มาตรฐานความรู้คน พช.

Page 1



ชื่อหนังสือ พิมพ์ครั้งที่ ปีที่พิมพ์ จํานวน จัดพิมพ์ที่ หมายเหตุ

มาตรฐานความรู้ความสามารถและทักษะ ข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ ๑,๒๐๐ เล่ม บริษัท บีทีเอส เพรส จํากัด ๑๒๑/๓๐ หมู่ทื่ ๔ ซอยรามอินทรา ๑๙ ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ เอกสารฉบับนี้ พัฒนาจากมาตรฐานความรู้ความสามารถและทักษะข้าราชการพลเรือน ฉบับ พ.ศ.๒๕๕๒ และความรู้ ทักษะ และสมรรถนะประจําตําแหน่งข้าราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐


คํานํา ตามที่กรมการพัฒนาชุมชน ได้กําหนดมาตรฐานความรู้ความสามารถและทักษะข้าราชการ กรมการพั ฒ นาชุ ม ชน เพื่ อ เป็ น แนวทางในการพัฒ นาข้า ราชการให้ มีค วามรู้ค วามสามารถและทั ก ษะ เป็น ไปตามมาตรฐาน ที่ก รมการพัฒ นาชุม ชนพึง ประสงค์ โดยได้เ ผยแพร่ ประชาสัม พัน ธ์ ให้ข้า ราชการ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคทราบ และถือปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๐ นั้น สํานักงาน ก.พ. ได้ปรับเปลี่ยนมาตรฐานความรู้ความสามารถและทักษะข้าราชการพลเรือนสามัญ เพื่อให้สอดคล้องตามความในมาตรา ๘ (๓) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ โดยให้ทุกส่วนราชการถือปฏิบัติในทางเดียวกัน จากการปรับเปลี่ยนแนวทางดังกล่าว กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้แต่งตั้งคณะทํางานดําเนินการปรับปรุงมาตรฐานความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะข้าราชการ กรมการพัฒนาชุมชน และได้จัดทํา “มาตรฐานความรู้ความสามารถและทักษะ ข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ฉบับ ปรับ ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔” เพื่อ ให้ส อดคล้อ งกับ แนวทางที่สํา นัก งาน ก.พ. กํา หนด และตามระบบ จําแนกตําแหน่งใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้าราชการในสังกัดทุกคน มีเครื่องมือสําหรับศึกษา ทําความเข้าใจ เกี่ยวกับความรู้ความสามารถและทักษะของข้าราชการที่กรมการพัฒนาชุมชนคาดหวังและพึงประสงค์ และ คาดหวังให้ข้าราชการได้รับการพัฒนาศักยภาพให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะ ไปสู่มาตรฐานที่กําหนด อีกทั้ง สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เอกสารฉบับนี้ จึงเป็นส่วนหนึ่งของการกําหนดแนวทางการพัฒนาสายงานอาชีพ เพื่อการวางแผน ความก้าวหน้าของแต่ละตําแหน่งงาน และเป็นเครื่องมือสําหรับผู้บังคับบัญชาทุกคน ในการประเมินและพัฒนา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและทักษะตามมาตรฐานของแต่ละตําแหน่งงาน และสอดคล้อง ตามความคาดหวังของกรมการพัฒนาชุมชน

กรมการพัฒนาชุมชน มิถุนายน ๒๕๕๔


สารบัญ คํานํา มาตรฐานความรู้ความสามารถ ที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงานของข้าราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ๑. ความรูค้ วามสามารถทีใ่ ช้ในการปฏิบัติงาน y ความรู้ความสามารถด้านการพัฒนาชุมชน y ความรู้ความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา y ความรู้ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์ความรู้ y ความรู้ความสามารถด้านองค์กรและระบบราชการ y ความรู้ความสามารถด้านการบริหารงบประมาณ y ความรู้ความสามารถด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล y ความรู้ความสามารถด้านการบริหารสารสนเทศ y ความรู้ความสามารถด้านการบริหารแผนงาน/โครงการ y ความรู้ความสามารถด้านงานธุรการและงานสารบรรณ y ความรู้ความสามารถด้านการเงิน การคลัง และการบัญชี ๒. ความรูเ้ รื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ y กฎหมายรัฐธรรมนูญ y กฎหมายปกครอง y ระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน y ระดับความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ

มาตรฐานทักษะ ที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัตงิ านของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน y ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ y ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ y ทักษะการคํานวณ y ทักษะการจัดการข้อมูล y ทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการ

มาตรฐานระดับความรู้ความสามารถและทักษะ ข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน y ตําแหน่งประเภททั่วไป y ตําแหน่งประเภทวิชาการ y ตําแหน่งประเภทอํานวยการ y ตําแหน่งประเภทบริหาร

๑ ๒ ๓ ๕ ๖ ๘ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๖ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๑๙ ๒๑

๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๔ ๒๕ ๒๕

๒๖ ๒๗ ๓๐ ๓๕ ๓๘



มาตรฐานความรู้ความสามารถ ที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ความรู้ความสามารถ หมายถึง องค์ความรู้ต่างๆ ที่ข้าราชการแต่ละประเภทตําแหน่ง/สายงาน จําเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานในตําแหน่ง โดยจําแนกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. ความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ๒. ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ

๑. ความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน กรมการพัฒนาชุมชน กําหนดความรู้ความสามารถที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหน่ง ของ ข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ไว้ ๑๐ ด้าน ดังนี้ ๑.๑ ความรู้ความสามารถด้านการพัฒนาชุมชน ( Community Development ) ๑.๒ ความรู้ความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา ( Research and Development ) ๑.๓ ความรู้ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์ความรู้ ( Knowledge Management ) ๑.๔ ความรู้ความสามารถด้านองค์กรและระบบราชการ ( Organization and Bureaucracy ) ๑.๕ ความรู้ความสามารถด้านการบริหารงบประมาณ ( Budget Management ) ๑.๖ ความรู้ความสามารถด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ( Human Recourse Management ) ๑.๗ ความรู้ความสามารถด้านการบริหารสารสนเทศ ( Information Technology Management ) ๑.๘ ความรู้ความสามารถด้านการบริหารแผนงาน/โครงการ ( Project Management ) ๑.๙ ความรู้ความสามารถด้านงานธุรการและงานสารบรรณ ( General Affairs ) ๑.๑๐ ความรู้ความสามารถด้านการเงิน การคลัง และการบัญชี ( Financial and Accountings )

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน


ชื่อความรู้ความสามารถ การพัฒนาชุมชน คําจํากัดความ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ ปรัชญาการพัฒนาชุมชน ความสามารถ ในการพัฒนาศักยภาพผู้นํา/กลุ่ม/องค์กร/เครือข่ายชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการพัฒนาทุนชุมชน โดยสามารถดําเนินการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ยึดหลักชุมชน เป็นศูนย์กลาง (people-centered approach) และหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน (community participation) ในการคิด ตัดสินใจ วางแผนแก้ไขปัญหา และพัฒนาชุมชน เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ระดับความรู้ความสามารถด้านการพัฒนาชุมชน ตําแหน่งประเภททั่วไป คําอธิบายระดับ ระดับ ระดับที่ ๑ มีความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ ปรัชญาการพัฒนาชุมชน มี ค วามรู้ ค วามสามารถตามที่ กํ า หนดไว้ ใ นระดั บ ที่ ๑ และมี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ การส่ ง เสริ ม ระดับที่ ๒ กระบวนการเรียนรู้ที่ยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๒ และมีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชน ระดับที่ ๓ ในภาพรวม เช่น การพัฒนาศักยภาพผู้นํา/กลุ่ม/องค์กร/เครือข่ายชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาทุนชุมชน มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความรู้ ความสามารถ ในการสนับสนุน ระดับที่ ๔ การดําเนินงานพัฒนาชุมชนให้บรรลุผลสําเร็จตามเป้าหมาย ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ ระดับที่ ๑

คําอธิบายระดับ

มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา และมีความรู้พื้นฐานด้านการพัฒนาชุมชน สามารถนําความรู้มาใช้ใน การปฏิบัติหน้าที่ราชการ ของกรมการพัฒนาชุมชนได้

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความเข้าใจในทฤษฎีหลักการ แนวคิด และปรัชญาการพัฒนาชุมชน รวมทั้งสามารถถ่ายทอดได้ มี ค วามรู้ค วามสามารถตามที่กําหนดไว้ใ นระดั บที่ ๒ และมี ค วามรู้ ความเข้าใจอย่า งถ่องแท้ ระดับที่ ๓ เกี่ยวกับลักษณะงาน ทฤษฎีหลักการ แนวคิด และปรัชญาการพัฒนาชุมชน จนสามารถนํามา ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญในงานพัฒนาชุมชน และ ระดับที่ ๔ สามารถแก้ไขปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้ง ให้คําปรึกษาแนะนําเกี่ยวกับงานพัฒนาชุมชนได้ ระดับที่ ๒

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ และเป็นผู้เชี่ยวชาญในงานพัฒนาชุมชน ระดับที่ ๕ เนื่องจากการสั่งสมประสบการณ์และองค์ความรู้ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาระดับบริหาร หรือปฏิบัติ หน้าที่ราชการที่ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาทางวิชาการพัฒนาชุมชนที่ยากและซับซ้อนเป็นพิเศษ มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน


ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๒ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๓ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๕ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน


ชื่อความรู้ความสามารถ การวิจัยและพัฒนา คําจํากัดความ ความรู้ ความสามารถในการค้นคว้า แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ โดยมุ่งแสวงหาข้อเท็จจริง เกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่ศึกษา เพื่อใช้ทดสอบ หรือสร้างทฤษฎีอธิบายปรากฏการณ์จริง ในการตอบปัญหาต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิธีการที่เป็นระบบและข้อมูลเชื่อถือได้ โดยสามารถนําความรู้ จากการวิจัยมาประยุกต์ใช้ ในการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องได้ ระดับความรู้ความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา ตําแหน่งประเภททั่วไป : ไม่กําหนดความรู้ความสามารถด้านนี้ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑

มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา และมีความรู้พื้นฐานด้านการวิจัย สามารถนําความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน พัฒนาชุมชนได้

ระดับที่ ๒

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี การวิจัย รวมทั้งสามารถถ่ายทอดได้

มี ค วามรู้ค วามสามารถตามที่ กําหนดไว้ ใ นระดั บที่ ๒ และมีค วามรู้ ความเข้าใจอย่า งถ่องแท้ ระดับที่ ๓ เกี่ยวกับลักษณะงาน หลักการ แนวคิด ทฤษฎีการวิจัยและพัฒนา จนสามารถนํามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับ สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ระดับที่ ๔

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญในการวิจัยและพัฒนา และ สามารถแก้ไขปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้งให้คําปรึกษาแนะนําได้

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ และเป็นผู้เชี่ยวชาญในการวิจัยและพัฒนา ระดับที่ ๕ เนื่องจากการสั่ง สมประสบการณ์แ ละองค์ค วามรู้ รวมทั้ง เป็น ที่ป รึก ษาระดับ บริห าร หรือ ปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนเป็นพิเศษ ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร : ไม่กําหนดความรู้ความสามารถด้านนี้

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน


ชื่อความรู้ความสามารถ การบริหารจัดการองค์ความรู้ (KM) คําจํากัดความ ความรู้ความสามารถในการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจาย อยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถ เข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ KM ยังหมายถึง “เครื่องมือ” ที่นําไปสู่การบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย ๔ ประการ ได้แก่ ๑) บรรลุเป้าหมายของงาน ๒) บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน ๓) บรรลุเป้าหมาย การพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้ และ ๔) บรรลุเป้าหมายความเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ความเป็นหมู่คณะ และความเอื้ออาทรระหว่างกันในการปฏิบัติงาน ระดับความรู้ความสามารถด้านการบริหารจัดการองค์ความรู้ (KM) ตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ ระดับที่ ๒ ในการจัดการองค์ความรู้ในงานที่ปฏิบัติ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๒ และมีความรู้ ความสามารถ ในการถ่ายทอด ระดับที่ ๓ องค์ความรู้ในงานที่ปฏิบัติ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของทีมงาน และหน่วยงาน มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความรู้ ความสามารถ ในการบริหารจัดการ ระดับที่ ๔ องค์ความรู้ในงานที่ปฏิบัติ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนให้บรรลุผลสําเร็จ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ

คําอธิบายระดับ

มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา และมีความรู้ด้านการบริหารจัดการองค์ความรู้ สามารถนําความรู้มาใช้ ในการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด ระดับที่ ๒ ทฤษฎีของการบริหารจัดการองค์ความรู้ในงานที่ปฏิบัติ รวมทั้งสามารถถ่ายทอดได้ มี ค วามรู้ค วามสามารถตามที่ กําหนดไว้ ใ นระดั บที่ ๒ และมี ค วามรู้ ความเข้าใจอย่า งถ่องแท้ ระดับที่ ๓ เกี่ยวกับลักษณะงาน หลักการ แนวคิด ทฤษฎีของการบริหารจัดการองค์ความรู้ จนสามารถ นํามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญในการบริหารจัดการองค์ความรู้ ระดับที่ ๔ และสามารถแก้ไขปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้งให้คําปรึกษาแนะนําได้ ระดับที่ ๑

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ และเป็นผู้เชี่ยวชาญในการบริหารจัดการองค์ความรู้ ระดับที่ ๕ เนื่องจากการสั่ง สมประสบการณ์แ ละองค์ค วามรู้ รวมทั้ง เป็น ที่ป รึก ษาระดับ บริห าร หรือ ปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนเป็นพิเศษ มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน


ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๒ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๓ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๕ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน


ชื่อความรู้ความสามารถ องค์กรและระบบราชการ คําจํากัดความ ความเข้าใจเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ตามกฎหมาย (กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ) และ ภารกิจงานที่นอกเหนือจากอํานาจหน้าที่ตามกฎหมาย (งานที่ได้รับมอบหมาย) ของ กรมการพัฒนาชุมชนและองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ใ นการปฏิบัติหน้าที่ ให้บรรลุเป้าหมาย ความเข้าใจประเพณีปฏิบัติ ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร เข้าใจข้อจํากัด ขององค์กร และพฤติกรรมองค์กร รวมทั้งความสามารถในการคาดการณ์นโยบายภาครัฐ แนวโน้ ม ทางการเมื อ ง เศรษฐกิ จ สั ง คม เทคโนโลยี และเหตุ ก ารณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ที่จะมีผลต่อระบบงานของกรมการพัฒนาชุมชน ระดับความรู้ความสามารถด้านองค์กรและระบบราชการ ตําแหน่งประเภททั่วไป คําอธิบายระดับ ระดับ ระดับที่ ๑ มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับองค์กรและระบบราชการ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และเข้าใจในรายละเอียดโครงสร้างองค์กร ระดับที่ ๒ สายการบังคับบัญชา กฎ ระเบียบ นโยบาย และขั้นตอนการปฏิบัติงานในงานที่ปฏิบัติอยู่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถตามที่ กํา หนดไว้ ใ นระดั บ ที่ ๒ และมี ค วามสามารถในการถ่ า ยทอด ระดับที่ ๓ สู่ผู้ปฏิบัติงานใหม่ได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และสามารถนําความรู้มาปฏิบัติหน้าที่ราชการ ระดับที่ ๔ ที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กร และสนับสนุนการปฏิบัติงานในภารกิจหลักของกรมการพัฒนาชุมชน ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ได้ ตําแหน่งประเภทวิชาการ คําอธิบายระดับ ระดับ มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา และมีความรู้ด้านองค์กรและระบบราชการ สามารถนําความรู้มาใช้ ระดับที่ ๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียด ระดับที่ ๒ โครงสร้ า งองค์ ก ร กฎ ระเบี ย บ นโยบาย และขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านในระบบราชการ ความสัมพันธ์เชิงอํานาจ ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร รวมทั้งสามารถถ่ายทอดได้ มี ค วามรู้ค วามสามารถตามที่กําหนดไว้ใ นระดั บที่ ๒ และมี ค วามรู้ ความเข้าใจอย่า งถ่องแท้ ระดับที่ ๓ เกี่ ย วกั บ องค์ ก รและระบบราชการ จนสามารถนํ า มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านให้ เ ข้ า กั บ สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญด้านองค์กรและระบบราชการ ระดับที่ ๔ และสามารถแก้ไขปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้ง ให้คําปรึกษาแนะนําได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ และเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านองค์กรและระบบราชการ ระดับที่ ๕ เนื่องจากการสั่งสมประสบการณ์และองค์ความรู้ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาระดับบริหาร หรือปฏิบัติหน้าที่ราชการ ที่ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาทางวิชาการด้านองค์กรและระบบราชการที่ยากและซับซ้อนเป็นพิเศษ มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน


ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๒ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๓ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๕ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน


ชื่อความรู้ความสามารถ การบริหารงบประมาณ คําจํากัดความ ความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ ประเมินลักษณะความสําคัญ วางแผนจัดสรร ควบคุม และติดตามงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากแหล่งงบประมาณต่าง ๆ อาทิ งบกรมการพัฒนาชุมชน งบจังหวัด งบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และงบหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น และความรู้เกี่ยวกับแผนงบประมาณ แผนปฏิบัติราชการ งบรายจ่าย ผลผลิต และการจัดสรร/ถ่ายโอนงบประมาณ ระดับความรู้ความสามารถด้านการบริหารงบประมาณ ตําแหน่งประเภททั่วไป : ไม่กําหนดความรู้ความสามารถด้านนี้ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑

มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา และมีความรู้ด้านการบริหารงบประมาณ สามารถนําความรู้มาใช้ ในการปฏิบัติงานได้

ระดับที่ ๒

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ บริหาร งบประมาณ สามารถปฏิบัติและถ่ายทอดได้

ระดับที่ ๓

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๒ และมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เกี่ยวกับ ลักษณะงานบริหารงบประมาณ และสามารถนําความรู้มาบริหารงบประมาณของหน่วยงานได้เป็นอย่างดี

ระดับที่ ๔

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญในการบริหารงบประมาณ และสามารถแก้ไขปัญหางบประมาณของหน่วยงานที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้งให้คําปรึกษาแนะนําได้

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ และเป็นผู้เชี่ยวชาญในการบริหารงบประมาณ ระดับที่ ๕ เนื่องจากการสั่งสมประสบการณ์และองค์ความรู้ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาระดับบริหาร หรือปฏิบัติ หน้าที่ราชการที่ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหางบประมาณของหน่วยงานที่ยากและซับซ้อนเป็นพิเศษ ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๒ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๓ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๕ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๐


ชื่อความรู้ความสามารถ การบริหารทรัพยากรบุคคล คําจํากัดความ ความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ในบทบาทของการบริหาร “ทุนมนุษย์” ทั้งในการวางแผนด้านทรัพยากรบุคคล การสรรหา การบรรจุแต่งตั้ง การอํานวยความรู้ การพัฒนาบุคลากร การสร้างและพัฒนาทีมงาน การควบคุมและกํากับ ดูแลการปฏิบัติงาน การติดตามและประเมินผลการปฏิ บัติงาน การเสริมสร้างวินัย คุณธรรม/จริยธรรม และการส่งเสริมคุณภาพชีวิตในการปฏิบัติงาน ระดับความรู้ความสามารถด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ตําแหน่งประเภททั่วไป : ไม่กําหนดความรู้ความสามารถด้านนี้ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑

มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา และและมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล สามารถนําความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงานได้

ระดับที่ ๒

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด ทฤษฎีการบริหารทรัพยากรบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายทอดได้

มี ค วามรู้ค วามสามารถตามที่ กําหนดไว้ ใ นระดั บที่ ๒ และมีค วามรู้ ความเข้าใจอย่า งถ่องแท้ ระดับที่ ๓ เกี่ยวกับลักษณะงาน หลัก การ แนวคิด ทฤษฎี ข องการบริ ห ารทรัพ ยากรบุค คล จนสามารถ นํามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ ระดับที่ ๔

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญในการบริหารทรัพยากรบุคคล ของหน่วยงาน และสามารถแก้ไขปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้งให้คําปรึกษาแนะนําได้

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ และเป็นผู้เชี่ยวชาญในการบริหารทรัพยากรบุคคล ระดับที่ ๕ เนื่องจากการสั่งสมประสบการณ์และองค์ความรู้ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาระดับบริหาร หรือปฏิบัติ หน้าที่ราชการที่ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานได้ ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๒ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๓ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๕ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๑


ชื่อความรู้ความสามารถ การบริหารสารสนเทศ คําจํากัดความ ความรู้ ความสามารถในการบริหารจัดการข้อมูลที่เกี่ยวกับงานพัฒนาชุมชน โดยการนําระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการวิเคราะห์ บันทึก จัดเก็บ และประมวลผลข้อมูล ซึ่งเป็นข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้มีความเหมาะสมกับการใช้งาน เป็นปัจจุบัน ทันเวลา ที่กําหนด มีคุณภาพ และอยู่ในรูปแบบที่สามารถใช้งานได้ ระดับความรู้ความสามารถด้านการบริหารสารสนเทศ ตําแหน่งประเภททั่วไป : ไม่กําหนดความรู้ความสามารถด้านนี้ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑

มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา และมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารสารสนเทศ สามารถนําความรู้ มาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการได้

ระดับที่ ๒

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด ทฤษฎีของการบริหารสารสนเทศ รวมทั้งสามารถถ่ายทอดได้

มี ค วามรู้ค วามสามารถตามที่ กําหนดไว้ ใ นระดั บที่ ๒ และมีค วามรู้ ความเข้าใจอย่า งถ่องแท้ ระดับที่ ๓ เกี่ยวกับลักษณะงาน หลักการ แนวคิด ทฤษฎีของการบริหารสารสนเทศ จนสามารถนํามา ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ระดับที่ ๔

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญในการบริหารสารสนเทศ และ สามารถแก้ไขปัญหาด้านสารสนเทศของหน่วยงานที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้งให้คําปรึกษาแนะนําได้

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ และเป็นผู้เชี่ยวชาญในการบริหารสารสนเทศ ระดับที่ ๕ เนื่องจากการสั่งสมประสบการณ์และองค์ความรู้ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาระดับบริหาร หรือปฏิบัติ หน้าที่ราชการที่ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาด้านสารสนเทศที่ยากและซับซ้อนเป็นพิเศษ ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๒ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๓ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๕ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๒


ชื่อความรู้ความสามารถ การบริหารแผนงาน โครงการ คําจํากัดความ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการในการดําเนินโครงการ หรือกิจกรรมที่มีลักษณะ ความพิเศษ และไม่ซ้ํา ซ้อ นกับ การดํา เนิน งานประจํา วัน โดยสามารถวางแผน ดําเนินการ ควบคุม ประเมินผลสําเร็จ และรายงานผลแผนงาน/โครงการได้ ซึ่งกลยุทธ์ หรื อ แนวทางการดํา เนิ น งานมี ค วามแตกต่ า งจากการบริ ห ารงานประจํา หรื อ การบริหารงานทั่วไป เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ภายใต้กรอบเวลา บุคลากร และงบประมาณ ระดับความรู้ความสามารถด้านการบริหารแผนงาน โครงการ ตําแหน่งประเภททั่วไป : ไม่กําหนดความรู้ความสามารถด้านนี้ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑

มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา และและมีความรู้ด้านการดําเนินงานแผนงาน /โครงการ สามารถ นําความรู้มาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการได้

ระดับที่ ๒

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการบริหารแผนงาน/โครงการ รวมทั้งสามารถถ่ายทอดได้

ระดับที่ ๓

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๒ และมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เกี่ยวกับ การบริหารแผนงาน/โครงการ และสามารถประเมินผลแผนงาน/โครงการได้

ระดับที่ ๔

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญในการบริหารแผนงาน/โครงการ โดยสามารถประเมินผลและแก้ไขปัญหาโครงการที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้งให้คําปรึกษาแนะนําได้

มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ และเป็นผู้เชี่ยวชาญในการบริหารแผนงาน/โครงการ ระดับที่ ๕ เนื่องจากการสั่งสมประสบการณ์และองค์ความรู้ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาระดับบริหาร หรือปฏิบัติ หน้าที่ราชการที่ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาการบริหารแผนงาน/โครงการที่ยากและซับซ้อนเป็นพิเศษ ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๒ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๓ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๕ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๓


ชื่อความรู้ความสามารถ งานธุรการ และงานสารบรรณ คําจํากัดความ ความรู้ความสามารถในงานเลขานุการ งานการประชุม งานบุคลากรและสวัสดิการ งานติด ต่ อ ประสานงาน งานการเงิ น งานพั ส ดุ งานสนั บ สนุ น และบริ ก ารต่า ง ๆ (เช่น งานช่าง งานซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์สํานักงาน เป็นต้น) และงานบริหารเอกสารทั้งปวง (ซึ่งไม่ใช่งานด้านวิชาการ) ตั้งแต่ การคิด ร่าง เขียน อ่าน แต่ง พิมพ์ จด ทําสําเนา ส่ง หรือสื่อข้อความ รับ บันทึก จดรายงานการประชุม สรุป ย่อเรื่อง เสนอ สั่งการ ตอบ ทํารหัส เก็บเข้าที่ ค้นหา ติดตาม และทําลาย ทั้งนี้ต้องเป็นระบบที่ให้ความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เพื่อประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่าย ระดับความรู้ความสามารถด้านงานธุรการและงานสารบรรณ ตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับ

คําอธิบายระดับ

มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจในการปฏิ บั ติ ง านธุ ร การและงานสารบรรณ และสามารถปฏิ บั ติ ง าน ได้ถูกต้องตามระบบงาน มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และ ระดับที่ ๒ ความชํานาญในงานธุรการและงานสารบรรณ และสามารถถ่ายทอดได้อย่างถูกต้องแม่นยํา มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๒ และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ระดับที่ ๓ และความชํา นาญงาน หรือ มีทัก ษะในงานธุร การและงานสารบรรณในเชิง เทคนิค หรือ ความสามารถเฉพาะทางระดับสูง มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ระดับที่ ๔ และความชํ านาญงาน หรือมีทักษะในงานธุรการและงานสารบรรณในเชิงเทคนิค หรือ ความสามารถเฉพาะทางระดับสูงมากพิเศษ เป็นที่ยอมรับขององค์กร และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง ระดับที่ ๑

ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญา และมีความรู้พื้นฐานเรื่องงานธุรการและงานสารบรรณ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานธุรการ และงานสรบรรณได้อย่างถูกต้อง มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๒ และมีความรู้ความเข้าใจในระบบ/วิธีการปฏิบัติงาน ระดับที่ ๓ ธุรการเชิงเทคนิคเบื้องต้น และสามารถสอนแนะงาน/ตรวจสอบความถูกต้องในงานธุรการและ งานสารบรรณได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความรู้ความเข้าใจในระบบ/วิธีการปฏิบัติงาน ระดับที่ ๔ ธุรการเชิงเทคนิคระดับสูง และเป็นที่ปรึกษาในเชิงการบริหารงานธุรการและงานสารบรรณ มีค วามรู้ค วามสามารถตามที่กํา หนดไว้ใ นระดับ ที่ ๔ และเป็นผู้รู้ /ผู้บริหารที่สามารถควบคุม ระดับที่ ๕ ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล และสนับสนุนส่งเสริมการบริหารงานธุรการและงานสารบรรณ ได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ ระดับที่ ๒

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๔


ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๒ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๓ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๕ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๕


ชื่อความรู้ความสามารถ การเงิน การคลัง และการบัญชี คําจํากัดความ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนหรือปริมาณของตัวเงิน รายรับ-รายจ่าย ของหน่วยงานภาครัฐ รวมถึงงบประมาณแผ่นดิน ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ระบบการรวบรวม จดบันทึก จําแนกหมวดหมู่ วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลทางการเงินของหน่วยงาน/องค์กร ระดับความรู้ความสามารถด้านการเงิน การคลัง และการบัญชี ตําแหน่งประเภททั่วไป : ไม่กําหนดความรู้ความสามารถด้านนี้ ตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเงิน การคลัง และการบัญชี มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ระดับที่ ๒ และความชํานาญงาน ด้านการเงิน การคลัง และการบัญชี มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๒ และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ระดับที่ ๓ และความชํานาญงาน หรือมีทักษะในงานเชิงเทคนิค หรืองานฝีมือเฉพาะทางระดับสูง ด้านการเงิน การคลัง และการบัญชี มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ระดับที่ ๔ และความชํานาญงาน หรือมีทักษะในงานเชิงเทคนิค หรืองานฝีมือเฉพาะทางระดับสูงมาก ด้านการเงิน การคลัง และการบัญชี จนได้รับการยอมรับในระดับกรมฯ และหน่วยงานภายนอก ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับ ระดับที่ ๑ ระดับที่ ๒ ระดับที่ ๓ ระดับที่ ๔ ระดับที่ ๕

คําอธิบายระดับ มีวุฒิการศึกษาระดับปริ ญญา และมีความรู้เบื้องต้นเกี่ ยวกั บการเงิน การคลัง และการบัญ ชี สามารถนําความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการเงิน การคลัง และการบัญชี และสามารถถ่ายทอดได้ มี ค วามรู้ค วามสามารถตามที่ กําหนดไว้ ใ นระดั บที่ ๒ และมี ค วามรู้ ความเข้าใจอย่า งถ่องแท้ เกี่ยวกับลักษณะงาน หลักการ แนวคิด ทฤษฎีการเงิน การคลัง และการบัญชี สามารถนําความรู้ มาปรับใช้ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญด้านการเงิน การคลัง และการบัญชี และสามารถแก้ไขปัญหาที่ยุ่งยากซับซ้อน รวมทั้งให้คําปรึกษาแนะนําได้ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ และเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน การคลัง และการบัญชี เนื่องจากการสั่งสมประสบการณ์และองค์ความรู้ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาระดับบริหาร หรือปฏิบัติหน้าที่ราชการที่ต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่ยากและซับซ้อนเป็นพิเศษ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๖


ตําแหน่งประเภทอํานวยการ และ ประเภทบริหาร ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๒ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ ระดับที่ ๓ มีความรู้ความสามารถตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๕ ของประเภทตําแหน่งวิชาการ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๗


๒. มาตรฐานความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ หมายถึง ความรู้เรื่องกฎหมายตลอดจนระเบียบต่าง ๆ ที่ต้องใช้ ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงานพัฒนาชุมชน ซึ่งเป็นความรู้ที่ข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน จําเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติราชการ ประกอบด้วย ๒.๑ กฎหมายรัฐธรรมนูญ ๒.๒ กฎหมายปกครอง ๒.๒.๑ ด้านการบริหารราชการ ๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ,พ.ศ. ๒๕๔๕ และ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒) พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะ โดยวิธีประชาพิจารณ์ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๔) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒ ๕) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ๖) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการมอบอํานาจ พ.ศ.๒๕๔๖ ๗) กฎกระทรวงว่าด้วยกลุ่มภารกิจ พ.ศ. ๒๕๔๕ และฉบับอื่น ๒.๒.๒ ด้านการปฏิบัติราชการ ๑) พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๒) พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๓) พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๔) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๐ (ฉบับ ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๕ (ฉบับ ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๘ (ฉบับ ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๕ ๕) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับ-ส่งงานในหน้าที่ราชการ พ.ศ. ๒๕๒๔ ๖) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ๗) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๓๐ ๘) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๓๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐ ๙) ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ๑๐) ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการผ่อนชําระหนี้ ของเจ้าหน้าที่ ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ๒.๒.๓ ด้านการบริหารงานบุคคล ๑) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และกฎ ก.พ. ที่เกี่ยวข้อง ๒) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐมิให้เกี่ยวข้องกับยา เสพติด พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๘


๒.๒.๔ ด้านการบริหารงบประมาณ ๑) พระราชบัญญัติ ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ ๒) พระราชกฤษฎีกาการจ่ายเงินเดือน เงินปี บําเหน็จ บํานาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ. ๒๕๓๕ ๓) พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. ๒๕๒๖ ๔) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารงบประมาณในระดับจังหวัด พ.ศ. ๒๕๒๔ ๕) ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเบี้ยเลี้ยงเดินทาง และค่าเช่าที่พัก ในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. ๒๕๓๔ (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๔๔ ๖) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๘ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๓๙ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๔๑ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๔๒ (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๔ ๗) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๑ (การตั้งงบประมาณสนับสนุนกลุ่มอาชีพ/กลุ่มสตรี) ๘) ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๔๕ ๙) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารงบประมาณจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ๑๐) ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ข้าราชการผู้ได้รับอันตราย หรือการป่วยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๑) ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๒) ประกาศกระทรวงการคลั ง เรื่ อ ง หลั ก เกณฑ์ ก ารจั ด หาพั ส ดุ โดยการประมู ล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒.๓ ระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน ๒.๓.๑ กลุ่มกฎหมายพื้นฐาน ๑) กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒) ระเบีย บกรมการพัฒ นาชุม ชน ว่า ด้ว ยการตรวจราชการของผู ้ต รวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓) ระเบียบหลักเกณฑ์กรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการมอบอํานาจ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๒.๓.๒ กลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชน ๑) พระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒) มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๒๘ เรื่อง การดําเนินโครงการรณรงค์คุณภาพชีวิต โดยใช้เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ๓) มติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๓๒ คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.) มอบให้กรมการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยรับผิดชอบการดําเนินการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ๔) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. ๒๕๓๘ ๕) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยอาสาพัฒนา พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๑๙


๖) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยกองทุนพัฒนาเด็กชนบท ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. ๒๕๔๓ ๗) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยอาสาพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ ๘) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเครื่องหมายผู้นําเยาวชน พ.ศ. ๒๕๑๙ แก้ไขฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๙) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ (คณะกรรมการพัฒนาแผนท้องถิ่น/ประชาคม/แผนชุมชน) ๑๐) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดําเนินงานศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑๑) ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยธงประจําศูนย์เยาวชน พ.ศ. ๒๕๓๑ ๑๒) ระเบี ย บกรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ว่ า ด้ ว ยการกํ า หนดรู ป แบบเข็ ม เชิ ด ชู เ กี ย รติ ข อง ผู้นําอาสาพัฒนาชุมชนดีเด่น พ.ศ. ๒๕๓๗ และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๓) ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการกําหนดรูปแบบเครื่องหมายขององค์กรสตรี และคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑๔) ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยกองทุนส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒.๓.๓ กลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานราก ๑) พระราชบัญ ญัติก องทุน หมู่บ้า นและชุม ชนเมือ งแห่ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๔ และ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๒) พระราชบัญญัติวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓) ระเบี ย บสํา นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยคณะกรรมการอํา นวยการหนึ่ ง ตํา บล หนึ่งผลิตภัณฑ์แห่งชาติ (กอ.นตผ.) พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๔) ระเบี ย บสํา นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยคณะกรรมการกองทุ น หมู่ บ้ า นและ ชุ ม ชนเมื อ งแห่ ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๔ ๕) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการบริหารและการใช้จ่ายโครงการแก้ไขปัญหา ความยากจน พ.ศ. ๒๕๓๖ และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๙ ๖) ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการใช้เงินทุนหมุนเวียนจากโครงการพัฒนา องค์กรประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๗ ๗) ระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ ว่าด้วย การจดทะเบียนนิติบุคคลกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ. ๒๕๔๙ ๘) ระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ว่าด้วย เครือข่ายกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ.๒๕๔๙ ๙) ระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ว่าด้วยการจัดตั้ง และบริหารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๒๐


๒.๓.๔ กลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๑) ระเบีย บกรมการพัฒ นาชุม ชน ว่า ด้ว ยการฌาปนกิจ สงเคราะห์ข ้า ราชการ กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๙ ๒) ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการบริหารอาคารและสถานที่ของวิทยาลัยการพัฒนาชุมชน จังหวัดชลบุรี และศูนย์ฝึกอบรมการพัฒนาชุมชน จังหวัดนครนายก พ.ศ. ๒๕๔๗ ๓) ระเบี ย บกรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ว่ า ด้ ว ยการให้ บ ริ ก ารและการใช้ ห ้ อ งสมุ ด กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๖ ๔) ระเบีย บกรมการพัฒ นาชุม ชน ว่า ด้ว ยการลาศึก ษาเพิ่ม เติม ของข้า ราชการ กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๙ ๕) ข้อบังคับกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยจรรยาข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๒ ๖) ประกาศกรมการพัฒนาชุมชน เรื่อง การศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลาราชการของข้าราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ประกาศ ณ วันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐ ระดับความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการ ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑ มีความรู้ความเข้าใจกฎหมาย หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ราชการงานประจําที่ปฏิบัติอยู่ ระดับที่ ๒

มีความรู้ความเข้าใจตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และสามารถหาคําตอบในทางกฎหมายได้ เมื่อมีข้อสงสัย ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ

มีความรู้ความเข้าใจตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๒ และสามารถนําไปประยุกต์ เพื่อแก้ปัญหา ระดับที่ ๓ ในทางกฎหมาย หรือตอบคําถามข้อสงสัยในการปฏิบัติหน้าที่ราชการให้แก่หน่วยงานหรือบุคคล ที่เกี่ยวข้องได้ มีความรู้ความเข้าใจตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และมีความรู้ความเข้าใจกฎหมายหรือระเบียบอื่น ระดับที่ ๔ ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายหรือระเบียบในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ รวมทั้งสามารถแนะนํา หรือ ให้คําปรึกษาในภาพรวมได้ ระดับที่ ๕

มีค วามรู ้ค วามเข้า ใจตามที ่กํ า หนดไว้ใ นระดับ ที ่ ๔ และมีค วามเชี ่ย วชาญทางกฎหมาย สามารถให้คําแนะนําปรึกษา วิเคราะห์เหตุผลและแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๒๑



มาตรฐานทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงานในตําแหน่ง ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ทัก ษะ หมายถึง การนํา ความรู้ม าใช้ใ นการปฏิบัติง านจนเกิด ความชํา นาญ และคล่อ งแคล่ว โดยกําหนดทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติราชการ ดังนี้ ๑. ทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ ๑.๑ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ๑.๒ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ๑.๓ ทักษะการคํานวณ ๑.๔ ทักษะการจัดการข้อมูล ๒. ทักษะเฉพาะตามลักษณะการปฏิบัติงานในตําแหน่ง ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน จํานวน ๑ ด้าน คือ ทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการ ชื่อทักษะ การใช้คอมพิวเตอร์ คําจํากัดความ ทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระดับทักษะการใช้คอมพิวเตอร์สําหรับการปฏิบัติงาน ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑

สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระดับเบื้องต้นได้

ระดับที่ ๒

มีทักษะระดับที่ ๑ และสามารถใช้โปรแกรมขั้นพื้นฐานได้อย่างคล่องแคล่ว

ระดับที่ ๓

มีทักษะระดับที่ ๒ และสามารถใช้โปรแกรมต่างๆในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่ว

ระดับที่ ๔ ระดับที่ ๕

มีทักษะระดับที่ ๓ และมีความเชี่ยวชาญในโปรแกรมที่ใช้ หรือสามารถแก้ไขหรือปรับปรุงโปรแกรม เพื่อนํามาพัฒนาระบบการปฏิบัติงานได้ มีทักษะระดับที่ ๔ และมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง เชี่ยวชาญ ในโปรแกรมต่างๆอย่างกว้างขวาง หรือ สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาระบบการปฏิบัติงานได้

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๒๓


ชื่อทักษะ การใช้ภาษาอังกฤษ คําจํากัดความ ทักษะในการนําภาษาอังกฤษมาใช้ในการปฏิบัติงาน ระดับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษสําหรับการปฏิบัติงาน ระดับ ระดับที่ ๑ ระดับที่ ๒ ระดับที่ ๓ ระดับที่ ๔ ระดับที่ ๕

คําอธิบายระดับ สามารถพูด เขียน อ่าน และฟังภาษาอังกฤษในระดับเบื้องต้น และสื่อสารให้เข้าใจได้ มีทักษะระดับที่ ๑ และสามารถพูด เขียน อ่าน และฟังภาษาอังกฤษ และทําความเข้าใจ สาระสําคัญของเนื้อหาต่างๆ ได้ มีทักษะระดับที่ ๒ และ สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการติดต่อสัมพันธ์ในการปฏิบัติงานได้ โดยถูกหลักไวยากรณ์ มีทักษะระดับที่ ๓ และเข้าใจสํานวนภาษาอังกฤษในรูปแบบต่างๆ สามารถประยุกต์ใช้ในงาน ได้อย่างถูกต้อง ทั้งในหลักไวยากรณ์และความเหมาะสมในเชิงเนื้อหา มีทักษะระดับที่ ๔ และมีความเชี่ยวชาญในการใช้ภาษาอังกฤษอย่างลึกซึ้ง ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา สามารถประยุกต์โวหารทุกรูปแบบได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง และสละสลวย อีกทั้งมีความเชี่ยวชาญ ศัพท์เฉพาะด้านในสาขาวิชาของตนอย่างลึกซึ้ง

ชื่อทักษะ การคํานวณ คําจํากัดความ ทักษะในการทําความเข้าใจและคิดคํานวณข้อมูลต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง ระดับทักษะการคํานวณสําหรับการปฏิบตั ิงาน ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑

มีทักษะในการคิดคํานวณขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว

ระดับที่ ๒

มีทักษะตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๑ และสามารถทําความเข้าใจข้อมูลด้านตัวเลขได้อย่างถูกต้อง

ระดับที่ ๓

มีทักษะตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๒ และสามารถใช้สูตรคณิตศาสตร์ หรือเครื่องมือต่าง ๆ ในการคํานวณข้อมูลด้านตัวเลขได้

ระดับที่ ๔

มีทักษะตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๓ และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และตัวเลขที่ซับซ้อนได้

ระดับที่ ๕

มีทักษะตามที่กําหนดไว้ในระดับที่ ๔ สามารถแก้ไขข้อผิดพลาดในข้อมูลตัวเลขได้เข้าใจข้อมูลต่างๆ ในภาพรวม และอธิบายชี้แจงให้เป็นที่เข้าใจได้

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๒๔


ชื่อทักษะ การจัดการข้อมูล คําจํากัดความ ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูล ตลอดจนวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประโยชน์ในงาน ระดับทักษะการจัดการข้อมูลสําหรับการปฏิบัติงาน ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑

สามารถเก็บรวบรวมข้อมูล ได้อย่างเป็นระบบ และพร้อ มใช้ รวมถึงสามารถแสดงผลข้อมูล ในรูปแบบต่างๆ เช่น กราฟ รายงาน เป็นต้น

ระดับที่ ๒

มีทักษะระดับที่ ๑ และสามารถวิเคราะห์ และประเมินผลข้อมูลได้อย่างถูกต้อง

ระดับที่ ๓ ระดับที่ ๔ ระดับที่ ๕

มีทักษะระดับที่ ๒ และ สามารถสรุปผลการวิเคราะห์ นําเสนอทางเลือก ระบุข้อดีข้อเสีย ฯลฯ โดยอ้างอิง จากข้อมูลที่มีอยู่ได้ มีทักษะระดับที่ ๓ และ สามารถพยากรณ์ หรือสร้างแบบจําลองเพื่อพยากรณ์ หรือ ตีความ โดยอ้างอิงจากข้อมูลที่มีอยู่ มีทักษะระดับที่ ๔ และสามารถออกแบบเลือกใช้ หรือประยุกต์วิธีการในการจัดทําแบบจําลองต่างๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ชื่อทักษะ การเป็นวิทยากรกระบวนการ คําจํากัดความ ทักษะในการเอื้ออํานวยให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สะท้อนประสบการณ์ที่เกิดประโยชน์ ร่วมกันของกลุ่ม โดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ให้กลุ่มเกิดการเรียนรู้ การคิดเป็นระบบมีอิสระทางความคิด และสามารถสื่อสารอย่างตรงไปตรงมาอย่างชัดเจน ระดับทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการ ระดับ

คําอธิบายระดับ

ระดับที่ ๑

มีทักษะการฟังและการสื่อสารที่ดี แสดงออกทางความคิดในเชิงสร้างสรรค์ มีทักษะระดับที่ ๑ และมีการเตรียม และวิเคราะห์ ข้อมูลอย่างเป็นขั้นตอน รู้จักใช้คําพูดที่ตรง ประเด็น ชัดเจน และมีความสามารถในการจัดเวทีประชุม มีทักษะระดับที่ ๒ และสร้างความกระตือรือร้น การจุดประกายความคิด การสร้างบรรยากาศ มุ่งมั่น ชื่นชม แบ่งปัน และมีความสามารถในการใช้กิจกรรมสอดแทรกในจังหวะเวลาที่เหมาะสม มีทักษะระดับที่ ๓ และมีความสามารถในการตั้งคําถามเชิงสร้างสรรค์ ก่อให้เกิดกระบวนการคิดที่ท้าทาย ในการหาคําตอบและมีความสามารถในการสรุปบทเรียนที่ตรงประเด็นเนื้อหาครบถ้วน มีทักษะระดับที่ ๔ และมีทักษะในการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ และมีทักษะ การควบคุมประเด็นและคลี่คลายข้อขัดแย้ง และสามารถสรุปประเด็นเชื่อมโยงให้เห็นภาพรวม มากกว่าการมองประเด็นเล็กหรือแยกส่วน

ระดับที่ ๒ ระดับที่ ๓ ระดับที่ ๔ ระดับที่ ๕

มาตรฐานความรูค้ วามสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๒๕


มาตรฐานระดับความรู้ความสามารถ และทักษะ ที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน


ระดับความรู้ความสามารถ และ ทักษะ

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๒๗


มาตรฐานระดับความรู้ความสามารถ และ ทักษะข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ตํา แหน่ ง ประเภททั่ ว ไป ระดับความรูค้ วามสามารถ

ระดับทักษะ

การพัฒนาชุมชน

การวิจัยและพัฒนา

การบริหารจัดการองค์ความรู้

องค์กรและระบบราชการ

การบริหารงบประมาณ

การบริหารทรัพยากรบุคคล

การบริหารสารสนเทศ

การบริหารแผนงาน/โครงการ

งานธุรการและงานสารบรรณ

การเงิน การคลัง และการบัญชี

ความรูเ้ รื่องกฎหมาย ฯ

การใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ภาษาอังกฤษ

การคํานวณ

การจัดการข้อมูล

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

ความรูค้ วามสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

๑ เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน

O๑ O๒ O๓

๑ ๒ ๓

-

๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓

-

-

-

-

๑ ๒ ๓

-

๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒

๒ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี

O๑ O๒ O๓

๑ ๒ ๓

-

๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓

-

-

-

-

๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓

๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒

-

O๑

-

-

-

-

-

-

-

O๒

-

-

-

-

-

-

-

O๓

-

-

-

-

-

-

-

ที่

ตําแหน่ง

๓ เจ้าพนักงานธุรการ

ระดับ

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๒๘


ระดับความรูค้ วามสามารถ

ระดับทักษะ

การบริหารสารสนเทศ

การบริหารแผนงาน/โครงการ

งานธุรการและงานสารบรรณ

การเงิน การคลัง และการบัญชี

ความรูเ้ รื่องกฎหมาย ฯ

การใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ภาษาอังกฤษ

การคํานวณ

การจัดการข้อมูล

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

๗ นายช่างโยธา

การบริหารทรัพยากรบุคคล

๖ เจ้าพนักงานห้องสมุด

การบริหารงบประมาณ

๕ เจ้าพนักงานพัสดุ

องค์กรและระบบราชการ

๔ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา

การบริหารจัดการองค์ความรู้

ตําแหน่ง

การวิจัยและพัฒนา

ที่

การพัฒนาชุมชน

ความรูค้ วามสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

-

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

-

-

-

-

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ -

๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒

๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒ ๑ ๑ ๒

-

ระดับ

O๑ O๒ O๓ O๑ O๒ O๓ O๑ O๒ O๓ O๑ O๒ O๓

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๒๙


ระดับความรู้ความสามารถ และ ทักษะ

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๐


มาตรฐานระดับความรู้ความสามารถ และ ทักษะข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ตํา แหน่ ง ประเภทวิ ช าการ ระดับความรูค้ วามสามารถ

ระดับทักษะ

การบริหารจัดการองค์ความรู้

องค์กรและระบบราชการ

การบริหารงบประมาณ

การบริหารทรัพยากรบุคคล

การบริหารสารสนเทศ

การบริหารแผนงาน/โครงการ

งานธุรการและงานสารบรรณ

การเงิน การคลัง และการบัญชี

ความรูเ้ รื่องกฎหมาย ฯ

การใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ภาษาอังกฤษ

การคํานวณ

การจัดการข้อมูล

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

ตําแหน่ง

การวิจัยและพัฒนา

ที่

การพัฒนาชุมชน

ความรูค้ วามสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

K๑

-

-

-

K๒

-

-

-

K๒

-

K๓

-

K๔

-

ระดับ

๑ นักวิชาการพัฒนาชุมชน พัฒนากร นักวิชาการ ระดับจังหวัด นักวิชาการ ระดับกรม พัฒนาการอําเภอ หัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่าย (จังหวัด/กรมฯ) นักวิชาการพัฒนาชุมชนเชี่ยวชาญ

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๑


ระดับความรูค้ วามสามารถ

ระดับทักษะ

การบริหารสารสนเทศ

การบริหารแผนงาน/โครงการ

งานธุรการและงานสารบรรณ

การเงิน การคลัง และการบัญชี

ความรูเ้ รื่องกฎหมาย ฯ

การใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ภาษาอังกฤษ

การคํานวณ

การจัดการข้อมูล

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

๕ นักจัดการงานทั่วไป

การบริหารทรัพยากรบุคคล

๔ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

การบริหารงบประมาณ

๓ นักวิชาการตรวจสอบภายใน

องค์กรและระบบราชการ

๒ นักทรัพยากรบุคคล

การบริหารจัดการองค์ความรู้

ตําแหน่ง

การวิจัยและพัฒนา

ที่

การพัฒนาชุมชน

ความรูค้ วามสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ -

๒ ๒ ๓ ๒ ๒ ๓ ๒ ๒ ๓ ๒ ๒ ๓

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๒ ๓ ๓ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ ๒ ๒ ๒

๒ ๓ ๔ ๑ ๑ ๒ -

ระดับ

K๑ K๒ K๓ K๑ K๒ K๓ K๑ K๒ K๓ K๑ K๒ K๓

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๒


ระดับความรูค้ วามสามารถ

ระดับทักษะ

การบริหารสารสนเทศ

การบริหารแผนงาน/โครงการ

งานธุรการและงานสารบรรณ

การเงิน การคลัง และการบัญชี

ความรูเ้ รื่องกฎหมาย ฯ

การใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ภาษาอังกฤษ

การคํานวณ

การจัดการข้อมูล

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

๙ นักวิเทศสัมพันธ์

การบริหารทรัพยากรบุคคล

๘ นักวิชาการพัสดุ

การบริหารงบประมาณ

๗ นักวิชาการคอมพิวเตอร์

องค์กรและระบบราชการ

๖ นักวิชาการเงินและบัญชี

การบริหารจัดการองค์ความรู้

ตําแหน่ง

การวิจัยและพัฒนา

ที่

การพัฒนาชุมชน

ความรูค้ วามสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒

๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒

๑ ๒ ๓ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ -

๒ ๒ ๓ ๒ ๒ ๓ ๒ ๒ ๓ ๒ ๒ ๓

๒ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ ๔

๓ ๔ ๔ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒

-

ระดับ

K๑ K๒ K๓ K๑ K๒ K๓ K๑ K๒ K๓ K๑ K๒ K๓

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๓


ระดับความรูค้ วามสามารถ

ระดับทักษะ

การบริหารงบประมาณ

การบริหารทรัพยากรบุคคล

การบริหารสารสนเทศ

การบริหารแผนงาน/โครงการ

งานธุรการและงานสารบรรณ

การเงิน การคลัง และการบัญชี

ความรูเ้ รื่องกฎหมาย ฯ

การใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ภาษาอังกฤษ

การคํานวณ

การจัดการข้อมูล

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

๑๑ นิติกร

องค์กรและระบบราชการ

๑๐ นักประชาสัมพันธ์

การบริหารจัดการองค์ความรู้

ตําแหน่ง

การวิจัยและพัฒนา

ที่

การพัฒนาชุมชน

ความรูค้ วามสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

K๑

-

-

-

K๒

-

K๓

-

K๑

-

-

-

-

K๒

-

-

K๓

-

-

ระดับ

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๔


ระดับความรู้ความสามารถ และ ทักษะ

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๕


มาตรฐานระดับความรู้ความสามารถ และ ทักษะข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ตํา แหน่ ง ประเภทอํา นวยการ ระดับความรูค้ วามสามารถ

ระดับทักษะ

การบริหารทรัพยากรบุคคล

การบริหารสารสนเทศ

การบริหารแผนงาน/โครงการ

งานธุรการและงานสารบรรณ

การเงิน การคลัง และการบัญชี

ความรูเ้ รื่องกฎหมาย ฯ

การใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ภาษาอังกฤษ

การคํานวณ

การจัดการข้อมูล

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

๓ ผู้อํานวยการศูนย์สารสนเทศฯ

การบริหารงบประมาณ

๒ ผู้อํานวยการสํานัก ทุกสํานัก

องค์กรและระบบราชการ

๑ ผู้ตรวจราชการกรม

การบริหารจัดการองค์ความรู้

ตําแหน่ง

การวิจัยและพัฒนา

ที่

การพัฒนาชุมชน

ความรูค้ วามสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

M๒

-

-

-

M๑

-

-

-

M๒

-

-

-

M๑

-

-

-

M๒

-

-

-

ระดับ

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๖


ระดับความรูค้ วามสามารถ

ระดับทักษะ

ตําแหน่ง

ระดับ การพัฒนาชุมชน

การวิจัยและพัฒนา

การบริหารจัดการองค์ความรู้

องค์กรและระบบราชการ

การบริหารงบประมาณ

การบริหารทรัพยากรบุคคล

การบริหารสารสนเทศ

การบริหารแผนงาน/โครงการ

งานธุรการและงานสารบรรณ

การเงิน การคลัง และการบัญชี

ความรูเ้ รื่องกฎหมาย ฯ

การใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ภาษาอังกฤษ

การคํานวณ

การจัดการข้อมูล

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

ความรูค้ วามสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

ผู้อํานวยการสถาบัน ๔ การพัฒนาชุมชน

M๑

-

-

M๒

-

-

M๑

-

-

-

M๒

-

-

-

๖ ผู้อํานวยการกองการเจ้าหน้าที่

M๑

-

-

-

๗ ผู้อํานวยการกองแผนงาน

M๑

-

-

-

๘ ผู้อํานวยการกองคลัง

M๑

-

-

๙ เลขานุการกรม

M๑

-

-

-

ที่

๕ พัฒนาการจังหวัด

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๗


ระดับความรู้ความสามารถ และ ทักษะ

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๘


มาตรฐานระดับความรู้ความสามารถ และ ทักษะข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ตํา แหน่ ง ประเภทบริ ห าร ระดับความรูค้ วามสามารถ

ระดับทักษะ

การพัฒนาชุมชน

การวิจัยและพัฒนา

การบริหารจัดการองค์ความรู้

องค์กรและระบบราชการ

การบริหารงบประมาณ

การบริหารทรัพยากรบุคคล

การบริหารสารสนเทศ

การบริหารแผนงาน/โครงการ

งานธุรการและงานสารบรรณ

การเงิน การคลัง และการบัญชี

ความรูเ้ รื่องกฎหมาย ฯ

การใช้คอมพิวเตอร์

การใช้ภาษาอังกฤษ

การคํานวณ

การจัดการข้อมูล

การเป็นวิทยากรกระบวนการ

ความรูค้ วามสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

๑ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

S๒

-

-

-

๒ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

S๑

-

-

-

ที่

ตําแหน่ง

ระดับ

มาตรฐานความรู้ความสามารถ และทักษะที่จําเป็นสําหรับการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน

๓๙


คณะที่ปรึกษา นายสุรชัย นางกอบแก้ว นายพิสันติ์ นายนิสิต นายมนตรี นายสุเทพ นายวิทยา นายบุญเอื้อ นายสวัสดิ์

ขันอาสา จันทร์ดี ประทานชวโน จันทร์สมวงศ์ นาคสมบูรณ์ วุฒิศักดิ์ จันทร์ฉลอง โพชนุกูล อินทวงศ์

อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ผู้ตรวจราชการกรม ผู้ตรวจราชการกรม ผู้อํานวยการสํานักภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน อ.ก.พ.กรมการพัฒนาชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล อ.ก.พ.กรมการพัฒนาชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย

คณะทํางานปรับปรุงความรู้ความสามารถ และทักษะ ข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช นางสาวปราณี มีนาค นายชอบ ชอบชื่นชม นายภูษิต ลัทธิธนธรรม นายประเสริฐ ตันสาโรจน์วนิช นางสาวฉัตรประอร นิยม นายกิติพล เวชกุล นายคมสิทธิ์ สุริยวรรณ นางเพียงจิต บุญโต นายสุขุม ธรรมประทีป นางสาวจุฑาทิพย์ สมปราชญานันท์ นางวนิดา ม่วงศิลปะชัย นางกาญจนา รอดแก้ว นางสิรินญา เดชขํา นายเฉลิมพงษ์ หัตถา นางสาวเรณุมาศ รอดเนียม นางกมลวรรณ ถาวร นายสามภพ ศิริจันทรางกูร นายเอกฉัตร กันหอม

ผู้อํานวยการกองการเจ้าหน้าที่ หัวหน้าคณะทํางาน ผอ.กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคล สถาบันการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานส่งเสริมมาตรฐานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล สถาบันการพัฒนาชุมชน หัวหน้ากลุ่มงานทะเบียนประวัติและบําเหน็จความชอบ กองการเจ้าหน้าที่ หัวหน้ากลุ่มงานบรรจุแต่งตั้ง กองการเจ้าหน้าที่ หัวหน้ากลุ่มงานวางแผนอัตรากําลัง กองการเจ้าหน้าที่ หัวหน้ากลุ่มงานสรรหาและประเมินผล กองการเจ้าหน้าที่ หัวหน้ากลุ่มงานเสริมสร้างวินัยและพิทักษ์ระบบคุณธรรม กองการเจ้าหน้าที่ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ กองการเจ้าหน้าที่ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ กองการเจ้าหน้าที่ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ สถาบันการพัฒนาชุมชน นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ สถาบันการพัฒนาชุมชน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ สถาบันการพัฒนาชุมชน นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ กองการเจ้าหน้าที่ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ กองการเจ้าหน้าที่ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ กองการเจ้าหน้าที่ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ สถาบันการพัฒนาชุมชน นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ กองการเจ้าหน้าที่ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ กองการเจ้าหน้าที่


ผู้จัดทํา/เรียบเรียงเนื้อหา นางสาวฉัตรประอร นางเพียงจิต นายสุขุม นางสาวเรณุมาศ

นิยม บุญโต ธรรมประทีป รอดเนียม

หัวหน้ากลุ่มงานวางแผนอัตรากําลัง นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ

รอดเนียม

นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ

ออกแบบรูปเล่ม นางสาวเรณุมาศ

พิสูจน์อักษร นางสาวสุขนันทิพย์ ศรีสมวงษ์ นายสามภพ ศิรจิ ันทรางกูร

ชื่อหนังสือ พิมพ์ครั้งที่ ปีที่พิมพ์ จํานวน จัดพิมพ์ที่ หมายเหตุ

นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

มาตรฐานความรู้ความสามารถและทักษะ ข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ ๑,๒๐๐ เล่ม บริษัท บีทีเอส เพรส จํากัด ๑๒๑/๓๐ หมู่ทื่ ๔ ซอยรามอินทรา ๑๙ ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ เอกสารฉบับนี้ พัฒนาจากมาตรฐานความรู้ความสามารถและทักษะข้าราชการพลเรือน ฉบับ พ.ศ.๒๕๕๒ และความรู้ ทักษะ และสมรรถนะประจําตําแหน่งข้าราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.