ThaiPackaging 127 Jan-Feb 2018

Page 1


AD Packaging NO.2017-2018 _09868_15-3-60_G5-4


TECHNOLOGY MEDIA_NO.127_10137_9-1-61_G5-4


สินค้าจาก

ประเทศจีน

โรงงานผลิตเครื่องหลังพิมพ์ DAYUAN (ต้าหยวน) เป็นโรงงานที่ได้มาตราฐาน ISO9001, CE และมีพนักงานกว่า 300 คน

MHC1100/1300/1500/1650 Automated Manual Die Cutting Machine with Stripping Tiptronic Die Cutting Machine with Stripping

เครื่องปั๊ม กึ่งอัตโนมัติและแบบอัตโนมัติ ขนาดตั้งแต่ตัด 2 ขึ้นไปและมีขนาดใหญ่ 1100, 1300, 1500 และ 1600 มิลลิเมตร

SM 1100/1400/1700/1900 Servo Precision Double Helix High Speed Sheet Cutter Machine

ML1800/2000/2200/2500/ 2600/2800/3000 Creasing & Die Cutting Machine

เครื่อง High Speed Sheet Cutter หรือ เครื่องตัดกระดาษจากม้วนเป็นแผ่น มีทั้งขนาด 1100, 1400, 1700 และ 1900 มิลลิเมตร

TECHNOLOGY MEDIA_NO.127_10137_9-1-61_G5-4

AD_CyberSM_G5-4.indd 1

เครื่องปั๊มแบบป้อนมือ (Hand feed Direct Machine) มีขนาดตั้งแต่เล็ก จนถึงขนาด 1800, 2000, 2200, 2500, 2800 และ 3000 มิลลิเมตร (3 เมตร)

9/1/61 14:28


09950-2-5-60 TECHNOLOGY MEDIA No123 AD Ricoh_G5-3.indd 1

2/5/60 14:12


Digital Cutting Creasing Stripping for

mainstream production

ARZIRO Design Solution for Packaging

ProDigi series

Security S ecurity Print Solution Available A Av vailable Size S PProDigi0813 Pro Pr rro roD Di Digi0813 Dig 800x1300 800x mm. ProDigi1613 mm. ProDigi1613 1600x1300 1600x ProDigi2113 2100x1300 mm. 2100x ProDigi2517 2500x1700 mm. 2500x ProDigi3117 3100x1700 mm. 3100x ProDigi3125 3100x2500 mm. 3100x ProDigi5525 5500x2500 mm. 5500x

ÿÎÄ”Ă?ùúĉêþĆèÌŤêĉÊêŠĂ

Ă?ĉøćþøèŤǰÏÄ‚ĂœÄ‘ĂŞÄ˜ÜǰÄ“ÏøýĆóÏŤǰ Ç° Ç°ĂśÄŒÄ‚ĂŤÄŒÄ‚Ç° Ç° ïøĉÞĆÏǰđïĂøŤúÄŠÄ™ǰáÄ?ÙđÖĂøŤǰĂ?ÄˆĂ–Ä†ĂŠÇ° ÜĀćĂ&#x;ĂŽ

ĂćÙćøÄ‘ĂŻÄ‚øŤúÄŠÄ™ǰáÄ?ÙđÖĂøŤǰđú×ÏĊę Ç°Ă Ä‚áøÄŽÄ‘ĂŻÄŠáǰÍÎÎÿÄ?Ă—Ä?ÜßĉÏ ǰóøÄ…Ä“Ă—ĂŽĂœÇ°Ă™ĂşÄ‚ĂœÄ‘êáǰĂ–øÄ?ĂœÄ‘ĂŹĂłÄ„Ç°

XFCTJUFÇ° Ç°XXX CKD DP UI 6 Bjc New.indd 1

18/1/61 15:08



TECHNOLOGY MEDIA_NO.127_10137_9-1-61_G5-4


AD_PROPAK_G5-4.indd 1

TECHNOLOGY MEDIA_NO127_10141_11-1-6_G5-4

11/1/61 13:50


CONTENTS

Vol.28 No.127 January-February 2018

24

64

52

14 TPA Activity

กิจกรรมสมาคมการบรรจุภัณฑไทย

22 ถามจริง-ตอบจัง 24 เลาสูกันฟง : มุมมองที่นาสนใจจากงาน SWOP 2017

52 In Trend

29 งานประชุ ม 67th Board of Administration and nd

56 Special Area

นครเซียงไฮ

42 General Assembly Meetings of Asian Packaging Federation to be held at Colombo, Sri Lanka

32 Article

มารูจักขอกําหนด กฎระเบียบ และมาตรฐานของ บรรจุภัณฑสีเขียว

37 Interview

KBF …We are behind great brands’ success

41 In Trend

Category Code คืออะไร?

47 Focus

สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดลอม (TIPMSE)

50 News

127 Industry Organisations Urge the EU to Safeguard the Internal Market for Packaging and Packaged Goods

10

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

2017 DuPont Awards for Packaging Innovation Winners

เริ่มตนศักราชใหมกับโปรเจกตนํารอง Packaging 4.0

60 Special Area

แนวทางพัฒนาเครื่องบรรจุภัณฑในยุค 4.0

63 News

องคกรวิจัย Smithers Pira เปดเผยวาเครื่องพิมพ ไฮเดลเบิรกมีประสิทธิภาพสูงสุดในอุตสาหกรรม และมีตนทุนการพิมพตอแผนต่ําที่สุด

64 Scoop Special

Heidelberger Packaging Day 2017

69 News

ฟูจิ ซีร็อกซ รุกเปดตัวนวัตกรรมยุคดิจิทัล เครื่องพิมพ อุตสาหกรรม 6 สี แบบ Single-Pass ครั้งแรกในไทย

70 Special Area ฉลากคืออะไร?

72 Hot Product


TECHNOLOGY MEDIA_NO127_10141_11-1-6_G5-4


EDITOR

note

วัตถุประสงคในการจัดทํา

วารสารบรรจุภณ ั ฑไทย จัดทําขึน้ โดยสมาคมการบรรจุภณ ั ฑไทย เพือ่ เผยแพร สาระความรูเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ และนําเสนอความเคลื่อนไหวของกิจกรรม ดานบรรจุภณ ั ฑใหแกสมาชิกและบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ บทความทีต่ พี มิ พในวารสาร บรรจุภัณฑไทยเปนสวนหนึ่งของการเผยแพรขอมูลขาวสาร และเอกสารทาง วิชาการ สมาคมฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป

Purpose

Published by the Thai Packaging Association. Thai Packaging Newsletter provides news, information and know-how as well as activity related to packaging industry in Thailand to all members of the Thai Packaging Association and the general public. Articles published in Thai Packaging Newsletter do not represent the official views of the Thai Packaging Association.

คณะกรรมการบริหารสมาคมการบรรจุภัณฑไทย สวัสดีปใหม 2561... TPA Packaging Newsletter ฉบับนี้มีเนื้อหามากมายใหเลาสู กันฟง ดร.ยุวดี เที่ยงทางธรรม ไดมาเลาเรื่อง มุมมองที่นาสนใจ จากงาน SWOP 2017 นครเซียงไฮ ปนม้ี บี รรจุภณ ั ฑทน่ี า สนใจทีเดียว สวน คุณวรรณา สุทัศน ณ อยุธยา ก็ไดรวบรวมบรรยากาศงาน ประชุม 67th Board of Administration and 42nd General Assembly Meetings of Asian Packaging Federation to be Held at Colombo, Sri Lanka มาแบงปน รวมทั้งผลการประกวด AsiaStar 2017 ซึ่งจัด ขึ้นในงานเดียวกันดวย Interview ฉบับนีจ้ ะไดรว มพูดคุยกับ คุณดนุสรณ เตชะพานิชกุล Development Manager บริษัท เคบีเอฟ อินเตอรแพ็ค จํากัด ผูจัด จําหนาย ที่ปรึกษา และออกแบบบรรจุภัณฑรายใหญ สวน คุณ สมชนะ กังวารจิตต เขียนเรื่อง Category Code คืออะไร? เปนการ แนะนําผูป ระกอบการวาทําอยางไรใหสนิ คาของตนเองโดดเดนนัน่ เอง ปลายปที่ผานมา Heidelberger Druckmaschinen AG เจา ของผลิตภัณฑยี่หอ Heidelberg ไดจัด Press Tour ไปรวมงาน Heidelberger Packaging Day 2017 ที่ประเทศเยอรมนี การ เดินทางครั้งนี้มีเรื่องนาสนใจมากมาย ติดตามกันไดในฉบับนี้และ ตอเนื่องไดในฉบับหนา Happy New Year 2018... In this edition of TPA Packaging Newsletter, there are many interesting contents to present to you. Dr.Yuwadee Thiangtangtum talked about interesting views from SWOP 2017 at Shanghai City, wherein there were many interesting packaging being presented. Khun Varna Sudasna also had gathered information to tell us about the atmosphere of the 67th Board of Administration and 42nd General Assembly Meetings of Asian Packaging Federation being held at Colombo, Sri Lanka, including the outcome of the AsiaStar 2017 competition which was also held at this same event. The Interview of this edition was made with Khun Danusorn Techapanichagul, Development Manager of KBF Interpack Co., Ltd., the big distributor, adviser and packaging designer. Besides, Khun Somchana Kangwarnjit also wrote about What is Category Code, which is to introduce to entrepreneur on how to make your own products outstanding. At the end of last year, Heidelberger Druckmanschinen AG, the owner of Heidelberg products had organized a Press Tour to join the Heidelberger Packaging Day 2017 at Germany. This trip has many interesting stories to follow-up being presented in this edition as well as for the continuation in the next edition.

12

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

1. คุณนภดล ไกรฤกษ 2. คุณสมบูรณ เตชะพานิชกุล 3. คุณมนตรี มหาพฤกษพงศ 4. คุณประสิทธิ์ คลองงูเหลือม

5. คุณวรรณา สุทัศน ณ อยุธยา 6. คุณรัชนี ชัยชาติ 7. คุณพรรษชล ลิมธงชัย 8. คุณกมลา เลาหศักดิ์เสนา 9. คุณศุภชัย ธีราวิทยางกูร 10. คุณอุมา อัจจิมารังษี 11. คุณสุเมธ วลัยเสถียร 12. คุณเอกรินทร จิระกรานนท 13. คุณยุวดี เที่ยงทางธรรม 14. คุณจิตรา บุญสม 15. คุณเจริญสุข ภาวศิริพงษ 16. คุณไพโรจน มีทวี

นายกสมาคมการบรรจุภัณฑไทย อุปนายกบริหาร และนายทะเบียน อุปนายกโครงการ อุปนายกประสานองคกร และ ประชาสัมพันธ อุปนายกวิชาการ เลขาธิการ ผูชวยเลขาธิการ และกรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภัณฑพลาสติก เหรัญญิก กรรมการวิชาการ ฝายเทคนิคการพิมพ กรรมการวิชาการ ฝายธุรกิจออกแบบ กรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภัณฑแกว กรรมการวิชาการ ฝายวัสดุการพิมพ กรรมการวิชาการ ฝายคุณภาพการพิมพ กรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภณ ั ฑโลหะ กรรมการวิชาการ ฝายผูใชบรรจุภัณฑ ผูอํานวยการสมาคมฯ

The Board of the Thai Packaging Association

1. Mr.Noppadol Krairiksh President 2. Mr.Somboon Techapanichgul Vice President 3. Mr.Montri Mahaplerkpong Vice President 4. Mr.Prasit Klongnguluerm Vice President 5. Mrs.Varna Sudasna Vice President 6. Ms.Rutchanee Chaichart Secretary General 7. Ms.Passachon Limthongchai Assistant Secretary 8. Ms.Kamala Laohasaksena Treasure 9. Mr.Supachai Theravithayangkura Director 10. Mrs.Uma Ajjimarangsee Director 11. Mr.Sumedh Valaisathien Director 12. Mr.Ekarin Chirakranont Director 13. Ms.Yuwadee Thiangthangtum Director 14. Mrs.Chitra Boonsom Director 15. Mr.Jarensook Pavasiripong Director 16. Mr.Pairoj Meethawee Director of Association เจาของ : สมาคมการบรรจุภัณฑไทย www.thaipack.or.th อาคารสํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเกา) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมติ ร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Owner : Thai Packaging Association www.thaipack.or.th MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Editorial Staff : Nipa Klinkosum Project Manager : Tipawan Khempilar Marketing Manager : Khemjira Boonpraracsa Executive Sale : Kalaya Sabpirom, Siriporn Klinkajorn, Kasira Hembundij, Manus Chaipas, Kritiyakorn Dangsamran Graphic Designer : Prittiya Nillawat Photographer : Komsak Kumsalee Proofreader : Tidawadee Boonsuya Managed by : Technology Media Co., Ltd. 471/4 Phayathai Place, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Rachathewi, Bangkok 10400 Printed by : E.Hing Printing Press Co., Ltd. 3141 Rot-Fai Sai Paknam Rd., Phrakanong, Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2249-0136-8 Fax : 0-2249-5093



TPA

activity

สมาคมการบรรจุภัณฑ ไทย

ครบรอบ 48 ป

เมือ่ วันที่ 26 ธันวาคม 2560 นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ พรอมทัง้ คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ รวมถึงสมาชิก กิตติมศักดิแ์ ละทีป่ รึกษาของสมาคมฯ ไดจดั กิจกรรมเนือ่ งในโอกาสครบรอบการดําเนินงาน 48 ปของสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ ไทย ดวยการบริจาคเงินและสิง่ ของ มอบใหกบั สถานสงเคราะหหญิงชราทีไ่ รทพี่ งึ่ ซึง่ มีปญ  หาในการดูแลตนเองทางกายภาพ และทางการเงิน เพือ่ ใหหญิงชรามีคณ ุ ภาพชีวติ ทัง้ ทางกายและทางใจทีด่ ขี นึ้ ณ มูลนิธบิ า นสุทธาวาส อําเภอองครักษ จังหวัด นครนายก

หลังจากนั้นคณะของสมาคมฯ ไดเขาเยี่ยมชม โครงการตลาดตอยอด ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีผูบริหารโครงการ ใหการตอนรับ โครงการตลาดตอยอดเปนโครงการที่มีเปาหมายวาจะเปนตลาดคาสงขนาดใหญ หรือตลาดตอยอด เออีซี เทรด เซนเตอร เปนศูนยรวมสินคาจํานวนมากจากผูผลิตทั่วประเทศ ครอบคลุมทุกสินคา ตอบสนองลูกคาทุกกลุม และเชื่อมโยง เครือขายการคาสูเวทีอาเซียน พรอมกันนี้ทางคณะกรรมการไดประชุมประจําเดือนธันวาคมของสมาคมฯ ดวย เพื่อติดตามความ คืบหนาของกิจกรรมตาง ๆ

14

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018


เยี่ยมชมโรงงาน KBF

วันอังคารที่ 22 พฤศจิกายน 2560 นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ รวมกับคณะกรรมการสมาคมฯ เขาเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท เคบีเอฟ อินเตอรแพ็ค จํากัด โดยมี ผูบริหาร พนักงาน KBF ใหการตอนรับ และนําชมการดําเนินงานของบริษัท KBF กอตั้งเมื่อป พ.ศ. 2547 เริ่มจากเปนโรงงานผลิตขวดใสใหแกลูกคากลุมผูผลิตเครื่องสําอางเปนสวนใหญ โดยตั้งโรงงาน ที่จังหวัดสมุทรสาคร ตอมาเริ่มขยายการผลิตใหหลากหลายขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา ทําใหโรงงานเดิมคับแคบ จึงยายการผลิตบางสวนมายังโรงงานแหงใหมบริเวณ อําเภอบางบอน จังหวัดสมุทรสาคร บนพื้นที่กวา 20 ไร โดยใชเครื่องจักร การผลิตทีท่ นั สมัย มีกาํ ลังการผลิตนับลานชิน้ ตอเดือน ลูกคาสวนใหญเปนกลุม ผูผ ลิต OEM ผูผ ลิตสินคาในประเทศ และกลุม ลูกคา SMEs มีรูปแบบบรรจุภัณฑใหลูกคาไดเลือกใชกวา 200 แบบ พรอมกันนี้ทางคณะกรรมการไดรวมประชุม ประจําเดือนพฤศจิกายนเพื่อสรุปผลการทํางาน ในรอบเดือนที่ผานมา รวมทั้งติดตาม การทํางานของสมาคมฯ ดวย

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

15


Green Packaging Trend in Thailand

เมื่อวันศุกรที่ 24 พฤศจิกายน 2560 ที่ผานมา สมาคมการบรรจุภัณฑไทย รวมกับ สภาสมาคมวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จัดสัมมนา Green Packaging Trend in Thailand ณ หองกมลทิพย 1 ชั้น 2 โรงแรมเดอะสุโกศล โดยมี พล.ต. รศ. ดร.ชัยณรงค เชิดชู นายกสภาสมาคมวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงประเทศไทย กลาวเปดงาน

ภายในงานไดรับเกียรติจากวิทยากรมากดวยความรู ความสามารถและประสบการณทางดานบรรจุภัณฑ มาบรรยายหัวขอ ตาง ๆ อยางเขมขน เจาะลึกและครบทุกมิติ อาทิ เรื่อง บรรจุภัณฑของไทย ทิศทางสู Thailand 4.0 โดย นภดล ไกรฤกษ นายก สมาคมการบรรจุภัณฑไทย เรื่อง แนวโนมบรรจุภัณฑกระแสรักษโลก โดย อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ที่ปรึกษาสมาคมการบรรจุ ภัณฑไทย เรื่อง การจัดการบรรจุภัณฑอยางยั่งยืน ดวย CLP (Closed Loop Packaging) โดย สินชัย เทียนศิริ ผูอํานวยการสถาบัน การจัดการบรรจุภัณฑและรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดลอม (TIPMSE) สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ หัวขอ แนวทาง 3 R กับนานาบรรจุภณ ั ฑ นอกจากนัน้ อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ยังไดถา ยทอดความรูเ กีย่ วกับ บรรจุภณ ั ฑออ นตัว จากนั้น วรรณา สุทัศน ณ อยุธยา ผูแทนจาก SCG Packaging ไดกลาวถึงบรรจุภัณฑกระดาษ และ ดร.ชินวัชร ศรีโรจนภิญโญ Marketing Technical Service Manager PTT MCC Biochem Co., Ltd. ไดมาถายทอดความรูเรื่อง Green Packaging กับพลาสติก ชีวภาพ

16

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018


สัมมนาครัง้ นีน้ อกจากไดรบั ความสนใจจากผูป ระกอบดานบรรจุภณ ั ฑ และสถาบันการศึกษา มากกวา 100 คน ทางสมาคมฯ ยังไดจัดนิทรรศการดาน Green Packaging และนําเสนอตัวอยางมากมาย ดาน 3R ของผูประกอบการ และสถาบันการศึกษา บริเวณดานหนาหองสัมมนาไวอีกดวย

การประกวดสิ่งพิมพ แห งชาติ ครั้งที่ 12

สมาคมการพิ ม พ ไ ทย ได จั ด การประกวด สิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 12 โดยใชแนวคิด “Towards the New Frontier” หรือ มุงสูมิติใหมแหงอนาคตของ อุตสาหกรรมการพิมพและการบรรจุภัณฑไทย โดยมี วัตถุประสงคเพือ่ กระตุน ใหผปู ระกอบการสิง่ พิมพและ บรรจุ ภั ณ ฑ ข องประเทศไทยเตรี ย มความพร อ มสู อนาคตแหงเทคโนโลยียุคใหม

“Towards the New Frontier”

การประกวดครั้งนี้มีผูสงชิ้นงานเขาประกวดประมาณ 700 ชิ้น และ ไดรับรางวัล 88 รางวัล ซึ่งเปนชิ้นงานที่มีความโดดเดนทางดานคุณภาพ การพิมพ และความคิดสรางสรรค ในการนี้ อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ไดรบั เชิญใหเปนหนึง่ ในกรรมการตัดสินดวย นอกจากนี้ มีสมาชิกสมาคม การบรรจุภัณฑไดรับรางวัลจากการประกวดครั้งนี้ดวย ...ขอแสดงความ ยินดีกับทุกทานมา ณ โอกาสนี้

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

17


ฝ กอบรมเชิงปฏิบัติการ

“บรรจุภัณฑ อาหารเพื่อความสําเร็จของธุรกิจ” ภูเก็ต เมื่ อ วั น ที่ 29-30 พฤศจิ ก ายน 2560 สมาคมการ บรรจุภณ ั ฑไทย รวมกับ ศูนยบม เพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต จัดฝกอบรมเชิงปฏิบตั ิการ “บรรจุภณ ั ฑอาหาร เพื่อความสําเร็จของธุรกิจ” ณ หองอบรมศูนยบมเพาะ วิสาหกิจ อาคาร 9 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต การฝกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร “บรรจุภณ ั ฑอาหารเพือ่ ความ สําเร็จของธุรกิจ” มีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรและใหคําปรึกษา ความรูดานบรรจุภัณฑแกผูประกอบการในทองถิ่นของจังหวัด ภูเก็ต และจังหวัดใกลเคียง เพื่อใหสามารถเปนแนวทางในการ ดําเนินธุรกิจของตนเองได จากวัตถุดิบในทองถิ่นของตนเอง ในงานมีผปู ระกอบการ SMEs ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ ผูท มี่ แี นวคิดทีจ่ ะทําธุรกิจของตนเองในทองถิน่ ของจังหวัดภูเก็ต ทั้งยังมีผูประกอบการในบริเวณจังหวัดใกลเคียง รวมมากกวา 30 ราย ทีใ่ หความสนใจเขารวมฝกอบรม ขอคําปรึกษาจากทาน วิทยากรทีม่ ากไปดวยความรู ความสามารถ และประสบการณ

18

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

ดานบรรจุภัณฑ มากวา 40 ป ซึ่งทานเปนอาจารยพิเศษและ ที่ปรึกษาใหกับหนวยงานภาครัฐ และเอกชนเปนจํานวนมาก อาทิ อาจารยอรสา จิรภิญโญ และ อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก และยังมีทมี งานจากคณะอาจารยสาขาการออกแบบผลิตภัณฑ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มา ใหความรู คําปรึกษา แนวทาง แกผูประกอบการ ในชวง Packaging Design Station อยางเปนกันเอง นอกจากนีท้ างสมาคมฯ ยังไดจดั พืน้ ทีน่ ทิ รรศการตัวอยาง บรรจุภัณฑมาตรฐาน ประเภทตางๆ ของสมาชิกของสมาคมฯ พรอมทั้งใหคําปรึกษาการเลือกใชบรรจุภัณฑที่ถูกตอง และ เหมาะสม จากสมาชิกของสมาคมฯ อาทิ บริษัท ไทยออฟเซท ผูผลิตถุงพลาสติก & ฉลากฟลมหด และ บริษัท เคบีเอฟ อินเตอรแพ็ค จํากัด ผูผลิต และออกแบบ ขวด หลอดพลาสติก ประเภท PE, PETe สําหรับบรรจุภัณฑสปา & เครื่องสําอาง และบรรจุอาหาร


วิทยากรบรรยาย งานคลินิกอุตสาหกรรม

เรื่อง “เสริมแกร ง แหล งเงินทุน สนับสนุน SMEs”

นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ และ ไพโรจน มีทวี ผูอํานวยการสมาคมฯ รวมเปนวิทยากรบรรยายดานบรรจุภัณฑ ไทย สู Thailand 4.0 ในงานคลินิกอุตสาหกรรม เรื่อง “เสริมแกรง แหลงเงินทุน สนับสนุน SMEs” ภายใตโครงการ ศูนย บริการธุรกิจอุตสาหกรรม (Business Service Center : BSC) ณ หองประชุมแกรนด B โรงแรม กิจตรงวิลลรีสอรท อําเภอ เมือง จังหวัดอุบลราชธานี การอบรมนี้ จั ด โดย ศู น ย ส ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมภาคที่ 7 กรมส ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ให ผูป ระกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) วิสาหกิจชุมชน ผูป ระกอบการและบุคคลทัว่ ไป มีความรูแ ละเขาใจในการดําเนินธุรกิจและไดรบั คําปรึกษาแนะนําการลงทุน แหลงเงินทุนภาครัฐและเอกชนอยางครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ

เข าพบสวัสดีป ใหม 2018

นายกสมาคมผู ผลิตอาหารสําเร็จรูป นภดล ไกรฤกษ นายก สมาคมฯ และ ไพโรจน มีทวี ผู อํ า นวยการสมาคมฯ เข า พบ สวั ส ดี ป ใ หม 2018 วิ ศิ ษ ฐ ลิ้ ม ลื อ ชา นายกสมาคมผู ผ ลิ ต อาหารสําเร็จรูป ณ หองประชุม สมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป

ร วมประชุมหารือเพื่อคัดเลือกเลขาธิการสหพันธ การบรรจุภัณฑ แห งเอเชีย (The Asian Packaging Federation : APF)

นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ และ วรรณา สุ ทั ศ น ณ อยุ ธ ยา อุ ป นายกวิ ช าการ เข า ร ว มประชุ ม หารือเพื่อคัดเลือกเลขาธิการสหพันธ การบรรจุภัณฑแหงเอเชีย (The Asian Packaging Federation : APF) ณ หองประชุม ชัน้ 2 อาคารศูนยออกแบบ และพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรม (Thailand Industrial Design Center: Thai-idc) กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กลวยน้ําไท THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

19


“ครอบครัวแห งการให ” วันที่ 11 ธันวาคม 2560 โครงการเสริมสรางองคกรสุขภาวะในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ นําคณะผูบริหารในกลุมองคกร สุขภาวะในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ เขาเยี่ยมชมองคกรตนแบบทางดานสุขภาวะในองคกร บริษัท สตารเฟล็กซ จํากัด โดยคณะฯ ที่ไดเขาเยี่ยมชมตางรับรูถึงความอบอุนในการตอนรับ มีการดูแลพนักงานเปนอยางดี และมีบรรยากาศในการทํางานที่เปนมิตร นอกจากนั้นยังมีการจัดพื้นที่หอง Happy Soul Center ใหพนักงานไดนั่งสมาธิ สวดมนต เพื่อใหมีสติ สมาธิในการทํางาน และการ ดําเนินชีวิต สิ่งตาง ๆ เหลานี้เปนผลจากการ “ให” ที่ผูบริหารไดใหแกพนักงานกอน ใหโดยที่ไมไดหวังผลตอบแทน จนเปนพื้นฐาน ขององคกร สตารเฟล็กซ “ครอบครัวแหงการให”

วันที่ 22 ธันวาคม 2560 โครงการฯ ไดเขาดําเนินงานในการใหคําปรึกษาเชิงลึก ณ บริษัท แมพิมพ จํากัด (บางนา) โดยได ติดตามผลงานการดําเนินงานสุขภาวะในองคกร และมอบรางวัลใหแกบุคคลตนแบบทางดาน Happy Body ที่สามารถลดน้ําหนัก และมีขนาดรอบเอวทีล่ ดลงใหไดอยูภ ายในเกณฑมาตรฐาน ภายใตโครงการ “Happy Body สุขภาพดีทแี่ มพมิ พ” และทําการสัมภาษณ บุคคลตนแบบเพื่อถอดบทเรียนทางดานการดูแลสุขภาพ และจะจัดทําเปนหนังสือเพื่อเผยแพรตอไป

20

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018


PR NEWS

เคิร ซ (ประเทศไทย) และ 121 Creation เข าสวัสดีป ใหม บริษัท เคิรซ (ประเทศไทย) จํากัด และ บริษัท 121 Creation จํากัด เขาพบสวัสดีปใ หม 2018 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย โดยมี นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ และ ไพโรจน มีทวี ผูอํานวยการสมาคมฯ ใหการตอนรับ ณ หองประชุม สมาคมการ บรรจุภัณฑไทย

ฟูจิ ซีร็อกซ สาขาพระป ่นเกล าปรับโฉมใหม รับลูกค าฝ งธนฯ มร.โคจิ เทสึกะ ประธานบริ ษั ท ฟู จิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัวสํานักงาน และโชวรูมฟูจิ ซีร็อกซ สาขาพระปน เกลา รุกฝง ธนบุรแี ละพืน้ ทีใ่ กลเคียง เพือ่ รองรับลูกคาในการ เยี่ยมชมการสาธิตผลิต ภั ณ ฑ แ ละนวั ต กรรม ใหมๆ พรอมจัดหองประชุมสําหรับการฝกอบรมสัมมนา พรอมทีมงานผูเชี่ยวชาญใหบริการปรึกษาดานการพิมพและการจัดการ ดานเอกสารอยางครบวงจร ชวยเสริมสรางประสิทธิภาพในการทํางานของลูกคาใหดียิ่งขึ้น

กลุ มบริษัท ดาว ประเทศไทย ฉลองครบรอบ 50 ป

และ กลุ มบริษัทร วมทุน เอสซีจี-ดาว ครบรอบ 30 ป

กลุมบริษัท ดาว ประเทศไทย จัดงานฉลองครบรอบ 50 ป การดําเนินธุรกิจในประเทศไทย และครบรอบ 30 ปของการกอตั้ง กลุมบริษัทรวมทุน เอสซีจี-ดาว กรุป ภายในงานไดรับเกียรติจาก เอกอัครราชทูตกลิน ที. เดวีส เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจํา ประเทศไทย เขารวม โดยมี แอนดรูว ลิเวอริส ประธานเจาหนาที่ บริหารและประธานกรรมการ บริษัท ดาว เคมิคอล และ รุงโรจน รังสิโยภาส กรรมการผูจัดการใหญ เอสซีจี และพันธมิตรธุรกิจกลุม บริษทั รวมทุน เอสซีจ-ี ดาว ใหการตอนรับ ณ โรงแรมพลาซา แอทธินี กรุงเทพมหานคร THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

21


TPA

activity มยุรี ภาคลําเจียก

ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð ถามจริง ตอบจัง เปนคอลัมนประจําของวารสารนี้

โดยเริ่มมาตั้งแตสองฉบับที่แลวคะ ขอทวนถึงที่มาสําหรับทานผูอาน รายใหม คอลัมนนเี้ ปนการนําคําถามและคําตอบดานบรรจุภณ ั ฑมาพิมพ เพื่อแบงปนความรู คําถามมาจากหลายคนและหลายอาชีพ สวนใหญ มาจากผูประกอบการอาหาร SMEs จะไมขอเอยชื่อผูถามในคอลัมนนี้ สวนคําตอบก็มาจากผูเขียนซึ่งเรียกตนเองวาอาจารย เรื่องที่ 3 ในฉบับ นี้เปนเรื่องของ ถวยพลาสติกบรรจุถั่วและธัญพืช

¤Ó¶ÒÁ

อาจารยคะ อาหารของหนูคือถั่วและธัญพืช หนู ตองการใชถวยพลาสติกแบบในรูปเพื่อใหธุรกิจ ดีขึ้น อาจารยคิดวาเหมาะสมไหมคะ และควรใส สารกันชืน้ หรือสารดูดออกซิเจนดีไหมคะ และควร อัดกาซไนโตรเจนเพิม่ ไหมคะ เพือ่ ยืดอายุการเก็บ

ถั่วและธัญพืชของคุณเปนผลิตภัณฑสําหรับเติมนมสด เปนอาหารเชาใชไหมคะ ถาใช ถวยพลาสติกตามรูปทีส่ ง มาเหมาะสมคะ ตอบสนองตอแนวโนมผูบริโภครุนใหมที่ตองการความสะดวกรวดเร็ว มีปริมาณที่บริโภคใหหมดในครั้งเดียว ชวยสรางมูลคาเพิ่มและยกระดับ สินคาได แตอยาลืมวาธุรกิจจะประสบความสําเร็จ ตองมีกลยุทธทางการตลาด ที่ ดี ด  ว ยนะคะ ได แ ก 5P P1=Product, P2=Place, P3=Price, P4=Promotion และ P5=Packaging ถาคุณพัฒนาเฉพาะ P5 คือ บรรจุภัณฑ แตไมมีอีก 4P ที่เหลือสนับสนุน ก็จะประสบความสําเร็จ ยากคะ อาจารยขอตอบคําถามในสวนของบรรจุภัณฑเทานั้นนะคะ

¤íÒμͺ

22

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

ถามจริง ตอบจัง ถวยแบบนี้ทําดวยพลาสติกไดหลายชนิด เชน PP, PET, PS ที่นิยม คือ PP เพราะ มีจุดเดนตรงทนความ รอนไดดี สามารถเติมนมรอนลงไปในถวยไดเลยคะ ถ ว ย PP ผลิ ต ได 2 วิ ธี คื อ การขึ้ น รู ป ร อ น (Thermoforming) และแบบการฉีดขึ้นรูป (Injection Moulding) ถาตองการถวยที่มีขนาดสมํ่าเสมอเหมือน กันทุกใบ และมีความหนาทีบ่ างลง แนะนําใหใชวธิ กี าร ฉีดขึ้นรูป การปดฝาใชแผนฟลมพลาสติกปดผนึกดวย ความร อ นกั บ ขอบของปากถ ว ยด ว ยเครื่ อ งนะคะ ราคาเครือ่ งจะแตกตางกัน ขึน้ กับความเร็วของการปด ทีต่ อ งการและอุปกรณในการควบคุม ถาไมทราบวาจะ ซื้อเครื่องทีไหน ถามมาไดคะ อาจารยพอมีชื่อบริษัท ที่ขายเครื่องคะ การใชเครื่องปดนี้ตองมีการทดลอง แผนฟลม กับถวยทีจ่ ะใช ตองปรับอุณหภูมิ แรงกด และ เวลาที่ปดผนึกใหเหมาะสม เพื่อใหมั่นใจวาแผนฟลม ปดผนึกดวยความรอนกับขอบของปากถวยไดอยาง สมบูรณ คือ ไมรั่วซึม แผนฟลมปดปากถวยมีทั้งแบบ ใสและแบบทึบสีขาว ทําดวยฟลมพลาสติกหลายชั้น (Multilayer Film) มีหลายโครงสรางใหเลือกใช ขึ้นกับ ชนิ ด ของพลาสติ ก ที่ ทํ า ถ ว ย ความสามารถในการ ปองกันไอนํ้าและกาซออกซิเจนซึมผาน ตลอดจน การติดแนนที่ตองการ คือ แบบลอกเปดไดงาย (Easy Peel Lid) และลอกเปดไมได ในกรณีผลิตภัณฑของ คุ ณ นี้ อาจารย ข อแนะนํ า ฝาแบบลอกเป ด ได ง  า ย ฝามี ส  ว นยื่ น ออกมาให เ ห็ น ที่ สั ง เกตชั ด เจนว า เป น ตําแหนงที่ใหผูบริโภคดึงลอกฝาออก ทั้งนี้เพื่อความ สะดวกในการบริโภค ผูผลิตถวยและผูผลิตเครื่อง บางรายใหคาํ แนะนําไดวา โครงสรางแผนฟลม พลาสติก ควรเปนอะไร ถาไมเขาใจ ถามอาจารยมาอีกไดคะ คุณถามวาการเติมกาซไนโตรเจนลงไปจะชวยยืด อายุการเก็บไดไหม ตามหลักการจะชวยไดคะ แต ไมนิยมกับบรรจุภัณฑประเภทนี้ เพราะตองใชเครื่อง เฉพาะและมีราคาสูง การเติมกาซไนโตรเจนจะนิยมใช กับบรรจุภัณฑประเภทถุงที่ทําจากพลาสติกที่ปองกัน อากาศไดดแี ละอาหารเสียงายเพราะกาซออกซิเจนคะ คําถามวา การจะใสสารดูดความชื้นและสารดูด กาซออกซิเจน (ซึ่งบรรจุในซองเล็ก ๆ) ลงไปในถวย


จะชวยยืดอายุการเก็บไดหรือไม กอนอื่นคุณตองหาวา ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารของคุ ณ เสื่ อ มคุ ณ ภาพในระดั บ ที่ ผูบริโภคไมยอมรับเพราะสาเหตุใด เพราะไอนํ้า หรือ เพราะกาซออกซิเจน ถาเสื่อมคุณภาพจากสาเหตุทั้ง 2 อยาง ก็ตองทดลองหาดูวาอะไรเกิดเร็วกวากัน เชน ผลิตภัณฑเกิดการเหม็นหืน (เพราะไขมันในอาหารทํา ปฏิกริ ยิ ากับกาซออกซิเจน) ในเวลา 1 เดือน อาหารเกาะ กันเปนกอน หายกรอบ (เพราะดูดไอนํา้ ) ในเวลา 2 เดือน ก็แปลวา ควรยึดการปองกันการซึมผานกาซออกซิเจน เปนหลัก การใสสารดูดกาซออกซิเจนอาจจะชวยได สิ่ ง สํ า คั ญ คื อ ต อ งมี ก ารทดลองจริ ง โดยการบรรจุ ผลิตภัณฑอาหารในถวยและปดฝาดวยแผนฟลม ใหสนิท เปรียบเทียบอายุการเก็บระหวางตัวอยาง 2 ชุด ชุดแรก มีการใสสารดูดกาซออกซิเจน ชุดที่สองไมใสสารดูดกาซ ออกซิเจน สมมุตวิ า คุณตองการอายุการเก็บนาน 6 เดือน ถาการใสสารดูดกาซออกซิเจนชวยยืดอายุการเก็บได ก็ใชสารดูดกาซออกซิเจน (แตตอ งใหมนั่ ใจวาผูบ ริโภคเห็น ซองสารดูดกาซออกซิเจนไดชัดเจน เพื่อใหหยิบซองนี้ ออกกอนเติมนมสด) แตถา ผลของอายุการเก็บไมตา งกัน และไดอายุการเก็บ 6 เดือนทั้ง 2 ตัวอยาง ก็ไมตองใช สารดูดกาซออกซิเจนนะคะ จะไดไมตองเสียคาใชจาย ที่สูงขึ้นโดยไมจําเปน (ปจจุบันมีหลายผลิตภัณฑที่ใส สารดูดกาซออกซิเจนตามแฟชั่น โดยไมมีความจําเปน) ในกรณีที่ผลออกมาวาอายุการเก็บตํ่ากวา 6 เดือนทั้ง 2 ตัวอยาง นาจะมาจากโครงสรางของฟลมปดฝาไม เหมาะสม หรือการปดผนึกแผนฟลม กับขอบถวยไมสนิท มีชอ งเปด อากาศผานเขาไปในถวยได ก็ตอ งมาพิจารณา วาจะเปลีย่ นโครงสรางฟลม เปนอะไร เพือ่ ใหปอ งกันการ ซึมผานกาซออกซิเจนไดดีขึ้น หรือปรับปรุงการปดผนึก เพื่อไมใหเกิดการรั่ว รายละเอียดในเรื่องนี้มีมากเลยคะ ถาทดลองแลวมีปญหาดังกลาว ถามอาจารยมาใหม นะคะ

ÊÃØ»

นอกจากการเลือกใชวัสดุบรรจุภัณฑของถวยและ แผนฟลมพลาสติกปดฝาใหเหมาะสมแลว การเลือกวิธี บรรจุ (ใสสารดูดความชื้นหรือใสสารดูดกาซออกซิเจน) และการควบคุมการปดผนึก ก็ตองนํามาพิจารณาดวย เพื่อใหมั่นใจวาผลิตภัณฑมีอายุการเก็บตามที่ตองการ เมื่อเลือกใชไดแลว อยาลืมออกแบบ Artwork (ตนฉบับ เพื่อการพิมพ) ใหสวยงามดวยนะคะ อานไดงายและ สามารถสื่อถึงจุดเดนของตราสินคาของคุณไดชัดเจน สอดคลองตาม Lifestyle ของกลุมผูบริโภคเปาหมาย ถา คุณสัง่ แผนฟลม นีจ้ าํ นวนนอยเกินไปจนผูผ ลิตไมสามารถ พิ ม พ ใ ห ไ ด อาจต อ งใช แ ผ น ฟ ล  ม ที่ ไ ม พิ ม พ แล ว ติ ด สติ๊กเกอรที่พิมพบนแผนฟลมแทน อาจารยแนะนําให

เลือกวัสดุทที่ าํ สติก๊ เกอรเปนพลาสติก จะเปนแบบใสหรือแบบขาวทึบ ก็ไดคะ ขึน้ กับวาคุณตองการใหเห็นผลิตภัณฑหรือไมนะคะ ไมแนะนํา ใหใชสติ๊กเกอรกระดาษคะ เพราะจะลอกหลุดงายเมื่อเปยกนํ้า สิ่ง สุดทายที่ไมควรมองขาม คือ การควบคุมคุณภาพการพิมพ ไมวาจะ พิมพบนแผนฟลม ปดปากถวยหรือพิมพบนสติก๊ เกอรกต็ าม สีตอ งไม เหลื่ อ มหรื อ ผิ ด เพี้ ย นไปจาก Artwork และมี คุ ณ ภาพการพิ ม พ สมํ่าเสมอทุกชิ้นนะคะ ไหน ๆ คุณก็สงรูปบรรจุภัณฑของ Diamond Grains มาใหดู และ บอกวาเปนรูปแบบที่อยากใช อาจารยเลยสงรูปเพิ่มเติมของยี่หอนี้ มาให ดู ค  ะ นอกจากเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ ในการ ออกแบบบรรจุภัณฑแลว ยังมีกลยุทธทางการตลาดที่ดีเยี่ยม ทําให ประสบความสําเร็จอยางมากคะ อยากใหสังเกตการพิมพบนแผน ฟลมปดปากถวย มีทั้งแบบใสที่ใหเห็นผลิตภัณฑ และแบบทึบขาว สวนฝาที่ยื่นออกมาใหดึงเปดก็ใชสีพิมพทึบที่เห็นชัดเจน หวังวาคําตอบของอาจารยจะมีประโยชนนะคะ

¼ÙŒ¶ÒÁ

ขอบคุณอาจารยมาก ๆ ไดประโยชนมากเลยคะ แลวหนูจะเริ่ม การทดลองตามคําแนะนํา ถามีปญ  หาจะติดตอถามอาจารยเพิม่ เติม อีกนะคะ THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

23


TPA

เลาสูกันฟง

activity ดร.ยุวดี เที่ยงทางธรรม*

มุมมอง ที่นาสนใจ จากงาน

SWOP 2017 ณ นครเซยงไฮ คณะผูรวมเดินทางเขาชมงาน SWOP 2017 ณ นครเซียงไฮ

งาน SWOP 2017 เปนงานแสดง เครื่องจักร และเทคโนโลยีใหม ๆ ดานการ บรรจุภัณฑ จัดขึ้น ณ นครเซียงไฮ ประเทศ จีน ในปนี้ สมาคมการบรรจุภณ ั ฑไทย ได นําสมาชิกของสมาคมฯ จํานวน 28 คน จาก 15 บริษทั ทีส่ นใจเทคโนโลยีใหม ๆ เขา ชมงานนีด้ ว ย โดยทางคณะไดออกเดินทาง และเขาชมงาน ตัง้ แตวนั ที่ 7-10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 งาน SWOP 2017 มีการจัดงานแสดง สินคาดวยกัน 3 อาคาร ถือวาเปนงานที่ ไมใหญมากนัก แตละอาคารมีบริษัทรวม แสดงงานคอนขางหลากหลาย และยังมี โอกาสเขาเยี่ยมชมโรงงานดวย การไปครั้งนี้ไมใชแคการดูงานเทานั้น เพื่ อ นที่ ร ว มเดิ น ทางไปก็ ป ระทั บ ใจมาก เชนกัน สิง่ ทีเ่ ราไดรบั ไมไดแตเฉพาะตัวงาน การไดเพื่อนใหม ๆ ที่รวมเดินทางไปดวย กันก็เปนสิง่ สําคัญเชนกัน เราสามารถนํามา

24

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

ตอยอดทางธุรกิจรวมถึงไดแนวคิดใหม ๆ ทั้งใน เรื่องงานและการใชชีวิต งานในปนไ้ี ดแบงออกเปน 3 อาคารใหญ ๆ ซึ่งแตละอาคารมีจุดเดนนาสนใจตางกันไป อาคารแรก เปนงานแสดงสินคาเกี่ยวกับ เครื่องบรรจุ เครื่องขึ้นรูปบรรจุภัณฑ รวมถึง เครื่องพิมพมีที่ตอพวงกับเครื่องขึ้นรูปออกมา เปนบรรจุภัณฑสําเร็จ มีการรายงานแตละสวน ผานทางคอมพิวเตอรและเชือ่ มตอแอพพลิเคชัน่ ผานแท็บเล็ต สมารทโฟน เชน เครื่อง In-mold Labelling ของบริษัท Demag Plastic Group

ภาพบรรยากาศทั่วไป

*กรรมการสมาคมการบรรจุภัณฑไทย ผูจัดการฝายขาย ในภูมิภาคอินโดจีน X-Rite Asia Pacific Limited


หรือ บริษัท Ruian Lilin Machinery Co., Ltd. ที่นําเสนอเครื่องพิมพเฟล็กโซกราฟ ที่ใชพิมพถุงใสขนมตอพวงกับเครื่องพับตัด ขึ้นรูปถุงกระดาษดังในรูปดานลาง

เครื่องทําไดคัทแบบแนวตั้ง

ในงานคอนขางมีเครือ่ งจักรหลากหลายคลายกับงาน Pro-Pack ทีจ่ ดั ในบานเรา แตทน่ี า สนใจเปนพิเศษคือระบบการตรวจเช็ก สิง่ แปลกปลอมและความถูกตองของชิน้ งานใสเครือ่ งกอนเขาบรรจุ และมีเครือ่ งจักรทีส่ นใจเปนการสวนตัวในแนวการทํางานทีเ่ คย สนใจในเครือ่ ง In-mold Labelling ซึง่ สวนมากจะใชผลิตบรรจุภณ ั ฑพวกแกว ถังขาวโพดทีใ่ ชในโรงภาพยนตร แตถงั ใหญจะคอนขาง ยากเพราะจะมีราคาสูง แตในงานนี้มีบริษัทหนึ่งไดนําแนวคิดของงานพิมพสกรีนและแพทมาผสมกับการสกรีนดวยระบบถายโอน ความรอน ซึ่งเปนการลดขอจํากัดเรื่องของขนาด แตอาจมีขอจํากัดเรื่องความเร็วในการผลิต

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

25


อาคารที่ 2 เปนการแสดงสินคาที่ชวยดานโลจิสติกส เครื่องตรวจเช็กทั้งคุณภาพงานพิมพ สิ่งแปลกปลอมในบรรจุภัณฑ เครื่องบรรจุ เลเซอรคุณภาพสูงในการยิงวันที่ บารโคด ซอฟตแวรในการวางแผนโรงงานการผลิต และที่สะดุดตาคือ พาเลทไมที่ให ความแข็งแรงสูงและบางบริษัทนําพาเลทที่ไดจากการอัดเศษไมดวยความดันสูง กันน้ํา รวมทั้งปลวกหรือแมลงไมสามารถขึ้นหรือ เจาะไดและไมตองมีการฟูมเิ กต

นอกจากนั้นยังมีวัสดุอุปกรณที่ชวยในการขนสงให ปลอดภัยมากขึ้น เปนกระสอบอัดลมพรอมจุกปลอยลม ซึ่งสามารถนํากลับมาใชใหม กระสอบนี้ใชเพื่อใสในตู คอนเทนเนอรใหเต็มพื้นที่ ปองกันไมใหสินคาภายใน เคลื่อนที่หรือลม และยังสามารถอัดลมไดตามปริมาตรที่ ตองการไดดวย แ ล ะ ใ น ง า น นี้ ยั ง นํ า เครื่ อ งอั ด ลมสํ า หรั บ แผ น บับเบิ้ล (Bubble Sheet) มี บางแบบที่ ส ามารถอั ด ลม หลังจากหอหุม วัตถุแลว เชน ขวดไวน ซึ่งจะชวยปกปอง ขวดจากการกระแทกไดดแี ละ ไมสิ้นเปลืองวัสดุหอหุมดวย สวน อาคารที่ 3 เปนอาคารแสดงบรรจุภัณฑเครื่องสําอาง ที่โรงงานผูผลิตมาออกงานแสดงโดยตรงเหมาะกับ SMEs, OEM และเจาของสินคาทีม่ องหาบรรจุภณ ั ฑสวย ๆ เทคนิคใหม ๆ และทีส่ าํ คัญ จํานวนการสัง่ ทีไ่ มสงู มาก ประมาณ 3,000-5,000 ชิน้ ก็สั่งไดในราคาที่รับได

26

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018


การแสดงของอาคารที่ 3 นีม้ บี รรจุภณ ั ฑเครือ่ งสําอางหลายชิน้ ทีส่ วย แตจะขอ กลาวถึงตัวที่มีแนวคิดในการออกแบบบรรจุภัณฑที่นาสนใจ รวมถึงบรรจุภัณฑที่ใช เทคโนโลยีไปพัฒนาจากเดิมหรือใชเทคนิคใหม ๆ ชิ้นแรกเปนบรรจุภัณฑกระปุกใสครีมที่สวยดวยวัสดุ และ การออกแบบ ที่มีกานจับยาวยื่นออกมาโดยดูรวม ๆ เหมือน ผลแอปเปลที่มีกาน แตตรงกานจับคือชอนสําหรับตักครีม ซึ่งคุณ ผูหญิงหลายทานทราบดีวาการใชชอนตัก จะรูสึกวาลดการปน เปอนในครีม แตจะมีปญหาวาถามีชอนตัก ก็มักจะหายหรือไมรู จะวางตรงไหนหลังจากแกะใชแลว แตกา นนีจ้ ะมีแมเหล็กสามารถ ติดกับฝาของกระปุกได งานออกแบบนี้ไดทั้งความสวยงามและ ฟงกชนั การใชงาน รวมถึงตอนใสลงในกลองก็ไมเปลืองพืน้ ทีเ่ พราะ สามารถถอดและติดเมื่อจะใชงานได ชิ้นตอมาเปนบรรจุภัณฑที่มีลวดลาย คลายไม ซึ่งใชเทคนิคการพิมพแบบควิด ที่ ถายโอนสีพิมพเคลือบบนพลาสติกดวยน้ํา ทําใหงานออกมาเหมือนไมจริง แตถาถาม ว า เป น บรรจุ ภั ณ ฑ แ ปลกใหม สุ ด สํ า หรั บ บานเราไหมนั้น อาจจะไม แตที่สําคัญคือ ทําราคาไดคอนขางดีทีเดียว ถามาดูเรื่องสวนประกอบที่นาสนใจของบรรจุภัณฑเครื่องสําอางโดยเฉพาะผลิตภัณฑที่ใชสําหรับรางกายหรือเรือนผม ก็จะ เปนแบบฝาปม ซึง่ งานนีม้ ผี ผู ลิตนําบรรจุภณ ั ฑมาแสดงดวย ถึงจะไมหลายเจา แตมบี ริษทั หนึง่ ไดเสนอตัวปม ทีน่ า จะเปนเทรนดใหม ที่จะออกสูตลาดจริงในปหนา โดยมี 3 ขอเดน ๆ คือ สปริงจะอยูดานนอก (Spring Outside) ปองกันน้ําเขาจากขอบเกลียวฝาขวด (Waterproof Design) และปองกันการหกลนขอตอ (Overflow Prevention Design)

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

27


ดานงานฟลมหดที่จะมาแทนงานสกรีนและ หลาย ๆ งานทีเ่ พิม่ ความสวยงามใหแกบรรจุภณ ั ฑ และลดความยุงยากรวมถึงราคาที่ถูกลง ทั้งการ หุมบนบรรจุภัณฑขวดแกวแทนงานเซรามิก หุม งานพลาสติกเพื่อเพิ่มมูลคา รวมถึงลดขีดจํากัด ในการสรางงานกราฟกบนชิ้นงาน

ลิปสติกชิ้นนี้มีความนาสนใจตรงเปนงานพลาสติกที่ใหผิวสัมผัสนุมมือ (Soft Touch) ไรฝนุ เกาะ ซึง่ อาจทําไดทงั้ เทคโนโลยีการเคลือบสาร Soft Touch หรือใชพลาสติกที่ผสมสารเติมแตงประเภทนี้ลงไป

งานบรรจุภัณฑกลองกระดาษก็ใชเทคนิค การลามิเนตกับงานเทคโนโลยีโฮโลแกรม ที่มีมิติ ความลึกที่ดูชัดมากขึ้น

งานด า น 3D ยั ง มี ง านป ม นู น แบบใหมที่นาสนใจโดยการพิมพและ สงอัดขึ้นลายตามตองการ ซึ่งรอยนูน ที่เกิดขึ้น จะเห็นชัดเจนและลึกกวาที่ ผูผลิตในประเทศเราเคยทํา เครื่องทํา ปมนูนนี้ปจจุบันมีแค 2 เครื่อง คือ ที่ประเทศอิตาลี และประเทศจีน

และตัวอยางสุดทายทีน่ าํ มาสงทาย การไปดูงานครั้งนี้ คือสติ๊กเกอรเปลี่ยน ภาพตามมุมมอง สิ่งพิเศษคือ เปลี่ยนได ถึง 7 แบบในชุดของตุกตาตัวเดียว สุดทายนี้ ในการเดินงานครั้งนี้ทําใหเห็นภาพการเปนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ 4.0 ไดชัดเจนขึ้น การควบคุมทั้งขบวนการผลิต การตรวจเช็กความถูกตอง ความปลอดภัย และทุกอยาง สามารถมอนิเตอรไดจากระบบออนไลน อยางไรก็ตาม ดังที่กลาวไปแลวในงานคอนขางหลากหลาย จํานวนลักษณะของผลิตภัณฑที่เหมือนกันนอย นอกจากอาคาร การแสดงที่ 3 ทีม่ คี วามชัดเจนของสินคาบรรจุภณ ั ฑเครือ่ งสําอาง การเดินชมงานจึงตองเจาะลึกเขาไปดู ไปถามรายละเอียดปลีกยอย ก็จะไดมมุ มองทีน่ า สนใจและแนวคิดในการพัฒนาผลิตภัณฑใหม ๆ ออกมา แมแตการผสมผสานเทคโนโลยีของเครือ่ งจักร โปรแกรม การจัดการ เพื่อนําเสนอออกมาใหเห็นเปนรูปธรรมที่ทุกคนจับตองได 28

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018


งานประชุม

67th Board of Administration and 42nd General Assembly Meetings of Asian Packaging Federation

TPA

activity

to be held at Colombo, Sri Lanka

เมื่อวันที่ 11-14 ธันวาคม 2560 วรรณา สุทัศน ณ อยุธยา อุปนายก วิชาการ ผูแทนสมาคมการบรรจุภัณฑไทย เขารวมงานประชุม Board of Administration of APF ครั้งที่ 67th และ General assembly of APF ครั้งที่ 42nd และงานตัดสินการประกวดบรรจุภัณฑระดับภูมิภาคเอเชีย (AsiaStar Awards 2017) รวมกับผูแ ทนกรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ผูแ ทนจาก ศูนยการบรรจุหีบหอ และพรอมผูแทนจากสหพันธการบรรจุภัณฑแหงเอเชีย (The Asian Packaging Federation : APF) ซึ่งประกอบดวยประเทศสมาชิก ทั้งสิ้น 15 ประเทศ ไดแก บังคลาเทศ จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุน เกาหลี มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร ศรีลังกา เวียดนาม ตุรกี อิหราน คาซักสถาน และ ประเทศไทย เพื่อหารือดานความรวมมือในการพัฒนาดานบรรจุภัณฑระดับ ภูมิภาคเอเชียขึ้น ณ กรุงโคลัมโบ สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

29


ผลงานบรรจุภัณฑที่ผาน เกณฑมาตรฐาน ไดรับรางวัล AsiaStar Awards 2017 ทั้งสิ้น 170 รางวัล จากผลงาน ที่ ส ง เข า ประกวดรวมทั้ ง สิ้ น 233 ผลงาน จาก 10 ประเทศ สมาชิก โดยผลงานบรรจุภัณฑ จากประเทศไทย ไดรับรางวัล AsiaStar Awards 2017 ทั้งสิ้น 21 รางวัล จากทีส่ ง เขาประกวด ทัง้ สิน้ 25 ผลงาน โดยแบงออก เป น ประเภทบรรจุ ภั ณ ฑ เ พื่ อ การจัดจําหนาย (Consumer Package) จํานวน 6 รางวัล ป ร ะ เ ภ ท บ ร ร จุ ภั ณ ฑ เ พื่ อ การขนส ง (Transportation Package) จํานวน 1 รางวัล และประเภทบรรจุภัณฑระดับ นักเรียน นักศึกษา (Student Category) จํานวน 14 รางวัล

CONSUMER PACKAGE

STUDENT

1. Mushroom Box/RPP ALL Co., Ltd. 2. Vegie Box/RPP ALL Co., Ltd. 3. Royal Sawasdee Gift Set Packaging/Design Sense & Marketing Limited Partnership/ Royal Sawasdee Intertrading Co., Ltd. 4. Bua Phai Khao Gift Set/Thai Containers Group Co., Ltd. (SCG Packaging) 5. Kaewta-Dinosoure Crispy Golden Curl/Purmpurm Co., Ltd./ Department of Internal Trade of Thailand 6. Bella Rose/SCG Packaging Public Co., Ltd.

1. Cata/Ms.Apinya Lunbudda, Ms.Tritrueng Srichaeng/ Rajamangala University of Technology Krungthep 2. Three T./Ms.Tritrueng Srichaeng, Ms.Apinya Lunbudda/Rajamangala University of Technology Krungthep 3. Moomilk/Ms.Sunisa Nirat/ The Faculty of Fine and Applied Arts, Rajamangala University of Technology Thanyaburi 4. Cera Cera/Ms.Tritrueng Srichaeng, Ms.Apinya Lunbudda/Rajamangala University of Technology Krungthep 5. Hmong Him Doi/Ms.Siriwan Laota/Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL) 6. Walk/Mr.Natthaphong Chaiwong, Mr.Teerapat Khamchoi, Mr.Kearttisak Jinama/Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL)

CATEGORY

TRANSPORT PACKAGE CATEGORY

1. Reclosable Common Footprint Carton/Thai Containers Group Co., Ltd. (SCG Packaging) 30

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

CATEGORY


7. Charinee/Ms.Apinya Lunbudda, Ms.Tritrueng Srichaeng /Rajamangala University of Technology Krungthep 8. Anchern/Mr.Natthaphong Chaiwong, Mr.Teerapat Khamchoi, Mr.Kearttisak Jinama/Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL) 9. Maimol/Ms.Yada Hoompang/Naresuan University 10. Phupon/Ms.Apisara Somjit/Silpakorn University 11. Hobbit House/Ms.Arisa Tasak/Rajamangala University of Technology Lanna (RMUTL)

12. Katokrok Plus/Mr.Metha Nilaroon/Department of Material Product Technology, Faculty of Agro-Industry, Prince of Songkla University 13. Maneememai/Ms.Manee Sae-Sum/Department of Material Product Technology, Faculty of Agro-Industry, Prince of Songkla University 14. Purr Chawa/Ms.Irene Purasachit/Silpakorn University

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

31


ARTICLE สุมาลี ทั่งพิทยกุล พลาสติกทั่วไปเปนผลิตผลพลอยไดจากการผลิต น้าํ มันหรือกาซ แหลงทีม่ าและการเกิดของน้าํ มัน Fossil และกาซมีกระบวนการที่ยาวนานหลายพันลานป มี ความยากในการนํามาใชมากขึ้น ตองใชเทคโนโลยีที่สูง ขึน้ จึงมีการสํารวจและทํานายวา จากอัตราการนํามาใช ในปจจุบันจะทําใหน้ํามันหมดไปในเร็ววันนี้ ดวยขอมูล ดั ง กล า วมี ผ ลทํ า ให ร าคาน้ํ า มั น โลกมี แ นวโน ม สู ง ขึ้ น รวมทั้ ง การเกิ ด ผลกระทบทางตรงและทางอ อ มต อ สิง่ แวดลอม ทําใหมกี ารหาทางเลือกมากขึน้ ไปในทิศทาง ของ Bio หรือ Green Business พลาสติกชีวภาพถือเปนพลาสติกทางเลือกชนิดหนึง่ ผลิตจากผลิตผลทางการเกษตร พลาสติกชีวภาพ (Bio Plastic) หรือบรรจุภณ ั ฑสเี ขียว (Green Packaging) เปน อุตสาหกรรมหนึ่งซึ่งนับไดวาเปนอุตสาหกรรมใหมและ มีการผลิตในตลาดโลกเพิม่ มากขึน้ ทัง้ ผูบ ริโภค ผูค า ปลีก สินคาอุปโภค บริโภค ซึ่งผูจําหนายตองการจะแสดงวา บรรจุภณ ั ฑทใี่ ชเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม หรือ บรรจุภณ ั ฑ สีเขียว “Environmentally Friendly or Green” ดังนั้น จึง มีหลายองคกรพัฒนามาตรฐานของบรรจุภัณฑสีเขียว (Green Packaging) ใหมีกฎระเบียบหรือกฎเกณฑรวม กัน เพื่อปองกันกลาวอางจากผูจําหนายซึ่งไมเปนธรรม กับผูบริโภค

มารู จัก ข อกําหนด กฎระเบียบ และมาตรฐาน ของบรรจุภัณฑ สีเขียว ดังนั้นคําศัพทตาง ๆ ตอไปนี้จึงมีคํานิยามเพื่อใหเขาใจตรงกัน พลาสติกชีวภาพ (Bioplastic) หมายถึง พลาสติกทีผ่ ลิตจากวัสดุ จากธรรมชาติ (Bio-based) และ/หรือวัสดุทสี่ ามารถยอยสลายไดทาง ชีวภาพ (Biodegradable) พลาสติกที่ผลิตจากวัสดุจากธรรมชาติ (Bio-based Plastic) หมายถึง พลาสติกหรือผลิตภัณฑที่ทั้งหมดหรือ บางสวนผลิตจากวัสดุจากธรรมชาติ ซึ่งเปนวัสดุที่สามารถสรางขึ้น ทดแทนได ใหม (Renewable Raw Material) เชน ออย มันสําปะหลัง เสนใยจากพืช เปนตน Compostable Packaging เปนภาชนะยอยสลายไดที่ตองมี สมบัติตามที่กําหนดในมาตรฐานของสหภาพยุโรป (EN 13432) หมายถึงภาชนะบรรจุนนั้ ตองแตกสลายกลายเปนคารบอนไดออกไซด น้าํ และมวลชีวภาพ ไดมากกวา 90% ภายใตการทํางานของจุลนิ ทรีย ในดินภายใน 180 วันที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส

U.S. FTC Labeling Guidelines

หลักการของการกลาวอางตามกฎหมายของคําวา “Green” ในสหรัฐอเมริกาคือ U.S. Federal Trade Commission’s (FTC) ภายใต “Guides for the Use of Environmental Marketing Claims (Green Guides ที่ สามารถเขาถึ งไดที่ http://www.ftc.gov/os/2012/ 108greenguides.pdf [16 CFR 260] เพื่อใหภาค อุตสาหกรรมปฏิบตั ติ ามขอกําหนด แตถา ผูป ระกอบการ ไมสามารถปฏิบัติตามขอกําหนดดังกลาว จะหามมิให จําหนายตามมาตรา 5 ของกฎหมายของ Federal Trade Commission Act (FTC Act) ขอกําหนดของ Green Guides ครอบคลุมถึงการ โฆษณาหรือกลาวอางเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม การใชฉลาก การลดปริมาณคารบอน การยอยสลายได (Compostable /Biodegradable) ไมเปนพิษ ไมมีผลตอโอโซน สามารถ นํากลับมาใชใหมได (Recyclable) ปริมาณที่นํากลับมา ได (Recycled Content) วัสดุซึ่งสามารถเกิดขึ้นมาใหม ไดดวยตัวเองโดยธรรมชาติ (Renewable Materials)

32

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

COMPOSTABLE : กระบวนการยอยสลาย

สัญลักษณของพลาสติกชีวภาพชนิด Compostable จากสถาบันชั้นนําตางๆ จากทั่วโลก


ตัวอยางพลาสติก PBS ซึ่งเปน Compostable พลาสติก ผลิตโดยเทคโนโลยีจากมิตซูบิชิ เคมีคอล ได รั บ การรั บ รองโดยสถาบั น ชั้ น นํ า ต า ง ๆ จาก ทั่วโลก เชน Biodegradable Product Institute ASTM D6400 จากประเทศอเมริกา, Vincotte OK Compost (EN13432), OK Compost Home จากสหภาพยุโรป และสมาคมไบโอพลาสติกจาก ประเทศญี่ปุน

มาตรฐานของสหภาพยุโรป ฉบับล าสุดป 2004

(The European Committee for Standardization, CEN) ไปนี้

แตมาตรฐานดังกลาวเปนมาตรฐานสมัครใจ ไดแก มาตรฐานดังตอ

• EN 13427:2004, Packaging–Requirements for the use of European Standards in the field of packaging and packaging waste; • EN 13428:2004, Packaging–Requirements specific to manufacturing and composition–Prevention by source reduction; • EN 13429:2004, Packaging–Reuse; • EN 13430:2004, Packaging–Requirements for packaging recoverable by material recycling • EN 13431:2004, Packaging–Requirements for packaging recoverable in the form of energy recovery, including specification of minimum inferior calorific value • EN 13432:2000, Packaging–Requirements for packaging recoverable through composting and biodegradation–Test scheme and evaluation criteria for the final acceptance of packaging

มาตรฐานและข อกําหนดของสมาคม

Biodegradable Packaging ภาชนะบรรจุชนิดนี้ สามารถแตกสลายโดยจุลินทรียในดินกลายเปน ชิน้ เล็กชิน้ นอย กระบวนการนีส้ ามารถเกิดขึน้ ไดโดย สภาวะที่มีหรือไมมีออกซิเจนก็ได แตอยางไรก็ตาม ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ะแตกสลายได เร็ ว กว า ในสภาวะที่ มี ออกซิเจนชวย แตก็ยังไมมีมาตรฐานใดกําหนดวา ตองแตกสลายกลายเปนอะไรและใชสภาวะแวดลอม แบบใดในการแตกสลาย

The CGF Global Protocal on Packaging Suatainability เปน กลุมอุตสาหกรรมอยูที่กรุงปารีสประกอบดวยผูคาปลีกประมาณ 650 รายประกอบดวยผูผ ลิต ผูจ าํ หนาย และผูท มี่ สี ว นไดสว นเสียจาก 70 ประเทศทั่ ว โลกพั ฒ นา “Global Protocol on Packaging Sustainability 2.0 (GPPS)” เพือ่ คุม ครองผูบ ริโภคในการใชบรรจุภณ ั ฑ อยางยัง่ ยืน ซึง่ GPPS มีความสอดคลองกับมาตรฐานระดับนานาชาติ คือ ISO ซึ่งพัฒนาเพื่อใชประกอบกัน ไดแก • ISO 18601:2013 Packaging and the environment–General requirements for the use of ISO standards in the field of packaging re and the environment an • ISO 18602:2013 Packaging and the environment–Optimization of the packaging system • ISO 18603:2012 Packaging and the environment–Reuse • ISO 18604:2013 Packaging and the environment–Material recycling re • ISO 18605:2013 Packaging and the environment–Energy recovery re • ISO 18606:2013 Packaging and the environment–Organic recycling re

สรุป

การใหความสนใจเกี่ยวกับปญหาของสิ่งแวดลอมอันเนื่องมาจาก บรรจุภัณฑและเทคโนโลยีใหม ๆ ในการผลิต “Green Packaging” ทําให องคกรตาง ๆ ตองการใหขอมูลที่ถูกตองกับผูบริโภคและผูที่มีสวนได สวนเสียในวงการนี้ แตอยางไรก็ตาม ยังมีขอแตกตางระหวางขอกําหนด กฎระเบียบและกฎหมายซึ่งผูประกอบการตองใหความสําคัญกอนการ นําไปกลาวอาง THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

33


TECHNOLOGY MEDIA_NO.127_10137_9-1-61_G5-4



TECHNOLOGY MEDIA_NO.127_10137_9-1-61_G5-4


INTERVIEW

กองบรรณาธิการ

KBF …We are behind great brands’ success…

บริษัท เคบีเอฟ อินเตอรแพ็ค จํากัด กอตั้งเมื่อป ค.ศ. 2004 โดย คุณสมบูรณ เตชะพานิชกุล ซึ่งเห็นวาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ โดยเฉพาะ บรรจุภัณฑประเภทขวดใสเปนธุรกิจที่ยังเติบโตไดอีกมาก จึงตั้งโรงงาน KBF ขึ้นที่จังหวัดสมุทรสาคร ดําเนินธุรกิจผลิตและออกแบบขวด PETe ลูกคา ในระยะเริม่ กอตัง้ สวนใหญจะเปนกลุม ผูผ ลิตเครือ่ งสําอาง กลุม อุตสาหกรรม อาหาร และกลุมอุตสาหกรรมยา ตลอดระยะเวลา 14 ปที่ผานมา เคบีเอฟ ไดขยายไลนการผลิตให หลากหลายมากขึ้น จากผลิตขวดใสเพียงอยางเดียวก็เริ่มขยายการผลิตโดย ผลิตหลอด PE ตอมาก็รับ Decoration ลงบนขวดและหลอดดวย

ปจจุบัน KBF เปนผูจัดจําหนาย ที่ปรึกษา และออกแบบบรรจุภัณฑที่ผลิตจาก PETe และ PE มีโรงงานผลิตขนาดใหญทจี่ งั หวัดสมุทรสาคร มีรปู แบบบรรจุภณ ั ฑใหลกู คาไดเลือกใชกวา 200 แบบ Interview ฉบับนี้ไดพูดคุยกับ คุณดนุสรณ เตชะพานิชกุล Development Manager บริษัท เคบีเอฟ อินเตอรแพ็ค จํากัด ผูบริหารรุนใหม ที่มีแนวคิดใหม ๆ ที่จะนําเทคโนโลยีใหม ๆ มา ใช ใ ในการผลิตและการบริหารเพือ่ พัฒนาให KBF กาวสูบริษัทชั้นนํามีเปาหมายที่จะเพิ่มสัดสวน การสงออกใหมากขึน้ ขยายตลาดสูตลาดใหม ๆ ทีม่ ศี กั ยภาพ แตกย็ งั ไมละเลยรากเหงาของบริษทั ที่บริหารดวยระบบครอบครัว “ผมจบการศึ ก ษาด า นคอมพิ ว เตอร ที่ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต จากนั้ น ไปศึ ก ษาด า น คอมพิวเตอรเพิ่มที่ประเทศออสเตรเลีย แลว กลับมาทํางานธนาคารธนชาติ ทํางานเกี่ยวกับ การออกแบบระบบความปลอดภัยของระบบ THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

37


การเงิน ไดใชความรูที่เลาเรียนมาอยางเต็มที่ ทํางานที่ธนาคารได 2 ป ก็คิดวาถึงเวลาที่จะตองใชความรูทางคอมพิวเตอรมาตอยอดกับธุรกิจ ของครอบครัว” คุณดนุสรณ เริม่ ทํางานที่ KBF ดวยอายุเพียง 22 ป ซึง่ ถือวาอายุ นอยมาก แตดวยตําแหนงงานที่ตองติดตอกับลูกคาตางประเทศเปน หลัก ทําใหอายุไมเปนอุปสรรคตอการทํางาน และดวยประสบการณที่ เคยเปนพนักงานบริษทั มากอน ทําใหเขาใจความตองการและความคิด ของพนักงานวาตองการอะไร กอปรกับเปนคนรุนใหมที่พรอมเปดใจ รับฟง และใหความเปนกันเองเขาถึงไดงาย สงผลใหพนักงานกลาที่จะ เสนอความคิดเห็นใหม ๆ เพื่อประโยชนของบริษัท และเมื่อประกอบ กับผลิตภัณฑของบริษัทที่มีหลากหลายขึ้น มีการนําเทคโนโลยีใหม ๆ เขามาใชทั้งทางการผลิตและการบริหารจัดการ ทําให KBF กาวหนา อยางรวดเร็ว “ผมเห็นการเติบโตของ KBF มาตลอด ตัง้ แตยงั เปนโรงงานเล็ก ๆ ผลิตขวดเพียงไมกี่แบบ แตการที่บริษัทกาวหนาไดอยางรวดเร็วนั้น เปนเพราะเรารักษามาตรฐานสินคาของเราไวได และมีลูกคาที่ภักดี ตอกัน มีหลาย ๆ บริษัทที่สั่งซื้อสินคาจากเราตั้งแตเริ่มกอตั้งโรงงาน จนถึงปจจุบนั ก็ยงั คงเปนลูกคาอยู แสดงถึงความพึงพอใจตอสินคา และ บริการของเรา” จุดเดนที่สําคัญของ KBF คือ การมีรูปแบบบรรจุภัณฑใหเลือก มากกวา 250 แบบ มีหลากหลายขนาดใหเลือกใช และสิ่งสําคัญอีก ประการหนึง่ ที่ KBF ปฏิบตั มิ าตลอดคือ การสงมอบสินคาตรงตามเวลา และคุณภาพ ผลิตภัณฑของ KBF แบงเปนแบบ PETe และ PE ซึ่งวัตถุดิบทั้ง 2 ชนิดมีคุณสมบัติที่แตกตางกัน PETe มีคุณสมบัติพิเศษคือ เปนประกายแวววาว ไมมีสี ไมมีกลิ่น โปรงใส ทําใหมองเห็นผลิตภัณฑภายในขวดไดอยางชัดเจน ขวด PETe ใหผิวคอเรียบเนียน ทําใหผิวไมรั่ว มีนํ้าหนักเบามากเมื่อเทียบกับแกว แข็งแรงตอแรงกระแทก ตกก็ไมแตก ทําใหกระบวนการผลิตปลอดภัย ขึ้น การจัดเก็บและขนสงก็ทําไดงายขึ้น นอกจากนั้นดวยคุณสมบัติที่ ยืดหยุนทําใหทําไดหลายขนาดและหลายสี PETe สีเขม ๆ จะปองกันแสง UV ซึ่งไดรับการพิสูจนแลววา ขวด ประเภทนี้สามารถบรรจุอาหารไดอยางปลอดภัย และ PETe ยังเปน วัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ขวดสามารถนําไปผานกระบวนการ รีไซเคิลแลวนําไปใชเปนวัตถุดิบผลิตผลิตภัณฑประเภทอื่นๆ ได

38

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

“PETe มีทงั้ แบบขวดและกระปุก ใหเลือกมากกวา 200 แบบ ตั้งแตขนาด 10 ml ถึง 1200 ml จึงตอบ สนองความต อ งการของลู ก ค า ที่ ห ลากหลายความ ตองการไดงาย และดวยรูปแบบมากหมายใหเลือก ลูกคาเลือกไดเลยโดยไมตองขึ้น Mould ใหม การผลิต และสงมอบจึงทําไดเร็วขึ้น” สวน PE นั้น ใชผลิตบรรจุภัณฑแบบหลอดนิ่ม มีทั้งแบบหนา 3 ชั้น และ 5 ชั้น วัตถุดิบสําหรับผลิต 3 ชั้นนั้น ประกอบดวย LDPE ที่มีคุณสมบัติยืดหยุน ไดนอ ย แตสามารถทนตอกรดเจือจางและแอลกอฮอล ไดเปนอยางดี ชัน้ ที่ 2 ผลิตจาก HDPE ทนตออุณหภูมิ ไดคอนขางสูง รับแรงกระแทกไดดี ชั้นที่ 3 คือ LLDPE มีคุณสมบัติเดนคือ มีความยืดหยุนสูงมาก ตานทาน แรงดึงไดสูง ไมแตกหักงาย สวนแบบหนา 5 ชั้นนั้น จะเพิ่มชั้นที่ใชวัตถุดิบ ประเภท EVOH บรรจุภัณฑที่ใชวัตถุดิบประเภทนี้ สามารถใช บ รรจุ อ าหารได มี คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษคื อ ปองกันอากาศภายนอกเขา แตมีความโปรงใส ทน ความรอน รวมทั้งพิมพลายลงบนบรรจุภัณฑได และ นําไปรีไซเคิลไดอีกดวย สวนชั้นที่ 5 นั้นเปนชั้นที่ใช


วัตถุดิบประเภท ADMERth เหมาะสําหรับบรรจุภัณฑที่ตองใช กาวเปนตัวประสาน ซึ่ง KBF มีบรรจุภัณฑ PE ใหบริการขนาด 3.5 ml ถึง 250 ml KBF มีกาํ ลังการผลิตแบงเปน PETe แบบขวด มีกาํ ลังผลิต ประมาณ 8 ลานชิ้นตอเดือน PETe แบบกระปุกประมาณ 260,000 ชิ้นตอเดือน สวน PE แบบหลอด ผลิตไดประมาณ 1.6 ลานชิน้ ตอเดือน สวนขัน้ ตอนการติดฉลากนัน้ หากติดฉลาก ดานเดียว สามารถผลิตไดถงึ 700,000 ชิน้ ตอเดือน ถาติดฉลาก 2 ดาน สามารถผลิตไดประมาณ 6000,000 ชิ้นตอเดือน ดวย กําลังการผลิตดังกลาว ทําให KBF สามารถสงสินคาใหแกลกู คา ไดภายใน 45 วัน “KBF ยังใหบริการการพิมพบนบรรจุภัณฑดวย ถาพิมพ ซิลคสกรีนบนขวด ไมเกิน 3 สี ใชเวลาในการดําเนินการ ประมาณ 45 วัน ถาเปน Offset Printing สามารถพิมพไดถึง 8 สี และพิมพบนหลอดแบบ 2 สีใชเวลาประมาณ 45 วัน เชนกัน” จากผลิตภัณฑที่หลากหลายใหเลือกใช KBF จึงมีกลุม ลูกคาหลากหลายเชนกัน กลุม ลูกคาจะแบงออกเปน 3 กลุม ดวย กัน ประมาณ 70% เปนกลุมผูผลิต OEM ในประเทศไทยที่สง ออกสินคาสําเร็จรูปไปทั่วโลก ประมาณ 20% จะเปนบริษัทใน ประเทศที่จําหนายสินคาทั้งในประเทศและตางประเทศ และ ประมาณ 10% เปนกลุมที่มีแบรนดของตนเอง “กลุมลูกคาของเราสวนใหญเปนลูกคาในประเทศที่เปน OEM ที่สินคาบางสวนสงออกตางประเทศ สําหรับลูกคาที่ทาง บริษัทติดตอเองนั้นเปนกลุมลูกคาจากญี่ปุน ออสเตรเลีย และ กลุมประเทศเพื่อนบาน เราสงออกทั้งที่เปนบรรจุภัณฑเปลา และแบบที่บรรจุผลิตภัณฑเรียบรอยแลว” ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องลู ก ค า นั้ น ประมาณ 70% จะเป น กลุ  ม Skincare and Cosmetics อีก 15% เปนกลุม Food ที่นําไปใช บรรจุอาหารประเภท Soy Sauce, Seasoning, Tea Leaves, Cooking Oil, Coconut Oil, Sesame Oil, Baked Snack and Cooking Paste ประมาณ 10% เปน Household Products ใช บรรจุผลิตภัณฑประเภท Dishwashing Liquid, Carwashing Liquid and Other Clearing Liquid และ 5% เปนกลุม Pharmaceutical ใชบรรจุผลิตภัณฑประเภทสเปรย แกเจ็บคอ เปนตน การตรวจสอบคุณภาพที่เขมงวดก็เปนอีกสิ่งหนึ่งที่ KBF ใหความสําคัญ โดยมีการทดสอบความหนา-บางของสินคา ทดสอบความแข็งแรงของสินคา ตรวจสอบคุณภาพการพิมพ ตรวจสอบเกลียวสินคา ตรวจสอบขนาด ซึ่งการทดสอบและ ตรวจสอบทุกขั้นตอนจะดําเนินการอยางละเอียดเพื่อสงมอบ สินคาที่ไดคุณภาพใหแกลูกคานั่นเอง “เนือ่ งจากสินคาของเราตองสงออกทัง้ แบบผาน OEM และ สงออกจากเราโดยตรง กอปรกับลูกคา ในประเทศก็ตองการ สินคาที่คุณภาพสูง ทําใหการตรวจสอบคุณภาพตองเขมงวด มาก ระบบการผลิ ต ก็ ต  อ งรั ก ษาคุ ณ ภาพทุ ก ขั้ น ตอนตาม กฎระเบียบที่กําหนดสําหรับสินคาสงออก”

การผลิตสินคาใหไดคณ ุ ภาพนัน้ นอกจากการตรวจสอบที่ เขมงวดแลว การเลือกวัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพและการใชเทคโนโลยี ที่เหมาะสมก็เปนอีกทางหนึ่งที่ทําใหไดสินคาคุณภาพ KBF เลือกใชเครือ่ งจักรของประเทศญีป่ นุ รวมทัง้ วัตถุดบิ ในการผลิต ซึง่ การเลือกใชเครือ่ งจักรจากญีป่ นุ ทําใหสรางความเชือ่ ถือจาก ลูกคาไดอีกทางหนึ่ง “ทราบกันดีวาประเทศญี่ปุนเปนประเทศที่มีเทคโนโลยี ดานบรรจุภัณฑที่ทันสมัย และใหความสําคัญกับคุณภาพของ บรรจุภณ ั ฑมากทีส่ ดุ ดังนัน้ การผลิตใหลกู คาจากญีป่ นุ จะตอง ปฏิบัติตามกฎระเบียบอยางเขมงวด แตหากไดรับการยอมรับ จากลูกคาญี่ปุนก็ทําใหการผลิตใหแกลูกคากลุมอื่นไดงายขึ้น นอกจากนัน้ การผลิตสินคาใหญปี่ นุ ทําใหบริษทั พัฒนาคุณภาพ สินคา พัฒนาการผลิตไปในตัวดวย” ปญหาการขาดแคลนแรงงาน เปนปญหาทีผ่ ปู ระกอบการ ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑมักเจออยูเสมอ ในบางชวงเวลา KBF ก็ประสบปญหานี้เชนเดียวกัน แตดวยมีความรูดาน คอมพิวเตอร และติดตามเทคโนโลยีใหม ๆ อยูเสมอจึงนํา เทคโนโลยีใหม ๆ และระบบ IT มาใชเพื่อลดเวลาการทํางาน ลดการใชแรงงาน และลดการผิดพลาดที่เกิดจากคน สวนการแขงขันในตลาดนัน้ คุณดนุสรณ ใหความเห็นวา ถึงแมผูประกอบการบรรจุภัณฑในประเทศไทยจะมีอยูเปน จํานวนมาก แตโดยทั่วไปแลวก็ไมสงผลตอ KBF นัก กลับ สงผลดีตอ ลูกคาทีจ่ ะไดเลือกสินคาและบริการทีด่ ที สี่ ดุ ทีพ่ อใจ ที่สุด ดังนั้น ผูประกอบการแตละรายจึงตองเรงผลิตสินคาที่มี คุณภาพและใหบริการที่ดีที่สุด เมื่อผูประกอบการทุกรายมี เปาหมายเชนนี้ก็ยอมสงผลใหธุรกิจการผลิตบรรจุภัณฑของ ไทยกาวหนาขึ้นไปดวย ดวยเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศในป 2560 ซบเซา ทําใหเปาหมายทางการตลาดของ KBF ไมเปนไปตามเปา หมาย แตในป 2561 มีแนวโนมที่ดีขึ้นเพราะลูกคาหลายราย เพิ่มกําลังผลิต ความตองการบรรจุภัณฑจึงเพิ่มตามไปดวย “ในป 2561 เปนปที่เราคาดหวังวายอดขายจะกระเตื้อง ขึน้ กวาปนี้ เพราะมีลกู คาหลายรายมีแผนจะเพิม่ กําลังการผลิต ทําใหความตองการบรรจุภณ ั ฑเพิม่ ขึน้ ตามไปดวย แตเปาหมาย ตลาดหลักของเราในปหนา คือ ตลาดในตางประเทศ ถึงแม ตลาดหลักของเรายังเปนตลาดในประเทศ แตตางประเทศก็มี ความตองการเพิ่มขึ้น ทําใหเรามีโอกาสขยายตลาดไดเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นเราจะเพิ่มรูปแบบของบรรจุภัณฑใหหลากหลาย ขึ้น สนองความตองการของตลาดไดมากขึ้น จึงคาดหวังวา รายไดโดยรวมจะเพิ่มสูงขึ้น” เปาหมายที่ทาง KBF จะขยายตลาดเพิ่มขึ้นในป 2561 คือ ญี่ปุนกับเวียดนาม ญี่ปุนเปนประเทศที่อุตสาหกรรม บรรจุภัณฑเติบโตสูงขึ้นทุกป และเปนตลาดที่ตองการสินคา คุณภาพสูง ประณีต และรูปแบบแปลกใหม รวมทัง้ มีความภักดี ตอคูค า สูง ดังนัน้ การขยายตลาดในญีป่ นุ จึงไมงา ยนัก แตดว ย ความมั่นใจในคุณภาพสินคาและการบริการ คุณดนุสรณ จึง มั่นใจวาสามารถขยายตลาดในญี่ปุนไดเพิ่มขึ้น THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

39


“ตลาดญี่ปุนเปนตลาดที่ใหญมาก ความตองการร บรรจุภณ ั ฑสงู ขึน้ ในทุกป ๆ จึงเปนโอกาสใหเราเขาไปขยายย ตลาดในญี่ปุนเพิ่มขึ้น ขณะนี้เรามีลูกคาในตลาดญี่ปุนอยูยู จํานวนหนึ่ง จึงยืนยันไดเปนอยางดีวา คุณภาพสินคาของง เราสามารถสงออกไปยังตลาดญีป่ นุ ได และตัง้ เปาหมายวา ป 2561 จะตองเพิม่ สัดสวนการสงออกไปยังญีป่ นุ ใหได แตต ดวยพฤติกรรมของคนญีป่ นุ ทีม่ คี วามภักดีตอ คูค า สูง จึงตอง ทําใหเขาเชื่อใจวาสินคาของเรามีคุณภาพสูง มีการบริการร ทีด่ แี ละสงออกไดเร็ว สิง่ เหลานีจ้ ะเปนจุดเดนทีจ่ ะทําใหเราา เพิ่มสัดสวนตลาดญี่ปุนได” สวนตลาดเวียดนามนั้น คุณดนุสรณ ใหความเห็นวา เปนตลาดใหม อุตสาหกรรมกําลังขยาย ทําใหความตองการร สินคาอุปโภคบริโภค และสินคาฟุมเฟอยเพิ่มสูงขึ้น สงผลล ใหความตองการบรรจุภัณฑสําหรับสินคากลุมนี้เพิ่มขึ้น ดังนั้น ป 2561 ทาง KBF จึงวางเปาหมายวาจะตองเดิน หนาขยายตลาดในเวียดนามเพิ่มขึ้น และคาดวาจะไดรับ การตอบรับที่ดี เพราะตลาดเวียดนามมีความมั่นใจสินคา จากประเทศไทยวามีคุณภาพดี ราคาเหมาะสม สําหรับตลาดในประเทศนอกจากลูกคารายใหญแลว ตลาด SMEs ก็ ยั ง เป น ตลาดที่ KBF ให ค วามสํ า คั ญ เชนเดียวกัน ลูกคา SMEs เปนตลาดที่ตองการบรรจุภัณฑ ครั้งละไมมาก และมีเงินลงทุนไมมาก จึงตองการสินคาที่ ประหยัดตนทุนใหมากทีส่ ดุ ทาง KBF เองก็ตระหนักในเรือ่ ง นี้เปนอยางดี จึงขายสินคาในราคาถูกเพื่อใหลูกคากลุมนี้ เติบโตขึ้น “เรากลายืนยันไดวาเราขายบรรจุภัณฑถูกกวาเจาอื่น ในจํานวนที่เทากัน และเปนสินคาเกรดเดียวกับที่เราผลิต ใหลกู คารายใหญ เราไมขายแพงเพือ่ ลดตนทุน เมือ่ เขาอยูไ ด และขยายตลาดออกไปเรื่อย ๆ ก็ยอมตองการบรรจุภัณฑ มากขึน้ สงผลใหเราขายดีขนึ้ ไปดวย เมือ่ ลูกคาอยูไ ดเราก็อยู ได ลูกคาอีกกลุมที่มีแนวโนมเติบโต คือ กลุมธุรกิจโรงแรม หรือรีสอรตขนาดเล็กทีม่ หี อ งไมมากนัก ตองการบรรจุภณ ั ฑ ไปบรรจุผลิตภัณฑเอง เมื่อผลิตภัณฑหมดก็นํากลับมาใช ใหมได” อีกตลาดหนึ่งที่ คุณดนุสรณ ดําเนินการมาไดระยะ หนึ่งและไดรับการตอบรับดีมาก ๆ คือ การทําตลาดดวย โชเชียลเน็ตเวิรก ดวยเทคนิคการขายที่ไมมีขั้นตํ่า สงของ เร็ว มีรูปแบบหลากหลายใหเลือกซื้อ “ดวยพฤติกรรมของผูบริโภคในปจจุบันที่ชอบซื้อของ ทางเน็ต จึงใชโซเชียลใหเปนประโยชนโดยเราขายสินคา ไมจํากัดจํานวนขั้นตํ่า 1 ชิ้นเราก็ขาย หลังจากซื้อแลวเรา จัดสงทุก ๆ 3 วัน เมือ่ รวมกับรูปแบบทีห่ ลากหลายใหเลือก ทําใหไดรับการตอบรับที่ดีมาก เปนการตลาดที่เขากับไลฟ สไตลของคนรุนใหม” คุณดนุสรณ เตชะพานิชกุล เปนผูบริหารรุนใหมที่มี ความตั้งใจมุงมั่นวา จะตองพัฒนาบริษัทใหเติบโตยิ่งขึ้น ตองนําความรูที่รํ่าเรียนมาตอยอดธุรกิจใหกาวไปขางหนา 40

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

อยางแข็งแกรง มัน่ คง เมือ่ เริม่ กอตัง้ นัน้ KBF ตั้งวิสัยทัศนวา จะตองผลิตสินคาคุณภาพ สงตรงเวลา มีหลากหลายรูปแบบใหลูกคา เลือก ซึ่งตลอด 14 ปที่ผานมา การพิสูจนวา KBF ไดบรรลุเปาหมายตามวิสยั ทัศนดงั กลาว แลว ดังนั้น การจะพัฒนาใหกาวหนาตอไป จําเปนตองตั้งเปาหมายที่ดียิ่งขึ้น โดยรักษา จุดแข็งเดิมไวแลวเพิ่มเปาหมายใหมเขาไป “ผมโตมาพรอม ๆ กับการเติบโตของ บริษัทแหงนี้ ผมรูวาเรามีจุดแข็งอะไร เมื่อ มาบริหารเต็มตัวก็ตั้งเปาหมายวาจะไมหยุด แคนี้ ตองเสริมจุดแข็งใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น ใช เทคโนโลยีใหเกิดประโยชนมากที่สุด และตั้ง เปาหมายใหมใหเขากับยุคสมัยที่เปลี่ยนไป จากที่ผลิตเพียงอยางเดียวก็จะเพิ่มครีเอทีฟ เขาไปในการบริการของเราดวย ซึ่งเราจะ ทํางานรวมกับลูกคาอยางใกลชิด ชวยกันคิด ชวยกันพัฒนา เพือ่ ใหลกู คาไดสนิ คาทีด่ ที สี่ ดุ และพอใจที่สุด ชวยใหลูกคาเติบโตอยาง แข็งแกรงไปพรอม ๆ กัน ปจจุบันพฤติกรรม ผูบ ริโภคเปลีย่ นไป รูจ กั เลือกมากขึน้ มีความ ตองการสิง่ ใหม ๆ หากจะอยูไ ดในตลาดก็ตอ ง ปรับตัวใหสนองความตองการของผูบริโภค ใหได จึงจะสามารถแขงขันในตลาดได” จากทั้งหมดที่กลาวมา เชื่อวาอนาคต ของ บริษัท เคบีเอฟ อินเตอรแพ็ค จํากัด คงจะกาวหนาตอไปเรือ่ ย ๆ สมกับความมุง มัน่ ตั้งใจของผูบริหารรุนใหมคนนี้

KBF We are behind great brands’ success


IN TREND

Category Code

สมชนะ กังวารจิตต

คืออะไร วันนีผ้ มมีคาํ ถามงาย ๆ มาใหทกุ ทาน ลองคิดกันดูเลน ๆ นะครับวา เวลาทาน ไปซือ้ สินคาตามหางสรรพสินคา ซูเปอร มารเก็ต หรือรานสะดวกซือ้ ตาง ๆ ทาน ใชหลักเกณฑอะไรในการเลือกซื้อกัน บางครับ ความตองการ ความจําเปนที่ ตองใช หรือความอยากทีจ่ ะทดลองสินคา ใหม ๆ แลวถาสินคาที่ทานตองการซื้อ มีตัวเลือกมากมาย หลายแบรนด หลาย ประเภทเยอะแยะไปหมด ทานจะพิจารณา จากอะไร แนนอนครับ ชื่อแบรนดที่คุนหู ติดตา อาจจะมากอนอันดับแรก แตถามี ความแปลกใหม ดีไซนสะดุดตา วางบน เชลฟเดนกวาแบรนดอื่นก็อาจจะถูกใช เปนเกณฑที่ถูกเลือกไดเชนกัน เอาละครับ วันนี้!! ผมมีประเด็นนาสนใจเหมาะสําหรับผูประกอบการทุกทานไดนําไปประยุกตใชกับการจัดวางสินคาแบรนด ของทานใหประสบความสําเร็จโดยมีหัวใจสําคัญ 3 ขอสั้น ๆ ครับ ข อแรก คือ การจัดวางตองดูโดดเดนเมื่อวางบนเชลฟและสามารถดึงดูดสายตาผูพบเห็นได ข อสอง ขอมูลบนบรรจุภัณฑ ตองสามารถกระตุนตอการซื้อสินคา สามารถอธิบายลักษณะเฉพาะหรือจุดขายของสินคาได และใชเวลาที่เหมาะสมในการรับรู ขอมูลไดอยางตรงประเด็นครบถวน และ สุดท าย ที่ขาดไมไดเลย คือ ตองสอดคลองกับ Brand Positioning เพื่อชวยสรางคุณคา และความเชื่อของแบรนดไดอยางแทจริงครับ

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

41


โดยหลั ก การ 3 ข อ นี้ น ะครั บ นํ า มาเชื่ อ มโยงกั บ การ วิเคราะหพฤติกรรมการซือ้ ของคนเราได คือ ผูบ ริโภคสวนใหญ เมื่อตองการเลือกซื้อสินคาอะไรก็แลวแต สมองของคนเราจะ รีบนําขอมูลเกากลับมาใชหรือความรูจากประสบการณเดิมมา ชวยในการพิจารณา ถาเปนสินคาก็จะพยายามนึกถึง Product’s Category ของหมวดหมูสินคานั้น ถาเปน Designer จะเรียกวา “Category Code” ตัวอยางเชน ถาเราอยากซื้อน้ํามัน พืชสักขวด เราก็จะนึกถึงภาพในหัววา น้ํามันพืชตองมีลักษณะ บรรจุภัณฑอยางไร ใสขวดแบบไหน ภาพกราฟกที่เคยเห็น เปนอยางไร หรือสีสันที่ใชเปนสีอะไร ทั้งหมดลวนมาจาก ประสบการณหรือความรู ความทรงจําเดิม ๆ ที่สามารถนึกขึ้น มาได ดังนัน้ เราจึงมุง ตรงไปทีเ่ ชลฟเลือกขวดน้าํ มันพืช ซึง่ สินคา หมวดหมูเดียวกันความแตกตางจะอยูที่ แบรนดสินคา ดีไซน บรรจุภัณฑ ขอมูลองคประกอบตาง ๆ ที่แสดงไว ณ จุดขาย และตําแหนงการวาง

โดยปกติ เ มื่ อ คนจะเลื อ กซื้ อ สิ น ค า จะใช สั ญ ชาตญาณ (Intuition) กอนแลวจึงตามดวยการใชเหตุผล (Reasoning) เพราะสมองของมนุษยชอบความเร็ว ดังนั้น คนตองการที่จะ ตัดสินใจทันทีทันใดเทาที่จะเปนไปได ซึ่งนับวาสําคัญมาก นะครับในธุรกิจปจจุบนั ทีต่ อ งเขาใจถึงหลักการในการพิจารณา เลือกซื้อสินคาและบริการของผูบริโภคหรือลูกคา อยางไรก็ดี หลาย ๆ ครั้งที่บริษัทตาง ๆ พยายามเสนอ สินคาที่เปนนวัตกรรม หรือพัฒนาเพิ่มไลนสินคาใหม ๆ ที่รวม ความเปนเอกลักษณเฉพาะ และจุดขายไว ถาประสบความ สํ า เร็ จ ก็ จ ะกลายเป น มาตรฐานแบบอย า งให แ บรนด อื่ น ได ทําตาม โดยจะเห็นวาสินคาในแตละหมวดหมูจ ะมีแบรนดสนิ คา ที่เปนผูนําตลาดอยูไมกี่แบรนด ซึ่งแบรนดอื่นก็จะพยายาม ทําตามเพื่อใหเปนผูนําบาง ดังนั้น จะเห็นไดวาการออกแบบ บรรจุภณ ั ฑเพือ่ การแขงขันนัน้ รูปแบบจุดขายในหมวดหมูส นิ คา เดียวกันจะมีรูปแบบคลายกันมาก จนบางครั้งเกิดความสับสน หยิบผิดหยิบถูกก็มีครับ ลองคิดดูนะครับวา จําเปนหรือไม ที่แบรนดใหมที่อยากจะเปนแบรนดชั้นนําบาง จําเปนหรือ ทีจ่ ะตองทําเหมือนกับแบรนดชนั้ นําทีม่ อี ยูใ นตลาด คําตอบคือ ไมจําเปนครับ!!! วิธีการก็คือ ฉีกกฎเกณฑเดิม ๆ สรางสรรค นวัตกรรม สิ่งใหม ๆ ใหผูบริโภครูถึงคุณประโยชนใหม ๆ ของ 42

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

สิ่งสําคัญที่แบรนด ใหม ๆ ควรจะมีคือ นวัตกรรมในการสร างสรรค สิ่งใหม ๆ ทั้ง ตัวผลิตภัณฑ เอง และตัวบรรจุภัณฑ ให มี รูปแบบใหม ๆ ที่ตอบโจทย โดนใจผู บริโภค ในยุคสมัยใหม

สินคาเราทีแ่ ตกตางจากคนอืน่ อยางสิน้ เชิง เชน เพิม่ เทคโนโลยี ใหม (New Technology) แนวปฏิบัติใหม (New Regulations) และโครงสรางใหม ๆ (New Infrastructure) ซึ่งสิ่งใหม ๆ ทั้งหลายทั้งปวงเหลานี้ จะสรางการรับรูใหม ทีไ่ มเคยมีมากอนใหกบั ผูบ ริโภคไดรบั รู ทีเ่ รียกวา “Cognitive Dissonance” คือ การไมลงรอยกันของการรูค ดิ เปนทฤษฎี แรงจูงใจของมนุษยกระตุน ใหเราเปลีย่ นแปลงความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรม สั้น ๆ งาย ๆ เลยครับ อะไรที่เราคาดหวังวา จะเห็น กับสิ่งที่เจอไมเหมือนกัน เปนเทคนิคที่ถูกออกแบบมา จะชวยทําใหสรางการจดจําใหม เปนประสบการณใหมไดดี ตัวอยางเชน ภาพวาดของ Rene Magritte ชื่อวา “Not to be Reproduced” ที่มีรูปผูชายยืนมองกระจกแตรูปสะทอนในเงา กระจกกลับไมเปนไปตามธรรมชาติ เห็นเปนภาพเดียวกัน แทนทีจ่ ะสะทอนเปนไปตามกฎทางกายภาพ ซึง่ ตรงจุดนีแ้ หละ ครับ เราสามารถนํามาประยุกตใชสําหรับสินคาและผลิตภัณฑ ใหม ใหเปนทีจ่ ดจําไดโดยฉีกรูปแบบเดิม ๆ ใสนวัตกรรมตาง ๆ ลงไป และเปนการกระตุนใหผูบริโภคสนใจและเลือกซื้อสินคา


และผลิตภัณฑ แบรนดของเราโดยการใชการสื่อสารถึงคุณ ประโยชนเขามาชวย ตัวอยางที่ประสบความสําเร็จมาแลว คือ เครื่องดูดฝุน แบรนด Dyson เมือ่ ป 1990 ไดดไี ซนเครือ่ งดูดฝุน ออกมาอยาง มีเอกลักษณ นับวาประสบความสําเร็จมากในสมัยนัน้ หลังจาก นัน้ ในป 2014 ก็มกี ารพัฒนาแบบใหมซงึ่ แตกตางจากเดิมอยาง สิ้นเชิง ชื่อรุน DC54 Animal Cylinder นับวาเปนการปฏิวัติ พลิกโฉมเครื่องดูดฝุนและเปนผูนําใหกับแบรนดอื่นไดทําตาม เห็นไหมละครับวา ถาแบรนดของทานมีนวัตกรรมใหม ๆ ที่ไม เหมือนใคร ก็สามารถเปนผูนําและสราง Category Code ใหม ใหเปนที่จดจําและทําตามได ถายกตัวอยางแบรนดไทย ๆ ทานอาจจะเห็นภาพชัดขึ้น อยางเชน แบรนดกราโนลาคลีน (Granola) เจาแรกอยาง Diamond Grains ซึ่งปกติแลวแตเดิมแบรนดอื่น ๆ ของกราโนลาที่นําเขา มาขายในไทยนั้น จะขายแบบใสกลองบาง หรือใสซองบางก็ดี แตดวยหลักคิดที่ใสใจผูบริโภคและฉีกกฎเกณฑเดิม ๆ ของ แบรนด กราโนลา Diamond Grains ไมไดมองแบบนัน้ เขาฉลาด เลือกที่จะใชบรรจุภัณฑ Tray แบบ Single Serve เปนเจาแรก ทําใหกลายเปนการสราง Category Code ใหมขึ้น ดังนั้นจึง ทําใหคูแขงที่ตามมาภายหลังอีกมากมายจําเปนตองเลือกใช Tray Single Serve เชนเดียวกัน นี่ถือเปน Case Study ที่ มหัศจรรยมาก ๆ ของ SME ไทยในเรื่อง Category Code เลย ทีเดียว ถาสมมติวาเราจะออกแบบน้ํามันมะกอกสักยี่หอหนึ่งละ จะทําอยางไร ตามมาเลยนะครับ ผลิตภัณฑน้ํามันมะกอกนั้น เปนที่นิยมในตลาดตางประเทศมาก ๆ จะเห็นไดวามีหลาก หลายรอยแบรนด โดยถาใหลองนึกถึงภาพสินคาน้าํ มันมะกอก ทุกคนอาจจะนึกถึง สีเขียวใส ภาพผลมะกอก ใสขวดแกว เปนตน เพราะเปนความทรงจําหรือประสบการณทเี่ ราพบเห็น เปนสวนมาก ดังนั้น ถาจะมีแบรนดใหมอยากจะผลิตสินคา น้ํามันมะกอกบางละ จะทําอยางไรดี... แนนอนครับ การ

ออกแบบบรรจุภัณฑนี่แหละครับ ที่จะเปนอาวุธหลักสําคัญ ใหสามารถแขงขันกับแบรนดอื่น ๆ ได แตก็ไมพอนะครับ โครงสรางทางบรรจุภัณฑก็มีสวนชวยเชนกัน เพราะฉะนั้น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ แ บรนด ใ หม ๆ ควรจะมี คื อ นวั ต กรรมในการ สรางสรรคสิ่งใหม ๆ ทั้งตัวผลิตภัณฑเอง และตัวบรรจุภัณฑ ใหมีรูปแบบใหม ๆ ที่ตอบโจทยโดนใจผูบริโภคในยุคสมัยใหม นี้ดวยครับ สุดทายนี้ นอกจากนวัตกรรมที่จําเปนสําหรับการเปน แบรนดผูนําแลว สิ่งสําคัญไมแพกันก็คือ การสรางเรื่องราวให เกิดความเชื่อในแบรนด ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของกลยุทธทาง การตลาด เพราะการตัดสินใจซือ้ ขึน้ อยูก บั ขอมูลตาง ๆ ทีไ่ ดรบั เชน สื่อโฆษณาตาง ๆ ทั้งออนไลน ออฟไลน และ POSM Display ตาง ๆ ทีผ่ ปู ระกอบการตองคํานึงถึงวาจะสามารถชวย สรางความภักดีในตราสินคา (Brand Loyalty) ที่ตองพิจารณา จากมุมมองของพฤติกรรมในการซือ้ และมุมมองในเชิงจิตวิทยา ของผูบริโภคดวยเชนกัน และสามารถนําเสนอความแตกตาง โดยใช “Touchpoints” จุดสัมผัสแรกที่ลูกคาไดพบเห็นผานตัว บรรจุภัณฑสินคาที่จะออกแบบเพื่อสื่อสารระหวางลูกคาและ ผลิตภัณฑสินคาและบริการไดตรงจุด และโดนใจผูบริโภคได อยางไร

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

43


Technology_No.123_09962_9-5-60_G5-4


45 New


LABELEXPO SOUTHEAST ASIA 2018 IS A BRAND NEW TRADE SHOW FOR THE LABEL AND PACKAGE PRINTING INDUSTRY IN SOUTHEAST ASIA. The first edition will take place from 10-12 May 2018 at BITEC, Bangkok. Whether you’re choosing machinery or materials, it is vital you feel confident about your decisions. The best way to do this is to see all the options together in one place. Come to Labelexpo Southeast Asia 2018 and hear the noise of the machinery in operation, feel the texture of the substrates and see the print quality for yourself.

WWW. L A B E L E X P O - S E AS I A . CO M Labelexpo_SEA_G5-4.indd 1

TECHNOLOGY MEDIA_NO127_10141_11-1-6_G5-4

11/1/61 14:16


FOCUS

สถาบัน

การจัดการบรรจุภัณฑ

กองบรรณาธิการ

และรี ไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล อม TIPMSE คือใคร

สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดลอม หรือ TIPMSE อยูภายใตการกํากับของ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กอตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 20 ธันวาคม 2548 โดยภาคเอกชนที่มุงมั่นในการสราง สังคมแหงการบริโภคทีย่ งั่ ยืน มารวม สนั บ สนุ น การทํ า งานตามแนวคิ ด Closed Loop Packaging (CLP) ดวย การเปนตัวกลางเชือ่ มโยงการทํางาน ของทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาค เอกชน ภาคประชาชน สถาบันการ ศึกษา และ NGO สมาชิกมีสวนรวมในการสราง สังคมบริโภคอยางยั่งยืนไดอยางไร • เปนสวนหนึ่งในการผลักดันให เกิดกลไกในการจัดการบรรจุภัณฑ ใชแลวใหมีปลายทางในการจัดการ อยางถูกวิธีและยั่งยืน • สามารถรับผิดชอบบรรจุภัณฑ ของตนเองไม ใ ห เ ป น ภาระกั บ สิ่ ง แวดลอม • สรางองคความรูและเครื่องมือ ดา นการจั ด การบรรจุ ภั ณ ฑใช แ ล ว และนํ า ไปเผยแพร ใ ห กั บ กลุ ม เป า หมายของตนเอง เพือ่ ประโยชนดา น ภาพลักษณ • เปนสวนหนึ่งในการสรางฐาน ข อ มู ล ที่ เชื่ อ มโยงปลายทางบรรจุ ภัณฑใชแลวใหกลับมารีไซเคิลได • รวมเปนสวนหนึ่งในการสราง การรับรูใหกับทุกภาคสวน ทุกเพศ ทุกวัย ทุกกลุมอาชีพ ใหเปนหนึ่ง เดียวกันในการจัดการบรรจุภัณฑใช แลวอยางยั่งยืน

(TIPMSE) TIPMSE ทําอะไร Education

• เพิม่ ศักยภาพภาคอุตสาห กรรม จัดกิจกรรมศึกษาดูงาน แลกเปลี่ ย น เรี ย นรู ใ นการ จัดการบรรจุภัณฑตั้งแตตนน้ํา ถึ ง ปลายน้ํ า ทั้ ง ในและต า ง ประเทศ • การรวบรวมขอมูลเทคโน โลยี ก ารจั ด การบรรจุ ภั ณ ฑ ประเภทตาง ๆ ทั้งในและตาง ประเทศ • สร า งกลไกการเรี ย นรู (ภาคประชาชน) • จั ด สั ม มนา อบรมและ ค า ยครอบครั ว ค า ยเยาวชน ดานการจัดการบรรจุภัณฑใช แล ว และการรี ไซเคิ ล บรรจุ ภัณฑ • จั ด นิ ท รรศการเผยแพร การจัดการบรรจุภัณฑใชแลว ตลอดทั้งป

Connection

• การรวบรวมขอมูลเทคโนโลยีการจัดการ บรรจุภัณฑทั้งในและตางประเทศ • เปนตัวแทนภาคเอกชนในการรับฟงและ ใหความคิดเห็นเกี่ยวกับกฎหมายบรรจุภัณฑ • จัดงาน EXPO การจัดการบรรจุภัณฑใช แลวอยางยั่งยืน

Promotion

• สรางกลไกในการจัดการบรรจุภณ ั ฑใชแลว ใหมีปลายทางในการจัดการและกําจัดอยาง ถูกวิธีและยั่งยืน • จัดทําเครื่องมืออิเล็กทรอนิกสเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการจัดการบรรจุภัณฑใชแลว อยางครบวงจร

สมาชิกต องมีคุณสมบัติอย างไร ตองเปนนิติบุคคลและตองมีภูมิลําเนาของสํานักงานใหญหรือสํานักงานสาขา อยางใดอยางหนึง่ ตามทีป่ รากฎในหนังสือรับรองของกระทรวงพาณิชยหรือทะเบียน ภาษีมูลคาเพิ่ม (ภ.พ.20) อยูในประเทศไทย

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

47


ร าน 0 บาท

ร วมเป นส วนหนึง่ ในการ สร างกลไกการจัดการ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ ใ ช แ ล ว ให มี ป ลายทางในการ จัดการและกําจัดอย าง ถูกวิธีและยั่งยืน

ปจจุบันคนไทยตองเผชิญกับปญหาเรื่องคาครองชีพที่สูงขึ้นในทุกดาน สิ่งของอุปโภค บริโภคตาง ๆ ลวนพรอมใจกันปรับตัวขึน้ ราคา ในขณะทีร่ ายรับไมสมดุลกับรายจาย ซึง่ ปญหา ดังกลาวสงผลกระทบถึงคนทั่วประเทศ

บรรจุภัณฑ ใช แล ว ในมือคุณจะไม เป น ขยะอีกต อไป

48

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

TIPMSE ไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว และพยายามที่จะรวมหา ทางออกใหกับประเทศในบทบาทและขอบเขตที่ทาง TIPMSE มีความ เชี่ยวชาญ นั่นคือ การจัดการวัสดุรีไซเคิล ซึ่ง TIPMSE พบวาคนสวนใหญ มองขามความสําคัญและมูลคาของการจัดการวัสดุรีไซเคิลซึ่งมีมูลคา เปนเงิน สามารถนํามาจับจายใชสอย ชวยลดคาครองชีพของประชาชนได อีกทั้ง TIPMSE มีชุมชนเครือขายที่มีความพรอมที่จะกาวไปสูการจัดการ ระบบ รานชุมชนวัสดุรีไซเคิลแบบยั่งยืน จึงไดประสานความรวมมือกับ เครือขายของ TIPMSE จัดตั้งโครงการ “ราน 0 บาท” ขึ้นเปนครั้งแรกใน เมืองไทย โดยรานดังกลาวถือเปนของชุมชนอยางแทจริงทีม่ งุ สนองตอบความ ตองการของแตละชุมชน ในรูปแบบตาง ๆ เชน รานของชํา รานขาวแกง รานรับแลกสินคาเคลื่อนที่ ตามความตองการของแตละชุมชน โดยมี แนวคิดในการใชวัสดุรีไซเคิลแทนเงินสดแลกสินคาอุปโภคบริโภคในชีวิต ประจําวัน เพือ่ ใหเกิดความยัง่ ยืนในชุมชน และลดปริมาณขยะในประเทศ รวมทั้งเปนการสรางวัฒนธรรมการคัดแยกขยะใหกับคนไทยอีกดวย TIPMSE กําหนดวัตถุประสงคในการดําเนินการ “ราน 0 บาท” ไว 3 ประการ คือ เพื่อลดภาระคาครองชีพของประชาชน โดยการใชวัสดุรีไซเคิล 1. แทนเงิ นสด รณรงคใหประชาชนมองเห็นมูลคาของวัสดุรีไซเคิล กอนทิ้ง 2. เพืเปน่อขยะ ่อรณรงคใหเกิดวัฒนธรรมใหมที่คนรุนใหมรวมใจคัดแยกวัสดุ 3. เพืรีไซเคิ ล


ซึง่ เราเชือ่ มัน่ เปนอยางยิง่ วา หากโครงการดังกลาวไดดาํ เนินการไปแลว จะสรางใหเกิดวัฒนธรรมใหมทคี่ นในชุมชนสามารถจัดการเรือ่ งขยะในชุมชน ได โดยเฉพาะเรื่องของการคัดแยกขยะจากตนทาง ซึ่งจะชวยใหปญหาขยะ ในชุมชนลดลงได ทัง้ ยังสามารถลดคาครองชีพของคนในชุมชนไดอยางยัง่ ยืน โดย “ราน 0 บาท” จะถูกใชเปนสัญลักษณใหกับคนทั่วไป ไดรับรูและเขาใจ ในแนวคิดของรานนีว้ า แมจะไมมเี งินสดก็สามารถซือ้ สินคาไดดว ยการใชวสั ดุ รีไซเคิล ไมวาจะเปนบรรจุภัณฑใชแลว จําพวกขวดแกว ขวดพลาสติก กระปองเครื่องดื่ม กลองกระดาษ กลองเครื่องดื่ม และวัสดุรีไซเคิลประเภท อื่น ๆ มาแลกสินคาแทนเงินสด ซึ่งสินคาหลัก ๆ ที่จําหนายในรานก็จะเปน สินคาอุปโภคบริโภคทีจ่ าํ เปนตอชีวติ ประจําวัน เพือ่ ใหบริการแกสมาชิกและ คนในชุมชน

อีกทั้งรูปแบบของราน 0 บาทก็มี หลากหลาย ไมวา จะเปนรานคาแบบถาวร ในชุมชนหรือแบบราน 0 บาทเคลื่อนที่ หรือแมแตรานขาวแกงก็สามารถทําเปน ราน 0 บาทไดเชนกัน โดยที่ราน 0 บาท ของแตละชุมชน จะถูกพัฒนาใหมีความ เหมาะสมกับสภาพของชุมชน เพือ่ ใหเปน รานของชุมชนอยางแทจริง และสมาชิก ของชุมชนสามารถใชบริการไดอยางยัง่ ยืน ทาง TIPMSE ไมไดเปนผูจัดหาสินคาใน ร า นให แต จ ะเป น พี่ เ ลี้ ย งในด า นการ วางแผนการจัดการ การเชือ่ มโยงเครือขาย เพื่อใหแตละชุมชนไดดําเนินการราน 0 บาท ไดเหมาะสมกับสภาพของตน ซึ่ง ทางรานจะเปนผูจัดหาสินคาตามความ ตองการของชุมชน

ทั้ ง นี้ ร า นต น แบบโครงการ “ราน 0 บาท” ไดเปดใหบริการแหง แรก ณ ศูนยคัดแยกวัสดุรีไซเคิลกลุม อาชีพซาเลง ชุมชนออนนุช 14 ไร เขต ประเวศ และแหงที่ 2 ที่ธนาคารขยะ ออมทรัพย ชุมชนเคหะดินแดง พรอม กันนี้ ในเฟสแรกจะมีรานตนแบบอีก หนึ่งแหง ไดแก ชุมชนวัดกลาง ที่จะ เปดเปนราน 0 บาทตนแบบ ใหชมุ ชน ทีส่ นใจเขาศึกษารูปแบบการจัดการได นอกจากนี้ทาง TIPMSE ยังเปด รับสมัครบุคคลหรือชุมชน หมูบานที่ มีความสนใจจะเปดดําเนินกิจการราน 0 บาท สามารถติดตอ TIPMSE ได โดยตรง เพือ่ ศึกษารูปแบบและเงือ่ นไข การดําเนินการ โดยทาง TIPMSE จะ เป น ผู ใ ห ก ารสนั บ สนุ น สื่ อ ส ง เสริ ม การขาย และใหการอบรมกอนการ ดําเนินการเปดราน 0 บาท โดยผู ส นใจสามารถสอบถาม รายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ สถาบันการ จั ด การบรรจุ ภั ณ ฑ แ ละรี ไซเคิ ล เพื่ อ สิ่งแวดลอม (TIPMSE) โทร. 0-2272 -1552-3 ตอ 19 หรอ 24 www. tipmse.or.th หรอ www.facebook. com/Obahtshop

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

49


NEWS

127 Industry Organisations Urge the EU

to Safeguard the Internal Market for Packaging and Packaged Goods

Brussels, 18 October 2017 – In view of the forthcoming inter-institutional negotiations to finalise the revision of the Packaging and Packaging Waste Directive (PPWD), as part of the Circular Economy Package, EUROPEN and 126 other EU and national industry associations, representing a vast range of sectors, call on the EU to safeguard the free movement of (packaged) goods. In their cross-industry joint statement released today at a breakfast event organised by EUROPEN, these 127 organisations express their deep concern about Member States paving the way to effectively re-nationalise packaging policy in the near future, endangering the Internal Market for all packaged goods. This urgent concern relates to Member States’ wish to change the legal base for several provisions of the revised PPWD from the Internal Market to Environmental Protection. This will not as such result in higher environmental standards, but risks opening a Pandora’s Box of divergent national regulations. The signatories urge EU policymakers to retain the Internal Market as the sole legal base of the PPWD.

50

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

Hans van Bochove “We fully support high environmental protection standards and welcome the revision of the PPWD as an important milestone for raising the bar in terms of packaging and packaging waste management,” said Hans van Bochove, Coca-Cola European Partners, and Chairman of EUROPEN. “But EU industries cannot achieve the objectives of the EU Circular Economy package without the Internal Market. More – and not less – EU wide harmonising measures will be needed for a Circular Economy in Europe.”

Martin Reynolds “We shouldn’t fool ourselves that this is just a technical, legal question with no consequences,” said Martin Reynolds, Crown Europe, EUROPEN board member. “It is a political choice about whether we want a proper Internal Market or not. Our answer is clear : we absolutely need a strong EU Internal Market, unhampered by regulatory trade barriers, to provide the necessary scale in supply chains, operations, investment and innovation for successful Circular Economy solutions.” “We hope that this unprecedented industry call will not remain ignored during the forthcoming PPWD inter-institutional negotiations”. he concluded.

(http://www.europen-packaging.eu/component/news/news)


About

EUROPEN – the European Organization for Packaging and the Environment – is an EU industry association in Brussels presenting the opinion of the packaging supply chain in Europe on issues related to packaging and the environment, without favouring any specific material or system. EUROPEN members are comprised of multinational corporate companies spanning the packaging value chain (raw material producers, converters and brand owners) plus national packaging organizations all committed to continuously improving the environmental performances of packaged products, in collaboration with their suppliers and customers.

EUROPEN – องค ก ารบรรจุ ภั ณ ฑ และสิ่ ง แวดล อ มยุ โรป เป น สมาคม อุ ต สาหกรรมของสหภาพยุ โ รป มี สํานักงานใหญในกรุงบรัสเซลส ประเทศ เบลเยีย่ ม เปนองคกรทีน่ าํ เสนอความคิด เห็นประเด็นที่เกี่ยวของกับบรรจุภัณฑ และสิ่งแวดลอมอยางเปนกลาง สมาชิก ของ EUROPEN ประกอบดวยบริษัท ขามชาติซึ่งประกอบไปดวยผูประกอบ การในวงการบรรจุภัณฑ (ผูผลิตวัตถุดิบ เจ า ของโรงงาน และเจ า ของแบรนด ) รวมทั้งองคกรดานบรรจุภัณฑแหงชาติ องคกรมุงมั่นที่จะพัฒนาผลิตภัณฑดาน บรรจุภัณฑอยางตอเนื่องโดยรวมมือกับ ซัพพลายเออรและลูกคา

AD 1/2

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

51


IN TREND

2017

DuPont Awards for Packaging Innovation Winners

DuPont has announced its 2017 winners of theŲDuPont Awards for Packaging Innovation, honoring companies that have demonstrated majorŲ advancements in packaging technology to address the diverse and particular needs of consumers in markets around the world. This year’s Diamond Award, the highest honor, was awarded to theŲFritz™ Water Vest, which allows people in developing countries to carry up to 20 pounds of water easily and safely. Judges felt this is an out-of-the-box solution for a significant global problem and was designed with an overwhelming sense of the greater good. The vest is antimicrobial, ergonomic and reusable. “The DuPont Awards for Packaging Innovation demonstrate how creative, committed and agile the packaging industry is in addressing global issues and consumer needs.” said Bernard Rioux, global packaging leader, DuPont Performance Materials. “This year’s winners included solutions for novel food storage, fermenting food products, premium beauty products, new packaging materials to target millennials and more. This competition brings out the very best of everyone in the packaging industry, and we are thrilled to see innovators raising the bar each year.” Now in its 29thŲyear, the DuPont Awards for Packaging 52

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

Innovation is the industry’s longest running, global, independently judged celebration of innovation and collaboration throughout the value chain and is recognized globally as the leading awards program in the sector. The international competition honors innovations in packaging design, materials, technology and processes. An independent panel of packaging experts evaluated nearly 150 entries from 24 countries and recognized those that excel in the categories of technological advancement, responsible packaging and enhanced user experience. In addition to the award noted above, the judges awarded five diamond finalist award winners, nine gold winners and six silver winners based on “excellence” in one, two or three categories. “The DuPont Awards for Packaging Innovation is exciting because of the global nature of the competition. It is objective, you don’t have to use DuPont materials, and there is no entry fee,” said Lead Judge David Luttenberger, CPP, global packaging director ofŲMintel Group Ltd. “DuPont brings a great variety of disciplines of expertise for the judging panel to really get a global perspective across design, engineering, retail, converting, and academia, which helps us hone in on what’s important and what’s valuable about packaging.”


DIAMOND WINNER Fritz™ Water Vest (Solutions Inc., USA)

Solutions Inc. was named a winner of the 29th DuPont Awards for Packaging Innovation, earning a Diamond Award for the Fritz™ Water Vest, a simple but appropriate packaging solution for water-transport issues in developing countries. In remote areas, accessing drinkable water requires people—most often women and children—to spend many hours a day carrying heavy, unhygienic and nonergonomic containers on their head and shoulders. This causes significant physical stress on their bodies over time and presents serious risk of water contamination. The Fritz™ Water Vest allows users to carry up to 20 pounds of water safely and hygienically, with the weight evenly distributed across the chest and back. It’s an innovative application of modern packaging technology that solves water-access problems for at-risk populations. The vest innovatively incorporates relatively new materials to accomplish two key, functional needs. The multi-layer nylon structure provides a robust material suitable for rough terrain and multiple uses in dry and rugged environments. The proprietary lamination uses several layers for functional protection and allows for quick heat sealing during manufacturing. In addition, an additive included in the material inhibits the growth of mold, mildew and odors. Together, these properties provide a robust, hygienic and reusable water-carrying and storage pouch. The Fritz™ Water Vest is an out-of-the-box solution for a significant global problem.

DIAMOND FINALIST AWARD

Compostable “Pizza Pod” (Zume Pizza, USA) Zume Pizza has been named a Diamond Finalist Award Winner in the DuPont Awards for Packaging Innovation for their compostable “Pizza Pod”, which keeps pizza crisp and warm for longer periods. Most pizzas are delivered in square, cardboard boxes that consumers have accepted as the industry standard but that are prone to collecting grease and moisture. The Pizza Pod is optimized to absorb maximum oil and moisture, so pizzas stay hot and crispy long after leaving the oven. Composed of 100% sustainably farmed sugarcane fiber, the Pizza Pod is tree-free, compostable, and biodegradable, making it the most sustainable pizza box on the market. It also doubles as an elevated serving tray for the product. The innovative container allows pizza shop employees to assemble boxes with less time and labor, and requires less shelf space compared to traditional paperboard boxes. Zume Pizza’s Pizza Pod also sustains brand equity, with the branding clearly presented up to the point of consumption. The design considerations given across the full lifecycle of the package—from sourcing, to retail to consumer experience—were impressive.

Cryovac® OptiDure™ Abuse Bag The Cryovac®ŲOptiDure™ Abuse Bag has been named a Diamond Finalist Award Winner in the 29th DuPont Awards for Packaging Innovation. This package represents a significant breakthrough in vacuum packaging for protein, where there is a typical industry leaker rate of three percent and a 1% reduction in leaker rates could eliminate $140 million in food waste globally. The OptiDure™ Abuse Bag’s enhanced sealing capability enables improved seal integrity through contamination and wrinkles, helping facilitate faster throughput, increase production efficiency, and reduce product and package waste. The high transparency, gloss and two-sided printing ability give the package an aesthetically pleasing presentation to consumers. The Cryovac® OptiDure™ Abuse Bag highlights collaboration across the value chain to develop solutions for industry problems.

(Sealed Air, USA)

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

53


Light-weight Sustainable Agrochemical Auto-stackable 15L PET Containers (Dow AgroSciences, Germany) Dow AgroSciences’ light-weight, sustainable, agrochemical, autostackable, 15L PET containers have been named a Diamond Finalist Award Winner in the DuPont Awards for Packaging Innovation. The containers provide considerable functionality in stacking and distribution and allow greater ease of product dispensing than traditional containers. Dow Agrosciences took many design requirements into consideration and integrated them with stackability and pourability to enable added functionality to the lightweight containers. Addressing the whole value chain, Dow Agrosciences considered the distribution chain, end user, and the end of life for the package. The containers’ added functionalities increase safety, improve usage and reduce their environmental footprint. Reducing the need for added packaging for transport, the upper safety top adds strong stability when the containers are stacked on top of each other, allowing them to be stacked up to three containers high on a pallet without the need for an outer carton case. A large, centered neck compatible with closed-transfer systems and bore seal caps minimizes operator exposure and allows for easier pouring. The PET body is blown from a pre-form to allow for on-demand production, minimizing the need for transportation and storage of empty bottles before filling. Lightweight construction, improved logistics, and the elimination of the carton case reduce the overall environmental impact made by this packaging system.

MGI JETvarnish 3D Digital Decoration Process for Folding Cartons & Labels from Marrs Printing & Packaging (MGI, USA) MGI JETvarnish 3D Digital Print Decoration Process for Folding Cartons & Labels has earned a Diamond Finalist Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation. This technology allows companies to achieve a premium branded look for their folding cartons and labels without the time, cost and expense of using traditional dies, screens or plates. MGI has simplified the production decoration process for manufacturers, printers and converters. The JETvarnish 3D solution dramatically increases the speed and ability of consumer and commercial firms to bring new products to market at a lower cost. The workstation software offers rapid prototyping for new product launches and full high-volume production management. The MGI innovation achieves 2D, 3D and Variable Foil Embossing on cartons and labels on a single line. The technology allows printers, converters and finishers to produce luxurious, eye-catching special effects with variable data personalization and customized short-runs faster and much less expensively than other printing technologies. MGI’s innovative new system is a cost-effective, fully digital process that eliminates the time, waste and limitations of traditional foiling, UV screen and embossing methods. Additionally, MGI has also created a unique hologram-based, digital finishing security process. These variable data holograms are both decorative and functional as secure, anti-counterfeiting authentication imprints. For brand owners who are looking for more multi-sensory packaging to attract consumers at the point of sale, MGI has created the next level of digital print finishing technology.

54

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018


Plantic™ R: Ultra-high Barrier Renewable and Recyclable Packaging Material (Kuraray [Plantic Technologies Ltd.], Australia)

Plantic™ R, a bio-based, renewable and recyclable plastic material with ultra-high barrier and ideal for barrier packaging applications, was named a Diamond Finalist Award Winner in the DuPont Awards for Packaging Innovation. The technology combines the best of recyclable materials (Polyethylene Terephthalate (PET)) and Plantic’s bio based ultra-high barrier material, which dramatically increases the shelf life of packaged meats. Plantic™ R is a multilayer film made from thin layers of PET on a core layer of renewably sourced, high barrier Plantic™ HP. The PET provides the moisture and water vapor barrier, and the Plantic™ HP core provides the oxygen and gas barrier. In recycling, where typical multilayer films contaminate PET recycling streams, the solubility and biodegradability of the Plantic™ HP barrier layer will allow that layer to wash away and biodegrade in the recycling process, while the PET is recovered. In addition to being renewable and recyclable, the Plantic™ R packaging requires approximately half of the energy to produce than traditional fossil fuel plastics.Ų Plantic™ R’s on-pack communication provides easy-to-understand directions for disposing the tray and the film, since both are recyclable. Plantic™ enables retailers and brand owners to achieve their sustainability goals without compromising product quality, shelf life or performance. (บทความจาก http://www.dupont.com)

EXCELLENCE IN STRAPPING SOLUTIONS

เครื่องรัดสายรัดพลาสติก คุณภาพ สำหรับ หลากหลาย ผลิตภัณฑ์ AD 1/2 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

MOSCA ASIA THAILAND ( สำนักงาน สาขา )

ชั้น 11 อาคาร วาณิช 2, ยูนิต 11-08 1126 / 2 ถนน เพชรบุรีตัดใหม่ ราชเทวี กรุงเทพ ฯ 10400 โทรศัพท์ 02 655 3188 แฟกซ์ 02 655 3181 อีเมล์ thailand@mosca.com ไทย โฮมเพ็จ http://th-th.mosca.com

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

55


SPECIAL

area

ศศิรดา สุทธิลักษณ

เริ่มต นศักราชใหม กับโปรเจกต นําร อง

Packaging

4.0

การขับเคลื่อนกลุ มอุตสาหกรรมนั้นทําได ยากแต ต องทําให ได ทุกภาคส วน ทัง้ ภาครัฐและเอกชนจึงต องมีความตืน่ ตัวและ “ลงมือทํา” อย าปล อยให นโยบายเป นเพียงคําพูดหรือการร างบนกระดาษ

เคิ ร  ซ ในฐานะองค ก ร ภาคเอกชนที่ ม องเห็ น ความสําคัญของยุค “ดิจิทัล” จึงลงแรงและเวลาในการสง เสริมและสนับสนุนอยางจริงจัง ในระยะเวลาเพียงปกวา เรา ไดแนะนําและใหความรูเกี่ยวกับเครื่องพิมพฟอยลระบบ ดิจทิ ลั ดวยเครือ่ งทีเ่ รียกวา “DM-Liner®” ใหแกผปู ระกอบ การในอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภณ ั ฑอยางตอเนือ่ ง จนในวันนี้ เครือ่ ง DM-Liner® ระบบ Toner เครือ่ งแรก ของเคิรซไดติดตั้งเปนที่เรียบรอยแลวที่ “ไชยเจริญการ พิมพและบรรจุภณ ั ฑ” 56

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018


รวมปที่ คุณสุรชัย (คุณเอก) และทีมงานไดจบั มือ รวมงานเพือ่ พัฒนา ปรับปรุง กับเทคโนโลยีทใี่ หมใน ตลาดเมืองไทยรวมกับเคิรซ อยางไมยอ ทอ เรียกไดวา ลมลุกคลุกคลานกันมาทีเดียว แตดวยวิสัยทัศนที่ เปดกวางและอยากสรางความแตกตาง รวมถึงการหา เทคโนโลยีใหม ๆ ใหกบั ลูกคาอันเปนทีร่ กั การเริม่ ตน สิง่ ใหมจงึ ถือเปน “ความทาทาย” มากกวาอุปสรรค

“วิสยั ทัศนทมี่ ตี อ อุตสาหกรรม 4.0 คือ การนําเอา เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และอินเทอรเน็ตมาใชในกระบวนการ ผลิตและเชื่อมโยงกัน ทั้งภายในองคกรและลูกคา มีประโยชนทั้งเรื่องลดแรงงานคน นําขอมูลสถิติไป วิเคราะห ปรับปรุง แกไขในการตัดสินใจ ลูกคาได ประโยชน สามารถทราบไดทนั ทีวา อยูใ นขัน้ ตอนการ ผลิตไหน จะถูกสงมอบไดเมือ่ ไหร” คุณเอก กลาวถึง อุตสาหกรรม 4.0 ทีผ่ ปู ระกอบการทัง้ เล็ก กลาง ใหญ ตองปรับตัว คุณเอก ยังกลาวเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสําคัญ ของยุค 4.0 ไววา “โลกปจจุบนั ตองใหความสําคัญกับ เทคโนโลยีดิจิทัล แลวพนักงาน IT ตองทําอะไรได มากกว า ป จ จุ บั น ที่ เ ป น เพี ย งการซั พ พอร ท ให กั บ หน ว ยงานอื่ น แต ต  อ งพั ฒ นาเป น โปรแกรมเมอร สามารถเขียนโปรแกรมเพือ่ ใหขอ มูลในองคกรสามารถ เชื่อมโยงกัน และตอยอดเปน Big Data ใหได แต อยางไรก็ดี ตองดูความพรอมในแตละองคกร เพราะ

อุตสาหกรรม 4.0 ก็คือการลงทุนเพื่อปฏิวัติกระบวนการผลิตภายใน องคกรนัน้ ๆ ใหเชือ่ มโยงกันทัง้ หมด” เนือ่ งจากโรงพิมพไชยเจริญมีเครือ่ งพิมพดจิ ทิ ลั ใชงานอยูแ ลว การนํา เครือ่ ง DM-Liner® ไปตอยอดการสรางสรรคผลงานจากเครือ่ งดิจทิ ลั จึง ไมยากนัก THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

57


“การนําเอาเครือ่ ง DM-Liner® เขามาใชงาน เหตุผลขอแรกคือ เครือ่ งนี้ มีนวัตกรรมทีเ่ อามาผสมผสานกับเครือ่ งดิจทิ ลั HP Indigo 5600 ทีเ่ รามีอยู แลว เราจึงสามารถเพิ่มกําลังการผลิตปอนเครื่อง HP เพิ่มได อีกทั้งยัง เปนการสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั สินคาเนือ่ งจากรูปแบบของงานมีความสวยงาม สะดุดตา เปนเอกลักษณ ทําใหสรางความแตกตางจากผลงานที่มีกันใน ทองตลาดทัว่ ไปไดอยางชัดเจน ทําใหเรามีชอ งทางการตลาดใหมๆ เพิม่ มาก ขึน้ เชน การทํา Personalization ดวยฟอยล อยางชือ่ หรือลายเซ็น ทําให เราสามารถจับกลุมลูกคาเฉพาะกลุมได เหลานี้จะใหคุณคาเรื่องงานผลิต ที่มีความ Luxury และไมเหมือนใคร การผลิตบรรจุภัณฑที่มีการปองกัน การปลอมแปลงไปในตัวและฉลากกันปลอมที่นอกจากจะกันปลอมแลว ยังดูสวยงามอีกดวย การไดทําการตลาดเชิงรุก ทําใหเราเปนฝายกําหนด ราคา ไมถกู บีบราคาจนตํา่ เกินไปและไมตอ งกังวลเรือ่ งการถูกตัดราคาจาก คูแ ขง เพราะเรามีเทคโนโลยีทคี่ แู ขงไมมี ยิง่ ไปกวานัน้ เราสามารถสรางสินคา และแบรนดของเราเองขึน้ มาจากการใชเทคโนโลยี Digital Metal® ไดอกี ดวย” การรวมมือกันนั้น ไมใชเพียงแคใหผูประกอบการมีเครื่องจักรไวใช หากแตตองใหองคความรูและสนับสนุนทุกชองทางควบคูไปดวย ทุกฝาย ตองไดรบั ผลประโยชนรว มกัน และลูกคาจะตองไดรบั ผลประโยชนสงู สุดตาม Philosophy ของเคิรซ คือ “Customer Orientation” เคิรซ จึงมีการอบรมเพือ่ ยกระดับการทํางานและความสามารถของเหลาดีไซเนอรอยางเขมขน เชน การพาไปศึกษาดูงานและอบรมทีห่ นวยงานประจําภูมภิ าคของเคิรซ ที่ ฮองกง รวมถึงการไปเยี่ยมชมโรงงานที่ใชเครื่อง DM-Liner® เพื่อเพิ่ม ศักยภาพของผูป ระกอบการอยางแทจริง

“เรามัน่ ใจในบริษทั เคิรซ เพราะเปนบริษทั จากเยอรมนีทมี่ ี Know-how ในการใหคําปรึกษาและถายทอดเทคโนโลยีใหกับไชยเจริญได” คุณเอก กลาวปดทายถึงการทํางานรวมกันในครั้งนี้ ทําใหเรารูสึกปลื้มใจเปน อยางมาก

บริษัท เคิร ซ (ประเทศไทย) จํากัด

2869-2869/1 ถนนริมทางรถไฟสายปากนํ้า แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. 10110 โทร. 0-2671-7505 แฟกซ 0-2671-7711 อีเมล : sales@kurz.co.th 58

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

“Digital Metal®” จะเปนแคเพียงเทคโนโลยี ที่ไมมีประโยชน หากผูใช งานไมสามารถเขาถึง แกนแทและใชงานเครือ่ งจักรใหไดประโยชนสงู สุด การใหความรูด า นงานดีไซนทเี่ หมาะกับเทคโนโลยี จะสามารถเพิม่ ความมัน่ ใจและโอกาสทางธุรกิจให กับผูประกอบการไดดีที่สุด และนั่นคือเปาหมาย ของเคิ ร  ซ ที่ เ ราจะร ว มมื อ ร ว มใจช ว ยเหลื อ ผู  ประกอบการอยางสุดกําลังความสามารถ เพื่อ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ ในบานเราใหไมแพชาติใดในโลก


AD_Omron _G5-4.indd 1

TECHNOLOGY MEDIA_NO127_10141_11-1-6_G5-4

11/1/61 13:51


SPECIAL

area

บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด

แนวทางพัฒนา

ในโลกที่ไมหยุดนิ่ง ทุกอยางตองพัฒนาใหทันโลก เปนคําคมทีไ่ มเปนจริงอีกแลว หลายครัง้ ผูป ระกอบการ ตองดําเนินธุรกิจใหนาํ หนาลูกคาหนึง่ ขัน้ เสมอ ผูพ ฒ ั นา กอนและตรงใจลูกคายอมไดเปรียบและรักษาความ สามารถทํากําไรไวได บรรจุภณ ั ฑจะไมไดเพียงทําหนาที่ หอหุมและปกปองสินคาอีกตอไป หากยังเปนตัวดึงดูด สายตาใหนา ซือ้ บงบอกขอมูลสาระสําคัญตาง ๆ ในยุค 4.0 หรือยุค Internet of Thing (IoT) บรรจุภัณฑยัง ทําหนาทีเ่ ชือ่ มโยงผูซ อื้ กับผูจ ดั จําหนายและผูผ ลิตเขาไว ดวยกัน ผานโครงขายอินเทอรเน็ตในแงบริการขอมูล สินคา การสงเสริมการขาย กิจกรรม CRM และการสอบ ยอน Traceability เพื่อความปลอดภัย

Serialization จะเป นสิ่งจําเป น

และทวีความสําคัญ

ความจําเปนของบรรจุภัณฑที่จะตองมี Barcode และ 2D-Code จะไมใชแคเพื่อผูผลิตและผูจัดจําหนาย ใชในการตรวจสอบ แตในอนาคตอันใกลรหัสเหลานี้จะ ถูกใชโดยผูซื้อ ผูใชงาน เพื่อตรวจสอบขอมูลสินคา ดาวน โ หลดคู มื อ ร อ งขอบริ ก ารและส ง ข อ ร อ งเรี ย น เขารวมโปรโมชั่น และรวมถึงการพัฒนาระบบสมาชิก ลองนึกถึงการเขาถึงหนาเว็บ (Webpage) ของ ลูกคา เพียงสแกนรหัสสินคาดวยโทรศัพทมือถือ เพื่อ การสื่อสารกับผูผลิต ผลประโยชนจะเกิดขึ้นกับทุกฝาย เครื่ อ งจั ก รที่ ส ามารถรองรั บ การเพิ่ ม รหั ส บน บรรจุภณ ั ฑอยางมีคณ ุ ภาพและมีระบบตรวจสอบความ ถูกตอง จึงเปนเครื่องจักรที่ตอบสนองตอพัฒนาการนี้ เปนอยางดี เรียกวาเปนจุดขายไดเลย รหัสจากระบบ MES

60

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

ใส รหัสบรรจุภัณฑ

เครื่องบรรจุภัณฑ ในยุค 4.0 ยืดหยุ น ใช งานได หลากหลาย (Flexibility )

บรรจุภณ ั ฑปจ จุบนั ตอบสนองตอความตองการของลูกคาอยาง เจาะจง จะเห็นไดจากผลิตภัณฑทหี่ ลากหลาย เชน บะหมีก่ งึ่ สําเร็จรูป ที่มีรูปแบบที่หลากหลายกวายุคกอน ยาสีฟนที่มีหลากหลายขนาด น้ําดื่มที่บรรจุในภาชนะตางชนิด เครื่องบรรจุภัณฑที่สามารถปรับ เปลี่ยนเพื่อรองรับการใชงานที่หลากหลายจะมีคุณคาสูงและเปนที่ ตองการ ความยืดหยุนนี้ถูกวัดดวยระยะเวลาที่ใชในการปรับเปลี่ยน (Setup Time) และความยากงายในการปรับเปลี่ยน Setup Time คือเวลาทีใ่ ชในการปรับเปลีย่ นของเครือ่ งจักรเพือ่ รองรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ แ ตกต า งจากเดิ ม ด ว ยเทคโนโลยี ใ นป จ จุ บั น สามารถรองรับการปรับเปลี่ยนอัตโนมัติ โดยเครื่องจักรจะรับคําสั่ง จากระบบการบริหารการผลิต (MES) ซึ่งอาจวางแผนจากขอมูลยอด ขายของซูเปอรมารเก็ตผานระบบ IoT คําสั่งจะถายตรงยังเครื่อง บรรจุภัณฑระบุถึงสินคาที่กําลังจะผลิต เครื่องบรรจุภัณฑจะทําการ ปรับเปลี่ยนโปรแกรม (Program Selection) ปรับตําแหนงเชิงกล (Mechanical Setup) และปรับคาคงที่ (Parameters, Recipe) โดย อัตโนมัติ เครื่องจักรที่ออกแบบภายใตระบบนี้ตองมีระบบควบคุม ที่มีความชาญฉลาด มีพื้นที่เพียงพอที่จะรองรับโปรแกรมไดหลาก รูปแบบ มีความสามารถควบคุมการปรับเปลี่ยนเชิงกล (Motion Control, Mechatronics) และการทํางานลักษณะสูตร (Recipe) หุนยนตอุตสาหกรรม (Industrial Robot) เปนอีกทางเลือก หนึ่งซึ่งนํามาใชตอบสนองบรรจุภัณฑบางประเภท แนนอนหุนยนต มีหนาที่หยิบจับสินคา จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ความสามารถในการ ปรับเปลี่ยนลักษณะการทํางานของหุนยนตตางหากที่ทําใหหุนยนต นั้นยืดหยุนตอสินคาหรือบรรจุภัณฑที่หลากหลาย ความทาทาย สําหรับหุนยนตจึงอยูที่สวนควบคุมหุนยนต (Supervisory Control) ไมไดอยูที่ตัวหุนยนตแตอยางเดียว ตรวจสอบโดยการ ทดลองอ านรหัส

ประเมินคุณภาพรหัส ด วยมาตรฐาน GS1


การจัดการข อมูลสําคัญ

ด านประสิทธิภาพการผลิต (Efficiency/Productivity)

เครื่องบรรจุภัณฑ มักจะเปนกระบวนการทาย ๆ ของ ระบบการผลิต มักถูกแยกใหทํางานเอกเทศ (Stand Alone) ทั้ง ที่เครื่องบรรจุภัณฑมีหนาที่โดยตรงกับสินคาสําเร็จ (Finish Goods) และกุมขอมูลเชิงจํานวนการผลิต อัตราการผลิต และ คุณภาพของสินคาโดยสมบูรณกวาเครื่องจักรตนทาง การ พัฒนาเครื่องจักรใหเชื่อมโยงขอมูลดังกลาว จะเปนจุดขายที่ สําคัญในยุค 4.0 ซึ่งเนนเรื่องการเชื่อมโยงขอมูล โดยเฉพาะ ถาขอมูลเหลานี้สามารถเขาถึงไดดวยเครือขายอินเทอรเน็ต

อีกขอมูลที่ผูผลิตตองการมากที่สุดจากผูผลิตเครื่องจักร คื อ ข อ มู ล ด า นประสิ ท ธิ ภ าพการปฏิ บั ติ ง านของเครื่ อ งจั ก ร (Overall Equipment Efficiency, OEE) ซึ่ง OEE นั้นแตกตาง จากประสิทธิภาพของเครื่องจักร (Machine Efficiency) ตรงที่ OEE เปนอัตราสวนของอัตราการผลิตที่เกิดขึ้นจริงกับอัตรา ผลิตสูงสุดที่กระบวนการผลิตสามารถทําไดสมบูรณแบบ OEE สามารถคํานวณไดจากขอมูลการผลิตหลายตัว แตทสี่ าํ คัญมาก คืออัตราผลิตสินคาสําเร็จทีต่ อ งนําจากเครือ่ งบรรจุภณ ั ฑนนั่ เอง เครื่องบรรจุภัณฑที่ถูกออกแบบมาใหมีความสามารถ จัดการกับขอมูลเหลานี้ จะเปนอีกหนึ่งมูลคาที่เพิ่มขึ้นอยาง ชัดเจน การพัฒนาระบบขอมูลการผลิตและการสื่อสารเชน PackML และการเชื่อมโยงเครือขายเชน Ethernet/IP จึงควร ผนวกเขากับการออกแบบเครื่องจักรตั้งแตตน

เครื่องจักรบรรจุภัณฑ ยุค 4.0

เทคโนโลยีเปดโอกาสใหม ๆ ของการแขงขัน ผูที่นํา เทคโนโลยีมาใชกอ นคูแ ขงจะเปนผูน าํ ตลาดและมีความสามารถ ทํากําไร เครื่องบรรจุภัณฑที่สามารถผนวกตัวเองเขากับระบบ การผลิตในแงขอมูล สามารถปรับแตงตัวเองใหรองรับสินคาที่ หลากหลาย สามารถเพิ่มการทํางานรวมกับโคดตาง ๆ รวมถึง มีการตรวจสอบคุณภาพของโคดเหลานั้น และทํางานรวมกับ หุนยนตไดอยางกวางขวาง และงายตอการดูแลรักษา จะเปน เปาหมายของยุค 4.0 และของลูกคาในยุคนี้ สนใจข อมูลเพิ่มเติม ค นหาได ที่ http://www.omron-ap.co.th/solutions/main.asp THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

61


TECHNOLOGY MEDIA_NO.127_10137_9-1-61_G5-4


องค กรวิจัย Smithers Pira เป ดเผยว า

NEWS

เครื่องพิมพ ไฮเดลเบิร ก มีประสิทธิภาพสูงสุดในอุตสาหกรรม

และมีต นทุนการพิมพ ต อแผ นต่ําที่สุด

เครื่องพิมพ ไฮเดลเบิร กให ผลผลิตเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 26-52% สูงกว ากําลังการผลิตจากเครือ่ งพิมพ คา ย อื่น ๆ ทั้ง 3 ขนาดแพลตฟอร ม ต นทุนการผลิตต อแผ นต่ํากว ามาก เมื่อเทียบเครื่อง พิมพ ไฮเดลเบิร กกับเครื่องพิมพ จากค ายอื่น ๆ โอกาสการสร างผลกําไรเมื่อผลิตงานโดยเครื่อง พิมพ ไฮเดลเบิรก จึงสูงกว าเครือ่ งพิมพ รนุ ต าง ๆ ของ ค ายอื่น ๆ รายงานลาสุดขององคกรวิจยั ชัน้ นําของโลก Smithers Pira (สมิธเธอรส ไพรา) ระบุวา “ความสามารถในการผลิตที่แทจริง ของเครื่องพิมพระบบออฟเซตปอนแผนมือสอง” เมื่อวิเคราะห จากจํานวนแผนพิมพที่พิมพไดจากเครื่องพิมพมือสองเกือบ 450 เครื่องที่มีอายุต่ํากวา 10 ปจากคายผูผลิตที่แตกตางกัน 5 บริษทั โดยคาเฉลีย่ จากทุกขนาดแพลตฟอรมพบวา เครือ่ งพิมพ ไฮเดลเบิรก มีความสามารถในการผลิตเหนือกวาเครือ่ งพิมพจาก คายอื่น ๆ เมื่อเปรียบเทียบจํานวนแผนพิมพทั้งหมดที่พิมพได จากเครื่องพิมพทุกรุนทั้งหมดในทุกขนาด ในกรณีของเครื่องพิมพรุน Speedmaster XL 105/106 มีประสิทธิภาพมากกวาเครื่องพิมพของคายอื่น ๆ นอกจากนี้ แบบจําลองตนทุนขององคกร Smithers Pira ยังระบุอกี วาตนทุน การผลิตลดลงตอการพิมพ 1,000 แผน “เมื่อเราศึกษาขอมูล ออนไลนของตลาดเครื่องพิมพมือสอง เราเริ่มตระหนักถึงความ เปนจริงที่วากําลังการผลิตที่ไดจากเครื่องพิมพไฮเดลเบิรกนั้น มีประสิทธิผลสูงกวาเครือ่ งพิมพยห่ี อ อืน่ ๆ มากเทาไร” มร.แอนดี้ เร ผูอํานวยการฝายการตลาด ไฮเดลเบิรกสํานักงานใหญ กลาว “การไดรับขอมูลจากองคกรที่ไดรับความเชื่อถือ อาทิ องคกร Smithers Pira เปนการตอกย้ําความเชื่อมั่นใหกับอุตสาหกรรม โดยรวมทั้งหมดและเปนหลักฐานที่พิสูจนถึงสมรรถนะกําลัง การผลิตของเครื่องพิมพไฮเดลเบิรกไดเปนอยางดี” หลักฐานอยู ในประสิทธิภาพในการผลิตงาน การศึกษาวิเคราะหผลลัพธของเครื่องพิมพขนาด B1, B2 และ B3 โดยเนนไปที่เครื่องพิมพขนาดใหญ 2 ขนาด ไดแก เครือ่ งพิมพขนาด B2 (29 นิว้ ) จํานวนแผนพิมพโดยผลเฉลีย่ ตอป ของเครือ่ งพิมพไฮเดลเบิรก สูงกวาเครือ่ งพิมพจากผูผ ลิตรายอืน่ ๆ ถึง 68.5% และในสวนของเครื่องพิมพขนาด B1 (40-41 นิ้ว) จํานวนแผนพิมพจากเครื่องพิมพไฮเดลเบิรก (รุน Speedmaster CD 102 และ Speedmaster XL 105/106) มีคาเฉลี่ย 36% ซึ่ง สูงกวาเครือ่ งพิมพจากคายอืน่ ในขนาดเดียวกัน เมือ่ เปรียบเทียบ

แผนภูมิเปรียบเทียบต นทุนการผลิตงานพิมพ จํานวน 1,000 แผ น ซึ่งผลิตด วยเครื่องพิมพ ขนาด B1

ตนทุนการผลิตเฉลี่ยของเครื่องพิมพไฮเดลเบิรกขนาด B1 กับเครือ่ งพิมพจากคายอืน่ ในตลาด พบวาทัง้ เครือ่ งพิมพรนุ XL 105/106 และรุน CD 102 มีตน ทุนในการผลิตตอ 1,000 แผ น ที่ ดี ก ว า โดยเครื่ อ งพิ ม พ ข นาด B1 รุ น เริ่ ม ต น ของ ไฮเดลเบิรกซึ่งไดแกเครื่องพิมพรนุ Speedmaster CD 102 มีผลลัพธที่ โดดเดนในแงของตนทุนการผลิตทีต่ า่ํ และ “สเปก เครื่องที่สูงสุด” เมื่อเทียบกับเครื่องพิมพคายอื่นๆ “สิง่ ทีไ่ ดจากการศึกษานีพ้ สิ จู นไดวา การซือ้ เครือ่ งพิมพ ใหมจากผูผลิตเครื่องพิมพคายอื่นๆ โดยที่มีราคาซื้อที่ถูก กวา หมายความวาทานจะตองเสียคาใชจา ยของตนทุนการ ผลิตที่สูงกวาในการผลิตงานตอแผน” มร.แอนดี้ เร กลาว “แมวาเครื่องพิมพไฮเดลเบิรกอาจมีราคาที่สูงกวา 25% แต เครือ่ งพิมพไฮเดลเบิรก จะผลิตงานพิมพเพิม่ ขึน้ อีกถึง 8.7% เพือ่ ปรับความแตกตางของราคาใหเทียบกับเครือ่ งพิมพยหี่ อ อื่นตามที่ระบุใน PIA White Papers โดยในรายงานนี้ ไดพิสูจนใหเห็นวาเครื่องพิมพไฮเดลเบิรกเหนือชั้นและล้ํา ไปไกลเกินกวานั้น!” ขอสรุปผลขอมูลขององคกร Smithers Pira กลาววา “ประสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต ที่ เ พิ่ ม เติ ม นี้ เ ป น ข อ ได เ ปรี ย บ ทางการแขงขันที่สําคัญของเครื่องพิมพไฮเดลเบิรก การ วิเคราะหแสดงใหเห็นวาโอกาสในการทํากําไรของไฮเดล เบิรกสูงกวาเครือ่ งพิมพจากคายอื่นในการแขงขันเปนอยาง มาก” หมายเหตุ ไฮเดลเบิรกไดติดตอองคกร Smithers Pira เพื่อจัดทํารายงานนี้ ทานสามารถอานรายงานขององคกร Smithers Pira ไดที่ https://www.smitherspira.com/resources/2017/ october/white-paper-sheetfed-litho-presses THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

63


SCOOP

special กองบรรณาธิการ

Heidelberg

Packaging Day

2017

Heidelberger Druckmaschinen AG (Heidelberg) กอตั้งมากวา 160 ป สํานักงานใหญตั้งอยูที่เมืองไฮเดลเบิรก ประเทศเยอรมนี เปนผูใ หบริการโซลูชนั่ และบริการชัน้ นําของโลก สําหรับอุตสาหกรรมสิ่งพิมพและสิ่งพิมพบรรจุภัณฑ หากเอยชื่อ Heidelberg ผูท อี่ ยูใ นแวดวงอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภณ ั ฑ จะคุน เคยกันดี และไดรบั ความเชือ่ ถือวาเปนผลิตภัณฑทมี่ คี ณ ุ ภาพ สูง มีเทคโนโลยีที่ล้ําสมัยอยูเสมอ เมื่อเร็ว ๆ นี้ ทาง Heidelberg ไดจัดงาน “Heidelberg Packaging Day” ขึ้น เพื่อเปดโอกาสใหลูกคาและสื่อมวลชน เขาเยี่ยมชมโซลูช่ันการผลิตบรรจุภัณฑใหมของบริษัท รวมทั้ง Mr.Rainer เยีย่ มชมกระบวนการผลิตทีใ่ ชเทคโนโลยีทนั สมัย โดยมี Mr.Rainer HÜndsdorfer HÜndsdorfer, CEO Heidelberger Druckmaschinen AG ใหการ ตอนรับ โดยมีลกู คาในแวดวงอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภณ ั ฑ จากทั่วโลกเขารวมงาน “อุ ต สาหกรรมบรรจุ ภั ณ ฑ เ ป น อุ ต สาหกรรมที่ มี อั ต ราเติ บ โตทุ ก ป ขณะเดียวกันความตองการของผูบริโภคก็สูงขึ้นดวยเชนกัน ผูบริโภคตองการ ผลิตภัณฑทมี่ คี ณ ุ ภาพสูงขึน้ ผูผ ลิตจึงจําเปนตองปรับตัวจึงจะเติบโตและประสบ ความสํ า เร็ จ ได อ ย า งต อ เนื่ อ ง ถื อ เป น ความท า ทายสํ า หรั บ ผู ป ระกอบการ อยางหนึ่ง อยางไรก็ตาม สิ่งที่ตองตระหนักถึงคือ การปฏิบัติตามกฎระเบียบ อยางเครงครัด การแขงขันตองอยูบนพื้นฐานที่เปนธรรม” “ตลาดที่ Heidelberg จะมุงเนนคือ Digital Solutions, Primefire 106, Hybrid Inkjet/Offset Press ตลาดกลุม Carton ซึ่งยังมีแนวโนมที่ดี” Mr.Rainer กลาวเพิ่มเติม Heidelberg ไดเปดโรงงานที่ Wiesloch-Walldorf ให เยี่ยมชม ซึ่งโรงงานแหงนี้เปนโรงงานผลิตเครื่องพิมพที่ใหญ ที่สุด และทันสมัยที่สุด มีพนักงานประมาณ 6,500 คน เริ่ม เดินเครื่องการผลิตเมื่อป พ.ศ. 2500 ผลิตเพื่อสงออกไปยัง ประเทศตาง ๆ ทั่วโลก 64

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

นอกจากนี้ยังไดจัดเยี่ยมชมโรงงานผลิตบรรจุภัณฑและ เครื่องพิมพฉลากติดบรรจุภัณฑ อาทิ Multi Packaging Solutions GmbH, Obersulm ซึ่งเปนผูผลิตบรรจุภัณฑ คุณภาพสูง และไดตดิ ตัง้ เครือ่ ง Heidelberg Primefire 106 เปน รายแรก ไดเขาเยีย่ มชมโรงงาน Acket Drukkerij Kartonnage ประเทศเนเธอรแลนด ซึง่ ไดตดิ ตัง้ เครือ่ ง Speedmaster XL 106 และ Diana X 115 จากนัน้ ไดเยีย่ มชมโรงงาน Smart Packaging Solution ประเทศเบลเยีย่ ม ซึง่ ติดตัง้ เครือ่ ง Speedmaster XL 162


สวน Gallus Ferd. Rüesch AG ประเทศ สวิตเซอรแลนด ผูผ ลิตเครือ่ งพิมพฉลาก มีโรงงาน ทั้งในประเทศสวิตเซอรแลนด และเยอรมนี มี สํานักงานใหญอยูที่เมือง St. Gallen ประเทศ สวิตเซอรแลนด Gallus Group ซึ่งเปนบริษัทใน เครือของไฮเดลเบิรก โดยทําการตลาดและการ บริการหลังการขายรวมกับไฮเดลเบิรก และในงาน Labelexpo Europe 2017 ปนี้ Gallus ไดจัดแสดง เครื่องพิมพ์ฉลากรุ่น Gallus Labelfire ซึ่งเป็น นวัตกรรมที่ผสมผสานเทคโนโลยีการพิมพดิจิทัล ลาสุดและการพิมพแบบเดิมและเทคโนโลยีการ ผลิตอื่น เพื่อใหไดกระบวนการทําสิ่งพิมพสําเร็จ สําหรับการพิมพดจิ ทิ ลั ตอเนือ่ งกันในสายการผลิต นอกจากนัน้ Gallus ยังไดเปดตัวนวัตกรรมลาสุด Gallus Labelmaster ทีม่ าพรอม คําขวัญ “ความซับซอนนอยลง–ความยืดหยุนมากขึ้น” โดยมีใหเลือกถึง 3 รุน สามารถประกอบเครื่ อ งให มี ร ะบบอั ต โนมั ติ ม ากหรื อ น อ ยเท า ที่ จํ า เป น และ มีโครงสรางชิ้นสวนของเครื่องที่มีลักษณะพิเศษที่เปนระบบเปด ซึ่งสามารถ ปรับแตงไดซึ่งจะตอบโจทยลูกคาที่ตองการตอบสนองตามความตองการตลาด ของตนเอง อีกโรงงานหนึ่งที่นาสนใจมากก็คือ บริษัท IST METZ GmbH ผูพัฒนา ระบบอบแหงสําหรับการพิมพ การเคลือบผิวโดยใชแสง UV โดยทําใหหมึกพิมพ UV น้ํายาเคลือบซิลิโคน กาว แข็งตัวไดรวดเร็ว และเปนวัสดุที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม และมีแนวคิด Hot Swap ที่ชวยใหผูใชสามารถสลับเปลี่ยนไปมา ระหวางเทคโนโลยีหลอด UV ปกติและเทคโนโลยี LED ใหม ไดตลอดเวลาในระหวางกระบวนการผลิต ในปน้ี บริษทั IST METZ นําเสนอชวงของ MBS LEDcure ที่ระบายความรอน ดวยอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงรุนลาสุด เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการพิมพฉลากดวยระบบดิจิทัล

Push to Stop

Pushing the Future of Packaging Mr.Stephan Plenz, Management Board Member, Heidelberg Digital Technology กลาววา อุตสาหกรรมการ พิมพและบรรจุภัณฑในปจจุบันมีการพัฒนาและเปลี่ยนรูป แบบไปมาก ถือเปนความทาทายใหม ๆ ของผูท อ่ี ยูใ นแวดวงนี้ จุดเริ่ม ตนของการเปลีย่ นแปลงนัน้ มาจากความตองการของลูกคาทีต่ อ งการ เครื่องพิมพที่มีความหลากหลาย ประหยัดตนทุน ใชเทคโนโลยีทัน สมัยที่สามารถผลิตไดรวดเร็วทันกับความตองการ ระบบการทํางาน ตองไมยุงยากซับซอน เพื่อลดคาใชจายและเพิ่มประสิทธิภาพการ ทํางาน นอกจากนั้นตองไมเปนมลพิษตอสิ่งแวดลอมดวย จากความต อ งการดั ง กล า ว Heidelberg จึ ง ได พั ฒ นา เครื่ อ งพิ มพ ที่ ส ามารถตอบสนองความตอ งการดั งกล า วได อย า ง ครอบคลุม ทั้งควบคุมตนทุนการผลิตไดต่ําสุด สามารถควบคุมดูแล ไดงา ยเพราะใชระบบอัตโนมัติ ทําใหผลผลิตทีไ่ ดมคี วามสม่าํ เสมอ ไม เกิดของเสีย จึงเปนการรักษาสิ่งแวดลอมอีกทางหนึ่งดวย

Mr.Stephan Plenz

“การทํางานเพือ่ ความเปนเลิศ (Operational Excellence) นั้น ตองเปลี่ยนแนวคิดของเราเองกอน จาก “Push to Start : Today we initiate processes and start them actively.” เปน “Push to Stop : Tomorrow processes run autonomous. We only interrupt if necessary.” จากแนวคิด Push to Stop นี้เองทําใหมี การพัฒนาระบบอัตโนมัติในเครื่องพิมพ Speedmaster ขึ้นมาใหมเพื่อตอบสนองความตองการไดหลากหลาย ยิ่งขึ้น โดยไดรับการตอบรับจากลูกคาอยางดีเยี่ยม และ ไดติดตั้งใหแกลูกคาทั่วโลก” Mr.Stephan กลาว THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

65


Speedmaster XL 106 เปดตัวครั้งแรกในป พ.ศ. 2547 ทําใหวงการบรรจุภัณฑไดรูจักเครื่องจักรยี่หอ Heidelberg แตป ที่มีการทําตลาดจริงจัง เริ่มในป พ.ศ. 2551 ดวยการพัฒนา VLF ใหเปน XL ซึ่งเปนวิศวกรรมขั้นสูงขึ้น ดวยเทคโนโลยีที่สามารถ ตอบสนองความตองการของผูประกอบการในแวดวงอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑนี่เอง ทําใหผลิตภัณฑยี่หอ Heidelberg สามารถ ปกธงในอุตสาหกรรมเครื่องพิมพบรรจุภัณฑไดอยางมั่นคง Die-cutter

Easymatrix 106C Easymatrix 106CS Promatrix 106CS Promatrix 106CSB

Hot Foil

Easymatrix 106FC

Inspection

Foldergluer

Diana Easy 85 Diana Easy 115 Promatrix 106FC Diana Smart 55 Diana Smart 80 Diana Eye 42 Diana Smart 115 Diana Eye 55 Powermatrix 1o6CSB Duopress 2100FCS Diana X80 (May 2018) Duopress 2100FCSB Diana X115 Promatrix 145CSB (Aug 2018) หมายเหตุ : All Machines • BG GS machine safety certification • Sales, application support, parts and service from Heidelberg

ดังทีท่ ราบกันดีวา ทาง Heidelberg ไดรว มมือ กับ Masterwork Group ซึ่งเปนผูผลิตเครื่องพิมพ รายใหญของประเทศจีน โดยเครื่องจักรที่พัฒนา รวมกับ MK Masterwork มีดังในตาราง “จากแนวโนมของธุรกิจการพิมพบรรจุภณ ั ฑ ที่เปลี่ยนไป เทคโนโลยีเครื่องพิมพก็ตองพัฒนาให ทันกับความตองการของผูบ ริโภค ปจจุบนั บรรจุภณ ั ฑ มีการพัฒนารูปแบบหลากหลายมากขึน้ เครือ่ งพิมพ ก็ ต อ งปรั บ ตั ว ตาม ต อ งช ว ยลดต น ทุ น การผลิ ต ทํางานไดตอ เนือ่ ง รวดเร็ว และตองรักษสง่ิ แวดลอม ดวย” Mr.Stephan กลาวเพิ่มเติม

Industrial Digital Printing with Primefire 106 Primefire 106 เปนเครื่องพิมพระบบดิจิทัล ขนาด B1 เปดตัวครั้งแรกในงาน Drupa 2016 Primefire 106 เปนเครื่องพิมพที่ครอบคลุมสเปกตรัมทั้งหมดของ Pantone มีความละเอียด 1200x1200 dpi โดยใชระบบอิงคเจ็ททีพ่ ฒ ั นารวมระหวาง Fujifilm และ Heidelberg เปนเครื่องพิมพที่เหมาะสําหรับพิมพบรรจุภัณฑอาหาร โดยไดรับการรับรองจาก Swiss Ordinance Primefire 106 สามารถพิมพไดตั้งแต 2,500 แผนตอชั่วโมง และสามารถพิมพไดถึง 4,000 แบบ เมื่อใชโหมด Productivity นอกจากนี้ดวยความทนทานของ Primefire 106 ทําใหสามารถผลิตแผนงานพิมพแบบตอเนื่อง ไดถึง 1.5 ลานแผนตอเดือน Ms.Montserrat Peidro-Insa, Heidelberg’s Head of Digital Print กลาววา “ธุรกิจการพิมพดิจิทัลในอุตสาหกรรม บรรจุ ภั ณ ฑ นั้ น มี ก ารพั ฒ นามาอย า งต อ เนื่ อ ง มี ก ารคิ ด ค น นวัตกรรมเพื่อปองกันสินคาภายในบรรจุภัณฑใหปลอดภัย ขณะเดียวกัน ก็ตองผลิตไดรวดเร็ว ตนทุนต่ํา และพิมพได หลากหลายรูปแบบ ดังนัน้ ผูป ระกอบการจึงตองการเครือ่ งจักร Ms.Montserrat Peidro-Insa การผลิตที่สามารถตอบสนองความตองการไดอยางครบถวน ธุรกิจจึงจะเติบโตได” หลังจากเปดตัวที่งาน Drupa 2016 และไดติดตั้ง Primefire 106 เครื่องแรกที่ WestRock–MPS ในประเทศเยอรมนี ซึ่งลูกคา พอใจการทํางานของ Primefire 106 มาก โดย WestRock–MPS ใช Primefire 106 พิมพบรรจุภัณฑ เครื่องสําอาง และยา สินคา เหลานี้ตองการงานพิมพที่มีคุณภาพสูง ละเอียด และเปนสีที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่ง Primefire 106 สามารถตอบสนองความตองการ ดังกลาวไดครบถวน 66

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018


สวนลูกคารายทีส่ องคือ Colderruck Baiersbronn ในประเทศเยอรมนี เปนบริษทั ผลิตกลองกระดาษทีม่ ชี อื่ เสียง ซึง่ วางแผน ที่จะขยายสุธุรกิจใหม ๆ นอกจากนั้นยังมีอีกหลายบริษัทที่สนใจ Primefire 106 รวมถึงผูผลิตบรรจุภัณฑใหแกอุตสาหกรรมยา ที่ตองการการพิมพดิจิทัลที่สามารถตรวจสอบยอนกลับได โดยใชรหัสที่ไมซ้ํากันในแตละกลองเปนการปองกันปญหาตาง ๆ ที่อาจ จะเกิดขึ้นไดอีกทางหนึ่ง “จากความตองการเครื่อง Primefire 106 ที่มากขึ้น ถึงแมจะมีคําสั่งการผลิตจนถึงกลางป พ.ศ. 2562 แต Heidelberg กําลัง พิจารณาวาจะขยายกําลังการผลิตเพื่อตอบสนองความตองการนี้” Ms.Montserrat กลาว

MPS

Navigating the Direct to Consumer Channel บริษัท Multi Packaging Solutions (MPS) ตั้งอยูที่เมือง Obersulm ประเทศ เยอรมนี เปนบริษทั เครือ WestRock ประเทศ สหรัฐอเมริกา เปนบริษทั ทีม่ ชี อื่ เสียงดานการ ผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ สํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ พื่ อ สุขภาพและความงาม ซึ่งตองการงานพิมพ บนบรรจุภัณฑที่มีคุณภาพสูง มีเอกลักษณ เฉพาะตัวที่ไมสามารถปลอมแปลงได หลังจาก Heidelberg เปดตัวเครื่อง Primefire 106 เมื่อป พ.ศ. 2559 ทาง MPS ไดสั่งติดตั้งเครื่อง Primefire 106 ที่โรงงานใน เมือง Obersulm และไดเริ่มเปดเดินเครื่องมา ไดระยะหนึ่ง สรางความพึงพอใจใหแก MPS มาก ดวยคุณสมบัติของ Primefire 106 ที่ สามารถตอบสนองความตองการของกลุม ลูกคาของ MPS ไดอยางครบถวนนั่นเอง Mr.Steffen Schnizer, MD/SVP Sales Global Beauty and Personal Care at MPS กลาววา “กลุมลูกคาของเรามีความตองการที่หลากหลาย แตที่เหมือน กันคือตองเปนผลิตภัณฑคุณภาพสูง ดังนั้น เราจึงตองใชเครื่องจักรที่เหมาะสม กับความตองการของลูกคา ทีผ่ า นมาบริษทั เรามีปญ  หาเกีย่ วกับเครือ่ งพิมพดจิ ทิ ลั ที่ไมสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางครบถวน โดยเฉพาะ เรือ่ งสี หากเปนสีพเิ ศษหรือสีเฉพาะก็จะมีปญ  หามาตลอด เสียเวลา เสียคาใชจา ย โดยไมจําเปน แตเมื่อ Primefire 106 เริ่มเปดใชงาน เราก็สามารถแกไขปญหานี้ ไดในที่สุด”

Mr.Steffen Schnizer

ปจจุบนั “บรรจุภณ ั ฑ” ไมใชมไี วเพือ่ บรรจุสินคาใหถึงมือผูบริโภคเทานั้น แต ในปจจุบันทําหนาที่หลากหลาย บางก็ใช เป น พื้ น ที่ เ พื่ อ สื่ อ ถึ ง สั ง คม บ า งก็ ใช เ พื่ อ แสดงถึ ง อั ต ลั ก ษณ ข องตนเองหรื อ ผลิตภัณฑของตนเอง เปนตน ดังนัน้ ผูผ ลิต จึงตองปรับตัวตามไปดวย “ตลอดระยะเวลาที่ ผ า นมา MPS รวมมืออยางใกลชิดกับ Heidelberg มา โดยตลอด ทาง Heidelberg จะมีเทคโนโลยี ใหม ๆ มานําเสนออยูเสมอ ซึ่งสอดคลอง กับนโยบายของ MPS ที่มุงเนนสนองตอบ THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

67


ความตองการของลูกคา และนําเสนอนวัตกรรมที่หลากหลายเพื่อใหลูกคาไดเลือกสรร ดังวิสัยทัศนของเราที่กําหนดวา เราจะตอง เปนบริษัทชั้นนําของโลกดานบรรจุภัณฑที่มีคุณภาพสูง ตอบสนองความคาดหวังของลูกคาไดอยางครบถวน และนําเสนอโซลูชั่นที่ มีคุณภาพสูงและยั่งยืน เพื่อปกปองและสงเสริมแบรนดที่ยอดเยี่ยม” Mr.Steffen กลาว “การพิมพบรรจุภัณฑเปนกลุมที่เติบโตมากที่สุดในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ” Mr.Steffen กลาวเพิ่มเติม “คาดวาอัตราการเติบโต ทั่วโลกในป พ.ศ. 2560 จะเพิ่มขึ้นประมาณ 3% และคาดวาในอีกหาปขางหนาเพิ่มขึ้นเปน 20% สําหรับการพิมพบรรจุภัณฑ แบบดิจิทัล Heidelberg ไมเพียงแตนําเสนอผลิตภัณฑที่หลากหลายแกลูกคาเทานั้น แตยังเปนผูนําตลาด และเปนผูนําเทคโนโลยี ในดานนี้ดวย” ผลิตภัณฑของ MPS ประกอบดวย Packaging (Paperboard, Plastic), Labels, Inserts/Leaflers, Rigid Packaging, Shaped Boxes, Shoulder Boxes, Tubes, Thermoformed Inserts, Point-of-Purchase, Marketing Essentials, Flexible Film and Poil Pouches, and Tags

Acket

The Best Cartons and Excellent Service at an Outstanding Price /Quality Relation บริษัท Acket Drukkerij Kartonnage B.V. เปนบริษัทที่เกาแกที่สุดแหงหนึ่งใน เนเธอรแลนด เริ่มจากเปนโรงพิมพเพื่อตีพิมพหนังสือพิมพ ตอมาจึงเปลี่ยนมาผลิตงาน พิมพอื่นดวย จากนั้นไดเปลี่ยนมาผลิตบรรจุภัณฑกระดาษแข็ง สําหรับอาหารและผลิตภัณฑที่ไมใชอาหาร Acket ไดรับความ เชื่อถือจากลูกคาวาผลิตงานที่มีคุณภาพ สงสินคาไดเร็ว ถึงแม Acket ตั้งมาประมาณ 130 ป บริหารบริษัทดวย ระบบครอบครัวที่สืบทอดตอกันมาเปนรุนที่ 4 แตก็ยังใหความ สําคัญกับการใชเทคโนโลยีใหม ๆ ที่ทันสมัยเขามาใชในการผลิต อยูเสมอ ขณะเดียวกันก็ใหความสําคัญกับการดูแลพนักงาน อยางดี ปจจุบัน Acket ไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001: 2000, ISO14001 และ BRC IoP Mr.Tom Acket, MD Acket กลาววา บริษทั มีนโยบายหลัก Mr.Tom Acket ที่สําคัญคือ ผลิตสินคาที่ดีที่สุด และใหบริการที่ยอดเยี่ยมที่สุด ในราคาและคุณภาพที่เหมาะสม Acket กอตั้งมายาวนาน ลูกคา สวนใหญกม็ สี ายสัมพันธมานาน แตพบวาในระยะหลังลูกคามีพฤติกรรมการสัง่ ซือ้ สินคา เปลีย่ นไป ลูกคาตองการสินคานอยลงแตตอ งการใหสง เร็วขึน้ หรือไมตอ งการสตอกสินคา นัน่ เอง ซึง่ จากความตองการเชนนีท้ าํ ใหบริษทั ตองหาเทคโนโลยีใหมทสี่ ามารถตอบสนอง ความตองการของลูกคาในกลุมนี้ และตองเปนเครื่องจักรที่มีชวงการทํางานต่ํา ผลิตงาน ไดเร็ว และไมมีปญหาเรื่องการหยุดเครื่องเพื่อบํารุงรักษา “จากป ญ หาที่ ลู ก ค า ต อ งการสิ น ค า เร็ ว ขึ้ น ในเวลาที่ น อ ยลง เราจึ ง ต อ งหาว า มี เทคโนโลยีไหนที่สามารถแกไขปญหานี้ได ก็พบวา เทคโนโลยี Push to Stop สามารถ ตอบสนองความตองการนีไ้ ดอยางครบถวน กอปรกับประสบการณทยี่ าวนานของเรากับ ผลิตภัณฑของ Heidelberg วาเปนเครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพ จึงตัดสินใจ ติดตั้งเครื่อง Speedmaster XL 106 พรอมระบบเคลือบสองชั้น หลังจากติดตั้งและ เริ่มกระบวนการผลิตแบบขนานโดยใช Hycolor Multidrive ทําใหสามารถปรับปรุง ประสิทธิภาพการผลิตไดถึง 20% เลยทีเดียว” Mr.Acket กลาว เครื่องพิมพ Offset ของ Acket ประกอบดวย เครื่องพิมพ Speedmaster XL 106 (6 Colour, Double Varnish, Logistics) 1 เครื่อง และ Speedmaster XL 106 (6 Colour, Varnish, Logistics) 1 เครื่อง และ Speedmaster XL 105 (6 Colour, Varnish) 1 เครื่อง รวมทั้ง เครื่องพิมพ CD 102 (2 Colour UV, Varnish UV) 1 เครื่อง

68

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018


NEWS

Iridesse™ Production Press

ฟูจิ ซีร็อกซ รุกเป ดตัวนวัตกรรมยุคดิจิทัล เครื่องพิมพ อุตสาหกรรม 6 สี แบบ Single-Pass ครั้งแรกในไทย

(บน) สีทองคือสวนที่เปนชั้นลางหมึก Dry Ink (ลาง) สีเงินคือสวนที่เปนชั้นลางของหมึก Dry Ink

บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา ความทาทายของ ธุ ร กิ จ สิ่ ง พิ ม พ ใ นยุ ค ดิ จิ ทั ล คื อ การต อ งปรั บ ตั ว ให ทั น กั บ กระแสของการ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อยางรวดเร็ว มีการนําเทคโนโลยีใหมๆ เขามาชวยในการ ทํางานดานการพิมพ รวมทัง้ การตองสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั งานพิมพทกุ ประเภท ซึง่ ในอุตสาหกรรมการพิมพกค็ วรมุง เนนดานการปรับปรุงเทคนิคการพิมพ และ การตอบสนองความตองการตางๆ ของลูกคาไดอยางรวดเร็ว ครบถวน รวมทัง้ ตองชวยสนับสนุนศักยภาพการเติบโตทางธุรกิจของลูกคาอีกดวย ฟูจิ ซีร็อกซ ในฐานะที่เปนผูนําอุตสาหกรรมการพิมพและผูนําดาน เทคโนโลยีระดับโลกที่ใหความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใหมๆ อยางตอเนื่อง โดยลาสุดไดเปดตัวผลิตภัณฑเครื่องพิมพระดับไฮเอนดใหม สําหรับมืออาชีพ Iridesse™ Production Press ซึ่งเริ่มออกวางจําหนายเปน

ครั้ ง แรกในภู มิ ภ าคเอเชี ย –แปซิ ฟ ก เมื่ อ เดื อ น พฤศจิกายน 2560 พรอมกับเปดตัวครั้งแรกใน ประเทศไทย ในงาน “Fuji Xerox 2017 Premier Partner Workshop” ใหลกู คาไดสมั ผัสกับเทคโนโลยี และชมผลงานการพิมพทส่ี ามารถพิมพสพี เิ ศษทีแ่ ตก ตางกันได Iridesse™ Production Press เปนแทน พิมพระดับอุตสาหกรรม 6 สี (Six-Color Print Engine) แบบ Single-Pass สามารถพิมพสเี มทาลิคไดหลาก หลายรูปแบบพรอมกันในขั้นตอนการพิมพเพียง ครั้งเดียว โดยมีการบรรจุหมึก Dry Ink ชนิดพิเศษ ตางๆ ที่เพิ่มขึ้นมา 2 ชนิด ของสีทอง สีเงิน สีใส และสีขาว ทําใหพิมพภาพไดสวยสะดุดตามีความ พิเศษมากยิง่ ขึน้ ในระดับพรีเมียม เปนการชวยเพิม่ มูลคาของกิจกรรมทางการตลาดนัน้ ใหมปี ระสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น ดวยกระบวนการพิมพสีแบบ Xerographic โดยใช Dry Ink พิเศษสองชนิดที่ถูกเลือกจากสีทอง สีเงิน สีใส และสีขาว นอกเหนือไปจากสี CMYK (Cyan, Magenta, Yellow และ Black) เปนกระบวน การทีอ่ ยูด า นบนสุดของชัน้ หมึก Dry Ink ชนิดพิเศษ ทีจ่ ดั เตรียมไวเพือ่ รองรับการพิมพบนกระดาษสีเขม หรือกระดาษพิเศษตางๆ หมึก Dry Ink สี CMYK ทําจากหมึก EA Dry Ink ความละเอียดสูง (ไดแก หมึก HD EA Dry Ink) ซึ่งเปนผงหมึกอนุภาคขนาด เล็กที่สุดในโลก หมึก HD EA Dry Ink จะหลอม ละลายอยางรวดเร็วในอุณหภูมิต่ํา และรวมตัวลง บนกระดาษโดยใชประโยชนจาก Marking Technology ของบริษัท ที่เกิดขึ้นไดแมกระทั่งการเท หมึก Dry Ink 6 ชั้น ใหภาพสวยงามคมชัดมีความ ละเอียดถึง 2,400 จุดตอนิ้ว และหมึก HD EA Dry Ink พร อ มอุ ป กรณร วบรวมสี ม าตรฐานที่ ถูก จั ด เตรียมไวประกอบดวยสี Pantone+Metallic และ สี Pantone+Premium Metallic ซึ่งเปนตัวอยางสี เมทาลิค ปกติที่ใชในอุตสาหกรรมการพิมพ โดย ประโยชนที่ผูดําเนินการจะไดรับคือ สามารถผลิต สีตา ง ๆ ไดใหม ทีค่ ลายคลึงกับสี Pantone Metallic บนสิ่งพิมพ ดวยการกําหนดโคดสีไดอยางงายดาย แทนพิมพ Iridesse™ Production Press มีความ สามารถสูงในการพิมพบนกระดาษหนาขนาด 400 แกรมตอตารางเมตร ทีค่ วามเร็วสูงถึง 120 หนาตอ นาที THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

69


SPECIAL

area

ธนานนท ทองประเสริฐ*

ฉลาก คืออะไร

ถาพูดถึงคําวา “ฉลากสินคา” เราจะนึกถึงปายที่บอกถึง ยี่หอ ราคา สวนผสม หรือแมกระทั่งวันเดือนปที่ผลิต ซึ่งราย ละเอี ละ ยดหรือขอความตาง ๆ ทีป่ รากฏอยูบ นฉลากสินคานัน้ ตอง มีขอ มูลอยูบ นฉลากตามทีก่ ฎหมายกําหนดไว เพือ่ เปนประโยชน แก แกผบู ริโภคสําหรับการเลือกซือ้ สินคา โดย “ฉลากสินคา” จะตอง ระบุ ระ ขอความตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. ชื่อผูประกอบการ หรือเครื่องหมายการคา 2. สถานที่ตั้งของผูผลิต 3. แสดงปริมาณ หรือขนาด หรือปริมาตร หรือน้ําหนัก สินคา แสดงวิธีใช เพื่อใหผูบริโภคเขาใจวาสินคานั้นใชเพื่อสิ่งใด 4. ขอแนะนําในการใชหรือหามใช 5. คําเตือน (ถามี) 6. วันเดือนปที่ผลิต/วันเดือนปท่หี มดอาย มดอายุยุ (ถามี) 7. ราคาสินคา

การแสดงรายการขอมูลของสินคานั้น เราอาจจําแนกได 3 ระดับ คือ 1. Brand Label เปนสวนของตรายี่หอ บนบรรจุภัณฑ 2. Grade Label เปนสวนที่ระบุราย ละเอียดคุณภาพสินคา 3. Descriptive Label เปนสวนที่เปน ขอมูลเกี่ยวกับการใชสวนผสม ขอควรระวัง และชื่อผูผลิต วันที่ผลิต วันหมดอายุ การกํ า หนดฉลากของสิ น ค า นั้ น จะ เปนประโยชนแกผูบริโภคในการที่จะทราบ ข อ เท็ จ จริ ง ถึ ง สาระสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ สิ น ค า

สําหรับการแสดงขอความในฉลากสินคาตองใชขอความ ทีต่ รงตอความเปนจริง และไมกอ ใหเกิดความเขาใจผิดในสาระสําคัญทีเ่ กีย่ วกับ สินคานั้นๆ ในกรณีที่สินคานั้นๆ มีกฎหมายของหนวยงานราชการอื่นควบคุม ในเรือ่ งฉลากอยูแ ลว ก็ใหจดั ทําฉลากตามกฎหมายนัน้ ๆ เชน อาหารตองจัดทํา ฉลากตามพระราชบัญญัติอาหาร เปนตน เมื่อฉลากสินคาเปนแหลงขอมูลใน การอุปโภค และบริโภคของผูบริโภค ซึ่งพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ไดกําหนดสิทธิที่ผูบริโภคจะตองไดรับขาวสาร หากจะพูดถึงขั้นตอนในการผลิตฉลากสินคานั้น เราสามารถแบงขั้นตอน ในการพิมพออกเปน 3 ขั้นตอนใหญๆ ไดแก 1. ขั้นตอนกอนพิมพ (Pre-press) 2. ขั้นตอนการพิมพ (Press) 3. ขั้นตอนหลังพิมพ (Post-press) * ผูเชี่ยวชาญทางดานแทนพิมพสําหรับสิ่งพิมพอุตสาหกรรม

70

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

บริษัท โคนิกา มินอลตา บิสสิเนส โซลูชั่นส (ปทท.) จํากัด


ขั้นตอนก อนพิมพ (Pre-press)

เปนขั้นตอนการวางแผนโครงรางของฉลากสินคา และ กําหนดการจัดวางขอมูลตางๆ ลงบนฉลากสินคา ซึง่ หลักการในการ ออกแบบฉลากสินคานั้นจะตองคํานึงปจจัยที่สําคัญดังตอไปนี้ การใส ข อ ความสํ า คั ญ ต า งๆ ให ค รบตามที่ กํ า หนด และ 1. ออกแบบให ส อดคล อ งกั บ โลโก สิ น ค า ซึ่ ง จะทํ า ให สิ น ค า ดูนาสนใจมากยิ่งขึ้น ด วางตั ว หนั ง สื อ ต อ งอ า นง า ยใช ตั ว อั ก ษรที่ ส ามารถ 2. การจั อานไดชัดเจน และใชสีตัวอักษรใหเหมาะกับยี่หอสินคาหรือ ตัวสินคามากที่สุด องใชตัวอั กษรหลากหลายชนิดบนฉลากสิ นคา เพื่อเพิ่ม 3. ตความน าสนใจ ควรใชลายเสนหรือสีใหใกลเคียงกับตัวสินคา เพื่อใชสื่อถึง 4. ความหมายของฉลากสิ นคา ไมควรใชวิธีการนําภาพมาเพียง แคตัดแปะ หรือใสขอความเพียงเล็กนอยเทานั้น เพราะ จะทําใหงานออกแบบฉลากสินคาดูไมนาสนใจ และอาจจะทําใหลดมูลคาของสินคาลงไป

ขั้นตอนการพิมพ (Press)

ระบบการพิมพทใี่ ชพมิ พงานฉลากนัน้ มีอยูห ลาย ประเภท ขึ้นอยูกับปริมาณงานพิมพ ถาหากตองการ ปริมาณงานพิมพจํานวนมากๆ ควรใชระบบการพิมพ แบบ Flexographic ซึ่งมีกําลังการผลิตสูง สามารถ กําหนดราคางานพิมพไดคอ นขางดี แตไมนยิ มพิมพใน ปริมาณยอดพิมพที่มีจํานวนนอย แตหากตองการ พิมพในจํานวนยอดพิมพทไี่ มสงู มาก ควรใชระบบการ พิ ม พ แ บบดิ จิ ทั ล ซึ่ ง ระบบการพิ ม พ แ บบดิ จิ ทั ล นั้ น ประหยัดกวา ตนทุนต่ํา เพราะไมจําเปนตองใชเพลท สามารถสัง่ พิมพไฟลผา นหนาจอคอมพิวเตอรไดทนั ที ลดขัน้ ตอนการเตรียมเครือ่ งพิมพ ตอบโจทยงานพิมพ จํานวนนอย งานพิมพทขี่ อ มูลมีการเปลีย่ นเเปลง แกไข อยูบ อ ย เชน บารโคด หมายเลข อย. เปนตน ซึง่ ระบบ การพิ ม พ แ บบดิ จิ ทั ล สามารถแบ ง ออกได เ ป น 2 ประเภทใหญ ไดแก มพดิจิทัลแบบอิงคเจ็ท คือระบบ 1. ระบบการพิ การพิมพแบบใชการพนหมึกลงบนวัสดุทใี่ ชพมิ พ ซึง่ สามารถพิมพลงบนวัสดุไดหลากหลายประเภท ไมวา จะเปน ฟลม กระดาษ หรือพลาสติก เปนตน ระบบการพิ ลั แบบ Electrophotography 2. คือระบบการพิมพมดพจิ แทิ บบใช ลูกกลิ้งผานความรอน ใหหมึกคงสภาพบนวัสดุพิมพ ซึ่งวัสดุที่ใชพิมพ จะคอนขางมีจาํ กัด เนือ่ งจากตองใชความรอนสูง ในการหลอมหมึกใหเกาะลงบนวัสดุพิมพ ไดแก กระดาษ สติ๊กเกอร ฟลมสังเคราะห (PP, PET) เปนตน

ขั้นตอนหลังพิมพ (Post-press)

สําหรับในขั้นตอนงานหลังพิมพของการพิมพฉลาก สิ น ค า นั้ น เป น ขั้ น ตอนการเพิ่ ม มู ล ค า ของสิ่ ง พิ ม พ เช น การเคลือบเงา เคลือบดาน การเคลือบวานิช การปม ฟอยล การไดคัท การเเบงมวน เปนตน ในสวนของการไดคัทจะ สามารถแบงประเภทของการไดคัทออกเปน 2 วิธี ไดแก การไดคัทแบบโรตารี่ (Rotary Die-cut) เปนระบบการ 1. ไดคั ทแบบใชแมพิมพใบมีดในการไดคัท โดยจะตอง สรางบล็อกไดคัทเพื่อใชไดคัทชิ้นงาน เหมาะสําหรับ ยอดการผลิ ต ที่ ค อ นข า งสู ง และมี แ บบไดคั ท แบบ เดี ย วกั น หมดทุ ก ชิ้ น งาน แต มี ข อ จํ า กั ด ตรงที่ ไ ม สามารถเปลี่ยนหรือแกเสนไดคัทไดทันที จําเปนตอง แกไขจากแมพิมพไดคัทเทานั้น ทแบบเลเซอร (Laser Die-cut) เปนระบบ 2. การไดคั การไดคัทแบบใชเลเซอรตัดเสนรอยไดคัท แทนการ ใชใบมีด ซึ่งเหมาะสําหรับงานที่มีการเปลี่ยนแปลง รู ป แบบไดคั ท หรื อ งานอื่ น ที่ เราต อ งการไดคั ท ไป พรอมกัน เนือ่ งจากเครือ่ งไดคัทแบบเลเซอรจะทําการ ไดคัทแบบอิสระ สามารถกําหนดเสนไดคัทไดตามที่ ตองการ แตราคาเครื่องคอนขางสูง หากเทียบกับ ระบบไดคัทแบบโรตารี่ (Rotary Die-cut)

กระบวนการหลังพิมพ ทั้งหมดนี้เป นส วนหนึ่งของขั้นตอนการ ผลิตฉลากสินค าเพื่อให ตอบสนองกับความต องการของผู ใช งาน และสร างความแตกต างให กบั สินค า เพือ่ เพิม่ ผลกําไรให กบั ผูผ ลิตสินค า ให ได มากที่สุด เมื่อเราได ทราบถึงความหมายของฉลากสินค าว าคือ อะไร และขั้นตอนการผลิตฉลากสินค าทําอย างไร ตั้งแต กระบวนการ เตรียมพิมพ ไปจนถึงหลังพิมพ ซึ่งกว าจะได ฉลากสินค าที่ได เห็นตาม ท องตลาดนั้น ยังมีข อมูลต างๆ อีกมากที่เราอยากจะนํามาเสนอ ซึ่ง จะกลับมาเล าให ฟังกันอีกในบทความตอนต อไปครับ THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

71


HOT

HP Jet Fusion 3D Printing Solution

product

Reinventing prototyping and manufacturing Superior, consistent part quality

• Get extreme dimensional accuracy and fine detail, thanks to HP’s unique Multi-Agent printing process • Produce truly functional parts with optimal mechanical properties, faster • Obtain predictable, reliable final printed parts that match your design • Access new future materials and uncover new applications thanks to the HP Multi Jet Fusion Open Platform

Breakthrough productivity

• Produce more parts per day with continuous printing and fast cooling • Streamline your workflow with HP’s automated materials preparation and post-processing station • Cleaner experience with an enclosed Processing Station and materials not classified as hazardous • Rely on HP’s world-class Technical Services and Support to maximize uptime and productivity • Choose your ideal end-to-end solution from a range of printing and processing options

INSTA 360 ONE

72

THAI PACKAGING NEWSLETTER

January - February 2018

Lowest cost-per-part

• Achieve lowest cost-per-part and reduce operational costs, opening your doors to short-run manufacturing • Benefit from a competitively-priced 3D printing solution • Optimize cost and part quality, with costefficient materials that offer industry-leading reusability • Plan production times more accurately and predictably, to increase your overall operational efficiency For more information, please visit

hp.com/go/JetFusion3Dsolutions

RTB Technology has revealed the latest 4k 360 camera “Insta 360 One” offering stunning experience with its smart technology for fast and easy 360 degree photo taking and video record to ensure that you capture every detail. With the easy-to-use design, the camera has tiny weight with only 82 grammes, Insta 360 One is packed with effective functions for 24 million pixel photo and 4K video. Raw mode in photo taking allows user to collect precise details for professional adjustment. The ONE achieves sixaxis image stabilization with an onboard gyroscope, ensuring that it records smooth video without sacrificing quality–even in rough-and-tumble situations. Most importantly Insta 360 One comes with smart applications for image modification, video editing, a quick Share and Live with 360 degree on social media. Moreover, Insta 360 One can be easily used in 3 different ways-standalone use, remote control via Bluetooth, and control via a direct connection to an iPhone charging port to immediately see images from the camera, which helps for easier photo or video laid-down composition. It also comes with outstanding photo-taking technology such as Bullet Time-which creators can capture up to 240 FPS slow-motion shots where the ONE circles them dramatically, always keeping them center-frame—while the accessory used to spin the camera is flawlessly concealed. The Insta 360 ONE introduces groundbreaking FreeCapture and SmartTrack technologies that users can effortlessly hone in on the key moments of a spherical video, translating the original 360 footage into a standard 1080p fixed-frame video that’s ready to share anywhere – all from their smartphone. The ONE can take Micro SD Memmory Card up to 128 GB capacity.


Digital press for industrial packaging printing

Primefire 106

Exceed the expectations of your customers and grow your business through cost effective short run and variable data applications, stunning print quality and optimal production workflows.

Equipment:

• SAMBA inkjet head technology from Fujifilm • Unique sheet transport system for undisturbed operation and unbeatable registration • Prinect Digital Center Inline for fast, process-oriented setup and maximum user friendliness • Prinect Digital Frontend for seamless integration into existing processes

• Native resolution of 1,200 × 1,200 dpi for maximum printing quality at up to 2,500 sheets per hour • Reliability of the Peak Performance class together with embedded inkjet technology could enable production volumes of up to 1.5 million 7/0 sheets per month in future productivity modes • Suitable for food compliant production • Environmentally friendly machine sets standards in recyclability and sustainability • Secure investment and value retention thanks to future-oriented technology and the highest level of automation

System highlights:

For more information, please visit

www.heidelberg.com

• 7-color inkjet system covers up to 95 percent of the Pantone color space with Multicolor technology

บรษัท

หนา

INTERINK CO., LTD. 3 KURZ (THAILAND) LTD. ปกหลัง MOSCA ASIA THAILAND 55 PRINTING & PACKAGING EXPO 2018 62 PROPAK 2018 9 เนชั่นไวด บจก. ปกหลังดานใน เบอรลี่ ยุคเกอร บมจ. 6, 7 เวอรทัส บจก. 44 แมพิมพ บจก. ปกหนาดานใน โคนิกา มินอลตา บิสสิเนส โซลูชันส (ประเทศไทย) บจก. 13 ไซเบอร เอสเอ็ม (ไทย) บจก. 4 ซี.เอ.เอส.เปเปอร บจก. 34, 36 ทรีโอ เทรดดิ้ง บจก. 45

ADVERTISING

index

บรษัท ฟูจิฟลม (ประเทศไทย) บจก. ริโก (ประเทศไทย) บจก. หงีเฮงแชมเปยนกรุป บจก. หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส บมจ. ออมรอน อีเลคทรอนิคส บจก. อี.พี.ซี. คอรปอเรชั่น บจก.

หนา 11 5 35 51 59 8


ใบสมัครสมาชก

สมาคมการบรรจภัณฑไทย

MEMBERSHIP

application Form

ชื่อ-นามสกุล (Name) ............................................................................................................................................................................................... บริษัท/หางหุนสวน/หางหุนสวนจํากัด (Company Name) ...................................................................................................................... ที่อยู (Address) ........................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................

โทรศัพท (Tel.) ........................................................................................ โทรสาร (Fax) ..................................................................................... ประเภทกิจการ (Description Business) .......................................................................................................................................................... ตําแหนง (Position) ...................................................................................................................................................................................................

ใบสมัครเปนสมาชกสมาคมฯ

(Membership Application Form) ขอสมัครเปนสมาชกสมาคมฯ (Type of Membership) สามัญนิติบุคคล (Ordinary Member) วารสาร (Newsletter Member) ขาพเจาทราบระเบียบของสมาคมฯ และจะปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ ทุกประการ (I have the full knowledge of the association regulations all of which I here by pledge to abide by) ลงชื่อ.................................................................ผูสมัคร (Signature) วันที.่ ................/................../................. (Date)

ลงชื่อ...........................................................ผูรับรอง (..................................................) นายทะเบียนสมาคมการบรรจุภัณฑไทย

หมายเหตุ เอกสารที่ใชในการสมัคร หนังสือรับรองการจดทะเบียนของบริษัท พรอมประทับตราเซ็นรับรองสําเนาถูกตอง • สมาชิกสามัญนิติบุคคล คาลงทะเบียนครั้งเดียว 500 บาท คาบํารุงสมาคมฯ 2,000 บาท/ป • สมาชิกวารสาร คาลงทะเบียนครั้งเดียว 100 บาท คาบํารุงสมาคมฯ 500 บาท/ป การชําระเงินโดย • สั่งจายเปนเช็คครอมในนาม “สมาคมการบรรจุภัณฑไทย” • ฝากเงินเขาบัญชี “สมาคมการบรรจุภัณฑไทย” ธนาคารกสิกรไทย สาขาพระโขนง บัญชีออมทรัพย เลขที่ 010-2-58719-7 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย อาคารสํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเกา) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4

แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th Thai Packaging Association MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Thailand Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th


AD_ACCURIO_G5-4.indd 1

TECHNOLOGY MEDIA_NO127_15-1-6_G5-4

15/1/61 17:04



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.