ThaiPackaging 135 May-June 2019

Page 1


12-9-61 TECHNOLOGY MEDIA AD Kongberg_G5-3.indd 1

AD Packaging NO.2017-2018 _09868_15-3-60_G5-4

12/9/61 18:54


24-5-62 TECHNOLOGY NO#135 EPC FP G5-4.indd 1

24/5/62 21:19


AD_Harn_G5-4.indd 1

TECHNOLOGY MEDIA_NO.135_2019_23-5-62_G5-4

23/5/62 13:48


24-5-62 TECHNOLOGY NO#135 Ad RICOH G5-4.indd 1

24/5/62 19:45


25-3-62 TECHNOLOGY MEDIA NO134 AD Pack Print_G5-3.indd 1

25/3/62 15:19


Food Box

.....

............. . . . . . .. ...

..

.

....

..

......... ... . . . . . ... ...

.........

....

..

..... . . . .

Cosmetic Box

TY TY IT IT CURISECURI SECURSECURY E S TY TY ITY ITY IT IT CURISECURI SECURSECURY SECUYRSECUTRY E S Y RITY URITY URITY URIT URIT CURI U CU SEC SEC SEC SEC SE SEC RITEYCURITYECURITEYCURITSYECURISTEYCURITSYECURIST S ITY S ITY S RITY ITY RITY RITY ECUYRSECURY SECUY SECUTRY SECTUY SECIUTY SECIT RIT ECURITECURITSECURISECURI SECURSECUR S Y SRITY SURITY URITY URITY URITY CURITY U CUY SEC SEC Y SEC Y SEC TY SE Y SEC Y

Y T I R ECU

.....

.........

.... . . . . .

.

S

Plastic Box

Security Seecurritity ty Label Laabel

YOUR TRUSTED PARTNER IN PACKAGING

Paper / Plastic Packaging

Secured Coupon

Food / Cosmetic/ Pharmaceutical Packaging

Fulfillment and Packing Service

Secured Label & Sticker

Personalization Service (Variable Data)

HACC

GMP

P

FSC:SGS-COC-010516 PEFC:SGS-PEFC/COC-1768

9001:2015

BRC

GMP

HACCP

WORLD CLASS STANDARD

MORE INFORMATION PLEASE VISIT : WWW.CHANWANICH.COM CHANWANICH SECURITY PRINTING CO., LTD

PACKAGING DEPARTMENT : 30/24 Moo 1 Khokkham Muang Samutsakhon 74000 Tel : 034-452452 Fax : 034-452450 Facebook page : Chanwanich E-mail. : marketing@chanwanich.com 23-2-61 TECHNOLOGY MEDIA No128 AD CSP_G5-3.indd 1

132

7_11-61_G5-4

23/2/61 18:26

AD_CSP


25-3-62 TECHNOLOGY MEDIA NO134 AD SANSIN_G5-3.indd 2

25/3/62 15:59


25-3-62 TECHNOLOGY MEDIA NO134 AD SANSIN_G5-3.indd 3

25/3/62 15:59


CONTENTS

44 Focus

นวัตกรรมตะเกียบชีวภาพรับประทานได

45 Focus

ระบบการจัดการวันเก็บเกี่ยวทุเรียน บนสมารทโฟนดวยเทคโนโลยี RFID

Vol.29 No.135 May-June 2019 page 32

46 Focus

การรีไซเคิลพลาสติก PET ดวยเทคโนโลยี ชีวภาพครั้งแรกของโลก

52 News

RICOH เชื่อมั่นอนาคตเทคโนโลยีไทยกาวไกล จัดแสดงนวัตกรรมล้ําสมัยในงาน April Series 2019

53 News

ซิกเวอรค เปดอาคารเก็บสินคาแหงใหม

54 News

Sea Value ผนึกพันธมิตร LOHAKIJ เสริมแกรง บรรจุภัณฑอาหารสําเร็จรูป

55 Special Area

ลดปญหาสุขภาพดวยบรรจุภณ ั ฑอาหารทีป่ ลอดภัย

56 Special Area

NFC – อนาคตของวงการแพ็กเกจจิ้ง ?

14 72 73 24

TPA Activity PR News Hot Product Article

rPET, Circular Economy: แนวโนม ที่ทาทายของอุตสาหกรรมไทย

60 Special Area

เทคโนโลยีการซีลในบรรจุภัณฑ

62 Article

Robot กับงานเอกสารดิจิทัล กาวแรกเปลี่ยนผานองคกรสูยุคใหม

64 Article

ที่หนึ่งบนโลกธุรกิจยุคไว-ไฟ (Wi-Fi )

26 Interview

68 News

30 News

69 News

นิติคุณ ยุกตะนันท นักออกแบบแอปพลิเคชัน Smart Packaging 2019

พาวิลเลี่ยนประเทศฝรั่งเศสในงาน PROPAK Asia 2019 อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑขยายตัว ผลจากการ ยายฐานใชไทย-อาเซียนผลิตสินคา

32 Focus

ผลงานของบรรจุภัณฑจากประเทศไทย ใน WorldStar Awards 2019

70 Special Area

พี.เค.เพรส เซ็นเตอร - Smart Print Shop “คลื่นลูกใหมที่มาแรงในยุค Industry 4.0”

38 News

HP Print Awards 2019

40 Special Scoop

เทคโนโลยีโดรน เครื่องมือทางธุรกิจจทีที่ อัจฉริยะ บริการสงอาหารสําหรับคนเมื นเมือง

42 Focus

“นอนวูฟเวน” อุตสาหกรรมสิ่งทอ นาจับตามองในป 2562

10

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

page 62


TECHNOLOGY MEDIA_NO.135_2019_23-5-62_G5-4


EDITOR

note

TPA Newsletter ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 3 ของปี พ.ศ. 2562 แล้ว กองบรรณาธิการก็ยังคงท�างานเพื่อพัฒนาหนังสือฉบับนี้ให้ดียิ่ง ๆ ขึ้ น ไป ผู้ ท่ี ส นใจสามารถอ่ า นเนื้ อ หาในรู ป แบบดิ จิ ทั ล ได้ ที่ www. technologymedia.co.th และสามารถติดตามข่าวสารด้านบรรจุภัณฑ์ ได้ท ี่ FB : The Thai Packaging Association และที ่ FB : Packaging Magazine ได้ จะมีข้อมูลดี ๆ มาเผยแพร่อยู่เสมอ ๆ เนือ้ หาในฉบับนีม้ ที นี่ า่ สนใจมากมายเช่นเดิม เช่น คอลัมน์ Article เป็ น เรื่ อ ง rPET, Circular Economy: แนวโน้ ม ที่ ท้ า ทายของ อุตสาหกรรมไทย และเรื่องของ Smart Packaging มีการพูดถึงกัน อยูเ่ สมอ เราจึงร่วมพูดคุยกับผูท้ อี่ ยูใ่ นแวดวงนีเ้ พือ่ จะได้นา� มุมมองและ แนวคิ ด มาน� า เสนอต่ อ ทุ ก ท่ า น นอกจากนี้ ใ นช่ ว งเดื อ นกั น ยายนที่ ประเทศเยอรมนีมกี ารจัดงาน Smart Packaging 2019 ผูท้ สี่ นใจสามารถ หารายละเอียดได้ภายในเล่มนี้ อีกข่าวหนึง่ ทีเ่ ป็นเรือ่ งน่ายินดีสา� หรับผูท้ อี่ ยูใ่ นแวดวงหรือผูท้ สี่ นใจ คือ การทีผ่ ลงานของคนไทยได้รบั รางวัล WorldStar Awards 2019 ซึง่ มีการมอบรางวัลกันเมื่อเร็ว ๆ นี้ เป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่ง ส่วน บรรจุภัณฑ์อะไรได้รางวัลบ้างนั้น ติดตามได้ในคอลัมน์ Focus อีกเรื่อง ที่ต้องไม่พลาดคือ ผลงาน นวัตกรรมตะเกียบชีวภาพรับประทานได้ ของนักศึกษา เป็นผลงานทีค่ วรได้รบั การสนับสนุนให้นา� มาใช้งานอย่าง แพร่หลายต่อไป กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าเนือ้ หาต่าง ๆ เหล่านีจ้ ะเป็น ประโยชน์กับทุก ๆ ท่าน พบกันใหม่ฉบับหน้า This TPA Newsletter is the 3rd Edition for 2019 and the Editorial Department is still working to develop this book for the better. Those who would be interested in reading the content in the form of digital format can read at www.technologymedia.co.th and can also follow-up on the news about packaging at FB : The Thai Packaging Association and at FB : Packaging Magazine. There will always be good information being published. The contents of this edition still have the same interesting articles such as the column on article rPET, Circular Economy: the challenging trend of the Thai Industry and the article on smart packaging which is always being talked about. We, therefore, have a talk with those who are in this circle, to share views and ideas to everyone. Besides, in the month of September, Germany will organize Smart Packaging 2019. Those who are interested may fi nd details about this event in this edition. Another news which is worth congratulated for those who are in this circle or for those who are interested, is that the work of Thai people won the WorldStar Awards 2019 and the award was recently being presented and it must be congratulated. As to what type of packaging has received an award, please kindly follow-up in the Focus column. Also, another thing that must not be missed is the innovation of bio-chopsticks of students, which is the work that should be supported to be widely in use. The Editorial Department hopes that these contents will be useful to everyone. See you again in our next edition.

12

วัตถุประสงคในการจัดทํา

วารสารบรรจุภณ ั ฑ์ไทย จัดท�าขึน้ โดยสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย เพือ่ เผยแพร่ สาระความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ และน�าเสนอความเคลื่อนไหวของกิจกรรม ด้านบรรจุภณ ั ฑ์ให้แก่สมาชิกและบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ บทความทีต่ พี มิ พ์ในวารสาร บรรจุภัณฑ์ไทยเป็นส่วนหนึ่งของการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และเอกสารทาง วิชาการ สมาคมฯ ไม่จ�าเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

Purpose

Published by the Thai Packaging Association. Thai Packaging Newsletter provides news, information and know-how as well as activity related to packaging industry in Thailand to all members of the Thai Packaging Association and the general public. Articles published in Thai Packaging Newsletter do not represent the offi cial views of the Thai Packaging Association.

คณะกรรมการบริหารสมาคมการบรรจุภัณฑไทย The Board of the Thai Packaging Association

1. คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมฯ Manit Kamolsuwan President 2. คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ อุปนายกจัดหารายได้ Pornchai Rattanachaikanont Vice President/Fund Raising Chair 3. คุณเอกรินทร์ จิระกรานนท์ อุปนายกพัฒนาองค์กร Ekarin Chirakranont Vice President/Organization Development 4. คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม อุปนายกวิชาการ Prasit Klongngooluerm Vice President/Academic Aff airs 5. คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ อุปนายกบริหาร Pavimas Kamolsuwan Vice President 6. คุณอโศก อุปัทยา อุปนายกอุตสาหกรรมพลาสติก Ashok Upadhya Vice President 7. คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต เลขาธิการ Wiwat Utsahajit Secretary 8. คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ เหรัญญิก Chinnawat Chaloeiwutthiroj Treasurer 9. คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ นายทะเบียน Aphichet Eukittaroprakorn Register 10. คุณภัทรา คุณวัฒน์ รองเลขาธิการ Patra Khunawat Vice Secretary 11. คุณประเสริฐ หล่อยืนยง ประชาสัมพันธ์ Prasert Loryuenyong Public Relation 12. คุณวีระยุทธ อมรเธียร กรรมการ ฝ่ายกิจกรรมต่างประเทศ Veerayuth Amorntien Director of International Aff airs 13. คุณอุมา อัจจิมารังษี กรรมการ ฝ่ายกิจกรรมในประเทศ Uma Ajjimarangsee Director of Internal Aff airs 14. คุณนิธิ เนาวประทีป กรรมการ ฝ่ายสารสนเทศ Niti Naovaprateep Director of IT 15. คุณวิวรรธน์ เหมมณฑารพ กรรมการ ฝ่ายอุตสาหกรรมพลาสติก Wiwat Hemmondharop Director of Plastic Industry เจาของ : สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย www.thaipack.or.th อาคารส�านักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเก่า) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมติ ร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Owner : Thai Packaging Association www.thaipack.or.th MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Editorial Staff : Nipa Klinkosum Project Manager : Tipawan Khempilar Marketing Manager : Khemjira Plathip Executive Sale : Kalaya Sabpirom, Siriporn Klinkajorn, Kasira Hembundij, Manus Chaipas, Kritiyakorn Dangsamran Graphic Designer : Prittiya Nillawat Photographer : Komsak Kumsalee Proofreader : Tidawadee Boonsuya Managed by : Technology Media Co., Ltd. 471/4 Phayathai Place, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Rachathewi, Bangkok 10400 Tel. 0-2354-5333 Printed by : E.Hing Printing Press Co., Ltd. 3141 Rot-Fai Sai Paknam Rd., Phrakanong, Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2249-0136-8 Fax : 0-2249-5093

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 12

6/7/2562 BE 5:54 PM


TECHNOLOGY MEDIA_NO.135_2019_23-5-62_G5-4


TPA

activity งานสัมมนาวิชาการเรื่อง

Smart Packaging the Wave of the Future สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย จัดงานสัมมนาวิชาการ เรื่อง Smart Packaging the Wave of the Future โดยมี มานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย กล่าวเปิดงาน ทางสมาคมได้เชิญวิทยากรที่มีความรู้ความช�ำนาญมาให้ความรู้ หลายท่าน ประกอบด้วย คทาวุธ เอือ้ จงประสิทธิ์ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษทั อี.พี.ซี. คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด วรรณพรรษศรณ์ ตริยะเกษม Business Development Manager บริษัท สตาร์ อาร์เอฟไอดี จ� ำ กั ด ทิ น กร เหล่ า เราวิ โรจน์ นายกสมาคมอุ ต สาหกรรม ุ ยุกตะนันท์ กรรมการผูจ้ ดั การ ซอฟต์แวร์ไทย (ATSI) และนิตคิ ณ บริษัท อิลูชั่น คอนเน็ก (ประเทศไทย) จ�ำกัด งานสัมมนาจัดขึ้น ณ ห้องอบรม อาคารต้นกล้า แกลลอรี่ สถาบันพลาสติก ซอย ตรีมิตร กล้วยน�้ำไท คลองเตย (ติดตามเนื้อหางานสัมมนาได้ใน ฉบับต่อไป)

3 เมกะเทรนด์หนุน อุตฯ การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ผนึก 2 สมาคมเตรียมจัดงาน “แพ็ค พริน้ ท์อนิ เตอร์เนชัน่ แนล 2019” รวมเทคโนโลยีทั่วโลกครั้งยิ่งใหญ่ในไทย

มานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย ร่วมกับ พงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย และ เบียทริซ เจ โฮ ผู้อำ� นวยการโครงการ “แพ็ค พริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล 2019” เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย (เอ็มดีเอ) ร่วมแถลงข่าว และน�ำผู้สื่อข่าวเยี่ยมชมโรงงาน ั ฑ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด พร้อม บริษทั คอนติเนนตัล บรรจุภณ ยื น ยั น ความพร้ อ มการจั ด งาน “แพ็ ค พริ้ น ท์ อิ น เตอร์ เนชั่ น แนล” งานแสดงเทคโนโลยี นวั ต กรรมด้ า นการ บรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จากกว่า 300 บริษัท 25 ประเทศ ชั้นน�ำทั่วโลก ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 18-21 กันยายน 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

14

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 14

6/7/2562 BE 5:54 PM


สัมมนาวิชาการ

ECO Packaging บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก เมื่อวันที่ 29 เมษายนที่ผ่านมา สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ได้จัดสัมมนาในหัวข้อ “Eco Packaging บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก” ณ ศูนย์ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ กล้วยน�้ำไท คลองเตย กรุงเทพฯ โดยเชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญมาให้ความรู้แก่ ผู้เข้าร่วมสัมมนา โดยมี มานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทยเป็นประธานกล่าวเปิดงาน จากนั้นเป็นการบรรยายในหัวข้อ “ปลายทางของบรรจุภัณฑ์ ที่ไม่ใช่กองขยะ” โดย เปรม พฤกษ์ทยานนท์ แอดมินเพจ “ลุงซาเล้งกับขยะที่หายไป” ด้าน ผศ.อรสา จิรภิญโญ สมาชิกกิตติมศักดิ์ และที่ปรึกษาสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย บรรยายเรื่อง “Eco-Design for Sustainable Packaging” ส่วนหัวข้อ “พลาสติกชีวภาพ บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้” บรรยายโดย สายพิณ ศรีวิเศษ Business Department Manager บริษทั ไบโอ-อีโค จ�ำกัด และ กิตติ เอีย่ มมานนท์ ผูจ้ ดั การส่วน หน่วยงานจัดจ�ำหน่ายและพัฒนา ตลาด บริษัท โซลูชั่น ครีเอชั่น จ�ำกัด

มานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย กล่าวว่า พลาสติกถูกท�ำมาใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์มานาน แต่ปัจจุบัน พลาสติกถูกมองเป็นผู้ร้าย ทั้งที่บรรจุภัณฑ์พลาสติกมีหลายแบบมีทั้งแบบที่ใช้แล้วทิ้งและแบบที่สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ วันนี้ ถือเป็นวาระที่ดีที่สมาคมฯ จะได้ส่งมอบความรู้ที่น่าสนใจให้แก่สมาชิกสมาคมฯ THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 15

15

6/7/2562 BE 5:54 PM


เปรม พฤกษทย�นนท

เปรม พฤกษ์ทยานนท์ แอดมินเพจ “ลุงซาเล้งกับขยะที่หายไป” ได้บรรยายในหัวข้อ “ปลายทางของบรรจุภัณฑ์ที่ไม่ใช่ขยะ” เปรมได้กล่าวว่า ด้วยกิจการของครอบครัวที่รับซื้อของเก่า มาก่อน เมื่อต้องมารับช่วงกิจการของครอบครัวก็รู้สึกว่าการรับซื้อของเก่าเป็นกิจการที่ช่วยรักษ์ สิ่งแวดล้อมอีกทางหนึ่งด้วย และด้วยที่คลุกคลีกับสินค้าพวกนี้มานานท�าให้มองสิ่งรอบตัวเปลี่ยน ไป เมื่อเห็นสิ่งของที่ทุกคนมองว่าเป็นขยะ แต่ส�าหรับผมมันคือแหล่งรายได้ คือสิ่งที่มีราคา แต่ ขยะก็ไม่สามารถขายได้ทุกชิ้น ในขยะหนึ่งชิ้นจะมีทั้งวัตถุดิบที่ขายได้และขายไม่ได้ อาทิ กระปอง มันฝรั่ง ถ้าจะขายให้โรงงานรับซื้อขยะ คนเก็บขยะจะต้องแยกขยะออกเป็น 4 ส่วนคือ ส่วนที่เป็น อะลูมิเนียมต้องทิ้งไป ส่วนที่เห็นเศษเหล็ก พลาสติก และกระดาษ สามารถขายได้ ดังนั้นหากจะ ช่วยให้การแยกขยะท�าได้ง่ายขึ้นคือการแยกขยะมาตั้งแต่ต้นทางจะดีที่สุด

ในต่างประเทศนั้นการเก็บขยะ การแยกขยะ ไต้หวันจะ ต้องซือ้ ถุงใส่ขยะแล้วการเก็บขยะจะมีเวลาทีแ่ น่นอน ขยะเปียก ขยะแห้งจะแยกกัน ญี่ปุ่นจะมีคู่มือวิธีการแยกทรัพยากรขยะ และวิธีการทิ้งขยะเพื่อแยกขยะก่อนทิ้ง มีการบันทึกตาราง วันเก็บขยะด้วย ส่วนประเทศในยุโรปขยะเกือบทัง้ หมดสามารถ น�าไปใช้เพื่อการผลิตไฟฟ้า จนบางประเทศต้องน�าเข้าขยะก็มี ทีจ่ ริงแล้วคนไทยแยกขยะเก่งเพราะรูด้ วี า่ ขยะเหล่านีม้ คี า่ แต่เรายังแยกไม่มีประสิทธิภาพนัก ซึ่งขยะที่สามารถน�าไป รีไซเคิลได้ต้องประกอบด้วย ขยะที่ท�าจากวัสดุชิ้นเดียวทั้งชิ้น ถ้ า เป็ น ขวดแก้ ว ก็ เ ป็ น แก้ ว ทั้ ง หมด เป็ น อะลู มิ เ นี ย มก็ เ ป็ น อะลูมิเนียมทั้งชิ้น หรือหากผลิตภัณฑ์นั้นท�าจากวัสดุหลายชิ้น ก็ต้องแยกง่าย แยกได้เร็ว ส่วนขยะปนเปื้อนนั้นไม่เป็นปัญหา แต่ต้องไม่เยอะจนเกินไป อาทิ เทปกาวพลาสติกหรือสายรัด หรือขนาดของวัสดุก็มีผล วัสดุไม่ควรเล็กเกินกว่าก�ามือ ถ้าเล็ก

ผศ.อรส� จิรภิญโญ

ผศ.อรสา จิรภิญโญ สมาชิกกิตติมศักดิ์ และที่ปรึกษาสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย เป็น ผู้บรรยายเรื่อง “Eco-Design for Sustainable Packaging” อาจารย์ได้กล่าวว่า การออกแบบ บรรจุภัณฑ์อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไม่ได้มีรูปแบบตายตัว ส่วนใหญ่มีค่านิยมว่าบรรจุภัณฑ์รักษ์ สิ่งแวดล้อมจะต้องมีสีน�้าตาล หรือมีสีเขียวเท่านั้น แต่ที่จริงแล้ว การออกแบบบรรจุภัณฑ์สามารถ ท�าได้หลายรูปแบบ งานบางอย่างสามารถท�ากล่องให้กลายเป็นถุงหิ้วได้ด้วย เป็นการออกแบบ ที่ช่วยรักษ์ส่ิงแวดล้อมที่ชัดเจน วัสดุก็เป็นการผ่านรีไซเคิลมาแล้ว ประหยัดกระดาษถึง 45% การตัดต่อกระดาษก็ไม่ทิ้ง ไม่ใช้กาว หรือเข็มเย็บ ใช้การออกแบบมีเดือยสอดประสานให้แข็งแรง ขึ้น หรือบางยี่ห้อก็ออกแบบให้ใช้ได้อีกหลาย ๆ ครั้ง นอกจากนั้นมีผลิตภัณฑ์บางยี่ห้อออกแบบ บรรจุภัณฑ์โดยมีแรงบันดาลใจจากแหล่งที่มาของวัตถุดิบที่น�ามาใช้ผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ เช่น

การออกแบบก้นของบรรจุภณ ั ฑ์ให้เป็นหอยเม่นเพราะวัตถุดบิ คื อ ขยะที่ เ ก็ บ มาจากทะเลเหล่ า นี้ เ ป็ น ต้ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ บ าง ประเภทออกแบบโดยใช้กระดาษ บรรจุผลิตภัณฑ์ทชี่ ว่ ยอนุรกั ษ์ ธรรมชาติ แต่เมื่อพิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้วบรรจุภัณฑ์นี้ไม่ได้ รับการพิจารณาเป็น Eco Design เพราะการออกแบบไม่เอื้อ ต่อการขนส่ง หรือบรรจุภัณฑ์ที่ใช้พื้นที่ไม่คุ้มค่าโดยเน้นความ สวยงามมากกว่าการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น โคลาโคล่าได้ออกแบบขวดให้เป็นสี่เหลี่ยมเพื่อประหยัดพื้นที่ ในการขนส่งให้ดีขึ้น 16

ก็ต้องเก็บสะสมให้ได้จ�านวนหนึ่งก่อนจึงจะน�าไปขายได้ และ ราคาซือ้ รวมกับค่าจัดการทัง้ หมดต้องไม่มากกว่าราคาขาย ส่วน ขยะที่ไม่สามารถน�ามารีไซเคิลได้คือ ขยะของแถมประเภท หลอดพลาสติก ช้อนส้อมพลาสติก บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นตาม ความต้องการของผู้ผลิต Double Packaging และ Over Packaging อาทิ พลาสติกปิดฝาขวด หรือกาวพลาสติก นอกจากนั้น ขวดที่ผสมสีก็เป็นขยะอีกประเภทที่ไม่สามารถน�าไปรีไซเคิลได้ หรือกระดาษที่ติดกันแน่นเกินไป หรือโลหะบางประเภทเพราะ ต้องเพิ่มขั้นตอนการรีไซเคิล สรุปได้ว่า หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่ให้ง่ายต่อการ รีไซเคิลมี 3 หลักใหญ่ ๆ คือ 1. ท�าจากวัสดุน้อยชนิดที่สุด 2. ช่วยผู้บริโภคในการแยกชิ้นส่วน (บังคับแยก มีสัญลักษณ์ บ่งบอก แยกง่าย) 3. บอกชนิดของบรรจุภัณฑ์ชัดเจน และ 4. เลือกวัสดุที่รีไซเคิลได้ง่าย

ในประเทศญี่ปุ่นให้ความส�าคัญด้าน Eco Design มาก นักออกแบบจะต้องค�านึงถึงการใช้งานและความต้องการของ ผู้บริโภคด้วย จะต้องแสดงอย่างชัดเจนว่าขยะอะไรที่ยังใช้ได้ ขยะอะไรที่ต้องทิ้งที่ไหน อย่างไร ถ้าขยะในบ้านจะมีรับตาม วันเวลาที่ก�าหนด นักออกแบบจึงต้องสนองตอบต่อความ ต้องการของผู้บริโภคที่ต้องแยกขยะได้ง่ายขึ้น ขนส่งได้ง่ายขึ้น นักออกแบบเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจะต้องมีความเข้าใจ ทั้ง Eco-Design Relationship, Social-Design Relation, Consumer-Design Relation และ Techno-Design Relation

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 16

6/7/2562 BE 5:54 PM


ซึ่งทุกเรื่องจะสัมพันธ์กัน จึงต้องสร้างความเข้าใจในแต่ละ เรื่องอย่างถ่องแท้ ผลิตภัณฑ์ที่จะเป็น Eco ได้จะต้องมี คุ ณ สมบั ติ เ หล่ า นี้ คื อ A. Reduce Volume, B. Make Disposal Proper and Easy, C. Use Recycled Materials,

D. Make it Reusable, E. Make it Refillable or Replaceable, F. Make it Returnable for Reuse, G. Make it Recyclable, H. Use Materials from Renewable Sources และ I. Other Eco-friendly Approaches

สายพิณ ศรีวิเศษ, Business Department Manager บริษัท ไบโอ-อีโค จ�ากัด ได้บรรยายใน หัวข้อ “พลาสติกชีวภาพ บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้” โดยกล่าวว่า บริษัท ไบโอ-อีโค จ�ากัด ก่อตั้ง เมื่อปี 2560 เป็นการร่วมทุนระหว่างบริษัท ไทยเคเค อุตสาหกรรม จ�ากัด และบริษัท ทีพีบีไอ จ�ากัด (มหาชน) มีพันธกิจเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดรูปแบบการด�าเนินชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม โดยการออกแบบบรรจุภัณฑ์หลากหลายชนิดด้วยเทคโนโลยีใหม่ การออกแบบที่ สวยงาม สะดวกต่อการใช้ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเพื่อลดปริมาณขยะพลาสติกให้แก่ ประเทศไทยและโลกอย่างจริงจัง ส�ยพ�ณ ศร�ว�เศษ ปัจจุบันรัฐบาลได้ประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่ง ชาติ “New S-Curve” ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) โดย Bio Plastics เป็น 1 ใน 5 ของอุตสาหกรรมที่ได้รับการ สนับสนุนตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 10 ปี ผู้ประกอบการได้ สิทธิ์ลดหย่อนภาษี 300% (มติ ครม.อนุมัติเรียบร้อยแล้วแต่ ยังอยู่ในกระบวนการของสรรพากร) ซึ่งตามมติ ครม.ได้ ประกาศให้ 20 กระทรวงต้องด�าเนินกิจกรรมเพื่อลดการใช้ พลาสติกและโฟม โดยให้เริ่มตั้งแต่ 2560 เป็นต้นไป รวมทั้ง ให้สถานที่ราชการทั่วประเทศต้องปลอดโฟมอีกด้วย และ ด้วยมติดังกล่าวทางภาครัฐได้ร่วมหารือกับภาคเอกชนเพื่อ ให้การสนับสนุนและส่งเสริมให้ลดการใช้พลาสติกชนิดใช้ครัง้ เดียวแล้วทิ้ง เปลี่ยนมาใช้เป็น Bio Plastics แทน

กิตติ เอี่ยมม�นนท

ในแต่ละปีนั้นทั่วโลกมีการใช้ถุงพลาสติกมากถึง 5 แสนล้าน ใบ และได้กลายเป็นขยะที่ตกค้างในธรรมชาติ ท�าให้เกิดมลพิษ ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งครึ่งหนึ่งของพลาสติกที่ใช้อยู่ในปัจจุบันคือ พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ปัจจุบันประเทศไทยเป็นอันดับที่ 6 ทีท่ งิ้ ขยะพลาสติกลงทะเลมากทีส่ ดุ 10 ขยะทีพ่ บมากทีส่ ดุ ในทะเล คือ 1. ถุงพลาสติก 2. หลอด 3. ฝาขวดพลาสติก 4. ภาชนะบรรจุ อาหาร 5. เชือก (จากประมง) 6. ก้นบุหรี่ 7. กระปอง 8. กระดาษ 9. โฟม และ 10. ขวดแก้ว ทิศทางการแก้ไขปัญหาคือใช้ Bio Plastics ซึ่งผลิตจากอ้อย ข้าวโพด รวมทั้งมันส�าปะหลัง สามารถ ย่อยสลายได้ภายใน 180 วัน ด้วยคุณสมบัติดังกล่าวจึงได้รับ การตอบรับที่ดีทั้งจากประชาชนทั่วไปและหน่วยงานต่าง ๆ และ มีแนวโน้มจะได้รับการตอบรับมากขึ้น

ส่วน กิตติ เอีย่ มมานนท์ ผูจ้ ดั การส่วน หน่วยงานจัดจ�าหน่ายและพัฒนาตลาด บริษทั โซลูชน่ั ครีเอชั่น จ�ากัด ได้บรรยายในหัวข้อเดียวกัน โดยบริษัท โซลูชั่น ครีเอชั่น จ�ากัด อยู่ในเครือของ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทผู้ผลิตเม็ดพลาสติกรายใหญ่ของไทย เป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยเป็นหนึ่งในผู้ผลิตขยะในทะเลรายใหญ่อันดับ 6 ของโลกรองจาก จีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และศรีลังกา และจากการที่พบว่ามีขยะจ�านวนมหาศาลอยู่ ในท้องปลาวาฬบ้าง เต่าทะเลบ้างหรือปลาทะเลทั่วไป ท�าให้เกิดกระแสการลดการใช้ถุงพลาสติก ทีย่ อ่ ยสลายได้ยากขึน้ ทัว่ โลก ทางประเทศไทยเองก็มกี ารตอบรับกระแสดังกล่าว โดยออกมาตรการ ลด ละ เลิกการใช้ถุงพลาสติก 7 ชนิด ก�าหนดให้ภายในปี 2562 ต้องเลิกใช้พลาสติก 3 ชนิดคือ

พลาสติกหุ้มฝาขวดน�้าดื่ม ผลิตภัณฑ์พลาสติกที่มีส่วนผสม ของสารประเภท Oxe และไมโครบีชจากพลาสติก ในปี 2565 จะเลิกใช้พลาสติก 2 ชนิดคือ ถุงพลาสติกหูหิ้วขนาดความ หนาน้อยกว่า 33 ไมครอน และ กล่องโฟมบรรจุอาหาร และ ในปี 2568 จะมีพลาสติกอีก 2 ชนิดที่ต้องเลิกใช้คือ แก้วน�้า พลาสติก (ที่ใช้ครั้งเดียว) และหลอดพลาสติก เพื่ อ ให้ ก ารด� า เนิ น ธุ ร กิ จ สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ ก� า หนด

ดังกล่าว ทางบริษัทได้ออกมาตรการที่เรียกว่า Circular Economy Concept หรือการด�าเนินงานด้านความยั่งยืน การใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างคุ้มค่าในขั้นตอนการผลิต การอุปโภคบริโภค และ การก�าจัดขยะและของเสียจากผลิตภัณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพ และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทได้ศึกษาวิจัยวัตถุดิบเพื่อ ผลิตผลิตภัณฑ์ที่ไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด�าเนินกิจกรรม รณรงค์การลดเลิกใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกด้วย THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 17

17

6/7/2562 BE 5:54 PM


ร�ยง�น

ผลการดําเนินงาน

ประจําป

2561

มาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ด�าเนินงาน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นศูนย์กลาง ในการประสานความร่วมมือระหว่างผู้ที่ เกี่ยวข้องกับการบรรจุภัณฑ์ทั้งภาครัฐและเอกชน ในการ ส่งเสริมและเผยแพร่ข่าวสาร วิชาการ และเทคโนโลยี เกี่ยวกับการบรรจุภัณฑ์อันทันสมัยจากทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ได้ด�าเนินกิจกรรม ร่วมกับหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ ในปีที่ผ่านมามีดังต่อไปนี้

1.

18

ก�รประชุ ม สหพั น ธ ก �ร บรรจุ ภั ณ ฑ แ ห่ ง เอเชี ย แปซิ ฟ  ค 68 th Board of Administration Meeting และ 43rd General Assembly Meeting of Asian Packaging Federation (APF) at Tokyo, Japan วันที่ 1 ตุล�คม 2561

การประชุม Board of Administration of APF ครั้งที่ 68 และ General Assembly of APF ครั้งที่ 43 เพื่อหารือด้านความร่วมมือใน การพัฒนาด้านบรรจุภัณฑ์ระดับภูมิภาคเอเชียนั้น ที่ประชุมมีมติ ก�าหนดให้มีการจัดการประชุม 69th Board of Administration & 44th General Assembly of APF ประจ�าปี 2019 และการประกวดบรรจุภณ ั ฑ์ ระดับภูมิภาคเอเชีย (AsiaStar Awards 2019) ครั้งต่อไป ณ กรุงเทพ มหานคร ประเทศไทย โดยมี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับสมาคม การบรรจุภณ ั ฑ์ไทย ศูนย์การบรรจุหบี ห่อไทย สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แ ห่ ง ประเทศไทย และคณะอุ ต สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 18

6/7/2562 BE 5:54 PM


Board of APF 2018

Mr.Rohan Victoria Sri Lanka Institute of Packaging President Ms. Aslihan Arikan Turkish Packaging Manufacturers Association (ASD) 1st Vice President Mr.Wang Yyuezhong China Packaging Federation 2nd Vice President Prof. N.C.Saha Indian Institute of Packaging (IIP) 3rd Vice President Dr.Pattra Maneesin Thai Packaging Centre (TPC) Secretary General Mr.Sunil Costa Sri Lanka Institute of Packaging Treasurer และมีผลงานบรรจุภัณฑ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ได้รบั รางวัล AsiaStar Awards 2018 ทัง้ สิน้ 90 รางวัล จากผลงานที่ส่งเข้าประกวดรวมทั้งสิ้น 191 ผลงาน จาก 9 ประเทศสมาชิก โดยผลงานบรรจุภัณฑ์จาก ประเทศไทย ได้รับรางวัล AsiaStar Awards 2018 ทัง้ สิน้ 29 รางวัล จากทีส่ ง่ เข้าประกวดทัง้ สิน้ 31 ผลงาน โดยแบ่งออกเป็น ประเภทบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัด จ�าหน่าย (Consumer Package) จ�านวน 8 รางวัล ประเภทบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง (Transportation Package) จ�านวน 2 รางวัล ประเภทสือ่ และบรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อการส่งเสริมการขาย (Point of Puchase: P.O.P) จ� า นวน 1 รางวั ล ประเภทวั ส ดุ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ แ ละ องค์ประกอบ (Packaging Material and Components: PMC) จ�านวน 1 รางวัล และประเภทบรรจุภณ ั ฑ์ระดับ นักเรียน นักศึกษา (Student Category) จ�านวน 17 รางวัล

2.

ง�นสหพันธอุตส�หกรรมก�รพิมพ และมูลนิธิสหพันธอุตส�หกรรม ก�รพิมพ

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ได้เข้าร่วมงานเลี้ยง “วัน การพิมพ์ไทย Happy FTPI Family Day วันครอบครัว สหพันธ์ฯ สุขสันต์” เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2561 ณ ห้อง อังรีดูนังต์ ราชกรีฑาสโมสร พร้อมรับฟังบรรยายพิเศษ โดยมี คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ สมาชิกกิตติมศักดิ ์ และทีป่ รึกษา เข้าร่วมงาน และภายในงาน ธนพล บันลือรัตน์ นายกสมาคม แยกสีแม่พมิ พ์เพือ่ อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ได้รบั มอบต�าแหน่ง ประธานสหพั น ธ์ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ จาก พิ ม พ์ น ารา จิ ร านิ ธิ ศ นนท์ ประธานกลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละ บรรจุภัณฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สมาคมฯ ได้เข้าร่วมกิจกรรมของสหพันธ์อตุ สาหกรรมการพิมพ์ ดังนี้ • ร่วมท�าบุญทักษิณานุปทานถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว และบังสุกุลอุทิศส่วนกุศลให้แก่บุคคลในวงการพิมพ์ท ี่ ล่วงลับไปแล้ว ณ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม • พิธวี างพวงมาลาเพือ่ ร�าลึกถึงคุณปู การของหมอบรัดเลย์ทมี่ ตี อ่ วงการพิมพ์ ในวันที ่ 3 มิถนุ ายนของทุกปี ณ สุสานโปรแตสแตนท์ • ร่วมประชุมคณะมนตรี คณะอนุกรรมการ • สนับสนุนการแข่งขันโบว์ลงิ่ สหพันธ์อตุ สาหกรรมการพิมพ์ ครัง้ ที่ 3 เมื่อวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2562 ณ Blu-o Rhythm & Bowl สยามพารากอน

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 19

19

6/7/2562 BE 5:54 PM


3.

ก�รจัดทัศนศึกษ�ดูง�น-เยี่ยมชม หน่วยง�นที่เกี่ยวข้อง

1) จัดทัศนศึกษาดูงาน Tokyo Pack 2018 ระหว่างวันที่ 30 กันยายน-5 ตุลาคม 2561 ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น พร้อมเยี่ยมชมนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ของ Seikou (โรงงานที่ Tsukuba) โรงพิมพ์บรรจุภัณฑ์อันดับต้น ๆ ของประเทศญี่ปุ่น ในการผลิตบรรจุภัณฑ์ทางด้านการเกษตร

2) จัดร่วมชมงาน Sino-Corrugate 2019 ระหว่างวันที่ 7-11 เมษายน 2562 ณ เมืองเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน และเยี่ยมชมโรงงาน โดยได้รับการสนับสนุนที่พักระหว่างการ ชมงานแสดงสินค้าจากผู้จัดงาน (Reed Exhibitions) ซึ่งมอบ เป็นพิเศษให้กับสมาชิกของสมาคมฯ

4.

กิจกรรมและก�รประชุม กับหน่วยง�นต่�ง ๆ

• ร่วมเป็นคณะกรรมการในองค์กรต่าง ๆ • ร่วมประชุมเตรียมความพร้อมการเป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุม 69th BoA & 44th GA of APF • สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ด้านมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ วิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ • คณะกรรมการตัดสินการประกวดบรรจุภัณฑ์ประจ�าปี 2562 • ร่วมประชุมกับองค์กรต่างๆ 1. มานิตย์ กมลสุวรรณ (นายกสมาคมฯ) เข้าร่วมการ ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี สมาคมการพิมพ์สกรีนไทย ประจ�าปี 2561 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2561 ณ โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ ไซด์ 2. มานิตย์ กมลสุวรรณ (นายกสมาคมฯ) เข้าร่วมการ ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปีและเลือกตั้งคณะกรรมการบริหาร สมาคมการพิมพ์ไทย เมือ่ วันที ่ 30 เมษายน 2561 ณ ราชกรีฑา สโมสร 3. อุมา อัจจิมารังษี (กรรมการ ฝ่ายกิจกรรมในประเทศ) ร่วมตัดสินการประกวดบรรจุภัณฑ์ประจ�าปี 2561 (ThaiStar 2018) เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 3 พฤษภาคม 2561 ณ อาคาร ศูนย์ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (Thailand Industrial Design Center : Thai-idc) ชั้น 2 และรางวัล TPA Packaging 4.0 Awards ที่เป็นรางวัลพิเศษจากทางสมาคมฯ

ง�นวิช�ก�ร

การจัดสัมมนา / ฝกอบรม สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย จัดฝกอบรมหลักสูตรทักษะ และมาตรฐานวิชาชีพนักออกแบบบรรจุภัณฑ์ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 ณ ห้อง 401 ชัน้ 4 อาคารกองพัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม (กล้วยน�้าไท)

20

5.

4. สมาคมการบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ทยร่ ว มออกบู ธ ในงาน Thailand Food Innovation Forum 2018 ณ ศูนย์การประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ระหว่างวันที่ 21-22 พฤษภาคม 2561 จัดโดย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 5. มานิตย์ กมลสุวรรณ (นายกสมาคมฯ) ร่วมงานและ ให้เกียรติขนึ้ มอบรางวัลการประกวดบรรจุภณ ั ฑ์ประจ�าปี 2560 รางวัล ThaiStar Awards รางวัล AsiaStar Awards และรางวัล WorldStar Awards ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา เมื่อวันพุธที่ 13 มิถุนายน 2561 จัดโดยกองพัฒนา อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 20

6/7/2562 BE 5:54 PM


6. มานิตย์ กมลสุวรรณ (นายกสมาคมฯ) ให้เกียรติเป็น วิทยากรบรรยายในงานสัมมนา Packaging in the Circular Economy : A Sustainable Business หัวข้อเรื่อง The Role of Packaging in the Circular Economy in Thailand ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา เมื่อวันศุกร์ที่ 15 มิถุนายน 2561จัดโดย Indonesian Packaging Federation

7. ภัทรา คุณวัฒน์ (รองเลขาธิการ) และ อุมา อัจจิมา รังษี (กรรมการ ฝ่ายกิจกรรมในประเทศ) ร่วมสัมมนาเชิงปฏิบตั ิ การ “ร่วมคิด ร่วมปฏิรปู เครือข่ายนวัตกรรมอุตสาหกรรมไทย” ณ โรงแรมจัสมินซิตี้ อโศก เมื่อวันศุกร์ที่ 15 มิถุนายน 2561 จั ด โดยกองพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ กรมส่ ง เสริ ม อุตสาหกรรม 8. คณะกรรมการบริหารสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย เข้าร่วมงานแถลงข่าว “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 13” ณ โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน 2561 จัดโดยสมาคมการพิมพ์ไทย 9. ภัทรา คุณวัฒน์ (รองเลขาธิการ) ร่วมประชุมสนทนา กลุ่มย่อย (Focus Group) เรื่อง “Smart SMEs พลังขับเคลื่อน Thailand 4.0” ณ ห้องประชุมศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยชิคาโกมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เมื่อวันศุกร์ที่ 22 มิถุนายน 2561 จัดโดยศูนย์เอสเอ็มอี (SME Center) มหาวิทยาลัย หอการค้า ไทย 10. วันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม 2561 เอกรินทร์ จิระกรานนท์ (อุปนายกพัฒนาองค์กร) เข้าร่วมประชุมคณะ กรรมการบริหารสภาสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย (สสวทท) ครั้ง ที่ 5/2561 ณ ห้องประชุมชั้น 3 อาคาร 2 (อาคารวิจยั โยธี) ส�านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

11. วันพฤหัสบดีท ี่ 26 กรกฎาคม 2561 ภัทรา คุณวัฒน์ (รองเลขาธิการ) เข้าร่วมประชุมภาคี เครือข่ายสภาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมไทย ครั้งที่ 1/2561 ณ ห้องประชุม โซนบี ชั้น 6 อาคารกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (ถนนพระราม 6) จั ด โดยสภาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มไทย (สภา เอสเอ็มอี) (สภาฯ เกิดจากการรวมตัวกันของภาคีเครือข่ายภาค เอกชนซึ่งประกอบไปด้วยสมาคม มูลนิธิ ชมรม และกลุ่ม คลัสเตอร์อุตสาหกรรมต่าง ๆ) 12. มานิตย์ กมลสุวรรณ (นายกสมาคมฯ) เข้าร่วมหารือ เรื่อง การผลิตและพัฒนาบุคลากรเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรม การพิมพ์ ยุค 4.0 จัดโดยเครือข่ายสถาบันการศึกษาและสื่อ แห่งประเทศไทย เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม 2561 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมสามศร มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช 13. อุมา อัจจิมารังษี (กรรมการ ฝ่ายกิจกรรมในประเทศ) ร่ ว มพิ ธี ว างพานพุ ่ ม ถวายราชสั ก การะ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันวิทยาศาสตร์ เมื่อวันเสาร์ ที่ 18 สิงหาคม 2561 ณ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถนนโยธี โดยได้รับเกียรติจากผู้แทนสหพันธ์อุตสาหกรรม การพิมพ์ ร่วมเดินในขบวนด้วย 14. คณะกรรมการสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ร่วม พิธีท�าบุญเลี้ยงพระเพื่อเป็นสิริมงคล เนื่องในโอกาส ครบรอบ 72 ปี การก่อตั้งสมาคมการพิมพ์ไทย เมื่อวันพุธที่ 22 สิงหาคม 2561 ณ ห้องประชุมสมาคมการพิมพ์ไทย ถนนพระราม 9 ซอย 15 15. มานิตย์ กมลสุวรรณ (นายกสมาคมฯ) เข้าร่วมงาน แถลงข่าว “Asia Print Expo by FESPA 2019” โดยสมาคม การพิมพ์สกรีนไทยร่วมกับ FESPA เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม 2561 ณ ห้องโซระ ชั้น 3 โรงแรมดิ โอกุระ เพรสทีจ กรุงเทพ

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 21

21

6/7/2562 BE 5:54 PM


6.

กิ จ ก ร ร ม เ กี่ ย ว กั บ ก � ร ป ร ะ ก ว ด บรรจุภัณฑ

• Thai Star Packaging Award ร่วมเป็นกรรมการตัดสินการประกวดบรรจุภัณฑ์ไทย ประจ�าปี 2561 (ThaiStar Packaging Awards 2018) จัดโดย กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ภายใต้หวั ข้อ “บรรจุภณ ั ฑ์ 4.0 เทคโนโลยี นวัตกรรม นาไทย : Thai Packaging 4.0” และให้การสนับสนุนเงินรางวัล เพิ่มเติม มอบรางวัลการประกวดบรรจุภัณฑ์ ประจ�าปี 2561 (ThaiStar Packaging Awards 2018) เมือ่ วันพุธ ที ่ 13 มิถนุ ายน 2561 เวลา 16.00 น. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา ร่วมเป็นกรรมการตัดสินการประกวดบรรจุภัณฑ์ไทย ประจ�าปี 2562 (ThaiStar Packaging Awards 2019) จัดโดย กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ภายใต้หัวข้อ “บรรจุภัณฑ์เพื่อความยั่งยืน” (Sustainable Packaging) และให้การสนับสนุนเงินรางวัลเพิ่มเติม

7.

ก�รจัดประชุมของสม�คมฯ

• จัดประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2560 วันพุธที ่ 21 มีนาคม 2561 ณ ห้องดวงกมล ชัน้ 2 โรงแรมเดอะ สุโกศล ถนนพญาไท กรุงเทพฯ • จั ด ประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารสมาคมฯ ประจ� า ปี 2561/2562 จ�านวน 10 ครั้ง • มอบอุปกรณ์ทางการแพทย์ ให้กบั สถาบันสุขภาพเด็กแห่ง ชาติมหาราชิน ี ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ เนือ่ งในโอกาสครบรอบ 49 ปี การก่อตั้งสมาคมฯ

22

8.

ก�รเผยแพร่กิจกรรม

จัดท�าวารสาร “บรรจุภัณฑ์ไทย” ราย 2 เดือน จ�านวน 6 ฉบับ พิมพ์จา� นวน 3,000-4,000 เล่ม/ฉบับ เพือ่ เผยแพร่ความรู้ แก่สมาชิกและผู้สนใจทั่วไป และจัดท�าหนังสือ Packaging Directory Thailand 2019-2020

9.

กิจกรรมที่อยู่ระหว่�งก�รดำ�เนินง�น

1. การจัดงานแสดงสินค้า Pack Print International 2019 ระหว่างวันที่ 18-21 กันยายน 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและ การประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ โดยสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ ไทยร่วมกับสมาคมการพิมพ์ไทย และ Messe Dusseldorf Asia ได้ร่วมกันจัดงาน ซึ่งเป็นงานแสดงสินค้าเกี่ยวกับการพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์ระดับสากล ภายในงานมีการแสดงเครื่องจักรและ เทคโนโลยีอันทันสมัย ประกอบด้วยการสัมมนาทางวิชาการ ด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์หลายประเภทที่น่าสนใจ 2. ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดประชุมประชุม 69th Board of Administration & 44th General Assembly of APF ประจ�าปี 2019 และการประกวดบรรจุภณ ั ฑ์ระดับภูมภิ าคเอเชีย (AsiaStar Awards 2019) ระหว่างวันที่ 17-21 กันยายน 2562 โดยมี กรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย สถาบันวิจัย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ประเทศไทย และคณะ อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นเจ้าภาพ ร่วมกัน 3. จัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีสมาคม การบรรจุภัณฑ์ไทย

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 22

6/7/2562 BE 5:54 PM


เร�่องเลา

¡Å‹Í§¾ÔàÈÉ ãÊ‹¤ÃÑǫͧµ

คนทํากลอง อ.มานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย

ล่องพิเศษใส่ครัวซองต์ 16 ตัว เข้าอบร้อนทั้งกล่อง บนเครื่องบิน เพื่อเป็นอาหารเช้าให้ผู้โดยสาร ท�าให้ สะดวกและรวดเร็ว ใช้ทดแทนถาดสเตนเลสที่มีน�้าหนักและ ต้องส่งกลับไปล้างน�ามาใช้ใหม่ ต้องเสียระวางแบกน�้าหนัก ถาดโลหะทั้งไป-กลับ กล่องที่ท�าขึ้นนี้เป็นของบิ๊กสายการบิน เบอร์สองของอเมริกา จะสั่งครั้งละ 4.8 แสนกล่อง คิดเป็น ครัวซองต์เกือบ 8 ล้านชิ้น เรียกว่าใช้แล้วติดใจ.... ฝาครอบกระดาษพิ เ ศษ กดปิ ด ครอบถาดพลาสติ ก ใช้บรรจุอาหารขึ้นเครื่องบินชั้นประหยัด ให้เป็นทางเลือก แทนการใช้ห่อ/ครอบปิด ด้วยแผ่นฟอยล์อะลูมิเนียม ฝาครอบกระดาษดังกล่าว เป็นสิง่ ประดิษฐ์ของ CPT และ ได้จดสิทธิบัตรไว้ทั่วโลก ปัจจุบันใช้อยู่ปีละหลายล้านชิ้น มีความเป็นไปได้สูง (มาก) ที่เราจะผลิตถาดกระดาษพิเศษ ของเราเองควบคูก่ บั ฝากระดาษ เพือ่ ให้เป็นทางเลือกกับถาด พลาสติกปัจจุบันจากยุโรป

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 23

23

6/7/2562 BE 5:54 PM


ARTICLE สุมาลี ทั่งพิทยกุล

rPET,

Circular Economy

แนวโน้มที่ท้�ท�ย ของอุตส�หกรรมไทย

ระเทศไทยมีการผลิตพลาสติกออกสูต่ ลาดในประเทศมากกว่า 185,000 ตัน และมีไม่ถึงครึ่งของขยะขวดพลาสติกที่ได้รับการจัดการเข้าสู่ กระบวนการรีไซเคิลอย่างเหมาะสม นั่นหมายความว่า ยังมีขวด พลาสติกที่เหลือเกือบแสนตันต้องถูกน�าไปฝังกลบและบางส่วนก็เล็ดลอดออก ไปสู่ทะเลกลายเป็นขยะทะเลที่สร้างปัญหาสิ่งแวดล้อมในระดับโลก ปริมาณของการใช้ขวดพลาสติกทีใ่ ช้ครัง้ เดียวทิง้ เพิม่ ขึน้ ไม่ได้เป็นปัญหาเดียว ของขยะขวดพลาสติก แต่ยังพบว่ากระบวนการในการจัดการขวดพลาสติกนั้น ยังเป็นปัญหามาก ทุก ๆ 1 นาทีจะมีขวดพลาสติกถูกซื้อ 1 ลานใบ... “ในทุกๆ 1 นาทีจะมีการซื้อขวดพลาสติก 1 ล้านใบ และตัวเลขนี้จะเพิ่มขึ้น อีกเมื่อถึงปี ค.ศ. 2021” รายงานข่าวชิ้นหนึ่งของเดอะการ์เดียนระบุ พร้อมทั้ง คาดการณ์วา่ ภายในสิน้ ทศวรรษนี ้ จะมีการขายขวดพลาสติกออกไปถึงมากกว่า 5 แสนล้านใบ ถึงกับมีการประเมินว่าหากมีการน�าขวดพลาสติกบรรจุนา�้ ดืม่ ทีใ่ ช้มาวางเรียง ต่อกันก็จะได้ความยาวถึงครึ่งทางของการเดินทางจากโลกไปสู่ดวงอาทิตย์ โดยข้อมูลจากรายงานของ Euromonitor International ระบุว่า ในปี ค.ศ. 2016 เราใช้ขวดพลาสติกบรรจุน�้าดื่ม มากถึง 4.8 ล้านใบทั่วโลก เติบโตอย่างรวดเร็ว เมือ่ เปรียบเทียบกับเมือ่ 10 ปีกอ่ นทีโ่ ลกเคยใช้อยูท่ ปี่ ลี ะประมาณ 3 แสนล้านใบ ปัจจุบัน ประเทศไทยยังไม่อนุญาตให้ใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ผลิตจากเม็ด พลาสติกรีไซเคิลจากโพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene Terephthalate) หรือทีเ่ รียกกันโดยย่อว่า “เพท” (PET) เป็นพลาสติกชนิดเทอร์โมพลาสติก (หลอม ที่อุณหภูมิสูงและแข็งตัวเมื่อเย็น) ที่ผลิตขึ้นได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างเอทิลีน ไกลคอลกับไดเมทิลเทเรฟทาเลต หรือระหว่างเอทิลีนไกลคอลกับกรดเทเรฟ ทาลิก พลาสติ PET นี้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่มีเนื้อใส (A-PET) และกลุ่มที่เป็น ผลึกสีขาว (C-PET) PET มีคุณสมบัติที่สามารถท�าเป็นพลาสติกที่มีลักษณะกึ่ง แข็งไปจนถึงเป็นของแข็งได้โดยการปรับความหนา และมีน�้าหนักเบา กันก๊าซ และแอลกอฮอล์ได้ดี โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene Terepthalate-PET) บรรจุภัณฑ์ที่ได้ รับการคิดค้นขึ้นมาเพื่อการบรรจุน�้าอัดลม น�้ามันพืช และน�้าดื่ม เนื่องจาก คุณสมบัติเด่นทางด้านความใสแวววับเป็นประกาย สามารถป้องกันรังสี UV

24

นอกจากขวดแล้ ว PET ในรู ป ฟิ ล ์ ม ซึ่ ง มี คุณสมบัตใิ นการ ป้องกันการซึมผ่านของก๊าซ ได้เป็นอย่างดี จึงมีการน�าไปเคลือบหลายชั้น ท�าเป็นซองส�าหรับบรรจุอาหารทีม่ คี วามไวต่อ ก๊าซ เช่น อาหารขบเคี้ยว เป็นต้น นอกจากนี้ ฟิ ล ์ ม PET ยั ง มี คุ ณ สมบั ติ เ ด่ น อี ก หลาย ประการ เช่ น ทนแรงยื ด และแรงกระแทก เสียดสีได้ดี จุดหลอม เหลวสูง แต่ข้อด้อย คือ ไม่สามารถปิดผนึกด้วยความร้อนและเปิด ฉีกยาก ท�าให้โอกาสใช้ฟิล์ม PET อย่างเดียว น้อยมาก รีไซเคิล หรือ rPET โดยประกาศกระทรวง สาธารณสุข ฉบับที ่ 295 พ.ศ. 2548 ข้อ 8 ระบุ ว่ า “ห้ า มมิ ใ ห้ ใช้ ภ าชนะบรรจุ ที่ ท� า ขึ้ น จาก พลาสติกที่ใช้แล้วบรรจุอาหาร เว้นแต่ใช้เพื่อ บรรจุผลไม้ชนิดที่ไม่รับประทานเปลือก” โดย วัตถุประสงค์ของกฎหมายในขณะนั้นเป็นไป เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคจากบรรจุภัณฑ์ที่ ไม่สะอาด แต่ดว้ ยเหตุผลดังกล่าว บรรจุภณ ั ฑ์ พลาสติกส�าหรับอาหารและเครือ่ งดืม่ ทัง้ หมด ในประเทศไทยจึงต้องผลิตขึ้นจากพลาสติก ผลิตใหม่ (Virgin Plastic) ทั้งหมด ซึ่งท�าให้ ปริมาณการใช้พลาสติกผลิตใหม่เพิ่มสูงขึ้น อย่างต่อเนือ่ ง สหภาพยุโรปเป็นตลาดผูบ้ ริโภค ทีม่ ขี นาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลกรองจาก อเมริกา การแบนพลาสติกแบบใช้แล้วทิ้งทั่ว ยุโรปจึงเป็นเรือ่ งใหญ่มาก ซึง่ คณะกรรมาธิการ

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 24

6/7/2562 BE 5:54 PM


คาดว่าจะช่วยประหยัดค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อมไปได้กว่า 2.23 แสนล้านยูโร ภายในปี ค.ศ. 2030 รวมทั้งเทียบเท่ากับ การลดการปล่อยก๊าซ CO2 ถึง 3.4 ล้านตันภายในปี ค.ศ. 2030 ภายใต้มาตรการนี้ ประเทศสมาชิกจะต้องก�ำหนดเป้า หมายระดับประเทศในการลดการใช้ภาชนะพลาสติกที่ใช้ บรรจุอาหาร บังคับให้อตุ สาหกรรมรับผิดชอบค่าใช้จา่ ยใน การก�ำจัดขยะ และส่งเสริมให้มีระบบมัดจ�ำขวดเพื่อท�ำให้ อัตราการรีไซเคิลเพิม่ สูงขึน้ ไม่ตำ�่ กว่า 90% ภายในปี ค.ศ. 2025 ดังนั้นมาตรการนี้จะเป็นมาตรการที่ส�ำคัญให้เกิดการขยับ ตามของประเทศต่างๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะอาเซียนและจีน ซึ่ง เป็นผู้สร้างขยะพลาสติกสูงสุดในโลก และอุตสาหกรรมอาหาร ของไทยซึ่งมีการใช้ภาชนะพลาสติกเป็นจ�ำนวนมาก

เป็นกระบวนการที่ไม่บังคับ เพียงแต่พลาสติกที่รีไซเคิลแล้ว ต้องมีคุณภาพเทียบเท่าพลาสติกใหม่ หรือ Virgin Plastic

rPET ปลอดภัยที่จะนำ�มาใช้บรรจุอาหารหรือไม่?

การใช้ Recycled Plastic ในสหภาพยุโรป

กระบวนการรีไซเคิล PET ได้มีการศึกษาและน�ำมาใช้นาน กว่า 5 ปี และมีการรับรองกระบวนการผลิต rPET โดยองค์การ อาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา (U.S.FDA) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2013 โดยสถาบัน Fraunhofer Institute for Process Engineering and Packaging สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เนื่องจากได้ รับความสนใจจากผู้ประกอบการมาก ดังนั้น U.S.FDA ได้จัด ท�ำคู่มือการรีไซเคิลพลาสติก (Guidance for Industry-Use of Recycled Plastic in Food Packaging : Chemistry Consideration) ให้ผปู้ ระกอบการใช้ในการยืน่ ค�ำขอให้องค์การอาหาร และยาประเทศสหรัฐอเมริการับรองว่ากระบวนรีไซเคิลดังกล่าว มีประสิทธิภาพเหมาะสมที่จะน�ำ rPET ที่ผ่านกระบวนการ รีไซเคิลไปใช้บรรจุอาหาร U.S. recycled polyethylene terephthalate (rPET) market size, by end use, 2014-2025 (USD Million)

อัตราการรีไซเคิล PET ที่เพิ่มขึ้นตามล�ำดับ จะเห็นว่าปริมาณรีไซเคิล PET ในสหรัฐอเมริกาเพิม่ ขึน้ ตาม ล�ำดับ โดยมีปริมาณรีไซเคิล 6.91 พันล้านเหรียญในปี ค.ศ. 2018 ซึง่ สหรัฐอเมริกาจะเป็นตลาดทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของรีไซเคิล PET ผู้ประกอบการสามารถสืบค้นรายชื่อบริษัทที่ U.S.FDA ให้การ รับรองกระบวนการรีไซเคิลพลาสติกที่สามารถน�ำมาบรรจุ อาหารได้ แต่กระบวนการรีไซเคิลของประเทศสหรัฐอเมริกา

การใช้ Recycled Plastic ในสหภาพยุโรป ผู้ประกอบการ ซึ่งอยู่ในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรปต้องยื่นค�ำร้องผ่าน หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบของประเทศทีต่ นด�ำเนินการอยู่ จากนัน้ หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบจะส่งค�ำร้องพร้อมข้อมูลของผูป้ ระกอบ การไปยังหน่วยงาน European Food Safety Authority (EFSA) ซึ่ งเป็ น หน่ ว ยงานที่ รั บผิ ด ชอบในการประเมินกระบวนการ รีไซเคิลว่ามีความปลอดภัยหรือไม่ โดยเป็นการแสดงความเห็น เท่านั้น แล้วแต่ละประเทศน�ำไปออกเป็นกฎหมายบังคับใช้ ต่อไป ซึ่งสหภาพยุโรปก�ำหนดว่า วัสดุและสิ่งของที่ใช้สัมผัส อาหารทีท่ ำ� จากรีไซเคิลพลาสติกทัง้ หมดหรือบางส่วนต้องผ่าน การประเมินจาก EFSA และได้รบั อนุญาตจากคณะกรรมาธิการ ยุโรป (European Commission) ตามที่ก�ำหนดใน Regulation EC 282/2008 on recycled plastic materials and articles intended to come into contact with foods ซึง่ ขณะนี้ สหภาพยุโรปได้กำ� หนด Guidelines on Recycled Plastic เช่นเดียวกันโดยกระบวนรีไซเคิลเป็นกระบวนการ Mechanical Recycling คือจะน�ำพลาสติกมาบดเป็นชิน้ เล็กๆ ก�ำจัด สารปนเปื้อนจนมั่นใจว่าปลอดภัยส�ำหรับน�ำมาบรรจุอาหาร แล้ว จึงผลิตเป็น Recycled Plastic EFSA ให้ความส�ำคัญกับ กระบวนการรีไซเคิลมากโดย PET ที่น�ำมาท�ำรีไซเคิลพลาสติก ส�ำหรับบรรจุอาหารต้องเป็น PET ที่เคยใช้เป็นภาชนะบรรจุ อาหารมาก่อนเท่านั้น อนุญาตให้ PET ที่ไม่ใช้บรรจุอาหาร บริโภค ไม่เกิน 5% เท่านัน้ และยังต้องเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้วยระบบ Good Manufacturing Practices (GMP) ส�ำหรับประเทศไทยนั้นยังต้องมีระบบการคัดแยกขยะเพื่อ จะแยกพลาสติกที่ใช้บรรจุอาหาร ออกจากพลาสติกที่ไม่ใช้ บรรจุอาหาร ศึกษากระบวนการรีไซเคิล กระบวนการประเมิน ความปลอดภัย ซึ่งเป็นสิ่งที่ภาครัฐและภาคเอกชนต้องร่วมมือ กันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน เพราะคงจะปฏิเสธไม่ได้ว่า ในอนาคตอันใกล้นี้ประเทศไทยคงต้องยอมให้มีการใช้ภาชนะ บรรจุอาหารที่ท�ำจากพลาสติกรีไซเคิล THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 25

25

6/7/2562 BE 5:54 PM


INTERVIEW กองบรรณาธิการ

นิติคุณ ยุกตะนันท นักออกแบบแอปพลิเคชัน “AR Code สรางสรรค นวัตกรรมบนบรรจ�ภัณฑ”

ป

จจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ได้สง่ ผลต่อ การด�ารงชีวติ ของมนุษย์เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทีช่ ว่ ยอ�านวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้น หน่วยงาน องค์กร และ บริ ษั ท ร้ า นค้าต่าง ๆ ก็ไ ด้น�าแอปพลิเ คชัน มาเป็ น เครือ่ งมือกลยุทธ์ทางการตลาดมากขึน้ เพือ่ ปรับเปลีย่ น รูปแบบทางการแข่งขันและการประชาสัมพันธ์สินค้า ให้ เ ป็ น ที่ รู้ จั กแพร่ห ลายในวงกว้างยิ่ง ขึ้น เรีย กได้ ว่ า นวัตกรรมทางด้านแอปพลิเคชัน (Application) ได้เข้ามา เป็นส่วนหนึ่งของทุกวงการที่จะสามารถตอบโจทย์การ ด�าเนินงานได้อย่างรวดเร็ว สะดวก และมีประสิทธิภาพ เฉกเช่นเดียวกับ Smart Packaging หรือบรรจุภณ ั ฑ์ อัจฉริยะ เป็นการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ กี ารผสมผสาน ด้ า นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เพื่ อ ให้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ มี ป ระโยชน์ ในด้านการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ และสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการของการด�าเนินงานในแต่ละ ด้านเพื่อเชื่อมต่อกับลูกค้าให้มากที่สุด

26

นิติคุณ ยุกตะนันท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท อิลูชั่น คอนเน็ก (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้คิดค้นพัฒนาแอปพลิเคชัน มาใช้ทางด้านการออกแบบและสามารถน�ามาประยุกต์ใช้อย่าง ที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว นิติคุณ ยุกตะนันท์ หรือ อาจารย์โจ จบการศึกษาจาก คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์โจ สนใจเทคโนโลยีมาตัง้ แต่ยงั เป็นนักศึกษา อาจารย์สามารถสร้าง เว็บไซต์และพัฒนาการออกแบบเทคโนโลยีทใี่ ช้เป็นสือ่ การเรียน การสอน หลังจากจบการศึกษาได้เริ่มท�างานให้กับสถาบัน พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ต�าแหน่งนักออกแบบ เป็นงาน ทางด้านสื่อที่ใช้ส�าหรับการเรียนการสอน ท�างานได้ระยะหนึ่ง ก็ออกมาท�างานอิสระเกีย่ วกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ออกแบบ เว็บไซต์ ออกแบบแอนิเมชัน่ ทีใ่ ช้สา� หรับการจัดงานอีเวนท์ และ ในปี พ.ศ. 2555 ได้พัฒนาคิดค้นออกแบบแอนิเมชั่นใหม่ ๆ เพือ่ ใช้สา� หรับการจัดอีเวนท์ให้กบั หน่วยงานต่าง ๆ และตัดสินใจ ก่อตั้งบริษัท อิลูชั่น คอนเน็ก (ประเทศไทย) จ�ากัด เมื่อปี พ.ศ. 2556 สิง่ ทีส่ ะดุดตาอย่างหนึง่ ของบริษทั อิลชู นั่ ฯ คือ โลโก้บริษทั ที่ดูเรียบ ๆ แต่สร้างความจดจ�าได้ง่าย อาจารย์โจเล่าว่า โลโก้ มาจากค�าว่า “illusion” ก็เลือก 3 ตัวแรกคือ ill มาออกแบบให้ ดู ค ล้ า ยภาพลวงตาตามความหมายของค� า ซึ่ ง ค� า ว่ า “ภาพลวงตา” เป็นความหมายที่ใกล้เคียงกับลักษณะงาน ของอิลูชั่นมากที่สุด เพราะสิ่งที่ออกมาจากแนวคิดการท�างาน นั้นเป็นการสร้างจินตนาการโดยใช้สายตาในการดู จึงเปรียบ เป็นการลวงตา ส่วนค�าว่า “Connect” หมายถึง การเชือ่ มลูกค้า กั บเทคโนโลยี ที่ บริ ษัท พั ฒนาขึ้ น เทคโนโลยี ที่ ผู้ค นจ�า นวน มากมายสามารถเข้าถึงได้ เป็นการเชือ่ มต่อหรือเชือ่ มโยงเข้าหา กันกับผลงานแนวคิดที่ท�าออกมา เมื่อทั้งสองค�ามารวมกันจึง ได้ค�าว่า “Illusion Connect” ทั้งนี้ จุดเริ่มต้นประเภทงานของบริษัทอิลูชั่นฯ ได้มุ่งเน้น การสร้าง AR Code ให้กบั กิจกรรมด้านสายงานออร์แกไนเซอร์ มีความช�านาญพิเศษในการสร้างสรรค์ออกแบบตัวละครงาน แอนิเมชัน่ 3 มิต ิ และงานแอนิเมชัน่ 2 มิต ิ ตลอดจนงานเทคนิค พิเศษในภาพยนตร์ และเชี่ยวชาญพิเศษด้าน AR Code ที่ มุ่งเน้นการท�างาน Interactive และ 3D Mapping เป็นหลัก “ในช่วงแรกเรามีผลงานมากมายเป็นที่ไว้วางใจของลูกค้า ต่อมาได้ต่อยอดงานเป็นลักษณะของ AR Code เพื่อใช้ในงาน อีเวนท์เป็นหลัก ด้วยความสามารถของทีมงานในการท�าแอนิ เมชั่น เราได้พัฒนาสื่อ AR Code จ�านวนมากให้กับลูกค้า ไม่ ว่าจะเป็น โมเดล 3 มิติ วิดีโอ หรือการผสมผสานของเนื้อหา เราสามารถท�าออกมาได้เป็นอย่างดี อาทิ การผลิตและการ สร้าง 3D Mapping การออกแบบ 3D Mapping ตลอดจนรับ ผลิตและสร้าง AR Code รวมถึงการออกแบบ AR Code ด้วย” อาจารย์โจ กล่าว AR Code (Augmented Reality) เป็นเทคโนโลยีที่น�าเอา ภาพเสมือน 3 มิติจ�าลองเข้าสู่โลกจริงผ่านกล้องและมีการ ประมวลโดยการท�าให้วัตถุ 3 มิติ (ภาพเสมือน) ทับซ้อนเข้ากัน

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 26

6/7/2562 BE 5:54 PM


ก�รดง�นบวช

บ้�นร�มคลองโฮมสเตย สมุทรสงคร�ม

กับภาพจริงเป็นภาพ ๆ เดียว โดยสามารถมองผ่านกล้องได้โดยตรง ซึ่ง เทคโนโลยี AR นั้นมีมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 ซึ่งหากนึกถึงเทคโนโลยีส่วน ใหญ่ ผู้คนมักนึกว่าเป็น Game และ Entertainment กันเป็นหลัก ดังนั้น ความหมายของ AR คือ เทคโนโลยีทผี่ สมผสานสือ่ ดิจทิ ลั เข้ากับโลกความ เป็นจริงที่ถูกรังสรรค์ขึ้นมาผ่านแอปพลิเคชันหรือโปรแกรม เพื่อขยาย เนื้อหาจากกระดาษสู่เนื้อหาดิจิทัล ที่มีความสนุกนานและสอดคล้องกับ ความแปลกใหม่ที่ลูกค้าออร์แกไนเซอร์ต้องการ ส่วนการใช้งานแอปพลิเคชัน AR มี 2 เทคนิคในการให้สื่อดิจิทัล แสดงผลขึ้นมา ได้แก่ แบบที่ 1 คือ ภาพประกอบ เรียกว่า Marker หรือ จุดเครื่องหมายระบุต�าแหน่ง หรือจุดแสดงพิกัด แต่โดยส่วนใหญ่จะเรียก สั้น ๆ ว่า Marker ซึ่ง Marker นี้เองจะเป็นภาพลักษณะ 2 มิติ มีสีสัน ลวดลาย หรือเป็นภาพสีขาวด�า เพื่อให้โปรแกรมสามารถจับจุดต่างของ สี แล้วประมวลผลเป็นรหัส เพือ่ ตรวจสอบในระบบฐานข้อมูลของ Marker ว่ามีรหัสภาพนี้อยู่ในระบบหรือไม่ ถ้ามีรหัสภาพอยู่ในระบบแล้ว ระบบ

จะท�าการเรียกสื่อดิจิทัลออกมาแสดงผล และแบบ ที่ 2 คือ การใช้ต�าแหน่งของสถานที่เป็นที่ตั้ง แล้ว แสดงผลสื่อดิจิทัลออกมาตามที่ก�าหนดไว้โดยไม่ ต้องใช้ Marker อุปกรณ์พื้นฐานที่ใช้ส�าหรับ AR คือ กล้องจาก สมาร์ ท โฟนหรื อ เว็ บ แคม เพื่ อ น� า ภาพที่ ไ ด้ ม า ประมวลผล อุปกรณ์กล้องจ�าเป็นต้องมีระบบโฟกัส อัตโนมัต ิ สัญญาณอินเทอร์เน็ตเพือ่ ดึงต�าแหน่งผูใ้ ช้ งานแอปพลิเคชัน หรือโปรแกรมในการประมวลผล รหัสภาพ หรือต�าแหน่งสถานที ่ และมีหน้าจอแสดงผล เพื่ อ ใช้ แ สดงผลทั้ ง ภาพจากกล้ อ ง และแสดงสื่ อ ดิจิทัล หลังจากนัน้ บริษทั อิลชู นั่ ฯ ได้พฒ ั นา AR Code มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนเป็ น ที่ รู้ จั ก อย่ า งกว้ า งขวาง ของคนในประเทศ โดยมีกลุ่มฐานลูกค้าทั้งองค์กร หน่ ว ยงานราชการ รวมถึ ง บริ ษั ท เอกชน น� า เทคโนโลยี แ อปพลิ เ คชั น นี้ ไ ปใช้ ใ นกิ จ กรรมของ องค์กรอย่างประสบผลส�าเร็จ ซึ่งในปัจจุบันได้สร้าง แอปพลิ เ คชั น ที่ เ ป็ น AR Code มากกว่ า 100 แอปพลิเคชัน เพื่อใช้กับสื่อต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็น หนังสือเรียน บรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ กล่อง ขนม ผลิตภัณฑ์ขวดน้�า ปฏิทิน สื่องานพิมพ์ งาน อีเวนท์ งานด้านโฆษณา และพิพิธภัณฑ์หลายแห่ง ฯลฯ เป็นต้น หลังจากสร้างสรรค์งานด้าน Interactive และ 3D Mapping มาระยะหนึ่งแล้ว กอปรกับปัญหาที่ เป็นอุปสรรคใหญ่ของการสร้าง AR Code จะเป็น เรื่องของระยะเวลาในการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่ App Store และ Play Store ที่ใช้ระยะเวลานาน เพราะส่วนใหญ่จะเป็นงานทีเ่ ร่งรีบ และมีระยะเวลา ไม่นานมาก ท�าให้ผู้ประกอบการหันไปใช้แอปพลิ เคชันอย่างอื่นแทน การปรับเปลี่ยนกลยุทธ์และ พัฒนาแอปพลิเคชันใหม่ ๆ ให้ทันสมัยและมีความ แตกต่าง มีลูกเล่นมากกว่าเดิม ที่ส�าคัญต้องตอบ โจทย์ให้กับผู้ประกอบการใช้เป็นทางเลือกในการ ก�าหนดการตลาด จึงท�าให้อาจารย์โจออกแบบและ พัฒนาเทคโนโลยีใหม่คือ แอปพลิเคชัน Recall “ผมเล็งเห็นว่าถ้าสามารถที่จะลดระยะเวลา ตรงนีไ้ ปได้ จะท�าให้ได้ลกู ค้ากลับมาเพิม่ อีกมากมาย จึงเกิดแนวคิดอยากพัฒนาแอปพลิเคชัน Recall ขึน้ มาใหม่ แต่ใช้เวลาในการทดลองอยู่ประมาณ 1 ปี เต็มจึงแล้วเสร็จ จากนั้นเริ่มพัฒนาต่อยอดเรื่อยมา จนเป็นที่แพร่หลายอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งถือว่าผลตอบ รับดีมากเพราะแอปพลิเคชัน Recall นี้ จะเป็น มากกว่ า จิ น ตนาการ แต่ ก ลั บ ช่ ว ยสร้ า งสรรค์ นวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์และผลงานของเราให้กับ ลูกค้าหรือหน่วยงานต่าง ๆ ให้เกิดความน่าสนใจขึน้ THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 27

27

6/7/2562 BE 5:54 PM


เพราะแอปพลิเคชัน Recall มีลูกเล่นและสามารถเปลี่ยนวิดีโอ ธรรมดา เป็นวิดีโอโปร่งใส และเป็นโมเดล 3 มิติ เพียงแค่มี สมาร์ทโฟนและอินเทอร์เน็ตก็สามารถเข้าถึง Recall ได้ ซึ่ง ปัจจุบนั ท�าให้มผี ใู้ ช้บริการหรือลูกค้าบริษทั อิลชู นั่ ฯ เพิม่ จ�านวน มากขึ้น” ส�าหรับผลงานของบริษทั อิลชู นั่ ฯ จากแอปพลิเคชัน Recall นี้ ได้น�าไปใช้อย่างสร้างสรรค์เป็นนวัตกรรมเทคโนโลยีแบบ Smart Packaging มากขึ้น เพื่อเพิ่มข้อมูลให้กับสินค้า เช่น การออกแบบรูปทรงของขวดทีใ่ ช้งานได้ดแี ละไม่ด ี สามารถช่วย เพิ่มมูลค่าให้กับผู้ประกอบการต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี รวมถึง การออกแบบการ์ดงานบวชทีพ่ ฒ ั นาจาก AR Code ให้สามารถ ใช้ปุ่มแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนแล้วเชื่อมโยงไปยังสถานที่ ษได้ง้ ดการ์ า� เนิดนแต่ การส่ งเสริมยการจั อ้ ย่ นการ ตั ง้ จัดกรมควบคุ งานได้อกี ด้มวมลพิ ย รวมทั งงานสมั ใหม่ทดเี่ ซืปลี จัดจ้างสิดนเชิค้ญาทีและบริ การที มิตรกั บสิ่งแวดล้อม จกรรม แจกการ์ ข่ าดลูกเล่ นให้่เกป็ลันบมาน่ าสนใจ ตลอดจนกิ ท�าแผนส่ง เสริ มการจัดซือ้ จัดจ้างสินค้า รูของภาครั ปแบบจังฐหวั จัดดเทคโนโลยี ACI (Augment Capture Impound) การที มิต้อรกัอะลู บสิม่งิเแวดล้ มของภาครัแอปพลิ ฐ โดย เคชันนี้ ทีและบริ ่ใช้การพิ มพ์่เสป็ีลนงเนื นียม อและการใช้ สามารถน� าไปใช้กับการบริหารจัดการเรื่องรถสองแถวภายใน ในระยะแรก พ.ศ. 2551-2554 ขอความร่ วมมือจาก จัหน่ งหวั ดนนทบุรี เป็ฐจ�นาแอปพลิ เคชัน AR Nonthaburi Travel ซึ่ง วยงานภาครั นวน 170 หน่ วยงาน และระยะ จัทีด่ ท�2 พ.ศ. 2556-2559 ขยายผลการด� าขึ้นเพื่อให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่ างประเทศ าเนินงานไปสู ่ องค์กนอกจากนี ย ้ ง ั ได้ จ ด ั ท� า AR Code วนอุ ท ยานภู แ ฝก (แหล่ รปกครองท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ง รอยเท้าไดโนเสาร์) จังหวัดกาฬสินธุ์ ในงานเทศกาลเที่ยวเมือง หน่วยงานในก�ากับของรัฐ และมหาวิทยาลัย ไทย 2562 ที่สวนลุมพินี รวมถึงงาน Maker Faire Bangkok เพืซึ่อ่งให้ นการเป็นไปอย่ตากรรมและสิ งต่อเนื่อง ่งจึประดิ ง ษฐ์ 2019 เป็นการด� การจัาเนิ ดแสดงผลงานนวั ได้ จ ั ดๆ ของเหล่ ท� า แผนส่างเมกเกอร์ เสริ ม การจั ด ซืว่ ประเทศไทยและทั ้ อ จั ด จ้ า งสิ น ค้ า และ ใหม่ จากทั ว่ โลก อาทิ บริ ก ารที ่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม ระยะที ่ 3 พ.ศ. กิจกรรมเวิรก์ ช็อปสิง่ ประดิษฐ์ฝมี อื เมกเกอร์ ผลงานศิลปะหลาก 2560-2564 เมกเกอร์ เพื่อให้ มวาไรตี ีการด�ห้ านุ่ เนิยนต์ นงานที ่สอดคล้องกัาบสร้างเอง หลายสไตล์ มหกรรมรถไฟฟ้ ได้ ขบวนพาเหรดแสงไฟ ตลอดจนการน� ศูนย์ดูแล แผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่งชาติาไปร่ ฉบับวมกั ที่ บ12 ผูพ.ศ. ้ป่วยโรคมะเร็ งเต้านมระยะสุ ดท้ายแก่ ผู้ยากไร้ โดยไม่ 2560-2564 แผนจัดการคุ ณภาพสิ ่งแวดล้ อม แสวงหา ผลก� า ไร โดยได้ จ ั ด ท� า AR Code เพื ่ อ ให้ ผ ้ ู เ ข้ า ร่ ว มงานได้ พ.ศ. 2560-2564 ยุทธศาสตร์การจัดการมลพิษ 20 ถ่าย วิปีด ีโและแผนจั อและเผยแพร่ ประชาสัษม พัพ.ศ. นธ์ และล่ าสุดยังพัฒโดย นาแอปพลิ ดการมลพิ 2560-2564 เคชั น Recall ที น ่ า � ไปใช้ ใ ห้ ก บ ั โครงการก้ า ว ส� า หรั บ เป็ น ยังคงมุ่งเน้นการเพิ่มปริมาณ/มูลค่าของสินค้าและ ข้อมูล ข่าวสารและช่องทางบริจาคเงินผ่านแอปพลิเคชันให้ดาวน์โหลด บริการทีเคชั ่เป็นน Recall โดยเข้ มิตรกับสิ่งแวดล้ อมของหน่ ยงานภาค แอปพลิ าแอปพลิ เคชันว App Store (iOS) รัฐอ ทั Play Store (Android) อี ้งส่วนกลางและส่วนภูกมด้ิภวาค หรื ย องค์กรปกครอง ส่วนท้“การพั องถิ่นฒ รันาแอปพลิ ฐวิสาหกิจ เคชั มหาวิ ทยาลัย เป็หน่นการพั วยงาน น Recall ฒ นาบน า กั บว่ ของรั และองค์ ารมหาชนที ป็ น กลุ่ ม าหน้าที่ พืในก� น้ ฐานที า่ ใครเร็ฐ ว คนนั น้ ชนะกในอดี ตการเสีย่ เเวลารอเจ้ เป้าหมายเดิ ม Android ตรวจสอบเป็นปัญหาใหญ่ บางครั้ง ของ Apple และ ผ่ าน บางครั ้งไม่ผย่าวกั น นท�าจะขยายไปสู ให้ลูกค้าหงุด่ภหงิาคเอกชนและ ด และไม่ทันต่อการใช้ ในขณะเดี งาน ดังนัน้ การคิ นแอปพลิ น Recall จะสามารถก้ ประชาชน เพื่ อดค้ส่นงเป็ เสริ ม ให้ เ กิเดคชัการปรั บ เปลี ่ ย น าว ข้พฤติ ามอุกปรรมการผลิ สรรคตรงนีต้ไและการบริ ด้เป็นอย่างดีโภคสิ อีกนทัค้​้งฟัาและบริ งก์ชันต่กาาร ง ๆ ของ แอปพลิ ฒนาอยู โดยทีล่ ้นกู ค้และเป็ าเจ้าเก่านและใหม่ ที่เป็นมิเตคชั รกันบมีสิก่งารพั แวดล้ อมให้ต่ กลอด ว้างขวางขึ ไม่ จ�าเป็านคัต้ญอในการขั งเสียเงินบเพิเคลื ่มเติ มในการใช้ ฟังก์ชันเหล่ตานั้นเลย กลไกส� ่อนไปสู ่กระบวนการผลิ อีกทั้งยังประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่าอีก ถ้าเทียบกับการสร้าง และการบริ ่ยั่งยืนในทุ ๆ ภาคส่วนต่นอปริ ไปมาณจ�านวน แอปพลิ เคชัโนภคที ขึ้นมาใหม่ ซึ่งกจากการประเมิ ลูกค้าของ Recall จึงมีมากขึ้นทุกวัน ทั้งประชาชน หน่วยงาน

เอกชน และภาครัฐ หันมาใช้จ�านวนมาก หากท่านใดสนใจใช้ งานบริการของ Recall สามารถเข้าไปได้ที่เว็บไซต์ www. myrecall.app เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติมครับ” อาจารย์โจ กล่าวเพิ่มเติม ส� า หรั บ การน� า เทคโนโลยี ก ารผลิ ต เพื่ อ ให้ เ ป็ น Smart Packaging ในประเทศไทยนั้น ในมุมมองของอาจารย์โจเห็น ว่า การน�าเทคโนโลยีสมัยใหม่โดยเฉพาะการใช้แอปพลิเคชัน ต่าง ๆ เข้ามาเป็นตัวช่วยจะกลายเป็นเทรนด์ใหม่ที่ก�าลังได้รับ การพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างสรรค์องค์กรนั้น ๆ ในการที่ จะท�าให้สินค้าหรือบรรจุภัณฑ์มีความแตกต่างจากบรรจุภัณฑ์ ในรูปแบบเดิม ๆ ทีจ่ ะสามารถพูดคุยสือ่ สารกับผูบ้ ริโภคแทนที่ จะเป็นพนักงานขาย อีกทั้งยังสามารถพัฒนาท�าให้สินค้านั้น สามารถโฆษณาสรรพคุณของผูป้ ระกอบการว่ามีความทันสมัย ก้าวทันเทคโนโลยีไปในตัว โดยอาศัยการผสมผสานหลาย ๆ เทคโนโลยีเข้าด้วยกัน ถ้าหากจะเปรียบเป็นวัสดุแบบใหม่ที่ พัฒนาโดยเทคโนโลยีนั้น ก็ถือว่าเป็นพลาสติกอิเล็กทรอนิกส์ ทีเ่ ป็นได้มากกว่าป้ายฉลากบอกราคา หรือโลโก้ยหี่ อ้ สินค้า และ บรรจุ ภั ณ ฑ์ แต่ ส ามารถช่ ว ยท� า ให้ ล ดต้ น ทุ น ทางการตลาด ใช้ กั บ การเก็ บ ข้ อ มู ล ในด้ า นการขนส่ ง สิ น ค้ า และสามารถ ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ตงั้ แต่ตน้ ทางการผลิตจนถึงจ�าหน่ายให้แก่ ผู้ บ ริ โ ภคได้ เปลี่ ย นจากบรรจุ ภั ณ ฑ์ ธ รรมดาเป็ น Smart Packaging ทีต่ อบสนองการตลาดได้มากขึน้ เป็นตัวเชือ่ มสูโ่ ลก ดิจิทัล และมีประโยชน์ส�าหรับผู้บริโภคในการดูข้อมูลสินค้าว่า เป็นของปลอมหรือของจริงได้ การใช้งานสื่อแบบสื่อดิจิทัลแสดงผลเสมือนจริง หรือสื่อ AR 3 มิตินี้ เป็นการเปิดประสบการณ์ความเป็นจริงแบบผสม ผสานผ่านแอปพลิเคชันที่เป็นทั้งบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะรูปแบบ ใหม่ที่น�าเอานวัตกรรมการควบคุมของเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้า มาเพิม่ ความสะดวกสบายต่อผูป้ ระกอบการและผูบ้ ริโภค เรียก ได้วา่ ฉีกกฎบรรจุภณ ั ฑ์แบบเดิม ๆ ขณะเดียวกันหากน�าไปเป็น สื่อประกอบหนังสือเรียนที่เน้นการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา และ การน�าไปใช้โดยมุ่งเน้นให้ครูผู้สอนได้ใช้ประกอบหนังสือเรียน จะช่วยเพิ่มศักยภาพของผู้เรียน อันจะส่งผลต่อการยกระดับ คุณภาพการเรียนรู้ต่อไปในอนาคต สุดท้าย นิตคิ ณ ุ ยุกตะนันท์ หรืออาจารย์โจ ได้ให้แนวคิด และหลักการบริหารงานว่า การท�างานนัน้ จะต้องมีการวางแผน ล�าดับการท�างานอย่างเป็นขั้นเป็นตอน งานต้องออกไปดีที่สุด ในระยะเวลาที่สั้นที่สุด เพราะเวลาไม่เคยรอใคร ดังนั้น ทุก ๆ ผลงานที่ท�าหรือผลิตออกมาจะต้องเต็มที่เสมอ แม้ว่าบางครั้ง ลูกค้าจะไม่เข้าใจเทคโนโลยี ก็ต้องหาค�าอธิบายที่เข้าใจได้ง่าย ที่สุด เพื่อท�าให้ผลงานที่ออกมามีคุณภาพ ท�าให้ลูกค้ามีความ พึงพอใจ รู้สึกประทับใจว่าคุ้มค่า เมื่อลูกค้าประทับใจก็จะบอก ปากต่อปาก ขณะเดียวกัน การบริหารงานหรือท�างานร่วมกับ พนักงานหรือทีมงานนั้นจะต้องมีแนวทาง และต้องก�าหนด ทิศทางการท�างานที่ชัดเจนแล้วเดินไปพร้อม ๆ กันอย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้ทีมงานมีความช�านาญและเป็นมืออาชีพ มากที่สุด

ก�รส่งเสร�มก�รจัดซื้อจัดจ้�งสินค้�และบร�ก�รที่เปนมิตรกับสิ่งแวดล้อม

พ.ศ. 2560-2564

28

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 28

6/7/2562 BE 5:54 PM


AD_TPLAS2019_G5-4.indd 1

TECHNOLOGY MEDIA_NO.135_2019_23-5-62_G5-4

23/5/62 11:30


NEWS

30

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 30

6/7/2562 BE 5:54 PM


THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 31

31

6/7/2562 BE 5:54 PM


FOCUS

ผลงานของบรรจุภัณฑ จากประเทศไทยใน

WorldStar Awards

2019

ในเดือนพฤษภาคมนี้ได้มีพิธีส�าคัญในวงการบรรจุภัณฑ์โลกคือ การมอบ รางวัล WorldStar Awards 2019 โดย World Packaging Organization : WPO ปีนี้จัดขึ้นที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก การมอบรางวัลนี้เป็นส่วนหนึ่งของ การประชุมประจ�าปีของคณะกรรมการบริหาร WPO ด้วย ในปีนี้มี 219 แพ็กเกจ จาก 27 ประเทศทั่วโลกที่ได้รับรางวัล โดยรางวัล จะแบ่งเป็น Beverages, Electronics, Food, Health and Personal Care, Household, Labelling and Decoration, Luxury, Medical and Pharmaceutical, Packaging Materials and Components, Point of Sale, Transit and Other เป็นเรื่องที่น่ายินดีมากส�าหรับวงการบรรจุภัณฑ์ไทย เพราะมีผลงานของ ตัวแทนจากประเทศไทยได้รับรางวัล 3 ประเภทรางวัล และ 3 แพ็กเกจด้วยกัน ประกอบด้วย รางวัล Worldstar Winners 2019 - Food Category ด้วยผลงาน Pork Product Package New Premium 2018 โดย Thai Containers Group Co., Ltd. รางวัล Worldstar Winners 2019 - Luxury Category ด้วยผลงาน Happiness under the Moon (Salute to Joyful Life) โดย SCG Packaging Public Company Limited และรางวัล Worldstar Winners 2019 - Point of Sale Category ผลงาน Tuk-Tuk โดย Thai Containers Group Co., Ltd. ขอแสดงความยินดีกับทุก ๆ ท่านที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้

Worldstar Winners 2019 - Food Category Pork Product Package New Premium 2018 Category Food Category: Company: Thai Containers Group Co., Ltd. Company (Head Offi ce) Country: Thailand Country 1. Eye Catching : Perforated window panel helps the product stand out on the shelf. 2. Gift Set : Decorated with auspicious Chinese fruit and fl oral symbols, conveying blessing to receivers. 3. Easy to use : Forming easily and a normal box shape enabling solid stacking during transportation. Packaging isn’t just product protection but communication of goodwill for any occasions when combined with auspicious Chinese symbols and colors. Perforated delicate window panel helps to create the depth of the image and increases curiosity of the purchaser. Opening the window means receiving good opportunities. 32

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 32

6/7/2562 BE 5:54 PM


ภาพและเนื้อหา : www.worldstar.org/winners/2019/

Worldstar Winners 2019 - Luxury Category Happiness under the Moon (Salute to Joyful Life)

Category : Luxury Company : SCG Packaging Public Company Limited Country : Thailand This collection is specially designed for mid-autumn of 2017, following the concept of “Happiness under the Moon”. The . The concept is depicted by rabbits playing in the moonlight. It should cheer the customers up, bring them good mood and help them enjoy the beauty of the moonlight in the mid-autumn period. The packaging is in semicircle shape and comprises of four pieces of mooncake. The package can be opened by pulling left or right side of the packaging. The interlocking pattern of cheerful rabbit is shown at the center. The inside of box consists of 2 stacking trays for mooncake.

Worldstar Winners 2019 - Point of Sale Category Tuk-Tuk Company : Thai Containers Group Co., Ltd. (Head Offi ce) Country : Thailand 1. Interactive with customers: Customers can interact with the P.O.P., imagining themselves as a Tuk-Tuk driver. 2. Easy to assemble: No glue needed in the structural design. For easy-setup, the P.O.P. uses hook-and-loop tape to attach parts together. 3. Tuk-Tuk is a Thai icon suitable for representing export goods. “Tuk-Tuk”, a Thai cultural icon, gives passersby an experience of being on a Thai street. Customers can interact with this P.O.P., imagining themselves as a Tuk-Tuk driver. The structural design uses no glue, easy to use, and easy to assemble. THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 33

33

6/7/2562 BE 5:54 PM


TECHNOLOGY MEDIA_NO.135_2019_23-5-62_G5-4



TECHNOLOGY MEDIA_NO.135_2019_23-5-62_G5-4


AD_Sri Aksorn


NEWS

HP Print Awards

2019 เ

มื่อวันที่ 10 เมษายน 2562 ที่ผานมา บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จํากัด (มหาชน) ไดพาลูกคาโรงพิมพจากประเทศไทยเขารวมงาน มอบรางวัลการประกวดสิง่ พิมพ HP Digital Print Excellence Awards 2019 ณ โรงแรม Regal Palace Hotel เมืองตงกวน ประเทศจีน ซึ่ง งานนี้จัดในชวงเวลาเดียวกับงาน Print China 2019 ในทุก ๆ ป บริษทั HP Inc. มีการจัดงานประกวด The Asia Pacific and Japan HP Digital Print Excellence Awards ขึ้นเปนประจําทุกป โดยจะเปนการเฟนหาสิง่ พิมพดจิ ทิ ลั ทีพ่ มิ พดว ยเครือ่ งพิมพ HP Indigo ที่มีความโดดเดน มีการใชนวัตกรรมและเทคนิคทางการพิมพที่แปลก ใหมล้ําหนา หรือมีความคิดสรางสรรคเปนที่นาจดจํา ซึ่งในงานครั้งนี้ มีผูประกอบการธุรกิจการพิมพที่ใชเครื่องพิมพดิจิทัล HP Indigo จาก กลุ มสิ่งพิมพ ทั่วไป (GCP)

บริษัท ไซเบอร พริ้นท กรุ ป จํากัด ห างหุ นส วนจํากัด ภาพพิมพ

บริษัท สุนทรฟ ล ม จํากัด

กลุ มฉลากบรรจุภัณฑ (Shrink Sleeve) บริษัท พงศ ศิลป พลาสติก จํากัด บริษัท แม แม อินดัสเตรียล จํากัด

กลุ มบรรจุภัณฑ หีบห อ (Flexible Packaging) บริษัท ซิสคอน ฉลากและแพคเกจจิ้ง จํากัด บริษัท ไทยนํา โพลีแพค จํากัด

หลากหลายประเทศในภูมภิ าคเอเชียสงผลงานเขา รวมประกวดมากมาย รวมถึงผูประกอบการ โรง พิ ม พ จ ากประเทศไทยด ว ย ซึ่ ง ตั ว แทนจาก ประเทศไทยก็สามารถชนะรางวัลจากการสงผล งานสิ่งพิมพเขาประกวดในหลากหลายประเภท ไมวาจะเปนรางวัลประเภท Photobook ฉลาก ฟลมหด (Shrink Sleeve) และบรรจุภัณฑแบบ ออนตัว (Flexible Packaging) สรางชือ่ เสียงใหกบั ประเทศไทยในการเป น ผู ผ ลิ ต สิ่ ง พิ ม พ ดิ จิ ทั ล ชัน้ นําในเวทีโลก โรงพิมพจากประเทศไทยทีไ่ ดรบั รางวัลจากการประกวดในประเภทตาง ๆ มีดังนี้

WINNER SPECIAL RECOGNITION WINNER SPECIAL RECOGNITION SPECIAL RECOGNITION WINNER

Self-Promotion Collateral Art - Photobook Limited Edition and Art Reproduction Consumer Photobook Self-Publishing Book Hard Cover Book & Manual

WINNER SPECIAL RECOGNITION

Shrink Sleeve Wine & Non-Alcoholic Labels

WINNER WINNER SPECIAL RECOGNITION

Flexible Packaging Flexible Packaging Flexible Packaging

นอกจากนี้ทาง HP ยังมีการจัดทริปเยี่ยมชมโรงพิมพในประเทศจีน เพื่อศึกษารูปแบบการทํางานของโรงพิมพที่ประสบ ความสําเร็จ โดยสามารถเลือกเขาชมไดทั้งโรงพิมพที่พิมพงานประเภททั่วไป และโรงพิมพที่พิมพงานฉลากและบรรจุภัณฑ ทําให ผูร ว มทริปไดเห็นรูปแบบการทํางานทีแ่ ตกตางกัน สามารถนํามาปรับใชกบั โรงพิมพของแตละทานเพือ่ พัฒนาตอยอดธุรกิจตอไป

38

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019


Limitless Possibilities n ³ ¨«ºm À ¦ µ µ ®¦®£m ³ ¢²Ā Á n¨£ ¨² ¤¤¢ ¶Æ ® À £q ³ µ¢ q ¦³ ¿¦± ¤¤ ¹¡² q ¹ ¤º ¿ n¨£ ¾ À À¦£¶¦m³«¹ ³ +3 ,QGLJR

HP INDIGO 20000 DIGITAL PRESS

Á¬n ¹  n¾ ¤¶£ n¨£ ³¤ ¦µ ®£m³ ¢¶ ¤±«µ µ¡³ «º «¹ ²Ç n³ ¹ ¡³ ¿¦± n ¹ ³¤ ¦µ n¨£ ¨³¢¤¨ ¾¤Å¨¿¦±¬ n³ µ¢ q ¶Æ ¨n³ ·Ç ·Ā ¤® ¤² ³ µ¢ q n¬¦³ ¬¦³£¤º ¿ :HE ZLGWK PP I 7KLFNQHVV PLFURQV I 6SHHG 8S WR P PLQ I 3ULQW26

HP INDIGO WS6900 DIGITAL PRESS

ºn ˳ ¦³ ¾ ¤¸Æ® µ¢ q µ µ ®¦ QDUURZ ZHE «Ë³¬¤² ³ µ¢ q ¦³ ¿¦± ¤¤ ¹¡² q n¨£ ¹ ¡³ ¿¦± ¨³¢¬¦³ ¬¦³£Á ³¤ µ¢ q ¤n®¢ n¨£ ¨² ¤¤¢ ² ³¤«¶®² ¤µ£± :HE ZLGWK PP I 7KLFNQHVV PLFURQV I 3ULQW26 I &RORXU $XWRPDWLRQ

¤n®¢ n³¨Â ² ¹ n¨£ ¶¢ ³ ¶Æ¢¶ ¨³¢¾ ¶Æ£¨ ³ç ¿¦± ¤±« ³¤ q ³¤¾ | ²¨¿ ˳¬ m³£Á ¤±¾ ©Â £¢³ ¨m³ d « Á ¦µ ¡² q µ m® ¹ ³¦µ ³ µ µ¡² ¤®³¡³ À ¤©² q ¢¸® ¸® ¤µª² ¾ ®¤q¦¶Æ £¹ ¾ ®¤q ˳ ² ¢¬³

AD_BJC_G5-4.indd 1

TECHNOLOGY MEDIA_NO.135_2019_23-5-62_G5-4

Scan for contact 23/5/62 11:24


Special

scoop กองบรรณาธิการ

“โดรน” กลายเป็ น นวั ต กรรมยุ ค เทคโนโลยีสา� หรับความท้าทายด้านธุรกิจทีถ่ กู พัฒนาให้

เหมาะสมกับการใช้ชีวิตในสังคมวิถีคนเมือง ไม่ว่าจะ เป็นการวางแผนทีจ่ ะใช้โดรนเป็นเครือ่ งมือทางธุรกิจใน ด้านต่าง ๆ และน�ามาใช้ในเชิงพลเรือน ขณะเดียวกัน ยังสามารถน�าไปใช้ในระบบขนส่งโลจิสติกส์เพื่อธุรกิจ บริการส่งอาหารส�าหรับคนเมืองทีต่ อ้ งการความสะดวก รวดเร็ว บริษทั ฟลิง เอเชีย จ�ากัด (Fling Asia) เป็นบริษทั ผูป้ ระกอบการและทีป่ รึกษาด้านโดรนชัน้ น�าทีอ่ อกแบบ วิธกี ารทางธุรกิจให้แก่ลกู ค้าในประเทศไทยและภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ผลักดันเทคโนโลยีโดรนให้ ท�างานกับภาคอุตสาหกรรมเพื่อแก้ปัญหาด้านธุรกิจ และสามารถน�ามาใช้ในเชิงพาณิชย์ในการสร้างเมืองที่ ดีขึ้นด้วยกลไกอัจฉริยะของอากาศยานไร้คนขับ โดย บริษัท ฟลิง เอเชีย มีบุคลากรซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญที่ ประกอบด้วยวิศวกรและนักพัฒนาซอฟต์แวร์ที่มีความ เชี่ยวชาญทางด้านการพาณิชย์ ความปลอดภัย การ ทหาร การบิน และปัญญาประดิษฐ์ (AI) กระบวนการท�างานของเทคโนโลยีโดรนนี้ยังน�าไป ใช้ กั บ บริ ษั ท ขนส่ ง เพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด ส่ ง พั ส ดุ ห รื อ บรรจุภณ ั ฑ์ตา่ ง ๆ ทีม่ รี ะยะทางไกลได้รวดเร็วยิง่ ขึน้ โดย 40

เทคโนโลยีโดรน

เครื่องมือท�งธุรกิจที่อัจฉร�ยะ บร�ก�รส่งอ�ห�รสำ�หรับคนเมือง

มีค่าใช้จ่ายน้อยลงกว่าเดิม ขณะเดียวกัน โดรนยังสามารถช่วยให้ หน่วยงานต่าง ๆ ตรวจสอบความปลอดภัยของโครงสร้างพื้นฐานและ โครงการก่อสร้างต่าง ๆ ของเมืองได้จากระยะไกลอีกด้วย รวมถึงยัง เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ต�ารวจและผู้บังคับใช้กฎหมายเพิ่มระดับความ ปลอดภัยและความมั่นคงในที่สาธารณะได้มากยิ่งขึ้น นอกจากนี ้ จะช่วยในเรื่องของการตัดสินใจที่อัจฉริยะขึ้นด้วยความสามารถส่งต่อ ข้อมูลแบบเรียลไทม์ให้แก่รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วย ตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยล่าสุดเทคโนโลยีโดรนจากบริษัทฟลิงฯ เข้ามาประยุกต์ใช้ใน ธุรกิจบริการส่งอาหารที่สามารถตอบโจทย์วิถีชีวิตคนเมืองได้อย่าง สะดวกและรวดเร็ ว เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาการจราจรติ ด ขั ด ในพื้ น ที่ กรุงเทพมหานคร ที่ส�าคัญช่วยลดปัญหามลภาวะทางอากาศของยาน พาหนะขนส่งสินค้า เสมือนเป็นเครือ่ งมืออัจฉริยะในการจัดส่งทีร่ วดเร็ว เนื่องจากการท�างานโดรนสามารถบินห่างและไกลจากบุคคลหรือ อาคารพอสมควร จึงไม่ได้ยินเสียงใบพัดของโดรนในระยะห่างจาก สถานที่จัดส่ง ขณะที่บริการจัดส่งอาหารนั้นจะบินบนเส้นทางที่มี ความปลอดภัยสูงสุด ทั้งนี้ การใช้โดรนในการบริการจัดส่งจะไม่ได้บินในช่วงเวลา กลางคืนและงดบินในสภาพอากาศที่แปรปรวน เพราะไม่เอื้อต่อการ ท�างานของระบบเทคโนโลยีดงั กล่าว อีกทัง้ ยังได้ตดิ ตัง้ กล้องเพือ่ ความ ปลอดภัยอย่างเคร่งครัดส�าหรับผู้ใช้บริการเพื่อให้แน่ใจว่าพื้นที่จัดส่ง อาหารหรือส่งพัสดุบรรจุภณ ั ฑ์ในบริการต่าง ๆ นัน้ ไม่มสี งิ่ กีดขวางหรือ มีผคู้ นพลุกพล่านในบริเวณนัน้ เนือ่ งจากค�านึงถึงความเป็นส่วนตัวของ บุคคลและทรัพย์สินของผู้ใช้บริการเป็นหลักอีกด้วย Michael Currie กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั ฟลิง เอเชีย จ�ากัด กล่าว ว่ า “ประสิ ท ธิ ภ าพของโดรนสามารถรั บ น�้ า หนั ก บรรจุ ภั ณ ฑ์ ห รื อ

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 40

6/7/2562 BE 5:54 PM


Michael Currie

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ล่ อ งใส่ อ าหารได้ ป ระมาณ 2-3 กิ โ ลกรั ม ด้ ว ยเส้ น ทางการบิ น ในระยะ 10 กิโลเมตร ผู้ใช้บริการสามารถรอรับสินค้าในจุด พื้นที่ที่ให้บริการภายใน 10 นาที ส่วนความ สามารถในการใช้ โ ดรนช่ ว ยเลื อ กสิ น ค้ า จาก หลากหลายหมวดหมู่ของประเภทสินค้า เช่น อาหาร เสือ้ ผ้าและเครือ่ งใช้ผลิตภัณฑ์ในห้องน�า้ ซึง่ มีวธิ กี ารใช้งานในรูปแบบติดตัง้ แอปพลิเคชัน บนโทรศัพท์ระบบ Android หรือ iOS แล้ว สามารถเลือกทีอ่ ยูท่ ตี่ อ้ งการให้จดั ส่งผลิตภัณฑ์ หรืออาหารในจุดที่ได้ก�าหนดการให้บริการไว้ ซึ่งระบบซอฟต์แวร์ได้พัฒนาให้โดรนสามารถ ช่วยท�าการช�าระเงินที่ผู้ใช้บริการจะเลือกช�าระ ได้หลายวิธีอีกด้วย” ขณะนี้ บริษัท ฟลิง เอเชีย จ�ากัด มีการ พัฒนาหรือประยุกต์ใช้โดรนในภาคอุตสาหกรรม เพื่ อ ให้ ผู ้ ป ระกอบการน� า ไปใช้ ป ระเมิ น และ การแก้ปญ ั หาทางธุรกิจในแง่ของความปลอดภัย ทางข้อมูลที่เป็นกลยุทธ์ลับ ขณะเดียวกัน ได้ ขยายการให้ บ ริ ก ารโดยร่ ว มกั บ บริ ษั ท ขนส่ ง ต่าง ๆ เพิ่มขึ้นเพื่อให้ผู้ประกอบการด้านการ จัดส่งพัสดุบรรจุภัณฑ์สามารถด�าเนินการได้

อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น และยังร่วมมือกับกลุ่มธุรกิจอาคาร ส�านักงานและนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในการพัฒนาทีจ่ ะ ช่วยให้ผู้วางกฎระเบียบสามารถประเมินวิเคราะห์ความ เสี่ยงของการปฏิบัติงานที่อยู่ในย่านชุมชนเมือง ด้วยพันธกิจร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ล่าสุดโดรนได้นา� ไปประยุกต์ใช้บินส่งอาหารในงาน Thaifex-World of Food Asia 2019 ที่จัดขึ้นช่วงระหว่างวันที่ 28 พฤษภาคม ถึง 1 มิถุนายน 2562 ในพื้นที่ของอิมแพ็ค เมืองทองธานี ซึ่ง จัดแสดงผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมในภาคส่วนอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งมีผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์จาก ทั่วโลก ซึ่งการใช้ของโดรนได้เพิ่มประสิทธิภาพให้ธุรกิจ ด้านระบบบริหารจัดการจัดส่งอาหารและเครื่องดื่ม จึงเป็น อีกขัน้ ของการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจทีร่ ว่ มแบ่งปันแนวคิด เพื่อสร้างการเติบโตและความก้าวหน้าในธุรกิจ ในอนาคตบริษัท ฟลิงฯ จะพัฒนานวัตกรรมโดรน ให้เป็นหุ่นยนต์ที่สามารถเชื่อมโยงหรือให้เข้ามามีส่วน เกี่ยวข้องในชีวิตประจ�าวันของผู้คนให้มากขึ้น ซึ่งถือว่า โดรนกลายเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของการบริการที่รวดเร็ว และเหมาะกั บสถานการณ์ ในยุ คเทคโนโลยี กลายเป็น นวัตกรรมทีส่ ามารถสร้างโอกาสทางการตลาดขนาดใหญ่ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 41

41

6/7/2562 BE 5:55 PM


FOCUS

“นอนวูฟเวน” อุตสาหกรรมสิ่งทอ น่าจับตามองในปี 2562

ที่

ผ่านมา อุตสาหกรรมสิง่ ทอ เป็นอีกหนึง่ อุตสาหกรรม ที่มีการปรับตัวเป็นอย่างมาก ถึงแม้จะมีการย้าย ฐานการผลิตไปต่างประเทศที่มีค่าแรงถูกกว่า แต่ โดยรวมแล้วก็ยังมียอดส่งออกสูงถึงปีละ 6.5 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ โดยมีกลุ่มลูกค้าคือ ประเทศต่าง ๆ ในโซนอาเซียน อเมริกา ยุโรป จีน ญี่ปุ่น และอื่น ๆ รวมแล้วประมาณ 3% ของการส่งออกทั้งหมดของไทย ซึง่ ประเทศไทยมีขอ้ ได้เปรียบในแง่ของการมีหว่ งโซ่อปุ ทาน และห่วงโซ่คุณค่า (Supply & Value Chain) ที่ครบถ้วนตั้งแต่ ต้นน้ำ� อย่างเช่น การผลิตวัตถุดิบ การย้อม ตกแต่งและพิมพ์ ผืนผ้า ไปจนถึงปลายน้ำ� เช่น การออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์ จากสิง่ ทอ รวมไปถึงการสร้างคุณค่าของอุตสาหกรรมสิง่ ทอโดย การใช้เทคโนโลยีชั้นสูงมามีส่วนช่วยในกระบวนการต่าง ๆ ภายในห่วงโซ่อุปทาน ซึ่ ง ในปี 2562 นี้ ยั ง มี อี ก หนึ่ ง อุ ต สาหกรรมย่ อ ยภายใต้ อุตสาหกรรมสิ่งทอที่น่าจับตามองเป็นอย่างมากอย่าง นั่นคือ “นอนวูฟเวน” (Nonwovens)

นอนวูฟเวน (Nonwovens) คืออะไร

นอนวูฟเวน (Nonwovens) เกิดจากผ้าที่ขึ้นรูปจากเส้นใย โดยตรงทีไ่ ม่ได้มกี ารถักหรือทอ ทำ�ให้ลดระยะเวลากระบวนการ ผลิตให้สั้นลง สามารถทำ�การผลิตได้ในปริมาณมากยิ่งขึ้นเมื่อ เทียบกับสิ่งทอทั่วไป ทั้งยังช่วยลดต้นทุนทางการผลิตให้ต่ำ�ลง จึงเหมาะที่จะใช้กับผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้วทิ้ง

42

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 42

6/7/2562 BE 5:55 PM


ประกอบกับคุณสมบัตพิ เิ ศษทีส่ ามารถกันไฟ ต่อต้าน เชือ้ แบคทีเ่ รียได้ ทำ�ให้นยิ มใช้นอนวูฟเวนในอุตสาหกรรม ด้านสุขภาพและการแพทย์ โดยนำ�มาเป็นวัสดุสำ�หรับ เช็ดทำ�ความสะอาดอุปกรณ์การแพทย์ ชุดผ่าตัดแพทย์ หน้ากากอนามัยป้องกันฝุน่ ละออง PM 2.5 ผ้าอ้อมเด็ก หรือผูใ้ หญ่ ผ้าอนามัยสำ�หรับสตรี รวมไปถึงอุตสาหกรรม ยานยนต์ บรรจุภณ ั ฑ์ และอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ก็มกี ารใช้ งานนอนวูฟเวนอย่างแพร่หลายเช่นกัน ซึง่ คาดการณ์วา่ ในอนาคตอันใกล้นี้จะมีการประยุกต์ใช้นอนวูฟเวนมาก ยิ่งขึ้น ปัจจุบันประเทศไทยมีการส่งออกนอนวูฟเวนไปยัง ต่ า งประเทศต่ า ง ๆ โดยมี ตั ว เลขการส่ ง ออกอยู่ ที่ ประมาณ 8,000 ล้านบาทต่อปี อีกทัง้ ยังมีความต้องการ ทางการลงทุนในกลุม่ นอนวูฟเวน จากทัง้ ในประเทศไทย และอาเซียนมากขึ้น อย่างประเทศอินโดนีเซีย และ มาเลเซีย เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากรัฐบาล ของประเทศไทยในแง่ของการลงทุน จากสำ�นักงานคณะ กรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ น (บี โ อไอ) ซึ่ ง มี น โยบาย สนับสนุนในการยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสำ�หรับกลุม่ ธุรกิจนอนวูฟเวนเป็นเวลา 3 ปี พร้อมกับการยกเว้น อากรนำ�เข้าเครือ่ งจักร วัตถุดบิ ผลิตเพือ่ ส่งออก และสิทธิ ประโยชน์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่ภาษี และการสนับสนุนเชิงให้ ความรู้ในการประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรมสิ่งทอใน กลุ่มสิ่งทอเทคนิคและสิ่งทอลักษณะพิเศษ เพื่ อ เป็ น การตอบรั บ กั บ ความต้ อ งการของ อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอในกลุ่ ม นอนวู ฟ เวน ทำ�ให้ ประเทศไทยได้รับเลือกให้เป็นสถานที่สำ�หรับจัดงาน ANDTEX 2019 งานแสดงสิ น ค้ า และการประชุ ม ผลิตภัณฑ์นอนวูฟเวนและเทคโนโลยีสขุ อนามัยประเภท ใช้แล้วทิ้ง ซึ่งถือเป็นงานแสดงสินค้าและการประชุมใน กลุม่ อุตสาหกรรมมุง่ เน้นในกลุม่ ผลิตภัณฑ์นอนวูฟเวนที่ ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีผปู้ ระกอบการร่วมจัดแสดงสินค้ากว่า 150 ราย จาก 13 ประเทศ งาน ANDTEX 2019 มีกำ�หนดจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 15-17 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค

สนับสนุนข้อมูลโดย:

ANDTEX 2019

งานมหกรรมด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมนอนวูฟเวน ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้

เกี่ยวกับ บริษัท อีเจเค (E.J. Krause & Associates, Inc./EJK)

บริษัท อีเจเค (E.J. Krause & Associates, Inc./EJK) เป็นหนึ่งในบริษัทชั้นนำ�ด้านการจัดงานแสดงสินค้าและ การประชุมทั่วโลกมามากกว่า 30 ปี มีสำ�นักงานอยู่ 3 ทวีปและจัดงานมากกว่า 40 งานใน 14 อุตสาหกรรม บริษัท มีความเป็นเลิศในการสร้างงานชั้นนำ�ที่สร้างเครือข่ายทางธุรกิจให้แก่บริษัทที่ร่วมออกงาน

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 43

43

6/7/2562 BE 5:55 PM


FOCUS

นวัตกรรม ตะเกียบชีวภาพ รั(Production บประทานได้ of Edible Bio-Chopstick) ชื่อนวัตกรรม :

นวัตกรรมตะเกียบชีวภาพรับประทานได้

ผู้พัฒนา

ปวัชร เพ็งสุขแสง รชานนท์ แซ่ตั้ง สกุลรญา สินถิรมั่น

อาจารยที่ปร�กษา

ผศ. ดร.เจษฎา ชัยโฉม ผศ. ดร.ธีรินทร์ ฉายศิริโชติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง

เพื่อตอบสนองความต้องการในเรื่องของความสะอาดและสุขอนามัยต่อ ผูบ้ ริโภค แต่ตะเกียบไม้ไผ่ใช้ครัง้ เดียวนัน้ ได้สร้างผลกระทบในเรือ่ งของปัญหา ขยะอย่างมาก รวมทั้งการท�าลายป่าไม้ ที่ต้องท�าการตัดไม้ไผ่เพื่อน�ามาผลิต เป็นตะเกียบ จึงท�าให้โครงงานนี้ได้ท�าการคิดค้นหาทางเลือกที่จะช่วยลด ประมาณขยะและสามารถตอบสนองความต้องการตะเกียบที่สะอาดถูกสุข อนามัยต่อผู้บริโภค

รูปแบบการใช้งาน

สามารถใช้งานแทนตะเกียบไม้ไผ่ โดยสามารถในงานได้ในสภาวะปกติ (เช่น การรับประทานกวยเตี๋ยว) ได้ 10 นาที เป็นอย่างต�่า (ขึ้นอยู่กับผู้ใช้งาน) และในสภาวะสูงสุด (ตะเกียบถูกแช่หรือจุ่มในน�้าร้อนตลอดเวลาที่อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส) ได้ 3 นาที นอกจากนี้ยังช่วยลดปริมาณขยะจากตะเกียบ ไม้ไผ่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง โดยสามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติด้วยจุลินทรีย์ใน ธรรมชาติ หรือด้วยการรับประทานตะเกียบพร้อมกับอาหาร ขนาดตะเกียบชีวภาพความยาว 20 เซนติเมตร ด้านปลายใหญ่มีความ กว้าง 0.9 เซนติเมตร ด้านปลายเล็กมีความกว้าง 0.7 เซนติเมตร และความ หนา 0.6 เซนติเมตร วัตถุดิบหลักของตะเกียบประกอบด้วย แป้งถั่วเหลือง และแป้งข้าวโพด ผลิตด้วยกระบวนการอัดขึน้ รูปด้วยความร้อนและความดัน ที่อุณหภูมิ 160 องศาเซลเซียส และความดัน 1 บาร์ ใช้เวลาในการขึ้นรูป 10 นาที โดยมีต้นก�าลังเป็นชุดอุปกรณ์ลมอัดนิวเมติก ต้นทุนการผลิต (เฉพาะ วัตถุดิบ) ต่อหนึ่งคู่ ประมาณ 1 บาท หรือข้างละ 50 สตางค์

แนวคิดและที่มาการพัฒนา นวัตกรรม

เนื่องจากปัจจุบัน การให้ความส�าคัญต่อ สิง่ แวดล้อมและสุขภาพมีผลอย่างยิง่ ต่อผูบ้ ริโภค ตะเกียบไม้ไผ่ใช้ครั้งเดียวทิ้งถูกใช้อย่างมาก

44

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 44

6/7/2562 BE 5:55 PM


ระบบการจัดการ วันเก็บเกี่ยวทุเรียน บนสมารทโฟน ด้วยเทคโนโลยี RFID

(Harvesting management system on smartphone using RFID for Durian) ชื่อนวัตกรรม

ระบบการจัดการวันเก็บเกีย่ วทุเรียนบนสมาร์ทโฟน ด้วยเทคโนโลยี RFID

ผู้พัฒนา

จักรกฤษณ์ ใจธรรม พิชิต ปานพรม ศิรวิทย์ นิคม

อาจารยที่ปร�กษา

ดร.จีรายุทธ หงษ์เวียงจันทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบัง

แนวคิดและที่มาการพัฒนานวัตกรรม

เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น เกษตรกรสวนทุ เรี ย นใช้ ก าร จดบันทึกหรือความจ�าในการจัดการข้อมูลวันดอกบาน หรือข้อมูลอื่นๆ ของสวนทุเรียนซึ่งอาจคลาดเคลื่อน และตกหล่นในการบันทึกข้อมูล คณะผูจ้ ดั ท�าได้เล็งเห็น และต้องการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดท�าระบบ

การจัดการวันเก็บเกี่ยวทุเรียนบนสมาร์ทโฟนด้วยเทคโนโลยี RFID โดยใช้แท็ก RFID เป็นอุปกรณ์ในการระบุตัวตนของต้นทุเรียนและ ใช้แอปพลิเคชันเป็นเครื่องมือหลักในการจัดการข้อมูล เพื่อพัฒนา ระบบฐานข้อมูลส�าหรับบริหารจัดการการเก็บเกี่ยวทุเรียน และ ออกแบบและพัฒนาระบบระบุตัวตนของต้นทุเรียนด้วย RFID และ การจัดเก็บและแสดงผลข้อมูลบนสมาร์ทโฟน

รูปแบบการใช้งาน

การท�างานของระบบเริ่มต้นที่การเชื่อมต่อบลูทูธระหว่างชุด อุปกรณ์สแกนกับแอปพลิเคชันจากนั้นน�าชุดอุปกรณ์สแกนไปสแกน แท็กทีต่ ดิ อยูก่ บั ต้นทุเรียน ระบบจะแสดงรหัส RFID และท�าการบันทึก ข้อมูลรหัสต้น วันดอกบาน ปีการผลิต วันเก็บเกี่ยว รุ่นของดอกและ จ�านวนลูก ลงในแอปพลิเคชันโดยข้อมูลจะถูกบันทึกลงใน Firebase ข้อมูลทีบ่ นั ทึกสามารถเรียกดูได้จากการสแกนแท็ก กรอกวันดอกบาน หรือกรอกรหัสต้น ดังภาพ ในการก�าหนดฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการการเก็บเกี่ยว ทุเรียน จะระบุข้อมูล รหัสต้น (รหัส RFID), ปีการผลิต, รุ่นของดอก/ ผล, วันดอกบาน, วันเก็บเกีย่ ว (ค�านวณจากวันดอกบาน) และจ�านวน ลูก ผ่านสร้างแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนด้วยโปรแกรม MIT App Inventor 2 พร้อมเชื่อมโยงข้อมูลเข้ากับฐานข้อมูลบน Firebase

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 45

45

6/7/2562 BE 5:55 PM


FOCUS

การร� ไซเคิลพลาสติก PET

ด้วยเทคโนโลยีชีวภ�พครั้งแรกของโลก

เมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ เมืองแกลร์มง-แฟร็อง ประเทศฝรั่งเศส บริษัท คาร์ไบโอส์ (Carbios) ผู้บุกเบิกโซลูชั่นอุตสาหกรรมชีวภาพที่มุ่ง พลิกโฉมวงจรชีวิตของพลาสติกและเส้นใยโพลิเมอร์ และ ลอรีอัล (L’Oreal) ผู้น�าด้านความงามระดับโลก ประกาศการผนึกก�าลังครั้ง ยิง่ ใหญ่กบั เนสท์เล่วอเตอร์ส (Nestlé Waters) เปปซีโ่ ค (PepsiCo) และ ซันโทรี่ เบเวอเรจ แอนด์ ฟูด ยุโรป (Suntory Beverage & Food Europe) เพือ่ สร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนด้านพลาสติกให้เป็นจริง คาร์ไบโอส์ เป็นเจ้าของนวัตกรรมที่จะเข้ามาช่วยตอบโจทย์ ด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืนของบรรดาผู้ผลิต บริษัท ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2011 และได้พัฒนากระบวนการทางชีววิทยาระดับ อุตสาหกรรมมาแล้ว 2 รายการส�าหรับการสลายและรีไซเคิลโพลิเมอร์ ทางชีวภาพ นวัตกรรมอันเป็นเอกลักษณ์นี้ช่วยเพิ่มสมรรถนะและ วงจรชีวติ ของพลาสติกและสิง่ ทอ ด้วยการใช้ประโยชน์จากคุณสมบัติ ของเอนไซม์ที่คัดเลือกมาอย่างเฉพาะเจาะจง โดยคาร์ไบโอส์ได้พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีด้านความยั่งยืน ที่สามารถรีไซเคิลพลาสติก PET และวัตถุดิบตั้งต้นที่เป็นเส้นใย โพลีเอสเตอร์ได้เหนือกว่าเทคโนโลยีรีไซเคิลรูปแบบอื่น ๆ ด้วยการ ใช้เอนไซม์ชนิดพิเศษ นวัตกรรมนี้สามารถรีไซเคิลพลาสติก PET ให้ มีคุณภาพไม่แตกต่างไปจากพลาสติก PET ที่ผลิตขึ้นใหม่ ที่สามารถ น�าไปผลิตเป็นขวดและบรรจุภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ ก่อนหน้านี้คาร์ไบโอส์และลอรีอัล ได้ร่วมกันจัดตั้งกลุ่มความ ร่วมมือและน�าเทคโนโลยีรไี ซเคิลทีไ่ ด้รบั การออกแบบและพัฒนาโดย คาร์ไบโอส์ มาสูต่ ลาดเพือ่ ใช้งานในระดับอุตสาหกรรม ด้วยความมุง่ 46

มัง่ ทีจ่ ะสนับสนุนการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนโดยใช้นวัตกรรม และ เนสท์เล่วอเตอร์ส เปปซี่โค และ ซันโทรี่ เบเวอเรจ แอนด์ ฟูด ยุโรป ได้เข้าร่วมกลุ่มความร่วมมือเพิ่มเติม เพื่ อ ช่ ว ยในการสนั บ สนุ น เศรษฐกิ จ หมุ น เวี ย นด้ า น พลาสติก โดยใช้เทคโนโลยีรไี ซเคิลด้วยเอนไซม์ทที่ นั สมัย ของคาร์ไบโอส์ ภายใต้ข้อตกลงระยะเวลา 4 ปี พันธมิตรของกลุ่ม ความร่วมมือตั้งเป้าน�าเทคโนโลยีรีไซเคิลพลาสติก PET เข้าสู่ตลาด พร้อมใช้ประโยชน์จากพลาสติกคุณภาพสูง ทีผ่ า่ นการรีไซเคิลแล้วให้มากขึน้ ตามเป้าหมายด้านความ ยัง่ ยืน โดยความร่วมมือครัง้ นีค้ รอบคลุมถึงความก้าวหน้า ทางเทคนิค และการสนับสนุนการจัดหาพลาสติก PET ที่ผ่านการรีไซเคิล 100% ในเกรดที่ใช้ในการบริโภคสู่ ตลาดโลก ทัง้ นี ้ คาร์ไบโอส์ได้พฒ ั นานวัตกรรมในกระบวนการ ช่วยย่อยขยะพลาสติก PET ให้กลายเป็นองค์ประกอบ พลาสติกตั้งต้น ซึ่งสามารถน�าไปผลิตพลาสติก PET

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 46

6/7/2562 BE 5:55 PM


คุณภาพสูงได้ โดยเทคโนโลยีที่ได้รับการจดสิทธิบัตรนี้ สามารถรีไซเคิลพลาสติก PET ได้ซา�้ ๆ นับเป็นการปูทาง สู่การน�าพลาสติก PET รีไซเคิล 100% ไปผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์ใหม่ คาร์ไบโอส์เป็นบริษัทแรกของโลกที่ใช้ เทคโนโลยี เ อนไซม์ ม าผลิ ต ขวดพลาสติ ก PET จาก พลาสติกรีไซเคิล 100% ซึ่งวิธีการทางชีวภาพนี้สามารถ ประยุกต์ใช้ได้กับพลาสติก PET ทุกรูปแบบ (แบบใส, สี, ขุ่น และแบบหลายชั้น) รวมถึงเส้นใยโพลีเอสเตอร์ โดย กระบวนการดังกล่าวต้องใช้ความร้อนในระดับที่จ�ากัด และไม่ต้องใช้แรงกดอากาศหรือตัวท�าละลาย ท�าให้ผล กระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ กับธรรมชาตินนั้ ลดลง อีกทัง้ ยังเป็นวิธี ทีช่ ว่ ยเพิม่ อัตราการรีไซเคิลพลาสติกทัว่ โลก ด้วยการสร้าง เศรษฐกิ จ หมุ น เวี ย นจากพลาสติ ก และเส้ น ใยใช้ แ ล้ ว เทคโนโลยีรีไซเคิลพลาสติกของคาร์ไบโอส์จึงเป็นโซลูชั่น ที่ปฏิบัติตามหลักความยั่งยืนและมีความรับผิดชอบต่อ สังคม ฌอง-คล็อด ลูมาเรท์ ซีอโี อของคาร์ไบโอส์ กล่าว ว่า “เรารูส้ กึ ตืน่ เต้นที่ เนสท์เล่วอเตอร์ส เปปซีโ่ ค และ ซัน โทรี่ เบเวอเรจ แอนด์ ฟูด ยุโรป เข้าสู่กลุ่มความร่วมมือ ทีเ่ ราได้จดั ตัง้ ขึน้ ร่วมกับลอรีอลั การมีสว่ นร่วมของบริษทั เหล่านี้จะช่วยเร่งการด�าเนินการตามความมุ่งมั่นของเรา และยังช่วยให้เทคโนโลยีรีไซเคิลของเราถูกน�าไปใช้ใน อุตสาหกรรมมากขึ้น และนับเป็นการใช้นวัตกรรมที่ทัน สมัยในการจัดการกับขยะพลาสติก” ฟลปิ ธูวอี ง รองประธานฝายบรรจุภณ ั ฑ์และการ พัฒนาของลอรีอัล กล่าวว่า “เราเชื่อว่าเทคโนโลยีของ คาร์ไบโอส์เป็นความก้าวหน้าครัง้ ใหม่ ทีน่ อกเหนือไปจาก การรีไซเคิลเชิงกลและทางเคมีอันเป็นกลไกขับเคลื่อนสู่ การบรรลุเปาหมายปี 2025 ของเรา ที่ตั้งเปาให้องค์ ประกอบพลาสติกในผลิตภัณฑ์ของเรานั้น 50% มาจาก การรีไซเคิลหรือมาจากแหล่งชีวภาพ การผนึกก�าลังกันนี้ จะท�าให้เราประสบความส�าเร็จในการสร้างโลกที่มีความ ยั่งยืนยิ่งขึ้นตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน” มาสซิโม คาเซลลา หัวหน้าฝายวิจัยและพัฒนา ของเนสท์เล่วอเตอร์ส กล่าวเสริมว่า “เรามีความยินดีที่ ได้เข้าร่วมกลุ่มความร่วมมือดังกล่าว เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาเทคโนโลยีใหม่นี้ ซึง่ ช่วยให้เราบรรลุเปาหมายของ เนสท์เล่ในการเพิ่มปริมาณพลาสติก PET ที่ผ่านการ รีไซเคิลในขวดของเราโดยไม่ลดทอนคุณภาพ และยังได้มี ส่วนร่วมในสร้างโลกที่มีความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมมาก ขึ้นแก่คนรุ่นหลัง” ไซมอน โลว์เดน ประธานฝายอาหารระดับโลก ของเปปซี่โค กล่าวเพิ่มเติมว่า “เปปซี่โค มุ่งมั่นในการ สร้างโลกที่พลาสติกจะไม่มีวันกลายเป็นขยะ การที่จะ บรรลุเปาหมายนี้ได้จะต้องร่วมมือร่วมใจขับเคลื่อนการ เปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ทวั่ ทัง้ วงจรของบรรจุภณ ั ฑ์ โดยกลุม่

ความร่วมมือนี้เปดโอกาสให้เราสามารถเร่งการพัฒนาเทคโนโลยี เอนไซม์เพือ่ การรีไซเคิลทีม่ อี นาคตสดใส เมือ่ ใช้ควบคูก่ บั การรีไซเคิล เชิงกลและทางเคมีแล้ว จะท�าให้เราเข้าใกล้เศรษฐกิจพลาสติกแบบ หมุนเวียนมากยิ่งขึ้น” โรเบอร์โต วานิน ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า ยวิจยั และพัฒนาของ ซันโทรี่ เบเวอเรจ แอนด์ ฟูด ยุโรป กล่าวปิดท้ายว่า “การรับมือ กับปัญหาระดับโลกอย่างขยะพลาสติกนี้ จ�าเป็นต้องอาศัยความร่วม มือในวงกว้าง อีกทั้งยังต้องมีการพัฒนาในเชิงนวัตกรรม และลงทุน ในเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่จะเข้ามาพลิกวงการ เรามีความยินดีในการ เป็นพันธมิตรกับคาร์ไบโอส์ เพื่อผลักดันให้เกิดการด�าเนินการอย่าง แท้จริงในการจัดการกับขยะพลาสติก โดยแนวทางระดับนวัตกรรม ในการรีไซเคิลด้วยเอนไซม์ สะท้อนให้เห็นถึงความปรารถนาของ ซัน โทรี่ เบเวอเรจ แอนด์ ฟูด ยุโรป ในการรุกหาวิธีแก้ไขปัญหาที่รองรับ กับความท้าทายในปัจจุบนั และสร้างความเชือ่ มัน่ ในอนาคตทีย่ งั่ ยืน ต่อไป”

The World’s First Enzymetic Technology for the Recycling of Plastics. Clermont-Ferrand, France. On behalf of the Consortium, Carbios, (Euronext Growth Paris: ALCRB), a company pioneering new, bio-industrial solutions to reinvent the lifecycle of plastic and textile polymers, and L’Oréal, worldwide beauty leader, are pleased to announce a major partnership with Nestlé Waters, PepsiCo and Suntory Beverage & Food Europe. Carbios has developed a unique and sustainable technology using highly specific enzymes that can recycle much broader PET plastics and polyester fibers feedstock than other recycling technologies. This innovative process creates recycled PET, equivalent to virgin PET, that can be used for applications like bottles and other forms of packaging. Carbios is a green chemistry company whose innovations provide solutions to the environmental and sustainable development issues manufacturers currently face. Since its founding in 2011, the company has developed two industrial-scale biological processes for the biological breakdown and recycling of polymers. These unique innovations help optimise the performance and life cycle of plastics and textiles by capitalizing on the properties of specially selected enzymes Carbios and L’Oréal previously founded the Consortium to bring enhanced recycling technology designed and developed by CARBIOS to market on an industrial scale. Committed to THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 47

47

6/7/2562 BE 5:55 PM


supporting sustainable development with innovative solutions, Nestlé Waters, PepsiCo and Suntory Beverage & Food Europe are joining the Consortium to help support the circular plastics economy using Carbios’ breakthrough enzyme-based enhanced recycling technology. Under the terms of the four-year agreement, the Consortium partners’ ambition is to bring Carbios’ PETenhanced recycling technology to the market and increase the availability of high-quality recycled plastics to fulfill their sustainability commitments. The collaboration includes technical milestones and support for the efficient supply of consumer-grade, 100% recycled PET plastics for global markets. Carbios has developed an innovative process that breaks down PET plastic waste into its original building blocks, which can be used to produce high-quality PET plastic. This patented technology offers the potential to recycle PET plastics repeatedly and pave the way for 100% recycled PET content in new products. In fact, Carbios recently achieved a world first using its enzymatic technology to create PET bottles from 100% recycled plastics. This biological approach can handle all forms of PET plastics (clear, colored, opaque and multilayer) and polyester fibers. The process requires limited heat and no pressure or solvents, which improves its environmental impact, and also provides a competitive solution to increase global plastic recycling rates. By creating a circular economy from used plastics and fibers, Carbios’ enhanced recycling technology brings forward a sustainable and responsible solution. Jean-Claude Lumaret, CEO of Carbios, explains, “We are thrilled to welcome Nestlé Waters, PepsiCo and Suntory Beverage & Food Europe into the Consortium we have created with L’Oréal. Their contribution will accelerate our common ambition and help to industrialize our recycling technology, which brings a breakthrough solution in the 48

treatment of plastic waste.” Philippe Thuvien, Packaging & Development VicePresident at L’Oréal, noted, “We are convinced that Carbios’ technology is a new step forward, in addition to the mechanical and chemical recycling that contribute to reaching our 2025 goals: 50% of our products’ plastic components is recycled or bio-sourced. We know that by working together with our partners, we will succeed in creating a more sustainable world based on circular economy principles.” Massimo Casella, Head of R&D Nestlé Waters, adds, “We are pleased to be joining the Consortium in supporting the development of this new technology. It can help us to achieve Nestlé’s goal of increasing the amount of recycled PET content in our bottles without compromising on quality and contribute to creating an environmentally sustainable world for the next generation.” Simon Lowden, President of Global Foods at PepsiCo adds, “PepsiCo is striving for a world where plastics need never become waste. Achieving that requires collaborative efforts to drive transformative change across the packaging lifecycle. The Consortium offers us the opportunity to accelerate the development of this promising enzymatic recycling technology which, alongside mechanical and chemical recycling, can move us closer to a circular economy for plastics.” Roberto Vanin, Chief R&D Officer Suntory Beverage & Food Europe, concludes, “Addressing the global issue of plastic waste requires large scale collaboration, innovative thinking and investment in new and groundbreaking technologies. We are delighted to partner with Carbios to drive real action to tackle plastic waste. Their innovative approach to enzymatic recycling reflects our desire at Suntory Beverage and Food Europe to actively seek out forward-thinking solutions to solve the challenges of today and ensure a sustainable future.”

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 48

6/7/2562 BE 5:55 PM



12-9-61 TECHNOLOGY MEDIA AD AIRPLANE_G5-3.indd 1

12/9/61 18:48



NEWS

RICOH เชื่อมั่นอน�คตเทคโนโลยีไทยก้�วไกล

จัดแสดงนวัตกรรมลำ้�สมัยในง�น April Series 2019

ริษทั ริโก้ (ประเทศไทย) จ�ากัด ได้เข้าร่วมงาน April Series 2019 ระหว่าง วันที่ 25-26 เมษายน 2562 ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้องวายุภักษ์ ชั้น 4 โรงแรม เซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ โดยทาง กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (MDE) ร่วมกับสมาคมอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศไทย (ATCI) ได้ร่วมมือกันจัดงานในครั้งนี้เพื่อผลักดันการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศ และพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสาธารณสุข AI และ IoT ที่จะมาช่วยเปลี่ยนโลกของการลงทุนในทุกธุรกิจ โดยจะได้พบกับ 3 กลุ่มเป้าหมายพร้อมกันครั้งเดียว ได้แก่

Education ICT Forum 2019

ในหัวข้อ Redesign Education System in a Disruptive World ซึ่งมีผู้เข้าร่วมเป็นกลุ่มโรงเรียน มหาวิทยาลัย ทั้งภาครัฐและบริษัท เอกชนทั่วประเทศ จ�านวน 300 ท่าน หัวข้อนี้ได้กล่าวถึงการใช้เทคโนโลยี เพื่อช่วยเสริมก�าลังขององค์กรธุรกิจให้ก้าวหน้า

Healthcare Technology Summit 2019

ในหัวข้อ Healthcare Anytime, Anywhere ซึ่งมีผู้เข้าร่วมเป็น กลุ่มโรงพยาบาล สาธารณสุข ทั้งภาครัฐและบริษัทเอกชนทั่วประเทศ จ�านวน 300 ท่าน หัวข้อนี้ได้กล่าวถึงการวางกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อ ผลักดันให้เกิดการปรับใช้เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งของแผนงาน

AI & IoT Summit 2019

ในหัวข้อ Embracing AI IoTs for A Smarter Future ซึ่งมี ผูเ้ ข้าร่วมบรรยายทัง้ ภาครัฐและบริษทั เอกชนทัว่ ประเทศ จ�านวน 200 ท่าน หัวข้อนีไ้ ด้กล่าวถึงการน�า AI และ IoT มาพัฒนาและเสริมสร้างประสิทธิภาพ การท�างาน เพื่อตอบรับกับอนาคตของโลกเทคโนโลยี

52

ซึ่ ง งานในครั้ ง นี้ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง รองนายก รัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีเปิดงาน พร้อม กล่าวถึงการเตรียมความพร้อมในการมุง่ ไปสู่ โลกการเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี ซึ่ ง สิ่ งส� า คั ญ คื อ การสร้ า งทั ศนคติของคนใน องค์กรให้เปิดรับต่อเทคโนโลยีใหม่ ๆ และ บุคลากรในทุกภาคส่วนจะต้องมีส่วนร่วมใน การก้าวเข้าสู่ไทยแลนด์ยุค 4.0 โดยต้องมี ความเทีย่ งตรง มีการวางแผน การคิดค�านวณ และการวางกลยุทธ์ทด่ี ี และสามารถน�าข้อมูล มาใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการ ท�างานได้ โดยโซลูชนั่ ทีท่ าง RICOH น�าไปจัดแสดง มีดงั นี ้ โซลูชนั่ ระบบการจัดคิว รับส่งผูป้ ว่ ยใน โรงพยาบาล, Robotic Process Automation (RPA) หรือ IT โรบอทส�าหรับงานส�านักงาน ที่ใช้การผสมผสานเทคโนโลยี เพื่อให้การ ท�างานเป็นแบบอัตโนมัตแิ ละเพิม่ ประสิทธิภาพ มากขึ้น, One Card Solutions for Education หรือ โซลูชั่นที่สามารถใช้บัตรเพียงใบเดียว ในการใช้บริการส่วนต่างๆ ภายในโรงเรียน โดยจะสามารถใช้งานร่วมกับระบบต่าง ๆ ที่ มีอยูใ่ นโรงเรียน ทัง้ ในส่วนของร้านสะดวกซือ้ , โรงอาหาร, ระบบการพิมพ์งาน, ห้องสมุด, การรับ-ส่งนักเรียน หรือแม้กระทัง่ การช่วยลด การใช้พลังงานภายในโรงเรียน RICOH หวังเป็นอย่างยิง่ ว่างานในครัง้ นี้ จะกระตุน้ พลังในการผลักดันเทคโนโลยี เพือ่ ให้ทุกท่านต่างพร้อมก้าวไปสู่ยุคดิจิทัลที่จะ ยิ่ ง มี บ ทบาทในชี วิ ต และการท� า งาน โดย สามารถน�าความรู้ทางนวัตกรรมที่ได้รับไป ปรับใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 52

6/7/2562 BE 5:55 PM


ซิกเวอรค เป ดอาคารเก็บสินค าแห งใหม

NEWS

T2 Mini Fruit Tea Packaging

เฮอรเบิรต โฟรคเกอร รวมลงนามที่บอรด แสดงความยินดี เพื่อเปดอาคารใหม

ผูบริหารพรอมพนักงานซิกเวอรค กวา 140 คน รวมกันถายภาพ บันทึกความประทับใจในงานเปดอาคารเก็บสินคาแหงใหม

ริษทั ซิกเวอรค (ประเทศไทย) จํากัด ไดเปดอาคารเก็บสินคาแหงใหม ซึง่ บริษทั ไดขยายพืน้ ทีเ่ พือ่ รองรับการเปนศูนยกลาง ของความเปนเลิศ (Center of Excellence : COE) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมี เฮอรเบิรต โฟรคเกอร (Herbert Forker) CEO ของซิกเวอรค พรอมคณะผูบ ริหาร เดินทางมาเปนประธานในพิธเี ปดงาน และรวมลงนามในบอรดแสดงความยินดี พรอม กันนี้ ยังมีการทําบุญถวายภัตตาหารเพลแดพระสงฆดวย

THAI PACKAGING NEWSLETTER

24-5-62 TECHNOLOGY NO#135 ad Harn HP.indd 1

May - June 2019

53 24/5/62 19:56


NEWS

Sea Value ผนึกพันธมิตร LOHAKIJ

ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น ในราคาต้นทุนที่ แข็งขันได้ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษาคุณภาพของอาหาร และด้านการ แข่ ง ขั น ของบริ ษั ท ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง ตลาดใน ประเทศและตลาดโลก รวมทั้ ง ช่ ว ย สนับสนุนการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัย เสร�มแกรงบรรจ�ภัณฑ รูปแบบใหม่ ๆ ตอบโจทย์ผบู้ ริโภคทางการ อาหารสําเร็จรูป ค้าจากประเทศผู้น�าเข้าสินค้าของบริษัท ส่วน อมรพันธุ์ อร่ามวัฒนานนท์ รองประธานกรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ซี แวลู จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า “การได้ เป็นพันธมิตรทางธุรกิจกับบริษัทโลหะกิจ รุง่ เจริญทรัพย์ บริษทั ชัน้ น�าด้านบรรจุภณ ั ฑ์ “Sea Value” จั บ มื อ “LOHAKIJ” จะช่วยให้เราสามารถสร้างความมั่นใจให้ ยักษ ใหญแพ็กเกจจิ้ง เซ็นสัญญาซัพพลาย กับคู่ค้าของบริษัทในทุกๆ ตลาดทั่วโลกว่า แพ็ ก เกจจิ้ ง ทุ ก รู ป แบบระยะยาวเพื่ อ เพิ่ ม บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุสินค้านั้นมีคุณภาพที่ คุ ณ ภาพอาหารสํ า เร็ จ รู ป พร อ มพั ฒ นา ดี และส�าคัญที่สุดคือ ทางบริษัทโลหะกิจ บรรจุภัณฑทันสมัยตอบโจทยเทรนดตลาด รุ่งเจริญทรัพย์ สัญญาในการสนับสนุน และกฎระเบียบสากลอยางยั่งยืน บรรจุภณ ั ฑ์ทกุ รูปแบบ ในด้านจ�านวน ราคา และการส่งมอบ ไม่ว่าสถานการณ์แผ่น บริษทั ซี แวลู จ�ากัด (มหาชน) ผูผ้ ลิต เหล็กโลกจะเป็นอย่างไรก็ตาม ท�าให้บริษทั และผู ้ ส ่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ลาทู น ่ า และ สามารถแข่งขันในทุก ๆ ตลาดได้ดี” อาหารทะเลส� า เร็ จ รู ป ภายใต้ แ บรนด์ ปัจจุบัน ไลฟสไตล์ของผู้บริโภคให้ “ซูเปอร์ ซี เชฟ” (Super-C-Chef) รวมถึง ความส�าคัญกับการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร ผู้ผลิตอาหารสัตว์เลี้ยงคุณภาพชั้นน�าของ ที่เน้นในเรื่องของการดูแลสุขภาพมากขึ้น โลก ได้ลงนามความร่วมมือพันธมิตรทาง ส่งผลให้ดา้ นยอดขายของบริษทั ในปี 2561 ธุรกิจกับ บริษัท โลหะกิจรุ่งเจริญทรัพย์ ทีผ่ า่ นมา เป็นไปตามเป้าหมายคือ 25,000 จ� า กั ด ผู ้ น� า ในด้ า นบรรจุ ภั ณ ฑ์ อ าหาร ล้านบาท และส�าหรับในปี 2562 ตั้งเป้า อาหารส�าเร็จรูปในประเทศไทย เป็นระยะ รายได้ไว้ที่ 27,500 ล้านบาท หรือคิดเป็น เวลา 10 ปี มูลค่ากว่า 35,000 ล้านบาท อัตราเติบโตประมาณ 10% เนือ่ งจากในปีนี้ โดย ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ ประธาน บริ ษั ท ฯ เตรี ย มแผนการลงทุ น พั ฒ นา กรรมการผู ้ จั ด การ “ซู เ ปอร์ ซี เชฟ” ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ออกสูต่ ลาดอย่างต่อเนือ่ ง (Super-C-Chef) กล่าวว่า การร่วมมือครัง้ นี้ เพือ่ ตอบโจทย์ไลฟสไตล์และความต้องการ เพือ่ เสริมความแข็งแกร่งทางด้านซัพพลาย ของผูบ้ ริโภคอย่างสูงสุด รวมถึงการพัฒนา เชนในส่วนของบรรจุภณ ั ฑ์อาหารส�าเร็จรูป และคิ ด ค้ น นวั ต กรรมใหม่ ๆ เพื่ อ ผลิ ต

54

ผลิตภัณฑ์ให้หลากหลาย ด้วยเทคโนโลยี ที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา โดยยึดถือเน้น เรื่องคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นสิ่งส�าคัญ ตามนโยบายของบริษัทฯ “ขณะนีเ้ รามีกลุม่ ผลิตภัณฑ์ทที่ า� ตลาด อยู่จ�านวนกว่าหมื่นรายการ และในปีนี้เรา คาดว่าจะมีการแนะน�าผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เข้ า สู ่ ต ลาดอย่ า งต่ อ เนื่ อ งทั้ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหารส� า เร็ จ รู ป ของคนทั่ ว ไปและ ผลิตภัณฑ์อาหารส�าหรับสัตว์เลีย้ ง เป็นการ เสริมไลน์สนิ ค้าให้ครอบคลุมกลุม่ เปาหมาย มากยิ่งขึ้นและเพื่อให้ได้ตามเปาหมายที่ วางไว้ เราจ�าเป็นที่จะต้องมีบรรจุภัณฑ์ที่ดี มีคุณภาพ ถูกกฎระเบียบ ราคาแข่งขันได้ “บริษัท ซี แวลู” มั่นใจใน “บริษัท โลหะกิจ รุง่ เจริญทรัพย์” คือพันธมิตรร่วมกันในการ ขับเคลือ่ นไปสูเ่ ปาหมายดังกล่าว” อมรพันธุ์ กล่าวเพิ่มเติม ด้าน สุทธิค�า แต่โสภาพงษ์ ประธาน บริษัท โลหะกิจรุ่งเจริญทรัพย์ จ�ากัด กล่าว ว่า บริษทั มีความยินดีอย่างยิง่ ต่อความร่วม มื อ ทางธุ ร กิ จ ในครั้ ง นี้ โดยจะน� า ความ ช�านาญด้านบรรจุภัณฑ์ของบริษัทภายใต้ การใช้เทคโนโลยีระดับสูงในการผลิต การ เน้นคุณภาพของสินค้า และการพัฒนา บรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัยตอบโจทย์ผู้บริโภค มาสนับสนุนความร่วมมือในครั้งนี้ ให้มี ความส�าเร็จตามเป้าประสงค์ ในขณะเดียวกันบริษัทได้ปรับพันธกิจ การด�าเนินธุรกิจจากการเป็นผู้ผลิตบรรจุ ภัณฑ์โลหะ ส�าหรับบรรจุอาหารส�าเร็จรูป เป็นผูผ้ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์อาหารทุกรูปแบบให้ มีความทันสมัย ตอบโจทย์ผู้บริโภค และ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อาทิ บรรจุภัณฑ์ อ่อนตัว (Flexible Packaging) ซึง่ ก�าลังเป็น ที่ นิ ย มใช้ ใ นกลุ ่ ม สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภค เพราะมีความยืดหยุน่ มากกว่าโลหะ และมี การเติบโตสูงในตลาดทั่วโลก โดยได้ลงทุน เพิม่ ไลน์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เครือ่ งจักรใหม่ๆ มาตลอดในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา และได้จัด แผนการลงทุนเพิ่มเติมอีกมากกว่า 1,000 ล้ า นบาท เพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจในการ เติบโตร่วมกันกับพันธมิตรทางธุรกิจกับ บริษัท ซี แวลู และลูกค้าอื่น ๆ

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 54

6/7/2562 BE 5:55 PM


SPECIAL

area

ลดปญหาสุขภาพ

ด้วยบรรจุภัณฑอ�ห�รที่ปลอดภัย

ราต้องการให้คนในครอบครัวพบความเสีย่ งทีจ่ ะทานอาหารทีม่ สี ารเคมีอนั ตรายเจือปนหรือ ไม่ ในช่วงนี้มีข่าวในแง่ลบของอาหารที่ออกมาในสื่อต่างๆ น�าไปสู่การเรียกคืนอาหาร ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายทั้งค่าใช้จ่าย รวมถึงชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์ ในความเป็นจริงแล้ว การปนเปือ้ นจากสารเคมีเป็นความกังวลสูงสุดในด้านความปลอดภัยของอาหารส�าหรับผูบ้ ริโภค สารเคมี บางชนิดในหมึกพิมพ์ที่เรียกว่า “ไมแกรนต์” สามารถย้ายจากบรรจุภัณฑ์มาสู่อาหาร ด้วยสภาวะต่างๆ กัน และเราเรียกการเคลือ่ นย้ายแบบนีว้ า่ “การไมเกรต” ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ จ�านวนหนึง่ เปิดเผยถึงความสามารถในการไมเกรตสารเคมีในงานพิมพ์ และการไมเกรตสามารถ เกิดขึ้นได้ด้วยกลไก ดังนี้

ภควัฒน์ อินทรนัฏ

Product Safety Specialist SEA, Siegwerk (Thailand) Ltd.

1.

เซตออฟ (Set-off) ไมแกรนต์สามารถไมเกรต จากงานพิมพ์ชนั้ หนึง่ สูอ่ กี ชัน้ หนึง่ ได้ โดยด้านทีม่ กี ารพิมพ์จะถ่ายโอน สารเคมีไปสู่ด้านที่ไม่มีการพิมพ์ ซึง่ ด้านทีไ่ ม่พมิ พ์นจี้ ะไปสัมผัสกับ อาหารโดยตรง และถ่ายโอนสาร เคมีสู่อาหาร กลไกนี้จะเกิดขึ้น จากการเก็บชิน้ งานโดยการเข้าม้วน หรือซ้อนทับ

2.

ดิ ฟ ฟ ว ชั่ น (Diffusion) สารเคมีทมี่ โี มเลกุลขนาด เล็ก หรือเคลื่อนที่ได้ สามารถ ซึ ม ผ่ า นและแพร่ สู ่ ชั้ น วั ส ดุ ข อง บรรจุภณ ั ฑ์ได้อย่างง่ายดาย กลไก นีส้ ามารถเกิดขึน้ ได้ เมือ่ น�าอาหาร บรรจุลงในบรรจุภณ ั ฑ์ และอาหาร เริ่มซึมซับสารเคมีจากวัสดุงาน พิมพ์

3.

แกสเฟส (Gas-phase) ไมแกรนต์สามารถไมเกรต จากงานกระดาษ โดยแก๊ ส ใน สิ่งแวดล้อมเป็นตัวน�าพาสารเคมี ในหมึ ก พิ ม พ์ บ นบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ปนเปื้อนลงสู่อาหารด้านใน เช่น การพาไปของ Mineral Oil หรือ Photo Initiator ด้วยอากาศ ซึ่ง สารเหล่ า นี้ ไม่ ได้ ร ะเหยได้ แบบ ตัวท�าละลายทั่วไป

จากค�าอธิบายข้างต้นนี้ เ ห ตุ ก า ร ณ ์ เ ห ล ่ า นี้ สามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ ใ น สถานการณ์ต่างๆ และ หนึ่งในวิธีการแก้ปัญหา เหล่านี้ คือการเลือกใช้ ห มึ ก พิ ม พ ์ ที่ ป รั บ ประสิทธิภาพการไมเกรต (Migration Optimized Ink) ที่ ผ ่ า นการคั ด สรร ส่ ว นผสมที่ เ หมาะสม ตัง้ แต่แรก เพือ่ ให้เกิดการ ไมเกรตของสารเคมีได้ตา�่ น�าไปสูก่ ารปนเปือ้ นของ อาหารที่น้อยลง และลด ความเสี่ยงด้านสุขภาพ ในที่สุด THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 55

55

6/7/2562 BE 5:55 PM


SPECIAL

area

บุญชัย เลาหะธีระพงษ์

NFC

อน�คตของ วงก�รแพ็กเกจจิ้ง?

ด้

วยกระแสของ Smart Packaging ที่ก�าลัง ถูกพูดถึงกันอย่างกว้างขวางในช่วงนี้ วันนี้ ผมจึ ง จะขอแชร์ ข ้ อ มู ล สาระความรู ้ เ กี่ ย วกั บ เทคโนโลยี NFC ให้ผู้อ่านกันครับ ว่ามันคืออะไร ท�าอะไรได้บ้าง แล้วเกี่ยวข้องกับ Packaging อย่างไร NFC ย่อมาจาก Near Field Communication ซึ่งก็คือ เทคโนโลยีการสื่อสารชนิดหนึ่ง ระหว่างอุปกรณ์ 2 ชิ้น เพื่อส่งข้อมูลขนาดเล็ก ถึงกัน โดยอุปกรณ์ทั้งคู่จะต้องอยู่ใกล้กัน ตั้งแต่ ชิดกัน หรือห่างมากสุดราว 4 ซม. เทคโนโลยีนี้ ต่อยอดและพัฒนามาจาก RFID ทีม่ มี าก่อนหน้า นี้นานแล้ว

ที่ บ อกว่ า สื่ อ สารกั น ระหว่ า ง อุปกรณ์ 2 ชิน้ นัน้ เกิดขึน้ มาจาก NFC Chip ขนาดเล็กที่ติดอยู่กับอุปกรณ์ นั้นสื่อสารกัน ยกตัวอย่างของการใช้ งาน NFC ที่ ค ่ อ นข้ า งแพร่ ห ลาย ทั่วโลกแล้ว ก็คือ Apple Pay หรือ Samsung Pay ที่ ผู ้ ใช้ สามารถน� า มือถือสมาร์ทโฟนที่มีฟังก์ชัน Apple Pay หรือ Samsung Pay นี้ไปใช้แตะ ลงบนเครือ่ งอ่านทีร่ า้ นค้าต่างๆ เพือ่ ช�าระเงิน อุปกรณ์ 2 ชิ้นที่ว่านี้คือ มือถือ และเครือ่ งอ่านทีม่ ี NFC Chip ฝังอยู่ด้วยกันทั้ง 2 ฝัง และส่งข้อมูล หากัน ในกรณี้นี้มือถือได้ส่งข้อมูล บัตรเครดิต ซึ่งเป็นข้อมูลขนาดเล็ก ไปยังเครือ่ งอ่านนีเ้ พือ่ เป็นการยืนยัน การช�าระเงิน

56

NFC ได้ถกู พัฒนา และทดลอง และใช้จริงกับหลายสิ่งหลายอย่าง รอบตัวเรามากขึน้ เรือ่ ยๆ เช่น การใช้ เป็นตั๋วผ่านทาง ตั๋วโดยสารรถ อย่าง เช่ น ใช้ มื อ ถื อ ที่ มี NFC ช� า ระค่ า โดยสารรถไฟฟ้า BTS

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 56

6/7/2562 BE 5:55 PM


การใช้ NFC ไม่ได้จา� กัดว่าต้องเป็นอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ 2 ชิน้ เท่านัน้ แต่ยงั สามารถสือ่ สารจากสิง่ ของ ที่ไม่ใช่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไปสู่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ได้ ตัวอย่างเช่น การฝัง NFC Chip ไว้ในลูกฟุตบอล หรือรองเท้า เพื่อให้ผู้ใช้สแกน แล้วน�าไปสู่เว็บไซต์ หรือคอนเทนต์ต่างๆ ผ่านแอปพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน ถือเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าและแบรนด์ได้อีกทางหนึ่ง มาถึงจุดนี้แล้วการน�า NFC Chip มา ใส่บนแพ็กเกจจิ้งก็ไม่ใส่เรื่องแปลก วิธีที่ง่าย และสามารถท�าได้กับทุกสินค้าก็คือ การใช้ NFC Label มาติดลงบนแพ็กเกจจิ้งหรือ ตัวสินค้าโดยตรง

โดยใน NFC Chip ที่อยู่ในฉลากนั้น จะเก็บข้อมูลไว้เพียงเล็กน้อย เช่น ตัวเลข รหัส ข้อมูลสินค้า เว็บไซต์ ฯลฯ เมื่อน�า อุปกรณ์สา� หรับอ่าน NFC หรือ สมาร์ทโฟน ที่มีฟังก์ชัน NFC ไปสแกนใกล้ๆ ฉลากนี้ ข้อมูลที่เก็บไว้จะถูกส่งไปยังอุปกรณ์ และ เป็ น กุ ญ แจหรื อป้ า ยบอกทางไปยัง ข้อ มูล อื่นๆ ที่จะถูกส่งผ่านสัญญาณอินเทอร์เน็ต อีกมากมาย (ตัว NFC ไม่ได้ส่งข้อมูลผ่าน สัญญาณอินเทอร์เน็ตแต่อย่างใด เพียงแค่ ส่งรหัส ชื่อเว็บไซต์ ไปให้ตัวอุปกรณ์เท่านั้น แล้วอุปกรณ์ก็เปิดข้อมูลอื่นๆ ต่อ ผ่านการ เชื่อมต่ออินเท อร์เน็ต) THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 57

57

6/7/2562 BE 5:55 PM


ทั้งนี้การสแกน NFC ในฝังของผู้ซื้อสินค้า ผู้ซื้อจะได้รับข้อมูลของผลิตภัณฑ์นั้น สามารถ ตรวจสอบว่ า เป็ น ของแท้ ห รื อ ไม่ หรื อ ได้ รั บ โปรโมชั่น ส่วนลด ฯลฯ ขึ้นอยู่กับว่าผู้ขายสินค้า นัน้ จะต้องการให้การสแกนฉลากหรือผลิตภัณฑ์ นั้นน�าผู้ซื้อไปสู่ข้อมูลใด ในฟากของผู ้ ข ายสิ น ค้ า หรื อ เจ้ า ของ แบรนด์ผลิตภัณฑ์ ก็จะสามารถเก็บข้อมูลของ ลูกค้าได้จากการสแกน NFC เพื่อน�าไปเป็น ข้อมูลธุรกิจ หรือข้อมูลทางการตลาด ท�า CRM (Customer Relationship Management) กับ ลูกค้าต่อไป

อ่านมาถึงตรงนี้ บางท่านอาจจะมีข้อสงสัยว่า การสแกน NFC กับ การสแกน QR Code ที่อยู่บนกล่องหรือฉลากต่างๆ ก็ดูจะคล้ายๆ กัน แล้วท�าไมถึงขั้นต้องใช้ NFC ที่ดูจะมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่า ยุ่งยากกว่า ค�าตอบ ของผมมีอยู่ 2 ค�าตอบคือ “ปองกันการปลอมแปลงได้ดีกว่า” และ “สร้าง ภาพลักษณ์ให้กบั แบรนด์ได้ดกี ว่า” เมือ่ การใช้ NFC เป็นเทคโนโลยีทใี่ หม่และ เหนือชั้นกว่า QR Code การที่ใครจะมาปลอมแปลง ก๊อบปี้ข้อมูลจาก NFC Chip หรือปลอมแปลงให้ฉลากมี NFC Chip ซ่อนไว้ ต่างๆ เหล่านีล้ ้วนไม่ง่าย เลย ในแง่ของลูกค้าก็เกิดความมั่นใจกับสินค้า กับแบรนด์มากขึ้น

แง่มุมของค�าว่า “Smart Packaging” ที่ ผมได้นา� เสนอวันนีค้ อ่ นข้างจะเกีย่ วกับเทคโนโลยี และไอทีเยอะเลยทีเดียว วันนี้อาจจะดูเป็นเรื่อง ไกลตัว เป็นเรื่องของอนาคต แต่ใครจะไปรู้ว่า อนาคตทีว่ า่ อาจจะมาถึงเร็วกว่าทีเ่ ราคิดก็เป็นได้ อย่างไรก็ขอฝากข้อมูลนี้ไปเป็นแนวคิดและเป็น แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์ดีๆ และสมาร์ทกันต่อไปนะครับ และพบกันใหม่ ฉบับหน้า…

บริษัท เคิรซ (ประเทศไทย) จํากัด 2869-2869/1 ถนนริมทางรถไฟ สายปากนํ้า แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. 10110 โทร. 0-2671-7505 แฟกซ 0-2671-7711 อีเมล : sales@kurz.co.th

58

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 58

6/7/2562 BE 5:55 PM



SPECIAL

area

บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ากัด

เทคโนโลยีการซีล ในบรรจุภัณฑ

ป

จจุ บั น การซี ล บรรจุ ภั ณ ฑ์ ด ้ ว ย ความร้อนไม่ว่าจะเป็นเครื่องบรรจุ แนวตัง้ (Vertical Form Fill and Seal) หรือ จะเป็นรูปแบบแนวนอน (Horizontal Form Fill and Seal) ก�าลังได้รบั ความนิยม และมีรูปแบบการท�างานที่หลากหลาย มากขึ้นเรื่อยๆ ปัจจัยหนึ่งที่ต้องควบคุม คือ คุณภาพการซีลที่สม�่าเสมอ สมบูรณ์ ปราศจากรอยรั่ ว ที่ ท� า ให้ สิ น ค้ า ด้ า นใน เสียหายได้ ถือเป็นหัวใจส�าคัญและเป็น ข้อจ�ากัดในการออกแบบเครื่องจักรที่มี ความเร็วในการท�างานสูง ปัจจุบันได้มี เทคโนโลยีการควบคุมอุณหภูมิที่พัฒนา

เทคโนโลยีที่ตอบโจทย

ปั จ จุ บั น เทคโนโลยี ก ารควบคุ ม อุ ณ หภู มิ มี ฟ ั ง ก์ ชั น การใช้ ง านเพื่ อ แก้ ปั ญ หาในการซี ล โดยตรง เทคโนโลยี เหล่านั้น ได้แก่ เซ็นเซอรที่วัดได้แม่นยำ�ม�กขึ้น เซ็นเซอร์ที่ใช้ส�าหรับงานซีลจะ วั ด อุ ณ หภู มิ ที่ จุ ด ใกล้ เ คี ย งกั บ ใบมี ด ซี ล มากขึ้น ขจัดความแตกต่างกับอุณหภูมิ จริงของฮีตเตอร์กับอุณหภูมิท�าให้การซีล เกิดขึ้นที่อุณหภูมิเป้าหมายจริง

ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาและยกระดับเครื่องจักรขึ้นไปอีก ปัญหาการซีลมาจากการควบคุมอุณหภูมิและพลังงานความร้อนที่ ไม่สม�่าเสมอ ซึ่งการควบคุมอุณหภูมิน้ีมักเกิดขึ้นเมื่อการซีลท�างานใน เครื่องความเร็วสูง เมื่อความเร็วสูงขึ้นระยะเวลาการซีล (Seal Period) ก็จะลดลงตามส่วน หน้าสัมผัสของฮีตเตอร์จะต้องปลดปล่อยพลังงาน อย่างรวดเร็ว และต้องมีมากพอทีจ่ ะท�าให้ซลี ร้อนขึน้ ทันการซีลในจังหวะ ถัดไป อีกปัญหาหนึ่งของการซีลคือการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ลดความบางของ ฟิล์มจนบางมาก ฟิล์มถูกพัฒนาคุณภาพเพื่อลดปริมาณการใช้โดยการ ท�าให้บางแต่ยังคงความทนทานด้วยการพัฒนาวัสดุ ความบางของฟิล์ม จะเพิม่ ความล�าบากต่อการซีลด้วยความร้อน ส�าหรับฟิลม์ ทีบ่ างอุณหภูมิ ที่ฮีตเตอร์ท�างานจะมีช่วงอุณหภูมิท่ียอมรับได้แคบกว่า นั่นคือถ้าร้อน จนเกินไปจะท�าให้ซีลไหม้ หรือเย็นไปแม้เพียงเล็กน้อย ซีลจะไม่สมบูรณ์ “Change of temperature sensor” and “New algorithm” make possible to measure and control of accurate temperature!

1) 60

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 60

6/7/2562 BE 5:55 PM


If packaging speed, ambient temperature, and packaging have changed, this product keep sealing temperature stably

2)

ก�รใช้เทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) ในการท�า Adaptive Control คอนโทรลเลอร์ที่สามารถปรับ เปลี่ยนตัวเอง ภายใต้การเปลี่ยนแปลง ต่างๆ เช่น การเปลี่ยนอุณหภูมิแวดล้อม การเปลี่ยนวัสดุฟิล์ม การเปลี่ยนความเร็ว ของเครื่องจักร หากเกิดการเปลี่ยนแปลง เหล่ า นี้ ขึ้ น คอนโทรลเลอร์ จ ะค� า นวณ ค่าควบคุม (PID Parameters) ใหม่โดย อัตโนมัติ ระบบ AI จะท�าการประเมินการ เปลี่ยนแปลงและสั่งการระบบ Adaptive Tuning ให้ทา� การตรวจสอบและบันทึกการ เปลี่ยนแปลงอัตโนมัติ

3)

ระบบ Automatic Filter Adjustment นอกจากระบบ AI ที่ใช้ใน ระบบ Adaptive tuning แล้ว คอนโทรลเลอร์ ปัจจุบนั ยังสามารถใช้ Digital Filter ทีท่ า� ให้ การควบคุมเข้าสูเ่ ป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว ระบบ Digital Filter จะท�างานในการเรียนรู้ ถึ ง การสวิ ง ของอุ ณ หภู มิ และก� า หนด ตัวกรองทางดิจิทัลลดการสูญเสียในขณะ ปรับเครื่องจักร

ข้อมูลเพ�่มเติมที่ บร�ษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จำ�กัด โทร. 0-2942-6700 www.omron-ap.co.th/packaging

Every time at the time of system setup, Temperature controller change to most suitable PID.

By changing “Input digital filter”, periodic hunting can suppress.

ราสามารถใช้เทคโนโลยีดังกล่าวแล้วในปัจจุบัน เปิดโอกาสที่จะพัฒนา เครื่องจักรที่รองรับการซีลที่สมบูรณ์ตั้งแต่การเดินเครื่องในความเร็วต�่า จนถึงความเร็วสูง เพื่อเพิ่มความแม่นย�า ลดการสูญเสีย

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 61

61

6/7/2562 BE 5:55 PM


ARTICLE บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ากัด

ลส�ารวจ Adoption of RPA in Asia-Myth or Reality? ของ PwC ทีผ่ า่ นมาคาดการณ์ ว่ า ระบบอั ต โนมั ติ จ ะถู ก น� า มาใช้ ใ น กระบวนการท�างานต่าง ๆ มากกว่า 45% และ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายด้านแรงงานทั่วโลกได้มาก ถึง 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือราวกว่า 65 ล้านล้านบาท โดยประเมินตลาด RPA ในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิก จะมีมูลค่าสูงถึง 2.9 พันล้านบาท ในปี 2021 (เติบโต 203%) ข้อมูลเหล่านี้ตอกย้�า ให้เห็นถึงกระแสดิจิทัลดิสรัปชั่นที่ยังคงถาโถม องค์กรธุรกิจทุกหย่อมหญ้า ส�าหรับประเทศไทย ในปีนม้ี อี งค์กรธุรกิจรายใหญ่ ๆ หลายรายเดินหน้า ประกาศกลยุทธ์และพัฒนาบริการใหม่ ๆ เปลี่ยน ผ่านองค์กรไปสู่ “ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มตัว” ซึ่งได้สร้างกระแสการตื่นตัวให้กับธุรกิจรายอื่น ๆ ที่ยังมีความกังวลและก�าลังวางแผนปรับใช้ระบบ อัตโนมัติกันอยู่ บั น ไดขั้ น แรกของการเปลี่ยนผ่านองค์กร ธุรกิจไปสู่ยุคดิจิทัล ก็คือ การน�ากระบวนการ ท�างานแบบอัตโนมัติ (Robotic Process Automation หรือ RPA) มาปรับใช้ในงานที่ท�าเป็น ประจ�า หรืองาน Routine เช่น งานเอกสารต่าง ๆ ที่องค์กรสามารถเซตระบบอัตโนมัติเลียนแบบ การท�างานของมนุษย์ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ การท�างาน และช่วยลดเวลาและภาระต้นทุนต่าง ๆ ได้ ส่วนบันไดขั้นต่อ ๆ ไปของการเปลี่ยนผ่านใน ระดับที่ 2 คือ กระบวนการประมวลผลอัจฉริยะ แบบอัตโนมัติ (Intelligent Process Automation: IPA) และระดับที ่ 3 คือ กระบวนการรับรูแ้ ละเข้าใจ แบบอัตโนมัติ (Cognitive Automation: CA) ส�าหรับ Robotic Process Automation หรือ RPA คือ ระบบซอฟต์แวร์อัตโนมัติ ที่มีความสามารถในการจัดการข้อมูล จ�านวนมากและงานประเภทที่ต้องท�า ซ้�าๆ ซึ่งระบบ RPA จะเข้าไปจัดท�า และเปลี่ยนแปลงข้อมูลขั้นพื้นฐาน เช่น เอกสารจ�าพวกใบวางบิล ใบก�ากับสินค้า รวมไปถึงกระบวนการรับค�าสั่งซื้อจากลูกค้า และการตรวจสอบการบันทึกต่าง ๆ เป็นต้น

62

ROBOT กับ ง�นเอกส�รดิจิทัล ก้�วแรกเปลี่ยนผ่�น องคกรสู่ยุคใหม่

ประโยชนที่องคกรธุรกิจจะได้รับจ�กกระบวนก�ร RPA มีอะไรบ้�ง

• ช่วยประหยัดต้นทุน และผสานรวมระบบการท�างาน (Save Cost for Integrating between System) ซึ่ง Robot หรือหุ่นยนต์ 1 ตัวเทียบเท่ากับ พนักงานท�างานเต็มเวลา 3 คน • องค์กรยังคงรูปแบบกระบวนการจัดการเอกสารได้ในแบบเดิม (Don’t Need to Change the Business Process) • ลดเวลาในกระบวนการท�างาน (Reduce Time-consuming in the Work Process) เพราะท�างานได้เร็วกว่าคนท�างานถึง 2 เท่า • ลดภาระจากกระบวนการท�างาน (Reduce Manual Work Process) • เพิ่มความแม่นย�า (Increase Accuracy) ในขณะที่ Manual Work Process มักมี Human Error ประมาณ 5% แต่ถ้าเปลี่ยนมาใช้ RPA จะ ท�างานได้ถูกต้อง 100% • ขจัดความผิดพลาดต่าง ๆ ที่เกิดจากการรวบรวมและน�าส่งข้อมูลเข้า ระบบ (Eliminate Errors by Automating Data Gathering and Input) • เพิม่ โอกาสใหม่ ๆ ในการท�าธุรกิจจากกระบวนการจัดการแบบอัตโนมัต ิ (Extend the Value of Business Process Automation)

เปร�ยบเทียบ RPA Process ที่ใช้ในปจจุบัน RPA Process (แบบไม่มีทีมง�นช่วยเหลือ)

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 62

6/7/2562 BE 5:55 PM


ฟ�เจอรที่น่�สนใจของโซลูชั่น RPA ที่ ตอบโจทยง�นเอกส�รดิจทิ ลั สำ�หรับองคกร

RPA Process (แบบมีทีมง�นช่วยเหลือ)

ได้แก่ • Robot Design Studio เพิ่มความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งาน ไม่ตอ้ งเขียนโปรแกรม ใช้เพียงโมดูลเดียวในกระบวนการสร้าง หุ่นยนต์ (Robot Design Studio: No Coding, A Single Design Environment) • หุน่ ยนต์ทไ่ี ด้รบั การออกแบบมาเพือ่ เชือ่ มต่อกับโปรแกรม การท�างานต่าง ๆ ได้อย่างง่ายดาย (Design Robots to Connect to Virtually any Application) • สามารถแปลงไฟล์ภาพเอกสาร ให้เป็นไฟล์ขอ้ ความแบบอัตโนมัติ (OCR Document Extraction Feature Included) • มีหน้าจออัจฉริยะในการควบคุมแบบอัตโนมัติ (Intelligent Screen Automation for Virtualized Environments) • แดชบอร์ดส�าหรับตรวจสอบการท�างานร่วมกันระหว่างหุ่นยนต์และพนักงาน (Process Intelligence Dashboard) • ระบบควบคุมหุ่นยนต์จากส่วนกลาง และตั้งเวลาการท�างานได้ (Centrally Manage & Schedule Robots) • ติดตัง้ เว็บเบราว์เซอร์, Excel และ PDF มาเรียบร้อยแล้ว โดยไม่ตอ้ งซือ้ ไลเซนส์เพิม่ (Build-in Web Browser, Excel Capability, PDF File Access without License Required) • ไลเซนส์การใช้งานต่อหุ่นยนต์ ซื้อแล้วใช้ได้ตลอด (Perceptual Robot License)

ทำ�คว�มรู้จัก FX Robot

นอกจากการปรับใช้กระบวนการท�างานแบบอัตโนมัตทิ ลี่ า้� สมัยแล้ว ผูบ้ ริหารองค์กรสามารถวิเคราะห์ ออกแบบและวางแผน ล่วงหน้า หรืออาจปรึกษาบริษัทผู้เชี่ยวชาญ เพื่อช่วยจัดการน�าซอฟต์แวร์ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้กับงานได้อย่างเหมาะสม เพิ่ม ประสิทธิภาพงานทีม่ อี ยู ่ ในขณะเดียวกันก็แบ่งเบาภาระงานทีเ่ คยใช้แรงงานมนุษย์ในการปฏิบตั กิ ารเป็นหลัก เพือ่ ให้มนุษย์ทา� งาน ที่ส�าคัญกว่าเดิม บริษัทที่ควรน�าระบบอัตโนมัติ RPA เข้ามาประยุกต์ใช้ภายในองค์กร คือ บริษัทที่ก�าลังเผชิญกับปัญหาของระบบ งานหลังบ้านที่มีปริมาณธุรกรรมมากมายมหาศาลในรูปแบบเดิม ๆ ทุก ๆ เดือน มีต้นทุนจากการจ้างแรงงานจากภายนอกอีก หลายร้อยคน

ขอมูลเพ�่มเติมติดตอ ปยพงษ มิดชิด, ว�รนันท แหไธสง บร�ษัท พ�ซี แอนด แอสโซซิเอทส คอนซัลติ�ง จํากัด โทร. 0 2970 6051 โทรสาร 0 2970 6056 E-mail: piyapong@pc-a.co.th, weeranun@pc-a.co.th THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 63

63

6/7/2562 BE 5:55 PM


ARTICLE สุภัค ลายเลิศ กรรมการอ�านวยการ และ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัท ยิบอินซอย จ�ากัด

ทีบนโลกธุ ่หนึร่งกิจยุคไว-ไฟ (Wi-Fi )

ดู

เหมื อ นการนั่ ง อยู ่ ห น้ า เครื่ อ ง คอมพิ ว เตอร์ ซึ่ ง ต้ อ งต่ อ กั บ สาย แลน หรือเริ่มต้นหมุนโมเด็มผ่าน สายโทรศั พ ท์ เ พื่ อ เข้ า สู ่ อิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า น ช่องทางการรับ-ส่งข้อมูลที่ความเร็วระดับ กิโลบิตต่อวินาที (Kilobit Per Second) ดูเป็น ภาพทีไ่ กลตัวเราออกไปทุกทีเมือ่ เทียบกับวิถี ของผูค้ นยุคดิจทิ ลั ซึง่ พร้อมท่องโลกออนไลน์ ได้ทกุ วินาที ด้วยอุปกรณ์ทพ่ี กติดตัวไปได้ทกุ ที่ อย่างโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต อุปกรณ์ ไอโอที (Internet of Things : IoT) หรือไอที ส่วนตัว (BYOD) ผ่านเครือข่ายไร้สาย อย่าง บลูทูธ ไว-ไฟ 4G ที่ก�าลังกลายเป็น 5G ใน อีกไม่ช้า ไอดีซีบอกกับเราว่า ในปี พ.ศ. 2564 เทคโนโลยี 5G รวมถึงอุปกรณ์เชื่อมต่อเพื่อ รองรับระบบเครือข่ายไร้สาย ก�าลังพัฒนา ตัวเองให้ก้าวข้ามข้อจ�ากัดของ 4G ทั้งใน เรือ่ งขนาดของแบนด์วธิ รับ-ส่งได้เร็วขึน้ และ ด้วยปริมาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้น แต่กินไฟต�่าลง รวมถึงอาจสามารถรองรับการใช้งานไอโอที ได้ถงึ 1 ล้านชิน้ ต่อขนาดพืน้ ที ่ 1 ตารางเมตร ซึง่ ท�าให้ 5G เป็นตัวผลักดันให้เกิดการใช้งาน ไอโอทีทมี่ ากขึน้ เป็นหลายเท่าตัวเลยทีเดียว

64

การคาดการณ์ของไอดีซีคงพอให้เรา จิ น ตนาการภาพองค์ ก รที่ ต ้ อ งเผชิ ญ วิ ก ฤต ปริ ม าณ และปั ญ หาที่ เ กิ ด จากการใช้ ง าน อุปกรณ์ไอโอทีและอุปกรณ์ไอทีส่วนตัวจาก ในและนอกองค์กรมากกว่าที่เคยเป็นมา มี องค์กรจ�านวนไม่นอ้ ยทีต่ อ้ งลงทุนติดตัง้ ระบบ เครื อ ข่ า ยไร้ ส าย และอุ ป กรณ์ เ ชื่ อ มต่ อ สัญญาณไว-ไฟ (Wireless Access Point) นอกเหนือจากเครือข่ายแบบใช้สาย กระจาย ตามจุดต่าง ๆ ให้พร้อมรับมืออุปกรณ์ไอโอที หรือไอทีส่วนตัว ซึ่งเคลื่อนที่เปลี่ยนทางอยู่ ตลอดเวลา การออกแบบเครื อ ข่ า ยที่ ต ้ อ ง รองรับอุปกรณ์ทั้งเก่าและใหม่ภายใต้ระบบ ปฏิบตั กิ ารทีแ่ ตกต่างกัน รวมถึงการก�ากับการ ใช้งานทีต่ อ้ งค�านึงถึง “การกระจายสัญญาณ ไว-ไฟได้แรงและเร็วแบบไม่สะดุด และมี ความปลอดภัยสูง” เป็นหัวใจส�าคัญ สิง่ หนึง่ ทีอ่ งค์กรควรรู ้ คือ บริบทของการ พัฒนาระบบเครือข่ายได้เปลี่ยนไปแล้ว ใน อดีต การสร้างระบบเครือข่ายขึ้นมาสักระบบ หนึ่ง เราจะพูดถึงเรื่องของ “เราเตอร์ สวิตช์ โมเด็ ม หรื อ สายแลน” ทั้ ง หมดก็ เ พื่ อ ให้ “คอมพิวเตอร์คยุ กันได้” สามารถส่งหรือแชร์ ใช้ข้อมูลหรือแอปพลิเคชันเฉพาะการท�างาน ในองค์กรได้ แต่ปัจจุบัน มนุษย์กลายเป็น ศู น ย์ ก ลางของการพั ฒ นาเทคโนโลยี ก าร สือ่ สาร และเครือข่ายไร้สายถูกใช้เป็นช่องทาง ส�าคัญ เพื่อเปิดพื้นที่ให้ “คนมาสื่อสารกัน” การพั ฒ นาระบบเครื อ ข่ า ยให้ ใ ช้ ง านได้

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 64

6/7/2562 BE 5:55 PM


ครอบคลุม กว้างขวางขึน้ จึงต้องค�านึงถึงองค์ประกอบเพิม่ เติม ในเรือ่ งของ “ผูใ้ ช้งาน (Users) อุปกรณ์ (Things) แอปพลิเคชัน (Applications) และต�าแหน่งแห่งที่ (Locations)” รวมถึง ต้องมีความชาญฉลาดพอในการ วิเคราะห์ (Analytics) และ ต้องมีการท�างานแบบ อัตโนมัติ (Automatic) นั่นหมายถึง การพัฒนาระบบเครือข่ายเพือ่ การใช้งานในปัจจุบนั และอนาคต นอกจากจะเป็นไปเพือ่ “เพิม่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ ท�างานในองค์กร (Business Process)” แต่ยังต้องสามารถ ตรวจสอบการป้อนกลับข้อมูลที่เกี่ยวกับตัวผู้ใช้หรือพฤติกรรม ของผู้ใช้ เห็นเครื่องมือหรือสิ่งที่พวกเขาใช้ในการสื่อสาร เห็น แอปพลิเคชันที่ใช้งาน และระบุพิกัดได้แม่นย�าว่า ก�าลังสื่อสาร มาจากที่ไหน ณ ต�าแหน่งใด เพื่อน�าไปคิด วิเคราะห์ ต่อยอด ไปเป็น “บริการทางธุรกิจ (Business Services)” ที่ส่งผลต่อ การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน รายได้ หรือสร้าง ประสบการณ์ที่น่าพึงพอใจให้กับลูกค้า ตัวอย่างเช่น ข้อมูลพฤติกรรมของลูกค้าทีใ่ ช้งานโทรศัพท์ มือถือ หรือไอโอที ซึ่งเก็บได้จากอุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณ ไว-ไฟ ขณะเดินอยู่ในห้างสรรพสินค้า ช่วยให้ฝ่ายขายและการ ตลาดสามารถน�ามาวิเคราะห์ และคัดเลือกกิจกรรมกระตุน้ ยอด ขาย อาทิ ล่วนลดในการซือ้ สินค้า การน�าเสนอสินค้าทีจ่ า� หน่าย ในราคาพิเศษ หรือบริการที่โดนใจป้อนกลับได้ถึงตัวลูกค้า โดยตรง และเกิดขึ้นแบบทันท่วงที (Real-time) มากขึ้น รวมถึง เป็นการเตรียมการล่วงหน้าในการน�าเสนอแคมเปญการขายที่ ตรงกับไลฟสไตล์ของลูกค้าไว้สา� หรับการมาช้อปปิง้ ในครัง้ ต่อไป การพัฒนาแอปพลิเคชันไว้อ�านวยความสะดวกในการค้นหา เส้นทาง (Way Finding) ของร้านอาหาร หรือร้านค้าทีโ่ ปรดปราน ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อไม่ให้เป็นการสูญเสียโอกาสในการขาย สินค้าหรือบริการทันทีที่ลูกค้าเริ่มกิจกรรมเช็กอินขึ้นเฟซบุ๊ก (Facebook Application) หรือแอปออนไลน์ (Shopping Online Application) อืน่ ใด ณ พิกดั เกิดเหตุ หรือกระทัง่ แค่การให้บริการ เชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตไว-ไฟ ชนิดไม่ตอ้ งเพิม่ แอปพลิเคชันใด ๆ ก็กลายเป็นหนึ่งในจุดขาย หรือเป็นบริการธุรกิจภาคบังคับใน สถานให้บริการต่าง ๆ ไปแล้วไม่วา่ จะเป็นโรงแรม โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า หรือสนามบินทั่วโลก นอกจากนี้ ความเก่งกาจของอุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณ ไว-ไฟ รุ่นใหม่ ๆ ที่สามารถให้บริการ แอปพลิเคชัน หรือ แบนด์วิธที่ตอบสนองโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต อุปกรณ์ไอโอที หรือไอทีส่วนตัว โดยไม่ติดว่าจะเป็นเทคโนโลยีแบบไหน หรือ ระบบปฏิบัติการ (Operating System Software : OS) ค่ายใด เท่ากับเป็นการปลดล็อกข้อจ�ากัดการให้บริการซึง่ เกิดจากความ แตกต่างทางเทคโนโลยีออกไปได้ ความสามารถในการระบุ พิกดั หรือต�าแหน่งทีต่ งั้ ของผูใ้ ช้ (Location) ทีช่ ว่ ยองค์กรในการ ติดตามพฤติกรรมการใช้สินทรัพย์ด้านข้อมูลขององค์กรจาก กลุ่มที่ชอบใช้โทรศัพท์มือถือ หรืออุปกรณ์ไอทีส่วนตัว ซึ่งอาจ

น�าพาความเสี่ยงอื่นใด ๆ จะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจจากโลก ภายนอกเข้ามาสูเ่ ครือข่ายขององค์กรได้ตลอดเวลา เพือ่ น�ามา ท�าแผนปรับปรุงระบบความปลอดภัยที่เหมาะสมต่อไป ปัจจุบนั บริษทั ผูน้ า� การพัฒนาเทคโลยีเครือข่ายหลาย ๆ ค่าย อาทิ เอชพีอ ี อรูบา้ (HPE Aruba) ได้เร่งยกระดับฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ที่ช่วยให้การบริหารจัดการระบบเครือข่ายมี ประสิทธิภาพและเป็นอัตโนมัติยิ่งขึ้น ซึ่งขอยกมาพอสังเขป อาทิ การพัฒนาอุปกรณ์เชือ่ มต่อสัญญาณเครือข่ายไร้สาย จาก มาตรฐาน 802.11ac ไปเป็น 802.11ax หรือ “ไว-ไฟ 6” ที่มี ประสิทธิภาพสูงกว่าเดิมถึง 4 เท่า และรองรับการท�างานได้ทั้ง คลื่นความถี่ 2.4 MHz และ 5 MHz ฟังก์ชันอย่าง OFDMA (Orthogonal Frequency Division Multiple Access) ในการ จัดสรรปันส่วนแบนด์วิธ หรือก�าหนดช่องทางจราจรที่เหมาะ กับพฤติกรรมลูกค้าได้หลากหลาย ทั้งการรับ-ส่งข้อมูลหน่วย ย่อย ๆ (Small Data Packets) เช่น แชทไลน์ สติกเกอร์ไลน์ การส่งสัญญาณเซ็นเซอร์จากอุปกรณ์ไอโอที ซึ่งสามารถวิ่งบน ความเร็ ว และแบนด์ วิ ธ ที่ ไ ม่ สู ง มากนั ก เพื่ อ ปั น ส่ ว นที่ มี ประสิทธิภาพสูงกว่าไปใช้กับการรับ-ส่งข้อมูลหน่วยที่ใหญ่ขึ้น เช่น ภาพนิง่ คลิปเสียง วิดโี อเกม โดยยังคงประสิทธิภาพในการ ให้บริการอุปกรณ์ได้หลายประเภท หรือได้มากถึง 8 เครื่อง ใน เวลาเดียวกัน การพัฒนาซอฟต์แวร์เอสดีเอ็น (Software Defined Network – SDN) ทีเ่ ข้ามาช่วยจัดการการท�างานของเครือข่าย เพือ่ รองรับการใช้งานอุปกรณ์ไอโอที หรือแอปพลิเคชันต่าง ๆ ได้โดยอัตโนมัตจิ ากจุดเดียว แอปพลิเคชันทีว่ า่ ก็อย่างเช่น วีอาร์ (Virtual Reality : VR) การส่งภาพสามมิติ ซึ่งเป็นย่นระยะเวลา ในการจัดการกับปัญหาให้เร็วขึน้ การยกระดับ มาตรฐานความ ปลอดภัยในการเชื่อมต่อเครือข่ายไว-ไฟ WPA 7 โดยการ เข้ารหัส หรือ การพัฒนาอุปกรณ์สวิตช์แบบเปด เพื่อให้เกิด ความยืดหยุ่นในการใช้งานของอุปกรณ์ต่างระบบปฏิบัติการ ต่างเทคโนโลยี หรือแพลตฟอร์มที่เชื่อมต่อในเครือข่ายให้ ท�างานร่วมกันแบบไร้รอยต่อ เป็นต้น เมื่อมาตรฐานทางเทคโนโลยีเครือข่ายเปลี่ยนแปลงไป ลูกค้ามีความต้องการเข้าถึงข้อมูลผ่านช่องทางการสื่อสาร ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และต่างก็มคี วามคาดหวังในการได้รบั บริการ ที่มีคุณภาพ ตอบสนองได้รวดเร็ว และมีความปลอดภัยสูง การออกแบบระบบเครือข่ายทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ณ ปัจจุบนั และ ในอนาคต จึงไม่ใช่การปลดล็อกในเรื่องของความเร็วแต่เพียง อย่างเดียว แต่ยังต้องพร้อมสนับสนุนการเข้าถึงการใช้งาน ที่ปลอดภัยให้ได้ในทุกกรณี ตลอดจนสามารถต่อยอดไปสู่ การพัฒนาบริการทางธุรกิจที่แตกต่างแต่โดนใจ ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ สร้างทั้งโอกาสและความได้เปรียบทางการแข่งขันให้องค์กร สามารถยืนเหนือคู่แข่งทางธุรกิจ และเป็นที่หนึ่งในใจลูกค้าไป อีกนาน THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 65

65

6/7/2562 BE 5:55 PM


12-9-61 TECHNOLOGY MEDIA AD VIRTUS_G5-3.indd 1

12/9/61 18:56


132 7-11-61_G5-4

AD_THAIFEX


NEWS

พาวิลเลี่ยนประเทศฝรั่งเศส ในงาน PROPAK Asia 2019 ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค วันที่ 12-15 มิถุนายน 2562 ที่ Hall 103 สถานเอกอั ค รราชทู ต ฝรั่ ง เศสประจ� า ประเทศไทย ขอเรี ย นเชิ ญ ท่ า นเข้ า ชม พาวิ ล เลี่ ย นของประเทศฝรั่ ง เศส ในงาน PROPAK Asia 2019 ซึ่งเป็นงานแสดงสินค้า อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีดา้ นกระบวนการ ผลิต การแปรรูปและบรรจุภัณฑ์แห่งภูมิภาค เอเชีย โดยจะจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 27 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค ในวันที่ 12-15 มิถุนายน 2562 นี้

ธุรกิจบรรจุภัณฑ์และความสําคัญ ของฝรั่งเศสในระดับโลก

ประเทศฝรัง่ เศสเป็นผูน้ า� ในอุตสาหกรรม ด้านนี้อย่างแท้จริง โดยฝรั่งเศสเป็นหนึ่งใน ผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลก และเป็นที่รู้จักกัน ในวงกว้างว่ามีมาตรฐานในการให้การบริการ อย่ า งมี คุ ณ ภาพ ทั้ ง ยั ง มี เ ทคโนโลยี แ ละ นวั ต กรรมที่ ต อบโจทย์ ค วามต้ อ งการของ ตลาดในประเทศไทย ด้วยเหตุนี้ ฝ่ายการ พาณิ ช ย์ ฯ จึ ง จั ด พาวิ ล เลี่ ย นของประเทศ ฝรั่งเศสขึ้น และได้น�า 12 บริษัทชั้นน�าจาก ประเทศฝรั่ ง เศสที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญใน อุตสาหกรรมการแปรรูปและบรรจุภัณฑ์มา ร่วมแสดงสินค้า ทั้งนี้ มีบางบริษัทที่เคยร่วม แสดงสินค้ามาแล้วในงานและมีความเข้าใจถึง ความต้องการของผู้ประกอบการในประเทศ ไทยเป็นอย่างดี และยังมีบริษัทใหม่ๆ ที่มา ร่วมแสดงสินค้าเป็นครัง้ แรกอีกด้วย โดยแต่ละ บริษัทนั้นมีเอกลักษณ์และความเชี่ยวชาญ ที่ แ ตกต่ า งกั น ไม่ ว ่ า จะเป็ น การออกแบบ และการให้บริการด้านเทคนิค หรือการผลิต เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์

บริษัทชั้นนําในพาวิลเลี่ยนของฝรั่งเศส

• CLEXTRAL : Turnkey processing lines that integrate extruders, dryers and ancillary equipment www.clextral.com • GECITECH : Manufacturer of flexible hoses and stainless-steel fittings www.gecitech.co.uk • HYDROLOCK : Specialized in “in container” sterilization in food and pharmaceutical industries www.hydrolock-sterilizers.com • KARLVILLE DEVELOPMENT : Pouch making & filling, shrink sleeve, tape handle and bundle equipment www.karlville.com • PAKEA : Designing and manufacturing paper converting and packaging equipment www.pakea.eu/en/ • QUENARD : Expert in filing, capping, labelling and coding www.quenard.com • SCAIME : Weighing for automated systems, monitoring and measurement for industry https://scaime.com/ • SOCAPS : Worldwide leader in technical assistance in the Food and Beverage packaging industry www.socaps.coop • STERIFLOW : Specialized in autoclaves for sterilization and pasteurization of food and pharmaceutical products www.steriflow.com/en/ • SYNERLINK : Provider of state-of-the-art integrated packaging lines www.synerlink.com/en • TECMA ARIES : Offering know-how in mechanization of corrugate, overwrapping and cartooning, etc. www.tecma-aries.com • UNITED CAPS : Global manufacturer of high performance plastic caps and closures. www.unitedcaps.com

ท่านสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือทํานัดหมายล่วงหน้ากับบริษัทฝรั่งเศสได้ที่ บิสเนส ฟรานซ - ฝายการพาณิชยของ สถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจําประเทศไทย ติดต่อ คุณวิไลลักษณ หลักดี แผนกพัฒนาการลงทุนด้านสินค้าเกษตรและอาหาร อีเมล : wilailak.lakdee@businessfrance.fr โทร: 02 627 2180 68

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ThaiPack2019 May-Jun.indd 68

6/7/2562 BE 5:55 PM


NEWS

อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑขยายตัว ผลจากการยายฐานใช ไทย-อาเซียนผลิตสินคา

งครามการคาสหรัฐ-จีน สอเคายืดเยื้อ นักลงทุนเล็งยายฐานการผลิตเขาไทย-อาเซียน หวังใช เปนฐานผลิตสินคาปอนตลาดโลก สงผลอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑการพิมพและบรรจุภัณฑ ป 2562 โตเพิ่ม 10% คาดวาจะโตแตะ 3 แสนลานบาท ดาน ยูบีเอ็ม ผูจัดงานโพรแพ็ค เอเชีย 2019 เผยโซนเทคโนโลยีบรรจุภณ ั ฑเอเชียปนคี้ กึ คัก มีบริษทั ชัน้ นําทัว่ โลกยืนยันรวมงานแลวกวา 560 บริษทั นํา 1,600 นวัตกรรมดานบรรจุภัณฑรวมจัดแสดง คาดผูประกอบการทั่วโลกเยี่ยมชมงานแนนกวา 50,000 คน

จัสติน พาว

จัสติน พาว ผูจัดการทั่วไป บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จํากัด กลาวถึงความสําคัญ ของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑและแนวโนมการเติบโตวา อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑเปนหนึ่งในเฟอง จักรสําคัญของภาคการผลิต โดยจะเติบโตควบคูไปกับอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจและภาคการ ผลิต ซึง่ ในปทผี่ า นมา (2561) อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑโลกมีมลู คาราว 8.76 แสนลานดอลลาร และ คาดวาจะเติบโตตอเนื่องทะลุ 1 ลานลานดอลลาร ในป 2566 ทําใหตลาดเครื่องจักรบรรจุภัณฑมี ั ฑในภูมิภาค การเติบโตเพิม่ ขึน้ ตามไปดวยในอัตราเฉลีย่ ปละ 5.15% ซึง่ ตลาดเครือ่ งจักรบรรจุภณ เอเชียแปซิฟกครองสวนแบงมากสุดที่ 36% เนื่องจากภูมิภาคนี้เปนฐานการผลิตสินคาสําคัญของ โลกมีทั้งผูผลิตอาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑตางๆ สําหรับประเทศไทยและอาเซียนนั้น มีความพรอมเปนอยางยิ่งในการเปนฐานการผลิตเปน ภูมิภาคที่เพียบพรอมทางดานทรัพยากร แรงงาน และยังไดรับการสงเสริมการลงทุนอยางเต็มที่ จากภาครัฐ รวมถึงเมื่อมีการรวมตัวกันเปนเออีซี (AEC) แลวทําใหกลายเปนกลุมประเทศขนาด ใหญที่มีจํานวนประชากรจํานวนมาก และมีความตองการสินคาอยูในระดับสูง ผนวกกับสงคราม การคาระหวางสหรัฐ-จีน ที่มีทีทายืดเยื้อทําใหนักลงทุนทั่วโลกมีเปาหมายในการลงทุนในภูมิภาค นี้มากขึ้นและสงผลดีตออุตสาหกรรมบรรจุภัณฑโดยตรง โดยคาดวาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑการ พิมพและบรรจุภัณฑของไทยในป 2562 จะมีการเติบโตเพิ่มขึ้นอยูที่ประมาณ 10% และมีมูลคา ตลาดรวมแตะ 3 แสนลานบาท จากปจจัยดังกลาวทําใหในปนี้โซนเทคโนโลยีบรรจุภัณฑเอเชีย (PackagingTech Asia Zone) ในงานโพรแพ็ค เอเชีย 2019 (ProPak Asia 2019) มีความคึกคักและไดรับการตอบรับเขารวมงาน จากบริษัทชั้นนําทั่วโลกเขารวมงานกวา 560 บริษัท โดยพรอมที่จะนํานวัตกรรมและเทคโนโลยี ลาสุดเขารวมจัดแสดงงานในปนกี้ วา 1,600 นวัตกรรม ครอบคลุมทัง้ เครือ่ งจักรการผลิตบรรจุภณ ั ฑ การออกแบบบรรจุภัณฑ การพิมพ และวัสดุสําหรับผลิตบรรจุภัณฑ ฯลฯ สําหรับในสวนของผูเขารวมชมงานนั้นกลุมหลักยังเปนผูประกอบการดานบรรจุภัณฑรวมถึง ผูผลิตสินคาทั้งไทยและตางประเทศที่ตองการมองหานวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม ๆ ที่มีความ เหมาะสมกับผลิตภัณฑ หรือเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตบรรจุภณ ั ฑในการรองรับ การเติบโตของอุตสาหกรรมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต นอกจากนัน้ การจัดแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑแลว ยังมีกจิ กรรม การประชุมและสัมมนาที่นาสนใจอีกมากมาย เพื่อใหความรูแกผูผลิตและผูประกอบการดาน บรรจุภัณฑที่เขารวมงาน อาทิ การประชุมของสถาบันอุตสาหกรรมการผลิตบรรจุภัณฑอัจฉริยะ 2019 (Active & Intelligent Packaging Industry Association (AIPIA) Conference 2019) การ ฝกอบรมจากสถาบันบรรจุภัณฑประเทศออสเตรเลีย (Australian Institute of Packaging Training Course) การประชุมบรรจุภัณฑโลก (Global Packaging Forum) การประกวดบรรจุภัณฑบรรจุ ภัณฑไทยและการประกวดบรรจุภัณฑระดับภูมิภาคเอเชีย (ThaiStar and AsiaStar Packaging Awards) คาดวางานโพรแพ็ค เอเชีย 2019 ครั้งนี้ จะมีผูเขาเยี่ยมชมงานจากทั่วโลกมากกวา 50,000 คน ซึง่ งานโพรแพ็ค เอเชีย 2019 จะจัดขึน้ ระหวางวันที่ 12-15 มิถนุ ายน 2562 ณ ทีศ่ นู ยนทิ รรศการ และการประชุมไบเทค บางนา THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

69


SPECIAL

area

ไฮเดลเบิรก

พี.เค.เพรส เซ็นเตอร Smart Print Shop “คลื่นลูกใหมที่มาแรงในยุค Industry 4.0”

ภายหลังจากที่เรียนจบปริญญาตรีดาน International Business จาก นิวซีแลนด ผมไดเขามาชวยดูแลธุรกิจโรงพิมพของครอบครัวอยางเต็มที่ เมื่อป 2548 ประมาณ 14 ปกอน พอกลับมาก็ทํางานไปดวยพรอมทั้ง เรียนตอปริญญาโทดาน e-Commerce ที่เอแบค โรงพิมพ พี.เค.เพรส เซ็นเตอร เริ่มตนกิจการที่อาคารพาณิชย เมื่อประมาณ 30 กวาปที่แลว เราเริ่มตนธุรกิจ ดวยการใชเครือ่ งพิมพหลากหลายรุน ของไฮเดลเบิรก และเมือ่ ประสบความสําเร็จ อยางดี จึงไดขยายกิจการและยายสถานที่ตั้งโรงงานมาที่นิคมอุตสาหกรรม นวนคร ปจจุบนั โรงพิมพ พี.เค.เพรส เซ็นเตอรเปนโรงพิมพขนาดกลาง มีพนักงาน ประมาณ 100 คน มีความเชีย่ วชาญงานทัง้ ดานบรรจุภณ ั ฑ ฉลาก งานพิมพคมู อื ตาง ๆ ตลอดจนงานพิมพยอดสั้นโดยระบบดิจิทัล” ชนนท จุฑานพรัตน ซีอีโอ หนุมไฟแรงของบริษัท พี.เค.เพรส เซ็นเตอร จํากัด เลาถึงประวัติความเปนมา โรงพิมพ พี.เค.เพรส เซ็นเตอร ชนนท ใหเหตุผลวา “ผลิตภัณฑตาง ๆ ของไฮเดลเบิรกไดพิสูจนตัวเอง ในการเปนนวัตกรรมที่เปยมประสิทธิภาพ ลํ้าหนาดวยเทคโนโลยีและยืนหยัด จนเปนที่ประจักษในการเปนแบรนดชั้นนําระดับโลกที่แข็งแกรงในอุตสาหกรรม การพิมพ ตัง้ แตเริม่ ตนกิจการ เราแทบจะไมเปลีย่ นไปใชเครือ่ งพิมพยหี่ อ อืน่ เลย” ชนนท กลาวเสริมวา “หลังจากที่ไดเดินทางไปดูเครื่องพิมพ อุปกรณการพิมพ ตางๆ ของไฮเดลเบิรกทั้งในประเทศจีน และประเทศเยอรมนีในงานแสดงสินคา ที่ไฮเดลเบิรกจัดในวาระตาง ๆ ยิ่งชวยสรางความเชื่อมั่นในแบรนดไฮเดลเบิรก มากยิง่ ขึน้ และทําใหผมไดรบั แรงบันดาลใจใหมๆ ในการปรับกระบวนการบริหาร จัดการขยายพอรตโฟลิโอผลิตภัณฑ พัฒนาระบบและกระบวนการทํางานใน โรงพิมพใหมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น” ชนนท เปดเผยแผนการดําเนินงานของโรงพิมพวา “เพื่อใหลูกคาไดรับ ความพึงพอใจกับสินคาและการบริการของเรา ปจจุบนั เราใชเครือ่ งจักรทีท่ นั สมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ขณะนี้โรงพิมพ พี.เค.เพรส เซ็นเตอร มีเครื่อง และอุปกรณการพิมพตาง ๆ ในทุกขั้นตอนการผลิต อาทิ เครื่องออกเพลท CtP รุน ลาสุด Suprasetter A 106 เครือ่ งพิมพอปุ กรณการพิมพรนุ ตางๆ ของไฮเดลเบิรก แข็งแรงทนทาน เครื่องพิมพรุนตางๆ ที่เคยวิ่งงานมาทั้ง SM 52 ; SM 74-4-H เรายังคงใชงานจนถึงปจจุบนั มีเครือ่ งพับรุน Ti 52 Proline ของไฮเดลเบิรก 3 เครือ่ ง 70

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

ชนนท จุฑานพรัตน และเพื่อตอยอดศักยภาพในการรองรับงาน ตามความตองการของลูกคาไดอยางเต็มที่ เมื่อกลางปที่ผานมา ทางโรงพิมพตัดสินใจ ติดตั้ง Speedmaster XL 75-5 เครื่องพิมพ ประสิท ธิ ภ าพสูง ที่ มี ค วามพร อ มของระบบ อัตโนมัติระดับสูงสุด เทคโนโลยีที่กาวลํ้านี้ มีวิธีการทํางานที่เรียบงาย การเปลี่ยนหมึก ง า ยขึ้ น ด ว ยอุ ป กรณ ล  า งผ า ยางอั ต โนมั ติ ผายางจะถูกลางพรอมกันในทุกปอมพิมพ ทําใหพิมพงานไดอยางรวดเร็ว พิมพไดทั้ง กระดาษหนาและกระดาษบาง คุณภาพงานดี สมํ่าเสมอ สีนิ่งมาก เครื่องพิมพรุนนี้ชวยให เรามัน่ ใจไดวา เราสามารถผลิตงานคุณภาพได รวดเร็ว ซึ่งการทํางานโดยระบบอัตโนมัตินี้ ชวยใหเราวางแผนงานและบริหารตนทุนการ ผลิตไดเปนอยางดี และผลงานเปนที่ไววางใจ ได ถึ ง คุ ณ ภาพที่ สู ง สุ ด เมื่ อ มี น วั ต กรรมที่ น า สนใจที่ ช  ว ยทํ า ให ต  น ทุ น การผลิ ต ลดลง เราพรอมตอบรั บเทคโนโลยี ใหมๆ ที่ชวย พัฒนาธุรกิจ โดยเมื่อเร็วๆ นี้ แมวาโรงพิมพ จะมีเครื่องตัดรุน Polar 92 EMC อยูแลว แต เราไดเพิม่ การติดตัง้ Polar System ทีป่ ระกอบ ดวยเครื่องตัดและอุปกรณเสริม ซึ่งเครื่องตัด


อยู ทํางานอะไรบาง ซึ่งซอฟตแวรตาง ๆ นี้ ใชงานงาย ชวยรองรับงานทีม่ รี ปู แบบการพิมพ ที่ ห ลากหลายหรื อ งานที่ ต  อ งการการ เปลี่ยนแปลง ชวยใหเราปรับความยืดหยุน ในการผลิตงานพิมพไดเปนอยางดี และเรา สามารถเซฟคาใชจายไดอยางมาก” “สิง่ ทีผ่ มประทับใจกับไฮเดลเบิรก ในดาน อื่น ๆ อาทิ คุณภาพสินคามีความเหนือชั้น Migration optimizedทีinks food มงานเปfor นผูท รงคุ ณวุฒpackaging มิ คี วามเชีย่ วชาญดาน Polar 115 PF รุนใหมนี้ ชวยใหประหยัดและคุมคามากกวา เชน ลดเวลาเปลี่ยน การพิมพอยางมาก อีกทัง้ ยังมีความเปนกันเอง ใบมี ด เพิ่ ม ความสะดวกในการใช ง านด ว ยการตั้ ง ค า โปรแกรมการตั ด โดย จึงเปนเสมือนเพื่อนคูคิดที่คอยใหคําแนะนํา ซอฟตแวร CompuCut ซึ่งเชื่อมตอกับโปรแกรมการตัดและสงไฟลการตัดงาน นอกจากนั้ น ทางเราสามารถสั่ ง ซื้ อ วั ส ดุ แตละประเภทไปทีร่ ะบบของเครือ่ งตัดไดเลย ชางไมจาํ เปนตองเสียเวลาคํานวณ อุปกรณการพิมพได 24 ชั่วโมง พรอมการจัด หรือออกแบบรูปแบบการตัดเอง โดยเฉพาะการตัดงานแบบที่ยาก เชน งาน สงที่รวดเร็ว ชวยใหเราลดเวลาบริหารจัดการ Ganging ทีน่ าํ อารตเวิรค ของหลากหลายงานมาวางรวมอยูบ นแผนงานเดียวกัน สต็อก และวางแผนการผลิตไดดียิ่งขึ้น ผลิต การติดตั้งอุปกรณเสริม Jogger รุน RA4 ที่กระทุงกระดาษใหเรียบกอนการตัด งานไดตอเนื่อง ไมขาดตอน วิธีการนี้ ยังชวย และ Lift รุน LW1200-4 ที่ชวยชางตัดยกวางกระดาษไดสะดวกมากยิ่งขึ้นและ ในดานการรักษาสิ่งแวดลอมโดยลดปริมาณ ลดปญหาดานสุขภาพของชางคุมเครื่องตัดที่ตองยกกองกระดาษหนักๆ ตลอด ของเสียตางๆ อาทิ สต็อกสินคาที่อาจหมด วัน” อายุกอนใชงาน ลดตนทุนสต็อก ลดพื้นที่จัด ลาสุด ทางโรงพิมพยังไดเลือกใช Subscription Model โมเดลธุรกิจรูปแบบ เก็บสินคาและวัตถุดิบไดอยางมีประสิทธิภาพ ใหมของไฮเดลเบิรก ทีม่ บี ริการใหเชาใชผลิตภัณฑทมี่ าพรอมการบริการทีด่ เี ยีย่ ม มาก โดยภาพรวม ผมเชื่อมั่นกับผลิตภัณฑ ชนนท กลาววา “ทางโรงพิมพไดเลือกใช Prinect Production Manager (ProMan) การบริการ และทีมงานไฮเดลเบิรกที่มีความ ซึ่งเปนซอฟตแวรเชา ขณะนี้ ProMan ชวยใหเราเซตงานไดเร็วขึ้น สงคาสีและ พรอมในทุกๆ ดาน ไฮเดลเบิรกสงมอบการ ระบุขนาดงานพิมพไปที่เครื่องพิมพไดทันที เราสามารถวางแผนการทํางาน บริการที่ดี ชางมาเร็วและซอมเร็วมาก ทีมชาง ทั้งหมดที่จําเปนในทุกขั้นตอนการพิมพสําหรับทั้งงานคอมเมอรเชียลและงาน เกง ฝมือดี มากดวยประสบการณ มีความ บรรจุภัณฑ การมีโซลูชั่นการผลิตที่เชื่อมตอการทํางานในขั้นตอนตางๆ โดยมี รับผิดชอบงานสูง ทําใหงานของเราไมสะดุด ซอฟตแวรที่ประสานสงขอมูล Data เดียวกันสงตอถึงกันในทุกขั้นตอนการผลิต เราสามารถควบคุ ม การผลิ ต และวางแผน ไดอยางครบวงจร ชวยใหเห็นขั้นตอนการผลิตไดอยางทะลุปรุโปรง โรงพิมพจึง เวิรคโฟลวการทํางานไดเปนอยางดี” ชนนท สามารถจัดการไฟลงานไดเร็วขึ้น ตรวจเช็กงานที่ทําอยูและจัดคิวงานที่รออยู กลาว ทัง้ หมดและผลิตงานไดอยางคลองตัว รวดเร็ว การทํางานทีซ่ บั ซอนในอดีต กลาย ชนนท ไมหยุดยั้งในการพัฒนาองคกร เปนเรื่องงายในปจจุบัน” เอาใจใสดูแลบุคลากรสรางทีมงานใหมีความ ชนนท กลาวถึงขอดีของการลงทุนรูปแบบใหมนี้ “สําหรับผม Subscription รักความสามัคคี ชนนท กลาวเสริมวา “ทีม Model ชวยในเรือ่ งการบริการทีเ่ ราไดรบั อยางตอเนือ่ ง เราลงทุนไมเยอะ โมเดล ไฮเดลเบิรกไดจัดคอรสฝกอบรมสงมอบความ ธุรกิจใหมนี้ชวยแบงเบาภาระคาใชจายไดเปนอยางดี เราเพียงจายคาบริการ รูและทักษะการทํางาน สรางความพรอมให รายเดือนใหไฮเดลเบิรก เมื่อกอนซอฟตแวรของไฮเดลเบิรกมีมูลคาสูงมาก ทุก พนักงานมีความเชี่ยวชาญในการทํางาน ได วันนี้ เราไมตอ งจายคา License ปลีกยอยของซอฟตแวรตา งๆ ในแตละรายการ ดี ยิ่ ง ขึ้ น เทคโนโลยี ข องไฮเดลเบิ ร  ก เป น อีกทั้งเมื่อถึงวาระที่ตองปรับรุน ทางโรงพิมพจะไดรับการอัพเกรดโดยทีมงาน นวัตกรรมแหงอนาคต ซึ่งเราไดรับประโยชน อยางตอเนื่อง โดยไมตองมีคาใชจายเพิ่ม ยิ่งมีสัญญาเชานาน คาเชาเฉลี่ย จากเทคโนโลยีที่แข็งแกรงนี้อยางมากในแง ในแตละเดือนจะยิ่งคุมอยางมากในระยะยาว โมเดลธุรกิจใหเชาใชซอฟตแวร ของการแขงขัน และเราพรอมเรียนรูสิ่งใหมๆ ProMan นี้ ยังมีซอฟตแวรที่จําเปนตางๆ ใหเลือกใช อาทิ Cockpit, Data เพื่อตอบรับงานที่ยากและทาทายตางๆ ซึ่ง Terminal, Scheduler, Proofing, Signa Packaging Pro และ Analyze Point ชวยใหเราพัฒนากระบวนการผลิตใหคลองตัว หนึ่งในฟงกชันการทํางานของ ProMan ซึ่งจะดึงขอมูลงานผลิตที่ผานๆ มาจาก กาวไปอีกขั้นและบรรลุการเติบโตทางธุรกิจ ในระบบ มานํามาวิเคราะหเพือ่ พัฒนาศักยภาพการผลิตเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพ และสามารถตอยอดในการเปนโรงพิมพชนั้ นํา การผลิตสูงสุด ซึ่งชวยใหเราวางแผนงานไดดีขึ้น สิ่งที่ผมประทับใจมากที่สุดคือ ยุคดิจิทัล Smart Print Shop ผูผลิตงานพิมพ Prinect Portal ที่ชวยใหผมติดตามความเคลื่อนไหวในโรงพิมพได ไมวาผมจะ ในระดับแนวหนาอยางแทจริง” อยูท ไี่ หน ผมสามารถเช็กทางออนไลนไดตลอดเวลาวาตอนนีม้ เี ครือ่ งไหนทํางาน THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

71


PR NEWS

TBSP

เป ดบ านใหม ต อนรับผู ถือหุ น

เอชพี ครองอันดับหนึ่ง “คอมพิวเตอร ที่ได รับ ความน าเชื่อถือและน าไว วางใจ มากที่สุด”

ณฐพงศ พิ นิ ต พงศ กุ ล กรรมการผู  จั ด การ บริ ษั ท ไทยบริ ติ ช ซีเคียวริตี้ พริ้นติ้ง จํากัด (มหาชน) หรือ TBSP ผูดําเนินธุรกิจการผลิต สิง่ พิมพปลอดการปลอมแปลง ซึง่ ไดแก เช็คธนาคาร แบบฟอรมทางธุรกิจ และบัตรพลาสติก พรอมดวยผูบริหารและพนักงาน รวมตอนรับผูถือหุน และพาเยี่ยมชมที่ดินสําหรับสรางโรงงานแหงใหม ณ อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงทรา โดยที่ดินดังกลาวอยูบนพื้นที่ทําเลทอง ปากประตู สู EEC เพื่อตั้งเปนแลนดมารคแหงใหมรองรับธุรกิจใหม ประกอบดวย ธุรกิจโซลูชนั่ จัดการขอมูลดิจทิ ลั ธุรกิจฉลากปองกันการปลอมแปลง และ ธุรกิจใหบริการจัดการดานโรงงานอัจฉริยะ เพื่อเดินหนาสูธุรกิจดิจิทัล อยางเต็มตัว

สมาคมอุตสาหกรรมเครื่องดื่มไทย ยืนยันความร วมมือในการจัดกิจกรรม และจัดแสดงเทคโนโลยีในงานโพรแพ็ค เอเชีย 2019

แภทริยา ภัทรากร, Country Category Manager – Personal Systems เอชพี อิงค ประเทศไทย เขารับรางวัลในฐานะแบรนดทคี่ รอง ความนาเชื่ออันดับ 1 ในหมวด IT Digital กลุม คอมพิวเตอรตงั้ โตะ ประจําป 2019 จาก ปารเมศร รัชไชยบุญ ประธานกิตติมศักดิ์ สมาคมโฆษณา แหงประเทศไทย ตอกยํา้ ภาพลักษณผนู าํ ในตลาด IT อยางตอเนื่องเปนปที่ 12 ในงาน “Thailand’s Most Admired Brand & Why We Buy 2019” ณ หองประชุมศศินทรฮอลล อาคารศศปาฐศาลา สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ยังคงพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอ เนื่อง เพื่อตอบสนองทุกความตองการและสราง ความพึงพอใจสูงสุดของลูกคาอยางเหนือความ คาดหมาย ดวยความมุงมั่นสรางสรรคผลิตภัณฑ ของเราเปนการตัง้ มาตรฐานใหมของทัง้ ดีไซนและ ขีดความสามารถการใชงานในปจจุบัน

72

THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

วีระ อัครพุทธิพร อุปนายกสมาคม และประธานคณะกรรมการ บริหาร สมาคมอุตสาหกรรมเครือ่ งดืม่ ไทย และ วันทิตา พรธนาวงศ ฝายสื่อสารองคกร บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ไทยแลนด) จํากัด รวม ยื น ยั น ความร ว มมื อ ในการจั ด แสดงเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมด า น กระบวนการผลิตและบรรจุภัณฑในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม พรอมจัด กิจกรรมการประชุมอุตสาหกรรมเครื่องดื่มเอเชีย 2019 ขึ้น ภายในงาน โพรแพ็ค เอเชีย 2019 โดยมีสมาชิกและผูบริหารจากบริษัทชั้นนําใน อุตสาหกรรมเครือ่ งดืม่ ทัว่ เอเชียเขารวมงานประชุมฯ งานโพรแพ็ค เอเชีย 2019 กําหนดจัดขึ้นระหวางวันที่ 12-15 มิถุนายน 2562 ณ ศูนย นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ


MD Film Tamper Evident Band Sealer

HOT

product

SVA-150 Series + Heat Tunnel ES-300M Series Features 1. 2. 3. 4.

Economical film using can save cost & reduce wastage Kissing conveyor design help pack smaller container easily Stainless steel frame can be durable with longer working life To pack multiple sizes container without needing to adjust machine

More Information :

BENISON (THAILAND) CO., LTD. Tel : 035-922086-8 Fax : 035-922089 E-mail : benison.thai@hotmail.com (Sales Representative) Website : www.benison.co.th

BENISON : The All Kind of Shrink Wrapping Film/Color Label/Auto. Wrapping

Machines & Sleeving Machines. Our packaging specialists will provide you the most efficient and energy-saving packaging system for your products.

ALL MACHINES ARE LIABILITY INSURED

ADVERTISING

index

บรษัท

หนา

CHANWANICH SECURITY PRINTING CO., LTD. 7 KURZ (THAILAND) LTD. 13 PACK PRINT INTERNATIONAL 6 PROPAK 51 SCG PACKAGING CO., LTD. 35 T-PLAS THAILAND 29 THAIFEX-WORLD OF FOOD ASIA 2019 67 ซันซิน โฮลดิ้งส (ประเทศไทย) บจก. 8-9 ซี.เอ.เอส.เปเปอร บจก. 34, 36 เนชั่นไวด บจก. ปกหลังดานใน เบอรลี่ ยุคเกอร บมจ. 39

บรษัท ฟอยลมาสเตอร (ประเทศไทย) บจก. ฟูจิฟลม (ประเทศไทย) บจก. แมพิมพ บจก. ริโก (ประเทศไทย) บจก. เวอรทัส บจก. ส.ศรีอักษร พริ้นติ้ง โปรดักส บจก. หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส บมจ. หงีเฮงแชมเปยนกรุป บจก. ออมรอน อีเลคทรอนิคส บจก. อี.พี.ซี. คอรปอเรชั่น บจก. เฮงเคล (ประเทศไทย) บจก.

หนา 49 11 ปกหนาดานใน 5 66 37 4, 53 50 59 3 ปกหลัง THAI PACKAGING NEWSLETTER

May - June 2019

73


ใบสมัครสมาชก

สมาคมการบรรจภัณฑไทย

MEMBERSHIP

application Form

ชื่อ-นามสกุล (Name) ............................................................................................................................................................................................... บริษัท/หางหุนสวน/หางหุนสวนจํากัด (Company Name) ...................................................................................................................... ที่อยู (Address) ........................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................

โทรศัพท (Tel.) ........................................................................................ โทรสาร (Fax) ..................................................................................... ประเภทกิจการ (Description Business) .......................................................................................................................................................... ตําแหนง (Position) ...................................................................................................................................................................................................

ใบสมัครเปนสมาชกสมาคมฯ

(Membership Application Form) ขอสมัครเปนสมาชกสมาคมฯ (Type of Membership) สามัญนิติบุคคล (Ordinary Member) วารสาร (Newsletter Member) ขาพเจาทราบระเบียบของสมาคมฯ และจะปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ ทุกประการ (I have the full knowledge of the association regulations all of which I here by pledge to abide by) ลงชื่อ.................................................................ผูสมัคร (Signature) วันที.่ ................/................../................. (Date)

ลงชื่อ...........................................................ผูรับรอง (..................................................) นายทะเบียนสมาคมการบรรจุภัณฑไทย

หมายเหตุ เอกสารที่ใชในการสมัคร หนังสือรับรองการจดทะเบียนของบริษัท พรอมประทับตราเซ็นรับรองสําเนาถูกตอง • สมาชิกสามัญนิติบุคคล คาลงทะเบียนครั้งเดียว 500 บาท คาบํารุงสมาคมฯ 2,000 บาท/ป • สมาชิกวารสาร คาลงทะเบียนครั้งเดียว 100 บาท คาบํารุงสมาคมฯ 500 บาท/ป การชําระเงินโดย • สั่งจายเปนเช็คครอมในนาม “สมาคมการบรรจุภัณฑไทย” • ฝากเงินเขาบัญชี “สมาคมการบรรจุภัณฑไทย” ธนาคารกสิกรไทย สาขาพระโขนง บัญชีออมทรัพย เลขที่ 010-2-58719-7 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย อาคารสํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเกา) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4

แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th Thai Packaging Association MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Thailand Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th


AD_Nationwide-JW AD_Nationwide-JWCB03 CB03II.indd II.indd 11

10/6/62 12:17 11:28 23/5/62



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.