เสวนาเสวนาอาเซียน

Page 1

ความเชื่อมโยงของอาเซียนจากมุมมองระดับล่าง ASEAN Connectivity from Below

บรรณาธิการ

ชยันต์ วรรธนะภูติ สมัคร์ กอเซ็ม

โดย

ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

01



ความเชื่อมโยงของอาเซียนจากมุมมองระดับล่าง ASEAN Connectivity from Below โดย ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่



ค�ำน�ำ ความสัมพันธ์เชือ่ มโยง (Connectivity) ก�ำลังเป็นประเด็นทีไ่ ด้รบั ความสนใจอย่างมาก ในการพิจารณาถึงการก่อร่างสร้างประชาคมอาเซียนที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการใน ปลายปี พ.ศ. 2558 นี้ แต่ดเู หมือนว่า ความคิดทีอ่ ยูเ่ บือ้ งหลังความสัมพันธ์เชือ่ มโยงดังกล่าวนี้ ดูเหมือนจะอยู่บนฐานของความเข้าใจว่า การเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียนจะท�ำให้เกิด ความสัมพันธ์เชือ่ มโยงทีแ่ นบแน่น จนประชาคมอาเซียนกลายเป็นฐานผลิตทีร่ วมกันเป็นหนึง่ เดียว มีตลาดการค้าที่สามารถรวมตัวกันได้ จนสามารถต่อรองกับผู้ซื้อผู้ขายได้อย่างมีเอกภาพ แต่หากจะพิจารณาความสัมพันธ์เชือ่ มโยงระหว่างประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อนที่จะถูกนิยามใหม่ให้เป็นประชาคมอาเซียน จะพบว่า ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่าง ประเทศในภูมิภาคนี้ได้เกิดขึ้นมายาวนานในรูปแบบต่างๆ ถึงแม้ว่า ประชาคมอาเซียนจะมี จุดเน้นอยูท่ สี่ ามเสาหลักทีเ่ ป็นกิจกรรมทีไ่ ด้รบั ความส�ำคัญ แต่กต็ อ้ งท�ำความเข้าใจว่ากิจกรรม ของสามเสาหลักดังกล่าวนี้ จะท�ำให้เกิดความสัมพันธ์เชื่อมโยงในลักษณะใดและมีพัฒนาการ ในเชิงประวัตศิ าสตร์อย่างไร ทีส่ ำ� คัญคือ ความสัมพันธ์เชือ่ มโยงดังกล่าวนีท้ ำ� ให้พนื้ ทีช่ ายแดน กลายเป็นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามส�ำคัญมากกว่าแต่กอ่ น เพราะเป็นจุดของการติดต่อสัมพันธ์เชือ่ มโยง ซึ่งมีประชาชนเป็นผู้ที่มีบทบาทส�ำคัญ ประเด็นที่น่าสนใจในเล่มนี้ ชุดเสวนาอาเซียนในตอนแรก ได้แก่หัวข้อ “รื้อถอนมายา คติ AEC​” โดย คุณปริวรรต กนิษฐะเสน, หัวข้อ “แรงงานข้ามชาติในสังคมไทย : สิทธิและ สวัสดิการ” โดย คุณอดิศร เกิดมงคล, หัวข้อ “เปิดเสรีความเกลียดชัง : ส�ำรวจภูมิ (ไม่) คุ้มกัน ของคนไร้ อ�ำนาจในอาเซียนภิวัฒน์” โดยคุณวีรฉัตร แก้วประดิษฐ์ ส่วนในอาเซียนเสวนาใน ชุดที่สอ ง ได้แก่เรื่อง “การขยายตัวของการผลิตพืชพาณิชย์แถบชายแดนไทย-ลาว และ การใช้แรงงานลาวในภาคเกษตรของไทย” โดย อ.เนตรดาว เถาถวิล, การเสนอมุมมองเรื่อง “ต�ำรวจมล า ยู : ลูกผสมของความสมัยใหม่ แบบอาณานิคม ประวัติศาสตร์ บาดแผล และ ความรุนแรง” โดย อ.อสมา มังกรชัย, หัวข้อเรือ่ ง “จากชาตินยิ ม (Nationalism) สูล่ ทั ธิคลัง่ ชาติ (Chauvini s m ) : การสร้างส�ำนึกสมบัติแห่งชาติของเวียดนามต่อหมู่เกาะในทะเลจีนใต้” โดย อ.มรกตวงศ์ ภูมิพลับ และ เรื่อง “ประวัติศาสตร์การเมืองว่าด้วยพลังนักศึกษาในพม่า : จาก 1938 ถึง 1988” โดย อ.ลลิตา หาญวงษ์ ศูนย์อาเซียนศึกษาขอขอบคุณ วิทยากรทุกท่านทีไ่ ด้มาร่วมแลกเปลีย่ นในงานอาเซียน เสวนาและไ ด้ อนุญาตให้ทางศูนย์ฯ เป็นผู้จัดพิมพ์และเผยแพร่ผลงานชิ้นส�ำคัญนี้ และ มีความเชือ่ มัน่ อย่างยิง่ ว่างานชิน้ นีจ้ ะเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางการศึกษาทีส่ ำ� คัญส�ำหรับ ผู้ที่สนใ จ ใ นประเด็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ต่างๆ ในอุษาคเนย์ ความสัมพันธ์เชื่อม รวมถึงพัฒนาการของประชาคมอาเซียนต่อไป ชยันต์ วรรธนะภูติ สมัคร์ กอเซ็ม ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


อาเซียนเสวนา | 6


ความเชื่อมโยงของอาเซียนจากมุมมองระดับล่าง ASEAN Connectivity from Below โดย ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อาเซียนเสวนา ครั้งที่

สารบัญ 01

อาเซียนเสวนา ครั้งที่

แรงงานข้ามชาติ ในสังคมไทย : สิทธิและสวัสดิการ โดย อดิศร เกิดมงคล เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ

02

ทหารกับการเมืองในอินโดนีเซีย : อดีต ปัจจุบัน อนาคต หน้า โดย ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

03

21

เปิดเสรีความเกลียดชัง : ส�ำรวจภูมิ(ไม่)คุ้มกันของคน ไร้อ�ำนาจในอาเซียนภิวัตน์ โดย วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์ เครือข่ายศิษย์เก่าโรงเรียนแม่น�้ำโขง

อาเซียนเสวนา ครั้งที่

33

หน้า

01 อาเซียนเสวนา ครั้งที่

09

หน้า

รื้อถอนมายาคติ AEC หน้า โดย ปริวรรต กนิษฐะเสน ธนาคารแห่งประเทศไทย

04


อาเซียนเสวนา | 8


อาเซียนเสวนา ครั้งที่

การขยายตัวของการผลิตพืชพาณิชย์ แถบชายแดนไทย-ลาว หน้า และการใช้แรงงานลาวในภาคเกษตรของไทย โดย เนตรดาว เถาถวิล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

05

ตํารวจมลายู: ลูกผสมของความสมัยใหม่ แบบอาณานิคม ประวัติศาสตร์บาดแผล และความรุนแรง โดย อสมา มังกรชัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

06

อาเซียนเสวนา ครั้งที่

59

หน้า

49

อาเซียนเสวนา ครั้งที่

จากชาตินิยม(Nationalism) สู่ลัทธิคลั่งชาติ (Chauvinism) ? : หน้า การสร้างส�ำนึกสมบัติแห่งชาติของเวียดนามต่อหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ โดย มรกตวงศ์ ภูมิพลัน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

07

ประวัติศาสตร์การเมืองว่าด้วยพลังนักศึกษาในพม่า จาก 1938 ถึง 1988 โดย ลลิตา หาญวงษ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

08

อาเซียนเสวนา ครั้งที่

81

หน้า

71


อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 12


ปริวรรต กนิษฐะเสน

รือ้ ถอนมายาคติ AEC ปริวรรต กนิษฐะเสน1 การจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ในปลายปี 2558 ได้ก่อให้เกิดการตื่นตัวในสังคมโดยเฉพาะในประเทศไทยที่มาพร้อม ความคาดหวังและความหวาดกลัว ซึ่งมักจะคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง และ อาจถือได้ว่าเป็น “มายาคติ” ของสังคมไทยต่อ AEC บทความนี้ 2จึงจะพยายามเสนอ รื้อถอน “มายาคติ” ที่เกี่ยวข้องกับ AEC ในประเด็นที่ส�ำคัญ

1. ภาพรวม AEC AEC ที่จะเกิดขึ้นในปี 2558 จะปรากฏการณ์ครั้งใหญ่?3

ในความเป็นจริง AEC จะไม่ได้เป็นปรากฏการณ์ครั้งใหญ่หรือ “big bang” แต่ เป็นเพียงก้าวหนึ่งในกระบวนการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจด้วยก้าวเล็กๆ หรือ “baby steps” เราจึงควรมองว่า AEC เป็นเป้าหมายหนึ่ง (milestone) ของการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจที่สมาชิกอาเซียนได้ท�ำมาแล้วกว่า 20 ปี แม้ว่าอาเซียนจะก่อตั้งในปี 2510 แต่การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจอย่างจริงจัง ริเริ่มจากการท�ำความตกลง ASEAN Free Trade Area (AFTA) ที่ทยอยเปิดเสรีการ ค้าสินค้าในปี 2535 ต่อด้วยความตกลงต่างๆ ในด้านการเปิดเสรีภาคบริการ และ การลงทุนในระยะต่อมา จนกระทัง่ ในปี 2550 อาเซียนได้ตกลงรวบรวมและต่อยอดการ รวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจในด้านต่างๆ เป็น AEC โดยจัดท�ำพิมพ์เขียว หรือ AEC Blueprint ที่มีเป้าหมายให้เกิดตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (single market and production base) ในปี 2558 โดยได้ให้นยิ ามว่า ตลาดร่วมของภูมภิ าคอาเซียนควรจะมีการเคลือ่ น ย้ายสินค้า บริการการลงทุนและแรงงานฝีมือที่เสรี และการเคลื่อนย้ายที่เสรียิ่งขึ้น 3 1 2

ผู้บริหารทีมอาเซียน ฝ่ายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทย บทความนี้สรุปจากการบรรยายอาเซียนเสวนาครั้งที่ 1 ณ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 15 สิงหาคม 2557 โดยผู้เขียนได้รับแรงบันดาลใจจากบทความ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: มายาคติ ความเป็นจริง โอกาสและความท้าทาย” โดยสมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์ และคณะ ในงานสัมมนาวิชาการ TDRI, 2555 มติชนออนไลน์, 23 กรกฎาคม 2557

1


หรือ AEC Blueprint ที่มีเป้�หม�ยให้เกิดตล�ดและฐ�นก�รผลิตร่วมกัน (single market and production base) ในปี 2558 โดยได้ให้นิย�มว่� ตล�ดร่วมของภูมิภ�คอ�เซียนควรจะมีก�รเคลื่อนย้�ยสินค้� 2 อาเซีบริยกนเสวนา �รก�รลงทุนและแรงง�นฝีมือที่เสรี และก�รเคลื่อนย้�ยที่เสรียิ่งขึ้น

1

ผู้บริหารทีมอาเซียน ฝ่ายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทย

บทความนี้สทัรุปง้ จากการบรรยายอาเซี นี้ การรวมกลุม่ ยนเสวนาครั ทางเศรษฐกิ ำอย่ างค่ ยเป็15นค่สิองหาคม ยไป2557 เนือ่ โดยผู งจาก ้งที่ 1 ณจศูของอาเซี นย์อาเซียนศึกยษานท� มหาวิ ทยาลั ยเชีอยงใหม่ ้เขียนได้ รับประเทศสมาชิ แรงบันดาลใจจากบทความ “ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น: มายาคติ ค วามเป็ น จริ ง โอกาสและความท้ า ทาย” โดยสมเกี ย รติ ตั ง ้ กิจวานิ กมีความแตกต่างกันมาก ทั้งด้านการเมืองการปกครอง ภาษา และ ชย์ และคณะ ในงานสัมมนาวิชาการ TDRI, 2555 3 วั ฒ นธรรม ส่ ว นในด้ า นเศรษฐกิ จ มี ค วามแตกต่ า งกั น มากเช่ น กั น ไม่ ว ่ า จะเป็ น มติชนออนไลน์, 23 กรกฎาคม 2557 จ�ำนวนประชากร รายได้ ระดับการพัฒนา หรือโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ จนท�ำให้อาเซียนเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างของสมาชิกในกลุ่ม มากที่สุดในโลก 2

การรวมกลุ่มของอาเซียนจึงได้ใช้หลักการฉันทามติลงคะแนนเสียงในการหา ข้อสรุปต่างๆ ในส่วนของการเปิดเสรี จะใช้หลัก “ASEAN-X” ทีห่ มายถึงประเทศสมาชิก ประเทศใดที่ไม่พร้อมที่จะเปิดเสรี ก็สามารถที่จะยังไม่เปิดได้ (คือส่วน “–X”) ซึ่งหลัก การนี้จะขึ้นอยู่กับความพร้อมของแต่ละประเทศ และไม่มีบทลงโทษตามมาก�ำกับ เหมือนสหภาพยุโรปที่มีบทลงโทษส�ำหรับประเทศที่ไม่กระท�ำตามข้อตกลง

2. การค้าสินค้า สินค้าต่างชาติจะทะลักเข้าไทยหลังปี 2558? 4

ในด้านการค้าสินค้า การเกิดขึน้ ของ AEC จะเป็นการด�ำเนินการแบบลดเงือ่ นไข ต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคทางด้านธุรกรรมทางเศรษฐกิจ อย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยได้ลด ภาษีศุลกากรส�ำหรับสินค้าเกือบทุกประเภทระหว่างสมาชิกเรื่อยมาตั้งแต่ปี 2538 จนเหลือ 0% ในปี 2553 ส�ำหรับ ASEAN-6 คือ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ในส่วนของกลุ่มประเทศ CLMV คือ กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และ เวียดนาม ก�ำหนดลดภาษีศุลกากรเหลือ 0% ในปลายปี 2558 การที่ไทยและประเทศ อืน่ ๆ ได้ลดภาษีศลุ กากรส�ำหรับสินค้าน�ำเข้าอย่างค่อยเป็นค่อยไป จึงไม่ได้ทำ� ให้สนิ ค้า ต่างชาติทะลักเข้าตลาดแต่อย่างใด 4

ฐานเศรษฐกิจ, 25 พฤษภาคม 2555


ปริวรรต กนิษฐะเสน

อย่างไรก็ตาม การลดภาษีศลุ กากรเป็นเพียงการลดอุปสรรคทางการค้าประเภท เดียวเท่านั้น เนื่องจากสมาชิกอาเซียนยังมีการใช้อุปสรรคทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (Non-tariff barriers) อยู่บ้าง เช่นการก�ำหนดปริมาณน�ำเข้า การขออนุญาตการน�ำเข้า ซึง่ ตามแผน AEC จะต้องยกเลิกอุปสรรคดังกล่าวภายในปี 2558 แต่ในทางปฏิบตั ทิ ำ� ได้ ยาก เนื่องจากกฎเกณฑ์ต่างๆ ขึ้นกับหลายหน่วยงาน และบางประเทศยังใช้มาตรการ ดังกล่าวเพื่อกีดกันทางการค้าแทนภาษีศุลกากรที่ลดแล้ว

3. การค้าภาคบริการ 10 ประเทศจะเหมือน 10 จังหวัดในการเปิดเสรีบริการ?5

การเปิดเสรีภาพด้านการบริการท�ำได้หลายรูปแบบ แต่ทเี่ น้นใน AEC Blueprint คือการเปิดเสรีที่ให้บุคคลต่างด้าวที่เป็นสัญชาติอาเซียนมาลงทุนหรือถือครองหุ้นใน กิจการภาคบริการเกิน 51% ตั้งแต่ปี 2553 โดยในสาขาเร่งด่วน (Priority Integration Sectors) คือ IT สุขภาพ ท่องเทีย่ ว และการบิน โดยจะต้องรีบเร่งรัดรวมกลุม่ ทีต่ อ้ งเปิด เสรีด้านการบริการก่อนสาขาอื่นๆ ตั้งแต่ปี 2551

อาเซียนเสวนา | 15

อย่างไรก็ดี สมาชิกยังมีความยืดหยุ่นในการเปิดเสรีมาก และในทางปฏิบัติ ความยืดหยุ่นนี้ท�ำให้การเปิดเสรีภาพการบริการไม่ค่อยก้5าวหน้ามากนัก แม้ในสาขา 10 ประเทศจะเหมื อน 10 จังหวัมดักในการเปิ เร่งด่วน ซึ่งประเทศส่ วนใหญ่ จะไม่ผูกพัดนเสรี เกินบกว่ริากทีาร? ่ก�ำหนดไว้ในกฎหมายเดิม คือ ก�รเปิดเสรีภ�พด้�นก�รบริก�รทำ�ได้หล�ยรูปแบบ แต่ที่เน้นใน AEC Blueprint คือก�รเปิด ไม่ให้ถือหุ้นเกิน 49% ส่วนประเทศอื่นในกลุ่มสมาชิก เช่น ฟิลิปปินส์ และ อินโดนีเซีย เสรีที่ให้บุคคลต่�งด้�วที่เป็นสัญช�ติอ�เซียนม�ลงทุนหรื 6 อถือครองหุ้นในกิจก�รภ�คบริก�รเกิน 51% ยั ง ไม่ เ ปิ ด เสรี ต าม AEC Blueprint เช่ น กั น ดังนั้นการเปิดเสรีภาคบริการในอาเซียน ตั้งแต่ปี 2553 โดยในส�ข�เร่งด่วน (Priority Integration Sectors) คือ IT สุขภ�พ ท่องเที่ยว และก�รบิน จึงจะไม่ อาเซี่มทีย่ตน้องเปิ 10 ดประเทศเหมื 10อนส�ข�อื จังหวัดในประเทศไทย โดยจะต้ องรีบไเร่ด้งทรัด�ำให้ รวมกลุ เสรีด้�นก�รบริอกน�รก่ ่นๆ ตั้งแต่ปี 2551 3. ก�รค้�ภ�คบริก�ร

อย่�งไรก็ดี สม�ชิกยังมีคว�มยืดหยุ่นในก�รเปิดเสรีม�ก และในท�งปฏิบัติ คว�มยืดหยุ่นนี้ ทำ�ให้5 ก�รเปิดเว็เสรี ภ�พก�รบริ ก�รไม่ �วหน้�ม�กนัก แม้ในส�ข�เร่งด่วน ซึ่งประเทศส่วนใหญ่มักจะ บไซต์ มหาวิทยาลั ยศรีปคทุ่อมยก้ , 2556 6 ASEAN Framework Agreement Commitment, 2010 ่นในกลุ่มสม�ชิก ไม่ผูกพันเกินกว่�ที่กำ�หนดไว้ในกฎหม�ยเดิonม คืServices, อ ไม่ให้Schedules ถือหุ้นเกินof 49% ส่ วนประเทศอื 6 เช่น ฟิลิปปินส์ และ อินโดนีเซีย ยังไม่เปิดเสรีต�ม AEC Blueprint เช่นกัน ดังนั้นก�รเปิดเสรีภ�ค บริก�รในอ�เซียนจึงจะไม่ได้ทำ�ให้อ�เซียน 10 ประเทศเหมือน 10 จังหวัดในประเทศไทย

3


4

อาเซียนเสวนา

4. การลงทุน ในปี 2558 เพื่อนบ้านจะเข้ามาลงทุนในประเทศได้อย่างเสรี?7

การเปิดเสรีการลงทุนในอาเซียนท�ำผ่านความตกลง ASEAN Comprehensive Investment Agreement (ACIA) ซึ่งเปิดให้นักลงทุนในสมาชิกอาเซียนอื่นมาลงทุนได้ โดยทั่วไปแล้วประเทศในอาเซียนจะเปิดเสรีให้ต่างชาติมาลงทุนในภาคการผลิต (เช่น การผลิตรถยนต์ อีเล็กทรอนิกส์) อย่างไรก็ดี แต่ละประเทศสามารถที่จะก�ำหนดข้อ ยกเว้นในสาขาทีอ่ อ่ นไหวได้ เช่น ไทยขอสงวนสิทธิในการให้ชาวต่างชาติ (ไม่วา่ จะเป็น อาเซียนหรือไม่) ถือครองที่ดิน ท�ำนา เลี้ยงสัตว์ตลอดจนผลิตสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับ วัฒนธรรม เช่น การท�ำพระพุทธรูป ส่วนประเทศอื่นได้สงวนสิทธิในสาขาที่อ่อนไหว เช่น มาเลเซีย บรูไน และอินโดนีเซีย ที่ขอสงวนสิทธิการผลิตและแปรรูป น�้ำมันและ ก๊าซธรรมชาติ นอกจากการเปิดเสรีแล้ว ความตกลง ACIA ยังคุม้ ครองการลงทุนแก่การลงทุน ต่างชาติทมี่ าจากประเทศอาเซียนในกรณีตา่ งๆ เช่น การชดเชยค่าเสียหายในกรณี การ เวนคืน เหตุการณ์ไม่สงบ การเคลื่อนย้ายเงินทุน ที่เปิดให้นักลงทุนสามารถฟ้องรัฐได้ โดยตรงหากผิดพันธกรณี โดยให้อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ (แทนศาลใน ประเทศ) เป็นผู้ตัดสินคดี

5. แรงงาน หลังปี 2558 แพทย์ผู้รักษาประชาชนคนไทย 2 ใน 3 คนอาจเป็นคุณ หมอชาวพม่า?8

แม้ว่าใน AEC Blueprint ก�ำหนดให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี แต่ในความเป็นจริง การท�ำความตกลง Mutual Recognition Agreement ในวิชาชีพ ต่างๆ เช่น วิศวกร นักส�ำรวจ แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ บัญชี สถาปนิก ไม่ได้ เป็นการเปิดเสรีทางด้านแรงงาน แต่เป็นการอ�ำนวยความสะดวกทางเคลื่อนย้าย แรงงานมากกว่า ทั้งนี้ เนื่องจากมีข้อจ�ำกัดทางด้านกฎหมายที่ได้ก�ำกับไว้ เช่น 7 8

ข่าวอาร์วายทีไนน์, 30 กรกฎาคม 2557 ไทยพีบีเอส 6 พฤศจิกายน 2555


5.แรงง�น

แม้ว่�ใน AEC Blueprint กำ�หนดให้มีก�รเคลื่อนย้�ยแรงง�นฝีมืออย่�งเสรี แต่ในคว�มเป็น

หลังปี 2558 แพทย์ผู้รักษาประชาชนคนไทย 2 ใน ปริ 3 คนอาจเป็ นคุษณฐะเสน หมอชาว5 วรรต กนิ พม่า?

ง ก�รทำ�คว�มตกลง Mutual Recognition Agreement ในวิ พต่�่ จงๆ เช่ แพทย์จากประเทศอาเซียนอื่นต้อจริงสอบใบประกอบอาชี พของไทยก่อช�ชีนที ะมีนส วิศิทวกร นั ธิ กสำ�รวจ แพทย์ พย�บ�ล ทันตแพทย์ บัญชี สถ�ปนิก ไม่ได้เป็นก�รเปิดเสรีท�งด้�นแรงง�น แต่เป็นก�รอำ�นวยคว�ม ประกอบอาชีพแพทย์ในไทย ซึง่ การสอบดั งกล่ นภาษาไทย ง้ นีค้ ขวามตกลง MRA ่ได้กำ�กับไว้ เช่น สะดวกท�งเคลื ่อนย้า�วเป็ ยแรงง�นม�กกว่ � ทั้งนี้ เนืทั ่องจ�กมี ้อจำ�กัดท�งด้�นกฎหม�ยที แพทย์ จ �กประเทศอ�เซี ย นอื ่ น ต้ อ งสอบใบประกอบอ�ชี พ ของไทยก่ อ นที ่ จ ะมี สิทธิประกอบอ�ชีพแพทย์ มีผลบังคับใช้มาเริ่มตั้งแต่ปี 2550 แล้ ว (ไม่ใช่ในปี 2558 ตาม AEC) แต่จ�ำนวนแรงงาน ในไทย ซึ่งก�รสอบดังกล่�วเป็นภ�ษ�ไทย ทั้งนี้คว�มตกลง MRA มีผลบังคับใช้ม�เริ่มตั้งแต่ปี 2550 จากประเทศอาเซียนในประเทศไทยใน 7 2558 ต�ม AEC) แต่ วิชาชีพยังมีจำ�อนวนแรงง�นจ�กประเทศอ�เซี ยู่น้อยมาก คือ ย390 คน ช�ชีพยัง แล้ว (ไม่ใช่ในปี นในประเทศไทยใน 7 วิ มีอยู่น้อยม�ก คือ 390 คน ซึ่งเมื่อเทียบกับจำ�นวนแรงง�นอ�เซี9ยนในไทยทั้งหมด คือ 1.4 ล้�นคน แสดง ซึ่งเมื่อเทียบกับจ�ำนวนแรงงานอาเซีให้ยเห็นนในไทยทั ้งหมด คือ 1.4 ล้านคน แสดงให้เห็น ว่� AEC Blueprint ไม่ได้กล่�วถึงแรงง�นส่วนใหญ่ที่เคลื่อนย้�ยในภูมิภ�คนี้ คือ แรงง�นไร้ฝีมือ อ แรงง�นกึท ่งฝี​ี่เมคลื ือ (Semi-skilled labor) ซึ ่อนย้​้ �ยแรงง�นเหล่ ว่า AEC Blueprint ไม่ได้กล่าวถึ(Unskilled labor) หรื งแรงงานส่วนใหญ่ ่อนย้ายในภูม่งก�รเคลื ิภาคนี คือ �นี้ขึ้นอยู่ ต�มคว�มต้องก�รและกฎเกณฑ์ของแต่ละประเทศ และไม่ได้เป็นไปต�มคว�มตกลงในกรอบอ�เซียน แรงงานไร้ฝีมือ (Unskilled labor) หรือ แรงงานกึ่งฝีมือ (Semi-skilled labor) ซึ่งการเคลื่อนย้ายแรงงานเหล่านี้ขึ้นอยู่ ตามความต้ อ งการและกฎเกณฑ์ ข อง แต่ละประเทศ และไม่ได้เป็นไปตามความ ตกลงในกรอบอาเซียน

6. เงินทุน ในปี 2558 ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องเปิดให้มีการเคลื่อนย้าย 10 เงินทุนเข้าหรือออกอย่างเสรี 6.เงิ? นทุน

อาเซียนเสวนา | 17

ในปี 2558 ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องเปิดให้มีการเคลื่อนย้ายเงินทุนเข้า

AEC Blueprint ก�ำหนดไว้ ัดเจนว่ าเป้?10าหมายในเรื่องเงินทุนเคลื่อนย้ายคือ หรือชออกอย่ างเสรี AEC Blueprint หนดไว้ชัดเจนว่�เป้ก�หม�ยในเรื งเงินค ทุนวามแตก เคลื่อนย้�ยคือก�รเคลื่อนย้�ย การเคลื่อนย้ายที่เสรียิ่งขึ้น (freer flows) ทั้งนีายน้ เนื ่อกำ�งจากสมาชิ อาเซีย่อนมี 6 พฤศจิกflows) 2555ทั้งนี้ เนื่องจ�กสม�ชิกอ�เซียนมีคว�มแตกต่�งในลำ�ดับก�รเปิดเสรีเงินทุน ที่เสรีไทยพี ยิ่งขึบ้นีเอส (freer ข้อมูลจากสำานักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน 2557 ต่างในล�ำดับการเปิดเสรีเงินทุนเคลื นย้�ย าเช่ยน เช่เมียนนม�ร์เมี ยยังนมาร์ ยัเงงินไม่ เปิดด เสรี เงิน�ทุสินนค้�เดิ น ก�ร) ส่วนไทย เคลื่อ่อนย้ ไม่ได้เปิดเสรี ทุนไเดิด้นสะพั (เพื่อก�รค้ และบริ ม�เลเซี ย และฟิ ล ป ิ ปิ น ส์ ม ต ี ล�ดทุ น แล้ ว และกำ � ลั ง เปิ ด เสรี บ ญ ั ชี ท น ุ ในหลั ก ทรั พ ย์ ข สะพัด (เพื่อการค้าสินค้าและบริการ) ส่วนไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์มีตลาดทุนแล้�ออก ว (portfolio outflows) ในขณะที่สิงคโปร์เปิดเสรีเงินทุนเคลื่อนย้�ยเกือบหมดแล้ว เนื่องจ�กก�รเปิดเสรีในระดับที่ และก�ำลังเปิดเสรีบัญชีทุนในหลักสูทรั ย์�ขม�ซึาออก ในขณะที งขึ้นพ จะนำ ่งคว�มเสี(portfolio ่ยงที่สูงขึ้นเช่นกันoutflows) กระบวนก�รก�รเปิ ดเสรีจึงขึ่ส้นิงอยูคโปร์ ่กับต�มคว�มพร้อมของ แต่ละประเทศ และต้องมีม�ตรก�รที่เพียงพอเพื่อรองรับกรณีเงินทุนไหลเข้�หรือออกอย่�งฉับพลันเพื่อ เปิ ดเสรี เ งิ น ทุน เคลื่อ นย้ า ยเกือ บหมดแล้ ว เนื่ อ งจากการเปิดเสรี ในระดับที่ สูง ขึ้น ป้องกันวิกฤติท�งก�รเงิน จะน� ำ มาซึ่ ง ความเสี่ ย งที่ สู ง ขึ้ น เช่ น กั น กระบวนการการเปิดเสรีจึงขึ้นอยู่กับตาม ความพร้อมของแต่ละประเทศ และต้องมี มาตรการที่เพียงพอเพื่อรองรับกรณีเงิน ทุ น ไหลเข้ า หรื อ ออกอย่ า งฉั บ พลั น เพื่ อ ป้องกันวิกฤติทางการเงิน 8 9

10 9

7.อ�เซียนจะมีสกุลเงินเดียวกันหรือไม่ ?

ต่อาไปอาเซี ยนจะมี เงินสกุ2557 ลเดียวแบบยุโรป?11 ข้อมูลจากส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้ ว กรมการจั ดหางาน ยมตัวให้ ก�รรวมกลุ ่มท�งเศรษฐกิ จของอ�เซี นและสหภ�พยุโรปมีก�รพัฒน�ที่แตกต่�งกันม�ก ใน มหาวิทยาลัยสุโขธัยธรรมาธิราช “เตรี พร้อมเพื ่อเข้าสู่ AEC ในปี ย2558”

ขณะที่ AEC จะเป็นก�รรวมกลุ่มแบบหลวมๆ หล�ยประเทศในสหภ�พยุโรปได้ก้�วไกลไปถึงสหภ�พ ท�งก�รเงิน (Monetary Union) ซึ่งเป็นเขตเศรษฐกิจที่ใช้เงินสกุลเดียวกัน มีธน�ค�รกล�งร่วมที่กำ�หนด นโยบ�ยก�รเงินร่วม ปัจจุบันสม�ชิกอ�เซียนยังไม่พร้อมที่จะใช้เงินสกุลเดียวกัน เนื่องจ�กเศรษฐกิจมีคว�มแตก ต่�งม�ก ทั้งนี้ ต�มทฤษฎี “Optimum Currency Area”12 ก�รใช้เงินสกุลเดียวกันจะเหม�ะสมกับ


6

อาเซียนเสวนา

7. อาเซียนจะมีสกุลเงินเดียวกันหรือไม่ ? ต่อไปอาเซียนจะมีเงินสกุลเดียวแบบยุโรป?11

การรวมกลุ ่ ม ทางเศรษฐกิ จ ของอาเซี ย นและสหภาพยุ โ รปมี ก ารพั ฒ นา ที่แตกต่างกันมาก ในขณะที่ AEC จะเป็นการรวมกลุ่มแบบหลวมๆ หลายประเทศใน สหภาพยุโรปได้ก้าวไกลไปถึงสหภาพทางการเงิน (Monetary Union) ซึ่งเป็นเขต เศรษฐกิจที่ใช้เงินสกุลเดียวกัน มีธนาคารกลางร่วมที่ก�ำหนดนโยบายการเงินร่วม ปัจจุบนั สมาชิกอาเซียนยังไม่พร้อมทีจ่ ะใช้เงินสกุลเดียวกัน เนือ่ งจากเศรษฐกิจ มีความแตกต่างมาก ทั้งนี้ ตามทฤษฎี “Optimum Currency Area”12 การใช้เงินสกุล เดียวกันจะเหมาะสมกับกลุ่มประเทศที่มี

1.แรงงานเคลื่อนย้ายเสรี

2.เงินทุนเคลื่อนย้ายเสรี

3.ระบบชดเชยการคลัง

4.วัฏจักรเศรษฐกิจสอดคล้องกัน

ดังนั้น จึงจะเห็นได้ว่า ปัจจุบัน AEC ยังขาดคุณสมบัติทั้ง 4 ในการมีเงินสกุล เดียวกัน แม้แต่สหาพการเงินยุโรปเอง ไม่มรี ะบบชดเชยการคลัง และวัฏจักรเศรษฐกิจ ของหลายประเทศไม่สอดคล้องกัน จึงเป็นเหตุผลทีส่ ำ� คัญทีท่ ำ� ให้เกิดวิกฤติทางการเงิน ในกลุ่มประเทศที่ใช้เงินยูโร

11 12

มิตรสหายท่านหนึ่งของผู้เขียน Mundell, “A Theory of Optimum Currency Areas”, 1961


7


8

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 18


อดิศร เกิดมงคล

แรงงานข้ามชาติในสังคมไทย : สิทธิและสวัสดิการ อดิศร เกิดมงคล ปัจจุบันแรงงานข้ามชาติโดยเฉพาะในกลุ่มแรงงานที่ยัดขาดฝีมือ ในไทยมีอยู่ 3 สัญชาติ ได้แก่ พม่า,ลาว และกัมพูชา ซึ่งภาวะการเคลื่อนย้ายแรงงานต่างชาติเกิด ขึน้ ทัง้ จากการเปลีย่ นแปลงสภาวะภายในของประเทศไทย อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลง ตั้ ง แต่ ยุ ค พล.อ.ชาติ ช าย ชุ ณ หะวั ณ ที่ ใ ช้ น โยบายทางเศรษฐกิ จ เปลี่ ย นสนามรบ เป็นสนามการค้า ส่งผลท�ำให้พนื้ ทีต่ ามแนวชายแดนได้เปิดขึน้ พร้อมกับการไหลเวียน ของผู้คน ขณะเดียวกันก็ขึ้นอยู่กับการเมืองภายในประเทศของแรงงานเหล่านั้น ที่มีความขัดแย้งกัน จึงท�ำให้เกิดการอพยพเข้ามาในประเทศไทยและหมุนเวียน ตามชายแดน เช่น เหตุการณ์ชมุ นุมเรียกร้องประชาธิปไตยในพม่า เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 1999 หรือรู้จักกันในชื่อเหตุการณ์ 8/8/88 อย่างไรก็ตามนโยบายการจัดการแรงงานข้ามชาติเริ่มเกิดขึ้นอย่างจริงจังใน ปีพ.ศ.2535 ในยุคของอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีเป้าหมายจะจัดการ แรงงานข้ามชาติเพื่อควบคุมผู้อพยพเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมาย หรือ เป็นกลุ่มคนที่ลี้ ภัยเข้ามาในสมัยนั้น และไม่ได้อยู่ในค่ายผู้ลี้ภัย (ศูนย์พักพิงผู้หนีภัยการสู้รบชั่วคราว) ที่ได้จัดเตรียมไว้ กลุ่มคนเหล่านี้จะอาศัยอยู่ข้างนอกค่ายผู้ลี้ภัยที่ได้เตรียมไว้จึงถือว่า ผิดกฎหมาย ในอีกด้านก็เพือ่ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานอันเกิดจากการเคลือ่ นตัว ของแรงงานไทยที่ออกมาจากแรงงานภาคเกษตรเข้าสู่แรงงานภาคอุตสาหกรรม อันสอดคล้องกับการปรับเปลี่ยนประเทศไทยให้เป็นเขตอุตสาหกรรมใหม่ NIC (New industrial countries) ที่จ�ำเป็นจะต้องดึงแรงงานภาคเกษตรเข้ามาสู่ภาคอุตสาหกรรม ในปีพ.ศ.2532 ได้เกิดภัยภิบัติทางธรรมชาติ(พายุเกย์) ท�ำให้การท�ำประมงได้ ประสบปัญหาด้านแรงงาน มีลกู เรือประมงเสียชีวติ เป็นจ�ำนวนมากและแรงงานประมง เดิมส่วนใหญ่ไม่มีความต้องการท�ำงานในเรือประมงและย้ายไปท�ำงานในกิจการอื่นๆ ท�ำให้ผู้ประกอบการประมงทะเลได้มีการเรียกร้องต่อรัฐบาล ให้มีการแก้ไขกฎหมาย เพื่ อ สามารถจ้ า งแรงงานข้ า มชาติ ม าเป็ น แรงงานประมงในประเทศไทยได้

9


10

อาเซียนเสวนา

สุดท้ายทางรัฐบาลยินยอมพร้อมกับแก้กฎหมาย จึงท�ำให้แรงงานข้ามชาติสามารถมา เป็นแรงงานทางด้านการประมงได้ ซึ่งแต่เดิมอาชีพประมงและกรรมกร จะสงวนให้ เฉพาะแรงงานไทย ในปี พ.ศ.2539 มีการเปิดให้ลงทะเบียนแรงงานข้ามชาติในพื้นที่ชั้นใน โดยเฉพาะจังหวัดที่การจ้างงานในกิจการประมงทะเลเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดชุมชน แรงงานข้ามชาติขึ้นในพื้นที่ที่ท�ำประมง เช่น จ.สมุทรสาคร และขยายไปจนถึง อุตสาหกรรมทางทะเลที่เป็นโรงงาน ที่เปิดรับแรงงานข้ามชาติมากขึ้นด้วยเช่นกัน ในปี พ.ศ.2542 ไทยเกิดสถานการณ์วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2540 จึงเกิดการปะทะกันระหว่างฝ่ายที่ยึดความมั่นคง (รมต.แรงงาน ไตรรงค์ สุวรรณคีรี) ทีไ่ ด้กล่าวว่าการแก้ไขปัญหาแรงงานไทยตกงานไม่ยากแค่เอาแรงงานต่างชาติออกไป แต่ในท้ายที่สุดก็ไม่สามารถหยุดกระแสของการจ้างแรงงานข้ามชาติไปได้ ยังคงมี นโยบายการจัดการแรงงานข้ามชาติทใี่ ช้ระบบผ่อนพันให้ทำ� งานได้ปตี อ่ ปี ในปี 2542-2543 จึงเปิดให้มกี ารจ้างงานแรงงานข้ามชาติได้ 43 จังหวัด 18 กิจการ และขยายเพิม่ เรือ่ ยๆ จนครบ 76 จังหวัด ในปี พ.ศ.2544 ยุคสมัย ทักษิณ ชินวัตร ทราบถึงปัญหาของการจดทะเบียน แรงงานต่างชาติแบบปีต่อปีว่ามีปัญหาและไม่สามารถจัดการในระยะยาวได้ จึงได้เริ่ม มีแนวคิดที่จะจัดการแรงงานข้ามชาติให้เป็นระบบมากขึ้น ขณะเดียวกันก็ได้เสนอ นโยบายการขายประกันสุขภาพของแรงงานข้ามชาติขึ้น โดยอิงรูปแบบของนโยบาย หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค)ของคนไทย แต่แรงงานข้ามชาติ จะต้องซื้อบัตรประกันสุขภาพเป็นรายปี ทั้งนี้ในเชิงนโยบายการจัดการแรงงาน ข้ามชาติในเรือ่ งการจ้างงานนัน้ ในปี 2544 มีกจิ การทีอ่ นุญาตให้แรงงานข้ามชาติทำ� งาน ได้ ทั้งสิ้น 10 กิจการ ในปี พ.ศ.2545-2546 รัฐบาลทักษิณ ได้เสนอแนวคิดทีจ่ ะแก้ปญ ั หาได้ในระยะยาว เกีย่ วกับการจ้างแรงงานข้ามชาติให้ถกู ต้องตามกฎหมาย โดยได้มกี ารหารือกับประเทศ ต้ น ทางของแรงงานข้ า มชาติ ทั้ ง สามประเทศ เพื่ อ ให้ ม ายื น ยั น สั ญ ชาติ แ ละออก หนังสือเดินทางให้ถูกต้องตามกฎหมาย และเปิดให้มีการน�ำเข้าแรงงานจากประเทศ เพื่อนบ้านทั้งสามประเทศอย่างถูกกฎหมาย โดยมีการเริ่มท�ำบันทึกข้อตกลงเรื่องการ จ้างงานขึ้นในช่วงปลายปี พ.ศ.2545 และในปี พ.ศ.2546 ในส่วนการผ่อนผันกลุ่ม แรงงานข้ามชาติได้มีแนวนโยบายที่รวมกิจการที่อนุญาตให้แรงงานต่างชาติท�ำได้ จากเดิม 10 ประการเหลือเพียง 6 กิจการ


อดิศร เกิดมงคล

ในปีพ.ศ.2547 เริม่ ด�ำเนินการอย่างจริงจังเกีย่ วกับการจัดการแรงงานข้ามชาติ โดยมีการจัดการระบบการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติใหม่ทั้งหมด โดยเปิดให้มี การจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตาม เพื่อน�ำไปสู่กระบวนการท�ำให้ถูก กฎหมาย (Legalization) โดยการให้ประเทศต้นทางเข้ามาพิสูจน์สัญชาติแรงงาน ข้ามชาติทจ่ี ดทะเบียนในครัง้ นี้ นอกจากนัน้ แล้วยังเป็นครัง้ แรกทีม่ กี ารจดทะเบียนผูต้ ดิ ตาม ซึ่งถือเป็นการยอมรับว่าแรงงานข้ามชาติไม่ได้เข้ามาเพียงตัวของแรงงานเท่านั้น แต่เข้ามาพร้อมครอบครัว ทั้งนี้มีสาเหตุเกิดจากหลายปัจจัย เช่น ปัจจัยทางด้าน การเมือง ที่มีความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลทหารและชนกลุ่มน้อยในพม่า จึงเป็นไปไม่ ได้ทแี่ รงงานข้ามชาติเหล่านีจ้ ะเข้ามาเพียงตัวคนเดียว การเปิดจดทะเบียนในครัง้ นีน้ นั้ ท�ำให้ยอดของแรงงานข้ามชาติและผู้ติดตามที่ถูกต้องตามกฎหมายอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน ในครั้งนั้นได้มีการปรับแนวทางในการจดทะเบียน โดยมีมาตรการให้การจด ทะเบียนแรงงานข้ามชาติอิงกับระบบทะเบียนราษฎรใช้เลขประจ�ำตัว 13 หลักเหมือน คนไทย ออกบัตรประจ�ำตัวแรงงานข้ามชาติและใบอนุญาตท�ำงานให้ หลังจากนั้นก็มี การด�ำเนินการพิสูจน์สัญชาติโดยมีเจ้าหน้าที่จากประเทศต้นทางเข้ามาด�ำเนินการ พิสูจน์สัญชาติและออกหนังสือเดินทางให้แก่แรงงานข้ามชาติเพื่อปรับสถานะจาก แรงงานข้ามชาติทเี่ ข้าเมืองผิดกฎหมายไปเป็นแรงงานข้ามชาติทเี่ ข้าเมืองถูกกฎหมาย ในการด�ำเนินการช่วงแรกจะมีแค่ประเทศลาว และ กัมพูชา ที่สนใจเข้ามาด�ำเนินการ พิสูจน์ ส�ำหรับพม่ายังไม่ได้ให้ความสนใจกับในการด�ำเนินการพิสูจน์สัญชาติแรงงาน ข้ามชาติเหล่านี้ จนกระทั่งภายหลังที่เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองภายในพม่า เริม่ ปรับเปลีย่ นไปในแนวทางประชาธิปไตย จึงมีความสนใจในแรงงานข้ามชาติมากยิง่ ขึน้ ปีพ.ศ.2551 มีการแก้ไขกฎหมาย พรบ.การท�ำงานต่างด้าว โดยเฉพาะได้มี การเพิม่ เติมในส่วนการจ้างแรงงานข้ามชาติในพืน้ ทีช่ ายแดนเพิม่ ขึน้ มา อย่างไรก็ตาม จนถึงปัจจุบันการจ้างแรงงานชายแดนที่ถูกกฎหมายยังไม่เกิดขึ้น เนื่องจากยังติด ปั ญ หาในเรื่ อ งเอกสารที่ จ ะใช้ ใ นการขออนุ ญ าตท� ำ งาน เพราะหนั ง สื อ ผ่ า นแดน (Border pass) ที่แต่เดิมจะเป็นเอกสารที่จะใช้ส�ำหรับเป็นเอกสารในการขออนุญาต ท�ำงานนั้นในข้อตกลงระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านที่ระบุกิจกรรมที่จะใช้หนังสือ ผ่านแดนเข้ามาด�ำเนินการในแต่ละประเทศได้นั้นไม่ได้ครอบคลุมถึงการจ้างแรงงาน

11


12

อาเซียนเสวนา

การจัดระบบแรงงานข้ามชาติ

การจัดการแรงงานข้ามชาติที่ผ่านมาจะเป็นการจัดการแบบภาวะยกเว้น เพราะแต่เดิมประเทศไทยเข้มงวดกับการจ้างงานแรงงานผิดกฎหมาย เนือ่ งจากไม่อยาก ให้แรงงานที่ผิดกฎหมายเข้ามาท�ำงานโดยเฉพาะแรงงานในกลุ่มขาดทักษะฝีมือ โดยพรบ.คนเข้าเมือง จะมีขอ้ กฎหมายทีร่ ะบุให้คนเข้าเมืองถูกกฎหมายห้ามท�ำงานใน ประเภทกรรมกรอย่างชัดเจน อย่างไรก็ดพ ี รบ.คนเข้าเมือง ใน ม.17 ก็ให้อำ� นาจรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทยผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีสามารถใช้หรือไม่ใช้กฎหมาย บางข้อหรือกฎหมายทัง้ ฉบับในพรบ.คนเข้าเมือง จึงกลายเป็นข้อยกเว้นส�ำหรับรัฐบาล ไทยในช่วงที่ผ่านมาที่จะมีนโยบายในการผ่อนปรนให้สามารถอนุญาตและเปิดให้จ้าง แรงงานข้ า มชาติ จ ากประเทศเพื่ อ นบ้ า นอยู ่ อ าศั ย และให้ ท� ำ งานในงานกรรมกร ในประเทศไทยได้เป็นการชั่วคราวและใช้อ�ำนาจตาม และ ม.13 (เดิมเป็นมาตรา 12 ของพรบ.การท�ำงานของคนต่างด้าวให้สามารถจ้างแรงงานคนเข้าเมืองที่ไม่ถูก กฎหมายได้

ปัจจุบันจะมีแรงงานข้ามชาติอยู่ในประเทศไทยอยู่ 3 ลักษณะ

1.แรงงานข้ามชาติทเี่ ข้าเมืองผิดกฎหมาย แต่ได้รบั ผ่อนผันให้อยูแ่ ละท�ำงานได้ ชั่วคราว ซึ่งในปัจจุบันมีอยู่ 2 กลุ่ม

(1.1) กลุ่มที่จดทะเบียนในยุครัฐบาล คสช.

(1.2) กลุ่มประมงทะเล ที่นโยบายเปิดให้ขอจดทะเบียนจ้างงานได้ปีละ 2 ครั้ง เนื่องจากการออกทะเลจะมีเวลาเข้าฝั่งในช่วงเวลาไม่ตรงกัน

2.แรงงานที่ ผ ่ า นการพิ สู จ น์ สั ญ ชาติ แ ละปรั บ สถานะเป็ น แรงงานเข้ า เมื อ ง ถูกกฎหมาย แรงงานกลุ่มนี้คือ แรงงานกลุ่มที่แต่เดิมมีสถานะเข้าเมืองผิดกฎหมาย แต่ได้รบั การผ่อนผันให้อยูแ่ ละท�ำงานได้ชวั่ คราว (แรงงานในกลุม่ 1.) โดยแรงงานกลุม่ นี้ จะถูกท�ำให้ถูกกฎหมายได้ต้องได้รับการพิสูจน์สัญชาติจากประเทศต้นทางและได้รับ หนังสือเดินทางหรือหนังสือเดินทางชั่วคราวจากประเทศต้นทางและได้รับอนุญาต เข้าเมืองถูกกฎหมายและอนุญาตให้ทำ� งานในประเทศไทย ซึง่ แรงงานกลุม่ นีจ้ ะท�ำงาน ในประเทศไทยได้ 2 ปี และต่ออีก 2 ปีหลังจากนั้นต้องเดินทางกลับประเทศก่อน ถึงจะกลับมาท�ำงานได้อีก


อดิศร เกิดมงคล

3.กลุม่ แรงงานน�ำเข้าจาก MOU เป็นกลุม่ เข้าเมืองแบบถูกกฎหมาย ผ่านระบบ จัดหางานและข้อตกลงระหว่างประเทศ ท�ำงานได้ไม่เกิน 4 ปี หลังจากนั้นต้องเดินทาง กลับประเทศต้นทาง ซึง่ ตาม MOU ก�ำหนดให้ตอ้ งกลับประเทศต้นทาง 3 ปี แล้วสามารถ กลับเข้ามาท�ำงานต่อได้ ในปัจจุบันมีความพยายามของทั้งไทยและประเทศต้นทาง ทีจ่ ะแก้ไข MOU ในเรือ่ งระยะเวลาในการเดินทางกลับประเทศต้นทางและพักระยะเวลา 3 ปี ให้มีช่วงพักที่สั้นลง นอกจากนัน้ แล้วยังมีกลุม่ จ้างงานชายแดนตามพรบ. การท�ำงานของคนต่างด้าว ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีกฎกระทรวงในเรื่องนี้ออกมา แต่ก็คาดว่าจะส�ำเร็จในช่วงที่มี การพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น จ�ำนวนของประชากรแรงงานข้ามชาติ ทั้ง 3 สัญชาติ

ในปัจจุบนั มีกลุม่ แรงงานข้ามชาติทถี่ กู ต้องตามกฎหมายผ่านการพิสจู น์สญ ั ชาติ ประมาณ 1.5ล้านคน หรือประมาณ 53% แรงงานที่มาตามระบบ MOU ทั้งหมด 251,373 คน หรือประมาณ 12% และมีแรงงานที่จดทะเบียนที่ผ่อนปรนตามระเบียบ ของคณะรัฐมนตรี 767,109 หรือ ประมาณ 35% สิทธิในฐานะของแรงงาน

ในด้านสิทธิแรงงานยังพบว่าแรงงานข้ามชาติยังไม่ได้รับสิทธิแรงงานพื้นฐาน ตามกฎหมาย เช่น ค่าจ้างขั้นต�่ำ ค่าล่วงเวลา ประเด็นเรื่องค่าแรง 300 บาท จะพบว่า แรงงานข้ามชาติจะได้รับในกลุ่มที่ท�ำงานในพื้นที่ที่มีการจ้างงานค่อนข้างเข้มข้นและ มีการต่อรองราคาค่อนข้างสูง โดยเฉพาะพื้นที่อุตสาหกรรม หรือ พื้นที่บริเวณที่มี การจ้างแรงงานข้ามชาติจ�ำนวนมาก เช่น จังหวัดสมุทรสาคร เนื่องจากพื้นที่เหล่านี้ ต้องการแรงงานจ�ำนวนมาก การต่อรองจึงเกิดขึ้น ประเด็นการถูกล่วงละเมิดทางเพศ หรือการถูกล่วงละเมิดจากอคติทางชาติพนั ธ์ เช่น วัยรุ่นชาวไทยไปท�ำร้ายร่างกายชาวพม่า หรือการรีดไถเงินและข่มขืน การขูดรีด แรงงานต่างชาติของนายหน้า ความรุนแรงจากเจ้าหน้าที่รัฐ การถูกหลอกและรีดไถ จากเจ้าหน้าที่รัฐ

13


14

อาเซียนเสวนา

อย่างไรก็ตาม หากมองในเรือ่ งกฎหมายแล้ว ประเทศไทยมีการคุม้ ครองแรงงาน ตามกฎหมายที่ดีมาก แต่ถูกออกแบบให้มารองรับเฉพาะแรงงานไทย ตัวอย่าง เช่น การเรียกร้องกรณีการละเมิดสิทธิแรงงาน จะต้องมีการกรอกแบบฟอร์มประมาณ 3-4 หน้าแต่เป็นแบบฟอร์มภาษาไทยทีม่ คี วามละเอียด ซึง่ มีกรณีศกึ ษาทีว่ า่ ลูกจ้างถูกเลิกจ้าง อย่างไม่เป็นธรรมประมาณ 100 กว่าคน แต่ต้องใช้วิธีการกรอกแบบฟอร์มถึง 3 เดือน อันสะท้อนถึงกฎหมายไทยไม่ได้ออกแบบเพื่อเปิดให้แรงงานข้ามชาติเข้าถึงได้ หรือ แม้แต่คดีความเรื่องการเลิกจ้างแรงงานอย่างไม่เป็นธรรมบางครั้งต้องใช้เวลานาน จึงท�ำให้ลูกจ้างถอดใจไม่ฟ้องคดีต่อนายจ้าง หันหลังกลับไปท�ำงานตามเดิม เนื่องจาก กระบวนการทางกฎหมายต้องใช้เวลามากท�ำให้แรงงานข้ามชาติไม่ได้เข้าถึงพืน้ ทีส่ ว่ น นี้มากเท่าที่ควร เรือ่ งล่ามแปลภาษายังเป็นปัญหาใหญ่ จากข้อมูลฝ่ายคุม้ ครองสวัสดิการแรงงาน มีล่ามภาษาพม่าแค่ 3 พื้นที่ คือ แม่สอด สมุทรสาคร ระนอง เพราะว่าล่ามยังเป็น อาชีพสงวนให้กับคนไทย จึงท�ำให้เกิดปัญหาด้านการเข้าถึงข้อมูลและสิทธิที่ควร จะได้รับการคุ้มครอง ทัศนะคติของเจ้าหน้าที่รัฐยังเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึง ที่เชื่อว่าถ้าแรงงาน ข้ามชาติเข้ามาอย่างผิดกฎหมายต้องไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย ซึ่งเป็นอคติ ทีข่ ดั กับข้อเท็จจริงทางกฎหมายพอสมควร เพราะหลักทางกฎหมายจะไม่เลือกปฏิบตั ิ ว่าเป็นใคร ประเด็ น ที่ ส� ำ คั ญ ในปั จ จุ บั น แรงงานข้ า มชาติ ยั ง ไม่ ส ามารถที่ จ ะก่ อ ตั้ ง สหภาพแรงงานได้ เนื่องจากพรบ.แรงงานสัมพันธ์ ที่มีข้อก�ำหนดให้คุณสมบัติของ ผู้ก่อตั้งและกรรมการสหภาพแรงงานต้องมีสัญชาติไทย จึงส่งผลให้แรงงานข้ามชาติ ยังขาดพลังการต่อรองค่อนข้างมาก


อดิศร เกิดมงคล

สวัสดิการด้านสุขภาพ

สวัสดิการด้านสุขภาพมีอยู่ 2 รูปแบบ 1.ประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว ดูแลโดยกระทรวงสาธารณสุข วิธกี ารในการ เข้าถึงประกันสุขภาพ จะก�ำหนดให้แรงงานข้ามชาติซอื้ บัตรประกันสุขภาพปีละ 1 ครัง้ ครอบคลุม 1 ปี กลุ่มเป้าหมายที่จะต้องซื้อประกันสุขภาพแบ่งเป็น สามกลุ่ม คือ แรงงานข้ามชาติที่มีสถานะเป็นคนเข้าเมืองถูกกฎหมายแต่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ และท� ำ งานได้ ชั่ ว คราวหรื อ กลุ ่ ม แรงงานข้ า มชาติ ที่ ไ ด้ รั บ การจดทะเบี ย นตามมติ ครม.ในแต่ ล ะปี กลุ ่ ม เป้ า หมายที่ ส องเป็ น แรงงานข้ า มชาติ ที่ มี ส ถานเข้ า เมื อ ง ถูกกฎหมายแล้ว ทัง้ กลุม่ พิสจู น์สญ ั ชาติและกลุม่ น�ำเข้าตาม MOU แต่ทำ� งานในกิจการ ที่ไม่เข้าเป็นผู้ประกันตนกองทุนประกันสังคม เช่น งานรับใช้ในบ้าน เกษตร ประมง ทะเล กลุ่มสุดท้าย คือกลุ่มผู้ติดตามแรงงานข้ามชาติ โดยกลุ่มเด็กที่อายุไม่เกิน 7 ปี จะซื้อประกันสุขภาพในราคาเพียง 365 บาท ส่วนกลุ่มเด็กที่เกิน 7 ปีจะเสียค่าประกัน ในราคาเดียวกับแรงงานข้ามชาติสทิ ธิประโยชน์ของประกันสุขภาพจะให้สทิ ธิเฉพาะแค่ การบริการด้านสุขภาพเท่านั้น 2.ประกันสังคม กลุ่มเป้าหมายเป็นแรงงานที่เข้ามาอย่างถูกต้องตามกฎหมาย หรือกลุม่ แรงงาน MOU แต่ตอ้ งอยูใ่ นส่วนทีป่ ระกันสังคมคุม้ ครอง โดยแรงงานข้ามชาติ จะต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกันตนในกองทุนประกันสังคมภายใน 30 วันหลังจากได้ รับใบอนุญาตท�ำงาน โดยการจ่ายสมทบจะใช้ระบบหัก 5 % ของเงินเดือน และนายจ้าง จะต้องจ่ายสมทบอีก 5% และรัฐจะจ่ายสมทบอีกส่วนหนึ่ง โดยสิทธิประโยชน์ที่ได้รับ จะได้รับ 7 สิทธิประโยชน์เช่นเดียวกับแรงงานไทย เช่น รักษาพยาบาล พิการ เสียชีวิต คลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ว่างงาน และชราภาพ ตัวเลขการเข้าถึงประกันสุขภาพ จากสถิติของกระทรวงสาธารณสุข แรงงาน ทั้งหมด 4-5 แสนคน แต่มีคนซื้อบัตรประกันสุขภาพตามจริงประมาณ 2.5 แสนคน ตัวเลขที่หายไปกว่าครึ่ง แสดงให้เห็นถึงอะไรที่ผ่านมาโรงพยาบาลส่วนหนึ่งยังมอง ว่าการขายประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาติทเี่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั ยังมีความเสีย่ งทีจ่ ะต้อง แบกรับภาระเรื่องค่าใช้จ่ายจากระบบประกันค่อนข้างมาก โดยเฉพาะโรงพยาบาล ขนาดเล็ก หรือโรงพยาบาลที่มีผู้ประกันสุขภาพน้อย ท�ำให้หลายโรงพยาบาไม่ขาย ประกันสุขภาพให้แก่แรงงานข้ามชาติจำ� นวนหนึง่ เช่น กลุม่ ไม่มเี อกสาร กลุม่ ผูต้ ดิ ตาม หรือแม้แต่รายละเอียดของกระบวนการท�ำบัตรประกันสุขภาพทีต่ อ้ งขอเอกสารมากมาย เพื่อมาประกอบในการซื้อประกันสุขภาพ แม้ในแนวทางการปฏิบัติของกระทรวง

15


16

อาเซียนเสวนา

สาธารณสุขไม่ได้กำ� หนดไว้กต็ าม สาเหตุสำ� คัญอีกประการคือ แรงงานข้ามชาติไม่ทราบ ข้อมูลเรื่องการขายประกันสุขภาพ นอกจากนั้นแล้วทางภาครัฐยังไม่มีกลไกที่จะไป บังคับให้โรงพยาบาลขายบัตรประกันสุขภาพให้ได้ทงั้ หมด จะขายหรือไม่ขายขึน้ อยูก่ บั โรงพยาบาลนัน้ ๆ ทีส่ ำ� คัญบัตรประกันสุขภาพมีราคาแพง โดยมีคา่ ใช้จา่ ยในการประกัน สุขภาพทั้งหมด 2,800 บาท ท�ำให้แรงงานข้ามชาติรู้สึกว่าไม่คุ้มกับเงินที่จ่ายไป หรือหากต้องซือ้ ทุกคนในครอบครัวก็เป็นภาระส�ำหรับค่าใช้จา่ ยในครอบครัวอย่างมาก ระบบประกันสังคม มีจำ� นวนแรงงานข้ามชาติทคี่ วรจะเข้าประมาณ 6 แสนกว่าคน แต่กุมภาพันธ์ปี 56 มีแรงงานข้ามชาติเข้าประกันสังคมแค่ 2 แสนกว่าคน อันเป็นผล มาจาก 3 ปัจจัย ดังนี้ 1.ประกันสังคมถูกออกแบบให้เหมาะสมกับคนไทยทีจ่ ะต้องมีประกันในระยะยาว เช่น มีประกันชราภาพ เมื่ออายุ 55 ปีถึงจะใช้ได้ ซึ่งไม่สอดคล้องกับแรงงานต่างชาติ 2.ตั ว กฎหมายไม่ ไ ด้ ร ะบุ ว ่ า จะต้ อ งเป็ น คนที่ ถู ก กฎหมายที่ ส ามารถท� ำ ได้ แต่แนวทางการปฏิบัติของประกันสังคมกลับเป็นไปในแนวทางที่ให้เฉพาะคนที่เข้ามา อย่างถูกต้องตามกฎหมายเท่านั้น 3.ภาวะไม่ ท� ำ งานร่ ว มกั น ของ สองหน่ ว ยงาน ในกระทรวงเดี ย วกั น คื อ กรมการจัดหางานมีหน้าที่รับแรงงานเข้าท�ำงานและประกันสังคมมีหน้าที่รับแรงงาน เข้าประกันสังคม หากสถานการณ์ที่กรมการจัดหางานไม่สามารถออกใบอนุญาต ท�ำงานตัวจริงให้ได้จึงออกใบแทนให้ แต่เมื่อจะไปยื่นเอกสารเพื่อเข้าประกันสังคม ประกันสังคมไม่สามารถขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนให้ได้ เนื่องจากต้องการใบอนุญาต ท�ำงานตัวจริงไม่ใช่เอกสารแทนใบอนุญาตท�ำงานเนือ่ งจากใบอนุญาตตัวจริงมีหมายเลข ประจ�ำตัวอนุญาตท�ำงาน ตัวเลขการเข้าถึงสวัสดิการด้านสุขภาพ มีแรงงานเกือบ 7 แสนคนไม่มีระบบ ประกันสุขภาพ มี 4 แสนคนอยูร่ ะหว่างประกันสังคมหรือประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ อีก 2 แสนคนที่ไม่ทราบข้อมูลแน่ชัด ดังนั้นมากกว่า 70% ของแรงงานข้ามชาติที่ไม่ได้ อยู่ในระบบประกันสุขภาพใดในระบบ แทนที่ระบบควรจะต้องออกแบบให้แรงงาน ข้ามชาติเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น


อดิศร เกิดมงคล

ไทยพร้อมหรือไม่ที่จะรับมือกับแรงงานที่จะเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ในอนาคตข้างหน้า ?

หากพิจารณาในแง่โครงสร้างทางกฎหมายและนโยบายแล้ว ประเทศไทย มีความพร้อมในการด�ำเนินการเรือ่ งแรงงานในอนาคต เนือ่ งจากไทยมีพรบ.คนต่างด้าว ทีค่ อ่ นข้างเปิดในประเด็นการจ้างงานชายแดน มีการจ้างงานทัว่ ไป มีระบบเปิดช่องว่าง ให้แรงงานผิดกฎหมายให้เข้ามาเป็นแรงงานที่ถูกกฎหมายได้ แต่ปัญหาหลักของไทย มี ค วามหวาดระแวงกั บ กลุ ่ ม แรงงานไร้ ผี มื อ ไม่ เ ฉพาะประเทศไทยเท่ า นั้ น ที่ มี ความหวาดระแวงเช่นนี้ ยังรวมถึงอาเซียนและรัฐภาคีสมาชิกอาเซียนต่างๆ ด้วย ที่มีความหวาดระแวงต่อแรงงานไร้ฝีมือกลุ่มนี้ ท�ำให้มีการตั้งก�ำแพงต่อบุคคลกลุ่มนี้ ค่อนข้างมาก ถ้าหากย้อนดูที่ประชุมต่างๆ ในเรื่องแรงงานข้ามชาติในอาเซียนแล้ว จะพบว่าประเทศชัน้ น�ำในอาเซียนจะไม่กล่าวถึงแรงงานไร้ฝมี อื กลุม่ นี้ ถึงแม้วา่ ประเทศ ชั้นน�ำ เช่น สิงค์โปร์ มาเลเซีย จะรับเอาแรงงานไร้ฝีมือเหล่านี้เข้ามาท�ำงานในประเทศ แต่ไม่พูดถึงประเด็นแรงงานไร้ฝีมือ เพื่อไม่ต้องการให้เป็นวาระแห่งชาติ ที่ส�ำคัญไทย ยังขาดยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญต่อแรงงานข้ามชาติ ถึงแม้ไทยจะมีตัวกฎหมายเรื่อง แรงงานที่ดี แต่ยังขาดกลไกที่สอดคล้องกับกฎหมายเช่นกัน ประเทศไทยมี น โยบายเรื่ อ งการศึ ก ษาที่ ดี ไ ด้ รั บ ค� ำ ชมของหลายประเทศ เนื่องจากประเทศไทยมีนโยบายที่เปิดโอกาสให้เด็กทุกคนเข้าถึงการศึกษา แม้แต่เด็ก ที่ไม่มีเอกสารต่างๆ ก็สามารถเข้าไปศึกษาเล่าเรียนได้ แต่นักเรียนไทยหรือผู้ปกครอง ของนักเรียนไทยไม่ตระหนักรู้ถึงการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น ทั้งยังมีทัศนะคติที่กีดกั้นคน อื่น เช่น โรงเรียนในหลายๆพื้นที่ ผู้ปกครองประกาศว่าถ้ารับนักเรียนพม่าเข้าเรียน จะน�ำบุตรของตนเองออกจากโรงเรียนนั้นและไปเรียนที่อื่น เพราะไม่อยากให้ลูกของ ตนเรียนหนังสือร่วมกับนักเรียนพม่า ถึงแม้ประเทศไทยจะเป็นสังคมแบบพหุวฒ ั นธรรม มานานแล้ว แต่ยังกลับมีความคิดและอคติเช่นนี้อยู่ ที่ส�ำคัญไทยมีเครื่องมือการเรียนรู้ ตลอดชีวติ เช่น มีการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) มีโครงการการเรียนรูข้ ององค์กรต่างๆ มากมาย แต่ไทยไม่เคยเข้าใจเพือ่ นบ้าน ไม่เคยรูเ้ กีย่ วกับการอยูอ่ าศัยร่วมกับเพือ่ นบ้าน

17


18

อาเซียนเสวนา

เพราะฉะนั้นความท้าทายที่จะก้าวไปสู่อาเซียนมีดังนี้

1. นโยบายการย้ า ยถิ่ น ของแต่ ล ะสมาชิ ก อาเซี ย นจะเป็ น การเมื อ งภายใน ความเป็นและไม่เป็นประชาธิปไตยมีผลต่อนโยบายการย้ายถิ่นอย่างชัดเจน เช่น กรณีประเทศไทยตอนสมัยเป็นประชาธิปไตย ที่มีการเลือกตั้ง มีการต่อรองระหว่างรัฐ ผู้ประกอบการ และนักการเมือง นโยบายการย้ายถิ่นถูกท�ำให้เกิดการปรับนโยบาย ให้ลงตัว แต่เมื่อถึงยุคที่ทหารเข้ามาบริหารประเทศ กลับมีมุมมองต่อการย้ายถิ่นของ บุคคลเหล่านี้เป็นปัญหาต่อความมั่นคง ตัวอย่างเช่น ภาวะความหวาดกลัวต่อแรงงาน ข้ามชาติในปี 2549 ห้ามแรงงานข้ามชาติใช้มือถือ ห้ามแรงงานข้ามชาติชุมนุม เกินห้าคน ห้ามพกพาสิ่งที่เรียกว่าอาวุธ 2. อาเซียนเป็นเพียงชุมชนทางจินตนาการที่พยายามเปิดเสรีของแหล่งทุน และรัฐเท่านั้น ที่ผลิตซ�้ำวัฒนธรรมทางความมั่นคง เข้มงวดกับการเคลื่อนย้ายกลุ่มคน ที่ไร้อ�ำนาจทางเศรษฐกิจและการเมือง 3. การจัดการแรงงานข้ามชาติระดับอาเซียนจะมีภาคประชาสังคมคอยก�ำกับ และมีการประชุมระดับอาเซียนอยู่ปีละครั้ง (ASEAN Forum On Migrant Labor) อยู่แต่ข้อเสนอที่ออกมาจากการประชุมนี้ไม่ได้ถูกพูดถึงในระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสของ กระทรวงแรงงานในอาเซียน หรือแม้แต่ในระดับของรัฐมนตรีแรงงานอาเซียน หรือใน ระดับผู้น�ำอาเซียนเป็นเพียงเวทีที่ให้ประชาสังคมแรงงานข้ามชาติมาระบายอารมณ์ มาน�ำเสนอประเด็นต่างๆ แต่ไม่ได้สะท้อนออกมาในทางปฏิบัติ 4. ข้อตกลงอาเซียนกล่าวถึงแรงงานข้ามชาติ เรื่อง ปฏิญญาส่งเสริมและ คุ้มครองแรงงานข้ามชาติอาเซียน (ปฏิญญาเซบู) ที่มีเงื่อนไขของการออกตราสาสน์ ว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ ที่กระบวนการร่างตราสาสน์จะด�ำเนินการจัดท�ำ โดยเจ้าหน้าที่ของกระทรวงแรงงานของแต่ละประเทศเท่านั้น ซึ่งภาคประชาสังคม ไม่สามารถเข้าไปร่วมด้วย หรือแม้แต่การขอดูรายละเอียดข้อมูลของร่างตราสาสน์นั้น ยังไม่สามารถดูได้ นอกจากนั้นแล้วในแง่ของวิธีการยังยึดตามธรรมเนียมของอาเซียน ที่เน้นระบบฉันทามติเป็นหลัก ดังนั้นถ้าหากบางประเทศไม่เห็นด้วยในประเด็นใดๆ ก็จะท�ำให้ประเด็นนั้นไม่ส�ำเร็จ เช่น ในตราสาสน์ห้ามพูดเรื่องประกันสังคม เพราะว่า สิงคโปร์ไม่เอา ซึ่งสะท้อนให้เห็นภาพรวมของอาเซียนไม่ได้ออกแบบให้เป็นแบบ ประชาธิปไตย แต่เน้นการหาฉันทามติรว่ มกัน ประเทศไทยหรือประเทศใดประเทศหนึง่ เห็นชอบประเด็นนีร้ ว่ มกับประเทศอีก 9 ประเทศเท่านัน้ ถึงจะผ่าน ฉะนัน้ ถ้าไม่เห็นด้วย ในข้อใดข้อหนึ่งประเด็นนั้นเป็นอันตกไป จึงท�ำให้ประกันสังคมไม่สามารถเกิดขึ้น


อดิศร เกิดมงคล

ในตราสาสน์นี้ หรือแม้แต่ประเด็นเรื่องเสนอตราสาสน์เป็นกฎหมาย ซึ่งทางการ มาเลเซียเห็นต่างโดยขอให้เป็นเพียงข้อปฏิบตั ขิ องแต่ละประเทศเท่านัน้ ทีไ่ ม่มขี อ้ บังคับ หรือบทลงโทษทางกฎหมาย 5. การกลับมาของวัฒนธรรมเดิมจากการเคลือ่ นย้ายของแรงงานข้ามชาติ เช่น พื้นที่สมุทรสาครเดิมพื้นที่นี้ของไทย-มอญ พอชาวมอญของพม่าย้ายมาจึงท�ำให้พื้นที่ นั้นรื้อฟื้นวัฒนธรรมเดิมของชาวมอญขึ้นมา จนคนมอญนั้นพื้นที่นั้นลืมไปแล้วว่า วัฒนธรรมมอญดั้งเดิมยังมีอยู่ หรือแม้แต่วัดมอญในพื้นที่เป็นวัดร้างเกือบทั้งหมด เนือ่ งจากไม่มคี นเข้าแต่พอแรงงานเหล่านีเ้ ข้ามาก็ทำ� ให้รอื้ ฟืน้ วัดขัน้ มาอีกรอบหนึง่ หรือ พืน้ ทีท่ างแม่ฮอ่ งสอนทีก่ ลับฟืน้ วัฒนธรรมและความเป็นไต(ไทใหญ่)ขึน้ มาอย่างรวดเร็ว จากการเคลื่อนย้ายแรงงานที่เป็นไทใหญ่จากฝั่งพม่าข้ามมายังฝั่งไทยท�ำให้เกิด การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมบางอย่างร่วมกัน 6. กรอบใหญ่ของอาเซียนมองกลุม่ แรงงานข้ามชาติเหล่านีเ้ ป็นเพียงแค่แรงงาน แต่การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของแรงงานข้ามชาติท�ำให้เกิดวิถีของชุมชนด้านใหม่ ที่เรียกว่าชุมชนข้ามพรมแดนที่มีทั้งการแต่งงานข้ามวัฒนธรรม ที่ท�ำให้เกิดลูกครึ่งทั้ง ไทย-พม่า ไทย-ลาว หรือแม้แต่ พม่า-ลาว ซึ่งประเด็นที่ส�ำคัญของเด็กที่เป็นลูกครึ่งนี้ จะเป็นอย่างไรในอนาคตว่าจะไปอยู่พม่า หรือ ลาว หรืออยู่ไทยในฐานะอะไร 7. ในพื้ น ที่ สุ ด ท้ า ยที่ จ ะต้ อ งเกิ ด ขึ้ น อย่ า งแน่ น อนคื อ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ในระดับภูมิภาค ที่มีแนวโน้มจะไปเจริญเติบโตขึ้นในพื้นที่ชายแดน ที่มีปัญหาของ การแย่งชิงทางด้านทรัพยากรพอสมควร ซึง่ การเคลือ่ นย้ายของทุนไปยังชายแดน เป็น ส่วนกระตุ้นท�ำให้เกิดการแย่งชิงทรัพยากรในพื้นที่ค่อนข้างมาก ส่งผลกระทบท�ำให้ กลุ ่ ม ชาติ พั น ธ์ ห รื อ คนยากจนในพื้ น ที่ ถู ก เบี ย ดขั บ ออกไปจากทรั พ ยากรทั้ ง ในแง่ ของเรื่องที่ดิน อาหาร หรือแม้แต่เรื่องงาน

19


20

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 27


ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ

ทหารกับการเมืองในอินโดนีเซีย: อดีต ปั จจุ บัน อนาคต ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ “ปัจจุบันนี้เราก็ยังไม่รู้ว่า เมื่อไหร่ และท�ำไม ที่ผู้ที่ถือปืนจะเชื่อฟังผู้ที่ไม่มีปืน ซึ่งนับเป็นสิ่งก�ำหนดว่าสังคมนั้นๆ จะมีการควบคุมโดยพลเรือนหรือไม่” อดัม เซโบรสกี้ นักวิชาการชาวโปแลนด์

อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ทางการเมือง โดยเฉพาะทหาร ที่เข้ามามีบทบาททางการเมืองอย่างมาก แต่ในปัจจุบันอินโดนีเซียได้รับการยกย่อง อย่างมากจากทางตะวันตก เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงประเทศไปสู่ประชาธิปไตย เช่น ในหน้าหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทมส์ พาดหัวข่าว ที่ว่า อินโดนีเซียกลายเป็นประเทศ แบบอย่างของการเป็นประชาธิปไตย หลังจากจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดี และ นายโจโค วิโดโด ในฐานะพลเรือนได้รับชัยชนะเป็นประธานาธิบดีของอินโดนีเซีย ที่สะท้อนถึงความส�ำเร็จของประเทศนี้ตามแนวทางประชาธิปไตยในช่วงเปลี่ยนผ่าน “ส�ำหรับประชาธิปไตย การควบคุมโดยพลเรือนอันหมายความว่าการควบคุมทหาร โดยเจ้าหน้าที่พลเรือนซึ่งได้รับการเลือกตั้งโดยประชาชน ถือเป็นสิ่งขั้นพื้นฐาน” ริชาร์ด โคน

การควบคุ ม โดยพลเรื อ นท� ำ ให้ ช าติ ชาติ ห นึ่ ง สามารถน� ำ เอาค่ า นิ ย ม สถาบัน และการกระท�ำ มาตั้งอยู่บนฐานของเจตจ�ำนงของประชาชน แทนที่จะเป็น ตัง้ อยูบ่ นตัวเลือกของผูน้ ำ� ทางทหาร ซึง่ ผูน้ ำ� ทางทหารจะมีความสนใจโดยมุง่ ไปทีเ่ รือ่ ง ของการรักษาระเบียบภายในและความมั่นคงภายนอก ทหารถือความจ�ำเป็นว่า จะเป็นสถาบันทางการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ต�่ำที่สุดในประสบการณ์ของมนุษย์ ธรรมเนียมและรูปแบบการกระท�ำของทหาร โดยธรรมชาติ จ ะเป็ น สิ่ ง ที่ ขั ด กั บ เสรี ภ าพส่ ว นบุ ค คล และเสรี ภ าพของประชาชน ซึ่งสังคมประชาธิปไตยถือว่าเป็นค่านิยมสูงสุด

21


22

อาเซียนเสวนา

โดยทั่วไปเกี่ยวกับการศึกษาองค์กรทหาร จะต้องทราบจุดเด่นทางทหาร คือ ทหารจะมี ป ั จ จั ย บางอย่ า ง ที่ ท� ำ ให้ ท หารเข้ า ไปแทรกแซงทางการเมื อ งได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพและท�ำแล้วได้ผลกว่าตัวแสดงอื่น ซึ่งสังคมจะมีตัวแสดงหลายตัวทาง การเมือง แต่เมื่อน�ำทหารมาเปรียบเทียบกับตัวแสดงอื่น จะท�ำให้ทหารมีธรรมชาติ บางอย่างที่เอื้ออ�ำนวยให้ทหารแสดงบทบาททางการเมืองออกมาได้แล้วได้ผลส�ำเร็จ มากกว่าตัวแสดงอื่นในสังคม ตัวอย่างเช่น ทหารมียุทโธปกรณ์ “รัฐคือตัวแสดงหรือองค์กรที่ผูกขาดการใช้ความรุนแรงอันชอบธรรม” แม็กซ์ เวเบอร์ ซึ่ ง ตั ว แสดงของรั ฐ ที่ ใ ช้ ค วามรุ น แรงสู ง สุ ด และไม่ มี ใ ครสามารถหยุ ด ได้ ค�ำตอบ คือทหาร เนื่องจากกองทัพในสังคมหนึ่ง ย่อมเป็นตัวแสดงที่มีอาวุธ และ สามารถเอาชนะตัวแสดงอื่นได้โดยการใช้ก�ำลัง นอกจากทหารจะมีอาวุธแล้วองค์กรทหารยังมีความแข็งแกร่ง มีระเบียบ วินัย มีระบบการบังคับบัญชาชัดเจน ซึง่ ในทางทฤษฎีองค์กรของทหารจะมีการแบ่งของการ บังคับบัญชาชัดเจนแน่นอน แต่ในทางปฏิบัติองค์กรทหารยังมีการขัดแย้งภายในอยู่ ทั้งนี้องค์กรทหารยังมีค่านิยมของการรักพวกพ้อง ค่านิยมตายแทนกันได้ ดังนั้นแล้ว ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ล้วนเอื้อต่อการยึดอ�ำนาจการปกครองความจ�ำเป็นในการมีทหาร เพื่อป้องกันประเทศปราบปรามภัยคุกคามต่างๆ “การที่มีความกลัวต่อศัตรู จ�ำเป็นจะต้องสร้างสถาบันที่ใช้ความรุนแรงขึ้นมานั้นคือ ทหาร แต่ในขณะเดียวกัน สถาบันที่สร้างขึ้นมานี้ก็ท�ำให้กลัวเช่นกัน” ปีเตอร์ ดี ฟีเวอร์ “สถาบันที่สร้างขึ้นมาเพื่อปกป้องสังคมการเมือง แต่มีอ�ำนาจมากพอ ที่จะกลายเป็นภัยต่อสังการเมืองนั้น” “ทหารมีข้อได้เปรียบ 3 ประการที่อยู่เหนือองค์กรทางพลเรือน คือ ความเหนือกว่าใน ด้านการจัดองค์กร,สถานะทางอารมณ์และสัญญาลักษณ์,การผูกขาดการใช้อาวุธ” ซามูเอล ฟายเนอร์


ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ

แนวคิดที่ใช้ในการศึกษา

แนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างพลเรือนกับทหาร civil military relation 1. สังคมที่จะเป็นประชาธิปไตยได้พลเรือนต้องเป็นใหญ่เหนือทหาร (civilian supremacy) ทีจ่ ะต้องมีการควบคุมทหารโดยพลเรือน (civilian control) กองทัพทหาร มีได้แต่ต้องอยู่ในค�ำสั่งและการควบคุมของรัฐบาลพลเรือนที่มาจากการเลือกตั้ง ของประชาชน

2. สังคมจะเป็นประชาธิปไตยได้ต้องแยกทหารออกจากการเมือง

แนวคิด military professionalism ของ ซามูเอล ฮันติงตัน 1957 (ปรมาจารย์ด้านรัฐศาสตร์ของอเมริกา) ฮันติงตัน กล่าวว่า จะต้องแยกทหารออกจากภารกิจของพลเรือนอย่างชัดเจน ไม่ให้ท�ำงานทับซ้อนกัน รัฐบาลพลเรือนจะต้องเคารพอิสระของทหาร ที่จะปฏิบัติ อย่างไรต่อขอบเขตอ�ำนาจของทหาร ที่รัฐบาลพลเรือนจะไม่เข้าไปยุ่งหรือก้าวก่าย ด้านทหารอาชีพจะเป็นทหารทีส่ นใจเฉพาะเรือ่ งของทหาร เช่น ด้านการรบ การข่าวกรอง การป้องกัน ทั้งยังพัฒนาขีดความสามารถของทหารเพื่อให้บรรลุภาระกิจของทหาร ซึ่งรัฐบาลพลเรือนมีอ�ำนาจปกครองประเทศบริหารในด้านต่างๆ และทหาร จะมีหน้าที่ป้องกันประเทศจากภัยคุกคามภายนอก และป้องกันประเทศจากภัย ความมั่นคงต่างๆ 1970 มีแนวคิดโต้แย้งแนวคิดของ ฮันติงตัน ซึง่ เป็นแนวคิดของ อัลเฟรด สเตปัน ที่ใช้ชื่อว่า New Professionalism โดยโต้แย้งว่าแนวคิดของฮันติงตันได้ตกยุคไปแล้ว โดยสเตตันได้ทำ� การศึกษาบริเวณแถวลาตินอเมริกา ว่าการทีก่ ดี กันบทบาททหารออก จากหน้าที่การปกครองบ้านเมืองอย่างสิ้นเชิง นั้นท�ำไม่ได้ ถ้าหากท�ำได้ก็ไม่เหมาะสม พร้อมกับเสนอว่าแนวคิดของฮันติงตัน เหมาะสมกับประเทศทีม่ ภี ยั คุกคามจากภายใน เช่น กลุ่มแบ่งแยกดินแดน หรือกลุ่มก่อการร้าย ซึ่งการที่กีดกันทหารออกไปจาก ด้านการปกครองจะท�ำให้อันตรายมากกว่าเป็นผลดี ถ้าหากทหารไม่ได้มีเพียงแค่ ภัยคุกคามจากภายใน ทหารจ�ำเป็นจะต้องมีบทบาทบางอย่างทีเ่ ข้าไปก้าวก่ายบทบาท ของพลเรือนด้วย

23


24

อาเซียนเสวนา

ทหารกับอินโดนีเซีย 1. ปัจจัยที่ท�ำให้ทหารมีอ�ำนาจและบทบาทในทางการเมือง ในอินโดนีเซีย

1.1 ปั จ จั ย ทางด้ า นภู มิ ศ าสตร์ มี ผ ลต่ อ ทหารที่ ท� ำ ให้ มี อ� ำ นาจและบทบาท ทางการเมื อ ง โดยภู มิ ศ าสตร์ ข องประเทศอิ น โดนี เ ซี ย จะมี ลั ก ษณะเป็ น หมู ่ เ กาะ และมีพื้นที่ของประเทศขนาดใหญ่ ซึ่งลักษณะภูมิศาสตร์ประเทศที่เป็นเกาะจะเป็น เงือ่ นไขของปัญหาด้านการเดินทาง ติดต่อสือ่ สาร หรือการสร้างความเป็นหนึง่ เดียวกัน ต่อความเป็นชาติเดียวกันนั้นท�ำได้ยาก ทั้งนี้ความเป็นหมู่เกาะจะช่วยส่งเสริมให้เกิด ความแตกแยกเสียมากกว่าจะเป็นการรวมกันได้ เพราะฉะนั้นความเป็นหมู่เกาะถูกใช้ กล่าวอ้างว่าอินโดนีเซียไม่สามารถทีจ่ ะปกครองประเทศแบบอ่อนแอได้ หรือนัยยะหนึง่ อินโดนีเซียไม่สามารถปกครองแบบเสรีประชาธิปไตยได้ ที่จ�ำเป็นจะต้องน�ำความ แข็งแกร่ง เผด็จการ ที่มีอยู่ในทหารมาควบคุมและปกครองประเทศ 1.2 ความแตกต่างและหลากหลายทางเชื้อชาติ วัฒนธรรม ซึ่งควบคู่กับ ความเป็ น หมู ่ เ กาะ ประวั ติ ศ าสตร์ ป ระเทศอิ น โดนี เ ซี ย แต่ เ ดิ ม เกาะต่ า งๆ ของ อินโดนีเซียก่อนจะรวมเป็นประเทศเดียวกันนั้น เคยแยกเป็นอิสระมาก่อนจึงท�ำให้มี วัฒนธรรมแต่ละท้องถิ่นของแต่ละเกาะมีความแตกต่างกันไปด้วยทางเชื้อชาติ ศาสนา (คริสต์,ฮินดู,อิสลาม) ภาษา (ราชการ บาฮาซา,ภาษาชวา)ฯลฯ เช่น ประชากรของ อินโดนีเซียประมาณ 200 ล้านคน ไม่ได้เป็นเชือ้ ชาติเดียวกัน ส่วนใหญ่เป็นเชือ้ ชาติชวา ที่อยู่บนเกาะชวาและมีจ�ำนวนความหนาแน่นของประชากรบนเกาะชวาประมาณ 130 ล้านคน หรือตัวอย่างในประเทศจีน พรรคคอมมิวนิสต์จีนได้กล่าวว่า ประเทศจีน มีกลุม่ ทีม่ คี วามแตกต่างถึง 56 กลุม่ พรรคคอมมิวนิสต์จงึ ประกาศว่าจีนไม่สามารถเป็น ประชาธิปไตยได้เพื่อป้องกันการแตกแยกกัน 1.3 บทบาททหารในการสร้างชาติ ทหารอินโดนีเซียมีความภูมใิ จในความเป็น ทหารมาก ในด้านเป็นกลุ่มที่ให้ก�ำเนิดประเทศอินโดนีเซียขึ้นมา ซึ่งอินโดนีเซียได้รับ เอกราชเมื่อ 1945 ตามการนับปีของชาวอินโดนีเซีย ที่ได้ประกาศเอกราชจากดัชซ์ แต่ดัชซ์ไม่ยอมยกเอกราชให้จึงได้เกิดการสู้รบกันมาถึง 4 ปีส่วนสากลจะนับ 1949 ที่ดัชซ์ประกาศยอมแพ้และมอบเอกราชให้ บทบาทกองทัพทหารอินโดนีเซียในการเอาชนะกองทัพอาณานิคมดัชซ์ได้นั้น ท�ำให้กองทัพทหารอินโดนีเซียเห็นความส�ำคัญของกองทัพทหารที่จะเข้ามาควบคุม ประเทศเพื่อปกป้องรักษาอ�ำนาจอธิปไตยของอินโดนีเซียต่อไป


ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ

ชนชั้นการปกครองส่วนมากจะมาจากเชื้อชาติชวา ความเชื่อแบบชวาดั้งเดิม ที่เชื่อในองคาพยพของสังคมดั้งเดิมของตน organic totality of society องคาพยพ คือ ความเชื่อที่ว่าทุกสิ่งอยางเป็นระบบเดียวกันซึ่งท�ำงานด้วยกันและเกี่ยวข้องกัน ในองคาพยพเช่นนี้จึงถูกยกมาอ้างว่าทหารจะต้องมีบทบาทในการรักษาประเทศ ส่ ว นประชาชนไม่ ไ ด้ มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ เ ข้ า มายุ ่ ง เกี่ ย วในด้ า นการเมื อ งการปกครอง ควรที่จะท�ำมาหากินแบบเดิม โดยแต่ละส่วนอย่าเข้ามายุ่งขอบเขตของกันและกัน เมื่ อ ทหารเข้ า มามี บ ทบาทด้ า นการปกครองเพื่ อ รั ก ษาความมั่ น คง จึงเกิดประเด็นค�ำถามขึ้นที่ว่า ความมั่นคงนั้นเป็นความมั่นคงของใคร ความมั่นคง ของรัฐ ความมัน่ คงของระบอบ หรือความมัน่ คงของประชาชน ตามทัศนะของวิทยากร มองว่าทหารอินโดนีเซียจะให้ความมัน่ คงของรัฐเป็นหลักโดยไม่ได้มองไปทีค่ วามมัน่ คง ของประชาชน เพราะฉะนัน้ ถ้าหากประชาชนบางส่วนถูกปราบปรามจนถึงขัน้ บาดเจ็บ หรือเสียชีวิตเพื่อรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงให้ด�ำรงอยู่ ทหารก็มีความพร้อมที่จะกระท�ำ 2. ปัจจัยด้านสงครามเย็น

ช่วงสงครามเย็นเป็นบรรยากาศของการคุกคามแบบคอมมิวนิสต์ และท�ำให้ สถานการณ์ในช่วงนั้น ของความขัดแย้งระหว่างประเทศไม่ค่อยมี อินโดนีเซียไม่ได้อยู่ ในสภาพทีท่ ำ� การรบกับศัตรูภายนอก ซึง่ ท�ำให้กองทัพอินโดนีเซียเห็นความส�ำคัญของ การคุกคามจากภายในเป็นหลัก ถึงแม้ว่าอินโดนีเซียจะประกาศเอกราชส�ำเร็จแล้ว แต่ยังประสบภัยคุกคามจากภายใน ในเรื่องต่างๆ เช่น กลุ่มคอมมิวนิสต์ ครั้งหนึ่ง อินโดนีเซียเคยมีพรรคคอมมิวนิสต์ ขนาดใหญ่อย่างมากเป็นอันดันต้นๆของโลก ทัง้ ยังมีความขัดแย้งทางด้านเชือ้ ชาติ กลุม่ แบ่งแยกดินแดน หรือกลุม่ การเมืองทีอ่ งิ ศาสนา โดยแท้จริงแล้วกองทัพอินโดนีเซียไม่ได้มีขีดความสามารถทางทหารหรือด้าน การรบที่เยี่ยมยอดขนาดนั้น ถ้าเอาไปสู้รบกับบางประเทศอาจแพ้ได้ แต่กองทัพ อินโดนีเซียมีขีดความสามารถในการจัดการปัญหาภายใน เนื่องจากอินโดนีเซียไม่ได้ มีประสบการณ์ในการไปสู้รบกับต่างประเทศเลย เช่น ในปี 1965-1966 ที่ทหาร อิ น โดนี เ ซี ย ปราบปรามกลุ ่ ม คอมมิ ว นิ ส ต์ อ ย่ า งรุ น แรง จนมี ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต ประมาณ 500,000 คน ซูฮัตโต้ ได้โค่นอ�ำนาจของซูการ์โน่ลงไป ซูฮัตโต้ได้ท�ำให้ทหารขึ้นมามี อ�ำนาจสูงสุดในประเทศอินโดนีเซียอย่างแท้จริง ส่วนคอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซียถูกทหาร ปราบปรามอย่างสิ้นซาก

25


26

อาเซียนเสวนา

“ในสมัยซูการ์โน่แม้กองทัพจะมีอำ� นาจมากแต่ขณะเดียวกันคอมมิวนิสต์กไ็ ด้รบั การยอมรับจากคนจ�ำนวนมาก ไม่ผิดกฎหมายและลงเลือกตั้งได้รับคะแนนสูงมากใน ปี 1955 ซูการ์โน่ ประกาศว่าชาติจะอยูร่ อดต้องมี นา ซา คอม (ชาติ ศาสนา คอมมิวนิสต์ ถือว่าให้คณ ุ ค่าแก่คอมมิวนิสต์อย่างสูง กองทัพซึง่ มีคณ ุ ค่าทีส่ งู ส่งเหมือนกันจึงไม่พอใจ เลยเกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรง” อรอนงค์ ทิพวิมล ผู้เชี่ยวชาญด้านอินโดนีเซีย จากบทสัมภาษณ์ ประชาไท ช่วงแลกเปลี่ยน ถาม-ตอบ

ท�ำไมอินโดนีเซียถึงได้รับการยอมรับจากโลกตะวันตกว่ามีความเป็น ประชาธิปไตยทีก่ า้ วหน้ามากกว่าไทยทัง้ ทีไ่ ทยเริม ่ เปลีย่ นแปลงการปกครองมา ตั้ ง แต่ 2475 ส่ ว นอิ น โดนี เ ซี ย พึ่ ง ได้ รั บ การเลื อ กตั้ ง จากประชาชน จนได้ ประธานาธิบดีที่มาจากพลเรือน ซึ่งเพราะเหตุใด? อาจเกิดจากช่วง ปีค.ศ.1998 การลุกฮือเพื่อโค้นล้มซูฮัตโตและเผด็จการ ของประชาชนและนักศึกษา ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดการเคลื่อนไหวนี้มาจากเรื่อง เศรษฐกิจ ภายหลังเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในปี 2540 (1997) ซึ่งอินโดนีเซียได้ รับผลกระทบอย่างมาก จนท�ำให้ GDP ของประเทศติดลบถึง 10% เพราะเหตุนี้จึงเกิด การเคลื่อนไหวและล้มล้างการปกครองของซูฮัตโตจนน�ำไปสู่วิถีทางประชาธิปไตยได้ ลักษณะและบทบาทอ�ำนาจทางการเมืองของทหารอินโดนีเซีย

1. หลั ก การปั ญ จศี ล า (ศี ล 5) มี สั ญ ลั ก ษณ์ ป รากฏอยู ่ ใ นตราสั ญ ลั ก ษณ์ ของอินโดนีเซีย ซึ่งหลักการนี้จะใช้เป็นอุดมคติหลักของประเทศอินโดนีเซียตั้งแต่ การก่อตั้งประเทศเริ่มมา ที่ถูกยกมาอ้างตลอดเวลาว่าเป็นความเชื่อหลักของประเทศ (1.1) เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว แต่ไม่ได้หมายความว่าหมายถึงศาสนาใด ศาสนาหนึ่ ง แต่ ร วมถึ ง ศาสนาหลายๆ ศาสนาที่ ป ระชาชนอิ น โดนี เ ซี ย นั บ ถื อ ซึ่งหลักเหตุผลของประเด็นนี้คือ ไม่อยากให้มีกลุ่มการเมืองของอิสลามเยอะเกินไป


ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ

(1.2) เชื่อในมนุษย์ที่มีความเป็นอารียะ

(1.3) ความเป็นเอกราชหนึ่งเดียวของอินโดนีเซียที่จะแบ่งแยกมิได้

(1.4) ประชาธิปไตยที่มีผู้น�ำที่ฉลาด

(1.5) สังคมที่มีความยุติธรรม

ปัญจศีลาถึงยกมาอ้างเสมอว่าเป็นสิง่ ทีก่ องทัพจ�ำเป็นจะต้องเข้ามายุง่ เกีย่ วกับ การเมือง ถึงแม้วา่ ข้อ4 จะมีคำ� ว่าประชาธิปไตยแต่ในข้อนีไ้ ม่ได้หมายถึงประชาธิปไตย โดยทั่วไปหรือระดับสากล แต่เป็นประชาธิปไตยแบบชี้น�ำที่มีผู้น�ำที่ฉลาดมาชี้น�ำ ความคิดและความเห็นของประชาชน 2. หลัก Dwifungsi (Dual function) หรือ ภารกิจ2ด้าน ถือเป็นหลักที่ยึดถือ กองทัพอินโดนีเซียอดีต ถูกพร�่ำสอนว่ากองทัพไม่ใช่แค่ดูแลเพียงแค่ความมั่นคงหรือ การป้องกันศัตรูภายนอกเท่านั้น แต่อีกด้านหนึ่งทหารอินโดนีเซียต้องเข้ามาดูแล อีกด้านหนึ่งของ Dual function คือ ด้านการปกครอง และเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ต่างๆ ซึ่งกองทัพใช้หลักการ Dwifungsi นี้เพื่อเข้ามามีบทบาทด้านการเมือง ที่ส�ำคัญ หลักการ Dwifungsi เคยได้รับเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายด้วย ตัวอย่างเช่น มีโควตา ที่นั่งในสภาส�ำหรับทหารโดยไม่ต้องผ่านการเลือกตั้งโดยเฉพาะ ซึ่งแสดงถึงเอกสิทธิ ของทหารที่จะเข้ามามีบทบาทในสภาโดยไม่ต้องลงเลือกตั้ง ดังนั้นแล้วในการเลือกตั้ง ช่วงที่ซูฮัตโตอยู่ในอ�ำนาจการเลือกตั้งก็ไม่ได้เป็นประชาธิปไตยเนื่องจากมีการจ�ำกัด สิทธิการเลือกตั้งต่างๆ รวมไปถึงการล็อคผลการเลือกตั้ง แลกเปลี่ยน

กองทัพอินโดนีเซียเป็นกลุ่มทุนท�ำธุรกิจเป็นของกองทัพเองตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบนั ทีม่ บี ทบาทในด้านธุรกิจของอินโดนีเซีย ถึงแม้วา่ อินโดนีเซียจะได้รบั การยกย่อง จากตะวันตกว่ามีประชาธิปไตยที่ดีแต่การท�ำธุรกิจของกองทัพก็ยังไม่ได้หมดไป ถึงแม้ว่าการท�ำธุรกิจของกองทัพจะขัดหลักการทางประชาธิปไตย ทั้งธุรกิจที่ถูก กฎหมายและผิดกฎหมาย เช่น ธุรกิจป่าไม้ทที่ ำ� การตัดไม้ทำ� ลายป่า และรวมถึงประเด็น เรื่องยาเสพติด แต่ติดด้านการเข้าถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจที่ผิดกฎหมาย

27


28

อาเซียนเสวนา

ซึ่งการที่กองทัพเป็นแหล่งทุนไปด�ำเนินการท�ำธุรกิจก็ท�ำให้กองทัพทหาร อิ น โดนี เ ซี ย จ� ำ เป็ น จะต้ อ งเข้ า มามี บ ทบาทในทางการเมื อ งอย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ เพื่ อ รั ก ษาผลประโยชน์ ห รื อ เพื่ อ ที่ จ ะไม่ ต ้ อ งอยู ่ ภ ายใต้ ก ารควบคุ ม ของรั ฐ บาล อย่างเต็มที่ ถ้าหากว่ารัฐบาลพลเรือนเข้ามา จะต้องมีการควบคุมกองทัพอย่างแน่นอน ทั้งในด้านกิจกรรมของกองทัพหรือแม้แต่ด้านงบประมาณที่จะต้องมาจ�ำกัดให้กองทัพ มีงบประมาณเพียงด้านเดียวจากรัฐบาล ซึง่ แปลว่ากองทัพก�ำลังไปหาแหล่งงบประมาณ อีกทางหนึ่งที่ไม่ได้มาจากรัฐบาล อันส่งผลท�ำให้รัฐบาลไม่อาจประเมินได้ว่ากองทัพ ใช้งบประมาณต่อปี ปีละเท่าไหร่ ระบบการมีพื้นที่ทางทหารหรือการมีค่ายทหารกระจายไปทั่วทุกพื้นที่ต่างๆ ของประเทศ โดยอ้างถึงความมั่นคงของประเทศทั้งยังมีลักษณะภูมิศาสตร์ที่เป็นหมู่ เกาะยากต่อการควบคุม ซึ่งสะท้อนวาระซ้อนเร้นที่แสดงถึงความเป็นรัฐบาลเงาใน การเมืองระดับท้องถิ่น ความพยายามของกองทัพในการเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น

จุดที่เป็นเงื่อนไขท�ำให้กองทัพพยายามเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ส่วนหนึ่ง มาจากเหตุการณ์จราจรในปี 1998ของประชาชนและนักศึกษาที่เคลื่อนไหวต่อต้าน และโค่นล้มอ�ำนาจการปกครองเผด็จการของนายพลซูฮัตโต ที่ได้รับผลกระทบจาก ปัญหาเศรษฐกิจที่ตกต�่ำอย่างมากในภายหลังวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในปี 1997 ในการเคลื่อนไหวนั้นได้เข้าไปยึดรัฐสภาอินโดนีเซีย จนสุดท้ายซูฮัตโตยอมจ�ำนน ลงจากอ�ำนาจอย่างบอบช�้ำภายหลังอยู่ในอ�ำนาจนานถึง 32 ปี ตั้งแต่1965-1998 ซึง่ กระแสของสังคมในสถานการณ์ตอนนัน้ ท�ำให้มพ ี ลังมากพอทีท่ ำ� ให้ระบอบเผด็จการ ที่แข็งแกร่งพังครืนลงได้ สะท้อนถึงความอดทนที่ถูกกดทับจากเผด็จการจนน�ำไปสู่ ความต้องการสิ่งใหม่ที่ดีกว่าการปกครองที่ผ่านมา นั้นคือประชาธิปไตยที่ประชาชน เชื่อว่าเป็นสิ่งใหม่ที่ควรจะเข้ามาและท�ำให้ชีวิตของประชาชนดีขึ้น ส่วนกองทัพได้มภี าพลักษณ์ทตี่ กต�ำ่ ลงอย่างมาก ในขณะระหว่างการเคลือ่ นไหว ของประชาชนและนักศึกษา กองทัพทหารได้ใช้นโยบายปราบปรามประชาชนและ นักศึกษาจนน�ำไปสู่การบาดเจ็บและเสียชีวิตในเหตุการณ์นั้น การกระท�ำปราบปราม ของกองทัพนีย้ งิ่ ไปสร้างความเกลียดชังจากประชาชนและนักศึกษาเพิม่ ขึน้ ต่อกองทัพ และท�ำให้กองทัพไม่มีโอกาสที่จะเข้าไปมีบทบาทในทางการเมืองอีก


ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ

หลังจากกองทัพหมดบทบาทและซูฮต ั โตลงจากต�ำแหน่งไป อินโดนีเซียได้มป ี ระธานาธิบดีทม ี่ าจากพลเรือนต่อมาอีก 4 คนด้วยกัน

1. ฮาบีบี้ ถูกมองว่าเป็นพลเรือนที่เข้ามาเพื่อเป็นตัวแทนของซูฮัตโต ในช่วง ทีเ่ ป็นรอยต่อระหว่างช่วงของการเปลีย่ นผ่าน ในยุคของฮาบีบไี้ ด้เกิดเหตุการณ์ทสี่ ำ� คัญ คือ เหตุการณ์ที่ติมอร์ตะวันออกลงประชามติเพื่อเป็นเอกราช ในอดีตติมอร์ตะวันออก ถูกปราบปรามและกดดันอย่างมากจากกองทัพอินโดนีเซีย ยิง่ ตอนจะประกาศเอกราช กองทัพอินโดนีเซียจะเข้าไปมีบทบาทอย่างมากต่อติมอร์ตะวันออก เพือ่ ทีจ่ ะรักษาความ เป็นหนึง่ เดียวของอินโดนีเซียตามหลักปัญจศีลา ทีส่ ำ� คัญหากติมอร์ได้รบั เอกราชส�ำเร็จ จริงเหตุการณ์จะลุกลามจนท�ำให้ดนิ แดนอืน่ ๆ เรียกร้องเอกราชตามมา ท้ายทีส่ ดุ ติมอร์ สามารถประกาศเอกราชได้ส�ำเร็จ 2. อับดุล เลาะมัน วาฮิด เป็นผู้น�ำของกลุ่มองค์กรมุสลิมที่ใหญ่ที่สุดของ อินโดนีเซียในตอนนั้น ซึ่งถือว่าประธานาธิบดีคนนี้มีบารมีมาก แต่ในทางกายภาพ สุขภาพร่างกายไม่ค่อยดี ไม่แข็งแรง สายตามองไม่ค่อยเห็น แต่ในเชิงความคิด และเด็ดเดี่ยวกล้าตัดสินใจ ถือว่าเป็นบุคคลที่กล้าหาญที่กล้าขึ้นมาท้าชนกับกองทัพ อินโดนีเซีย โดยวาฮิดเองไม่ได้ขนึ้ มาเพือ่ เอือ้ ประโยชน์ให้กบั ใคร ทัง้ ยังกล้าขึน้ มาปฏิรปู ประเทศเพื่อขยายแนวคิดทางประชาธิปไตยให้มากยิ่งขึ้น จนท�ำให้วาฮิดได้รับการ กดดันอย่างมากจากกลุ่มต่างๆ ในสังคม อันน�ำมาสู่การออกจากต�ำแหน่งของวาฮิด เนื่องจากทนต่อแรงกดดันทางสังคมของกลุ่มต่างๆ ไม่ไหว 3. นาง เมกาวาตี ซูการ์โน บุตตี ซึ่งมาแทนวาฮิด ที่เป็นลูกสาวของซูการ์โน ในทางการเมืองก่อนขึน้ มาด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองนัน้ มาจากการเลือ่ ยขาเก้าอีข้ อง วาฮิดและชิงไหวชิงพริบกัน ที่มีเบื้องหลังไปร่วมมือกับกองทัพ จนในปี 2002-2004 กองทัพอินโดนีเซียเริ่มมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้นในสังคม เนื่องจากเกิดปัญหาภายใน ในพืน้ ทีอ่ าเจก กองทัพจึงได้มบี ทบาทเข้าไปควบคุมพืน้ ทีอ่ าเจก จนท�ำให้กองทัพทหาร สามารถกู้ภาพลักษณขึ้นมาพอสมควร เนื่องจากประชาชนยอมรับในการมีบทบาท ของทหารที่เข้าไปควบคุมสถานการณ์พื้นที่อาเจก จนท�ำให้ประชาชนมีทัศนคติ ที่ดีขึ้นต่อกองทัพ 4. ซูซโิ ร บัมบัง ยูโทโยโน่ ทีเ่ ป็นประธานาธิบดีทมี่ าจากการเลือกตัง้ และได้รบั ชัยชนะการเลือกตั้งถึง 2 สมัย วาระ 5 ปี ตั้งแต่ 2004-ปัจจุบัน รัฐธรรมนูญของ อินโดนีเซียได้กำ� หนดไว้วา่ ต้องอยูไ่ ด้แค่ 2 วาระ ประวัตเิ ดิมของยูโทโยโน่เป็นทหารเก่า ในสมัยซูฮตั โต แต่เป็นทหารในสายปฏิรปู ทีไ่ ม่ได้มแี นวคิดในแบบเผด็จการและมีแนวคิด ที่เอียงมาในทางประชาธิปไตย โดยมีความต้องการปฏิรูปกองทัพให้ทันสมัย

29


30

อาเซียนเสวนา

นโยบายหลัก 3 ประการของยูโทโยโน่

1. เรื่องการแต่งตั้งโยกย้ายนายทหาร ที่มีความกล้าหาญโยกย้ายนายทหาร ชั้นสูงบางคนในกองทัพทหารที่เป็นคนที่มีแนวคิดขัดกับหลักการรัฐบาล ที่สะท้อนถึง อ�ำนาจทางพลเรือนที่เหนือกว่ากองทัพทหารอินโดนีเซีย 2. การแก้การด�ำเนินธุรกิจของกองทัพ โดยได้ร่างกฎหมายขึ้นมาเพื่อยึดเอา ธุรกิจของทหารมาเป็นของรัฐบาล ซึง่ ถือว่าประเด็นนีเ้ ป็นสิง่ ทีย่ ากและมีเงือ่ นไขจ�ำนวน มาก จนไม่อาจท�ำได้ส�ำเร็จเพียงครั้งเดียว ที่ส�ำคัญธุรกิจของกองทัพมีจ�ำนวนมาก และมีมูลค่ามหาศาล ในปัจจุบันธุรกิจของกองทัพทหารยังมีอยู่ 3. ปฏิรูปค่ายทหารในท้องที่ต่างๆ โดยการลดจ�ำนวนของค่ายทหารลงพร้อม กับการลดอ�ำนาจของกองทัพลงในระดับชาติและท้องถิ่น ในทางปฏิบัติแล้วประเด็น เรือ่ งการปฏิรปู ค่ายทหารไม่สามารถท�ำได้อย่างต่อเนือ่ งและสามารถด�ำเนินการได้นอ้ ย ที่สุดจาก 2 ข้อที่เสนอมา จนสุดท้ายในวาระที่2 ของการด�ำรงต�ำแหน่งของยูโทโยโน่ ได้รับคะแนนนิยม จากประชาชนลดลงจากวาระที1่ ทีม่ คี วามนิยมถึง 60-70% เนือ่ งจากประชาชนเห็นว่า ในวาระทีส่ อง นีย้ โู ทโยโน่ ไม่ยอมมีบทบาทในการท�ำงานมากนัก ได้แต่พดู สิง่ ทีเ่ ลือ่ นลอย ดูใหญ่โต แต่ไม่ท�ำ อนาคต

ในอนาคตของอินโดนีเซียของบทบาทกองทัพทหารภายใต้รัฐบาลใหม่ที่พึ่ง ผ่านการเลือกตั้งมา ที่มีคู่แข่งประธานาธิบดีอยุ่สองคน คือ โจโควี กับ ปราโบโว ก่อนการเลือกตั้งโพลส�ำนักต่างๆ ต่างฟันธงว่าโจโควีชนะการเลือกตั้งแบบคะแนน มหาศาล จนได้รับสมญานามว่า โอบาม่า ของอินโดนีเซีย โดยพื้นฐานโจโควีเป็นคน รุ่นใหม่ ติดดิน ไม่เคยมีประวัติที่แปดเปื้อนระบบอ�ำนาจเผด็จการทหารมาก่อน และ ก่อนการเลือกตัง้ ไม่กวี่ นั ปราโบโวสามารถท�ำคะแนนนิยมขึน้ มาเกือบเทียบเท่าโจโควีได้ แต่ในเบื้องหลังของตาโวโว้ที่เป็นทหารเก่าและมีข้อมูลว่าเคยท�ำงานอยู่เบื้องหลังของ การปราบปรามประชาชนเมื่อปี 1998 มาก่อน


ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ

เพราะฉะนั้นถึงแม้ว่าปราโบโวจะมีประวัติที่ด้างพร่อยขนาดนี้แต่สามารถท�ำ คะแนนนิยมได้เกือบเทียบเท่าโจโควีได้จนเกือบเอาชนะการเลือกตั้งที่ผ่านมาได้ ถือได้ว่าปราโบโวยังเป็นที่นิยมของประชาชนอินโดนีเซียบางส่วนที่ถวิลหารูปแบบ การปกครองเก่าๆ หรือความมั่นของชีวิตแบบเดิม ซึ่งสะท้อนว่าประชาชนบางคน ไม่ตอ้ งการประชาธิปไตยหรือเสรีภาพแต่ตอ้ งการความมัน่ คงของชีวติ และความสงบสุข ของสั ง คมที่ ไ ม่ มี ป ั ญ หาด้ า นความมั่ น คงทางก่ อ การร้ า ยหรื อ อาชญากรรม และ การโฆษณาหาเสี ย งของปราโบโวนั้ น ใช้ จุ ด แข็ ง ของตั ว เองในด้ า นเด็ ด เดี่ ย ว ความแข็งแกร่งในการควบคุมสถานการณ์ตา่ งๆ และเครมว่าประชาธิปไตยเป็นของวุน่ วาย และถ้าหากปราโบโวชนะการเลือกตั้งอินโดนีเซียอาจจะท�ำให้ปัจจุบันย้อนกลับไป ดังเดิมเหมือนอดีตได้ที่เคยปกครองแบบเผด็จการ ปัจจุบนั บทบาททางทหารอินโดนีเซียอยูน่ งิ่ ไม่ได้ออกมาแสดงบทบาททางการ เมืองอย่างเปิดเผย แต่ยังมีบทบาทในทางธุรกิจและบทบาทการมีพื้นที่ทางทหาร ที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ แค่บทบาทสองประการนี้สามารถนิยามได้ว่าทหารอินโดนีเซีย พอใจแล้วต่อบทบาททีย่ งั ด�ำรงอยู่ ทัง้ ยังอยูเ่ บือ้ งหลังทีย่ งั พอมีอทิ ธิพลทางการเมืองอยู่ แต่ไม่ได้เปิดเผยในทางสาธารณะหรือพื้นที่ด้านหน้าฉากผ่านสื่อต่างๆ

31


32

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 37


วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์

เปิ ดเสรีความเกลียดชัง : ส�ำรวจภูมิ(ไม่)คุ้มกันของ คนไร้อ�ำนาจในอาเซียนภิวัตน์ วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์ เปิดเสรีภาพความเกลียดชัง เมื่อเราจะอยู่ร่วมกันแบบอาเซียน ค�ำถามคือว่า อยู่ดีๆ เมื่อเราจะมาอยู่ร่วมกัน มันเกิดความผูกพันทางอารมณ์แอาเซีบบไหนถึ ยนเสวนา | 38 ง มาอยู ่ ร่วมกัน ซึ่งจะพูดต่อไปว่า เกิดขึ้นจากความสมัคเปิรใจหรื ว่าเกิดขึย้นดชั จากการบั ดเสรีคอวามเกลี ง : งคับ แต่ประสบการณ์สว่ สำนตั ว ผมรู ส ้ ก ึ ว่ า มี อ ารมณ์ บ างอย่ า งที เ ่ ป็ น อารมณ์ ค อ ่ นข้ า ารวจภูมิ(ไม่)คุ้มกันของคนไร้อำานาจในอาเซียนภิวัตงลบและแรง น์ ร แก้วประดิษฐ์ โดยเริ่มมาจากความไม่ชอบ ความเกลียด ถึงขึ้นเกลียดชังกัน วีซึรฉั่งตมาจากหลายสาเหตุ มีทงั้ สาเหตุ ทางประวั ศิ ภาสตร์ สาเหตุ ง นและปั จจุยน บนคำั �ถ�มคื การค้ การลงทุ นขนาดใหญ่ เปิดตเสรี �พคว�มเกลี ยดชังท เมืางการเมื ่อเร�จะอยู่รอ ่วมกั แบบอ�เซี อว่� า อยู ่ดีๆเมื่อเร�จะ ม�อยู ร ่ ว ่ มกั น มั น เกิ ด คว�มผู ก พั น ท�งอ�รมณ์ แ บบไหนถึ ง ม�อยู ร ่ ว ่ มกั น ซึ ง ่ จะพู ด ต่ อ ไปว่ � เกิ ด ขึ น ้ จ�กคว�ม ทีเ่ กิดขึน้ ในภูมภิ าคทีเ่ รียกว่าอาเซียนภิวตั น์ ก็คอื การค้า การลงทุนขนาดใหญ่ทเี่ กิดขึน้ สมัครใจหรือว่�เกิดขึ้นจ�กก�รบังคับ แต่ประสบก�รณ์ส่วนตัว ผมรู้สึกว่�มีอ�รมณ์บ�งอย่�งที่เป็นอ�รมณ์ ในภูมิภาคของเรา แต่ที่เรีย่มกอาเซี ยนภิชอบ คว�มเกลี วัตน์ คือยว่ด ถึ า แต่ ที่จยดชัริงงกระแสอาเซี ยนไม่ ได้เกิดที่ ค่อนข้�งลบและแรง โดยเริ ม�จ�กคว�มไม่ งขึ้นเกลี กัน ซึ่งม�จ�กหล�ยส�เหตุ มี ท ง ้ ั ส�เหตุ ท �งประวั ต ศ ิ �สตร์ ส�เหตุ ท �งก�รเมื อ ง และปั จ จุ บ น ั ก�รค้ � ก�รลงทุ น ขน�ดใหญ่ ท เ ่ ี กิ ด โครงสร้างของรัฐที่เชื่อมโยงกันหรือว่าบูรณาการร่วมกัน แต่ว่าอะไรก็ขึเ้นป็ในนอาเซียน ภูมิภ�คที่เรียกว่�อ�เซียนภิวัตน์ ก็คือ ก�รค้� ก�รลงทุนขน�ดใหญ่ที่เกิดขึ้นในภูมิภ�คของเร� แต่ที่เรียกอ� ไปหมดทุกเซีวัยนนภินีว้ัตทุน์ กคือคนพู อาเซียยนนไม่ทุไกด้เกิอย่ งเป็�นงของรั อาเซี ้ มกึ ว่าตกลง ว่� แต่ด ที่จถึริงงกระแสอ�เซี ดที่โาครงสร้ ฐที่เย ชื่อนไปหมด มโยงกันหรือว่�จนเรารู บูรณ�ก�รร่วส กั น แต่ ว � ่ อะไรก็ เ ป็ น อ�เซี ย นไปหมดทุ ก วั น นี ้ ทุ ก คนพู ด ถึ ง อ�เซี ย น ทุ ก อย่ � งเป็ น อ�เซี ย นไปหมด จนเร�รู ส ้ ึก คืออะไรกันแน่ มันมีความหมายอะไรกันแน่กับเรา ว่�ตกลงคืออะไรกันแน่ มันมีคว�มหม�ยอะไรกันแน่กับเร�

ห�กดูแผนที่ก็คงมองเห็นภูมิภ�คของเร� บ�งคนเรียกว่�อ�เซียน บ�งท่�นรู้จักเป็นเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ เพื่อนผมหล�ยคนที่ทำ�ง�นร่วมกันม�ในอ�เซียน เพื่อนฟิลิปปินส์บอกว่� ไม่ควรเรียกว่�อ�เซียน หากดู แผนทีก่ ค็ งมองเห็นภูมภิ าคของเรา บางคนเรียกว่าอาเซียน บางท่านรูจ้ กั มันเป็นกับดักของรัฐ อ�เซียน,GMS,CLMV ทั้งหมดนี้เป็นกับดักของรัฐที่ใช้ควบคุมพลเมือง ขอเสนอคือ ให้ใช้คำ�นว่� ออกเฉี เอเชียตะวัย นออกเฉี Southeast Asia ผมได้่ ท ถ�มกลั บไปว่� วคุมกั ณใช้น คำ�ว่มาในอาเซี �เอเชีย เป็ น เอเชี ยว่�ตะวั งใต้ยงใต้เพื หรื่ ออนผมหลายคนที � ำ งานร่ ยน ตะวันออกเฉียงใต้มันก็เป็นกับดักชนิดหนึ่งไม่ใช่หรือ เพร�ะคำ�นี้ก็ถูกสร้�งขึ้นม�ในบริบทของสงคร�ม ก�ร แทรกแซงของอเมริก�ในภูมิภ�คที่สร้�งขึ้นม� เพร�ะว่�โลกมันกลม อยู่ดีๆ จะม�เรียกว่�เร�อยู่ท�งใต้แต่ว่� ได้มีใครสักคนสมมุติตัวเองเป็นศูนย์กล�ง แล้วก็ชี้ว่�คุณเป็นคนท�งใต้ เป็นคนตะวันออกเฉียงใต้ อันนี้เป็น คว�มสัมพันธ์เชิงอำ�น�จที่หล�ยคนไม่ได้นึกถึง

33


34

อาเซียนเสวนา

เพื่ อ นฟิ ลิ ป ปิ น ส์ บ อกว่ า ไม่ ค วรเรี ย กว่ า อาเซี ย น มั น เป็ น กั บ ดั ก ของรั ฐ อาเซียน,GMS,CLMV ทั้งหมดนี้เป็นกับดักของรัฐที่ใช้ควบคุมพลเมือง ขอเสนอคือว่า ให้ใช้ค�ำว่า เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ Southeast Asia ผมได้ถามกลับไปว่า คุณใช้คำ� ว่าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มนั ก็เป็นกับดักชนิดหนึง่ ไม่ใช่หรือ เพราะค�ำนีก้ ถ็ กู สร้างขึ้นมาในบริบทของสงคราม การแทรกแซงของอเมริกาในภูมิภาคที่สร้างขึ้นมา เพราะว่าโลกมันกลม อยู่ดีๆ จะมาเรียกว่าเราอยู่ทางใต้แต่ว่าได้มีใครสักคนสมมุติตัว เองเป็นศูนย์กลาง แล้วก็ชี้ว่าคุณเป็นคนทางใต้น่ะ เป็นคนตะวันออกเฉียงใต้น่ะ อันนี้เป็นความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจที่หลายคนไม่ได้นึกถึง อย่างไรก็แล้วแต่ อาเซียนได้อยู่กับเราแล้ว แต่เราจะนิยามอาเซียนใหม่ได้ อย่างไร เราจะนิยามว่าอาเซียนเป็นของเราได้อย่างไร อาเซียนมาจากที่ไหนก็ตามแต่ ทุกวันนีไ้ ด้มาถึงเราแล้วเราก็ตอ้ งท�ำให้เป็นของเราให้ได้ เราต้องแสดงความเป็นเจ้าของ อาเซียนเสวนา | 39 ในกระบวนการภูมิภาคนิยมเหล่านี้ให้ได้

อย่�งไรก็แล้วแต่ อ�เซียนได้อยู่กับเร�แล้ว แต่เร�จะนิย�มอ�เซียนใหม่ได้อย่�งไร เร�จะนิย�ม ยนเป็หลายท่ ว ่ ายนม�จ�กที สมาชิ ก อาเซี นของเรามี ประเทศ รี ย�ให้ กว่เป็าน ว่�อ�เซี นของเร�ได้า นทราบดี อย่�งไร อ�เซี ่ไหนก็ตย�มแต่ ทุกวันนี้ได้ม10 �ถึงเร�แล้ วเร�ก็ตที้อ่ เงทำ ของเร�ให้ องแสดงคว�มเป็ มิภอ�คนิ ยมเหล่�นี้ให้ได้อง ประชาธิปไตย ร้อยพ่ไอด้พั เร�ต้ นแม่ ไม่เหมือนกันนเจ้สั�กของในกระบวนก�รภู ที่ ทั้งในด้านการเมื ง ระบบการเมื เข้มข้นหล�ยท่ �นทร�บดีว่�จสม�ชิ อ�เซียนของเร�มี 10 ประเทศ ที ่เรียไม่กว่เ�หมื ร้ออยพ่นกั อพันนแม่ หมือน มีทั้งพยายามที ะเป็นกประชาธิ ปไตย ประวั ติศาสตร์ มีเ รืไม่​่อเงราว กันสัความเป็ กที่ ทั้งในด้ �นก�รเมือาง ระบบก�รเมื มข้น มีอทั้งงกิ พย�ย�มที ะเป็นนแต่ ประช�ธิ ปไตย นมาแตกต่ งกัน ส่วนทีอง ประช�ธิ ่เหมือนก็ปมไตยเข้ ี กินลอดช่ นเหมือ่จนกั เรียกชื ่อ ประวั ต ศ ิ �สตร์ ไ ม่ เ หมื อ นกั น มี เ รื อ ่ งร�วคว�มเป็ น ม�แตกต่ � งกั น ส่ ว นที เ ่ หมื อ นก็ ม ี กิ น ลอดช่ อ งกิ น เหมื อ ไม่เหมือนกัน มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย เวียดนาม กัมพูชา มีลอดช่องเหมือนกันหมดน กันแต่ เรียกชื่อคไมุ่ยเกัหมืนอว่นกั น ม�เลเซี ย อินแต่ โดนีเเรารู ซีย ไทย เวี ดน�ม กัมพูช� มี นหมด เร� เราจะไม่ าเป็ นของใคร ้ว่ามีอยะไรหลายอย่ างทีล่เอดช่ หมือองเหมื นกันอนกั ประชากร จะไม่ ุยกันว่600 �เป็นกว่ ของใคร แต่ ก็เคยอะ าล้านคนเร�รู้ว่�มีอะไรหล�ยอย่�งที่เหมือนกัน ประช�กรก็เยอะ 600 กว่�ล้�นคน บริเวณแม่น้ำ�โขง ถือว่�เป็นส่วนใหญ่ของภูมิภ�ค อ�เซี ยน มีทั้งพม่� ไทย ล�ว กัมพูช� เวียดน�ม แล้วแม่น้ำ�โขง เป็นแม่น้ำ�ที่สำ�คัญ มีคว�มมหัศจรรย์ที่เชื่อมโยงกัน และเรื่อง ร�วที่จะเล่�ในวันนี้ก็จะอยู่ในภูมิภ�คแม่น้ำ�โขงนี้

บริเวณแม่นำ�้ โขง ถือว่าเป็นส่วนใหญ่ ของภูมิภาคอาเซียน มีทั้งพม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม แล้วแม่น�้ำโขงเป็นแม่น�้ำ ที่ส�ำคัญ มีความมหัศจรรย์ที่เชื่อมโยงกัน และเรื่ อ งราวที่ จ ะเล่ า ในวั น นี้ ก็ จ ะอยู ่ ใ น ภูมิภาคแม่น�้ำโขงนี้

โลโก้อ�เซียนนี้ทุกท่�นคุ้นเคยเป็นอย่�งดี ที่ใช้กันทั่วไป แต่มีคนตั้งข้อสังเกตว่� ส่วนที่เป็นสี เหลืองตรงกล�ง เป็นรูปรวงข้�ว 10 มัด สัญลักษณ์นี้แปรคว�มหม�ยว่�เป็นรวงข้�วเหมือนกันหมด ผม ไปม�เกือบครบทุกประเทศในอ�เซียน ทุกที่ที่ไปกินข้�ว ปลูกข้�ว อ�จจะกินไม่เหมือนกันบ้�ง อย่�งพม่�


วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์

กลับมาพูดเรื่องอาเซียนต่อ โลโก้อาเซียนนี้ทุกท่าน คุ้นเคยเป็นอย่างดี ที่ใช้กันทั่วไป แต่มีคนตั้งข้อสังเกตว่า ส่ ว นที่ เ ป็ น สี เ หลื อ งตรงกลาง เป็ น รู ป รวงข้ า ว 10 มั ด สัญลักษณ์นี้แปรความหมายว่าเป็นรวงข้าวเหมือนกันหมด ผมไปมาเกือบครบทุกประเทศในอาเซียน ทุกที่ที่ไปกินข้าว ปลูกข้าว อาจจะกินไม่เหมือนกันบ้าง อย่างพม่ากินข้าวนึ่ง (ข้าวเหนียว) เป็นข้าวเช้า ประเทศไทยกินข้าวนึ่ง 3 มื้อ มีคนตั้งข้อสังเกตว่า รวงข้าว 10 มัด ที่หดตัวตรงกลาง เหมือนเป็นการมัด และความรู้สึกของผมเหมือนว่าเป็น การบีบบังคับ ว่าทุกคนต้องอยูด่ ว้ ยกัน ซึง่ ก็จริงเพราะมีขอ้ เท็จจริงทางประวัตศิ าสตร์รองรับ อาเซียนเสวนา | 40

อั น นี้ เ ป็ น (รู ป ถ่ า ย)ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล เมื่อหลายปีก่อน วาดโดยเด็กชาวพม่า ทีแ่ สดงถึงการส่งเสริมความสมัครสามัคคี เท่าที่ผมเดาจากภาพ เพราะมีท่อนไม้มัด รวมกันเหนียวแน่นสามัคคีกนั เป็นอาเซียน ถ้าหากมีไม้เดียวหักได้งา่ ย สิบต้นรวมกัน แล้วมัด หักไม่ได้ถึงแม้จะมีพละก�ำลังมาก รูปนี้เป็นรูปถ่ยั�งยที ่ได้รตับาม ร�งวันีลเมื ก่อน ว�ดโดยเด็่มกองอาเซี ช�วพม่� ยทีนว่ ่แสดงถึ งก�รส่ งเสรินมอย่างเข้มแข็ง แต่เขาไม่ได้ ไงก็ ่คือ่ หล�ยปี อุดมคติ ของคนที าอยู ่ด้วยกั ว�มสมัครส�มัคคี เท่�บอกว่ ที่ผมเด�จ�กภ�พ เพร�ะมี ท อ ่ นไม้ ม ด ั รวมกั น เหนี ย วแน่ น ส�มั ค คี ก น ั เป็ น อ�เซี าต้นไม้ 10 ต้นนี้ทะเลาะกันทุกครั้ง แต่เราก็ได้เห็นยว่น าในความคิดของเด็กที่วาด �ห�กมีไม้เดียวหักได้ง่�ย สิบต้นรวมกันแล้วมัด หักไม่ได้ถึงแม้จะมีพละกำ�ลังม�กยังไงก็ต�ม นี่คือ รูปยนีนว่้ข�ึ้นอยูมา านดู นล่เข�ไม่ างทีได้่ถบืออกว่ ธง)�ต้นมีไม้แ ต่10 ต้ ผู้ชนายใส่ สูท นที่สะท้อนถึงแบบฉบับของ ดมคติของคนที่มองอ�เซี ่ด้วยกั(ท่นอย่ �งเข้คมนด้ แข็งา แต่ นี้ทะเล�ะกั ยน ดในการรั รู้ขปองคนทั นรู�ปงทีแบบทางการ กครั้ง แต่เร�ก็ได้เห็นว่อาเซี �ในคว�มคิ ของเด็กที่วบ�ดรู นี้ขึ้นม� (ท่​่ว�ไป นดูคทีนด้่เป็�นล่ ่ถือธง) มีแต่ผู้ช�ยใส่เป็นคนชนชั้นน�ำ พูดกันใน ท ที่สะท้อนถึงแบบฉบัระดั บของอ�เซี ย น ในก�รรั บ รู ข ้ องคนทั ว ่ ไป ที เ ่ ป็ น รู ป แบบท�งก�ร เป็ นคนชนชั ้นนำ� บผู้น�ำ-รัฐมนตรี ชาวบ้านไม่มี พ่อค้าเห็ดถอบไม่ สามารถถื อธงอาเซียนได้ และ ดกันในระดับผู้นำ�-รัฐมนตรี ช�วบ้�นไม่มี พ่อค้�เห็ดถอบไม่ส�ม�รถถือธงอ�เซียนได้ และบทบ�ทของ บทบาทของผู้หญิงก็ไม่มี

หญิงก็ไม่มี อ�เซียนเริ่มต้ นที่ไทยเมือาเซี ่อ 40 ยปีนเริ ก่อนที ถือว่�เป็อ คนทีปี่ใก ห้กอ เนิดก นในปฏิ ม่ ่กต้รุนงเทพ ทีไ่ ทยเมื ่ น40 ่ ำ�นที ่อ�เซี รุงยเทพ ถือญว่ญ� าเป็นคนทีใ่ ห้กำ� เนิดอาเซียน รุงเทพ Bangkok Declaration ซึ่งบริบทก�รเมืองในปี 1960 ภูมิภ�คของเร�ทุกท่�นทร�บดี ว่�มีคว�ม ในปฏิ ญ ญากรุ ง เทพ Bangkok Declaration ซึ ่ ง บริ บ ทการเมื ดแย้ง มีสงคร�ม ช�วบ้�นทุกข์ย�ก แล้วก็มีกลุ่มประเทศที่เป็นคอมมิวนิสต์ ที่มีก�รสู้รบกันเป็นสงคร�ม องในปี 1960 ภูมิภาค ท่านทราบดี ว่าดมีขึค้นวามขั ง มีสงคราม ชาวบ้ นหรือสงคร�มตัวแทน ของเราทุ อย่�งไรก็ตก�มในขณะที ่อ�เซียนเกิ ม�นั้น ด ผู้นแย้ ำ�ประเทศ 5 ประเทศที ่ได้ให้ านทุกข์ยาก แล้วก็มีกลุ่ม �เนิดอ�เซียน มีฟิลิปปิประเทศที นส์ ไทย ม�เลเซี อินโดนีวเซีนิย และสิ เร�เรี้รยบกั กว่�นสม�คมนิ ยมเผด็จก�ร ก็ ่เป็นยคอมมิ สต์ ทีง่มคโปร์ ีการสู เป็นสงครามเย็ นหรือสงครามตัวแทน ดเจนครับว่�ภูมิทัศน์ท�งก�รเมืองในยุคนั้นเป็นอย่�งไร คว�มรู้สึกของประช�ชนเป็นอย่�งไรภ�ยใต้ ะบอบเผด็จก�รที่สนับ สนุนโดยอเมริ ่ว่�ประเทศ 10 ประเทศมั ดรวมกั น คือดม�จ�กบริ ก อย่กา�ทีงไรก็ ตามในขณะที่อาเซี ยนเกิ ขึ้นมานับ้นทตรงนี ผู้น้ �ำทุประเทศ 5 ประเทศที่ได้ให้ �นก็ทร�บว่�ในสมัยถนอม กิ ต ติ ข จร ประเทศไทยเป็ น อย่ � งไร ก�ำเนิดอาเซียน มีฟิลิปปินส์ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์เราเรียกว่า นี้ก็ชัดเจน ที �ใจว่� อ�จ�รย์ �สนใจ องในยุคนั้นเป็นอย่างไร สมาคมนิย มเผด็รูจปการ ก็ช่ผัดมเข้เจนครั บว่าปภูริตมต� เป็ ิทัศนน์คนว�ด น่ ทางการเมื ผมเห็นแล้วใช่เลย ที่เร�คิดกันม�หล�ยปีจะสรุปในภ�พนี้ภ�พเดียว เพร�ะ ความรู้สึกของประชาชนเป็ นอย่างไรภายใต้ ะบอบเผด็ จการที ว่�อ�เซียนเผยแพร่ประช�คมเศรษฐกิ จอ�เซียน รหล�ยคนนึ กว่�อ�เซี ยน ่สนับสนุน มีแค่ AEC (ประช�คมเศรษฐกิจอ�เซียน) แต่ไม่ได้นึกถึงประช�คมท�ง สังคมวัฒนธรรม ไม่ได้นึกถึงประช�คมท�งคว�มมั่นคง เพร�ะว่� มันได้ เอ�ทรัพย�กรทุกอย่�งไปเกื้อหนุนประช�คมท�งเศรษฐกิจ 2 อย่�งนี้เป็น

35


ขัดแย้ง มีสงคร�ม ช�วบ้�นทุกข์ย�ก แล้วก็มีกลุ่มประเทศที่เป็นคอมมิวนิสต์ ที่มีก�รสู้รบกันเป็นสงคร�ม เย็นหรือสงคร�มตัวแทน อย่�งไรก็ต�มในขณะที่อ�เซียนเกิดขึ้นม�นั้น ผู้นำ�ประเทศ 5 ประเทศที่ได้ให้ 36 อาเซีกำย�นเสวนา เนิดอ�เซียน มีฟิลิปปินส์ ไทย ม�เลเซีย อินโดนีเซีย และสิงคโปร์เร�เรียกว่�สม�คมนิยมเผด็จก�ร ก็ ชัดเจนครับว่�ภูมิทัศน์ท�งก�รเมืองในยุคนั้นเป็นอย่�งไร คว�มรู้สึกของประช�ชนเป็นอย่�งไรภ�ยใต้ โดยอเมริ ว่ า่ ประเทศ ประเทศมั น คือมาจากบริดบรวมกั ทตรงนี กท่านก็ทบราบ ระบอบเผด็กจาที ก�รที ่สนับสนุน10 โดยอเมริ ก�ที่วด่�รวมกั ประเทศ 10 ประเทศมั น คื้ ทุอม�จ�กบริ ทตรงนี้ ทุก ว่ท่า�ในสมั ย ถนอม กิ ต ติ ข จร ประเทศไทยเป็ น อย่ า งไร นก็ทร�บว่�ในสมัยถนอม กิตติขจร ประเทศไทยเป็นอย่�งไร (รูรูปปนีนี้ก้ก็ช็ชัดัดเจน ที ริตต� เป็นปคนว�ด น่ เจน)่ผมเข้ ที่ผ�ใจว่ มเข้� าอ�จ�รย์ ใจว่า ปอาจารย์ ริตตา �สนใจ ผมเห็ แล้วใช่เลย ที ร�คิดกันม�หล�ยปี ในภ�พนี ้ภ�พเดี เป็นนคนวาด น่า่เสนใจผมเห็ นแล้จวะสรุ ใช่เปลย ทีเ่ ราคิ ดกันยว เพร�ะ ว่�อ�เซียนเผยแพร่ประช�คมเศรษฐกิจอ�เซียน หล�ยคนนึกว่�อ�เซียน มาหลายปีจะสรุปในภาพนี้ภาพเดียว เพราะว่า มีแค่ AEC (ประช�คมเศรษฐกิจอ�เซียน) แต่ไม่ได้นึกถึงประช�คมท�ง อาเซียนเผยแพร่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หลาย สังคมวัฒนธรรม ไม่ได้นึกถึงประช�คมท�งคว�มมั่นคง เพร�ะว่� มันได้ คนนึกว่าอาเซียนมีแค่ AEC (ประชาคมเศรษฐกิจ เอ�ทรัพย�กรทุกอย่�งไปเกื้อหนุนประช�คมท�งเศรษฐกิจ 2 อย่�งนี้เป็น ด้ นึ ก ถึนงไม้ประชาคมทางสั ลูกอาเซี น้องให้ยลน) ูกพี่ยิ่งแต่ ใหญ่ไ ม่ ไอ�จจะเป็ ประดับด้วยซ้ำ� ตัวงอย่คม �งเช่นเร�มี วั ฒ นธรรม ไม่ ไ ด้ น ึ ก ถึ ง ประชาคมทางความมั ่ น คง ประช�สังคมขึ้นม� เป็นเพียงแค่ไม้ประดับของอ�เซียน ให้รู้ว่�ยังมีอยู่ ไป า มันสได้ เอาทรั อย่าจะมี งไปเกื น ดูขเพราะว่ ้อตกลงในสนธิ ัญญ�ที ่ทำ�กัพนยากรทุ ระหว่�งรัฐกบ�ล ข้อมู้อลหนุ ประช�คมท�ง ประชาคมทางเศรษฐกิ จ 2 งคมวั อย่ฒ างนี ้ เ ป็ น ลู�กนวนที น้อ ง่น้อยม�ก เศรษฐกิ จเยอะม�ก แต่มีข้อมูลท�งสั นธรรมในจำ ให้ ่ยิ่งใหญ่งบอกได้ อาจจะเป็ บด้วยซ�้ำ ยตันของเร� วอย่างเช่นเรามีประชาสังคมขึ้นมา ซึ่งอัลนูกนีพี ้ส�ม�รถบ่ หล�ยอย่น�ไม้ งสำ�ปหรัระดั บประช�คมอ�เซี เป็นเพียงแค่ไม้ประดับของอาเซียน ให้รู้ว่ายังมีอยู่ ไปดูข้อตกลงในสนธิสัญญาที่ท�ำกัน ระหว่างรัฐบาล จะมีข้อมูลประชาคมทางเศรษฐกิจเยอะมาก แต่มีข้อมูลทางสังคม วัฒนธรรมในจ�ำนวนทีน่ อ้ ยมาก ซึง่ อันนีส้ ามารถบ่งบอกได้หลายอย่างส�ำหรับประชาคม อาเซียนของเรา

ที่ ผ มจะพู ด ในวั น นี้ มี ค วามรู ้ สึ ก หลายอย่ า งที่ ผ มสนใจ แต่ ผ มเลื อ กสนใจ เป็นพิเศษเป็นความรู้สึกเกลียดชัง ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าสนใจว่าท�ำไมเขาถึงเกลียดเรา ท�ำไมเราถึงเกลียดเขา ซึ่งผมจะไม่พูดถึงความเกลียดชังที่มาจากประวัติศาสตร์ หรือ ว่าการเมือง แต่ความเกลียดชังที่ผมจะพูดถึงเป็นความเกลียดชังที่เกิดขึ้นจากกระแส อาเซียนภิวัตน์ หรือ การค้า การลงทุน การพัฒนาขนาดใหญ่ในภูมิภาค ที่เรียกว่า เป็นการพัฒนาแห่งความเกลียดชัง จะมีเรื่องเล่า 3 เรื่องในกัมพูชา ลาว และพม่า

เริม่ ทีก่ มั พูชาก่อน ผมไปเมือ่ ปีทแี่ ล้ว บริเวณภาคอีสานของกัมพูชา แถวจังหวัด สตึงเตร็ง ขึ้นชื่อว่าภาคอีสาน ผมว่าคล้ายๆกัน สภาพแวดล้อมเป็นพื้นที่แห่งปัญหา จริงไม่จริงไม่รู้ แต่คนคิดว่าปัญหาอยู่บริเวณนี้เยอะ จะคิดว่ามีความแห้งแล้ง ความ ยากจน ผู้คนต้องการพัฒนา อันนี้เป็นการอ่านภูมิทัศน์ในพื้นที่นี้ของสายตานักพัฒนา


เริ่มที่กัมพูช�ก่อน ผมไปเมื่อปีที่แล้ว บริเวณภ�คอีส�นของกัมพูช� แถวจังหวัด สตึงเตร็ง ขึ้น ชื่อว่�ภ�คอีส�น ผมว่�คล้�ยๆกัน สภ�พแวดล้อมเป็นพื้นที่แห่งปัญห� จริงไม่จริงไม่รู้ แต่คนคิดว่�ปัญห� อยู่บริเวณนี้เยอะ จะคิดว่�มีคว�มแห้งแล้ง คว�มย�กจน ผู้คนต้องก�รพัฒน� อันนี้เป็นก�รอ่�นภูมวีิทรัศฉัน์ตร แก้วประดิษฐ์ 37 ในพื้นที่นี้ของส�ยต�นักพัฒน�

(ในรูปนี)้ เป็นพืน้ ทีท่ มี่ กี ารสร้างเขือ่ น ผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ ชาวบ้านสองคนนี้ ก�ำลังมองว่าเขาท�ำอะไรกัน เริม่ ก่อาเซี อสร้ยนเสวนา างเขือ่ | น41 เมื่อปีทนี่แพิล้เวศษเป็ ซึ่งนได้คว�มรู รับผลกระทบ ที่ผมจะพูดในวันนี้ มีคว�มรู้สึกหล�ยอย่�งที่ผมสนใจ ขนาดใหญ่ แต่ผมเลือกสนใจเป็ ้สึกเกลียด มากในพื ้ น ที ่ แ ห่ ง นี ้ เ พราะว่ า ชาวบ้ า นอาศัยยด ชัง ซึ่งเป็นสิ่งที่น่�สนใจว่�ทำ�ไมเข�ถึงเกลียดเร� ทำ�ไมเร�ถึงเกลียดเข� ซึ่งผมจะไม่พูดถึงคว�มเกลี ้น มีดถึกงารอพยพโยกย้ ายผู อยู่ในบริ ยดน�มเข้�ม�ยดชั ชังที่ม�จ�กประวัติศ�สตร์ หรือว่�ก�รเมือง แต่คว�มเกลี ยดชัแม่งเนวณนั ที้ำ�่ผเซซ�น ไหลม�จ�กเวี มจะพู เป็นคว�มเกลี งที่เ้คกินด ่กแล้ ัมพูวช� เป็ นแม่น้ำ�แห่งปัญอห� เพร�ะว่ �คุเวีณ ยดน�มได้ ก็ฒผน�ขน�ดใหญ่ ลกระทบต่ วิในภู ถชี มวี ิภติ �ค ที ปภาพ) ขึ้นจ�กกระแสอ�เซียนภิวัตน์ หรือ ก�รค้� ก�รลงทุนที ก�รพั ่เลุรีงยนีกว่้ (รู�เป็ นก�ร สร้ � งเขื อ ่ นในแม่ น � ำ ้ นี เ ้ มื อ ่ 20 ปี ก อ ่ น ทำ � ให้ ป ญ ั ห�ยั ง เมื่อพวกผมเดิ รูปนี้เป็นนพื้นเข้ที่าที่ไป มีก�รสร้ � งเขื ่ อ นผลิ ต ไฟฟ้ � คุ ณ ลุ ง ก็ ไ ด้ เ ดิ น ตามพวกผม แล้ ว บอกว่ า “ที ด ่ น ิ ของผมอยู ต ่ พัฒขน�ดใหญ่ น�แห่งคว�มเกลี ยดชัง ้กำ�ลังมองว่�เข�ทำ�อะไร อยู่ ตอนนี้ก็มีเขื่อนม�สร้�งใหม่อีก ช�วบ้�นก็ไม่ยอม รงที่ ช�วบ้�นสองคนนี พวกเขาก�ำลังก่อสร้าง” ผมถามว่าได้รับค่าชดเชยอะไรหรือไม่ เขาบอกว่าไม่ได้ กัน เริ่มก่อสร้�งเขื่อนขน�ดใหญ่เมื่อปีที่แล้ว ซึ่งได้รับ ประท้วงวิธีก�รประท้วงก็น่�สนใจ ไม่ ก้นอย่ ใจของความรู ส้ กึ ทีเ่ อาทีด่ นิ ของเขาไป โดยทีเ่ ขาไม่มี ที่แห่ามงงนีพู้เด้พร�ะว่ �ช�วบ้และพม่ �ำ้ นอ�ศั ยา เรื่อผลกระทบม�กในพื งเล่ได้าให้3อเรืะไรสั ่องในกั ชวายความช� ลาว ธิอเะไร งนี้เ�ป็ยผูน้คพี่อน ปี่นทแล้​้อี่แงลาว ดลาว สตอนแรกผมไปผมนึ วณนั วล้ก็วผ บริ ลก เพู อยูสิท่ในบริ เริ่มที้นหมู ่ก ัมมีพูก่บ�รอพยพโยกย้ ช้า�ก่นแห่ อน ผมไปเมื วณภ�คอี �นของกัมพูช� แถวจังกหวัว่ดาจะโดดเดี สตึงเตร็ง ขึ่ย้นว ระทบต่ อวิถาีชีวเพื ิต ่อคุนที ณลุ่งไนีปพู ้(รูปภ�พ) น าเมื่อไปถึงเขาพูดลาวกันหมด อันนี้เป็น เพราะว่ ดแขมร์เมืไ่อพวกผมเดิ ด้ ปรากฏว่ ชื่อว่เข้��ภ�คอี คล้�ยๆกัน สภ�พแวดล้ อมเป็นพื้นที่แห่งปัญห� จริงไม่จริงไม่รู้ แต่คนคิดว่�ปัญห� ไป คุณส�น ผมว่ ลุงก็ได้่มเดิาจากยุ น�ต�มพวกผม แล้วบอกว่ � “ที ผลกระทบที คอาณานิ คมที ่แบ่​่ดินงประเทศกัน ขีดเส้นประเทศพี่น้องลาวทางนี้ อยู่บของผมอยู ริเวณนี้เยอะ จะคิ ดว่�มีคว�มแห้ง” งพแล้ผมถ�มว่ ง คว�มย�กจน ผู ้คนต้อบงก�รพั ฒน� อันนี้เป็นก�รอ่�นภูมิทัศน์ �ได้ แต่เวลานั ก็มาอยู่ต่กรงที ับพี่พ่นวกเข�กำ ้องกั�มลัพูงก่ชอาสร้�แต่ ูดลาวหมด เลขนับแบบแขมร์

ในพืรับ้นค่ที�่นชดเชยอะไรหรื ี้ของส�ยต�นัอไม่กพั ฒเข�บอกว่ น� �ไม่ได้

ไม่ได้ให้ อะไรสั ง ด้นว�้ำ ยคว�มช้ ำ�ใจของคว�มรู ึกที่เาอ�ทีแม่ ่ดินน�้ำ กอย่�แม่ (รูปภาพ) นี้เรีย้สกว่ ของเข�ไป โดยที่เข�ไม่มีสิทธิอะไร หมู่บ้�นแห่งนี้เป็น เซซาน ไหลมาจากเวี ย ดนามเข้ า มา พี่น้องล�ว พูดล�ว ตอนแรกผมไปผมนึกว่�จะโดด ชา เป็ งปัได้ญ หา เพราะว่ เดีที่ย่กว ัมพูเพร�ะว่ �เพืน่อแม่ นที่ไน ปพู�้ำดแห่ แขมร์ ปร�กฏว่ �เมื่อ า เวี ยงเข�พู ดนามได้ ส ร้ า งเขื น�้ ่มำ�จ�ก นี้ เ มื่ อ ไปถึ ดล�วกันหมด อันนี่้เอป็นในแม่ นผลกระทบที ยุ20 คอ�ณ�นิ น หายั ขีดเส้นงประเทศพี ่น้อง ้ ปี กค่ อมทีน่แบ่ท�งประเทศกั ำ ให้ ป ั ญ อยู ่ ตอนนี ล�วท�งนี ก ้ ม ็ �อยู ก ่ บ ั พี น ่ อ ้ งกั ม พู ช � แต่ พ ด ู ล�วหมด แต่ ก็มเี ขือ่ นมาสร้างใหม่อกี ชาวบ้านก็ไม่ยอม เวล�นั ประท้บเลขนั วงวิบธแบบแขมร์ ีการประท้วงก็น่าสนใจ อันนี้

อาเซียนเสวนา | 42

แม่น้ำ�เซซ�น ไหลม�จ�กเวียดน�มเข้�ม�

วปัก(รู ปภาพ) เป็วเอ�ไปลอยน้ นการเดิำ� เห็นนขบวนป้ แล้ ลงไปในต้ นกล้วย แล้ หุ่นฟ�ง ายที่เขาเขียน ที่กปัมภ�พ) อั พูเอาเขื ช� เป็ น้ำ�ต้แห่านอย่นเขื งปั�ญงยิ่อ่งห� เพร�ะว่ ดน�มได้น นีบอกว่ ่หรือเปล่�าครับ“ไม่ (รู นนี้ก่อน็นน” ่�แม่ สนใจเป็ น ชาวบ้�เวีายนมากั

สร้�่บงเขื้าน่อนในแม่ 20 ปีก่อน ทำ�ให้ปคนพื ัญห�ยั้นง รูปนี้เป็นพื้นที่ที่มีก�รสร้�งเขื่อนผลิเยอะทั ตไฟฟ้�้งหมู ไม่ได้น้ำ�มนี​ีแ้เมืค่​่อเ ฉพาะคนลาว อยู่ ตอนนีา้กที็มไ่ ีเขืด้่อมนม�สร้ �งใหม่ อีก วช�วบ้ �นก็กไม่ป้ยาอม ย เมื�ออะไร งหลายชนเผ่ าร่วมกั น แล้ ได้ไปปั ขน�ดใหญ่ ช�วบ้�นสองคนนี้กำ�ลังมองว่�เข�ทำ เอาเขื ่แม่นว�้ำ งก็นหลั งจากปักป้ายเสร็จ วงวิ่อธนที ีก�รประท้ ่�สนใจ กัน เริ่มก่อสร้�งเขื่อนขน�ดใหญ่เมื่อปีที่แล้ว ว่ซึา่งเราไม่ ได้รับ ประท้ ผลกระทบม�กในพื้นที่แห่งนี้เพร�ะว่�ช�วบ้�เขาได้ นอ�ศัยเดินทางไปที่สถานที่แห่งหนึ่ง และนี่เป็นวิธี รูปภ�พนี้เป็นก�รเดินขบวนป้�ยที่เข� น� ทางที ่าสนใจ เพราะว่ าน หมูแล้่บว้าก็นที อยู่ใการเดิ นบริ เวณนั ้น“ไม่ มีเอ�เขื ก่น�รอพยพโยกย้ �ยผู�้คนม� ผลก่ไปไกลมาก ถนนลูกรัง ชาวบ้านได้พากันขึ้น เขียนบอกว่ ่อน” ต้�นเขื่อน ช�วบ้ รถอี นคุหนึ คน แล้วนถนนก็ ผมก็ ได้ขึ้น�ฟ้ไปอยู รูปที่เห็นนีแ้เป็คบ นอุปกรณ์ ประกอบคำ อง ่บนรถนั้นด้วย กันเยอะทั ค่เ้(ฉพ�ะคนล�ว คนพื ระทบต่ อวิแถต๋ีช้งนหมูีวิต่บ คั้�น ไม่ ณได้ลุม่งงีแนีประมาณ รูปภ�พ) 20 เมื่อ้นพวกผมเดิ ต่ อ ผี บ รรพบุ ร ษ ุ มี ห ว ั หมู มะพร้ � ว มี ข องกิ น หล�ย เมื อ งหล�ยชนเผ่ � ที ไ ่ ด้ ม �ร่ ว มกั น แล้ ว ได้ ไ ปปั ก ป้ � ย ผมรูคุณ ้สึกงว่ก็าไมัด้นเดิสัน่นต�มพวกผม ตลอดทางที แต่ว่“ที าค�่ดำินถามก็คือ ท�ำไมต้องล�ำบากขนาดนี้ เพื่อที่ เข้�ไป แล้่ไวจปบอกว่ ยมเป็นผู้หญิง ผู้ช�ยจะไม่ยุ่ง ว่�เร�ไม่เลุอ�เขื ่อนที่แม่น้ำ� หลังจ�กปักป้�ยเสร็ เข� อย่� �ง คนที จะเดิ นทางไป บางคนก็ นั่ง่เป็เรืนวิอธีกมา ที่ชาวบ้่เตรีานมาที ่นี่ก็เพราะว่าเป็นศาลผีปู่ย่าตายาย ได้ เ ดิ น ท�งไปที ส ่ ถ�นที แ ่ ห่ ง หนึ ง ่ และนี �ร ของผมอยู่ตรงที่พวกเข�กำ�ลังก่อสร้�ง” ผมถ�มว่�ได้ เดินท�งที่น่�สนใจ เพร�ะว่�หมู่บ้�นที่ไปไกลม�ก รับค่�ถนนลู ชดเชยอะไรหรื อไม่พ�กั นขึเข�บอกว่ กรัง ช�วบ้�นได้ ้นรถอีแต๋น �คัไม่ นหนึได้่ง ไม่ได้ให้ แล้วถนนก็ำ�แคบ ผมก็ได้ขึ้นไปอยู อะไรสัประม�ณ กอย่�ง 20 ด้คน วยคว�มช้ ใจของคว�มรู ้สึก่ ที่เอ�ที่ดิน


บนรถนั้นด้วย ผมรู้สึกว่�มันสั่นตลอดท�งที่ไป แต่ว่� ถ�มก็คือ ทำ�ไมต้องลำ�บ�กขน�ดนี้เพื่อที่จะเดิน 38 อาเซีคำย�นเสวนา ท�งไป บ�งคนก็นั่งเรือม� ที่ช�วบ้�นม�ที่นี่ก็เพร�ะ ว่� เป็นศ�ลผีปู่ย่�ต�ย�ย ที่ช�วบ้�นที่นั่นเรียกว่� ทีกช่ ต�” าวบ้าหรืนที ่ รรพบุ นั่ เรียรุษกว่ หรือผีบรรพบุ ุ ทีรู ปช่ นีาวบ้ นไปเพราะจะไปฟ้ งผี่ บรรพบุรษุ รษ ้ เ ป็ นาศ�ลที ่ ด วงวิ ญ ญ�ณสถิ อต อยู “ล็ อผีบน ทีา่ช“ล็ �วบ้ก�ตา” นไปเพร�ะจะ (รูปภ�พ) เนื บ้�นเร�เป็นน�มธรรมจะไม่ มีรูป ไปฟ้ บรรพบุ รุษ ว่�ามีงความเดื คนเข้�ม�สร้อ �งคว�มเดื อดชาวบ้ ว่ามีองผี คนเข้ ามาสร้ ดร้อนให้ าน เนื่ออ่งจ�กผี งจากกระบวนการยุ ตธิ รรมในกั มพูชา ปั น ้ ล็ ก ต�นี จ ้ ะเป็ น ตู บ อยู บ ่ ริ เ วณแม่ น � ำ ้ พอดี ช�วบ้ � น ร้มัอน นให้ใช่ชไ�วบ้ � น เนื อ ่ งจ�กกระบวนก�รยุ ต ธ ิ รรมใน ม่ได้ ก็เลยจ�ำเป็นต้องพึ่งผี ผีเป็นกระบวนการยุติธรรมที่น่าสนใจ กัมพูช�มันใช่ไม่ได้ ก็เลยจำ�เป็นต้องพึ่งผี ผีเป็นกระ มีวิธีก�รศักก�ระ คือ หยิบใบไม้แล้วก้อนหินเอ�ไป ว�งกองกันไว้เพื่อแสดงคว�มเค�รพต่อบรรพบุรุษ ที่ บวนก�รยุติธรรมที่น่�สนใจ น่�สนใจยิ่งไปกว่�นั้นคือว่� ในง�นวิธีนี้ได้มีคนสร้�ง เขื ่อนเข้�อัม�ในง�นพิ ีกรรมด้วย นกล้ ที่เป็วนคนจี นนีเ้ ป็นธหยวกต้ ย (รูนปเพร�ะ ภาพ) เขาก็จะ ว่เขี �น�ยทุ น งบประม�ณม�จ�กจี น ผมถ�มว่ � คนนี ้ เอาเขือ่ น ยนการรณรงค์เป็นข้อความทีบ่ อกว่าไม่ ม�ได้อย่�งไรช�วบ้�นไม่มีใครทร�บหรือได้เชิญชวน ไม่เอาโครงการพัฒนา ไม่ให้เข้ามาในหมู่บ้าน ม� แต่ผมคิดว่�น่�จะม�กับเจ้�หน้�ที่รัฐ ซึ่งประเทศ อาเซียนเสวนา | 42 อาเซียนเสวนา | 42 ของชาวบ้าน แล้วปักลงไปในต้นกล้วย แล้วเอา อย่�งล�ว กัมพูแล้ช� วปักเวีลงไปในต้ ยดน�ม นจะทำ อะไรต้ องบอก ำ� เห็นหุ่นฟ�ง กล้ว�ย แล้ วเอ�ไปลอยน้ แล้วปักลงไปในต้นกล้วย แล้วเอ�ไปลอยน้ำ� เห็นหุ่นฟ�ง กัไปลอยน� ำ ้ เห็ หุ�เจ้น่ �ฟางนี ่ภ�พ) อั อเปล่ บรัฐก่อน ผมก็ หน้บ� (รูที่รปัฐห ท้อรืงถิ ่นนพ�เข�เข้ �บ (รูนปอย่ภาพ) นีค่หิดรืนอว่เปล่ ครั นี้กา็นครั ่�สนใจเป็ �งยิ่ง นี่หรือเปล่�ครับ (รูปภ�พ) อันนี้ก็น่�สนใจเป็นอย่�งยิ่ง ม� แต่ เ ข�ม�ก็ ม �ทำ � พิ ธ ต ี � ่ งๆ เหมื อ นกั บ ช�วบ้ � นทำ � อันนี้ก็น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง อันนี้เป็นหยวกต้นกล้วย (รูปภ�พ) เข�ก็จะ เมื่อทำ�เสร็จก็เดินท�งกลับเลย เหมือนกับว่�ม�แสดง �งใดกับปช�วบ้ �น เขียนก�รรณรงค์เป็นข้อคว�มที่บอกว่�ไม่เอ�เขื่อน ไม่ ตั วแล้วกลั ที่บเ ไม่ ห็ นได้นีมีป้ เฏิป็สัมนพัอุนธ์ปอย่กรณ์ ระกอบค� ำ ฟ้ อ ง เอ�โครงก�รพัฒน� ไม่ให้เข้�ม�ในหมู่บ้�นของช�วบ้�น (รูปภาพ) ต่อผีบรรพบุรุษ มีหัวหมู มะพร้าว

ขบวนป้�ยที่เข� ขื่อน ช�วบ้�นม� ะคนล�ว คนพื้น แล้วได้ไปปักป้�ย ปักป้�ยเสร็จเข� และนี่เป็นวิธีก�ร บ้�นที่ไปไกลม�ก ถอีแต๋น คันหนึ่ง ผมก็ได้ขึ้นไปอยู่ ดท�งที่ไป แต่ว่� �ดนี้เพื่อที่จะเดิน �นม�ที่นี่ก็เพร�ะ บ้�นที่นั่นเรียกว่� บ้�นไปเพร�ะจะ สร้�งคว�มเดือด นก�รยุติธรรมใน งพึ่งผี ผีเป็นกระ

มีของกินหลายอย่าง คนที่เตรียมเป็นผู้หญิง

รูปภ�พนี้เป็นก�รเดินขบวนป้�ยที่เข� ้ชายจะไม่ เขียนบอกว่� “ไม่เอ�เขื่อน” ต้�นเขื่อน ผูช�วบ้ �นม� ยุ่ง รูปที่เห็นนี้เป็นอุปกรณ์ประกอบคำ�ฟ้อง กันเยอะทั้งหมู่บ้�น ไม่ได้มีแค่เฉพ�ะคนล�ว คนพื้น เมืองหล�ยชนเผ่�ที่ได้ม�ร่วมกัน แล้วได้ไปปักป้�ย ต่อผีบรรพบุรุษ มีหัวหมู มะพร้�ว มีของกินหล�ย รูปทีว่​่เ�ห็เร�ไม่ นนี้เป็เอ�เขื นอุป่อกรณ์ �ฟ้อง กป้�ยเสร็จเข� อย่�ง คนที่เตรียมเป็นผู้หญิง ผู้ช�ยจะไม่ยุ่ง นที่แปม่ระกอบคำ น้ำ� หลังจ�กปั น ศาลที ่ ด วงวิ ญ ญาณสถิ ต่ อผีบรรพบุรูรป ุษ ได้นีมีเ้ เดิหป็ ันวหมู มะพร้ � ว มี ข องกิ น หล�ย ท�งไปที่สถ�นที่แห่งหนึ่ง และนี่เป็นตวิธอยู ีก�ร่ (รู�ปง คนที ภาพ) ้านเราเป็ นนามธรรมจะ อย่ ่เตรียเดิเนื มเป็ นงจากผี ผู้ห่นญิ่�งสนใจ ผู้ชบ�ยจะไม่ ยุ่ง �หมู น่อ ท�งที เพร�ะว่ ่บ้�นที่ไปไกลม�ก กรังจ้ ะเป็ ช�วบ้ พ�กับ รถอีแต๋นน ำ�้ คัพอดี นหนึ่ง ไม่มรี ปู ปัน้ ล็ถนนลู กตานี น�ตูนได้ บ อยู ่ นริขึเ้นวณแม่ ประม�ณ 20 คน แล้วถนนก็แคบ ผมก็ได้ขึ้นไปอยู่ ชาวบ้านมีบนรถนั วิธีการศั กการะ คือ หยิบใบไม้แล้ว ้นด้วย ผมรู้สึกว่�มันสั่นตลอดท�งที่ไป แต่ว่� ก้อนหินเอาไปวางกองกั เพื่อแสดงความ คำ�ถ�มก็คือ ทำ�ไมต้อนงลำไว้ �บ�กขน�ดนี ้เพื่อที่จะเดิน ท�งไป บ�งคนก็ ที่ช�วบ้่�งนม�ที ่นี่กา็เพร�ะ เคารพต่อบรรพบุ รุษ นทีั่งเรื่นอ่าม� สนใจยิ ไปกว่ นั้น ว่ � เป็ น ศ�ลผี ป ย ่ ู � ่ ต�ย�ย ที ช ่ �วบ้ � นที น ่ น ่ ั เรี ย กว่� คื อ ว่ า ในงานวิ ธี นี้ ไ ด้ มี ค นสร้ า งเขื่ อ นเข้ า มา รู ป นี้ เ ป็ น ศ�ลที่ ด วงวิ ญ ญ�ณสถิ ต อยู่ “ล็กต�” หรือผีบรรพบุรุษ ที่ช�วบ้�นไปเพร�ะจะ ในงานพิธกี ไปฟ้ รรมด้ ย ทีเ่ รป็ุษ นว่คนจี นเพราะว่ านายทุ น นผมถามว่ าคนนี (รูปภ�พ) เนื่องจ�กผีบ้�นเร�เป็ น�มธรรมจะไม่ มีรูป้ องผีวบรรพบุ �มีคนเข้ �ม�สร้�งคว�มเดื อดนงบประมาณมาจากจี มาได้อย่างไรชาวบ้ านไม่ มีใครทราบหรืติธอรรมใน ได้เชิญ ว่าน่น้ำ�าพอดี จะมากั ปั้นชวนมา ล็กต�นี้จะเป็แต่ นตูบผ อยูมคิ ่บริเดวณแม่ ช�วบ้�บน ร้อนให้ช�วบ้�น เนื่องจ�กกระบวนก�รยุ เจ้าหน้าที รู ป่รนีกั​ัฐ้มเ ป็พูซึนช�มั ศ�ลที ่ ด วงวิ ญ ญ�ณสถิ ต อยู ่ มี ว ธ ิ ก ี �รศั ก ก�ระ คื อ หยิ บ ใบไม้ แ ล้ ว ก้ อ นหิ น ใช่ ไ ม่ ไ ด้ ก็ เ ลยจำ � เป็ น ต้ อ งพึ ง ่ ผี ผี เ ป็ น กระ ่งประเทศอย่างลาว กัมพูชา เวียดนาม จะท�ำอะไรต้องบอกกับรัฐนก่เอ�ไป อน (รูปภ�พ) เนื่องจ�กผี บ้�นเร�เป็ นน�มธรรมจะไม่ ว�งกองกันไว้เพื่อแสดงคว�มเค�รพต่อบรรพบุรุษ ที่ บวนก�รยุ ติธรรมที ่น่�สนใจ มีรูป ผมก็คิดว่าเจ้าหน้าที่รัฐท้องถิ่นพาเขาเข้ามา แต่น่เ�ขามาก็ มาท�ำพิธีต่างๆ เหมือนกับ สนใจยิ่งไปกว่�นั้นคือว่� ในง�นวิธีนี้ได้มีคนสร้�ง ปั้น ล็กต�นี้จะเป็นตูบ อยู่บริเวณแม่น้ำ�พอดี ช�วบ้�น นท� ำ คือเมื หยิ ่ อ ท�บใบไม้ ำ เสร็แล้จวก้ก็อเนหิดินนเอ�ไป ทางกลั บ เลย เหมื บ ว่ า มาแสดงตั บ เขื่อนเข้อ�นกั ม�ในง�นพิ ธีกรรมด้วย ที่เวป็นแล้ คนจีวนกลั เพร�ะ มีชาวบ้ วิธีก�รศัากก�ระ ว่ � น�ยทุ น งบประม�ณม�จ�กจี น ผมถ�มว่ � คนนี ้ ไม่ ไ ด้ ม ป ี ฏิ ส ม ั พั น ธ์ อ ย่ า งใดกั บ ชาวบ้ า น ว�งกองกันไว้เพื่อแสดงคว�มเค�รพต่อบรรพบุรุษ ที่ ม�ได้ อ ย่ � งไรช�วบ้ � นไม่ ม ี ใ ครทร�บหรื อ ได้ เ ชิ ญ ชวน น่�สนใจยิ่งไปกว่�นั้นคือว่� ในง�นวิธีนี้ได้มีคนสร้�ง ม� แต่ผมคิดว่�น่�จะม�กับเจ้�หน้�ที่รัฐ ซึ่งประเทศ เขื่อนเข้�ม�ในง�นพิธีกรรมด้วย ที่เป็นคนจีนเพร�ะ อย่�งล�ว กัมพูช� เวียดน�ม จะทำ�อะไรต้องบอก ว่�น�ยทุนงบประม�ณม�จ�กจีน ผมถ�มว่�คนนี้ กับรัฐก่อน ผมก็คิดว่�เจ้�หน้�ที่รัฐท้องถิ่นพ�เข�เข้� ม�ได้อย่�งไรช�วบ้�นไม่มีใครทร�บหรือได้เชิญชวน ม� แต่เข�ม�ก็ม�ทำ�พิธีต่�งๆ เหมือนกับช�วบ้�นทำ� ม� แต่ผมคิดว่� น่�จะม�กับอัเจ้นนี�้เหน้ ที่รัฐ ซึน่งกล้ ประเทศ ป็น�หยวกต้ วย (รูปภ�พ) เข�ก็จะ เมื่อทำ�เสร็จก็เดินท�งกลับเลย เหมือนกับว่�ม�แสดง


วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์ อาเซียนเสวนา | 43

ความน่าสนใจอยู่ตรงม้าขี่หรือ ร่างทรง (รูปภาพ) ผมคิดว่าพิธีการ ทีท่ ำ� คล้ายๆ บ้านเรา มีเครือ่ งบวงสรวง มีมา้ ขี่ มีเสียงกลอง เสียงซอ ทีค่ ล้ายๆ กัน เมือ่ มีเสียงดนตรีขนึ้ ม้าทรงก็เริม่ มี อาการขึน้ มีคนมุงกันเต็มหลากหลาย อายุ มีเด็กเยาวชนอยูม่ ากมุงดู และถือ สมาร์ทโฟน ทุกคนมีโทรศัพท์ขึ้นมา คว�มน่�สนใจอยู่ตรงม้�ขี่หรือร่�งทรง ผมคิดว่�พิธีก�รที่ทำ�คล้�ยๆ บ้�นเร� มีเครื่องบวงสรวง ่อจะถ่ ายบั ทึกักนภาพผี บรรพบุ รุษเริของตนเอง มีม้�ขี่ มีเสีเพื ยงกลอง เสียงซอ ที่คล้น �ยๆ เมื่อมีเสียงดนตรี ขึ้นม้�ทรงก็ ่มมีอ�ก�รขึ้น มีคนมุงผมไม่ กันเต็ม รู้ด้วยอารมณ์อย่างไร แต่ผมรู้ว่า หล�กหล�ยอ�ยุ มี เ ด็ ก เย�วชนอยู ม ่ �กมุ ง ดู และถื อ สม�ร์ ท โฟน ทุ ก คนมี โ ทรศั พ ท์ ข น ้ ึ ม�เพื อ ่ จะถ่ � ยบั ทึก มีความสนใจมาก ในขณะที่มีพิธี พอวิญญาณเข้านมาประทั บที่ม้าทรง ม้าทรงได้พูดว่า ภ�พผีบรรพบุรุษของตนเอง ผมไม่รู้ด้วยอ�รมณ์อย่�งไร แต่ผมรู้ว่�มีคว�มสนใจม�ก ในขณะที่มีพิธี พอ กทางหน่ เมืพอ่ ูดผีว่� เข้หลีากร่ท�งหน่ างทรงเสร็ วชาวบ้ านก็ ่ วกับขัน้ ตอนการฟ้องร้อง วิญญ�ณเข้หลี �ม�ประทั บที่ม้�ทรง อม้�ยทรงได้ อย เมื่อผีเข้�จร่�แล้ งทรงเสร็ จแล้วช�วบ้ �นก็ บอก เกีย บอก เกี่ยวกับขั้นตอนก�รฟ้องร้อง จริงๆแล้วผีมีเพศสภ�พเป็นผู้ช�ยแต่เข้�ม�ทรงในร่�งของผู้หญิง และ จริ ง ๆ แล้ ว ผี ม เ ี พศสภาพเป็ น ผู ช ้ ายแต่ เ ข้ า มาทรงในร่ า งของผู ห้ ญิง และทีน่ า่ สนใจคือว่า ที่น่�สนใจคือว่� ผู้หญิงที่เป็นม้�ทรงพูดล�ว แต่เมื่อผีเข้�พูดเขมร ผมก็สันนิฐ�นว่� เพร�ะว่�ภ�ษ�แขมร์ เป็นภ�ษ�ของชนชั นชนกลุ่มด น้อลาว ยหนึ่งในนั ่มีอำ�น�จน้ อย สน ผูห้ ญิ้นปกครอง งทีเ่ ป็นคือม้ล�วเป็ าทรงพู แต่้น เแต่มืเวล�ก�รสื อ่ ผีเข้่อาส�ร พูดคนทีเขมร ผมก็ ั นิฐานว่า เพราะว่าภาษาแขมร์ ก็จะต้องพูดในภ�ษ�ของคนที่มีอำ�น�จม�กถึงจะมีพลัง เพร�ะฉะนั้นกระบวนก�รสื่อส�รระหว่�งคน ช�ว นภาษาของชนชั ้นปกครอง ลาวเป็ นนชนกลุ บ้�น และผีเป็ ในครั ้งนี้ได้ดำ�เนินก�รไปด้วยภ�ษ�แขมร์ ที่มีคนๆหนึ่งคืเป็อ นคนชงเรื ่อง เป็ ฝ่�ยโจทก์ก่ม ็ฟ้อน้ง อยหนึ่งในนั้น แต่เวลาการสื่อสาร ไปที่ผีว่� ขณะนี้มีก�รจะก่อสร้�งเขื่อน ลงไปท�งใต้ของหอล็กต�ไม่กี่กิโล ซึ่งจะสร้�งคว�มเดือดร้อนให้ �ำนาจน้ อยก็้สึกจที่ระต้ ในภาษาของคนที กับช�วบ้�น คนที เข�เล่�่ม ด้วีอ ยอ�รมณ์ และคว�มรู ุนแรง องพู ผมเข้ด �ใจว่ �ก็เพื่อจะปลุกอ�รมณ์ช�วบ้�น ่มที​ีอ่น�ำี้ นาจมากถึงจะมีพลัง บทบ�ทของผีบรรพบุรุษบอกว่� เร�รับรู้ น้ำ�จะท่วมขึ้นม� 30-40 เมตร ช�วบ้�นก็ตะลึงว่�ผีท่�นยังรู้ว่� จะเกิดเหตุก�รณ์เช่นนี้ขึ้น พอเริ่มได้สัญญ�ณว่�ผีบรรพบุรุษเห็นด้วยกับสิ่งที่ช�วบ้�นทำ� ช�วบ้�นก็ถ�ม ต่อว่� ถ้�ห�กเข�สร้�งเขื่อนพวกเร�คัดค้�น ล็กต�เองจะช่วยช�วบ้�นหรือไม่ ล็กต�ก็บอกว่� ช่วย แต่ จะช่วยอย่�งไร และมีช�วบ้�นคนหนึ่งได้พูดแทรกว่� ล็กต�จะช่วยแช่งให้พวกที่กำ�ลังสร้�งเขื่อนท้องเสีย ต�ย เป็นคำ�ส�ปแช่ง ล็กต�ก็ได้บอกว่� ช่วย ช�วบ้�นก็โห่ร้องเฮกันลั่น ดีใจสิ่งที่ช�วบ้�นทำ� ได้ไปสร้�ง คว�มชอบธรรมให้กับก�รรณรงค์ต�้ นเขื่อนของช�วบ้�น คว�มรู้สึกปะปนกันระหว่�งคว�มเกลียดชังที่มี ต่อคนที่ม�สร้�งเขื่อน แต่อ�รมณ์ที่สำ�คัญที่สุดคือ คว�มเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของช�วบ้�นที่อยู่ตรงนั้น โดยได้รับคว�มชอบธรรมจ�กผีบรรพบุรุษ ที่จะช่วยแช่งให้พวกสร้�งเขื่อนท้องเสียต�ย

เพราะฉนัน้ กระบวนการสือ่ สารระหว่างคน ชาวบ้าน และผี ในครัง้ นีไ้ ด้ดำ� เนินการ ไปด้วยภาษาแขมร์ ที่มีคนๆหนึ่งเป็นคนชงเรื่อง เป็นฝ่ายโจทก์ก็ฟ้องไปที่ผีว่า ขณะนี้ มีการจะก่อสร้างเขื่อน ลงไปทางใต้ของหอล็กตาไม่กกี่ โิ ล ซึง่ จะสร้างความเดือดร้อนให้ กับชาวบ้าน เขาเล่าด้วยอารมณ์และความรูส้ กึ ทีร่ นุ แรง ผมเข้าใจว่าก็เพือ่ จะปลุกอารมณ์ ชาวบ้าน ที่นี้บทบาทของผีบรรพบุรุษบอกว่า เรารับรู้ น�้ำจะท่วมขึ้นมา 30-40 เมตร ชาวบ้านก็ตะลึงว่าผีท่านยังรู้ว่าจะเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้น พอเริ่มได้สัญญาณว่า ผีบรรพบุรุษเห็นด้วยกับสิ่งที่ชาวบ้านท�ำ ชาวบ้านก็ถามต่อว่า ถ้าหากเขาสร้างเขื่อน พวกเราคัดค้าน ล็กตาเองจะช่วยชาวบ้านหรือไม่ ล็กตาก็บอกว่า ช่วย แต่จะช่วยอย่างไร และมีชาวบ้านคนหนึ่งได้พูดแทรกว่า ล็กตาจะช่วยแช่งให้พวกที่ก�ำลังสร้างเขื่อน ท้องเสียตาย เป็นค�ำสาปแช่ง ล็กตาก็ได้บอกว่า ช่วย ชาวบ้านก็โห่ร้องเฮกันลั่น ดีใจ สิ่งที่ชาวบ้านท�ำได้ไปสร้างความชอบธรรมให้กับการรณรงค์ต้านเขื่อนของชาวบ้าน ความรูส้ กึ ปะปนกันระหว่างความเกลียดชังทีม่ ตี อ่ คนทีม่ าสร้างเขือ่ น แต่อารมณ์ทสี่ ำ� คัญ ทีส่ ดุ คือ ความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันของชาวบ้านทีอ่ ยูต่ รงนัน้ โดยได้รบั ความชอบธรรม จากผีบรรพบุรุษ ที่จะช่วยแช่งให้พวกสร้างเขื่อนท้องเสียตาย

39


เรื่อง หนึ่งที่แสดงออก 40 อาเซียนเสวนา อาเซียนเสวนา | ได้ 44 เข้�ม�ในหมู่บ คนที่เป็นหุหั่นวหน้ ฟ�งนี้ �ก็คัแญ ขวนป้�ยชื่อเล็ของคนที � เป็นคว�มทุกข์ย กๆ านัยชื ้น่มแตะไป หุ่นฟางนี�้ คนสำ (รูปภาพ)จะนำก็�แไม้ขวนป้ ่อ สร้�งเขื่อนไว้ และจะมีด�บม�ฟันหุ่นฟ�ง ก็เป็น เคยร้องขอ แต่ม ที่ไหเหล้�แล้่มวาสร้ อธิษาฐ�น และแน่ นอนคงไม่ โดนกับ งเขื่อนไว้ และจะมี ดาบ สัญของคนที ลักษณ์ที่ช�วบ้�นแสดงออก ถ�มว่ �รุนแรงหรื อ ของก�รพัฒน� พวกสร้ � งเขื อ ่ น ในไหเหล้ � จะเป็ น คำ � ส�บ�นร่ น นหุน่ มฟาง ก็เป็ตนิทสัี่จญ ลักษณ์ านวมกั ไม่ มาฟั ผมคงไม่ ีคุณสมบั ะตอบว่ �นี่เทป็ชี่ นาวบ้ วิธีก�รที ่ ช�วบ้�น ในกัมพ ของช�วบ้ �น ถามว่ารุนแรงหรือไม่ ผมคง แสดงออก รุนแรงหรื อใช้คว�มรุ นแรงหรือไม่ หรือเป็นก�รแสดง คัดค้�นรูปแบบก เรื่องร�วของสตึงเตร็งนี้เป็นอีกวิธีก�ร คว�มรุ หรือไม่า นี่เป็แต่นผวิมเข้ ใจ ไม่มนีคแรงท�งสั ุณสมบัญตลัิทกี่จษณ์ ะตอบว่ ธีก�าร หนึ่งที่แสดงออกถึงคว�มรู้สึกโกรธเกลียดชังที่เข� ว่�ช�วบ้ นคงไม่อได้ใช้ หวัคงวามรุ ว่�จะต้นองไปฟั นคอใคร ทีร่ นุ �แรงหรื แรงหรื อไม่ หรืถ้อ� ได้เข้�ม�ในหมู่บ้�นช�วบ้�น เป็นสิ่งที่ไม่เคยร้องขอ ไม่ อ ย่ � งงั ้ น คนที ่ ส ร้ � งเขื ่ อ นและเข้ � ม�ร่ ว มพิได้ธีกหรรม ลักษณ์่มห�รือเป็ ไม่นคว�มทุ แต่ผมเข้ า�กที ใจว่​่ไาม่ชาวบ้ างขอ นคงไม่ วัง ่ไม่ เป็นการแสดงความรุ หุ่นฟ�งนี้ ก็นแแรงทางสั ขวนป้�ยชื่อญของคนที ก ข์ ย เ คยร้ อ เป็ นปังญทอด ห�ที คงไม่ ร อดออกไป แต่ ว � ่ เป็ น กระบวนก�รส่ ว่า�จะต้ งไปฟั นคอใคร ถ้าไม่นอหุย่​่นาฟ�ง งงัน้ คนที ามมาร่ วมพิธกี ำ�ม�ให้ รรมคงไม่ รดีอด สร้ งเขื่ออนไว้ และจะมี ด�บม�ฟั ก็เป็ส่นร้างเขื เคยร้​้สอ่ อึกนและเข้ งขอ ีคนที ่อหวั ในน�ม คว�มรู ลึกลึกแต่ ในใจ ให้่หเป็วันงดีข้อนคว�มเพื ส่งงไปกั ่าเป็�นนแสดงออก กระบวนการส่ ึกลึกลึกในใจ ให้เป็นข้นอำ�ความเพื ่อข์ส่ย�กม�ให้ งไปบ สัออกไป ญลักษณ์แต่ ที่ชว�วบ้ ถ�มว่ง�ทอดความรู รุนแรงหรือ สัง้สคมวงกว้ ของก�รพั ฒ น�ประเทศก็ คว�มทุ ก �ง รวมถึงกลุ่มคนที่ม�สร้�งเขื่อนด้วย กับ สัผมคงไม่ งคมวงกว้ รวมถึ กลุม่ คนที างเขื่ แทนที อ่ ช�วบ้ นด้จ่ วะพุย�น ในกั แทนที บ่ ริษยัทั ง �น ไม่ มีคุณางสมบั ติที่จงะตอบว่ �นี่เป็ม่ นาสร้ วิธีก�รที มพูจ่ ชะพุ �ก็ง่ ม่บเป้ ีอริยูษา่หัทหมายไปที ล�ยโครงก�รที ่งเป้�หม�ยไปที ในกรณีนี้ถือว่​่ช��วบ้ รุในกรณี นแรงหรืนอใช้ ค ว�มรุ น แรงหรื อ ไม่ หรื อ เป็ น ก�รแสดง ี้ถือว่ายังมีประเพณีที่ถือปฏิบัติ ผมเข้ ก่อบัตนคงไม่ ดาค้ใจว่ �นรูทาี่ถปแต่ วด้งคัใ�ช้ดแต่ค้ร�ูปกนก็ ต่�งกัไนด้นไป มีปคัระเพณี ือแบบก�รประท้ ปฏิ ิ ผมเข้�ไใจว่ ่อแบบเช่ นคงไม่ ในีช้ ้ คว�มรุ นแรงท�งสั ษณ์หรือไม่ แต่ ผมเข้น�แต่ ใจรรูป ด้านโครงสร้ างพิญธลักี กรรมอาจจะเหมื อนกั ูปแบบเช่ แบบเล่นนีา้ เรืด้อ่ �งการสาปแช่ ง การสร้ า งเขื อ ่ นโครงสร้�งพิธีกรรมอ�จจะเหมือนน ว่คงมาที �ช�วบ้�หนคงไม่ หวังว่า�นได้ จะต้อปงไปฟั ลัง ทีไ่ชด้าวบ้ รับปรุนคอใคร งขึ้นมา ถ้� กันแต่รูปแบบเล่�เรื่องก�รส�ปแช่งก�รสร้�งเขื่อนคง อันน ไม่อย่�งงั้นคนที่สร้�งเขื่อนและเข้�ม�ร่วมพิธีกรรม ม�ทีหลัง ที่ช�วบ้�นได้ปรับปรุงขึ้นม� บุรี เป็นเขื่อนสัญ รอดออกไป เหล้า ทีเ่ รียแต่ กว่วา่�เป็จาวาย เป็นสิง่ แรก คงไม่ นกระบวนก�รส่ งทอด ยะบุรีก็น่�สนใจ ที่ผมเข้ วสนใจ นวัฒนธรรม คว�มรู ้สึกาลึไปแล้ กลึกในใจ ให้เป็ที นข้่เอป็คว�มเพื ่อส่งไปกับ ไซยะบุรีเร�จะทำ� สัร่วงคมวงกว้ รวมถึงกลุร่มบ ่ม�สร้บ�สนุ งเขื่อนนด้ มอาเซีย�ง น ควรจะได้ ั คนที การสนั ให้วย สถ�นก�รณ์ดีขึ้น แทนที �หม�ยไปที ่บริษยัทน ในกรณี นี้ถาือไป ว่�ยัง เป็นอัจ่ ตะพุลัก่งเป้ษณ์ ของอาเซี เพราะว่ กลับและทำ�ให้ผม มีทีป่ไระเพณี บัติ ผมเข้�ใจว่ �แต่กแต่ ่อนคงไม่ วันนี้ โดยเข�บอ หนก็มทีใี่ถนือปฏิ Southeast Asia ว่าด้าไนด้ใช้ รูพิปธแบบเช่ น นี ้ ด้ � นโครงสร้ � งพิ ธ ก ี รรมอ�จจะเหมื อ น เอ�อย่�งไร ไม่ต ีการแตกต่างกัน อันนี้ส�ำคัญมากเขา อั น นี ้ เ ป็ น ก�รรณรงค์ ค ั ด ค้ � นเขื ่ อ นไซยะ กัจะเอาไปบวงสรวงผี นแต่รูปแบบเล่�เรื่องก�รส�ปแช่ ง ก�รสร้ � งเขื ่ อ นคง ก่อสร้�ง ไฟฟ้�ที่ไ บรรพบุรษ ุ แต่วธิ กี าร บุรี เป็นเขื ่อนสั ญ่เรีช�ติ ไ� ทย ที่ไปทำ�นในล�ว เรื่ผ่อมงที่ไซแสดงพลังเพร�ะ ม�ทีหลัง ที่ช�วบ้�นได้ปรับปรุงขึ้นม� เหล้ � ที ย กว่ จ�ว�ย เป็ สิ ง ่ แรกที เห็นไม้เล็กๆ (รูปภาพ) ทุกคนที่เป็นหัวหน้าคนส�ำคัญจะน�ำไม้เล็กๆ นั้นแตะไปที่ ่�สนใจ ่เป็ผมเคยพู ดกับวคนล�วเกี ่ยวกับเขื่อนคนกัมพูช�อยู่ดี เข้�ยะบุ ไปแล้รีกว็นสนใจ นวัฒนธรรมร่ มอ�เซียน ไหเหล้าแล้วอธิษฐาน และแน่นอนคงไม่โดนกั บพวกสร้าทีงเขื ่อน ในไหเหล้ าจะเป็ควรน ไซยะบุ รีเร�จะทำ จะได้ รับก�รสนั บสนุ�อย่ นให้�งไร เป็นอัตแก้ ลักไขปั ษณ์ญขห�และจะทำ องอ�เซียน �ให้มันม�จ�กเงินภูม ค�ำสาบานร่วมกันของชาวบ้าน สถ�นก�รณ์ ดีขึ้นม ีใน Southeast Asia แต่ และคนล�วรู้สึกอย่�งไร ว่�ด้เข�ตอบ เพร�ะว่ �ไปที่ไหนก็ �น ม�จ�กแหล่งทุนใ กลั บ และทำ � ให้ ผ มรู ้ ส ึ ก เจ็ บ ปวดอย่ � งม�กม�จนถึ พิธีก�รแตกต่ งกัน อังนความรู นี้สำ�คัญส้ ม�กเข�จะเอ�ไป เรือ่ งราวของสตึงเตร็งนีเ้ ป็นอีกวิธกี ารหนึ ง่ ทีแ่ สดงออกถึ กึ โกรธเกลียดงทุกจีนถือว่�เป็นทุน บรรพบุ รุษ แต่ ีก�ร เห็ นไม้ ๆ ทุก่ไม่ �จะหม�ยที่สร้�งคว� โดยเข�บอกว่ � วนิธ“ต้ องไปถ�มคนไทยเองว่ ชังที่เขาได้เข้ามาในหมู่บ้านชาวบ้าน เป็นสิบวงสรวงผี ่งทีวัน่ไม่นี้ เคยร้ องขอ เป็ ความทุ กข์เล็ยกากที เอ�อย่�งไร ไม่ต้องม�ถ�มคนล�ว” เงินลงทุน บริษัท เคยร้องขอ เป็นปัญหาที่ไม่เคยร้องขอ แต่มีคนที่หวังดีน�ำมาให้ หวังดีในนามของการ ก่อสร้�ง ไฟฟ้�ที่ได้ก็ข�ยให้ไทย คนกัมพูช�ก็ต้องร่วม พัฒนาประเทศก็น�ำความทุกข์ยากมาให้ชาวบ้าน ในกัมพูชาก็มีอยู่หลายโครงการ เหล้� ที่เรียกว่� จ�ว�ย เป็นสิ่งแรกที่ผม แสดงพลังเพร�ะว่�ผลกระทบใต้น้ำ�ก็ส่งผลกระทบต่อ ทีเข้่ช�ไปแล้ าวบ้าวสนใจ นคัดค้ทีา่เนรู ดค้านก็ ต่ามงกั ไป่ดี โครงก�รพัฒน�หล�ยอย่�งก็เกิดขึ้น คนกั พูชน�อยู ป็นป วัฒแบบการประท้ นธรรมร่วมอ�เซีวยงคั น ควร จะได้ รับก�รสนับสนุนให้เป็นอัตลักษณ์ของอ�เซียน มันม�จ�กเงินภูมิภ�คที่เกิดขึ้น ทุนไทย ทุนเวียดน�ม เพร�ะว่�ไปที่ไหนก็มีใน Southeast Asia แต่ว่�ด้�น ม�จ�กแหล่งทุนในภูมิภ�คที่แข็งแกร่งม�ก และทุน พิธีก�รแตกต่�งกัน อันนี้สำ�คัญม�กเข�จะเอ�ไป จีนถือว่�เป็นทุนที่สร้�งคว�มเกลียดชังและเป็นเป้� หม�ยที่สร้�งคว�มเกลียดชัง คนไทยเมื่อเดินท�งไป บวงสรวงผีบรรพบุรุษ แต่วิธีก�ร เห็นไม้เล็กๆ ทุก


�มว่�รุนแรงหรือ �นี่เป็นวิธีก�รที่ อเป็นก�รแสดง แต่ผมเข้�ใจ ฟันคอใคร ถ้� ม�ร่วมพิธีกรรม บวนก�รส่งทอด �มเพื่อส่งไปกับ �สร้�งเขื่อนด้วย นกรณีนี้ถือว่�ยัง ต่ก่อนคงไม่ได้ใช้ มอ�จจะเหมือน �รสร้�งเขื่อนคง

เป็นสิ่งแรกที่ผม วมอ�เซียน ควร ษณ์ของอ�เซียน Asia แต่ว่�ด้�น �กเข�จะเอ�ไป นไม้เล็กๆ ทุก

ของก�รพัฒน�ประเทศก็นำ�คว�มทุกข์ย�กม�ให้ ช�วบ้�น ในกัมพูช�ก็มีอยู่หล�ยโครงก�รที่ช�วบ้�น คัดค้�นรูปแบบก�รประท้วงคัดค้�นก็ต่�งกันไป

วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์

อันนี้เป็นการรณรงค์คัดค้านเขื่อน ไซยะบุรี (รูปภาพ) เป็นเขือ่ นสัญชาติไทย ที่ไปท�ำในลาว เรื่องที่ไซยะบุรีก็น่าสนใจ ผมเคยพูดกับคนลาวเกีย่ วกับเขือ่ นไซยะ บุรีเราจะท�ำอย่างไร แก้ไขปัญหาและ จะท�ำให้สถานการณ์ดีขึ้น และคนลาว รู้สึกอย่างไร เขาตอบกลับและท�ำให้ผม รู้สึกเจ็บปวดอย่างมากมาจนถึงทุกวันนี้ โดยเขาบอกว่ อันนี้เป็านก�รรณรงค์ คัดค้�นเขื่อนไซยะ าจะเอาอย่างไร ไม่ต้องมาถามคนลาว” “ต้องไปถามคนไทยเองว่ บุเงิรี นเป็ น เขื อ ่ นสั ญ ช�ติ ไ ทย ที ไ ่ ปทำ ในล�ว ซ ไทย คนกัมพูชาก็ต้องร่วมแสดงพลัง ลงทุน บริษัทก่อสร้าง �ไฟฟ้ าที่ไเรืด้่อกงที็ข่ไายให้ ยะบุ รีก็น่�าสนใจ ผมเคยพูนดกัำ�้ บก็คนล�วเกี ่ยวกับเขื่ออนคนกัมพูชาอยูด่ ี โครงการพัฒนาหลายอย่าง เพราะว่ ผลกระทบใต้ สง่ ผลกระทบต่ ไซยะบุ ร เ ี ร�จะทำ � อย่ � งไร แก้ ไ ขปั ญ ห�และจะทำ ก็เกิดขึ้นมันมาจากเงินภูมิภาคที่เกิดขึ�้นให้ ทุนไทย ทุนเวียดนาม มาจากแหล่งทุน สถ�นก�รณ์ ดีขึ้น่ แ ข็และคนล�วรู ้สึกอย่และทุ �งไร เข�ตอบ ในภู มิ ภ าคที ง แกร่ ง มาก น จี น ถื อ ว่ า เป็ น ทุ น ที่ ส ร้ า งความเกลี ย ดชั ง และ กลับและทำ�ให้ผมรู้สึกเจ็บปวดอย่�งม�กม�จนถึงทุก เป็นเป้าหมายที่สร้างความเกลียดชัง คนไทยเมื่อเดินทางไปที่ไหน ไม่ได้ถูกเกลียดชัง วันนี้ โดยเข�บอกว่� “ต้องไปถ�มคนไทยเองว่�จะ เพราะว่ า ประวั ติ ศ าสตร์ เ คยเผาเมื อ งเวี ย งจั น ทน์ แต่ เ พราะว่ า พวกเขาเกลี ย ดชั ง เอ�อย่�งไร ไม่ต้องม�ถ�มคนล�ว” เงินลงทุน บริษัท ่องจากไปสร้ ่อนในบ้ านของเขา ก่เนือสร้ �ง ไฟฟ้�ที่ได้ากงเขื ็ข�ยให้ ไทย คนกั มพูช�ก็ต้อ(ถ้ งร่วามหากเขาพูดได้)

แสดงพลั งกรณี เพร�ะว่โรงไฟฟ้ �ผลกระทบใต้ น้ำ�ก็ส่ล่งาว ผลกระทบต่ อ าถ่านหินแห่งแรกของลาวไม่รู้ว่าแรง าหงสาที เป็นโรงไฟฟ้ คนกั มพูช�อยู่ดี โครงก�รพั ฒน�หล�ยอย่ เกิดขึ้นถ่ กู ชาวบ้านคัดค้านตลอดเวลา จนท�ำให้ยา้ ย จูงใจมาจากไหน แต่อาจจะเป็ นทีแ่ ม่�งก็ เมาะที มันม�จ�กเงินภูมิภ�คที่เกิดขึ้น ทุนไทย ทุนเวียดน�ม การผลิตไปอยู่ที่ลาวดีกว่า โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินนี้จะก่อสร้างแล้วเสร็จ ม�จ�กแหล่งทุนในภูมิภ�คที่แข็งแกร่งม�ก และทุน ในปี 2015 แล้วท�ำสายส่งจากโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสามาสู่แม่เมาะ ด้านเงินทุนเหมือน จีนถือว่�เป็นทุนที่สร้�งคว�มเกลียดชังและเป็นเป้� กับกรณี ซยบุรี คือยดชั เงินง คนไทยเมื ลงทุนก็เ่อป็เดินนของไทย หม�ยที ่สร้�ไงคว�มเกลี ท�งไป บริษัทที่ท�ำก็เหมือนของไทย ไฟฟ้าก็ขาย

ให้ไทย แต่ไปก่อตั้งที่ลาว ผลกระทบจากโรงไฟฟ้าถ่านหินเราก็ทราบกันดีว่า ขนาดที่ แม่เมาะทุกวันนีย้ งั แก้ไขปัญหายังไม่ได้ และกระแสโลกทุกวันนีค้ ดั ค้านกันอย่างรุนแรง ต่อโรงไฟฟ้าถ่านหิน คนลาวพูดไม่ได้ เมื่อมีค�ำสั่งให้ย้ายที่อยู่อาศัยก็ต้องย้าย มันมีค�ำ อยู่ 3 ค�ำ (บ่ฮู้ บ่หัน บ่จัก) เวลาไปถามว่าเป็นอะไรบ้าง แต่ลึกๆแล้วเขาก็ไม่ชอบ แต่เขาจ�ำเป็นที่จะต้องบอกว่า เมื่อรัฐบาลเห็นว่าดีเราก็เห็นชอบว่าดีเช่นกัน ผมเคย สัมภาษณ์พี่น้องคนลาวว่าเป็นอย่างไรรู้สึกอย่างไรบ้าง เขาตอบว่า เขาก็รู้ว่าเกิด สถานการณ์อย่างไรขึ้นและส่งผลกระทบต่อพวกเขาเอง แต่ด้วยรัฐบาลก็เสมือนพ่อแม่ ที่จะท�ำแต่สิ่งดีๆ ให้กับพวกเขา คล้ายๆ กับค�ำว่า “คนดี” ที่เป็นความเชื่อหนึ่งที่ว่า คนดีจะไม่ประสบกับเรื่องที่เลวร้ายหรือสิ่งที่เลวร้ายจะไม่เกิดขึ้นกับคนดี แต่ด้วย ประวัติศาสตร์ได้พิสูจน์แล้วว่ามันไม่จริง

41


42

ได้ เมื่อมีคำ�สั่งให้ย้�ยที่อยู่อ�ศัยก็ต้องย้�ย มันมีคำ�อยู่ 3 คำ� (บ่ฮู้ บ่หัน บ่จัก) เวล�ไปถ�มว่�เป็นอะไรบ้�ง แต่ลึกๆแล้วเข�ก็ไม่ชอบ แต่เข�จำ�เป็นที่จะต้องบอกว่� เมื่อรัฐบ�ลเห็นว่�ดีเร�ก็เห็นชอบว่�ดีเช่นกัน ผม เคยสัมภ�ษณ์พี่น้องคนล�วว่�เป็นอย่�งไรรู้สึกอย่�งไรบ้�ง เข�ตอบว่� เข�ก็รู้ว่�เกิดสถ�นก�รณ์อย่�งไร อาเซี ยนเสวนา ขึ้นและส่ งผลกระทบต่อพวกเข�เอง แต่ด้วยรัฐบ�ลก็เสมือนพ่อแม่ที่จะทำ�แต่สิ่งดีๆ ให้กับพวกเข� คล้�ยๆ กับคำ�ว่� “คนดี” ที่เป็นคว�มเชื่อหนึ่งที่ว่� คนดีจะไม่ประสบกับเรื่องที่เลวร้�ยหรือสิ่งที่เลวร้�ยจะไม่เกิดขึ้น กับคนดี แต่ด้วยประวัติศ�สตร์ได้พิสูจน์แล้วว่�มันไม่จริง

อันนีก้ เ็ ป็นโครงการทีน่ า่ สนใจอีกอย่าง (รูปภาพ) ที่ลาวตอนใต้ อยู่บริเวณสี่พัน ดอนในบริ เ วณแม่ น�้ ำ โขง อั น นี้ เ ป็ น ที่ สะท้อนความเป็นอาเซียนอย่างจริงจัง คื อ ก่ อ ตั้ ง อยู ่ ที่ ล าวใต้ แต่ ผ ลกระทบ ส่ ว นใหญ่ ไ ปที่ กั ม พู ช า บริ ษั ท ที่ ล งทุ น สัญชาติมาเลเซีย และมาเลเซีย ซึ่งขาย รูปเป็นโครงก�รที่น่�สนใจอีกอย่�ง ที่ล�วตอนใต้ อยู่บริเวณสี่พันดอนในบริเวณแม่น้ำ�โขง อันนี้ เป็นที่สะท้อนคว�มเป็นอ�เซียนอย่�งจริงจัง คือ ก่อตั้งอยู่ที่ล�วใต้ แต่ผลกระทบส่วนใหญ่ไปที่กัมพูช� บริษัทที่ เบียร์ (อังกอร์)อยู่ที่กัมพูชา โดยน�ำเงินลงทุนที่มาเลเซียไปก่อสร้างโรงไฟฟ้าที่ลาวใต้ ลงทุนสัญช�ติม�เลเซีย และม�เลเซียซึ่งข�ยเบียร์(อังกอร์)อยู่ที่กัมพูช� โดยนำ�เงินลงทุนที่ม�เลเซียไปก่อสร้�ง โรงไฟฟ้�ที่ล�วใต้ ทำ�ให้คนกัมพูช�คัดค้�นอย่�งต่อเนื่อง เพร�ะว่�ระบบนิเวศตรงบริเวณนั้นสำ�คัญม�กที่เชื่อม ท�ำให้คนกัมพูชาคัดค้านอย่างต่อเนื่อง เพราะว่าระบบนิเวศตรงบริเวณนั้นส�ำคัญมาก โยงกับโตนเลส�บ ที่เป็นแหล่งประมงน้ำ�จืดที่สำ�คัญที่สุดของกัมพูช� และจะต้องทร�บข้อมูลตรงนี้ว่�กัมพูช� เป็นแหล่งพื้นที่ที่บริโภคปล�ม�กที่สุดในโลกโดยเฉลี่ยต่อคน อ�ห�รทุกเมื้อจะมีปล�เป็นส่วนประกอบ ถือว่� ทีเ่ ชือ่ มโยงกับโตนเลสาบ ทีเ่ ป็นแหล่งประมงน�ำ้ จืดทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของกัมพูชา และจะต้อง เป็นอ�รยธรรมที่เกี่ยวข้องกับปล� ซึ่งก�รเปลี่ยนระบบนิเวศตรงนั้นย่อมส่งผลกระทบต่อวัฒนธรรมร�กฐ�นของ เข� ก็ได้มีก�รรณรงค์หล�ยอย่�งเกิดขึ้นจ�กก�รก่อสร้�งนี้ คนล�วพูดไม่ได้ คนกัมพูช�พูดแทน ซี่งจะส่งผลก ทราบข้อมูลตรงนีว้ า่ กัมพูชาเป็นแหล่งพืน้ ทีท่ บี่ ริโภคปลามากทีส่ ดุ ในโลกโดยเฉลีย่ ต่อคน ระทบต่อหล�ยจังหวัดในกัมพูช� ทั้งกระแจ๊ะ สตึงเตร็ง มีก�รรณรงค์โดยปล่อยเรือลงไปในแม่น้ำ�โขงแล้วเขียน ข้อคว�มว่� No Dam ในปัจจุบันก�รดำ�เนินก�รก่อสร้�งได้ดำ�เนินก�รไปอย่�งต่อเนื่องขณะเดียวกันประช�ชนก็ อาหารทุกเมื้อจะมีปลาเป็นส่วนประกอบ ถือว่าเป็นอารยธรรมที่เกี่ยวข้องกับปลา คัดค้�นก�รก่อสร้�งไปอย่�งต่อเนื่องควบคู่กันไป กระบวนก�รคัดค้�นไม่มีที่ไป แต่กระบวนก�รลงทุนหรือ ซึ่งการเปลี่ยนระบบนิเวศตรงนั้นย่อมส่งผลกระทบต่อวัฒนธรรมรากฐานของเขา ก็ได้มกี ารรณรงค์หลายอย่างเกิดขึน้ จากการก่อสร้างนี้ คนลาวพูดไม่ได้ คนกัมพูชาพูดแทน ซี่งจะส่งผลกระทบต่อหลายจังหวัดในกัมพูชา ทั้งกระแจ๊ะ สตึงเตร็ง มีการรณรงค์ โดยปล่อยเรือลงไปในแม่น�้ำโขงแล้วเขียนข้อความว่า No Dam ในปัจจุบันการด�ำเนิน การก่อสร้างได้ดำ� เนินการไปอย่างต่อเนือ่ งขณะเดียวกันประชาชนก็คดั ค้านการก่อสร้าง ไปอย่างต่อเนื่องควบคู่กันไป กระบวนการคัดค้านไม่มีที่ไป แต่กระบวนการลงทุนหรือ โครงการพัฒนา ต่างล้วนแล้วพัฒนาไปตลอด แต่กระบวนการคัดค้านไม่มีส่วนที่มา รองรับแม้แต่นอ้ ย เช่น กระบวนการทางยุตธิ รรมไม่สามารถเข้ามารองรับหรือช่วยเหลือ ในกรณีการคัดค้านเช่นนีไ้ ด้ เพราะว่าแหล่งทุนต่างข้ามพรมแดนไปหมดแล้ว จะให้ไปฟ้อง ส่วนใดก็ท�ำได้ยากหรือท�ำแทบไม่ได้เลย หรือกล่าวอีกอย่างคือกระบวนการยุติธรรม โครงก�รพัฒน� ต่�งล้วนแล้วพัฒน�ไปตลอด แต่กระบวนก�รคัดค้�นไม่มีส่วนที่ม�รองรับแม้แต่น้อย เช่น อยู่ในสภาวะที่คลุมเครือ กระบวนก�รท�งยุติธรรมไม่ส�ม�รถเข้�ม�รองรับหรือช่วยเหลือในกรณีก�รคัดค้�นเช่นนี้ได้ เพร�ะว่�แหล่ง

อาเซียนเสวนา | 46

อันนี้เป็นรูปในพม่า (รูปภาพ) ผมไปเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา เขามี ประชุม ASEAN People’s Forum หรือ เป็นการประชุมภาคประชาสังคมของ อาเซียน ซึ่งผมตื่นเต้นมาก หลังจากที่ ผมไปร่วมงานประชุมภาคประชาสังคม ของอาเซียนหลายครั้งซึ่งในแต่ละพื้นที่ ต่างมีข้อห้ามที่ไม่เหมือนกัน สมัยจัดที่

ทุนต่�งข้�มพรมแดนไปหมดแล้ว จะให้ไปฟ้องส่วนใดก็ทำ�ได้ย�กหรือทำ�แทบไม่ได้เลย หรือกล่�วอีกอย่�งคือ กระบวนก�รยุติธรรมอยู่ในสภ�วะที่คลุมเครือ

รูปนี้เป็นรูปในพม่� ผมไปเมื่อเดือนมีน�คมที่ผ่�นม� เข�มีประชุม ASEAN People’s Forum หรือเป็นก�รประชุมภ�คประช�สังคมของอ�เซียน ซึ่งผมตื่นเต้นม�ก หลังจ�กที่ผมไปร่วมง�นประชุม ภ�คประช�สังคมของอ�เซียนหล�ยครั้งซึ่งในแต่ละพื้นที่ต่�งมีข้อห้�มที่ไม่เหมือนกัน สมัยจัดที่เวียดน�ม ส�ม�รถพูดได้ทุกเรื่องยกเว้นเรื่องสิทธิชนเผ่�หรือสิทธิชนพื้นเมือง ไปจัดที่กัมพูช�พูดได้ทุกเรื่องยกเว้น เรื่องที่ดิน จัดที่บรูไนพูดได้ทุกเรื่องยกเว้นเรื่องสุลต่�นและเรื่องเพศ แต่จัดที่พม่�ส�ม�รถพูดได้ทุกเรื่อง โดยยกประเด็นที่ไม่ส�ม�รถพูดได้ในประเทศที่ได้จัดม� ยกม�พูดคุยกันที่พม่�ทั้ง สิทธิพื้นเมือง ที่ดิน


วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์

เวียดนาม สามารถพูดได้ทุกเรื่องยกเว้นเรื่องสิทธิชนเผ่าหรือสิทธิชนพื้นเมือง ไปจัดที่ กัมพูชาพูดได้ทกุ เรือ่ งยกเว้นเรือ่ งทีด่ นิ จัดทีบ่ รูไนพูดได้ทกุ เรือ่ งยกเว้นเรือ่ งสุลต่านและ เรื่องเพศ แต่จัดที่พม่าสามารถพูดได้ทุกเรื่อง โดยยกประเด็นที่ไม่สามารถพูดได้ใน ประเทศที่ได้จัดมา ยกมาพูดคุยกันที่พม่าทั้ง สิทธิพื้นเมือง ที่ดิน สุลต่าน เพศ ถือว่า เป็นการจัดประชุมที่ใหญ่มากและมีชาวบ้านเข้ามาประชุมด้วยเยอะมาก เพราะว่ามี หลายโครงการในพม่า ทั้งลงทุนโดยประเทศไทย จีน ญี่ปุ่น ชาวบ้านได้รับผลกระทบ และส่งผ่านข้อความบางอย่างต่อการจัดประชุมในครั้งนี้ เช่น “ที่ดินคือชีวิต ค่าชดเชย ไม่ใช่ค�ำตอบ” หรือแม้แต่กลุ่มโซกี้ (SOGIE) สามารถมาเดินขบวนในเรื่องเพศ ถือว่าการจัดประชุมทีพ ่ ม่าเป็นบรรยากาศใหม่ทสี่ ามารถหยิบยกประเด็นทีถ่ กู ปัดตกไป สามารถน�ำเข้ามาเพื่อพูดคุยกันได้อย่างเสรี แต่ผมมีข้อสังเกตว่ามันก็มีข้อยกเว้น เหมือนกัน เช่น เรื่องโรฮิงญาพูดไม่ได้ ซึ่งทุกห้องในที่ประชุมจะมีพระสงฆ์ประจ�ำอยู่ คงไม่ต้องบอกว่าบทบาทพระสงฆ์ในพม่าเป็นอย่างไร แต่ก็ไม่เป็นไรเพราะทุกที่ต่างก็ มีข้อจ�ำกัด ซึ่งถ้าหากถามว่าผมยินยอมหรือไม่ที่มีข้อจ�ำกัดนี้ ผมก็ไม่ยินยอมหรือ ไม่พอใจแต่มันก็มีขั้นตอนหรือวิธีการที่จะต้องต่อสู้กันต่อไปในอนาคต สู้รักษาชีวิต เอาไว้เพื่อสู้กันในระยะยาวดีกว่า

อาเซียนเสวนา | 47

อันนี้เป็นเรื่องทวาย (รูปภาพ) คนไทย รับรู้เรื่องทวายอยู่แล้วแต่ถามว่ารู้ในรูป แบบใดบ้าง ทุกท่านทราบดีวา่ ด้านทุนไทย ที่ได้ผ่านโครงการของรัฐแล้วและได้ไป ลงทุ น ในทวาย ถื อ ว่ า เป็ น การลงทุ น ในเม็ ด เงิ น มหาศาลพร้ อ มทั้ ง จะสร้ า ง ผลกระทบที่มหาศาลเช่นเดียวกัน ซึ่งผม รูปนี้เป็นเรื่องทว�ย คนไทยรับรู้เรื่องทว�ยอยู่แล้วแต่ถ�มว่�รู้ในรูปแบบใดบ้�ง ทุกท่�นทร�บดีว่� ด้�นทุนไทยที่ไมี ด้ผเ่�รื นโครงก�รของรั ไปลงทุ นในทว�ย ถือว่�เป็นก�รลงทุ ในเม็ด ดเงิการลงทุ นมห�ศ�ลพร้อม น ก็ได้ไปสร้างถนนในบริเวณพื้นที่ ่องเล่าฐเรืแล้่อวและได้ งหนึ ่งจากทวาย เมื่อนเกิ ทั้งจะสร้�งผลกระทบที่มห�ศ�ลเช่นเดียวกัน ซึ่งผมมีเรื่องเล่�เรื่องหนึ่งจ�กทว�ย เมื่อเกิดก�รลงทุน ก็ได้ไปสร้�ง โครงการ วญ่ามีท�รถทีำ่กำ�อะไรกั น แต่บเัตผอิ ถนนในบริเวณพื ้นที่โครงก�ร ช�วบ้ชาวบ้ �นก็มุงดูว่�า ทำ�นก็ อะไรกัม น ุ งแต่ดูเผอิ ลังก่อสร้�งถนนประสบอุ ิเหตุ ญ มี ร ถที่ ก� ำ ลั ง ก่ อ สร้ า งถนนประสบ กับรถช�วบ้�นที่ขับรถผ่�นบริเวณที่ก่อสร้�งอยู่ ช�วบ้�นจึงไปร้องเรียนต่อบริษัท ท�งบริษัทได้ตอบกลับไปว่� อุบัต�ิเน หตุ รถผ่ านบริ มันไม่ใช่ถนนของช�วบ้ ไม่ใช่ก ทรั​ั พบย์สรถชาวบ้ ินของช�วบ้�นแต่า เป็นที นทรัพย์่ ข สินั บ ของบริ ษัท ช�วบ้ �นไม่มเีสวณที ิทธิใช้ ดังนั่ ก ้น ่ อ สร้ า งอยู ่ ชาวบ้ า นจึ ง ไปร้ อ งเรี ย น ช�วบ้�นเข�ม�ใช้ ใ นพื น ้ ที น ่ ย ้ ี อ ่ มไม่ ใ ช่ ค ว�มผิ ด ของบริ ษ ท ั ทั ง ้ ที ท ่ ด ่ ี น ิ นั น ้ เป็ น ผื น ดิ น ของช�วบ้ � น ทำ � ให้ เ กิ ด อ�รมณ์ ต่อบริษัท ทางบริษัทได้ตอบกลับไปว่ามันไม่ใช่ถนนของชาวบ้าน ไม่ใช่ทรัพย์สินของ คว�มเกลียดชังขึ้นตลอดเวล� ช�วบ้�นพม่�ไม่ได้เกลียดชังคนไทยเพร�ะจ�กประวัติศ�สตร์ในสมัยอโยธย� แต่ ช�วบ้�นเกลียชาวบ้ ดชังเพร�ะเหตุ ก�รณ์เช่นเนีป็ ้ขึ้น น ถ้�ทรั ห�กถ�มว่ ญห�นี้อย่�ษ งไร ัท ในทว�ยผมมี คลิปา (คลิ ป มีสิทธิใช้ ดังนั้นชาวบ้านเขามาใช้ านแต่ พย์�จะจัสินดก�รปั ของบริ ชาวบ้ นไม่ วิดีโอ) เกี่ยวกับโครงก�รของไทยที่ได้ไปลงทุนที่ทว�ย คือบริษัทไทยก็จ้�งนักวิช�ก�รของไทยไปประเมินและ ในพื่งน้ แวดล้ทีอน่ ม ยี้ แล้อ่ วมไม่ ใช่คบช�วบ้ วามผิ ของบริ ษทั �นบ�งคนบอกว่ ทัง้ ทีท่ ดี่� นิ ม�นัน้ เป็นผืนดินของชาวบ้าน ท�ำให้เกิด ศึกษ�ผลกระทบท�งสิ ก็ไปพบเจอกั �นกลุ่มด นี้ในที ่ประชุม ช�วบ้ ประชุมในครั้งนี้ไม่ได้ม�เพร�ะเห็นด้วยแต่ม�เพื่อปฏิเสธก�รประชุมนี้ และก�รก่อสร้�งเข้�ม�โดยไม่ได้รับก�ร อารมณ์ความเกลียดชังขึ้นตลอดเวลา ชาวบ้านพม่าไม่ได้เกลียดชังคนไทยเพราะ ตัดสินใจหรือก�รยินยอมจ�กช�วบ้�น หรือช�วบ้�นบ�งคนในที่ประชุมกล่�วว่� ตัวเองไม่ได้รับเชิญให้ม�ร่วม ประชุมอย่�งเป็ นล�ยลักษณ์อักษรถื �ไม่ให้เกียรติ ช�วบ้�นหรื ก�รเชิญชวนไม่ได้แต่ ครอบคลุ มประช�กรใน จากประวั ติศอว่าสตร์ ในสมั ยออโยธยา ชาวบ้ านเกลียดชังเพราะเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้น พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบทั้งหมด ซึ่งถือว่�เป็นก�รแบ่งแยกทำ�ล�ยคว�มส�มัคคีของช�วบ้�น เวล�ในก�รประชุม ก็ไม่เพียงพอโครงก�รระดั บใหญ่ม�พูดคุยา 1-2 พอ ดัญ งนั้นหานี ช�วบ้�นได้​้อเรีย่ ยกร้าองไร งว่� ก�รดำในทวายผมมี �เนินก�ร ถ้าหากถามว่ จะจัชั่วโมงคงไม่ ดการปั คลิป (คลิปวิดีโอ) เกี่ยวกับ ต่�งๆ ต้องอยู่บนพื้นฐ�นของก�รเค�รพซึ่งกันและกัน ถ้�ห�กคุณเค�รพเร� เร�ก็จะเค�รพคุณ และในฐ�นะนัก วิช�ก�รก็ต้องเป็นกล�งให้กับช�วบ้�น ถ้�ห�กคุณจะดำ�เนินก�รก่อสร้�งจะต้องทำ�ต�มข้อตกลงของช�วบ้�นที่ จะกำ�หนดขึ้นเป็นแบบแผนในก�รดำ�เนินก�รก่อสร้�ง สุดท้�ยช�วบ้�นในนำ�หลักฐ�นภ�พถ่�ยม�แสดงว่� ข้อ กำ�หนด EIA (ร�ยง�นผลกระทบสิ่งแวดล้อม) ยังไม่เสร็จสมบูรณ์แต่ได้เริ่มก�รดำ�เนินก�รก่อสร้�งแล้ว ผมคิดว่�เท่�ที่ได้พูดคุยกับเพื่อนช�วทว�ยที่ว่� เข�ไม่ได้ต้องก�รคัดค้�นก�รพัฒน� หรือไม่ได้ ปฏิเสธ ก�รพัฒน�ในบ้�นเข� แต่ห�กว่�จะพัฒน�อย่�งไรให้เข�มีอำ�น�จในก�รควบคุมสถ�นก�รณ์หรือจัดก�ร

43


44

อาเซียนเสวนา

โครงการของไทยที่ได้ไปลงทุนที่ทวาย คือบริษัทไทยก็จ้างนักวิชาการของไทยไป ประเมินและศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม แล้วก็ไปพบเจอกับชาวบ้านกลุ่มนี้ ในที่ประชุม ชาวบ้านบางคนบอกว่า มาประชุมในครั้งนี้ไม่ได้มาเพราะเห็นด้วยแต่มา เพื่ อ ปฏิ เ สธการประชุ ม นี้ และการก่ อ สร้ า งเข้ า มาโดยไม่ ไ ด้ รั บ การตั ด สิ น ใจหรื อ การยินยอมจากชาวบ้าน หรือชาวบ้านบางคนในทีป่ ระชุมกล่าวว่า ตัวเองไม่ได้รบั เชิญ ให้มาร่วมประชุมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรถือว่าไม่ให้เกียรติชาวบ้านหรือการเชิญ ชวนไม่ได้ครอบคลุมประชากรในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบทั้งหมด ซึ่งถือว่าเป็นการแบ่ง แยกท�ำลายความสามัคคีของชาวบ้าน เวลาในการประชุมก็ไม่เพียงพอโครงการระดับ ใหญ่มาพูดคุย 1-2 ชั่วโมงคงไม่พอ ดังนั้นชาวบ้านได้เรียกร้องว่า การด�ำเนินการต่างๆ ต้องอยูบ่ นพืน้ ฐานของการเคารพซึง่ กันและกัน ถ้าหากคุณเคารพเรา เราก็จะเคารพคุณ และในฐานะนักวิชาการก็ตอ้ งเป็นกลางให้กบั ชาวบ้าน ถ้าหากคุณจะด�ำเนินการก่อสร้าง จะต้องท�ำตามข้อตกลงของชาวบ้านที่จะก�ำหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการด�ำเนินการ ก่ อ สร้ า ง สุ ด ท้ า ยชาวบ้ า นในน� ำ หลั ก ฐานภาพถ่ า ยมาแสดงว่ า ข้ อ ก� ำ หนด EIA (รายงานผลกระทบสิง่ แวดล้อม) ยังไม่เสร็จสมบูรณ์แต่ได้เริม่ การด�ำเนินการก่อสร้างแล้ว สรุปวิดีโอคลิป นักวิชาการกลุ่มนี้ที่ได้เข้าไปในพื้นที่เพื่อด�ำเนินการศึกษา ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม ชาวบ้านได้ปฏิเสธกระบวนการนี้เพราะว่าไม่ถูกต้อง ชาวบ้านที่ถูกเชิญมาก็ไม่ใช่ผู้ได้รับผลกระทบทั้งหมด ทั้งยังมาด�ำเนินการสอบถาม ข้อมูลผลกระทบอะไรตอนนี้ ทัง้ ๆทีไ่ ด้ดำ� เนินการก่อสร้างไปแล้ว เอาเข้าจริงแล้วมีเบือ้ งหลัง เพราะว่าชาวบ้านมีการเตรียมตัว มีการแชร์ข้อมูลอย่างหนักหน่วง และมีองค์กรภาค ประชาสังคมเข้ามาช่วย สถานการณ์นี้เป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า ชาวบ้านกลุ่มนี้ ไม่ได้โง่ เขาก็ฉลาดพอๆกับที่บริษัทฉลาด หรือเท่ากับนักวิชาการฉลาด และยิ่งไปกว่า นั้นท�ำให้เห็นว่าเป็นการเปลี่ยนอ�ำนาจที่แต่เดิมชาวบ้านมีความเชื่อต่อทางภาครัฐ แต่ปจั จุบนั ชาวบ้านไม่เชือ่ ถืออีกต่อไปถึงได้ตงั้ กฎเกณฑ์เกีย่ วกับการเข้ามาด�ำเนินการ ต่างๆ ในพืน้ ทีต่ อ่ ชาวบ้านให้ชาวบ้านเห็นชอบหรือยินยอม การเคลือ่ นไหวของชาวบ้าน เช่นนี้อยู่ดีๆ จะเกิดขึ้นไม่ได้ แต่อาจเป็นผลมาจากกระบวนการเปลี่ยนผ่านของพม่า ทีเ่ ริม่ พัฒนาในด้านประชาธิปไตย จึงส่งผลท�ำให้พนื้ ทีถ่ กู เปิดขึน้ ประชาชนในพม่าถือว่า มีความตื่นตัวทางการเมืองมานานแล้ว ตั้งแต่เหตุการณ์ 8-8-88 เป็นต้นมาชาวบ้าน ไม่ยนิ ยอมต่อทางรัฐบาลทหารพม่ามาโดยตลอด ถ้าหากมองตรงข้ามกัน ทีล่ าว กัมพูชา เราจะไม่เห็นถึงการเคลื่อนไหวของประชาชนอย่างต่อเนื่องแต่จะท�ำเป็นระยะเท่านั้น ดังนัน้ การส่งผลต่อการจัดการปัญหาก็จะแตกต่างกัน ในพม่าเมือ่ ประชาธิปไตยได้เปิด ขึ้นมา กลุ่มอ�ำนาจทหารเก่าเริ่มขัดแย้งกัน และเปลี่ยนขั้วอ�ำนาจกัน ชาวบ้านที่ตื่นตัว ทางการเมืองอยู่แล้วก็พร้อมที่จะลุกขึ้นมาในการต่อสู้ครั้งนี้


วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์

ผมคิดว่าเท่าที่ได้พูดคุยกับเพื่อนชาวทวายที่ว่า เขาไม่ได้ต้องการคัดค้าน การพัฒนา หรือไม่ได้ปฏิเสธ การพัฒนาในบ้านเขา แต่หากว่าจะพัฒนาอย่างไรให้เขา มีอำ� นาจในการควบคุมสถานการณ์หรือจัดการต่อปัญหาเหล่านัน้ ได้ ซึง่ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เป็น บทเรียน หลายคนที่ทวายได้มาเรียนรู้ที่ไทยของบริเวณมาบตะพุด ดังนั้นชาวบ้านที่ ทวายมีการเตรียมความพร้อมเป็นอย่างดีต่อการเปลี่ยนแปลง ซึ่งลึกๆไม่ได้ปฏิเสธ การเปลีย่ นแปลง แต่เขาจะมีอำ� นาจในการควบคุมต่อการเปลีย่ นแปลงนัน้ มากน้อยเพียงใด ในทฤษฏีเขาควาย คือเป็นภาวะเขาควายของการพัฒนาว่าจะเอาอย่างไร การพัฒนาถูกน�ำเสนอในฐานะทางบังคับ ที่ไม่ใช่ทางเลือก คือไม่มีตัวเลือกให้เลือกว่า เอาอะไรได้บา้ ง ประเทศชาติตอ้ งการไฟฟ้าเข้าใจ แต่ถามว่ากระบวนการต้องการไฟฟ้า เรามีทางเลือกอะไรบ้าง บอกเลยไม่มี มีแต่สร้างเขื่อนขนาดใหญ่ หรือ สร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ จริงๆแล้วการพัฒนาควรจะเป็นทางเลือกให้คนได้มาแลกเปลีย่ นถกเถียงกัน ว่าข้อดี ข้อเสียเป็นอย่างไร แต่ความเป็นจริงทีผ่ มเล่ามาตัง้ แต่ตน้ มันถูกใช้ในฐานะภาษา ของความมั่นคงแห่งชาติ ที่สั่นคลอนความมั่นคงแห่งชาติ การประท้วงเขื่อนคือ การประท้วงชาติ ก็ตอ้ งมีการจัดการโดยทหารหรือต�ำรวจเข้าไปแก้ปญ ั หา ซึง่ เป็นภาษา ในลักษณะบังคับทีไ่ ม่สามารถย้อนกลับมาได้ คือว่าจะสร้างก็สร้างอย่างเดียวไม่สามารถ เป็นอืน่ ได้ ทีม่ หี ลายอย่างให้เลือก ในชีวติ จริงคงไม่ได้ยากขนาดนัน้ แต่ผมว่ามันมีเรือ่ ง ความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจว่าใครมีอำ� นาจในการตัดสินใจว่าประเทศไทยควรจะเป็นแบบนี้ หรือแบบนั้น ไฟฟ้าในกัมพูชาหรือพม่า ก็ควรจะเป็นแบบนี้ ทางออกของปัญหา

ผมพยายามมองในความซับซ้อนของปัญหา คือว่า ตัวแสดงไม่ได้อยู่ภายใต้ อ� ำ นาจของรั ฐ ชาติ เ ดี ย วอี ก ต่ อ ไป มั น ได้ เ คลื่ อ นย้ า ยอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี ลั ก ษณะ ข้ามพรมแดน เช่นทุนมาเลเซียเข้าไปสร้างเขื่อนในลาว ทุนไทยเข้าไปท�ำเขื่อนในพม่า แต่ในด้านโครงสร้างอ�ำนาจของรัฐยังไม่เปลีย่ นแปลง ด้านโครงสร้างระดับภูมภิ าคทีเ่ รา มีคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งอาเซียน หลายคนบอกว่า (รูปภาพ) มันไม่มี ศักยภาพทางอ�ำนาจหรือเครือ่ งมือในการด�ำเนินการเรือ่ งสิทธิมนุษยชน เพราะในเรือ่ ง การพัฒนาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ต่างๆ ทั่วอาเซียน ควรจะถูกยกขึ้นมาพูดคุยและถกเถียง ในระดับภูมิภาคอาเซียน แต่กรรมการสิทธิมนุษยชนอาเซียนไม่สามารถกระท�ำได้ เพราะไม่มีอ�ำนาจรับค�ำร้อง ทั้งยังไม่มีอ�ำนาจสืบสวน ท�ำได้แค่ประชุมปรึกษาหารือกัน ว่าครั้งต่อไปจะไปประชุมที่ไหนดี ซึ่งกระบวนการเช่นนี้ต้องได้รับการแก้ไข ปัญหา

45


46

อาเซียนเสวนา

ความเกลียดชังเริ่มทวีความรุนแรงขึ้นแต่หน่วยงานที่มีความรับผิดชอบต่อประเด็นนี้ กลับไม่เปลีย่ นแปลงเพือ่ รองรับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ เมือ่ วกกลับเข้ามาในประเทศของเรา เมื่อเราน�ำเงินไปฝากในธนาคารพาณิชย์ของเราทุกครั้งก็แสดงถึงหยดน�้ำตาทุกหยด ของเพื่อนบ้านของเรา เรายอมหรือไม่ ประเทศไทยของเราก็ไม่มีกลไกเกี่ยวกับเงิน ที่น�ำไปฝากในธนาคารพาณิชย์ ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าน�ำไปลงทุนอะไรบ้าง ในอาเซียนแต่เดิมประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนมาก ในทางการเมือง แค่พูดในเรื่องสิทธิมนุษยชนก็อาจจะโดนจับได้ในหลายประเทศ แต่ข้อดีบางอย่างของสิทธิมนุษยชนอาเซียน คือท�ำให้ประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนเป็น กระบวนการที่ถูกกฎหมายหรือเป็นค�ำที่ถูกกฎหมาย ในธรรมนูญอาเซียน (ASEAN charter) แปลว่าพลเมืองอาเซียนทุกคนต้องสามารถพูดได้ เรียกร้องได้ ในอาเซียนเป็นภูมิภาคเดียวที่ไม่มีกลไกระดับภูมิภาคเรื่องสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะไม่มีศาลสิทธิมนุษยชนอาเซียน แต่แอฟริกามี ลาตินอเมริกามี EU มี เพราะเขามีกระบวนการแก้ไขปัญหา แต่อาเซียนยังห่างไกลในประเด็นนี้ ขนาดใช้เวลา 16 ปี ในการมี ค ณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนอาเซี ย น หลายท่ า นฝั น ว่ า จะมี ศ าล สิทธิมนุษยชนอาเซียน ก็อาจต้องรอถึง 100 ปี แต่ต้องเริ่มจากคนในยุคนี้ที่จะขยับ ให้เป็นจริงได้ ทางคิ ด ในแง่ บ วกปั ญ หาทุ ก อย่ า งจะเหมื อ น Pandora box เนื่ อ งจากมี ความวุน่ วายเต็มไปหมดแต่เราต้องเชือ่ มัน่ ว่าประชาชนยังมีความหวังอยูใ่ นการจะก้าว ต่อไป ซึง่ จากประสบการณ์ผม ทีเ่ ป็นคนรุน่ ใหม่ของอาเซียนผมพบว่าพูดกันง่าย ทีไ่ ม่มี อคติต่อกันจากเหตุผลทางประวัติศาสตร์เลยแม้แต่น้อย หรือแม้แต่การมองแบบเหมา รวมต่อเพือ่ นบ้านในแง่ลบยังไม่มเี กิดขึน้ ในเยาวชนของอาเซียน ตัวอย่างเช่น เพือ่ นสนิท ของผมเป็นชาวกัมพูชา ที่ได้กินนอนด้วยไปประชุมด้วยกัน แต่ผมรู้สึกว่าเราสองคน พูดกันง่าย ไม่เหมือนสิ่งที่เราถูกสั่งสอนในต�ำราเรียนที่ให้มีอคติต่อเพื่อนบ้าน และ ผมเชื่อว่าไม่ได้มีอยู่ในความรู้สึกของคนรุ่นใหม่ที่ได้ก้าวข้ามอคติตรงนี้ไปแล้ว อีกหนึ่งประสบการณ์ของผมที่ร่วมท�ำงานกับ ASEAN Youth Movement ซึ่งเป็นความร่วมมือของกลุ่มเยาวชนที่ท�ำงานอาสาสมัครใน 10 ประเทศอาเซียน ที่สร้างเครือข่ายครอบคลุมทั่วประเทศและมีการประชุมกันทุกปี ทั้งเรื่องสันติภาพ การศึกษา การบังคับสูญหาย สิทธิเสรีภาพ ซึ่งไม่เกี่ยงว่าจะเกิดขึ้นที่ไหนท�ำให้ อัตลักษณ์ใหม่เกิดขึ้นในเยาวชนคนรุ่นใหม่ ซึ่งผมก็หวังว่าจะถูกถักทอต่อไปเพื่อแก้ ปัญหาทั้งหลาย เพื่อเปิดเสรีความเกลียดชังเพื่อก้าวให้พ้นภาวะเหล่านั้นแล้วสามารถ แก้ไขปัญหาร่วมกันได้


47


48

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 50


เนตรดาว เถาถวิล

การขยายตัวของการผลิตพืชพาณิชย์ แถบชายแดนไทย-ลาว และการใช้ แรงงาน ลาวในภาคเกษตรของไทย เนตรดาว เถาถวิล ***การบรรยายครั้งนี้ยังไม่สมบูรณ์ โปรดอย่าอ้างอิง*** เงื่อนไขการใช้แรงงานลาว

ภาคการเกษตรของไทยได้หดตัวตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 4 เป็นต้นมา ความเติบโตการเกษตรได้ลดลงมาเป็นล�ำดับในแง่ของผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ทีส่ ามารถผลิตได้ รวมถึงประชากรทีอ่ าศัยอยูใ่ นภาคการเกษตรมีจำ� นวนลดลง โดยเฉพาะอย่างยิง่ แรงงานวัยหนุม่ -สาวทีม่ แี นวโน้มออกจากแรงงานภาคเกษตรเข้าไป สู่แรงงานภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันแรงงานภูมิภาคอีสานได้มีจ�ำนวน แรงงานทีโ่ ยกย้ายไปท�ำงานนอกภูมภิ าคหรือต่างประเทศมากทีส่ ดุ เมือ่ เปรียบเทียบกับ ภูมภิ าคอืน่ ๆของประเทศไทย เมือ่ ดูจากจ�ำนวนเงินส่งกลับจากแรงงานสูค่ รัวเรือนถือว่า ภาคอีสานมีสัดส่วนสูงที่สุดในประเทศไทยมาเป็นเวลามากกว่า 10 ปี จ�ำนวนแรงงาน ที่ยังคงเหลืออยู่ในภาคเกษตรจะมีแนวโน้มเป็นแรงงานที่สูงวัยเพิ่มขึ้น ดังนั้นแล้ว เมือ่ แรงงานภาคเกษตรเป็นแรงงานสูงวัยจึงถือว่าเป็นปัญหาส�ำคัญต่อภาคการเกษตร ของไทย ถือแม้ว่าจะมีเครื่องจักรกลทางการเกษตรเข้ามาใช้ในภาคเกษตร เช่น รถไถ รถเกี่ยวข้าว ฯลฯ แต่ไม่สามารถทดแทนได้ทั้งหมดในภาคการเกษตร การผลิตพืชบางชนิดจ�ำเป็นที่จะต้องใช้แรงงานคนอย่างเข้มข้น เช่น การผลิต ข้าวอินทรีย์ ถือเป็นการผลิตพืชที่ต้องใช้แรงงานอย่างเข้มข้น เฉลี่ยตามครัวเรือนแล้ว จะมีแรงงานภาคเกษตรคงเหลืออยูป่ ระมาณ 2-3 คนเท่านัน้ และมีอายุเฉลีย่ ของแรงงาน ภาคเกษตร อยู่ในสัดส่วน 45 ปีขึ้นไป ท�ำให้ไม่เพียงพอต่อการท�ำงานภาคเกษตร จึงได้มีการน�ำแรงงานลาวเข้ามาสู่ภาคการเกษตรของไทย

49


50

อาเซียนเสวนา

ด้ า นการผลิ ต เมล็ ด พั น ธ์ ป ระสบปั ญ หาเช่ น เดี ย วกั บ การผลิ ต พื ช อิ น ทรี ย ์ ที่ขาดแคลนแรงงาน การขาดแคลนแรงงานในด้านการเกษตร ไม่ใช่ว่าจะน�ำแรงงาน ทั่วไปเข้ามาท�ำได้ แต่ต้องเป็นแรงงานที่มีทักษะในทางด้านการเกษตรด้วย ที่ส�ำคัญ ที่สุดค่าจ้างแรงงานภาคเกษตรต้องไม่สูงจนเกินกว่าจะจ่ายได้ การแก้ไขปัญหาของเกษตรกรในพื้นที่ชายแดนจึงได้น�ำแรงงานลาวเข้ามา ท�ำงานในทีด่ นิ ของตนเอง หากย้อนไปเกีย่ วกับการจ้างแรงงานลาว ได้มกี ารด�ำเนินการ มาแล้วถึง 20 ปี เช่น ในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งอยู่ในภาคอีสานตอนใต้ อย่างไรก็ตาม การจ้างแรงงานลาวมีความแตกต่างกันตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แต่เดิมนั้นการจ้าง แรงงานไม่ได้มากนัก จึงท�ำให้อตั ราค่าจ้างแรงงานไม่ได้สงู มาก รวมถึงการแข่งขันของ พ่อค้าที่จะแย่งชิงแรงงานยังไม่สูงมากเช่นเดียวกัน แต่ในปัจจุบันการจ้างแรงงานลาว เป็นทีต่ อ้ งการอย่างสูง จึงเกิดการแข่งขันของนายจ้างทีจ่ ะแย่งชิงแรงงาน เพราะฉะนัน้ ความส� ำ คั ญ ของแรงงานลาวในบริ บ ทใหม่ ที่ มี ก ารขยายตั ว ของพื ช พาณิ ช ย์ จึ ง มี ความส�ำคัญเพิ่มมากขึ้นและมีความแตกต่างไปจากอดีตอย่างมีนัยส�ำคัญ เมื่อมีเงื่อนไขของการเปิดข้ามพรมแดน ที่มีความสะดวกมากขึ้น แต่เดิมการ ข้ามพรมแดนจะใช้เส้นทางเรือเป็นหลักทั้งข้ามมาเพื่อซื้อของ เยี่ยมญาติ หรือท�ำบุญ ประเพณี แต่ปจั จุบนั การข้ามพรมแดนได้ขยายตัวขึน้ ผ่านการข้ามผืนดิน เช่น ด่านช่อง เม็ก จ.อุบลราชธานี ที่สามารถขนส่งสินค้าหนักผ่านด่านข้ามพรมแดน (Land bridge) ในเส้นทางนี้ได้และถือว่าเป็นด่านผ่านแดนแบบสากล ดังนั้นแล้วการจ้างแรงงานลาว ต้องด�ำเนินการไปตามกฎระเบียบและเงื่อนไขของด่านผ่านแดนที่นายจ้างจะต้อง ท�ำเอกสารการจ้างงานในบริเวณด่านข้ามแดน การขยายพื้นที่ของการข้ามพรมแดนที่มีอยู่อย่างมากนี้ ถือเป็นตัวเร่งและ เป็นปัจจัยเอือ้ อ�ำนวยทีท่ ำ� ให้แรงงานลาวสามารถเข้ามาท�ำงานได้อย่างสะดวกง่ายดาย เพียงแค่ใช้โทรศัพท์ตดิ ต่อแรงงาน ถึงแม้วา่ กฎระเบียบของทางภาครัฐทีก่ ำ� หนดเงือ่ นไข ของการผ่านแดนจะเข้มข้นอย่างไรก็ตาม แต่ไม่ได้เข้มข้นไปทุกเรื่องหรือทุกระดับ เงื่อนไขที่ส�ำคัญอีกประการที่ท�ำให้แรงงานลาวเป็นที่นิยมของภาคเกษตรไทย คือ แรงงานลาวท�ำงานหนัก พูดน้อย ไม่เรียกร้องอะไรมาก และค่าแรงของแรงงานลาว ถูกกว่าค่าแรงของแรงงานไทย บางพื้นที่ค่าแรงคนลาวถูกกว่าคนไทยถึงครึ่งหนึ่ง แต่แรงงานลาวกลับยอมท�ำงานหนักกว่าแรงงานไทย


เนตรดาว เถาถวิล

ค�ำถามในการวิจัย

• การผลิตข้าวอินทรีย์เพื่อการส่งออกในพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว ได้มีการจ้าง แรงงานอย่างไรและมีการใช้แรงงานลาวอย่างไร การใช้แรงงานลาวในการผลิต ข้าวอินทรีย์ มีนัยยะและความส�ำคัญอย่างไร พื้นที่ในการศึกษาในการผลิตข้าวอินทรีย์

• ชายแดนไทย-ลาว จ.อุบลราชธานี แนวคิดที่ใช้ในการศึกษา

• แนวคิดการขยายตัวของการเกษตรเชิงพาณิชย์เพื่อส่งออก • แนวคิดการผลิตพืชมูลค่าสูงในเชิงพาณิชย์ แนวคิดเกษตรพันธะสัญญา (Contract farming) เป็นแนวคิดที่ส�ำคัญ เนื่องจากการผลิตพืชเชิงพาณิชย์อยู่ในระบบของเกษตรพันธะสัญญา ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะที่มีความแตกต่างจากการผลิตแบบไม่ใช่เกษตรพันธะสัญญา แนวคิดกระบวนการการจัดการแรงงานในการผลิต มีขั้นตอนการจัดการ แรงงานอย่างไร ตั้งแต่ก่อนการผลิต ระหว่างการผลิต ไปถึงการเก็บเกี่ยว และมี การจัดการผลผลิตอย่างไรเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ต้องการ แนวคิดการเปลี่ยนแปลงสังคมเกษตรกรรม (Agrarian transformation) ใช้อธิบายความเปลีย่ นแปลงของสังคมเกษตรกรรมหรือสังคมชนบท มีความเปลีย่ นแปลง ไปในทิศทางใด เช่น การเคลือ่ นย้ายแรงงานสังคมชนบทไปสูเ่ มือง ซึง่ ท�ำให้ภาคเกษตร หดตั ว ลง และท� ำ ให้ เ กิ ด แนวคิ ด ทฤษฎี ก ลุ ่ ม หนึ่ ง ขึ้ น ที่ ก ล่ า วถึ ง การถดถอยและ เสื่อมสลายของ สังคมเกษตรกรรม (De-agraianization) และมีบางกลุ่มทฤษฎีที่เชื่อว่าแม้ จะมีแรงงานทีอ่ พยพออกจากชนบทแต่ภาคเกษตรกรรมจะไม่ได้สญ ู สลายไป เนือ่ งจาก มีการระดมแรงงานส่วนอืน่ เข้ามาทดแทนแรงงานทีอ่ พยพไปท�ำให้แรงงานภาคเกษตร ส่วนหนึ่งออกไป และอีกส่วนหนึ่งเข้ามาทดแทนจึงท�ำให้การผลิตภาคการเกษตร ยังคงอยู่ (Re- agrarianization)

51


52

อาเซียนเสวนา

ในความส�ำคัญของทฤษฎีสามารถท�ำให้มองเห็นถึงภาพรวมของสังคมใหญ่ และช่วยให้ท�ำนายภาพของอนาคตที่จะเกิดขึ้นกับสังคมเกษตรกรรมในประเทศไทย หรือในประเทศใกล้เคียง เช่น แม้ว่าแรงงานลาวจะเข้ามาท�ำงานในภาคเกษตรกรรม ของไทยแทนแรงงานไทยทีอ่ พยพออกนอกพืน้ ที่ แต่แรงงานลาวในประเทศลาวได้เกิด การเปลี่ยนแปลงขึ้นในด้านแรงงานภายในประเทศลาว บริบทการปรับโครงสร้างสังคมเกษตรกรรม

โครงสร้างการผลิตข้าวของไทยในตลาดโลก ตัง้ แต่กลางทศวรรษ 2520 เป็นต้น มาทัง้ ปริมาณและราคาข้าวทีไ่ ทยส่งออกมีแนวโน้มผันผวนไม่แน่นอนและราคาข้าวตกต�ำ ่ ไทยส่งออกข้าวได้น้อยลง ต้นทุนการผลิตข้าวของไทยสูงขึ้นเมื่อเทียบกับประเทศใกล้ เคียง เช่น เวียดนาม อินเดีย จึงท�ำให้การแข่งขันของไทยในการส่งออกข้าวสูต่ ลาดโลก มีความได้เปรียบในการแข่งขันลดลง และ อัตราการเติบโตของภาคเกษตรไทย มีลักษณะถดถอยลง ตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 4 เป็นต้นมา เมื่อเกิดปัญหาขึ้นในภาคเกษตร ที่ไทยเคยส่งข้าวออกเป็นอันดับ 1 ของโลก แต่ปจั จุบนั ไทยได้เสียต�ำแหน่งไปแล้วและถูกทิง้ ห่างในประเด็นการส่งออกข้าวมากขึน้ เรือ่ ยๆ เกษตรกรมีความวิตกกังวลต่อเจ้าหน้าทีท่ วี่ างแผนนโยบายของรัฐ ถ้าหากปล่อย ให้สถานการณ์เป็นเช่นนี้ อีกไม่นานจะท�ำให้เกิดวิกฤตกระทบต่อภาคเกษตรของไทย และกระทบต่อเกษตรกรไทยหลายล้านคน เมื่อข้าวส่งออกไม่ได้ ปัญหาจึงเกิดกับ เกษตรกรที่ขายข้าวไม่ค่อยได้หรือขายข้าวไม่ได้ราคาที่ดี กระทบต่อการด�ำเนินชีวิต ประจ�ำวัน เพราะฉะนั้นรัฐหรือนักวิชาการจึงเสนอให้ไทยเลิกแข่งขันปลูกข้าวราคาถูก หรือข้าวเคมีกับประเทศอื่น ไทยจ�ำเป็นต้องมีการยกระดับไปเป็นผู้ผลิตสินค้าเกษตร ที่มีมูลค่าสูง (High Value Foods) แทน ซึ่งผลผลิตทางการเกษตรที่ขายได้ราคาสูง เช่น กุ้ง ผลไม้ ผักบางชนิด ดอกไม้ ที่ไม่ใช่สินค้าปกติที่ส่งออก ส่วนสินค้าปกตินั้น เช่น ข้าว อ้อย ยางพารา กาแฟ ฯลฯ ประเทศที่มีความร�่ำรวยทางการเกษตร NAC (New Agricultural Country) จะหันมาปลูกพืชที่มีมูลค่าสูง เช่น ถ้าปลูกข้าวต้องเป็น ข้าวอินทรีย์ เพื่อขายข้าวต่อกิโลกรัมได้ราคามากกว่าข้าวเคมี เมื่อแนวโน้มเป็นเช่นนี้ รัฐที่เริ่มแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 4 ได้วาง นโยบายภาคเกษตรเป็นภาคอุตสาหกรรม และ อุตสาหกรรมการเกษตรยังต้องการพืช ผลทางการเกษตรมาเป็นวัตถุดิบ การยกระดับข้าวเคมีให้เป็นข้าวอินทรีย์ ดังนั้นแล้ว


เนตรดาว เถาถวิล

การผลิตข้าวอินทรีย์เพื่อการส่งออกและการผลิตเมล็ดพันธ์ลูกผสมเพื่อการส่งออก ก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของพืช HVF สอดคล้องการปรับทิศทางของโครงสร้างภาคเกษตร ของโลกและทิศทางการปรับตัวภาคเกษตรที่รัฐบาลไทยต้องการเห็น แต่การผลิตพืช ในโครงสร้างของ HVF จ�ำเป็นที่จะต้องใช้แรงงานอย่างเข้มข้น ดังนั้นการใช้แรงงาน เป็นตัวแปรที่ส�ำคัญมากต่อความส�ำเร็จในการผลิตพืชที่มีมูลค่าสูง การจัดการแรงงานในการผลิตข้าวอินทรีย์ การผลิตข้าวอินทรียเ์ ริม่ โครงการมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2530 รวมเวลาแล้วมากกว่า 20 ปี ที่โครงการผลิตข้าวอินทรีย์ได้ด�ำเนิน การมา แต่ปจั จุบนั พืน้ ทีข่ องการผลิตข้าวอินทรียไ์ ม่ได้เพิม่ ขึน้ เท่าทีค่ าดหวังไว้ ถึงแม้วา่ ภาครัฐจะมีนโยบายให้ข้าวอินทรีย์เป็นวาระแห่งชาติ ตั้งแต่ยุครัฐบาล ทักษิณ ชินวัตร ที่ต้องการจะสร้างให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก รวมถึงการคิดกระบวนการหลัง การเก็บเกี่ยว เช่น โครงการหนึ่งโรงสี หนึ่งต�ำบล ด้านแนวคิดของนักวิชาการบางกลุ่ม ที่ได้ชี้ว่าความล้มเหลวของการผลิตข้าวอินทรีย์เกิดขึ้นจากตัวของเกษตรกรเองที่ติด การใช้สารเคมีในการผลิตข้าว จึงท�ำให้พื้นที่หรือความนิยมในการผลิตข้าวอินทรีย์นั้น ไม่เติบโตขึ้น แต่เหตุผลบางประการในการผลิตข้าวอินทรีย์จะมีต้นทุนหลายประการ มากกว่าการผลิตข้าวเคมี ซึ่งมีต้นทุนนั้น คือ 1. มีที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวอินทรีย์ ในช่วงเปลี่ยนผ่านจากการปลูก ข้ า วเคมี ม าปลู ก ข้ า วอิ น ทรี ย ์ ที่ ดิ น จะต้ อ งใช้ เ วลาในการเปลี่ ย นฟื น ฟู ดิ น ถึ ง 3 ปี จึงจะท�ำให้ที่ดินผืนนั้นเหมาะสมแก่การเพาะปลูกข้าวอินทรีย์ ที่ส�ำคัญจ�ำเป็นจะต้อง ลงทุนในด้านปุ๋ยชีวภาพ(ปุ๋ยคอก,ปุ๋ยพืชสด) ลงในผืนดินในจ�ำนวนที่มาก 2. กระบวนการผลิตข้าวอินทรีย์จะต้องเป็นกระบวนการที่ปลอดสารเคมี ถ้าหากว่ามีศัตรูพืชที่เป็นแมลงหรือวัชพืชขึ้นปกคลุมข้าวที่ปลูก กระบวนการก�ำจัด จะต้องท�ำโดยกระบวนการที่ปลอดสารเคมีเช่นกัน รวมถึงความเสี่ยงต่างๆ ที่ชาวนา จะต้องแบกรับไว้และแก้ปัญหาให้ได้ ซึ่งความเสี่ยงนี้จะต้องใช้ทุน แรงงาน ความรู้ และเวลา ในการจัดการความเสี่ยง ดังนั้นแรงงานในครัวเรือนระดับเล็ก ที่มีอายุเฉลี่ยของแรงงาน 45 ปีขึ้นไป และ ในครัวเรือนหนึ่งจะมีแรงงานประมาณ 2-3 คน จึงท�ำให้ปัญหาด้านแรงงานเป็นปัญหา ที่ส�ำคัญในการผลิตข้าวอินทรีย์ ทั้งยังกระทบต่อต้นทุนการผลิต เพราะถ้าหากจ้างแรง งามากเกินไปท�ำให้ต้นทุนในการผลิตสูงขึ้นด้วย ถ้าหากจ้างแรงงานน้อยเกินไป เพื่อลดต้นทุนการผลิต แต่จะส่งผลไม่ตรงต่อความต้องการของเกษตรกร และไม่ตรง ต่อมาตรฐานในการผลิตข้าวอินทรีย์จึงท�ำให้เกิดความเสี่ยงขึ้น

53


54

อาเซียนเสวนา

พื้นที่ชายแดนบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี ประสบปัญหาขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากชวนนาส่วนหนึ่งโดยเฉพาะแรงงานวัยหนุ่ม-สาว จะอพยพไปท�ำงานในเมือง คลืน่ การอพยพนีด้ ำ� เนินมาตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ยังมีการเคลือ่ นย้ายแรงงานส่วนนี้ อยู่ การอพยพนี้แรงงานวัยหนุ่ม-สาว จะใช้วิธีส่งเงินกลับมาให้กับครอบครัวที่ท�ำนา เพือ่ น�ำเงินส่วนนีไ้ ปใช้จา่ ย อุปโภค-บริโภค และทีส่ ำ� คัญน�ำไปจ้างแรงงานแทนแรงงาน ของตนเองที่ไปท�ำงานนอกพื้นที่ ดังนั้น การจ้างแรงงานมาท�ำงานแทนจึงมีข้อดีในแง่ของการท�ำนาได้อย่าง ต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าในระดับครัวเรือนจะมีแรงงานที่เหลืออยู่ในครัวเรือนเฉลี่ย 2-3 คน บางครัวเรือนเหลือเพียงแค่คนเดียว แต่ไม่ได้เป็นปัญหาส�ำหรับการท�ำนา เนื่องจาก ครัวเรือนน�ำเงินที่แรงงานส่งกลับมาไปจ้างแรงงานทั้งชาวไทยและชาวลาวมาท�ำนา แทนการจ้างแรงงานเข้ามาทดแทนแรงงานในครัวเรือนทีห่ ายไป จึงท�ำให้ชาวนายังคง สามารถท�ำนาได้อย่างต่อเนื่องทุกปี เช่น ชาวนาวัย 50 ปี ท�ำนาคนเดียว 50 ไร่ โดยใช้ วิธีท�ำตัวเป็นผู้จัดการนา ดูแลและจัดการการท�ำนานทั้งหมดโดยผ่านเงินทุนที่ได้มา

การได้มาซึ่งแรงงานในบริเวณชายแดน จึงเป็นการจ้างแรงงานในประเทศ ใกล้เคียง การท�ำนาจะขาดแคลนแรงงานอย่างมากใน 2 ช่วง คือ ช่วงแรก ช่วงการด�ำนา ซึง่ ก่อนด�ำนานัน้ จ�ำเป็นจะต้องไถกลบดินและจัดเตรียมดิน ให้พร้อมส�ำหรับการด�ำนาเสียก่อน ในช่วงการไถนาปรับผืนดินจะใช้เครื่องจักรกลทาง เกษตรเข้ามาช่วย แต่การด�ำนายังไม่มเี ครือ่ งจักรกลทางเกษตรเข้ามาแทนทีแ่ รงงานได้ จึงจ�ำเป็นจะต้องใช้แรงงานคนเท่านั้น ช่วงสอง ช่วงการเก็บเกี่ยวจะเป็นช่วงที่ขาดแคลนแรงงานเป็นอย่างมาก ซึ่งการเก็บเกี่ยวจ�ำเป็นจะต้องเก็บเกี่ยวให้เร็วที่สุด เพื่อลดปัญหาตามมาเกี่ยวกับ ผลผลิต ไม่เหมือนช่วงของการด�ำนาที่ไม่มีเงื่อนไขของเวลาเข้ามาควบคุมมากนัก เพราะฉะนั้นช่วงการเก็บเกี่ยวจึงระดมแรงงานอย่างเข้มข้น ท�ำให้เกิดปัญหาการ ขาดแคลนแรงงาน เงื่อนไขอีกประการของการขาดแคลนแรงงานช่วงเก็บเกี่ยวนั้น เกิดจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตพร้อมๆ กันของชาวนา เนื่องจากข้าวสุกพร้อมกัน ช่วงเดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม ท�ำให้จ�ำเป็นต้องเร่งมือเกี่ยวข้าวให้ทันก่อนที่ข้าว จะสุกหรือแก่เกินไป ดังนั้นจึงเกิดการแข่งขันกันของนายจ้างเพื่อแย่งชิงแรงงาน และท�ำให้แรงงานขาดแคลนมาก จนนายจ้างชาวไทยต้องหันไปจ้างแรงงานลาวมากขึน้


เนตรดาว เถาถวิล

คนไทยจะติดต่อแรงงานลาวหลายวิธี

• ติดต่อโดยตรงกับแรงงานลาว จากคนที่เคยมารับจ้างกันมาก่อน • ติดต่อผ่านนายหน้าที่เป็นคนลาว • แรงงานลาวทราบว่าเป็นช่วงของการท�ำนา จะข้ามฝั่งมาเอง แล้วมายืนรอตรง บริเวณท่าเรือ เพื่อจะไปรับจ้างท�ำนาต่อไป เมื่อได้แรงงานที่ต้องการแล้ว นายจ้างจะเป็นฝ่ายไปจัดการเรื่องเอกสารผ่าน แดนที่ด่านตรวจคนเข้าเมือง โดยนายจ้างจะต้องเสียค่าผ่าแดนส�ำหรับลูกจ้างวันละ 10 บาทต่อคน ถ้าหากลูกจ้างจะอยู่อาศัยกับนายจ้างตลอดช่วงเวลาของการท�ำนา นายจ้างจะต้องรับผิดชอบด้านที่พักอาศัย อาหาร เครื่องใช้ รวมถึงค่ารถโดยสารที่ใช้ ขนส่งแรงงานให้แก่ลูกจ้างด้วย การจ้างแรงงานลาว ถึงแม้ส่วนหนึ่งจะมาจากความต้องการของเกษตรกร ทีต่ อ้ งการจ้างแรงงานเพือ่ มาท�ำงานในทีด่ นิ ของตน แต่อกี ส่วนหนึง่ ยังเป็นความต้องการ ของแรงงานลาวด้วยส่วนหนึ่งที่ต้องการจะมาหารายได้เสริม เนื่องจากแรงงานลาว ส่วนมากจะท�ำนาที่ประเทศลาว แต่ท�ำนานในเนื้อที่น้อย เก็บเกี่ยวผลผลิตเร็ว ถึงแม้ จะเก็บเกี่ยวไม่เสร็จก็จะจ้างแรงงานลาวอีกที เพื่อมาเก็บเกี่ยวแทน แล้วนายจ้างลาว ก็จะเปลี่ยนตัวเองมาเป็นแรงงานลาวเพื่อเข้ามาท�ำงานรับจ้างในไทย เพราะได้ค่าจ้าง ที่สูงกว่า รูปแบบของการเข้ามาเป็นแรงงานในไทยของแรงงานลาวนั้นจะนิยมมาเป็น กลุ่มครอบครัว เครือญาติ เพื่อที่จะมาท�ำงานในไทย จึงส่งผลท�ำให้เกิดอาชีพนายหน้า ทั้งชาวไทยและชาวลาว นายจ้างแรงงานลาวส่วนมากจะเป็นชาวนาไทยที่ท�ำนาขนาดใหญ่ ซึ่งมักจะมี นาขนาด 50 ไร่ขึ้นไป มีฐานะค่อนข้างดี แต่มีแรงงานในครอบครัวน้อย หรือไม่ก็เป็น คนสูงอายุ ด้านชาวนาขนาดเล็กจะท�ำนาเอง ส่วนชาวนาขนาดกลางมักไม่นยิ มทีจ่ ะจ้าง แรงงานลาว เนื่องจากจะท�ำให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น และเสียเวลา เพราะจะต้องจ่าย เงินค่าผ่านแดน หรือมีภาระในการดูและรับผิดชอบความเป็นอยู่ของแรงงานลาว ทางการรัฐไทยได้มกี ารผ่อนปรนในการจ้างแรงงานลาวตามชายแดน ทีน่ ายจ้าง จะต้องท�ำเอกสารผ่านแดนและจ่ายค่าธรรมเนียมให้ถูกต้องต่อด่านตรวจคนเข้าเมือง หากจ้าง 10 วัน นายจ้างจะต้องรับผิดชอบลูกจ้างทีจ่ า้ งมา หากว่าลูกจ้างได้หลบหนีเข้า เมืองหรือสูญหาย นายจ้างจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย เพราะฉะนัน้ นายจ้างจ�ำเป็น อย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับกระบวนการในการจ้างแรงงานลาว และ มีเวลาเพียงพอในการดูแลแรงงานลาว

55


56

อาเซียนเสวนา

ลักษณะการจ้างและการท�ำงาน

การจ้างแรงงานลาวจะแตกต่างกับการจ้างแรงงานไทย ตรงที่การจ้างแรงงาน ลาวเข้ามาท�ำงานจะไม่ได้จ้างเป็นรายวันเหมือนแรงงานไทย แต่แรงงานลาวจะได้รับ ค่าจ้างแบบเป็นมัดข้าวหรือฟ่อน ตามจ�ำนวนที่ท�ำได้ หากท�ำได้มากก็จะได้รายได้มาก ตามจ�ำนวนที่ท�ำ ดังนั้นการจ้างแรงงานลาวจะเป็นการจ้างบนเงื่อนไขที่นายจ้างได้ เปรียบลูกจ้าง ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างไทยกับแรงงานลาว

ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างไทยและแรงงานลาวจะเป็นในแบบอุปถัมภ์ หรืออาจเป็นแบบแลกเปลี่ยนต่างตอบแทน สะท้อนผ่านการเรียกชื่อของแรงงานลาว และนายจ้ า งไทยว่ า เป็ น “หมู ่ ” กั น ถึ ง แม้ จ ะมี ก ารเรี ย กความสั ม พั น ธ์ ท่ี แ ปลว่ า พวกพ้อง แต่นายจ้างไทยยังมีปัญหาเกี่ยวกับการท�ำงานของทั้งแรงงานไทยและ แรงงานลาวอยู่ เช่น การจ้างแรงงานไทยจะไม่ยงุ่ ยากเหมือนแรงงานลาว แต่นายจ้างมองว่าแรงงาน ไทยเกียจคร้าน พักผ่อนระหว่างการท�ำงานบ่อยครั้ง และเรียกค่าจ้างที่สูง ถ้านายจ้าง ไม่เลี้ยงดูทั้งอาหาร-เครื่องดื่ม อย่างดีจะไม่มาท�ำงาน การจ้างแรงงานลาวจะยุ่งยากกว่าแรงงานไทย แต่ขยันท�ำงานตั้งแต่ใกล้สว่าง จนถึงฟ้ามืด ไม่มีบ่นต่อการท�ำงาน ท�ำงานต่อเนื่องไม่พักบ่อย แต่เวลาท�ำงานท�ำให้ ผลผลิ ต ตกหล่ น เพราะท� ำ งานอย่ า งเร่ ง รี บ เพื่ อ ให้ ไ ด้ จ� ำ นวนผลผลิ ต มากที่ สุ ด เพราะจะท�ำให้แรงงานได้ค่าจ้างมากขึ้น นัยยะส�ำคัญของแรงงานลาวในการท�ำนาอินทรีย์

การท�ำนาอินทรีย์จ�ำเป็นจะต้องเกี่ยวข้าวให้ทันเวลาช่วงต้นเดือน ธันวาคม ของทุกปี เพือ่ ให้ทนั เวลาส่งมอบข้าว ขาย หรือ เพือ่ ลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ จากเมล็ด ข้าวแก่เกินไป แรงงานลาวจึงมีความส�ำคัญมาก เพราะท�ำให้ชาวนาไทยสามารถท�ำนา ได้ต่อไปถึงแม้ว่าจะมีแรงงานในครัวเรือนน้อย และท�ำให้สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตใน ผืนนาของตนได้ทันเวลา ทั้งยังท�ำให้ด้านการค้าส�ำหรับผู้ส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ สามารถส่ ง ออกข้ า วอิ น ทรี ย ์ ข องไทยได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี ค วามได้ เ ปรี ย บทาง การค้าเพิ่มขึ้น


เนตรดาว เถาถวิล

ค�ำถาม

ถ้าการผลิตข้าวอินทรีย์ของไทย ยังจ�ำเป็นที่จะต้องพึ่งพาแรงงานข้ามชาติที่มี การจ้างแรงงานถูก เราจ�ำเป็นต้องคิดถึงเรื่องค่าแรงที่เป็นธรรมและการจ้างงานที่เป็น ธรรมส�ำหรับแรงงานข้ามชาติด้วยหรือไม่ เพราะการจ้างแรงงานข้ามชาติในราคาที่ถูก กว่าแรงงานไทยมาก แสดงถึงความไม่เท่าเทียมและการเลือกปฏิบัติต่อแรงงานข้าม ชาติ ซึ่งจากข้อเท็จจริงยังพบว่า แม้ในระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ที่เน้นเรื่องการค้า ยุตธิ รรม (Fair trade) ก็ยงั มีการใช้แรงงานข้ามชาติในราคาทีไ่ ม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน กับแรงงานไทย จึงท�ำให้เกิดค�ำถามว่า ระบบการค้ายุติธรรมจะครอบคลุมถึงเรื่องการ จ้างแรงงานที่เป็นธรรมส�ำหรับแรงงานข้ามชาติด้วยหรือไม่ หากไม่สามารถท�ำให้เกิด การจ้างแรงงานทีเ่ ป็นธรรมและเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ จะสามารถเรียกว่าระบบการ ค้ายุติธรรมได้ต่อไปหรือไม่ ความยั่งยืนของการผลิตข้าวอินทรีย์ของไทยยังมีความจ�ำเป็นต้องพึ่งพา แรงงานข้ามชาติ รวมถึงการผลิตพืชมูลค่าสูงเพื่อส่งออกของไทยอื่นๆ ก็จ�ำเป็นต้อง พึ่งพาแรงงานข้ามชาติอยู่มาก ท�ำให้เกิดค�ำถามว่า หากในอนาคตแรงงานข้ามชาติไม่ เข้ามาท�ำงานในภาคเกษตรของไทย อนาคตของการพัฒนาภาคเกษตรไปสู่การเป็นผู้ ผลิตพืชที่มีมูลค่าสูงจะเป็นไปได้เพียงใด

57


58

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 58


อสมา มังกรชัย

ตํารวจมลายู : ลูกผสมของความสมัยใหม่ แบบอาณานิคม ประวัติศาสตร์บาดแผล และความรุ นแรง อสมา มังกรชัย กรอบคิดของงานศึกษา

1. การเป็นปัจเจก บุคคลผู้กระท�ำการและโครงสร้าง

ในทางด้านมานุษยวิทยาหรือสังคมศาสตร์ ได้มองปัจเจกบุคคลผูก้ ระท�ำการยัง มีอยู่หรือไม่ ที่สามารถต่อสู้ ต่อรอง อยู่ในโครงสร้างขนาดไหนบ้าง หรือไม่เชื่อว่าระดับ ปัจเจคบุคคลผู้กระท�ำการมีอยู่ เมื่อการกระท�ำต่างๆ ย่อมมีแนวคิดบางอย่างเข้ามา ครอบง�ำเสมอ

2. อัตลักษณ์

อัตลักษณ์เป็นกระบวนการประกอบสร้างจากความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกและ สังคม อัตลักษณ์จึงเป็น “กระบวนการกลายมาเป็น” (process of becoming) ที่เคลื่อนไหวและยังไม่สมบูรณ์ จึงมองการแยกหรือความแตกต่าง (Alternity หรือ Difference) โดยค�ำนึงถึงความเป็นไปได้ของเส้นแบ่งที่พร่าเลือน ระมัดระวังกับ การเป็นอื่น the other ซึ่งไม่ควรจะถูกแบ่งด้วตัวผู้เขียนเอง และไม่จ�ำเป็นต้องเป็น การแบ่งแยกแบบขั้วตรงข้ามเสมอไป

3. ความเป็นสมัยใหม่

ความเป็ น สมั ย ใหม่ เ ป็ น สภาวะอั น ประกอบไปด้ ว ยความเจริ ญ ทาง ด้านอุตสาหกรรม ทัศนคติที่เปิดรับความเปลี่ยนแปลงจากการประดิษฐ์คิดค้นของ มนุษย์ สถาบันทางเศรษฐกิจที่มีความซับซ้อน โดยเฉพาะการผลิตในอุตสาหกรรม และเศรษฐกิจแบบตลาด การจัดระบบระเบียบสถาบันทางการเมือง รัฐชาติ และ

59


60

อาเซียนเสวนา

ประชาธิปไตย สภาวะความเป็นสมัยใหม่เป็นสภาวะที่มีการขยับปรับเปลี่ยนหรือ มีพลวัตรสูงกว่าระเบียบทางสังคมทีม่ มี าก่อนหน้านี้ สภาพสังคมเป็นสังคมทีม่ วี ทิ ยาการ ก้าวหน้า ประกอบด้วยสถาบันต่างๆ ที่มีการจัดระบบ มีองค์ประกอบต่างๆ ที่ซับซ้อน แตกต่ า งจากวั ฒ นธรรมในสมั ย ก่ อ น และมี ท ่ า ที ข องการอยู ่ กั บ อนาคตมากกว่ า การอยู่ในอดีต สภาวะความเป็นสมัยใหม่ตั้งอยู่บนฐานของเสรีภาพในการค้นหาความจริง และความคิดที่มีเหตุผล การคิดและถกเถียงเรื่องเสรีภาพในการเลือก ความสามารถ ในการคิ ด วิ เ คราะห์ ใ ช้ เ หตุ ผ ล การตั ด สิ น ใจ การต่ อ สู ่ ต ่ อ รองกั บ โครงสร้ า ง หรื อ สถานการณ์ของปัจเจกบุคคลหรือผู้กระท�ำเป็นท่าทีของสภาวะความเป็นสมัยใหม่ ประวัติศาสตร์ต�ำรวจไทย

ต�ำรวจ มีอยู่ในประวัติศาสตร์ไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 500 ปี ค�ำว่า “ต�ำรวจ” เป็ น ค� ำ ที่ คิ ด ตั้ ง ขึ้ น มาในช่ ว งสมั ย พระบรมไตรโลกนาถ ครั้ ง นั้ น ทรงจั ด ระเบี ย บ การปกครองบ้านเมืองเป็นแบบจตุสดมภ์อนั ได้แก่ เวียง วัง คลัง นา ต�ำรวจพระนครบาล กับต�ำรวจภูธรขึน้ อยูก่ บั เวียง ส่วนต�ำรวจหลวงขึน้ อยูก่ บั วัง ต�ำรวจในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีศักดินา การคัดเลือกผู้เข้ารับราชการเป็นต�ำรวจจะพิจารณาจากเชื้อสายของผู้ มีความจงรักภักดี สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ระบบการปกครองยังมีรูปแบบใกล้เคียงกับ สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คือ มีระบบจตุสดมภ์ แต่มีสมุหนายก และ สมุหพระ กลาโหม กรมเจ้าท่า และ กรมต่างๆ กิจการของต�ำรวจในยุคนี้มี กรมพระต�ำรวจ ในขณะที่แต่ละอาณาบริเวณของรัฐก็มีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลความสงบเรียบร้อย อยูถ่ งึ สีห่ น่วย คือ หัวเมืองฝ่ายเหนือ อยูใ่ นความปกครองของสมุหนายก หรือกระทรวง มหาดไทย หัวเมืองฝ่ายใต้อยูใ่ นความปกครองของกระทรวงกลาโหม หัวเมืองชายทะเล อยู่ในความปกครองของกระทรวงต่างประเทศ (กรมเจ้าท่า) และกรุงเทพมหานครอยู่ ในความปกครองของกระทรวงพระนครบาล ซึ่งแต่ะละกระทรวงที่รับผิดชอบนี้ย่อม ด�ำเนินการในเรื่องการรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชนในเขตการปกครอง ของตนอย่างเป็นเอกเทศ ไม่ได้รวมกันเหมือนปัจจุบัน


อสมา มังกรชัย

องค์กรต�ำรวจสมัยใหม่ : ผลพวงของการสร้าง “รัฐชาติ” ด้วย “กระบวนการพัฒนาให้ทันสมัย”

เมื่อไทยยอมท�ำสัญญา “สิทธิสภาพนอกอาณาเขต” ยินยอมให้คนต่างชาติ และในบั ง คั บ ของต่ า งชาติ ไ ด้ สิ ท ธิ พิ เ ศษไม่ ต ้ อ งขึ้ น ศาลไทย แต่ ไ ปขึ้ น ศาลกงสุ ล ของต่างชาติแทน โดยประเทศจักรวรรดินิยมอ้างว่า ระบบการอ�ำนวยความยุติธรรม ของไทยไม่ เ หมาะสม เช่ น ระบบต� ำ รวจหรื อ ระบบจารี ต นครบาลโหดร้า ยทารุ ณ ดังนั้น พ.ศ.2404 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา ยมราช (ครุฑ บ่วงราบ) เป็นแม่กอง รับผิดชอบกองโปลิศ (POLIS) หรือกรมกองตระเวน ขึ้นครั้งแรก โดยจ้างชาวพม่า อินเดีย สิงคโปร์ เริ่มท�ำงานครั้งแรกที่ย่านตลาด พาหุรัดในพระนคร องค์กรต�ำรวจ เป็นหนึ่งในเครื่องมือของรัฐไทยในการก่อร่างสร้าง “รัฐชาติหรือ รัฐสมัยใหม่ทา่ มกลางมรสุมทางการเมืองของการล่าอาณานิคมโดยประเทศมหาอ�ำนาจ ซึ่งกระบวนการขับเคลื่อนสู่ความทันสมัยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวนอกเหนือจากการเร่งปฏิรูปศึกษา โดยเฉพาะการรับการศึกษาที่เป็นการน�ำ เข้ า จากตะวั น ตก และการเร่ ง เรี ย นรู ้ ภ าษาอั ง กฤษในหมู ่ เ จ้ า นาย การพั ฒ นา ระบบคมนาคมและสร้างระบบสาธารณสุขแบบใหม่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวยังปฏิวัติความคิดของคนในสังคไทยให้เป็นแบบสมัยใหม่ด้วยการผลักดัน ความคิดที่ให้ปัจเจกบุคคลก�ำหนดเลือกการตัดสินใจจากเหตุผล ไม่นิยมเรื่องผีหรือ ธรรมชาติ อาจกล่าวได้ว่าองค์กรต�ำรวจ ซึ่งมีการบริหารจัดการในรูปแบบขององค์กร สมัยใหม่ ถือก�ำเนิดมาพร้อมๆ กับความคิดแบบสมัยใหม่และกระบวนการเปลีย่ นแปลง พัฒนาประเทศไทยให้ทันสมัยโดยเป็นการซื้อเทคโนโลยีความรู้หรือ Know-how ของผูร้ ใู้ นประเทศตะวันตก กิจการต�ำรวจไทยในยุคของสมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุ ภาพ (พ.ศ. 2435-2458) ที่เป็นผู้คุมบังเหียนในฐานะเสนาบดีมหาดไทย ถือว่ามี การเปลี่ ย นแปลงและก้ า วไกลเป็ น อย่ า งมาก เช่ น มี ก ารขยายตั ว ของต� ำ รวจสู ่ ท้องถิ่นมากยิ่งขึ้น

61


62

อาเซียนเสวนา

ต�ำรวจภูธร: กลไกรัฐสมัยใหม่ที่ขยายตัว

ในปี พ.ศ.2435 ถือเป็นหมุดหมายส�ำคัญของการรวมศูนย์อ�ำนาจของรัฐ เมื่อมีพระบรมราชโองการจัดตั้งกระทรวงทบวงกรมตามแบบการปกครองสมัยใหม่ และยกเลิกระบบอัครเสนาบดีและจตุสดมภ์ จึงท�ำให้ระบบราชการไทยได้กลายเป็น รากฐานของรัฐสมัยใหม่นับตั้งแต่นั้นมา กรมต�ำรวจภูธรใหม่ เกิดจากที่กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพทรงจรวจราชการ หัวเมืองแล้วพบว่าในท้องถิ่นไม่มีพนักงานจับโจรผู้ร้าย จึงได้น�ำรูปแบบพนักงาน ควบคุมและใช้ปืนอย่างทหาร เพื่อเหมาะสมแก่การตรวจตะเวนท้องที่กว้างใหญ่ ทั้งนี้กรมต�ำรวจภูธรได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2440 ในขั้นต้นพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมอบหมายให้กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพขยายต�ำรวจภูธร ไปยังมณฑลต่างๆ นับตั้งแต่ พ.ศ.2440-2449 ทั้งนี้ในปี 2444 มีการจัดตั้งกองต�ำรวจ ภูธรมณฑลนครศรีธรรมราช และพ.ศ.2449 ยกบริเวณปัตตานีขึ้นเป็นมณฑลปัตตานี

อ�ำนาจรัฐ ที่รุกรานในนามของ การพัฒนาให้ทันสมัย

การปฏิ รู ป หั ว เมื อ งทั้ ง เจ็ ด กระทั่ ง ตั้ ง มณฑลปั ต ตานี เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ กระบวนการรวบอ�ำนาจสู่ศูนย์กลางการปกครองประเทศ (Centralization) ประสบ ความส�ำเร็จในการจัดการบริหารปกครองดินแดนแถบนี้ให้กลายเป็นส่วนหนึ่งของรัฐ ชาติสยามโดยไม่มกี ารต่อต้านอย่างรุนแรงจากราษฎร แต่กระทบโครงสร้างอ�ำนาจของ ผูป้ กครองเดิม ด้านหนึง่ สยามแยกสถานะของหัวเมืองทัง้ เจ็ดออกจากหัวเมืองชัน้ นอก อย่างกลันตันและตรังกานู อีกด้านหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ “นโยบายผ่อนปรน” ในการจัดระเบียบใหมให้สอดคล้องกับธรรมเนียมความเชือ่ ทางศาสนาและท้องถิ่น เช่น จัดระบบศาลให้สอดคล้องกับหลักอิสลาม อยู่ในอ�ำนาจ ของ “โต๊ะกาลี” ผ่อนผันการเกณฑ์ทหารในมณฑลปัตตานี และท�ำนุบ�ำรุงเมืองให้เจริญ ทัดเทียมกลันตันและตรังกานู ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีกระแสของ การต่อต้านรัฐไทยขัน้ เจ้าพระยายมราชได้ให้สาเหตุของความไม่พอใจอันน�ำไปสูป่ ญ ั หา มณฑลปัตตานี พ.ศ.2465 ไว้เก้าประการ


อสมา มังกรชัย

ในกระบวนการพัฒนารัฐสมัยใหม่ของไทยสูค่ วามทันสมัยหรือความเป็นสมัยใหม่ เมือ่ ขยายเข้ามาในดินแดนแถบบริเวณมณฑลปัตตานี กลับกลายเป็นอ�ำนาจรัฐทีร่ กุ ราน วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ที่สงบสุขของประชาชน การเก็บภาษีอากรซึ่งเป็นตาน�้ำ หล่อเลี้ยงระบบราชการก็สร้างความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรอย่างมาก โดยเฉพาะ เมื่อเปรียบเทียบว่าในเขตการปกครองของอังกฤษไม่มีการเก็บภาษีที่มากเท่า ทั้งนี้ การเกณฑ์คนเข้ารับราชการเป็นต�ำรวจภูธร ท�ำให้เกิด การตื่นเต้น หลบหนี ด้วย ความไม่พอใจอยูพ ่ กั หนึง่ ประชาชนรูส้ กึ ถูกรบกวนเพราะในเขตอังกฤษไม่มกี ารเกณฑ์ ต�ำรวจ นอกจากนี้ ในการฝึกต�ำรวจมีปัญหาเรื่องของภาษา และการบังคับบัญชา ไม่เป็นที่ไว้ใจของประชาชน ในที่สุด เจ้าพระยายมราชได้ทูลเสนอให้ มณฑลปัตตานี เป็นมณฑลพิเศษ เลิกการเกณฑ์ต�ำรวจภูธร ให้ใช้การจ้างโดยการสมัคร ที่ส�ำคัญ ให้คละคนปะปนกันไปทั้งคนไทยและคนแขก

ความเป็นสมัยใหม่ในส�ำนึกแบบอาณานิคม

เมื่อการเข้ามาของจักรวรรดิอาณานิคม รัฐไทยได้มีการปรับตัวและรับมือกับ จักรรวรรดินิคมเหล่านี้ โดยเร่งรีบพัฒนาประเทศให้ทันสมัย โดยเริ่มจากหมู่ชนชั้นน�ำ บุคคลชัน้ สูงเป็นกลุม่ แรกทัง้ ในแง่ของการแต่งกาย การศึกษา ภาษา ความรู้ รวมกระทัง่ การบริหารระบบการปกครองและระบบราชการ ในยุคสมัยของการสร้างวัฒนธรรม แห่งชาติอย่างเข้มข้น กระบวนการสร้างวัฒนธรรมแห่งชาติ ในสมัยนโยบายของจอมพลป.พิบลู สงคราม เป็นการต่อสูก้ บั ตะวันตกในบรรยากาศของสงครามหาเอเชียบูรพา น�ำพาประเทศไปสู่ การเป็นอารยะเพื่อที่จะได้จับมือกับมหามิตรญี่ปุ่นก้าวขึ้นเป็นหนึ่งในฐานะประเทศ มหาอ�ำนาจ รอดจากการกลืนดินแดนของชาติตะวันตก อย่างไรก็ตาม ในกระบวนการ แห่งการเป็นอารยะนีก้ ค็ อื การเลียนอย่างตะวันตกในหลายๆ ด้าน เช่น การเรียกร้องให้ ผู้หญิงสวมหมวกและนุ่งกระโปรงแบบตะวันตก ให้รู้จักใช้ช้อนส้อม หรือ นโยบายและ การบังคับปฏิบตั ติ ามนโยบายรัฐนิยมอันประดิษฐ์สร้างความเป็นไทย ได้สร้างความขัดแย้ง ร้าสวฉานกับประชาชนมุสลิมในภาคใต้ เนื่องจากบังคับไม่ให้ผู้หญิงใช้ผ้าคลุมศีรษะ ผูช้ ายห้ามสวมโสร่งและใส่หมวกกะปิเยาะห์ โดยมีการใข้ความรุนแรงในการปฏิบตั กิ าร ของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ เช่น ไล่จับชาวบ้าน ท�ำร้ายร่างกาย ผู้หญิงถูกกระชากผ้าคลุม ศี ร ษะ ผู ้ ช ายถู ก กระชากหมวดกะปิ เ ยาะห์ นอกจากปั ญ หาเรื่ อ งการบั ง คั บ ขื น ใจ ทางวัฒนธรรมแล้ว ยังมีค�ำร้องเรียนและร้องทุกข์ในเรื่องความทารุณโหดร้ายและ การปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมเจ้าหน้าที่ไทย โดยเฉพาะต�ำรวจ

63


64

อาเซียนเสวนา

ภาพตัวแทนของต�ำรวจชายแดนใต้ : จาก “โต๊ะนา” ถึง “อันญิง ดาดู”

ประวั ติ ศ าสตร์ บ าดแผลหรื อ ความทรงจ� ำ ที่ เ จ็ บ ปวดของชาวบ้ า นในพื้ น ที่ สามจังหวัดชายแดนใต้ ส่วนใหญ่เป็นเรื่องความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับรัฐไทย ในความทรงจ�ำแก่มี “ต�ำรวจ” เป็นคูก่ รณีกบั ชาวบ้านอยูห่ ลายเหตุการณ์ เช่น เหตุการณ์ “กรณีบะลูกา-สาเมาะ” ที่เกิดขึ้นในปี 2490 ที่จังหวัดปัตตานี โดยต�ำรวจได้เข้าไป ในหมู่บ้าน สอบสวนทรมานชาวบ้านและกล่าวหาว่าชาวบ้านสมคบคิดกับโจร จากนั้น ได้เผาหมู่บ้านจนท�ำให้ชาวบ้าน 25 ครอบครัวไร้ท่ีอยู่อาศัย หรือ เหตุการณ์ดุซงญอ ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่เกิดขึ้นจากความเข้าใจผิดของรัฐอันน�ำไปสู่การใช้ ความรุนแรงกับประชาชน หรือเหตุการณ์ที่สะพานกอตอ ปี 2518 ที่ชาวบ้านถูกฆ่า และน�ำศพไปทิ้งที่สะพานกอตอ จ.นราธิวาส ซึ่งน�ำไปสู่การชุมนุมใหญ่ที่จ.ปัตตานี ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่าเป็นฝีมือของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ ในฐานะของเจ้าหน้าทีร่ ฐั ทีร่ ฐั เป็นผูใ้ ช้กลไกรัฐด้านการปราบปราม (repressive state apparatus) ในสถานการณ์ความรุนแรง ชาวบ้านนอกจากจะมองว่ารัฐกดขี่และ ไม่เป็นธรรมแล้ว เจ้าหน้าทีร่ ฐั ผูใ้ ช้อำ� นาจกดบังคับด้วยความรุนแรงก้เป็นผูก้ ดขีไ่ ม่เป็น ธรรมด้วยเช่นกัน ค�ำว่า “โต๊ะนา” หมายความว่า “เป็นนาย” ทัง้ นีค้ ำ� ว่า “โต๊ะนา” นอกจากมีนยั ของ ความเป็น “คนพุทธ” แล้วยังใช้เป็นค�ำสรรพนามบุรุษที่สามเมื่องต้องการอ้างถึงเจ้า หน้าทีข่ องรัฐในบริบทเชิงลบ กล่าวคือ ส�ำหรับสังคมมุสลิมบางกลุม่ นัน้ “นาย” ถูกจ�ำกัด ความหมายเฉพาะความเป็น ข้าราชการต�ำรวจและทหาร และในปัจจุบนั ค�ำว่า “โต๊ะนา” เป็นค�ำที่ค่อยๆ เลือนหายไปจากพื้นที่ ไม่ค่อยมีคนใช้หรือพูดค�ำนี้แล้ว ส่วนค�ำว่า “อันญิงดาดู” แปลว่า “หมาของต�ำรวจ” ที่ชาวบ้านใช้เรียกคนที่ชอบ น�ำข้อมูลไปให้ต�ำรวจ ซึ่งกลุ่มคนที่มีอคติรุนแรงต่อเจ้าหน้าที่รัฐหรือขบวนการของรัฐ มีการเกรียกต�ำรวจเป็นภาษามลายูว่า อันญิง ซึ่งเป็นค�ำด่า แปลว่า หมา ค�ำเรียกด่า ต�ำรวจว่า หมา เป็นสถานการณ์ไม่ปกติ สะท้อนถึงปัญหาอันเกิดจากสถานการณ์ความ ไม่สงบที่มีการให้ข่าวแก่ต�ำรวจโดยคนในพื้นที่ชุมชนเอง

เรือ ่ งเขาเล่ามาว่า “ต�ำรวจ” สัมพันธ์กบ ั โจร ผูม ้ อ ี ท ิ ธิพล และหัวคะแนน

ต�ำรวจมีความสัมพันธ์กบั โจรอย่างแนบแน่นในทัศนะและประสบการณ์ของชาว บ้าน ครั้งหนึ่งเพื่อนของผู้เขียนเล่าในสิ่งที่ถูกเล่าต่อจากพ่อของเอว่า


อสมา มังกรชัย

“สมัยที่คุณปู่ท�ำการค้า มีต�ำรวจมาข่มขู่เก็บเงิน สมัยนั้นพ่อยังเป็นเด็กแต่ ปัจจุบนั คุณพ่ออายุประมาณ 50 ปี ยังไม่คอ่ ยรูร้ ายละเอียด แต่จำ� ภาพได้ชดั คือ ต�ำรวจ มาที่บ้านและวางปืนบนโต๊ะแสดงการข่มขู่ปู่”

ต�ำรวจอาวุโสนายหนึง ่ ให้ขอ ้ มูลว่า

“สมัยก่อนมีการเรียกเก็บค่าคุ้มครองจากบริษัท ร้านค้า โรงงานต่างๆ ในพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนใต้ และมีกการเรียกเก็บกินค่าหัวคิว แบ่งเป็นเปอร์เซ็นตาก ค่าน�ำ้ ยาง ค่าขีย้ าง หากไม่มกี ารจ่ายให้กไ็ ม่สามารถเข้ามาซือ้ หรือน�ำของทีซ่ อื ออกจาก พื้นที่ได้ การเรียกเก็บค่าคุ้มครองนี้ท�ำโดยคนที่ตั้งตัวขึ้นเป็นนักเลงหัวไม้ ผู้มีอิทธิพล ในท้ อ งถิ่ น คนเหล่ า นี้ มั ก จะแสดงท่ า ที ว ่ า เป็ น “เด็ ก ของต� ำ รวจ” ด้ ว ยการแสดง ความสนิทสนมคุ้นเคยและไปกินเหล้าร่วมกับต�ำรวจ ท�ำให้ชาวบ้านคิดว่าคนพวกนี้ กับต�ำรวจสนิทกันจึงไม่กล้าแจ้งความ” ความสัมพันธ์กบั โจรและการเลีย้ งโจรของต�ำรวจเป็นปรากฎการณ์ทเี่ กิดขึน้ ด้วย หลายเหตุผล เหตุผลหนึ่งของต�ำรวจที่ท�ำหน้าที่ปราบปรามยาเสพติดก็คือ การเข้าไป ฝังตัวของต�ำรวจเพื่อสืบข่าวค้นหาหัวหน้ากลุ่มค้ายาเสพติดรายใหญ่ ต�ำรวจบางคน ยอมเอาตัวเข้าแลกเพื่อเข้ากลุ่มเสพยาจนติดยากเสียเองก็มี ต�ำรวจหลายคนบอกว่า ตนเองมีความจ�ำเป็นที่ต้องเลี้ยงคนหรือ “สาย” ที่เป็นคนติดยาหรือเป็นคนที่เคยต้อง โทษคดีมาก่อน เพื่อให้สืบข่าว สืบข้อมูลความเคลื่อนไหวต่างๆ ในพื้นที่ ต�ำรวจทีร่ ก ั

ต�ำรวจเป็นสิ่งที่อยู่ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้มาหลายสิบปี บางสถานี ต�ำรวจมีงานมวลชนต่อเนื่องกับประชาชน ประกอบกับการที่บางพื้นที่มีกองก�ำลัง ชาวบ้านรักษาความปลอดภัยของตนเอง การท�ำงานร่วมกันใกล้ชิดกับต�ำรวจได้ เป็ น กระบวนการที่ ท� ำ ให้ ประชาชนจ� ำ นวนหนึ่ ง กลายเป็ น มวลชนของรั ฐ ท� ำ ให้ มี การยอมรั บ ภาพของต� ำ รวจในแง่ มุ ม ที่ ต ่ า งออกไปจากพื้ น ที่ อื่ น เช่ น พื้ น ที่ ต� ำ บล อัยเยอร์เวง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา เสียงสะท้อนของประชาชนที่มีต่อต�ำรวจว่า “ถ้ากิจกรรมไหนมีตำ� รวจเข้าไปร่วมด้วย ประชาชนจะเกิดความอุน่ ใจ เพราะการคลุกคลี ที่เกิดขึ้นมีมาตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย” ความพึงพอใจของประชาชนที่อัยเยอร์เวงเกิดจาก

65


66

อาเซียนเสวนา

“การให้บริการ โดยเฉพาะการที่ต�ำรวจในทุกระดับชั้น ไม่ว่าจะป็นชั้นประทวนหรือ ชั้นที่สูงกว่า สามารถพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างชาวบ้านโดยไม่มีอคติ กับชาวบ้านเลย” วินัยและนาย : อ�ำนาจที่ไม่อาจต้านทาน

กระบวนการก่อนที่จะกลายเป็นต�ำรวจ จะต้องผ่านการฝึกอบรมของศูนย์ฝึก ต�ำรวจ ซึ่งผู้เข้าฝึกจะต้องถูกอบรมและทดสอบที่เป็นรูปแบบของการควบคุม (form of control) ที่ท�ำงานกับร่างกายผ่านมิติของการจัดเวลาและพื้นที่ และรูปแบบโครงสร้าง ขององค์กรต�ำรวจยังมีการสร้างวินยั เป็นแกนหลักขององค์กร โดยเฉพาะการจัดอันดับ ด้วยต�ำแหน่งและสายการบังคับบัญชา ที่มีความชัดเจนและแข็งตัวอันเป็นลักษณะ เฉพาะของหน่วยงานความมั่นคงและสถาบันเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ตามพรบ.ต�ำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 วินัย หมายถึง บรรทัดฐานของสังคม เครื่องก�ำกับความประพฤติของบุคคลบางหมู่บางคณะให้อยู่ในกรอบของความเป็น ระเบียบ กฎ ข้อบังคับ ค�ำสั่ง ซึ่งเป็นลายลักษณ์อักษรหรือขนบธรรมเนียมประเพณี วินยั ต�ำรวจเป็นหลักการความประพฤติของข้าราขการต�ำรวจตามแบบอย่างธรรมเนียม ของต�ำรวจ ซึ่งได้มีการก�ำหนดขอบเขตแบบอย่างธรรมเนียนมไว้ให้ถือปฏิบัติ วินยั ถือเป็นเครือ่ งมือของผูบ้ งั คับบัญชาในการใช้อำ� นาจตามกฎหมาย เพือ่ สัง่ การการบังคับบัญชาในการปฏิบัติราชการ โดยมาตรการทางวินัยจะถูกน�ำมาใช้เพื่อ ควบคุมความประพฤติให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามกฎหมายและค�ำสั่งของผู้บังคับ บัญชา และใช้ในการลงโทษผู้ฝ่าฝืนการใช้อ�ำนาจปกครองและบังคับบัญชาตามล�ำดับ การบังคับบัญชาต�ำรวจ สถานการณ์ชายแดนใต้ : ต�ำรวจ = อันตราย

ในกิ จ กรรมกระบวนการที่ ใ ห้ ต� ำ รวจถอดว่ า อะไรคื อ ความเสี่ ย งและความ ปลอดภัยในทัศนะของต�ำรวจ พบว่า “เครื่องแบบต�ำรวจ” (Uniform) ถูกใส่ไว้ในช่อง “ความเสีย่ ง” ของหลายกลุม่ การทีเ่ ครือ่ งแบบต�ำรวจกลายเป็นสัญลักษณ์ของอันตราย สืบเนื่องจากหลังสถานการณ์ความรุนแรงในปี พ.ศ.2547 ข้าราชการทหาร ต�ำรวจ กลายเป็นกลุ่มเป้าหมายของความรุนแรง ต�ำรวจในพื้นที่ถ้าไม่จ�ำเป็นหรือไม่ได้อยู่ใน ช่วงเวลาปฏิบัติงานก็จะไม่ส่วมเครื่องแบบ


อสมา มังกรชัย

เมื่อต�ำรวจกลายเป็นเป้าหมาย เป็นสิ่งอันตราย ชีวิตทางสังคมของต�ำรวจแม้ ในหลังเลิกเวลาปฏิบัติราชการ ต�ำรวจเกือบทุกนายระมัดระวังตนเองมากในการเดิน ทาง ต�ำรวจรายหนึ่งเล่าถึงนาทีเสี่ยงตายในตลาดเช้าว่า “ขณะซื้อปาท่องโก๋มีคนจะเข้าชาร์จจ่อยิง แต่เข้ารู้ตัวเสียก่อน จึงเลี่ยงออกมาได้หวุดหวิด” ต่อสู้ต่อรองด้วย “ศรัทธา”

ท่ามกลางความไม่ลงรอย หรือแม้แต่การปะทะขัดแย้งกันระหว่างความเป็น ต�ำรวจ หรือความคาดหวังจากการเป็นต�ำรวจและความเป็นมุสลิมมลายู มีต�ำรวจบาง นายที่ต่อสู้ต่อรองเพื่อรักษาสิ่งที่เขามองเห็นว่าเป็นความถูกต้องไว้ “เสียง” ที่ไม่อาจเปล่งเสียง

ต�ำรวจนายหนึ่งอนุญาตให้เขียนเรื่องราวของเขาผ่านการให้ข้อมูลกับคนกลาง ที่เขาไว้ใจ เขายินยอมเผยเรื่องราวของตนเองแต่ไม่ปราถนาจะเผยตัวตนกับผู้วิจัย

ต�ำรวจรายนี้เล่าผ่านคนกลางว่า

“เขาเป็นต�ำรวจทีมเดียวกับจ่าเพียร (จ่าสมเพียร เอกสมญา) ในช่วงท้ายของ ชีวิตราชการถูกไล่ล่า เคยมีการยิงปะทะถึงสองครั้ง ในการปะทะกันครั้งหนึ่งเขาถูก เศษกระจกบาดตาบอดและสู ญ เสี ย นิ้ ว ชี้ ข วา ซึ่ ง ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ การเหนี่ ย วไกปื น เขาเข้าใจว่าตนเองถูกก�ำจัดจากคนในหน่วยงานเดียวกัน เนื่องจากเขาได้ท�ำเรื่อง ร้องเรียนผู้บังคับบัญชาว่าปฏิบัติหน้าที่ผิดจรรยาบรรณด้วยการจ่อยิงลูกเมียของ ผู้ต้องสงสัยรายหนึ่ง เขาใช้ค�ำว่า “อ�ำนาจรัฐกลายเป็นโจรเสียเอง” เขายอมรับว่า หลายต่อหลายครั้งที่เขาเองท�ำสิ่งที่ผิดกับชาวบ้าน เขากล่าวว่า “บ้างานเกินไป ท�ำให้ผิดอุดมการณ์โดยไม่รู้ตัว”

67


68

อาเซียนเสวนา

“ตราประทับ” ของต�ำรวจ

แม้อดีตต�ำรวจบางนายจะแสดงตนเป็นผูร้ กั แผ่นดิน เช่น เข้าร่วมการเคลือ่ นไหว กับชาวบ้านประท้วงกรณีทหารพรานช�ำเรามุสลีมะห์ (หญิงมุสลิม) แต่ก็ไม่ได้เป็น ที่ยอมรับมากนัก เนื่องจากถูกประทับตราว่าเป็น “ต�ำรวจ” ซึ่งห่างไกลจากอุดมคติ และความปกติของวิถีชีวิตชายแดนใต้ อัตลักษณ์ของต�ำรวจมลายูซึ่งมีลักษณะผสมผสานระหว่างสัญลักษณ์ของรัฐ (ความเป็นต�ำรวจ) และความเป็นวัฒนธรรมท้องถิน่ มลายู ท�ำให้สถานะของต�ำรวจมลายู มีความเป็นชายขอบจากทัง้ สองกลุม่ วัฒนธรรมหรือสัญลักษณ์ พวกเขาถูกประทับตรา (Stigmatize) จากองค์กรเพราะความต่างและความไม่น่าไว้วางใจในความภักดี ต่อองค์กร ขณะเดียวกันในกลุ่มผู้ที่มีแนวคิดต่อต้านรัฐ พวกเขาก็ถูกประทับตราว่า เป็นตัวแทนรัฐ คู่ขัดแย้งกับความเป็นธรรมในสังคม การหมายและอ้างอิงตนเองกับ พื้นที่และสัญลักษณ์ที่ขัดแย้งกัน ท�ำให้วิธีการผดุงตัวตนของพวกเขามีความแตกต่าง กัน ต�ำรวจมลายูบางคนเรียนรูท้ จ่ ะใช้รหัสวัฒนธรรมกับผูบ้ งั คับบัญชาทีม่ าจากภาคใต้ ตอนบนด้วยการใช้ภาษาถิ่นใต้บางคนกลบเกลื่อนอัตลักษณ์มุสลิมด้วยการไม่ไป ละหมาด ต�ำรวจนายหนึ่งให้ข้อมูลว่า “ในการฝึกพลของเขา รุ่นของเขามีนักเรียนพล 124 คน ในจ�ำนวนนี้มีต�ำรวจมุสลิม จ�ำนวน 24 คน มีผู้ละหมาดเพียง 6 คนเท่านั้น” บทส่งท้าย

“ต�ำรวจมุสลิมมลายู” คือ ลูกผสมของสภาวะความเป็นสมัยใหม่ไทยทีม่ ลี กั ษณะ แบบอาณานิคม (Colonial modernity) เมื่อองค์กรต�ำรวจถือก�ำเนิดขึ้นมาพร้อมกับ กระบวนการสร้างรัฐชาติและพัฒนารัฐไทยสูค่ วามเป็นสมัยใหม่ ท่ามกลางสถานการณ์ การรุกเข้าครอบครองดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของมหาอ�ำนาจจักรรวรรดิ นิยมและการพยายามดิ้นรนรักษาอ�ำนาจรัฐของชนชั้นน�ำไทย ต�ำรวจภูธรในฐานะสถาบันอันเป็นกลไกของรัฐไทยได้ขยายหยั่งรากลงไป ในท้องถิ่น “ต�ำรวจมุสลิมมลายู” ถือก�ำเนินในรัฐไทยด้วยพัฒนาการดังกล่าวนี้


อสมา มังกรชัย

กิจการต�ำรวจภูธร ณ มณฑลปัตตานีในฐานะกลไกรัฐไทย เติบโตไปพร้อมๆ กับการท�ำงานของสถาบันรัฐอื่นๆ ในพื้นที่ไทย-มลายูแห่งนี้ กระบวนการสร้างรัฐชาติ อันประกอบด้วยการสร้างวัฒนธรรมของชาติ ความเป็นชาตินยิ ม และการพัฒนาให้เป็น สมัยใหม่ ได้สร้างประวัติศาสตร์บาดแผลจากความขัดแย้ง ความรุนแรง และความไม่ เป็นธรรม ซึ่งถูกผลิตซ�้ำตลอดช่วงเวลานับร้อยปีที่ผ่านมา หาก “พื้นที่” และ “ตัวตน” ของต�ำรวจมุสลิมมลายูพอจะสะท้อนความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐไทยและพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ได้บ้าง จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์ ระหว่ า งรั ฐ ไทยและพื้ น ที่ มี ห ลายหน้ า และระนาบของความสั ม พั น ธ์ เคลื่ อ นไหว เปลี่ยนแปลงไปตามโครงสร้างอ�ำนาจและกลไกของรัฐ โต้ตอบและต่อรองด้วยวิถีชีวิต และวัฒนธรรมถิ่น “ต� ำ รวจมุ ส ลิ ม มลายู ” เป็ น ดั่ ง รอยตะเข็ บ ระหว่ า งกลางของสองพื้ น ที่ แ ห่ ง ความขัดแย้งหรือแตกต่างทางสัญลักษณ์ อาจจะเป็นรอยตะเข็บหรือบาดแผลระหว่างกัน ภายใต้การสวมใส่ “สัญลักษณ์” ที่อาจจะปะทะขัดแย้งกัน มีเลือดเนื้อระอุอุ่นอยู่ในนั้น และไม่ว่าโครงสร้างของระบบสภาวะแวดล้อมจะเป็นเช่นไร ชีวิตของปัจเจกบุคคล ต่างโลดแล่น ดิ้นรน ต่อสู้ต่อรองอยู่ภายในข้อจ�ำกัดของโครงสร้างเสมอ บ้างผลักไส บางอย่างออกไป และบ้างฉวยดึงบางอย่างเข้ามา การจะผลักหรือดัง ปฏิเสธหรือรับ กระทัง่ สร้างใหม่ ล้วนแล้วแต่เกิดจากการตีความสัญลักษณ์และการให้ความหมายทัง้ สิน้

69


70

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 67


เกลียดชังช�วจีนที่ทวีคว�มรุนแรงม�กขึ้น จนกระทั่งก�รเผ�โรงง�นจีนในนิคมอุตส�หกรรมท�งภ�คใต้ของ เวียดน�ม มรกตวงศ์ ภูมิพลับ 71 ประเด็นนำ�เสนอครั้งนี้จะให้ส�ระไปที่กระบวนก�รกล่อมเกล�ในก�รสร้�งสำ�นึกช�ตินิยมของ รัฐต่อประช�ชนเวียดน�ม มุมมองของเวียดน�มต่อก�รอ้�งกรรมสิทธิ์เหนือหมู่เก�ะที่เป็นข้อพิพ�ทในทะเล ตะวันออกผ่�นก�รฉ�ยภ�พเหตุก�รณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันผ่�นข้ออ้�งท�งประวัติศ�สตร์ ตลอดจนผลจ�ก ก�รปลุกกระแสช�ตินิยมซึ่ง(อ�จ)นำ�ไปสู่ “ก�รคลั่งช�ติ” ได้

จากชาตินิยม (Nationalism) สู่ลัทธิคลัง่ ชาติ (Chauvinism) ? : การสร้างส�ำนึก บทนำา อนแรงกรณี พิพ�ทก�รยื ยันอำ�น�จอธิปอ ไตยเหนื ่เก�ะพ�ร�เซล (Paracels สมบั ติแคว�มร้ ห่งชาติ ของเวี ยนดนามต่ หมูอ่เหมูกาะในทะเลจี นใต้ is-

lands) และหมู่เก�ะสแปรตลีย์ (Spratly islands) ในทะเลจีนใต้ระหว่�ง 6 ประเทศ ได้แก่ จีน ไต้หวัน เวียดน�ม ฟิลิปปินส์ ม�เลเซีย และบรูไน เป็นปัญห�ที่สม�ชิกประเทศในอ�เซียนต่�งตั้งคำ�ถ�ม กังวล มรกตวงศ์ มิพลับ นเอกภ�พของครอบครัวอ�เซียนหรือไม่ ค�ดหวัง ว่�จะก่อให้เกิดปัญห�ในคว�มเข้ มแข็งภูและคว�มเป็ โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งเมื่อเรื่องดังกล่�วมีจีนซึ่งเป็นมห�อำ�น�จยักษ์ใหญ่เข้�ม�เกี่ยวข้องและพย�ย�มจะ อ้�งกรรมสิทธิ์เหนือพื้นที่ในทะเลจีนใต้แทบทั้งหมดที่สำ�คัญคือจีนมีก�รใช้ยุทธศ�สตร์อำ�น�จแบบแข็ง (hard power) และอำ�น�จละมุน (soft power) กับประเทศคู่กรณีรวมถึงประเทศสม�ชิกอื่นๆ ในอ�เซียน เจื่อ งซาและหว่ างซา จ�กมุมมองของเวียดน�ม ทั้งหมู่เก�ะพ�ร�เซลและสแปรตลีย์ต่�งมีชื่อเรียกเป็นภ�ษ�เวียดน�ม �งซ� (Hoàng Sa) และ เจื่องซ� (Trường Sa) ยต�มลำ �ดับ ซึน่งใต้ ห�กพิ งพิกัดม ที่ ่ตเี กาะเล็ ั้งทั้งสองหมู ว่� หว่หมู เ่ กาะพาราเซลและหมู เ่ กาะสแปรตลี ใ์ นทะเลจี เป็จน�รณ�ถึ หมูเ่ กาะที ก่ เก�ะตั้งอยู่ท�งด้�นตะวันออกตลอดช�ยฝั่งของประเทศเวียดน�ม ซึ่งหม�ยถึงก�รตั้งอยู่ในทะเลจีนใต้ อนึ่ง เกาะน้อยอยู่ในบริเวณเดียวกันเป็นจ�ำนวนมาก ชาวเวียดนามมีชื่อเรียกว่า เจื่องซา ในมุมมองทั้งภ�ครัฐและประช�ชนของเวียดน�มจะไม่เรียกดินแดนท�งทะเลนี้ว่� “ทะเลจีนใต้” ห�กแต่จะ (หมูเรี่เยกาะสแปรตลี และ หว่ างซาĐông (เบี (หมู่เกาะพาราเซล) ซึ ดนามไม่นองซึิยมเรี ยก ง กว่� “ทะเลตะวั)นออก หรื อ Biển ่ยน ดง)” ด้วยเหตุผลว่�่งด้ชาวเวี วย นัยยยะท�งก�รเมื ่งหม�ยถึ พื้นก�รยอมรั ที่ทางทะเลว่ นใต้” เนื้ง่อเรีงจากมี นัยแสดงความเป็ น ดังนั้น บเอ�จีนาเป็“ทะเลจี นศูนย์กล�งในก�รตั ยกชื่อ ท�งก�รเวี ยดน�มจึงเล็งนเห็เจ้นาว่�ของของจี เพื่อสร้�งคว�มชอบธรรม ชาวเวี ยดนามจึดงยืได้ ิยามทะเลในแถบนี นออกเวี และก�รแสดงจุ นจึนงควรถื อเอ�เวียดน�มเป็นศู้วน่าย์ก“ทะเลตะวั ล�งและนับทะเลนั ้นไปด้ย�ดนาม” นทิศตะวันเพื ออก ่อบ่อีงกบอก แง่หนึ่ง ว่�เป็น้เก�รบ่ งบอกว่ �พื้นที่ท�งทะเลนี ้เป็นอธิหรื ปไตยของเวี ลิปปิ้นส์ทีซ่ ึ่ง ถึงพือ�จตี ้นทีค่ทว�มได้ างทะเลนี ป็นอธิ ปไตยของเวี ยดนาม อทางด้ยาดน�ม นฟิลิปอย่ ปิน�งไรก็ ส์ได้ตน�มฟิ ิยามพื เป็นอีกหนึ้ว่งคู่า่กรณี ก็ได้กำ�หนดชื ่อเรียกว่ ลิปปินส์หตลัะวักนการเดี ตก (West เช่นเดียวกั ทางทะเลนี “ทะเลตะวั นตกฟิ ลิป� ปิ“ทะเลฟิ นส์” โดยใช้ ยวกัPhilippine นกับเวียSea)” ดนามและจี นบ เวียดน�ม

แผนที ่เก�ะพ�ร�เซลและหมู่เก�ะสแปรตลี ย์ ย์ แผนที ่หมู่ห่เมูกาะพาราเซลและหมู ่เกาะสแปรตลี

กรณีพิพาทประเด็นหมู่เกาะพาราเซลและหมู่เกาะสแปรตลีย์ จะมีคู่กรณีอยู่ 6 ประเทศ คือ จีน ใต้หวัน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และบรูไน ทุกประเทศต่าง ใช้หลักการข้อกฎหมายสากลในการแสดงความเป็นเจ้าของพื้นที่ทางทะเลที่ไม่เกิน 200 ไมล์ทะเล เมื่อลากเส้นพื้นที่ทางทะเลไม่เกิน 200 ไมล์ทะเลแล้วทุกประเทศ


72

อาเซียนเสวนา

จะไม่ได้หมู่เกาะพาราเซลและหมู่เกาะสแปรตลีย์เต็มจ�ำนวน แต่จะได้เพียงส่วนหนึ่ง เท่านั้น ส่วนประเทศที่น่าจะได้มากที่สุดหลังจากการลากเส้นพื้นที่ทางทะเลแล้ว คือ ฟิลปิ ปินส์ ทีจ่ ะได้พนื้ ทีท่ างทะเลมากทีส่ ดุ แต่ประเทศคูก่ รณีตา่ งไม่ยอมรับเนือ่ งจาก พื้นที่ทางทะเลนี้มีทรัพยากรธรรมชาติที่มีมูลค่ามหาศาล เช่น น�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ อยู่อย่างหนาแน่น จึงท�ำให้ประเทศคู่กรณีทั้ง 6 ประเทศต่างไม่ยินยอมและพร้อมที่ จะแย่งชิงพืน้ ทีเ่ พือ่ ผลประโยชน์ของประเทศตนเอง แต่หวั ใจส�ำคัญของปัญหาข้อพิพาท ไม่ได้อยู่เพียงแค่ความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติเท่านั้น แต่ยังรวมถึง ประเด็นด้านยุทธศาสตร์ทางการเมืองหรือความมั่นคงระดับประเทศ ซึ่งทางเวียดนาม ได้มีความกังวลว่าหากประเทศคู่กรณีใดประเทศหนึ่งสามารถยึดพื้นที่ทางทะเลจีนใต้ ได้(ตามชื่อสากล) จะมีความได้เปรียบทางการเมืองเป็นอย่างมากและส่งผลกระทบ ต่อความมั่นคงต่อประเทศใกล้เคียงโดยเฉพาะประเทศเวียดนาม เนื่องจากเวียดนาม มีความกังวลทีพ ่ เิ ศษมากกว่าประเทศคูก่ รณีอนื่ ตรงทีล่ กั ษณะภูมปิ ระเทศของเวียดนาม มีลักษณะเป็นรูปตัว S ยาวลงมาตามทะเลจีนใต้ ไม่มีความกว้างของประเทศมากนัก ดังนั้นแล้วหากประเทศใดสามารถยึดครองพื้นที่เกาะพาราเซลและหมู่เกาะสแปรตลีย์ ได้สามารถที่จะสอดส่องหรือตรวจตราพื้นที่ภายในประเทศเวียดนามได้ทั้งประเทศ ลัทธิชาตินิยมกับการสร้างชาติ

ลัทธิชาตินิยมของความสร้างชาติจะเกิดขึ้นพร้อมกับความรักชาติ (Patriot) แต่หากว่ามีความรักชาติเกินพอดี เมื่อเกิดสถานการณ์บางอย่างขึ้นแล้วโดนกระทบ ต่อความรู้สึกทางความเชื่อหรือจิตใจ เช่น การสูญเสียระดับประเทศ การคุกคามจาก ภายนอกประเทศ ส่งผลท�ำให้ความรักชาติอาจกลายเป็นความคลัง่ ชาติ (Chauvinism) ได้ ซึ่งรัฐบาลหรือพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม มีความสามารถที่จะโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) ประชากรของตัวเองอย่างเข้มข้น กระบวนการชาตินิยมและส�ำนึก ความเป็นชาติของเวียดนามตื่นตัวอย่างมากในช่วงที่ฝรั่งเศสปกครองเวียดนาม ที่ได้เคลื่อนไหวปลุกส�ำนึกความเป็นกลุ่มก้อน หรือ ส�ำนึกความเป็นชาวเวียดนาม ในทัศนะคติของชาวเวียดนามทีม่ ตี อ่ โฆษณาชวนเชือ่ ไม่ได้เป็นไปในเชิงลบ แต่กลับเป็น ในเชิงบวกมากกว่า ชาวเวียดนามมีแนวความคิดว่าการโฆษณาชวนเชื่อนั้นเป็น เครือ่ งมือหรือกลไกทีส่ ำ� คัญในการสร้างความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันของชาวเวียดนาม ผ่านชุดความเชื่อทางประวัติศาสตร์อันเดียวกัน คือ ลูกมังกรหลานนางฟ้า และ ผ่านการศึกษาประวัติศาสตร์ของชาติในแบบเรียนที่ผ่านการจัดการมาแล้ว และมี การรวมศูนย์ทางประวัติศาสตร์เพื่อง่ายต่อการเขียนประวัติศาสตร์ใหม่และง่ายต่อ


มรกตวงศ์ ภูมิพลับ

การจัดการประวัติศาสตร์ของเวียดนาม ที่ส�ำคัญประวัติศาสตร์ชาติเวียดนามไม่เปิด พื้ น ที่ ข องการศึ ก ษาและจดจ� ำ ให้ กั บ ประวั ติ ศ าสตร์ ข องท้ อ งถิ่ น หรื อ กลุ ่ ม ชน เช่ น เวียดนามได้เขียนประวัติศาสตร์เกี่ยวกับชนแขมร์ที่อยู่ทางตอนใต้ของเวียดนาม ว่า “เดิมที่พื้นที่ทางใต้เป็นอาณาจักรจ�ำปา โดยเวียดนามไม่ได้เข้าไปรุกรานพื้นที่ แต่ อ ย่ า งใด แต่ เ ป็ น ผลของความสั ม พั น ธไมตรี อั น ดี ร ะหว่ า งกั น ผ่ า นการแต่ ง งาน ของเจ้านายชัน้ สูง แล้วกษัตริยท์ างจ�ำปาได้ยกพืน้ ทีส่ ว่ นนีใ้ ห้เป็นของขวัญการแต่งงาน” หากย้อนเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ระหว่างเวียดนามกับจ�ำปา ล้วนแล้ว ต่างมีสงครามระหว่างกันเกิดขึน้ ในพืน้ ทีแ่ ต่กลับเขียนประวัตศิ าสตร์ในทิศทางตรงกันข้าม ดังนั้นการเขียนประวั ติห�กย้ ศาสตร์ เช่นนีติศ้ย�สตร์่อระหว่ มเกิ ขึ้นบจำจากการจั การทางประวั ติศาสตร์ อนเรื่องร�วท�งประวั �งเวียด ดน�มกั �ป� ล้วนแล้วต่�งมีสด งคร�มระหว่ �ง กันเกิดขึ้นในพื้นที่แต่กลับเขียนประวัติศ�สตร์ในทิศท�งตรงกันข้�ม ดังนั้นก�รเขียนประวัติศ�สตร์เช่นนี้ย่อม ของเวียดนาม เกิดขึ้นจ�กก�รจัดก�รท�งประวัติศ�สตร์ของเวียดน�ม อาเซียนเสวนา | 71

รูปภาพหมู่เกาะพาราเซลและสแปรตลีย์ ที่แสดงการอยู่อาศัยบนและสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่เกาะ

รูปภาพหมู ่เกาะพาราเซลและสแปรตลีย์ ที่แสดงการอยู่อาศัยบน “หว่างซา (พาราเซล)” และ “เจื่องซา (สแปรตลีย์)” จากมุมมองของเวียดนาม คว�มรับรู้สถ�นะหมู่เก�ะพ�ร�เซลและสแปรตลีย์ในอดีตและปัจจุบันนั้นแตกต่�งกันม�ก และสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่เกาะ จ�กหลักฐ�นท�งประวัติศ�สตร์ของเวียดน�มนั้นก่อนก�รขย�ยตัวของลัทธิล่�อ�ณ�นิคมภ�ยใต้ก�ร ปกครองของร�ชวงศ์สุดท้�ยคือร�ชวงศ์ เหงวียนได้บันทึกถึงภ�พจำ�ของพื้นที่ท�งทะเลบริเวณนี้ว่�เป็น

“พื้นที่อันตร�ย” สำ�หรับนักเดินเรือเนื่องจ�กพื้นที่มีหินโสโครกม�ก ทั้งยังมีลมมรสุมที่รุนแรง เรือเดินสมุทร พาราเซลและสแปรตลี ย์จากมุมมองของชาวเวียดนาม หล�ยต่อหล�ยลำ�ไม่ว่�จะเป็นของเวียดน�มหรือรัฐอื่นๆ ที่ผ่�นเข้�ม�ต้องอับป�งลงบริเวณนี้ นักเดินเรือ

หลีกเลี่ยงจะเดินเรือเข้�ไปบริเวณนี้ แต่ในปัจจุบันพื้นที่บริเวณนี้กลับ “เนื้อหอม” ถูกรุมเยื้อแย่งจ�กหล�ย

ช�ติที่ตั้งอยู่ร�ยล้อมเนื่องด้วยก�รให้ค่�เรื่องเขตแดน (territory) กอปรกับเมื่อมนุษย์รู้จักก�รใช้ประโยชน์ สถานะหมู่จะน้ เกาะพาราเซลและสแปรตลี ย์ในอดีทต�งทะเลอั และปั จ�จุงมูบลค่ั�นมีการมองพื้นที่นี้ ำ�มันและก๊�ซธรรมช�ติและบริเวณนี้เป็นพื้นที่ท่ีมีทรัพย�กรธรรมช�ติ นจะสร้ มห�ศ�ลท�งเศรษฐกิจรวมทั้งเหตุผลท�งยุทธศ�สตร์ด้�นก�รเมืองคว�มมั่นคง แตกต่างกัน ในอดีตได้มองพื้นที่ตรงนี้เป็นพื้นที่อันตรายส�ำหรับนักเดินเรือเนื่องจาก เวียดนามทำ างกรรมสิ ของหมู ่เกาะจ?จุบันนี้ต่างมองพื้นที่ตรงนี้ พื้นที่มีหินโสโครกมาก ทัรัฐบ�ลเวี ้งาอย่ยังายงไรในการอ้ มีดน�มอ้ ลมมอรสุ มทีทธิ่ร์คุนวามเป็ แรงนเจ้าแต่ ในปั �งกรรมสิทธิ์โดยอิงจ�กหลักฐ�นท�งประวัติศ�สตร์ไม่ว่�จะเป็นแผนที่ และพระร�ชพงศ�วด�รที่บันทึกเกี่ยวกับหมู่เก�ะทั้งสอง โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งก�รเข้�ไปใช้ เป็นพื้นที่ของทรัพจดหม�ยเหตุ ยากรธรรมชาติ หรือ ทรัพยากรทะเล ที่มีค่า ทั้งเป็นพื้นที่ส�ำคัญ ประโยชน์และสำ�รวจว่� หมู่เก�ะทั้งสองสภ�พท�งภูมิศ�สตร์ก�ยภ�พเป็นอย่�งไร พืชพรรณและสัตว์ ชนิ ด ใดบ้ � ง ซึ ง ่ ส่ ว นม�กเป็ น หลั ก ฐ�นของร�ชวงศ์ dynasty) ของเวี ยดน�ม นอกจ�ก ทางยุทธศาสตร์การเดิ นเรือและยุทธศาสตร์เหงวีดยน (Nguyễn ้านการเมื องความมั ่นคง นี้ยังมีก�รระบุถึงก�รใช้ประโยชน์ท�งก�รค้�ว่�ร�ชวงศ์เหงวียนได้ก่อตั้งบริษัทหว่�งซ�คอมป�นี ตรง พื้นที่นี้เพื่อที่จะจัดก�รขนส่งสินค้�ระหว่�งหมู่เก�ะนี้และแผ่นดินใหญ่

เวียดนามท�ำอย่างไรในการอ้างกรรมสิทธิ์ความเป็นเจ้าของหมู่เกาะ ?

เวียดนามได้นำ� หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ (รูปภาพอักษรจีนโบราณ) ซึง่ เป็นหลักฐาน ของราชวงศ์เหงี้ยนของเวียดนาม ระบุไว้ว่า หมู่เกาะบริเวณนั้นมีอะไรบ้าง มีพืชพันธ์ อะไรบ้าง รวมถึงราชวงศ์เหงี้ยนได้ก่อตั้งบริษัทหว่างซา คอมปานี ตรงพื้นที่นี้ เพื่อที่ จะจัดการขนส่งสินค้าระหว่างหมู่เกาะนี้และแผ่นดินใหญ่

73


74

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 72

อาเซียนเสวนา | 72

่สมั”ยกระบวนการกล่ ราชวงศ์เหงวียนทีอ่ปมเกลาและสร้ รากฏว่ามีหมู่เกาะทั ่ ยดนาม “สมบัติขแผนที องชาติ างส�ำนึ้งสองปรากฏอยู กชาตินิยมในเวี กษณ์ อย่างหนึ่งของการสร้ างชาตินิยามเวี โปสเตอร์ “สมบัตเอกลั ิของชาติ ” กระบวนการกล่ อมเกลาและสร้ งสำายนึดนาม กชาติคืนอิยมในเวี ยดนาม แผนที่สมัยราชวงศ์เหงวียนที่ปรากฏว่ามีหมู่เกาะทั้งสองปรากฏอยู่ “สมบัติของชาติ” กระบวนการกล่อมเกลาและสร้างสำานึกชาตินิยมในเวียดนาม

โฆษณาชวนเชื่อที่มีรูปทหารเรือเป็นองค์ประกอบสำาคัญ โปสเตอร์โโปสเตอร์ ฆษณาชวนเชื ่อที่มีรูปทหารเรือเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ โฆษณาชวนเชื เป็นองค์ปยตและจี ระกอบสำ าคัประกอบศิ ญ ลปะ โปสเตอร์ โปสเตอร์ โฆษณ�ชวนเชื่อนี้ไ่อด้รทีับ่มอิทีรธิูปพทหารเรื ลม�จ�กทัอ้งสหภ�พโซเวี น องค์ แบบสังคมนิยม โทัฆษณาชวนเชื ้งสไตล์ ก�รใช้สี องค์ป่ อระกอบของรู และก�รใช้ ลิต โปสเตอร์ นี้ ไ ด้ รั บปภ�พที อิ ท ธิ่ใช้พในโปสเตอร์ ลมาจากยุ ค สัภง�ษ�ที คมนิ่จะใช้ยผมโซเวี ยต ซึ่งโปสเตอร์ โปสเตอร์ ด้ ร บ ั อิ น องค์ ป ระกอบศิ ซ้ำ�ให้ช�วเวีโฆษณ�ชวนเชื ยดน�มมีคว�มส�มั่อคนีคี้ไ รวมพลั งท ต่อธิสูพ้เพืลม�จ�กทั ่อเอ�ชนะศัตรู้งทสหภ�พโซเวี ี่ม�รุกร�น ในกรณียขตและจี องหมู่เก�ะพ�ร�เซล จะมียอ์นั้นงค์ ป�รใช้ ระกอบศิ ลปะแบบสั งคมนิ ยม พความส� ำคัญ่งอีถือกเป็ประการจะอยู ่ ลปะ และสแปรตลี ก็ ม ก ี อ งค์ ป ระกอบที ส ่ � ำ คั ญ เป็ น ทห�รเรื อ กองทั เรื อ ของเวี ย ดน�มซึ น กองทั พ แบบสัทีง่ปคมนิ ยม ทั้งอสไตล์ สี องค์ประกอบของรูปภ�พที่ใช้ในโปสเตอร์ และก�รใช้ภ�ษ�ที่จะใช้ผลิต ระโยคหรื ที ่ใอก�รใช้ ช้ดีตใจนถึ นโปสเตอร์ ที่แข็งแกร่งค�ตัำ้งแต่ งปัจจุบัน และองค์ประกอบของรูปภาพที่ใช้ในโปสเตอร์ การใช้ ซ้ำ�ให้ช�วเวียดน�มมี คด้ว�มส�มั คคี รวมพลั งต่ยอดน�ม ้เพื่อเอ�ชนะศั รูท�งชัี่ม�รุ ของหมู่เก�ะพ�ร�เซล �นนโยบ�ยท�งภ�ครั ฐของเวี ได้กำ�หนดขึ ้นอย่ ดเจน นโยบ�ยท�ง ค�ำจะใช้ เพือ่ แนะน� ำให้ชาวเวี ยดนามมี คสูวามสามั คคี ตรวมพลั งกต่ร�น ในกรณี อสูโดยมุ เ้ พือ่งให้เอาชนะศั ตรูทมี่ า และสแปรตลียวัฒ์นนธรรมเป็ ั้นก็มีก�รใช้ องค์่ใปช้กระกอบที ่สำ�คัญเป็นทห�รเรื�ได้อท ุกกองทั ยดน�มซึ ่งถือเป็นกองทัพ นนโยบ�ยที ล่อมเกล�ประช�ชนและส�ม�รถทำ รูปแบบ พเรื เช่นอ ของเวี ทำ�ส�รคดี ผ่�นร�ยก�ร รุกราน หรือศแม้ แ�ค่ต่�รยเย�วชนพรรคคอมมิ ปู ภาพทีใ่ ช้จะต้องมีสว่ นประกอบทีส่ ำ� คัญเป็นทหารเรือ กองทัพเรือ ที่แข็งแกร่งตั้งโทรทั แต่อดีน์ ตทำจนถึ งปัจจุบัน วนิสต์เวียดน�ม ทำ�เพลงชุดสมบัติของช�ติ ทั้งยังบรรจุแบบเรียนท�ง ของเวียภูดนามถื อเป็นตกองทั ข็งแกร่งของเวียดนามมาตั ดีตแต่จนถึ ปังจสืจุอ บัน มิศ�สตร์และประวั ิศ�สตร์ทพ ี่มีหทีมู่แ ่เก�ะพ�ร�เซลและ สแปรตลี ย์เข้�ไปในบทเรี้งยแต่ น หรืออแม้ ก�รทำ�งหนั ด้�ก�ร์นนโยบ�ยท�งภ�ครั ของเวี ยดน�ม ได้กำ�ย์ หนดขึ ้นเอย่ �งชัดเจน ทำ�คว�มรู โดยมุ้จัก่งได้ให้นโยบ�ยท�ง ตูนที่สอดแทรกเนื้อห�เกี่ยฐวกั บเก�ะพ�ร�เซลและสแปรตลี เพื่อให้ ด็กและเย�วชนได้ ้น หรือมี่ใกช้�รนำ ท่องเที่ยวทีฐ่เป็บาลพรรคคอมมิ นประช�ชนเวียดน�มเท่�วนันิ ้น� สได้ ห้ต์ �ท มนั งเที ่ยวช�วต่ �ส�รคดี ไปท่อง ้นผอย่ วัฒนธรรมเป็ นด้ง่�นโยบ�ยที กล่�นัอกมเกล�ประช�ชนและส�ม�รถทำ แบบ เช่ได้�นงช�ติ ่�นร�ยก�ร ายขึนนโยบายทางภาครั เวีุกกรูยท่ปอดนาม ก �ำทำหนดขึ าง เที ย ่ วในพื น ้ ที เ ่ ก�ะพ�ร�เซลและสแปรตลี ย ์ เพื อ ่ เป็ น ก�รประช�สั ม พั น ธ์ ร วมถึ ง ให้ ป ระช�ชนช�วเวี ย ดน�มได้ โทรทัชัศดน์ เจน ทำ�ค่�โดยมุ ยเย�วชนพรรคคอมมิ วนิสต์เฒ วียนธรรมเป็ ดน�ม ทำ�เพลงชุ ดสมบัติข่ใช้องช�ติ ทั้งยังบรรจุแบบเรียนท�ง ่งให้นโยบายทางวั นนโยบายที กล่อ มเกลาประชาชน เล็งเห็นถึงคว�มสำ�คัญของพื้นที่ที่เป็นส่วนหนึ่งของคว�มเป็นช�ติ อีกทั้งมีก�รทำ�พิธีท�งคว�มเชื่อประจำ�ปี ภูมิศและสามารถท� �สตร์และประวั �สตร์ มู่เนก�ะพ�ร�เซลและ สแปรตลี ย์เข้�ไปในบทเรี ำิศได้ ทุกทรูี่มปบีหแบบ เช่นฐบ�ล ท�ำเพืสารคดี ผ่ารนรายการโทรทั ศยน์น หรืท�ออำทีแม้ โดยได้รับตงบประม�ณสนั สนุ จ�กท�งรั ่อบูช�บรรพบุ ุษและดวงวิ ญญ�ณของทห�รเรื ่เค่สียาชีแยเยาวชน วต่ิตก�รทำ�หนังสือ จ�กภ�รกิ จ ต่ � งๆ ทั ง ้ ในอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บ น ั อั น เป็ น ก�รทำ � ให้ ป ระช�ชนรู ถ ้ ง ึ คว�มเสี ย สละ คว�มกล้ � ห�ญของ ก�ร์ตพรรคคอมมิ ูนที่สอดแทรกเนื บเก�ะพ�ร�เซลและสแปรตลี ์ เพื่อให้ทัเ้งด็ยักงและเย�วชนได้ คว�มรู้จักได้ วนิ้อสห�เกี ต์เวี่ยยวกัดนาม ท�ำเพลงชุดสมบัติขยองชาติ บรรจุแบบเรีทยำ�นทาง หท�รเรือที่ได้ปกป้องอธิปไตยและสมบัติของประเทศช�ติ ง่�ยขึภู้นม ิศหรืาสตร์ อมีก�รนำ �นักท่องเที วที่เป็ทนประช�ชนเวี ยดน�มเท่�นั้น ห้สแปรตลี �มนักท่อยงเที �งช�ติย นไปท่อง และประวั ติศ่ยาสตร์ ี่มีหมู่เกาะพาราเซลและ ์เข้่ยาวช�วต่ ไปในบทเรี เที่ยวในพื น ้ ที เ ่ ก�ะพ�ร�เซลและสแปรตลี ย ์ เพื อ ่ เป็ น ก�รประช�สั ม พั น ธ์ ร วมถึ ง ให้ ป ระช�ชนช�วเวี ยดน�มได้ หรื อ แม้ แ ต่ ก ารท� ำ หนั ง สื อ การ์ ตู น ที่ ส อดแทรกเนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ เกาะพาราเซลและ เล็งเห็นถึงคว�มสำ�คัญของพื้นที่ที่เป็นส่วนหนึ่งของคว�มเป็นช�ติ อีกทั้งมีก�รทำ�พิธีท�งคว�มเชื่อประจำ�ปี โดยได้รับงบประม�ณสนับสนุนจ�กท�งรัฐบ�ล เพื่อบูช�บรรพบุรุษและดวงวิญญ�ณของทห�รเรือที่เสียชีวิต จ�กภ�รกิจต่�งๆ ทั้งในอดีตจนถึงปัจจุบัน อันเป็นก�รทำ�ให้ประช�ชนรู้ถึงคว�มเสียสละ คว�มกล้�ห�ญของ


มรกตวงศ์ ภูมิพลับ

สแปรตลีย์ เพือ่ ให้เด็กและเยาวชนได้ทำ� ความรูจ้ กั ได้งา่ ยขึน้ หรือมีการน�ำนักท่องเทีย่ ว ที่เป็นประชาชนเวียดนามเท่านั้น ห้ามนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ไปท่องเที่ยวในพื้นที่ เกาะพาราเซลและ สแปรตลีย์ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์รวมถึงให้ประชาชนชาว เวี ย ดนามได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของพื้ น ที่ ที่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของความเป็ น ชาติ อีกทัง้ มีการท�ำพิธที างความเชือ่ ประจ�ำปีโดยได้รบั งบประมาณสนับสนุนจากทางรัฐบาล เพื่ อ บู ช าบรรพบุ รุ ษ และดวงวิ ญ ญาณของทหารเรื อ ที่ เ สี ย ชี วิ ต จากภารกิ จ ต่ า งๆ ทั้งในอดีตจนถึงปัจจุบัน อันเป็นการท�ำให้ประชาชนรู้ถึงความเสียสละ ความกล้าหาญ ของหทารเรือที่ได้ปกป้องอธิปไตยและสมบัติของประเทศชาติ “ลุงโฮ” และหมู่เกาะทั้งสอง

โฮจิมิน ถือเป็นวีรบุรุษแห่งชาติเวียดนาม เป็นบุคคลส�ำคัญของประเทศ และเคารพรักของประชาชนเวียดนาม เนื่องจากบุคลิกภาพของโฮจิมินมีลักษณะ ความเป็นผู้น�ำ เสียสละ กล้าหาญ สมถะ ท�ำเพื่อประเทศชาติ ทั้งนี้รัฐบาลพรรค คอมมิ ว นิ ส ต์ เ วี ย ดนามได้ น� ำ คุ ณ ลั ก ษณะของโฮจิ มิ น มาบรรจุ ล งในแบบเรี ย น ด้านคุณธรรมจริยธรรม เพื่อให้เด็กและเยาวชนของเวียดนามได้ศึกษาเล่าเรียน ทั้งยังต้องปฏิบัติตามคุณลักษณะที่ดีของโฮจิมินด้วย ดังนั้นโฮจิมิน จึงถูกยกเป็นศูนย์ รวมจิตใจของการสร้างความสามัคคีของคนในชาติเพื่อปกป้องหมู่เกาะทั้งสองว่าเป็น สมบัติของชาติที่จะต้องปกป้องรักษาเอาไว้ ดังโอวาทที่โฮจิมินห์ได้ให้แก่ทหารเรือว่า “ในวันเก่าก่อน พวกเรามีเพียงแค่ กลางคืนและป่า วันนี้เรามีกลางวัน มีท้องฟ้า มีทะเล ชายฝั่งทะเลของเรา นั้นยาว สดสวย เราต้องรู้จักรักษาเอาไว้” โฮจิมินห์ โอวาทขณะเยี่ยมทหารเรือเวียดนาม 15-3-1961

75


76

อาเซียนเสวนา | 73 อาเซียนเสวนา

“ลุงโฮ” และหมู่เกาะหว่างซา(พาราเซล) เจื่องซา (สแปรตลีย์ รู้จักรักษ�เอ�ไว้” นอกจ�กนี มินห์ม� โฮจิม้ยินังเอ�ภ�พโฮจิ ห์ ทำ�โปสเตอร์โฆษณ�ชวนเชื่อเพื่อเป็นขวัญและกำ�ลัง ใจให้กับทห�รเรื ่ต้องเสียสละไปประจำ การสร้ างชุดอทีความคิ ดว่าด้วย�ก�ร “หว่าณ งซา” เก�ะต่�งๆ และ “เจื่องซา”

เกาะพาราเซลและสแปรตลี ย ์ ห รื อ ที่ ช าว เวียดนามเรียกว่า “หว่างซา”และ “เจื่องซา” ถือเป็น ดวงใจของชาวเวี ย ดนามและประเทศเวี ย ดนาม เป็ น เส้ น เลื อ ดใหญ่ ข องประเทศที่ ห ล่ อ เลี้ ย งความ เป็ น ชาติ และเป็ น ก้ อ นเนื้ อ ที่ ร วบรวมความเป็ น อันหนึ่งอันเดียวกันของชาวเวียดนาม อันเกิดจาก โฮจิมินห์ การเสียสละของทหารกล้าในการปกป้องอธิปไตยจากศัตรู ทั้งยังพยายามน�ำเสนอว่า โฮจิมินห์ (โห่จ่อิ๋มงซานี ิงห์ ; Hồ้เป็Chí Minh) ยหรืดนามตลอดเวลา อ หว่างซาและเจื นของเวี

“ลุงโฮ” ของช�วเวียดน�มได้รับก�รยกย่องโดยพรรค คอมมิวนิสต์เวียดน�มในฐ�นะวีรบุรุษแห่งช�ติ บิด�แห่ง เอกร�ช เป็นแบบอย่�งที่ประช�ชนช�วเวียดน�มเค�รพ และถื“สมบั อปฏิบัติตต �ม ิของชาติ พรรคคอมมิ”วนิกระบวนการกล่ สต์บรรย�ยภ�พโฮ อมเกลาและสร้างส�ำนึกชาติ โฮจิ ม ินห์ในฐานะที่เป็นขวัญและกำาลังใจให้ทหารเวียดนาม จิมินห์นิในฐ�นะผู ้เสียสละ กล้�ห�ญ สมถะ เสียสละได้ ยมในเวี ยดนาม (เฮว้, 2556 โดยมรกตวงศ์ ภูมิพลับ) แม้แต่ชีวิตและคว�มสุขส่วนตัวและทำ�เพื่อประเทศช�ติ นอกจ�กนี คำ�สอนของโฮจิ มินห์บรรจุ ้ยังได้การย� ้ำเน้นความคิ ดทีลงในแบบ ่ต้องการปลูกฝังว่าหมู่เกาะทั้งสองเป็นสมบัติแห่งชาติ ปไตย้นไหนก็ตาม เรียนด้เหล่ �นคุาณประชาชนเวี ธรรมจริยธรรมเพื ่อให้ เ ด็ ก และเย�วชน ยดนามในปั จจุบันไม่บนโปสเตอร์ ว่าจะเป็นเผูขี้หยนว่ ญิ� ง “ปกป้ หรือองอำผู�้ชน�จอธิ าย ชนชั เหนื อ เขตแดนและทะเลเก�ะแก่ ง ของปิ ต ุภูมิอย่�ง ของเวียดน�มได้ศึกษ�เล่�เรียนมุ่งให้ปฏิบัติต�ม โฮจิ ต้ อ งมี ห น้ า ที ่ ป กป้ อ งอธิ ป ไตยทางทะเลของประเทศชาติ แม้ แ ต่ ต ารางนิ ้วเดียวก็ต้อง มินห์จึงถูกยกให้เป็นศูนย์รวมจิตใจของก�รสร้�งคว�ม แน่วแน่” องรักษาเอาไว้ ่อเป็ทน�งก�รเมื เบื้องหลั ส�มัคปกป้ คีของคนในช�ติ ในทุกเหตุเพืก�รณ์ อง งที่ส�ำคัญของประเทศชาติในการร่วมกันปกป้อง อธิปไตยของชาติ งเกิดกเป็ช�ตินเส�พืำ่อให้ นึกผ่านกระบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมต่างๆ ที่รัฐบ�ลและพรรคต้ องก�รปลุกจึกระแสรั ได้มวลชนเวี ยดน�ม จะนำ �เอ�โฮจิ มินจห์มีน�เป็ ่อง ามาในพื้นที่เกาะพาราเซลและสแปรตลีย์ เช่น การประท้ วงจี นกรณี รุกนคืเครืบเข้ ยึดเหนี่ยว สำ�หรับกรณีหมู่เก�ะทั้งสองก็ได้นำ�เอ�คำ� สอนของโฮจิมินห์ขณะให้โอว�ทขณะเยี่ยมทห�รเรือ เวียดน�ม เมื่อวันที่ 15 มีน�คม ค.ศ. 1961ที่ ว่�เป็น งเรื ่ององรั“สมบั ติแ ห่ดังงโอว�ท ชาติในเวียดนาม” สมบัตการเมื ิของช�ติทอี่จะต้ องปกป้ กษ�เอ�ไว้ ที่โฮจิมินห์ได้ให้แก่ทห�รเรือว่� “ในวันเก่�ก่อน พวกเร� บาลเวี มีเพีย งแค่ กล�งคืรัฐนและป่ � วันยนีดนามอยู ้เร�มีกล�งวัน่ใ มีนฐานะที ท้องฟ้� ่ล�ำบาก เนื่องจากรัฐบาลเวียดนามพยายาม โฆษณาชวนเชื ่อรวมถึ งการจัดการ มีทะเล ช�ยฝั ่งทะเลของเร� นั ้นย�ว สดสวย เร�ต้ อง การเขียนประวัติศาสตร์ของประเทศแบบใหม่

อยู่ตลอดเวลา จึงท�ำให้ประชาชนบางส่วนในบริเวณพื้นที่เวียดนามใต้มีแนวคิดไม่เห็น ด้วยกับพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม และได้กล่าวหารัฐบาลเป็นสาเหตุหลักที่ท�ำให้ ปั ญ หากรณี ห มู ่ เ กาะพาราเซลและสแปรตลี ย ์ เ รื้ อ รั ง ยากที่ จ ะท� ำ ให้ ป ั ญ หายุ ติ


มรกตวงศ์ ภูมิพลับ

เพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนามขายชาติ เมื่อเวียดนามเหนือชนะเวียดนามใต้ ได้และมีการเซ็นลงนามในจดหมายเวียนของประธานาธิบดี ฝั่ม วัน ด่ง ซึ่งในเนื้อหา จดหมายเวียนนั้น พรรคสังคมประชาธิปไตยแห่ง เวียดนามเหนือได้สนับสนุนอาณาเขตทางน�ำ้ ของจีน ท�ำให้ปัจจุบันทางการจีนได้นำ� เอกสารส่วนนี้มาเป็น หลักฐานในการแสดงสิทธิความเป็นเจ้าของหมูเ่ กาะ พาราเซลและสแปรตลีย์ ประธานาธิบดี ฝั่ม วัน ด่ง

ความสัมพันธ์ “แผลกลัดหนอง” ของเวียดนามต่อจีน

ความสัมพันธ์แบบแผลกลัดหนอง คือ เป็นความสัมพันธ์ในลักษณะที่ไม่ใช่ ความสัมพันธ์ถาวร บางช่วงมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน หรือบางช่วงมีความสัมพันธ์ ที่ แ ตกแยกกั น แต่ ป ั จ จุ บั น ประเทศจี น เริ่ ม รุ ก ล�้ ำ ส� ำ นึ ก ของความเป็ น ชาติ ผ ่ า น การเคลือ่ นไหวในพืน้ ทีข่ อ้ พิพาทโดยน�ำเรือและแท่นขุดเจาะน�ำ้ มันเข้ามาติดตัง้ ในพืน้ ที่ ข้ อ พิ พ าท จึ ง ท� ำ ให้ ค วามรู ้ สึ ก ของชาวเวี ย ดนามเริ่ ม ตั้ ง ข้ อ สงสั ย และขุ ่ น เคื อ งต่ อ การกระท�ำของจีน ทั้งยังน�ำรูปภาพของหมู่เกาะข้อพิพาทมาใส่ในพาสปอร์ตของจีน ยิ่งท�ำให้ประชาชนเวียดนามรู้สึกโกรธที่จีนท�ำทุกวิถีทางที่จะน�ำหมู่เกาะข้อพิพาทไป เป็นสมบัตขิ องจีน ซึง่ การรักษาสมบัตสิ องชิน้ นีเ้ ป็นหน้าทีข่ องชาวเวียดนามทัง้ ประเทศ อาเซียนเสวนา | 75

เพื่อพิทักษ์สมบัติของชาติ : ชาตินิยม หรือ คลั่งชาติ ?

ภาพเหตุการณ์ประชาชนเคลือ่ นไหวทางการเมือง เพือ่ ต่อต้านจีน นัดชุมนุมเพือ่ จะไปเผาโรงงานจีนทีม่ ฐี าน การผลิตอยู่ในเวียดนามบริเวณจังหวัดจังหวัดห่าติ๋ง และบิ่ ง เซื อ ง แม้ ก ระทั่ ง โรงงานที่ มี เ ครื อ ข่ า ยความ สัมพันธ์กับจีน เช่น โรงงานใต้หวัน โรงงานสิงค์โปร์ เพื่อพิทักษ์สมบัติของชาติ : ชาตินิยม หรือ คลั่ง ชาติ ? ท�งก�รเวียดน�มมียุทธศ�สตร์กล่อม ความสัมพันธ์ “แผลกลัดหนอง” ของเวียดนาม เกล�ช�วเวียดน�มว่�เป็นหน้�ที่ที่ช�วเวียดน�ม ต่อจีน จะต้ อ งกระทำ � ทุ ก วิ ถี ท �งในก�รรั ก ษ�หมู่ เ ก�ะ เอกสารที่ส่งจากนายกรัฐมนตรีฝั่มวันด่ง ถึงนายกรัฐมนตรี โจวเอินไหล

77


78

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 76

ที่ มี ทุ น จี น สนั บ สนุ น ได้ รั บ ความเสี ย หายด้ ว ย ส่ ง ผลท� ำ ให้ บ ริ ษั ท สั ญ ชาติ ต ่ า งๆ ที่ ตั้ ง ฐาน การผลิตอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมนี้ได้ขึ้นป้ายติด หน้าโรงงานเพื่อสื่อสารให้ประชาชนเวียดนาม ทราบถึ ง ว่ า โรงงานนี้ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ การเคลื่อนไหวของประชาชนเวียดนามในการต่อต้านจีนชาวเวี ย ดนามและจะเป็ น เป็ น เพื่ อ นเคี ย งคู ่ เพืบ่อริษป้ัทอสังกั นไม่ ห้โรงงานของตนเองเกิ ดความเสียหายที่จะตามมาจาก ชาวเวียดนาม ส่งผลทำ�ให้ ญช�ติ ต่�ใงๆ ที่ตั้งฐ�น สถานการณ์ ม่สตามารถควบคุ มได้ต้ อ งคิ ด ก�รผลิ ต อยู่ ใ นนิทคี่ไมอุ ส�หกรรมที่ เ กิ ด เหตุ

ยุทธศ�สตร์ตอบโต้และป้องกันมวลชนโดยก�รขึ้นป้�ย ติดหน้�โรงง�นเป็นรูปธงช�ติเวียดน�มกับธงช�ติของ สัญช�ติโรงง�นนั้นๆ ไม่ว่�จะเป็นไต้หวัน เก�หลีใต้ การเคลื สหรั ฐอเมริก� ่อญีนไหวของประชาชนเวี ่ปุ่น ฝรั่งเศส พร้อมกับเขียนบนป้ย �ยดนามในการต่อต้านจีน แสดงคว�มเป็ น มิ ต รหรื อ เพื่ อ นกั บ ประเทศและช�ว แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นกระแสของการเรียกร้องให้ชาวเวียดนามใต้ เวียดน�ม เช่น โรงง�นเก�หลีแห่งหนึ่งขึ้นป้�ยเป็น ทีเ่ คยถู กขัคบู่กไล่ เหตุ�กย ารณ์ไซง่อน กลับเข้ามาในประเทศ เพือ่ ช่วยกัน ธงช�ติ เก�หลี ับเวีอยอกนอกประเทศเมื ดน�ม และเขียนถ้อยคำอ่�บนป้ งส� ำ นึ ก ร่ ว มกั นใในประเทศ ยกั น ปกป้ อ งหมู ่ เ กาะข้ อ พิ พ าทให้ เ ป็ น สมบั ติ ว่สร้ � า“พวกเร�ม�จ�กเก�หลี ต้ พวกเร�เป็นเพืช่​่อวนของ เวี ย ดน�ม (Chúng ta đến từ Hàn Quốc. Chúng ของชาติต่อไป ta là bạn của Việt Nam)”1 หรือบริษัทของฝรั่งเศส ที่ ขึ้ น ภ�พธงช�ติ เ วี ย ดน�มคู่ กั บ ธงช�ติ ฝ รั่ ง เศสและ เขียนถ้อยคำ�บนป้�ยว่� “บอสติกคือบริษัทของฝรั่งเศส เหตุ ก �รณ์ ที่ ลุ ก ล�มเหมื อ นไฟล�มทุ่ ง เวีบยสนุดนามในภาวะวิ กฤต สนั นเวียดน�ม (Bostik là công ty của Pháp. Ủng นี้ ทำ � ให้ ผู้ นำ � รั ฐ บ�ลอย่ � งน�ยกรั ฐ มนตรี เ หงวี ย น hộ Việt Nam)” บ�งแห่งก็ขึ้นป้�ย “หว่�งซ� (พ�ร�เซล) เติ๋น สุง (Nguyễn Tấn Dũng) ส่งข้อคว�มไปยัง เวี ย ดนามก� ลั ง เกิยดน�ม (Hoàng ด ปั ญ หาจากนโยบายการสร้ า งชาติ นิ ย� มจน และเจื่อ• งซ� (สแปรตลี ย์) เป็ำนของเวี Sa หม�ยเลขโทรศัพท์ของผู ้ใช้โทรศัใ ห้ พท์เมป็ือน ถือชาติ ทุกร�ยว่ ไม่อSa าจสามารถควบคุ มได้�รั้วทีบริ่ยษังัทคลุ อระหว่ งรัฐยบาลเวี ดนามประสบความ và Trường là của Việt Nam)” หน้ กลมเครื “น�ยกรั ฐมนตรีาเหงวี น เติ๋น สุงย ขอร้ องและเรียกร้อง ยุทธ์อื่นส�ๆ ำเร็เพืจ่อในการสร้ รับมือกับ ามวลชนเวี ย ดน�มคื อ ก�รเอ� ช�วเวี ย ดน�มทุ ก คนไม่ ใ ห้ ก ระทำ � อั น นก�รฝ่�ฝืน ม งชาตินยิ มได้หรือประสบความส�ำเร็จเกินไปจนไม่สเป็ามารถควบคุ ภ�พประธ�น�ธิ ดีโฮจิมินห์แ่ค ขวน ทั้งน หมดคื ให้อยู่ใบนกรอบที วรเป็ ได้ อม�ตรก�ร กฎหม�ย ไม่ฟังต�มผู้ไม่ประสงค์ดี ให้ร่วมกันรักษ� ป้องกันไม่ให้โรงง�นของตนเองเกิดคว�มเสียห�ยที่จะ กฎระเบียบของสังคม ส�มัคคีเพื่อช่วยกันพัฒน� ต�มม�จ�กสถ�นก�รณ์ ที่ไม่ำส�ม�รถควบคุ มได้ ญ หาขาดความเชื ผลผลิตก�รค้� ่ อ มัยกระดั บชีวก ิตและมี วยกันาทั้งงชาติ • เวียดนามก� ลังประสบปั ่นจากนั ลงทุสน่วนช่ ชาวต่ ประเทศรั ก ษ�อธิ ป ไตยของม�ตุ ภ ู ม ิ ต �มกฎหม�ย โดยเฉพาะนักลงทุนชาวจีน ถึงแม้ว่าการเมืองของเวียดนามจะมีเสถียรภาพมาก ของประเทศเร�และกฎหม�ยระหว่�งประเทศ” และ มาโดยตลอด ทีม่ รี ฐั บาลพรรคคอมมิวนิอีกสข้ต์อบคว�มหนึ ริหารประเทศเพี ยว แต่กลับ ่งในเวล�ต่อม�ว่ย� งพรรคเดี “วันที่ 17/5/2014 เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ก ารเคลื่ อ นไหวภาคประชาชนที ่ ร ั ฐ บาลไม่ ส ามารถควบคุ น�ยกรัฐมนตรีเวียดน�มมีคำ�สั่งไปยังกระทรวงคว�ม ม ได้ �รวจ) ทุ หน่วยง�นที หน้�ที่และ ยิ่ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด ความกั ง วลต่ อ นั ก ธุ ร กิสงบส�ธ�รณะ(ตำ จ ชาวต่ า งชาติ ที่ มกาลงทุ น ถึ่ทงำ�บทบาทและ ผู้นำ�ทุกจังหวัด ทุกนคร ให้ใช้ม�ตรก�รแบบเดียวกัน เสถียรภาพรัฐบาลหลังจากนี้ ยืนยันห้�มมีก�รประท้วงอย่�งผิดกฎหม�ย ต้องไม่ 1 ขอบคุณภาพประกอบจากคุณศุกรวรรณ คุ้มรุ่งโรจน์


มรกตวงศ์ ภูมิพลับ

สรุป

• รัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามไม่สามารถประเมินถึงความรุนแรงทีเ่ กิดขึน้ จากการสร้างความเป็นชาตินิยมจากความรักชาติจนกลายเป็นความคลั่งชาติ อันน�ำไปสูค่ วามรุนแรงทีไ่ ม่คาดคิดได้ จากเหตุการณ์บกุ เผาโรงงานสัญชาติจนี ได้ เป็ น เหตุ ก ารณ์ ตั ว อย่ า งไปแล้ ว เกี่ ย วกั บ การรุ ก ล�้ ำ ความเป็ น สมบั ติ ข องชาติ จากต่างชาติโดยเฉพาะจีน • สิ่งที่รัฐบาลเวียดนามก�ำลังเผชิญในปัจจุบันเกิดจากกระบวนการกล่อมเกลา ความเป็นชาติ ของกรณีหว่างซาและเจื่องซา ที่เป็นสมบัติของชาติ ส่งผลท�ำให้ รั ฐ บาลเวี ย ดนามวางบทบาททางการเมื อ งได้ ย ากเนื่ อ งจากจะรั ก ษาระดั บ ความสัมพันธ์กบั จีนได้อย่างไร และอีกส่วนหนึง่ ทีส่ ร้างเชือ้ ปะทุกบั จีนคนประชาชน ชาวเวียดนามที่พยายามรักษาสมบัติของชาติ • รัฐบาลไม่สามารถรับมือต่อกระแสแรงเสียดทานจากกลุ่มที่มีความรักชาติและ พร้อมที่จะปกป้องสมบัติของชาติโดนไม่สนใจการด�ำเนินนโยบายความสัมพันธ์ ต่างประเทศของรัฐบาล ทั้งยังมีกลุ่มที่มีแนวคิดต่อต้านรัฐบาลมาก่อนหน้าแล้ว ทีต่ อ้ งการจะฉวยโอกาสนีโ้ จมตีรฐั บาลผ่านการเรียกร้องปกป้องอธิปไตยของชาติ • รัฐบาลเวียดนามก�ำลังเข้าสูค่ วามท้าทายในการจัดการปัญหาข้อพิพาทหมูเ่ กาะ หว่างซาและเจื่องซา ที่อาจจะมีความร่วมมือผ่านการรวมกลุ่มอย่างอาเซียนหรือ กฎหมายระหว่างประเทศที่คอยเปิดโอกาสให้อยู่บ้าง โดยทางการจีนไม่ยินยอม เจรจาระดับแบบพหุภาคีหรืออาเซียน แต่ยินยอมเจรจาในระดับทวิภาคีระหว่าง เวียดนามกับจีนเท่านั้น • เวียดนามได้มกี ลไกเพือ่ หาทางระงับปัญหาข้อพิพาทพืน้ ทีท่ ะเลจีนใต้ ผ่านกลไก เลขาธิการอาเซียน ที่เป็นชาวเวียดนาม ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งแต่มาจากการ คัดสรรขึ้นมาด�ำรงต�ำแหน่ง ดังนั้นแล้วเลขาธิการอาเซียนคนนี้ย่อมเป็นตัวแทน ของทางรัฐบาลเวียดนามที่ถูกก�ำหนดงานหลักมาเพื่อให้หาทางระงับปัญหา ที่เกิดขึ้นในบริเวณทะเลจีนใต้ให้ได้ • ทางด้านอ�ำนาจของจีนไม่ได้ใช้รูปแบบของอ�ำนาจทางการทหารเข้ามากดดัน ประเทศที่มีปัญหาแต่จะใช้ลักษณะอ�ำนาจทางเศรษฐกิจเพื่อเข้ามากดดัน เช่น เมือ่ ปัญหาทางทะเลจีนใต้ถกู น�ำไปพูดในกรอบของอาเซียน ก็อาจท�ำให้ประเทศที่ ได้รับการช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องกับจีน เช่น กัมพูชา ลาว หรือ พม่า ไม่ยินยอม ที่จะให้ปัญหาหยิบขึ้นมาพูดถึงในระดับอาเซียน

79


80

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 79


ลลิตา หาญวงษ์

ประวัติศาสตร์การเมืองว่าด้วยพลัง นักศึ กษาในพม่า จาก 1938 ถึง 1988 ลลิตา หาญวงษ์ อาเซียนเสวนา | 80

ประวัติศาสตร์การเมืองว่าด้วยพลังนักศึกษาในพม่า จาก 1938 ถึง 1988

อาณานิคมในพม่า

ลลิตา หาญวงษ์ พม่าเป็นอาณานิคมของอังกฤษมายาวนานรวมแล้ว 122 ปี ภายหลั งสงคราม อังกฤษ-พม่ า (Anglo-Burmese Wars) 3 ครัง้ ครัง้ ที่ 1 ระหว่าง ค.ศ.1824-1826 อังกฤษ อาณานิ คมในพม่ า ื้ พม่ ทีพ ่ �ม่เป็านตอนล่ น ได้แก่ เขตตะนาวศรี (Tenasserim) และเขตอาระกั ยึดได้พน อ�ณ�นิาคงบางส่ มของอัวงกฤษม�ย�วน�นรวมแล้ ว 122 ปี ภ�ยหลังสงคร�มอั งกฤษ-พม่� น (Anglo-Burmese Wars) 3 ครั ้ง ครั้งที่ 1 ระหว่ �ง ค.ศ.1824-1826 อั ดได้พื้นที่พงม่กฤษภายหลั �ตอนล่�งบ�ง ง (Arakan) หรือยะไข่ (Rakhine) ทางตะวั นตกของพม่างกฤษยึ ชัยชนะของอั ส่สงครามครั วน ได้แก่ เขตตะน�วศรี (Tenasserim) และเขตอ�ระกั น (Arakan) หรื อ ยะไข่ (Rakhine) ท�งตะวั ง้ ที่ 2 ในปี 1852-1853 ท�ำให้ราชส�ำนักพม่าสูญเสียพม่าตอนล่างส่วนสุดท้นาย ตกของพม่ � ชั ยชนะของอั ้งทีง่ 2 (Moulmein) ในปี 1852-1853 ทำ�ให้ ร�ชสำ�นักขพม่องพม่ �สูญ า คือเมืองท่าอย่ างย่างกุง้งกฤษภ�ยหลั (Yangon)งสงคร�มครั มะละแหม่ และอดี ตราชธานี เสียพม่�ตอนล่�งส่วนสุดท้�ย คือเมืองท่�อย่�งย่�งกุ้ง (Yangon) มะละแหม่ง (Moulmein) และอดีต และหัวเมืองมอญส�ำคัญอย่างหงสาวดีหรือพะโค (Pegu) พะสิม (Bassein) และตองอู ร�ชธ�นีของพม่�และหัวเมืองมอญสำ�คัญอย่�งหงส�วดีหรือพะโค (Pegu) พะสิม (Bassein) และตอง อกล่ าวโดยรวมคื แม่อนันอุ�้ำดอิมสมบู ระวดีรอณ์ันทอุั้งหมดให้ ดมสมบู ทั้งหมดให้ อู(Toungoo) (Toungoo) หรืหรื อกล่ �วโดยรวมคื อพื้นที่ลอุ่มพืแม่้นนที้ำ�่ลอิรุ่มะวดี กับรอังณ์กฤษ และใน กับอังกฤษ ้งสุดอัท้งกฤษส�ม�รถควบรวมดิ าย (ค.ศ.1885-1886) อังกฤษสามารถควบรวมดิ สงคร�มครั ้งสุดและในสงครามครั ท้�ย (ค.ศ.1885-1886) นแดนของพม่ �ตอนบนทั้งหมด รวมน แดนของพม่ ตอนบนทั ง ราชธานี ม่ า แห่ ง สุ ด ท้่มน้าอยที ฑะเลย์ ไปถึ งร�ชธ�นีพม่า�แห่ งสุดท้�ยที้ ง่มหมด ัณฑะเลย์รวมไปถึ (Mandalay) รวมทั ้งดิพ นแดนของชนกลุ ยอย่​่ ม�ั ณ งฉ�น (ไท ใหญ่ ) กะฉิ่น และฉิ ่น ้งดินแดนของชนกลุ่มน้อยอย่างฉาน (ไทใหญ่) กะฉิ่น และฉิ่น (Mandalay) รวมทั ปลู กข้�ก่ว (Rice Frontier) จนทำ ให้พาม่ตอนบนได้ �เป็นผู้ส่งออกข้ �ว อนที่อังกฤษจะยึด�พม่ ตลอด ร�ยใหญ่ ุดของโลกตั คริสต์ศตวรรษที 20 เป็นต้เนร่ง ครึ่งหลัทงี่สของคริ สต์้งศแต่ตวรรษที ่ 19 อั่ งกฤษได้ ม� พม่งจ�กที าตอนล่ างในเขตพืน้ ทีล่ �มุ่ สำเป็ พืน้ วที่ พัฒนาให้หลั ่อังกฤษผนวกรวมพม่ �เร็นจแล้ ารบุกเบิกพืหนึ้น่งทีของ ่ร้าง จึเกษตรกรรมขนาดใหญ่ งได้สถ�ปน�พม่�เป็นจังหวัด มีก(province) อิทีน่เเดีคยเป็ ยจนถึนง ค.ศ.1937 ก�รแยกตั ว ออกจ�กอิ น เดี ย เป็ ป่าหญ้ารกชัฏให้เป็นพื้นที่ปลูกข้นาว จุ(Rice ดกำ�เนิดFrontier) ของบริติช จนท� เบอร์มำ่� ให้(British พม่�จึงาว พม่าเป็Burma) นผูส้ ง่ ออกข้ มี ข้ � หลวงใหญ่ ที่ มี อำ � น�จตั ด สิ น ใจในกิ จ ก�รซึ่ ง เกี่ ย ว รายใหญ่ที่สุดของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที ่ กับพม่�โดยตรง อย่�งไรก็ดี แม้พม่�จะเป็นอ�ณ�นิคม 20 เป็ นต้นมา ของอั งกฤษม�ย�วน�น แต่ระบอบอ�ณ�นิคมอังกฤษ ให้ ค ว�มสำ � คั ญ กั บ ก�รปกครองที ่ ส่ ว นกล�งและก�ร หลังจากที่อังกฤษผนวกรวมพม่ าส�ำเร็จ ควบคุมทรัพย�กรหลักอย่�งข้�ว (พม่�ตอนล่�ง) และ แล้วจึงได้สถาปนาพม่าเป็นจังหวัด (province) ไม้สัก (พม่�ตอนบน) ม�กกว่�สิ่งอื่น ผู้ปกครองในท้อง นเดีกยุลอย่ จนถึ ถิหนึ ่นทั้ง่งทีของอิ ่เป็นร�ชนิ �งเจ้ง�ฟ้ค.ศ.1937 �ฉ�น หรือผูการแยกตั ้ใหญ่บ้�นที่ ว ภาพที่ 1 : แผนที่แสดงการผนวกพม่าของอังกฤษ เรียกว่� “ตะจี” (thugyi) นั้นมีสิทธิปกครองไพร่ฟ้�/ลูก ทั้ง 3 ครั้ง บ้�นของตนได้อย่�งเป็นอิสระและมีอำ�น�จตัดสินคดี ก่อนที่อังกฤษจะยึดพม่�ตอนบนได้ คว�มของตนเอง ในขณะที่อังกฤษกำ�กับและควบคุมอยู่

81


82

อาเซียนเสวนา

ออกจากอินเดียเป็นจุดก�ำเนิดของบริติช เบอร์ม่า (British Burma) พม่าจึงมีข้าหลวง ใหญ่ที่มีอ�ำนาจตัดสินใจในกิจการซึ่งเกี่ยวกับพม่าโดยตรง อย่างไรก็ดี แม้พม่าจะเป็น อาณานิคมของอังกฤษมายาวนาน แต่ระบอบอาณานิคมอังกฤษให้ความส�ำคัญกับ การปกครองที่ส่วนกลางและการควบคุมทรัพยากรหลักอย่างข้าว (พม่าตอนล่าง) และ ไม้สัก (พม่าตอนบน) มากกว่าสิ่งอื่น ผู้ปกครองในท้องถิ่นทั้งที่เป็นราชนิกุลอย่างเจ้า ฟ้าฉาน หรือผู้ใหญ่บ้านที่เรียกว่า “ตะจี” (thugyi) นั้นมีสิทธิปกครองไพร่ฟ้า/ลูกบ้าน ของตนได้อย่างเป็นอิสระและมีอำ� นาจตัดสินคดีความของตนเอง ในขณะทีอ่ งั กฤษก�ำกับ และควบคุมอยู่อย่างหลวม ๆ ที่เป็นเช่นนี้เพราะรัฐบาลอาณานิคมไม่มีงบประมาณ ที่จะบริหารการปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ทั้งจากการขาดความเข้าใจสังคมของชน พืน้ เมืองระดับล่างและงบประมาณทีจ่ ำ� กัด อีกทัง้ พืน้ ทีข่ องชนกลุม่ น้อยในพม่าตอนบน ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนซึ่งเข้าถึงได้ล�ำบาก จุดเน้นของการปกครองพม่าของอังกฤษจึงอยู่ที่พม่าตอนล่าง มีการสถาปนา ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ทดแทนราชธานีของราชวงศ์คองบองที่ตั้งอยู่ลึกในเขต ตอนในของประเทศ อังกฤษพัฒนาพม่าตอนล่างแบบเสรี หมายถึงประชากรทั้งจาก พม่าตอนล่างเอง (ซึ่งมีไม่มาก) พม่าตอนบน หรือแม้แต่ผู้อพยพจากอินเดียสามารถ เข้าไปจับจองพื้นที่ว่างในเขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำอิระวดีเพื่อท�ำการเกษตร ได้อย่างอิสระ พัฒนาการทางการเกษตรในพม่าเกิดจากตลาดเสรีมิได้เป็นระบบ สัมปทานผูกขาดหรือการบังคับให้ปลูกพืชเศรษฐกิจตามทีร่ ฐั ต้องการในลักษณะฟาร์ม ขนาดใหญ่ (plantation) เหมือนอาณานิคมในฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย เหตุที่เป็น เช่นนีน้ อกจากพม่าตอนล่างจะเต็มไปด้วยป่าดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วยังอุดมไปด้วยโรคภัย ไข้เจ็บ เช่น มาเลเรียและอหิวาตกโรคอีกด้วย ก�ำเนิดพลังนักศึกษา

อาจกล่าวได้ว่าตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความสัมพันธ์ระหว่างอังกฤษกับคนพื้นเมืองเป็นแบบถ้อยทีถ้อยอาศัย ซึ่งส่งผลให้ ความตื่นตัวทางการเมืองหรือกระบวนการเรียกร้องเอกราชยังไม่เข้มแข็ง พัฒนาการ ของลัทธิชาตินยิ มและขบวนการนักศึกษานัน้ ถือได้วา่ ช้ามาก การรับรูท้ างการเมืองของ คนหนุ่มสาวเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับการขยายโอกาสทางการศึกษาตามแบบตะวันตก ที่เข้ามาทดแทนโรงเรียนในวัดแบบเดิม แต่การศึกษาแบบตะวันตกในปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 20 ยังจ�ำกัดตัวอยู่ในระดับประถมและมัธยมศึกษา มีเพียงบุตรหลานผู้ ที่มีฐานะและนักเรียนทุนเท่านั้นที่จะได้รับโอกาสศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ทั้งจากมหาวิทยาลัยชั้นน�ำในอินเดียและยุโรป


ทดแทนโรงเรียนในวัดแบบเดิม แต่ก�รศึกษ�แบบตะวันตกในปล�ยคริสต์ศตวรรษที่ 2 ลลิตา หาญวงษ์ 83 ระดับประถมและมัธยมศึกษ� มีเพียงบุตรหล�นผู้ที่มีฐ�นะและนั กเรียนทุนเท่�นั้นที่จ ความตื่นต่ตัอวในระดั แบบชาติ น ิ ย มเริ ่ ม ขึ ้ น ในปี 1920 เมื ่ อ นั ก ศึ ก ษากลุ ่ ม หนึ ่ ง ประท้ บมห�วิทย�ลัยทั้งจ�กมห�วิทย�ลัยชั้นนำ�ในอินเดียและยุโรป วง พระราชบั ญ ญั ต ิ จั ด ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั่นยตัวย่แบบช�ติ า งกุ ้ ง (ก่นิยอมเริ นหน้ ้ คื อ Rangoon คว�มตื ่มขึา้นนีในปี 1920 เมื่อCollege นักศึกษ�กลุ่มหนึ่งประท และ University College ตามล� ำ ดั บ ) โดยควบรวมกั บ วิ ท ยาลั ย จั ด ๊ สั น (Judson College) จัดตั้งมห�วิทย�ลัยย่�งกุ้ง (ก่อนหน้�นี้คือ Rangoon College และ University Colleg อันเป็นวิทยาลัยของมิชชันนารีแบ๊บติสต์ วิทยาลัยการแพทย์และวิทยาลัยฝึกหัดครู ควบรวมกับวิทย�ลัยจั๊ดสัน (Judson College) อันเป็นวิทย�ลัยของมิชชันน�รีแบ๊บติสต เข้าไว้ดว้ ยกัน การรวมวิทยาลัยทัง้ สีน่ สี้ ร้างความไม่พอใจให้กบั นักศึกษา เพราะมองว่า และวิทย�ลัยฝึกหัดครูเข้�ไว้ด้วยกัน ก�รรวมวิทย�ลัยทั้งสี่นี้สร้�งคว�มไม่พอใจให้กับน พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยย่างกุ้งไม่เสมอภาค เป็นการมุ่งสร้างมหาวิทยาลัยเพื่อชนชั้นน�ำ ว่�พ.ร.บ.มห�วิทย�ลัยย่�งกุ้งไม่เสมอภ�ค เป็นก�รมุ่งสร้�งมห�วิทย�ลัยเพื่อชนชั้นนำ� (elite) แทนที่จะเป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดโอกาสให้กับทุกชนขั้นและทุกเชื้อชาติ สถ�บันก�รศึ กษ�ที่เปิกดศึโอก�สให้ กับทุกชนขั ้นและทุดกหยุ เชื้อดช�ติ ย่�งเท่�เทียมกัน อย่างเท่าเทียมกัเป็นนความไม่ พอใจของนั กษาแสดงออกผ่ านการนั เรียอนใหญ่ หยุดเรียนใหญ่ ครั้งแรกที ่รู้จักกันในชื่อ Rangoon (Ya กศึก่อษ�แสดงออกผ่ �นก�รนัดUniversity ครั้งแรกที่รู้จักกันนัในชื Rangoon (Yangon) Strike ในปี 1920 Strike ในปี 1920 แม้จะมีเสียงทักท ย่�งกุ้งก็ก่อตั้งได้สำ�เร็จ ในต มห�วิทย�ลัยย่�งกุ้งมีจำ�นวน คน มห�วิทย�ลัยย่�งกุ้งกล� ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชีย พัฒ ศึกษ�ได้เข้�ม�มีส่วนสำ�คัญ แก่นักศึกษ�ที่เริ่มได้รับแนว เช่น ม�ร์กซิสต์ เลนินลิสต์ เ แล้ว ขบวนก�รนักศึกษ�ท Rangoon College, ต้นทศวรรษ 1900s Rangoon College, ต้นทศวรรษ 1900s ประวัติศ�สตร์ยุคอ�ณ�นิคม ขึ้นพร้ อม ๆ กับก�รก่อตั้งสโม แม้จะมีเสียงทักท้วง แต่มหาวิทยาลัยย่างกุ้งก็ก่อตั้งได้ส�ำเร็จ ในต้ นทศวรรษ 1930 มหาวิทยาลัยย่างกุ้งมีจ�ำนวนนักศึกษาราว 1,000 คน มหาวิทยาลัยย่างกุ้งกลาย เป็นมหาวิทยาลัยทีด่ ที สี่ ดุ แห่งหนึง่ ในเอเชีย พัฒนาการในทางการศึกษาได้เข้ามามีสว่ น ส�ำคัญที่เปิดโลกทัศน์ให้แก่นักศึกษาที่เริ่มได้รับแนวคิดแบบตะวันตก เช่น มาร์กซิสต์ เลนิ น ลิ ส ต์ เฟเบี้ ย นโซไซตี้ ฯลฯ แล้ ว ขบวนการนั ก ศึ ก ษาที่ ถื อ เป็ น จุ ด เด่ น ของ ประวัติศาสตร์ยุคอาณานิคมของพม่าถือก�ำเนิดขึ้นพร้อม ๆ กับการก่อตั้งสโมสร นักศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยย่างกุง้ (Student Union) ซึง่ ยิง่ ท�ำให้นกั ศึกษามีความเข้าใจ และผูกพันกับอุดมการณ์ทางการเมืองต่าง ๆ (โดยเฉพาะฝ่ายซ้าย) เพิม่ ขึน้ จนนักศึกษา (รวมทัง้ พระสงฆ์) กลายเป็นเสาหลักเสาหนึง่ ของขบวนการชาตินยิ มพม่าในเวลาต่อมา


84

อาเซียนเสวนา อาเซียนเสวนา | 82

ทย�ลัวยงย่�ค.ศ.1935-1936 งกุ้ง (Student Union) ซึหม่ ่งยิ่งอทำง�ให้ ักศึกษ�มีคว�มเข้ ใจและผู กับอุดงมก�รณ์ ท�งก�ร มห�วิในช่ นุน(Maung Nu)�เข้ ารับกต�พัำนแหน่ ประธานสโมสร เมื อ งต่ � ง ๆ (โดยเฉพ�ะฝ่ � ยซ้ � ย) เพิ ม ่ ขึ น ้ จนนั ก ศึ ก ษ� (รวมทั ง ้ พระสงฆ์ ) กล�ยเป็ น เส�หลั ก เส�หนึ นักศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง เขาและนักศึกษาอื่น ๆ ในสโมสรนัก่งศึของ กษาฯ ขบวนก�รช�ตินิยมพม่�ในเวล�ต่อม� มีส่วในช่ นส�วำง คัญค.ศ.1935-1936 ผลักดันให้เกิหม่ ดสโมสรนั กศึกษาระดั ี่เรียงกว่ า All Burma Students อง นุ (Maung Nu) บเข้ชาติ �รับตำท�แหน่ ประธ�นสโมสรนั กศึกษ�แห่ ง Union หม่กอศึกงอองซาน (Maung Aungมีส่วSan) เป็กนดัเลขาธิ การใหญ่ มห�วิ(ABSU) ทย�ลัยย่�งกุโดยมี ้ง เข�และนั ษ�อื่น ๆ ในสโมสรนั กศึกษ�ฯ นสำ�คัญผลั นให้เกิดสโมสร นักศึกษ�ระดั บช�ติที่เรียง้ กว่ All Burma บStudents Union (ABSU) องอองซ�น (Maung จากการเคลื อ่ นไหวครั นีป� ้ ระกอบกั บทความเสี ยดสี คณะผูโดยมี บ้ ริห หม่ ารมหาวิ ทยาลั ยย่างกุง้ Aung San) เป็ น เลข�ธิ ก �รใหญ่ จ�กก�รเคลื อ ่ นไหวครั ง ้ นี ป ้ ระกอบกั บ บทคว�มเสี ย ดสี ค ณะผู บ ้ ริ ห�ร ส่งผลให้นักศึกษาสองคนนี้ถูกไล่ออกจากมหาวิทยาลัย มห�วิทย�ลัยย่�งกุ้งส่งผลให้นักศึกษ�สองคนนี้ถูกไล่ออกจ�กมห�วิทย�ลัย

หม่องอองซานและผู้นำานักศึกษา ABSU, 1936

้น�ำนักกศึจับก เหล่ ษา�ABSU, ภ�ยหลังหม่ จ�กทีอ่หงอองซานและผู ม่องนุและหม่องอองซ�นถู นักศึกษ�จึง1936 นัดรวมตัวกันเพื่อประท้วง

มห�วิทย�ลัยย่�งกุ้งและล�มไปถึงก�รต่อต้�นระบอบอ�ณ�นิคม โดยแกนนำ�ก�รนัดหยุดเรียนประท้วง ครั้งทีภายหลั งจากที ่ อม่เญง (Kyaw Nyein) เหตุ องนุและหม่องอองซานถู กจั้งนับ้นมิเหล่ านักกตัศึวกในพื ษาจึ ดรวมตั ่ 2 ในปี 1936 นี ้คือจ่ห ก�รณ์ในครั ได้กระจุ ้นทีง่มนั ห�วิ ทย�ลัยวกัน ย่�งกุ้งเหมื อนก�รประท้ ่อ 6 ปีก่อน แต่กงระจ�ยไปในพื ที่ส�ธ�รณะนอกมห�วิ ยรวม ำ เพือ่ ประท้ วงมหาวิ ทยาลัวงครั ยย่้งาแรกเมื งกุง้ และลามไปถึ การต่อต้า้นนระบอบอาณานิ คมทย�ลั โดยแกนน� ถึ ง ในต่ � งจั ง หวั ด ด้ ว ย การนัดหยุดเรียนประท้วงครั้งที่ 2 ในปี 1936 นี้คือจ่อเญง (Kyaw Nyein) เหตุการณ์ ษ�พม่ � ในช่วงนี้เกิดจ�กก�รผสมผส�น ในครัระหว่ ้งนั�้นงลัมิทไคว�มสำ ด้กระจุ�เร็กจตัของขบวนก�รช�ติ วในพื้นที่มหาวินทิยมของนั ยาลัยกย่ศึากงกุ ้งเหมือนการประท้วงครั้งแรกเมื่อ ธิหรืออุดมก�รณ์ก�รเมืองจ�กตะวันตกกับคว�มพย�ย�มฟื้นฟูคว�มเป็นพม่�ที่มีพระพุทธ 6 ปีกศ�สน�และวั ่อน แต่กระจายไปในพื ที่สาธารณะนอกมหาวิ ยาลัยใรวมถึ งในต่ างจังหวัดด้วย ฒนธรรมพม่�เป็น้นแกนกล�งเพื ่อกระตุ้นให้ผู้คนส่ทวนใหญ่ นสังคมมิ ใช่เฉพ�ะพระสงฆ์ หรือผู้ที่มีก�รศึกษ�มีคว�มรู้สึกร่วมกับก�รต่อต้�นระบอบอ�ณ�นิคมในขณะนั้น เห็นได้จ�กสม�คม ช�ตินความส� ำ เร็ จ�ของขบวนการชาติ นิ ย มของนั ก ศึ ก ษาพม่ าจุดในช่ ว งนี ิยมยุคแรกในพม่ อย่�ง YMBA (Young Men’s Buddhist Associations) มี ประสงค์ หลั้ เกกิเพืด่อจาก การผสมผสานระหว่ างลั�ทเสืธิ่อหมโทรมลงเพร�ะระบอบอ�ณ�นิ รืออุดมการณ์การเมืองจากตะวั นตกกับความพยายาม ฟื้นฟูศ�สน�พุทธที่ถูกมองว่ คม

ฟืน้ ฟูความเป็นพม่าทีม่ พ ี ระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมพม่าเป็นแกนกลาง เพือ่ กระตุน้ ให้ผู้คนส่วนใหญ่ในสังคมมิใช่เฉพาะพระสงฆ์หรือผู้ที่มีการศึกษามีความรู้สึกร่วมกับ การต่อต้านระบอบอาณานิคมในขณะนั้น เห็นได้จากสมาคมชาตินิยมยุคแรกในพม่า อย่าง YMBA (Young Men’s Buddhist Associations) มีจุดประสงค์หลักเพื่อฟื้นฟู ศาสนาพุทธที่ถูกมองว่าเสื่อมโทรมลงเพราะระบอบอาณานิคม


ลลิตา หาญวงษ์ อาเซียนเสวนา | 83

จ่อเญง (Kyaw Nyein) ผู้น�ำนักศึกษา ประท้วงในปี 1936 เมื่ อ ขบวนการชาติ นิ ย มของนั ก ศึ ก ษาพม่ า เริ่มเข้มแข็งขึ้น กิจกรรมทางการเมืองของนักศึกษา หลอมรวมเป็นเนือ้ เดียวกับขบวนการชาตินยิ มระดับ ประเทศ ผู้น�ำนักศึกษาทั้งนุและอองซานก้าวเข้าไป เป็นผู้น�ำหรื อ “think tank” ของขบวนการชาตินิยม ภาพการถื อธงสัญลักษณ์ และสัญลักษณ์ของสมาคม เราชาวพม่า ขนาดใหญ่ทเี่ รียกว่า “สมาคมเราชาวพม่า” หรือ “โด้ะ จ่บ่ อเญง (Kyaw Nyein) อ ผู้นะโยน” ำานักศึกษาประท้ วงในปี 1936 Asiayone) และได้น�ำนกยูงซึ่งเป็นสัตว์ประจ�ำราชวงศ์ ะหม่ า อะซี (Dobama ในช่วงปล�ยทศวรรษที่ 1930 เกิด ้งที่สองขึ่แ้นนวคิ ต�มม�ด้ วยสงคร�ม พม่าเข้เมืา่อมาเป็ ขบวนก�รช�ติ น ิ ย มของนั กศึข กษ�พม่ � สงคร�มโลกครั นสัญลักษณ์ องสมาคมฯ ในขณะที ดหลั กของสมาชิกโด้ะบ่ะหม่า เริ่มเข้มแข็งขึ้น กิจกรรมท�งก�รเมืองของนักศึกษ� มห�เอเชียบูรพ� นักช�ตินิยมพม่�เข้�ไปให้ก�ร ได้รับอินทเนืธิ้อพเดีลจากลั ทธิสังคมนิ ยบมแบบเลนิ น (Leninism) ในรั ช่วยเหลือกองทั พญี่ปุ่นรบกับฝ่�ยสั มพัสนเซี ธมิตยร หลอมรวมเป็ ยวกับขบวนก�รช�ติ นิยมระดั

ประเทศ ผู้นำ�นักศึกษ�ทั้งนุและอองซ�นก้ วเข้�ไป อองซ�นและพวกอีก 29 คนเข้�รับก�รฝึกฝน อาเซียนเสวนา �| 83 เป็นผู้นำ�หรือ “think tank” ของขบวนก�รช�ตินิยม ท�งก�รทห�รจ�กกองทั พ ญี่ ปุ่ น ที่ เ ก�ะไหหลำ � ขน�ดใหญ่ที่เรียกว่� “สม�คมเร�ช�วพม่�” หรือ “โด้ะ (Hainan) เป็นที่รู้จักในกลุ่ม “มิตรสห�ยส�มสิบ” (Thirty Comrades) และได้ ัดตั้งกองกำ�ลังปลด บ่ะหม่� อะซีอะโยน” (Dobama Asiayone) และได้ ภาพการถื อธงสัญลักจษณและสั ญลักษณ์ของสมาคม นำ�นกยูงซึ่งเป็นสัตว์ประจำ�ร�ชวงศ์พม่�เข้�ม�เป็น ปล่อยพม่� (BIA – Burma Independence เราชาวพม่า สัญลักษณ์ของสม�คมฯ ในขณะที่แนวคิดหลักของ Army) ขึ้นในปี 1940 ก่อนที่จะพัฒน�ไปเป็นก สม�ชิกโด้ะบ่ะหม่�ได้รับอิทธิพลจ�กลัทธิสังคมนิยม องกำ�ลังแห่งช�ติพม่� (BNA – Burma Nationในช่วal งปลายทศวรรษที ่ 1930อองซ�นเป็ เกิดสงครามโลกครั ้งที่สอง Army) ในอีกหนึ่งปีต่อม�โดยมี น แบบเลนิน (Leninism) ในรัสเซีย แม่ ท พ ั ใหญ่ ขึน้ ตามมาด้วยสงครามมหาเอเชียบูรพา นักชาตินยิ มพม่า ก�รเข้�ร่วมกับญี่ปุ่นครั้งนี้เกิดขึ้นจ�กคว�มหวัง เข้าไปให้ การช่วยเหลือกองทัพญีป่ นุ่ รบกับฝ่ายสัมพันธมิตร ว่�ญี่ปุ่นจะมอบเอกร�ชให้กับพม่�อย่�งเร็วที่สุด ภาพการถือธงสัญลักษณ์ เวล�ผ่�นไปไม่ น�นพวกเข�เล็งเห็นว่�ทห�ร อองซานและพวกอี ก 29 บการฝึ กฝนทางการทหารจากกองทั พญี่ปุ่นที่เกาะ และสัญลักษณ์ของสมาคม เราชาวพม่ า คนเข้ารัแต่ ญี่ปุ่นเหี้ยมโหดและไม่มีทีท่�จะมอบเอกร�ชให้ ไหหล�ำ (Hainan) เป็นที่รู้จักในกลุอย่​่ม�งที“มิ ตรสหายสามสิบ” (Thirty Comrades) และ ษาประท้วงในปี 1936 ่หวังไว้ อองซ�นจึงหันไปห�อังกฤษอีกครั้ง ในช่วงปล�ยทศวรรษที่ 1930 เกิด ได้จดั ตัง้ กองก� ลังปลดปล่ อยพม่า (BIA Burma ้ ในปี 1940 เริ่มตีตัว–ออกห่ �งจ�กญีIndependence ่ปุ่นและจัดตั้งขบวนก�รArmy) ขึน ้งที่สองขึ้นำต�มม�ด้ วยสงคร�ม ยมของนักศึกษ�พม่� สงคร�มโลกครั ย บู ร พ� นั ก ช�ติ น ย ิ มพม่ � เข้ � ไปให้ ก �ร ก�รเมืองของนักศึกษ� มห�เอเชี ปฏิ ก ร ิ ย ิ �เพื อ ่ ต่ อ ต้ � นญี ป ่ น ่ ุ ในน�ม AFPFL (Anก่อนที่จะพัฒนาไปเป็นกองก�ำลังแห่งชาติพม่า (BNA – Burma National Army) วนก�รช�ตินิยมระดับ ช่วยเหลือกองทัพญี่ปุ่นรบกับฝ่�ยสัมพันธมิตร ti-Fascist People’s Freedom League) แทน

ละอองซ�นก้�วเข้�ไป องขบวนก�รช�ตินิยม �ช�วพม่�” หรือ “โด้ะ a Asiayone) และได้ ชวงศ์พม่�เข้�ม�เป็น ณะที่แนวคิดหลักของ ลจ�กลัทธิสังคมนิยม ย

ในอีกหนึ่งปีก ต29 ่อมาโดยมี อองซานเป็ นแม่ทัพใหญ่ อองซ�นและพวกอี คนเข้�รับก�รฝึ กฝน ท�งก�รทห�รจ�กกองทั พ ญี่ ปุ่ น ที่ เ ก�ะไหหลำ � (Hainan) เป็ นทีการเข้ ่รู้จักในกลุา่มร่ “มิวตมกั รสห�ยส�มสิ บญี่ปบุ่น” ครั้งนี้เกิดขึ้นจากความหวังว่าญี่ปุ่นจะมอบเอกราชให้กับ (Thirty Comrades) และได้จัดตั้งกองกำ�ลังปลด างเร็ วที่สุดIndependence แต่เวลาผ่านไปไม่นานพวกเขาเล็งเห็นว่าทหารญี่ปุ่นเหี้ยมโหด ปล่พม่ อยพม่า� อย่ (BIA – Burma Army) ขึ น ้ ในปี 1940 ก่ อ นที จ ่ ะพั ฒ น�ไปเป็นก และไม่มีทีท่าจะมอบเอกราชให้ อย่างที่หวังไว้ อองซานจึงหันไปหาอังกฤษอีกครั้ง องกำ�ลังแห่งช�ติพม่� (BNA – Burma Nation่มตีตในอีัวออกห่ างจากญี ่ปุ่นน และจัดตั้งขบวนการปฏิกิริยาเพื่อต่อต้านญี่ปุ่นในนาม al เริArmy) กหนึ่งปีต่อม�โดยมี อองซ�นเป็ แม่ทัพใหญ่ AFPFL (Anti-Fascist People’s Freedom League) แทน ก�รเข้�ร่วมกับญี่ปุ่นครั้งนี้เกิดขึ้นจ�กคว�มหวัง ว่�ญี่ปุ่นจะมอบเอกร�ชให้กับพม่�อย่�งเร็วที่สุด แต่เวล�ผ่�นไปไม่น�นพวกเข�เล็งเห็นว่�ทห�ร ญี่ปุ่นเหี้ยมโหดและไม่มีทีท่�จะมอบเอกร�ชให้ อย่�งที่หวังไว้ อองซ�นจึงหันไปห�อังกฤษอีกครั้ง เริ่มตีตัวออกห่�งจ�กญี่ปุ่นและจัดตั้งขบวนก�ร ปฏิกิริย�เพื่อต่อต้�นญี่ปุ่นในน�ม AFPFL (Anti-Fascist People’s Freedom League) แทน

85


86

อาเซียนเสวนา

อาเซียนเสวนา | 84

อาเซียนเสวนา | 84

อาเซียนเสวนา | 84

กลุ่ม 30 สหาย (Thirty Comrades), 1941

กลุ่ม 30 สหาย (Thirty Comrades), 1941 เมื่อฟ้าเปลี่ยนสี : ขบวนการนักศึกษาหลังยุคอาณานิคม

พม่�ได้รับเอกร�ชจ�กอังกฤษเมื่อวันที่ 4 มกร�คม ค.ศ.1948 แต่ก่อนหน้�นั้นเพียง 5 เดือน เศษ อองซ�นและรัฐมนตรีอีก 6 คนในรัฐบ�ลถูกลอบสังห�ร อูนุจึงขึ้นเป็นน�ยกรัฐมนตรี แต่รัฐบ�ลหลัง เมื ่อฟ้าอเปลี ่ยนสีบปั:ญขบวนการนั กศึ กษาหลั ยุคอาณานิ ม พ และกับชนกลุ่ม เอกร�ชต้ งประสบกั ห�หล�ยประก�รทั ้งคว�มขั ดแย้งงภ�ยในรั ฐบ�ล กับคกองทั นอนว่ นุข�ดเสถี ยรภ�พอย่ ่งทำ�ให้ก�รเติ บโตของพม่ หลังเอกร�ช น้อย แน่พม่ าได้�รรัฐับบ�ลของอู เอกราชจากอั งกฤษเมื ่อวั�นงรุทีน่ แรงซึ 4 มกราคม ค.ศ.1948 แต่�กยุ่อคนหน้ านั้น แทบจะหยุดนิ่งร�วอยู่ในภ�วะสุ ญ ญ�ก�ศ ดั ง นั น ้ ในปี 1958 อู น จ ุ ง ึ ได้ เ ชิ ญ น�ยพลเนวิ น (Ne Win) ผู้ กลุ ม ่ 30 สหาย (Thirty Comrades), 1941 กลุ ม ่ 30 สหาย (Thirty Comrades), 1941 เพียง 5 เดือนเศษ อองซานและรัฐมนตรีอีก 6 คนในรัฐบาลถูกลอบสังหาร อูนุ บัญช�ก�รกองทัพในเวล�นั้นให้เข้�ม�รับช่วงบริห�รประเทศต่อจ�กตนชั่วคร�ว ตลอด 2 ปีในตำ�แหน่ง ่อฟ้ฐามนตรี เปลี่ยนสี กเอกราชต้ ศึกษาหลั คอาณานิคบมปัญหาหลายประการ เมืจึ่องฟ้ขึา้นเปลี นสีเมื: ขบวนการนั กแต่ ศึ:กรขบวนการนั ษาหลั งยุคงอาณานิ คม งอยุงประสบกั เป็น่ยนายกรั ัฐบาลหลั ของเนวินพม่ สถ�นก�รณ์ ก�รเมื อกฤษเมื งทีรับ่ตเอกร�ชจ�กอั ึง่อเครี ย่ ดในพม่ �สงบลงบ�งส่ วกน แต่ อ�ย่นั�้นงไรก็ ดี กภ�ยหลั อกตั้งอน พม่ � ได้ ง กฤษเมื อ ่ วั น ที ่ 4 มกร�คม ค.ศ.1948 แต่ ่อน นหน้ �งนัก�รเลื ้นาเพีรัยฐง 5 เดื ทั้งความขั �ได้ ร บ ั เอกร�ชจ�กอั ง วั น ที 4 มกร�คม ค.ศ.1948 แต่ ่อนหน้่ม เพียยง 5 เดื อนอนว่ ด แย้ ง ภายในรั ฐ บาล กั บ กองทั พ และกั บ ชนกลุ น้ อ แน่ บาล ทั่วไปในปี 1960 อู นุกอลัีกบ 6 คนในรั เข้�ม�บริ ห�รประเทศอี กฐครับ�ลถู ็ถูกนเนวิ นทำฐ�มนตรี ิรัฐรนประห�รในอี 2 ปี ่อม� ง ฐมนตรี อกีกลอบสั 6 คนในรั งห�ร อู นปฏิ ุจึงขึว้นัต แต่ เป็ รัฐตบ�ลหลั เศษ อองซ�นและรั ฐเศษ อองซ�นและรั มนตรี บ�ลถู งห�ร อู น้งุจแต่ ึงขึกก้นลอบสั เป็ น�ยกรั ัฐน�ยกรั บ�ลหลัฐงมนตรีก แต่ ของอู ุ ข าดเสถี รภาพอย่ นห�หล�ยประก�รทั แรงซึ ำ ให้​้งคว�มขั กฐบ�ล ารเติ โตของพม่ ากับยุกองทั ค่มหลัพ งและกั เอกราช (ค.ศ.1962 เอกร�ชต้ องประสบกับาปังรุ ญ้งคว�มขั ดกัแย้บบงกองทั ภ�ยในรั ฐบ�ล บชนกลุ บชนกลุ่ม เอกร�ชต้ อน งประสบกั บปัญยห�หล�ยประก�รทั ดแย้่ งงท� ภ�ยในรั พ และกั

ย แน่น่ใอนว่ �รัฐยบ�ลของอู น�งรุ ุข�ดเสถี �งรุบน1958 แรงซึ่งทำอู�ให้ �ยุคหลังเอกร�ช ่งอราวอยู ญญากาศ งทำนั�ให้​้นกในปี น�ยุ​ุจกค�รเติ ึงหลัได้งบเอกร�ช เโตของพม่ ชิญนายพลเนวิ น น้อแทบจะหยุ ย แน่นอนว่�ดรันิ ฐน้บ�ลของอู ุขนภาวะสุ �ดเสถี รภ�พอย่ นแรงซึดัย่งรภ�พอย่ �รเติ โตของพม่ แทบจะหยุ ด นิ ง ่ ร�วอยู ใ ่ นภ�วะสุ ญ ญ�ก�ศ ดั ง นั น ้ ในปี 1958 อู น จ ุ ง ึ ได้ เ ชิ ญ น�ยพลเนวิ น (Ne Win) แทบจะหยุ ด นิ ง ่ ร�วอยู ใ ่ นภ�วะสุ ญ ญ�ก�ศ ดั ง นั น ้ ในปี 1958 อู น จ ุ ง ึ ได้ เ ชิ ญ น�ยพลเนวิ น (Ne Win) ผู ้ (Ne Win) ผู้บัญชาการกองทัพในเวลานั้นให้เข้ามารับช่วงบริหารประเทศต่อจากตน ผู้ บัญช�ก�รกองทั พในเวล�นั เข้�ม�รับช่อวจ�กตนชั งบริห�รประเทศต่ อจ�กตนชัในตำ ่วคร�ว ตลอด 2 ปี ในตำ�แหน่ง บัญช�ก�รกองทัพในเวล�นั ้นให้เข้�ม�รั บช่วงบริ้นหให้ �รประเทศต่ ่วคร�ว ตลอด 2 ปี �แหน่ง ชั่วคราว ตลอด 2 ปีในต� ำแหน่งก�รเมื ของเนวิ การเมืวน แต่ องทีงอก�รเลื ่ตย่ึง�งไรก็ เครี าสงบ ของเนวิ งที่ตึงนเครีสถานการณ์ ยดในพม่ ดยี ้งดในพม่ ภ�ยหลังก�รเลื อกตั้ง ของเนวิน สถ�นก�รณ์ ก�รเมืนอ สถ�นก�รณ์ งที่ตึงเครียดในพม่ �อสงบลงบ�งส่ วน แต่�อสงบลงบ�งส่ ย่�งไรก็ดี ภ�ยหลั อกตั ลงบางส่ ว น แต่ อ ย่ า งไรก็ ด ี ภายหลั ง การเลื อ กตั ง ้ ทั ว ่ ไปในปี 1960 อู น ก ุ ลั บ เข้ า มาบริ ห าร ทั ว ่ ไปในปี 1960 อู น ก ุ ลั บ เข้ � ม�บริ ห �รประเทศอี ก ครั ง ้ แต่ ก ถ ็ ก ู เนวิ น ทำ � ปฏิ ว ต ั ร ิ ฐ ั ประห�รในอี ก 2 ปี ต ่อม� ทั่วไปในปี 1960 อูนุกลับเข้�ม�บริห�รประเทศอีกครั้งแต่ก็ถูกเนวินทำ�ปฏิวัติรัฐประห�รในอีก 2 ปีต่อม� (ค.ศ.1962 (ค.ศ.1962 ประเทศอีกครั้งแต่ก็ถูกเนวินท�ำปฏิวัติรัฐประหารในอีก 2 ปีต่อมา (ค.ศ.1962)

อูนุ เนวิน

อูนุ

เนวิน

อูนุ เนวิน อูนุ เนวิน


ลลิตา หาญวงษ์

และแล้วความเก็บกดก็เคลื่อนไหว

ในช่วงแรกของรัฐบาลรักษาการของเนวิน เศรษฐกิจโดยรวมของพม่าที่ยังอยู่ ในกระบวนการฟืน้ ฟูจากพิษสงครามโลกครัง้ ที่ 2 พม่าเป็นประเทศ “ดาวรุง่ ” ทีก่ ำ� ลังไป ได้สวยและมีเศรษฐกิจทีพ ่ ฒ ั นาในระดับน่าพอใจ จากค�ำบอกเล่าของชาวพม่าหลายคน ผู ้ บ รรยายจั บ ความได้ ว ่ า ยุ ค ของเนวิ น เป็ น ยุ ค ที่ ช นชั้ น กลางในเมื อ ง “มี ค วามสุ ข ” เพราะยังมีกจิ กรรมบันเทิง เวทีลลี าศ และการเสพย์วฒ ั นธรรมตะวันตกกันอย่างคึกคัก แต่ในเวลาต่อมาหลังรัฐประหารสภาพการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจเปลี่ยนไป แบบหน้ามือเป็นหลังมือ รัฐบาลเนวินด�ำเนินนโยบายปิดประเทศ (คือห้ามมิให้มีการน�ำเข้าและส่งออก) และพัฒนาประเทศไปสู่ “วิถีพม่าสู่ระบอบสังคมนิยม” (Burmese Way to Socialism) ภายใต้ BSPP (Burma Socialist Programme Party) อันเป็นระบอบผสมผสานระหว่าง ลัทธิสังคมนิยม ชาตินิยม และเผด็จการนิยม หรือเรียกอีกอย่างคือ “ระบอบเนวิน” มีการปิดกั้นเสรีภาพของนักวิชาการและสื่อ ชาวต่างชาติท่ีเคยอาศัยในพม่าทั้งที่เป็น ชาวจีน อินเดีย และชาวตะวันตกค่อย ๆ ถูกผลักขับออกจากประเทศ และพม่า กลายเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลกในเวลาต่อมา แน่นอนว่าการรัฐประหารของเนวินสร้างความขุน่ เคืองให้กบั นักศึกษาจนน�ำไปสู่ และแล้วความเก็บกดก็เคลื่อนไหว ในช่ งแรกของรัฐใ บ�ลรั กษ�ก�รของเนวิ จโดยรวมของพม่ก �ทีศึ ่ยังอยู การประท้วงรัฐบาลเนวิ ฟื้นนฟูจครั ง้ วใหญ่ นปี 1962น เศรษฐกิ เพราะนั ก่ในกระบวนก�ร ษามองว่ารัฐบาลทหารเข้าไป �กพิษสงคร�มโลกครั้งที่ 2 พม่�เป็นประเทศ “ด�วรุ่ง” ที่กำ�ลังไปได้สวยและมีเศรษฐกิจที่พัฒน� ในระดับน่�พอใจ จ�กคำ�บอกเล่�ของช�วพม่�หล�ยคน ผู้บรรย�ยจับคว�มได้ว่�ยุคของเนวินเป็นยุคที่ แทรกแซงกิจการภายในมหาวิ ยและกวาดล้ ่ ป็นปฏิปกั ษ์ ชนชั้นกล�งในเมือง ท “มีคยาลั ว�มสุข” เพร�ะยั งมีกิจกรรมบันเทิง เวทีลีลา �ศ งปราบปรามนั และก�รเสพย์วัฒนธรรมตะวัน กศึกษาทีเ ตกกันอย่�งคึกคัก แต่ในเวล�ต่อม�หลังรัฐประห�รสภ�พก�รณ์ท�งก�รเมืองและเศรษฐกิจเปลี่ยนไป แบบหน้ � มื อ เป็ น หลั ง มื อ ต่อรัฐบาล ความไม่พอใจของนั กศึกษาน�ำไปสูก่ ารเดินขบวนประท้วง การนัดหยุดเรียน รัฐบ�ลเนวินดำ�เนินนโยบ�ยปิดประเทศ (คือห้�มมิให้มีก�รนำ�เข้�และส่งออก) และพัฒน� ประเทศไปสู่ “วิถีพม่�สู่ระบอบสังคมนิยม” (Burmese Way to Socialism) ภ�ยใต้ BSPP (Burma Soและการจลาจลหลายครั ้งProgramme ตลอดปี จนท��งลัำทให้ รยัฐม บาลตอบโต้ นักศึกษาขั้นเด็ดขาด cialist Party) อัน1962 เป็นระบอบผสมผส�นระหว่ ธิสังคมนิ ช�ตินิยม และเผด็จก�ร นิยม หรือเรียกอีกอย่�งคือ “ระบอบเนวิน” มีก�รปิดกั้นเสรีภ�พของนักวิช�ก�รและสื่อ ช�วต่�งช�ติที่ เคยอ�ศัยในพม่�ทั้งที่เป็ก นช�วจี นก อินษาในมหาวิ เดีย และช�วตะวันตกค่อย ๆ ท ถูกยาลั ผลักขับออกจ�กประเทศ และ้ ง อั น เคยเป็ น ศู น ย์ ร วม โดยการระเบิดอาคารสโมสรนั ศึ ย ย่ า งกุ พม่�กล�ยเป็นหนึ่งในประเทศที่ย�กจนที่สุดในโลกในเวล�ต่อม� แน่ น อนว่ � ก�รรั ฐ ประห�รของเนวิ น สร้ � งคว�มขุ่ น เคื อ งให้ กั บ นั ก ศึ ก ษ�จนนำ � ไปสู่ ก �ร นักศึกษาหัวก้าวหน้าที ประท้่ตวงรั่อฐบ�ลเนวิ ต้านนระบอบอาณานิ คมของอังกฤษและเป็นแหล่งบ่มเพาะ ครั้งใหญ่ในปี 1962 เพร�ะนักศึกษ�มองว่�รัฐบ�ลทห�รเข้�ไปแทรกแซงกิจก�ร ภ�ยในมห�วิทย�ลัยและกว�ดล้�งปร�บปร�มนักศึกษ�ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบ�ล คว�มไม่พอใจของ “วีรบุรษ ุ ” อย่างอองซานนักศึกแต่ ก่การท� ำลายสั ษณ์โดยการก� ำจัจนดสโมสรนักศึกษาในครัง้ ษ�นำ�ไปสู �รเดินขบวนประท้ วง ก�รนัดญ หยุดลั เรียก น และก�รจล�จลหล�ยครั ้งตลอดปี 1962 ทำ�ให้รัฐบ�ลตอบโต้นักศึกษ�ขั้นเด็ดข�ดโดยก�รระเบิดอ�ค�รสโมสรนักศึกษ�ในมห�วิทย�ลัยย่�งกุ้ง อั น เคยเป็ น ศู น ย์ ร วมนั ก ศึ ก ษ�หั ว ก้ � วหน้ � ที ่ ต ่ อ ต้ � นระบอบอ�ณ�นิ ค มของอั ง กฤษและเป็ น แหล่ นั้นก็ไม่ได้ท�ำให้กระบวนการนั กศึกษานั้นอ่อนแอลงเลย แต่กงบ่มลับยิ่งท�ำให้นักศึกษาคับ เพ�ะ “วีรบุรุษ” อย่�งอองซ�น แต่ก�รทำ�ล�ยสัญลักษณ์โดยก�รกำ�จัดสโมสรนักศึกษ�ในครั้งนั้นก็ไม่ได้ �ให้กระบวนก�รนักศึกษ�นั้นอ่อนแอลงเลย แต่กลับยิ่งทำ�ให้นักศึกษ�คับแค้นใจม�กขึ้นและยิ่งทำ�ให้ แค้นใจมากขึ้นและยิ่งท�ทำขบวนก�รนั ำให้กขศึกษ�เข้ บวนการนั มแข็งม�กขึ้นต�มลำ�ดัก บ ศึกษาเข้มแข็งมากขึ้นตามล�ำดับ อาเซียนเสวนา | 85

อาคารสโมสรนักศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง

อาคารสโมสรนักศึกษาแห่งมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง

87


88

ตำ�แหน่งนี้เสียชีวิตลงในนครนิวยอร์ค ก่อนที่อูถั่นจะย้�ยไปประจำ� ณ องค์ก�รสหประช�ช�ติ เข�เป็นที่ รู้จักในฐ�นะที่ปรึกษ�คู่ใจของอูนุ จึงถือเป็น “ศัตรูท�งก�รเมือง” คนสำ�คัญอีกคนหนึ่งของเนวิน อาเซี เมื่อยอูนเสวนา ถั่นเสียชีวิตลงด้วยโรคมะเร็งปอด ศพของเข�ถูกนำ�กลับไปยังพม่�เพื่อประกอบพิธีท�งศ�สน� แต่ รัฐบ�ลเนวินยืนยันไม่จัดพิธีศพของอูถั่นเป็นรัฐพิธี สร้�งคว�มสับสนและคับแค้นให้กับส�ธ�รณชนที่ ไปรอรับศพของอูถั่นที่สน�มบินมินกะล�ดง เพร�ะนักศึกษ�มองว่�อูถั่นคือวีรบุรุษและเป็นสัญลักษณ์ ของสั ถั่นก ได้ารณ์ ทำ�หน้�ห ที่สนึ ำ�คัง �รระหว่�งประเทศ ทั ยังลดคว�มขั ระดับ าและยิง นติภ�พของโลก อู อีกเหตุ ่ ญทีในองค์ ส่ ร้ากงความขมขื น่ ้งให้ กบั นักดศึแย้กงษาพม่ ่ เพิม่ ความขัดแย้ง ประเทศขึ้น เช่น คว�มขัดแย้งระหว่�งช�ติอ�หรับกับอิสร�เอล และเหตุก�รณ์วิกฤตก�รณ์คิวบ�ที่เข�มี ระหว่ า งรั ฐ บาลกั บ นั ก ศึ ก ษาเกิ ด ขึ น ้ ในปี 1974 เมื อ ่ อู ถ น ่ ั (U Thant, ค.ศ. 1909-1974) ส่วนสำ�คัญในก�รเจรจ�ประนีประนอมคว�มระหว่�งสหรัฐอเมริก�กับสหภ�พโซเวียต อดีตเลขาธิ จ�กสน�มบิ น มิ น กะล�ดง รั ฐ บ�ลรี บ นำ � ศพของอู ถ น ่ ั ไปตั ง ้ ไว้ ใ ห้ ป ระช�ชนเข้ � เค�รพที ส ่ น�ม การขององค์การสหประชาชาติที่ด�ำรงต�ำแหน่งยาวนานที่สุดและเป็นคน กีฬ�ไจ้ก์กะสั่น หลังจ�กนั้นไม่น�นรัฐบ�ลก็ประก�ศว่�จะนำ�ศพอูถั่นไปฝังไว้ที่สุส�นจ�นด่อช�นเมือง ด้รับเกี รติฐบ�ลเป็ ให้ดน�ำอย่รงต� ำแหน่งนี้เสีฐยบ�ลจะปฏิ ชีวิตลงในนครนิ วยอร์ค ก่อนที่อูถั่น ย่�เอเชี งกุ้ง นักย ศึกคนแรกที ษ�ไม่พอใจกับ่ไก�รกระทำ �นี้ขยองรั �งม�ก เพร�ะนอกจ�กรั เสธไม่ จัดรัฐพิธีให้สมเกียรติแก่อูถั่นแล้วยังจะรีบเร่งนำ�ศพไปฝังในสุส�นธรรมด� ๆ จึงเกิดเหตุชุลมุนแย่งโลง จะย้ายไปประจ�ำ ณ องค์การสหประชาชาติ เขาเป็นที่รู้จักในฐานะที่ปรึกษาคู่ใจของอูนุ ศพอูถั่นขึ้น นักศึกษ�นำ�ศพอูถั่นไปตั้งไว้ในมห�วิทย�ลัยย่�งกุ้งอยู่ 6 วันก่อนที่รัฐบ�ลจะประก�ศกฎ อัยจึก�รศึ กศึกษ�อย่�งเด็อดง” ข�ดจนเป็ ษ�และประช�ชนเสี ยชีวิต น งถืกอและสั เป็น่งให้ป“ศัร�บปร�มนั ตรูทางการเมื คนส�นเหตุ ำคัให้ญมีนอีักกศึกคนหนึ ่งของเนวิ ร�ว 100 คน เรียกเหตุก�รณ์ในครั้งนั้นว่� “ก�รจล�จลอูถั่น” (U Thant Funeral Crisis)

เมื ยชีวิตลงด้วว�ทกัยโรคมะเร็ งปอด ศพของเขา ข้อพิพ�ทเล็ก ่อๆ อูถ ที่เั่น กิดเสี ขึ้นจ�กก�รทะเล�ะวิ น ระหว่�งนักศึกษ�กับนักเรียนอีกกลุ่มหนึ่งในร้�นน้ำ� ถูช� ก น�เมื่อำผูกลั บ ไปยั ง พม่ า เพื่ อ ประกอบพิ ธี ท างศาสนา ้ก่อเหตุทั้งหมดถูกจับกุมตัว เย�วชนคน หนึ ง ่ ที ม ่ บ ี ด ิ �เป็ น สม�ชิ ได้รจ ับปล่ แต่รัฐบาลเนวิกของ BSPP กลั นยืนยันบไม่ ัดอพิย ธีศพของอูถั่นเป็นรัฐพิธี ตัวโดยที่ไม่ได้รับก�รแจ้งข้อห�ใด ๆ นักศึกษ�จ�ก สร้ างความสั Rangoon Institute บ of สนและคั Technology กลุบ่มแค้ นั้นจึงน ไปให้ กับสาธารณชนที่ ไ ปรอ ประท้ ว งหน้ � สถ�นี ต � ำ รวจ รับศพของอูถนั่ ทีส่ นามบินมินกะลาดง เพราะนักศึกษามอง ก�รประท้วงบ�นปล�ยเป็นก�รประท้วง ว่รัาฐบ�ลของเนวิ อูถนั่ คือนวีและก�รบริ รบุรษุ และเป็ นสัญลักจ ษณ์ของสันติภาพของโลก ห�รง�นท�งเศรษฐกิ ฐบ�ล นักศึกษ�มุ่งโจมตีนโยบ�ย อูทีลดค่ ถ่ผิดั่ น�พล�ดของรั ได้ ท � ำ หน้ า ที ่ ส � ำ คั ญ ในองค์ ก ารระหว่ า งประเทศ เงิน (demonetization) 2 ครั้งในระหว่�งปี 1987 โดยเฉพ�ะอย่ �งยิ่งงก�รลดค่ นครั้ง ทั1985 ถึ ง้ ยังงลดความขั ดแย้ ระดับ�เงิประเทศขึ น้ เช่น ความขัดแย้ง สุดท้�ย ซึ่งเป็นก�รประก�ศยกเลิกธนบัตรร�ค� 25, อู ถั่น (U Thant) างชาติ อาหรัถั่นบก็ไกัม่มบีเหตุอิกส�รณ์ราเอล ฤตการณ์ ระหว่หลั งจ�กก�รจล�จลอู 35 และ และเหตุ 75 จ๊�ตโดยไม่กมารณ์ ีก�รแจ้งวเตืิก อนและไม่ มีก�ร คิวบาที่เขามีส่วนส�ำคัญ ใดที จ ่ ะบั น ่ ทอนรั ฐ บ�ลเนวิ น ได้ อ ก ี จนกระทั ง ่ ต้ น ปี ชดเชยใด ๆ ทำ�ให้าเงิงสหรั นในระบบเศรษฐกิ ในการเจรจาประนีประนอมความระหว่ ฐอเมริจกร�ว 75 เปอร์ ากับสหภาพโซเวียต 1987 ช�วพม่�เริ่มรู้สึกว่�ชีวิตตนได้รับผลกระทบ เซ็นห�ยไปทันที จ�กนโยบ�ยเศรษฐกิจของเนวินอย่�งหลีกเลี่ยงไม่ได้ นมินกะลาดง รัฐบาลรีบน�ำศพของอูถั่นไปตั้งไว้ให้ประชาชน เหตุ ก�รณ์คว�มรุจากสนามบิ นแรงครั้งแรกประทุขึ้นจ�ก

เข้าเคารพทีส่ นามกีฬาไจ้กก์ ะสัน่ หลังจากนัน้ ไม่นานรัฐบาลก็ประกาศว่าจะน�ำศพอูถนั่ ไปฝังไว้ที่สุสานจานด่อชานเมืองย่างกุ้ง นักศึกษาไม่พอใจกับการกระท�ำนี้ของรัฐบาล เป็นอย่างมาก เพราะนอกจากรัฐบาลจะปฏิเสธไม่จัดรัฐพิธีให้สมเกียรติแก่อูถั่นแล้ว ยังจะรีบเร่งน�ำศพไปฝังในสุสานธรรมดา ๆ จึงเกิดเหตุชุลมุนแย่งโลงศพอูถั่นขึ้น นักศึกษาน�ำศพอูถั่นไปตั้งไว้ในมหาวิทยาลัยย่างกุ้งอยู่ 6 วันก่อนที่รัฐบาลจะประกาศ กฎอัยการศึกและสั่งให้ปราบปรามนักศึกษาอย่างเด็ดขาดจนเป็นเหตุให้มีนักศึกษา และประชาชนเสียชีวิตราว 100 คน เรียกเหตุการณ์ในครั้งนั้นว่า “การจลาจลอูถั่น” (U Thant Funeral Crisis) หลังจากการจลาจลอูถั่นก็ไม่มีเหตุการณ์ใดที่จะบั่นทอนรัฐบาลเนวินได้อีก จนกระทัง่ ต้นปี 1987 ชาวพม่าเริม่ รูส้ กึ ว่าชีวติ ตนได้รบั ผลกระทบจากนโยบายเศรษฐกิจ ของเนวินอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เหตุการณ์ความรุนแรงครั้งแรกประทุขึ้นจากข้อพิพาท เล็กๆ ที่เกิดขึ้นจากการทะเลาะวิวาทกันระหว่างนักศึกษากับนักเรียนอีกกลุ่มหนึ่ง ในร้านน�ำ้ ชา เมือ่ ผูก้ อ่ เหตุทงั้ หมดถูกจับกุมตัว เยาวชนคนหนึง่ ทีม่ บี ดิ าเป็นสมาชิกของ


ลลิตา หาญวงษ์

89

อาเซียนเสวนา | 87

BSPP กลั บได้ราับงมี ปล่นอาคม-กั ยตัวโดยที ่ไม่ไ1988 ด้รับการแจ้งข้อหาใดๆ นักศึกษาจาก Rangoon การประท้ วงระหว่ นยายน

Instituteด้วof ยปัญTechnology ห�ท�งเศรษฐกิจกลุ และสภ�พก�รเมื องที่บอบช้ ำ�สุดขีาดสถานี จ�กระบอบเนวิ ่มนั้นจึงไปประท้ วงหน้ ต�ำรวจน จึงไม่น่�แปลก ใจว่�ก�รประท้วงรัฐบ�ลที่เริ่มตั้งแต่เดือนมีน�คม ค.ศ.1988 จะเต็มเปี่ยมไปด้วยพลังทั้งจ�กนักศึกษ� พระสงฆ์ ก�รนำ�ของผูน้นการประท้ ำ�นักศึกษ�คนสำ อย่�งมินโกน�ย (Min Ko Naing) และประช�ชนทั การประท้่ววไปภ�ยใต้ งบานปลายเป็ วงรั�คัฐญบาลของเนวิ นและการบริหารงาน

ทางเศรษฐกิจทีผ่ ดิ พลาดของรัฐบาล นักศึก ษามุง่ โจมตี นโยบายลดค่าเงิน (demonetization) ผลกระทบของก�รปฏิ บั ติ ก �รปร�บ 2 ครั้งในระหว่างปี 1985 ถึง 1987 โดยเฉพาะอย่ งยิน่ง�คม-ต้ การลดค่ าเงินครั ปร�มระหว่ � งเดื อานมี น สิ ง ห�คมทำ � ให้​้งสุดท้าย บ�ลไม่35 ส�ม�รถควบคุ ได้ มน�ยพล ซึ่งเป็นการประกาศยกเลิกธนบัตรราคารัฐ25, และ 75มสถ�นก�รณ์ จ๊าตโดยไม่ ีการแจ้งเตือน เนวิ น จึ ง ประก�ศล�ออกจ�กทุ ก ตำ � แหน่ ง รวมทั ้ง นที และไม่มีการชดเชยใด ๆ ท�ำให้เงินในระบบเศรษฐกิจราว 75 เปอร์เซ็นหายไปทั

น�ยกรัฐมนตรีและผู้บัญช�ก�รทห�รสู งสุด างมี และ การประท้วงระหว่ นาคม-กันยายน 1988 ด้ ว ยปั ญ ห�ท�งเศรษฐกิ รัฐบ�ลยังสั่งปิดมห�วิทย�ลัยทั่วประเทศ น�ยพล จและสภ�พก�รเมืองที่บอบช้ำ�สุด วงรัฐบ�ลที่เริ่มตั้งแต่เดือนมีน�คม ค.ศ.1988 จะเต เส่งลวิน (Sein Lwin) ที่ไใจว่ ด้ร�ับก�รประท้ ฉ�ย�ว่� “เพชรฆ�ต พระสงฆ์ และประช�ชนทั่วไปภ�ยใต้ก�รนำ�ของผู้นำ�นักศึกษ�คนสำ�ค งย่�งกุ้ง1988 ” ผู้นำ�กองทัพปร�บปร�มนักศึกษ�และ การประท้วงระหว่างมีนาคม-กันแห่ ยายน ผล สังห�รนักศึกษ�ตั้งแต่ปี 1962 ขึ้นม�เป็นน�ยก ปร�มระหว่ � ง รัฐมนตรีแทนน�ยพลเนวิ ด้ ว ยปั ญ หาทางเศรษฐกิ จ และสภาพการเมื อ ง น ก�รเข้�ดำ�รงตำ�แหน่ง รัฐบ�ลไม่ส�ม� ลวิ น ยิ่ ง ทำ � ให้าค ว�มตึ ง เครี ย ดระหว่ � ง ที่ บ อบช�้ ำ สุ ด ขี ด จากระบอบเนวิ น จึ งของเส่ ไม่ น ่ างแปลกใจว่ เนวินจึงประก รัฐบ�ลกับนักศึกษ�เพิ่มขึ้นต�มลำ�ดับจนนำ�ไปสู่ น�ยกรัฐมนตร การประท้วงรัฐบาลที่เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม ค.ศ.1988 รัฐบ�ลยังสั่งปิด คว�มรุนแรงครั้งสำ�คัญที่สุดในเดือนกรกฎ�คมถึง จะเต็มเปี่ยมไปด้วยพลังทั้งจากนักศึกษา พระสงฆ์ และ เส่งลวิน (Sein ต้นเดือนสิงห�คม จนนำ�ไปสู่ก�รนัดชุมนุมประท้วง มินโกนาย แห่งย่�งกุ้ง” ผ ประชาชนทัว่ ไปภายใต้การน�ำของผูน้ ำ� นัครัก้งศึใหญ่ กษาคนส� ญ อน 8 (สิงห�คม) ปี 1988 ที่สุดในวันำทีคั่ 8 เดื สังห�รนักศึกษ อย่างมินแต่โกนาย ก�รประท้(Min วงทุกครัKo ้งก็ถNaing) ูกรัฐบ�ลปร�บ ่สุด เหตุ ก�รณ์ รัฐมนตรีแทนน แต่กในที ารประท้ วงทุ กครัคว�มรุ ้ง นแรงตลอดปี 1987ของเส่ ง ลวิ น ย ปร�มอย่�งรุนแรง ในเหตุก�รณ์ครั้งหนึ่งที่ทะเลส�บ 1988 เป็นที่รู้จักกันในเหตุก�รณ์ 8888 หรือ “ชิตเล ก็ถูกรัฐบาลปราบปรามอย่างรุนแรง ในเหตุการณ์ครั้งหนึ่ง รัฐบ�ลกับนักศ อินย� (Inya Lake) ใกล้กับมห�วิทย�ลัยย่�งกุ้ง โลง” (เลขแปดสี่ตัว) ในพม่� คว�มรุนแรงค ที ท ่ ะเลสาบอิ น ยา (Inya Lake) ใกล้ ก บ ั มหาวิ ท ยาลั ย ย่ า งกุ ง ้ ตำ�รวจได้ไล่ล่�นักศึกษ�ที่ประท้วงอยู่บริเวณถนน ต้นเดือนสิงห� ต�ำรวจได้ ไล่ล่านัก(ภ�ยในสวนส�ธ�รณะรอบ ศึกษาที่ประท้วงอยู่บริเวณถนนมาจนถึงสะพานขาวมินโกนาย (ภายในสวน ม�จนถึ งสะพ�นข�ว ครั้งใหญ่ที่สุดใ แต่ก�รประท้วงทุกครั้งก็ถูกรัฐบ�ลปร�บ ในที่สุด เหต ทะเลส�บอิ นย�) นักศึกษ�กลุ่มแรกถูนกยา) ยิง ที่เนัหลืกอศึกกษากลุ่มแรกถูกยิงที ่เหลือกระโดดลงทะเลสาบ สาธารณะรอบทะเลสาบอิ ปร�มอย่�งรุนแรง ในเหตุก�รณ์ครั้งหนึ่งที่ทะเลส�บ 1988 เป็นที่รู้จ ระโดดลงทะเลส�บ บ�งส่งวและอี นถูกตำ�กรวจยิ งและอี ก ้ำเสียชีวิต บางส่วนถูกต�ำรวจยิ บางส่ วนจมน� อินย� (Inya Lake) ใกล้กับมห�วิทย�ลัยย่�งกุ้ง โลง” (เลขแปด บ�งส่วนจมน้ำ�เสียชีวิต ตำ�รวจได้ไล่ล่�นักศึกษ�ที่ประท้วงอยู่บริเวณถนน

สะพานขาว

ม�จนถึงสะพ�นข�ว (ภ�ยในสวนส�ธ�รณะรอบ ทะเลส�บอินย�) นักศึกษ�กลุ่มแรกถูกยิง ที่เหลือก ระโดดลงทะเลส�บ บ�งส่วนถูกตำ�รวจยิงและอีก ผลกระทบของการปฏิ บัติการปราบปราม บ�งส่วนจมน้ำ�เสียชีวิต

ระหว่างเดือนมีนาคม-ต้นสิงหาคมท�ำให้รัฐบาล ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ นายพลเนวิน จึงประกาศลาออกจากทุกต�ำแหน่งรวมทัง้ นายก รั ฐ มนตรี แ ละผู ้ บั ญ ชาการทหารสู ง สุ ด และ สะพานขาว รัฐบาลยังสัง่ ปิดมหาวิทยาลัยทัว่ ประเทศ นายพลเส่งลวิน (Sein Lwin) ทีไ่ ด้รบั ฉายาว่า “เพชรฆาตแห่งย่างกุ้ง” ผู้น�ำกองทัพปราบปรามนักศึกษาและสังหารนัสะพานขาว กศึกษาตั้งแต่


90

อาเซียนเสวนา

ปี 1962 ขึน้ มาเป็นนายกรัฐมนตรีแทนนายพลเนวิน การเข้าด�ำรงต�ำแหน่งของเส่งลวิน ยิ่งท�ำให้ความตึงเครียดระหว่างรัฐบาลกับนักศึกษาเพิ่มขึ้นตามล�ำดับจนน�ำไปสู่ ความรุนแรงครั้งส�ำคัญที่สุดในเดือนกรกฎาคมถึงต้นเดือนสิงหาคม จนน�ำไปสู่การนัด ชุมนุมประท้วงครั้งใหญ่ที่สุดในวันที่ 8 เดือน 8 (สิงหาคม) ปี 1988 ในที่สุด เหตุการณ์ ความรุนแรงตลอดปี 1987-1988 เป็นที่รู้จักกันในเหตุการณ์ 8888 หรือ “ชิตเลโลง” (เลขแปดสี่ตัว) ในพม่า เหตุการณ์ 8-8-88

เหตุการณ์ 8888 ถือว่าเป็นเหตุการณ์ความรุนแรงหลายเหตุการณ์รวมกัน มิไม่ใช่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและจบลงภายในวันเดียวอย่างที่เข้าใจกัน ความรุ นแรงของ อาเซียนเสวนา | 88 สถานการณ์ เ กิ ด ขึ ้ น ในช่ ว งเดื อ นมี น าคมเรื ่ อ ยมาจนถึ ง เดื อ นสิ ง หาคม เมื ่ อ นั ก ศึ กษา เหตุการณ์ 8-8-88 นัดเดิ นขบวนขนาดใหญ่ ภายในกรุ งย่าก�รณ์ งกุ้งคในวั ่ 8 สิงหาคม งลวิน เหตุก�รณ์ 8888 ถื อว่�เป็นเหตุ ว�มรุนนทีแรงหล�ยเหตุ ก�รณ์ในที รวมกั่สนุด มินายพลเส่ ไม่ใช่เหตุก�รณ์ ที เ ่ กิ ด ขึ น ้ และจบลงภ�ยในวั น เดี ย วอย่ � งที เ ่ ข้ � ใจกั น คว�มรุ น แรงของสถ�นก�รณ์ เ กิ ด ขึ น ้ ในช่ ว งเดื อ ได้สั่งการปราบปรามผู้ชุมนุมประท้วงโดยเฉพาะอย่างยิ่งแกนน�ำที่เป็นนักศึกน ษา มีน�คมเรื่อยม�จนถึงเดือนสิงห�คม เมื่อนักศึกษ�นัดเดินขบวนขน�ดใหญ่ภ�ยในกรุงย่�งกุ้งในวันที่ 8 อย่างโหดเหี ้ยม นอกจากเหตุการณ์ที่สะพานขาวแล้ว ความเหี้ยมโหดของรัฐบาล สิงห�คม ในที่สุดน�ยพลเส่งลวินได้สั่งก�รปร�บปร�มผู้ชุมนุมประท้วงโดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งแกนนำ�ที่เป็น เส่งลวินันกศึยักงษ�อย่ แสดงออกผ่ กเข้ากไปยิ กศึกษาและแพทย์ ข่ ดั ขวางทหาร �งโหดเหี้ยาม นการบุ นอกจ�กเหตุ �รณ์ทงี่สนัะพ�นข�วแล้ ว คว�มเหี้ย-พยาบาลที มโหดของรัฐบ�ลเส่ งลวินยัง และต�แสดงออกผ่ ำ รวจถึ ง�นก�รบุ โรงพยาบาลกลางกรุ ง ย่ า งกุ ้ ง ส่ ว นจ� ำ นวนผู ้ เ สี ย�ชีรวจถึ วิ ตงทัโรงพย�บ�ล ้ ง หมดจาก กเข้�ไปยิงนักศึกษ�และแพทย์ -พย�บ�ลที ่ขัดขว�งทห�รและตำ กล�งกรุ งย่�งกุ �นวนผู้เสีอยนชีวกลุ ิตทั้ง่มหมดจ�กคว�มรุ ่ยืดน เยืว่้อหล�ยเดื นักศึกษ�ได้ ความรุ นแรงที ่ยืด้ง เยืส่้อวนจำ หลายเดื นักศึกษาได้นปแรงที ระเมิ ามีผู้เสีอยน ชีวกลุิต่มในเหตุ การณ์ ประเมินว่�มีผู้เสียชีวิตในเหตุก�รณ์นี้ประม�ณ 1,000 คน แต่ท�งรัฐบ�ลได้ออกประเมินว่�มีผู้เสียชีวิต นี้ประมาณ 1,000 คน แต่ทางรัฐบาลได้ออกประเมินว่ามีผู้เสียชีวิตเพียง 200-300 คน เพียง 200-300 คน

ภาพเหตุการณ์การปราบปรามนักศึกษาในเหตุการณ์ 8-8-88

ภาพเหตุการณ์การปราบปรามนักศึกษาในเหตุการณ์

ด้วยคว�มกดดัน น�ยพลเส่งลวินอยู่ในอำ�น�จได้เพียง 17 วัน ก็ตัดสินใจล�ออกจ�กเพร�ะ

สถ�นก�รณ์ไม่ได้น กองทั พได้นำ�เอ�พลเรื นคือใ่ ดร.หม่ อง หม่อง ที ญให้ ควบคุด้วมยความกดดั นายพลเส่ งลวินออยู นอ�ำนาจได้ เพี่อยดีงตเคยเป็ 17 วันนคนร่ก็ต�งรัดั ฐสิธรรมนู นใจลาออก น�ยพลเนวิ น ม�เป็ น น�ยกรั ฐ มนตรี แต่ ส ด ุ ท้ � ยก็ ถ ก ู น�ยพลซอหม่ อ งทำ � รั ฐ ประห�รและเร่ ง ฟื น ้ ฟู ภ �พลั ก จากเพราะควบคุมสถานการณ์ไม่ได้ กองทัพได้น�ำเอาพลเรือนคือ ดร.หม่อง ษณ์ หม่อง ที่ดีของรัฐบ�ลและกองทัพโดยก�รว�งแผนจัดก�รเลือกตั้งขึ้น (เป็นครั้งแรกหลังพม่�อยู่ภ�ยใต้ระบอบเนวิน ทีอ่ ดีตม� 26 ปี เคยเป็) นคนร่างรัฐธรรมนูญให้นายพลเนวินมาเป็นนายกรัฐมนตรี แต่สดุ ท้ายก็ถกู นายพลซอหม่องท�ำรัฐประหารและเร่งฟื้นฟูภาพลักษณ์ที่ดีของรัฐบาลและกองทัพ โดยการวางแผนจัดการเลือกตัง้ ขึน้ (เป็นครัง้ แรกหลังพม่าอยูภ่ ายใต้ระบอบเนวินมา 26 ปี)


ควบคุมสถ�นก�รณ์ ควบคุมไสถ�นก�รณ์ ม่ได้ กองทัพไได้ ม่ไนด้ำ� กองทั เอ�พลเรื พได้อนนคืำ�เอ�พลเรื อ ดร.หม่ออนคื ง หม่ อ ดร.หม่ อง ที่ออดีง หม่ ตเคยเป็ อง ที นคนร่ ่อดีต�เคยเป็ งรัฐธรรมนู นคนร่ญ�ให้ งรัฐธรรมนูญให้ น�ยพลเนวินน�ยพลเนวิ ม�เป็นน�ยกรั นม�เป็ ฐมนตรี นน�ยกรั แต่สฐุดมนตรี ท้�ยก็ ถแต่ ูกน�ยพลซอหม่ สุดท้�ยก็ถูกน�ยพลซอหม่ องทำ�รัฐประห�รและเร่ องทำ�รัฐประห�รและเร่ งฟื้นฟูภ�พลักงษณ์ ฟื้นฟูภ�พลักษณ์ ตา หาญวงษ์ 91 ที่ดีของรัฐบ�ลและกองทั ที่ดีของรัฐบ�ลและกองทั พโดยก�รว�งแผนจั พโดยก�รว�งแผนจั ดก�รเลือกตั้งดขึก�รเลื ้น (เป็อนกตั ครั้งขึแรกหลั ้น (เป็งนพม่ ครั�้งแรกหลั อยู่ภ�ยใต้ งพม่ระบอบเนวิ �อยูลลิ ่ภ�ยใต้ น ระบอบเนวิน ม� 26 ปี) ม� 26 ปี)

ง หม่อองงดร.หม่ (Dr องMaung หม่อMaung) ง (DrMaung) Maung Maung) ดร.หม่ดร.หม่ อง อหม่ (DrMaung

นายพลซอหม่ อนายพลซอหม่ ง (Gen. Saw ง(Gen. (Gen. Saw Maung) นายพลซอหม่ องอMaung) Saw Maung)

การเลือกตั้งทั่วไปของพม่าในปี ค.ศ.1990 เกิดขึ้นเพราะว่าเป็นนโยบาย ของรัฐบาล แต่ก่อนที่จะเกิดการเลือกตั้ง รัฐบาลได้ประเมินสถานการณ์แล้วว่าพรรค ฝ่ายค้านและพรรคการเมืองอื่น ๆ ในพม่าที่ เช่น พรรคสันนิบาตเพื่อประชาธิปไตย (National League for Democracy หรือ NLD) ภายใต้ผู้น�ำคนใหม่อย่างอองซานซูจี เพิ่งจะก่อตั้งขึ้นใหม่จึงยังไม่มีความเข้มแข็ง แต่รัฐบาลประเมินคะแนนเสียงของพรรค NLD ผิด เพราะประชาชนทีห่ วิ กระหายเสรีภาพต่างมองว่าอองซานซูจซี งึ่ เป็นบุตรสาว ของนายพลอองซานเป็นสัญลักษณ์ของประชาธิปไตยและความเป็นชาติที่รุ่งเรือง ของพม่า ผลการเลือกตั้งทั่วไปในกลางปี 1990 เป็นบทพิสูจน์ที่ชัดเจนส�ำหรับรัฐบาล ว่าประชาชนเทคะแนนนิยมไปให้ NLD แบบถล่มทลาย โดย NLD และพรรคเล็กอื่นๆ ได้คะแนนเสียงมากกว่าฝ่ายรัฐบาลคิดเป็นร้อยละ 80 และมีผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้ามา ในคูหาเพื่อเลือกตั้งคิดเป็นร้อยละถึง 72.6 แต่ฝ่ายรัฐบาลไม่ยอมรับผลประกาศ ในการเลือกตั้งครั้งนี้จึงได้ประกาศให้การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นโมฆะ และได้ควบคุมตัว อองซานซูจไี ว้ในบ้านพักของตัวเองนับตัง้ แต่นนั้ (ได้รบั การปล่อยตัวแบบถาวรในปลาย ปี 2010)


92

อาเซียนเสวนา

สังคมพม่าได้รับอะไรจากขบวนการนักศึกษา

พลังนักศึกษาของพม่าเป็นมรดกที่ตกทอดมาตั้งแต่สมัยอาณานิคม พลังและแนวคิดของนักศึกษาพม่าเกิดขึน้ จากระบบการศึกษาแบบอาณานิคม ที่ถือว่าดีที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชีย แต่อย่างไรก็ดีความส�ำเร็จของขบวนการนักศึกษาใน พม่ามิได้เกิดจากนักศึกษาเพียงกลุ่มเดียว หากเป็นความร่วมมือกันระหว่างนักศึกษา พระสงฆ์และประชาชนทุกภาคส่วน ภาวะผู้น�ำของนักศึกษาและอุดมการณ์ที่ชัดเจน ท�ำให้ข้อเรียกร้องของนักศึกษาเข้าถึงคนหมู่มากในสังคมได้ง่ายและท�ำให้นักศึกษา เป็นกลุม่ คนทีส่ ามารถปลุกเร้าอุดมการณ์ความรักชาติและการต่อต้านรัฐบาลเผด็จการ ได้เป็นอย่างดี

การปรากฏตัวต่อสาธารณชนครั้งแรกของอองซานซูจี นอกจากนักศึกษาและพระสงฆ์แล้วยังมีปัญญาชนอีกกลุ่มหนึ่งที่มีส่วนส�ำคัญ ในการกระตุ้นส�ำนึกทางการเมืองของคนพม่า ยกตัวอย่างเช่น นายพลอองซาน และ อุนุ หรือแม้แต่กวี-นักเขียนคนส�ำคัญอย่างตะขิ่นโกด่อมาย (Thakin Kodaw Hmaing) นักเขียนฝ่ายซ้ายนามอุโฆษอย่างเตงเพมยิ้น (Thein Pe Myint) และนักหนังสือพิมพ์ คนส�ำคัญอย่างจะเนจออูชติ หม่อง (Journal Kyaw U Chit Maung) ลูดอุ้ หู ล่ะ (Ludu U Hla) และลูดุ้ด่ออะมา (Ludu Daw Ahmar) ที่คอยเป็นแรงบันดาลใจและประกายไฟให้กับ คนหนุ่มสาวพม่ามาตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 20


ลลิตา หาญวงษ์

แต่อย่างไรก็ดีขบวนการนักศึกษาพม่าไม่ได้สร้างผลกระทบต่อรัฐบาลทหาร พม่ามากนัก เหตุการณ์ความรุนแรงทีเ่ กิดจากความไม่พอใจของคนในระดับล่าง-กลาง สร้างแรงกระเพือ่ มให้กบั กองทัพน้อยมาก ความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในพม่านับตัง้ แต่ มีแผนปฏิรูปสู่ประชาธิปไตยที่เด่นชัดมากขึ้นตั้งแต่ปี 2010 เป็นความเคลื่อนไหวที่มา จากภายในกองทัพและนักธุรกิจที่มีส่วนแบ่งผลประโยชน์จากกองทัพ (หรือที่เรียกว่า “โครนี่”) เองทั้งสิ้น การเปลี่ยนแปลงนี้ซับซ้อนและไม่มีผู้ใดสามารถให้ค�ำตอบที่แน่ชัด ได้ว่า “พม่าเปลี่ยนเพราะเหตุใด” หลายคนใช้การคาดคะเนและการวิเคราะห์จาก หลักฐานทีม่ อี ยูซ่ งึ่ มีขอ้ สรุปออกมาคล้ายคลึงกันว่ารัฐบาลพม่าอาจเกรงกลัวภัยคุกคาม จากจีนทีเ่ ข้ามาครอบง�ำเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของพม่าไว้ จึงต้องหา “แนวร่วม” เพือ่ คาน อ�ำนาจของจีนดังกล่าว หรืออาจเป็นเพราะผลกระทบที่เกิดจากการปฏิวัติประชาชน ในหลายประเทศในตะวันออกกลางที่รวมเรียกว่าขบวนการ “Arab Spring” ซึ่งจบลง ด้วยความพ่ายแพ้ของผู้น�ำเผด็จการ แต่ถึงกระนั้นขบวนการนักศึกษาก็ยังเป็น หัวแรงหลัก เป็นสัญลักษณ์ และที่ส�ำคัญที่สุดคือเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักศึกษา ปัญญาชน และภาคประชาสังคมในพม่า กระบวนการและความเคลื่อนไหวทั้งหมดนี้ เป็นส่วนส�ำคัญของการเรียกร้องประชาธิปไตยและความเท่าเทียมในสังคมการเมือง พม่ามาจวบจนปัจจุบัน

93


ความเชื่อมโยงของอาเซียนจากมุมมองระดับล่าง ASEAN Connectivity from Below โดย ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.