เเครื ค ืองข งงข งขึ ขึ้น รป ู ส ิ ค้ ครืรรื่อ องขึ นรูรูรปสิ สิน คา้ ตั ตว ั อย่ อยา่ ง ((MOCK (M MOC M OCK OC O CK C K UP) UP)
เครื่องตรวจสอบคำผิด
หมึกพิมพ์และน้ำยาเคลือบ
g Î x x ©d d Ñg v j x s | d ",( Paper Label VIP Label Filmic Label Graphics Label Removable Label Deep Freeze Label
LABEL PRODUCTS
Release Liner Cup Stock Paper
'>P O:BE:;E>
Tyre Label
Wet Wipes Label
Outdoor Drum Label
Digital Printing Label
CONTENTS Vol.27 No.126
49 News มร.เบิรท ยาน โพสท กรรมการผูจัดการคนใหม ของ เต็ดตรา แพค (ประเทศไทย)
November-December 2017
14
50 Focus HP กับความสําเร็จจากงาน PPI 2017 52 Focus 30 ป P&G ในประเทศไทย ….“We Grow Together” 54 News Bioplastics Innovation Contest 2017 56 Special Area KURZ เปดตัวเทรนดใหม สีฟอยลอะไรเปนเทรนดใหม ของบรรจุภัณฑพรีเมียมที่ Luxe Pack Monaco
14 TPA Activity แพ็ค พริ้นท อินเตอรเนชั่นแนล 2017 (PPI 2017) 18 พิธีมอบรางวัล Thai Pack Awards 2017 22 ขอบคุณบริษัทที่มารวมออกบูธในงาน PPI 2017 26 สมาคมการบรรจุภัณฑไทยควารางวัล สมาคมการคา ดีเดน ประจําป 2560 28 กิจกรรมสมาคมการบรรจุภัณฑไทย 30 ถามจริง-ตอบจัง 32 Article การยืดอายุการเก็บของปลาและผลิตภัณฑอาหารทะเล โดยใชฟลมที่บริโภคได 37 Interview ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ วว. กับบทบาทสําคัญ... ในการสงเสริม สนับสนุน สินคาเกษตรแปรรูปของไทย สูระดับสากล 42 Interview ISMED… พัฒนา SMEs ใหเขมแข็ง เพื่อประเทศพัฒนาไดอยางมั่นคง 45 In Trend PENTAWARDS 2017 10
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
60 Special Area ฉลากไมสวย กลองไมถูกชนิด สินคาไมเต็มภาชนะ... อื่น ๆ อีกมากมาย 64 News บริษัทชั้นนําของไทย ในงาน PPI 2017 66 News เมโทรซิสเต็มสฯ ไดรับแตงตั้งเปนตัวแทนจําหนาย “HP Jet Fusion 3D Printing” แหงแรกในประเทศไทย 67 News Acuity EY UV Inkjet 68 News ทีโอซี ไกลคอล การจัดการโลจิสติกส อยางมีประสิทธิภาพเพื่อลดตนทุน 69 News ที-พลาส 2017 ตอบโจทยอุตสาหกรรมดวย นวัตกรรมเทคโนโลยีระดับนานาชาติ 70 Hot Product
EDITOR
Note
ตัง้ แตเดือนตุลาคม 2559 ถึงเดือนตุลาคม 2560 เปนชวงหนึง่ ป ที่คนไทยอยูในความโศกเศราจากการ เสด็จสวรรคตของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และวันที่ 26 ตุลาคม 2560 ก็เปนอีกวันหนึ่งที่ประเทศไทยเกิดภาวะ “น้ําตาทวมแผนดิน” เพราะเปนวันพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช...เชื่อวาคนไทยจะไมลืมวันแหง ประวัติศาสตรนี้อยางแนนอน และตองไมลืมปฏิบัติตนตามคําสอน ของทานที่ใหรักสามัคคีกันเพื่อความเปนปกแผนของประเทศ วารสารบรรจุภัณฑไทยฉบับนี้มีหลายเรื่องมานําเสนอ และ ลวนนาสนใจ อาทิ ขาวเก็บตกจากงาน PPI 2017 ที่เพิ่งผานพนไป ซึ่งงาน PPI 2017 ครั้งนี้นับวาประสบผลสําเร็จเปนอยางมาก ทั้งใน แงผูประกอบการและจํานวนผูเขาชมงานทั้ง 4 วัน ที่เพิ่มขึ้นเชนกัน นอกจากนั้น สมาคมการบรรจุภัณฑไทย ยังไดจัดพิธีมอบรางวัล Thai Pack Awards 2017 ใหแกสินคาแบรนดไทยที่ใชบรรจุภัณฑ อยางเหมาะสมตามเกณฑของสมาคมฯ สินคาของไทยทั้ง 24 ราย ที่ไดรับรางวัลนี้ ผานการพิจารณาอยางถี่ถวนจากคณะกรรมการ สมาคมฯ ซึ่งลวนเปนผูเชี่ยวชาญดานบรรจุภัณฑทั้งสิ้น สวน รางวัล PENTAWARDS เปนรางวัลทีม่ อบใหแกนกั ออกแบบ บรรจุภัณฑจากทั่วโลกที่สงผลงานเขาประกวด ซึ่งปนี้ผลงานจาก ประเทศไทยก็สามารถควารางวัล Silver Awards Winner หมวดหมู Body จากผลงานกลองรองเทา ADDA Container Shoe Box สวน บรรยากาศของงานเปนอยางไรนัน้ ตามไปอานในคอลัมน In Trend ที่ เขียนโดย สมชนะ กังวารจิตต กันไดเลย The month of October 2016 to October 2017 is a period of one year that the Thai people are in morning for the death of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej and October 26, 2560 is another day that “Tears oods the land of Thailand” because it is the day of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej’s Royal Cremation Day… which we truly believe that the Thai people will never forget this very historical day and that the Thai people will always remember to follow His Majesty the King’s teaching which is to love and be harmonized for the solidarity of the country. This edition of the Thai Packaging Newsletter has many articles to present and all of which are very interesting. The news about PPI 2017 which recently had been held and was very successful, both in terms of entrepreneurs and the increased number of people who attended the event during the 4 days. In addition, the Thai Packaging Association had organized a presentation for Thai Pack Awards 2017 for Thai brand products that make use of packaging appropriately following the Association’s standard. The 24 products that won the awards had been thoroughly reviewed by the Committee Members of the Association who are all experts in the eld of packaging. As for the PENTAWARDS, it is the award given to designers from all over the world in packaging who sent in their works for competition. For this year, Thailand was able to win the Silver Awards Winner for the Body category on ADDA Container Shoe Box. If you want to know more about the atmosphere of this event, please follow us under the column In Trend written by Somchana Kangwarnjit.
12
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
วัตถุประสงคในการจัดทํา
วารสารบรรจุภณ ั ฑไทย จัดทําขึน้ โดยสมาคมการบรรจุภณ ั ฑไทย เพือ่ เผยแพร สาระความรูเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ และนําเสนอความเคลื่อนไหวของกิจกรรม ดานบรรจุภณ ั ฑใหแกสมาชิกและบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ บทความทีต่ พี มิ พในวารสาร บรรจุภัณฑไทยเปนสวนหนึ่งของการเผยแพรขอมูลขาวสาร และเอกสารทาง วิชาการ สมาคมฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป
Purpose
Published by the Thai Packaging Association. Thai Packaging Newsletter provides news, information and know-how as well as activity related to packaging industry in Thailand to all members of the Thai Packaging Association and the general public. Articles published in Thai Packaging Newsletter do not represent the official views of the Thai Packaging Association.
คณะกรรมการบริหารสมาคมการบรรจุภัณฑไทย 1. คุณนภดล ไกรฤกษ 2. คุณสมบูรณ เตชะพานิชกุล 3. คุณมนตรี มหาพฤกษพงศ 4. คุณประสิทธิ์ คลองงูเหลือม
5. คุณวรรณา สุทัศน ณ อยุธยา 6. คุณรัชนี ชัยชาติ 7. คุณพรรษชล ลิมธงชัย 8. คุณกมลา เลาหศักดิ์เสนา 9. คุณศุภชัย ธีราวิทยางกูร 10. คุณอุมา อัจจิมารังษี 11. คุณสุเมธ วลัยเสถียร 12. คุณเอกรินทร จิระกรานนท 13. คุณยุวดี เที่ยงทางธรรม 14. คุณจิตรา บุญสม 15. คุณเจริญสุข ภาวศิริพงษ 16. คุณไพโรจน มีทวี
นายกสมาคมการบรรจุภัณฑไทย อุปนายกบริหาร และนายทะเบียน อุปนายกโครงการ อุปนายกประสานองคกร และ ประชาสัมพันธ อุปนายกวิชาการ เลขาธิการ ผูชวยเลขาธิการ และกรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภัณฑพลาสติก เหรัญญิก กรรมการวิชาการ ฝายเทคนิคการพิมพ กรรมการวิชาการ ฝายธุรกิจออกแบบ กรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภัณฑแกว กรรมการวิชาการ ฝายวัสดุการพิมพ กรรมการวิชาการ ฝายคุณภาพการพิมพ กรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภณ ั ฑโลหะ กรรมการวิชาการ ฝายผูใชบรรจุภัณฑ ผูอํานวยการสมาคมฯ
The Board of the Thai Packaging Association
1. Mr.Noppadol Krairiksh President 2. Mr.Somboon Techapanichgul Vice President 3. Mr.Montri Mahaplerkpong Vice President 4. Mr.Prasit Klongnguluerm Vice President 5. Mrs.Varna Sudasna Vice President 6. Ms.Rutchanee Chaichart Secretary General 7. Ms.Passachon Limthongchai Assistant Secretary 8. Ms.Kamala Laohasaksena Treasure 9. Mr.Supachai Theravithayangkura Director 10. Mrs.Uma Ajjimarangsee Director 11. Mr.Sumedh Valaisathien Director 12. Mr.Ekarin Chirakranont Director 13. Ms.Yuwadee Thiangthangtum Director 14. Mrs.Chitra Boonsom Director 15. Mr.Jarensook Pavasiripong Director 16. Mr.Pairoj Meethawee Director of Association เจาของ : สมาคมการบรรจุภัณฑไทย www.thaipack.or.th อาคารสํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเกา) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมติ ร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Owner : Thai Packaging Association www.thaipack.or.th MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Editorial Staff : Nipa Klinkosum Project Manager : Tipawan Khempilar Marketing Manager : Khemjira Boonpraracsa Executive Sale : Kalaya Sabpirom, Siriporn Klinkajorn, Kasira Hembundij, Manus Chaipas, Kritiyakorn Dangsamran Graphic Designer : Prittiya Nillawat Photographer : Komsak Kumsalee Proofreader : Tidawadee Boonsuya Managed by : Technology Media Co., Ltd. 471/4 Phayathai Place, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Rachathewi, Bangkok 10400 Printed by : E.Hing Printing Press Co., Ltd. 3141 Rot-Fai Sai Paknam Rd., Phrakanong, Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2249-0136-8 Fax : 0-2249-5093
TPA
activity
แพ็ค พร�้นท
อินเตอรเนชั่นแนล 2017 (PPI 2017) งานแสดงสินค าเพื่อ อุตสาหกรรมการพิมพ และการบรรจุภัณฑ
เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560 ที่ผานมา สมาคม การบรรจุภณ ั ฑไทย สมาคมการพิมพไทย รวมกับ บริษทั เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย ไดจดั พิธเี ปด งาน แพ็ค พริน้ ท อินเตอรเนชั่นแนล 2017 (PPI 2017) งานจัดแสดงสินคา เพื่ อ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ แ ละการบรรจุ ภั ณ ฑ ชั้ น นํ า ของไทย ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยไดรบั เกียรติจาก ดร.สมชาย หาญหิรญ ั ปลัดกระทรวง อุตสาหกรรม เปนประธานในพิธี และรวมแสดงความยินดี ที่ทั้ง 3 หนวยงานไดรวมลงนามบันทึกการเปนพันธมิตร รวมในการจัดงานตอเนื่องเพื่อให แพ็ค พริ้นท อินเตอร เนชั่นแนล ประสบความสําเร็จสืบตอไป
PPI 2017 จัดขึ้นระหวางวันที่ 20-23 กันยายน 2560 ภายใตแนวคิด “การบรรจุภัณฑและการพิมพแหงอนาคต” มีการ จัดแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย เพื่อใหสอดคลองกับยุทธศาสตร Thailand 4.0 การจัดแสดงสินคาในครั้งนี้จะแสดง 14
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
จุดยืนทีเ่ ขมแข็งของประเทศไทยในฐานะศูนยกลางของอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภณ ั ฑ โดยสินคาทีน่ าํ มาจัดแสดงครอบคลุม ทัว่ ทัง้ หวงโซของอุตสาหกรรมการบรรจุภณ ั ฑและการพิมพ นําเสนอเครือ่ งจักรทีก่ าํ ลังเปนทีต่ อ งการ พรอมดวยโซลูชนั่ ทีจ่ ะผลักดัน ประเทศไทยสูยุค 4.0 อยางแทจริง
การจัดงานครัง้ นีไ้ ดรบั ความสนใจจากผูจ ดั แสดงสินคากวา 200 แหง จาก 20 ประเทศทัว่ โลก รวมทัง้ พาวิเลีย่ นนานาชาติและ กลุมประเทศตาง ๆ ไดแก ออสเตรีย จีน เยอรมนี มาเลเซีย ไตหวัน และสิงคโปร ซึ่งมาจัดแสดงสินคาเปนครั้งแรกในปนี้ รวมทั้ง พาวิเลี่ยนของสมาคมการบรรจุภัณฑไทย ซึ่งไดจัดแสดงผลิตภัณฑที่ไดรับรางวัล Thai Pack Awards 2017 รวมทั้งผลงานของ สมาคมในดานอื่น ๆ ดวย
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
15
ในวันที่ 22 กันยายน 2560 ทางสมาคมการบรรจุภณ ั ฑไทย ไดจดั พิธมี อบรางวัล Thai Pack Awards 2017 แกเจาของผลิตภัณฑ ที่ผานการคัดเลือกจากผูเชี่ยวชาญของสมาคมการบรรจุภัณฑไทยดวย ตลอดทัง้ 4 วันของงาน มีผทู อี่ ยูใ นแวดวงบรรจุภณ ั ฑ การพิมพ และผูท สี่ นใจเทคโนโลยีใหม ๆ มารวมงานคับคัง่ โดยไดบนั ทึก สถิติผูเขาชมงานสูงที่สุดกวา 17,452 คนจาก 59 ประเทศทั่วโลก มีผูเขารวมจัดแสดงสินคาจาก 300 บริษัทชั้นนํา จาก 25 ประเทศ และงานสัมมนา งานประชุม และฟอรั่มที่จัดในงานไดรับความสนใจเปนอยางมาก โดยมีผูเขารวมฟงมากกวา 800 คน จากตัวเลขดังกลาว ประเมินไดวามีผูเขาเยี่ยมชมงานเพิ่มขึ้น 20% เมื่อเทียบกับงานในป 2558 โดยไดรับความสนใจเปน อยางมากจากผูเ ยีย่ มชมงานทีม่ าจากตางประเทศ อาทิ ประเทศจีน อินเดีย อินโดนีเซีย เมียนมา ไตหวัน และเวียดนาม รวมไปถึง กลุมอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑภายในประเทศ กวา 48 กลุม ที่รวมพิสูจนวา แพ็ค พริ้นท อินเตอรเนชั่นแนล เปนงาน จัดแสดงทีส่ ามารถตอบโจทยผจู ดั จําหนายเครือ่ งจักร ผูใ หบริการดานการพิมพและบรรจุภณ ั ฑ ผูผ ลิตทีไ่ ดรบั การรับรอง บริษทั ตัวแทน ผูใหบริการดานการพิมพฉลากและบรรจุภัณฑลูกฟูก ไปจนถึงภาคสวนอื่น ๆ เชน เครื่องสําอาง การผลิตอาหารและเครื่องดื่ม ยา และเครื่องอุปโภคบริโภค รวมถึงบริษัทขามชาติ เชน C.P. Intertrade, Merck, Siam Winery, Oishi, Dole, Reckitt Benckiser, Dutchmill, Friesland Campina, Ichitan, Malee, Taokaenoi, Osotspa, Monde Nissin, Nestle, Kao, Boncafé และอื่น ๆ อีก มากมาย
มร.เกอร นอท ริงลิ่ง
16
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
มร.เกอรนอท ริงลิ่ง กรรมการผูจัดการ บริษัท เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย กลาววา “ในปนี้ เราไดรบั ความสนใจจากผูเ ขาเยีย่ มชมงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ และไดเห็น ถึงความตองการในการเลือกซื้อเครื่องจักรและอุปกรณตาง ๆ ที่นํามาจัดแสดง ภายในงานเปนอยางสูง จากโซนฉลาก โซนระบบอัตโนมัติและหุนยนต ไปจนถึง พาวิเลี่ยนครบวงจรสําหรับอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑ เราไดเห็นถึง การเปลี่ยนแปลงที่นาสนใจ และจะยังคงพัฒนาตอไปเพื่อหาสิ่งที่ดีที่สุดในการ ตอบสนองเทรนดและความตองการของอุตสาหกรรม” “เราตัง้ ใจทีจ่ ะสรางงานจัดแสดงทีเ่ ปนแพลตฟอรมรวบรวมตัวเลือกดานการ ใหบริการ พรอมเสริมความแข็งแกรงดวยการรวมมือกับภาคสวนของรัฐและองคกร ในอุตสาหกรรม และสนับสนุนใหประเทศไทยเปนศูนยกลางดานการปฏิรูป เทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑ” มร.เกอรนอท กลาวเสริม ในสวนการจัดแสดงเครื่องจักรและอุปกรณนั้น มีบริษัทเขารวมจํานวนมาก จากหลากหลายบริษทั เชน Fujilm, HP, BPS United, Cyber SM, Wanjin Trading, Guangzhou Yue An Import & Export, Sansin และมีบางรายที่สามารถปด การขายไดจากการเขารวมแสดงสินคาในครั้งนี้ โดย HP Inc. ประกาศถึงการปด การขายกวาหกรายการใหมในหมวด Indigo และ Latex ในประเทศไทย ซึง่ เปนการ ติดตั้ง Indigo 20000 สองยูนิต และ Latex 3600 หนึ่งยูนิต ครั้งแรกในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต
บริษัท ซันซิง พริ้นติ้ง แมชชีน แมททีเรียล (ประเทศไทย) จํากัด เปน บริษัทที่เขารวมจัดแสดงสินคาทุกครั้งตั้งแตปแรกเมื่อ 2550 ดวยเปนงานจัดแสดง ระดับโลก มร.ฉี เสี่ยว หยิน ประธานบริษัท กลาวถึงการเขารวมงานครั้งนี้วา “สําหรับการจัดแสดงสินคาในปนี้ เราไดปดการขายเครื่องจักรกวา 30 ชิ้น และ เรารูสึกยินดีเปนอยางมากที่ไดพบปะกับลูกคาเกาของเราไปพรอมกับตอนรับ ลูกคาใหมจาก บังกลาเทศ เวียดนาม อินโดนีเซีย และสิงคโปร” ในขณะเดียวกัน ผูเ ขารวมจัดแสดงสินคาเปนครัง้ แรกอยาง บริษทั เพรสสิโอ เอเชีย ซึ่ง มร.เคนตะ คานาโมริ ผูจัดการฝายพัฒนาธุรกิจ ยกใหงานจัดแสดงนี้ เปนงานจัดแสดงชั้นเยี่ยมสําหรับผลิตภัณฑของบริษัท “เราไดพบกับผูซื้อที่มี คุณภาพ และไดรับรูถึงความตองการผานการพูดคุยแบบตัวตอตัว ซึ่งการเขารวม งานจัดแสดงในครั้งนี้ไดมอบโอกาสในการสรางความสัมพันธ และความรวมมือ ใหมๆ กับลูกคาและผูจัดจําหนายจากทั่วทั้งภูมิภาค ผมหวังวาจะไดตอยอดความ สัมพันธใหมอีกในงานจัดแสดงครั้งหนา” สําหรับผูเ ขารวมงานอยาง มร.สุเฮนดรา มารซ ผูบริหารของบริษัท พริ้นท แพ็ค อินโดนีเซีย ที่เขารวมงานเพื่อชมเทคโนโลยีและโซลูชั่นใหม ๆ กลาววา “ผม รูสึกประทับใจกับการสาธิตผลิตภัณฑ ซึ่งเราไดสั่งซื้อเครื่องพิมพฉลากใหมลาสุด ภายในงานดวย การเยี่ยมชมงานของบริษัทในครั้งนี้ไมใชครั้งแรกของเรา และ จะไมเปนครั้งสุดทายอยางแนนอน”
นอกจากนี้ ยังไดรับเสียงตอบรับ อันดีจาก มร.จาว ไท หลวน ผูอํานวย การบริ ษั ท เฟล็ ก ซิ เ บิ้ ล แพคเกจจิ้ ง เอ็นเตอรไพรส ลิกสิน คอรปอเรชั่น ผูซ งึ่ มองหาเครือ่ งจักรสําหรับการพิมพ พื้นนูน (Flexo) รุนใหม และเครื่องจักร ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมกลาววา “เรา จะเปนกระบอกเสียงบอกตอเจาของ ธุรกิจคนอืน่ ๆ ในเวียดนามอยางแนนอน และงานจัดแสดงนี้ เป นงานที่ดีเยี่ยม ทั้งสําหรับผูเยี่ยมชม และผูจัดแสดง สินคา”
มร.ฉี เสี่ยว หยิน
งานจัดแสดงสินค า แพ็ค พริ้นท อินเตอร เนชั่นแนล 2019 จะกลับมาอีกครั้งในวันที่ 18–21 กันยายน 2562 ณ ไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร หวังเป นอย างยิ่งว างาน แพ็ค พริ้นท อินเตอร เนชั่นแนล 2019 จะได รับความสนใจมากยิ่งขึ้น และมีผู สนใจเข าร วมทั้งออกบูธ และผู เข าชมงานมากขึ้น
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
17
TPA
activity
พิธ�มอบรางวัล
Thai Pack Awards 2017
สมาคมการบรรจุภัณฑไทย ไดจัดพิธี มอบรางวัล Thai Pack Awards 2017 ใหแก เจาของสินคาแบรนดไทย จํานวน 24 ราย ซึ่ง สินคาที่ไดรับรางวัลนี้ไดรับการพิจารณาจาก ผูท รงคุณวุฒแิ ละเชีย่ วชาญดานบรรจุภณ ั ฑ ซึง่ เลือกจากบรรจุภัณฑของสินคาแบรนดไทย ทีเ่ หมาะสมจากรานคาทีว่ างขายในตลาด เปน บรรจุภัณฑที่ใชงานจริง โดยมีเกณฑในการ พิจารณา ดังนี้ 1. การสื่อสารกับผูบริโภคและการโปรโมต สินคา (Communication and Promotion) 2. การปกปองสินคาที่บรรจุ (Protection) 3. ความสะดวก (Convenience) 4. ความเหมาะสมในภาพรวม (Optimization) 5. นวัตกรรม (Innovation)
พิธีมอบรางวัล Thai Pack Awards 2017 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2560 ภายในงาน Pack Print International 2017 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยมี นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ และคณะกรรมการสมาคมฯ เขารวมงาน อยางพรอมเพรียง บรรยากาศภายในงานตั้งแตเริ่มเปนไปอยางคึกคัก เจาของสินคาตางรูสึกตื่นเตน และดีใจที่ไดรับรางวัลนี้เพราะเปนรางวัลที่ไมใชไดจากการสงสินคาเขาประกวด แต เปนรางวัลที่มีการพิจารณาจากเกณฑของทางสมาคมฯ เอง ซึ่งกรรมการที่พิจารณาวา สินคาใดควรไดรางวัล ก็ล วนแตเปนผูทรงคุณวุฒิและมีความเชี่ยวชาญดานบรรจุภัณฑ โดยตรง จึงเปนรางวัลที่นําความภาคภูมิใจมาสูเจาของสินคาเปนอยางมาก
18
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
สินคาแบรนดไทยทีไ่ ดรบั รางวัลทัง้ 24 ราย แบงเปน บรรจุภณ ั ฑอาหาร บรรจุภณ ั ฑเครือ่ งดืม่ และบรรจุภณ ั ฑเพือ่ สุขภาพและ ความงาม โดยมีรายชื่อผูไดรับรางวัล ดังนี้ 1. Doi Chang Coffee Original Co., Ltd. 2. Gallothai Co., Ltd. 3. deSIAM Cuisine (Thailand) Co., Ltd. 4. Living Light Daily Co., Ltd. 5. BSCM Foods Co., Ltd. 6. King Power International Co., Ltd. 7. Amproud Co., Ltd. 8. Do Food Co., Ltd. 9. K.R.S. Spicy Food Co., Ltd. 10. Sweet Bee Farm Co., Ltd. 11. Thanna Foods Co., Ltd. 12. Living Light Daily Co., Ltd. 13. Artchit International Pepper and Spices Co., Ltd. 14. Credence Co., Ltd. 15. Doi Kham Food Products Co., Ltd. 16. King Power International Co., Ltd. 17. Doi Kham Food Products Co., Ltd. 18. The Royal Chitralada Projects (Milk Processing Plant, Chang-Hua-Mun Royal Initiative Project) 19. Oishi Trading Co., Ltd. 20. Ayada Product Co., Ltd. 21. Rubia Industries Ltd. A Subsidiary of Berli Jucker Public Co., Ltd. 22. Harnn Global Co., Ltd. 23. Hashi Clear Co., Ltd. 24. Siam Herbal Pharmaceutical Co., Ltd.
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
19
20
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
21
22
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
ขอบคุณบร�ษัทที่มารวมออกบูธ ในงาน
TPA
activity
PPI 2017
วันที่ 23 กันยายน 2560 นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑไทย พิมพนารา จิรานิธินนท นายกสมาคม การพิมพไทย มร.เกอรนอท ริงลิ่ง กรรมการผูจัดการ บริษัท เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย พรอมดวยคณะกรรมการสมาคมการบรรจุ ภัณฑไทย และเจาหนาทีส่ มาคมฯ ไดมอบของทีร่ ะลึกเพือ่ เปนการขอบคุณแกบริษทั ตาง ๆ ทีเ่ ขามารวมออกบูธในงาน PPI 2017 ซึ่ง เปนธรรมเนียมปฏิบัติของสมาคมฯ มาโดยตลอด ทางสมาคมฯ หวังเปนอยางยิ่งวา ผูมารวมออกบูธในงาน PPI 2017 นี้จะไดรับความพึงพอใจ และกลับมารวมออกบูธ ของสมาคมฯ อีกครั้ง รวมถึงการเขามารวมกิจกรรมดานอื่น ๆ กับสมาคมฯ เพื่อเปนการสงเสริมอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑของไทย ใหพัฒนายิ่ง ๆ ขึ้นไป
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
23
24
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
25
TPA
activity
สมาคมการบรรจ�ภัณฑไทยควารางวัล
สมาคมการคาดีเดน ประจําป 2560
เมือ่ วันจันทรท่ี 16 ตุลาคม 2560 ทีผ่ า นมา นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมในฐานะตัวแทน สมาคมการบรรจุภณ ั ฑไทย ขึ้นรับ รางวัลสมาคมการคาดีเดน ประจําป 2560 (Trade Association Prestige Award: TAP Award) ในกลุมสมาคมที่จัด ตั้งแต 16 ปขึ้นไป (กอนป 2544) ซึ่งสมาคมการบรรจุภัณฑไทย สามารถผานเกณฑในการประเมินศักยภาพดานการบริหารจัดการ เปนเลิศตามหลัก Balanced Scorecard และไดรับรางวัล 2 รางวัล คือ รางวัลสมาคมการคาดีเดน ดานคุณภาพการใหบริการ และ รางวัลสมาคมการคาดีเดน ดานพัฒนาองคกร ตอเนื่องเปนปที่ 2
ในพิธีมอบรางวัลไดรับเกียรติจาก วินิจฉัย แจมแจง ผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงพาณิชย ขึ้นมอบรางวัลใหกับสมาคม การคาในประเภทตาง ๆ 25 สมาคม ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลเวิลด งานครั้งนี้จัดขึ้นภายใตงาน “Together is Power 2017” ดวยความรวมมือของ กระทรวงพาณิชย กรมพัฒนาธุรกิจการคา และสภาหอการคาแหงประเทศไทย เพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพสมาคมการคาใหมีความเขมแข็งอยางตอเนื่อง และผูไดรับ รางวัลกลุม นีน้ บั เปนตนแบบของสมาคมการคาทีด่ ี และจะเปนกําลังสําคัญของภาคธุรกิจในการพัฒนาเศรษฐกิจไทยใหเติบโตอยาง ยั่งยืน
26
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
การมอบรางวัลสมาคมการคาดีเดน และผูบริหารสมาคมการคาดีเดน ประจําป 2560 หรือ Trade Association Prestige Award: TAP Award เปนการเชิดชูเกียรติและสรางขวัญกําลังใจใหแกสมาคมการคาไทยที่มีการบริหารจัดการธุรกิจที่เปนเลิศตาม มาตรฐานสากล อีกทั้งยังไดสรางผูนําที่มีความรูความสามารถเขาสูระบบเศรษฐกิจ เพื่อเปนพลังในการขับเคลื่อนการคาของไทย ใหเติบโต และแขงขันไดอยางเขมแข็งทั้งตลาดในประเทศและตางประเทศ
เนื่องในโอกาสที่นายินดีนี้ สมาคมการบรรจุภัณฑไทย จึงเรียนเชิญอดีตนายกสมาคมฯ คณะที่ปรึกษา และคณะกรรมการ มารวมภาคภูมิใจกับความสําเร็จของสมาคมฯ ในครั้งนี้ดวย เพราะการที่สมาคมฯ สามารถยืนหยัดมาไดมากกวา 48 ปนั้น ทุกทาน มีสวนสําคัญในบทบาทหนาที่ที่แตกตางกันไป เมื่อสมาคมฯ ไดรับรางวัลจึงเปรียบเสมือนเปนผลงานของทุกทานเชนกัน
ขึ้นไป
รางวัลที่สมาคมฯ ไดรับ ถือเปนกําลังใจที่สําคัญใหทุกคนมุงมั่นทํางานเพื่อพัฒนาวงการบรรจุภัณฑไทยใหกาวหนายิ่ง ๆ
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
27
TPA
activity
ระดมสมอง ตามโครงการ
“ระบบสืบค นข อมูล บรรจุภัณฑ อัจฉริยะ” นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคม การบรรจุภัณฑไทย ไพโรจน มีทวี ผูอํานวยการสมาคมฯ อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ที่ปรึกษาสมาคมฯ เขา รวมระดมสมองกับ ศูนยนวัตกรรม อาหารและบรรจุภัณฑ ในกิจกรรม การระดมสมอง (Focus Group) ตามโครงการ “ระบบสืบคนขอมูล บรรจุภัณฑอัจฉริยะ” ซึ่งศูนยฯ ได รวมทํางานกับ สํานักงานนวัตกรรม แหงชาติ (องคการมหาชน) โครงการนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ จัดทําระบบสืบคนขอมูลบรรจุภัณฑ อั จ ฉริ ย ะ (Intelligent Packaging System) ที่มีระบบประมวลผลเพื่อ ช ว ยในการออกแบบและพั ฒ นา บรรจุภณ ั ฑ แหลงองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมดานบรรจุภัณฑตาง ๆ รวมอยูบนฐานขอมูลเดียวกัน เปน ประโยชน ตอผูประกอบการ อี กทั้ง เชื่อมโยงสวนงานที่เกี่ยวของเพื่อเปน กลไกหนึ่ ง ในการช ว ยขั บ เคลื่ อ น Northern Thailand Food Valley นํานวัตกรรมอุตสาหกรรมอาหารไปสู ระดับภูมิภาค โดยกิจกรรมการระดมสมองใน ครัง้ นี้ นอกจากสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ ไทยแล ว ยั ง มี ตั ว แทนจากหลาย หน ว ยงานเข า ร ว ม อาทิ ประนอม เฉินบํารุง ผูอํานวยการศูนยประสาน งาน NTFV ศิริพร ตันติพงษ สภา อุตสาหกรรมฯ รศ. ดร.ศักดิ์เกษม ระมิงควงศ และ สราวุฒิ สินสําเนา ร ว ม ทั้ ง ผู ผ ลิ ต บ ร ร จุ ภั ณ ฑ แ ล ะ ผู ป ระกอบการด า นบรรจุ ภั ณ ฑ ที่ มี ประสบการณ 28
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
โครงการเสริมสร างองค กรสุขภาวะในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ วันที่ 17-27 สิงหาคม 2560
โครงการฯ ไดจัดประชาสัมพันธโครงการฯ ในงานมหกรรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ประจําป 2560 ณ อิมแพค อารีนา เมืองทองธานี โดยในงานไดมีการจัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมตางๆ จากความรวมมือของหนวยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งในและตางประเทศ
วันที่ 19 กันยายน 2560
ทีมงาน Happy Workplace และกรรมการจาก สสส. ไดเขาเยี่ยมชมโครงการ Happy Workplace ณ การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย โรงไฟฟาบางปะกง องคกรแหงนี้ผูบริหารไดใหความสําคัญกับบุคลากร และไดกําหนดนโยบายองคกรแหงความ สุขขึ้น โดยเริ่มจากการใหความสําคัญทางดานสุขภาพของบุคลากร จึงเปนที่มาของโครงการ Happy Body “โรงไฟฟาบางปะกง STRONG ไปดวยกัน HAPPY ไปพรอมกัน” โดยสามารถรับชมไดใน YouTube ชอง “TPA HWP” นอกจากนี้ โรงไฟฟาบางปะกง ยังไดเปดโอกาสใหองคกรอื่นๆ ที่สนใจในการดําเนินงาน Happy Workplace ไดเขาแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณการดําเนินงาน ใหสําเร็จอีกดวย
วันที่ 27 กันยายน 2560
ไดเขาใหคําปรึกษาเชิงลึก ณ บริษัท เหล็กสยาม (2001) จํากัด โดยในครั้งนี้ไดรับเกียรติจากวิทยากรผูทรงคุณวุฒิทางดาน โภชนาการ อาจารยสงา ดามาพงษ ไดบรรยายใหความรูทางดานสุขภาพดวยโภชนาการตามหลัก 3อ. 2ส. และยังมีเครือขาย คนไทยไรพุง มารวมวัดสมรรถภาพทางกายใหแกบุคลากร พรอมทั้งกิจกรรมใหความรูทางดานอาหารและเครื่องดื่มซึ่งไดรับ ความสนใจเปนอยางมาก
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
29
TPA
activity มยุรี ภาคลําเจียก
ÊÇÑʴդЋ ถามจริง ตอบจัง เปนคอลัมน
ประจําของวารสารนี้ โดยเริม่ ตัง้ แตฉบับทีแ่ ลว ค ะ ก็ ข อทวนนิ ด ถึ ง ที่ ม าสํ า หรั บ ท า นผู อ า น รายใหม คอลั ม น นี้ เ ป น การนํ า คํ า ถามและ คําตอบดานบรรจุภัณฑมาพิมพเพื่อแบงปน ความรู คําถามมาจากหลายคน และหลาย อาชีพ สวนใหญมาจากผูประกอบการอาหาร SMEs จะไมขอเอยชื่อผูถามในคอลัมนนี้ สวนคําตอบก็มาจากผูเขียนซึ่งเรียก ตนเองวาอาจารย เรื่องที่แลว เกี่ยวกับบรรจุภัณฑขนมเคก เรื่องที่ 2 ในฉบับนี้เปนเรื่องของ ขวดพลาสติกบรรจุเครื่องดื่ม
¼ÙŒ¶ÒÁ : ผมเปนผูรวมสัมมนาในการอบรมของ
ศู น ย ก ารบรรจุ หี บ ห อ ไทยเมื่ อ เดื อ นที่ แ ล ว ครั บ ผมมี คํ า ถามเกี่ ย วกั บ การใช ข วดพลาสติ ก บรรจุ เครื่องดื่มสุขภาพ พวกถั่วบดแลวกรอง คลาย ๆ นมถั่วเหลืองครับ ใชขวดอะไรดี ซื้อที่ไหนครับ ¼ÙŒμͺ : กอนจะตอบ อาจารยขอถามคุณวา เมื่อบรรจุเครื่องดื่มลงในขวดแลว ตองการอายุ การเก็บ (Shelf Life) นานเทาใดคะ ในสภาวะ อยางไร เชน แชเย็นหรือในอุณหภูมหิ อ งตามปกติ ¼ÙŒ¶ÒÁ : ผมอยากไดแบบไมตองแชเย็นครับ เก็บไดสัก 6 เดือน โดยเครื่องดื่มของผมไมเสีย เผือ่ จะสงไปขายในจังหวัดตาง ๆ ไดครับ เมือ่ สอง วันกอนผมเขาไปสํารวจหา Supplier ในงาน Food Pack ทีไ่ บเทค มี 2-3 รายทีข่ ายขวด PET ผมจําได วาตอนอาจารยบรรยาย ไดบอกวาขวด PET ใช ไมไดถา เก็บนาน เขาแนะนําใหผมหาขวดแบบ Hot Fill ชวยแนะนําหนอยครับ ¼ÙŒμͺ : ขอโทษคะที่ตอบชา เพราะอาจารย ไปตางประเทศหลายวัน เพิ่งกลับมาคะ เรื่องขวดพลาสติกบรรจุเครื่องดื่ม ตองเลือกใหเปนคะ ใหเหมาะกับ กรรมวิธีในการฆาเชื้อ และอายุ การเก็บที่ตองการ สรุปสั้น ๆ ดังนี้
30
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
¶ÒÁ¨ÃÔ§ μͺ¨Ñ§ เครื่องดื่มทั่วไปถาไมมีการใชความรอนในการบรรจุ จะเก็บ ไดเพียง 2-3 วัน ในสภาวะแชเย็น ถาตองการใหมีอายุการเก็บ นานขึ้น ตองใชความรอนในการฆาเชื้อ ถาเปนระบบการบรรจุรอน (Hot Filling or Pasteurization System) มักทําใหเครือ่ งดืม่ รอนที่ 82-92°ซ. กอน แลวบรรจุลง ขวดทันที ปดฝาใหสนิท วางเอียงขวดสัก 15 วินาที เพื่อให เครือ่ งดืม่ สัมผัสกับขวดดานบน แลวเปาดวยลมเพือ่ ใหขวดแหง วิธีนี้จะทําใหเครื่องดื่มมีอายุการเก็บไดนาน 1-3 เดือน ใน สภาวะแชเย็นคะ ขวดพลาสติกที่ใชกับระบบนี้ได คือ ขวด PP และขวด PET ถาเปนขวด PET ตองใชที่เกรดพิเศษ สังเกตได จากบริเวณปากและคอขวดมีสีขาว ราคาจะแพงกวาขวด PET เกรดทั่วไปคะ คุณตองการเครือ่ งดืม่ มีอายุการเก็บนาน 6 เดือน ในสภาวะ อากาศปกติ (อุณหภูมิหอง) ใชระบบการบรรจุรอนดังกลาว ไมเพียงพอคะ ตองใชระบบสเตอริไลเซชัน (Sterilization) โดย ใชหมอฆาเชื้อ (Retort) ซึ่งสวนใหญใชความรอนที่อุณหภูมิ 120°ซ. ในระยะเวลาทีแ่ นนอน เชน 30 นาที (ตองมีการทดลอง วาใชเวลาเทาไร ขึ้นกับชนิดเครื่องดื่ม เพราะเครื่องดื่มแตละ ชนิดมีสมบัติตางกัน) จากนั้นทําใหเย็น ขวด PP และ PET ที่ นิ ย มใช กั บ เครื่ อ งดื่ ม และหาซื้ อ ได ง า ยมี ส มบั ติ ไ ม เ หมาะสม ตอการฆาเชื้อดวยระบบนี้นะคะ เนื่องจากทนความรอนสูง ไมไดและยังไมสามารถปองกันอากาศซึมผานไดดีนัก จําเปน ตองใชขวดที่ทําดวยพลาสติกหลายชั้น ที่นิยม คือ PP/tie/ EVOH/tie/PP ซึ่งสามารถทนความรอนไดสูง อีกทั้งมีสมบัติ ในการปองกันอากาศจากภายนอกไดดีมากอีกดวย สําหรับฝา ปด แนะนําใหมแี ผนฟอยล นํามาปดผนึกดวยความรอนกับปาก ขวด (ดังรูปดานลาง) กอนจะปดฝาพลาสติกแบบเกลียวอีกชั้น
หนึง่ เพือ่ ปองกันอากาศเขาไดดขี นึ้ คะ ตอนจะนําขวดเครือ่ งดืม่ เขาหมอฆาเชือ้ ใหปด ผนึกดวยแผนฟอยล ที่ปากขวดก็พอ ยังไมตองปดฝาพลาสติก ปดฝาดวยมือหลังจากนําออกจากหมอฆาเชื้อไดสักครูนะคะ
ถานึกไมออก ลองไปซื้อนมถั่วเหลืองหรือนมสดตามรูปนะคะ เปนเครื่องดื่มที่ใชขวดวัสดุดังกลาว ผานการฆาเชื้อดวยระบบ สเตอริไลเซชัน เก็บไดนาน 6 เดือน โดยไมตองแชเย็นคะ
¼ÙŒ¶ÒÁ : ขอบพระคุณอาจารยมาก ๆ ครับ ผมกะวารอใหอาจารย
พั ก เหนื่ อ ยหลั ง เดิ น ทางและคิ ด ว า อาจารย อ าจมี ง านค า งที่ ต อ ง เคลียร ผมเลยรอกอน ไมนึกวาอาจารยจะกรุณาเปนฝายติดตอกลับ มากอน อาจารยอธิบายไดชัดเจนดีมากครับ
การออกแบบขวด PP/tie/EVOH/tie/ PP ที่มีรูปทรงเฉพาะของตนเอง จําเปน ต อ งมี ก ารลงทุ น แม แ บบขวดที่ สู ง มาก จนทําใหผูผลิตเครื่องดื่มรายเล็กอาจจะ ไมสามารถจายได อาจารยขอแนะนําให คุณติดตอคุณอนุชา บริษัท โดโยไซกัน (ประเทศไทย) จํากัด โทร 0-3574-6655 ตอ 1264 บอกเขาวาอาจารยมยุรแี นะนํา มาก็ ไ ด ค ะ บริ ษั ท นี้ ผ ลิ ต ขวดพลาสติ ก หลายชั้นดังกลาว และมีแมแบบที่เปน Common Mould ดังรูป เพือ่ ใหผปู ระกอบ การรายเล็ก สามารถซื้อขวดไปใชไดโดย ไมตอ งจายคาแมแบบขวด เขาสามารถให คําแนะนําวิธกี ารบรรจุไดดว ยคะ ปริมาณ ขั้นต่ําในการสั่งซื้อขวด และราคาขวด เทาไร คุยกันเองนะคะ เพราะอาจารยไม ไดมีสวนไดสวนเสียคะ
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
31
Article สุมาลี ทั่งพิทยกุล
การยืดอายุการเก็บปลา และผลิตภัณฑ อาหารทะเล โดยใช ฟิล มที่บริโภคได
ปลาและผลิตภัณฑจากปลาเปนแหลงอาหารหนึง่ ในสีข่ อง อาหารทั้งหมดในโลก ปลาเปนอาหารที่มีคุณภาพ ยอยงาย มีกรดไขมันไมอมิ่ ตัวปริมาณสูง แตปลาเปนอาหารทีเ่ นาเสียงาย มีการเนาเสียจากจุลินทรียถึง 30% ปลาปริมาณ 4-5 ลานตัน มีการเนาเสียทุกปเนือ่ งจากการเก็บทีไ่ มเหมาะสม กระบวนการ เก็บรักษาปลาตัง้ แต การใหความรอน การตากแหง การแชแข็ง การฉายรังสี การเก็บแบบปรับแตงบรรยากาศ (Modied Atmosphere) การเก็บเนือ้ ปลาและผลิตภัณฑปลาพรอมบริโภค (Ready to Eat) โดยใชภาชนะบรรจุและความเย็นจะเก็บรักษา ปลาไมใหเนาเสียเร็วแตระยะเวลาสั้น ในขณะนี้มีแนวโนมของ การใชสารยับยั้งการเจริญเติบโตจากจุลินทรียเพื่อยืดอายุการ เก็บของอาหารใหนานขึ้นโดยเฉพาะปลาและอาหารทะเลโดย ใชสารยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียจากพืชใสในภาชนะ บรรจุหรือเคลือบดวยฟลมที่บริโภคไดกับสารยับยั้งการเจริญ เติบโตจากจุลินทรียสกัดจากสารธรรมชาติตาง ๆ ฟ ล ม ที่ บ ริ โ ภคได แ ละมี ส ารยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตของ จุลินทรียเปนทางเลือกใหมของผูบริโภคที่ตองการอาหารที่มี ความสด คุณภาพดี ไมมสี ารเคมีหรือเรียกวาไบโอฟลม (Biolm) 32
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
ไบโอฟลม เปนสารโพลิเมอรบาง ๆ ขนาดสม่ําเสมอเคลือบที่ ผิวของอาหารเพื่อปองกันไมใหสูญเสียน้ํา ปองกันการเกิด ออกซิเดชั่นของไขมัน ทําใหยืดอายุการเก็บของอาหาร และ คุณภาพของอาหารดีขึ้น
การเคลือบอาหารทะเลด วยไบโอฟิล ม (Edible Film) หรือไบโอโพลิเมอร
การเคลื อ บอาหารทะเลด ว ยไบโอฟ ล ม เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง คุณภาพอาหาร คุณคาทางโภชนาการ เพื่อยืดอายุการเก็บ อาหารทะเลสดแช เ ย็ น หรื อ แช แข็ ง เนื่ อ งจากฟ ล ม จะทํ า ให สูญเสียน้ํานอยลงขณะเก็บ ปองกันการสูญเสียรสชาติและสี เปลี่ยน ลดปริมาณจุลินทรียที่เปนพิษ (Pathogenic Bacteria) สมบั ติ ที่ สํ า คั ญ ของฟ ล ม ที่ บ ริ โ ภคได คื อ การยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติบโตของจุลินทรียและการเกิดออกซิเดชั่น เนื่องจากกลาม เนือ้ ในปลาเกิดออกซิเดชัน่ ไดงา ย การเคลือบทําไดโดย การจุม (Dipping) การทา (Brushing) และการพน (Spraying) อาหาร จะดูดซับสารทีเ่ คลือบเปนชัน้ ทีป่ อ งกันโดยทัว่ ไปความหนานอย กวา 0.3 มิลลิเมตร เพื่อใหสารละลายเปลี่ยนเปนฟลม
การใช สารสกัดจากธรรมชาติในฟิล ม ด วยไบโอฟิล ม
มีการใช Essential Oil เพือ่ ยืดอายุการเก็บของอาหารทะเล เชน ไทมอล (Thymol) คารวาครอล (Carvacrol) น้าํ มันกระเทียม (Garlic Essential Oil) โรสแมรี่ (Rosemary) สารสกัดจากสาหราย สารสกัดจากเมล็ดองุน ฟลมที่ทําจากไคโตซานผสมกับน้ํามัน จากซินนามอน (Cinnamon Essential Oil) มีการวิจัยและพบ วาสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของ จุลนิ ทรีย การใชฟล ม ไบโอโพลิเมอรเจลาติน-ไคโตซาน รวมกับ Clove Oil เปนสารยับยั้งการเจริญเติบโตจากจุลินทรียสามารถ ยืดอายุการเก็บปลาค็อด การใช σ-tocopherol ในฟลม ไคโตซาน ชวยลดการเหม็นหืนได ไบโอฟลมมีหลายชนิด ดังนี้
1. โปรตีน (Protein-based Film)
ในบรรดาฟ ล ม ที่ บ ริ โ ภคได ฟ ล ม ที่ ทํ า จากโปรตี น มี ประสิทธิภาพมากที่สุด แตความเสถียร (Stable) ของโปรตีนกับ น้ํ า ต่ํ า และสมบั ติ เชิ ง กลเมื่ อ ใช เ ป น ภาชนะบรรจุ อ าหารมี ขอจํากัด ฟลมประเภทโปรตีน ไดแก คอลลาเจน เจลาติน เป น ต น ซึ่ ง เป น ฟ ล ม ที่ ส ามารถป อ งกั น ออกซิ เ จนและ คารบอนไดออกไซด ประกอบดวย โปรตีน พลาสติกไซเซอร และสารละลาย (Solvent) 1.1 ฟลมเจลาตินเปนโปรตีนที่ละลายน้ําไดจากการ สกั ด ของหนั ง หรื อ กระดู ก ข อ ดี ข องเจลาติ น คื อ ราคาถู ก สามารถสกัดไดจากสิ่งที่เหลือทิ้งจากโรงงานอาหารทะเล ซึ่ง สมบัติเชิงกลสามารถปรับปรุงใหดีขี้นดวยลิกนิน มีการใชฟลม เจลาติน-ลิกนินพบวาทําใหรสชาติของปลาเทราตดีขึ้น การ ออกซิเดชั่นของไขมันลดลง อายุการเก็บเพิ่มขึ้น มีการใช Essential Oil ชนิดตาง ๆ เพื่อเปนสารยับยั้งการเจริญเติบโต ของแบคทีเรีย 1.2 ฟลมคอลลาเจน ฟลมคอลลาเจนไดจาก หนังปลา กระดูก เกล็ด ใชทาํ เปนฟลม เนือ่ งจากมีสมบัตเิ ฉพาะ ยอยสลาย ไดงาย (High Biodegradability) คอลลาเจนจากปลามีการใช กันอยางแพรหลายในอุตสาหกรรมหนังและอุตสาหกรรมฟลม แตไมทนความรอนเนื่องจากมีกรดอะมิโน
2. ไขมัน (Lipid-based Film)
ฟลมที่ประกอบดวยไขมัน เชน แวกซ (Waxes) กรดไขมัน หรือแอลกอฮอล มีการผลิตฟลมที่ประกอบดวยไขมันจาก Acetylated Glycerides และอนุพันธ ฟลมชนิดนี้สามารถลด การสูญเสียน้าํ ทีผ่ วิ ของอาหารสด แวกซใชควบคุมปริมาณน้าํ ที่ สูญเสียจากผักและผลไมสด ในอุตสาหกรรมอาหารใชแวกซ ปรับปรุงลักษณะผิวของอาหารใหดีขึ้นไมเหนียว เยิ้ม ในบาง ครัง้ มีการใชอมิ ลั ซิไฟเออรในฟลม ไขมันเพือ่ ใหสามารถปองกัน น้ํา และแกสในอาหารทะเล
3. โพลิแซคคาไรด (Polysaccharides-based Film)
โพลิแซคคาไรด เชน แปง เซลลูโลส ไคโตซาน โพลิแซค คาไรดชนิดกัม (Gum) เปนสารไฮโดรคอลลอยดมีน้ําหนัก โมเลกุลสูงและละลายน้าํ จึงไมสามารถปองกันน้าํ ได คารบอกซี เมทิล เซลลูโลส (Carboxy Methyl Cellulose) เปนโพลิแซค คาไรดที่ละลายน้ําได สามารถทําเปนฟลมยอยสลายไดและ ผลิตไดปริมาณมาก ราคาถูก สารโพลิแซคคาไรดที่ใชในอาหาร ทะเล ไดแก เพคติน อนุพันธของเซลลูโลส อาการ อัลจิเนต คารราจีแนน เด็กซแทรน 3.1 ไคโตซาน ไคโตซานเปนสารที่ไมเปนพิษ มาจาก ธรรมชาติ ยอยสลายได ใชในอุตสาหกรรมเคมี ไบโอเทค ยา และเกษตรกรรม ไคโตซานเปนไบโอโพลิเมอรทยี่ อยสลายทาง ชีวภาพและมีความเขากันไดทางชีวภาพดวย (Biocompatibility) เปนโพลิแซคคาไรดที่เปนเสนตรง มีสมบัติในการยับยั้งการ เจริญเติบโตของจุลินทรียขึ้นกับชนิดปริมาณที่เกิดโพลิเมอร ไรเซชั่นและภาวะแวดลอม ไคโตซานเปนฟลมที่บริโภคไดและ สามารถยั บ ยั้ ง การเจริ ญ เติ บ โตของจุ ลิ น ทรี ย ไ ด ดี เช น รา แบคทีเรียชนิดแกรมบวกและลบ ไคโตซานสามารถยืดอายุการ เก็บของอาหารทะเล สามารถปองกันการเกิดออกซิเดชั่นของ ไขมัน การเคลือบปลาแซลมอนแชแข็งดวยไคโตซานจะปองกัน น้าํ หนักปลาไมใหหายไป ทําใหสามารถยืดอายุการเก็บของปลา Atlantic Bonito (Sarda Sarda) ที่ 4°C ไดนาน 15 วัน นอกจากนัน้ มีการใชไคโตซานและ Nanoparticles ไคโตซาน ในการยืดอายุ ปลา 3.2 อัลจิเนต (Alginate) อัลจิเนตสกัดจากสาหรายสี น้ําตาลไดเปนเกลือของอัลจิเนตทําเปนฟลมโซเดียมอัลจิเนต อัลจิเนตเปนไบโอโพลิเมอรทที่ าํ ใหเกิดอีมลั ชัน่ ทนน้าํ สามารถ รักษากลิน่ รส สี และปรับปรุงคุณคาโภชนาการ เชน ใหวติ ามิน และกรดอะมิโน การเคลือบดวยอัลจิเนตสามารถยืดอายุการ เก็บของปลา กุง หอย แชแข็งโดยลดการเกิดออกซิเดชั่น ลด ปริมาณการเกิดสาร Total Volatile Nitrogen การเคลือบฟลม อัลจิเนตจะเพิ่มวิตามินซี และ Tea Polyphenol ทําใหยืดอายุ การเก็บ 3.3 คารราจีแนน (Carrageenan) โพลิแซคคาไรดกัม คาราจิแนนเป น โพลิ เ มอร ก าแลคโตส สามารถสกัด ได จ าก สาหราย สีแดง มีงานวิจยั พบวาการนําเนือ้ ปลาจุม สารละลาย คารราจีแนน กอนการแชแข็งเพื่อนําไปเก็บ สามารถปองกัน รสชาติเสียไดถึง 5 เดือน และถาใสสารแอนตี้ออกซิแดนท เชน กรดกั ล ลิ ค กรดแอสคอร บิ ค ในสารละลายคาร ร าจี แ นนจะ ชวยใหผลิตภัณฑอาหารทะเลไมเสื่อมสภาพนาน 7-8 เดือน คอมโพซิตฟลม ชนิดคารราจีแนนมีความยืดหยุน ดีและถามีการ เติม Essential Oil จะทําใหมีสมบัติของแอนตี้ออกซิแดนท ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรียดีเยี่ยม
(อ านต อฉบับหน า)
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
33
ศูนย บ มเพาะ
วิ ส าหกิ จ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
ขอเชิญผู ประกอบการด านอาหาร ผู สนใจ การพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ อาหาร นักออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ และผูส นใจธุรกิจอาหาร เข าร วม การฝ กอบรมเชิงปฏิบัติการ “บรรจุภัณฑ อาหารเพื่อความสําเร็จของธุรกิจ” โดย ไม เสียค าใช จ าย ณ ห องอบรมศูนย บ มเพาะวิสาหกิจ อาคาร 9 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต 29–30 พฤศจิกายน 2560 เวลา 08.30-16.30 น. พบกับ ผูเชี่ยวชาญดานบรรจุภัณฑ จากสมาคมการ บรรจุภัณฑไทย ไดแก ผศ.อรสา จิรภิญโญ และอาจารย มยุรี ภาคลําเจียก มาใหความรูในการพัฒนาบรรจุภัณฑ อาหารสําหรับธุรกิจ SMEs OTOP และวิสาหกิจชุมชน พรอมทัง้ นําเครือขายโรงงานผูผ ลิตและจําหนายวัสดุ บรรจุภัณฑอาหาร จากกรุงเทพฯ มาใหขอมูลวัสดุบรรจุ ภัณฑอาหาร โดยมีคณาจารยของสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ ภูเก็ต รวมใหบริการออกแบบบรรจุภัณฑอาหารฟรี ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ Facebook : The Thai Packaging Association
รับจํานวน จํากัด!!!
กําหนดการ
วันพุธที่ 29 พฤศจิกายน 2560 8.00-8.30 น. ลงทะเบียน 8.30-9.00 น. เปดการอบรม และแนะนําวิทยากร สมาชิกสมาคม ที่มาจัดแสดงแนะนําผลิตภัณฑของตน (บริษัทละ 5 นาที ) 9.00-12.00 น. บรรยาย “หลักการพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ ประเภท สมบัติ และการใชงานของบรรจุภัณฑอาหาร” โดย อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ที่ปรึกษาสมาคม การบรรจุภัณฑไทย 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.30 น. บรรยาย “ขอคิดการพัฒนาออกแบบบรรจุภณ ั ฑ เพื่อวิสาหกิจชุมชน” โดย ผศ.อรสา จิรภิญโญ ที่ปรึกษาสมาคม การบรรจุภัณฑไทย วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน 2590 8.30-9.00 น. ลงทะเบียน 9.00-12.00 น. บรรยาย “บรรจุภัณฑมาตรฐานและการใชงาน สําหรับผูประกอบการ SME” (ฝกปฏิบัติ การเลือกใชถุงพลาสติกใหเหมาะกับ อาหารของผูรับการอบรม) โดย อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ที่ปรึกษาสมาคม การบรรจุภัณฑไทย 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.30 น. ทางเลือกบรรจุภัณฑ โดย สมาชิกสมาคมการบรรจุภัณฑไทย และ นักออกแบบ - บริษทั ไทยออฟเซท ผูผ ลิตพลาสติก&ฉลากฟลม หด - บริษัท CGS ผูจําหนายเครื่องพิมพสติ๊กเกอรดวย ดิจิทัล - บริษัท FBS ผูผลิตสติ๊กเกอร - Packaging Design Station โดย นักออกแบบ บรรจุภัณฑที่อยูประจําทองถิ่นในจังหวัดภูเก็ต ไดแก อ.พฤทธิพงศ พุฒขาว และ อ.ฤธรรมรง ปลัดสงคราม จากสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต และ ผศ.พัชรี รัตนพันธุ นักออกแบบ อิสระ 16.00-16.30 น. สรุปผลการอบรม และปดการอบรม *หมายเหตุ : มีบริการอาหารวางเวลา 10.30 น. และ 14.30 น. ของทุกวัน THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
35
INTERVIEW
กองบรรณาธิการ
ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ
วว. กับบทบาทสําคัญ…ในการส งเสริม สนับสนุน สินค าเกษตรแปรรูปของไทยสู ระดับสากล
“ประเทศไทย” มีสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศที่เอื้อตอการ ทําการเกษตรกรรม ในแตละปมีผลผลิตทางการเกษตรออกมาเป อกมาเปน จํานวนมาก ทําใหเกิดภาวะลนตลาด ผลผลิตมีราคาตกตํตํ่า ดังนั้น เพื่อเพิ่มมูลคาและสรางรายไดใหแกเกษตรกร พรอมตอบสนองและ สนองและ สรางทางเลือกใหแกผูบริโภค “สินคาเกษตรแปรรูป” โดยใชภภููมิปญญา ท อ งถิ่ น และเทคโนโลยี ส มั ย ใหม จึ ง มี บ ทบาทสํ า คั ญ ต อ วงการ เกษตรกรรมโดยรวม ทั้งนี้ คนไทยรูจักวิธีแปรรูปสินคาเกษตรมาตั้งแตโบราณ ราณ เมื่อ มีการติดตอคาขายกับนานาประเทศ สินคาเกษตรแปรรูปจึงเปนสินคา สงออกสําคัญ ทีน่ าํ เงินตราตางประเทศเขาประเทศในจํานวนมหาศาล นมหาศาล สงผลใหเกิดการจางงานเปนจํานวนมาก โดยมีการประมาณการว าณการวา ประชากร 2 ใน 3 ของประเทศ ลวนเกี่ยวของกับผลิตภัณฑทาง การเกษตร มีผูประกอบกิจการเกี่ยวกับการแปรรูปสินคาเกษตรหลาย ษตรหลาย แสนราย สวนใหญเปนผูประกอบการขนาดเล็ก ขนาดกลางและ กลางและ ขนาดยอม (SMEs) ซึง่ กระบวนการผลิตจะใชเทคโนโลยีขนั้ พืนฐาน น้ ฐาน และ เลือกใชบรรจุภัณฑที่ยังไมไดมาตรฐาน
ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ ผู ว าการ วว.
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
37
ดวยเหตุผลดังกลาว ทําใหสินคาเกษตรแปรรูปจากผูประกอบการ รายเล็กๆ ไมสามารถแขงขันไดในตลาดทีใ่ หญขนึ้ หากจุดออนเหลานีไ้ ดรบั การพัฒนา โดยใชวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) จะนําไปสู การเพิม่ ยอดการจําหนายสินคาและสามารถขยายฐานการตลาดใหมากขึน้ โดยเฉพาะในกลุมประเทศที่มีกําลังซื้อสูง เชน ยุโรป อเมริกา หรือญี่ปุน เปนตน สมาคมการบรรจุภัณฑไทย ตระหนักและเห็นถึงความสําคัญของ ปญหาผูประกอบการสินคาเกษตรแปรรูป จึงไดรวมมือกับหนวยงาน พันธมิตรตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อใหความชวยเหลือหรือเปนที่ ปรึกษาใหแกผูประกอบการ SMEs หนวยงานหนึ่งซึ่งมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนสงเสริมผูประกอบ การ SMEs มาโดยตลอดและมีผลงานที่เปนรูปธรรม ก็คือ สถาบันวิจัย วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) รัฐวิสาหกิจในสังกัด ของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึ่งมีวิสัยทัศนขององคกรที่มุง เปนองคกรชั้นนําในการบูรณาการ วทน. เพื่อสรางสังคมนวัตกรรมอยาง ยั่งยืน Interview ไดสัมภาษณพิเศษ ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ ผูวาการ วว. ถึงผลงานที่ผานมา และแผนงานในอนาคตที่เกี่ยวของกับสินคาเกษตร แปรรูปของไทยสูระดับสากล วว. กอตั้งมาตั้งแตป พ.ศ. 2506 มีพันธกิจสําคัญ 4 ดาน ดวยกัน คือ 1. วิจัยพัฒนาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสราง มูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑและบริการ ตอบสนองการเพิ่มความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ 2. ใหบริการวิเคราะห ทดสอบ สอบเทียบ ตรวจสอบ รับรองระบบ คุณภาพ อบรม และทีป่ รึกษา เพือ่ ยกระดับความสามารถในการแขงขันของ ภาคอุตสาหกรรม 3. ถายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรม สูอุตสาหกรรมและวิสาหกิจ ชุมชน และผลักดันใหเกิดการนําไปใชประโยชนทงั้ เชิงเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดลอม 4. พั ฒ นาระบบบริ ห ารจั ด การองค ก รอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี ธรรมาภิบาล เพือ่ ใหพนั ธกิจดังกลาวบรรลุเปาหมาย วว. ขับเคลือ่ นองคกรผานการ ดําเนินงานของศูนยเชีย่ วชาญนวัตกรรม ไดแก 1. ศูนยเชีย่ วชาญนวัตกรรม เกษตรสรางสรรค 2. ศูนยเชี่ยวชาญนวัตกรรมอาหารสุขภาพ 3. ศูนย เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑสมุนไพร 4. ศูนยความหลากหลายทาง ชีวภาพ 5. ศูนยเชี่ยวชาญนวัตกรรมพลังงานสะอาดและสิ่งแวดลอม 6. ศูนยเชี่ยวชาญนวัตกรรมวัสดุ 7. ศูนยเชี่ยวชาญนวัตกรรมหุนยนตและ เครื่องจักรอัตโนมัติ และหนวยงานที่ใหบริการ การวิเคราะห ทดสอบ สอบเทียบ รับรอง แกภาคอุตสาหกรรม ไดแก ศูนยทดสอบและมาตรวิทยา ศูนยพัฒนาและวิเคราะหสมบัติของวัสดุ ศูนยการบรรจุหีบหอไทย ศูนย ทดสอบมาตรฐานระบบขนสงทางราง และสํานักรับรองระบบคุณภาพ “...วว. มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในด า นงานวิ จั ย และพั ฒ นา ถ า ยทอด เทคโนโลยี รวมทั้งบริการงานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางครบ วงจร ซึ่งภารกิจเหลานี้กําหนดขึ้นก็เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใหผูประกอบ การไทย งานของ วว. จะเนนใหบริการตัง้ แตฐานราก หรือผลิตภัณฑชมุ ชน ซึง่ เปนผูป ระกอบการกลุม ใหญ แตคณ ุ ภาพของผลิตภัณฑยงั ไมไดมาตรฐาน 38
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
วว. มีบทบาทสําคัญในด านงาน วิจัยและพัฒนา ถ ายทอดเทคโนโลยี รวมทั้งบริการงานด านวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีอย างครบวงจร ซึ่ง ภารกิจเหล านี้กําหนดขึ้นก็เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถให ผู ประกอบการ ไทย
หรือบรรจุภณ ั ฑทใี่ ชยงั ไมดงึ ดูดใจ วว. จึงจะเขาไป ชวยเหลือ โดยสงผูเชี่ยวชาญไปถายทอดความรู และใหคาํ ปรึกษา เปนการทํางานรวมกันอยางใกล ชิดเพื่อทําใหประสบผลสําเร็จ” ดร.ลักษมี กลาว ในการสนับสนุนสงเสริม SMEs นั้น วว. จะชวยเหลือตั้งแตตนนํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า โดยความชวยเหลือใน ระดับตนนํ้า เปนการให คําปรึกษาตัง้ แตการเพาะปลูก การใชปยุ ทีถ่ กู ตอง เหมาะสม กลางนํ้า เปนการเพิ่มมูลคาโดยการ
แปรรู ป ซึ่ง ขั้ น ตอนการแปรรูป ตอ งสะอาดไดคุณ ภาพตาม มาตรฐาน มีรสชาติดี เลือกใชบรรจุภัณฑที่เหมาะสม สวยงาม โดดเดน และสวน ปลายนํา้ จะเปนเรือ่ งการวางเปาหมายกลุม ลูกคา วิธีคิดตนทุนกําไร อยางไรก็ตาม ในบางเรื่องที่ วว.อาจจะไมชํานาญ แต วว. พรอมเปนตัวกลางเชื่อมโยงหนวยงานที่มีความเชี่ยวชาญ เพื่อประโยชนสูงสุดของผูประกอบการ “…ก็ตองยอมรับวามีงานบางอยางที่ วว. ไมชํานาญ แต ยินดีเปนตัวกลางดึงผูเชี่ยวชาญในแตละเรื่องใหมาทํางานรวม กัน เชน ประสานงานใหสถาบันการเงินปลอยกูใหผูประกอบ การ หรือการรวมกับไปรษณียไทยเพื่อจัดสงสินคาใหเร็วขึ้น ในราคาที่ถูกลง รวมทั้งการทํางานรวมกับสถาบันการศึกษา ในพื้นที่ ซึ่งมีความคุนเคย และสามารถทํางานใกลชิดกับ ผูประกอบการมากกวา แตหากมีปญหาตองการคําปรึกษา ทาง วว. ก็ยินดีสงผูเชี่ยวชาญไปชวย…” ผูวาการ วว. กลาว ที่ผานมา วว. ใหการสนับสนุนสงเสริมผูประกอบการ ในดานการพัฒนาผลิตภัณฑเกษตรแปรรูปหลากหลายชนิด ใชหลากหลายวัตถุดิบ ทั้งแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหารและ ที่ไมใชอาหาร และมีหลายผลิตภัณฑที่กําลังไดรับความนิยม อาทิ ผลิตภัณฑขนมขบเคี้ยวแบบแทงเพื่อสุขภาพ “ซี-ไรซ” จากขาวและธัญพืช ผลิตภัณฑเงาะอบแหง ผลิตภัณฑบรรเทา อาการไมเกรนจากสารสกัดเกกฮวย “4GRAINE” และผลิตภัณฑ สครับจากกากกาแฟ ฯลฯ “...มีผลิตภัณฑหลายชิ้น หลังจากทํางานรวมกับ วว. แลว ทําใหผลิตภัณฑประสบผลสําเร็จ สามารถเพิ่มมูลคาสินคาได มากขึ้น มีชองทางการตลาดมากขึ้น ไดรับการตอบรับที่ดี บาง ผลิตภัณฑไดรบั ความสนใจจากลูกคาชาวตางชาติทตี่ อ งการนํา ผลิตภัณฑไปจําหนายยังตางประเทศก็มี…” ดร.ลักษมี กลาว เพิ่มเติม
ความตอเนื่องในการพัฒนา เปนปญหาของผูประกอบ การ SMEs ที่ทําใหการพัฒนาผลิตภัณฑตองชะงัก หรือตอง ยกเลิกการพัฒนาสินคา และอีกประการหนึ่งก็คือ การผลิต ไมทันกับความตองการ “...ปญหาทีพ่ บสวนใหญเกิดจากผูป ระกอบการไมมคี วาม พรอมทั้งเวลา และเงินลงทุน บางรายหลังจากทําไดระยะหนึ่ง ก็จะยกเลิก บางรายมีรายการสัง่ ซือ้ เขามามากจนผลิตไมทนั จึง ต องลงทุ น เพิ่ ม ก็ ไมก ลา ลงทุ น หรือบางรายไปรับคํ า สั่ง ซื้อ จํานวนมากโดยไมไดประเมินกําลังการผลิตของตนเอง เมื่อถึง กําหนดก็ไมสามารถสงมอบสินคาไดตามสัญญา ปญหาเหลา นีท้ าํ ใหธรุ กิจขนาดเล็กขาดโอกาสเติบโตไปอยางนาเสียดาย...” ดร.ลักษมี กลาว ดังที่ไดกลาวแลววา SMEs ในประเทศไทยมีเปนจํานวน มาก แตดวยขอจํากัดในหลายๆ ดาน ทําใหไมสามารถขยาย สูตลาดขนาดใหญได ดังนั้นภาครัฐจึงไดตั้งกําหนดมาตรการ และโครงการตางๆ ออกมาเพื่อใหความชวยเหลือผูประกอบ การกลุมนี้ โครงการคูปองวิทยเพือ่ โอทอป (STI Coupon for OTOP Upgrade) เปนอีกโครงการหนึ่งที่ วว. ไดเปนหนวยงานหลัก ในการดํ า เนิ น งาน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค ข องโครงการเพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาขี ด ความสามารถของผู ป ระกอบการ OTOP วิสาหกิจชุมชน โดยนํา วทน. ไปใชในการวิจยั และพัฒนา นวัตกรรมผลิตภัณฑ พัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ พัฒนา และออกแบบกระบวนการผลิต พัฒนาระบบมาตรฐาน พัฒนา และออกแบบเครื่องจักร พัฒนาคุณภาพวัตถุดิบตนนํ้า กอให เกิดประโยชนตอ ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการคา และบริการ โดยเฉพาะในสาขาที่ตอบสนองตอทิศทางการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
39
กลุมเปาหมายของโครงการประกอบ ดวย 1. กลุม New OTOP (ประชาชนทั่วไป วิสาหกิจชุมชน กลุมเกษตรกร สหกรณที่ยัง ไมขึ้นทะเบียน OTOP) 2. กลุม Existing (กลุ ม ผู ป ระกอบการที่ ไ ด จ ดทะเบี ย นเป น ผูประกอบการ OTOP แลว) และ 3. กลุม Growth (กลุมผูประกอบการที่เปนบริษัท และห า งหุ น ส ว นจํ า กั ด ที่ มี ก ารผลิ ต และ จําหนายผลิตภัณฑชมุ ชน/ผลิตภัณฑทอ งถิน่ /ผลิตภัณฑ OTOP) “...โครงการคู ป องวิ ท ย เ พื่ อ โอทอป ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ช ว ยเหลื อ กลุ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน SMEs ทีต่ อ งการพัฒนาผลิตภัณฑ แตยงั ขาด เงิ น ทุ น ขาดนวั ต กรรม ขาดผู เชี่ ย วชาญ ที่จะเขาไปใหคาํ แนะนํา หากวิสาหกิจชุมชน SMEs รายใดมีคุณสมบัติครบตามที่กําหนด วว. จะเขาไปรวมดําเนินการ นอกจากให คําแนะนําแลว ยังเชื่อมโยงแหลงเงินกูให อีกดวย แตผูประกอบการก็ตองพรอมที่จะ ลงทุนรวมกัน พรอมที่จะเขามามีสวนรวม หากผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ดมี แ นวโน ม ว า สามารถ พัฒนาตอยอดสูตลาดที่ใหญขึ้น วว. มีศนู ย เชี่ยวชาญที่พรอมจะนําเทคโนโลยีใหม ๆ เขาไปชวยพัฒนา ขอเพียงใหผูประกอบการ มี ค วามตั้ ง ใจจริ ง เท า นั้ น ...” ดร.ลั ก ษมี กลาวยํ้า ที่ผานมา ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ ผูวาการ วว. ทุมเททํางานอยางเต็มความรู ความสามารถ เพื่อพัฒนา วว. ใหบรรลุ เปาหมายตามวิสัยทัศนขององคกร คือเปน องคกรชั้นนําในการบูรณาการวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสรางสังคม นวัตกรรมอยางยั่งยืน ซึ่งสิ่งที่ ดร.ลักษมี 40
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
ยํา้ กับผูร ว มงานอยูเ สมอก็คอื หนวยงานแหงนีเ้ ปนองคกรรัฐ ดําเนินงานโดยภาษี ของประเทศ ดังนั้นทุกคนตองทําประโยชนใหแกประเทศชาติและประชาชนให มากที่สุด “...การที่รัฐบาลประกาศนโยบาย Thailand 4.0 ใหพัฒนาประเทศโดยใช วทน. งานวิจัยแตละชิ้นงานจะตองนําไปตอยอดในเชิงพาณิชยเพื่อสรางมูลคา ทางการตลาดได ดังนัน้ กอนจะเริม่ งานวิจยั จะตองศึกษาความตองการของตลาด ศึกษาปญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อใหงานวิจัยนั้นสรางประโยชนใหแกสวนรวมอยาง แทจริง…” ดร.ลักษมี กลาว ในความหลากหลายของศูนยเชีย่ วชาญตาง ๆ ทีเ่ ปนหนวยงานในสังกัด วว. นั้น มีหนวยงานหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาบรรจุภัณฑของ SMEs ใหได มาตรฐาน มีความโดดเดน เหมาะสม สวยงาม มาโดยตลอด คือ ศูนยการ บรรจุหีบหอไทย (ศบท.) ที่ผานมา ศูนยการบรรจุหีบหอไทย กับ สมาคมการ บรรจุภัณฑไทย มีสายสัมพันธที่ดีตอกันมายาวนาน และจะมีกิจกรรมรวมกัน มากขึ้นเพื่อพัฒนาวงการบรรจุภัณฑของไทยให งไทยใหกาวหนา เพิ่มศักยภาพการแขงขันใหกับผูประกอบไทย บไทย ใหเขมแข็งและยั่งยืน
INTERVIEW กองบรรณาธิการ
ISMED…
พัฒนา SMEs ให เข มแข็ง เพื่อประเทศพัฒนาได อย างมั่นคง สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (ISMED) กอตัง้ ขึน้ เมือ่ ป 2542 มีวตั ถุประสงคในระยะสัน้ เพือ่ ชวยกอบกูแ ละเสริมสรางศักยภาพ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ซึ่งถือเปนฐานหรือรากหญาของ ระบบเศรษฐกิจไทย สวนในระยะยาวนั้นก็เพื่อสรางผูประกอบการ SMEs รายใหม ที่ เข ม แข็ ง และเพิ่ ม ความสามารถในการแข ง ขั น ของวิ ส าหกิ จ ที่ ประกอบการอยูแลว เพื่อใหเศรษฐกิจของประเทศฟนตัวอยางยั่งยืน ISMED ดําเนินการในรูปองคกรสาธารณประโยชน (มูลนิธิเพื่อสถาบัน พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม) ปจจุบันมี ธนนนทน พรายจันทร ดํารงตําแหนง ผูอํานวยการ ธนนนทน กลาววา ISMED มีภารกิจสําคัญในหลายดานดวยกัน สถาบัน จะใหการสนับสนุนกิจการของ SMEs รวมไปถึงกิจการขนาดเล็กมากซึ่งเปน กิจการทีต่ อ งการการสนับสนุนทัง้ ทางดานเงินทุนและเทคโนโลยี แตยงั เขาไมถงึ บริการสงเสริมและพัฒนาจากภาครัฐ ซึ่งผูประกอบการกลุมนี้เปนรากฐาน ที่สําคัญตอการพัฒนาประเทศ หากคนกลุมนี้มีความเขมแข็งยอมสงผลให ประเทศไทยกาวไปขางหนาไดอยางมั่นคง “อีกบทบาทหนึ่งที่ ISMED ดําเนินมาตลอดคือสรางเครือขายหรือเปน ตัวกลางเชือ่ มโยงระหวางหนวยงานตาง ๆ ทีอ่ าจจะมีโครงการคลาย ๆ กันมา ทํางานรวมกันเพือ่ ใหการดําเนินการเปนไปอยางราบรืน่ และประสบผลสําเร็จ ดวยดี” การพัฒนา SMES เปนงานที่ตองการการบูรณาจากหลายหนวยงาน ISMED ไดเขาไปทําหนาทีช่ ว ยประสานความรวมมือ รวมทัง้ ชวยดูแลการแกไข ปญหาตางๆ ทําใหเกิดการทํางานรวมกันราบรื่นขึ้น ปญหาถูกแกไขอยาง รวดเร็วและตรงจุด สงผลใหโครงการตาง ๆ ประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย “ISMED ถูกตั้งเพื่อใหทํางานในแนวกวาง ไมไดมุงที่อุตสาหกรรมใด อุตสาหกรรมหนึ่งเปนการเฉพาะ ซึ่งตางจากสถาบันเครือขายอื่นๆ ของ กระทรวงอุตสาหกรรม ทีต่ งั้ ขึน้ ใหมคี วามเชีย่ วชาญเฉพาะในแตละอุตสาหกรรม แตหากมีผูประกอบการมาขอคําปรึกษาในเรื่องใดก็ตาม ISMED ก็สามารถ 42
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
ธนนนทน พรายจันทร
เชื่อมโยงหรือแนะนําหนวยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในดานนั้น ๆ ให แกผูประกอบการได รวมทั้งประสานงานจนผู ประกอบการบรรลุเปาหมายตามตองการ” ป จ จุ บั น มี ห ลายหน ว ยงานที่ ใ ห บ ริ ก าร SMEs แตภาคบริการซึง่ มีผปู ระกอบการรายเล็ก มาก ๆ อยูเ ปนจํานวนมาก ยังขาดหนวยงานทีใ่ ห การดูแลโดยตรง ทัง้ ทีภ่ าคบริการหนวยเล็ก ๆ นี้ เปนหนวยทีก่ ระจายรายไดสกู ลุม รากฐานโดยตรง แตหากไมมีความชวยเหลือ จะมีผูประกอบการ กลุมนี้หายไปจากระบบเศรษฐกิจของประเทศ มากขึ้นเรื่อย ๆ “ภาคบริการขนาดเล็กมาก ๆ เปนรากฐาน ที่สําคัญ แตยังไมมีหนวยงานที่เนนใหบริการใน กลุมนี้ ทาง ISMED จึงใหความสนใจกลุมนี้เปน
อันดับตน ๆ มีกลุม อบต. ในจังหวัดกําแพงเพชรตองการพัฒนา หมูบ า นใหเปนแหลงทองเทีย่ ว ทาง ISMED ก็ใหคาํ ปรึกษาและ เชือ่ มโยงกับกลุม อืน่ ๆ เพือ่ พัฒนาหมูบ า นใหเปนแหลงทองเทีย่ ว แบบครบวงจร และประสบผลสําเร็จเปนอยางดี การพัฒนา เชนนี้ทําใหชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้น เปนการพัฒนาในระดับ ฐานรากอยางแทจริง” ตั ว อย า งหนึ่ ง ที่ ISEMD ได เ ข า ให คํ า ปรึ ก ษาแก ผู ประกอบการดานไอทีคือ การพัฒนาแอพพลิเคชั่น Somporn เปนแอพพลิเคชั่นเกี่ยวกับการบริหารจัดการผลไมของจังหวัด หนึ่ง โดยแอพฯ จะระบุไดวาผลไมมีมากนอยเพียงใด เปนการ เชื่อมโยงระหวางผูพัฒนาแอพฯ กับชาวสวน Godung Clearance ก็เปนอีกแอพพลิเคชัน่ หนึง่ ที่ ISEMD กําลังพัฒนาขึ้นเพื่อเขาไปเปนตัวกลางเชื่อมโยงระหวางผูผลิต กับผูขายคือ การเปนคนกลางระหวางผูผลิตเครื่องใชไฟฟาซึ่ง เปนผูประกอบการขนาดเล็กและมีสินคาในสตอกจํานวนมาก ทัง้ ทีส่ นิ คานัน้ เปนสินคาคุณภาพดีแตเทคโนโลยีอาจไมทนั สมัย กับผูพัฒนาแอพพลิเคชั่นการซื้อขายสินคาคางสตอก ปรากฏ วา ผูป ระกอบการสามารถระบายสินคาคางสตอกไดหมด พอคา ที่รับไปขายตอก็ไดสินคาคุณภาพดีในราคาที่เหมาะสม “กิจกรรมตาง ๆ ที่ ISMED เขาไปรวมดําเนินการนั้น สิ่ง ที่จะไดรับตอบแทนคือ คาบริการซึ่งก็ไมมากนั้น แตสิ่งสําคัญ ทีส่ ดุ คือ ประชาชนไดประโยชน ชุมชนไดประโยชนอยางแทจริง ISMED ไมไดเปนหนวยงานที่ใหสินเชื่อเพื่อไปพัฒนากิจการ แตเราสามารถเปนตัวกลางระหวางผูป ระกอบการขนาดเล็กกับ สถาบันการเงินทีพ่ รอมปลอยกู เมือ่ ผูป ระกอบการมีเงินทุนการ พั ฒ นาก็ ทํ า ได ง า ยขึ้ น เป น การเพิ่ ม โอกาสในการเข า ถึ ง เทคโนโลยี ทําใหพัฒนากระบวนการผลิต การบริหารจัดการ ดานตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลใหกจิ การเติบโต และ มีความมั่นคงอยางยั่งยืน” ในสวนของความเชื่อมโยงกับสมาคมการบรรจุภัณฑไทย นั้น คุณธนนนทน กลาววา กิจกรรมหนึ่งที่ ISMED ดําเนินการ อยางตอเนื่องคือ การฝกอบรมใหแก SMEs ที่ตองการพัฒนา
สินคา ซึ่งสิ่งหนึ่งที่ ISMED ตองการพัฒนาคือ บรรจุภัณฑ ISMED มีแผนกทีใ่ หคาํ ปรึกษาดานบรรจุภณ ั ฑแตจะเปนการให คําปรึกษาเกี่ยวกับการออกแบบฉลาก การเลือกใชบรรจุภัณฑ ทีเ่ หมาะสมกับสินคา หรือเหมาะสมกับเปาหมายทางการตลาด “ISMED จะใหคาํ ปรึกษาเรือ่ งการออกแบบ และการเลือก ใชมากกวาการหาแหลงผลิต เพราะ SMEs จะใชคราวละไมมาก ทําใหโรงงานผลิตบรรจุภณ ั ฑไมรบั จางผลิตจึงตองใชบรรจุภณ ั ฑ ที่มีราคาสูง สงผลใหตนทุนสินคาสูงตามไปดวย” ทาง สมาคมการบรรจุภัณฑไทย เองก็ตระหนักดีถึง ปญหาดังกลาว สมาคมฯ จึงไดรวมกับสมาชิกสมาคมฯ ผลิต บรรจุภัณฑสําเร็จรูปที่มีคุณภาพดี SMEs สามารถซื้อไดใน จํานวนที่ตองการใช และในราคาที่เหมาะสม ซึ่งทาง ISMED จะไดแจงตอผูประกอบการที่ตองการพัฒนาดานบรรจุภัณฑ คุณภาพตอไป นอกจากนั้น สมาคมการบรรจุภัณฑไทยและ ISMED จะ ได ร ว มมื อ กั น ในการแลกเปลี่ ย นความรู แ ละประสบการณ ระหวางกัน โดยทางสมาคมฯ ยินดีสงผูเชี่ยวชาญไปรวมเปน วิทยากรในการอบรมสัมมนาสมาชิก ISMED และทาง ISMED ก็ จ ะมี เ ครื อ ข า ยเกี่ ย วกั บ บรรจุ ภั ณ ฑ ม ากขึ้ น หากมีส มาชิ ก ตองการคําแนะนําเกี่ยวกับบรรจุภัณฑก็สามารถแนะนํามาที่ สมาคมฯ ซึ่ ง มี ค วามเชี่ ย วชาญด า นบรรจุ ภั ณ ฑ โ ดยเฉพาะ เปนการทํางานรวมกันเพื่อผลักดันให SMEs ของไทยเติบโต อยางเขมแข็ง เปนรากฐานสําคัญของการพัฒนาประเทศให แข็งแกรงอยางยั่งยืน สถาบั น พัฒ นาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ ม (ISMED) กอตั้งมากวา 18 ป ถึงแมภารกิจหลักตั้งแตเริ่มกอ ตั้งอาจจะเปลี่ยนแปลงไปบาง แต ISMED ไดชวยเหลือผู ประกอบการ SMEs ใหไดพัฒนาสินคา พัฒนาธุรกิจใหทันกับ ความเปลีย่ นแปลง ชวยหาลูกคาใหแกผปู ระกอบการรายเล็ก ๆ ใหสามารถยืนหยัดไดและเติบโตขึ้น ไมใหหายไปจากระบบ เศรษฐกิจของประเทศ
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
43
IN TREND
สมชนะ กังวารจิตต
PENTAWARDS 2017
วันนี้ ผม สมชนะ กังวารจิตต ตัวแทน สมาคมการ ออกแบบบรรจุภณ ั ฑไทย (ThaiPDA) จะมาเลาเรื่องราวและ เก็บภาพบรรยากาศการไปรับรางวัลการประกวดออกแบบ บรรจุภณ ั ฑระดับโลก PENTAWARDS 2017 ลาสุดทีบ่ ารเซโลนา ประเทศสเปน เมื่อเดือนกันยายนที่ผานมา นานมาแลวครับ ครั้งหนึ่งผมเคยไปสเปนมาแลว ไปใน ฐานะกรรมการชาวไทยในการตัดสินงานบรรจุภัณฑโลก นี่ก็ ผานมารวม 4 ปแลว แตในครั้งนี้ไมเหมือนครั้งที่ผาน ๆ มา อยางสิ้นเชิง เพราะผมสังเกตไดวา ผูสงผลงานในปที่ผมตัดสิน ผมวาเยอะแลวนะครับ มีกวา 1,415 ผลงาน แตในปน้ี แมเจา…!!! มันสูงกวาเดิมเกือบ ๆ 600 ผลงาน คือรวมกวา 2,013 ผลงาน จากทั่วโลก อะไรจะเยอะปานนั้น นับไดวาวงการออกแบบ บรรจุภณ ั ฑคนใหความสนใจกันมากขึน้ หลายเทาตัว จากขอมูล จํานวนประเทศ 3 อันดับแรกที่สงผลงานมานั้น คือ 1. อังกฤษ 2. จีน 3. ญี่ปุน แปลวาอะไรครับ…!!!! THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
45
มันแปลวา แนวโนมการออกแบบนัน้ เคลือ่ นทีจ่ ากชาติยโุ รปและ อเมริกา ไปเปนเอเชียแลว โดยมีพี่ใหญอยางจีนและญี่ปุนขับเคลื่อน อยู มันเปนตัวเลขที่นาสนใจมาก ๆ เพราะถาเอา 10 อันดับแรกของ การสงผลงานมากที่สุดมาเทียบ จะพบวา 3 ประเทศมาจากเอเชีย 1 ประเทศมาจากอเมริกา อีก 1 ประเทศมาจากรัสเซีย ที่เหลือมา จากทวีปยุโรป แสดงวา ทวีปเอเชียเราใหความสําคัญกับเรือ่ งนีม้ ากขึน้ จริงๆ และถาดูตัวเลขรางวัลสูงสุดยอนหลังนั้น จะเห็นถึงความเปน มหาอํานาจของวงการออกแบบบรรจุภณ ั ฑวา ประเทศใด ทวีปใดเปน มหาอํานาจของวงการโลกตัวจริง โดยผมจะเอาตัวเลขประเทศที่ได รางวัล Platinum ซึง่ เปนรางวัลทีส่ ดุ ยอดแทบจะทีส่ ดุ ของการประกวด นี้ เชิญทุกคนมาดูตัวเลขพรอม ๆ กัน ดานแกน X คือชื่อประเทศ ที่เคยไดรางวัล Platinum สวนแกน Y คือจํานวนรางวัลที่ได ลองมา ดูกันครับวา เปนอยางไรกันบาง
46
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
เราจะพบวาทวีปยุโรป โดยเฉพาะประเทศอังกฤษ ถือเปนผูนําตัวจริงของวงการเลยก็วาได เพราะควา รางวัล Platinum มามากมายเหนือประเทศอื่น ๆ ซึ่งมี ทวีปอเมริกาตามมาแบบโดนทิ้งหางพอสมควร สวน ทวีปเอเชียเรานั้น จะสังเกตไดวา มีประเทศญี่ปุนเปน ผูนํา สวนพี่ไทย เกาหลี และจีน ก็ชวย ๆ กันอยู ภาพ ทั้งหมดแสดงถึงกึ๋น วิธีคิด แนวความคิด ลีลา แทคติก ตาง ๆ ที่นําเสนอผานการออกแบบบรรจุภัณฑ จะเห็น วาเอเชียเราก็ไมแพใครเหมือนกัน จากการไปรั บ รางวั ล ครั้ ง นี้ มี ผู เข า งานจากต า ง ประเทศมากมาย ผมไดเพื่อนใหม ไดพูดคุยแลกเปลี่ยน อะไรหลาย ๆ อยาง ทั้งความเปนไทย ประเทศของเรา เปนอยางไร หรือแมกระทัง่ แบรนดตา ง ๆ ในประเทศไทย ที่ผมดูแลอยู ณ เวลานั้น ผมก็ถือวาไดทําหนาที่เปน ทูตสันถวไมตรีอกี ทางหนึง่ ในเนือ้ งานจะเนนการพูดคุย รวมดีใจกับเพื่อน ๆ ในวงการโลก สรางสายสัมพันธ ตาง ๆ หรือสําหรับบางคนที่มาบอย ๆ มาทุก ๆ ป บาง ก็ถือโอกาส Reunion ไปในตัวก็วาได ผลงานที่ผมไปรับรางวัล Silver Awards Winner หมวดหมู Body นัน้ ก็คอื แบรนดไทยของเรานีแ่ หละครับ หนาที่ผมคือ ปนแบรนดไทยดวยดีไซนใหไปอยูในเวที โลก โดยแนวคิดของงานนี้คือ ADDA เปนแบรนดรองเทา Streetwear ที่นําเขา วัตถุดิบชั้นนําจากทั่วทุกมุมโลก มาผสมผสานกรรมวิธี การผลิต เพื่อใหไดรองเทาที่วัยรุนพึงพอใจ Collection Streetwear จึงไดเริม่ ตนพัฒนาขึน้ แตการสือ่ สารกับกลุม วัยรุนยุคใหมที่ไรกรอบและกฎเกณฑนั้นถือเปนเรื่อง ทาทายมาก ถึงมากที่สุด เพราะวิถีชีวิตของวัยรุนใน ปจจุบัน ชอบแหกกฎ กบฏความคิด ชอบอยูในสังคม ของตนเอง พืน้ ทีต่ นเอง ชอบความเท ความดิบ ความคูล
กองบรรณาธิการ
และความแตกตาง เราจึงพยายามผสมผสานเรื่องราวระหวางวัตถุดิบ นําเขาที่มีคุณภาพของทาง ADDA กับไลฟสไตลวัยรุนยุคใหมใหเหมาะสม ที่สุด จึงเกิดกลองรองเทา ADDA CONTAINER SHOE BOX ขึ้นมา ADDA CONTAINER SHOE BOX นีไ้ ดแรงบันดาลใจมาจากภาพการ ลําเลียงจากแหลงวัตถุดิบนําเขาที่มีคุณภาพสงผานตูคอนเทนเนอรไป โรงงานจนกระทั่งไปสูลูกคา โดยออกแบบใชลวดลายของตูคอนเทนเนอร ที่ แข็ ง แกร ง พิ ม พ ล งบนกระดาษลั ง ลู ก ฟู ก ที่ มี ล อน และตี ต รา ADDA โครงสรางกลองรองเทาถูกออกแบบใหเปนกลอง 2 ชั้นแบบดึงเขา-ออกได ยิ่งไปกวานั้นเราคิดใหกลองรองเทาถูกใชเปนชั้นวางรองเทาไดอีกดวย โดยออกแบบใหดา นใตของกลองรองเทานีจ้ ะมีสล็อตล็อก 4 ดาน เพือ่ การ วางซอนกันอยางเปนระบบ และสามารถเปนชัน้ วางรองเทาอยางสวยงาม และสุดคูล อีกทัง้ ยังสามารถนําไปจัดวางเปนดิสเพลยใน Retail Space หรือ แมกระทัง่ ทําเปน Window Display ไดอกี ดวย ยิง่ ไปกวานัน้ ยังชวยสงเสริม การขายสินคามากขึ้นดวย เนื่องจากลูกคาตองการนํากลองไปตกแตงหอง ของตนเอง จําเปนตองเลือกซื้อมากกวา 1 กลอง ทําใหบรรจุภัณฑไมได เปนแคบรรจุภัณฑอีกตอไป มันยังเปนสวนเติมเต็มในการตกแตงหองหรือ รานคาอีกดวย งาน ADDA นีไ้ ดรบั การคัดเลือกไปโชวในงาน Packaging Innovation ทีอ่ งั กฤษ สวีเดน และเบลเยีย่ ม และยังไดรบั การตอบรับดีมาก ๆ จากผูม า ชมงาน THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
47
สรุปการไปครั้งนี้เสมือนไดอัพเดตวงการการออกแบบ บรรจุภัณฑวา โลกปจจุบันแทบทุกประเทศใหความสําคัญกับ เรื่องนี้จริง ๆ รับรองไดวา ทานผูประกอบการที่อยูในวงการ บรรจุภัณฑไมวาจะเปน ผูผลิต นักออกแบบ หรือแมกระทั่งที่ ปรึกษาเองก็ดี แนวโนมบรรจุภัณฑจะเติบโตไปอีกยาวไกล แนนอนครับ
48
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
NEWS
มร.เบิ ร ท ยาน โพสท กรรมการผู จัดการคนใหม ของ เต็ดตรา แพ ค (ประเทศไทย) บริษัท เต็ดตรา แพค (ประเทศไทย) จํากัด ประกาศแตงตั้ง มร.เบิรท ยาน โพสท ดํารงตําแหนง กรรมการผูจัดการคนใหมของบริษัทฯ เพื่อสืบทอดงาน ต อ จาก มร.เฮนริ ค เฮาการ ด โดย มร.เบิ ร ท ยาน โพสท มี ป ระสบการณ ใ นการทํ า งานร ว มกั บ เต็ดตรา แพค มานานกวา 26 ป ในฐานะกรรมการผูจัดการคนใหม มร.เบิรท ยาน โพสท จะรั บ ผิ ด ชอบการดํ า เนิ น งานทางธุ ร กิ จ ของ เต็ดตรา แพค ทั้งในประเทศไทย เมียนมา กัมพูชา และ ลาว “ประเทศไทยถือเปนตลาดสําคัญแหงหนึ่งของ เต็ดตรา แพค ในภูมิภาคเอเชียที่มีศักยภาพการเติบโต อันแข็งแกรง ผมรูสึกเปนเกียรติอยางยิ่งในการเขารับ ตําแหนงนี้ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในประเทศทีม่ วี ฒ ั นธรรม อาหารโดงดังระดับโลก ซึ่งเปนสิ่งที่ธุรกิจของเราให ความสําคัญมากที่สุด เต็ดตรา แพค ประเทศไทย ใน ฐานะผูน าํ ดานกระบวนการผลิตและบรรจุอาหารระดับ โลก เราดําเนินงานอยางใกลชดิ กับลูกคา ซัพพลายเออร และพั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ในการนํ า เสนอผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ปลอดภัย เปนนวัตกรรมที่ทันสมัย และเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม” มร.เบิรท ยาน โพสท กลาว “ผมรูสึก ตืน่ เตนทีจ่ ะไดสง มอบความเชีย่ วชาญระดับโลกของเรา ใหกบั ลูกคาชาวไทย และสรางความเติบโตทางธุรกิจของ ลูกคาผานความรวมมือตางๆ รวมกัน” มร.เบิรท ยาน โพสท เปนชาวเนเธอรแลนด เริม่ งานกับเต็ดตรา แพค ในป พ.ศ. 2534 โดยกอนหนา นี้ดํารงตําแหนงรองประธานดานการตลาดและการ จัดการผลิตภัณฑ ของกลุมบริษัทเต็ดตรา แพค ประจํา ภูมิภาคเอเชียใต เอเชียตะวันออก และโอเชียเนีย ซึ่ง ประจําอยูที่ประเทศสิงคโปร และยังเคยดํารงตําแหนง รองประธานด า นบริ หารงานขายของเต็ด ตรา แพค ประเทศจีน และตําแหนงกรรมการผูจ ดั การของเต็ดตรา แพค อินโดนีเซียและเวียดนาม มร.เบิรท ยาน โพสท มีความรูความเชี่ยวชาญอยางลึกซึ้งเกี่ยวกับภูมิภาค เอเชียแปซิฟก จากการทีไ่ ดดาํ รงตําแหนงผูบ ริหารระดับ อาวุโส และใชชีวิตอยูในประเทศสิงคโปร จีน เวียดนาม และอินโดนีเซีย มากอนตั้งแตป พ.ศ. 2542
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
49
FOCUS กองบรรณาธิการ
กับความสําเร็จ
จากงาน PPI 2017
ปวิณ วรพฤกษ จากการเติบโตของระบบการพิมพดจิ ทิ ลั ที่ มี ก ารพั ฒ นาอย า งไม ห ยุ ด ยั้ ง ในแต ล ะป มี ก ารผลิ ต เครื่ อ งพิ ม พ รุ น ใหม ๆ ออกมา หลายรุน ซึ่งลวนพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนอง ความตองการของลูกคานั่นเอง ในงาน PPI 2017 ที่ผานมา เอชพีไดนํา โซลูชั่น และนวัตกรรมของเอชพี มาจัดแสดง พรอมทั้งแนะนําเครื่องพิมพใหมในกลุม HP Indigo Digital Press และ HP Latex ดวย โดยในงานนี้ เอชพี ไดประกาศติดตั้ง เครื่อง HP Indigo Digital Press 20000 ให แก บริษัท ไทยนํา โพลีแพค จํากัด และบริษัท ทีพีบีไอ จํากัด (มหาชน) ซึ่งถือเปนครั้งแรกใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต นอกจากนั้น ระบบ การพิมพของเอชพี ยังไดรับการตอบรับที่ดี จากลูกคาในตลาดบรรจุภัณฑอีกดวย โดย บริษัท ไอ.เจ.สยาม จํากัด ไดสั่งติดตั้ง HP Indigo 12000 และบริษทั ดานสุทธาการพิมพ จํากัด ไดติดตั้งเครื่องพิมพ HP Indigo 5900 50
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
HP Indigo Digital Press 20000 ปวิณ วรพฤกษ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอชพี อิงค (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “การที่ลูกคาในประเทศไทยใหการตอบรับผลิตภัณฑของเอชพีเชนนี้ แสดงใหเห็นถึงสัญญาณของการเปลี่ยนผานสูยุคการพิมพแบบดิจิตอลแบบเต็ม รูปแบบในตลาด Fiexible Packaging ที่กําลังเติบโตมากขึ้นเรื่อย ๆ” ในส ว นของ HP Latex ซึ่ ง เป น เครื่ อ งพิ ม พ ที่ เ หมาะสํ า หรั บ งานป า ย ประชาสัมพันธ ดิสเพลย และสิง่ ตกแตง ไดรบั ความสนใจจากลูกคาอยางมากมาย โดย บริษัท เซเบอร บัน ไดสั่งซื้อเครื่อง HP Latex WS3600 และ บริษัท แดง สติกเกอร ก็ไดจัดซื้อเครื่องรุน HP Latex 330 ไปใชเพื่อใหบริการแกลูกคาดวย “นวัตกรรมที่เราคิดคนตอบโจทยเอื้อใหความคิดสรางสรรคที่นาทึ่งและ ไมซา้ํ แบบใครเปนจริงขึน้ มาได เทคโนโลยีการพิมพขนาดใหญของเอชพีจะสราง จุดเปลี่ยนในอุตสาหกรรม ทําใหผูใหบริการดานการพิมพสรางความแตกตางที่ ลูกคาทึ่งและประทับใจในที่สุด” ปวิณ กลาวเพิ่มเติม
ภายในงาน PPI 2017 เอชพีไดนําเสนอเทคโนโลยีรุนใหมที่สุดในอุตสาหกรรม ประกอบไปดวย • HP Indigo WS6800 Digital Press เครื่องพิมพดิจิทัลที่เปนผูนําดานการพิมพฉลากหนาแคบในปริมาณมากรวมถึง แพ็กเกจจิ้ง โดยหลายแบรนดชั้นนําของโลกเลือกใช เพื่อสรางสรรคแคมเปญที่ล้ําสมัยและทรงพลัง • HP Indigo 5900 Digital Press เครื่องพิมพดิจิทัลที่ขยายความสามารถ ของการพิมพลงบนวัสดุพื้นผิวหนาขึ้น โดยใชเทคโนโลยีขั้นสูงตลอดสายการผลิต พรอมหมึกพิมพพิเศษและเทคโนโลยีใหม ๆ ในการลงสีพื้น • HP Latex 315 Print & Cut Solution เครื่องพิมพและตัดดวยระบบการ ทํางานสองโซลูชนั่ เพือ่ งานพิมพทตี่ อ เนือ่ งพรอมตัดชิน้ งานในครัง้ เดียวและสามารถ ลดเวลาการทํางานลงครึ่งหนึ่ง • HP Latex 3600 เครื่องพิมพดิจิทัลสําหรับรองรับการพิมพในปริมาณที่ มากกวาและเพิ่มประสิทธิภาพใหรอบงานในแตละเดือน • HP DesignJet Z5600 และ HP DesignJet D5800 สรางสรรคงานภาพถาย คุณภาพสูง ปาย POP โรลอัพแบนเนอร และปายสัญลักษณในรมสีสันสดใส นอกจากนี้ ภายในบูธของเอชพี ยังไดจัดแสดงเทคโนโลยีใหม ๆ ที่ทําใหผู เขาชมไดสมั ผัสประสบการณสดุ สรางสรรค และไดลองแอพพลิเคชัน่ ใหมๆ ทีเ่ กิดขึน้ ครั้งแรกในประเทศไทย อาทิ - HP Indigo ElectroInk สีสะทอนแสง เหลือง เขียว สม และชมพู ซึ่งหมึก สามารถเรืองแสงไดภายใตแสงยูวี นอกจากนี้ ยังมีการจัดแสดง HP Indigo ElectroInk Premium White ซึง่ เพิง่ เปดตัวใหม สามารถสงมอบงานพิมพทม่ี คี วามทึบตาง ๆ กัน จนถึงระดับมาตรฐานซิลคสกรีนไดภายในการพิมพครั้งเดียว เทคโนโลยี HP Indigo เพิ่มความสามารถใหผูแปรรูปบรรจุภัณฑสามารถสงมอบงานที่ผานมาตรฐานที่ เขมงวดของแบรนดได ดวยผลงานการเทียบสีที่สมบูรณแบบ และความแตกตาง ในการแขงขันที่สําคัญ
HP Latex 3600 - เอชพีสรางแรงบันดาลใจแกผูเขาชมงาน ดวยการจัด แสดงแอพพลิเคชัน่ ทีส่ รางสรรค ซึง่ รวมถึงงานสัง่ ทําตาง ๆ ตัง้ แต ผนังไปจนถึงงานเคลือบกระจกในกลุม ตลาดตกแตงภายในดวย HP Latex อีกทั้งยังเผยใหเห็นรายไดที่เพิ่มขึ้นจากการประยุกต แอพพลิเคชัน่ อันหลากหลายจากงานพิมพแบคลิทบนวัสดุตา งๆ เชน กระดาษ ฟลม โพลีโพรพิลีน และสิ่งทอ สูงานพิมพปาย ประชาสั ม พั น ธ ดิ จิ ทั ล โดยความร ว มมื อ จากแผ น สติ๊ ก เกอร สะทอนแสง 3M - ผูเขาชมบูธจะไดเรียนรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับขั้นตอนทํางาน ของโซลูชั่นตาง ๆ เชน Cloud-based HP PrintOS ในการเพิ่ม ความสามารถในการทําธุรกิจ และ HP SmartStream Mosaic 3.0 หรือเทคโนโลยีขอมูลตัวแปร
- มีการนํางานอินเตอรแอกทีฟ และตัวอยางงานจาก ลูกคาซึ่งเปนแคมเปญตาง ๆ ในประเทศไทยมาจัดแสดงดวย เครื่องพิมพดิจิทัล HP Indigo ไดรับการออกแบบโดยคํานึงถึง สิ่งแวดลอมตลอดทั้งวงจรชีวิตผลิตภัณฑ จึงเปนทางเลือกที่ ตอบโจทยการพิมพดิจิทัลเพื่อสิ่งแวดลอม ลดการสูญเสีย และ การใชพลังงานในการพิมพตอหนา สวนเครื่องพิมพ HP Latex ทุกรุนใชสวนผสมที่เปนน้ํา 100% ลดคารบอนฟุตปรินท และ มีความปลอดภัยสําหรับเด็ก
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
51
FOCUS กองบรรณาธิการ
30 ป P&G ในประเทศไทย “We Grow Together”
“นวัตกรรม” “ความเป นผู นํา” และ “ความเป นพลเมืองที่ดีของสังคม” คือหัวใจหลักในการขับเคลื่อนความสําเร็จ
พรอคเตอร แอนด แกมเบิล หรือ พีแอนดจี เปนบริษัท ผูผลิตสินคาอุปโภคบริโภคขนาดใหญของโลก กอตั้งมาตั้งแต ป ค.ศ. 1837 ดําเนินธุรกิจมาไดอยางยาวนาน 180 ป โดยมี ปรัชญาในการดําเนินธุรกิจทีว่ า “Touching Lives, Improving Life, Now and for Generations to Come” ซึ่งเปนพันธกิจ หนึ่งเดียวกันของคนพีแอนดจีทั่วโลก บริ ษั ท พรอคเตอร แอนด แกมเบิ ล เทรดดิ้ ง (ประเทศไทย) จํากัด หรือ พีแอนดจีประเทศไทย กอตั้งขึ้น ใน พ.ศ. 2530 เมื่อเร็ว ๆ นี้ พีแอนดจีประเทศไทย จึงฉลอง ครบ 30 ปในประเทศไทย โดยไดวางยุทธศาสตรใหประเทศไทย เปนฐานการผลิตเพื่อจําหนายภายในประเทศ และสงออก ผลิตภัณฑความงามที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งในเอเชีย โดยสงออก สินคาภายใต “Made in Thailand” ซึ่งมีมูลคามากกวาหลาย รอยลานเหรียญสหรัฐไปสูประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก โรงงานพีแอนดจีประเทศไทย เปนโรงงานที่มีมาตรฐาน สากลระดั บ โลก (World-Class) ได รั บ การออกแบบเพื่ อ สิง่ แวดลอม หรือ “Smart Eco-Design” เปนฐานการผลิต เพือ่ จํ า หน า ยภายในประเทศและส ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ใ หญ ที่ สุ ด แหงหนึ่งในเอเชีย โรงงานตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยพีแอนดจีประเทศไทยไดลงทุนดาน อุ ป กรณ อั น ทั น สมั ย สํ า หรั บ การผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ ดู แ ลเส น ผม ซึ่งมีคาถึงหลายรอยลานเหรียญสหรัฐ ปรับปรุงกระบวนการ 52
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
ผลิต การบรรจุ ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ เพื่อสงมอบ ผลิตภัณฑที่มีคุณภาพถึงมือผูบริโภคไดอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น เพื่อฉลองการดําเนินงานครบรอบ 30 ปในประเทศไทย พี แ อนด จี ป ระเทศไทย ได กํ า หนดแนวคิ ด “We Grow Together” ชู “นวัตกรรม” “ความเปนผูนํา” และ “ความ เปนพลเมืองที่ดีของสังคม” เปนยุทธศาสตรสําคัญในการ ขับเคลื่อนสูความสําเร็จของธุรกิจ มร.ราฟฟ ฟาร ฮ าโด กรรมการผู จั ด การ พี แ อนด จี ประเทศไทย กลาววา “วาระนีถ้ อื เปนชวงเวลาอันสําคัญทีพ่ วก เราไดรว มฉลองความสําเร็จของการดําเนินธุรกิจและเปาหมาย ในโครงการตาง ๆ ในประเทศไทย โดยมุงหวังที่จะพัฒนาให เปนองคกรที่มีความเปนเลิศ (Be the Best) ทั้งบุคลากร และ แบรนดสินคา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตคนไทยใหดีขึ้น สงตอ รุนสูรุน เพื่อเติบโตเคียงขางไปพรอม ๆ กับสังคมไทย” สําหรับแนวคิด “We Grow Together” ทีเ่ ปนแนวคิดหลัก ของการเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 30 ปการดําเนินการของ พีแอนดจปี ระเทศไทยนัน้ ยึดหลักปรัชญาการดําเนินธุรกิจของ พีแอนดจีที่ตองการเขาถึงและพัฒนาคุณภาพชีวิต และสังคม ทั้งวันนี้ สงตอรุนสูรุน (Touching Lives, Improving Life, Now and for Generations to Come) โดยเนนดานสุขอนามัย ความ เปนอยูท ด่ี ขี น้ึ ทัง้ ดานเศรษฐกิจและสิง่ แวดลอม ผานความรวมมือ กับหนวยงานภายนอกตาง ๆ เพื่อบรรลุเปาหมายการพัฒนา รวมกัน
“We Grow Together” ประกอบดวย “นวัตกรรม” “ความ เปนผูนํา” และ “ความเปนพลเมืองที่ดีของสังคม” ในดาน นวัตกรรม นัน้ พีแอนดจปี ระเทศไทยไดถกู กําหนด เปนฐานการผลิตอันเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมระดับภูมภิ าคเอเชีย เพือ่ จําหนายภายในประเทศและสงออกผลิตภัณฑความงามทีม่ ี กําลังการผลิตทีม่ ากทีส่ ดุ อันดับหนึง่ ในเอเชีย และเปนอันดับสอง ของพีแอนดจที วั่ โลก โดยมีมลู คาสงออกมากกวาหลายรอยลาน เหรียญสหรัฐไปสูประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก และ ในอีกหลายประเทศในตางภูมิภาค สวน ความเปนผูน าํ พีแอนดจเี ปนบริษทั ทีไ่ ดรบั การยอมรับ วามีระบบการพัฒนาบุคลากรภายในองคกรใหเติบโต เพื่อกาว ไปสูการเปนผูบริหารมืออาชีพในระดับสากล ดวยนโยบายดาน Diversity and Inclusions ที่ใหความสําคัญกับความแตกตาง ไมวาจะเปนเพศ เชื้อชาติ ศาสนา และความพรอมดานสถานที่ อุปกรณ และโปรแกรมตาง ๆ เพื่อเอื้อตอการพัฒนาบุคลากร อยางเหมาะสม ความเปนพลเมืองที่ดีของสังคม นั้น ถือเปนอีกหนึ่ง ยุทธศาสตรสาํ คัญในการสรางการเติบโตอยางยัง่ ยืนใหกบั องคกร พนักงานพีแอนดจีทุกคนจะไดรับการปลูกฝงความเปนพลเมือง ที่ดีในสังคม ในทุก ๆ กิจกรรมที่รับผิดชอบ นอกจากการดําเนิน ธุรกิจแลว พีแอนดจีประเทศไทย ไดกอตั้ง มูลนิธิพีแอนดจีประเทศไทยเพื่อ สังคม องคกรไมแสวงผลกําไร ไดถูกกอตั้งขึ้นเพื่อเปนการแสดงเจตนารมณ อยางเปนรูปธรรมของพีแอนดจี ที่ตองการบรรลุเปาหมายดานการพัฒนา คุณภาพชีวิต สุขอนามัย สิ่งแวดลอม โดยรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ ในการ จัดตั้งโครงการดี ๆ มากมาย เชน โครงการน้ําดื่มปลอดภัยพีแอนดจี โครงการ มอบของขวัญเพือ่ การเรียนรู โครงการสตรีไทยใสใจรับผิดชอบ โครงการสนาม เด็กเลนรีไซเคิลจากขวดแชมพูพีแอนดจี เปนตน “เรายังคงมุงมั่นที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยอยางตอเนื่อง โดย ในปนี้จะใหความสําคัญในการสงเสริมศักยภาพสตรี, การพัฒนาธุรกิจ SMEs และการรักษาสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน” มร.ราฟฟ ฟารฮาโด กลาวทิ้งทาย
มร.ราฟฟี่ ฟาร ฮาโด ตลอดระยะเวลา 30 ปในประเทศไทย ผูบริโภคตางคุนเคยผลิตภัณฑ ของพีแอนดจีกันเปนอยางดี บรรจุภัณฑของพีแอนดจีนั้นนอกจากจะสวยงาม โดดเดน จดจํางายแลว พีแอนดจียังใหความสําคัญกับการออกแบบใหสะดวก ตอการใชงาน และใชบรรจุภัณฑทําหนาที่ดานการตลาดไดดวย นอกจากนั้น พีแอนดจี ยังใหความสําคัญกับการเลือกใชวัตถุดิบสําหรับผลิตบรรจุภัณฑ ของสินคาแตละชนิดที่จะแตกตางกันตามความเหมาะสมของสินคา ทําให ปกปองผลิตภัณฑภายในไดเปนอยางดี รวมทั้งคงคุณภาพของสินคาไดอยาง สมบูรณ THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
53
News
Bioplastics Innovation Contest 2017
บริษทั ทอทาล คอรเบีย้ น พีแอลเอ จํากัด จั บ มื อ ศู น ย ค วามเป น เลิ ศ ด า นเทคโนโลยี ปโตรเคมีและวัสดุ ประกาศผลงานนวัตกรรม “Bioplastics Innovation Contest 2017” มุง ยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑพลาสติกชีวภาพ ไทย บริษทั ทอทาล คอรเบีย้ น พีแอลเอ จํากัด ผูนําดานการผลิตโพลีแลคติคแอซิด (Polylactic Acid : PLA) รวมกับ ศูนยความเปนเลิศดาน เทคโนโลยีปโตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) ประกาศผลผูชนะเลิศโครงการผลงานนวัตกรรม “Bioplastics Innovation Contest 2017” หรือ โครงการคนหานวัตกรรมการเพิ่มมูลคา พลาสติกชีวภาพ ภายใตแนวคิดการใชงานใน วิ ถี ชี วิ ต ยุ ค ใหม แ ละสั ง คมยั่ ง ยื น สนั บ สนุ น ให เยาวชนไทยได มี โ อกาสในการใช ค วามคิ ด สร า งสรรค ด า นเทคโนโลยี เ พื่ อ การตลาดและ เสริมสรางจิตสํานึกในดานการรักษาสิ่งแวดลอม และความยั่งยืนดานการใชทรัพยากรธรรมชาติ หวังยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ สงเสริมการ คิดคนนวัตกรรม เพิ่มมูลคาและประยุกตใชงาน พลาสติกชีวภาพหรือไบโอพลาสติกในดานตาง ๆ พร อ มผลั ก ดั น ให ป ระเทศไทยเป น ศู น ย ก ลาง อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพของภูมภิ าคเอเชีย ผลงานนักศึกษาที่ผานการพิจารณาจาก คณะกรรมการผูท รงคุณวุฒเิ ขารอบคัดเลือกรอบ สุดทายจํานวน 5 ทีม คือ 1) ทีม “Go Grow Go Green” จาก Sirindhorn International Institute of Technology มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร นําเสนอผลงาน Green Bagging (Polylactic Acid/Silica Composite Films) 2) ทีม “พฤหัสบดี” 54
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นําเสนอผลงาน Xtra Life by SWU 3) ทีม “อายมา 4 คน” จาก มหาวิทยาลัยศิลปากร นําเสนอผลงานผากันเปอนยอยสลายไดจาก PLA 4) ทีม CushPack จากวิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย นําเสนอผลงาน PLA Composite for Foamed Packaging Cushion Application และ 5) ทีม Splint Printed Finger จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ นําเสนอผลงาน Sense Splint X SWU ซึ่งผลการประกวดปรากฏวา ทีม “อายมา 4 คน” จาก มหาวิทยาลัยศิลปากร ควารางวัลชนะเลิศ จากผลงานผา กันเปอนยอยสลายไดจาก PLA ซึ่งเหมาะสําหรับการใชงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารหรือแปรรูปอาหาร สามารถ ประหยัดคาใชจายไดเปนจํานวนมาก เมื่อเร็วๆ บริษัท ทอทาล คอรเบี้ยน พีแอลเอ จํากัด ไดทําการกอสรางโรงงานผลิต Polylactic Acid (PLA) ซึ่งเปน พลาสติกชีวภาพทีส่ ามารถทดแทนพลาสติกจากน้าํ มันไดอยาง มีประสิทธิภาพที่นิคมอุตสาหกรรม Asia Industrial Estate บานฉาง จังหวัดระยอง โดยเล็งเห็นถึงความพรอมและคุมคา ดานการลงทุนในประเทศไทย โดยมีออยเปนวัตถุดิบหลัก ในการผลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพ
EXCELLENCE IN STRAPPING SOLUTIONS
เครื่องรัดสายรัดพลาสติก คุณภาพ สำหรับ หลากหลาย ผลิตภัณฑ์ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
MOSCA ASIA THAILAND ( สำนักงาน สาขา )
ชั้น 11 อาคาร วาณิช 2, ยูนิต 11-08 1126 / 2 ถนน เพชรบุรีตัดใหม่ ราชเทวี กรุงเทพ ฯ 10400 โทรศัพท์ 02 655 3188 แฟกซ์ 02 655 3181 อีเมล์ thailand@mosca.com
ไทย โฮมเพ็จ http://th-th.mosca.com
SPECIAL
area
ศศิรดา สุทธิลักษณ บริษัท เคิรซ (ประเทศไทย) จํากัด
KURZ สีฟอยล อะไรเป นเทรนด ใหม ของบรรจุภัณฑ พรีเมียม ที่ Luxe Pack Monaco
เป ดตัวเทรนด ใหม
พูดถึงเมืองโมนาโก เมืองทีม่ ปี ระชากรเพียง 38,000 คนน และ 1 ใน 3 ของประชากรเหลานี้เปนมหาเศรษฐี เมืองทีที่ เปนศูนยกลางการแขงรถ Grand Prix และรถ Supercarr ขับอยูดาษดื่นบนทองถนน เมืองที่ราคาอสังหาริมทรัพย สูงถึง 297,000 บาทตอตารางฟุต ดังนั้น จึงไมแปลกเลยทีที่ เมืองนีจ้ ะเหมาะสมทีส่ ดุ ในการจัดงาน Luxe Pack งานของง บรรจุภัณฑพรีเมียม และที่นี่คือ Platform ที่นําเสนอความม คิดสรางสรรคอยางไรขีดจํากัด ทีง่ าน Luxe Pack บูธ KURZ ไดเปนผูน าํ และศูนยกลางง ของดีไซนลา สุดและเทรนดสสี าํ หรับบรรจุภณ ั ฑระดับพรีเมียม โดยการนําเสนอสีฟอยลใหมทแี่ ตกตางไมเหมือนใครสําหรับ การ Hot Stamp เพื่อเพิ่มมูลคาบรรจุภัณฑ ในการพัฒนานวัตกรรมสําหรับสีใหมเหลานี้ ทีมดีไซนน ของ KURZ ไดเริม่ ตนรางจากการวิเคราะหเทรนดลา สุด โดยย การศึกษาเทรนดในแตละปของ KURZ นั้น เราทํางานรวม กับบริษัทเอเจนซี่ชั้นนํา เพื่อคนหาไลฟสไตลที่ทันสมัยและะ บันทึกกระแสตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในปจจุบนั หลังจากเราวิเคราะหห และจําแนกทั้ง 5 เทรนดแลว ดีไซเนอรจึงมีการพัฒนาา สีฟอยลซงึ่ สามารถถายทอดทัศนคติทมี่ ตี อ ชีวติ เขาถึงอารมณ ความรูสึก และสะทอนความคิดรวมสมัย
56
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
หนึ่งในเทรนด เหล านี้คือ “Subresistance” ถูกทําให ชัดเจนโดยการ ก อความไม สงบหรือการก อกบฏ ความเป นป จเจกบุคคล และการฟ น คืนชีพของพวกพัง้ ค และวัฒนธรรมใต ดนิ อารมณ เหล านีถ้ กู ถ ายทอด ด วยสีโทนเข ม เคร งขรึม และพรางตัว
ส วนเทรนด ที่ KURZ เรียกว า “Sub Camu” และ “Golden Punk” คือการทดแทนสีเขียวลายพรางด วยความแวววาว ของโลหะอย างมีระดับ ความลํ้าหน าของสีเขียว-ทองทําให ความแตกต างระหว างความนิ่งที่น าเบื่อและความแวววาว เพียงอย างเดียวมลายหายไป
ครั้งแรกของคอลเลคชั่นบรรจุภัณฑ ไมเพียงเทานั้น ที่งาน Luxe Pack เรายังไดเปดตัว Edition ที่ 3 ของคอลเลคชั่นกลอง “Box in Box” คอลเลคชั่นที่ สรางสรรคนี้ถูกออกแบบบนพื้นฐานของการวิเคราะหเทรนด ในปจจุบนั กลองทัง้ 4 แบบ ทีแ่ ตละแบบซอนอยูใ นกลองแตละ ใบ นําเสนอกระแสที่เปนที่นิยมทั้ง 4 กระแส และในใบสุดทาย ก็มีเซอรไพรสซึ่งเกี่ยวของกับเทรนดที่ 5 กลองตาง ๆ เหลานี้ แสดงตัวอยางของการปม และวิธกี ารเพิม่ มูลคาวาสามารถนําไป ใชกับแตละเทรนดไดอยางไร
อีกเทรนด หนึ่งคือ “The Art of Life” แสดงถึงลักษณะพิเศษของความหลงใหล ในปรากฏการณ ทางธรรมชาติ กล องนี้มี ความโดดเด นเรือ่ งความเหลือบสียามแสง ตกกระทบและสะท อนสีรุ งซึ่งเกิดจากการ ใช ความละเอียดในการป มระดับไมโครและ ดีไซน แบบโฮโลกราฟฟ คก อเกิดลูกเล นเป น เฉดสีต างๆ เมื่อนํามาเล นกับแสงไฟยิ่ง ทําให สัมผัสถึงความมีเสน ห เป นอย างยิ่ง บวกกับเส นสายการป มนูน ป มลึก และป ม เรียบ เปลีย่ นให กล องใบนีเ้ ป นประสบการณ ที่เข าถึงความรู สึกได ดีเลยทีเดียว
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
57
และที่ไดกลาวมาเบื้องตนทั้งหมดนี้ คือสิ่งที่ KURZ ได ทุ ม เทเวลา วิ เ คราะห แ ละสร า งสรรค ใ ห กั บ อุ ต สาหกรรม บรรจุภัณฑพรีเมียม ธุรกิจที่แบรนดดังระดับโลกตางแขงขัน กันทีแ่ พ็กเกจจิง้ ทีท่ นั สมัย หรูหรา และแตกตาง กระแสตอบรับ จากเจาของแบรนดระดับโลกทําใหเรายิ่งมั่นใจวา บรรจุภัณฑ พรีเมียมขายดวยรสนิยม ซื้อดวยอารมณ และบงบอกตัวตน ของแบรนดและลูกคา KURZ จึงเปนที่ยอมรับในระดับโลก ถึงเรื่องนวัตกรรมและการพัฒนาอยางสรางสรรคใหตลาด พรีเมียมทั่วโลก
เทรนด สุดท ายที่เราจะกล าวถึงคือ “I-Skin” กล องที่ ถูกนําเสนอในรูปแบบให เหมือนมีแผ นบาง ๆ ห อหุ ม โครงสร างพื้นผิวไว อย างได สัดส วนและสมบูรณ แบบ ในขณะทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวแบบค อย ๆ ไหลลงเลียนแบบ ธรรมชาติได อย างดี เอฟเฟคนีถ้ กู ทําให ปรากฏชัดเจน ได ดว ยศิลปะของการป ม ระดับไมโครในพืน้ ทีข่ นาดใหญ อยางไมมทต อย างไม มีที่ติ
สําหรับผูป ระกอบการไทยทีไ่ มไดไปงานนีก้ ไ็ มตอ งนอยใจ ไปนะคะ เพราะเคิรซ (ประเทศไทย) มีความยินดีที่จะถายทอด ขอมูลและเทคนิค รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑอยางสรางสรรค และนวัตกรรมตางๆ จากบริษทั แมสลู กู คาในประเทศไทยไมให ขาดตกบกพรองอยางแนนอน สําหรับผูอานทานใด ที่เปน เจาของแบรนด หรือผูผ ลิตบรรจุภณ ั ฑ ตองการขอมูลและสนใจ อยากเห็นกลองจริงของเจา “Box in Box” คอลเลคชั่นลาสุด จากงาน Luxe Pack Monaco สามารถติดตอเราไดเสมอคะ เราหวังวาบทความสงทายปฉบับนี้ จะเปนการเริม่ ตนแนวความ คิดดีๆ และไอเดียใหมๆ ใหกับอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ ของไทยไมมากก็นอยนะคะ แลวพบกันใหมปหนา สวัสดีปใหมผูอานทุกทานคะ
ต องการรับบริการด านข อเสนอแนะ
การใช ฟอยล และเทคโนโลยีอื่น ๆ จากเคิร ซ สามารถติดต อได ที่ บริษัท เคิร ซ (ประเทศไทย) จํากัด 2869-2869/1 ถนนริมทางรถไฟสายปากนํ้า แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. 10110
โทร. 0-2671-7505 แฟกซ 0-2671-7711 อีเมล : sales@kurz.co.th 58
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
SPECIAL
area
บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด ปฏิ เ สธไม ไ ด ว า สิ น ค า จะมี คุ ณ ภาพดี ขนาดไหน การบริการจะยอดเยีย่ มหรือโฆษณา จะจูงใจเพียงใด หากสินคาที่ลูกคากําลังเล็ง บรรจุอยูในแพ็กเกจจิ้งที่มีปญหา ความเชื่อถือ และการซื้อคงไมเกิดขึ้น ซ้ํารายยังจดจําภาพ ลักษณทางดานลบไปอีกนาน โดยเฉพาะใน ป จ จุ บั น เข า สู ยุ ค ที่ ผู ซื้ อ มี ท างเลื อ กมากมาย เอาแคแชมพูสระผม ก็มีใหเลือกหลากหลาย ยี่หอ โอกาสที่ลูกคาจะเปลี่ยนยี่หอนั้นสูงมาก ผูประกอบการขนาดใหญยินยอมเสียคา ใชจา ยจํานวนมากใชในการตรวจสอบบรรจุภณ ั ฑ รูปลักษณ ไมวาจะจางพนักงานหลายรอยคน เพื่ อ ตรวจเช็ ก คุ ณ ภาพ บ า งก็ ห าเครื่ อ งจั ก ร ราคาแพงเพื่อตรวจสอบ ถึงแมเครื่องจักรเหลา นั้ น จะแม น ยํ า และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง เพราะ การใชเทคโนโลยีเฉพาะทาง แตกม็ ขี อ เสียตรงที่ แพง ไมสามารถปรับเปลี่ยนใหใชตรวจสอบ สินคารุนอื่นๆ ได หรือถาไดก็ตองจางวิศวกร เจาของเครื่องจากตางประเทศ สําหรับผูป ระกอบการขนาดรองลงมาอาจ ตองพิจารณาถึงการตรวจเช็กคุณภาพที่ถูกกวา ปรั บ เปลี่ ย นได ง า ยกว า สามารถทํ า ได ด ว ย ตนเอง โดยเฉพาะในยุคพอเพียงแบบนี้ ตอง พิจารณาถึงความคุมคาของการลงทุนมากเปน พิเศษ ในโอกาสนี้ผมขอยกตัวอยางปญหาบรรจุ ภัณฑและวิธีใชเทคโนโลยีที่ไมซับซอนชวยแก ปญหาสินคาไมเต็มจํานวน/พรอง/ขาดหาย
ฉลากไม สวย กล องไม ถูกชนิด
สินค าไม เต็มภาชนะ …อื่นๆ อีกมากมาย
คงไมดีแนหากลูกคาพบวาสินคาที่ซื้อไปแลวมีไมครบ ขาดหายจนสังเกต ได บะหมี่สําเร็จรูปไมมีซองเครื่องปรุง ระดับน้ําผลไมในขวดอยูต่ํา ปญหานี้ นับวามีความสําคัญสูงสุด สรางความไมพอใจ เพราะลูกคาจะเปนผูไ ดรบั ความ เสียหายโดยตรง หากสิ น ค า เป น ของเหลวในขวดใสหรื อ กึ่ ง ใส เราสามารถใช ก ล อ ง อุตสาหกรรมเปนตัวตรวจจับ กลองจะฟองทันทีที่ระดับของสินคาไมไดตาม กําหนด ปริมาณของสินคาประเภทของแหงที่เปนชิ้นภายในถาดหลุม ลักษณะ ของขนมขบเคีย้ วทีน่ ยิ มกัน สามารถเช็กไดจากการวัดระดับของขนมชิน้ บนสุด หากปริม าณที่ บรรจุ ไว ต่ํ า กว า มาตรฐาน เซ็น เซอร วั ด ความสูงสามารถสง สัญญาณเตือนเพื่อใหพนักงานตรวจสอบแกไข ในกรณีทรี่ ปู ทรงมีความซับซอนมากขึน้ กรณีของขาดหาย ไมครบจํานวน ยังสามารถใชกลองอุตสาหกรรมประยุกตเพื่อตรวจสอบได ชิ้นขนมหรืออาหาร สามารถถูกนับเพื่อตรวจเช็กจํานวนจากการใชกลอง เชนเดียวกัน หากขาดไประบบตรวจนับจะสงสัญญาณแจงเตือนทันที ในกรณีน้ี กลองยังสามารถแจงเตือนเมื่อสินคาลมหรือไมอยูในตําแหนงอีกดวย เราสามารถตรวจสอบซองเครื่องปรุงวามีอยูหรือไม โดยการใชกลอง ในกรณีนไี้ มวา ซองเครือ่ งปรุงอยูบ ริเวณใดของตัวสินคาก็สามารถตรวจสอบได ในกรณีของซองเครื่องปรุงแบบอะลูมิเนียมหรือฟอยล เราสามารถ ตรวจเช็กโดยใชเซ็นเซอรพร็อกซิมิตี้ตรวจจับได สินคาที่แตกหักได เชน ขนม คุกกี้ ในกรณีนี้ไมดีแนถาสินคานี้ถูกสงออก ไป กลองสามารถตรวจสอบความสมบูรณได ยาหรือหมากฝรัง่ ซึง่ ปจจุบนั มักอยูใ นบลิสเตอรแพ็กเกจสามารถหาความ สูงเพื่อตรวจสอบจํานวนแพ็กโดยใชเซ็นเซอร สินคาที่อยูในหีบหอแลวยังสามารถตรวจสอบไดจากการใชเซ็นเซอร ประเภทพร็อกซิมติ ไี้ มวา จะเปน คาปาซิทฟี หรืออินดักทีฟใชเช็กประมาณของ สินคาภายในกลองหรือขวดบรรจุที่ทึบมองไมเห็นจากภายนอก จะเห็นวาปญหาหลายแบบ สามารถแกไขดวยการติดตั้งเซ็นเซอรให เหมาะสม เซ็นเซอรเหลานี้ยังสามารถประยุกตใชแมวาปญหาจะไมตรงกับ ตัวอยางดานบนซะทีเดียว
ว ากันด วยรูปลักษณ ภายนอก
รู ป ลั ก ษณ ภ ายนอกนั บ ว า มี ค วาม สําคัญ เพราะเปนสิง่ แรกทีล่ กู คาใชประเมิน คุณ ภาพ และมี สว นในการตั ด สินใจซื้ อ รูปลักษณภายนอกในปจจุบนั มักออกแบบ ให ส ะดุ ด ตา ง า ยต อ การใช ง าน แสดง เอกลั ก ษณ ข องตั ว สิ น ค า เช น แชมพู มี 60
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
หลายสี หลายสูตร หลายกลิ่น การตรวจสอบ รูปลักษณภายนอกดวยเครื่องจักรสําเร็จรูปจึง มั ก มี ร าคาแพงเนื่ อ งจากต อ งรองรั บ ความ หลากหลายของตัวสินคา แตปญหาบางอยาง เราสามารถประยุ กต เ ทคโนโลยีเซ็น เซอรไ ด ไมยาก
ฉลากสินค าที่มองข ามไม ได โดยสวนใหญฉลากหรือ Label ทําหนาที่ 3 อยางครับ คือ มีหนาที่ จําแนกชนิดของสินคาออกจากกัน มี ห น า ที่ ใ ห ข อ มู ล การใช ง านและ คํ า เตื อ น สุ ด ท า ยคื อ ทํ า หน า ที่ ประดับสินคาใหสวยงาม นาซื้อ นาใช เพื่อบรรลุจุดประสงคผูผลิต ควรตองควบคุมคุณภาพตรงนีใ้ หดี อาหารและยา จําเปนตองมีการระบุวันเดือนปการผลิตและวันหมดอายุ ขอมูลที่ขาดหายหรือลบเลือนจะเปนปญหาใหญตอความเชื่อมั่น และผิด ขอบังคับ การตรวจสอบโดยใชกลองอุตสาหกรรม สามารถทําไดตั้งแตการ ตรวจสอบวามีการพิมพหรือไมโดยกลองรุน ประหยัด หรือหากตองการตรวจสอบ ความสมบูรณพรอมอานรหัส ก็สามารถใชกลองอุตสาหกรรมรุนใหญขึ้น การติดฉลากเบีย้ ว เอียง ไมสนิท ปญหาทีม่ กั เกิดขึน้ บอยโดยเฉพาะเมือ่ ใช เครื่องติดสติ๊กเกอรความเร็วสูง ในกรณีนี้กลองอุตสาหกรรมมีความสามารถ ในการตรวจสอบตําแหนงของฉลากโดยเทียบกับขวด บอกเปนความสูงต่าํ ซาย ขวา หรือเอียง รวมทั้งการปดฉลากสลับหนาหลัง
สินคาที่มีโอกาสมีฉลากหรือฝาปดผิดรุน ผิดสี สามารถตรวจเช็กดวยเซ็นเซอรชนิดที่ ตรวจสอบสี ไ ด เช น ไฟเบอร เซ็ น เซอร รุ น ที่ เช็กสี หรือกลองอุตสาหกรรม ในกรณีที่รูปราง มี ค วามซั บ ซ อ น หรื อ มี ข นาดเล็ ก ตํ า แหน ง ไมแนนอน
ฝาขวดที่ปดไวอาจหลุดหลวม จากความ ผิดพลาดของเครือ่ งจักร ไมวา จะเปนฝาเกลียว หรื อ ฝาฟลิ ป หากเป น ฝาเกลี ย วสามารถใช ไฟเบอรเซนเซอรหรือ ดิสเพลสเมนตเซ็นเซอร เพือ่ ตรวจวัดความสูง ตรวจจับฝาทีถ่ กู ขันไมสดุ เกลียว หรือใชกลองอุตสาหกรรมตรวจจับฝา ฟลิปที่ไมสนิท สินคาที่จําเปนตองมีทิศทางในการเรียง ตัวบรรจุ การตรวจสอบทิศทางและตําแหนง ของสินคาสามารถทําไดผา นกลองอุตสาหกรรม รุนประหยัด ซึ่งสามารถตรวจสอบทิศทางและ สัญญาณออกมาเมื่อสินคากลับดานหรือกลับ ทิศ
การติดฉลากแบบรอบขวดหรือภาชนะบรรจุ มักพบปญหาคุณภาพ ตรงขอบฉลากที่ เ หลื่ อ มกั น ซองสามารถเช็ ก ได จ ากเซ็ น เซอร อ ย า งง า ย เชนเดียวกัน สินคาทีม่ กี ารติดสต๊กิ เกอรโปรโมชัน่ สามารถตรวจสอบชนิดของสติก๊ เกอร และตําแหนง เพื่อความถูกตองดวยเซ็นเซอรกลองอุตสาหกรรม นอกจากนีป้ ญ หาของบรรจุภณ ั ฑยงั อาจมีรปู แบบอืน่ ใหพจิ ารณาอีก ทัง้ นี้ การพิจารณาเลือกเทคโนโลยีทถี่ กู ตองเปนชองทางประหยัดคาใชจา ย ประหยัด เวลา ตัวอยางขางบนนาจะทําใหเห็นภาพกวางของการแกไขปญหา ตัวอยาง หรือรายละเอียดอื่นคงจะไดมีการนําเสนอในโอกาสตอไป ศึกษาเพิ่มเติมได ที่ http://www.omron-ap.co.th/packaging/
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
61
NEWS
ศักยภาพแห งเทคโนโลยีที่ทรงพลัง ยกระดับการผลิตงานบรรจุภัณฑ ตอบโจทย ทุกความท าทาย ทั้งวันนี้และอนาคต
ไฮเดลเบิร ก และมาสเตอร เวิร คกรุ ป (MK) ได ร ว มกั น แสดงศั ก ยภาพแห ง
เทคโนโลยี Postpress Packaging ที่ เหนือชัน้ ตอยอดความสําเร็จใหธรุ กิจการ ผลิตงานบรรจุภัณฑ ภายใตธีม Smart Packaging ถือเปนอีกหนึ่งความภาค ภูมิใจในการจัดแสดงที่สุดแหงนวัตกรรม เครื่ อ งจั ก รเพื่ อ งานบรรจุ ภั ณ ฑ ใ นงาน Pack Print International 2017 มหกรรม แสดงสิ น ค า เครื่ อ งจั ก รและเทคโนโลยี สําหรับอุตสาหกรรมการพิมพทใี่ หญทสี่ ดุ ในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งจัดขึ้นที่ไบเทค เมื่อ วันที่ 20-23 กันยายน 2560 ดวยจํานวน ผูเขาชมงานกวา 17,000 คน จาก 50 ประเทศทั่วโลก บูธไฮเดลเบิรก L01 ในฮอลล 101 เปนบูธที่ใหญที่สุดในงานในปนี้ โดยมี พืน้ ทีจ่ ดั แสดง 400 ตารางเมตร โดยไฮเดล เบิรกและ MK ไดยกทัพเครื่องจักร มาจัด แสดงเปนไฮไลทในงานเพื่อรองรับการ ผลิตงานแพ็กเกจจิง้ ระดับสูง ไดแก Easymatrix 106 CS เครื่องปมไดคัตชั้นนํา แบบใหม มาตรฐานสูงระดับโลก ที่มา พร อ มหน ว ยกระทุ ง เศษ มี ร ะบบป อ น กระดาษแบบตอเนื่อง โตะพากระดาษ และระบบปรับตัง้ ลอกดและแปรงกดจาก ศูนยกลาง มีระบบปรับตั้งฉาก ปรับแตง แบบไดคัตและแบบมีดไดอยางรวดเร็ว ใช งานงาย ชวยใหทานอัพเกรดขีดความ สามารถการปมไดคัตงานที่ความเร็วสูง
โดยสามารถปมไดคัตงานไดอยางรวดเร็ว และแมนยํา และมีความเสถียรในทุกชวง ความเร็ ว ได รั บ เครื่ อ งหมายรั บ รอง มาตรฐานการผลิ ต CE (Conformite Europeene) และ GS (German Safety Standard) จากสหภาพยุโรป Promatrix 106 CSB เครื่องปม ไดคัตทีผ่ ลิตงานกลองพับและปม นูนระดับ มืออาชีพ มีหนวยกระทุงเศษและกระทุง งาน ระบบปอนกระดาษแบบตอเนื่อง โตะพากระดาษที่มีสายพานลมดูด และ ระบบปรับตั้งฉาก สามารถปรับแตงแบบ ไดคัตและปรับแรงกดในการตัด ใชงานงาย ผลิตงานไดอยางรวดเร็วถึง 7,500 แผนตอ ชั่วโมง สามารถผลิตงานกระดาษกลอง ลูกฟูกที่ความหนาถึง 4 มม. และรองรับ งานกระดาษขนาดใหญถึง 76x106 ซม. หั ว ใจของการผลิ ต งานคุ ณ ภาพคื อ ความสามารถในการตรวจสอบคุณภาพ ชิ้นงาน เครื่อง Diana Eye 55 สามารถ ตรวจสอบคุณภาพงานไดอยางแมนยํา มี ฟงกชนั ชวยตัง้ งานไดอยางรวดเร็ว สําหรับ ทั้งกระดาษบางและกระดาษหนา โดย สามารถตรวจสอบจุดบกพรองตางๆ ที่ เกิดจากกระบวนการพิมพบนทุกๆ ชิน้ งาน ได อ ย า งละเอี ย ดและแม น ยํ า ทั้ ง งาน หมึกถอน หมึกเปนจํ้า คราบหมึก คราบ รอยเปอ นตางๆ งานเคลือบ ตลอดจนงาน ปม ตัด ปม ฟอยล บารโคดดวยระบบกลอง ตรวจวัดทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงสุด โดยตรวจเช็กที่
ความเร็วสูงสุดถึง 200 เมตรตอนาที Diana Easy 115 เครื่องผลิตกลอง บรรจุภัณฑ มีใหเลือก 2 ขนาด คือ 85 และ 115 ซม. ผลิตกลองแบบปะขาง กลองเกี่ยวกน กลองประเภท 4 และ 6 มุม ใชเวลาเตรียมงานสั้น ผลิตงานดวย ความเร็ ว 350 เมตรต อ นาที รองรั บ กระดาษที่ความหนา 200 ถึง 600 แกรม รวมทัง้ กระดาษลูกฟูก งานพับมีคณ ุ ภาพดี ไมมีรอยแตกที่เสนพับ นอกจากการจั ด แสดงผลิ ต ภั ณ ฑ คุณภาพสูงของ MK ดังกลาว ไฮเดลเบิรก ไดนําเครื่องตัดรุนใหม Polar 115 PF ที่ จะช ว ยเพิ่ ม ผลผลิ ต ในงานตั ด ด ว ย คุณภาพการตัดที่เที่ยงตรงแมนยําสูงสุด อีกดวย การไลฟเดโมสาธิตเครื่องรุนตาง ๆ ในงาน ได ส ร า งความมั่ น ใจและความ ประทับใจใหกับทานผูประกอบการถึง ประสิทฺธิภาพการผลิต คุณภาพงานที่จะ สรางมูลคาและคุณคาเพิ่มใหแกสินคา ด ว ยยอดการสั่ ง ซื้ อ เครื่ อ งจั ก รทุ ก รุ น ภายในงานจํานวนมาก เปนการตอกยํ้า และเป น สิ่ ง พิ สู จ น ถึ ง ความมั่ น ใจใน ศั ก ยภาพของนวั ต กรรมที่ จ ะสร า ง ประโยชนสูงสุดพรอมผลประกอบการที่ งดงาม ความคุมทุน และการกาวเขาสู เสนทางแหงความสําเร็จไดในเวลาอัน รวดเร็ว THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
63
NEWS
บริษัทชั้นนําของไทย ในงาน PPI 2017
งาน แพ็ค พริ้นท อินเตอรเนชั่นแนล 2017 ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 20-23 กันยายนที่ผานมา ก็ไดจบลงแลวอยางสมบูรณ งานในปนี้มีบริษัททั้งในประเทศและตางประเทศนําเทคโนโลยีและโซลูชั่นมารวมจัดแสดงกวา 300 บริษัท จาก 25 ประเทศ มีผเู ขาชมงานกวา กวา 17,452 คนจาก 59 ประเทศทัว่ โลก เพิม่ ขึน้ จากป 2015 ประมาณ 20% โดยไดรบั ความสนใจเปนอยางมาก จากผูเยี่ยมชมงานที่มาจากตางประเทศ อยาง ประเทศจีน อินเดีย อินโดนีเซีย เมียนมา ไตหวัน และเวียดนาม ทําใหงานครั้งนี้ คึกคักเปนอยางมาก ภายในงานมีบริษัทชั้นนําของไทยไดมารวมออกบูธเปนจํานวนมาก อาทิ บริษัท แมพิมพ, Sansin, Fuji Xerox, Fujilm, Heidelberg, Ricoh, C.G.S., VT Graphic, Trio Trading, Konica Minolta, K.W.S. Supply, Harn Engineering, Zung, SCG Packaging, Kim Pai, Nationwide TGM, Conimex, Siam Toppan, PMCL, KPN, KURZ, Bobst, Technology 2004, Epson, Thai KK, etc.
ในการนี้ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด ไดนําสื่อสิ่งพิมพของบริษัทไปรวมเผยแพรและจําหนายใหแกผูเขารวมงานดวย พบกับงานแสดงสินคาเพือ่ อุตสาหกรรมการพิมพและการบรรจุภณ ั ฑชนั้ นําไดอกี ครัง้ ใน งาน แพ็ค พริน้ ท อินเตอรเนชัน่ แนล 2019 ซึ่งจะจัดขึ้นภายในเดือนกันยายน 2562 THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
65
NEWS
เมโทรซิสเต็มส ฯ
ได รับแต งตั้งเป นตัวแทนจําหน าย
“HP Jet Fusion 3D Printing” แห งแรกในประเทศไทย
ธงชัย หลํ่าวีระกุล บริษทั เมโทรซิสเต็มสคอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ประกาศ เปดตัวเครื่องพิมพ 3 มิติ “HP Jet Fusion 3D Printing” เครื่องแรก ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่มีเทคโนโลยีสุดลํ้าสูเมืองไทย ในฐานะที่ไดรับการแตงตั้งเปนตัวแทนจําหนายแหงแรกของเอชพี อิ ง ค ในประเทศไทยและเอเชี ย แปซิ ฟ ก ลงทุ น เป ด ศู น ย ส าธิ ต เทคโนโลยีการพิมพ 3 มิติ ใหลกู คาไดสมั ผัสกอนตัดสินใจ เตรียมผนึก พันธมิตรนําเสนอโซลูชันดานการพิมพ 3 มิติ ชวยตอบโจทยความ ตองการของลูกคาในภาคอุตสาหกรรมและสถาบันการศึกษา ธงชัย หลํ่าวีระกุล ผูอํานวยการกลุมธุรกิจดิจิตอลพริ้นติ้ง บริษัท เมโทรซิสเต็มสคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา “เรา เชื่อมั่นวาเทคโนโลยีที่ชาญฉลาด รวมถึงการบริการและการใหการ สนับสนุนจากเอชพี จะชวยยกระดับการทําธุรกิจของเราใหเติบโต และดวยเทคโนโลยีที่เหนือชั้นกวา พรอมดวยบริการสนับสนุนจาก เอชพี ลูกคาของเราจะไดรับประโยชนอยางเต็มที่ดานการบริการทั้ง ความรวดเร็ว ความคุมคา” 66
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
“HP Jet Fusion 3D Printing จะชวยสรางคุณคา เพิ่มใหกับกลุมลูกคาเปาหมายของบริษัทฯ ชวยตอบ โจทยความตองการของกลุมลูกคาในภาคอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษา สามารถรองรับการพัฒนางาน ดานการพิมพตนแบบชิ้นงานแบบ 3 มิติ ชวยตอยอด ธุรกิจการออกแบบในภาคอุตสาหกรรมใหมกี ระบวนการ ผลิตชิ้นงาน 3 มิติที่สมบูรณ” ธงชัย กลาวยํ้า แนวทางการพัฒนาแพลตฟอรมแบบเปดในตัว อุปกรณและซอฟตแวรของเอชพี จะชวยเมโทรซิสเต็มสฯ ในการทํางานรวมกับพันธมิตรดานซอฟตแวร 3 มิติ ในการจัดงาน “HP Jet Fusion 3D Printing - The New Era of Manufacturing and Prototyping” เพื่อแนะนํา โซลูชนั ใหมลา สุดทีจ่ ะมาปฏิวตั ริ ปู แบบใหมของการสราง ตนแบบและผลิตชิ้นงานที่สามารถใชไดจริงเปนครั้งแรก ในประเทศไทย “เมโทรซิ สเต็ ม ส ฯ และ เอชพี มี สั ม พันธภาพ ยาวนานมาตัง้ แตป พ.ศ. 2537 เราเปนคูค า ดานการพิมพ ทีใ่ หญทสี่ ดุ ของเอชพีในประเทศไทย และยังเปนสมาชิก ใน HP Founders Club and Partner Advisory Board ลาสุดบริษทั ฯ เพิง่ จัดงานเปดตัวเครือ่ งพิมพ HP PageWide รุน A3 ในฐานะ Platinum Partner ของเอชพี” เครือ่ งพิมพ HP Jet Fusion 3D 4200 ถูกออกแบบ มาเพื่อรองรับความตองการในการผลิตชิ้นงานตนแบบ และเปนการผลิตที่ใชระยะเวลาสั้นๆ ดวยประสิทธิภาพ ในการผลิตสูง สามารถตอบโจทยความตองการชิ้นงาน สําเร็จภายในวันเดียว และในราคาตอชิ้นงานที่ถูกที่สุด
NEWS
Fujifilm
Acuity EY UV Inkjet
1
2
งาน Pack Print International 2017 ที่ ผ า นมา ซึ่ ง เป น งานแสดง เทคโนโลยีดานการบรรจุภัณฑและการ พิมพทสี่ าคัญทีส่ ดุ ในภูมภิ าคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต “ฟูจิฟลม” ไดนําเสนอ เครื่องพิมพอิงคเจ็ท ตระกูล Acuity รุน EY ที่เปน Flatbed UV Inkjet ซึ่ง สามารถพิมพบนวัสดุแบบแผนที่มีความ หนาไดถึง 4.8 เซนติเมตร เชน พิมพบน ไม บานซิงค และเคสมือถือ นอกจากนี้ ยังมี Roll-to-Roll Option ทําใหพิมพงาน บนวัสดุที่เปนมวนได หมึกของเครื่องรุนนี้มี 5 สี C, M, Y, K และสีขาว ทําใหสามารถเพิม่ ลูกเลนใน งานพิมพ เชน การพิมพบนวัสดุใส แผน อะคริลิค หรือกระจก ที่ทําใหภาพอาน ออกและมองไดทั้งสองดาน อีกทั้งยัง ทําการพิมพพื้นนูน Texture เพื่อเพิ่ม มู ล ค า ให สิ่ ง พิ ม พ เช น อั ก ษรเบรลล สํ า หรั บผู พิ ก ารทางสายตา หรื อสร า ง
Texture ลายหนัง ลายไม ลายหิน และ ลายรองเทา ขึ้นบนงานพิมพที่สราง ความแตกต า งอย า งโดดเด น (ภาพ ประกอบที่ 1) ไฮไลทของเครื่อง Acuity รุน EY นี้ นอกจากมีหมึกสําหรับงานทั่วไป คือ หมึกรุน EY แลว ยังมีหมึกสําหรับงาน ขึน้ รูปพลาสติก Thermoforming ทีพ่ มิ พ บนวัสดุ PET, PP หรือ Acrylic หมึกพิมพรนุ KV ทีม่ คี วามยืดหยุน และทนความรอนสําหรับเครื่องขึ้นรูป ที่สามารถนําไปสรางสรรคงานโฆษณา โปรโมชั่นและงานตกแตงตาง ๆ เชน เครื่องกดขายสินคาอัตโนมัติ ปายไฟ โฆษณา โคมไฟ กระเปาเอกสาร (ภาพ ประกอบที่ 2 ) ทําใหเครื่องพิมพรุนนี้มี ความแตกตางและทํางานไดหลากหลาย มากกวาเครื่องพิมพ Flatbed ทั่วไป เพื่อเพิ่มศักยภาพและผลกําไรใหกับ ธุรกิจของคุณ THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
67
NEWS
ทีโอซี ไกลคอล การจัดการโลจิสติกส อย างมีประสิทธิภาพเพื่อลดต นทุน
บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จํากัด หรือ TOCGC เปนบริษทั ทีอ่ ยูภ ายใตโครงสรางองคกรของบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) หรือ PTTGC เปนกลุมที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับ การผลิตผลิตภัณฑเอทิลีนออกไซดบริสุทธิ์ (EOP) ผลิตภัณฑ เอทิลีนไกลคอล (EG) และผลิตภัณฑเอทานอลเอมีน (EA) ซึ่ง เป น วั ต ถุ ดิ บ ตั้ ง ต น ของการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ นอุ ต สาหกรรม ตอเนื่อง เชน กลุมผลิตภัณฑเสนใยและสิ่งทอ กลุมผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑขวด PET น้ําดื่มและกลุมเครื่องดื่ม กลุมผลิตภัณฑ แผนฟลมพลาสติก PET และกลุมผลิตภัณฑครัวเรือนและ สุขอนามัย เนื่องจากเปนผูผลิตวัตถุดิบตั้งตน ดังนั้นการจัดการดาน โลจิสติกสจงึ มีความสําคัญเปนอยางมากตอการผลิตของลูกคา ดังนั้นการบริหารจัดการที่ดี และการนําเทคโนโลยีมาใชเปน เครือ่ งมือเพิม่ ขีดความสามารถ และสรางความไดเปรียบในการ แขงขันจึงเปนสิ่งจําเปน ซึ่งการประยุกตใชในการจัดการดาน โลจิสติกสใหสอดคลองและเหมาะสม จะทําใหสามารถลด ตนทุน เพิ่มประสิทธิภาพ และสรางมูลคาเพิ่มใหแกองคกร รวมทั้งสรางความเชื่อมั่นใหแกลูกคาดวย พรศักดิ์ มงคลตรีรัตน กรรมการผูจัดการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จํากัด หรือ TOCGC กลาววา บริษัทฯ ไดนํา SCOR Framework มาใชเปนแนวทางในการกําหนดตัวชี้วัดที่สําคัญ ในการบริหารงานดานโลจิสติกส และสายโซอุปทาน โดย ประยุกตใชตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับบริบทของบริษัทฯ ทั้งดาน ความนาเชือ่ ถือ การตอบสนองความตองการของอุตสาหกรรม ความคลองตัว ตนทุน และประโยชนของลูกคา ทั้งนี้ เพื่อให แผนการดํ า เนิ น งานทางด า นโลจิ ส ติ ก ส แ ละสายโซ อุ ป ทาน 68
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
พรศักดิ์ มงคลตรีรัตน สอดคลองกับแผนกลยุทธทกี่ าํ หนดไว ตลอดจนตัวชีว้ ดั ทีส่ าํ คัญ จะมีการติดตามผลแตละสวนงาน หากผลการดําเนินงานไมเปน ไปตามเปาหมาย “หากไมสามารถแกไขไดดว ยแผนสํารอง (Mitigation Plan) หนวยงานที่รับผิดชอบจะตองเสนอขอปรับแกแผนปฏิบัติการ ไปยังผูท เ่ี กีย่ วของ เพือ่ ทบทวนสถานการณหรือการเปลีย่ นแปลง ที่จะสงผลตอแผนปฏิบัติการและผลการดําเนินงานของบริษัท ตัวอยางกระบวนการการสงมอบที่พัฒนารวมกับผูสงมอบ คือ TOCGC ไดแจงความตองการวัตถุดบิ หลักเอทิลนี ใหกบั PTTGC โดยผานระบบซัพพลายเชนภายใน ที่เรียกวา ADM (Advance Data Management) ในระบบ PICASO ทําใหสามารถลดเวลา ขั้นตอนและเอกสาร สวนในดานการขายมีระบบสารสนเทศ Selling Document Approval (SDA) ในการอนุมัติการขาย ตลอดจนการออกเอกสารทีเ่ กีย่ วของกับการขายเพือ่ ลดขัน้ ตอน และเวลาในการอนุมตั เิ อกสารเชนกัน ซึง่ การนําระบบ SDA มา ใชสามารถลด Customer Lead Time ทั้งการขายในประเทศ และตางประเทศ” พรศักดิ์ กลาวเพิ่มเติม
ที-พลาส 2017 ตอบโจทย อุตสาหกรรม
NEWS
ด วยนวัตกรรมเทคโนโลยีระดับนานาชาติ
T-PLAS 2017
MET INDUSTRY’S MARK IN DELIVERING GLOBAL TECHNOLOGIES งาน ที-พลาส 2017 ไดรบั ผลตอบรับอยางดีเยีย่ มจาก ผูเขาชมงานมากกวา 8,200 ราย จาก 40 ประเทศ ประกอบ ดวยกลุมผูแทนจากประเทศจีน อินเดีย พมา และไทย ถือ เปนการตอกย้าํ การเปนงานแสดงสินคาอุตสาหกรรมพลาสติก และยางที่ ผู เชี่ ย วชาญและผู ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรม พลาสติกและยางในประเทศไทยตองเขาชม โดยในปนี้มีผูเขาชมเพิ่มขึ้น 12% เมื่อเทียบกับป 2015 ซึ่งเกือบ 30% เปนผูเขาชมจากตางประเทศ โดยเฉพาะใน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ภายในงานจัดแสดงสินคาตลอด ระยะเวลา 4 วัน ไดนําเสนอนวัตกรรมและโซลูชั่นจากบริษัท ชั้นนําระดับโลกถึง 181 แหง จาก 18 ประเทศ รวมทั้งการจัด แสดงพาวิเลี่ยนนานาชาติดวย บรรจุภัณฑออนตัวที่ทําจากพลาสติก ถือเปนอีกหนึ่ง ผลิตภัณฑที่ผูเขาชมใหความสนใจสูง โดยเฉพาะอยางยิ่ง เครื่องฉีดพลาสติกขึ้นรูป ซึ่งสําหรับบริษัทผูผลิตที่ไดรับการ ยอมรับทั่วโลกอยาง Engel Austria ที่ครั้งนี้เปนการกลับมา จัดแสดงสินคาเปนครัง้ ทีส่ อง งาน ที-พลาส ถือเปนแพลตฟอรม ที่เหมาะสําหรับการขยายธุรกิจของ Engel Austria ในตลาด เอเชียตะวันออกเฉียงใต เชนเดียวกับบริษัทเวียดนาม อยาง An Phat Yen Bai Mineral and Plastic Joint Stock ที่ไดรับโอกาสในการ ดําเนินธุรกิจและการสอบถามขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑอยาง ตอเนื่อง ความสําเร็จในการสรุปการสั่งซื้อและขยายเครือขายที่ เกิดขึ้นในงาน ที-พลาส 2017 ชวยตอกย้ําวาประเทศไทยเปน ประเทศแหงการขยายกลุมลูกคาและเปดมิติใหมทางธุรกิจใน ภูมิภาคนี้อีกดวย จากความสํ า เร็ จ ในฐานะงานแสดงสิ น ค า ชั้ น นํ า ด า น อุตสาหกรรมพลาสติกและยางในประเทศไทย ที-พลาส จะ กลับมาจัดงานแสดงอีกครั้งระหวางวันที่ 18-21 กันยายน 2562 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค (BITEC)
The high attendance of more than 8,200 targeted visitors from 40 countries including group delegations from China, India, Myanmar and Thailand at T-PLAS 2017 – the international trade fair for the plastics and rubber industries, affirmed its positioning as the industry and Thailand’s mustattend specialist event when it closed its doors last week. This year’s edition saw an increase in visitors of 12% compared to 2015, with close to 30% coming from overseas, mainly from the Southeast Asian region. The 4-day exhibition presented a high-quality showcase of global innovations and solutions from about 181 companies from 18 countries, as well as national pavilion and country group representation from Austria, China, Germany, Malaysia, Singapore, and Taiwan. On the exible plastics packaging front, there was high interest shown towards moulding machinery and for globally recognised manufacturer, Engel Austria, who exhibited for the second time, T-PLAS was the ideal platform for their expansion in the Southeast Asian market. Similarly, for Vietnamese company An Phat Yen Bai Mineral and Plastic Joint Stock Company, who received strong business leads and a steady stream of enquiries, its Deputy General in charge of business. The company’s success in securing orders and potential partners at T-PLAS 2017 avouches Thailand’s draw as the launch bed to expanding their clientele and company’s visibility in the region. Building upon its success as Thailand’s leading exhibition for the plastics and rubber sectors, T-PLAS will return from 18 to 21 September 2019 at the Bangkok International Trade and Exhibition Centre (BITEC). THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
69
HOT
product
DataMan
DataMan
60 Series
50 Series
DataMan 50 Series คื อ เครื่ อ งอ า นรหั ส แบบติ ด ตั้ ง อยูกับที่ของค็อกเน็กซที่มีขนาดเล็กที่สุด วัดขนาดได 23.5x27 x43.5 มม. ตัวเรือนเปนแบบมาตรฐาน IP65 พรอมเลนสปรับได 3 ตําแหนง รวมถึงระบบสองสวางและตัวชีจ้ ดุ แบบหลอดแอลอีดี ที่ ติ ด ตั้ ง ตั้ ง ในตั ว และการสื่ อ สารแบบ USB และ RS-232 อัลกอริทมึ 1DMax ทีไ่ ดรบั การจดสิทธิบตั รพรอมดวยเทคโนโลยี Hotbars® มอบประสิทธิภาพการอานบารโคด 1-D ดวยอัตราการ อานสูงสุด และ IDQuick® ใหสมรรถภาพการอานรหัส 2-D Matrix ที่ขึ้นชื่อวาอานไดยากที่สุด
DataMan 60 Series คือเครื่องอานรหัสแบบติดตั้ง อยูกับที่ขนาดกะทัดรัด มีคุณสมบัติเรื่องระบบสองสวาง และตัวชี้จุดแบบหลอดแอลอีดีที่ติดตั้งในตัวพรอมเลนส ปรับได 3 ตําแหนง และการสือ่ สารแบบ USB และ RS-232 เครื่องอานรหัส DataMan 60 ใหอัตราการอานที่สูงกวา เครื่องเลเซอรสแกนเนอรแบบ Single-line หรือแรสเตอร สแกนเนอร รวมทั้งเครื่องอานรหัสจากภาพอื่น ๆ สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมดูได ที่
www.cognex.com
SERIES 300 Triple Packs Per Cycle เครือ่ งแพ็กสินคาแบบลําเลียงเขาดานขาง เหมาะสําหรับสินคาที่ตองการความเร็วสูง โดยสามารถแพ็กไดครั้งละ 3 แพ็ก ความ สามารถในการทํางานของเครื่องจักรไดถูก ออกแบบมาเพื่อการทํางานที่สะดวกและ รวดเร็ว สินคาจะถูกลําเลียงจากเครือ่ งบรรจุ ผานเขาเครื่องปดฉลาก และลําเลียงเขาสู เครือ่ งแพ็กฟลม หด เครือ่ งจักรจะทําการตัด และหอฟลม หลังจากนั้นสินคาชุดตอมาจะ ดันสินคาชุดแรกเขาตูอบความรอนเพื่อให ฟลมหดตัว และสินคาจะถูกลํ าเลียงออก ทางดานหลังของเครื่อง
สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมสอบถามที่
บริษัท อินสทรูเมนท คอนโทรล จํากัด โทร.0-2887-2760-1 www.aps-packaging.com 70
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
AS-600 Series
เครื่องแพ็กบรรจุภัณฑ แนวตั้งแบบอัตโนมัติ เครือ่ งจักรออกแบบดีไซนพเิ ศษ มีความหลากหลายสามารถบรรจุสนิ คา ประเภทเม็ด เมล็ด เกล็ดผง และของเหลว เชน น้ํามัน ครีม โลชั่น เปนตน โดยระบบการทํางานมีความแมนยําสูง และสามารถบรรจุสินคาที่น้ําหนัก มาก และรูปแบบการซีลสินคาประเภทซองมีลักษณะแบบจับจีบ (Gusset)
Fully Automatic Vertical Packaging System
The machine special design to diverse for differents products as grain, seed or ake and liquid products such as oil, creams, lotions, etc. The system is highly accurate also can packing the heavy products. Which is gusset center sealing type. สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมสอบถามที่
บริษัท เอส.เค.พี. อินเตอร แพค จํากัด โทร.0-2584-7085-7 Line ID : skpinterpack
เครื่องตรวจจับชนิดพิเศษ
FLEXOR
มีจอภาพตรวจจับ ความผิดพลาด
นวัตกรรมใหมในการแกปญหา สําหรับธุรกิจทําฉลากดวยตนเอง • การทํางานของเครื่อง เปนระบบ Servo ทั้งหมด • ความกวางของการใชงานวัตถุดิบ รับไดถึง 440 มม. • จุดการกรอได 1-2 เพลา • เปนเครื่องตรวจจับชนิดพิเศษ • ควบคุมการดูแลรักษาผานทาง อินเทอรเน็ต Web Guide 2 ตัว อยูในจุดเดียวกัน ตรวจจับพิเศษ ดวยกลอง
ระบบการตัดแนวยาวแบบตลับ : มีดกรีดตัด การเฉือนตัด และ การตัดเก็บรายละเอียด
ตัวรับแรงกระดาษเพือ่ ปองกันกระดาษเลอะ จากความผิดพลาด หากเจอปญหาเครื่อง หยุดทํางานทันทีแมวิ่งเต็มกําลัง
สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมสอบสอบที่
บริษัท เทรด ออลลี่ (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2945-8318 www.tradeally.biz THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
71
เครื่องพิมพ
SureColor™ S-Series เครือ่ งพิมพ SureColor™ S-Series รุน ใหมลา สุดของเอปสัน คือ เครื่องพิมพปายโฆษณาและสื่อประชาสัมพันธ Eco-solvent สําหรับ งานภายในและภายนอกอาคารที่มีประสิทธิภาพสูง มีความนาเชื่อถือ และมีคาใชจายต่ํา ดวยเทคโนโลยีการพิมพที่ทันสมัยที่สุดของเอปสัน มาพรอมระบบปองกันวัสดุการพิมพทแี่ มนยํา หัวพิมพ PrecisionCore™ TFP ที่ทรงประสิทธิภาพ และคุณสมบัติตาง ๆ อีกมากมาย • งานพิมพคณ ุ ภาพสูง : เทคโนโลยีหวั พิมพ PrecisionCore™ ที่ ทันสมัย รวมกับหมึกเอปสัน UltraChrome™ GS3 ใหภาพคมชัด สีสัน สดใสในทุกครั้งที่พิมพ • มีความนาเชื่อถือ : ชวยประหยัดเวลาในการพิมพ ดวยระบบ ปอนวัสดุการพิมพทมี่ ปี ระสิทธิภาพ ใหงานพิมพปริมาณมากและมีความ นาเชื่อถือสูง • ออกแบบให ใช ง านง า ย : การจั ด ตํ า แหน ง วั ส ดุ ก ารพิ ม พ อั ต โนมั ติ การทํ า ความสะอาดหั ว พิ ม พ และคุ ณ สมบั ติ ก ารจั ด การ การพิมพระยะไกล ชวยเพิ่มความสะดวกสบายในการใชงาน
SC-S40670
SC-S60670 สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมสอบถามได ที่
บริษัท วี เมานท แอนด ทริม จํากัด โทร.08-1819-2977
กาว
เปอร มา-เฟล็กซ • งานบรรจุภณ ั ฑ (Food & Consumer Packaging and Corrugated) : กาวสําหรับงาน
อุ ต สาหกรรมบรรจุ ภั ณ ฑ มี คุณสมบัตยิ ดึ เกาะไดดี ใชงานได ทั้งเครื่องจักรอัตโนมัติ ลูกกลิ้ง และทามือ โดยแยกประเภทการ ใชงานกาวตามผิวของชิ้นงาน เชน กระดาษกลองแปง กระดาษ เคลือบ OPP UV กระดาษขัดเงา กระดาษคราฟท
SV-101 SV 101
งานปะลิ้นกล อง
• งานกระดาษขึ้ น รู ป ต า ง ๆ (Paper Converting) : กาวสําหรับอุตสาหกรรม
กระดาษ ไดแก งานแกนกระดาษ งานถุง กระดาษ งานประกบกระดาษ เปนตน ใชงาน ไดทั้งเครื่องจักรอัตโนมัติ และทามือ โดย แยกประเภทการใชงานกาวตามลักษณะของ ชิ้นงาน
72
THAI PACKAGING NEWSLETTER
November - December 2017
SV-708
งานกระดาษคราฟท
• งานสมุด หนังสือ (Book Binding) : กาวสําหรับงาน
สมุด หนังสือ งานไสสัน ไสขาง กาวมีความยืดหยุนสูง เหนียว แนน ทนทาน ไมหลุด ใชงาน กับเครื่องจักรไดทุกชนิด
SV-325
งานบรรจุภัณฑ
สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมสอบถามได ที่
บริษัท เปอร มาเฟล็กซ จํากัด โทร.0-2709-3344 Line ID : perma-flex
HTPS 320 Intermittent Offset Printing Machine
HTLP 320-6C • Independent Servo drive system in each printing unit to guarantee Stable register at high printing speed. • Water feeding, ink feeding, register all controled in touch screen, easy to operate. • Unique design, let the water supply system is more stable, more perfect colors. • CCD Camera show every pc at the monitor. • Repeat printing system make you easy printing more colors job. • Apply electronic component from famous internationnal brand to guarantee long term stably running. • The machine problem automatic show at touch screen, easy to maintenance the machine.
บร�ษัท
More Information
Asia Technology Press Co., Ltd. Tel. 0-2917-6048 www.atpmachine.com
หนา
CHAN WANICH SECURITY PRINTING CO., LTD. 4 INTERINK CO., LTD. 3 KURZ (THAILAND) LTD. 9 MOSCA ASIA THAILAND 55 PRINTING & PACKAGING EXPO 2018 62 THAI KK INDUSTRY CO., LTD. 6 เค ดับบลิว เอส ซัพพลาย บจก. 7 โคนิกา มินอลตา บิสสิเนส โซลูชันส (ประเทศไทย) บจก. 13 ซี.เอ.เอส.เปเปอร บจก. 34, 36 ทรีโอ เทรดดิ้ง บจก. 8 ไทยสกรีนสโตร บจก. 7 เนชั่นไวด บจก. ปกหลังดานใน ฟูจิฟลม (ประเทศไทย) บจก. 11
ADVERTISING
index
บร�ษัท แมพิมพ บจก. ริโก (ประเทศไทย) บจก. เวอรทัส บจก. หงีเฮงแชมเปยนกรุป บจก. ออมรอน อีเลคทรอนิคส บจก. อุตสาหกรรมไทยบรรจุภัณฑ บจก. เฮงเคล (ประเทศไทย) บจก.
หนา ปกหนาดานใน 5 44 41 59 55 ปกหลัง
ใบสมัครสมาช�ก
MEMBERSHIP
สมาคมการบรรจ�ภัณฑไทย
Application Form
ชื่อ-นามสกุล (Name) ............................................................................................................................................................................................... บริษัท/หางหุนสวน/หางหุนสวนจํากัด (Company Name) ...................................................................................................................... ที่อยู (Address) ........................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................
โทรศัพท (Tel.) ........................................................................................ โทรสาร (Fax) ..................................................................................... ประเภทกิจการ (Description Business) .......................................................................................................................................................... ตําแหนง (Position) ...................................................................................................................................................................................................
ใบสมัครเปนสมาช�กสมาคมฯ
(Membership Application Form) ขอสมัครเปนสมาช�กสมาคมฯ (Type of Membership) สามัญนิติบุคคล (Ordinary Member) วารสาร (Newsletter Member) ขาพเจาทราบระเบียบของสมาคมฯ และจะปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ ทุกประการ (I have the full knowledge of the association regulations all of which I here by pledge to abide by) ลงชื่อ.................................................................ผูสมัคร (Signature) วันที.่ ................/................../................. (Date)
ลงชื่อ...........................................................ผูรับรอง (..................................................) นายทะเบียนสมาคมการบรรจุภัณฑไทย
หมายเหตุ เอกสารที่ใชในการสมัคร หนังสือรับรองการจดทะเบียนของบริษัท พรอมประทับตราเซ็นรับรองสําเนาถูกตอง • สมาชิกสามัญนิติบุคคล คาลงทะเบียนครั้งเดียว 500 บาท คาบํารุงสมาคมฯ 2,000 บาท/ป • สมาชิกวารสาร คาลงทะเบียนครั้งเดียว 100 บาท คาบํารุงสมาคมฯ 500 บาท/ป การชําระเงินโดย • สั่งจายเปนเช็คครอมในนาม “สมาคมการบรรจุภัณฑไทย” • ฝากเงินเขาบัญชี “สมาคมการบรรจุภัณฑไทย” ธนาคารกสิกรไทย สาขาพระโขนง บัญชีออมทรัพย เลขที่ 010-2-58719-7 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย อาคารสํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเกา) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4
แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th Thai Packaging Association MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Thailand Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th