สารสองล้อ ธันวาคม 2554

Page 1

คำแนะนำจากผูขาย

มือใหม.. เลือกซื้อจักรยาน

ÁÙŤ‹Ò òõ ºÒ· ÊÁÒªÔ¡..ÃѺ¿ÃÕ!

1


2


3


๘๔ พรรษา มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย



บทบรรณาธิการ นับตัง้ แต่เดือนตุลาคมเรือ่ ยมาจนถึงเดือนพฤศจิกายน ล่วงเข้าสูเ่ ดือน ธันวาคม.. สิง่ ทีเ่ ป็นข่าวใหญ่ในความสนใจของพีน่ อ้ งชาวไทยคือวิกฤตการณ์ น้ำท่วมครัง้ ใหญ่ ไหลบ่ากลืนกินถิน่ อาศัยของพีน่ อ้ งชาวไทย จมอยูใ่ ต้บาดาล

นานนับเดือน เราได้เห็นผูป้ ระสบภัยทีต่ อ้ งพบกับความเดือดร้อน ไร้ทอี่ ยูอ่ าศัย

ทรัพย์สินไร่นาชำรุดเสียหายครั้งใหญ่ แต่เราก็ยังได้เห็นเหล่าผู้มีจิตอาสา

มากมาย บางท่านเป็นทัง้ ผูป้ ระสบภัย บ้างอยูร่ อดปลอดภัยจากน้ำ ต่างร่วมแรง

รวมใจระดมแรงกายแรงใจช่วยเหลือพีน่ อ้ งทีไ่ ด้รบั ความเดือนร้อนอย่างไม่รจู้ กั

เหน็ดเหนือ่ ย แม้แต่ผใู้ ช้จกั รยานหลายกลุม่ ต่างนำเอาความสามารถทีต่ นมี ใช้จกั รยานเป็นสือ่ ออกปัน่ จักรยานช่วยเหลือ หรืออย่างเช่นทีส่ มาคมจักรยานเพือ่

สุขภาพไทย ได้ออกปัน่ จักรยานรับเงินบริจาคเพือ่ นำเข้าร่วมกับสภากาชาดไทย

เป็นต้น ต่างคนต่างช่วยเหลือตามกำลังของตน เพื่อร่วมกันต่อสู้ให้ผ่านพ้น วิกฤตครั้งนี้ไปด้วยกัน แม้วันที่เขียนบทความหน้านี้ ยังมีพี่น้องคนไทยอีก เป็นจำนวนมาก ต้องเผชิญกับความลำบากของระดับน้ำท่วมขังที่ยังคงอยู ่ พวกเราทุกคนขอเป็นกำลังใจ และให้ความช่วยเหลืออยูเ่ สมอ หวังเป็นอย่างยิง่

ว่า.. วิกฤตครัง้ นีจ้ ะผ่านพ้นไปในทีส่ ดุ ทุกสิง่ ทุกอย่างจะกลับมาสูส่ ภาวะปกติ เช่นเดิม สำหรับกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมจักรยานเพือ่ สุขไทยช่วงตุลาคมถึง ธันวาคมนี้ มีการเปลีย่ นแปลงมากมาย อันเนือ่ งจากผลกระทบข้างต้นเช่นกัน

ขอให้ทกุ ท่านติดตามรายละเอียดได้ในสารสองล้อฉบับนี้ ก่อนจาก..ขอส่งท้ายปีเก่า

๒๕๕๔ และพบกันอีกครัง้ ในปีหน้าฟ้าใหม่ตน้ เดือนมกราคม ๒๕๕๕ ครับ บรรณาธิการสารสองล้อ

สารสองล้อ ได้รบั การสนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ภาพปก.. E-Bike Concept by Ford

สารสองล้ อ ฉบับที่ ๒๔๖ / ธันวาคม ๒๕๕๔ ISSN ๑๕๑๓-๖๐๕๑

แวดวงสองล้อ ปั่นคลายเครียด...บางปู .... จักรยานทางไกลดอยหลวงเชียงราย ทริปปั่นไปกินฯ ตลาดโต้รุ่งอมรพันธ์ ทริปกรุงเทพฯ - พัทยา - ระยอง ทริปรีไซเคิลจักรยานจังหวัดน่าน ทริปปั่นเที่ยววัดไหว้พระเก้าวัด ทริปปั่นพาเพื่อนนอนกอดเขาที่สวนผึ้ง ปฏิทินทริป ๒๕๕๕ เมื่อค่ายรถยนต์..สนใจจักรยาน! มือใหม่เลือกซื้อ..จักรยาน SPORTS TRACKER Fitness Lifestyle 10 เชิงช่างหนึ่ง .....

๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๒๐ ๒๔ ๒๖ ๒๘

สนใจสมัครสมาชิกสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เพื่อสิทธิพิเศษในการร่วมกิจกรรมและรับสารสองล้อฟรี สมาชิกรายปี ๒๐๐ บาท ( ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๘๐ บาท ) สมาชิกตลอดชีพ ๒,๐๐๐ บาท ติดต่อได้ที่ โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐ หรือสมัครออนไลน์ได้ที่ http://www.thaicycling.com/member เจ้าของ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา มงคล วิจะระณะ บรรณาธิการ วรวุฒิ วรวิทยานนท์ กองบรรณาธิการ นัทติยา

วิริยวัฒน์, กัญญพัฒน์ บัณฑุกุล, นนลนีย์ อึ้งวิวัฒน์กุล ประสานงานและบัญชี วิภาดา กิรานุชิตพงษ์ สมาชิก สุทธิชัย สุศันสนีย์ พิมพ์ที่ บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จำกัด โทร. ๐๒-๒๑๔-๔๖๖๐, ๐๒-๒๑๔-๔๓๗๐ โทรสาร ๐๒-๖๑๒-๔๕๐๙ สำนักงาน สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย

๘๔๙/๕๓ จุฬาซอย ๖ ถนนบรรทัดทอง แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐ โทรสาร

๐๒-๖๑๒-๕๕๑๑ เวบไซต์ www.thaicycling.com Fan Page: facebook.com/TCHAthaicycling อีเมล์ tchathaicycling@gmail.com

6


ชวนกันรวบรวมเศษอะลูมิเนียมเพื่อส่งมอบ มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

อีกครั้งหนึ่งกับกิจกรรมปั่นจักรยานนำเศษอะลูมิเนียม เพื่อส่งมอบ

มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งจะมีขึ้น

ในช่วงเวลาต้นปี ๒๕๕๕ ขณะนี้ทางสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย (TCHA) กำลังพิจารณาช่วงวันเวลาทีเ่ หมาะสม รวมถึงความพร้อมของโรงงานผูร้ บั เศษอะลูมเิ นียม ที่กำลังรอความเรียบร้อยหลังผ่านพ้นวิกฤตน้ำท่วม ดังนั้นช่วงเวลาจากนี้ไปก่อนจะถึงกำหนดกิจกรรม สมาคมฯ ขอเชิญชวนทุกท่านเก็บ สะสมเศษอะลูมิเนียมทุกชนิดให้ได้มากๆ เพื่อจะได้ร่วมกันทำสถิติการบริจาคเศษอะลูมิเนียม ให้ได้น้ำหนักมากกว่าปีก่อนๆ โดยคาดหวังว่าจะสามารถทำลายสถิติเดิม และบริจาคได้ทะลุ

๑,๐๐๐ กิโลกรัม! คอยติดตามกิจกรรมได้จาก www.thaicycling.com หรือโทรสอบถามได้ที่ ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, ๐-๒๖๑๒-๕๕๑๐

แวดวงสองล้อ

Bangkok Smiles Bike

โครงการดีๆ จากกรุงเทพมหานคร กลับมาอีกครัง้ หนึง่ แล้ว เป็นโครงการจักรยานยืมฟรี

เพื่อบริการประชาชนทั่วไปที่สนใจการขับขี่จักรยาน ช่วงระยะเวลา ๓ เดือน โดยบริษัท มาสเตอร์ แอด จำกัด จัดจักรยานไว้ตามจุดบริการต่างๆ ดังนี้ ฝั่งพระนคร มีด้วยกัน ๔ จุด ได้แก่ สถานีสนามหลวง, สถานีกองการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร, สถานีสวนสันติชัยปราการ, สถานีศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ฝัง่ ธนบุรี มีดว้ ยกัน ๒ จุด ได้แก่ สถานีวดั อรุณราชวราราม, สถานีสะพานพระพุทธยอดฟ้า เปิดให้บริการตั้งแต่ วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๔ ถึง ๑๓ มกราคม ๒๕๕๕

กิจกรรม สแตนดาร์ดมาราธอน.. เลื่อน! แจ้งข่าวด่วนเพือ่ ทุกท่านทราบ ด้วยภาวะ

น้ำท่วมที่กระจายไปทุกพื้นที่ทั้งกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล จึงเป็นเหตุให้เส้นทางการแข่งขัน

หลายช่วงได้รบั ผลกระทบน้ำท่วมไปด้วย กรรมการ

หลายฝ่ายได้ลงความเห็นให้เลื่อนกำหนดการ แข่งขันออกไป เป็นวันอาทิตย์ท่ี ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ โดยกรรมการจักรยานทุกท่านที่สมัคร ไว้แล้วตามรายชื่อที่แจ้ง หากท่านใดไม่สะดวก ในวันเวลาดังกล่าวโปรดแจ้ง “คากิ โทร. ๐๘๙๑๒๕-๐๗๔๗” สำหรั บ กำหนดนั ด ประชุ ม กรรมการจักรยานเพียงครั้งเดียว ในวันเสาร์ที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ ห้อง ประชุมเกาะลอยสวนลุมพินี

๑๑๙,๙๒๓ ขอขอบคุณผู้ร่วมบริจาคช่วยน้ำท่วม จ า ก กิ จ ก ร ร ม ที่ สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทยร่วมกัน ปั่ น จั ก รยานออกรั บ บริจาค เพื่อช่วยเหลือ ผู้ ป ระสบภั ย น้ ำ ท่ ว ม

โดยนำเงินบริจาคเข้าร่วม

กั บ สภากาชาดไทย ได้

ยอดเงินทัง้ สิน้ ๑๑๙,๙๒๓

บาท ขอขอบคุณผูม้ จี ติ เมตตา

ทุกท่าน ไว้ ณ ที่นี้

7


รหัสทริป ๕๐๔ • วันอาทิตย์ที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๔

รหัสทริป ๕๐๕ • วันเสาร์ที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๔

น้ำท่วม...เครียด..เครียด...ชวนกันปั่น คลายเครียด ขอชักชวนเพื่อนๆ มาปั่น ท่ อ งเที่ ย วชมเสน่ ห์ ข องนกนางนวล

ที่สวยงามชวนให้หลงใหลที่ชายหาด สะพานสุขตา ศาลาสุขใจ บางปู.... ๗.๐๐ น. รวมพลกันหน้าสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย จุฬา ซอย ๖ บรรทัดทอง ปทุมวัน มาไม่ถูกโทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗

(กรุณารับประทานอาหารเช้ามาให้เรียบร้อย) ๗.๓๐ น. ล้อหมุน เส้นทางพระราม ๔ สวนลุมพินี คลองเตย

พระโขนง สุขมุ วิท บางนา ช้างสามเศียร สมุทรปราการ สุขมุ วิท-

สายเก่า บางปู ถึงโดยประมาณ ๑๑.๐๐ น. พักรับประทาน

อาหารกลางวัน (คกคจ.) สั ม ผั ส สายลมเย็ น เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ บ อกว่ า ฤดู ห นาว

มาเยือนแล้ว เหล่านกนางนวลหนีหนาวมาจากแดนไกลให้ได้ชน่ื ชม

สถานตากอากาศชายทะเลบางปู เป็นป่าชายเลนที่อุดมสมบรูณ์

ไปด้วย กุง้ หอย ปู ปลา โดยเฉพาะปูทะเลมีชกุ ชุมมาก จึงได้ชอื่ ว่า

“บางปู” ชมเสน่ห์ของนกนางนวลที่สวยงาม ชวนให้หลงใหลที่

ชายหาดสะพานสุขตา ศาลาสุขใจ สถานทีพ่ กั ผ่อนคลายความเครียด.. ๑๓.๐๐ น. ชื่นชมกับบรรยากาศชายทะเลแบบคลาสสิก และชม นกน้ำจนสุขใจพอแล้ว ปั่นกลับอีกเส้นทางเดิม ๑๗.๓๐ น. กลับถึงสมาคมฯ แยกย้ายกันกลับบ้านพร้อมกับความสุข

สำหรับผู้ที่ชื่นชอบปั่นจักรยานทริปกลางคืน ร่วมชื่นชม แสงสียามค่ำคืน ชมไฟประดับฉลองวันคริสต์มาสประจำปี ๒๕๕๔ สมาคมจั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพไทย ขอเชิ ญ ชวนปั่ น ท่ อ งราตรี . .

ชมแสงไฟประดับวันคริสต์มาส... แวะเยี่ยมชมความงดงามของ โบสถ์ต่างๆ....ห้ามพลาดเด็ดขาด หนึ่งปีมีครั้งเดียว!

ปั่นคลายเครียด... ทริปวันเดียว

รายละเอียดทริป

ปั่นท่องราตรี... เที่ยวสะพานสุขตา ทริปกลางคืน ชมแสงไฟประดับ วันคริสต์มาส ศาลาสุขใจ บางปู

• ระยะทางไป-กลับ ประมาณ ๘๐ กิโลเมตร • เตรียมยางในอะไหล่ ชุดปะยาง ครีมกันแดด หมวกกันน็อก

และมือใหม่ไปได้ ถ้าปัน่ ไม่ไหวก็แยกกลับเอง แต่ควรแจ้งผูน้ ำทริป

ทราบก่อน • ค่าสมัคร ฟรี! รับจำนวนไม่จำกัด ไม่ตอ้ งสมัคร มาตามนัดได้เลย • นำทริปโดย อาลิขิต/คุณหล่อ ดูแลโดยคณะกรรมการผึ้งงาน • รายการข้างต้นอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

8

กำหนดการ

๑๘.๐๐ น. พบกันทีท่ ำการสมาคมฯ จุฬาซอย ๖ โทร. ๐-๒๖๑๒๔๗๔๗ แวะทักทายเพื่อนๆ ท่านใดจะต่ออายุสมาชิก หรือสมัคร สมาชิกก็เรียนเชิญ หรือจะเลือกซือ้ สินค้าสมาคมฯ ได้อย่างสบายใจ จะเลือกหาอาหารย่านใกล้สมาคมฯ รองท้องก่อนปั่นก็ไม่ว่ากัน ๑๙.๐๐ น. ล้อหมุน...เริ่มท่องราตรี ถนนบรรทัดทอง-พระรามสี่

แวะไปชมไฟประดับทีโ่ รงแรมรีเจ้นท์ ถ่ายภาพเป็นทีร่ ะลึก แล้วกลับ

ไปแยกศาลาแดง เลี้ยวเข้าถนนพระรามที่ ๔ เลี้ยวซ้ายเข้าถนน

สุริวงศ์ แวะชมความงามโบสถ์อัสสัมชัญ ซึ่งเป็นโบสถ์เก่าแก่อายุ กว่า ๒๐๐ ปี ชมความงดงามและงานฉลองวันคริสต์มาส ปัน่ ต่อลัดเลาะทางลัดแวะชมความงามของโบสถ์กาลาหว่า

ริมแม่นำ้ เจ้าพระยา ปัน่ ลัดเลาะผ่านเยาวราช ขึน้ สะพานพระปกเกล้า

เลี้ยวลงลอดใต้สะพานพุทธ วิ่งตามทางเดินริมน้ำเจ้าพระยา จุด-

สุดท้ายทีโ่ บสถ์ซางตาครูส *พิเศษ....ร่วมฉลองวันคริสต์มาสด้วยการ

ฟังระฆังบรรเลงเพลง ซึ่งโบสถ์อื่นไม่มี ตอน ๔ ทุ่ม (๒๒.๐๐ น.)

แล้วแยกย้ายกลับบ้าน นำทริปโดย อาสุวิทย์ คณะกรรมการและผึ้งงาน


รหัสทริป ๕๐๖ • วันที่ ๑ - ๘ มกราคม ๒๕๕๕

ทริปหลายวัน

จักรยานทางไกล กทม.-ดอยหลวง จังหวัดเชียงราย สานต่อปณิธานคนดีของแผ่นดิน

นยุคโลกาภิวัตน์ที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง ก่อให้เกิดปัญหามากมายต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม เช่น ปั ญ หามลพิ ษ ปั ญ หาโลกร้ อ น ปั ญ หาจากภั ย ธรรมชาติ โดยที่มนุษย์เราช่วยกันสร้างมลพิษขึ้นมา มนุษย์เราทำให้ โลกร้อน ทำลายความสมดุลของธรรมชาติ เพื่อความเจริญ ทางด้านวัตถุนิยม เป็นปัญหาในวงกว้างเกินกว่าที่คิดกันไว้ ไกลจากตัวเราออกไป กระทบต่อเพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมโลก แล้วย้อนกลับมากระทบตัวเราด้วยในที่สุด นือ่ งในวโรกาสทีอ่ งค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงมีพระชนมายุครบ ๘๔ พรรษา ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ นายธนวัต ภักดี ศิลปินนักร้องนักแต่งเพลงอิสระผูข้ บั ร้องและ ประพันธ์เพลง ครูจูหลิง ปงกันมูล (เพลง ช้ า งเผื อ กยอดนิ ย มอั น ดั บ ๑ พ.ศ.๒๕๔๙ ของเอฟเอ็ม 95 ลูกทุ่งมหานคร) ร่วมกับ พี่น้องเหล่าศิลปินและชมรมปั่นจักรยานฯ

นักอนุรกั ษ์ธรรมชาติ จึงร่วมกันจัดทำ โครงการสานต่อปณิธาน

คนดีของแผ่นดิน ครูจูหลิง ปงกันมูล ขึ้น เพื่อปั่นจักรยาน ทางไกล จากกรุงเทพฯ ไปหอศิลป์ ครูจูหลิง ปงกันมูล ที่ โรงเรียนอนุบาลดอยหลวง จังหวัดเชียงราย สมาคมจั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพไทยขอเรี ย นเชิ ญ ทุ ก ท่านร่วมปั่นจักรยานทางไกล กรุงเทพฯ - เชียงราย ระยะ ทางประมาณ ๘๕๔ กิโลเมตร เริ่มต้นออกเดินทางวันที่

๑ - ๘ มกราคม ๒๕๕๕ ไม่เสียค่าใช้จ่าย รายละเอียดทริป • มีรถบริการบรรทุกสัมภาระ • สิ่งที่ต้องเตรียม ยางในอะไหล่ ชุดปะยาง หมวกกันน็อก หมวกผ้า ครีมกันแดด เสื้อกันลมหรือกันหนาว ไฟฉาย ไฟหน้า ไฟท้าย (กรณีอยากปั่นเที่ยวกลางคืนในเมือง) รองเท้าแตะที่สวมสบายเมื่อถึงที่พัก ของใช้จำเป็นแต่ละ

โครงการ ปั่นจักรยานทางไกล สานต่อปณิธานคนดี ของแผ่นดิน

ครูจหู ลิง ปงกันมูล

ครูจูหลิง ปงกันมูล

บุคคล ถุงนอนเต็นท์ • สัมภาระควรจัดไปน้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น • เงินสำหรับเป็นค่าอาหาร และค่าเดินทางกลับ • รายการดังกล่าวข้างต้นอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความ เหมาะสม สิ่งที่นักจักรยานเข้าร่วมโครงการจะได้รับ ๑. เกียรติบัตรโครงการจักรยานทางไกลกรุงเทพดอยหลวง จังหวัดเชียงราย ๒. การได้รว่ มรณรงค์สง่ เสริมให้ประชาชน

ในต่างจังหวัดหันมาใช้จักรยานเพื่อสุขภาพ และการท่องเที่ยว ๓. การทำประโยชน์ให้สงั คม ด้วยการ

ร่วมเฉลิมพระเกียรติฯ ถวายความดี และรับ

บริจาคเงินสมทบทุนมูลนิธคิ รูจหู ลิง ปงกันมูล ๔. ความสนุกสนานประทับใจในแหล่ง

ท่องเที่ยวและสุขภาพที่ดี ๕. ความภาคภูมใิ จทีไ่ ด้เป็นตัวอย่างของบุคคลสุขภาพดี

ซึ่งเป็นตัวอย่างที่ดีต่อเยาวชนและสังคมไทย ๖. การได้ท่องเที่ยวสัมผัสวิถีชีวิตและธรรมชาติที่ งดงามบริเวณพื้นที่จังหวัดต่างๆ ๗. สุขภาพทีแ่ ข็งแรง และประสบการณ์การเดินทางไกล

ด้วยจักรยานทางไกล สำหรับท่านทีป่ ระสงค์รว่ มเดินทางจากจังหวัดเชียงราย

กลับกรุงเทพฯ พร้อมกันโดยรถบัส กรุณาแจ้งความประสงค์ เพื่อเฉลี่ยค่าใช้จ่ายการเดินทางกลับกับเพื่อนๆ ค่าใช้จ่าย ขึ้นอยู่กับจำนวนคนและประเภทรถต่อไป สอบถามรายละเอียด แจ้งความประสงค์ร่วมกิจกรรม

และการร่วมเดินทางกลับได้ท่ี ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, ๐-๒๖๑๒๕๕๑๐ โทรสาร ๐-๒๖๑๒-๕๕๑๑ E-mail : tchathaicycling@gmail.com

วันที่ เริ่มต้น จุดหมาย เส้นทาง ระยะทาง/กม. ๑ มกราคม ๕๕ กรุงเทพฯ จ.สิงห์บุรี ทางหลวงหมายเลข ๑, ๓๒ ๑๔๓ ๒ มกราคม ๕๕ จ.สิงห์บุรี จ.พิจิตร ทางหลวงหมายเลข ๑ ๑๕๕ ๓ มกราคม ๕๕ จ.พิจิตร จ.อุตรดิตถ์ ทางหลวงหมายเลข ๑๑๗ ๑๙๕ ๔ มกราคม ๕๕ จ.อุตรดิตถ์ จ.แพร่ ทางหลวงหมายเลข ๑๑ ๗๕ ๕ มกราคม ๕๕ จ.แพร่ จ.พะเยา ทางหลวงหมายเลข ๑๐๓ ๑๔๓ ๖ มกราคม ๕๕ จ.พะเยา จ.เชียงราย ทางหลวงหมายเลข ๑ ๘๘ ๗ มกราคม ๕๕ จ.เชียงราย อ.ดอยหลวง ทางหลวงหมายเลข ๑, ๑๒๐๙ ๕๕ ๘ มกราคม ๕๕ กิจกรรมรำลึกครูจูหลิน ปงกันมูล ชุมนุมวัฒนธรรมสี่เผ่า อำเภอดอยหลวง จ.เชียงราย รวมระยะทางประมาณ ๘๕๔

9


รหัสทริป ๕๐๗ • วันศุกร์ที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๕

ทริปกลางคืน

ปั่นไปกินชิมอาหารอร่อย ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕

เป็ น ความน่ า เสี ย ดายอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ ทริ ป ปั่ น ไปกิ น ชิ ม อาหาร อร่อยหลายครัง้ ทีผ่ า่ นมา จำเป็น ต้องเลื่อนกิจกรรมออกไปแบบ ข้ามปี เนื่องจากสภาวะวิกฤต

น้ำท่วมในหลายจังหวัดเรื่อยมา จนถึงกรุงเทพมหานคร ทำให้ กิ จ กรรมเดิ ม ทั้ ง ในวั น ที่ ๑๔ ตุลาคม, ๑๘ พฤศจิกายน และ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๔ จำเป็นต้องยกเลิกไปอย่างน่าเสียดาย จึงขอยกยอดทริปดังกล่าว กลับมาจัดใหม่อีกครั้ง ในเดือนมกราคมนี้ ยังเป็นเส้นทางเดิมในย่านสามแยก-

เกษตร บริเวณตลาดโต้รงุ่ ศูนย์การค้าอมรพันธ์ อยูต่ รงข้าม

กับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีร้านอาหารน่ากินอยู่

หลายเจ้า อย่างเช่น ข้าวหมูแดง บะหมีห่ มูแดง ข้าวมันไก่

ก๋วยเตี๋ยวเย็นตาโฟ อันลือชื่อ อกจากนีย้ งั มีรา้ นอาหารอร่อยมากมาย ตัง้ แต่ปากซอย

ท้ายซอย ตลอดไปถึงข้างซอยซึ่งเป็นย่านอาหาร อร่อย ที่มีนิสิต นักศึกษา มาใช้บริการกันอย่างหนาแน่น

เป็นเครือ่ งยืนยัน ร้านทีอ่ ยากแนะนำในซอยอมรพันธ์ ๕๙

ตลาดโต้รงุ่ แห่งนี้ เป็นร้านสเต็ก ชือ่ ว่า T&N ราคานักศึกษา โดยมีคุณโหน่งเป็นเจ้าของร้านใจดี อนุญาตให้ทุกท่าน

นำจักรยานมาจอดที่หน้าร้านกันก่อนที่จะแยกย้ายไปชิม

อาหารอร่อยบริเวณนัน้ แต่ถา้ มาอุดหนุนในร้าน นอกจากร้าน

ของคุณโหน่งจะมีสเต็กหลากหลายทีถ่ กู ปากทุกๆ ท่านแล้ว

ยังบริการน้ำชาเขียวเย็นชืน่ ใจ ผักขมอบชีส มักกะโรนีอบชีส ขนมปังกระเทียม และเครื่องเคียงอีกหลายรายการฟรี นอกจากจะครองใจนิสิตขาโจ๋แล้ว บัดนี้ยังอยู่ในใจ ของพวกเรา ชาวนักปั่นนักชิมไปเรียบร้อยแล้ว

- ถนนพระราม ๑ - ถนนอุรุพงษ์ - ถนนพระราม ๖ ถนนพหลโยธิน - ถึงสามแยกเกษตร เราแวะทานอาหาร ที่ ตลาดโต้รุ่งอมรพันธ์ และศูนย์การค้าอมรพันธ์ ขากลับ ถนนพหลโยธิน - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - ถนน พญาไท - ถนนพระราม ๑ - กลับถึงสมาคมฯ นำทีมโดย ทีมงานสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย

TCHA และกลุ่มคนอารมณ์ดี พลังสีส้ม COFFEE BIKE

การเตรียมตัว

๑. ต้องตรวจเช็คสภาพรถให้พร้อมใช้งาน ๒. ไฟส่องสว่าง ไฟหลัง และอุปกรณ์สะท้อนแสง ๓. หมวกกันกระแทก เพื่อความปลอดภัย ๔. จั ก รยานฟิ ก ซ์ เ กี ย ร์ ขอแนะนำให้ ติ ด เบรค อย่างน้อยหนึ่งข้าง สำหรั บ สถานที่ ซึ่ ง เราจะปั่ น ไปชิ ม อาหารอร่ อ ย

กำหนดการ กันนั้น ขอให้ทุกท่านติดตามได้จากเวบไซต์ของสมาคมฯ คืนวันศุกร์ที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๕ ๑๙.๐๐ น. นัดรวมพล หน้าสมาคมฯ ถนนบรรทัดทอง www.thaicycling.com หรือแฟนเพจที่ facebook. com/TCHAthaicycling หรือ โทร. ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, จุฬา ซอย ๖ ข้างสนามกีฬาแห่งชาติ ๑๙.๓๐ น. ล้อหมุนออกจากสมาคมฯ เส้นถนนบรรทัดทอง ๐-๒๖๑๒-๕๕๑๐

10


รหัสทริป ๕๐๘ • วันที่ ๑๔ - ๑๕ มกราคม ๒๕๕๕

ทริปหลายวัน

กรุงเทพฯ-พัทยา-ระยอง

จักรยานการกุศลเพื่อเด็กด้อยโอกาส ศูนย์คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร์ ระยอง (CSC)

มาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ขอเชิญทุกท่านร่วมปั่น จักรยานทางไกล กรุงเทพฯ-พัทยา-ระยอง ระดมทุน ช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสศูนย์คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร์ ระยอง (CSC) ร่วมสนับสนุนทุนช่วยเหลือโดยคุณเกตุ วรกำธร

(คุณบ๊อบ) อุปนายกสมาคมฯ ศูนย์คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร์ ระยอง เป็นหน่วยงาน

การกุศลที่ไม่แสวงหาผลกำไรซึ่งสนับสนุนให้ความรักและ

ดูแลเด็กๆ ที่ติดเชื้อเอชไอวี จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ โดย นักบวชชาวอิตาเลียนนาม Fr.Giovanni Contarin (www. camillian-rayong.org และ www.hiv-aids-kids.org)

ระยะทางประมาณ ๒๐ กิโลเมตร ๑๐.๐๐ น. พิธีมอบทุนช่วยเหลือ ๑๑.๐๐ น. รวมตัวปั่นไปริมหาดบ้านเพ ๑๒.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวันริมทะเล (คกคจ.) ระยะทางประมาณ ๒๕ กิ โ ลเมตร พั ก ผ่ อ นตามอั ธ ยาศั ย แยกย้ายเดินทางกลับ * ระยะทางวันนี้ประมาณ ๔๕ กม. กำหนดการ สนใจร่วมเดินทางแจ้งชื่อ เบอร์โทร ด่วน เพื่อเตรียมที่พัก เสาร์ที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๕ ให้เพียงพอ จุดรวมพลที่ ๑ ที่ทำการสมาคมฯ จุฬาซอย ๖ สำหรับท่านทีป่ ระสงค์เดินทางกลับโดยรถบัส กรุณาแจ้ง

๖.๐๐ น. พบกัน ณ ที่ทำการสมาคมฯ พร้อมล้อหมุนมุ่งหน้า ความประสงค์เพือ่ รวบรวมจำนวนคน ดำเนินการจัดจ้างรถบัส

สู่จุดรวมพลที่ ๒ และรถบรรทุกจักรยานกลับ และเฉลี่ยค่าใช้จ่ายกันต่อไป โดย จุดรวมพลที่ ๒ หน้าห้างเซ็นทรัล บางนา แจ้งความประสงค์ได้ที่ ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, ๐-๒๖๑๒-๕๕๑๐ ๖.๓๐ น. พบกัน รอจุดรวมพลที่ ๑ มาถึง ล้อหมุนมุ่งหน้าสู่ หากค้างพักที่บ้านเพ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง คุณบ๊อบ

พัทยา จังหวัดชลบุรีแวะรับประทานอาหารเช้า และกลางวัน และคณะจะพักค้างคืนทีบ่ า้ นเพ จากนัน้ รุง่ เช้าวันที่ ๑๖ มกราคม ระหว่างทาง (คกคจ.) และแวะพักตามเส้นทางจุดพัก ออกรับ ๒๕๕๕ จะออกปั่นเดินทางกลับกรุงเทพฯ ระยะทางประมาณ บริจาคจากประชาชนตามจิตศรัทธา ๑๙๕ กิโลเมตร ไม่เสียค่าใช้จ่าย ๑๗.๐๐ น. ถึงพัทยา เข้าที่พักเกสต์เฮ้าสที่พัทยา พักผ่อน ตามอัธยาศัย รายละเอียดทริป * ระยะทางวันนี้ประมาณ ๑๕๐ กม. • มีรถบริการบรรทุกสัมภาระ อาทิตย์ที่ ๑๕ มกราคม • สิ่งที่ต้องเตรียม ยางในอะไหล่ ชุดปะยาง หมวกกันน็อก ๒๕๕๕ หมวกผ้า ครีมกันแดด ไฟฉาย ไฟหน้า ไฟท้าย (กรณีอยาก ๗.๐๐ น. รับประทาน ปั่นเที่ยวกลางคืนในเมือง) รองเท้าแตะที่สวมสบายเมื่อถึง

อาหารเช้า (อยู่ระหว่าง ที่พัก ของใช้จำเป็นแต่ละบุคคล ประสานงาน) • สัมภาระควรจัดไปน้อยที่สุดเท่าที่จำเป็น ๙.๐๐ น. ออกเดินทาง • เงินสำหรับเป็นค่าอาหาร และค่าเดินทางกลับ มุ่ ง สู่ ศู น ย์ ค ามิ ล เลี ย น • รายการดังกล่าวข้างต้นอาจเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม โซเชียล เซนเตอร์ ระยอง • นำทริปโดย คุณบ๊อบ และคุณยุ่ง

11


นัดซ่อมจักรยานเพื่อน้อง

โครงการรีไซเคิลจักรยานครั้งที่ ๔๓ จังหวัดน่าน วันอาทิตย์ที่ ๑๒ ก.พ. ๒๕๕๕ อี ก ครั้ ง กั บ กิ จ กรรมร่ ว มด้ ว ยช่ ว ยซ่ อ ม จั ก รยานสำหรั บ นำไปมอบให้ เ ด็ ก นั ก เรี ย นใน จังหวัดน่าน ในโครงการรีไซเคิลจักรยานครั้งที่ ๔๓ มาช่วยกันเตรียมซ่อมจักรยานเพื่อนำมอบ ให้น้องๆ กัน และ มีจักรยานที่สภาพเก่าชำรุด ใช้งานไม่ได้ ที่รับบริจาคมาอีกจำนวนมาก รอ ทีมช่างอาสาไปช่วยกันฟื้นคืนสภาพให้กลับมา ใช้งานได้ดังเดิม ขอความร่ ว มมื อ ทุ ก ท่ า นช่ ว ยกั น ระดม ประชาสัมพันธ์การขอรับบริจาคจักรยาน เพื่อ นำมาช่ ว ยกั น ซ่ อ มเตรี ย มนำมอบให้ นั ก เรี ย น

ทั่วประเทศด้วย ๘.๐๐ น. พบกันที่โรงงานของ น้ า หมี พุ ท ธมณฑลสาย ๑ ซอยทุ่ ง มั ง กร ๗

ใครไปไม่ถูก โทรสอบถามที่น้าหมี ๐๘-๑๙๑๙๒๙๘๙ สมาชิกท่านใดจะนำขนม ผลไม้ไปแบ่งปัน กันกินก็ยนิ ดี เริม่ งานกันตัง้ แต่ ๘ โมงเช้าจนกว่า จะเสร็จ อาหารกลางวัน อร่อยๆ เต็มอิม่ ด้วยเมนูเด็ด

ทีห่ าทานทีไ่ หนไม่ได้นอกจากบ้านน้าหมี ชิมฝีมอื

ลูกสาวคนสวยด้วยพะแนงหมูเนือ้ นุม่ และไข่พะโล้

โอชารส ได้ลิ้มชิมรสกัน...ซึ่งจะหารับประทาน

ได้ทก่ี จิ กรรมนีเ้ ท่านัน้ .. ส่วนท่านทีท่ านเจก็ไม่ตอ้ ง

น้อยใจ..จะเตรียมมารับรอง ท่านใดมีเมนูเด็ด นำมาให้ชิมกันได้เต็มที่ อย่าลืม เตรียมเครือ่ งมือสำหรับซ่อมไปด้วย

จะได้ไม่ต้องรอกัน

12

ทริปหลายวัน

ชิญสมาชิกร่วมกิจกรรมรีไซเคิลจักรยาน มอบจักรยานและสิง่ ของ ให้เด็กนักเรียน ยากจน ๔ โรงเรียน กับกิจกรรม “รีไซเคิล จั ก รยาน ครั้ ง ที่ ๔๓ ที่ อ ำเภอนาหมื่ น จังหวัดน่าน” อำเภอนาหมื่น ห่างจากตัวจังหวัด น่ า น ๙๖ กิ โ ลเมตร ใช้ เ ส้ น ทางน่ า น-

เวียงสา-นาน้อย จากอำเภอนาน้อย จะมี ทางแยก ไปถึ ง อำเภอนาหมื่ น ราว ๒๐ กิโลเมตร จากนั้นจะเป็นทางลูกรังคดเคี้ยว ไปตามไหล่เขาอีกประมาณ ๒๒ กิโลเมตร

จึงถึงบ้านปากนาย ซึง่ เป็นหมูบ่ า้ นชาวประมง ริมทะเลสาบเหนือเขื่อนสิริกิติ์

กำหนดการ

วันศุกร์ที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ตั้งแต่ ๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. นำรถจักรยาน มาเตรียมขึน้ รถบรรทุกจักรยาน รถบรรทุก ออกเดินทาง ๑๔.๐๐ น. ๑๘.๐๐ น. พบกัน ณ ที่ทำการสมาคมฯ ผู้ร่วมทริปโดยสารรถบัสปรับอากาศออก เดินทางมุ่งสู่จังหวัดน่าน (แวะรับประทาน อาหารค่ำระหว่างทาง คกคจ.)


รหัสทริป ๕๑๔ • วันที่ ๑๗ - ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

รีไซเคิลจักรยาน ครั้งที่ ๔๓

จังหวัดน่าน

วันเสาร์ที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ๐๖.๐๐ น. ถึงโรงเรียนปิงหลวง ตำบลนาหมืน่ จังหวัด น่าน ทำธุระส่วนตัว ร่วมรับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. ช่วยกันนำรถจักรยานลงจากรถพร้อม สิ่งของบริจาค ช่วยกันสอนและซ่อมจักรยานที่เสีย

ของเด็กๆ เสร็จแล้วทำพิธมี อบจักรยานจำนวน ๕๐ คัน

๔ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบ้านปิงหลวง โรงเรียน บ้ า นปิ ง ใน โรงเรี ย นอนุ บ าลเมื อ งดี และโรงเรี ย น

บ้านน้ำอุ่น กลุ่มโรงเรียนนาหมื่น ๒ จังหวัดน่าน ๙.๐๐ น. กิจกรรมร่วมกันซ่อมจักรยานให้น้องๆ ๑๒.๐๐ น. ร่วมรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. ปั่นจักรยานชมธรรมชาติ บ้านปากนาย ซึ่งเป็นหมู่บ้านชาวประมงริมทะเลสาบเหนือเขื่อน สิริกิติ์ ซึ่งมีทิวทัศน์สวยงามโอบบริเวณด้วยทิวเขา เขียวขจีโดยรอบ มีเรือนแพ ซึ่งเปิดเป็นร้านอาหาร และบางแห่งทำเป็นห้องพักไว้บริการนักท่องเที่ยว ระยะทางไปกลับประมาณ ๔๐ กิโลเมตร กลับถึงโรงเรียนบ้านปิงหลวง กางเต็นท์บริเวณ

สนามหรือในห้องเรียนได้ตามอัธยาศัย ๑๘.๐๐ น. ร่วมรับประทานอาหารเย็นที่โรงเรียน ชมกิจกรรมทางวัฒนธรรมของนักเรียนและชาวบ้าน ตั้งวงสนทนาประสาสมาคมฯ พร้อมเปิดสภากาแฟ ๒๑.๐๐ น. แยกย้ายกันนอนตามอัธยาศัย ระยะทางวันนี้ประมาณ ๔๕ กิโลเมตร วันอาทิตย์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ๐๗.๐๐ น. เก็บสัมภาระให้เรียบร้อย ร่วมรับประทานอาหารเช้า ๐๘.๐๐ น. อิม่ แล้ว ปัน่ ไปเทีย่ วชมทัศนียภาพจังหวัด น่าน อาทิ เสาดินนาน้อย (ฮ่อมจ๊อม) มีลกั ษณะแปลก ตาคล้าย “แพะเมืองผี” จังหวัดแพร่ และคอกเสือ

ตำบลเชียงของ ห่างจากตัวเมืองน่าน ๖๐ กิโลเมตร ๑๒.๐๐ น. ปัน่ กลับมาทีอ่ ำเภอนาน้อย รับประทานอาหาร

กลางวันตามอัธยาศัย กระจายรายได้สทู่ อ้ งถิน่ ปัน่ เทีย่ ว ชมวัด สถานทีส่ วยงามในเมือง แวะอาบน้ำเปลีย่ นเสือ้ ผ้า ๑๖.๐๐ น. เตรียมตัวตัวเดินทางกลับกรุงเทพฯ ด้วยรถบัส

ปรับอากาศ แวะทานอาหารเย็นระหว่างทางตามอัธยาศัย ระยะทางวันนี้ประมาณ ๕๐ กิโลเมตร วันจันทร์ที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ๐๔.๐๐ น. เดินทางถึงกรุงเทพฯ ณ ทีท่ ำการสมาคมฯ โดยสวัสดิ์ภาพพร้อมด้วยความสุขอิ่มใจที่ได้ร่วมกัน สร้างสรรค์สิ่งดีๆ รายละเอียดทริป • ระยะทางทั้งหมดประมาณ ๙๕ กิโลเมตร อาจมาก หรือน้อยกว่าได้ สะสมระยะทาง • เตรียมเต็นท์ ถุงนอน เสื้อกันหนาว รองเท้าแตะ กล้อง ถ่ายรูป ไฟฉาย ยาประจำตัว ครีมกันแดด ของใช้สว่ นตัว • กรุณาตรวจเช็คสภาพรถจักรยานคูใ่ จของท่านให้พร้อม

และเตรียมยางในอะไหล่ ชุดปะยาง เครื่องมือซ่อม พื้นฐาน หมวกกันกระแทก หมวกผ้า • ท่านใดมีสงิ่ ของจะบริจาค เช่น รองเท้านักเรียน เสือ้ ผ้า

อุปกรณ์การกีฬา เครื่องเขียน หนังสือ สามารถนำมา

บริจาคได้ที่สมาคมฯ ก่อนออกเดินทาง • สอบถามค่าสมัครได้ที่สมาคมฯ แจ้งชื่อ นามสกุล อายุ เบอร์โทรศัพท์ ให้ชัดเจนถูกต้อง ที่ ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗ • ชำระโดยโอนเงินเข้าบัญชี ประเภทออมทรัพย์ ธนาคาร

ไทยพาณิชย์ สาขาบรรทัดทอง ในนาม สมาคมจักรยาน เพือ่ สุขภาพไทย เลขทีบ่ ญ ั ชี ๐๖๓-๒๕๒๒๗๖-๑ (กรุณา ส่งโทรสารสำเนาการโอนเงินไปที่ ๐-๒๖๑๒-๕๕๑๑) หรือไปจ่ายที่สมาคมฯ • รับจำนวนจำกัด ๕๐ ท่านเท่านั้น อย่าลืมขอรับใบเสร็จ

ทุกครั้งที่ชำระเงิน • นำทริปโดยน้าหมี อาลิขิต คุณหล่อ • รายการข้างต้นอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความ เหมาะสม

13


รหัสทริป ๕๐๙ • วันอาทิตย์ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๕

ทริปวันเดียว

ปั่นเที่ยววัดไหว้พระเก้าวัด

ริ่มศักราชใหม่ปี ๒๕๕๕ หลังวิกฤตการณ์อุทกภัย

ที่ ไ ด้ รั บ กั น ถ้ ว นหน้ า ในวาระปี ใ หม่ ปั่ น ทำบุ ญ กั น

รับอากาศเย็นๆ ในเดือนมกราคม สมาคมจักรยาน

เพื่อสุขภาพไทยขอชวนปั่นจักรยานเที่ยววัด มนัสการ

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตในเขตกรุงเทพฯ พระพุทธนรสีห์ตรีโลกเชฏฐ์ หลวงพ่อโต วัดอินทรวิหาร และธนบุรี เส้นทางปั่นเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา สัมผัส สมัยสุโขทัย รูปหล่อปางมารวิชัย มีนามว่าพระศาสดา

วิถีชีวิตชาวบ้านย่านต่างๆ ที่ไม่มาก็ไม่รู้ เส้นทางบุญลำดับที่ ๘ วัดกัลยาณมิตร กราบหลวงพ่อโต

กำหนดการ ที่ชาวจีนเคารพสักการะอย่างสูง เรียกชื่อแบบจีนว่า ๗.๓๐ น. พบกัน ณ ที่ทำการสมาคมฯ จุฬาซอย ๖ ซำปอฮุดกง หรือ ซำปอกง และพระนามตามที่รัชกาล (ควรรับประทานอาหารเช้ามาให้เรียบร้อยก่อน) ที่ ๓ ทรงประธานคือ พระพุทธไตรรัตนนายก ๘.๐๐ น. เริ่มด้วยการปั่นไปกราบพระทองคำขนาด ก่อนปิดท้ายกันที่วัดพิชัยญาติการาม องค์พระ-

ใหญ่ที่สุดในโลกที่วัดไตรมิตรก่อน จากนั้นปั่นไปยัง ประธานในโบสถ์ชื่อ “พระสิทธารถ” หรือที่ชาวบ้าน วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร เดิมชื่อวัดกลางนา ทั่วไปจะเรียกท่านว่า “หลวงพ่อสมปรารถนา” ตลอด กราบสักการะพระพุทธนรสีหต์ รีโลกเชฏฐ์ พระประธาน เส้นทางบุญ เราจะรับประทานอาหารตามสูตรคือ คกคจ. ในพระอุโบสถ ว่ากันว่าจะมีชัยชนะต่ออุปสรรคทั้งปวง นั่นคือใครกินใครจ่าย ต่อไปยังวัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร สร้างขึน้ ในสมัย ๑๖.๓๐ น. ถึงสมาคมฯ ปั่นสนุก อิ่มใจ อิ่มบุญแล้ว ร.๓ รูปแบบของพระอุโบสถ ที่สร้างตามแบบพระราช- แยกย้ายกันกลับ นิยมคือศิลปะแบบจีน จากนั้นกราบองค์หลวงพ่อโต ที่ รายละเอียดทริป วัดอินทรวิหาร ชมพระพุทธรูปยืนปางทรงบาตรศิลปะ • ระยะทางประมาณ ๔๐ กิโลเมตร สะสมระยะทาง แบบสุโขทัยที่สูงที่สุดในโลก สร้างขึ้นในปี พ.ศ.๒๔๑๐ • ไม่ต้องสมัคร มาตามนัดได้เลย กรุณาตรงเวลาด้วย แล้วปั่นต่อไปชมพระอุโบสถศิลปะขอม ที่วัด-

มือใหม่ควรมาอย่างยิ่ง และโดยเฉพาะผู้ชื่นชอบศิลปะ ราชาธิวาสราชวรวิหาร และชมศาลาการเปรียญทีไ่ ด้รบั

วัฒนธรรม จิตรกรรมฝาผนังในวัด • เตรี ยมหมวกกันน็อค สายล็อกจักรยาน ยางในอะไหล่ การยกย่องว่าเป็นอาคารไม้สวยงามและมีขนาดใหญ่

ชุ ด ปะยาง ครีมกันแดด กล้องถ่ายภาพ และเงินไว้ทำบุญ ที่สุด ปั่นเลียบริมแม่น้ำเจ้าพระยามายังวัดระฆังโฆสิตา และกินข้าวกินน้ำ รามวรมหาวิหาร เดิมชือ่ วัดบางหว้าใหญ่ ชมพระปรางค์ • นำทางโดยลุงอู๊ด อาธีรยุทธ์ เจ้าเก่า ซึ่งสร้างในสมัยรัชกาลที่ ๑ ที่ได้รับการยกย่องว่า ทำ • รายการข้างต้นอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความ เหมาะสม ถูกแบบแผนที่สุด จนถือเป็นแบบฉบับของพระปรางค์ ในยุคต่อมา ต่อมาทีว่ ดั สุวรรณารามราชวรวิหาร เดิมชือ่ วัดทอง มาร่วมใจ..ใช้จกั รยานกันเถอะ..ลดมลพิษ ลดค่าใช้จา่ ย

สร้างสมัยกรุงศรีอยุธยา องค์พระประธานเป็นฝีมือช่าง ประหยัดพลังงาน เสริมสร้างสุขภาพ...

14


รหัสทริป ๕๑๖ • วันที่ ๒๕ - ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

ทริปหลายวัน

ปั่นพาเพื่อนนอนกอดเขา เล่นน้ำตก แช่น้ำอุ่น สวนผึ้ง

สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ขอมอบความสุข สนุกสนาน

พักผ่อนทีแ่ สนประทับใจสำหรับ

ทุกท่านด้วยการจัดทริปนอน

กอดเขา ซบไอเย็นของธรรมชาติ

อบอุ่นด้วยไอน้ำร้อนจากบ่ออุ่นๆ เริงร่าสดใสจากสายน้ำ กระเซ็นจากน้ำตกเย็นฉ่ำ สนุกด้วยการปั่นจักรยานระยะ ทางกำลังสบาย แบบเพื่อนเราไปได้สบายๆ..

วันเสาร์ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

๖.๐๐ น. นัดพบกันหน้าสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย นำจักรยานขึ้นรถบรรทุกจักรยาน ๗.๐๐ น. ผู้ร่วมทริปนั่งรถบัสปรับอากาศ ออกจากหน้า สมาคมมุ่งสู่สวนผึ้งราชบุรี ๘.๓๐ น. แวะทานอาหารเช้าแถวนครปฐม (คกคจ.) ๑๐.๐๐ น. ถึงราชบุรี ภูยูโนแค้มปิ้ง สวนผึ้งราชบุรี นำรถ จักรยานลงจากรถ เก็บสัมภาระเตรียมตัวออกปั่น ๑๐.๓๐ น. เตรียมปั่นจักรยานท่องเที่ยว ชมทิวทัศน์ที่ สวยงาม ไปน้ำตก ๙ ชั้น เล่นน้ำตกให้ฉ่ำใจ ๑๒.๐๐ น. พักทานอาหารกลางวัน และปั่นไปนอนแช่น้ำ อุ่นสบายๆ ให้ตัวเบาที่ธารน้ำร้อนบ่อคลึง ๑๖.๐๐ น. กลับถึงที่พัก กางเต็นท์ ๑๘.๐๐ น. ร่วมทานอาหารเย็น เสวนาเฮฮากับเพื่อนร่วม ทริป ด้วยสภากาแฟประจำสมาคมฯ หรืออยากจะแอบไป นอนนับดาว...กับคนรู้ใจ.. ก็ไม่ว่ากัน... *ระยะทางวันนี้ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร ชิว...ชิว...ลั้นลา

วันอาทิตย์ที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

เวลาสูตรสมาคมฯ ๖-๗-๘ ๖.๐๐ น. ตื่ น นอนแต่ เช้ า ..ออกมารั บ อากาศเย็ น สบาย

ชมแสงอาทิตย์สวยๆ สูดอากาศบริสุทธิ์ ๗.๐๐ น. ทานอาหารเช้าขนมปัง หมูแฮม ไข่ดาว บริเวณทีพ่ กั ๘.๐๐ น. พร้อมแล้วเตรียมออกเดินทางปัน่ จักรยานท่องเทีย่ ว เส้นทางธรรมชาติ ชมบ้านริมทางแปลกๆ สวยๆ แบบสบายๆ อยาก

หยุดถ่ายภาพเก็บเป็นทีร่ ะลึกแวะชืน่ ชมกันแบบไม่รบี ร้อน ชิลๆ ๑๐.๐๐ น. ถึงแก่งส้มแมว ที่เขาบอกว่าสวย มีสัตว์ป่า และ

พืชพรรณมากมาย ที่นี่จัดไว้ค่อนข้างสวยงามทางเดินก็เดิน สะดวกร่มรื่น กลิ่นหอมของดอกจำปี มีนกยูงเดินมารำแพน ให้ชม (ถ้ามันมานะ) นั่งแช่น้ำที่อุ่นสบายๆ ความสุขแบบนี้ จะหาที่ไหนได้.... ๑๒.๐๐ น. ทานอาหารกลางวัน (คกคจ.) ๑๓.๐๐ น. เตรียมตัวปั่นกลับที่พัก ๑๔.๓๐ น. ถึ ง ที่ พั ก นำจั ก รยานขึ้ น รถบรรทุ ก จั ก รยาน

อาบน้ำเปลี่ยนเสื้อผ้า ออกเดินทางกลับกรุงเทพฯ ๑๘.๐๐ น. แวะทานอาหารเย็ น ระหว่ า งทาง (คกคจ.) ประมาณ ๒๐.๐๐ น. ถึงหน้าสมาคมฯ *ระยะทางวันนี้ประมาณ ๕๐ กิโลเมตร ชิว..ชิว...ลั้นลา.... รายละเอียดทริป • ระยะทางทั้งหมดประมาณ ๘๐ กิโลเมตร • รวมค่ารถบัสปรับอากาศ ค่ารถบรรทุกจักรยาน ค่าที่พักกาง เต็นท์ อาหารเย็น ๑ มือ้ อาหารเช้า ๑ มือ้ ค่าประกันอุบตั เิ หตุ • ชำระค่ า ทริ ป โดยเงิ น สดที่ ส มาคมฯ หรื อ จะโอนเข้ า บั ญ ชี

ออมทรัพย์ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาบรรทัดทอง ในนาม สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เลขที่ ๐๖๓-๒๕๒๒๗๖-๑ สมาชิกท่านละ ๙๙๐ บาท ไม่เป็นสมาชิก ๑,๒๐๐ บาท

(ไม่รวมค่าธรรมเนียมเข้าชมสถานที)่ กรุณาแฟกซ์สำเนาใบโอน

มาที่ โทร. ๐-๒๖๑๒-๕๕๑๑ หรือชำระที่สมาคมฯ ก็ได้ • อย่าลืมเตรียมเต็นท์ ถุงนอน หากไม่มีเต็นท์ไป ที่ที่พักมีเต็นท์ ให้เช่า ขนาด S พักได้ ๑-๒ คน พร้อมเครื่องนอน ราคา ๓๐๐ บาท ขนาด M พักได้ ๒-๓ คน พร้อมเครื่องนอน ราคา ๔๐๐ บาท ขนาด L พักได้ ๓-๔ คน พร้อมเครื่องนอน ราคา ๕๐๐ บาท ขนาด XL พักได้ ๔-๖ คน พร้อมเครือ่ งนอน ราคา ๗๐๐ บาท • เตรียมยางในอะไหล่ ชุดปะยาง ครีมกันแดด ไฟหน้า ไฟท้าย สัมภาระที่จำเป็นจริงๆ • ควรตรวจเช็คสภาพรถจักรยานคู่ใจท่านให้เรียบร้อยก่อน ออกเดินทาง • สนใจสมัครร่วมทริป สมัครได้ที่สมาคมฯ ๐-๒๖๑๒-๔๗๔๗, ๐-๒๖๑๒-๕๕๑๐ แจ้งชือ่ ทีอ่ ยู่ เบอร์โทรศัพท์ อายุ ให้ชดั เจน รับจำนวนจำกัด เพียง ๔๐ ท่านเท่านั้น รีบสมัครด่วน!!!! • รายละเอียดอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม • นำทริปโดย....อาลิขิต..และคุณหล่อ

15


ข่าวประชาสัมพันธ์

ปฏิทินทริป

เดือนมกราคม-มีนาคม ๒๕๕๕

๑ - ๘ มกราคม ๒๕๕๕ ปั่นทางไกลกรุงเทพฯ-เชียงราย ๘๕๔ กม. เพื่อครูจูหลิง คืนวันศุกร์ที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๕ ปั่นไปกิน ชิมอาหารอร่อย ๑๔ - ๑๕ มกราคม ๒๕๕๕ กทม.-พัทยา-ระยอง ทริปการกุศลเพื่อเด็กมูลนิธิ Camillian อาทิตย์ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๕ ไหว้พระเก้าวัด อาทิตย์ที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ กรุงเทพฯ-ชะอำ ทริปประเพณีสวนธน ๒๐๐๐ อาทิตย์ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ นัดซ่อมจักรยานเพื่อน้องจังหวัดน่าน คืนวันศุกร์ที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ปั่นไปกิน ชิมอาหารอร่อย ๑๘ - ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ รีไซเคิลจังหวัดน่าน ๒๓ กุมภาพันธ์ - ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๕ ทริปต่างประเทศ แอฟริกาใต้ สวรรค์มหัศจรรย์ของมุมโลก ๒๕ - ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ สวนผึ้งราชบุรี อาทิตย์ที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๕ สองน่องท่องอยุธยา อาทิตย์ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๕ รถพับ เมืองโบราณ คืนวันศุกร์ที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๕ ปั่นไปกิน ชิมอาหารอร่อย อาทิตย์ที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๕ สอนซ่อมจักรยาน สวนลุมพินี+ ท้องฟ้าจำลองเส้นทางอะเมซิ่ง

1 - 8 January 2012 Long-distance cycling to the memorial of Juling Ponggunmoon at Chiang Rai Friday Night 13 January 2012 After Work Trip to Taste Delicious Food 14 - 15 January 2012 Trip Bangkok-Pattaya-Rayong for Camillian Social Center Rayong Sunday 29 January 2012 Trip Cycling to make a merit at 9 Temple Sunday 5 February 2012 Trip Bangkok to Ch-am with Suan Thon 2000 Sunday 12 February 2012 Repair Bicycle for Kids for Nan Friday 17 February 2012 After Work Trip to Taste Delicious Food 18 - 19 February 2012 Trip Recycle Bicycle at Nan 23 February to 10 March 2012 Cycling Holiday in South Africa 25 - 26 February 2012 Trip Suan Phung in Ratchaburi Sunday 4 March 2012 Trip Ayuttaya Sunday 11 March 2012 Folding bicycle trip to Ancient City Friday 16 March 2012 After Work Trip to Taste Delicious Food Sunday 18 March 2012 Repaire bicycle course at Lumphini Park and amazing route to Bangkok Planetarium

หมายเหตุ : รายการต่างๆ อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ สอบถามรายละเอียดหรือสมัครร่วมทริปได้ที่ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐ โทรสาร ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๑ email: tchathaicycling@gmail.com หรือติดตามรายละเอียดได้ที่ www.thaicycling.com หรือ Facebook.com/TCHAthaicycling Remarks: Trips can be changed as appropriate, English information, call Bob Tel. 081-555-2901, email: bobusher@ksc.th.com

16


เมื่อค่ายรถยนต์.. สนใจจักรยาน!

เรื่องจากปก

าจจะได้เห็นจักรยานที่ถูกผลิตออกมาจำหน่าย ติดยี่ห้อเดียวกับรถยนต์อยู่บ่อย ครั้ง แต่ส่วนใหญ่จะเป็นการได้ลิขสิทธิ์ของตราสัญลักษณ์มาผลิตเป็นจักรยาน เพื่อออกจำหน่ายในท้องตลาด ลองมาดูจักรยานที่มีความแตกต่างออกไปนี้บ้าง.. เพราะเป็นแนวคิดของค่ายรถยนต์โดยตรง ที่นำเอาเทคโนโลยียานยนต์มาพัฒนา จักรยาน ทั้งเพื่อการพาณิชย์และเพื่อแสดงถึงความก้าวหน้า ของวิศวกรรมยานยนต์ สู่จักรยาน ซึ่งอาจจะเป็นแนวคิดสู่การพัฒนาจักรยานในอนาคต

Prius X Parlee จากโตโยต้า

โครงการร่วมระหว่าง Parlee Cycle ผู้ร่วม พัฒนาและออกแบบรถยนต์อัจฉริยะของโตโยต้ารุ่น

พรีอุส และ Deeplocal ผู้พัฒนาระบบสมองกล อัจฉริยะด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้กำเนิด จักรยานแห่งอนาคตที่มีสมรรถนะยอดเยี่ยม และ

สามารถสัง่ การระบบขับเคลือ่ นด้วยคลืน่ สมองของผูข้ !ี่ เฟรมจักรยานทัง้ คันเป็นแบบโมโนค็อก (Mono-

coque) ซึ่งจะมีความเหนียวทนทานอย่างมาก แต่มี

น้ำหนักเบา มีระบบสมองกลติดตัง้ เข้ากับหมวกกันน็อค

สำหรับนักปั่นจักรยาน เพื่อสั่งการไปยังอุปกรณ์รับ สัญญาณใต้อานนั่ง และส่งคำสั่งต่างๆ ไปสู่ระบบ ขับเคลื่อนหรือชุดเกียร์

17


Bike RS และ Bike S จาก ปอร์เช่

รุ่น Bike RS ตัวเฟรมผลิตด้วยวัสดุคาร์บอนแบบชิ้นเดียวไร้รอยต่อทั้งเฟรม ส่วนรุ่น Bike S ตัวเฟรม ผลิตด้วยวัสดุอลูมิเนียมชั้นดีน้ำหนักเบา ทั้งสองรุ่นนี้มีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันคือ ระบบระบุข้อมูลป้องกันการ โจรกรรม ด้วยมีรหัสชนิด QR Code บนเฟรม เจ้าของสามารถใช้มือถืออ่านค่า เพื่อลงทะเบียนยังเวบไซต์ และจะสามารถส่งรายละเอียดข้อมูลเฉพาะไว้ในระบบได้ ระบบห้ามล้อเป็นแบบแผ่นดิสก์ซึ่งมีก้ามเบรคเป็นคาร์บอนไฟเบอร์เช่นเดียวกัน พร้อมกับล้อขนาด ๒๙ นิ้วของค่าย Crank Brothers

E-BIKE จาก ฟอร์ด

ฟอร์ ด เน้ น ความแตกต่ า ง ด้วยเทคโนโลยีดา้ นพลังงาน ระบบ

ขับเคลือ่ นด้วยไฟฟ้า เป็นมอเตอร์

ขนาดเล็กอยูใ่ นดุมล้อหน้า ใช้พลังงาน

จากแบตเตอรี่ชนิดลิเธียมไอออน การบรรจุไฟฟ้าแต่ละครัง้ สามารถ แล่นได้ไกลถึง ๘๕ กิโลเมตร โดย

ใช้เทคโนโลยีของ Magnetostrictive

Material อันเป็นความก้าวหน้า ทางวิศวกรรม ทำให้พลังงานจาก

18


จักรยานไม้.. สไลต์หรูจาก ออดี้

ค่ า ยออดี้ ร่ ว มมื อ กั บ เรโนโว ฮาร์ดวูด ไบซิเคิลส์ ออกแบบจักรยานโดยมีเฟรม ทำจากไม้เนื้อแข็งสุดหรูขึ้น มาภายใต้ ชื่ อ ว่ า “ดู โ อ”

(Duo) ด้วยกรรมวิธีที่เรียกว่า

โมโนค็ อ ก (Monocoque) เป็นการผลิตโครงสร้างของ เฟรมที่ เ ป็ น เนื้ อ ไม้ ชิ้ น เดี ย ว ซึ่ ง มี ค วามเหนี ย วทนทาน เทคโนโลยีเดียวกับการสร้าง ตัวถังเครื่องบินโดยสาร และ อากาศยานอื่นๆ ในอดีต ตัวเฟรมมีน้ำหนักเบา เพียง ๑.๕ - ๒.๕ กิโลกรัม แข็ ง แรงเที ย บเท่ า กั บ เฟรม

อะลู มิ เ นี ย ม ความแข็ ง แรง

ของเนื้อไม้อยู่ได้ยาวนานนับ

ร้ อ ยปี ที่ ส ำคั ญ คื อ เป็ น มิ ต ร

ต่อสิ่งแวดล้อม สนามแม่เหล็ก ถูกเปลี่ยนไปเป็น พลังงานเคลื่อนไหว เพื่อใช้เพิ่ม ความเร็วซึง่ อยูใ่ นระบบของรถแข่ง แบบฟอร์มูล่าวัน หั ว ใจสำคั ญ อี ก อย่ า งคื อ

โครงสร้ า งเฟรมที่ เ ป็ น รู ป ทรง สี่ เ หลี่ ย มคางหมู ขึ้ น รู ป ด้ ว ย

วัตถุดิบที่ผสมผสานกันระหว่าง อะลูมิเนียมและเส้นใยคาร์บอน ทำให้ เ ฟรมมี น้ ำ หนั ก เบาเพี ย ง

๒.๕ กิโลกรัม

19


เรื่อง/ภาพ ZangZaew

บทความ

มือใหม่เลือกซื้อ..จักรยาน

นึ่งในปัญหาของบรรดามือใหม่ ผู้เริ่มสนใจที่จะ ขีจ่ กั รยานเพือ่ การออกกำลังกายหรือการเดินทาง คือปัญหาในการเลือกซื้อจักรยานให้เหมาะสม และ

ตรงกับวัตถุประสงค์การใช้งานอย่างคุม้ ค่า สารสองล้อ

ฉบับนีข้ อทำหน้าทีเ่ ป็นหนึง่ ในสือ่ เพือ่ เสนอคำแนะนำ

อันเป็นประโยชน์ โดยได้รบั ความอนุเคราะห์เป็นอย่างดี

จากคุณวิบูลย์ เหลืองมีกูล แห่งร้าน World Bike สาขาอุดมสุขซอย ๔๗ มาให้ความกระจ่างแก่นักปั่น มือใหม่ทุกท่าน

๑. วัตถุประสงค์ในการใช้จักรยาน

เป็นสิ่งแรกที่ผู้เลือกซื้อจักรยาน จะต้องตอบ ตัวเองให้ได้คือ ต้องการซื้อจักรยานเพื่ออะไร เพื่อ ออกกำลังกาย เพื่อใช้เดินทาง หรือต้องการเปลี่ยน รถใหม่จากที่มีอยู่ รวมถึงลักษณะของการขี่ ว่าเป็น เส้นทางหรือถนนแบบใด เช่น ถนนภายในหมู่บ้าน ในสวนสาธารณะ หรือออกต่างจังหวัด หากต้องการรถที่ขี่แล้วรู้สึกสบาย ดูดี มีความ นุ่มนวล ไม่ต้องการก้มมากเวลาขี่ จักรยานประเภท “เสือภูเขา” จึงเป็นคำตอบทีใ่ กล้เคียงต่อความต้องการ มากทีส่ ดุ นอกจากนีอ้ าจจะมีจกั รยานลักษณะลูกผสม

หรือไฮบริด (Hybrid) ซึง่ นำข้อดีของจักรยานเสือภูเขา

มาปรับลักษณะเฟรมทีเ่ อือ้ ให้ผขู้ ว่ี างท่าทางได้สะดวก สบายมากขึ​ึ้ น แต่ ตั ด เอาระบบกั น กระแทกออก

แล้วใส่ตะเกียบหน้าแบบธรรมดาเข้าไปแทนที่

20


๒. ขนาดของจักรยาน

สิ่งสำคัญที่สุดรองลงมาจากชนิดของจักรยาน คือ “ขนาด” เพื่อการขี่ที่สบาย และใช้งานได้นานๆ วิธีง่ายๆ ในการวัดขนาดของจักรยานให้เหมาะสม คือ ลองยืนคร่อมเฟรมจักรยาน และวัดให้ท่อบนนั้น อยู่ ใ นระดั บ ที่ ต่ ำ กว่ า เป้ า กางเกงของผู้ ขี่ ป ระมาณ

๒ นิ้วขึ้นไป สำหรับจักรยานยี่ห้อ GIANT นั้น จะ กำหนดขนาดเป็ น S M L บางยี่ ห้ อ จะกำหนด

เป็นนิ้ว บางครั้งอาจจะไม่สามารถหารุ่นที่ชอบกับ ขนาดที่พอดีได้ ขอแนะนำว่าให้รอหรือเลือกรุ่นอื่นที่ มีขนาดเหมาะกับตัวหรือเล็กกว่า ไม่ควรเลือกขนาด ที่ใหญ่เกินตัว

๓. ประเภทของอุปกรณ์กับชนิดรถที่เลือกใช้

หลังจากสรุปได้วา่ เสือภูเขา คือจักรยานเริม่ ต้น

ที่เหมาะสมต่อการใช้งานที่ครอบคลุม ลำดับต่อไปที่ ควรพิจารณาคือ พิจารณาเกี่ยวกับอุปกรณ์หลัก เช่น ระบบเบรค วีเบรค เป็นระบบเบรคแบบใช้สายเคเบิ้ล มี ลักษณะเป็นก้านเบรคสองชิน้ ประกบแผ่นยางห้ามล้อ บริเวณรอบวงขอบล้อ

ดีสก์เบรค เป็นระบบเบรค แบบอาศัยแผ่นจานเบรคซึ่งยึดติด กับดุมล้อ และมีอุปกรณ์ห้ามล้อ ติดอยู่ มีทั้งแบบน้ำมันและไม่ใช้ น้ำมัน โดยแบบแรกจะให้ความ นุ่มนวล หากปั่นลุยโคลนลุยน้ำบ่อยๆ ดีสก์เบรคจะ เหมาะสมกว่า ชุดขับเคลื่อน มักจะเรียกกันว่า “ชุดเกียร์” มาตรฐานทั่วไป จะอยู่ที่ ๘ - ๙ เกียร์ ซึ่งเพียงพอแล้วต่อการใช้งาน ทั่วไป แต่ถ้าระดับโปรหน่อยจะมีถึง ๑๐ เกียร์ แฮนด์ สำหรั บ จั ก รยานเสื อ ภู เขามี ใ ห้ เ ลื อ กทั้ ง แบบ แฮนด์ตรง และแฮนด์ยก ซึง่ แบบหลังจะให้ความรูส้ กึ สบายมากกว่า ส่วนความกว้างของแฮนด์นั้น จะต้อง

พิจารณาจากสรีระของผูข้ ่ี ให้เกิดการวางท่าทางเหมาะสม

ขี่แล้วไม่เมื่อย

21


เบาะ สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตสะโพก โดยเลือกให้ สัมพันธ์กับขนาดของเบาะ หากสะโพกใหญ่แต่ใช้ เบาะเล็ก อาจจะเกิดอาการเจ็บได้ง่าย ควรใช้ขนาด เบาะที่ใหญ่ขึ้น จะดีที่สุดคือลองใช้เบาะที่มีขี่ดูก่อน แล้วค่อยเปลี่ยนในภายหลังหากไม่เหมาะกับร่างกาย

อีกส่วนหนึง่ คือช่วงหน้าขา บางท่านหน้าขาใหญ่เนือ้ เยอะ

หากใช้เบาะทีม่ ปี ลายกว้าง จะเกิดอาการเจ็บได้เช่นกัน โช้คอัพ อุปกรณ์ดูดซับแรงกระแทกติดตั้งกับล้อหน้า สำหรับมือใหม่แล้วนั้นโช้คอัพที่ติดมากับตัวรถ เป็น มาตรฐานที่ใช้ได้เหมาะสมดีแล้ว ซึ่งมักจะเป็นโช้ค แบบสปริง ยาง ขนาดมาตรฐานทีต่ ดิ มาพร้อมกับตัวรถจักรยาน

เสือภูเขา มักจะเป็น ๒.๐ - ๒.๙ มีดอกยางขนาดกลางๆ

ใช้ได้กบั เส้นทางทัว่ ไปหลายรูปแบบ ซึง่ สามารถเปลีย่ น ภายหลังได้ตามลักษณะการใช้งานที่แตกต่างออกไป

3. อุปกรณ์เสริม

เพือ่ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน ทางร้านจักรยาน

อาจจะให้คำปรึกษาเพิ่มเติม เกี่ยวกับอุปกรณ์เสริมที่ นักปั่นมือใหม่สนใจ ซึ่งอาจจะเลือกซื้อพร้อมรถ หรือ แนะนำให้เลือกซื้อภายหลังได้ เช่น ขาตั้ง ปกติแล้วรถใหม่อย่างเสือภูเขา หรือเสือหมอบ จะไม่ได้ตดิ ขาตัง้ มาให้ อาจจะดูความจำเป็นแล้วเลือก ซื้อในแบบที่ชอบได้ กระจกมองข้าง หากต้องขี่ออกถนน และ ใช้เส้นทางร่วมกับรถประเภท-

อื่ น ก็ จ ะแนะนำให้ ใช้ เ พื่ อ ความปลอดภัย เครื่องมือซ่อม หากมีความชำนาญมากขึน้ และออกเดินทางบ่อย

22

ปัญหาในการแก้ไขจักรยานเบื้องต้น ย่อมเกิดขึ้น เช่น ยางแตก โซ่หลุด เป็ น ต้ น ดั ง นั้ น เครื่ อ งมื อ พื้ น ฐาน สำหรับพกพาอาจจะเป็นหนึ่งใน สิ่งจำเป็น

4. เกี่ยวกับตัวผู้ขี่

นอกจากจักรยานแล้ว นักปั่นมือใหม่อาจจะให้ ความสนใจถึงตัวเองด้วย เพื่อการขี่จักรยานอย่าง ปลอดภัย อาทิ ถุงมือ ควรเลื อ กถุ ง มื อ และลอง ขนาดที่เหมาะมือ เพื่อการขี่ใน ระยะยาว และช่ ว ยลดการ

เจ็บมือได้ หมวกกันน็อค แนะนำว่าต้องมี เพราะเป็นอุปกรณ์ทสี่ ำคัญมาก

ควรเลือกขนาดที่เหมาะกับศรีษะ เมื่อลองสวมดู

ต้องไม่แน่นจนเกินไป เพราะเมือ่ ขีจ่ กั รยาน

เรื่ อ ยๆ เส้ น เลื อ ดที่ ส มองจะเต้ น

ตามจังหวะการสูบฉีดของหัวใจ หากรัดแน่นเกินไป จะทำให้เกิด อาการปวดหัวได้ แว่น มีความสำคัญเช่นกัน หากขี่เร็วและออกถนน ควรมีแว่นเพื่อปกป้องดวงตา และช่วยกรองแสงยูวี ไฟ ปกติ แ ล้ ว จั ก รยานที่

จำหน่าย จะมีทบั ทิมสะท้อน-

แสงติดมาให้ทั้งด้านหน้าและ ด้านหลัง แต่หากต้องการเพิ่ม

ความปลอดภัยมากขึ้น ไฟหน้าและไฟกระพริบติดท้าย

ก็มคี วามจำเป็น โดยเฉพาะการขีจ่ กั รยานเวลากลางคืน เสื้อผ้า เสื้ อ ผ้ า ที่ ส วมใส่ ส บายตามปกติ ก็ ส ามารถใช้ สำหรับการขี่จักรยานได้


รองเท้า สามารถใช้รองเท้ากีฬาสำหรับออกกำลังกายได้

ควรเป็นรองเท้าพืน้ แข็ง ส่วนรองเท้าจักรยานติดตัวล็อค

ยังไม่แนะนำ เพราะหากไม่ชำนาญแล้วอาจจะเกิด อันตรายได้ ที่สำคัญไม่ควรใส่รองเท้าแตะในการขี่

5. บริการหลังการขาย

หัวใจสำคัญของร้านจักรยานคือบริการหลัง การขาย เพราะจักรยานที่ลูกค้าซื้อไปนั้น อาจจะมี ปัญหาด้านความพอดีกับผู้ขี่ได้เมื่อใช้ไประยะหนึ่ง เช่น ขี่ไปสักระยะแล้วมือเจ็บ อาจจะเกิดจากการตั้ง ระยะเบาะไม่เหมาะสมกับขนาดของผูข้ ่ี ทำให้นำ้ หนัก

ทิง้ ไปทีแ่ ฮนด์มากเกินไป เป็นต้น ซึง่ ทาง ร้านจะมีบริการให้คำปรึกษา ปรับแต่ง ความพอดี ใ ห้ เ สมอ นอกจากนี้ ยั ง มี บริ ก ารปรั บ แต่ ง อุ ป กรณ์ ต่ า งๆ เช่ น

ปรับตั้งเกียร์ เบรค หรือการบำรุงรักษา หลังจากใช้งานมาเป็นระยะ สาระอั น เป็ น ประโยชน์ เพื่อตอบโจทย์คำถาม สำหรับนักปั่น มื อ ใหม่ ทั้ ง หลาย ที​ี่ ก ำลั ง สนใจจะเลื อ กใช้ “จั ก รยาน” เป็ น อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ กสำหรั บ การ

ออกกำลังกาย การเดินทาง หรือใช้งานในชีวติ ประจำวัน

อย่างเหมาะสม..

ตารางขนาดเสือภูเขา (ฮาร์ดเทล และฟูลซัส) Mountain bike sizing chart (hardtail & full suspension)

Frame Size Suggested

XS S M L XL

COMPACT ROAD SIZING

ความสูงผู้ขี่/Rider (ซ.ม.)

COMPACT ROAD RIDER HEIGHT FRAME SIZE XS 155 - 160 S 160 - 168 M 168 - 175 M/L 175 - 180 L 180 - 187.5 XL 187.5 - 195

WOMEN COMPACT ROAD SIZING

148 - 158 158 - 168 168 - 178 178 - 185 158 - 193

Height ขนาดเฟรมที่เหมาะสม (นิ้ว)

CONVENTIONAL RAME SIZING (CM) 49 - 51 51 - 54 55 - 57 57 - 59 58 - 60 61 - 63

13 - 14 15 - 16 17 - 18 19 - 20 21 - 22

SEATTUBE / TOPTUBE LENGTH (CM) 42/52 44/53.5 50/55.5 53.5/57 55.5/58.5 58.5/61

COMPACT ROAD RIDER HEIGHT CONVENTIONAL SEATTUBE / FRAME SIZE RAME SIZING (CM) TOPTUBE LENGTH (CM) XS 155 - 160 49 - 51 42/52 S 160 - 165 51 - 54 44/53.5 M 165 - 170 55 - 57 50/55.5 L 167.5 - 175 57 - 59 53.5 / 56.5 **เสือภูเขาและจักรยานประเภทอืน่ ยกเว้นเสือหมอบจะกำหนดขนาดเป็นนิว้ ขณะทีเ่ สือหมอบจะกำหนดขนาดเป็นเซนติเมตร** ร้าน World Bike อุดมสุข โทร. ๐-๒๗๔๖-๖๘๖๑, ๐-๒๗๔๖-๕๘๑๗ email: worldbike-udomsuk@hotmail.com

23


เรื่อง/ภาพ ZangZaew

บทความ

เครือข่ายสังคมออนไลน์ ของเหล่าคนรักการออกกำลังกาย

นเมื่อโทรศัพท์มือถือรุ่นที่เป็นสมาร์ทโฟนนั้น มี โปรแกรมหรือที่เรียกว่า App (Apprication) ให้ ใช้งานมากมาย บรรดาผู้พัฒนาโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง กับสุขภาพและการออกกำลังกาย จึงผลิตผลงาน ของตัวเองออกมาเพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายที่รัก

สุขภาพมากมาย สำหรับผูท้ ชี่ นื่ ชอบการออกกำลังกาย

ด้วยจักรยานเช่นเรา App ต่อไปนี้ ถือว่าตอบโจทย์ ได้อย่างลงตัวไม่น้อย

SPORTS TRACKER App ยอดนิยม

ผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือซึ่งมีระบบปฏิบัติการใน เครื่องอย่าง iOS (เช่น iPhone) หรือ Andriod สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมนี้มาใช้งานบนเครื่อง ได้ฟรี โดยโปรแกรม SPORTS TRACKER นีถ้ อื กำเนิด มาตั้งแต่ปี ค.ศ. ๒๐๐๔ สำหรับโทรศัพท์มือถือของ Nokia จัดว่าเป็นโปรแกรมแรกๆ ในแนวนี้บนมือถือ หลังจากเปิดให้ดาวน์โหลดผ่านทาง Nokia Ovi Store ปรากฏว่ า ได้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งมาก

มีผู้ดาวน์โหลดโปรแกรมนี้มากกว่า 200 ประเทศ

รวบรวมข้อมูลเส้นทางการออกกำลังกายของผูใ้ ช้งาน

รวมกันทั้งสิ้นมากกว่า ๗๐ ล้านกิโลเมตร (สถิติรวม ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๔)

คุณสมบัติที่จัดจ้าน

ด้วยความสามารถของโปรแกรมและเครือ่ งมือถือ

ที่มีระบบจับพิกัดจากดาวเทียมหรือ GPS ผสมผสาน

กับระบบแผนที่ของ Google Maps และการเชื่อม สัญญาณ GPRS และ 3G ทำให้เกิดความสามารถใน

24

การใช้งานท่ี่น่าทึ่ง.. - แสดงข้อมูลของเส้นทาง - อัตราความเร็วต่อระยะทาง เลือกหน่วยได้ ทั้งแบบกิโลเมตรและไมล์ - ระบบคำนวณอัตราเร่ง ความเร็วต่อรอบ หรือรวมทั้งหมด - การเผาผลาญแคลอรี่ - ระดับความสูงของพื้น - แสดงผลรวมในรูปแบบกราฟ ทั้งในมือถือ และดูผ่านทางเวบ - เลือกรูปแบบของกิจกรรมทีท่ ำได้ อาทิ เดิน

วิง่ ปัน่ จักรยาน (แยกออกเป็นจักรยานถนนหรือวิบาก) เดินป่า โรลเลอร์สเก็ต ฯลฯ สามารถเพิ่มกิจกรรม ลักษณะอื่นๆ ได้ด้วยตัวเองตามต้องการ - ถ่ายภาพผ่านกล้องมือถือ และบันทึกพิกัด GPS ได้ทันที - ฟังไฟล์เพลงจากตัวเครื่องผ่านโปรแกรมได้ - แบ่งปันกิจกรรมกับเพื่อนๆ ได้ทั่วโลก รวม ถึง Facebook และ Twitter - ส่งข้อความระหว่างกันผ่านทางระบบได้ โดยตรงจากมือถือ หรือทางหน้าเวบไซต์ - เก็บสถิติทั้งหมดรวมถึงภาพถ่ายได้ตลอด

อุปกรณ์เสริม

จุดเด่นของโปรแกรมคือฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายใน การอัพโหลดข้อมูล และยังสามารถใช้รว่ มกับอุปกรณ์ เสริมอืน่ ๆ เพือ่ ตอบโจทย์ของการออกกำลังกาย และ


ตรวจสุขภาพได้อีก คือ - อุปกรณ์ฮาร์ทเรท สำหรับวัดอัตราการเต้น ของหัวใจ สามารถส่งข้อมูลผ่านสัญญาณบลูธูทตรง เข้าเครื่องมือถือ เพื่อเก็บข้อมูล - ซองใส่ มื อ ถื อ สำหรั บ จั ก รยาน เป็ น ซอง

พลาสติกแข็งอย่างดี ออกแบบเข้ารูปกับเครือ่ ง iPhone

พร้อมที่ยึดกับแฮนด์จักรยานโดยตรง ด้วยความสามารถทีค่ รบถ้วน และประสบการณ์

ยาวนาน ทำให้ SPORTS TRACKER กลายเป็น App ตัวโปรดไปในทันทีที่ได้ทดสอบการใช้งาน นอกจาก เก็บข้อมูลของกิจกรรมการปัน่ จักรยานไปตามเส้นทาง

ต่างๆ บันทึกภาพ ใส่ความคิดเห็น และยังส่งต่อประสบการณ์

การปัน่ ให้กบั เพือ่ นๆ ผ่านทาง Facebook เพือ่ เข้าไปดู รายละเอียดได้อย่างน่าทึ่ง สำหรั บ ผู้ ที่ มี มื อ ถื อ แบบสมาร์ ท โฟนอย่ า ง iPhone หรือ Andriod แล้ว ควรมีติดเครื่องไว้ใช้ เป็ น อย่ า งยิ่ ง สามารถดาวน์ โ หลดได้ ที่ www. sports-tracker.com

ฮาร์ทเรท อุปกรณ์เสริมสำหรับวัดอัตราการเต้นของหัวใจขณะออกกำลังกาย

หน้าจอแสดงจุดสีของตำแหน่งเพื่อนๆ ในโลกออนไลน์ ที่ใช้โปรแกรมนี้ในการ ส่งข้อมูลกิจกรรมการออกกำลังกาย ต่างๆ มาอวดกัน

หน้าแรกบอกข้อมูลโดยรวม พร้อมแจ้ง เวลาพระอาทิตย์ขึ้นและตก

เริ่ ม ต้ นกำหนดค่ า ของ Workout ก่อนเริ่มใช้งาน

หลั ง จากสิ้ น สุ ด บั นทึ ก ข้ อ มู ล การปั่ น โปรแกรมจะบอกรายละเอียดทั้งหมด พร้อมแผนที่เส้นทางที่ปั่น

สามารถดู ข้ อ มู ล การปั่ น ลั ก ษณะ

กราฟได้

ดูแผนที่เส้นทางได้ทั้งแบบแผนที่และ ภาพดาวเทียม

25


เรื่อง วชิรุฬ จันทรงาม

Fitness Lifestyle 11

มุมสุขภาพ

วิ

ให้ของขวัญกับตัวเอง ...ชัยชนะ (คืออะไร?)

กฤตการณ์นำ้ ท่วมประเทศ ไทย ๒๕๕๔ ครั้งนี้ เป็น อุทกภัยที่ร้ายแรงที่สุดในช่วง ชีวิตของผมที่เคยได้พบเห็นมา ขอชื่ น ชมทหารและพลเรื อ น

ผู้มีจิตอาสา ผู้เสียสละแรงกาย

แรงใจ และเวลา ช่วยเหลือกันอย่าง

ต้องจารึกไว้ในความทรงจำ ได้เห็นได้ฟงั จากนักวิชาการ หลายท่าน ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำ ได้เห็นการป้องกันและรับมือแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ของทาง กทม. ผมขอชื่นชมทุกท่านด้วยความจริงใจ น่าเสียดายความรอบรูแ้ ละความสามารถของท่านๆ

ที่รู้ว่าทำอย่างไรดีที่สุด... แต่ไม่ได้รับโอกาส “น้ำท่วม...ตอโผล่” โดยไม่ต้องรอให้น้ำลดเยี่ยง สำนวนไทย “น้ำลด ตอผุด” ทำให้ได้เห็นการโกงกิน เล่ห์เหลี่ยม และประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ยามวิกฤต ขอแสดงความเห็นใจและเสียใจกับผูท้ ปี่ ระสบภัย

และสูญเสียในครั้งนี้ด้วยครับ อีกไม่กี่วันก็จะถึงวันขึ้นปีใหม่แล้ว หลายๆ ท่าน คงจะตั้งใจและพยายามที่จะทำให้ปีหน้าเป็นปีที่ดีกว่า ปีที่กำลังจะผ่านไปนี้ หลายท่านคงคุ้นกับคำว่า “New

Year’s Resolutions” ซึง่ ก็คอื การยึดถือเอาวันขึน้ ปีใหม่

เป็นวันตั้งต้นสำหรับการเริ่มต้นทำอะไรก็ตามเพื่อให้ ชีวิตตนเองดีขึ้น ด้วยเหตุนี้ แหละครับ ผมจึงถือว่าเป็น

การ “ให้ของขวัญกับตัวเอง ...ชัยชนะ (คืออะไร?)” การให้ ข องขวั ญ กั บ ตัวเองก็พอเป็นที่เข้าใจอยู่

26

แต่ชัยชนะคืออะไร? หมายความว่าอะไร? เกี่ยวกัน อย่างไร? ชัยชนะที่ว่านี้... ก็คือการชนะตัวเอง การชนะ ใจตัวเอง เพราะในทุกหนึ่งร้อยคนที่ตั้งใจ ตั้งเป้าหมาย ตั้ง New Year’s Resolutions ไว้ จะมีเพียง ๑๐ คน เท่านั้นที่ประสบความสำเร็จ อีก ๙๐ คนใน ๑๐๐ คน จะล้มเลิกไป เพราะอะไรครับ? ก็เพราะไม่สามารถชนะ ตัวเอง ไม่สามารถเอาชนะใจตัวเองได้นั่นเอง เป้าหมายที่คนส่วนใหญ่มักตั้งไว้ เช่น - จะเลิกกินเหล้า เลิกสูบบุหรี่ - จะให้เวลากับครอบครัวมากขึ้น - จะจัดบ้าน เก็บกวาดห้อง และเป็นคนที่มี ระเบียบมากขึ้น - จะเริ่มออกกำลังกาย - จะลดน้ำหนักตัว ผูท้ ปี่ ระสบความสำเร็จในการทำได้ตามเป้าหมาย

ที่ตั้งเอาไว้ ได้บอกเคล็ดลับ ๗ ข้อดังนี้ ๑. จะทำสำเร็จให้ได้จะต้องเอาชนะใจตัวเอง... โดยเปลี่ยน lifestyle จากการทำสิ่งเดิมๆ ซะ เพราะ วิถีชีวิตเดิมๆ ก็จะนำไปสู่การกระทำแบบเดิมๆ ๒. เขียนเป้าหมายลงในกระดาษหรือสมุด ซึ่ง จะต้ อ งมี เ งื่ อ นเวลาและรายละเอี ย ดกำหนดไว้ เช่ น แทนที่จะเขียนว่า “เริ่มออกกำลังกาย” ให้กำหนด

ไปเลยว่า “ให้ปั่นจักรยานหลังเลิกงานทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ เป็นเวลา ๑ ชั่วโมง” เป็นต้น ๓. กำหนดสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้

เช่ น “เลิ ก กิ น ข้ า วขาหมู ”

(โปรดเห็ น ใจเฮี ย คากิ ด้ ว ย) ให้เปลีย่ นเป็น “กินข้าวขาหมู


ได้ไม่เกินอาทิตย์ละ ๑ จาน” เป็นต้น ๔. บั น ทึ ก ความเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า ง สม่ำเสมอ เช่น ทุกๆ วันจันทร์ จะต้องชั่งน้ำหนักตัว และบันทึกการเปลี่ยนแปลงไว้ ๕. ให้รางวัลกับตัวเองเมื่อทำสำเร็จเป็นขั้นๆ ไป

รางวัลนัน้ ไม่จำเป็นจะต้องเป็นการฉลองโดยการกินเลีย้ ง เสมอไปนะครับ จะมีบา้ งก็ยอ่ มได้ แต่รางวัลอาจจะเป็น

รองเท้ากีฬาใหม่สักคู่ หมวกหรือแว่นตากันแดดใหม่

ที่อยากได้เป็นต้น ๖. ให้อยู่ในกลุ่มผู้ที่มีความสนใจอย่างเดียวกัน เช่น กลุ่มผู้ออกกำลังกาย กลุ่มนักปั่นจักรยาน กลุ่ม เพื่อนบน Facebook ที่กำลังเลิกเหล้า บุหรี่ เป็นต้น ๗. หากเริ่มถดถอย และหมดพลังใจ ให้เอาชนะ ใจตัวเอง อยู่ในวินัยและจงก้าวเดินต่อไป ... จึงขอฝากเพลง “ชัยชนะ” ไว้ให้เพื่อเป็น กำลังใจนะครับ ขอให้สนุกและมีความสุขกับ “ให้ของขวัญกับ ตัวเอง... ชัยชนะ (คืออะไร?)”

“ชัยชนะคือ…การชนะตัวเองครับ!” เนื้อเพลง “ชัยชนะ” ขับร้องโดย ป๊อด ธนชัยชนะ อุชชิน / สันติ ลุนเผ่ Artist : บอย โกสิยพงษ์ Album : เพลง “ชัยชนะ” เส้นทางที่เธอเดินอยู่นั้น ฉันรู้ว่ามันไม่ได้ง่าย ไม่รู้ต้องล้มต้องเหนื่อยล้า ต้องพบปัญหาอีกเท่าไร จนกว่าจะเจอจุดหมาย ที่อาจจะไกลแสนไกล และไม่รู้เมื่อไร ถึงจะสุดทาง วันที่เริ่มต้นจนวันนี้ทุ่มเทชีวิตมาเท่าไร ต้องเสียใจและต้องผิดหวัง มีสักกี่ครั้งที่เริ่มใหม่ กว่าจะเจอจุดหมาย ที่อาจดูไกลแสนไกล ไม่รู้อีกนานแค่ไหน ถึงจะสุดทาง * จึงอยากจะขอ ส่งเพลงนี้แทนพลัง ว่าอย่ากลับหลัง ขอให้เดินต่อไป... สักวันต้องถึง จุดหมายที่เธอตั้งใจเอาไว้ เพื่อให้รู้ว่า เราจะชนะตัวเองได้ไหม กว่าเธอจะเดินถึงจุดนี้ ต่อสู้มาแล้วนานเท่าไร และทุกๆ ครั้งที่ผ่านพ้น ก็เพราะอดทนใช่หรือไม่ กว่าจะเจอจุดหมาย ที่อาจดูไกลแสนไกล และไม่รู้เมื่อไรถึงจะสุดทาง (ซ้ำ *) อย่ากลัวแม้ว่า ต้องเจอกับทางที่ดูมืดมน สักวันเธอจะผ่านพ้น หนทางที่แสนไกล จะยากเย็นสักเท่าไร (ซ้ำ *) และเพื่อให้รู้ว่า ชัยชนะนั้นคืออะไร

27


เรื่อง/ภาพ ช่างหนึ่ง

เชิงช่างหนึ่ง

การพันแฮนด์ จักรยานเสือหมอบ

นช่ ว ง ๒ เดื อ นที่ ผ่ า นมา สภาวะน้ ำ ท่ ว มส่ ง ผล

กระทบไปหลายพื้นที่ ประชาชนได้รับผลกระทบ เป็นร้อยเป็นหมื่นครอบครัว รวมถึงการจารจรบน ถนนบางเส้น ไม่สามารถเดินทางไปได้ เนือ่ งจากระดับ น้ำที่สูง จึงไม่สะดวกในการเดินทางสัญจร จักรยาน เป็นพาหนะหนึ่งที่สามารถใช้ได้ สำหรับการเดินทาง ในสภาวะเช่นนี้ ไม่ว่าน้ำจะสูงเท่าตาตุ่ม หัวเข่า แม้ กระทั่งเอว จักรยานก็สามารถปั่นลุยน้ำออกมาได้ จริงๆ ก็ปลอดภัยดีนะครับ เนื่องด้วยว่าถ้าเราเดิน ออกมาตามถนนใหญ่นั้น บริเวณพื้นอาจจะมีเศษ แก้วแหลมคมบาดเท้า อย่างน้อยยางจักรยานก็รับ แทนเราลดปั ญ หาการบาดเจ็ บ ได้ แถมยั ง สะดวก

ในการเดินทางไม่ต้องรอเรือรับจ้างที่คอยจะโขกค่า บริการเรา รถทหารก็ต้องรอนานเพราะต้องรอพี่น้อง หลายๆ คน เพื่ อเดิน ทางไปพร้ อมกั น ถึ งอย่า งไร

ก็ต้องขอบคุณ ทหารหาญที่ยังคงไม่ลืมประชาชนใน ยามสภาวะเช่นนี้ เชิงช่างฉบับนี้ จะเป็นเรื่องราวการพันแฮนด์ จักรยานเสือหมอบให้ถกู ต้องและสวยงาม ด้วยตนเอง มาเตรียมอุปกรณ์กันก่อน ๑. ผ้าแฮนด์ ๒. กรรไกร ๓. เทปพันสายไฟ ๔. ขาตั้ง

28

มือ่ เตรียมอุปกรณ์พร้อมก็เริม่ กันเลย จอดจักรยาน โดยใช้ ข าตั้ ง เพื่ อ ความสะดวกในการพั น แฮนด์

ตรวจเช็คระดับของมือเกียร์ ว่าทั้งสองข้างมีระดับ เท่ากันหรือไม่ ส่วนท่านใดไม่ได้ขยับหรือคลายน็อต

มือเกียร์กไ็ ม่ตอ้ งมาปรับตัง้ ระดับ จากนัน้ เก็บสายเกียร์

และสายเบรกโดยการนำเทปพันสายไฟ พันรอบแฮนด์ ทั้งสองด้าน อย่าลืมจัดระเบียบการเดินสายของชุด เบรกและเกียร์ทั้งสองด้าน พันด้วยเทปพันสายไฟ เริ่มต้นที่บริเวณมือเกียร์ พันยาวมาตามแนวแฮนด์ จนถึงจุดสุดท้ายที่เราจะพันแฮนด์มาถึง ทำทั้งสอง ด้ า นเหมื อ นกั น ขั้ น ตอนต่ อ ไปเริ่ ม นำผ้ า พั น แฮนด์

มาพันกันเลย เริ่มจากด้านใดก่อนก็ได้ตามชอบ เริ่มลอกกระดาษที่ปิดด้านหลังออก พับยางที่ มือเกียร์ขึ้นไปด้านหน้ารถ จากนั้นวางผ้าพันแฮนด์ ลงไปที่แฮนด์โดยเราจะพันขึ้นหรือพันเข้าหาตัวรถ จุดเริ่มต้นนี้สำคัญมาก เมื่อเราเริ่มพันไปประมาณ

๑ - ๒ รอบ จากนั้นนำจุ๊บตัวปิดปลายแฮนด์มาปิดไว้

โดยกดเข้าไปในแฮนด์ อย่าลืมใช้ผา้ พันแฮนด์ครึง่ หนึง่

สวมเข้าไปในแฮนด์ด้วย เพื่อจะเพิ่มพื้นที่ยึดเกาะ

จุ๊ บ ปลายแฮนด์ ใ ห้ แ น่ น ยิ่ ง ขึ้ น จุบ๊ ปลายแฮนด์อาจจะหลุดหล่น ร่วงไปเพราะสาเหตุนี้ด้วย ดังนั้น จุ ด นี้ เ ป็ น จุ ด ที่ ค วรจะ ทำให้แน่นมากๆ แต่


แน่นเกินไปอาจสวมจุบ๊ ไม่ลงเหมือนกันนะครับ แน่ใจ ว่าแน่นเราก็ทำการพันแฮนด์ ในช่วงจังหวะนี้เราจะ พันแฮนด์เข้าหาตัวรถตลอด ต้องเว้นช่องไฟ หรือ ช่องระหว่างการพันในแต่ละรอบให้เสมอกัน เพื่อ ความสวยงาม พันแฮนด์ไปจนถึงด้านล่าง นำแผ่นผ้า พันแฮนด์ที่ให้มาในกล่อง จะมีความยาวประมาณ

๒ - ๓ นิ้ว ลอกแผ่นกระดาษด้านหลังออก แล้วติด ลงไปด้านหลังมือเกียร์ บริเวณนี้จะเป็นจุดที่ต้องพันทับขึ้นลง เมื่อพัน

มาถึงจุดนี้ ให้พนั ขึน้ ไปด้านบนบาร์ของแฮนด์เสียก่อน

จากนัน้ พันลงมาแล้วอ้อมไปด้านหน้ามือเกียร์ ลักษณะ พันคล้ายเลข “ 8 ” พันเพือ่ มิให้มชี อ่ งว่างตรงบริเวณ

มือเกียร์ ความเรียบร้อยจะตรวจได้ เมื่อเราพับยาง หุ้มมือเกียร์ลง จะต้องไม่เห็นช่องว่างด้านใน เมื่อพัน พ้นจุดนี้ไปเป็นลักษณะเลข “ 8 ” แล้ว ลองทดสอบ พับยางหุม้ มือเกียร์ลงมาเพือ่ ตรวจเช็คความเรียบร้อย ก่อนที่จะพันไปต่อนะครับ ไม่อย่างนั้นจะต้องกลับ มาพันใหม่ อย่ า ลื ม ช่ อ งไฟระหว่ า งทบการพั น แต่ ล ะทบ

ให้เท่าๆ กันเพื่อความสวยงาม พันด้านบนแฮนค์ยาว ไปจนถึงระหว่างคอแฮนด์ ให้มพี น้ื ทีต่ รงนัน้ ประมาณ ๒ - ๓ นิ้วแล้วแต่ชอบ หรือจะพันไปจนชิดคอแฮนด์ เลยก็ได้ อันนีไ้ ม่มใี ครว่าอะไร จุดสุดท้ายเป็นจุดสิน้ สุด

การพัน เราจะใช้กรรไกรตัดผ้าพันแฮนด์เอียง ๔๕ องศา

ให้ตัดด้านในที่ชิดกับคอแฮนด์ เพราะว่าจุดสุดท้าย จะเป็นการเก็บรายละเอียดของการพันแฮนด์ สุดท้ายตัดผ้าพันแฮนด์ออกแล้ว ใช้เทปพันสายไฟ

พันทับผ้าพันแฮนด์ ประมาณ ๒ - ๓ รอบเรียบร้อย เป็นอันเสร็จ ทำแบบเดียวกันอีกด้าน สุดท้ายแล้วท้ายสุดๆ นำเทปที่ให้มากับผ้าพัน แฮนด์ อาจจะเป็นแถบสีโลโก้แบรนด์ของยี่ห้อนั้นๆ พันลงไปทับเทปพันสายไฟ ตรวจเช็คอีกครั้งแล้วพับ ยางหุ้มมือเกียร์ลง จากนั้นออกไปซิ่งได้แล้วคร้าบ สวัสดี

29




32


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.