ThaiPackaging 138 November-December 2019

Page 1



interpack

PROCESSING & PACKAGING

INTERPACK.COM

10537-14-11-62 TECHNOLOGY MEDIA NO138 AD interpack_G5-3.indd 1

11/14/19 6:37 PM


เครื่องจักรทางด้านบรรจุภัณฑ์ ไว้ใจเรา" ประสบการณ์มากกว่า 30 ปี เราได้คัดสรรสินค้าดีมีคุณภาพมาให้บริการลูกค้า ในราคาประหยัด 920ST-5 + Coating Max paper size : 640 x 920 mm. Sheet Thickness : 0.04 - 0.6 mm.

RMGT 1050LX-6 + Coating Max paper size : 750 x 1050 mm. Sheet Thickness : 0.04 - 1.0 mm.

Automatic Diecutting เครื่องปั๊มแบบอัตโนมัติ มีขนาดตั้งแต่ 820, 1050, 1060, 1150 และ 1300

790ST-5 + Coating Max paper size : 600 x 788 mm. Sheet Thickness : 0.04 - 0.8 mm.

เครื่องปั๊มลูกฟูกยี่ห้อ Dayuan (ต้าหยวน) MHC1100/1300/1500/1650 ทั้งกึ่งอัตโนมัติและอัตโนมัติ มีขนาดตั้งแต่ 1100, 1300, 1500 และ 1650 mm ML1800 เครื่องปั๊มลูกฟูก แบบป้อนมือ มีขนาดตั้งแต่ 1,800 ถึง 3,000 mm (3 เมตร)

Automatic Foil Stamping & Diecutting เครื่องปั๊มและปั๊มฟลอย์อัตโนมัติ มีขนาดตั้งแต่ 820, 1060 และ 1300

High Speed Folding&Gluing TS-800 - 1450 เครื่องปะกล่องด้วยความเร็วสูง 26-7-62 TECHNOLOGY MEDIA. NO137 AD Final_G5-3.indd 1

HX-Color Sight : Sheet Proof เครื่องตรวจสอบคุณภาพหลังงานพิมพ์ เป็นเครื่องที่ได้รับการยอมรับจากธนาคารแห่งชาติ ทั่วโลก 7/26/19 1:47 PM


TECHNOLOGY MEDIA_NO138_2019_15-10-62


12-9-61 TECHNOLOGY MEDIA AD AIRPLANE_G5-3.indd 1

12/9/61 18:48


Food Box

.....

............. . . . . . .. ...

..

.

....

..

......... ... . . . . . ... ...

.........

....

..

..... . . . .

Cosmetic Box

TY TY IT IT CURISECURI SECURSECURY E S TY TY ITY ITY IT IT CURISECURI SECURSECURY SECUYRSECUTRY E S Y RITY URITY URITY URIT URIT CURI U CU SEC SEC SEC SEC SE SEC RITEYCURITYECURITEYCURITSYECURISTEYCURITSYECURIST S ITY S ITY S RITY ITY RITY RITY ECUYRSECURY SECUY SECUTRY SECTUY SECIUTY SECIT RIT ECURITECURITSECURISECURI SECURSECUR S Y SRITY SURITY URITY URITY URITY CURITY U CUY SEC SEC Y SEC Y SEC TY SE Y SEC Y

Y T I R ECU

.....

.........

.... . . . . .

.

S

Plastic Box

Security Seecurritity ty Label Laabel

YOUR TRUSTED PARTNER IN PACKAGING

Paper / Plastic Packaging

Secured Coupon

Food / Cosmetic/ Pharmaceutical Packaging

Fulfillment and Packing Service

Secured Label & Sticker

Personalization Service (Variable Data)

HACC

GMP

P

FSC:SGS-COC-010516 PEFC:SGS-PEFC/COC-1768

9001:2015

BRC

GMP

HACCP

WORLD CLASS STANDARD

MORE INFORMATION PLEASE VISIT : WWW.CHANWANICH.COM CHANWANICH SECURITY PRINTING CO., LTD

PACKAGING DEPARTMENT : 30/24 Moo 1 Khokkham Muang Samutsakhon 74000 Tel : 034-452452 Fax : 034-452450 Facebook page : Chanwanich E-mail. : marketing@chanwanich.com 23-2-61 TECHNOLOGY MEDIA No128 AD CSP_G5-3.indd 1

132

7_11-61_G5-4

23/2/61 18:26

AD_CSP



22-11-62 TECHNOLOGY MEDIA No138 AD Drupa_G5-3.indd 1

11/22/19 4:37 PM


CONTENTS Vol.29 No.138 November-December 2019 page 52

TPA Activity 14 ประวัติ 50 ป สมาคมการบรรจุภัณฑไทย 20 Strong Performance at PACK PRINT

INTERNATIONAL 2019 reflective of positive outlook or Asia’s packaging and print markets

25 Interview

วิธิต อุตสาหจิต ไซเบอรพริน้ ท การปรับตัวทัง้ การบริหารจัดการ และการใชเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย ทําใหอยูค คู นไทย ยาวนานหลายทศวรรษ

34 Focus

page 56

สถานการณบรรจุภัณฑไทยในปจจุบัน และ แนวโนมในอนาคต

42 Article

สถานการณการใชภาชนะรีไซเคิลเพ็ท (rPET) ในสหภาพยุโรป

44 Focus

รางวัล AsiaStar Awards 2019 ไทยความาได ถึง 30 รางวัล

46 Factory Visiting

อินโดรามา เวนเจอรส โชวศักยภาพโรงงาน รีไซเคิลโพลีเอสเตอรแหงแรกในประเทศไทย

52 In Trend

รางวัล PM Export Award 2019 ชูนวัตกรรม และเทคโนโลยีสนับสนุนผูสงออกไทยสูตลาด สากล

56 Special Area

Shrink Label กับการตลาดยุคใหม

60 Special Area

การรักษาอุณหภูมิของซีลในเครื่อง Packing

10

64 Special Area

Do You Know TRACK & TRACE Solution? Improved outcome through product identification

70 News

เครื่องพิมพสปดมาสเตอรรุน CX 75 และ XL 75 โฉมใหม

72 News

บริษัท เคิรซ (ประเทศไทย) จํากัด โชวนวัตกรรมใหมในงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2019

74 Special Interview

ธีรเสฏฐ เจริญพูนสิริ นักบริหารหนุมไฟแรง แหง จี. ดี. โปรแพค

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 10

12/10/2562 BE 11:39 AM


Jet Press 750S

Powerful third generation B2 sheet-fed digital inkjet press

The new standard in print Quality with next generation Samba printheads

Ultra- high image quality

Larger color gamut water-based inks

Registration accuracy better than offset

Offset paper handling system

Double-sided variable data handling

1,200 X 1,200 dpi four level greyscale inkjet heads

Real-time in-line print quality management

Up to 3,600 B2 sheets per hour (static and variable jobs)

Jet Press 750S THE NEW STANDARD

IN PRINT QUALITY

บริษัท ฟูจิฟลม (ประเทศไทย) จำกัด 388 ชั้น 8 อาคาร เอส. พี. ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร 0 2270 6000 26-7-62 TECHNOLOGY MEDIA NO137 AD Fujifilm_G5-3.indd 1

7/26/19 1:53 PM


EDITOR

note

วัตถุประสงคในการจัดทํา

วารสารบรรจุภณ ั ฑ์ไทย จัดท�าขึน้ โดยสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย เพือ่ เผยแพร่ สาระความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ และน�าเสนอความเคลื่อนไหวของกิจกรรม ด้านบรรจุภณ ั ฑ์ให้แก่สมาชิกและบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ บทความทีต่ พี มิ พ์ในวารสาร บรรจุภัณฑ์ไทยเป็นส่วนหนึ่งของการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และเอกสารทาง วิชาการ สมาคมฯ ไม่จ�าเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

Purpose

50 ป สมาคมการบรรจ�ภัณฑ ไทย สมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย เริม่ ก่อตัง้ อย่างเป็นทางการ เมื่อเดือนธันวาคม 2512 โดยเริ่มจากใช้ชื่อว่า “สมาคมการ บรรจุหีบห่อไทย” ขึ้น โดยใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า “The Thai Packaging Association” (TPA) และต่อมาได้เปลี่ยนเป็น “สมาคมการบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ทย” เมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม 2530 ดังนั้น ในเดือนธันวาคม 2562 นี้ จึงเวียนมาครบรอบ 50 ปี ของสมาคมฯ แล้ว อายุ 50 ปี ส�าหรับคนเราถือว่าอยู่ในช่วงชีวิตที่มั่นคง พร้อมที่จะเดินไปข้างหน้าอย่างเข้มแข็ง สมาคมฯ เองก็เช่นกัน ตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา คณะกรรมการและสมาชิก สมาคมฯ ได้ร่วมมือร่วมใจผลักดันให้สมาคมฯ เติบโตอย่าง แข็งแกร่งขึน้ ตามล�าดับ และในโอกาสพิเศษนี้ ทางสมาคมฯ จะ ได้จดั กิจกรรมพิเศษขึน้ เพือ่ เฉลิมฉลองในวาระดังกล่าว ซึง่ ทาง กองบรรณาธิการจะได้น�ากิจกรรมต่าง ๆ มาน�าเสนอในฉบับ เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2563 ส่วนฉบับนี้ก็ยังคงมีเนื้อหา และเรื่องราวที่น่าสนใจมากมายเช่นเดิม พร้ อ มกั น นี้ ขอขอบคุ ณ ผู้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น การด� า เนิ น กิจกรรมของสมาคมฯ มาโดยตลอด และหวังว่าจะได้รับความ ร่วมมือที่ดีจากทุกท่านตลอดไป The Thai Packaging Association was officially established in December 1969 and was first named in Thai as “The Thai Association of Packagers”, using an English name as “The Thai Packaging Association” (TPA) and later the Thai name was changed to “The Thai Packaging Association” in October 1987. Therefore, this month of December 2019 is the 50th anniversary of the Association. The age of 50 years for a person is considered to be in a period of stable life, ready to move forward vigorously and that holds the same for the Association. During the past 50 years, the Board and members of the Association have joined together to push for the Association to grow stronger respectively. For this special occasion, the Association will hold a special event to celebrate this mentioned event, by which the Editorial team will organize various activities to be presented in the January-February 2020. In this edition, there are still many interesting contents and stories as usual. Together, we would like to take this opportunity to thank every sponsor for supporting the implementation of the Association’s activities and we hope to continuously receive the same good cooperation throughout. 12

Published by the Thai Packaging Association. Thai Packaging Newsletter provides news, information and know-how as well as activity related to packaging industry in Thailand to all members of the Thai Packaging Association and the general public. Articles published in Thai Packaging Newsletter do not represent the official views of the Thai Packaging Association.

คณะกรรมการบริหารสมาคมการบรรจุภัณฑไทย The Board of the Thai Packaging Association 1. คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ Manit Kamolsuwan 2. คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ Pornchai Rattanachaikanont 3. คุณเอกรินทร์ จิระกรานนท์ Ekarin Chirakranont

นายกสมาคมฯ President อุปนายกจัดหารายได้ Vice President/Fund Raising Chair อุปนายกพัฒนาองค์กร Vice President/Organization Development 4. คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม อุปนายกวิชาการ Prasit Klongngooluerm Vice President/Academic Affairs 5. คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ อุปนายกบริหาร Pavimas Kamolsuwan Vice President 6. คุณอโศก อุปัทยา อุปนายกอุตสาหกรรมพลาสติก Ashok Upadhya Vice President 7. คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต เลขาธิการ Wiwat Utsahajit Secretary 8. คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ เหรัญญิก Chinnawat Chaloeiwutthiroj Treasurer 9. คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ นายทะเบียน Aphichet Eukittaroprakorn Register 10. คุณภัทรา คุณวัฒน์ รองเลขาธิการ Patra Khunawat Vice Secretary 11. คุณประเสริฐ หล่อยืนยง ประชาสัมพันธ์ Prasert Loryuenyong Public Relation 12. คุณวีระยุทธ อมรเธียร กรรมการ ฝ่ายกิจกรรมต่างประเทศ Veerayuth Amorntien Director of International Affairs 13. คุณอุมา อัจจิมารังษี กรรมการ ฝ่ายกิจกรรมในประเทศ Uma Ajjimarangsee Director of Internal Affairs 14. คุณนิธิ เนาวประทีป กรรมการ ฝ่ายสารสนเทศ Niti Naovaprateep Director of IT 15. คุณวิวรรธน์ เหมมณฑารพ กรรมการ ฝ่ายอุตสาหกรรมพลาสติก Wiwat Hemmondharop Director of Plastic Industry เจาของ : สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย www.thaipack.or.th อาคารส�านักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเก่า) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมติ ร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Owner : Thai Packaging Association www.thaipack.or.th MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Editorial Staff : Nipa Klinkosum Project Manager : Tipawan Khempilar Executive Sale : Kalaya Sabpirom, Siriporn Klinkajorn, Kasira Hembundij, Manus Chaipas Graphic Designer : Prittiya Nillawat Photographer : Komsak Kumsalee Proofreader : Tidawadee Boonsuya Managed by : Technology Media Co., Ltd. 471/4 Phayathai Place, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Rachathewi, Bangkok 10400 Tel. 0-2354-5333 Printed by : E.Hing Printing Press Co., Ltd. 3141 Rot-Fai Sai Paknam Rd., Phrakanong, Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2249-0136-8 Fax : 0-2249-5093

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 12

12/9/2562 BE 9:30 AM


24-10-62


TPA

activity

ประวัติ 50 ปี สมาคม การบรรจุภัณฑ์ไทย นโยบาย

ารพั ฒ นารู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรมของไทยเป็ น นโยบายหลั ก ที่ ก รมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม ให้ความส�ำคัญเป็นล�ำดับต้นๆ มาตัง้ แต่วนั สถาปนา กรมฯ ในการจัดด�ำเนินการให้เป็นไปตามนโยบายนี้ จึงได้จัดตั้ง ศูนย์ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2507 บรรจุภณ ั ฑ์เป็นแขนงงานหนึง่ ทีท่ างศูนย์ออกแบบฯ ให้ความ สนใจไม่ยิ่งหย่อนกว่ารูปแบบของตัวผลิตภัณฑ์เอง และนั่นก็คือ จุดเริ่มต้นของความพยายามของทางราชการ โดยได้เริ่มคัดสรร บุคลากรทีไ่ ด้รำ�่ เรียนมาทางเทคโนโลยีแขนงนีเ้ ข้ามาอยูใ่ นทีมงาน ของศูนย์ออกแบบฯ และได้มีการจัดสัมมนา พร้อมกับการจัด นิ ท รรศการตลอดจนมี ก ารเผยแพร่ ท างวิ ช าการต่ อ วงการ อุตสาหกรรมไทย ด้วยการสนับสนุนจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมประกอบกับ ความร่วมมือของนักธุรกิจ และนักอุตสาหกรรมไทย พร้อมใจกัน ก่อตั้ง “สมาคมการบรรจุหีบห่อไทย” ขึ้น โดยใช้ชื่อภาษา อังกฤษว่า “The Thai Packaging Association” (TPA) ซึ่งได้ รับใบอนุญาตให้จัดตั้งเป็นสมาคมจากกระทรวงพาณิชย์เมื่อวัน ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2512 และได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “สมาคม การบรรจุภัณฑ์ไทย” มาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2530 และใน พ.ศ. 2531 ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสมทบของสหพันธ์การบรรจุภัณฑ์ แห่งเอเชีย (Asian Packaging Federation)

14

1. ส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจประเภททีเ่ กีย่ วกับ หรือเกี่ยวเนื่องกับการบรรจุภัณฑ์ 2. สนับสนุนและช่วยเหลือสมาชิก แก้ไขอุปสรรค ขัดข้องต่างๆ รวมทั้งเจรจาท�ำความตกลงกับบุคคล ภายนอกเพื่ อ ประโยชน์ ร ่ ว มกั น ในการประกอบ วิสาหกิจประเภทที่อยู่ในวัตถุประสงค์ สอดส่องและ ติดตามความเคลื่อนไหวของตลาดการค้าทั้งภายใน และภายนอกประเทศเกีย่ วกับสินค้าทีส่ มาชิกประกอบ วิ ส าหกิ จ เพื่ อ ให้ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ ก ารค้ า การเงิ น เศรษฐกิจ หรือความมั่นคงของประเทศ 3. ส่งเสริมและเผยแพร่ข่าวสารวิชาการที่เกี่ยวกับ หรือเกี่ยวเนื่องกับการบรรจุภัณฑ์ 4. ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น สถาบั น การศึ ก ษาและ การพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านทีเ่ กีย่ วกับหรือเกีย่ วเนือ่ ง กับการบรรจุภัณฑ์ 5. ท�ำการวิจยั เกีย่ วกับการประกอบวิสาหกิจประเภท ที่อยู่ในวัตถุประสงค์ แลกเปลี่ยน และเผยแพร่ความรู้ ในทางวิชาการ ตลอดจนข่าวสารการค้าอันเกี่ยวกับ วิสาหกิจนั้นๆ 6. ขอสถิติหรือเอกสารหรือขอทราบข้อความใดๆ จากสมาชิกเกี่ยวกับการด�ำเนินวิสาหกิจประเภทที่อยู่ ในวัตถุประสงค์ ทั้งนี้ด้วยความยินยอมของสมาชิก 7. ส่งเสริมคุณภาพของสินค้าที่ผลิตหรือจ�ำหน่าย โดยผู้ประกอบวิสาหกิจที่เป็นสมาชิกให้เข้ามาตรฐาน ตลอดจนวิจยั และปรับปรุงวิธกี ารผลิตและการค้าให้ได้ ผลดียิ่งขึ้น 8. ร่ ว มมื อ กั บ รั ฐ บาลในการส่ ง เสริ ม การค้ า อุตสาหกรรม การเงินหรือธุรกิจอืน่ ใดในทางเศรษฐกิจ อันอยู่ในวัตถุประสงค์ 9. ส่งเสริมการผลิต เพือ่ ให้สนิ ค้ามีปริมาณเพียงพอ แก่ความต้องการของตลาดทั้งภายในและภายนอก ประเทศ

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 14

12/9/2562 BE 9:30 AM


การสมัครสมาชิก สมาชิกของสมาคมฯ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สมาชิกสามัญนิติบุคคล ได้แก่ บุคคลธรรมดาหรือ นิตบิ คุ คลทีป่ ระกอบวิสาหกิจประเภทเกีย่ วกับหรือเกีย่ วเนือ่ ง กับการบรรจุภัณฑ์ ซึ่งได้จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 2. สมาชิกวารสาร ได้แก่ บุคคลธรรมดาที่สนใจวารสาร ด้านการบรรจุภัณฑ์ของสมาคมฯ

สิทธิพิเศษของสมาชิก 1. ได้รับค�ำปรึกษาและความช่วยเหลือด้านวิชาการบรรจุ ภัณฑ์ 2. เข้ารับอบรมและรับทุนไปศึกษา หรือดูงานต่างประเทศ 3. เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ ร่วมออกงานแสดงสินค้า หรือรับบริการอื่นๆ จากทางสมาคมฯ โดยเสียค่าใช้จ่ายใน อัตราพิเศษ 4. เสนอข้ อ คิ ด เห็ น ในการรั ก ษาผลประโยชน์ เ กี่ ย วกั บ มาตรฐานรายการและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 5. รับข่าวสารด้านบรรจุภัณฑ์จากในประเทศและต่าง ประเทศที่ส่งผ่านทางสมาคมฯ 6. สมาชิกสามัญมีสิทธิ์ออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุม ใหญ่และได้รับเลือกเป็นคณะกรรมการการบริหารของทาง สมาคมฯ

กิจกรรม 1. จัดฝึกอบรม ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษา บรรยายและสัมมนา ทางวิชาการด้านการบรรจุภัณฑ์ 2. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ โดย จัดพิมพ์ Thai Packaging Newsletter และ Packaging Directory Thailand และจัดตั้งเว็บไซต์ thaipack.or.th 3. ร่วมประชุมและเป็นกรรมการร่วมกับทั้งภาครัฐและ เอกชนเกี่ยวกับการบรรจุภัณฑ์ 4. จัดงานแสดงสินค้า Pack Print International (PPI) 5. ร่วมเป็นกรรมการในการก�ำหนดมาตรฐานที่เกี่ยวกับ การบรรจุภัณฑ์ 6. ร่ ว มกั บ กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม จั ด ประกวด บรรจุภัณฑ์ไทย (Thai Star) เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อส่งเสริม การเข้าร่วมประกวด Asia Star และ World Star ต่อไป 7. ติ ด ต่ อ และร่ ว มประชุ ม กั บ สมาคมบรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ น ต่างประเทศ 8. ส่งสมาชิกเข้าร่วมสัมมนา ฝึกอบรม และจัดดูงานใน ต่างประเทศ

สถานที่ติดต่อ สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย อาคารส�ำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเก่า) ชัน้ 2 86/6 ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2712-1995 โทรสาร 0-2713-6164 E-mail: Thaipack@thaipack.or.th Website: www.thaipack.or.th

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 15

15

12/9/2562 BE 9:30 AM


THE THAI PACKAGING ASSOCIATION

T

he development of the format of Thai industrial products is the basic policy of the Department of Industrial Promotion of the Ministry of Industry. This policy has been given primary importance since the setting of the Department of Industrial Promotion. In line with this policy, The Center for Designing of industrial products was set up in 1964. Though packaging is part of the Center’s work, the center gives as much interest to as the form of the product themselves. This marks the beginning of the government’s effort in selecting personnel who received technological training in this field to join the design team of the Center. Seminars and exhibitions as well as dissemination of technical information for Thai industry circle were organized. With the support from the Department of Industrial Promotion and the cooperation from businessmen and Thai industrialists, together they jointly established “The Thai Association of Packagers” and in English it is called “The Thai Packaging Association” (TPA). The Thai Packaging Association received its license from by the Ministry of Commerce on 26 December 1969 and from 1977 the Association has changed its Thai name to become what is called at present. In 1978, the Association became member of the Asian Packaging Federation.

16

The Association’s Policy 1. To promote all related businesses or businesses related to packaging 2. To support and assist members in solving problems/ constraints including fostering agreement with outside partners for a joint benefit in meeting the objective of packaging business, also to monitor and follow with the movement of internal and external marketing that is that is related to the product that their businessmen are engaged. This will give benefit to trade, finance, economy or the national security of the country. 3. To promote and disseminate technical information related to all types of packaging. 4. To promote and support the educational and technical development institutions related to all types of packing. 5. To conduct research work related to all types of businesses which are in line with the Association’s objective. 6. To request for statistics, document or information from members related to the implementation of their businesses to be line with the Association’s objective by obtaining their approvals. 7. To promote the quality of the products manufactured or distributed for their members to meet standard and support research work and find ways to improve their products for yielding Better trade result. 8. To cooperate with the government in promoting trade, industry, finance or other business economy that is in line with the objectives. 9. To promote production to ensure there is sufficient quantity to meet the demand of both internal and external markets.

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 16

12/9/2562 BE 9:30 AM


Membership The members of the Association are divided into 2 groups: 1. Ordinary Memberships are those individuals or business partnerships that are related to all types of packaging and have legal registration according to the law. 2. Newsletter Memberships are those who are interested in reading the newsletter of the Association.

7. Make contacts and attend meetings with other packaging associations overseas. 8. Send members to attend seminars, trainings and field visit overseas.

Membership Privileges 1. Have access to counseling and support in technical aspects of packaging. 2. Receive training and scholarship or field trip abroad. 3. Participate in academic activities, exhibitions or receive other services from the Association by paying special fees. 4. Give advice on maintaining interests in matters relevant to standard lists and ideas related to packaging. 5. Receiving news related to packaging from local and international sources through the Association. 6. Ordinary Member has voting right in the general meeting and the right to be selected as member the Association’s Executive Committee.

Activities 1. Organize training, give advices, provide lectures, organize technical seminars in packaging. 2. Disseminate information and news relating to packaging industry by publishing “The Thai Packaging Newsletter” and the “Packaging Directory Thailand” as well as setting up the “thaipack.or.th” website. 3. Participate in meeting and/or become joint member of both the governmental and private institutions in packaging. 4. Organize Packaging exhibition such as Pack Print International (PPI) 5. Participate as a Committee Member in setting standard related to packaging. 6. Join with the department of Industrial Promotion in organizing the annual Thai Star Packing Contest in order the further promote the participation in the “Asia Star” and “World Star” awards contest.

Contact The Thai Packaging Association MIDI Building 86/6 Soi Trimit, Rama IV Road, Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2712-1995 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th Website : www.thaipack.or.th THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 17

17

12/9/2562 BE 9:30 AM


นายกสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย (อดีต-ปจจ�บัน)

ศาสตราจารย์ชิน ทิวารี

มีนาคม 2513-มีนาคม 2517

Professor Chin Thivaree March 1970-March 1974

นาวาอากาศโททินกร พันธ์กระวี

คุณประมวณ นิติวัฒนะ

คุณเอนก ว�ทยะสิร�นันท์

Wing Commander Thinnakorn Bhunkravee

Mr.Pramuan Nittiwatana

Mr.Anek Vidhayasirinun

มีนาคม 2517-มิถุนายน 2518

March 1974-June 1975

June 1975-March 1976

มีนาคม 2519-มีนาคม 2523 (2 สมัย) March 1976-March 1980 (2 Terms)

คุณอวยชัย วีรวรรณ

คุณเอนก ว�ทยะสิร�นันท์

คุณประทีป เลี่ยวไพรัตน์

Mr.Uoychai Verawan

Mr.Anek Vidhayasirinun

Mr.Prateep Leopairut

มีนาคม 2523-มีนาคม 2527

March 1980-March 1984

18

มิถุนายน 2518-มีนาคม 2519

มีนาคม 2527-มีนาคม 2533 (2 สมัย) March 1984–March 1990 (2 Terms)

มีนาคม 2533-มีนาคม 2535

March 1990-March 1992

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 18

12/9/2562 BE 9:30 AM


President of The Thai Packaging Association (From Past to Present)

คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ

คุณว�เทียน นิลด�า

คุณเอนก ว�ทยะสิร�นันท์

คุณเกษม แย้มวาทีทอง

Mr.Manit Kamolsuwan

Mr.Vitien Nildum

Mr.Anek Vidhayasirinun

Mr.Kashem Yaemvathithong

มีนาคม 2535-มีนาคม 2541 (3 สมัย) March 1992-March 1998 (3 Terms)

มีนาคม 2541-มีนาคม 2549 (4 สมัย) March 1998-March 2006 (4 Terms)

มีนาคม 2549-มีนาคม 2551

March 2006-March 2008 (2 Terms)

มีนาคม 2551-มีนาคม 2555 (2 สมัย) March 2008-March 2012 (2 Terms)

คุณไชยวุฒิ์ พ�่งทอง

คุณนภดล ไกรฤกษ์

คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ

Mr.Chaivudhi Pungthong

Mr.Noppadol Krairiksk

Mr.Manit Kamolsuwan

มีนาคม 2555-มีนาคม 2559 (2 สมัย) March 2012-March 2016 (2 Terms)

มีนาคม 2559-มีนาคม 2561

March 2016-March 2018

มีนาคม 2561-ปจจ�บัน

March 2018-Present

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 19

19

12/9/2562 BE 9:30 AM


TPA

activity

Strong Performance at

PACK PRINT INTERNATIONAL 2019 reflective of positive outlook for Asia’s packaging and print markets

Growing international profile; more than 19,000 visitors from 62 countries, with international visitors making up 30 percent Stellar line-up of 325 international exhibiting companies and brands from 30 countries and regions

20

B

reaking records and exceeding expectations yet again is the 7th edition of PACK PRINT INTERNATIONAL held at BITEC, Bangkok last month. Closing to resounding success, the biennially-staged International Packaging and Printing Exhibition for Asia welcomed over 19,000 packaging and printing trade visitors from 62 countries, representing a near 15 percent increase from 2017 and clocking in a high 30 percent of overseas visitorship. Top five visitor markets registered from abroad were India, Singapore, Malaysia, China, and Vietnam. Similar upward trend was seen on the exhibitor’s front, where an almost 10% increase in participation was recorded. This brought to the bustling show floor future ready innovations and solutions by 325 companies and brands from 30 countries, including some of the best local players as well as national pavilions from Germany, China, Thailand, Singapore and Taiwan. Proving its relevance and appeal as the region’s premier sourcing event for machine distributors, packaging and printing service providers, licensing manufacturers and finished goods producers, the exhibition also received growing interest from international visiting delegations from the Korea Packaging

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 20

12/9/2562 BE 9:30 AM


Association, Myanmar Paper & Pulp Association, Myanmar Printers and Publishers Association, several others from Japan, Philippines, Sri Lanka and Vietnam, as well as more than 40 local printing and packaging visiting groups from leading FMCG companies. Alongside these was an extended visitor profile that covered a wide range of industries and application areas, including print and packaging houses and converters, marketing, publishing and media sectors, vertical markets and those in the future technologies industry. Exhibition sales success: A proven business promotion platform A joint collaboration by The Thai Packaging Association, The Thai Printing Association and Messe Düsseldorf Asia since 2007, the success trajectory of PACK PRINT INTERNATIONAL as an exhibition for the industry, by the industry was hard to miss. Exemplifying this point this year were numerous firsttime product launches by global brands at the exhibition. First up was the worldwide launch of the offset press Speedmaster CX 75 by Heidelberg and Masterwork. A German-made machine for commercial, label and packaging printing packed with optimisations in the feeder, delivery and colour configuration, the multi-talent press was sold by day two of the exhibition along with all the machines that were on show at Heidelberg’s booth. Next was Canon’s Southeast Asia Premiere of its Océ Colorado 1650, a 64-inch production graphics printer

featuring two innovations in the form of a new flexible ink, and Océ FLXfinish technology. To which, three units were sold by the end of the first day of the exhibition, with many more potentials in the pipeline. In enhancing the capabilities of its print technology, HP opted to present its end-to-end web-to-print solutions at the exhibition. Some of these highlights included the debut of the HP Indigo 7000 sheet-fed digital offset colour press to the Thai market and the inaugural HP Digital Print Pavilion featuring real-life customer testimonials, case studies and the diverse applications of HP’s Indigo technology. For Japanese brand, OKI, they presented their newly launched label printers – the Pro1040 and Pro1050 – the world’s first, small single-cut label specialised printers. Other packaging and printing heavyweights on show included; Koenig & Bauer, Konica Minolta, Riso, Fujifilm, Ricoh, Bobst, KURZ, Zund, Fuji Xerox, SCG Packaging, Sansin, Selic Corp, PMC Label Materials, and more. This optimistic sentiment and economic confidence in the domestic and regional markets was also echoed by Mr.Gernot Ringling, Managing Director of Messe Düsseldorf Asia; “Sales and business promotion activities remain at the heart of a trade exhibition and we are delighted that many successful business dealings and collaborations were formed right on the spot at PACK PRINT INTERNATIONAL 2019. The energy and dynamism across all four show days coupled with the healthy increase in THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 21

21

12/9/2562 BE 9:30 AM


visitor numbers, particularly from those overseas, reinforces the exhibition’s draw as a focal point for suppliers and buyers to gain prospects and quality leads, as well as to make business connections and inroads into Thailand and the regional marketplace.”

Forward-looking exhibition and knowledgedriven programme Driven by the confluence of disruptive digital technologies and the evolving momentum of Thailand 4.0, the rich menu of exhibition highlights were pervaded by thematic zones such as the return of the successful One Stop Pack & Print Pavilion which served as a hub for trade professionals to reach out to member companies and packaging users and get free professional advice, a Labelling Zone that covered advanced end-use packaging applications to a wider spectrum of label printing, a Prototype showcase, and displays of product packaging designs by students of Toyota Art Camp University and winning entries of the AsiaStar 2019 Awards. As a knowledge-building platform for the packaging and printing sectors, more than 1,500 delegates attended over 50 industry-focused concurrent events spearheaded by 35 industry experts; these included: the ASEAN Printing and Packaging Conference held in conjunction with the ASEAN Printing Forum 2019, an Asian packaging seminar

22

on sustainable packaging for the circular economy by the Asian Packaging Federation, a Food & Beverage Packaging conference, the 2019 Asian Print Awards, a workshop on professional product photography by Photo Business Association, Thailand, as well as free-to-attend technical presentations by exhibitors. PACK PRINT INTERNATIONAL is modelled after the sectors’ leading trade fairs, drupa and interpack, by the Messe Düsseldorf Group in Germany. Validating its success, a host of companies have already signed up and confirmed their participation for PACK PRINT INTERNATIONAL 2021 which will be held from 22 to 25 September at BITEC, Bangkok. For more information, visit www.pack-print.de or follow our Facebook page ‘PackPrintInternational’.

Exhibitor Testimonials:

“Southeast Asia is one of our biggest markets specifically Thailand, this is why we chose to launch our premier machine, the Océ Colorado 1650 here in Bangkok at PACK PRINT INTERNATIONAL 2019. The show has been really well-attended and a lot of people have been at our booth. We have also signed on several new customers for the Océ Colorado 1650. Great success has been achieved so there is no reason for us not to be back in 2021.” Mr.Steve Ford Managing Director, Production Printing, Océ – Asia

.............................................................................................................................

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 22

12/9/2562 BE 9:30 AM


“This is one of the largest packaging and printing exhibitions in the region and has a very strong international following. We have been able to meet with quality customers from Philippines, Myanmar and the surrounding region – so it has served to be a good meeting point and participation for us.” Mr.T Masahiko OKI Data (Singapore) Pte. Ltd.

.............................................................................................................................

“Southeast Asia is a big and strong market and international companies need to be here. PACK PRINT INTERNATIONAL is the right international exhibition that can link us with many relevant customers in the region.” Ms.Chaweewan Poomtien General Manager, Huber Group

.............................................................................................................................

“This is our 5th time participating and we have seen the exhibition evolve over the years – which is why we made the decision to launch our sheetfed offset press Speedmaster CX 75 at the exhibition. All the machines at the booth have been sold which is a great success for us.” Mr.Jochen Bender Managing Director, Heidelberg Graphics (Thailand) Ltd.

It attracts a wide audience and that is why we have chosen to invest in the exhibition by bringing our latest innovations here.” Mr.Suparat Chotikultanachai Country Manager, HP Indigo and Paperwide Web Press Solutions, Thailand, HP Inc (Thailand) Ltd.

Visitor Testimonials:

“This is my first time to PACK PRINT INTERNATIONAL and I have visited drupa in Düsseldorf several times. I was looking for printing and post-press machines and found several suitable potentials. It has been a fruitful visit for me.” Mr.Tobias Maurer Chief Technology Officer, Lovely Print, Laos

.............................................................................................................................

“I have visited several times and the exhibition continues to offer high quality printing products and solutions with a good range of brand names including Fuji Xerox, HP, Ricoh.” Mr.Amporn Phengsauy General Manager, J Print Co. Ltd., Thailand

.............................................................................................................................

“PACK PRINT INTERNATIONAL is well known in the Thai market and one of the biggest one of its kind here.

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 23

23

12/9/2562 BE 9:31 AM


5-8-62 TECHNOLOGY MEDIA NO137 AD bio_G5-4


INTERVIEW

ว�ธิต อุตสาหจิต ไซเบอร์พร�้นท์

การปรับตัวทั้งการบร�หารจัดการ และการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ท�าให้อยู่คู่คนไทยยาวนาน หลายทศวรรษ

ธุ

รกิจการพิมพ์ในประเทศไทย ณ ปัจจุบันได้รับผลกระทบ จากความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยเป็นอย่างมาก เนื่อง ด้วยโลกมีการเปลี่ยนแปลง พัฒนาสิ่งใหม่ๆ อยู่ตลอด ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาอ�านวยความสะดวกให้กับมนุษย์ มีการคิดค้นนวัตกรรมต่าง ๆ จากเดิมที่นิยมอ่านหนังสือ เช่น หนังสือพิมพ์ หนังสือการ์ตูน ที่ผลิตมาจากกระดาษแต่ในปัจจุบัน สามารถอ่านได้จากสมาร์ทโฟน และสามารถหาสิ่งที่เราสนใจได้ จากโลกอินเทอร์เน็ต ท�าให้การอ่านหนังสือนัน้ ลดน้อยลง และเป็น ผลกระทบอย่างมากกับธุรกิจการพิมพ์ บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ากัด คือผู้บริการ ให้ค�าปรึกษา ด้ า นการผลิ ต สิ่ ง พิ ม พ์ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ตลอดจนสื่ อ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เพื่อการใช้ในกิจกรรมหลากหลายประเภท ด้วยวัสดุด้านการพิมพ์และเทคโนโลยีการพิมพ์ที่มีคุณภาพสูง ทั้ง ในระบบ Offset, Digital Offset, Inkjet ให้บริการทั้งประเภทงาน ก่อนพิมพ์และงานหลังพิมพ์อย่างครบวงจร ได้รับความไว้วางใจ จากองค์กรชั้นน�าตลอดจนลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 25

25

12/9/2562 BE 9:31 AM


ทางกองบรรณาธิการได้มีโอกาสเข้าพูดคุย กับ วิธิต อุตสาหจิต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ำกัด เกี่ยวกับการ บริหารจัดการกับการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย มีการปรับเปลี่ยนการบริหารงานอย่างไร และใช้ นวัตกรรมในการผลิตแบบใดที่ช่วยให้การผลิต ท�ำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ตอบโจทย์ ความต้องการของลูกค้า สามารถยืนหยัดเป็น โรงพิมพ์ขนาดใหญ่ชั้นน�ำของประเทศได้ วิธิต อุตสาหจิต เป็นบุตรชายคนโตของ บันลือ อุตสาหจิต ผู้ก่อตั้งส�ำนักพิมพ์บรรลือ สาส์น ส�ำนักพิมพ์ชนั้ น�ำทีข่ นึ้ แท่นเป็นเจ้าต�ำนาน โดยเฉพาะของวงการการ์ตูนไทย วิธิต จบการ ศึกษาจากวิทยาลัยพณิชยการพระนคร หลังจาก นัน้ เดินทางไปศึกษาต่อด้านภาพยนตร์ที่ London Film School ประเทศอังกฤษ ภายหลังส�ำเร็จ การศึกษาแล้วได้รับมอบหมายจากบิดาให้ช่วย บริหารกิจการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการผลิต ผลงานภาพยนตร์ การบริ ห ารโรงพิ ม พ์ แ ละ ส�ำนักพิมพ์ ตั้งแต่วัย 20 ต้น ๆ ปี พ.ศ. 2533 บันลือ ได้ขยายกิจการเพิ่ม โดยก่อตั้ง บริษัท ศรีสยามพริ้นท์แอนด์แพคก์ จ�ำกัด โดยมีวัตถุประสงค์คือให้บริการงานพิมพ์ คุณภาพกับลูกค้าทัว่ ไป ด้วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย ผสมผสานกับประสบการณ์ดา้ นงานพิมพ์ ท�ำให้ ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าอย่างท่วมท้น มี การเพิ่ ม ก� ำ ลั ง การผลิ ต และขยายกิ จ การทุ ก ปี เพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตของลู ก ค้ า ทั้ ง ในและ ต่างประเทศตลอดมา ในปัจจุบัน บริษัทฯ ได้ปรับปรุงโครงสร้าง องค์ ก รใหม่ แ ละจดทะเบี ย นในนาม บริ ษั ท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ำกัด รับพิมพ์งานหลาก หลายประเภท อาทิ Offset Printing, Digital Printing, Packaging, Flexible Printing, Large Format, Inkjet, Folding Carton เพื่อตอบสนอง ต่อความต้องการของลูกค้าได้อย่างครบถ้วน นอกจากการพั ฒ นาในด้ า นเครื่ อ งจั ก รและ เทคโนโลยี ไซเบอร์พริน้ ท์ยงั ให้ความส�ำคัญยิง่ กับ ระบบคุณภาพ โดยได้รับมาตรฐาน ISO 9001 และ ISO 14001 รางวัล Greener Printing รวม ไปถึงรางวัล Prime Minister Award 2018 ด้วย “การปรับตัวตามความต้องการของตลาด และผูบ้ ริโภคเป็นแนวทางการท�ำงานของไซเบอร์ พริน้ ท์โดยตลอดอยูแ่ ล้ว ในช่วงทีก่ ารอ่านเติบโต เราก็เป็นผู้น�ำด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ในรูปแบบ หนังสือนิตยสาร เมือ่ ธุรกิจ Direct Sales เฟือ่ งฟู 26

ผู้ประกอบการที่ท�ำเกี่ยวกับการพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็น รายเล็ก รายใหญ่ ให้ติดตามและน�ำเทคโนโลยีด้าน ต่าง ๆ มาใช้เพื่อตอบโจทย์ลูกค้า

ไซเบอร์พริ้นท์ก็มีบริการ Direct Mail เสริมให้ลูกค้า ต่อมาเมื่อประเทศไทย เข้าสูย่ คุ ทองของอีคอมเมิรซ์ ไซเบอร์พริน้ ท์กข็ ยายงานเข้าสูธ่ รุ กิจ Packaging ในหลายระบบ ไม่ว่าจะเป็น Flexible Digital หรือ Offset นอกจากนีร้ สนิยมและไลฟ์สไตล์ของผูบ้ ริโภครุน่ ใหม่ทตี่ อ้ งการสิง่ พิมพ์ ประเภท Personalize ไซเบอร์พริน้ ท์กส็ ามารถให้บริการได้เช่นเดียวกัน ป้าย Signate ต่าง ๆ เรียกได้วา่ ในจักรวาลของงานพิมพ์ ไซเบอร์พริน้ ท์เป็นแบรนด์ ทีพ่ ยายามจะรองรับความต้องการของลูกค้าให้ได้อย่างดีทสี่ ดุ ” วิธติ กล่าว ไซเบอร์พริ้นท์ใช้เครื่องพิมพ์ระบบ Offset คุณภาพสูง สามารถรองรับ งานพิมพ์ได้ในปริมาณมาก เหมาะกับการพิมพ์งานที่จ�ำนวนมาก และมี เครือ่ งหลังพิมพ์หลากหลายชนิด จึงท�ำให้ลกู ค้ามัน่ ใจได้วา่ สามารถผลิตงาน พิมพ์ได้ตรงตามความต้องการทั้งด้านคุณภาพและเวลา อาทิ เครื่องพิมพ์ ป้ อ นชนิ ด แผ่ น (Sheet-fed) สามารถรองรั บ การพิ ม พ์ ง านได้ ถึ ง 8 สี เครื่องพิมพ์ป้อนชนิดม้วน (Web Printing) หลากหลายขนาดคัตออฟ เครื่องพิมพ์หมึก UV ซึ่งสามารถพิมพ์บนพลาสติกได้ และเครื่องปะกล่อง และประกอบกล่อง (Folding Carton)

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 26

12/9/2562 BE 9:31 AM


ส�ำหรับการพิมพ์งานด้วยระบบ Digital Offset ซึ่งเป็น งานพิมพ์ที่ไม่ต้องใช้เพลทหรือแม่พิมพ์ สามารถผลิตงานพิมพ์ คุณภาพสูงระดับเดียวกับระบบ Offset เหมาะกับงานพิมพ์ จ�ำนวนน้อย ท�ำให้ขอ้ จ�ำกัดด้านปริมาณการพิมพ์ไม่มอี กี ต่อไป ช่วยให้นกั คิด นักพัฒนา สามารถต่อยอดไอเดียและสร้างสรรค์ งานพิมพ์ระดับพรีเมียมในจ�ำนวนที่ต้องการ ไซเบอร์พริ้นท์ยังมีความโดดเด่นในเรื่องของการพิมพ์ เทคโนโลยีป้องกันการปลอมแปลง อาทิ ไมโครเท็กซ์ บาร์โค้ด คิวอาร์โค้ด โมเสก หรือจะเป็น Label and Flexible Packaging ฉลากและบรรจุภัณฑ์ที่ยืดหยุ่นเพื่อตอบโจทย์ความต้องการ ของลูกค้า สามารถออกแบบและผลิตในรูปแบบที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นซองแบบตั้งได้ หรือถุงซิป สามารถเพิ่มคุณสมบัติ พิเศษเพื่อให้เหมาะกับการใช้งานได้อีกด้วย เช่น อุณหภูมิใน การเก็บรักษาความทนต่อกรดหรือด่าง อีกทั้งยังสามารถพิมพ์ ได้สวยงาม ซึ่งช่วยเพิ่มสีสันให้กับสินค้าได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้นยังมีบริการการผลิต Folding Carton กล่อง กระดาษบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัยสามารถออกแบบได้ตรงตาม ความต้องการ ไม่วา่ จะเป็น Large Format งานพิมพ์ขนาดใหญ่ คุณภาพสูง ที่ใช้ได้กับในอาคารและนอกอาคาร หรือจะเป็น บริการออกแบบ Creative & Design ซึ่งทางไซเบอร์พริ้นท์ก็มี บริการนี้เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้ลูกค้า วิธิต กล่าวเสริมเรื่องการผลิต Flexible Packaging ว่า ไซเบอร์พริน้ ท์ยงั มีการส่งออกบรรจุภณ ั ฑ์อาหารไปยังต่างประเทศ ด้วย ทัง้ ทีเ่ ป็นบรรจุภณ ั ฑ์อาหารของคนและบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร สัตว์ ดังนัน้ กระบวนการต่าง ๆ จึงต้องด�ำเนินการอย่างเข้มงวด ตามมาตรฐานที่ได้รับความเชื่อถือ อาทิ ระบบมาตรฐาน BRC (British Retail Consortium) ต้องมีการตรวจประเมินโดย ละเอียด ซึง่ เป็นมาตรฐานทีไ่ ด้รบั การยอมรับจากกลุม่ ผูส้ ง่ มอบ

(Suppliers) และกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง โดยขอบเขตของข้อก�ำหนดนั้นครอบคลุมทั้งในด้านคุณภาพ สุขอนามัย และความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ เป็นหลักประกัน ให้ผู้ผลิตและผู้ส่งมอบปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ดีในการผลิต อาหาร (Good Hygiene Practices) นอกจากนั้นระบบจะมีการ ตรวจสอบติดตามอย่างต่อเนื่อง ด้วยการด�ำเนินการอย่าง เข้มงวดนี้ ลูกค้าจึงมั่นใจได้ว่าบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากบริษัทฯ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค 100% “ในส่วนของกระบวนการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์นนั้ ไซเบอร์พริน้ ท์ มีหอ้ งแล็บเอาไว้ใช้ในการทดสอบโปรดักส์ และวัตถุดบิ ทีจ่ ะต้อง ได้คุณภาพตามที่ต้องการ โดยมีผู้เชี่ยวชาญ Q.C. Lab คอย ทดสอบให้ ไ ด้ ม าตรฐานตามที่ ตั้ ง ไว้ หลั ง จากนั้ น เมื่ อ เข้ า สู ่ กระบวนการผลิต จะต้องผ่านการทดสอบคุณภาพก่อนทัง้ หมด เมื่อผ่านการทดสอบแล้วจะออกเป็นเอกสารข้อมูลผลิตภัณฑ์ Certificate of Analysis (COA) แนบไปให้กับสินค้าและส่งมอบ ให้กบั ลูกค้า ซึง่ จะเป็น Certify ในการรับประกันสินค้า เนือ่ งจาก ลู ก ค้ า จะได้ ท ราบว่ า ทุ ก ขั้ น ตอนของเรามี ก ารท� ำ งานอย่ า ง ละเอียด รวมทั้งพื้นที่ในการผลิตทั้งหมดนั้นต้องบอกว่าเป็น Clean Room เป็นห้องที่ไม่มีฝุ่นและแมลงเข้า เพราะฉะนั้นเรา จะมีมาตรการทีค่ รอบคลุมเรือ่ งมาตรฐานทุกด้าน พืน้ ทีจ่ ะต้อง สะอาด ต้องไม่มอี นั ตราย จากสิง่ แปลกปลอมต่าง ๆ ทีจ่ ะท�ำให้ เกิดการปนเปื้อน รวมทั้งภายในอาคารต้องมีความปลอดภัย และสวัสดิภาพ เรายังมีระบบดูแลสิ่งแวดล้อมด้วยการบ�ำบัด ของเสียก่อนที่จะปล่อยสู่ภายนอก” บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญในเรื่องการอนุรักษ์พลังงานและ การจัดการสิง่ แวดล้อม การป้องกันมลพิษ มีการตรวจวัด บันทึก ประเด็นปัญหาสิง่ แวดล้อมอยูเ่ ป็นประจ�ำ และทีส่ ำ� คัญมีการจัด ท�ำรายงานปริมาณสารมลพิษ และวิธกี ารบ�ำบัด อีกทัง้ ยังมีการ THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 27

27

12/9/2562 BE 9:31 AM


สนับสนุนผลิตภัณฑ์ประหยัดพลังงาน การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และงานบริการที่ใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ จึงมั่นใจได้ว่าภายในโรงงานจะไม่มี กลิน่ หรือสิง่ ทีจ่ ะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อม อย่างแน่นอน ตามที่ทราบกันดีว่า ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ก็อยู่ใน ภาวะต้องรับมือกับความเปลี่ยนแปลงเช่นเดียว กับธุรกิจอืน่ ๆ ไซเบอร์พริน้ ท์จงึ ต้องปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการปรับตัวให้ ตอบสนองความต้องการและวิถชี วี ติ ประจ�ำวันของ ผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป “เร็ว ๆ นี้ บริษัทฯ ก�ำลังเตรียมการที่จะให้ บริการล่าสุดกับลูกค้าทีต่ อ้ งการสัง่ ท�ำ Photo Book เฉพาะบุคคล โดยลูกค้าสามารถสัง่ ผ่านสมาร์ทโฟน ทาง Application หรือ Website ได้อย่างง่ายดาย มีขนั้ ตอนการด�ำเนินการเพียง 3-4 ขัน้ ตอน หลัง จากสั่งแล้วก็จะได้รับผลงานในเวลาเพียง 7 วัน ในส่ ว นของ Application เน้ น ขั้ น ตอนที่ เรียบง่าย แต่ถ้าเป็น Website นั้นลูกค้าสามารถ เลือกรายละเอียดและดีไซน์ได้มากกว่า เช่น สามารถ เปลี่ยนสีตัวหนังสือได้ตามต้องการ เพิ่มข้อความ สั้ น ๆ เพื่ อ เตือ นความจ�ำ หรือ ออกแบบเป็น สติ๊กเกอร์ได้ ซึ่งรูปแบบบริการนี้เป็นที่นิยมมาก ในต่างประเทศ เช่น ประเทศมาเลเซีย มีการสั่งท�ำ Photo Book อยู่ที่ประมาณ 90% โครงการนี้จะ เริ่มให้บริการได้ประมาณต้นปี 2563 อีกหนึ่งบริการเพื่อลูกค้าคือ Web to Print เป็นการสัง่ งานพิมพ์ผา่ น E-Commerce ครอบคลุม ทั้งลูกค้ากลุ่ม B2B และ B2C ลูกค้าสามารถเข้า Website ได้ตลอด 24 ชั่วโมง สั่งและโอนไฟล์งาน มาออนไลน์ได้เลย เมื่อเทคโนโลยี 5G การส่งไฟล์ ขนาดใหญ่ จ ะไม่ เ ป็ น ปั ญ หาอี ก ต่ อ ไป รู ป แบบ บริการนีไ้ ม่จำ� กัดจ�ำนวนซึง่ จะอ�ำนวยความสะดวก ให้ลูกค้าได้อย่างมาก สามารถสั่งเล่มเดียวก็ได้” วิธิต กล่าวเพิ่มเติม สุ ด ท้ า ย วิ ธิ ต ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร ไซเบอร์พริ้นท์ ได้ให้แนวคิดและหลักการในการ ปรับตัวว่า “อยากจะแนะน�ำกับผูป้ ระกอบการทีท่ ำ� เกี่ยวกับการพิมพ์ไม่ว่าจะเป็นรายเล็ก รายใหญ่ ให้ติดตามและน�ำเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ มาใช้เพื่อ ตอบโจทย์ลกู ค้า ไม่วา่ จะมีการเปลีย่ นแปลงแค่ไหน ถ้าเราเข้าใจเรื่อง Customer Centric ได้ดีพอและ น�ำเทคโนโลยีหรือองค์ความรู้ที่เกิดใหม่มาเพื่อ ตอบสนองความต้องการลูกค้าให้ดีขึ้น เช่น Big Data หรือ การใช้ AI โดยเฉพาะเมือ่ เทคโนโลยี 5G มาถึง เมื่อความเร็วอินเทอร์เน็ตไม่มีปัญหาเรื่อง 28

ไซเบอร์พริน้ ท์ ยังมีการส่งออกบรรจุภณ ั ฑ์อาหารไป ยังต่างประเทศด้วย กระบวนการต่าง ๆ จึงต้อง ด� ำ เนิ น การอย่ า งเข้ ม งวดตามมาตรฐานที่ ไ ด้ รั บ ความเชื่อถือ

ความหน่วงอีกต่อไป การให้บริการลูกค้าด้านออนไลน์จะขยายขอบเขต มากกว่าเดิมมาก ไซเบอร์พริน้ ท์จงึ พยายามปรับเปลีย่ นและออกแบบบริการ เพื่อให้ลูกค้าได้รับความสะดวกทั้ง Online และ On Ground” ภูมิทัศน์ทางธุรกิจจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรก็ตาม ถ้าเราปรับตัวและ ส่งมอบบริการทีด่ ใี ห้กบั ลูกค้าได้ สอดคล้องกับเทคโนโลยีและความคาดหวัง อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ยงั สามารถเติบโตได้แม้จะเป็นรูปแบบ ที่แตกต่างไปจากยุคเดิม

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 28

12/9/2562 BE 9:31 AM


5E2 /:)*<! =D!?L5 G!F5 :2

2): ) :+"++ @(9 čH *

+"+5"

· 50 · #ā

Ċ/* /:)#+:+ !: = :

"+<19 H D"5+č&+<M! č +@ċ# ; 9

22-11-62 TECHNOLOGY MEDIA No138 AD Cyber_G5-3.indd 1

11/22/19 4:36 PM



Rigid box

Corrugated box

Folding carton

Blister pack

Synthetic boxes

Liquid packs (Aseptic packaging)

À¢¾ ¦ 6HULH ¶Æ ³¤² ¶ ¹ ¡³ n¨££® ˳¬ m³£¢³ ¨m³

900 ¾ ¤¸Æ® ²Ā¨À¦

AD_BJC_hp_G5-4.indd AD_BJC_hp_G5-4 1 TECHNOLOGY MEDIA NO#136 7-8-62

7/8/62 15:40




FOCUS

สถานการณ์ บรรจุภัณฑ์ ไทย ในปจจุบัน และแนวโนม ในอนาคต

มาคมการบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ทย สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย และ เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย ได้จดั งาน “แพ็ ค พริ้ น ท์ อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล” งานแสดงเทคโนโลยี นวัตกรรมด้านการ บรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ละการพิ ม พ์ เมื่ อ เดื อ น กั น ยายนที่ ผ ่ า นมา มี บ ริ ษั ท ประเทศ ชัน้ น�าทัว่ โลกได้เข้าร่วมแสดงเทคโนโลยี ต่าง ๆ มากมาย ซึง่ ได้รบั กระแสตอบรับ เป็นอย่างดียิ่งจากทั้งผู้เข้าชมงานและ ผู้เข้าร่วมจัดแสดงสินค้า

เกวลิน หวังพิชญสุข

34

ภาพโดย Lisa Larsen จาก Pixabay

ภายในงานนี้ยังได้มีการจัดงานสัมมนาในหลากหลายหัวข้อ โดยได้รับ เกียรติจากวิทยากรจากทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ซึง่ การสัมมนาในหัวข้อ “Beyond The Packaging” นัน้ ได้รบั เกียรติจากวิทยากรหลายท่านมาร่วม บรรยายให้ความรูเ้ กีย่ วกับเรือ่ ง Packaging ประกอบด้วย เกวลิน หวังพิชญ สุข ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จ�ากัด นลินี ทองแท้ ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ วรรณา สุทัศน์ ณ อยุธยา Chief Packaging Specialist บริ ษั ท เอสซี จี แพคเกจจิ้ ง จ� า กั ด (มหาชน) รศ. ดร.ภาณุวฒ ั น์ สรรพกุล อาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยวัตถุประสงค์ ในการจัดสัมมนาในครัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการมอบความรูใ้ ห้กบั ผูป้ ระกอบการทีส่ นใจ ในเรื่อง Packaging และไม่ใช่เพียงผู้ประกอบการเพียงอย่างเดียวที่มีความ สนใจเกีย่ วกับเรือ่ ง Packaging ยังรวมไปถึงตัวแทนจากหน่วยงานภาคเอกชน ภาครัฐ และประชาชนทัว่ ไทย ก็ยงั เข้ารับฟังการบรรยายในครัง้ นี้ เพือ่ เป็นการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เกวลิน หวังพิชญสุข ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย จ�ากัด ได้บรรยายเรื่อง แนวโน้มภาพรวมอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์อาหาร และเครื่องดื่ม โดยกล่าวว่า ในตลาดบรรจุภัณฑ์โลกปัจจุบัน บรรจุภัณฑ์ พลาสติกยังถูกใช้เป็นอันดับต้น ๆ มีการใช้ในบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร 51% เครือ่ ง ดืม่ 13% จากความต้องการหลักจากผูผ้ ลิตในอุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ ง ดื่ม ตลาดบรรจุภัณฑ์ในไทยมีการผลิตราว 6 ล้านตันต่อปี ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ ในไทย คาดการณ์วา่ มีมลู ค่ากว่า 1.5 แสนล้านบาท โดยบรรจุภณ ั ฑ์พลาสติก ยังเป็นผู้น�าตลาด ด้วยสัดส่วน 37% ของมูลค่าตลาดทั้งหมด การทีบ่ รรจุภณ ั ฑ์พลาสติกมีมลู ค่าในตลาดสูงทีส่ ดุ นัน้ เพราะสินค้ามีความ หลากหลาย ทั้งระดับราคาและประโยชน์ในการน�าไปใช้ ซึ่งอัตราการเติบโต ของมูลค่าตลาดบรรจุภัณฑ์ไทยในปี 2561 กระดาษเพิ่มขึ้น 6.4% แก้วเพิ่ม ขึ้น 6.2% โลหะคงที่ ไม่มีการเพิ่มขึ้นและลดลง ส่วนพลาสติกลดลง 0.1% เพราะมีการรณรงค์ลดการใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติก ซึ่งเหตุผลนี้น่าจะมีส่วน ผลักดันให้ตลาดบรรจุภัณฑ์กระดาษและแก้วเติบโตขึ้น ในขณะเดียวกัน ก็เป็นความท้าทายส�าหรับผูป้ ระกอบการบรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกในการท�าธุรกิจ ในระยะต่อไป

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 34

12/9/2562 BE 9:31 AM


ภาพโดย Squirrel_photos จาก Pixabay

“อุ ต สาหกรรมอาหารและเครื่ อ งดื่ ม เป็ น อุ ต สาหกรรม ปลายทางที่มีการใช้บรรจุภัณฑ์มากที่สุด 56% ของการใช้งาน บรรจุภัณฑ์ในไทยถูกใช้ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม และการเติบโตของอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มเป็นการ หนุนตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ ความต้องการบรรจุภณ ั ฑ์ในอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่มมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะกับอาหาร กลุม่ Ready to Eat ดังนัน้ เทรนด์บรรจุภณ ั ฑ์อาหารและเครือ่ งดืม่ ทีต่ อบโจทย์ความต้องการผูบ้ ริโภคในอนาคตจะเป็นบรรจุภณ ั ฑ์ อัจฉริยะทีจ่ ะสามารถยืดเวลาในการเก็บรักษา มีความปลอดภัย และเป็นบรรจุภณ ั ฑ์ทสี่ ามารถพกพาสะดวกไม่วา่ จะไปท่องเทีย่ ว ท�ำงาน หรือในสถานที่ต่าง ๆ ก็สะดวกต่อการใช้ ส�ำคัญที่สุด เป็นเรือ่ งของบรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ไม่เป็นมลพิษ กับสิ่งแวดล้อมทั้งตอนใช้และหลังใช้” การใช้บรรจุภัณฑ์ นอกจากเรื่องต้นทุนแล้ว สิ่งที่ต้องค�ำนึง ถึงนั้นก็คือ ผลต่อสิ่งแวดล้อม เป็นประเด็นที่ต้องใส่ใจไม่ควร มองข้าม การผลิตกระดาษ 1 ตันใช้ต้นไม้ 17 ต้นและใช้กระแส ไฟฟ้า 1,000 กิโลวัตต์ตอ่ ชัว่ โมง น�ำ้ มันเตา 300 ลิตร น�ำ้ สะอาด 100 ตัน คลอรีน 5 กิโลกรัม ซึ่งเป็นข้อมูลจากกรมควบคุม มลพิษ ส่วนหลอดพลาสติกเฉลี่ยในการใช้ 10-15 นาทีต่อครั้ง จากนั้ น ก็ ทิ้ ง ระยะเวลาในการย่ อ ยสลายตามธรรมชาติ เศษกระดาษ 2-5 เดือน ถ้วยกระดาษเคลือบ 5 ปี กระป๋อง อะลูมิเนียม 50-100 ปี ขวด ถุง หลอด ฝา พลาสติก 450 ปี และขวดแก้วไม่สามารถย่อยสลายได้แต่สามารถใช้ซ�้ำได้ 6-30 ครั้ง ผู้คนทั่วโลกมีความกังวลในเรื่องของพลาสติก 60% ของ 192 ประเทศทัว่ โลก จึงออกกฎหมายควบคุมพลาสติก รูปแบบ กฎหมายควบคุมพลาสติก 27 ประเทศมีการออกนโยบายห้าม ใช้พลาสติกใช้แล้วทิง้ เช่น ประเทศสวีเดน 30 ประเทศมีการคิด ค่าใช้จ่ายกับผู้บริโภคที่ต้องการใช้ถุงพลาสติก เช่น ประเทศ อังกฤษ ประเทศไอร์แลนด์ และอีก 27 ประเทศมีการเรียกเก็บ

ภาษีจากการผลิตถุงพลาสติกโดยเฉพาะ เช่น ประเทศเดนมาร์ก ประเทศไทยได้ตั้งเป้าหมายว่าในปี 2562 จะลดและเลิกใช้ พลาสติกบางประเภท เช่น พลาสติกหุ้มฝาขวดน�ำ้ ด้วยการใช้ วัสดุทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และในปี 2565 ตั้ง เป้าหมายไว้ว่าเลิกใช้ถุงพลาสติกหูหิ้ว กล่องโฟมบรรจุอาหาร แก้วพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง และหลอดพลาสติก ผลลัพธ์ทจี่ ะเกิดขึน้ คาดจะสามารถลดปริมาณขยะพลาสติก ได้ปริมาณ 0.78 ล้านตันต่อปี ประหยัดงบประมาณในการ จัดการขยะมูลฝอยได้ประมาณ 3,900 ล้านบาทต่อปี นโยบาย เรื่องพลาสติกของประเทศไทย ในปี 2562 สามารถน�ำค่าซื้อ บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกชีวภาพ น�ำมาหักรายจ่ายได้ 1.25 เท่าของ รายจ่าย (ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2562-31 ธันวาคม 2564) และ เลิกใช้พลาสติกหุม้ ขวดน�ำ้ ดืม่ ไม่ใช่ไมโครบีดส์ ทีเ่ ป็นภัยกับสัตว์ ทะเลเป็นอย่างมาก และในปี 2565 เลิกใช้ถุงพลาสติกหูหิ้ว กล่องโฟมบรรจุอาหาร แก้วน�้ำพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง หลอดพลาสติก อย่างถาวร ในปี 2570 น�ำขยะผลิตภัณฑ์และ บรรจุภัณฑ์พลาสติก กลับมาใช้ประโยชน์ทั้ง 100% ทั้งนี้มี 43 ภาคี ร่วมมืองดให้ถุงพลาสติกหูหิ้ว ก่อนก�ำหนดในปี 2565 “เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแบบนี้ผู้ประกอบการก็ต้องปรับตัว ในธุรกิจอาหารและเครือ่ งดืม่ ผูป้ ระกอบการยักษ์ใหญ่ในวงการ เครื่องดื่มอย่าง Pepsi และ Coca-Cola ได้หันมาใช้กระป๋อง อะลูมเิ นียมแทนขวดพลาสติก หรือหากใช้บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติก ก็จะปรับไปใช้กลุ่มพลาสติกที่ย่อยสลายได้ง่ายแทน รวมถึง ยกเลิกการใช้บรรจุภัณฑ์ประเภท Single-Use Plastic ไปเป็น การใช้บรรจุภัณฑ์ที่สามารถรีไซเคิลได้ 100% และบรรจุภัณฑ์ ที่ผลิตจากพลาสติกชีวภาพ หรือบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติที่ สามารถรับประทานได้ เพือ่ ไม่เป็นขยะบรรจุภณ ั ฑ์ให้เดือดร้อน คนรุ่นต่อ ๆ ไป”

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 35

35

12/9/2562 BE 9:31 AM


สุดท้าย การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ควรคิดให้รอบคอบตั้งแต่การปกป้อง ผลิตภัณฑ์ การใช้ของผู้บริโภคทั้งใน เรื่องของการใช้ซ�้า การทิ้ง ให้ค�านึงถึง เรื่องความคุ้มค่าในมิติของ Circular Economy มีวิธีในการบอกผู้บริโภคว่า ขั้นตอนในการทิ้งควรท�าอย่างไร หรือ ควรแยกแบบไหน ส�าหรับผูบ้ ริโภคอาจ จะเริม่ จากการส�ารวจการใช้และการทิง้ ของตนเองว่าลดอะไรลงได้บ้าง มีการ ปรับเปลี่ยนและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ ไม่ท�าลายสิ่งแวดล้อม เพื่อเกิดความ ยั่งยืนของโลกเรา นลินี ทองแท้ ผู้เชี่ยวชาญด้านการ ออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ บรรยายเรื่ อ ง เทรนด์ของบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร มุมมอง ของผู้บริโภคและผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ กล่ า วว่ า เมื่ อ โลกมี ก ารเชื่ อ มต่ อ อินเทอร์เน็ต กระแสความเป็นไปของ ความนิยมต่าง ๆ มักจะถูกกระตุ้นง่าย และรวดเร็ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลง แนวโน้มผู้บริโภคที่ควรจับตาดูในยุคนี้ ต่อไปข้างหน้า และสิง่ ทีผ่ บู้ ริโภคต้องการ มีดังนี้

นลินี ทองแท

1.

Healthy & Clean สุขภาพ พร้ อ มคลี น อาหารสุ ข ภาพ ยังเป็นทีน่ ยิ ม แต่ในยุคปัจจุบนั นัน้ ค�าว่า อาหารที่ผลิตจากธรรมชาติแท้ ๆ คง ไม่ตอบโจทย์และเติมเต็มความต้องการ ของผู้บริโภคอีกต่อไป เพราะผู้บริโภค ยุคใหม่ฉลาดเลือก ฉลาดซือ้ มากกว่านัน้

36

เทรนด์ความนิยมสินค้าที่ติดฉลากเป็น Clean Label จึงมาแรงเพราะต้อง ระบุถึงส่วนผสมในผลิตภัณฑ์นั้นอย่างครบถ้วนว่า ปราศจากสารสังเคราะห์ สารให้ความหวานทดแทนน�้าตาล สีและกลิ่นสังเคราะห์ รวมไปถึงผ่าน กระบวนการแปรรูปน้อย ใช้ส่วนผสมเรียบง่ายจากธรรมชาติ Smart Packaging บรรจุภัณฑ์ใส่สมอง ความต้องการที่จะรับรู้ เรื่องผลิตภัณฑ์ในเชิงลึก และบรรจุภัณฑ์สามารถตอบสนองและให้ ข้อมูลได้เป็นอย่างดี Certified & Safe เน้นการรับรองคุณภาพและความปลอดภัย ผู้คนต้องการความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์ รับทราบประโยชน์ ที่จะได้รับบรรจุภัณฑ์ จะท�าหน้าที่บอกข้อมูลไปพร้อม ๆ กับสิ่งแสดงความ รับผิดชอบที่ผู้ผลิตมอบให้ผู้บริโภคเป็นมูลค่าเพิ่ม Still Green & Eco เพื่อสภาพแวดล้อมและโลกสีเขียว แนวโน้ม สิง่ แวดล้อมหรือรักษ์โลก มีมาตลอดทุกช่วงเวลาและไม่เคยตกเทรนด์ เพราะสิ่งแวดล้อมยังถูกท�าลายอยู่สม�่าเสมอ มีผู้บริโภคสมัยใหม่ที่จะตัดสิน ใจเลือกอาหารเพือ่ รับประทานทัง้ ที ต้องดูไปถึงกระบวนการผลิตตัง้ แต่ฟาร์ม จนถึงร้านขายของช�า โดยตลอดกระบวนการผลิตต้องมีการบริหารจัดการให้ เกิดประสิทธิภาพ สร้างมลพิษและของเสียให้น้อยที่สุด บรรจุภัณฑ์ต้องการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้ตอบโจทย์ของผู้บริโภค และให้เข้ากับยุคสมัย ดังนัน้ การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์มสี ว่ นส�าคัญเป็นอย่าง มากในการดึงดูดผู้บริโภคให้สนใจในผลิตภัณฑ์ และยังรวมไปถึงการสร้าง ความเอกลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ตนเอง โดยมีทั้งหมด 6 สไตล์ ดังนี้ Luxury หรูหรา ฟุ่มเฟือย จะเป็นการเน้นแบรนด์ โดยการออกแบบ ให้ดูหรูหราเพื่อเป็นการเน้นภาพลักษณ์ของผู้ซื้อ Eco, Green & Sustainable การออกแบบรักษ์โลก เป็นการลดการ ใช้วัสดุที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมและโลกของเรา Chic & Simple เก เท่ เรียบง่าย และมีทรงเป็นเรขาคณิต เป็น การออกแบบส�าหรับคนที่ชอบความเก และมีความเรียบง่ายในตัว บรรจุภัณฑ์ และจะต้องใช้ผู้ออกแบบที่มีความช�านาญเพราะตัวบรรจุภัณฑ์ นั้นจะต้องออกมาแปลก เก แต่ยังคงซึ่งความสวยงาม Retro, Vintage, Classic & Nostalgic ย้อนยุค โหยหาอดีต การ ออกแบบลักษณะนี้มีให้เห็นได้อย่างหลากหลายรูปแบบจากยุคอดีต การออกแบบย้อนยุคนั้นถือเป็นที่นิยมอย่างมากส�าหรับผู้บริโภคที่มีความ หลงใหลในสิ่งย้อนยุค แต่ต้องดูความเหมาะสมของผลิตภัณฑ์ด้วยว่ามีความ น่าหลงใหลแบบย้อนยุคหรือไม่ ถ้าหากมีความเข้ากันนั้นก็จะเพิ่มความ สวยงามและแปลกตาส�าหรับผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี Native & Wisdom เรื่องราวภูมิปัญญา อัตลักษณ์ท้องถิ่น มีการ เขียนเรื่องราวเพื่อเป็นการเล่าถึงตัวบรรจุภัณฑ์ เป็นการเพิ่มคุณค่า ให้กับตัวผลิตภัณฑ์ เพิ่มความสนใจให้กับผู้บริโภคได้อีกแบบหนึ่ง เรื่องของ ภูมิปัญญาที่สะท้อนออกมา Typical & Traditional เป็นเรื่องของมาตรฐานในการออกแบบ ธรรมดาทั่วไป ซึ่งเป็นสไตล์การออกแบบที่เป็นมาตรฐานดั้งเดิม อยู่แล้ว ส่ ว นเทรนด์ ข องการออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ นั้ น อยากให้ ค� า นึ ง ถึ ง การ ออกแบบให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายของตัวผลิตภัณฑ์ เทรนด์การออกแบบ ตัวบรรจุภัณฑ์ มีดังนี้

2. 3. 4.

1. 2. 3. 4. 5. 6.

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 36

12/9/2562 BE 9:31 AM


ความรู้สึกของความคุ้นเคย เป็นการ ปล่อยจินตนาการอย่างอิสระ สนุกสนาน และมีพลัง ท�ำให้อารมณ์ดีและยิ้มได้ Vintage ย้ อ นยุ ค ย้ อ นอดี ต สไตล์ ย ้ อ นยุ ค ได้ ก ลั บ มาเป็ น ทีน่ ยิ มอย่างจริงจังอีกครัง้ ความเก่าเป็น ที่โหยหาของผู้คนในยุคปัจจุบัน เพราะ ความย้อนยุคนั้นมีความน่าประทับใจ ให้เลือกใช้มากมายแล้วแต่ตัว Product Black & White แนวขาว-ด�ำ ส�ำหรับสีสันมากมายที่ใช้กันมา ตลอดอาจสร้างความน่าเบื่อจ�ำเจให้กับ บรรจุภัณฑ์ที่มีอยู่เต็มชั้น การใช้สีขาวด�ำคือค�ำตอบของบรรจุภัณฑ์ยุคนี้ Eco & Plastic Free รักษ์ โลก สิง่ แวดล้อม ลดพลาสติก มีความเป็น Green ทั้งวัสดุรีไซเคิลหรือ การพิมพ์ที่ใช้สีน้อย ใช้พลาสติกน้อยลง ใช้กระดาษมากขึ้น Pixel พิกเซล หรือ 8 บิต เป็น ความนิยมของ Retro ที่เป็น ความประทับใจจากเกมในจอสมัยแรก เริม่ ทีแ่ สดงผลมาจากการรวมตัวของรูป สี่เหลี่ยมเล็ก ๆ มาเป็นภาพ Atypical รูปทรงทีไ่ ม่ธรรมดา รู ป ทรงแปลกตา จะช่ ว ย ดึงดูดความสนใจได้มากกว่าสี่เหลี่ยม หรือรูปทรงที่คนมักใช้กันอยู่มากมาย นลินี กล่าวสรุปว่า ทั้งหมดที่กล่าว มาสามารถน�ำมารวมกันได้หมด ไม่ว่า จะเป็นสไตล์การออกแบบ ความต้องการ ของผู ้ บ ริ โ ภค และผสมความเป็ น เอกลักษณ์ของแบรนด์ผู้ประกอบการ เข้ า ไป อยากจะให้ ตั ว บรรจุ ภั ณ ฑ์ นั้ น ออกมาหลากหลายรูปแบบ แต่อย่าลืม ค�ำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายว่าการที่จะน�ำ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ออกมานั้น ตรงกับ กลุ่มเป้าหมายเราหรือไม่ และต้องเป็น บรรจุภัณฑ์ที่สามารถปกป้องผลิตภัณฑ์ ให้ความสะดวกในเรื่องการขนส่ง และ ที่ส�ำคัญนอกจากบรรจุภัณฑ์จะต้องมี รูปลักษณ์ที่ดึงดูดผู้บริโภคแล้ว ยังต้อง ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น เสมื อ นพนั ก งานขายที่ ไร้เสียงได้อีกด้วย

8. 9.

10. 1.

Minimal น้อย ๆ เรียบ ๆ แต่ครบ เนือ่ งจากในปัจจุบนั ความ Minimal เป็นที่นิยมกับคนสมัยใหม่เป็นอย่างมากไม่ใช่เพียงแต่ตัวบรรจุภัณฑ์ แต่รวมไปถึง ที่พักอาศัย ของใช้ต่าง ๆ รอบตัว แต่การออกแบบลักษณะนี้ถึง จะมีความน้อยของตัวหนังสือแต่เนื้อหาข้อมูลนั้นต้องครบ สวยงาม ในความ น้อยแต่สื่อสารกระชับ ก็เพียงพอแล้ว Artist Work น�ำเสนอผลงานศิลปิน เป็นลักษณะของการน�ำผลงาน ของศิลปินมาใส่ในตัวบรรจุภัณฑ์ ผลงานของศิลปินนั้นมักจะเป็นที่ ชื่นชอบ บรรจุภัณฑ์จึงเป็นเสมือนผืนผ้าใบของศิลปิน ท�ำให้น่าสนใจ เพราะ เนื่องจากตัวบรรจุภัณฑ์นั้นจะมีความสวยงามแปลกตาและไม่น่าเบื่อ แต่ ในการท�ำลักษณะนี้จะต้องใช้ทุนค่อนข้างมากเพราะเป็นการใช้ภาพวาดของ ศิลปิน Gradients การไล่เฉดสีพื้น เป็นการใช้โทนสี ไล่โทนสีจากสีอ่อนไป เข้ม หรือจากสีหนึ่งไปอีกสีหนึ่ง จะช่วยให้เกิดความสด ใหม่ เกิดมิติ และความน่าสนใจ โดยเฉพาะเวลาอยูใ่ นโลกดิจทิ ลั จะท�ำให้ดมู สี สี นั น่าตืน่ เต้น มากขึ้น Flat Design การออกแบบที่มีลักษณะแบนเรียบกลับมามีเสน่ห์ใน ยุคนี้ โดยการใช้สพี นื้ สีเรียบๆ แสดงถึงความเรียบง่าย แต่ตอ้ งชัดเจน Pastel & Nude แนวสีอ่อนโยน เปลือยผิว ลักษณะนี้จะเป็นการใช้สี แทนค�ำสุภาพ แสดงถึงความนุ่มนวล มีผลต่อการมอง สื่ออารมณ์ถึง ความสุขและสงบ มีความเปลือยผิววัสดุแบบธรรมชาติ Big Words สาระล้วน เป็นการใช้ตวั อักษรแบบไม่ยดื เยือ้ ตรงประเด็น ได้เนือ้ หา มองเพียงเสีย้ ววินาที ก็จะสามารถท�ำให้รไู้ ด้ทนั ทีวา่ ด้านใน บรรจุภัณฑ์นั้นมีอะไร เน้นการบอกตรง ๆ แบบไม่อ้อมค้อม Hand Drawn & Doodles การใช้ลายเส้น เส้นขยุกขยิก หรือที่เรียก ว่า Freehand เป็นเส้นธรรมชาติที่มีอยู่ในตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด เป็น

2. 3. 4. 5. 6. 7.

11. 12.

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 37

37

12/9/2562 BE 9:31 AM


วรรณา สุทัศน ณ อยุธยา

วรรณา สุทัศน์ ณ อยุธยา Chief Packaging Specialist บริษัท เอสซีจี แพคเกจจิ้ง จ�ากัด (มหาชน) บรรยาย เรื่ อ ง เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ลดความ สู ญ เสี ย ของบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การ ส่งออก โดยกล่าวว่า บรรจุภัณฑ์เพื่อ การส่งออกนัน้ ครอบคลุมถึงตัวภาชนะ กล่ อ ง หี บ ห่ อ ลั ง พาเลท ตู ้ หรื อ สิ่ ง อื่ น ใดที่ ท� า หน้ า ที่ เ พื่ อ การบรรจุ วัตถุดิบ สินค้า หรือสิ่งของไว้ภายใน มีส่วนส�าคัญที่ท�าให้ระบบโลจิสติกส์ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการกระจายสิ น ค้ า เพื่ อ ให้ ไ ปถึ ง จุดหมายปลายทางได้อย่างปลอดภัย และไม่เกิดความเสียหาย หากกล่าวถึงรูปแบบการขนส่งใน ปัจจุบันนั้นมีหลากหลายวิธี ไม่ว่าจะ เป็นการขนส่งทางอากาศ การขนส่ง ทางน�า้ การขนส่งทางรถยนต์ รถบรรทุก หรื อ อาจจะเป็ น การขนส่ ง ทางรถไฟ ดั ง นั้ น ระหว่ า งการขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ควรได้ รั บ การปกป้ อ งจากกระแทก บรรจุภัณฑ์โลจิสติกส์ หรือบรรจุภัณฑ์ ขนส่ง มีการผลิตมาจากวัสดุหลากหลาย ชนิ ด ตามความเหมาะสมกั บ สิ น ค้ า ที่ บรรจุ วิธีการขนย้าย การล�าเลียงขนส่ง จนถึ ง การใช้ ง าน และวั ส ดุ ที่ ใช้ เ ป็ น บรรจุภัณฑ์ขนส่งหลัก ๆ มีอยู่ 5 อย่าง ดังนี้

38

1.

บรรจุภณ ั ฑ์ขนส่งทีท่ า� จากกระดาษ จะมีตน้ ทุนต�า่ เมือ่ เทียบกับวัสดุ อื่น ๆ มักจะใช้ขนส่งเที่ยวเดียว และไม่ค่อยมีการใช้ซ�้า ข้อดีก็คือ สามารถน�ามารีไซเคิลภายหลังการใช้งานได้ เป็นที่ยอมรับและนิยมใช้ในการ ขนส่งสินค้าอย่างแพร่หลาย ข้อเสียก็จะเป็นเรือ่ งของความชืน้ หากมีการโดน น�า้ มากจนเกินไปอาจจะท�าให้บรรจุภณ ั ฑ์เกิดความเสียหายและส่งผลเสียกับ สิ่งของข้างในได้ กล่องกระดาษลูกฟูก (Corrugated Carton) กล่องกระดาษลูกฟูก เป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในการขนส่ง เนื่องจาก มีน�้าหนักเบา สามารถพับแบนได้ จะเป็นการประหยัดเนื้อที่ในการกองเก็บ แต่มีข้อจ�ากัดเรื่องการดูดซับความชื้นจากสภาพแวดล้อม ถุงกระดาษหลายชั้น (Multi Wallpaper Bag) หรือถุงใช้งานหนัก (Heavy Paper Bag) มักจะใช้บรรจุปูนซีเมนต์ อาหารสัตว์ สารเคมี หรือเม็ดพลาสติก ส่วนใหญ่จะท�าจากกระดาษที่มีความเหนียว หรืออาจ เคลือบด้วยสารกันความชื้น มักจะขึ้นรูป 2-6 ชั้น จะมีลักษณะเด่นคือ น�้าหนักเบา สามารถพับแบนได้ ประหยัดพื้นที่ในการเก็บ ราคาจะถูกกว่า เมื่อเทียบกับถุงพลาสติก บรรจุภัณฑ์ขนส่งที่ท�าจากพลาสติก มีความทนต่อสภาพแวดล้อม ทีด่ ี ต้นทุนบรรจุภณ ั ฑ์ผนั แปรตามน�า้ หนักพลาสติกทีใ่ ช้ การใช้งานมีทงั้ ใช้แบบครั้งเดียวและใช้ซ�้า เช่น • กระสอบพลาสติก (Woven Plastic Sack) จะทอด้วยแถบฟิล์ม พลาสติก ทดแทนกระสอบปอและจะทนต่อการใช้งาน นิยมใช้ในบรรจุผลผลิต ทางการเกษตร เช่น ข้าว ธัญพืช น�้าตาล กาแฟ และอาหารสัตว์ • ถังพลาสติก (Plastic Drum) จะมีน�้าหนักเบา ทนต่อความแรงกด จากการเรียงซ้อนได้เป็นอย่างดีและสารเคมี สามารถทนทานต่อสภาพแวดล้อม ในการขนส่งและการเก็บในระยะยาว นิยมบรรจุสนิ ค้าวัตถุดบิ สารเคมี อาหาร หรือสินค้าอันตรายได้เป็นอย่างดี • ถุงในกล่อง (Bag in Box) เป็นการน�าวัสดุมากกว่าหนึ่งชนิดมาใช้ งานร่วมกันคือ กล่องกระดาษลูกฟูกและถุงพลาสติก โครงสร้างแบบนี้ท�าให้ ไม่ต้องใช้พลาสติกปริมาณมากเพื่อท�าบรรจุภัณฑ์ (กล่องเป็นโครงคงรูปและ ถุงอยู่ด้านใน) มักใช้บรรจุสินค้าที่ใช้ในภัตตาคาร โรงแรม และโรงพยาบาล

2. 3. 4.

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 38

12/9/2562 BE 9:31 AM


5.

บรรจุภัณฑ์ที่ท�าจากโลหะ จะมีรูปแบบที่จ�ากัด มีต้นทุนที่สูงกว่า บรรจุภัณฑ์ชนิดอื่น นิยมใช้ในบรรจุสินค้ามีเป็นเคมีภัณฑ์ เช่น ถังโลหะ (Metal Drum) ท�าจากโลหะและอาจมีการเคลือบแลกเกอร์ด้านใน นิยมบรรจุสินค้าเคมีภัณฑ์ ที่เป็นของเหลวหรือกึ่งเหลว เม็ดและผง เช่น กาว หมึกพิมพ์ สีทาบ้าน น�้ามัน เป็นต้น ดังนัน้ บรรจุภณ ั ฑ์มคี วามสัมพันธ์และเกีย่ วข้องกับกิจกรรมทางโลจิสติกส์ ในฐานะเป็ น กลไกที่ ท� า ให้ ร ะบบโลจิ ส ติ ก ส์ ส ามารถขั บ เคลื่ อ นได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ การจัดบรรจุภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพมีความจ�าเป็นต่อความ ส�าเร็จของธุรกิจ ทั้งต่อกระบวนการด�าเนินการ และการลดต้นทุนค่าใช้จ่าย ในการขนส่ง อย่างไรก็ตาม การจัดการบรรจุภัณฑ์ที่ไม่มีประสิทธิภาพจะก่อ ให้เกิดปัญหา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางด้านบรรจุภัณฑ์ที่การออกแบบ การ พัฒนา การผลิตไม่ได้มาตรฐานตามกฎระเบียบการขนส่ง และปัญหาใหญ่ ส�าหรับบรรจุภณ ั ฑ์นนั้ ก็คอื ปัญหาสิง่ แวดล้อมทีจ่ ะเป็นขยะ บรรจุภณ ั ฑ์ทวี่ สั ดุ บางชนิดไม่อาจย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ ควรมีการเลือกใช้วัสดุที่ สามารถรีไซเคิลได้ตามธรรมชาติ ซึ่งในยุคปัจจุบันนี้มีวัสดุที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมมากมาย และก�าลังจะเป็นที่นิยมในหมู่ผู้ผลิต ส่วนผู้บริโภคเองก็ มีการเลือกซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน บรรจุภณ ั ฑ์โลจิสติกส์เพือ่ สิง่ แวดล้อม และการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ขนส่ง เพื่อสิ่งแวดล้อม มักจะเป็นสิ่งพิจารณาวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์เป็นหลัก เริ่ม ตัง้ แต่วธิ กี ารผลิตวัสดุ จนถึงวิธกี ารท�าลายผลิตภัณฑ์ หลักในการใช้งาน ท�าให้ บรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มีคณ ุ ภาพสูงและแข็งแรง สามารถแข่งขัน ได้ในตลาดด้วยต้นทุนที่เหมาะสม ส่วนส�าคัญที่สุด ยังเป็นมิตรกับโลก สร้าง ความยั่งยืนและมีประสิทธิภาพในการด�ารงชีวิตของคนรุ่นต่อ ๆ ไป รศ. ดร.ภาณุวัฒน์ สรรพกุล อาจารย์ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและ วัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้บรรยายเรื่อง บรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ โดยกล่าวว่า Smart Packaging หรือบรรจุภัณฑ์ อัจฉริยะ คือบรรจุภัณฑ์รูปแบบใหม่ที่เน้นทางด้านความสะดวกสบายต่อ ผูบ้ ริโภค ฉีกกฎบรรจุภณ ั ฑ์แบบเดิม ๆ ทีม่ หี น้าทีเ่ พียงปกป้องสินค้า หรือมีแค่ ความสวยงาม แต่บรรจุภณ ั ฑ์อจั ฉริยะได้นา� เอาเทคโนโลยีสมัยใหม่ นวัตกรรม การควบคุมหรือปกป้องมาผสมผสานกับบรรจุภัณฑ์เพื่อยืดอายุผลไม้หรือ อาหารในบรรจุภัณฑ์นั้น เพื่อให้มีอายุในการรับประทานที่ยาวนานขึ้น และ สามารถเก็บไว้ได้นานยิง่ ขึน้ ด้วยการใช้สารประกอบเป็นตัวควบคุมบรรยากาศ ภายในบรรจุภัณฑ์ ด้วยวิธีสกัดกั้นหรือแพร่ก๊าซต่าง ๆ ส่วนการท�างานของ บรรจุภณ ั ฑ์ชนิดนี้ คือการน�าวัสดุหรือฟิลม์ ทีใ่ ช้ในการบรรจุภณ ั ฑ์สามารถเกิด ปฏิสัมพันธ์ และควบคุมบรรยากาศกับก๊าซภายในบรรจุภัณฑ์ ในส่วนของข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับ Smart Packaging นั้นเรื่องแรกจะเป็น เรือ่ งของ Food Loss กับ Food Waste มีความแตกต่างกันอย่างไร โดย Food Loss จะเกิดขึน้ ระหว่างกระบวนการเก็บเกีย่ วและการแปรรูปต่าง ๆ ซึง่ Food Loss จะเกิดขึ้นมากใน South Asia ส่วน Food Waste คือการสูญเสียใน ขัน้ ตอนการเตรียมเป็นอาหารเพือ่ บริการและอาหารทีบ่ ริโภค และของเหลือ จากการบริโภคแล้วต้องทิง้ จะพบมากในประเทศทีม่ กี ารพัฒนาแล้วส่วนใหญ่ จะเป็นในยุโรป หรือที่เป็น Industrialized Asian อย่างประเทศญี่ปุ่น และ เกาหลีใต้ เป็นต้น การบรรจุแบบ Smart Packaging จะสามารถช่วยเสริมทั้งในเรื่องของ Food Waste และ Food Loss ได้ เนื่องจากลักษณะที่ใช้บรรจุทั่ว ๆ ไปนั้น

รศ. ดร.ภาณุวัฒน สรรพกุล

จะเป็ น Passive Packaging ซึ่ ง จะเกี่ ย วข้ อ งกั น เช่ น การบรรจุ แ บบ สุญอากาศ ได้แก่ มันฝรั่งอบกรอบ หรือ การปรับสภาพอากาศ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ เนื้อสดต่าง ๆ “ตั ว อย่ า งของการเก็ บ ข้ อ มู ล ของ บริ ษั ท Mintel เป็ น บริ ษั ท ที่ อ ยู ่ ใ น United Kingdom ท�าหน้าที่ทางด้านการ เก็บข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งได้มีการอภิปราย เกีย่ วกับ Trends Packaging 2017 นัน้ จะ ต้องเป็น Packaging Smart, Active และ Intelligent ต่ อ มาในปี 2019 เป็ น ยุ ค ปัจจุบนั พบว่าหนึง่ ใน เทรนด์นนั้ มีการท�า เกี่ยวกับ E-commerce ซึ่งส่วนใหญ่ที่ กล่ า วถึ ง นั้ น จะเป็ น การกล่ า วเกี่ ย วกั บ การขนส่ง ทีเ่ ป็นลักษณะขนส่งในอุณหภูมิ ห้องทั่ว ๆ ไป แต่ในบางกรณีสินค้ามีการ ขนส่งในลักษณะที่เป็นการแช่เย็น เช่น พันธุน์ มพาสเจอร์ไรส์ นัน้ จะมี PT Sensor เป็นตัวชี้วัดเวลาและอุณหภูมิของสินค้า ซึ่งแปลว่าเมื่อสินค้าถูกส่งถึงมือผู้บริโภค จะสามารถทราบได้ทันทีว่าสินค้าชิ้นนี้ได้ ผ่านอุณหภูมกิ อี่ งศา หรือแม้กระทัง่ ทีเ่ ป็น Supply Gent ตัวนี้ก็จะเป็นตัวชี้วัดเวลา และอุณหภูมเิ ช่นกัน ซึง่ ในต่างประเทศนัน้ ได้มีการใช้ลักษณะของตัวผลิตภัณฑ์ใน การบรรจุแบบ Smart ที่ได้ถูกน�ามาใช้ ร่วมกับ E-commerce เป็นที่เรียบร้อย แล้ว”

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 39

39

12/9/2562 BE 9:31 AM


หน้าทีห่ ลักของการใช้บรรจุภณ ั ฑ์นนั้ ก็คอื การปกป้องสินค้า รองรับสินค้า ให้ ความสะดวก เกี่ยวข้องกับระบบการ เครื่องจักรต่าง ๆ การสื่อสาร การให้ ข้ อ มู ล โดยมี ห น้ า ที่ ร อง เช่ น จู ง ใจ ผู ้ บ ริ โ ภค สร้ า งเอกลั ก ษณ์ ใ ห้ กั บ ผลิตภัณฑ์ และสามารถที่จะ Reuse, Recycle ได้โดยที่ Active Packaging การบรรจุแบบ Active จะท�ำหน้าทีเ่ สริม ทางด้าน Protection ซึ่งตรงนี้จะเป็น ส่ ว นที่ จ ะไปช่ ว ยตอบค� ำ ถามหรื อ แก้ ปัญหาทางด้าน Food Loss ในขณะที่ Intelligent Packaging อันนี้ก็ท�ำหน้าที่ ในการเสริมทางด้านการให้ขอ้ มูลในการ ศึกษาข้อมูล ในส่วนตรงนี้ก็สามารถไป ช่ ว ยเสริ ม หรื อ แก้ ไขปั ญ หาทางด้ า น Food Waste ส�ำหรับในสหรัฐอเมริกา นิยมใช้เป็นอย่างมาก แต่ในขณะบ้าน เรานัน้ ยังไม่นยิ ม ส่วน Active Packaging ทีท่ ำ� หน้าทีเ่ สริมทางด้าน Protection ใน การปกป้องสินค้าถือเป็นส่วนประกอบ ย่อยของ Smart Packaging ที่สามารถ ท�ำ Functions ทางด้าน Active คือมีการ ควบคุ ม หรื อ มี ป ฏิ กิ ริ ย าส� ำ คั ญ กั บ ตั ว อาหาร ท�ำให้สามารถทีจ่ ะยืดอายุในการ เก็ บ รั ก ษาและสามารถรั ก ษาคุ ณ ภาพ ความปลอดภัยของตัวสินค้า ในขณะที่ Intelligent Packaging ก็เป็นส่วนหนึ่ง ของ Smart Packaging มีการให้ข้อมูล หรือมีการเตือนปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ ส่ ว นที่ 2 เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งการดู ด ซั บ ความชืน้ และการยับยัง้ การเจริญเติบโต คือ Moisture Regulating ตั ว ควบคุมความชื้นหรือตัวดูดซับ ความชื้น ส่วนใหญ่ที่ใช้กันก็คือ Silica Gel เช่น ในซองสาหร่ายของประเทศ เกาหลี Oxygen Scavenging ตัวแรก ที่น�ำมาใช้ในประเทศไทย และ น�ำมาใช้กบั ขนมไหว้พระจันทร์ เนือ่ งจาก ขนมไหว้ พ ระจั น ทร์ นั้ น เป็ น สิ น ค้ า ที่ มี มูลค่า Carbon Dioxide Scavenging มีการใช้ในตัวบรรจุภัณฑ์กิมจิ ในเกาหลีจะมีการใช้ซองตัวหนึ่งที่มีการ ก�ำจัด Carbon Dioxide เพือ่ ไม่ให้ตวั ซอง นั้นเกิดการโป่งพอง

1. 2. 3.

40

4.

Ethylene Scavenging ผลไม้ที่มีการผลิต Ethylene ออกมาจะเป็น การเร่งความสุกของผลไม้ หากต้องการที่จะชะลอความสุกของผลไม้ เพื่อเป็นการกระจายสินค้าไปยังประเทศต่างๆ จะต้องมีการใช้ตัวก�ำจัด Ethylene ซึ่งตัวที่นิยมมากตัวหนึ่งก็คือ Potassium Permanganate ที่จะบรรจุ อยู่ในซองเล็กๆ จะเป็นการยับยั้งความสุกของผลไม้ได้เป็นอย่างดี เมื่อได้ทราบเกี่ยวกับเรื่องการดูดซับและการยับยั้งไปแล้ว ต่อไปเป็นกลุ่ม ของการปลดปล่อยสาร ซึง่ กลุม่ ทีม่ กี ารปลดปล่อยสารเพือ่ ต้านจุลนิ ทรีย์ มีดงั นี้ Antimicrobial Packaging คือบรรจุภณ ั ฑ์ทสี่ ามารถหยุดหรือลดการ เจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในอาหารที่บรรจุอยู่ข้างในได้เป็นอย่างดี Antioxidant Packaging คือบรรจุภัณฑ์ต้านอนุมูลอิสระ สามารถ รวมอยูใ่ นฟิลม์ พลาสติกเพือ่ รักษาเสถียรภาพของพอลิเมอร์เมือ่ มาเป็น ฟิลม์ เพือ่ ยับยัง้ ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน รวมถึงประสิทธิภาพต้านการเจริญเติบโต ของเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ ถั่ว ฯลฯ Ethylene Blocking จะเป็นการปิดกั้น Ethylene เมื่อบรรจุภัณฑ์ได้ รับ Ethylene ก็จะมีการบล็อกเกิดขึ้นเพื่อเป็นการชะลอไม่ให้ผักผลไม้ นั้นสุกเร็วเกินไประหว่างการขนส่งเพื่อกระจายสินค้าไปยังประเทศต่าง ๆ เป็นการยืดอายุในการเก็บรักษา Aroma Release Packaging การใส่กลิ่นลงในตัววัสดุที่จะน�ำมาเป็น บรรจุภณ ั ฑ์ ถือเป็นกลยุทธ์ในการดึงดูดความสนใจของผูบ้ ริโภควิธหี นึง่ Insect Repellent Packaging นิยมใช้กบั ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นธัญพืช ข้าว และขนมปัง บรรจุภัณฑ์ตัวนี้จะเป็นตัวช่วยไล่แมลงและแมลงไม่ สามารถท�ำลายบรรจุภัณฑ์หรือยุ่งกับตัวสินค้าได้ Anaesthetic Packaging เป็นการป้องกันความเครียดของสัตว์น�้ำ หากมีการต้องขนย้าย การเดินทางจะท�ำให้สัตว์นำ�้ เครียดและท�ำร้าย ตัวเองจนได้รับบาดเจ็บ ตัวนี้จะช่วยระงับความเครียดในระหว่างการขนส่งได้

1. 2. 3. 4. 5. 6.

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 40

12/9/2562 BE 9:31 AM


ċòĆēüÖċöôāČôÿüćâúïĈðă ċêŢèùŚöèùĘāÓĀÜĎèÐāò×ĀãċÐĒéČôÿÓÖùïāíÑüÖ ëôăäïĀâàŞĎúśðĄêòÿùăæçăïāí ãĀÖèĄĔ 5JNF 5FNQFSBUVSF *OEJDBUPS 55* äĀöÙĄĔöĀãċöôāČôÿüćâúïĈð ă ×ÿæĘāúèśāæĄēĎúśÑśüðĈôÑüÖëôăäïĀâàŞďãśċêŢèüñŚāÖãĄ úāÐðĄüćâúïĈðă ùĈÖÑąĔè×ÿæĘāĎúś×ćôăèæòĄñŞèĀĔèċäăéčäďãśãĄ ùŚÖëôĎúśüāúāòċèŚāċùĄñďãśċòĒöÑąĔèÐöŚā êÐäă ãĀÖèĀĔè úāÐäśüÖÐāòæĄē×ÿñĆãòÿñÿċöôāÓöòČÙŚüāúāòďöśæĄēüćâúïĈðă üÖ÷āċÚôċÚĄñù ÐĒ×ÿùāðāòåċÐĒéòĀÐøāďãśèāèÑąĔè 'PPE 4QPJMBHF *OEJDBUPS '4* äĀöÙĄĔöĀãÐāòċèŚāċùĄñÑüÖüāúāò čãñĎÙśČæĒÐĎèÐāòöĀãúāÐČæĒÐèĄĔðĄÐāòċêôĄēñèùĄúòĆüċêôĄēñèČêôÖďê ×āÐċãăð ÐĒ×ÿùāðāòåòĈśďãśæĀèæĄöŚāüāúāòÙăĔèèĄĔċùĄñČôśö 'SVJU 3JQFOFTT *OEJDBUPS '3* äĀöÙĄĔöĀãÓöāðùćÐÑüÖëôďðś ċèĆēüÖ×āÐëôďðśċöôāùćÐðāÐ×ÿùŚÖÐôăēèüüÐðā ׹ÖðĄÐāòĎÙśÐôăēèèĀĔè öĀãÓöāðùćÐÑüÖëôďðś ċíòāÿëôďðśéāÖÙèăãďðŚùāðāòåðüÖċúĒè×āÐäāċêôŚā ďãś ċÙŚè üÿčöÓāčã 3FBEZ UP 4FSWF *OEJDBUPS 34* äĀöÙĄöĔ ãĀ ÓöāðíòśüðĎèÐāòċùăòîŞ ČéŚÖċêŢè ôĀÐøâÿ ĵ üāúāòúðĀ Ð êòÿċæ÷ċÐāúôĄ ċ êŢ è ÓèÓă ã öă çĄ èĄĔ ċ íòāÿÓèċÐāúôĄ òĀéêòÿæāèÐăð×ăúðĀÐČôÿðĄÓöāðÙüéòùÙāäăÑüÖÐăð×ăďðŚċúðĆüèÐĀè ×ąÖ ÓăãÓśèöăçĎĄ èÐāòéüÐÑśüðĈôöŚāĎèÑâÿèĄÐĔ ðă ×ăðòĄ ùÙāäăċêòĄñĔ öòÿãĀéďúè ×ÿĎÙś äĀö #SPNPDSFTPM 1VSQMF ċêŢèäĀöæĄē×ÿäăãäāðäĀöÓćâïāíÑüÖÐăð×ă ÚąēÖĎè êòÿċæ÷ďæñÐĒùāðāòåèĘāðāĎÙśÐĀéÐāòæĘāČúèðďãśãśöñċÙŚèÐĀè

ĵ üāúāòæĄē ä ś ü ÖèĘ ā ċÑś ā ďðčÓòċöî ċêŢèäĀöÙĄöĔ ãĀ öŚāüāúāòÙèăãèĄäĔ üś ÖĎÙśÓöāðòśüè êòÿðāâċæŚāďò׹Ö×ÿòĀéêòÿæāèďãś ċêŢèäśè (BT *OEJDBUPS (* äĀöÙĄĔöĀã (BT æĀēöďêæĄēĎÙśäăãäāðÑśüðĈôÐĒÓĆü (BT 0YZHFO ċèĆēüÖ×āÐéòò×ćïĀâàŞüāúāòúôĀÐ čãñæĀē ö ďêæĄē ċ êŢ è 1BTTJWF 1BDLBHJOH éòò×ćïĀâàŞäĀöîőôŞð×ÿæĘāÐāòéôĒüÐ 0YZHFO ×āÐïāñèüÐďðŚĎúśëāŚ èċÑśāðāæĘāêÞăÐòă ñă āÐĀé üāúāòÑśāÖĎèéòò×ćïâ Ā àŞ ×ÿďðŚæāĘ ĎúśċÐăãÐāò ċùĆēüðċùĄñ ùòćêďãśöŚā éòò×ćïĀâàŞüĀ×ØòăñÿďãśòĀéÐāò íĀ á èāċíĆē ü ċíăē ð ÐāòêŖ ü ÖÐĀ è ëôă ä ïĀ â àŞ ċêŢèÐāòùĆüē ùāòČôÿèĘāċùèüÑśüðĈôčãñðĄòāÓā æĄēċúðāÿùð ãśöñČèöčèśðòÿãĀéčôÐÓāãöŚā éòò×ćïĀâàŞüĀ×Øòăñÿ×ÿċêŢèÐāòĎÙśċæÓčèčôñĄ ċêŢèČòÖëôĀÐãĀèùĘāÓĀÜĎèÐāòíĀáèāòÿéé éòò×ć ïĀ â àŞ Úąē Ö ðĄ è öĀ ä ÐòòðċæÓčèčôñĄ éòò×ćïâ Ā àŞü×Ā ØòăñÿæĄ×ē ÿċêŢèäĀöċêôĄñē èČêôÖ öÖÐāòéòò×ćïĀâàŞĎèüèāÓäÑśāÖúèśā


ARTICLE สุมาลี ทั่งพิทยกุล

รูปที่ 1 แสดงการกำ�จัดขยะจากพลาสติกแบบต่าง ๆ ในสหภาพยุโรป

สถานการณ์ การใช้ภาชนะ รี ไซเคิลเพ็ท (rPET) ใน สหภาพยุโรป

42

หภาพยุโรปได้ผ่าน “Directive (EU) 2019/904 of The European Parliament and of the Council of 5 June 2019 on the Reduction of the Impact of Certain Plastic Products on the Environment” หรือเรียกว่า Single-Use Plastic Directive (SUP) เพื่อเพิ่มปริมาณการรีไซเคิลขวดบรรจุน�้ำดื่ม เครื่องดื่มชนิดโพลิ เอทิลีนเทเรพทาเลต หรือเรียกกันทั่วไปว่า ขวดเพ็ท (PET) ซึง่ เป็นขวดทีใ่ ช้กนั มากในการบรรจุเครือ่ งดืม่ และผลิตภัณฑ์ที่ ใช้ดูแลส่วนบุคคล เช่น แชมพู สบู่ เครื่องส�ำอาง เป็นต้น และได้รับ การสนับสนุนเป็นอย่างดีจากบริษัทยักษ์ใหญ่ข้ามชาติ อาทิ โค้ก เนสท์เล่ จากการศึกษาของ ICIS เกี่ยวกับการตลาดในปี 2018 (Reed Business Information Limited) ซึ่งเป็นการศึกษาตลอดห่วง โซ่อุปทานตั้งแต่ การเก็บ (Collection) การรีไซเคิล (Recycle) และ การใช้ (End-use) ของขวดเพ็ท ซึ่งรายงานฉบับนี้เป็นความร่วมมือ ขององค์ ก รภาครั ฐ หลายภาคส่ ว น (National Authority และ Compliance Agencies) สรุปว่ามีการเก็บขวดเพ็ทในยุโรปตะวันตก 58% ในปี 2016 และเพิ่มเป็น 63% ในปี 2018 และคาดว่าจะเพิ่ม เป็น 65% ในปี 2019 ภายใต้ SUP Directive สหภาพยุโรปคาดว่าภาคอุตสาหกรรม ต้องเก็บและรีไซเคิลพลาสติกใช้ครัง้ เดียว (SUP) ซึง่ รวมถึงขวดเพ็ท ด้วยให้ได้ 77% ในปี 2025 และ 90% ในปี 2029 ICIS ประมาณ ว่าอัตราของการเก็บต้องเพิม่ ปีละ 7% จึงจะถึงเป้าหมายทีส่ หภาพ ยุโรปก�ำหนด *ท่านสามารถศึกษาชนิดของ Single-Use Plastic ของ Directive 2019/904 ในภาคผนวก ก Helen McGeough นักวิเคราะห์อาวุโสของ ICIS Senior Analyst อธิบายว่าความต้องการของ rPET (Recycled PET) เพิ่ม เริ่มเมื่อต้นในปี 2018 และเพิ่มมากขึ้นเมื่อ รัฐสภายุโรปผ่าน SUP Directive แต่การเก็บไม่ได้สอดคล้องกับปริมาณความต้องการทัง้ ๆ ที่มีการกระตุ้นโดย SUP

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 42

12/9/2562 BE 9:31 AM


รูปที่ 2 แสดงอัตราการรีไซเคิลของพลาสติกในแต่ละประเทศของสหภาพยุโรป

ปริมาณการเก็บเป็น 2.1 Million Tonnes ในปี 2018 เพิม่ ขึน้ จากปี 2017 เป็น 2.4% ซึ่งถ้าปริมาณการเก็บ น้อย กว่า 4% เป็นการยากที่สหภาพยุโรปจะ ได้ปริมาณตามที่คาดไว้ใน SUP Plastic Directive ในปี 2019-2020นอกจากนั้น การผลิต rPET เป็น 17% หรือ 1.4 ล้าน ตัน ซึ่งน้อยกว่าปริมาณที่ต้องการมาก ส� ำ หรั บ ประเทศไทย รั ฐ สภาได้ อนุมตั ิ Road Map เพือ่ ก�ำจัดของเสียจาก พลาสติก ดังนี้ ปี 2019 • ห้ามใช้ Oxo-Degradable Plastic (พลาสติกซึง่ จะใส่สารเจือปนและจะแตก สลายเป็นชิ้นเล็ก ๆ โดยการออกซิเดชั่น ท�ำให้เกิดฝุ่นละอองเป็นมลพิษ) • พลาสติกหุม้ ขวด (Bottle Cap Seal) • เม็ดพลาสติกเล็ก ๆ ที่ใส่ในเครื่อง ส�ำอาง ปี 2020 • ห้ามใช้ถุงช้อปปิ้งความหนาน้อย กว่า 36 ไมโครเมตร • โฟมโพลีสไตรีน • หลอดพลาสติก • ถ้วยพลาสติกบรรจุเครื่องดื่มที่ใช้ ครั้งเดียว

*ภาคผนวก ก Single-Use Plastic Product หมายถึงผลิตภัณฑ์ที่เป็นพลาสติก 1. ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งไม่ได้ตั้งใจผลิตขึ้นมาวางตลาด ให้ใช้ซ้ำ�

หมุนเวียนโดยวัตถุประสงค์เดิมอีก ซึ่งในมาตรา 4 ของ SUP Plastic Directive ต้องการให้ใช้ในปริมาณลดลง ได้แก่ (1) ถ้วยรวมฝาส�ำหรับเครื่องดื่ม (2) ภาชนะบรรจุอาหาร เช่น กล่องมีฝาหรือไม่มฝี า ใช้สำ� หรับบรรจุอาหาร ซึ่ง • ตั้งใจรับประทานทันทีหรือใส่เพื่อน�ำกลับมารับประทานที่บ้าน • ใช้รับประทานอาหารนั้นจากกล่องที่บรรจุเลย • สามารถรับประทานอาหารนั้นได้เลยโดยไม่ต้องน�ำไปเตรียม เองอีก เช่น การต้ม หรือท�ำให้ร้อน ซึ่งรวมทั้งอาหารจานด่วน Single-Use Plastic Product ที่ห้ามวางจ�ำหน่ายหลังจาก SUP 2. Directive ตีพิมพ์ 20 วัน คือหลังจาก Directive นี้มีผลบังคับใช้ใน วันที่ 5 มิถุนายน 2519 ได้แก่ (1) Cotton Bud (2) เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร ได้แก่ ส้อม ช้อน มีด ตะเกียบ (3) จาน (4) หลอด (5) แท่งคนเครื่องดื่ม (6) แท่งพลาสติกส�ำหรับลูกโป่งยกเว้นลูกโป่งที่ใช้ในงานเฉพาะ (7) ภาชนะใส่อาหารที่ทำ� ด้วย Expanded Polystyrene หรือโฟมมีฝา หรือไม่มีฝาเพื่อใช้บรรจุอาหาร ซึ่ง • ตั้งใจรับประทานทันทีหรือใส่เพื่อน�ำกลับไปรับประทานที่บ้าน • ใช้รับประทานอาหารนั้นจากกล่องที่บรรจุเลย • สามารถรับประทานอาหารนั้นได้เลยโดยไม่ต้องน�ำไปเตรียม เองอีก เช่น ต้ม หรือท�ำให้ร้อน (8) ภาชนะบรรจุเครือ่ งดืม่ ทีท่ ำ� จากโฟมโพลิสไตรีน รวมทัง้ จุกหรือฝา (9) ถ้วยบรรจุเครื่องดื่มที่ทำ� จากโฟมโพลิสไตรีน รวมทั้งจุกหรือฝา

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 43

43

12/9/2562 BE 9:31 AM


FOCUS

รางวัล

AsiaStar Awards 2019 ไทยคว้ามาได้ถึง 30 รางวัล

รมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม จัดมอบ รางวัลประกวดบรรจุภณ ั ฑ์ ระดับภูมิภาคเอเชีย ประจ�าป 2562 (AsiaStar Awards 2019) ภายใต้ความร่วมมือกับ สหพันธ์การบรรจุภัณฑ์แห่งเอเชีย (The Asian Packaging Federation : APF) โดยในปีนี้ผลงาน จากประเทศไทยคว้าถึง 30 รางวัล จากทั้งหมด 35 บรรจุภัณฑ์ที่ส่งเข้าประกวด

จารุพันธุ์ จารโยภาส รองอธิบดีกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม ได้กล่าวในการเป็นประธานพิธมี อบรางวัล ครัง้ นีว้ า่ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ได้จดั พิธมี อบ รางวั ล การประกวดบรรจุ ภั ณ ฑ์ ร ะดั บ ภู มิ ภ าคเอเชี ย ประจ�าปี 2562 (AsiaStar Awards 2019) ภายใต้โครงการ สร้างมูลค่าเพิม่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โดยร่วมกับศูนย์ การบรรจุ หี บ ห่ อ ไทย สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสมาคมการบรรจุภัณฑ์ ไทย ประสานความร่วมมือกับสหพันธ์การบรรจุภัณฑ์ แห่งเอเชีย (The Asian Packaging Federation : APF) ประกอบด้วยสมาชิกรวม 15 ประเทศ ได้แก่ บังคลาเทศ จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญีป่ นุ่ เกาหลี มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ ศรีลังกา เวียดนาม ตุรกี อิหร่าน คาซักสถาน และไทย APF เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลก�าไร ท�าหน้าที่ ประสานความร่วมมือระหว่างประเทศด้านบรรจุภัณฑ์ ระดับภูมภิ าคเอเชีย โดยจัดงานนีข้ นึ้ เพือ่ เชิดชูเกียรติแก่ ผู ้ ช นะการประกวดชาวไทย และผู ้ แ ทนจากองค์ ก ร ประเทศสมาชิก และเพื่อประชาสัมพันธ์การประกวด บรรจุภัณฑ์ระดับภูมิภาคเอเชีย ประจ�าปี 2562 ให้เป็น 44

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 44

12/9/2562 BE 9:31 AM


ที่รู้จักในวงกว้าง อีกทั้งเป็นการยกระดับ มาตรฐานการจั ด การประกวดและการ จัดพิธีมอบรางวัลในระดับนานาชาติ และ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศกับ หน่วยงานระดับภูมิภาคเอเชีย เช่น APF และหน่วยงานจากประเทศสมาชิก “การจั ด งานในครั้ ง นี้ นอกจากจะ เป็นการเชิดชูเกียรติให้เจ้าของผลงานที่ ชนะการประกวด ยังเป็นการสร้างชือ่ เสียง ให้แก่ประเทศไทย เป็นการประชาสัมพันธ์ ส่งเสริม และสนับสนุนนักออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ทยในเชิ ง ธุ ร กิ จ ต่ อ เหล่ า สมาชิ ก ประเทศในภู มิ ภ าคเอเชี ย โดยปี นี้ นั ก ออกแบบบรรจุภัณฑ์ไทยสามารถท�าผล งานได้อย่างยอดเยีย่ ม โดยคว้า 30 รางวัล จากประเภทผู้ประกอบการและนักศึกษา จากทั้ ง หมด 35 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ส ่ ง เข้ า ประกวด” จารุพันธุ์ กล่าว ทั้งนี้ นอกจากการประกวดรางวัลบรรจุภัณฑ์ระดับภูมิภาคเอเชีย (AsiaStar Awards) ยังมีการจัดกิจกรรมอื่น ๆ ร่วมด้วย อาทิ การประชุมกรรมาธิการบริหาร (Board of Administration Meeting) การประชุมสามัญประจ�าปี (General Assembly Meeting) การประชุมคณะกรรมการจัดท�าหลักสูตรผู้เชี่ยวชาญด้านบรรจุภัณฑ์ (CAPP Meeting) รวมถึงการจัดสัมมนาด้าน บรรจุภณ ั ฑ์ระดับภูมภิ าคเอเชีย (Asian Packaging Seminar) ซึง่ จัดขึน้ เป็นประจ�าทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ โดยปีนปี้ ระเทศไทย เป็นเจ้าภาพ • รางวัล Transport Package มีผลงานได้รบั รางวัลจ�านวน 8 ผลงาน มีผลงานจากประเทศไทยจ�านวน 1 ผลงาน • รางวัล Consumer Package มีผลงานได้รับรางวัล จ�านวน 15 ผลงาน มีผลงานจากประเทศไทยจ�านวน 6 ผลงาน • รางวัล Eco Package มีผลงานได้รับรางวัลจ�านวน 11 ผลงาน มีผลงานจากประเทศไทยจ�านวน 3 ผลงาน • รางวัล Packaging Material and Components มี ผลงานได้ รั บ รางวั ล จ� า นวน 3 ผลงาน มี ผ ลงานจาก ประเทศไทยจ�านวน 1 ผลงาน • รางวัล Point of Purchase มีผลงานได้รบั รางวัลจ�านวน 4 ผลงาน มีผลงานจากประเทศไทยจ�านวน 3 ผลงาน • รางวัล Student Category มีผลงานได้รบั รางวัลจ�านวน 33 ผลงาน มีผลงานจากประเทศไทยจ�านวน 15 ผลงาน อนึ่ง การตัดสินผลงานที่ส่งเข้าประกวดนั้นมีขึ้นใน วันที่ 17-18 กันยายน และได้มีพิธีมอบรางวัลในวันที่ 19 กันยายนที่ผ่านมา ภายในงาน Pack Print International 2019 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 45

45

12/9/2562 BE 9:31 AM


FACTORY

visiting กองบรรณาธิการ

อินโดรามา เวนเจอร์ส

โชว์ศักยภาพโรงงานรี ไซเคิลโพลีเอสเตอร์ แห่งแรกในประเทศไทย

ริ ษั ท อิ น โดรามา เวนเจอร์ ส จ�ากัด (มหาชน) หรือ ไอวีแอล เป็นผู้ผลิตเคมีภัณฑ์ชั้นน�าระดับโลก โดย มีเทคโนโลยีสุดล�้าหน้าจากยุโรปในการ รีไซเคิลพลาสติกแบบครบวงจรสูผ่ ลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติกรีไซเคิล rPET และ rHDPE ที่ โรงงานในจังหวัดนครปฐม ซึ่งด�าเนินการ รีไซเคิลครบวงจรในประเทศไทยมานาน กว่า 5 ปี และก�าลังพัฒนานวัตกรรมเคมี คอลรี ไซเคิ ล ร่ ว มกั บ ผู ้ น� า เทคโนโลยี ใ น ยุโรปและสหรัฐอเมริกา ไอวีแอล เป็นบริษัทที่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็น หนึ่งในบริษัทปิโตรเคมีชั้นน�าระดับโลก มีโรงงานครอบคลุมภูมิภาคหลักทั่วโลก ได้แก่ แอฟริกา เอเชีย ยุโรป และอเมริกา เหนือ โดยมีกลุ่มธุรกิจหลักประกอบด้วย ธุรกิจ Integrated PET ธุรกิจโอเลฟินส์ ธุรกิจเส้นใย ธุรกิจบรรจุภัณฑ์และธุรกิจ เคมีภณ ั ฑ์ชนิดพิเศษ (Specialty Chemicals) ผลิตภัณฑ์ของไอวีแอลรองรับลูกค้าใน กลุ่มอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภค-บริโภค อาหารและเครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์เพื่อสุข อนามัย ผลิตภัณฑ์เพือ่ การดูแลส่วนบุคคล และยั ง ได้ รั บ รองมาตรฐานระดั บ สากล อาทิ มาตรฐานเพือ่ ความเป็นเลิศทางด้าน คุณภาพและความมีประสิทธิภาพของการ ด�าเนินงานภายในองค์กร และมาตรฐาน

46

สากลส� า หรั บ ระบบการบริ ห ารจั ด การ สิ่งแวดล้อมขององค์กรและความยั่งยืน ด้านสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังได้รับการ รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมจากสถาบันชั้นน�าระดับโลก เช่น ECO Mask จาก The Japan Environment Association โรงงานรี ไซเคิ ล ที่ จั ง หวั ด นครปฐม แห่งนี้ ตั้งอยู่บนที่ดิน 90 ไร่ ด�าเนินธุรกิจ รีไซเคิลขวดพลาสติก ผลิตเส้นใยและเม็ด พลาสติก PET รีไซเคิล (rPET) โดยมีก�าลัง ผลิตเส้นใยโพลีเอสเตอร์ 120,000 ตันต่อ ปี และเม็ดพลาสติกรีไซเคิล 29,000 ตัน ต่อปี เพือ่ รองรับลูกค้าในตลาดหลากหลาย กลุ่มอุตสาหกรรม อาทิ เสื้อผ้าเครื่อง แต่งกาย สิ่งทอ เส้นใย และผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ในอุตสาหกรรม โดยใช้เทคโนโลยี ของเวลแมน อินเตอร์เนชัน่ แนลจากยุโรป ซึง่ เป็นเทคโนโลยีดา้ นรีไซเคิลอันดับต้น ๆ ของโลกและเทคโนโลยี Gneuss และ เทคโนโลยี Buhler จากเยอรมนี ส�าหรับ การผลิตเม็ดพลาสติกรีไซเคิลที่ทันสมัย สะอาด ปลอดภัย และได้มาตรฐานระดับ โลก ผ่านการรับรองจากส�านักงานคณะ กรรมการอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (U.S. Food and Drug Administration ระเบียบคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป และมาตรฐานการรับรองความปลอดภัย

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 46

12/9/2562 BE 9:31 AM


อนิเวช ติวารี

ส�ำหรับการผลิตอาหาร นอกจากนี้ ยัง มุ่งเน้นกระบวนการควบคุมและประกัน คุณภาพการรีไซเคิลอย่างเข้มงวด เพื่อ ความปลอดภัยของผู้บริโภคซึ่งเป็นสิ่งที่ บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญสูงสุด อนิ เ วช ติ ว ารี หั ว หน้ า โรงงาน อิ น โดรามา โพลี เ อสเตอร์ อิ น ดั ส ตรี้ ส ์ นครปฐม กล่าวว่า ไอวีแอลในฐานะผูผ้ ลิต PET รายใหญ่ที่สุดของโลก เริ่มเข้าสู่ธุรกิจ รีไซเคิลเป็นครั้งแรก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 โดยการเข้าซื้อกิจการเวลแมน อินเตอร์ เนชั่ น แนล (Wellman International) ผู้ด�ำเนินธุรกิจรีไซเคิล PET ที่ใหญ่ที่สุดใน ยุ โรป และเป็ น ผู ้ น� ำ ในการผลิ ต เส้ น ใย โพลี เ อสเตอร์ สั ง เคราะห์ สั้ น และเม็ ด พลาสติก PET รีไซเคิล (rPET) เพื่อตอบ สนองความท้าทายในการจัดการพลาสติก ใช้งานแล้ว และส่งเสริมให้เกิดการด�ำเนิน ธุร กิ จตามแนวทางเศรษฐกิ จหมุ นเวี ยน (Circular Economy) อย่างเป็นรูปธรรม ปัจจุบัน อินโดรามา เวนเจอร์ส มี โรงงานรีไซเคิล 11 แห่งทัว่ โลก ในประเทศ เนเธอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ ฝรั่งเศส สหรัฐ อเมริกา เม็กซิโก รวมถึงโรงงานรีไซเคิลใน ประเทศไทย ซึ่งไอวีแอลได้ก่อตั้งโรงงาน รีไซเคิลโพลีเอสเตอร์และพลาสติก PET ครบวงจรในประเทศไทยเป็นครัง้ แรก ในปี พ.ศ. 2557 และเป็นโรงงานรีไซเคิลแห่ง

แรกในประเทศไทยทีใ่ ช้เทคโนโลยีการผลิต จากยุ โรป ภายใต้ บ ริ ษั ท อิ น โดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) จังหวัดนครปฐม เนื่องจากในแต่ละวันมีการทิ้งขวด พลาสติก PET ที่ใช้แล้วจ�ำนวนมาก ขวด พลาสติกจะถูกบีบอัดจนเป็นกองพลาสติก ขนาดใหญ่เพื่อท�ำการตรวจสอบคุณภาพ เมื่อผ่านการตรวจสอบแล้วจะถูกน�ำเข้าสู่ กระบวนการรีไซเคิลของโรงงาน โดยน�ำ ขวดพลาสติกที่ใช้แล้วมาคัดแยก น�ำสิ่ง แปลกปลอมทุ ก ชนิ ด ออก แล้ ว ล้ า งท� ำ ความสะอาดขวดพลาสติกหลายขั้นตอน ก�ำจัดเชื้อโรคและขจัดสิ่งปนเปื้อนออก และสับละเอียดเป็นเกล็ดพลาสติก ก่อนที่ จะใช้ความร้อนสูงถึง 285-300 องศา เซลเซียสเพื่อน�ำเกล็ดพลาสติกไปหลอม ต่ อ ให้ ไ ด้ เ ม็ ด พลาสติ ก PET รี ไซเคิ ล คุณภาพสูงสุด ด้วยระบบการผลิตที่ได้มาตรฐาน ดังกล่าวท�ำให้เม็ดพลาสติกรีไซเคิลจาก โรงงานของอิ น โดรามา เวนเจอร์ ส ใน ประเทศไทยเป็นที่ยอมรับในระดับสากล และส่งออกเม็ดพลาสติกรีไซเคิลส�ำหรับ การผลิตบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับเครื่องดื่มไป จ�ำหน่ายในหลายประเทศ อาทิ ประเทศ อังกฤษ และออสเตรเลีย ริชาร์ด โจนส์ รองประธานอาวุโส THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 47

47

12/9/2562 BE 9:31 AM


ริชาร์ด โจนส์ และหัวหน้าฝ่ายสื่อสารองค์กร ความ ยั่ ง ยื น และทรั พ ยากรบุ ค คล บริ ษั ท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ปัจจุบันลูกค้าของอินโดรามา เวนเจอร์ส ในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลก มี ความต้ อ งการใช้ วั ส ดุ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ผลิตจากรีไซเคิลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการตระหนักถึงการใช้พลาสติกที่เพิ่ม จ�ำนวนมากขึ้น หลาย ๆ ภาคส่วนจึงหัน มาส่ ง เสริ ม ให้ ใช้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ที่ ส ามารถน� ำ กลั บ มารี ไซเคิ ล ได้ อาทิ ประเทศญี่ ปุ ่ น และสหภาพยุ โรป ซึ่ ง สมาชิกทัง้ 28 ประเทศยอมรับการน�ำเม็ด พลาสติกรีไซเคิลมาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ ส�ำหรับอาหาร แสดงให้เห็นว่าเม็ดพลาสติก รีไซเคิลได้มาตรฐานและปลอดภัย โดย ประเทศเยอรมนี มี อั ต ราการน� ำ ขวด พลาสติกมารีไซเคิลสูงสุดในสหภาพยุโรป มากถึงร้อยละ 94 ส่วนในเอเชีย ประเทศ ญี่ปุ่นมีอัตราการน�ำพลาสติกมารีไซเคิล สูงสุด มากถึงร้อยละ 83 “1 ใน 4 ของขวดพลาสติกทั่วโลกมี การผลิตจากเม็ดพลาสติกของไอวีแอล และ 1 ใน 4 ของถุงลมนิรภัยทั่วโลก ก็มี การผลิตจากเส้นด้ายของไอวีแอล ซึ่งนี้ เป็นการสร้างคุณค่าสูงสุดให้กับวัสดุที่ใช้ งานแล้ ว รวมทั้ ง ค� ำ นึ ง ประโยชน์ ข อง ชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ ม กระบวนการ รีไซเคิลของไอวีแอลจึงได้รับการพัฒนา เพิ่มเติมให้สามารถจัดการกับวัสดุอื่นๆ 48

นอกจาก PET ได้ด้วย เช่น ฝาขวด HDPE และ ฉลาก PP เป็นต้น พลาสติกประเภท ดังกล่าวจะถูกแยกและน�ำไปรีไซเคิลในอีกกระบวนการหนึ่ง ส่วนฉลาก PVC ปัจจุบัน เราได้จ้างบริษัทรับจัดเก็บตามข้อก�ำหนดของรัฐบาล อยู่ระหว่างการคิดค้นวิธีน�ำมา ใช้ประโยชน์ได้ใหม่อีกด้วย นอกจากนี้ น�ำ้ ที่ผ่านการบ�ำบัดภายในโรงงานสามารถน�ำ กลับมาใช้ใหม่ได้ถึงร้อยละ 80 ของปริมาณทั้งหมดที่ใช้ภายในโรงงาน” ทั้งนี้ อินโดรามา เวนเจอร์สได้ตั้งเป้าหมายการรีไซเคิลขวดพลาสติก PET เพิ่ม ขึ้นเป็น 750,000 ตัน ในปี พ.ศ. 2568 ซึ่งสอดคล้องกับคณะกรรมาธิการยุโรป ที่ประกาศเป้าหมายที่จะให้เพิ่มสัดส่วนการใช้เม็ดพลาสติก PET รีไซเคิล (rPET) เป็น ร้อยละ 25 ของเม็ดพลาสติกที่ใช้ในการผลิตบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับอาหารและเครื่องดื่ม ภายในปี พ.ศ. 2568 โดยในแต่ละปีเพียงแค่โรงงานของอินโดรามา เวนเจอร์ส ในจังหวัด นครปฐมแห่งเดียว สามารถรีไซเคิลขวดพลาสติก PET ได้ถึง 1.65 พันล้านขวด ช่วย ประเทศไทยลดการใช้น�้ำมันดิบกว่า 531,269 บาร์เรล ลดการผลิตก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์มากถึง 118 ล้านกิโลกรัม ลดปริมาณของเสียประเภทพลาสติก PET ที่ถูก ส่งไปยังหลุมฝังกลบเพือ่ ก�ำจัด และส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุม้ ค่า ซึง่ สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนตามกรอบสหประชาชาติ (The UN Sustainable Development Goals) ที่ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรและการผลิตอย่างยั่งยืน อนิเวช กล่าวเพิ่มเติมว่า ปัจจุบันไอวีแอลก�ำลังร่วมมือกับสองสตาร์ทอัพระดับ โลก ได้แก่ Loop Industries ในอเมริกาเหนือ และ Loniqa ในยุโรป พัฒนานวัตกรรม เคมิคอลรีไซเคิล ซึ่งสามารถท�ำให้ PET ที่ผ่านการใช้งานแล้วแตกตัวจนถึงระดับ โมเลกุลพื้นฐาน โดยเทคโนโลยีนี้จะท�ำลายข้อจ�ำกัดในการรีไซเคิล PET ที่มีสี ซึ่งเป็น ปัญหาของอุตสาหกรรมรีไซเคิลมายาวนาน ทั้งนี้ คาดว่าการพัฒนาเทคโนโลยีอันล�้ำ สมัยเพื่อแก้ไขปัญหาขยะทั่วโลกนี้จะส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2563 และจะส่งเสริมความ มุ่งมั่นที่จะเป็นบริษัทเคมีภัณฑ์ชั้นน�ำระดับโลก สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ดีเพื่อสังคม และสร้างความเข้มแข็งในชุมชนผ่านการสร้างงานในชุมชนท้องถิ่น รวมไปถึงการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการลดการใช้ น�้ำและพลังงาน ตามวิสัยทัศน์ของไอวีแอล “ซึ่ งการเพิ่ ม อุ ปสงค์ ข องบรรจุ ภัณ ฑ์ ที่ ผ ่ า นการใช้ งานแล้ ว ยั งช่ว ยส่ง เสริม อุตสาหกรรมรีไซเคิลด้วยการสร้างรายได้ตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า และผลักดันให้ อุตสาหกรรมรีไซเคิลทีม่ บี ทบาทส�ำคัญในการคัดแยกพลาสติกออกจากขยะอืน่ ๆ เพือ่ น�ำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกด้วย และทางบริษัทอินโดรามาฯ ยังให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับ การให้ความรู้ให้กับทางชุมชน โรงเรียน และสถานที่รอบๆ โรงงาน เป็นการให้ความ รู้เกี่ยวกับการแยกขยะ Recycling ว่าการแยกขยะนั้นควรแยกแบบไหน แยกอย่างไร ให้ถูกวิธี เพื่อจะได้เป็นสิ่งที่ดีกับสิ่งแวดล้อมในอนาคต” สุดท้าย ริชาร์ด กล่าวสรุปว่า พลาสติก PET ไม่ใช่ขยะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียว แล้วทิง้ เพราะ PET สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ไม่สนิ้ สุดในหลากหลายรูปแบบ หาก น�ำมาผ่านกระบวนการรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งรวมไปถึงการน�ำมาผลิตเป็น บรรจุภณ ั ฑ์อาหารและเครือ่ งดืม่ ด้วย ยิง่ มีการน�ำพลาสติก PET กลับมาใช้ใหม่ได้มาก เพียงใด ก็จะท�ำให้ความต้องการพลาสติกผลิตใหม่ลดลงตามไปด้วย ก็จะเป็นการ ประหยัดพลังงานและยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพราะเป็นการลดของเสียจาก พลาสติก

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 48

12/9/2562 BE 9:31 AM



12-9-61 TECHNOLOGY MEDIA AD VIRTUS_G5-3.indd 1

12/9/61 18:56


TECHNOLOGY MEDIA_NO138_2019_17-10-62_G5-4


IN TREND

รางวัล PM Export Award 2019 ชูนวัตกรรมและเทคโนโลยี สนับสนุนผู้ส่งออกไทย สู่ตลาดสากล

างวัล PM Export Award ถือเป็นรางวัลสูงสุดของรัฐบาลที่มอบให้ แก่ผปู้ ระกอบธุรกิจส่งออกดีเด่นเพือ่ เป็นเครือ่ งหมายแห่งความภาคภูมใิ จ ของประเทศและเป็นการประกาศเกียรติคุณให้เป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวาง ถึงความส�ำเร็จและความทุ่มเทของผู้ประกอบการไทยในการพัฒนาตนเอง พัฒนาสินค้าและบริการให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก ซึง่ การพิจารณาคัด เลือกบริษัทเข้ารับรางวัลในแต่ละปีจะมีขั้นตอนด�ำเนินการอย่างละเอียด รอบคอบ เป็นระบบ และโปร่งใส โดยมีคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้มั่นใจได้ว่า ธุรกิจส่งออกที่ได้รับรางวัลนี้มีคุณสมบัติที่เพียบพร้อมอย่างแท้จริง โดยรางวัลทั้ง 7 ประเภทที่มีการมอบภายในงานในปีนี้ รวมทั้งสิ้น 66 รางวัล ประกอบด้วย รางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่งออกยอดเยี่ยม (Best Exporter) เป็น รางวัลที่พิจารณายอดการส่งออกเป็นหลัก โดยจะต้องผ่านหลัก ธรรมาภิบาล การบริหารองค์กรและอื่น ๆ ตามที่กำ� หนด โดยมีปีนี้มีผู้ได้รับ รางวัลจ�ำนวน 9 รางวัล รางวัลสินค้านวัตกรรมยอดเยี่ยม (Best Innovation) เป็นรางวัลที่ พิจารณาสินค้าที่มีนวัตกรรมในทุกด้าน โดยจะต้องแสดงให้เห็น

1. 2.

52

นวั ต กรรมอย่ า งชั ด เจนด้ ว ยรู ป ลั ก ษณ์ ห รื อ ค� ำ อธิบาย โดยมีปนี มี้ ผี ไู้ ด้รบั รางวัลจ�ำนวน 1 รางวัล คือ บริษัท เดอพรีม่า เอนเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด รางวั ล แบรนด์ ไ ทยยอดเยี่ ย ม (Best Thai Brand) เป็นรางวัลที่พิจารณากล ยุ ท ธและองค์ ป ระกอบที่ ส� ำ คั ญ ในการสร้ า ง แบรนด์ โดยผ่านหลักธรรมาภิบาลการบริหาร องค์กรและอื่น ๆ ตามที่กำ� หนด โดยมีปีนี้มีผู้ได้ รับรางวัลจ�ำนวน 9 รางวัล รางวัลสินค้าไทยที่มีการออกแบบยอด เยี่ ย ม (Best Design) เป็ น รางวั ล ที่ พิจารณาแยกตามประเภทการออกแบบได้แก่ กลุ่มสินค้าเฟอร์นิเจอร์ กลุ่มสินค้าไลฟ์สไตล์ กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม กลุ่มสินค้าความคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรมผลิตภัณฑ์แฟชัน่ เครือ่ ง แต่งกาย กลุ่มสินค้าออกแบบบรรจุภัณฑ์ กลุ่ม สิ น ค้ า ผลงานกราฟิ ก ดี ไซน์ และกลุ ่ ม ผลงาน ออกแบบตกแต่งภายใน โดยผ่านหลักธรรมาภิ บาลการบริหารองค์กรและอื่น ๆ ตามที่กำ� หนด โดยมีปีนี้มีผู้ได้รับรางวัลจ�ำนวน 6 รางวัล รางวั ล สิ น ค้ า ธุ ร กิ จ บริ ก ารยอดเยี่ ย ม (Best Service Enterprise Award) เป็นรางวัลที่พิจารณาแยกตามสาขาได้แก่ สาขา

3. 4.

5.

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 52

12/9/2562 BE 9:31 AM


โรงพยาบาล/คลินิกแพทย์เฉพาะทาง สาขาดิจิทัลคอนเทนท์ และซอฟต์แวร์สาขาโลจิสติกส์การค้า (ELMA) และสาขาธุรกิจ สิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ (Printing) โดยผ่านหลักธรรมาภิบาล การบริหารองค์กรและอื่น ๆ ตามที่กำ� หนด โดยมีปีนี้มีผู้ได้รับ รางวัลจ�ำนวน 5 รางวัล รางวัลสินค้าหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ยอดเยี่ยม (Best OTOP) : เป็นรางวัลทีพ่ จิ ารณาสินค้าทีเ่ ป็น OTOP ที่ขึ้นบัญชี และได้รับดาวตามข้อก�ำหนดของกรมพัฒนาชุมชน หรือเป็น สินค้า OTOP Select ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยจะต้องมีการส่งออกและผ่านหลักธรรมาภิบาลการบริหาร องค์กรและอืน่ ๆ ตามทีก่ ำ� หนด โดยมีปนี มี้ ผี ไู้ ด้รบั รางวัลจ�ำนวน 1 รางวัล ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ฟลาวเวอร์ ฟูด รางวัลสินค้าฮาลาลยอดเยีย่ ม (Best Halal) เป็นรางวัล ที่พิจารณาสินค้าฮาลาลที่ผ่านการตรวจสอบและได้รับ เครื่องหมายฮาลาลแล้วโดยผ่านหลัก โดยมีปีนี้มีผู้ได้รับรางวัล จ�ำนวน 3 รางวัล ได้แก่ บริษัท เอ็กโซติค ฟู้ด จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท คิงเบล โปรดิวเซอร์ จ�ำกัด และห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ฟลาวเวอร์ ฟูด

6.

7.

relax muscles and prevent the breakdown of cartilage bone. Contact : golf-simaz@hotmail.com usaneeecmu@yahoo.com www.longanoid.com

BEST DESIGN The Best Design Award is awarded to products with excellent design by Selected products with the Design Excellence Award (DEmark) with the highest scores from 7 product groups in 6 companies as follows

SUMPHAT Sumphat Gallery Co., Ltd.

BEST INNOVATION The Innovation Award is given to companies that produce products or products with. The nature of innovations in environmental conservation or development of production processes or finding new materials to reduce use the energy in the production process results in 1 company that is innovative and environmentally friendly.

Longanoid De Prima Enterprise Co., Ltd.

Concept : De Prima Enterprise was established in Chiang Mai in 2014. Our objective has always been to formulate skin and body care products of the finest quality widely to Thai medicinal plants ingredients. We are professional in Thai herbal extraction especially Longan seed extract. We have used the standardized longan seed extracts as active ingredient in healthy massage cream “Longanoid” a novel natural innovative product and the first innovating invention that was developed from longan seed, the residue waste from dried longan fruit industry. The Longanoid cream help to

Concept : SUMPHAT Gallery combines the knowledge in handcrafting and industrial fields, creating the remarkable aesthetics of texture and shapes like those that distinguish natural flowers from the artificial ones and ones that exclude human beings from robots. Our works are inspired by the simplicity and humbleness of nature to bring peace and tranquility to the residents. The works are driven by ‘Wabi Sabi’ philosophy, SUMPHAT’s design combines with traditional handcrafting and the modern way of living. For many years’ journey, we have been working with the government and private sectors to learn and search for local wisdom, materials, and unclosed history. We transform them through the experiences and capabilities of our various fields of expertise such as architecture, art, and design. Finally, SUMPHAT Gallery had been established to reveal worthwhile designs and traditional techniques in new forms and bring back income to the locals. Our works connect the modern user and the local community and include several techniques for sustainability and equality share in the community. Contact : sumphatgallery@gmail.com Facebook: sumphatgallery THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 53

53

12/9/2562 BE 9:31 AM


54

Korakot Korakot International

Renim Project Bangkok Apparel Co., Ltd.

Concept : After graduating from the Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University, I have been so passionate about design because of its capability. Besides providing me with personal income, it results in the higher income of the locals. They can look after themselves as well as their families. In addition, it also maintains the Thai identities and uniqueness. Nowadays, I can help 60 people and I will continue to help more people. Design can better the society if we make good use of it. I have chosen Seesuk bamboo because of its flexibility and it has to be at least 3 years old. The techniques are adopted from kite-making techniques and the structure construction follows that of woven works. In the creation of my art works, latex and ropes are mainly used and later the works are coated by wood preservative. My works represent the local techniques and Thai culture. Colors and designs have been added in order to make it suitable for modern- styled decoration. On solid wall, my pieces of work will soften the atmosphere in a square room. I founded Korakot International Limited Partnership on December 29, 2006. It was after I had received several orders. I started off with training 10 workers in order to provide them with steady income and career opportunity in the community. I usually have my university friends help me come up with new ideas for new creations which can be divided into 3 groups: (1) sculpture; (2) sculpture and architectural construction and (3) products. My inspiration comes from the environment which I have changed into works of art with the use of natural materials, such as bamboos and hemp ropes. The techniques have been adopted from kite-making that I had learned from my grandfather who is an expert on Chula kite. I have added functions into it so that my works are suitable for decorating homes and buildings today. Through every piece, I feel that I have promoted simple techniques discovered by Thai people to the higher level with designs inspired by the surroundings in this local area. I create my pieces of work. I offer career opportunity for the locals and by doing so the community will be strengthened and finally be able to improve its capability. The product value will bring about national income which will later reach to the hands of the locals. Contact : mkt.korakot@gmail.com Facebook: korakotaromdeedesign

Concept : “SAN PAD Collection” from RENIM PROJECT is inspired by a local traditional Thai hand fan which has been creating and developing for decades by the local people’s knowledges. They use the hand fan in the kitchen to cook with stove or even to use it as a fan to release the heat of the body. RENIM PROJECT bring the valuable traditional Thai hand fan technique to create several sizes of bag together with 3 - 4 vintage denims. Remake the denims into lines with sewing technique to make them stronger, mixed with 3 vintage color t-shirts in sort of a strong line as well. From all the storing lines of these fabrics, we weave them together to be same as the traditional Thai hand fan. Inside the bag, we use the real vintage jeans to be a lining also put some waste of leather from the factory into some design of the bags. Designing and creating these bags from RENIM PROJECT are to encourage people to value the leftovers or waste and add value also decrease waste as well. Contact : bangkokapparel.co@gmail.com www.renimproject.com Instagram: renimproject Facebook: renimproject

i-Spa Bathroom Design I-SPA Co., Ltd.

Concept : In particular, Bathroom Design i-Spa is rolling out major technical innovations, such as the intelligent bathtub control systems known as i-Touch, S-spa and iSpa, i-Command, an intelligent water fill and auto stop

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 54

12/9/2562 BE 9:31 AM


command activated via mobile phone, and i-Aroma, an intelligent scented mist moisturizer. Bathroom Design company is committed to good governance, encourages personal development among its employees and endeavors to minimize the company’s impact on the environment with good was management practices. Bathroom Design i-Spa products are available at 200 outlets throughout Thailand and 30 countries in Asia, the Middle East and Europe. There was a time when Thai-made Products were considered inferior to their European or American counterparts. But that stigma has slowly faded over the year’s thanks in large part to handful of determined Thai brands that have made it their mission to prove Thai-made products can indeed shine on the international stage. One of those companies in Bathroom Design i-Spa, which has made establishing Thailand as a home for quality, innovative product one of its core business values. The brand has transformed the simple pleasure of a bath or shower at home into a luxurious sensory experience. And the world is talking notice. Renowned for innovative designs, technical expertise, using was the first Asian bathroom ware brand to win major international award including numerous prestigious Red Dot Design Awards. Bathroom design i-spa is a brand of the bathroom Design Company, Designers and manufacturers of highquality bathtubs, ceramic sanitary were, shower enclosures, massage and shower panels, and bathroom accessories. The company believes its talented Thai design and manufacturing team is one of the best in the world and capable of ensuring Bathroom Design I-Spa becomes a global brand name synonymous with high-quality sanitary ware Contact : Tel: +66 (2) 6837322 bathroomdesign@bathroomtomorrow.com Web Site: www.bathroomtomorrow.com Facebook: BathroomISPA, IspaGlobal2014

Multi+studio Multi Studio Co., Ltd.

Concept : Multi Studio is a multidisciplinary firm based in Bangkok, Thailand, which focuses on using a comprehensive design service to solve the problem of our clients who may have different needs. We integrate the skills and methods of various designers with our craftsmanship and innovation. We collaborate intensely with personal passion, from the stage of early concept development to design completion. Our services extend seamlessly - into graphics, products, branding, marketing, public relations, space, installation and design of corporate identity - to share our insights with the world. Contact : Tel. 083 718 8853 Email: Kj@multibkk.com Facebook: MultiStudio.BKK

TNOP TNOP DESIGN

Concept : TNOP™ DESIGN is one of Thailand’s leading graphic design studio, a studio that focuses on creating a perfect balance between art and design. They believe that sharp design is about the critical balance of conceptual work and craftsmanship. Their philosophy is to create a unique design that can represent client’s culture through distinct contemporary executions, materials and production techniques. TNOP DESIGN’s work has been recognized both locally and internationally with awards from RED DOT Communication Design, Tokyo Type Directors Club, New York Type Directors Club, Good Design Japan, DEmark Award Thailand and One Show and has been featured in numerous design books and periodicals. Contact : Tel. 084 159 5224 E-mail: tnop@tnop.com Web Site: www.tnop.com Facebook: tnopdesign Instagram: tnopdesign THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 55

55

12/9/2562 BE 9:31 AM


SPECIAL

area

บุญชัย เลาหะธีระพงษ์

รรจุภัณฑ์ประเภทหนึ่งที่โดยส่วนตัวของ ผู้เขียนมองเห็นพัฒนาการอย่างรวดเร็ว ในท้องตลาด ก็คือขวดใช้ “Shrink Label” ที่มี สีสัน มีดีไซน์ ที่ดูแปลกตาไปมาก ท�าให้สินค้า แลดูน่าใช้ขึ้น จนไปถึงน่าเก็บสะสมไว้เลยทีเดียว ส�าหรับบทความในวันนี้ ทางผมจะไม่ขอลง ข้อมูลเทคนิคมากมายนัก แต่อยากจะเล่าสูก่ นั ฟัง ว่าในตลาดทุกวันนี้ มีแนวการใช้ Shrink Sleeve แบบไหนทีน่ า่ สนใจบ้าง และเกีย่ วข้องอย่างไรกับ การตลาดของสินค้าต่าง ๆ การใช้ Shrink Label เป็นที่นิยมกับสินค้า หลากหลายประเภท หลากหลายแบรนด์ และ ปริมาณการผลิตทั่วโลกเพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจาก การใช้ Shrink Label ท�าให้ตัวสินค้ามีพื้นที่เพิ่ม มากขึ้นในการสื่อสารกับลูกค้า ทั้งรูปทรงของ บรรจุภัณฑ์ที่สะดุดตาน่าหยิบจับ สีสันลวดลายที่ ตกแต่งลงบนชิ้นงานได้เกือบ 360 องศา มีพื้นที่ มากกว่าการใช้ฉลากสติก๊ เกอร์ หรือฉลากกระดาษ ท�าให้สินค้าสวยงามขึ้น จนท�าให้เพิ่มยอดขายได้ หรือน�าสู่การสร้างแบรนด์ที่เป็นที่จดจ�ากับลูกค้า ต่อไป

Shrink Label

กับการตลาดยุคใหม่

รูปทรง สินค้าอุปโภคและบริโภคต่าง ๆ ที่เคยใช้บรรจุภัณฑ์และการติด ฉลากแบบอื่น ๆ หันมาเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์เป็นแบบ Shrink Label โดยมี ทั้งที่เปลี่ยนโฉมสินค้าไปเลย หรือที่น�า Shrink Label มาใช้กับสินค้าบาง รายการหรือบางโอกาส พอมีตัวอย่างอะไรบ้าง ไปดูกัน แบรนด์ยักษ์ใหญ่อย่าง Coca-Cola ที่เราเคยคุ้นตากับขวดแก้วใส และโลโก้สแี ดงทีเ่ ป็นเอกลักษณ์มายาวนาน ก็เคยออกแคมเปญทีป่ ระสบ ความส�าเร็จอย่างมากเมื่อน�า Shrink Label มาใช้กับขวด แต่ที่เหนือกว่า การเปลี่ยนให้ขวดดูดีขึ้นนั้น ยังแฝงการตลาดที่ฉลาดล�้าโดยการโปรโมท ว่า Coke แต่ละขวดนัน้ ไม่ซา�้ กัน ขวดทีซ่ อื้ ไปมีแค่ขวดเดียวในโลก การท�า Shrink Label แบบมาเหนือเมฆนี้ ไม่ได้ใช้การพิมพ์ด้วย Gravure ที่เน้น จ�านวนและราคา แต่เป็นการใช้ระบบการพิมพ์ Digital และ Software ที่ ทันสมัยมาพิมพ์ฉลากออกมาให้ไม่เหมือนกันเป็นล้าน ๆ ชิน้ ได้ แน่นอน ว่าต้นทุนบรรจุภัณฑ์ของ Coke นี้เพิ่มขึ้น แต่ยอดขายและการสร้าง แบรนด์ของ Coca-Cola นั้นเพิ่มสูงขึ้นมาก และคุ้มค่าการลงทุนในที่สุด

นอกจากความสวยงามและดี ไซน์ แ ล้ ว Shrink Label สามารถใช้กบั สินค้าได้หลายประเภท เนื่ อ งจากสามารถห่ อ หุ ้ ม ลงบนบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ด้ หลากหลายรูปแบบ ทั้งขวดพลาสติก ขวดแก้ว กระป๋องโลหะ ฯลฯ และเข้ากับสินค้าได้หลากหลาย 56

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 56

12/9/2562 BE 9:31 AM


อีกสินค้าหนึ่งที่ขายของอย่างเดียว คล้ า ยกั บ กรณี ข อง Coke แต่ ทำ�ตั ว บรรจุ ภัณ ฑ์ ให้ น่า สนใจ แปลกตา เรียก ลูกค้าได้ ก็คือ ช็อกโกแลต Nutella

และสำ�หรับสินค้าที่มีรสชาติ สูตร ส่วนผสมที่ แตกต่างกันไป การใช้ Shrink Label ช่วยให้สินค้า สื่อสารได้ง่ายขึ้นว่าแต่ละชิ้นแตกต่างกัน ด้วยการใช้ สีสนั และรูปภาพทีม่ ขี นาดใหญ่ ล้อมรอบตัวบรรจุภณ ั ฑ์ ผูบ้ ริโภคเห็นชัด ๆ กันไปเลยว่า สีไหน แบบไหน รสไหน จะได้เลือกได้ถูกใจ

ส� ำ หรั บ แบรนด์ ที่ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ยู ่ ห ลากหลาย ระดับ ทั้งตลาดระดับ บน กลาง ล่าง หรือแบ่งเป็น สินค้ามาตรฐาน กับสินค้าพรีเมียม ก็เริ่มมีการใช้ Shrink Label กับสินค้าในระดับสูง (แต่ยังคงใช้ Label แบบปกติกับสินค้ามาตรฐาน) ทั้งนี้เพื่อให้สินค้าที่เป็น ระดับสูงขึ้นนั้นมีความโดดเด่นกว่าปกติ ดูดี มีมูลค่า แตกต่ า งจากสิ น ค้ า มาตรฐานของแบรนด์ ต นเอง ตัวอย่างเช่น แบรนด์ Pantene Pro-V ออกสินค้า

พรีเมียมใช้ส่วนผสมพิเศษ เพิ่มสรรพคุณต่าง ๆ ลงไป ก็ใช้ Shrink Label ทีต่ กแต่งสีสนั จัดเต็ม ทัง้ การใช้สารเคลือบพิเศษแบบ Soft Touch และการใช้ฟอยล์ Lens และ Hologram เข้าไปตกแต่งจุดส�ำคัญให้สนิ ค้า ดูสะดุดตาและเพิ่มความพรีเมียมให้กับสินค้าอย่างชัดเจน

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 57

57

12/9/2562 BE 9:32 AM


อีกรูปแบบหนึ่งของการใช้ Shrink Label ในการทำ�การตลาด คือการ ออกบรรจุภัณฑ์แบบ Limited Edition และเป็นการ Co-branding กับสินค้า อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องเลย ขอยกตัวอย่างจากสินค้าฝั่งแบรนด์ไทยกันบ้าง เช่น น้ำ�ดื่ม Sprinkle ที่อยู่ ๆ ก็เปลี่ยนขวดของตัวเองเป็นสีสันและมีรูปตัวละคร จาก Star Wars เป็นการจับกระแสจากภาพยนตร์มาลงในน้ำ�ดื่ม เพิ่มยอด ขายน้ำ�ดื่มได้แบบเนียน ๆ อีกตัวอย่าง ของสินค้าน�ำ้ ดื่มเช่น กัน ทีแ่ บรนด์นำ�้ แร่ Purra ไป Collaborate กับแบรนด์ “Sirivannavari Bangkok” แบรนด์แฟชัน่ ชัน้ น�ำของไทย ออกน�ำ้ ดืม่ Limited Collection Autumn/Winter มี ทัง้ หมด 3 ดีไซน์ โดยทางแบรนด์ Purra ต้องการเปลี่ยนการสร้างแบรนด์ของ น�้ำแร่ แบบเดิมที่เน้นฟังก์ชันที่ดื่มแล้ว สดชื่น ดีต่อสุขภาพ กลายมาเป็นดื่ม แล้วดูดี มีรสนิยม เปลี่ยนภาพลักษณ์ ไปเป็น Fashion Brand ตอบโจทย์ของ ฐานลูกค้าของน�้ำแร่ ที่ส่วนใหญ่เป็น กลุม่ ผูห้ ญิง ด้วยผลส�ำรวจทีพ่ บว่านอก จากผู ้ ห ญิ ง ต้ อ งการดู ดี จ ากภายใน ร่ า งกายแล้ ว ยั ง ต้ อ งการดู ดี จ าก ภายนอกด้วย จึงหยิบเอาแฟชั่นมาใส่ บนขวดนั่นเอง จากตัวอย่างต่าง ๆ ที่ได้หยิบยกมาในวันนี้ พอจะสรุปได้ว่า แบรนด์ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ในยุคนี้ เล่นกับอารมณ์ของผู้บริโภคมากขึ้น สินค้าดีมี คุณภาพ ก็ตอ้ งมีบรรจุภณ ั ฑ์ทสี่ อื่ สารทางการตลาดได้ดี จึงเป็นทีม่ าของการ ใช้ Shink Label ในแบบที่หลากหลายมากขึ้น ส�ำหรับท่านผู้อ่านที่อยู่ใน แวดวงบรรจุภัณฑ์ทั้งที่ท�ำฉลากหรือขวดโดยตรง หรือบรรจุภัณฑ์ประเภท อืน่ ๆ คงได้ไอเดียจากบทความนีไ้ ปไม่มากก็นอ้ ย หวังว่าจะใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนางานบรรจุภัณฑ์ของท่านให้ทันตามเทรนด์การตลาดยุคใหม่นี้ และพบกันใหม่ในฉบับหน้าครับ…

บริษัท เคิร์ซ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 2869-2869/1 ถนนริมทางรถไฟสายปากน�้ำ แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2671-7505

58

|

แฟกซ์ 0-2671-7711

|

อีเมล : sales@kurz.co.th

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 58

12/9/2562 BE 9:32 AM


22-11-62 TECHNOLOGY MEDIA No138 AD Omron_G5-3.indd 1

11/22/19 4:37 PM


SPECIAL

area

บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ากัด

การรักษา อุณหภูมิของซีล ในเครื่อง Packing

NX-TC NX Series

Temperature Control Units

ป็นที่ทราบกันในผู้ผลิตเครื่อง Packing ซีลโดยใช้ ความร้อนไม่วา่ จะเป็นเครือ่ งแนวดิง่ (Vertical Form Fill and Seal) หรือจะเป็นเครือ่ งตามแนวนอน (Horizontal Form Fill and Seal) ก็ตาม อุณหภูมิที่ต�าแหน่งการซีลเป็น หัวใจของคุณภาพการตัดและการซีลเป็นอย่างมาก การซีล ที่ดีจะต้องซีลให้สนิทปราศจากการรั่วซึม และมีแนวการซีล ที่แข็งแรงรองรับการบีบกดบนตัวสินค้าระหว่างการส่งและ การใช้งานได้ การซีลจะต้องให้ความร้อนจนสามารถตัด ตัวสินค้าให้หลุดออกจากกัน (Cutting) อย่างแม่นย�า

60

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 60

12/9/2562 BE 9:32 AM


ในทางปฏิบัติ การซีลทุกครั้งใบมีด จะสูญเสียความร้อนที่ต้องให้กับสินค้า และเมือ่ สินค้าถูกซีลโดยรับพลังงานเต็มที่ ใบมี ด จะถู ก ดั น ออกจากตั ว สิ น ค้ า ใน จังหวะนี้เองอุณหภูมิของใบมีดจะอยู่ใน จุ ด ที่ ต�่ า สุ ด และจะต้ อ งได้ รั บ การเติ ม พลังงานจากฮีตเตอร์ เพือ่ เร่งอุณหภูมขิ นึ้ จนสามารถท�างานได้ในครั้งถัดไป ปั ญ หาอยู ่ ที่ ห ากเราต้ อ งการ เครื่องจักรที่มีอัตราการท�างานสูงขึ้น จึง ต้ อ งเติ ม ความร้ อ นให้ กั บ ใบมี ด เร็ ว พอ การเพิม่ ค่าตัง้ อุณหภูมิ (ให้รอ้ นขึน้ ) ถึงแม้ เป็ น ค� า ตอบแต่ ก็ ส ่ ง ผลให้ ร อยซี ล ไหม้ และหลอมละลายจนเสียรูป การรักษา อุณหภูมิให้สูงอย่างพอเหมาะและการ เร่งเติมพลังงานเข้าระหว่างครั้ง จึงเป็น ค�าตอบที่ดีกว่า

ผู้ผลิตระบบควบคุมอุณหภูมิเช่นออมรอน ตระหนักถึงปัญหาและความ ต้องการดังกล่าว จึงน�าเทคโนโลยีขนั้ สูงอย่าง AI (Artificial Intelligence) มาประยุกต์ ใช้ โดยการใช้เซ็นเซอร์หรือสัญญาณในระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นอินพุท เพื่อให้ วิเคราะห์ถึงสิ่งที่ก�าลังจะเกิดขึ้น หลอมรวมกับระบบ Auto Tuning ใช้จังหวะของ เครือ่ งแพ็กและใบมีดเป็นตัวก�าหนดการ Pre-boot หรือการเติมความร้อนล่วงหน้า ที่อย่างชาญฉลาด ระบบ AI จะช่วยรักษาอุณหภูมเิ ป้าหมายและท�าการเรียนรูป้ รับตัวให้เข้ากับ เงื่อนไขการท�างานไม่ว่า เครื่องจักรก�าลังเดินหรือวิ่ง ความเร็วช้าหรือเร็ว ซีลหนา หรือซีลบาง หรือมีการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ ระบบ AI จะเรียนรู้และรักษาระดับ อุณหภูมิและคาดการณ์ช่วงที่อุณหภูมิลดและแก้ไขด้วย Pre-boot Signal เทคโนโลยีนก้ี า� ลังจะก้าวมาเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพให้กบั เครือ่ งซีล และท�าให้ เครื่องที่ผลิตในบ้านเรา สามารถทัดเทียมเครื่องจากต่างประเทศ (ชั้นน�า) ได้ แน่นอน

***Referance Catalog : http://www.omron-ap.co.th/data_pdf/cat/nx-tc_ h229-e1_1_6_csm1061207.pdf?id=3699

เยี่ยมชมเว็บไซต์ ไดที่ http://www.omron-ap.co.th/packaging/ สนใจทดสอบหร�อสอบถามรายละเอียดเพ�่มเติม สามารถติดต่อไดที่ บร�ษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ากัด โทร. 0-2942-6700 http://www.omron-ap.co.th THAI PACKAGING NEWSLETTER

September - October 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 61

61

12/9/2562 BE 9:32 AM


6-12-62 TECHNOLOGY MEDIA NO#138 ad KONICA G5-4.indd 1

6/12/62 20:16


ksorn

ProPakAsiaFP.pdf

1

9/9/2562 BE

4:56 PM

TECHNOLOGY MEDIA_NO138_2019_17-10-62_G5-4


SPECIAL

area

บริษัท หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์ จำ�กัด (มหาชน)

Do You Know

TRACK & TRACE Solution? Improved outcome through Product Identification

คุณรู้จักโซลูชั่นตรวจติดตามผลิตภัณฑ์ (Track & Trace) หรือไม่? 2D Datamatrix คืออะไร

ปัจจุบันได้เริ่มมีการน�ำ 2D Datamatrix มาใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจาก มีคุณสมบัติที่โดดเด่นในหลาย ๆ ด้าน ด้วยความสามารถในการบรรจุข้อมูลได้ มากในรูปแบบสัญลักษณ์ขนาดเล็ก ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะการน�ำไปใช้ โดย ผู้ผลิตสามารถส่งต่อข้อมูล (2D Datamatrix) และอ่านด้วยสแกนเนอร์ หรือ เพียงสแกนด้วยแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนทั่วไป ซึ่งตรงนี้เองที่ท�ำให้ผู้ผลิต สามารถส่งผ่านข้อมูลไปถึงผู้บริโภคได้ ไม่ว่าผู้บริโภคจะต้องการทราบข้อมูล ด้านโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหารเพิ่มเติม เพิ่มความปลอดภัยหรือส่งเสริม ในการแข่งขันชิงรางวัล แต่มีหลายสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อน�ำ 2D Datamatrix มาใช้ การเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นผิวของผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี ในสายการผลิตของคุณเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ขนาด

2D Datamatrix จะมีขนาดเล็กแต่มคี วามสามารถรองรับการจุขอ้ มูลได้มาก ช่วยให้ผู้ผลิตสามารถใช้ข้อมูลในการตรวจสอบย้อนกลับที่ครอบคลุมได้ โดย ไม่เสียรูปลักษณ์หรือความสวยงามของบรรจุภัณฑ์

ตำ�แหน่งที่พิมพ์บนบรรจุภัณฑ์

การวางต�ำแหน่งของ 2D Datamatrix ควรวางบนพื้นเรียบไม่มีรอยต่อ ไม่เป็นต�ำแหน่งรอยพับหรือมีความโค้งของบรรจุภณ ั ฑ์และมีพนื้ ทีเ่ ว้นว่างโดยรอบ เพื่อให้เครื่องสแกนสามารถอ่าน 2D Datamatrix ได้ง่าย และที่สำ� คัญควรพิมพ์ ข้อมูลตัวเลข/ตัวอักษรก�ำกับในต�ำแหน่งใกล้เคียงไว้ด้วย

ซอฟต์แวร์ สำ�หรับพิมพ์ 2D Datamatrix

การพิมพ์ 2D Datamatrix ต้องใช้ซอฟต์แวร์เฉพาะเนื่องจากมีหลากหลาย ซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้ บางซอฟต์แวร์อาจรวมอยู่ในเครื่องพิมพ์รหัสและบางส่วน ก็เป็นซอฟต์แวร์แยกย่อยต่างหาก แนะน�ำให้เลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่สามารถพิมพ์ 2D Datamatrix ได้ตามมาตรฐาน ISO/IEC 16022 หรือมาตรฐานอื่นที่รองรับ และต้องเป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถตั้งโปรแกรม FNC1 ของมาตรฐาน GS1

64

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 64

12/9/2562 BE 9:32 AM


ความสอดคล้อง

2D Datamatrix จะมีประสิทธิภาพหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่า อ่านข้อมูลได้หรือไม่ นั้นเป็นเหตุผลที่คุณภาพการพิมพ์และ ความต่างของสีเป็นสิ่งส�าคัญ และที่ส�าคัญเช่นกันคือคู่ค้าของ คุณใช้เทคโนโลยีเหมือน ๆ กันหาก 2D Datamatrix ติดปัญหา อ่านไม่ได้หรือคู่ค้าใช้เทคโนโลยีเฉพาะ ก็อาจต้องติดฉลากใหม่ ในขณะที่ผลิตภัณฑ์เคลื่อนผ่านแต่ละขบวนการในการกระจาย จ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ การน�า 2D Datamatrix มาใช้จะเป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพ และความสามารถในกระบวนการผลิต การกระจายสินค้าตลอด ไปจนถึงมือผู้บริโภคที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลออนไลน์และข้อมูล บนฉลากสินค้ามากขึน้ เพือ่ ปกป้องตนเองจากสินค้าปลอมแปลง หมดอายุ หรือไม่ปลอดภัย ผู้ผลิตเองก็สามารถตรวจติดตาม สินค้าและเชื่อมโยงข้อมูลต่าง ๆ ได้ในทุก ๆ กระบวนการ ผ่าน 2D Datamatrix ได้ด้วยเช่นกัน

รูปทรง

2D Datamatrix ส่วนใหญ่เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งเป็นรูปแบบ ทีน่ ยิ มใช้กนั แต่อย่างไรก็ตาม รูปแบบสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ายังคงเป็นทีน่ ยิ ม ในสายการผลิตที่มีความเร็วสูง

สีและความต่างของสี

2D Datamatrix กับสีพื้นหลังโดยทั่วไปจะเป็นสีด�าและขาว ซึ่งเป็นสีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ส่วนสีอื่น ๆ เช่น สีเขียวเข้มหรือ สีน�้าเงินเข้ม ก็สามารถใช้งานได้ แต่บางกรณีสีแดงนั้นจะปรากฏ เป็นสีขาวเมื่อใช้สแกนเนอร์แสงสีแดงอ่าน บริเวณรหัสควรใช้สีเข้ม สนิท เช่น ด�า น�้าเงิน หรือสีที่มีสัดส่วนของสีด�าสูง หลีกเลี่ยงสีโทน กลาง ๆ ซึ่งเป็นสีที่ไม่สว่างหรือมืด อาจท�าให้เครื่องสแกนอ่าน 2D Datamatrix ไม่พบเพราะแสงสะท้อน รวมทั้งพื้นผิวมันวาวและ บรรจุภัณฑ์ใสอาจท�าให้เกิดปัญหาการอ่าน เนื่องจากความต่างของ สีไม่เพียงพอ

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์ จ�ากัด (มหาชน) โทร. 0-2203-0868 E-mail : marketing3@harn.co.th www.harn.co.th

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 65

65

12/9/2562 BE 9:32 AM


Sansin2P.pdf

1

10/15/2562 BE

1:18 PM

TECHNOLOGY MEDIA_NO138_2019_15-10-62


Sansin2P.pdf

2

10/15/2562 BE

1:19 PM

TECHNOLOGY MEDIA_NO138_2019_15-10-62


10537-14-11-62 TECHNOLOGY MEDIA NO138 AD PRINTING_G5-3



PACKAGING NEWS

news

เคร�่องพ�มพสปดมาสเตอร รุน CX 75 และ XL 75 โฉมใหม

เครื่องพิมพ์สปดมาสเตอร์ รุน CX 75 ไฮไลท์ด้วยดีไซน์ใหม่ที่ ทันสมัย อาทิ การใช้โครงคานสีเงินในส่วนป้อนกระดาษขาเข้าและ ส่วนรับกระดาษขาออกและโดดเด่นยิง่ ขึน้ ด้วยวิธกี ารท�างานตามแบบ ของเครื่องพิมพ์สปีดมาสเตอร์ XL 106

การออกแบบตามหลักการยศาสตร์* นีช้ ว่ ยลดภาระ การทำางานของช่างที่ใชงานเคร�่องไดเปนอย่างดี ว�ธกี ารทำางานทีถ่ า่ ยทอดตามหลักปรัชญาเดียวกับ เคร�่องในระดับ XL 106 เพ�่อใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด เทคโนโลยีแห่งอนาคตนี้มีอัตราการขายต่อได ใน ราคาที่สูง เคร�อ่ งพ�มพ์สปดมาสเตอร์ รุน่ CX 75 ไดเปดตัวครัง้ แรกในงาน Pack Print International 2019 ใน ประเทศไทย เมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา และจะ ทำาการเปดตัวที่ สถาบันสือ่ การพ�มพ์ (Print Media Center) ในเมืองว�สลอช-วอลดอร์ฟ (WieslochWalldorf) ประเทศเยอรมนี ในเดือนตุลาคมนี้ าหรับโรงพิมพ์ขนาดกลางและขนาดเล็กทีม่ จี า� นวน มากในปัจจุบนั เครือ่ งพิมพ์ขนาดตัด 3 (50x70 ซม.) เป็นรุ่นที่เหมาะสมลงตัวส�าหรับการท�างานพิมพ์ตั้งแต่ สิ่ ง พิ ม พ์ ทั่ ว ไปจนถึ ง งานบรรจุ ภั ณ ฑ์ โรงพิ ม พ์ ที่ พิ ม พ์ บรรจุภณ ั ฑ์ยาและเครือ่ งส�าอางนิยมใช้เครือ่ งพิมพ์ขนาด ตัด 3 เพราะเหมาะที่จะใช้ผลิตงานพิมพ์กล่องพับขนาด เล็กทีม่ กี ารตกแต่งหลังพิมพ์ซงึ่ เน้นการพิมพ์งานยอดสัน้ ดูจากเครือ่ งพิมพ์ รุน่ Speedmaster CD 74, XL 75 และ CX 75 ทีม่ กี ารส่งมอบไปแล้วนับรวมได้กว่า 19,000 ยูนติ พิมพ์ เป็นเครื่องยืนยันได้ถึงความนิยมในเครื่องพิมพ์ ขนาดดังกล่าว จึงเป็นเหตุผลเพียงพอให้ทางไฮเดลเบิร์ก ปรับปรุงรูปลักษณ์เครื่องรุ่นดังกล่าวให้มีความทันสมัย โดยเน้นการออกแบบให้เป็นไปตามหลักการยศาสตร์ และท�าให้เป็นเครื่องที่มีความเป็นมิตรกับผู้ใช้งานและ ตอบสนองความต้องการผู้ใช้มากยิ่งขึ้น โดยเครื่องพิมพ์ รุน่ ใหม่นมี้ กี า� หนดการส่งมอบได้ตงั้ แต่ตน้ เดือนกันยายน 2562 70

ทันสมัย โดยการออกแบบตามหลักการยศาสตร์ การพัฒนาเครือ่ งพิมพ์ยอดนิยมในรุน่ ขนาดตัด 3 นีย้ งั คง ด�าเนินไปอย่างต่อเนือ่ ง ยกตัวอย่างเช่น ในงานแสดงการพิมพ์ Drupa 2016 ก็ได้มีการเปิดตัวระบบการท�างานพื้นฐานตาม หลักปรัชญา Push to Stop ซึ่งท�างานร่วมกับระบบซอฟต์แวร์ อัจฉริยะ Intellistart 2 ท�าให้สามารถเพิ่มผลผลิตได้สูงสุดและ ท�างานอัตโนมัติได้ต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง เครื่องพิมพ์สปีดมาสเตอร์รุ่น CX 75 ซึ่งได้มีการเปิดตัว ในเดือนกันยายนที่ผ่านมานี้ ก็ได้รับการออกแบบปรับปรุงให้ ตรงกับความต้องการของโรงพิมพ์ขนาดเล็กทีม่ กี ารท�างานหนึง่ กะหรือสองกะ โดยโรงพิมพ์จะได้รบั ประโยชน์จากขนาดเครือ่ ง ที่เล็กลงและความยืดหยุ่นในการใช้งานวัสดุการพิมพ์ได้หลาก หลาย แฟรงค์ ซุสเซอร์ (Frank Süsser) ผู้จัดการฝ่าย ผลิตภัณฑ์เครือ่ งพิมพ์ขนาดตัด 3 กล่าวว่า “เราเล็งเห็นถึงความ ส�าคัญว่าหลักการยศาสตร์ของผู้ใช้งานมีความส�าคัญเพิ่มขึ้น มาก แม้ว่าระบบอัตโนมัติจะช่วยเราในการท�างานซ�้า ๆ ได้ หลายอย่างในทุกวันนี้ก็ตาม แต่ผู้ปฏิบัติงานพิมพ์ก็ต้องขึ้นไป ท�างานอยู่บนเครื่องพิมพ์ เช่น เปลี่ยนแม่พิมพ์ เติมหมึก เปลีย่ นผ้าส�าหรับชุดล้างอัตโนมัติ เปลีย่ นผ้ายาง หรือการบ�ารุง รักษาต่าง ๆ พื้นที่ว่างระหว่างหน่วยพิมพ์ของเครื่องพิมพ์สปีด มาสเตอร์ XL 75 และ CX 75 นัน้ ออกแบบมาให้อย่างเหมาะสม อย่างไรก็ตาม เราก็กา้ วไปอีกขัน้ หนึง่ โดยการปรับเปลีย่ นแนวคิด การจัดการพื้นที่การท�างานให้มีความทันสมัยยิ่งขึ้น หลักการออกแบบเครื่องพิมพ์สปีดมาสเตอร์ รุ่น XL 106 ทีย่ อดเยีย่ มจึงเป็นแรงบันดาลใจและถูกน�ามาถ่ายทอดแนวคิด มาสู่การออกแบบเครื่องพิมพ์สปีดมาสเตอร์ รุ่น XL 75 และ CX 75 ด้วย ซึ่งได้รวมถึงแนวคิดในเรื่องออกแบบพื้นที่ท�างาน บนเครื่อง และการท�าโครงคานของเครื่องพิมพ์ใหม่ทั้งในส่วน ป้อนกระดาษขาเข้าและส่วนรับกระดาษขาออกซึง่ เป็นการเพิม่ ศักยภาพของเครื่องพิมพ์ได้อย่างชัดเจน

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 70

12/9/2562 BE 9:32 AM


นอกจากการจัดแสดงในงาน Pack Print International 2019 ที่ไบเทค กรุงเทพฯ แล้ว เครื่องพิมพ์รุ่น CX 75 ดังกล่าว จะน�ามาจัดแสดงที่สถาบันสื่อการพิมพ์ (Print Media Center) ของไฮเดลเบิรก์ ในเมืองวิสลอช-วอลดอร์ฟ (Wiesloch-Walldorf) ในประเทศเยอรมนี ในเดือนตุลาคม 2562 นี้ ซึ่งนี่จะเป็นการ เผยโฉมน�าร่องก่อนถึงงาน drupa 2020 ที่จะมีโซลูชั่นที่เป็น นวัตกรรมที่น่าสนใจอื่น ๆ ติดตามมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้าง ความส�าเร็จยิง่ ๆ ขึน้ ไปให้กบั ลูกค้าในกลุม่ เครือ่ งขนาดตัด 3 นี”้ แฟรงค์ กล่าว

การออกแบบใหม่ตามหลักการยศาสตร์ ได้รับการ ตอบรับอย่างดียิ�งจากลูกค้า เครือ่ งพิมพ์สปีดมาสเตอร์ รุน่ CD 74 นับเป็นเครือ่ งยอด นิยมอีกหนึ่งรุ่น รวมทั้งเครื่องพิมพ์สปีดมาสเตอร์ XL 75 รุ่น ใหม่นี้จะเป็นการก้าวกระโดดขึ้นสู่อีกหนึ่งระดับ การได้ลองใช้ เครื่องใหม่นี้แม้เพียงไม่กี่วัน จะท�าให้ช่างพิมพ์ถูกใจและไม่ อยากหวนคืนไปสูส่ ภาพการท�างานแบบเดิมก่อนทีจ่ ะมีการปรับ แบบตามหลักการยศาสตร์เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่นี้อีกเลย การ ท�างานบนเครื่องพิมพ์ใหม่นี้จะสนุก การเดินเครื่องจะท�าได้ สะดวกสบายยิ่งขึ้นและลดความเหนื่อยล้าลงอย่างมาก

เครื่องพิมพ์สปดมาสเตอร์ XL 75 5 สี พร้อมหน่วยเคลือบเครื่อง แรกของโลกทีม่ รี ปู ลักษณ์ใหม่ได้รบั การติดตัง้ เมือ่ เร็ว ๆ นีท้ โี่ รงพิมพ์ ธีลเลอร์ ดรุค เอจี (Theiler Druck AG) โดย ไมเคิล ชวานเดอร์ (Michel Schwander) ผู้จัดการทั่วไป และ ฟลิป ธีลเลอร์ (Philipp Theiler) เจ้าของโรงพิมพ์และเป็นบรรณาธิการ ต่างยืนยันว่าการ ท�างานในปัจจุบันมีความสะดวกสบายมากขึ้นและช่างเหนื่อยล้า น้อยลง

ด้วยรูปลักษณ์ใหม่ของเครื่องพิมพ์ Speedmaster XL 75 และ XL 75 Anicolor ทีอ่ อกแบบตามหลักการยศาสตร์จะช่วยขจัดความ เหนื่อยล้าจากการท�างานของช่างผู้ปฏิบัติงาน

ทัง้ นี้ ไมเคิล ชวานเดอร์ (Michel Schwander) หัวหน้า แผนกการพิมพ์คอมเมอร์เชียลของโรงพิมพ์ ธีลเลอร์ ดรุค๊ เอจี ทีต่ งั้ อยูใ่ นเมืองวอลเลอราว (Wollerau) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รายงานอย่างมีความสุขว่า “นอกเหนือจากเทคโนโลยีใหม่ ล่าสุดแล้ว เครื่องพิมพ์นี้ก็ยังทันสมัย” “เครื่องพิมพ์สปีดมาสเตอร์ XL 75 5 สี พร้อมหน่วย เคลือบ ที่มีรูปลักษณ์ใหม่เครื่องแรกของโลกนี้จะได้รับการ ติดตัง้ เร็ว ๆ นีท้ โี่ รงพิมพ์ ธีลเลอร์ ดรุค เอจี ขณะนี้ เครือ่ งพิมพ์ ของไฮเดลเบิร์กที่มีการติดตั้งระบบ AutoPlate Pro, Prinect Inpress Control, และระบบการปรับตัง้ ล่วงหน้าเต็มระบบ ช่วย ท�าให้การท�างานแต่ละขัน้ ตอนง่าย รวดเร็ว ด้วยการจัดการโดย ระบบอัตโนมัตทิ สี่ มบูรณ์แบบ และสามารถติดตามการท�างาน ได้ตลอดเวลาบนหน้าจอควบคุมขนาดใหญ่ (Wallscreen) ซึ่ง นีห่ มายความว่าเราสามารถผลิตงานพิมพ์งานต่องานได้อย่าง ต่อเนื่อง ประสิทธิภาพการผลิตสูงและรวดเร็ว” ไมเคิล สรุป ให้เห็นสิ่งที่ได้รับว่า เครื่องพิมพ์รุ่นนี้เหมาะกับการพิมพ์งาน โบรชัวร์ งานเอกสารส่งทางไปรษณีย์ เอกสารโฆษณา และ บรรจุภัณฑ์ สิง่ ทีล่ กู ค้าชอบเกีย่ วกับเครือ่ งพิมพ์สปีดมาสเตอร์ รุน่ XL 75 ก็คอื ความยืดหยุน่ ในการผลิตงานได้หลายประเภท ผลผลิต สูง และคุณภาพงานพิมพ์ทดี่ เี ยีย่ ม ไม่วา่ จะเป็นเครือ่ งพิมพ์ใน รุ่นมาตรฐาน หรือรุ่นที่มีการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมเพื่อให้มี ความอัตโนมัตสิ งู สุดส�าหรับการท�างานพิมพ์แบบอัตโนมัตแิ ละ การท�างานแบบปรับตัง้ ล่วงหน้า ตลอดจนเทคโนโลยีอนิคลั เลอร์ (Anicolor) ที่สามารถควบคุมหมึกพิมพ์ได้สูงสุด ด้วยความนิยมอย่างสูงของเครื่องรุ่นนี้ ท�าให้ราคาขาย ต่อเครื่องมีราคาสูง ซึ่งเป็นการสร้างความมั่นใจในการลงทุน ซื้อเครื่อง *การยศาสตร์ คือศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง คนและส่วนต่าง ๆ ของระบบ และความเชี่ยวชาญในการประยุกต์ ใช้ทฤษฎี หลักการ ข้อมูล และวิธีการ ในการออกแบบเพื่อท�าให้ มนุ ษ ย์ มี ค วามเป็ น อยู ่ ที่ ดี ที่ สุ ด และระบบได้ ท� า งานอย่ า งมี ประสิทธิภาพสูงสุด THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 71

71

12/9/2562 BE 9:32 AM


NEWS

บร�ษัท เคิร์ซ (ประเทศไทย) จ�ากัด โชว์นวัตกรรมใหม่ในงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2019

มื่อวันที่ 18–21 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา KURZ ได้ ร่วมออกบูธในงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2019 โดยการออกบูธครั้งนี้ถือเป็นการตอกย�้าจุดยืนของ KURZ ที่ ต ้ อ งการเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการเพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กั บ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ รวมไปถึงการน�า เสนอนวัตกรรมใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนช่วยเพิ่ม ความสวยงามให้กบั สิง่ พิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ และยังเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย โดยคอนเซ็ปต์ของบูธ KURZ ในงานครัง้ นีค้ อื “Making Every Surface Unique” ซึ่งคอนเซ็ปต์นี้ยังเป็น Mission Statement ใหม่ของบริษัทเช่นกัน และในครั้งนี้ KURZ น�า เสนอ 4 นวัตกรรมใหม่ ดังต่อไปนี้

COLD FOIL ส� า หรั บ งานพิ ม พ์ แ ผ่ น ด้ ว ยระบบ Offset เทคโนโลยีการตกแต่งฟอยล์รักษ์โลก 2. KURZ DIGITAL SOLUTION เป็นการใช้เทคโนโลยี IT เข้า มาเสริมกับงาน Packaging 3. LUMAFIN ฟอยล์ใส สีโปร่งแสง เงางามสูง นวัตกรรมใหม่ที่ ยังไม่เคยมีมาก่อน 4. H+M STAMPING DIE บล็อกปัมฟอยล์ จากเทคโนโลยี ล�้าสมัย ให้ความละเอียดสูง ทางทีมงานของ KURZ ขอขอบพระคุณแขกที่มาเยี่ยมชมบูธ และทีมผูจ้ ดั งาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2019 ทีใ่ ห้การ สนับสนุน KURZ มาอย่างต่อเนื่อง และ KURZ เองจะกลับมาอีก ครั้งในงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2021 แน่นอน

1.

หากท่านใดที่พลาดโอกาสไปเยี่ยมชมบูธ KURZ ในครั้งนี้ และสนใจขอมูล ก็สามารถติดต่อโดยตรงที่ บริษัท เคิร์ซ (ประเทศไทย) จ�ากัด โทร. 0-2761-7505 หรือ www.kurz.co.th 72

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 72

12/9/2562 BE 9:32 AM


TECHNOLOGY MEDIA_NO138_2019_15-10-62


SPECIAL

interview กองบรรณาธิการ

ธีรเสฏฐ เจริญพูนสิริ

นักบริหารหนุมไฟแรง แหง จี.ดี. โปรแพค ทายาทคนสําคัญ ผลักดัน ผลิตภัณฑพิเศษพลาสติก สูเทคโนโลยีดิจิทัล

ค ธีรเสฎฐ์ เจริญพูนสิริ

74

ความคิดสร้างสรรค์และผลิตภัณฑ์ที่ดี ต้องควบคู่ไปกับความรู้ในการผลิตและ พัฒนาทีต่ อบโจทย์ความต้องการของลูกค้า และ ด้วยประสบการณ์ความรูค้ วามช�านาญอย่างมือ อาชีพ ประกอบกับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง กลายมาเป็นนโยบายคุณภาพที่ผ่านการผลิต และจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ ล้วนเกิดจากแนวคิด ของผูน้ า� องค์กรทีม่ วี สิ ยั ทัศน์กว้างไกล โดยเฉพาะ ผู้บริหารรุ่นใหม่ ไฟแรงที่ปรับตัวให้เท่าทันยุค ดิจทิ ลั เพือ่ น�าองค์กรไปสูค่ วามเป็นบริษทั ชัน้ น�าที่ ได้รับความน่าเชื่อจากผู้บริโภคทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 74

12/9/2562 BE 9:32 AM


เช่นเดียวกับ บริษทั จี.ดี. โปรแพค จ�ำกัด ผูป้ ระกอบการธุรกิจด้านการพิมพ์ การผลิตและจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ฟิล์ม ฮีททรานซ์เฟอร์และฉลากอินโมลด์แบบ ครบวงจรให้แก่บริษัทชั้นน�ำในประเทศ และต่ า งประเทศ ซึ่ ง ได้ ผู ้ บ ริ ห ารหนุ ่ ม รุ่นใหม่ไฟแรงด้วยวัยเพียง 30 ปี นั่นคือ ธี ร เสฏฐ์ เจริ ญ พู น สิ ริ ผู ้ จั ด การฝ่ า ย พั ฒ นาธุ ร กิ จ เป็ น บุ ต รชายคนโตและ เป็นทายาทคนส�ำคัญของ ฐิตเศรษฐ์ เจริญพูนสิริ กรรมการผู้จัดการ บริษัท จี.ดี. โปรแพค จ�ำกัด และบริษัท จี.ดี. พลาสติ ก จ� ำ กั ด ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ชั้ น น� ำ

ในฐานะเป็น บริษัทผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์ฮีททรานซ์เฟอร์และ ฉลากอินโมลด์ เล็งเห็นถึง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ดิจิทัลซึ่งเราต้องปรับตัว ให้ทันและเรียนรู้ ตลอดเวลา

ในวงการด้ า นการพิ ม พ์ ม ากว่ า 13 ปี โดย ธีรเสฏฐ์ ได้รับการถ่ายทอดองค์ ความรูจ้ ากรุน่ สูร่ นุ่ บวกกับวิสยั ทัศน์ความ เป็นนักบริหารหนุม่ รุน่ ใหม่ทศี่ กึ ษาเรียนรู้ ฝึ ก ฝนประสบการณ์ ห ลั ง จากเข้ า มา บริหารงานบริษทั ให้กบั ครอบครัว ถือเป็น ทายาทคนส�ำคัญทีร่ ว่ มผลักดันองค์กรให้ ด�ำเนินการธุรกิจไปอย่างเติบโตต่อเนื่อง และประสบความส�ำเร็จเรื่อยมา ธีรเสฏฐ์ จบการศึกษาปริญญาตรี วิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

และปริ ญ ญาโททางด้ า นบริ ห ารธุ ร กิ จ (M.B.A.) จาก University of South Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจาก จบปริญญาโท ธีรเสฏฐ์ ต้องการเพิม่ พูน ประสบการณ์การท�ำงานก่อนจะสืบทอด กิจการของครอบครัว จึงได้เข้าท�ำงาน บริษัทแห่งหนึ่งที่ประกอบการเกี่ยวกับ น�ำ้ มันในประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจาก ท�ำงานอยู่ประมาณ 1 ปี ก็ต้องเดินทาง กลับประเทศไทยเพื่อเข้ามาช่วยบริหาร กิจการของครอบครัวจนถึงปัจจุบัน

ธีรเสฏฐ์ ได้ให้เกียรติสมั ภาษณ์พเิ ศษพร้อมกล่าวถึงความเป็นมาตัง้ แต่เริม่ ก่อตัง้ บริษัท จี.ดี. โปรแพค จ�ำกัด จนถึงปัจจุบันว่า จี.ดี. โปรแพค ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เริ่มแรกของการด�ำเนินธุรกิจส่วนใหญ่เป็นงานด้านการพิมพ์ซอง แต่ด�ำเนินการ ไปได้ระยะหนึ่ง ธุรกิจด้านการพิมพ์ซองเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น ทิศทางของธุรกิจค่อนข้าง จะไปต่อได้ยาก มีผเู้ ล่นทีเ่ ชีย่ วชาญงานดังกล่าวมากกว่า จึงหันมาประกอบธุรกิจเกีย่ ว กับการฮีททรานซ์เฟอร์และอินโมลด์ลงบนพลาสติกที่มีประสบการณ์เป็นทุนเดิมอยู่ แล้ว ต่อมาในปี พ.ศ. 2551 ได้เริ่มน�ำเทคโนโลยีที่ใช้ออกแบบบรรจุภัณฑ์มาเป็น นวัตกรรมช่วยในการด�ำเนินธุรกิจให้มปี ระสิทธิภาพและมีคณ ุ ภาพ ซึง่ ท�ำให้ภาพลักษณ์ ของบริษัทได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ขยายฐานลูกค้าออกไป จ�ำนวนมากทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปัจจุบันสัดส่วนกลุ่มลูกค้าแบ่งออกเป็น ลูกค้าในประเทศประมาณ 80% และลูกค้าต่างประเทศที่ทำ� การส่งออกสินค้าระหว่าง กันอีก 20% ได้แก่ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ กัมพูชา และสาธารณรัฐเอกวาดอร์ THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 75

75

12/9/2562 BE 9:32 AM


“ส่ ว นการตั้ ง ชื่ อ บริ ษั ท ที่ ใช้ ค� ำ ว่ า G.D. PROPACK นั้น มีที่มาและมีความ หมายจากสัตว์เทพเจ้าในต�ำนานของจีน ก็คือ “Golden Dragon” หรือมังกรทอง นั่นเอง เนื่องจากมังกรเป็นตัวแทนของ ความเป็ น สิ ริ ม งคล ความยิ่ ง ใหญ่ คุณธรรมความดี ซึ่งทาง จี.ดี. โปรแพค เรายึดมั่นถือมั่นมาโดยตลอดว่า เราต้อง ซื่อสัตย์ต่อลูกค้าและมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้

ด้ ว ยประสบการณ์ แ ละที ม งานพั ฒ นา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ กี่ ย วกั บ วั ส ดุ เราสามารถ แนะน�ำให้ค�ำปรึกษาแก่ลูกค้าตั้งแต่การ ออกแบบผลิตภัณฑ์พิเศษเกี่ยวกับวัสดุ พลาสติก ขั้นตอนกระบวนการผลิต ไป จนถึงการบริการหลังการขาย และหาก กรณีเกิดปัญหาต่าง ๆ ขึ้น เรามีทีมงาน ซึ่ ง ผ่ า นการฝึ ก ฝนจนมี ป ระสบการณ์ ช�ำนาญเข้าไปช่วยเหลือและพร้อมแก้ไข

ปัญหาให้ลูกค้าได้อย่างทันท่วงที กว่า 10 ปีในการสะสมประสบการณ์ที่เรียนรู้งาน พิมพ์ฮีททรานซ์เฟอร์และฉลากอินโมลด์พร้อมกับลูกค้า และได้รับความไว้วางใจจาก ลูกค้า ณ ปัจจุบัน เราจึงขึ้นชื่อได้ว่าเป็นผู้น�ำทางด้านงานพิมพ์ฮีททรานซ์เฟอร์และ ฉลากอินโมลด์ในเมืองไทย นี่คือความโดดเด่นและสิ่งที่เรา จี.ดี. โปรแพคภาคภูมิใจ” ทัง้ นี้ เนือ่ งจากปัจจุบนั เทคโนโลยีการพิมพ์กา้ วหน้าไปอย่างรวดเร็ว ผูป้ ระกอบการ แต่ละบริษัทต่างปรับตัวเพื่อเรียนรู้และเท่าทันการแข่งขัน ปัจจุบัน จี.ดี. โปรแพคได้ ให้การบริการแบบครบวงจร โดยจัดจ�ำหน่าย เครื่องฮีททรานซ์เฟอร์ (Heat Transfer Machine คือเครื่องรีดร้อนที่ถ่ายเทความร้อนผ่านตัวฟิล์มลงไปบนชิ้นงานเพื่อ ถ่ายทอดสี หมึกพิมพ์ให้ไปติดบนภาชนะ) ตามความต้องการของลูกค้า พร้อมกับ ทีมงานผู้เชี่ยวชาญในการเทรนนิ่ง และถ้าลูกค้ายังไม่พร้อมและไม่ช�ำนาญในเครื่อง ฮีททรานซ์เฟอร์ เรามีบริการรับจ้างฮีททรานซ์เฟอร์เพื่อช่วยลูกค้าแบบครบวงจร อีกด้วย โดยเครื่องฮีททรานซ์เฟอร์นี้เป็นนวัตกรรมคุณภาพที่สำ� คัญของงานฉลากบน ผลิตภัณฑ์พลาสติกที่มีความสวยงามจากสีสัน ความชัดเจน ความทนทาน ลดแรงงาน ลดปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม เหมาะสมกั บ การใช้ ง านของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลากหลาย อาทิ ผลิตภัณฑ์พลาสติก ผลิตภัณฑ์ไม้ ผลิตภัณฑ์เหล็ก ผลิตภัณฑ์ แก้ว และอื่น ๆ ทางเราเลือกใช้เครื่องพิมพ์กราเวียร์ (Gravure Printing) ซึ่งมีสูงสุดถึง 12 สี สามารถผลิตภาพลายเส้น ภาพฮาล์ฟโทนคุณภาพสูงบนบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทต่าง ๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว อีกทั้งยังพิมพ์บนผิววัตถุต่าง ๆ ได้อีกหลายประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งบรรจุภัณฑ์ที่ท�ำจากวัสดุจ�ำพวกพลาสติก อะลูมิเนียมฟอยล์ กระป๋องโลหะ และประเภทสิ่งพิมพ์พิเศษอื่น ๆ และเมื่อเร็ว ๆ นี้ จี.ดี. โปรแพคได้ติด ตั้ง เครื่องพิมพ์ดิจิทัลออฟเซ็ท HP Indigo Digital โดย ธีรเสฏฐ์ ได้ให้ความเห็นถึง การตัดสินใจติดตัง้ เครือ่ งพิมพ์ดงั กล่าวว่า “ในฐานะเป็นบริษทั ผูป้ ระกอบการผลิตภัณฑ์ ฮีททรานซ์เฟอร์และฉลากอินโมลด์ เล็งเห็นถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัลซึ่ง เราต้องปรับตัวให้ทันและเรียนรู้ตลอดเวลา ซึ่งเครื่องพิมพ์ดิจิทัลออฟเซ็ท HP Indigo Digital นี้ มีจุดเด่นด้วยประสิทธิภาพและก�ำลังการผลิต ที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการลด ต้นทุนด้านการผลิตได้มากถึง 60-70% และได้รับการยอมรับอย่างมากในวงการด้าน บรรจุภัณฑ์ เพราะเป็นโซลูชั่นงานพิมพ์ดิจิทัลที่ครอบคลุมธุรกิจด้านการพิมพ์ทุก ประเภท สามารถตอบสนองความต้องการให้กับผู้ประกอบการงานด้านการพิมพ์ได้ เป็นอย่างดี ที่สำ� คัญสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว และ หลากหลาย” ธีรเสฏฐ์ กล่าวต่อว่า ในอนาคต จี.ดี. โปรแพคจะพัฒนาเทคโนโลยีที่ช่วยตอบ โจทย์กลุ่มลูกค้าเป้าหมายกรณีที่พบปัญหาถูกปลอมแปลงฉลากสินค้าหรือฉลากโลโก้ โดยจะใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีระบบเทคนิคการพิมพ์ชนิดพิเศษ เป็นนวัตกรรมโซลูชั่น การพิมพ์ขนั้ สูงส�ำหรับการพิมพ์ดจิ ทิ ลั ทีส่ ามารถป้องกัน License หรือ การปลอมแปลง 76

จี.ดี. โปรแพค

มีแนวทางในการพัฒนา บุคลากรเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ด้านการพิมพ์ ในฐานะผู้บริหาร จะต้องเปิดใจกว้างและ ก�ำหนดนโยบายที่มี ความชัดเจน

ฉลากโลโก้สินค้า และการปลอมแปลง ฉลากสินค้าที่ใช้ส�ำหรับการส่งเสริมการ ขาย ซึ่งเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีความทัน สมัยจะมีขนั้ ตอนระบบการพิมพ์การผลิต มี ค วามปลอดภั ย กั บ ผู ้ บ ริ โ ภคไม่ ใ ห้ ถู ก หลอกลวงจากการขายสิ น ค้ า ปลอม ลิขสิทธิ์ ซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์ที่จะ สร้างจุดแข็งให้กับ จี.ดี.โปรแพค ธี ร เสฏฐ์ กล่ า วเสริ ม ว่ า “จี . ดี . โปรแพคมี แ นวทางในการพั ฒ นา บุ ค ลากรเพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลง ของเทคโนโลยีด้านการพิมพ์ ในฐานะ ผู้บริหารจะต้องเปิดใจกว้างและก�ำหนด นโยบายทีม่ คี วามชัดเจนเพือ่ ให้พนักงาน น�ำไปเป็นแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของ แต่ละฝ่ายแต่ละแผนกให้มีประสิทธิภาพ ทางบริษัทก็มีการฝึกอบรมเสริมทักษะ ความรูแ้ ละการเรียนรูใ้ ห้แก่พนักงานเพือ่ เท่ า ทั น เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ที่ เ ข้ า มามี บทบาทส�ำคัญในการประกอบธุรกิจทุก ประเภท ผมคิ ด ว่ า สิ่ ง ที่ ผู ้ บ ริ ห ารจะให้ พนักงานได้ก็คือการท�ำให้พนักงานรู้จัก พัฒนาตนเองในทุก ๆ ด้านอย่างเป็น ระบบ จึงต้องมีการปรับตัวเปลี่ยนแปลง ให้เท่าทันดิจิทัล” ดังนั้น จะเห็นได้ว่า บริษัท จี.ดี. โปรแพค จ� ำ กั ด เป็ น บริ ษั ท ชั้ น น� ำ ที่ ครองใจกลุม่ ลูกค้าทัง้ ไทยและต่างประเทศ มาอย่างยาวนาน โดยได้รับการรับรอง มาตรฐานคุณภาพ ISO 9001 : 2015 Certification Awarded to G.D. Propack Company Limited, FAMA Disney

THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 76

12/9/2562 BE 9:32 AM


AD_Sri Aksorn









ADVERTISING

index

บริษัท CHANWANICH SECURITY PRINTING CO., LTD. DURPA KURZ (THAILAND) LTD. IGS ASIA PACIFIC CO., LTD. INTERPACK M-PE INDUSTRY CO., LTD. PRINTING & PACKAGING EXPO PROPAK ASIA 2020 SCG PACKAGING CO., LTD. SELIC CORP CO., LTD. THAIFLEX-ANUGA ASIA 2020 THAI KK INDUSTRY CO., LTD. ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) บจก. ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ บจก. ไซเบอร์ เอสเอ็ม (ไทย) บจก. ซุปเปอร์ริเออร์ อิงค์เจ็ท บจก. เนชั่นไวด์ บจก. เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ บมจ. ฟอยล์มาสเตอร์ (ประเทศไทย) บจก. ฟูจิฟิล์ม (ประเทศไทย) บจก. แม่พิมพ์ บจก. ริโก้ (ประเทศไทย) บจก. เวอร์ทัส บจก. ส.ศรีอักษร พริ้นติ้ง โปรดักส์ บจก. หงีเฮงแชมเปี้ยนกรุ๊ป บจก. ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ บจก. อี.พี.ซี. คอร์ปอเรชั่น บจก. ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป บจก. โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์ (ประเทศไทย) โรงพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ หจก. ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) บจก. วินสันสกรีน บจก. แสงศิลป์การพิมพ์ บจก. ซันซิน พริ้นติ้ง แมชชีน แมททีเรียล (ประเทศไทย) บจก. สุพรชัย บจก. คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ (ไทยแลนด์) บจก. บางกอกแคน แมนนูแฟคเจอริ่ง บจก.

หนา 7 9 13 49 3 69 68 63 33 41 84 24 66-67 30, 32, 82 4 51 ปกหลังด้านใน 31 73 11 ปกหน้าด้านใน 5 50 77 6 59 ปกหลัง 29 8, 62 83 82 80 83 78 81 79 80 THAI PACKAGING NEWSLETTER

November - December 2019

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 85

85

12/9/2562 BE 9:32 AM


ใบสมัครสมาชิก สมาคมการบรรจ�ภัณฑไทย

MEMBERSHIP

application Form

ชื่อ-นามสกุล (Name) ............................................................................................................................................................................................... บริษัท/ห้างหุ้นส่วน/ห้างหุ้นส่วนจ�ากัด (Company Name) ...................................................................................................................... ที่อยู่ (Address) ........................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................

โทรศัพท์ (Tel.) ........................................................................................ โทรสาร (Fax) ..................................................................................... ประเภทกิจการ (Description Business) .......................................................................................................................................................... ต�าแหน่ง (Position) ...................................................................................................................................................................................................

ใบสมัครเปนสมาชิกสมาคมฯ

(Membership Application Form) ขอสมัครเปนสมาชิกสมาคมฯ (Type of Membership) สามัญนิติบุคคล (Ordinary Member) วารสาร (Newsletter Member) ข้าพเจ้าทราบระเบียบของสมาคมฯ และจะปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ ทุกประการ (I have the full knowledge of the association regulations all of which I here by pledge to abide by) ลงชื่อ.................................................................ผู้สมัคร (Signature) วันที.่ ................/................../................. (Date)

ลงชื่อ...........................................................ผู้รับรอง (..................................................) นายทะเบียนสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย

หมายเหตุ เอกสารที่ใช้ในการสมัคร หนังสือรับรองการจดทะเบียนของบริษัท พร้อมประทับตราเซ็นรับรองส�าเนาถูกต้อง • สมาชิกสามัญนิติบุคคล ค่าลงทะเบียนครั้งเดียว 500 บาท ค่าบ�ารุงสมาคมฯ 2,000 บาท/ปี • สมาชิกวารสาร ค่าลงทะเบียนครั้งเดียว 100 บาท ค่าบ�ารุงสมาคมฯ 500 บาท/ปี การช�าระเงินโดย • สั่งจ่ายเป็นเช็คคร่อมในนาม “สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย” • ฝากเงินเข้าบัญชี “สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย” ธนาคารกสิกรไทย สาขาพระโขนง บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 010-2-58719-7 สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย อาคารส�านักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเก่า) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4

แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th Thai Packaging Association MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Thailand Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th

ThaiPack2019Nov-Dec.indd 86

12/9/2562 BE 9:32 AM



EPC FP.pdf

1

10/17/2562 BE

1:24 PM

พลาสติกสำหรับเครื่องพิมพดิจิทัลออฟเซต Johns Media และ Polyplex

TECHNOLOGY MEDIA_NO138_2019_17-10-62_G5-4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.