แนวทางการดำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

Page 1

แนวทางการดำ า เนิ น งาน โครงการพัฒนาศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์

ปี 2560

สำ�นักพัฒน�นวัตกรรมก�รจัดก�รศึกษ� สำ�นักง�นคณะกรรมก�รก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น กระทรวงศึกษ�ธิก�ร


แนวทางการดำ � เนิ น งาน โครงการพัฒนาศักยภาพ

ความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


เรื่อง ผู้จัดพิมพ์ จำ�นวนพิมพ์ ปีที่พิมพ์ พิมพ์ที่

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560 สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 3,000 เล่ม 2560 เอ็น.เอ.รัตนะเทรดดิ้ง


คำ�นำ� ก

ารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ มีคุณธรรม ความดี มีทักษะ เพื่อการท�ำงานหรือเตรียมตัวเข้าสู่การท�ำงาน อันจะเป็นก�ำลังส�ำคัญของการพัฒนาประเทศชาติ เพื่อเข้าสู่ประชาคม อาเซียนในปี 2560 นั้น คุณลักษณะที่พึงส่งเสริมให้เกิดในเด็กและเยาวชนคือการมีความรู้และทักษะด้านการใช้ภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์

ส�ำ

นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยส�ำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ได้จัดให้มี โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนสู่ความเป็นนักประดิษฐ์ นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 ซึ่งได้มีการพัฒนาเรื่อยมาจนถึง ปัจจุบัน พ.ศ.2559 โดยใช้ชื่อ โครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ โดยได้รับความร่วมมือ การด�ำเนินงานอย่างดี ทั้งในระดับสถานศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา

อกสารแนวทางการด�ำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ปี 2560 เล่มนี้ ประกอบด้วยเนื้อหาสาระเพื่อให้ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมในโครงการ พัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ 2560 สองกิจกรรม คือ กิจกรรมการประกวดภาพวาด จินตนาการ ภาพวาดอนาคต หัวข้อ “เครื่องมือเครื่องใช้ในอีก 30 ปีข้างหน้า” และกิจกรรมประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ แนวคิดใหม่ ปี 2560

ณะผู้จัดท�ำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารแนวทางการด�ำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิด สร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ปี 2560 เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ในการช่วยให้ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สามารถด�ำเนินการตามโครงการดังกล่าวข้างต้นให้บรรลุผลส�ำเร็จตาม เป้าหมายได้อย่างดี ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


สารบัญ เรื่อง

หน้า

ความนำ�

5

โครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์

6

การดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์

18

กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

19

l การประกวดภาพวาดจินตนาการอนาคต

หัวข้อ

“เครื่องมือเครื่องใช้ใน 30 ปี ข้างหน้า”

l การประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่

20 24

รูปแบบการเขียนเอกสารรายงานผลงานการประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์

30

คณะทำ�งาน

31


ความนำ� เพื่ อ ให  เ ด็ ก มี น วั ต กรรมทางความคิ ด มี โ อกาส สรางไอเดียใหม ๆ ในการสรางสิ่งประดิษฐและมี เวทีใหเด็กไดแสดงผลงานต่อ สาธารณชนดังเชน ประเทศญี่ ปุ ่ น ไต ห วั น ฮ่ อ งกง และมาเลเซี ย นอกจากการน�ำคณะนักเรียนไปประกวดทั้ง 2 เวที ที่กล่าวมาแล้ว ในปี 2559 ได้รับเชิญให้เข้าร่วม ประกวดเพิ่มอีก 1 เวที ส�ำหรับเด็กและเยาวชน ในระดับประถามศึกษา Hong Kong International Innovation Invention Contest 2016 ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง เมื่อเดือนธันวาคม ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสํานั ก พั ฒ นานวั ต กรรมการจั ด การศึ ก ษา ได  ต ระหนั ก ถึ ง ความสําคั ญ และการมี บ ทบาท สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพความ คิดสรางสรรคสิ่งประดิษฐของเด็กระดับโรงเรียน จึงไดพัฒนาโครงการการพัฒนาเด็กและเยาวชน สู่ความเป็นนักประดิษฐมาเป็นโครงการพัฒนา ศักยภาพความคิดสรางสรรคสิ่งประดิษฐ โดยมี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหเด็ก ระดับโรงเรียนไดสรางสรรคสิ่งประดิษฐจากศักยภาพ ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมทางความคิด และมีเวทีใหเด็กไดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐทั้ง ในระดับชาติและระดับนานาชาติ การดําเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพ ความคิดสรางสรรคสิ่งประดิษฐดังที่กลาวแล้ว ยังประกอบดวยการจัดกิจกรรมคายสงเสริมและ พั ฒ นาศั ก ยภาพความคิ ด สร้ า งสรรค์ การจั ด กิจกรรมภาพวาดจินตนาการอนาคตการจัดเวที แสดงผลงานสิ่งประดิษฐในระดับประเทศและ การคั ด เลื อ กผลงานสิ่ ง ประดิ ษ ฐ เขาร  ว มแสดง ในเวทีนานาชาติในงาน IEYI AYIE HKISIIC และ การจั ด นิ ท รรศการแสดงภาพวาดจิ น ตนาการ สิ่งประดิษฐในเวทีนานาชาติซึ่งจัดขึ้นในประเทศ ตาง ๆ

5 แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพความคิ ด สรางสรรค  สิ่งประดิษฐ เปนโครงการตอยอดจากโครงการพัฒนาเด็ก และเยาวชนสูความเปนนักประดิษฐของสํานักพัฒนา นวัตกรรมการจัดการศึกษา (สนก.) สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ที่ไดดําเนินงานมาอยางตอเนื่องเปนระยะเวลา 13 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2547 เพื่อคัดเลือกผลงานสิ่งประดิษฐของ นักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเขารวมประกวด และจัดแสดงในเวทีInternational Exhibition for Young Inventors(IEYI) ซึ่งมีขึ้นครั้งแรกในประเทศ ญี่ ปุ่ น และประเทศอื่น ๆ ผลัด เปลี่ย นหมุนเวี ย นเป็ น ประเทศเจ้ า ภาพ ในปี ต ่ อ มาคื อ มาเลเซี ย อิ น เดี ย อินโดนีเซีย ไตหวัน เวียดนาม ไนจีเรีย โดยประเทศไทย ไดเปนเจาภาพจัดงาน IEYI เมื่อวันที่ 28-30 มิถุนายน 2555 ปี 2556 มาเลเซีย ป2557 อินโดนีเซีย ป 2558 ไตหวัน ปี 2559 จีน และในปี 2560 ประเทศญี่ปั่นเปนเจาภาพจัดงาน ผลการดําเนิ น งานโครงการพั ฒ นาเด็ ก และ เยาวชนสูความเปนนักประดิษฐ สํานักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษาได้ส่งผลงานสิ่งประดิษฐ์ของนักเรียน ไทยเข้าร่วมงาน IEYI 12 ครั้งจํานวน 126 ชิ้นงาน มีนักเรียนเจาของผลงานเขารวมงาน จํานวน 251 คน ครูท่ีปรึกษาจํานวน 125 คน โดยผลงานสิ่งประดิษฐ์ ของนักเรียนไทยที่เขารวมประกวด ไดรับรางวัลทุกป นอกจากเวที IEYIแลวไดจัดหาเวทีใหนักประดิษฐเพิ่มอีก 1 เวที คือเวที Asian Young Inventors Exhibition (AYIE) ณ ประเทศมาเลเซีย ในป 2556 เปนตนมา ไดสง ผลงานสิ่งประดิษฐของนักเรียนไทยเขารวมงาน AYIE 5 ครั้ง จํานวน 28 ผลงาน มีนักเรียนเจาของผลงาน 56 คน ครูที่ปรึกษา 27 คน โดยผลงานสิ่งประดิษฐไดรับรางวัล อย่างนาชื่นชมทุกป จากการดําเนินงานโครงการพัฒนา เด็ ก และเยาวชนสู  ค วามเป น นั ก ประดิ ษ ฐ แ ละการ เขารวมงาน IEYI อยางตอเนื่อง เปนระยะเวลากวา 10 ป พบวา ประเทศตาง ๆ มี ค วามตื่ น ตั ว ในการพั ฒ นา ศักยภาพความคิดสรางสรรคสิ่งประดิษฐระดับโรงเรียน ในมิติของการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ และ มี ก ารส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การพั ฒ นาศั ก ยภาพ ความคิ ด สรางสรรค  ใ นระดั บ โรงเรี ย นอยางมี ร ะบบ


โครงการพัฒนาศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ แนวคิด การพั ฒ นาทั ก ษะความคิ ด สร า งสรรค เ ป น สิ่งจําเปนอยางยิ่ง ของการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาประเทศยุค Thailand 4.0 เนื่องด้วย ศั ก ยภาพคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ นทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ข องชาติ เป็ น หั ว ใจส�ำคั ญ ในการพั ฒ นาประเทศ การพั ฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ให้มีความคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่และ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ จะเป็นแรงขับเคลื่อนในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่ยั่งยืน

เป้าหมาย

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

6

• บ ม เพาะให เ ด็ ก และเยาวชนไทยพั ฒ นา ศั ก ยภาพความคิ ด สร  า งสรรค  แ ละมี น วั ต กรรมทาง ความคิด • สรางแรงบันดาลใจใหเ ด็กและเยาวชนไทย สรางสรรคแนวคิดใหม่ ๆ และมีนวัตกรรมทางความคิด ในการสรางสรรคสิ่งประดิษฐ์

วางรากฐานการจั ด การเรี ย นรู  เ พื่ อ พั ฒ นา ศักยภาพความคิดสรางสรรคสิ่งประดิษฐใหกับนักเรียน ของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

วัตถุประสงค์ • สงเสริมและสนับสนุนใหนักเรียนในสังกัด สพฐ. ระดั บ ประถมศึ ก ษาตอนต  น ถึ ง มั ธ ยมศึ ก ษา ตอนปลาย (อายุ 6 – 19 ป) มีเวทีและโอกาสในการ จั ด แสดงและนํ า เสนอผลงานสิ่ ง ประดิ ษ ฐ  ทั้ ง ในระดั บ ประเทศและระดับนานาชาติ

เวทีจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ • • • •

เวทีระดับประเทศ เวทีระดับนานาชาติ (IEYI) เวทีระดับนานาชาติ (AYIE) เวทีระดับนานาชาติ (HKISIIC)


เวทีประกวดระดับประเทศ

วันที่ 3 – 5 เมษายน 2560 ณ โรงแรมริเวอร์ ไซด์ กรุงเทพมหานคร ปี 2560

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

7


แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

เวทีประกวดระดับประเทศ (ต่อ)

8


เวทีประกวดระดับนานาชาติ งาน IEYI – 2017

ระหว่างวันที่ 27 – 29 กรกฎาคม 2560 ณ เมืองนาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น (พิธีเปิดและงานเลี้ยงต้อนรับ)

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

9


(การแสดงผลงานของนักเรียนไทย)

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

10

“วัสดุทดแทนในการก่อสร้างจากกากกาแฟ เปลือกหอยแครง และยางพารา”

“ชุดอุปกรณ์ตัดไม้หนาม”

“ชุดการเขียนลายลดน้ำ� แบบ System หรรษา”

“เตาย่างไร้ควัน เพื่อสุขภาพ”

“อุปกรณ์ช่วยเปิดและแทนฝาขวดน้ำ�ดื่ม”

“เมล็ดเทียม”

“กระถางรักษ์โลก”

“ทัศนอุปกรณ์วัดความหนา ความต้านทานความร้อน ดัชนีหักเห และค่าสัมประสิทธ์ การถ่ายเทความร้อน ของกระจกได้โดยปราศจากการสัมผัส”

“วัสดุกันกระแทกจากกาบกล้วย โดยใช้ สารแทนนินในการปรับปรุงคุณภาพด้าน การทนต่อแรงดึง และการขึ้นรา”


แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

(พิธีปิด และมอบรางวัล)

11


เวทีประกวดระดับนานาชาติ งาน IEYI – 2016

ระหว่างวันที่ 15 – 20 กรกฎาคม 2559 ณ เมืองฮาร์บิน สาธารณรัฐประชาชนจีน

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

12


แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

13


เวทีประกวดระดับนานาชาติ งาน Hong Kong International Student Innovative Contest 2016 (HIKSIIC) ระหว่างวันที่ 14 - 19 ธันวาคม 2559 ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

14


ประมวลภาพ บรรยากาศในงาน Hong Kong International Student Innovative Contest 2016

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

15


ประมวลภาพ บรรยากาศในงาน Hong Kong International Student Innovative Contest 2016

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

16


แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

17


การดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพ ความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ประชาสัมพันธ์โครงการ l จัดท�ำและเผยแพร่เอกสาร “แนวทางการด�ำเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์ สิ่งประดิษฐ์” l จัดกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์ (อาทิ การจัดประกวดภาพวาด จินตนาการอนาคต การจัดกิจกรรมค่าย) l พิจารณาคัดเลือกรายงานผลงานสิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่ l จัดเวทีการประกวดผลงานระดับประเทศ l จัดส่งผลงานไปประกวดในเวทีระดับนานาชาติ l

ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา l แจ้งโรงเรียนในสังกัดให้ด�ำเนินการประชาสัมพันธ์ให้นักรเยนเข้าร่วมกิจกรรมประกวดการวาดภาพ จินตนาการอนาคต และการสร้างผลงานสิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่เข้าประกวด l นิเทศ ติดตาม ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาผลงาน

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

18

โรงเรียน

ประชาสัมพันธ์กิจกรรมตามที่เขตพื้นที่การศึกษาแจ้ง l รับสมัครนักเรียนที่ประสงค์เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการฯ l ส่งเสริมการสร้างผลงานของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมในโครงการฯ l ส่งผลงานของนักเรียนเข้าประกวด l จัดส่งส�ำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา อาคาร สพฐ.5 ชั้น 10 กระทรวงศึกษาธิการ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 l


ความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560 • การประกวดภาพวาดจินตนาการอนาคต หัวข้อ “เครื่องมือเครื่องใช้ใน 30 ปี ข้างหน้า”

• การประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่ ปี 2560

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพ

19


การประกวดภาพวาดจินตนาการอนาคตหัวข้อ “เครื่องมือเครื่องใช้ใน 30 ปี ข้างหน้า” แผนการปฏิบัติงานการประกวดวาดภาพ ระยะเวลา กันยายน 2560

ภายใน ธันวาคม 2560 มกราคม 2561 มกราคม – กุมภาพันธ์ 2561 กุมภาพันธ์ 2561

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

20

กิจกรรม โรงเรียน ในสังกัด สพฐ. (โรงเรียน 1 โรงเรียน ส่งได้ไม่เกิน 10 ชิ้น)

- เปิดรับสมัคร - ส่งเอกสารแนวทางฯ - PDF ให้ดาวน์โหลด บนเว็บ สนก. (http://inno.obec.go.th) - โรงเรียนรวบรวมส่งผลงานภาพวาดนักเรียน รวบรวมภาพวาดส่ง สพฐ. แยกตามระดับ ประถมศึ ก ษา / มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น / มัธยมศึกษาตอนปลาย - สพฐ. คัดเลือกผลงานเป็นภาพวาด - จ�ำนวนภาพระดับประถมศึกษา - จ�ำนวนภาพระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - จ�ำนวนภาพระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดพิมพ์ผลงานเป็นเอกสารเผยแพร่ -

น�ำเสนอภาพที่ได้รับการตัดสินมาจัดแสดง - ภาพวาดที่ได้รับรางวัล ทาง สพฐ. จะมอบ ร่วมเวทีประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์แนวคิด ให้กับเจ้าของผลงาน พร้อมเกียรติบัตร ใหม่ ระดับประเทศ พร้อมมอบเกียรติบัตร ให้กับนักเรียนเจ้าของ 10 ผลงานภาพวาด น�ำเสนอในเวทีประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ แนวคิดใหม่

เงื่อนไขการส่งชิ้นงานภาพวาด

• • • •

ภาพวาดที่สื่อความหมายของจินตนาการ วาดภาพบนกระดาษวาดเขียนสีขาว ขนาดมาตรฐาน A3 เทานั้น (ไมจํากัดเทคนิคการวาดภาพ) และชื่อผูวาดจินตนาการ ลงบนกระดาษ A4 สงมาพรอมภาพ เปนนักเรียนโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สงผลงานไดโรงเรียนละไมเกิน 10 ชิ้นงาน ไปยัง สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา อาคาร สพฐ.5 ชั้น 10 กระทรวงศึกษาธิการ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โรงเรียนที่สง ภาพวาดมากกวา 10 ชิ้นงาน ไมเปนไปตามเกณฑจะตัดสิทธิ์งานทั้งหมด

เกณฑ์การพิจารณา

• ความคิดสรางสรรคและจินตนาการ • เชื่อมโยงทางวิทยาศาสตรหรือเทคโนโลยี​ี • การสื่อความหมายของภาพวาด


ภาพวาดจินตนาการอนาคตหัวข้อ

“ความเป็นอยู่ของมนุษย์ชาติในอีก 30 ปีข้างหน้า” ของเด็กไทยที่ ได้รับการคัดเลือกไปจัดแสดง ณ งาน IEYI – 2017 ณ เมืองนาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

21


(กระดาษวาดภาพขนาดมาตรฐาน A3)

ตัวอย่างด้านหน้าของกระดาษวาดภาพ

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

22


ตัวอย่างเอกสารสรุปค�ำบรรยาย กระดาษ A4 ค�ำบรรยายสรุปสั้น ๆ ของภาพวาดจินตนาการ

(ชื่อภาพวาด สิ่งที่วาดจินตนาการ) ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................

1. ชื่อ – สกุล..............................................................................อายุ.................ปี ชั้นเรียน...................... ชื่อ – สกุลครูที่ปรึกษา......................................................หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ................................ โรงเรียน..........................................................................อ�ำเภอ............................................................. สพป./สพม.............................................................................จังหวัด.....................................................

23 แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

ข้อมูลผู้วาดภาพจินตนาการ (1 คน)


การประกวดผลงาน สิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่ ปี 2560 ความหมายของผลงานสิงประดิษฐ์แนวคิดใหม่

หมายถึง ผลงานที่เกิดจากจินตนาการที่สร้างสรรค์ชิ้นงานด้วยแนวคิดใหม่ โดยมีการประยุกต์ใช้หลักการ ทางวิทยาศาสตร์

ประเภทของสิ่งประดิษฐ์

1. เทคโนโลยีที่ใสใจตอสิ่งแวดลอม (Green Technology) 2. อาหารและเกษตรกรรม (Food and Agriculture) 3. ความปลอดภัยและสุขภาพ (Safety and Health) 4. เทคโนโลยีสําหรับผูที่มีความตองการพิเศษ (Technology for Special Need) 5. การจัดการกับภัยพิบัติ (Disaster Management) 6. การศึกษาและนันทนาการ (Education and Recreation)

นิยามของแต่ละประเภท

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

24

ขอ 1 สิ่งประดิษฐ์ที่ส่งเสริมความยั่งยืน ลดปัญหามลภาวะ ส่งเสริมการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ขอ 2 สิ่งประดิษฐที่ยกระดับคุณภาพการทํางานดานการเกษตร อาหารและโภชนาการ ขอ 3 สิ่งประดิษฐที่เปนประโยชนทางดานความปลอดภัย และสุขภาพ (เชน อุปกรณ, ระบบ) ขอ 4 สิ่งประดิษฐที่อํานวยความสะดวกใหกับผูมีความตองการพิเศษ เชน ผูบกพร่องทางรางกาย ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก สตรีมีครรภ ข้อ 5 สิ่งประดิษฐ์ที่มีประโยชน ในการตรวจจับป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือเพื่อช่วยในการ จัดการหลังการเกิดภัยพิบัติ ขอ 6 สิ่งประดิษฐ์ที่ใช้ประโยชน ในชั้นเรียน หรือเพื่อประโยชน์ทางด้านการศึกษา รวมถึงสิ่งประดิษฐ์ เพื่อจุดมุงหมายในการนันทนาการ (เชน กีฬา, ทองเที่ยว, บันเทิง และอื่นๆ)

ผู้มีสิทธิ์ส่งผลงานเข้าร่วมประกวด

• นักเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน • เด็กและเยาวชนไทยอายุระหวาง 6 – 19 ป โดยสมัครเปนทีมเดี่ยว 1 คน หรือ ทีม 2 คน

เงื่อนไขการส่งผลงานสิ่งประดิษฐ์

• ผลงานสิ่งประดิษฐที่สงเขาประกวดตองอยูในประเภทใดประเภทหนึ่งใน 6 ประเภทที่ระบุขางตน (ผลงาน ที่ไมสอดคลองกับประเภทที่ระบุจะไมไดรับการพิจารณา) • ผลงานสิ่งประดิษฐ์ส่งตามขนาดจริง เมื่อบรรจุลงหีบห่อแล้วต้องมีขนาดไม่เกิน 1 x 0.5 x 0.5 เมตรและ น�้ำหนักไมเกิน 10 กิโลกรัม (หากสงผลงานสิ่งประดิษฐเปนหุนจําลองยอสวน ตองสาธิตแสดงใหเห็น การทํางานได) • ผลงานสิ่งประดิษฐที่สงเขาประกวด ตองมีเอกสารประกอบการจัดทําสิ่งประดิษฐ โดยจัดทําเปนสําเนา จํานวน 3 เลม พรอมไฟลรูปแบบ PDF ลง CD/DVD 1 แผน สงมาที่ สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา • การจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ต้องมีโปสเตอร์ประกอบ 1 แผ่น (ขนาด โปสเตอร 90 x 120 เซนติเมตร) • ผลงานสิ่งประดิษฐโรงเรียนสงไดไมเกิน 3 ชิ้นงาน (กรณีที่สงเกิน 3 ชิ้นงาน ไมเปนไปตามเกณฑ จะตัดสิทธิ ทุกชิ้นงาน)


เกณฑ์การพิจารณา ประเด็น 1. ความคิดสรางสรรค (30 คะแนน) 1.1 ความเปนตนคิด (10 คะแนน)

เกณฑ์การตัดสิน คะแนน 80 – 100 ไดรับเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง คะแนน 70 – 79 ไดรับเกียรติบัตรระดับเหรียญเงิน คะแนน 60 – 69 ไดรับเกียรติบัตรระดับเหรียญทองแดง คะแนนตํ่ากวา 60 ไดรับเกียติบัตรระดับชมเชย ทั้งนี้ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเปนสิ้นสุด

25 แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

เกณฑ์พิจารณา - การที่แสดงถึงความคิดสร้างสรรค์ในการท�ำสิ่งประดิษฐ์ตั้งแต่ กํ า หนดโจทย ป  ญ หา วิ ธี ก ารแก ป  ญ หา การใช ป ระโยชน  การออกแบบ การสรางขึ้นใหม การพัฒนา การดัดแปลง อุปกรณและชิ้นสวนตาง ๆ 1.2 ความคิดสรางสรรค (10 คะแนน) - การที่ แ สดงถึ ง ความคิ ด สร า งสรรค ค วามคิ ด แปลกใหม  ไมซํ้าแบบใคร 1.3 ความโดดเดนเฉพาะ (10 คะแนน) - ชิ้นงานสิ่งประดิษฐที่ทําขึ้นมีความโดดเดน นาสนใจ และ แสดงให เ ห็ น ถึ ง ความแตกต า งจากสิ่ ง ประดิ ษ ฐ ชิ้ น อื่ น ๆ ในประเภทเดียวกันอยางเห็นไดชัดเจน 2. คุณภาพของสิ่งประดิษฐ (30 คะแนน) - การออกแบบและตกแตงสามารถดึงดูดความสนใจ มีขนาด 2.1 การออกแบบ (10 คะแนน) และนํ้าหนักที่เหมาะสมในการใชงาน 2.2 ระบบการทํางาน (10 คะแนน) - มีการออกแบบติดตั้งอุปกรณ เพื่อใหเกิดการทํางานอยางมี ความสัมพันธสอดคลองและถูกตองตามหลักวิชาการ 2.3 ความปลอดภัย (10 คะแนน) - การท�ำงานของสิ่งประดิษฐ์มีความปลอดภัย และเหมาะสม กับสภาพการใชงาน 3. การเลือกใชวัสดุ (10 คะแนน) - การเลือกใชวัสดุที่เหมาะสมกับสภาพและประโยชน ในการ 3.1 ความประหยัด (5 คะแนน) ใชงาน ราคาไมแพง 3.2 ความเหมาะสม (5 คะแนน) - คุ ณ ภาพของวั ส ดุ ที่ ใช  มี ค วามคงทน แข็ ง แรงและมี ค วาม ปลอดภัย 4. คุณคาของสิ่งประดิษฐ (30 คะแนน) - สามารถสาธิต ทดลอง ใชงานไดหรือพิสูจนไดวาสามารถ 4.1 ทํางานไดและมีประโยชนในการใชงาน นําไปพัฒนาตอยอดหรือพัฒนาใชงานไดอยางกวางขวาง (10 คะแนน) - เหมาะสมกับชวงชั้นและวัยของผูประดิษฐผลงาน 4.2 เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (10 คะแนน) - ไมมีผลทําลายสิ่งแวดลอม 4.3 ประโยชนของสิ่งประดิษฐ (10 คะแนน) - มีประโยชนตอผูบริโภค - สามารถสงผลในเชิงพาณิชยได้


ผลงานสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับรางวัลเวทีนานาชาติ

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

26

ผลงานของนักเรียนจากประเทศไทย งาน IEYI – 2016 ณ เมืองฮาร์บิน สาธารณรัฐประชาชนจีน

รางวัลเหรียญทอง อุปกรณ์ช่วยเก็บพริก (The Device Keeps Pepper) รางวัลประเภทอาหารและเกษตร (Food and Agriculture) โรงเรียนแม่ปาง สพป.แม่ฮ่องสอน เขต 2

รางวัลเหรียญทอง E - Bug รางวัลประเภทการศึกษาและความบันเทิง (Education and Recreation) โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย สพม.1 กรุงเทพมหานคร

รางวัลเหรียญเงิน แพลนต์ มัลติ เซฟ (Plant Multi Save) รางวัลประเภทเทคโนโลยีที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม (Green Technology) โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย สพม.4 ปทุมธานี

รางวัลเหรียญเงิน เครื่องส่งสัญญาณเตือนภัยพิบัติ 3 in 1 รางวัลประเภทการจัดการกับภัยพิบัติ (Disaster Management) โรงเรียนดอยงามวิทยาคม สพม.36 เชียงราย

รางวัลเหรียญทองแดง ตู้จ่ายยาอัตโนมัติ (Auto Dispensing) รางวัลประเภทเทคโนโลยีสำ�หรับผู้มีความต้องการพิเศษ (Technology for Special Need) โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย สพม.1 กรุงเทพมหานคร

รางวัลเหรียญทองแดง ถุงกระดาษไคโตซานดูดซับไขมันในอาหาร (Safety and health) ได้รับรางวัลพิเศษ Special Award จากประเทศญี่ปุ่น รางวัลประเภทความปลอดภัยและสุขภาพ (Safety and health) โรงเรียนวังน้อย (พนมยงค์วิทยา) สพม.3 พระนครศรีอยุธยา


ผลงานสิ่งประดิษฐ์ที่ได้รับรางวัลเวทีนานาชาติ

ผลงานของนักเรียนจากประเทศไทย งาน Hong Kong International Student Innovative Contest 2016 ณ เตบริการพิศษฮ่องกง

รางวัลเหรียญทอง ผลงาน “ฝาหม้อดักฟอง” โรงเรียนเมืองนราธิวาส สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1

27 รางวัลเหรียญทอง ผลงาน “อุปกรณ์ตัดและเปิดผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน” โรงเรียนชุมชนประชานิกรอำ�นวยเวทย์ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 2

รางวัลเหรียญทองแดง ผลงาน “แผ่นเช็ดอเนกประสงค์” โรงเรียนอนุบาลปัตตานี สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560


ผลงานสิ่งประดิษฐ์ ได้รับรางวัลเวทีนานาชาติ

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

28

ผลงานของนักเรียนจากนานาประเทศ


แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

ตัวอย่างการจัดบูธแสดงผลงาน

29


รูปแบบการเขียนเอกสารรายงานผลงาน

การประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่

เอกสารการประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่ (ความยาวไม่เกิน 10 หน้า) ประกอบด้วย

แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

30

1. ปก : ชื่อสิ่งประดิษฐ์ / ผู้ประดิษฐ์ / เขตพื้นที่การศึกษา ปกใน : ชื่อสิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่ เจ้าของผลงานสิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่ 1. ชื่อ........................................................................................... ชั้น............................................... เลขบัตรประจ�ำตัวประชาชน......................................................................................................... เกิดวันที่ .........เดือน............................................................... พ.ศ. .................. อายุ.................. 2. ชื่อ........................................................................................... ชั้น............................................... เลขบัตรประจ�ำตัวประชาชน......................................................................................................... เกิดวันที่ .........เดือน............................................................... พ.ศ. .................. อายุ.................. ครูที่ปรึกษา ชื่อ................................................................................................................................................. โรงเรียน ..................................................................... ที่ตั้ง........................................................... โทรศัพท์......................................... โทรสาร............................. มือถือ.......................................... E-mail........................................................................................................................................... 2. บทคัดย่อ 3. ความเป็นมา / แนวคิด / แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน 4. วัตถุประสงค์ 5. วัสดุที่ใช้ 6. งบประมาณ 7. ขั้นตอนการผลิตสิ่งประดิษฐ์ฯ และวิธีใช้ 8. แผนภาพและหลักการท�ำงาน 9. ขนาด / น�้ำหนักสิ่งประดิษฐ์แนวคิดใหม่ 10. ภาคผนวก ภาพร่างต้นแบบสิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ฯ ภาพถ่าย ขั้นตอนการผลิตสิ่งประดิษฐ์ แนวคิดใหม่ และการใช้งานในมุมมองที่แสดงให้เห็นผลการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี


ที่ปรึกษา

นายการุณ สกุลประดิษฐ นางสุจิตรา พัฒนะภูมิ นางนิจวดี เจริญเกียรติบวร

เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

คณะจัดทําเอกสาร

บรรณาธิการ : นางพนิดา วิชัยดิษฐ

: นางมัณฑนา ปรียวนิตย : นายพรชัย ถาวรนาน

ที่ปรึกษาสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริการจัดการศีกษา ส�ำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ ข้าราชการบ�ำนาญ ศึกษานิเทศนกชํานาญการพิเศษ สพม. เขต 39 ผูอํานวยการโรงเรียนวัดหนองหลุม สพป.สุพรรณบุรี เขต 2 ผูอํานวยการโรงเรียนวัดใหม่ปทุมสูตร สพป.สุพรรณบุรี เขต 2 นักวิชาการศึกษาชํานาญการ สนก. นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สนก.

31 แนวทางการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพความคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ ปี 2560

1. นายดิลก พัฒนวิชัยโชติ 2. นางพนิดา วิชัยดิษฐ 3. นายธนวัฒน แกวชํานาญ 4. นายปรีชา สายคํ้า 5. นายปญญา คลายแพร 6. นายกาญจนมาโนชญ ชุนกอง 7. นางสาวสุภาวดี มิสุนา 8. นายชัยรัตน พละเลิศ 9. นางมัณฑนา ปรียวนิตย 10. นายพรชัย ถาวรนาน



สำ�นักพัฒน�นวัตกรรมก�รจัดก�รศึกษ� สำ�นักง�นคณะกรรมก�รก�รศึกษ�ขั้นพื้นฐ�น กระทรวงศึกษ�ธิก�ร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.