CONTENTS
46
News ดิจิทัลเทรนด์กับโอกาสครั้งสำาคัญ ของอุตสาหกรรมการพิมพ์
Vol.27 No.125
48
In Trend ดาว เปิดตัวนวัตกรรมฟิล์มสำาหรับอุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
52
In Trend เต็ดตรา แพ้ค ตั้งเป้าขยายตลาดกระบวนการผลิต ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
54
Special Area เครื่องพิมพ์ Primerica 106 เครื่องพิมพ์ระบบดิจิทัล รุ่นใหม่ของโลก เพื่อการผลิตบรรจุภัณฑ์ยาของ บริษัทออกัสท์ ฟอลเลอร์
56
Special Area PACK PRINT International... ความท้าทายของ การเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม เราต้องก้าวไปด้วยกัน
60
Special Area ครบเครื่องงานควบคุมเครื่องจักรขนาดเล็ก
Thai Pack Awards 2017
64
28
Article การนำารีไซเคิลพลาสติกมาใช้เป็นภาชนะบรรจุ อาหารในประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป
Special Area Henkel Total Packaging Solution Conference 2017
66
30
Focus ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต
News T-PLAS 2017 ยกระดับอุตสาหกรรมพลาสติก และยาง ก้าวสู่ยุค ไทยแลนด์ 4.0
35
69
News 7th CAS CUP 2017
News TPBI จับมือพันธมิตรตั้งบริษัทร่วมทุนเพื่อผลิต และจำาหน่ายบรรจุภัณฑ์พลาสติกในเมียนมา
37
In Trend เล่าประสบการณ์ผ่านเวทีโลกออกแบบบรรจุภัณฑ์
70
PR News
71
Hot Product
September-October 2017 18
14 21 23
10
TPA Activity กิจกรรมสมาคมฯ ถามจริง-ตอบจัง
42
News COSMEX 2017 งานแสดงเทคโนโลยีด้านการผลิต การบรรจุภัณฑ์ และบริการด้าน OEM/ODM
45
News ไฮเดลเบิร์กประกาศแต่งตั้ง มร.โยเคิ่น เบนเดอร์ เป็นกรรมการผู้จัดการประจำาประเทศไทย
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
EDITOR
Note
ระหว่างวันที่ 20-23 กันยายนศกนี้ มีกิจกรรมดี ๆ ที่ขอ เชิญชวนสมาชิกและผูส้ นใจเข้าร่วมงาน คือ งาน PACK PRINT International 2017 เป็นงานแสดงสินค้าด้านบรรจุภัณฑ์และ การพิมพ์ ที่ทางสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทยให้การสนับสนุน มาตลอด โดยจะจัดขึน้ ทุก ๆ 2 ปี ณ ศูนย์ประชุมไบเทค บางนา ภายในงานนอกจากจะมี ก ารจั ด แสดงเทคโนโลยี ด้ า น การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัยแล้ว ปีนี้ก็เป็นอีกครั้งหนึ่งที่ สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทยจะได้จัดพิธีมอบรางวัล Thai Pack Awards 2017 ส่วนใครได้รางวัลบ้างนัน้ ติดตามได้ในฉบับนีค้ ะ่ ในฉบั บ นี้ มี อี ก เรื่ อ งที่ อ ยากแนะนำ า ให้ ติ ด ตามกั น คื อ “ถามจริง-ตอบจัง” ซึ่งเนื้อหาจะเป็นถามตอบปัญหาเกี่ยวกับ บรรจุภัณฑ์ที่มีผู้ท่ีถามมายังผู้เชี่ยวชาญของทางสมาคมฯ โดย ผู้ที่ดูแลตอบคำาถามคือ อาจารย์มยุรี ภาคลำาเจียก คอลัมน์นี้ จะลงอย่างต่อเนือ่ ง หากมีขอ้ สงสัยเกีย่ วกับบรรจุภณ ั ฑ์สามารถ ส่งคำาถามมาได้ตามทีอ่ ยูห่ รืออีเมลทีต่ ดิ ต่อข้างล่าง ทางสมาคมฯ มีผู้เชี่ยวชาญให้คำาปรึกษา และช่วยท่านแก้ไขปัญหาได้ ในคอลัมน์ Focus พาท่านไปรูจ้ กั “ศูนย์ปฏิรปู อุตสาหกรรม สู่ อ นาคต (Industry Transformation Center : ITC)” ส่วนคอลัมน์ In Trend นั้น สมชนะ กังวาลจิตย์ จะได้มาเล่าถึง ประสบการณ์ที่ได้ไปเป็นคณะกรรมการตัดสินการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ ซึ่งเป็นเวทีระดับโลก พบกันใหม่ฉบับหน้า During 20-23 September of this year, there is a good activity happening which we would like to invite you members and any interested persons to join the PACK PRINT International 2017. It is an exhibition on packaging and printing products that the Thai Packaging Association has always supported. It is being organized every two years at the BITEC Bang Na. Besides there are displays of printing technology and modern packaging at this event, this year is another year that the Thai Packaging Association will present the Thai Pack Awards 2017. You may find out from this edition as to who have received such awards. In this edition, there is another article which we would like to recommend that you read, which is “Real Question – Real Answer”. The content contains questions and problem being asked about packaging for the expert of the Association to answer and the person who is responsible for responding to these questions is Mayuree Paklamjiak. This column will continuously be opened for those who may have doubts about packaging and may send their questions to the address or email below. The Association will have experts available to give advice and help you solve these problems. As for the column on “Focus” we will let you learn about the “Industry Transformation Center: ITC”. For column “In Trend” Somchana Kangwanjit will tell you about his experience of being a member of the Selection Committee of Packaging Design, which is at the global scale.
12
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
วัตถุประสงคในการจัดทํา
วารสารบรรจุภณ ั ฑ์ไทย จัดทำาขึน้ โดยสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย เพือ่ เผยแพร่ สาระความรู้เกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ และนำาเสนอความเคลื่อนไหวของกิจกรรม ด้านบรรจุภณ ั ฑ์ให้แก่สมาชิกและบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ บทความทีต่ พี มิ พ์ในวารสาร บรรจุภัณฑ์ไทยเป็นส่วนหนึ่งของการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และเอกสารทาง วิชาการ สมาคมฯ ไม่จำาเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
Purpose
Published by the Thai Packaging Association. Thai Packaging Newsletter provides news, information and know-how as well as activity related to packaging industry in Thailand to all members of the Thai Packaging Association and the general public. Articles published in Thai Packaging Newsletter do not represent the official views of the Thai Packaging Association.
คณะกรรมการบริหารสมาคมการบรรจุภัณฑไทย 1. คุณนภดล ไกรฤกษ์ 2. คุณสมบูรณ์ เตชะพานิชกุล 3. คุณมนตรี มหาพฤกษ์พงศ์ 4. คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม
5. คุณวรรณา สุทัศน์ ณ อยุธยา 6. คุณรัชนี ชัยชาติ 7. คุณพรรษชล ลิมธงชัย 8. คุณกมลา เลาหศักดิ์เสนา 9. คุณศุภชัย ธีราวิทยางกูร 10. คุณอุมา อัจจิมารังษี 11. คุณสุเมธ วลัยเสถียร 12. คุณเอกรินทร์ จิระกรานนท์ 13. คุณยุวดี เที่ยงทางธรรม 14. คุณจิตรา บุญสม 15. คุณเจริญสุข ภาวศิริพงษ์ 16. คุณไพโรจน์ มีทวี
นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย อุปนายกบริหาร และนายทะเบียน อุปนายกโครงการ อุปนายกประสานองค์กร และ ประชาสัมพันธ์ อุปนายกวิชาการ เลขาธิการ ผู้ช่วยเลขาธิการ และกรรมการวิชาการ ฝ่ายบรรจุภัณฑ์พลาสติก เหรัญญิก กรรมการวิชาการ ฝ่ายเทคนิคการพิมพ์ กรรมการวิชาการ ฝ่ายธุรกิจออกแบบ กรรมการวิชาการ ฝ่ายบรรจุภัณฑ์แก้ว กรรมการวิชาการ ฝ่ายวัสดุการพิมพ์ กรรมการวิชาการ ฝ่ายคุณภาพการพิมพ์ กรรมการวิชาการ ฝ่ายบรรจุภณ ั ฑ์โลหะ กรรมการวิชาการ ฝ่ายผู้ใช้บรรจุภัณฑ์ ผู้อำานวยการสมาคมฯ
The Board of the Thai Packaging Association
1. Mr.Noppadol Krairiksh President 2. Mr.Somboon Techapanichgul Vice President 3. Mr.Montri Mahaplerkpong Vice President 4. Mr.Prasit Klongnguluerm Vice President 5. Mrs.Varna Sudasna Vice President 6. Ms.Rutchanee Chaichart Secretary General 7. Ms.Passachon Limthongchai Assistant Secretary 8. Ms.Kamala Laohasaksena Treasure 9. Mr.Supachai Theravithayangkura Director 10. Mrs.Uma Ajjimarangsee Director 11. Mr.Sumedh Valaisathien Director 12. Mr.Ekarin Chirakranont Director 13. Ms.Yuwadee Thiangthangtum Director 14. Mrs.Chitra Boonsom Director 15. Mr.Jarensook Pavasiripong Director 16. Mr.Pairoj Meethawee Director of Association เจาของ : สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย www.thaipack.or.th อาคารสำานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเก่า) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมติ ร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Owner : Thai Packaging Association www.thaipack.or.th MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Editorial Staff : Nipa Klinkosum Project Manager : Tipawan Khempilar Marketing Manager : Khemjira Boonpraracsa Executive Sale : Kalaya Sabpirom, Siriporn Klinkajorn, Kasira Hembundij, Manus Chaipas, Kritiyakorn Dangsamran Graphic Designer : Prittiya Nillawat Photographer : Komsak Kumsalee Proofreader : Tidawadee Boonsuya Managed by : Technology Media Co., Ltd. 471/4 Phayathai Place, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Rachathewi, Bangkok 10400 Printed by : E.Hing Printing Press Co., Ltd. 3141 Rot-Fai Sai Paknam Rd., Phrakanong, Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2249-0136-8 Fax : 0-2249-5093
TPA
Activity
TPA เขาร่วมใหคําปร�กษาดานบรรจ�ภัณฑ ในงาน OPOAI สู่ Industry 4.0
สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย นำาโดย นภดล ไกรฤกษ์ นายกสมาคมฯ รัชนี ชัยชาติ เลขาธิการ และอาจารย์มยุรี ภาคลำาเจียก ที่ปรึกษาสมาคมฯ ร่วมจัดนิทรรศการและให้คำาปรึกษาด้านบรรจุภัณฑ์ ในโครงการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันของอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรในภูมิภาค OPOAI สู่ Industry 4.0 ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของกระทรวงอุตสาหกรรม ณ ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 6 จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งประกอบไปด้วย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ งานครั้งนี้ อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ลงพื้นที่และให้เกียรติเป็นประธานเปิดงาน พร้อมมอบสินเชือ่ กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวทางประชารัฐ ณ ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 6 จังหวัดนครราชสีมา
14
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
เปดศูนยปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต (Industry Transformation Center : ITC)
ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานในงาน “Open House เปิดบ้าน ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต (Industry Transformation Center : ITC)” ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม (กสอ.) ร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยสำานักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้ร่วมมือกันเดินตามแนวนโยบายการปฏิรูปประเทศไทยสู่ยุค 4.0 ด้วยการร่วมมือกันจัด ตั้งศูนย์แห่งนี้ขึ้น อนึ่ง ในพิธีเปิด นภดล ไกรฤกษ์ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย รวมทั้งคณะกรรมการสมาคมฯ และสมาชิกสมาคมฯ ได้เข้าร่วมพิธอี ย่างพร้อมเพรียง โดยสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทยเป็นอีกหนึง่ หน่วยงานทีไ่ ด้ให้ความร่วมมือกับศูนย์แห่งนีอ้ ย่างเต็มที่
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
15
แสดงความยินดีกับ PSC นภดล ไกรฤกษ์ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย เข้าร่วมพิธีมอบรางวัล Prime Minister’s Export Award 2017 ซึ่งนายกสมาคมเป็นหนึ่งคณะอนุกรรมการตัดสินรางวัล พร้อมกันนี้ก็ได้แสดงความยินดีกับ บริษัท พริ้นติ้งโซลูชั่น จำากัด ที่ได้รับ การคัดเลือกให้ได้รับรางวัลในหมวดภาคบริการอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
ร่วมพิธีลงนามบันทึกขอตกลงความร่วมมือทางว�ชาการ กับ คณะโลจ�สติกสและเทคโนโลยีการบิน ว�ทยาลัยเซาธอีสทบางกอก นภดล ไกรฤกษ์ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ กับ ผศ. ดร.วัลยา ชูประดิษฐ์ รองอธิการบดีฝ่ายและวิชาการ และ รวมพล จันทศาสตร์ คณบดีคณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยี การบิน วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ และความสามารถของบุคลากร ซึ่งจะก่อให้ เกิดประสิทธิภาพในเชิงวิชาการและการปฏิบัติ และเป็นโอกาสหนึ่งที่เป็นการเตรียมความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานการ ศึกษา สอดคล้องกับความต้องการด้านแรงงานของสถานประกอบการ และตลาดแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในวันที่ 30 สิงหาคม 2560 ณ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก วิทยาเขตบางนา พร้อมเยี่ยมชมศูนย์ทดสอบระบบโลจิสติกส์
มอบเง�นบร�จาคสมทบมูลนิธ�ชัยพัฒนา นภดล ไกรฤกษ์ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย รวมทั้งคณะกรรมการสมาคมฯ ได้เข้าร่วมในการมอบรายได้จากโครงการ ๙ แบบตัวพิมพ์ ซึ่งจัดโดย สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ แก่มูลนิธิชัยพัฒนา ณ ที่ทำาการมูลนิธิชัยพัฒนา ซอยอรุณอมรินทร์ 36
16
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
TPA
Activity
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
17
TPA
Activity
งานแถลงข่าว
PACK PRINT
International 2017
นภดล ไกรฤกษ์ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ร่วมงานแถลงข่าว PACK PRINT International 2017 ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่าง วันที่ 20-23 กันยายนศกนี้ พร้อมด้วย มร.เกอร์นอท ริงลิง่ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เมสเซ่ ดุสเซลดอล์ฟ เอเชีย เกรียงไกร เธียรนุกลุ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย มร.ราบี เวซีลี่ ที่ปรึกษาด้าน อาหารและการเกษตร องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และ ศุภวรรณ ตีระรัตน์ รองผู้อำานวยการสายงานกลยุทธ์ และพัฒนาธุรกิจ สำานักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) เกรียงไกร เธียรนุกุล
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ในการนี้ เกรียงไกร เธียรนุกลุ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในฐานะประธานในพิธี ขึน้ กล่าวปาฐกถาว่า อุตสาหรรมการพิมพ์และการบรรจุภณ ั ฑ์ ไทยก้าวหน้าขึ้นมาก ประเทศไทยมีนิคมอุตสาหกรรมการพิมพ์ ซึ่งถือเป็นแห่งแรก ของโลก ถึงแม้ปัจจุบันเศรษฐกิจจะมีความผันผวน แต่เชื่อว่าด้วยความเข้มแข็งของ ผู้ประกอบการไทยจะทำาให้สามารถยืนหยัดต่อไปได้อย่างแน่นอน พิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ ไทย
พิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ นายกสมาคมคนใหม่ของสมาคมการพิมพ์ไทย ขึ้ น กล่ า วในหั ว ข้ อ “เดิ น หน้ า สู่ ไ ทยพริ้ น ท์ 4.0 ที่ ง านแพ็ ค พริ้ น ท์ อิ น เตอร์ เนชั่นแนล 2017” พิมพ์นารา กล่าวว่า อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยนั้นมีความ ก้าวหน้ามาอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในโลกที่มีการก่อตั้ง นิยม อุตสาหกรรมการพิมพ์ขึ้นที่จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งเกิดจากความร่วมมือจากภาครัฐ และเอกชน ด้วยระบบเศรษฐกิจที่ผันผวน มีงานแสดงเทคโนโลยีหลายงานที่ต้อง ยกเลิกงานไป แต่งาน PACK PRINT International 2017 กลับขยายตัวมากขึ้น เพราะอุตสาหกรรมการพิมพ์และการบรรจุภัณฑ์เป็นอุตสาหกรรมการสนับสนุน ที่ทำาให้สินค้าสามารถแข่งขันได้ 18
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
นภดล ไกรฤกษ์
นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ ไทย
ด้าน นภดล ไกรฤกษ์ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ขึ้นกล่าวในหัวข้อ “นวัตกรรมและการเพิ่มมูลค่าของบรรจุภัณฑ์ที่พาวิเลี่ยนครบวงจรสำาหรับ อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์และการพิมพ์” โดยนภดลกล่าวว่า งานนีจ้ ะเป็นการสร้าง ความตื่นตื่นใจให้แก่ผู้เข้าร่วมทุกคน เพราะเป็นแหล่งรวมบริษัทมากกว่า 300 บริษัท จากทัว่ โลก นอกจากจะนำาเทคโนโลยีมาโชว์แล้ว ยังจะมีการพบปะ แลกเปลีย่ นความรู้ และทำาธุรกิจร่วมกัน คาดว่าภายในงานจะมีเงินสะพัดไม่นอ้ ย ด้วยนโยบาย Thailand 4.0 ส่งผลต่ออุตสาหกรรมโดยรวมของไทย แต่ต้องมีความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพือ่ ให้การพัฒนาก้าวไปพร้อม ๆ กัน นอกจากนัน้ ยังมีการแสดงผลงานของผูท้ ไี่ ด้รบั รางวัล Thai Pack Awards 2017 ด้วย มร.เกอร์นอท ริงลิ่ง
กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมสเซ่ ดุสเซลดอล์ฟ เอเชีย
งาน PACK PRINT International 2017 จัดขึ้นทุกๆ 2 ปี เพื่ออัพเดต เทคโนโลยีของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ซึ่งครั้งนี้ก็เป็นครั้งที่ 6 แล้ว แน่นอนว่าทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ นักออกแบบ และ นักเรียน นักศึกษา ย่อมเห็นการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงของงานแสดงสินค้านี้มา อย่างต่อเนื่อง แต่ครั้งนี้ จะสำาคัญยิ่งกว่าครั้งไหนๆ เพราะเรากำาลังเข้าสู่การเปลี่ยน แปลงครั้งสำาคัญที่เทคโนโลยีมีบทบาทมากถึงขีดสุด นั่นคือยุคอุตสาหกรรม 4.0
ในงาน PACK PRINT ครั้งนี้ ใครมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ จะช่วยให้การทำางานง่ายขึน้ สะดวกขึน้ ก็ตอ้ งนำามาโชว์ให้หมด มิเช่นนั้น คุณเตรียมตัวม้วนเสื่อกลับบ้านได้เลย ความสำาคัญ ของยุค 4.0 นี้ มีอิทธิพลกับอุตสาหกรรมของเราอย่างเห็นได้ ชัด เพราะหมดยุคของการทำาการค้าแบบขอไปทีแล้ว ใคร สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุดกว่า ดีกว่า เร็วกว่า คนนั้นคือผู้ชนะ สิ่ ง ที่ ทุ ก ท่ า นจะได้ เ ห็ น ในงานย่ อ มสะท้ อ นถึ ง อุ ป สงค์ อุปทานของตลาดได้ชัดเจน บริษัทฯ ชั้นนำาทั่วโลกจะนำาสิ่งที่ เรียกกันว่า “นวัตกรรมแห่งอุตสาหกรรมในอนาคต” มา นำาเสนออย่างไม่หวงแหน ผู้ประกอบการที่มองเห็นและหยั่งรู้ ถึงอนาคตได้ก่อน แน่นอนว่า เข้าเส้นชัยก่อนเป็นแน่แท้
ไฮไลต์ด้านบรรจุภัณฑ์ภายในงาน ประกอบด้วย : • พาวิเลี่ยนครบวงจรสำาหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์ – แพลตฟอร์มเฉพาะที่ซึ่งนวัตกรรมการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ ผู้ใช้บรรจุภัณฑ์ ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ ผู้จัดจำาหน่าย วัตถุดิบ และผู้ผลิตเครื่องจักร ได้มารวมตัวกันเพื่อสรรหาและ แลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ พร้อมรับประโยชน์จาก คลินิกให้คำาปรึกษาฟรี โดยพันธมิตรของสมาคมและองค์กร ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในด้านการบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ • โซนฉลาก – ที่ จ ะนำ า เสนอเทคโนโลยี ก ารพิ ม พ์ ฉ ลาก ครอบคลุมตั้งแต่การประยุกต์ใช้บรรจุภัณฑ์ขั้นสูง จนถึงการ พิมพ์ฉลาก การตกแต่ง และกระบวนการผลิต • การสัมมนาในหัวข้อ SAVE FOOD เกี่ยวกับเรื่องการ
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
19
สูญเสีย และของเสียในกระบวนการผลิตอาหารที่เกิดขึ้นจาก ความร่ ว มมื อ ขององค์ ก ารอาหารและการเกษตรแห่ ง สหประชาชาติ (FAO) • International Packaging Research and Innovative Forum and the 5th Asian Packaging Network General Meeting 2017 ซึง่ จัดโดยภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เครือข่าย บรรจุภัณฑ์แห่งเอเชีย (Asian Packaging Network - APN) สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย และสมาคมการพิมพ์ไทย • งานประจำาป Thai Print Awards รวมถึงการนำาเสนอทาง เทคนิคโดยผู้ร่วมออกแสดงสินค้าในงาน
หนึ่งในบริษัทที่นำาเทคโนโลยีของบริษัทมาจัดแสดง คือ บริษัท เคิร์ซ ซึ่งตัวแทนของเคิร์ซกล่าวว่า จากการที่ได้พูดคุย กับเจ้าของแบรนด์ ทั้งรายเล็กและรายใหญ่ สิ่งหนึ่งที่เจออยู่ เสมอ ๆ หลังจากนำาเสนอเทคโนโลยีที่เคิร์ซมี คือคำาถามว่า “มี ผู้ ป ระกอบการโรงพิ ม พ์ ห รื อ โรงผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์ เจ้ า ไหน มีเทคโนโลยีตัวนี้แล้วบ้าง” จึงเป็นเรื่องแปลกที่ผู้ประกอบการ เพิกเฉยกับความต้องการเหล่านีข้ องลูกค้า เพียงเพราะคำาจำากัดั ความที่ว่า “ท�าไม่ได้ ยากเกินไป ราคาแพง หรือยังไม่จ�าเป็น” นวัตกรรมในอุตสาหกรรมน้อยใหญ่เป็นเรื่องที่ต้องลงทุน ลงแรง ลงเวลา คิดค้นและพัฒนาเพือ่ อนาคตทีด่ กี ว่าของวงการ อุตสาหกรรม และสิ่งนี้จะเป็นเครื่องตอกย้ำาความสำาเร็จของ ผู้ที่มี “นวัตกรรม” ในมือ หากท่านผู้อ่านเป็นผู้ประกอบการ โรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ อยากขอให้ท่านมองยุค 4.0 เป็นยุค ของโอกาส ยุคของการเป็นอิสระจากการควบคุมด้วยปัจจัยและ ข้อจำากัดด้านแรงงาน ยุคที่ท่านสามารถแข่งขันกันได้อย่าง ยุติธรรมด้วยเทคโนโลยี และผลลัพธ์ของชิ้นงานที่กลุ่มลูกค้า เป้าหมายชื่นชอบ เมื่อทุกฝ่ายจับมือและก้าวไปด้วยกัน 20
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
ในปีนี้ที่ บูธเคิร์ซ (Hall 100 Booth no.F41) จัดอย่าง ยิ่งใหญ่ จัดเต็มยิ่งกว่าครั้งไหน ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีฟอยล์ เพือ่ การตกแต่งพืน้ ผิวทีเ่ ป็นเทรนด์จากทัว่ โลก เทคโนโลยีบล็อก ปั๊มทองเหลืองระดับนาโนที่มีผู้เชี่ยวชาญจากเยอรมนีมาให้ ความรู้ด้วยตัวเอง เครื่องพิมพ์ฟอยล์ระบบดิจิตัลที่เรียกกันว่า “DM-LINER®” ก็ ม าโชว์ ตั ว ให้ ท่ า นทดลองใช้ กั น ในงาน เทคโนโลยี ฟ อยล์ สำ า หรั บ พลาสติ ก ที่ ก้ า วไกลจนแบรนด์ ดั ง ระดั บ โลกยอมรั บ ให้ เ ป็ น ฟอยล์ ที่ ดี ที่ สุ ด สำ า หรั บ การตกแต่ ง ทั้ งภายในและภายนอก เทคโนโลยี ฟ อยล์ เ พื่ อป้ องกันการ ปลอมแปลงที่ ผ นวกกั บแอพพลิ เ คชั่ น นำ า เทรนด์ Security Packaging และอีกมากมายทีอ่ ยากให้ทกุ ท่านได้ไปเห็นด้วยตา ตัวเอง ในคอนเซปต์ “Smart Packaging Enhancement” และอีกหนึ่งไฮไลต์ที่เราอยากให้คุณมาเห็นคือ “One Stop PACK PRINT Pavilion” ทีน่ ท่ี า่ นจะได้พบกับผูป้ ระกอบการ ในอุตสาหกรรมเดียวกันเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ มาดูว่ามีอะไรใหม่ ๆ มานำาเสนอบ้าง เคิร์ซ ขอเป็นตัวแทนจากผู้แสดงสินค้าในงาน PACK PRINT เชิญชวนผูป้ ระกอบการทุกท่าน ทุกภาคส่วน ให้มาเปิด โลกทัศน์และอัพเดตข่าวสารและเทคโนโลยีในงานครั้งนี้ เรา เชื่ อ มั่ น ว่ า งานครั้ ง นี้ จ ะไม่ ทำ า ให้ ท่ า นผิ ด หวั ง และกลั บ บ้ า น มือเปล่าอย่างแน่นอนในงานวันที่ 20-23 กันยายน 2560 ณ ศูนย์ประชุมไบเทคบางนา... แล้วพบกัน
TPA
Activity
? § Ô Ã ¨ Á Ò ¶ µÍº¨Ñ§
มยุรี ภาคลำาเจียก
สวัสดีค่ะ ถามจริง ตอบจัง เป็นคอลัมน์ใหม่ของวารสารนี้ ที่นำาคำาถามและคำาตอบด้านบรรจุภัณฑ์มานำาเสนอเพื่อแบ่งปัน ความรู้ คำาถามมาจากหลายคน หลายอาชีพ เช่น จากผู้ประกอบ การ SME อาจารย์ นักศึกษา เป็นต้น ซึ่งขอไม่เอ่ยชื่อผู้ถามนะคะ ส่วนคำาตอบก็มาจากผู้เขียนซึ่งเรียกตนเองว่าอาจารย์ เนื่องจาก ทุกคำาถามและคำาตอบนำามาจากต้นฉบับจริง โดยไม่ได้มีการ ดัดแปลงหรือเพิ่มเติม ดังนั้นภาษาที่ใช้อาจจะไม่สละสลวยเท่าใด นัก บางเรื่องมีการถามตอบกันหลาย e-mail กว่าจะกระจ่างค่ะ
¤Ó¶ÒÁ
กรมส่งเสริมการส่งออกได้แนะนำาให้หนูตดิ ต่อสอบถามจาก สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทยเกี่ยวกับวิธีการแพ็กขนมเค้กให้ดูดี และช่วยยืดอายุของเค้กเพื่อให้ส่งออกได้ ปัจจุบันใช้กล่อง พลาสติกแบบใสมีฝาครอบตามรูปทีส่ ง่ มาให้ ช่วยแนะนำาหน่อย นะคะ
¤ÓµÍº
ในการออกแบบโครงสร้างบรรจุภณ ั ฑ์ (รูปแบบ วัสดุ คุณสมบัติ ที่ต้องการ) จำาเป็นต้องทราบข้อมูลคุณสมบัติเฉพาะของเค้ก ของคุณ และสาเหตุทที่ าำ ให้ผบู้ ริโภคไม่ยอมรับ เช่น ขนมเสียรูป ชื้นแฉะ เยิ้ม หรือมีกลิ่นเปลี่ยนไปหรือมีเชื้อราขึ้น อาจารย์คดิ ว่าขนมเค้กทีบ่ รรจุในกล่องพลาสติก จะเก็บรักษา ได้ไม่นาน เพราะ 1. ความชื้นและน้ำาตาลสูงของขนมเค้กเอง เมื่อเก็บภายใต้ สภาวะแวดล้อมปกติ เชือ้ ราจะขึน้ ได้งา่ ย ถ้าลดอุณหภูมสิ ภาวะ แวดล้อมได้ เช่น ในสภาวะแช่เย็นที่ 0-4 องศาเซลเซียส ก็จะ ทำาให้เก็บได้นานขึ้นค่ะ จะได้นานกี่วัน ต้องทดลอง ถ้าเก็บใน สภาวะแช่แข็งที่ -20 องศาเซลเซียส ขนมเค้กจะเก็บได้นานมาก แต่รสชาติเค้กจะเปลี่ยนไปหรือไม่ ต้องทดลอง การแช่แข็งจะ ต้องจ่ายค่าเก็บรักษาและค่าขนส่งสูง แต่เป็นวิธีการถนอม อาหารประเภทที่มีความชื้นและน้ำาตาลสูง (เช่น เค้กแบบในรูป ทองหยิบ ทองหยอด เม็ดขนุน ขนมใส่ไส้ เป็นต้น) ได้ดีที่สุด และมีการใช้สง่ ออกแล้วค่ะ อาจารย์เคยเห็นขนมไทยเหล่านีแ้ ช่ แข็งและขายในซูเปอร์มาร์เกตในประเทศฝรั่งเศส 2. ขนมเค้กมีไขมัน กล่องพลาสติกทีใ่ ช้ตามรูปทีส่ ง่ มาทำาด้วย PS (Polystyrene) ไม่สามารถป้องกันกลิ่นและก๊าซออกซิเจน ได้ดเี ท่าใดนัก กลิน่ เค้กก็จะลดลงตามเวลา และอาจมีกลิน่ ต่าง ๆ
จากภายนอกเข้ามาได้ ทำาให้เค้กมีกลิน่ แปลกไป (ใช้คาำ ว่า “อาจ” นะคะ เพราะอาจารย์ไม่แน่ใจ คุณจะเป็นผู้ตอบได้ดี) ส่วนก๊าซ ออกซิเจนจากอากาศภายนอกก็สามารถซึมผ่านเข้ามาในกล่อง ทำาปฏิกิริยากับไขมันของเค้ก ทำาให้เหม็นหืน ดังนั้น จึงควรมี ถุงพลาสติกอีกชั้นหุ้มกล่องพลาสติก (กล่องพลาสติกยังต้องมี ไว้ เพื่อทำาหน้าที่ป้องกันขนมเค้กยุบเสียรูป และเพิ่มความ สวยงาม) ถุงต้องปิดผนึกด้วยความร้อนได้อย่างสนิท และทำา ด้วยพลาสติกหลายชั้นที่มีคุณสมบัติป้องกันกลิ่นและก๊าซซึม ผ่านได้ดี ถ้าใช้ถุงที่มีอะลูมิเนียมฟอยล์ แม้ว่าจะป้องกันกลิ่น และก๊าซได้ดีมากแต่จะทึบ ทำาให้ไม่เห็นขนมเค้กในถุง ควรใช้ ถุงใสเพื่อให้เห็นขนมเค้กและมีคุณสมบัติสามารถป้องกันกลิ่น และก๊าซได้ดี เช่น มีชั้นของ PET หรือ PA หรือ EVOH เป็น ชั้นนอก หรือ ชั้นกลาง ในบรรดาพลาสติกทั้ง 3 ชนิดนี้ EVOH จะป้องกันได้ดีที่สุด แต่ราคาก็จะสูงที่สุดเช่นกัน การเลือกใช้ โครงสร้างของถุง ขึ้นอยู่กับว่าคุณต้องการให้ขนมเค้กมีอายุ การเก็บนานเท่าใด ถ้าต้องการนานมาก ถุงต้องมีสมบัตใิ นการ ป้องกันกลิ่นและก๊าซได้ดีมาก ที่แนะนำามาทั้งหมด ต้องมีการทดลองว่าการใช้บรรจุภัณฑ์ และการลดอุณหภูมิ จะสามารถยืดอายุการเก็บได้นานขึ้น เท่าใด และสามารถครอบคลุมระยะเวลาที่ใช้ในการขนส่งและ การจำาหน่ายในต่างประเทศได้หรือไม่ สรุปคือ การเลือกเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ อาหารทุกชนิดต้องศึกษาควบคู่กับกระบวนการถนอมอาหาร เสมอค่ะ
¼ÙŒ¶ÒÁ
ขอบคุณมากค่ะ มีประโยชน์มาก หนูจะไปวางแผนทดลอง ตามที่อาจารย์แนะนำา THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
21
PR News
ไฮเจ็ท ร่วมกิจกรรม
TABDA สัญจร ประจำาปี 2560 บริษัท ปภาวิน จำากัด ผู้จัดจำาหน่ายผลิตภัณฑ์กระดาษ และหมึกพิมพ์ ภายใต้แบรนด์ไฮเจ็ท (Hi-jet) ร่วมออกบูธในงาน TABDA สัญจร ประจำาปี 2560 ณ จังหวัดอุดรธานี ซึ่งจัดขึ้นโดย สมาคมส่งเสริมไทยธุรกิจโฆษณา เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมการ ประกอบวิสาหกิจทีเ่ กีย่ วกับการผลิตป้ายและสือ่ โฆษณาทุกชนิด ในงานนี้ไฮเจ็ทได้นำากระดาษไซส์ม้วน/แคนวาส (Canvas) ซึ่งมี ทั้งหมด 2 รุ่น ได้แก่ Canvas Polyester และ Canvas Cotton พร้อมทัง้ กระดาษซับลิเมชัน่ ไปจัดแสดงและจำาหน่าย โดยได้รบั ความสนใจจากผู้เข้าร่วมงานจำานวนมากที่เข้ามาสอบถามและ ตัดสินใจซื้อ นับเป็นการเปิดตลาดสินค้าประเภทแคนวาสใน ภูมิภาคนี้ได้เป็นอย่างดี
ฟูจิ ซีร็อกซ์ เอเชียแปซิฟิค คว้ารางวัลสุดยอดองค์กร ด้านการบริหารจัดการของเสีย 2 ปีซ้อน
บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ เอเชียแปซิฟิค รับรางวัลสุดยอดองค์กร ด้านการบริหารจัดการของเสียและกระบวนการผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 จาก Sustainable Business Awards (SBA) ใน ประเทศสิงคโปร์ ซึ่งเป็นองค์กรที่ทำาหน้าที่ให้ความรู้และเผยแพร่ แนวทางปฏิบตั ิ เพือ่ ความยัง่ ยืนของธุรกิจในอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดย เป็นบริษทั ญีป่ นุ่ เพียงบริษทั เดียวทีไ่ ด้รบั รางวัล จากทัง้ หมด 14 บริษทั ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งเป็นผลจากการใช้นโยบายด้านการ รีไซเคิลแบบครบวงจรของบริษัท ฯ ตามอนุสัญญาบาเซล (BASEL) ที่เป็นสนธิสัญญาระดับนานาชาติ มีจุดมุ่งหมายเพื่อลดปริมาณ สารพิษที่เกิดจากของเสียหรือขยะ ฟูจิ ซีร็อกซ์ ยังคงมุ่งมั่นที่จะลด การปล่ อยของเสี ย และการปล่ อยก๊ า ซคาร์ บอนไดออกไซด์เพื่อ สนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ
เต็ดตรา แพ้ค ผนึกกำาลังพันธมิตร
โครงการ “ชาวรังสิตร่วมใจ รีไซเคิลกล่อง ปกป้องโลก” เนือ่ งในวันสิง่ แวดล้อมโลก บริษทั เต็ดตรา แพ้ค (ประเทศไทย) จำากัด นำาโดย ธีระ พฤกษสุภชาติ ผู้จัดการฝ่ายสิ่งแวดล้อม พร้อมด้วยบริษทั กรีนสปอต จำากัด และเทศบาลนครรังสิต ร่วมกัน ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โครงการ “ชาวรังสิต ร่วมใจ รีไซเคิลกล่อง ปกป้องโลก” เพื่อรณรงค์ให้ชุมชน ตระหนักถึงประโยชน์ในการคัดแยกกล่องเครื่องดื่ม และนำาส่ง กระบวนการรีไซเคิลด้วยความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง อันจะเป็น แนวทางในการช่วยลดปริมาณขยะในพืน้ ทีเ่ ทศบาลนครรังสิตและ พื้นที่ใกล้เคียงอีกด้วย ขณะเดียวกัน โครงการนี้ยังช่วยสร้าง สัมพันธภาพอันดีและประสานความร่วมมือในระยะยาว ระหว่าง องค์กร ชุมชน สถานศึกษา และเทศบาล ในด้านการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ผ่านกิจกรรมลงพื้นที่รณรงค์ให้ความรู้เรื่องป่าปลูกเชิงพาณิชย์ที่มีการจัดการอย่างรับผิดชอบ และการรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่ม โดยจะมีการลงพื้นที่สถานศึกษา 20 แห่ง และชุมชนในรังสิตอีก 10 ชุมชน โดยมีระยะเวลาการ ดำาเนินงานโครงการ 1 ปี 2 เดือน นับตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560–30 มิถุนายน 2561 22
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
TPA
THAI PACK AWARDS 2017
Activity
รางวัล Thai Pack Awards จัดโดย สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อมอบรางวัล แก่ผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นเลิศด้านบรรจุภัณฑ์ที่วางจำาหน่ายจริงในท้องตลาด โดยคณะกรรมการที่มีความเชี่ยวชาญด้าน บรรจุภัณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับในแวดวงการบรรจุภัณฑ์และอุตสาหกรรมเกี่ยวข้อง ผลงานที่ได้รับรางวัลนี้เป็นผลงานที่มีความคิด สร้างสรรค์ มีนวัตกรรมการสร้างแบรนด์ และคุณภาพของการดำาเนินการ ซึ่งบรรจุภัณฑ์ดังกล่าวจะถูกเลือกจากร้านค้าปลีก ชั้นนำาในประเทศ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ บรรจุภัณฑ์อาหาร บรรจุภัณฑ์เครื่องดื่ม และบรรจุภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม โดยมีผู้ได้รับรางวัลทั้งสิ้น 24 ชิ้น ประกอบด้วย
บรรจุภัณฑ์อาหาร มีผลิตภัณฑ์ ได้รับรางวัลจำานวน 16 ชิ้น ประกอบด้วย Brand : Hong Thong Product : Ready Rice
Brand : ดอยคำา Product : ผลไม้อบแห้ง
Brand : Super Siam Product : Cooking Power
Brand : King Pow Roll Product :Crispy Pineapple Cups
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
23
Brand : Doi Chang Coffee Product : Coffee Bean
Brand : หวานอย่างมีหวัง Product : น้ำาผ�้ง
Brand : Nacker Product : แครกเกอร์ ใส่ใส้
Brand : บ้านมะขาม Product : ผลิตภัณฑ์มะขาม
24
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
Brand : Soup Sip Product : ผงชงซุป
Gourmet Thai Product : Milk Choc with Durain Dice Brand :
Brand : Heart Made Product : Crispy Crepe Rolls
Brand : Product :
ง่วนสูน พริกไทยเม็ด
Brand : Sritacha Product : Sauce and Mustard
Brand : Dragon Cuisine Product : Fish Sauce
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
25
Product :
Brand : Proud Crispy Rolls, Waffle
Brand : De Siam Product : Cooking Paste
บรรจุภัณฑ์เครื่องดื่ม มีผลิตภัณฑ์ ได้รับรางวัลจำานวน 3 ชิ้น ประกอบด้วย Brand : ดอยคำา Product : น้ำาผลไม้
Brand : Oishi Product : ชาเขียวซากุระ
Brand : โครงการชั่งหัวมัน Product : นมสด
26
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
บรรจุภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม มีผลิตภัณฑ์ ได้รับรางวัลจำานวน 5 ชิ้น ประกอบด้วย Brand : Ayada Product : Juicy Soap
Brand :
Roselte Classic Product : -
Brand : Hamn Product : Multi Pack Herbal Soap
Brand : Hashi Product : ผลิตภัณฑ์ล้างจมูก
Brand : Siam Herbal Product : ผลิตภัณฑ์ยาดม
พิธีมอบรางวัล THAI PACK AWARDS 2017 จะมีขึ้นภายในงาน Pack Print 2017 ระหว่างวันที่ 18-19 กันยายน 2560 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
27
Article สุมาลี ทั่งพิทยกุล
ตอนที่ 2
การนำา รีไซเคิลพลาสติก มาใช้เป นภาชนะ บรรจ�อาหาร
ในประเทศสหรัฐอเมร�กา และสหภาพยุโรป ในตอนที่ แ ล้ ว ได้ ก ล่ า วถึ ง การนำ า พลาสติ ก รี ไซเคิ ล มาทำ า เป็ น ภาชนะบรรจุอาหารในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งดำาเนินการโดย องค์การอาหารและยา (US.FDA) ในฉบับนีจ้ ะกล่าวถึงการนำาพลาสติก รีไซเคิลเพือ่ เป็นวัสดุสมั ผัสอาหารอาหารในสหภาพยุโรป ซึง่ มีขนั้ ตอน แตกต่างจากประเทศสหรัฐอเมริกา โดยกระบวนการรีไซเคิลต้อง ประเมินโดย European Safety Authority
พลาสติกร�ไซเคิลในสหภาพยุโรป
สหภาพยุโรปได้ออกกฎหมายของการรีไซเคิลพลาสติกเพื่อนำา มาใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหารใน Regulation (EC) No.282/2008 วันที่ 27 มีนาคม 2008 – on recycled plastic materials and articles intended to come into contact with foods and amending Regulation (EC) 2023/2006 กำาหนดว่าการนำารีไซเคิลวัสดุและสิง่ ของ มาสัมผัสอาหาร มาวางจำาหน่ายนั้น ขบวนการรีไซเคิลต้องได้รับ อนุญาต ซึ่งกระบวนการขออนุญาตเริ่มตั้งแต่ ผู้ประกอบการยื่น คำาร้องไปยังหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบของแต่ละประเทศในสหภาพยุโรป (Member State Authority) หน่วยงานนี้จะส่งคำาร้องไปยัง European Food Safety Authority (EFSA) หลังจาก EFSA ให้ความเห็นอย่าง เป็นทางการ สหภาพยุโรปจะนำาคำาตัดสินนั้นมาอนุญาตหรือปฏิเสธ ขบวนการรีไซเคิลที่ยื่นต่อไป ใน Regulation 282/2008 กำาหนดว่าพลาสติกทีจ่ ะนำามารีไซเคิล ต้ อ งเป็ น พลาสติ ก ที่ ผ ลิ ต ตามกฎระเบี ย บของสหภาพยุ โรปเรื่ อ ง พลาสติกที่ใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหาร และกระบวนการรีไซเคิลต้อง สามารถกำาจัดสารปนเปื้อนหรือลดลงในปริมาณที่ไม่มีความเสี่ยงที่ จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ สำาหรับพลาสติกทีใ่ ช้เป็นวัสดุสมั ผัสอาหาร 28
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
ต้องปลอดภัยตาม Regulation, EU No.10/2011 ซึ่ง ในกฎระเบี ย บนี้ ต้ อ งมี ก ารแพร่ ก ระจายโดยรวม (Overall Migration) อยู่ในเกณฑ์ที่กำาหนด มีบัญชีราย ชื่อสารที่อนุญาตให้ใช้ในการผลิตตามภาคผนวก 1 และ 2 ซึ่งต้องเป็นไป ตามเกณฑ์กำาหนดเฉพาะ (Specific Migration Limit) EFSA ได้ออกเอกสารแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ ความปลอดภัยของกระบวนการผลิตรีไซเคิลพลาสติก เพื่ อ ใช้ เ ป็ น วั ส ดุ สั ม ผั ส อาหารครั้ ง แรกเมื่ อ วั น ที่ 20 ธั น วาคม 2010 และยอมรั บ ความคิ ด เห็ น ทาง วิทยาศาสตร์เกีย่ วกับความปลอดภัยของกระบวนการ รีไซเคิล PET เพื่อใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหารเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2012 เมื่อสหภาพยุโรปยอมรับการตัดสินใจ ในการอนุญาตให้ใช้กระบวนการรีไซเคิลของคำาร้อง
ที่คาดว่าจะเสร็จในปี 2014 ดังนั้นคำาร้องระยะแรก สมบู ร ณ์ แ ล้ ว ขณะนี้ EFSA กำ า ลั ง ทบทวน กระบวนการรีไซเคิลที่มีอยู่และกระบวนการใหม่ที่ ใช้เป็นวัสดุสัมผัสอาหาร กระบวนการรีไซเคิลใหม่ หมายถึงกระบวนการที่เกิดหลังวันที่ 17 เมษายน 2008 หรือเมื่อผู้ประกอบการยื่นคำาร้องหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2009 ในปี 2008 EFSA ได้เตรียมเอกสารแนะนำาใน การยื่ น กระบวนการรี ไซเคิ ล อย่ า งปลอดภั ย ซึ่ ง ประกอบด้วยข้อมูลด้านบริหารจัดการ ข้อมูลด้าน เทคนิค ขณะนีก้ ระบวนการรีไซเคิล 127 กระบวนการ ได้ลงทะเบียนแล้วและ EFSA ได้ประเมินไปบ้างแล้ว แต่จนถึงวันที่ 1 ธันวาคม 2014 มากกว่า 80% ของ กระบวนการรีไซเคิลที่ยื่น คือรีไซเคิล PET ในเดือนกุมภาพันธ์ 2015 EFSA ได้พมิ พ์ความ เห็นทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการประเมินความ ปลอดภัย 2 กระบวนการในการรีไซเคิลโพลีเอทิลนี ความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene) เพื่อใช้ทำาขวดบรรจุอาหาร ผู้เชี่ยวชาญของ EFSA สรุปว่ากระบวนการรีไซเคิลเพือ่ ผลิตถาดโพลีเอทิลนี ความหนาแน่นสูงสำาหรับผัก (รวมทัง้ เห็ด) ผลไม้แห้ง ทัง้ ผล มีความปลอดภัย อย่างไรก็ตาม ข้อมูลสำาหรับ ความปลอดภั ย ของกระบวนการรี ไซเคิ ล ขวด บรรจุนมและถาดสำาหรับผลิตภัณฑ์จากเนือ้ สัตว์ยงั ไม่เพียงพอ ยังต้องการข้อมูลเพิม่ เติมในการประเมิน ความปลอดภัย แต่ไม่สามารถสรุปได้วา่ กระบวนการ นี้ไม่ปลอดภัย นอกจากนัน้ รีไซเคิลพลาสติกต้องมีกระบวนการ ผลิตตาม Good Manufacturing Process (Regulation 2023/2006) ท่ า นสามารถดาวน์ โ หลดเอกสารเกี่ ย วกั บ ข้อคิดเห็นของ EFSA ได้ตามเอกสารบทคัดย่อ ซึ่ง สรุปได้คือเก็บขวดโพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง (HDPE) ที่ เ คยบรรจุ อ าหารซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น นม ในประเทศอั ง กฤษ ล้ า งและทำ า เป็ น ชิ้ น (ต้ อ งมี
โพลีเอทิลีนที่ไม่ใช้กับอาหาร มากกว่า 1%) ทำาให้แห้ง ทำาให้ร้อน ด้วยถัง ทำาปฏิกิริยา (Reactors) 2 ถังต่อเนื่องกันภายใต้สุญญากาศ ก่อนที่จะ เอกซ์ทรูด (Extrude) ภายใต้สุญญากาศเป็นเม็ดพลาสติก (Pellet) แล้วนำา เม็ดพลาสติกรีไซเคิลมาผสมกับเม็ดพลาสติกบริสทุ ธิ์ (Virgin) เพือ่ ผลิตขวด หรือถาดต่อไปซึ่ง EFSA จะมีการสรุปว่าสามารถใช้เม็ดพลาสติกรีไซเคิล ได้ร้อยละเท่าไร
ขณะนี้สหภาพยุโรปกําลังดําเนินการนําความเห็นของ EFSA มาบังคับใช โดยทําเป น Regulation
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
29
Focus
ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต Industry Transformation Center “คุณคือ SMEs ที่กําลังประสบป ญหาในการทําธุรกิจอยู หร�อเปล า?” …สินค าไม โดดเด นและแตกต าง แต คิดไม ออกว าจะทํายังไง จะปร�กษาใคร ก็ยังมองไม เห็น ที่มองเห็นก็ใช เง�นทุนมากมาย ซึ่งคุณก็ไม มี บางทีสวรรค หร�อโชค อาจจะช วยคุณได โดยไม ได ตั้งใจ แต …ป ญหาก็ไม ได ถูกแก ไขอย างแท จร�ง… ด้วยปัญหาดังกล่าว หน่วยงานรัฐหลายหน่วยงานได้มองเห็นปัญหาและ ตระหนักว่าถึงเวลาทีต่ อ้ งเร่งแก้ไขอย่างเป็นรูปธรรม พร้อม ๆ กับขานรับนโยบาย ปฏิรูปประเทศไทยเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 กระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย สำานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม ได้ร่วมมือกันจัดตั้ง ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมแห่งอนาคต (Industry Transformation Center : ITC) ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สนับสนุน ให้ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมของประเทศไทยต่อยอดนวัตกรรมและงานวิจัย ไปสู่ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ที่มีมูลค่าสูง ศู น ย์ แ ห่ ง นี้ จ ะเริ่มตั้ง แต่การวิเ คราะห์แ ละคัดเลื อก ผลิตภัณฑ์ การให้บริการด้านวิศวกรรม การจัดหาผู้ผลิต ทำาการทดลองและรับรองมาตรฐาน การทดสอบตลาด เพือ่ บ่มเพาะให้สามารถนำาความรูท้ ไี่ ด้ไปพัฒนาสินค้า และ ดำาเนินธุรกิจได้เอง โดยมีการแบ่งปันเครือ่ งจักรอุปกรณ์จาก เครือข่ายหน่วยงานภาครัฐมาให้บริการแก่ผู้ประกอบการ เพื่อเป็นการลดต้นทุนการประกอบกิจการ และยังมีความ ช่วยเหลือต่าง ๆ ผ่านโครงการของภาครัฐที่จะมีมาอย่าง ต่อเนื่องอีกด้วย
วัตถุประสงค์
1. Transforms ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 2. Transforms กระบวนการผลิ ต ด้ ว ย Digital Manufacturing Transformation 3. Transforms บุคลากรภาคอุตสาหกรรม
30
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
กลุ่ม SMEs เป าหมาย ประกอบด้วย 1. Food & Bio Economy 2. Medical & Wellness 3. Automation & Hitech Industry 4. Digital 5. Creative Industry
อุตสาหกรรมไทย ผู้นำาทางด้านอุตสาหกรรมโลก และบริษัท ขนาดใหญ่ภายในประเทศเพือ่ สามารถดำาเนินการให้สอดคล้อง กันอย่างลงตัว 2. ITC Innovation : Innovationa Center ศูนย์สาธิต และฝกอบรมร่วมภาครัฐและเอกชน ในการรับและถ่ายทอด เทคโนโลยี และนวัตกรรมระหว่าง Global Players และ SMEs โดยสามารถศึกษาและทดลองใช้งานผ่านเครื่องมือ รวมถึง การฝกอบรม และมีผเู้ ชีย่ วชาญผ่านเครือข่ายต่าง ๆ สำาหรับให้ คำาปรึกษา 3. ITC Share : Share Resource Service แหล่งรวม บริการเครื่องมือ เครื่องจักร ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ท่ี ทันสมัยเข้าถึงเครื่องมือได้ง่ายขึ้น เช่น เครื่องพิมพ์สามมิติ เครือ่ งจักรอุตสาหกรรม และอุปกรณ์อนื่ ๆ ในการสร้างต้นแบบ ผลิตภัณฑ์ 4. ITC Fund : Financial Program สื่อกลางในการ แนะนำาสิทธิประโยชน์ด้านการเงิน จากสถาบันการเงินหรือ ภาครัฐ โดยทั้ง 4 แพลตฟอร์มนี้จะถูกบรรจุเป็นการบริหารในรูป แบบต่าง ๆ ในศูนย์ ITC ซึ่งประกอบด้วย 1. อาคารต้นคิด สตูดิโอ 2. อาคารต้นกล้าแกลเลอรี่ 3. อาคารปฏิบัติการต่าง ๆ
ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ศูนย์แห่งนี้จะทำาให้ไทยมีแต้มต่อ ในการแข่งขันมากขึน้ โดยอาศัยความคิดสร้างสรรค์ นวั ต กรรมในเรื่ อ งใหม่ ๆ และงานวิ จั ย โดยมี 3 หน่ ว ยงานหลั ก ร่ ว มมื อ ให้ ก ารสนั บ สนุ น ภาค อุตสาหกรรมเป้าหมายของไทยพัฒนาไปสู่ระบบ เศรษฐกิจใหม่ ตามแผนนโยบายของรัฐบาลในการ มุง่ สู่ Thailand 4.0 ด้วยรูปแบบการทำางานของศูนย์ ITC ที่จะไม่ทำางานเพียงลำาพังเท่านั้น แต่จะเป็น ศูนย์กลางที่ดึงความชำานาญของแต่ละหน่วยงาน ออกมาใช้ทั้งทางด้านการออกแบบ และวิศวกรรม จากผูน้ าำ เทคโนโลยีระดับโลก จากสถาบันเครือข่าย ผู้ประกอบการ จากสมาคมอุตสาหกรรมสนับสนุน ต่าง ๆ มาให้บริการแก่ภาคเอกชน ซึง่ มีภาคเอกชน มหาวิทยาลัย สถาบันเครือข่าย และบริษัทต่าง ๆ แสดงความจำานงสนับสนุนศูนย์ ITC มากกว่า 20 ราย ศูนย์นี้ประกอบไปด้วยแพลตฟอร์มบริหาร 4 ส่วน ได้แก่ 1. ITC Match : Portal for Matching ศูนย์กลางดำาเนินการเชื่อมโยงความต้องการของ THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
31
อาคารต้นคิด (TON-KIT Studio)
• SLM SOLUTION 125 เครื่องพิมพ์สามมิติระบบ Selective Laser Metting Machine สามารถสร้างชิ้นงานต้นแบบจากผงโลหะ เช่น ผงโลหะไทเทเนียม ผงโลหะสเตนเลส ผงโลหะอะลูมิเนียม ผงโลหะเงิน ผงโลหะทอง อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วของ เครือ่ งประดับ อากาศยาน ยานยนต์ และ การแพทย์
• OBJET 260 CONNEX 3 เครื่องพิมพ์สามมิติระบบ Poly Jet สามารถสร้างชิ้นงานต้นแบบจากวัสดุ ABS, PP และ Rubber ได้ พร้ อ มกั น ชิ้ น งานต้ น แบบสามมิ ติ ที่ ไ ด้ จ ะมี คุ ณ สมบั ติ แข็ ง นุ่ ม สี โปร่งแสง ทึบแสง อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ เครื่องประดับ ยานยนต์ อากาศยาน การแพทย์ และบรรจุภัณฑ์
• EOS FORMIGA P110 เครื่องพิมพ์สามมิติระบบ Additive Manaufacturing of Polymer สามารถสร้างชิ้นงานต้นแบบจาก ผงพลาสติก PA อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ เครื่องประดับ ยานยนต์ อากาศยาน การแพทย์ และบรรจุภัณฑ์
• GEOMAGIC TOUCH เครื่องช่วยในการขึ้นรูปโมเดลสามมิติ ช่วยปัน้ โมเดลสามมิตใิ นเครือ่ งคอมพิวเตอร์เหมือนกับปัน้ ชิน้ งานจริง อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข อ ง ยานยนต์ อากาศยาน การแพทย์ สถาปตยกรรม และแอนิเมชั่น
32
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
• INFOOT CAN เครื่องสแกนสามมิติสำาหรับสแกน เท้าโดยเฉพาะ สามารถสแกนเท้าพร้อมกับวัดขนาด และ บอกตำาแหน่งกระดูกเท้าได้โดยอัตโนมัติ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ การแพทย์ และรองเท้า
• ARTEC EVA SCANNER เครือ่ งสแกนแบบพกพา ขนาดเล็ก สามารถสแกนวัตถุพร้อมทั้งเก็บรายละเอียด ของสีของวัตถุที่สแกนได้ด้วย สามารถใช้สแกนชิ้นงาน ขนาดใหญ่ได้ อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข อ ง ยานยนต์ อากาศยาน การแพทย์ สถาปตยกรรม และแอนิเมชั่น
• ZUND S3 M800 โต๊ะตัดระบบดิจิทัล สามารถตัด วัสดุแผ่นได้หลายชนิด เช่น กระดาษแข็ง กระดาษลูกฟูก แผ่นฟีเจอร์บอร์ด แผ่นหนัง แผ่นพลาสติก สติกเกอร์ อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข อ ง ยานยนต์ อากาศยาน เครื่องหนัง บรรจุภัณฑ์ รองเท้า และเสื้อผ้า
สําหรับผู ประกอบการหร�อผู ที่สนใจ สามารถสอบถามข อมูลเพ��มเติมได ที่ ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมสู่อนาคต โทร. 0-2391-5340-43 หรือที่ www.itc.or.th
EXCELLENCE IN STRAPPING SOLUTIONS
เครื่องรัดสายรัดพลาสติก คุณภาพ สำหรับ หลากหลาย ผลิตภัณฑ์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
MOSCA ASIA THAILAND ( สำนักงาน สาขา )
ชั้น 11 อาคาร วาณิช 2, ยูนิต 11-08 1126 / 2 ถนน เพชรบุรีตัดใหม่ ราชเทวี กรุงเทพ ฯ 10400 โทรศัพท์ 02 655 3188 แฟกซ์ 02 655 3181 อีเมล์ thailand@mosca.com
ไทย โฮมเพ็จ http://th-th.mosca.com
CAS CUP 2017
News
กลุ่มบริษัทเจริญอักษร จัดการแข่งขัน “ฟุตบอลสานสัมพันธ์ อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ครั้งที่ 7” เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในภาค อุตสาหกรรมการพิมพ์ได้ออกกำาลังกาย และสร้างความสัมพันธ์ ที่เหนียวแน่นระหว่างกลุ่มธุรกิจโรงพิมพ์และภาคอุตสาหกรรม การพิมพ์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้รับการตอบรับด้วยดีเสมอมา
ข้อมูลเพิ่มเติม ภาพบรรยากาศ หรือข่าวสารการแข่งขันล่าสุด สามารถตรวจสอบได้ที่ Facebook Fanpage “CAS CUP 2017”
พิธีเปิดการแข่งขันอย่างเป็นทางการ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2560 ณ สนามสินสาคร เอฟซี ปาร์ค นิคม อุตสาหกรรมสินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยมี มนต์ชยั ดารารัตนโรจน์ ผูบ้ ริหาร ในกลุ่มบริษัทเจริญอักษร ให้เกียรติเป็น ประธานในพิธีเปิด สำาหรับบรรยากาศภายในงาน เป็นไป อย่างคึกคัก มีการแสดงโชว์ และมีการ จัดกิจกรรมการเล่นเกม แจกของรางวัล ต่างๆ สร้างความสนุกสนานให้กบั ผูเ้ ข้า ร่วมพิธีเปิดในครั้งนี้ THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
35
เล าประสบการณ
In Trend
ผ่านเวทีโลกออกแบบบรรจุภัณฑ์
สมชนะ กังวารจิตต์
สวัสดีครับ ผม สมชนะ กังวารจิตต์ ในฐานะคนไทยและกรรมการผูท้ รงคุณวุฒใิ นการตัดสินการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ โลก ทั้ง PENTAWARDS (ยุโรป), Core77 Design Awards (อเมริกา), A’Design Awards (อิตาลี), Marking Awards (จีน), Topawards Asia (เอเชีย), ASPaC Asian Student Package Design Competition (เอเชีย) ซึง่ วันนีผ้ มจะเริม่ มาเล่าประสบการณ์ การตัดสินระดับเวทีโลก เริ่มจากเล่มนี้พูดถึงการตัดสินของ PENTAWARDS ก่อนนะครับ ผมถือได้วา่ เป็นคนไทยท่ามกลางกรรมการท่านอืน่ ๆ จากตัวแทนประเทศมหาอำานาจโลกอย่างแท้จริง ไม่วา่ จะเป็น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส แคนาดา สวีเดน เบลเยี่ยม กรีซ ญี่ปุ่น เกาหลี และ Prompt Design จากไทยแลนด์ ด้วยประสบการณ์ที่ได้รับในครั้งนี้นั้น มากล้นจริง ๆ แต่หลัก ๆ ที่ได้นั้น ถือได้ว่าเป็นการตัดสินที่ยากที่สุดในชีวิตผม มันเป็นการตัดสินผลงานที่มหาหินมาก เนื่องจากว่าผลงานที่ส่งมาจากทั่วทุกมุมโลกนั้น ล้วนแล้วแต่ดี ๆ ด้วยกันทั้งสิ้น แต่มเี พียงดาวจรัสฟ้าท่ามกลางหมูด่ าวเท่านัน้ ทีไ่ ด้รางวัล ซึง่ วันนีผ้ มจะมาเล่าชิน้ งานทีไ่ ด้รบั รางวัลนะครับว่า ทำาไมหนอ... เขาจึงได้รางวัล...เริ่มกันเลย
ผลงานแรกที่ได้รางวัลนั้นเป็นผลงาน ของ Absolut Vodka ชื่อว่า Absolut Unique เขาบอกว่า “พวกเขาไม่เชื่อว่ามัน จะเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นพวกเขาจึงท�ามัน” Mark Twain กล่าว นี้คือความจริงอย่าง แน่นอน... บริษัท Family Business ที่อยู่เบื้อง หลังความคิด แนวคิด การพัฒนาโปรเจกต์ นี้ บ นพื้ น ฐานการผลิ ต Absolut Vodka 4 ล้ า นขวด โดยแต่ ล ะขวดไม่ ซำ้ า กั น เลย ขอเกริ่นนิดนึงก็คือว่าแต่ละปีนั้น Abosolut Vodka ได้เป็นผู้นำาด้านนวัตกรรมในการ ออกสินค้ารุ่น Limited Edition ที่ผ่านมาก็ เช่น Absolut Disco, Absolut Rock, Absolut Masquerade, Denim, 100, Bling-Bling, Miami, No Label และอีกมากมาย แต่ ใ นปี 2012 จะเป็ น การกำ า หนด ให้คำาจำากัดความใหม่ของคำาว่า Limited Edition แบบเดิม ๆ ที่ทำากันมาก็คือ ทำา สินค้ามาพิเศษสักรุน่ หนึง่ สัง่ ผลิตเหมือน ๆ กัน โดยอาจจะกำาหนดว่าผลิตกี่ชิ้นก็ว่ากัน ไป แต่งานของบริษทั Family Business ไม่ใช่ อย่างนั้นเลย เขาอยากให้ทุก ๆ ขวดนั้น ไม่ซำ้ากันเลยสักขวด และผลิตไม่น้อยกว่า
4 ล้านชิ้น เพื่อให้แต่ละขวดกลายเป็น Limited Edition ในตัวของมันเอง แม่เจ้า!!!!! มันไม่ง่าย เลย!!!!! มั น เป็ น ความท้ า ทายอย่ า งใหญ่ ห ลวง ยิ่งนัก มันเป็นความท้าทายที่เป็นไปไม่ได้ แต่ สำาหรับ Family Business และ Absolut ไม่คิด เช่นนัน้ ทางออกเขาก็แค่ทาำ งาน ทำางาน ทำางาน ให้หนักขึ้น ให้มากขึ้น ทุ่มความคิดสร้างสรรค์ และความรักลงไป แนวคิดเขาก็คอื เข้าไปปรับในสายการผลิต ให้มีความสามารถในการผลิต 4 ล้านขวดที่ แตกต่างกัน ซึง่ ทางบริษทั Family Business นัน้ ได้วางแนวทางของเครื่องจักรให้สอดคล้องกับ ลวดลายทีจ่ ะเกิดขึน้ ซึง่ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ พ่น สี ปาดสี สะบัดสี เมื่อขวดวิ่งไปในสายการผลิต ขวดนั้นจะถูกเครื่องจักรสุ่มลวดลายต่าง ๆ จึง ได้ออกมาแตกต่างกัน บ้างก็แตกต่างกันที่การ พ่น การสะบัด การปาด เมื่ อ วางขายผลก็ คื อ เกื อ บ 4 ล้ า นขวด ถูกขายก่อนที่จะสิ้นสุดแคมเปญโปรโมชั่น โดย ไม่ต้องลดราคาแต่อย่างใด พันธกิจที่ดูเหมือน จะเป็ น ไปไม่ ไ ด้ แต่ ทำ า ให้ สำ า เร็ จ ได้ ถื อ ว่ า มหัศจรรย์มาก ๆ THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
37
ผลงานชิ้นต่อมาที่ได้รางวัลคือ Anheuser-Busch InBev มหาอำานาจ องค์กรผู้ผลิตเบียร์รายใหญ่ของโลกส่งแบรนด์ Budweiser มาเข้าชิง การที่จะ ทำาแบรนด์ให้โดดเด่นจากคนอื่น ๆ ส่วนใหญ่จะใช้สี ใช้ชื่อแบรนด์ ใช้รูปร่าง รูปทรง แต่ในโลกของเบียร์นน้ั ขายในบรรจุภณ ั ฑ์กระปองส่วนใหญ่จะคล้าย ๆ กันทั้งโลก ซึ่งมันจึงไม่ใช่เรื่องง่ายเลยที่จะสร้างความแตกต่างหรือสร้างความ โดดเด่ น แต่ นี่ คื อ สิ่ ง ที่ ที ม งานฝั ่ ง สร้ า งสรรค์ กั บ ฝั ่ ง วิ ศ วกรรมของบริ ษั ท Metaphase Group ที่นำาเสนอการสร้าง Budweiser ให้เป็น “กษัตริยของ เบียร” อย่างแท้จริง โดยการสร้างกระปองให้มีรูปร่างเหมือนผูกโบ การใช้ องค์ความรู้ ความท้าทายทางเทคนิคในการผลิตกระปองในระบบอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ มีเพียง Metaphase Group เท่านั้นที่จะทำาได้
ซึง่ ผลออกมาทำาได้คอ่ นข้างดีมาก มันตอบ วัตถุประสงค์ได้หลายข้อ เช่น การสร้างความ น่าสนใจ ความแตกต่าง การใช้งานตอบสนอง ต่อเศรษฐศาสตร์ (Economic) เป้าหมายของ Budweiser ก็คือเมื่อมันมาอยู่ในมือคุณแล้ว มันจะส่งสัญญาณอะไรบางอย่างให้เข้าใจได้ว่า แบรนด์ได้ถูกจัดการระบบและเพิ่มมูลค่าเข้าไป เพราะด้วยรูปทรงที่แตกต่างของกระปองนั้น สอดคล้องกับตัวตราสัญลักษณ์อีกด้วย ไม่มี อะไรทีด่ กี ว่าแนวทางนีอ้ กี แล้วแน่นอน รับรอง!!!! มาถึงชิ้นต่อมา ถ้าพูดถึงในโลกของมันฝรั่งทอด กรอบและถั่วที่ขายอยู่ในถุงนั้นมันจำาเป็นที่จะต้อง “โดดเด่น” ซึ่งการแข่งขันจากแบรนด์ระดับชาติ และ House Brand นั้ น ช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ข้ อ จำ า กั ด Walkers (ที่รู้จักกันในแบรนด์มันฝรั่งแผ่นเลย์) เป็น ผู้นำาตลาดในมันฝรั่งทอด และพยายามจะทำาอย่าง นั้ น กั บ ตลาดถั่ ว เหมื อ นกั น เพื่ อ เป้ า หมายบริ ษั ท Design Bridge ได้จัดการสร้างตัวแทนของใบหน้า ของเสือโคร่ง โดยมีคาำ ว่า Tiger Nuts ซ่อนอยู่ เป็นการ ออกแบบทีเ่ ล่นกับการรับรูแ้ บบซ่อนเร้น ลวงตา ถือว่า ฉลาดมาก สร้างสรรค์และโดนใจเลยทีเดียว
38
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
ต้องยกนิ้วให้เลย
ผลงานที่ได้รางวัลต่อจากครั้งที่แล้ว อันนี้น่าสนใจมาก ชื่อแบรนด์ว่า Strong ซึ่งทำาอาหาร เสริมต่อสุขภาพหรือเขาเรียกกันว่า Nutriention Supplements บริษทั ทีด่ แู ลก็คอื Pearlfisher จาก ประเทศอังกฤษ เขาได้สร้างทั้งหมดของแบรนด์ ไม่ว่าจะเป็น กลยุทธ์ การตั้งชื่อ ตัวตนของ บรรจุภัณฑ์ แม้กระทั่งวิธีการขาย เรียกได้ว่าดูแลทั้งหมดกันเลยทีเดียว แบรนด์ Strong นั้นผลิต จากวัตถุดิบที่คุณภาพสูงมาก และสดใหม่ พัฒนาเพื่อให้เข้ากับคนรักสุขภาพ คนที่รักความสวย ความงามในระดับลึกถึงเซลล์ คนที่ต้องการความกระชุ่มกระชวย และความเยาว์วัย เป็นต้น โดยเป้าหมายก็คือ จะสร้างแบรนด์ให้มีความแตกต่างท่ามกลาง ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม นานาแบรนด์ในท้องตลาด ซึ่งต้องชื่นชมในตัวแนวคิดของทางบริษัท Pearlfisher ที่ว่า “Beauty from within” ก็คอื ความงามจากภายใน ซึง่ เขาใช้วธิ กี ารเปรียบเปรยด้านอารมณ์ โดยใช้ธรรมชาติ เป็นตัวแทนการสื่อสาร ผ่านสัตว์ปีกทั้งหลาย เช่น นก นกฮูก ม้าเปกาซัส เป็นต้น ซึ่งสัตว์เหล่านี้ จะมีสิ่งที่อ้างถึงสรรพคุณของอาหารเสริมแบบเปรียบเปรยได้ อาทิ นกฮูก-สมอง, ม้าเปกาซัสความแข็งแรง โปรตีน, นกขมิ้น-ความกระจ่าง เป็นต้น Dan Dittmar หนึ่งในกรรมการได้ให้ ความเห็นกับงานนีไ้ ว้วา่ “เป็นงานทีส่ ร้างเอกลักษณ์และความโดดเด่นในการดึงดูดความสนใจของ ผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี ลักษณะเช่นนี้แหละคืองานที่พร้อมก้าวไป”
ผลงานที่ได้รางวัลต่อมา อันนี้ก็ น่าสนใจไม่แพ้กัน ผลงานจาก Studio Kluif ก็คือ JEROHnimus ภาษาไทย อ่านว่า จีโรนีมสั เป็นแบรนด์ผลิตภัณฑ์ ทีใ่ ช้ในครัวเรือนต่าง ๆ เช่น หมอน จาน แจกั น และของตกแต่ ง บ้ า น เขาได้ แรงบันดาลใจจากผลงานของจิตรกร ชาวดัตช์ Hieronymus Bosch (ค.ศ. 1450-1516) ซึ่งงานของเขาคนนี้เป็นที่ รูจ้ กั กันในรูปแบบงานแปลก ๆ ดูลกึ ลับ เซอร์เรียล (เหนือความเป็นจริง) ซึ่ง Studio Kluif ก็ได้นำาแรงบันดาลใจจาก จิตรกรผู้ยิ่งใหญ่นี้ในการสร้าง Serie ของบรรจุภณ ั ฑ์ เพือ่ นำาเสนอผลิตภัณฑ์ ในบรรยากาศที่โดดเด่นสไตล์ภาพวาด
ของ Hieronymus Bosch ผลงานออกมาน่าสนใจมาก มันคือสไตล์ทเี่ ด่นชัดในรูปแบบ แนวทางความร่วมสมัยผ่านรูปภาพที่งดงาม เป็นการเชื่อมกันระหว่างความมั่งคั่ง ในอดีตผสานกับความสดใสของอนาคต Gerard Caron หนึ่งในกรรมการกล่าวว่า “มันเตะตามาก นี่แหละคือภารกิจของบรรจุภัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งพิเศษอย่าง ศิลปะ กวี และความข�าขัน ที่น�ามารวมกันได้กลมกล่อม”
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
39
ผลงานสุ ด ท้ า ยที่ ไ ด้ ร างวั ล คื อ ผลงาน THE BALVENIE 50 เป็นวิสกีค้ รบรอบ 50 ปี โจทย์ทไี่ ด้รบั ของ ทางบริษัท Here Design ประเทศอังกฤษ คือต้องการ สร้างบรรจุภัณฑ์พิเศษ และสิ่งพิเศษที่ว่านี้คือมอลต์ อายุกว่า 50 ปี ซึง่ ออกมาเพือ่ เฉลิมฉลองการทำางานของ ปรมาจารย์แห่ง Balvenie Malt ที่ได้รับการยอมรับจาก ผูเ้ ชีย่ วชาญวิสกีท้ วั่ โลกถึงความสามารถของเขา เขาผูน้ นั้ ชื่อว่า David Stewewart ตัวเขาเองเขาได้อุทิศตัวของ เขาทั้งหมดในชีวิตในการกลั่นมอลต์ แน่นอนที่สุดเมื่อ 50 ปีที่ผ่านมา วันที่เด็กฝกงานคนนี้อายุเพียง 17 ปี ได้ เข้าร่วมโรงกลั่นกับทาง Balvenie ด้วยความมานะทำาให้ เขามีผลงานอันเลื่องชื่อก็คือการเปิดตัวถังมอลต์ที่หา ยากทีส่ ดุ ของ Balvenie ในปี 1962 ถือเป็นอีกหนึง่ ทีส่ ร้าง ชื่ อ ก็ ว ่ า ได้ มั น สามารถกลั่ น ได้ ทั้ ง หมดแค่ 88 ขวด สนนราคาอยูท่ ี่ £20,000 ต่อขวด ก็ประมาณ 1 ล้านบาท เท่านั้นเอง จ า ก ก า ร อุ ทิ ศ ต น ข อ ง D a v i d Stewewart นั้ น ทำ า ให้ เขาได้ ร ่ ว มมื อ กั บ Sam Chinnery นักทำาเฟอร์นิเจอร์ทำาตู้ มือฉมังชาวสก็อตแลนด์ สร้างกล่องพิเศษ ที่เป็นสัญลักษณ์ 50 ปี ซึ่งมีไม้ 49 ชั้น ต่างสายพันธุ์ เช่น ไม้วอลนัท ไม้โอ๊ค ไม้แอช เป็นต้น นำามาวางซ้อนกันอย่าง งดงามทำ า ให้ เ กิ ด ผิ ว สั ม ผั ส และลายไม้ ด้านข้างของกล่องทีด่ แู ปลกแตกต่างและมี ระดับ และมีหนึ่งชั้นที่ทำาจากทองเหลือง สลักเรื่องราวปิดไว้ ตัวขวดแก้ววิสกี้นั้นใช้ งาน Handcraft ด้วยกรรมวิธกี ารการเป่ามือ
ด้วยความพิถีพิถัน และติดป้ายกับวันผลิตวิสกี้ หมายเลข Limited Number และลายเซ็นของ David Stewewart ด้านใต้ของแต่ละขวด ทำาให้ THE BALVENIE 50 จึงเป็นงาน Limited Edition ที่ทรงพลัง มากๆ Isabella Dahlborg หนึ่งในกรรมการบอกว่า “49 ชั้นนั้น มันพูดทุก ๆ อย่างด้วยตัวมันเอง ทัง้ ไอเดีย ทัง้ คุณภาพ ทัง้ การครบรอบ ถือเป็นวิสกี้ที่ยอดเยี่ยมมากๆ จนฉันอยากจะดมมันแล้วล่ะสิ”
งานยอดเยีย่ มของโลกเหล่านี้ ผ่านหลายด่านกว่าจะได้รางวัล มันไม่งา่ ยครับทีเ่ ราจะเป็นหนึง่ ในวงการ บรรจุภัณฑ์โลก ซึ่งจากการที่ผมได้ตัดสินพบว่า มีงานดี ๆ อีกหลายงานที่ควรได้ ...แต่... แต่นะครับขอยำ้า เหตุที่ผมและกรรมการท่านอื่น ๆ ไม่เลือกเพราะงานมันไม่เป็น New Original คือมันไม่ใหม่ ดังนั้น ท่านควรสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ไม่ใช่ประยุกต์จากสิ่งเดิม ท่านควรทำาให้งานของท่านเป็น New แต่ต้องเป็น Original คือไม่มีในตลาดเท่านั้น ขอบคุณครับ 40
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
31-2 OCT
NOV
%,7(& ‡ %$1*.2. 7+$,/$1'
ing
duc
Intro
$6($1·V 2QO\ ([KLELWLRQ RQ 0DQXIDFWXUHU 7HFKQRORJLHV 0DFKLQHU\ 3DFNDJLQJ 2'0 2(0 6HUYLFHV IRU &RVPHWLFV 3HUVRQDO &DUH 'LHWDU\ 6XSSOHPHQW 3URGXFWV
2017
Pre-register online & Organized by: O
Save BHT 300.-
+66 2686 7299
ZZZ FRVPH[VKRZ FRP
FRVPH[#UHHGWUDGH[ FR WK
ZZZ IDFHERRN FRP FRVPH[SDJH
NEWS
2017 Show Preview COSMEX 2017 งานแสดงเทคโนโลยีด้านการผลิต
การบรรจุภณ ั ฑ์ และบริการด้าน OEM/ODM เพือ่ อุตสาหกรรม เครื่ อ งสำ า อาง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดู แ ลสุ ข ภาพส่ ว นบุ ค คล และ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม งานเดียวในอาเซียน
นําเทรนดในอุตสาหกรรมความงาม
ผู้ผลิตเครื่องสำาอางและผลิตภัณฑ์ด้านความงามจำาเป็น ต้องปรับภาพลักษณ์แบรนด์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ ยกระดับ รูปลักษณ์ให้ตื่นตา เพื่อดึงดูดกลุ่มผู้ซื้อใหม่อยู่เสมอ งาน COSMEX 2017 จะเป็นเวทีธุรกิจเฉพาะด้านงานเดียวที่จะ นำาเสนอโซลูชั่นทางการผลิตผ่านเทคโนโลยี เครื่องจักร และ ผู้ผลิต OEM/ODM ชั้นนำาสำาหรับเครื่องสำาอาง อาหารเสริม ตลอดจนบรรจุภัณฑ์ด้านความงามและสุขภาพ โดยจะจัดควบคู่กบั งาน “In-cosmetics Asia” งานแสดง ด้านส่วนประกอบเครือ่ งสำาอางชัน้ นำาของเอเชีย เพือ่ เติมเต็ม อุตสาหกรรมความงามครบวงจร เชิญเข้าร่วมแสดงสินค้าเพือ่ นำาเสนอโซลูชนั่ เหล่านีแ้ ก่กลุม่ ผูซ้ อื้ ทีต่ รงเป้าหมาย อย่าพลาด โอกาสเบิกเส้นทางสู่ความสำาเร็จ และก้าวสู่การเป็นผู้นำา เทรนด์ในอุตสาหกรรมการผลิตด้านความงาม!
42
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
เพื่อ ให้ง านนี้เ ป็นเวทีการค้า B2B สำาหรับผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องสำาอางอย่างแท้จริง ประเภทของ ผู้แสดงสินค้าที่จะเข้าร่วมในงาน อาทิ:
ครั้งแรกที่ COSMEX!
ครัง้ แรกที่ COSMEX! ขอแนะนำา COSMEXPLUS+ ส่ ว นจั ด แสดงสิ น ค้ า ใหม่ ล่ า สุ ด สำ า หรั บ แบรนด์ เครือ่ งสำาอางทีก่ าำ ลังมองหาช่องทางการขยายตลาด โดยนำาเสนอผลิตภัณฑ์ให้แก่ตัวแทนจำาหน่ายจาก ทั่ ว ภู มิ ภ าคอาเซี ย น รวมทั้ ง ซั พ พลายเออร์ ด้ า น อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ สำ า หรั บ ซาลอนและคลิ นิ ก ความงาม เพื่อให้ผู้ประกอบการนำาไปใช้ในสาขา ส่วนจัดแสดงใหม่นี้จะช่วยเติมเต็มงาน COSMEX ในฐานะเวทีที่ครบครันที่สุดในการพบปะ เจรจา ธุรกิจความงามและขยายเครือข่ายพันธมิตรทาง ธุรกิจอย่างไร้ขดี จำากัด ภายในงานยังมีการจัดสัมมนา โดยผู้ นำ า วงการที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยประสบการณ์ อ ย่ า ง กว้างขวางด้านเทคโนโลยีการผลิต
ทวีค่าแบรนดความงามอย่างเปยมประสิทธ�ภาพ
เจาะกลุ่มเป้าหมายที่กว้างขวาง ทำาความรู้จักนักอุตสาหกรรมผู้เป็นที่ ยอมรับในวงการ พบปะผูซ้ อื้ รายใหม่ทกี่ าำ ลังต้องการเครือ่ งจักรและเทคโนโลยี เพือ่ การผลิตเครือ่ งสำาอางและบรรจุภณ ั ฑ์ หรือผูด้ าำ เนินธุรกิจรายย่อยทีก่ าำ ลัง มองหาผูร้ บั ช่วงการผลิต OEM/ODM เพือ่ เพิม่ ไลน์สนิ ค้า หรือตัวแทนจำาหน่าย ที่ต้องการเสาะหาผลิตภัณฑ์ด้านความงาม การดูแลสุขภาพผิวและผม และ เข้าถึงตลาดที่ COSMEX และ COSMEX PLUS+ มหกรรมแห่งปี ช่วยทวีค่า แบรนด์และเติมเต็มวงจรธุรกิจความงามและสุขภาพตั้งแต่ต้นนำ้าถึงปลายนำ้า
บร�การจับคู่ธุรกิจ
บริการ “Business Matchmaking” จะช่วยคุณจับคู่กับกลุ่มผู้ซื้อหรือ พบปะกับกลุ่มผู้ขายอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพียงแค่คุณบอกประเภท สินค้าหรือบริการทีก่ าำ ลังมองหา ทางเราจะแนะนำาผูผ้ ลิตทีเ่ หมาะสมกับคุณที่ สามารถเจรจาธุรกิจได้ในงาน สนใจสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทางอีเมล wishjanond.vich@reedtradex.co.th
เพิ่มโอกาสทางธุรกิจกับผูซ�้อเป้าหมาย
งานนี้จะนำาเสนอการรวมตัวของเจ้าของแบรนด์รายย่อย เอสเอ็มอี และ ผูจ้ ดั ซือ้ จากทัง้ ในประเทศไทย อาเซียนและต่างประเทศ ซึง่ จะมาเสาะหาสินค้า และบริการที่ตรงความต้องการจากผู้ร่วมแสดงสินค้าโดยตรง อย่าพลาดเวที เพื่อเพิ่มโอกาสทางธุรกิจของคุณ!
ลงทะเบียนชมงานล่วงหนา & ประหยัด 200 บาท!
ได้ รั บ การยกเว้ น ค่ า ธรรมเนี ย มเพื่ อ เข้ า ชมงานทั้ ง COSMEX และ In-cosmetics Asia มูลค่า 200 บาท และ ได้รับสูจิบัตรของงานในรูปแบบซีดี มูลค่า 900 บาท
สนใจสํารองพื้นที่แสดงสินคาและขอมูลเพิ่มเติม ติดต่อ : www.cosmexshow.com อีเมล : cosmex@reedtradex.co.th
โทร : 0 2686 7299
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
43
ไฮเดลเบิร์กประกาศแต่งตั้ง
News
มร.โยเคิ น ่ เบนเดอร์ เป นกรรมการผู จัดการประจําประเทศไทย ไฮเดลเบิ ร์ ก ผู้ นำ า ด้ า นการพิ ม พ์ ได้ ป ระกาศแต่ ง ตั้ ง มร.โยเคิ่น เบนเดอร์ (Mr. Jochen Bender) ขึ้นดำารงตำาแหน่ง กรรมการผู้จัดการไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย โดยเริ่มเข้ารับ ตำาแหน่งในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ดูแลรับผิดชอบการ บริหารจัดการของบริษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) จำากัด โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการกำาหนด กลยุทธ์โดยรวม และดูแลผลประกอบการของธุรกิจ เพือ่ รองรับความท้าทายและ พัฒนาการเติบโตของธุรกิจในประเทศไทย โดยจะมุ่งเน้นการ พัฒนาธุรกิจให้ลกู ค้าและผูป้ ระกอบการโรงพิมพ์ให้เข้าถึงโอกาส ทางการค้าที่สำาคัญในตลาดสื่อการพิมพ์ของโลก มร.โยเคิ่น เบนเดอร์ ได้ศึกษาด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ ก่อนที่จะสำาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี หลักสูตรการ บริหารจัดการด้านวิศวกรรม และได้เริ่มต้นทำางานกับบริษัท ไฮเดลเบิร์ก สำานักงานใหญ่ ในประเทศเยอรมนี โดยเข้าร่วม โครงการนักศึกษาฝกงาน ตั้งแต่ในปี พ.ศ. 2546 และได้รับ มอบหมายให้ทำางานในตำาแหน่งต่างๆ อาทิ การวิจัยการตลาด ผลิตภัณฑ์และการพัฒนาบริการลูกค้า เป็นระยะเวลากว่า 3 ปี ต่อจากนั้นได้ทำางานเป็นเจ้าหน้าที่พัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้กับ เครื่องพิมพ์ระบบออฟเซต และในปี พ.ศ. 2554 ได้ย้ายมา ประจำาการ ณ สำานักงานส่วนภูมิภาคเอเชียของไฮเดลเบิร์ก ที่ ตัง้ อยูท่ ปี่ ระเทศสิงคโปร์ โดยดำารงตำาแหน่งเป็นผูจ้ ดั การโครงการ ฝ่ายวิเคราะห์ธุรกิจ (Business Analyst Project Manager) โดย การใช้ซอฟต์แวร์จัดระบบข้อมูลต่างๆ ของลูกค้าในภูมิภาค เอเชีย ที่นับว่ามีข้อมูลมากที่สุดของไฮเดลเบิร์กที่เคยจัดทำามา พร้อมทั้งพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารจัดการ และจัดให้มี การนำาซอฟต์แวร์ มาตรฐานต่างๆ มาใช้ในฝ่ายขายและฝ่าย บริการ และในปี พ.ศ. 2556 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำารงตำาแหน่ง ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาธุรกิจส่วนภูมภิ าค ซึง่ ดูแลการบริหารกลยุทธ์ ต่างๆ อาทิ การวางตำาแหน่งผลิตภัณฑ์ ราคาผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์ การเข้าถึงกลุม่ เป้าหมาย การจัดทำาแคมเปญต่างๆ การวิเคราะห์ แนวโน้มการตลาดในแต่ละประเทศและในระดับภูมิภาค ด้ ว ยประสบการณ์ ก ารทำ า งานในเส้ น ทางไอที แ ละด้ า น การพิมพ์กว่า 14 ปี นับได้ว่า มร.โยเคิ่น เบนเดอร์เป็นหนึ่งใน บุ ค ลากรสำ าคั ญแถวหน้า ของบริ ษั ทที่ มีค วามเชี่ ย วชาญและ ประสบการณ์ที่ดีเยี่ยมทั้งด้านไอที การวิเคราะห์ข้อมูล และ มีความรู้ด้านการพิมพ์อย่างหาตัวจับได้ยาก นอกเหนือจาก การเป็นผู้จัดการฝ่ายบริหารที่ดูแลงานหลายภาคส่วนในระดับ ภูมิภาคเอเชีย โดยก่อนที่จะเข้ารับตำาแหน่งกรรมการผู้จัดการ ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดการฝ่าย พัฒนาธุรกิจให้กับไฮเดลเบิร์ก ประเทศเกาหลี และได้สร้าง
มร.โยเคิ�น เบนเดอร ผลประกอบการธุรกิจผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ตา่ งๆ เพิม่ ขึน้ ถึง 16% มร.โยเคิ่น เบนเดอร์ กล่าวว่า “ทุกวันนี้ Industry 4.0 เป็นหัวข้อทีถ่ กู พูดถึงเป็นอย่างมากและธุรกิจการพิมพ์ไทยก�าลัง ต้องการปรับตัวเพื่อให้ตอบรับแนวทางธุรกิจรูปแบบใหม่ เพื่อ ช่วยให้ธุรกิจอยู่รอด ผมตั้งใจที่สนับสนุนและอ�านวยความ สะดวกให้กับผู้ประกอบการชาวไทยโดยจะน�าเสนอโซลูชั่น ใหม่ๆ ของไฮเดลเบิร์กทึ่จะช่วยตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าเพือ่ ให้เกิดความคุม้ ค่าในการลงทุนและเพิม่ ความได้เปรียบ ในการแข่ ง ขั น ทั้ ง ส� า หรั บ ตลาดในประเทศและต่ า งประเทศ มากยิ่งขึ้น” การแต่งตั้ง “มร.โยเคิ่น เบนเดอร์” เป็นก้าวที่สำาคัญของ บริษัทผู้นำาด้านการพิมพ์ที่จะมุ่งเน้นการสนับสนุนและอำานวย ความสะดวกด้านการค้าระหว่างประเทศให้ผปู้ ระกอบการไทย ก้าวเข้าสู่ยุค Industry 4.0 อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการตอกย้ำาจุดยืนของบริษัทที่มุ่งมั่นสร้างธุรกิจ การพิมพ์ไทยให้สามารถเข้าถึงโมเดลธุรกิจรูปแบบใหม่ๆ อาทิ การเป็นสมาร์ทพรินต์ช็อปโดยการนำาเทคโนโลยีไอที และ โซลูชนั่ ทีล่ า้ำ หน้าต่างๆ เพือ่ จะตอบสนองรูปแบบความต้องการ ของลูกค้าทีม่ รี ปู แบบทีห่ ลากหลายตามทิศทางการตลาดยุคใหม่ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะเป็นการสร้างความได้ เปรียบในการแข่งขันให้ผปู้ ระกอบการชาวไทย เพือ่ ทีจ่ ะก้าวทัน ต่อโอกาสทางการตลาดและความต้องการ ของผูบ้ ริโภคในยุค ดิจิทัล ซึ่งจะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
45
News สมมาตร บุณยะสุนานนท์ รองประธาน บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำากัด
กับโอกาสครั้งสำาคัญของอุตสาหกรรมการพิมพ์
ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา การใช้กระดาษเพื่อผลิตงานพิมพ์มีแนวโน้ม ลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ตัง้ แต่ระดับบุคคล องค์กรธุรกิจ ไปจนถึงระดับอุตสาหกรรม เพราะมีการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการเข้าถึงสือ่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป “กระดาษ” ไม่ใช่ตวั เลือกเดียว สำาหรับการคัดลอก พิมพ์ ส่งต่อเพือ่ การสือ่ สารไปยังบุคคล อื่นอีกต่อไป แพลตฟอร์มการทำางานได้เปลี่ยนแปลงไปสู่โลกดิจิทัลมากขึ้น รูปแบบการทำางานถูกปฏิวตั ไิ ปอยูบ่ นโลกออนไลน์เพือ่ ช่วยลดระยะเวลาในการ ติดต่อให้ลดน้อยลง ซึง่ สอดคล้องกับรายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจของกระทรวง อุตสาหกรรมที่คาดการณ์แนวโน้มมูลค่าการส่งออกในปี 2559 อยู่ที่ประมาณ 64 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งลดลงร้อยละ 17.92 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน โดย สิง่ พิมพ์ประเภทโบรชัวร์ แผ่นปลิว ภาพพิมพ์ และภาพถ่าย มีการส่งออกลดลง ทั้งปริมาณ และมูลค่า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากความนิยมของผู้บริโภคที่ได้ เปลี่ยนไปให้ความสนใจสื่อดิจิทัลมากขึ้น กอรปกับนโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) ที่เป็นอีกแรงผลักดัน ซึ่งจะส่งผลให้รูปแบบการติดต่อสื่อสาร การผลิต การ ด�าเนินธุรกิจ การอุปโภคบริโภค ตลอดจนกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เปลี่ยนแปลงไปจากรูปแบบเดิม สู่การท�ากิจกรรมผ่านโครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมากขึ้น เศรษฐกิจจะถูกสร้างด้วยระบบ ดิจทิ ลั อย่างครบวงจร และวิธกี ารท�าธุรกิจของผูป้ ระกอบการจะมีการปรับเปลีย่ น จากการแข่งขันเชิงราคา ไปสู่การแข่งขันเชิงการสร้างคุณค่าของสินค้าและ บริการทีผ่ บู้ ริโภคพอใจสูงสุด ท�าให้ธรุ กิจสิง่ พิมพ์ตอ้ งปรับตัวไปสูธ่ รุ กิจสิง่ พิมพ์ สร้างสรรค์ ที่ผสมผสานสิ่งพิมพ์และเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าด้วยกัน ที่ผ่านมา บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำากัด ตระหนักถึง แนวโน้มความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ จึงได้มกี ารปรับรูปแบบธุรกิจให้สอดคล้อง กับสถานการณ์เทรนด์ของโลกธุรกิจในปัจจุบัน มีการเพิ่มสัดส่วนทางธุรกิจ ในเรื่องของโซลูชั่นการบริหารจัดการเอกสาร แทนการนำาเสนอเพียงศักยภาพ เครือ่ งมัลติฟงั ก์ชนั หรือเครือ่ งพิมพ์ดจิ ทิ ลั อย่างเดียว อาทิ Business Process Services, Xerox Office Services, ApeosWare Management Suite 2 Platform และอีกหลาย ๆ บริการที่ทางฟูจิ ซีร็อกซ์ได้นำาเสนอให้กับลูกค้าไป ควบคู่กับการทำาธุรกิจจำาหน่ายเครื่องพิมพ์ที่เป็นรูปแบบการทำาธุรกิจเดิม โดยโซลูชั่นเหล่านี้ล้วนเกิดจากการพัฒนาศักยภาพและความเชี่ยวชาญที่ฟูจิ ซีร็อกซ์มีอยู่ เพื่อให้สามารถช่วยลดความซับซ้อนของขั้นตอนการทำางานของ ธุรกิจในยุคดิจิทัล และจัดการเอกสารผสานรวมเข้ากับโครงสร้างพื้นฐานเดิม ขององค์กรได้อย่างสะดวกง่ายดาย รวมทั้งช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน ต้นทุน และความสามารถในการผลิตทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ช่วยให้ธรุ กิจขนาดกลาง และย่อมรวมถึงองค์กรขนาดใหญ่ สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพและปรับขัน้ ตอน การทำางานให้เป็นระบบอัตโนมัติ ซึ่งโซลูชั่นต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนรองรับการใช้งานแบบโมบิลิตี้ที่ทุกองค์กร ต้องการ และสามารถควบคุมค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องกับงานพิมพ์ได้อย่างเห็นผล โดยไม่ จำ า เป็ น ต้ อ งทุ่ ม เทเงิ น ทุ น อย่ า งมากไปกั บ เทคโนโลยี แ ละบุ ค ลากร พร้อมทั้งช่วยเพิ่มประสบการณ์ของผู้ใช้อย่างครอบคลุมผ่านอุปกรณ์มัลติ ฟังก์ชนั สมาร์ทโฟน ไปจนถึงพีซี พร้อมๆ กับเพิม่ ขีดความสามารถด้านการผลิต 46
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
ดิจิทัลเทรนด์
และผลักดันให้เกิดรายได้เพิ่มมากขึ้น องค์กร สามารถปรับขั้นตอนการทำางานของตนให้เป็น ระบบอัตโนมัตไิ ด้ดว้ ยการเชือ่ มต่อระบบเข้ากับ บริการคลาวด์ และอุปกรณ์ตา่ งๆ ของพนักงาน เพื่ อ ให้ ก ารดำ า เนิ น งานมี ค วามคล่ อ งตั ว มาก ยิ่งขึ้น ด้วยการสื่อสารและสามารถสั่งงานผ่าน เทคโนโลยี ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและสร้าง มูลค่าเพิม่ ให้กบั ธุรกิจ และตอบโจทย์การบริหาร จัดการเอกสารกระดาษทีห่ ลายองค์กรพยายาม ที่จะลดปริมาณการใช้ และขั้นตอนซ้ำาซ้อนให้ น้อยลงได้อย่างดี “วิสัยทัศน์เหล่านี้ถือเป็นแนวทางที่ธุรกิจ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์จ�าเป็นต้องปรับตัว เพื่อให้สามารถเติบโตต่อไปได้ในยุคที่สิ่งพิมพ์ ถู ก ลดความต้ อ งการลง และความต้ อ งการ บริการเอาต์ซอร์สซิง่ ก�าลังเป็นทีต่ อ้ งการเพิม่ ขึน้ เพราะเป็นต้นทุนที่ควบคุมได้ สะดวก และ รวดเร็ว ด้วยบริการจากมืออาชีพ ท�าให้ธุรกิจ ไม่ตอ้ งสูญเสียเวลาและค่าใช้จา่ ยในการพัฒนา ระบบ บุคลากร จึงช่วยท�าให้ธุรกิจของลูกค้า สามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็ว และพร้อมที่จะ แข่งขันกับคู่แข่งในยุคดิจิทัลนี้อีกด้วย”
News
จ�ดแข็งของบร�ษัท ในฐานะ OEM และผูผลิตบรรจ�ภัณฑเพื่อการ ผลิตเคร�่องสําอาง
การบริการรอบด้านแบบครบวงจรของเรา จะเริม่ ตัง้ แต่ชว่ ยลูกค้าในการพัฒนาสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ให้ตรงความต้องการ โดยมีการกำาหนดค่าใช้จ่ายที่แน่นอน หลัง จากส่งใบเสนอราคาแล้ว ไม่มีการแอบแฝง หรือเสียค่าใช้จา่ ยในการพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์เพิม่ เติม ไปจนถึงกระบวนการผลิต การออกแบบบรรจุภัณฑ์ และตรวจเช็ก Artwork และครอบคลุมความรับผิดชอบ หลังการขาย เช่น บริการตรวจเช็กสินค้า100% การจดทะเบียน อย. รวมถึงเช็กสูตร สินค้าเพื่อไปในตลาดทั่วโลก รวมถึงขอออกใบรับรองจากหน่วยงานต่างๆ บริษัท ก็ยังผลิตสินค้ากลุ่มบรรจุภัณฑ์ (Packaging) กว่า 1,600 แบบ เพิ่มทางเลือกให้กับ ลูกค้ามากขึน้ เช่น ลิปสติกกว่า 400 รูปแบบ เป็นต้น เพือ่ สร้างเอกลักษณ์ให้กบั แบรนด์ ของลูกค้า และสามารถเปิดแม่พิมพ์การผลิตได้ตามความต้องการของลูกค้าด้วย
มุมมองภาพรวมของเทรนดดาน OEM และบรรจ�ภัณฑในอุตฯ เคร�่องสําอาง และ Personal Care ทิศทางการเติบโต คุณศลิษา พิบูลย์สวัสดิ์
CEO บริษัท คอมเม็ทส อินเตอร เทรด จํากัด
ภาพรวมจ�ดเด่นของสินคา และบร�การของบร�ษัทมีอะไรบาง
บริษัทของเราอยู่ในธุรกิจเครื่องสำาอาง มากว่า 25 ปี จึงมีความชำานาญในการผลิต สิ น ค้ า โดยเฉพาะมาตรฐานในการผลิ ต ที่ ได้ยอมรับและไว้วางใจจากลูกค้ามาอย่าง ต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็น Global Brand เช่น L’Oreal Group เป็นต้น และด้วยนโยบายที่ ชัดเจนในการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ เราจึง ช่วยลูกค้าพัฒนาสินค้า เพือ่ ให้ตรงตามความ ต้องการมากที่สุด
COSMEX 2017 31 ตุลาคม–2 พฤศจิกายน ไบเทค บางนา
ลงทะเบียนเข้าชมงานล่วงหน้า ฟรีค่าเข้าชมงาน 300 บาท www.cosmexshow.com Tel. 0-2686-7299
สินค้าเครื่องสำาอางเติบโตในด้านยอดขายเป็นที่หนึ่งในทุกห้างร้าน และยังคงอยู่ ในตลาดแบบ Blue Ocean หากลูกค้าต้องการสินค้าที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ ทั้ง ในตัวสินค้าไปจนถึงด้านบรรจุภัณฑ์ (Packaging)
กลยุทธที่บร�ษัทจะเขามาช่วยเสร�มศักยภาพใหกับ อุตสาหกรรมการผลิตเคร�่องสําอางไทยและอาเซียน
กลยุทธ์ในการให้บริการลักษณะ Turnkey Service ที่ได้รับโจทย์จากลูกค้าพัฒนา ตั้งแต่สูตรไปจนถึงตัวบรรจุภัณฑ์ สามารถตอบโจทย์ลูกค้าในด้านสินค้าสำาเร็จรูป ด้านความงามที่มีความหลากหลาย เป็นทางเลือกให้ลูกค้าอยู่เสมอ รวมทั้งนโยบาย ด้านคุณภาพตามมาตรฐานสากล จึงนับว่าเป็นการส่งเสริมให้อุตสาหกรรมเครื่อง สำาอางเติบโต ทั้งยังได้รับความไว้วางใจจากพันธมิตรทางธุรกิจมากมาย ทั้งแบรนด์ ในประเทศและต่างประเทศ ทั้งผลิตภัณฑ์กลุ่ม Counter Brand และกลุ่ม Mass Market ดังนั้นลูกค้าจึงมั่นใจได้ว่าจะได้รับสิ่งที่ดีที่สุด
ผลตอบรับที่ดีจากการเขาร่วมงานเอ็กซซ�บิชั่น และการขยายเคร�อข่ายผ่าน COSMEX 2017
บริษัทเชื่อมั่นในการเข้าร่วมงานแสดงสินค้า และได้ผลตอบรับที่ดีมาตลอด 3 ปี โดยเฉพาะการเปิดช่องทางทางการตลาดให้กลุม่ ลูกค้ารูจ้ กั บริษทั ของเราและการสร้าง พันธมิตรทางการค้าเพิ่มขึ้น ในปีนี้เราได้นำาผลิตภัณฑ์กลุ่ม Packaging หลากหลาย ดีไซน์ และตัวอย่างผลิตภัณฑ์สาำ เร็จรูปทีม่ ตี วั ยาบรรจุอยู่ มาแสดงในงาน และขอเชิญชวนผู้ประกอบการหรือ ผูส้ นใจในธุรกิจเครือ่ งสำาอาง มาชมงาน COSMEX 2017 ค่ะ จะได้เปิดโอกาสให้ได้แลกเปลี่ยนข้อมูล ด้านการค้า การลงทุนร่วมกัน และยังได้ศกึ ษาแนวโน้มทางการตลาด ของกลุม่ ธุรกิจประเภทเครือ่ งสำาอางในอนาคตอีกด้วยค่ะ THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
47
In Trend
ดาว เป ดตัวนวัตกรรมฟ�ล์ม สําหรับอุตสาหกรรมบรรจ�ภัณฑ ที่เป นมิตรกับสิ�งแวดล อม
เมือ่ เดือนกรกฎาคมทีผ่ า่ นมา ในงานโพรแพ็ค ประจำา ปี 2560 ที่ประเทศจีน ดาว บรรจุภัณฑ์และพลาสติก ชนิดพิเศษ (P&SP) หนึ่งในหน่วยธุรกิจของ บริษัท ดาว เคมิคอล ได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์ฟิล์มโพลีเอทิลีนที่สามารถ ขึ้นรูปโดยกระบวนการดึงฟิล์มสองทิศทาง (Tenter Frame Biaxially Oriented Polyethylene หรือ TF-BOPE) โดย ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวเป็นนวัตกรรมของผลิตภัณฑ์บรรจุภณ ั ฑ์ เรซิน่ อินเนทTM (INNATETM Precision Packaging Resin) เมื่อเปรียบเทียบกับฟิล์มโพลีเอทิลีน (PE) รูปแบบเดิม ฟิล์ม TF-BOPE ตัวใหม่ มีคุณสมบัติเชิงกลและความ แข็งแกร่งของวัสดุที่สูงกว่า รวมถึงประสิทธิภาพการพิมพ์ ที่ดีขึ้น โซลูชั่นนี้เกิดจากการผสานความร่วมมือระหว่าง กลุ่มวัสดุศาสตร์ประจำาภาคพื้นทวีปอเมริกาเหนือ (North American Material Science Group) และทีมวิจัยและ พัฒนาของหน่วยธุรกิจดาว บรรจุภัณฑ์และพลาสติกชนิด พิเศษ ประจำาภาคพื้นทวีปเอเชียแปซิฟิก ในการทำาวิจัย เกีย่ วกับความต้องการของตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ทงั้ ในประเทศ และทั่วโลก “กว่าหนึ่งทศวรรษ ทีมวิจัยและพัฒนาของเราได้ร่วม ท�าวิจยั อย่างจริงจังเพือ่ สร้างความก้าวหน้าของผลิตภัณฑ์ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ ในอนาคตได้ จากการวิจัยอย่างเข้มข้นท�าให้เราได้ข้อมูล เชิงลึกเกีย่ วกับปญหาต่างๆ ของฟลม์ บรรจุภณ ั ฑ์ จึงพัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่ปฏิวัติวงการผลิตภัณฑ์โพลีเอทิลีนในรูปแบบ เดิม การเปดตัวนวัตกรรมครั้งนี้ แสดงให้เห็นถึงวิสัยทัศน์ และความล�้าหน้า รวมถึงความแข็งแกร่งในงานวิจัยและ พัฒนาของ ดาว” วู ชาง ผู้อำานวยการด้านเทคนิคและ การพัฒนา (TS&D) ประจำาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ของ 48
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
หน่วยธุรกิจดาว บรรจุภัณฑ์และ พลาสติกชนิดพิเศษ (P&SP) กล่าว ด้ ว ยเทคโนโลยี เ ฉพาะทาง ของดาว ฟิล์มโพลีเอทิลีนรูปแบบ ใหม่ (TF-BOPE) ได้รับการพัฒนา คุ ณ สมบั ติ เ ชิ ง แสงของวั ส ดุ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง เช่ น ความ โปร่ ง ใสและความมั น วาว ช่ ว ย ลดค่าความมัวได้ถึงร้อยละ 80 เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โพลีเอทิลีนรูปแบบเดิม มีความ สามารถในการทนแรงกระแทก เพิ่มขึ้นสองเท่า ช่วยป้องกันการรั่วซึมเพิ่มขึ้นสามเท่า มีความทนทาน ต่อแรงดึงเพิม่ ขึน้ สามเท่า และมีความยืดหยุน่ เพิม่ ขึน้ สองเท่า นอกจากนี้ วัสดุที่ทำาจากฟิล์มโพลีเอทิลีน (TF-BOPE) จะมีคุณสมบัติพิเศษในการ ทนรอยแตกร้าวเป็นอย่างดีเยี่ยมและช่วยคงความเหนียวของวัสดุ แม้อยู่ในอุณหภูมิตำ่า คุณสมบัติทั้งหมดเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงการ พัฒนาด้านประสิทธิภาพอย่างก้าวกระโดดจากผลิตภัณฑ์รูปแบบเดิม ที่มีอยู่ในตลาด
โซลูชั่นสำาหรับบรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัย เป นมิตรต อสิ่งแวดล อม และยั่งยืนมากยิ่งขึ้น
วั ส ดุ ช นิ ด ใหม่ นี้ มี คุ ณ สมบั ติ เชิ ง กลที่ ย อดเยี่ ย ม สามารถลด ความหนาของฟิลม์ ได้ดว้ ยการนำามาใช้แทนทีฟ่ ลิ ม์ โพลีเอไมด์ (Biaxially Oriented Polyamide หรือ BOPA) และโพลิเมอร์ชนิดอืน่ ๆ ในการผลิต ชั้นฟิล์มของบรรจุภัณฑ์ ทำาให้ใช้วัสดุน้อยลง ด้วยประสิทธิภาพเชิงแสงและการพิมพ์ที่ยอดเยี่ยม ทำาให้ฟิล์ม
โพลีเอทิลีน (TF-BOPE) สามารถนำามาใช้สำาหรับตีพิมพ์ได้โดยตรง และ เมื่อรวมเข้ากับชั้นฟิล์มโพลีเอทิลีนอื่น ๆ การใช้ฟิล์มโพลีเอทิลีนชนิดใหม่ (TF-BOPE) จะทำาให้โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์เป็นโพลีเอทิลีนทั้งหมด ซึ่ง สะดวกต่อการรีไซเคิล และลดของเสียลง นอกจากนี้ ฟิล์มโพลีเอทิลีน (TF-BOPE) สามารถฉีกได้ง่าย ซึ่งเป็น คุณสมบัตสิ าำ คัญของสินค้าประเภทบรรจุภณ ั ฑ์ นวัตกรรมนีจ้ งึ ช่วยเพิม่ ความ สะดวกสบายในการใช้งานอีกด้วย ในปัจจุบัน ดาว กำาลังร่วมมือกับบริษัท กวางดอง เดโคร ฟิล์ม นิว แมท ทีเรียล (Guangdong Decro Film New Material) และ ไคดะ กรุ๊ป (KAIDA Group) เพื่อผลิตฟิล์มโพลีเอทิลีน (TF-BOPE) ที่ใช้สำาหรับถุงเก็บผงซักฟอก เหลว ซึ่ ง ในปั จจุบัน วัส ดุที่ใช้ใ นถุง เก็บผงซักฟอกเหลวคื อ โพลี เ อทิ ลีน เทเรฟทาเลท หรือเพ็ท (Polyethylene Terephthalate หรือ PET) และวัสดุ ฟิล์มโพลีเอไมด์ (BOPA) นวัตกรรม TF-BOPE จะมาแทนที่วัสดุฟิล์มโพลี เอไมด์ (BOPA) สำาหรับใช้เป็นแผ่นฟิล์มในบรรจุภัณฑ์ เพื่อช่วยลดจำานวน วั ต ถุ ดิ บ ที่ ต ้ อ งใช้ ใ นการผลิ ต และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพความคงทนของถุ ง บรรจุภณ ั ฑ์ นอกจากนี้ ดาว ยังร่วมมือกับผูป้ ระกอบการรายอืน่ ในตลาดเพือ่ ส่งเสริมการใช้ฟิล์มโพลีเอทิลีน (TF-BOPE) ในการผลิตถุงใส่ข้าวสาร ถุงใส่ อาหารสัตว์ กระสอบทราย และบรรจุภัณฑ์ชนิดอื่น ๆ “ผลิตภัณฑ์ใหม่นไี้ ด้เปดตัวในเอเชียและก�าลังจะเปดตัวในทีอ่ นื่ ๆ ทัว่ โลก” โกดัก เสี่ยว ผู้อำานวยการฝ่ายการตลาด ด้านอาหารและบรรจุภัณฑ์ชนิด พิเศษประจำาภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ของหน่วยธุรกิจดาว บรรจุภัณฑ์และ พลาสติกชนิดพิเศษ กล่าว “ความต้องการและมาตรฐานด้านความปลอดภัย ความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และคุณสมบัตทิ างกายภาพของฟลม์ พลาสติก ในอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์จะสูงขึน้ ในฐานะผูน้ า� ด้านการจัดหาวัสดุสา� หรับ อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ ดาวหวังว่าจะได้รว่ มมือกับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียตลอด ทั้งห่วงโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain) เพื่อพัฒนานวัตกรรมส�าหรับการผลิต บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน ช่วยส่งเสริมสุขภาพ และการพัฒนาที่ไม่หยุดยั้งของ อุตสาหกรรม” โกดัก กล่าวเพิ่มเติม กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย เป็นบริษัทชั้นนำาด้านวิทยาศาสตร์ใน ประเทศไทย ประกอบไปด้วย กลุ่มบริษัทดาว เคมิคอล ประเทศไทย รวมถึง กลุม่ บริษทั ร่วมทุน เอสซีจ-ี ดาว ทัง้ นี้ ดาว ประเทศไทย นับเป็นฐานการผลิต ที่ใหญ่ที่สุดของดาวในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และเป็นผู้นำาในด้านการนำาเข้า เคมีภัณฑ์สำาหรับภาคอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่หลากหลาย รวมถึง ผลิตภัณฑ์กาำ จัดแมลงทีใ่ ช้สาำ หรับภาคการเกษตรและครัวเรือน ซึง่ กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย มีความมุง่ มัน่ ในการพัฒนานวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และ มุ่งมั่นในการสร้างความร่วมมือและเครือข่ายเพื่อสร้างความยั่งยืนทั้งต่อ ธุรกิจและสังคม ส่วน บริษทั ดาว เคมิคอล ผสานพลังของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อความก้าวหน้าและความเป็นอยู่ที่ดี ของผู้คนในโลก รวมทั้งเพื่อมุ่งแก้ปัญหาที่ท้าทายยิ่งของโลก อาทิ ปัญหา การขาดแคลนอาหารที่สดใหม่ การคมนาคมขนส่งที่ยั่งยืนและปลอดภัย นำ้าสะอาด การประหยัดพลังงาน โครงสร้างพื้นฐานที่คงทน และการเพิ่ม ผลผลิตทางการเกษตร ทั้งนี้ ดาว เคมิคอล ในฐานะผู้นำาอุตสาหกรรมและขับเคลื่อนตลาดใน หลายแขนงรวมกัน ได้นาำ เสนอทัง้ ผลิตภัณฑ์และโซลูชนั่ ต่าง ๆ ทีห่ ลากหลาย ให้แก่ลูกค้ามากกว่า 175 ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในธุรกิจที่มีการ
เติบโตสูง เช่น ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ โครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคมขนส่ง สินค้าอุปโภคบริโภค อิเล็กทรอนิกส์ และธุรกิจเกษตร โดยในปี พ.ศ. 2559 บริษัทฯ มียอดขายประมาณ 48,000 ล้านเหรียญ สหรัฐ) ประมาณ 1,680,000 ล้านบาท และมีพนักงาน จำ า นวนกว่ า 56,000 คน บริ ษั ท ฯ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ มากกว่า 7,000 กลุ่มรายการ ซึ่งผลิตจากโรงงาน 189 แห่ง ใน 34 ประเทศทัว่ โลก การอ้างอิงถึง “ดาว” หรือ “บริษัท” หมายถึง บริษัท ดาว เคมิคอล และ บริษัทในเครืออื่น ๆ เว้นแต่ระบุไว้ชัดเจน สามารถ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.dow.com
บริษัท กวางดอง เดโคร ฟ ล์ม นิว แมททีเรียล
บริษัท กวางดอง เดโคร ฟิล์ม นิว แมททีเรียล ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2530 และดำาเนินสายการผลิต ฟิลม์ โพลีโพรพิลนี ทีส่ ามารถขึน้ รูปโดยกระบวนการ ดึงฟิล์มสองทิศทาง (BOPP) ทั้ง 8 สายของ บรู๊ค เนอร์ มิตซูบิชิ และเจเอสดับบลิว และมีกำาลังการ ผลิตมากกว่า 130,000 ตันต่อปี บริษัทฯ ได้รับ การยอมรับว่าเป็นบริษัทชั้นนำาด้านเทคโนโลยี รูปแบบใหม่และเทคโนโลยีขั้นสูง (High & Newtech Enterprise) มามากกว่า 13 ปีติดต่อกัน ได้ รับรางวัลเครื่องหมายการค้าที่ได้รับการยอมรับ ในประเทศจีน ผลิตภัณฑ์ฟลิ ม์ ของเดโครถูกนำามา ใช้ อ ย่ า งแพร่ ห ลายสำ า หรั บ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ข อง ผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม สินค้าอุปโภค บริโภคในชีวิตประจำาวัน รวมถึงการผลิตฉลาก และการผลิตอิเล็กทรอนิกส์ สามารถดูข้อมูลเพิ่ม เติมได้ที่ www.bopp.com.cn
เกี่ยวกับไคดะ กรุ ป
ไคดะ กรุ๊ป เป็นบริษัทที่เชี่ยวชาญด้านการทำา บรรจุ ภั ณ ฑ์ แ บบยื ด หยุ ่ น วั ส ดุ ฟ ิ ล ์ ม การฉี ด พลาสติ ก และผลิ ต ภั ณ ฑ์ จำ า พวกฝากระป อ ง มี สำ า นั ก งานสองแห่ ง อยู ่ ที่ ป ระเทศจี น และที่ กรุงเทพฯ ประเทศไทย มีโรงงานพิมพ์ โรงงาน เพงดา (Pengda) ผลิตวัสดุเพื่อทำาบรรจุภัณฑ์ โรงงานหวานเบ่ า หลง (WanBaoLong) ผลิ ต ฝาบรรจุภัณฑ์ บริษัทเซี่ยงไฮ้ กวนซี แมททีเรียล เทคโนโลยี จำากัด และ ฝูเจี้ยน ฉวนโจว ไคจิง อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต เทรดดิ้ง จำากัด ด้วยการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งมาเป็นเวลากว่า 10 ปี ทำาให้ไคดะ กรุป๊ เป็นหนึง่ ในบริษทั ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน สามารถดูข้อมูลเพิ่ม เติมได้ที่ www.kaidapack.com
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
49
Dow Launches Innovative TF-BOPE to Meet Commercial Mass Production Requirements Dow Packaging and Specialty Plastics, “The launch of this innovative product showcases Dow’s futuristic and cuttingedge insights, as well as our strong R&D capacity.” With Dow’s exclusive technology, the TF-BOPE film is developed to demonstrate excellent optical properties such as transparency and glossiness. Compared to traditional PE products, TF-BOPE can achieve up to 80% less haze, twice the impact strength, thrice the puncture resistance, thrice the tensile strength, and twice the tensile modulus. TF-BOPE material has excellent flex cracking resistance which sustains great tenacity even under low temperature. All of these qualities represents a big leap from the performance of the traditional PE product.
Dow’s Packaging and Specialty Plastics (P&SP), a business unit of The Dow Chemical Company (NYSE: DOW) launches tenter frame biaxially oriented polyethylene (TF-BOPE) at ProPack China 2017: an innovative and revolutionary addition to the INNATETM Precision Packaging Resin family. Compared to the traditional polyethylene (PE) film, TF-BOPE film has higher mechanical properties and material rigidity, better optical and printing performance. Through collaboration with North American Material Science group, P&SP’s Research & Development (R&D) team in Asia Pacific came up with this breakthrough solution based on research on the packaging markets’ requirements, both locally and globally. “For the past decade, our regional R&D team has engaged in intensive research and made headways into the future trends of packaging market. We have gained insights into the challenges and finally developed this revolutionary product which breaks through the limits of traditional PE products.” said Wu Chang, Asia Pacific director for Technical Services and Development (TS&D),
50
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
A Safer, More Environment-friendly, More Sustainable Packaging Solution
This new material has excellent mechanical properties which can reduce film thickness by replacing BOPA (Biaxially Oriented Polyamide) and other polymers in abuse layers for packaging. With the excellent optical performance and print ability, the TF-BOPE film can be used directly as the printed layer of the packaging. By combining it with other PE functional layers, TF-BOPE can achieve a packaging with ALL PE structure, making it more convenient for recycling and increasing the sustainability quotient. The TF-BOPE film is easy to tear, an important requirement for packaging products, thereby increasing the convenience in usage. Dow is currently in collaboration with Guangdong Decro Film New Material Co., Ltd. and KAIDA Group for
the commercialized production of the TF-BOPE film used in liquid washing bag. The traditional liquid detergent bag uses polyethylene terephthalate (PET) and BOPA packaging materials. The new TF-BOPE film will replace BOPA as the interlayers of the packaging, reducing the packaging material used and strengthening the mechanical performance of packaging bags. Dow is also cooperating with other market players to promote the use of TF-BOPE film for rice bags, pet food bags, heavy bags and other packaging requirements. “To date, this new product has been launched in Asia. The subsequent global release will follow.” added Kodak Xiao, Asia Pacific marketing director for Food & Specialty Packaging, Dow Packaging and Specialty Plastics, “The requirements on safety, eco-friendliness, and physical properties of plastic films in the packaging industry will be higher. As one of the leading materials solutions providers to the packaging industry, Dow hopes to collaborate with key stakeholders across the value chain to promote innovative and sustainable packaging solutions, and promote the healthy and dynamic development of the industry.” The largest business unit in Dow, Packaging and Specialty Plastics (P&SP) delivers annual revenues of ~US$13 billion and is one of the largest materials suppliers to the global packaging industry. With 3,800 employees, 48 plants and 28 sites spread across 16 countries, the business focuses on high growth markets in food packaging, industrial packaging, personal hygiene, and transmission pipe. P&SP is a leading innovator and collaborates across multiple value chains on new and improved products and applications that meet or exceed customer expectations. Visit http://www.dow.com/performanceplastics/ for more information. Follow Dow Packaging and Specialty Plastics on Facebook, Twitter, and LinkedIn. Dow (NYSE: DOW) combines the power of science and technology to passionately innovate what is essential to human progress. The Company is driving innovations that extract value from material, polymer, chemical and biological science to help address many of the world’s most challenging problems, such as the need for fresh food, safer and more sustainable transportation, clean water, energy efficiency, more durable infrastructure, and increasing agricultural productivity. Dow’s integrated, market-driven portfolio delivers a broad range of technology-based products and solutions to customers in 175 countries and in high-growth sectors such as packaging, infrastructure, transportation, consumer care, electronics, and agriculture. In 2016, Dow had annual sales of $48 billion and employed approximately 56,000 people worldwide. The Company’s more than 7,000
product families are manufactured at 189 sites in 34 countries across the globe. References to “Dow” or the “Company” mean The Dow Chemical Company and its consolidated subsidiaries unless otherwise expressly noted. More information about Dow can be found at www.dow.com.
About Guangdong Decro Film New Material Co., Ltd.
Founded in 1987,Guangdong Decro Film New Materials Co., Ltd. operates 8 BRUCKNER/ MITSUIBISHI/JSW BOPP production lines, with an annual capacity in excess of 130 thousand tones. Meanwhile, Decro has 2 special functional coating production lines, contributing to over 40 million square meters per year. 3 new Twin-screw extruders also contributes more than 10 thousand tons master batch for functional films. Decro has been recognized as High & New-tech Enterprise for 13 consecutive years and got the award of the China well-known trademark, and established the National Post-doctoral Workstation currently. Decro has owned 11 patents in China and 5 foreign patents abroad. Decro’s film products have been widely used for packaging for foodstuffs, beverage, daily life products, as well as for labeling and electronic fabrication etc. More information about Decro can be found at www.bopp.com.cn.
About KAIDA GROUP
KAIDA GROUP is a company that specialized in flexible packaging, raw material film, injection molding and EOE products. It has two offices in China and one office in Bangkok, Thailand. It consists of printing factory, Pengda Packaging Material factory, WanBaoLong Cover Making factory, Shanghai Guanze Material Technology Co., Ltd. and Fujian Quanzhou Kaijing Imp& Exp Trading Co., Ltd.). Through more than ten years’ development, Kaida Group has become one of the biggest packaging corporations in China. Kaida Group has a professional team, an independent R&D and lab center. Approved by ISO9001, BRC, BV and SMETA. More information about KAIDA can be found at www.kaidapack.com.
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
51
In Trend
เต็ดตรา แพ้ค ตั้งเป าขยายตลาด กระบวนการผลิตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต
สุรพงษ์ กอบประดิษฐ์กุล ผู จัดการฝ ายขาย บร�ษัท เต็ดตรา แพ ค (ประเทศไทย) จํากัด มร.อาชิช ดาฮิยา ผู บร�หารกลุ ม ผลิตภัณฑ ดา นกระบวนการผลิต ประจําภูมภิ าค เอเชียใต เอเชีย ตะวันออก และโอเชียเนีย มร.แอนเดอร์ส อันเดรน ผู จัดการ ผลิตภัณฑ ดา นออโตเมชัน่ และ วันชัย สุวรรณเนตร ผูอ าํ นวยการ ฝ ายขาย บร�ษัท เต็ดตรา แพ ค (ประเทศไทย) จํากัด
52
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
เต็ดตรา แพ้ค ผูน้ าำ ด้านกระบวนการผลิตและบรรจุอาหาร ได้ประกาศเป้าหมายในการขยายธุรกิจกระบวนการผลิตอาหาร ในภูมิภาคเอเชียใต้ เอเชียตะวันออก และโอเชียเนีย ให้เติบโต กว่าร้อยละ 50 ภายในปี 2020 โดยบริษทั ฯ ระบุวา่ ประเทศไทย เป็นหนึ่งในตลาดสำาคัญที่มีศักยภาพในการเติบโต จึงพร้อม สนับสนุนผูผ้ ลิตในประเทศและนโยบายต่าง ๆ ของภาครัฐ เพือ่ ช่วยส่งเสริมนวัตกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0 แผนพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้นโยบาย Thailand 4.0 ให้ ความสำาคัญกับ ‘การเกษตรสมัยใหม’ และ ‘นวัตกรรม อาหาร’ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายเพือ่ การ พัฒนาประเทศ1 และยังเป็นส่วนหนึง่ ในนโยบาย Super Cluster ของรัฐบาล เพือ่ พัฒนาการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรให้เป็น อาหารที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เช่น อาหารรองรับสังคมสูงวัย และ อาหารทางเลือกเพื่อสุขภาพ ขณะที่ตัวเลขในไตรมาสแรกของปี 2016 มีประชากรไทย กว่าร้อยละ 40 ที่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรมและธุรกิจ ส่งออกอาหาร2 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าถึงร้อยละ 9.5 ทำาให้ ผู้ผลิตภายในประเทศมีความต้องการเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ช่วย รักษามาตรฐานความปลอดภัยสูงสุดของอาหาร ควบคูก่ ับการ เพิ่มประสิทธิภาพการดำาเนินงาน เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง 1 2
Thailand board of investment, January 2017. https://www.thailand-business-news.com/economics/57359-thaigovernment-stepping-thailand-4-0-towards-agro-processing.html
เพือ่ ส่งเสริมแผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เต็ดตรา แพ้ค จึงได้กาำ หนด ให้ประเทศไทยเป็นหนึ่งในตลาดยุทธศาสตร์สำาคัญของภูมิภาค และเพื่อ ตอบสนองความต้องการของผูผ้ ลิตไทย บริษทั ฯ จึงได้จดั แสดงนวัตกรรม โซลูชั่นการผลิต และบรรจุอาหารครบวงจรล่าสุดในงานแสดงสินค้า ประกอบด้วย • Tetra Pak® High Shear Mixer ทีม่ าพร้อมกับประสิทธิภาพ สูงสุดในการผสมวัตถุดิบ หากแต่ช่วยลดต้นทุนการผลิต และลดการใช้ พลังงานตลอดทั้งกระบวนการลงถึงร้อยละ 50 • Virtual Reality เทคโนโลยีระบบเสมือนจริงใหม่ล่าสุด ที่ จำาลองการทำางานของเครื่อง Tetra Pak’s Homogeniser 500 ซึ่งเป็น อุปกรณ์ในกระบวนการผลิตระบบยูเอชทีแบบแลกเปลีย่ นความร้อนผ่าน ตัวกลาง ช่วยให้ผู้ผลิตสามารถเรียนรู้และเข้าใจการทำางานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องไปเยือนโรงงาน • One Tetra Pak® Plant Master เป็น Automation Solutions ที่ถูกออกแบบมาเพื่ออุตสาหกรรมอาหารโดยเฉพาะ ซึ่งจะช่วยให้ลูกค้า ควบคุมการผลิตทั้งระบบได้อย่างครบวงจร เริ่มตั้งแต่เมื่อวัตถุดิบเข้าสู่ กระบวนการผลิต ไปจนถึงขั้นตอนบรรจุกล่องและวางเรียงสินค้าบน พาเลท “เต็ดตรา แพ้ค ให้ความส�าคัญกับตลาดใหม่ที่ก�าลังขยายตัวใน ภูมิภาคเอเชีย ไม่ว่าจะด้วยจ�านวนของกลุ่มชนชั้นกลางที่เพิ่มมากขึ้น การขยายตัวของเมือง และความต้องการที่หลากหลายของผู้บริโภค ล้วนแล้วแต่เป็นปจจัยหลักที่ช่วยขับเคลื่อนความต้องการนวัตกรรม กระบวนการผลิตอาหารให้สงู ขึน้ ด้วยความเชีย่ วชาญเฉพาะด้านของเรา ในด้านกระบวนการผลิตนม อาหารส�าเร็จ ไอศกรีม และเครื่องดื่ม รวมทั้งโซลูชั่นการผลิตแบบครบวงจร ท�าให้เราสามารถตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าในทุกตลาดได้อย่างเฉพาะเจาะจง” มร.อาชิช ดาฮิยา ผู้บริหารกลุ่มผลิตภัณฑ์ด้านกระบวนการผลิต ประจำาภูมิภาคเอเชียใต้ เอเชียตะวันออก และโอเชียเนีย กล่าว
การตั้ ง เป้ า ขยายธุ ร กิ จ กระบวนการผลิ ต ถึ ง 50% ภายในปี 2020 ยังสามารถสร้างการจ้างงาน ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านกระบวนการผลิตในภูมภิ าคเพิม่ ขึน้ อีกกว่า 100 คน จากปัจจุบันที่มีอยู่ราว 800 คน การขยายตัวอย่างต่อเนือ่ งของ เต็ดตรา แพ้ค แสดง ให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ในการแบ่งปัน ความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่อง ดืม่ ระดับโลกให้กบั ลูกค้า เพือ่ ขับเคลือ่ นความเติบโต อย่างยั่งยืนไปพร้อมกัน โดยในปี 2016 เต็ดตรา แพ้ค มียอดขายสุทธิทั่วโลกจากการบริการโซลูชั่น ครบวงจรกว่า 11.4 พันล้านยูโร และมีเครื่องผลิตที่ ปฏิบัติงานให้แก่ลูกค้ารวมกว่า 76,000 เครื่อง
Tetra Pak เป นหนึ่งในสามบร�ษัทของ
Tetra Laval Group โดยอีกสองบร�ษัท คือ DeLaval และ Sidel Tetra Laval เป น กลุ มบร�ษัทสัญชาติสว�เดน ซึ่งมีสํานักงาน ใหญ อยู ในประเทศสว�ตเซอร แลนด
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
53
News
ไฮเดลเบิร์ก
เตร�ยมโชว ทัพนวัตกรรม Postpress Packaging ที่เหนือชั้น ล าสุด ในงาน Pack Print International 2017 ไฮเดลเบิร์ก ผู้นำาเทคโนโลยีระดับโลกด้านการพิมพ์และมาสเตอร์เวิร์คแมชีนเนอรี่หรือเอ็มเค (Masterwork Machinery – MK) พันธมิตรทางธุรกิจด้าน Postpress ที่น่าเชื่อถือ ขอเชิญท่านพบกับ นวัตกรรมล่าสุดเพื่อตอบโจทย์ความต้องการงานบรรจุภัณฑ์ของตลาดโลกที่กำาลังขยายตัวเพิ่มสูงขึ้น ในงาน Pack Print International 2017 พบเราที่บูธ L01 ฮอลล์ 101 ณ ไบเทค บางนา วันที่ 20–23 กันยายน 2560 และค้นพบโซลูชนั่ การผลิตงานบรรจุภณ ั ฑ์ในรูปแบบทีง่ า่ ยขึน้ ภายใต้ธมี Smart Packaging
54
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
ไฮไลต์ของงานแสดงผลิตภัณฑ์เพื่องานบรรจุภัณฑ์ต่าง ๆ สำาหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ในปีนี้ ไฮเดลเบิร์กตั้งใจจะนำาเสนอ นวัตกรรมต่างๆ ที่จะช่วยให้ท่านประสบความสำาเร็จ ไฮเดลเบิร์กจะร่วมกันแสดงศักยภาพเทคโนโลยีแห่งอนาคต พบกับ Highlight Show ทีบ่ ธู ไฮเดลเบิรก์ เปิดประสบการณ์ใหม่ ผ่าน Live Demo สร้างสรรค์ไอเดียแห่งความเหนือชัน้ เพือ่ งาน Packaging ทีง่ า่ ยขึน้ ไฮไลต์โชว์ในงานจะประกอบด้วย “Highlight Show - High Productivity Packaging” คือที่สุดแห่งนวัตกรรมของกระบวนการ ที่ช่วยเพิ่มผลผลิตได้สูงสุดสำาหรับงานบรรจุภัณฑ์ ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวล้ำาของเครื่องหลังพิมพ์ที่สอดรับกับแนวคิด Smart Print Shop ได้อย่างลงตัวที่สุด และโชว์ “Ideal for Flexible Production” คือโซลูชั่นสำาหรับงานบรรจุภัณฑ์ยอดสั้นถึงปานกลาง ด้วยเทคโนโลยีเครือ่ งหลังพิมพ์ทตี่ อบโจทย์ดา้ นประสิทธิภาพและความคุม้ ค่าการลงทุนมากทีส่ ดุ มอบความหลากหลายของออพชัน่ ใหม่ ๆ ใช้งานง่ายและประหยัดเวลาในการเตรียมงานได้มาก เครื่องที่จะโชว์ในงาน ได้แก่
1) Diana Eye 55
เครื่องตรวจสอบคุณภาพงานที่มี ฟังก์ชนั ช่วยตัง้ งานได้อย่างรวดเร็ว สำาหรับทัง้ กระดาษ บางและกระดาษหนา โดยสามารถตรวจสอบจุดบกพร่องต่าง ๆ ที่เกิดจากกระบวนการพิมพ์บนทุก ๆ ชิ้นงานได้อย่างละเอียด และแม่นยำา ทั้งงานหมึกถอน หมึกเป็นจ้ำา คราบหมึก คราบ รอยเปื้อนต่าง ๆ งานเคลือบ ตลอดจนงานปั๊มตัด ปั๊มฟอยล์ บาร์โค้ด ด้วยระบบกล้องตรวจวัดที่มีคุณภาพสูงสุด โดยตรวจ เช็กที่ความเร็วสูงสุดถึง 200 เมตรต่อนาที
2) Diana Easy
ที่ไม่ใช่เครื่องจักรเฉพาะสำาหรับการ เริ่มต้นการเป็นผู้ผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์ แต่ยังเหมาะ สำ า หรั บ การผลิ ต ที่ มุ่ ง เน้ น ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ด้ ว ยต้ น ทุ น ที่ ต่ำ า เครื่ อ งจั ก รนี้ มี ข นาดให้ เ ลื อ กสองขนาดคื อ 85 และ 115 เซนติเมตร เหมาะสำาหรับผลิตกล่องแบบปะข้าง ตัวเครื่องจักร สามารถเพิ่มอุปกรณ์การผลิตกล่องประเภท 4 และ 6 มุมได้ใน ภายหลัง โดยไม่สญ ู เสียเวลาในการติดตัง้ อุปกรณ์และค่าใช้จา่ ย ที่สูงมากเกินจำาเป็น เนื่องจากตัวเครื่องได้ถูกออกแบบมาให้ รองรับกับอุปกรณ์อยู่แล้ว ด้วยเทคโนโลยีและมาตรฐานของ Diana ทำาให้ Diana Easy สามารถช่วยลดระยะเวลาในการ เตรียมงานให้สั้นที่สุด การออกแบบที่ใช้งานได้ง่าย อีกทั้งยัง สามารถใช้อปุ กรณ์เสริมร่วมกับเครือ่ ง Diana Smart และ Diana X ความเร็วสูงสุดของเครือ่ งที่ 350 เมตรต่อนาที สามารถรองรับ กระดาษตั้งแต่ความหนา 200 ถึง 600 แกรม รวมทั้งกระดาษ ลูกฟูก เครือ่ ง Diana Easy สามารถปรับลำาดับการพับกล่องจาก พับขวาแล้วพับซ้าย หรือพับซ้ายก่อนแล้วค่อยขวา หน่วยนี้มี ความยาวถึง 3 เมตร จึงทำาให้กล่องที่ถูกพับมีคุณภาพที่ดี ไม่มี รอยแตกที่เส้นพับ
3) เครือ่ งปัม๊ ไดคัตรุน่ Easymatrix 106 CS
สำาหรับ พื้นที่ปั๊มตัดใหญ่สุด 1,045x745 มม. รองรับกระดาษ ขนาดใหญ่สุดที่ 1,060x760 มม. ที่ความหนากระดาษ 90– 2,000 แกรม อีกทั้งยังสามารถพับและปั๊มนูนกระดาษลูกฟูกที่ ความหนาสูงสุดได้ถึง 4 มม.
4) เครื่องปั๊มไดคัต Promatrix 106 CSB
โซลูชั่น สำาหรับงานปั๊มไดคัตและงานปั๊มนูนระดับมืออาชีพ ประหยัดเวลาตัง้ งาน แต่สามารถผลิตงานได้มากถึง 7,500 แผ่น ต่อชัว่ โมง ตอบสนองต่อผูผ้ ลิตขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ พร้อม หน่วยกระทุ้งเศษและกระทุ้งงาน มีระบบป้อนกระดาษแบบ
ต่อเนื่อง โต๊ะพากระดาษที่มีสายพานลมดูด และมีระบบปรับ ตั้งฉาก ปรับแต่งแบบไดคัตและแบบมีดได้อย่างรวดเร็ว และ
5) เครื่องตัดรุ่นใหม่ Polar 115 PF
เครื่องตัดรุ่นใหม่ เพิ่มผลผลิตในงานตัด ใช้งานง่าย ประหยัดพลังงาน และคล่องตัว สามารถคืนทุนได้รวดเร็ว คุณภาพงานตัดแม่นยำา และความเที่ยงตรงสูงสุด ไฮเดลเบิร์ก ต้องการจัดแสดงศักยภาพเทคโนโลยีแห่ง อนาคตเพือ่ นำาเสนอโซลูชนั่ การผลิตงานบรรจุภณ ั ฑ์รปู แบบใหม่ ที่สมาร์ท เปี่ยมประสิทธิภาพ และมีกระบวนการผลิตแบบ องค์รวมที่มีประสิทธิภาพ หลายปี ที่ ผ่ า นมานี้ ไฮเดลเบิ ร์ ก และเอ็ ม เค (MK) พันธมิตรที่แข็งแกร่งซึ่งเป็นสุดยอดของผู้ผลิตเครื่องจักรและ อุปกรณ์ต่าง ๆ ด้านบรรจุภัณฑ์ ได้พัฒนาแนวทางใหม่ซึ่ง ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เพื่อทำาให้การผลิตงานบรรจุภัณฑ์เร็วขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น และที่สำาคัญที่สุด คือมีขั้นตอนการ ทำางานที่เรียบง่ายมากขึ้น นอกจากกิจกรรมในบูธแล้ว ไฮเดลเบิร์กยังจัดสัมมนา “Print 4.0 - Smart Print Shop” วันที่ 21-22 กันยายน 2560 ณ ห้องประชุม MR 210 อาคาร ไบเทค ชั้น 2 เริ่มลงทะเบียน 13:00 น. สร้างปรากฏการณ์ที่สำาคัญโดยการนำานวัตกรรม มอบให้กับลูกค้าเพื่อรองรับการทำางานในยุคดิจิทัล และแสดง กระบวนการผลิตที่เชื่อมต่อการทำางานร่วมกันอย่างครบวงจร Smart Print Shop คือกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ด้วยระบบอัตโนมัติที่ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตลดลง และเพิ่ม ศักยภาพด้วยการเชือ่ มต่อทุกกระบวนการตัง้ แต่การสือ่ สารกับ ลูกค้าไปจนถึงการผลิตทุกขั้นตอน เนื่องจากการเชื่อมต่อของ ระบบทำาให้เครื่องจักรสามารถเข้าถึงกระบวนการผลิตทั้งหมด ระบบการบริหารจัดการง่ายและรวดเร็วขึน้ เพราะกุญแจสำาคัญ ที่จะได้ผลผลิตที่สูง คือการทำางานที่ง่ายและมีประสิทธิภาพ
โปรดอย่าพลาดสัมมนานี้ เพราะจะทำาให้ท่านรู้ว่า ท่านจะรับมือ ธุรกิจสิ่งพิมพ์ ในยุค Industry 4.0 อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสบความสำาเร็จได้อย่างไร! โปรดสำารองที่นั่งได้ที่คุณวีรนุช บารมีรังสิกุล โทร. 0-2610-6219 อีเมล weeranuch.barameerungsikul@heidelberg.com THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
55
Special
Area
ศศิรดา สุทธิลักษณ์ บริษัท เคิร์ซ (ประเทศไทย) จำากัด
PACK PRINT International
ความท้าทายของ การเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรม เราต้องก้าวไปด้วยกัน เป็นที่ตั้งตารอกันอย่างใจจดใจจ่อสำาหรับงาน PACK PRINT International 2017 ทีจ่ ดั ขึน้ ทุก ๆ 2 ปี เพื่ออัพเดตเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์ ซึ่งครั้งนี้ก็เป็นครั้งที่ 6 แล้ว แน่นอนว่า ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ นักออกแบบ และนักเรียน นักศึกษา ย่อมเห็นการ พั ฒ นาและเปลี่ ย นแปลงของงานแสดงสิ น ค้ า นี้ ม า อย่างต่อเนื่อง แต่ครั้งนี้ จะสำาคัญยิ่งกว่าครั้งไหน ๆ เพราะเรากำ า ลั ง เข้ า สู ่ ก ารเปลี่ ย นแปลงครั้ ง สำ า คั ญ ที่ เ ทคโนโลยี มี บ ทบาทมากถึ ง ขี ด สุ ด นั่ น คื อ ยุ ค อุตสาหกรรม 4.0
56
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
ในงาน PACK PRINT ครั้งนี้ ใครไม่มีเทคโนโลยี ใหม่ ๆ มานำาเสนอ ไม่มอี งค์ความรูท้ ชี่ ว่ ยให้ผปู้ ระกอบการ ทำางานได้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ไม่มสี งิ่ ทีเ่ รียกว่า “ดิจทิ ลั ” มาช่วยให้การทำางานง่ายขึ้น เร็วขึ้น สื่อสารดีขึ้น แล้วล่ะก็ คุณเตรียมตัวม้วนเสือ่ กลับบ้านได้เลย ความสำาคัญของยุค 4.0 นี้ มีอิทธิพลกับอุตสาหกรรมของเราอย่างเห็นได้ชัด เพราะมันหมดยุคของการทำาการค้าแบบขอไปทีแล้ว ใคร สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุดกว่า ดีกว่า เร็วกว่า คนนั้นคือผู้ชนะ สิ่งที่ทุกท่านจะได้เห็นในงานย่อมสะท้อนถึงอุปสงค์ อุปทานของตลาดได้ชัดเจน บริษัทชั้นนำาทั่วโลกจะนำาสิ่ง ที่เรียกกันว่า “นวัตกรรมแห่งอุตสาหกรรมในอนาคต” มานำาเสนออย่างไม่หวงแหน ผูป้ ระกอบการทีม่ องเห็นและ หยั่งรู้ถึงอนาคตได้ก่อน แน่นอนว่า เข้าเส้นชัยก่อนเป็น แน่แท้ หลายต่อหลายครั้งที่เคิร์ซ ได้มีโอกาสพูดคุยกับ เจ้าของแบรนด์ ทั้งรายเล็กและรายใหญ่ สิ่งหนึ่งที่เราเจอ อยูเ่ สมอ ๆ หลังจากนำาเสนอเทคโนโลยีทเี่ คิรซ์ มี คือคำาถาม ว่า “มีมีผูประกอบการโรงพิมพหรือโรงผลิตบรรจุภัณฑ
เจ า ไหนมี เ ทคโนโลยี ตั ว นี้ แ ล ว บ า ง” มั น เป็ น เรื่ อ งแปลกที่ ผู้ประกอบการเพิกเฉยกับความต้องการเหล่านี้ของลูกค้า เพียง เพราะคำาจำากัดความที่ว่า “ทําไมได ยากเกินไป ราคาแพง หรือ ยั ง ไม จํ า เป น ” แต่ ห ากทุ ก ท่ า นลองมองย้ อ นกลั บ ไปในอดี ต โทรศัพท์มือถือคือสิ่งที่เราคิดว่า “เปนไปไมได” แต่เมื่อมัน เป็นไปได้ สิ่งที่ตามมาคือ “ขนาดใหญ หนัก พกพาลําบาก และ ราคาแพง” หลังจากนั้นเพียงไม่กี่ปี สิ่งที่แทบทุกคนพกติดตัว ตลอดเวลา “ขนาดเล็กเทาฝามือ เบาและบาง” แถมด้วยการ ใช้ ง านที่ แ ทบจะเป็ น ปั จ จั ย หลั ก ในการดำ า รงชี วิ ต ด้ ว ยราคาที่ เอื้อมถึง ท่านยังกล้าบอกอีกหรือไม่ว่า โทรศัพท์มือถือเป็นสิ่ง “ไมจําเปน”
เ ช ่ น เ ดี ย ว กั บ น วั ต ก ร ร ม ใ น อุ ต สาหกรรมน้ อ ยใหญ่ ที่ ต ้ อ งลงทุ น ลงแรง ลงเวลา คิดค้นและพัฒนาเพื่อ อนาคตที่ดีกว่าของวงการอุตสาหกรรม และสิ่ ง นี้ จ ะเป็ น เครื่ อ งตอกยำ้ า ความ สำาเร็จของผู้ที่มี “นวัตกรรม” ในมือ หากท่ า นผู ้ อ ่ า นเป็ น ผู ้ ป ระกอบการ โรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ เราอยากขอให้ ท่านมองยุค 4.0 เป็ นยุ คของโอกาส ยุคของการเป็นอิสระจากการควบคุม ด้ ว ยปั จ จั ย และข้ อ จำ า กั ด ด้ า นแรงงาน ยุ ค ที่ ท ่ า นสามารถแข่ ง ขั น กั น ได้ อ ย่ า ง ยุตธิ รรม ด้วยเทคโนโลยีและผลลัพธ์ของ ชิ้นงานที่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายชื่นชอบ เมื่อทุกฝ่ายจับมือและก้าวไปด้วยกัน
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
57
ต องการรับบริการด านข อเสนอแนะ การใช ฟอยล และเทคโนโลยีอื่น ๆ จากเคิร ซ สามารถติดต อได ที่ บริษัท เคิร์ซ (ประเทศไทย) จำากัด 2869-2869/1 ถนนริมทางรถไฟสายปากนํ้า แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. 10110
โทร. 0-2671-7505 แฟกซ 0-2671-7711 อีเมล : sales@kurz.co.th
58
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
ในปีนี้ ที่บูธเคิร์ซ (Hall 100 Booth no.F41) เราจัดใหญ่ จัดเต็มยิ่งกว่าครั้งไหน ไม่ว่าจะเป็น เทคโนโลยีฟอยล์เพื่อการตกแต่งพื้นผิวที่เป็น เทรนด์ จ ากทั่ ว โลก เทคโนโลยี บล็ อกปั๊ม ทอง เหลืองระดับนาโนที่มีผู้เชี่ยวชาญจากเยอรมนี มาให้ความรูด้ ว้ ยตัวเอง เครือ่ งพิมพ์ฟอยล์ระบบ ดิจิทัลที่เรียกกันว่า “DM-LINER®” ก็มาโชว์ตัว ให้ท่านทดลองใช้กันในงาน เทคโนโลยีฟอยล์ สำาหรับพลาสติกที่ก้าวไกลจนแบรนด์ดังระดับ โลกยอมรั บ ให้ เ ป็ น ฟอยล์ ที่ ดี ที่ สุ ด สำ า หรั บ การ ตกแต่งทัง้ ภายในและภายนอก เทคโนโลยีฟอยล์ เพื่อป้องกันการปลอมแปลงที่ผนวกกับแอพพลิ เคชั่น นำาเทรนด์ Security packaging และอีก มากมาย ที่อยากให้ทุกท่านได้ไปเห็นด้วยตาตัว เอง ในคอนเซ็ ป ต์ “Smart Packaging Enhancement” และอีกหนึง่ ไฮไลต์ทเี่ ราอยากให้คณ ุ มาเห็น คือ “One Stop PACKPRINT Pavilion” ที่อยู่เป็น เพื่ อ นบ้ า นกั บ บู ธ เคิ ร ์ ซ มาพบกั บ เหล่ า คนใน อุตสาหกรรมเดียวกันเพื่อแลกเปลี่ยนความคิด เห็น และมาดูว่ามีอะไรใหม่ ๆ มานำาเสนอให้กับ เราบ้าง ต้องขอขอบคุณสมาคมบรรจุภัณฑ์ไทย ทีส่ ร้างสรรค์แพลตฟอร์มดีๆ แบบนีใ้ ห้กบั สมาชิก และทำาให้งาน PACKPRINT ครั้งนี้มีสีสันมากขึ้น เคิ ร ์ ซ ขอเป็ น ตั ว แทนจากผู ้ แ สดงสิ น ค้ า ในงาน PACKPRINT เชิญชวนผู้ประกอบการ ทุกท่าน ทุกภาคส่วน ให้มาเปิดโลกทัศน์และ อัพเดตข่าวสารและเทคโนโลยีในงานครั้งนี้ เรา เชื่อมั่นว่า งานครั้งนี้จะไม่ทำาให้ท่านผิดหวังและ กลับบ้านมือเปล่าอย่างแน่นอน ในงานวันที่ 20-23 กันยายน 2560 ณ ศูนย์ประชุมไบเทค บางนา แล้วพบกันค่ะ
Special
Area
บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จำากัด
NX1
Machine Controller Advanced Controll for Compact Machine
ครบเครื่องงานควบคุมเครื่องจักรขนาดเล็ก
ปัจจุบนั งานควบคุมเครือ่ งจักรอัตโนมัตเิ ป็นสิง่ ทีห่ ลีกเลีย่ ง ไม่ได้ในอุตสาหกรรม แต่การที่จะหาอุปกรณ์ควบคุมสักตัวที่มี ประสิทธิภาพสูง คุณสมบัติครบถ้วน เป็นสิ่งที่ต้องพิจารณา อย่างยิ่ง จะขอแนะนำาตัวควบคุมรุ่น NX1 ใหม่ล่าสุดจากออมรอน เพื่ อ มุ่ ง เน้ น การเพิ่ ม ผลผลิ ต ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของกระบวนการผลิ ต ระบบอั ต โนมั ติ ข อง ออมรอน ช่วยให้สามารถปรับตัวเครื่องจักรขนาดเล็กให้มี ความยืดหยุ่นในสายการผลิตมากขึ้น
การผลิตที่เร็วกว่าแต่คงคุณภาพได้ดังเดิม
NX1 ได้ ร วมฟั ง ก์ ชั น ในการควบคุ ม ซี เ ควนซ์ และการ ควบคุมการเคลื่อนที่ของเซอร์โวมอเตอร์เอาไว้ในตัว จึงทำาให้ การควบคุมเครือ่ งจักรเป็นไปอย่างราบรืน่ และการควบคุมการ เคลื่อนที่แบบซิงโครไนซ์ยังเป็นการเพิ่มผลผลิต โดยเครื่องจักร จะทำาการผลิตอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองความต้องการที่ หลากหลาย 60
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
เพิ่มเวลาการทำางานของเครื่องจักร
การรวบรวมข้อมูลของสายการผลิตในแนวดิ่ง เพื่อส่ง ข้อมูลให้กับฝ่ายไอทีไปทำาการวิเคราะห์ โดยการเก็บข้อมูล ผ่านทางเครือข่าย EtherCAT หรือ IO-Link เพื่อประโยชน์ ในการบำารุงรักษาและแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็วในขณะที่ เครื่องจักรหยุดแบบไม่ได้วางแผน
สถาปัตยกรรมแบบบูรณาการ
จากระดับเซนเซอร์สู่ระดับเครือข่ายของโรงงาน โดยการ ใช้งานเครือข่าย EtherCAT ที่สามารถเชื่อมต่อเพื่อรวบรวม ข้ อ มู ล จากเซนเซอร์ ระบบวิ ชั่ น เซอร์ โวมอเตอร์ เซฟตี้ คอนโทรลเลอร์ และอิ น พุ ต /เอาต์ พุ ต ทั้ ง หมดที่ ติ ด ตั้ ง ใน เครื่องจักร ผ่านสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียว ช่วยลดเวลาในการ ติดตั้งและง่ายในการออกแบบอย่างมาก
Sysmac Automation Platform
การควบคุมเครื่องจักรด้วย NX1 จะทำ า งานบนแพลตฟอร์ ม ใหม่เรียกว่า Sysmac Automation Platform ซึง่ รวบรวมความสามารถ ของการควบคุมเซอร์โวมอเตอร์ สูงสุด 8 แกน ทำางานร่วมกับระบบ เซฟตี้ ระบบวิชั่น ได้อย่างลงตัว ส่วนงานติดตัง้ งานเดินสายก็ทาำ ได้ สะดวกและเข้าใจง่าย จึงช่วยลด เวลาในการทำ า โปรแกรมและ ตรวจสอบระบบเวลาที่มีปัญหา
ขนาดเล็กแต่ประสิทธิภาพสูง
NX1 สามารถใช้งานฟังก์ช่ันได้เหมือนกับตัวควบคุมรุ่นใหญ่อย่าง NJ เพียงแต่ ย่อขนาดลงมาให้เหมาะกับเครือ่ งจักรขนาดเล็ก มาพร้อมกับพอร์ต EtherCAT ทีท่ าำ หน้าที่ ควบคุมแบบเรียลไทม์ และพอร์ต Ethernet/IP สำาหรับเชื่อมต่อกับเครือข่ายโรงงาน
ตัวอย่างการใช้งาน NX1 ควบคุมเครื่องแพ็กเกจจ�้ง
การก้าวเข้าสูง่ านควบคุมทีต่ อ้ งการความเร็วสูงและความแม่นยำาสูง อาจต้องมีการปรับเปลีย่ นชิน้ ส่วนบางอย่างของเครือ่ งจักร เช่น การใช้งาน PLC รุ่นเดิมๆ ทำางานร่วมกับ Mechanical Cam ทำาให้ไม่สามารถทำาการผลิตที่ต้องการทั้งความเร็วและ ความแม่นยำาสูงได้ ดังนัน้ การใช้งาน NX1 เป็นคำาตอบหนึง่ โดยการเปลีย่ น Mechanical Cam ให้เป็น Electrical Cam อาศัยฟังก์ชนั การควบคุมเซอร์โวมอเตอร์ทมี่ าพร้อมกับ NX1 ทำาให้การโปรแกรมและการควบคุมเครือ่ งจักรง่ายขึน้ การทำางานของเซอร์โวมอเตอร์ ทั้ง 3 แกน คือ Film Feeding, Product Feeding และ Rotary Knife จะซิงโครไนซ์เข้ากับแกน Virtual Master Axis ที่ความเร็วสูง วิธีนี้จะช่วยลดปัญหา Following Errors ลงได้
สอบถามรายละเอียดได ที่ th_enquiry@ap.omron.com หร�อเยี่ยมชมเว็บไซต www.omron-ap.co.th
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
61
Limitless Possibilities n³¨«ºmÀ¦ µ µ ®¦®£m³ ¢²Ā Á n¨£ ¨² ¤¤¢ ¶Æ ® À £q ³ µ¢ q ¦³ ¿¦± ¤¤ ¹¡² q ¹ ¤º ¿ n¨£¾ À À¦£¶ ¦m³«¹ ³ +3 ,QGLJR
HP INDIGO 20000 DIGITAL PRESS
HP INDIGO WS6800 DIGITAL PRESS
HP INDIGO 12000 DIGITAL PRESS
² ¶Æ ³ PACK PRINT INTERNATIONAL 2017  ¾ ³ ³ Booth F01 ¤n®¢ n³¨Â ² ¹ n¨£ ¤±« ³¤ q ³¤¾ | ²¨¿ ˳¬ m³£Á ¤±¾ ©Â £¢³ ¨m³ d « Á ¦µ ¡² q µ m®
¤µª² ¾ ®¤q¦¶Æ £¹ ¾ ®¤q ˳ ² ¢¬³
¹ ³¦µ ³ µ µ¡² ¤®³¡³ À ¤©² q ¢¸® ¸®
Scan for quick contact
Special
Areaa
บริษัท เฮงเค็ล (ประเทศไทย) จำากัด
หากกล่าวถึงบรรจุภัณฑ์ เราอาจนึกถึง บรรจุภัณฑ์สินค้ารูปลักษณ์สวยงามสะดุดตา ที่วางเรียงรายอยู่บนชั้นวางสินค้าตามร้านค้า ปลีก ที่เชิญชวนให้เกิดการตัดสินใจซื้อ แต่ นอกจากความสวยงามแล้ว บรรจุภณ ั ฑ์ยงั ช่วย รักษาคุณภาพของสินค้า และปกป้องตัวสินค้า ให้ ค งคุ ณ สมบั ติ แ ละสภาพดี ดั ง เดิ ม ก่ อ นถึ ง มือผู้ใช้ นอกจากนี้ยังถือเป็นสื่อสำาคัญในการ นำาเสนอข้อมูลที่จำาเป็นเกี่ยวกับสินค้าให้กับ ผูซ้ อื้ แม้วา่ บรรจุภณ ั ฑ์จะมีหลากหลายรูปแบบ และชี้แจงข้อมูลที่แตกต่างกันไปบ้าง แต่เมื่อ พิ จ ารณาลึ ก ลงไปแล้ ว เราล้ ว นตระหนั ก ถึ ง ความปลอดภัยและได้มาตรฐาน นั่นหมายถึง บรรจุภณ ั ฑ์ควรผ่านกระบวนการผลิตทีเ่ หมาะสม และประกอบด้วยวัตถุดิบที่ไว้วางใจได้ 64
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
Henkel
Total Packaging Solution Conference 2017
ปัจจุบันมีความตระหนักถึงความปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์สำาหรับ เครื่องอุปโภคบริโภคมากยิ่งขึ้น ซึ่ง “กาว” ก็เป็นอีกหนึ่งวัตถุดิบที่สำาคัญใน บรรจุภัณฑ์แต่ละชิ้น ดังนั้น การเลือกใช้กาวที่ได้มาตรฐาน เหมาะสมกับ ประเภทของสินค้าและบรรจุภัณฑ์ จึงจะช่วยให้ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคมั่นใจ ได้ในคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า นอกจากนี้ การศึกษาแนวโน้ม เกี่ยวกับนวัตกรรมด้านบรรจุภัณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เฉกเช่นเดียวกับ เทคโนโลยีอื่น ๆ ก็จะช่วยให้ผู้ผลิตสามารถปรับตัวก้าวล้ำานำาตลาดในระดับ สากลได้อย่างดียิ่ง
บริษัท เฮงเค็ล (ประเทศไทย) จำากัด เล็งเห็น ถึงความสำาคัญของประเด็นดังกล่าวข้างต้น จึงจัดงาน สั ม มนาแห่ ง นวั ต กรรมและเทรนด์ ด้ า นบรรจุ ภั ณ ฑ์ สินค้า ในหัวข้อ “Henkel Total Packaging Solution Conference 2017” เมื่อวันศุกร์ที่ 14 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ณ เลอ เมอริเดียน สุวรรณภูมิ, กรุงเทพฯ กอล์ ฟ รี ส อร์ ท แอนด์ สปา โดยได้รับ เกียรติจ าก อาจารย์มยุรี ภาคลำาเจียก ที่ปรึกษาสมาคมการ บรรจุภณ ั ฑ์แห่งประเทศไทย ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านบรรจุภณ ั ฑ์ ที่มีประสบการณ์ยาวนานกว่า 40 ปี มาร่วมบรรยาย งานสัมมนานี้ มุ่งเน้นการเสริมสร้างความรู้และ ความเข้าใจถึงโซลูชนั สำาหรับบรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ ปลีย่ นแปลง ไปในปัจจุบนั ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยีสาำ หรับบรรจุภณ ั ฑ์ ซองอ่ อ น ข้ อ ควรรู้ ใ นการผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์ ป ระเภท กล่องและการลามิเนต นวัตกรรมกาว Hotmelt สำาหรับ บรรจุภัณฑ์ และการเลือกใช้เครื่องฉีดกาวที่เหมาะสม เพือ่ การเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต การลดค่าใช้จา่ ย และการเพิ่มความได้เปรียบในการแข่งขัน การสัมมนาในครัง้ นี้ เป็นอีกครัง้ ทีไ่ ด้รบั เสียงตอบ รั บ ที่ ดี เ ยี่ ย ม ผู้ เข้ า ร่ ว มงานต่ า งได้ รั บ ความรู้ ความ สนุกสนาน และของรางวัลมากมาย ด้วยความสำาเร็จที่ เป็นไปตามความมุ่งหมายขององค์กรที่ต้องการเป็น ผู้นำาด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อเป็นคู่ค้าที่ไว้ วางใจได้ของลูกค้าในระดับสากล ทางบริษทั ฯ จึงมุง่ มัน่ ที่จะเพิ่มพูนความรู้และ Know-how ที่ตอบรับความ ต้องการของลูกค้า ข้อกำาหนดตามมาตรฐานสากล และ เทรนด์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปอยู่ เ สมอ และนำ า ความ เชี่ยวชาญนั้นมามอบให้กับลูกค้าของเราอย่างทั่วถึง ต่อไปในอนาคต
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
65
News
T-PLAS 2017
ยกระดับอุตสาหกรรมพลาสติกและยาง
ก้าวสู่ยุค ไทยแลนด์ 4.0
TPLAS 2017 งานจัดแสดงเฉพาะทาง
เพื่ออุตสาหกรรมพลาสติกและยางที่จะจัด ขึ้นระหว่างวันที่ 20–23 กันยายน เป็นงาน จัดแสดงสินค้าชั้นนำาที่นำาเอานวัตกรรมและ โซลูชั่นระดับโลก รวมไปถึงเครื่องจักรและ เครื่ อ งมื อ ทั น สมั ย จากหลากหลายบริ ษั ท ทีม่ ชี อื่ เสียงทัว่ โลก โดยงานจะจัดแสดงสินค้า แบบครบวงจรสำ า หรั บ ภาคส่ ว นพลาสติ ก ตัง้ แต่วตั ถุดบิ ไปจนถึงผูผ้ ลิตเครือ่ งจักร ทำาให้ งานจัดแสดงนี้เป็นงานที่ได้รับการยอมรับ จากผู้เชี่ยวชาญ ผู้ผลิต และผู้บริโภคจาก อุตสาหกรรมพลาสติกและยางให้เป็นงาน ระดับภูมิภาคที่ต้องเข้าเยี่ยมชม ทีพลาส เป็นงานจัดแสดงสินค้าสำาหรับ อุตสาหกรรมพลาสติกและยาง โดยในครั้งนี้ คาดว่าจะมีผจู้ ดั แสดงสินค้า 250 บริษทั จาก 20 ประเทศ และพาวิลเลี่ยนประจำาชาติและ กลุม่ ประเทศจาก 6 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ไต้หวัน รวมไปถึง จีน และ เยอรมนีทจี่ ะเข้าร่วมจัดแสดงสินค้าครัง้ นีเ้ ป็น ครั้งแรก เพื่ อ ส่ ง เสริ ม นโยบายเศรษฐกิ จ ไทยแลนด์ 4.0 ทีพลาสจัดแสดงสินค้าที่ ครอบคลุ ม อุ ต สาหกรรรมที่ สำ า คั ญ ทั้ ง 10 ภาคส่วน ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์เพื่อ อนาคต สมาร์ทอิเล็กทรอนิกส์ การเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ ระบบอัตโนมัติและ หุ่นยนต์ ยานอวกาศ รวมไปถึง พลังงาน ชี ว ภาพและเคมี ชี ว ภาพ ที พ ลาสจะเป็ น ผูบ้ กุ เบิกภาคส่วนทีม่ ศี กั ยภาพในประเทศไทย รวมทั้งอุตสาหกรรมพลาสติกและยางที่มี การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในภูมภิ าค โดย นำาเสนอห่วงโซ่คณ ุ ค่าอุตสาหกรรมพลาสติก ตัง้ แต่วตั ถุดบิ ไปจนถึงผูผ้ ลิตเครือ่ งพลาสติก ผู้ทำาหน้าที่ผสมและดัดแปลงวัตถุดิบ ผู้จัด จำาหน่าย และผู้บริโภค ด้วยนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 ระบบ 66
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
เศรษฐกิจได้รบั การกระตุน้ จากทุกภาคส่วน ซึง่ จะส่งผลให้เกิดโอกาสมากมายให้ แก่นกั ลงทุนจากต่างประเทศ รวมไปถึงการเสริมความแข็งแกร่งด้านความสัมพันธ์ ทางธุรกิจระหว่างบริษัทในอุตสาหกรรมพลาสติกและยางของภูมิภาค “ทีพลาส 2017 จะท�าหน้าที่เป็นแพลตฟอร์ม และศูนย์กลางตลาดส�าหรับ บริษัทในประเทศ เพื่ออ�านวยความสะดวกด้านเครื่องมือที่ทันสมัยซึ่งจะช่วยส่ง เสริมพวกเขาให้ก้าวทันยุค ไทยแลนด์ 4.0 พร้อมทั้งเพิ่มผลิตผลและยกระดับ คุณภาพให้กับผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะส่งผลต่อประเทศไทยในการพัฒนาสู่การเป็น ประเทศอัจฉริยะ” มร.เกอร์นอท ริงลิ่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย
การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างภาคส่วน สำาหรับห่วงโซ่อตุ สาหกรรม พลาสติกและยาง ทีพลาส 2017 จะจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมภาครัฐและเอกชน ในการพัฒนาเพื่อ ให้สอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ด้วยจำานวนที่เพิ่มขึ้นของบริษัทด้าน ห่วงโซ่อตุ สาหกรรมพลาสติกในประเทศไทย ทีก่ าำ ลังมองหาเทคโนโลยีและโซลูชนั่ ใหม่ลา่ สุด เพือ่ ช่วยสนับสนุนกระบวนการทำางานเมือ่ ต้องเจอกับโครงสร้างใหม่ๆ ทั้งหมดนี้จะถูกนำามาจัดแสดงที่งาน ทีพลาส 2017 โดยเน้นไปที่ 6 ภาคส่วน
ดนู โชติกพนิช
สำาคัญ ได้แก่ ยานยนต์ พลาสติกชีวภาพ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ การแพทย์ ไลฟสไตล์ และบรรจุภัณฑ์ นอกจากนี้ ยังมีเทรนด์ของอุตสาหกรรมพลาสติกคอมโพสิทที่มีอัตราการ เจริญเติบโตเมื่อเทียบกับภาคส่วนอื่น การจัดแสดงยังรวมไป ถึงโซลูชั่นด้านนวัตกรรม และวัสดุสำาหรับกระบวนการผลิต ของส่วนประกอบที่มีคณภาพต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูง 4.0 นำามาซึ่งความทันสมัย และยกระดับขีดความสามารถของ กระบวนการผลิ ต และผลิ ต ผลของระบบเศรษฐกิ จ ให้ กั บ อุตสาหกรรมพลาสติกและยางของประเทศไทย ดนู โชติกพนิช นายกสมาคมไทยคอมโพสิท กล่าวว่า “พลาสติ ก คอมโพสิ ท ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ เ ด่ น คื อ เบาแต่ แข็ ง แรง เป็ น ส่ ว นประกอบส� า คั ญ ที่ ผ ลั ก ดั น การเปลี่ ย นแปลงทาง เทคโนโลยีในภาคส่วนยานยนต์ การบิน อิเล็กทรอนิกส์ การ แพทย์ และส่วนอุตสาหกรรมอื่นๆ การพัฒนาระบบอัตโนมัติ ในกระบวนการผลิตชิน้ ส่วนคอมโพสิทจะท�าให้สามารถผลิตชิน้ ส่วนจ�านวนมากได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุน และรักษา ระดับคุณภาพ ต่อยอดสู่ คอมโพสิท 4.0 ต่อไป” ทีพลาส 2017 เป็นอีกหนึง่ เวทีเพือ่ สร้างเครือข่ายสำาหรับ บริการจับคูท่ างธุรกิจโดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย เพือ่ ช่วยสร้างสัมพันธ์ ที่เหมาะสมระหว่างผู้ขาย และพัฒนาความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ในระดับประเทศสำาหรับห่วงโซ่อุตสาหกรรมพลาสติกและยาง ซึง่ ปัจจุบนั มีองค์กรนานาชาติหลากหลายองค์กรทีด่ าำ เนินธุรกิจ ตามแนวคิด อุตสาหกรรม 4.0 โดย ทีพลาส 2017 จะยังเป็น จุดเริม่ ต้นเพือ่ ให้บริษทั ท้องถิน่ ได้มโี อกาสพัฒนาธุรกิจในระดับ โลกโดยจะมีการประเมินกลยุทธ์ และเป็นแหล่งรวบรวมการ อัพเกรดเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด รวมไปถึงกลยุทธ์การพัฒนา ตลาดจากทั่วโลก
T-PLAS 2017
: MOVING PLASTICS AND RUBBER INDUSTRIES
TOWARDS THAILAND 4.0
The 4-day specialist trade fair for the plastics and rubber sectors, T-PLAS, is set to open from 20 to 23 September with a high-quality showcase of global innovations and solutions including new machinery and equipment from an impressive list of international companies. The strong representation on the show floor serving the entire plastics value chain, from raw materials to machine manufacturers, has earned the exhibition the reputation of being a must-attend regional event for all industry professionals, suppliers and consumers from the plastics and rubber ecosystem.
งานที่ร่วมจัดพร้อมกันภายในงาน T-PLAS 2017
ภายในงาน ที-พลาส 2017 นอกจากจะมีการจัดแสดง สินค้าแล้ว ยังมีการสาธิตผลิตภัณฑ์และให้บริการเคลื่อนที่ การนำาเสนอด้านเทคนิค การสัมมนานำาโดย 6 ผู้เชี่ยวชาญใน วงการพลาสติกและยาง รวมทัง้ การสัมมนาในหัวข้อต่างๆ อาทิ การให้ความรู้เพื่อกระบวนการผลิตอย่างมืออาชีพ จากภาคการออกแบบแม่พิมพ์พลาสติกภายใต้ หัวข้อ การออกแบบแม่พิมพ์และปัญหาสำาหรับ การใช้ซอฟต์แวร์ในกระบวนการฉีดพลาสติก จำาลอง และ การสัมมนาวิเคราะห์และแก้ไข ปัญหากรรมวิธกี ารเป่าพลาสติกขึน้ รูป ซึง่ จัดขึน้ โดย สมาคมอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทย ซึ่งการ สัมมนาจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทคนิคล่าสุดและ นวั ต กรรมก้ า วหน้ า ในวั ส ดุ พ ลาสติ ก การ ออกแบบ และการกระบวนการผลิต
ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงาน กรุณาเยี่ยมชมเว็บไซต์ที่
Mr. Gernot Ringling
www.tplas.com
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
67
Promoting cross-sector relationships across entire plastics and rubber value-chain
T-PLAS, the International Trade Fair for the Plastics and Rubber Industries, will feature 250 trade exhibitors from 20 countries including six national pavilions and country groups, from Austria, Malaysia, Singapore, Taiwan, and, for the first time, China and Germany. Set against the Thailand 4.0 economic development plan which spans across 10 targeted industries including next-generation automotive, smart electronics, efficient agriculture and biotechnology, automation and robotics, aerospace, as well as bio-energy and bio-chemicals, T-PLAS 2017 will explore the untapped potential in Thailand and the region’s fast-moving plastics and rubber sectors as it presents the entire plastics value chain from raw material suppliers to plastics producers, compounders, converters, distributors and consumers. With Thailand 4.0, the boosted economy will provide a wealth of opportunities for foreign investments and the strengthening of business relationships in the region’s plastics and rubber industries. “T-PLAS 2017 will serve as a valuable platform and marketplace for local companies to get equipped with new machineries that will take them into Thailand 4.0, which will in turn increase the output and quality of their products and ultimately help in Thailand’s advancement into a smart nation.” said Mr.Gernot Ringling, Managing Director of Messe Düsseldorf Asia.
68
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
T-PLAS 2017 will take place as the private and public sectors in Thailand continue to embrace Thailand 4.0, with an increasing number of local companies across the entire plastics value chain seeking the latest technologies and solutions to help them navigate through the new framework. This is well-presented at T-PLAS 2017 with its focus on six key growth sectors; namely automotive, bioplastics, electrical and electronics, medical, lifestyle and packaging. Also reflected at T-PLAS 2017 in line with industry trends in plastics composites’ growing appeal across major application sectors, the exhibition will include innovative solutions and materials for the production of quality composites using advanced 4.0 technologies that will bring further modernisation and uplift overall production capabilities and output economies for Thailand’s plastics and rubber sectors. Mr.Danu Chotikapanich, President of Thai Composites Association said: “Thailand’s plastics composite market is driving technological transformations for major application industries across the country. Given plastics composites’ widespread appeal in the automotive, aviation, electronic, medical and other specialised manufacturing sectors, composites manufacturers and processors will become the industry leaders in implementing Plastics and Rubber 4.0 industrial and automation systems.” T-PLAS 2017 will also provide a free business matching service to help connect sellers with the right buyers and develop cross-border business relationships across the entire plastics and rubber value-chain. As many of the exhibiting international organisations are already operating at an Industry 4.0 level, local companies will be able to use T-PLAS 2017 as a launchpad to develop their businesses on a global scale by evaluating strategies and keeping up to date with the latest technology upgrades and market developments from around the world.
Concurrent events at T-PLAS 2017
Running concurrently at T-PLAS 2017 will be on-site product and service demonstrations, technical presentations, and six expert-led seminars and conferences. For example, catering to professionals from the plastics mould design sector will be the Mould Design and Solution Problems Using Plastic Injection Moulding Simulation Software and Problems Analysis and Solving for Plastic Blow Moulding Process seminar. Organised by Thai Tool and Die Industry Association, the seminar will provide information on the latest techniques and innovation
Advancements in plastics materials, design and processing. For more information on T-PLAS 2017, Visit www.tplas.com.
TPBI จับมือพันธมิตรตั้งบร�ษัทร่วมทุนเพ�่อผลิต และจำาหน่ายบรรจ�ภัณฑ์พลาสติกในเมียนมา
สมศักดิ์ บริสุทธนะกุล บริษัท ทีพีบีไอ จำากัด (มหาชน) ผู้นำาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและรับผิดชอบต่อสังคมที่มีกระบวนการผลิต ทีไ่ ด้มาตรฐานสากล จับมือ Myanmar Star Group ผูผ้ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์ พลาสติกในเมียนมา และ โซลูชั่น ครีเอชั่น บริษัทในเครือ PTTGC ตั้ ง บริ ษั ท ร่ ว มทุ น รุ ก ธุ ร กิ จ ผลิ ต และจำ า หน่ า ยบรรจุ ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ในประเทศเมียนมา และใช้เป็นฐานส่งออกไปยังภูมิภาคอื่น ระบุ ช่วยหนุนศักยภาพการดำาเนินธุรกิจ ทัง้ ขยายกำาลังการผลิตและช่องทาง การจัดจำาหน่ายบรรจุภัณฑ์พลาสติกไปยังประเทศอื่น ๆ ในอาเซียน สมศักดิ์ บริสุทธนะกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ทีพีบีไอ จำากัด (มหาชน) หรือ TPBI กล่าวว่า บริษัทฯ ได้อนุมัติให้ บริษัท ทีพีบีไอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำากัด ซึ่งเป็นบริษัทฯ ย่อยของ TPBI ร่ ว มลงนามในสั ญ ญาร่ ว มทุ น กั บ Myanmar Star Group Company Limited (MSG) และ บริษัท โซลูชั่น ครีเอชั่น จำากัด (SC) ในเครือ PTTGC ดำาเนินการจัดตั้งบริษัทร่วมทุนในประเทศเมียนมา เพื่ อ ร่ ว มลงทุ น ในธุ ร กิ จ ผลิ ต และจำ า หน่ า ยบรรจุ ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ใน ประเทศเมียนมาและใช้เป็นฐานการส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ ทั้งนี้ บริษัทฯ ร่วมทุนดังกล่าว จะมีทุนจดทะเบียน 10,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 332,190,000 บาท) แบ่งเป็นทุนจดทะเบียน ที่ชำาระแล้ว 5,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นหุ้นสามัญจำานวน 5,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ (พาร์) หุ้นละ 1 ดอลลาร์สหรัฐ โดย ทีพีบีไอ อินเตอร์เนชั่นแนล มีสัดส่วนถือหุ้นร้อยละ 65 หรือคิดเป็น จำานวน 3,250,000 หุ้น MSG ถือหุ้นร้อยละ 25 คิดเป็นจำานวน 1,250,000 หุ้น และ SC ถือหุ้นร้อยละ 10 หรือคิดเป็น 500,000 หุ้น
News
“การท� การท�าสัญญาเข้าร่วมทุนในครั้งนี้ จะช่วยต่อยอด สร้างความเข้มแข็งให้แก่ TPBI ในด้านการขยายก�าลัง การผลิตและช่องทางการจ�าหน่ายบรรจุภัณฑ์พลาสติก ทั่ ว ไปในประเทศเมี ย นมา ซึ่ ง เป็ น ตลาดเกิ ด ใหม่ ที่ มี ศั ก ยภาพการเติ บ โตและยั ง สามารถใช้ เ ป็ น ฐานเพื่ อ การส่งออกสินค้าไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ทั่วโลกได้อีกด้วย” สมศักดิ์ กล่าว ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร TPBI กล่าวเพิ่มเติมว่า MSG ถือเป็นพันธมิตรทางธุรกิจทีม่ ปี ระสบการณ์มากว่า 25 ปี ในการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกและจัดจำาหน่าย บรรจุภัณฑ์พลาสติกในประเทศเมียนมา ซึ่งมีฐานการ ผลิตอยู่ที่เมืองย่างกุ้ง โดย MSG จะทำาหน้าที่สนับสนุน การดำาเนินธุรกิจของบริษทั ร่วมทุน ทัง้ ด้านการตลาดและ การสร้างเครือข่ายรวมถึงติดต่อประสานงานกับหน่วย งานภายในประเทศเมียนมา ขณะที่ SC ซึ่งเป็นบริษัท ย่อยทีถ่ อื หุน้ ทัง้ หมดโดย PTTGC มีจดุ แข็งด้านผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีทห่ี ลากหลายทัง้ สายโอเลฟินส์และอะโรเมติกส์ ซึ่ งเป็ น วั ต ถุ ดิ บที่ ใช้ ผ ลิ ต บรรจุ ภัณ ฑ์ พ ลาสติก มีกำา ลัง การผลิตรวม 9.22 ล้านตันต่อปี จะเข้ามาช่วยสนับสนุน ด้ า นการจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท ร่ ว มทุ น เพื่ อ ใช้ ใ น กระบวนการผลิต ส่วน TPBI จะใช้ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ ในด้านการผลิต ตั้งแต่การออกแบบและพัฒนาสูตร ผลิตภัณฑ์ การผลิตและจัดหาผลิตภัณฑ์ และการทดสอบ วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ เข้ามาช่วยเพิ่มศักยภาพการผลิต และขี ด ความสามารถการแข่ งขั น ให้ แก่ บริษัทร่ว มทุน เพื่ อ พั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ที่ ต อบสนองความ ต้องการของลูกค้าในตลาดประเทศเมียนมาและภูมภิ าค อื่น ๆ ทั่วโลกได้ดียิ่งขึ้น THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
69
PR News
Dell EMC Run for the Ocean อโณทัย เวทยากร รองประธานบริหาร เดลล์ อีเอ็มซี ภูมิภาค อินโดจีน พร้อมด้วย ณรงค์ชยั คุณปลืม้ นายกเทศมนตรีเมืองแสนสุข นำาทีมพนักงานเดลล์ อีเอ็มซี วิ่งรวมพลัง Dell EMC Run for the Ocean เพื่อรณรงค์การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของแหล่งนำ้า ท้องทะเล และร่วมกันทำาความสะอาดชายหาดทะเลบางแสน ตอกยำ้าความ มุ่งมั่นในแผนงาน Legacy of Good 2020 ของเดลล์ในการพัฒนา สิ่งแวดล้อม สังคม และผู้คน กิจกรรมดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ช่วย กำาจัดขยะพลาสติกและของเสียต่าง ๆ ออกจากพืน้ ทีช่ ายหาดและ ท้องทะเล เพือ่ สิง่ แวดล้อมทีด่ กี ว่าเดิม และพร้อมกันนี้ ยังได้มอบ อุปกรณ์ทาำ ความสะอาดให้แก่เทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี เพื่ อ สนั บ สนุ น แนวทางการอนุ รั ก ษ์ แ ละรั ก ษาความสะอาด ชายหาดบางแสนแบบยั่งยืน
เมโทรซิสเต็มส์ฯ ร่วมกับ HP Inc จัดงาน
“The next generation of A3”
ธงชัย หลำ่าวีระกุล ผู้อำานวยการกลุ่มดิจิตอลพริ้นติ้ง บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำากัด (มหาชน) ร่วมกับ ปวิ ณ วรพฤกษ์ กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท เอชพี อิ ง ค์ (ประเทศไทย) จำากัด พร้อมคณะผู้บริหาร จัดงาน “The next generation of A3” เพื่อแนะนำาเครื่องพิมพ์ HP PageWide A3 MFP นวัตกรรมล่าสุดจาก HP ทีจ่ ะมาพลิกโฉมธุรกิจองค์กร ให้กบั กลุม่ ลูกค้าเป้าหมายของบริษทั ฯ ซึง่ ให้ความสนใจเข้าร่วม งานมากกว่า 120 คน พร้อมนำาเยี่ยมชมศูนย์สาธิต “HP PageWide Technology Center” เพื่อให้ลูกค้าได้สัมผัส ประสบการณ์ของนวัตกรรมเครื่องพิมพ์แห่งอนาคตที่มีโซลูชั่น ระบบป้องกันความปลอดภัยข้อมูลที่ดีที่สุดในโลก พร้อมเข้า ร่วมกิจกรรมพิเศษที่ทาง เอชพี อิงค์ (ประเทศไทย) ได้จัดขึ้น เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2560 ณ สำานักงานใหญ่ บริษัท เมโทร ซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำากัด (มหาชน)
กฟผ. ร่วมกับ สอศ. จัดกิจกรรมประกวด
“เมนูน่าลอง ข้าวกล้องเบอร์ 5”
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จัดกิจกรรม ประกวด “เมนูน่าลอง ข้าวกล้องเบอร์ 5” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งใน โครงการ “กฟผ. น้อมสืบสานปณิธานงานของพ่อ ชวนชาวไทย ร่วมสานต่อ 9 พระราชปณิธานเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” ด้าน การดูแลชาวนา โดย กฟผ. ร่วมกับสำานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา (สอศ.) จัดการแข่งขันขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน หันมาบริโภคข้าวกล้องเพื่อสุขภาพที่ดี และยังช่วยลดการใช้ไฟฟ้า ในกระบวนการขัดสีข้าวได้ถึง 60% ทั้งนี้ มีผู้เข้าแข่งขันจำานวนรวม 24 ทีม จากผู้ประกอบการร้านค้า และนักเรียน นักศึกษา โดยผู้ชนะ เลิศจะได้รบั เงินรางวัลมูลค่า 15,000 บาท พร้อมโล่รางวัลจาก กฟผ. ณ สำานักงานใหญ่ กฟผ. จ.นนทบุรี 70
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
HOT
Product
DataMan
กองบรรณาธิการ
8600 Series DataMan 8600 Series คือเครือ่ งอ่านรหัสจากภาพทีใ่ ช้เทคโนโลยี การอ่านรหัสบาร์โค้ดขั้นสูงสุดของโลกสำาหรับการถอดรหัส DPM รหัส 2D และ 1D ที่มีขนาด คุณภาพ วิธีการทำาเครื่องหมายหรือการพิมพ์ ที่แตกต่างกัน เครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ด DPM แบบมือถือได้รับการ ออกแบบมาเพื่อรองรับสภาพแวดล้อมโรงงานที่ยากลำาบาก ด้วยการ ติดตัง้ ระบบสร้างภาพแบบล้าำ สมัย และเทคโนโลยีการส่องสว่างทีไ่ ด้รบั การจดสิทธิบัตรและมีความยืดหยุ่นสูง ทำาให้เครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ด DataMan 8600 Series สามารถถอดรหัส DPM ทีย่ ากต่อการอ่านบน พื้นผิวที่หลากหลายมากที่สุด เครื่องอ่านบาร์โค้ด DPM แบบมือถือ ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้ทนทานต่อการใช้งานในสภาพแวดล้อม โรงงานทีม่ คี วามยากลำาบาก ด้วยการออกแบบระบบสือ่ สารแบบโมดูล ทีร่ องรับอีเทอร์เน็ตทีใ่ ช้งานโปรโคตอลอุตสาหกรรมเช่นเดียวกับโมดูล แบบมีสายและไร้สาย เพื่อให้มั่นใจได้ว่า DataMan 8600 Series คือ เครื่องอ่านรหัสที่พร้อมตอบสนองความต้องการของระบบสื่อสารได้ อย่างครอบคลุม
สมรรถนะการอ่านระดับผู้นำาอุตสาหกรรม : การรวมกันของ
สองอัลกอริทึมทรงประสิทธิภาพมากที่สุดของค๊อกเน็กซ์ ที่ได้ รับการจดสิทธิบตั รเพือ่ ถอดรหัสทีม่ องเห็นได้ทกุ ประเภท ทุกเวลา ด้วย อัตราการอ่านที่หาคู่แข่งเทียบได้ยาก
การจับและสร้างรายละเอียดภาพขั้นสูง : เทคโนโลยี เ ลนส์
ผลึกเหลว ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน และความ ยืดหยุ่นของขอบเขตมุมมอง เทคโนโลยี Ultralight ที่ได้รับการจดสิทธิ บัตรสามารถให้รายละเอียดภาพที่ดีเยี่ยมสำาหรับเครื่องหมายทุกชนิด และทุกพื้นที่ผิว การส่องสว่างแบบ Ultralight ยังช่วยเพิ่มความคมชัด ในพื้นที่มืด พื้นที่สว่าง และกระจายแสงทั้งหมดออกไปด้วยหลอดไฟ ควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เพียงหลอดเดียว
การออกแบบโมดูลที่ใช้งานง่าย : โมดูลการสื่อสารที่แลกเปลี่ยน
กันได้ขณะใช้งานจริง ทำาให้เครือ่ งอ่านหนึง่ เครือ่ งสามารถตัง้ ค่า เพื่อให้ตรงกับความต้องการของระบบสื่อสารที่เฉพาะเจาะจงในการ รองรับความต้องการของระบบสื่อสารแบบมีสาย เช่น RS-232, USB และอีเทอร์เน็ต และออพชั่นแบบไร้สายที่รวมทั้งบลูทูธ และ Wi-fi
สนใจรายละเอียดเพ��มเติมดูได ที่ www.cognex.com.sg THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
71
ดิจ�ทัลล็อก โปรซี เ คี ย ว แนะนำ า ดิ จิ ทั ล ล็ อ ก ยี่ ห้ อ Yale อุปกรณ์ลอ็ กประตูอจั ฉริยะ ควบคุมการเข้าออก-ประตู ปลดล็ อ กโดยสแกนลาย นิ้ ว มื อ เพื่ อ ชี วิ ต ที่ ส ะดวก สบายยิ่ ง ขึ้ น โดยสามารถ บั น ทึ ก ได้ สู ง สุ ด 20 ลาย นิว้ มือ ตัง้ รหัสได้ 4-12 หลัก ดี ไ ซน์ ทั น สมั ย หน้ า จอ สั ม ผั ส แบบอั จ ฉริ ย ะเพื่ อ ป้ อ งกั น การคั ด ลอกรหั ส มี สั ญ ญาณเตื อ นจากการ งัดแงะและการทำาลาย ใน ราคาที่คุ้มค่า
กล้องวงจรป ด
iNNEKT
กล้องมีความละเอียดสูงสุด 2 ล้านพิกเซล มุมมองภาพกว้าง ได้ถงึ 89 องศา มีระบบปรับแสงอัตโนมัติ มองเห็นชัดแม้ในเวลา กลางคืน สามารถใช้กับเครื่องบันทึกได้ถึง 4 ระบบด้วยกัน คือ AHD CVI TVI และ Analog ดีไซน์สวยงาม ทนทาน
สนใจรายละเอียดเพ��มเติมดูได ที่ www.prosecureshop.com
เครื่ อ งแพ็ ก สิ น ค้ า แบบลำ า เลี ย งเข้ า ด้ า นข้ า ง เหมาะสำ า หรั บ สิ น ค้ า ที่ ต้ อ งการ ความเร็ ว สู ง โดยสามารถแพ็ ก ได้ ค รั้ ง ละ 3 แพ็ ก ความสามารถในการทำ า งานของ เครื่องจักรได้ถูกออกแบบมาเพื่อการทำางาน ที่สะดวก และรวดเร็ว กระบวนการทำางาน ของเครื่ อ งจั ก ร สิ น ค้ า จะถู ก ลำ า เลี ย งจาก เครื่ อ งบรรจุ ผ่ า นเข้ า เครื่ อ งปิ ด ฉลาก และ ลำาเลียงเข้าสู่เครื่องแพ็กฟิล์มหด เครื่องจักร จะทำาการตัดและห่อฟิลม์ หลังจากนัน้ สินค้า ชุดต่อมาจะดันสินค้าชุดแรกเข้าตู้อบความ ร้ อ นเพื่ อ ให้ ฟิ ล์ ม หดตั ว และสิ น ค้ า จะถู ก ลำาเลียงออกทางด้านหลังของเครื่อง High speed with triple packers per one cycle. The products from the filling machine conveyor transport to our automatic shink packaging and collating with shrink film by sealing and cutting then pushed into the shrink tunnel by the next packing
72
THAI PACKAGING NEWSLETTER
September - October 2017
Automatic Packaging System
SERIES 300 Triple Packs Per Cycle
สนใจรายละเอียดเพ��มเติมติดต อ บร�ษัท อินสทรูเมนท คอนโทรล จํากัด โทร. 0-2887-2560-1 หร�อที่ www.aps-packaging.com
เครื่องแพ็กบรรจ�ภัณฑ์แนวตั้ง แบบอัตโนมัติ
AS-600 Series สนใจรายละเอียดเพ��มเติมติดต อ บร�ษัท เอส.เค.พ� อินเตอร แพ็ค จํากัด โทร. 0-2584-7085 หร�อที่ www.facebook. com/skpinterpackfanpage
The machine special design to diverse for different products as grain, seed or flake and liquid products such as oil, creams, lotions etc. The system is highly accurate also can packing the heavy products, which is gusset center sealing type. เครื่องจักรออกแบบดีไซน์พิเศษมีความหลากหลาย สามารถบรรจุสินค้าประเภท เม็ด เมล็ด เกล็ดผง และ ของเหลว เช่น น้ำามัน ครีม โลชั่น เป็นต้น โดยระบบการ ทำางานมีความแม่นยำาสูง และสามารถบรรจุสนิ ค้าทีน่ าำ้ หนัก มาก และรูปแบบการซีลสินค้าประเภทซองมีลกั ษณะแบบ จับจีบ (Gusset)
บริษัท
น้ำายาเคลือบ Blister แบบ Waterbased
WEILBURGER Graphics GmbH ผูผ้ ลิต น้ำ า ยาเคลื อ บก่ อ นและ หลังการพิมพ์ (Primer & Coating) ที่ได้มาตรฐาน จากประเทศเยอรมนี ขอเสนอน้ำ า ยาเคลื อ บ Blister แบบ Waterbased ซึ่ ง สามารถใช้ เคลื อ บได้ ทั้ ง กระดาษ อาร์ ต การ์ ด , กระดาษ กล่องแป้งหลังเทา หรือ กระดาษต่ า ง ๆ ที่ ใ ช้ สำาหรับทำาบรรจุภัณฑ์ พลาสติกที่ใช้ครอบยังสามารถใช้ Blister Pack ได้ทั้งเชื้อ PVC และ PET ได้ในน้ำายาตัวเดียวกัน น้ำายา ยังสามารถรองรับระบบเคลือบได้ทงั้ Inline, Offline และ Coating Machine อีกทั้งผลิตภัณฑ์ของ Weilburger ยังเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ปลอดภัยทัง้ ผูบ้ ริโภคและผูใ้ ช้งาน เนือ่ งจากไม่มสี าร โลหะต้องห้าม และไม่มีกลิ่น หรือกลิ่นอ่อนมากทั้งขณะเคลือบ หรือหลังจากเคลือบงานแล้ว
สนใจผลิตภัณฑ สามารถติดต อได ที่ KWS Co., Ltd. ฝ ายขาย 09-3418-7117, 09-5729-8000 หร�อดูข อมูลเพ��มเติมได ที่ www.weilburger-graphics.de
หน้า
COSMEX 41 KURZ (THAILAND) LTD. 9 MOSCA ASIA THAILAND 33 PACK PRINT 4 TECHNOLOGY 2004 CO., LTD. 3 เค ดับบลิว เอส ซัพพลาย บจก. 7 โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์ (ประเทศไทย) บจก. 13 ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ บจก. 34, 36 ทรีโอ เทรดดิ้ง บจก. 8 เนชั่นไวด์ บจก. ปกหลังด้านใน เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ บมจ. 62, 63 ฟูจิฟิล์ม (ประเทศไทย) บจก. 11 แม่พิมพ์ บจก. ปกหน้าด้านใน
Advertising
Index
บริษัท ริโก้ (ประเทศไทย) บจก. เวอร์ทัส บจก. หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์ บมจ. หงีเฮงแชมเปี้ยนกรุ๊ป บจก. ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ บจก. ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิกส์ (ประเทศไทย) บจก.
หน้า 5 44 33 6 59 ปกหลัง
ใบสมัครสมาชิก
MEMBERSHIP
สมาคมการบรรจ�ภัณฑไทย
Application Form
ชื่อ-นามสกุล (Name) ............................................................................................................................................................................................... บริษัท/ห้างหุ้นส่วน/ห้างหุ้นส่วนจำากัด (Company Name) ...................................................................................................................... ที่อยู่ (Address) ........................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................
โทรศัพท์ (Tel.) ........................................................................................ โทรสาร (Fax) ..................................................................................... ประเภทกิจการ (Description Business) .......................................................................................................................................................... ตำาแหน่ง (Position) ...................................................................................................................................................................................................
ใบสมัครเปนสมาช�กสมาคมฯ
(Membership Application Form) ขอสมัครเปนสมาช�กสมาคมฯ (Type of Membership) สามัญนิติบุคคล (Ordinary Member) วารสาร (Newsletter Member) ข้าพเจ้าทราบระเบียบของสมาคมฯ และจะปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ ทุกประการ (I have the full knowledge of the association regulations all of which I here by pledge to abide by) ลงชื่อ.................................................................ผู้สมัคร (Signature) วันที.่ ................/................../................. (Date)
ลงชื่อ...........................................................ผู้รับรอง (..................................................) นายทะเบียนสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย
หมายเหตุ เอกสารที่ใช้ในการสมัคร หนังสือรับรองการจดทะเบียนของบริษัท พร้อมประทับตราเซ็นรับรองสำาเนาถูกต้อง • สมาชิกสามัญนิติบุคคล ค่าลงทะเบียนครั้งเดียว 500 บาท ค่าบำารุงสมาคมฯ 2,000 บาท/ปี • สมาชิกวารสาร ค่าลงทะเบียนครั้งเดียว 100 บาท ค่าบำารุงสมาคมฯ 500 บาท/ปี การชำาระเงินโดย • สั่งจ่ายเป็นเช็คคร่อมในนาม “สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย” • ฝากเงินเข้าบัญชี “สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย” ธนาคารกสิกรไทย สาขาพระโขนง บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 010-2-58719-7 สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย อาคารสำานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเก่า) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4
แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th Thai Packaging Association MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Thailand Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th
Smart Packaging Easymatrix 106 CS _-ĂžÂ&#x2030;@<$S<9WgLZ6`M *;IS7$EEC_@Ä?Ä&#x17D;O*T;<EE+ZBS53 @E OCLCEE8;R`GR'ITC'Z C' TL[*LZ6 7O<9Z$'ITC9 T9TD 9SÄŚ*IS;;Wh`GRO;T'7 Heidelberg @ Pack Print International 2017
ÂŻÂª¯° $S;DTD; ¯²³ 5 c<_9' <T*;T POGG 101, <[:cP_6G_<VE $ L01
<EĂžKS9 cP_6G_<VE $ $ETAAÄ&#x201A;'L ÂĽ=ER_9Jc9DÂŚ +lT$S6 a9EÂŤ 02 6106100 www.heidelberg.com/th www.facebook.com/HeidelbergTH email: info.hth@heidelberg.com
Heidelberg @Pack Print International 2017 POGG 101 <[: L01
_'EÄ gO*= Cc6'S9-SÄŚ;;lT CT7E2T;L[*ER6S<aG$EZ ; Ă&#x201A;äÜßðäáþÏÝ ÂŽÂÂł Ă&#x20AC;Ă? `<<bMC b- *T;* TD @E OCM; ID$ER9Z *_JK CWER<<= O;$ER6TK`<<7 O_;YgO* a7 R@T$ER6TK`GRER<<=ES<7SÄŚ*G O$6`GR`=E*$6+T$J[;D $GT* CWER<<=ES<7SÄŚ*,T$ =ES<`7 *`<<c6'S9`GR`<<CW6c6 OD T*EI6_EÄ&#x;I c6 ES<_'EÄ gO*MCTDES<EO*CT7E2T;$TE>GV7 Ă&#x20AC;Ă&#x201A; ÂĽĂ&#x20AC;òùÊòþðÏáè Ă&#x201A;øþòóèèùèŒ `GR Ă&#x201E;Ă? ÂĽĂ&#x201E;èþðäù Ă?äÊèáß Ă?áäùçäþçŒ +T$LMBT@DZaE=