สำ น ั ก ง ำ น พ ั ฒ น ำ ชุ ม ช น อำ เ ภ อ บ ำ ง ส ะ พ ำ น น้ อ ย
จ ั ง ห ว ั ด ป ร ะ จ ว บ คี รี ข ั น ธ์
ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 วันที่ 1-3๑ ตุลาคม พ.ศ. 2555 ทรงพระเจริญ
พัฒนาฮอตนิวส ์ สือ่ สร้างสรรค์ ข่าวสาร งานพัฒนาชุมชน กองทุนแม่ของแผ่นดิน นายสมพร ปัจฉิมเพ็ชร นายอาเภอบาง สะพานน้อย มอบหมายให้นายทนงศักดิ์ รุ่ง รัศมี ปลัดอาเภออาวุโส เป็นประธานมอบแนว ทางการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน และ มอบป้ายศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน จุด เรียนรู้ของอาเภอ ในวันที่ 25 ตุลาคม 2555 ณ ห้องประชุมที่ว่าการอาเภอบาง สะพานน้อย
นายสมพร ปัจฉิมเพชร นายอาเภอบางสะพานน้อย เรื่อ งเด่ น วั น นี้
นายทนงศักดิ์ รุ่งรัศมี ปลัดอาเภอ อาวุโส ประธานที่ประชุม ได้เน้นยาให้กองทุน แม่ของแผ่นดินทุกกองทุน บริหารกองทุน ภายใต้หลักของคุณธรรม และนาเงินกองทุนแม่ ใช้ตามวัตถุประสงค์ให้เป็นรูปธรรม โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง การนาไปใช้ในการแก้ไขปัญหายาเสพ ติดของชุมชนให้หมดไป การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน เป็นสิ่งจาเป็นยิ่งในสภาวะปัจจุบัน กองทุนแม่ ของแผ่นดิน มีส่วนสาคัญยิ่ง ในการส่งเสริม ความเข้มแข็งให้กับชุมชนในการป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งในปัจจุบันมีกองทุน แม่ของแผ่นดินจานวน 15 กองทุน
เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดินนัน อาเภอบาง สะพานน้อย ได้ดาเนินการที่บ้านดอนจวง หมู่ที่ 1 ตาบลปากแพรก ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่คณะกรรมการมี ความเข้มแข็ง และมุ่งมั่นที่จะดาเนินการในการ แก้ไขปัญหายาเสพติด ของหมูบ่ ้านตามหลักการ และวัตถุประสงค์ของกองทุนแม่เพื่อแผ่นดิน ในส่วนของกิจกรรมทอดผ้าป่า เมื่อวันที่ 31 สิงหาคมที่ผ่านมา อาเภอบางสะพานน้อย มี เงินรวมทุกหมู่บ้าน จานวน 113,457 บาท ผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้เป็น ประธานมอบคืนเงินทอดผ้าป่า ให้กับทุกกองทุน นาไปใช้ในการดาเนินกิจกรรมของกองทุนแม่ ใน แต่ละหมู่บ้าน ..ต่อไป
ในส่วนของการดาเนินการจัดทาศูนย์ คณะกรรมการพัฒนาสตรีอาเภอ
2
5 ส 50 ปี พ ัฒนำชุมชน
2
สิง่ แวดล้อมดีดว้ ย EM
2
่ ำรค ัดสรร OTOP ลงทะเบียนสูก
3
มหำดไทย บำบ ัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC ทีไ่ ชยรำช
3
รอบรวบำงสะพำนน้ ั้ อย
4
ถนนคอนกรีตก ับงำนพ ัฒนำ ชุมชน
4
ตรวจเยี่ยม..หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 11 ตุลาคม 2555 นายสมพร สุพัตรา ชุมยวง พัฒนากรตาบลทรายทอง ปัจฉิมเพ็ชร นายอาเภอบางสะพานน้อย ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน และ ตรวจเยี่ยมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนบ้านทุ่งสีเสียดให้การต้อนรับ ซึ่ง ต้นแบบ ปี 2555 บ้านทุ่งสีเสียด หมู่ที่ 8 นายอาเภอมอบหมายให้ สนง.พช. ร่วมกัน ต.ทรายทอง โดยมีนายธวัช อนิลบล พัฒนาหมู่บ้านจากระดับ “ อยู่ดี กินดี” เป็น พัฒนาการอาเภอบางสะพานน้อย น.ส. “มั่งมี ศรีสุข” ภายในปี 2556
หน ้า 2
ภาพเป็นข่าว
คณะกรรมการพัฒนาสตรีอาเภอ...ทีมใหม่... วันที่ 8 ตุลาคม 2555 สานักงาน พัฒนาชุมชนอาเภอบางสะพานน้อย จัด ประชุมสตรี เพื่อเลือกตังคณะกรรมการ พัฒนาสตรีอาเภอ (กพสอ.) ตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดตัง คณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. 2538 ผลการเลือกตัง มีนางเยาวรัตน์ แก้วเทียมทอง เป็นประธาน กพสอ. และ คณะกรรมการ กพสอ. รวม 20 คน โดย มี สจ.ปราโมทย์ ตังซุยยัง และ สจ. สมพงศ์ ทังศรี เป็นที่ปรึกษา นอกจากนี นายธวัช อนิลบล พัฒนาการอาเภอบางสะพานน้อย ได้ นาเสนอข้อมูล เรื่องระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ กองทุนพัฒนาบทบาสตรี เพื่อใช้เป็น
แนวทางในให้ความรู้และสร้างความเข้าใจ เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการกองทุน พัฒนาบทบาทสตรีกับคณะกรรมการพัฒนา สตรีหมู่บ้าน (กพสม.) และคณะกรรมการ พัฒนาสตรีตาบล (กพสต.) ต่อไป ในส่วนของการดาเนินงานพัฒนา สตรีนัน นายสมพร ปัจฉิมเพ็ชร นายอาเภอ บางสะพานน้อย ได้มอบหมายให้สานักงาน พัฒนาชุมชนอาเภอ ส่งเสริม และสนับสนุน ให้มีความเข้มแข็ง เป็นหนึ่งเดียว และเป็น กาลังสาคัญในการทากิจกรรมพัฒนา ให้ อาเภอบางสะพานน้อยมีความก้าวหน้าอย่าง ยั่งยืน...
อาเภอสวย สะอาด บริการดี และกิจกรรม 5 ส 50 ปีพัฒนาชุมชน นายสมพร ปัจฉิม เพ็ชร นายอาเภอบาง สะพานน้อย ได้มอบหมาย ให้ส่วนราชการ ทุกส่วน ราชการ ดาเนินงานตาม นโยบาย อาเภอสวย สะอาด และบริการดี ในส่วนของสานักงาน
พัฒนาชุมชนอาเภอ ได้ ดาเนินงานโครงการ 5 ส 50 ปี กรมการพัฒนา ชุมชน ด้วยการปรับปรุง สานักงานให้มีความสวยงาม สะอาด และมีความพร้อม ในการให้บริการ กับผู้ที่มา ติดต่อ ประสานงาน กับ
สานักงานพัฒนาชุมชน และ สนองตอบต่อนโยบาย อาเภอสวย สะอาด และ บริการดี มีเรื่องใดแนะนา เพื่อให้ การบริการ ของสานักงาน พัฒนาชุมชนดีขึน..ขอบคุณ ด้วยความจริงใจครับ......
สิ่งแวดล้อมดี...ด้วย EM สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ บางสะพานน้อย ได้ประสานงานกับ อาจารย์มนัส หนูสวี ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ตรง เรื่อง ทฤษฎี EM ใน ครัวเรือน โดยมีเป้าหมายที่จะเผยแพร่ ความรู้ ให้กับทุกหมู่บ้านในเขตอาเภอบาง สะพานน้อย เพื่อให้มีความรู้เรื่องดังกล่าว
ในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับชุมชน ใน เบืองต้น จะดาเนินการในพืนที่หมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบก่อน และจะ ขยายผลให้กับองค์กรสตรี กลุ่มแม่บ้านที่ สนใจทุกหมู่บ้าน....ต่อไป
หน ้า 3
ภาพเป็นข่าว
OTOP บางสะพานน้อย..ลงทะเบียน สู่การคัดสรร วันที่ 10 ตุลาคม 2555 นายสม พร ปัจฉิมเพ็ชร นายอาเภอบางสะพาน น้อย เป็นประธานประชุมกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ที่ลงทะเบียนเป็น OTOP ณ ห้องประชุมที่ว่าการอาเภอบางสะพาน น้อย เน้นให้กลุ่ม OTOP ใช้ทรัพยากรใน ท้องถิ่นที่มีอยู่ รวมกับภูมิปัญญา พัฒนา เป็นสินค้า OTOP จากผลการลงทะเบียนผู้ผลิต/ ผู้ประกอบการ OTOP ระหว่างวันที่ 2128 กันยายน 2555 มีผู้มาขอจด ทะเบียน จานวน 21 ราย จานวน 27 ผลิตภัณฑ์ ดังนี 1.ประเภทอาหาร 12 ผลิตภัณฑ์ 2.เครื่องดื่ม 1 ผลิตภัณฑ์
3.ผ้าและเครื่องแต่งกาย 1 ผลิตภัณฑ์ 4.ของใช้ ของตกแต่ง ของที่ระลึก 1 ผลิตภัณฑ์ 5.สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร 5 ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เด่น ๆ ของอาเภอบางสะพาน น้อย ได้แก่ นามันมะพร้าว กล้วยกวน ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว ผลิตภัณฑ์จาก อาหารทะเล เครื่องจักสาน ปุ๋ยชีวภาพ นาพริกเผา เป็นต้น
มหาดไทย..บาบัดทุกข์ บารุงสุขแบบ ABC ที่ไชยราช จากข้อสั่งการของปลัดกระทรวงฯ ในที่ ประชุมกระทรวงมหาดไทย ซึ่งแจ้งให้ส่วน ราชการถือปฏิบัติ สรุปสาระสาคัญได้ ดังนี 1.โครงการนีแสดงให้เห็นถึงความ ร่วมมือระหว่างส่วนราชการ เครือข่ายภาค ประชาชน และองค์กรปกครองท้องถิ่น 2.แสดงให้เห็นว่ามีการบูรณาการ เรื่องงบประมาณและภารกิจ 3.ประชาชนสามารถจัดทาบัญชี ครัวเรือน และจัดเก็บข้อมูลได้ด้วยตนเอง 4.กรมการปกครอง กรมการ พัฒนาชุมชน และกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น ต้องร่วมมือกันอย่าง ใกล้ชิด ข้อ 3 คือสิ่งที่ต้องทาความเข้าใจ และ ตอบให้ชัดว่า ทาแล้วได้อะไร ส่วนที่ ได้ต้องเกิดประโยชน์กับประชาชน และ สามารถนาไปใช้ ในกระบวนการวางแผน ขององค์กรปกครองท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง สิ่งที่สาคัญที่สุด และเป็นปัจจัยชี
ความสาเร็จของโครงการนี อยู่ที่ข้อ 3 เช่นเดียวกัน ถ้าประชาชนสามารถจัดทา บัญชี จัดเก็บข้อมูลได้ด้วยตนเอง และได้ ข้อมูลที่เป็นจริง ข้อมูลที่ได้จะบ่งชีปัญหา ของหมู่บ้านชุมชน ได้ตรงกับสภาพความ เป็นจริงมากที่สุด แล้วเรา (ทุกส่วน) จะ ร่วมแก้ไปปัญหาด้วยกัน...และข้อนีปฏิบัติ ยากที่สุด ปัญหาสาคัญในปัจจุบันที่ต้อง ประสานการแก้ไขปัญหาในขณะนี คือ การจัดเก็บข้อมูล การบันทึกข้อมูล และ แบบบัญชีครัวเรือนที่ยังไม่ครบถ้วนตาม เป้าหมาย...ขอบคุณทุกภาคส่วนที่ช่วยกัน ด้วยความตังใจ...ความสาเร็จที่เกิดขึนทุก คนเป็นเจ้าของร่วมกัน..ขอบคุณประธาน คณะทางาน (กานันตาบลไชยราช) รอง ประธาน (นายกองค์การบริหารส่วนตาบล ไชยราช) และเลขานุการ (ปลัด อบต.ไชย ราช)..จนท.บันทึกข้อมูล และประชาชน ตาบลไชยราชทุกคน..
รอบรั้ว..บางสะพานน้อย @ นายสมพร ปั จฉิ มเพ็ชร นายอาเภอบางสะพานน้อย ดาเนินงานโครงการส่ วน ราชการเยีย่ มคณะกรรมการหมู่บา้ นสานต่อมวลชน ทุกเย็นวันอังคาร ระหว่างเวลา 18.00 20.00 น. ครั้งแรกวันที่ 16 ตุลาคม 2555 ... หมู่ที่ 1 ตาบลทรายทอง และทุกสัปดาห์ @ วันที่ 29 ตุลาคม 2555 สนง.พัฒนาชุมชนอาเภอบางสะพานน้อย สนับสนุน การดาเนินงานการเพิ่มทุนกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง ระยะที่ 3 โดยชี้แจงการจัดทา งบดุล การตรวจสอบเอกสาร ณ ห้องประชุมที่วา่ การอาเภอบางสะพานน้อย ตลอดจนถึง ลงพื้นที่ตรวจเยีย่ มชี้แจงสร้างความรู ้ความเข้าใจให้กบั คณะกรรมการและสมาชิกกองทุน หมู่บา้ น @ วันที่ 26 ตุลาคม 2555 สนง.พัฒนาชุมชนอาเภอบางสะพานน้อย จัดประชุม ชี้แจงเรื่ องการเตรี ยมการจัดทาเอกสาร การเตรี ยมผลิตภัณฑ์ ในการเข้าสู่ กระบวนการคัด สรรสุ ดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี 2555 ณ ห้องประชุมที่วา่ การอาเภอบาง สะพานน้อย @ ปิ ดท้ายข่าววันนี้....ยินดีตอ้ นรับพัฒนากรคนใหม่ของสานักงาน...นางชลาภรณ์ ทองรัตน์ ลูกหลานของพี่นอ้ งอาเภอบางสะพานน้อย ..รับผิดชอบประสานงานตาบลไชย ราชและตาบลปากแพรก.... เรือ ่ งเล่ำ...งำนพ ัฒนำชุมชน
ถนนคอนกรีต......กับงานพัฒนาชุมชน
เจ้าของ สนง.พัฒนาชุมชนอาเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ปรึกษา นายสมพร ปัจฉิมเพ็ชร นายอาเภอบางสะพานน้อย นายทนงศักดิ์ รุ่งรัศมี ปลัดอาเภออาวุโส
กองบรรณาธิการ นายธวัช อนิลบล นายชาตรี วรรณ์สุทธิ นางชลาภรณ์ ทองรัตน์ น.ส.สุพัตรา ชุมยวง
พัฒนาการอาเภอบางสะพานน้อย นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ
พบผู้ใหญ่บ้าน...ท่านหนึ่ง ตังแต่สมัยผม บรรจุเป็นพัฒนากรใหม่ ๆ เจอกันโดยบังเอิญ.. ถามสารทุกข์ สุขดิบ..ท่านบอกผมว่า ..ถนน คอนกรีตเสริมไม้ไผ่..ที่ทาตังแต่ผมอยู่เป็นพัฒนา กรใหม่ ๆ ยังอยู่ดี..ท่านบอกยังจาได้ ไปตัดไม้ไผ่ เอง ผสมปูนเอง แล้วชาวบ้านช่วยกันทา...ทา จนค่าทุกวัน 1 กม.ใช้เวลาเกือบเดือน..และยิม ทุกครังที่ขับรถบนถนนสายนี..ก่อนเข้าบ้าน ท่านบอกผมด้วยความภาคภูมิใจใน ผลงาน..ที่ท่านสร้างไว้ ผมก็จาได้ถนนคอนกรีต สมัยนัน 1 กิโลเมตร ได้รบั งบประมาณ 1 ล้าน แต่มีเงื่อนไขของโครงการ...ต้องใช้แรงงาน ราษฎร ...ผมคิดในใจสมัยนัน ..เรือ่ งมากจัง เห็น หน่วยงานอื่น ๆ เขาจ้างเหมา..3 วัน 5 วันเสร็จ.. เพื่อนเยาะเย้ยถางถาง...ทาถนนยังไงวะ เดือน หนึ่งแล้วยังไม่เสร็จ..... ถนนคอนกรีตพัฒนาชุมชน จึง
แตกต่างจาก ถนนคอนกรีตของหน่วยงาน อื่น ๆ เพราะงานพัฒนาชุมชน เป็นงาน “กระบวนการมีส่วนร่วม” อัตลักษณ์จึงมี “หลายขันตอนกว่าจะเสร็จ และช้า” แต่สิ่งที่ได้ฟังวันนี...ที่เจอกับ ผู้ใหญ่บ้าน ผมคิดว่าสิ่งที่ได้อย่างหนึ่งจาก กระบวนการมีส่วนร่วมดังกล่าว “คือความ ภาคภูมิใจ และความรู้สึกเป็นเจ้าของ” ที่ ตกทอดจนมาถึงปัจจุบัน จากอดีต ถึงปัจจุบัน งานพัฒนา ชุมชน ยังเป็นงานพัฒนาชุมชนอยู่...ที่ต้อง หาวิธีการให้คนอื่น.. “คิดได้ และทาเป็น ด้วยตนเอง” งานพัฒนาชุมชนจึงเป็นงานที่ ยาก..ที่คนรุ่นใหม่ ไม่ค่อยนิยมทา...ทาให้ เสียดีกว่า ง่ายดีด้วย และเร็ว...