Food Box
....
.....
............. . . . . . .. ...
..
......... ...
....
.
.. . . . . ...
.........
....
..
..... . . . .
Cosmetic Box
TY TY IT IT CURISECURI SECURSECURY E S TY TY ITY ITY IT IT CURISECURI SECURSECURY SECUYRSECUTRY E S Y RITY URITY URITY URIT URIT CURI U CU SEC SEC SEC SEC SE SEC RITEYCURITYECURITEYCURITSYECURISTEYCURITSYECURIST S TY S TY S ITY ITY ITY ITY CE URISECURI SECURSECURY SECUYRSECUTRY SEC RITYECURITEYCURITSYECURISTECURITSECURISECURITS Y SRITY SURITY URITY URITY URITY CURITY U CUY SEC SEC Y SEC Y SEC TY SE Y SEC Y
Y T I R ECU
.....
...........
.... . . . .
S
Plastic Box
Security Seecurritity ty Label Laabel
YOUR TRUSTED PARTNER IN PACKAGING Paper / Plastic Packaging
Secured Coupon
Food / Cosmetic/ Pharmaceutical Packaging
Fulfillment and Packing Service
Secured Label & Sticker
Personalization Service (Variable Data)
HACC
GMP
P
FSC:SGS-COC-010516 PEFC:SGS-PEFC/COC-1768
9001:2015
BRC
GMP
HACCP
WORLD CLASS STANDARD
MORE INFORMATION PLEASE VISIT : WWW.CHANWANICH.COM CHANWANICH SECURITY PRINTING CO., LTD
PACKAGING DEPARTMENT : 30/24 Moo 1 Khokkham Muang Samutsakhon 74000 Tel : 034-452452 Fax : 034-452450 Facebook page : Chanwanich E-mail. : marketing@chanwanich.com
g Î x x ©d d Ñg v j x s | d ",( Paper Label VIP Label Filmic Label Graphics Label Removable Label Deep Freeze Label
LABEL PRODUCTS
Release Liner Cup Stock Paper
'>P O:BE:;E>
Tyre Label
Wet Wipes Label
Outdoor Drum Label
Digital Printing Label
CONTENTS 48
Vol.28 No.128 March - April 2018
20
TPA Activity 14 กิจกรรมสมาคมการบรรจุภัณฑไทย 20 ผลงานคณะกรรมการสมาคมการบรรจุภัณฑไทย ระหวางมีนาคม 2559-มีนาคม 2561
54
24 ถามจริง-ตอบจัง 28 Interview
68
ศลิษา พิบูลยสวัสดิ์...บรรจุภัณฑเครื่องสําอางตองมี Innovation และเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย
32 Article
อุตสาหกรรมไทยจะทําอยางไร เพื่อรับนโยบายของ EU รีไซเคิลพลาสติกในป ค.ศ. 2030
42 News
รางวัล InterTech Technology Awards 2017
37 In Trend
43 Packaging News
40 News
48 In Trend
41 News
54 Special Area
Tone of Voice
F&f Works with Cafédirect to Re-launch Organic Range
MHE & PACK MAC 2018
2017 DuPont Awards for Packaging Innovation Winners
EUROPEN welcomes EU Plastics Strategy’s call for strengthened and harmonised packaging waste management systems in Europe 43
PIXI Awards ครั้งที่ 10 ประจําป 2017 รางวัลสําหรับ นวัตกรรมและความเปนเลิศดานการพิมพระบบดิจิทัล
56 Special Area
งานฉลากแสนฉลาด Smart Label Application
60 Special Area
AIV / Mobile Robot การลําเลียงในยุค Industry 4.0
63 Scoop Special
Heidelberg Packaging Day 2017
68 Focus
3 นวัตกรรมผูเปลี่ยนเกมในอุตสาหกรรมการผลิตป 2561
73 Hot Product 10
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
EDITOR
note
วัตถุประสงคในการจัดทํา
วารสารบรรจุภณ ั ฑไทย จัดทําขึน้ โดยสมาคมการบรรจุภณ ั ฑไทย เพือ่ เผยแพร สาระความรูเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ และนําเสนอความเคลื่อนไหวของกิจกรรม ดานบรรจุภณ ั ฑใหแกสมาชิกและบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ บทความทีต่ พี มิ พในวารสาร บรรจุภัณฑไทยเปนสวนหนึ่งของการเผยแพรขอมูลขาวสาร และเอกสารทาง วิชาการ สมาคมฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป
Purpose
Published by the Thai Packaging Association. Thai Packaging Newsletter provides news, information and know-how as well as activity related to packaging industry in Thailand to all members of the Thai Packaging Association and the general public. Articles published in Thai Packaging Newsletter do not represent the official views of the Thai Packaging Association.
TPA Packaging Newsletter ฉบับเดือนมีนาคม-เมษายน 2561 เปนฉบับพิเศษสําหรับงานประชุมใหญสามัญประจําปของสมาคม การบรรจุภัณฑไทย ในวันที่ 21 มีนาคม 2561 ซึ่งงานประชุมใหญปนี้ มีวาระสําคัญสําหรับสมาชิกสมาคมฯ คือ การเลือกตัง้ นายกสมาคมฯ และ คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ชุดใหมแทนชุดเดิมที่หมดวาระลง เนื้อหาภายในฉบับนี้มีเรื่องที่นาสนใจมากมาย อาทิ ผลงานของ คณะกรรมการชุดวาระเดือนมีนาคม 2559-มีนาคม 2561 ระยะเวลา 2 ป คณะกรรมการชุดนีภ้ ายใตการนําของ นภดล ไกรฤกษ มีผลงานมากมาย เปนที่ประจักษตอทั้งสมาชิกสมาคมและบุคคลทั่วไป บทความของ อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ก็ยังไดรับความสนใจ มากเชนเดิม เพราะอาจารยคลุกคลีกับการพัฒนาบรรจุภัณฑมาตลอด จึงสามารถตอบขอซักถามจากผูส นใจไดชดั เจน และเขาใจงาย ติดตามได ในคอลัมน TPA Activity สวนคอลัมน Interview จะไดพบกับแนวคิดและ การทํางานของ ศลิษา พิบูลยสวัสดิ์ เจาของบริษัทผูนําเขาบรรจุภัณฑ เครือ่ งสําอางรายใหญของประเทศ ผูท เี่ ริม่ ธุรกิจดวยเงินทุนเพียง 3 แสนบาท ปจจุบนั มีรายไดเกือบพันลานบาทตอป อีกคอลัมนทที่ กุ คนตองอาน คือ บทความเรือ่ ง Tone of Voice ของ สมชนะ กังวารจิตต การตัง้ ชือ่ สินคา การคิดคําโฆษณาเกๆ มีความสําคัญตอการจดจําของผูบริโภคมาก ผูประกอบการตองคํานึงถึงเรื่องเหลานี้ดวย This edition of TPA Packaging Newsletter for March-April 2018 is a special edition for the Annual General Meeting of the Thai Packaging Association to be held on March 21, 2018. This year’s meeting is of importance to members of the Association, since it is for the election of the new President of the Association, replacing the old Committee which is completing its term. The content of this edition has many interesting stories such as the work of the Association and the Board of Directors for March 2016 - March 2018. During this two-year period of the Board of Directors under the leadership of Mr.Noppadol Krairiksh, there are many works that are made known to both members and the general public. Besides, the article of Mayuree Parklamjiak was well received as usual since she has been involved in the development of packaging all the time, which enabled her to answers all questions clearly and made them easy to understand. Kindly follow through under the column TPA Activity. As for the interview column, you will nd ways of thinking and working of Ms.Salisa Pibulsawat the major importer of cosmetic packaging in the country who started its business with a capital of only Baht 300,000. At present, the revenue is almost ten thousand million baht per year. Another column which everyone should read is the article on “Tone of Voice” of Mr.Somchana Kangvarnjit. To name a product and to think of a good advertisement have great impact on consumers’ awareness. Entrepreneurs should be well aware of these issues.
12
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
คณะกรรมการบริหารสมาคมการบรรจุภัณฑไทย 1. คุณนภดล ไกรฤกษ 2. คุณสมบูรณ เตชะพานิชกุล 3. คุณมนตรี มหาพฤกษพงศ 4. คุณประสิทธิ์ คลองงูเหลือม
5. คุณวรรณา สุทัศน ณ อยุธยา 6. คุณรัชนี ชัยชาติ 7. คุณพรรษชล ลิมธงชัย 8. คุณกมลา เลาหศักดิ์เสนา 9. คุณศุภชัย ธีราวิทยางกูร 10. คุณอุมา อัจจิมารังษี 11. คุณสุเมธ วลัยเสถียร 12. คุณเอกรินทร จิระกรานนท 13. คุณยุวดี เที่ยงทางธรรม 14. คุณจิตรา บุญสม 15. คุณเจริญสุข ภาวศิริพงษ 16. คุณไพโรจน มีทวี
นายกสมาคมการบรรจุภัณฑไทย อุปนายกบริหาร และนายทะเบียน อุปนายกโครงการ อุปนายกประสานองคกร และ ประชาสัมพันธ อุปนายกวิชาการ เลขาธิการ ผูชวยเลขาธิการ และกรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภัณฑพลาสติก เหรัญญิก กรรมการวิชาการ ฝายเทคนิคการพิมพ กรรมการวิชาการ ฝายธุรกิจออกแบบ กรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภัณฑแกว กรรมการวิชาการ ฝายวัสดุการพิมพ กรรมการวิชาการ ฝายคุณภาพการพิมพ กรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภณ ั ฑโลหะ กรรมการวิชาการ ฝายผูใชบรรจุภัณฑ ผูอํานวยการสมาคมฯ
The Board of the Thai Packaging Association
1. Mr.Noppadol Krairiksh President 2. Mr.Somboon Techapanichgul Vice President 3. Mr.Montri Mahaplerkpong Vice President 4. Mr.Prasit Klongnguluerm Vice President 5. Mrs.Varna Sudasna Vice President 6. Ms.Rutchanee Chaichart Secretary General 7. Ms.Passachon Limthongchai Assistant Secretary 8. Ms.Kamala Laohasaksena Treasure 9. Mr.Supachai Theravithayangkura Director 10. Mrs.Uma Ajjimarangsee Director 11. Mr.Sumedh Valaisathien Director 12. Mr.Ekarin Chirakranont Director 13. Ms.Yuwadee Thiangthangtum Director 14. Mrs.Chitra Boonsom Director 15. Mr.Jarensook Pavasiripong Director 16. Mr.Pairoj Meethawee Director of Association เจาของ : สมาคมการบรรจุภัณฑไทย www.thaipack.or.th อาคารสํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเกา) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมติ ร ถนนพระราม 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Owner : Thai Packaging Association www.thaipack.or.th MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Editorial Staff : Nipa Klinkosum Project Manager : Tipawan Khempilar Marketing Manager : Khemjira Boonpraracsa Executive Sale : Kalaya Sabpirom, Siriporn Klinkajorn, Kasira Hembundij, Manus Chaipas, Kritiyakorn Dangsamran Graphic Designer : Prittiya Nillawat Photographer : Komsak Kumsalee Proofreader : Tidawadee Boonsuya Managed by : Technology Media Co., Ltd. 471/4 Phayathai Place, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Rachathewi, Bangkok 10400 Printed by : E.Hing Printing Press Co., Ltd. 3141 Rot-Fai Sai Paknam Rd., Phrakanong, Klongtoey, Bangkok 10110 Tel : 0-2249-0136-8 Fax : 0-2249-5093
ร วมงานเลี้ยงครบรอบ 25 ป
สมาคมบรรจุภัณฑ กระดาษลูกฟูกไทย วันที่ 8 กุมภาพันธ 2561 นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ เขารวมงานเลีย้ งครบรอบ 25 ป สมาคมบรรจุ ภัณ ฑ ก ระดาษ ลูกฟูกไทย ณ Crystal Design Center (CDC)
ร วมจัดกิจกรรมในงาน Open House
พิธีเป ดศูนย ปฏิรูปอุตสาหกรรม (ITC) ณ ศูนย ส งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7
ระหวางวันที่ 15-16 กุมภาพันธ 2561 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย รวมจัดกิจกรรมในงาน Open House พิธีเปด ศูนยปฏิรปู อุตสาหกรรม (ITC) ณ ศูนยสง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7 (Industry Transformation Center : ITC) ระดับภูมภิ าค ณ ถนนคลังอาวุธ ตําบลขามใหญ อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี แบบครบวงจร อาทิ โครงการสัมมนาเชิงสรางสรรค เรือ่ ง Transformation : Packaging 4.0 For SME 4.0 รวมถึงการจัดแสดงนิทรรศการ “ITC SMART SME ดวยเทคโนโลยี 4.0” แสดงตัวอยางสินคาและเครื่องจักรดานบรรจุภัณฑและการพิมพ พรอมยังจัดพื้นที่คลินิกบรรจุภัณฑ ใหบริการคําปรึกษา กับกลุมผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) กลุม Startup ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารแปรรูป เกษตรแปรรูป อุตสาหกรรมการทองเที่ยวของฝากของที่ระลึก และอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑและการพิมพ และผูสนใจดาน การออกแบบผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ ทั้งหนวยงานภาครัฐ เอกชน และนักศึกษา กวา 100 ราย
14
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
สมาคมฯ มีวัตถุประสงคการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ เพื่อใหผูประกอบการมีความเขาใจถึงความสําคัญของบรรจุภัณฑที่ ทันสมัย และเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ในยุค 4.0 สงเสริมความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับแนวโนมบรรจุภณ ั ฑ หลักการพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ เพือ่ ความสําเร็จของธุรกิจ พรอมใหผปู ระกอบการไดฝก ปฏิบตั จิ ริง ทดลองใชเครือ่ งบรรจุภณ ั ฑทเี่ หมาะสม สอดคลองกับความ ตองการของตลาด ซึ่งในงานครั้งนี้ ดร.สมชาย หาญหิรัญ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ใหเกียรติเปนประธานกลาวเปด กิจกรรม Open House พิธีเปดศูนยปฏิรูปอุตสาหกรรม (ITC) ณ ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี ในวันที่ 15 กุมภาพันธ 2561 พรอมดวยคณะผูบริหารกรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เขาเยี่ยมชมศูนย ITC และเยีย่ มชมบูธของสมาคมฯ หนวยงานรวมพันธมิตร และผูป ระกอบการ 50 บูธ โดยคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ นําโดย นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคม รัชนี ชัยชาติ เลขาธิการ อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ทีป่ รึกษาสมาคมฯ และ ไพโรจน มีทวี ผูอํานวยการสมาคมฯ ใหการตอนรับ และนําเสนอกิจกรรมของสมาคมฯ ในบริเวณศูนยปฏิรูปอุตสาหกรรม (ITC) รวมถึง หนวยงานรวมพันธมิตร และสมาชิกของสมาคมฯ อาทิ สถาบันรหัสสากล (GS1 Thailand) บริษทั โตโย ไซกัน (ประเทศไทย) จํากัด และบริษทั กลุม สยามบรรจุภณ ั ฑ จํากัด รวมนําเสนอ พรอมใหคาํ ปรึกษาดานบรรจุภณ ั ฑ รวมถึงระบบซอฟตแวรการ ออกแบบบรรจุภัณฑและการผลิต กับผูประกอบการในงานดังกลาวอีกดวย
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
15
วิทยากรบรรยาย หัวข อเรื่อง “บรรจุภัณฑ และการสร างมูลค าเพิ่ม” ภายใต กิจกรรมพัฒนาผู ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม (คพอ.) รุ น 331 วันที่ 22 มกราคม 2561 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย นําโดย อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ที่ปรึกษาสมาคม รวมเปนวิทยากร พิเศษบรรยาย หัวขอเรือ่ ง “บรรจุภณ ั ฑและการสรางมูลคาเพิม่ ” ภายใตกจิ กรรมพัฒนาผูป ระกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม (คพอ.) รุน 331 โครงการพัฒนาศักยภาพผูประกอบการ SMEs สูการเปน Smart SMEs และ Global SMEs จํานวนกวา 40 ราย ซึ่ง จัดโดย ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี พรอมดวย คุณนภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ และ คุณไพโรจน มีทวี ผูอํานวยการสมาคมฯ
16
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
ออกบูธ จัดนิทรรศการในงาน
Thailand Industrial Fair & Food Pack Asia 2018 ระหวางวันที่ 1-4 กุมภาพันธ 2561 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย รวมออกบูธ จัดนิทรรศการดานบรรจุภัณฑ ในงาน Thailand Industrial Fair ซึ่งจัดเปนครั้งที่ 16 พรอมกับงาน Food Pack Asia 2018 ซึ่งจัดเปนครั้งที่ 9 งานนี้จัดขึ้นเพื่อเปนเวทีทางธุรกิจ ทีเ่ ปดโอกาสสําหรับผูป ระกอบการภาคอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑไทยและอาเซียนเพิม่ มากขึน้ พรอมทัง้ ชวยสงเสริมและขับเคลือ่ นภาค ธุรกิจและอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑใหกา วไกลสูค วามสําเร็จในตลาดอาเซียนและตลาดโลก และเพือ่ รองรับการขยายการลงทุนเสริม ศักยภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรมไทยและอาเซียน ณ Hall 102 ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
ในพื้นที่จัดแสดงของสมาคมฯ มีการจัดคลินิกบรรจุภัณฑ ใหบริการคําปรึกษา และจัดแสดงนิทรรศการดานบรรจุภัณฑ อาทิ บรรจุภัณฑที่ไดรับรางวัล Thai Pack Awards 2017 ตัวอยางสินคาบรรจุภัณฑของสมาชิกสมาคมฯ ที่เขารวมจํานวน 6 บริษัท ดังนี้ 1. บริษัท เวเบอร มารคกิ้ง ซิสเต็มส (ประเทศไทย) จํากัด 2. Selic Corp Public Company Limited 3. Cyber Print Group 4. บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด 5. บริษัท ยูเนียน อินตา จํากัด และ 6. Merck Ltd. นอกจากนีส้ มาคมฯ ยังจัดกิจกรรมสัมมนาภายใตหวั ขอ Smart Packaging & Packaging Trend 2018 โดยวิทยากรผูเ ชีย่ วชาญ ดานบรรจุภัณฑ จากหนวยงานภาครัฐและเอกสาร อาทิ หัวขอ แนวโนมบรรจุภัณฑกระแสรักษโลก บรรยายโดย อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ทีป่ รึกษาสมาคมการบรรจุภณ ั ฑไทย หัวขอ การจัดการบรรจุภณ ั ฑอยางยัง่ ยืน ดวย CLP (Closed Loop Packaging) บรรยายโดย สินชัย เทียนศิริ ผูอํานวยการสถาบันการจัดการบรรจุภัณฑและรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดลอม (TIPMSE) สภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย และหัวขอ Green Packaging กับพลาสติกชีวภาพ บรรยายโดย ดร.ชินวัชร ศรีโรจนภิญโญ Marketing Technical Service Manager PTT MCC Biochem Co., Ltd. ในงานดังกลาวอีกดวย
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
17
ออกบูธ จัดนิทรรศการในงาน MHE & PACK MAC 2018 :
The 3rd Material Handling & Packing Machine 2018 วันที่ 22-25 กุมภาพันธ 2561 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย รวมออกบูธและจัดแสดงนิทรรศการดานบรรจุภัณฑ ใน งานแสดงเครื่องจักรเพื่อการขนสงลําเลียง งานบรรจุภัณฑ และการจัดเก็บ ครั้งที่ 3 ; MHE & Pack Mac 2018 : The 3rd Material Handling & Packing Machine 2018 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี Hall 2 นอกจากนี้ ยังมีการจัดแสดง สินคามากมายจากบริษทั ชัน้ นําของประเทศไทยและทัว่ โลก อาทิ อุปกรณเพือ่ การขนสงและจัดเก็บ เครือ่ งจักรอุตสาหกรรม อุปกรณเครื่องมือที่ใชในโรงงาน และเทคโนโลยีดิจิทัลที่เกี่ยวของ
โครงการเสริมสร างองค กรสุขภาวะ ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ
วันที่ 27 มกราคม 2561 จัดสัมมนาใหความรูทางดาน Happy Body แก บริษัท แมพิมพ จํากัด (นวนคร) โดยมี ผูเชี่ยวชาญ นักวิทยาศาสตรการกีฬา นักโภชนาการ จากภาคีเครือขายมาบรรยายใหความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การ ลดนํ้าหนักอยางถูกวิธี ใหแกพนักงาน
วันที่ 29 มกราคม 2561 เขารวม ประชุมกับผูบริหารและหัวหนางานเพื่อวางแผนการดําเนินงานการสราง Mascot เพื่อ เปนการดําเนินงานเชิงสัญลักษณ เปนตัวแทนการสงผานความสุขภายในองคกร ณ บริษทั สตารคอร จํากัด ในเครือบริษทั แสงไทย เมตัลดรัม จํากัด
18
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
วันที่ 30 มกราคม 2561 เขารวม ประชุมกับผูบ ริหารและหัวหนางานเพือ่ วางแผนการขับเคลือ่ นการสรางสุขภาวะในองคกร ณ บริษัท มิตซูบิชิ อิเลคทริค ไทย ออโต-พารท จํากัด
วันที่ 1 กุมภาพันธ 2561 จัดสัมมนาใหความรูแ ละติดตามผลการจัดกิจกรรม Happy Body การออกกําลังกาย การรักษา สุขภาพ แก บริษัท เหล็กสยาม (2001) จํากัด หนึ่งในบริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ซึ่งการมีสุขภาพกายที่ดี ยอมสงผลถึงสุขภาพจิตใจ และยังเปนการลดคาใชจายของตนเองและองคกร ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานใหดียิ่งขึ้นอีกดวย
วันที่ 22 กุมภาพันธ 2561 โครงการฯ ไดจัดกิจกรรมศึกษาดูงานองคกรสุขภาวะตนแบบ ณ บริษัท เวสเทิรน ดิจิตอล (ประเทศไทย) จํากัด ไดเปดบานใหคณะรับฟงความสําเร็จของการบริหารจัดการ การดูแลพนักงานในองคกร การทําใหพนักงานมีความสุข ใหครอบครัวมีความสุข และคนมีความผูกพันกับองคกร โดยการขับเคลือ่ นดวยโครงการ Happy Workplace คณะผูเ ขารวมกิจกรรม ศึกษาดูงานไดมโี อกาสเยีย่ มชมพืน้ ทีต่ า งๆ ภายในองคกร ทีเ่ ปนการสงเสริมคุณภาพชีวติ พนักงานตลอดจนครอบครัวพนักงาน อาทิ โรงอาหารที่จําหนายอาหารราคาถูก พื้นที่มุมนมแม มุมพักผอนที่มีบริการ Free Wi-Fi ตลอดจนไดเยี่ยมชมพื้นที่การผลิต และภาค บายคณะไดเขารวมเรียนรูศ าสตรพระราชา นอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชในการปฏิบตั งิ าน ณ สํานักงานพิพธิ ภัณฑ เกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ โดยมีผูแทนจากองคกรที่สนใจเขารวมศึกษาดูงานกวา 30 องคกร พื้นที่โรงอาหาร
มุมนมแม
แนะนําการดําเนินงาน Happy Workplace และเยี่ยมชมพื้นที่การผลิต
ศึกษาดูงาน ณ พิพิธภัณฑ การเกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
19
TPA
activity w
ผลงานคณะกรรมการสมาคมการบรรจุภัณฑ ไทย ระหว าง มีนาคม 2559 - มีนาคม 2561
เมือ่ วันที่ 17 มีนาคม 2559 สมาคมการบรรจุภณ ั ฑไทยไดจดั ประชุมใหญสามัญประจําป 2558/2559 ครัง้ ที่ 47 และจัดเลือกตัง้ คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ชุดใหม ณ หองวิมานทิพย ชั้น 5 โรงแรมมณเฑียร ริเวอรไซด โดยมี ไชยวุฒิ์ พึ่งทอง นายกสมาคม การบรรจุภัณฑไทย เปนประธาน ผลการเลือกตั้งปรากฏวา นภดล ไกรฤกษ ไดรับเลือกตั้งใหดํารงตําแหนงนายกสมาคมฯ มีวาระ ดํารงตําแหนงระหวางเดือนมีนาคม 2559-มีนาคม 2561 หลังจากไดรับเลือกตั้ง คณะกรรมการไดทํางานอยางทุมเท ทําใหมีผลงานเปนที่ประจักษโดยทั่วไป • วันที่ 24, 31 มีนาคม และ 1 เมษายน 2559 รวมกับ สํานักงานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน จัดสัมมนา “Basic Packaging Technology Training” ณ อาคารสํานักพัฒนาสนับสนุน (BSID) เปนความรวมมือภายใตโครงการเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน ของผูประกอบการ SME เพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา ดวยนวัตกรรมบรรจุภัณฑ • วันที่ 29 มีนาคม 2559 ไดจัดสัมมนา “The Outlook of Labeling Technology for Plastics Packaging” ณ ชั้น 2 หองกมลทิพย โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพฯ
• วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ ไดเขารวมพิธลี งนามบันทึกขอตกลงความรวมมือสานพลังประชารัฐ สงเสริมการทองเที่ยวของประเทศไทยผาน “โครงการ Amazing Thai Taste” • วันที่ 30 พฤษภาคม 2559 ไดเปดตัว “โครงการเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันของกลุม เกษตรกรผูป ลูกกาแฟพืน้ ที่ ภาคเหนือและผูป ระกอบการ SME เพือ่ สรางมูลคาเพิม่ ใหกบั ผลผลิตกาแฟและผลิตภัณฑกาแฟ ดวยนวัตกรรมบรรจุภณ ั ฑ และการออกแบบบรรจุภัณฑ” สนับสนุนโดย สภาสมาคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย • วันที่ 3 มิถุนายน 2559 สหพันธอุตสาหกรรมฯ จัดกิจกรรมวางพวงมาลาแดหมอบรัดเลย ณ สุสานโปรแตสแตนท เนื่องใน “วันการพิมพไทย” ณ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร • วันที่ 15-18 มิถุนายน 2559 รวมงานมอบรางวัลดานบรรจุภัณฑ ThaiStar Packaging Awards 2016 และ AsiaStarWorldStar Awards 2016 กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม • วันที่ 21 มิถุนายน 2559 สหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ ไดจัดงาน “สังสรรควันการพิมพไทย 2559” รวมทั้งไดมีพิธีมอบ ตําแหนงประธานสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ จาก พงษเดช สัจจะรัตนะโชติ นายกสมาคมการพิมพสกรีนไทย ใหแก นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑไทย • เขารับรางวัล “สมาคมการคาดีเดน และผูบริหารสมาคมการคาดีเดน ประจําป 2559” ซึ่งดําเนินการโดย กรมพัฒนา ธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย และสภาหอการคาแหงประเทศไทย เปนผูค ดั เลือกหนวยงานทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ เี่ หมาะสมเพือ่ รับรางวัล ดังกลาว • วันที่ 23 กรกฎาคม 2559 จัดสัมมนาปดตัว “โครงการเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันของกลุม เกษตรกรผูป ลูกกาแฟ พืน้ ทีภ่ าคเหนือและผูป ระกอบการ SME เพือ่ สรางมูลคาเพิม่ ใหกบั ผลผลิตกาแฟและผลิตภัณฑกาแฟดวยนวัตกรรมบรรจุภณ ั ฑ และการออกแบบบรรจุภัณฑ” ณ หองประชุมชงโค มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย
20
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
• วันที่ 27-29 กรกฎาคม 2559 รวมกับ กรมสงเสริมอุตสาหกรรม จัดสัมมนาในหัวขอ “บรรจุภณ ั ฑอาหาร...ความจําเปน ทีต่ อ งรู” โดย อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ทีป่ รึกษาสมาคมฯ เขารวมถายทอดความรูแ ละประสบการณดา นบรรจุภณ ั ฑอาหารใหแก ผูเขารวมสัมมนา • รวมงาน SME Expo Spring up Thailand 2016 : เสริมแกรง SME ไทย ดวยที่ปรึกษามืออาชีพ” กิจกรรมสําคัญใน โครงการพีช่ ว ยนอง (Big Brother) ไพโรจน มีทวี ผูอ าํ นวยการสมาคมและผูอ าํ นวยการโครงการ รวมการประชุมและรายงานสรุปผล การดําเนิน “โครงการเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันของกลุม เกษตรผูป ลูกกาแฟพืน้ ทีภ่ าคเหนือ และผูป ระกอบการ SME เพื่อสรางมูลคาเพิ่มใหแกผลผลิตกาแฟและผลิตภัณฑกาแฟดวยนวัตกรรมบรรจุภัณฑและการออกแบบบรรจุภัณฑ” ซึ่งโครงการดังกลาวไดรับเงินทุนสนับสนุนจากสภาสมาคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (สสวทท) • รวมพิธเี ปดงาน อินเตอรพลาส ไทยแลนด 2016 โดย พรรษชล ลิมธงชัย ผูช ว ยเลขาธิการกรรมการวิชาการ ฝายบรรจุภณ ั ฑ พลาสติก ในฐานะตัวแทน สมาคมการบรรจุภัณฑไทย เขารวมในพิธี • รวมพิธเี ปด ศูนยออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ (Thailand Industrial Design Center) โดยมี ดร.สมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานในพิธีเปด • วันที่ 18-28 สิงหาคม 2559 เขารวมจัดแสดงนิทรรศการ มหกรรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ประจําป 2559 (NST FAIR 2016) ภายใตแนวคิด “Open your Mind Open your Inspiration” ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็ค (Hall 8) เมืองทองธานี • วันที่ 2-6 ตุลาคม 2559 คณะกรรมการ และสมาชิก ไดเดินทางเขารวมชมงาน Tokyo Pack 2016 ณ กรุงโตเกียว ประเทศ ญี่ปุน นอกจากการเยี่ยมชมงานแลว ยังไดเขาเยี่ยมชมบริษัทผลิตบรรจุภัณฑของญี่ปุนดวย • วันที่ 19 ตุลาคม 2559 เขารวมวางพานพุม และรวมถวายราชสดุดเี พือ่ เทิดพระเกียรติ “พระบิดาแหงเทคโนโลยีของไทย” ประจําป 2559 ณ บริเวณลานพระบรมราชานุสาวรีย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ และ ไพโรจน มีทวี ผูอํานวยการสมาคมฯ เขาพบพรอมแสดง ความยินดีกับ จารุพันธุ จารโยภาส ผูอํานวยการกองพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา 2 (กพข 2.กสอ.) คนใหม • วันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 รวมกับ สหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ จัดงาน FTPI Conference 2016 “Bright future for Printing and Packaging with Thailand 4.0” ณ หองบอลรูม โรงแรมดิเอมเมอรัลด • วันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 รวมกับกรมสงเสริมอุตสาหกรรม จัดสัมมนาหัวขอ “Packaging Trends from Tokyo Pack 2016” ณ โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอรด รัชดาภิเษก ซึ่งถือวาเปนภารกิจหนึ่งของสมาคมฯ ในการเชื่อมโยง ถายทอดเรื่องราว ที่เกี่ยวของกับบรรจุภัณฑในระดับ World Class ใหกับผูที่สนใจดานบรรจุภัณฑในประเทศ • วันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 เขาเยีย่ มชมศูนยการเรียนรูอ าหารไทย “Thai Food Heritage” สถาบันอาหาร โดยมี ดร.บัณฑิต เรืองตระกูล รองผูอํานวยการสถาบันอาหาร และคณะผูบริหารสถาบันอาหารใหการตอนรับและนําชม • วันที่ 15 ธันวาคม 2559 จัดงานสัมมนาสรางเสริมเติมสุข “Change for the Better” เพือ่ เปนการเปดตัวโครงการเสริมสราง การเปนองคกรสุขภาวะในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ เผยแพรความรูดาน Happy Workplace และ Happy 8 • วันที่ 15-17 ธันวาคม 2559 ตัวแทนสมาคมฯ เขารวมเปนคณะกรรมการตัดสินการประกวดการประกวดบรรจุภัณฑระดับ ภูมิภาคเอเชีย (AsiaStar Awards 2016) และการประชุม Board of Administration of APF ครั้งที่ 66 และ General Assembly of APF ครั้งที่ 41 เพื่อหารือดานความรวมมือในการพัฒนาดานบรรจุภัณฑระดับภูมิภาคเอเชีย ณ เมืองมุมไบ สาธารณรัฐอินเดีย • วันที่ 21 ธันวาคม 2559 เนื่องใน โอกาสครบรอบปที่ 47 ทางสมาคมฯ ไดมอบเงินบริจาคใหแกโรงเรียนสอนคนตาบอด กรุงเทพ ถนนราชวิถี เพือ่ สนับสนุนดานการศึกษา และพัฒนาศักยภาพการเรียนรูแ กเด็กใหมคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ซึง่ ถือเปนสวนหนึง่ ตามนโยบายในการจัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสครบรอบปที่ 47 ของสมาคมฯ
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
21
• วันที่ 27-28 มกราคม 2560 รวมกับ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ภายใตโครงการ “Startup Happy 8” ... SOOK DEE เปนการเสริมสรางการเปนองคกรสุขภาวะในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ • วันที่ 30 มกราคม 2560 นภดล ไกรฤกษ นายกสมาคมฯ และ อาจารยมยุรี ภาคลําเจียก ทีป่ รึกษาสมาคมฯ ไปเปนวิทยากร ในงาน SCG Packaging R&D Forum 2017-Technology Journey to Packaging 4.0 ณ ศูนยพัฒนาผลิตภัณฑและเทคโนโลยี บริษัท เอสซีจี แพคเกจจิ้ง จํากัด (มหาชน) อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี • วันที่ 1 กุมภาพันธ 2560 เขารวมแสดงความยินดี เนื่องในโอกาส 40 ป สมาคมอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษไทย ณ หอง Salon B โรงแรม Swissotel Le Concorde กรุงเทพฯ
• วันที่ 9 กุมภาพันธ 2560 สหพันธอตุ สาหกรรมการพิมพ ซึง่ ประกอบดวยองคกรทางการพิมพ 9 องคกร รวมจัดงานแถลง ขาว “โครงการ 9 แบบตัวพิมพไทยเพื่อพอ” เพื่อรวมสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ซึ่งพระองคทรงเปนพระบิดาแหงเทคโนโลยีของไทยและทรงประดิษฐตัวอักษรไทย พรอมทั้งเปนการแสดงออกถึงความ จงรักภักดีและเทิดทูนตอพระองคทาน • วันที่ 1-3 มีนาคม 2560 ไดไปเยี่ยมชมงาน SinoPack 2017 งานแสดงสินคาและเทคโนโลยีนานาชาติทางดานการพิมพ และบรรจุภัณฑ ณ ประเทศจีน • วันที่ 2-5 มีนาคม 2560 รวมออกบูธในงาน Thailand Industrial Fair&Food Pack Asia 2017 เปนงานแสดงสินคาและ เครื่องจักรทางอุตสาหกรรม • วันที่ 15 มีนาคม 2559 จัดประชุมใหญสามัญป 2559/2560 ณ โรงแรมดิ เอมเมอรัลด ถนนรัชดาภิเษก โดยคณะกรรมการ และสมาชิกสมาคมฯ เขารวมอยางพรอมเพรียง • วันที่ 19 เมษายน 2560 นายกสมาคมฯ ไดรบั เชิญเปนวิทยากรพิเศษในหัวขอ “การสรางสรรคมลู คาเพิม่ ใหแกสนิ คา และ บริการการทองเที่ยว” ซึ่งจัดโดย การทองเที่ยวแหงประเทศไทย • รวมจัดนิทรรศการและใหคาํ ปรึกษาดานบรรจุภณ ั ฑ ในโครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมแปรรูป การเกษตรในภูมิภาค OPOAI สู Industry 4.0 ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของกระทรวงอุตสาหกรรม ณ ศูนยสงเสริม อุตสาหกรรม ภาคที่ 6 จังหวัดนครราชสีมา
• วันที่ 17-27 สิงหาคม 2560 โครงการเสริมสรางองคกรสุขภาวะในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ ไดจัดประชาสัมพันธโครงการฯ ในงานมหกรรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ประจําป 2560 ณ อิมแพ็ค อารีนา เมืองทองธานี
22
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
• วันที่ 25 สิงหาคม 2560 เขามอบเงินบริจาคสมทบมูลนิธชิ ยั พัฒนา (รายไดจากโครงการ ๙ แบบตัวพิมพ) ซึง่ จัดโดย สหพันธ อุตสาหกรรมการพิมพ ณ ที่ทําการมูลนิธิชัยพัฒนา ซ.อรุณอมรินทร 36 • วันที่ 19 กันยายน 2560 ทีมงาน Happy Workplace และกรรมการจาก สสส. ไดเขาเยี่ยมชมโครงการ Happy Workplace ณ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โรงไฟฟาบางปะกง • วันที่ 20 กันยายน 2560 รวมในพิธเี ปดงาน PACK PRINT International 2017 (PPI 2017) งานแสดงสินคาเพือ่ อุตสาหกรรม การพิมพและการบรรจุภัณฑชั้นนําของไทย ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
• รวมงานแถลงขาว PACK PRINT International 2017 ซึ่งจะจัดขึ้นระหวางวันที่ 20-23 กันยายน 2560 • วันที่ 21 กันยายน 2560 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย ไดจัดพิธีมอบรางวัล Thai Pack Awards 2017 ใหแกเจาของสินคา แบรนดไทย จํานวน 24 ราย • วันที่ 27 กันยายน 2560 ไดเขาใหคาํ ปรึกษาเชิงลึก ณ บริษทั เหล็กสยาม (2001) จํากัด โดยในครัง้ นีไ้ ดรบั เกียรติจากวิทยากร ผูทรงคุณวุฒิทางดานโภชนาการมาบรรยายใหความรูทางดานสุขภาพดวยโภชนาการตามหลัก 3อ. 2ส. • วันที่ 16 ตุลาคม 2560 ไดรับรางวัล รางวัลสมาคมการคาดีเดน ประจําป 2560 (Trade Association Prestige Award: TAP Award) ถือเปนปที่ 2 ที่สมาคมฯ ไดรับรางวัลนี้ ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลเวิลด • รวมกับ ศูนยนวัตกรรมอาหารและบรรจุภณ ั ฑ ในกิจกรรมการระดมสมอง (Focus Group) ตามโครงการ “ระบบสืบคนขอมูล บรรจุภณ ั ฑอจั ฉริยะ” ซึง่ ศูนยฯ ไดรว มทํางานกับ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) เพือ่ จัดทําระบบสืบคนขอมูลบรรจุภณ ั ฑ อัจฉริยะ (Intelligent Packaging System) • วันที่ 22 พฤศจิกายน 2560 คณะกรรมการสมาคมฯ เขาเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท เคบีเอฟ อินเตอรแพ็ค จํากัด • วันที่ 24 พฤศจิกายน 2560 รวมกับ สมาคมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี จัดสัมมนา Green Packaging Trend in Thailand ณ หองกมลทิพย 1 ชั้น 2 โรงแรมเดอะ สุโกศล • วันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2560 รวมกับ ศูนยบมเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จัดฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ “บรรจุภัณฑอาหารเพื่อความสําเร็จของธุรกิจ” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต • รวมเปนวิทยากรบรรยายดานบรรจุภัณฑไทย สู Thailand 4.0 ในงานคลินิกอุตสาหกรรม เรื่อง “เสริมแกรง แหลงเงินทุน สนับสนุน SMEs” ภายใตโครงการ ศูนยบริการธุรกิจอุตสาหกรรม (Business Service Center : BSC) • วันที่ 11 ธันวาคม 2560 นําคณะผูบ ริหารในกลุม องคกรสุขภาวะในอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ เขาเยีย่ มชมองคกรตนแบบทาง ดานสุขภาวะในองคกร บริษัท สตารเฟล็กซ จํากัด • วันที่ 22 ธันวาคม 2560 โครงการฯ ไดเขาดําเนินงานในการใหคําปรึกษาเชิงลึก ณ บริษัท แมพิมพ จํากัด (บางนา) โดยได ติดตามผลงานการดําเนินงานสุขภาวะในองคกร และมอบรางวัลใหแกบุคคลตนแบบทางดาน Happy Body • วันที่ 26 ธันวาคม 2560 ไดจัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสครบรอบการดําเนินงาน 48 ปของสมาคมฯ ดวยการบริจาคเงิน และสิ่งของ มอบใหแกสถานสงเคราะหหญิงชราที่ไรที่พึ่ง ณ มูลนิธิบานสุทธาวาส จังหวัดนครนายก • รวมประชุมหารือเพื่อคัดเลือกเลขาธิการสหพันธการบรรจุภัณฑแหงเอเชีย (The Asian Packaging Federation : APF) ณ หองประชุม ชั้น 2 อาคารอาคารศูนยออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (Thailand Industrial Design Center: Thai-idc) กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กลวยนํ้าไท
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
23
TPA
activity มยุรี ภาคลำาเจียก
สวัสดีค่ะ ถามจริง ตอบจัง เป็นคอลัมน์ประจำาของวารสารนี้
โดยเริ่มมาตั้งแต่ 3 ฉบับที่แล้วค่ะ ขอทวนถึงที่มาสำาหรับท่านผู้อ่าน รายใหม่ คอลัมน์นี้เป็นการนำาคำาถามและคำาตอบด้านบรรจุภัณฑ์ มาพิมพ์เพือ่ แบ่งปันความรู้ คำาถามมาจากหลายคน และหลาย อาชีพ ส่วนใหญ่มาจากผู้ประกอบการอาหาร SMEs จะ ไม่ขอเอ่ยชื่อผู้ถามในคอลัมน์นี้ ส่วนคำาตอบก็มาจาก ผู้เขียนซึ่งเรียกตนเองว่าอาจารย์ เรื่องที่ 4 ในฉบับนี้ เป็นเรื่องของการวางแนวเกรนของกระดาษกับ รูปทรงกล่องต่างๆ
¶ÒÁ¨ÃÔ§ µÍº¨Ñ§
¼Ù¶Œ ÒÁ : หนูไปฟังอาจารย์บรรยายเมือ่ เร็วๆ นี้ ได้ความรูม้ าใช้เป็นประโยชน์มากค่ะ อาจารย์บอก ว่าการใช้กล่องกระดาษแข็งต้องวางแนวเกรนกระดาษให้ถกู ต้องเพือ่ ป้องกันกล่องป่อง กล่องทีห่ นูใช้อยูม่ ี หลายรูปทรง ทั้งแบบเตี้ยๆ และแบบสูงๆ จะวางแนวเกรนทางไหนดีคะ ¼ÙŒµÍº : การวางแผ่นคลี่บนกระดาษขนาดมาตรฐานต้องพิจารณาแนวเกรน (Machine Direction,
MD) ของกระดาษให้เหมาะสมกับรูปทรงของกล่อง สรุปสั้นๆ ดังนี้
¡Å‹Í§·Ã§ÊÙ§ : ต้องให้แนวเกรนกระดาษใน
แนวนอนที่ ข นานกั บ พื้ น ราบ เพื่ อ ป้ อ งกั น กล่องป่องออก (Box Bulge) เมือ่ ตัง้ อยูบ่ นชัน้ วางขายสักระยะเวลาหนึ่ง การวางผิดแนวจะ ทำาให้ผนังกล่องบริเวณปากกล่อง ไม่แนบสนิท ดูไม่สวยงาม ดูรปู ประกอบนะคะ กล่องทรงนี้ มีมากมาย ได้รับความนิยมสูงสุดค่ะ
24
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
¡Å‹Í§·Ã§àµÕé áÅРẺ¶Ò´ : แนวเกรนจะอยู่
ในแนวตั้งหรือนอนก็ได้ค่ะ เพราะไม่มีปัญหาการ ป่องของกล่องเมื่อวางอยู่บนชั้นวางขาย ตัวอย่าง กล่องทรงนี้ ดังรูป
กล่องทรงยาว คล้ายท่อ (Tube) :
ต้องพิจารณาการวางบนชั้นวางขายค่ะ ถ้ากล่องถูกวางในแนวตั้งเท่านั้น เช่น กล่องบรรจุขวดเหล้า ขวดไวน์ หลอดครีมทาผิว เป็นต้น กล่องจะผอมและสูง ดังนั้นต้องวางแนวเกรนกระดาษ ในแนวนอน เช่นเดียวกับกล่องทรงสูงในข้อ 1 ด้วยเหตุผลเดียวกันค่ะ
ถ้ากล่องรูปทรงนี้ถูกวางในแนวนอนบ้าง แนวตั้งบ้าง ขึ้นกับร้านค้า โดยไม่สนใจว่าการออกแบบ Artwork ของกล่องอยู่ใน แนวไหน ก็ให้ยึดการวางในแนวตั้งเป็นหลัก นั่นก็คือ ให้แนวเกรนกระดาษอยู่ในแนวนอนที่ขนานกับพื้นราบ เช่นเดียวกับกล่อง ทรงสูงในข้อ 1 ตัวอย่างที่เห็นชัดเจน คือ กล่องยาสีฟัน Artwork ของแบรนด์ส่วนใหญ่จะได้รับการออกแบบให้กล่องวางในแนว นอน แต่ก็มีบางแบรนด์ เช่น Darlie ที่ออกแบบ Artwork ให้กล่องอยู่ในแนวตั้ง เมื่ออยู่บนชั้นวางขาย ร้านค้าแบบทันสมัยส่วนใหญ่ นิยมวางกล่องยาสีฟันในแนวนอน เพราะให้ความมั่นคงในการซ้อนดีกว่าการวางในแนวตั้ง แต่ก็มีร้านค้าบางแห่งวางกล่องใน แนวตั้ง ดังรูป
Artwork กล่องยาสีฟัน ที่ออกแบบให้กล่องวางในแนวนอน THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
25
ร้านค้าส่วนใหญ่จะวางกล่องยาสีฟันในแนวนอน แต่ก็มีบางร้านที่วางกล่องในแนวตั้ง
Artwork กล่องยาสีฟัน Darlie ที่ออกแบบให้กล่องวางในแนวตั้ง การวางขายมีทั้งวางแนวตั้งและแนวนอน
กล่องที่ตั้งใจให้วางในแนวตั้งก็ได้ แนวนอนก็ได้ ตามใจร้านค้าเลยค่ะ สังเกตได้จาก Artwork ของกล่อง ด้านหลักด้านหนึ่ง Artwork อยู่ใน แนวตั้ง (เป็น กล่อ งทรงสูง ) ด้าน ตรงข้าม Artwork อยู่ในแนวนอน (เป็ น กล่ อ งทรงเตี้ ย ) ดั ง นั้ น การ กำาหนดแนวเกรนกระดาษจึงควรยึด กล่องทรงสูงเช่นกันค่ะ
26
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
สรุปหลักในการจำาแบบง่ายๆ คือ ไม่วา่ กล่องเป็นรูปทรงใด ให้วางแนวเกรนกระดาษในแนวนอนทีข่ นานกับพืน้ ราบจะปลอดภัย ที่สุด (ป้องกันกล่องป่องออก) ในกรณีกล่องทรงเตี้ยและแบบถาด ถ้าวางแนวเกรนกระดาษในแนวตั้งแล้ว ทำาให้สามารถได้จำานวน ของแผ่นคลี่ (Blank) ต่อ 1 แผ่นกระดาษมาตรฐานมากขึ้น ก็ทำานะคะ เพราะจะได้ราคากล่องที่ถูกลง ก่อนจะจบ อาจารย์ขอให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเรียกมิติกล่องที่ถูกต้อง เพราะมีหลายคนมักเรียกผิด โดยเฉพาะกล่อง ทรงท่อ คือ เรียก ความลึก เป็นความยาว ทำาให้ฝากล่องอยู่ในด้านที่ไม่ถูกต้อง อาจไม่สามารถใช้บรรจุสินค้าได้เลยนะคะ หลักใน การจำา คือ ความยาวและความกว้างของกล่องจะยึดที่ด้านเปิดของกล่องเสมอ ด้านที่เหลือ คือ ความลึก ดูรูปประกอบ การเรียก มิติกล่องจะใช้ ความยาว x ความกว้าง x ความลึก ถ้าไม่แน่ใจ ให้วาดรูปกล่องพร้อมฝาและระบุขนาดกำากับไว้ด้วย จะช่วยป้องกัน ความผิดพลาดได้ค่ะ
อาจารย์หวังว่าคำาอธิบายสั้นๆ และรูปจะทำาให้เข้าใจนะคะ ¼ÙŒ¶ÒÁ : เข้าใจชัดเจนดีค่ะ ขอบพระคุณมากนะคะ อาจารย์ THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
27
INTERVIEW กองบรรณาธิการ
ศลิษา พิบูลย สวัสดิ์
บรรจุภัณฑ เครื่องสําอางต องมี Innovation และเทคโนโลยี การผลิตที่ทันสมัย การทําธุรกิจต องซื่อสัตย ทั้งต อลูกค า ต อ ซัพพลายเออร และทุกๆ คน รวมทั้งซื่อสัตย ต อพนักงานของตนเอง “Comets” หมายถึงดาวหาง ดาว ที่สองสวางบนทองฟาเพียงชั่วระยะเวลา หนึง่ แลวก็หายไป แตทจี่ ริงแลวดาวหางนัน้ ไมไดหายไปไหน บางเวลาเราอาจจะมอง ไมเห็นดวยตาเปลาแตกไ็ มไดหมายความวา มันไมมีอยู เมื่อไดเวลา ดาวหางนั้นก็จะ กลั บมาส องสว า งอี ก ครั้ ง เช น เดี ยวกับ บริษัท คอมเม็ทส อินเตอรเทรด จํากัด บริษัทที่เรียกไดวาปดทองหลังพระของ ธุรกิจเครื่องสําอางในหลายๆ แบรนดที่ เราเห็นอยูในตลาดอยางแทจริง เหมือน ดาวหางทีห่ ลบอยูห ลังดาวดวงอืน่ แตวนั นี้ ถึ ง เวลาแล ว ที่ ด าวหางดวงนี้ จ ะออกมา โลดแลนในวงการธุรกิจบรรจุภัณฑเครื่อง สําอางอยางเต็มตัว เมื่อป 2536 ศลิษา พิบูลยสวัสดิ์ และสามี ตัดสินใจนําเงิน 3 แสนบาทลงทุน ทําธุรกิจผลิตสินคาพรีเมียมใหแกบริษัท ผลิตเครื่องสําอางชั้นนํา และสินคาอื่นๆ บริษทั เติบโตตามลําดับจนป 2545 ไดขยาย ธุ ร กิ จ สู ต ลาดบรรจุ ภั ณ ฑ เ ครื่ อ งสํ า อาง อยางเต็มตัว โดยนําเขาบรรจุภัณฑเครื่อง สําอางจากประเทศจีน ซึง่ ถือเปนจุดเริม่ ตน ของการเปนผูจําหนายบรรจุภัณฑเครื่อง สําอางรายใหญของประเทศ
28
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
เราต องรักษาจุดแข็ง ที่เน นการผลิตด วย Innovation ที่ทันสมัย ด วยเทคโนโลยีการผลิต เดียวกับที่ผลิตให กับ แบรนด ดังระดับโลก
Interview ฉบับนี้ถือเปนโอกาสดีที่ไดรวมพูดคุยกับ ศลิษา พิบูลยสวัสดิ์ CEO บริษัท คอมเม็ทส อินเตอรเทรด จํากัด ถึงความเปนมาแรงบันดาลใจในการกอตัง้ บริษทั สิง่ ทีไ่ ด ทํามาแลว และกําลังจะทําตอไป ซึ่งทุกเรื่องลวนนาสนใจเปน อยางมาก “บริษัท คอมเม็ทส เปดดวยเงินทุนเพียง 3 แสนบาท ดวยความมั่นใจวาเรามีประสบการณที่ทํางานในโรงงานผลิต เครือ่ งสําอางมากอน ก็ไดซมึ ซับเกีย่ วกับขัน้ ตอนการผลิตสินคา การบริหารจัดการโรงงาน กอปรกับสามีมบี ริษทั ผลิตของเลน จึง สามารถปรับมาผลิตของพรีเมียมใหแกบริษทั ผลิตเครือ่ งสําอาง แบรนดดังๆ ในขณะนั้น บริษัทก็เติบโตไดในระดับหนึ่ง ตอมา ประมาณป 2545 มีลกู คารายใหญเปดโอกาสใหเราเขาไปพัฒนา บรรจุภณ ั ฑสนิ คาของเขา เราจึงรวมมือกับโรงงานผลิตบรรจุภณ ั ฑ เครื่องสําอางในประเทศจีน ซึ่งผลิตสินคาใหกับแบรนดดังๆ อยูแ ลว ผลปรากฏวาลูกคาพอใจมาก เราจึงตัดสินใจหันมาเปน ผูจัดจําหนายบรรจุภัณฑเครื่องสําอางเปนหลักตั้งแตนั้นมา” “คอมเม็ทส” เริ่มเปนที่รูจักในวงกวางมากขึ้น ในฐานะ ผูจ ดั จําหนายบรรจุภณ ั ฑเครือ่ งสําอางรายใหญ สินคามีรปู แบบ หลากหลาย จัดสงสินคาไดเร็ว คุณภาพดี ดังนัน้ ดวยระยะเวลา 3 ป ก็กลายเปนบริษัทที่นําเขาบรรจุภัณฑเครื่องสําอางระดับ ไฮ-เกรดรายใหญของไทย “จากป 2545 ทีค่ อมเม็ทสเริม่ นําเขาบรรจุภณ ั ฑเครือ่ งสําอาง อยางจริงจัง บริษัทก็เติบโตมาตามลําดับ จุดแข็งของเรา คือ เราทําม็อกอัพใหลกู คาไดเร็ว และสินคามีคณ ุ ภาพ ทําใหบริษทั เติบโตแบบกาวกระโดดเลยทีเดียว คอมเม็ทส จึงเปนบริษัท
จัดจําหนายบรรจุภัณฑเครื่องสําอางรายใหญของประเทศ มีลูกคารายใหญที่เปนแบรนดดังๆ หลายราย” การเปนบริษทั ผูจ ดั จําหนายรายใหญของประเทศ มีความ นาเชื่อถือและมีลูกคาแบรนดดังๆ ที่เปนที่รูจักในประเทศและ ตางประเทศนัน้ ไมใชวา จะทําไดงา ยๆ คอมเม็ทส ไดสรางจุดแข็ง ของตนเองคือ การทําม็อกอัพไดเร็ว การเปดแมพิมพใหม การ ตรวจสอบคุณภาพสินคาทีน่ าํ เขามาอยางเขมงวด มี Innovation ใหมๆ ทั้งการพิมพ และวัตถุดิบที่ใชในการผลิต ใชเครื่องจักรที่ ทันสมัย รวมทัง้ การใหบริการใหคาํ ปรึกษา และแนะนําสิง่ ทีเ่ ปน ประโยชนตอ ลูกคา ดวยองคประกอบเหลานีท้ าํ ใหรกั ษาชือ่ เสียง ของการเปนบริษัทผูนําเขาบรรจุภัณฑเครื่องสําอางรายใหญ อันดับตนๆ ของประเทศไวได “นับจากป 2548 ทีเ่ ราเติบโตแบบกาวกระโดดเปนผูน าํ เขา บรรจุภัณฑเครื่องสําอางรายใหญของประเทศ เราเติบโตอยาง เขมแข็งและรวดเร็ว ทุกอยางเกิดไดเพราะลูกคาพอใจกับสินคา และการบริการของเรา ก็บอกตอๆ กัน ทําใหลกู คาเราเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เพราะรักษาจุดแข็งทีเ่ นนการผลิตดวย Innovation ทีท่ นั สมัย ดวย เทคโนโลยีการผลิตเดียวกับที่ผลิตใหกับแบรนดดังระดับโลก ทําใหเชื่อมั่นวาสินคาของเราไดคุณภาพตามมาตรฐานสากล” อยางไรก็ตาม ถึงแมจะมั่นใจในเทคโนโลยีการผลิตที่ ทันสมัย โรงงานมีชอื่ เสียงเปนทีย่ อมรับ แตดว ยเปนสินคาทีต่ อ ง นําเขา 100 เปอรเซ็นต คอมเม็ทส จึงใหความสําคัญดานการ ตรวจสอบคุณภาพสินคามาก สินคาจะถูกตรวจสอบคุณภาพ อยางเขมงวด พนักงานจะถูกฝกเพื่อเสริมทักษะในการตรวจ สอบคุณภาพสินคาโดยเฉพาะ THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
29
“ในโรงงานมีพนักงานประมาณ 120 คน แตโรงงานของ คอมเม็ทสจะไมเหมือนโรงงานทัว่ ๆ เปนโรงงานทีไ่ มมกี ารผลิต สินคา แตเปนโรงงานสําหรับวิจัยพัฒนาสินคา และตรวจสอบ คุณภาพสินคาเปนหลัก หลังจากลูกคากับทางบริษทั รวมกันวิจยั และพัฒนาบรรจุภณ ั ฑตามทีล่ กู คาตองการแลว เราจะสงรูปแบบ และรายละเอียดไปผลิตทีโ่ รงงานประเทศจีน เมือ่ ผลิตเสร็จแลว ก็จะสงมาทีโ่ รงงานเรา ถึงแมเราจะทราบดีวา โรงงานผูผ ลิตเปน โรงงานใหญ ผลิตบรรจุภณ ั ฑเครือ่ งสําอางสงไปทัว่ โลก ผลิตให แบรนดดงั ๆ แตเพือ่ ใหลกู คามัน่ ใจยิง่ ขึน้ เราตรวจสอบคุณภาพ สินคาอีกครั้งดวยพนักงานที่มีประสบการณ จึงเชื่อมั่นไดวา สินคาที่ถึงมือลูกคา เปนสินคาคุณภาพไดมาตรฐานอยาง แนนอน” จากเงินลงทุน 3 แสนบาท ผสานกับความมุง มัน่ ตัง้ ใจ และ มีวสิ ยั ทัศนกวางไกล กาวไปขางหนาตลอดเวลา ทําใหในป 2560 ที่ผานมา คอมเม็ทส มีรายไดประมาณ 900 ลานบาท สวน ป 2561 นั้น วางเปาหมายวาจะเพิ่มรายไดประมาณ 20% “ธุรกิจเครือ่ งสําอางในประเทศไทยเติบโตเร็วมาก ในอดีต ชวงวิกฤตเศรษฐกิจตมยํากุง ธุรกิจทัว่ ประเทศมีปญ หา แตธรุ กิจ เครื่องสําอางกลับเติบโตสวนกระแสจนถึงปจจุบันที่เศรษฐกิจ โดยรวมยังมีปญหา แตธุรกิจเครื่องสําอางและสกินแครกลับ เติบโตมาก โดยพฤติกรรมผูบริโภคไดเปลี่ยนไปจากอดีตที่มัก จะใชสนิ คาแบรนดดงั ราคาสูง ก็เปลีย่ นมาเปนใชสนิ คาคุณภาพ เหมาะสมกับราคาแทน จึงเปนโอกาสใหผปู ระกอบการหนาใหม ที่จะเขามาทําตลาดเพื่อเปนทางเลือกใหกับผูบริโภคในกลุมนี้ ซึ่งมีกําลังซื้อสูง”
ด ว ยแนวโน ม ที่ พ ฤติ ก รรมผู บ ริ โ ภคเริ่ ม เปลี่ ย นไป มี ผูป ระกอบการรายใหมสนใจในธุรกิจเครือ่ งสําอางมากขึน้ จึงเริม่ มองถึงตลาดในกลุมนี้ ซึ่งสวนใหญเปนคนรุนใหมที่มีความ มุงมั่น ตั้งใจ แตขาดประสบการณ ขาดที่ปรึกษาที่ดี ดังนั้นใน โอกาสที่ คอมเม็ทส ไดยายที่ทําการใหมซึ่งเปนอาคารขนาด ใหญ จึงไดจดั สรรพืน้ ทีเ่ พือ่ รองรับผูท สี่ นใจลงทุนในธุรกิจเครือ่ ง สําอางในพื้นที่สวนนีป้ ระกอบดวยโชวรูมที่แสดงบรรจุภัณฑ เครือ่ งสําอางหลากหลายรูปแบบ หลากหลายวัตถุดบิ ในการผลิต หลากหลายสีสนั พืน้ ทีแ่ หงนีช้ ว ยจุดประกายหลายๆ อยางใหแก ผูม าเยีย่ มชม และอาจเปนจุดกําเนิดนักธุรกิจผูป ระสบความสําเร็จ ในอนาคตก็เปนได “เมื่ อ เดื อ นพฤศจิ ก ายนป ที่ แ ล ว คอมเม็ ท ส ได ย า ย สํานักงานใหญมาที่อาคารแหงนี้ ซึ่งกวางขวางกวาที่เดิมเพื่อ รองรับการขยายตัวของบริษัท และเราเห็นวาในเวลานี้ ธุรกิจ เครือ่ งสําอางกําลังไดรบั ความสนใจจากคนรุน ใหม แตคนกลุม นี้ จะขาดประสบการณ ขาดการบริหารจัดการทีด่ ี เมือ่ เริม่ ไปแลว สักระยะหนึ่งก็อาจจะมีปญหา เราอยากสนับสนุนคนรุนใหม กลุม นี้ จึงเปดพืน้ ทีบ่ ริเวณชัน้ 5 เปนศูนยการเรียนรูด า นบรรจุภณ ั ฑ จะเปดเหมือนโชวรมู บรรจุภณ ั ฑเครือ่ งสําอางทีเ่ รามีนบั พันแบบ เขามาแลวสามารถเลือกรูปแบบไดตามตองการ นอกจากนั้น เรายังจัดเจาหนาทีไ่ วคอยใหคาํ แนะนําตางๆ สําหรับผูป ระกอบการ หนาใหมซึ่งไมมีประสบการณแตมีความมุงมั่น มีไฟที่อยาก เปนนักธุรกิจที่ประสบความสําเร็จ เมื่อเขามีความมุงมั่น เรามี ประสบการณ เมื่อมาแลกเปลี่ยนกันก็จะไดผลลัพธที่ดีอยาง แนนอน”
พฤติกรรมผู บริโภค ได เปลี่ยนไปจากอดีต… จึงเป นโอกาสให ผู ประกอบการหน าใหม ที่จะเข ามาทําตลาด ที่มีกําลังซื้อสูง 30
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
ศูนยการเรียนรูแหงนี้เปน One Stop Service นอกจาก บรรจุภณ ั ฑหลากหลายทีจ่ ดั แสดงไวแลว ยังมีพนื้ ทีส่ ว นหนึง่ เปด ใหผูมาเยี่ยมชมไดใชบริการ โดยจัดสิ่งแวดลอมที่เอื้อใหเกิด ไอเดียใหมๆ เปดมุมมองของคนรุน ใหมทคี่ ดิ จะทําธุรกิจ เพราะ การทําธุรกิจเครื่องสําอางไมใชเรื่องงาย และเมื่อทําแลวจะทํา อยางไรใหยงั่ ยืนยิง่ ยากกวา ศลิษา มีขอ แนะนําสําหรับนักธุรกิจ หนาใหมในฐานะผูคลุกคลีในวงการนี้ “ธุรกิจเครือ่ งสําอางมีการแขงขันสูง การจะทําใหสนิ คาเรา อยูในตลาดอยางยั่งยืนนั้น ตองมีองคประกอบหลายอยาง ตัวยาตองดีและแปลกใหมกวาเจาอืน่ ๆ อาทิ ผสมวิตามิน หรือ ผลิตจากวัตถุดิบที่แปลกใหม การเลือกบรรจุภัณฑยิ่งสําคัญ หากตัวยาดีแตเลือกบรรจุภัณฑไมสวย หรือไมเหมาะสม ก็ไม ประสบผลสํ า เร็ จ ตั ว ยาดี แ ต ไ ม มี ค นซื้ อ ใช ก็ ไ ม มี ป ระโยชน บรรจุภณ ั ฑตอ งมีความโดดเดน การออกแบบลวดลายบรรจุภณ ั ฑ และชื่อแบรนดก็ตองจดจํางาย ออกแบบสวยงาม และเลือก บรรจุภัณฑที่เหมาะสม สามารถเก็บตัวยาไดตามกําหนดเวลา ไมใชวาใชไปไมนานตัวยาก็ซึมออกมา หรือแตกหักงายเกินไป ก็ไมดี นอกจากนัน้ เรายังใหคาํ ปรึกษาดานการวางแผนการตลาด ใหดวย เจาของแบรนดตองระบุวาตองการทําตลาดกลุมไหน เราจึงจะแนะนําใหไดวา บรรจุภณ ั ฑแบบไหนเหมาะกับตลาดใน กลุม นัน้ เพราะบรรจุภณ ั ฑเปนตนทุนทีค่ อ นขางสูง จึงตองเลือก บรรจุภัณฑที่เหมาะสมกับกลุมลูกคาดวย” สําหรับนักธุรกิจหนาใหมนั้น สิ่งที่ตองคํานึงถึงคือ สินคา ตองไดคุณภาพ มีการบริหารจัดการสตอกสินคาใหเหมาะสม สรางตลาดใหเขมแข็ง สรางแบรนดใหแข็งแกรง และตองมีความ มุงมั่นจริงจังในการทําธุรกิจ หากมีคุณสมบัติเหลานี้ครบถวน ก็มีโอกาสที่จะประสบความสําเร็จได นอกจากการพรอมใหคาํ ปรึกษาแกผปู ระกอบการรายใหม แลว คอมเม็ทส ยังพรอมใหความรวมมือกับหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อผลักดันใหธุรกิจเครื่องสําอางและ สกรีนแครของไทยขยายตัวยิ่งขึ้น โดยมีศูนยการเรียนรูเปนตัว เชื่อมโยงที่สําคัญ “เราไม คิดค าใชจายกับผูที่เขามาเยี่ยมชมศูนย แห งนี้ แต แตขอใหติดตอเขามากอน* เพื่อจะไดจัดเจาหนาที่ไวอธิบาย รายละเอียดตางๆ ซึง่ นอกจากจะมีบรรจุภณ ั ฑเครือ่ งสําอางแลว ราย เรายั ายงใหบริษทั ผลิตกลองกระดาษ บริษทั รับผลิตตัวยา นําสินคา มาจั าจดแสดงดวยเพือ่ เปนทางเลือกใหแกผสู นใจ และทางเราไมมี กําหนดเงื หนด อ่ นไขใดๆ วามาดูหรือมาปรึกษากับเราแลวจะตองซือ้ สินคาของเรา เปดโอกาสใหผปู ระกอบการไดเลือกสิง่ ทีเ่ หมาะสม ข ที่สุดสําหรับสินคาของเขา” สส ว นบรรจุ ภั ณ ฑ ส กิ น แคร ที่ กํ า ลั ง ได รั บ ความนิ ย มนั้ น คอมเม็ทส นําเขามาบางแตไมมากนัก และเปนบรรจุภัณฑ ประเภทแก ท วเทานั้น เพราะบรรจุภัณฑประเภทแกวสามารถ รักษาคุคุณภาพตัวยาของสกินแครไดดีกวาวัตถุดิบประเภทอื่น แตดวยบ ยบรรจุภัณฑสกินแครไมตองใชเทคโนโลยีการผลิตที่
ซับซอนหรือมีรายละเอียดมากนัก ผูป ระกอบการสามารถหาซือ้ ไดงาย ทางเราจึงนําเขามาเพียง 10% ของจํานวนทั้งหมด ดวยประสบการณและคลุกคลีกับธุรกิจเครื่องสําอางมา นาน จึงสามารถจับเทรนดไดวา ในอีก 3-5 ปขา งหนา เครือ่ งสําอาง ประเภทไหนจะไดรบั ความนิยม และดําเนินธุรกิจเพือ่ ตอบสนอง ตลาดในสวนนั้น คอมเม็ทส จึงยืนหยัดอยูไดอยางแข็งแกรง และมีแนวโนมเติบโตขึ้นเรื่อยๆ “ตอนนี้ดินสอเขียนคิ้วเปนกลุมที่มีการเติบโตมากที่สุด ไมใชเฉพาะในประเทศไทยแตในตางประเทศก็เชนกัน กลุม อายไลเนอรก็เปนอีกกลุมที่มีการเติบโตสูงขึ้น” การทํางานใหประสบผลสําเร็จนั้น ไมใชทุกคนจะทําได บางคนมีโอกาสเลือกที่จะละทิ้งมัน บางคนก็เฝารอโอกาสโดย ไมไขวควาหาเอง แตสาํ หรับ ศลิษา พิบลู ยสวัสดิ์ เมือ่ มีโอกาส ก็ไมปลอยโอกาสใหผา นไป และทําใหดีที่สุด แตเคล็ดลับความ สําเร็จทีแ่ ทจริงนัน้ อยูท คี่ วามซือ่ สัตย ศลิษา เชือ่ มัน่ มาตลอดวา การทําธุรกิจตองซือ่ สัตยทงั้ ตอลูกคา ตอซัพพลายเออร และทุกๆ คน รวมทัง้ ซื่อสัตยตอพนักงานของตนเอง ดังไดกลาวแลววา “Comets” หมายถึงดาวหาง ดาวทีอ่ าจ จะไมเห็นบอยแตดาวหางไมเคยหายไปจากฟา บริษทั คอมเม็ทส อินเตอรเทรด จํากัด ก็เชนเดียวกัน จากทีอ่ ยูเ บือ้ งหลังแบรนด สินคาอื่นๆ มามากมาย ถึงเวลาที่ดาวหางดวงนี้จะออกมา เฉิดฉายบางแลว...จับตามองดาวหางดวงนี้ใหดีๆ
*ผู สนใจเข าเยี่ยมชมศูนย ฯ ติดต อได ที่เบอร โทรศัพท 02 051 5555 หรือ www.cometsintertrade.com THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
31
ARTICLE สุมาลี ทั่งพิทยกุล
อุตสาหกรรมไทยจะทําอย างไร
เพื่อรับนโยบายของ EU รี ไซเคิลพลาสติก ในป ค.ศ. 2030
สหภาพยุ โรปมี แ ผนให พ ลาสติ ก ที่ ใช ทํ า ภาชนะ บรรจุทงั้ หมดในยุโรปสามารถรีไซเคิล (Recycle) หรือนํามา ใชไดอีกภายในป ค.ศ. 2030 โดยกลุมที่ทํางานเกี่ยวของ กับสิง่ แวดลอมมีความพยายามลดการใชภาชนะพลาสติก ที่ใชครั้งเดียว (Single-use Plastic) การมีขอกําหนดของ การใช Microplastics (Microbeads) ในเครื่องสําอาง ใน สหภาพยุโรปมีการผลิตของเสียพลาสติก 25 ลานตันทุกป แตปริมาณนอยกวา 30% ถูกนําไปรีไซเคิล ถาสถานการณ ยังเปนแบบนี้ตอไป โลกนี้จะมีพลาสติกในมหาสมุทร มากกวาปลาภายในป ค.ศ. 2050 32
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
ดั ง นั้ น คณะกรรมาธิ ก ารยุ โรป (European Commission)* ได นํ า แผนการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ หมุนเวียน (Circular Economy Package) มาใชเพื่อ เปนแนวทางใหแกกลุมประเทศสมาชิกในการเพิ่ม ศักยภาพความสามารถในการแขงขันและนําไปสู การพัฒนาเศรษฐกิจอยางยัง่ ยืน ซึง่ มีการคาดการณ วาระบบเศรษฐกิจแบบใหมจะทําใหเกิด Circular Advantage จากโมเดลทางธุรกิจทีต่ อ งอาศัยนวัตกรรม การผลิตและบริโภคทีล่ าํ้ สมัยทัง้ ในกระบวนการผลิต การกระจายสินคา การบริการการจัดการขยะและ ของเสี ย ซึ่ ง จะสามารถสร า งมู ล ค า ให แ ก ร ะบบ เศรษฐกิจไดถงึ 4.5 ลานลานดอลลารสหรัฐภายในป ค.ศ. 2030 Circular Economy คือการทําใหระบบเศรษฐกิจ ไมมีขยะ การใหความสําคัญตอประสิทธิภาพของ กระบวนการผลิต เมื่อกระจายไปสูผูบริโภคแลว สิ่ง ที่เหลือจากการบริโภคจะถูกนํากลับไปจัดสรรใหม (Reuse/Redistribution) หรือนํากลับไปสูก ระบวนการ ผลิตอีกครั้งหนึ่ง (Remanufacturing/Recycle) ดวยเหตุนคี้ ณะกรรมมาธิการยุโรปจึงไดทบทวน กฎหมายเกี่ยวกับของเสีย (Waste) โดยกําหนด เปาหมายของการลดของเสีย (Reduce) อยางชัดเจน และกําหนดนโยบายระยะยาวเกี่ยวกับการจัดการ ของเสีย (Waste Management) และการนํากลับมาใช ใหม (Recycle) เพื่อใหมาตรการดังกลาวมีการนําไป ปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพโดยมีเปาหมายอยาง ชัดเจนภายใน 12 ปขางหนา ดังนี้ • เปาหมายในการนําขยะเทศบาล (Municipal) กลับไปใชอกี (Recycle) 65% ในป ค.ศ. 2030 • เปาหมายในการรีไซเคิล 75% ของเสียจาก ภาชนะบรรจุ (Packaging Waste) ในป ค.ศ. 2030 • ลดการฝงกลบขยะจากเทศบาล 10% ภายใน ป 2030 • มีการสนับสนุนหรือแรงจูงใจใหภาคการผลิต จํ า หน า ยผลิ ต ภั ณ ฑ สี เขี ย วมากขึ้ น และ สนั บ สนุ น การนํ า กลั บ มาใช ใ หม ทั้ ง โดย กระบวนการ Recovery และ Recycle ของ สินคาตางๆ เชน ภาชนะบรรจุ แบตเตอรี่ เครื่องใชไฟฟา ยานยนต เปนตน • มาตรการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ *เปนสถาบันที่มีอํานาจในการเสนอกฎหมายและ รับผิดชอบการดําเนินงานตามกฎหมายของสหภาพยุโรป
ข อกําหนดเกี่ยวกับภาชนะบรรจุและของเสีย จากภาชนะบรรจุของสหภาพยุโรป
Directive 94/62- Packaging and Packaging Waste กฎระเบียบนี้มีเพื่อจัดการปองกันและลดผลกระทบของ ภาชนะบรรจุและของเสียจากภาชนะบรรจุกับสิ่งแวดลอม โดยภาชนะบรรจุตองมีโลหะหนัก 4 ชนิดในเนื้อพลาสติก ไดแก ตะกัว่ แคดเมียม ปรอท และเฮกซาวาเลนทโครเมียม (CrVI) ไมเกิน 100 ppm (สวน/ลานสวน) ตอมาไดมกี ารแกไข Directive 94/62/EC เปน Directive (EU)2015/572 โดยมี มาตรการเพิม่ เติมเกีย่ วกับถุงหิว้ พลาสติก (Plastic Carrier Bags) เนือ่ งจากมีปริมาณการใชและทิง้ ขยะเพิม่ ขึน้ ซึง่ กอใหเกิดมลพิษ กับสิง่ แวดลอมและระบบนิเวศในนํา้ (Aquatic Eco System) ทัว่ โลก ใน Directive นีต้ อ งการใหประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรปลดปริมาณ การใชถุงพลาสติกชนิดนํ้าหนักเบา (มีความหนานอยกวา 15 ไมครอน) และรายงานการใชตอรัฐสภายุโรป (European Parliament) ภายใน วันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2021 นอกจากนัน้ ถุงพลาสติกตองมีการแสดง เครื่องหมายของ ‘Oxo-degradable’ และ Biodegradable อยางชัดเจน เนื่องจาก Oxo-degradable Plastic Carrier Bags คือถุงพลาสติกที่ใสสาร เจือปนในพลาสติกทีท่ าํ จากปโตรเลียมจะแตกสลายเปนชิน้ ๆ แตยงั คงอยู ในสิ่งแวดลอมทําใหเกิดมลพิษแกสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะเมื่อถุงนั้นถูกทิ้ง ลงในแมนํ้าหรือทะเลทําใหกระทบตอระบบนิเวศวิทยาของนํ้า การเจริญ เติบโตของสัตวนํ้า ปลาชนิดตางๆ Biodegradable หรือ Compostable Plastic คือพลาสติกที่ผลิตขึ้น จากวัสดุธรรมชาติและสามารถยอยสลายไดดว ยกระบวนการทางชีวภาพ ตามมาตรฐาน ASTM D 5338-Standard Test Method for Determining Aerobic Biodegradation of Plastic Materials Under Controlled Composting Conditions, Incorporating Thermophilic Temperature หรือ ISO 14855-2 Biodegradability Evaluation of Polymers ซึง่ เมือ่ ถุงพลาสติกเหลานีส้ ามารถ ยอ ยสลายไดต ามที่กําหนดไวใ นมาตรฐานดั ง กล า วจะสามารถแสดง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ เพื่อใหผูบริโภคนําไปใชไดอยางมั่นใจ ในเปาหมายของการรีไซเคิลภาชนะบรรจุนั้นรวมถึงภาชนะบรรจุ อาหารดวย ซึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และประเทศญี่ปุน มีการใชขวดรีไซเคิลพลาสติกชนิดเพท (PET, Polyethylene Terephtalate) บรรจุนาํ้ ดืม่ นํา้ อัดลม วางจําหนายในตลาดมาหลายปแลว สําหรับประเทศไทย
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับ 92 (2528) เกีย่ วกับ ภาชนะเซรามิก และภาชนะโลหะเคลือบ ประกาศ กระทรวงสาธารณสุขฉบับ 295 (2548) กําหนดชนิด พลาสติกทีใ่ ชบรรจุอาหาร และมาตรฐานภาชนะบรรจุ อาหารของกระทรวงอุตสาหกรรมมากกวา 40 เรื่อง ลวนกําหนดใหวัสดุที่นํามาทําภาชนะบรรจุอาหาร ตองเปนภาชนะใหมไมเคยใชมากอน ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก ประเทศไทยยังไมมรี ะบบการแยกขยะทีเ่ ปนภาชนะ บรรจุอาหารออกจากภาชนะที่ไมใชสําหรับอาหาร ดังนั้นภาชนะเริ่มตนจึงไมเปนไปตามหลักเกณฑ การรีไซเคิลของประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และประเทศญี่ปุน บทความนี้จึงตองการนําเสนอ การใช ภ าชนะรี ไซเคิ ล ของประเทศที่ พั ฒ นาแล ว โดยเฉพาะสหภาพยุโรป ซึง่ เปนประเทศคูค า ทีส่ าํ คัญ ของไทย และการเตรียมการใชภาชนะบรรจุอาหาร ชนิดรีไซเคิลทั้งในภาคอุตสาหกรรมและหนวยงาน ภาครัฐทีเ่ กีย่ วของในการผลักดันใหประเทศไทยเปน “Thailand 4.0”
การใช เครื่องหมายบน Biodegradable carrier plastic bags THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
33
Tone of
IN TREND
Voice
“¡ÃÒºÊÇÑÊ´Õ¢ÍÃѺ·‹Ò¹¼ÙŒÍ‹Ò¹” วันนี้
พูดไพเราะเพราะพริ้งเปนพิเศษ เนื่องจากวาผมจะมา นําเสนอเรือ่ ง “Tone of Voice” หรือเรียกงายๆ วา สําเนียง หรือภาษาที่เวลาแบรนดตางๆ นําเสนอเรา หลายคนบอก หา...แบรนดมสี าํ เนียงดวยเหรอครับ คําตอบคือ ใชแลวครับ แบรนดกเ็ ปรียบเสมือนคนทีต่ อ ง มีการสื่อสารในหลายๆ รูปแบบ ดังนั้นสําเนียง ขอความ และคําพูด ทีแ่ บรนดสอื่ สารออกไปก็เปนสิง่ ทีส่ าํ คัญมากๆ อยางหนึ่งเลยครับ
สมชนะ กังวารจิตต
ในโลกธุรกิจที่การตลาดเติบโตและแขงขันกันอยางไมหยุดยั้ง ปฏิเสธไมไดวา นอกจากกลยุทธทางการตลาดทีเ่ ฉียบแหลม สิง่ สําคัญ ไมแพกัน คือการสื่อสารเกี่ยวกับความเปนแบรนดหรือองคกร ออก ไปสูผ บู ริโภคอยางไรใหเขาถึงกลุม เปาหมาย และคนทีร่ บั สารสามารถ เขาใจและจดจําเอกลักษณ สําเนียงจากขอความของแบรนดนนั้ ๆ ได เพื่ อ ให เ ห็ น ภาพชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น ผมขอยกตั ว อย า ง แบรนด “Philosophy” เครื่องสําอางสายเลือดอเมริกัน ซึ่งถือเปนตัวอยาง การใช Tone of Voice ในการสรางแบรนดใหเปนทีจ่ ดจําไดอยางชัดเจน มาก เริม่ ตัง้ แตชอื่ แบรนด Philosophy แปลวา ปรัชญา เคาก็นาํ เสนอ ผลิตภัณฑ การออกแบบบรรจุภัณฑ โดยใชถอยคําที่สละสลวยผาน ตัวอักษรมารอยเรียงเปนปรัชญาไดสอดคลองกับความเชื่อของ แบรนดที่มีทัศนคติเกี่ยวกับชีวิตและความงาม อยางเชน ผลิตภัณฑ “Hope in a jar” นําปรัชญาเกี่ยวกับความหวังมาเปนแรงบันดาลใจ ให คุ ณ ผู ห ญิ ง ลุ ก ขึ้ น มาสวยอี ก ครั้ ง ด ว ยครี ม จาก Philosophy “Don’t lose hope you never know what tomorrow may bring” “อยาสูญสิน้ ความหวัง คุณไมอาจรูว า พรุง นีจ้ ะเกิดอะไรขึน้ บาง” และ ใชคาํ พูดทีเ่ ปนแรงบันดาลใจมาเปดตัวผลิตภัณฑใหมเซรัม่ ยอนวัยผิว “It’s งเวลาแลวทีจ่ ะลองสิง่ ใหมๆ กักบผลตภณฑ บผลิตภัณฑ” IIt s time to try something” something “ถึถงเวลาแลวทจะลองสงใหมๆ “Time in a bottle” “เวลาในขวด”” ทําใหผูบริโภคสามารถจดจําไดงาย และสามารถสรางความแตกตางระหวางคูแขงแบรนดอื่นได
Philosophy
Hope in a jar
Don’t lose hope you never know what tomorrow may bring
Time in a bottle it’s time to try something
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
37
นอกจากนี้ Tone of Voice ที่ดีมันจะสงขอความที่ สือ่ สารแนวชวยกระตุน หรือโนมนาว ไมเพียงแคนนั้ มันจะ สงความรูสึกผานไปไดดวย คลายๆ กับคนละครับ เวลา เราจะคุยกับใครสักคนแบบจริงๆ จังแลวนัน้ เราจะรับรูไ ด วาคนๆ นั้นใชความรูสึกคุยกับเรารึเปลา ถาพูดถึง Tone of Voice จุดเริ่มตนที่สําคัญ คือให พิจารณาจากแบรนดของคุณเองวา ตองการใหแบรนด ของคุณมีคณ ุ คาอะไรในสายตาผูบ ริโภค โดยใชการสือ่ สาร ถายทอดเปาหมายเหลานั้นออกมาใหดูมีคุณคาและ ตราตรึงในใจกลุมเปาหมาย คุณคาอะไรที่คุณอยากบอก ใหโลกรับรู? เพือ่ ทีค่ ณ ุ จะไดทราบวาคุณจะไดตดั สินใจวา จะสงสาร Tone of Voice ออกไปอยางไร นี่คือจุดเริ่มตน ที่คุณจะสามารถนิยามวัตถุประสงคหลักในการสื่อสาร ของแบรนดคุณเพื่อนําไปสูการสราง Tone of Voice
การสราง Tone of Voice ไมใชเรื่องยาก แตก็ไมงายสักเทาไหร ก็เหมือนกับการสรางแบรนดทางการตลาดนัน่ แหละครับ คุณตองรูก อ น วาคุณมีจดุ ยืนหรืออยากใหคนทีม่ องเขามารูส กึ อยางไรกับแบรนดคณ ุ ดังนั้นสิ่งที่สําคัญลําดับตอมาก็คือ การใชภาษาในการสื่อสารครับ ไมวา จะเปน คําศัพท รูปประโยค หรือสัญลักษณ รูปแบบตัวอักษร แม กระทัง่ การออกแบบกราฟกก็สาํ คัญดวยนะครับ ลองคิดเลนๆ นะครับ เวลาคุณพิมพอเี มลหาลูกคาเพือ่ ติดตองาน ภาษาทีใ่ ชกต็ อ งคอนทาง เปนไปในเชิงทางการ แตถา พูดคุยติดตอกับเพือ่ นรวมงาน ภาษาทีใ่ ช ก็ไมใชทางการ เนนการพูดคุยเปนกันเองมากกวา ใชแลวครับ การใชภาษาในการสราง Tone of Voice ก็เหมือนกัน ตองปรับใหเขากับอารมณและความรูส กึ ของแบรนดคณ ุ ทีค่ ณ ุ คิดไววา อยากใหผูอื่นรับรูไปในอารมณแบบไหนนะครับ
ตัวอยางทีน่ า สนใจ “Innocent” แบรนด นํ้าผลไมชื่อดังของประเทศอังกฤษ นับวาเปน แบรนดที่มีความโดดเดนในดานการใชภาษา และสื่อความเปน Tone of Voice ผานทาง ผลิตภัณฑ เว็บไซต หรือสื่อโฆษณาตางๆ ได อยางมีเอกลักษณ โดยเปาหมายของแบรนด ที่ตองการสื่อไปยังผูคนก็คือ ความไรเดียงสา Innocent ความแตกตางที่โดดเดน ความเปน มิตร เปนกันเอง และความมีเสนหนาสนใจ
38
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
ลองมาดูตัวอยางการใช Tone of Voice ของ Innocent ในชองทางตางๆ เชน เว็บไซต “Big thanks from the big knit” ชื่อ แคมเปญสื่อความหมายไดดี สื่อถึงความยิ่ง ใหญในการทํากิจกรรมเพื่อสังคมและแสดง ความขอบคุณ “Big Thanks” ไมเปนทางการ แตไดความรูสึกจริงใจ
ขอความใน Twitter ทีม่ กี ารเลนคํา ใสมกุ ตลกๆ ใหคนไดมอี ารมณสนุกดึงดูดความสนใจใหรว มกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ ผลิตภัณฑ หรือแมกระทั่ง Facebook Cover Page ที่มีการใชรูปประโยคงายๆ “Say hello to our new veg pots” แตสามารถสื่อถึง ความตองการที่จะแนะนําผลิตภัณฑใหมของแบรนดไดอยางมีเอกลักษณ โดยกลยุทธที่ทาง Innocent ปรับใชในการสราง Tone of Voice ไดอยางมีเอกลักษณและประสบความสําเร็จ คือ
¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒ·Õè໚¹ÁÔμÃ
คือ ไมเปนทางการมากเกินไป เขาใจ และเขาถึงความ รูส กึ ของผูร บั สาร โดยอยางทีก่ ลาวขางตน Innocent รูจ ดุ ยืนและ ความตองการของตัวเองไดชดั เจนมากๆ ดังนัน้ แบรนดจงึ สือ่ สาร โดยใชภาษาที่เขาใจงาย เหมือนกับใชภาษาในชีวิตประจําวัน ภาษาที่เปนธรรมชาติ ทําใหผูอานรูสึกเขาถึงได และคุนเคย สามารถจดจํา และมีความรูสึกรวมไปกับภาษาที่ใชไดอยางดี จึงไมแปลกใจเลยวา แคมเปญเพื่อการกุศลหลายๆ แคมเปญ ของ Innocent ประสบความสําเร็จสรางเอกลักษณและชือ่ เสียง ใหกับแบรนดและผลิตภัณฑเปนอยางมาก
Tone of Voice
Big thanks from the big knit Say hello to our new veg pots
㪌ª‹Í§·Ò§¡ÒÃʹ·¹ÒÍ×è¹æ
สําหรับติดตอหรือแลกเปลีย่ นความคิดเห็นได เชน Facebook Twitter นับวามีความสําคัญอยางยิง่ สามารถใชขอ มูล จากการพูดคุยกับผูอื่น มาชวยประเมินถึง Tone of voice ที่เรา ตองการสื่อไปยังผูอื่น วาสามารถรับรูและเขาถึงอารมณความ รูสึกไปในทิศทางที่แบรนดตั้งใจและวางไวหรือไม ถาแนวโนม ไปคนละทิ ศทาง แสดงว า ภาษาหรื อรู ปประโยคที่ใช อ าจมี ขอผิดพลาดในการสือ่ สารทีต่ อ งปรับปรุงใหม หรือปรับแนวคิด ใหมใหสอดคลองกับกลุมหรือเหตุการณปจจุบันไดอยางมี ประสิทธิภาพ อยางไรก็ดี หัวใจหลักของการสรางเอกลักษณของ Tone of Voice ทีส่ าํ คัญ คือ หัวใจของแบรนดคอื อะไร การเลือกใชภาษา ใหเหมาะสมกับแบรนด อารมณของภาษาเขาถึงกลุม เปาหมาย หรือไม และมีการพัฒนาปรับปรุงภาษาใหทันสมัย ทันกับ เหตุการณปจจุบัน เพียงเทานี้ สําเนียงหรือภาษาแบรนดของ คุณก็จะเขาไปอยูใ นใจผูค นไดอยางประสบความสําเร็จครับ
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
39
NEWS
MHE & PACK MAC 2018 งานแสดงเครื่องจักรอุตสาหกรรม
ระบบขนส งลําเลียงจัดเก็บ และเครื่องจักรบรรจุภัณฑ หนึ่งในฟ นเฟ องขับเคลื่อนโลจิสติกส ไทย ประเทศไทยได รั บ การยอมรั บ ให เ ป น ฮั บ ด า น โลจิสติกสใน เออีซี และมีความสําคัญในการขับเคลื่อน อุตสาหกรรมโดยรวมของกลุมประเทศเหลานี้ รวมถึง การเชื่ อ มโยงไปสู ใ นระดั บ โลก งานแสดงเครื่ อ งจั ก ร อุตสาหกรรมระบบขนสงลําเลียงจัดเก็บ และเครื่องจักร บรรจุภัณฑ เปนหนึ่งในฟนเฟองสําคัญในการผลักดัน ประเทศไทยไปสูเปาหมาย ธนัชญา ทวีกจิ พัฒนชัย กรรมการผูจ ดั การ บริษทั พีเอ็มพี แมนเนจเมนท จํากัด ผูจัดงานแสดงเครื่องจักร อุตสาหกรรมระบบขนสงลําเลียงจัดเก็บ และเครื่องจักร บรรจุภณ ั ฑ ครัง้ ที่ 3 (MHE & PACK MAC 2018) เปดเผย วา ปจจุบันการขนสงสินคา หรือระบบโลจิสติกส ไดรับ การจัดลําดับความสําคัญใหเปนอันดับหนึง่ ในหวงโซของ อุตสาหกรรม ซึ่งสถิติจากการจัดงานแสดงเครื่องจักร อุตสาหกรรมระบบขนสงลําเลียงจัดเก็บ และเครื่องจักร บรรจุภัณฑ มีการเติบโตอยางตอเนื่องทุกป โดยไดรับ ความสนใจจากกลุม ผูป ระกอบการในอุตสาหกรรมตางๆ
40
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
เหลานี้ เขามารวมแสดงสินคาเปนจํานวนมาก สําหรับในปนี้รูปแบบ ของงานจะใหความสําคัญกับการขนสงสินคา และแพ็กกิ้งมากที่สุด โดยจะมีลูกคาในกลุมงานอุตสาหกรรมขนสงลําเลียงโลจิสติกส และ คลังสินคา 40 เปอรเซ็นต กลุม อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ 30 เปอรเซ็นต กลุมเครื่องมืออุปกรณที่ใชในโรงงาน 20 เปอรเซ็นต และอื่นๆ อีก 10 เปอรเซ็นต เขารวมงาน ในงานยังมีระบบเทคโนโลยีดิจิทัลดานอุตสาหกรรม ซึ่งจะเขา มาชวยทดแทนแรงงานคน รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน แมประเทศไทยกําลังเปลี่ยนแปลงเขาสูยุคอุตสาหกรรม 4.0 แตก็มี เพียงไมกี่โรงงานเทานั้นที่เปนอุตสาหกรรม 4.0 อยางแทจริง ยังไมมี การใชงานอยางแพรหลาย จึงเปนแนวโนมที่มาแรง และมีโอกาส เติบโตเพื่อกาวเขาสูยุคอุตสาหกรรม 4.0 อยางแทจริง ทั้งนี้ งานแสดงเครื่องจักรอุตสาหกรรมระบบขนสงลําเลียง จัดเก็บ และเครื่องจักรบรรจุภัณฑ ไดเริ่มขึ้นแลวตั้งแตวันนี้ ถึงวันที่ 25 กุมภาพันธนี้ ที่ศูนยการแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี ฮอลล 2 ตั้งแตเวลา 10.00-19.00 น. ของทุกวัน
NEWS
EUROPEN welcomes EU Plastics Strategy’s call for strengthened and harmonised packaging waste management systems in Europe
EUROPEN welcomes the EU’s Plastics Strategy as an important contribution towards achieving the objectives of a Circular Economy and tackling (marine) littering. EUROPEN will support and actively contribute to additional EU measures that may ow from the Strategy with regard to packaging to leverage the recently strengthened Waste Framework (WFD) and Packaging and Packaging Waste Directives (PPWD). “We remain committed to strengthening the sustainability of all aspects of the packaging value chain and supporting EU efforts towards a Circular Economy,” commented Hans Van Bochove, Coca-Cola, and EUROPEN Chairman. “Harmonising and strengthening our waste management systems across Europe, in line with what has just been agreed by the EU in the WFD and PPWD, is rightly indicated as a key priority. We are pleased to see Extended Producer Responsibility (EPR) recognised as playing a key part in strengthening packaging waste management in Europe, which EUROPEN has supported from the outset.” “EU minimum requirements for EPR will increase accountability for all private and public stakeholders”, Hans van Bochove continues. “If implemented well, EPR and modulated EPR fees play an important role in creating incentives for producers’ packaging design choices and boost innovation in the packaging supply chain.” “The end-of-life phase of packaging is intrinsically connected with the functionality of the different packaging materials, as part of a packaged product. A life-cycle and evidence-based approach is well captured in the Strategy and will remain fundamental in its ensuing actions.” said Virginia Janssens, Managing Director of EUROPEN. “We will further contribute with holistic and harmonised solutions and to help avoid unintended consequences on, e.g. packaging materials, products, regulatory frameworks, value chain actors including consumers, food safety and consumer health, food waste and the Internal Market”. Another key factor to reach the ambitious objectives set by the Plastics Strategy is increasing education and further awareness-raising campaigns among consumers. “The Strategy rightly recognises the required multi-stakeholder effort to further
promote correct disposal behaviours to reduce littering,” continued Virginia Janssens. EUROPEN members are committed to continuous environmental improvement and investment in innovative packaging systems and solutions to meet the evolving needs of our modern societies. Recent voluntary actions from EUROPEN members include investments in recyclability, recycled content, resource efficiency, material sourcing, design optimisation, and the encouragement of correct disposal. EUROPEN looks forward to continuing to work constructively with the EU institutions to help ensure that the Circular Economy Package and its Action Plan deliver tangible, sustainable and competitive benets for the European environment, economy and society.
(http://www.europen-packaging.eu)
About EUROPEN EUROPEN -- the European Organization for Packaging and the Environment -- is an EU industry association in Brussels presenting the opinion of the packaging supply chain in Europe on issues related to packaging and the environment, without favouring any specific material or system. EUROPEN members are comprised of multinational corporate companies spanning the packaging value chain (raw material producers, converters and brand owners) plus national packaging organizations all committed to continuously improving the environmental performances of packaged products, in collaboration with their suppliers and customers.
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
41
NEWS
รางวัล
InterTech
Technology Awards 2017 จากการประกาศรางวัล InterTech Technology Awards 2017 ปรากฏวา Heidelberg ไดรับถึง 2 รางวัล ในสวนกลยุทธการจัดการโดยระบบดิจทิ ลั ยืนยันถึงความ เปนผูนําในอุตสาหกรรมการพิมพ สมาคม Printing Industries of America (PIA) ซึ่ง เปนสมาคมการคาผลิตภัณฑสําหรับการพิมพที่ใหญ ทีส่ ดุ ในโลก ไดลงความเห็นใหเทคโนโลยีของโตะควบคุม Prinect Press Center XL 2 กับหนาจอ Wallscreen XL และซอฟตแวร Intellistart 2 และเครื่องพิมพ Gallus Labelre 340 ของไฮเดลเบิรกไดรับรางวัล InterTech Technology Awards ประจําป 2017 นับเปนเกียรติวา เปน ดาวลําดับที่ 37 และ 38 ของไฮเดลเบิรก ในการสรางสรรค นวัตกรรมตางๆ ที่ทําใหไฮเดลเบิรกเปนผูผลิตที่สงางาม ดีที่สุดในอุตสาหกรรม ดร.อุลริช เฮอรแมน (Dr.Ulrich Hermann) สมาชิก คณะกรรมการบริหารธุรกิจดิจทิ ลั และบริการของไฮเดลเบิรก กลาววา “รางวัล InterTech Technology Awards เปน สิง่ สําคัญทีไ่ ดพสิ จู นวา ไฮเดลเบิรก เปนผูน าํ ในดานเทคโนโลยี การพิมพระบบดิจทิ ลั รวมไปถึงการบริหารการผลิตงานใน ทุกขัน้ ตอนในโรงพิมพไดอยางครบวงจรโดยระบบดิจทิ ลั ”
เครื่อง Gallus Labelfire 42
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
โต ะควบคุม Prinect Press Center XL 2 โดยผลิตภัณฑทงั้ สองไดเปดตัวเปนครัง้ แรกทีง่ านดรูปา ทีผ่ า นมา ซึ่งแสดงใหเห็นถึงนวัตกรรมดานการผลิตสําหรับการพิมพออฟเซต และแอพพลิเคชัน่ ใหมๆ ในการผลิตฉลาก คณะกรรมการของ InterTech เห็นพองกันวาโตะควบคุม Prinect Press Center XL 2 พรอมดวย หนาจอ Wallscreen XL และซอฟตแวร Intellistart 2 บงชัดใหเห็นถึง ความกาวหนาในการใชระบบดิจิทัลในขั้นตอนการผลิตงานในระบบ ออฟเซต และเครือ่ ง Gallus Labelre ไดรบั การยกยองในการเปนนวัตกรรม ดานวิศวกรรมในการพิมพฉลากสําหรับอุตสาหกรรมดวยระบบดิจทิ ลั ซึ่งเปนหนึ่งในกลุมธุรกิจที่มีการเติบโตมากที่สุดในอุตสาหกรรม สมาคมอุตสาหกรรมการพิมพของอเมริกา ไดมอบรับรางวัล InterTech Technology Awards เปนครั้งแรกในป พ.ศ. 2521 โดยใน แตละป สมาคมไดใหความสําคัญในนวัตกรรมดานสิง่ พิมพจากหลากหลาย สาขา โดยไฮเดลเบิรกไดรับรางวัลนี้มากวา 35 รางวัลตลอดหลายป ที่ผานมา สําหรับเทคโนโลยีเตรียมพิมพ เครื่องพิมพ และเครื่องจักร หลังการพิมพตางๆ ตอกยํ้าความเปนผูนําดานนวัตกรรมการพิมพ ตามหวงโซคุณคาผลิตภัณฑในขั้นตอนการผลิตโดยรวม
F&f Works with Cafedirect ` to Re-launch Organic Range Family (and friends) has designed ` new packs for Cafedirect’s re-launched organics coffee range.
PACKAGING
news
The coffee beans are grown without pesticides and with minimal environmental impact, allowing the avours to develop naturally at their own pace. The branding and packaging agency moved over to craftpaper based bags with in roastery, hand-applied labels featuring copper foil embossing to add even more premium cues. The continued partnership between Cafédirect and F&f has seen the business roll out the new look for the entire product range including instant, pods and food service formats. Derek Johnston, strategy director at F&f, said its research found that consumers generally think Fairtrade or ‘fairly traded’ goods are less good – lower quality and less tasty. “So, whilst ethical should carry a premium price tag, it shouldn’t carry the burden of not looking worth it. Having values doesn’t mean looking worthy, it means looking like a positive investment in yourself as a brand, your consumers and the people who grew or picked your crop.” (https://www.packagingnews.co.uk/design/new-packs/ ff-works-cafedirect-re-launch-organic-range-16-02-2018)
EXCELLENCE IN STRAPPING SOLUTIONS
เครื่องรัดสายรัดพลาสติก คุณภาพ สำหรับ หลากหลาย ผลิตภัณฑ์ AD 1/2 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
MOSCA ASIA THAILAND ( สำนักงาน สาขา )
ชั้น 11 อาคาร วาณิช 2, ยูนิต 11-08 1126 / 2 ถนน เพชรบุรีตัดใหม่ ราชเทวี กรุงเทพ ฯ 10400 โทรศัพท์ 02 655 3188 แฟกซ์ 02 655 3181 อีเมล์ thailand@mosca.com
ไทย โฮมเพ็จ http://th-th.mosca.com
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
43
NEWS
ทัช ทุ มเป ดศูนย เรียนรู งานพิมพ ดิจิทัล
แหล งรวมไอเดียสร างสรรค หนุนสร างผูป ระกอบการไทยรุน ใหม ทัช ปรินทตงิ้ ทุม เปดศูนยการเรียนรูง านพิมพดจิ ทิ ลั หรือ ทัช ครีเอทีฟ เวิรก สเปช (Touch Creative Workspace) แหลงรวมไอเดียสรางสรรค หวังดันผูประกอบการไทย รุนใหม ผลิตผลงานเปนเอกลักษณในแบบของตนเอง พรอมเปดพื้นที่ และอุปกรณใชงานฟรี กิตติภมู ิ อนุตรภิญโญวงศ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ทัช ปรินทติ้ง รีพับลิค จํากัด ผูผลิตเสื้อผา สิ่งทอ เครื่องหนัง และสินคาพรีเมียมในแบบของคุณเอง ดวย ระบบการพิมพดจิ ทิ ลั (Digital Printing) ครบวงจร กลาววา บริษัทฯ ไดสราง ศูนยการเรียนรูการพิมพดิจิทัล หรือ ทัช ครีเอทีฟ เวิรก สเปช (Touch Creative Workspace) สําหรับผูที่สนใจเทคโนโลยีการพิมพและมีไอเดียสราง สรรคผลงาน แตไมมีเงินทุนดานอุปกรณและเครื่องมือ โดยทางบริษทั ฯ จะเปดใหใชพนื้ ที่ หรือ โค เวิรก กิง้ สเปซ และอุปกรณ รวมทั้งมีเจาหนาที่ใหคําปรึกษา โดยไมคิด คาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น “เราตองการสนับสนุนคนรุนใหม อาทิ นักศึกษา ดานออกแบบ กลุม สตารทอัพ ดีไซเนอร หรือผูท สี่ นใจ ทีม่ ี ไอเดีย ไดมีโอกาสสรางธุรกิจในรูปแบบที่เปนเอกลักษณ ของตัวเอง ซึง่ คนกลุม นีอ้ าจยังไมมเี งินทุนในดานอุปกรณ และสถานที่ แตมคี วามคิดสรางสรรคผลงาน สามารถเขา มาใชพนื้ ที่ และอุปกรณภายในศูนยฯ ไดฟรี ซึง่ เราไดลงทุน สรางศูนยดังกลาวมูลคาประมาณ 10 ลานบาท มีพื้นที่ ขนาด 150 ตารางเมตร แบงเปนสวนการ ทํางานพบปะพูดคุยแลกเปลีย่ นความ คิดเห็น การออกแบบ และการผลิต ผลงานจริง โดยเปดใหบริการ ตั้งแตปลายปที่ผานมา”
กิตติภมู ิ อนุตรภิญโญวงศ
กิตติภมู ิ ไดกลาวถึงธุรกิจของ บริษทั ทัช ปรินทตงิ้ รีพบั ลิค จํากัด วา บริษทั ฯ มีธรุ กิจสองสวนหลักดวยกันคือ รับผลิตงานดวยระบบการ พิมพดจิ ทิ ลั ตัง้ แต 1 ชิน้ ขึน้ ไป และเปนตัวแทนจําหนายและบริการเครือ่ ง พรินเตอรของเอปสัน โดยเนนเครือ่ งพิมพขนาดใหญสําหรับพิมพผา และสามารถทํายอดขายไดเปนอันดับหนึ่งในประเทศไทย สวนงาน รับจางผลิต บริษทั ฯ มีลกู คาทีห่ ลากหลายทัง้ ทีเ่ ปนแบนรนดชนั้ นํา และ งานทีเ่ ปนเอกลักษณเฉพาะ นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังอยูใ นระหวางการ ศึกษาในเรือ่ งของแอพพลิเคชัน่ การพิมพงาน ทีล่ กู คาสามารถออกแบบ หรือเลือกแบบของสินคาทางออนไลน และสั่งผลิตไดอยางรวดเร็ว สําหรับในปทผี่ า นมามียอดขาย 160 ลานบาท และคาดวาในปนจี้ ะมี ยอดขาย 200 ลานบาท โดยมีอัตราการเติบโตที่ 20%
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
47
IN TREND
GOLD AWARD
2017 DuPont Awards for Packaging Innovation Winners
Ice Cream Mini Cup 140 ml : Closure PP In Mold Label with spoon inside, Cardboard Cup and Alu/PE sealing (FRONERI, Brazil)
Design realization with breakthrough technology enhancing productivity and less footprint (AMOREPACIFIC, South Korea) AMOREPACIFIC’s Prime Reserve jar has won a Gold Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation. AMOREPACIFIC designed the cream jar with the consumer experience in mind. The elegant design of the cream jar provides consumers the ultimate indulgence and is an attractive addition to the consumers’ personal care product display in the home. Made of ten different components, this molded “jar within a jar” conveys luxury with its remarkable feel and weight. Thanks to AMOREPACIFIC’s technology, product manufacturers can decorate the outer jars while leaving the inner jar untouched and, if the formulation of the product is ever altered, the outer jar can still remain the same. The previous package had the same water ripple effect but was made using the CNC shaving process. By using the new injection molding process, AMOREPACIFIC was able to achieve the same extraordinary effect with a 76% reduction in material waste. This package was a great success in molding advancement, consumer indulgence and sustainability, going well beyond what was expected to deliver a high level of premiumness and distinctiveness.
48
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
FRONERI Brazil has earned a Gold Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation for their Ice Cream Mini Cup. The clever cup is the combination of a suite of technologies, including thin wall thickness, fast cycle time injection molding, and in-mold labeling for decoration. It is a packaging solution designed for the on-the-go consumer. The plastic spoon molded into the lid of the ice cream mini cup is an innovative solution improvement to those currently available. This approach is unique among ice cream cups that include a spoon. Demonstrating a strong commitment to responsible packaging, FRONERI did not add another lm layer to separate the spoon and did not use additional materials for the spoon. The smart package design repurposed 26% of the whole lid weight to be formed into the detachable spoon. Consumers can close the lid even after the spoon is removed. The Ice Cream MiniCup showed increased production efficiency, a commitment to responsibility, and a clever use of materials.
Insignia Freshtag (Insignia Technologies, UK) Insignia Technologies won a Gold Award in the 29th DuPont Awards for Packaging Innovation for their Insignia Freshtag. This dynamic shelf-life indicator tag is designed to change color over a pre-set number of days at a prescribed temperature. It also changes color faster when the temperature increases. This gives consumers a more realistic view of the actual life of the product based on the different conditions to which it has been subjected. Insignia took a complex and confusing component of packaging and turned it into an overly intuitive food waste reduction tool. The Insignia Freshtag takes the confusion out of sell-by and fresh-by dates, dramatically upgrading the consumer experience. It demonstrates a clever use of materials by allowing consumers to dial into the life cycle of the product, helping to take the confusion out of the “sell by” and “eat by” dates. The Insignia Freshtag can play a signicant role in helping people reduce food waste as well as potentially allowing manufacturers to extend shelf life.
The Bibigo kimchi jar that combines tradition and science from CJ Cheiljedang won a Gold Award in the 29th DuPont Awards for Packaging Innovation. This kimchi jar is a real breakthrough in terms of packaging science and innovation. It marries a very traditional product with contemporary, high-tech packaging. A clever incorporation of multiple existing technologies from different markets (including channeled lids and membrane with valve), the new kimchi jar achieves perfect sealing, gas emission, and fermentation. The gas channels in the lid allow the gas to vent through the closed lid as the product continues to ferment inside the jar. The pressboard was designed with the identication of the shape of the traditional Korean style, and the ingredients were
MosquitoPaQ™ OUTDOOR ZONE no-bite SPATIAL Repellent Pouch (PPi Technologies GROUP, USA)
The MosquitoPaQ™ OUTDOOR ZONE no-bite SPATIAL Repellent has earned a Gold Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation. The package demonstrated a clever use of a frangible sealed pouch for this new application of mosquito repellent. The pouch allows consumers to mix and activate the dry and wet chemicals at the time of use, without having to pour out or touch the contents. After activation, consumers can simply hang the pouch on a tree and leave it alone as the repellent is released over the course of fteen days. With a holistic focus on customers, the Penta 5 USA division also included graphics on the pouch itself that teach consumers how to use this innovative package. This package is a great example of an application of an existing technology into a new category – lawn and garden!
New packaging combining tradition and science (CJ Cheiljedang, South Korea)
pressed to suppress yeast production and to maintain the taste for a long time. It is designed and developed to have a push plate seating structure and a broth prevention function when pulling out. The modern jar has a connection to the past, enhancing the consumer experience by preserving the traditional look and feel of the beloved ceramic kimchi jar. While it preserves the shape of the traditional jar, it has all the advantages of advanced materials and technology, decoration techniques, and good ergonomics of the cap. This remarkable integration of many known technologies together in one package is especially innovative because it allows CJ Cheiljedang to use plastic to contain a highly aromatic product. THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
49
Peelfit™ Can (CROWN Food Europe, France) CROWN Food Europe’s Peelt™ Can has won a Gold Award in the 29th DuPont Awards for Packaging Innovation for their easy-open foil sealed can. The Peelt™ can eliminates the need for a rigid steel ring typically required with double seaming applications. CROWN Food Europe was able to seal a peelable foil directly to the can body. Traditional steel rings had to be stamped out and recycled – this new innovation eliminates that need, easing manufacturing and enhancing sustainability. The Peelt™ can’s major reduction to this component of the package enabled a 16% reduction in can weight and 32% reduction in energy usage while continuing to deliver 100% protection against oxygen, gas and moisture. The Peelt™ can also increase convenience thanks to the possibility to create a compartment on the top. Peelt™ is an excellent example of how companies can develop more sustainable packaging without compromising on performance.
Skol Beats Secret - Red Glass (Owens Illinois, Brazil) Owens Illinois’ Skol Beats Secret – Red Glass beer bottles has won a Gold Award in the 29th DuPont Award for Packaging Innovation for excellence in enhanced user experience and technological advancement. Advancing product branding in its target market, Brazil – the third largest beer distributing market in the world – Skol Beats Secret has introduced the rst red glass bottle for beverages to be mass-produced in the world. The dramatic color helps provide differentiation from other alcoholic beverages at the point of sale and provides merchandising appeal to its target consumers, the millennials, who are looking for or a new experience. The red color reinforces thee avor prole of the avored beer, while also offering ffering UV protection to the product. The UV protection offered by the red glass is similar to thee UV protection of the typicallyused amber glass beer bottles, extending the shelf-life of the product. oduct.
50
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
PepsiCo’s Granola Goes Nuts Cross – Directional Laser Scored Flow (PepsiCo and Printpack, USA)
PepsiCo’s Granola Goes Nuts Cross – Directional Laser Scored Flow Wrapper has earned a Gold Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation for its innovative incorporation of a unique, easyopen packagethat also allows users to keep their hands clean during on-the-go use. Through extensive research, consumers continually articulated their frustration with current ‘bar’ opening: common frustrations included that it was both difficult and messy. The joint development between PepsiCo and Printpack led to an innovative idea and application. The cross-directional, laser-scored opening feature on the horizontal ow wrapper provides a controlled, easy opening of the pack. The clever design keeps consumers from creating litter when opening, with a creative conguration of the technology to keep the wrapper together. The laser scoring applied above the metalized layer preserves the barrier properties and ensures the shelf life of the product. Despite the materials’ inherent properties to track and tear in the machine direction, this technical advancement allows for controlled tearing in the cross direction. Through proper design of material, laser specications, and dieline layout, this wrapper technology is capable of running on the industry’s fastest machines without modications or loss of production efficiencies. Granola Goes Nuts wrapper technology incorporates the consumers’ needs for easy open and improves sanitation for on-the-go consumption.
Vento™ : Advanced coffee packaging with integrated degassing system
SILVER AWARD
(Amcor Flexibles, Switzerland)
The Vento™ advanced coffee packaging with integrated degassing system has earned Amcor Flexibles a Gold Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation. Amcor recognized the need to improve the traditional systems for degassing freshly roasted coffee from bags. Vento™ is the only coffee packaging system delivered to roasters with the degassing system already applied in the laminate. Traditionally, roasters have to apply rigid valves to coffee bags during packaging to allow carbon dioxide (CO2) to escape from the bags. The Vento™ coffee packaging system uses a low-pressure, one-way, exible valve integrated into the laminate of the coffee bag instead of the commonly used rigid valve for degassing. As coffee starts to degas, the pressure inside pushes a small venting layer open allowing the CO2 to escape. As soon as degassing is complete, the venting layer returns to its original position, preventing oxygen from entering and keeping the coffee fresh. The simplied packaging process runs on all packaging machines, eliminating the need for new equipment investment by producers, thereby facilitating adoption. Since operators do not have to put the rigid valve on, Vento™ helps save on time and improves operating efficiency. Its improved sustainability prole includes a six percent reduction in the carbon footprint over traditional systems and a 10 percent weight reduction.
Direct Object Printing for Full Package Decoration
(Plastipak Packaging, Inc., USA) Plastipak Packaging, Inc. has received a Silver Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation for their Direct Object Printing for Full Package Decoration. Direct Object Printing takes technology that typically prints to a label substrate and instead prints directly to the package, eliminating the need for label materials. Packages can be decorated in-line at production, simplifying the supply chain and reducing the time to market. This technology utilizes white-plus process coloring printing to deliver a wide color gamut and brilliant graphics for full, state-of-the-art decoration of a round package. Plastipak’s technology offers unlimited graphic design capabilities to promote the brand, opening up a new perspective in marketing. With the ability to decorate the complete package, this breakthrough technology eliminates the need for label substrates reduces landll scrap, as well as reducing the time to market for new designs. Receiving recognition from the Association of Plastic Recyclers for recyclability, this environmentally friendly process offers unlimited graphic design capabilities to promote the brand, share product improvements, and drive seasonal or regional promotions. THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
51
“FUJI . M . O”, Flexible packaging for the inkjet-gravure hybrid printing machine (FUJI TOKUSHU SHIGYO CO., LTD, Japan)
Farmacy Beauty - Honey Potion Renewing Antioxidant Hydration Mask (VP+C, USA) Farmacy Beauty’s Honey Potion Renewing Antioxidant Hydration Mask package won a Silver Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation. The package enhances the user experience because of the outstanding execution of the package design in telling the brand story. The origami-like box unfolds to reveal the brand story inside, while the hand-drawn illustrations on the package help to tell a holistic story about the brand. The honey comb-shaped glass jar highlights the honey color of the product and contains a magnetic lid that holds the steel spatula to the wooden lid.
FUJI’s “FUJI . M . O”, Flexible packaging for the inkjet-gravure hybrid printing machine won a Silver Award in the 29th DuPont Awards for Packaging Innovation. The FUJI . M . O is a hybrid printing press that combines full-color inkjet printing and water-based white photogravure printing to achieve vibrant, full-color and white color printing on transparent plastic lm. By combining water-based photogravure printing traditionally used solely for white printing, with inkjet printing for full-color, FUJI TOKUSHU SHIGYO CO achieved a breakthrough that solves challenges associated with white color inkjet printing. For this process, FUJI TOKUSHU SHIGYO CO also developed new inkjet ink with high-adhesion strength to plastic lm, as well as a white, water-based photogravure ink that adheres to inkjet ink and reduces the quantity of organic solvent by 95%. This innovation was a remarkable accomplishment that required great collaboration among the ink, printing machine manufacturers, and FUJI TOKUSHU SHIGYO CO.
How2Recycle®, the next generation recycling label for packaging (GreenBlue, USA) GreenBlue earned a Silver Award in the 29th DuPont Awards for Packaging Innovation for How2Recycle®, the next-generation recycling label for packaging. How2Recycle® is the rst universal recycling labeling system that was designed specically for consumers. It fullls brands’ need to simplify the understanding of packaging recyclability. With the How2Recycle® label, consumers can easily understand the recyclability of each package, how to prepare each component of the package for recycling, and if a component is not recyclable. Not only is How2Recycle® changing the recycling behavior of consumers, but it is also catalyzing design changes in packaging. The How2Recycle® program is encouraging member companies to look at their packaging in a new way and think about how they might design their packages to be more recyclable. Three quarters (76%) of respondents to a poll conducted by GreenBlue have a more positive impression of a company that uses How2Recycle®.
52
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
Kellogg’s® Nutri-Grain® Bakery Delights Tactile Packaging (Bemis Company, Inc., USA) Bemis has earned a Silver Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation for their work on Kellogg’s® Nutri-Grain® Bakery Delights Tactile Packaging. Kellogg’s® NutriGrain®Bakery Delights package features textured lm to represent a bakery treat that looks like its wrapped in kraft paper and twine. To uniquely capture the attention of millennial shoppers, the package is designed to look like paper, feel like paper, and even crinkle and crunch like paper. The thin-gauge ow wrap lm is a highly practical, responsible alternative to paper laminates, extending the breakfast cake’s shelf life and appeal, while meeting brand owners’ need for packaging speed, hermetic seals and product protection.
Lightweight 20-ounce Vitaminwater® container with PowerStrap™ and ActiveHinge™ technologies (Amcor Rigid Plastics, USA)
The lightweight 20-ounce Vitaminwater®container with PowerStrap™ and ActiveHinge™ technologies from Amcor Rigid Plastics has won a Silver Award in the DuPont Awards for Packaging Innovation. The technology enables a 15 percent weight reduction from an earlier Vitaminwater® bottle with enhanced vacuum absorption capabilities compared to conventional bases used for hot-ll containers. Amcor Rigid Plastics’ unique PowerStrap™ technology offers enhanced side compression properties for improved line handling as well as vertical load-bearing properties for stacking. The new Vitaminwater® bottle design provides better stacking strength at lighter weights, improved label application and stronger packaging performance, including labeling and distribution across all container sizes. The technology also offers consumers a more attractive rigid plastic container and comfortable grip. The Vitaminwater® bottle is made of 100 percent recyclable PET and features PowerStrap™ and ActiveHinge™ technologies that are scalable to all container sizes. (http://www.dupont.com/industries/packaging-and-printing/awards-for-packaging-innovation/past-awards-for-bestpackaging/2017-packaging-award-winners.html?cq_ck=1463334037329#Begin) THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
53
SPECIAL
area
กองบรรณาธิการ
PIXI Awards ครั้งที่ 10 ประจําป 2017
รางวัลสําหรับนวัตกรรมและความ เป นเลิศด านการพิมพ ระบบดิจิทัล บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ เอเชียแปซิฟก จํากัด ประกาศรายชื่อ ผูชนะรางวัล PIXI (Printing Innovation with Xerox Imaging) Awards ทั้งสิ้นจํานวน 45 รางวัล ในงาน PIXI Awards 2017 ซึ่งจัดขึ้นเปน ครัง้ ที่ 10 โดยมุง เนนการแขงขันดานนวัตกรรมและความเปนเลิศดาน งานพิมพดิจิทัลจากกลุมผูใชงาน Fuji Xerox Solutions ในภูมิภาค เอเชียแปซิฟก ไดแก ออสเตรเลีย จีน ฮองกง ญี่ปุน เกาหลี มาเลเซีย นิวซีแลนด สิงคโปร ไตหวัน ไทย และเวียดนาม งาน PIXI Awards 2017 ครัง้ นี้ มีผเู ขารวมประกวดทัง้ หมด 236 ผลงานและครอบคลุมทั้งหมด 26 สาขา มีสาขาใหมสองสาขา ไดแก สาขา 5th Colour Award และสาขา Digital Label and Packaging Award สอดคลองกับแนวโนมภาคอุตสาหกรรมงานพิมพดิจิทัลใน ปจจุบนั ทีม่ งุ เนนการสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั งานพิมพทมี่ คี ณ ุ ภาพ ทัง้ นี้ รางวัลสาขา 5th Colour Award ไดรับการพัฒนาขึ้นจากการใช หมึกพิมพสีที่ 5 เชน สีทองและสีเงินมาประยุกตใชอยางสรางสรรค ในขณะที่รางวัลสาขา Digital Label and Packaging Award ไดจัดขึ้น เพื่ อ ช ว ยตอกย้ํ า ถึ ง ความสํ า คั ญ และความน า ทึ่ ง ของผลงานภาค อุตสาหกรรมดังกลาวที่มีการขยายตัวอยางตอเนื่อง Steve Ford, General Manager, Production Sales and Marketing, บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ เอเชียแปซิฟก จํากัด กลาววา “ทาง ฟูจิ ซีร็อกซ เอเชียแปซิฟก รูสึกยินดีเปนอยางยิ่งที่ไดมี โอกาสจัดงาน PIXI Awards เปนปที่ 10 ซึ่งในปนี้เราไดเพิ่มสาขาใหม สําหรับพิจารณาการใหรางวัลอีก 2 สาขา เพือ่ ขยายโอกาสใหกบั กลุม คูคาของเราไดมีโอกาสในการแสดงผลงาน ไดแก ในดาน 5th Colour Application และดาน Digital Labels & Packaging ทําใหเราเห็นถึง ความคิดสรางสรรคในการนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาประยุกตใชกับ งานพิมพเพื่อสรางผลงานที่ยอดเยี่ยม โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม งานพิมพฉลากสินคา และบรรจุภัณฑ เพื่อเปนแรงผลักดันใหองคกร ของเรามุงมั่นที่จะขยายการเติบโตอยางตอเนื่องและมั่นคง” ทั้งนี้ คณะกรรมการที่ทําหนาที่พิจารณาผูชนะรางวัล PIXI Awards 2017 ประกอบดวยผูเชี่ยวชาญอิสระจากภาคอุตสาหกรรม งานพิมพ ประกอบดวย Paul Callaghan ผูจ ดั พิมพและประธานงาน 54
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
10th Annual PIXI Awards 2017
Awarding Innovation and Excellence in Digital-Printing Fuji Xerox Asia Pacic Pte Ltd. announced the 45 winning entries of its PIXI (Printing Innovation with Xerox Imaging) Awards 2017. The 10th anniversary of this annual competition recognized innovation and excellence in digitally-printed work from users of Fuji Xerox solutions across the region – with entries from the countries and areas: Australia, China, Hong Kong, Japan, Korea, Malaysia, New Zealand, Singapore, Taiwan, Thailand and Vietnam. PIXI Awards 2017 attracted 236 entries in 26 categories, with the introduction of two new categories-the 5th Colour Award and the Digital Label and Packaging Award. In line with current digital-printing trends for image quality value-add, the 5th Colour Award evolved from the innovative use of 5th colour toner such as gold and silver. The Digital Label and Packaging Award category was introduced to recognize the remarkable work in this growing segment. Steve Ford, general manager, production sales and marketing, Fuji Xerox Asia Pacic. said “Fuji Xerox Asia Pacic is delighted to celebrate
Asian Print Awards รวมทั้งอดีตนายทหารที่มีประสบการณในภาค อุตสาหกรรมงานพิมพอยาง Wong Wing Kwong และ Alf Carrigan สําหรับเกณฑการพิจารณาผูชนะรางวัล ประกอบดวย คุณภาพ งานพิมพ ความเหมาะสมของการใชงานเทคโนโลยีดิจิทัล ระดับ นวัตกรรม ประสิทธิภาพการใชงานทางธุรกิจ และความสวยงามโดย รวม โดยมุงเนนใหความสําคัญดานความสมดุลระหวางคุณภาพของ งานพิมพดิจิทัลและผลลัพธจากการใชฟูจิ ซีร็อกซ โซลูชั่น สําหรับปนี้ ผูท คี่ วารางวัล “Best in Show Award” คือ Beijing Zhong Xian Tuo Fang Science and Technology Development Co., Ltd. ดวยผลงานที่ชื่อวา “The Art Collections of Beijing Opera Master Mei Lanfang” โดยใช Xerox®iGen® 150 Press “การไดเห็นผลงานที่ผลิตซ้ําในอีกรูปแบบหนึ่งนับวาเปนอะไร ที่นาทึ่งจริงๆ” Paul Callaghan ผูจัดพิมพและประธานงาน Asian Print Awards และหัวหนาคณะกรรมการพิจารณารางวัลการแขงขัน PIXI 2017 กลาว “ซึ่งผลงานที่สงเขามาแตละรายการนั้นตางก็มีขั้น ตอนการออกแบบ การผลิต และการตกแตงที่ซับซอนเหนือระดับ อย า งไม น า เชื่ อ จนคุ ณ ต อ งมาดู ใ ห เ ห็ น กั บ ตาตนเอง การจั ด งาน ลักษณะนีท้ าํ ใหเราเขาใจถึงความสําคัญของการเลือกใชเครือ่ งมือการ พิมพที่เหมาะสม เพื่อทําใหผลงานที่ดีไซนออกมาประสบผลสําเร็จ!” สํ า หรั บ ผลงานที่ช นะรางวั ล ในครั้ ง นี้ จ ะถู ก นํ า ไปจั ด แสดงที่ Fuji Xerox Integrated Customer Experience Center (ICEC)*1 รวมทั้งงาน Graphic Communications Industry ระดับภูมิภาค นอกจากนี้ ทางบริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ เอเชียแปซิฟก ยังไดจัดสงผลงาน ที่ชนะรางวัลทุกรายการเขารวมงาน Asian Print Awards ซึ่งเปน งานประกวดแขงขันดานเครื่องพิมพระดับภูมิภาค
its 10th consecutive year of PIXI Awards. Our two new categories this year have expanded the opportunities for our partners to showcase their outstanding work in 5th colour application and digital labels and packaging. It is inspiring to see how our latest technologies and services are manipulated to create such innovative offerings, especially for the label and packaging market. This remarkable work fuels our anticipation for continued strong market growth.” An independent expert panel of printing industry professionals selected winners of the PIXI Awards 2017, including publisher and chairperson of the Asian Print Awards, Paul Callaghan, and print industry veterans, Major Wong Wing Kwong and Alf Carrigan. Evaluation criteria include: print quality, appropriate use of digital technology, degree of innovation, business effectiveness and overall aesthetics. Importance is placed on the balance between quality of the digital prints and delivery of desired results with Fuji Xerox solutions. This year, the “Best in Show” was awarded to Beijing Zhong Xian Tuo Fang Science and Technology Development Co., Ltd. for their submission of The Art Collections of Beijing Opera Master Mei Lanfang, using the Xerox®iGen® 150 Press. “It is a great to see such a stunning reproduction in any format,” said Paul Callaghan, publisher and chairperson of the Asian Print Awards, and head of the 2017 PIXI panel judge. “The entries that we received showcased a high level of complexity in design, production and nishing and must be seen to be believed. Events like this truly help us understand the importance of having the right printing tools to bring a design to life!” Winners will be showcased in the Fuji Xerox Integrated Customer Experience Center (ICEC) and regional Graphic Communications industry events. For an opportunity to receive further acknowledgement for their pieces, Fuji Xerox Asia Pacic submits all entries into the Asian Print Awards, a competition for printers in the region. THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
55
SPECIAL
area
ศศิรดา สุทธิลักษณ
งานฉลาก แสนฉลาด Smart Label Application
ตอนนี้คงปฏิเสธไมไดวางานฉลากมีความโดดเดนมาก มีการ เติบโตอยางเห็นไดชดั และทีส่ าํ คัญมีการแขงขันทีผ่ ปู ระกอบการหลาย ทานบอกวา “สนามนี้ตองลงแขง” ในสวนของเจาของเทคโนโลยี ทีค่ ดิ คนเครือ่ งจักรและโซลูชนั่ ตางๆ ก็เตรียมตัวมาอยางดีขนกองทัพ เครื่องจักรจนถึงวัตถุดิบที่ใชในไลนการผลิตมาใหผูประกอบการ โรงพิมพและบรรจุภณ ั ฑไดเลือกใชอยางจุใจ ไมวา จะเปนเครือ่ งพิมพ ฉลากแบบตางๆ ทั้งเจาเล็กและใหญ เบิ้ม เครื่องลามิ เนต เครื่องตกแตงฉลากหลังพิมพ และอื่นๆ ที่ทานผูอานตอง ไปเห็นดวยตาตัวเองในงาน Label Expo Southeast Asia 2018 ทีจ่ ะจัดขึน้ ในวันที่ 10-12 พฤษภาคม 2561 ณ ศูนยนทิ รรศการ และการประชุมไบเทค งานนีต้ อ งบอกเลยวา ใครพลาดคงตอง เสียดายอยางที่สุดเปนแนแท สําหรับเคิรซเอง แนนอนวา เราไมยอมพลาดโอกาสนี้ ที่จะไดแนะนําเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการผลิตฉลากมาให ผูประกอบการในไทยไดรูจักและยลโฉมเทคโนโลยีลาสุดจาก พรีเมียมและ SMEs เจาเครือ่ งนีน้ า จะตอบโจทยความตองการ ประเทศเยอรมนีมาใหวาว! กันอีกแนนอน แตกอนที่ทาน ไดไมเลว ยิ่งถาคุณมีเครื่องพรินตฉลากแบบดิจิทัลอยูแลว ผูอานจะไดไปเห็นดวยตาตัวเองในวันงานที่บูธเคิรซ ฉบับนี้ ยิ่งงายขึ้นไปอีก เพราะเจาเครื่องแสนฉลาดตัวนี้มีหลายโมเดล เราจึงขอเอาน้ําจิ้มมาใหอานและทําความรูจักกันกอนดีกวา ไมวาจะเปนแบบ Stand Alone หรือจะไปเพิ่มในไลนการผลิต เริ่ ม ด ว ยเทคโนโลยี ก ารพิ ม พ ฟ อยล ดิ จิ ทั ล จากเครื่ อ ง แบบ Built-in หรือ Built-on ก็ได ที่สําคัญผลงานที่เจา UV-Ink DM-Liner® UV-Ink ที่เราไดแนะนําไปบางเมื่อปที่แลว การผลิต เครือ่ งนีท้ าํ ไดไมวา จะเปนเสนสายลายประณีต การพิมพฟอยล ฉลากแบบพรีเมียมทั้งแบบกระดาษหรือพลาสติก จํานวนไม กอนหรือหลังการพิมพ และการ Overprint ลงบนฟอยลที่ผลิต เยอะมาก มีลกู เลนเรือ่ งการ Personalization, Serialization หรือ มาเฉพาะของเจาเครื่องแสนฉลาดนี้ทําไดอยางนาอัศจรรย Mass-customization ดวยฟอยล คงตองยกนิ้วใหเจา UV-Ink บอกเลยวา “ของมันตองมี” คะ เครื่ อ งนี้ หากคุ ณ เป น ผู ป ระกอบการที่ อ ยากจั บ กลุ ม ลู ก ค า
56
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
สวนเครื่องตอไปที่เราอยากแนะนํานั้นคือเครื่อง Monojet® ทีใ่ ชในการพิมพวนั ที่ วันหมดอายุ หรือขอความ ตางๆ เชน วิธีการใชผลิตภัณฑ ลงบนฉลากดวยความ ละเอียดขนาด 600 dpi ทําใหขอความสําคัญเหลานี้มี ความคมชัดมากที่สุด สามารถพิมพลงบนพื้นผิวหรือ ฉลากไดหลากหลายชนิดตัง้ แต กระดาษ พลาสติก ฟอยล ไม พื้นผิวที่มีการเคลือบแลคเกอรไปจนถึงแกว ที่สําคัญ คือเครื่องนี้มีคุณสมบัติในการพิมพไดหลากสี หัวจายน้าํ หมึกสามารถรองรับไดตง้ั แต 3-14 pl ซึง่ ทําใหสามารถพิมพ ขอความและลายเสนเล็กๆ ไดคมชัดอีกทั้งยังสามารถคุม โทนสี เลื อ กเฉดเข ม หรื อ อ อ นได ด ว ย สํ า หรั บ เครื่ อ ง Monojet® นี้เปนแบบ Plug in ที่สามารถเชื่อมตอเขากับ เครือ่ งเดิมทีผ่ ปู ระกอบการมีอยูแ ลวอยางงายดาย นีแ่ หละ ที่เราเรียกวา “Plug and Play”
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
57
สุดทายและทายสุด ทีเ่ ปนทอลกออฟเดอะทาวนอยูต อนนี้ คงหนี ไ ม พ น การตกแต ง ฉลากด ว ยฟอยล Deep Lens ซึ่งกําลังบูมมากในตลาดยุโรป เพราะเมื่อเจาฟอยลชนิดนี้ไดมี โอกาสปมลงไปบนฉลากของผลิตภัณฑชิ้นไหนละก็ มันจะ สามารถดึงดูดสายตาของผูบริโภคไดอยางเยายวนนัก เลนส เอฟเฟกตที่สะทอนเขาตายามแสงไฟกระทบมีอิทธิผลตอผู บริโภคใหหันมามองภายในพริบตา แตเคิรซยังไมหยุดที่จะ พัฒนาไปจนถึงฟอยล Spatial FX (Special Effect) ทีเ่ คิรซ พัฒนา อยางตอเนือ่ งทําใหเรานาจะมีเทคนิคทีด่ ที สี่ ดุ ในโลกก็วา ได เมือ่ การพัฒนาเปนที่ยอมรับและตอกย้ําความสําเร็จเมื่อบริษัทดัง อยาง Beiersdorf เจาของแบรนด Nivea ไดทําการพัฒนาและ นํามาใชไดสําเร็จ สามารถ launch สินคาในทองตลาดและได ผลตอบรับที่ดี การใช Spatial FX จึงเริ่มแพรหลายเขามาใน เอเชียและประเทศไทยอยางรวดเร็ว ซึ่งภายในปนี้ทานผูอาน จะไดเห็นนวัตกรรมแบบนี้บนงานฉลากออกมาวางบนเชลฟ ใหไดยลโฉมกันแนนอน
สําหรับทานที่สนใจนวัตกรรมและเทคโนโลยีของเคิรซที่ เราไดแนะนําเบื้องตนตามที่กลาวมาแลวนั้น สามารถแวะไป เยี่ยมชมชิ้นงานของจริงและตัวอยางสวยๆ อีกทั้งยังสามารถ สอบถามเพิ่มเติมกับเจาหนาทีผ่ ูเชีย่ วชาญของเราไดทบี่ ูธเคิรซ (ประเทศไทย) หมายเลข B22 ฮอลล 98 ในงาน Label Expo Southeast Asia 2018 แลวพบกับเรื่องราวเจาะลึกเกี่ยวกับ นวัตกรรมใหมๆ เพิ่มไอเดียใหผูประกอบการจากเคิรซใน ฉบับหนาคะ สําหรับฉบับนี้ สวัสดีปใหมไทยทานผูอานทุกทานดวย นะคะ
บริษัท เคิร ซ (ประเทศไทย) จํากัด
2869-2869/1 ถนนริมทางรถไฟสายปากน้ํา แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. 10110 โทร. 0-2671-7505 แฟกซ 0-2671-7711 อีเมล : sales@kurz.co.th 58
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
60
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
61
NEWS
อินเตอร พ ลาส ไทยแลนด 2018 พร อมทุกป จจัย สู ความเป นเลิศทางธุรกิจพลาสติก
อินเตอรพลาส ไทยแลนด 2018 อัดแนนดวยนวัตกรรมเครือ่ งจักร และเทคโนโลยี พรอมทุกโซลูชั่นเพื่ออุตสาหกรรมการผลิตพลาสติก และปโตรเคมี และความรวมมือจากเครือขายทางธุรกิจระดับโลก พบกับเครื่องจักรทันสมัยและวัตถุดิบคุณภาพสูงจากผูแสดง สินคากวา 350 แบรนด จาก 20 ประเทศ เพื่อเพิ่มศักยภาพกระบวน การผลิต ตัง้ แตการทําแมพมิ พ การเปา การฉีด การรีด และการรีไซเคิล สําหรับการผลิตยานยนต อิเล็กทรอนิกส บรรจุภัณฑ เครื่องใชไฟฟา ในครัวเรือน และอุปกรณการแพทย พรอมดึงดูดผูซ อื้ กวา 17,000 ราย จากหลากหลายอุตสาหกรรม เสริมทัพดวยองคความรูจ ากการเขาฟง สัมมนาและกิจกรรมภายในงานทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ใหคณ ุ ไดเปดมุมมอง ใหม ขัดเกลากลยุทธทางธุรกิจ ปรับตัวเขากับเทรนดอตุ สาหกรรมใหมๆ ที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ตอยอดถึงการพัฒนารูปแบบการผลิต และเพิม่ คุณคาของผลิตภัณฑ เพือ่ สรางความไดเปรียบทางการแขงขัน อินเตอรพลาส ไทยแลนด 2018 พรอมนํานักอุตสาหกรรมทัว่ ทัง้ อาเซียนเดินทางเขารวมงาน เพือ่ การคนพบสุดยอดโอกาสทางธุรกิจ ทีเ่ ขมขนและการผลิตอันเปนเลิศ จับจองทีน่ งั่ ของคุณใหพรอม เราจะ พาทานไปสูด นิ แดนใหมแหงความสําเร็จทางธุรกิจทีเ่ ฝารออยูข า งหนา งานประจําปที่ครบวงจรที่คนในวงการอยางคุณตองไมพลาด
แมนูแฟกเจอริ่ง เอ็กซ โป 2018 เป ดประตูสู โอกาสแห ง ความสําเร็จ สําหรับผู ประกอบการที่ต องการก าวทันการ เปลี่ยนแปลงของวงการ
“อินเตอรพลาส ไทยแลนด” จัดขึน้ พรอมกับงาน “แมนูแฟกเจอริ่ง เอ็กซโป 2018” งานแสดงเทคโนโลยี เพื่ออุตสาหกรรมการผลิตและอุตสาหกรรมสนับสนุน ชัน้ นําระดับอาเซียน จะจุดแรงบันดาลใจใหนกั อุตสาหกรรม คนพบเทคโนโลยีและโซลูชั่นแบบเจาะลึก และครบครัน ทั้งดานการผลิตพลาสติก การผลิตแมพิมพ ชิ้นสวน ยานยนต การชุบเคลือบผิวและพนสี ระบบอัตโนมัติ และ อิเล็กทรอนิกส นอกจากนวัตกรรมการผลิตแลว ผูร ว มงาน ยังสามารถติดตามเทรนดแนวโนมอุตสาหกรรมลาสุด และชองทางการขยายธุรกิจผานเครือขายพันธมิตรไดอกี ดวย มารวมใชโอกาสนีใ้ นการวิวฒ ั นาการอุตสาหกรรมสู ความกาวหนาแบบ 4.0 และกาวไปอีกขัน้ กับความสําเร็จ ที่เหนือชั้น
ลงทะเบียนออนไลน เข าชมงานล วงหน าถึง 17 มิ.ย. 2561 เพื่อไม พลาดสิทธิพิเศษ! ที่ www.interplasthailand.com ข อมูลเพิ่มเติมที่ www.interplasthailand.com
62
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
SCOOP
Heidelberg
special กองบรรณาธิการ
Packaging Day
2017 ในฉบับที่แลวไดนําเสนองาน Packaging Day 2017 ทีท่ าง Heidelberg จัดขึน้ โดยพาไปเยีย่ มชมโรงงาน 3 แหง ประกอบดวย โรงงานที่ Wiesloch-Walldorf ของ Heidelberg ซึ่งเปนโรงงานผลิตเครื่องพิมพที่ใหญที่สุด และทันสมัยที่สุด ผลิตเพื่อสงออกไปยังประเทศตางๆ ทั่วโลก บริษัท Multi Packaging Solutions (MPS) ตัง้ อยูท เี่ มือง Obersulm ประเทศเยอรมนี เปนบริษทั เครือ WestRock ประเทศสหรัฐอเมริกา เนนการผลิตบรรจุภณ ั ฑ ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง มีเอกลักษณเฉพาะตัว และ บริษทั Acket Drukkerij Kartonnage B.V. เปนบริษัทเกาแกที่เนน ผลิตบรรจุภณ ั ฑกระดาษแข็งสําหรับผลิตภัณฑอาหารและ ผลิตภัณฑที่ไมใชอาหาร ฉบับนีจ้ ะไดเยีย่ มชมโรงงานอีก 3 แหง ประกอบดวย โรงงานผลิตบรรจุภัณฑของ บริษัท Smart Packaging Solutions ประเทศเบลเยีย่ ม เปนโรงงานผลิตกลองกระดาษ ลูกฟูกที่มีความแข็งแรงเปนพิเศษ บริษัท Gallus Ferd. Rüesch AG ผูผ ลิตฉลากและเครือ่ งพิมพฉลากชัน้ นําของ ประเทศสวิตเซอรแลนด และ บริษทั IST METZ GmbH ประเทศเยอรมนี เปนผูพัฒนาระบบอบแหงสําหรับการ พิมพ การเคลือบผิวโดยใชแสงยูวี และ LED
Smart Packaging Solutions บริษัท Smart Packaging Solutions ประเทศ เบลเยียม เปนบริษัทผลิตบรรจุภัณฑกลองกระดาษแข็ง เปนพิเศษ ลูกคาจะเปนกลุม อุตสาหกรรมอาหาร ผัก ผลไม และดอกไมเพือ่ การสงออก ดังนัน้ จึงตองเปนกลองกระดาษ ที่หนาเปนพิเศษ ทนตอความชื้นไดสูง แตตองมีนํ้าหนัก เบาเพื่อสะดวกตอการขนสงเพราะผลิตภัณฑเหลานี้จะ ถูกสงไปยังประเทศตางๆ ทัว่ โลก เมือ่ ตองใชกระดาษหนา เปนพิเศษ เครื่องพิมพจึงตองเปนเครื่องพิมพที่ตองมี คุณภาพสูงเพื่อใหบรรจุภัณฑสะดุดตาขึ้น
(ต อจากฉบับที่แล ว)
Mr.Martijn Fluyt, After Sales&Product Development กล า วว า “Smart Packaging Solutions มีความมุงมั่นอยางยิ่ง ในการควบคุ ม คุ ณ ภาพ และ นวั ต กรรม มี ห อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ Mr.Martijn M Mr r Mar artititijjnjn FFluyt luluytt ประกอบไปดวยทีมผูเชี่ยวชาญ เพือ่ พัฒนาโซลูชนั่ การบรรจุภณ ั ฑ ใหมๆ ใหมี ความโดดเด น และตรวจสอบคุณ ภาพอยา งใกลชิด นอกจากนีเ้ รายังจัดทําโมเดลบรรจุภณ ั ฑตามความตองการของลูกคา โดยทํางานรวมกันอยางใกลชดิ โดยเครือ่ งพิมพออฟเซ็ตและเครือ่ งพิมพ เฟล็กโซเต็มรูปแบบของเรายังรับประกันคุณภาพงานพรินตคุณภาพ สูง ใหความคมชัดและสวยงาม เรามีแผนกพิมพของเราเองเพื่อปรับ บรรจุภณ ั ฑและเพิม่ ประสิทธิภาพในการพิมพ สามารถพิมพบรรจุภณ ั ฑ ไดหกสีบนเครือ่ งพิมพออฟเซ็ต ซึง่ ทําใหไดผลงานทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง และ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม” THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
63
เพื่อรองรับการเติบโตของบริษัท เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2560 ทาง Smart Packaging Solutions ไดตดิ ตัง้ Speedmaster 162 XL-5+L ของ Heidelberg โดยใชเวลาในการศึกษาและติดตาม การทํางานของเครือ่ ง Speedmaster 162 XL-5+L นานพอสมควร และในที่สุดไดตัดสินใจสั่งซื้อ เพราะเชื่อมั่นวาเปนเครื่องที่ สามารถตอบสนองตอการทํางาน และความตองการของบริษทั ไดครบถวนที่สุด
.. AG Gallus Ferd. Ruesch
“เราศึกษาการทํางานของเครื่อง Speedmaster 162 XL-5+L นานพอสมควรจนเห็นวาเครื่องมีความแข็งแรง ไมมี ปญหาเรื่องที่ตองหยุดเครื่องเพื่อซอมบํารุง สามารถผลิตงาน พิมพทมี่ คี ณ ุ ภาพสูง และผลิตไดในปริมาณสูง จึงสัง่ ซือ้ และเริม่ เดินเครือ่ งเมือ่ เดือนกุมภาพันธ 2560 ตลอดระยะเวลาก็ทาํ งาน ไดดี ไมตอ งหยุดซอมบํารุง เครือ่ งควบคุมงาย และสามารถผลิต ไดมากกวาเครื่องเดิมกวา 2 เทา ตอบสนองความตองการของ บริษัทไดเปนอยางดี” Mr.Fluyt กลาวเพิ่มเติม
ผลิตภัณฑแตละประเภทก็ตองใชบรรจุภัณฑที่แตกตางกัน ถาเปนผลิตภัณฑประเภท เนือ้ ทีต่ อ งบรรจุในสภาพแชแข็ง หรือแชเย็น บรรจุภณ ั ฑจะตองมีขนาดพอดีและตองแข็งแรง ทนตอสภาพความชืน้ ไดและตองชวยลดเวลาในการละลายนํ้าแข็ง ผัก ผลไม เปนผลผลิตที่ ตองไดรับการดูแลเปนพิเศษเพราะเนาเสียและบอบชํ้างาย บรรจุภัณฑจะตองออกแบบเปน พิเศษ นอกจากนั้นงานพรินตบนบรรจุภัณฑจะตองสวยทันสมัยเพื่อเพิ่มมูลคาใหแกสินคา และดึงดูดผูบริโภคในรานคา สวนบรรจุภณ ั ฑสาํ หรับผลิตภัณฑประเภท ปลา นัน้ ตองใหความสําคัญเปนพิเศษ เพราะ จะมีกฎระเบียบที่เขมงวด ตองทําตามกฎอยางถูกตองทั้งเรื่องอุณหภูมิและความชื้นตองไม ใหนํ้ามากเกินไปอาจจะทําใหปลาเนาเสีย และตองเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอีกดวย ดอกไม เปนผลิตภัณฑที่ตองไดรับการคุมครองในทุกสภาวะอากาศ บรรจุภัณฑตองเปนบรรจุภัณฑ ที่ยืดหยุน ออกแบบเปนพิเศษ เพื่อใหแนใจวาจะรักษาปกปองดอกไมภายในกลองไดจนถึง จุดหมายปลายทาง นอกจากนั้น การพิมพบรรจุภัณฑใหสวยงาม และสื่อถึงสิ่งที่อยูภายใน ก็เปนอีกสวนหนึ่งที่เพิ่มมูลคาใหแกผลิตภัณฑได
Gallus Ferd. Rüesch AG เปนบริษัทชั้นนําดานการพัฒนาการผลิตและ จําหนายเครื่องพิมพฉลากแบบหนาแคบ และแบบดิจิทัลที่ออกแบบมาสําหรับผูผลิต ฉลาก นอกจากนั้นยังใหบริการดานอุปกรณการพิมพ และ อะไหลเครื่องผลิตฉลาก รวมทั้งใหบริการใหคําปรึกษาจาก ผูเชี่ยวชาญดานฉลากในงานดานวิศวกรรม การพิมพและ กระบวนการทางวิศวกรรมทัง้ หมด มีโรงงานผลิตในประเทศ สวิตเซอรแลนด และเยอรมนี Gallus Ferd. Rüesch AG เปนสมาชิกของกลุม ไฮเดลเบิรก มีพนักงานทัว่ โลกประมาณ 410 คน มีสํานักงานใหญอยูที่เมือง St. Gallen ประเทศ สวิ ต เซอร แ ลนด ในฐานะสมาชิ ก ของกลุ ม ไฮเดลเบิ ร ก Gallus Ferd. Rüesch AG ใชเครือขายการขายและบริการ Mr.Michael M Mr r Mich icha haell VV.Ring Ring ing ทั่วโลกของไฮเดลเบิรก 64
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
Mr.Michael V.Ring, Vice President Digital Solutions, General Manager, Gallus Labelre 340 กลาววา Gallus เปนผูผลิต เครื่องพิมพฉลากรายใหญของประเทศสวิตเซอรแลนด มีนวัตกรรมที่โดดเดน และมีประสิทธิภาพยอดเยี่ยมเปนที่ยอมรับ ในงาน Labelexpo Europe 2017 ทีผ่ า นมา Gallus ไดจดั แสดงเครือ่ งพิมพฉลากรุน Gallus Labelre ซึง่ เปนนวัตกรรมทีผ่ สมผสาน เทคโนโลยีการพิมพดจิ ทิ ลั ลาสุดและการพิมพแบบเดิม และเทคโนโลยีการผลิตอืน่ เพือ่ ใหไดกระบวนการทําสิง่ พิมพสาํ เร็จสําหรับการ พิมพดิจิทัลตอเนื่องกันในสายการผลิต นอกจากนั้น Gallus ยังไดเปดตัวนวัตกรรมลาสุด Gallus Labelmaster ที่มาพรอมคําขวัญ “ความซับซอนนอยลง - ความยืดหยุนมากขึ้น” โดยมีใหเลือกถึง 3 รุน สามารถประกอบเครื่องใหมีระบบอัตโนมัติมากหรือนอย เทาทีจ่ าํ เปนและมีโครงสรางชิน้ สวนของเครือ่ งทีม่ ลี กั ษณะพิเศษทีเ่ ปนระบบเปด สามารถปรับแตงไดซงึ่ จะตอบโจทยลกู คาทีต่ อ งการ ตอบสนองตามความตองการตลาดของตนเอง
นวัตกรรมที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสูงสุด Gallus RCS 430 กวาสิบปแลวทีร่ ะบบเครือ่ ง RCS ของ Gallus ไดกาํ หนด มาตรฐานสําหรับคุณภาพการพิมพการผลิตและความยืดหยุน ในการพิมพฉลาก ความสําเร็จของ Gallus RCS เพราะการผสานกันที่ลงตัวระหวางการออกแบบ โมดูลารทใี่ หความยืดหยุน และระบบอัตโนมัติ ดวยระบบอัตโนมัตแิ บบ End-to-End สูงสุด เวลาในการเปลี่ยนงานที่สั้นมากและการใชกระดาษนอย ทําใหประหยัด คาใชจายในการดําเนินงาน ขณะนี้ Gallus RCS กําลังปรับปรุงใหมใหสมบูรณ ยิง่ ขึน้ ระบบเครือ่ งไดรบั การติดตัง้ แพลตฟอรมการควบคุมทีท่ นั สมัยเพือ่ เตรียม พรอมสําหรับความตองการของตลาดในอนาคต Gallus ECS 340 เปดตัวในป พ.ศ. 2552 Gallus ECS 340 เปนเครือ่ งพิมพ ฉลากทีข่ ายดีทสี่ ดุ ประสิทธิภาพสูงของเมทริกออฟไลนชว ยเพิม่ ประสิทธิภาพและ ลดคาใชจา ย Gallus ECS 340 ผลิตแผนตัดทีม่ คี วามซับซอนทีค่ วามเร็วสูงสุด และ สามารถพิมพไดบนแทนวาง กระดาษ, PE, PP และแมแตหลอดลามิเนต นอกจากนี้ ระบบเครื่อง Gallus ECS 340 ยังชวยใหเครื่องพิมพ UV Flexographic Printing ใหม มีสมรรถนะที่ดียิ่งขึ้น Gallus Labelre การพิมพแบบดิจิทัลตั้งแตมวนจนถึงฉลากสําเร็จรูปใน การดําเนินการผลิตชิ้นเดียว Gallus Labelre เปดตัวครั้งแรกที่ Labelexpo 2015 เปนระบบแปลง ดิจทิ ลั แบบแยกสวนเปนครัง้ แรกทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ในโครงการรวมกันของ Heidelberger Druckmaschinen AG (Heidelberg) และ Gallus Ferd Rüesch AG ดวยโมดูล การพิมพองิ คเจ็ททีร่ วมอยูใ นแพลตฟอรมเครือ่ ง Gallus ECS 340, Gallus Labelre จะรวมเทคโนโลยีการพิมพดิจิทัลลาสุดเขากับเทคโนโลยีการพิมพและการ ประมวลผลแบบเดิมเพือ่ การพิมพแบบดิจทิ ลั หัวพิมพองิ คเจ็ท พัฒนาโดย Fujilm ทีม่ เี อกลักษณโดดเดนเปนมาตรฐานใหมในการพิมพฉลาก ไมมรี อยตอ ซึง่ สงผล ใหพมิ พไดอยางราบรืน่ ความละเอียด 1,200 จุดตอตารางนิว้ และความเร็วสูงสุด 50 เมตร/นาที รับประกันคุณภาพสูงสุดพรอมกับประสิทธิภาพการผลิตที่สั้น โดยไมตองกังวลเรื่องขนาดของฉลาก จํานวนสีที่ใช หรือความละเอียดที่เลือก แผงควบคุมแบบสัมผัส HMI ที่ใชงานงายควบคุมโมดูลทั่วไปและดิจิทัล Gallus Labelmaster มีใหเลือก 3 รุน และสามารถกําหนดคาใหรวมอัตโนมัติ ไดมากหรือนอยเทาทีจ่ าํ เปน รูปแบบพืน้ ฐานครอบคลุมมาตรฐานการพิมพฉลาก ทีจ่ าํ เปนทัง้ หมด Labelmaster Plus มีความยืดหยุน มากขึน้ เพือ่ รองรับการใชงาน จํานวนมากในอุตสาหกรรมฉลาก และโมเดล Premium ซึ่งเปน Labelmaster Advanced สามารถตอบสนองความตองการไดครบถวน นอกจากนี้เครื่องยังมี หนวยการพิมพแบบ Flexographic ทีอ่ อกแบบมาเฉพาะสําหรับ Labelmaster และ ขับเคลื่อนโดย Servomotors 2 เครื่อง นอกจากนี้ยังสามารถติดตั้งอุปกรณการ พิมพสกรีนที่พัฒนาขึ้นใหมซึ่งมีตัวเลือกการตกแตงระดับไฮเอนดไดอีกดวย
Gallus RCS 430
Gallus Labelre 340
Gallus-DEU THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
65
Gallus Labelmaster
Gallus Labelmaster มีความยืดหยุน และมีความแมนยําสูงสําหรับการพิมพเฟล็กโซ การพิมพสกรีนแบบโรตารี่ และกระบวนการ ตกแตงดวยความเร็วสูงสุด เครือ่ งพิมพฉลากสามารถตอบสนองความตองการของตลาดทีม่ อี ยู และยังคงมีความเหมาะสมตอไปใน อนาคตดวย “เรามุง มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาอยางยัง่ ยืนและคํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดลอมอยางจริงจัง โดยใหทงั้ สาม ดานมีนาํ้ หนักทีเ่ ทากันและเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันของลูกคาในรูปแบบทีไ่ มเหมือนใคร ทัง้ Gallus และพนักงานแตละคน ของ Gallus ทํางานเพื่อตอบสนองความคาดหวังของคนรุนปจจุบันโดยไมทําใหเกิดความเสี่ยงตอการดํารงอยูของคนรุนใหม”
IST METZ GmbH
Mr.Holger M r Holger l Kü Küh Kühn hn
66
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
IST METZ GmbH กอตัง้ ขึน้ ในป พ.ศ. 2520 เพือ่ พัฒนา ระบบ UV สําหรับเคลือบเงา ตลอดหลายทศวรรษทีผ่ า นมาบริษทั เติบโตตามลําดับ กลายเปนกลุม ทีม่ กี ารดําเนินงานทัว่ โลก และ กลายเปนผูออกแบบและผูจัดจําหนายระบบบมและอบแหง ดวยรังสี UV สํานักงานใหญตั้งอยูในเมือง Nürtingen ประเทศ เยอรมนี และมีสาํ นักงานทัว่ โลกอีก 14 แหง ในประเทศฝรัง่ เศส อังกฤษ อิตาลี สหรัฐอเมริกา เนเธอรแลนด สเปน สวีเดน จีน ไทย และญี่ปุน Mr.Holger Kühn, Managing Director Sales กลาววา ในฐานะผูบุกเบิกดาน UV บริษัท IST METZ GmbH ถือเปน ผูก าํ หนดมาตรฐานอุตสาหกรรมมาเปนเวลากวา 40 ป โดยเปน ผูผลิตระบบหลอด UV และ LED ซึ่งมีการพัฒนาและผลิตสวน ประกอบภายในทั้งหมดของระบบหลอด UV ที่มีคุณภาพสูง สงผลตอประสิทธิภาพของระบบหลอด UV คุณสมบัตดิ า นรูปทรง และพื้นผิวเปนปจจัยสําคัญในการกําหนดปริมาณแสง UV บนพื้นผิวงานเพื่อใชในการอบแหง มีซอฟตแวรในการชวย พัฒนาระบบเลนส LED ซึ่งการใชเลนสที่ออกแบบมาเปน พิเศษเพื่อใหเหมาะสมกับการใชงานที่มีขอจํากัดโดยการใช แสงยูวีใหเหมาะสมกับพื้นผิววัสดุพิมพ “บริษัทมีประสบการณมากวา 40 ป ในการผลิตระบบ อบสําหรับการพิมพและการเคลือบโดยใชแสง UV โดยทําให หมึกพิมพ UV นํา้ ยาเคลือบ ซิลโิ คน กาว เรซินและวัสดุอนื่ ๆ แหงแข็งตัวไดในเศษสวนของวินาที กลุม บริษทั IST METZ มี กลุม ผลิตภัณฑทใี่ หญทสี่ ดุ ในโลกเกีย่ วกับหลอด UV และระบบ UV LED ประสิทธิภาพสูง นอกจากนี้ยังมีการบริการในสวน ของระบบอบแหงแบบลมรอน/อินฟราเรด อีกดวย”
บริษัทไดจัดตั้งแผนก UV Transfer Center (UVTC) ซึ่งมีหนาที่ให การสนับสนุนชวยเหลือลูกคาในระยะยาวกับปญหาดานเทคโนโลยี LED และ UV หนวยงานนี้อยูในอาคารสํานักงานใหญของ IST METZ GmbH ในเมือง Nürtingen จะทํางานรวมกับฝายระบบหลอด UV ฝายขาย ฝายบริการ รวมทัง้ ฝายวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ โดยเนนยํา้ ปรัชญาของบริษทั ทีว่ า “Energy is Light” ในฐานะผูผ ลิตระบบไฟชนิดพิเศษแบรนด IST สําหรับเทคโนโลยีหลอด UV ทีต่ ดิ ตัง้ ในอุตสาหกรรมสิง่ พิมพและอุตสาหกรรมอืน่ ๆ กลุม ผลิตภัณฑยงั รวมถึงผลิตภัณฑ LED การใชแสงจากโคมไฟ เอ็กไซเมอร และระบบลมรอน (Warm Air/IR) และการใหบริการหลังการขาย เทคโนโลยีระบบ LED กําลังเปนที่นิยมมากขึ้น อยางไรก็ตาม ยังคงมี ขอกําหนดสําหรับระบบหลอด UV เดิม โดยทาง IST METZ ไดมแี นวคิด Hot Swap ทีช่ ว ยใหผใู ชสามารถสลับไปมาระหวางเทคโนโลยีหลอด UV ปกติและ เทคโนโลยี LED ใหมไดตลอดเวลาในระหวางกระบวนการผลิต ซึ่งระหวาง ที่เปลี่ยนตัวอุปกรณจะยังคงอยูในตําแหนงบนตัวเครื่องพิมพ และหนวย LAMPcure จะถูกเปลี่ยนเปนระบบ LEDcure ที่ออกแบบมาในรูปแบบของ คาสเซ็ทแทน สําหรับการเชือ่ มตออุปกรณจะเปนไปอยางอัตโนมัตเิ มือ่ มีการ สวมอุปกรณเขาไป โดยขั้นตอนการเปลี่ยนทั้งหมดเสร็จสิ้นโดยไมมีการใช เครือ่ งมืออะไรเพิม่ เติมเลย และสามารถเปลีย่ นเสร็จภายในระยะเวลาอันสัน้
ในปนี้ IST METZ เสนอผลิตภัณฑ LED ที่พัฒนาขึ้นใหม เพื่อการใชงานที่หลากหลาย ซึ่งผูนําสําหรับผลิตภัณฑใหมคือ LED Water ที่ระบายความรอนดวยประสิทธิภาพสูง LEDcure สําหรับการพิมพออฟเซ็ตแบบแผน ระบบ LEDcure แบบผันแปรชวยใหมั่นใจไดวามีการ ประสานงานทีเ่ หมาะสมเพือ่ ตอบสนองความตองการทีแ่ ตกตาง กันของเครือ่ งอัดแผนแบบปอนแผน เลนสออพติคอลทีพ่ ฒ ั นา ขึ้นใหมชวยใหไดรับแสงที่ดีที่สุดบนพื้นผิว มีชวงความยาว คลื่นที่แตกตางกัน หรือในชวงของความยาวคลื่นที่มีขนาด 385 นาโนเมตร ชิป LED ทีร่ ะบายความรอนดวยนํา้ รับประกัน คุณภาพและความทนทานของระบบในระดับสูง ภายในงาน Labelexpo 2017 มีการแสดงเครือ่ งพิมพฉลาก ปอนมวนหนาแคบ Codimag รุน VIVA 340 Evolution ที่มี การติดตัง้ เทคโนโลยี LED อยางเต็มรูปแบบจาก IST METZ โดย ใชระบบ MBS LEDcure ที่ระบายความรอนดวยอากาศที่มี ประสิทธิภาพสูงรุนลาสุด เพื่อเพิ่มศักยภาพในการพิมพฉลาก ดวยระบบดิจิทัลที่ใชในเครื่องพิมพ Viva Anio รุนดังกลาว THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
67
FOCUS แอนโทนี บอรน ผูอํานวยการอุตสาหกรรมสวนกลาง ฝายการผลิตและเทคโนโลยี ระดับสูง (ไฮเทค) บริษัท ไอเอฟเอส
ไอโอที (IOT) จะถูกสรางรวมไวในผลิตภัณฑที่เริ่มตั้งแตการ ออกแบบ บรรดาผูผ ลิตจะนําโมเดลธุรกิจทีม่ บี ริการเปนศูนยกลางเขา มาปรับใชเพิม่ มากขึน้ และการพิมพสามมิติ (3D) จะกาวสูจ ดุ พลิกผัน ที่สามารถใหผลประโยชนทางธุรกิจไดในวงกวาง ทั้งหมดนี้เปนการ คาดการณของไอเอฟเอสที่คาดวาจะเกิดขึ้นในป 2561
ในปลายป 2561 ผู ผลิตมากกว า 50 เปอร เซ็นต จะนําเทคโนโลยีไอโอที ไปรวมไว ในผลิตภัณฑ ของตน เริ่มตั้งแต ขั้นตอนการออกแบบ
เมื่อพูดถึง “ไอโอที” สิ่งแรกที่คุณคิดถึงนาจะเปนเซ็นเซอรแบบ ใหมทสี่ ามารถหาซือ้ ไดในราคาไมแพงซึง่ กําลังถูกนํามาใสไวผลิตภัณฑ สําหรับผมแลว มุมมองดังกลาวจะเปลี่ยนไปในป 2561 เนื่องจาก ไอโอที กําลังกาวเขาสูก ารเปลีย่ นแปลงอยางเห็นไดชดั หากเราคิดวา ไอโอที เปนเหมือนระบบประสาทของผลิตภัณฑ ในป 2561 เราจะ เห็นเสนประสาท (สัญญาณ) ตางๆ ทีโ่ ยงใยและเติบโตจนเกิดเปนสมอง ของผลิตภัณฑขนึ้ มา สิง่ นีค้ รอบคลุมถึงการรับ การสง การขยายตัว และ การเก็บรวบรวมขอมูลอยางตอเนื่องตลอดชั่วอายุขัยของผลิตภัณฑ ซึ่งสงผลใหเกิดบริการและกระแสรายไดใหมๆ โดยอุตสาหกรรมการ ผลิตเปนหนึง่ ในตลาดทีไ่ ดรบั ผลกระทบจาก ไอโอที มากทีส่ ดุ ในปจจุบนั 68
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
จากขอมูลของโกลบอล มารเก็ต อินไซด (Global Market Insights) พบวา ไอโอที ในตลาด การผลิต มีมลู คามากกวา 20 พันลานเหรียญสหรัฐ ในป 2559 และจะขยายตัวเพิม่ ขึน้ กวา 20 เปอรเซ็นต (CAGR โดยประมาณ) ตั้งแตป 2560-2567 การ ลงทุนไอโอทีในปจจุบันในสภาพแวดลอมของการ ผลิตจะกอใหเกิด 3 โครงการหลักดังนี้ • การผลิตอัจฉริยะเพือ่ เพิม่ ผลผลิต คุณภาพ ผลิตภัณฑ หรือการดําเนินงานและความปลอดภัย ของพนักงาน รวมถึงการใชทรัพยากรที่ลดลง • ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ ชื่ อ มต อ กั น จะส ง ผลต อ ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ รวมถึงการเก็บรวบรวม ขอมูลโดยละเอียดเกีย่ วกับผลิตภัณฑในภาคสนาม การวิเคราะหจากระยะไกล และการบํารุงรักษาจาก ระยะไกล • ซัพพลายเชนที่มีระบบเชื่อมตอระหวาง กันจะเพิม่ ความสามารถในการมองเห็นภาพรวมทัง้ ระบบและการทํางานรวมกันในซัพพลายเชน การ ติดตามสินทรัพย หรือสินคาคงคลังเพื่อสงเสริมให การดําเนินงานดานซัพพลายเชนที่มีประสิทธิภาพ เพิ่มมากขึ้น เราจะเห็น ไอโอที ถูกนํามารวมไวเปนสวนหนึ่งใน กระบวนการออกแบบของโครงการดาน ไอโอที ดังกลาว บริษทั ผูผ ลิตกําลังตระหนักวาการสรางเทคโนโลยี ไอโอที ใส ไ ว ใ นผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละอุ ป กรณ ใ นขั้ น ตอนของการ ออกแบบนั้น ไมเพียงแตชวยใหคุณสามารถตรวจสอบ ประสิทธิภาพการทํางานของอุปกรณเพือ่ คาดการณเวลา ที่ตองดําเนินการซอมแซมไดเทานั้น แตยังสามารถสราง ขอไดเปรียบดานการแขงขันที่จะนําไปสูการเปลี่ยนเกม ในตลาดดวย! ภายในสิ้นป 2561 ผูผลิตมากกวา 50 เปอรเซ็นต จะนําเทคโนโลยี ไอโอที มาใสไวในผลิตภัณฑของตน ตัง้ แตเริม่ กระบวนการผลิต ซึง่ เปนการคิดไวแลวลวงหนา ในขัน้ ตอนการออกแบบ และจะเริม่ ทบทวนตัวเองวาบริการ และรายไดในลักษณะใดบางที่จะไดรับจากผลิตภัณฑนี้ ตลอดอายุการใชงาน จริงๆ แลว รายไดของเราจะมาจากทีใ่ ดบางในชวง หาปนบั จากนี้ ถือวาเปนคําถามทีด่ ที เี ดียว เพราะสิง่ นีจ้ ะ นําเราไปสูก ารคาดการณทสี่ าํ คัญของผมในลําดับตอไป...
ความก าวหน าของบริการภิวัตน จะเกิดขึ้นอย าง รวดเร็ว : ในป 2563 รายได มากกว าครึ่งหนึ่งของ บรรดาผู ผลิตส วนใหญ จะมาจากบริการ
เมื่ออุตสาหกรรมการผลิตเริ่มกลายเปนตลาดเปดเสรี ที่ตัวสินคาเริ่มไมมีความแตกตางกันเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จึงมี ความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองสรางความแตกตางใหกับตัวเอง ซึ่งเปนกุญแจสําคัญในการอยูรอดและการสรางผลกําไรใหกับ บริษัท ในตอนนี้เราเริ่มเห็นแลววาบรรดาผูผลิตจํานวนมาก กําลังเปลีย่ นไปใชโมเดลธุรกิจทีเ่ นนการใหบริการเปนหลัก หรือ ที่เรียกวา “บริการภิวัตน” (Servitization) บริการภิวัตนเปนแนวทางเพิ่มขีดความสามารถใหกับ ผูผ ลิตเพือ่ ยกระดับขอเสนอโดยรวมนอกเหนือจากตัวผลิตภัณฑ แตเพียงอยางเดียว ตัวอยางหนึ่งที่เห็นไดชัดคือ แอปเปล ที่ได นําแนวทางนีม้ าใชเมือ่ ไมกปี่ ท ผี่ า นมาหลังจากที่ ไอพอดสามารถ ชิงสวนแบงตลาดสูงสุดมาได จากนัน้ แอปเปล จึงไดเปดตัวบริการ ไอทูนส เพือ่ รักษาฐานลูกคาเดิม และสรางความแตกตางใหกบั ตัวเองในตลาด รวมถึงสรางรายไดใหเพิ่มมากขึ้นดวย คุณอาจ คิดวาสิง่ นีใ้ ชไมไดกบั ธุรกิจของคุณ แตโปรดทราบวาบริษทั ตางๆ กําลังเก็บเกีย่ วผลประโยชนจากบริการภิวตั นในภาคสวนตางๆ เปนจํานวนมาก ตัวอยางเชน ฟลปิ ส ซึง่ ใหบริการ “แสงสวางใน รูปของบริการ”, สําหรับสนามบิน สคิปโฮล (Schiphol) ทีอ่ ยูน อก กรุงอัมสเตอรดัม กลาวคือสนามบิน สคิปโฮล จะตองจายเงิน คาแสงสวางทีใ่ ชไป ขณะที่ ฟลปิ ส ยังคงมีกรรมสิทธิใ์ นระบบและ อุปกรณติดตั้งทั้งหมด ทั้งนี้ ฟลิปส และคอฟลี่ (Cofely) ซึ่งเปน บริษทั คูค า จะรวมกันดูแลดานประสิทธิภาพการทํางานและความ มีเสถียรภาพของระบบ ครอบคลุมถึงการนําอุปกรณกลับมาใช ใหมและการรีไซเคิลเมื่อสิ้นสุดอายุการใชงาน การดําเนินการ
ดังกลาวสงผลใหบริษทั ลดคาไฟลงไดถงึ 50 เปอรเซ็นตโดยไมตอ ง ซื้อโคมไฟสองสวางเพิ่ม! ผมมองเห็นการพัฒนาในรูปแบบนี้ในกลุมลูกคาของ ไอเอฟเอสดวยเชนกัน อยางเชน ผูผ ลิตเฟอรนเิ จอรระดับโลกที่ ชือ่ วา โนวี่ สไตล กรุป (Nowy Styl Group) ทีม่ องวาบริการภิวตั น เปนสวนสําคัญตอการเติบโตของบริษัท ในป 2560 บริษัทได ประกาศวา “การผลิตเกาอี้คงไมเพียงพออีกตอไปแลวสําหรับ เรา” และไดเริม่ ดําเนินการเปลีย่ นแปลงบริษทั จากผูผ ลิตเฉพาะ อยาง กาวสูการเปนบริษัทที่ปรึกษาระดับโลกดานการตกแตง ภายในสําหรับสํานักงานตางๆ อีกตัวอยางหนึง่ คือ บริษทั ผูผ ลิต ผลิตภัณฑทําความสะอาดซึ่งไดเริ่มนําเสนอระบบการจัดสง และการใหบริการเพิม่ เติม บริษทั เขาใจดีวา การเลือกผลิตภัณฑ ทําความสะอาดทีเ่ หมาะสมเปนเพียงสวนหนึง่ ของวัตถุประสงค หลักของลูกคาเทานั้น นั่นคือ การรักษาสถานที่ทํางานใหถูก สุขลักษณะ การใชผลิตภัณฑอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด การเลือกอุปกรณเสริมที่เหมาะสม การสรางขั้นตอนที่ถูกตอง ทั้งหมดนี้ลวนมีความสําคัญตอการรักษาสถานที่ทํางานใหมี ความสะอาดอยางตอเนื่อง ทั้งสองบริษัทตระหนักดีวาเทคโนโลยีจะชวยเรงใหเกิด การเปลีย่ นแปลงไดอยางรวดเร็ว ไมวา จะเปนการออกแบบเกาอี้ ที่สวยงามหรือผลิตภัณฑทําความสะอาดที่มีประสิทธิภาพ แต อยาลืมวาผลิตภัณฑหรูหราในปจจุบนั กําลังจะกลายเปนสิง่ ของ ทีห่ าซือ้ ไดทวั่ ไปในเวลาอันสัน้ ซึง่ นัน่ ยอมสงผลใหราคาผลิตภัณฑ ลดลงอยางมาก แตดวยบริการภิวัตน บรรดาผูผลิตจะสามารถ รับมือกับสถานการณดงั กลาวไดอยางดีเยีย่ ม เพราะบริการจาก ผูเ ชีย่ วชาญทีม่ ปี ระสบการณสงั่ สมมาเปนเวลาหลายป จะทําให ลูกคายังคงตองจายเงินใหกับบริษัทตลอดไป ไมวาแนวโนม เทคโนโลยีจะเปนเชนไรก็ตาม
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
69
ซอมบํารุงเมื่อใด จะชวยใหระบบสามารถเรียกใชบริการซอมบํารุง โดยอัตโนมัติ ซึ่งสรางประโยชนและทําใหองคกรบริการของคุณมี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น การบํารุงรักษาเชิงพยากรณแบบอัตโนมัติ ในลักษณะนีจ้ ะกลายเปนเรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ ไดทวั่ ไปเพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจาก สิ่งนี้เปนกาวตอไปหลังจากมีการนํา ไอโอที มาปรับประสิทธิภาพใน การใหบริการ
ในป 2562 ความตื่นเต นเกี่ยวกับการพิมพ สามมิติ (3D) จะหมดไป แต ผลประโยชน ที่แท จริง จะเห็นอย างเด นชัด
แอนโทนี บอร น ผู อํานวยการอุตสาหกรรมส วนกลาง ฝ ายการผลิตและ เทคโนโลยีระดับสูง (ไฮเทค) บริษัท ไอเอฟเอส จากการสํารวจการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลของ ไอเอฟเอส ซึง่ ดําเนินการโดยบริษทั วิจยั ทีช่ อื่ วา ราคอนเตอร (Raconteur) พบวา 68 เปอรเซ็นตของบริษทั ผูผ ลิตอางวา บริการภิวัตน “ไดรับการจัดตั้งมาเปนอยางดีและให ผลตอบแทนที่ดี” และ “อยูระหวางการดําเนินการและ กําลังไดรับความสนใจและการสนับสนุนอยางเหมาะสม จากผูบ ริหาร” แตกม็ เี พียงสัดสวนเกือบ 1 ใน 3 ของบริษทั ผู ผ ลิ ต เท า นั้ น ที่ ไ ด รั บ ผลตอบแทนจากบริ ก ารภิ วั ต น “ผูผลิตที่ยังไมไดใชโมเดลที่มีบริการเปนศูนยกลางกําลัง สูญเสียรายไดและแนวทางใหมๆ ในการพัฒนาขอเสนอ สําหรับผลิตภัณฑของตน ดังนัน้ เพือ่ กาวสูค วามสําเร็จใน การตอบสนองความตองการของลูกคาและความตองการ ที่กําลังเพิ่มมากขึ้น บรรดาผูผลิตจะตองมองหาโมเดล ธุรกิจใหมๆ เพือ่ รนระยะเวลาในการเปดตัวผลิตภัณฑออก สูต ลาด ครอบคลุมตัง้ แตการนําความคิดจากการออกแบบ ไปผลิตเปนสินคาและนําออกขายในตลาดใหไดโดยเร็ว ที่สุด เทคโนโลยีใหมๆ เชน ไอโอที จะเขามาเติมเต็มความ สมบู ร ณ ใ ห กั บ บริ ก ารภิ วั ต น โดยเซ็น เซอร ที่ ส ามารถ ตรวจจับไดวาผลิตภัณฑหรืออุปกรณตองเขารับบริการ 70
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
คําพยากรณลาํ ดับทีส่ ามของผมก็คอื การพิมพ 3D เชนเดียวกับ ไอโอที กําลังจะกาวสูระดับใหมที่มีอัตราการเติบโตเพิ่มมากขึ้น นอกเหนือจากเรือ่ งของขนาดการพิมพทตี่ อ งรอง “วาว” เมือ่ ไดเห็นใน ครัง้ แรก ซึง่ ครอบคลุมถึงการผลิตในระดับทีเ่ ล็กลง เชน เครือ่ งชวยฟง และเครือ่ งประดับแลว การพิมพ 3D ยังสามารถกาวไปไดอกี ไกลมาก และเราจะไดเห็นการเปลี่ยนแปลงนี้ในป 2561 เรากําลังเห็นพัฒนาการสองอยางที่กําลังกาวไปในทิศทางนั้น ประการแรกคือความสามารถในการปรับขยายของโซลูชั่นการพิมพ 3D ที่ดียิ่งขึ้น ยุคใหมของบริษัทดานการพิมพ 3D กําลังกาวเขาสูการ ผลิตที่แตเดิมมีผูผลิตแมพิมพฉีดขึ้นรูปครองตลาดอยู มาเปนระบบ อัตโนมัตทิ เี่ ชือ่ มโยงระหวางกันไดดขี นึ้ และเร็วขึน้ สงผลใหลดขัน้ ตอน การทํางานทัง้ กอนและหลังทีต่ อ งใชเวลามาก อันเปนอุปสรรคสําคัญ ในการผลิต ทั้งนี้มีบริษัทแหงหนึ่ง นั่นคือ สตราตาซิส (Stratasys) ได สรางเครื่องพิมพใหมภายใตชื่อ ดีมอนสเตรเตอร (Demonstrator) ซึง่ เปนการรวมเครือ่ งพิมพสามเครือ่ งไวในระบบสแตก (Stack) โดยที่ เครือ่ งพิมพแตละเครือ่ งสามารถสือ่ สารระหวางกันไดในแบบเรียลไทม เครือ่ งพิมพใหมนมี้ คี วามสามารถในการปรับขยายไดสงู ซึง่ หมายความวา ผูผลิตสามารถเพิ่มกําลังการผลิตของการพิมพไดมากขึ้น โดยเริ่ม ตัง้ แต 1,500-2,000 ชิน้ ตอวัน สงผลใหคณ ุ สามารถประหยัดตนทุนได อยางมาก ซึง่ เปนตัวกระตุน สําคัญทีน่ าํ ไปสูค วามสําเร็จของเทคโนโลยี การพิมพ 3D จะเห็นไดวาอุตสาหกรรมการบินไดเริ่มนําเทคโนโลยีการพิมพ 3D เขามาใชงานแลวในปจจุบนั ซึง่ อุตสาหกรรมการผลิตสามารถเรียนรู จากอุตสาหกรรมดังกลาวได ตัวอยางหนึง่ ของความสําเร็จคือ เครือ่ งยนต GE turboprop ATP Engine ซึ่งใชการพิมพ 3D 35 เปอรเซ็นต ทําให ลดจํานวนชิ้นสวนจากจํานวน 855 ชิ้นเหลือเพียง 12 ชิ้น และยังมี สวนชวยใหเครือ่ งยนตมนี าํ้ หนักเบา มีขนาดกะทัดรัด ลดการเผาผลาญ เชื้อเพลิงลงไดถึง 15 เปอรเซ็นต เมื่อเทียบกับขอเสนอของคูแขง ความสามารถในการปรับขยายและการลดขัน้ ตอนการดําเนินงาน ทั้งกอนและหลังที่บริษัทดานงานพิมพ 3D ขนาดกลางที่มีนวัตกรรม ขัน้ สูงกําลังนําออกสูต ลาดนัน้ หมายความวาในป 2561 เราจะไดเห็น บริษทั ผูผ ลิตเขารวมกับภาคอุตสาหกรรมอากาศยานและยุทโธปกรณ การรบ (Aerospace and Defense : A&D) เพิม่ มากขึน้ และกาวสูร ะดับ ที่สูงกวาที่เคยเปนมาดวยขีดความสามารถดานการพิมพ 3D แบบ ใหม
Three Game-changers for the Manufacturing Industry in 2018
IoT being built into the product design, manufacturers adopting a more service-centric business model and 3D-printing reaching the tipping point of realizing business benets on a large scale. These are the three game-changing predictions that Antony Bourne, Global Industry Director of Industrial and Hightech Manufacturing at IFS, outlines for 2018.
By the end of 2018 over 50 percent of manufacturers will be building IoT technology into the design phase of their products
When you think “IoT”, is your rst thought newly affordable, available sensors being added to products after they’ve been manufactured? If it is, well I believe 2018 will change that perception as IoT takes a decisive step forward in its evolution. If we think of IoT as like a product’s nervous system, 2018 will see it grow from picking up signals at the periphery to being the brain of the product, constantly sending, receiving, growing and gathering information, from the center of the product throughout its lifetime, in the process enabling new services and revenue streams. Manufacturing is one of the markets most heavily impacted by IoT today. According to Global Market Insights, IoT in the manufacturing market was valued at over US$ 20 billion in 2016 and will grow at more than 20percent (CAGR estimate) from 2017 to 2024. Current IoT investments that are unique to the manufacturing environment are taking place in three major initiatives : • Smart manufacturing to increase production output, product quality, or operations and workforce safety as well as lower resource consumption • Connected products to impact product performance, including collecting detailed information on products in the eld, remote diagnostics and remote maintenance • Connected supply chains to increase visibility and coordination in the supply chain, tracking assets or inventory for more efficient supply chain execution We will see IoT being included as a part of the design process in all three of these IoT initiatives. Manufacturers are realizing that by engineering IoT technology into products and
equipment already in the design process you will be able monitor not only the equipment’s performance to predict when it needs repair, but also how and when it is being used — which provides game-changing competitive advantages! By the end of 2018 more than 50 percent of manufacturers will be building IoT technology into their products from day one — already thinking forward in the design phase and asking themselves what services and revenue can this product generate throughout its lifetime? In fact, where will our revenue be coming from in the next ve years?’ It’s a good question. And it leads us to my next key prediction...
Servitization speeds ahead: by 2020 most manufacturers will earn over half of their revenue from services
With the manufacturing industry becoming more and more commoditized, the need to differentiate yourself is key to survival and protability. We now see that a large number of manufacturers are shifting to a more servicecentric business model — the buzz word is “servitization”. Servitization is a way for a manufacturer to add capabilities to enhance their overall offering in addition to the product itself. One famous example is Apple, which did this a few years ago when it had gained the majority of market share with the iPod and introduced iTunes to increase loyalty, differentiate itself, and generate more revenue. You may think that it will never apply to your business, but companies are now reaping the benets of servitization across many different sub-segments. For example, Philips provides Schiphol airport outside THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
71
an idea through from design to a saleable item as quickly as possible. New technology like IoT adds an additional layer to servitization. With sensors detecting when your product or equipment needs service, this data can trigger an automated service action that will realize signicant benets to make your service organization more effective. This type of automated predictive maintenance will become more and more common as it is a natural next step after implementing IoT to optimize service efforts. Amsterdam with “lighting as a service”, which means that Schiphol pays for the light it uses, while Philips remains the owner of all xtures and installations. Philips and its partner Cofely will be jointly responsible for the performance and durability of the system, and ultimately its re-use and recycling at end of life. This has resulted in a 50 percent reduction in electricity consumption without having to buy a lamp! I see this development among IFS’s customers as well. For global furniture manufacturer Nowy Styl Group, servitization has been crucial to its growth. In 2007, it announced “for us, chairs are not enough”, starting a transformation from pure manufacturer to world-class office interior consulting company. Another example is a customer that manufactures cleaning products and started to offer delivery and service dosing systems. The company understood that choosing the right cleaning products was just part of its customers’ main objective, i.e. keeping its premises hygienic. Applying the products in the most effective way, choosing the right accessories, establishing the right routines — all these too were crucial to keeping premises clean. Both these customers realized that with technology accelerating as fast as it is, no matter how beautifully designed a chair, or how effective a cleaning product, today’s luxury products turn into tomorrow’s commodities faster than ever, pulling prices down with them. With servitization, manufacturers escape the corrosion of commodication. Expert services built on years of experience provide a kind of value customers will always pay for, regardless of technology trends. According to the IFS Digital Change Survey, conducted by the research and publishing company Raconteur, 68 percent of manufacturing companies claim that servitization is either “well-established and is already paying dividends” or “in progress and is receiving appropriate executive attention and support”. However, almost one in three manufacturing companies are still to derive value from servitization. These are missing out on revenue streams and new ways to develop their offerings. To be successful in their response to customer needs and increasing demands, manufacturers must look to new business models to compress time to market, taking 72
THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
By 2019 the hype around 3D printing will be over, and real benefits blooming
My third prediction is that 3D printing, just like IoT, will enter a new, more mature phase. No matter how big the ‘wow’ factor is when we rst see it, apart from smaller-scale manufacturing production like hearing aids and jewelry, 3D printing has so far failed to live up to its full potential. all this could change in 2018. We are seeing a couple of developments that point in that direction. The rst one is the improved scalability of 3D printing solutions. A new generation of 3D printing companies is moving into manufacturing traditionally dominated by injection-molding manufacturers, with new, faster, better connected automated systems that reduce some of the time-consuming pre — and post-processing that has been such an obstacle to wide-scale uptake. One company, Stratasys, for example, has collaborated on a new printer, the Demonstrator, that combines three printers into a stack system — each printer able to communicate to its neighbors in real time. The new printer is highly scalable, meaning it can signicantly increase production capacity, printing from 1,500-2,000 components a day. This means that you can achieve an economy of scale to bring costs down, which will be an important catalyst for the success of the 3D printing technology. The aviation industry is pioneering 3D printing technology today, and the manufacturing industry can learn from that. One successful example is the new GE turboprop ATP Engine, which was 35 percent 3D printed, taking it down from 855 components to 12 and contributing toward the engine being lighter, more compact, and delivering a 15 percent lower fuel burn and 10 percent higher cruise power compared with competitor’s offerings. The expanded capacity and reduction in pre — and postprocessing that new, highly innovative mid-size 3D printing companies are bringing to the eld mean that, in 2018, I think we will see manufacturing companies joining in with A&D, and ying high too with new 3D printing capabilities.
HOT
product
ถาดฟอยล เข าไมโครเวฟ … ทางเลือกดี ๆ ของคนรักเบเกอรี่
คุณสมบัติของถาดฟอยล
> สามารถใชแชแข็งในอุณหภูมิที่ต่ําและสามารถใชอุนอาหารในอุณหภูมิที่สูงได (-40C ถึง 360C) > สามารถยืดเวลาความสดของอาหารไดดีกวาภาชนะอื่น > ภาชนะฟอยลมีความแข็งแรงและทนทานการรั่วซึมไดมากกวาภาชนะอื่น > สามารถรีไซเคิลได 100%
คําแนะนําในการใช ถาดฟอยล กับไมโครเวฟ
1. นําฝาทุกชนิดออกจากภาชนะ 3. วางภาชนะไวตรงกลาง หางจากผนังไมโครเวฟ
2. นําภาชนะเขาทีละ 1 ชิ้น 4. ไมโครเวฟตองเปนรุนที่ผลิตหลังจากป ค.ศ.1980 เปนตนไป
สนใจข อมูลเพิ่มเติมติดต อได ที่ WWW.FOILSS.COM บร�ษัท
หนา
CHAN WANICH SECURITY PRINTING CO., LTD. 4 EPSON 9 INTERINK CO., LTD. 3 KURZ (THAILAND) LTD. 5 LABEL EXPO 46 MOSCA ASIA THAILAND 43 SCG PACKAGING CO., LTD. 35 THAI KK INDUSTRY CO., LTD. 8 โคนิกา มินอลตา บิสสิเนส โซลูชันส (ประเทศไทย) บจก. 45 ซี.เอ.เอส.เปเปอร บจก. 34, 36 ทรีโอ เทรดดิ้ง บจก. 6 เนชั่นไวด บจก. ปกหลังดานใน เบอรลี่ ยุคเกอร บมจ. 7
ADVERTISING
index
บร�ษัท เวอรทัส บจก. ฟูจิฟลม (ประเทศไทย) บจก. แมพิมพ บจก. หงีเฮงแชมเปยนกรุป บจก. ออมรอน อีเลคทรอนิคส บจก. อี.พี.ซี. คอรปอเรชั่น บจก.
หนา 44 11 ปกหนาดานใน 13 59 ปกหลังนอก THAI PACKAGING NEWSLETTER
March - April 2018
73
ใบสมัครสมาช�ก
MEMBERSHIP
Application Form
สมาคมการบรรจ�ภัณฑไทย
ชื่อ-นามสกุล (Name) ............................................................................................................................................................................................... บริษัท/หางหุนสวน/หางหุนสวนจํากัด (Company Name) ...................................................................................................................... ที่อยู (Address) ........................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................
โทรศัพท (Tel.) ........................................................................................ โทรสาร (Fax) ..................................................................................... ประเภทกิจการ (Description Business) .......................................................................................................................................................... ตําแหนง (Position) ...................................................................................................................................................................................................
ใบสมัครเปนสมาช�กสมาคมฯ
(Membership Application Form) ขอสมัครเปนสมาช�กสมาคมฯ (Type of Membership) สามัญนิติบุคคล (Ordinary Member) วารสาร (Newsletter Member) ขาพเจาทราบระเบียบของสมาคมฯ และจะปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับ ทุกประการ (I have the full knowledge of the association regulations all of which I here by pledge to abide by) ลงชื่อ.................................................................ผูสมัคร (Signature) วันที.่ ................/................../................. (Date)
ลงชื่อ...........................................................ผูรับรอง (..................................................) นายทะเบียนสมาคมการบรรจุภัณฑไทย
หมายเหตุ เอกสารที่ใชในการสมัคร หนังสือรับรองการจดทะเบียนของบริษัท พรอมประทับตราเซ็นรับรองสําเนาถูกตอง • สมาชิกสามัญนิติบุคคล คาลงทะเบียนครั้งเดียว 500 บาท คาบํารุงสมาคมฯ 2,000 บาท/ป • สมาชิกวารสาร คาลงทะเบียนครั้งเดียว 100 บาท คาบํารุงสมาคมฯ 500 บาท/ป การชําระเงินโดย • สั่งจายเปนเช็คครอมในนาม “สมาคมการบรรจุภัณฑไทย” • ฝากเงินเขาบัญชี “สมาคมการบรรจุภัณฑไทย” ธนาคารกสิกรไทย สาขาพระโขนง บัญชีออมทรัพย เลขที่ 010-2-58719-7 สมาคมการบรรจุภัณฑไทย อาคารสํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (อาคารเกา) ชั้น 2 86/6 ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4
แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0-2712-1995, 0-2712-3556 โทรสาร : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th Thai Packaging Association MIDI Building, 86/6 Soi Treemit, Rama 4 Rd., Klongtoey, Bangkok 10110 Thailand Tel : 0-2712-1995, 0-2712-3556 Fax : 0-2713-6164 E-mail : thaipack@thaipack.or.th, adminthaipack@gmail.com Website : www.thaipack.or.th