค. ง.

ଶହ 2+ ଵଶ ଶ଺ ଵଷ ଻ହ 3ଷଷ ଷଷ 2ଵ଺

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 35| www.edu-deo.com 20. ขอใดมีจํานวนอิเล็กตรอนมากกวานิวตรอน (ENT’39)

ก. ข. ค.

ଶହ 2+ ଵଶ ଶ଺ ଵଷ ଻ହ 3ଷଷ ଷଷ 2ଵ଺

ง. + 21. ธาตุ X มีเลขมวลเทากับ 39 มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 1 อยูในระดับพลังงานสูงสุดคือ 4 X ไอออนจะมีจํานวนนิวตรอนเทาใด (ENT’31) ก. 19 ข. 20 ค. 39 ง. 40 22. ไอโซโทปหนึ่งของออกซิเจน คือออกซิเจน-18 ไอโซโทปนี้อยูในรูปออกไซดไอออน จะมีจํานวน อิเล็กตรอนและนิวตรอนเทาใดตามลําดับ (ENT’35) ก. 8,8 ข. 8,10 ค. 10,10 ง. 10,18 23. ถาไอโซโทปของธาตุชนิดหนึ่ง มีประจุในนิวเคลียสเปน 2 เทาของ ଵଷ଺ และมีเลขมวลเปน 3

เทา ธาตุไอโซโทปนี้จะมีอนุภาคมูลฐานอยางละกี่อนุภาค (ENT’31) จํานวนอิเล็กตรอน จํานวนโปรตอน จํานวนนิวตรอน ก. 6 12 39 ข. 6 2 3 ค. 6 12 27 ง. 12 12 27

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


р╕нр╕Фр╕┤р╕ер╕▒р╕Бр╕йр╕УяЬО р╕Юр╕┤р╕кр╕╕р╕Чр╕Шр╕┤р╣Мр╕ЫяЬРр╕Нр╕Нр╕▓ (р╕Юр╕╡р╣Ир╕ХяЬМр╕░) | 36| www.edu-deo.com 24. р╕ЦяЬЛр╕▓р╣Др╕нр╣Вр╕Лр╣Вр╕Чр╕Ыр╕лр╕Щр╕╢р╣Ир╕Зр╕Вр╕нр╕Зр╕Шр╕▓р╕Хр╕╕р╕Кр╕Щр╕┤р╕Фр╕лр╕Щр╕╢р╣Ир╕Зр╕бр╕╡р╕Ыр╕гр╕░р╕Ир╕╕р╣Гр╕Щр╕Щр╕┤р╕зр╣Ар╕Др╕ер╕╡р╕вр╕кр╣Ар╕ЫяЬТр╕Щ 2 р╣Ар╕ЧяЬКр╕▓р╕Вр╕нр╕Зр╕Ыр╕гр╕░р╕Ир╕╕р╣Гр╕Щр╕Щр╕┤р╕зр╣Ар╕Др╕ер╕╡р╕вр╕кр╕Вр╕нр╕З рм╡рм╢ рм║ р╣Бр╕ер╕░р╕бр╕╡р╣Ар╕ер╕Вр╕бр╕зр╕ер╣Ар╕ЫяЬТр╕Щ

1.5 р╣Ар╕ЧяЬКр╕▓р╕Вр╕нр╕З рм╡рм╢рм║ р╣Др╕нр╣Вр╕Лр╣Вр╕Чр╕Ыр╕Щр╕╡р╣Йр╕Ир╕░р╕бр╕╡р╕нр╕Щр╕╕р╕ар╕▓р╕Др╕бр╕╣р╕ер╕Рр╕▓р╕Щр╕нр╕вяЬКр╕▓р╕Зр╕ер╕░р╕Бр╕╡р╣Ир╕нр╕Щр╕╕р╕ар╕▓р╕Д

(ENTтАЩ38) р╕Б. 6e,12p р╣Бр╕ер╕░ 6n р╕В. 2e р╣Бр╕ер╕░ 2p р╕Д. 12e,12p р╣Бр╕ер╕░ 6n р╕З. 12e,12p р╣Бр╕ер╕░ 18n 25. р╕Шр╕▓р╕Хр╕╕ X р╕нр╕вр╕╣яЬКр╣Гр╕Щр╕Др╕▓р╕Ър╕Чр╕╡р╣И 5 р╕Вр╕нр╕Зр╕Хр╕▓р╕гр╕▓р╕Зр╕Шр╕▓р╕Хр╕╕ р╣Ар╕бр╕╖р╣Ир╕нр╕гр╕▒р╕Ъ 1 р╕нр╕┤р╣Ар╕ер╣Зр╕Бр╕Хр╕гр╕нр╕Щ р╕Ир╕░р╣Ар╕ЫяЬТр╕Щр╣Др╕нр╕нр╕нр╕Щр╕Чр╕╡р╣Ир╕бр╕╡р╕Бр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╣Ар╕гр╕╡р╕вр╕З р╕нр╕┤р╣Ар╕ер╣Зр╕Бр╕Хр╕гр╕нр╕Щр╣Ар╕лр╕бр╕╖р╕нр╕Щр╣Бр╕БяЬМр╕кр╣Ар╕Йр╕╖р╣Ир╕нр╕в р╕ЦяЬЛр╕▓р╕Шр╕▓р╕Хр╕╕ X р╕бр╕╡ 2 р╣Др╕нр╣Вр╕Лр╣Вр╕Чр╕Ы р╕Лр╕╢р╣Ир╕Зр╕бр╕╡р╕Ир╣Нр╕▓р╕Щр╕зр╕Щр╕Щр╕┤р╕зр╕Хр╕гр╕нр╕Щр╣Ар╕ЧяЬКр╕▓р╕Бр╕▒р╕Ъ 18 р╣Бр╕ер╕░ 20 р╕Хр╕▓р╕бр╕ер╣Нр╕▓р╕Фр╕▒р╕Ъ р╕кр╕▒р╕Нр╕ер╕▒р╕Бр╕йр╕УяЬОр╕Щр╕┤р╕зр╣Ар╕Др╕ер╕╡р╕вр╕гяЬОр╕Вр╕нр╕Зр╣Др╕нр╣Вр╕Лр╣Вр╕Чр╕Ыр╕Чр╕▒р╣Йр╕З 2 р╕Др╕╖р╕н (ENTтАЩ28) р╕Б. р╕В. р╕Д.

рм╢рм╜ рм╢рм╗ рм╜ , рм╜ рм╖рм╣ рм╖рм╗ рм╡рм╗ , рм╡рм╗ рм╖рм║ рм╖рм╝ рм╡рм╝ , рм╡рм╝ рм╣рм╖ рм╣рм╣ рм╖рм╣ , рм╖рм╣

р╕З. 26. р╕Шр╕▓р╕Хр╕╕ X р╕бр╕╡р╣Ар╕ер╕Вр╕бр╕зр╕е 39 р╕бр╕╡р╕гр╕░р╕Фр╕▒р╕Ър╕Юр╕ер╕▒р╕Зр╕Зр╕▓р╕Щр╕кр╕╣р╕Зр╕кр╕╕р╕Фр╕Чр╕╡р╣И n = 4 р╣Бр╕ер╕░р╕гр╕зр╕бр╕Бр╕▒р╕Ър╕Шр╕▓р╕Хр╕╕р╕лр╕бр╕╣яЬК 7 р╣Др╕ФяЬЛр╕кр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╕Бр╕нр╕Ър╣Др╕н р╕нр╕нр╕Щр╕┤р╕Бр╣Гр╕Щр╕нр╕▒р╕Хр╕гр╕▓р╕кяЬКр╕зр╕Щ 1:1 р╕Шр╕▓р╕Хр╕╕ Y р╕бр╕╡р╣Ар╕ер╕Вр╕нр╕░р╕Хр╕нр╕б 15 р╣Бр╕ер╕░р╕гр╕зр╕бр╕Бр╕▒р╕Ър╕Шр╕▓р╕Хр╕╕р╕лр╕бр╕╣яЬК 7 р╣Др╕ФяЬЛр╕кр╕▓р╕гр╕Ыр╕гр╕░р╕Бр╕нр╕Ър╣Вр╕Др╕зр╕▓ р╣Ар╕ер╕Щр╕ХяЬО р╣Гр╕Щр╕нр╕▒р╕Хр╕гр╕▓р╕кяЬКр╕зр╕Щ 1:3 р╣Бр╕ер╕░ 1:5 р╕кр╕▒р╕Нр╕ер╕▒р╕Бр╕йр╕УяЬОр╕Щр╕┤р╕зр╣Ар╕Др╕ер╕╡р╕вр╕гяЬОр╕Вр╕нр╕Зр╕Шр╕▓р╕Хр╕╕ X р╣Бр╕ер╕░ Y р╕Др╕╖р╕нр╕ВяЬЛр╕нр╣Гр╕Ф (ENTтАЩ32) р╕Б. р╕В. р╕Д. р╕З.

рм╖рм┤ рм╖рм╜ рм╡рм╝ , рм╡рм╣ рм╖рм╡ рм╖рм╜ рм╡рм╜ , рм╡рм╣ рм╖рм╢ рм╖рм╜ рм╢рм┤ , рм╡рм╣ рм╖рм╖ рм╖рм╜ рм╢рм╡ , рм╡рм╣

27. р╕ЦяЬЛр╕▓р╣Др╕нр╣Вр╕Лр╕Ър╕▓р╕гяЬО р╕лр╕бр╕▓р╕вр╕Цр╕╢р╕З р╣Бр╕бр╕кр╕Щр╕▒р╕бр╣Ар╕Ър╕нр╕гяЬОр╣Ар╕ЧяЬКр╕▓р╕Бр╕▒р╕Щ р╕Ир╕Зр╣Ар╕ер╕╖р╕нр╕Бр╣Др╕нр╣Вр╕Лр╕Ър╕▓р╕гяЬОр╕Ир╕▓р╕Б рм╡рм╢рм║ , рм╡рм╖рм║ , рм╡рм╕рм║ , рм╡рм╕рм╗ , рм╡рм║ рм╝ (ENTтАЩ19) р╕Б. рм╡рм╖рм║ р╣Бр╕ер╕░ рм╡рм╕рм║ р╕В. рм╡рм╢рм║ р╣Бр╕ер╕░ рм╡рм║рм╝ р╕Д. рм╡рм╕рм║ р╣Бр╕ер╕░ рм╡рм╕рм╗ р╕З. рм╡рм╕рм║ р╣Бр╕ер╕░ рм╡рм║рм║

┬й 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com р╕кр╕Зр╕зр╕Щр╕ер╕┤р╕Вр╕кр╕┤р╕Чр╕Шр╕┤р╣Мр╣Вр╕Фр╕в www.Edu-deo.com р╕ляЬЛр╕▓р╕бр╕Ьр╕╣р╣ГяЬЛ р╕Фр╕Чр╣Нр╕▓р╕Лр╣Йр╣Нр╕▓р╕лр╕гр╕╖р╕нр╕ер╕нр╕Бр╣Ар╕ер╕╡р╕вр╕Щр╣Бр╕Ър╕Ъ р╕лр╕гр╕╖р╕нр╕Др╕▒р╕Фр╕ер╕нр╕Бр╕Ър╕Чр╕Др╕зр╕▓р╕бр╣Др╕Ыр╣Гр╕КяЬЛр╣Вр╕Фр╕вр╕бр╕┤р╣Др╕ФяЬЛр╕гр╕▒р╕Ър╕нр╕Щр╕╕р╕Нр╕▓р╕Х

р╕кр╕┤р╣Ир╕Зр╕Чр╕╡р╣Ир╣Ар╕гр╕▓р╕ХяЬЛр╕нр╕Зр╕Бр╕▓р╕гр╕бр╕▓р╕Бр╕Чр╕╡р╣Ир╕кр╕╕р╕Ф р╕бр╕▒р╕Бр╕ХяЬЛр╕нр╕Зр╣Бр╕ер╕Бр╕ФяЬЛр╕зр╕вр╕кр╕┤р╣Ир╕Зр╕Чр╕╡р╣Ир╕бр╕╡р╕ДяЬКр╕▓р╕бр╕▓р╕Бр╕Чр╕╡р╣Ир╕кр╕╕р╕Фр╣Ар╕кр╕бр╕н


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 37| www.edu-deo.com 28. ถาไอโซโทน คืออะตอมที่มีจํานวนนิวตรอนเทากัน และไอโซบาร คืออะตอมที่มีเลขมวลเทากัน

จากสัญลักษณนิวเคลียรตอไปนี้ ଵ଼ଽ ଶଷ ଵଶ

ଵଽ ଵଽ ଽ ଵ଴

ଶ଴ ଶ଴ ଵ଴ ଵଵ

ଶଵ ଵଵ

ขอใดไมถูกตอง (ENT’มีนาคม42)

ଵଽ ก. ଵ଼ଽ กับ ଵ଴ เปนไอโซโทน แตไมเปนไอโซบาร

ข. ଵଽଽ กับ ଶଷ ଵଶ ไมเปนไอโซโทน และไมเปนไอโซบาร ଶଵ ค. ଶ଴ ଵଵ กับ ଵଵ ไมเปนไอโซโทน แตเปนไอโซโทป

ง.

ଶ଴ ଶଵ ଵ଴ กับ ଵଵ

เปนไอโซบาร แตไมเปนไอโซโทน

29. A และ B เปนธาตุไอโซโทปกัน

A มีจํานวนโปรตอนเทากับ 10 และมีเลขมวลเทากับ 20 B มีจํานวนนิวตรอนมากกวา A อยู 2 นิวตรอน ขอใดเปนสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ B (O-NET’49) ก. ଶ଴ ଵଶ ข. ଶଶ ଵ଴ ค. ଵଶ଼ ง. ଵଶ ଵ଴ 30. ธาตุ X อยูในหมู 7A คาบที่ 5 มีเลขมวล 129 ธาตุ X เปนไปตามขอใด (O-NET’50) 1. มีสัญลักษณนิวเคลียรเปน ଵଶଽ ହଷ 2. เปนกึ่งโลหะ และมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 7 3. มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2 8 18 18 5 4. เปนไอโซโทปกับธาตุ ଵଶ଻ ହଷ ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 3 และ 4 ง. 1 และ 4

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

ଶଵ ଵଶ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 38| www.edu-deo.com 31. อะตอมของธาตุใด ที่มีเวเลนซอิเล็กตรอนมากที่สุด จากธาตุที่มีเลขอะตอมตอไปนี้ (ENT’21)

ก. 4 ข. 7 ค. 11 ง. 12 32. ธาตุที่มีเลขอะตอมตอไปนี้ มีสิ่งใดเหมือนกัน (O-NET’49) 1 3 11 19 37 ก. เปนอโลหะเหมือนกัน ข. มีจํานวนอนุภาคมูลฐานเทากัน ค. อยูในระดับพลังงานเดียวกัน ง. มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากัน 33. ธาตุสมมติมีสัญลักษณนิวเคลียร ଻ଷ ଵସ଻

ଷଶ ଵ଺

และ

ଷଽ ଵଽ

ธาตุใดอยูในหมูเดียวกัน

(O-NET’50) ก. A กับ B ข. X กับ Y ค. A กับ Y ง. B กับ X 34. สารประกอบไอออนิกมีสูตร X2Y ถา X เปนธาตุที่มีเลขอะตอมเทากับ 19 Y ควรเปนธาตุที่มีเลข อะตอมเทาใด (ENT’27) ก. 14 ข. 16 ค. 17 ง. 18 35. ธาตุ X อยูหมูที่ 3 คาบที่ 4 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนอยางไร และมีเลขอะตอมเทาใด (ENT’20) ก. 2 8 4 เลขอะตอมเทากับ 14 ข. 2 8 8 3 เลขอะตอมเทากับ 21 ค. 2 8 18 3 เลขอะตอมเทากับ 31 ง. 2 8 18 4 เลขอะตอมเทากับ 32 © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 39| www.edu-deo.com +

36. X คือธาตุในหมูที่ 3 คาบที่ 4 การจัดอิเล็กตรอนของ X คือขอใด (ENT’34)

37.

38.

39.

40.

ก. 2 8 8 2 ข. 2 8 18 2 ค. 2 18 8 8 2 ง. 2 2 18 8 8 ธาตุที่มีเวเลนซอิเล็กตรอน 2 มีเลขอะตอม 38 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุอยางไร (ENT’20) ก. 2 8 8 18 2 ข. 2 8 18 8 2 ค. 2 18 8 8 2 ง. 2 2 18 8 8 การจัดธาตุ 35A 38D 50E ลงในตารางธาตุตามคาบและหมูตอไปนี้ ขอใดถูกตอง (ENT’38) A D E ก. คาบ 4 5 5 หมู 6 1 3 ข. คาบ 4 4 5 หมู 3 5 6 ค. คาบ 3 4 4 หมู 7 2 4 ง. คาบ 4 5 5 หมู 7 2 4 ธาตุในขอใดที่อยูในคาบเดียวกัน และอยูในหมู 2-5 (ENT’30) ก. 20R 36Q ข. 13X 33Y ค. 37Z 38Q ง. 33Y 20R อนุภาค 2 ชนิด ประกอบดวยอนุภาคมูลฐานตอไปนี้ อนุภาค โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน I 13 14 12 II 14 14 14 อนุภาค I และ II เปนอะไร (ENT’30)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 40| www.edu-deo.com

ก. ข. ค. ง.

I เปนไอออนบวก II เปนอะตอมของอโลหะ I เปนไอออนบวก II เปนไอออนลบ อนุภาคทั้งสองเปนไอออนลบ I เปนอะตอมของโลหะ II เปนอะตอมของอโลหะ

41. ธาตุใดตอไปนี้ที่จะมีอิเล็กตรอน 4 อิเล็กตรอน ในระดับพลังงานที่ 4 (ENT’25)

ก . 6C ข. 32Ge ค. 36Kr ง. 26Fe 42. ธาตุ A อะตอมมิกนัมเบอร 37 ทําปฏิกิริยารุนแรงกับน้ํา สารละลายที่ไดมีฤทธิ์เปนเบส ธาตุ A ควรอยูหมูใดและคาบใด (ENT’20) ก. หมูที่ 1 และ คาบที่ 4 ข. หมูที่ 1 และ คาบที่ 5 ค. หมูที่ 2 และ คาบที่ 4 ง. หมูที่ 2 และ คาบที่ 5 43. Be มีอะตอมมิกนัมเบอร 4 ธาตุซึ่งอยูในหมูเดียวกัน ไดแกธาตุที่มีอะตอมมิกนัมเบอรเทาใด (ENT’19) ก. 3 ข. 7 ค. 12 ง. 16 44. สมมติวานักวิทยาศาสตรสามารถสังเคราะหธาตุที่มีอะตอมมิกนัมเบอร 114 ได ทานคิดวา ควร จะจัดใหธาตุนี้อยูในหมูใด (ENT’20) ก. หมูที่ 3 ข. หมูที่ 4 ค. หมูที่ 5 ง. หมูที่ 6 © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 41| www.edu-deo.com 45. ธาตุสมมติ 117A ควรจะมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับเทาไร (ENT’22)

46.

47.

48.

49.

50.

ก. 1 ข. 3 ค. 5 ง. 7 ธาตุ K L และ M มีเลขอะตอม 10 14 และ 20 ตามลําดับ ธาตุทั้งสามควรอยูในหมูใดและ คาบใดตามลําดับ (ENT’30) ก. หมู 2 4 8 และคาบ 2 3 4 ข. หมู 4 8 2 และคาบ 3 2 4 ค. หมู 4 2 8 และคาบ 4 3 2 ง. หมู 8 4 2 และคาบ 2 3 4 ธาตุ X อยูในหมูที่ 7 คาบที่ 5 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนและเลขอะตอมอยางไร (ENT’25) ก. 2 8 8 18 7 เลขอะตอม 43 ข. 2 8 18 18 7 เลขอะตอม 53 ค. 2 8 8 32 7 เลขอะตอม 57 ง. 2 8 18 32 7 เลขอะตอม 67 ธาตุ 33X มีเวเลนซอิเล็กตรอนกี่ตัว และจัดอยูในธาตุพวกใด (ENT’39) ก. 13 ตัว ธาตุแทรนซิชัน ข. 5 ตัว ธาตุแฮโลเจน ค. 5 ตัว ธาตุกึ่งโลหะ ง. 3 ตัว โลหะแอลคาไลนเอิรท อิเล็กตรอนมีจํานวนมากที่สุดไดเทาใด ในระดับพลังงานที่ 4 (ENT’22) ก. 8 ข. 18 ค. 28 ง. 32 จํานวนอิเล็กตรอนมากที่สุดที่ระดับพลังงาน n = 5 ที่อะตอมสามารถรับได และการจัด อิเล็กตรอนในอะตอมของอินเดียม (In) ซึ่งมีเลขอะตอมเทากับ 49 เปนไปตามขอใด (ENT’ตุลาคม42)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 42| www.edu-deo.com

ก. ข. ค. ง.

จํานวนอิเล็กตรอนที่ สามารถรับได 25 49 25 50

การจัดเรียงอิเล็กตรอน ของ In 2 8 8 18 8 5 2 8 8 18 11 2 2 8 18 18 3 2 8 18 18 3

51. พิจารณาแผนภาพตอไปนี้

รูปใดแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนในสภาวะพื้นของอะตอม ไมถูกตอง (ENTตุลาคม43) ก. 1 และ 2 เทานั้น ข. 2 และ 3 เทานั้น ค. 1 และ 3 เทานั้น ง. 1 2 และ 3 2+ 52. ไอออน X และ Y มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 18 อิเล็กตรอนเทากับธาตุ X และ Y อยูในคาบที่ เทาใดและอยูในหมูใด (ENT’26) X Y คาบที่ หมูที่ คาบ หมูที่ ที่ ก. 2 2 3 7 ข. 3 7 2 2 ค. 4 3 3 2 ง. 4 2 3 7 53. ไอออนที่มีประจุ +2 เกิดได งายที่สุด จากธาตุที่มีเลขอะตอมเทาไหร (ENT’ตุลาคม42)

ก. ข. ค. ง.

4 11 12 20

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 43| www.edu-deo.com 54. สารประกอบจากปฏิกิริยาระหวางธาตุ 13M กับธาตุ 16L มีสูตร (ENT’23)

55.

56.

57.

58.

ก. M2L ข. M2L3 ค. M4L5 ง. M6L5 ธาตุ X Y Z มีจํานวนโปรตอนเทากับ 3 20 13 ตามลําดับ สารประกอบไนไตรดของธาตุทั้ง 3 คือ (ENT’28) ก. X3N Y3N2 Z3N ข. X3N YN2 ZN ค. XN2 Y3N2 ZN ง. X3N Y3N2 ZN ธาตุ A,B,C และ D มีคาเลขอะตอม (Atomic Number) เรียงตามลําดับคือ 14,15,16 และ 17 ดังนั้น ธาตุที่มีคุณสมบัติคลายธาตุ 7N มากที่สุดคือธาตุใด (ENT’21) ก. ธาตุ A ข. ธาตุ B ค. ธาตุ C ง. ธาตุ D ถา 7A, 11B, 8C และ 5D เปนสัญลักษณธาตุสมมติ สารประกอบที่เกิดจากธาตุเทลานี้ทําปฏิกิริยา กับธาตุไฮโดรเจนสารประกอบในขอใดถูกตองที่สุด (ENT’29) ก. AH2 BH และ CH2 ข. BH CH2 และ DH2 ค. CH2 DH3 และ AH3 ง. DH3 CH3 และ BH X,Y และ Z เปนธาตุที่มีจํานวนโปรตอน 3,7 และ 17 ตามลําดับ ขอใดแสดงสูตรของไฮไดรดของ X,Y และ Z ไดถูกตอง ก. XH, Y3H5, ZH2 ข. XH, YH3, ZH ค. X2H, YH5, ZH2 ง. XH2, YH3, Z2H

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 44| www.edu-deo.com

คลื่น สเปกตรัม และแบบจําลองอะตอมของโบร 59. ถามีสารอยู 3 ชนิด คือ Na2O, K2O และ CaO และมีเครื่องมืออยู 4 ชุด คือ

1. 2. 3. 4.

กระดาษลิตมัส เครื่องวัดการนําไฟฟา สารละลายซิลเวอรไนเตรต ตะเกียง ไสดินสอดํา กรดไฮโดรคลอริกเขมขน

จะเลือกใชเครื่องมือในขอใด จึงจะทราบชนิดของสารไดดีที่สุด (ENT’26) ก. 1 ค. 3 ข. 2 ง. 4 60. ความยาวคลื่นของสเปกตรัม 4 เสน (ENT’30) A = 404 nm B = 450 nm C = 455 nm D = 608 nm เสนสเปกตรัมใดที่แสดงวาอิเล็กตรอนมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานนอยที่สุด ก. A เทานั้น ข. B และ C เทานั้น ค. C เทานั้น ง. D เทานั้น 61. แสงสีสมมีความยาวคลื่น 620 นาโนเมตร เมื่อเปรียบเทียบกับแสงสีคราม ซึ่งมีความยาวคลื่น 430 นาโนเมตร ขอความใดถูกตองที่สุด (ENT’29) ก. แสงสีสมมีพลังงานสูงกวาแสงสีคราม เนื่องจากมีความถี่สูงกวา ข. แสงสีครามมีพลังงานสูงกวาแสงสีสม เนื่องจากมีความถี่ต่ํากวา ค. แสงสีครามมีพลังงานสูงกวาแสงสีสม เนื่องจากมีความถี่สูงกวา ง. แสงสีสมมีพลังงานสูงกวาแสงสีคราม เนื่องจากมีความถี่ต่ํากวา 2+ -17 62. พลังงานไอออไนเซชัน Li มีคา 1.961 x 10 Joules จะมีความยาวชวงคลื่นกี่นาโนเมตร กําหนดคา h = 6.626 x 10-34 Joules.sec และ C = 2.998 x 108 msec-1 (ENT’22) ก. 9.92 ข. 10.13 ค. 20.26 ง. 101.30 © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 45| www.edu-deo.com 63. อิเล็กตรอนที่สถานะพื้นของอะตอมไฮโดรเจน 1 โมล ถูกกระตุนดวยพลังงาน 1,230 kJ

อิเล็กตรอนที่สถานะกระตุนนี้จะคายพลังงานที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดกี่เมตร (A-NET’50) ก. 9.74 x 10-8 ข. 9.74 x 10-11 ค. 1.62 x 10-28 ง. 1.62 x 10-31 64. เมื่อนําคอปเปอร (II) คลอไรดมาเผาจนรอนจัด จะไดเปลวไฟสีเขียวแกมฟา เพราะเหตุใด (ENT’19) ก. โมเลกุลของเกลือนี้หลอมเหลวและลุกติดไฟ ข. อิเล็กตรอนในอะตอมของทองแดงไดรับพลังงานสูงขึ้น จึงพยายามคายพลังงานสวนเกินนี้ ออกมาในรูปของแสง ค. อิเล็กตรอนในอะตอมของทองแดงเคลื่อนที่จากชั้นหนึ่งๆ กลับไปกลับมา และบางครั้งก็หลุด ออกมากลายเปนพลังงานในรูปของแสง ง. โปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเกิดการสั่นสะเทือนและคายพลังงานออกมาในรูปของแสง 65. ในการทดลองเผาสารประกอบของโซเดียม เพื่อดูสเปกตรัมของโซเดียมนั้น พลังงานจากเปลว ไฟทําหนาที่ (ENT’23) ก. ทําใหแถบสีแยกออกเปนเสนที่มีความถี่ตางๆกันบนสเปกตรัม ข. ทําใหอิเล็กตรอนในระดับพลังงานสูงๆ คายพลังงาน ดังปรากฏเปนเสนสเปกตรัม ค. ทําใหเกิดแถบสีมวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด แดง ตอกัน ง. ทําใหเกิด Na+ และทําใหอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่ําของโซเดียมอะตอมมีพลังงานสูงขึ้น 66. หลอดไฟฟาโซเดียมที่ติดตามทางแยก จะใหแสงสีเหลืองตลอดเวลา เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง อยางไรที่โซเดียม ( ENT’มีนาคม47) ก. อิเล็กตรอนของโซเดียมที่ระดับพลังงานสูงมีการสรางพันธะใหม ข. โซเดียมรับพลังงานไฟฟา ทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมไป ค. โซเดียมรับพลังงานไฟฟา ทําใหอิเล็กตรอนกระโดดไปอยูในระดับพลังงานที่สูงกวา แลว เปลงแสงสีเหลืองออกมา ง. อิเล็กตรอนของโซเดียมรับพลังงานแลวยายไปอยูในระดับพลังงานสูง เมื่อกลับมาอยูใน ระดับพลังงานต่ําจึงปลอยแสงสีเหลืองออกมา

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 46| www.edu-deo.com 67. ขอความตอไปนี้ ขอใดถูกตอง (ENT’28)

ก. การที่สเปกตรัมในชวงแสงขาวของไฮโดรเจนมีเพียง 4 เสน แสดงวาอิเล็กตรอนใน ไฮโดรเจนอะตอมมีระดับพลังงานเพียง 4 ระดับ ข. ถาอะตอมของธาตุ ก มีอิเล็กตรอนมากกวาอะตอมของธาตุ ข จํานวนสเปกตรัมในชวงแสง ขาวของธาตุ ก จะตองมากกวาของธาตุ ข ดวย ค. จํานวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในธาตุชนิดตางๆ จะเพิ่มขึ้นตามเลขอะตอม ง. ธาตุตา งชนิดกันอาจมีสเปกตรัมบางเสนอยูที่ตําแหนงเดียวกัน (ความถี่เทากัน) ได 68. ขอความตอไปนี้ ขอใด ไมถูกตอง (ENT’28) ก. ธาตุแตละธาตุมีเสนสเปกตรัมเปนลักษณะเฉพาะตัวไมซ้ํากัน ข. สมบัติของแตละธาตุมีความสัมพันธกับการจัดอิเล็กตรอนในอะตอม ค. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนมีทิศทางแนนอน ง. เมื่อเผาสารประกอบสีของเปลวไฟและเสนสเปกตรัมที่ไดเกิดจากสวนที่เปนไอออนของโลหะ 69. เมื่อนําสารประกอบของโลหะบางชนิดมาเผาไฟ จะเห็นเปลวไฟเปนสีตางๆ บางชนิดใหสีเหลือง บางชนิดใหสีเขียว ฯลฯ ขอสรุปเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว ขอใดถูกตอง (ENT’35) ก. สารประกอบตางชนิดกัน จะใหเปลวไฟสีตางกันเสมอ ข. สีของเปลวไฟมีความสัมพันธกับสีของสารประกอบนั้น ค. สีของเปลวไฟที่เห็นเกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานธาตุ ซึ่งมีหลายระดับและมีชวงหาง เทาๆกัน ง. ธาตุชนิดหนึ่งอาจใหสเปกตรัมมากกวาหนึ่งเสน แตจะเห็นรวมเปนแสงสีหนึ่ง ซึ่งเปน ลักษณะเฉพาะของธาตุนั้น 70. ขอความใดที่เปนสมมติฐานของนีลส โบร เกี่ยวกับโครงสรางอะตอม (ENT’มีนาคม45) ก. ธาตุทุกชนิดมีสเปกตรัมที่เฉพาะตัว ข. อิเล็กตรอนจะเปลี่ยนระดับพลังงานเมื่อมีการดูดหรือคายพลังงาน ค. ธาตุหนึ่งชนิดอาจมีอนุกรมสเปกตรัมไดมากกวา 1 ชุด ง. พลังงานที่อิเล็กตรอนดูดหรือคายตองมีคาคงที่เฉพาะแนนอน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 47| www.edu-deo.com 71. ของแข็งสีขาวชนิดหนึ่ง เมื่อบดเปนผง ก็ยังไมละลายน้ํา เมื่อเอาไสดินสอจุมผงนี้มาเผาในเปลว

ไฟที่รอนจะไดเปลวไฟสีดงอิฐ ถาเอาผงสีขาวนี้มาเผาใหรอนจัดในหลอดทดลอง จะไดแกสที่ทํา ใหน้ําปูนใสขุน ถานําสิ่งที่เหลือในหลอดทดลองไปทําการทดลองตอ จะไดผลในขอใด (ENT’34) การละลาย การเปลี่ยนสีกระดาษ น้ํา ลิตมัส ก. ละลายไดดี เปลี่ยนน้ําเงินเปนแดง ข. ละลายได เปลี่ยนน้ําเงินเปนแดง บาง ค. ละลายได เปลี่ยนแดงเปนน้ําเงิน บาง ง. ไมละลาย ไมมีการเปลี่ยนแปลง 72. ธาตุชนิดหนึ่งมีจุดหลอมเหลว 839 องศาเซลเซียส ความหนาแนน 1.55 กรัมตอลูกบาศก เซนติเมตร สารประกอบชนิดหนึ่งของธาตุนี้เปนของแข็งสีขาว ใชเปนสารดูดความชื้น สารประกอบอีกชนิดหนึ่งของธาตุนี้เมื่อละลายน้ําจะไดสารละลายไมมีสี ซึ่งใชทดสอบแกส CO2 ธาตุชนิดนี้ควรใหเปลวไฟสีอะไร (ENT’33) ก. เหลือง ข. เขียวอมเหลือง ค. แดงอิฐ ง. เขียว 73. ของแข็งสีขาวชนิดหนึ่ง เปนของผสมระหวาง 2 สาร ในบรรดาสารตอไปนี้ Na2SO4, BaSO4, NaCl, KCl, MgF2, K2CO3, BaCO3 ของแข็งสีขาวนี้มีสมบัติดังนี้ 1. สามารถละลายน้ําไดบางสวน 2. เมื่อนําไฟเผาจะใหเปลวไฟมวงเขียวปดบังเปลวไฟสีอื่นๆ 3. เมื่อเติมกรด HNO3เจือจางลงไปในสารละลายจะใหแกส 4. เมื่อเติม NaOH ลงในสารละลายที่มีสภาพเปนกรดไมเกิดตะกอน ของแข็งสีขาวนั้นคือในขอใด (ENT’20) ก. K2CO3, BaCO3 ข. MgF2, CaF2 ค. Na2SO4, BaCO4 ง. NaCl, KCl © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 48| www.edu-deo.com 74. ตําแหนงเสนสเปกตรัมซึ่งไดจากการสังเกตการเผาสารประกอบไนเตรตของธาตุ Ba Ca Cu

และ Na เปนไปตามขอใด (ENT’32) ธาตุโดยลําดับซาย ขวา ก. Cu, Na, Ba ข. Ba, Cu, Na ค. Ca, Na, Ba, Cu ง. Cu, Ba, Na, Ca 75. ผงสีขาวชนิดหนึ่งเปนของผสมของสารประกอบคลอไรด เมื่อนํามาวิเคราะหสเปกตรัมของธาตุ ไดผลดังรูป ผงสีขาวประกอบดวยสารในขอใด (ENT’38) ก. NaCl, KCl, RbCl, CsCl ข. MgCl2, BaCl2, CaCl2, SrCl2 ค. CaCl2, SrCl2, LiCl, RbCl ง. MgCl2, BaCl2, LiCl, RbCl 76. จากขอมูลตอไปนี้ สาร สี สีของเปลวไฟเมื่อ เผาสาร KMnO4 มวง มวง KCl ขาว มวง NaCl ขาว เหลือง Na2Cr2O7 สม เหลือง ขอใดสรุปผิด (ENT’33) ก. สีของเปลวไฟคือสีที่ไดจากไอออนบวก ข. สีของสาร คือ สีที่ไดจากไอออนลบ ค. สีของ KMnO4 และสีของเปลวไฟของสารนี้ เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานแบบเดียวกัน ง. KCl และ NaCl ไมดูดกลืนแสงขาว

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 49| www.edu-deo.com 77.

สารเคมี

สีของ สาร ขาว ขาว ขาว

สีของเปลว ไฟ สีแดง สีแดง สีมวง

สีของเสน สเปกตรัม สีแดง สีแดง สีมวง

ลิเทียมคลอไรด ลิเทียมไนเตรต โพแทสเซียมคลอ ไรด โพแทสเซียม ขาว สีมวง สีมวง ซัลเฟต แคลเซียมคลอไรด ขาว สีแดงอิฐ สีแดงเขม แคลเซียมซัลเฟต ขาว สีแดงอิฐ สีแดงเขม จากการทดลองนี้ ขอสรุปที่ไมนาเปนไปไดคือขอใด (ENT’25) ก. สีของเปลวไฟที่ไดเปนสีของไอออนบวกของสารประกอบ ข. สีของสเปกตรัมที่เห็นเปนสีของไอออนบวกของสารประกอบ ค. เมื่อเผาสารประกอบ สวนที่เปนไอออนบวกจะรับพลังงานแลวคายออกมาเปนคาเฉพาะตัว ของไอออนนั้น ง. สารประกอบสีขาว เมื่อเผาแลวจะใหเปลวไฟและสเปกตรัมที่มีสี 78. จากรู กรูป ระดับพลังงานตอไปนี้ (ENT’26)

เราสามารถจัดเรียงอิเล็กตรอนของความถี่ของแสงจากนอยไปหามากไดขอใด ก. 1,2,3 ข. 2,1,3 ค. 3,1,2 ง. 3,2,1

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 50| www.edu-deo.com 79. ถาอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานดังตอไปนี้

A) n = 2 Æ n = 3 B) n = 2 Æ n = 6 C) n = 7 Æ n = 2 ขอใดถูกตอง (ENT’ตุลาคม47) ก. A มีการดูดพลังงานที่มีความถี่ของคลื่นสูงที่สุด ข. B มีการดูดพลังงานที่มีความยาวคลื่นยาวที่สุด ค. C มีการคายพลังงานที่มีความถี่ของคลื่นสูงที่สุด ง. B มีการคายพลังงานที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สดุ 80.

ถาแผนผังการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอนของธาตุหนึ่งเปนดังแสดง และถาเสน สเปกตรัมสีแดงเกิดจาก II เสนสีมวงมีโอกาสเกิดจากขอใด (ENT’30) ก. I ข. III ค. III กับ IV ง. IV หรือ V 81. จากการศึกษาสเปกตรัมของธาตุ M ปรากฏวา เสนสเปกตรัมที่ชัดสุด 3 เสน อยูที่ความยาวคลื่น 470, 580 และ 650 นาโนเมตร ตามลําดับ ขอมูลเกี่ยวกับธาตุ M ขอใด ถูกตองที่สุด (ENT’29) ความแตกตางของระดับ พลังงาน ที่ 1 และ 2 (kJ) ก. 8.0 x 10-23 ข. 3.7 x 10-23 ค. 3.7 x 10-23 ง. 8.0 x 10-23

เสนสเปกตรัมที่แสดงถึง ระดับพลังงานสูงสุด 470 นาโนเมตร 470 นาโนเมตร 650 นาโนเมตร 650 นาโนเมตร

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 51| www.edu-deo.com 82. เมื่ออิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับ a ไปยังระดับ c ปรากฏ

วา แสงที่ถูกปลอยออกมาเปนแสงสีมวง มีความยาวคลื่นเทากับ 400 nm แตเมื่ออิเล็กตรอน เปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับ c ไปยังระดับ b ปรากฏวา แสงที่ถูกดูดกลืนโดยอิเล็กตรอนเปน แสงสีแดง มีความยาวคลื่นเทากับ 600 nm ถาอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก a ไปยัง ระดับ b แสงที่ถูกปลอยออกมามีความถี่เปนเทาไร ในหนวย 1012 เฮิรตซ (ENT’38 อัตนัย) 83. จากระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ ถาให

οE1 เปนผลตางของระดับพลังงานที่ n = 1 กับ n = 2 οE2 เปนผลตางของระดับพลังงานที่ n = 2 กับ n = 3

οE3 เปนผลตางของระดับพลังงานที่ n = 3 กับ n = 4 ความสัมพันธของคา E ทั้งสาม มีดังนี้ (ENT’28) ก. οE3 > οE2 > οE1 ข. οE1 > οE3 > οE2 ค. οE3 > οE1 > οE2 ง. οE1 > οE2 > οE3 84. จากระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ กําหนดให οExy เปนผลตางของระดับพลังงานตางๆ ในอะตอมเมื่อ x เปนระดับพลังงานตั้งตน y เปนระดับพลังงานสุดทาย ขอใดถูกตอง (ENT’37) ก. οE54 < οE32 < οE43 ข. οE32 < οE42 < οE53 ค. οE54 < οE32 < οE42 ง. οE42 < οE21 < οE41

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 52| www.edu-deo.com 85. พิจารณาตารางคาพลังงานของสเปกตรัมของไฮโดรเจน (ENT’40)

เสน ความยาวคลื่น การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของ สเปกตรัม (nm) อิเล็กตรอน สีมวง 410 E4 E0 สีน้ําเงิน 434 E3 E0 สีน้ําทะเล 486 E2 E0 สีแดง 656 E1 E0 E0 เปนพลังงานในสถานะพื้น E1 เปนพลังงานในสถานะกระตุนที่ 1 E2 เปนพลังงานในสถานะกระตุนที่ 2 E3 เปนพลังงานในสถานะกระตุนที่ 3 E4 เปนพลังงานในสถานะกระตุนที่ 4 ขอใดผิด (ให h = 6.625 x 10-34 J.s, C = 3.0 x 108 m/s) ก. อิเล็กตรอนที่ระดับพลังงาน E0 ดูดกลืนพลังงาน 4.84 x 10-22 kJ เพื่อยายไปอยูที่ ระดับพลังงาน E4 ข. ใหพลังงาน 1.06 x 10-22 kJ แกอิเล็กตรอนที่ระดับพลังงาน E1 จะทําใหอิเล็กตรอน ยายไประดับพลังงาน E2 ค. อิเล็กตรอนที่ระดับพลังงาน E3 คายพลังงาน 1.55 x 10-22 kJ เพื่อมาอยูที่ระดับ พลังงาน E1 ง. อิเล็กตรอนที่ระดับพลังงาน E4 คายพลังงาน 2.70 x 10-22 kJ เพื่อมาอยูที่ระดับ พลังงาน E3 86. จากการทดลองเกี่ยวกับสเปกตรัมของไฮโดรเจน พบวา ไดเสนสเปกตรัมที่มีสีตางๆกัน 4 เสน คํานวณคาพลังงานของแตละเสน แลวเรียงลําดับจากนอยไปหามาก พบวา E1 < E2< E3 < E4 ขอสรุปจากการทดลองนี้ ขอใดถูกตอง (ENT’41) 1. ไฮโดรเจนอะตอมมีสถานะกระตุนไดหลาระดับ 2. (E2 – E1) = (E3 – E2) 3. (E2 – E1) > (E3 – E2) 4. อิเล็กตรอนที่วิ่งรอบนิวเคลียสเปนวงกลม อาจมีรัศมีวงโคจรตางๆ แลวแตระดับพลังงาน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 53| www.edu-deo.com

ก. ข. ค. ง.

1 และ 2 1 และ 3 2 และ 4 3 และ 4 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอย

87. พิจารณาอะตอมและไอออนตอไปนี้ : 25A

2+

15B

16C

2-

44D

อะตอมหรือไอออนใดมีจํานวน

อิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุด (A-NET50) ก. A2+ ข. B ค. C2ง. D พลังงานไอออไนเซชัน 88. ขอใดแสดงการเกิดพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 2 ของแกส X 1 โมล (ENT’24)

ก. X (s) X (g) ข. X+ (g) X2+(g) + eค. X (g) X+ (g) + eง. X (g) X2+ (g) + 2e89. พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 3 (IE3) ของธาตุอะลูมิเนียมมีคาเทากับพลังงานที่เกี่ยวของในการ เปลี่ยนแปลงขอใด ( ENT’27) ก. Al (g) Al3+(g) + 3eข. Al (s) Al3+(g) + 3eค. Al2+(g) Al3+(g) + eAl3+(g) + 2eง. Al+ (g) 90. ให IE1, IE2, IE3 … เปนพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1,2,3 … ขอใดถูกตอง (ENT’31) จ. C3+(g) + IE4 C4+(g) + eF-(g) + IE1 ฉ. F(g) + eช. Ca(g) + IE2 Ca2+(g) + 2eซ. M+(g) + IE4 M4+(g) + 3e© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 54| www.edu-deo.com

91. ถาโลหะ M ใชพลังงานเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะตางๆดังตอไปนี้ I M(s) M(g) II M(s) M+(g) + eIII M(g) M+(g) + eIV M(g) M2+(g) + 2eก. I + IV ข. II + III ค. IV – III ง. IV – III + I 92. ถา X, Y, Z เปนธาตุที่มีเลขอะตอม 11, 12 และ 13 ตามลําดับ กระบวนการใดตอไปนี้เกิดได ยากที่สุด (ENT’32) ก. X X+ + eX2+ + eข. X+ ค. Y2+ Y3+ + eZ4+ + eง. Z3+ 93. ธาตุ A, B, C และ D มีเลขอะตอม 3, 9, 13 และ 20 ตามลําดับ ธาตุใดมีคา IE2 ต่ําที่สุด (ENT’38) ก. A ข. B ค. C ง. D 94. ถา A, B, C เปนธาตุที่มีจํานวนโปรตอน 18, 19, 20 ตามลําดับ กระบวนการในขอใดใชพลังงาน มากที่สุด (ENT’39) ก. A(g) A+(g) + eข. B(g) B+(g) + eค. C(g) C+(g) + eC2+(g) + eง. C+(g)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 55| www.edu-deo.com

95. พิจารณาคาพลังงานไอออไนเซชันของอะลูมิเนียมตอไปนี้ Al(g) Al+(g) + eIE1 = 0.584 MJ.mol-1 Al+(g) Al2+(g) + e- IE2 = 1.823 MJ.mol-1 Al2+(g) Al3+(g) + e- IE3 = 2.751 MJ.mol-1 Al3+(g) Al4+(g) + e- IE4 = 11.584 MJ.mol-1 ขอใดสรุป ผิด (ENT’มีนาคม43) ก. การที่คา IE ของอะลูมิเนียมเพิ่มขึ้นจาก IE1 IE4 แสดงวาอิเล็กตรอนตัวที่ 1 อยู ใกลกับนิวเคลียสมากกวาตัวที่ 2 และตัวที่ 2 อยูใกลชิดกับนิวเคลียสมากกวาตัวที่ 3 ฯลฯ ข. การที่คา IE3 และ IE4 แตกตางกันมาก แสดงวาอิเล็กตรอนที่หลุดออกไปเปนอิเล็กตรอนตาง กลุมกัน ค. ขนาดของไอออนจะเล็กลงตามลําดับ Al+ > Al2+ > Al3+ > Al4+ ง. อะลูมิเนียมควรมีเลขออกซิเดชันเทากับ 3 เมื่ออยูในสารประกอบ คําชี้แจง ตารางตอไปนี้ ใชในการตอบคําถามขอ 96 – 97 (ENT’21) H Li Na K

Be Mg Ca

B Al

C Si

N P

O S

F Cl

He Ne Ar

96. ในสภาวะปกติ เวเลนซอิเล็กตรอนของ Ca อยูในระดับพลังงานที่เทาใด ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 97. พิจารณาธาตุ Li, Be, B และ C พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 3 ของธาตุใดควรจะมีคาสูงสุด ก. Li ข. Be ค. B ง. C © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 56| www.edu-deo.com

98. ธาตุ Z มีพลังงานไอออไนเซชันตั้งแตลําดับที่ 1 ถึงลําดับที่ 8 เปนดังนี้ 1.320, 3.395, 5.307, 7.47, 10.996, 13.333, 71.343, 84.086 ธาตุ Z ควรเปนธาตุหมูใดในตารางธาตุ (ENT’23) ก. 1 ข. 4 ค. 6 ง. 7 99. จากคาพลังงานไอออไนเซชัน (kJ/mol) ของธาตุ 5 ธาตุดังตาราง ธาตุ IE1 IE2 IE3 IE4 P 1,090 2,400 4,600 6,200 Q 500 4,600 6,900 9,500 R 740 1,500 7,700 10,500 S 800 2,400 3,700 20,500 T 580 1,800 2,700 11,600 ธาตุใดอยูหมูเดียวกันในตารางธาตุ ก. P, Q ข. R, T ค. R, S ง. S, T 100. ธาตุ Q, R, T, U มีคาพลังงานไอออไนเซชันลําดับตางๆดังแสดง ธาตุ ลําดับที่ ลําดับที่ ลําดับที่ ลําดับที่ 1 2 3 4 Q 2,100 4,000 6,100 9,200 R 530 4,400 6,500 9,600 T 740 1,500 7,500 9,900 U 410 3,200 4,300 5,800 เมื่อเกิดสารประกอบซัลเฟต สูตรในขอใดถูกตอง (ENT’30) ก. Q(SO4)2, R2SO4 ข. RSO4, TSO4 ค. T2SO4, U2SO4 ง. QSO4, R2SO4 © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 57| www.edu-deo.com

101. ธาตุ

พลังงานไอออไนเซชัน (MJ/mol) ลําดับที่ 1 2 3 A 0.4 3.1 4.4 B 0.6 1.1 4.9 C 0.6 1.8 2.7 D 0.7 1.5 7.7 สารประกอบออกไซดของธาตุใดมีสูตรเหมือนกัน ก. A และ B ข. A และ C ค. B และ D ง. A และ D 102. ถาพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ X มีคาดังนี้ IE1 = 0.6 MJ/mol IE2 = 1.1 MJ/mol IE3 = 5.0 MJ/mol IE4 = 6.5 MJ/mol สัญลักษณนิวเคลียสของ X ควรเปนดังขอใด (ENT’37) ก.

ଵଶ ଺

ข.

ଶଷ ଵଵ

ค.

ଶ଻ ଵଷ

ง.

ସ଴ ଶ଴

4 5.9 6.5 11.6 10.5

103. M เปนแกสไมมีสี ไมเกิดสารประกอบคลอไรด ใชบรรจุในหลอดผลิตแสงเลเซอร แกส M นาจะมีพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 – 4 ในขอใด (หนวยเปน kJ/mol) (ENT’41) ก. 2087, 3959, 6128, 9375 ข. 807, 2433 366, 25033 ค. 906, 1763, 14855, 21013 ง. 502, 4569, 6919, 9550 © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 58| www.edu-deo.com

104. พลังงานไอออไนเซชัน 6 ลําดับของคารบอนมีคาดังนี้ 1.093, 2.359, 4.627, 6.229, 37.838 และ 47.285 เมกาจูลตอโมล ผลตางของพลังงานไอออไนเซชันระหวางระดับพลังงานที่ 1 กับระดับพลังงานที่ 2 เปนกี่เมกาจูลตอโมล (ENT’24) ก. 1.266 ข. 9.447 ค. 31.609 ง. 46.192 105. ถาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 – 5 ของธาตุ A มีคาเทากับ 0.43 3.06 4.41 5.88 7.98 MJ.mol-1 ตามลําดับ สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ A ในขอใด เปนไปได (ENT’มีนาคม44) 1.

ଶଷ ଵଵ

2. ଵସ଻ 3. ଷ଼ ଵଽ ก. 1 เทานั้น ข. 2 เทานั้น ค. 2 และ 3 ง. 1 และ 3 106. ถา IE (Li) และ IE (Be) เปนพลังงานไอออไนเซชันของลิเทียมและเบริลเลียม ตามลําดับ และกําหนดให IE1 (Li) = 0.526 IE2 (Li) = 7.305 IE3 (Li) = 11.822 IE2 (Be) = 1.763 และ IE3 (Be) = 14.855 MJ/mol IE1 (Be) = 0.906 ขอมูลทั้งหมดนี้สอดคลองกับขอความในขอใด (ENT’27) ก. อะตอมของลิเทียมมีขนาดใหญกวาอะตอมของเบริลเลียม ข. ลิเทียมมี 1 เวเลนซอิเล็กตรอน เบริลเลียมมี 2 เวเลนซอิเล็กตรอน ค. ลิเทียมมีอิเล็กโทรเนกาติวิตี้ต่ํากวาเบริลเลียม ง. ทั้งลิเทียมและเบริลเลียมเปนโลหะ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 59| www.edu-deo.com

107. ธาตุ 40X มีคา IE1 < IE2 << IE3 < IE4 < IE5 X มีจํานวนนิวตรอนเทากับจํานวนโปรตอน การจัดเรียงอิเล็กตรอนของ X เปนไปตามขอใด (ENT’39) ก. 2, 8, 2 ข. 2, 8, 18, 2 ค. 2, 8, 8, 2 ง. 2, 8, 18, 10, 2 108. ถาธาตุ X มีเลขอะตอม 8 ผลตางของพลังงานไอออไนเซชันในขอใดมีคามากที่สุด (ENT’ตุลาคม46) ก. IE8 – IE7 ข. IE7 – IE6 ค. IE6 – IE5 ง. IE5 – IE4 109. พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของ Li, Na, K มีคา 0.526, 0.502, 0.425 เมกาจูล/ โมล ตามลําดับ ขอมูลนี้สนับสนุนขอความใด (ENT’23) ก. เวเลนซอิเล็กตรอนของ K อยูหางจากนิวเคลียสมากกวาของ Li ข. Na มีอิเล็กโทรเนกาติวิตี้สูงกวา K ค. Li มีอิเล็กโทรเนกาติวิตี้สูงกวา Na ง. ไอออน K+ เสถียรกวา Na+ และ Li ตามลําดับ 110. พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของโซเดียม ซึ่งมีอะตอมมิกนัมเบอร 11 มากกวาหรือ นอยกวาของอะตอมนีออนซึ่งอะตอมมิกนัมเบอร 10 เพราะเหตุใด (ENT’19) ก. มากกวา เพราะขนาดอะตอมของโซเดียมใหญกวานีออน ข. มากกวา เพราะอะตอมโซเดียมมีอิเล็กตรอนมากกวาของนีออนแรงดึงดูดระหวางโปรตอน และอิเล็กตรอนจึงมากกวา ค. นอยกวา เพราะขนาดของอะตอมโซเดียมเล็กกวาของนีออน ง. นอยกวา เพราะอะตอมนีออนมีอิเล็กตรอนรอบนอก 8 อิเล็กตรอน และมีความเสถียร มากกวาของ Na 111. ในอะตอมของลิเทียม (Li) มี 3 อิเล็กตรอนอยูใน 2 ระดับพลังงาน ดังรูป (ENT’26) รูป และถากําหนดคาพลังงานไออไนเซชันลําดับตางๆใหดังนี้ (หนวยเปนเมกาจูล/โมล) © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 60| www.edu-deo.com

ธาตุ I II III Li 0.526 7.305 11.822 ถาตองการทําใหอิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกไปนอกอะตอม ขอความที่ถูกตอง คือ ก. หลุดจากระดับพลังงานที่ 2 ตองใหพลังงาน 0.526 เมกาจูล/โมล ข. หลุดจากระดับพลังงานที่ 2 ตองใฟพลังงาน 11.822 เมกาจูล/โมล ค. หลุดจากระดับพลังงานที่ 1 ตองใหพลังงาน 7.305 เมกาจูล/โมล ง. หลุดจากระดับพลังงานที่ 1 ตองใหพลังงาน 11.822 เมกาจูล/โมล 112.

พลังงานไออไนเซชัน IE1, IE2 และ IE3 ของ ଻ଷ เทากับ 0.50, 7.30 และ 11.80

MJ.mol-1 ตามลําดับ ถาตองการใหเกิด ଻ଷ 3+ (g) จะตองใชพลังงานเทาใด (ENT’34) ก. 7.30 MJ.mol-1 ข. 7.80 MJ.mol-1 ค. 11.80 MJ.mol-1 ง. 19.60 MJ.mol-1 113. พิจารณาตารางขอมูลตอไปนี้ พลังงานไอออไนเซชัน (MJ.mol-1) ธาตุ IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6 IE7 IE8 IE9 IE10 IE11 X 1.7 3.4 6.1 8.4 11.0 15.2 17.9 92.1 106.4 Y 0.5 4.6 6.9 9.6 13.4 16.6 20.1 25.5 28.9 141.4 159.1 ขอใดสรุปผิด (ENT’ตุลาคม43) ก. อิเล็กตรอนในระดับพลังงาน n = 1 ของ X ตองคายพลังงาน 90.15 MJ/mol เพื่อจะไปอยูที่ ระดับพลังงาน n = 2 ข. ผลตางของระดับพลังงาน n = 2 และ n = 1 ใน Y จะมากกวาใน X ค. ธาตุ X เปนธาตุหมูเดียวกับ 53I ง. สารประกอบระหวาง Y กับ X เปนสารประกอบไอออนิก 114. กําหนดขอมูลของธาตุ X, Y และ Z ดังนี้ II ธาตุ Y เปนธาตุหมูเดียวกับ 13Al I ธาตุ X มี IE1 < IE2 <<IE3 III ไอโซโทปหนึ่งของธาตุ Z ไมมีนิวตรอน สูตรของสารประกอบซัลไฟดของ X, Y และ Z ควรเปนดังขอใด (ENT’ตุลาคม43) ข. XS Y3S2 ZS ก. XS Y2S3 Z2S ง. XS Y3S2 Z2S ค. XS Y2S ZS © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 61| www.edu-deo.com

115. ก. ข. ค. ง.

ขอใดสรุปผิด (ENT’ตุลาคม44) คาพลังงานไอออไนเซชันขึ้นอยูกับขนาด การจัดเรียงอิเล็กตรอนและประจุบนอะตอม คาพลังงานไอออไนเซชันลําดับเดียวกันของธาตุแตละชนิดจะไมเทากัน เมื่อ M เปนธาตุชนิดหนึ่ง ลําดับพลังงานไอออไนเซชันควรเปนดังนี้ M+ > M > Mพลังงานไอออไนเซชันของ F- Ne และ Na+ มีคาเทากัน คาอิเล็กโทรเนกาติวิตี

116. จ. ฉ. ช. ซ.

คาอิเล็กโทรเนกาติวิตี จะบอกใหทราบถึงสมบัติของธาตุ (ENT’18) ความแข็งแรงของพันธะระหวางอะตอม ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนของธาตุ ความสามารถในการดึงดูดไฮโดรเจนของธาตุ ความสามารถในการกลายเปนไอออนบวก

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 62| www.edu-deo.com

ขอสอบชุด B ขอสอบเขามหาวิทยาลัย (A-Net , O-Net , PAT2) 1. อิเล็กตรอนที่สถานะพื้นของอะตอมไฮโดรเจน 1 โมล ถูกกระตุนดวยพลังงาน 1230 kJ อิเล็กตรอนที่ สถานกระตุนจากพลังงานที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดกี่เมตร (A-Net’50) 1. 9.74

2. 9.74

3. 1.62

4. 1.62

2. การใหพลังงานแกอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจน พบวาอิเล็กตรอนมีการเปลี่ยนระดับพลังงานขึ้น ไปสูสถานะกระตุนที่ n = 6 หลังจากปลอยใหอิเล็กตรอนคายพลังงาน พบวาไดเสนสเปกตรัมที่มีความ ยาวคลื่นแตกตางกัน 15 เสน จากขอมูลขางตน ขอใดถูก (A-Net’51) 1. เสนสเปกตรัมทั้ง 15 เสน จะอยูในชวงคลื่นอินฟราเรด 2. เสนสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดจะไดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 6 ไป n = 1 3. เสนสเปกตรัมที่มีความยาวคลื่นยาวที่สุดจะไดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n =1 4. การเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 6 ไป n = 4 จะคายพลังงานเทากับการเปลี่ยนแปลงระดับ พลังงานจาก n = 3 ไป n = 1 ସହ ଷା มีความสัมพันธกันดังขอใด (PAT 2’ ก.ค.52) 3. อะตอม ସ଴ ଶ଴ และ ଶଵ 1. ไอโซโทป 2. ไอโซโทน 3. ไอโซบาร 4. ไอโซอิเล็กทรอนิก

4. อะตอมหรือไอออนของธาตุคูใดเปนไอโซอิเล็กทรอนิก (PAT 2’ ก.ค.52) 1. O2 และ N2 2. O+ และ Ar 3. S2- และ Ne 4. S2- และ Ar

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 63| www.edu-deo.com

5. A และ B เปนธาตุไอโซโทปกัน (O-Net’49) A มีจํานวนโปรตอน เทากับ 10 และมีเลขมวลเทากับ 20 B มีจํานวนนิวตรอนมากกวา A อยู 2 นิวตรอน ขอใดเปนสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ B 1.

2.

3.

4.

6. สมมาตรของออรบิทัลในขอใดที่เหมือนกับออรบิทัล d(x2-y2) (PAT2’ต.ค.52) 2.dyz

1.Px

3.dz2

4.มีคําตอบถูกมากกวา1ขอ

7. ธาตุที่มีเลขอะตอมตอไปนี้ มีสิ่งใดเหมือนกัน (O-Net’49) 1 3 11 19 37 1. เปนอโลหะเหมือนกัน 2. มีจํานวนอนุภาคมูลฐานเทากัน 3. อยูในระดับพลังงานเดียวกัน 4. มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากัน 8. ธาตุ X อยูในหมู 7A คาบที่ 5 มีเลขมวล 129 ธาตุ X เปนไปตามขอใด (O-Net’50) ก. มีสัญลักษณนิวเคลียรเปน ข. เปนกึ่งโลหะ และมีเวเลนซอีเลคตรอนเทากับ 7 ค. มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2 8 18 18 5 ง. เปนไอโซโทปกับธาตุ 1. ก. และ ข.

2. ข. และ ค.

3. ค. และ ง.

4. ก. และ ง.

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 64| www.edu-deo.com

9. ถาสามารถดึงโปรตอน 4 ตัว อิเล็กตรอน 5 ตัว และนิวตรอน 5 ตัว ออกจากอะตอมของฟอสฟอรัส จะไดอนุภาคใดเปนผลิตภัณฑ (กําหนด P มีเลขอะตอม 15 เลขมวล 31) (O-Net’50) 1. Na+

2. Na

3. Mg2+

10. ธาตุสมมุติมีสัญลักษณนิวเคลียร 7 A 1 4 B 32 X และ 3 16 7 Net’50) 1. A กับ B

2. X กับ Y

4. Al3+ Y ธาตุใดอยูในหมูเดียวกัน (O-

39 19

3. A กับ Y

4. B กับ X

11. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ (PAT2’มี.ค.53) ก. จํานวนออรบิทัลของ 19K มีอิเล็กตรอนบรรจุเทากับ 10 ออรบิทัล ข. การจัดเรียงอิเล็กตรอนชั้นนอกของ Fe3+ คือ 3d3 4s2 ค. ธาตุ A มีเลขอะตอม 38 และธาตุ B มีเลขอะตอม 17 เมื่อทําปฏิกิริยาจะไดสารประกอบ ไอออนิก มีสูตรเปน AB2 ง. เลขออกซิเดชันของไนโตรเจนในสารประกอบ NCl3 และ N2O3 มีคาไมเทากัน ขอใดถูก 1. ก. และ ค.

2. ก. และ ง.

3. ข. และ ง.

12. ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง (PAT2’ก.ค.53) 1. ออรบิทัลชนิด d เริ่มมีในระดับพลังงาน n=3 2. ระดับพลังงานยอย f ในระดับพลังงาน n=3 มีจํานวน 7 ออรบิทัล 3. ในระดับพลังงาน n=3 มีจํานวนออรบิทัลทั้งหมด 9 ออรบิทัล 4. ในระดับพลังงาน n=4 มีระดับพลังงานยอย 4 ระดับ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. ก. ข. ค. และ ง.


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 65| www.edu-deo.com

13. ขอใดเปนการจัดเรียงอิเล็กตรอนของ 24Cr3+ (PAT2’ต.ค.53) 1. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1 3d2

2. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d3

3. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d1

4. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p3 4s1 3d5

14. จากแผนภาพระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจน ขอใดถูก (PAT2’ต.ค.53)

1. สเปกตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n=2 ไป n=1 มีความยาวคลื่นยาวกวาจาก n=3 ไป n=2 2. สเปกตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n=7 ไป n=2 มีพลังงานมากกวาจาก n=6 ไป n=1 3. สเปกตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n=5 ไป n=2 มีความถี่ต่ํากวาจาก n=4 ไป n=1 4. สเปกตรัมที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n=2 ไป n=3 มีความยาวคลื่นสั้นกวาจาก n=3 ไป n=2

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 66| www.edu-deo.com

15. พิจารณาเสนสเปกตรัมที่ไดจากการคายพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจน (PAT2’มี.ค.54) เสนที่ การเปลี่ยนระดับพลังงาน A n = 6 ไป n = 4 B n = 3 ไป n = 1 C n =5 ไป n = 3 D n = 4 ไป n = 2 ขอใดเรียงพลังงานของสเปกตรัมไดอยางถูกตอง 1. A > C > D > B

2. B > D > C > A

3. C > B > D > A

4. D > B > A > C

16. อะตอมของไฮโดรเจน 2 โมล ไดรับพลังงาน 2,551 kJ พบวาอิเล็กตรอนทั้งหมดเปลี่ยนระดับ พลังงานไปที่ n = 6 หลังจากนั้นอิเล็กตรอนคายพลังงานไดเสนสเปกตรัมในชวงที่ตามองเห็น 4 เสนดังนี้ เสนสเปกตรัม

ความยาวคลื่น (nm)

สีมวง สีน้ําเงิน สีฟา สีแดง

400 420 500 660

ปริมาณอิเล็กตรอนที่คาย พลังงาน (โมล) 0.025 0.5 0.025 0.5

ขอใดถูก (h = 6.63 x 10-34 J.s , c = 3 x 108 m/s) (PAT2’มี.ค.54) 1. แสงสีแดงมีความเขมสูงสุด 2. แสงสีน้ําเงินมีความเขมสูงสุด 3. พลังงานของแสงสีฟาที่ไดออกมาทั้งหมดมีคาต่ําสุด 4. พลังงานของแสงสีมวงที่ไดออกมาทั้งหมดมีคาสูงสุด

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 67| www.edu-deo.com

ขอสอบชุด C ขอสอบทัว่ ไป 1. มีสารบริสุทธิ์ชนิดหนึ่งจะตัดสินใจวาเปนธาตุหรือสารประกอบไดจากสมบัติใด 1. จุดหลอมเหลว

2. ความหนาแนน

3. การนําไฟฟา

4. ชนิดของอะตอม

2. ถาอิเล็กตรอนมีมวลเทากับ 1.6x10-19 คูลอมบ และมีประจุตอมวล 1.76x108 คูลอมบตอกรัม อนุภาค แอลฟามีประจุเทาใด 1. 1.6x10-19

2. 3.2x10-19

3. 4.8x10-19

4. 6.4x10-19

3. ขอใดกลาวถูกตอง ก. นักวิทยาศาสตรที่กลาววาอะตอมเปนอนุภาคที่เล็กที่สุดคือทอมสัน ข. ความแตกตางระหวางแบบจําลองอะตอมของทอมสัน และรัทเทอรฟอรด คือตําแหนงของ อนุภาคที่อยูในอะตอม ค. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกันทุกประการ ง. รังสีบวกที่เกิดขึ้นในหลอดรังสีแคโทดเรียกวาโปรตอน จ. รังสีแคโทดจะมีสมบัติตางกันถาแกสที่บรรจุในหลอดตางกัน 1. ก ข และ จ

2. ข ง และ จ

3. ค และ ง

4. เฉพาะ ข

4. การทดลองของทอมสันโดยใชหลอดรังสีแคโทดทําใหทราบสิ่งใด 1. หาคาประจุอิเล็กตรอน 3. อิเล็กตรอนมีประจุลบ

2. หาคา e/m ของอิเล็กตรอน 4. ทั้ง 2 และ 3

5. ผลการทดลองของรัทเทอรฟอรดในขอใดไมสอดคลองกับแบบจําลองอะตอมของทอมสัน 1. อนุภาคแอลฟาผานทะลุแผนทองคํามีลักษณะเปนเสนตรง 2. อนุภาคแอลฟาผานทะลุแผนทองคําไปไดแตมีการเบี่ยงเบน 3. อนุภาคแอลฟาวิ่งชนแผนทองคําแลวสะทอนกลับ 4. อนุภาคแอลฟาบางอนุภาคถูกดูดกลืน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 68| www.edu-deo.com

6. X และ Y เปนอะตอมของธาตุซึ่งเปนไอโซโทปกัน ถา X มีจํานวนนิวตรอนในนิวเคลียสเทากับ b และ Y มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ a กับมีเลขมวลเทากับ c เลขมวลของ X และจํานวนนิวตรอนของ Y มีคา เทากับ 1. a+b , c-a

2. a+b , a-c

3. a+b , a+c 4. a-b , c-a

7. ขอความหรือการทดลองในขอใดที่เปนสิ่งแสดงวาอิเล็กตรอนอยูเปนชั้นๆ 1. การทดลองของทอมสัน 3. การศึกษาเรื่องสเปกตรัมจากการเผาสาร

2. การทดลองของรัทเทอรฟอรด 4. เอาปริซึมรับแสงแดดจะเกิดสเปกตรัม 7 สี

8. ธาตุ X มีจํานวนอิเล็ก ตรอนทั้งหมดเทากับ 6 อิเ ล็กตรอน ถานิวเคลียสของ X มีมวลเทากั บ 2.338x10-26 kg ธาตุ X มีจํานวนนิวตรอนเทาใด (โปรตอนมีมวล 1.67x10-27 kg) 1. 6

2.7

3.8

4.9

9. แมกนีเซียมไอออน (Mg2+) จะมีอิเล็กตรอนเทากับสารใด 2. Na+

1. Ne

3. O2-

4. ไมมีขอใดถูก

3. K (A = 39)

4. Ca (A = 40)

10. คา e/m ของไอออนบวกชนิดใดมีคามากที่สุด 1. Li (A = 7)

2. Na (A = 23)

11. เสนสเปกตรัมสีน้ําเงินมีความยาวคลื่น 434 nm มีความถี่เทาใด ( h = 6.626x10-34 J.s c = 3x108 m/s) 1. 6.9x105 Hz

2. 4.8x1015 Hz

3. 6.9x1014 Hz

4. 7.5x1014 Hz

12. เสนสเปกตรัมสีแดงมีความยาวคลื่น 656 nm เสนสเปกตรัมสีมวงมีความถี่ 7.31x1014 Hz เสน สเปกตรัมทั้งสองเสนมีพลังงานตางกันเทาใด 1. 1.81x10-19 J

2. 1.83x10-22 J

3. 1.98x10-19 J

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. 2.61x10-22 J


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 69| www.edu-deo.com

13. ถาแผนผังการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนของธาตุหนึ่งเปนดังแสดง 1.

2.

3.

4.

14. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ประสาทตาของคนสามารถรับคลื่นที่มีความยาวคลื่นตั้งแต 380 nm ถึง 950 nm ข. การหักเหของแสงที่มีความยาวคลื่นตางกันในตัวกลางชนิดเดียวกันจะเทากัน ค. มักซพลังคไดสรุปวาพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนสัดสวนโดยตรงกับความถี่ของคลื่น นั้น ง. แสงสีใดมีคาความยาวคลื่นของสเปกตรัมมาก จะมีพลังงานนอย จ. คาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ไมวาจะเปนธาตุใดจะมีคาต่ําสุดเสมอเมื่อเทียบกับ พลังงานไอออไนเซชันลําดับอื่นๆในธาตุเดียวกัน ขอใดถูกตอง 1. ก ข ค

2. ค ง จ

3. ก ค จ

4. ข ง ก

15. ผลการทดสอบดวยเปลวไฟของสารประกอบที่มี Na+ Ba2+ และ Ca2+ จะใหสีอยางไรตามลําดับ 1. เหลือง เขียว แดง

2. แดง เขียว เหลือง

3. เหลือง แดง เขียว

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. แดง เหลือง เขียว


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 70| www.edu-deo.com

16. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ดาลตันเสนอวาอะตอมเปนรูปทรงกรวย ประกอบดวยอนุภาคที่มีประจุบวกและลบเทากันและ กระจายตัวอยางสม่ําเสมอ ข. ทอมสันไดทดลองและสรุปวาอะตอมทุกชนิดมีอนุภาคที่มีประจุลบเปนองคประกอบและหา อัตราสวนของประจุตอมวลไดคาคงที่ ค. โกลดสไตน พบวาอนุภาคมีประจุบวกและอัตราสวนของประจุตอมวลคงที่ ง. มิลลิแกนทําการทดลองหาคาประจุของอิเล็กตรอนและสามารถคํานวณหามวลอิเล็กตรอนได จ. รัทเทอรฟอรดไดเสนอวาอะตอมประกอบดวยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมอยูตรงกลาง มีขนาด เล็กแตมีมวลมากและมีประจุบวก สวนอิเล็กตรอนมีมวลนอย และมีประจุลบวิ่งรอบนิวเคลียส ฉ. แชดวิกไดทําการทดลองและสรุปไดวาในนิวเคลียสของอะตอมมีอนุภาคที่เปนกลางทางไฟฟา อยูเรียกวา นิวตรอน ขอใดถูกตอง 1. ก ข ค ง

2. ค ง จ ฉ

3. ก ค จ ฉ

4. ข ง จ ฉ

17. จงพิจารณาวาขอใดไมถูกตอง 1. จํานวนโปรตอนเรียกวา เลขอะตอม 2. ผลรวมของโปรตอนและนิวตรอนเรียกวา เลขมวล 3. อะตอมของธาตุเดียวกันมีจํานวนโปรตอนและนิวตรอนเทากัน แตอิเล็กตรอนไมเทากัน เรียกวาเปนไอโซโทปกัน 4. อะตอมของธาตุชนิดหนึ่ง จะมีจํานวนโปรตอนเฉพาะตัวไมซ้ํากับธาตุอื่น 18. จงพิจารณาระดับพลังงานในอะตอมชนิดหนึ่งเปนดังรูป กําหนด h เปนคาคงที่ของพลังค , c = 3x108 m/s ถามีอิเล็กตรอนเพียง 1 อนุภาคอยูในระดับพลังงาน หนึ่งในรูป หากฉายแสงความยาวคลื่น 500 nm ไปยัง อะตอมนี้ ผลที่เกิดขึ้นคืออิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ 1. จาก n=1 ไป n=2 3. จาก n=1 ไป n=4

2. จาก n=1 ไป n=3 4. จาก n=2 ไ n=3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 71| www.edu-deo.com

19. สารในขอใดใหสเปกตรัมสีเดียวกัน 1. Na2CO3 K2CO3 CaCO3 3. KCl K2CO3 K2SO4

2. MgCl2 CaCl2 SrCl2 4. ไมมีขอใดถูก

20. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยางไรจึงจะคายพลังงานมากที่สุด 1. 1 ไป 2

2. 2 ไป 1

3. 3 ไป 2

4. 4 ไป 3

21. กําหนดใหเลขอะตอมของ W = 13, X = 15, Y = 32, Z=34 จงทํานายวาธาตุใดมีผลตางระหวาง พลังงาน IE4 กับ IE5 มากที่สุด 1. W

2. X

3. Y

4. Z

23. กระบวนการใดตอไปนี้ใชพลังงานมากที่สุด 1. Al2+ (g) 3. Na+ (g)

Al3+ (g) + eNa2+ (g) + e-

2. Mg2+ (g) 4. Ca2+ (g)

Mg3+ (g) + eCa3+ (g) + e-

24. นักวิทยาศาสตรผูหนึ่งทําการทดลองโดยใชหลอดไฟฉายแสงความถี่ 2x1014 Hz และพลังงาน 1.325x10-19 J ไปยังอะตอมของธาตุในสถานะแกสปริมาณ 6.02x1023 อะตอม แกสนี้ประกอบดวย อะตอมที่มีจํานวนอิเล็กตรอนอยู 3 อนุภาคใน 1 อะตอม ปรากฏวาไมสามารถทําใหอิเล็กตรอนหลุดจาก อะตอมไดเลย เขาจึงเปลี่ยนเปนไฟสีน้ําเงินที่ใหแสงมีคาความยาวคลื่น 400 nm ปรากฏวาสามารถทําให อิเล็กตรอนอนุภาคแรกหลุดไดพอดี คาพลังงานไอออไนเซชัน ของอะตอมนั้นมีคาใกลเคียงกับขอใดใน หนวย kJ/mol 1. 300

2. 500

3. 700

4. 900

25. จากขอ 24. ถานักวิทยาศาสตรคนนี้เพิ่มความเขมของแสงเปน 3 เทา โดยการใชหลอดไฟประเภท เดิมจํานวน 3 หลอด เขาจะพบวา 1. สามารถหาคาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 2 ได 2. สามารถหาคาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 3 ได 3. สามารถหาคาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 2 และ 3 ได 4. ผิดทุกขอ © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 72| www.edu-deo.com

26. ธาตุ A มีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้ 2 8 18 5 พลังงานไอออไนเซชันลําดับใดมีผลตางมากที่สุด 1. 31 กับ 32

2. 32 กับ 33

3. 5 กับ 6

4. 23 กับ 24

27. สารในขอใด ถาตองการดึงอิเล็กตรอนออกจะตองใชพลังงานมากที่สุด 1. 16S2-

2. 17Cl-

3. 19K+

4. 20Ca2+

28. ธาตุใดมีการจัดเต็มทุกพลังงานยอย. 1. V (23)

2. Mn (25)

3. Ni (28)

4. Zn (30)

29.เลขอะตอมของใดเมื่อเปนไอออนจะมีอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 1. 26

2. 53

3. 56

4. 80

30. ธาตุ E มีระดับพลังงาน 4 ระดับ มีอิเล็กตรอนวงนอก 4 อิเล็กตรอน ธาตุ E มีเลขอะตอมเทาใด 1. 22

2. 32

3.34

4. 42

31. ถา A B C และ D มีเลขอะตอม 12 17 36 และ 55 ตามลําดับ ธาตุใดเกิดปฏิกิริยาไดยากที่สุด 1. A

2. B

3. C

4. D

32. ธาตุ X มีเลขมวล 32 มีจํานวนเวเลนซอิเล็กตรอนซึ่งอยูในระดับพลังงานที่ 3 เทากับ 6 ธาตุ X มี นิวตรอนเทาใด 1. 32

2. 18

3. 17

4. 16

33. ธาตุ A มีสัญลักษณนิวเคลียร ଼଴ ଷହ เมื่อกลายเปนไอออนจะจัดเรียงอิเล็กตรอนอยางไร 1. 2 8 18

2. 2 8 18 5

3. 2 8 18 7

4. 2 8 18 8

34. ไอออนที่มีประจุ+3 เกิดไดงายกับธาตุที่มีเลขอะตอมเทาใด 1. 12

2. 17

3. 31

4. 35

3. 26Fe 2 8 14 2

4. 29Cu 2 8 17 2

35. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุใดถูกตอง 1. 21Sc 2 8 8 3

2. 24Cr 2 8 12 2

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 73| www.edu-deo.com

พิจารณาตารางคาพลังงานไอออไนเซชันตอไปนี้ แลวตอบคําถามขอ 36-38 พลังงานไอออไนเซชัน (kJ/mol) ลําดับที่ 1 2 3 A 2080 4000 6100 B 500 4600 6900 C 740 1500 7700 D 580 1800 2700 E 420 3100 4400 36. ธาตุคูใดมีจํานวนอิเล็กตรอนวงนอกเทากัน ธาตุ

1. D กับ E

2. B กับ E

4 9400 9500 10500 11600 5900

3. C กับ D

4. B กับ D

37. ธาตุใดอยูในหมู IIIA 1. A

2. B

3. C

4. D

38. ธาตุที่มีเลขอะตอมเทาใดตอไปนี้มีอิเล็กตรอนเทากับธาตุ C 1. 13

2. 19

3. 20

4. 14

39. ธาตุกลุมใดที่มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากัน 1. 8O 15P 9F 3. 12Mg 16S 4Be

2. 11Na 19K 20Ca 4. 12Mg 20Ca 38Sr

40. ขอใดไมถูกตอง 1. แบบจําลองที่ดีตองสามารถอธิบายผลการทดลองไดอยางกวางขวาง 2. แบบจําลองที่ถูกตองควรจะไดจากการทดลอง แลวนําขอมูลที่ไดมาแปลความหมายเพื่อสรุป เปนมโนภาพ 3. แบบจําลองคือมโนภาพที่นักวิทยาศาสตรสรางขึ้น เพื่อบอกลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่มองไมเห็น โดยอาศัยขอมูลที่ไดจากการทดลอง 4. แบบจําลองอะตอมของนีลส โบร ตางจากของรัทเทอรฟอรด ตรงที่รัทเทอรฟอรดกลาวถึง อิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสจะอยูเปนชั้นๆ ซึ่งมีคาพลังงานเฉพาะ © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 74| www.edu-deo.com

41. “อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปรอบๆนิวเคลียส เปนรูปทรงกลมหรือรูปอื่น แลวแตวาอิเล็กตรอนจะอยูใน ระดับพลังงานใด และไมสามารถบอกตําแหนงที่แนนอนของอิเล็กตรอนได บอกไดเพียงโอกาสที่จะพบ อิเล็กตรอนวามากนอยเพียงใด” เปนคํากลาวของใคร 1. นีลส โบร

2. ทอมสัน

3. รัทเทอรฟอรด

4. นักวิทยาศาตรปจจุบัน

42. ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง 1. อิเล็กตรอนในระดับพลังงานยอยเดียวกันมีพลังงานเทากัน 2. เวเลนซอิเล็กตรอนของทุกธาตุมีพลังงานเทากัน 3. เวเลนซอิเล็กตรอนทุกตัวของธาตุเดียวกันมีพลังงานเทากัน 4. เวเลนซอิเล็กตรอนมีพลังงานต่ํากวาอิเล็กตรอนในระดับพลังงานถัดเขาไป 43. ขอใดตอไปนี้มีจํานวนอิเล็กตรอน และการจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนกัน 1. Be Mg2+ Ca

2. Na+ Mn2+ Al3+

3. Cl- Ar Ca2+

4. N O F

44. ธาตุ A B C D

เลขมวล 39 40 40 58

เลขอะตอม 19 20 19 28

จากขอมูลที่กําหนดให ขอสรุปใดไมถูกตอง 1. A และ C เปนไอโซโทปกัน 3. A B C D นําไฟฟาได

2. B และ D เปนธาตุในหมูเดียวกัน 4. B C D อยูในคาบเดียวกัน

พิจารณาตารางตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 45-49 ธาตุ M N O

IE1 1407 429 744

IE2 2862 3058 1457

IE3 4585 4418 7739

IE4 7482 5883 10547

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

IE5 9452 7982 13636


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 75| www.edu-deo.com

P 45. ธาตุ M อยูในหมูใด 1. 1

807

2433

3665

25033

2. 2

3. 3

4. ขอมูลไมเพียงพอ

2. 2

3. 3

4. ขอมูลไมเพียงพอ

47. ธาตุ O อยูในหมูใด 1. 1 2. 2

3. 3

4. ขอมูลไมเพียงพอ

3. 3

4. ขอมูลไมเพียงพอ

32834

46. ธาตุ N อยูในหมูใด 1. 1

48. ธาตุ P อยูในหมูใด 1. 1

2. 2

49. ธาตุใดเปนธาตุในหมูเดียวกันกับธาตุที่มีเลขอะตอม 49 1. M 2. N 3. O 4. P 50. ขอใดหมายถึงนิวคลีออน 1. อิเล็กตรอน + โปรตอน 3. นิวเคลียส + อิเล็กตรอน

2. นิวตรอน + อิเล็กตรอน 4. นิวตรอน + โปรตอน

51. ଵଶ଺ ǡ ଶସ ଵଶ สองอะตอมนี้มีอะไรที่เหมือนกัน 1. จํานวนโปรตอน 3. จํานวนโปรตอนเทากับจํานวนนิวตรอน

2. จํานวนนิวตรอน 4. จํานวนโปรตอนรวมกับจํานวนนิวตรอน

52. จงเลือกขอความที่ถูกตองที่สุด 1. นิวเคลียสของ Cl- มีประจุลบ 2. 11Na+ มีจํานวนอิเล็กตรอนมากกวา 8O2- สามอิเล็กตรอน 3. 17Cl มีอิเล็กตรอนมากกวา 16S หนึ่งอิเล็กตรอน 4. 16S มีอิเล็กตรอนเทากับ 17Cl

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 76| www.edu-deo.com

53. อนุภาคใดมีจํานวนอิเล็กตรอนทั้งหมดเทากับจํานวนอิเล็กตรอนของคลอรีนอะตอม 2. Ne-

1. OF2

3. OH-

4. S-

54. พิจารณาขอมูลตอไปนี้ ก. ถาทําใหโปรตอน 2 โปรตอนและอิเล็กตรอน 4 อิเล็กตรอนหลุดจาก ୠୟ จะเกิดเปน ୟିସ ଶା ୠିଶ

ข. 19K+ มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ 16S2ค. 7N มีจํานวนอิเล็กตรอนนอยกวา 8O อยู 2 อิเล็กตรอน ସ଴ ง. ସ଴ ଵ଼ มีจํานวนนิวตรอนเทากับ ଵଽ

ขอใดถูกตอง 1. ก และ ข

2. ข เทานั้น

3. ข และ ค

4. ข ค และ ง

55. จงพิจารณาขอมูลตอไปนี้ ก. ธาตุ X มีจํานวนอิเล็กตรอน 21 มีเลขมวล 45 จะมีอิเล็กตรอนเทากับอิเล็กตรอนของ 24Cr3+ ଺଼ ି ଶି ข. ଺଼ ଷଷ มีจํานวนนิวตรอนเทากับ ଷହ ค. ไอโซโทปของ 17Cl ชนิดหนึ่งมีเลขมวล 37 จะมีจํานวนโปรตอนเทากับธาตุที่มีเลขอะตอม 17 ง. 20Ca2+ มีจํานวนอิเล็กตรอนนอยกวา 19K+

ขอใดถูกตอง 1. ก และ ข

2. ข และ ง

3. ก และ ค

4. ค และ ง

56. ไอโซโทปของออกซิเจนคือ ออกซิเจน-18 ไอโซโทปนี้ในรูปออกไซดไอออน จะมีอิเล็กตรอนและ นิวตรอนเทาใด ตามลําดับ 1. 8 , 8

2. 8 , 10

3. 10 , 10

4. 10 , 18

57. ถานําธาตุ X ไปผานกระบวนการอยางหนึ่งซึ่งมีผลทําใหธาตุ X เกิดการเปลี่ยนแปลง การที่จะสรุป ไดวาธาตุ X เปลี่ยนไปเปนธาตุใหม จะพิจารณาจากขอใด 1. จํานวนไอโซโทป 3. จํานวนโปรตอนที่เปลี่ยนไป

2. จํานวนนิวตรอนที่เปลี่ยนไป 4. การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 77| www.edu-deo.com

58. ถาไอโซโทปหนึ่งของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเปน 2 เทาของประจุในนิวเคลียสของ ଵଶ଺ และมีเลขมวลเปน 1.5 เทาของ ଵଶ଺ ไอโซโทปนี้จะมีอนุภาคมูลฐานอยางละกี่อนุภาค 1. 6e 12p 6n

2. 2e 2p

3. 12e 12p 6n

4. 12e 12p 18n

59. ถาไอโซโทนคืออะตอมที่มีนิวตรอนเทากัน และไอโซบารคืออะตอมที่มีเลขมวลเทากัน จาก สัญลักษณนิวเคลียรตอไปนี้ ଵ଼ ଵଽ ଵଽ ଶ଴ ଶଷ ଶଵ ଶ଴ ଶଵ ଽ ଽ ଵ଴ ଵ଴ ଵଵ ଵଵ ଵଶ ଵଶ

ขอใดไมถูกตอง 1. 2. 3. 4.

ଵଽ ଽ กับ ଵଽ ଽ กับ ଶ଴ ଵଵ กับ ଶ଴ ଵ଴ กับ

ଵଽ ଵ଴ เปนไอโซโทน แตไมเปนไอโซบาร ଶଷ ଵଶ ไมเปนไอโซโทนและไมเปนไอโซบาร ଶଵ ଵଵ ไมเปนไอโซโทน แตเปนไอโซโทป ଶଵ ଵଵ เปนไอโซบาร แตไมเปนไอโซโทน

60. หากทานดึงโปรตอนออกจาก 15P 2 โปรตอน และดึงอิเล็กตรอนออกได 5 อิเล็กตรอน จะไดผล อยางไร 1. P3+

2. P5+

3. Al3+

4. Mg2+

61. แคลเซียมไอออนมีจํานวนอิเล็กตรอนไมเทากับไอออนใด 1. คลอไรด

2. โพแทสเซียมไอออน

3. ซัลไฟด

4.แมกนีเซียมไอออน

ଽଶ 62. มีผูทําการทดลองพบวา ସ଴ มีความเสถียรมากกวา ଼଴ ସ଴ ถาให Z เปนจํานวนโปรตอนและ N เปนจํานวนนิวตรอน ผลการทดลองตรงกับขอความใด

1. นิวเคลียสที่มี Z เปนเลขคู และ N เปนเลขคู เสถียรกวา Z เปนเลขคี่และ N เปนเลขคี่เสมอ 2. นิวเคลียสที่มี Z เปนเลขคู และ N เปนเลขคูเสถียรกวา Z เปนเลขคี่แต N เปนเลขคู หรือ Z เปนเลขคู แต N เปนเลขคี่ 3. ไอโซโทปที่เสถียรของธาตุมักมี N > Z 4. นิวเคลียสที่มี Z เปนเลขคูเสถียรกวานิวเคลียสที่มี Z เปนเลขคี่เสมอ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 78| www.edu-deo.com

63. เมื่อนําคอปเปอร (II) คลอไรดมาเผาจนรอนจัด จะไดเปลวไฟสีเขียวแกมฟาเพราะเหตุใด 1. โมเลกุลของเกลือนี้หลอมเหลวและลุกติดไฟ 2. อิเล็กตรอนในอะตอมทองแดงไดรับพลังงานสูงขึ้น จึงพยายามคายพลังงานมาเปนแสง 3. อิเล็กตรอนในอะตอมของทองแดงเคลื่อนที่จากชั้นหนึ่งกลับไปกลับมาและบางครั้งก็หลุด ออกมากลายเปนพลังงานรูปแสง 4. โปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเกิดการสั่นสะเทือนและคายพลังงานมาในรูปแสง 64. พลังงานไอออไนเซชัน Li2+ มีคา 1.961x10-17 J จะมีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร (h = 6.626x10-34 J.s) 1. 9.92

2. 10.13

3. 20.26

4. 101.30

65. ในการทดลองเผาโซเดียม เพื่อดูสเปกตรัมของโซเดียม พลังงานจากเปลวไฟทําหนาที่อะไร 1. ทําใหแถบสีแยกออกเปนเสนที่มีความถี่ตางๆกันบนสเปกตรัม 2. ทําใหอิเล็กตรอนในระดับพลังงานสูงๆคายพลังงาน ดังปรากฏในสเปกตรัม 3. ทําใหเกิดแถบสีมวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด แดง ติดตอกัน 4. ทําใหเกิด Na+ และทําใหอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่ําๆมีพลังงานสูงขึ้น 66. ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง 1. ธาตุแตละธาตุมีเสนสเปกตรัมเปนลักษณะเฉพาะไมซ้ํากัน 2. สมบัติของธาตุแตละธาตุมีความสัมพันธกับการจัดเรียงอิเล็กตรอน 3. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนมีทิศทางแนนอน 4. เมื่อเผาสารประกอบสีของเปลวไฟและเสนสเปกตรัมที่ไดเกิดจากไอออนของโลหะ 67. ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง 1. การที่สเปกตรัมในชวงแสงขาวของธาตุไฮโดรเจนมีเพียง 4 เสน แสดงวาอิเล็กตรอนใน ไฮโดรเจนมีระดับพลังงานเพียง 4 ระดับ 2. ถาอะตอมของธาตุ ก มีอิเล็กตรอนมากกวาอะตอมของธาตุ ข จํานวนเสนสเปกตรัมในชวง แสงขาวของธาตุ ก จะตองมากกวาธาตุ ข ดวย 3. จํานวนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในธาตุชนิดตางๆจะเพิ่มขึ้นตามเลขอะตอม 4. ธาตุตางชนิดกันอาจมีเสนสเปกตรัมบางเสนที่อยูตําแหนงเดียวกันได (พลังงานเทากัน) © 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 79| www.edu-deo.com

68. จากระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ ถาให ο ଵ เปนผลตางของระดับพลังงานที่ n=1 กับ n=2 ο ଶ เปนผลตางของระดับพลังงาน n=2 กับ n=3 ο ଷ เปนผลตางพลังงานที่ n=3 กับ n=4 ความสัมพันธของคา ο ทั้ง 3 ขอ มีดังนี้ 1. ο ଷ > ο ଶ > ο ଵ

2. ο ଵ >ο ଷ > ο ଶ

3. ο ଷ > ο ଵ > ο ଶ

4. ο ଵ > ο ଶ > ο ଷ

69. จากการศึกษาเสนสเปกตรัมของธาตุ M ปรากฏเสนสเปกตรัม 3 เสน ที่ชัดที่สุด ไดแก 470 580 650 นาโนเมตร ตามลําดับ ขอมูลเกี่ยวกับธาตุ M ขอใดถูกตองที่สุด (h=6.625x10-34 J.s , c=2.997x108 m/s) ขอ ความแตกตางของระดับพลังงานที่ 1 และ 2 (kJ) เสนสเปกตรัมที่พลังงานสูงสุด -23 1. 8.0x10 470 2. 3.0x10-23 470 3. 3.7x10-23 650 -23 4. 8.0x10 650 70. ในการยิงแผนโลหะ Al บางๆ ดวยอิเล็กตรอน ปรากฏวา Al 3 โมล ถูกชนใหอิเล็กตรอนกระเด็น หลุดออกไปแลวกลายเปน Al3+ ทานคิดวาจะมีจํานวนอิเล็กตรอนที่กระเด็นหลุดออกไปกี่อิเล็กตรอน 1. 5.418x1023

2. 1.806x1023

3. 5.418x1024

4. 1.806x1024

71. แสงสีสมมีความยาวคลื่น 620 nm เมื่อเปรียบเทียบกับแสงสีคราม 430 nm ขอใดถูกตองที่สุด 1. แสงสีสมมีพลังงานสูงกวาแสงสีครามเนื่องจากมีความถี่สูงกวา 2. แสงสีครามมีพลังงานสูงกวาแสงสีสมเนื่องจากมีความถี่ต่ํากวา 3. แสงสีครามมีพลังงานสูงกวาแสงสีสมเนื่องจากมีความถี่สูงกวา 4. แสงสีสมมีพลังงานสูงกวาแสงสีครามเนื่องจากมีความถี่ต่ํากวา 72. ถาแผนผังการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนของธาตุหนึ่งเปนดังแสดง และถาเสนสเปกตรัมสี แดงเกิดจาก II เสนสีมวงมีโอกาสเกิดจากขอใด 1. I 3. III หรือ IV

2. III 4.IV หรือ V

© 2011 1 All Rights Rigghts Re Reserved. ese served d. w www.Edu-deo.com ww.EEdu-deo.com ลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com www Edu-deo com หามผู มผใ ดทําซ้ําหรือลอก

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 80| www.edu-deo.com

73. ความยาวคลื่นของเสนสเปกตรัมทั้ง 4 เสน เปนดังนี้ A = 404 B = 450 C = 455 D = 608 (nm) เสนสเปกตรัมใดที่แสดงวาอิเล็กตรอนเปลี่ยนแปลงพลังงานนอยที่สุด 1. A

2. B , C

3. C

4. D

74. สารประกอบชนิดหนึ่งเปนของแข็งสีขาว ใชเปนสารดูดความชื้น สารประกอบอีกชนิดหนึ่งซึ่งเปน ธาตุเดียวกันใชทดสอบแกส CO2 ถาทําสารประกอบทั้งสองไปเผาจะไดเปลวไฟสีอะไร 1. เหลือง 75.

2. เขียวอมเหลือง สาร KMnO4 KCl NaCl Na2Cr2O7

สี มวง ขาว ขาว สม

3. แดงอิฐ

4. เขียว

สีของเปลวไฟเมื่อเผาสาร มวง มวง เหลือง เหลือง

ขอใดสรุปผิด 1. สีของเปลวไฟที่ไดคือสีจากไอออนบวก 2. สีของสารคือสีที่ไดจากไอออนลบ 3. สีของ KMnO4 และสีของเปลวไฟเกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานแบบเดียวกัน 4. KCl และ NaCl ไมดูดกลืนแสงสีขาว 76. เมื่อนําสารประกอบของโลหะบางชนิดมาเผาไฟ จะเห็นเปลวไฟเปนสีตางๆ บางขนิดใหสีเหลือง บาง ชนิดใหสีเขียว ขอสรุปเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวขอใดถูกตอง 1. สารประกอบตางชนิดกันจะใหเปลวไฟตางสีกันเสมอ 2. สีของเปลวไฟมีความสัมพันธกับสีของสารประกอบนั้น 3. สีของเปลวไฟที่เห็นเกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของธาตุซึ่งมีหลายระดับพลังงานและมี ชวงหางเทาๆกัน 4. ธาตุชนิดหนึ่งอาจใหสเปกตรัมมากกวา 1 เสน แตจะเห็นรวมเปนแสงสีหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเฉพาะ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 81| www.edu-deo.com

77. จากระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ กําหนดให E(x,y) เปนผลตางของระดับ พลังงานตางๆในอะตอม เมื่อ x เปนระดับพลังงานตั้งตน y เปนระดับพลังงานสุดทาย ขอใดถูกตอง 1. E(5,4) < E(3,2) < E(4,3) 3.E (5,4) < E(3,2) < E(4,2)

2. E(3,2) < E(4,2) < E(5,3) 4. E(4,1) < E(2,1) < E(4,2)

78. เมื่ออิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับ a ไปยังระดับ c ปรากฏวา แสงที่ถูกปลอยออกมาเปนแสงสีมวง 400 nm แตเมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจากระดับ c ไปยัง ระดับ b ปรากฏวาไดแสงสีแดง 600 nm ถาอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก a ไป b แสงที่ถูกปลอย จะมีความถี่เทาไหรในหนวย 1012 Hz เสนสเปกตรัม ความยาวคลื่น (nm) การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอน สีมวง 410 E4 E0 สีน้ําเงิน 434 E3 E0 สีน้ําทะเล 486 E2 E0 สีแดง 656 E1 E0 79. E0 เปนระดับพลังงานพื้น E1 เปนพลังงานในสถานะกระตุนที่ 1 E2 เปนพลังงานในสถานะกระตุน ที่ 2 E3 เปนพลังงานในสถานะกระตุนที่ 3 E4 เปนพลังงานในสถานะกระตุนที่ 4 ขอใดผิด (h = 6.625x10-34 J.s , c = 3.0x108 m/s) 1. อิเล็กตรอนที่ระดับพลังงาน E0 ดูดกลืนพลังงาน 4.84x10-22 kJ เพื่อไปอยูในระดับพลังงาน E4 2. ใหพลังงาน 1.06x10-22 kJ แกอิเล็กตรอนที่ระดับพลังงาน 1.55x10-22 kJ เพื่อมาอยูที่ระดับ พลังงาน E1 3. อิเล็กตรอนที่ระดับพลังงาน E3 คายพลังงาน 1.55x10-22 kJ เพื่อมาอยูที่ระดับพลังงาน E1 4. อิเล็กตรอนที่ระดับพลังงาน E4 คายพลังงาน 2.07x10-22 kJ เพื่อมาอยูที่ระดับพลังงาน E3 80. อิเล็กตรอนมีจํานวนมากที่สุดไดเทาใดในระดับพลังงานที่ 4 1. 8

2. 18

3. 28

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. 32


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 82| www.edu-deo.com

81. ธาตุ Z มีพลังงานไอออไนเซชันตั้งแตลําดับที่หนึ่งถึงลําดับที่แปด ดังนี้ 1.320 3.395 5.307 4.476 10.996 13.333 71.343 84.086 ธาตุ Z อยูหมูใด 1. 1

2. 4

3. 6

4. 7

82. พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่หนึ่งของ Li , Na , K มีคา 0.526 , 0.502 , 0.425 เมกาจูล/โมล ตามลําดับ ขอมูลนี้สนับสนุนขอความใด 1. เวเลนซอิเล็กตรอนของ K อยูหางจากนิวเคลียสมากกวา Li 2. Na มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกวา K 3. Li มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกวา Na 4. ไอออน K+ เสถียรกวา Na+ และ Li+ ตามลําดับ 83. พลังงานไอออไนเซชัน 6 ลําดับ ของคารบอน มีคาดังนี้ 1.093 2.359 4.627 6.229 37.838 47.285 เมกาจูล/โมล ผลตางของพลังงานไอออไนเซชันระหวางระดับพลังงานที่ 1 กับระดับพลังงานที่ 2 เปน เทาใด 1. 1.266

2. 9.447

3. 31.609

4. 46.192

84. ขอใดแสดงการเกิดพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่สองของแกส X 1 โมล 1. X (s) 3. X (g)

2. X+ (g) 4. X (g)

X (g) X+ (g) + e-

X2+ (g) + eX2+ (g) + 2e-

85. พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 3 (IE3) ของธาตุอลูมิเนียมมีคาเทากับการเปลี่ยนแปลงในขอใด 1. Al (g) 3. Al2+ (g)

Al3+ (g) + 3eAl3+ (g) + e-

2. Al (s) 4. Al+ (g)

Al3+ (g) + 3eAl3+ (g) + 2e-

86. ธาตุ Q R T U มีคาพลังงานไอออไนเซชันลําดับตางๆดังแสดง ธาตุ Q R T U

IE1 2100 530 740 410

IE2 4000 4400 1500 3200

IE3 6100 6500 7500 4300

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

IE4 9200 9600 9900 5800


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 83| www.edu-deo.com

ธาตุใดมีอิเล็กตรอนวงนอกมากที่สุด 1. Q

2. R

3. T

4. U

87. ถาโลหะ M ใชพลังงานเพื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงในลักษณะตางๆตอไปนี้ A M (s) B M (s) C M (g) D M (g) 88. ขอใดถูกตอง

M (g) M+ (g) + eM+ (g) + eM2+ (g) + 2e-

1. C3+ (g) + IE4 3. Ca (g) + IE2

พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 2 ของ M คือขอใด 1. A+D

C4+ (g) + eCa2+ (g) + 2e-

2. B+C

3. D-C

2. F (g) + e4. Mn+ (g) +IE3

4. D-C+A

F- (g) + IE1 Mn4+ + 2e-

89. ถา X Y Z ธาตุที่มีเลขอะตอม 11 12 13 ตามลําดับ กระบวนการใดเกิดยากที่สุด 1. X 3. Y2+

X+ + eY3+ + e-

2. X+ 4. Z3+

X2+ + eZ4+ + e-

90. พลังงานไอออไนเซชัน IE1 IE2 IE3 ของ ଻ଷ เทากับ 0.50 7.30 11.80 MJ.mol-1 ตามลําดับ ถา ตองการใหเกิด X3+ จะตองใชพลังงานกี่ MJ 1. 7.30

2. 7.80

3. 11.80

4. 19.60

91. ถาพลังงานไอออไนเซชันของธาตุ X มีดังนี้ IE1 = 0.6 , IE2 = 5.0 , IE3 = 6.5 , IE4 = 6.5 (MJ/mol) สัญลักษณนิวเคลียรของ X ควรเปนอยางไร 1. ଵଶ଺

2. ଶଷ ଵଵ

3. ଶ଻ ଵଷ

4. ସ଴ ଶ଴

92. ธาตุ 40X มีคา IE1 < IE2 << IE3 < IE4 < IE5 X มีจํานวนนิวตรอนเทากับจํานวนโปรตอน การ จัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ X เปนอยางไร 1. 2 8 2

2. 2 8 18 2

3. 2 8 8 2

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. 2 8 18 10 2


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 84| www.edu-deo.com

93. พิจารณาคาพลังงานไอออไนเซชันของอะลูมิเนียมตอไปนี้ Al+ (g) + eAl2+ + eAl3+ + eAl4+ (g)

Al (g) Al+ (g) Al2+ (g) Al3+ (g)

IE1 = 0.584 MJ/mol IE2 = 1.823 MJ/mol IE3 = 2.751 MJ/mol IE4 = 11.584 MJ/mol

ขอสรุปใดผิด 1. การที่คา IE ของอะลูมิเนียมเพิ่มขึ้นจาก IE1 IE2 แสดงวาอิเล็กตรอนตัวที่ 1 อยูใกลกับ นิวเคีลยสมากกวาตัวที่ 2 และตัวที่ 2 อยูใกลกับนิวเคลียสมากกวาตัวที่ 3 2. การที่คา IE3 และ IE4 แตกตางกันมาก แสดงวาอิเล็กตรอนที่หลุดออกไปตางกลุมกัน 3. ขนาดของไอออนจะเล็กลงตามลําดับ Al+ > Al2+ > Al3+ > Al4+ 4. อะลูมิเนียมควรมีเลขออกซิเดชันเทากับ +3 เมื่ออยูในสารประกอบ 94. ถาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1-5 ของธาตุ A เทากับ 0.43 , 3.06 , 4.41 , 5.88 , 7.98 MJ/mol ตามลําดับ สัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ A ในขอใดเปนไปได ข. ଵସସ 2. ข เทานั้น

ก. ଶଷ ଵଵ 1. ก เทานั้น

ค. ଷ଼ ଵଽ 3. ข และ ค

4. ก และ ค

95. ธาตุที่มีเวเลนซอิเล็กตรอน 2 และมีเลขอะตอม 38 มีการจัดอิเล็กตรอนของธาตุอยางไร 1. 2 8 8 18 2

2. 2 8 18 8 2

3. 2 18 8 8 2

4. 2 2 18 8 8

96. ในสภาวะปกติเวเลนซอิเล็กตรอนของ Cu อยี่ในระดับพลังงานที่เทาใด 1. 2

2. 3

3. 4

4. 5

3. 5

4. 7

97. ธาตุสมมติ 117A ควรจะแสดงเวเลนซอิเล็กตรอนเทาใด 1. 1

2. 3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 85| www.edu-deo.com

98. จากขอเสนอเกี่ยวกับระดับพลังงานของอิเล็กตรอน และแบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอกทําใหให ขอสรุปใดเปนไปไดถูกตองที่สุด 1. ขอบเขตที่แนนอนของอะตอมคือ บริเวณที่มีหมอกทึบที่สุด 2. อิเล็กตรอนของระดับพลังงานใดก็จะคงอยูในระดับพลังงานเดิมตลอดเวลา 3. โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนทั้งหมดใรบริเวณที่มีหมอกทึบมาก 4. โอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนกลุมหนึ่ง ซึ่งมีชวงระดับพลังงานใกลเคียงกันในบริเวณหนึ่งมี มากกวาอีกบริเวณหนึ่ง 99. ธาตุใดตอไปนี้ที่จะมีอิเล็กตรอน 4 อิเล็กตรอนในระดับพลังงานที่ 4 1. 6C

2. 32Ge

3. 36Kr

4. 26Fe

3. Mg , Al+ , P3+

4. S4+ , O2- , Mg

100. อนุภาคใดที่มีการจัดอิเล็กตรอนเปนแบบ 2 8 2 1. F- , Mg , Si2+

2. Na+ , O2- , Ne

101. จากตารางพลังงานไอออไนเซชันตอไปนี้ ธาตุ P Q R S T

ธาตุคูใดที่มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากัน

ลําดับที่ 1 ลําดับที่ 2 ลําดับที่ 3 ลําดับที่ 4 1090 2400 4600 6200 500 4600 6900 9500 740 1500 7700 10500 800 2400 3700 25000 580 1800 2700 11600

1. 2. 3. 4.

P,Q R,T R,S S,T

102. ธาตุ X มีการจัดอิเล็กตรอนสิ้นสุดที่ n=3 เมื่อรับ 1 อิเล็กตรอน จะเปนไอออนที่จัดเรียงอิเล็กตรอน แบบแกสเฉื่อย ถาธาตุ X มี 2 ไอโซโทปซึ่งมีนิวตรอน 18 และ 20 ตามลําดับ สัญลักษณนิวเคลียรทั้ง 2 คือขอใด 1. ଶ଻ଽ ǡ ଶଽଽ

ଷ଻ 2. ଷହ ଵ଻ ǡ ଵ଻

ଷ଼ 3. ଷ଺ ଵ଼ ǡ ଵ଼

ହହ 4. ହଷ ଷହ ǡ ଷହ

3. N3- , Si4+

4. P2- , Al3+

103. ไอออนคูใดมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบแกสเฉื่อย 1. Si2+ , N3-

2. S- , Si2+

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 86| www.edu-deo.com

104. ธาตุ A มีเลขมวล 39 มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 1 อยูในระดับพลังงานสูงสุด คือ ระดับ 4 A+ ไอออนจะมีจํานวนนิวตรอนเทาใด 1. 19

2. 20

3. 39

4. 40

105. ไอออนคูใดที่มีเวเลนซอิเล็กตรอนรวมทุกธาตุไมเทากัน 1. CO32- , NO3-

2. NO3- , SO32-

3. SO32- , ClO3-

4. ClO3- , PO33-

106. X มีเวเลนยซอิเล็กตรอนซึ่งอยูในระดับพลังงานที่ 4 เทากับ 3 การจัดอิเล็กตรอนของ X+ คือขอใด 1. 2 8 8 2

2. 2 8 18 2

3. 2 8 3

4. 2 8 18 3

107. ไอออนหรืออะตอมในขอใดที่มีการจัดอิเล็กตรอนเหมือนกับคลอไรดไอออน 1. F-

2. Ne

3. Al3+

4. Ca2+

108. ขอใดประกอบดวยไอออนที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนกัน 1. B3+ F- Na+

2. S2- Al3+ Cl-

3. Co2+ Fe2+ Zn2+

4. O2- N3- Mg2+

109. ไอออนที่มีประจุ +2 เกิดไดงายที่สุดจากธาตุทีมีเลขอะตอมเทาใด 1. 4

2. 11

3. 12

4. 20

110. อนุภาค 2 ชนิด ประกอบดวยอนุภาคมูลฐานดังนี้ อนุภาค โปรตอน นิวตรอน I 13 14 II 14 14 อนุภาค I และ II เปนอะไร 1. I เปนไอออนบวก , II เปนอะตอมของอโลหะ 2. I เปนไอออนบวก , II เปนไอออนลบ 3. อนุภาคทั้งสองเปนไอโซโทปกัน 4. I เปนอะตอมของโลหะ , II เปนอะตอมของอโลหะ

อิเล็กตรอน 12 14

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 87| www.edu-deo.com

111. ธาตุ ଻ହ ଷଷ มีเวเลนซอิเล็กตรอนกี่ตัวและจัดอยูในธาตุพวกใด 1. 13 ตัว , ธาตุแทรนซิชัน 2. 5 ตัว , ธาตุแฮโลเจน 3. 5 ตัว , ธาตุกึ่งโลหะ 4. 3 ตัว , โลหะแอลคาไลนเอิรท 112. จงพิจารณาตารางแสดงขอมูลของธาตุ A B C และ D ตอไปนี้ ธาตุ ଷଵ ଵହ ଷଽ ଵଽ ସ଴ ଵ଼ ଶସ ଵଶ ขอ 1. 2. 3. 4.

หมูที่ 5 1 (ค) 2 ก โลหะ อโลหะ โลหะ อโลหะ

คาบที่ 3 (ข) 3 3 ข 4 4 3 8

สมบัติ (ก) โลหะ อโลหะ (ง) ค 8 8 8 4

ง อโลหะ โลหะ โลหะ โลหะ

จงใชตารางตอไปนี้ตอบคําถามขอ 113-114 ธาตุ อะตอมมิกนัมเบอร การจัดเรียงอิเล็กตรอน A 16 B 20 C 2 8 13 2 D 2 8 18 6 113. ธาตุที่อยูหมูเดียวกันกับธาตุ B ในตารางธาตุคือ 1. C

2. D

3. C และ D

4. ไมมีธาตุใด

3. A B และ D

4. B C และ D

114. ธาตุใดบางที่อยูในคาบเดียวกันในตารางธาตุ 1. A กับ D

2. B กับ C

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 88| www.edu-deo.com

115. ธาตุ X อยูหมู 3 คาบ 4 มีการจัดอิเล็กตรอนอยางไรและมีเลขอะตอมเทาใด 1. 2 8 4 เลขอะตอม = 14 3. 2 8 18 3 เลขอะตอม = 31

2. 2 8 8 3 เลขอะตอม = 21 4. 2 8 18 4 เลขอะตอม = 32

116. ธาตุที่มีเลขอะตอม 39 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนอยางไร 1. 2 8 8 18 3

2. 2 8 18 9 2

3. 2 18 8 8 3

4. 2 8 18 8 3

117. การจัดอิเล็กตรอนแบบใดใชสําหรับอะตอมของโลหะแอลคาไลน ไมได 1. 2 8 8 1

2. 2 8 18 1

3. 2 8 18 8 1

4. 2 8 18 18 8 1

3. 37Z , 38Q

4. 33Y , 20R

118. ธาตุในขอใดที่อยูในคาบเดียวกัน และอยูหมู 2 กับ 5 1. 20R , 38Q

2. 13X , 33Y

119. ธาตุ A เลขอะตอม 37 ทําปฏิกิริยารุนแรงกับน้ํา สารละลายที่ไดเปนเบส ธาตุ A ควรอยูหมูใด คาบ ใด 1. หมู 1 คาบ 4

2. หมู 1 คาบ 5

3. หมู 2 คาบ 4

4. หมู 2 คาบ 5

120. ธาตุ X อยูในหมู 7 คาบ 5 มีการจัดอิเล็กตรอนและเลขอะตอมอยางไร 1. 2 8 8 18 7 เลขอะตอม 43 3. 2 8 8 32 7 เลขอะตอม 57

2. 2 8 18 18 7 เลขอะตอม 53 4. 2 8 18 32 7 เลขอะตอม 67

121. ธาตุ A B C และ D มีเลขอะตอม 16 26 36 และ 56 มีระดับพลังงานสูงสุด n=3 4 4 และ 5 ตามลําดับ ธาตุทั้ง 4 อยูในหมูใดในตารางธาตุ คําตอบ 1. 2. 3. 4.

A 6 6 6 6

B แทรนซิชัน แทรนซิชัน 6 8

C 8 8 8 6

D 2 แทรนซิชัน 2 แทรนซิชัน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 89| www.edu-deo.com

122. ธาตุ K L M มีเลขอะตอม 10 14 และ 20 ตามลําดับ ธาตุทั้ง 3 ควรจะอยูในหมูใดและคาบใด 1. 3.

หมู 248 428

และ และ

คาบ 234 432

2. 4.

หมู 482 842

และ และ

คาบ 324 234

123. X คือธาตุในหมูที่ 7 คาบที่ 4 การจัดอิเล็กตรอนของ X- คือขอใด 1. 2 8 18 7

2. 2 8 18 8

3. 2 8 8

4. 2 8 18 6

124. ธาตุในขอตางๆมีทั้งโลหะ อโลหะ และเมตัลลอยด (กึ่งโลหะ) ธาตุในขอใดที่เปนประเภทเดียวกัน ลวน 1. Ca Zn P Hg

2. K I B C

3. Cs Cr Cl Co

4. Sb Si Al As

125. คาอิเล็กโทรเนกาติวิตีบงบอกใหทราบถึงสมบัติใดของธาตุ 1. ความแข็งแรงของพันธะ 2. ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนของธาตุ 3. ความสามารถในการดึงดูดไฮโดรเจนของธาตุ 4. ความสามารถในการกลายเปนไอออนบวก 126. P Q R S และ T เปนธาตุสมมติ มีเลขอะตอม 7 14 15 16 และ 33 ตามลําดับ ธาตุใดบางที่มี สมบัติแตกตางจากธาตุอื่น 1. Q และ S เทานั้น

2. P และ R เทานั้น

3. Q R และ S เทานั้น 4. P Q R และ S

127. ธาตุ X เปนธาตุหมู 5A คาบที่ 3 ธาตุ Y มีเลขอะตอมสูงกวา X อยู 5 และมีเลขมวล 40 สวนธาตุ Z อยูทางดานขวาของธาตุ Y และมีนิวตรอนมากกวา Y อยู 5 จงเขียนสัญลักษณธาตุทั้งหมด (ทุน king) 128. ธาตุ X มีเลขอะตอม 40 X2+ จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนอยางไร (ทุน king) 1. 2 8 18 10 2

2. 2 8 18 2

3. 2 8 18 8 2

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. 2 8 18 10


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 90| www.edu-deo.com

129. การที่อิเล็กตรอนในอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงาน อาจถือเสมือนกาวขึ้นบันไดหรือลงบันได ตัวอยาง ขอมูลเสนสเปกตรัม 4 เสน เรียงกันตอไปนี้ ขอใดสอดคลองกับภาพรวมของระดับพลังงานยอยของ อะตอม (ขอมูลนี้เปนตัวเลขสมมติ ใหนักเรียนพิจารณาแนวโนมของตัวเลขเทานั้น) (ทุน King) 1. 2. 3. 4.

ความยาวคลื่น (nm) พลังงาน (kJ) ความยาวคลื่น (nm) พลังงาน (kJ)

400 2.0x10-22 400 2.0x10-22

450 2.5 x10-22 500 2.8 x10-22

500 3.0 x10-22 560 3.3 x10-22

550 3.5 x10-22 600 3.5 x10-22

130. เมื่อใชแผนเกรตติง มองหลอดสเปกตรัมที่บรรจุแกสไฮโดรเจน จะสังเกตเห็นเสนสเปกตรัม 4 เสน ที่มีสีแตกตางกันดังตาราง เสนสเปกตรัม สีมวง สีน้ําเงิน สีน้ําทะเล สีแดง

ความยาวคลื่น (nm) 410 434 486 656

การคายพลังงานจากระดับพลังงานที่ถูกกระตุนสูระดับพลังงานปกติของเสนสเปกตรัมใดมีคาต่ํา ที่สุดและมีคาพลังงานเทาใด (h = 6.62x10-34 J.s , c = 3x108 m/s) (ทุน King) 131. พิจารณาขอมูลพลังงานไอออไนเซชัน (mJ/mol) ลําดับตางๆของธาตุ A และ D ดังนี้ (ทุน King) ธาตุ A D

IE1 0.58 0.40

IE2 1.82 2.63

IE3 2.74 3.90

IE4 11.58 5.08

การทํานายหมูของ A และ D ตามลําดับ ขอใดเปนไปไดมากที่สุด 1. IA , IA

2. IIIA , IIIA

3. IIIA , IA

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. IA , IIIA


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 91| www.edu-deo.com

132. สมบัติธาตุหนึ่งมีพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1-4 ดังนี้ พลังงานไอออไนเซชัน (MJ/mol) IE2 IE3 IE4 1.4 7.7 10.5

IE1 0.7

IE5 13.6

จากขอมูลตอไปนี้ ธาตุนี้ควรจะอยูในคาบใด หมูใดไดบาง (ทุน King) 133. โลหะชนิดหนึ่งเมื่อทําใหรอนจะเปลงรังสีสีเขียว และสีแดงที่มีความยาวคลื่น 520 nm และ 680 nm ตามลําดับ รังสีทั้ง 2 ชนิดมีพลังงานแตกตางกันเทาใด กําหนด h = 6.62x10-34 J.s , c = 3x108 m/s (ทุน King) 134. ธาตุ X มีพลังงานไอออไนเซชัน (MJ/mol) 8 อันดับแรก ดังนี้ IE1 0.58

IE2 1.82

IE3 2.75

IE4 11.58

IE5 14.84

IE6 18.38

IE7 23.30

IE8 27.47

คลอไรดของธาตุนี้มีสูตรเปนอยางไร (ทุนกระทรวงวิทยาศาสตร) 135. ไอออน X2+ มีอิเล็กตรอนเทากับไอออน Y- ซึ่งมีเทาจํานวนเทากับ 18 ธาตุ X และ Y อยูในคาบใด และหมูใดของตารางธาตุ (ทุนกระทรวงวิทยาศาสตร) 136. อะตอม ଵଷ଺ มี (ทุนรัฐบาลญี่ปุน) 1. 7 อิเล็กตรอน 5. 7 นิวตรอน

2. 13 อิเล็กตรอน 6. 13 นิวตรอน

3. 7 โปรตอน

4. 13 โปรตอน

137. ไอออนหรืออะตอมในขอใดมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากับ O2- (ทุนรัฐบาลญี่ปุน) 1. Li+ 5. Ar

2. NH4+ 6. O

3. Al3+

4. S2-

138. สัญลักษณนิวเคลียร ଵ଼​଼ แสดงวาออกซิเจน 1 อะตอม ประกอบดวย (ทุนรัฐบาบญี่ปุน) 1. 18 อิเล็กตรอน 5. 10 นิวตรอน

2. 10 อิเล็กตรอน 6. 18 นิวตรอน

3. 18 โปรตอน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. 10 โปรตอน


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 92| www.edu-deo.com

139. Orbital diagram ของธาตุตอไปนี้ ขอใดถูกตอง (ทุนรัฐบาลญี่ปุน) รูปหนังสือทุน 280 140. Electronic Configuration ของธาตุตอไปนี้สามารถเกิดไอออนที่มีประจุ -3 (ทุนรัฐบาลญี่ปุน) 1. 1s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d7 3. 1s2 2s2 2p6 3s2 3p3

2. 1s2 2s2 2p6 3s2 4s2 3d3 4. 1s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d7 3d1

141. From which one of the following is the removal of an electron the least difficult? 2. 13Al2+

1. 8O

3. 4Be2+

4. 3Li

142. what is the number of proton in one molecule of carbondioxide? 1. 12

2. 38

3. 20

4. 22

143. The ion A2+ contain 25 particles in the nucleus and 10 electrons outside the nucleus. What does the nucleus of the ion A2+ contain? Protons 13 12 10 13

1. 2. 3. 4.

Neutrons 14 13 12 24

144. In which group of Periodic Table is the element which has atomic number 16? 1. II

2. III

3. IV

4. VI

145. Many properties of an element and its compounds can be predicted from the position of the element in the Periodic Table. What property could not be predicted in this way? 1. The acidic os basic nature of its oxide 3. The formula of its oxide

2. The charge on its ion 4. The number of isotope it has

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 93| www.edu-deo.com

146. A , B and C are in the same period of the Periodic Table. A is a non-metal, B is a metal and C show the properties of both metals and non-metals. Which one of the following represent the order of these three elements in the Periodic Table? 1. A C B

2. B A C

3. B C A

4. A C B

แนวโนมตามตารางธาตุ 147. IE1 (พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1) ซึ่งเปนสมบัติประการหนึ่งของธาตุในตารางธาตุ ขอใด ถูกตอง 1. IE1 ของธาตุเพิ่มขึ้นตามหมู เนื่องจากประจุบวกในนิวเคลียสของอะตอมเพิ่มขึ้น จําทําให อิเล็กตรอนหลุดไดงายขึ้น 2. IE1 ของธาตุเพิ่มขึ้นตามคาบเนื่องจากประจุบวกในนิวเคลียสเพิ่มขึ้น จึงทําใหขนาดอะตอม เล็กลงอิเล็กตรอนจึงหลุดจากอะตอมไดยากขึ้น 3. IE1 ของธาตุมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นทั้งตามหมูและตามคาบ เพราะประจุบวกในนิวเคลียสเพิ่ม มากขึ้น ทําใหอิเล็กตรอนหลุดจากอะตอมไดยาก 4. IE1 ของธาตุหมู I มีคาต่ํากวาหมู II และธาตุหมู II มีคาสูงกวาหมู III ที่อยูในคาบเดียวกัน เสมอ 148. ขอใดที่แสดงการเพิ่มขึ้นของคาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ไดถูกตอง 1. Sb < As < P < S < Cl 3. Cl < Sb < P < As < S

2. P < As < Sb < S < Cl 4. Sb < As < Cl < S < P

149. ธาตุ X Y และ Z มีเลขอะตอม 19 20 และ 37 ตามลําดับ การเปรียบเทียบขอใดไมถูกตอง 1. EN Y > X > Z 3. IE1 X > Y > Z

2. ขนาดอะตอม Z > X > Y 4. จุดเดือดและจุดหลอมเหลว Y > X > Z

150. ธาตุ A และ B มีรัศมีอะตอม 180 และ 92 pm ตามลําดับ รัศมีไอออนของ A และ B เทากับ 90 และ 180 pm ตามลําดับ เลขอะตอมของ A และ B ในขอใดเปนไปไดมากที่สุด 1. 19 , 35

2. 20 , 25

3. 34 , 37

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. 30 , 31


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 94| www.edu-deo.com

151. ขอใดเรียงลําดับจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไดถูกตอง 1. Co > Cu > Zn

2. Na > Mg > Al

3. He > Ne > Ar

4. Cl > Ar > V

152. พิจารณาธาตุ Na Mg Al และ Si พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 2 ของธาตุใดมีคาสูงสุดและ อิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงสุด 1. Na , Si

2. Mg , Al

3. Al , Si

4. Na , Al

153. ถาเลขอะตอมของธาตุเรียงตามคาบและตามหมูดังนี้ : 25 26 27 และ 25 43 47 ขอใดถูกตอง 1. ธาตุที่มีเลขอะตอม 25 มีขนาดอะตอมเล็กที่สุดดูตามคาบและตามหมู 2. ธาตุที่มีเลขอะตอม 27 มีขนาดอะตอมเล็กที่สุดดูตามคาบและตามหมู 3. ดูตามคาบและตามหมู ธาตุที่มีเลขอะตอม 26 และ 43 มีขนาดอะตอมเทากัน 4. ดูตามคาบและตามหมู ธาตุที่มีเลขอะตอม 75 มีขนาดอะตอมเล็กที่สุด 154. ธาตุกลุมใดตอไปนี้มีรัศมีอะตอมใกลเคียงกันที่สุด 1. Mn , Fe , Co , Ni

2. Al , Si , P , S

3. Li , Be , B ,C

4. He , Ne , Ar , Kr

155. กลุมของธาตุในขอใดมีการเรียงลําดับพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ไดถูกตอง 1. C < Si < Li < Ne

2. Ne < C < Si < Li

3. Li < Si < C < Ne

4. Ne < Si < C < Li

3. มีคา IE สูง

4. มีแนวโนมเปน cation

156. อะตอมที่มีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงไดแกอะตอมที่ 1. มีเลขอะตอมนอย

2. มีขนาดใหญ

กําหนดให A B C และ D มีเลขอะตอมเทากับ 55 38 35 และ 10 ตามลําดับ ตอบคําถามขอ 157-158 157. ธาตุใดมีพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ต่ําที่สุด 1. A

2. B

3. C

4. D

3. B , D

4. B , C

158. ธาตุใดมีจุดหลอมเหลวสูงสุดและต่ําสุด ตามลําดับ 1. A , D

2. C , A

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 95| www.edu-deo.com

159. กําหนดให A เปนธาตุในหมูที่ 3 คาบที่ 2 C เปนธาตุในหมูที่ 2 คาบที่ 3

B เปนธาตุในหมูที่ 2 คาบที่ 2 D เปนธาตุในหมูที่ 1 คาบที่ 3

การเรียงลําดับของขนาดอะตอมของธาตุใดถูกตอง 1. A > B > C > D

2. B > C > A > D

3. C > A > D > B

4. D > C > B > A

160. ธาตุ W X Y และ Z มีเลขอะตอม 3 6 7 และ 9 ตามลําดับ ธาตุใดมีความเปนโลหะมากที่สุด 1. W

2. X

3. Y

4. Z

161. ธาตุในขอใดอยูในเขต P 1.ธาตุ A มีเลขอะตอม 4 3. ธาตุ C มีเลขอะตอม 21

2. ธาตุ B มีเลขอะตอม 15 4. ธาตุ D มีเลขอะตอม 37

162. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในขอใดเสียอิเล็กตรอนไดงายที่สุด 1. 2 8 1

2. 2 8 8 1

3. 2 8 9 2

4. 2 8 18 3

163. อะตอมของธาตุสามารถกลายเปนไอออนลบไดงายก็ตอเมื่อ 1. อะตอมมีขนาดเล็ก 3. มีคาพลังงานไอออไนเซชันสูง

2. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนมีคาเปนลบมากๆ 4. ถูกทั้ง 1 , 2 และ 3

164. ธาตุ Na อยูในหมู IA และธาตุ Mg อยูในหมู IIA ทั้งสองธาตุอยูในคาบเดียวกัน Na มีขนาดอะตอม ใหญกวา Mg เพราะเหตุใด 1. Na มีระดับพลังงานมากกวา Mg 3. Na มีประจุในนิวเคลียสนอยกวา Mg

2. Na มีความหนาแนนมากกวา Mg 4. Na มีเวเลนซอิเล็กตรอนมากกวา Mg

165. Ca มีพลังงานไอออไนเซชันนอยกวา Mg เพราะ 1. Ca มีเวเลนซอิเล็กตรอนนอยกวา Mg 3. Mg มีจํานวนอิเล็กตรอนนอยกวา Ca

2. Ca มีระดับพลังงานมากกวา Mg 4. Ca มีจํานวนโปรตอนมากกวา Mg

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 96| www.edu-deo.com

ใชตารางตอไปนี้ตอบคําถามขอ 166-167 ธาตุ A B C D

เลขอะตอม 19 35 37 53

166. ธาตุในขอใดเปนอโลหะทุกธาตุ 1. A , D

2. B , C

3. B , D

4. A , B , D

3. C

4. D

167. ธาตุใดเสียอิเล็กตรอนไดงายที่สุด 1. A

2. B

168. การเปรียบเทียบสมบัติของธาตุ S และ O ขอใดถูกตอง 1. ธาตุ S มีเวเลนซอิเล็กตรอนมากกวาธาตุ O 2. ธาตุ S มีพลังงานไอออไนเซชันสูงกวาธาตุ O 3. ธาตุ O มีความเปนโลหะมากกวาธาตุ S 4. ธาตุ O มีจุดหลอมเหลวต่ํากวาธาตุ S 169. สาเหตุที่ธาตุในหมู IA มีความเปนโลหะนอยกวาหมู IIA เพราะเหตุใด 1. ธาตุหมู IA มีความหนาแนนนอยกวาหมู IIA 2. ธาตุหมู IA มี IE1 นอยกวาหมู IIA 3. ธาตุหมู IA มีเวเลนซอิเล็กตรอนนอยกวาหมู IIA 4. ธาตุหมู IA มีความเปนโลหะมากกวาหมู IIA 170. แนวโนมของธาตุหมู VIA เหมือนกับแนวโนมของธาตุหมู IA ทั้งสิ้น ยกเวนขอใด 1. ความหนาแนน 3. อิเล็กโทรเนกาติวิตี

2. จุดเดือด-หลอมเหลว 4. พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 97| www.edu-deo.com

171. A B C และ D เปนธาตุในคาบเดียวกัน มีเลขอะตอมไมเกิน 20 และมีสมบัติบางประการดังแสดงใน ตารางนี้ A Z 1251 ไมนํา 2.6 -101

เลขอะตอม IE1 (kJ/mol) การนําไฟฟา EN จุดหลอมเหลว (Ԩ )

B Z+1 1521 ไมนํา ไมมีขอมูล -189

C Z+2 999 ไมนํา ? 113

D Z+3 578 นํา 1.6 660

ขอสรุปใดถูกตอง 1. C มีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ํากวา A แตสูงกวา D 2. จุดเดือดของธาตุเรียงตามลําดับ A < B < C < D 3. D คือโลหะ Mg 4. มวลโมเลกุลของธาตุเรียงตามลําดับ D < C < A < B 172. ธาตุที่มีความหนาแนนมากที่สุดในคาบเดียวกันคือ 1. โลหะแอลคาไลน

2. โลหะแอลคาไลนเอิรท

3. แฮโลเจน

4. แทรนซิชัน

173. เลขออกซิเดชันของ N และ Cr ใน (NH4)2Cr2O7 มีคาเทาใด 1. +3 , +3

2. -3 , +6

3. -3 , +3

4. +3 , +6

3. +1

4. +2

174. เลขออกซิเดชันของ N ใน N2O22- มีคาเทาใด 1. -1

2. -2

175. ในสมการตอไปนี้ 2CrO2- + 3ClO- + 2OH- Æ2CrO42- + 3Cl- + 4H2O Cr มีการเปลี่ยนแปลงเลข ออกซิเดชันเทาใด 1. เพิ่มขึ้น 3

2. ลดลง 3

3. เพิ่มขึ้น 2

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. ลดลง 2


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 98| www.edu-deo.com

176. Zn2[Fe(CN)6] + 8NaOH ออกซิเดชันบาง 1. Zn

2Na2ZnO2 + Na4[Fe(CN)6] + 4H2O ธาตุใดมีการเปลี่ยนเลข 2. Fe

3. C

4. ไมมีธาตุใด

177. สารประกอบของ C คูใดที่ C มีเลขออกซิเดชันเทากัน 1. CO , H2CO3

2. CO , CHCl3

3. CH3OH , CO2

4. CO32- , CH4

178. ธาตุกลุมใดเปนโลหะทุกธาตุ 1. เจอรเมเนียม โซเดียม แคลเซียม 3. อะลูมิเนียม ดีบุก พลวง

2. แมกนีเซียม แคลเซียม โคบอลต 4. ฟอสฟอรัส กํามะถัน โบรมีน

ใชขอมูลตอไปนี้ตอบคําถามขอ 179-181 (Ent’21) A : Li+ , Na+ , K+ , Rb+ , Cs+ C : Na , Mg , Al , Si

B : F- , Ne , Na+ , Mg2+ , Al3+ D : Mg , Ca , Sr , Ba

179. การเรียงอนุภาคแบบใดที่มีการจัดเรียงลําดับพลังงานไอออไนเซชันจากนอยไปมาก 1. A

2. B

3. C

4. D

180. การจัดเรียงอนุภาคแบบใดที่แตละอนุภาคมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบแกสเฉื่อย 1. A

2. B

3. C

4. D

181. การจัดเรียงแบบใดที่จํานวนอิเล็กตรอนของแตละอนุภาคเทากัน 1. A

2. B

3. C

4. D

182. พิจารณาหมูและคาบของธาตุตอไปนี้ (Ent’38) ธาตุ A B C D

หมู 1 2 2 5

คาบ 2 3 4 3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 99| www.edu-deo.com

E 6 ขนาดอะตอมเรียงจากเล็กไปใหญเปนไปตามขอใด

2

1. A > B > C > E > D

2. C > B > A > D ൎ E

3. C > B > D > A > E

4. A ൎ C > B > D > E

183. กําหนดเลขอะตอมของธาตุดังนี้ A = 13 B = 19 C = 20 D = 12 การเรียงลําดับขนาดอะตอมในขอ ใดถูกตอง (Ent’ มี.ค. 45) 1. B > C > D > A

2. B > C > A > D

3. C > A > B > D

4. C > B > A > D

184. จากความรูเรื่องโครงสรางของอะตอม เมื่ออะตอมของ Na (อะตอมมิกนัมเบอร 11) เปลี่ยนเปน ไอออน Na+ ทานคิดวาขนาดของไอออนที่ไดเมื่อเทียบกับอะตอมเดิมจะเปนอยางไร (Ent’19) 1. ใหญขึ้น

2. เล็กลง

3. เทาเดิม

4. ยังสรุปไมได

3. B3-

4. C4-

185. ไอออนใดมีขนาดเล็กที่สุด (Ent’22) 1. Al3+

2. Na+

186. กําหนดเลขอะตอมของ O F Na Mg และ Al เทากับ 8 9 11 12 และ 13 ตามลําดับ การเรียงลําดับ ขนาดของไอออน O2- F- Na+ Mg2+ และ Al3+ ในขอใดถูกตอง (Ent’26) 1. O2- > F- > Na+ > Mg2+ > Al3+ 3. Na+ > Mg2+ > Al3+ > O2- > F-

2. Al3+ > Mg2+ > Na+ > F- > O24. O2- > F- > Al3+ > Mg2+ > Na+

187. ไอออน S2- Cl- K+ Ca2+ และอะตอม Ar มีจํานวนอิเล็กตรอนเทากันหมด ขนาดของไอออนและ อะตอมเหลานี้เรียงจากใหญไปหาเล็กไดอยางไร (Ent’23) 1. Ar > Ca2+ > S2- > K+ > Cl3. Ca2+ > K+ > Ar > Cl- > S2-

2. Ar > S2- > Ca2+ > Cl- > K+ 4. S2- > Cl- > Ar > K+ > Ca2+

188. รัศมีของอะตอมหรือไอออนใดยาวที่สุด (Ent’26) 1. 7N

2. 9F-

3. 10Ne

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. 11Na+


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 100| www.edu-deo.com

189. กําหนดเลขอะตอมของธาตุ ดังนี้ (Ent’34) ธาตุ เลขอะตอม A 16 B 19 C 35 D 38 ธาตุทมี่ ีอิเล็กโตรเนกาติวิตีสูงที่สุดและไอออนที่มีขนาดเล็กที่สุด ตามลําดับที่ถูกตองควรเปนขอใด 1. C , A2-

2. A , B+

3. B , C-

4. C , B+

190. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับธาตุ 9 A , 19 D , 34 E , 35 G ไมถูก (Ent’ มี.ค. 48) 1. 9 A และ 35 G มีสมบัติทางเคมีคลายกัน 2. 19 D มีรัศมีไอออนนอยกวา 34 E 3. 35 G มีระดับพลังงานชั้นนอกสุดคือชั้น G 4. 34 E มีคาอิเล็กโตรเนกาติวิตีมากกวา 9 A 191. กําหนดคาพลังงานไอออไนเซชัน (ev) ของธาตุ A X Y Z และ M (Ent’ มี.ค.48) ธาตุ A X Y Z M

IE1 5 11 14 17 13

IE2 76 24 35 36 24

IE3 122 48 54 63 40

IE4

IE5

IE6

IE7

IE8

IE9

65 77 87 54

392 113 114 69

490 138 157 99

740 185 115

870 954 353

1100 406

ขอใดถูก 1. ขนาดอะตอม X > Y > Z 2. สูตรเคมีของสารประกอบที่เกิดจาก A กับ X คือ AX3 3. A และ X เปนธาตุโลหะสวน Y และ Z เปนธาตุอโลหะ 4. ธาตุ 2 ธาตุใดๆ ในตารางรวมกันไดสารประกอบโคเวเลนต

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 101| www.edu-deo.com

กําหนดให A B C D E F G และ H เปนธาตุในตารางธาตุนี้ ตอบคําถามขอ 192-195 A E G

B แทรนซิชัน

C F

D H

192. การเปรียบเทียบขอใดถูกตอง (A-Net’50) 1. ขนาดอะตอม A > E > B 2. คาอิเล็กโทรเนกาติวิตี D > C > F 3. คาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของ B > C > D 4. คาสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนของ G > D > H 193. เมื่อธาตุ C ทําปฏิกิริยากับธาตุ E สารประกอบที่ไดควรมีสูตรโมเลกุลเปนอยางไร 1. C2E

2. CE

3. CE2

4. C7E2

194. สมบัติที่ถูกตองของธาตุ A และ D คือขอใด 1. A มีจํานวนเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ D 3. A มีขนาดอะตอมเล็กกวา D

2. A มีคาอิเล็กโตรเนกาติวิตีมากกวา D 4. A มีสมบัติความเปนโลหะนอยกวา D

195. สารใดมีสมบัติเปนสารประกอบไอออนิกมากที่สุด 1. AB

2. AC

3. AE

4. AD

196. ถาดูตารางธาตุในหมูที่ 7 จากขางบนลงขางลาง อิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุเปนอยางไร (Ent’22) 1. ลดลงในขณะที่รัศมีอะตอมเพิ่มขึ้น 3. เพิ่มขึ้นในขณะที่รัศมีอะตอมลดลง

2. ลดลงในขณะที่รัศมีของอะตอมลดลง 4. เพิ่มขึ้นในขณะที่รัศมีอะตอมเพิ่มขึ้น

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 102| www.edu-deo.com

197. การเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางรัศมีอะตอมกับเลขอะตอมของธาตุในคาบที่ 3 ผลของ กราฟควรเปนอยางไร (Ent’23) 1. รัศมีอะตอมเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น 3. รัศมีอะตอมไมเปลี่ยนแปลงเมื่อเลข

2. รัศมีอะตอมลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น 4. รัศมีอะตอมลดลงเมื่อเลขอะตอมลดลง อะตอมเพิ่มขึ้น

198. พลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 ของธาตุในคาบเดียวกันของตารางธาตุจากซายไปขวา มี แนวโนมในการเรียงพลังงานอยางไร เพราะเหตุใด (Ent’19) 1. คอยๆนอยลง เพราะขนาดอะตอมคอยๆเล็กลงตามลําดับ 2. คอยๆนอยลง เพราะขนาดอะตอมคอยๆใหญขึ้นตามลําดับ 3. คอยๆมากขึ้น เพราะขนาดอะตอมคอยๆเล็กลงตามลําดับ 4. คอยๆมากขึ้น เพราะขนาดอะตอมคอยๆใหญขึ้นตามลําดับ 199. พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของธาตุในขอใดเพิ่มขึ้นตามลําดับ (Ent’40) 1. Ca Mg Be

2. Li Na K

3. F Ne Na

4. N C B

200. พิจารณาขอกําหนดตางๆ ตอไปนี้ (Ent’40) ก. ธาตุ A มีสัญลักษณนิวเคลียรเปน ଷଽ ଵଽ ข. ธาตุ B มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเปน 2 8 8 ค. ธาตุ X อยูในคาบที่ 3 ของตารางธาตุในปจจุบัน ซึ่งมีสูตรของสารประกอบคลอไรดเปน XCl3 ง. ธาตุ Y มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน ดังนี้ 2 8 6 การจัดลําดับคาพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่หนึ่งในขอใด ถูกตอง 1. B > Y > X > A

2. A> X > Y > B

3. A > Y > X > B

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. B > X > A > Y


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 103| www.edu-deo.com

201. ขอความเกี่ยวกับแนวโนมของสมบัติของธาตุตอไปนี้ ขอใดถูกตอง (Ent’มี.ค.47) ก.ธาตุในหมูเดียวกัน ความเปนโลหะจะเพิ่มจากบนลงลาง และจะมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือด เพิ่มในทิศทางเดียวกัน โดยเฉพาะหมู IA , IIA และ IIA ข. ไอออนของธาตุตางชนิดกัน แตมีจํานวนอิเล็กตรอนเทากัน ไอออนที่มีจํานวนโปรตอนนอย กวาจะขนาดเล็กกวา ค. ในคาบเดียวกัน รัศมีของอะตอมจะลดลงจากซายไปขวา เนื่องจากประจุบวกที่นิวเคลียส เพิ่มขึ้นทําให IE เพิ่มขึ้นดวย ง. ขนาดของอะตอมในหมูเดียวกันเพิ่มขึ้นจากบนลงลาง เนื่องจากระดับพลังงานเพิ่มขึ้น ขณะที่ คา IE ก็เพิ่มจากบนลงลางดวย 202. ธาตุ A B C D E F G H เปนธาตุที่อยูในคาบเดียวกัน โดยที่ธาตุ A เปนธาตุที่มีคา อิเล็กโตรเนกาติ-วิตีสูงที่สุด ธาตุ B มีอิเล็กตรอนวงนอกสุดเทากับ 2 ธาตุ C ทําปฏิกิริยากับธาตุ A ได สารประกอบไอออนิก ที่มีสูตรเปน CA ธาตุ D เปนธาตุที่ไมวองไวในการเกิดปฏิกิริยาเคมี ธาตุ E มีเลข อะตอมมากกวาธาตุ C อยูเทากับ 2 ธาตุ F มีขนาดอะตอมอยูระหวางขนาดอะตอมของ G และธาตุ H โดยที่ธาตุ G มีขนาดเล็กกวาธาตุ E แตใหญกวาธาตุ A เราจะเรียงลําดับธาตุทั้ง 8 ใหถูกตําแหนงในคาบ ในตารางธาตุจากซายไปขวาไดอยาไร (Ent’27) 1. D A H F G E B C 3. D A G F H E B C

2. C B E H F G G D A 4. C B E G F H A D

203. ธาตุ A B C D E F G และ H เปนธาตุที่อยูในคาบเดียวกัน โดย A เปนธาตุที่มีเวเลนซอิเล็กตรอนเทากับ 2 B เปนธาตุที่มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงสุด C ไมวองไวในการทําปฏิกิริยา D ทําปฏิกิริยากับธาตุ B ไดสารประกอบไอออนิกที่มีสูตรเปน DB E มีเลขอะตอมมากกวาธาตุ D อยู 2 F มีคา IE สูงกวาธาตุ H แตมีขนาดใหญกวา G เปนอโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสูงมาก และมีขนาดเล็กกวาธาตุ E แตใหญกวาธาตุ B

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 104| www.edu-deo.com

การจัดเรียงธาตุทั้ง 8 จากเลขอะตอมนอย

มาก ขอใด ถูกตอง (Ent’39)

1. D A E H F G B C 3. D A E G H F B C

2. D A E G F H C B 4. D A E G F H B C

204. ธาตุ 3 ชนิด A B C มีตําแหนงในตารางธาตุติดกัน แตมีจํานวนเวเลนซอิเล็กตรอนไมเทากัน และมี ขนาดอะตอมเรียงลําดับดังนี้ A < B < C ขอใดตอไปนี้ที่แสดงตําแหนงของธาตุทั้ง 3 ถูกตอง (Ent’26) 1. ใสตาราง 205. ธาตุ

จุดหลอมเหลว Ԩ

จุดเดือด Ԩ

การนําไฟฟา

การละลายน้ํา

ผลการทดสอบ กับลิตมัส

A B B

98 649 -101

880 1107 -34.7

นํา นํา ไมนํา

ละลาย ละลาย ละลาย

แดงÆ น้ําเงิน แดงÆน้ําเงิน น้ําเงินÆแดง

จากตารางที่กําหนดใหขอสรุปใดถูกตอง (Ent’37) ก. A และ B มีพลังงานไอออไนเซชันต่ําที่สุด ข. อิเล็กโทรเนกาติวิตีของ C มีคาสูงกวาของ A และ B ค. เกลือคลอไรดของ A และ B หลอมเหลวไดงาย ง. A และ B ทําปฏิกิริยารุนแรง แตไมสามารถระบุสูตรของสารประกอบได 1. ก เทานั้น

2. ก และ ข

3. ข และ ค

4. ข และ ง

206. พิจารณาสมบัติของธาตุตอไปนี้ เพื่อวางตําแหนงในตารางที่กําหนดให (Ent’37) A. เปนธาตุที่มี IE1 ต่ําที่สุดในตารางนี้ C. เปนธาตุที่เสถียรที่สุดในตารางนี้

B. เปนธาตุที่มีขนาดเล็กที่สุดในตารางนี้ D. เปนโลหะที่มีอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงที่สุด

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 105| www.edu-deo.com

ในตารางนี้ธาตุเหลานี้จะอยูในชองหมายเลขใดในตารางนี้ 1 2 3

IA 1 9 17

IIA 2 10 18

ตัวเลือก 1. 2. 3. 4.

IIIA 3 11 19 A 1 17 1 17

IVA 4 12 20

VA 5 13 21

B 17 8 8 7

VIA 6 14 22 C 7 7 7 8

VIIA 7 15 23

VIIIA 8 16 24

D 8 1 17 3

207. พิจารณาหมูและคาบของธาตุ A B C และ D ตอไปนี้ ธาตุ A B C D

หมู 1 5 1 4

คาบ 2 3 4 4

พลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ของธาตุทั้ง 4 เรียงจากนอยไปมาก ขอใด ถูกตอง (Ent’36) 1. A < C < B < D

2. C < A < D < B

3. A < C < D < B

4. C < A < B < D

208. ธาตุชุดที่ 1 ประกอบดวย A B และ C เลขอะตอม 9 17 และ 35 ตามลําดับ ธาตุชุดที่ 2 ประกอบดวย D E และ F เลขอะตอม 19 20 และ 21 ตามลําดับ ขอใดเปนการเรียงลําดับพลังงานไอออไนเซชันลําดับที่ 1 ไดถูกตอง สําหรับธาตุ 2 ชุดนี้ (Ent’มี.ค.46) 1. A < B < C และ D < E < F 3. A < B < C และ F < E < D

2. C < B < A และ D < E < F 4. C < B < A และ F < E < D

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 106| www.edu-deo.com

209. สมบัติบางประการของธาตุ M N O P แสดงในตาราง (Ent’32) ธาตุ M N O P

พลังงานไอออไนเซชัน ลําดับที่ 1 (kJ/mol) 1015 1006 744 425

อิเล็กโทรเนกาติวิตี 2.5 2.5 1.2 0.8

จุดหลอมเหลว Ԩ 114 113 649 64

E0 (v) +0.54 -0.48 -2.36 -2.92

ขอใดเรียงลําดับของหมูของธาตุ M N O P ไดถูกตอง ตามลําดับ 1. I II VI VII

2. II I VII VI

3. IV VII I II

4. VII VI II I

210. กําหนดสมบัติตางๆของธาตุ 4 ชนิด ดังนี้ ธาตุ

จุดเดือด Ԩ

อิเล็กโทรเนกาติวิตี

A B C D

445 1490 1640 4830

2.58 1.00 0.89 2.55

รัศมีอะตอม pm 104 197 217 77

IE1 kJ/mol 1006 596 509 1093

ธาตุคูใดควรเปนธาตุในหมูเดียวกัน (Ent’38) 1. A , B

2. B , C

3. C , D

4. D , A

211. a b c d เปนธาตุในคาบเดียวกัน มีสมบัติบางประการ ดังแสดงในตาราง (Ent’32) สมบัติ เลขอะตอม (ไมเกิน 20) IE1 (kJ/mol) การนําไฟฟา E0 (v) จุดหลอมเหลว (Ԩ )

a Z 1257 ไมนํา +1.36 -101

b Z+1 1572 ไมนํา วัดคาไมได -189

c Z-1 1006 ไมนํา ? 133

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

d Z-4 584 นําไดดี -1.71 660


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 107| www.edu-deo.com

ขอสรุปใด ถูกตอง 1. c มีคา E0 ต่ํากวาของ a แตสูงกวา d 2. จุดเดือดของธาตุเหลานี้ควรเรียงลําดับ a < b < c < d 3. d คือ Mg และ a เกิดสารประกอบฟลูออไรด มีสูตร aF 4. มวลโมเลกุลของธาตุเหลานี้จะเรียงลําดับ d < c < a < b 212. พิจารณาขอมูลตอไปนี้ขอใด ถูกตอง (Ent’40) ธาตุ A เปนธาตุหมูเดียวกับ Na และอยูคาบเดียวกับ As ธาตุ B มีเลขอะตอมเทากับ 20 เมื่อเกิดสารประกอบคารบอเนตหรือซัลเฟต ไดเกลือที่ไมละลาย น้ํา ธาตุ C มักมีเลขออกซิเดชันเทากับ -2 แตเมื่อเกิดสารประกอบกับ F2 จะมีเลขออกซิเดชันเปน บวก ธาตุ D อยูหมูเดียวกับ Si แตมีเลขอะตอมนอยกวา 1. ธาตุ A จะมีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกวา B 2. ธาตุ B สามารถทําปฏิกิริยากับ C เกิดเปน BC2 ได 3. ธาตุ C มีคา IE1 สูงกวา A B และ D 4. ธาตุ D อยูในคาบเดียวกับ S 213. พิจารณาธาตุสมมติตอไปนี้ ธาตุ A B C

สมบัติ อยูหมูเดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอมเทากับ 19 และอยูคาบเดียวกับธาตุที่มีเลขอะตอม 13 มีเลขอะตอมเทากับ 14 เมื่อเกิดสารประกอบกับโลหะ เลขออกซิเดชันที่เปนไปไดคือ -1/2 , -1 , -2 แตใน สารประกอบสวนใหญพบวาเปน -2 D มีคาอิเล็กโทรเนกาติวิตีมากที่สุดในคาบ 3 จากขอมูลขางตน ขอใด ถูกตอง (A-Net’50) 1. สารประกอบระหวางธาตุ B และธาตุ D จะมีสูตรเคมีเปน BD2 2. สารประกอบระหวางธาตุ B และธาตุ C จะละลายไดในน้ําใหสารละลายที่เปนกรด

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ


อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 108| www.edu-deo.com

3. ปฏิกิริยาระหวางธาตุ C และธาตุ D จะไดสารประกอบที่นําไฟฟาไดเมื่อหลอมเหลว 4. ปฏิกิริยาระหวางธาตุ A กับน้ํา จะไดสารประกอบไฮดรอกไซด และแกสไฮโดรเจน 214. ธาตุ X Y และ Z มีเลขอะตอม 7 12 และ 15 ตามลําดับ สมบัติเกี่ยวกับธาตุทั้งสาม ในขอใดที่ ถูกตอง (Ent’35) สมบัติ พลังงานไอออไนเซชัน ขนาดอะตอม อิเล็กโทรเนกาติวิตี ความเปนกรดของออกไซด

ความสัมพันธ x<y<z y<z<x x>z>y z>y>x

215. ธาตุ A B และ C มีจํานวนโปรตอน 7 12 และ 15 ตามลําดับ การเปรียบเทียบสมบัติของธาตุ A B และ C ขอใด ถูกตอง (A-Net’49) 1. ขนาดอะตอม B > A > C 3. คา EN A > C > B

2. จุดเดือด A > C > B 4. คา IE1 A > B > C

216. ธาตุใดตอไปนี้มีสมบัติเปนตัวรีดิวซดีที่สุด 1. Li

2. I

3. F

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใ ดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

สิ่งที่เราตองการมากที่สุด มักตองแลกดวยสิ่งที่มีคามากที่สุดเสมอ

4. S


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.